POTENTIAL นิตยสารดิจิตอลอ่านฟรี เพื่อเสริมศักยภาพคนไทยให้เก่งขึ้น
ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม พ.ศ.2554 www.se-edlearning.com
อนาคตไอซี∙ีป 2554 เนนลดรายจาย เพิ่มความปลอดภัย ใชงานงาย
โครงการ Adobe Design Achievement Awards ประจำป 2554
12 ∙ีมผานเขาสู การแขงขันฟุตบอลหุนยนตฮิวมานอยด
พรรณสิรี อมาตยกุล ชกรรมการผูจัดการใหญ
ไอบีเอ็มประเ∙ศไ∙ย
ศิลปะ∙ั้งสี่แหงการเปน
Facilitator ∙ี่ดี
EDITOR TALK ชยุต จึงภักดี บรรณาธิการจัดการ chayut@se-ed.com
การแขงขันฟุตบอลหุนยนต ชวยพัฒนาเยาวชนไ∙ยรอบดาน การแขงขันฟุตบอลหุนยนตฮิวมานอยดชิงแชมปประเทศไทย ประจำป 2554 จัดขึ้นจากความรวมมือระหวางบริษัทซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด สมาคมวิชาการหุนยนตแหงประเทศไทย ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส และคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค) และสถาบันวิทยาการหุนยนตภาคสนาม (ฟ โบ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เพื่อคัดเลือกทีมตัวแทน ประเทศไทยเขารวมการแขงขันฟุตบอลหุนยนตฮิวมานอยดชิงแชมปโลก 2011 (World Robocup 2011 Humanoid League) ซึ่งจะจัดขึ้น ณ ประเทศตุรกี ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2544 ลาสุดได 12 ทีมสุดทายที่ผานคัดเลือกเขาไปแขงขันรอบชิงเรียบรอย สำหรับการจัดแขงขันฟุตบอลหุนยนตฮิวมานอยด มีสวนพัฒนาศักยภาพของ นักศึกษาไทยอยางมาก ทั้งในแงความคิดสรางสรรค การใชความรูดาน วิทยาศาสตรและวิศวกรรม การทำงานเปนทีม การแกปญหาเฉพาะหนา และ การความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง POTENTIAL MAGAZINE ขอแสดงความ ยินดีกับทีมที่ผานเขารอบเพื่อไปแขงขันกันในในวันเสารที่ 19 และวันอาทิตยที่ 20 มีนาคม 2554 ณ ศูนยการคาพันธุทิพยพลาซา สาขางามวงศวานและรอบชิง ชนะเลิศ ในวันเสารที่ 26 และวันอาทิตยที่ 27 มีนาคม 2554 ณ ศูนยการคา พันธุทิพยพลาซา สาขาประตูน้ำ ผูสนใจไปรวมเชียรกันได สวนรายละเอียดทุก ทีมในหนาที่ 18 สำหรับฉบับนี้ ประกอบดวยเรื่องเดนมากมายอาทิ แนวโนมไอซีทีป 2554, การใชโซเซียลคอมเมิรซทำตลาดบาน, ศิลปะทั้งสี่แหงการเปน Facilitatorที่ดี ผล สำรวจพฤติกรรมการใชสื่อออนไลนของคนไทย , การจับกุมผูจำหนายและผลิต ซอฟตแวรผิดลิขสิทธิ์ และสุดยอดนักแอนิเมชั่นรุนเยาว แลวพบกันฉบับหนา สวัสดีครับ..
POTENTIAL Magazine เจาของ SE-EDUCATION PUBLIC COMPANY LIMITED. 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารเนชั่นทาวเวอร, ถนนบางนาตราด บางนา กรุงเทพ 10260 โทรศัพท 0-2739-8165 โทรสาร 0-2739-8228 อีเมล pr.potentialmag@gmail.com www.se-edlearning.com www.se-ed.com บรรณาธิการจัดการ ชยุต จึงภักดี chayut@se-ed.com M: 089-691-8438 นักเขียนรับเชิญ กรกนก จึงภักดี ศรัณย จันทพลาบูรณ ธฤษณุ ทองเนียม พงศพจ ธนะสมบูรณ ชิงชัย อิทธิอมรกุลชัย วชิรวิชญ มธุรสสุวรรณ A@lert Consultant ผูจัดการฝายโฆษณา เบญจมาภรณ มโนกิจพงษพันธ ben@se-ed.com อารตเวิรคโดย ชยุต จึงภักดี ถายภาพโดย ชยุต จึงภักดี การสมัครสมาชิก อานฟรีไดทางออนไลน http://issuu.com/potentialmagazine หมายเหตุ ขอความใดๆ ที่ปรากฎอยูในวารสารฉบับนี้ ไมสงวนลิขสิทธิ์ ทานสามารถนำไปใชและ อางอิงไดตลอดไป.
2
POTENTIAL magazine
CONTENTS
POTENTIAL MAGAZINE ป∙ี่ 3 ฉบับ∙ี่ 7 เดือน กุมภาพันธ-มีนาคม พ.ศ.2554 Free digital magazine
COVER STORY SPECIAL REPORT
เจาหนาที่ทลายแหลงผลิตและขาย ซอฟตแวรปลอมละเมิดลิขสิทธิ์
HR MANAGEMENT
น.14
ผลวิจัยทั่วโลกเปดเผยพฤติกรรมของผูใช สื่อสังคมออนไลนในประเทศไทย
12 ทีมที่ผานเขาสูรอบคัดเลือก การแขงขันฟุตบอลหุนยนตฮิวมานอยดชิง แชมปประเทศไทย ประจำป 2554
น.18
IT TECHNOLOGY
PR MARKETING
น.26
ศิลปะทั้งสี่แหงการเปน Facilitator ที่ดี........... น.20 แสนสิริชู”โซเซียลคอมเมิรซ” รุกตลาดป54.......น.22 Issue 7 : Feb-Mar 2011
น.12
ไอบีเอ็ม ประเ∙ศไ∙ย แตงตั้ง พรรณสิรี อมาตยกุล เปนกรรมการผูจัดการใหญ
อนาคตไอซีทีป 2554 เนนลดรายจาย เพิ่มความปลอดภัย ใชงานงาย
น.30
สุดยอดนักแอนิเมชั่นรุนเยาว ..........................น.34 โครงการ Adobe Awards ............................น.36 3
การประชุมอยางมีประสิ∙ธิภาพและสรางสรรค
Creative and Effective Meeting Z
Z
เ∙คนิคสุดยอด!!!∙ี่จะ∙ำให∙ุกการประชุมของคุณประสบความสำเร็จ วิ∙ยากรโดย:
วัน∙ี่ 11 เดือนมีนาคม พ.ศ.2554 เวลา 9.30-17.00 น.
อ.พงศพจ ธนะสมบูรณ
ณSE-ED Learning Center ชั้น 2จัตุรัสจามจุรี
กรรมการผูจัดการ P CRAETORS ASIA CO.,LTD
แนวคิดหลัก การประชุมเปนเครื่องมือที่สำคัญในการบริหารงาน แตหลายครั้งที่การประชุมยังมีปญหาและอุปสรรค เชน ประชุมแลวไมไดขอ สรุป ผูนำการประชุมผูกขาดการพูดอยูคนเดียว ทั้งที่ไมนาจะตองประชุม ยืดเยื้อ ไมมีวาระ ไมออกความเห็น ใชสำนวนโวหาร ประชุม มากเกินไป ฯลฯ ปญหาเหลานั้นทำใหการประชุม นาเบื่อ ผูบริหารสวนใหญใชเวลากวา 70 % ในการประชุม หากปลอยปญหาเชนนี้ไว จะ สงผลใหผูบริหารและพนักงานไมมีเวลาทำงานที่สำคัญอื่น ๆ ได และสรางความเบื่อหนายในการทำงาน Z หลักสูตรนี้จะเนนที่วิธีการและเทคนิคในการประชุมแบบมืออาชีพ และตรงประเด็น ( Creative and Effective meeting skills ) เพื่อใหสามารถปรับปรุงใหการประชุมเปนเครื่องมือที่สรางความเขาใจและการทำงานรวมกัน บรรลุวัตถุประสงคและสรางความพอใจใหผูเขา รวมในเวลาที่กระชับ เทคนิคหลายอยางเชน หลักการในการตัดสินใจเรียกประชุม การดำเนินการประชุม การใหเกียรติตอผูเขาประชุม การระดมสมอง วิธีการแกปญหาตาง ๆ เชนมีคนที่พูดมากเกินไป มีคนที่ไมคอยออกความเห็น มีการโตแยง การสรุปประเด็น การจด บันทึกการประชุม การติดตามผล การใชเครื่องมือตาง ๆ ( Template ) พรอมกับการฝกปฏิบัติ ( Skill Practices ) ไดถูกบรรจุไวใน หลักสูตรนี้อยางครบถวนแลว
Z
ยินดีรับจัดอบรมแบบ IN-HOUSE TRAINING ในราคาเปนกันเอง สอบถามรายละเอียดหรือสงขอมูลมา∙ี่ chayut@se-ed.com
หัวขอการอบรม • ความสำคัญของการประชุม และปญหา อุปสรรคในปจจุบัน • หัวใจสำคัญของผูนำและผูเขารวมการประชุม, บทบาท/หนาที่ ของกลุมบุคคล เกี่ยวของกับการประชุม • การดำเนินการประชุมอยางมีประสิทธิภาพ • การเตรียมการ (Preparing ) ดำเนินการ (Conducting ) / บันทึกการประชุม( Taking Minutes ) • รูปแบบและวิธีการ เทคนิคการนำประชุมอยางมีประสิทธิภาพ • การใชหัวใจสำคัญ เพื่อใหผูเขารวมพึงพอใจ • การใชแนวทางและขั้นตอนตาง ๆ เพื่อบรรลุวัตถุประสงคการ ประชุม • การใช Template • ประเมินการประชุมที่ผานมา • เทคนิคและการจัดการกับสถานการณที่เปนปญหา • การติดตามผลการประชุม • กรณีศึกษาจริง ( Practical Case Study) • สรุปคำถาม และคำตอบที่ผูเขาสัมมนาตองการรู เพื่อนำไปใชใน งาน
อัตราคาสัมมนา∙านละ
3,500 บา∙ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
ประโยชน∙ี่ไดรับหลังเขาอบรม • ใชเทคนิคในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ • รูจกั ปฏิบัติหนาที่ในฐานะประธานผูนำการประชุม ผูรวมประชุม และเลขานุการประชุม • รูจักวิธีการปองกันและแกไขขอขัดของในที่ประชุม • เสนอกระบวนการในการแกปญหาระหวางการประชุมอยางเปน ระบบ,การใชเวลาอยางมีประสิทธิภาพ • มีเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการประชุม
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ ผูบริหาร เจาของกิจการ ผูจัดการฝาย และผูสนใจทั่วไปที่ ตองการจัดประชุมใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม/สำรอง∙ี่นั่งได∙ี่ ชยุต จึงภักดี สายตรง 089-691-8438
โ∙รศัพ∙ : 0 2739 8165อีเมล chayut@se-ed.com
Successful Telemarketing Sales โ∙รอยางไรใหขายได !
!
เ∙คนิคสุดยอด!!!∙ี่จะ∙ำใหคุณสรางยอดขายผานโ∙รศัพ∙ วิ∙ยากรโดย:
วัน∙ี่ 18 เดือนมีนาคม พ.ศ.2554 เวลา 9.30-17.00 น.
อ.พงศพจ ธนะสมบูรณ
ณSE-ED Learning Center ชั้น 2จัตุรัสจามจุรี
กรรมการผูจัดการ P CRAETORS ASIA CO.,LTD
แนวคิดหลัก ในปจจุบันมีหลายๆบริษัทไดเพิ่มการใชโทรศัพทหวานเพื่อหาลูกคาเพราะวาเปนกลยุทธที่ทำไดรวดเร็วและสะดวก แผนก Call Center , Mail Order และ Customer Service เปนแผนกที่เติบโตเร็วมากในหลายๆบริษัท และบริษัทเหลานี้ตระหนักวา Telesales และ Telemarketing เปนหนึ่งในกลยุทธการขายที่สำคัญมาก มันเปนสิ่งจำเปนอยางมากที่พนักงานในหนวยงานขางตนตองมีความเปนมืออาชีพ และความเปนมิตร โดยใชการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเพื่อใหลูกคาเกิดความพอใจและสรางรายไดใหกับบริษัท ถาพนักงานของทานไมได รับการฝกอบรมที่ถูกตอง ตัวทานกำลังสูญเสียโอกาสในธุรกิจ เราใชวิธีการเรียนรูทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติโดยจะเนนที่การทำ Role – Play โดยใหผูเขารวมสัมมนาทุกทานไดเรียนรูจาก เหตุการณที่เกิดขึ้นจริงในธุรกิจของทาน เพื่อนำไปปฏิบัติไดทันทีหลังจบการฝกอบรม
!
หัวขอการอบรม
อัตราคาสัมมนา∙านละ
• Call Flow-ขั้นตอนในการโทรศัพท • Building Rapport-การสรางความสัมพันธ • Asking “why” on each call-การใชคำถาม “ทำไม” ในการ โทรศัพท • Importance of Rebuttals-ความสำคัญของ การใชหลักฐาน / ขอมูลโตตอบ • Benefits/Needs matching-การจับคูระหวางความตองการและ ผลประโยชน • Voice Quality-คุณภาพของเสียง • Distractions -สิ่งที่ทำใหรบกวนใจ • Presumptive close vs. asking for the sale -การลองปดการ ขายกับการขอยอดขาย • Dealing with rejection, rude customers, and hang-ups การ deal กับขอโตแยง , คำไมสุภาพจากลูกคา และการวาง สายโทรศัพท • 24 secrets for telemarketing – 24 เคล็ดลับในการทำ telemarketing • Questions/Comments -คำถาม / ขอเสนอแนะ
ยินดีรับจัดอบรมแบบ IN-HOUSE TRAINING ในราคาเปนกันเอง สอบถามรายละเอียดหรือสงขอมูลมา∙ี่ chayut@se-ed.com
3,500 บา∙ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
ประโยชน∙ี่ไดรับหลังเขาอบรม • ผูเขาฝกอบรมจะสามารถเขาใจและปฏิบัติขั้นตอนในการทำ Telemarketing อยางมีประสิทธิภาพ • สามารถสื่อสารขอมูลที่ถูกตองใหกับลูกคากลุมเปาหมาย ทำให บริษัทของทานโดดเดนและมีภาพลักษณที่ดีกวาคูแขงขัน • หลั ก สู ต รนี ้ ถ ู ก พั ฒ นาขึ ้ น มาจากผู ม ี ป ระลบการณ ใ นระดั บ นานาชาติ เพื่อผูที่ตองใชโทรศัพทในการติดตอกับลูกคาเพื่อ สรางยอดขายใหกับบริษัท และเราตองการที่จะพัฒนา Close Rate-อัตราการปดการขายใหดีขึ้น Service our clients better-การบริการที่ดีขึ้นแกลูกคาของเรา Gain more clientslist expansion-ขยายฐานลูกคาเปาหมาย
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ ใครก็ตามที่ตองรับผิดชอบยอดขาย และใชโทรศัพทในการติดตอ กับลูกคาเปนประจำ Telemarketer, Sales People, Call Center ใครก็ตามที่ตองการพัฒนาทักษะในการใชโทรศัพท ติดตอกับลูกคา
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม/สำรอง∙ี่นั่งได∙ี่ ชยุต จึงภักดี สายตรง 089-691-8438
โ∙รศัพ∙ : 0 2739 8165อีเมล chayut@se-ed.com
PRESS RELEASE
ฮั∙ช เอาใจกลุมเปาหมายโซเชียล เน็ตเวิรก เปดตัวพรีเซ็นเตอร ภาวุธ พงษวิ∙ยภานุ จาก TARAD.com ตอกยำการเปนผูนำอินเตอรเน็ตไรสายอยางตอเนื่อง บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จำกัด หรือ ฮัทช ตอกย้ำการเปนผูนำอินเตอรเน็ตไรสายอยางตอเนื่องอีกครั้ง ลาสุดเปดตัวพรีเซ็นเตอร Hutch MBI EC-167 คุณภาวุธ พงษวิทย ภานุ เจาของเว็บไซตยอดนิยม TARAD.com ซึ่งถือเปนหนึ่งในกูรู โซเชียล เน็ตเวิรกตัวจริง ในประเทศไทย และยังเปนลูกคาตัวจริง เสียงจริงของ Hutch MBI มาอยางยาวนาน โดยบุคลิกของภาวุธ สะทอนถึงไลฟสไตลของผูใชงานอินเทอรเน็ตไรสาย และแบรนด Hutch MBI ไดอยางลงตัว และทั้งนี้อุปกรณเชื่อมตออินเทอรเน็ตไร สายรุนใหมลาสุดนี้ (Hutch EC-167) สามารถตอบสนองไลฟสไตล ของผูใชงานอินเทอรเน็ตทั้งแบบจดทะเบียนและแบบเติมเงิน บน เครือขาย CDMA2000 1X ที่ใหความเร็วที่ 153 Kbps และ ความเร็วระดับ 2.4 Mbps บนเครือขาย CDMA2000 1xEV-DO Rev.0 นอกจากนี้ยังใหความเร็วสูงสุดถึง 3.1 Mbps เมื่อใชงานใน เครือขาย CDMA 2000 1xEV-DO Rev.A ทำใหผูใชบริการเขาถึง ขอมูล ความบันเทิงตางๆ ไดอยางรวดเร็ว สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมเกี่ยวกับอินเทอรเน็ตไรสาย Hutch MBI และ EC -167 ทั้ง ระบบจดทะเบียนและระบบเติมเงิน รวมถึงชองทางจัดจำหนาย ได ท ี ่ ห มายเลขโทรศั พ ท 02-2638555 หรื อ ที ่ เ ว็ บ ไซต www.hutch.co.th/mbi
เอชพีจัดรายการ “ขูดลาแตม” สมนาคุณลูกคาหมึกพิมพแ∙เอชพี สะสมแตมวันนี้ แลกรับรางวัลฟรีกับเอชพี
ริม ประกาศจัดงานประชุมระดับโลก “BlackBerry World Conference”
เอชพีรุกตลาดหมึกพิมพ แทตอเนื่อง ลาสุด…นำ เสนอรายการส ง เสริ ม การขาย “ขูดลาเเตม” สมนาคุณผูใชหมึกพิมพ แท เ อชพี ไ ด ร ั บ สิ ท ธิ พิเศษแลกรับของรางวัล มากมาย อาทิ บัตรของ ขวัญเซ็นทรัล บัตรชม ภาพยนตรในเครืออีจีวี บั ต รเติ ม เงิ น สำหรั บ โทรศัพทมือถือ น้ำหอม รวมไปถึงอุปกรณไอทีและเครื่องใชไฟฟาจากแบรนดดังชั้นนำเพียง ลูกคาลงทะเบียนเปนสมาชิกที่เว็บไซต www.hp.com/th/ink จาก นั้นนำรหัสที่ขูดไดจากสติ๊กเกอรบนกลองของหมึกพิมพแทเอชพี (Ink) มาลงทะเบียนในเว็บไซตดังกลาว เพื่อสะสมคะแนนไวแลกรับ ของรางวัลตางๆ ตามมูลคาในการใชแลก ผูสนใจรวมสนุกกับ กิจกรรมดังกลาวไดตั้งแตวันนี้ – 30 เมษายนศกนี้
งานประชุม “BlackBerry World Conference” เป น การพบปะครั ้ ง ยิ ่ ง ใหญ ข องนั ก คิ ด นั ก พั ฒ นาในธุ ร กิ จ โทรศัพทเคลื่อนที่ มีกิจกรรมสัมมนากวา 100 หัวขอ การ อบรมเชิงปฏิบัติการ การอบรมเกี่ยวกับแบล็กเบอรรี่ และ โอกาสมากมายในการไดรับใบรับรอง นอกจากนั้น สิ่งที่ผูเขา รวมการประชุม “BlackBerry World Conference” จะไดรับ: รับฟงขอมูลลาสุดเกี่ยวกับโซลูชั่นแบล็กเบอรรี่ แอพพลิเคชั่น ใหมๆ จากพันธมิตร และแผนกลยุทธสำหรับอนาคต ชมการ สาธิตจริงในการใชโซลูชั่นแบล็กเบอรรี่สำหรับที่ทำงาน รับฟง คำตอบจากผูเชี่ยวชาญของแบล็กเบอรรี่ในการพัฒนาโซลูชั่น แบบไรสายที่มุงเนนการสรางมูลคา รวมทั้งคำตอบจากผูจัด จำหนาย และผูคา ซึ่งมีสวนชวยในการใหขอมูลวิจัยดาน เทคโนโลยีไรสายที่เปนประโยชน การประชุม BlackBerry World จะจัดขึ้นที่เมืองออร แลนโด เมืองฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหวางวันที่ 3-5 พฤษภาคม 2554 โดยจะเปดใหลงทะเบียนตั้งแตเดือนมกราคม 2554
6
POTENTIAL magazine
PRESS RELEASE
อะโดบีประกาศกูเกิลใชดีอารเอ็มของอะโดบีในอีบุค Adobe Digital Publishing Solution for eBooks
ขอมูลเพิ่มเติมสามารถเขาไปชมไดที่ Digital Publishing blog http://blogs.adobe.com/digitalpublishing/2010/12/google-ebooks.html ซอฟทแวร อะโดบี คอนเทนท เซิรฟเวอร 4 เพิ่ม สมรรถนะในการนำเสนอคอนเทนทในรูปแบบพีดีเอฟและอีพัพจาก กูเกิลอีบุค อะโดบี ซิสเต็มส อินคอรเปอเรชั่น ประกาศวา กูเกิล เลือกใชผลิตภัณฑอะโดบี คอนเทนท เซิรฟเวอร 4 (Adobe® Content Server 4 software) เปนโซลูชั่นปองกันคอนเทนทบนอี บุคของกูเกิล นอกจากกูเกิลแลวยังมีสำนักพิมพและผูจัดจำหนาย ทั่วโลกกวา 200 รายที่เลือกใชอะโดบี คอนเทนท เซิรฟเวอร โดยใช โซลู ช ั ่ น การจั ด การสิ ท ธิ ข อ มู ล ดิ จ ิ ต อล (Digital Rights Management, DRM) กับอีบุคและนิตยสารดิจิตอลอื่นๆ อะโดบี คอนเทนท เซิรฟเวอร เปนโซลูชั่นที่ใชไดกับทุก แพลทฟอรม ทำใหคอนซูเมอรที่สั่งซื้อหรือเชาใชอีบุคสามารถเลือก ซื้อหรือเชานิตยสารหรือหนังสือไดจากรานคาออนไลนทั่วไป โดยไม ตองยึดอยูกับรานใดรานหนึ่ง พรอมกันนี้ซอฟตแวร อะโดบี รีดเด อร โมบาย ชวยใหผูอานสามารถอานขอมูลดิจิตอลไดจากอุปกรณ และแอพพลิเคชั่นมากกวา 85 ประเภท ผูอานสามารถอานและ ดาวนโหลดขอมูลของกูเกิลอีบุคที่ไดรับการคุมครองทั้งที่เปนพีดีเอฟ และอีพัพ (EPUB) แพลทฟอรมตางๆ ที่สามารถใชอานหรือ ดาวนโหลดประกอบดวย สมารทโฟน แทบเลต และเดสกทอปส รวมถึงเครื่องอานเชน โซนี่ รีดเดอร หรือ บารน แอนด โนเบิล นุก (Barnes & Nobel nook) ชุดอะโดบี ดิจิตอล ไดรับการ ดาวนโหลดมากกวา 13 ลาน ไมวาจะเปน ฟรีซอฟทแวรในการซื้อ การจัดการและการอานอีบุค ยูสเซอรสามารถโอนยายดิจิตอลคอน เทนทไปยังเน็ตบุคหรือเดสกทอป รวมถึงการใชประโยชนของแอพ พลิเคชั่นสำหรับโมบายที่เพิ่มจำนวนมากขึ้น ยูสเซอรยังสามารถ Issue 7 : Feb-Mar 2011
เรียกอานอีบุคของกูเกิลไดบนแทบเล็ตเชน ไอแพทเปนตน หาก ต อ งการดู ร ายละเอี ย ดที ่ ค รบถ ว น เชิ ญ เยี ่ ย มชม http:// blogs.adobe.com/digitalpublishing/supported-devices “เราตื่นเตนกับการที่กูเกิลเขารวมเปนผูเผยแผคอนเทนท ในระบบนิเวศนที่ใหญที่สุด ที่ใหอิสระในการอานจากอีบุคขาม แพลทฟอรมและอุปกรณประเภทตางๆ” นายเดฟ เบอรเก็ต รอง ประธานและผูจัดการทั่วไป กลุมธุรกิจครีเอทีฟ โซลูฃั่น อะโดบี กลาว “อะโดบีชวยสำนักพิมพนำรองสูการเปลี่ยนแปลงสื่อที่เกิด ขึ้นอยางรวดเร็ว ที่ซึ่งอุปกรณสื่อสารใหมๆ สรางโอกาสทางธุรกิจใน การนำเสนอคอนเทนทที่มีลักษณะเฉพาะ” อะโดบี คอนเทนท เซิรฟเวอรเปนสวนหนึ่งของโซลูชั่น ดิจิตอล พับบลิชชิ่งที่ครบสมบูรณ สำหรับอีบุค ที่ประกอบดวย InDesign® CS5, Adobe Digital Editions and Adobe Reader Mobile SDK โซลูชั่นทำใหยูสเซอรดาวนโหลดและอานอีบุคจากกู เกิลอีบุค โดยไมตองยึดติดกับระบบปดหรือเฉพาะของอุปกรณหรือ ไฟล สำนักพิมพและผูจัดจำหนายมากกวา 200 รายทั่วโลกใช โซลูชั่นนี้ เพื่อปกปองลิขสิทธิ์ของคอนเทนทในขณะนำสงจากแหลง ตางๆ ทั่วโลก รวมถึงหองสมุดตางๆ เชนกัน โซลูชั่นนี้ชวยลด ความเสี่ยงของการสงขอมูลที่ไมไดรับอนุมัติและทำใหผูเปนเจาของ คอนเทนทมีความยืดหยุนในการสรางรูปแบบธุรกิจตางๆ กับ ดิจิตอลคอนเทนทได ผูใชลิขสิทธิ์ของอะโดบีประกอบดวย Barnes & Noble, Google, Random House, Sony, WW Norton, OverDrive, Ingram Digital, Kobo, British Library, และอีก มากมาย 7
PRESS RELEASE
