NINE ipo doc

Page 1

หนังสือชี้ชวน บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) Nation International Edutainment Public Company Limited หุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 15,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท แบงเปน หุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 9,000,000 หุน เสนอขายตอผูถือหุนเดิมของบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) ซึ่งมีรายชื่อตามมาตรา 225 แหง พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยโดยวิธีปดสมุดทะเบียนผูถือหุน ณ วันที่ 11 ตุลาคม 2553 และ หุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 6,000,000 หุน เสนอขายตอประชาชนตามดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยและบริษัทฯ ในราคาเสนอขายหุนละ 2.40 บาทตอหุน หุนสามัญเดิมโดยบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) จํานวน 4,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เสนอขายตอประชาชนตามดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยและบริษัทฯ ในราคาเสนอขายหุนละ 2.40 บาทตอหุน

ระยะเวลาจองซื้อ เสนอขายตอผูถือหุนเดิมของ NMG ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันที่ 27 – 29 ตุลาคม 2553 เสนอขายตอประชาชนตามดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยและบริษัทฯ ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันที่ 1 – 3 พฤศจิกายน 2553

ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัทหลักทรัพย ดีบีเอส วิคเคอรส (ประเทศไทย) จํากัด ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย บริษัทหลักทรัพย ดีบีเอส วิคเคอรส (ประเทศไทย) จํากัด วันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุน วันที่ 8 ธันวาคม 2551 วันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนการเสนอขายหุนสามัญเดิม วันที่ 30 เมษายน 2552 วันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนการเสนอขายหุนสามัญเดิมและหุนสามัญเพิ่มทุนมีผลบังคับใช วันที่ 15 ตุลาคม 2553

คําเตือน กอนตัดสินใจลงทุน ผูลงทุนตองใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับผูออกหลักทรัพยและเงื่อนไขของหลักทรัพย รวมทั้งความเหมาะสม ในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของเปนอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนนี้ มิไดเปนการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแนะนําใหลงทุนในหลักทรัพยที่เสนอขาย หรือมิได ประกันราคาหรือผลตอบแทนของหลักทรัพยที่เสนอขาย หรือรับรองความครบถวนและถูกตองของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ ชวนนี้แตอยางใด ทั้งนี้ การรับรองความถูกตองครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนนี้เปนความรับผิดชอบของผูเสนอขายหลักทรัพย หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนมีขอความหรือรายการที่เปนเท็จ หรือขาดขอความที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ผูถือ หลักทรัพยที่ไดซื้อหลักทรัพยไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจาก บริษัทหรือเจาของหลักทรัพยไดตามมาตรา 82 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ภายในหนึ่งปนับแตวันที่ไดรูหรือควรไดรูวาแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนเปนเท็จหรือขาดขอความที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ แตไมเกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลและ หนังสือชี้ชวนมีผลใชบังคับ บุคคลทั่วไปสามารถขอตรวจสอบหรือขอสําเนาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพย และหนังสือชี้ชวนไดท่ีศูนยสารนิเทศ สํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ชั้น 15 อาคารจีพีเอฟ วิทยุ เลขที่ 93/1 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ในทุกวันทําการของสํานักงาน ระหวาง เวลา 9.00 น.-12.00 น. และ 13.00 น.-16.00 น. หรือทาง http://www.sec.or.th


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

สารบัญ หนา สวนที่ 1

ขอมูลสรุป (Executive Summary)

สวนที่ 2

บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ปจจัยความเสี่ยง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 4. การวิจัยและพัฒนา 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 9. การจัดการ 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

สวนที่ 3

สวนที่ 4

ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย 1. รายละเอียดของหลักทรัพยที่เสนอขาย 2. ขอจํากัดการโอนหลักทรัพยที่เสนอขาย 3. ที่มาของการกําหนดราคาหลักทรัพยที่เสนอขาย 4. ราคาหุนสามัญในตลาดรอง 5. การจอง การจําหนาย และการจัดสรร การรับรองความถูกตองของขอมูล

เอกสารแนบ 1 เอกสารแนบ 2 เอกสารแนบ 3 เอกสารแนบ 4

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบ ริหารและผูมอี ํานาจควบคุมบริษัทฯ รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย แบบประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน งบการเงินตรวจสอบของบริษัทฯ ประจําป 2550 2551 และ 2552 งบสอบทานของบริษัทฯ สําหรับงวด 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553

1 2 6 12 31 32 34 37 38 39 57 59 65 1 4 4 4 4


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เปนหนึ่งในบริษัทยอยในสายธุรกิจดานการศึกษา บันเทิง และตางประเทศ ของบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) (“เนชั่นกรุปฯ ”) ซึ่งเปนบริษัทที่จดทะเบียนอยูในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย หลังจากการปรับโครงสรางในป 2549 บริษัทฯ มีการถือหุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน จํานวน 2 บริษัท คือ บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (“NED”) ในสัดสวนรอยละ 99.99 และบริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (“NEE”) ในสัดสวนรอยละ 49.99 กลุมบริษัทฯ ประกอบธุรกิจสํานักพิมพโดยผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพที่ใหทั้งความรูและความบันเทิงในรูปแบบของหนังสือพ็อค เก็ตบุคส และสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน ซึ่งมิไดมีโรงพิมพเปนของตนเอง ในสวนของหนังสือพ็อคเก็ตบุคส กลุมบริษัทฯ ดําเนินธุรกิจผาน ตัวบริษัทฯ เองในนามสํานักพิมพ ”เนชั่นบุคส” ซึ่งผลิตและจําหนายหนังสือพอคเก็ตบุคสที่ไดรับลิขสิทธิ์จากนักเขียนและสํานักพิมพที่มี ชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศ ใหเปนผูจัดพิมพและจําหนายผลงานที่มีคุณภาพ โดยมีกลุมผูอานเปาหมายเปนผูใหญอายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาหลากหลายแนว ไดแก 1) หมวดบริหารและจัดการ 2) หมวดนิยายและนวนิยาย 3) หมวดภาษาและการ เรียนรู 4) หมวดศาสนา จิตวิทยา และปรัชญา 5) หมวดทั่วไป ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ ไดรับลิขสิทธิ์ในการพิมพและจัด จําหนายหนังสือพอคเก็ตบุคสทั้งสิ้นมากกวา 600 ปก ซึ่งโดยสวนใหญ กลุมบริษัทฯ จะจัดจําหนายผานผูจัดจําหนายหนังสือรายใหญใน ประเทศ และมีจุดกระจายหนังสือรวมกันทั้งสิ้นมากกวา 2,500 แหง นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ ยังดําเนินธุรกิจผลิต นําเขา และจําหนาย สื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนเพื่อการศึกษา บันเทิง และการเสริมทักษะ ซึ่งรวมถึงการตูน และนิทานประเภทตางๆ ผาน NED และ NEE ใน นามสํานักพิมพ “เนชั่นเอ็ดดูเทนเมนท“ และ ”เนชั่นเอ็กมอนท” โดยมีกลุมลูกคาเปาหมายเปนเยาวชนอายุไมเกิน 18 ป กลุมบริษัทฯ จะ มุงเนนการผลิตและจัดจําหนายหนังสือและนิตยสารการตูนยอดนิยมที่ไดรับลิขสิทธิ์มาจากสํานักพิมพชั้นนําของประเทศญี่ปุน ประเทศ ไทย และ ประเทศในทวีปเอเชีย อาทิ โดราเอมอน เครยอนชินจัง ดรากอนบอล และ นินจานารูโตะ เปนตน โดยนิตยสารการตูน “Boom” ซึ่งกลุมบริษัทฯ เปนเจาของหัวหนังสือ เปนนิตยสารการตูนรายสัปดาหที่มียอดจําหนายอันดับ 1 ในประเทศไทย (ที่มา: ฝายการตลาด บริษัทฯ ธันวาคม 2552) นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ ยังผลิตและจําหนายสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนที่ไดรับลิขสิทธิ์มาจากกลุมประเทศแถบ ยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ ไดรับลิขสิทธิ์ในการพิมพและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับ เยาวชนทั้งสิ้นมากกวา 2,900 ปก ซึ่งสวนใหญ กลุมบริษัทฯ จะจัดจําหนายผานเอเยนตหนังสือ และผูจัดจําหนายหนังสือ โดยมีจุด กระจายหนังสือรวมกันทั้งสิ้นกวา 2,050 แหง กลุมบริษัทฯ โดยตัวบริษัทฯ เองยังดําเนินธุรกิจในการเปนตัวแทนขายและจัดจําหนายหนังสือพิมพใหแกสํานักพิมพตางประเทศ คือ The Wall Street Journal Asia และ The Yomiuri Shimbun รวมทั้งนิตยสารตางประเทศ เชน Fortune, Time และ Newsweek เปน ตน โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ เปนตัวแทนขายและรับจัดจําหนายหนังสือพิมพและนิตยสารตางประเทศจํานวนทั้งสิ้น 15 ฉบับ ซึ่งมีกลุมลูกคาเปาหมายเปนลูกคานักธุรกิจทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ และกลุมนักศึกษา นักวิชาการ โดยมีการจําหนาย ผานระบบสมาชิก แผงหนังสือและรานหนังสือ รวมถึงจําหนายแบบ Bulk ซึ่งมีจุดกระจายหนังสือพิมพและนิตยสารรวมกันทัง้ สิน้ มากกวา 400 แหง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเปนตัวแทนขายโฆษณาใหกับหนังสือพิมพ The Yomiuri Shimbun ฉบับที่พิมพในประเทศไทย รับจาง พิมพหนังสือพิมพ The Wall Street Journal Asia และ The Yomiuri Shimbun รวมถึงรับจัดสงหนังสือพิมพและนิตยสารตางประเทศอีก หลายฉบับดวย ธุรกิจสํานักพิมพเปนธุรกิจที่ยังคงมีการเจริญเติบโตไดอยางตอเนื่องทั้งในดานปริมาณสิ่งพิมพ มูลคายอดจําหนาย และจํานวน รานจําหนายหนังสือที่เพิ่มมากขึ้น จากขอมูลในเอกสารวิเคราะหธุรกิจสํานักพิมพ และหนังสือเลมในประเทศไทยป 2552 และแนวโนมป 2553 โดยสมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนายหนังสือแหงประเทศไทย ยอดการจําหนายหนังสือในประเทศไทยนั้นมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง โดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสม (CAGR) ระหวางป 2547 -2552 ที่รอยละ 7.49 และจํานวนการใชเงินซื้อหนังสือตอคนตอปมี แนวโนมสูงขึ้นตามรายไดตอหัวของประชากรในประเทศไทยเชนกัน โดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสม (CAGR) ระหวางป 2547 -2552 ที่รอย สวนที่ 1 หนาที่ 1


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ละ 7.09 ปจจัยหลักที่สงเสริมการเติบโตของธุรกิจสํานักพิมพ คือ นโยบายสงเสริมการอานของภาครัฐและภาคเอกชน การเพิ่มขึ้นของ จํานวนรานหนังสือและแผงหนังสือ และการเพิ่มขึ้นของจํานวนหนังสือที่ออกใหม จึงสงผลใหมีผูสนใจเขามาในธุรกิจสํานักพิมพโดยตลอด อีกทั้งธุรกิจสํานักพิมพเปนประเภทธุรกิจที่มีผูประกอบการเปนจํานวนมาก มีขนาดของผูประกอบการที่แตกตางกันอยางหลากหลาย ประกอบกับประเภทและลักษณะของผลิตภัณฑหรือหนังสือ ก็มีความแตกตางกันอยางหลากหลายเชนกัน ดังนั้น การประสบความสําเร็จ ในการดําเนินธุรกิจสํานักพิมพประกอบดวยปจจัยหลัก ไดแก เนื้อหาสาระของสิ่งพิมพที่ตรงกับความตองการของผูอาน การบริหารชอง ทางการจัดจําหนายและสินคาคงคลังที่ดี และการมีพันธมิตรทางธุรกิจ เปนตน ในสวนของธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศ ประเภทสมาชิกมีคูแขงนอยราย แตประเภทแผงหนังสือหรือรานคา มีคูแขงจํานวนหลายราย ซึ่งประกอบดวยคูแขงที่เปนรานหนังสือขนาด ใหญที่มีจํานวนหลายสาขา จุดเดนในการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ • • • • • • •

กลุมบริษัทฯ ไดรับความยอมรับและมีความสัมพันธที่ดีกับนักเขียนและสํานักพิมพที่มีชื่อเสียงทั่วโลก กลุมบริษัทฯ ประสบความสําเร็จในการผลิตและจัดจําหนายสื่อและสิง่ พิมพประเภทหนังสือมาอยางตอเนื่อง กลุมบริษัทฯ ผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือหลากหลายประเภท กลุมบริษัทฯมีผูถือหุนที่เขมแข็งและสามารถชวยสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ได เนื้อหา (Content) และรูปภาพในสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือที่กลุมบริษัทฯ ไดรับลิขสิทธิ์มีโอกาสนําไปขยายธุรกิจทางสื่ออื่นๆได ผูบริหารของกลุมบริษัทฯ เปนผูมีประสบการณสูงในธุรกิจผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพ กลุมบริษัทฯ มีทีมบรรณาธิการที่มีคุณภาพ

สรุปฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน การประกอบธุรกิจหลักของกลุมบริษัทฯ สามารถแบงไดเปน 3 ประเภท คือ การผลิตและจําหนายพ็อคเก็ตบุคส การผลิตและ จําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน และการเปนตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศ ซึ่งสรางรายไดใหแกกลุมบริษัทฯ คิดเปนสัดสวน รอยละ 19.27, 45.99 และ 32.04 ของรายไดรวมของกลุมบริษัทฯ ใน 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ ในป 2551 กลุมบริษัทฯ มีรายไดรวมและกําไรสุทธิจํานวน 343.04 และ 34.53 ลานบาท ลดลง 17.88 และ 5.51 ลานบาท จาก รายไดรวมและกําไรสุทธิในป 2550 จํานวน 360.92 และ 40.04 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 4.95 และ 13.76 ตามลําดับ เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ลดจํานวนการพิมพหนังสือการตูนตอปกลงและลดจํานวนหนังสือการตูนปกใหมลงเพื่อเลือกผลิตหนังสือที่ตรงตาม ความตองการของตลาดใหมากขึ้น อยางไรก็ตาม ถาตัดรายการปรับบัญชีเงินฝากธนาคาร และการปรับบัญชีสํารองสินคาหนังสือการตูน รับคืนกับเนชั่นกรุปฯ ในป 2550 เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ยกเลิกการจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนผานเนชั่นกรุปฯ และรายไดจากการ ปรับบัญชีอื่นเปนจํานวนรวม 7.39 ลานบาท (สุทธิจากภาษี 6.39 ลานบาท) ออกไป รวมทั้งตัดการปรับลดตนทุนคาลิขสิทธิ์ลงจากการ ปรับปรุงคาลิขสิทธิ์คางจายที่ทําใหกําไรป 2550 เพิ่มขึ้น 2.33 ลานบาท (สุทธิจากภาษี) ออกไป รายไดรวมและกําไรสุทธิหลังหักภาษีในป 2550 จะมีจํานวน 353.53 และ 31.32 ลานบาท ซึ่งเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับผลการดําเนินงานในป 2551 ที่ไมมีรายการดังกลาวแลว ทําใหรายไดของกลุมบริษัทฯ ในป 2551 ลดลง 10.49 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 2.97 และกําไรสุทธิเพิ่มขึ้น 3.21 ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 10.25 ในชวงป 2552 กลุมบริษัทฯ มีรายไดรวมและกําไรสุทธิจํานวน 302.47 และ 14.33 ลานบาท ลดลง 40.57 และ 20.20 ลานบาท จากรายได รวมและกําไรสุท ธิในป 2551 จํ านวน 343.04 และ 34.53 ล านบาท คิดเปนอั ตราการลดลงร อยละ 11.83 และ 58.53 ตามลําดับ เนื่องจากการลดลงของยอดจําหนายพ็อคเก็ตบุคส และสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน ในชวง 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดรวมจํานวน 139.62 ลานบาท ลดลง 10.21 ลานบาท จากรายไดรวมใน 6 เดือน แรกป 2552 จํานวน 149.83 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 6.81 เนื่องจากการลดลงของยอดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับ เยาวชน และสิ่งพิมพตางประเทศจากเหตุการณไมสงบทางการเมือง อยางไรก็ตาม ใน 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีกําไรสุทธิ

สวนที่ 1 หนาที่ 2


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) จํานวน 10.87 ลานบาท เพิ่มขึ้น 9.31 ลานบาท จากกําไรสุทธิใน 6 เดือนแรกป 2552 จํานวน 1.56 ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอย ละ 596.79 เนื่องจากราคากระดาษซึ่งเปนตนทุนการผลิตปรับลดลง และบริษัทฯ มีการควบคุมคาใชจายในการขายและบริหารที่ดี ตารางสรุปงบการเงินของกลุมบริษัทฯ งบตรวจสอบ 2551 ลบ. รอยละ ลบ. รอยละ 297.13 100.00 259.21 100.00 สินทรัพยรวม : 54.06 18.20 71.77 27.69 เงินสดและรายการเทียบเทา 90.52 30.47 81.65 31.50 ลูกหนี้การคา 59.82 20.13 58.95 22.74 สินคาคงเหลือ 13.75 4.62 17.50 6.75 สินทรัพยไมมีตัวตน 78.98 26.58 29.34 11.32 สินทรัพยอื่น 134.89 49.96 125.31 48.34 หนี้สินรวม : 69.69 26.88 72.31 24.34 เจาหนี้การคา 24.55 14.78 32.35 12.48 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 23.27 8.98 38.03 10.84 หนี้สินอื่น 162.24 50.04 133.90 51.66 สวนของผูถือหุน : 360.92 343.04 รายไดรวม 40.04 34.53 กําไรสุทธิ 11.09 10.07 อัตรากําไรสุทธิ (รอยละ) 0.57 0.49 กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) ก 0.47 0.41 กําไรตอหุนปรับลด (บาท) ก หมายเหตุ: กําไรตอจํานวนหุนสามัญภายหลังการเสนอหุนสามัญครั้งนี้ (หนวย : ลานบาท)

2550

2552 ลบ. รอยละ 240.57 100.00 42.34 17.60 92.02 38.25 53.67 22.31 18.77 7.80 33.77 14.04 127.35 52.94 71.45 29.70 36.78 15.29 19.12 7.95 113.22 47.06 302.47 14.33 4.74 0.20 0.17

งบสอบทาน ม.ค. – มิ.ย. 2553 ลบ. รอยละ 229.94 100.00 33.43 14.54 79.12 34.41 56.73 24.67 22.83 9.93 37.83 16.45 120.55 52.43 65.79 28.61 29.36 12.77 25.39 11.04 109.39 47.57 139.62 10.87 7.79 0.16 0.13

ปจจัยความเสี่ยง (รายละเอียดเพิ่มเติมในสวนที่ 2 ขอ 1- ปจจัยความเสี่ยง) 1. ความเสี่ยงจากปจจัยภายนอก ความเสี่ยงจากการแขงขันและจํานวนคูแขงที่เพิ่มมากขึ้น ในชวงที่ผานมา ผูประกอบการในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพประเภทหนังสือมีการแขงขันที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะการแขงขันของ สํานักพิมพขนาดใหญ ซึ่งจัดอยูในประเภทเดียวกับกลุมบริษัทฯ อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ เชื่อวาจะสามารถรักษาความเปนหนึ่งในผูนํา ของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพประเภทหนังสือในประเทศไทยไดตอไปในอนาคต โดยเฉพาะการเปนหนึ่งในสํานักพิมพที่มียอดจําหนายสื่อ สิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากประเทศญี่ปุน และประเทศในทวีปเอเชียสูงที่สุดในประเทศไทย จากจุดเดนของกลุมบริษัทฯ ที่มีความสัมพันธ ที่ดีกับนักเขียนและสํานักพิมพที่มีชื่อเสียง และที่ประสบความสําเร็จในการผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือมาอยาง ตอเนื่อง ซึ่งทําใหกลุมบริษัทฯ สามารถคัดเลือกสิ่งพิมพที่มีแนวโนมที่จะไดรับความนิยมสูงมาผลิตและจัดจําหนายไดตามเปาหมาย นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ ยังมีการผลิตสิ่งพิมพหลากหลายประเภทเพื่อครอบคลุมความตองการของผูอานทุกกลุม ซึ่งเปนการลดความ เสี่ยงจากการพึ่งพิงผูอานกลุมใดกลุมหนึ่ง

สวนที่ 1 หนาที่ 3


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 2. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจ ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯในการดําเนินธุรกิจ และความเปนอิสระในการบริหารงานของกลุมบริษทั ฯ เนื่องจาก เนชั่นกรุปฯ เปนผูถือหุนรายใหญในกลุมบริษัทฯ โดยมีการถือหุนในสัดสวนประมาณรอยละ 77.65 ของหุนที่จําหนายได แลวทั้งหมดหลังจากการเสนอขายหุนของบริษัทฯ แกนักลงทุนทั่วไปในครั้งนี้ จนถึงปจจุบัน กลุมบริษัทฯ มีการทําธุรกรรมรายการระหวาง กันหลายประเภท เชน การซื้อกระดาษ การจางพิมพ การจางสงสื่อสิ่งพิมพ และการรับบริการตางๆ เปนตน กับบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ ดังรายละเอียดในหัวขอ 11 รายการระหวางกัน โดยใน 6 เดือนแรกของป 2553 กลุมบริษัทฯมีคาใชจายที่เปนตนทุนขายสินคา ตนทุนการ ใหบริการ และคาใชจายในการขายและบริหารจากธุรกรรมขางตนกับบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ เปนจํานวนรวมทั้งสิ้นประมาณ 57.36 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 46.64 ของคาใชจายรวมตามงบการเงินรวมของกลุมบริษัทฯ ในชวงเวลาดังกลาว และกลุมบริษัทฯ ยังคง มีการทําธุรกรรมดังกลาวอีกในอนาคต เนื่องจากบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ มีทีมงานที่มีความชํานาญ เครือขายในการจัดจําหนายและ เครื่องจักรอุปกรณ พรอมที่จะใหบริการในตนทุนที่นาจะต่ํากวาหากกลุมบริษัทฯ จะเปนผูดําเนินการเอง และมีกําลังการผลิตและบริการ เพียงพอในการดําเนินการ ดังนั้น กลุมบริษัทฯ อาจมีความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ ในการสนับสนุนการดําเนินธุรกิจ ของกลุมบริษัทฯ ซึ่งหากบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ ไมสามารถสนับสนุนการใหบริการขางตนดังกลาวได กลุมบริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบ ในการจัดพิมพ และการจัดสงสื่อสิ่งพิมพบางในระยะเวลาอันสั้น เนื่องจาก กลุมบริษัทฯ สามารถสั่งซื้อกระดาษและรับบริการตางๆ ผานผู จัดจําหนายและผูใหบริการรายอื่นที่มีจํานวนหลายรายในประเทศไทย ในเงื่อนไขทางการคาปกติและมีราคาตามตลาดเชนเดียวกับการ ดําเนินธุรกรรมรายการระหวางกันขางตน นอกจากนั้นมูลคาของการทําธุรกรรมรายการระหวางกันขางตนใน 6 เดือนแรกของป 2553 คิด เปนประมาณรอยละ 4.30 ของรายไดรวมของเนชั่นกรุปฯ ในชวงเวลาดังกลาว ซึ่งถือเปนสัดสวนที่นอยมาก ดังนั้น เนชั่นกรุปฯ จึงไมได พึ่งพิงรายไดจากกลุมบริษัทฯ และมีแรงจูงใจในการหาประโยชนจากรายการดังกลาว กลุมบริษัทฯ มีนโยบายการบริหาร และการตัดสินใจที่เปนอิสระจากเนชั่นกรุปฯ โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของผูถือหุนสวน นอยและผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝายของกลุมบริษัทฯ โดยมีอิสระในการจัดหาสินคาหรือใชบริการกับผูใหบริการภายนอกอื่นๆ ที่เสนอราคา ที่มีเงื่อนไขทางการคาปกติในราคาตลาดและเปนประโยชนมากที่สุดแกกลุมบริษัทฯ เชน ในปจจุบัน กลุมบริษัทฯ มีการจางโรงพิมพ ภายนอก ไดแก บจก. เอช-เอ็น กรุป และ บจก. พริ้นตโพร พิมพงานบางสวนของกลุมบริษัทฯ ดังนั้น กลุมบริษัทฯ จึงไมมีการพึ่งพิงบริษัท ในเครือเนชั่นกรุปฯ จนทําใหขาดความเปนอิสระ นอกจากนี้ การทําธุรกรรมระหวางบริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (“NEE”) กับบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ ยังมีการควบคุมจากผูถือหุนอีกฝายคือ เอ็กมอนท อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/เอส ใหมีราคาและ เงื่อนไขตางๆ ที่เปนธรรม ความเสี่ยงจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคากระดาษและการขาดแคลนกระดาษ กระดาษที่ใชในการผลิตสิ่งพิมพจัดเปนสินคาประเภท Commodity ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานราคาแปรผันตามความตองการ ของการบริโภคและปริมาณการผลิตของผูผลิต (Demand & Supply) และเปนวัตถุดิบหลักที่สําคัญในการผลิตสื่อสิ่งพิมพของกลุมบริษัทฯ ซึ่งคิดเปนตนทุนประมาณรอยละ 17.90 ของตนทุนขายและบริการตามงบการเงินรวมของกลุมบริษัทฯ ใน 6 เดือนแรกของป 2553 ดังนั้น กลุมบริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงจากการผันผวนของราคากระดาษ ซึ่งอาจสงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนการผลิตและกําไรสุทธิของกลุม บริษัทฯ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงจากการขาดแคลนกระดาษ Newsprint ชนิดมวนที่ใชพิมพหนังสือพิมพ นิตยสาร และ หนังสือที่มียอดพิมพสูง ซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญที่บริษัทฯ ใชในการผลิตสิ่งพิมพ เนื่องจากกระดาษชนิดดังกลาวหาซื้อไดยากในประเทศ ไทยและตองซื้อเปนจํานวนมากในแตละครั้ง ในการลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนกระดาษและการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคากระดาษ Newsprint ชนิดมวน กลุมบริษัทฯ จะ สั่งซื้อจากบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ สําหรับการจัดพิมพที่โรงพิมพในเครือเนชั่นกรุปฯ ซึ่งเปนการจัดพิมพสวนใหญของกลุมบริษัทฯ โดย เนชั่นกรุปฯ มีประสบการณในการจัดซื้อกระดาษเปนระยะเวลานาน มีการจัดซื้อกระดาษสํารองไว และเขาใจในวงจรของราคากระดาษ เปนอยางดี รวมทั้งเนชั่นกรุปฯ ไดมีการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนโดยการทํา Forward Contract ไวตามปริมาณกระดาษที่

สวนที่ 1 หนาที่ 4


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) คาดวาจะใชลวงหนา ดังนั้น การจัดซื้อกระดาษจากเนชั่นกรุปฯ จึงชวยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคากระดาษ และการขาด แคลนกระดาษได นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ จะสั่งจองกระดาษกอนการตั้งราคาขายของหนังสือ เพื่อใหกลุมบริษัทฯ ยังสามารถรักษาสัดสวนของ ตนทุนกระดาษตอราคาหนังสือไวได รวมทั้งบริษัทฯสามารถปรับราคาของหนังสือหลายประเภทขึ้นได ในกรณีที่ตนทุนกระดาษเพิ่มขึ้น อยางเปนสาระสําคัญ ความเสี่ยงจากการตอสัญญาการเปนตัวแทนจําหนายหนังสือพิมพและนิตยสารตางประเทศ ในการประกอบธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศ ซึ่งมีสัดสวนรายไดประมาณรอยละ 32.04 ของรายไดทั้งหมดของกลุม บริษัทฯ ใน 6 เดือนแรกของป 2553 กลุมบริษัทฯ จะทําสัญญาเปนตัวแทนจําหนายกับเจาของสิ่งพิมพจํานวนหลายราย โดยสวนใหญ สัญญาตัวแทนจําหนายนิตยสารมีระยะเวลา 1 ป และมีสิทธิตออายุสัญญาไดในราคาและเงื่อนไขเดิม สําหรับสัญญาตัวแทนจําหนาย หนังสือพิมพจะหมดอายุเมื่อมีการยกเลิกสัญญา ทั้งนี้ เจาของสิ่งพิมพสามารถยกเลิกสัญญาได หากกลุมบริษัทฯ ทําผิดสัญญา และ/ หรือมีปญหาดานการเงิน และ/หรืออยูในสถานะลมละลาย และ/หรือเมื่อมีการแจงอีกฝายลวงหนา เปนตน ทั้งนี้กลุมบริษัทฯ อาจมีความ เสี่ยงจากการที่เจาของสิ่งพิมพไมตออายุสัญญา หรือยกเลิกสัญญา ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผล ประกอบการของกลุมบริษัทฯ ในอนาคต อยางไรก็ตามกลุมบริษัทฯ กับเจาของสิ่งพิมพมีการทําธุรกิจและมีความสัมพันธอันดีตอกันเปนระยะเวลายาวนาน โดยผูบริหาร และทีมงานของบริษัทฯ เปนกลุมที่ทําธุรกิจนี้กับเจาของสิ่งพิมพมาตั้งแตเริ่มตน รวมทั้ง กลุมบริษัทฯ ไดมีการปฏิบัติตามสัญญาอยาง เครงครัด จึงไมมีปญหาเรื่องการไมตอสัญญาหรือยกเลิกสัญญาตลอดระยะเวลาที่ผานมา นอกจากนี้ เจาของสิ่งพิมพ The Yomiuri Shimbun และ The Wall Street Journal Asia ไดวาจางกลุมบริษัทฯ ใหดําเนินการพิมพและจัดสงหนังสือพิมพตางประเทศดังกลาว ซึ่ง ไดมีการลงทุนในการสรางฐานขอมูล การพัฒนาฐานขอมูลลูกคาในระบบสารสนเทศของบริษัทฯ และการพัฒนาบุคลากรของกลุมบริษัทฯ ใหมีความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะในการดําเนินงาน ดังนั้น โอกาสที่เจาของสิ่งพิมพดังกลาวจะยกเลิกสัญญาการเปนตัวแทนจําหนายกับ กลุมบริษัทฯ จึงมีนอย ความเสี่ยงจากการดอยคาของสินคาคงเหลือ ปจจุบัน สิ่งพิมพของกลุมบริษัทฯ มีการขายผานตัวแทนจําหนายเปนสวนใหญ โดยกลุมบริษัทฯ จะรับคืนสิ่งพิมพที่ไมสามารถ จําหนายไดจากตัวแทนจําหนาย ซึ่งอาจเปนผลใหมีสิ่งพิมพเปนสินคาคงเหลือเปนจํานวนมากได สินคาคงเหลือดังกลาวมีโอกาสเสื่อม คุณภาพ เสียหาย และลาสมัยเมื่อเวลาผานไป ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของกลุมบริษัทฯ โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯมีมูลคาสินคาคงเหลือสุทธิจํานวน 56.73 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 24.67 ของมูลคาสินทรัพยทั้งหมดของกลุม บริษัทฯ อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ ไดมีคาเผื่อสินคาลาสมัยในสัดสวนรอยละ 100 ของมูลคาสินคาคงเหลือที่มีอายุมากกวา 1 ปขึ้นไป และผลิตครบชุดแลว และของสินคาคงเหลือที่มีอายุมากกวา 3 ปขึ้นไปแตยังผลิตไมครบชุด โดยมีการตั้งคาเผื่อดังกลาวทุกเดือน ซึ่ง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มีคาเผื่อสินคาลาสมัยจํานวน 68.91 ลานบาท นอกจากนั้น เพื่อลดปริมาณสินคาคงเหลือ กลุม บริษัทฯ จะนําเอาหนังสือเกาออกมาจําหนายเปนระยะๆ โดยการจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อสงเสริมการขายในงานนิทรรศการตางๆ ที่จัดขึ้น เปนประจําทุกป สําหรับหนังสือการตูนที่มีเลมตอเนื่อง กลุมบริษัทฯ จะดําเนินการนําเลมที่ออกใหมจําหนายควบคูไปกับเลมที่ไดเคยวาง จําหนายไปแลว ซึ่งรวมถึงการนําการตูนที่มีการออกจําหนายครบทุกเลมแลวมาจัดจําหนายรวมเปนชุดเพื่อกระตุนการจําหนายดวย ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ในปจจุบัน อินเตอรเน็ตเปนสื่อที่สามารถเขาถึงผูอานและผูบริโภคอื่นไดอยางกวางขวาง มีความสะดวกรวดเร็ว และมีคาใชจา ยต่าํ สงผลใหประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ทั่วโลก มีการเปลี่ยนแปลงจากยุคการบริโภคเนื้อหา (Content) ทางสื่อสิ่งพิมพไปสูการบริโภค เนื้อหาทางสื่ออินเตอรเน็ตเพิ่มมากขึ้นตามลําดับ ดังนั้น ความนิยมการบริโภคเนื้อหาในสื่ออินเตอรเน็ตที่เพิ่มขึ้นอาจสงผลกระทบตอการ ดําเนินงานของกลุมบริษัทฯ ที่มีธุรกิจหลักในการผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพในอนาคต สวนที่ 1 หนาที่ 5


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ มีแผนงานในอนาคตที่จะนําเนื้อหาและรูปภาพจากสื่อสิ่งพิมพไปตอยอดการดําเนินธุรกิจบนสื่อ อินเตอรเน็ต และสื่อใหม เชน การใหบริการการตูนออนไลนบนระบบอินเตอรเน็ต และการใหบริการพาณิชยอิเลคโทรนิคส (Ecommerce) ที่เกี่ยวของ เปนตน การใหบริการดังกลาวของกลุมบริษัทฯ เปนการพัฒนาธุรกิจใหทันตอการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และ ความตองการของผูบริโภคในอนาคต ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผูบริหารและบุคลากรที่มีประสบการณและความสามารถ ในช ว งที่ ผ า นมา กลุ ม บริ ษั ท ฯ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดยพึ่ ง พิ ง ผู บ ริ ห ารและบุ ค ลากรของกลุ ม บริ ษั ท ฯ ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญและมี ความสามารถเฉพาะดาน ซึ่งนับเปนทรัพยากรที่สําคัญในการผลิตและจัดจําหนายสิ่งพิมพตางๆ ของกลุมบริษัทฯ รวมถึงการพึ่งพิง ความสัมพันธระหวางผูบริหารกับนักเขียนและสํานักพิมพเจาของลิขสิทธิ์สิ่งพิมพที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศ ตัวแทน จําหนายสิ่งพิมพ และคูคาอื่นๆ ดังนั้น หากกลุมบริษัทฯ สูญเสียบุคลากรที่สําคัญเหลานี้ไป อาจสงผลกระทบตอการดําเนินงานของกลุม บริษัทฯ ในอนาคต อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ ไดมีมาตรการลดความเสี่ยงดังกลาวโดยมีการสงเสริมและสนับสนุนใหมีการกระจายอํานาจและความ รับผิดชอบใหผูบริหารในระดับรองๆ ลงมาใหสามารถปฏิบัติหนาที่แทนได โดยอยูภายใตโครงสรางที่กระจายความสําคัญ ความ รับผิดชอบและภาระหนาที่ นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ ยังจัดฝกอบรมพนักงานเปนประจําเพื่อเพิ่มพูนความรูในการปฏิบัติงานใหสามารถ ทํางานทดแทนบุคลากรที่สําคัญในชวงเวลาที่จําเปนได 3. ความเสี่ยงจากกลุมผูถ ือหุนรายใหญมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายและบริหารจัดการกลุมบริษัทฯ ภายหลังการเสนอขายหุนสามัญแกประชาชนทั่วไปในครั้งนี้ เนชั่นกรุปฯ จะถือหุนประมาณรอยละ 77.65 ของทุนชําระแลว จึงทํา ใหสามารถควบคุมคะแนนเสียงในการลงมติที่สําคัญในการประชุมผูถือหุนไดทั้งหมด ซึ่งรวมถึงมติพิเศษที่กฎหมายหรือขอบังคับของ บริษัทฯ กําหนดใหตองไดรับเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนหุนที่เขาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ทําใหผูถือหุนรายอื่นไมสามารถรวบรวมคะแนน เพื่อตรวจสอบและถวงดุลเรื่องที่ผูถือหุนรายใหญเสนอได นอกจากนี้ เนชั่นกรุปฯ ยังมีสวนรวมในการบริหารจัดการกลุมบริษัทฯ โดยมี กรรมการตัวแทนจํานวน 2 ทานจากทั้งหมด 9 ทาน และคณะกรรมการบริหารจํานวน 2 ทานจากทั้งหมด 5 ทานเปนตัวแทนของเนชั่น กรุปฯ อยางไรก็ตาม เพื่อถวงดุลการบริหารงานของผูถือหุนรายใหญ บริษัทฯ จึงไดแตงตั้งกรรมการอิสระที่เปนบุคคลภายนอกจํานวน 3 ทาน เพื่อทําหนาที่ในการตรวจสอบการดําเนินงานของผูบริหารและดูแลผลประโยชนของผูถือหุนรายยอย สรุปขอมูลหลักทรัพยที่เสนอขาย ปจจุบัน บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 85.00 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 85.00 ลานหุน มูลคาทีต่ ราไวหุนละ 1.00 บาท โดยเปนทุนทีเ่ รียกชําระแลวจํานวน 70.00 ลานบาท และภายหลังการเสนอขายหุนสามัญในครั้งนี้ บริษัทฯ จะมีทุนจดทะเบียนทีช่ ําระแลว จํานวน 85.00 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 85.00 ลานหุน มูลคาทีต่ ราไวหุนละ 1.00 บาท หุนสามัญที่จะเสนอขายในครั้งนี้ มีจํานวน รวม 19.00 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท เสนอขายในราคาหุนละ 2.40 บาท ประกอบดวย ก) หุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 15,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 17.65 ของทุนชําระแลวทั้งหมดภายหลังจากการเสนอขายหุนสามัญใน ครั้งนี้ โดยเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวนไมเกิน 9,000,000 หุน ใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) ซึ่งมีรายชื่อตามมาตรา 225 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยโดยวิธีปดสมุดทะเบียนผูถือหุน ณ วันที่ 11 ตุลาคม 2553 (Pre-emptive Right) และเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 6,000,000 หุน รวมทั้งหุนที่เหลือจากการจองซื้อ ภายหลังการเสนอขายตอผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ (ถามี) ใหแกประชาชนตามดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยและ บริษัทฯ ข) หุนสามัญเดิมจํานวน 4,000,000 หุน ของบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) คิดเปนรอยละ 4.70 ของทุนชําระแลว ทั้งหมดภายหลังจากการเสนอขายหุนสามัญในครั้งนี้ โดยเสนอขายใหแกประชาชนตามดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยและ บริษัทฯ สวนที่ 1 หนาที่ 6


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) การเสนอขายดังกลาวรวมเปนเงินทั้งสิ้นประมาณ 40.99 ลานบาทภายหลังหักคาใชจายในการเสนอขาย โดยบริษัทฯ ไดรับเงิน ทั้งสิ้นประมาณ 31.84 ลานบาทภายหลังหักคาใชจายในการเสนอขาย ซึ่งบริษัทฯ มีวัตถุประสงคในการนําเงินจํานวนดังกลาวไปใชลงทุน ในการขยายธุรกิจสิ่งพิมพ การพัฒนาธุรกิจบนสื่อใหม (New Media) การผลิตรายการการตูนและรายการที่เกี่ยวของกับเยาวชนเพื่อแพร ภาพผานทางสื่อโทรทัศน การบริหารตัวการตูน (Character Management) การพัฒนาระบบสารสนเทศและพัฒนาประสิทธิภาพในการ บริหารสินคาคงคลัง และใชเปนเงินทุนหมุนเวียนของกลุมบริษัทฯ การเสนอขายหุนสามัญในครั้งนี้ไดรับอนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เมือ่ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2552 โดยภายหลังการเสนอขายหุนเรียบรอยแลว บริษทั ฯ จะดําเนินการนําหุนสามัญของบริษัทฯ เขาจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยเอ็ม เอ ไอตอไป (ผูลงทุนควรพิจารณารายละเอียดขอมูลในสวนที่ 2 และสวนที่ 3 กอนตัดสินใจลงทุน)

สวนที่ 1 หนาที่ 7


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย ชื่อบริษัททีอ่ อกหลักทรัพย

:

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

:

ประกอบธุ รกิ จสํา นัก พิม พโ ดยผลิต และจํ าหนายสื่อ สิ่ง พิม พป ระเภทพ็อ คเก็ต บุคส และสิ่ง พิม พ สําหรับเยาวชน รวมทั้งเปนตัวแทนจําหนายและใหบริการตางๆที่เกี่ยวของกับสิ่งพิมพตางประเทศ

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

:

เลขที่ 1854 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260

เลขทะเบียนบริษทั

:

0107551000312

โทรศัพท

:

66 2338 3333

โทรสาร

:

66 2338 3983

Website

:

www.nine.co.th

บริษัทฯ มีวัตถุประสงคในการนําเงินที่ไดจากการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้ประมาณ 31.84 ลานบาท (หลังหัก คาใชจายในการเสนอขายหลักทรัพย) ดังนี้ จํานวนเงิน โดยประมาณ (ลานบาท) 1. การขยายธุรกิจสิ่งพิมพ การพัฒนาธุรกิจบนสื่อใหม (New Media) การผลิต 20 – 25 รายการการตูนและรายการที่เกี่ยวของกับเยาวชนเพื่อแพรภาพผานทางสื่อ โทรทัศน และการบริหารตัวการตูน (Character Management) 2. ลงทุ น เพื่ อ การพั ฒ นาระบบสารสนเทศและพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพในการ 5-6 บริหารสินคาคงคลัง 3. ใชเปนเงินทุนหมุนเวียนของกลุมบริษัทฯ เงินสวนที่เหลือจาก โครงการลงทุนขางตน วัตถุประสงคในการใชเงิน

ระยะเวลาที่ใชเงิน โดยประมาณ 2553 - 2554

2553 - 2554 2553 - 2554

สวนที่ 2 หนาที่ 1


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 1.

ปจจัยความเสี่ยง

กอนตัดสินใจลงทุนในหุนสามัญของบริษัทฯ นักลงทุนควรใชวิจารณญาณอยางรอบคอบในการพิจารณาปจจัยความเสี่ยงในขอนี้ รวมทั้งขอมูลอื่นๆ ที่ปรากฏในเอกสารนี้ นอกจากนี้ ปจจัยความเสี่ยงที่ระบุไวในขอนี้มิไดเปนปจจัยความเสี่ยงทั้งหมดที่มีอยูซึ่งอาจมี ผลกระทบตอราคาหุนสามัญของบริษัทฯ ดังนั้น ปจจัยความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริษัทฯ มิไดรูในขณะนี้ หรือที่บริษัทฯ เห็นวาเปนปจจัยความ เสี่ยงที่ไมเปนสาระสําคัญในปจจุบัน อาจเปนปจจัยความเสี่ยงที่มีผลกระทบตอการดําเนินการของกลุมบริษัทฯ 1.1

ความเสี่ยงจากปจจัยภายนอก

1.1.1 ความเสี่ยงจากการแขงขันและจํานวนคูแขงที่เพิ่มมากขึ้น ในชวงที่ผานมา ผูประกอบการในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพประเภทหนังสือมีการแขงขันที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะการแขงขันของ สํานักพิมพขนาดใหญ ซึ่งจัดอยูในประเภทเดียวกับกลุมบริษัทฯ อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ เชื่อวาจะสามารถรักษาความเปนหนึ่งในผูนํา ของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพประเภทหนังสือในประเทศไทยไดตอไปในอนาคต โดยเฉพาะการเปนหนึ่งในสํานักพิมพที่มียอดจําหนายสื่อ สิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากประเทศญี่ปุน และประเทศในทวีปเอเชียสูงที่สุดในประเทศไทย จากจุดเดนของกลุมบริษัทฯ ที่มีความสัมพันธ ที่ดีกับนักเขียนและสํานักพิมพที่มีชื่อเสียง และที่ประสบความสําเร็จในการผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือมาอยาง ตอเนื่อง ซึ่งทําใหกลุมบริษัทฯ สามารถคัดเลือกสิ่งพิมพที่มีแนวโนมที่จะไดรับความนิยมสูงมาผลิตและจัดจําหนายไดตามเปาหมาย นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ ยังมีการผลิตสิ่งพิมพหลากหลายประเภทเพื่อครอบคลุมความตองการของผูอานทุกกลุม ซึ่งเปนการลดความ เสี่ยงจากการพึ่งพิงผูอานกลุมใดกลุมหนึ่ง 1.2

ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจ

1.2.1 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯในการดําเนินธุรกิจ และความเปนอิสระในการบริหารงานของกลุมบริษทั ฯ เนื่องจาก เนชั่นกรุปฯ เปนผูถือหุนรายใหญในกลุมบริษัทฯ โดยมีการถือหุนในสัดสวนประมาณรอยละ 77.65 ของหุนที่จําหนายได แลวทั้งหมดหลังจากการเสนอขายหุนของบริษัทฯ แกนักลงทุนทั่วไปในครั้งนี้ จนถึงปจจุบัน กลุมบริษัทฯ มีการทําธุรกรรมรายการระหวาง กันหลายประเภท เชน การซื้อกระดาษ การจางพิมพ การจางสงสื่อสิ่งพิมพ และการรับบริการตางๆ เปนตน กับบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ ดังรายละเอียดในหัวขอ 11 รายการระหวางกัน โดยใน 6 เดือนแรกของป 2553 กลุมบริษัทฯมีคาใชจายที่เปนตนทุนขายสินคา ตนทุนการ ใหบริการ และคาใชจายในการขายและบริหารจากธุรกรรมขางตนกับบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ เปนจํานวนรวมทั้งสิ้นประมาณ 57.36 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 46.64 ของคาใชจายรวมตามงบการเงินรวมของกลุมบริษัทฯ ในชวงเวลาเดียวกัน และกลุมบริษัทฯ ยังคง มีการทําธุรกรรมดังกลาวอีกในอนาคต เนื่องจากบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ มีทีมงานที่มีความชํานาญ เครือขายในการจัดจําหนายและ เครื่องจักรอุปกรณ พรอมที่จะใหบริการในตนทุนที่นาจะต่ํากวาหากกลุมบริษัทฯ จะเปนผูดําเนินการเอง และมีกําลังการผลิตและบริการ เพียงพอในการดําเนินการ ดังนั้น กลุมบริษัทฯ อาจมีความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ ในการสนับสนุนการดําเนินธุรกิจ ของกลุมบริษัทฯ ซึ่งหากบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ ไมสามารถสนับสนุนการใหบริการขางตนดังกลาวได กลุมบริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบ ในการจัดพิมพ และการจัดสงสื่อสิ่งพิมพบางในระยะเวลาอันสั้น เนื่องจาก กลุมบริษัทฯ สามารถสั่งซื้อกระดาษและรับบริการตางๆ ผานผู จัดจําหนายและผูใหบริการรายอื่นที่มีจํานวนหลายรายในประเทศไทย ในเงื่อนไขทางการคาปกติและมีราคาตามตลาดเชนเดียวกับการ ดําเนินธุรกรรมรายการระหวางกันขางตน นอกจากนั้นมูลคาของการทําธุรกรรมรายการระหวางกันขางตนใน 6 เดือนแรกของป 2553 คิด เปนประมาณรอยละ 4.30 ของรายไดรวมของเนชั่นกรุปฯ ในชวงเวลาเดียวกัน ซึ่งถือเปนสัดสวนที่นอยมาก ดังนั้น เนชั่นกรุปฯ จึงไมได พึ่งพิงรายไดจากกลุมบริษัทฯ และมีแรงจูงใจในการหาประโยชนจากรายการดังกลาว กลุมบริษัทฯ มีนโยบายการบริหาร และการตัดสินใจที่เปนอิสระจากเนชั่นกรุปฯ โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของผูถือหุนสวน นอยและผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝายของกลุมบริษัทฯ โดยมีอิสระในการจัดหาสินคาหรือใชบริการกับผูใหบริการภายนอกอื่นๆ ที่เสนอราคา ที่มีเงื่อนไขทางการคาปกติในราคาตลาดและเปนประโยชนมากที่สุดแกกลุมบริษัทฯ เชน ในปจจุบัน กลุมบริษัทฯ มีการจางโรงพิมพ ภายนอก ไดแก บจก. เอช-เอ็น กรุป และ บจก. พริ้นตโพร พิมพงานบางสวนของกลุมบริษัทฯ ดังนั้น กลุมบริษัทฯ จึงไมมีการพึ่งพิงบริษัท ในเครือเนชั่นกรุปฯ จนทําใหขาดความเปนอิสระ นอกจากนี้ การทําธุรกรรมระหวางบริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด สวนที่ 2 หนาที่ 2


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) (“NEE”) กับบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ ยังมีการควบคุมจากผูถือหุนอีกฝายคือ บริษัท เอ็กมอนท อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/เอส ใหมี ราคาและเงื่อนไขตางๆ ที่เปนธรรม 1.2.2 ความเสี่ยงจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคากระดาษและการขาดแคลนกระดาษ กระดาษที่ใชในการผลิตสิ่งพิมพจัดเปนสินคาประเภท Commodity ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานราคาแปรผันตามความตองการ ของการบริโภคและปริมาณการผลิตของผูผลิต (Demand & Supply) และเปนวัตถุดิบหลักที่สําคัญในการผลิตสื่อสิ่งพิมพของกลุมบริษัทฯ ซึ่งคิดเปนตนทุนประมาณรอยละ 17.90 ของตนทุนขายและบริการตามงบการเงินรวมของกลุมบริษัทฯ ใน 6 เดือนแรกของป 2553 ดังนั้น กลุมบริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงจากการผันผวนของราคากระดาษ ซึ่งอาจสงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนการผลิตและกําไรสุทธิของกลุม บริษัทฯนอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงจากการขาดแคลนกระดาษ Newsprint ชนิดมวนที่ใชพิมพหนังสือพิมพ นิตยสาร และหนังสือ ที่มียอดพิมพสูง ซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญที่บริษัทฯ ใชในการผลิตสิ่งพิมพ เนื่องจากกระดาษชนิดดังกลาวหาซื้อไดยากในประเทศไทยและ ตองซื้อเปนจํานวนมากในแตละครั้ง ในการลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนกระดาษและการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคากระดาษ Newsprint ชนิดมวน กลุมบริษัทฯ จะ สั่งซื้อจากบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ สําหรับการจัดพิมพที่โรงพิมพในเครือเนชั่นกรุปฯ ซึ่งเปนการจัดพิมพสวนใหญของกลุมบริษัทฯ โดย เนชั่นกรุปฯ มีประสบการณในการจัดซื้อกระดาษเปนระยะเวลานาน มีการจัดซื้อกระดาษสํารองไว และเขาใจในวงจรของราคากระดาษ เปนอยางดี รวมทั้งเนชั่นกรุปฯ ไดมีการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนโดยการทํา Forward Contract ไวตามปริมาณกระดาษที่ คาดวาจะใชลวงหนา ดังนั้น การจัดซื้อกระดาษจากเนชั่นกรุปฯ จึงชวยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคากระดาษ และการขาด แคลนกระดาษได นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ จะสั่งจองกระดาษกอนการตั้งราคาขายของหนังสือ เพื่อใหกลุมบริษัทฯ ยังสามารถรักษาสัดสวนของ ตนทุนกระดาษตอราคาหนังสือไวได รวมทั้งบริษัทฯสามารถปรับราคาของหนังสือหลายประเภทขึ้นได ในกรณีที่ตนทุนกระดาษเพิ่มขึ้น อยางเปนสาระสําคัญ 1.2.3 ความเสี่ยงดานการจัดหาลิขสิทธิ์สงิ่ พิมพ ในการประกอบธุรกิจสํานักพิมพ ซึ่งมีสัดสวนรายไดประมาณรอยละ 65.26 ของรายไดทั้งหมดของกลุมบริษัทฯ ใน 6 เดือนแรก ของป 2553 กลุมบริษัทฯ ไมไดเปนเจาของลิขสิทธิ์สิ่งพิมพสวนใหญที่ผลิตและจัดจําหนาย แตกลุมบริษัทฯ มีการจัดซื้อลิขสิทธิ์สิ่งพิมพมา จากเจาของลิขสิทธิ์ซึ่งเปนนักเขียนหรือสํานักพิมพทั้งในและตางประเทศจํานวนหลายราย เพื่อนํามาผลิตและจัดจําหนายเพียงรายเดียว (Exclusive) ในประเทศไทย ซึ่งสวนใหญมีระยะเวลา 3 – 5 ป และมีสิทธิตออายุสัญญาไดในราคาและเงื่อนไขเดิม ทั้งนี้ เจาของลิขสิทธิ์ สามารถยกเลิกสัญญาได หากกลุมบริษัทฯ ทําผิดสัญญา และ/หรือมีปญหาดานการเงิน และ/หรืออยูในสถานะลมละลาย เปนตน ดังนั้น กลุมบริษัทฯ จึงอาจมีความเสี่ยงที่ไมสามารถจัดหาลิขสิทธิ์สิ่งพิมพที่ตองการมาผลิตและจัดจําหนายได นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ อาจมี ความเสี่ยงจากการที่เจาของลิขสิทธิ์ไมตออายุสัญญา หรือยกเลิกสัญญา ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และ ผลประกอบการของกลุมบริษัทฯ ในอนาคต อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ ไมเคยประสบปญหาดานการจัดหาลิขสิทธิ์สิ่งพิมพจากเจาของลิขสิทธิ์ทั้งในประเทศและตางประเทศ ในชวงที่ผานมา เนื่องจากตลาดสิ่งพิมพมีขนาดที่ใหญและมีลิขสิทธิ์สิ่งพิมพประเภทตางๆ ใหเลือกซื้อเปนจํานวนมาก รวมทั้งกลุมบริษัทฯ ยังมีความสัมพันธที่ดีกับนักเขียนและสํานักพิมพที่มีชื่อเสียงหลายราย และประสบความสําเร็จในการผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพ ประเภทหนังสือมาอยางตอเนื่อง กลุมบริษัทฯ จึงสามารถเลือกซื้อลิขสิทธิ์สิ่งพิมพที่ตองการและไดรับความไววางใจจากเจาของลิขสิทธิ์ใน การใหลิขสิทธิ์สิ่งพิมพที่มีแนวโนมที่จะไดรับความนิยมสูงมาผลิตและจัดจําหนาย นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังปฏิบัติตามสัญญาอยาง เครงครัด จึงไมมีปญหาเรื่องการไมตอสัญญาหรือยกเลิกสัญญาตลอดระยะเวลาที่ผานมา

สวนที่ 2 หนาที่ 3


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 1.2.4 ความเสี่ยงจากการตอสัญญาการเปนตัวแทนจําหนายหนังสือพิมพและนิตยสารตางประเทศ ในการประกอบธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศ ซึ่งมีสัดสวนรายไดประมาณรอยละ 32.04 ของรายไดทั้งหมดของกลุม บริษัทฯ ใน 6 เดือนแรกของป 2553 กลุมบริษัทฯ จะทําสัญญาเปนตัวแทนจําหนายกับเจาของสิ่งพิมพจํานวนหลายราย โดยสวนใหญ สัญญาตัวแทนจําหนายนิตยสารมีระยะเวลา 1 ป และมีสิทธิตออายุสัญญาไดในราคาและเงื่อนไขเดิม สําหรับสัญญาตัวแทนจําหนาย หนังสือพิมพจะหมดอายุเมื่อมีการยกเลิกสัญญา ทั้งนี้ เจาของสิ่งพิมพสามารถยกเลิกสัญญาได หากกลุมบริษัทฯ ทําผิดสัญญา และ/ หรือมีปญหาดานการเงิน และ/หรืออยูในสถานะลมละลาย และ/หรือเมื่อมีการแจงอีกฝายลวงหนา เปนตน ทั้งนี้กลุมบริษัทฯ อาจมีความ เสี่ยงจากการที่เจาของสิ่งพิมพไมตออายุสัญญา หรือยกเลิกสัญญา ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผล ประกอบการของกลุมบริษัทฯ ในอนาคต อยางไรก็ตามกลุมบริษัทฯ กับเจาของสิ่งพิมพมีการทําธุรกิจและมีความสัมพันธอันดีตอกันเปนระยะเวลายาวนาน โดยผูบริหาร และทีมงานของบริษัทฯ เปนกลุมที่ทําธุรกิจนี้กับเจาของสิ่งพิมพมาตั้งแตเริ่มตน รวมทั้ง กลุมบริษัทฯ ไดมีการปฏิบัติตามสัญญาอยาง เครงครัด จึงไมมีปญหาเรื่องการไมตอสัญญาหรือยกเลิกสัญญาตลอดระยะเวลาที่ผานมา นอกจากนี้ เจาของสิ่งพิมพ The Yomiuri Shimbun และ The Wall Street Journal Asia ไดวาจางกลุมบริษัทฯ ใหดําเนินการพิมพและจัดสงหนังสือพิมพตางประเทศดังกลาว ซึ่ง ไดมีการลงทุนในการสรางฐานขอมูล การพัฒนาฐานขอมูลลูกคาในระบบสารสนเทศของบริษัทฯ และการพัฒนาบุคลากรของกลุมบริษัทฯ ใหมีความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะในการดําเนินงาน ดังนั้น โอกาสที่เจาของสิ่งพิมพดังกลาวจะยกเลิกสัญญาการเปนตัวแทนจําหนายกับ กลุมบริษัทฯ จึงมีนอย 1.2.5 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผูบริหารและบุคลากรที่มีประสบการณและความสามารถ ในช ว งที่ ผ า นมา กลุ ม บริ ษั ท ฯ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดยพึ่ ง พิ ง ผู บ ริ ห ารและบุ ค ลากรของกลุ ม บริ ษั ท ฯ ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญและมี ความสามารถเฉพาะดาน ซึ่งนับเปนทรัพยากรที่สําคัญในการผลิตและจัดจําหนายสิ่งพิมพตางๆ ของกลุมบริษัทฯ รวมถึงการพึ่งพิง ความสัมพันธระหวางผูบริหารกับนักเขียนและสํานักพิมพเจาของลิขสิทธิ์สิ่งพิมพที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศ ตัวแทน จําหนายสิ่งพิมพ และคูคาอื่นๆ ดังนั้น หากกลุมบริษัทฯ สูญเสียบุคลากรที่สําคัญเหลานี้ไป อาจสงผลกระทบตอการดําเนินงานของกลุม บริษัทฯ ในอนาคต อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ ไดมีมาตรการลดความเสี่ยงดังกลาวโดยมีการสงเสริมและสนับสนุนใหมีการกระจายอํานาจและความ รับผิดชอบใหผูบริหารในระดับรองๆ ลงมาใหสามารถปฏิบัติหนาที่แทนได โดยอยูภายใตโครงสรางที่กระจายความสําคัญ ความ รับผิดชอบและภาระหนาที่ นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ ยังจัดฝกอบรมพนักงานเปนประจําเพื่อเพิ่มพูนความรูในการปฏิบัติงานใหสามารถ ทํางานทดแทนบุคลากรที่สําคัญในชวงเวลาที่จําเปนได 1.2.6 ความเสี่ยงจากการดอยคาของสินคาคงเหลือ ปจจุบัน สิ่งพิมพของกลุมบริษัทฯ มีการขายผานตัวแทนจําหนายเปนสวนใหญ โดยกลุมบริษัทฯ จะรับคืนสิ่งพิมพที่ไมสามารถ จําหนายไดจากตัวแทนจําหนาย ซึ่งอาจเปนผลใหมีสิ่งพิมพเปนสินคาคงเหลือเปนจํานวนมากได สินคาคงเหลือดังกลาวมีโอกาสเสื่อม คุณภาพ เสียหาย และลาสมัยเมื่อเวลาผานไป ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของกลุมบริษัทฯ โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มีมูลคาสินคาคงเหลือสุทธิจํานวน 56.73 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 24.67 ของมูลคาสินทรัพยทั้งหมดของกลุม บริษัทฯ อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ ไดมีการตั้งคาเผื่อสินคาลาสมัยในสัดสวนรอยละ 100 ของมูลคาสินคาคงเหลือที่มีอายุมากกวา 1 ป ขึ้นไปและผลิตครบชุดแลว และของสินคาคงเหลือที่มีอายุมากกวา 3 ปขึ้นไปแตยังผลิตไมครบชุด โดยมีการตั้งคาเผื่อดังกลาวทุกเดือน ซึ่ง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มีคาเผื่อสินคาลาสมัยจํานวน 68.91 ลานบาท นอกจากนั้น เพื่อลดปริมาณสินคาคงเหลือ กลุม บริษัทฯ จะนําเอาหนังสือเกาออกมาจําหนายเปนระยะๆ โดยการจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อสงเสริมการขายในงานนิทรรศการตางๆที่จัดขึ้น เปนประจําทุกป สําหรับหนังสือการตูนที่มีเลมตอเนื่อง กลุมบริษัทฯ จะดําเนินการนําเลมที่ออกใหมจําหนายควบคูไปกับเลมที่ไดเคยวาง จําหนายไปแลว ซึ่งรวมถึงการนําการตูนที่มีการออกจําหนายครบทุกเลมแลวมาจัดจําหนายรวมเปนชุดเพื่อกระตุนการจําหนายดวย สวนที่ 2 หนาที่ 4


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 1.2.7 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ในปจจุบัน อินเตอรเน็ตเปนสื่อที่สามารถเขาถึงผูอานและผูบริโภคอื่นไดอยางกวางขวาง มีความสะดวกรวดเร็ว และมีคาใชจา ยต่าํ สงผลใหประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ทั่วโลก มีการเปลี่ยนแปลงจากยุคการบริโภคเนื้อหา (Content) ทางสื่อสิ่งพิมพไปสูการบริโภค เนื้อหาทางสื่ออินเตอรเน็ตเพิ่มมากขึ้นตามลําดับ ดังนั้น ความนิยมการบริโภคเนื้อหาในสื่ออินเตอรเน็ตที่เพิ่มขึ้นอาจสงผลกระทบตอการ ดําเนินงานของกลุมบริษัทฯ ที่มีธุรกิจหลักในการผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพในอนาคต อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ มีแผนงานในอนาคตที่จะนําเนื้อหาและรูปภาพจากสื่อสิ่งพิมพไปตอยอดการดําเนินธุรกิจบนสื่อ อินเตอรเน็ต เชน การใหบริการการตูนออนไลนบนระบบอินเตอรเน็ต และการใหบริการพาณิชยอิเลคโทรนิคส (E-commerce) ที่เกี่ยวของ เปนตน การใหบริการดังกลาวของกลุมบริษัทฯ เปนการพัฒนาธุรกิจใหทันตอการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และความตองการของผูบริโภค ในอนาคต 1.3

ความเสี่ยงจากกลุมผูถือหุนรายใหญมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายและบริหารจัดการกลุมบริษัทฯ

ภายหลังการเสนอขายหุนสามัญแกประชาชนทั่วไปในครั้งนี้ เนชั่นกรุปฯ จะถือหุนประมาณรอยละ 77.65 ของทุนชําระแลว จึงทํา ใหสามารถควบคุมคะแนนเสียงในการลงมติที่สําคัญในการประชุมผูถือหุนไดทั้งหมด ซึ่งรวมถึงมติพิเศษที่กฎหมายหรือขอบังคับของ บริษัทฯ กําหนดใหตองไดรับเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนหุนที่เขาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ทําใหผูถือหุนรายอื่นไมสามารถรวบรวมคะแนน เพื่อตรวจสอบและถวงดุลเรื่องที่ผูถือหุนรายใหญเสนอได นอกจากนี้ เนชั่นกรุปฯ ยังมีสวนรวมในการบริหารจัดการกลุมบริษัทฯ โดยมี กรรมการตัวแทนจํานวน 2 ทานจากทั้งหมด 9 ทาน และคณะกรรมการบริหารจํานวน 2 ทานจากทั้งหมด 5 ทานเปนตัวแทนของเนชั่น กรุปฯ อยางไรก็ตาม เพื่อถวงดุลการบริหารงานของผูถือหุนรายใหญ บริษัทฯ จึงไดแตงตั้งกรรมการอิสระที่เปนบุคคลภายนอกจํานวน 3 ทาน เพื่อทําหนาที่ในการตรวจสอบการดําเนินงานของผูบริหารและดูแลผลประโยชนของผูถือหุนรายยอย 1.4

ความเสี่ยงเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย

ในการเสนอขายหุนสามัญของบริษัทฯ ในครั้งนี้ บริษัทฯ อยูระหวางการยื่นขออนุญาตเปนหลักทรัพยจดทะเบียนตอตลาด หลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (“ตลาด เอ็ม เอ ไอ”) และยังไมทราบผลการพิจารณาของตลาด เอ็ม เอ ไอ ดังนั้น ผูลงทุนอาจมีความเสี่ยงที่ หลักทรัพยของบริษัทฯ อาจไมไดรับอนุญาตใหเปนหลักทรัพยจดทะเบียนทําใหผูลงทุนไมมีตลาดรองเพื่อซื้อขายหลักทรัพย และไมไดรับ ผลตอบแทนจากการขายหุนไดตามที่คาดหมาย อยางไรก็ตาม บริษัทหลักทรัพย ดีบีเอส วิคเคอรส (ประเทศไทย) จํากัด ในฐานะที่ปรึกษา ทางการเงินไดพิจารณาคุณสมบัติของบริษัทฯ ในเบื้องตนแลว เห็นวาบริษัทฯ มีคุณสมบัติครบถวนที่สามารถจะเขาจดทะเบียนในตลาด เอ็ม เอ ไอ ได ตามขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การรับหลักทรัพยจดทะเบียนใน “ ตลาดหลักทรัพยเอ็มเอไอ” พ.ศ. 2546 และตามที่ไดมีการแกไขเพิ่มเติม ยกเวนคุณสมบัติในเรื่องการกระจายหุนใหแกผูถือหุนรายยอยจํานวนไมต่ํากวา 300 ราย และ ตองถือหุนรวมกันไมนอยกวารอยละ 20 ของทุนชําระแลว

สวนที่ 2 หนาที่ 5


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 2.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1

ประวัติความเปนมา

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เปนหนึ่งในบริษัทยอยในสายธุรกิจดานการศึกษา บันเทิง และตางประเทศ ของบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) (“เนชั่นกรุปฯ ”) ซึ่งเปนบริษัทที่จดทะเบียนอยูในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย บริษัทฯ ไดถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อป 2539 ภายใตชื่อ “เนชั่น ชีพจรวันนี้” ซึ่งตอมาในป 2545 ไดมีการเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ดวยทุนจดทะเบียนเริ่มตน 1 ลานบาท ดําเนินธุรกิจสํานักพิมพ ”เนชั่นบุคส” ในการผลิตและจําหนาย หนังสือพ็อคเก็ตบุคส ซึ่งไดรับลิขสิทธิ์จากนักเขียนและสํานักพิมพชั้นนําทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยมิไดมีโรงพิมพเปนของตนเอง ตอมา ที่ประชุมคณะกรรมการเนชั่นกรุปฯ ครั้งที่ 4/2549 เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2549 ไดมีมติใหปรับโครงสรางสายธุรกิจดาน การศึกษา บันเทิง และตางประเทศ เพื่อใหสายธุรกิจดังกลาวมีการดําเนินงานที่คลองตัว ชัดเจน และเกิดการเติบโตของธุรกิจตามแผนที่ วางไว รวมทั้งมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกรงเพียงพอที่จะรองรับการเติบโตในอนาคต โดยไมตองพึ่งพิงความชวยเหลือดานการเงินจาก เนชั่นกรุปฯ ซึ่งใหบริษัทฯ เปนบริษัทแมของสายธุรกิจดานการศึกษา บันเทิง และตางประเทศ และถือหุนในบริษัทยอย และกิจการที่ ควบคุมรวมกัน จํานวน 2 บริษัท คือ 1) บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (“NED”) และ 2) บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (“NEE”) ในสัดสวนรอยละ 99.99 และ 49.99 ตามลําดับ อีกทั้งยังรับเปนผูดําเนินการแทนเนชั่นกรุปฯ ในธุรกิจตัวแทนขายโฆษณา ใหสิ่งพิมพตางประเทศ ตัวแทนการพิมพและจัดจําหนายหนังสือพิมพและนิตยสารในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนบางสวนใหแก สํานักพิมพตางประเทศ รวมทั้งธุรกิจการอบรมสัมมนา, สอนภาษาตางประเทศ และทักษะการสื่อสาร โดยในการปรับโครงสรางกลุมธุรกิจ บริษัทฯไดมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1 ลานบาท เปน 70 ลานบาท ในป 2549 โดยการจัดสรรหุนเพิ่มทุนใหแกเนชั่นกรุปฯ ซึ่งเปนผูถือ หุนเดิม และเนชั่นกรุปฯ ไดขายเงินลงทุนใน NED และ NEE ใหบริษัทฯ ตามมูลคาทางบัญชี ณ วันที่เกิดรายการ อยางไรก็ตาม กลุม บริษัทฯ ไมมีการดําเนินธุรกิจการอบรมสัมมนา,สอนภาษาตางประเทศ และทักษะการสื่อสาร (ซึ่งมีสัดสวนรายไดต่ํากวารอยละ 5 ของ รายไดรวมของกลุมบริษัทฯ) หลังจากไตรมาส 1 ป 2552 นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังรับโอนธุรกิจสํานักพิมพ Bizbook จากเนชัน่ กรุป ฯ ในไตร มาส 3 ป 2552 เพื่อใหการแบงแยกธุรกิจระหวางกลุมบริษัทฯ และเนชั่นกรุปฯมีความชัดเจนยิ่งขึ้น ในการประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2551 เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2551 ไดมีมติใหบริษัทฯ แปลงสภาพเปนบริษัท มหาชน และเปลี่ยนชื่อบริษัทฯ จากบริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เปนบริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) รวมทั้งเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 70 ลานบาทเปน 85 ลานบาท เพื่อรองรับการเสนอขายหุนตอประชาชนเปนครั้งแรก เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2552 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของเนชั่นกรุปฯ ครั้งที่ 1/2552 ไดอนุมัติแผนงานการเสนอขายหุนสามัญของ บริษัทฯ ในครั้งนี้ และการนําหุนสามัญของบริษัทฯ เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (“Spin-off”) ซึ่งการ Spin-off ดังกลาว เปนหนึ่งในขั้นตอนสําคัญที่จะเปนการเพิ่มมูลคาในการลงทุนของเนชั่นกรุปฯ อีกทั้งเนชั่นกรุปฯ สามารถนําเงินที่ไดจากการเสนอขายหุน เดิมพรอมกับการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้มาจายคืนเงินกูยืมซึ่งเปนการปรับปรุงสถานะทางการเงินของเนชั่นกรุปฯ ใหดียิ่งขึ้น ซึ่งถือวาเปนประโยชนตอผูถือหุนของเนชั่นกรุปฯ ในอนาคต ตอมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการของเนชั่นกรุปฯ ครั้งที่ 4/2553 ไดมีมติอนุมัติใหเนชั่นกรุปฯ เสนอขายหุนสามัญจํานวน 4,000,000 หุนที่เนชั่นกรุปฯ ถืออยูในบริษัทฯ พรอมกับการเสนอ ขายหุนใหแกประชาชนและบุคคลทั่วไปเปนครั้งแรกของบริษัทฯ ในครั้งนี้ อยางไรก็ตาม การเสนอขายหุนสามัญของบริษัทฯ ในครั้งนี้จะทําใหสัดสวนการถือหุนของเนชั่นกรุปฯ ในบริษัทฯ ลดลงจากที่เคย ถืออยูรอยละ 99.99 ของทุนที่ออกและเรียกชําระแลว มาเปนรอยละ 77.65 จึงทําใหสัดสวนการควบคุมในบริษัทฯ ลดลงไปตามสัดสวน การถือหุน อยางไรก็ตามเนชั่นกรุปฯ ยังคงเปนผูถือหุนรายใหญที่สุดในบริษัทฯ ภายหลังจากการเสนอขายหุนสามัญในครั้งนี้ และบริษัทฯ ยังคงมีสถานะเปนบริษัทยอยของเนชั่นกรุปฯ เชนเดิม ถึงแมสัดสวนการรับรูรายไดและกําไร รวมถึงเงินปนผลของเนชั่นกรุปฯ จากบริษัทฯ ที่ Spin-off ไปแลวจะลดลงเนื่องจากสัดสวนการถือหุนที่ลดลง แตโดยทั่วไปบริษัทที่เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ แลวจะมีการ ขยายตัวในธุรกิจ ทําใหมีรายไดและผลกําไรที่เติบโตขึ้น ดังนั้น หากบริษัทฯ มีกําไรเพิ่มมากขึ้นจากการขยายตัว ก็อาจทําใหสวนแบงกําไร และเงินปนผลจากบริษัทฯ เทาเดิมหรือเพิ่มขึ้นก็เปนได ซึ่งเปนประโยชนตอผูถือหุนเนชั่นกรุปฯ เชนกัน นอกจากนั้น เพื่อเปนการลด ผลกระทบจาก Dilution Effect ที่กลาวมาขางตน คณะกรรมการของบริษัทฯ จึงมีมติใหมีการจัดสรรหุนเพิ่มทุนของบริษัทฯ จํานวน สวนที่ 2 หนาที่ 6


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 9,000,000 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 47.37 ของจํานวนหุนในการเสนอขายหุนสามัญครั้งนี้ทั้งหมด 19,000,000 หุน เพื่อเสนอขายแกผู ถือหุนเดิมของเนชั่นกรุปฯ ทุกรายตามสัดสวนการถือหุนที่มีอยู (Pre-emptive right) โดยเปนการจัดสรรในชวงเวลาใกลเคียงกับการเสนอ ขายหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกประชาชนและบุคคลทั่วไป ในราคาที่เทากัน สรุปการเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ ป 2539 ป 2541 ป 2545 ป 2549

ป 2551

ป 2552

2.2

จัดตั้งบริษัทฯ ในชื่อ บริษัท เนชั่น ชีพจรวันนี้ จํากัด ดวยทุนจดทะเบียน 1 ลานบาท จัดตั้งบริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด โดยเปนการรวมทุนระหวางเนชั่นกรุปฯ และ เอ็กมอนท อินเตอร เนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/เอส ดวยทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท ¾ เปลี่ยนชื่อบริษัทฯ เปน บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ¾ กอตั้งสํานักพิมพ ”เนชั่นบุคส” เพื่อผลิตพ็อคเก็ตบุคสที่ไดรับลิขสิทธิ์จากทั้งในและตางประเทศ ¾ บริษัทฯ เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1 ลานบาท เปน 70 ลานบาท แบงออกเปน 700,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท เสนอขายแกผูถือหุนเดิม คือ เนชั่นกรุปฯ ¾ ปรับโครงสรางกลุมธุรกิจโดยเขาถือหุนในบริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน จํานวน 2 บริษัท คือ บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (NEE) และ บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (NED) ¾ รับดําเนินธุรกิจการเปนตัวแทนขายโฆษณาใหสิ่งพิมพตางประเทศ ตัวแทนการพิมพและจัดจําหนายหนังสือพิมพ และวารสารในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนบางสวนใหแกสํานักพิมพตางประเทศ รวมทั้งธุรกิจการอบรม สัมมนา,สอนภาษาตางประเทศ และทักษะการสื่อสาร จากเนชั่นกรุปฯ ¾ บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (NED) ปรับโครงสรางทุนเพื่อลดยอดขาดทุนสะสม โดยเพิ่มทุนจดทะเบียน จากจํานวน 50 ลานบาท เปน 165 ลานบาท โดยจัดสรรหุนเพิ่มทุนใหแกบริษัทฯ จากนั้น บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทน เมนท จํากัด (NED) ไดลดทุนจดทะเบียนจากจํานวน 165 ลานบาท เปน 41.25 ลานบาท ¾ บริษัทฯ แปลงสภาพเปนบริษัทมหาชน และเปลี่ยนชื่อบริษัทฯจากบริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เปน บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) รวมทั้งเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 70 ลานบาทเปน 85 ลานบาท เพื่อรองรับการเสนอขายหุนตอประชาชนเปนครั้งแรก และเปลี่ยนแปลงมูลคาที่ตราไวจาก 100 บาท ตอหุน เปน 1 บาทตอหุน ¾

คณะกรรมการของบริษัทฯ มีมติใหมีการจัดสรรหุนเพิ่มทุนของบริษัทฯ จํานวน 9,000,000 หุน เพื่อเสนอขายแกผู ถือหุนเดิมของเนชั่นกรุปฯ ทุกรายตามสัดสวนการถือหุนที่มีอยู (Pre-emptive right) โดยเปนการจัดสรรใน ชวงเวลาใกลเคียงกับการเสนอขายหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกประชาชนและบุคคลทั่วไป ในราคาที่เทากัน

ภาพรวมในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษทั ยอย

ลักษณะการประกอบธุรกิจของกลุม บริษัทฯ กลุมบริษัทฯประกอบธุรกิจสํานักพิมพโดยผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพที่ใหทั้งความรูและความบันเทิง ในรูปแบบของหนังสือพ็อค เก็ตบุคส และสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน ซึ่งมิไดมีโรงพิมพเปนของตนเอง ในสวนของหนังสือพ็อคเก็ตบุคส กลุมบริษัทฯ ดําเนินธุรกิจผาน ตัวบริษัทฯ เองในนามสํานักพิมพ ”เนชั่นบุคส” ซึ่งผลิตและจําหนายหนังสือพอคเก็ตบุคสที่ไดรับลิขสิทธิ์จากนักเขียนและสํานักพิมพที่มี ชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศ ใหเปนผูจัดพิมพและจําหนายผลงานที่มีคุณภาพ โดยมีกลุมผูอานเปาหมายหลักเปนผูใหญอายุ ตั้งแต 18 ปขึ้นไป ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาหลากหลายแนว ไดแก 1) หมวดบริหารและจัดการ 2) หมวดนิยายและนวนิยาย 3) หมวดภาษา และการเรียนรู 4) หมวดศาสนา จิตวิทยา และปรัชญา 5) หมวดทั่วไป โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ ไดรับลิขสิทธิ์ในการ พิมพและจัดจําหนายหนังสือพอคเก็ตบุคสทั้งสิ้นจํานวนมากกวา 600 ปก ซึ่งโดยสวนใหญ กลุมบริษัทฯ จะจัดจําหนายผานผูจัดจําหนาย หนังสือรายใหญในประเทศ โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 มีจุดกระจายหนังสือรวมกันทั้งสิ้นมากกวา 2,500 แหง นอกจากนั้น กลุม บริษัทฯ ยังดําเนินธุรกิจผลิต นําเขา และจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนเพื่อการศึกษา บันเทิง และการเสริมทักษะ ซึ่งรวมถึงการตูน สวนที่ 2 หนาที่ 7


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และนิทานประเภทตางๆ ผาน บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (NED) และ บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (NEE) ใน นามสํานักพิมพ “เนชั่นเอ็ดดูเทนเมนท“ และ ”เนชั่นเอ็กมอนท” โดยมีกลุมลูกคาเปาหมายเปนเยาวชนอายุไมเกิน 18 ป กลุมบริษัทฯ จะ มุงเนนการผลิตและจัดจําหนายหนังสือการตูนยอดนิยมที่ไดรับลิขสิทธิ์มาจากสํานักพิมพชั้นนําของประเทศญี่ปุน ประเทศไทย และ ประเทศในทวีปเอเชีย อาทิ โดราเอมอน เครยอนชินจัง ดรากอนบอล และ นินจานารุโตะ เปนตน รวมทั้งสิ่งพิมพที่ไดรับลิขสิทธิ์มาจาก กลุมประเทศแถบยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ ไดรับลิขสิทธิ์ในการพิมพและจัดจําหนาย สื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนทั้งสิ้นจํานวนมากกวา 2,900 ปก ซึ่งสวนใหญ กลุมบริษัทฯ จะจัดจําหนายผานเอเยนตหนังสือ และผูจัด จําหนายหนังสือ โดยมีจุดกระจายหนังสือรวมกันทั้งสิ้นกวา 2,050 แหง กลุมบริษัทฯ โดยตัวบริษัทฯ เองยังดําเนินธุรกิจในการเปนตัวแทนขายและจัดจําหนายหนังสือพิมพใหแกสํานักพิมพตางประเทศ คือ The Wall Street Journal Asia และ The Yomiuri Shimbun รวมทั้งนิตยสารตางประเทศ เชน Fortune, Time และ Newsweek เปน ตน โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ เปนตัวแทนขายและรับจัดจําหนายหนังสือพิมพและนิตยสารตางประเทศจํานวนทั้งสิ้น 15 ฉบับ ซึ่งมีกลุมลูกคาเปาหมายเปนลูกคานักธุรกิจทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ และกลุมนักศึกษา นักวิชาการ โดยมีการจําหนาย ผานระบบสมาชิก แผงหนังสือและรานหนังสือ รวมถึงจําหนายแบบ Bulk ซึ่งมีจุดกระจายหนังสือพิมพและนิตยสารรวมกันทัง้ สิน้ มากกวา 400 แหง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเปนตัวแทนขายโฆษณาใหกับหนังสือพิมพ The Yomiuri Shimbun ฉบับที่พิมพในประเทศไทย รับจาง พิมพหนังสือพิมพ The Wall Street Journal Asia และ The Yomiuri Shimbun รวมถึงรับจัดสงหนังสือพิมพและนิตยสารตางประเทศอีก หลายฉบับดวย โครงสรางกลุมบริษัทฯ บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) (NINE) (ทุนชําระแลว 70.00 ลานบาท)

99.99%

49.99%

บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (NED)

บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัดก (NEE)

(ทุนชําระแลว 41.25 ลานบาท)

(ทุนชําระแลว 50.00 ลานบาท)

หมายเหตุ: ก เอ็กมอนท อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/เอส เปนบริษัทที่ถือหุนใหญโดย The Egmont Foundation ซึ่งเปนมูลนิธิที่กอตั้งเพื่อทํา ประโยชนใหกับสังคม และดําเนินธุรกิจดานสื่อและความบันเทิงรายใหญในประเทศแถบสแกนดิเนเวียมากกวา 125 ป และดําเนินธุรกิจในมากกวา 30 ประเทศ ถือหุน NEE ในสัดสวนรอยละ 49.00

สรุปลักษณะการประกอบธุรกิจของแตละบริษัท 2.2.1 บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ” หรือ “NINE”) ¾ ¾ ¾

ดําเนินธุรกิจสํานักพิมพโดยผลิตและจัดจําหนายหนังสือพ็อคเก็ตบุคส ที่ไดรับลิขสิทธิ์จากนักเขียนและสํานักพิมพชั้นนําทั้งใน ประเทศและตางประเทศ โดยมุงเนนกลุมผูอานที่มีอายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป และมิไดมีโรงพิมพเปนของตนเอง เปนตัวแทนจัดจําหนายหนังสือพิมพตางประเทศและนิตยสารตางประเทศ ซึ่งมีกลุมลูกคาเปาหมายเปนนักธุรกิจทั้งชาวไทยและ ชาวตางประเทศ และกลุมนักศึกษา เปนตัวแทนขายโฆษณาใหกับหนังสือพิมพ The Yomiuri Shimbun ที่พิมพในประเทศไทย รับจางพิมพหนังสือพิมพ The Wall Street Journal Asia และ The Yomiuri Shimbun รวมถึงรับจัดสงหนังสือพิมพและนิตยสารตางประเทศอีกหลายฉบับดวย

สวนที่ 2 หนาที่ 8


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 2.2.2 บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด ( “NED”) ¾

ดําเนินธุรกิจสํานักพิมพโดยผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนเพื่อการศึกษา และบันเทิง สําหรับกลุมลูกคาเปาหมาย หลักที่เปนเยาวชนอายุไมเกิน 18 ป โดยมุงเนนหนังสือการตูนยอดนิยมที่ไดรับลิขสิทธิ์มาจากสํานักพิมพชั้นนําของประเทศญี่ปุน ประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย รวมทั้งการตูนความรูและวรรณกรรมเยาวชนตางๆ โดยมิไดมีโรงพิมพเปนของตนเอง

2.2.3 บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (“NEE”)

¾

ดําเนินธุรกิจสํานักพิมพโดยผลิต นําเขา และจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนเพื่อการศึกษา บันเทิง และการเสริมทักษะ สําหรับกลุมลูกคาเปาหมายหลักที่เปนเยาวชนอายุไมเกิน 18 ป สวนใหญไดรับลิขสิทธิ์มาจากกลุมประเทศแถบยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย โดยมิไดมีโรงพิมพเปนของตนเอง รับจัดจําหนายหนังสือใหแก NED

2.3

โครงสรางรายไดของกลุมบริษัทฯ

¾

รายไดของกลุมบริษัทฯ สามารถจําแนกออกไดเปน 3 กลุมหลักตามประเภทธุรกิจ ดังนี้ รายไดจากกลุมธุรกิจ

ดําเนินการ โดย

2550 ลบ.