PSJ Energy Save ผูนำดานการประหยัดพลังงาน เปดตัวอาคารอัจฉริยะ บริษัท พี.เอส.เจ. เอเนอรจีเซฟ จำกัด หรือ PSJ Energy Save ผู ผ ลิ ต และจำหน า ยผลิ ต ภั ณ ฑ ท ี ่ เ ป น นวัตกรรมแหงการประหยัดพลังงานในรูปแบบตางๆ ระดับ ชั้นนำของโลกที่กวาดรางวัลจากองคกรระดับประเทศมา แลวหลายรางวัล ที่ดำเนินการดานการจัดหาโซลูชั่นดานไอ ซีทีเพื่อเสริมสรางเทคโนโลยีดานการประหยัดพลังงาน และ การพัฒนานวัตกรรมใหมของการควบคุมปริมาณแสงสวาง และประหยัดพลังงานซึ่งชวยลดภาระคาใชจาย ประกาศ จุดยืนความเปนผูนำดานการประหยัดพลังงาน พรอมเปด ตัวอาคารอัจฉริยะใจกลางเมืองมาตรฐานระดับสากล สนอง นโยบายการประหยัดพลังงานของรัฐไดโดยคนไทย และ เพื่อคนไทยอยางแทจริง โดยศักยภาพการทำงานเพื่อพัฒนานวัตกรรมใหม ของการควบคุมความสวางและประหยัดพลังงานที่ชวยลด ภาระคาใชจายทั้งจากองคกรจนถึงระดับประเทศอยางมหาศาลซึ่งถือเปนตนทุนที่บรรดาผูประกอบการไมอาจหลีกเลี่ยงได นั่นก็คือ PSJ ENERGY SAVE อุปกรณประหยัดพลังงาน โดยใชเครื่อง Power Controller ควบคุมปริมาณแสงสวางใหเหมาะสม โดยอาศัยหลักการของ การจัดรูปคลื่น ที่เหมาะสมใหกับชุดหลอดไฟ โดยตัดรูปคลื่นสวนที่ไมสำคัญ วิธีนี้เรียกอีกอยางหนึ่งวา Non Critical Wave Intersection (N.C.W.I.) โดยสามารถควารางวัลชนะเลิศทั้งภาครัฐและเอกชน คือ ผลิตภัณฑดีเดนทางดานระบบสมองกลฝงตัวของประเทศไทย ภายใต การสนับสนุนจากสำนักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ ประเภท Clean and Green Technology (Thailand Embedded Product Award: TEPA 2010) และรางวัลชนะเลิศดาน Inno Tree สุดยอดนวัตกรรม ทรู อินโนเวชั่น อวอรดส 2010 คุณพิสิษฐ สิทธิเชาวพันธ ประธานบริษัท บริษัท พี.เอส.เจ. เอเนอรจีเซฟ จำกัด กลาววา “การเปดตัวนวัตกรรมและอาคารอัจฉริยะ ถือเปนอีกกาวสำคัญของ PSJ Energy Save ในการประกาศตัวเปนผูนำทางดานการประหยัดพลังงาน ซึ่งถือเปนการสนองนโยบายการ ประหยัดพลังงานของชาติไดโดยคนไทย และเพื่อคนไทยอยางแทจริง ซึ่งไมเพียงแตเปนการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและลดคาใชจาย แตยังสะทอนวิสัยทัศนการเปนองคกรที่มีสวนรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ยังเปนตนแบบในการนำรองใหองคกรภาคธุรกิจอื่นๆ เห็นถึงความสำคัญของการนำเสนอโซลูชั่นที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอีกดวย ซึ่งคาดวานาจะมีองคกรชั้นนำตางๆ ที่จะใหความไววางใจกับ บริษัทฯ ใหทำหนาที่ที่ปรึกษาดานการใชพลังงานเพิ่มมากขึ้น ซึ่ง PSJ Energy Save นอกจากจะชวยลดคาใชจายภายในองคกรแลว ยัง เปนการเพิ่มมูลคาใหกับธุรกิจอีกดวย เนื่องจากจะสามารถนำมูลคาที่ประหยัดพลังงานได ไปเพิ่มผลิตผลในสวนอื่นขององคกรได ในอนาคต PSJ Energy Save มีแผนการที่จะขยายบริการไปยังองคกรธุรกิจที่ตองการประหยัดพลังงาน อาทิ การประหยัด พลังงานไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ การประหยัดพลังงานในประเภทมอเตอร โดยกลยุทธสำคัญของ PSJ Energy Save ในป 2011 นี้คือ จัดกลุมเปาหมายที่มีการใชพลังงานไฟฟาขนาดใหญ อาทิ ไฟถนน ไฟสาธารณะ ไฟในโรงงานอุตสาหกรรมและสื่อโฆษณาไฟปาย โดยมุง เนนใหมีการใชพลังงานเทาที่จำเปน เราตั้งเปาในการสรางผลกำไรอยางตอเนื่องเชนเดียวกับธุรกิจอื่นๆ และมุงมั่นที่จะเปนผูนำทางดาน นวัตกรรมแหงการประหยัดพลังงานในรูปแบบตางๆ ซึ่งถือเปนอีกหนึ่งในการพัฒนาความแข็งแกรงของบริษัทฯ ตอไปในอนาคต
ซีเก∙ เ∙คโนโลยี รายงานผลประกอบการ∙างการเงิน ประจำไตรมาส∙ี่ 2 ปการเงิน 2011 ซีเกท เทคโนโลยี (NASDAQ: STX) รายงานผลประกอบการทางการเงินในไตรมาสที่สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 โดยมี การจัดสงดิสกไดรฟ จำนวน 48.9 ลานตัวและมียอดรายรับที่ไดรับการรับรองทางดานบัญชี จำนวน 2,700 ลานเหรียญสหรัฐ กำไร ขั้นตน รอยละ 19.5 กำไรสุทธิ จำนวน 150 ลานเหรียญสหรัฐ และกำไรสุทธิตอหุนที่ไดรับการรับรองทางดานบัญชี เทากับ 31 เซ็นต สำหรับผลประกอบการทางการเงินที่ยังไมไดรับการรับรองทางดานบัญชี ซึ่งไมรวมผลกระทบของการตัดคาเสื่อมของสินทรัพย ที่ไมมีตัวตนซึ่งบริษัทไดซื้อมาและ คาใชจายในการปรับโครงสรางองคกร ซีเกทรายงานกำไรสุทธิ จำนวน 159 ลานเหรียญสหรัฐ และกำไรสุทธิตอหุน เทากับ 33 เซ็นต สำหรับไตรมาสที่สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ซีเกทคือผูนำในดานฮารดดิสก ไดรฟและโซลูชั่นสำหรับจัดเก็บขอมูลทั่วโลก ทานสามารถพบซีเกทไดทั่วโลกและคนหาขอมูลซีเกทเพิ่มเติมที่ www.seagate.com 8
POTENTIAL magazine
PRESS RELEASE
“∙ี่นอนดารลิ่ง”รวมงาน HomeWorks Expo 2011 ครั้ง∙ี่ 1 ชูคอนเซ็ปครบครันเรื่อง∙ี่นอนพรอมคืนกำไรลูกคา 2ตอ j บริษัท ที่นอนดารลิ่ง จำกัด ผูผลิตและจัด จำหนายที่นอนและชุดเครื่องนอน Darling Deluxe และ Darling SleepGuard เข า ร ว มงาน HomeWorks Expo 2011 ซึ่งกำหนดจัดขึ้นระหวาง วันที่18 กพ ถึง 27 กพ . 2011 ณ ไบเทค บางนา โดยไดนำนวัตกรรมปองกันไรฝุนจากเสนใยอัจฉริยะ Amicor ในชื่อดารลิ่งสลีปการด พรอมทั้งที่นอนและ ชุดเครื่องนอนอีกหลายรุนเขารวมงาน เพื่อสราง ความครบครันเรื่องที่นอน ซึ่งถือเปนการคืนกำไรครั้ง แรกของปใหกับลูกคา โดยลูกคาที่ซื้อที่นอนและ เครื่องนอนดารลิ่งทุกรุน จะไดรับการคืนกำไร 2 ตอ ตอที่ 1 คือการเลือกซื้อที่นอนในราคาพิเศษดวย สวนลดทันทีเปนสวนสูงสุดกวา 50-70% เชนที่นอน รุนสลีปควีน 6 ฟุต จำหนายพรอมฐานรองที่นอนและหัวเตียง ในราคาเพียง 18,800 บาท หรือรุนสลีปควีน 6 ฟุต ราคาเพียง 6,990 บาท ฯลฯ สวนการคืนกำไรตอที่ 2 คือการมอบของแถมซึ่งมีใหเลือกถึง 2 แบบ แบบแรกคือหมอนหนุนเพื่อสุขภาพ 2 ชอง ที่สามารถรองรับ โหนกศรีษะ เพื่อการหลับสบายตลอดคืน สวนของแถมแบบที่สองคือชุดเครื่องนอนผาปูและผานวมผา TC แบบครบเซ็ทมูลคากวา 3,500 บาท สำหรับลูกคาที่คิดจะเปลี่ยนที่นอนใหมหากแวะไปที่บูธของที่นอนดารลิ่ง บูธที่ HB 25 รับประกันวาไมผิดหวังแนนอน
เอชพีจับมืออินเ∙ล จัดโรดโชวสงเสริมกิจกรรมออนไลนแคมเปญสุด สรางสรรคเพื่อเหลานักศึกษาวัย∙ีน j บริษัท ฮิวเลตต- แพคการด (ประเทศไทย) จำกัด นำโดย คุณพงศธวัช พิเชษฐ เลอมานวงศ (แถวหลังที่ 2 จากขวา) ผูจัดการกลุมผลิตภัณฑและการตลาด กลุมธุรกิจ เพอรซันแนล ซิสเต็มส และคุณสนธิญา หนูจีนเสง (แถวหลัง ขวาสุด) ผูจัดการฝายขาย บริษัท อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จำกัด เดินสายจัดโรดโชวเพื่อ โปรโมทการจัดกิจกรรมออนไลนสุดสรางสรรค 2 แคมเปญ “วัยโจโชวคลิปเจง ลุน HP G Series” และกิจกรรมหาตัวแทนหนุมสาวหนาใส “Colour Your Life with HP Mini” ณ สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาชั้นนำ อาทิ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และมหาวิทยาลัยรังสิต โดยไดรับความ สนใจจากนอง ๆ เขารวมกิจกรรม พรอมสัมผัสนวัตกรรม ความทันสมัยจากเอชพีและ อินเทลกันอยางสนุกสนาน
แอมด็อคสควารางวัล “BSS Vendor of the Year” และ “Most Innovative Vendor of the Year” ในเอเชีย แปซิฟก แอมด็อคส (NYSE: DOX) ผูนำตลาดในดานนวัตกรรมระบบบริการลูกคา เปดเผยเมื่อเร็วๆ นี้วา บริษัทไดรับรางวัล “BSS Vendor of the Year” ติดตอกันเปนปที่ 2 ในงาน เทเลคอม เอเชีย รีดเดอรส ชอยส อะวอรด (Telecom Asia’s Readers’ Choice Awards) นอกจากนี้ยังไดรับรางวัล เทเลคอม เอเชีย เอดิเตอร รีค็อคนิชั่น อะวอรด (Telecom Asia’s Editor’s Recognition Award) ในสาขา “Most Innovative Vendor of the Year” อีกดวย ทั้งนี้ เทเลคอม เอเชีย ถือเปนแหลงขอมูลออนไลนชั้นนำ สำหรับบริษัทโทรคมนาคม และผูประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวของจากทั่วเอเชีย แปซิฟก Issue 7 : Feb-Mar 2011
9
PRESS RELEASE
แอลจี จับมือ พริซึ่ม โซลูชั่นส นำเสนอ LG Network Monitor E Series โซลูชั่นเชื่อมตอมอนิเตอรผานพีซีแมขาย รุกตลาดองคกร∙ั่วประเ∙ศ j บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จำกัด ประกาศแตงตั้ง บริษัท พริซึ่ม โซลูชั่นส จำกัด เปนผูแทนจำหนายผลิตภัณฑ LG Network Monitor E Series แตเพียงผูเดียวในประเทศไทย พรอมจัดสัมมนา อบรมความรูเกี่ยวกับผลิตภัณฑใหแกตัวแทนจำหนายของ พริซึ่มฯ ทั่วประเทศ j มร.ชารลส วู ผูจัดการกลุมธุรกิจผลิตภัณฑไอที บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จำกัด กลาววา “แอลจี ใหความไววางใจ พริซึ่ม โซลูชั่นส เปน ผูแทนจำหนาย LG Network Monitor E Series เนื่องจากเชื่อมั่นในศักยภาพของการใหบริการแบบครบ วงจร ไมวาจะเปนการใหขอมูลและคำปรึกษาเกี่ยวกับ ผลิตภัจัณ ฑ กษสามารถแกไขปญหาตางๆ ใหกับลูกคาได นางสาวปฐมา นทรั อยางรวดเร็ว และยังมีเครือขายรานคาครอบคลุมทั่วประเทศ อีกทั้งยังเปนกรรมการผู บริษัทในเครื ของ บริ บริษษัทัท ไมโครซอฟท ซินเน็ค (ประเทศไทย) จำกัจำกั ด การผนึ จัดอการ (ประเทศไทย) ด ก กำลังในครั้งนี้จะชวยใหแอลจีตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น” j LG Network Monitor E Series นับเปนอีกหนึ่งนวัตกรรมของแอลจีที่ชวยประหยัดคาใชจายใหกับองคกรไดอยางเหนือชั้น โดย เปนโซลูชั่นเชื่อมตอมอนิเตอรผานระบบ Ethernet ไดพรอมกันถึง 31 หนาจอ ตอคอมพิวเตอร แมขายหนึ่งเครื่อง โดยไมจำกัดระยะทาง สามารถติดตั้งและใชงานไดงายโดยไมจำเปนตองฝกอบรมเพิ่มเติม จึงชวยลดคาใชจายในการติดตั้งลงได 70% และใชพลังงานนอยลงถึง 90% เมื่อเทียบกับระบบทั่วไป นับเปนการลงทุนที่คุมคาสำหรับองคกรในทุกระดับ ทั้ง SME สถานศึกษา หนวยราชการ และองคกรขนาด ใหญ j คุณอนุชิต บุญญลักษณ กรรมการผูจัดการ บริษัท พริซึ่ม โซลูชั่นส จำกัด กลาววา “บริษัทฯ มีความยินดีเปนอยางยิ่งที่ทางแอลจี ใหความไววางใจและเชื่อมั่นในความเชี่ยวชาญของเรา เรามีความมั่นใจวาดวยผลิตภัณฑของแอลจีที่มาพรอมทั้งนวัตกรรมดานเทคโนโลยี ดีไซนล้ำสมัย และคุณภาพที่เชื่อถือได ผนวกกับเครือขายสาขาที่มีประสิทธิภาพ ถึง 22 แหง ครอบคลุมพื้นที่ 18 จังหวัดทั่วประเทศ ที่ พรอมใหบริการแบบครบวงจรอยางมืออาชีพ และการสนับสนุนดานการตลาดของพริซึ่ม โซลูชั่นส จะสงผลให LG Network Monitor E Series ไดรับการตอบรับจากกลุมลูกคาเปาหมายมากยิ่งขึ้น” j แอลจีเชื่อมั่นวาความรวมมือในครั้งนี้ จะชวยใหแอลจีมียอดขายจาก LG Network Monitor E Series มากกวา 3,000 เครื่องในป แรก และชวยใหลูกคากลุมองคกรประหยัดคาใชจายในการติดตั้งและคาไฟฟาลงไดมากกวา 70% นายยงยุทธ ไชยชนะ กรรมการผูจัดการ กลุม ธุรกิจศูนยการคาไอที (ซายมือลำดับที่ 4)ควง แขนนายณัฐสิทธิ์ ลิมปลาวัณย ผูจัดการทั่วไป บริษัท ทิพยพัฒน อารเขต จำกัด (ซายมือ ลำดับที่ 3) พรอมเหลาพันธมิตร อาทิ คุณกวิน ณัฐรินทร Vice Presider and Executive Sale Directors จาก Citi Bank , คุณจิรภัทร ยู น ผู อ ำนวยการฝ า ยขายเขตกรุ ง เทพและ ปริมณฑล ฝายบริหารรานคาสินเชื่อกรุงศรี First Choice เดิ น หน า จั ด งานเป ด ตั ว แคมเปญ Pantip Big Bonus 2011 ครั้งใหญ มอบโชค “พันธุทิพย พลาซา” ระเบิดแคมเปญ Pantip Big Bonus 2011 ครั้งแรกของตนปเถาะ สำหรับขาชอปไอทีตั้งแตวันนี้จนถึง 31 พค. ศก ทุมงบประมาณครั้งใหญจับมือพันธมิตรหวังคืนกำไรแกลูกคาระยะยาว 3 เดือนเศษ นี้ โดยมี 3 สาวรวมงาน เชน โบว สุรัตนาวี , ตั้งแตวันนี้จนถึง 31 พค. ศูนยการคาไอทีทั้ง 4 สาขาโตตอเนื่องกวา 20% พรอมเหลา อาทิตยา บริสุทธิ์ และน้ำฝน นาขวัญ ณ หนา หางพันธุทิพย ประตูน้ำ เมื่อเร็วๆ นี้ พันธมิตรและดารารวมงานคับคั่ง
Pantip Big Bonus 2011
10
POTENTIAL magazine
PRESS RELEASE
ดีแ∙คเอาใจกวา เปดจอง iPhone 4 เริ่ม 26 กุมภา รับเครื่องมีนานี้ ดีแทคเตรียมเปดรับจอง ดีแทค iPhone 4 ตั้งแตวันที่ 26 กุมภาพันธ 2554 ที่สำนักงานบริการลูกคาดีแทค 25 สาขาทั่วประเทศ มั่นใจพรอม สงมอบเครื่องไดในเดือนมีนาคมนี้ j นายปกรณ พรรณเชษฐ ผูอำนวยการอาวุโส ฝายผลิตภัณฑ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) กลาววา “iPhone 4 จากดีแทคยังคงความเปนสมารทโฟนที่รอนแรงที่สุดมาอยางตอเนื่องตั้งแตเปดตัวอยางเปนทางการเมื่อเดือนกันยายน 2553 ที่ ผานมา และเรายังคงมุงมั่นมอบประสบการณในการสื่อสารดี ๆ แกลูกคาดีแทค iPhone 4 ภายใตแนวคิด “เร็วกวา ดีกวา ทั่วถึงกวา เอาใจกวา” โดยขณะนี้ ลูกคาดีแทคสามารถเปนเจาของดีแทค iPhone 4 ไดงายขึ้นกวาเดิม เพราะเราพรอมเปดรับจองเครื่องที่สำนักงาน บริการลูกคา 25 สาขาทั่วประเทศ โดยชำระคาจองเพียง 1,000 บาทเทานั้น และสามารถรับเครื่องไดภายในเดือนมีนาคมนี้แนนอน” สิทธิ พิเศษนี้เฉพาะลูกคาดีแทคเทานั้น โดย 1 หมายเลขจองได 1 เครื่อง สินคามีจำนวนจำกัด ตองการรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ iPhone 4 ไปที่ www.apple.com/iphone
โ∙ลลเวยผนึกไ∙ยสมาร∙คารดในกลุมซีพี ออลล พลิกโฉมรวม∙ดลองการชำระคาผาน∙างดวยบัตรสมาร∙เพิรส โทลลเวยจับมือไทยสมารทคารด บริษัทในกลุมซีพี ออลล รวมกันศึกษาและ ทดลองการชำระคาผานทางดวยบัตรอิเล็กทรอนิกส สมารทเพิรส โดยเปดทดลองใหบริการ ชำระคาผานทางโทลลเวยรูปแบบใหม ที่เรียกวา แบบ Mix Mode โดยสามารถชำระคาผาน ทางดวยบัตรสมารทเพิรส (Smart Purse) หรือ เงินสด หรือคูปองคาผานทางของโทลลเวย ในชองทางเดียวกัน รับแนวโนมความตองการใชบัตรเงินสดอิเล็กทรอนิกสเติบโตอยางตอ เนื่องทุกป ชูจุดเดนความสะดวกรวดเร็วพรอมเตรียมแผนดัน “อี-คูปอง” (e-Coupon) เปน ทางเลือกนอกจากการใชคูปองผานทางเปนเลมแบบเดิม เผยอนาคตตอยอดโปรโมชั่นมา กมาย นายกรวุฒิ ชิวปรีชา รองกรรมการผูจัดการ- ฝายธุรกิจและการเงิน บริษัท ทางยก ระดับดอนเมือง จำกัด (มหาชน) หรือ DMT เปดเผยวา โทลลเวยไดประสานความรวมมือ กับบริษัท ไทยสมารทคารด จำกัด (TSC) ซึ่งเปนบริษัทในกลุมของบริษัท ซีพี ออลล จำกัด (มหาชน) (CP ALL) ผูบริหารเซเวน-อีเลฟเวน รานอิ่มสะดวกของคนไทย เพื่อรวมกันศึกษา และทดลองการชำระคาผานทางดวยบัตรสมารทเพิรส โดยเปดทดลองชองทางการชำระคาผานทางโทลลเวยรูปแบบใหม ที่เรียกวา แบบ Mix Mode โดยสามารถชำระคาผานทางดวยบัตรเงินสดอิเล็กทรอนิกส “สมารทเพิรส” หรือเงินสดหรือคูปองคาผานทางของโทลลเวยในชองทาง เดียวกัน โดยไดเริ่มทดลองใหบริการภายใตชื่อ “โทลลเวย สมารทเพิรส ” ตั้งแตวันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 ที่ผานมา โดยใชระยะเวลาทดลอง ประมาณ 6 เดือน จนถึงเดือนเมษายนปหนา ทำใหผูใชบริการทางยกระดับโทลลเวย สามารถชำระเงินคาผานทางดวยบัตร “สมารทเพิรส” ทุกประเภทของบริษัท ไทยสมารทคารด จำกัด (TSC) ทั้งนี้ หากผูใชบริการยังไมมีบัตร “สมารทเพิรส” ก็ยังคงสามารถชำระดวยเงินสดหรือ คูปองผานทางของโทลลเวยในชองชำระเงินที่ทดลองใชบัตร “สมารทเพิรส” ไดตามปกติ ในระยะแรกของการทดลองเปดใหบริการดังกลาว โทลลเวยไดนำรองเปดใหบริการ 4 ชองรับชำระคาผานทางผานบัตรสมารท เพิรสใน 2 ดานหลัก ไดแก ดานเก็บคาผานทางดอนเมือง และดานเก็บคาผานทางดินแดง เนื่องจากทั้งสองดานเปนดานหลักดานขาเขาและ ขาออกที่มีผูใชทางตอวันจำนวนมาก ทั้งนี้จะมีการวัดผลเปนระยะ ถามียอดการใชบัตรสมารทเพิรสเปนจำนวนมากและไมกระทบตอการ จราจรติดขัดบริเวณหนาดาน ทางโทลลเวยจะศึกษารวมกับไทยสมารทคารด ในการวางเครื่องรับบัตรสมารทเพิรสเปนจุดรับบัตรในดานอื่นๆ หรือเพิ่มชองรับชำระคาผานทางผานบัตรสมารทเพิรสแลวแตความเหมาะสม ในชวงระหวางการศึกษาและทดลองบริการใหมนี้ ยังเปดกวางรับคำแนะนำจากผูใชบริการ ซึ่งสามารถโทรมาที่ Tollway Your way หมายเลข 02 792 6500 หรือ Call Center ของสมารทเพิรส หมายเลข 02 677 9999 เพื่อนำขอมูลไปพิจารณาในขั้นตอไปวา เหมาะสมกับการใหบริการผูใชทางมากนอยเพียงใด อยางไรก็ตามโทลลเวยมีแนวคิดที่ไมปดกั้น ที่จะศึกษาและทดลองการใหบริการเก็บคา ผานทางอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบอื่นๆ กับผูใหบริการรายอื่นอีก โดยจะใหความสำคัญกับความพึงพอใจของผูใชทางเปนปจจัยหลัก Issue 7 : Feb-Mar 2011
11
COVER STORY โดย ชยุต จึงภักดี บรรณาธิการ
พรรณสิรี อมาตยกุล กรรมการผูจัดการใหญ ไอบีเอ็ม ประเ∙ศไ∙ย
4 คุณพรรณสิรีเปนผูบริหารที่มีประสบการณการทำงานที่หลากหลาย เปยมดวยความรูความสามารถ และความทุมเทในการทำงาน ตลอดจนการสรางสรรคนวัตกรรมใหมๆ เพื่อใหลูกคาประสบความสำเร็จ ตลอดระยะเวลา 18 ปที่ผานมา
12
POTENTIAL magazine
COVER STORY
นาง คอรดีเลีย ชุง ผูจัดการทั่วไป ไอบีเอ็ม ภูมิภาค อาเซียน กลาววา “ไอบีเอ็มถือวาประเทศไทยเปน 1 ใน 20 ตลาดที่มีอัตราการเติบโตสูงสุดและมีความสำคัญอยางยิ่งตอ ธุรกิจไอบีเอ็มทั่วโลก บริษัทฯดำเนินการลงทุนอยางจริงจังใน ตลาดกลุมนี้เพื่อผลักดันการขยายธุรกิจใหประสบผลสำเร็จ ภายใตการดำเนินงานของคุณธันวา ไอบีเอ็มประเทศไทย สามารถเจริญเติบโตไดอยางตอเนื่อง วันนี้ เรากำลังกาวสู ความสำเร็ จ อี ก ขั ้ น หนึ ่ ง คุ ณ พรรณสิ ร ี เ ป น ผู บ ริ ห ารที ่ ม ี ประสบการณการทำงานที่หลากหลาย เปยมดวยความรูความ สามารถและความทุ ม เทในการทำงาน ตลอดจนการ สรางสรรคนวัตกรรมใหมๆ เพื่อใหลูกคาประสบความสำเร็จ ตลอดระยะเวลา 18 ปที่ผานมา ดิฉันเชื่อมั่นวาคุณพรรณสิรีมี คุณสมบัติที่เหมาะสมที่จะนำพาทีมงานและพัฒนาธุรกิจของ ไอบีเอ็มประเทศไทย เพื่อใหเติบโตอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต” 4 กอนหนาที่จะเขารับตำแหนงนี้ คุณพรรณสิรีเคยดำรง ตำแหนงผูบริหารหลากหลายตำแหนงในไอบีเอ็ม ทั้งในระดับ ประเทศและระดับภูมิภาค ในชวงหลายปที่ผานมา ในชวง หลายปที่ผานมา คุณพรรณสิรีประสานงานรวมกับองคกร ตางๆ อยางจริงจัง เพื่อเสริมสรางความแข็งแกรงและบทบาท ระดับชาติใหกับบริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จำกัด โดยเขา รวมในคณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตรการบริการ(SSME) ซึ ่ ง ได ร ั บ การสนั บ สนุ น จากกระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงไอซีที ปจจุบัน คุณพรรณสิรีดำรงตำแหนงประธานรวมในคณะกรรมการไอซีที ของหอการคาอเมริกัน ทั้งนี้ เมื่อป 2547 คุณพรรณสิรีไดรับ การคัดเลือกใหเปนผูบริหารรุนใหมไฟแรง 20 อันดับแรกโดย นิตยสาร Positioning ในเมืองไทย 4 คุ ณ พรรณสิ ร ี ไ ด ป ระสานงานร ว มกั บ องค ก รต า งๆ อยางจริงจัง เพื่อเสริมสรางความแข็งแกรงและบทบาทระดับ ชาติใหกับบริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จำกัด และดวยความ สนใจเปนพิเศษเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร คุณพรรณสิรีจึงทำ หนาที่ประธานโครงการ Women Diversity Council ใน ไอบีเอ็ม ประเทศไทยอีกดวย 4 คุณพรรณสิรีกลาววา “ดิฉันรูสึกเปนเกียรติอยางยิ่งที่ ไดรับโอกาสครั้งสำคัญนี้ เปาหมายของดิฉันคือการนำพาทีม งานและสงเสริมบุคลากรของไอบีเอ็มเพื่อสรางความแตกตาง ใหกับองคกร โดยเฉพาะอยางยิ่งในวาระที่ไอบีเอ็มจะครบรอบ 100 ปในป 2554 นี้ เราจะมีการสานตอและปรับใชมิติใหมๆ Issue 7 : February-March 2011
ในการสราง Smarter System เพื่อความสำเร็จและประโยชน ตอลูกคาในทุกภาคอุตสาหกรรมตลอดจนสังคมไทยในระดับ มหภาค เปาหมายของเราไมจำกัดเฉพาะการเติบโตทางธุรกิจ เทานั้น แตจะครอบคลุมถึงการพัฒนาความสามารถและ คุณคาของพนักงานไอบีเอ็มทุกคน เพื่อสรางสรรคและสงมอบ การทำงานที่ดีที่สุดใหแกทั้งลูกคา พันธมิตรธุรกิจ และสังคม ไทย” @ คุณพรรณสิรีจะดูแลรับผิดชอบการดำเนินงานทั้งหมด ของไอบีเอ็มในประเทศไทย ทั้งในสวนของฝายขายและจัด จำหนาย ฝายเทคโนโลยี ฝายบริการ และฝายโกลบอล ไฟแนนซิ่ง รวมถึงบริษัท ไอบีเอ็ม โซลูชั่นส ดิลิเวอรี่ จำกัด ซึ่งเปนบริษัทในเครือของไอบีเอ็ม 4 4 “ดิฉันรูสึกเปนเกียรติ อยางยิ่งที่ไดรับโอกาส ครั ้ ง สำคั ญ นี ้ เป า หมายของดิ ฉ ั น คื อ การนำพาทีมงานและ สงเสริมบุคลากรของ ไอบี เ อ็ ม เพื ่ อ สร า ง ความแตกตางใหกับ องคกร”
13
SPECIAL REPORT
เจาหนา∙ี่∙ลายแหลงผลิตและขาย
ซอฟตแวรปลอมละเมิดลิขสิ∙ธิ์ ไมโครซอฟทเตือนผูบริโภคและภาคธุรกิจให เลือกซื้อซอฟตแวรจากแหลงที่เชื่อถือไดเทานั้น หลังเจาหนาที่ตำรวจพบซอฟตแวรปลอมจากประเทศจีนที่มีรูปลักษณภายนอกคลายซอฟตแวรจริงมาก ! เจาหนาที่ตำรวจจากกองบังคับการปราบปรามการกระทำ ผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ สำนักงานตำรวจแหงชาติ ไดเขาดำเนินคดีปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์ในพื้นที่ตางๆ ซึ่ง รวมไปถึงผูจัดจำหนายซอฟตแวรปลอมที่จำหนายผานชองทาง ออนไลน จนไปถึ ง ผู ป ระกอบกิ จ การขนาดใหญ ท ี ่ จ ั ด จำหน า ย ซอฟตแวรปลอมจำนวนมหาศาลใหแกรานคาไอทีทั่วประเทศ ! การดำเนินคดีดังกลาวเปนสวนหนึ่งของการปราบปราม การละเมิดลิขสิทธิ์ในประเทศไทย ที่มีการดำเนินการจับกุมอยางตอ เนื ่ อ ง ของกองบั ง คั บ การปราบปรามการกระทำผิ ด เกี ่ ย วกั บ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจซึ่งไดประกาศไวเมื่อเดือนตุลาคมที่ผาน มา ! พันตำรวจโท เทียนชัย เลิศมณีทวีทรัพย กองปราบปราม อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ กลาววา “เราเชื่อวาประชาชนสวนใหญ ตระหนักถึงปญหาของการละเมิดลิขสิทธิ์มากขึ้น อยางไรก็ตาม การปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์ที่ผานมาสะทอนใหเห็นวา ยังมี กลุมคนและกลุมบุคคลอีกจำนวนหนึ่งที่ยังคงหลอกลวงประชาชน ดวยการผลิตและจำหนายซอฟตแวรปลอม โดยที่ปญหาซอฟตแวร ละเมิดลิขสิทธิ์ยังนับเปนปญหาสำคัญที่สงผลกระทบตอการเติบโต ของภาคธุรกิจสารสนเทศและการสื่อสารอยางมาก และมีผลตอการ สูญเสียรายไดทางเศรษฐกิจของประเทศ ดวย การปราบปราม 14
อยางแข็งขันในครั้งนี้ เปนการประกาศใหทุกคนรับทราบวารัฐบาล กำลังเอาจริงเอาจังในการสงเสริมใหประเทศไทยเปนเขตปลอดการ ละเมิดลิขสิทธิ์” ! ที่ผานมา ไดมีการดำเนินคดีจับกุมทั้งสิ้น 5 ครั้ง ไดแก รานจำหนายซีดีที่มีสาขาอยูในไอทีมอลลทั่วประเทศ โดยไดตรวจ พบซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์เปนจำนวนมาก ทั้งนี้ รานดังกลาวยัง ไดทำการผลิต CD-R และ DVD-Rs ดวยเครื่องจักรสำหรับการคา ทั้งยังใชการพิมแบบซิลคสกรีนและบรรจุภัณฑที่มีความคลายคลึง เปนอยางยิ่งกับผลิตภัณฑวินโดวสลิขสิทธิ์ ! ในชวงตนของการปราบปราม เจาหนาที่พบซอฟตแวร ละเมิดลิขสิทธิ์ของไมโครซอฟทกวา 300 แผน ซึ่งคิดเปนมูลคาถึง กวา 2 ลานบาท ที่รานอินเทอรเน็ตในยานลาดพราว โดยซอฟตแวร ดังกลาวไดถูกนำไปจำหนายตอใหกับผูบริโภคที่เขาใจผิดคิดวาตน ซื้อผลิตภัณฑที่มีลิขสิทธิ์ถูกตอง ขณะนี้ เจาของรานอินเทอรเน็ตดัง กลาวถูกจับกุมและอยูระหวางการดำเนินคดี ! ตอมา เจาหนาที่พบแผนดิสกซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์กวา 150 แผน ในสถานประกอบธุรกิจ และพบแผนดิสกอีกกวา 2,000 แผนในแหลงเก็บสินคา รวมทั้งอีกกวา 700 แผน ในการเขาปราบ ปรามครั้งสุดทาย ซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์ที่พบประกอบไปดวย ซอฟตแวร Windows Server®, Windows® XP Professional, POTENTIAL magazine
SPECIAL REPORT
Windows® 7 และ Microsoft® Office 2010 รวมมูลคาเปนสิบๆ ลานบาท จำนวนทั้งหมดของซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์ที่พบสามารถ บงชี้ไดถึงฐานการผลิตซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์ขนาดใหญ นอกจาก นี้ เจาหนาที่ตำรวจยังพบอุปกรณการเขียนแผนซีดี ซึ่งแสดงใหเห็น ชัดวา นอกเหนือไปจากการลักลอบนำเขาแผนซีดีละเมิดลิขสิทธิ์ จากประเทศจีนแลว ในประเทศไทยเองยังมีฐานการผลิตซอฟตแวร ละเมิดลิขสิทธิ์ขนาดใหญอีกดวยเชนเดียวกัน ! การผลิตซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์เปนจำนวนมหาศาลเชน นี้นับไดวาเปนการประกอบอาชญากรรมรายแรง ซึ่งรายงานจาก รัฐบาลและภาคอุตสาหกรรมชี้ชัดวาเปนแหลงเงินใหกับเครือขาย อาชญากรทั่วโลก โดยที่ผูบริโภคตองตกเปนเหยื่อจากการสนับสนุน อาชญากรเหลานั้นดวยการซื้อซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์ ! อยางไรก็ตาม สิ่งที่ทำใหการปราบปรามครั้งนี้มีความ สำคัญยิ่งนักไมไดเกิดจากจำนวนของซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์ที่พบ เพียงอยางเดียว แตยังรวมไปถึงเทคนิคการปลอมแปลงที่ทำไดใกล เคี ย งกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ ล ิ ข สิ ท ธิ ์ ม ากยิ ่ ง ขึ ้ น กว า ที ่ ไ ม เ คยมี ม าในอดี ต ซอฟต แ วร ล ะเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ ์ ท ี ่ พ บรวมไปถึ ง ซอฟต แ วร ป ลอมจาก ประเทศจีนที่มีรูปลักษณภายนอกคลายคลึงกับของจริงมากจนไม สามารถแยกออกได ! ไบรอัน วิลเลี่ยมส ผูจัดการอาวุโส แผนกสืบสวนตอตาน การละเมิดลิขสิทธและการปลอมแปลง กลุมนิติการ บริษัท ไมโคร ซอฟท กลาววา “ซอฟตแวรปลอมไมใชปญหาใหม และไมโคร ซอฟทก็ไดพยายามที่จะแกไขปญหาดังกลาวมาอยางตอเนื่อง ทั้ง การใหความรูแกประชาชนเกี่ยวกับประโยชนของการใชซอฟตแวร ลิขสิทธิ์ และการปกปองผูบริโภคจากการถูกหลอกใหซื้อซอฟตแวร ปลอม เราใหการสนับสนุนเจาหนาที่ตำรวจอยางเต็มที่ในการแกไข ปญหาดังกลาวในประเทศไทย และเมื่อมีซอฟตแวรของไมโคร ซอฟทเขามาเกี่ยวของกับเรื่องดังกลาว เราถือวาเปนความรับผิด ชอบของไมโครซอฟทที่จะตองเตือนและใหความรูแกผูบริโภคเพื่อไม ใหตกเปนเหยื่อของขบวนการเหลานี้” !“ที่สำคัญ ซอฟตแวรปลอมจากประเทศจีนที่พบในครั้งนี้มี รูปลักษณภายนอกคลายคลึงกับซอฟตแวรลิขสิทธิ์มากทีเดียว ทำให ยากแกการสังเกต โดยซอฟตแวรดังกลาวจะถูกบรรจุอยูในรูปแบบ ของดิสก และมีกลองบรรจุภัณฑที่สวยงาม ทั้งยังมีฉลากผลิตภัณฑ ของแท ซึ่งอาจทำใหผูบริโภคทั่วไปเขาใจผิดได และยังจัดจำหนาย ในราคาที่ใกลเคียงกับซอฟตแวรลิขสิทธิ์ ดังนั้น ผูบริโภค รวมทั้งผู ประกอบธุรกิจในประเทศไทยจึงตองมีความระมัดระวังมากยิ่งขึ้นใน การเลือกซื้อซอฟตแวร และตองมั่นใจวาไดซื้อซอฟตแวรมาจาก ตัวแทนจำหนายที่ไดรับการรับรองและเชื่อถือได” ไบรอัน วิลเลี่ยม ส กลาวเสริม ! การปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์อยางตอเนื่องแสดงให เห็ น ถึ ง ความมุ ง มั ่ น ในการแก ไ ขป ญ หาการลดอั ต ราการละเมิ ด ลิขสิทธิ์ในประเทศไทย อยางไรก็ตาม ปญหาดังกลาวยังคง ตองการการแกไขอยางจริงจัง การเขาปราบปรามเปนเพียงแคสวน หนึ่งของกระบวนการการแกไขปญหาที่รัฐบาล กรมทรัพยสินทาง Issue 7 : Feb-Mar 2011
ซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์ที่ตรวจพบระหวางการเขาปราบปราม
เทคนิคการปลอมแปลงขั้นสูงทำใหซอฟตแวรปลอมมีความ คลายคลึงกับซอฟตแวรลิขสิทธิ์จนยากแกการสังเกต 15
SPECIAL REPORT
ป ญ ญา กองบั ง คั บ การปราบปรามการกระทำผิ ด เกี ่ ย วกั บ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ และสำนักงานตำรวจแหงชาติ กำลัง รวมมือกันเพื่อจัดการกับปญหาดังกลาวเพื่อประโยชนในระยะยาว ของธุรกิจและเศรฐกิจของประเทศ ! ในขณะเดียวกัน ไมโครซอฟท ประเทศไทย ก็ไดพยายาม ที่จะปกปองผูบริโภคในทุกขั้นตอน ไมวาจะเปนการใหความรูเพื่อ เตรียมความพรอมใหแกผูบริโภค รวมถึงใหการสนับสนุนดานการ ตรวจสอบในกรณี ท ี ่ ผ ู บริ โ ภคไม แ น ใ จว า ได ซ ื ้ อ ซอฟต แ วร ล ะเมิ ด ลิขสิทธิ์มาหรือไม ! ตัวอยางเชน นักธุรกิจชาวไทยคนหนึ่งไดรับการสนับสนุน จากไมโครซอฟทหลังจากที่เขาซื้อซอฟตแวรที่เขาคิดวาเปนของ ลิขสิทธิ์จากเว็บไซตประมูลขทางออนไลนแหงหนึ่ง “ผมเปนนัก ธุรกิจที่ทำงานดวยความสุจริต โดยจำหนายคอมพิวเตอรใหกับ ลูกคาในจังหวัดเชียงใหมและใกลเคียง ผมไดซื้อซอฟตแวรมาและ คิดวาผลิตภัณฑดังกลาวเปนซอฟตแวรลิขสิทธิ์ แตกลับพบวา
ซอฟตแวรที่ผมซื้อมานั้นเปนของปลอม ผมตองคืนเงินใหกับลูกคา และสูญเสียเงินเปนจำนวนมาก ผมขอบคุณไมโครซอฟทเปนอยาง ยิ่งที่ใหความชวยเหลือ และชวยผมในการแจงความดำเนินคดีกับผู จำหนายซอฟตแวรปลอมดังกลาวจนเขาไดรับการพิสูจนวากระทำ ผิดและไดรับการลงโทษตามกฎหมาย ผมรูสึกเสียใจกับผูเสียหายรา ยอื่นๆ ที่ตกเปนเหยื่อในการซื้อซอฟตแวรปลอมเชนเดียวกับผม” ! คำแนะนำจากไมโครซอฟทในการปกปองตนเอง คือการ เลือกซื้อซอฟตแวรจากแหลงที่เชื่อถือไดเทานั้น และเรียนรูการ แยกแยะซอฟตแวรปลอมออกจากซอฟตแวรแทโดยการศึกษาขอมูล เพิ่มเติมเปนภาษาไทยไดที่ www.microsoft.com/thailand/ genuine/howtotell.aspx ทั้ งยังควรอัพเดทซอฟตแวรปองกันไวรัส อยางสม่ำเสมอ โดยสามารถเขาไปดาวนโหลดโปรแกรม Microsoft Security Essentials ได ฟ รี ท ี ่ w ww.microsoft.com/ security_essentials (มีใหเลือกเปนภาษาไทย)
! ผูบริโภคที่สงสัยวาตนถูกหลอกลวงใหซื้อซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์ สามารถแจงเรื่องดังกลาวมายัง Microsoft Customer Contact Center ที่ 02 263 6888 หรือ ที่ www.microsoft.com/thailand/genuine 16
POTENTIAL magazine
Google Adwords Pay Per Click Online Advertising "เพิ่มลูกคาจำนวนมหาศาลจาก∙ั่วโลกใหเว็บไซตของคุณ โดยการโฆษณาเว็บไซตบน Google คุณสามารถ∙ำเองไดอยางงายดายและรวดเร็ว จาก∙ี่บานของคุณ..." วิ∙ยากรโดย:
ธฤษณุ ∙องเนียม
วัน∙ี่ 15 เดือนมีนาคม พ.ศ.2554 เวลา 9.30-17.00 น.
ผูจัดการฝายเ∙คโนโลยีสารสนเ∙ศ บริษั∙ จีเอ็ม แอดวานซ มีเดีย จำกัด
ณSE-ED Learning Center ชั้น 2จัตุรัสจามจุรี
แนวคิดหลัก Google AdWords คือ การลงโฆษณาเว็บไซต เพื่อ ขายสินคาและบริการของคุณบน Google เมื่อคุณทำตามเทคนิคที่แนะนำอยางถูกตอง แลว จะชวยใหโฆษณาของคุณปรากฏขึ้นทันทีที่มีคนคนหาสินคาของคุณบน Google ซึ่งเปนขณะที่เขากำลังตองการซื้อพอดี ทำใหเขาตัดสินใจสั่งซื้อ สินคา โดยไมรอชา และนี่เองคือจุดที่จะสรางรายไดจำนวนมหาศาลใหกับคุณทันทีเชนกัน S ทุกวันนี้เปนที่ยอมรับกันวา Google AdWords คือ สุดยอดสื่อโฆษณาล้ำยุค ในราคาตนทุนที่ต่ำกวาสื่ออื่น ๆ เขาถึงกลุมเปาหมายไดตรง มากที่สุด เหนือสื่อโฆษณาทุกประเภท เพราะขอดีมากมายที่สอดคลองกับพฤติกรรมการซื้อขายของผูบริโภคแหงยุคสื่อสารไรพรมแดน ที่ตองการสินคา ใหมๆ ตลอดเวลาจากทุกมุมโลก ในเวลาอันรวดเร็ว Google Adwords จึงกลายเปนเครื่องมือสำคัญในการชวยใหคุณทำกำไรมหาศาลจากชองทาง ธุรกิจออนไลนอยางงายดาย S ในประเทศไทย พบวา คนไทยใช Google ในการคนหาขอมูลสินคาและบริการตางๆถึง 98% ดังนั้นถาหากโฆษณาเว็บไซตสินคาของคุณไป ปรากฏบน Google ได ก็จะชวยเพิ่มลูกคาอยางมากมาย ถาหากคุณเพิ่มลูกคาเขาสูเว็บไซตได 100 คนตอวัน และทำกำไรได 1,000 บาทตอคน คุณ ก็จะมีกำไรเพิ่มขึ้นถึง 100,000 บาทตอวัน ซึ่งเมื่อเทียบกับจำนวนผูที่ใช Google ในการคนหาสินคาและบริการในประเทศไทยแลว คุณ จะ มีลูกคา เพิ่มไดถึง 1,000 คน หรือ 10,000 คน ตอวันเลยทีเดียว ทำโฆษณาเว็บไซตของคุณใหปรากฏบน Google ภายใน 15 นาที สรางแบรนดเว็บไซตของ คุณบนเว็บไซตระดับโลกอยาง Google เพิ่มจำนวนลูกคาและกำไรใหกับเว็บไซตของคุณภายในขามคืน ประหยัดเงินโฆษณา แตไดลูกคาเขาเว็บไซต มากขึ้น
หัวขอการอบรม ภาคเชา • • • •
ประโยชน∙ี่ไดรับหลังเขาอบรม
แนะนำ กูเกิ้ล แอดเวิรด (Introduction to AdWords) ขอกำหนดเบื้องตนของกูเกิ้ล แอดเวิรด (AdWords Policies) การแสดงขอความโฆษณา (Ad Distribution) ราคาและอันดับการแสดงผลโฆษณา (Pricing and Ranking)
• • • •
คุณเริ่มตนทำการโฆษณาบน Google AdWords ไดอยางถูกตอง คุณหาลูกคาใหมๆ ไดภายในเวลา 15 นาที คุณจายเงินคาโฆษณานอยลง แตเพิ่มจำนวนคนเขาเว็บไซตไดมากขึ้น คุณไมจำเปนตองไปเสียเงินจางบริษัทโฆษณาแพงๆ เพื่อทำการโฆษณา ให
ภาคบาย
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ
เริ่มสรางแอคเคาท (Creating an Account) เริ่มตนสรางโฆษณา (Creating Ads) การเลือกและกำหนดคียเวิรด (Keyword Matching) การกำหนดภาษาและเปาหมายของการแสดงผล (Language & Location Targeting) • การจายเงิน (Billing) • รายงาน (Report)
เจาของกิจการ/ผูบริหาร/ ผูจัดการฝายการตลาด/ ผูสนใจทั่วไปที่ตองการเพิ่มยอดขายผานโฆษณาบนเว็บไซต Google.com
• • • •
อัตราคาสัมมนา∙านละ
3,000 บา∙ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม/สำรอง∙ี่นั่งได∙ี่ คุณชยุต จึงภักดี สายตรง 089-691-8438
โ∙รศัพ∙ : 0 2739 8165อีเมล chayut@se-ed.com
HR MANAGEMENT
12 ∙ีม∙ี่ผานเขาสูรอบคัดเลือก การแขงขันฟุตบอลหุนยนตฮิวมานอยดชิง แชมปประเ∙ศไ∙ย ประจำป 2554 บริษัทซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด รวมกับสมาคมวิชาการหุนยนตแหงประเทศไทย ศูนย เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค) และสถาบันวิทยาการหุนยนตภาคสนาม (ฟโบ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ประกาศรายชื่อ 12 ทีมที่ผานเขาสูรอบคัดเลือก การแขงขัน ฟุตบอลหุนยนตฮิวมานอยดชิงแชมปประเทศไทย ประจำป 2554 เมื่อเร็วๆนี้ คณะกรรมการไดทำการคัดเลือกทีมที่มีศักยภาพ เพื่อเขาแขงขันในการแขงขันรอบคัดเลือก โดยพิจารณาจากการนำ เสนอผลงานหุนยนตฮิวมานอยดจากทีมตาง ๆ ทีมฟุตบอลหุนยนต ฮิวมานอยดที่สามารถพัฒนาหุนยนตผานเกณฑขอกำหนด ทั้งใน ดานโครงสรางของหุนยนต วงจรไฟฟา การเขียนโปรแกรม วา สามารถใชหุนยนตตอไปในการแขงขันไดหรือไม และไดนักศึกษา จำนวน 12 ทีม จากสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ ดังนี้ เกาทีมแรกที่ไดรับทุนสนับสนุนในการวิจัยทีมละ 100,000 บาทเพราะเปนทีมที่มีคุณสมบัติเปนไปตามขอกำหนดในการเขารวม การแขงขันฯ ไดแก 1. ทีม ก ไก (KorKai) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ทีมโอเชี่ยนนัส_เจเนอเรชั่น (Oceanus_Generation) มหาวิทยาลัยมหิดล 3. ทีมโรโบปูปา (ROBOPUPA) มหาวิทยาลัยมหิดล 4. ที ม บี เ อสอาร ย ู - วั น (BSRU-I) มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ บานสมเด็จเจาพระยา 18
5. ทีมบีเอสอารยู-ตนกลา (BSRU-TONKLA) มหาวิทยาลัย ราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา 6. ทีมไอ-ซิส (I-sys) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 7. ทีมทีอารซีซี ยูไนเต็ด (TRCC United) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 8. ที ม ฟ น ิ ก ซ (Phoenix) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี 9. ทีมเอ็ม.ยู.ที. – ซี.ไอ.เอ็ม . (M.U.T.-C.I.M.) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร ^ ในขณะที่ ทีมโรโบฟน (RoboFun) จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีซึ่งผานเขารอบและมีคุณสมบัติครบที่ กำหนด ไดขอสละสิทธิ์ในการรับทุนสนับสนุนจำนวน 100,000 บาท และเปดโอกาสใหนำเงินสนับสนุนดังกลาวไปเฉลี่ยใหแกทีมนองใหม 2 ทีม เนื่องจากทางทีมโรโบฟนมีความพรอมในดานโครงสราง ตลอดจนกลไกตาง ๆ อยูแลวและเคยเขารวมการแขงขันฟุตบอล หุนยนตฮิวมานอยด ชิงแชมปโลก จึงไมจำเปนตองซื้ออุปกรณเพิ่ม POTENTIAL magazine
HR MANAGEMENT
โดยสองทีมซึ่งเปนทีมที่มีศักยภาพนอยกวาทีมทั้งหมดที่กลาวมาขาง ตน แตเปนทีมที่ทางคณะกรรมการมีความเห็นวาควรไดรับโอกาสใน การเขารวมแขงขัน ไดรับทุนสนับสนุนในการวิจัยทีมละ 50,000 บาท ไดแก 10. ทีมยูทีเค เอฟซี (UTK FC) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลกรุงเทพ 11. ที ม โรโบดรี ม (RoboDream) สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สิบสองทีมดังจากมหาวิทยาลัยชั้นนำเหลานี้ มีกำหนดจะลง แขง ในรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ ตามกำหนดการตอไปนี้ • รอบคัดเลือกในวันเสารที่ 19 และวันอาทิตยที่ 20 มีนาคม 2554 ณ ศูนยการคาพันธุทิพยพลาซา สาขางามวงศวาน • และรอบชิงชนะเลิศ ในวันเสารที่ 26 และวันอาทิตยที่ 27 มีนาคม 2554 ณ ศูนยการคาพันธุทิพยพลาซา สาขา ประตูน้ำ การแขงขันนี้นำมาซึ่งการพัฒนาหุนยนตชั้นสูงรวมกันของ นิสิต นักศึกษามหาวิทยาลัยตางๆ เพื่อ รวมการแขงขันในสนาม ฟุตบอลขนาดเล็ก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อคัดเลือกทีมตัวแทน ประเทศไทยเขารวมการแขงขันฟุตบอลหุนยนตฮิวมานอยดชิงแชมป โลก 2011 (World Robocup 2011 Humanoid League) ซึ่งจะ จัดขึ้น ณ ประเทศตุรกี ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2544 การแข ง ขั น ฟุ ต บอลหุ น ยนต ฮ ิ ว มานอยด ม ี ก ติ ก าพื ้ น ฐาน เหมือนกับการแขงขันฟุตบอลทั่วไป ทีมที่ยิงประตูไดมากที่สุด จะ เปนผูชนะ การแขงขันนี้นับวาเปนการแขงขันที่ทาทายมากที่สุด อันดับหนึ่งในการแขงขันหุนยนตทั้งหมด เนื่องจากผูเขารวมการ แขงขันจะตองพัฒนาทั้งฮารดแวรและซอฟทแวรในหุนยนตเพื่อใหมี ความสามารถในการเลนฟุตบอล สำหรับการจัดการแขงขันซึ่งจัดในประเทศไทยเปนปที่สองนี้ คณะกรรมการจัดการแขงขันไดปรับกฎการแขงขันใหยากและมี ความทาทายมากยิ่งขึ้น โดยกำหนดใหมีตาขายตรงประตู เหมือน กับการแขงขันฟุตบอลของมนุษย เสาตรงประตูจะทาดวยสีเหลือง ขางหนึ่ง และสีน้ำเงินขางหนึ่ง ทำใหมีพื้นที่สีนอยกวาพื้นที่สีของ ประตูในการแขงขันปแรก โดยหุนยนตฮิวมานอยดจะตองใชความ สามารถมากขึ้นในการตรวจจับสีของประตู ติดตามรายละเอียดการแขงขันเพิ่มเติมไดที่ www.thailandhumanoid.org http://facebook.thailandhumanoid.org/thai/facebook