รอยละ

2551 ลบ.

รอยละ

2552 ลบ.

รอยละ

ม.ค. – มิ.ย. 53 ลบ.

รอยละ

1. ธุรกิจสํานักพิมพ 1.1 การผลิตและจําหนายพ็อค NINE เก็ตบุคส 50.86 14.09 56.17 16.37 45.16 14.93 26.90 19.27 1.2 การผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพ NEE, NED 196.31 54.39 174.58 50.89 152.46 50.40 64.21 45.99 สําหรับเยาวชน 2. ธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพ NINE ก ตางประเทศและบริการที่เกี่ยวของ 89.48 24.79 98.98 28.85 98.74 32.65 44.74 32.04 ข 3. รายไดอื่น 24.27 6.73 13.31 3.89 6.11 2.02 3.77 2.70 รายไดรวม 360.92 100.00 343.04 100.00 302.47 100.00 139.62 100.00 ก หมายเหตุ: รวมรายไดจากคาจางพิมพ คาจัดสง และคาบริการจากการเปนตัวแทนขายโฆษณาในสิ่งพิมพตางประเทศ ข รายไดอื่นๆ ไดแก รายไดจากการสัมมนา สอนภาษาตางประเทศและทักษะการสื่อสาร ดอกเบี้ยรับ และรายการพิเศษอื่นๆ เปนตน

2.4

จุดเดนในการประกอบธุรกิจ

2.4.1 กลุมบริษัทฯ ไดรบั ความยอมรับและมีความสัมพันธที่ดีกับนักเขียนและสํานักพิมพที่มีชื่อเสียงทั่วโลก กลุมบริษัทฯ เปนผูริเริ่มการประกอบธุรกิจสิ่งพิมพการตูนที่มีการขอลิขสิทธิ์จากสํานักพิมพจากตางประเทศอยางถูกตองเปนราย แรกของประเทศไทย ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผานมากวา 10 ป กลุมบริษัทฯ ไดพิสูจนใหเจาของลิขสิทธิ์ตางๆไดเห็นวา บริษัทฯ ให ความสําคัญกับการดําเนินการตางๆที่เกี่ยวของอยางตรงไปตรงมา และถูกตองตามจริยธรรมการดําเนินธุรกิจที่ดี จากการยึดแนวทางการดําเนินการขางตน ทําใหกลุมบริษัทฯ ไดรับความยอมรับและความเชื่อใจจากสํานักพิมพตางๆทั่วโลก และ มีโอกาสสูงในการพิจารณาคัดเลือกสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือที่ไดรับความนิยมสูงจากตางประเทศ และมีแนวโนมที่จะไดรับความ นิยมในประเทศมาทําการผลิต และจัดจําหนายไดตามเปาหมาย 2.4.2 กลุมบริษัทฯ ประสบความสําเร็จในการผลิตและจัดจําหนายสื่อและสิ่งพิมพประเภทหนังสือมาอยางตอเนื่อง กลุมบริษัทฯ มีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับในการผลิต และจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพที่ไดรับความนิยม และมียอดจําหนายสูงติดอันดับ ตนๆ ในประเภทสิ่งพิมพนั้นในประเทศไทยมาอยางยาวนาน อาทิ นิตยสารการตูน “Boom” การตูน “Doraemon” การตูน “ดรากอนบอล.

สวนที่ 2 หนาที่ 9


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) หนังสือ “ฝรั่งเขาใจ คนไทยเก็ต” หนังสือ “กลยุทธนานน้ําสีคราม” เปนตน ดังนั้น นักเขียนและสํานักพิมพที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและ ตางประเทศจึงมีการติดตอขอจําหนายลิขสิทธสิ่งพิมพที่ไดรับความนิยมสูงใหแกกลุมบริษัทฯ โดยตรงเปนประจํา 2.4.3 กลุมบริษัทฯ ผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือหลากหลายประเภท กลุมบริษัทฯ ประกอบธุรกิจผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพที่ใหทั้งความรูและความบันเทิงหลากหลายประเภท ในรูปแบบของ หนังสือพ็อคเก็ตบุคสสําหรับกลุมผูอานที่มีอายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป และสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนสําหรับกลุมผูอานที่เปนเยาวชนอายุไม เกิน 18 ป ดังนั้น สื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือของกลุมบริษัทฯ จึงสามารถตอบสนองความตองการของผูอานไดทุกกลุม ทุกเพศ และทุกวัย ซึ่งเปนการลดความเสี่ยงในการพึ่งพิงผูอานกลุมใดกลุมหนึ่ง 2.4.4 กลุมบริษัทฯ มีผูถือหุนที่เขมแข็งและสามารถชวยสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ได เนชั่นกรุปฯ ซึ่งเปนหนึ่งในผูถือหุนรายใหญของกลุมบริษัทฯ มีความรูความเชี่ยวชาญดานธุรกิจสิ่งพิมพมากวา 39 ป รวมทั้งไดรับ ความยอมรับจากวงการอุตสาหกรรมสิ่งพิมพทั่วโลก และเอื้อใหกลุมบริษัทฯสามารถดําเนินกิจการสิ่งพิมพที่ไดรับการยอมรับจากผูที่ เกี่ยวของในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพทั้งในประเทศและในตางประเทศ รวมทั้งสามารถดําเนินธุรกิจไดในตนทุนที่สามารถแขงขันไดจากการ ประหยัดจากขนาด (Economy of Scale) ดวย นอกจากนี้ การที่ NEE มีบริษัท เอ็กมอนท อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/เอส ซึ่งเปนบริษัทสิ่งพิมพชั้นนําในยุโรป เขามาถือหุน ก็ ชวยใหกลุมบริษัทฯ ไดรับความเชื่อถือจากธุรกิจสิ่งพิมพในโลกตะวันตก รวมทั้งไดรับการถายเทความรูและวิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ เกี่ยวของเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของกลุมบริษัทฯอีกดวย 2.4.5 เนื้อหา (Content) และรูปภาพในสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือที่กลุมบริษัทฯ ไดรับลิขสิทธิ์มีโอกาสนําไปขยายธุรกิจทางสื่ออื่นๆได เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ประสบผลสําเร็จในการผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือที่ไดรับความนิยมสูงดังที่ไดกลาวมา ขางตน ดังนั้น กลุมบริษัทฯ มีนโยบายที่จะนําเนื้อหา (Content) และรูปภาพจากสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือที่ไดรับลิขสิทธิ์ไปตอยอดการ ดําเนินธุรกิจผานสื่ออินเตอรเน็ต และโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน การใหบริการการตูนออนไลนบนอินเตอรเน็ตและโทรศัพทเคลื่อนที่ การ ใหบริการดาวนโหลดรูปภาพในโทรศัพทเคลื่อนที่ การใหบริการพาณิชยอิเลคโทรนิคส (E-commerce) ที่เกี่ยวของ เปนตน การใหบริการ ดังกลาวของกลุมบริษัทฯ เปนการเพิ่มสื่อทางเลือกใหแกผูอานในการบริโภคเนื้อหา และเปนการเพิ่มรายไดใหแกกลุมบริษัทฯในอนาคต อีกดวย 2.4.6 ผูบริหารของกลุมบริษัทฯ เปนผูมีประสบการณสูงในธุรกิจผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพ ผูบริหารของกลุมบริษัทฯ มีประสบการณในการบริหารและดําเนินงานในธุรกิจผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพกับกลุมบริษัทฯ และ บริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ ซึ่งเปนหนึ่งในผูนําดานการผลิตสื่อและสิ่งพิมพหลากหลายประเภทในประเทศไทย มาเปนระยะเวลากวา 10 ป ดังนั้น ผูบริหารของกลุมบริษัทฯ จึงสามารถใชความชํานาญและความสัมพันธที่ดีกับนักเขียนและสํานักพิมพที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศ และตางประเทศ ในการบริหารงานกลุมบริษัทฯ ใหประสบความสําเร็จอยางตอเนื่องในอนาคต 2.4.7 กลุมบริษัทฯ มีทีมบรรณาธิการที่มีคุณภาพ จากการที่กลุมบริษัทฯมีนโยบายในการคัดเลือกวาจางทีมงานบรรณาธิการที่มีความรูความเชี่ยวชาญ มีทัศนคติที่ดีกับสายงาน รวมทั้งมีการพัฒนาพนักงานอยางตอเนื่อง สงผลใหทีมงานบรรณาธิการของกลุมบริษัทฯมีคุณสมบัติเพียบพรอม และสามารถถายทอด งานพิมพจากตนฉบับภาษาตางประเทศมาเปนภาษาไทยไดอยางครบถวนสมบูรณและมีอรรถรส โดยเฉพาะอยางยิ่งทีมงานบรรณาธิการ การตูนญี่ปุนเปนผูเชี่ยวชาญดานภาษาที่จบการศึกษาระดับสูงจากประเทศญี่ปุน และไดรับการยอมรับจากวงการธุรกิจสิ่งพิมพและผูอาน วาเปนทีมงานที่มีคุณภาพยิ่ง

สวนที่ 2 หนาที่ 10


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 2.5 • • • • •

เปาหมายในการดําเนินธุรกิจ เปนหนึ่งในผูนําและศูนยรวมสื่อสิ่งพิมพที่ใหสาระความรูและความบันเทิงที่มีคุณภาพแกผูอาน โดยการนําเสนอเนื้อหาสาระจาก ทั่วโลก ดําเนินธุรกิจเพื่อเพิ่มผลตอบแทนสูงสุดใหแกผูถือหุนและผูที่เกี่ยวของ (Stakeholders) ของบริษัทฯ ใชประสบการณและความชํานาญของกลุมบริษัทฯ รวมทั้งการหาเนื้อหาที่แตกตาง และโอกาสจากชองวางทางการตลาดในการ ออกสิ่งพิมพฉบับใหม ใชประโยชนจากเนื้อหา (Content) ที่กลุมบริษัทฯมี และความสัมพันธอันดีระหวางกลุมบริษัทฯ กับเจาของลิขสิทธิ์ในตางประเทศ มาใชประโยชนเพื่อการสรางรายไดใหมจากสื่อใหม (New media) พัฒนาบุคลากรและองคกรเพื่อประสิทธิภาพสูงสุดดวยหลักธรรมาภิบาลที่ดี

สวนที่ 2 หนาที่ 11


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 3.

การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3.1

ธุรกิจสํานักพิมพ

3.1.1 สื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน 3.1.1.1 ลักษณะของผลิตภัณฑ กลุมบริษัทฯ ประกอบธุรกิจผลิต นําเขาและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนเพื่อการศึกษา บันเทิง และการเสริมทักษะ ผาน NED และ NEE ในนามสํานักพิมพ “เนชั่นเอ็ดดูเทนเมนท” และ “เนชั่นเอ็กมอนท” โดยสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ ก) สื่อสิง่ พิมพสําหรับเยาวชนจากประเทศญี่ปุน ประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย NED ไดรับความไววางใจใหเปนผูผลิตสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากประเทศญี่ปุน ประเทศไทย และประเทศในทวีปเอเชีย โดย ไดรับลิขสิทธิ์จากนักเขียนและสํานักพิมพชั้นนําของประเทศญี่ปุน ประเทศไทย และประเทศอื่นๆในทวีปเอเชีย อาทิเชน Shueisha Inc., Shogakukan, Kodansha และ Futabasha เปนตน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 NED ไดรับลิขสิทธิ์ในการพิมพ และจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากประเทศญี่ปุน ประเทศไทย และประเทศอื่นๆในทวีปเอเชีย ทั้งสิ้นจํานวนมากกวา 280 เรื่อง หรือมากกวา 2,200 ปก ซึ่งดําเนินการในรูปแบบดังตอไปนี้ 1) นิตยสารการตูนภายใตชื่อ “Boom” ซึ่งกลุมบริษัทฯ เปนเจาของหัวหนังสือ เปนนิตยสารรายสัปดาหที่รวบรวมการตูนญี่ปุน ยอดนิยมหลากหลายเรื่องจากนิตยสารการตูนรายสัปดาหอันดับหนึ่งของญี่ปุนคือ “Shonen Jump” และการตูนไทยไวใน เลมเดียวกัน โดยมียอดจําหนายอันดับ 1 ในประเทศไทย (ที่มา: ฝายการตลาด บริษัทฯ ธันวาคม 2552) 2) หนังสือการตูน (Comic Collection) หมายถึงหนังสือการตูนรวมเลมและหนังสือการตูนในรูปแบบพิเศษ (Limited Edition) ซึ่งไดรับความนิยมอยางกวางขวางทั้งจากประเทศญี่ปุน และประเทศอื่นๆในเอเชียรวมทั้งประเทศไทย สวนใหญของหนังสือ การตูนในกลุมนี้เปนการรวมเลมจากการตูนที่ลงเปนตอนๆ ในนิตยสารการตูน “Boom” อาทิ “Slam Dunk” “Dragon Ball” “นินจาคาถาโอโฮเฮะ (นารุโตะ)” “Hunter x Hunter” “Death Note” “Bleach เทพมรณะ” “นูระหลานจอมภูต” “Eyeshield 21” “Sket Dance” การตูนไทย อาทิ “มีดที่ 13” “อภัยมณีซากา” “Demonic Corey” และ “JOE Sea-Cret Agent” เปนตน หนังสือการตูนเรื่องอืน่ ๆ ที่ไมไดมาจากนิตยสารการตูน “Boom” อาทิหนังสือชุด “โดรา เอมอน” รวมผลงานการตูนของ Fujiko F.Fujio ผูเขียนโดราเอมอน ชุด “Path of Fujiko F Fujio” “เครยอนชินจัง” “ดิจิทัลเลดี้” “Pluto” “วุนรักนักดนตรีNodame Cantabile” “Pokémon” “Wild Life” “Rainbow” และ “Vagabond” เปนตน นอกจากนี้ยังมีหนังสือการตูนกลุมรักประทับใจภายใต ตรา “Cute Comic” อาทิ “ตราบวันฟาใส-March comes in like a lion” “ลํานํารักจากดวงดาว-Singing Star” “ยาคุโมะ นักสืบวิญญาณ” จากประเทศญี่ปุน และ ชุด Full House-สะดุดรักที่พักใจ จากประเทศเกาหลี เปนตน 3) สมุดภาพ (Art Book) ซึ่งเปนหนังสือที่รวบรวมภาพที่สวยงามจากหนังสือการตูน “Your Eyes Only” “Clamp Art Works – North Side” “Clamp Art Works – South Side” และ “Meed Tii Sibsam History” เปนตน 4) พอกเก็ตบุคส (Pocket Book) ประกอบดวยวรรณกรรมเยาวชน เปนหนังสือวรรณกรรมแปลภาษาไทยสําหรับเยาวชน มี เนื้อหาเกี่ยวกับสืบสวนสอบสวน ผจญภัย แฟนตาซี อาทิ หนังสือลิขสิทธของ Kodansha ประเทศญี่ปุน “ชุดบันทึกคดีเด็ด ชุมนุมนักสืบคอมพิวเตอร” และ”ชุดบันทึกคดีเด็ดนักสืบดัง ยูเมมิสึ คิโยะชิโร” ซึ่งเปนหนังสือที่ไดรับความนิยมอยางสูง หรือ วรรณกรรมจากการตูนยอดนิยม อาทิ “Death Note : Another Note” “L Change the World” รวมถึงหนังสือประเภท comic essay ซึ่งมีเนื้อหาผสมผสานระหวางการตูนกับความเรียงลอเลียน การมองโลกเชิงบวก ลายเสนเรียบงายไมซับซอน และกําลังไดรับความนิยมในญี่ปุน อาทิ “ชีวิต 150 ซม.” “ชีวิตหญิงเดี่ยวหาสมัยซอน” “ชีวิต 150 ซม. 3” “คุณแม 30 คะแนน” ของ TAKAGI Naoko “แผหลาพาสุขใจ in อิตาลี” จากประเทศญี่ปุน “มาดามวาซาบิตะลุยแดนกิมจิ “ และ “Luna Park” จากประเทศ เกาหลี รวมถึง YYไมตายก็ไดฟะ จากประเทศจีน เปนตน 5) หนังสือการตูนความรู (Edutainment Comics) เปนการตูนสาระบันเทิง แบงเปนชองทํานองเดียวกับการตูนญี่ปุน มีการ แทรกความรูตางๆ และคําอธิบายเชิงวิชาการ ผานการเลาเรื่องที่สนุกสนาน มีทั้งแบบสีเดียวและภาพสี่สี จากสํานักพิมพชั้น สวนที่ 2 หนาที่ 12


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) นําของญี่ปุน และเกาหลี อาทิ “ชีวิตสัตวมหัศจรรยตอนทองโลกดึกดําบรรพ” และ “ตอนทองโลกใตสมุทร” Kodansha Doraemon English Vocabulary ของ Fujiko F Fujio ลิขสิทธิ์ของ Shogakukan ประเทศญี่ปุน การตูนความรูชุด “ทองโลก แสนสนุกกับ Pucca” ลิขสิทธิ์ของ Vooz Firm และการตูนความรูชุด “Magic Science School” และ “Dreaming Einstein” “Galilei Returns” ลิขสิทธิ์ของ DongaScience Aha! Series Exciting ลิขสิทธิ์ของ Gimm-young Magic English Comics, Exciting Knowledge, Economics, Invention, Future, Science Space, ชุด Classroom IQ series ลิขสิทธิ์ของ GANA ประเทศเกาหลี และ The Universe, Computer The Human Body, Mathematics ลิขสิทธิ์ของHCE จากไตหวัน 6) หนังสือกิจกรรมเสริมทักษะ (Activity Book) เปนหนังสือที่เหมาะสําหรับเด็กเล็ก ประกอบดวยรูปภาพเปนสวนใหญ ความรู พรอมความบันเทิง ผานกิจกรรมตางๆ อาทิ การระบายสี การวาดรูปตางๆ การลากเสน เกมทดสอบความจํา สี ตัวเลข หรือ คําศัพทงายๆ โดยใชตัวการตูนที่มีชื่อเสียงที่เด็กชื่นชอบ อาทิ กิจกรรมชุด “โดราเอมอน” “ดิจิมอน” “เฮลโล คิตตี้” และ หนังสือกิจกรรมเสริมทักษะชุด ซึ่ง NED สรางสรรคเองอีก 2 เลม คือ ชุดแพนดา เปนตน ข)

สื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากกลุมประเทศในแถบยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย

1)

2)

3)

4)

NEE ไดรับความไววางใจใหเปนผูผลิต นําเขา และจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนที่ไดรับลิขสิทธิ์จากเจาของลิขสิทธิ์ และสํานักพิมพชั้นนําจากกลุมประเทศแถบยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย อาทิเชน Walt Disney, Warner Bros. Simon & Schusters ประเทศสหรัฐอเมริกา Hit Entertainment, Chorion, Orchard Book, Scholastic UK, Egmont UK, Dorling Kindersley ประเทศอังกฤษ, VGS ในเครือของ EGMONT Verlagsgesellschaften ประเทศเยอรมัน, Larousse ประเทศ ฝรั่งเศส, Casterman ประเทศเบลเยียม, Paramon ประเทศสเปน และ Blake Education, Wendy Pye Publishing Ltd. ประเทศออสเตรเลีย เปนตน โดยผลิตเปนภาษาไทย หรือ 2 ภาษา ซึ่งมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในเลมเดียวกัน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 NEE ไดรับลิขสิทธิ์ในการพิมพและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากกลุมประเทศใน แถบยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย ทั้งสิ้นจํานวนมากกวา 700 เรื่อง ซึ่งดําเนินการในรูปแบบดังตอไปนี้ นิตยสารสําหรับเด็กชื่อ “Disney & Me” เปนนิตยสารรายเดือนสําหรับเด็กอายุ 5-8 ป ลิขสิทธิ์จาก Disney ซึ่งใหทั้งความรู พรอมความบันเทิงโดยการรวมนิทานภาพและกิจกรรมเสริมทักษะไวในเลมเดียวกัน เชน การระบายสีรูปภาพ ลากเสน เกม ทดสอบความจํา สี ตัวเลข นอกจากนี้ยังไดสอดแทรกความรูดานภาษาอังกฤษ เชน abc หรือ คําศัพทงายๆ ฯลฯ นิตยสาร ฉบับนี้จัดพิมพเปนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) เพื่อจูงใจใหผูปกครองเลือกซื้อใหแกบุตรหลาน และใหครูพิจารณาใชเปน หนังสือเสริมหลักสูตรในโรงเรียน หนังสือนิทานภาพ (Story-telling book) ซึ่งไดคัดสรรจากนิทานที่ไดรับความนิยมอยางกวางขวางจากทั้งในและตางประเทศ อาทิ นิทานจากภาพยนตร เชน “Lion King” “Toy story” “Finding Nemo” “Up” “Bolt” นิทานชุด “Disney Classics” “Disney Princess” “Pooh First Reader” ของ Disney นิทานคลาสสิคของฮันส คริสเตียนแอนเดอรเสน “Scooby-Doo” ของ Warner Bros. “Barney” และ “Thomas & Friends” ของ Hit Entertainment เปนตน นอกจากนี้ NEE ยังไดพัฒนา หนังสือนิทานประกอบกับซีดีอานออกเสียงทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (Read Along) ไดแก ชุด “Disney Princess” “Disney Pixar” “Disney Collection” และ “Winnie the Pooh” ของ Disney และ “Thomas & Friends” ของ Hit Entertainment อีกดวย หนังสือกิจกรรมเสริมทักษะ (Activity Book) เปนหนังสือที่เหมาะสําหรับเด็กเล็ก ประกอบดวยรูปภาพเปนสวนใหญ ความรู พรอมความบันเทิง ผานกิจกรรมตางๆ อาทิ การระบายสี การวาดรูป การลากเสน เกมทดสอบความจํา สี ตัวเลข หรือ คําศัพทงายๆ ฯลฯ จัดพิมพเปนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) สวนใหญมีเนื้อหาเกี่ยวกับตัวการตูนที่เปนที่นิยมระดับนานาชาติ ตัวอยางสื่อสิ่งพิมพในประเภทนี้ ไดแก หนังสือกิจกรรมเสริมทักษะชุด “Read and Learn” “Read with Princess” “Read with Prince” ของ Disney, หนังสือกิจกรรมเสริมทักษะชุด “Barney’s Beginnings” หนังสือกิจกรรมเสริมทักษะชุด “Scooby-Doo” รวมถึงหนังสือกิจกรรมเสริมทักษะชุด “Thomas & Friends” วรรณกรรมเยาวชน (Junior Novel) เปนวรรณกรรมแปลที่มีตัวอักษรมากกวารูปภาพ มีเนื้อเรื่องที่อานและเขาใจไดงาย สวนใหญมีเนื้อหาเกี่ยวกับสืบสวนสอบสวน ผจญภัย แฟนตาซี และมีหลายเรื่องที่จัดพิมพเปนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) สวนที่ 2 หนาที่ 13


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

5)

6)

7)

8)

ตัวอยางหนังสือในประเภทนี้อาทิ ชุด “Tiara Club” ของ Vivian French ชุด “The Naughtiest Girl” และ “โรงเรียนเซนต แคลส (St. Claires)” ของ Enid Blyton ชุด “Airy Fairy” และ “Pickle Hills” ชุด “Captain Fact” “ชุด ไขปริศนากับสคูบีดู” ชุด “Fairies และ Witch” ของ Disney, ชุด “Katie Cat” และ “The Star” ของThomas Brezina เปนตน หนังสือการตูน เปนหนังสือที่มีการเลาดวยภาพแบงเปนชองๆ มีการวางภาพคลายการตูนญี่ปุน มีทั้งแบบพิมพสีเดียวและสี่สี อาทิ “การผจญภัยของติน ติน (Tin Tin)” ชุด Manga Shakespeare เชน “Romeo & Juliet” “Hamlet” และ ”Tempest” เปนตน หนังสือสาระความรูสําหรับเด็ก เปนหนังสือที่ใหความรูในเรื่องตางๆ ที่เขาใจงายและมีรูปภาพประกอบ และวิธีการเลาที่ ดึงดูดความสนใจของเด็ก ขณะเดียวกันก็สอดแทรกเปนความรูเฉพาะดานควบคูไปดวย ซึ่งอาจนําไปใชเปนหนังสืออานนอก เวลาสําหรับเด็กและเยาวชน บางเลมไดมีการจัดพิมพเปนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) เพื่อเสริมทักษะภาษาอังกฤษอีกดวย เชน ชุด “Petite Encyclopedia” ชุด “My Name is ...” ชุด “Mega Bites” ชุด “คลื่นความคิดอัจฉริยะby the Brainwave” ชุด “Environmental” ชุด “Explosion Zone-โลกอัจฉริยะ” ชุด “Whiz Kids-หนูรูไหม” และชุด “Go Facts” ชุด “มหันภัยใกล ตัว” ชุด “วิกฤตสิ่งแวดลอม” และชุด “ฉลาดล้ํา- Brainwave” เปนตน หนังสือสารานุกรมสําหรับเด็กและเยาวชน เปนหนังสือที่เนนใหความรูเชิงวิชาการในหัวขอตางๆ และมีรูปภาพประกอบเพื่อ เปนการดึงดูดความสนใจของเด็กและเยาวชน สามารถนําไปใชเปนหนังสืออางอิงหรือสื่อประกอบการเรียนการสอน เพื่อ เสริมสรางความรูที่จําเปนสําหรับเด็กและเยาวชน ตัวอยางสื่อสิ่งพิมพในประเภทนี้ ไดแก สารานุกรม ชุด “Your World” ชุด “Children Encyclopedia” ชุดสารานุกรมชุด “Kingfisher Knowledge” ของ Kingfisher “Picture Dictionary” ของ Disney “E-Encyclopedia” และ “How Cool Stuff Works” ของ Dorling Kindersley เปนตน สื่อการเรียนภาษาอังกฤษ เปนชุดสื่อที่ชวยพัฒนาการเรียนรูภาษาอังกฤษสําหรับเด็กและเยาวชน ผานกิจกรรมการเรียนรู และสื่อตางๆ ทั้ง หนังสือ วีดิทัศน และซีดี เชน สื่อชุด “Key Words”

3.1.1.2 ลูกคากลุมเปาหมาย ลูกคากลุมเปาหมายแบงออกเปน 2 กลุมหลัก คือ • กลุมเด็กเล็ก (5-8 ป) • กลุมกอนวัยรุน (9-12 ป) และวัยรุน (13-18 ป) โดยหนังสือของกลุมบริษัทฯ นั้น มีความหลากหลาย สามารถตอบสนองความตองการของลูกคากลุมเปาหมายในพิสัยที่ตางๆ กัน ดังนี้ • หนังสือการตูนและนิตยสารการตูน มีกลุมลูกคาเปาหมายหลักเปนกลุมกอนวัยรุน และวัยรุน และอาจรวมไปถึง ผูใหญที่มี ความชื่นชอบในการอานหนังสือการตูน เนื่องจากเปนความบันเทิงรูปแบบหนึ่งที่มีตนทุนที่ต่ํา • นิทาน/ หนังสือภาพ/ หนังสือกิจกรรมเสริมทักษะ มีกลุมลูกคาเปาหมายหลักเปนกลุมเด็กเล็ก • วรรณกรรมเยาวชนมีลักษณะเนื้อหาแตกตางกันตามความเหมาะสมและอายุ จึงมีกลุมลูกคาเปาหมายครอบคลุมกลุมเด็ก เล็ก กอนวัยรุน และวัยรุน • หนังสือสาระความรูมีความละเอียดของเนื้อหาแตกตางกันตามความเหมาะสมและอายุ ครอบคลุมลูกคาเปาหมายตั้งแต กลุมเด็กเล็ก กอนวัยรุน และวัยรุน • หนังสือสารานุกรม มีความละเอียดของเนื้อหาแตกตางกันตามความเหมาะสมและอายุ ครอบคลุมกลุมลูกคา เด็กเล็ก กอน วัยรุน และวัยรุน

สวนที่ 2 หนาที่ 14


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 3.1.1.3 การจําหนายและชองทางการจําหนาย ก) สื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากประเทศญี่ปุน ประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย การจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากประเทศญี่ปุน ประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชียนั้น NED ซึ่งเปนผูผลิตจะ ขายสื่อสิ่งพิมพที่ผลิตทั้งหมดใหแก NEE ซึ่งเปนการขายบนเงื่อนไขไมมีการรับคืน เพื่อให NEE นําไปจําหนายตอใหกับเอเยนตที่ จัดจําหนายการตูน และผูจัดจําหนายหนังสือรายใหญที่มีรานหนังสือหลายสาขา ซึ่งเปนการขายที่อาจมีการรับคืนไดในภายหลัง โดยเอเยนตเหลานี้จะกระจายสินคาตอไปยังรานหนังสือคาปลีกรายยอยซึ่งจะจําหนายตอใหแกผูอานอีกตอหนึ่ง และ NEE ยังมี การจัดจําหนายโดยตรงแกผูอานผานระบบสมาชิก ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 NEE จัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากประเทศญี่ปุน ประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ในทวีป เอเชียสวนใหญผานเอเยนตการตูน รองลงมาไดแก รานหนังสือ รานคาโมเดิรนเทรด รานสะดวกซื้อ และ รานคาที่ไมไดจําหนาย หนังสือเปนหลัก และชองทางการจําหนายอื่นๆ ไดแก จําหนายตรงผานบูธ งาน event ตามลําดับ รวมจุดจําหนายทั้งสิ้นกวา 2,050 จุด (ที่มา: บริษัทฯ ) ข) สื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากกลุมประเทศในแถบยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย NEE จะทําการจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากกลุมประเทศในแถบยุโรป อเมริกา และออสเตรเลียซึ่งตนเปนผูผลิตผานผู จัดจําหนายหนังสือรายใหญที่มีรานหนังสือหลายสาขา และรานคาโมเดิรนเทรด ซึ่งมีเงื่อนไขการขายที่อาจมีการรับคืนไดใน ภายหลั ง โดยรานค าเหลา นี้จ ะจํ าหน ายตอ ใหแ กผู อานอี ก ทอดหนึ่ง นอกจากนั้น NEE ยั งมี การจัด จําหน ายโดยตรงแก สถาบันการศึกษา และผูอานผานระบบสมาชิกดวย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 NEE จัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนจากกลุมประเทศในแถบยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย สวนใหญผานรานหนังสือ รองลงมาไดแก รานคาโมเดิรนเทรด รานสะดวกซื้อ และ รานคาที่ไมไดจําหนายหนังสือเปนหลัก นอกจากนั้น มีการจําหนายตรงผานบูธ โรงเรียน และองคกรตางๆ และชองทางการจําหนายอื่นๆ รวมจุดจําหนายทั้งสิ้นกวา 2,000 จุด (ที่มา: บริษัทฯ) 3.1.1.4 กลยุทธการแขงขัน’ 1) คัดเลือก สรางสรรค พัฒนาสื่อที่มีคุณภาพ บริษัทฯ จะดําเนินการผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนที่มีคุณภาพ ความเหมาะสม และตอบสนองความ ตองการของกลุมเด็กและเยาวชน รวมทั้งสงเสริมความรูดานตางๆโดยเฉพาะความรูดานภาษาอังกฤษ ซึ่งสื่อสิ่งพิมพหลาย ประเภทของกลุมบริษัทฯ มีภาษาไทยควบคูกับภาษาอังกฤษ 2) คัดเลือก สรางสรรคสื่อที่ทันสมัยและไดรับความนิยมระดับนานาชาติ กลุมบริษัทฯ จะใชขอไดเปรียบสํานักพิมพอื่นๆ จากการมีความสัมพันธที่ดีกับสํานักพิมพที่มีชื่อเสียงในตางประเทศ ในการ พิจารณาคัดเลือกสื่อสิ่งพิมพที่ไดรับความนิยมสูงจากตางประเทศ และมีแนวโนมที่จะไดรับความนิยมในประเทศมาทําการ ผลิต และจัดจําหนายไดตามเปาหมาย 3) พัฒนาสื่อที่สอดคลองและตอบสนองตอความตองการของตลาดอยางรวดเร็ว กลุมบริษัทฯ มีการติดตามผลตอบรับของการตูนเรื่องตางๆ ที่ลงในนิตยสาร Boom ของกลุมบริษัทฯ เพื่อคัดเลือกเรื่องที่ไดรับ ความนิยมสูง มาจัดพิมพรวมเลมออกวางจําหนายเพื่อตอบสนองความตองการของผูอานและเพิ่มรายไดจากการตูนเรื่อง ดังกลาว นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ มีนโยบายในการตั้งราคาจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนที่เหมาะสมและสามารถแขงขันกับ สํานักพิมพอื่น ๆ ในตลาดได นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ ยังมีการสรางแรงจูงใจในการซื้อหนังสือ เชน จัดจําหนายหนังสือเปน ชุดในราคาพิเศษ หรือใหสวนลดพิเศษพรอมของสมนาคุณ เปนตน อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ ไมมีนโยบายทําการตลาด ดวยราคาต่ํากวาคูแขง (Price War) สวนที่ 2 หนาที่ 15


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 4) สรางสรรคกิจกรรมเพื่อการมีสวนรวมของลูกคา และกิจกรรมเพื่อสังคม กลุมบริษัทฯ ไดดําเนินการจัดกิจกรรมทางการตลาดและการสงเสริมการขายอยางตอเนื่องในรูปแบบตางๆรวมกับราน หนังสือ และในสถานที่สาธารณะอื่นๆ เชน การจัดงานเพื่อสงเสริมการแสดงออก ความสามารถ ของเด็กและเยาวชน ไดแก งาน Japanese Festival ซึ่งประกอบดวยการประกวดการแตงตัวเลียนแบบตัวการตูน (cos’ play) และการประกวดดนตรี แนวญี่ปุน (J-rock), งาน Comics Cosmo เพื่อคนหานักเขียนการตูนไทยหนาใหม และเปนการรวมตัวกันของสังคมผูชื่น ชอบการตูน การจัดกิจกรรม Disney and Me Talent Contest กิจกรรมสงเสริมกีฬา เชน Kiddy League มหกรรมกีฬา อนุบาล และการแขงสตรีทบาสเก็ตบอล Dunk Anti Drug รวมถึงการเขารวมออกรานและกิจกรรมสงเสริมการอานในงาน มหกรรมหนังสือตางๆ เปนตน 5) พัฒนานักเขียนไทยใหมีคุณภาพ และกาวสูระดับสากล กลุมบริษัทฯ ใหความสําคัญในการสรางนักเขียนการตูนไทยหนาใหม เห็นไดจากการจัดประกวดนักเขียนการตูนไทยมา ตลอดระยะเวลากวา 10 ป การจัดสัมมนาหรือ workshop แกเด็กและเยาวชนผูสนใจ การพิจารณาตีพิมพการตูนจาก นักเขียนการตูนไทยในนิตยสารรายสัปดาห “Boom” และหนังสือเลม และหนึ่งในความสําเร็จของโครงการนี้คือการที่ สํานักพิมพชั้นนําจากประเทศฝรั่งเศส และบุลกาเรีย ไดซื้อลิขสิทธิ์การตูนไทยเรื่อง ”อภัยมณีซากา” ไปตีพิมพ 6) พัฒนาชองทางการจัดจําหนายอยางมีประสิทธิภาพเพื่อเขาถึงกลุมเปาหมายทุกกลุม กลุมบริษัทฯ ใหความสําคัญกับการกระจายสื่อที่คัดสรรแลววามีคุณภาพและมีเนื้อหาเหมาะสมไปยังกลุมเปาหมายอยางมี ประสิทธิภาพสูงสุดไดแก การใหความสําคัญกับการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายทั้งชองทางดั้งเดิม และผานสื่อใหม หรือ วิธีการใหมๆ นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังเนนการเขาถึงเด็กและเยาวชนผานการขายตรงเพื่อเขาถึงผูปกครองของเด็กและ เยาวชน รวมถึงการขายตรงเขาสูโรงเรียน โดยผานทางหองสมุดหรือ ครู เพื่อเสนอทางเลือกในการใชประกอบการเรียนการ สอน หรือมีไวใหนักเรียนคนควาประจําหองสมุด 3.1.2 หนังสือพ็อคเก็ตบุค ส 3.1.2.1 ลักษณะของผลิตภัณฑ กลุมบริษัทฯ ดําเนินธุรกิจผานตัวบริษัทฯ เอง ภายใตชื่อสํานักพิมพ ”เนชั่นบุคส” ซึ่งผลิตและจําหนายหนังสือพอคเก็ตบุคสที่ไดรับ ความไว ว างใจโดยได ลิข สิ ท ธิ์ จ ากนัก เขี ย นและสํ า นั ก พิ ม พ ที่มี ชื่ อ เสี ย งทั้ง ในประเทศและต า งประเทศ ซึ่ งมี เ นื้ อ หาหลากหลายแนว ครอบคลุมความตองการของผูอานทุกกลุม โดยเฉพาะอยางยิ่ง หนังสือพ็อคเก็ตบุคสของบริษัทฯ ในหมวดการจัดการและบริหาร และ หมวดทั่วไปนั้นเปนที่ยอมรับกันอยางกวางขวางในหมูนักอาน หนังสือพ็อคเก็ตบุคสของบริษัทฯสามารถแบงออกไดเปน 5 หมวดหลักดังนี้ (1) หมวดการบริหารและจัดการ (Business and Management) หนังสือในกลุมนี้มีเนื้อหาเกี่ยวของกับการบริหารและจัดการในหัวขอตางๆ รวมถึงเศรษฐศาสตร การเงิน การบัญชี การตลาด ภาษีและกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ และกรณีศึกษาทางธุรกิจ ตัวอยางหนังสือที่ไดรับความนิยมอยางสูง ระดับนานาชาติในกลุมนี้ เชน “As the Future Catches You” โดย Juan Enriquez, “กลยุทธนานน้ําสีคราม” (Blue Ocean) โดย W. Chan Kim & Renee Mauborgne “เจาะจุดแข็ง” (Now, Discover Your Strengths) โดย Marcus Buckingham & Donald O. Clifton “แคเกง...ไมพอ” (Talent Is Never Enough)และ ทะยานไกล...ใหถึงฝน (Put Your Dream to the Test) โดย John C. Maxwell นักเขียนหนังสือที่มียอดจําหนายสูงสุดของ New York Times “Think! Before It’s Too Late” โดย Dr. Edward de Bono ผูเปนสุดยอด GURU ดานการคิดสรางสรรค “Marketing 3.0 โดย Philip Kotler ปรมาจารยระดับโลกดานการตลาด “วิถี แหงผูนํา” (The Leader’s Way) โดย Dalai Lama and Laurens van den Muyzenberg “Success Built to Last” โดย Jerry Porras, Stewart Emery & Mark Thomson ผูรวมเขียนหนังสือ Built to Last ที่มียอดจําหนายกวาลานเลม “เปดปูมมังกร” (China Inc.) โดย Ted C. Fishman หนังสือพัฒนาศักยภาพในการทํางาน ชุด “The Sunday Times: Creating Success” และ สวนที่ 2 หนาที่ 16


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ชุด “Work/ Life” หนังสือเกี่ยวกับการจัดการผานนิวมีเดีย เชน “Digimarketing : เปดโลกนิวมีเดียและการตลาดดิจิทัล” โดย Ken Wertime & Ian Fenwick “The Long Tail” โดย Chris Anderson เปนตน นอกจากนี้ ยังมีงานเขียนของนักคิด นักเขียนไทยในกลุมการบริหารและจัดการที่ไดรับความสนใจจากผูอานในวงกวาง อาทิ “จาย ภาษีก็รวยได” “สอนเพื่อนใหรวย” โดย ดร.สุวรรณ วลัยเสถียร “เงินเดือนนิดเดียวตองเหนื่อยใหนอยที่สุด” และ “เงินเดือนตั้ง เยอะตองใชงานใหหนักที่สุด” โดย อภิชาต สิริผาติ และ “จนเครียด เก็บตังสสิ” โดย พจณี คงคาลัย “บทเรียนรอนๆ จากซิลิคอน วัลเลย” ตามลา search หาฝน” โดย กระทิง พูนผล“มนุษยเศรษฐกิจ 2.0” โดย นรินทร โอฬารกิจอนันต “2530-2551 จาก Black Monday ถึง Hamburger Crisis” โดยกองบรรณาธิการขาว BizWeek แหงหนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ “The Signature 01” และ “The Signature 02” ซึ่งเปนหนังสือรวบรวมแงคิดการบริหารจาก 11 ซีอีโอชื่อดังของเมืองไทย เปนตน 2) หมวดนิยาย และ วรรณกรรม (Fiction and Literature) หนังสือในกลุมนี้เปนนวนิยายและวรรณกรรมของนักเขียนไทยและนักเขียนตางประเทศที่แปลเปนภาษาไทย เชน “แอตแลนติส” โดย David Gibbins “แมรี่ แมรี่” โดย เจมส แพตเตอรสัน หนังสือยอดจําหนายสูงสุด New York Times และ Sunday Times เรื่อง “โจนาธาน สเตรนจกับมิสเตอรนอรเรล” โดย Susanna Clake, “ประตูโทเลมี” โดย Jonathan Stroud “ลาสุดขอบฟา สายเลือดเทมพลาร ขุมทรัพยอัศวิน” (Das Blast der TEMPLER) และ”ตํานานผูไมมีวันตาย” (Die Chronik Der Unsterblichen) โดย Wofgang Hohlbein นักเขียนหนังสือยอดจําหนายสูงสุดของเยอรมัน หนังสือนวนิยายและวรรณกรรมแนวสืบสวนสอบสวน ลึกลับ สยองขวัญจากประเทศญี่ปุน ภายใตตราสัญลักษณ “ NB Horror” อาทิ “หองเรียนที่ไมยอมเปดรับ” และ”หลอนพยาบาท” โดยนักเขียนชื่อดัง จิโร อากางาวะ “รัก ลวง ตาย และนิ้วสีแดง” โดย เคโกะ ฮิกาชิโนะ นอกจากนี้ยังมีนวนิยายและวรรณกรรมที่ไดรับความนิยมจนทําใหถูกนําไปสรางเปนภาพยนตร อาทิ “ตํานานสไปเดอรวิก” (The Spiderwick Chronicles) ของ Tony DiterLizzi & Holly Black “My Sassy Girl” ของเกาหลี “บัญชีสาวยอดนักสืบ” “อยาก กูรองบอกรักใหกองโลก” และ “Nodame Canterbile” ของญี่ปุน รวมทั้ง “ราง...อุบัติรักขามดวงดาว” (The Host) โดย

Stephenie Meyer นักเขียนเจาของผลงาน Twilight Saga ซึ่งติดอันดับขายดีระดับโลกและไดรับการนําไปทําเปน ภาพยนตรสุดฮิตที่โดงดังไปทั่วโลก ยังมีผลงานของนักเขียนไทย อาทิ “เหตุเกิดที่รานช็อกโกแลต” และ “เมื่อรักมาพักรอน” โดย วรินดา อรอนโซ (3) หมวดภาษา และการเรียนรู (Language and Learning) หนังสือในกลุมนี้มีเนื้อหาเกี่ยวของกับการพัฒนาทักษะดานภาษาและการทดสอบความถนัดดานตางๆ ซึ่งหนังสือในกลุมพัฒนา ทักษะดานภาษาที่ไดรับความนิยม เชน “Just Speak Out!” By Nina โดย กุลนัดดา ปจฉิมสวัสดิ์ “ภาษาอังกฤษแบบฝรั่งเขาใจ คนไทยเก็ต1-2” “ฝรั่งไมเขาใจ คนไทยไมเก็ท” “Me, Meself and The Movies” “คริสดีลิเวอรี 1-2” และ “Chris unseen 1-2” โดย คริสโตเฟอร ไรท “DIY My Map. โดยวชรวรรณ ฤทธิรงค หนังสือกลุมทดสอบความถนัด อาทิ “เลขคณิตพิชิตสมองเสื่อมเลม 1-2” ซึ่งมียอดขายกวา 3 ลานเลมในประเทศญี่ปุน, “สปตคณิตคิดเลขเร็ว”หนังสือชุดทดสอบความสามารถและทักษะดานตางๆ ไดแก “คูมือทดสอบความถนัด”(The Aptitude Test Work Book) “คูมือทดสอบไอคิวและความถนัด” (IQ and Aptitude Test) “คูมือทดสอบความถนัด บุคลิกภาพและแรงจูงใจ” (Aptitude, Personality & Motivation Tests) “คูมือทดสอบความคิด สรางสรรค” (Test Your Creative Thinking) “คูมือทดสอบความถนัดดานตัวเลข” (Test Your Numerical Aptitude) “คูมือ ทดสอบความฉลาดทางอารมณ” (Test Your EQ) และ “คูมือทดสอบความฉลาดและศักยภาพของพลังสมอง“ (Test and Assess Your Brain Quotient) “The Big Book of Sudoku” และหนังสือชุดไขสมการชีวิต 4 เลม คือ “ไข 100 สมการอายุยืน” (The Long Life Equation) “ไข 100 สมการความสุข” (The Happiness Equation) “ไข 100 สมการชีวิตปลอดภัย” (The Environment Equation) และ “ไข 100 สมการอัจฉริยภาพ” (The Intelligence Equation) “เพิ่มพลังไอคิว” “ฝกสมองยอดนักจํา” “คิดอยางฉลาด ทําอยางฉลาด” และ “คิดนอกกรอบ” เปนตน สวนที่ 2 หนาที่ 17


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) (4)หมวดศาสนา และปรัชญา (Religion and Philosophy) หนังสือในกลุมนี้มีเนื้อหาเกี่ยวของความเชื่อและคําสอนทางศาสนาและปรัชญา เชน หนังสือชุด “Dhamma Talk” ”การเมือง เนื่องในธรรม” โดย ว. วชิรเมธี, “กฎแหงกรรม 5 เลม” โดย ท.เลียงพิบูลย “ธรรมะบํารุงใจ” และ”ธรรมะสปา” โดย พระอาจารยมิต ซูโอะ เควสโก “มหาสมุทรแหงปญญา” โดย องคทะไล ลามะ และหนังสือ ชุดสรางพลังบุญ ซึ่งมี 4 เลมคือ “ทําบุญใหสวย” “ทําบุญใหรวย” “ทําบุญใหฉลาด“ “ทําบุญใหสุขภาพดี“ รวมถึง “ใจดีสู(ป)เสือ” “สุขเหนือสุข” และ “แกะรอยกรรม สูรอยธรรม” ผลงานของพระไพศาล วิสาโล เจาของรางวัลศรีบูรพา ประจําป 2553 เปนตน นอกจากนี้ก็ยังมีหนังสือแปลเกี่ยวกับศาสตรโหงวเฮงและฮวงจุย ผลงานของ Joey Yap ปรมาจารยและที่ปรึกษาผูมีชอื่ เสียงระดับ โลก คือ “อานคนได ใชคนเปน” (Discover Face Reading) “ฮวงจุยภายนอกบาน (Feng Shui for Home Buyer – External)” “ฮวงจุยภายในบาน (Feng Shui for Home Buyer – Internal)” “ฮวงจุยคอนโดมิเนียมและอพารตเมนต (Feng Shui for Home Owner: Apartment)” เปนตน (5) หมวดทั่วไป (General Interest) หนังสือในกลุมนี้เปนหนังสือที่มีเนื้อหาหลากหลาย ครอบคลุมความสนใจดานตาง ๆ ของผูอานในวงกวาง อาทิ สุขภาพและความ งาม อาหาร บานและการตกแตง การพัฒนาตนเอง สัตวเลี้ยง ไลฟสไตล และชีวิตคนดัง ฯลฯ เชน “กนกบาทเดียว” “ชีวิตรื่นรมย” และ”กนกยามเย็น” โดย กนก รัตนวงศสกุล “It’s me ชาลอต” โดย ชาลอต โทณวณิก “คันขวางโลก” “E-KIM คนเริงไมค” “โปรด เอื้อเฟอแกสตรีมีคัน” โดย เจนนิเฟอร คิ้ม “บระเจา โจก” โดย โจก โซคูล “สักยันต กันภัย” โดย อ.หนูกันภัย หมวดบานและที่อยูอาศัย “อยูสบาย 1-2” “แตงรานใหไดลาน 1-3” “ตกแตงตึกแถวใหนาอยู” “คิดจากภายใน Inside Out” “รูทัน ชาง” “ทีหลังอยาทํา” ราว รั่ว รอน” และ “Terazzo” โดย เอกพงษ ตรีตรง “Junk Style” โดย เมลานี โมเลสเวิรธ และ “Series 101” ไดแก “101 หองนั่งเลน ตกแตงอยางมีสไตล” “101 หองครัว ตกแตงอยางมีสไตล” “101 หองน้ํา ตกแตงอยางมีสไตล” “101 หองนอน ตกแตงอยางมีสไตล” โดย BBC Good Homes หมวดสัตวเลี้ยง “งายแคพริบตา ฝกหมาใหแสนรู” “หัวใจผมใหนาย” โดย ครูอุ “เลือกหมาใหเหมาะกับคุณ โดย GWEN BAILEY “รูไหมหมาคิดอะไรอยู” “รูไหมแมวคิดอะไรอยู” โดย เกวน เบลีย “หมาทําแบบนั้นทําไม” แมวทําแบบนั้นทําไม” โดย มารตี เบ็ค เกอรและจีนา สปาดาโฟรี “คูมือฝกหมาขั้นเทพ” โดย เดวิด เทยเยอร หมวดอาหาร “โบ แอพพิไทท” โดย ชญาดา มัสยวาณิช “ ปรุงดวยใจสไตลนูรอ” “ของวางคาว-หวาน สําราญใจ” “ทํากินงาย ทํา ขายรวย” โดย นูรอ โซะมณี สเตปเป “Remix พล ตัณฑเสถียร” โดยพล ตัณฑเสถียร “เคล็ดลับคูครัวคุณหรีด อรอย x 3” “เคล็ด ลับคูครัวคุณหรีด 2” โดย รพีพรรณ เหลืองอรามรัตน “เคล็ดลับกนครัว” “สุดยอดความอรอย” โดย ไชยแสง กิระชัยวนิช หมวดสุขภาพ “โยคะบําบัดสําหรับสาวออฟฟศ” “รูลึก รูจริง กับครูโยคะ” “แมสมสวน ลูกสมบูรณคุณทําได” “10 ระบบ เปลี่ยนแปลงเมื่อวัยเปลี่ยนไป” โดย ถือศีล ดิฐวัฒนโยธิน “หนา ผม นม ผิว” โดย บูลแองจี้ “คนรักหนา 2 ตอน ครีม” โดย อนงนุช ชวลิตธํารง ชุด พ.ญ.นันทภัทร สุภาพรรณชาติ “Anti Aging เปลี่ยนอายุใหเปนแคตัวเลข” โดย แพทยหญิง “Top100 สุดยอดอาหารเพื่อสุขภาพ” หนังสือแปลขายดีชุด “ผอม สวย กลวยชวยคุณได” โดย ฮามาจิ และหนังสือขายดีติดอันดับ ยาวนานโดยหมอแดง ชุด “ใครไมปวยยกมือขึ้น เลม 1 และ 2” และ “คนไทยตองหายปวย” เปนตน นอกจากนี้ ยังมีหนังสืออื่นๆ ที่นาสนใจอีก อาทิ “รูเรื่องรถกับพัฒนเดชตอนใชรถอยางไรไมเจ็บตัว” โดย พัฒนเดช อาสาสรรพกิจ “100 Jazz Albums Review” โดย อนันต ลือประดิษฐ “365 แงคิดดีๆ ที่ ทําใหหัวใจอบอุน” โดย ลินดา เค. และ บานานา กัทลี ” โรแมนติกไมเลือกที่” โดยกองบรรณาธิการจุดประกาย-เสารสวัสดี แหงหนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ “พลังหัวใจยิ่งใหญทุกวัน” (Everyday Greatness) โดย Stephen R. Covey และหนังสือชุด “1001 ของขวัญแหงชีวิต” เปนตน นับแตเริ่มดําเนินธุรกิจจนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ ไดจัดพิมพหนังสือพ็อคเก็ตบุคสไปแลวกวา 600 ปก ซึ่งสวนใหญ เปนหนังสือในหมวดการบริหารและจัดการ (Business and Management) และหมวดนิยายและวรรณกรรม (Fiction and สวนที่ 2 หนาที่ 18


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) Literature) รองลงมาไดแก หมวดทั่วไป (General Interest) หมวดศาสนา จิตวิทยา และปรัชญา (Religion and Philosophy) และ หมวดภาษา และการเรียนรู (Language and Learning) ตามลําดับ (ที่มา: บริษัทฯ) 3.1.2.2 ลูกคากลุม เปาหมาย กลุมลูกคาเปาหมายหลักคือผูที่มอี ายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป ซึ่งใหความสําคัญกับการพัฒนาตนเองในแงมุมตางๆ ไมวาการพัฒนา ทักษะในการทํางาน การใสใจสุขภาพ การพัฒนาความคิดและปรัชญาการดําเนินชิวิต และมีความชื่นชอบในการอานหนังสือเพื่อความ บันเทิงและสาระความรู 3.1.2.3 การจําหนายและชองทางการจําหนาย ปจจุบัน บริษัทฯ ทําการจัดจําหนายหนังสือพ็อคเก็ตบุคสผานชองทางการจําหนายประเภทตางๆ ดังนี้ 1. รานหนังสือ เปนชองทางจัดจําหนายหนังสือพ็อคเก็ตบุคสที่ใหญที่สุดของบริษัทฯ โดยสวนใหญผาน บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น ซึ่ง จะจําหนายหนังสือในรานหนังสือของตนเองที่มีหลายสาขา และกระจายหนังสือสูรานคาและรานหนังสือชั้นนําอื่นๆตอไป นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีการวางจําหนายเองผานรานหนังสืออื่นๆ ไดแก รานดับเบิลเอบุคทาวเวอร 2. บูทจําหนายหนังสือ เปนการเปดบูทจําหนายหนังสือแกผูอานโดยตรงในงานตางๆ ที่สําคัญ คือ งานสัปดาหหนังสือแหงชาติ และงานมหกรรมหนังสือ เปนตน 3. จําหนายตรงแกองคกร เปนการจําหนายหนังสือแกผูบริโภคที่เปนบริษัทเอกชน โรงเรียน มหาวิทยาลัย และหนวยงาน ราชการอื่นๆ ที่มีความตองการใชหนังสือพ็อคเก็ตบุคสของบริษัทฯ 4. ชองทางการจําหนายอื่นๆ เชน การจําหนายหนังสือใหแกบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ เพื่อใชเปนของขวัญปใหมหรือของ สมนาคุณแกลูกคา และการจําหนายผานทางไปรษณีย และอินเตอรเน็ตผานเว็บไซด www.nationbook.com ซึ่งใหสวนลด เปนพิเศษแกผูสั่งซื้อ และเปนการเพิ่มชองทางการจําหนายสําหรับผูอานมากยิ่งขึ้น ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 สํานักพิมพ ”เนชั่นบุคส” ไดจัดจําหนายหนังสือพ็อคเก็ตบุคสผานชองทางการจําหนายหลักคือราน หนังสือ รองลงมาไดแกจําหนายตรงผานบูธ โรงเรียน และองคกรตางๆ และชองทางการจําหนายอื่นๆ ตามลําดับ รวมจุดจําหนาย ทั้งสิ้นกวา 2,500 จุด (ที่มา: บริษัทฯ) 3.1.2.4 กลยุทธการแขงขัน 1) บริษัทฯ จะดําเนินการผลิตและจําหนายหนังสือพ็อคเก็ตบุคสที่มีคุณภาพและมีความหลากหลายครอบคลุมความตองการ ของนักอานทุกกลุมอายุ เพศ และอาชีพ โดยพิจารณาคัดเลือกหนังสือทั้งในแงของเนื้อหา คุณภาพ และความเหมาะสม เพื่อใหหนังสือของบริษัทฯ สามารถเปนสวนหนึ่งในการเสริมสรางความบันเทิง และความรูของผูอานใหทันตอยุคสมัย 2) เนื่องจากบริษัทฯ มีความสัมพันธที่ดีกับนักเขียนและสํานักพิมพที่มีชื่อเสียงทั้งในและตางประเทศ ดังนั้น บริษัทฯ จึงใชขอ ไดเปรียบสํานักพิมพอื่นๆ ดังกลาวในการคัดเลือกผลงานของนักเขียน และสํานักพิมพที่เปนที่ชื่นชอบของนักอานชาวไทย และมีคุณภาพระดับโลกโดยมียอดขายในอันดับตนๆ (Bestsellers) มานําเสนอ 3) ในสวนของหนังสือพ็อคเก็ตบุคสที่เปนหนังสือแปลจากภาษาตางประเทศ บริษัทฯ ไดมีการมุงเนนคุณภาพการแปลใหมี ความถูกตองตรงกับตนฉบับมากที่สุด โดยไมละทิ้งความสละสลวยของบทความ เพื่อเปนการเสริมสรางอรรถรสในการอาน หนังสือ และเสริมสรางความพึงพอใจใหแกผูอานมากที่สุด 4) บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการตั้ ง ราคาจํ า หน า ยหนั ง สื อ ที่ เ หมาะสมและสามารถแข ง ขั น กั บ สํ า นั ก พิ ม พ อื่ น ๆ ในตลาดได นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีการสรางแรงจูงใจในการซื้อหนังสือ เชน จัดจําหนายหนังสือในราคาพิเศษ หรือใหสวนลดพิเศษ สําหรับหนังสือบางหมวด เปนตน อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไมมีนโยบายทําการตลาดดวยราคาต่ํากวาคูแขง (Price War) 5) บริษัทฯ ไดดําเนินการจัดกิจกรรมทางการตลาดและการสงเสริมการขายอยางตอเนื่องในรูปแบบตางๆ เชน การเขารวมงาน มหกรรมหนังสือตางๆ การเปดตัวหนังสือ การพบปะนักเขียน การจัดสงหนังสือใหแกสื่อตางๆ รวมถึงนักวิจารณ เปนตน

สวนที่ 2 หนาที่ 19


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 6) บริษัทฯ ไดมีการประชาสัมพันธชื่อของสํานักพิมพ ”เนชั่นบุคส” ใหเปนที่รูจักในกลุมนักอาน โดยการจัดโครงการประกวด เรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร (Nation Books Award) และเปดโอกาสใหนักเขียนสมัครเลนสามารถลงเรื่องสั้นหรือบทความของ ตนเองในเว็บไซตของบริษัทฯ www.nationbook.com หรือสงมาทางไปรษณีย ซึ่งเปนการเปดโอกาสใหประชาชนทั่วไปได แสดงความสามารถดานการเขียน นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังไดรูจักนักเขียนหนาใหมที่อาจไดรับความนิยมในอนาคต 3.1.3 การจัดหาสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือ 3.1.3.1 การผลิตสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือ กลุมบริษัทฯ จะทําการพิจารณาแนวโนมอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ เพื่อวางแผนกําหนดประเภทสิ่งพิมพและรูปแบบเนื้อหาที่จะ ดําเนินการผลิตในแตละป หลังจากนั้น กลุมบริษัทฯ จะดําเนินการจัดหาและผลิตสิ่งพิมพ โดยมีขั้นตอนหลักในการดําเนินการ ดังตอไปนี้ (1) การคัดสรรสื่อสิ่งพิมพ กลุมบริษัทฯ จะจัดสงบรรณาธิการ และทีมงานไปเยี่ยมชมงานเทศกาลหนังสือในตางประเทศ (Book Fairs) เพื่อดูแนวโนมของ สิ่งพิมพโลก และสรรหารายชื่อสิ่งพิมพที่นาสนใจ นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังมีการสํารวจตลาดเพื่อสอบถามหรือหาขอมูลของ ประเภทหรือรายชื่อสิ่งพิมพที่เปนที่ตองการของกลุมผูอานเปาหมายโดยตรง ในบางกรณีนักเขียนหรือสํานักพิมพผูเปนเจาของ ลิขสิทธิ์อาจทําการติดตอขอจําหนายลิขสิทธิ์ในการผลิตและจัดจําหนายแกกลุมบริษัทฯ โดยตรง เนื่องจากชื่อเสียงของกลุม บริ ษั ท ฯ ที่ เ ป น ที่ ย อมรั บ ในอุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง หนั ง สื อ พ็ อ คเก็ ต บุ ค ส ใ นแนวธุ ร กิ จ และการจั ด การ และ Self Improvement ของกลุมบริษัทฯ หลังจากนั้น คณะทํางานเพื่อคัดเลือกหนังสือของกลุมบริษัทฯ ซึ่งประกอบดวยผูบริหาร บรรณาธิการ และ ฝายการตลาด จะทํา การคัดเลือกสิ่งพิมพที่เหมาะสมในการผลิตและจัดจําหนายซึ่งมีคุณสมบัติเบื้องตนดังนี้ 1.1) มีรูปแบบและเนื้อหาที่คาดวานาจะตรงกับความตองการและไดรับความสนใจอยางตอเนื่องจากกลุมผูอานเปาหมาย ซึ่งเปน กลุมที่มีขนาดที่เหมาะสมในการจัดพิมพสิ่งพิมพนั้นๆ 1.2) ไมมีเนื้อหาที่แสดงความรุนแรงและยั่วยุทางเพศ 1.3) มีตนทุนในการซื้อลิขสิทธิ์ที่เหมาะสม และสามารถขายไดในราคาที่กลุมบริษัทฯ สามารถทํากําไรจากการผลิตและจัด จําหนายสิ่งพิมพนั้นได (2) ติดตอ เจรจา และทําสัญญาซือ้ ลิขสิทธิ์ หลังจากที่ไดรายชื่อสิ่งพิมพที่เหมาะสมแลว ทางกลุมบริษัทฯ จะดําเนินการติดตอเจรจาราคา และเงื่อนไขในการซื้อลิขสิทธิ์กับ นักเขียน หรือสํานักพิมพผูเปนเจาของลิขสิทธิ์ สําหรับหนังสือพ็อคเก็ตบุคสในหมวดทั่วไปบางเลม กลุมบริษัทฯ อาจดําเนินการ ติดตอนักเขียนที่คาดวาจะเปนที่นิยมในกลุมผูอานมาเพื่อเขียนหนังสือใหแกกลุมบริษัทฯ จากนั้นจึงทําสัญญากับนักเขียน หรือ สํานักพิมพผูเปนเจาของลิขสิทธิ์ (3) การจัดเตรียมตนฉบับภาษาไทย 3.1) การแปล ในกรณีที่เปนสิ่งพิมพภาษาตางประเทศ กลุมบริษัทฯ จะติดตอผูแปลที่มีความเหมาะสมกับประเภทหนังสือเพื่อ ดําเนิ นการแปลเป นภาษาไทย และ ติดตอ ผูที่ มีความเหมาะสมกั บประเภทหนั งสื อดั งกล าวเพื่ อทํ าหนา ที่ บรรณาธิ การเล ม ตรวจสอบความถู ก ต อ งของสํ า นวนแปล ซึ่ ง ภายหลั ง จากที่ ผู แ ปลทํ า การลงนามในสั ญ ญาและได รั บ ต น ฉบั บ สิ่ ง พิ ม พ ภาษาตางประเทศจากกลุมบริษัทฯ เรียบรอยแลว ก็จะดําเนินการแปล โดยระยะเวลาในการแปลนั้นขึ้นอยูกับประเภทสิ่งพิมพ ซึ่ง สวนใหญมีระยะเวลาไมเกิน 1-2 เดือน จากนั้นผูแปลจะดําเนินการสงผลงานแปลฉบับสมบูรณใหแกกลุมบริษัทฯ เพื่อสงตอเลม ใหแกบรรณาธิการดําเนินการตรวจสอบและแกไข ภายหลังจากบรรณาธิการตรวจตนฉบับที่แปลเปนภาษาไทยสมบูรณแลว ก็จะ ดํ า เนิ น การส ง ให แ ก ก ลุ ม บริ ษั ท ฯ ในกรณี สิ่ ง พิ ม พ เ ป น หนั ง สื อ การ ตู น กลุ ม บริ ษั ท ฯ จะมี ก ารนํ า ต น ฉบั บ หนั ง สื อ การ ตู น ภาษาตางประเทศมาทําการสแกนเพื่อนําคําแปลลงประกอบภาพการตูน สวนที่ 2 หนาที่ 20


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 3.2) การจัดรูปเลม ภายหลังจากที่กลุมบริษัทฯ ไดรับตนฉบับสิ่งพิมพภาษาไทยฉบับสมบูรณ ก็จะนํามาดําเนินการจัดเรียงภาพ เนื้อหา และจัดรูปเลมใหเหมาะสม ในบางกรณีที่เปนสิ่งพิมพจากตางประเทศ อาจถูกจํากัดใหจัดเรียงและจัดทํารูปแบบใหเหมือน ตนฉบับภาษาตางประเทศ นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ จะทําการออกแบบปกหนังสือ และจัดทําปกในกรณีที่เจาของลิขสิทธิ์มิได บังคับใหใชปกหนังสือของตนฉบับ หรือในกรณีที่กลุมบริษัทฯ พิจารณาแลวเห็นวาปกเดิมไมเหมาะสม (4) การจัดเตรียมการพิมพ 4.1) การเตรียมกระดาษ กลุมบริษัทฯ จะดําเนินการติดตอผูคากระดาษเพื่อดําเนินการสั่งจองกระดาษที่ใชในการจัดพิมพ ใน ระหวางการจัดเตรียมตนฉบับ โดยปจจุบัน กลุมบริษัทฯ ซื้อกระดาษเพื่อใชผลิตสิ่งพิมพจากบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ และผูจัด จําหนายกระดาษภายในประเทศในราคาตลาด 4.2) การจัดหาโรงพิมพ ในระหวางการจัดเตรียมตนฉบับ กลุมบริษัทฯ จะดําเนินการติดตอโรงพิมพเพื่อกําหนดรูปแบบการพิมพ คาจางพิมพ และวันกําหนดสงของ โดยมีการเปรียบเทียบและเจรจาตอรองเพื่อใหคาจางพิมพต่ําที่สุดภายใตรูปแบบสิ่งพิมพที่ กลุมบริษัทฯ ตองการ ปจจุบัน กลุมบริษัทฯ ใชบริการโรงพิมพจํานวน 4 แหง ไดแก บริษัท เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด บริษัท ดับบลิวพีเอส จํากัด บจก.เอช-เอ็น กรุป และ บจก.พริ้นตโพร 4.3) การพิมพทดสอบ จากนั้นกลุมบริษัทฯ จะดําเนินการสงพิมพทดสอบ (proof printing) และตรวจดูความเรียบรอยอีกครั้งหนึ่ง ในบางกรณี กลุมบริษัทฯ ตองจัดสงตนแบบของสิ่งพิมพใหแกเจาของลิขสิทธิ์เพื่อขออนุมัติกอนดําเนินการจัดพิมพหรือจัด จําหนาย (5) การพิมพและจัดสง กลุมบริษัทฯ จะจัดสงไฟลอิเล็กทรอนิกสตนฉบับสิ่งพิมพใหแกโรงพิมพเพื่อดําเนินการพิมพ เมื่อโรงพิมพดําเนินการพิมพเรียบรอย แลว โรงพิมพจะจัดสงมาเพื่อจัดเก็บที่คลังสินคาของกลุมบริษัทฯ 3.1.3.2 สรุปสาระสําคัญของสัญญาลิขสิทธสิ่งพิมพประเภทหนังสือ ในการผลิตและจัดจําหนายสิ่งพิมพประเภทหนังสือ กลุมบริษัทฯ จะซื้อลิขสิทธิ์สิ่งพิมพมาจากเจาของลิขสิทธิ์ซึ่งเปนนักเขียนหรือ สํานักพิมพทั้งในและตางประเทศจํานวนหลายราย เพื่อนํามาผลิตและจัดจําหนายเพียงรายเดียว (exclusive) ในประเทศไทย ซึ่งสวน ใหญมีระยะเวลา 3 – 5 ป และมีสิทธิตออายุสัญญาไดในราคาและเงื่อนไขเดิม สวนใหญมีการกําหนดจํานวนขั้นต่ําในการผลิตสิ่งพิมพ ครั้งแรก ทั้งนี้ เจาของลิขสิทธิ์สามารถยกเลิกสัญญาได หากกลุมบริษัทฯ ทําผิดสัญญา และ/หรือมีปญหาดานการเงิน และ/หรืออยูใน สถานะลมละลาย เปนตน โดยมีคาลิขสิทธิ์ที่สามารถแบงออกเปน 2 ประเภทหลัก ดังนี้ 1) คาลิขสิทธิ์ขั้นตนซึ่งเปนจํานวนคงที่ (minimum guarantee) กําหนดจากยอดพิมพเริ่มตนขั้นต่ํา หรือประมาณการยอดขาย ชําระ ณ วันที่ลงนามในสัญญา หรือ ภายในระยะเวลาที่กําหนดไว 2) คาลิขสิทธิ์แปรผันที่คํานวณจากยอดจําหนายสิ่งพิมพหรือยอดพิมพ ซึ่งสวนใหญมีการจายทุกครึ่งป หรือ หนึ่งป ทั้งนี้ ประเภทของคาลิขสิทธิ์ รวมทั้งจํานวน และกําหนดเวลาการชําระคาลิขสิทธิ์ของแตละสัญญานั้น ขึ้นอยูกับการตอรอง ระหวางกลุมบริษัทฯ และเจาของลิขสิทธิ์