Issue 7 : Feb-Mar 2011
19
HR MANAGEMENT
ศิลปะ∙ั้งสี่แหงการเปน
Facilitator ∙ี่ดี โดย A@lert Consultant
1 2 3 4 20
ศิลปะแหงการมีความสุขกับปจจุบัน ^ ในยุคสมัยแหงการเปลี่ยนผาน จากยุคอุตสาหกรรมสูยุคแหงปญญา ผูคนที่ดำรงชีวิตในยุคเปลี่ยนผานนี้ ตางคนหา ความสุขเพื่อมาดับทุกขและมักมีคำถามวาเกิดมาทำไม โดยตางพยายามทำงานหนัก หาเงิน เก็บเงินเพื่อนำไปใชเปนเครื่องมือ ในการหาความสุขใหกับตนเอง แตจริงแลวที่ผานมาเราอาจจะไดแตความสุขที่เราเก็บเกี่ยวไดจากภายนอกเทาหรือเปลา เมื่อ หมดเงิน หมดสิ่งที่อยากทำ เราก็จะกลับมาดำรงตนอยูกับความทุกขอีกครั้งหรือไม หลายคนรอเวลาเพื่อที่จะพบเจอวันพรุงนี้ที่ดี กวา หรือหลายคนไมไดดำรงตนอยูกับปจจุบันและไมไดเฝามองวาแทจริงความทุกขที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากอะไรกัน
ศิลปะแหงการฟง ^ ในกระบวนการการเรียนรูแนวใหม เราจะกลับมาฟงกันมากขึ้น หลายคนอาจจะคิดวาตัวเองฟงเกงแลว ฟงดีแลว แต แทจริงแลว เรากลับมีปญหากันเรื่องนี้อยางกวางขวาง ซึ่งในกระบวนการของเรา เราจะนำพาทุกทานไปสูการฟงอยางแทจริง ฟงแลวคนพบวัตถุประสงคที่แทจริงแหงการสื่อสาร แตเหนืออื่นใด เราจะกลับมาฟงเสียงภายในของเรา มาฟงเสียงแหงจิต วิญญาณของเรา ที่อาจจะกำลังซอนหรือกำบังความทุกขไว ก็เปนได และเราก็จะนำพาทานไปรูจักเครื่องมือในการพูดคุยกับตัว เอง ที่เรียกวา ธาราลิขิต ดวย
ศิลปะแหงการจดบัน∙ึก ^ ในกระบวนการสรางตนเองเปนนักเรียนรูที่ดีนั้น หลักการของ หัวใจนักปราชญ ที่มี 4 ขอ คือ สุ จิ ปุ ลิ นั้นจะชวย ใหเราสามารถเปนนักเรียนรูที่สมบูรณมากยิ่งขึ้น แตสิ่งที่สำคัญก็คือเรื่องของการจะบันทึก แตที่ผานมาเราจดบันทึกโดยใชสมอง เพียงขางเดียว และก็จดออกมาเปนบรรทัด พอกลับมาอานทบทวนเราก็จะเสียเวลา แตในกระบวนการตอไปนี้ เราจะมาเรียนรู วิธีการจดบันทึกที่ใชสมองทั้งสองขางชวยกัน สรางสรรคศิลปะออกมาดวยตัวเราเอง เราอาจจะใชศาสตรของ Mind Mapping มาผสมผสานดวยกัน ออกมาเปนรูปแบบการจดบันทึกที่เปนเอกลักษณของเราเอง
ศิลปะแหงการจำ ^ หลายคนอาจจะมีปญหาเกี่ยวกับการจำ บางคนมักบอกวา “ฉันเปนคนขี้ลืมจังเลย” แตจริงๆ สิ่งที่เรากำลังจะจำนั้น ตอนขณะนั้นเรายังไมไดจำแนกประเภทและไมไดจัดเรียงอยางเปนระเบียบ เหมือนกับการบันทึกขอมูลลงใน Hard dish ถาเรา ไมจัดเรียงไฟลบาง ไมแยกแยะกลุมบาง หรือไมมีการจัดเปน folder เวลาจะเขาไปหาขอมูลก็จะใชเวลานาน เชนกัน ในการ จดจำของมนุษย เมื่อไดอะไรมาก็โยนลงไปในหลุมแหงความทรงจำหรือจิตใตสำนึก โดยที่ไมไดจัดการอะไร มันก็จะเปนการ ยากที่จะดึงความทรงจำกลับมาใช แตตอไปนี้เราจะนำทุกทานไปรูจักกับกระบวนการแหงการจดจำ แบบเกาแกที่คิดคนมานาน แลว แตเราไมรูเทานั้นเอง POTENTIAL magazine
เ∙คนิคการสอนงานและการเปนวิ∙ยากร L
L
เ∙คนิคสุดยอด!!! ∙ี่จะ∙ำใหคุณกลายเปนวิ∙ยากรมืออาชีพในพริบตา วัน∙ี่ 26 เดือนมีนาคม พ.ศ.2554 เวลา 9.30-17.00 น. ณSE-ED Learning Center ชั้น 2จัตุรัสจามจุรี
แนวคิดหลัก หากทานเปนผูหนึ่งซึ่งเปนผูบริหารหรือเปนหัวหนางาน หรือเปนผูพัฒนาบุคลากร ทานจะตองมีการสอนงานแนะนำงาน รวมทั้ง การเปนวิทยากรบรรยายใหความรูในเรื่องตางๆ ที่ทานรับผิดชอบ ใหกับผูที่เปนผูใตบังคับบัญชา หรือลูกนอง หรือลูกคา ซึ่งหากผูที่จะตอง ทำหนาที่ในการสอน หรือการบรรยาย หรือการเปนวิทยากร ไมมีทักษะและความรูตลอดจนเทคนิคในการสอนงานและการเปนวิทยากรแลว การทำหนาที่ก็อาจจะดอยประสิทธิภาพลงได แนวทางที่จะชวยใหทานมีความรูและมีทักษะการเปนผูสอนงานและการเปนวิทยากรที่ดีไดนั้น ทานมาสมารถศึกษาไดในหลักสูตร “เทคนิคการสอนงานและการเปนวิทยากร”
หัวขอการอบรม • • • • • • •
ความหมายของการสอนงานและการเปนวิทยากร คุณสมบัติที่ดีของผูสอนงานและผูเปนวิทยากร หลักการเรียนการสอนงาน ระบบการเรียนการสอนงาน การจัดทำสื่อการเรียนการสอนงาน การวัดผลและประเมินผลการสอน เทคนิคตาง ๆ สำหรับผูเปนวิทยากรและผูสอนงาน
ประโยชน∙ี่ไดรับหลังเขาอบรม • เพื่อใหผูเขารับการอบรมเขาใจหลักการและความรูเบื้อง ตนการเปนผูสอนงานและวิทยากร • เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดฝกการสอนงานและการเปน วิทยากร
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ L L
หัวหนางาน, ผูจัดการ,ผูบริหาร,วิทยากร
หมายเหตุ ยินดีรับจัด In-House Training ระยะเวลา 6 ชั่วโมง ผูเขาอบรมจำนวนไมจำกัด ในราคาตกลงกันได รายละเอียดสอบถามไดที่คุณชยุต จึงภักดี โทร 02-739-8165
อัตราคาสัมมนา∙านละ 3,500 บา∙ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) วิ∙ยากรโดย:
วชิรวิชญ มธุรสสุวรรณ วิ∙ยากร∙ี่ปรึกษาอิสระ ระบบบริหารจัดการ คุณภาพความปลอดภัย อาชีวอนามัยสิ่ง แวดลอมและการเพิ่มผลผลิต ใหกับองคกร และสถานประกอบการตางๆ ประสบการณ∙ำงาน • เปนผูปฏิบัติจริง และเปนวิทยากร ที่ปรึกษาใหกับองคกร ตนเองและองคกรอื่นๆ จนประสบความสำเร็จของระบบ คุณภาพความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดลอม และการ เพิ่มผลผลิต มานานกวา 18 ป • เปนที่ปรึกษาในระบบการบริหารจัดการให บริษัทจัดฝกอบรม และการใหคำปรึกษา นานกวา 7 ป) • เปนที่ปรึกษา มาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001 ตาม กฎหมาย ของกระทรวงแรงงาน ป 2547-2549 • เปนที่ปรึกษาระบบ OHSAS18001 ที่ PTT Cambodia Limited จนผานการรับรองระบบเปนแหงแรกของประเทศ กัมพูชา
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม/สำรอง∙ี่นั่งได∙ี่ ชยุต จึงภักดี สายตรง 089-691-8438
โ∙รศัพ∙ : 0 2739 8165อีเมล chayut@se-ed.com
PR MARKETING
แสนสิริ ชู “โซเชียล คอมเมิรซ” รุกตลาดป 54 ตอกยำภาพผูนำดิจิตอล มารเก็ตติ้ง วงการอสังหาฯไ∙ย นำรองดวยการมอบประสบการณใหมที่รวบรวมบานพรอมอยูของแสนสิริบนโลกออนไลน พรอมพบดีลพิเศษกับ “Ensogo.com” สำหรับแฟนเพจ Sansiri Family เทานั้น
! บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) เปดฉากวงการอสังหาฯ ป 54 ยิ่งใหญดวย การตลาดแบบโซเชียล คอมเมิรซ (Social Commerce) ประเดิมกิจกรรมแรกดวยแคมเปญ “ยิ่งคลิก...มูลคายิ่งเพิ่ม” เพื่อเปดตัว เว็บไซตบานพรอมอยู “Instant Living” ที่ ลูกคาสามารถคลิกเพิ่มมูลคาบัตรกำนัลเพื่อรับสิทธิพิเศษในการเปนเจาของบานและทาวนเฮาสครั้งแรกในเมืองไทย พรอมจับมือ เว็บไซตโซเชียล คอมเมิรซอันดับหนึ่งของประเทศ “Ensogo.com” มอบดีลพิเศษทุกเดือนแกแฟนเพจ Sansiri Family เทานั้น . นายสมัชชา พรหมศิริ ผูอำนวยการฝายการตลาดองคกร บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) เปดเผยวา ในฐานะองคกรที่ รุกการทำการตลาดดานดิจิตอล มารเก็ตติ้งเต็มรูปแบบอยางตอเนื่องในชวงตลอดระยะเวลา 3 ปที่ผานมา ลาสุดจากการที่บริษัทฯ ไดพัฒนาและกำหนดทิศทางการทำการตลาดผานโลกดิจิตอลอยางสม่ำเสมอ เพื่อตอบสนองตอความตองการที่เปลี่ยนแปลงไป อยางรวดเร็วของผูบริโภค บริษัทจึงไดเปดตัวการทำการการตลาดในรูปแบบโซเชียล คอมเมิรซ หรือการคาบนเครือขายสังคม ออนไลน เพื่อนำกระแสความนิยมของ Facebook, YouTube และ Twitter มาใชในการมอบประสบการณใหมในการคนหาบาน พรอมอยูของแสนสิริบนโลกออนไลนภายใตเว็บไซต ‘Instant Living’ (www.sansiri.com/instantliving) เปดตัวดวยแคมเปญ “ยิ่งค ลิ๊ก...มูลคายิ่งเพิ่ม” เพื่อเพิ่มความสนใจของลูกคาในการเขาเยี่ยมชมเว็บไซตและเขารวมเปนแฟนเพจของ Sansiri Family โดย 22
POTENTIAL magazine
PR MARKETING
ปจจุบันมีจำนวนบานพรอมอยูในเว็บไซตที่พรอมใหเขาเยี่ยมชม เพื่อตัดสินใจแลวจำนวนกวา 132 ยูนิต ในทำเลที่อยูอาศัย ตางๆ ถึง 17 โครงการ มูลคารวมประมาณ 723 ลานบาท ! “สำหรับแคมเปญ “ยิ่งคลิ๊ก...มูลคายิ่งเพิ่ม” เปน กิจกรรมแรกภายใตนโยบายการตลาดแบบโซเชียลคอมเมิรซที่ เราเปดตัวในปนี้ โดยผูเขารวมกิจกรรมตองเปนสมาชิกแฟน เพจของ Sansiri Family (facebook.com/sansirifamily) เพื่อ คลิ๊กเพิ่มยอดเงินใน Voucher ดวยตนเอง ในทุก 1 คลิ๊ก สามารถเพิ่มยอดเงินได 100 บาท โดยมีระยะเวลาการรวม กิจกรรมตั้งแตวันที่ 14 - 23 มกราคม 2554 นี้เทานั้น เมื่อ หมดเวลาการเพิ่มมูลคาแลว ผูโชคดีที่เขามากดปุม <Get Voucher> เปนคนแรกจะไดรับบัตรกำนัลมูลคาตามจำนวนที่ ปรากฏไว ซึ่งแสนสิริเชื่อวากิจกรรมทางดานการตลาดที่มี ความนาสนใจในลักษณะเชนนี้ จะเปนปจจัยที่ชวยกระตุนการ ตัดสินใจซื้อโครงการที่อยูอาศัยใหเร็วขึ้น โดยเฉพาะลูกคาที่ได มีโอกาสเขามาเยี่ยมชมเว็บไซตโครงการที่อยูอาศัยของแสนสิริ ไปแลว รวมถึงจะมีกลุมลูกคาเปาหมายใหมๆ สนใจเขาเยี่ยม ชมเว็บไซต www.sansiri.com/instantliving รวมถึงเว็บไซต ประเภท Social Media ของแสนสิริ ทั้ง Facebook, Youtube และ Twitter อี ก เป น จำนวนมาก การใช ประสบการณ ท ี ่ เ ชี ่ ย วชาญในการต อ ยอดพั ฒ นากลยุ ท ธ ก าร ตลาดลักษณะนี้จะเปนการเพิ่มโอกาสในการเขาถึงกลุมเปา หมายไดอยางสูงสุดอยางแนนอน” นายสมัชชา กลาว
ก็เชื่อวาโซเชียล คอมเมิรซ จะไดรับการตอบรับอยางดีจาก กลุมลูกคาในเมืองไทยดวยเชนกัน เพราะมีการสำรวจมาแลว วาพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภคชาวไทยจะเชื่อในคำแนะนำ จากโซเชียล มีเดียถึง 41.2 เปอรเซ็นต ตลอดจนคนที่เปน สมาชิก Facebook Fanpage แบรนดสินคาใดจะมีแนวโนมที่ จะซื ้ อ สิ น ค า และบริ ก ารของแบรนด น ั ้ น ๆ มากถึ ง 51 เปอรเซ็นตและแนะนำสินคาแกครอบครัวและเพื่อนมากถึง 60 เปอรเซ็นต สวนผูใช Twitter จะมีแนวโนมที่จะซื้อสินคาและ บริการของแบรนดสินคาที่ตนติดตามถึง 67 เปอรเซ็นตตลอด จนแนะนำบอกตอแกเพื่อนและครอบครัวสูงถึง 79 เปอรเซ็นต ! “สำหรับการรวมมือกันระหวางแสนสิริและเอ็นโซโกใน ชวงปลายเดือนมกราคมนี้ เราไดจับมือกับแสนสิริเพื่อมอบสิทธิ พิเศษใหกับสมาชิก Sansiri Family fanpage ดวยสวนลดเพิ่ม เติมอีก 5 เปอรเซ็นตในการซื้อคูปองสวนลดและโปรโมชั่นพิ เศษสำหรับสินคา บริการ การทองเที่ยว และรานอาหาร จาก เว็บไซตเอ็นโซโกดอทคอม www.ensogo.com ซึ่งทำใหได รับสวนลดรวมทั้งสิ้นในการซื้อสินคาและบริการไมนอยกวา 55 เปอรเซ็นตจากราคาเต็ม ซึ่งเรามั่นใจวาจะไดรับการตอบรับ จากสมาชิกของแสนสิริเปนอยางดี และในฐานะพันธมิตรทาง ธุรกิจเราจะจับมือกันเพื่อพัฒนารูปแบบการใหบริการพรอม สิทธิพิเศษที่มากขึ้นสำหรับสมาชิกของแสนสิริเปนประจำทุก เดือนตลอดป 2554 อยางแนนอน” นายทอมกลาวปดทาย
! นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีแผนการตลาดในการมอบสิทธิ ประโยชนสุดพิเศษแกสมาชิกแฟนเพจของ Sansiri Family ใน การจับจายสินคาและบริการผานโซเชียล คอมเมิรซ ดวยการ จับมือกับพันธมิตรธุรกิจ บริษัท เอ็นโซโก จำกัด ผูนำเว็บไซต โซเชียล คอมเมิรซ อันดับหนึ่งในประเทศไทย (Ensogo.com) เพื่อมอบสิทธิพิเศษแกลูกคาแสนสิริในอนาคตอันใกลนี้ดวย โดยบริษัทฯ มั่นใจวา แคมเปญ “ยิ่งคลิ๊ก...มูลคายิ่งเพิ่ม” รวม ทั้งความรวมมือกับเอ็นโซโกในครั้งนี้ จะทำใหสมาชิก Sansiri Family Facebook Fanpage ไดรับสิทธิพิเศษในการซื้อ สินคาและบริการผานทางโซเชียล คอมเมิรซ ไดอยางสะดวก สบายอยางที่ไมเคยมีบริษัทอสังหาริมทรัพยใดเคยมอบใหผู บริโภคมากอน . นายทอม ศรีวรกุล กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็น โซโก จำกัด กลาววา การทำการตลาดแบบโซเชียลคอมเมิรซ ประสบความสำเร็จอยางมากในอเมริกาและยุโรป เอ็นโซโกเอง Issue 7 : Feb-Mar 2011
23
∙ำวารสารสัมพันธใหถูกใจผูให โดนใจผูรับ O
O
เ∙คนิคสุดยอด !!! ∙ี่จะชวยคุณสรางมูลคาเพิ่มใหกับวารสารสัมพันธ วัน∙ี่ 26 เดือนมีนาคม พ.ศ.2554 เวลา 9.30-17.00 น.
กรกนก จึงภักดี
ณSE-ED Learning Center ชั้น 2จัตุรัสจามจุรี
วิ∙ยากร∙ี่ปรึกษาดานประชาสัมพันธ
วิ∙ยากรโดย:
แนวคิดหลัก วารสารสัมพันธเปนสื่อที่มีศักยภาพอีกตัวหนึ่งที่แสดงถึงภาพลักษณขององคการ และเปน “กระบอกเสียง” สำคัญในการสื่อสาร Content & Activities ขององคการไปสูผูรับสารเปาหมายไดอยางถูกตอง ตรงตามวัตถุประสงคขององคการ O ในขณะที่องคการหรือ “ผูให” ก็อยากนำเสนอ Content & Activities ขององคการมาก ๆ แต “ผูรับ” ก็อยากได Content & Activities ที่ นาสนใจและเกิดประโยชนตอตนเองมาก ๆ เชนกัน แลวจะทำอยางไรใหความตองการที่สวนทางกันนี้ สามารถตอบสนองความตองการของทั้งสองฝาย ไดลงตัวและพึงพอใจทั้งสองฝาย O ถึงเวลาแลว !!! ที่ผูรับผิดชอบการทำวารสารสัมพันธควรปรับรูปแบบการทำวารสารสัมพันธของตนเอง ใหนาอานและนาเก็บรักษาไว เหมือน ดั่งวารสารชั้นนำทั่วไป
ประโยชน∙ี่ไดรับหลังเขาอบรม
หัวขอการอบรม ภาค∙ฤษฎี • • • • • • • • • • • • • • • •
บทบาทของวารสารสัมพันธตอองคการ วารสารสัมพันธประเภทไหนเหมาะสมกับองคการ ขอไดเปรียบเสียเปรียบของวารสารสัมพันธ การสัมภาษณผูบริหารและบทสัมภาษณ การหาขาวและเขียนขาวในวารสารสัมพันธ โฆษณาและบทความ Advertorials การถายภาพและหาภาพประกอบใหเหมาะสมกับเนื้อหา การวาง Lay Out และ Design รูปเลมใหนาสนใจ การเขียนบทบรรณาธิการ การหาคอลัมนและเนื้อหาใหสอดคลองกับองคการ การจัดคอลัมนของวารสารสัมพันธ ขั้นตอนการผลิตวารสารสัมพันธ การกระจายวารสารสัมพันธสูผูรับ การคิดราคาคาผลิตวารสารสัมพันธ การคิดคาโฆษณาและหาคาสนับสนุน การใชวารสารสัมพันธใหเกิดประโยชนตอองคการสูงสุด
ภาคปฎิบัติ • การจัดคอลัมน และวิธีการหาแหลงที่มาของขอมูลในคอลัมน • การคิดราคาคาผลิตวารสารสัมพันธ • การตั้งราคาคาโฆษณาสำหรับวารสารสัมพันธ
• รับรูถึงความสำคัญ ประโยชน และบทบาทของวารสารสัมพันธ ตอการสื่อสารองคการ • สามารถจัดทำวารสารสัมพันธไดเหมาะสมกับภาพลักษณของ องคการทั้งในดานเนื้อหาขอมูลและการออกแบบรูปเลม • เขาใจถึงวิธีการและขั้นตอนการผลิตวารสารสัมพันธทั้งระบบ • สามารถประมาณการตนทุนการผลิตวารสารสัมพันธ และมี แนวทางการหาคาสนับสนุนการผลิต • นำวารสารสัมพันธมาใชเปนกลยุทธการประชาสัมพันธและการ ตลาดเพื่อกอใหเกิดประโยชนตอองคการสูงสุด
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ O O เจาของผลิตภัณฑ ผูประกอบการ SMEs ผูจัดการฝาย และเจาหนาที่ฝายประชาสัมพันธ การตลาด และการสื่อสารองคการ และผูสนใจทุกทานที่ตองการใชวารสารในการโฆษณาประชาสัมพันธ ผลิตภัณฑ
อัตราคาสัมมนา∙านละ 3,500 บา∙ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม/สำรอง∙ี่นั่งได∙ี่ คุณชยุต จึงภักดี สายตรง 089-691-8438
โ∙รศัพ∙ : 0 2739 8165อีเมล chayut@se-ed.com
L
L
PR อยางไรใหเปนขาว รุน∙ี่ 11 เ∙คนิคสุดยอด !!! ∙ี่จะชวยคุณลดตน∙ุนการโฆษณาสินคา และบริการอยางนา∙ึ่งในยุควิกฤตเศรษฐกิจ ฟรี!!! ฐานขอมูลสื่อมวลชน 2011 วัน∙ี่ 30 เดือนเมษายน พ.ศ.2554 เวลา 9.30-17.00 น. ณSE-ED Learning Center ชั้น 2จัตุรัสจามจุรี
แนวคิดหลัก สำหรับผูคนที่อยูในยุคนี้ รอบ ๆ ตัวทานจะมีขอมูลขาวสารที่เกิดขึ้นมากมายในแตละวัน มีทั้งขาวที่ตั้งใจจะใหเปนขาวและไมตั้งใจใหเปน ขาว แต....ในจำนวนขาวสารที่ตั้งใจจะใหเปนขาว กลับไมมีโอกาสไดเปนขาวสมความปรารถนาของคนทำ PR ทุกเรื่องไป “เคยคิดบางหรือไมวาเพราะ เหตุใด ?” L การหาคำตอบของคำถามนี้ ขอบอกวา...ไมมีคำตอบที่แนนอน ขึ้นอยูกับ TACTIC และ TRICK ของ PR ที่รับผิดชอบงานนั้น เชื่อหรือไม วา ? ทั้ง TACTIC และ TRICK ที่เคยใชไดผลในงานหนึ่ง แตกลับใชไมไดผลในอีกงานหนึ่งที่มีลักษณะเดียวกัน...เพราะเหตุใด ? L การทำ PR ใหเปนขาว จึงตองใชทั้งความรูและประสบการณในทุกดานที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรม ปฏิภาณไหวพริบของ PR รวมทั้ง ฐานขอมูลสื่อมวลชนชั้นนำของเมืองไทย และการสรางความสัมพันธกันฉันทเพื่อนกับสื่อมวลชนตลอดไป
หัวขอการอบรม ภาค∙ฤษฎี • • • • • • • • •
วิ∙ยากรโดย:
ความหมายของการ PR และวัตถุประสงค ทำไมจึงตองเปนขาว คุณลักษณะของการเปนนักประชาสัมพันธที่ดี เนื้อหาแบบไหนโดนใจสื่อมวลชน CSR (Corporate Social Responsibility) สวนประกอบและการเขียนขาว บทความทางการประชาสัมพันธ สื่อตาง ๆ ชองทางสูการเปนขาว และการวางแผนสื่อ สื่อมวลชนสัมพันธ งานแถลงขาว และการหาพันธมิตรการตลาดประชาสัมพันธ
ภาคปฎิบัติ • การเขียนขาวสำหรับสื่อมวลชน • การตั้งคำถามสัมภาษณ และ Spot ทางรายการวิทยุ • ฝกการจัดงานแถลงขาวแบบมืออาชีพ ·การวางแผน ตั้งงบประมาณ ·การเขียนจดหมายเชิญสื่อมวลชน ·เทคนิคการเลือกสื่อใหเหมาะสม ·กระบวนการติดตอประสานงานผูเกี่ยวของทั้งหมด ·รายงานผลการดำเนินงาน
กรกนก จึงภักดี วิ∙ยากร∙ี่ปรึกษาดานประชาสัมพันธ อัตราคาสัมมนา∙านละ 3,500 บา∙ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) ประโยชน∙ี่ไดรับหลังเขาอบรม • • • • •
รูและเขาใจถึงการหาประเด็นที่สามารถเปนขาว รูถึงวิธีการทำประชาสัมพันธที่โดนใจสื่อมวลชน เขาใจวิธีการทำงานประชาสัมพันธที่มีแบบแผน รูและเขาใจวิธีการติดตอกับสื่อมวลชน สามารถจัดงานแถลงขาวดวยตนเอง
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ L L เจาของผลิตภัณฑ ผูประกอบการ SMEs ผูจัดการฝาย เจา หนาที่ฝายประชาสัมพันธและการสื่อสารองคกร และผูสนใจทุกทานที่ ตองการประชาสัมพันธสินคาผานสื่อ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม/สำรอง∙ี่นั่งได∙ี่ คุณชยุต จึงภักดี สายตรง 089-691-8438
โ∙รศัพ∙ : 0 2739 8165อีเมล chayut@se-ed.com
PR MARKETING
ผลวิจัย∙ั่วโลกเปดเผย พฤติกรรมของผูใชสื่อสังคมออนไลนในประเ∙ศไ∙ย
ชี้ใหเห็นทัศนคติและพฤติกรรมของผูบริโภคชาวไทย กฎ 10 ประการของการมีสวนรวมสำหรับแบรนดในสื่อสังคมออนไลน ! บริษัท ไฟรฟลาย มิลวารด บราวน จำกัด (Firefly Millward Brown) ผูใหบริการวิจัยการตลาดเปดเผยผลการ วิจัยจากการศึกษาเชิงคุณภาพ (qualitative study) ซึ่งมีขึ้นทั่วโลกเปนครั้งแรกวาผูบริโภคมีปฏิกิริยาตอบสนองตอ แบรนด ตาง ๆ ในสื่อสังคมออนไลนอยางไร ! ประเทศไทยเปนหนึ่งใน 15 ประเทศที่พัฒนาแลวและกำลังพัฒนาซึ่งมีการศึกษาในหัวขอดังกลาว ในขณะที่ ทัศนคติและพฤติกรรมตาง ๆของผูใชสื่อสังคมออนไลนมีความเปนสากลทั่วโลก รายงานของไฟรฟลายพบคุณลักษณะอัน โดดเดนซึ่งแสดงใหเห็นความแตกตางของผูใชสื่อสังคมออนไลนในประเทศไทยจากผูใชฯ ในประเทศอื่น ! รายงานภายใตหัวขอ “ภาษาแหงความรักในสื่อสังคมออนไลน (The Language of Love in Social Media)” พบวา ผูบริโภคชาวไทยใชสื่อสังคมออนไลนเพื่อสรางความรูสึกของการเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน สำหรับคนไทย สื่อสังคมออนไลน เปนเครื่องมือในการแสดงตัวตนภายในกลุม และพวกเขาใช สื่อสังคมออนไลนเพื่อตอบสนองความตองการในการไดรับการยอมรับ และการเห็นดวย สิ่งนี้มีความแตกตางกับประเทศอื่นซึ่งสื่อสังคมออนไลนถูกนำมาใชในการโปรโมทตนเองหรือเพื่อแสดง บุคลิกลักษณะเฉพาะ 26
POTENTIAL magazine
PR MARKETING
ผลการวิจัยที่สำคัญ ทั่วทั้ง 15 ประเทศ การวิจัยของฟลายไฟรแสดงใหเห็นวามี ความแตกตางเพียงเล็กนอยในแตละประเทศ ซึ่งแสดงใหเห็น ธรรมชาติที่คลายคลึงกันอยางแทจริงของสื่อสังคมออนไลน หนึ่งในผลการวิจัยที่สำคัญคือผูบริโภคทุกที่ทั่วโลกไมตองการ ใหบริษัททำตัวเหมือนบริษัท พวกเขาตองการใหบริษัทเปนเหมือน กับเพื่อนของพวกเขา การทำเชนนี้ ทำใหแบรนดตาง ๆ ไดรับความ ไววางใจจากผูบริโภคในสื่อสังคมออนไลน นายศรีราม ซามาลา ผูอำนวยการฝายวิจัยเชิงคุณภาพ ประจำภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใตของไฟรฟลาย (Sreeram Samala, Firefly’s Head of Qualitative in South East Asia) กลาววา “ผูบริโภคไมชอบแบรนดและบริษัทที่พูดถึงแตตนเองใน สื่อสังคมออนไลนและปรารถนาใหแบรนดตาง ๆ มีความโปรงใส มากขึ้น “ผลการวิจัยของไฟรฟลายพบวาผูบริโภคตองการบท สนทนาซึ่งแบรนดตาง ๆ ฟงสิ่งที่พวกเขาพูดมากกวาพยายามสง ขอมูลออกมาโดยไมคำนึงวาผูบริโภค คิด รูสึกและตองการอะไร พวกเขาไมชอบเลหกลในการขายสินคาและตองการใหบริษัทตาง ๆ มี ค วามซื ่ อ สั ต ย รวมทั ้ ง เป ด ใจรั บ ทั ้ ง ข อ ดี แ ละข อ เสี ย ของ ผลิตภัณฑและบริการของพวกเขา หลายคนที่ไฟรฟลายได สัมภาษณกลาววาพวกเขาตองการแบรนดที่มี “ความเปนมนุษย” “ผูบริโภคชาวไทยเปดเผยถึงความรูสึกมีสวนรวมตอชุมชน และพวกเขารูสึกวาสื่อสังคมออนไลนเปดโอกาสใหพวกเขาไดเปน สมาชิกของกลุม ความรูสึกเปนอันหนึ่งอันเดียวกันเปนตัวผลักดัน พฤติกรรมของผูบริโภคชาวไทยเมื่อพวกเขาใชสื่อสังคมออนไลน สิ่งที่ผูใชสื่อสังคมออนไลนชาวไทยมีความกลัวมากที่สุดคือนักการ ตลาดเปลี่ยนสื่อสังคมออนไลนจากชุมชนมาเปนตลาด” “ผูบริโภคชาวไทยแสดงใหเห็นความตองการอยางมากใน การเปนสวนหนึ่งของกลุม ดังนั้น เพื่อใหไดรับการยอมรับจากกลุม ของพวกเขา การเลือกแบรนดกลายเปนสิ่งที่สำคัญมาก” กุลภรณ ตังคะกาญจน ผูอำนวยการฝายบริหารงานลูกคา คุณกุลภรณเปนหนึ่งใน∙ีมงานอาวุโสดานการวิจัยเชิงคุณภาพ ของมิลวารด บราวน ไฟรฟลาย เธอมีประสบการณวา 8 ป ในดานงานวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ งานวิจัยของเธอครอบคลุมตั้งแตเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑดูแล สุขภาพและผลิตภัณฑดูแลบาน เ∙เลคอม รถยนต และวัสดุ กอสราง เธอไดดำเนินการวิจัย∙างดานสุขภาพและความงามอัน หลากหลายสำหรับลูกคาหลายราย เชน ยูนิลีเวอร , เรกคิ∙∙ เบนคีเซอร, เซเรบอสและโอเรียน∙ัล ปริ๊นเซส ซึ่งเปนการคนหา อาหารเสริมสำหรับแบรนดเครื่องสำอางตาง ๆ เชน การคนหา มุมมอง การพัฒนาคอนเซ็ปตและคอนเซ็ปตงานโฆษณา
“ผูบริโภคชาวไทยยังตองการมีสวนรวมภายในกลุมและ ตองการแสดงตัวตนของตนเอง ดังนั้น พวกเขาจึงเห็นวาสื่ออยางเฟ ซบุก (Facebook) เปนตัวเลือกที่เหมาะสม ที่จะใหพวกเขาไดแบง ปนความคิดเห็นและคำวิพากษวิจารณ ซึ่งตรงขามกับทวิตเตอร จำนวนคำที่จำกัดถูกมองวามีความเหมาะสมนอยกวาที่จะเปนสื่อ ทางเลือกสำหรับสื่อขอมูลขาวสารและแบงปนความคิดเห็นและ ความรูสึกของพวกเขา” นายศรีรามกลาว จากผลการวิจัยของไฟรฟลาย บริษัทตาง ๆ ในประเทศไทย กำลังพยายามหาคำตอบวาสื่อสังคมออนไลนมีประสิทธิภาพหรือไม และพวกเขาไมเขาใจกฎของการมีสวนรวม มีความสับสนวาใครควรรับผิดชอบ และมีความรูสึกวาพวก เขาขาดขอมูลที่ชัดเจนที่จะนำมาแบงปน ดังนั้น หลายบริษัทจึงเอา ตัวออกหางจากสื่อสังคมออนไลนหรือกระโดดเขามาโดยไมเขาใจ อยางถองแทถึงผลกระทบที่สังคมนี้จะมีตอ แบรนดของพวกเขา “บริษัทในประเทศไทยไมมีทีมงานและทรัพยากรที่จะจัดการ กับแบรนดของพวกเขาในสื่อสังคมออนไลน พวกเขาพยายาม ตัดสินใจเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลนเนื่องจากพวกเขาไมมีวิธีการใน การวัดประสิทธิภาพและผลตอบแทนจากการลงทุนของขอเสนอดัง กลาว” นายศรีรามใหความเห็น การวิจัยมีขึ้นอยางไร ผลการวิจัยทั่วโลกประกอบดวยการสัมภาษณเชิงลึกกับ องคกรตาง ๆ เชนเดียวกับผูบริโภคหลายรอยคนทั่วโลกซึ่งมีอายุ ระหวาง 18 ถึง 50 ป ในประเทศไทย เราศึกษาขอมูลในเชิงลึกกับผู ใชสื่อสังคมออนไลนจำนวน 30 คนซึ่งถูกแบงออกเปนสองกลุม คือ “กลุมผูใชสื่อสังคมออนไลนในระดับปานกลาง” (ผูใชสื่อสังคม ออนไลนในปริมาณที่นอยกวา) และ “กลุมผูใชสื่อสังคมออนไลน มาก” (ผูใชสื่อสังคมออนไลนในปริมาณที่มากกวา) ดวยวิธีการวิจัยทางดานการตลาดที่แปลกใหมและมีความ คิดสรางสรรค ไฟรฟลายเลือกที่จะศึกษาพฤติกรรมของสื่อสังคม ออนไลนจากภายในสื่อสังคมออนไลน การวิจัยมีขึ้นโดยใชสื่อ สังคมออนไลนที่บริษัทสรางขึ้น วิธีการอันสรางสรรคนี้ทำใหไฟร ฟลายสามารถนำเสนอบริษัทและแบรนดตาง ๆ ดวยมุมมองอัน สูงคาในวิธีการที่พวกเขาใชสื่อสังคมออนไลนใหมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น
กุลภรณ ตังคะกาญจน
คุณกุลภรณมีประสบการณครอบคลุม∙ั้งดานการเงินและการ ธนาคารกอน∙ี่จะเขารวมงานในอุตสาหกรรมวิจัย
Issue 7 : Feb-Mar 2011
27
PR MARKETING
กฎแหงการมีสวนรวม การศึกษาดังกลาวนำเสนอมุมมองที่ชัดเจนวาบริษัทตาง ๆ จำเปนตองทำอะไรเพื่อไดรับความภักดีจากผูบริโภคในสื่อสังคม ออนไลน เชนเดียวกับสิ่งที่พวกเขาควรหลีกเลี่ยง จากการวิจัย ไฟรฟลายขอแนะนำกฎ 10 ประการในการมีสวนรวมกับสื่อสังคมออนไลน ไมสรางโฮมเพจใหมดวยขอมูลเดิมในสื่อสังคมออนไลน ผูบริโภคตองการเห็นสิ่งที่ใหม สด หรือแตกตางจาก แบรนด ไมใช การนำขอมูลเดิมที่พวกเขาไดรับจากเว็บไซตอยางเปนทางการของแบรนดมาปรับปรุงใหม พวกเขาตองการใหสื่อสังคมออนไลนเปนฟ อรั่มซึ่งประสบการณจากแบรนดจะถูกพูดถึงอยางเปดเผยและมีการอางอิงดวย มันเปนสิ่งที่เกี่ยวกับฟดแบ็คที่ซื่อสัตย ไมใชการพูดคุยที่ ถูกควบคุมโดยแบรนด
1
2
ฟงกอนแลวคอยพูด สรางบทสนทนา จนถึงปจจุบัน หนึ่งในปญหาที่ใหญที่สุดสำหรับผูบริโภคหรือที่ผูบริโภคคาดหวังจาก แบรนดก็คือพวกเขามักจะพูดถึงแทนที่จะพูดกับพวกเขา พวกเขาตองการบทสนทนาซึ่งแบรนดจะรับฟงสิ่งที่พวกเขาพูด ซึ่งเปนวิธีการ สรางพันธมิตรเพื่อสรางแบรนดที่ยิ่งใหญ
3
สรางความไววางใจโดยการเปดเผยและซื่อสัตย ความโปรงใสเปนปจจัยสำคัญสำหรับแบรนดตาง ๆ ในสื่อสังคมออนไลน และเปนปจจัยที่สำคัญที่สุดในการสรางความไววางใจ อยางไรก็ตาม ผูบริโภคมองวาแบรนดตาง ๆ มักอยูเบื้องหลังนโยบายและขั้น ตอนตาง ๆ มากกวาการยอมรับความรูสึกหรือความผิดพลาดของตนเอง เพื่อใหมีคาพอที่จะไดรับความไววางใจ หากแบรนดตองการ มีชื่อเสียงและไดรับความนิยม พวกเขาควรไดรับความไววางใจ
4 5
ทำใหแบรนดของคุณมีหนามีตา แบรนดตาง ๆ มักประสบปญหาในสื่อสังคมออนไลนเพราะมันไมมีใครตอบคำถามใหแกผู บริโภค ซึ่งเปนหนาเปนตาสำหรับแบรนด สิ่งนี้ทำใหผูบริโภคหลายคนไมมีสวนรวมกับบริษัทตาง ๆ ในสื่อสังคมออนไลน นำเสนอสิ่งที่มีคุณคา ผูบริโภคมักตอบสนองตอแบรนดที่นำเสนอสิ่งที่เปนความจริงและจับตองได โดยไมตองการสิ่งใด ตอบแทน ในขณะที่สวนลดและคูปองเปนสิ่งที่ไดรับความนิยมสำหรับแบรนดตาง ๆ ในสื่อสังคมออนไลน สิ่งเหลานี้อาจสรางความไมนา เชื่อถือ ขอมูลที่มีคุณคาและเปนเอกสิทธิ์เฉพาะหรือขอมูลภายในเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการเปนสิ่งที่มีคาสำหรับผูบริโภค
6
มีสวนรวม ผูบริโภคตองการเห็นขอมูลที่เกี่ยวของกับชีวิต ความสนใจ ความปรารถนาและความตองการของพวกเขา ในสื่อ สังคมออนไลน ผูบริโภคจะวิพากษวิจารณหรือติเตียนขอมูลที่ดูเหมือนวาไมเกี่ยวของกับพวกเขาและรูสึกวามันกำลังรุกล้ำความเปน สวนตัวของพวกเขา
7 8
พูดคุยเหมือนกับเพื่อน ไมใชในฐานะนิติบุคคล ผูบริโภคตองการแบรนดที่สื่อสารดวยภาษาธรรมดา ๆ ที่เขาใจไดงายเหมือน กับพูดคุยสนทนากัน พวกเขาไมตองการการพูดคุยทางดานเทคนิคหรือการชักจูงใหซื้อสินคา เปดโอกาสใหผูบริโภคสามารถควบคุมได เพื่อดำเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ แบรนดตาง ๆ จะตองยินยอมที่จะปลอยการ ควบคุมที่พวกเขามีอยูในมือมาเปนเวลานานใหกับผุบริโภคบางและแบรนดควรจะรูสึกผอนคลายกับความจริงที่วาพวกเขาไมสามารถ บังคับขอมูลไดเพียงฝายเดียวอีกแลว แบรนดที่เปดรับขอมูลจากผูบริโภคและโปรโมทมันจะมีประสิทธิภาพมากกวาในการจัดการกับบท สนทนา
9
เปดโอกาสใหผูบริโภคคนพบคุณและมาหาคุณ สิ่งที่แตกตางจากแคมเปญสื่อทั่ว ๆ ไป คือผูบริโภคไมตองการรูสึกวาแบรนด กำลัง “ตะโกน” สงขอมูลมายังพวกเขา พวกเขารูสึกวาแบรนดจะใชการโฆษณาในสื่อสังคมออนไลนที่ “คุกคาม” และ “รบกวน” พวกเขา – ดังนั้นจึงไมควรใชโฆษณาที่เปนเมลขยะหรือมีเนื้อหาที่คุกคาม
10
เปดโอกาสใหผูบริโภคคุยกับคุณ แบรนดมักไดรับคำชมมากกวาเมื่อใหผูบริโภคเปนฝายริเริ่มและสนับสนุนแบรนด อยางเชน แคมเปญของโตโยตาที่เพิ่งออกมาเมื่อเร็ว ๆ นี้ ซึ่งผูคนพูดถึงเรื่องราวของพวกเขาในเฟซบุคและไดถูกคัดเลือกใหปรากฏในโฆษณา โทรทัศน เปนตัวอยางที่ดีที่แบรนดไมไดพยายามที่จะขายสินคาเพียงอยางเดียว แตกำลังสรางความสัมพันธโดยการสนับสนุนใหลูกคามี สวนรวมในบทสนทนา ตัวอยางอีกอันหนึ่งคือเลย บริษัทเปดโอกาสใหผูบริโภคชวยคิดรสชาติใหม ๆ ผานทางเฟซบุค
26
POTENTIAL magazine
ก ก ก ก ......................................................................................................... ............................................. - ก ( ! ) 1........................................................................................................... 3.............................................................................................................. 2............................................................................................................4..............................................................................................................
' ( ) *+*( ( * ........................................................................................... *ก................................................
,...............................................................................................................+- ( // 0......................................................
- / +.........................................................1 0 ............................................. !2 3 4.................................. 5 ................................................................Fax .................................................... Email .............................................. - ก +* +, ............................................................................5 ......................................................................... ก 0* /( + *+ ( 6 7 * 4 * 0 67 + 4/ 0 6 7 ก ) '( 71................................................1- 0* ................................................. .....................................................................S .......................................................... ( 0* .......................................................... ..........................................................
5 , ) (( 8
9 4) ( 8 ( * 6 7 1- ก ( )
) ก 0: ) ( 4) ) ก *ก ! ( : * 4) ) ! 9 3* 4 ( @ : * 4) ) ก 0 9 ( ) ) ! ( ( 0 -+ ก .4) ) ก 0! ( 67 ( 0 )
333-1-20198-2 739-2-16222-9 048-2-65012-0 118-4-22260-0 189-2-00769-9 086-1-20565-0 - ...................................................(
(ก 5 0* , ) + 0/ ( กB ก +ก 5 0* ,0 Fax. 02-657-6030 5 .02-657-6003-4 ก 1, 0* @C01 ( 34)
*+*( ก 3 / ('( ก 3. 1, ' ! # ก ( ) 1858/87-90 4 D 19 @.( 0 -+ / 0( 0 +( 0 ก 0 9E 10260 2 1- + 3101012620 www.se-edlearning.com
IT TECHNOLOGY
อนาคตไอซี∙ีป 2554 เนนลดรายจาย มุมมองดานคาใชจายไอ∙ี เพิ่มความปลอดภัย ใชงานงาย นายนฐกร พจนสัจ
ผูจัดการประจำประเทศไทย บริษัทอีเอ็มซี อินฟอรเมชั่น ซิสเต็มส (ประเทศไทย) จำกัด
เมื่อยอนมองดูป 2553 ป 2552 เปนปที่มีการพูดถึง และมีความตื่นเตนเกี่ยวกับ คลาวด คอมพิวติ้งเปนอยางมาก และตอมาในป 2553 เราก็ได เห็นองคกรและบริษัทตางๆ เริ่มติดตั้งและนำคลาวด คอมพิวติ้งไป ใช จากรายงานลาสุดโดยบริษัท สปริงบอรด รีเสิรส (Springboard Research) ระบุวาจำนวนขององคกรที่มีการใชหรือมีความคิดริเริ่ม วางแผนที่จะใชคลาวด คอมพิวติ้งนั้นมีมากขึ้นถึงสองเทาเมื่อเทียบ กับป 2552 Q ผูบริหารสูงสุดดานไอที (ซีไอโอ)ในองคกรตางใหความ สำคัญสูงสุดในเรื่องการลดคาจายดานไอที ที่เปนปจจัยสำคัญผลัก ดันใหมีการนำคลาวด คอมพิวติ้งไปใช นอกจากนั้นลูกคาจำนวน มากยังชะลอการนำเทคโนโลยีสารสนเทศใหมๆ มาใชงานและกลับ เนนไปยังการนำโครงสรางพื้นฐานไอทีที่มีอยูมีปรับใชใหเหมาะสม เพื่อลดคาใชจายการดำเนินงานของศูนยขอมูลขององคกรของตน 30
Q เมื่อมีการกระตุนใหมีการนำระบบคลาวด คอมพิวติ้งไป ใชงาน ทำใหการเอาทซอรสงานไอทีเปนสิ่งสำคัญ สิ่งที่นาสนใจก็ คือ อีเอ็มซีไดเห็นลูกคาตัดสินใจเลือกใชเอาทซอรสอยางชาญฉลาด มากขึ้น องคกรจำนวนมากไมไดเพียงแคทำการเอาทซอรสไปยังผู ผลิตเพียงรายเดียว แตทำการเอาทซอรสไปยังผูผลิตหลายๆ ราย เพื่อลดความสุมเสี่ยง และในขณะเดียวกันยังไดประโยชนจากความ หลากหลายและศักยภาพตางๆ Q ป 2553 ยังเปนปที่เราเห็นความกาวหนาอยางมีนัยสำคัญ ในเรื่องความรวมมือ VCE ที่อีเอ็มซีเปนสวนหนึ่งของความรวมมือ นี้ ในขณะที่เทคโนโลยีคลาวดกำลังเปนรูปเปนรางและตลาดมี พัฒนาการมากขึ้น เราจะเห็นการมีสวนรวมของภาคอุตสาหกรรม เฉพาะอื่น ๆ อีกมากมาย เชน อุตสาหกรรมการใหบริการทางการ เงินและการสื่อสารโทรคมนาคม เมื่อไมนานมานี้ ผูเลนระดับ ภูมิภาคเชน SingTel ประกาศการทำงานรวมกันกับ VCE เพื่อที่จะ POTENTIAL magazine
IT TECHNOLOGY
แนะนำการใหบริการคลาวดใหกับองคกรใหญๆ ในสิงคโปร ความ รวมมือครั้งนี้แสดงใหเห็นถึงแนวโนมที่เราจะไดเห็นผูใหบริการรวม มือกันเพื่อนำเสนอประสบการณและความเชี่ยวชาญที่ดีที่สุดสูภาค อุตสาหกรรม A การประสานการทำงานรวมกันของอุตสาหกรรมไอทีนับ เปนสิ่งที่โดดเดนอีกหนึ่งสิ่งในปนี้ ผูผลิตเทคโนโลยีรายใหญๆ มีการ เขาซื้อกิจการเมื่อตองการไดมาซึ่งเทคโนโลยีใหมๆ ในปนี้อีเอ็มซีซื้อ กิจการของอารเชอร เทคโนโลยี (Archer Technologies) กรีนพ ลัม (Greenplum) และ ไอซิลอน (Isilon) ซึ่งยังมีอีกหลายรายที่ไม ไดเอยนาม ทั้งนี้ไดมีการกอตั้งหุนสวนยุทธศาสตรของความรวมมือ กัน VCE นี้เชนกัน
ระบบจัดเก็บขอมูลจะทำงานอยางใกลชิดพรอมการเขารหัสที่ที่มากับ ระบบ Q อีเอ็มซียังคาดการณถึงการใชงานในระยะแรกของ ‘thin applications’ ซึ่งเปนสถาปตยกรรมใหมที่ทำใหแอพลิเคชั่นทำงาน บนระบบคลาวดไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งการใชงาน ‘thin applications’ ดังกลาวจะชวยกระตุนใหเกิดการใชงานเดสกท็อป เสมือนจริง (virtual desktops) ทั้งนี้เราไดเห็นการใชงานเดสกท็อป เสมือนจริงบางแลวในปนี้ แตเราคาดหวังวาจะมีการใชงานที่มากขึ้น ในป 2554 เหตุผลคือการทำงานระบบเดสกท็อปเสมือนจริงนั้น เปนการรวมเอาระบบการรักษาความปลอดภัย ระบบการปกปอง ขอมูลสวนบุคคลและขอมูลความลับ และสามารถลดคาใชจายอีก ดวย
มองไปขางหนา ป 2554 ขณะที่เศรษฐกิจโลกกำลังเริ่มฟนตัว และบริษัทไอทีตางๆ พยายามมองหาชองทางการนำเสนอผลิตภัณฑหรือบริการที่หลาก หลายและแตกตาง โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคของคลาวด คอมพิวติ้ง นี้ เราสามารถคาดหวังที่จะเห็นการเขาซื้อกิจการที่สำคัญๆ เกิดขึ้น อีก Q ซีไอโอใหความสำคัญในการสามารถนำเทคโนโลยีไปใช งานไดรวดเร็วขึ้น ดังนั้นผมคาดหวังที่จะเห็นองคกรที่มุงเนนไปยัง ซอฟต แ วร ส ำหรั บ การบริ ห ารจั ด การด า นไอที ห รื อ แพลทฟอร ม ภายในไอที สำหรับอีเอ็มซีแลว พวกเรากำลังผลักดันตนเองไปสู ภารกิจที่ใหมกวา และมีความสัมพันธที่มากขึ้นสำหรับตลาดขนาด กลางและตลาดเกิดใหม ซึ่งเปนตัวขับเคลื่อนรายไดหลักที่สำคัญ ของอีเอ็มซีมีในภูมิภาคเอเชียแปซิฟคและประเทศญี่ปุน Q การประหยัดคาใชจายยังคงเปนกุญแจสำคัญในการผลัก ดั น ที ่ อ ยู เ บื ้ อ งหลั ง การนำคลาวด คอมพิ ว ติ ้ ง มาใช ใ นป 2554 ปจจุบันคลาวด คอมพิวติ้ง ยังคงมีการใชงานสำหรับภารกิจที่ สำคัญนอยลง เชน ระบบอีเมลในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค ในขณะที่ เรายังคงอยูในระยะเริ่มตน ป 2554 จะเปนปที่คลาวดจะกระโดดไป ขางหนาอยางกาวกระโดด ผมคาดวาจะเห็นแอพลิเคชั่นหลักตางๆ ที่ใชอยูขับเคลื่อนสูระบบคลาวด ในขณะเดียวกันผูใชงานระบบคลา วดจะไดรับประสบการณเพิ่มมากขึ้น การสนทนาเกี่ยวกับคลาวด คอมพิวติ้ง ก็จะถูกขับเคลื่อนโดยซีไอโอและซีทีโอ โดยเนนการ แกไขปญหาระดับสูง เชน โครงสรางองคกรและการลงทุน Q ซีไอโอยังคงใหความสำคัญกับระบบรักษาความปลอดภัย ของระบบไอที โดยภาครัฐจะเขามากำกับกฎระเบียบและนโยบาย ที่รัดกุมมากขึ้น Q ในดานการจัดเก็บขอมูล (storage) เราจะเห็นองคกรทั้ง ระดับใหญและขนาดกลาง ขนาดยอมติดตั้งแอพลิเคชั่นที่สำคัญๆ ในการดำเนินธุรกิจไวในระบบสตอเรจหรือ SANS ทั้งนี้เราจะเห็น การใชงาน SAN มากยิ่งขึ้นในปหนานี้ นอกจากนี้เทคโนโลยี Fibre Channel Over Ethernet (FCoE) จะเปนเทคโนโลยีที่มีสวน สำคัญสำหรับระบบจัดเก็บขอมูล และการรักษาความปลอดภัยใน Issue 7 : Feb-Mar 2011