สวนที่ 2 หนาที่ 21


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 3.1.4 ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขันในธุรกิจสํานักพิมพ 3.1.4.1 ภาพรวมอุตสาหกรรมธุรกิจสํานักพิมพ หนังสือเปนชองทางในการใหสาระ ความรู และความบันเทิงแกผูอานที่เกิดขึ้นมานานที่สุดชองทางหนึ่ง และยังคงมีบทบาทอยาง ตอเนื่องโดยมีการพัฒนารูปแบบและเนื้อหาไปตามกาลเวลา ธุรกิจสํานักพิมพจัดเปนธุรกิจที่สรางภูมิปญญาใหกับสังคมและประเทศชาติ โดยมีสวนสนับสนุนระบบการศึกษาและการเรียนรูของประชาชนในประเทศ ซึ่งการอานหนังสือถือไดวามีความสําคัญเปนลําดับตนของ การพัฒนาศักยภาพมนุษย โดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน สําหรับประเทศไทยนั้น แมวาคนไทยใชเวลาวางในการอานหนังสือเพียงประมาณปละ 5 เลม (ที่มา: เอกสารวิเคราะหธุรกิจ สํานักพิมพ และหนังสือเลมในประเทศไทยป 2552 และแนวโนมป 2553, สมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนายหนังสือแหงประเทศไทย) แต ธุรกิจสํานักพิมพมีการขยายตัวอยางตอเนื่องทั้งในดานปริมาณสิ่งพิมพ มูลคายอดจําหนาย และจํานวนรานจําหนายหนังสือที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวาธุรกิจสํานักพิมพยังคงมีแนวโนมของการเติบโตอยางตอเนื่อง ก)

ยอดจําหนายหนังสือ

จากแผนภูมิดานลาง ยอดการจําหนายหนังสือของประเทศไทยมีความสัมพันธและเติบโตตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศ โดย ยอดการจําหนายหนังสือมีสัดสวนอยูที่ประมาณรอยละ 0.20 ของผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศไทย (GDP) ซึ่งยอดการจําหนายหนังสือ ในประเทศไทยนั้นมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสม (CAGR) ระหวางป 2547 - 2552 ที่รอยละ 7.49

20,000 15,000

2,000 0

ยอดจําหนายหนังสือ (ลานบาท)

7,850

7,093

6,000 4,000

18,800

15,000 9,075

13,100

8,530

8,000

17,600 18,300 18,600

9,048

10,000

6,489

GDP ของประเทศไทย (พันลานบาท)

ยอดการจําหนายหนังสือเทียบกับผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศไทย

10,000 5,000 0

2547

2548 2549 2550 2551 2552* GDP ของประเทศไทย ยอดจําหนายหนังสือ

ที่มา : เอกสารวิเคราะหธุรกิจสํานักพิมพ และหนังสือเลมในประเทศไทยป 2552 และแนวโนมป 2553, สมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนายหนังสือ แหงประเทศไทย / ธนาคารแหงประเทศไทย หมายเหตุ : *ตัวเลขเบื้องตน

ข)

จํานวนการใชเงินซื้อหนังสือตอคนตอป

ในสวนของจํานวนการใชเงินซื้อหนังสือตอคนตอปมีแนวโนมสูงขึ้นตามรายไดตอหัวของประชากรในประเทศไทย โดยมีอัตรา เติบโตเฉลี่ยสะสม (CAGR) ระหวางป 2547 -2552 รอยละ 7.09 อยางไรก็ตาม การใชจายในการซื้อหนังสือของประชาชนไทยยังอยูใน ระดับที่ต่ํามากเมื่อเทียบกับตางประเทศ

สวนที่ 2 หนาที่ 22


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

2547

2548 รายไดตอหัว

297 129,165

จํานวนการใชเงินซื้อหนังสือตอคนตอป (บาท)

293 131,140

290 124,447

260 114,884

240

211

103,671

140,000 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0

96,054

รายไดตอหัว (บาทตอคนตอป)

จํานวนการใชเงินซื้อหนังสือตอคนตอปเทียบกับรายไดตอหัวของประชากรในประเทศไทย 350 300 250 200 150 100 50 0

2549 2550 2551 2552* จํานวนการใชเงินซื้อหนังสือตอคนตอป

ที่มา : เอกสารวิเคราะหธุรกิจสํานักพิมพ และหนังสือเลมในประเทศไทยป 2552 และแนวโนมป 2553, สมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนายหนังสือ แหงประเทศไทย / ธนาคารแหงประเทศไทย หมายเหตุ : *ตัวเลขเบื้องตน

ปจจัยที่สง เสริมการเติบโตของธุรกิจสํานักพิมพ 1)

การเติบโตของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจของไทยในป 2553 มีแนวโนมฟนตัวตามเศรษฐกิจโลก อยางไรก็ตามการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยยังมีความเสี่ยงจาก ความเปราะบางในการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกที่อาจชะลอตัวลงไดอีก โดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติไดคาดการณอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยในป 2553 ไวที่รอยละ 7.0 – 7.5 ซึ่งการเติบโตของเศรษฐกิจสงผลให ธุรกิจหนังสือขยายตัวจากการที่ผูอานหนังสือมีความสามารถในการใชจายเงินสําหรับการซื้อหนังสือเพิ่มมากขึ้น

2)

นโยบายสงเสริมการอานของภาครัฐและเอกชน ดังที่ไดกลาวมาแลววา การอานและการใชหนังสือเปนการสรางภูมิปญญาใหกับประชาชนในประเทศ และเปนเครื่องมือในการ พัฒนาเด็กและเยาวชนซึ่งเปนทรัพยากรมนุษยที่สําคัญของประเทศ ดังนั้นหนวยงานภาครัฐและเอกชนจึงรวมมือกันที่จะผลักดัน ใหการอานหนังสือเปนระเบียบวาระแหงชาติ เพื่อรวมกันกําหนดเปาหมายและทิศทางการพัฒนาการอานหนังสืออยางเปนระบบ และตอเนื่อง รวมทั้งเพื่อใหรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการอานหนังสือที่ชัดเจนและสรางวัฒนธรรมการอานใหเกิดขึ้นในสังคมไทย โดยมีการกําหนดเปนยุทธศาสตรการขับเคลื่อนหนังสือถึงมือเด็กและเยาวชน การจัดทํากิจกรรมที่เกี่ยวของกับการสงเสริมการ อานหนังสือ และการผลักดันนโยบายของภาครัฐใหการอานหนังสือเปนนโยบายในการบริหารประเทศ ดังตัวอยางเชน ประเทศ เกาหลี ที่มีกฎหมายเรื่องการรักการอาน เปนตน นโยบายสงเสริมการอานขางตนมีสวนชวยผลักดันใหจํานวนผูอานหนังสือและ ยอดจําหนายหนังสือในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น

3)

การเพิ่มขึ้นของจํานวนรานหนังสือและแผงหนังสือ รานหนังสือและแผงหนังสือเปนชองทางการจําหนายหนังสือและสิ่งพิมพที่อยูใกลชิดกับผูอานมากที่สุด ซึ่งจํานวนรานหนังสือใน ประเทศไทยมีการปรับตัวเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่องดังที่แสดงในแผนภูมิดานลาง อยางไรก็ตาม รานหนังสือและแผงหนังสือยังคง มีปริมาณไมมากเมื่อเทียบกับจํานวนประชากรทั้งประเทศ ซึ่งหากมีการกระจายรานหนังสือใหครอบคลุมพื้นที่มากขึ้นโดยเฉพาะ อยางยิ่งในตางจังหวัด อาจสงผลใหจํานวนผูอานหนังสือ รวมถึงยอดจําหนายหนังสือปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น

สวนที่ 2 หนาที่ 23


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

จํานวนร านหนังสือ (แหง)

จํานวนรานหนังสือ 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 -

2,483

2,943

1,913 759

848

955

2547

2548

2549

2550

2551

2552

ที่มา : เอกสารวิเคราะหธุรกิจสํานักพิมพ และหนังสือเลมในประเทศไทยป 2552 และแนวโนมป 2553, สมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนายหนังสือ แหงประเทศไทย

4)

การเพิ่มขึ้นของจํานวนหนังสือทีอ่ อกใหม จํานวนหนังสือออกใหมในประเทศไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นดังที่แสดงในแผนภูมิดานลาง โดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสม (CAGR) ระหวางป 2547 -2552 รอยละ 4.15 ทําใหผูอานมีทางเลือกในการซื้อหนังสือที่หลากหลาย และเหมาะสมกับกลุมอายุตางๆ มาก ขึ้น นอกจากนี้ การออกหนังสือใหมยังเปนการกระตุนใหผูอานซื้อหนังสือเพิ่มมากขึ้นดวย ปจจัยดังกลาวสงผลใหจํานวนผูอาน และยอดจําหนายหนังสือปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น จํานวนหนังสือทีอ่ อกใหมและจํานวนหนังสือทีอ่ อกใหมตอวันในประเทศไทย

37.3 13,607

36.6

0

40 30 20 10 0

2547

2548 2549 จํานวนหนังสือออกใหม

จํานวนหนังสือที่ออกใหม /วัน (เรื่ อง/วัน)

5,000

11,651

10,000

36.8

13,352

31.9

50

13,431

30.4

14,608

15,000

40.0

11,103

จํานวนหนังสือที่ออกใหม (เรื่ อง)

20,000

2550 2551 2552 จํานวนหนังสือออกใหม ตอวัน

ที่มา : เอกสารวิเคราะหธุรกิจสํานักพิมพ และหนังสือเลมในประเทศไทยป 2552 และแนวโนมป 2553, สมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนายหนังสือ แหงประเทศไทย

3.1.4.2 สภาพการแขงขัน ธุรกิจสํานักพิมพซึ่งผลิตและจัดจําหนายหนังสือ เปนธุรกิจที่ยังคงมีการเจริญเติบโตไดอยางตอเนื่อง จึงสงผลใหมีผูสนใจเขามาใน ธุรกิจสํานักพิมพโดยตลอด อีกทั้งธุรกิจสํานักพิมพเปนประเภทธุรกิจที่มีผูประกอบการเปนจํานวนมาก มีขนาดของผูประกอบการที่ แตกตางกันอยางหลากหลาย ประกอบกับประเภทและลักษณะของผลิตภัณฑหรือหนังสือ ก็มีความแตกตางกันอยางหลากหลายเชนกัน ดังนั้น การประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจสํานักพิมพประกอบดวยกับปจจัยหลัก สรุปไดดังนี้

สวนที่ 2 หนาที่ 24


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ก) เนื้อหา เนื้อหาสาระของหนังสือเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจซื้อของผูอาน ดังนั้น สํานักพิมพที่ประสบความสําเร็จตองมีการ คัดเลือกเนื้อหาที่ตรงตอความตองการของผูอานและสามารถสรางความแตกตางไดภายใตทางเลือกหลากหลายที่มีอยูในตลาด ข) การบริหารชองทางการจัดจําหนายและสินคาคงคลัง สํานักพิมพควรบริหารชองทางการจําหนายสินคาที่สอดคลองกับ พฤติกรรมผูบริโภค เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคไดอยางเหมาะสมและ ทันเวลา รวมทั้งควรบริหารระดับของยอดคืนหนังสือและสินคาคงคลังใหเหมาะสมเพื่อลดเงินทุนหมุนเวียน ค) พันธมิตรธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงและการแขงขันที่เพิ่มขึ้นทําใหสํานักพิมพจําเปนตองปรับตัวใหสอดคลองกับสถานการณอยาง ทันทวงที โดยนอกเหนือจากการพึ่งพิงความสามารถในการแขงขันของตนเองแลว สํานักพิมพอาจจําเปนตองหาพันธมิตรธุรกิจ ดานตางๆ เชน สํานักพิมพเจาของลิขสิทธชั้นนําในตางประเทศ และตัวแทนจําหนายหนังสือขนาดใหญ เปนตน จาก แผนภูมิดานลาง ในป 2552 ประเทศไทยมีสํานักพิมพจํานวนทั้งสิ้น 517 ราย ซึ่งมีจํานวนเพิ่มขึ้นจากป 2551 แตสํานักพิมพ ที่มีขนาดใหญ (รายไดมากกวา 100 ลานบาท) มีจํานวนคงที่ โดยสํานักพิมพขนาดใหญเปนผูครองสวนแบงตลาดรอยละ 62.7 ของยอด จําหนายหนังสือของป 2552 ซึ่งเปนสัดสวนที่ใกลเคียงกับในป 2551 จํานวนสํานักพิมพจําแนกตามขนาด 600 จํานวนราย

500 25 54

400

30 65

36 61

36 50

28 48

28 48

380

395

405

436

441

300 200

354

100 0 2547

2548

2549

ขนาดเล็ก (รายได < 30 ลบ.)

2550

ขนาดกลาง

2551

2552

ขนาดใหญ (รายได > 100 ลบ.)

ยอดจําหนาย (พันลานบาท)

ยอดจําหนายหนังสือจําแนกตามขนาดสํานักพิมพ 20 15 10 5 -

7.5 3.5 2.1

8.7 4.2 2.1

2547 2548 ขนาดเล็ก (รายได < 30 ลบ.)

10.6

11.3

11.7

11.8

4.2

4.4

4.7

4.9

2.8

2.6

2.2

2.1

2549 2550 2551 2552 ขนาดกลาง ขนาดใหญ (รายได > 100 ลบ.)

ที่มา : เอกสารวิเคราะหธุรกิจสํานักพิมพ และหนังสือเลมในประเทศไทยป 2552 และแนวโนมป 2553, สมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนายหนังสือ แหงประเทศไทย

ในการผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพการตูนสําหรับเยาวชน กลุมบริษัทฯ เปนหนึ่งใน 5 สํานักพิมพที่มียอดจําหนายสูงที่สุดใน ประเทศไทย โดยสํานักพิมพคูแขง 4 บริษัท ไดแก สํานักพิมพวิบูลยกิจ สํานักพิมพสยามอินเตอรคอมิกส สํานักพิมพบูรพัฒน และ สํานักพิมพบงกช พับลิชชิ่ง ซึ่งสํานักพิมพดังกลาวผลิตและจัดจําหนายหนังสือการตูนจากประเทศญี่ปุนเปนสวนใหญ และไมมีราน สวนที่ 2 หนาที่ 25


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) หนังสือเปนของตนเองยกเวนสํานักพิมพสยามอินเตอรคอมิกส ในป 2552 กลุมบริษัทฯ มีสวนแบงการตลาดตามรายไดในกลุมหนังสือ การตูนรอยละ 24 ซึ่งจัดอยูอันดับ สอง รองจากสํานักพิมพสยามอินเตอร คอมิกส และในสวนนิตยสารการตูน กลุมบริษัทฯ มีสวนแบง การตลาดตามรายไดรอยละ 40 ซึ่งจัดอยูอันดับ 1 (ที่มา: ฝายการตลาด บริษัทฯ ธันวาคม 2552) ในการผลิตและจัดจําหนายหนังสือพ็อคเก็ตบุคส บริษัทฯ มีสํานักพิมพที่เปนคูแขงขันในตลาดแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ ก) สํานักพิมพที่ไมมีรานหนังสือเปนของตนเอง เชน สํานักพิมพ เอ.อาร.อินฟอรเมชัน แอนด พับลิเคชัน และสํานักพิมพ เอ็กซเปอร เน็ทบุคส เปนตน ข) สํานักพิมพที่มีรานหนังสือของตนเอง เชน บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น สํานักพิมพในเครือ บมจ. อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง และ บมจ. มติชน สํานักพิมพ นานมีบุคส เปนตน

สวนที่ 2 หนาที่ 26


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 3.2

ธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศและบริการที่เกี่ยวของ

3.2.1 ลักษณะของผลิตภัณฑและบริการ กลุมบริษัทฯ ประกอบธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศชั้นนําและบริการที่เกี่ยวของผานตัวบริษัทฯ เอง ณ วันที่ 30 มิ ถุ น ายน 2553 สิ่ ง พิ ม พ ที่ บ ริ ษั ท ฯ จั ด จํ า หน า ยมี ทั้ ง หมด 15 ฉบั บ ประกอบด ว ยหนั ง สื อ พิ ม พ ภ าษาต า งประเทศและนิ ต ยสาร ภาษาตางประเทศ ดังรายชื่อที่แสดงในตารางดานลาง ซึ่งธุรกิจดังกลาวรวมถึงการเปนตัวแทนขายโฆษณา การรับจางพิมพ และการ จัดสง ใหแกหนังสือพิมพและนิตยสารบางหัว ดังรายละเอียดที่แสดงในตารางดานลางเชนกัน โดยการใหบริการดังกลาวของบริษัทฯ เปน แบบ One Stop Service เพื่อความสะดวกของเจาของสิ่งพิมพในการติดตอประสานงาน และแกไขปญหาตางๆที่เกิดขึ้น อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไมไดรับลิขสิทธิ์ในสิ่งพิมพเหลานี้ ลําดับ ที่ 1 2

ชื่อหัวสิ่งพิมพ

ประเภทสิ่งพิมพ

The Yomiuri Shimbun The Wall Street Journal Asia.

หนังสือพิมพทั่วไปภาษาญี่ปุน หนังสือพิมพธุรกิจภาษาอังกฤษ

3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Far Eastern Economic Review Forbes Asia Time Fortune Newsweek Harvard Business Review Business Traveler Reader’s Digest (English) Reader’s Digest (Chinese) DestinAsia Fine Restaurant and Villas Luxx Jewellery GlobeAsia

นิตยสารดานเศรษฐกิจภาษาอังกฤษ นิตยสารดานธุรกิจภาษาอังกฤษ นิตยสารขาวทั่วไปภาษาอังกฤษ นิตยสารดานธุรกิจภาษาอังกฤษ นิตยสารขาวทั่วไปภาษาอังกฤษ นิตยสารดานธุรกิจภาษาอังกฤษ นิตยสารดานธุรกิจและการเดินทางภาษาอังกฤษ นิตยสารทั่วไปภาษาอังกฤษ นิตยสารทั่วไปภาษาจีน นิตยสารดานการทองเที่ยวภาษาอังกฤษ นิตยสารดานอาหารและที่พักภาษาอังกฤษ นิตยสารดานเครื่องประดับภาษาอังกฤษ นิตยสารดานการทองเที่ยวภาษาอังกฤษ

ที่มา: บริษัทฯ หมายเหตุ: * บริการที่เกี่ยวของของบริษัทฯ 1. ตัวแทนจําหนายวางราน 2. ตัวแทนขายสมาชิก

3. ตัวแทนขายโฆษณา

ความถี่ในการ ออกจําหนาย รายวัน รายวัน (จันทร – ศุกร) รายเดือน รายปกษ รายสัปดาห รายปกษ รายสัปดาห รายเดือน รายเดือน รายเดือน รายเดือน ราย 2 เดือน ราย 2 เดือน ราย 3 เดือน รายเดือน

4. รับจางพิมพ

บริการที่เกี่ยวของ ของบริษัทฯ * 1,2,3,4,5 1,2,4,5 2 2 2 2 2 2 1,2,5 2 2 1,5 1,5 1,5 1,5

5. รับจางจัดสง

3.2.2 ลูกคากลุมเปาหมาย ในกรณีหนังสือพิมพ The Yomiuri Shimbun ซึ่งเปนหนังสือพิมพภาษาญี่ปุนนั้น กลุมลูกคาเปาหมายคือ ชาวญี่ปุนและครอบครัว ที่มาพํานักและทํางานในประเทศไทยทั้งชั่วคราวและเปนระยะเวลานาน แตมีการสมัครสมาชิกเปนรายเดือนเทานั้น ปจจุบัน บริษัทฯ ได พยายามขยายตลาด โดยเพิ่มทางเลือกในการเปนสมาชิกระยะยาว เชน 1 ป และ 6 เดือนเปนตน ในสวนหนังสือพิมพ The Wall Street Journal Asia. และ นิตยสารดานธุรกิจและขาวภาษาอังกฤษ เชน Time , Newsweek และ Fortune มีกลุมลูกคาเปาหมายหลักเปนนัก ธุรกิจ นักวิชาการ ทั้งชาวไทยและตางประเทศที่อยูในประเทศไทย แตปจจุบัน บริษัทฯ กําลังขยายกลุมเปาหมายไปยังกลุมนักศึกษา ซึ่ง ปจ จุ บั น มี ค วามสนใจในหนั ง สื อ พิ ม พ และนิ ตยสารภาษาต า งประเทศเพิ่ ม มากขึ้ น ในสว นของนิ ต ยสารอื่ น ๆ มี ก ลุ ม ลู ก ค า เป น ชาว ตางประเทศและบุคคลทั่วไป

สวนที่ 2 หนาที่ 27


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 3.2.3 การจําหนายและชองทางการจําหนาย การจัดจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศของบริษัทฯ จะมีชองทางการจําหนายที่แตกตางกันไปตามที่สํานักพิมพเจาของลิขสิทธิ์ให สิทธิ์ไวในสัญญาการเปนตัวแทนจําหนายของแตละสิ่งพิมพ โดยสามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้ ก) รานหนังสือ และแผงหนังสือ (Newsstand): บริษัทฯ เปนตัวแทนจําหนายใหแกรานหนังสือ และแผงหนังสือเพียงรายเดียวใน ประเทศไทย (Exclusive) ซึ่งนําไปจําหนายตอใหกับผูอานโดยตรง ซึ่งบริษัทฯ มีจุดกระจายสิ่งพิมพตางประเทศผานชองทางนี้ รวมกันทั้งสิ้นมากกวา 400 แหง ข) สมาชิก: บริษัทฯ เปนตัวแทนในการบอกรับสมาชิกสิ่งพิมพตางประเทศ ซึ่งระยะเวลาการเปนสมาชิกนั้นมีความหลากหลาย ขึ้นกับประเภทหนังสือพิมพ หรือนิตยสาร เชน ราย 2 เดือน รายป ราย 2 ป เปนตน สิ่งพิมพดังกลาวจะถูกจัดสงถึงสถานที่ที่ผูเปน สมาชิกระบุไว โดยผูจัดสงที่บริษัทฯ หรือผูผลิตสิ่งพิมพเปนผูจาง ค) Bulk: ในชองทางนี้ บริษัทฯ เปนตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศจํานวนหลายเลมใหแกผูรับเพียงรายเดียว เชน โรงแรม สายการบิน และองคกรตางๆ เปนตน โดยสํานักพิมพเจาของลิขสิทธิ์สิ่งพิมพตางประเทศนั้นๆ จะมีการกําหนดลักษณะการ จําหนายและจํานวนเลมที่จําหนายในแบบ Bulk ที่แตกตางกันไป ตารางแสดงรายละเอียดชองทางการจัดจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศหัวตางๆ ของบริษัทฯ ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ชื่อหัวสิ่งพิมพ The Yomiuri Shimbun The Wall Street Journal Asia. Far Eastern Economic Review Forbes Asia Time Fortune Newsweek Harvard Business Review Business Traveler Reader’s Digest (English) Reader’s Digest (Chinese) DestinAsian Fine Restaurant and Villas Luxx Jewellery GlobeAsia

ชองทางการจัดจําหนายสิ่งพิมพ แผงหนังสือและราน สมาชิก หนังสือ X X X X X X X X X X X X X X X X X X

Bulk X

X X

ที่มา: บริษัทฯ

3.2.4 กลยุทธการแขงขัน เนื่องจาก ถาบริษัทฯ สามารถทํายอดจําหนายไดเพิ่มขึ้น บริษัทฯ จะไดรับคาคอมมิชชั่นหรือสวนลดในสัดสวนที่เพิ่มขึ้นเชนกัน บริษัทฯ จึงมีนโยบายมุงเนนการเพิ่มยอดจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศที่บริษัทฯ เปนตัวแทนจําหนายอยูแลวในปจจุบันจากการขยายชอง ทางการจัดจําหนายไปยังชองทางใหมๆ เชน การจําหนายแบบอิเลคโทรนิคสผานเว็บไซตซึ่งเปนการจัดจําหนายที่มีตนทุนต่ําและเขาถึง กลุมเปาหมายไดรวดเร็ว และการจําหนายผานศูนยบริการการขายสมาชิก (Subscription Center) ซึ่งบริษัทฯ มีแผนที่จะจัดตั้งขึ้นโดย รวบรวมสิ่งพิมพของบริษัทฯ เองและพันธมิตรทั้งภายในประเทศและตางประเทศเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูอาน เปนตน สวนที่ 2 หนาที่ 28


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) อยางไรก็ตาม บริษัทฯ มีเปาหมายในการเพิ่มการเปนตัวแทนจัดจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศหัวใหมจํานวน 1 – 2 หัว ตอป เพื่อ เพิ่มความหลากหลายของสิ่งพิมพและตอบสนองความตองการของผูอานทุกกลุม โดยมุงเนนสิ่งพิมพดานธุรกิจและสิ่งพิมพที่เปน ภาษาตางประเทศอื่นนอกจากภาษาอังกฤษ ซึ่งในชวง 1-2 ปที่ผานมา บริษัทฯ ไดเปนตัวแทนจําหนายนิตยสารตางประเทศเพิ่มจํานวน 5 หัว ซึ่งในการสรรหาหัวสิ่งพิมพใหมนั้น บริษัทฯ จะพิจารณาความตองการของผูบริโภคในประเทศไทยจากปริมาณการขายตามแผง หนังสือและรานหนังสือ เมื่อบริษัทฯ เห็นแนวโนมความเปนไปไดในการทํากําไรจากการเปนตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพดังกลาวแลว บริษัทฯ จะทําการติดตอสํานักพิมพเจาของสิ่งพิมพเพื่อขอเปนตัวแทนจําหนายตอไป นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีกลยุทธเฉพาะในแตละชองทางการ จัดจําหนายดังนี้ ก)

รานหนังสือ และแผงหนังสือ (Newsstand)

บริษัทฯ มุงเนนการติดตอ และสรางความสัมพันธที่ดีกับรานหนังสือขนาดใหญเปนหลัก เนื่องจากมีสาขามาก และสามารถเขาถึงกลุม ลูกคาไดมากกวารานหนังสือ หรือแผงหนังสือที่มีขนาดเล็ก ข)

สมาชิก

บริษัทฯ มีการจัดกิจกรรมการตลาดโดยจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศอื่นๆ ใหแกสมาชิกในราคาที่ต่ํากวาราคาหนาปก หรือ ต่ํากวาราคาที่ จําหนาย ณ แผงหนังสือ รวมถึงมีการแจกของชํารวยในกรณีสมัครเปนสมาชิกสิ่งพิมพกับบริษัทฯ อีกดวย ทั้งนี้ บริษัทฯ มีการชักชวนให ผูอานสมัครสมาชิกกับบริษัทฯ โดยผานชองทางหลัก คือ การชักชวนทางโทรศัพท การออกรานในงานสัปดาหหนังสือ และการสงเอกสาร ไปยังบานของผูอานที่เปนกลุมเปาหมายโดยตรง เปนตน ค)

Bulk

บริษัทฯ มีทีมการขายที่ติดตอกับ สายการบิน โรงแรม สถาบันการศึกษา และ องคกรอื่นๆ โดยตรงเพื่อชักชวนใหองคกรเหลานั้นซื้อ สิ่งพิมพตางประเทศแบบ Bulk จากบริษัทฯ 3.2.5 การจัดหาสิ่งพิมพตางประเทศเพื่อจัดจําหนาย ปจจุบัน สํานักพิมพเจาของหนังสือพิมพ The Yomiuri Shimbun และ The Wall Street Journal Asia ไดวาจางบริษัทฯ ให ดําเนินการจัดพิมพหนังสือพิมพดังกลาว โดยทางบริษัทฯ ไดใชบริการโรงพิมพในเครือเนชั่น ไดแก บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด ในการจัดพิมพหนังสือพิมพดังกลาวหลังจากนั้น สํานักพิมพเจาของสิ่งพิมพไดวาจางบริษัทฯ กระจายหนังสือพิมพตามชองทางการ จําหนายตางๆ ในสวนของนิตยสารตางประเทศนั้น สํานักพิมพเจาของสิ่งพิมพจะผลิตในตางประเทศ และจัดสงใหแกลูกคาโดยวาจาง บริษัทฯ หรือผูจัดสงรายอื่น สรุปสาระสําคัญของสัญญาตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศ ในการเปนตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศ บริษัทฯ จะทําสัญญาเปนตัวแทนจําหนายกับเจาของสิ่งพิมพซึ่งเปนสํานักพิมพ ตางประเทศจํานวนหลายราย โดยสวนใหญมีระยะเวลา 1 ปสําหรับสัญญาตัวแทนจําหนายนิตยสาร และมีสิทธิตออายุสัญญาไดในราคา และเงื่อนไขเดิม สําหรับสัญญาตัวแทนจําหนายหนังสือพิมพจะหมดอายุเมื่อมีการยกเลิกสัญญา ทั้งนี้ เจาของสิ่งพิมพสามารถยกเลิก สัญญาได หากกลุมบริษัทฯ ทําผิดสัญญา และ/หรือมีปญหาดานการเงิน และ/หรืออยูในสถานะลมละลาย และ/หรือเมื่อมีการแจงอีกฝาย ลวงหนา เปนตน โดยบริษัทฯ จะไดรับคาตอบแทนเปนสัดสวนของปริมาณที่จําหนาย และคาคอมมิชชั่นจากการขายสมาชิก

สวนที่ 2 หนาที่ 29


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 3.2.6 ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขันในธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศ ยอดการจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศมีความสัมพันธกับการเติบโตของกลุมลูกคาของสิ่งพิมพตางประเทศ ซึ่งสามารถแบงไดเปน 3 กลุมหลัก ไดแก ก) กลุมนักทองเที่ยวชาวตางชาติ นักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาพักในโรงแรมตางๆ ทั่วประเทศไทย ถือเปนกลุมลูกคาหลักในการจําหนายหนังสือพิมพและ นิตยสารตางประเทศของบริษัทฯ จากขอมูลของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย พบวาป 2552 มีนักทองเที่ยวตางชาติที่เขามาใน ประเทศไทยจํานวน 14.09 ลานคน ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 6.33 ลานคนในป 2541 โดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสม (CAGR) ระหวางป 2541 -2552 ที่รอยละ 6.80 ข) กลุมชาวตางชาติที่อาศัยในประเทศไทย ชาวตางชาติที่อาศัยในประเทศไทยเปนเวลา 1 เดือนขึ้นไป ถือเปนกลุมลูกคาสําคัญที่สนใจอานนิตยสารและหนังสือพิมพ ตางประเทศ จากขอมูลสํานักตรวจคนเขาเมือง พบวาในป 2552 ชาวตางชาติที่อาศัยชั่วคราวในประเทศไทยซึ่งรวมถึงผูมีถิ่นที่อยู ในประเทศไทย ผูที่เขามาประกอบธุรกิจ นักการฑูต และขาราชการ เปนตน มีจํานวนรวมทั้งสิ้น 1,076,203 คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 573,480 คนในป 2545 โดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสม (CAGR) ระหวางป 2545 -2552 ที่รอยละ 9.41 ค) กลุมคนไทยที่สนใจสิ่งพิมพตางประเทศ คนไทยกลุมวัยทํางานและนักธุรกิจซึ่งเปนกลุมที่มีกําลังซื้อสูง และนักศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปที่ใหความสนใจขาวสาร ตางประเทศ ถือเปนกลุมลูกคาสําคัญที่สนใจอานนิตยสารและหนังสือพิมพตางประเทศ ซึ่งลูกคากลุมนี้มีแนวโนมเติบโตขึ้นเรื่อยๆ ในสวนสภาวะการแขงขันของธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศประเภทสมาชิกมีคูแขงนอยราย โดยมีคูแขงหลักจํานวน 3 ราย ไดแก บริษัท แมกกาซีน อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท โพสต พับลิชชิง จํากัด (มหาชน) และกลุมบริษัทนิวสเป เปอรไดเร็คท สวนตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพประเภทแผงหนังสือหรือรานคา มีคูแขงจํานวนหลายราย ซึ่งประกอบดวยคูแขงที่เปนราน หนังสือขนาดใหญที่มีจํานวนหลายสาขา เชน บริษัท เอเซียบุคส จํากัด เปนตน และคูแขงที่เปนเอเยนตหรือรานหนังสือขนาดเล็ก

สวนที่ 2 หนาที่ 30


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 4. การวิจัยและพัฒนา บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนาอยางสม่ําเสมอ เนื่องจากเปนเครื่องมือที่ใชในการพัฒนา ประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงาน และเปนฐานขอมูลที่สําคัญใหกับบริษัทฯ ใชในการปรับกลยุทธตางๆ เพื่อรองรับการแขงขันที่เพิ่มขึ้นในอนาคต โดยบริษัทฯ มี หนวยงานซึ่งรับผิดชอบในการศึกษาและวิเคราะหขอมูลทางธุรกิจโดยเฉพาะคือ ฝายพัฒนาธุรกิจ (Business Development) ซึ่งเปน หนวยงานที่รับผิดชอบในการวิเคราะหขอมูลความเปนไปไดในการขยายธุรกิจที่เกี่ยวของ, พิจารณาเทคโนโลยีใหมๆ รวมทั้งการวิจัย พฤติกรรมผูบริโภคและการทํา Focus Group เพื่อทดสอบความคิดเห็นของกลุมลูกคาเปาหมายกอนที่จะเริ่มลงทุนในโครงการตางๆ เปน ตน นอกจากหนวยงานดังกลาวแลวบริษัทฯ ยังมีฝายการตลาดที่ติดตามขอมูลทางการตลาดและคูแขงอยางใกลชิด โดยเฉพาะ ขอมูลการจําหนายหนังสือในเครือของบริษัทฯ เปรียบเทียบกับคูแขง โดยรายงานใหฝายบริหารที่เกี่ยวของทราบอยางตอเนื่อง เพื่อเปน ขอมูลในการปรับกลยุทธทางดานการตลาดใหเหมาะสมตรงกับความตองการของลูกคา พรอมกันนี้ บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการจัดหาเนื้อหา (Content) ที่นาสนใจและเหมาะสมกับตลาดเมืองไทย และ ไดสงพนักงานของบริษัทฯ ไปรวมงาน Book Fair ที่สําคัญตางๆทั่วโลก เพื่อเปนชองทางในการสรรหาเนื้อหาที่มีคุณภาพมาผลิตและจัด จําหนายในประเทศไทยอยางสม่ําเสมอ ทั้งนี้ บริษัทฯ ไมมีการใชเงินทุนอยางมีนัยสําคัญในการวิจัยและพัฒนา

สวนที่ 2 หนาที่ 31


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 5.

ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ ทรัพยสินหลักที่กลุมบริษัทฯ ใชในการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 30 มิถุนายน 2553 มีดังนี้

5.1

ทรัพยสินหมุนเวียน

5.1.1 ลูกหนี้การคา ในการจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพ กลุมบริษัทฯ มีการใหสินเชื่อโดยเฉลี่ยเปนระยะเวลา 90 วัน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มียอดลูกหนี้การคาหลังหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและคาเผื่อสินคารับคืนจํานวน 92.02 และ 79.12 ลาน บาท ตามลําดับ ซึ่งในปดังกลาวกลุมบริษัทฯ ไดพิจารณาตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจํานวน 4.15 และ 4.61 ลานบาท ตามลําดับ โดยมี นโยบายคือ ประเมินเปนสัดสวนรอยละ 1 ของยอดขายในแตละเดือน ประกอบกับการพิจารณาประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณ เกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของลูกคา นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ ยังมีการตั้งคาเผื่อสินคารับคืนในการขายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน และหนังสือพิมพและนิตยสารตางประเทศ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 30 มิถุนายน 2553 มีจํานวน 11.07 และ 9.63 ลาน บาท ตามลําดับ ซึ่งมีนโยบายคือ กลุมบริษัทฯ จะตั้งคาเผื่อสินคารับคืนโดยใชสัดสวนรอยละของจํานวนสินคารับคืนในอดีตยอนหลัง 12 เดือนตอจํานวนสินคาที่ขายทั้งหมด โดยลูกหนี้การคาสวนใหญของกลุมบริษัทฯ เปนลูกหนี้การคาประเภทตัวแทนขาย หรือรานหนังสือ ขนาดใหญที่มีความสัมพันธที่ดีมานาน และมีการคาขายอยางสม่ําเสมอ และกรณีที่เปนลูกคาใหม บริษัทฯ ตองใหตัวแทนจําหนาย ดังกลาววางประกันคาสินคาตามนโยบายบริษัทฯ 5.1.2 สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือของกลุมบริษัทฯ คือ สื่อสิ่งพิมพประเภทตางๆ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มี สินคาคงเหลือหลังหักคาเผื่อสินคาลาสมัย จํานวน 53.67 และ 56.73 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งทางกลุมบริษัทฯ ไดมีการพิจารณาคาเผื่อ สินคาลาสมัย จํานวน 72.73 และ 68.91 ลานบาท ตามลําดับ หรือคิดเปนรอยละ 57.54 และ 54.85 ของสินคาคงเหลือ ตามลําดับ โดยมี นโยบายคือ กลุมบริษัทฯ จะตั้งคาเผื่อสินคาลาสมัยในสัดสวนรอยละ 100 ของมูลคาสินคาคงเหลือที่มีอายุมากกวา 1 ปขึ้นไปและผลิต ครบชุดแลว และของสินคาคงเหลือที่มีอายุมากกวา 3 ปขึ้นไปแตยังผลิตไมครบชุด อยางไรก็ตามสินคาที่ตั้งคาเผื่อสินคาลาสมัยแลวยัง สามารถจําหนายไดตามปกติ 5.2

ทรัพยสินไมหมุนเวียน

5.2.1 อุปกรณ อุปกรณของกลุมบริษัทฯ ประกอบดวย สวนปรับปรุงสินทรัพยที่เชา ยานพาหนะ เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณสํานักงาน รวมถึงสินทรัพยระหวางการกอสรางและติดตั้ง โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ เปนเจาของอุปกรณ ที่มีมูลคาสุทธิจํานวน 3.16 และ 4.68 ลานบาท ตามลําดับ และมีคาเสื่อมราคาสะสมจํานวน 7.97 และ 8.42 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งคา เสื่อมราคาดังกลาวคํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพยแตละรายการเปนเวลา 5 ป นอกจากนี้ ทรัพยสินดังกลาวขางตนไมติดภาระผูกพันใดๆ 5.2.2 สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนที่ใชในการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ คือ คาลิขสิทธิ์ในการผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพประเภทตางๆ และโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ประเภททรัพยสิน คาลิขสิทธิ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร รวม

มูลคาบัญชีสุทธิ (ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552 30 มิ.ย. 2553 18.70 22.78 0.07 0.05 18.77 22.83 สวนที่ 2 หนาที่ 32


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) กลุมบริษัทฯ มีนโยบายการตัดจําหนายคาลิขสิทธิ์โดยพิจารณาจากจํานวนที่สูงกวาระหวางวิธีเสนตรงภายในระยะเวลา 3 ป ซึ่ง เปนคาเฉลี่ยอายุสัญญาลิขสิทธิ์ของกลุมบริษัทฯ และการคํานวณตามจํานวนเลมของสื่อสิ่งพิมพที่จําหนายไดภายใตสัญญาลิขสิทธิ์นั้น โดยเริ่มตัดจําหนายเมื่อผลิตสิ่งพิมพเรียบรอยแลว ในสวนของโปรแกรมคอมพิวเตอร กลุมบริษัทฯ ตัดจําหนายโดยวิธีเสนตรงเปน ระยะเวลา 5 ป นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังเปนเจาของหัวนิตยสารการตูน “Boom” “Jiro” และ “Disney & Me” ซึ่งไดมีการจดทะเบียนกับ สํานักหอสมุดแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรมเรียบรอยแลว 5.2.3 เงินลงทุนในบริษทั ยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 30 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ มีการลงทุนในบริษัทยอยคือ บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (“NED”) และกิจการที่ควบคุมรวมกันคือ บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (“NEE”) รวมจํานวน 2 บริษัท ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ หนวย: ลานบาท สัดสวนเงินลงทุน จํานวนคณะกรรมการตัวแทน / (รอยละ) คณะกรรมการทั้งหมด NED บริษัทฯ 99.99 7/7 NEE ก บริษัทฯ 49.99 3/6 รวม ก หมายเหตุ: NEE บันทึกเงินลงทุนดวยวิธีราคาทุนเปนสัดสวนตามรอยละของเงินลงทุน บริษัท

ทุนชําระแลว (ลานบาท) 41.25 50.00

ผูลงทุน

มูลคาเงินลงทุนดวยวิธีราคาทุน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 25.36 25.05 50.41

ทั้งนี้ บริษัทฯ มีนโยบายการลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการรวมคาในอนาคต โดยพิจารณาจากปจจัยหลักๆ เชน 1) มีความเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจสื่อสิ่งพิมพที่สามารถเอื้อประโยชน (Synergy) ใหแกกลุมบริษัทฯ ได 2) ผลตอบแทนจากการลงทุน 3) สถานะทางการเงินของบริษัทที่จะลงทุน 4) ภาวะเศรษฐกิจและการเมือง อยางไรก็ตาม โครงการลงทุนของบริษัทฯ ตองผานการพิจารณาจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผูถือหุน ตามขอบเขตอํานาจการอนุมัติที่บริษัทฯ ไดกําหนดไว และตามกฎเกณฑตางๆ ของคณะกรรมการ กลต. และ/หรือ ตลาดหลักทรัพยฯ ที่ เกี่ยวของ ทั้งนี้ บริษัทฯ จะสงผูแทนบริษัทฯ ตามสัดสวนการถือหุนของบริษัทฯ เขารวมบริหารงานและดูแลการดําเนินธุรกิจ ตามที่ คณะกรรมการของบริษัทฯ ไดมอบหมาย โดยบุคคลนั้นจะตองเปนผูที่ไมมีผลประโยชนขัดแยงในทางธุรกิจกับบริษัทยอย บริษัทรวม หรือ กิจการรวมคานั้นๆ 5.3

อาคารและสํานักงาน กลุมบริษัทฯ ไดทําสัญญาเชาพื้นที่อาคารเพื่อใชในการดําเนินงาน ดังนี้ • •

เชาสําหรับเปนสํานักงาน ที่อาคารเนชั่น 1 ชั้นที่ 3 ชั้นที่ 4 บางสวน และ ชั้นที่ 11 จากบริษัท ช. ชนะอนันตพาณิชย จํากัด รวมพื้นที่ประมาณ 1,190.88 ตารางเมตร เปนเวลา 2 ป ตั้งแตวันที่ 30 เมษายน 2552 ถึงวันที่ 29 เมษายน 2554 เชาสําหรับเปนคลังสินคา อาคารเลขที่ 42/8 ถนนบางนา-ตราด กม. 4 หมู 10 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ จากบริษัท โชติชัยวรกุล จํากัด ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 1,800 ตารางเมตร เปนเวลา 3 ป ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และสามารถขอตอสัญญาเชาได เชาสําหรับเปนคลังสินคา อาคารเลขที่ 9/22 ถนนบางนา-ตราด กม. 23 หมู 3 ตําบลบางเสาธง กิ่งอําเภอบางเสาธง จังหวัด สมุทรปราการ จากบริษัท โชติชัยวรกุล จํากัด ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 1,064 ตารางเมตร เปนเวลา 3 ป ตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2550 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 และสามารถขอตอสัญญาเชาได สวนที่ 2 หนาที่ 33


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 6.

โครงการในอนาคต

กลุมบริษัทฯ มีเปาหมายที่จะสรางผลตอบแทนสูงสุดใหแกผูถือหุนและผูที่เกี่ยวของ (Stakeholder) โดยเพื่อบรรลุเปาหมาย ดังกลาว กลุมบริษัทฯ มีนโยบายที่จะขยายธุรกิจอยางตอเนื่อง โดยมุงเนนการใชประโยชนจากจุดแข็งตางๆของกลุมบริษัทฯที่มีอยู ผนวก กับการแสวงหาโอกาสทางการตลาดใหมๆ โดยใหความระมัดระวังและคํานึงถึงสภาวะเศรษฐกิจโดยรวมดวย จากกรอบแนวคิดขางตน กลุมบริษัทฯ มีแนวทางในการดําเนินโครงการใหมในอนาคต 2 ประการคือ 1) การขยายธุรกิจสิ่งพิมพซึ่งเปนธุรกิจที่กลุมบริษัทฯมีความเชี่ยวชาญ 2) การใชประโยชนจากเนื้อหาสาระ (Content) และจุดแข็งอื่นๆ ที่กลุมบริษัทฯ มีอยู ไปตอยอดในสื่ออื่นๆ ที่ไมใชสิ่งพิมพ ตลอดจนธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ ไดแก 2.1) สื่อใหม (New Media) ซึ่งมีฐานผูใชจํานวนมากและมีอัตราการขยายตัวสูงอยางตอเนื่อง 2.2) การผลิตรายการการตูนและรายการที่เกี่ยวของกับเยาวชนเพื่อแพรภาพผานสื่อโทรทัศน 2.3) การบริหารตัวการตูน (Character Management) 6.1

การขยายธุรกิจสิง่ พิมพ

กลุมบริษัทฯ มีความรูความเชี่ยวชาญในการทําธุรกิจหนังสือและนิตยสารการตูน โดยจะเห็นไดจากนิตยสาร “Boom” ซึ่งเปน นิตยสารการตูนรายสัปดาหของกลุมบริษัท ที่รวบรวมการตูนญี่ปุนยอดนิยมหลากหลายเรื่อง จากทั้งสํานักพิมพญี่ปุนและสํานักพิมพ เนชั่นเอ็ดดูเทนเมนทไวในเลมเดียวกัน โดยนิตยสาร “Boom” เปนนิตยสารการตูนที่มียอดจําหนายเปนอันดับ 1 ในประเทศไทย (ที่มา : ฝายการตลาดบริษัทฯ) พรอมกันนี้ กลุม บริษัทฯ เล็งเห็นวามีการตูนอีกหลายเรื่องจากสํานักพิมพอื่นๆ ที่นา จะอยูในความสนใจของผูอาน รวมทั้งมี นักเขียนการตูนไทยที่มีความสามารถ แตขาดโอกาสในการเผยแพรผลงานของตนเองสูส าธารณชน นอกจากนั้น จากการทําวิจยั การตลาดของกลุม บริษัทฯ แสดงใหเห็นวาเมื่อเปรียบเทียบสิ่งพิมพการตูนที่มีอยูในตลาดในปจจุบันกับความตองการของผูบริโภคแลว ยัง มีกลุมผูอานสวนหนึ่งซึ่งมีความตองการที่จะบริโภคสินคาสิ่งพิมพที่แตกตาง ดังนั้น กลุมบริษัทฯ จึงมีนโยบายที่จะใชประสบการณและความชํานาญของกลุมบริษัทฯ รวมทั้งการหาเนื้อหาที่แตกตาง และ โอกาสจากชองวางทางการตลาดขางตนในการออกนิตยสารการตูนฉบับใหมในชื่อ “Jiro” ซึ่งคาดวาจะเปดใหบริการภายในเดือนตุลาคม 2553 โดยกําหนดงบประมาณการลงทุนในโครงการนี้เบื้องตนประมาณ 3-5 ลานบาท ทั้งนี้กลุมบริษัทฯ คาดวาการออกสินคาใหมนี้จะ สงผลดีแกกลุมบริษัทฯ ดังนี้ • เพิ่มรายไดใหแกกลุมบริษัทฯ จากการขายสิ่งพิมพและการขายโฆษณาในสิ่งพิมพดังกลาว • ขยายกลุมลูกคาเปาหมายของกลุมบริษัทฯ • ลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงการตูนจากแหลงเดียว และเพิ่มการตูนที่เขียนโดยคนไทย • สรางโอกาสในการหารายไดตอยอดในอนาคต อาทิ รายไดจากการขายการตูนรวมเลม และรายไดจากสื่อใหม • เปนชองทางหนึ่งในการสงเสริมนักเขียนการตูนไทยและประชาสัมพันธชื่อเสียงของกลุมบริษัทฯ นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯจะขยายฐานการผลิตการตูนที่สรางสรรคโดยคนไทยใหมากขึ้น ภายในป 2554 เพื่อลดการพึ่งพาการตูน จากแหลงตางประเทศ 6.2

ธุรกิจบนสือ่ ใหม (New media)

สื่อใหมในประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนจํานวนผูใชงานอินเตอรเน็ตซึ่งมีมากกวา 17 ลานคน ณ เดือนมิถุนายน 2553 (ที่มา: Internet World Stat) และผูใชสวนใหญเปนกลุมลูกคาที่มีอายุใกลเคียงกับลูกคาเปาหมายของกลุมบริษัทฯ หรือโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งมีมากกวา 68 ลานเครื่อง ในป 2553 (ที่มา: Wikipedia) และมีการเจริญเติบโตของรายไดจากบริการ Non-voice สวนที่ 2 หนาที่ 34


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ที่สูงอยางตอเนื่อง มีการออก Smart Phone ใหมๆสูตลาดอยางตอเนื่อง รวมทั้งมีแนวโนมที่จะนําเทคโนโลยีใหมๆ อาทิ 3G เขามาใชงาน ซึ่งจะเอื้อตอการพัฒนาการบริโภคเนื้อหา (Content) ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ในอนาคต กลุมบริษัทฯ เล็งเห็นถึงโอกาสในการใชประโยชนจากเนื้อหา (Content) ที่กลุมบริษัทฯมี และความสัมพันธอันดีระหวางกลุม บริษัทฯ กับเจาของลิขสิทธิ์ในตางประเทศ มาใชประโยชนเพื่อการสรางรายไดใหมจากสื่อใหมดังกลาว และไดกําหนดแนวทางในการตอ ยอดไปยังสื่อใหมโดยกําหนดงบประมาณการลงทุนในโครงการนี้เบื้องตนทั้งหมดประมาณ 11-12 ลานบาท ดังนี้ 6.2.1 การใหบริการเว็บไซตทางอินเตอรเน็ต ในปจจุบัน เทคโนโลยีทางดานอินเตอรเน็ตไดถูกพัฒนาใหกาวหนาเปนอยางมาก จนเปนสื่อที่สามารถเขาถึงผูอานและผูบริโภค อื่นไดอยางกวางขวาง สะดวกรวดเร็ว และมีคาใชจายต่ํา ประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ทั่วโลกจึงมีการเปลี่ยนแปลงจากยุคการบริโภค เนื้อหา (Content) ทางสื่อสิ่งพิมพไปสูการบริโภคเนื้อหาทางสื่ออินเตอรเน็ตเพิ่มมากขึ้นตามลําดับ ดังนั้น นอกเหนือจากเว็บไซตที่มีอยู กลุมบริษัทฯ จึงมีโครงการที่จะเพิ่มการบริการโดยเปดใหบริการเว็บไซตแนวใหมภายในป 2554 ซึ่งเปนการขยายการดําเนินธุรกิจของกลุม บริษัทฯ ไปยังกลุมผูใชอินเตอรเน็ต เพื่อเปนการรองรับพฤติกรรมผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป กลุมบริษัทฯ วางแผนที่จะพัฒนาเว็บไซตแนวใหมขางตนใหสามารถใหบริการขอมูล เนื้อหาสาระและกิจกรรมที่เปนที่สนใจของ ผูอาน, เปนฐานในการสรางสังคมของผูที่สนใจการตูนบนอินเตอรเน็ต (Community) รวมทั้งใหบริการอื่นๆที่เปนที่ตองการของผูใชบริการ โดยกลุมบริษัทฯคาดวาการใหบริการเว็บไซตทางอินเตอรเน็ตนี้ จะสงผลดีกับบริษัทฯ ดังนี้ เพิ่มโอกาสในการสรางรายไดใหแกกลุมบริษัทฯ จากการขายโฆษณาและสปอนเซอร รวมทั้งรายไดจากผูใชบริการเว็บไซตที่ อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต • ตอบสนองความตองการของกลุมลูกคาปจจุบันของกลุมบริษัทฯ ที่มีความตองการบริโภคเนื้อหาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และขอมูลผานชองทางใหม • ขยายกลุมลูกคาเปาหมายของกลุมบริษัทฯไปยังกลุมผูใชอินเตอรเน็ตที่มีอยูจํานวนมาก ผานชองทางที่มีตนทุนต่ํา • เพิ่มชองทางใหมในการบริหารความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relationship Management) เพื่อสนับสนุนธุรกิจสิ่งพิมพ และธุรกิจอื่นๆของกลุมบริษัทฯอยางครบวงจร นอกจากเว็บไซตการตูนแลว กลุมบริษัทฯมีโครงการที่จะเปดเว็บไซตใหบริการรับสมัครสมาชิกสิ่งพิมพตางประเทศภายในป 2553 เพื่อเสริมรายไดจากการเปนตัวแทนขายสมาชิกสิ่งพิมพตางประเทศ โดยเพิ่มชองทางการขายและเพิ่มจํานวนสิ่งพิมพที่กลุมบริษัทฯรับ ใหบริการ •

6.2.2 การใหบริการ Content ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ในปจจุบัน โทรศัพทเคลื่อนที่เปนปจจัยหนึ่งซึ่งจําเปนตอการดํารงชีวิต ประกอบกับเทคโนโลยีของโทรศัพทเคลื่อนที่ไดพัฒนาและ กาวหนาไปอยางมาก นอกจากนั้น ขอมูลจากผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตางแสดงใหเห็นวารายไดจากการใหบริการ Non-voice ตางๆมี การเจริญเติบโตอยูในชวง 25 – 30% อยางตอเนื่อง (ที่มา: AIS Quarterly Briefing) ดั ง นั้ น กลุ ม บริ ษั ท ฯ จึ ง มี โ ครงการให บ ริ ก ารดาวน โ หลดเนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การ ตู น และเนื้ อ หาอื่ น ๆของกล ม บริ ษั ท ฯผ า น โทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งไดเปดทดลองใหบริการดาวนโหลดการตูนตั้งแตเดือนเมษายน 2553 และจะเปดใหบริการเต็มรูปแบบไดประมาณป 2554 นอกจากนี้ ภายในป 2553 กลุมบริษัทฯจะเปดใหบริการพยากรณโชคชะตารายวัน และเปดใหบริการโฆษณาสินคาผานสื่ อ โทรศัพทเคลื่อนที่ (M-catalogue) ซึ่งเปนการขยายการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ไปยังกลุมผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่อเพิ่มสื่อทางเลือก ใหแกผูอานในการบริโภคเนื้อหา ทั้งนี้กลุมบริษัทฯคาดวาการใหบริการผานโทรศัพทเคลื่อนที่นี้ จะสงผลดีกับบริษัทฯ ดังนี้ • • •

เพิ่มโอกาสในการสรางรายไดใหแกกลุมบริษัทฯ จากผูใชบริการ ตอบสนองความตองการของกลุมลูกคาปจจุบันของกลุมบริษัทฯที่มีความตองการบริโภคเนื้อหาผานชองทางใหม ขยายกลุมลูกคาเปาหมายของกลุมบริษัทฯไปยังกลุมผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีอยูจํานวนมาก สวนที่ 2 หนาที่ 35


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) •

6.2.3

เพิ่มชองทางใหมในการบริหารความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relationship Management) เพื่อสนับสนุนธุรกิจสิ่งพิมพ และธุรกิจอื่นๆของกลุมบริษัทฯอยางครบวงจร การใหบริการ Content ผานเครื่องดิจิทัลอื่นๆ

กลุมบริษัทฯมีโครงการขยายธุรกิจไปยังกลุมผูใช iPad และเครื่อง E-Reader อื่นๆ โดยการเปดใหบริการดาวนโหลดการตูนและ เนื้อหาจากพ็อกเก็ตบุคสผาน iPad Application โดยจะทดลองเปดใหบริการไดประมาณภายในป 2553 6.3

การผลิตรายการการตูนและรายการที่เกี่ยวของกับเยาวชนเพื่อแพรภาพผานสื่อโทรทัศน

เพื่อสรางรายไดจากการขายเวลาโฆษณา และผลักดันใหตัวการตูนเปนที่นิยมแพรหลายเพื่อสงเสริมการทําธุรกิจในสื่ออื่นๆ กลุม บริษัทฯจะใฃจุดแข็งในการจัดหาลิขสิทธิ์ มาขยายธุรกิจไปยังกลุมผูชมการตูน และรายการที่เกี่ยวของกับเยาวชน ไดแก รายการสําหรับ เด็กและวัยรุน และรายการสําหรับครอบครัว ผานทางทีวีดาวเทียม เคเบิลทีวี และฟรีทีวี โดยกลุมบริษัทฯเปนผูจัดหาลิขสิทธิ์ ผลิตรายการ และเผยแพรผานทางชองทีวีในชวงเวลาที่ซื้อมา กลุมบริษัทฯจะเริ่มดําเนินธุรกิจนี้ในป 2554 โดยกํ า หนดงบประมาณการลงทุ น ใน โครงการนี้เบื้องตนประมาณ 4-5 ลานบาท 6.4

การบริหารตัวการตูน (Character Management)

เนื่องจากกลุมบริษัทฯมีความชํานาญในการติดตอกับเจาของลิขสิทธิ์สิ่งพิมพ ซึ่งรวมไปถึงเจาของลิขสิทธิ์ตัวการตูนในตางประเทศ และมีความสัมพันธที่ดีกับเจาของลิขสิทธิ์ดังกลาว กลุมบริษัทฯจึงมีโครงการที่จะรับบริหารตัวการตูนใหกับเจาของลิขสิทธิ์ดังกลาวใน ประเทศไทย โดยจัดหาลิขสิทธิ์มาจําหนายตอในประเทศ เพื่อธุรกิจตางๆ ไมวาจะเปนธุรกิจสื่อ ธุรกิจผลิตตัวการตูนเปนสินคานานาชนิด หรือการนําตัวการตูนมาใชในกิจกรรมสงเสริมการขายหรือกิจกรรมบันเทิงตางๆ กลุมบริษัทฯจะเริ่มดําเนินธุรกิจนี้ในป 2554 โดยกําหนด งบประมาณการลงทุนในโครงการนี้เบื้องตนประมาณ 2-3 ลานบาท

ดวยเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในปจจุบัน สงผลโดยตรงตอการดําเนินชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะคนเมือง และกลุม ที่มีการศึกษา ซึ่งเปนฐานลูกคาที่สําคัญของบริษัท และมีผลโดยตรงตอธุรกิจสื่อในทุกรูปแบบ โครงการในอนาคตดังกลาวขางตน เปนการ วางรากฐาน และเพิ่มศักยภาพ ในการขยายฐานผูอาน เพิ่มชองทางการหารายได ทั้งสื่อเกาสื่อใหม และโอกาสในการสรางธุรกิจใหมๆที่ เกี่ยวของกับสื่อรูปแบบใหม ที่มาพรอมกับเทคโนโลยี วิถีชีวิตคนเมือง และกลุมวัยรุนที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัด นอกจากนี้ ยังเปนการเพิ่มขีดความสามารถ โอกาสในการตอยอดธุรกิจในหลากหลายรูปแบบ ไปจากฐานเดิม อยางไมจํากัด และเพิ่มโอกาสในการ สรางรายไดใหแกกลุมบริษัทฯ

สวนที่ 2 หนาที่ 36


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 7. ขอพิพาททางกฎหมาย - ไมมี -

สวนที่ 2 หนาที่ 37


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 8.

โครงสรางเงินทุน

8.1

หลักทรัพยของบริษัทฯ

ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 70.00 ลานบาท โดยเปนทุนที่เรียกชําระแลวจํานวน 70.00 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 70,000,000 หุน มูลคาตราไวหุนละ 1.00 บาท และภายหลังจากการเสนอขายหุนสามัญในครั้งนี้ บริษัทฯ จะมี ทุนจดทะเบียนที่ชําระแลวเพิ่มเปน 85.00 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 85,000,000 หุน มูลคาตราไวหุนละ 1.00 บาท 8.2

ผูถือหุน รายชื่อและสัดสวนการถือหุนของผูถ ือหุนรายใหญของบริษัทฯ มีดังตอไปนี้ รายชื่อผูถือหุน

จํานวนหุน 1. บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) 2. ผูถอื หุนรายยอยอื่นๆ 3. นักลงทุนทั่วไป รวม

ภายหลังการเสนอขายหุนตอประชาชน ในครั้งนี้

ณ 30 มิถุนายน 2553

69,999,986 14 70,000,000

รอยละ 100.00 0.00 100.00

จํานวนหุน 65,999,986 14 19,000,000 85,000,000

รอยละ 77.65 0.00 22.35 100.00

8.3 นโยบายการจายเงินปนผล ในกรณีปกติที่กลุมบริษัทฯ ไมมีความจําเปนในการใชเงินเพื่อการลงทุนหรือขยายกิจการและมีกระแสเงินสดเพียงพอ กลุมบริษัทฯ มีนโยบายการจายเงินปนผลสําหรับบริษัทฯ และบริษัทยอยไมนอยกวารอยละ 30 ของกําไรสุทธิของแตละบริษัท (ตามงบการเงินเฉพาะ บริษัท) หลังหักภาษีเงินไดนิติบุคคล สํารองตามกฎหมาย และสํารองอื่นๆ ที่จําเปนและเหมาะสม ทั้งนี้ อัตราการจายเงินปนผลดังกลาว อาจเปลี่ยนแปลงได โดยขึ้นอยูกับความจําเปนและความเหมาะสมภายใตเงื่อนไขที่การดําเนินการดังกลาวจะตองกอใหเกิดประโยชน สูงสุดตอผูถือหุน ทั้งนี้ มติของคณะกรรมการบริษัทที่อนุมัติใหจายเงินปนผลจะตองถูกนําเสนอเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน เวนแต เปนการจายเงินปนผลระหวางกาลซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจอนุมัติใหจายเงินปนผลระหวางกาลได แลวใหรายงานใหที่ประชุม ผูถือหุนทราบในการประชุมคราวตอไป

สวนที่ 2 หนาที่ 38


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 9.

การจัดการ

9.1

โครงสรางการจัดการ

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร

สํานักตรวจสอบภายใน

กรรมการผูอํานวยการ (นางเกษรี กาญจนะวณิชย )

กรรมการผูจัดการ (น.ส. นันทพร วงษเชษฐา )

ฝายบรรณาธิการหนังสือ พ็อกเก็ตบุคส (น.ส. นันทพร วงษเชษฐา )ก

ฝายบัญชีและการเงิน/ธุรการ (น.ส. รัชดาภรณ อารักษรัฐ)

ฝายพัฒนาธุรกิจ (น.ส. กุลธิดา มงคลศิริเกียรติ)

ฝายสิ่งพิมพตางประเทศ (น.ส. อรัญญา บุญเกลียว)

ฝายพัฒนาสื่อใหม (น.ส. เบญจวรรณ สวาง )

ฝายขายและการตลาด (น.ส. นันทพร วงษเชษฐา )ก

หมายเหตุ: ก รักษาการแทน ซึ่งบริษัทฯ กําลังสรรหาบุคคลมาดํารงตําแหนงดังกลาว สวนที่ 2 หนาที่ 39


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 9.2

โครงสรางคณะกรรมการบริษัท

โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ประกอบดวยคณะกรรมการทั้งหมด 4 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะผูบริหาร ดังรายละเอียดตอไปนี้ 9.2.1 คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการทั้งหมด 9 ทาน ดังนี้ ชื่อ-นามสกุล 1. นายธนะชัย สันติชัยกูล

ตําแหนง ประธานกรรมการ

2. นายสาคร สุขศรีวงศ

กรรมการ

3. นางเกษรี กาญจนะวณิชย

กรรมการ

4. นางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ

กรรมการ

5. นางสาวนันทพร วงษเชษฐา

กรรมการ

6. นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ

กรรมการ

7. นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร

ประธานกรรมการตรวจสอบ

8. นายกรีธา มติธนวิรุฬห

กรรมการตรวจสอบ

9. นายสุธีร จินตนานฤมิตร

กรรมการตรวจสอบ

โดยมี นางนงนุช พุมผล เปนเลขานุการบริษัท กรรมการบริษัท ไดผานหลักสูตรการอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยครบทุกทานแลว กรรมการผูมีอํานาจผูกพันตามหนังสือรับรองบริษัทฯ นายธนะชัย สันติชัยกูลหรือนางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ คนใดคนหนึ่งลงนามรวมกับนางเกษรี กาญจนะวณิชย หรือนางสาว นันทพร วงษเชษฐา หรือ นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ คนใดคนหนึ่ง รวมเปนสองคนพรอมประทับตราบริษัท ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. กรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความ ซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท 2. ทําหนาที่พิจารณาใหความเห็นชอบในเรื่องที่สําคัญเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท เชน วิสัยทัศนและภารกิจ กลยุทธ เปาหมาย ทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงาน และงบประมาณ รวมทั้งกํากับ ควบคุมดูแล (Monitoring and Supervision) ใหฝายจัดการ ดําเนินงานตามนโยบายและแผนงานที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจสูงสุดใหแก กิจการและความมั่งคั่งสูงสุดใหแกผูถือหุน (Maximize Economic Value and Shareholders’ Wealth) 3. จัดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ของบริษัทเปนลายลักษณอักษร ใหความเห็นชอบนโยบายดังกลาว พรอมทบทวนนโยบาย และการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวอยางสม่ําเสมอ 4. สงเสริมใหจัดทําจริยธรรมธุรกิจเปนลายลักษณอักษร เพื่อใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนเขาใจถึงมาตรฐานดานจริยธรรม ที่บริษัทใชในการดําเนินธุรกิจ พรอมทั้งติดตามใหมีการปฏิบัติตามจริยธรรมดังกลาวอยางจริงจัง 5. พิจารณาเรื่องความขัดแยงของผลประโยชน อยางรอบคอบ พิจารณาการทํารายการที่อาจมีความขัดแยงของผลประโยชน โดยมี แนวทางที่ชัดเจนและเปนไปเพื่อผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนโดยรวมเปนสําคัญ สําหรับผูมีสวนไดเสียจะไมมีสวนรวมในการ สวนที่ 2 หนาที่ 40


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ตัดสินใจ พรอมทั้งกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามขอกําหนดเกี่ยวกับขั้นตอนการดําเนินการและการเปดเผยขอมูลของรายการที่อาจมี ความขัดแยงของผลประโยชน อยางถูกตอง ครบถวน มีมาตรฐาน และโปรงใส 6. จัดใหมีระบบการควบคุมดานการดําเนินงาน ดานรายงานทางการเงิน และดานการปฏิบัติตามกฎระเบียบและนโยบาย และจัดใหมี บุคคลหรือหนวยงานที่เปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ เปนผูรับผิดชอบในการตรวจสอบระบบการควบคุมดังกลาว และมีการทบทวน ระบบตาง ๆ อยางสม่ําเสมอ 7. กําหนดนโยบายดานการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Policy) ใหครอบคลุมทั้งองคกร โดยใหฝายจัดการเปนผูปฏิบัติตาม นโยบายและรายงานใหคณะกรรมการทราบเปนประจํา จัดใหมีการทบทวนระบบหรือประเมินประสิทธิภาพ ของการจัดการความ เสี่ยงอยางสม่ําเสมอ และในทุก ๆระยะเวลาที่พบวาระดับความเสี่ยงมีการเปลี่ยนแปลงภายในทิศทางที่กําหนด ตลอดจนให ความสําคัญกับสัญญาณเตือนภัยลวงหนาและรายการผิดปกติตาง ๆ 8. แต ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการหรื อ บุ ค คลใด เพื่ อ ทํ า หน า ที่ ช ว ยดู แ ล ติ ด ตาม และควบคุ ม การบริ ห ารงานของบริ ษั ท ในเรื่ อ งที่ เ ป น สาระสํ า คั ญ ภายใต ก ารควบคุ ม ของคณะกรรมการบริ ษั ท รวมทั้ ง ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านและกํ า หนดค า ตอบแทนของ คณะอนุกรรมการหรือบุคคลดังกลาว หรือมอบอํานาจเพื่อใหคณะอนุกรรมการหรือบุคคลดังกลาวมีอํานาจตามที่คณะกรรมการ เห็นสมควร และภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการบริษัทอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือ แกไขอํานาจนั้น ๆ ได ทั้งนี้การมอบอํานาจแกคณะอนุกรรมการหรือบุคคลใดดังกลาวขางตนจะไมรวมถึงการมอบอํานาจที่ทําใหคณะอนุกรรมการหรือ บุคคลดังกลาว หรือผูรับมอบอํานาจจากคณะอนุกรรมการหรือบุคคลดังกลาว สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยง มี สวนไดเ สีย หรือ อาจมีความขัดแย งทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใดที่จะทําขึ้ นกับบริษั ทฯ หรือ บริษัทยอ ย รวมทั้ ง กําหนดใหตองขอความเห็นชอบจากที่ประชุมผูถือหุนในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยที่ สําคัญของบริษัทฯ เพื่อใหสอดคลองตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และ/หรือ ตลาดหลักทรัพยฯ ในกรณีที่การ ดําเนินการเรื่องใดที่กรรมการทานใดหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง (ตามประกาศสํานักงาน กลต. และ/หรือตลาดหลักทรัพยฯ) มีสวนไดเสียหรือมีความขัดแยงทางผลประโยชน กรรมการและบุคคลที่อาจมีความขัดแยงนั้นไมมีสิทธิออกเสียงหรืออํานาจอนุมัติ การดําเนินการในเรื่องดังกลาว นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทไดพิจารณามอบอํานาจใหแกคณะอนุกรรมการหรือบุคคลใดดังกลาวขางตนในการทําธุรกรรมที่ เกี่ยวกับการดําเนินงานและการลงทุนตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ โดยไดมีการกําหนดขอบเขตและวงเงินในแตละระดับอยางชัดเจน ทั้งนี้ ไมมีการมอบอํานาจในลักษณะไมจํากัดวงเงินแตอยางใด 9. จัดทํารายงานคณะกรรมการประจําป และรับผิดชอบตอการจัดทําและการเปดเผยงบการเงิน เพื่อแสดงถึงฐานะการเงินและผลการ ดําเนินงานในรอบปที่ผานมา เพื่อนําเสนอตอผูถือหุน 9.2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการที่เปนอิสระทั้งหมด 3 ทาน ดังนี้ ชื่อ-นามสกุล 1. นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร

ตําแหนง ประธานกรรมการตรวจสอบ

2. นายกรีธา มติธนวิรุฬห

กรรมการตรวจสอบ

3. นายสุธีร จินตนานฤมิตร

กรรมการตรวจสอบ

หมายเหตุ: นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร และนาย กรีธา มติธนวิรุฬห มีความรูและประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษัทฯ

โดยมี นางนงนุช พุมผล เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

สวนที่ 2 หนาที่ 41


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษทั มีรายงานทางการเงิน (รายไตรมาสและประจําป) ที่ถูกตองและเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของของบริษัทอยางเพียงพอ กอนเสนอตอคณะกรรมการบริษัท 2. สอบทานใหบริษทั และบริษัทยอยมีระบบควบคุมภายในและระบบตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสมเพียงพอและมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอืน่ ใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษทั มีระบบการประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 4. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่ เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 5. พิจารณาคัดเลือกเพื่อเสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระและกําหนดคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท ประสานงานกับผูสอบ บัญชีเกี่ยวกับวัตถุประสงคในการดําเนินการตรวจสอบ ขอบเขต แนวทาง แผนงาน และปญหาที่พบระหวางการตรวจสอบ และ ประเด็นที่ผูสอบบัญชีเห็นวาเปนสาระสําคัญ รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอย ปละ 1 ครั้ง 6. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือ รายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหมีความถูกตองและครบถวน ใหเปนไปตาม กฎหมายและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ รวมทั้งเปดเผยขอมูลในการเขาทํารายงานดังกลาวอยางถูกตองครบถวน ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท 7. จัดทํารายงานผลการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงาน ดังกลาวตองลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยขอมูลดังตอไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชือ่ ถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่ เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายงานที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน - จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน - ความเห็นชอบหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร - รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูล งทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 8. ปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่ไดมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาวขางตน คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัทโดยตรงและคณะกรรมการ ของบริษัทยังคงมีความรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษัทตอบุคคลภายนอก คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่สอดสองดูแล ฝายจัดการมีหนาที่รับผิดชอบตอการจัดเตรียมงบการเงินของบริษัท และ ผูสอบบัญชีภายนอกมีหนาที่ตรวจสอบงบการเงินดังกลาว คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทรับทราบรวมกันวา ฝาย จัดการ ผูตรวจสอบภายในและผูสอบบัญชีภายนอกมีทรัพยากรและเวลาตลอดจนขอมูลความรูเรื่องบัญชี การตรวจสอบ ระบบควบคุม ภายใน และกระบวนการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทมากกวาคณะกรรมการตรวจสอบ ฉะนั้นบทบาทการสอดสองดูแลของ คณะกรรมการตรวจสอบไมไดใหประกันเปนพิเศษในงบการเงินและขอมูลการเงินที่บริษัทนําเสนอใหกับผูถือหุนและบุคคลอื่นๆ

สวนที่ 2 หนาที่ 42


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการแกไข เปลี่ยนแปลง นิยามและคุณสมบัติของกรรมการอิสระ และคุณสมบัติ ขอบเขต อํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหสอดคลองกับกฎเกณฑของสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพยฯ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน และ/หรือ บทบัญญัติของกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ คือ กรรมการที่ไมไดบริหารจัดการกิจการของบริษทั บริษัทยอย บริษัทรวม มีความเปนอิสระจากผูถอื หุนใหญ และ ผูบริหารของบริษัท ไมมีความสัมพันธอันอาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน ทั้งนี้นิยามกรรมการอิสระของบริษทั เทากับขอกําหนดขั้นต่ําของสํานักงาน กลต.และตลาดหลักทรัพย ฯ กรรมการอิสระของบริษัทฯ มีคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละหนึ่งของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่ เกี่ยวของ ผูถือหุนรายใหญ หรือผุมีอํานาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของตามมาตรา 258 ของ พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยของกรรมการอิสระรายนั้น ๆ ดวย 2. ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน พนักงาน ลูกจาง ที่ปรึกษาดานอื่นใดที่ไดรับผลตอบแทนประจํา หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป กอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง ทั้งนี้ ลักษณะ ตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเปนขาราชการหรือที่ปรึกษาของสวนราชการซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ หรือ ผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท 3. กรรมการอิสระจะตองไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางการคา ทางธุรกิจ สวนไดเสียทางการเงินหรือผลประโยชนอื่นๆ ในการ บริหารจัดการ ทั้งในทางตรงหรือทางออมกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัท ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน หรือไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือ ผูมีอํานาจควบคุมของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัทเวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง 4. กรรมการอิสระจะตองไมมีความสัมพันธทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนตามกฏหมายในลักษณะที่เปนบิดา มารดา คู สมรส พี่ นองและบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร กับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่ไดรับการเสนอชื่อ เปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทยอย 5. กรรมการอิสระจะตองไมทําการเปนตัวแทนอยางเปดเผยหรืออยางไมเปดเผยของกรรมการบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือ หุนใดซึ่งเปนผูเกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญคนใดหรือกลุมผูถือหุนใดของบริษัท 6. กรรมการอิสระจะตองทําหนาที่และใชวิจารณญาณของตน โดยไมไดรับอิทธิพลจากกรรมการ ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ รวมทั้งบุคคลที่เกี่ยวของหรือญาติ 7. กรรมการอิสระจะตองไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัท และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนผูจัดการของนิติบุคคลที่เปนสํานักงาน สอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท สังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป กอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง 8. กรรมการอิสระจะตองไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษา ทางการเงิน หรือผูประเมินราคาทรัพยสิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจาก บริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ในกรณีที่ผูใหบริการทางวิชาชีพเปนนิติบุคคล ใหรวมถึง การเปนผูถือหุนรายที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนผูจัดการ ของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการ มีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป กอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง 9. ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่ มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุนเกิน สวนที่ 2 หนาที่ 43


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) รอยละหนึ่งของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการ แขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทยอย 10. กรรมการอิสระจะตองไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท ทั้งนี้ กรรมการอิสระตองเปนผูที่ผานกระบวนการสรรหาของคณะกรรมการบริษัทหรือผูถือหุน 9.2.3 คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 คณะกรรมการบริหารประกอบดวยกรรมการทั้งหมด 5 ทาน ดังนี้ ชื่อ-นามสกุล นายธนะชัย สันติชัยกูล

ตําแหนง ประธานกรรมการบริหาร

นางเกษรี กาญจนะวณิชย

กรรมการบริหาร

นางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ

กรรมการบริหาร

นางสาวนันทพร วงษเชษฐา

กรรมการบริหาร

นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ

กรรมการบริหาร

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารมีอํานาจ หนาที่ และความรับผิดชอบในการบริหารงานในเรื่องเกี่ยวกับการดําเนินงานตามปกติธุระและงาน บริห ารของบริษัท ฯ กําหนดนโยบาย แผนธุร กิจ งบประมาณ โครงสรางการบริ หารงาน และอํ านาจการบริ หารตา ง ๆ ของบริ ษัท ฯ หลักเกณฑในการดําเนินธุรกิจใหสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ และแนวนโยบายที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อเสนอให ที่ประชุ มคณะกรรมการของบริ ษัท พิจ ารณาและอนุ มัติ แ ละ/หรือ ให ความเห็น ชอบ รวมตลอดถึงการตรวจสอบและติ ดตามผลการ ดําเนินงานของบริษัทฯ ตามนโยบายที่คณะกรรมการกําหนด โดยสรุปอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบที่สําคัญไดดังนี้ 1. ควบคุมดูแลกิจการ และกําหนดนโยบาย ทิศทางและกลยุทธทางธุรกิจใหดําเนินการตามนโยบายและเปาหมายของคณะกรรมการ บริษัท รวมทั้งนําเสนอนโยบาย แผนธุรกิจงบประมาณ ทิศทางในการดําเนินธุรกิจและแผนงานใหคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ 2. พิจารณาโครงสรางองคกร มีอํานาจกําหนดการบริหารจัดการ โครงสรางเงินเดือนของบริษัทฯ รวมถึงการคัดเลือก การฝกอบรม การ แตงตั้ง การวาจาง การโยกยาย การกําหนดเงินคาจาง คาตอบแทน โบนัสพนักงานระดับผูบริหาร และการเลิกจางพนักงานของ บริษัทฯ โดยอาจมอบหมายใหกรรมการผูอํานวยการของบริษัทฯ เปนผูมีอํานาจแทนบริษัทฯ ในการลงนามในสัญญาจางแรงงาน 3. พิจารณาอนุมัติการดําเนินงานเพื่อธุรกรรมตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ เชน การจัดซื้อสินคา การจัดซื้อลิขสิทธิ์ การลงทุนในสินทรัพย การทําธุรกรรมทางการเงินกับธนาคาร/ สถาบันการเงิน ในเรื่องการเปดบัญชี การใหกูยืมเงิน การกูยืมเงิน การจัดหาวงเงินสินเชื่อ จํานํา จํานอง ค้ําประกัน และอื่นๆ รวมถึงการซื้อขายและจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ที่ดินใดๆ เพื่อการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ตาม ระเบียบอํานาจอนุมัติและสั่งการที่คณะกรรมการของบริษัทฯ อนุมัติแลว 4. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และหลักในการดําเนินธุรกิจใหสอดคลองกับเปาหมายที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และให มี อํ า นาจควบคุ ม ดู แ ลการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ให เ ป น ไปตามนโยบายธุ ร กิ จ แผนธุ ร กิ จ และกลยุ ท ธ ท างธุ ร กิ จ ที่ คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติแลวซึ่งอยูภายใตกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ และขอบังคับของบริษัทฯ 5. มีอํานาจดําเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัทที่เกี่ยวกับการดําเนินงานตามธุรกิจ ซึ่งอยูภายใตกฎหมาย เงื่อนไข กฎ ระเบียบและขอบังคับของบริษัท เวนแตรายการที่คณะกรรมการบริหาร อาจมีความขัดแยงหรือมีสวนไดเสีย หรือมีความขัดแยง ทางผลประโยชนกับบริษัทหรือบริษัทยอย ซึ่งจะกระทําไดตอเมื่อไดรับมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทที่มีกรรมการอิสระเขา ประชุมดวยเทานั้น สวนรายการที่เกี่ยวโยงกันและการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยที่สําคัญของบริษัทใหเปนไปตามระเบียบวิธี ปฏิบัติตามที่ตลาดหลักทรัพยและ กลต.กําหนด สวนที่ 2 หนาที่ 44


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 6. พิจารณาผลกําไรขาดทุนของบริษัทฯ และการเสนอจายเงินปนผลระหวางกาล หรือเงินปนผลประจําป เพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการ บริษัท 7. พิจารณาเรื่องอื่น ๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ การไดรับมอบหมายอํานาจดังกลาวขางตน ตองไมมี ลักษณะเปนการมอบอํานาจ หรือมอบอํานาจชวงที่ทําใหคณะกรรมการบริหาร หรือผูรับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประ โยชนอื่นใด ตามที่ทาง กลต. กําหนด กับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ ไว อยางไรก็ดี การอนุมัติรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชนดังกลาวจะตองดําเนินการตามประกาศของตลาดหลักทรัพยฯ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน และ/หรือสํานักงาน ก.ล.ต. เรื่องหลักเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจด ทะเบียน ทั้งนี้ กรรมการบริหารของบริษัทฯ อาจไดรับการแตงตั้ง หรือถอดถอนโดยที่ประชุมคณะกรรมการ หรือที่ประชุมผูถือหุนของ บริษัทฯ 9.2.4 ผูบริหาร (ตามคํานิยามของสํานักงาน กลต. และตลาดหลักทรัพยฯ) ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 ผูบริหารประกอบดวยเจาหนาที่ บริหารทั้งหมด 6 ทาน ชื่อ-นามสกุล นางเกษรี กาญจนะวณิชย นางสาวนันทพร วงษเชษฐา นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ นางสาวอรัญญา บุญเกลียว นางสาวเบญจวรรณ สวาง นางสาวกุลธิดา มงคลศิริเกียรติ

ตําแหนง กรรมการผูอํานวยการ กรรมการผูจัดการ, รักษาการผูอํานวยการฝายบรรณาธิการหนังสือพ็อค เก็ตบุคส, รักษาการผูอํานวยการฝายขายและการตลาด ผูอํานวยการฝายบัญชีและการเงิน / ธุรการ ผูอํานวยการฝายสิ่งพิมพตางประเทศ ผูอํานวยการฝายพัฒนาสื่อใหม ผูชวยผูอ ํานวยการอาวุโสฝายพัฒนาธุรกิจ

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของกรรมการผูอํานวยการ 1. ควบคุมดูแลการดําเนินกิจการและ/หรือบริหารงานประจําวันของบริษัทฯ 2. ดําเนินการหรือบริหารงานใหเปนไปตามนโยบาย เปาหมาย แผนการดําเนินงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ และ/หรือคณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ 3. เปนผูรับมอบอํานาจของบริษัทฯ ในการบริหารกิจการของบริษัทฯ ใหเปนตามวัตถุประสงค ขอบังคับ นโยบาย ระเบียบ ขอกําหนด คําสั่ง มติที่ประชุมผูถือหุนและ/หรือมติที่ประชุมคณะกรรมการและคณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ ทุกประการ 4. มีอํานาจแตงตั้งและบริหารงานคณะทํางานชุดตางๆ เพื่อประโยชนและประสิทธิภาพการจัดการที่ดี และโปรงใส และใหมีอํานาจใน การมอบอํา นาจชว ง และ/หรือ มอบหมายใหบุ คคลอื่ น ปฏิ บัติ งานเฉพาะอย างแทนได โดยการมอบอํ านาจช วง และ/หรื อ การ มอบหมายดังกลาวใหอยูภายใตขอบเขตแหงการมอบอํานาจตามหนังสือมอบอํานาจ และ/หรือใหเปนไปตามระเบียบอํานาจอนุมัติ และสั่งการที่คณะกรรมการของบริษัทฯ อนุมัติแลว 5. กําหนดภารกิจ วัตถุประสงค แนวทาง นโยบายของบริษัทฯ รวมถึงการสั่งการและกํากับดูแลการดําเนินงานโดยรวม เพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุดในการบริหารงาน 6. ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของบริษัทฯ อยางสม่ําเสมอ และมีหนาที่รายงานผลการดําเนินงาน การบริหารจัดการ ความ คืบหนาในการดําเนินงานตอคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท 7. มีอํานาจพิจารณาอนุมัติการใชจายเงินในการดําเนินการตามปกติธุรกิจของบริษัท แตละรายการ ที่กําหนดไวในระเบียบอํานาจ อนุมัติและสั่งการที่คณะกรรมการของบริษัทอนุมัติแลว สวนที่ 2 หนาที่ 45


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 8. พิจารณาอนุมัติการเขาทําสัญญาเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยแตละรายการที่กําหนดไวในระเบียบอํานาจอนุมัติ และสั่งการที่คณะกรรมการของบริษัทอนุมัติแลว 9. มีอํานาจพิจารณาวาจางพนักงาน และบรรจุแตงตั้ง ตลอดจนการโอน โยกยายขามสายงาน/ฝาย/แผนก หรือการพนจากการเปน พนั ก งาน กํ า หนดอั ต ราค า จ า ง ค า ตอบแทน เงิ น โบนั ส รวมถึ ง สวั ส ดิ ก าร เกี่ ย วกั บพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ ตามกรอบนโยบายที่ คณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการบริษัทกําหนด 10. มีอํานาจ ออกคําสั่ง ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไปตามนโยบายและผลประโยชนของบริษัทฯ และเพื่อรักษา ระเบียบ วินัย การทํางานภายในองคกร 11. ปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการบริหารเปนคราว ๆ ไป ทั้งนี้ การมอบหมายอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของกรรมการผูอํานวยการนั้น จะไมมีลักษณะเปนการมอบอํานาจหรือมอบ อํานาจชวงที่ทําใหกรรมการผูอํานวยการหรือผูรับมอบอํานาจจากกรรมการผูอํานวยการ สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแยง (ตามนิยามของหนวยงานที่เกี่ยวของกําหนด) มีสวนไดเสียหรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใดกับบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย เวนแตเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามปกติธุรกิจที่มีการกําหนดขอบเขตชัดเจน กรรมการผูอํานวยการของบริษัทฯ อาจะไดรับการแตงตั้งหรือถอดถอนโดยที่ประชุมคณะกรรมการ หรือที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ 9.2.5 อํานาจอนุมัติวงเงิน ประเภทธุรกรรม การกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน การจัดซื้อลิขสิทธิ์ การลงทุน และทําสัญญารวมงาน หรือรวมทุน การอนุมัติดานการเงินและบริหารงานตาม งบประมาณ 9.3

อํานาจอนุมัติ คณะกรรมการบริหาร ไมเกิน 30.00 ลานบาท ไมเกิน 10.00 ลานบาท ไมเกิน 10.00 ลานบาท

กรรมการผูอํานวยการ ไมเกิน 10.00 ลานบาท ไมเกิน 5.00 ลานบาท

การสรรหากรรมการ

ปจจุบันบริษัทฯ ไมมีคณะกรรมการสรรหา เพื่อคัดเลือกบุคคลที่จะเขาดํารงตําแหนงเปนกรรมการและกรรมการอิสระ โดย คณะกรรมการบริษัทจะทําหนาที่สรรหาและคัดเลือกกรรมการเพื่อนําเสนอรายชื่อตอผูถือหุน โดยพิจารณาจากปจจัยตางๆ อาทิ ความรู ความสามารถ ประสบการณที่เกี่ยวของกับธุรกิจ และตองเปนผูที่มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษทั มหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 ประกาศคณะกรรม กลต. และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ในการเลือกตั้งกรรมการของบริษัทจะกระทําโดยที่ประชุม ผูถือหุนโดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ (ก) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทาจํานวนหุนที่ตนถือ (ข) ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ได ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคล หลายคนเปนกรรมการจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (ค) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการ เทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะ พึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึง มี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด ในการประชุมสามัญประจําปผถู ือหุนทุกครั้ง ใหกรรมการจํานวนหนึ่งในสามของคณะกรรมการบริษัททั้งหมดตองออกจาก ตําแหนง โดยใหกรรมการที่อยูในตําแหนงนานสุดเปนผูออกจากตําแหนงกอน อยางไรก็ดี กรรมการที่ออกจากตําแหนงแลวอาจไดรับ เลือกเขาดํารงตําแหนงอีกก็ได

สวนที่ 2 หนาที่ 46


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 9.4

คาตอบแทนผูบริหาร

9.4.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน คาตอบแทนกรรมการ : บริษัทฯ มีนโยบายจายคาตอบแทนกรรมการเปนรายป โดยไมมีนโยบายจายคาตอบแทนในรูปอื่น กรรมการ (หนวย : บาท) 1. นายธนะชัย สันติชัยกูล 2. นายสาคร สุขศรีวงศ 3. นางเกษรี กาญจนะวณิชย 4. นางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ 5. นางสาวนันทพร วงษเชษฐา 6. นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ 7. นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร 8. นายกรีธา มติธนวิรุฬห 9. นายสุธีร จินตนานฤมิตร

ม.ค. – มิ.ย. 2553 คาตอบแทน เบี้ยประชุม 100,000 200,000 150,000 150,000 -

2552 คาตอบแทน 200,000 400,000 300,000 300,000

เบี้ยประชุม -

คาตอบแทนกรรมการบริหารและผูบริหาร : (หนวย : บาท)

2552 ราย

คาตอบแทน

ม.ค. – มิ.ย. 2553 ราย คาตอบแทน ก

กรรมการบริหาร ข ผูบริหาร 6 10,986,983 6 5,782,403 หมายเหตุ : ก ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ คาลวงเวลา คาสวัสดิการ ข ตามคํานิยามของสํานักงาน กลต. และตลาดหลักทรัพยฯ ซึ่งรวมถึง นางเกษรี กาญจนะวณิชย นางสาวนันทพร วงษ เชษฐา นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ นางสาวกุลธิดา มงคลศิริเกียรติ นางสาวเบญจวรรณ สวาง และนางสาวอรัญญา บุญเกลียว ในฐานะผูบริหาร

9.5

การกํากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัทไดมีมติเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2551 เพื่อกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการสําหรับเปนแนวทางในการ ปฏิบัติ เปนครั้งแรก และไดดําเนินการทบทวนเนื้อหาอยางสม่ําเสมอ ใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจด ทะเบียนป 2549 ของตลาดหลักทรัพยฯ ในป 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ ไดพิจารณาทบทวนนโยบายฯ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2553 และประกาศใหพนักงานทุกระดับทราบและถือปฏิบัติ ซึ่งมีสาระสําคัญแบงออกเปน 5 หมวดดังนี้ 1) สิทธิของผูถ ือหุน บริษัทฯ ตระหนักและใหความสําคัญถึงสิทธิของผูถือหุนของบริษัทฯ มาโดยตลอด ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีนโยบายในการปฏิบัติตอ ผูถือหุนของบริษัทฯ ทุกรายอยางเทาเทียม และเปนธรรม เปนไปตามขอกําหนดกฎหมายที่ทางการกําหนด โดยผูถือหุนมีสิทธิในความ เปนเจาของโดยควบคุมบริษัทฯ ผานการแตงตั้งคณะกรรมการ ใหทําหนาที่แทนตนและมีสิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ สําคัญของบริษัทฯ ซื้อขายหรือโอนหุน และมีสิทธิขั้นพื้นฐานตางๆ เชน การมีสวนแบงในผลกําไรของกิจการ การไดรับขาวสารขอมูลของ กิจการอยางเพียงพอ ทันเวลา เหมาะสมตอการตัดสินใจ การเขารวมประชุมเพื่อใชสิทธิออกเสียงในที่ประชุมเพื่อลงมติที่มีผลกระทบตอ บริษัทฯ เปนตน สวนที่ 2 หนาที่ 47


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) นอกเหนือจากสิทธิพื้นฐานตางๆ ขางตนแลว บริษัทฯ มีนโยบายในการดําเนินการในเรื่องตางๆ ที่เปนการสงเสริม และอํานวย ความสะดวกในการใชสิทธิของผูถือหุน ดังนี้ การประชุมผูถือหุน 1.ขอมูลและเอกสารที่ตองจัดสงใหผูถือหุนทุกคนในหนังสือนัดเชิญประชุมผูถือหุน มีดังนี้ • วัน เวลา สถานที่ • วาระการประชุม และความเห็นของคณะกรรมการในแตละวาระพรอม ขอมูลที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ตองตัดสินใจในที่ ประชุม • หนังสือมอบฉันทะและรายละเอียดวิธีการมอบฉันทะ โดยเสนอกรรมการอิสระอยางนอย 1 คน เปนผูรับมอบอํานาจ • กฎเกณฑตางๆที่ใชในการประชุม รวมถึงขั้นตอนการออกเสียงลงมติ 2.สงหนังสือเชิญประชุมผูถือหุนเปนการลวงหนากอนวันประชุม ไมนอยกวา 20 วัน 3.จัดการประชุมผูถือหุนในวัน เวลา และสถานที่ที่สะดวกตอผูถือหุน 4.กรรมการทุกคน และประธานคณะกรรมการชุดยอยเขารวมประชุมผูถือหุนโดยพรอมเพรียงกัน เพื่อรับฟงความคิดเห็นและ ตอบคําถามของผูถือหุน 5.บริษัทจะอํานวยความสะดวกและเปดโอกาส ใหผูถือหุนไดใชสิทธิในการแสดงความคิดเห็นอยางเต็มที่ในระหวางการประชุม 6.การลงคะแนนเสียงในที่ประชุมผูถือหุน ใหปฏิบัติดังนี้ • ลงคะแนนเสียงเรียงลําดับตามวาระการประชุมที่กําหนด • เปดโอกาสใหมีการชี้แจงและอภิปรายซักถามในที่ประชุมกอนการลงคะแนน • แจงวิธีการลงคะแนนเสียงและการนับคะแนนใหผูถือหุนทราบกอนการลงคะแนน • อํานวยความสะดวกในการลงคะแนนใหผูถือหุนทุกคน • การลงคะแนนเสียงในวาระการแตงตั้งกรรมการ ใหลงคะแนนเปนรายบุคคล 7. รายงานการประชุม มีรายละอียดดังนี้ • รายชื่อกรรมการ และผูบริหาร ที่เขารวมประชุม • สรุปสาระสําคัญของเรื่องที่เสนอที่ประชุม สรุปขอซักถามของผูถือหุน สรุปคําชี้แจงที่เปนสาระสําคัญ และขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของ • สงรายงานการประชุมฯใหตลาดหลักทรัพย และเผยแพรรายงานการประชุมใหผูถือหุนทราบผานทางเว็ปไซดของ บริษัทภายใน 14 วัน การสื่อสารกับผูถือหุน 1. จัดใหมีหนวยงานผูลงทุนสัมพันธทําหนาที่ติดตอสื่อสารกับผูถือหุน ผูลงทุน รับผิดชอบดูแล ใหขอมูลและตอบคําถามตางๆ 2.จัดใหมีการเปดเผยขอมูลและสารสนเทศตางๆของบริษัทผานทางเว็ปไซด www.nine.co.th เพื่อใหผูถือหุน ผูลงทุน นักวิเคราะห และผูสนใจอื่นๆ เขาไปดูรายละเอียดของบริษัทไดอยางรวดเร็ว 3.จัดใหมีระบบการจัดการทะเบียนหุนที่ไดมาตรฐาน เชื่อถือได โดยบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ทํา หนาที่เปนนายทะเบียนหุน 2) การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน ผูถือหุนทุกรายทั้งผูถือหุนที่เปนผูบริหาร และผูถือหุนที่ไมไดเปนผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญหรือผูถือหุนรายยอย รวมทั้งผูถือหุน ตางชาติ จะไดรับการปฏิบัติที่เทาเทียมกันและเปนธรรม บริษัทฯ จะสื่อสารกับผูถือหุนและเผยแพรขอมูลของบริษัทผานชองทางการ รายงานสารสนเทศของตลาดหลักทรัพยฯ และผานทางเว็บไซตของบริษัท รวมถึงวิธีการอื่นใดที่เหมาะสม เพื่อใหผูถือหุนทุกคนไดรับ ขอมูลขาวสารอยางเทาเทียมกัน โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ สวนที่ 2 หนาที่ 48


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) การประชุมผูถือหุน 1. เปดโอกาสใหผูถือหุนที่ไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเองสามารถใชสิทธิออกเสียงโดยมอบฉันทะใหผูอื่นมาประชุมและ ออกเสียงลงมติแทนได นอกจากนี้บริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถลงคะแนนเสียงในการมอบฉันทะได ตามรูปแบบหนังสือมอบฉันทะ ที่สงใหผูถือหุนหรือ download ไดจากเว็บไซด www.nine.co.th รวมถึงผูถือหุนสามารถมอบฉันทะใหกรรมการอิสระคนใดคนหนึ่ง ออก เสียงลงมติแทนได 2. ผูถือหุนสามารถเสนอเพิ่มวาระการประชุมไดลวงหนากอนวันประชุมผูถือหุน โดยตองเสนอ หลักการและเหตุผล ตาม ระเบียบที่บริษัทกําหนด ซึ่งบริษัทจะแจงใหผูถือหุนทราบขอมูลผานทางระบบการเปดเผยสารสนเทศของตลาดหลักทรัพยฯ และทางเว็บ ไซดของบริษัท โดยวาระการประชุมที่เสนอตองไมมีลักษณะดังนี้ • เรื่องที่อยูนอกเหนืออํานาจของบริษัท • เรื่องที่ขัดกับกฏหมาย ประกาศ ขอบังคับ และระเบียบตางๆของหนวยราชการหรือหนวยงานที่กํากับดูแลบริษัท หรือไมเปนไปตามวัตถุประสงค ขอบังคับ มติที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท • เรื่องที่อาจกอใหเกิดความเสียหายอยางมีนัยสําคัญตอผูถือหุนโดยรวม • เรื่องที่บริษัทไดดําเนินการแลว • เรื่องที่เปนไปเพื่อผลประโยชนของบุคคลหรือกลุมบุคคลโดยเฉพาะ • เรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจปกติและขอกลาวอางของผูเสนอเพิ่มวาระการประชุมไมไดแสดงใหเห็นถึงเหตุอัน ควรสงสัยเกี่ยวกับความไมปกติของเรื่องดังกลาว • เรื่องที่คณะกรรมการพิจารณาแลวเห็นวาไมมีความจําเปนที่จะตองบรรจุเปนวาระ ซึ่งคณะกรรมการตองมีเหตุผล สมควรและสามารถอธิบายใหผูถือหุนเขาใจได 3. ผูถือหุนสามารถสงคําถาม ลวงหนากอนวันประชุมได ตามระเบียบที่บริษัทกําหนด 4. เปดโอกาสใหผูถือหุน เสนอชื่อบุคคลเพื่อเขาดํารงตําแหนงกรรมการได โดยเสนอชื่อผานคณะกรรมการบริษัทลวงหนา 3 เดือน กอนวันประชุมใหญสามัญประจําปผูถือหุน พรอมขอมูลประกอบการพิจารณาดานคุณสมบัติและการใหความยินยอมของผูไดรับ การเสนอชื่อตามระเบียบที่บริษัทกําหนด 5.ไมเพิ่มวาระการประชุมโดยไมแจงใหผูถือหุนทราบลวงหนา เพื่อใหผูถือหุนไดใชเวลาศึกษาขอมูลกอนการตัดสินใจ นโยบายการปองกันไมใหกรรมการและผูบริหารใชตําแหนงหนาที่เพื่อประโยชนแกตนในทางที่มิชอบ 1. กําหนดใหกรรมการ และ ผูบริหารของบริษัท รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 2. หามไมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัท ที่เกี่ยวของกับขอมูลภายใน ไปเปดเผยขอมูลภายในแกบุคคลภายนอก หรือบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของ 3.หามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัท ที่เกี่ยวของกับการจัดทํารายงานทางการเงิน หรือขอมูลที่เกี่ยวของอื่น ซื้อ ขายหลักทรัพยของบริษัท ในชวง 1 เดือน กอนประกาศงบการเงิน นโยบายความขัดแยงทางผลประโยชน บริษัทถือเปนนโยบายสําคัญที่จะไมให กรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานของบริษัท แสวงหาผลประโยชนสวนตน จึงหามไมให กรรมการประกอบธุรกิจทีแ่ ขงขันกับบริษัท หลีกเลี่ยงการทํารายการที่เกี่ยวโยงกับตนเอง ทีอ่ าจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกบั บริษัท หรือในกรณีที่จําเปนตองทํารายการเชนนั้น คณะกรรมการบริษัท จะดูแลใหการทํารายการนั้น มีความโปรงใส เที่ยงธรรม เสมือน กับการทํารายการกับบุคคลภายนอก ทั้งนี้กรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานที่มสี วนไดสวนเสียในรายการนั้นจะตองไมมีสวนในการ พิจารณาอนุมัติ ในกรณีที่เขาขายรายการที่เกี่ยวโยงกัน ภายใตประกาศของสํานักงานกลต. หรือตลาดทรัพยแหงประเทศไทย คณะกรรมการจะ ดูแลใหมีการปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยขอมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียนอยางเครงครัด สวนที่ 2 หนาที่ 49


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) นโยบายรายการระหวางกันของบริษัท กับ บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษทั ยอยในระดับเดียวกัน ประกอบดวย 2 สวน คือ 1. มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันของบริษทั ฯ บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทยอยในระดับ เดียวกัน 2. นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคตของบริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทยอยในระดับ เดียวกัน 1.มาตรการและขัน้ ตอนในการอนุมตั ิการทํารายการระหวางกัน บริษัทฯ ไดกําหนดมาตรการควบคุมการทํารายการระหวางกันของบริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทยอยในระดับ เดียวกัน กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในอนาคตตาม ประกาศของคณะกรรมการ กลต. และตลาดหลักทรัพยฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนในการเขาทํารายการและความเหมาะสมทางดานราคา ของรายการ โดยพิจารณาจากเงือ่ นไขตางๆ ใหเปนไปตามลักษณะการดําเนินการคาปกติในตลาด และมีการเปรียบเทียบราคาที่เกิด ขึ้นกับบุคคลภายนอก ในกรณีที่ไมสามารถเปรียบเทียบราคากับบุคคลภายนอกได ทั้ง 2 ฝายจะรวมกันพิจารณา เพื่อกําหนดอัตราคา สินคาและบริการที่เหมาะสมตอไป ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชํานาญในการพิจารณารายการระหวางกันที่เกิดขึ้น บริษทั ฯจะจัดใหมีผูเชีย่ วชาญ อิสระหรือผูสอบบัญชีของบริษัทฯ เปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกันดังกลาว เพื่อนําไปประกอบการตัดสินใจของ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือ ผูถือหุน ตามแตกรณี ซึ่งผูทอี่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชนหรือมี สวนไดสวนเสียในการทํารายการระหวางกันจะไมมสี ิทธิออกเสียงในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันดังกลาว นอกจากนั้น บริษัทฯ จะดําเนินการเปดเผยขอมูลในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมาหรือจําหนายไปของสินทรัพยที่ สําคัญของบริษัทฯ และบริษัทยอย ตามขอกําหนดของคณะกรรมการ กลต. และตลาดหลักทรัพยฯ ตลอดจนถึงมาตรฐานบัญชีที่กําหนด โดยสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีอนุญาตแหงประเทศไทย 2.นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต บริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทยอยในระดับเดียวกัน อาจมีการเขาทํารายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนในอนาคต โดยหากเปนรายการธุรกิจปกติและรายการสนับสนุนธุรกิจปกติซึ่งมีเงื่อนไขทางการคาโดยทั่วไปกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน โดยเฉพาะในกลุมบริษัทในเครือบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) เชน การจางพิมพ การจางสงสินคา การ ซื้อกระดาษ การซื้อโฆษณาในสื่อตางๆ และการเรียกเก็บคาบริการระหวางกัน เปนตน บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายในการทํา รายการระหวางกันใหมีเงื่อนไขตางๆ เปนไปตามลักษณะการดําเนินการคาปกติในราคาตลาด ซึ่งสามารถเปรียบเทียบไดกับราคาที่เกิด ขึ้นกับบุคคลภายนอกในกรณีที่ไมสามารถเปรียบเทียบราคากับบุคคลภายนอกได ทั้ง 2 ฝายจะรวมกันพิจารณา เพื่อกําหนดอัตราคา สิน คา และบริก ารที่เ หมาะสมตอ ไปซึ่ งเปน ไปตามหลัก การที่ คณะกรรมการบริษั ทอนุมั ติไ วแ ลวตามที่กํ าหนดไว ในพระราชบัญ ญั ติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และใหปฏิบัติตามสัญญาที่ตกลงรวมกันอยางเครงครัดพรอมทั้งกําหนดราคาและเงื่อนไขรายการตางๆ ใหชัดเจน เปนธรรม และไมกอใหเกิดการถายเทผลประโยชน ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการเขาทํารายการใหม หรือมีการเปลี่ยนแปลงของราคาและเงื่อนไขที่แตกตางจากเดิม ฝายตรวจสอบภายใน จะทําหนาที่ตรวจสอบขอมูลและจัดทํารายงานเพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาและใหความเห็นถึงความเหมาะสมของราคาและ ความสมเหตุสมผลของการทํารายการดังกลาวอยางนอยปละครั้ง ในกรณีรายการธุรกิจปกติและรายการสนับสนุนธุรกิจปกติซึ่งไมมีเงื่อนไขทางการคาโดยทั่วไป และรายการระหวางกันอื่นๆ บริษัทฯ จะดําเนินการตามมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันที่ระบุไวขางตน กอนการทํารายการ สวนที่ 2 หนาที่ 50


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 3) บทบาทของผูมีสวนไดเสีย คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงสิทธิของผูมีสวนไดเสียที่จะไดรับการดูแลจากบริษัทฯ ตามสิทธิที่มีตามกฎหมายที่เกี่ยวของ คณะกรรมการจะพิจารณาใหมีกระบวนการสงเสริมใหเกิดความรวมมือระหวางบริษัทฯ กับผูมีสวนไดเสีย ในการสรางความมั่งคั่ง ความ มั่นคงทางการเงินและความยั่งยืนของกิจการ ในระบบการกํากับดูแลกิจการ ผูมีสวนไดเสียที่สําคัญมีหลายกลุมประกอบดวย พนักงาน ลูกคา ผูถือหุน ผูลงทุน คูคา เจาหนี้ คูแขงทางการคา สังคม ภาครัฐ ชุมชุนที่บริษัทตั้งอยู และผูสอบบัญชีอิสระ เปนตน คณะกรรมการมีนโยบายใหมีการปฏิบัติตอผูมีสวนได เสียแตละกลุม โดยคํานึงถึงสิทธิของผูมีสวนไดเสียตามกฎหมายหรือตามขอตกลงที่มีกับบริษัทฯ สงเสริมการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสีย ในการเสริมสรางผลการดําเนินงานของบริษัทฯ เพื่อสรางความมั่นคงอยางยั่งยืนใหกับกิจการ และเปดเผยขอมูลสําคัญที่เกี่ยวของใหผูมี สวนไดเสียไดรับทราบขอมูลอยางเพียงพอ โดยกําหนดเปนจริยธรรมขององคกรในดานตางๆ คณะกรรมการบริษัทยังไดกําหนดใหมีการรายงานขอมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ที่ผูมีสวนไดเสียและผูมีสวนเกี่ยวของ ควรรับรูทั้งการรายงานขอมูลในแบบรายงานการเปดเผยขอมูลประจําป (แบบ 56-1) รายงานประจําป เว็บไซด ฯลฯ รวมทั้งจัดใหมี ชองทางการสื่อสารแบบสองทางเพื่อใหผูมีสวนไดเสียและผูมีสวนเกี่ยวของไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและรองเรียนในกรณีที่ไมไดรับ ความเปนธรรมจากการกระทําของบริษัทฯ ดวย และเปดเผยขอมูลสําคัญที่เกี่ยวของใหผูมีสวนไดเสียไดรับทราบขอมูลอยางเพียงพอ โดย กําหนดเปนจริยธรรมขององคกร ในดานตางๆ ผูถือหุน บริษัทฯ มุงมั่นที่จะรับผิดชอบ และสรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับผูถือหุนโดยคํานึงถึงการเจริญเติบโตขององคกรอยางยั่งยืน และ ใหผลตอบแทนที่เหมาะสมอยางตอเนื่อง รวมทั้งจะดําเนินการอยางโปรงใส ยึดมั่นในคุณธรรมและอยูในกรอบของกฎหมาย กรอบของ นโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท และการปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน มีระบบบัญชีที่เชื่อถือได •

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทฯ ไดรับรูถึงสิทธิ และมีการดูแลสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุมของบริษัทฯ อยางเทาเทียม และเปนธรรม

พนักงาน บริษัทฯ ตระหนักดีวาทรัพยากรมนุษยเปนสิ่งที่มีคุณคาที่สุด และเปนปจจัยสําคัญที่นําองคกรไปสูความสําเร็จ จึงมุงมั่นในการพัฒนา คุณภาพของพนักงาน เสริมสรางวัฒนธรรม และบรรยากาศการทํางานที่ดี สงเสริมการทํางานเปนทีม เพื่อสรางความมั่นใจใหพนักงาน บริษัท เปดโอกาสใหพนักงานสามารถ แสดงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ ขอรองเรียน หรือแจงเบาะแสการทุจริตถึงฝายบริหารไดหลายชองทาง ไดแก ผานตัวแทนของพนักงานที่ไดรับการคัดเลือกเปนกรรมการลูกจางตามที่กฏหมายกําหนด ซึ่งประชุมรวมกับฝายบริหารเปนประจําทุกเดือน แสดงความคิดเห็น หรือตั้งคําถามผาน website:nationhouse ซึ่งเปน intranet ภายในองคกร หรือเสนอความเห็นโดยตรงถึงผูบริหารผานทาง e-mail ซึ่งพนักงานสามารถทราบไดจาก intranet ของบริษัท ในปที่ผานมาไมมีกรณีฟองรอง •

ในดานการพัฒนาคุณภาพของพนักงานนั้น บริษัทไดจัดสงพนักงานไปฝกอบรม ทั้งภายในและภายนอกสถานที่ และตามที่สภา วิช าชี พบั ญ ชีแ หง ประเทศไทย สํา นัก งาน ก.ล.ต. ตลาดหลั ก ทรัพ ย แห งประเทศไทย ออกประกาศใหบ ริ ษัท จดทะเบีย นในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย ตองจัดทํางบการเงินตามเกณฑมาตรฐานบัญชีใหมที่ปรับเปลี่ยนตามมาตรฐานบัญชีระหวางประเทศ(IFRS) โดยเริ่มมีผลบังคับใชตั้งแตป 2554 ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม และใหความรูกับทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิ ฝายบัญชี ฝาย ทรัพยากรบุคคล ฝายไอที เปนตน บริษัทฯ จึงเชิญผูเชี่ยวชาญทางดานมาตรฐานบัญชี และเปนผูบริหารระดับสูงของกลุมบริษัท ปตท. ที่ มีความรูความชํานาญ และมีประสบการณในการนํามาตรฐานบัญชีระหวางประเทศ มาใหความรูและเตรียมความพรอมของการนํา มาตรฐานบัญชีระหวางประเทศ (IFRS) มาประยุกตใชกับบริษัทฯ และรวมแลกเปลี่ยนประสบการณจากการใชมาตรฐานบัญชีระหวาง ประเทศ (IFRS) เพื่อนําความรูและการแลกเปลี่ยนประสบการณดังกลาวมาเตรียมความพรอมของกลุมบริษัทตอไป

สวนที่ 2 หนาที่ 51


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) บริษัทเปดโอกาสใหพนักงานสามารถ แสดงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ ขอรองเรียน หรือแจงเบาะแสการทุจริตถึงฝายบริหารได หลายชองทาง ไดแก ผานตัวแทนของพนักงานที่ไดรับการคัดเลือกเปนกรรมการลูกจางตามที่กฎหมายกําหนด หรือแจงเบาะแสแก คณะกรรมการบริษัทผานทางประธานกรรมการตรวจสอบได คณะกรรมการจะปดชื่อพนักงานที่แจงเบาะแสนั้นเปนความลับ ลูกคา บริษัทฯ มีความมุงมั่นในการสรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหกับลูกคา เพื่อจะไดรับผลิตภัณฑและบริการที่ดี มีคุณภาพ ใน ราคาที่เหมาะสม รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดีและยั่งยืน •

คูคา บริษัทฯ คํานึงถึงความเสมอภาค และความซื่อสัตยในการดําเนินธุรกิจ และผลประโยชนรวมกันกับคูคา โดยบริษัทฯ พึงปฏิบัติ ตามกฎหมายและกติกาตางๆ อยางเครงครัด และมีจรรยาบรรณที่ดีในการดําเนินธุรกิจ •

คูแขง บริษัทฯ คํานึงถึงความเสมอภาค และความซื่อสัตยในการดําเนินธุรกิจ และผลประโยชนรวมกันกับคูคา ในสวนของธุรกิจที่เปน การแขงขัน บริษัทฯ จะยึดถือกติกาของการแขงขันที่ดี และจะยึดถือแนวทางการปฏิบัติที่ดี และเปนธรรม รวมทั้งการสรางพันธมิตรทาง การคา •

ประชาชน สังคมและสิ่งแวดลอม บริษัทฯ มีความหวงใยถึงคุณภาพชีวิตและการบริโภคขาวสารของคนไทย โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ใหความสําคัญอยางยิง่ ใน การเสนอขอมูลขาวสารที่มีคุณภาพและมีประโยชนตอสังคมและสวนรวม และใสใจตอสิ่งแวดลอมในฐานะที่เปนผูประกอบการรายหนึ่ง ในประเทศไทย รวมทั้งเปนสือ่ กลางในการสรางจิตสํานึกดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมใหคนในสังคม •

4)

การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

คณะกรรมการใหความสําคัญในการควบคุมดูแลใหบริษัทฯ เปดเผยขอมูลสําคัญที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ ทั้งขอมูลทางการเงินและ ขอมูลที่มิใชขอมูลทางการเงินอยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา โปรงใส ผานชองทางที่เขาถึงขอมูลไดงาย มีความเทาเทียม และเชื่อถือได โดยมีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ ก) บริษัทฯ ปฏิบัติตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยจัดสงงบการเงิน ประจําป และประจําไตรมาสของบริษัทฯ ภายใน 60 วัน และ 45 วัน หลังจากวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ข) บริษัทฯ จะจัดใหมีการทํารายงานเกี่ยวกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการและผลการปฏิบัติตามนโยบายไวในรายงานประจําป และ เปดเผยทางเวบไซตของบริษัทฯ ค) บริษัทฯ จะจัดทําสารสนเทศของบริษัทฯ อยางรอบคอบถูกตอง และโปรงใส และเปดเผยสาระสําคัญสม่ําเสมอ ตามขอบังคับของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ กลต. ง) บริษัทฯ จะจัดทํานโยบายเรื่องบุคคลที่เกี่ยวโยงที่ทํารายการคาธุรกิจปกติ หรือใหการสนับสนุนธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขการคาปกติ โดยทั่วไป จะดําเนินการขออนุมัติหลักการจากคณะกรรมการบริษัทตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2551 จ) คณะกรรมการจะจัดใหมีการทํางบดุล บัญชีกําไรขาดทุน และรายงานการตรวจสอบบัญชีของผูสอบบัญชี พรอมทั้งรายงานประจําป ของคณะกรรมการ เสนอตอที่ประชุมผูถือหุนในการประชุมสามัญประจําปผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติ ฉ) บริษัทฯ จะจัดใหมีการทํารายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน และรายงานของผูสอบบัญชี ไวใน รายงานประจําปของบริษัทฯ ช) บริษัทฯ จะจัดใหมีการเปดเผยนโยบายการจายคาตอบแทนแกกรรมการและผูบริหารระดับสูงโดยรวม รวมถึงคาตอบแทนที่ กรรมการไดรับจากการเปนกรรมการในบริษัทยอยดวย นอกจากนี้ไดเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับคุณวุฒิและประสบการณของกรรมการ จํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุม ไวอยางครบถวน สวนที่ 2 หนาที่ 52


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ซ) บริษัทฯ เล็งเห็นถึงความสําคัญของการมีชองทางการเปดเผยขอมูลที่หลากหลาย ซึ่งจะชวยใหผูลงทุนทุกกลุมโดยเฉพาะผูลงทุนราย ยอยสามารถเขาถึงขอมูลของบริษัทฯ ไดอยางเทาเทียมกัน และรวดเร็ว จึงจะจัดใหมีการจัดทําขอมูลตางๆไวไมวาจะเปนแบบแสดง รายการขอมูลประจําป (แบบ56-1) รายงานประจําป ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ ไวในเวบไซตของบริษัทฯ และจะจัดใหมีการพบปะ นักวิเคราะหหลักทรัพยและนักลงทุนในโอกาสตางๆ พรอมทั้งเปดโอกาสใหสามารถสอบถาม และ ดาวนโหลดขอมูลตางๆของบริษัทฯ ไดทาง เว็บไซตของบริษัทฯ 5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการมีบทบาทสําคัญในการกํากับดูแลกิจการเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ คณะกรรมการมีความรับผิดชอบตอผล การปฏิบัติหนาที่ตอผูถือหุนและเปนอิสระจากฝายจัดการ มีหนาที่ปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎหมาย ตามหลักเกณฑคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุน ขอบังคับของ กลต. และตลาดหลักทรัพยฯ ตามวัตถุประสงคและขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนตามมติที่ประชุมผูถือหุน โดย ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต ระมัดระวังและรอบคอบ และคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ และเปนธรรมตอผูถือหุนทุกคน โครงสรางคณะกรรมการ ก) คณะกรรมการของบริษัทมีจํานวนไมนอยกวา 5 คน ประกอบดวยกรรมการอิสระ (Independent Director) จํานวนไมนอยกวา 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด ตองมีกรรมการตรวจสอบอยางนอย 3 คน จํานวนที่เหลือเปนกรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Director) และกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร (Non-Executive Director) กรรมการอิสระ(Independent Director) หมายถึง กรรมการบริษัทที่ไมไดบริหารจัดการกิจการของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม มี ความเปนอิสระจากผูถือหุนใหญ และผูบริหารของบริษัท ไมความสัมพันธอันอาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระ กรรมการบริหาร (Executive Director) หมายถึง ผูบริหารที่ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการของบริษัท ซึ่งเปนผูที่มีความรูความเขาใจ ในธุรกิจของบริษัท ไมเปนบุคคลตองหาม เปนกรรมการบริษัทตามกฎหมายหรือขอกําหนดของสํานักงานก.ล.ต. หรือตลาด หลักทรัพยฯ กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร(Non-Executive Director) หมายถึงกรรมการบริษัทที่ไมไดเปนผูบริหาร มีความรูความสามารถ ทักษะ และประสบการณ เฉพาะดานที่เปนประโยชนกับบริษัท และไมเปนบุคคลตองหามเปนกรรมการบริษัทตามกฎหมายหรือขอกําหนด ของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย ข) คณะกรรมการจะพิจ ารณาคั ดสรรคุณ สมบัติ ข องผู ที่ จ ะดํา รงตํา แหนง กรรมการของบริษั ทฯ ตามเกณฑ ทัก ษะ ประสบการณ ความสามารถเฉพาะดาน ที่หลากหลาย เปนประโยชนกับบริษัทฯ มีความซื่อสัตย สุจริต มีจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ สนใจใน กิจการของบริษัทฯ อยางแทจริง และมีความตั้งใจที่จะดําเนินธุรกิจอยางตอเนื่อง รวมทั้งสามารถอุทิศเวลา และความพยายามใน การปฏิบัติหนาที่ ค) คณะกรรมการที่พนจากตําแหนงตามวาระ อาจไดรับการแตงตั้งกลับเขาดํารงตําแหนงใหมได โดยผานที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ ง) ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการผูอํานวยการ สามารถเปนกรรมการบริษัทจดทะเบียน และบริษัทยอยไดไม เกิน 5 บริษัทโดยการดํารงตําแหนงกรรมการดังกลาว ตองแจงใหคณะกรรมการรับทราบและเห็นชอบ จ) กรรมการของบริษัทฯ จะไมเปนกรรมการในบริษัทที่เปนคูแขงของบริษัทฯ และ บริษัทฯ ไดเปดเผยรายชื่อบริษัทประเภทของ ธุรกิจ และตําแหนงที่กรรมการของบริษัทฯ ไปดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นไวในทะเบียนประวัติกรรมการ ฉ) คณะกรรมการบริษัท จัดใหมีเลขานุการบริษัท ซึ่งทําหนาที่รับผิดชอบและดําเนินการตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย ใหคําแนะนําดานกฎหมายและกฎเกณฑตางๆที่คณะกรรมการตองทราบและปฏิบัติตาม นอกจากนั้นเลขานุการบริษัท จะทําหนาที่ประสานกับฝายบริหารเพื่อปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร หลักเกณฑและรูปแบบในการจายคาตอบแทนกรรมการ บริษัทฯ ไดกําหนดในระดับเดียวกับในอุตสาหกรรม ตามประสบการณ ภาระหนาที่ ขอบเขตของบทบาทความรับผิดชอบ รวมถึงประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากกรรมการแตละคน สวนที่ 2 หนาที่ 53


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) คาตอบแทนของผูบริหารระดับสูงเปนไปตามนโยบายที่คณะกรรมการกําหนด ภายในกรอบที่ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน ระดับคาตอบแทนเปนเงินเดือน โบนัส และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว จะพิจารณาให สอดคลองกับผลงานของบริษัทฯ และผลการ ปฏิบัติงานของผูบริหารแตละคน คณะกรรมการบริ ษั ท เป น ผู ป ระเมิ น ผลงานกรรมการผู อํ า นวยการ เป น ประจํ า ทุ ก ป เพื่ อ นํ า ไปใช ใ นการพิ จ ารณากํ า หนด คาตอบแทนของกรรมการผูอํานวยการ โดยใชบรรทัดฐานที่ไดตกลงกันลวงหนา กับกรรมการผูอํานวยการ ตามเกณฑที่เปนรูปธรรม ซึ่ง รวมถึงผลการปฏิบัติงานทางการเงิน ผลการปฏิบัติงานตามวัตถุประสงคเชิงกลยุทธในระยะยาว การประชุมคณะกรรมการ ก) บริษัทฯ กําหนดใหมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอยางนอยปละ 4 ครั้ง โดยแจงกําหนดการประชุมตลอดทั้งปเปนการลวงหนา แกกรรมการทุกทานเพื่อสามารถจัดเวลาเขารวมประชุมได ข) ประธานกรรมการและกรรมการผูอํานวยการรวมกันพิจารณา กลั่นกรองเลือกเรื่องที่จะบรรจุเขาเปนวาระการประชุมคณะกรรมการ ค) บริษัทเปดโอกาสใหกรรมการแตละคนสามารถเสนอเรื่องเขาสูวาระการประชุมของคณะกรรมการได โดยเสนอผานประธาน กรรมการ ง) หนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการบริษัทพรอมแจงวาระการประชุม จะสงใหแกกรรมการกอนวันประชุมไมนอยกวา 7 วัน ยกเวน กรณีเรงดวน ฉุกเฉิน จ) บริษัทฯ จะจัดสงเอกสารประกอบการประชุมใหแกกรรมการเปนการลวงหนา เพื่อประกอบการพิจารณา หากกรรมการทานใด ตองการขอมูลเพิ่มเติมสามารถขอไดที่เลขานุการบริษัท

ฉ) บริษัทฯ มีนโยบายใหกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารมีโอกาสที่จะประชุมกันเองเพื่ออภิปรายปญหาเกี่ยวกับการจัดการที่อยูในความ สนใจ โดยไมมีฝายจัดการรวมอยูดวย ในป 2552 และ 6 เดือนแรกของป 2553 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมรวม 7 ครั้งและ 2 ครั้ง ตามลําดับ โดยกรรมการแตละ ทานไดเขารวมประชุมดังรายละเอียดตอไปนี้ กรรมการ 1. นายธนะชัย สันติชัยกูล 2. นายสาคร สุขศรีวงศ 3. นางเกษรี กาญจนะวณิชย 4. นางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ 5. นางสาวนันทพร วงษเชษฐา 6. นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ 7. นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร 8. นายกรีธา มติธนวิรุฬห 9. นายสุธีร จินตนานฤมิตร

ตําแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

จํานวนครั้งที่เขาประชุม / จํานวนครั้งทั้งหมด 2552 ม.ค. – มิ.ย. 2553 7/7 2/2 7/7 2/2 7/7 2/2 7/7 2/2 6/7 2/2 7/7 2/2 7/7 2/2 7/7 2/2 7/7 2/2

ในป 2552 และ 6 เดือนแรกของป 2553 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้น 5 ครั้ง และ 2 ครั้ง ตามลําดับ โดยกรรมการ ตรวจสอบแตละทานไดเขารวมประชุมดังรายละเอียดตอไปนี้ กรรมการ

1. นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร 2. นายกรีธา มติธนวิรุฬห 3. นายสุธีร จินตนานฤมิตร

ตําแหนง ประธานกรรมการตรวจสอบ

จํานวนครั้งที่เขาประชุม / จํานวนครั้งทั้งหมด 2552 ม.ค. – มิ.ย. 2553 5/5 2/2

กรรมการตรวจสอบ

5/5

2/2

กรรมการตรวจสอบ

5/5

2/2 สวนที่ 2 หนาที่ 54


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการจะทําการประเมินผลการปฏิบัติงานดวยตนเองโดยรวม และ/หรือ เฉพาะเรื่อง เปนประจํา เพื่อรวมกันพิจารณา ผลงานและปญหา เพื่อการปรับปรุงแกไขตอไป โดยกําหนดบรรทัดฐานที่จะใชเปรียบเทียบกับผลการปฏิบัติงานอยางมีหลักเกณฑ การพัฒนากรรมการและผูบริหาร •

9.6

ทุกครั้ งที่มี การเปลี่ยนแปลงกรรมการ และผูบ ริหารระดั บสูง ฝายจัดการจะจัดใหมีเอกสารและขอมู ลที่เป นประโยชน ต อ การ ปฏิบัติงาน การแนะนําลักษณะธุรกิจ และแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ใหแกกรรมการ และผูบริหารระดับสูงใหม คณะกรรมการจะสงเสริม และอํานวยความสะดวกใหมีการฝกอบรม และการใหความรูแกกรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบริหาร เลขานุการบริษัท ในระบบการกํากับดูแลกิจการ และการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ เพื่อใหมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอยาง ตอเนื่อง การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน

บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายและมาตรการการปองกันการนําขอมูลภายในของกลุมบริษัทฯ ซึ่งยังไมเปดเผยตอสาธารณชนไปใช เพื่อแสวงหาผลประโยชนสวนตน รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย ดังนี้ 1. กรรมการ ผูบริหาร เจาหนาที่ และพนักงานของกลุมบริษัทฯ จะรักษาขอมูลที่เปนความลับ และ/หรือขอมูลภายในกลุมบริษัทฯ เปน ความลับ เวนแตการเปดเผยขอมูลนั้นเปนไปเพื่อผลประโยชน ในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ 2. กรรมการ ผูบริหาร เจาหนาที่ และพนักงานของบริษัทฯ จะไมเปดเผยขอมูลที่เปนความลับ และ/หรือขอมูลภายในของกลุมบริษัทฯ โดยมีเปาหมายเพื่อผลประโยชนของตนเองหรือผูอื่น ไมวาทางตรง หรือทางออม โดยไมคํานึงวาจะไดรับผลประโยชนดังกลาวหรือไม 3. กรรมการ ผูบริหาร เจาหนาที่ และพนักงานของกลุมบริษัทฯ จะไมขาย ซื้อ โอน หรือรับโอนหลักทรัพยของบริษัทฯ โดยขอมูลที่เปน ความลับ และ/หรือขอมูลภายในของกลุมบริษัทฯ และ/หรือการเขาทํารายการใด ๆ โดยขอมูลที่เปนความลับ และ/หรือ ขอมูล ภายในกลุมบริษัทฯ ในทางที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอกลุมบริษัทฯ ไมวาทางตรง หรือ ทางออม ขอกําหนดนี้ยังครอบคลุมไป ถึงคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของกรรมการ ผูบริหาร เจาหนาที่ และพนักงานของกลุมบริษัทฯ 4. ภายหลังเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ ผูบริหาร ผูจัดการ ผูที่รับผิดชอบตอการดําเนินงาน ผูสอบ บัญชี เจาหนาที่ หรือพนักงานของกลุมบริษัทฯ ที่ซื้อหรือขาย เสนอซื้อ หรือ เสนอขาย หรือเชื้อเชิญใหบุคคลอื่นซื้อ ขาย หรือ เสนอซือ้ หรือ เสนอขาย หุนของบริษัทฯ ในลักษณะที่เปนการหาประโยชนจากบุคคลอื่น โดยการใชขอมูลภายในของกลุมบริษัทฯ ซึ่งยังไมได เปดเผยตอสาธารณะ และเปนขอมูลที่ไดมาจากการใชตําแหนงหนาที่ในการทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในราคาหุนของบริษัทฯ ไมวา การกระทําดังกลาว จะทําไปเพื่อประโยชนของบุคคลนั้นเอง หรือบุคคลอื่นก็ตาม หรือการเปดเผยขอมูลดังกลาวจะทําใหบุคคลผูนั้น ไดรับการพิจารณาจากบุคคลผูซึ่งเกี่ยวของกับการกระทําดังกลาว บุคคลผูนั้นมีความผิดตามกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับการใชขอมูล ภายในอันเนื่องมาจากการละเมิดดังกลาว ทั้งนี้ กรรมการ ผูบริหาร เจาหนาที่ และพนักงานของกลุมบริษัทฯ ซึ่งอยูในหนวยงานที่ไดรับทราบขอมูลภายในของกลุมบริษัทฯ จะไมทําการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทฯ ในชวงระยะ เวลา 1 เดือนกอนการเปดเผยงบการเงินตอสาธารณชน

สวนที่ 2 หนาที่ 55


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 9.7 บุคคลากร จํานวนพนักงานและคาตอบแทนของกลุมบริษัทฯ (ไมนับรวมกรรมการและผูบริหารตามรายละเอียดในสวนที่ 2 ขอ 9.4 คาตอบแทน ผูบริหาร) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 30 มิถุนายน 2553 มีรายละเอียดดังนี้ จํานวนพนักงาน (คน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ บริษัทยอย ก รวม 7 25 32 4 17 21 8 8 20 20 25 25 3 3 4 1 5 46 68 114 ป 2552 23,984,627 466,475 3,637,432 28,088,534

ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ บริษัทยอย ก รวม 7 26 33 6 20 26 7 7 22 22 0 22 22 3 3 7 1 8 52 69 121 ม.ค. – มิ.ย. 2553 12,816,949 2,559,947 15,376,896

ฝายบรรณาธิการ ฝายขายและการตลาด ฝายสิ่งพิมพตางประเทศ ฝายบัญชีและการเงิน / ธุรการ ฝายลงทุน ฝายคลังสินคา สํานักตรวจสอบภายใน อื่นๆ รวม คาตอบแทนพนักงาน (ลานบาท) เงินเดือน โบนัส อื่นๆ ข รวม หมายเหตุ : ก รวมถึง NED และ NEE ข ประกอบดวย เงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ คาสวัสดิการ คาลวงเวลา คอมมิชชั่น และเบี้ยเลี้ยง

กลุมบริษัทฯ ไมมีขอพิพาทดานแรงงานที่สําคัญในระยะ 3 ปที่ผานมา นโยบายในการพัฒนาพนักงาน บริษัทฯ มีนโยบายสงเสริมในการพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง ซึ่งแผนกทรัพยากรบุคคลไดจัดการอบรมสัมมนาใหพนักงาน ตลอดทั้งป โดยไดเชิญวิทยากรที่มีความรูความสามารถทั้งจากภายในและภายนอกองคกร มาใหการอบรมแกพนักงาน อาทิเชน การ อบรมความรูที่เกี่ยวกับการบริหารการจัดการ, การพัฒนาบุคลากร และภาษาอังกฤษ เปนตน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดสงเสริมใหแตละ หนวยงานจัดตั้งงบประมาณเพื่อการอบรมวิชาความรูใหกับพนักงาน โดยมีการพัฒนาบุคลากรในลักษณะเรียนรูจากการปฏิบัติงานจริง (on the job training) นอกจากนี้ ในแตละหนวยงานจะสงเสริมพนักงานที่มีความรูความสามารถในหนวยงานของตนใหมีความกาวหนา ในสายงานอาชีพที่ตนรับผิดชอบ โดยใช KPI (Key Performance Indicators) ในการประเมินผลงานประจําป

สวนที่ 2 หนาที่ 56


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 10.

การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบไดประเมินระบบการควบคุมภายในตามแบบประเมินความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายใน และสรุปความเห็นไดวาบริษัทฯ และบริษัทยอยมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมแลวในสภาพ ปจจุบัน ไมมีขอบกพรองเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่เปนสาระสําคัญ สามารถปองกันทรัพยสินของบริษัทฯ และบริษทั ยอยจากการ ที่ผูบริหารนําไปใชโดยมิชอบหรือโดยไมมีอํานาจ นอกจากนี้ คณะกรรมการไดขอใหฝายบริหารเรียกประชุมทุกฝายที่เกี่ยวของในบริษัทฯ และบริษัทยอยใหรับทราบและปฏิบัติงานตามขั้นตอนการทํางานที่กําหนด เพื่อใหการควบคุมภายในของบริษัทมีประสิทธิภาพตอไป 10.1 การควบคุมภายใน บริษัทฯ ใหความสําคัญตอระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพเพียงพอทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติงาน เพื่อปองกันหรือ ลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น โดยไดจัดทําคูมือระเบียบและวิธีปฏิบัติงานเพื่อกําหนดภาระหนาที่ อํานาจการดําเนินงานของผูปฏิบัติงาน และผูบริหารไวเปนลายลักษณอักษร และไดจัดใหมีการแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูควบคุม และผูประเมินผลออกจากกันเพื่อใหเกิดการ ถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดตั้งสํานักตรวจสอบภายใน เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบ ประเมินผล การควบคุมภายใน และประสานงานกับผูตรวจสอบจากภายนอกองคกร เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรม ทางการเงินที่สําคัญของบริษัทฯ ไดดําเนินตามแนวทางที่กําหนดและมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายและ ขอกําหนดที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ (Compliance Control) และเพื่อใหแผนกตรวจสอบภายในมีความเปนอิสระ สามารถทําหนาที่ ตรวจสอบและถวงดุลไดอยางเต็มที่ คณะกรรมการบริษัทจึงกําหนดใหสํานักตรวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอ คณะกรรมการตรวจสอบ และไดรับการประเมินผลงานจากคณะกรรมการตรวจสอบดวย ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2551 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2551 โดยมีกรรมการตรวจสอบทุกทานเขารวมประชุม ดวย คณะกรรมการบริษัทไดรวมกันพิจารณาและจัดทําแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ แลวสรุปได วา จากการประเมินระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ ใน 5 สวน คือ องคกรและสภาพแวดลอม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการ ปฏิบัติงานของฝายบริหาร สารสนเทศและการสื่อสาร และการติดตามและประเมินผล คณะกรรมการบริษัทรับทราบความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบที่เห็นดวยกับผูตรวจสอบภายในและผูสอบบัญชีวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทยอยมีความ เพียงพอและเหมาะสมแลวในสภาพปจจุบัน และที่ผานมาบริษัทฯ และผูสอบบัญชีไมพบขอบกพรองที่สําคัญของระบบการควบคุม ภายในที่จะมีผลกระทบอยางมีสาระสําคัญตอฐานะการเงินของบริษัทฯ และตอการแสดงความเห็นของผูสอบบัญชีในงบการเงิน โดยใน ปจจุบัน บริษัทฯ ไดมีการจัดระบบควบคุมภายในตามแบบที่ตลาดหลักทรัพยฯ เสนอแนะและสอดคลองกับมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission หรือ COSO ที่กําหนดไวเปน Internal Control Framework ในการตรวจสอบงบการเงินของกลุมบริษัทฯ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผูตรวจสอบบัญชีของกลุมบริษัทฯ ไดมี ขอสังเกตและขอเสนอแนะทางการบัญชีและการควบคุมภายในดานบัญชี ไดแก ก) กิจการที่ควบคุมรวมกัน มีการตัดตนทุนตอหนวยของ สินคาคงเหลือออกจากบัญชีสูงไป ข) กลุมบริษัทฯมีรายการปรับปรุงจํานวนมากภายหลังการปดบัญชี ค) กลุมบริษัทฯยังไมไดรับสัญญา เชาพื้นที่สํานักงาน จึงยังไมไดจัดทําสัญญาเชาชวงกับกิจการที่เกี่ยวของกัน และ ง) บริษัทยอยมีคาลิขสิทธิ์คางจายที่รอการปรับปรุงคง คางอีก 1 รายการ อยางไรก็ตาม ฝายบริหารของกลุมบริษัทฯ ไดดําเนินการปรับปรุงประเด็นตางๆ ตามขอแนะนําของผูตรวจสอบบัญชี เรียบรอยแลว ยกเวน ขอ ง) ซึ่งกลุมบริษัทฯ อยูระหวางดําเนินการติดตามหนังสือยืนยันยอดและเอกสารหลักฐานประกอบจากเจาของ ลิขสิทธิ์เพื่อดําเนินการปรับปรุงงบการเงิน โดยที่ปรึกษาทางการเงินไดตรวจสอบจากรายงานการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบแลว พบวากลุมบริษัทฯ ไดดําเนินการปรับปรุงในขอ ก) ถึง ค) เรียบรอยแลว และอยูระหวางการดําเนินการในขอ ง) ดังรายละเอียดขางตน 10.2 การตรวจสอบภายใน สํานักตรวจสอบภายในเปนหนวยงานที่จะกอใหเกิดความมั่นใจของคณะกรรมการตรวจสอบในสวนที่เกี่ยวกับการกํากับดูแลและ การสอบทานความถูกตองของรายงานทางการเงิน ความเพียงพอในการเปดเผยขอมูล ความโปรงใสของขอมูล การควบคุมภายใน การ

สวนที่ 2 หนาที่ 57


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) บริหารความเสี่ยง โดยเนนนโยบายตรวจสอบในเชิงปองกัน สรางสรรค ยึดแนวทางการตรวจสอบตามมาตรฐานสากล และแนวทางการ กํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อใหเกิดภาพลักษณความโปรงใส ตรวจสอบได และความนาเชื่อถือของการดําเนินธุรกิจ ในป 2551 บริษัทฯ ไดวาจาง บริษัท ดีไอเอ แอนด แอสโซซิเทส จํากัด (“DIA”) เปนผูตรวจสอบภายในของบริษัทฯ โดย ประสานงานกับสํานักตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เพื่อรวมตรวจสอบหนวยงานตางๆ และใหความเห็นตอความเหมาะสมของระบบ ควบคุมภายใน รวมทั้งนําเสนอขอเสนอแนะแกคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อใชในการกํากับดูแลกิจการตามกฏระเบียบที่เกี่ยวของ โดย ในชวงที่ผานมา DIA ไดเขาประเมินระบบควบคุมภายในของกลุมบริษัทฯ อยางตอเนื่อง และไดสรุปรายงานผลการประเมินการควบคุม ภายในวา กลุมบริษัทฯ ไดมีการจัดระบบควบคุมภายในระดับองคกรทั้ง 5 สวน คือ องคกรและสภาพแวดลอม การบริหารความเสี่ยง การ ควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร สารสนเทศและการสื่อสาร และการติดตามและประเมินผล ไวอยางพอเพียง ในระดับกิจกรรม กลุมบริษัทฯ มีการจัดระบบการควบคุมภายในไวอยางเหมาะสม แตยังควรปรับปรุงเพิ่มเติมบางประการ ซึ่งฝายบริหารของกลุมบริษัทฯ ไดดําเนินการปรับปรุงประเด็นตางๆ โดยไดดําเนินการเรียบรอยแลว

สวนที่ 2 หนาที่ 58


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 11.

รายการระหวางกัน

11.1 มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันของบริษทั ฯ บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทฯ ไดกําหนดมาตรการควบคุมการทํารายการระหวางกันของบริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน กับบุคคลที่ อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในอนาคตตามประกาศของคณะกรรมการ กลต. โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนในการเขาทํารายการและความเหมาะสมทางดานราคาของ รายการ โดยพิจารณาจากเงื่อนไขตางๆ ใหเปนไปตามลักษณะการดําเนินการคาปกติในตลาด และมีการเปรียบเทียบราคาที่เกิดขึ้นกับ บุคคลภายนอก ในกรณีที่ไมสามารถเปรียบเทียบราคากับบุคคลภายนอกได ทั้ง 2 ฝายจะรวมกันพิจารณา เพื่อกําหนดอัตราคาสินคา และบริการที่เหมาะสมตอไป ซึ่งฝายบริหารของบริษัทฯ จะจัดเตรียมขอมูลการทํารายการระหวางกัน ซึ่งมีรายละเอียดของรายการ มูลคา และการเปลี่ยนแปลงของมูลคาจากชวงที่ผานมา รวมทั้งเอกสารที่แสดงราคาตลาดใหแกคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อใชในการพิจารณา ความเหมาะสมของการทํารายการเหลานั้น ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชํานาญในการพิจารณารายการระหวางกันที่ เกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดใหมีผูเชี่ยวชาญอิสระหรือ ผูสอบบัญชีของบริษัทฯ เปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกันดังกลาว เพื่อนําไป ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือ ผูถือหุน ตามแตกรณี ซึ่งผูที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนหรือมีสวนไดสวนเสียในการทํารายการระหวางกันจะไมมีสิทธิออกเสียงในการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน ดังกลาว นอกจากนั้น บริษัทฯ จะดําเนินการเปดเผยขอมูลในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมาหรือจําหนายไปของสินทรัพยที่ สําคัญของบริษัทฯ และบริษัทยอย ตามขอกําหนดของคณะกรรมการ กลต. และตลาดหลักทรัพยฯ ตลอดจนถึงมาตรฐานบัญชีที่กําหนด โดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ 11.2 นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคตของบริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ย อ ย และกิ จ การที่ ค วบคุ ม ร ว มกั น อาจมี ก ารเข า ทํ า รายการระหว า งกั น กั บ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทาง ผลประโยชนในอนาคต โดยหากเปนรายการธุรกิจปกติและรายการสนับสนุนธุรกิจปกติซึ่งมีเงื่อนไขทางการคาโดยทั่วไปกับบุคคลที่อาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชน โดยเฉพาะกลุมบริษัทในเครือบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) เชน การจางพิมพ การจางสง สินคา การซื้อกระดาษ การซื้อโฆษณาในสื่อตางๆ และการเรียกเก็บคาบริการระหวางกัน เปนตน บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายในการทํา รายการระหวางกันใหมีเงื่อนไขตางๆ เปนไปตามลักษณะการดําเนินการคาปกติในราคาตลาด ซึ่งสามารถเปรียบเทียบไดกับราคาที่เกิด ขึ้นกับบุคคลภายนอก ในกรณีที่ไมสามารถเปรียบเทียบราคากับบุคคลภายนอกได ทั้ง 2 ฝายจะรวมกันพิจารณา เพื่อกําหนดอัตราคา สินคาและบริการที่เหมาะสมตอไป ซึ่งเปนไปตามหลักการที่คณะกรรมการบริษัทอนุมัติไวแลวตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และใหปฏิบัติตามสัญญาที่ตกลงรวมกันอยางเครงครัดพรอมทั้งกําหนดราคาและเงื่อนไขรายการตางๆ ใหชัดเจน เปนธรรม และไมกอใหเกิดการถายเทผลประโยชน ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการเขาทํารายการใหม หรือมีการเปลี่ยนแปลงของราคาและเงื่อนไขที่แตกตางจากเดิม สํานักตรวจสอบภายใน ของบริษัทฯ เอง ซึ่งแยกอยางชัดเจนจากสํานักตรวจสอบภายในของเนชั่นกรุปฯ จะทําหนาที่ตรวจสอบขอมูลและจัดทํารายงานเพื่อให คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาและใหความเห็นถึงความเหมาะสมของราคาและความสมเหตุสมผลของการทํารายการดังกลาวทุกๆ ไตรมาส ในกรณีรายการธุรกิจปกติและรายการสนับสนุนธุรกิจปกติซึ่งไมมีเงื่อนไขทางการคาโดยทั่วไป และรายการระหวางกันอื่นๆ บริษัทฯ จะดําเนินการตามมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันที่ระบุไวขางตน กอนการทํารายการ 11.3 สรุปความเห็นของคณะกรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณารายการระหวางกันของกลุมบริษัทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในป 2552 และ 6 เดือน แรกของป 2553 แลว มีความเห็นสรุปไดวาสมเหตุสมผลและจําเปนตอการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทฯ เงื่อนไขตางๆ ของรายการ ระหวางกันที่เกิดขึ้นถูกกําหนดใหเปนไปตามเงื่อนไขทางการคาโดยปกติและคํานึงถึงราคาตลาดหรือตนทุนบวกกําไรที่เหมาะสม (Cost Plus) ในสวนมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติรายการระหวางกัน นโยบายการทํารายการระหวางกัน และมาตรการการควบคุมรายการ ระหวางกันของกลุมบริษัทฯ ก็มีความเพียงพอและเหมาะสมแลวในสภาพปจจุบัน สวนที่ 2 หนาที่ 59


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 11.3 รายการระหวางกันที่มีสาระสําคัญ (ตามงบการเงินรวม) ของบริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของ และบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ในงวดป 2552 และ 6 เดือนแรกของป 2553 (หนวย : ลานบาท) บริษัทหรือบุคคล/ ประกอบ ธุรกิจ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) (NMG) / ดําเนินธุรกิจดานขาว ซึ่ง รวมถึงผลิตและจําหนาย หนังสือพิมพและสิง่ พิมพ ประเภทตางๆ

ลักษณะวามสัมพันธกับบริษัทฯ

ลักษณะรายการ

เปนบริษัทใหญ ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน

รายไดจากการขายสินคาและบริการ ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในกลุ ม ขายหนั ง สื อ ให NMG เพื่อไปใชในกิจการ จํานวน 4.63 และ 3.54 ล า นบาท ในป 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ - บ ริ ษั ท ฯ จํ า ห น า ย สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ จ า ก ตางประเทศให NMG เพื่อนําไปจัดจําหนาย ตอ จํานวน 4.75 และ 2.37 ลานบาท ในป 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ ลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริ ษั ท ฯ เรี ย กเก็ บเงิ น ที่ NMG รั บ เงิ น แทน กอน เชน ยอดขาย Bulk นสพ.โยมิอูริ งาน ออกบูธรวมกัน จํานวน 31.81 และ 10.17 ล า นบาท ในป 2552 และ 6 เดื อ นแรกป 2553 ตามลําดับ - บริ ษั ท ฯ เรี ย กเก็ บ ค า บริ ห ารสิ น ค า คงคลั ง ใหแก NMG จํานวน 175,551 และ 39,814 บาท ในในป 2552 และ 6 เดื อ นแรกป 2553 ตามลําดับ

มูลคารายการ / ยอดคงเหลือ 6 เดือนแรก ป 2552 ป 2553 5.91 9.38 1.68 2.46

4.76

6.70

เหตุผลและความจําเปนในการเขาทํารายการ และนโยบายในการกําหนดราคา - บริษัทฯและบริษัทในกลุมขายหนังสือให NMG เพื่อใชเปนของสมนาคุณใน การสงเสริมการขายสมาชิกหนังสือพิมพในเครือ และสําหรับเปนของขวัญแก ลูกคาในเทศกาลตางๆ ในราคาตลาดและมีเงื่อนไขทางการคาปกติ - บริษัทฯ จําหนายสื่อสิ่งพิมพจากตางประเทศให NMG เพื่อนําไปจัดจําหนาย ตอผานชองทางเอเยนตและแผงหนังสือทั่วประเทศ เนื่องจาก NMG มีความ ชํานาญในการจัดจําหนายผานชองทางนี้ ในราคาตลาดและมีเงื่อนไขทาง การคาปกติ

- บริษัทฯ ขายสื่อสิ่งพิมพตางประเทศในจํานวนมาก (Bulk) ใหแกลูกคาขนาด ใหญรวมกับสื่อสิ่งพิมพของ NMG โดยใหลูกคาทําสัญญาซื้อสิ่งพิมพทั้งหมด กับ NMG ซึ่งบริษัทฯ เรียกเก็บเงินที่ NMG รับแทนกอนโดยใชราคาที่เรียก เก็ บ จากลู ก ค า อย า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ ได ดํ า เนิ น การเปลี่ ย นแปลงมาทํ า สัญญาขายสิ่งพิมพในนามบริษัทฯ ในเดือนกุมภาพันธ 2553 และออกบิลใน นามบริษัทฯ ในเดือนเมษายน 2553 - บริษัทฯ ออกบูธงานขายสินคาขนาดใหญรวมกัน เชน งานสัปดาหหนังสือ และใชระบบเก็บเงินรวมกัน โดยใชราคาที่เรียกเก็บจากลูกคา - บริษัทฯ ทําการบริหารสินคาคงคลัง(หนังสือ BizBook กอนโอนยายสวนงาน) และเรียกเก็บคาบริการในอัตราตนทุน แตหลังจากที่บริษัทฯ รับโอนธุรกิจ หนังสือ BizBook มาแลว รายการนี้จะลดลงตามสินคาคงคลังเดิมของ NMG ที่เหลืออยู

สวนที่ 2 หนาที่ 60


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

บริษัทหรือบุคคล/ ประกอบ ธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธกับบริษัทฯ

ลักษณะรายการ

บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) (NMG)

เปนบริษัทใหญ ถือหุนบริษัทฯ รอย ละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน

ตนทุนการผลิต เจาหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทฯ ซื้อกระดาษมวนจาก NMG เพื่อใช ในการผลิตสิ่งพิมพ

บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (NED) / ดําเนินธุรกิจสํานักพิมพ

เปนบริษัทยอย บริษัทฯ ถือหุนรอย ละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน

มูลคารายการ / ยอดคงเหลือ 6 เดือนแรก ป 2552 ป 2553 19.25 32.73 17.38 11.55

เหตุผลและความจําเปนในการเขาทํารายการ และนโยบายในการกําหนดราคา - บริษัทฯ และบริษัทในกลุมซื้อกระดาษมวนจาก NMG ที่มีความชํานาญใน การจัดซื้อกระดาษจํานวนมาก ซึ่งนําเขาจากตางประเทศเพื่อใชในการผลิต หนังสือพิมพ นิตยสารการตูน และหนังสือการตูน ในราคาตลาดและมีเงื่อนไข ทางการคาปกติ

คาใชจายในการขายและบริหาร เจาหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในกลุ ม จ า ยค า ใช จ า ย สวนกลางจากการใชบริการแผนกตางๆ ของ NMG จํานวน 6.93 และ 3.99 ลานบาท ใน ป 2 5 5 2 แ ล ะ 6 เ ดื อ น แ ร ก ป 2 5 5 3 ตามลําดับ ค า ธรรมเนี ย มในการค้ํ าประกัน เงิ น เบิ ก เกิ น บัญชีธนาคาร

3.99 3.45

6.93 2.73

- บริษัทฯ และบริษัทในกลุมซื้อโฆษณาจากสื่อในเครือของ NMG เพื่อใชในการ ประชาสัมพันธสินคาและงานของบริษัทฯ ในอัตราที่ต่ํากวาราคาตลาด ใน กรณีที่มีพื้นที่โฆษณาวาง - บริษัทฯ และบริษัทในกลุมจายคาใชจายจากการใชบริการแผนกตางๆ ของ NMG ซึ่งมีความชํานาญในงานนั้นๆ เชน จัดซื้อ บุคคล เปนตน ในราคาตนทุน บวกกําไรรอยละ 5 ซึ่งเปนอัตราที่เหมาะสม (Cost Plus)

-

-

- NMG ไดค้ําประกันเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารใหกับบริษัทฯ และบริษัทในกลุม โดยไมมีการคิดคาธรรมเนียม ซึ่ง NMG อาจพิจารณายกเลิกในอนาคต และ บริษัทฯ สามารถกูไดโดยไมตองมีการค้ําประกัน

รายไดจากการขายสินคาและบริการ ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในกลุ ม ขายหนั ง สื อ ให NED เพื่อไปใชในกิจการ รายไดอื่น ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทฯ เรียกเก็บเงินจากรายการคาใชจาย ที่ออกแทนไปกอน เชนคาเชาสํานักงาน คา บริหาร เปนตน เจาหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทมีการสํารองจายคาใชจายแทน เชน คาเดินทางไปประเทศญี่ปุน เปนตน

0.002 0.002

0.02 -

- บริษัทฯและบริษัทในกลุมขายหนังสือให NED เพื่อใชเปนของขวัญแกลูกคา ในเทศกาลตางๆ ในราคาตลาดและมีเงื่อนไขทางการคาปกติ

0.42 1.66

0.86 1.76

- บริษัทฯ ทําสัญญาเชาอาคารสํานักงาน และใหบริษัทในกลุมเชาชวงตอ และ เรียกเก็บคาบริหารจากบริษัทในกลุมในอัตราเทากับที่ถูกเรียกเก็บ

0.11

0.015

- บริ ษั ท ฯและบริ ษั ทในกลุ มสํ ารองจายค าใช จายแทนกั น เช น คาเดิน ทางไป ตางประเทศ สวนที่ 2 หนาที่ 61


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือบุคคล/ ประกอบ ธุรกิจ บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดู เทนเมนท จํากัด (NEE) / ดําเนินธุรกิจสํานักพิมพ

บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (NBC) / เปนผูดําเนินธุรกิจ สถานีโทรทัศน และผลิต รายการโทรทัศน

ลักษณะความสัมพันธกับบริษัทฯ

ลักษณะรายการ

เปนกิจการที่ควบคุมรวมกันกับ เอ็ก รายไดจากการขายสินคาและบริการ มอนท อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/ ลูกหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน - เปนรายการขายสินคาระหวาง NEE และ เอส บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 49.99 และมีกรรมการรวมกัน NED รายไดอื่น ลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทฯ เรียกเก็บเงินจากรายการคาใชจาย ที่ออกแทนไปกอน เชนคาเชาสํานักงาน คา บริหาร เปนตน

เปนบริษัทยอยของบริษัทใหญ โดย บริษัทใหญถือหุนรอยละ 62.83 ใน ป 2552 และรอยละ 62.97 ใน 6 เดือนแรกป 2553 และมีกรรมการ รวมกัน

คาใชจายในการขายและบริหาร เจาหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในกลุ ม จ า ยค า ใช จ า ย สวนกลางจากการใชบริการแผนกตางๆ ของ NEE รายไดจากการขายสินคาและบริการ ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทฯ ขายหนังสือให NBC เพื่อไปใชใน กิจการ ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทฯ เรียกเก็บเงินจากรายการคาใชจาย ที่ออกแทนไปกอน ตนทุนการผลิต เจาหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทฯและบริษัทในกลุมซื้อสินคาหรือบริการ จาก NBC

มูลคารายการ / ยอดคงเหลือ 6 เดือนแรก ป 2552 ป 2553 24.63 59.64 33.44 39.72 1.38 3.91

3.85 2.81

1.00 0.01 1.63

2.00 0.007 1.29

0.16 0.05

0.33 0.18

0.04

0.07

0.20 0.22 0.07

0.10 0.23

เหตุผลและความจําเปนในการเขาทํารายการ และนโยบายในการกําหนดราคา - NED ขายหนังสือการตูนใหกับ NEE เพื่อจัดจําหนายในชองทางตางๆ โดย เปนการขายขาด ในราคาตลาดและมีเงื่อนไขทางการคาปกติ - บริษัทฯ ทําสัญญาเชาอาคารสํานักงานในนามบริษัทฯ โดยแบงใหบริษัทใน กลุมเชาชวงตอ และเรียกเก็บคาบริหารจากบริษัทในกลุมในอัตราเทากับที่ถูก เรียกเก็บ - NED เรียกเก็บคาดอกเบี้ยจาก NEE ที่อัตราดอกเบี้ยเงินเบิกเกินบัญชี (อัตรา รอยละ 6.75 ตอป) สําหรับยอดคงคางสินคาและบริการซึ่งเกินกําหนดชําระ มากกวา 90 วัน นับจากวันที่เรียกเก็บคาสินคา โดยจะมีการเรียกเก็บตอไปใน อนาคตถามีการเกินกําหนดชําระเงินอีก - บริษัทฯ และบริษัทในกลุมจายคาใชจายสวนกลางจากการใชบริการแผนก ตางๆ ของ NEE เชน การจัดการการผลิต การบริหารคลังสินคา ในราคา ตนทุน

- บริษัทฯและบริษัทในกลุมขายหนังสือให NBC เพื่อใชเปนของขวัญแกลูกคา ในเทศกาลตางๆ ในราคาตลาดและมีเงื่อนไขทางการคาปกติ - บริษัทฯ ออกบูธงานขายสินคาขนาดใหญรวมกัน เชน งานสัปดาหหนังสือ และใชระบบเก็บเงินรวมกัน โดยใชราคาที่เรียกเก็บจากลูกคา

- บริษัทฯ และบริษัทในกลุมซื้อสินคาหรือบริการที่ NBC ไดทําการแลกเปลี่ยน

(Barter) กับสินคาและบริการของ NBC เชน คาประกันภัย ในราคาตนทุน และมีเงื่อนไขทางการคาปกติ

สวนที่ 2 หนาที่ 62


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือบุคคล/ ประกอบ ธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธกับบริษัทฯ

ลักษณะรายการ

บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศ ไทย) จํากัด (WPS)/ ดําเนิน ธุรกิจรับจางพิมพสงิ่ พิมพ

เปนบริษัทยอยของบริษัทใหญ โดย บริษัทใหญ ถือหุนรอยละ 84.50 และมีกรรมการรวมกัน

รายไดจากการขายสินคาและบริการ ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร เจาหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทฯ และบริษัทในกลุมจาง WPS พิมพ หนังสือพิมพ นิตยสารและหนังสือการตูน

บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด (NML) / ธุรกิจใหบริการรับจัดสง สินคา

เปนบริษัทยอยของบริษัทใหญ โดย บริษัทใหญถือหุนรอยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน

รายไดจากการขายสินคาและบริการ ลูกหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร เจาหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทฯและบริษัทในกลุมจาง NML สง สินคาใหลูกคาทุกประเภท รายไดจากการขายสินคาและบริการ ลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทฯ เรียกเก็บเงินจากรายการคาใชจายที่ ออกแทนไปก อ น เช น ค า เช า สํ า นั ก งาน ค า บริหาร เปนตน รายไดจากการขายสินคาและบริการ ลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทฯ เรียกเก็บเงินจากรายการคาใชจายที่ ออกแทนไปก อ น เช น ค า เช า สํ า นั ก งาน ค า บริหาร เปนตน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทฯและบริษัทในกลุมจายคาใชจายออก แทนจาก NNN

บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเคชั่น จํากัด เปนบริษัทยอยของบริษัทใหญ โดย บริษัทใหญถือหุนรอยละ 99.97 (NE) และมีกรรมการรวมกัน / ธุรกิจดานการศึกษา บริษัท เนชั่น นิวส เน็ตเวิรค จํากัด (NNN) /ดําเนินธุรกิจดานขาว ซึ่ง รวมถึงผลิตและจําหนาย หนังสือพิมพและสิง่ พิมพ

เปนบริษัทยอยของบริษัทใหญ โดย บริษัทใหญถือหุนรอยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน

มูลคารายการ / ยอดคงเหลือ 6 เดือน ป 2552 แรกป 2553 0.01 0.01 11.40 23.65 0.003 6.16 6.70

เหตุผลและความจําเปนในการเขาทํารายการ และนโยบายในการกําหนดราคา - บริษัทฯ และบริษัทในกลุมจาง WPS ที่มีความชํานาญ พิมพหนังสือพิมพ นิตยสารการตูน และหนังสือการตูน ในราคาตลาดและมีเงื่อนไขทางการคา ปกติ

0.02 5.09 1.48 3.48

0.01 0.01 10.54 3.66 3.25

- บริษัทฯและบริษัทในกลุมขายหนังสือให NML เพื่อใชเปนของขวัญแกลูกคา ในเทศกาลตางๆ ในราคาตลาดและมีเงื่อนไขทางการคาปกติ - บริษัทฯและบริษัทในกลุมจาง NML ที่มีความชํานาญ สงสินคาใหลูกคาทุก ประเภท เชน ลูกคาสมาชิกหนังสือพิมพและนิตยสาร ลูกคาเอเยนตและแผง หนังสือ ในราคาตลาด และมีเงื่อนไขการบริการปกติ

0.72

0.06 0.29

- บริษัทฯและบริษัทในกลุมขายหนังสือให NE เพื่อใชเปนของขวัญแกลูกคาใน เทศกาลตางๆ ในราคาตลาด และมีเงื่อนไขทางการคาปกติ - บริษัทฯเรียกเก็บคาใชจายที่ออกแทน เชน คาเชาสํานักงาน ในอัตราเทาที่ถูก เรียกเก็บและคาบริการสวนกลาง เชน คาบริหาร ในอัตราที่ตกลงกัน

0.06 0.10

0.01 0.11

0.68

0.22

- บริษัทฯและบริษัทในกลุมขายหนังสือให NNN เพื่อใชเปนของขวัญแกลูกคา ในเทศกาลตางๆ ในราคาตลาด และมีเงื่อนไขทางการคาปกติ - บริษัทฯเรียกเก็บคาใชจายที่ออกแทน เชน คาเชาสํานักงาน ในอัตราเทาที่ถูก เรียกเก็บและคาบริการสวนกลาง เชน คาบริหาร ในอัตราที่ตกลงกัน - บริษัทฯ จัดจําหนายหนังสือให NNN เชน Drive Thailand ขับรถเที่ยวทั่วไทย โดยผานชองทางเอเยน ต และรานหนั ง สือ ทั่ วประเทศ ในราคาตลาดและมี เงื่อนไขทางการคาปกติ

สวนที่ 2 หนาที่ 63


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือบุคคล/ ประกอบ ธุรกิจ บริษัท โยมิอูริ-เนชั่น อินฟอรม เมชั่น เซอรวิส จํากัด (YNIS) / ดําเนินธุรกิจเปนตัวแทนขาย โฆษณาในหนังสือพิมพ

บริษัท เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด (NPS) (เดิมชื่อ บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด (KNP)) / ดําเนินธุรกิจรับจางพิมพ สิ่งพิมพ

ลักษณะความสัมพันธกับบริษัทฯ

ลักษณะรายการ

เปนบริษัทรวมของบริษัทใหญ โดย บริษัทใหญ ถือหุนรอยละ 45.00 และมีกรรมการรวมกัน

รายไดจากการขายสินคาและบริการ ลูกหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน - บริ ษั ท ฯ รั บ จ า งขายโฆษณาและโฆษณา แทรกในหนั ง สื อ พิ ม พ The Yomiuri Shimbun ลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทฯ เรียกเก็บเงินจากรายการคาใชจายที่ ออกแทนไปกอน เชนคาเชาสํานักงาน เปนตน

เปนบริษัทที่ถือหุนโดย WPS รอยละ 48.99 ในป 2552 และรอยละ 99.99 ใน 6 เดือนแรกป 2553 และ มีกรรมการรวมกัน

ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร เจาหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย - บริษัทฯ และบริษัทในกลุม ซื้อกระดาษจาก KNP จํานวน 12.94 และ 0.13 ลานบาท ใน ป 2 5 5 2 แ ล ะ 6 เ ดื อ น แ ร ก ป 2 5 5 3 ตามลําดับ - บริษัทฯ และบริษัทในกลุมจาง KNP พิมพ หนั ง สือ การ ตูน และพ็ อคเก็ตบุ คส จํานวน 31.33 และ 14.83 ลานบาท ในป 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ

มูลคารายการ / ยอดคงเหลือ 6 เดือนแรก ป 2552 ป 2553 1.65 3.76 0.27 0.26

เหตุผลและความจําเปนในการเขาทํารายการ และนโยบายในการกําหนดราคา - บริษัทฯ รับจางขายโฆษณาและโฆษณาแทรกในหนังสือพิมพ The Yomiuri Shimbun โดยไดรับคานายหนาตามอัตราที่ตกลงกันในสัญญา ซึ่งเปนราคา ตลาดและมีเงื่อนไขทางการคาปกติ

-

0.05

- บริษัทฯ ทําสัญญาเชาอาคารสํานักงานในนามบริษัทฯ โดยแบงใหบริษัทใน กลุมเชาชวงตอ และเรียกเก็บคาเชาจากบริษัทที่เกี่ยวของในอัตราตนทุน

14.95 7.08 0.86

44.27 0.02 16.27 0.20

- บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในกลุ ม ซื้ อ กระดาษจาก KNP/NPS ซึ่ ง นํ า เข า จาก ตางประเทศ ในราคาตลาด และมีเงื่อนไขทางการคาปกติ - บริษัทฯ และบริษัทในกลุมจาง KNP/NPS ที่มีความชํานาญ พิมพ หนังสือ การตูน และหนังสือพ็อคเก็ตบุคส ในราคาตลาดและมีเงื่อนไขทางการคาปกติ

สวนที่ 2 หนาที่ 64


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 12.

ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12.1 งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ และงบการเงินรวมป 2550 – 2552 และไตรมาส 2 ป 2553 12.1.1 ชื่อผูสอบบัญชี นายวิเชียร ธรรมตระกูล ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3183 - บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด 12.1.2 สรุปรายงานการตรวจสอบและรายงานการสอบทานของผูสอบบัญชี สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 – 2552 และ 30 มิถุนายน 2553: ผูสอบบัญชีไดตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงินเฉพาะ บริษัทฯ และงบการเงินรวมของบริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน โดยมีความเห็นวาถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไดมีการปรับปรุงงบการเงินยอนหลัง และจัดทํางบการเงินขึ้นใหมสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เนื่องจากบริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกันไดรับการตอบกลับจากผูใหลิขสิทธิ์วายอดคงเหลือ ลาสุดของคาลิขสิทธิ์คางจายที่บันทึกไวในปกอนๆ สูงไป 12.1.3 คาตอบแทนผูสอบบัญชี สํานักงานสอบบัญชีและผูสอบบัญชีไมเปนบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ โดยบริษัทฯ บริษัทยอยและกิจการที่ควบคุม รวมกัน จายคาตอบแทนผูสอบบัญชีในป 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 จํานวน 1.68 ลานบาท และ 0.87 ลานบาทตามลําดับ สําหรับคาตรวจสอบ/สอบทานงบการเงิน และมิไดจายคาตอบแทนอื่นใหผูสอบบัญชี หรือบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกับผูสอบ บัญชีและสํานักงานสอบบัญชี 12.1.4 ตารางสรุปงบการเงิน งบการเงินดังตอไปนี้ เปนงบการเงินรวมของบริษัท บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน โดยรายการบัญชีบางรายการในตารางนี้ ไดมีการจัดกลุมใหม เพื่อใหสอดคลองกับการจัดประเภทรายการบัญชีของงวดปจจุบัน งบดุล

เงินสด และรายการเทียบเทา เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน อุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

31 ธ.ค. 2550 ลานบาท รอยละ 54.06 18.20 90.52 30.47 10.20 3.43 28.09 9.45 34.00 11.44 59.82 20.13 4.36 1.47 281.05 94.59 1.95 0.66 13.75 4.62 0.38 0.13 16.08 5.41 297.13 100.00

งบตรวจสอบ งบสอบทาน 31 ธ.ค. 2551 31 ธ.ค. 2552 30 มิ.ย. 2553 ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ 71.77 27.69 42.34 17.60 33.43 14.54 5.00 2.08 5.01 2.18 81.65 31.50 92.02 38.25 79.12 34.41 7.40 2.85 10.22 4.25 10.24 4.45 14.75 5.69 10.03 4.17 9.52 4.14 58.95 22.74 53.67 22.31 56.73 24.67 3.99 1.54 5.04 2.09 4.28 1.86 238.51 92.01 218.32 90.75 198.33 86.25 1.71 0.66 3.16 1.31 4.68 2.03 17.50 6.75 18.77 7.80 22.83 9.94 1.49 0.58 0.33 0.14 4.10 1.78 20.70 7.99 22.26 9.25 31.61 13.75 259.21 100.00 240.57 100.00 229.94 100.00

สวนที่ 2 หนาที่ 65


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 31 ธ.ค. 2550 ลานบาท รอยละ เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแลว กําไรสะสมที่จัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย กําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรร รวมสวนผูถือหุนเฉพาะบริษัท รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

2.42 72.31 13.89 21.72 24.55 134.89 134.89 70.00 70.00 92.24 162.24 162.24 297.13

0.81 24.34 4.68 7.31 8.26 45.40 45.40 23.56 23.56 31.04 54.60 54.60 100.00

งบตรวจสอบ 31 ธ.ค. 2551 ลานบาท รอยละ 69.69 5.51 17.61 32.35 125.16 0.15 125.31 85.00 70.00 7.00 56.89 133.89 133.90 259.21

26.88 2.13 6.79 12.48 48.28 0.06 48.34 32.79 27.01 2.70 21.95 51.65 51.66 100.00

31 ธ.ค. 2552 ลานบาท รอยละ 0.17 71.45 4.55 14.40 36.78 127.35 127.35 85.00 70.00 8.50 34.72 113.22 113.22 240.57

0.07 29.70 1.89 5.99 15.29 52.94 52.94 35.33 29.10 3.53 14.43 47.06 47.06 100.00

งบสอบทาน 30 มิ.ย. 2553 ลานบาท รอยละ 3.76 65.79 5.94 8.04 7.02 29.36 119.91 0.63 120.54 85.00 70.00 8.50 30.89 109.39 109.39 229.94

1.64 28.61 2.58 3.50 3.05 12.77 52.15 0.28 52.42 36.97 30.44 3.70 13.43 47.57 47.57 100.00

งบกําไรขาดทุน 31 ธ.ค. 2550 ลานบาท รอยละ รายได รายไดจากการขายและการใหบริการ รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขายสินคาและตนทุนใหบริการ คาใชจายในการขายและบริหาร รวมคาใชจาย กําไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กําไรสุทธิ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

งบตรวจสอบ 31 ธ.ค. 2551 ลานบาท รอยละ

31 ธ.ค. 2552 ลานบาท รอยละ

งบสอบทาน 30 มิ.ย. 2553 ลานบาท รอยละ

347.52 13.40 360.92

96.29 3.71 100.00

340.06 2.98 343.04

99.13 0.87 100.00

299.23 3.24 302.47

98.93 1.07 100.00

135.85 3.77 139.62

97.30 2.70 100.00

209.90 85.38 295.28 65.64 0.32 25.28 40.04

58.16 23.65 81.81 18.19 0.10 7.00 11.09

208.82 80.01 288.83 54.21 0.01 19.67 34.53

60.87 23.33 84.20 15.80 0.00 5.73 10.07

200.11 74.07 274.18 28.29 0.06 13.90 14.33

66.16 24.49 90.65 9.35 0.02 4.59 4.74

90.51 32.46 122.97 16.65 0.30 5.48 10.87

64.83 23.25 88.08 11.92 0.21 3.92 7.79

0.57

0.49

0.20

0.16

หมายเหตุ: กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานและจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยฯ อางอิงมูลคาที่ตราไวเทากับ 1.0 บาท เพื่อใหสอดคลองกับงวดบัญชีปจจุบัน

สวนที่ 2 หนาที่ 66


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) งบตรวจสอบ

งบกระแสเงินสด

31 ธ.ค. 2550 ลานบาท

กําไรสุทธิ รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี ดอกเบี้ยรับ ตนทุนทางการเงิน หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากสินคาลาสมัย อุปกรณตัดจําหนาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่นตัดบัญชี สินทรัพยไมมีตัวตนตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นตัดบัญชี ภาษีเงินได การเปลีย่ นแปลงสินทรัพยและหนี้สนิ ดําเนินงาน ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของ เงินสดรับจากเงินใหกูระยะสั้นกิจการที่เกี่ยวของ ซื้อเงินลงทุนชั่วคราว ซื้ออุปกรณ ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน ขายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายดอกเบี้ย จายเงินปนผล เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว ชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป / งวด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป / งวด

31 ธ.ค. 2551

40.04

ลานบาท 34.53

30.05 (2.40) 0.32 0.47 15.00 0.47 0.41 0.33 25.28 109.97

งบสอบทาน 31 ธ.ค. 2552

30 มิ.ย. 2553

ลานบาท

ลานบาท 14.33

10.87

14.41 (0.92) 0.01 1.21 13.00 0.01 0.69 19.67 82.61

23.46 (0.17) 0.06 1.90 13.07 13.90 66.55

8.70 (0.71) 0.29 0.45 3.69 0.23 5.48 29.00

16.04 (1.64) (2.72) (14.61) (1.78) (0.10) (10.93) (5.24) (5.10) (18.29) 65.60

7.58 2.80 12.95 (12.13) (0.45) (1.11) (2.62) (8.38) 10.97 0.15 (24.73) 67.64

(12.26) (2.83) 4.72 (7.79) (1.04) 1.16 1.75 (0.96) 4.44 (0.15) (17.12) 36.47

12.43 (0.01) 0.52 (6.76) 0.76 (3.77) (5.66) 1.39 (7.42) (12.85) 7.63

1.91 (14.00) 5.00 (0.62) (23.68) 0.00 (31.39)

1.52 34.00 (0.56) (17.37) 0.00 17.59

0.17 (5.00) (2.43) (25.04) 1.22 (31.01)

0.71 (2.34) (12.17) 0.00 (13.80)

(0.32) 0.00 (6.62) (6.94) 27.27 26.79 54.06

(0.01) (65.10) (2.41) (67.52) 17.71 54.06 71.77

(0.06) (35.00) 0.17 (34.89) (29.43) 71.77 42.34

(0.30) (14.70) 3.58 10.00 (1.32) (2.74) (8.91) 42.34 33.43

สวนที่ 2 หนาที่ 67


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) อัตราสวนทางการเงิน อัตราสวนทางการเงิน

ม.ค. - มิ.ย. 2553

2550

2551

2552

เทา เทา เทา เทา วัน เทา วัน เทา วัน วัน

2.08 1.07 0.43 2.98 120.72 3.50 102.93 2.70 133.40 90.26

1.91 1.23 0.52 3.22 111.96 3.52 102.38 2.94 122.40 91.94

1.71 1.09 0.29 2.88 124.90 3.55 101.30 2.84 126.96 99.25

1.65 0.98 0.12 2.71 132.90 3.28 109.77 2.64 136.46 106.21

อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร: อัตรากําไรขั้นตน อัตรากําไรจากการดําเนินงาน อัตรากําไรอื่น อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร อัตรากําไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผูถือหุน

รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ

39.60 15.03 3.71 125.57 11.09 29.31

38.59 15.07 0.87 132.03 10.07 23.32

33.12 8.37 1.07 145.59 4.74 11.60

33.37 9.48 2.70 59.27 7.79 19.54

อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน: อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร อัตราการหมุนของสินทรัพย

รอยละ รอยละ เทา

13.93 1,805.24 1.26

12.41 1,933.97 1.23

5.73 626.06 1.21

9.24 597.12 1.19

อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน: อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน อัตราการจายเงินปนผล

เทา เทา เทา รอยละ

0.83 284.11 2.12 -

0.94 10,914.63 0.79 188.52

1.12 854.76 0.54 244.29

1.10 45.14 0.25 135.21

อัตราสวนสภาพคลอง: อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ ระยะเวลาชําระหนี้ Cash Cycle

หนวย

สวนที่ 2 หนาที่ 68


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 12.2 คําอธิบาย และการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.2.1 สรุปภาพรวมผลการดําเนินงานที่ผานมา การประกอบธุรกิจหลักของกลุมบริษัทฯ สามารถแบงไดเปน 3 ประเภท คือ การผลิตและจําหนายพ็อคเก็ตบุคส การผลิตและ จําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน และการเปนตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศ ซึ่งสรางรายไดใหแกกลุมบริษัทฯ คิดเปนสัดสวนรอย ละ 19.27, 45.99 และ 32.04 ของรายไดรวมของกลุมบริษัทฯ ใน 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ ในป 2551 กลุมบริษัทฯ มีรายไดรวมและกําไรสุทธิจํานวน 343.04 และ 34.53 ลานบาท ลดลง 17.88 และ 5.51 ลานบาท จาก รายไดรวมและกําไรสุทธิในป 2550 จํานวน 360.92 และ 40.04 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 4.95 และ 13.76 ตามลําดับ เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ลดจํานวนการพิมพหนังสือการตูนตอปกลงและลดจํานวนหนังสือการตูนปกใหมลงเพื่อเลือกผลิตหนังสือที่ตรงตาม ความตองการของตลาดใหมากขึ้น อยางไรก็ตาม ถาตัดรายการปรับบัญชีเงินฝากธนาคาร และการปรับบัญชีสํารองสินคาหนังสือการตูนรับ คืนกับเนชั่นกรุปฯ ในป 2550 เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ยกเลิกการจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนผานเนชั่นกรุปฯ และรายไดจากการปรับ บัญชีอื่นเปนจํานวนรวม 7.39 ลานบาท (สุทธิจากภาษี 6.39 ลานบาท) ออกไป รวมทั้งตัดการปรับลดตนทุนคาลิขสิทธิ์ลงจากการปรับปรุง คาลิขสิทธิ์คางจายที่ทําใหกําไรป 2550 เพิ่มขึ้น 2.33 ลานบาท (สุทธิจากภาษี) ออกไป รายไดรวมและกําไรสุทธิหลังหักภาษีในป 2550 จะมี จํานวน 353.53 และ 31.32 ลานบาท ซึ่งเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับผลการดําเนินงานในป 2551 ที่ไมมีรายการดังกลาวแลว ทําใหรายได ของกลุมบริษัทฯ ในป 2551 ลดลง 10.49 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 2.97 และกําไรสุทธิเพิ่มขึ้น 3.21 ลานบาท คิดเปนอัตรา การเพิ่มขึ้นรอยละ 10.25 ในชวงป 2552 กลุมบริษัทฯ มีรายไดรวมและกําไรสุทธิจํานวน 302.47 และ 14.33 ลานบาท ลดลง 40.57 และ 20.20 ลานบาท จากรายไดรวมและกําไรสุทธิในป 2551 จํานวน 343.04 และ 34.53 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 11.83 และ 58.53 ตามลําดับ เนื่องจากการลดลงของยอดจําหนายพ็อคเก็ตบุคส และสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน ในชวง 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดรวมจํานวน 139.62 ลานบาท ลดลง 10.21 ลานบาท จากรายไดรวมใน 6 เดือน แรกป 2552 จํานวน 149.83 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 6.81 เนื่องจากการลดลงของยอดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน และสิ่งพิมพตางประเทศจากเหตุการณไมสงบทางการเมือง อยางไรก็ตาม ใน 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีกําไรสุทธิจํานวน 10.87 ลานบาท เพิ่มขึ้น 9.31 ลานบาท จากกําไรสุทธิใน 6 เดือนแรกป 2552 จํานวน 1.56 ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 596.79 เนื่องจากราคากระดาษซึ่งเปนตนทุนการผลิตปรับลดลง และบริษัทฯ มีการควบคุมคาใชจายในการขายและบริหารที่ดี 12.2.2 ผลการดําเนินงานของกลุมบริษัทฯ ในแตละสายธุรกิจ ก. รายได การรับรูรายไดของกลุมบริษัทฯ สามารถแบงไดเปน 2 ประเภทหลักดังนี้ ก) การขายฝาก กลุมบริษัทฯ รับรูรายไดแบบการขายฝากในการจําหนายหนังสือพ็อคเก็ตบุคส และสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน ผานผูจัด จําหนายหนังสือรายใหญที่มีรานหนังสือหลายสาขา โดยกลุมบริษัทฯ ยังไมรับรูรายไดเมื่อมีการโอนสินคาจากคลังไปใหผูจัดจําหนาย เหลานั้น แตจะรับรูเปนรายไดเมื่อกลุมบริษัทฯ ไดรับใบสรุปยอดขายรายเดือนจากผูจัดจําหนาย ข) การขายเชื่อ กลุมบริษัทฯ รับรูรายไดแบบการขายเชื่อในการจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน และหนังสือพิมพและนิตยสาร ตางประเทศผานเอเยนตรายยอยและกลุมคาปลีกสมัยใหม (Modern Trade) โดยกลุมบริษัทฯ รับรูรายไดเมื่อมีการสงมอบสินคาตาม ใบสงของ (DO) และมีการหักคาเผื่อสินคารับคืน ซึ่งคํานวณจากสัดสวนรอยละของจํานวนสินคารับคืนในอดีตยอนหลัง 12 เดือนตอ จํานวนสินคาที่ขายทั้งหมด

สวนที่ 2 หนาที่ 69


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ประเภทรายได รายไดจากกลุมธุรกิจ 1. ธุรกิจสํานักพิมพ 1.1 การผลิตและจําหนายพ็อคเก็ตบุคส 1.2 การผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน 2. ธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศและ บริการที่เกี่ยวของ ก 3. รายไดอื่น

2551 ลบ. 56.17 174.58 98.98

รอยละ

2552 ลบ. รอยละ

ม.ค. – มิ.ย. 52 ลบ. รอยละ

ม.ค. – มิ.ย. 53 ลบ. รอยละ

16.37 45.16 50.89 152.46

14.93 50.40

18.10 76.51

12.08 51.06

26.90 64.21

19.27 45.99

98.74

32.65

49.98

33.36

44.74

32.04

28.85

13.31 3.89 6.11 2.02 5.24 3.50 3.77 2.70 รายไดรวม 343.04 100.00 302.47 100.00 149.83 100.00 139.62 100.00 ก หมายเหตุ: รวมรายไดจากคาจางพิมพ คาจัดสง และคาบริการจากการเปนตัวแทนขายโฆษณาในสิ่งพิมพตางประเทศ ข รายไดอื่นๆ ไดแก รายไดจากการสัมมนา สอนภาษาตางประเทศและทักษะการสื่อสาร ดอกเบี้ยรับ และรายการพิเศษอื่นๆ เปนตน

ก.1

รายไดจากการผลิตและจําหนายพ็อคเก็ตบุคส

ในชวงป 2552 และ 6 เดือนแรก 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดจากการผลิตและจําหนายพ็อคเก็ตบุคสคิดเปนสัดสวนรอยละ 14.93 และ 19.27 ตามลําดับ โดยในป 2552 กลุมบริษัทฯ มีรายไดจากธุรกิจนี้จํานวน 45.16 ลานบาท ลดลง 11.01 ลานบาท จากรายไดในป 2551 จํานวน 56.17 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 19.60 เนื่องจากจํานวนหนังสือออกใหมนอยลง ยอดขายหนังสือใหมไมเปนไป ตามเปาหมาย และจํานวนการพิมพซ้ําปกเดิมนอยลง ในชวง 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดจากธุรกิจนี้จํานวน 26.90 ลานบาท เพิ่มขึ้น 8.80 ลานบาท จากรายไดใน 6 เดือน แรกป 2552 จํานวน 18.10 ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 48.62 เนื่องจากบริษัทฯ จําหนายหนังสือพ็อคเก็ตบุคสที่มีเนื้อหา เกี่ยวกับโหราศาสตรและสุขภาพที่เปนที่นิยมอยางสูงในตลาดและมีการจัดกิจกรรมสงเสริมการขายอยางตอเนื่อง ก.2

รายไดจากการผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน

ในชวงป 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดสวนใหญจากการผลิตและจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชนคิดเปน สัดสวนรอยละ 50.40 และ 45.99 ตามลําดับ โดยในป 2552 กลุมบริษัทฯ มีรายไดจากธุรกิจนี้จํานวน 152.46 ลานบาท ลดลง 22.12 ลาน บาท จากป 2551 จํานวน 174.58 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 12.67 โดยมีสาเหตุหลักจากจํานวนหนังสือออกใหมนอยลง ยอด พิมพลดลง รวมทั้งการสั่งซื้อจากเอเยนตและรานหนังสือลดลง อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ ยังมีหนังสือการตูนที่มียอดจําหนายสูง ไดแก นินจาคาถาโอโฮเฮะ เทพมรณะ เปนตน ในชวง 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดจากธุรกิจนี้จํานวน 64.21 ลานบาท ลดลง 12.30 ลานบาท จากรายไดใน 6 เดือน แรกป 2552 จํานวน 76.51 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 16.08 เนื่องจากยอดขายหนังสือการตูนจากประเทศญี่ปุนลดลงจาก เหตุการณไมสงบทางการเมืองที่ทําใหเอเยนตและรานหนังสือสั่งหนังสือลดลง ก.3

รายไดจากธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศและบริการที่เกี่ยวของ

ในชวงป 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดจากธุรกิจตัวแทนจําหนายสิ่งพิมพตางประเทศและบริการที่เกี่ยวของ คิดเปนสัดสวนรอยละ 32.65 และ 32.04 ตามลําดับ ซึ่งถือเปนแหลงรายไดอันดับสองของกลุมบริษัทฯ รองจากการผลิตและจําหนายสื่อ สิ่งพิมพสําหรับเยาวชน โดยในป 2552 กลุมบริษัทฯ มีรายไดจากธุรกิจนี้จํานวน 98.74 ลานบาท ลดลง 0.24 ลานบาท จากรายไดในป 2551 จํานวน 98.98 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 0.24 เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลง แมวากลุมบริษัทฯ มีรายไดจาก การรับจางพิมพ The Wall Street Journal, Asia. ซึ่งโอนมาจากเนชั่นกรุปฯ ในเดือนตุลาคม 2551 เพิ่มขึ้น

สวนที่ 2 หนาที่ 70


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ในชวง 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดจากธุรกิจนี้จํานวน 44.74 ลานบาท ลดลง 5.24 ลานบาท จากรายไดใน 6 เดือน แรกป 2552 จํานวน 49.98 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 10.48 เนื่องจากเหตุการณวุนวายทางการเมืองทําใหนักทองเที่ยวชาว ตางประเทศและชาวตางประเทศที่เขามาทํางานในประเทศไทยซึ่งเปนกลุมลูกคาหลักมีจํานวนลดลง ก.4

รายไดอื่นๆ ในชวงป 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดอื่นๆ ซึ่งไดแก รายไดจากการสัมมนา สอนภาษาตางประเทศและ ทักษะการสื่อสาร ดอกเบี้ยรับ รายไดเบ็ดเตล็ด และรายการพิเศษอื่นๆ เปนตน คิดเปนสัดสวนรอยละ 2.02 และ 2.70 ตามลําดับ โดยในป 2552 กลุมบริษัทฯ มีรายไดอื่นๆ จํานวน 6.11 ลานบาท ลดลง 7.20 ลานบาท จากรายไดในป 2551 จํานวน 13.31 ลานบาท คิดเปนอัตรา การลดลงรอยละ 54.09 และในชวง 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีรายไดจากธุรกิจนี้จํานวน 3.77 ลานบาท ลดลง 1.47 ลานบาท จาก รายไดใน 6 เดือนแรกป 2552 จํานวน 5.24 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 28.05 โดยมีสาเหตุหลักจากการที่กลุมบริษัทฯ ไมมีการ ดําเนินธุรกิจการอบรมสัมมนา,สอนภาษาตางประเทศ และทักษะการสื่อสารหลังจากไตรมาส 1 ป 2552 เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ไดหยุดการ ดําเนินธุรกิจนี้แลว ข.

ตนทุนขายสินคาและตนทุนใหบริการ ประเภท

2551

2552 ก

ลบ. รอยละ ลบ. 40.14 11.81 40.23 168.68 49.60 159.88

ตนทุนคาลิขสิทธิ์ ตนทุนอื่นๆ รวมตนทุนขายสินคาและใหบริการ 208.82 61.41 200.11 ก หมายเหตุ: สัดสวนรอยละตอรายไดจากการขายสินคาและการใหบริการ

ม.ค. – มิ.ย. 52 ก

รอยละ 13.45 53.43

66.88

ม.ค. – มิ.ย. 53 ก

ลบ. 20.14 81.03

รอยละ 13.66 54.94

ลบ. 18.14 72.37

รอยละ ก 13.35 53.27

101.17

68.60

90.51

66.62

สัดสวนคาลิขสิทธิ์ของกลุมบริษัทฯ คิดเปนรอยละ 11.81, 13.45 และ 13.35 ของรายไดจากการขายสินคาและการใหบริการในป 2551, 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ โดยในป 2551 สัดสวนคาลิขสิทธิ์ของกลุมบริษัทฯ ลดลง จากการปรับลดคาลิขสิทธิ์ของ หนังสือการตูนคายตะวันตกลงในการทําสัญญาตอจากกลุมเอ็กมอนท ในป 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 สัดสวนคาลิขสิทธิ์ของกลุม บริษัทฯ ใกลเคียงกัน เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ตัดจาย คาลิขสิทธิ์สิ่งพิมพ สอดคลองตามยอดขาย สัดสวนตนทุนอื่นๆ ของกลุมบริษัทฯ คิดเปนรอยละ 49.60, 53.43 และ 53.27 ของรายไดจากการขายสินคาและการใหบริการในป 2551, 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ โดยในป 2552 มีสัดสวนเพิ่มขึ้น เนื่องจากบริษัทฯ มีการรับจางพิมพหนังสือพิมพ The Wall Street Journal, Asia. เพิ่มเขามาในไตรมาส 4 ป 2551 และใน 6 เดือนแรกป 2553 มีสัดสวนลดลงเล็กนอย เนื่องจากราคากระดาษซึ่ง เปนตนทุนการผลิตปรับลดลง ค.

คาใชจายในการขายและบริหาร ประเภท

2551 ลบ. รอยละ ค 36.73 10.80 26.59 7.82 7.84 2.31 8.85 2.60

คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนพนักงาน คาใชจายในการสงเสริมการขาย อื่นๆ รวมคาใชจายในการขายและบริหาร 80.01 23.53 ก หมายเหตุ: สัดสวนรอยละตอรายไดจากการขายสินคาและการใหบริการ

2552 ลบ. รอยละ ค 35.94 12.01 24.12 8.06 5.56 1.86 8.45 2.82

ม.ค. – มิ.ย. 52 ลบ. รอยละ ค 21.12 14.32 11.08 7.51 3.03 2.05 4.95 3.36

ม.ค. – มิ.ย. 53 ลบ. รอยละ ค 13.49 9.93 13.51 9.94 2.84 2.09 2.62 1.93

74.07

40.18

32.46

24.75

27.24

23.89

กลุมบริษัทฯ มีสัดสวนคาใชจายในการบริหารรอยละ 10.80, 12.01 และ 9.93 ของรายไดจากการขายสินคาและการใหบริการในป 2551, 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ โดยในป 2552 สัดสวนคาใชจายในการบริหารสูงขึ้นแตมีจํานวนเงินลดลงเมื่อเทียบกับป 2551 และใน 6 เดือนแรกป 2553 มีสัดสวนทีลดลง เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ยังมีนโยบายในการลดและควบคุมคาใชจายสวนนี้ สวนที่ 2 หนาที่ 71


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) สัดสวนคาตอบแทนพนักงานของกลุมบริษัทฯ คิดเปนรอยละ 7.82, 8.06 และ 9.94 ของรายไดจากการขายสินคาและการใหบริการ ในป 2551, 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ โดยมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เนื่องจาก บริษัทฯมีการรับพนักงานเพื่อรองรับการขยายงาน ในอนาคต สัดสวนคาใชจายในการสงเสริมการขายของกลุมบริษัทฯ คิดเปนรอยละ 2.31, 1.86 และ 2.09 ของรายไดจากการขายสินคาและการ ใหบริการในป 2551, 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ โดยมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เนื่องจากกลุมบริษัทฯ มีการจัดสงเสริมการขายกับ รานคาอยางตอเนื่องเพื่อกระตุนยอดขาย สัดสวนคาใชจายอื่นๆของกลุมบริษัทฯ ประกอบดวย คาธรรมเนียมวิชาชีพ และตนทุนสินคาบริจาค คิดเปนรอยละ 2.60, 2.82 และ 1.93 ของรายไดจากการขายสินคาและการใหบริการในป 2551, 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ โดยทั้งจํานวนเงินและอัตราสวน ลดลงเนื่องจากกลุมบริษัทฯ มีคาใชจายอื่นๆ เชน คาใชจายในการเขาตลาดหลักทรัพย และคาธรรมเนียมวิชาชีพตาง ๆ ลดลง ง.

อัตรากําไรขั้นตนและอัตรากําไรสุทธิ

ในป 2551, 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีอัตรากําไรขั้นตนรอยละ 38.59, 33.12 และ 33.37 ตามลําดับ โดยกลุม บริษัทฯ มีอัตรากําไรขั้นตนลดลงในป 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ตัดจายคาลิขสิทธิ์สิ่งพิมพสอดคลองตาม ยอดขาย และการเพิ่มขึ้นของตนทุนการใหบริการจากการรับจางพิมพ Wall Street Journal. Asia กลุมบริษัทฯ มีอัตรากําไรสุทธิรอยละ 10.07, 4.74 และ 7.79 ในป 2551, 2552 และ 6 เดือนแรกป 2553 ตามลําดับ โดยป 2552 กลุมบริษัทฯ มีอัตรากําไรสุทธิต่ําลงจากการที่ บริษัทฯ มีสัดสวนตนทุนขายสินคาและใหบริการ รวมทั้งสัดสวนคาใชจายในการขายและบริหารเพิ่มขึ้น และใน 6 เดือนแรกป 2553 กลุม บริษัทฯ มีอัตรากําไรสุทธิเพิ่มขึ้น เนื่องจากสามารถควบคุมตนทุนขายสินคาและใหบริการ และคาใชจายในการขายและบริหารไดดีขึ้น

สวนที่ 2 หนาที่ 72


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 12.2.3 ฐานะทางการเงิน ก.

สินทรัพย

ณ สิ้นป 2552 กลุมบริษัทฯ มีสินทรัพยรวม 240.57 ลานบาท ลดลง 18.64 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 7.19 จากยอดสินทรัพยรวม ณ สิ้นป 2551 และ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มีสินทรัพยรวม 229.94 ลานบาท ลดลง 10.63 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 4.42 จากยอดสินทรัพยรวม ณ สิ้นป 2552 โดยสินทรัพยหลักของกลุมบริษัทมี 4 ประเภท คือ ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ เงินสดและ รายการเทียบเทา และสินทรัพยไมมีตัวตน ซึ่งมีสัดสวนตอสินทรัพยรวม ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 เทากับรอยละ 34.41, 24.67, 14.54 และ 9.94 ตามลําดับ การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยหลักดังกลาวมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ก.1

ลูกหนี้การคา (หนวย: ลานบาท) กิจการที่เกี่ยวของกัน : ยังไมครบกําหนดชําระ เกินวันครบกําหนดชําระ นอยกวา 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ กิจการอื่นๆ : ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ นอยกวา 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสินคารับคืน สุทธิ รวมลูกหนี้การคา

31 ธ.ค. 2551

31 ธ.ค. 2552

30 มิ.ย. 2553

17.98

19.74

10.40

2.44 0.08 0.14 20.64 (0.10) 20.54

22.91 0.10 42.75 (0.10) 42.65

25.03 0.10 35.53 (0.10) 35.43

69.96

54.05

46.49

2.44 2.09 5.26 79.75 (6.19) (12.45) 61.11 81.65

6.86 1.17 2.41 64.49 (4.05) (11.07) 49.37 92.02

5.39 2.72 3.23 57.83 (4.51) (9.63) 43.69 79.12

ลูกหนี้การคาของกลุมบริษัทฯ ประกอบดวยลูกหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน และลูกหนี้การคากิจการอื่นๆ โดยมีการหักคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ซึ่งกลุมบริษัทฯ จะมีการตั้งคาเผื่อดังกลาวเปนสัดสวนรอยละ 1 ของยอดขายในแตละเดือน ประกอบกับการพิจารณาประวัติ การชําระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของลูกคา นอกจากนั้น ยังมีการหักคาเผื่อสินคารับคืน ซึ่งกลุมบริษัทฯ จะมี การตั้งคาเผื่อดังกลาวโดยใชสัดสวนรอยละของจํานวนสินคารับคืนในอดีตยอนหลัง 12 เดือนตอจํานวนสินคาที่ขายทั้งหมด โดยกลุมบริษัทฯ จะตรวจสอบความเพียงพอของคาเผื่อดังกลาวทุกสิ้นไตรมาส ณ สิ้นป 2552 กลุมบริษัทฯ มีลูกหนี้การคาจํานวน 92.02 ลานบาท เพิ่มขึ้น 10.37 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 12.70 จากยอด ลูกหนี้การคา ณ สิ้นป 2551 โดยในสวนของลูกหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกันมีจํานวนที่เกินกําหนดชําระเพิ่มขึ้น ซึ่งมีสาเหตุจากการที่ NED ไมไดรับชําระคาหนังสือการตูนจาก NEE ตามกําหนดเวลา และในสวนของลูกหนี้การคากิจการอื่นๆ มีจํานวนที่เกินกําหนดนอยกวา 6 เดือนเพิ่มขึ้น เนื่องจากตัวแทนจําหนายหนังสือพิมพตางประเทศรายหนึ่งชําระหนี้ชา แตปจจุบันไดชําระหนี้ที่เกินกําหนดเรียบรอยแลว นอกจากนั้นสภาพเศรษฐกิจที่ยังคงชะลอตัวอยูทําใหลูกคาเอเยนตมีสภาพคลองลดลงจึงชะลอการจายชําระเงิน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มีลูกหนี้การคาจํานวน 79.12 ลานบาท ลดลง 12.90 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 14.01 จากยอดลูกหนี้การคา ณ สิ้นป 2552 โดยในสวนของลูกหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกันมีจํานวนที่เกินกําหนดชําระเพิ่มขึ้น ซึ่งมีสาเหตุจาก สวนที่ 2 หนาที่ 73


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) การที่ NED ไมไดรับชําระคาหนังสือการตูนจาก NEE ตามกําหนดเวลา และในสวนของลูกหนี้การคากิจการอื่นๆ มีจํานวนที่เกินกําหนดเกิน กวา 6 เดือนเพิ่มขึ้น เนื่องจากเหตุการณวุนวายทางการเมืองทําใหลูกคาเอเยนตมีสภาพคลองลดลงจึงชะลอการจายชําระเงิน ก.2

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

ณ สิ้นป 2552 กลุมบริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดจํานวน 42.34 ลานบาท ลดลง 29.43 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 41.01 จากสิ้นป 2551 เนื่องจากบริษัทฯ จายเงินปนผลใหแกผูถือหุนจํานวน 35.00 ลานบาท ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดจํานวน 33.43 ลานบาท ลดลง 8.91 ลานบาท หรือ ลดลงรอยละ 21.04 จากสิ้นป 2552 เนื่องจากบริษัทฯ จายเงินปนผลใหแกผูถือหุนจํานวน 14.70 ลานบาท ก.3

สินคาคงเหลือ (หนวย: ลานบาท) สินคาสําเร็จรูป หัก คาเผื่อสินคาลาสมัย สุทธิ

31 ธ.ค. 2551 127.80 (68.85) 58.95

31 ธ.ค. 2552 126.40 (72.73) 53.67

30 มิ.ย. 2553 125.64 (68.91) 56.73

สินคาคงเหลือของกลุมบริษัทฯ ประกอบดวยวัตถุดิบ และสินคาสําเร็จรูปซึ่งเปนสิ่งพิมพ โดยมีการหักคาเผื่อสินคาลาสมัย ซึ่งกลุม บริษัทฯ จะมีการตั้งคาเผื่อสินคาลาสมัยในสัดสวนรอยละ 100 ของมูลคาสินคาคงเหลือที่มีอายุมากกวา 1 ปขึ้นไปและผลิตครบชุดแลว และ ของสินคาคงเหลือที่มีอายุมากกวา 3 ปขึ้นไปแตยังผลิตไมครบชุด อยางไรก็ตามสินคาที่ตั้งคาเผื่อสินคาลาสมัยแลว ยังคงสามารถจําหนาย ไดตามปกติ ณ สิ้นป 2552 กลุมบริษัทฯ มีสินคาคงเหลือสุทธิจํานวน 53.67 ลานบาท ลดลง 5.28 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 8.96 จากสิ้นป 2551 เนื่องจากการควบคุมจํานวนหนังสือที่ผลิตใหสอดคลองกับการขาย และจะพิมพซ้ําเมื่อมีความตองการหนังสือมากขึ้น นอกจากนี้กลุม บริษัทฯ มีการตั้งคาเผื่อสินคาลาสมัยเพิ่มขึ้นดวย ณ วันที่ 30 มิถุนายนยน 2553 กลุมบริษัทฯ มีสินคาคงเหลือสุทธิจํานวน 56.73 ลานบาท เพิ่มขึ้น 3.06 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 5.70 จากสิ้นป 2552 เนื่องจาก กลุมบริษัทฯ ไดจําหนายสินคาลาสมัย ทําใหคาเผื่อสินคาลาสมัยลดลง ก.4

สินทรัพยไมมีตัวตน

ณ สิ้นป 2552 กลุมบริษัทฯ มีสินทรัพยไมมีตัวตนจํานวน 18.77 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1.27 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 7.26 จากสิ้นป 2551 และ ณ วันที่ 30 มิถุนายนยน 2553 กลุมบริษัทฯ มีสินทรัพยไมมีตัวตนจํานวน 22.83 ลานบาท เพิ่มขึ้น 4.06 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น รอยละ 21.63 จากสิ้นป 2552 เนื่องจากกลุมบริษัทฯ มีการซื้อลิขสิทธิ์สิ่งพิมพเขามาเพิ่มขึ้น เพื่อรองรับกับการทําหนังสือในอนาคต ข.

แหลงที่มาของเงินทุน

ข.1

หนี้สิน

หนี้สินหลักของกลุมบริษัท ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 มี 2 ประเภท คือ เจาหนี้การคา และหนี้สินหมุนเวียนอื่น ซึ่งมีสัดสวนตอ สินทรัพยรวมเทากับรอยละ 28.61 และ 12.77 ตามลําดับ โดยหนี้สินหมุนเวียนอื่นสวนใหญประกอบดวยคาลิขสิทธิ์คางจายของสิ่งพิมพที่ กลุมบริษัทฯ บันทึกตามสัญญาที่ตกลงกัน ณ สิ้นป 2552 กลุมบริษัทฯ มีหนี้สินรวม 127.35 ลานบาท เพิ่มขึ้น 2.04 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.63 จากยอดหนี้สินรวม ณ สิ้นป 2551 โดยมีสาเหตุหลักคือ การเพิ่มขึ้นของเจาหนี้การคา และ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มีหนี้สินรวม 120.55 ลานบาท ลดลง 6.80 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 5.34 จากยอดหนี้สินรวม ณ สิ้นป 2552 โดยมีสาเหตุหลักคือ การลดลงของภาษีเงินไดคางจายและ คาใชจายคางจาย อยางไรก็ตาม ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทฯ มีเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคารรวมจํานวน 12.43 ลานบาท เพิ่มขึ้น 12.26 ลานบาท จากจํานวน 0.17 ลานบาท ณ สิ้นป 2552 เนื่องจากกลุมบริษัทฯ มีการกูเงินเพื่อใชเปนเงินทุน หมุนเวียนเพิ่มเติมในการดําเนินธุรกิจ สวนที่ 2 หนาที่ 74


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ข.2

สวนของผูถือหุน

ณ สิ้นป 2552 กลุมบริษัทฯ มีสวนของผูถือหุนรวม 113.22 ลานบาท ลดลง 20.68 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 15.44 จากสวนของผู ถือหุน ณ สิ้นป 2551 เนื่องจากบริษัทฯ มีการจายปนผลใหแกผูถือหุน จํานวน 35.00 ลานบาท และ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุม บริษทั ฯ มีสวนของผูถือหุนรวม 109.39 ลานบาท ลดลง 3.83 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 3.38 จากสวนของผูถือหุน ณ สิ้นป 2552 เนื่องจากบริษัทฯ มีการจายปนผลใหแกผูถือหุน จํานวน 14.70 ลานบาท ค.

สภาพคลอง

ใน 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีวงจรเงินสด (Cash Cycle) เทากับ 106.21 วัน เพิ่มขึ้น 6.96 วัน จาก 99.25 วันในชวงป 2552 เนื่องจากกลุมบริษัทฯ มีลูกหนี้การคาเพิ่มขึ้นจากการที่ NED ไมไดรับชําระคาหนังสือการตูนจาก NEE ตามกําหนดเวลา และ เหตุการณวุนวายทางการเมืองทําใหลูกคาเอเยนตหนังสือการตูนมีสภาพคลองลดลงจึงชะลอการจายชําระเงิน นอกจากนั้น สินคาคงเหลือ ของกลุมบริษัทฯ ยังเพิ่มขึ้นจากการที่คาเผื่อสินคาลาสมัยลดลง เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน ในชวงป 2552 กลุมบริษัทฯ มีเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงานจํานวน 36.47 ลานบาท ลดลง 31.17 ลานบาท หรือลดลง รอยละ 46.08 จากในชวงป 2551 เนื่องจากกลุมบริษัทฯ มียอดขายลดลง รวมทั้งมีลูกหนี้การคาและรายไดคางรับเพิ่มขึ้นจากสภาพ เศรษฐกิจที่ชะลอตัว และใน 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงานจํานวน 7.63 ลานบาท ลดลง 17.49 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 69.62 จากในชวงเดียวกันป 2552 เนื่องจากกลุมบริษัทฯ มีสินคาคงเหลือเพิ่มขึ้น รวมทั้งจายชําระเจาหนี้ การคาและคาใชจายคางจาย เงินสดจากกิจกรรมลงทุน ในชวงป 2552 กลุมบริษัทฯ มีเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมการลงทุนจํานวน 31.01 ลานบาท เทียบกับในชวงป 2551 ที่กลุมบริษัทฯ มีเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมการลงทุนจํานวน 17.59 ลานบาท เนื่องจากในป 2552 กลุมบริษัทฯ ไมมีเงินสดรับจากเงินใหกูยืมระยะสั้น แกกิจการที่เกี่ยวของกัน รวมทั้งซื้อสินทรัพยที่ไมมีตัวตนและเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น และในชวง 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีเงินสด สุทธิใชไปในกิจกรรมการลงทุนจํานวน 13.80 ลานบาท เทียบกับชวงเดียวกันในป 2552 ที่กลุมบริษัทฯ มีเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมการ ลงทุนจํานวน 12.26 ลานบาท เนื่องจากกลุมบริษัทฯ ซื้ออุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตนเพิ่มขึ้นในชวง 6 เดือนแรกป 2553 เงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในชวงป 2552 กลุมบริษัทฯ มีเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 34.89 ลานบาท เมื่อเทียบกับในชวงป 2551 ที่กลุม บริษัทฯ มีเงินสดใชไปในกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 67.52 ลานบาท เนื่องจากในป 2552 บริษัทฯ มีการจายปนผลใหแกผูถือหุนลดลง ในชวง 6 เดือนแรกป 2553 กลุมบริษัทฯ มีเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 2.74 ลานบาท เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันป 2552 ที่กลุม บริษัทฯ มีเงินสดใชไปในกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 35.00 ลานบาท เนื่องจากบริษัทฯ มีเงินสดจากเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะยาว เพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการจายปนผลใหแกผูถือหุนลดลง 12.3

ปจจัยหลักและอิทธิพลหลักทีอ่ าจมีผลตอการดําเนินงานหรือฐานะทางการเงินในอนาคต

12.3.1 การขยายธุรกิจไปยังโครงการใหม กลุมบริษัทฯ มีโครงการที่จะใชประสบการณและความชํานาญของกลุมบริษัทฯ รวมทั้งการหาเนื้อหาที่แตกตาง และโอกาสจาก ชองวางทางการตลาด ในการออกสิ่งพิมพฉบับใหม โดยกลุมบริษัทฯ คาดวาการออกสินคาใหมนี้จะสงผลดีแกกลุมบริษัทฯ ในการเพิ่ม รายไดใหแกกลุมบริษัทฯ จากการขายสิ่งพิมพและการขายโฆษณาในสิ่งพิมพดังกลาว การขยายกลุมลูกคาเปาหมายของกลุมบริษัทฯ การ ลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงการตูนจากแหลงเดียว และเพิ่มการตูนที่เขียนโดยคนไทย รวมทั้งสรางโอกาสในการหารายไดตอยอดในอนาคต อาทิ รายไดจากการขายการตูนรวมเลม และรายไดจากสื่อใหม เปนตน สวนที่ 2 หนาที่ 75


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ มีโครงการในการใชประโยชนจากเนื้อหา (Content) ที่กลุมบริษัทฯมี และความสัมพันธอันดีระหวางกลุม บริษัทฯ กับเจาของลิขสิทธิ์ในตางประเทศ มาใชประโยชนเพื่อการสรางรายไดใหมจากสื่อใหม และไดกําหนดแนวทางในการตอยอดไปยังสื่อ ใหมใน 3 เรื่องคือ 1) การใหบริการเว็บไซตทางอินเตอรเน็ต 2) การใหบริการ Content ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ และ 3) การใหบริการ Content ผานเครื่องดิจิทัลอื่นๆ ดังรายละเอียดในขอที่ 6 โครงการในอนาคต โดยกลุมบริษัทฯคาดวาการใหบริการผานสื่อใหมนี้ จะสงผลดีกับบริษัทฯ ในการเพิ่มโอกาสในการสรางรายไดใหแกกลุมบริษัทฯ จากการขายโฆษณาและสปอนเซอร รวมทั้งรายไดจากผูใชบริการ การตอบสนอง ความตองการของกลุมลูกคาปจจุบันของกลุมบริษัทฯ ที่มีความตองการบริโภคเนื้อหาผานชองทางใหม การขยายกลุมลูกคาเปาหมายของ กลุมบริษัทฯ และการเพิ่มชองทางใหมในการบริหารความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relationship Management) เพื่อสนับสนุนธุรกิจ สิ่งพิมพและธุรกิจอื่นๆของกลุมบริษัทฯ นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังมีโครงการผลิตรายการการตูนและรายการที่เกี่ยวของกับเยาวชนเพื่อแพรภาพผานสื่อโทรทัศน และการ บริหารตัวการตูนเพื่อตอยอดการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทฯใหครบวงจรและเพิ่มโอกาสในการสรางแหลงรายไดใหมแกกลุมบริษัทฯ อีก ดวย 12.3.2 การเพิ่มขึ้นของราคากระดาษและการขาดแคลนกระดาษ วัตถุดิบหลักที่สําคัญในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ คือ กระดาษ ซึ่งคิดเปนตนทุนประมาณรอยละ 17.90 ของตนทุนขายและบริการตามงบ การเงินรวมของกลุมบริษัทฯ ใน 6 เดือนแรกป 2553 โดยกระดาษที่ใชในการผลิตสิ่งพิมพจัดเปนสินคาประเภท Commodity ที่มีการ เปลี่ยนแปลงทางดานราคาแปรผันตามความตองการของการบริโภคและปริมาณการผลิตของผูผลิต (Demand & Supply) ดังนั้นกลุม บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงจากการผันผวนของราคากระดาษ ซึ่งอาจสงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนการผลิตและกําไรสุทธิของกลุมบริษัทฯ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงจากการขาดแคลนกระดาษ Newsprint ชนิดมวนที่ใชพิมพหนังสือพิมพ นิตยสาร และหนังสือที่มียอด พิมพสูง ซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญที่บริษัทฯ ใชในการผลิตสิ่งพิมพ เนื่องจากกระดาษชนิดดังกลาวหาซื้อไดยากในประเทศไทยและตองซื้อเปน จํานวนมากในแตละครั้ง ในการลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนกระดาษและการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคากระดาษ Newsprint ชนิดมวน กลุมบริษัทฯ จะ สั่งซื้อจากบริษัทในเครือเนชั่นกรุปฯ สําหรับการจัดพิมพที่โรงพิมพในเครือเนชั่นกรุปฯ ซึ่งเปนการจัดพิมพสวนใหญของกลุมบริษัทฯ โดยเนชัน่ กรุปฯ มีประสบการณในการจัดซื้อกระดาษเปนระยะเวลานาน มีการจัดซื้อกระดาษสํารองไว และเขาใจในวงจรของราคากระดาษเปนอยาง ดี รวมทั้งเนชั่นกรุปฯ ไดมีการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนโดยการทํา Forward Contract ไวตามปริมาณกระดาษที่คาดวาจะใช ลวงหนา ดังนั้น การจัดซื้อกระดาษจากเนชั่นกรุปฯ จึงชวยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคากระดาษ และการขาดแคลนกระดาษได นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ จะสั่งจองกระดาษกอนการตั้งราคาขายของหนังสือ เพื่อใหกลุมบริษัทฯ ยังสามารถรักษาสัดสวนของตนทุน กระดาษตอราคาหนังสือไวได รวมทั้งบริษัทฯสามารถปรับราคาของหนังสือหลายประเภทขึ้นได ในกรณีที่ตนทุนกระดาษเพิ่มขึ้นอยางเปน สาระสําคัญ 12.3.4 การดอยคาของสินคาคงเหลือ ปจจุบัน สิ่งพิมพของกลุมบริษัทฯ มีการขายผานตัวแทนจําหนายเปนสวนใหญ โดยกลุมบริษัทฯ จะรับคืนสิ่งพิมพที่ไมสามารถ จําหนายไดจากตัวแทนจําหนาย ซึ่งอาจเปนผลใหมีสิ่งพิมพเปนสินคาคงเหลือเปนจํานวนมากได สินคาคงเหลือดังกลาวมีโอกาสเสื่อม คุณภาพ เสียหาย และลาสมัยเมื่อเวลาผานไป ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของกลุมบริษัทฯ อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ ไดมี การตั้งคาเผื่อสินคาลาสมัยในสัดสวนรอยละ 100 ของมูลคาสินคาคงเหลือที่มีอายุมากกวา 1 ปขึ้นไปและผลิตครบชุดแลว และของสินคา คงเหลือที่มีอายุมากกวา 3 ปขึ้นไปแตยังผลิตไมครบชุด โดยมีการตั้งคาเผื่อดังกลาวทุกเดือน นอกจากนั้น เพื่อลดปริมาณสินคาคงเหลือ กลุมบริษัทฯ จะนําเอาหนังสือเกาออกมาจําหนายเปนระยะๆ โดยการจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อสงเสริมการขายในงานนิทรรศการตางๆที่จัดขึ้น เปนประจําทุกป สําหรับหนังสือการตูนที่มีเลมตอเนื่อง กลุมบริษัทฯ จะดําเนินการนําเลมที่ออกใหมจําหนายควบคูไปกับเลมที่ไดเคยวาง จําหนายไปแลว ซึ่งรวมถึงการนําการตูนที่มีการออกจําหนายครบทุกเลมแลวมาจัดจําหนายรวมเปนชุดเพื่อกระตุนการจําหนายดวย

สวนที่ 2 หนาที่ 76


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 12.3.5 การแขงขันและจํานวนคูแขงที่เพิ่มมากขึ้น การแขงขันในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพประเภทหนังสือระหวางสํานักพิมพขนาดใหญปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นในปจจุบัน ซึ่งอาจสงผลกระทบ ตอผลการดําเนินงานของกลุมบริษัทฯ ในอนาคต อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ เชื่อวาจะสามารถรักษาความเปนหนึ่งในผูนําของอุตสาหกรรม สิ่งพิมพประเภทหนังสือในประเทศไทยไดตอไปในอนาคต โดยเฉพาะการเปนหนึ่งในสํานักพิมพที่มียอดจําหนายสื่อสิ่งพิมพสําหรับเยาวชน จากประเทศญี่ปุน และประเทศในทวีปเอเชียสูงที่สุดในประเทศไทย จากจุดเดนของกลุมบริษัทฯ ที่มีความสัมพันธที่ดีกับนักเขียนและ สํานักพิมพที่มีชื่อเสียง และที่ประสบความสําเร็จในการผลิตและจัดจําหนายสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือมาอยางตอเนื่อง ซึ่งทําใหกลุมบริษัทฯ สามารถคัดเลือกสิ่งพิมพที่มีแนวโนมที่จะไดรับความนิยมสูงมาผลิตและจัดจําหนายไดตามเปาหมาย นอกจากนั้น กลุมบริษัทฯ ยังมีการ ผลิตสิ่งพิมพหลากหลายประเภทเพื่อครอบคลุมความตองการของผูอานทุกกลุม ซึ่งเปนการลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผูอานกลุมใดกลุม หนึ่ง 12.3.6 การปรับปรุงรายการคาลิขสิทธิ์คางจาย กลุมบริษัทฯ ไดมีการปรับปรุงงบการเงินยอนหลัง และจัดทํางบการเงินขึ้นใหมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เนื่องจาก บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกันไดรับการตอบกลับจากผูใหลิขสิทธิ์วายอดคงเหลือลาสุดของคาลิขสิทธิ์คางจายที่บันทึกไวในปกอนๆ สูงไป ซึ่งสงผลกระทบตองบการเงินรวมของกลุมบริษัทฯ มีกําไรสุทธิรวมในป 2550 เพิ่มขึ้นจํานวน 2.33 ลานบาท และมีการปรับปรุงงบดุล รวมดังรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4 ในงบการเงินป 2551 ที่จัดทําขึ้นใหม สําหรับงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกันไดมีการปรับปรุงงบการเงิน ยอนหลัง เนื่องจากไดรับการตอบกลับจากผูใหลิขสิทธิ์รายที่เหลืออยูวายอดคงเหลือลาสุดของคาลิขสิทธิ์คางจายที่บันทึกไวในงบการเงิน รวมป 2551 ซึ่งมียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ในงบการเงินรวมสูงไป กลุมบริษัทฯ ไดมีการปรับปรุงงบการเงินยอนหลังที่มตี อ งบ ดุลรวมป 2551 โดยกําไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้นจํานวน 2.22 ลานบาท โดยไมมีผลตองบกําไรขาดทุนรวมสําหรับป 2551 ดังรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4 ในงบการเงินป 2552 อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทฯ ยังมีคาลิขสิทธิ์คางจายที่ยังไมสามารถติดตอกับเจาของลิขสิทธิ์ไดในงบดุลรวมประมาณ 3 ลานบาท (เฉพาะสวนของกลุมบริษัทฯ ตามวิธีจัดทํางบการเงินรวมในกิจการที่ควบคุมรวมกัน) ซึ่งกลุมบริษัทฯ อยูระหวางดําเนินการติดตามหนังสือ ยืนยันยอดและเอกสารหลักฐานประกอบจากเจาของลิขสิทธิ์เพื่อดําเนินการปรับปรุงงบการเงิน 12.3.7 การเสนอขายหุนเพิ่มทุนตอประชาชน การเสนอขายหุนเพิ่มทุนตอประชาชนจํานวน 15.00 ลานหุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 17.65 ของทุนจดทะเบียนชําระแลวภายหลัง การเสนอขายในครั้งนี้ อาจสงผลใหอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญที่เปรียบเทียบกับจํานวนหุนหรือสวนของผูถือหุนของกลุมบริษัทฯ อาทิ อัตราสวนกําไรสุทธิตอหุน (EPS) และอัตราผลตอบแทนผูถือหุน (ROE) เปนตน ลดลงตามการเพิ่มทุนหากกลุมบริษัทฯ ไมสามารถสรางการ เติบโตของผลการดําเนินงานใหไดทัน (Dilution Effect) อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญของกลุมบริษัทฯ ที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากจํานวนหุนที่เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มทุน อัตราสวนการเงินที่สําคัญ อัตราสวนกําไรสุทธิตอหุน (EPS)ก (บาท) ข

อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (ROE) รอยละ อัตราสวนมูลคาทางบัญชีตอหุนค (บาท) อัตราสวนหนี้สินตอทุนง (เทา)

กอนการเสนอขายหุนในครั้งนี้

หลังการเสนอขายหุนในครั้งนี้

0.31 19.88 1.56 1.10

0.26 14.96 1.71 0.83

หมายเหตุ: ก คํานวนโดยปรับกําไรใน 6 เดือนแรกป 2553 เปนเต็มป ข คํานวนโดยปรับกําไรใน 6 เดือนแรกป 2553 เปนเต็มป ใชสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 และใชราคาเสนอขายหุนที่ 2.40 บาท ตอหุน ค คํานวนโดยใชสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 และใชราคาเสนอขายหุนที่ 2.40 บาท ตอหุน ง

คํานวนโดยใชสวนของผูถือหุนและหนี้สินรวม ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 และใชราคาเสนอขายหุนที่ 2.40 บาท ตอหุน

สวนที่ 2 หนาที่ 77


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย 1.

รายละเอียดหลักทรัพยที่เสนอขาย

1.1

ประเภทและหลักทรัพยที่เสนอขาย การเสนอขายหุนสามัญภายใตแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนฉบับนี้ เปนการเสนอขายหุนสามัญของบริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) จํานวนรวมทั้งสิ้น 19,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท คิดเปนรอยละ 22.35 ของจํานวนหุนที่เรียกชําระแลวทั้งหมดของบริษัทฯ ภายหลังการเสนอขายหุนครั้งนี้ โดยแบงออกเปน 2 สวนดังนี้

1.2

1.1.1 ผูเสนอขาย ลักษณะหลักทรัพย จํานวนหุนที่เสนอขาย

: : :

มูลคาที่ตราไว ราคาเสนอขายหุนละ มูลคารวม

: : :

1.1.2 ผูเสนอขาย ลักษณะหลักทรัพย จํานวนหุนที่เสนอขาย

: : :

มูลคาที่ตราไว ราคาเสนอขายหุนละ มูลคารวม

: : :

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ 15,000,000 หุน คิดเปนรอ ยละ 17.65 ของหุนที่เ รีย กชําระแลวทั้งหมดของ บริษัทฯ ภายหลังจากการเสนอขายหุนในครั้งนี้ โดยแบงเปน ก) หุนสามัญจํานวนไมเกิน 9,000,000 หุน เสนอขายใหแกผถู ือหุนสามัญของ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) (“เนชั่นกรุปฯ”) ตามสัดสวนการ ถือหุน ข) หุนสามัญจํานวน 6,000,000 หุน รวมทั้งหุนที่เหลือจากการจองซือ้ ภายหลังการ เสนอขายตอผูถ ือสามัญของเนชั่นกรุปฯ (ถามี) เสนอขายใหแกประชาชนตาม ดุลยพินิจของผูจดั จําหนายหลักทรัพยและบริษัทฯ 1.00 บาท 2.40 บาทตอหุน 36,000,000 บาท บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) ในฐานะผูถือหุนเดิมของบริษัทฯ หุนสามัญเดิมของบริษัทฯ 4,000,000 หุน คิด เปน รอ ยละ 4.70 ของหุน ที่เ รีย กชําระแลวทั้งหมดของ บริษัทฯ ภายหลังจากการเสนอขายหุนในครั้งนี้ เสนอขายใหแกประชาชนตามดุลย พินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยและบริษัทฯ 1.00 บาท 2.40 บาทตอหุน 9,600,000 บาท

สัดสวนการเสนอขายหุน การเสนอขายหุนสามัญทั้งหมดในครั้งนี้ เปนการเสนอขายตอผูลงทุนผานผูจัดจําหนายหลักทรัพย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 โดยมี สัดสวนการเสนอขายหุนในเบื้องตนดังนี้ ก) เสนอขายตอผูถ ือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ จํานวนไมเกิน 9,000,000 หุน ข) เสนอขายตอบุคคลทั่วไปและนักลงทุนสถาบัน จํานวน 6,000,000 หุน ค) เสนอขายตอผูม ีอุปการะคุณของบริษัทฯ จํานวน 4,000,000 หุน รวมจํานวนทั้งสิ้น 19,000,000 หุน สวนที่ 3 หนาที่ 1


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ทั้งนี้ ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายขอสงวนสิทธิที่จะเปลี่ยนแปลงจํานวนหุนที่เสนอขายตอนักลงทุนในแตละ ประเภทขางตน หรือเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดสรรหุนตามรายละเอียดที่กําหนดไวในขอ 5.6 โดยพิจารณาจากปจจัยตางๆ เชน ปริมาณ ความตองการซื้อหุนของนักลงทุนในแตละประเภท เปนตน หรืออาจพิจารณาจัดสรรหุนใหแกนักลงทุนประเภทอื่นเพิ่มเติมหาก พิจารณาแลวเห็นวามีหุนเหลือจากการเสนอขายใหแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ เพื่อใหการเสนอขายหุนครั้งนี้ประสบ ความสําเร็จสูงสุด ทั้งนี้ สัดสวนในการเสนอขายใหกับบุคคลที่ไมใชสัญชาติไทยจะเปนไปตามที่กําหนดไวในขอบังคับของบริษัทฯ ในการพิจารณาประเภทของนักลงทุนใหยึดตามนิยามที่ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายกําหนด ดังตอไปนี้ (ก) ผู ถื อ หุ น สามั ญ ของ หมายถึง บุคคลธรรมดา และ/หรือ นิติบุคคลทั่วไปที่มีรายชื่อตามมาตรา 225 แหง เนชั่นกรุปฯ พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยโดยวิธีปดสมุดทะเบียนเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2553 ในอัตราสวน 19 หุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ตอ 1 หุนสามัญของบริษัทฯ และเศษหุนที่ เปนทศนิยมที่เกิดจากการคํานวณสิทธิจะถูกปดทิ้ง ทั้งนี้ ผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ มีสิทธิ จองซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ นอยกวาหรือเทากับสิทธิที่ตนไดรับ แตเมื่อรวมจํานวนหุนสามัญ ของบริษัทฯ ที่จัดสรรใหแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ทั้งสิ้นแลวตองไมเกิน 9,000,000 หุน โดยสามารถจองซื้อหุนผานผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไว ในขอ 5.2 (ก) (ข) นักลงทุนสถาบัน หมายถึง ผูลงทุนประเภทสถาบันทีม่ ีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (1) ธนาคารพาณิชย (2) บริษัทเงินทุน (3) บริษัทหลักทรัพยเพื่อเปนทรัพยสินของตนเอง หรือเพื่อการบริหารกองทุนสวนบุคคล หรือเพื่อการจัดการโครงการลงทุนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจ เงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร (4) บริษัทเครดิตฟองซิเอร (5) บริษัทประกันภัย (6) สวนราชการและรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณหรือนิติบุคคลอื่นที่ มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น (7) ธนาคารแหงประเทศไทย (8) สถาบันการเงินระหวางประเทศ (9) กองทุนเพื่อการฟน ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (10) กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (11) กองทุนสํารองเลีย้ งชีพ (12) กองทุนรวม (13) ผูลงทุนตางประเทศซึ่งมีลักษณะเดียวกับผูลงทุนตามขอ (1) ถึงขอ (12) โดยอนุโลม โดยนัก ลงทุ น สถาบั น สามารถจองซื้ อ หุ นผ านผู จั ดการการจัด จํ าหน ายและรั บ ประกัน การ จําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก)

สวนที่ 3 หนาที่ 2


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) (ค) บุคคลทั่วไป

(ง) ผูมีอุปการะคุณของ บริษัทฯ

หมายถึง บุคคลธรรมดา และ/หรือนิติบุคคล ซึ่งไมใชนักลงทุนสถาบันตามที่ไดระบุไวขางตน แต เปนลูกคาหรือผูที่คาดวาจะเปนลูกคาที่เปดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย ลูกคาดานวาณิชธนกิจ หรือ ผูมีอุปการะคุณไมวาทางตรงหรือทางออม ไดแก บริษัทคูคา ผูใหคําปรึกษาทางธุรกิจ ผูที่ใหการ สนับสนุนการทําธุรกิจ และผูแนะนําทางธุรกิจหลักทรัพยหรือธุรกิจที่เกี่ยวของทางดานวาณิชธน กิจ ทั้ งที่ ติดตอได ในปจจุบั น หรื อเคยติดตอ หรือผูที่ คาดว าจะไดติ ดต อของผูจั ดการการจั ด จําหนายและรับประกันการจําหนาย หรือผูจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย และบริษัทใน เครือของผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายหรือผูจ ดั จําหนายและรับประกันการ จําหนาย ซึ่งจองซื้อหุนผานผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายหรือผูจัดจําหนาย และรับประกันการจําหนาย ตามที่ไดระบุไวในขอ 5.2 หมายถึง บุคคลธรรมดา และ/หรือนิติบุคคล ที่มีความสัมพันธทางธุรกิจอันดีกับบริษัทฯ เชน ลูกคา คูสัญญา บริษัทคูคา ผูใหคําปรึกษาทางธุรกิจ ผูใหการสนับสนุนขอมูลธุรกิจ ผูแนะนํา ลูกคาและธุรกิจ ทั้งที่ติดตอในปจจุบัน ที่เคยติดตอ หรืผูที่คาดวาจะไดติดตอ และพนักงานของผู มีอุปการะคุณของบริษัทฯ รวมถึงพนักงานของบริษัทฯ พนักงานของเนชั่นกรุปฯ และพนักงาน ของบริษัทในกลุมเนชั่นกรุปฯ ซึ่งจองซื้อหุนผานผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการ จําหนาย ตามที่ไดระบุไวในขอ 5.2 (ก)

การจัดสรรหุนในครั้งนี้ ไมรวมถึงการจัดสรรตอนักลงทุนรายยอยโดยทั่วไป เนื่องจากความตองการซื้อจากกลุมบุคคลขางตน เพียงพอตอมูลคารวมของหุนที่เสนอขายในครั้งนี้แลว และสามารถกระจายหุนในวงกวางไดอยางเพียงพอแลว 1.3

สิทธิ ผลประโยชน หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ จํานวน 15,000,000 หุน รวมถึงหุนสามัญเดิมของบริษัทฯ จํานวน 4,000,000 หุน ที่เสนอขายในครั้ง นี้ มีสิทธิ และผลประโยชนทางกฏหมายเทาเทียมกับหุนสามัญเดิมของบริษัทฯ ที่ออกและจําหนายแลวทุกประการ

1.4

ตลาดรองของหุนที่เสนอขาย บริษัทฯ และเนชัน่ กรุปฯ มีความประสงคที่จะเสนอขายหุนสามัญตอประชาชนทั่วไปในครั้งนี้กอนที่จะไดรับทราบผลการพิจารณา ของ ตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (“ตลาด เอ็ม เอ ไอ”) ในการรับหุนสามัญของบริษัทฯ เปนหลักทรัพยจดทะเบียน ผูลงทุนจึงอาจ มีความเสี่ยงที่หลักทรัพยของบริษทั ฯ อาจไมไดรับอนุญาตจากตลาด เอ็ม เอ ไอ ใหเปนหลักทรัพยจดทะเบียน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดยื่น คําขออนุญาตและเอกสารประกอบตอตลาด เอ็ม เอ ไอ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2551 และเมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 ตลาด หลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ ไดแจงมายังบริษัทฯ วา ตลาดหลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ เห็นวา หุนสามัญของบริษัทฯ มีคุณสมบัติครบถวนตาม ขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การรับหลักทรัพยจดทะเบียนใน “ ตลาดหลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ” พ.ศ.2546 ฉบับลงวันที่ 24 มีนาคม 2546 (รวมทั้งที่มีการแกไขเพิ่มเติม) ยกเวนคุณสมบัติเรื่องการกระจายการถือหุนรายยอย ซึ่งบริษัทฯ จะตองมีผถู อื หุนสามัญไมนอยกวา 300 ราย และ ตองถือหุนรวมกันไมนอยกวารอยละ 20 ของทุนชําระแลวของบริษัทฯ และผูถอื หุนดังกลาวแตละรายตองถือหุน ไมนอยกวา 1 หนวยการซื้อขาย

1.5

ขอกําหนดอื่นๆ หุนจํานวนรวมกันรอยละ 55 ของหุน ที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษทั ฯ ภายหลังการเสนอขายหุนในครั้งนี้ซึ่งถือโดยเนชัน่ กรุปฯ จะถูกสัง่ หามขายภายในระยะเวลา 1 ป นับแตวันทีห่ ุนของบริษัทฯ เริ่มทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ (ตามประกาศ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพยฯ เรื่อง การหามผูบริหารหรือผูถือหุนและผูทเี่ กี่ยวของ ขายหุนและหลักทรัพยภายในระยะเวลาที่ กําหนด พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 22 มกราคม 2544 (รวมทั้งที่มีการแกไขเพิ่มเติม) โดยสามารถทยอยขายหุนที่ถูกสั่งหามขายดังกลาว สวนที่ 3 หนาที่ 3


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ไดในจํานวนรอยละ 25 ของจํานวนหุนทั้งหมดที่ถูกสั่งหามเมื่อครบกําหนดเวลาทุกๆ 6 เดือน นับแตวันที่หุนของบริษทั ฯ เริ่มทํา การซื้อขายในตลาดหลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ และสามารถขายสวนที่เหลือไดเมื่อครบกําหนดระยะเวลา 1 ป 2.