มุมมองดานความปลอดภัยไอซี∙ี นายซูกุมารัน คันนุซามี่ กรรมการผูจัดการ ภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต อารเอสเอ (RSA) แผนกระบบการรักษาความปลอดภัยของอีเอ็มซี
สิ่ง∙ี่เกิดขึ้นในป 2553 การรักษาความปลอดภัยระบบไอทียังคงเปนสิ่งที่องคกรให ความสำคัญระดับตนๆ ในป 2553 ทั้งนี้ภาคอุตสาหกรรมเล็งเห็นถึง การเพิ่มขึ้นของภัยคุกคามและขอมูลที่ถูกขโมย องคกรและบริษัท ตางก็กำลังมองหาวิธีการที่จะสรางความแข็งแกรงใหกับศักยภาพ ดานการรักษาความปลอดภัยไอทีในองคกรของตนเพื่อจำกัดความ เสี่ยงที่พวกเขาอาจไดรับ Q ในป 2553 นี้เรายังคงเห็นการใหความสนใจในการกำกับ ดูแลความเสี่ยงและการปฏิบัติตามกฎ (GRC) มีการกำหนดระเบียบ ขอบังคับ และบริษัทตางๆ กำลังมองหาโซลูชั่นในสวนนี้ที่สามารถ สรางความพรอมใหกับสภาพแวดลอมไอทีที่มีอยู และชวยลดความ เสี่ยง การรั่วไหลของขอมูลยังเปนหนึ่งในปญหาหลักของปนี้ องคกร ตางๆ กำลังมองหาวิธีในการลดความเสี่ยงเหลานี้ เพราะพวกเขา เริ่มเขาใจวาพวกเขาไมเพียงกำลังเผชิญหนากับการสูญหายของ ขอมูล แตกำลังเผชิญหนากับชื่อเสียงบริษัทและผลสะทอนกลับที่ อาจมากกวาแคการสูญเสียขอมูลของตัวเอง Q ส ว นที ่ โ ดดเด น ที ่ ส ุ ด ของ RSA ป น ี ้ ค ื อ การเพิ ่ ม เติ ม แพลตฟอรมอาเชอร GRC นอกเหนือจากใหการสนับสนุนเรื่องกฎ ระเบียบมาตรฐานตางๆ แลว เทคโนโลยีอารเชอรยังเหมาะที่สุด สำหรับการใชงานบนสภาพแวดลอมเสมือนจริง (virtualization) ใน ขณะที่มีการใชงานแบบเสมือนจริง มากขึ้น RSA ก็จะเพิ่มขีดความ 31
IT TECHNOLOGY
สามารถของเราให ต อบสนองกั บ การใช ง านบนสภาพแวดล อ ม เสมือนจริงดังกลาว Q เราเห็นการเติบโตและการนำเทคโนโลยีเสมือนจริงมาใช งานมากขึ้นในป 2553 ซึ่งเพิ่มความกังวลในการรักษาความ ปลอดภัย รวมถึงมีการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องของการเจาะระบบและ การกระทำที่มุงราย สิ่งเหลานี้ทำใหทั้งผูใชและองคกรตางๆ ตองมี ความระมัดระวังมากขึ้นในการใชเทคโนโลยีเพื่อลดความเสี่ยงที่ พวกเขาตองเผชิญ
มองไปในป 2554 ระบบรักษาความปลอดภัยที่องคกรสวนใหญมองหาในป 2544 นี้คือใชโซลูชั่นการรักษาความปลอดภัยครบวงจรที่เปนแบบ บิลทอิน (built-in) มากกวาแบบบอลทออน (bolted-on) โซลูชั่น แบบบอลทออนเปรียบเสมือนอาหารเปนจานๆ เทคโนโลยีเปน สวนๆ ที่ไมเชื่อมโยงหรือมีปฏิสัมพันธกับสวนอื่นๆ เพื่อจะไดเขาใจ ถึงสถานการณที่แทจริงของการเกิดการละเมิดความปลอดภัยที่อาจ เกิดขึ้นได ทำใหบริษัทจะไมสามารถใชประโยชนจากความรูและ ข อ มู ล ที ่ ม ี อ ยู เ พื ่ อ นำไปประกอบการการตั ด สิ น ใจเกี ่ ย วกั บ สถานการณและความตองการในดานการรักษาความปลอดภัย Q กลยุทธบิลทอินคือการที่องคประกอบตางๆ ในระบบ สามารถตอบสนองกับความตองการดานการรักษาความปลอดภัย ของลูกคาและความสัมพันธของขอมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว สิ่ง เหลานี้จะชวยใหผูดูแลระบบเขาใจภาพรวมของระบบและความ ตองการ ณ ขณะนั้น และสามารถชี้จุดที่เกิดการละเมิดความ ปลอดภัยขึ้น ทำใหสามารถตัดสินใจไดตรงประเด็นและรวดเร็ว Q เราจะยังคงเห็นความจำเปนในการดำเนินการเพื่อลด ความเสี ่ ย งของการใช ง านเทคโนโลยี ใ ห ก ั บ ผู ใ ช ง านต อ ไปในป 2544 นี้ และตองสรางใหเกิดความมั่นใจตอผูใชงานวาโซลูชั่นตางๆ จะไดรับการผนวกรวมเขาดวยกัน สิ่งเหลานี้จะทำใหแตละองค ประกอบของระบบรักษาความปลอดภัยเขาใจถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในสวน อื่นๆ นั่นคือมีภาพรวมของสิ่งที่เกิดขึ้นในทุกสภาพแวดลอม Q ระบบคลาวดเริ่มใชงานมากขึ้นในป 2553 และในป 2554 ที่จะถึงนี้ RSA คาดวาแพลตฟอรมนี้จะมีการเติบโตอยางรวดเร็ว ระบบรักษาความปลอดภัยบนคลาวดจะมีความสำคัญมากที่สุด ดวยกลยุทธการบิลทอินที่มีประสิทธิภาพ และเปนที่นิยมมากกวา
32
บอลทออน RSA ยังคาดการณถึงวาผูใชจะยังคงตั้งคำถามมากมาย ถึงวิธีรักษาความปลอดภัยใหกับขอมูลของพวกเขาบนคลาวด ซึ่ง นับเปนคำถามที่มีน้ำหนักที่สุดสำหรับทุกๆ บริษัทในการเปลี่ยนไป ใชระบบคลาวด Q ภัยคุกคามสามารถทำกำไรไดมากในตลาดมืด การกระ ทำที่มุงรายจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะมีขอมูลจำนวนมากที่จะขโมย (เพื่อนำไปขายตอ) ซึ่งสามารถทำเงินไดอยางมหาศาล การเจาะ ระบบจะยังคงไดรับการพัฒนาและคิดคนเพื่อใชประโยชนจากชอง โหวของแอพลิเคชั่น ของโครงสรางพื้นฐาน หรือแมกระทั่งการ ฉกฉวยประโยชนจากความรูเทาไมถึงการณของผูใช Q องคกรจำเปนตองเฝาระวังและพัฒนาศักยภาพในการ รั ก ษาความปลอดภั ย ของตน เพื ่ อ สร า งความมั ่ น ใจว า องค ก ร สามารถตอบสนองและรับมือกับการกระทำที่ประสงคราย วิธีหนึ่ง คือ ตองมีความเขาใจ และมีภาพรวมอยางแทจริงถึงสิ่งที่เกิดขึ้นใน ระบบของตน เพื่อชวยใหองคกรสามารถเชื่อมโยงกิจกรรมและ เหตุการณตางๆ เขาดวยกัน
มุมมองดานการใชอินเ∙อรเน็ต ราจีฟ มูกุล รองประธานฝายขายในเอเชียแปซิฟคและประเทศญี่ปุน ไอโอเมกา บริษัทในเครืออีเอ็มซี
เกิดอะไรขึ้นในป 2553 ป 2553 เปนจุดเริ่มตนของกระแสตลาดระบบจัดเก็บ ขอมูลสำหรับผูบริโภค สิ่งสำคัญที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งใน ภูมิภาคเอเชีย คือการใชงานอินเทอรเน็ตบรอดแบนดที่เพิ่มขึ้นใน สวนใหญของภูมิภาค มีการใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงดวย ระบบใยแกวนำแสงในหลายประเทศทั่วทั้งภูมิภาค ทำใหขอมูลที่ สรางสรรคขึ้นโดยผูบริโภคเองในรูปแบบของเพลง เกมส และวิดีโอ ความละเอียดสูง (HD) เพิ่มขึ้นอยางมหาศาล Q ปจจัยแรก คือความนิยมใชงานสมารทโฟนมากขึ้น สมา รทโฟนที่ทำใหสามารถดาวนโหลดแอพพลิเคชั่น บันทึกวิดีโอความ ละเอียดสูง (HD) และดึงคอนเทนตมัลติมีเดียตางๆ ผานไวไฟ Wi - Fi หรือเครือขาย 3G เหลานี้เปนปจจัยสำคัญในการเจริญเติบโต ของขอมูลดิจิตอล และทำใหเกิดความตองการที่สูงขึ้นของระบบ การจัดเก็บขอมูล ปจจัยที่สอง คือผูบริโภคมีไลฟสไตลที่ตองการ นำความบันเทิงระดับยอดสูบานมากขึ้น ผูบริโภคตองการจะซื้อ โทรทัศนขนาดใหญขึ้นและมีโฮม เธียรเตอร และตองการรับชม ภาพยนตรที่บานมากขึ้น ดังนั้นการจัดเก็บขอมูลมัลติมีเดีย กลาย เปนสิ่งที่ผูบริโภคเสาะแสวงหา เพื่อจัดเก็บภาพยนตรความละเอียด สูง (HD) และดูบนหนาจอโทรทัศนของพวกเขาไดโดยตรง เมื่อป POTENTIAL magazine
IT TECHNOLOGY
“ที่สำคัญธุรกิจขนาดกลางและเล็กจำเปนตองรักษาฐานขอมูลลูกคาและขอมูลทางธุรกิจของพวก เขาตามจำนวนปที่ที่กำหนดโดยกฎระเบียบของราชการ ความทาทายคือธุรกิจขนาดกลางขนาด เล็กสวนหนึ่งมีงบประมาณดานไอทีที่จำกัดหรือไมมีทรัพยากรที่จะบริหารจัดการระบบไอทีภายใน องคกรไดดวยตนเอง”
2552 ระบบจัดเก็บขอมูลสำหรับผูบริโภคนี้ยังปนสิ่งใหม แตมีแนว โนมเพิ่มมากขี้นในป 2553 นี้ Q เมื่อพูดถึงการเลือกใชผลิตภัณฑ มีผูบริโภคจำนวนมาก กำลังมองหานอกเหนือไปจากคุณสมบัติพื้นฐานและสินคาราคา ถู ก มี ผ ู บ ริ โ ภคที ่ ม ี ร ายได แ ละคุ น เคยกั บ เทคโนโลยี ใ หม ล า สุ ด ตางๆ มากขึ้น ผูบริโภคกลุมนี้มองหาสินคาคุณภาพในราคาที่ เหมาะสม หมายถึงพวกเขาจะใหความสนใจมากขึ้นกับคุณลักษณะ เพิ ่ ม เติ ม ของสิ น ค า และยิ น ดี จ า ยในราคาที ่ ส ู ง ขึ ้ น เพื ่ อ ได ร ั บ ประสบการณการใชงานที่ดียิ่งขึ้น สำหรับไอโอเมกา (Iomega) แลว เราเนนการนำเสนอระบบจัดเก็บขอมูลที่เพิ่มมูลคา ดวยความ แตกตางของซอฟตแวร เราเชื่อมั่นวาดวยระดับแอพลิเคชั่นจะเปน สิ่งที่จะนำเสนอประสบการณการใชงานแบบองครวมใหกับผูใช Q เราไดเห็นการเจริญเติบโตอยางมีนัยสำคัญในปที่ผานมา ในธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก โดยเฉพาะอยางยิ่ง จากการที่ บริษัทฟนตัวจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ มีความตองการเพิ่มมากขึ้น ในการสรางความแข็งแกรงในกับระบบไอทีของเอสเอ็มบี และระบบ การจัดเก็บขอมูลก็เปนหนึ่งในสามอันดับที่ในอดีตเปนปญหาของ องคกร ที่สำคัญธุรกิจขนาดกลางและเล็กจำเปนตองรักษาฐาน ข อ มู ล ลู ก ค า และข อ มู ล ทางธุ ร กิ จ ของพวกเขาตามจำนวนป ท ี ่ ท ี ่ กำหนดโดยกฎระเบียบของราชการ ความทาทายคือธุรกิจขนาด กลางขนาดเล็กสวนหนึ่งมีงบประมาณดานไอทีที่จำกัดหรือไมมี ทรัพยากรที่จะบริหารจัดการระบบไอทีภายในองคกรไดดวยตนเอง เพื่อรับมือกับกฏระเบียบเหลานี้ ไอโอเมกาประสบความสำเร็จใน การนำเสนอโซลูชั่นที่ตอบสนองความตองการใหกับธุรกิจเหลานี้ และจะยังคงใหความสำคัญกับตลาดสวนนี้อยู
มองไปในป 2554 เราคาดว า ธุ ร กิ จ ขนาดกลางขนาดเล็ ก ของเรามี ค วาม ตองการทำงานที่รวดเร็วมากขึ้นกวาเดิม เพิ่มศักยภาพใหมากขึ้น, ตองการการเขาถึงระบบไดจากระยะไกล และตองการรูปแบบของ การใชงานแบบคลาวดมากยิ่งขึ้น ในขณะที่ธุรกิจไอทีในปจจุบัน มองแนวโนมมุงไปที่ลงทุนนอยแตไดมาก "more for less" และเรา จะเห็นลูกคาองคกรของเรายินดีที่จะลงทุนมากขึ้นเพื่อใหไดมาก "more for more" Q ในสวนของผูบริโภค เราคาดการณถึงการเติบโตอยาง รวดเร็วในตลาดระบบจัดเก็บขอมูลของผูบริโภคระดับไฮเอนด และ ดวยความเร็วดั่งสายฟาแลบของการกาวเขาสูความพรอมในการให Issue 7 : Feb-Mar 2011
บริการเครือขายบรอดแบนดยุคใหมในหลายประเทศทั่วภูมิภาค เอเชียแปซิฟคในป 2554 นี้ ทำใหเราประเมินความตองการการใช ระบบจัดเก็บขอมูลสำหรับมัลติมีเดียความคมชัดสูงที่จะยิ่งเพิ่มมาก ขึ้น รวมถึงการแพรหลายของขอมูลที่ผูใชสมารทโฟนเปนคนสรางขึ้น จะสงผลใหผูบริโภคมีความตองการอุปกรณจัดเก็บขอมูลที่มาพรอม กับระบบเครือขายคุณภาพสูงมากขึ้น Q สำหรับไอโอเมกา เปาหมายในป 2554 ของเราไดกำหนด แลวจากการเปนบริษัทแรกที่เปดตัว solid state external hard drives เปนครั้งแรก เมื่อเดือนที่แลว (พฤศจิกายน ป 2553) ฮารด ไดรฟเหลานี้ไดรับการพัฒนาใหมีความเร็วและความเสถียรมากกวา ที่มีจำหนายอยูในตลาดในปจจุบัน เราสามารถคาดหวังที่จะเห็นผู เล น รายใหม ๆ จากบริ ษ ั ท ผลิ ต เซมิ ค อนดั ๊ ก เตอร ก า วเข า สู อุตสาหกรรมนี้ เพราะวา solid state drives ก็คือเซมิคอนดั๊ก เตอรโดยพื้นฐาน ทำใหผลิตภัณฑนี้จะมีราคาที่ผูบริโภคสามารถรับ ไดดีขึ้นไตรมาสตอไตรมาส ในขณะที่ความตองการใชงานคาดวาจะ สูงขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งเหลานี้คือการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีหลักๆ ที่เราคาดการณไวสำหรับป 2554 Q ในสวนของซอฟแวรซึ่งเปนสิ่งที่ทำใหเราแตกตางจากผูอื่น ในอุตสาหกรรม บริษัทที่มีการเขาถึงเทคโนโลยีการจัดเก็บขอมูลจะมี ขอบเขตการแขงขันมากกวาในเรื่องประสบการณการใชงานทั้งหมด ของผูใช ซึ่งมีความสำคัญกวาขอกำหนดของฮารดแวรเพียงอยาง เดียว ทั้งนี้มัลติมีเดีย ไดรฟจะอำนวยความสะดวก การใชงานที่ เรียบงาย พรอมทั้งการจัดการอินเตอรเฟซที่งายดาย Q คลาวด คอมพิวติ้ง เปนเรื่องของอนาคตและแพลตฟอรมนี้ ไดมีการริเริ่มนำมาใชโดยบริษัทแมของเรา คือ อีเอ็มซี เวอรชวลไล เซชั่นและคลาวด คอมพิวติ้ง จะมีความโดดเดนมากยิ่งขึ้นสำหรับ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กและสำหรับผูบริโภค และไอโอเมกา เป น ผู น ำเทคโนโลยี น ี ้ อ ยู แ ล ว เราเป น บริ ษ ั ท แรกที ่ ล งระบบ คอมพิวเตอรเสมือนจริงลงในฮารดไดรฟ ทำใหเกิดระบบการทำงาน แบบเสมือนจริงสำหรับผูบริโภค เรายังคงความเปนพันธมิตรกับ บริษัทวีเอ็มแวร (VMware) เพื่อเสริมแกรงการทำงานแบบเสมือน จริ ง และการนำเสนอการจั ด เก็ บ ข อ มู ล ที ่ ใ ห ล ู ก ค า ของเรามี ประสบการณกับการใชงานคอมพิวติ้งแบบไมหยุดพัก ซึ่งตรงตาม ความตองการที่จริงจังของผูบริโภคและธุรกิจขนาดกลางและขนาด เล็กในปจจุบัน
33
IT TECHNOLOGY
สุดยอดนักแอนิเมชั่นรุนเยาวจาก Toon Creator Awards Q เอชพี รวมกับการตูนเน็ตเวิรค ประกาศผลผูชนะเลิศประเทศไทยจากการแขงขันออกแบบแอนิเมชั่น เรื่องสั้นจากโครงการ Toon Creator Awards 2010 ที่จัดขึ้นทั่วทั้งภูมิภาคเอเชียแปซิฟก โดยพิจารณาจาก ผลงานแอนิเมชั่นเรื่องเยี่ยมรวมกวา 160,000 ชิ้น ทั้งในรางวัลประเภทบุคคล และประเภทโรงเรียนที่สนับสนุน เยาวชนเขารวมประกวด Q สำหรับประเทศไทย ผูชนะเลิศประเภทบุคคล ไดแก ด.ช. อัคนี โพธิสวัสดิ์ อายุ 13 ป จากผลงาน Powerpuff Save the Earth แอนิเมชั่นเรื่องสั้นอันนาตื่นเตน โดยเยาวชนคนเกงได สรางสรรคขึ้นจากตัวการตูนที่ชื่นชอบอยาง พาวเวอรพัฟเกิรล Q ด.ช. อัคนี โพธิสวัสดิ์ จะไดรับ HP TouchSmart 310-1070d PC มูลคา 37,343 บาท และชุดของรางวัลสุดพิเศษ จากการตูนเน็ตเวิรค ซึ่งประกอบไปดวยสินคาลิขสิทธิ์ เบน 10 อาทิ ชุดของเลน Ben 10 Alien Force Alien Creation Chamber, อุปกรณวอลคกี้ทอลคกี้พรอมหูฟง , นากา Ben 10 Omnitrix Alien Viewer, รถจักรยาน Ben 10 Quad Bike และ ลำโพง Powerpuff Girls Q พรอมกันนี้ หลากหลายโรงเรียนตางในภูมิภาค ยังมีสวน รวมสำคัญในการปลูกฝงและสงเสริมความคิดสรางสรรคของเหลา 34
เยาวชน ผาน เทคโนโลยีล้ำสมัยในการแขงขัน Toon Creator Awards และโรงเรียนที่เขารวมกิจกรรมยังมีสิทธิ์รวมลุน HP TouchSmart 310-1070d PC จำนวน 3 เครื่องสำหรับ คอมพิวเตอรแล็บเปนรางวัลดวยเชนกัน ซึ่งผลงานที่สงเขารวมมา จากกวา 3,000 โรงเรียนระดับคุณภาพทั่วทั้งเอเชีย แปซิฟก สำหรับประเทศไทย โรงเรียนที่มีนักเรียนสมัครเขารวมการแขงขัน มากที่สุด ไดแก โรงเรียนแพน-เอเชีย อินเตอรเนชั่นแนล Q ในปนี้ การประกวดผลงานแอนิเมชั่นโครงการ Toon Creator Awards นอกจากจะไดเพิ่มฟงกชั่นการสรางสรรคตัว ละครรูปแบบใหมแลว เด็ก ๆ ยังสามารถสรางอวตารที่พวกเขา ตองการเพื่อทองไปในดินแดนแหงโลกออนไลนของตัวเองไดอีกดวย พรอมกันนี้ ยังสามารถปลดล็อค ไอเท็มตาง ๆ จากหลาก หลายเกม เพื่อใชสรางสีสัน และเสริมแตงเรื่องราวจากแอนิเมชั่น POTENTIAL magazine
IT TECHNOLOGY
เรื่องเยี่ยมในแบบฉบับของตนเองได ยกระดับประสบการณการ เรียนรูรูปแบบใหมจากการตูนแอนิเมชั่น และจุดประกายความคิด สรางสรรคทางกิจกรรมออนไลนใหแกพวกเขาไดอีกทางหนึ่ง Q การประกวดในครั้งนี้ไดรับการตอบรับเปนอยางดีจากทั้งผู เขาประกวดและบุคคลทั่วไป พิสูจนไดจากยอดผูเขาชมเว็บไซต หลักของการแขงขันสิ้นสุด ณ เดือนตุลาคม พ.ศ . 2553 ที่มี มากกวา 6.3 ลาน Page Views และกวา 800,000 Unique Visitors A มร. เบนจามิน กรับส ผูอำนวยการระดับภูมิภาค ของเท อรเนอร เอนเตอรเทนเมนท อินเตอรแอคทีฟ มีเดีย กลาววา "ใน วันนี้ เด็ก ๆ ทั่วทั้งภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก ไดเก็บเกี่ยวเอา ประสบการณการเรียนรูใหม ๆ จากกิจกรรมการสรางสรรคตัว การตูนแอนิเมชั่น ซึ่งจัดขึ้นโดยการตูน เน็ตเวิรค และเอชพี ซึ่งเปน ปจจัยสำคัญในการสงเสริมใหพวกเขาไดสามารถสรางสรรค แอนิ เมชั่นเรื่องเยี่ยม ผานเทคโนโลยีไดอยางงายดาย” Q ตลอดระยะเวลาของการประกวดฯ ผลงานแอนิเมชั่น จำนวนกวา 1.3 ลานผลงาน มีผูเขาชมอยางตอเนื่อง บนเว็บไซต Toon Creator Awards ซึ่งหมายความวา ทุก ๆ นาทีจะมีผลงาน แอนิเมชั่นผานสายตาผูชมที่สนใจจำนวนถึง 8 เรื่องตอนาที Q นายประเสริฐ จรูญไพศาล ผูจัดการทั่วไป กลุมธุรกิจเพ อรซันแนลซิสเต็มส บริษัท ฮิวเลตต- แพคการด (ประเทศไทย) จำกัด กลาววา "ไมมีอะไรที่ทำใหเรามีความสุขไปมากกวา การได มีสวนรวมที่เยาวชนของเราสามารถนำเทคโนโลยีล้ำสมัยจากเอชพีไปใชตอยอด เพื่อสรางแรงบันดาลใจแหงความสนุกสนาน ความนาตื่นเตน รวมไปถึงแอนิเมชั่นเรื่องสั้นที่แปลกใหมที่สุดเทาที่เราเคยเห็นมา จากหลากหลายผลงานที่นาประทับใจเหลานี้ ซึ่งลวนแลวแตเปนเครื่อง สะทอนถึงประสิทธิภาพการทำงานของซอฟแวรระบบมัลติทัช ของ HP TouchSmart PC ไดเปนอยางดี รวมทั้งยังเปนชนวนในการสรางแรง บันดาลใจและจุดประกายความคิดสรางสรรคในการเรียนรูสำหรับเด็กในยุคนี้ไดอยางไมรูจบ” สำหรับขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการประกวด แขงขัน Toon Creator Awards เขาชมไดที่ www.ToonCreatorAwards.com ขอมูลเกี่ยวกับ Toon Creator Awards การแขงขันแอนิเมชั่นออนไลนประจำปครั้งแรก Toon Creator Awards โดยความรวมกันระหวางการตูนเน็คเวิรค และเอชพี ∙ี่ มีขึ้นระหวางวัน∙ี่ 13 กรกฎาคม ถึง 30 กันยายน 2552 ไดสรางความสนใจและ∙ำใหมีจำนวนการเยี่ยมชมเว็บไซตการแขงขัน (page views) สูงกวา 4 ลานครั้งภายใน 3 เดือน ในจำนวนนั้นเปนผูใชลง∙ะเบียน∙ี่แตกตางกันถึงกวา 700,000 ราย และมีผลงานแอนิเมชั่ น∙ี่สงเขามาเปนจำนวนมากกวา 151,000 ชิ้น โดยการแขงขันนี้แบงเปน∙ั้งประเภ∙โรงเรียนและบุคคล ∙า∙ายใหแอนิเมเตอรรุนเยาวได สรางสรรคผลงานตอนจบความยาว 25 วินา∙ี หลังจากรับชมเรื่องราวความยาว 5 วินา∙ี โดยจะมีสองเรื่องใหเลือก ไดแก เรื่องราวจาก ซีรี่ส Ben 10: Alien Force หรือ Chowder
เ∙เลนอรประกาศผลการดำเนินงานแข็งแกรงในป 2553 ผลประกอบการประจำไตรมาสที่ 4 ของเทเลนอร กรุป ยังคงแข็งแกรงขึ้นอยางตอเนื่อง ดวยรายได 24,900 ลานโครนนอรเวย (132,647 ลานบาท) โดยเติบโตจากเดิมรอยละ 8 ทั้งยังมีผลกำไรกอนหักภาษีและคาเสื่อมราคา (EBITDA) อยูที่ 7,200 ลานโครนนอรเวย ( 38,355 ลานบาท) และมีอัตราการทำกำไร (EBITDA margin) รอยละ 29 โดยมีกระแสเงินสดอยูที่รอยละ 14 ในสวนของผลประกอบ การโดยรวมของป 2553 เทเลนอร กรุป มีรายไดรวมทั้งสิ้นอยูที่ 94,800 ลานโครนนอรเวย (505,018 ลานบาท) มีอัตราการทำกำไรกอน หักภาษีและคาเสื่อมคิดเปนรอยละ 31 พรอมทั้งมีกระแสเงินสดคิดเปนรอยละ 19 นอกจากนี้ เทเลนอรยังมียอดผูลงทะเบียนใชบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 4 ถึง 8 ลานคน และเพิ่มขึ้นถึง 23 ลานคนระหวางป 2553 Issue 7 : Feb-Mar 2011
35
IT TECHNOLOGY
โครงการ