ขอจํากัดการโอนหลักทรัพยทเี่ สนอขาย หุนสามัญของบริษัทฯ สามารถโอนไดโดยไมมีขอจํากัด เวนแตการโอนหุนดังกลาวจะมีผลทําใหสัดสวนการถือหุนของบุคคลที่ไมใช บุคคลสัญชาติไทยในบริษัทฯ มีจํานวนเกินกวารอยละ 35 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทฯ การโอนหุนของบริษัทฯ จะสมบูรณเมื่อผูโอนไดสลักหลังใบหุน โดยระบุชื่อผูรับโอนและลงลายมือชื่อของผูโอนกับผูรับโอน และสง มอบใบหุนใหแกผูรับโอน การโอนหุนจะใชยันกับบริษัทฯ ได เมื่อบริษัทฯ ไดรับคํารองขอใหลงทะเบียนการโอนหุนแลว แตจะใชยัน กับบุคคลภายนอกไดเมื่อบริษัทฯ ไดลงทะเบียนการโอนหุนดังกลาวไวในสมุดทะเบียนหุนแลวเทานั้น บริษัทฯ จะลงทะเบียนการโอน หุนภายใน 14 วันนับแตวันที่ไดรับคํารองขอนั้น หรือหากบริษัทฯ เห็นวาการโอนหุนนั้นไมถูกตองสมบูรณ บริษัทฯ จะแจงแกผูยื่นคํา รองขอภายใน 7 วัน เมื่อหุนของบริษัทฯ เปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ การโอนหุนใหเปนไปตามกฎหมายวาดวย หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

3.

ที่มาของการกําหนดราคาหลักทรัพยทเี่ สนอขาย การกําหนดราคาเสนอขายหุนสามัญของบริษัทฯ ในครั้งนี้ ไดพิจารณาจากอัตราสวนราคาหุนตอกําไรสุทธิตอหุนของบริษัทฯ (Price / Earning Ratio) โดยที่ราคาเสนอขายหุนละ 2.40 บาท เมื่อพิจารณาผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ในรอบ 12 เดือนที่ ผานมาตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2552 ถึง 30 มิถุนายน 2553 ซึ่งมีผลกําไรสุทธิรวมทั้งสิ้น 23.64 ลานบาท หารดวยหุนสามัญ ทั้งหมดของบริษัทฯ จํานวน 85.00 ลานหุนหลังจากการเสนอขายหุนในครั้งนี้ จะไดกําไรสุทธิตอหุนเทากับ 0.28 บาท ดังนั้น อัตราสวนราคาหุนตอกําไรสุทธิตอหุนของบริษัทฯ (Price / Earning Ratio) จะคํานวณไดเทากับ 8.63 เทา ทั้งนี้ อัตราสวนราคา หุนตอกําไรสุทธิตอหุนดังกลาวคํานวณจากผลการดําเนินงานในอดีต ซึ่งมิไดพิจารณาถึงผลการดําเนินงานที่แทจริงในรอบงบ การเงินปปจจุบันหรือโครงการในอนาคตของบริษัทฯ ซึ่งถือเปนปจจัยสําคัญปจจัยหนึ่งที่นักลงทุนควรพิจารณาสําหรับการ ตัดสินใจลงทุน

4.

ราคาหุนสามัญในตลาดรอง - ไมมี –

5.

การจอง การจําหนาย และการจัดสรร ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายขอสงวนสิทธิในการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดวิธีการจองซื้อหุนและวิธีการ จัดสรรหุนตามที่ระบุไวในเอกสารฉบับนี้ตามกรอบของหลักเกณฑและเงื่อนไขเกี่ยวกับการจอง การจัดจําหนาย และการจัดสรรที่ กําหนดไวในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนฉบับนี้ และตามที่กําหนดในระเบียบของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ เกี่ยวของกับการจอง การจัดจําหนาย และการจัดสรรหลักทรัพยที่ออกใหม ในกรณีที่เกิดปญหา อุปสรรค หรือขอจํากัดในการ ดําเนินการ โดยการกระทําดังกลาวจะอยูบนพื้นฐานของความเปนธรรมในการจัดสรรหุน ทั้งนี้ เพื่อใหการเสนอขายหุนครั้งนี้ ประสบความสําเร็จสูงสุด

5.1

วิธีการเสนอขายหลักทรัพย การเสนอขายหลักทรัพยในครั้งนี้เปนการเสนอขายโดยผานผูจัดจําหนายหลักทรัพย

สวนที่ 3 หนาที่ 4


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 5.2

ผูจัดจําหนายหลักทรัพย (ก)

ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย บริษัทหลักทรัพย ดีบีเอส วิคเคอรส (ประเทศไทย) จํากัด 989 อาคารสยามทาวเวอร ชั้น 9, 14-15 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-657-7000 โทรสาร 02-657-7777

(ข)

ผูจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย บริษัทหลักทรัพย ซีไอเอ็มบี (ประเทศไทย) จํากัด 44 อาคารธนาคารซีไอเอ็มบีไทย ชั้น 24-25 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-657-9270-5 โทรสาร 02-657-9276 บริษัทหลักทรัพย ฟนันเซีย ไซรัส จํากัด (มหาชน) 25 ชั้น 14 อาคารอัลมาลิงค ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 0-2646-9999 โทรสาร. 0-2646-9889

5.3

เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหลักทรัพย 5.3.1 เงื่อนไขในการจัดจําหนายหลักทรัพย บริษัทฯ และเนชั่นกรุปฯ ตกลงมอบหมายใหผูจัดจําหนายหลักทรัพย ตามที่ระบุในขอ 5.2 เปนผูดําเนินการจัดจําหนายหุน สามัญของบริษัทฯ เพื่อเสนอขายใหแกนักลงทุนจํานวนรวม 19,000,000 หุน ตามลักษณะการจัดสรรและราคาที่ปรากฏใน ขอ 1 โดยการจัดจําหนายหุนดังกลาวจะเปนการจัดจําหนายประเภทรับประกันผลการจัดจําหนายอยางแนนอนทั้งจํานวน (Firm Underwriting) ทั้งนี้ตามเงื่อนไขที่ระบุไวในสัญญาแตงตั้งผูจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย (Underwriting Agreement) 5.3.2 คาตอบแทนในการจัดจําหนาย บริ ษั ทฯ และเนชั่ นกรุ ปฯ ตกลงจ ายเงิ นค าตอบแทนการจั ดจํ าหน ายและรั บประกั นการจํ าหน ายให แก ผู จั ดจํ าหน าย หลักทรัพย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 รวมเปนเงินทั้งสิ้น 2,000,000 บาท (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) ก)

จํานวนเงินคาหุนที่บริษัทฯ ไดรับทั้งสิ้น หลังหักคาตอบแทนในการจัดจําหนายหุน (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)

ข)

หุนจํานวน 15,000,000 หุน ในราคาหุนละ 2.40 บาท 36,000,000 หัก คาตอบแทนในการจัดจําหนายหุน โดยประมาณ 1,578,947 จํานวนเงินคาหุนที่บริษัทฯ จะไดรับโดยประมาณ 34,421,053 จํานวนเงินคาหุนที่บริษัทฯ จะไดรับตอหุนโดยประมาณ 2.29 จํานวนเงินคาหุนที่เนชั่นกรุปฯ ไดรับทั้งสิ้น หลังหักคาตอบแทนในการจัดจําหนายหุน (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) หุนจํานวน 4,000,000 หุน ในราคาหุนละ 2.40 บาท 9,600,000 421,053 หัก คาตอบแทนในการจัดจําหนายหุน โดยประมาณ จํานวนเงินคาหุนที่เนชั่นกรุปฯ จะไดรับโดยประมาณ 9,178,947 จํานวนเงินคาหุนที่เนชั่นกรุปฯ จะไดรับตอหุนโดยประมาณ 2.29

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

สวนที่ 3 หนาที่ 5


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 5.4

ประมาณคาใชจายในการเสนอขายหลักทรัพย (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) 5.4.1 ประมาณคาใชจายของบริษัทฯ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) คาธรรมเนียมคําขออนุญาตเสนอขายหุนสามัญทีอ่ อกใหม คาธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุน คาธรรมเนียมจดทะเบียนเพิ่มทุน คาธรรมเนียมการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย คาธรรมเนียมในการขออนุญาตใหรับหลักทรัพยเปนหลักทรัพยจดทะเบียน คาธรรมเนียมแรกเขาของการเปนหลักทรัพยจดทะเบียน คาพิมพหนังสือชี้ชวน ใบจองซือ้ หุน โดยประมาณ คาใชจายอื่นๆ* โดยประมาณ รวมคาใชจายทัง้ สิ้น

50,000 30,000 15,000 1,578,947 25,000 50,000 150,000 2,265,000 4,163,947

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

*คาใชจายอื่นๆ หมายถึง คาที่ปรึกษาทางการเงิน คาที่ปรึกษากฎหมาย และคาโฆษณาประชาสัมพันธ

5.4.2 ประมาณคาใชจายของเนชั่นกรุปฯ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) คาธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุน คาธรรมเนียมการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย รวมคาใชจายทัง้ สิ้น 5.5

30,000 421,053 451,053

บาท บาท บาท

วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซือ้ หลักทรัพย สําหรับผูถอื หุนสามัญของเนชั่นกรุป ฯ บริษัทฯ และเนชั่นกรุปฯ จะดําเนินการใหบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด (“ศูนยรับฝากหลักทรัพย”) ดําเนินการจัดสงเอกสารประกอบการจองซื้อ อันไดแก CD หนังสือชี้ชวนการเสนอขายหุนเพิ่มทุนของบริษัทฯ รายละเอียดการจัด จําหนายและวิธปี ฏิบัติในการรับจองซื้อ ใบจองซื้อหุน สามัญเพิ่มทุนในสวนที่ใหสิทธิแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ (แบบ ก.) และใบรับรองการจองซือ้ หุนใหแกผถู ือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ที่มีสิทธิไดรับการจัดสรรหุนของบริษัทฯ ทุกรายทางไปรษณีย ลงทะเบียน ภายหลังจากวันปดสมุดทะเบียนผูถ ือหุนของเนชั่นกรุปฯ ในกรณีที่ผูถอื หุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ไมไดรับเอกสาร ดังกลาว สามารถติดตอขอรับเอกสารดังกลาว ไดทุกวันทําการตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึงเวลา 16.00 น. ที่บริษัทฯ หรือสํานักงาน ใหญของผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) ตั้งแตวันทําการถัดจากวันที่หนังสือชี้ชวน มีผลบังคับใชจนถึงวันสิ้นสุดการจองซื้อ สําหรับนักลงทุนสถาบัน สามารถติ ดต อขอรั บหนั งสื อชี้ ชวนและใบจองซื้ อหุ นสามั ญ (แบบ ข.) ได ที่ สํ านั กงานใหญ ของผู จั ด การการจั ด จํ าหน า ยและ รับประกันการจําหนายตามที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึงเวลา 16.00 น. ในวันทําการทุกวัน ไดตั้งแตวันทําการถัด จากวันที่หนังสือชี้ชวนมีผลบังคับใชจนถึงวันสิ้นสุดการจองซื้อ สําหรับบุคคลทั่วไป สามารถติดตอขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อหุนสามัญ (แบบ ข.) ไดที่สํานักงานของผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึงเวลา 16.00 น.ในวันทําการทุกวัน ไดตั้งแตวันทําการถัดจากวันที่หนังสือชี้ชวนมีผลบังคับใชจนถึงวัน สิ้นสุดการจองซื้อ

สวนที่ 3 หนาที่ 6


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ผูมีอุปการะคุณของบริษัทฯ สามารถติดตอขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อหุนสามัญ (แบบ ข.) ไดที่สํานักงานใหญของผูจัดการการจัดจําหนายและ รับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึงเวลา 16.00 น.ในวันทําการทุกวัน ไดตั้งแตวันทําการถัด จากวันที่หนังสือชี้ชวนมีผลบังคับใชจนถึงวันสิ้นสุดการจองซื้อ ทั้งนี้ ผูประสงคจะจองซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ สามารถทําการดาวนโหลด (Download) หนังสือชี้ชวนซึ่งมีขอมูลไมแตกตางจาก หนังสือชี้ชวนที่ยื่นตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เพื่อศึกษารายละเอียดการเสนอขายหุนสามัญ ครั้งนี้ไดกอนทําการจองซื้อหุน จากเว็บไซตของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่ www.sec.or.th 5.6

วิธีการจัดสรรหุนที่เสนอขาย ผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 จะไมจัดสรรหุนที่เสนอขายใหแกตนเอง ผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจ ควบคุม บริษัทใหญ บริษัทยอยของตนเอง และผูที่เกี่ยวของ รวมถึงกองทุนรวมที่มีลักษณะที่ผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไว ในขอ 5.2 ถูกหามมิใหจัดสรรหุนให ตลอดจนบุคคลที่บริษัทฯ ถูกหามมิใหจัดสรรหุนให ทั้งนี้ เปนไปตามรายละเอียดที่กําหนดไว ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทธ.70/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการในการจัดจําหนายหลักทรัพย ฉบับ ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2552 (รวมถึงที่มีการแกไขเพิ่มเติม) และประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 29/2551 เรื่อง การจอง การจัดจําหนาย และการจัดสรรหลักทรัพยที่ออกใหม ฉบับลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เวนแตเปนการจัดสรรหุนที่เหลือจากการ จองซื้อของผูจองซื้อทั้งหมด หรือเปนการจัดสรรหุนที่ใหตามสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับจากการเปนผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ในการซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ (Pre-emptive right) (รายละเอียดตามขอ 5.6.1) การจัดสรรหุนที่เสนอขายผานผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 ในครั้งนี้แบงออกเปน 3 สวนคือ จัดสรรใหแก (ก) ผูถือ หุนเดิมของเนชั่นกรุปฯ จํานวน 9,000,000 หุน (ข) บุคคลทั่วไปและนักลงทุนสถาบันจํานวน 6,000,000 หุน และ (ค) ผูมี อุปการะคุณของบริษัทฯ จํานวน 4,000,000 หุน ทั้งนี้ สัดสวนในการเสนอขายใหกับบุคคลที่ไมใชสัญชาติไทยจะเปนไปตามที่ กําหนดไวในขอบังคับของบริษัทฯ อยางไรก็ดี ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายขอสงวนสิทธิในการใชดุลยพินิจ ในการเปลี่ยนแปลงจํานวนหุนที่เสนอขายตอนักลงทุนในแตละประเภท ทั้งนี้ เพื่อใหการจองซื้อหุนครั้งนี้ประสบความสําเร็จในการ ขายสูงสุด การจัดสรรหุนในครั้งนี้เปนการปฏิบัติเพื่อใหสอดคลองกันกับคุณสมบัติที่กําหนดตามขอ 5(3) เรื่อง การกระจายการถือหุนราย ยอย ภายใตขอบังคับตลาดหลักทรัพยฯ เรื่อง การรับหลักทรัพยจดทะเบียนใน “ตลาดหลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ” พ.ศ. 2546 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2546 (รวมทั้งที่มีการแกไขเพิ่มเติม) 5.6.1

วิธีจัดสรรหุนใหแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ การจัดสรรหุนใหแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ที่มีรายชื่อตามมาตรา 225 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพยโดยวิธีปดสมุดทะเบียน ณ วันที่ 11 ตุลาคม 2553 ที่ไดรับสิทธิในการซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ในอัตราสวน 19 หุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ตอ 1 หุนสามัญของบริษัทฯ และเศษหุนที่เปนทศนิยมที่เกิดจากการคํานวณสิทธิจะถูกปด ทิ้ง โดยผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ มีสิทธิที่จะจองซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ในจํานวนนอยกวา หรือเทากับสิทธิที่ตน ไดรับ แตเมื่อรวมจํานวนหุนสามัญของบริษัทฯ ที่จัดสรรใหแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ทั้งสิ้นแลวตองไมเกิน 9,000,000 หุน โดยจะตองชําระเงินตามจํานวนหุนที่ประสงคจะจองซื้อทั้งจํานวน ทั้งนี้ ผูจัดการการจัดจําหนายและ รับประกันการจําหนายขอสงวนสิทธิในการจัดสรรหุนใหแกบุคคลอื่นตอไป หากผูไดรับสิทธิในการจองซื้อไมสามารถ นําสงเอกสารการจองซื้อ หรือปฏิบัติผิดเงื่อนไขการจองซื้อ หรือไมสามารถจายชําระเงินคาจองซื้อหุนไดครบถวนภายใน กําหนดระยะเวลาจองซื้อ

สวนที่ 3 หนาที่ 7


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ในการจัดสรรหุนใหแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ขางตน หากมีหุนเหลือจากการใชสิทธิของผูถือหุนสามัญของ เนชั่นกรุปฯ ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจัดจําหนาย และ/หรือคณะกรรมการบริษัท มีอํานาจจัดสรรหุน ดังกลาวเพื่อเสนอขายตอนักลงทุนสถาบัน บุคคลทั่วไป และผูมีอุปการะคุณของบริษัทฯ ตอไป ตลอดจนกําหนดเงือ่ นไข และรายละเอียดอื่นใดที่จําเปนเกี่ยวกับการเสนอขายหุนดังกลาวตามที่เห็นเหมาะสม และไมขัดแยงกับกฎหมาย และ/ หรือ กฎหรือระเบียบที่เกี่ยวของของสํานักงาน กลต. และตลาดหลักทรัพยฯ และ/หรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ เพื่อให การเสนอขายหุนสามัญของบริษัทฯ ในครั้งนี้ประสบความสําเร็จสูงสุด ทั้งนี้ การจัดสรรหุนสามัญใหแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ในครั้งนี้ จะรวมถึงการจัดสรรหุนใหแก กรรมการ และ ผูบริหารของบริษัทฯ รวมถึงผูที่เกี่ยวของของบุคคลดังกลาว ที่ไดรับสิทธิในการซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ตามสัดสวนการ ถือหุน จากการเปนผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ซึ่งการจัดสรรหุนดังกลาวไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุน ของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2552 และไดรับการผอนผันการจัดสรรหุนที่ออกใหมใหกับผูที่เกี่ยวของ ของผูบริหาร ที่จะไดรับการจัดสรรหุนในครั้งนี้ในฐานะเปนผูถือหุนของเนชั่นกรุปฯ จากสํานักงาน ก.ล.ต. ฉบับลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2552 มีรายละเอียดดังนี้ ชื่อ-นามสกุล

ความสัมพันธ กับบริษัทฯ

จํานวนหุนที่ถือ อยูในบริษัทฯ กอนการจัดสรร

สัดสวน รอยละก

จํานวนหุนที่ไดรบั จัดสรร (Preemptive Right)

จํานวนหุนที่ถืออยูใน บริษัทฯ ภายหลังการ จัดสรร

สัดสวน รอยละข

1. นายธนะชัย สันติชัยกูล

ผูบริหาร

1

0.00

13,251

13,252

0.02

2. นางชัชฏา สันติชัยกูล (ภรรยา)

ผูที่เกี่ยวของของ ผูบริหาร

0

0.00

2,957

2,957

0.00

3. นางเกษรี กาญจนะ วณิชย

ผูบริหาร

1

0.00

2,792

2,793

0.00

4. นางวรางคณา กัลยาณ ประดิษฐ

ผูบริหาร

1

0.00

1,646

1,647

0.00

3

0.00

20,646

20,649

0.02

รวม

หมายเหตุ: ก คํานวณจากหุนที่ชําระแลวของบริษัทฯ จํานวน 70,000,000 หุน กอนการเสนอขายหุนแกประชาชนทั่วไป ข คํานวณจากหุนที่ชําระแลวของบริษัทฯ จํานวน 85,000,000 หุน หลังการเสนอขายหุนแกประชาชนทั่วไป

5.6.2

วิธีจัดสรรหุนใหแกนักลงทุนสถาบัน การจัดสรรหุนใหแกนักลงทุนสถาบัน ใหอยูในดุลยพินิจของผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายตามที่ ระบุไวในขัอ 5.2 (ก) โดยจะทําการจัดสรรหุนใหกับบุคคลใดในจํานวนมากนอยเทาใดก็ได หรือจะปฏิเสธการจัดสรรหุน ใหกับบุคคลใดก็ได แตตองมีจํานวนขั้นต่ําจํานวน 1,000 หุนและตองเปนทวีคูณของ 100 หุน และหากยอดการจองซื้อหุน ของนักลงทุนสถาบันครบตามจํานวนที่กําหนดแลว ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายตามที่ระบุไว ในขัอ 5.2 (ก) ขอสงวนสิทธิในการปดรับจองซื้อหุนของนักลงทุนสถาบันกอนครบกําหนดระยะเวลาการจองซื้อ

5.6.3

วิธีจัดสรรหุนใหแกบุคคลทั่วไป การจัดสรรหุนใหแกบุคคลทั่วไป ใหอยูในดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยแตละรายตามที่ระบุไวในขัอ 5.2 โดยจะ ทําการจัดสรรหุนใหแกบุคคลใดในจํานวนมากนอยเทาใดก็ได หรือจะปฏิเสธการจัดสรรหุนใหแกบุคคลใดก็ได แตตองมี จํานวนขั้นต่ําจํานวน 1,000 หุนและตองเปนทวีคูณของ 100 หุน และหากยอดการจองซื้อหุนของบุคคลทั่วไปครบตาม จํานวนที่กําหนดแลว ผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขัอ 5.2 ขอสงวนสิทธิในการปดรับจองซื้อหุนสามัญของ บุคคลทั่วไปกอนครบกําหนดระยะเวลาการจองซื้อ สวนที่ 3 หนาที่ 8


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 5.6.4

5.7

วิธีจัดสรรหุนใหแกผูมีอุปการะคุณของบริษัทฯ

การจัดสรรหุนใหแกผูมีอุปการะคุณของบริษัทฯ ใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการของบริษัทฯ หรือผูที่ไดรับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยจะทําการจัดสรรหุนใหแกบุคคลใดในจํานวนมากนอยเทาใดก็ได หรือจะปฏิเสธการจัดสรร หุนใหแกบุคคลใดก็ได แตตองมีจํานวนขั้นต่ําจํานวน 1,000 หุนและตองเปนทวีคูณของ 100 หุน และหากยอดการจองซื้อ หุนของผูมีอุปการะคุณของบริษัทฯ ครบตามจํานวนที่กําหนดแลว ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) ขอสงวนสิทธิในการปดรับจองซื้อหุนสามัญของผูมีอุปการะคุณของบริษัทฯ กอนครบกําหนด ระยะเวลาการจองซื้อ วันและวิธีการจอง และการชําระเงินคาจองซื้อหุน ผูจองซื้อหุนประเภทผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ จะไดรับสิทธิการจองซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ กอนผูจ องซื้อหุนประเภทนัก ลงทุนสถาบัน บุคคลทั่วไป และผูม ีอุปการะคุณของบริษัทฯ และหากมีหุนเหลือจากการใชสิทธิของผูถอื หุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ คณะกรรมการของบริษัทฯ และ/หรือ ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายมีอํานาจจัดสรรหุนดังกลาวเพื่อเสนอ ขายตอนักลงทุนประเภทอื่นตอไป 5.7.1

สําหรับผูจองซื้อทีเ่ ปนผูถอื หุนของเนชั่นกรุปฯ ผูจองซื้อที่เปนผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ที่มีรายชื่อปรากฏในสมุดจดทะเบียนผูถือหุน ณ วันที่ 11 ตุลาคม 2553 ซึ่งไดรับสิทธิในการซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ในอัตราสวน 19 หุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ตอ 1 หุนสามัญของบริษัทฯ และเศษหุนที่เปนทศนิยมที่เกิดจากการคํานวณสิทธิจะถูกปดทิ้ง สามารถจองซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ จํานวนนอยกวา หรือเทากับสิทธิที่ตนไดรับ แตเมื่อรวมจํานวนหุนสามัญของบริษัทฯ ที่จัดสรรใหแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ ทั้งสิ้น แลวตองไมเกิน 9,000,000 หุน โดยสามารถยื่นเอกสารการจองซื้อหุนสามัญไดที่ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกัน การจําหนายที่ระบุในขอ 5.2 (ก) ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึงเวลา 16.00 น. ของวันที่ 27 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 29 ตุลาคม 2553 โดยจะตองปฏิบัติตามวิธีการดังตอไปนี้ (ก) ผูจองซื้อจะตองกรอกรายละเอียดการจองซื้อใน ”ใบจองซื้อหุนสามัญในสวนที่ใหสิทธิแกผูถือหุนสามัญของเนชั่น กรุปฯ” (แบบ ก.) ใหถูกตองครบถวนและชัดเจน หากผูจองซื้อเปนนิติบุคคล จะตองลงนามโดยผูมีอํานาจลงนาม ของนิติบุคคลนั้น พรอมประทับตราสําคัญของบริษัท (ถามี) พรอมทั้งแนบใบรับรองการจองซื้อหุน หรือเอกสาร อื่นที่ยืนยันการไดรับสิทธิการจองซื้อ และแนบเอกสารประกอบการจองดังตอไปนี้ ผูจองซื้อประเภทบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย : สํ า เนาบั ต รประจํ า ตั ว ประชาชนที่ ยั ง ไม ห มดอายุ พ ร อ มลงนามรั บ รองสํ า เนาถู ก ต อ ง หรื อ ในกรณี ที่ ไ ม มี บั ต ร ประจําตัวประชาชน ใหแนบสําเนาทะเบียนบานหนาที่มีเลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก หรือสําเนาเอกสารทาง ราชการอื่นที่มีเลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก พรอมทั้งลงนามรับรองสําเนาถูกตอง (กรณีผูจองซื้อเปนผูเยาว จะตองแนบสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูปกครอง (บิดา/มารดา) ที่ยังไมหมดอายุ และสําเนาทะเบียน บานที่ผูเยาวอาศัยอยู พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตอง) ผูจองซื้อประเภทบุคคลธรรมดาชาวตางชาติ : สําเนาใบตางดาวหรือหนังสือเดินทางที่ยังไมหมดอายุ พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตอง ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลสัญชาติไทย : สําเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลที่ออกโดยกระทรวงพาณิชยอายุไมเกิน 1 ป พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตองโดย ผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสําคัญของนิติบุคคล(ถามี) และแนบสําเนาบัตรประจําตัว ประชาชน สําเนาใบตางดาว หรือสําเนาหนังสือเดินทาง (แลวแตกรณี) ที่ยังไมหมดอายุของผูมีอํานาจลงนามของ นิติบุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง สวนที่ 3 หนาที่ 9


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลที่จดทะเบียนในตางประเทศ: สําเนาหนังสือสําคัญการจัดตั้งบริษัท หนังสือบริคณหสนธิ ขอบังคับ และหนังสือรับรองที่ออกไมเกิน 1 ปกอนวัน จองซื้อ พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตองโดยผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสําคัญของนิติ บุคคล (ถามี) พรอมแนบสําเนาใบตางดาว หรือหนังสือเดินทาง (แลวแตกรณี) ที่ยังไมหมดอายุของผูมีอํานาจลง นามของนิติบุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง (ข) ผูจองซื้อตองชําระเงินคาจองซื้อครั้งเดียวเต็มจํานวนที่จองซื้อ โดยจะตองชําระเงินเปนเงินโอน เช็ค หรือแคชเชียร เช็ค (หรือที่เรียกวา “เช็คธนาคาร”) หรือดราฟท เพียงฉบับเดียวเต็มจํานวนเงินและตองสามารถเรียกเก็บเงินได จากสํานักหักบัญชีเดียวกันไดภายใน 1 วันทําการ โดยหากชําระเปนเช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท ใหลงวัน ภายหลังวันที่หนังสือชี้ชวนมีผลบังคับใช แตไมเกินวันที่ 28 ตุลาคม 2553 และขีดครอมสั่งจายเขาบัญชีจองซื้อ หุนที่ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) จะกําหนดตอไป พรอมทั้ง เขียนชื่อ นามสกุล ที่อยู และเบอรโทรศัพทที่ติดตอไดไวขางหลังเช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท (ค) ผูจองซื้อจะตองนํา ”ใบจองซื้อหุนสามัญในสวนที่ใหสิ ทธิแกผูถือหุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ” (แบบ ก.) และ ใบรับรองสิทธิการจองซื้อหรือเอกสารที่ยืนยันการไดรับสิทธิการจองซื้อ และเอกสารประกอบตามขอ 5.7.1 (ก) พรอมเงินคาจองซื้อหุนตามขอ 5.7.1 (ข) สงไปยังผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายที่ระบุไวใน ขอ 5.2 (ก) ในกรณีชําระเงินคาจองซื้อหุนเปน เช็ค แคชเชียรเช็ค หรือ ดราฟท จะตองนํายื่นกอนเวลา 12.00 น. ของวันที่ 28 ตุลาคม 2553 และหากยื่นหลังเวลา 12.00 น. ของวันที่ 28 ตุลาคม 2553 จะตองชําระเงินคาจองซื้อ หุนเปนเงินโอนเทานั้น (ง) ผูจองซื้อที่ยื่นความจํานงในการจองซื้อและไดดําเนินการตามขอ 5.7.1 (ค) แลว จะขอยกเลิกการจองซือ้ หุน และขอรับ เงินคืนไมได ทั้งนี้ ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย มีสิทธิยกเลิกการจองซื้อของผูจองซื้อที่ ดําเนินการไมครบถวนตามวิธีการที่ระบุในขอ 5.7.1 (ก) – (ค) ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย และบริษัทฯ จะนําเศษหุนที่เกิดจากการปดเศษทศนิยมไปรวมกับ หุนที่เหลือจากการจองซือ้ หุนที่ผูถอื หุนสามัญของเนชั่นกรุปฯ สละสิทธิ หรือไมไดรับสิทธิในการจองซือ้ หรือไมไดชําระ เงินคาจองซือ้ หุนภายในเวลาที่กําหนด หรือดวยเหตุอื่นใด (รวมเรียกวา “หุนสวนที่เหลือ”) ไปจัดสรรใหแกผูลงทุน ประเภทสถาบัน บุคคลทั่วไป และผูมีอุปการะคุณของบริษัทฯ ตามดุลยพินิจของผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกัน การจําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) 5.7.2

สําหรับผูจองซื้อทีเ่ ปนนักลงทุนสถาบัน ผูจองซื้อประเภทนักลงทุนสถาบันจะตองจองซื้อหุนขั้นต่ําจํานวน 1,000 หุน และตองเปนทวีคูณของ 100 หุน โดย สามารถจองซื้อผานผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายที่ระบุในขอ 5.2 (ก) ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึงเวลา 16.00 น. ของวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 ถึงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 โดยจะตองปฏิบัติตามวิธีการดังตอไปนี้ (ก) ผูจองซื้อจะตองกรอกรายละเอียดการจองซื้อในใบจองซื้อหุน (แบบ ข.) ใหถูกตองครบถวนและชัดเจน โดยผูมี อํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น พรอมประทับตราสําคัญของบริษัท (ถามี) และแนบเอกสารประกอบการจอง ดังตอไปนี้ ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลสัญชาติไทย : สําเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลที่ออกโดยกระทรวงพาณิชยอายุไมเกิน 1 ป พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตองโดย ผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสําคัญของนิติบุคคล(ถามี) และแนบสําเนาบัตรประจําตัว ประชาชน สําเนาใบตางดาว หรือสําเนาหนังสือเดินทาง(แลวแตกรณี) ที่ยังไมหมดอายุของผูมีอํานาจลงนามของ นิติบุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง สวนที่ 3 หนาที่ 10


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลที่จดทะเบียนในตางประเทศ: สําเนาหนังสือสําคัญการจัดตั้งบริษัท หนังสือบริคณหสนธิ ขอบังคับ และหนังสือรับรองที่ออกไมเกิน 1 ปกอนวัน จองซื้อ พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตองโดยผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสําคัญของนิติ บุคคล (ถามี) พรอมแนบสําเนาใบตางดาว หรือหนังสือเดินทาง (แลวแตกรณี) ที่ยังไมหมดอายุของผูมีอํานาจลง นามของนิติบุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง (ข) ผูจองซื้อตองชําระเงินคาจองซื้อครั้งเดียวเต็มจํานวนที่จองซื้อ โดยจะตองชําระเงินเปนเงินโอน การโอนเงิน อัตโนมัติ (หรือที่เรียกวา “Automatic Transfer System” หรือ “ATS”) เช็ค แคชเชียรเช็ค (หรือที่เรียกวา “เช็ค ธนาคาร”) หรือดราฟท เพียงฉบับเดียวเต็มจํานวนเงินและตองสามารถเรียกเก็บเงินไดจากสํานักหักบัญชีเดียวกัน ภายใน 1 วันทําการ โดยหากชําระเปนเช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท ใหลงวันที่ไมเกินวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 และขีดครอมสั่งจายเขาบัญชีจองซื้อหุนที่ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) จะกําหนดตอไป ทั้งนี้ การชําระเงินคาจองซื้อผานระบบโอนเงินอัตโนมัติ จะกระทําไดเฉพาะผูจองซื้อที่ได เปดบัญชีเพื่อซื้อขายหลักทรัพยกับผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายหลักทรัพยตามขอ 5.2 (ก) ที่ไดดําเนินการแจงความประสงคใหโอนเงินเพื่อชําระคาภาระผูกพันโดยอัตโนมัติ และระบบการโอนเงินอัตโนมัติ ดังกลาวมีผลใชบังคับแลวในวันจองซื้อ (ค) ผูจองซื้อจะตองนําใบจองซื้อหุนสามัญ(แบบ ข.) และเอกสารประกอบตามขอ 5.7.2 (ก) พรอมเงินคาจองซื้อหุน ตามขอ 5.7.2 (ข) สงไปยังผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) ในกรณี ชําระเงินคาจองซื้อหุนเปน เช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท จะตองนํายื่นกอนเวลา 12.00 น. ของวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 และหากยื่นหลังเวลา 12.00 น. ของวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 จะตองชําระเงินคาจองซื้อหุน เปนเงินโอน หรือการโอนเงินอัตโนมัติเทานั้น (ง) ผูจองซื้อที่ยื่นความจํานงในการจองซื้อและไดดําเนินการตามขอ 5.7.2 (ค) แลว จะขอยกเลิกการจองซื้อหุนและ ขอรับเงินคืนไมได ทั้งนี้ ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย มีสิทธิยกเลิกการจองซื้อของผูจองซือ้ ที่ดําเนินการไมครบถวนตามวิธีการที่ระบุในขอ 5.7.2 (ก) – (ค) 5.7.3

สําหรับผูจองซื้อทีเ่ ปนบุคคลทั่วไป ผูจองซื้อประเภทบุคคลทั่วไปจะตองจองซื้อหุนขั้นต่ําจํานวน 1,000 หุนและตองเปนทวีคูณของ 100 หุน โดยสามารถจอง ซื้อผานผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย หรือผูจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุใน ขอ 5.2 ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึงเวลา 16.00 น. ของวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 ถึงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 โดยจะตอง ปฏิบัติตามวิธีการดังตอไปนี้ (ก) ผูจองซื้อจะตองกรอกรายละเอียดการจองซื้อในใบจองซื้อหุน (แบบ ข.) ใหถูกตองครบถวนและชัดเจน หากผูจอง ซื้อเปนนิติบุคคล จะตองลงนามโดยผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น พรอมประทับตราสําคัญของบริษัท (ถามี) และแนบเอกสารประกอบการจองดังตอไปนี้ ผูจองซื้อประเภทบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย : สํ า เนาบั ต รประจํ า ตั ว ประชาชนที่ ยั ง ไม ห มดอายุ พ ร อ มลงนามรั บ รองสํ า เนาถู ก ต อ ง หรื อ ในกรณี ที่ ไ ม มี บั ต ร ประจําตัวประชาชน ใหแนบสําเนาทะเบียนบานหนาที่มีเลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก หรือสําเนาเอกสารทาง ราชการอื่นที่มีเลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก พรอมทั้งลงนามรับรองสําเนาถูกตอง (กรณีผูจองซื้อเปนผูเยาว จะตองแนบสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูปกครอง (บิดา/มารดา) ที่ยังไมหมดอายุ และสําเนาทะเบียน บานที่ผูเยาวอาศัยอยู พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตอง)

สวนที่ 3 หนาที่ 11


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ผูจองซื้อประเภทบุคคลธรรมดาชาวตางชาติ : สําเนาใบตางดาวหรือหนังสือเดินทางที่ยังไมหมดอายุ พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตอง ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลสัญชาติไทย : สําเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลที่ออกโดยกระทรวงพาณิชยอายุไมเกิน 1 ป พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตองโดย ผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสําคัญของนิติบุคคล(ถามี) และแนบสําเนาบัตรประจําตัว ประชาชน สําเนาใบตางดาว หรือสําเนาหนังสือเดินทาง(แลวแตกรณี) ที่ยังไมหมดอายุของผูมีอํานาจลงนามของ นิติบุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลที่จดทะเบียนในตางประเทศ: สําเนาหนังสือสําคัญการจัดตั้งบริษัท หนังสือบริคณหสนธิ ขอบังคับ และหนังสือรับรองที่ออกไมเกิน 1 ปกอนวัน จองซื้อ พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตองโดยผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสําคัญของนิติ บุคคล (ถามี) พรอมแนบสําเนาใบตางดาว หรือหนังสือเดินทาง (แลวแตกรณี) ที่ยังไมหมดอายุของผูมีอํานาจลง นามของนิติบุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง (ข) ผูจองซื้อตองชําระเงินคาจองซื้อครั้งเดียวเต็มจํานวนที่จองซื้อ โดยจะตองชําระเงินเปนเงินโอน การโอนเงิน อัตโนมัติ (หรือที่เรียกวา “Automatic Transfer System” หรือ “ATS”) เช็ค แคชเชียรเช็ค (หรือที่เรียกวา “เช็ค ธนาคาร”) หรือดราฟท เพียงฉบับเดียวเต็มจํานวนเงินและตองสามารถเรียกเก็บเงินไดจากสํานักหักบัญชีเดียวกัน ไดภายใน 1 วันทําการ โดยหากชําระเปนเช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท ใหลงวันที่ไมเกินวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 และขีดครอมสั่งจายเขาบัญชีจองซื้อหุนที่ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย หรือผูจัด จําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 แตละรายจะกําหนดตอไปพรอมทั้งเขียนชื่อ นามสกุล ที่อยู และเบอรโทรศัพทที่ติดตอไดไวขางหลังเช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท ทั้งนี้ การชําระเงินคาจองซือ้ ผานระบบโอนเงินอัตโนมัติจะกระทําไดเฉพาะผูจองซื้อที่ไดเปดบัญชีเพื่อซื้อขายหลักทรัพยกับผูจัดจําหนาย หลักทรัพยตามขอ 5.2 ที่ไดดําเนินการแจงความประสงคใหโอนเงินเพื่อชําระคาภาระผูกพันโดยอัตโนมัติ และ ระบบการโอนเงินอัตโนมัติดังกลาวมีผลใชบังคับแลวในวันจองซื้อ (ค) ผูจองซื้อจะตองนําใบจองซื้อหุนสามัญ (แบบ ข.) และเอกสารประกอบตามขอ 5.7.3 (ก) พรอมเงินคาจองซื้อหุน ตามขอ 5.7.3 (ข) สงไปยังผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย หรือผูจัดจําหนายและรับประกัน การจําหนายที่ระบุไวในขอ 5.2 ในกรณีชําระเงินคาจองซื้อหุนเปน เช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท จะตองนํายื่น กอนเวลา 12.00 น. ของวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 และหากยื่นหลังเวลา 12.00 น. ของวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 จะตองชําระเงินคาจองซื้อหุนเปนเงินโอน หรือการโอนเงินอัตโนมัติเทานั้น โดยผูจัดจําหนายและรับประกันการ จําหนายแต ละรายจะโอนเงิ นยอดจองซื้อ เขา บัญ ชีจองซื้ อหุ นที่ผู จัดการการจั ดจําหน ายและรับ ประกัน การ จําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) จะกําหนดตอไป (ง) ผูจองซื้อที่ยื่นความจํานงในการจองซื้อและไดดําเนินการตามขอ 5.7.3 (ค) แลว จะขอยกเลิกการจองซือ้ หุน และขอรับ เงินคืนไมได ทั้งนี้ ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย หรือผูจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย แตละราย มีสิทธิยกเลิกการจองซื้อของผูจองซื้อที่ดําเนินการไมครบถวนตามวิธีการที่ระบุในขอ 5.7.3 (ก) – (ค) 5.7.4

สําหรับผูจองซื้อทีเ่ ปนผูอ ุปการะคุณของบริษัทฯ ผูจองซื้อที่เปนผูอุปการะคุณของบริษัทฯ จะตองจองซื้อหุนขั้นต่ําจํานวน 1,000 หุนและตองเปนทวีคูณของ 100 หุน โดย สามารถจองซื้อผานผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุในขอ 5.2 (ก) ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึง เวลา 16.00 น. ของวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 ถึงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 โดยจะตองปฏิบัติตามวิธีการดังตอไปนี้

สวนที่ 3 หนาที่ 12


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) (ก) ผูจองซื้อจะตองกรอกรายละเอียดการจองซื้อในใบจองซื้อหุน (แบบ ข.) ใหถูกตองครบถวนและชัดเจน หากผูจอง ซื้อเปนนิติบุคคล จะตองลงนามโดยผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น พรอมประทับตราสําคัญของบริษัท (ถามี) และแนบเอกสารประกอบการจองดังตอไปนี้ ผูจองซื้อประเภทบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย : สํ า เนาบั ต รประจํ า ตั ว ประชาชนที่ ยั ง ไม ห มดอายุ พ ร อ มลงนามรั บ รองสํ า เนาถู ก ต อ ง หรื อ ในกรณี ที่ ไ ม มี บั ต ร ประจําตัวประชาชน ใหแนบสําเนาทะเบียนบานหนาที่มีเลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก หรือสําเนาเอกสารทาง ราชการอื่นที่มีเลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก พรอมทั้งลงนามรับรองสําเนาถูกตอง (กรณีผูจองซื้อเปนผูเยาว จะตองแนบสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูปกครอง (บิดา/มารดา) ที่ยังไมหมดอายุและสําเนาทะเบียนบาน ที่ผูเยาวอาศัยอยู พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตอง) ผูจองซื้อประเภทบุคคลธรรมดาชาวตางชาติ : สําเนาใบตางดาวหรือหนังสือเดินทางที่ยังไมหมดอายุ พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตอง ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลสัญชาติไทย : สําเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลที่ออกโดยกระทรวงพาณิชยอายุไมเกิน 1 ป พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตองโดย ผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสําคัญของนิติบุคคล(ถามี) และแนบสําเนาบัตรประจําตัว ประชาชน สําเนาใบตางดาว หรือสําเนาหนังสือเดินทาง(แลวแตกรณี) ที่ยังไมหมดอายุของผูมีอํานาจลงนามของ นิติบุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลที่จดทะเบียนในตางประเทศ: สําเนาหนังสือสําคัญการจัดตั้งบริษัท หนังสือบริคณหสนธิ ขอบังคับ และหนังสือรับรองที่ออกไมเกิน 1 ปกอนวัน จองซื้อ พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตองโดยผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสําคัญของนิติ บุคคล (ถามี) พรอมแนบสําเนาใบตางดาว หรือหนังสือเดินทาง (แลวแตกรณี) ที่ยังไมหมดอายุของผูมีอํานาจลง นามของนิติบุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง (ข) ผูจองซื้อตองชําระเงินคาจองซื้อครั้งเดียวเต็มจํานวนที่จองซื้อ โดยจะตองชําระเงินเปนเงินโอน การโอนเงิน อัตโนมัติ (หรือที่เรียกวา “Automatic Transfer System” หรือ “ATS”) เช็ค แคชเชียรเช็ค (หรือที่เรียกวา “เช็ค ธนาคาร”) หรือดราฟท เพียงฉบับเดียวเต็มจํานวนเงินและตองสามารถเรียกเก็บเงินไดจากสํานักหักบัญชีเดียวกัน ไดภายใน 1 วันทําการ โดยหากชําระเปนเช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท ใหลงวันที่ไมเกินวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 และขีดครอมสั่งจายเขาบัญชีจองซื้อหุนที่ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไว ในขอ 5.2 (ก) จะกําหนดตอไปพรอมทั้งเขียนชื่อ นามสกุล ที่อยู และเบอรโทรศัพทที่ติดตอไดไวขางหลังเช็ค แคชเชียรเช็ค หรือ ดราฟท ทั้งนี้ การชําระเงินคาจองซื้อผานระบบโอนเงินอัตโนมัติจะกระทําไดเฉพาะผูจองซื้อที่ ไดเปดบัญชีเพื่อซื้อขายหลักทรัพยกับผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามขอ 5.2 (ก) ที่ไดดําเนินการแจงความประสงค ใหโอนเงินเพื่อชําระคาภาระผูกพันโดยอัตโนมัติ และระบบการโอนเงินอัตโนมัติดังกลาวมีผลใชบังคับแลวในวัน จองซื้อ (ค) ผูจองซื้อจะตองนําใบจองซื้อหุนสามัญ (แบบ ข.) และเอกสารประกอบตามขอ 5.7.4 (ก) พรอมเงินคาจองซื้อหุน ตามขอ 5.7.4 (ข) สงไปยังผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ที่ระบุไวในขอ 5.2 (ก) ในกรณี ชําระเงินคาจองซื้อหุนเปน เช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท จะตองนํายื่นกอนเวลา 12.00 น. ของวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 และหากยื่นหลังเวลา 12.00 น. ของวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 จะตองชําระเงินคาจองซื้อหุน เปนเงินโอน หรือการโอนเงินอัตโนมัติเทานั้น

สวนที่ 3 หนาที่ 13


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

5.8

(ง) ผูจองซื้อที่ยื่นความจํานงในการจองซื้อและไดดําเนินการตามขอ 5.7.4 (ค) แลว จะขอยกเลิกการจองซือ้ หุน และขอรับ เงินคืนไมได ทั้งนี้ ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายมีสิทธิยกเลิกการจองซื้อของผูจองซื้อที่ ดําเนินการไมครบถวนตามวิธีการที่ระบุในขอ 5.7.4 (ก) – (ค) การจัดสรรในกรณีที่มีผูจองซื้อหลักทรัพยเกินกวาจํานวนหลักทรัพยที่เสนอขาย หากมีผูจองซื้อหุนเกินกวาจํานวนหุนที่จัดสรรใหที่ระบุในขอ 1.2 ผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุในขอ 5.2 จะดําเนินการตาม หลักเกณฑและวิธีการในการจัดสรรหุนที่ระบุในขอ 5.6 สําหรับผูจองซื้อที่ไมไดรับการจัดสรรหรือไดรับจัดสรรนอยกวาจํานวนที่จอง ซื้อจะไดรับคืนเงินคาจองซื้อตามรายละเอียดในขอ 5.9

5.9

วิธีการคืนเงินคาจองซือ้ หลักทรัพย 5.9.1

ในกรณีผูจองซื้อไมไดรับการจัดสรรหุน ผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 ที่เปนผูรับจองซื้อจากผูจองซื้อที่ไมไดรับการจัดสรรหุน จะดําเนินการคืน เงินคาจองซื้อโดยไมมีดอกเบี้ยหรือคาเสียหายใดๆ ใหแกผูจองซื้อที่ไมไดรับการจัดสรรหุน โดยจายเปนเช็คขีดครอม เฉพาะสั่งจายผูจองซื้อตามชื่อที่ระบุไวในใบจองซื้อ และสงทางไปรษณียลงทะเบียนตามที่อยูที่ระบุไวในใบจองซื้อภายใน 14 วันนับจากวันที่สิ้นสุดระยะเวลาการจองซื้อ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไมสามารถคืนเงินคาจองซื้อหุนในสวนที่ไมไดรับการจัดสรร ใหแกผูจองซื้อหุนไดภายในระยะเวลา 14 วัน นับจากวันสิ้นสุดระยะเวลาการจองซื้อ ผูจองซื้อจะไดรับดอกเบี้ยในอัตรา รอยละ 7.5 ตอป โดยคํานวณจากจํานวนเงินคาจองซื้อหุนที่ไมไดรับการจัดสรรคืน นับจากวันที่พนกําหนดเวลา 14 วัน ดังกลาว จนถึงวันที่ไดมีการชําระคืนตามวิธีการดังกลาวขางตน อยางไรก็ดี ไมวาในกรณีใดๆ หากไดมีการสงเช็คคืนเงิน คาจองซื้อหุนทางไปรษณียลงทะเบียนตามที่อยูที่ระบุไวในใบจองซื้อโดยถูกตองแลว ใหถือวาผูจองซื้อไดรับเงินจองซื้อคืน แลวโดยชอบ และผูจองซื้อจะไมมีสิทธิเรียกรองดอกเบี้ย และ/หรือคาเสียหายใดๆ อีกตอไป

5.9.2

ในกรณีที่ไมไดรับการจัดสรรหุน อันเนื่องมาจากไมสามารถเรียกเก็บเงินคาจองซื้อหุนตามการชําระคาจองซื้อหุนหรือ เนื่องจากผิดเงื่อนไขในการจองซื้อ ผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 ที่รับจองซื้อหุนจากผูจองซื้อหุนที่ไมไดรับการจัดสรรรายนั้นๆ จะทําการ คืนเช็คคาจองซื้อใหแกผูจองซื้อหุนที่ไมไดรับการจัดสรรรายนั้นๆ อันเนื่องมาจากการไมสามารถเรียกเก็บเงินคาจองซื้อหุน ตามการชําระคาจองซื้อหุนหรือเนื่องจากผิดเงื่อนไขในการจองซื้อ โดยผูจองซื้อตองติดตอขอรับเช็คดังกลาวคืนจาก ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย หรือผูจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายรายที่เปนผูรับจองซื้อ หุน ภายในระยะเวลา 14 วัน นับจากวันสิ้นสุดระยะเวลาการจองซื้อ

5.9.3

ในกรณีผูจองซื้อไดรับการจัดสรรหุนนอยกวาจํานวนหุนที่จองซื้อ ผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 ที่เปนผูรับจองซื้อจากผูจองซื้อที่ไดรับการจัดสรรหุนนอยกวาจํานวนที่จอง ซื้อ จะดําเนินการคืนเงินคาจองซื้อในสวนที่ไมไดรับการจัดสรรหุน โดยไมมีดอกเบี้ยหรือคาเสียหายใดๆ ใหแกผูที่จองซื้อที่ ไดรับการจัดสรรหุนไมครบตามจํานวนที่จองซื้อ โดยจายเปนเช็คขีดครอมเฉพาะสั่งจายผูจองซื้อตามชื่อที่ระบุไวในใบจอง ซื้อ และสงทางไปรษณียลงทะเบียนตามที่อยูที่ระบุไวในใบจองซื้อภายใน 14 วันนับจากวันที่สิ้นสุดระยะเวลาการจองซื้อ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไมสามารถคืนเงินคาจองซื้อหุนในสวนที่ไมไดรับการจัดสรรใหแกผูจองซื้อหุนไดภายในระยะเวลา 14 วัน นับจากวันสิ้นสุดระยะเวลาการจองซื้อ ผูจองซื้อจะไดรับดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอป โดยคํานวณจากจํานวนเงินคา จองซื้อหุนที่ไมไดรับการจัดสรรคืน นับจากวันที่พนกําหนดเวลา 14 วันดังกลาว จนถึงวันที่ไดมีการชําระคืนตามวิธีการ ดังกลาวขางตน อยางไรก็ดี ไมวาในกรณีใดๆ หากไดมีการสงเช็คคืนเงินคาจองซื้อหุนทางไปรษณียลงทะเบียนตามที่อยูที่ ระบุไวในใบจองซื้อโดยถูกตองแลว ใหถือวาผูจองซื้อไดรับเงินจองซื้อคืนแลวโดยชอบ และผูจองซื้อจะไมมีสิทธิเรียกรอง ดอกเบี้ย และ/หรือคาเสียหายใดๆ อีกตอไป สวนที่ 3 หนาที่ 14


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 5.10

วิธีการสงมอบหลักทรัพย ปจจุบัน บริษัทฯ ไดเปดบัญชีฝากหลักทรัพยกับบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อใหบริการรับฝากใบหุนที่ จองซื้อในการเสนอขายครั้งนี้ไวกับศูนยรับฝากหลักทรัพย กลาวคือ ผูจองซื้อสามารถใชบริการของศูนยรับฝากหลักทรัพย และเขาสู ระบบซื้อขายแบบไรใบหุน (Scripless System) ไดทันที ทั้งนี้ เพื่อใหระยะเวลาในการดําเนินการนําหุนเขาจดทะเบียนกับตลาด เอ็ม เอ ไอ สั้นลง และเพื่อใหผูจองซื้อสามารถขายหุนในตลาด เอ็ม เอ ไอ ไดทันทีที่ตลาด เอ็ม เอ ไอ อนุญาตใหหุนของบริษัทฯ เริ่มทํา การซื้อขายไดในตลาด เอ็ม เอ ไอ ซึ่งแตกตางกับกรณีที่ผูจองซื้อประสงคจะขอรับใบหุนซึ่งผูจองซื้อจะไมสามารถขายหุนไดในตลาด เอ็ม เอ ไอจนกวาจะไดรับใบหุน ผูจองซื้อหุน สามารถเลือกใหบริษัทฯ ดําเนินการในกรณีใดกรณีหนึ่งในทั้ง 3 กรณี ดังตอไปนี้ คือ (ก) กรณีที่ผูจองซื้อประสงคจะขอรับใบหุนโดยใหออกใบหุนในชื่อของผูจองซื้อ นายทะเบียนหุนของบริษัทฯ คือ บริษัท ศูนยรับ ฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด จะทําการสงมอบใบหุนตามจํานวนที่ไดรับการจัดสรรใหแกผูไดรับการจัดสรรหุน ทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับตามชื่อที่อยูที่ระบุในใบจองซื้อหุนภายใน 15 วันทําการ นับจากวันปดการจองซื้อหุน ใน กรณีนี้ ผูไดรับการจัดสรรหุนจะไมสามารถขายหุนที่ไดรับการจัดสรรในตลาด เอ็ม เอ ไอ ไดจนกวาจะไดรับใบหุน ซึ่งอาจ ไดรับภายหลังจากที่หุนของบริษัทฯ ไดรับอนุมัติใหเขาทําการซื้อขายในตลาด เอ็ม เอ ไอ แลว (ข) ในกรณีที่ผูจองซื้อหุนไมประสงคจะขอรับใบหุน แตประสงคจะใชบริการของศูนยรับฝากหลักทรัพย (Scripless System) โดย ประสงคที่จะฝากไวในบัญชีของบริษัทหลักทรัพยซึ่งผูจองซื้อมีบัญชีซื้อขายหลักทรัพยอยู กรณีนี้นายทะเบียนหุนของบริษัทฯ คือ บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด จะดําเนินการออกใบหุนตามจํานวนที่ไดรับจัดสรรในชื่อของ “บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อผูฝาก” และศูนยรับฝากหลักทรัพยจะบันทึกยอดบัญชีจํานวนหุนที่บริษัท หลักทรัพยนั้นฝากหุนอยู ในขณะเดียวกันบริษัทหลักทรัพยนั้นก็จะบันทึกยอดบัญชีจํานวนหุนที่ผูจองซื้อฝากไว และออก หลักฐานการฝากใหแกผูจองซื้อภายใน 7 วันทําการ นับจากวันปดการจองซื้อหุน ในกรณีนี้ ผูที่ไดรับการจัดสรรจะสามารถ ขายหุนสามัญที่ไดรับการจัดสรรในตลาด เอ็ม เอ ไอ ไดทันทีที่ตลาด เอ็ม เอ ไอ อนุญาตใหหุนสามัญของบริษัทฯ ทําการซื้อ ขายไดในตลาด เอ็ม เอ ไอ ในกรณีที่ผูจองซื้อเลือกใหบริษัทฯ ดําเนินการตามขอ 5.10 (ข) ชื่อของผูจองซื้อในใบจองซื้อจะตองตรงกับชื่อเจาของบัญชีซอื้ ขายหลักทรัพยที่ผูจองซื้อประสงคจะฝากหุนไวในบัญชีของบริษัทหลักทรัพยดังกลาว มิฉะนั้นแลว บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิที่จะ ดําเนินการออกใบหุนใหแกผูจองซื้อตามขอ 5.10 (ก) แทน (ค) ในกรณีที่ผูจองซื้อไมประสงคจะขอรับใบหุน แตประสงคจะใชบริการของบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด (Scripless System) โดยผูจองซื้อประสงคที่จะฝากหุนสามัญไวในบัญชีของบริษัทผูออกหลักทรัพย สมาชิกเลขที่ 600 บริษัทฯ จะดําเนินการเก็บรักษาหุนดังกลาวไวในบัญชีของบริษัทฯ และบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด จะออกหลักฐานการรับฝากหุนใหแกผูจองซื้อหุนภายใน 7 วันทําการนับจากวันปดการจองซื้อหุน ในกรณีนี้ผูที่ไดรับการ จัดสรรจะสามารถขายหุนสามัญที่ไดรับจัดสรรในตลาด เอ็ม เอ ไอ ไดทันทีที่ตลาด เอ็ม เอ ไอ อนุญาตใหหุนของบริษัทฯ เริ่มทําการซื้อขายไดในตลาด เอ็ม เอ ไอ และหากผูจองซื้อรายใดตองการถอนหุนสามัญออกจากบัญชีของบริษัทผูออก หลักทรัพย สมาชิกเลขที่ 600 ผูจองซื้อรายนั้นสามารถติดตอไดที่บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ทั้งนี้ การถอนหุนสามัญที่ฝากไวในบัญชีของบริษัทผูออกหลักทรัพย สมาชิกเลขที่ 600 จะตองใชเวลาในการดําเนินการ ดังนั้นผู จองซื้อที่นําฝากในบัญชีดังกลาวอาจจะไมสามารถถอนหุนไดทันภายในวันที่หุนของบริษัทฯ เริ่มทําการซื้อขายไดวันแรกใน ตลาด เอ็ม เอ ไอ ทั้งนี้ หากผูจองซื้อไมระบุเลือกกรณีใดกรณีหนึ่งในใบจองซื้อหุน บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิที่จะออกใบหุนใหแกผูจองซื้อตามขอ 5.10 (ก) แทน

สวนที่ 3 หนาที่ 15


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 4 การรับรองความถูกตองของขอมูล 1

การรับรองความถูกตองของขอมูลในสวนของเจาของหลักทรัพย

ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในหนังสือชี้ชวนฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะผูมีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคล ขาพเจา ไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวา ขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายธนะชัย สันติชัยกูล หรือ นางเกษรี กาญจนะวณิชย คนใดคนหนึ่งเปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมี ลายมือชื่อของนายธนะชัย สันติชัยกูล หรือ นางเกษรี กาญจนะวณิชย คนใดคนหนึ่งกํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบ ทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

ลายมือชือ่

นายธนาชัย ธีรพัฒนวงศ

ประธานกรรมการ

-นายธนาชัย ธีรพัฒนวงศ-

นายธนะชัย สันติชัยกูล

รองประธานกรรมการ

-นายธนะชัย สันติชัยกูล-

ผูรับมอบอํานาจ ตําแหนง

ลายมือชือ่

นายธนะชัย สันติชัยกูล

ประธานกรรมการ

-นายธนะชัย สันติชัยกูล-

นางเกษรี กาญจนะวณิชย

กรรมการและกรรมการผูอํานวยการ

ชื่อ-นามสกุล

-นางเกษรี กาญจนะวณิชย-

สวนที่ 4 หนาที่ 1


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 2

การรับรองความถูกตองของขอมูลในสวนของบริษัทที่ออกหลักทรัพย

ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในหนังสือชี้ชวนฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาด ขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเปนสวนหนึ่งของหนังสือชี้ชวน ไดแสดงขอมูลอยางถูกตองครบถวนในสาระสําคัญ เกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผยขอมูลในสวนที่เปน สาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และ ขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2551 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําทีม่ ชิ อบที่ อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองแลว ขาพเจาไดมอบหมาย ให นายธนะชัย สันติชัยกูล หรือ นางเกษรี กาญจนะวณิชย คนใดคนหนึ่งเปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายธนะชัย สันติชัยกูล หรือ นางเกษรี กาญจนะวณิชย คนใดคนหนึ่งกํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับ รองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

ลายมือชือ่

นายธนะชัย สันติชัยกูล

ประธานกรรมการ

-นายธนะชัย สันติชัยกูล-

นางเกษรี กาญจนะวณิชย

กรรมการและกรรมการผูอํานวยการ

นางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ

กรรมการ

นางสาวนันทพร วงษเชษฐา

กรรมการและกรรมการผูจัดการ

นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ

กรรมการและผูอ าํ นวยการฝายบัญชีและการเงิน/ธุรการ

-นางเกษรี กาญจนะวณิชย-นางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ-นางสาวนันทพร วงษเชษฐา-นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ-

ผูรับมอบอํานาจ ตําแหนง

ลายมือชือ่

นายธนะชัย สันติชัยกูล

ประธานกรรมการ

-นายธนะชัย สันติชัยกูล-

นางเกษรี กาญจนะวณิชย

กรรมการและกรรมการผูอํานวยการ

ชื่อ-นามสกุล

-นางเกษรี กาญจนะวณิชย-

สวนที่ 4 หนาที่ 2


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในหนังสือชี้ชวนฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควร สงสัยวา ขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวา ขอมูลดั งกลาวไมถูกต องครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสํ าคัญผิด หรือขาดขอมู ลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายธนะชัย สันติชัยกูล หรือ นางเกษรี กาญจนะวณิชย คนใดคนหนึ่งเปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมี ลายมือชื่อของ นายธนะชัย สันติชัยกูล หรือ นางเกษรี กาญจนะวณิชย คนใดคนหนึ่งกํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบ ทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

ลายมือชือ่

นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร

ประธานกรรมการตรวจสอบ

-นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร-

นายสุธีร จินตนานฤมิตร

กรรมการตรวจสอบ

-นายสุธีร จินตนานฤมิตร-

นายกรีธา มติธนวิรุฬห

กรรมการตรวจสอบ

-นายกรีธา มติธนวิรุฬห-

นายสาคร สุขศรีวงศ

กรรมการ

-นายสาคร สุขศรีวงศ-

ผูรับมอบอํานาจ ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

นายธนะชัย สันติชัยกูล

ประธานกรรมการ

นางเกษรี กาญจนะวณิชย

กรรมการและกรรมการผูอํานวยการ

ลายมือชือ่ -นายธนะชัย สันติชัยกูล-นางเกษรี กาญจนะวณิชย-

สวนที่ 4 หนาที่ 3


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) 3

การรับรองการปฏิบัติหนาที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน

ขาพเจาในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของบริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ขอรับรองวา ขาพเจาได สอบทานขอมูลในหนังสือชี้ชวนฉบับนี้แลวและดวยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว ถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ

กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทหลักทรัพย ดีบีเอส วิคเคอรส (ประเทศไทย) จํากัดในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

นางภัทธีรา ดิลกรุงธีระภพ

ประธานเจาหนาที่บริหาร

-นางภัทธีรา ดิลกรุงธีระภพ-

นายปยชน ใจจงกิจ

กรรมการบริหารอาวุโส

-นายปยชน ใจจงกิจ-

ลายมือชือ่

สวนที่ 4 หนาที่ 4


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

นายธนะชัย สันติชัยกูล ประธานกรรมการ (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัท)

อายุ (ป) 56

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประกาศนียบัตร DCP สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร •

สัดสวนการ ถือหุนใน บริษัทฯ (%) 0.00% (1 หุน)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ตําแหนง ชื่อบริษัท / ประเภทธุรกิจ

ชวงเวลา 2539 - ปจจุบัน

ประธานกรรมการ

2522 - ปจจุบัน

ประธานเจาหนาที่บริหาร

2539 – ปจจุบัน 2539 – 2552

กรรมการ กรรมการ

2540 – 2552

กรรมการ

2540 – ปจจุบัน 2541 - ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ

2543 – ปจจุบัน 2548 – ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ

2549 – ปจจุบัน

กรรมการ

2549 – ปจจุบัน

กรรมการ

2550 – ปจจุบัน

กรรมการ

2551 – ปจจุบัน 2552 – ปจจุบัน 2552 - ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) /สื่อ สิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด / สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เรดิโอ เน็ทเวอรค จํากัด / สื่อกระจาย เสียง บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด / สื่อ กระจายภาพและเสียง บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด / สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด / สื่อ สิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น ดิจิตอล มีเดีย จํากัด / สื่ออินเตอรเน็ต บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด / บริการ การพิมพ บริษัทโยมิอูริ-เนชั่น อินฟอรมเมชั่น เซอรวิส จํากัด / สื่อสิ่งพิมพตางประเทศ บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด / บริการจัดสงและ จําหนาย บริษัท เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด / บริการการพิมพ บริษัท เนชั่น นิวส เน็ตเวิรค จํากัด / สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเคชั่น จํากัด / บริการการศึกษา บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) / สื่อกระจายภาพและเสียง

เอกสารแนบ 1 หนาที่ 1


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

นายสาคร สุขศรีวงศ กรรมการ

อายุ (ป) 41

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประกาศนียบัตร DCP สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย • ปริญญาเอก Business Administration University of South Australia, Australia •

สัดสวนการ ถือหุนใน บริษัทฯ (%) -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ตําแหนง ชื่อบริษัท / ประเภทธุรกิจ

ชวงเวลา 2551 - ปจจุบัน

กรรมการ

2549 – ปจจุบัน

ประธานเจาหนาที่บริหาร

2551 – ปจจุบัน

กรรมการ

2549 – ปจจุบัน 2551 – ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ

2551 – ปจจุบัน

กรรมการ

2550 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2548 – ปจจุบัน 2547 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน 2540 – ปจจุบัน 2538 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและผูจัดการทั่วไป กรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ

2546 – ปจจุบัน

กรรมการ

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เงินทุน กรุงเทพธนาทร จํากัด (มหาชน) / การเงิน บริษัท หลักทรัพย บีฟท จํากัด (มหาชน) /บริษัท หลักทรัพย บริษัท นวัตกรรมจามจุรี จํากัด /พัฒนานวัตกรรม บริษัท ผลิตภัณฑ นวัตกรรมจามจุรี จํากัด /ผลิต สินคานวัตกรรม บริษัท เอเชียแปซิฟค ไอเอเทค ซีอารโอ จํากัด /วิจัย ทางคลีนิค บริษัท เอส เอ บี เอส โฮลดิ้ง จํากัด /การลงทุน บริษัท ตวันนาโฮเต็ล จํากัด /โรงแรม มูลนิธิหลวงพอวิริยงั คฯ /องคการกุศล Beijing Huamao Surapan Hotel Co., Ltd. /โรงแรม รานภูฟา /โครงการตามพระราชดําริ บริษัท คอม-ลิงค จํากัด /โทรคมนาคม บริษัท ปรีดาปราโมทย จํากัด /คอมพิวเตอร บริษัท เอ็กซเซล ลิงค จํากัด /ระบบคอมพิวเตอร บริษัท เทคโนโลยีบริหารธุรกิจรักไทย จํากัด / สถานศึกษา บริษัท สุรพันธวณิช จํากัด /อสังหาริมทรัพย

เอกสารแนบ 1 หนาที่ 2


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

นางเกษรี กาญจนะวณิชย กรรมการและกรรมการ ผูอํานวยการ (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัท)

นางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ กรรมการ (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัท)

อายุ (ป) 52

50

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประกาศนียบัตร DCP สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบริหารธุรกิจ ศศินทร •

ปริญญาโท รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

สัดสวนการ ถือหุนใน บริษัทฯ (%) 0.00% (1 หุน)

-

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

-

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ตําแหนง ชื่อบริษัท / ประเภทธุรกิจ

ชวงเวลา 2549 – ปจจุบัน 2545 – 2549

กรรมการและกรรมการ ผูอํานวยการ กรรมการอํานวยการ

2541 – ปจจุบัน

กรรมการ

2540 – ปจจุบัน 2539 – ปจจุบัน 2552 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

2544-ปจจุบัน 2545-ปจจุบัน 2545-ปจจุบัน 2549-ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการบริษัท

2549-ปจจุบัน

กรรมการ

2549-ปจจุบัน 2549-ปจจุบัน 2549-ปจจุบัน 2549-ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด(มหาชน) /สื่อ สิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด /สื่อ สิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเคชั่น จํากัด /บริการการศึกษา บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เอ็นเอ็มจี นิวส จํากัด /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เอ็นเคที นิวส จํากัด /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เอ็นเอสที นิวส จํากัด /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) /สื่อ สิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด /สื่อ สิ่งพิมพ บริษัทเนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น ดิจิตอล มีเดีย จํากัด /สื่ออินเตอรเน็ท บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด /บริการจัดสงและจําหนาย

เอกสารแนบ 1 หนาที่ 3


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

นางสาวนันทพร วงษเชษฐา กรรมการและกรรมการผูจัดการ (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัท)

อายุ (ป) 48

นางสาว รัชดาภรณ อารักษรัฐ กรรมการและผูอํานวยการฝาย บัญชีและการเงิน (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัท)

40

นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร กรรมการอิสระและประธาน กรรมการตรวจสอบ

67

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประกาศนียบัตร DCP สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย ปริญญาเอก สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร •

สัดสวนการ ถือหุนใน บริษัทฯ (%) -

ประกาศนียบัตร DCP สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย • ปริญญาโท MBA, The George Washington University

-

ประกาศนียบัตร DCP สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรและ บริหารอุตสาหกรรม University of Wisconsin - USA

-

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

-

ชวงเวลา 2549 – ปจจุบัน 2543 – ปจจุบัน

กรรมการและกรรมการ ผูจัดการ กรรมการผูจัดการ

2549 – ปจจุบัน

กรรมการ

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด /สื่อ สิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด /สื่อสิ่งพิมพ

2549 – ปจจุบัน

กรรมการและผูอํานวยการ ฝายบัญชีและการเงิน ผูอํานวยการฝายบัญชีและ การเงิน

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด /สื่อ สิ่งพิมพ

กรรมการอิสระและประธาน กรรมการตรวจสอบ กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ ประธานกรรมการ

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เร็บบิท เอเชีย จํากัด /สงออก บริษัท พี.อาร.เอส.เอส. จํากัด /อสังหาริมทรัพย บริษัท เอ็นเนอรยี่ คอนโทรล จํากัด /อสังหาริมทรัพย และโรงแรม รีสอรท

2545 - ปจจุบัน

-

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ตําแหนง ชื่อบริษัท / ประเภทธุรกิจ

2551 – ปจจุบัน 2543 – ปจจุบัน 2548 - ปจจุบัน 2545 - ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1 หนาที่ 4


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

นายสุธีร จินตนานฤมิตร กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ

นายกรีธา มติธนวิรุฬห กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ

อายุ (ป) 66

61

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประกาศนียบัตร DCP สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย • ปริญญาตรี สถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย •

ประกาศนียบัตร DCP สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ Methodist University North Calolina , USA •

สัดสวนการ ถือหุนใน บริษัทฯ (%) -

-

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

-

ชวงเวลา 2551 – ปจจุบัน 2538 – ปจจุบัน 2518 - ปจจุบัน

กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ ประธานกรรมการ หุนสวนผูจัดการ

2549 - ปจจุบัน

กรรมการผูจัดการ

2531 – ปจจุบัน 2532 - ปจจุบัน ปจจุบัน

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ

2551 – ปจจุบัน

กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการผูอํานวยการ

2518 – ปจจุบัน 2542 – 2546 2552 - ปจจุบัน

นางสาว อรัญญา บุญเกลียว ผูอํานวยการฝายสิ่งพิมพ ตางประเทศ

37

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติ

-

-

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ตําแหนง ชื่อบริษัท / ประเภทธุรกิจ

2549 - ปจจุบัน 2543 – 2549

กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการอิสระ ผูอํานวยการฝายสิ่งพิมพ ตางประเทศ Distribution Manager/ Business Development Manager

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท แพคครีเอท จํากัด /ออกแบบและกอสราง หางหุนสวนจํากัด แพคดีไซน /ออกแบบและควบคุม งานกอสราง บริษัท เอ็นเนอรยี่ คอนโทรล จํากัด /ธุรกิจ อสังหาริมทรัพย บริษัท ทอปคอน จํากัด /รับเหมากอสราง บริษัท นฤมิตร จํากัด /ธุรกิจอสังหาริมทรัพย บริษัท หาดใหญนครินทร จํากัด /ธุรกิจ อสังหาริมทรัพย บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท ยูนิเวอรแซลปูนซีเมนตขาว จํากัด / ผลิต ปูนซีเมนตขาว บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) /ผลิตน้ํามันปาลม บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) /ผลิตน้ํามันปาลม บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท เอเชีย บุคส จํากัด /หนังสือและนิตยสาร ตางประเทศ

เอกสารแนบ 1 หนาที่ 5


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

นางสาวกุลธิดา มงคลศิริเกียรติ ผูชวยผูอํานวยการอาวุโสฝาย พัฒนาธุรกิจ

38

นางสาวเบญจวรรณ สวาง ผูอํานวยการฝายพัฒนาสื่อใหม

39

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท Business and Management, Strathclyde University

ปริญญาโทสื่อสารมวลชน, University of Leeds

สัดสวนการ ถือหุนใน บริษัทฯ (%) -

-

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

2549 - ปจจุบัน

-

2548 – 2549 2542 – 2548 2552 - ปจจุบัน 2552 - ปจจุบัน

ชวงเวลา

2552 2549 - 2552 2547 - 2549

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ตําแหนง ชื่อบริษัท / ประเภทธุรกิจ ผูชวยผูอํานวยการอาวุโสฝาย พัฒนาธุรกิจ AVP- Citigold Head Division Manager กรรมการ ผูอํานวยการฝายพัฒนาสื่อ ใหม Senior Sales & Marketing Manager Country Manager Content & Marketing Communication Manager

บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ Citibank N.A. / การธนาคาร บมจ. ธนาคารกสิกรไทย /การธนาคาร บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเคชั่น จํากัด บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) /สื่อสิ่งพิมพ บริษัท บีอีซี เทโร คอมคอม จํากัด / Entertainment & Mobile Advertising บริษัท อารีนา โมบาย(ไทยแลนด)จํากัด / Mobile Services บริษัท อันเรียลมาย โมบาโฟน ไทย จํากัด / Mobile Services

เอกสารแนบ 1 หนาที่ 6


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ขอมูลการดํารงตําแหนงของผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุม ในบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัททีเ่ กี่ยวของ รายชื่อ

นายธนะชัย สันติชัยกูล นายสาคร สุขศรีวงศ นางเกษรี กาญจนะวณิชย

บริษัทฯ (NINE)

X ,// /

บริษัท กิจการที่ บริษัท ยอย ควบคุม ใหญ รวมกัน NED NEE NMG // // // -

บริษัทที่ เกี่ยวของ

บริษัทยอยในระดับเดียวกัน NBC x

WPS //

NML //

NE //

NNN //

YNIS /

NPS //

-

-

-

-

-

-

-

//, V

//

//

-

-

-

-

/

-

-

-

//

/

/

v

-

-

/

-

-

-

-

นางสาวนันทพร วงษเชษฐา

//, V

/

นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ

//, V

V -

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

นางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ

นายสมศักดิ์ เชียร จิระนคร

/

/ -

นายกรีธา มติธนวิรุฬห

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

นายสุธีร จินตนานฤมิตร

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

นางสาวอรัญญา บุญเกลียว

V

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

นางสาวกุลธิดา มงคลสิริเกียรติ

V

-

-

-

-

-

-

V

-

-

-

-

-

-

-

-

-

นางสาวเบญจวรรณ สวาง

/ -

หมายเหตุ: 1. x = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ, // = กรรมการบริหาร, V = ผูบริหาร รายชื่อบริษทั NED บจก. เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท NE NEE บจก. เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท NNN NMG บมจ. เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป YNIS NBC บมจ. เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น NPS WPS บจก. ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) NML บจก. เอ็นเอ็มแอล