Adobe Design Achievement Awards ประจำป 2554 Q อะโดบี ซิสเต็มส อิงค (Nasdaq: ADBE) เชิญชวนผูสนใจสงผลงานเขารวมการประกวดในโครงการ Adobe® Design Achievement Awards (ADAA) ครั้งที่ 11 โดยครั้งนี้ขยายขอบเขตเขาถึงถึง 15 ภาษาทั่วโลกและเพิ่มสาขาใหมสำหรับคณะและนักศึกษา โดยเปดโอกาสใหกับสาขาวิชากราฟกดีไซน การถายภาพ ภาพประกอบ แอนิเมชั่น การผลิตภาพยนตรดิจิตอล การพัฒนาแอพพลิเคชั่น และคอมพิวเตอรอารต จากสถาบันอุดมศึกษาที่มีชื่อเสียงในประเทศตางๆ ทั่วโลก Q สำหรับปนี้ อะโดบี ไดเปดสาขาใหมซึ่งประกอบไปดวย สาขาการออกแบบเกม (Game Design) การวิเคราะหดานเว็บ (Web Analytics) การวิเคราะหดานมือถือ (Mobile Analytics) ซึ่งเปนการขยายโอกาสการไดรับรางวัลเพิ่มในสาขาดังกลาว 36
POTENTIAL magazine
IT TECHNOLOGY
Q โดยอะโดบีจะจัดพิธีมอบรางวัลแกผูชนะในสาขาตางๆ ในระหวางการประชุม International Design Alliance (IDA) ณ เมืองไทเป ประเทศไตหวัน ในชวงเดือนตุลาคม 2554 Q“ โครงการ Adobe® Design Achievement Awards (ADAA) ไดรับการตอบรับเปนอยางดีจากนักศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษาชั้นนำจากทั่วโลกมากวา 10 ป เรามีความภูมิใจที่จะ ขยายการเขาถึงโครงการนี้ไปทั่วโลกและเพื่อเปนเกียรติแกทางทาง คณะ คณาจารณ และนักวิชาการตางๆที่ใหความรูนักศึกษาเปน อยางดีมาโดยตลอด” แอนน ลิวเนส รองประธานอาวุโสดานการ ตลาด อะโดบี ซิสเต็มส กลาว Q“ การเติบโตอยางกาวกระโดดของอุปกรณมือถือ เปนแรง ผลักดันใหเกิดความตองการนักออกแบบเกม (Game Designer) ที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วและบริษัทจำเปนที่จะตองรวบรวมผลการ วิเคราะหเพื่อวัดระดับความสำเร็จของแอพพลิเคชั่นตางๆ ซึ่งเรา คาดวาจะมีจำนวนผูสนใจอยางมากสำหรับตลาดใหมนี้” Q Icograda (International Council of Graphic Design Associations) ใหการรับรองและสนับสนุนรางวัลอันทรง เกียรตินี้แกนักศึกษาที่ไดรับรางวัลติดตอกันเปนปที่สามแลว Q“ ความรวมมือระหวาง Icograda และ อะโดบี เปนการ สรางการทำงานรวมกันระหวางเครือขายการศึกษาระดับโลก” รัส เซล เคนเนดี ประธานของ Icograda กลาว “สาขาใหมที่เปดเพิ่ม ขึ้นในปนี้จะเปนการเปดโอกาสสำหรับคณะและนักศึกษาไดมีโอกาส แสดงนวั ต กรรมด า นการออกแบบและสะท อ นให เ ห็ น ถึ ง ความ กาวหนาอยางรวดเร็วในสาขาวิชานี้” Q สำหรับการสงผลงานเขาประกวดในครั้งนี้ ไมมีการเสียคา ใชจายใดๆ ซึ่งการจัดการประกวดนี้เปนการเปดโอกาสใหกับ นักเรียน อาจารยและพนักงานในแตละคณะ ในสถาบันอุดมศึกษา Issue 7 : Feb-Mar 2011
จากทั่วโลกไดประชันฝมือกันในปนี้ สาขาใหมประกอบไปดวย นวัตกรรมทางการศึกษาในสาขา สื่ออินเทอรแอคทีฟ (Interactive Media), นวัตกรรมทางการศึกษาในสาขา วิดีโอ และ โมชั่นมีเดีย (Video and Motion) และ นวัตกรรมทางการศึกษาในสาขาสื่อ แบบดั้งเดิม (Traditional Media) นอกจากนี้ ผูสนใจสามารถสงผล งานได 2 ชิ้นตอหนึ่งสาขาตลอดระยะเวลาการตัดสินใน 3 ชวง เวลา Q กำหนดเวลาการสงผลงานคือ 29 เมษายน 2011 และ 24 มิถุนายน 2011 ผูผานเขารอบสุดทายจะไดรับเชิญใหเขารวมพิธีรับ รางวัล ณ เมืองไทเป ประเทศไตหวัน ในชวงเดือนตุลาคม 2554 ซึ่ง จะไดรับรางวัลเปนซอฟแวรและเงินสด Q สำหรั บ รายละเอี ย ดเพิ ่ ม เติ ม เกี ่ ย วกั บ การส ง ผลงาน กำหนดการ รายละเอียดสาขาที่เปด และอื่นๆ สามารถเขาไปดู ไดที่ www.adobeawards.com นักศึกษาและคณะเชิญสงผลงาน ผานเว็บไซตนี้ และสามารถเขาชมผลงานของผูชนะตลอด 10 ปที่ ผานมาใน ADAA Gallery สามารถเขาไปดูรายละเอียดสาขาที่เปด รับผลงานไดที่ http://www.adobeawards.com/us/submission/ categories/ เกี่ยวกับ Icograda A Icograda (International Council of Graphic Design Associations) เปนองคกรระดับโลกสำหรับงานออกแบบเพื่อการ สื่อสาร กอตั้งขึ้นเมื่อป 2506 โดยมีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมบทบาท สำคัญของนักออกแบบศิลปะเพื่อการสื่อสารในสังคมและแวดวง ธุรกิจ หากตองการขอมูลเพิ่มเติม คลิกไปที่ www.icograda.org
37
PRODUCT LAUNCH
Apacer AC601 ฮารดไดรฟแบบพกพารุนใหมลาสุด ขนาด 2.5” ดีไซนเรียบหรู บอดี้อลูมินัม ! บริษัท เอเซอร คอมพิวเตอร จำกัด เปดตัว Apacer AC601 ฮารด ไดรฟแบบพกพารุนใหมลาสุด ขนาด 2.5” ดี ไ ซน เ รี ย บหรู บอดี ้ อ ลู ม ิ น ั ม ภายใน ออกแบบใหปองกันขอมูลเสียหายจากแรง สั่นสะเทือน ใหคุณมั่นใจในความปลอดภัย ของขอมูล เชื่อมตอไดทั้งพอรต eSATA และ USB 2.0 พรอมซอฟทแวร Turbo HDD ที่ชวยใหการโอนขอมูลดวยพอรต USB เร็วขึ้นสูงสุดถึง 55% และฟงกชั่น “สำเนาขอมูลอัจฉริยะ” และ PC Clone Ex Lite ชวยในการสำเนาขอมูลดวยงายขึ้นดวยปุมเดียว. Apacer AC601 อัดแนนดวยความจุ 500 GB พรอมใหเลือก 2 สี คือ สีดำ และ สีเงิน พรอมแพกเกจซองหนังสุดคลาสสิค ในราคา 2,050 บาท (ราคารวมภาษีมูลคาเพิ่ม) สำหรับลูกคาที่สนใจสามารถหาซื้อไดแลววันนี้ที่ ตัวแทนจำหนายเอเซอรทั่วประเทศ หรือสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ เอเซอร คอลล เซ็นเตอร ที่เบอรโทรศัพท 02-685-4311
เอเซอร แอสไปร โนตบุก-เน็ตบุกเพื่อความบันเ∙ิงไรขีด ผสานซีพียูใหมพลังแรง “AMD Fusion” ! เอเซอรโนตบุก Aspire 4253 Series และเน็ตบุก Aspire one 522 Series รุนใหมลาสุด ที่มาพรอมกับนวัตกรรมซีพียู AMD Fusion ที่ผนวกการทำงานดานกราฟกและหนวยประมวล ผลเขาไวดวยกัน เหมาะสำหรับผูที่ชื่นชอบความบันเทิง และการ ใชงานดานมัลติมีเดียที่ตองใชความละเอียดสูง ตอบสนองการ ทำงานได อ ย า งรวดเร็ ว สมบู ร ณ แ บบ พร อ มให ค ุ ณ ได ส ั ม ผั ส ประสบการณใหมกอนใคร ! โนตบุกทั้ง 2 รุนนี้ มาพรอมกับนวัตกรรมรุนใหมจาก AMD E-350 - Series Accelerated Processing Unit (APU) และ VISION Engine รองรับการดูหนังระดับ HD หรือวิดีโอสตรีม มิ่งผานอินเทอรเน็ตไดอยางไมมีสะดุด พรอมการทำงานกราฟก บน DirectX® 11 และชวยประหยัดพลังงานของแบตเตอรี่ รองรับการทำงานในระดับสูง ทั้งการเลนเกมที่มีความละเอียดสูง การปรับแตงภาพ รวมไปถึงการสรางงานมัลติมีเดียระดับ HD ซึ่ง Aspire 4253 Series เปนโนตบุกที่จะชวยใหคุณปลดปลอยพลัง ความคิดสรางสรรคไดอยางสมบูรณแบบ ! Aspire 4253 Series เปดตัวดวยขนาดหนาจอ 14” แบบ Acer CineCrystal ™ HD LED16:9 ใหภาพความละเอียดสูง คม ชัด พรอมรองรับหนวยความจำ RAM DDR3 สูงถึง 8GB สวน เน็ตบุก จอ 10.1” Acer CrystalBrite ™ HD LED (16:9) ความ 38
r
Ace
ire Asp
es
eri 53 S
42
Aspire one 522 Series
ละเอียดระดับ 1280 x 720(WXGA) รองรับการเชื่อมตอดวยระบบ Wi - Fi, LAN, 3G และบลูทูธ ทำงานดาน กราฟกจาก AMD Radeon TM HD 6250 รองรับ Microsoft DirectX 11® พรอมสัญญาณภาพแบบ Hi-Definition ผาน HDMI® Port ได มาตรฐานการควบคุ ม การใช แ ละการกำจั ด สารอั น ตรายใน ผลิตภัณฑไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส Energy Star ® และ WEEE RoHSดวยการผลิตจากวัสดุที่ปลอดสารปรอท และหนาจอ HD LED ชวยประหยัดพลังงาน 22.2% เมื่อเทียบกับมาตรฐานของเน็ตบุก POTENTIAL magazine
PRODUCT LAUNCH
เอเซอร จัดเต็ม เวอริตอน All-in-One เจาะเอสเอ็มบี หนาจอ∙ัชสกรีน รองรับการ∙ำงานระดับมืออาชีพ ! บริษัท เอเซอร คอมพิวเตอร จำกัด เปดตัว Veriton All-in-One Desktop รุน Z430G และ Z431G Touchscreen series หนาจอสัมผัสแบบ multi-touch ใหการทำงานที่สะดวกสบาย ใหภาพคมชัดใสนิ้งทุกเฉดสีดวยจอภาพแบบ TFT LCD ขนาด 21.5 นิ้ว widescreen 16:9 พิเศษสำหรับรุน Z431G มาพรอมกับฟงกชันทัช สกรีนที่ทำงานคูกับ Windows 7 Pro หรือ Windows 7 Home Premium ทำงาน รวมกับซอฟตแวรของเอเซอรที่จัดมาใหเต็มพิกัด และทั้ง 2 รุน ใหประสิทธิภาพการ ทำงานชั้นเยี่ยมดวยซีพียูตระกูล Core i และอินเทล ชิพเซท H57 Express Chipset พรอมดวย HDD ATA สูงสุด 1.5 TB และ DDR3 RAM สูงสุดถึง 8GB รองรับการ ทำงานระดับมืออาชีพ ติดตั้งครบซ็ทดวยกลองเว็บแคมระดับ 2 ลานเม็กกาพิกเซล พรอมไมโครโฟนและสปกเกอรในตัว รองรับระดับเสียงแบบ Hi-Def และมัลติ การด รีดเดอร ใหการเชื่อมตอการทำงานระบบ Wireless LAN b/g/n รองรับการประชุม ทางไกลอยางไรที่ติ เหมาะกับการทำงานในสำนักงาน คลังสินคา โรงเรียน โรง พยาบาล หรือแมแตรานอาหาร ดวยการออกแบบเพื่อประหยัดเนื้อที่ในการจัดวางและงายตอการติดตั้ง เจาะกลุมธุรกิจขนาดเอสเอ็มบีโดย เฉพาะ จัดจำหนายในราคาเริ่มตนที่ 36,900 บาท สำหรับรุน Z431G (ไมรวม Vat 7%) พรอม Windows 7 Pro และรับประกันมาตรฐาน 3/1/1 50 กิโลเมตรจากศูนยบริการของ Acer ทั่วประเทศ
DocuPrint P205b เครื่องพิมพ SLED ขาว-ดำ ใหม จากฟูจิ ซีร็อกซ ขนาดจิ๋ว แตประสิ∙ธิภาพไมจิ๋ว ในราคา เบาเบา ! ฟูจิซีร็อกซ พรินเตอร ผูนำเทคโนโลยีดานการพิมพ เปดตัว เครื่องพิมพ SLED ซิงเกิล ฟงกชั่น ขนาด A4 ขาว-ดำ ในรุน DocuPrint P205b สำหรับการพิมพเอกสารขาวดำเพื่องาน ธุรกิจ ที่มาพรอมเทคโนโลยีหัวพิมพใหม Self-Scanning Light-Emitting Device (SLED) ที่มี ความละเอียดสูงถึง 1,200 dpi พรอมดวยเทคโนโลยี DELCIS ที่มีอยูเฉพาะในเครื่องพิมพฟูจิ ซี ร็อกซ ดวยขนาดที่เล็กที่สุดเพียง 358x197x208 มิลลิเมตร (กวาง x ยาว x สูง ) อีกทั้งหมึก พิมพรุนใหม EA ECO ที่หลอมละลายในระดับต่ำกวาเดิม ทำใหการใชพลังงานลดลง 40 % ! เครื่องพิมพ DocuPrint P205b มีใหเลือก 3 สี 3 สไตล มีความเร็วในการพิมพสูงสุด ที่ 24 หนาตอนาที ในความละเอียดที่มาพรอมตัวเครื่องสูงถึง 1200 X 1200 dpi มีวางจำหนาย แลวผานตัวแทนจำหนายที่ไดรับการแตงตั้ง ในราคา 2,990 บาท (ราคาไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
Issue 7 : Feb-Mar 2011
39
PRODUCT LAUNCH
DocuPrint M205b มัลติฟงกชั่นขาว-ดำ คุณภาพ เพื่องานธุรกิจยุคใหม ฟงกชั่นครบครัน ตอบโจ∙ยการใชงาน∙ี่หลากหลาย ! ฟูจิ ซีร็อกซ พรินเตอร ผูนำเทคโนโลยีดานการพิมพ เปด ตัว เครื่องพิมพ SLED แบบมัลติฟงกชั่น ขาว-ดำ ขนาด A4 ในรุน “DocuPrint M205b” ที่ผสานรวมฟงกชั่น ถายเอกสาร สแกนและ พิมพ ไวในเครื่องเดียว เหมาะสำหรับธุรกิจเอสเอ็มอีที่ตองการงาน พิมพขาว-ดำคุณภาพสูง ในราคาที่เหมาะสม DocuPrint M205b ยังมาพรอมโหมดประหยัดหมึกและเทคโนโลยีผงหมึกแบบ EA-ECO ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซึ่งเปดตัวเปนครั้งแรกในกลุมเครื่องพิมพ ขาว-ดำ ! เครื่องพิมพ DocuPrint M205b มีความเร็วในการพิมพที่ 24 หนาตอนาที พรอมความละเอียดที่มากับตัวเครื่องที่ 1,200 X 1,200 dpi วางจำหนายแลวผานตัวแทนจำหนายที่ไดรับการแตงตั้ง ในราคา 4,196 บาท (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
เอชพีแนะนำเครื่องพิมพ HP Designjet T2300 eMFP ยกระดับการพิมพสำหรับงานสถาปตย ์และวิศวกรรมอยางเหนือชั้น
! เอชพี แ นะนำเครื ่ อ งพิ ม พ HP Designjet T2300 eMultifunction (eMFP) ที ่ ม าพร อ มเทคโนโลยี ePrint เสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพงานพิ ม พ ส ำหรั บ แวดวง สถาปตยกรรม วิศวกรรมและการกอสราง รวมทั ้ ง องค ก รระดั บ เอ็ น เตอร ไ พรซ ให สามารถเขาใชงาน แบงปน และพิมพไฟล โครงการที ่ เ ป น งานขนาดใหญ ผ า นระบบ ออนไลนไดทุกที่ทุกเวลาตามตองการ นับ เปนเครื่องพิมพหนากวางที่รองรับการใชงาน เว็บไซตเครื่องแรกของแวดวงอุตสาหกรรม รองรับการทำงานครบครัน ทั้งพิมพ สแกน และทำสำเนา ระบบการพิมพใหมลาสุดนี้ได รับการออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อตอบสอด รับกับสไตลการทำงานในปจจุบัน ที่เนนการ ทำงานรวมกันและการทำงานนอกสถานที่ จึงชวยใหงายตอการแบงปน และจัดการ คอนเทนทดวยเลขที่ของโครงการไดทั่วโลก ผานระบบออนไลนดวยคอมพิวเตอร หรือ อุปกรณโมบายลตางๆ
40
POTENTIAL magazine
PRODUCT LAUNCH
LENOVO เปดตัว IdeaPad Y460p และ V470 IdeaPad Y460p เปนโนตบุคอันทรงพลัง พรอมรูปลักษณที่ สวยงามทันสมัย บวกกับประสิทธิภาพสูงและมาพรอมกับคุณสมบัติ ดานมัลติมีเดียครบครัน สมบูรณแบบที่สุดสำหรับผูที่ชื่นชอบความ บันเทิง เกมเมอร หรือผูใชงานที่มักสรางสรรคคอนเท็นทเพื่อแบง ปนกับเพื่อนฝูงอยูเปนประจำ รุนนี้มาพรอมกับ 2nd Generation Intel ® Core ™ Processor โดยมีใหเลือกสูงสุด คือ Intel® Core™ i7 จอขนาด 14 นิ้ว ความจุฮารดดิสกสูงสุด 750 GB พรอมหนวยความจำชั่วคราว 8GB DDR3 1333 ชวยใหผูใช สามารถเก็บไฟลหนัง เพลง และเกมไดเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันก็ได เพลิดเพลินกับขีดความสามารถในการเปดใชแอพพลิเคชั่นตางๆ พรอมกันไดโดยไมสะดุด ทั้งนี้ คุณสมบัติที่เรียกวา RapidDrive ของเลอโนโว มาพรอมกับหนวยความจำแบบ SSD ขนาด 32GB และ HDD ความจุสูงสำหรับเรงความเร็วในการทำงานของระบบ นอกจากนี้ IdeaPad Y460p ยังมาพรอมกับจอไวดสกรีน 16:09 ผนวกกับ Windows 7 Enhanced Experience certification ของเลอโนโว ชวยใหสามารถบูทเครื่องไดเร็วขึ้นจากเดิม 33 เปอรเซนต และรนระยะเวลาปดเครื่องไดเร็วขึ้น 50 เปอรเซนต รวมถึงความสามารถดานมัลติมีเดียที่มากมายและครบครันยิ่งขึ้น พรอมเครื่องมือบำรุงรักษาระบบที่ใชงานงาย เลอโนโว V470 - ทำงานอยางชาญฉลาด รวดเร็วขึ้น และยังสามารถผอนคลายกับฟงกชั่นเพื่อความบันเทิง สะทอนภาพลักษณของ ความเปนมืออาชีพดวยกรอบและฝาครอบที่ผลิตจากอลูมิเนียม ตัวเครื่องบางเพียง 21 มม. ชวยใหผูใชไดรับความคลองตัวระหวางการใชงาน ในที่ทำงาน และรูสึกผอนคลายเมื่อใชที่บาน V470 ออกแบบมาใหเหมาะกับการใชงานของผูบริโภคทั่วไปหรือ SMB ออฟฟศและโฮมออฟฟศ (SOHO) ทั้งนี้ V470 ยกเครื่องเทคโนโลยีประมวลผลใหมดวย Second Generation Intel ® Core™ processor ชวยใหผูใชจัดการงาน ดวนหลายๆ งานพรอมกันไดดวยความรวดเร็วและแมนยำ
เครื่องพิมพ HP Photosmart Premium Fax e-All-in-One มอบงานพิมพคุณภาพเหนือชั้น รองรับเ∙คโนโลยี ePrint ! เอชพีแนะนำเครื่องพิมพ HP Photosmart Premium Fax e-All-in-One มอบประสิทธิภาพการพิมพ สแกน สำเนา เอกสาร และแฟกซอยางเหนือชั้น รองรับการพิมพภาพและ ขอมูลจากเว็บไซตไดอยางงายดาย สามารถเชื่อมตอการ ทำงานเขากับระบบอินเทอรเน็ตไดโดยตรง เพื่อมอบโซลูชั่น ดานการพิมพที่ดีที่สุด ผานทางแอพพลิเคชั่นที่ปรับเปลี่ยนได ตามความตองการ ผูใชงานสามารถพิมพเอกสารที่ใชงานทั่วไป และรูปภาพคุณภาพระดับมืออาชีพไดทุกเวลา และทุกสถานที่ ในโลกดวยโซลูชั่น HP ePrint นอกจากนี้ เครื่องพิมพ HP Photosmart Premium Fax e-All-in-One ไดรับการ ออกแบบมาดวยความใสใจในดานสิ่งแวดลอม และไดรับการ รับรองมาตรฐาน ENERGY STAR® โดยชวยประหยัดพลังงาน ไดมากกวาเครื่องพิมพรุนมาตรฐาน และชวยลดขยะดานบรรจุ ภัณฑ โดยบรรจุในถุงที่สามารถนำมาใชใหมได Issue 7 : Feb-Mar 2011
41
Search Engine Optimization (SEO) X
X
ปรับแตงเว็บไซตใหถูกใจ Search Engine เพื่อเพิ่มอันดับในผลการคนหาใหดีขึ้น เรียนรูหลักการในการจัดลำดับผลการคนหาและปรับแตงเว็บไซตใหมีอันดับสูงขึ้น..." วิ∙ยากรโดย:
วัน∙ี่ 10 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2554 เวลา 9.30-17.00 น. ณSE-ED Learning Center ชั้น 2จัตุรัสจามจุรี
ธฤษณุ ∙องเนียม ผูจัดการฝายเ∙คโนโลยีสารสนเ∙ศ บริษั∙ จีเอ็ม แอดวานซ มีเดีย จำกัด
แนวคิดหลัก ปจจุบันมีผูใชอินเตอรเน็ตมากกวา 600 ลานคนทั่วโลกและมีจำนวนเว็บไซตทั้งหมด มากกวา 50 ลานเว็บไซตการเขาถึงเว็บไซตเหลานั้นได ทั้งหมดเปนเรื่องยาก แต ณ ปจจุบัน การเขาถึงเว็บไซตไมใชเรื่องยากอีกตอไปเนื่องจากมีเครื่องมือที่ใชในการคนหา หรือ Search Engineที่พัฒนาผล การคนหาไดถูกตอง และแมนยำมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะ Search Engine ชื่อดังที่ครองตลาดมากกวา 98%ในไทยตอนนี้ อยาง Google ดังนั้น ถาเว็บไซตของทานติดอันดับ 1-10 หรือบนหนาแรก ก็จะมีโอกาสในทางธุรกิจมากกวาเว็บไซตที่อยูในอันดับตอ ๆ ไป ซึ่งหลักการเรียงลำดับ ของแตละ Search Engine ก็แตกตางกันไป แตหลักการโดยรวมก็จะคลายๆ กัน สิ่ง ๆ ตางเหลานี้ ทานสามารถวางแผน จัดการ และทำไดดวยตัว เอง ดวยหลักสูตร SEO นี้จะชวยใหทานสามารถ ทำการปรับแตงเว็บไซตใหมีอันดับดีๆ ใน Search Engine ดวยตัวทานเอง คุณเคยเจอปญหาแบบนี้ มั้ย ? • มีเว็บไซตแตไมมีคนเขาเว็บ • คนหาเว็บจาก Search Engine แลวไมเจอเว็บตัวเอง • คนหา Keyword ที่ตองการแตเว็บไซตของเราไมอยูในหนาแรก • คูแขงมีลูกคามากมายติดตอผานจากเว็บไซต แตเราไมมีลูกคาติดตอผาน เว็บไซตเขามา • ตองเสียเงินลงโฆษณามาก ๆ เพื่อใหมีคนเขาเว็บ • เสียเงินคาโฆษณาเดือนละเปนหมื่น ๆ
หัวขอการอบรม ภาคเชา
“ทั้งหมดนี้ คุณสามารถทำไดดวยตัวเอง”
ประโยชน∙ี่ไดรับหลังเขาอบรม
• แนะนำ Search Engine กับการคนหาขอมูล • ความสำคัญของ Rank หรือ อันดับการแสดงผล • การวิเคราะห Keyword ที่ตองการ
ภาคบาย • • • • • •
จะดีมั้ย ถาหากวา ? • คนหาเว็บ แลวเว็บของคุณอยูหนาแรก • กำหนด Keyword ที่ตองการทำโฆษณาได • มีคนคลิ๊กเขาเว็บไซตจำนวนมาก แตไมตองเสียเงินจากการคลิ๊ก • ไมมีคาใชจาย แตไดลูกคากลับมาจำนวนมาก
หลักการพัฒนาเว็บไซตตามหลักการ SEO Step by Step การ Optimize หนาเว็บ html กลยุทธการ link และการหา link เพื่อเพิ่มอันดับเว็บ เรียนรูเรื่องความสำคัญของ Page Rank แนะนำการใชเครื่องมือในการชวยวิเคราะหคูแขง เรียนรู Supplemental Index และ SandBox
• สามารถพัฒนาเว็บไซตไดตามหลักการ SEO • เรียนรูปจจัยที่มีผลตอการจัดอันดับของเว็บไซต • เรียนรูเทคนิคและ วิธีการ Optimize หนาเว็บ html แบบ Step by Step • รูเทคนิคและกลยุทธในการสราง Link ใหกับเว็บไซต • เรียนรูการใชเครื่องมือตาง ๆ มาชวยวิเคราะหเว็บไซต เพื่อนำมาปรับปรุงเว็บไซตของเรา
อัตราคาสัมมนา∙านละ
3,000 บา∙ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ เจาของกิจการ/ผูบริหาร/ผูจัดการฝายการตลาด/ ผูสนใจ ทั่วไป ที่ตองการเพิ่มอันดับเว็บไซตใหติดอันดับ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม/สำรอง∙ี่นั่งได∙ี่ คุณชยุต จึงภักดี สายตรง 089-691-8438
โ∙รศัพ∙ : 0 2739 8165อีเมล chayut@se-ed.com
∙ักษะการพรีเซ็นต Presentation Skill !
!
เ∙คนิคสุดยอด!!!∙ี่จะ∙ำใหคุณปรับปรุงการพรีเซนตสูระดับมืออาชีพ วิ∙ยากรโดย:
วัน∙ี่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ.2554 เวลา 9.30-17.00 น.
อ.ศรัณย จัน∙พลาบูรณ
ณSE-ED Learning Center ชั้น 2จัตุรัสจามจุรี
CLO (Chief Learning Officer) บ.37.5 องศาเซลเซียส จำกัด
แนวคิดหลัก ! พรีเซนตงานอยางไรใหผูฟงอยากฟง ไดรับขอมูลครบถวน ได รับความรูสึกที่ดี และใหเปนไปตามธรรมชาติของผูพรีเซนต อันจะนำไป สูการชักจูงที่ประสบความสำเร็จ ! การฝกอบรมในครั้งนี้ จะมีการนำหลักการ ทฤษฎี มาสูการ ปฏิบัติจริงมากมายหลายครั้ง มีการแนะนำฝกฝนแกไขในทุกๆครั้ง เพื่อ ใหเกิดการปรับปรุงการพรีเซนตของผูเขารวมฝกอบรมทุกทานไดจริง
หัวขอการอบรม • รวบรวมปญหา อุปสรรค และประเด็นที่ผูเขารวมสัมมนาอยากรูเกี่ยว กับการพรีเซ็นต • การวางแผนกอนการพรีเซ็นตใน 4 มิติ • การกำหนดเปาหมายทั้ง 3 สภาวะใน4 มิติ • ขอมูลของผูฟงการพรีเซนตที่จำเปนตอการวิเคราะหและวางแผน • การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) • การกำหนดกลยุทธหลักในการพรีเซนต • กลยุทธสำหรับขอมูลที่เราอยากใหรู แตผูฟงไมอยากรู • กลยุทธสำหรับขอมูลที่เราอยากใหรู และผูฟงก็อยากรู • กลยุทธสำหรับขอมูลที่เราไมอยากใหรู แตผูฟงอยากจะรู • การเตรียมตัวกอนการพรีเซนต • สิ่งที่ควรทำ และไมควรทำในการจัดทำสไลดพาวเวอรพอยตประกอบ การพรีเซ็นต • เทคนิคในการใชสีตางๆในสไลดพาวเวอรพอยต เพื่อใชสรางความรูสึก ใหกับผูฟงการพรีเซนต ตามที่ผูพรีเซนตตองการ • ขอแนะนำในการเตรียมเอกสารประกอบการพรีเซ็นต • การเตรียมสภาวะจิตใจ การใชเทคนิคการคิด และการทำกิจกรรมเชิง จิตวิทยา เพื่อลดความประหมาตื่นเตน และเพื่อสรางความมั่นใจกอน การพรีเซ็นต • การพรีเซนต • การใชเทคนิค RAMP ในการเริ่มการพรีเซนต • กลเม็ดในการการสรางความนาสนใจและทำใหเกิดปฏิสัมพันธใน ระหวางการพรีเซ็นต • เทคนิคการเชื่อมโยงสิ่งที่ผูฟงการพรีเซนตรูอยูแลว กับเนื้อหาใหมที่ ตองการจะถายทอด
• สิ่งที่ควรทำและไมควรทำระหวางการพรีเซ็นต • หลักการ ประเด็นหลักที่ควรเนน และเทคนิคในการพรีเซนตงาน แบบตางๆ อาทิเชน • การพรีเซนตเพื่อใหขอมูล • การพรีเซนตเพื่อสอน • การพรีเซนตเพื่อรายงานความคืบหนา • การพรีเซนตเพื่อขายแนวความคิด (หรือสินคาและบริการ) • การพรีเซนตเพื่อใหไดการตัดสินใจ • การพรีเซนตเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้น • เทคนิคพิเศษเมื่อตองพรีเซนตเมื่อไมมีเนื้อหาอะไรใหมที่จะพรีเซนต • ปญหาที่เกิดระหวางการพรีเซ็นตและแนวทางการปองกัน หลีกเลี่ยง และแกไข • เทคนิคในการพรีเซ็นตงานเปนทีม • การจบการพรีเซ็นตที่จะนำไปสูการจูงใจใหผูฟงการพรีเซนตกระทำ ในสิ่งที่เราตองการตามเปาหมายที่ตั้งไว • หลังการพรีเซ็นต • เทคนิคเชิงจิตวิทยาในวิเคาะหตนเองเพื่อปรับปรุงและสรางกำลังใจ ในการพรีเซ็นตครั้งตอไปใหดีขึ้น • การติดตอสื่อสารกับผูรับฟงการพรีเซนตหลังการพรีเซ็นต • ภาคปฎิบัติ กิจกรรม Neuro-Linguistic Programming (NLP) ปรับ ความรูสึกและทัศนคติผานกิจกรรมเพื่อใหเกิดสภาพ “ความคิดก็ ไป...และใจก็มา” Workshop เพื่อประยุกตทฤษฎีเขากับการปฏิบัติ ในการทำงานจริง
ประโยชน∙ี่ไดรับหลังเขาอบรม ไดผลลัพธตามที่ตองการจากการนำเสนอ และสรางความประทับใจจากผูฟง อัตราคาสัมมนา∙านละ
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ
3,500 บา∙ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
เจาของกิจการ ผูบริหาร ผูจัดการ ซุปเปอรไวเซอร พนักงานขาย ผูสนใจ ทั่วไปที่ตองนำเสนองาน
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม/สำรอง∙ี่นั่งได∙ี่ ชยุต จึงภักดี สายตรง 089-691-8438
โ∙รศัพ∙ : 0 2739 8165อีเมล chayut@se-ed.com
PHOTO RELEASE
แอลจี ประเ∙ศไ∙ย แตงตั้งกรรมการผูจัดการคนใหม
ซีเก∙ตอนรับคณะนักศึกษาจากเกาหลีใต
บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จำกัด ประกาศแตงตั้ง มร. ชิน ฮัก (เจฟ) แช เปนกรรมการผูจัดการคนใหม โดยมีผลตั้งแตวันอังคารที่ 4 มกราคม 2554 มร. ชิน ฮัก (เจฟ) แช มีประสบการณในแวดวงเครื่องใชไฟฟามา 20 ป เคยดำรงตำแหนง กรรมการผูจัดการของแอลจี อีเลคทรอนิคส ประเทศสิงคโปร และ มาเลเซีย และรับผิดชอบงานดานการขาย การตลาด และการ ปฏิบัติการของแอลจีในประเทศศรีลังกา ปากีสถาน และบังกลาเทศ
! นายเจฟฟรี่ย ดี ไนการด รองประธานและผูจัดการ ประจำประเทศไทย บริษัทซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด (ที่ 3 จากขวา) ใหการตอนรับคณะนักศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร และบริหาร มหาวิทยาลัยฮันดอง โกลบอล ประเทศเกาหลีใต ใน โอกาสที่เขาเยี่ยมชมและศึกษาดูงาน ณ โรงงานเทพารักษ เมื่อ เร็วๆ นี้
แอลจี รวมกับ ∙วิตเตอร ฟอร ไ∙ยแลนด มอบเงินรายไดจากการจัดประมูลออนไลน แกมูลนิธิ 1500 ไมล เพื่อชวยเหลือผูประสบ อุ∙กภัย∙ั่วประเ∙ศ ! บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จำกัด โดยคุณธันยเชษฐ เอกเวชวิท (ที่ 2 จากซาย) ผู อำนวยการฝายการตลาด รวมกับ คุณรณพงศ คำนวณ ทิพย (ซายสุด) ผูกอตั้งกลุมอาสาสมัคร ทวิตเตอร ฟอร ไทยแลนด มอบรายไดจากการจัดประมูลผลิตภัณฑ แอลจี ในโครงการ “TWT4TH - ทำดี รูสึกดี ” จำนวน 68,650 บาท ใหแก คุณรัฐภูมิ อยูพรอม (ที่ 4 จากขวา) ประธานกรรมการมูลนิธิ 1500 ไมล เพื่อใชชวยเหลือผู ประสบอุทกภัยในจังหวัดตางๆ ทั่วประเทศ ทั้งนี้ โครงการ “TWT4TH – ทำดี รูสึกดี ” เริ่มตนขึ้นตั้งแตวันที่ 17 พฤศจิกายนที่ผานมา โดย เปดโอกาสใหผูสนใจรวมประมูลผลิตภัณฑแอลจีจำนวน 7 ชิ้น ผานทางเว็บไซตของโครงการ เพื่อนำรายไดโดยไมหักคาใชจายทั้งหมดมา มอบใหแกมูลนิธิ 500 ไมล ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการฯ สามารถเขาชมไดที่ http://twt4th.in.th/
แอลจีเปดตัวไลนการผลิตเครื่องปรับอากาศรุนอินเวอร เตอร เรงเพิ่มยอดขายในอาฟตา ! บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จำกัด เปด ไลนการผลิตเครื่องปรับอากาศระบบอินเวอรเตอรเพิ่มเติม ณ ฐาน การผลิตเครื่องปรับอากาศแอลจี นิคมอุตสาหกรรม อิสเทิรนซี บอรด จังหวัดระยอง โดยลงทุนงบประมาณมากกวา 30 ลาน เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 900 ลานบาท ) ขยายอัตราการผลิตเปน จำนวน 500,000 เครื่องตอป ตอกย้ำความเปนผูนำอันดับหนึ่งดาน เครื่องปรับอากาศในเขตการคาเสรี (อาฟตา) อยางแทจริง 44
POTENTIAL magazine
PHOTO RELEASE
Asia Pacific Net Rider 2010 ∙ีมนักศึกษาไ∙ยในเว∙ีเน็ตเวิรคสากล
เอชพีแจกจริงโชค∙องใหกับผูโชคดีรวมมูลคากวา 2 ลาน บา∙ ในรายการ “หมึกพิมพแ∙เอชพีแจก∙อง”
! นายศรัณย อรุณการณ นายภควัต แสงเพชรวัฒนกุลและ นายณัฐพงษ สนธิคุณ นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร รวมกับ ศูนยปฏิบัติการระบบเครือขายคอมพิวเตอร (CNOC) สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในฐานะ ทีมชนะเลิศ Thailand NetRiders 2010 และเปนตัวแทนเขาแขงขัน Asia Pacific Net Rider 2010 ไดอันดับที่ 4 โดยทีมชนะเลิศ ไดแกทีมออสเตรเลีย รองชนะเลิศ ทีมนิวซีแลนด อันดับ 3 ทีม สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนจีน ! Asia Pacific Net Rider 2010 เปนการแขงขันดานเครือ ขาย ในรูปแบบออนไลน แบบเรียลไทม ผานเทคโนโลยีซิสโก เท เลเพรสเซนส และเว็บเอ็กซ (WebEX) โดยมีขอสอบจำนวน100 ขอ และภาคปฏิบัติในการแกโจทยปญหาทางดานระบบเครือขายใน ลั ก ษณะออนไลน พ ร อ มกั น ทุ ก ประเทศในภู ม ิ ภ าคเอเซี ย แปซิฟค ประกอบดวย 16 ประเทศ ไดแก ไทย ออสเตรเลีย จีน ฮองกง อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลี มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไตหวัน นิวซีแลนด เวียดนาม ศรีลังกา บังคลาเทศ และกัมพูชา
! นายกฤษณ กิตติทัตน (ขวา) ผูจัดการฝายขาย ตลาด คอนซูเมอร ผลิตภัณฑอิงคเจ็ทและเว็บโซลูชั่นส บริษัท ฮิวเลตตแพคการด (ประเทศไทย) จำกัด มอบทองคำหนัก 22 บาท มูลคา 423,720 บาท ใหกับคุณหทัยทิพย วิไล (ซาย) ผูโชคดีไดรับรางวัลที่ 1 จากรายการสงเสริมการตลาด“หมึกพิมพแทเอชพีแจกทอง” ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลา 8 เดือน (มีนาคม – ตุลาคม 2553) ของรายการ สงเสริมการตลาดดังกลาว เอชพีไดมอบรางวัลสรอยคอทองคำหนัก 2 บาทใหกับผูโชคดีไปแลวทั้งสิ้นจำนวน 40 รางวัล รวมมูลคากวา 2 ลานบาท ซึ่งรายการ “หมึกพิมพแทเอชพีแจกทอง” จัดขึ้นเพื่อคืน กำไรใหกับลูกคาหมึกพิมพแทเอชพี และสื่อสารขอมูลใหผูบริโภค เห็นวาหมึกพิมพแทเอชพีมอบความคุมคาดานงานพิมพมากกวาถึง 2 เทาเมื่อเทียบกับหมึกเติม
เอชพีเปดตัว HP Designjet T series เครื่องพิมพหนากวาง ! HP Designjet T series เปนเครื่องพิมพหนากวางรุน ลาสุด ที่มาพรอมเทคโนโลยี ePrint สนับสนุนการทำงานสำหรับ วงการสถาปตยกรรม วิศวกรรมและการกอสราง (AEC) รวมทั้ง องคกรระดับเอ็นเตอรไพรซ เพื่อใหสามารถเขาใชงานผานระบบ ออนไลนไดทุกที่ทุกเวลา และรองรับการทำงานรวมกันไดมากที่สุด ตั้งเปาขยายฐานลูกคาและเพิ่มการเติบโตในกลุมเครื่องพิมพหนา กวาง นางสาวมารกาเร็ต ออง รองประธานกลุมธุรกิจภาพและการ พิมพ เอชพี ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต กลาววา เอชพี ในฐานะผูนำดานการพิมพมองวาการเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาค เอเชียยังคงมีการเติบโตอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการเติบโตของเนื้อ หาบนเว็ป (digital content) บนระบบคลาวดเพิ่มขึ้น 33% ในป 2555 จากผลการศึกษาสำรวจของเอชพีพบวาผูใชโทรศัพทมือถือ Issue 7 : February-March 2011
สมารทโฟนจำนวนรอยละ 85 มีความตองการพิมพเนื้อหาหรือ ขอมูลตางๆ ทั้งจากสมารทโฟนและจากเว็บ นอกจากนี้ เอชพีมอง วาเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง ยังมีบทบาทสำคัญยิ่งในแงของ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการใหบริการและการตอบสนองตอ ความตองการของผูใชงาน โดยเฉพาะการสรางแอพพลิเคชั่นใหม เพื ่ อ ใช ง านบนคลาวด ซึ ่ ง ย อ มจะก อ ให เ กิ ด โอกาสแกธุรกิจอีก มหาศาล ซึ่งเปนที่มาในการเปดตัวเทคโนโลยี ePrint ใหครอบคลุม ทุกกลุมลูกคาในทุกๆ เซ็กเมนต 45
PHOTO RELEASE
เอชพีประกาศผูชนะเลิศในโครงการ “HP In-house Marketing Contest: สรางสรรคงานพิมพสีไดดวยไอ เดียคุณ” ! นางสาวจิตสุดา สกุลจันทร (ที่ 2 จากขวา ) ผูจัดการ ผลิตภัณฑโทนเนอร ซัพพลาย กลุมเลเซอรและเอ็นเตอรไพรซ โซลูชั่น และนางสาวพจนารถ พงษเจริญ (ซาย) ผูจัดการฝายการ ตลาด กลุมธุรกิจภาพและการพิมพ บริษัท ฮิวเลตต-แพคการด (ประเทศไทย) จำกัด รวมมอบรางวัลใหกับผูชนะเลิศการประกวด ผลงานพิมพสื่อสรางสรรคในโครงการ “HP In-house Marketing Contest: สรางสรรคงานพิมพสีไดดวยไอเดียคุณ ” ใหกับนายภิรินทร ชีไธสง (ขวา) นักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา ผูชนะเลิศใน ประเภทนิสิตนักศึกษา และนายวรพจน มณีโชติ (ที่ 3 จากขวา) ผูชนะเลิศในประเภทบุคคลทั่วไป โดยผูชนะเลิศจะไดรับรางวัลเงินสดและ เครื่องพิมพ HP Color LaserJet Pro CP1525n รวมมูลคา 35,000 บาท ! การประกวดดังกลาวนับเปนหนึ่งในกิจกรรมที่เอชพีจัดขึ้น เพื่อใหลูกคาสรางสรรไอเดียผาน HP In-house Marketing Solution และนำไปประยุกตใชไดจริงในธุรกิจ ทั้งยัง แสดงใหลูกคาเห็นคุณภาพของการใชหมึกพิมพสีแทเอชพี โดยมีผูสนใจสงผลงานเขารวมประกวด เปนจำนวนมาก
ผงหมึกพิมพแ∙เอชพีมอบโชคบินฟรีถึงปารีส ! นางสาวจิตสุดา สกุลจันทร (ซาย) ผูจัดการผลิตภัณฑ โทนเนอร ซัพพลาย กลุมเลเซอรและเอ็นเตอรไพรซโซลูชั่น บริษัท ฮิวเลตต-แพคการด (ประเทศไทย) จำกัด มอบรางวัลแพ็คเกจทัวร กรุงเทพฯ – ปารีส มูลคา 190,000 บาท ใหกับคุณกนกวรรณ ศักดิ์ เกษมสุข (ขวา) ผูโชคดีไดรับรางวัลที่ 1 จากรายการ “ใชผงหมึก พิมพแทเอชพี ลุนเที่ยวฟรีไกลถึงปารีส” รายการสงเสริมการตลาด กระตุนใหลูกคาไดเห็นประโยชนและคุณคา ที่เหนือกวาเมื่อใชผง หมึกพิมพแทเอชพี นอกจากนี้ ยังมีผูโชคดีที่ไดรับรางวัลแพ็คเกจ ทัวรกับทริปในฝนอีกกวา 30 รางวัล ซึ่งรายการดังกลาวไดรับ การ ตอบรับเปนอยางดีจากลูกคาจำนวนมาก
เอชพีคืนกำไร∙ันใจ มอบรางวัลใหผูโชคดีในรายการ HP Color Bonus ? นายฐิตพล บุญประสิทธิ์ (ที่ 2 จากซาย ) ผูจัดการฝาย ขาย ตลาดคอมเมอรเชียล กลุมธุรกิจภาพและการพิมพ บริษัท ฮิว เลตต-แพคการด (ประเทศไทย) จำกัด มอบรางวัล คอมพิวเตอร โนตบุค HP Pro Book 4310s มูลคากวา 70,000 บาท จำนวน 3 รางวัล ใหกับคุณสุโนทัย พรหมจรรย คุณชวนรัก พงษชาง และคุณ ธนนท อาจหาญ ลูกคาที่ซื้อเครื่องพิมพ HP Color LaserJet ใน รายการ “HP Color Bonus” มอบความคุมคาใหกับผูใชดวย ประสิทธิภาพการพิมพเหนือชั้น และ ประหยัดคาใชจาย สำหรับผู สนใจสามารถดูขอมูลรายการสงเสริมการขายเพิ่มเติมไดที่เว็บไซต www.hp.com/th/colorbonus
เตรียมพบกับ
www.se-edmagazine.com
ที่จะเปดโลกทัศนของคุณดวยฟรีแมกาซีน มากมาย เร็วๆนี้ 46
POTENTIAL magazine
PHOTO RELEASE
เลอโนโวเปดราน Lenovo Exclusive Store by Softworld ณ ศูนยการคาเซ็น∙รัลเวิลด พรอมรุกธุรกิจเต็มรูปแบบ ! เลอโนโว เปดตัวราน “Lenovo Exclusive Store by Softworld (เลอโนโว เอ็กซคลูซีฟ สโตร บาย ซอฟตเวิลด)” ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพฯ ใจกลางเมืองที่ไดรับความนิยมมากที่สุด ทั้งนี้ ดูแลและบริหารโดยบริษัท ซอฟเวิลด จำกัด ภายใตสัญญาการเปนตัวแทนบริษัทจัดจำหนาย ! Lenovo Exclusive Store by Softworld (เลอโนโว เอ็กซคลูซีฟ สโตร บาย ซอฟตเวิลด ) มีการ จำหนายผลิตภัณฑตางๆของเลอโนโว ทั้งจากตระกูล “Think” และ “Idea” อีกทั้ง ยังมีพนักงานศูนยบริการ ลูกคาที่คอยใหคำแนะนำและการบริการอยางมืออาชีพ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ ลูกคาจึงมั่นใจไดถึงคุณภาพการ บริการที่เหนือระดับ และความพึงพอใจสูงสุด ! ราน Lenovo Exclusive Store by Softworld มีผลิตภัณฑหลากหลายใหคุณเลือกสรรค ทั้งโนตบุคตระกูล ThinkPad และ IdeaPad พรอมเด สกท็อปทั้งตระกูล ThinkCentre และ IdeaCentre ทั้งนี้ ราน Lenovo Exclusive Store by Softworld ตั้งอยูที่ชั้น 4 ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด พรอมเปด ทำการทุกวัน ตั้งแตเวลา 10.00 – 21.00 น. หรือ ราย ละเอียดเพิ่มเติมติดตอไดที่ โทร.02-6131671
ซิสโก ซีสเต็มส หนุนบรอดแบนดแหงชาติ
FCI โชวผลงานโรงงานใหมไ∙ยนิปปอนรับเบอรฯ กาวขึ้น เบอรหนึ่งผูผลิตถุงยางของไ∙ย
! บริษัท ซิสโก ซีสเต็มส (ประเทศไทย) จำกัด ผูนำแหง เทคโนโลยีเครือขายการสื่อสารและสารสนเทศระดับโลกเดินหนา ผลักดันยุทธศาสตร “Smart+Connected Communities” ใหเกิด ขึ้นจริงไดในประเทศไทย เพื่อสรางโอกาสที่เทาเทียมและทั่วถึงแก คนไทยทั้งประเทศในการไดรับบริการที่ดีขึ้นทั้งในดานสาธารณสุข การศึกษา บริการจากภาครัฐ และเกษตรกรรม สอดคลองกับ แนวคิด “Smart Thailand” ตามแผนแมบทไอซีที 2020 ใหไอทีเปน สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของประชาชนคนไทย
คุณพนม พิมพแสง กรรมการผูจัดการบริษัท เอฟ.ซี.ไอ. อินเตอรเน ชันแนล จำกัด เผยผลงานการกอสรางโรงงานสำเร็จรูปใหกับลูกคา ในโครงการลาสุดของบริษัทฯ คือโรงงานผลิตถุงยางอนามัยของ บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอรอินดัสตรี้ จำกัด มูลคา 600 ลานบาท ซึ่งตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรมปนทอง จังหวัดชลบุรี การกอสราง โรงงานแหงนี้ นับเปนผลงานที่บริษัท เอฟ.ซี.ไอ.ฯ ภูมิใจมากๆ ดวย เปนโรงงานที่มีพื้นที่ขนาดใหญถึง 40,000 ตารางเมตร
Issue 7 : February-March 2011
47
ชี้ชอง∙างรวยดวยธุรกิจ
ซื้อ-ขาย-ประมูล ของสะสม เ∙คนิคสุดยอด !!! ∙ี่จะชวยคุณคนหาของสะสม∙ี่มีคา และซื้อขายไดในราคา∙ี่เหมาะสม
วัน∙ี่ 29 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2554 เวลา 9.30-17.00 น.
∙ัตต วรรณศิลป
ณSE-ED Learning Center ชั้น 2จัตุรัสจามจุรี
วิ∙ยากรผูเชี่ยวชาญดานของสะสม
วิ∙ยากรโดย:
แนวคิดหลัก ! ครอบครัวหนึ่งพบวาของที่คุณพอผูเสียชีวิตเก็บไวในหมอน คือธนบัตรเกาๆ ที่มีคำวาสยามรัฐ พิมพอยู คนในบานเขาใจวาเปนแบงกกงเต็ก เกือบจะนำไปทิ้งแตเมื่อนำไปใหผูรูดูและนำไปประมูล มีมูลคากวา 2 แสนบาท…ใครจะรูวา รูปภาพ หรือภาพถายสมัยปูยาตายาย แขวนไวที่บานจะมี มูลคากวา แปดหมื่นบาท…… แสตมปบางรุน เปนที่ตองการของตางประเทศ ซึ่งเก็บอยูในกลองขนมปงเกาๆในบานอยางไมมีผูรูคุณคา ฯลฯ ! เรื่องราวเชนนี้ยังมีอีกมากมายและพบเห็นไดทุกวัน …ทามกลางภาวะวิกฤติเศรษฐกิจขาลงที่มีแนวโนมยังตกต่ำอยูเรื่อยๆไมนอยกวา 2 ป หากทานทำงานเปนมนุษยเงินเดือน การมีรายไดทางเดียวนับวาอยูในความเสี่ยงอยางยิ่ง หากจะลงทุนคาขายในภาวะเชนนี้ ผูคนตางเก็บออมไมยอมใช เงิน แตมีกลุมคนจำนวนหนึ่งที่มีเงินออมรวมกันในบัญชีธนาคารในประเทศ มากกวา 3 ลานลานบาท ที่ยังไมนำเงินออกมาใชจาย คนเหลานี้ไมไดรับ ผลกระทบแตไมกลาลงทุนในเมื่อตลาดทุนก็อยูในภาวะซึมเซา ตลาดทองอยูในชวงการเก็งกำไร น้ำมันขาลง ฯลฯ การลงทุนในของสะสมยอมเปนความ สุขและมีมูลคาตอบแทนที่คุมคาสำหรับคนเหลานี้ ! ของสะสม เปนงานอดิเรกที่มีคุณคาทางจิตใจเมื่อเก็บไว และเพิ่มมูลคาขึ้นเรื่อยๆไมมีวันตก ลองคิดดูเปรียบเทียบระหวางลงทุนซื้อทองคำ แทง 1 บาทกับเหรียญกษาปณ 1 บาทเมื่อเวลาผานไปเทากัน มูลคาของเหรียญกษาปณจะมากกวาหลายเทาตัว (ขึ้นอยูกับรุนที่ทานมี) ของสะสม เปรียบเสมือนที่ดิน ขึ้นอยูกับกฎของDemand กับ Supply และเปน Supply ที่มีจำนวนจำกัดขณะที่ความตองการมากขึ้นเรื่อยๆตามประชากร และ เมื่อตองการใชเงินก็สามารถขายเปลี่ยนมือได ซึ่งในปจจุบันก็มีหลายชองทางมากขึ้นเนื่องจากอิทธิพลของ Internet ทำใหความจำเปนที่ตองรีบขาย จนถูกกดราคาจากรานรับซื้อนอยลงไปมาก
หัวขอการอบรม ภาค∙ฤษฎี 1. ความรูเบื้องตนประเภทของสะสม : ของสะสมมีกี่ประเภท มีวิธีแยก ประเภทอยางไร ความนิยมในตลาดเปนอยางไรในแตละประเภท กำหนดเปาหมายของ ของสะสม ในตลาดตามความเปนจริง 2. การเสาะแสวงหา รูแหลงที่มาของสะสม วิธีการแสวงหา การเจรจาตอ รองกับเจาของ เขาใจ ของสะสมแตละรายการดวยขอมูลที่เปนจริง เคล็ดลับในการประเมินราคา เตรียมตัวเลือกของสะสม เพื่อเปนทรัพยสิน 3. การแปลงจากงานอดิเรกเปนธุรกิจ การหาผูซื้อ : สรางความเขาใจขั้น ตอน การ ซื้อ-ขาย-ประมูล ของสะสม ทั้งระบบประมูลตรงและ EAuction การนำเสนอขายในตลาดโลก ผาน E-bay เคล็ดลับการประสบ ความสำเร็จธุรกิจ นี้: ขอควรปฏิบัติและไมควรปฏิบัติ ขอควรระวัง
อัตราคาสัมมนา∙านละ 3,500 บา∙ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
ประโยชน∙ี่ไดรับหลังเขาอบรม • ความรูพิเศษ ซื้อ-ขาย-ประมูล ของสะสม • รูทักษะในการเลือกของสะสมที่มีคาและสามารถเปลี่ยนเปน ทรัพยสินได • มีความมั่นใจและสามารถสรางรายไดพิเศษ และนำศักยภาพ ความรูใหมไปประกอบอาชีพเสริมไดอยางมีประสิทธิภาพ
ภาคปฎิบัติ
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ
• เปดใหชมของสะสม วิธีการดูเบื้องตน • วิธจี ับตองและดูแลเบื้องตน เพื่อไมใหเสื่อมดอยมูลคา • ถาม-ตอบ
! ! นักลงทุนทั่วไปที่ตองการมีทางเลือกในการลงทุนอีกรูปแบบ หนึ่ง พนักงานบริษัทฯ ที่ตองการสรางรายไดพิเศษ และผูสนใจทั่วไป ไมจำเปนตองมีประสบการณหรือมีของสะสมมากอน
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม/สำรอง∙ี่นั่งได∙ี่ คุณชยุต จึงภักดี สายตรง 089-691-8438
โ∙รศัพ∙ : 0 2739 8165อีเมล chayut@se-ed.com