-

บจก. เนชั่น เอ็ดดูเคชั่น บจก. เนชั่น นิวส เน็ตเวิรค บจก. โยมิอูร-ิ เนชั่น อินฟอรมเมชั่น เซอรวิส บจก. เนชัน่ พริ้นติ้ง เซอรวิส

เอกสารแนบ 1 หนาที่ 7


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย รายชื่อ

NED

NEE

นายธนาชัย ธีรพัฒนวงศ

A

-

นายธนะชัย สันติชัยกูล

A

A

นางเกษรี กาญจนะวณิชย นางวรางคณา กัลยาณประดิษฐ นางสาวนันทพร วงษเชษฐา นางสาวรัชดาภรณ อารักษรัฐ นางสาวมัธยา โอสถานนท นายเฮนริก โฮซอลต นีลเซน นายคารล สคอฟบาค ปเตอรเซน นายแฟรงค ดีเทอร นาว

A A A A A -

A A A A A

หมายเหตุ A = กรรมการ รายชื่อบริษทั NED NEE

บจก. เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท บจก. เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท

เอกสารแนบ 2 หนาที่ 1


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 3 แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน


แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน บริษัท

เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) วันที่

17 พฤศจิกายน 2551

แบบประเมินนี้จัดทําโดยคณะกรรมการบริษัทซึ่งเปนความเห็นของคณะกรรมการเกี่ยวกับ ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน


2

สวนที่ 1 องคกรและสภาพแวดลอม (Organizational Control and Environment Measure) องคกรและสภาพแวดลอม หมายถึง การมีโครงสรางองคกรและสภาพแวดลอมที่ดีซึ่งเปนรากฐาน ที่สําคัญของระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่ตองสรางสภาวะหรือ ปจจัยตาง ๆ ซึง่ เอื้อใหระบบการควบคุมภายในดําเนินไปไดตามที่บริษัทมุงหวัง เปนการสรางบรรยากาศ การควบคุมเพือ่ สงเสริมใหทุกคนในบริษัทตระหนักถึงความจําเปนของระบบการควบคุมภายใน เชน การที่ ฝายบริหารใหความสําคัญตอความซื่อสัตยสุจริตและจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ การจัดการโครงสราง ขององคกรอยางเหมาะสม การกําหนดหนาที่อยางชัดเจน การมีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่เปนลายลักษณ อักษร เปนตน

1.1 คณะกรรมการไดดูแลใหมีการกําหนดเปาหมายการดําเนินธุรกิจที่ชัดเจนและวัดผลได เพื่อเปน แนวทางในการปฏิบัติงานของพนักงาน ใชหรือไม ใช ไมใช 1.มี Business Plan, การจัดทํางบประมาณโดยผานการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหาร และ คณะกรรมการบริษัท 2.มีการวัดผลการดําเนินงาน โดยเทียบกับงบประมาณบริษทั 3.บริษัทมีนโยบายในการจายโบนัส โดยพิจารณาจากผลการดําเนินงานของบริษัท 1.2 คณะกรรมการบริษัทไดทบทวนเปาหมายการปฏิบัติงานแลววา การตั้งเปาหมายไดดําเนินการ อยางรอบคอบ และไดพิจารณาถึงความเปนไปไดของเปาหมายที่กําหนด ตลอดจนไดมีการวิเคราะหถึง การใหสิ่งจูงใจหรือผลตอบแทนแกพนักงานวาเปนไปอยางสมเหตุสมผล โดยไมมีการจูงใจหรือ ใหผลประโยชนตอบแทนที่เกินสมควรแกพนักงานในลักษณะที่อาจนําไปสูการกระทําทุจริตหรือประพฤติ มิชอบ (เชน ตั้งเปาหมายยอดขายของบริษัทไวสูงเกินความเปนจริง ทําใหเกิดแรงจูงใจในการตกแตง ตัวเลขยอดขาย เปนตน) ใช ไมใช บริษัทไดจัดทํางบประมาณ ใหเหมาะสมตามเศรษฐกิจ การแขงขัน โดยผูบริหารที่รับผิดชอบ แตละสวนงาน โดยไดมีการทบทวนเปนระยะ 1.3 บริษัทไดมีการจัดโครงสรางองคกรที่ชวยใหฝายบริหารสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือไม ใช ไมใช บริษัทมีโครงสรางองคกรในภาพรวม และโครงสรางการบริหารแยกตามลักษณะงานและความ รับผิดชอบ ซึ่งมีการกําหนดสายการบังคับบัญชาอยางชัดเจน


3

1.4 บริษัทมีขอกําหนดเกี่ยวกับจริยธรรม (code of conduct) และขอกําหนดหามฝายบริหารและ พนักงานปฏิบตั ิตนในลักษณะที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกับกิจการเปนลายลักษณอักษร รวมทั้งบทลงโทษหากมีการฝาฝน หรือไม มี ไมมี บริษัทมีคูมอื จริยธรรมเปนลายลักษณอักษร รวมทั้งมีระเบียบการใชขอมูลภายในที่ประกาศ ใหทราบโดยทั่วกัน

1.5 บริษัทมีการจัดทํานโยบายและระเบียบวิธปี ฏิบัติงานเปนลายลักษณอักษรในธุรกรรมดานการเงิน การจัดซื้อ และการบริหารทั่วไปที่รัดกุมและสามารถปองกันการทุจริตไดหรือไม ใช ไมใช บริษัทมีการกําหนดอํานาจการอนุมัติ หรือการดําเนินการในเรื่องตางๆตามลําดับขั้นเปนลาย ลักษณอักษร (Corporate Index) อีกทั้งมีคูมอื ปฏิบัติงานหรือระเบียบปฏิบตั ิงานของแตละหนวยงาน โดยฝายตรวจสอบภายในจะเขาตรวจสอบและใหความเห็นเปนระยะ

1.6 ในการกําหนดนโยบายและแผนการปฏิบัติงาน บริษัทไดคํานึงถึงความเปนธรรมตอคูคา เพื่อประโยชนของบริษัทในระยะยาว ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทมีคูมือจริยธรรมของกรรมการผูบริหารและพนักงานซึ่งครอบคลุมจริยธรรมตอลูกคา พนักงาน คูคา คูแขง สังคม ประชาชนและสิ่งแวดลอม


4

สวนที่ 2 การบริหารความเสี่ยง (Risk Management Measure) การประกอบธุรกิจของบริษัทยอมดําเนินการอยูทามกลางความเสี่ยงทางธุรกิจตลอดเวลา โดยสาเหตุของความเสี่ยงอาจมาจากปจจัยภายใน เชน ผูบ ริหารขาดความซื่อสัตยและจริยธรรม บริษัทขยายงานอยางรวดเร็วเกินไปทําใหระบบงานไมสามารถรองรับได หรือการกํากับดูแลไมทั่วถึง เปนตน และปจจัยภายนอก เชน การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี หรือพฤติกรรมการบริโภคสินคา ทําใหมีผลกระทบ ตอสวนแบงการตลาด เปนตน ดวยเหตุนี้ การที่จะนําพาใหบริษัทรอดพนจากอันตรายที่เกิดจากความเสีย่ ง ดังกลาวไดนั้น ฝายบริหารจําเปนตองดําเนินการตอไปนี้อยางสม่ําเสมอ (1) พิจารณาหรือไตรตรองถึงลักษณะความเสี่ยงที่บริษัทประสบอยู หรือคาดวาจะประสบ (Identification of risk) (2) วิเคราะหผลกระทบของความเสี่ยงนั้น ๆ ตอบริษัท และโอกาสที่ความเสี่ยงนั้น ๆ จะเกิดขึ้น (Analysis of risk) (3) กําหนดมาตรการเพื่อลดความเสี่ยงใหอยูใ นระดับที่เหมาะสม (Management of risk)

2.1 บริษัทมีการประเมินอยางสม่ําเสมอหรือไมวา การประกอบธุรกิจของบริษัทมีปจ จัยใดบางที่เปน ปจจัยความเสีย่ งทั้งที่มาจากภายนอกและภายใน ซึ่งอาจมีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัท อยางมีนัยสําคัญ มี ไมมี กําหนดไวในรายงานการบริหารปจจัยความเสี่ยง

2.2

บริษัทไดมีการวิเคราะหหรือไมวา เหตุการณใดที่จะทําใหปจ จัยที่เปนความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น มี ไมมี กําหนดไวในรายงานการบริหารปจจัยความเสี่ยง

2.3 บริษัทกําหนดใหมีมาตรการในการติดตามเหตุการณที่เปนสาเหตุของปจจัยความเสี่ยง รวมทั้งมาตรการในการลดความเสี่ยงเหลานั้น ใชหรือไม ใช ไมใช กําหนดไวในรายงานการบริหารปจจัยความเสี่ยง


5

2.4 บริษัทไดแจงใหพนักงานทุกคนที่เกี่ยวของรับทราบและปฏิบตั ิตามมาตรการบริหารความเสี่ยง ที่กําหนดไว ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทไดแจงใหพนักงานทุกคนที่เกี่ยวของรับทราบ บทบาทหนาที่ของตน รวมทั้งความเสี่ยง และมาตรการควบคุมที่อยูใ นความรับผิดชอบ ซึ่งมาตรการถูกถายทอดผานทางJob Descriptionและ คูมือการปฏิบัตงิ าน 2.5 บริษัทมีการติดตามวาหนวยงานตาง ๆ ไดปฏิบัติตามแผนการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทจะติดตามการบริหารความเสี่ยง โดยติดตามจากผลการดําเนินงาน ซึ่งแสดงใหเห็นถึง ผลของการใชมาตรการลดความเสี่ยง ซึ่งหากการบริหารไมเปนไปตามมาตรการ จะมีผลกระทบตอ งบการเงิน นอกจากนี้ยังติดตามจากรายงานปฏิบัติงานของแผนกตรวจสอบภายใน ในการประเมิน ความเสี่ยงในเรื่องตางๆ


6

สวนที่ 3 การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร (Management Control Activities) การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร เปนกิจกรรมที่มคี วามสําคัญเพื่อใหบริษัทมั่นใจวา แนวทางที่ฝายบริหารกําหนดไวไดรับการตอบสนองและปฏิบัติตามจากทุกคนในบริษัท ซึ่งแนวทางดังกลาว ไดแก (1) การกําหนดอํานาจและระดับการอนุมัติรายการเปนไปอยางเหมาะสม (2) มีการแบงแยกหนาที่ที่อาจเอือ้ ใหเกิดการกระทําที่ทุจริตออกจากกัน (3) มีการกําหนดขั้นตอน และวิธกี ารทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาวอยางเหมาะสม เพื่อปองกันการถายเทผลประโยชน (4) การกําหนดวิธีการเพื่อใหแนใจวา บริษัทไดปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับที่เกี่ยวของ

3.1 บริษัทมีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินอํานาจอนุมัติของฝายบริหารในแตละระดับ ไวอยางชัดเจนและเปนลายลักษณอักษร ใชหรือไม ใช ไมใช กําหนดไวในขอบเขตอํานาจการอนุมัติ (Corporate Index) ชัดเจน

3.2 บริษัทมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ดานตอไปนี้ ออกจากกันโดยเด็ดขาด เพื่อเปน การตรวจสอบซึ่งกันและกัน ใชหรือไม (1) หนาที่อนุมัติ (2) หนาที่บันทึกรายการบัญชีและขอมูลสารสนเทศ และ (3) หนาที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพยสิน ใช ไมใช กําหนดไวในคูมือการปฏิบัติงานของแตละสวนงาน

3.3 ในกรณีที่บริษัทมีการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคล ดังกลาว บริษัทมีมาตรการที่รัดกุมเพื่อติดตามใหการทําธุรกรรมนั้นตองผานขั้นตอน การอนุมัติที่กําหนด ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทดําเนินการตามนโยบายรายการระหวางกัน ที่กําหนดเปนลายลักษณอักษรชัดเจน นอกจากนี้ในกรณีที่เปนรายการคาทั่วไปจะตองเปนไปตามหลักการที่ขออนุมัติไวกับคณะกรรมการ บริษัท ควบคูกับการดําเนินการตามขอบเขตอํานาจการอนุมัติ(Corporate Index) ที่ชัดเจน


7

3.4 ในกรณีที่มีการทําธุรกรรมตาม 3.3 การพิจารณาอนุมัติธุรกรรมนั้นไดกระทําโดยผูที่ ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมนั้นเทานั้น ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทดําเนินการตามนโยบายรายการระหวางกัน ที่ประกาศเปนลายลักษณอักษรชัดเจน ทั้ง ปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ที่กําหนดไวอยางชัดเจนวา ผูม ีสวนไดเสียจะไมเขารวมออกเสียงใน เรื่องดังกลาว 3.5 ในกรณีที่มีการทําธุรกรรมตาม 3.3 การพิจารณาอนุมัติธุรกรรมนั้น ไดคํานึงถึงประโยชน สูงสุดของบริษัทเปนสําคัญและพิจารณาโดยถือเสมือนเปนรายการที่กระทํากับบุคคลภายนอก (on arms’ length basis) ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทดําเนินการตามนโยบายรายการระหวางกันที่ประกาศเปนลายลักษณอักษรชัดเจน ในกรณีที่ เป น รายการค า ทั่ ว ไป จะต อ งเป น ไปตามหลั ก การ ที่ ข ออนุ มั ติ ไ ว กั บ คณะกรรมการบริ ษั ท โดยผ า นการ พิจารณาความเหมาะสมของรายการ จากคณะกรรมการตรวจสอบ 3.6 ในกรณีที่ไดมีการอนุมัติธุรกรรมกับผูที่เกี่ยวของในลักษณะทีม่ ีผลผูกพันบริษัทในระยะยาวไปแลว (เชน การทําสัญญาซื้อขายสินคา การใหกูยมื การค้ําประกัน) ไดมีการติดตามใหปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลง กันไวตลอดระยะเวลาที่มีผลผูกพันบริษัทหรือไม (เชน ติดตามการชําระคืนหนี้ ตามกําหนด การทบทวนความเหมาะสมของสัญญา เปนตน) ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทกําหนดให มีฝายที่เกี่ยวของรับผิดชอบในการติดตามใหการปฏิบัติ เปนไปตามเงื่อนไขที่ไดตก ลงไว มีการตรวจสอบวงเงินสินเชื่อกอนการอนุมัติขาย มีเจาหนาที่ดานกฎหมายทําหนาที่สอบทานความ เหมาะสมของสัญญาตางๆ 3.7 กรณีที่บริษัทมีมาตรการเกี่ยวกับการทําธุรกรรมตาม 3.3 มาตรการดังกลาวครอบคลุม ไปถึงกรณีที่ผูที่เกี่ยวของดังกลาวนําโอกาสหรือประโยชนของบริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตัวดวย ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว ที่ผานมา ไมมีกรณีดังกลาว โดยบริษัทใหความสําคัญอยางมาก ในเรื่องความซื่อสัตย และการปฏิบัติตามกฎมายตามที่กําหนดไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี คูมือจริยธรรม ของกรรมการ ผูบริหารและพนักงาน


8

3.8 ในกรณีที่บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทยอยหรือบริษัทรวม บริษัทมีการติดตามดูแลการดําเนินงาน ของบริษัทยอยหรือบริษัทรวมอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งมีการกําหนดทิศทางใหบุคคลที่บริษัทแตงตั้งใหเปน กรรมการหรือผูบริหารในบริษทั ดังกลาวถือปฏิบัติ ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว ดําเนินการตามขอบเขตการปฏิบัติงานและอํานาจการอนุมตั ิตาม Corporate Index

3.9 บริษัทมีมาตรการที่จะติดตามใหการดําเนินงานของบริษัทเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ หรือไม ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจและรักษาชื่อเสียงของบริษัท มี ไมมี บริษัทพิจารณาการดําเนินงานภายใตขอบเขตการบริหารงาน อํานาจอนุมัติและสอดคลองกับ หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท 3.10 ในกรณีที่บริษัทเคยมีการกระทําที่ฝาฝนกฎหมาย บริษัทมีมาตรการแกไขและปองกันมิใหเกิด การกระทําในลักษณะนั้นอีก หรือไม มี ไมมี ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทใหความสําคัญกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑตางๆที่กําหนดโดยภาครัฐ รวมทั้งใหความรู กับพนักงานในองคกร สําหรับสวนงานที่เกี่ยวของ


9

สวนที่ 4 ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล (Information and Communication Measure) หลักการประการหนึ่งของการปฏิบัติหนาที่ดวยความระมัดระวังไมวาจะเปนสําหรับกรรมการ ผูบริหาร ผูถือหุน หรือผูที่เกี่ยวของ ก็คือ การตัดสินใจบนพืน้ ฐานที่มีขอมูลที่มีคุณภาพและเพียงพอตอ การตัดสินใจ ไมวาจะเปนขอมูลทางการเงินหรือขอมูลอื่น ดังนั้น การสื่อสารขอมูลดังกลาวไปยังผูที่เกี่ยวของ จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งและเปนสิ่งที่จะชวยใหเกิดความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ขอมูลที่มีคุณภาพควรมีคุณสมบัติดังนี้ (1) มีเนื้อหาที่จําเปนเพียงพอตอการตัดสินใจ (2) มีความถูกตองสมบูรณ (3) มีความเปนปจจุบัน (4) มีรูปแบบที่เขาใจงาย (5) มีการจัดเก็บทีด่ ี

4.1 ในการเสนอเรื่องใหคณะกรรมการพิจารณา บริษัทไดจัดใหมีขอมูลที่สําคัญตาง ๆ อยางเพียงพอ เพื่อใหคณะกรรมการใชประกอบการตัดสินใจ ใชหรือไม (ขอมูลที่สําคัญตาง ๆ ไดแก รายละเอียดของเรื่องที่ เสนอใหพิจารณา เหตุผล ผลกระทบตอบริษทั ทางเลือกตาง ๆ เปนตน) ใช ไมใช หากตองมีประเด็นที่จะตองพิจารณา บริษัทจะดําเนินการจัดเตรียมขอมูล เปรียบเทียบขอดี ขอเสีย ทีม่ ีผลกระทบตองบการเงินและองคกร รวมถึงถามีระเบียบขอบังคับ หรือ กฎหมายใหมที่ ประกาศใช บริษัทจะดําเนินการสรุปประเด็นใหคณะกรรมการรับทราบ

4.2 กรรมการบริษทั ไดรับหนังสือนัดประชุมหรือเอกสารประกอบการประชุมทีร่ ะบุขอมูลที่จําเปนและ เพียงพอตอการพิจารณากอนการประชุม อยางนอยภายในระยะเวลาขั้นต่ําตามที่กฎหมายกําหนด ใชหรือไม ใช ไดรับกอนวันประชุมโดยเฉลี่ย 3 วัน ไมใช เลขานุการบริษัทจะดําเนินการจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุม และจัดสงใหกรรมการ บริษัทลวงหนา 3 วัน และจะสงใหเร็วขึ้นในโอกาสตอไป


10

4.3 รายงานการประชุมกรรมการ มีรายละเอียดตามควรที่ทําใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบ ความเหมาะสมในการปฏิบัตหิ นาที่ของกรรมการไดหรือไม เชน ไดมีการบันทึกขอซักถามของกรรมการ ความเห็นหรือขอสังเกตของกรรมการในเรื่องที่พิจารณา ความเห็นของกรรมการรายที่ไมเห็นดวยกับ เรื่องที่เสนอพรอมเหตุผล เปนตน ใช ไมใช บริษัทจะจัดทํารายงานการประชุม โดยสรุปประเด็นขอสังเกต ประเด็นที่เปนหวงและเปนประเด็น ที่มีการคัดคาน สําหรับแนวปฏิบัติของฝายจัดการ ในกรณีที่ยังมีขอสงสัยจากคณะกรรมการบางทาน หรือ คัดคานไมเห็นดวย ทั้งคณะ ฝายจัดการจะถอนเรื่องดังกลาวเพื่อพิจารณาแกไข ปรับปรุงประเด็นดังกลาว และจะนําเสนอ ใหคณะกรรมการไดพิจารณาใหมอีกครั้ง 4.4 บริษัทจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีและบัญชีตาง ๆ ไวครบถวนเปนหมวดหมู และไมเคยไดรับแจงจากผูสอบบัญชีวามีขอบกพรองในเรื่องนี้ หรือเคยไดรับแจงแตไดแกไขขอบกพรองนั้น อยางครบถวนแลว ใชหรือไม ใช ไมใช เอกสารประกอบการบันทึกบัญชีจัดเก็บไวอยางเปนหมวดหมู และครบถวน

4.5 คณะกรรมการไดพิจารณาแลวใชหรือไมวา ฝายบริหารไดใชนโยบายบัญชีตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไปและเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจของบริษัท โดยไมเลือกใชนโยบายบัญชีที่ทําใหบริษัทแสดง ผลประกอบการที่คลาดเคลื่อนจากความเปนจริง ใช ไมใช ฝายบริหารไดใชนโยบายบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปเหมาะสมกับธุรกิจ ซึ่งมีการ รับรองไวในรายงานผูสอบบัญชีของบริษัท


11

สวนที่ 5 ระบบการติดตาม (Monitoring) การที่บริษัทจะดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษัทควรตองติดตาม อยางสม่ําเสมอวา มีการปฏิบตั ิตามเปาหมายที่วางไว ระบบการควบคุมภายในยังดําเนินอยูอยางตอเนื่อง และมีการปรับปรุงแกไขใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งขอบกพรองตาง ๆ ไดรับ การแกไขอยางทันทวงที

5.1 กรณีที่บริษัทมีการกําหนดเปาหมายการดําเนินธุรกิจ คณะกรรมการไดเปรียบเทียบ ผลการดําเนินงานของฝายบริหารวาเปนไปตามเปาหมายการดําเนินธุรกิจที่กําหนดไว ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทมีการจัดทํา Business Plan และงบประมาณทุกป และทุกเดือนจะรายงานผลการ ดําเนินงานตอคณะกรรมการบริหาร โดยเปรียบเทียบผลการดําเนินงานจริงกับงบประมาณ รวมทั้งเหตุผล หรือ แนวทางปรับปรุงแกไข(ถามี) 5.2 กรณีที่ผลการดําเนินที่เกิดขึ้นมีความแตกตางจากเปาหมายที่กําหนดไว บริษัทไดดําเนินการแกไข ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว ฝายจัดการ จะรายงานผลการดําเนินงาน ตอคณะกรรมการบริหาร ทุกเดือน และ หากมี เหตุการณใดที่มีผลกระทบตอเปาหมายที่วางไวจะสามารถหารือและรวมกันปรับปรุงแกไขไดทันเวลา 5.3 บริษัทจัดใหมีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่วางไวอยางสม่ําเสมอ ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัท มีหนวยงานตรวจสอบภายใน ที่นําเสนอแผนการตรวจสอบ ตอคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลการปฏิบัติงานขอสังเกต ความเห็น ขอเสนอแนะที่ตรวจพบ รวมทั้งการติดตามการปรับปรุง แกไขตามขอเสนอแนะจากผลการตรวจสอบในครั้งกอน โดยรายงานตอฝายบริหาร ฝายจัดการ ทุกรายงาน และสรุปรวบรวมรายงานดังกลาวตอคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส


12

5.4 กรณีที่บริษัทมีการตรวจสอบภายใน บริษัทไดกําหนดใหการรายงานผลการตรวจสอบตองรายงาน ตรงตอคณะกรรมการหรือคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหผูตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงานได อยางอิสระและเสนอรายงานผลการตรวจสอบไดอยางตรงไปตรงมา ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว โดยระบุไว เปนบทบาทหนาที่ ความรับผิดชอบในกฎบัตร ของหนวยงานตรวจสอบภายใน ที่ไดผานการรับรองจากประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการบริษัทและกรรมการ ผูอํานวยการ โดยจะประกาศใหพนักงานทุกระดับในบริษัทไดรับทราบ 5.5 เมื่อมีการตรวจพบขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ ไดมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัท/ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาสั่งการแกไขภายในระยะเวลาอันควร ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว ในรายงานผลการตรวจสอบของแผนกตรวจสอบภายใน ไดระบุประเด็นขอสังเกตที่พบ สาเหตุ ขอเสนอแนะ เพื่อใหผูรับตรวจไดรับทราบและนําไปปฏิบัติโดยเร็วและทุกไตรมาสจะรวบรวมรายงานตอ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท เพื่อไดพิจารณาสั่งการแกไขในระยะเวลาอันควร

5.6 บริษัทตองรายงานความคืบหนาในการปรับปรุงขอบกพรองตอคณะกรรมการบริษัท/ คณะกรรมการตรวจสอบ ใชหรือไม ใช ไมใช หนวยงานตรวจสอบภายใน มีการติดตามความคืบหนาของการดําเนินการ ของหนวยงาน ตางๆที่ไดตกลงที่จะดําเนินการปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ โดยฝายตรวจสอบภายในจะรายงาน ใหคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัททราบ โดยเปนสวนหนึ่งในรายงานผลการ ตรวจสอบทุกไตรมาส 5.7 บริษัทมีนโยบายใหฝายบริหารตองรายงานตอคณะกรรมการบริษัทโดยพลัน ในกรณีที่เกิด เหตุการณทุจริต หรือสงสัยวามีเหตุการณทุจริต มีการปฏิบตั ิที่ฝาฝนกฎหมาย และมีการกระทําที่ผิดปกติอื่น ซึ่งอาจกระทบตอชื่อเสียงและฐานะการเงินของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ หรือไม มี ไมมี ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทใหความสําคัญอยางมาก ในเรื่องความซือ่ สัตย และ การปฏิบัติตามกฎหมาย ตามที่ กําหนดไวใน นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี คูมือจริยธรรม ของกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ซึ่งที่ผานมาไมมีกรณีดังกลาว


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 4 งบการเงิน สําหรับงวดป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 – 2552 สําหรับงวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) งบการเงิน และ รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550


รายงานของผูส อบบัญชรีบอนุ ั ญาต เสนอ ผถูอหุ ื นบรษิทั เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) (เดิมชอ่ื บรษิทั เนชน่ับคส ุ อินเตอรเนชน่ัแนล จํากัด ) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไร ขาดทุ น เฉพาะกิ จ การ งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงส ว นของผู ถื อหุ น รวมและงบแสดงการเปลี่ ย นแปลงส ว นของ ผูถือหุนเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของ บริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยและของเฉพาะบริษัท เนชน่ั อินเตอร เนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ซงผู ่ึ บริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและ ครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจาก ผลการตรวจสอบของขาพเจา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ของ บริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท เนชน่ั อินเตอร ่ึ นอยางไมมี เนชั่นแนล เอ็ดดูเมนเมนท จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอ่ืน ซงแสดงความเห็ เงอนไขตามรายงานลงว ่ื นัท่ี 15 กุมภาพนัธ 2551 ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีท่ีรับรองทั่วไป ซงกํ ่ึ าหนดใหขาพเจาตองวางแผนและ ปฏบิตังิานเพอให ่ื ไดความเชื  ่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลท่ีขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธี การทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เปนจํานวนเงิน และการเปด เผยขอ มูล ในงบการเงนิ การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชทีก่ีจการใช ิ และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่ เปนสาระสําคัญ ซงผู ่ึ บริหารเปนผูจัดทําขน้ึ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการท่ีนําเสนอใน งบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็น ของขาพเจา


ขาพเจาเห็นวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะ กิจการ ณ วนัท่ี 31 ธันวาคม 2551 ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ โดยถกูตองตามที  ่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชทีร่ีบรองทั ั ่วไป ขาพเจาไดเคยแสดงความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 20 กุมภาพันธ 2552 ตองบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ของบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ตอมาภายหลังบริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกันไดรับการตอบกลับจากผูใหลิขสิทธ์ิวายอดคงเหลือ ลาสุดของคาลิขสิทธค์ิางจ  ายทบ่ีนัทกึไวในป  กอน  ๆ สูงไป ตามที่อธิบายไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4 บริษัท จึงปรับปรุงงบการเงินยอนหลัง และจัดทํางบการเงินน้ีข้ึนใหม ขาพเจาไดตรวจสอบรายการปรับปรุง ซงใช ่ึ กับการ ปรับปรุงงบการเงินรวมสําหรับป 2550 เพื่อการเปรียบเทียบ และขาพเจาเห็นวา รายการปรับปรุงดังกลาวของบริษัทมี ความเหมาะสมและไดปรับปรุงโดยถกูตองแล  ว

(นายวเิชยร ี ธรรมตระกูล) ผสอบบั ู ญชรีบอนุ ั ญาต เลขทะเบียน 3183 บรษิทั เคพเีอมจี ็ ภมูไชย ิ สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 16 กันยายน 2552

2


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม สินทรัพย

หมายเหตุ

2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2551

2550

(ปรับปรุงใหม) (บาท) สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

6

71,770,667

54,064,400

20,462,204

24,282,661

ลูกหนี้การคา

7

81,651,467

90,522,873

36,045,114

30,602,917

7,398,201

10,194,566

6,497,347

9,060,574

14,745,244

28,091,150

16,369,028

21,613,421

รายไดคางรับ ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน

5

เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน

5

สินคาคงเหลือ

8

58,952,276

59,821,036

14,391,798

15,006,270

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

9

3,992,464

4,356,345

2,539,354

2,158,137

238,510,319

281,050,370

96,304,845

136,723,980

50,409,712

50,409,712

รวมสินทรัพยหมุนเวียน

-

34,000,000

-

34,000,000

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการ ที่ควบคุมรวมกัน

5, 10

-

-

อุปกรณ

11

1,706,381

1,946,855

400,509

615,200

สินทรัพยไมมีตัวตน

12

17,503,769

13,750,570

7,181,927

5,621,678

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

1,488,006

382,306

931,196

7,618

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

20,698,156

16,079,731

58,923,344

56,654,208

259,208,475

297,130,101

155,228,189

193,378,188

รวมสินทรัพย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม หนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุ

2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2551

2550

(ปรับปรุงใหม) (บาท) หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน

13

-

2,415,513

-

2,415,513

เจาหนี้การคา

14

69,694,923

72,312,260

51,048,869

50,787,728

เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน

5

5,509,798

13,893,328

4,045,984

4,060,182

16,655,975

21,719,407

6,736,790

7,949,868

35,522,944

24,550,765

9,534,165

4,959,045

127,383,640

134,891,273

71,365,808

70,172,336

ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

15

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

152,576

รวมหนี้สิน

-

566,310

-

127,536,216

134,891,273

71,932,118

70,172,336

85,000,000

70,000,000

85,000,000

70,000,000

70,000,000

70,000,000

70,000,000

70,000,000

สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน

16

ทุนที่ออกและชําระแลว กําไรสะสม จัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย

17

ยังไมไดจัดสรร

7,000,000

-

7,000,000

-

54,670,909

92,237,534

6,296,071

53,205,852

รวมสวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท สวนของผูถือหุนสวนนอย

131,670,909

162,237,534

83,296,071

123,205,852

1,350

1,294

รวมสวนของผูถือหุน

131,672,259

162,238,828

83,296,071

123,205,852

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

259,208,475

297,130,101

155,228,189

193,378,188

-

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 4


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) งบกําไรขาดทุน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม หมายเหตุ

2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2551

2550

(ปรับปรุงใหม) (บาท) รายได รายไดจากการขายสินคา

5

238,418,268

247,123,893

63,882,096

50,858,247

รายไดจากการใหบริการ

5

101,640,882

100,397,499

89,932,282

86,585,259

ดอกเบี้ยรับ

5

921,262

2,400,847

717,003

2,280,985

รายไดอื่น

5, 19

2,056,359

10,997,963

922,562

2,408,190

343,036,771

360,920,202

155,453,943

142,132,681

5

200,547,237

209,895,628

81,000,256

72,767,951

5, 20

88,280,683

85,382,392

37,634,279

32,118,955

29

288,827,920

295,278,020

118,634,535

104,886,906

54,208,851

65,642,182

36,819,408

37,245,775

(8,385)

(321,164)

(7,910)

(38,419)

(19,667,035) 34,533,431

(25,277,034) 40,043,984

(11,621,279) 25,190,219

(12,179,451) 25,027,905

ผูถือหุนบริษัทใหญ

34,533,375

40,043,814

25,190,219

25,027,905

ผูถือหุนสวนนอย

56 34,533,431

170 40,043,984

25,190,219

25,027,905

0.49

0.57

0.36

0.36

รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขายสินคาและตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการขายและบริหาร รวมคาใชจาย กําไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กําไรสําหรับป

22

สวนของกําไรที่เปนของ

กําไรสําหรับป กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน

23

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 5


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ หมายเหตุ ชําระแลว ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ผลสะสมของการปรับปรุงงบการเงิน ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแลว กําไรสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ผลสะสมของการปรับปรุงงบการเงิน ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแลว กําไรสําหรับป เงินปนผล โอนไปทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

4

4

24 17

70,000,000 70,000,000 70,000,000 70,000,000 70,000,000 70,000,000

งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม) กําไรสะสม จัดสรร รวมสวนของ เปนสํารอง ผูถือหุน ตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร เฉพาะบริษัท (บาท) 40,968,995 110,968,995 11,224,725 11,224,725 52,193,720 122,193,720 40,043,814 40,043,814 92,237,534 162,237,534 7,000,000 7,000,000

78,681,078 13,556,456 92,237,534 34,533,375 (65,100,000) (7,000,000) 54,670,909

148,681,078 13,556,456 162,237,534 34,533,375 (65,100,000) 131,670,909

สวนของ ผูถือหุน สวนนอย

รวม สวนของ ผูถือหุน

440 110,969,435 684 11,225,409 1,124 122,194,844 170 40,043,984 1,294 162,238,828 377 148,681,455 917 13,557,373 1,294 162,238,828 56 34,533,431 (65,100,000) 1,350 131,672,259

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 6


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสําหรับป 2550 กําไรสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสําหรับป 2551 กําไรสําหรับป เงินปนผล จัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

24 17

งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม ทุนเรือนหุน จัดสรร รวมสวนของ ผูถือหุน ที่ออกและ เปนสํารอง ยังไมได ชําระแลว ตามกฎหมาย จัดสรร เฉพาะบริษัท (บาท) 70,000,000 28,177,947 98,177,947 70,000,000

-

25,027,905 53,205,852

25,027,905 123,205,852

70,000,000

-

53,205,852

123,205,852

70,000,000

7,000,000 7,000,000

25,190,219 25,190,219 (65,100,000) (65,100,000) (7,000,000) 6,296,071 83,296,071

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 7


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) งบกระแสเงินสด สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม 2551 2550 (ปรับปรุงใหม) (บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับป รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากสินคาลาสมัย สินทรัพยหมุนเวียนอื่นตัดบัญชี อุปกรณตัดบัญชี สินทรัพยไมมีตัวตนตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นตัดบัญชี ภาษีเงินได การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

34,533,431

40,043,984

25,190,219

25,027,905

14,405,330 (921,262) 8,385 1,213,528 13,001,037 695,838 10,127 19,667,035 82,613,449

30,047,933 (2,400,847) 321,164 476,219 14,997,593 466,645 408,205 330,544 25,277,034 109,968,474

6,593,775 (717,003) 7,910 435,014 3,181,891 11,621,279 46,313,085

10,010,312 (2,280,985) 38,419 179,580 3,653,447 408,205 12,179,451 49,216,334

7,575,207 2,796,365 12,945,973 (12,132,276) (449,244) (1,105,700) (2,617,337) (8,383,530) 10,972,179 152,576 (24,730,467) 67,637,195

16,041,305 (1,641,404) (2,717,503) (14,608,186) (1,779,638) (96,356) (10,932,898) (5,238,042) (5,103,630) (18,286,996) 65,605,126

(5,867,212) 2,563,227 4,634,503 (2,567,419) (381,218) (923,578) 261,141 (14,198) 4,575,120 566,310 (12,834,356) 36,325,405

2,152,314 (1,512,458) 5,625,282 (5,033,191) (854,492) 277 (3,670,981) 69,216 (5,512,617) (9,664,762) 30,814,922

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 8


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษัท เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) งบกระแสเงินสด สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม 2551 2550 (ปรับปรุงใหม) (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

1,521,152

1,910,272

1,316,894

1,790,410

34,000,000

(14,000,000)

34,000,000

(14,000,000)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดรับจากเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการ ที่เกี่ยวของกัน

5,000,000

-

(560,607)

(625,154)

(64,187)

(73,017)

ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน

(17,367,575)

(23,678,974)

(7,875,146)

(7,657,446)

เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน

17,592,970

(31,393,856)

27,377,561

(14,940,053)

(8,385)

(321,164)

(7,910)

(38,419)

สถาบันการเงิน จายเงินปนผล เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

(2,415,513) (65,100,000) (67,523,898)

(6,614,646) (6,935,810)

(2,415,513) (65,100,000) (67,523,423)

2,415,513 2,377,094

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

17,706,267

27,275,460

(3,820,457)

18,251,963

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

54,064,400 71,770,667

26,788,940 54,064,400

24,282,661 20,462,204

6,030,698 24,282,661

ซื้ออุปกรณ

จายดอกเบี้ย

-

5,000,000

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้นจาก

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 9


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หมายเหตุ

สารบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สําคัญ การปรับปรุงงบการเงิน รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน อุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น ทุนเรือนหุน สํารองตามกฎหมาย ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน รายไดอื่น คาใชจายในการขายและบริหาร คาใชจายพนักงาน ภาษีเงินได กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน เงินปนผลจาย เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช การจัดประเภทรายการใหม คาใชจายจําแนกตามลักษณะ 10


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากกรรมการเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 1

ขอมูลทั่วไป บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศ ไทยเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2539 และที่อยูจดทะเบียนของบริษัทตั้งอยูเลขที่ 1854 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย บริษัทใหญในระหวางป ไดแก บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) (ถือหุนรอยละ 99.99) ซึ่งบริษัท ดังกลาวเปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการเปนผูนําเขา ผลิต และจําหนายสื่อสิ่งพิมพทั้งในประเทศและตางประเทศ รายละเอียดบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศ ที่กิจการจัดตั้ง

บริษัทถือหุนรอยละ 2551 2550

บริษัทยอยทางตรง บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

สิ่งพิมพ

ประเทศไทย

99.99

99.99

กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

สิ่งพิมพ

ประเทศไทย

49.99

49.99

11


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 2

เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้นําเสนอเพื่อวัตถุประสงคของการรายงานเพื่อใชในประเทศ และจัดทําเปนภาษาไทย งบการเงิน ฉบับภาษาอังกฤษไดจัดทําขึ้นเพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปของประเทศไทย กลุมบริษัทไดใชมาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหมโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหวางป 2550 ตอไปนี้ ซึ่งมีผลบังคับสําหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

งบกระแสเงินสด

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

สัญญาเชา

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

สินคาคงเหลือ

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

ตนทุนการกูยืม

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

การนําเสนองบการเงิน

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทาง บัญชี และขอผิดพลาด

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

งบการเงินระหวางกาล

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

การรวมธุรกิจ

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

สัญญากอสราง

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 51

สินทรัพยไมมตี ัวตน

เรื่อง

การใชมาตรฐานการบัญชีฉบับใหมและฉบับปรับปรุงเหลานี้ ไมมีผลกระทบที่เปนสาระสําคัญกับงบการเงินรวม หรืองบการเงินเฉพาะกิจการ 12


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ในระหวางป 2551 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหมหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับ สําหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 และไมไดมีการนํามาใช สําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ไดออกและปรับปรุงใหมเหลานี้ไดเปดเผยในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 27 งบการเงินนี้แสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท และมีการปดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อใหแสดงเปน หลักพันบาท ยกเวนที่ร ะบุไวเปนอยางอื่น งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคา ทุนเดิม ยกเวนที่กลาวไวในนโยบายการบัญชี ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชี ผูบริหารตองใชการประมาณและขอสมมติฐานหลาย ประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และค า ใช จ า ย การประมาณและข อ สมมติ ฐ านมาจากประสบการณ ใ นอดี ต และป จ จั ย ต า งๆ รวมถึ ง การ ประเมินผลกระทบที่สําคัญตอผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของกลุมบริษัทอันเนื่องมาจากวิกฤตการณ เศรษฐกิจโลก ดังนั้นผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณ การทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบ เฉพาะงวดนั้น ๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับและงวดในอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวด ปจจุบันและอนาคต 3

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ

(ก) เกณฑในการทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัท บริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน (รวมกันเรียกวา “กลุม บริษัท”) รายการที่มีสาระสําคัญซึ่งเกิดขึ้นระหวางบริษัทกับบริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกันไดถูกตัดรายการใน การทํางบการเงินรวม

13


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อบริษัทมีอํานาจควบคุมทั้งทางตรง หรือทางออมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของบริษัทนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชนจาก กิจกรรมของบริษัทยอย งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึง วันที่การควบคุมสิ้นสุดลง กิจการที่ควบคุมรวมกัน กิจการที่ควบคุมรวมกัน เปนกิจการที่กลุมบริษัทมีสวนรวมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลงไว ในสัญญา งบการเงินรวมของกลุมบริษัทไดรวมสินทรัพย หนี้สิน รายไดและคาใชจายของกิจการที่ควบคุม รวมกันโดยใชวิธีรวมตามสัดสวน และนําเฉพาะสวนที่เปนของกลุมบริษัท มารวมกับรายการชนิดเดียวกันตาม เกณฑแตละบรรทัด นับแตวันที่มีการรวมควบคุมจนถึงวันที่การรวมควบคุมสิ้นสุดลง (ข) เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ในงบดุล แปลงคาเปนเงินบาทโดยใช อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กําไรหรือขาดทุนจากการแปลงคาบันทึกในงบกําไรขาดทุน (ค) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงิน ลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะตองชําระคืนเมื่อทวงถาม ถือเปนสวนหนึ่งของ กิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด

14


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (ง)

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนี้ ในอนาคตของลูกคา ลูกหนี้จะถูกตัดจําหนายบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ

(จ) สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ตนทุนของสินคาคํานวณโดยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ตนทุนสินคาประกอบดวยตนทุนที่ซื้อ ตนทุนในการ ดัดแปลงหรือตนทุนอื่นเพื่อใหสินคาอยูในสถานที่และสภาพปจจุบัน ในกรณีของสินคาสําเร็จรูป ตนทุนสินคา รวมการปนสวนของคาโสหุยการผลิตอยางเหมาะสม โดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลคาสุทธิที่จะไดรับเปนการประมาณราคาที่จะขายไดจากการดําเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จําเปนในการ ขาย กลุมบริษัทตั้งคาเผื่อมูลคาสินคาลดลงสําหรับสินคาที่เสื่อมคุณภาพ เสียหาย ลาสมัยและคางนาน (ฉ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใชวิธี ราคาทุน (ช) อุปกรณ สินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ อุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา

15


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 คาเสื่อมราคา ค า เสื่ อ มราคาบั น ทึ ก เป น ค า ใช จ า ยในงบกํ า ไรขาดทุ น คํ า นวณโดยวิ ธี เ ส น ตรงตามเกณฑ อ ายุ ก ารใช ง าน โดยประมาณของสินทรัพยแตละรายการ ประมาณการอายุการใชงานของสินทรัพยแสดงไดดังนี้ สวนปรับปรุงสินทรัพยที่เชา เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณสํานักงาน

5 ป 5 ป

(ซ) สินทรัพยไมมตี ัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนที่กลุมบริษัทซื้อมา แสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาตัดจําหนาย คาตัดจําหนายบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑระยะเวลาที่คาดวาจะ ไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจของสินทรัพยไมมีตัวตนแตละประเภท ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิง เศรษฐกิจแสดงไดดังนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร คาลิขสิทธิ์หนังสือ

5 ป พิจารณาจากจํานวนเงินตัดจําหนายที่สูงกวาระหวางวิธีเสนตรง ภายในระยะเวลาสามป และการคํานวณตามจํานวนเล มของ หนังสือที่พิมพและจําหนายไดภายใตสัญญาลิขสิทธิ์นั้น ๆ

(ฌ) การดอยคา ยอดสินทรัพยตามบัญชีของกลุมบริษัท ไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลวา มีขอบงชี้เรื่องการดอยคา หรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิด เงินสดสูงกวามูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในงบกําไรขาดทุน เวนแตเมื่อมีการกลับรายการ การประเมินมูลคาของสินทรัพยเพิ่มของสินทรัพยชิ้นเดียวกันที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาใน เวลาตอมา ในกรณีนี้จะรับรูในสวนของผูถือหุน 16


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึง ราคาขายสุทธิของสินทรัพย หรือ มูล คา จากการใชข องสิ น ทรั พย แล ว แต มู ลค าใดจะสู ง กว า ในการประเมิ น มูล คา จากการใชข องสิ น ทรั พ ย ประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตจะคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนคํานึงภาษีเงิน ไดเพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย สําหรับสินทรัพยที่ไมกอใหเกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพยอื่น พิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน รวมกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่สินทรัพยนั้นเกี่ยวของดวย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นใน ภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธโดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรู ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงินอื่นๆ จะถูกกลับรายการเพียงเทาที่มูลคาตาม บัญชีของสินทรัพยไมเกินกวามูลคาตามบัญชีภายหลังหักคาเสื่อมราคาหรือคาตัดจําหนาย เสมือนหนึ่งไมเคยมีการ บันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน (ญ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลคายุติธรรมหักคาใชจายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน (ฎ) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฏ) ผลประโยชนพนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระหนี้สินตามโครงการสมทบเงินจะบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น

17


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (ฐ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูในงบดุลก็ตอเมื่อกลุมบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปจจุบันหรือที่ กอตัวขึ้นอันเปนผลมาจากเหตุการณในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจ จะตองถูกจายไปเพื่อชําระภาระหนี้สินดังกลาว และสามารถประมาณจํานวนภาระหนี้สินไดอยางนาเชื่อถือ ถาผลกระทบดังกลาวมีจํานวนที่เปนสาระสําคัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะ จายในอนาคตโดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอนคํานึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจํานวนที่อาจประเมินได ในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน (ฑ) รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากสวนลดการคา การขายสินคาและใหบริการ รายไดจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสําคัญ ไปใหกับผูซื้อแลว และจะไมรับรูรายไดถาฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลวนั้นหรือมี ความไมแนนอนที่มีนัยสําคัญในการไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากการขายสินคาหรือใหบริการนั้น ไมอาจวัด มูลคาของจํานวนรายไดและตนทุนที่เกิดขึ้นไดอยางนาเชื่อถือ หรือมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่จะตอง รับคืนสินคา รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง (ฒ) คาใชจาย สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา รายจายทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายในทํานองเดียวกันบันทึกในงบกําไรขาดทุนในงวดที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น 18


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (ณ) ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจากกําไรหรือขาดทุนสําหรับป(ถามี)ประกอบดวยภาษีเงินไดปจจุบัน ซึ่งไดแกภาษีที่คาดวาจะจาย ชําระโดยคํานวณจากกําไรประจําปที่ตองเสียภาษี โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใช ณ วันที่ในงบดุล ซึ่งเกี่ยวกับ รอบบัญชีที่คํานวณภาษีเงินได ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอน ๆ 4

การปรับปรุงงบการเงิน บริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกันไดรับการตอบกลับจากผูใหลิขสิทธิ์ในภายหลังวายอดคงเหลือลาสุดของ คาลิขสิทธิ์คางจายซึ่งบันทึกไวในปกอน ๆ และมียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 สูงไป เปน จํานวนเงิน 13.5 ลานบาท และ 11.2 ลานบาท ตามลําดับ (ผลกระทบสุทธิจากภาษีเงินได) ดังนั้นบริษัทจึง ตรวจหาสาเหตุผลตางดังกลาว และปรับปรุงผลตางดังกลาวในงบการเงินรวมโดยวิธีปรับงบการเงินยอนหลัง ซึ่งมีผลกระทบตองบการเงินรวมดังนี้ งบการเงินรวม 2551 2550 (พันบาท) งบดุล หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม - ภาษีเงินไดคางจายเพิ่มขึ้น - หนี้สินหมุนเวียนลดลง

5,810 (19,367)

5,810 (19,367)

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน กําไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น - ผลกระทบจากการปรับปรุงงบการเงิน

13,557

11,225

งบกําไรขาดทุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 กําไรสุทธิเพิ่มขึน้ โดย - ตนทุนขายสินคาและตนทุนการใหบริการลดลง - ภาษีเงินไดเพิ่มขึ้น กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (บาท)

-

(3,331) 999 0.03

19


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 5

รายการที่เกิดขึน้ และยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดแก บุคคลหรือกิจการตาง ๆ ที่มีความเกี่ยวของกับกลุมบริษัทและบริษัท โดยการเปนผูถือหุน หรือมีผูถือ หุนรว มกัน หรือมีกรรมการรวมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวของกันไดกําหนดขึ้นโดยใชราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไมมีราคาตลาดรองรับ ความสัมพันธที่กลุมบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมรวมกันในบริษัท หรือเปนกิจการที่บริษัทควบคุม หรือควบคุมรวมกัน หรือเปนบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุมบริษัท มีดังนี้ ชื่อกิจการ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

ประเทศที่จัดตั้ง /สัญชาติ ไทย ไทย

บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด

ไทย

บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด

ไทย

บริษัท โยมิอูริ-เนชั่น อินฟอรมเมชั่น เซอรวิส จํากัด บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด เอ็กมอนท อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/เอส เดอะ โยมิอูริ ชิมบุน

ไทย

ไทย ไทย

ไทย เดนมารค ญี่ปุน

ลักษณะความสัมพันธ เป น บริ ษั ท ใหญ ถื อ หุ น บริ ษั ท ร อ ยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เป น กิ จ การที่ ค วบคุ ม ร ว มกั น บริ ษั ท ถื อ หุ น รอยละ 49.99 และมีกรรมการรวมกัน เป น บริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ใหญ ถื อ หุ น ร อ ยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน เป น บริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ใหญ ถื อ หุ น ร อ ยละ 84.50 และมีกรรมการรวมกัน เป น บริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ใหญ ถื อ หุ น ร อ ยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน เป น บริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ใหญ ถื อ หุ น ร อ ยละ 44.98 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) ถือหุนรอยละ 48.99 และมีกรรมการรวมกัน เปนผูถือหุนของบริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดู เทนเมนท จํากัด ถือหุนรอยละ 49 เปนผูถือหุนของบริษัท โยมิอูริ-เนชั่น อินฟอรม เมชั่น เซอรวิส จํากัด ถือหุนรอยละ 45

20


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 นโยบายการกําหนดราคาสําหรับแตละรายการอธิบายไดดังตอไปนี้ รายการ ขายสินคาและการใหบริการ รายไดอื่น ดอกเบี้ยรับ ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

นโยบายการกําหนดราคา ราคาซื้อขายทางการคาปกติตามราคาตลาดทั่วไป ตามอัตราที่ตกลงรวมกันซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาด อัตราคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู ของสถาบันการเงิน ตามอัตราที่ตกลงรวมกันซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาด ตามอัตราที่ตกลงรวมกัน

รายการที่สําคัญกับกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 สรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

บริษัทใหญ ขายสินคาและการใหบริการ ดอกเบี้ยรับ ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

8,560 574 26,664 9,385

9,624 2,222 27,877 18,228

บริษัทยอย ขายสินคาและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายในการขายและบริหาร

-

กิจการที่ควบคุมรวมกัน ขายสินคาและการใหบริการ คาใชจายในการขายและบริหาร

64,841 3,524

8,030 574 12,701 6,523

8,166 2,222 9,383 11,178

-

48 90 693

78 -

79,775 3,574

735 2,469

543 2,021

21


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน ขายสินคาและการใหบริการ ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

78,944 84,588 3,379

78,376 75,149 913

78,897 46,043 325

78,283 46,183 121

ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้ ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกีย่ วของกัน งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

2,308

3,471

2,206

2,845

-

-

30

72

17,389

32,721

259

573

22


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกีย่ วของกัน งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน เดอะ โยมิอรู ิ ชิมบุน บริษัท โยมิอูร-ิ เนชั่น อินฟอรมเมชั่น เซอรวสิ จํากัด บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด อื่น ๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสินคารับคืน สุทธิ

20,279

19,900

20,279

19,900

627 217 101 40,921 (100) (1,104) 39,717

455 246 107 56,900 (97) (3,005) 53,798

627 196 101 23,698 (100) (1,104) 22,494

455 215 100 24,160 (97) (3,005) 21,058

3

97

3

97

หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับป ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกีย่ วของกัน

งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

13,500

-

1,131

22,461

12,233

18,265

4

1,832

1,209

5,316

2,248

2,129

23


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกีย่ วของกัน งบการเงินรวม 2551 2550 กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน เอ็กมอนท อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/เอส อื่น ๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับป เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน อัตราดอกเบี้ย

2551 2550 (รอยละตอป)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

353 14,984 (239) 14,745

436 313 28,530 (439) 28,091

66 16,379 (10) 16,369

236

439

10

งบการเงินรวม

2551

10 21,613 21,613 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2551

2550

(พันบาท)

บริษัทใหญ

บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

-

7

-

34,000

-

34,000

รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

บริษัทใหญ

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

34,000 (34,000) -

25,000 14,000 (5,000) 34,000

34,000 (34,000) -

25,000 14,000 (5,000) 34,000 24


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เจาหนี้การคา - กิจการที่เกีย่ วของกัน งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

10,485

8,388

5,607

3,522

กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

6

20

10

29

33,401 11,807 4,329 2,047 8 62,083

34,843 14,664 3,401 3,369 234 64,919

33,401 3,563 4,329 1,570 696 49,176

34,843 3,745 3,401 2,577 3 48,120

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน เดอะ โยมิอรู ิ ชิมบุน บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด อื่น ๆ รวม

25


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกีย่ วของกัน งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

3,779

6,468

-

-

กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

1,606

7,068

2,168

1,319

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด อื่น ๆ รวม

20 1 104 5,510

150 99 108 13,893

-

128 99 4 4,060

บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

1,874

3

1 4,046

2,510

-

คาใชจายคางจาย งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

825

1,707

825

395

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด รวม

1,069 1,894

295 2,002

817 1,642

295 690

26


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 6

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม 2551 2550 เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย อื่น ๆ รวม

7

55 3,142 68,300 274 71,771

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท) 50 20 20 240 2,954 1,001 53,505 17,384 23,159 269 104 103 54,064 20,462 24,283

ลูกหนี้การคา

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสินคารับคืน รวม หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับป

5

งบการเงินรวม 2551 2550 40,921 59,473 100,394 (6,293) (12,450) 81,651 860

(พันบาท) 56,900 54,234 111,134 (5,438) (15,173) 90,523 492

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 23,698 15,747 39,445 (605) (2,795) 36,045 425

24,160 11,244 35,404 (179) (4,622) 30,603 179

27


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 การวิเคราะหอายุของลูกหนี้การคามีดังนี้ งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

กิจการที่เกีย่ วของกัน ยังไมครบกําหนดชําระ เกินวันครบกําหนดชําระ : นอยกวา 6 เดือน 6 – 12 เดือน มากกวา 12 เดือน

38,265

55,563

23,357

23,039

2,442 78 136

860 477

16 155 170

598 523

40,921 (100) (1,104) 39,717

56,900 (97) (3,005) 53,798

23,698 (100) (1,104) 22,494

24,160 (97) (3,005) 21,058

49,684

24,066

12,783

5,869

หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสินคารับคืน สุทธิ

2,443 2,090 5,256 59,473 (6,193) (11,346) 41,934

21,926 3,399 4,843 54,234 (5,341) (12,168) 36,725

1,158 1,306 500 15,747 (505) (1,691) 13,551

3,660 1,459 256 11,244 (82) (1,617) 9,545

รวม

81,651

90,523

36,045

30,603

หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสินคารับคืน สุทธิ กิจการอื่น ๆ ยังไมครบกําหนดชําระ เกินวันครบกําหนดชําระ : นอยกวา 6 เดือน 6 – 12 เดือน มากกวา 12 เดือน

โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของกลุมบริษัท มีระยะเวลา 90 วัน

28


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 8

สินคาคงเหลือ งบการเงินรวม 2551 2550 สินคาสําเร็จรูป หัก คาเผื่อสินคาลาสมัย สุทธิ

9

127,800 (68,848) 58,952

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท) 115,668 36,156 33,588 (55,847) (21,764) (18,582) 59,821 14,392 15,006

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม 2551 2550 คาใชจายจายลวงหนา ภาษีซื้อที่ยังไมถึงกําหนด เงินทดรองจายพนักงาน อื่น ๆ รวม

10

2,224 1,358 145 266 3,993

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

(พันบาท) 1,998 1,138 998 1,204 471 26 889 171 4,356 2,539

1,077 794 8 279 2,158

เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

-

50,410 50,410

50,410 50,410

29


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 และเงินปนผลรับสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดสวนความเปนเจาของ 2550 2551 (รอยละ) บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด รวม

ทุนชําระแลว 2551 2550

วิธีราคาทุน 2551 2550

การดอยคา 2551 2550 (พันบาท)

ราคาทุน – สุทธิ 2551 2550

เงินปนผลรับ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550

99.99

99.99

41,250

41,250

25,364

25,364

-

-

25,364

25,364

-

-

49.99

49.99

50,000 91,250

50,000 91,250

25,046 50,410

25,046 50,410

-

-

25,046 50,410

25,046 50,410

-

-

30


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการที่ควบคุมรวมกันโดยแสดงตามสัดสวนที่กลุมบริษัทไดนําไปจัดทํางบการเงินรวม สัดสวนความ เปนเจาของ (รอยละ)

สินทรัพย หมุนเวียน

สินทรัพยไม หมุนเวียน

สินทรัพย รวม

หนี้สิน หมุนเวียน

หนี้สิน รวม (พันบาท)

รายได รวม

คาใชจาย รวม

กําไร

ป 2551 บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

49.99

89,329

3,467

92,796

37,356

37,356

115,930

110,448

5,482

ป 2550 บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

49.99

107,845

2,978

110,823

60,865

60,865

131,845

114,870

16,975

31


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 11

อุปกรณ

สวนปรับปรุง สินทรัพยที่เชา

งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณสํานักงาน (พันบาท)

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

633 633 314 (185) 762

11,654 625 12,279 247 (4,435) 8,091

12,287 625 12,912 561 (4,620) 8,853

คาเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 คาเสื่อมราคาสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

521 90 611 121 (185) 547

9,131 1,224 10,355 670 (4,425) 6,600

9,652 1,314 10,966 791 (4,610) 7,147

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

22 215

1,924 1,491

1,946 1,706

ราคาทรัพยสินของกลุมบริษัทกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอุปกรณ ซึ่งไดคิดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลว แต ยังคงใชงานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจํานวน 5.2 ลานบาท (2550 : 7.6 ลานบาท)

32


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงิน เฉพาะกิจการ อุปกรณ สํานักงาน (พันบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

2,908 73 2,981 64 3,045

คาเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 คาเสื่อมราคาสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 คาเสื่อมราคาสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

1,751 615 2,366 279 2,645

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

615 400

ราคาทรัพยสินของบริษัทกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอุปกรณ ซึ่งไดคิดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลว แตยังคง ใชงานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจํานวน 1.7 ลานบาท (2550: 1.1 ลานบาท)

33


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 12

สินทรัพยไมมตี ัวตน งบการเงินรวม โปรแกรม คอมพิวเตอร ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น จําหนาย คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

408 119 (408) (6) 113 (24) 89

คาลิขสิทธิ์ (พันบาท) 18,807 23,560 (28,729) 13,638 17,367 (13,590) 17,415

รวม

19,215 23,679 (408) (28,735) 13,751 17,367 (13,614) 17,504

งบการเงินเฉพาะกิจการ โปรแกรม คอมพิวเตอร ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น จําหนาย คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

408 (408) -

คาลิขสิทธิ์ (พันบาท) 7,360 7,657 (9,395) 5,622 7,875 (6,315) 7,182

รวม 7,768 7,657 (408) (9,395) 5,622 7,875 (6,315) 7,182

34


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 13

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

สวนที่หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร สวนที่มีหลักประกัน

-

2,416

-

2,416

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุมบริษัทและบริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารในประเทศบางแหงเปนจํานวน รวม 20.9 ลานบาท และ 5.9 ลานบาท ตามลําดับ (2550 : 26 ลานบาท และ 6 ลานบาท ตามลําดับ) และค้ําประกัน โดยบริษัทใหญ เงินกูยมื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กิจการที่ควบคุมรวมกันแหงหนึ่งมีวงเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินในประเทศ แหงหนึ่งเปนจํานวนรวม 20 ลานบาท และค้ําประกันโดยผูถือหุนรายใหญของกิจการที่ควบคุมรวมกันและ บริษัทใหญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุมบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งยังมิไดเบิกใชเปนจํานวนรวม 20.9 ลานบาท และ 5.9 ลานบาท ตามลําดับ (2550 :43.6 ลานบาทและ 3.6 ลานบาท ตามลําดับ)

35


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 14

เจาหนี้การคา

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ๆ รวม 15

5

62,083 7,612 69,695

64,919 7,393 72,312

49,176 1,873 51,049

48,120 2,668 50,788

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

หมายเหตุ

คาลิขสิทธิ์คางจาย คาใชจายในการดําเนินงานอื่นคางจาย - กิจการที่เกี่ยวของกัน - กิจการอื่น ภาษีขายที่ยังไมถึงกําหนดชําระ ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายคางจาย อื่น ๆ รวม

5

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 (ปรับปรุงใหม) (พันบาท) 25,631 14,240 1,941 1,894 2,866 2,363 1,146 1,623 35,523

2,002 3,373 2,177 1,587 1,172 24,551

1,642 2,657 2,077 749 468 9,534

690 1,207 1,763 1,045 254 4,959

36


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 16

ทุนเรือนหุน มูลคาหุน ตอหุน (บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ 100 ผลกระทบจากการลดมูลคาหุน - จากหุนละ 100 บาท เปนหุนละ 1 บาท 1 ออกหุนใหม 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ 100 - หุนสามัญ 1 หุนที่ออกและชําระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ 100 ผลกระทบจากการลดมูลคาหุน - จากหุนละ 100 บาท เปนหุนละ 1 บาท 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ 100 - หุนสามัญ 1

2551 2550 จํานวนหุน จํานวนเงิน จํานวนหุน จํานวนเงิน (พันหุน / พันบาท)

700

70,000

700

70,000

69,300 15,000

15,000

-

85,000

85,000

700 -

70,000 -

700

70,000

700

70,000

69,300

-

-

70,000

70,000

700 -

-

70,000 -

ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2551 ผูถือหุนมีมติในเรื่องที่มีสาระสําคัญดังนี้ ก) ใหแปรสภาพบริษัทเปนบริษัทมหาชน จํากัด และนําบริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ ข) ใหเปลี่ยนแปลงมูลคาหุนจากหุนละ 100 บาท เปนหุนละ 1 บาท ทําใหจํานวนหุนทุนจดทะเบียนเปลี่ยนจาก จํานวน 700,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท เปนจํานวน 70,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท บริษัทไดจด ทะเบียนเปลี่ยนแปลงมูลคาหุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2551 37


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ค) ใหเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 70,000,000 บาท (แบงเปนหุนสามัญ 70,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เปน 85,000,000 บาท (แบงเปนหุนสามัญ 85,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) โดยออกหุนสามัญใหมจํานวน 15,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 15,000,000 บาท บริษัทไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนดังกลาว กับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2551 ง) ใหเปลี่ยนชื่อเปน “บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)” บริษัทไดจดทะเบียน เปลี่ยนชื่อกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2551 17

สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแ หง พระราชบัญญัติบ ริษัท มหาชน จํา กัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัท จะตอ งจัด สรรทุน สํารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําป หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํารองดังกลาวมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจาย เปนเงินปนผลไมได

18

ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน บริษัทดําเนินกิจการในสวนงานธุร กิจเดียว คือ ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพและจัดจําหนาย และดําเนินธุรกิจในสว น งานทางภูมิศาสตรเดียวคือ ในประเทศไทย ดังนั้น รายไดและผลการดําเนินงานทั้งหมดที่แสดงในงบการเงิน จึงเกี่ยวของกับสวนงานธุรกิจและสวนงานทางภูมิศาสตรตามที่กลาวไว

19

รายไดอื่น งบการเงินรวม 2551 2550 รายไดคาบริการสวนกลาง อื่น ๆ รวม

193 1,863 2,056

(พันบาท) 10,998 10,998

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 462 461 923

2,408 2,408

38


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 20

คาใชจายในการขายและบริหาร งบการเงินรวม 2551 2550 คาใชจายเกี่ยวกับบุคคลากร คาใชจายบริหาร คาใชจายสงเสริมการขาย อื่น ๆ รวม

21

31,053 41,453 7,837 7,938 88,281

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท) 29,680 12,961 11,365 45,277 15,383 16,000 8,645 3,456 3,747 1,780 5,834 1,007 85,382 37,634 32,119

คาใชจายพนักงาน งบการเงินรวม 2551 2550 เงินเดือนและคาแรง เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ อื่น ๆ รวม

36,418 1,600 4,018 42,036

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท) 26,976 14,520 12,791 1,428 585 606 11,712 1,825 1,511 40,116 16,930 14,908

กลุ ม บริ ษั ทได จัด ตั้ ง กองทุ น สํา รองเลี้ ย งชี พสํ า หรั บพนั ก งานของกลุ ม บริษั ทบนพื้ น ฐานความสมัค รใจของ พนักงานในการเปนสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจายเงินสะสมในอัตรารอยละ 5 ของเงินเดือนทุกเดือน และ กลุมบริษัทจายสมทบในอัตรารอยละ 5 ถึงอัตรารอยละ 7.5 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสํารอง เลี้ยงชีพนี้ไดจดทะเบียนเปนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามขอกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดย ผูจัดการกองทุนที่ไดรับอนุญาต

39


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 22

ภาษีเงินได จํานวนภาษีเงินไดในงบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการและงบกําไรขาดทุนรวมมากกวาจํานวนภาษีเงินไดที่คํานวณ โดยการใชอัตราภาษีเงินไดคูณกับยอดกําไรสุทธิตามบัญชีสําหรับป เนื่องจากความแตกตางระหวางการรับรู รายไดและคาใชจายทางบัญชีกับรายไดและคาใชจายทางภาษีบางรายการ โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องเกี่ยวกับ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและคาเผื่อสินคาลาสมัย

23

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 คํานวณจากกําไรสําหรับปที่เปน สวนของผูถือหุนของบริษัท และจํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางปในแตละป โดยวิธีถัวเฉลี่ยถวง น้ําหนัก ในการคํานวณกําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 คํานวณจํานวนหุนสามัญ ตามการเปลี่ยนแปลงของจํานวนหุนสามัญเสมือนวาการแตกหุนไดเกิดขึ้นตั้งแตวันเริ่มตนของปแรกที่เสนอ รายงานจํานวน 70,000,000 หุน ซึ่งแสดงการคํานวณดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 (พันบาท/พันหุน) กําไรสวนของผูถือหุนสามัญของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน)

34,533

40,044

25,190

25,028

จํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลว

70,000

700

70,000

700

0.49

0.57

0.36

0.36

กําไรตอหุน (ขั้นพื้นฐาน) (บาท) 24

เงินปนผล ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2551 และเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2551 มีมติอนุมัติการ จายเงินปนผลระหวางกาลใหแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 50 บาท และในอัตราหุนละ 0.43 บาท (ตามลําดับ) เปน จํานวนเงินทั้งสิ้น 35 ลานบาท และ 30.1 ลานบาท (ตามลําดับ) เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนใน ระหวางป 2551 40


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 25

เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางดานการเงิน การจัดการความเสี่ยงเปนสวนที่สําคัญของธุรกิจของกลุมบริษัท กลุมบริษัทมีระบบในการควบคุมใหมีความ สมดุลของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดโดยพิจารณาระหวางตนทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและตนทุนของการ จัดการความเสี่ยง ฝายบริหารไดมีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุมบริษัทอยางตอเนื่อง เพื่อใหมั่นใจวามีความสมดุลระหวางความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ย ในตลาด ซึ่งสงผลกระทบตอการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกลุมบริษัท ผูบริหารเชื่อวากลุมบริษัทมีความ เสี่ยงในอัตราดอกเบี้ยนอย เนื่องจากกลุมบริษัทมีเงินกูยืมระยะสั้นนอยมาก และอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมที่ไดรับ เปนอัตราตลาด อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกําหนด ชําระหรือกําหนดอัตราใหม มีดังนี้ งบการเงินรวม

ป 2550 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

ภายใน 1 ป (พันบาท)

7.125 - 7.625

2,416

41


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงิน เฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป) ป 2550 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร

7.125

ภายใน 1 ป (พันบาท)

2,416

ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ คือ ความเสี่ยงที่ลูกคาหรือคูสัญญาไมสามารถชําระหนี้แกกลุมบริษัทตามเงื่อนไขที่ ตกลงไวเมื่อครบกําหนด ฝายบริหารไดกําหนดนโยบายทางดานสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางดานสินเชื่อดังกลาวโดยสม่ําเสมอ โดยการวิเคราะหฐานะทางการเงินของลูกคา โดยไมมีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เปนสาระสําคัญ ณ วันที่ในงบดุล ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อแสดงไวในราคาตามบัญชีของสินทรัพยทางการเงินแตละรายการ ณ วันที่ในงบดุล อยางไรก็ตามเนื่องจากกลุมบริษัทมีลูกคาจํานวนมาก ฝายบริหารไมไดคาดวาจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระสําคัญ จากการเก็บหนี้ไมได ความเสี่ยงจากสภาพคลอง กลุมบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคลองโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดใหเพียงพอตอการดําเนินงานของกลุมบริษัทและเพื่อทําใหผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสด ลดลง มูลคายุติธรรม มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยหรือชําระหนี้สินกัน ในขณะที่ ทั้งสองฝายมีความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถตอรองราคากันไดอยางอิสระในลักษณะ ของผูที่ไมมีความเกี่ยวของกัน ในการพิจารณามูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน กลุม บริ ษัทมีก ารพิจ ารณาสถานการณปจจุ บัน ของต นทุน ที่เ กิด จากการแลกเปลี่ย นหรือ ชํา ระหนี้ สิน ภายใต เครื่องมือทางการเงิน 42


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทใชวิธีการและสมมติฐานดังตอไปนี้ในการประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด มีราคาตามบัญชีใกลเคียงกับมูลคายุติธรรม เนื่องจากเครื่องมือทางการเงิน เหลานี้จะครบกําหนดในระยะเวลาอันสั้น มูลคายุติธรรมของลูกหนี้การคาและลูกหนี้ระยะสั้นอื่น ๆ เปนมูลคาที่ใกลเคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น มีราคาตามบัญชีของหนี้สินทางการเงินใกลเคียงกับมูลคายุติธรรมเนื่องจากเครื่องมือ ทางการเงินเหลานี้จะครบกําหนดในระยะเวลาอันสั้น เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินมีราคาตามบัญชีของหนี้สินทางการเงิน ใกลเคียงกับมูลคายุติธรรม เนื่องจากมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยลอยตัวซึ่งเปนอัตราตลาดใน ปจจุบัน 26

ภาระผูกพันกับกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน งบการเงินรวม 2551 2550 ภาระผูกพันจากสัญญาเชาดําเนินงานที่ยกเลิกไมได ภายในหนึ่งป หลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป รวม

27

5,419 2,545 7,964

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (พันบาท)

4,339 5,796 10,135

3,756 939 4,695

3,756 4,696 8,452

มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช กลุมบริษัทยังไมไดใชมาตรฐานการบัญชีตอไปนี้ ณ วันที่ในงบดุล เนื่องจากยังไมมีการบังคับใช มาตรฐานการ บัญชีตอไปนี้กําหนดใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย 43


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (เดิมชื่อ บริษทั เนชั่นบุคส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนถือไวเพื่อขายและการดําเนินงาน ที่ยกเลิก กลุมบริษัทคาดวาการกําหนดใหใชมาตรฐานการบัญชีดังกลาวขางตน จะไมมีผลกระทบตองบการเงินของกลุม บริษัทอยางมีสาระสําคัญ 28

การจัดประเภทรายการใหม รายการในงบการเงินของป 2550 บางรายการไดจัดประเภทใหมใหสอดคลองกับรายการในงบการเงินของป 2551

29

คาใชจายจําแนกตามลักษณะ

ซื้อกระดาษ คาพิมพ การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูป คาจางพิมพและคาขนสง คาใชจายในการผลิตอื่น คาใชจายดําเนินการ คาใชจายสงเสริมการขาย คาใชจายพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากสินคาลาสมัย รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 (ปรับปรุงใหม) (พันบาท) 40,912 8,250 10,034 47,247 54,047 69,179 12,135 11,868 (12,132) (14,608) (2,567) (5,033) 47,906 43,905 42,668 36,855 38,882 31,338 10,231 6,106 34,385 30,269 17,321 12,559 7,837 8,645 3,456 3,747 42,036 40,116 16,930 14,908 14,405 30,048 6,594 10,010 1,214 476 435 180 13,001 14,998 3,182 3,653 288,828 295,278 118,635 104,887

44


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงิน และ รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551


รายงานของผูส อบบัญชรีบอนุ ั ญาต เสนอ ผถูอหุ ื นบรษิทั เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกําไรขาดทุนรวมและ งบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของ ผถูอหุ ื นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงนิสดรวมและงบกระแสเงนสดเฉพาะกิ ิ จการ สําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของแตละป ของบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยและของเฉพาะบริษัท เนชน่ั อินเตอร เนชนแนล ่ั เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ซงผู ่ึ บริหารของกิจการเปนผรูบผิ ั ดชอบตอความถูกตองและครบถวน ของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการ ตรวจสอบของขาพเจา ่ึ าหนดให ข า พเจ า ต อ งวางแผนและ ขา พเจ า ได ปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบั ญชี ท่ี รั บรองทั่ ว ไป ซงกํ ปฏิบัติงานเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลท่ีขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธี ก ารทดสอบหลัก ฐานประกอบรายการทั้ง ที่เ ปน จํา นวนเงิน และการเปด เผยขอ มูล ใน งบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีท่ีกิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปน สาระสําคั ญ ซงผู ่ึ บ ริหารเป นผูจั ดทํา ขน้ึ ตลอดจนการประเมินถึ งความเหมาะสมของการแสดงรายการท่ีนํ าเสนอใน งบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของ ขาพเจา


ขาพเจาเห็นวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วนัท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษทย ั อย และของเฉพาะบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ โดยถกูตองตามที  ่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชทีร่ีบรองทั ั ่วไป ขาพเจาไดเคยแสดงความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 16 กันยายน 2552 ตองบการเงินรวมสําหรับปส้ินสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ของบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (“งบการเงิน รวมป 2551”) ตามที่อธิบายไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4 ภายหลังจากวันที่ 16 กันยายน 2552 ซงเป ่ึ นวันที่ งบการเงินสําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการ บริษัทยอยและกิจการ ทควมคุ ่ี มรวมกันไดรับการตอบกลับจากผูใหลิขสิทธ์ิวา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดคงเหลือลาสุดของคาลิขสิทธิ์ คางจายทบ่ีนัทกึไวในงบการเงิ  นรวมป 2551 สูงไป ดังนั้นบรษิทจึ ั งปรับปรุงงบการเงินรวมป 2551 ยอนหลัง

(นายวเิชยร ี ธรรมตระกูล) ผสอบบั ู ญชรีบอนุ ั ญาต เลขทะเบียน 3183 บรษิทั เคพเีอมจี ็ ภมูไชย ิ สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 12 กุมภาพนัธ 2553

2


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินรวม สินทรัพย

หมายเหตุ

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551

2552

2551

(ปรับปรุงใหม) (บาท) สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

6

42,342,439

เงินลงทุนชั่วคราว

7

5,000,000

ลูกหนี้การคา

8

92,016,025

81,651,467

30,200,734

36,045,114

10,224,804

7,398,201

9,223,657

6,497,347

รายไดคางรับ

71,770,667 -

29,583,028 5,000,000

20,462,204 -

ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน

5

10,026,513

14,745,244

13,768,371

16,369,028

สินคาคงเหลือ

9

53,666,165

58,952,276

12,885,680

14,391,798

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

10

5,036,919

3,992,464

2,630,420

2,539,354

218,312,865

238,510,319

103,291,890

96,304,845

รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย

11

-

-

25,363,652

25,363,652

เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน

11

-

-

25,046,060

25,046,060

อุปกรณ

12

3,162,027

1,706,381

1,591,250

400,509

สินทรัพยไมมีตัวตน

13

18,769,070

17,503,769

6,483,377

7,181,927

328,466

1,488,006

22,259,563

20,698,156

58,484,339

58,923,344

240,572,428

259,208,475

161,776,229

155,228,189

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3

-

931,196


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินรวม

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุ

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551

2552

2551

(ปรับปรุงใหม) (บาท) หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร

14

173,758

เจาหนี้การคา

15

71,449,982

69,694,923

47,629,026

51,048,869

เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน

5

4,548,401

5,509,798

3,648,699

4,045,984

14,395,250

17,608,733

6,043,764

6,736,790

36,783,700

32,347,083

8,693,530

9,534,165

127,351,091

125,160,537

66,015,019

71,365,808

152,576

96,600

566,310

127,351,091

125,313,113

66,111,619

71,932,118

85,000,000

85,000,000

85,000,000

85,000,000

70,000,000

70,000,000

70,000,000

70,000,000

8,500,000

7,000,000

8,500,000

7,000,000

34,720,771

56,894,012

17,164,610

6,296,071

รวมสวนของผูถือหุนของบริษัท สวนของผูถือหุนสวนนอย

113,220,771

133,894,012

95,664,610

83,296,071

566

1,350

รวมสวนของผูถือหุน

113,221,337

133,895,362

95,664,610

83,296,071

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

240,572,428

259,208,475

161,776,229

155,228,189

ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

16

รวมหนี้สินหมุนเวียน

-

-

-

หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

-

รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน

17

ทุนที่ออกและชําระแลว กําไรสะสม จัดสรรเปนทุนสํารองตามกฎหมาย

18

ยังไมไดจัดสรร

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 4

-

-


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินรวม หมายเหตุ

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551

2552

2551

(บาท) รายได

5

รายไดจากการขายสินคา

202,836,932

238,418,268

50,383,093

63,882,096

รายไดจากการใหบริการ

96,390,381

101,640,882

93,025,684

89,932,282

เงินปนผลรับ

11

-

-

167,647

921,262

65,937

717,003

3,074,476

2,056,359

4,963,041

922,562

302,469,436

343,036,771

175,933,355

155,453,943

200,110,332

208,818,756

86,395,164

89,271,774

ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น

20

รวมรายได คาใชจาย

27,495,600

-

5

ตนทุนขายสินคาและตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการขาย

21

5,559,328

7,839,241

2,755,048

3,455,872

คาใชจายในการบริหาร

22

57,523,079

61,777,614

21,800,481

20,040,611

คาตอบแทนผูบริหาร

23

10,986,983

10,392,309

6,891,344

5,866,278

274,179,722

288,827,920

117,842,037

118,634,535

28,289,714

54,208,851

58,091,318

36,819,408

(59,209)

(8,385)

28,230,505

54,200,466

58,091,318

36,811,498

(13,904,530) 14,325,975

(19,667,035) 34,533,431

(10,722,779) 47,368,539

(11,621,279) 25,190,219

ผูถือหุนของบริษัท

14,326,759

34,533,375

47,368,539

25,190,219

ผูถือหุนสวนนอย

(784) 14,325,975

56 34,533,431

47,368,539

25,190,219

0.20

0.49

0.68

0.36

รวมคาใชจาย กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสําหรับป

24

-

(7,910)

สวนของกําไร(ขาดทุน)ที่เปนของ

กําไรสําหรับป กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน

25

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 5


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ หมายเหตุ ชําระแลว ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ผลกระทบจากการปรับปรุงงบการเงิน ยอดคงเหลือที่ปรับปรับปรุงแลว กําไรสําหรับป เงินปนผล จัดสรรเปนทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 กําไรสําหรับป เงินปนผล จัดสรรเปนทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

4

26 18

26 18

70,000,000 70,000,000 70,000,000 70,000,000 70,000,000

งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม) กําไรสะสม รวมสวนของ สวนของ รวม ทุนสํารอง ผูถือหุน ผูถือหุน สวนของ ตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร ของบริษัท สวนนอย ผูถือหุน (บาท) 92,237,534 162,237,534 1,294 162,238,828 2,223,103 2,223,103 2,223,103 94,460,637 164,460,637 1,294 164,461,931 34,533,375 34,533,375 56 34,533,431 (65,100,000) (65,100,000) (65,100,000) 7,000,000 (7,000,000) 7,000,000 56,894,012 133,894,012 1,350 133,895,362 7,000,000 1,500,000 8,500,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 6

56,894,012 14,326,759 (35,000,000) (1,500,000) 34,720,771

133,894,012 14,326,759 (35,000,000) 113,220,771

1,350 133,895,362 (784) 14,325,975 (35,000,000) 566 113,221,337


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม

หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 กําไรสําหรับป เงินปนผล จัดสรรเปนทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 กําไรสําหรับป เงินปนผล จัดสรรเปนทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

26 18

26 18

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว 70,000,000 70,000,000

ทุนสํารอง ตามกฎหมาย (บาท) 7,000,000 7,000,000

53,205,852 25,190,219 (65,100,000) (7,000,000) 6,296,071

123,205,852 25,190,219 (65,100,000) 83,296,071

70,000,000 70,000,000

7,000,000 1,500,000 8,500,000

6,296,071 47,368,539 (35,000,000) (1,500,000) 17,164,610

83,296,071 47,368,539 (35,000,000) 95,664,610

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 7

ยังไมได จัดสรร

รวมสวนของ ผูถือหุน ของบริษัท


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สําหรับแตละปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับป รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ดอกเบี้ยรับ ตนทุนทางการเงิน เงินปนผลรับ หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากสินคาลาสมัย สินทรัพยหมุนเวียนอื่นตัดบัญชี อุปกรณตัดบัญชี กําไรจากการจําหนายอุปกรณ ภาษีเงินได การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน

14,325,975

34,533,431

47,368,539

25,190,219

23,456,875 (167,647) 59,209 1,897,180 13,071,441 (499) 13,904,530 66,547,064

14,405,330 (921,262) 8,385 1,213,528 13,001,037 695,838 10,127 19,667,035 82,613,449

6,868,283 (65,937) (27,495,600) 5,602 4,681,666 10,722,779 42,085,332

6,593,775 (717,003) 7,910 435,014 3,181,891 11,621,279 46,313,085

(12,261,737) (2,826,603) 4,718,731 (7,785,331) (1,044,455) 1,159,540 1,755,059 (961,397) 4,436,617 (152,576) (17,118,013) 36,466,899

7,575,207 2,796,365 12,945,973 (12,132,276) (449,244) (1,105,700) (2,617,337) (8,383,530) 10,972,179 152,576 (24,730,467) 67,637,195

5,838,778 (2,726,310) 2,600,657 (3,175,548) (91,066) 931,196 (3,419,843) (397,285) (840,635) (469,710) (11,415,805) 28,919,761

(5,867,212) 2,563,227 4,634,503 (2,567,419) (381,218) (923,578) 261,141 (14,198) 4,575,120 566,310 (12,834,356) 36,325,405

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 8


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

งบการเงินรวม 2552 2551 (บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย

167,647

รับเงินปนผล

-

เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน

-

1,521,152 34,000,000

65,937 27,495,600 -

1,316,894 34,000,000

ซื้อเงินลงทุนชั่วคราว

(5,000,000)

-

(5,000,000)

-

ซื้ออุปกรณ

(2,427,277)

(560,607)

(1,576,401)

(64,187)

(25,042,616)

(17,367,575)

(5,784,073)

(7,875,146)

ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน ขายอุปกรณ ขายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน

66,595

-

-

-

1,225,975

-

-

-

(31,009,676)

17,592,970

15,201,063

27,377,561

(59,209)

(8,385)

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร จายเงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

173,758 (35,000,000) (34,885,451)

(2,415,513) (65,100,000) (67,523,898)

(35,000,000) (35,000,000)

(2,415,513) (65,100,000) (67,523,423)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

(29,428,228)

17,706,267

9,120,824

(3,820,457)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

71,770,667 42,342,439

54,064,400 71,770,667

20,462,204 29,583,028

24,282,661 20,462,204

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายดอกเบี้ย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 9

-

(7,910)


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หมายเหตุ

สารบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สําคัญ การปรับปรุงงบการเงินรวมป 2551 รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน อุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น ทุนเรือนหุน สํารองตามกฎหมาย ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน รายไดอื่น คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาใชจายผลประโยชนตอบแทนพนักงาน ภาษีเงินได กําไรตอหุน เงินปนผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช 10


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หมายเหตุ

สารบัญ

31 32

การจัดประเภทรายการใหม คาใชจายจําแนกตามลักษณะ

11


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2553 1

ขอมูลทั่วไป บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2539 และที่อยูจดทะเบียนของบริษัทตั้งอยูเลขที่ 1854 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย บริษัทใหญในระหวางป ไดแก บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) (ถือหุนรอยละ 99.99) ซึ่งบริษัท ดังกลาวเปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการเปนผูนําเขา ผลิต และจําหนายสื่อสิ่งพิมพทั้งในประเทศและตางประเทศ รายละเอียดของบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้ ชื่อกิจการ บริษัทยอยทางตรง บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศ ที่กิจการจัดตั้ง

บริษัทถือหุนรอยละ 2552 2551

สิ่งพิมพ

ประเทศไทย

99.99

99.99

สิ่งพิมพ

ประเทศไทย

49.99

49.99

เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2552 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทไดมีมติอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนดังนี้ 1. จัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวนไมเกิน 9,000,000 หุน ใหแกผูถือหุนสามัญของบริษัทใหญตามสัดสวน การถือหุน 2. จัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนตามขอ 1 จํานวนไมเกิน 20,646 หุน ใหแกกรรมการและผูบริหาร 3. จัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 6,000,000 หุน และหุนที่เหลือจากการจองซื้อในขอ 1 และ 2 ใหแก ประชาชนทั่วไปเปนครั้งแรก ในเดือนพฤศจิกายน 2552 บริษัทไดรับอนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ใหเสนอขายหุนที่ออกใหมแกประชาชน ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทยังไมไดทําการเสนอขายหลักทรัพย ดังกลาว 12


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 2

เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้นําเสนอเพื่อวัตถุประสงคของการรายงานเพื่อใชในประเทศ และจัดทําเปนภาษาไทย งบการเงินฉบับ ภาษาอังกฤษไดจัดทําขึ้นเพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปของประเทศไทย เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศฉบับที่ 12/2552 การจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการ บัญชีของไทยใหมใหตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ กลุมบริษัทไดใชมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุงใหมตลอดจนแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหวางป 2551 และ 2552 ตอไปนี้ ซึ่งมีผลบังคับสําหรับงบการเงินที่มี รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก (ฉบับ 54 เดิม)

แมบทการบัญชีเพื่อจัดทําและนําเสนองบการเงิน (ปรับปรุง 2550) (มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 26 มิถุนายน 2552) การใชมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุงตลอดจนแนวปฏิบัติทางการการบัญชี เหลานี้ ไมมีผลกระทบที่เปนสาระสําคัญกับงบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหวางป 2552 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีหลายฉบับ ซึ่งยังไมมีผลบังคับใน ปจจุบัน และไมไดมีการนํามาใชสําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ไดออกและปรับปรุงใหมนี้ได เปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 30 งบการเงินนี้แสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท และมีการปดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อใหแสดงเปน หลักพันบาท ยกเวนที่ระบุไวเปนอยางอื่น งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนที่กลาวไวในนโยบายการบัญชี

13


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบริหารตองใชการ ประมาณและขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที่ เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายไดและคาใชจาย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณการ ทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวน และในงวดอนาคตที่ไดรับผลกระทบ 3

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ

(ก) เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัท บริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน (รวมกันเรียกวา “กลุม บริษัท”) บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของกลุมบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมทั้ง ทางตรงหรือทางออมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชน จากกิจกรรมของบริษัทยอย งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึง วันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดถูกเปลี่ยนตามความจําเปนเพื่อใหเปนนโยบาย เดียวกันกับของกลุมบริษัท กิจการที่ควบคุมรวมกัน กิจการที่ควบคุมรวมกัน เปนกิจการที่กลุมบริษัทมีสวนรวมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลงไวใน สัญญา และไดรับความเห็นชอบเปนเอกฉันทในการตัดสินใจเชิงกลยุทธทางการเงินและการดําเนินงาน งบการเงิน รวมของกลุมบริษัทไดรวมสินทรัพย หนี้สิน รายไดและคาใชจายของกิจการที่ควบคุมรวมกันโดยใชวิธีรวมตาม สัดสวน และนําเฉพาะสวนที่เปนของกลุมบริษัท มารวมกับรายการชนิดเดียวกันตามเกณฑแตละบรรทัด นับแตวันที่ มีการรวมควบคุมจนถึงวันที่การรวมควบคุมสิ้นสุดลง การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหวางกิจการในกลุม รวมถึงรายไดหรือคาใชจายที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมาจาก รายการระหวางกิจการในกลุม ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม 14


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ข) เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กําไรหรือขาดทุนจากการแปลงคาบันทึกในงบกําไรขาดทุน (ค) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุน ระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะตองชําระคืนเมื่อทวงถามถือเปนสวนหนึ่งของกิจกรรม จัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (ง)

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนี้ ในอนาคตของลูกคา ลูกหนี้จะถูกตัดจําหนายบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ

(จ) สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ตน ทุ น ของสิ นค า คํ า นวณโดยใชวิ ธี ถั ว เฉลี่ ย ถว งน้ํ าหนั ก ต น ทุ นสิ น ค าประกอบด ว ยต น ทุ นที่ ซื้ อ ต น ทุ น ในการ ดัดแปลงหรือตนทุนอื่นเพื่อใหสินคาอยูในสถานที่และสภาพปจจุบัน ในกรณีของสินคาสําเร็จรูป ตนทุนสินคารวม การปนสวนของคาโสหุยการผลิตอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลคาสุทธิที่จะไดรับเปนการประมาณราคาที่จะขายไดจากการดําเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จําเปนในการขาย กลุมบริษัทตั้งคาเผื่อมูลคาสินคาลดลงสําหรับสินคาที่เสื่อมคุณภาพ เสียหาย ลาสมัยและคางนาน

15


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ฉ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนในบริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใชวิธี ราคาทุน (ช) อุปกรณ สินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ อุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑอายุการใชงานโดยประมาณ ของสินทรัพยแตละรายการ ประมาณการอายุการใชงานของสินทรัพยแสดงไดดังนี้ สวนปรับปรุงสินทรัพยที่เชา เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ

5 ป 5 ป 5 ป

กลุมบริษัทไมคิดคาเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสรางและติดตั้ง (ซ) สินทรัพยไมมตี ัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนที่กลุมบริษัทซื้อมาและมีอายุการใชงานจํากัด แสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและ ขาดทุนจากการดอยคา สินทรัพยไมมีตัวตนถูกตัดจําหนายและบันทึกในงบกําไรขาดทุน โดยวิธีเสนตรงตามเกณฑ ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจนับจากวันที่อยูในสภาพพรอมใชงาน ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจแสดงไดดังนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร คาลิขสิทธิ์หนังสือ

5 ป พิจารณาจากจํานวนเงินตัดจําหนายที่สูงกวาระหวางวิธีเสนตรงภายใน ระยะเวลาสามป และการคํานวณตามจํานวนเลมของหนังสือที่พิมพและ จําหนายไดภายใตสัญญาลิขสิทธิ์นั้น ๆ 16


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ฌ) การดอยคา ยอดสินทรัพยตามบัญชีของกลุมบริษัท ไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานวา มีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิด เงินสดสูงกวามูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในงบกําไรขาดทุน เวนแตเมื่อมีการกลับรายการ การประเมินมูลคาของสินทรัพยเพิ่มของสินทรัพยชิ้นเดียวกันที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลา ตอมา ในกรณีนี้จะรับรูในสวนของผูถือหุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึง มูลคาจากการใชของสินทรัพย หรือ มูลคายุติธรรมของสินทรัพยหักตนทุนในการขายแลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของ สินทรัพย ประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตจะคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนคํานึง ภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย สําหรับสินทรัพยที่ไมกอใหเกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพยอื่นจะพิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน รวมกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่สินทรัพยนั้นเกี่ยวของดวย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธโดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรู การกลับรายการจะถูกบันทึกในงบกําไร ขาดทุน ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรูในงวดกอนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการ หากมีการ เปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชในการคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการ เพียงเทาที่มูลค าตามบัญชีของสิ นทรัพยไมเกิน กวามูลคาตามบั ญชีภายหลังหักค าเสื่อมราคาหรื อคาตัดจําหนาย เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน (ญ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลคายุติธรรมหักคาใชจายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน 17


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ฎ) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฏ) ผลประโยชนพนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระหนี้สินตามโครงการสมทบเงินจะบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น (ฐ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูก็ตอเมื่อกลุมบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปจจุบันหรือที่กอตัวขึ้น อันเปนผลมาจากเหตุการณในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจาย ไปเพื่อชําระภาระหนี้สินดังกลาว และสามารถประมาณจํานวนภาระหนี้สินไดอยางนาเชื่อถือถาผลกระทบดังกลาวมี จํานวนที่เปนสาระสําคัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคตโดยใชอัตรา คิดลดในตลาดปจจุบันกอนคํานึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจํานวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตาม เวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน (ฑ) รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากสวนลดการคา การขายสินคาและใหบริการ รายไดจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสําคัญไป ใหกับผูซื้อแลว และจะไมรับรูรายไดถาฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลวนั้นหรือมีความ ไมแนนอนที่มีนัยสําคัญในการไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากการขายสินคาหรือใหบริการนั้น ไมอาจวัดมูลคา ของจํานวนรายไดและตนทุนที่เกิดขึ้นไดอยางนาเชื่อถือ หรือมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่จะตองรับคืน สินคา รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ

18


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 รายไดคาเชา รายไดคาเชารับรูในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา คาใชจายเริ่มแรกที่เกิดขึ้นเปนการเฉพาะ เพื่อใหเกิดสัญญาเชารับรูเปนสวนหนึ่งของคาเชาทั้งสิ้นตามสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นรับรูเปนรายไดในรอบ ระยะเวลาบัญชีซึ่งคาเชานั้นเกิดขึ้น ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง เงินปนผลรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนในวันที่บริษัทมีสิทธิ ไดรับเงินปนผล (ฒ) คาใชจาย สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา ตนทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายในทํานองเดียวกันบันทึกในงบกําไรขาดทุนในงวดที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น (ณ) ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจากกําไรหรือขาดทุนสําหรับปประกอบดวยภาษีเงินไดปจจุบัน ซึ่งไดแกภาษีที่คาดวาจะจายชําระโดย คํานวณจากกําไรประจําปที่ตองเสียภาษี โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใช ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทาง ภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอน ๆ

19


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 4

การปรับปรุงงบการเงินรวมป 2551 ภายหลังจากวันที่ 16 กันยายน 2552 ซึ่งเปนวันที่งบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ไดรับอนุมัติให ออกงบการเงินจากคณะกรรมการ บริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกันไดรับการตอบกลับจากผูใหลิขสิทธิ์วายอด คงเหลือลาสุดของคาลิขสิทธิ์คางจายที่บันทึกไวในงบการเงินรวมป 2551 ซึ่งมียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ในงบการเงินรวมสูงไป เปนจํานวนเงิน 2.2 ลานบาท (ผลกระทบสุทธิจากภาษีเงินได) ดังนั้นบริษัทจึงตรวจหา สาเหตุและปรับปรุงผลตางในงบการเงินรวมโดยวิธีปรับงบการเงินยอนหลัง ซึ่งการปรับปรุงงบการเงินยอนหลัง ดังกลาวไมมีผลกระทบตองบกําไรขาดทุนรวมสําหรับป 2551 ผลกระทบของรายการปรับงบการเงินยอนหลังที่มี ตองบดุลรวมป 2551 มีดังนี้ งบการเงินรวมป 2551 (พันบาท)

5

งบดุล หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 - ภาษีเงินไดคางจายเพิ่มขึ้น - หนี้สินหมุนเวียนอื่นลดลง

953 (3,176)

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน กําไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น - ผลกระทบจากการปรับปรุงงบการเงิน

2,223

รายการที่เกิดขึน้ และยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดแก บุคคลหรือกิจการตาง ๆ ที่มีความเกี่ยวของกับกลุมบริษัทและบริษัท โดยการ เปนผูถือหุน หรือมีผูถือหุนรวมกัน หรือมีกรรมการรวมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันได กําหนดขึ้นโดยใชราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไมมีราคาตลาดรองรับ ความสัมพันธที่กลุมบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมรวมกันในบริษัท หรือ เปนกิจการที่บริษัทควบคุม หรือควบคุมรวมกัน หรือเปนบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุมบริษัท มีดังนี้ ชื่อกิจการ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

ประเทศที่จัดตัง้ /สัญชาติ ไทย

20

ลักษณะความสัมพันธ เป น บริ ษั ท ใหญ ถื อ หุ น บริ ษั ท ร อ ยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ชื่อกิจการ บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

ประเทศที่จัดตัง้ /สัญชาติ ไทย

บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด

ไทย

บริษัท โยมิอูร-ิ เนชั่น อินฟอรมเมชั่น เซอรวิส จํากัด บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเคชั่น จํากัด

ไทย

บริษัท เนชั่น นิวส เน็ตเวิรค จํากัด

ไทย

บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด เอ็กมอนท อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/เอส

ไทย

ไทย ไทย ไทย

ไทย

เดนมารค

ลักษณะความสัมพันธ เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เปนกิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทถือหุนรอยละ 49.99 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 62.82 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 84.50 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 44.98 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด ถือหุนรอยละ 48.99 และมีกรรมการรวมกัน เป น ผู ถื อ หุ น ของบริ ษั ท เนชั่ น เอ็ ก มอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด ถือหุนรอยละ 49

นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแตละประเภทอธิบายไดดังตอไปนี้ รายการ ขายสินคาและการใหบริการ รายไดอื่น ดอกเบี้ยรับจากเงินใหกูยืม ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

นโยบายการกําหนดราคา ราคาซื้อขายทางการคาปกติตามราคาตลาดทั่วไป ตามอัตราที่ตกลงรวมกันซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาด อัตราคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกูของสถาบันการเงิน ตามอัตราที่ตกลงรวมกันซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาด ตามอัตราที่ตกลงรวมกัน

21


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 รายการที่สําคัญกับกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

บริษัทใหญ ขายสินคาและการใหบริการ ดอกเบี้ยรับ ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

9,375 32,730 6,934

8,560 574 26,664 9,385

บริษัทยอย ขายสินคาและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายในการขายและบริหาร

-

กิจการที่ควบคุมรวมกัน ขายสินคาและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายในการขายและบริหาร กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน ขายสินคาและการใหบริการ ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

22

7,657 14,534 5,750

8,030 574 12,701 6,523

-

18 856 -

48 90 693

59,643 1,998

64,841 3,524

237 3,845 942

735 2,469

4,179 78,558 3,687

5,716 81,038 3,379

4,118 44,002 286

5,669 42,493 325


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้ ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกีย่ วของกัน งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท โยมิอูร-ิ เนชั่น อินฟอรมเมชั่น เซอรวสิ จํากัด บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) อื่น ๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับป

2,457

2,308

2,063

-

-

-

39,723

17,389

155

259

265

627

265

627

184 122 42,751 (100) 42,651

217 101 20,642 (100) 20,542

184 119 2,786 (100) 2,686

196 101 3,419 (100) 3,319

-

23

3

-

2,206

30

3


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกีย่ วของกัน งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเคชั่น จํากัด อื่น ๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับป

6,695

13,500

6,366

12,233

-

-

1,764

1,832

2,807

1,131

5,136

2,248

290 474 10,266 (239) 10,027

353 14,984 (239) 14,745

289 223 13,778 (10) 13,768

66 16,379 (10) 16,369

-

236

-

10

เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) (บริษัทใหญ) สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

บริษัทใหญ ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

24

34,000 (34,000) -

-

34,000 (34,000) -


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เจาหนี้การคา - กิจการที่เกีย่ วของกัน งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

11,549

10,485

5,601

5,607

กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

7

6

13

10

16,270 6,703 3,249 12 37,790

11,807 4,329 2,047 8 28,682

3,699 6,703 2,255 5 18,276

3,563 4,329 1,570 696 15,775

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด อื่น ๆ รวม เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกีย่ วของกัน

งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

25

2,728

3,779

2,275

1,874

-

-

15

3

1,295

1,606

965

2,168


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกีย่ วของกัน (ตอ) งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เนชั่น นิวส เน็ตเวิรค จํากัด อื่น ๆ รวม

226 217 82 4,548

20 1 104 5,510

177 217 3,649

1 4,046

คาใชจายคางจาย งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

-

825

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด รวม

204 204

1,069 1,894

26

-

825

29 29

817 1,642


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 6

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม 2552 2551 เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย อื่น ๆ รวม

55 1,827 40,332 128 42,342

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

(พันบาท) 55 20 3,142 1,882 68,300 27,575 274 106 71,771 29,583

20 2,954 17,384 104 20,462

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดทั้งหมดของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เปนสกุลเงินบาท 7

เงินลงทุนชั่วคราว งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

เงินลงทุนระยะสั้นกับสถาบันการเงิน 8

5,000

-

5,000

-

ลูกหนี้การคา หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสินคารับคืน รวม

5

งบการเงินรวม 2552 2551 42,751 64,491 107,242 (4,150) (11,076) 92,016

หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับป

1,897

27

(พันบาท) 20,642 79,752 100,394 (6,293) (12,450) 81,651 860

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2,786 30,539 33,325 (610) (2,514) 30,201

3,419 36,026 39,445 (605) (2,795) 36,045

6

425


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 การวิเคราะหอายุของลูกหนี้การคามีดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

กิจการที่เกีย่ วของกัน ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน

19,744

17,986

2,609

3,078

22,907 100

2,442 78 136

77 100

16 155 170

หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

42,751 (100) 42,651

20,642 (100) 20,542

2,786 (100) 2,686

3,419 (100) 3,319

54,050

69,963

26,511

33,062

6,861 1,169 2,411 64,491 (4,050) (11,076) 49,365

2,443 2,090 5,256 79,752 (6,193) (12,450) 61,109

3,812 9 207 30,539 (510) (2,514) 27,515

1,158 1,306 500 36,026 (505) (2,795) 32,726

92,016

81,651

30,201

36,045

กิจการอื่น ๆ ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสินคารับคืน สุทธิ รวม

โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของกลุมบริษัท มีระยะเวลา 90 วัน ลูกหนี้การคาทั้งหมดของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เปนสกุลเงินบาท

28


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 9

สินคาคงเหลือ งบการเงินรวม 2552 2551 สินคาสําเร็จรูป วัตถุดิบ หัก คาเผื่อสินคาลาสมัย สุทธิ

124,885 1,513 126,398 (72,732) 53,666

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท) 124,927 39,076 36,156 2,873 256 127,800 39,332 36,156 (68,848) (26,446) (21,764) 58,952 12,886 14,392

ตนทุนของสินคาคงเหลือที่บันทึกเปนคาใชจายและไดรวมในบัญชีตนทุนขายในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจํานวน 78.3 ลานบาท และ 12.3 ลานบาท ตามลําดับ (2551: 86.8 ลานบาท และ 16.3 ลานบาท ตามลําดับ) 10

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม 2552 2551 คาใชจายจายลวงหนา ภาษีซื้อที่ยังไมถึงกําหนด เงินทดรองจายพนักงาน อื่น ๆ รวม

3,440 730 512 355 5,037

29

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท) 2,224 1,274 1,138 1,358 730 1,204 145 330 26 266 296 171 3,993 2,630 2,539


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 11

เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท) บริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

25,364 25,364

25,364 25,364

กิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

25,046 25,046

25,046 25,046

รวม ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

50,410 50,410

50,410 50,410

30


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 และเงินปนผลรับสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด รวม

เงินปนผลรับ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551

สัดสวนความเปน เจาของ 2552 2551 (รอยละ)

ทุนชําระแลว 2552 2551

วิธีราคาทุน 2552 2551

99.99

99.99

41,250

41,250

25,364

25,364

-

-

25,364

25,364

-

-

49.99

49.99

50,000 91,250

50,000 91,250

25,046 50,410

25,046 50,410

-

-

25,046 50,410

25,046 50,410

27,496 27,496

-

31

การดอยคา 2552 2551 (พันบาท)

ราคาทุน - สุทธิ 2552 2551


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการที่ควบคุมรวมกันโดยแสดงตามสัดสวนที่กลุมบริษัทไดนําไปจัดทํางบการเงินรวม สัดสวน ความเปน เจาของ (รอยละ)

สินทรัพย สินทรัพย สินทรัพย รวม หมุนเวียน ไมหมุนเวียน

หนี้สิน หนี้สิน หมุนเวียน รวม (พันบาท)

รายได รวม

คาใชจาย รวม

กําไร (ขาดทุน) สุทธิ

ป 2552 บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

49.99

80,742

3,894

84,636

53,998

53,998

94,199

98,115

(3,916)

ป 2551 บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

49.99

89,329

3,467

92,796

30,746

30,746

115,930

110,448

5,482

32


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 12

อุปกรณ

สวนปรับปรุง สินทรัพยที่เชา

งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณ สํานักงาน ยานพาหนะ (พันบาท)

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

633 314 (185) 762 1,328 2,090

12,279 247 (4,435) 8,091 619 (147) 8,563

480 480

12,912 561 (4,620) 8,853 2,427 (147) 11,133

คาเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

611 121 (185) 547 388 935

10,355 670 (4,425) 6,600 461 (81) 6,980

-

56

10,966 791 (4,610) 7,147 905 (81) 7,971

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

215 1,155

1,491 1,583

424

1,706 3,162

56 -

ราคาทรัพยสินของกลุมบริษัทกอนหัก คาเสื่อมราคาสะสมของอุปกรณ ซึ่ง ไดคิดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแล ว แตยังคงใชงานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจํานวน 6.2 ลานบาท (2551: 5.2 ลานบาท) 33


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณ สวนปรับปรุง สินทรัพยที่เชา สํานักงาน ยานพาหนะ (พันบาท)

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

296 296 823 1,119

2,685 64 2,749 273 3,022

480 480

2,981 64 3,045 1,576 4,621

คาเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 คาเสื่อมราคาสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 คาเสื่อมราคาสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

71 59 130 183 313

2,295 220 2,515 146 2,661

56 56

2,366 279 2,645 385 3,030

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

166 806

234 361

424

400 1,591

ราคาทรัพยสินของบริษัทกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอุปกรณ ซึ่งไดคิดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลว แตยังคงใช งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจํานวน 2.5 ลานบาท (2551: 1.7 ลานบาท)

34


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 13

สินทรัพยไมมตี ัวตน

โปรแกรม คอมพิวเตอร ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น จําหนาย คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

113 (24) 89 (24) 65

งบการเงินรวม คาลิขสิทธิ์ หนังสือ (พันบาท) 13,638 17,367 (13,590) 17,415 25,043 (1,226) (22,528) 18,704

งบการเงินเฉพาะกิจการ โปรแกรม คาลิขสิทธิ์ คอมพิวเตอร หนังสือ (พันบาท) ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

-

35

5,622 7,875 (6,315) 7,182 5,784 (6,483) 6,483

รวม 13,751 17,367 (13,614) 17,504 25,043 (1,226) (22,552) 18,769

รวม 5,622 7,875 (6,315) 7,182 5,784 (6,483) 6,483


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 14

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

สวนที่หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร - สวนที่มีหลักประกัน

174

-

-

-

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กลุมบริษัทและบริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารในประเทศบางแหงเปนจํานวนรวม 16 ลานบาท และ 6 ลานบาท ตามลําดับ (2551: 20.9 ลานบาท และ 5.9 ลานบาท ตามลําดับ) และค้ําประกันโดย บริษัทใหญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กลุมบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งยังมิไดเบิกใชเปนจํานวนรวม 16 ลานบาท และ 6 ลานบาท ตามลําดับ (2551: 20.9 ลานบาท และ 5.9 ลานบาท ตามลําดับ) 15

เจาหนี้การคา

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ๆ รวม

งบการเงินรวม 2552 2551

5

37,790 33,660 71,450

36

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

(พันบาท) 28,682 18,276 41,013 29,353 69,695 47,629

15,775 35,274 51,049


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 16

หนี้สินหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 (ปรับปรุงใหม) (พันบาท) 23,873 22,455 1,718 1,941

หมายเหตุ

คาลิขสิทธิ์คางจาย คาใชจายในการดําเนินงานอื่นคางจาย - กิจการที่เกี่ยวของกัน - กิจการอื่น ๆ ภาษีขายที่ยังไมถึงกําหนดชําระ ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายคางจาย อื่น ๆ รวม 17

5

204 3,416 2,273 1,355 5,663 36,784

1,894 2,866 2,363 1,146 1,623 32,347

29 2,751 1,850 891 1,455 8,694

1,642 2,657 2,077 749 468 9,534

ทุนเรือนหุน มูลคาหุน ตอหุน (บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ - หุนสามัญ ลดมูลคาหุน - จากหุนละ 100 บาท เปนหุนละ 1 บาท ออกหุนใหม ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ

2552 2551 จํานวนหุน จํานวนเงิน จํานวนหุน จํานวนเงิน (พันหุน / พันบาท)

100 1

85,000

85,000

1 1

-

1

85,000

37

700 -

70,000 -

-

69,300 15,000

15,000

85,000

85,000

85,000


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มูลคาหุน ตอหุน (บาท) หุนที่ออกและชําระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ - หุนสามัญ ลดมูลคาหุน - จากหุนละ 100 บาท เปนหุนละ 1 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ

2552 2551 จํานวนหุน จํานวนเงิน จํานวนหุน จํานวนเงิน (พันหุน / พันบาท)

100 1

70,000

70,000

700 -

70,000 -

1

-

-

69,300

-

1

70,000

70,000

70,000

70,000

ในการประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2551 ผูถือหุนมีมติในเรื่องที่มีสาระสําคัญดังนี้

18

ก)

ใหแปรสภาพบริษัทเปนบริษัทมหาชน จํากัด และนําบริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ

ข)

ใหเปลี่ยนแปลงมูลคาหุนจากหุนละ 100 บาท เปนหุนละ 1 บาท ทําใหจํานวนหุนทุนจดทะเบียนเปลี่ยนจาก จํานวน 700,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท เปนจํานวน 70,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท บริษัทไดจด ทะเบียนการเปลี่ยนแปลงมูลคาหุนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2551

ค)

ใหเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 70,000,000 บาท (แบงเปนหุนสามัญ 70,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เปน 85,000,000 บาท (แบงเปนหุนสามัญ 85,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) โดยออกหุนสามัญใหมจํานวน 15,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 15,000,000 บาท บริษัทไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนดังกลาว กับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2551

ง)

ใหเปลี่ยนชื่อบริษัทเปน “บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน)” บริษัทไดจด ทะเบียนเปลี่ยนชื่อบริษัทกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2551

สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํา รองตามกฎหมาย”) อยา งนอ ยรอ ยละ 5 ของกํา ไรสุท ธิป ระจํา ป หลัง จากหัก ขาดทุน สะสมยกมา (ถา มี) จนกวา สํ า รองดัง กลา วมีจํ า นวนไมน อ ยกวา รอ ยละ 10 ของทุน จดทะเบีย น เงิน สํ า รองนี ้จ ะนํ า ไปจา ยเปน เงินปนผลไมได 38


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 19

ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน บริษัทดําเนินกิจการในสวนงานธุร กิจเดียว คือ ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพและจัดจําหนาย และดําเนินธุรกิจในสวนงาน ทางภูม ิศ าสตรเ ดีย วคือ ในประเทศไทย ดัง นั ้น รายไดแ ละผลการดํ า เนิน งานทั ้ง หมดที ่แ สดงในงบการเงิน จึงเกี่ยวของกับสวนงานธุรกิจและสวนงานทางภูมิศาสตรตามที่กลาวไว

20

รายไดอื่น งบการเงินรวม 2552 2551 รายไดคาบริการสวนกลาง อื่น ๆ รวม

21

1,881 1,194 3,075

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท) 193 4,620 462 1,863 343 461 2,056 4,963 923

คาใชจายในการขาย งบการเงินรวม 2552 2551 คาใชจายในการจัดนิทรรศการ คาใชจายสงเสริมการขาย อื่น ๆ รวม

3,462 214 1,883 5,559

39

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท) 5,070 1,747 2,394 235 37 347 2,534 971 715 7,839 2,755 3,456


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 22

คาใชจายในการบริหาร งบการเงินรวม 2552 2551 คาใชจายเกี่ยวกับบุคคลากร คาใชจายบริหาร อื่น ๆ รวม

23

13,132 35,938 8,453 57,523

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท) 16,192 7,290 8,492 36,732 12,011 5,715 8,854 2,499 5,834 61,778 21,800 20,041

คาใชจายผลประโยชนตอบแทนพนักงาน งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

ผูบริหาร เงินเดือนและคาแรง เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ อื่น ๆ รวม

7,888 494 2,605 10,987

8,726 593 1,073 10,392

4,279 263 2,349 6,891

4,854 330 682 5,866

พนักงานอื่น เงินเดือนและคาแรง เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ อื่น ๆ รวม

24,451 1,248 2,390 28,089

27,692 1,007 2,945 31,644

13,222 605 1,330 15,157

9,666 255 1,143 11,064

รวมคาใชจายผลประโยชนตอบแทนพนักงาน

39,076

42,036

22,048

16,930

กลุมบริษัทไดจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงานของกลุมบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงาน ในการเปนสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจายเงินสะสมในอัตรารอยละ 5 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุมบริษัท จายสมทบในอัตรารอยละ 5 ถึงอัตรารอยละ 7.5 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้ไดจด ทะเบียนเปนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามขอกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผูจัดการกองทุนที่ ไดรับอนุญาต 40


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 24

ภาษีเงินได จํานวนภาษีเงินไดในงบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการและงบกําไรขาดทุนรวมมากกวาหรือต่ํากวาจํานวนภาษีเงินไดที่ คํานวณโดยการใชอัตราภาษีเงินไดคูณกับยอดกําไรสุทธิตามบัญชีสําหรับป เนื่องจากความแตกตางระหวางการรับรู รายไดและคาใช จายทางบัญชีกับรายไดและคาใชจายทางภาษีบางรายการ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในเรื่องเกี่ยวกั บ เงินปนผลรับ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและคาเผื่อสินคาลาสมัย

25

กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 คํานวณจากกําไรสําหรับปที่เปน สวนของผูถือหุนของบริษัท และจํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางป โดยแสดงการคํานวณดังนี้

กําไรสวนของผูถือหุนสามัญของบริษัท จํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลว

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท / พันหุน) 14,326 34,533 47,369 25,190 70,000

70,000

70,000

70,000

0.20

0.49

0.68

0.36

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) 26

เงินปนผล ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2552 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาล ใหแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 0.50 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 35 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุน ในระหวางป 2552 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2551 และวันที่ 7 พฤศจิกายน 2551 มีมติอนุมัติการ จายเงินปนผลระหวางกาลใหแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 50 บาท และในอัตราหุนละ 0.43 บาท ตามลําดับ เปน จํานวนเงินทั้งสิ้น 35 ลานบาท และ 30.1 ลานบาท ตามลําดับ เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนในระหวางป 2551

41


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 27

เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางดานการเงิน กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ และจากการไมปฏิบัติตามขอกําหนดตามสัญญาของคูสัญญา กลุมบริษัทไมมีการถือหรือออกเครื่องมือ ทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ เพื่อการเก็งกําไรหรือการคา การจัดการความเสี่ยงเปนสวนที่สําคัญของธุรกิจของกลุมบริษัท กลุมบริษัทมีระบบในการควบคุมใหมีความสมดุล ของระดับ ความเสี่ย งที่ย อมรั บได โดยพิจ ารณาระหว างต นทุ นที่ เ กิด จากความเสี่ย งและต นทุ น ของการจั ด การ ความเสี่ยง ฝายบริหารไดมีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุมบริษัทอยางตอเนื่องเพื่อใหมั่นใจ วามีความสมดุลระหวางความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยใน ตลาด ซึ่งสงผลกระทบตอการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกลุมบริษัท ผูบริหารเชื่อวากลุมบริษัทมีความเสี่ยง ในอัตราดอกเบี้ยนอ ย เนื่องจากกลุมบริษัทมีเงินกูยืมระยะสั้นนอยมาก และอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมที่ไดรับเปน อัตราตลาด อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกําหนดชําระ หรือกําหนดอัตราใหม มีดังนี้ งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป) ป 2552 สวนที่หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร

6.15 – 6.50

42

ภายใน 1 ป (พันบาท)

174


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ คือ ความเสี่ยงที่ลูกคาหรือคูสัญญาไมสามารถชําระหนี้แกกลุมบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลง ไวเมื่อครบกําหนด ฝายบริหารไดกําหนดนโยบายทางดานสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางดานสินเชื่อดังกลาวโดยสม่ําเสมอ โดยการ วิเคราะหฐานะทางการเงินของลูกคาทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไมพบวามีความเสี่ยง จากสินเชื่อที่เปนสาระสําคัญ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อสูงสุดแสดงไวในราคาตามบัญชีของสินทรัพยทางการเงิน แตละรายการในงบดุล อยางไรก็ตามเนื่องจากกลุมบริษัทมีฐานลูกคาจํานวนมาก ฝายบริหารไมไดคาดวาจะเกิด ผลเสียหายที่มีสาระสําคัญจากการเก็บหนี้ไมได ความเสี่ยงจากสภาพคลอง กลุมบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคลองโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดใหเพียงพอตอการดําเนินงานของกลุมบริษัทและเพื่อทําใหผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสด ลดลง การบริหารจัดการสวนทุน นโยบายของคณะกรรมการคือการดํารงฐานเงินทุนที่แข็งแกรงเพื่อรักษาความเชื่อมั่นของผูลงทุน เจาหนี้ และตลาด และเพื่อการดําเนินงานทางธุรกิจอยางตอเนื่องในอนาคต คณะกรรมการเฝาติดตามผลตอบแทนจากเงินลงทุนและ ระดับการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนสามัญ การกําหนดมูลคายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปดเผยของกลุมบริษัทกําหนดใหมีการกําหนดมูลคายุติธรรมทั้งสินทรัพยและหนี้สิน ทางการเงินและไมใชทางการเงิน มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย หรือชําระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถตอรองราคา กันไดอยางเปนอิสระในลักษณะของผูที่ไมมีความเกี่ยวของกัน วัตถุประสงคของการวัดมูลคาและ/หรือการเปดเผย มูลคายุติธรรมถูกกําหนดโดยวิธีตอไปนี้ ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการกําหนดมูลคายุติธรรมถูกเปดเผย ในหมายเหตุที่เกี่ยวของกับสินทรัพยและหนี้สินนั้นๆ มูลคายุติธรรมของลูกหนี้การคาและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เปนมูลคาที่ใกลเคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี มูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงิน เปนมูลคาที่ใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชี 43


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 28

ภาระผูกพันกับกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน งบการเงินรวม 2552 2551 ภาระผูกพันจากสัญญาเชาดําเนินงานที่ยกเลิกไมได ภายในหนึ่งป หลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป รวม

3,798 715 4,513

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

5,419 2,545 7,964

2,144 715 2,859

3,756 939 4,695

บริษัทไดทําสัญญาเชาพื้นที่สํานักงานกับบริษัทในประเทศแหงหนึ่ง บริษัทตกลงจายคาเชาตามอัตราที่ตกลงกันใน สัญญา สัญญานี้มีผลบังคับใชเปนเวลา 2 ป สิ้นสุดวันที่ 29 เมษายน 2554 และบริษัทสามารถตออายุไดอีก 1 ป ภายใตเงื่อนไขเดิม กิจการที่ควบคุมรวมกันไดทําสัญญาเชาคลังสินคา 2 แหงกับบริษัทในประเทศแหงหนึ่ง โดยกิจการที่ควบคุมรวมกัน ตกลงจายคาเชาตามอัตราที่ตกลงกันในสัญญา สัญญานี้มีผลบังคับใชเปนเวลา 3 ป สิ้นสุดวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 และ 31 ธันวาคม 2553 ตามลําดับ 29

หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ในเดือนกันยายน 2552 บริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกันไดทําสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับสถาบันการเงินใน ประเทศแหงหนึ่ง ในจํานวนวงเงินรวมทั้งสิ้น 40 ลานบาท เงินกูยืมดังกลาวมีอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมขั้นต่ําลบดวย อัตรารอยละตามที่กําหนดในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกันยังไมได เบิกใชเงินกูยืมดังกลาว ตามที่ระบุในสัญญา เงินกูยืมดังกลาวค้ําประกันโดยบริษัท และผูถือหุนของกิจการที่ควบคุมรวมกัน

44


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 30

มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช กลุมบริษัทยังไมไดใชมาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหมดังตอไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไมมีการ บังคับใชมาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหมดังตอไปนี้กําหนดใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี

เรื่อง

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของ กัน (ฉบับ 47 เดิม)

ปที่มีผล บังคับใช 2554

ขณะนี้ผูบริหารกําลังพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใชมาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหม ดังกลาวตองบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ 31

การจัดประเภทรายการใหม คาใชจายในงบกําไรขาดทุนบางรายการสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ไดจัดประเภทใหมใหสอดคลองกับ รายการคาใชจายในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา เรื่อง กําหนดรายการยอที่ตองมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 ลงวันที่ 30 มกราคม 2552

45


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 32

คาใชจายจําแนกตามลักษณะ คาใชจายที่สําคัญจําแนกตามลักษณะมีดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551 ซื้อกระดาษ คาพิมพ การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูป คาจางพิมพและคาขนสง คาใชจายในการผลิตอื่น คาใชจายดําเนินการ คาใชจายในการขาย คาใชจายผลประโยชนตอบแทนพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากสินคาลาสมัย

40,679 46,533 (7,785) 59,275 24,516 27,902 5,559 39,076 23,457 1,897 13,071

46

(พันบาท) 47,247 54,047 (12,132) 56,177 34,202 30,792 7,839 42,036 14,405 1,214 13,001

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 6,594 8,957 (3,176) 57,531 1,922 9,655 2,755 22,048 6,868 6 4,682

8,250 12,135 (2,567) 50,940 4,897 14,383 3,456 16,930 6,594 435 3,182


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินระหวางกาล และ รายงานการสอบทานงบการเงินโดยผูสอบบัญชีรับอนุญาต สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553


รายงานการสอบทานงบการเงินโดยผูสอบบัญชรีบอนุ ั ญาต เสนอ คณะกรรมการบรษิทั เนชน่ั อินเตอรเนชน่ัแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดสอบทานงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 งบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุน เฉพาะกิจการสําหรับแตละงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 งบแสดงการเปลี่ยนแปลง สวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแส เงินสดเฉพาะกิจการสําหรับแตละงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 ของบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยและของเฉพาะบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ซงผู ่ึ บริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผรูบผ ั ดิชอบในการรายงานตองบการเง  นิดงกล ั าวจากผลการสอบทานของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานสอบทานตามมาตรฐานการสอบบัญชีท่ีเกี่ยวกับการสอบทาน ซงกํ ่ึ าหนดใหขาพเจาตองวางแผนและ ปฏิ บั ติ ง านสอบทาน เพื่ อ ให ไ ด ค วามเชื่ อ มั่ น อย า งพอประมาณว า -งบการเงิ น แสดงข อ มู ล ท่ี ขั ดต อ ข อ เท็ จ จริ ง อั น เป น สาระสําคัญหรือไม การสอบทานน้ีมีขอบเขตจํากัด โดยสวนใหญใชวิธีการสอบถามบุคลากรของกิจการและการวิเคราะห เปรียบเทียบขอมูลทางการเงิน จึงใหความเชื่อมั่นนอยกวาการตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีท่ีรับรองทั่วไป ดังนน้ั ขาพเจาจึงไมอาจแสดงความเหน็ตองบการเง  นิทสอบทานได ่ี ขาพเจาไมพบสิ่งทเ่ีปนเหตุ  ใหเชอว ่ื างบการเงนิดงกล ั าวไมถกูตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีท่ีรับรองทั่วไป จากการสอบทานของขาพเจา


ขาพเจาไดเคยตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ของบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท เนชน่ั อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีท่ีรับรองทั่วไปและไดแสดงความเห็นอยางไมมี เงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 12 กุมภาพันธ 2553 ขาพเจามิไดใชวิธีการตรวจสอบอื่นใดภายหลังจากวันที่ในรายงานนน้ั งบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552-ทแสดงเปรี ่ี ยบเทียบเปนสวนหนึ่งของงบการเงินดังกลาว ขางตน

(นายวเิชยร ี ธรรมตระกูล) ผสอบบั ู ญชรีบัอนญาต ุ เลขทะเบียน 3183 บรษิทั เคพเีอมจี ็ ภมูไชย ิ สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 6 สิงหาคม 2553

2


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 31 ธันวาคม 2552

สินทรัพย

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม

2552

2553

(ไมไดตรวจสอบ)

2552

(ไมไดตรวจสอบ)

(พันบาท) สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน อุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน เงินฝากที่มีขอจํากัดในการใช สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

4 3

5 5 6 7 8

รวมสินทรัพย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3

33,426 5,013 79,123 10,234 9,520 56,728 4,283 198,327

42,342 5,000 92,016 10,225 10,027 53,666 5,037 218,313

21,674 5,013 27,677 8,678 14,399 14,779 2,431 94,651

29,583 5,000 30,201 9,224 13,768 12,886 2,630 103,292

4,679 22,831 3,773 328 31,611

3,162 18,769 328 22,259

25,364 25,046 1,812 8,099 60,321

25,364 25,046 1,591 6,483 58,484

229,938

240,572

154,972

161,776


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 31 ธันวาคม 2552

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม

2552

2553

(ไมไดตรวจสอบ)

2552

(ไมไดตรวจสอบ)

(พันบาท) หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ภาษีเงินไดคางจาย คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

9 10 3

3,756 65,793 5,936

174 71,450 4,548

46,844 4,875

47,629 3,649

9

8,044 7,023 21,248 8,115 119,915

14,395 27,950 8,834 127,351

4,184 4,776 3,355 64,034

6,044 4,541 4,152 66,015

630 120,545

127,351

64,034

96 66,111

85,000

85,000

85,000

85,000

70,000

70,000

70,000

70,000

รวมสวนของผูถือหุน

8,500 30,892 109,392 1 109,393

8,500 34,720 113,220 1 113,221

8,500 12,438 90,938 90,938

8,500 17,165 95,665 95,665

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

229,938

240,572

154,972

161,776

หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน

3

9

สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแลว กําไรสะสม ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถอื หุนของบริษัท สวนของผูถือหุนสวนนอย

11

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 4


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุน สําหรับแตละงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 (ไมไดตรวจสอบ) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552

2553

2552

(พันบาท) รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ ดอกเบี้ยรับ

3

รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขายสินคาและตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร รวมคาใชจาย

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

46,487 24,011

13,984 19,903

9,782 23,405

443 1,184 63,604

83 1,408 71,989

31 1,355 35,273

9 1,772 34,968

41,924 1,918 11,370 2,930 58,142

46,588 2,213 16,098 2,753 67,652

22,332 1,032 4,150 1,891 29,405

20,275 677 5,484 1,832 28,268

5,462 (234) 5,228 (2,057) 3,171

4,337 4,337 (3,846) 491

5,868 5,868 (1,482) 4,386

6,700 6,700 (2,308) 4,392

3,171

491

4,386

4,392

3,171

491

4,386

4,392

0.05

0.01

0.06

0.06

3

กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสําหรับงวด สวนของกําไรที่เปนของ ผูถือหุนของบริษัท ผูถือหุนสวนนอย กําไรสําหรับงวด

42,006 19,971

14

14

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 5


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุน สําหรับแตละงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 (ไมไดตรวจสอบ) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552

2553

2552

(พันบาท) รายได

3

รายไดจากการขาย

93,368

96,514

29,188

20,623

รายไดจากการใหบริการ

42,481

50,975

42,370

47,453

-

-

-

27,496

เงินปนผลรับ

5

ดอกเบี้ยรับ

706

83

31

9

รายไดอื่น

3,067

2,255

3,527

3,117

รวมรายได

139,622

149,827

75,116

98,698

90,514

101,168

45,083

42,239

2,839

3,030

1,557

1,083

คาใชจายในการบริหาร

23,839

31,776

10,352

11,266

คาตอบแทนผูบริหาร

5,783

5,373

3,706

3,098

122,975

141,347

60,698

57,686

16,647

8,480

14,418

41,012

คาใชจาย

3

ตนทุนขายสินคาและตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการขาย

รวมคาใชจาย กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน

(297)

-

(5)

-

กําไรกอนภาษีเงินได

16,350

8,480

14,413

41,012

ภาษีเงินได กําไรสําหรับงวด

(5,478) 10,872

(6,920) 1,560

(4,440) 9,973

(5,074) 35,938

10,872

1,560

9,973

35,938

10,872

1,560

9,973

35,938

0.16

0.02

0.14

0.51

สวนของกําไรที่เปนของ ผูถือหุนของบริษัท

14

ผูถือหุนสวนนอย กําไรสําหรับงวด กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

14

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 6


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับแตละงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 (ไมไดตรวจสอบ) งบการเงินรวม กําไรสะสม ทุนเรือนหุน หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 กําไรสําหรับงวด เงินปนผล โอนไปทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2552 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 กําไรสําหรับงวด เงินปนผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553

รวมสวนของ สวนของ

ที่ออกและ

ทุนสํารอง

ยังไมได

ผูถือหุน

ผูถือหุน

รวมสวน

ชําระแลว

ตามกฎหมาย

จัดสรร

ของบริษัท

สวนนอย

ของผูถือหุน

1

133,895 1,560 (35,000) 100,455

16 11

16

70,000 70,000

7,000 1,500 8,500

(พันบาท) 56,894 133,894 1,560 1,560 (35,000) (35,000) (1,500) 21,954 100,454

70,000 70,000

8,500 8,500

34,720 10,872 (14,700) 30,892

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 7

113,220 10,872 (14,700) 109,392

1 1 1

113,221 10,872 (14,700) 109,393


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับแตละงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 (ไมไดตรวจสอบ) งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม ทุนเรือนหุน หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 กําไรสําหรับงวด เงินปนผล โอนไปทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2552 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เงินปนผล กําไรสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553

รวมสวนของ

ที่ออกและ

ทุนสํารอง

ยังไมได

ผูถือหุน

ชําระแลว

ตามกฎหมาย

จัดสรร

ของบริษัท

16 11

16

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 8

70,000 70,000

(พันบาท) 7,000 6,296 35,938 (35,000) 1,500 (1,500) 8,500 5,734

83,296 35,938 (35,000) 84,234

70,000 70,000

8,500 8,500

95,665 (14,700) 9,973 90,938

17,165 (14,700) 9,973 12,438


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สําหรับแตละงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 (ไมไดตรวจสอบ) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับงวด รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ดอกเบี้ยรับ ตนทุนทางการเงิน กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจากการปรับมูลคาเงินลงทุน เงินปนผลรับ หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากสินคาลาสมัย อุปกรณตัดจําหนาย ภาษีเงินได การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินฝากที่มีขอจํากัดในการใช สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 9

10,872

1,560

9,973

35,938

8,699 (706) 297 (13) 449 3,694 234 5,478 29,004

10,047 (83) 1,285 8,357 6,920 28,086

3,339 (31) 5 (13) 7 346 4,440 18,066

2,518 (9) (27,496) 3,494 5,074 19,519

12,430 (9) 521 (6,756) 754 (3,773) (5,657) 1,388 (6,702) (719) (12,850) 7,631

(12,442) 1,947 (601) (1,691) 640 1,106 5,413 214 11,541 2,069 (152) (11,008) 25,122

2,517 546 (631) (2,239) 199 (785) 1,226 235 (797) (96) (6,300) 11,941

1,369 2,189 (1,900) 368 179 827 1,606 716 (3,427) (228) (469) (6,866) 13,883


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สําหรับแตละงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 (ไมไดตรวจสอบ) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปนผล ซื้ออุปกรณ ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน ขายอุปกรณ ขายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน

706 (2,345) (12,167) (13,806)

83 (1,898) (11,733) 66 1,226 (12,256)

31 (451) (4,725) (5,145)

9 27,496 (1,393) (2,627) 23,485

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายดอกเบี้ย จายเงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว ชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

(297) (14,700) 3,582 9,998 (1,324) (2,741)

(35,000) (35,000)

(5) (14,700) (14,705)

(35,000) (35,000)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นงวด

(8,916) 42,342 33,426

(22,134) 71,771 49,637

(7,909) 29,583 21,674

2,368 20,462 22,830

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 10


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) หมายเหตุ

สารบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทํางบการเงิน รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน อุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน เงินฝากที่มีขอจํากัดในการใช หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา สํารองตามกฎหมาย ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน คาใชจายตามลักษณะ กําไรตอหุน ภาระผูกพันกับกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เงินปนผล หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไมไดใช การจัดประเภทรายการใหม

11


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินระหวางกาลนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2553 1

ขอมูลทั่วไป บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยูจดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 1854 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย บริษัทใหญในระหวางงวด ไดแก บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) (ถือหุนรอยละ-99.99) ซึ่งบริษัท ดังกลาวเปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย บริษั ทดําเนิน ธุร กิจ หลักเกี่ย วกับการเปน ผูนํ าเข า ผลิต และจํา หนา ยสื่ อสิ่ง พิมพ ทั้ง ในประเทศและตางประเทศ รายละเอียดของบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 31 ธันวาคม 2552 มีดังนี้ ชื่อกิจการ

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

บริษัทถือหุนรอยละ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552

บริษัทยอยทางตรง บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

สิ่งพิมพ

ประเทศไทย

99.99

99.99

กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

สิ่งพิมพ

ประเทศไทย

49.99

49.99

ในเดือนพฤศจิกายน 2552 บริษัทไดรับอนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยให เสนอขายหุนที่ออกใหมแกประชาชน ซึ่ง ณ วันที่-30 มิถุนายน-2553-บริษัทยังไมไดทําการเสนอขายหลักทรัพย ดังกลาว

12


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) 2

เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงินระหวางกาลนี้นําเสนอเพื่อวัตถุประสงคของการรายงานเพื่อใชในประเทศไทย และจัดทําเปนภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษไดจัดทําขึ้นเพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย งบการเงินระหวางกาลนี้จัดทําขึ้นในรูปแบบยอและตามมาตรฐานการบัญชีไทยฉบับที่-34 เรื่อง งบการเงินระหวางกาล รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบ และประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่เกี่ยวของ และตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ของประเทศไทย งบการเงินระหวางกาลนี้จัดทําขึ้นเพื่อใหขอมูลเพิ่มเติมจากงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยเนนการใหขอมูลที่เปนกิจกรรม เหตุการณและสถานการณใหมๆ เพื่อไมใหซ้ําซอนกับขอมูลที่ไดเคยนําเสนอ รายงานไปแล ว ดั ง นั้ น การอ า นงบการเงิน ระหว างกาลนี้ ควรอ า นควบคู กั บงบการเงิ น สํ า หรับ ป สิ้ น สุ ดวั น ที่ 31 ธันวาคม 2552 เมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2553 สภาวิ ชาชี พบัญ ชีได ออกประกาศฉบับ ที่ 17/2553 เรื่ อง มาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2552) ที่ออกและปรับปรุงใหมหลายฉบับ กลุมบริษัทไดใชแมบทการ บัญชี (ปรับปรุง 2552) เพื่อจัดทําและนําเสนองบการเงิน การใชแมบทการบัญชีที่ปรับปรุงใหมนี้ไมมีผลกระทบที่ เปนสาระสําคัญกับงบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมหลายฉบับซึ่งยังไมมีผลบังคับในปจจุบันและไมไดมีการนํามาใชสําหรับการ จัดทํางบการเงินนี้ไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 18 งบการเงินระหวางกาลนี้แสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท และมีการปดเศษเพื่อใหแสดงเปนหลักพันบาท เวนแตที่ ระบุไวเปนอยางอื่น กลุมบริษัทไดใชนโยบายการบัญชีที่สําคัญและวิธีการคํานวณในงบการเงินระหวางกาลสําหรับงวดสามเดือนและ หกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 เชนเดียวกับที่ใชสําหรับการจัดทํางบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

13


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) 3

รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันไดแกบุคคลหรือกิจการตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับกลุมบริษัทและบริษัทโดยการ เปนผูถือหุน หรือมีผูถือหุนรวมกัน หรือมีกรรมการรวมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันได กําหนดขึ้นโดยใชราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไมมีราคาตลาดรองรับ ความสัมพันธที่กลุมบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมรวมกันในบริษัท หรือ เปนกิจการที่บริษัทควบคุม หรือควบคุมรวมกัน หรือเปนบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุมบริษัท มีดังนี้ ชื่อกิจการ

ประเทศที่จัดตัง้ / สัญชาติ

บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

ไทย

บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด

ไทย

บริษัท เนชั่น นิวส เน็ตเวิรค จํากัด

ไทย

บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเคชั่น จํากัด

ไทย

บริษัท เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด) บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท โยมิอูร-ิ เนชั่น อินฟอรมเมชั่น เซอรวิส จํากัด

ไทย

ไทย

ไทย ไทย

ไทย ไทย 14

ลักษณะความสัมพันธ เปนบริษัทใหญ ถือหุนในบริษัทรอยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เป น บริ ษั ท ย อ ย บริ ษั ท ถื อ หุ น ร อ ยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เปนกิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทถือหุนรอยละ 49.99 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 62.97 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 99.97 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด ถือหุนรอยละ 99.99 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 84.50 และ มีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่บริษัทใหญถือหุนรอยละ 45.00 และ มีกรรมการรวมกัน


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) ชื่อกิจการ เอ็กมอนท อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง เอ/เอส

ประเทศที่จัดตัง้ / สัญชาติ เดนมารค

ลักษณะความสัมพันธ เปนผูถือหุนของบริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด ถือหุนรอยละ 49

นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแตละประเภทอธิบายไดดังตอไปนี้ รายการ

นโยบายการกําหนดราคา

ขายสินคาและการใหบริการ รายไดอื่น ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

ราคาซื้อขายทางการคาปกติตามราคาตลาดทั่วไป ตามอัตราที่ตกลงรวมกันซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาด ตามอัตราที่ตกลงรวมกันซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาด ตามอัตราที่ตกลงรวมกัน

รายการที่สําคัญกับกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับแตละงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 สรุปไดดังนี้ สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 (พันบาท)

บริษัทใหญ ขายสินคาและการใหบริการ ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

1,699 9,048 1,880

1,589 7,028 1,653

1,659 4,419 1,612

1,516 2,802 1,359

-

-

215

206

10,575 645 456

14,124 466 464

79 916 336

932 181

บริษัทยอย รายไดอื่น กิจการที่ควบคุมรวมกัน ขายสินคาและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายในการขายและบริหาร

15


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 (พันบาท)

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน ขายสินคาและการใหบริการ ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร สําหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน

661 15,635 738

743 18,946 868

งบการเงินรวม 2553 2552

651 10,865 30

726 10,072 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 (พันบาท)

บริษัทใหญ ขายสินคาและการใหบริการ ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

5,910 19,253 3,990

4,423 16,998 2,888

5,697 8,882 3,282

4,252 7,536 2,256

-

-

2 424

18 432

กิจการที่ควบคุมรวมกัน ขายสินคาและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายในการขายและบริหาร

24,626 1,384 996

29,763 977 959

228 1,867 633

2 1,954 396

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน ขายสินคาและการใหบริการ ตนทุนการผลิต คาใชจายในการขายและบริหาร

1,888 31,639 1,483

1,810 37,198 1,761

1,877 20,830 30

1,789 20,193 4

บริษัทยอย ขายสินคาและการใหบริการ รายไดอื่น

16


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 31 ธันวาคม 2552 มีดังนี้ ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกีย่ วของกัน

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) 1,677

2,457

-

-

33,435

39,723

222

155

269

265

269

265

52 100 35,533 (100) 35,433

184 122 42,751 (100) 42,651

42 99 2,294 (100) 2,194

184 119 2,786 (100) 2,686

บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท โยมิอูร-ิ เนชั่น อินฟอรมเมชั่น เซอรวสิ จํากัด บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) อื่น ๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

17

1,660

2

2,063

-


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกีย่ วของกัน

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) 4,760

6,695

4,697

6,366

-

-

1,665

1,764

3,906

2,807

7,182

5,136

720 98 261 9,745 (225) 9,520

290 110 364 10,266 (239) 10,027

720 98 47 14,409 (10) 14,399

289 110 113 13,778 (10) 13,768

2553

2552

2553

2552

บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเคชั่น จํากัด บริษัท เนชั่น นิวส เน็ตเวิรค จํากัด อื่น ๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

(พันบาท) หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) สําหรับ - งวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน - งวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน

(14)

18

-

-

-


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) เจาหนี้การคา - กิจการที่เกีย่ วของกัน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท)

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

17,377

11,549

7,872

5,601

กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

10

7

19

13

7,075 6,157 3,476

16,270 6,703 3,249

2,263 5,986 2,556

3,699 6,703 2,255

219 4 34,318

-

219 18,915

5

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด) บริษัท ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เอ็นเอ็มแอล จํากัด บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) อื่น ๆ รวม เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกีย่ วของกัน

บริษัทใหญ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน)

12 37,790

18,276

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) 3,449

2,728

2,867

2,275

-

-

113

15

บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

19


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) เจาหนี้อื่น – กิจการที่เกีย่ วของกัน (ตอ)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท)

กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด

1,627

1,295

1,165

965

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เนชั่น นิวส เน็ตเวิรค จํากัด อื่น ๆ รวม

70 684 106 5,936

226 217 82 4,548

21 684 25 4,875

177 217 3,649

คาใชจายคางจาย

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท)

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด)

857

20

204

584

29


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) 4

ลูกหนี้การคา

กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสินคารับคืน สุทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) 3 35,533 42,751 2,294 2,786 57,831 64,491 28,595 30,539 93,364 107,242 30,889 33,325 (4,613) (4,150) (618) (610) (9,628) (11,076) (2,594) (2,514) 79,123 92,016 27,677 30,201 2553

2552

2553

2552

-

-

(พันบาท) หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับ - งวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน - งวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน

7 463

210 1,285

7

การวิเคราะหอายุของลูกหนี้การคา มีดังนี้

กิจการที่เกี่ยวของกัน ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) 10,403 19,744 2,004 2,609 25,033 97 35,533 (100) 35,433

หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ 21

22,907 100 42,751 (100) 42,651

191 99 2,294 (100) 2,194

77 100 2,786 (100) 2,686


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) กิจการอื่น ๆ ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน

46,486

54,050

22,829

26,511

หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสินคารับคืน สุทธิ

5,389 2,725 3,231 57,831 (4,513) (9,628) 43,690

6,861 1,169 2,411 64,491 (4,050) (11,076) 49,365

3,556 1,123 1,087 28,595 (518) (2,594) 25,483

3,812 9 207 30,539 (510) (2,514) 27,515

รวม

79,123

92,016

27,677

30,201

โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของกลุมบริษัท มีระยะเวลาเฉลี่ย 90 วัน

22


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) 5

เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 (พันบาท) บริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 30 มิถุนายน

25,364 25,364

25,364 25,364

กิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 30 มิถุนายน

25,046 25,046

25,046 25,046

รวม ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 30 มิถุนายน

50,410 50,410

50,410 50,410

23


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) เงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 31 ธันวาคม 2552 และเงินปนผลรับสําหรับแตละงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดสวนความเปน เจาของ 30 31 มิถุนายน ธันวาคม 2553 2552 (รอยละ) บริษัทยอย บริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท เนชั่น เอ็กมอนท เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด รวม

ทุนชําระแลว 30 31 มิถุนายน ธันวาคม 2553 2552

วิธีราคาทุน 30 31 มิถุนายน ธันวาคม 2553 2552

การดอยคา 30 31 มิถุนายน ธันวาคม 2553 2552 (พันบาท)

วิธีราคาทุน - สุทธิ 30 31 มิถุนายน ธันวาคม 2553 2552

เงินปนผลรับสําหรับ งวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 30 มิถุนายน มิถุนายน 2553 2552

99.99

99.99

41,250

41,250

25,364

25,364

-

-

25,364

25,364

-

-

49.99

49.99

50,000 91,250

50,000 91,250

25,046 50,410

25,046 50,410

-

-

25,046 50,410

25,046 50,410

-

27,496 27,496

24


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) 6

อุปกรณ การซื้อ จําหนาย และโอนอุปกรณระหวางงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2553 การซื้อและ การโอนเขา ราคาทุน

สวนปรับปรุงสินทรัพยที่เชา ยานพาหนะ เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใชสํานักงาน สินทรัพยระหวางการกอสรางและติดตั้ง รวม

1,329 1,016 2,345

2552

การจําหนาย การซื้อและ และการโอน การโอนเขา ออก-ราคาตาม ราคาทุน บัญชีสุทธิ (พันบาท) 234 699 480 90 629 234 1,898

การจําหนาย และการโอน ออก-ราคาตาม บัญชีสุทธิ (66) (66)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 การซื้อและ การโอนเขา ราคาทุน

สวนปรับปรุงสินทรัพยที่เชา ยานพาหนะ เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใชสํานักงาน สินทรัพยระหวางการกอสรางและติดตั้ง รวม

NINE Q2'10_Thai.doc

451 451

25

การจําหนาย การซื้อและ และการโอน การโอนเขา ออก-ราคาตาม ราคาทุน บัญชีสุทธิ (พันบาท) 194 480 90 629 1,393

2552 การจําหนาย และการโอน ออก-ราคาตาม บัญชีสุทธิ -


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) 7

สินทรัพยไมมีตัวตน ในระหวางงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทและบริษัทไดมีการซื้อสินทรัพยไมมีตัวตนรวม เปนเงินทั้งสิ้น 12.2 ลานบาท และ 4.7 ลานบาท ตามลําดับ (30 มิถุนายน 2552: 11.7 ลานบาท และ 2.6 ลานบาท ตามลําดับ)

8

เงินฝากที่มีขอจํากัดในการใช ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 เงินฝากออมทรัพยของกิจการที่ควบคุมรวมกันกับธนาคารในประเทศแหงหนึ่งจํานวน 7.55 ลานบาท ไดนําไปใชเปนหลักประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากธนาคาร จํานวน 30 ลานบาท

9

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) สวนที่หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร สวนที่มีหลักประกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่มีหลักประกัน สวนที่ไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สวนที่มีหลักประกัน รวม

3,756

174

-

-

8,044 11,800

174

-

-

-

-

-

174

-

-

630 12,430

ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 กลุมบริษัทและบริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารกับสถาบันการเงินในประเทศบางแหง เปนจํานวนรวม-15.4-ลานบาทและ-5.4-ลานบาท ตามลําดับ (2552: 16 ลานบาทและ 6 ลานบาท ตามลําดับ) ซึ่ง ค้ําประกันโดยบริษัทใหญ NINE Q2'10_Thai.doc

26


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) ในเดื อ นกั น ยายน 2552 กิ จ การที่ ควบคุ ม ร ว มกั น ได ทําสั ญ ญาเงิ น กู ยื ม ระยะยาวกั บ สถาบั น การเงิ น ในประเทศ แหงหนึ่ง จํานวนวงเงินทั้งสิ้น 30 ลานบาท เงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมขั้นต่ําลบดวยอัตรารอยละตามที่กําหนด ในสัญญา เงินกูยืมดังกลาวค้ําประกันโดยบริษัทและผูถือหุนรายใหญของกิจการที่ควบคุมรวมกัน-และเงินฝาก ออมทรัพยจํานวนเงิน 7.5 ลานบาท ในระหวางป 2553 กิจการที่ควบคุมรวมกันไดเบิกใชเงินกูยืมรวมเปนจํานวนเงิน 20 ลานบาท 10

เจาหนี้การคา

กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ๆ รวม 11

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) 34,318 37,790 18,915 18,276 3 31,475 33,660 27,929 29,353 65,793 71,450 46,844 47,629

สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํา รองตามกฎหมาย”) อยา งนอ ยรอ ยละ 5 ของกํา ไรสุท ธิป ระจํา ป หลัง จากหัก ขาดทุน สะสมยกมา (ถา มี) จนกวาสํารองดังกลาวมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผล ไมได

12

ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน บริษัทดําเนินกิจการในสวนงานธุร กิจเดียว คือ ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพและจัดจําหนาย และดําเนินธุรกิจในสวนงาน ทางภูมิศ าสตรเ ดีย วคือ ในประเทศไทย ดัง นั้น รายไดแ ละผลการดํา เนิน งานทั้ง หมดที่แ สดงในงบการเงิน จึง เกี่ยวของกับสวนงานธุรกิจและสวนงานทางภูมิศาสตรตามที่กลาวไว

NINE Q2'10_Thai.doc

27


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) 13

คาใชจายตามลักษณะ สําหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน

ซื้อกระดาษ คาพิมพ การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูป คาจางพิมพและคาขนสง คาใชจายในการผลิตอื่น คาใชจายดําเนินการ คาใชจายในการขาย คาใชจายผลประโยชนตอบแทนพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ขาดทุนจากสินคาลาสมัย หนี้สงสัยจะสูญ อุปกรณตัดจําหนาย 14

งบการเงินรวม 2553 2552 16,200 20,508 (6,756) 26,148 14,512 15,289 2,839 21,159 8,699 3,694 449 234

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(พันบาท) 20,410 22,342 (1,691) 29,479 19,580 9,948 3,030 18,560 10,047 8,357 1,285 -

3,748 5,079 (2,240) 26,017 2,753 7,407 1,557 12,685 3,339 346 7 -

2,001 2,927 368 27,621 925 6,379 1,083 10,370 2,518 3,494 -

กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับแตละงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และ 2552 คํานวณ จากกําไรสําหรับงวดที่เปนสวนของผูถือหุนของบริษัทและจํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางงวดโดย แสดงการคํานวณดังนี้ สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 (พันบาท / พันหุน)

กําไรที่เปนสวนของผูถือหุนของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน) จํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลว กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

NINE Q2'10_Thai.doc

28

3,171

491

4,386

4,392

70,000

70,000

70,000

70,000

0.05

0.01

0.06

0.06


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) สําหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 (พันบาท / พันหุน)

กําไรที่เปนสวนของผูถือหุนของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน)

10,872

1,560

9,973

35,938

จํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลว

70,000

70,000

70,000

70,000

0.16

0.02

0.14

0.51

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) 15

ภาระผูกพันกับกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 (พันบาท) ภาระผูกพันจากสัญญาเชาดําเนินงานที่ยกเลิกไมได ภายในหนึ่งป หลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป รวม ภาระผูกพันอื่น ๆ หนังสือค้ําประกันจากธนาคาร

3,896 3,082 6,978

3,798 715 4,513

3,019 3,082 6,101

2,144 715 2,859

585

-

555

-

บริษัทไดทําสัญญาเชาและบริการ เพื่อเชาสํานักงานรวมทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกกับบริษัทในประเทศแหงหนึ่ง เปนระยะเวลา-2-ป โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 30 เมษายน 2552 ถึงวันที่-29-เมษายน-2554 และบริษัทสามารถตออายุไดอีก1-ป ภายใตเงื่อนไขเดิม กิจการที่ควบคุมรวมกันไดทําสัญญาเชาคลังสินคา 2 แหงกับบริษัทในประเทศแหงหนึ่ง โดยกิจการที่ควบคุมรวมกัน ตกลงจายคาเชาตามอัตราที่ตกลงกันในสัญญา สัญญานี้มีผลบังคับใชเปนเวลา 3 ป สิ้นสุดวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตามลําดับ

NINE Q2'10_Thai.doc

29


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) 16

เงินปนผล ในการประชุมสามัญประจําปของผูถือหุนของบริษัท เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการจัดสรรกําไร เปนเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.71 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 49.7 ลานบาท โดยเงินปนผลจํานวน 35 ลานบาท ไดจายใหแกผูถือหุนเปนเงินปนผลระหวางกาลแลวในระหวางป 2552 และเงินปนผลจํานวน 14.7 ลานบาท ไดจาย ใหแกผูถือหุนแลวในระหวางป 2553

17

หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ในเดือนกันยายน 2552 บริษัทยอยไดทําสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศแหงหนึ่งจํานวน วงเงินทั้งสิ้น 10 ลานบาท เงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมขั้นต่ําลบดวยอัตรารอยละตามที่กําหนดในสัญญา เงินกูยืม ดังกลาวค้ําประกันโดยบริษัท-และเงินฝากออมทรัพยจํานวนเงิน 2.5 ลานบาท ณ วันที่-30 มิถุนายน 2553-บริษัทยอย ดังกลาวยังไมไดเบิกใชเงินกูยืมดังกลาว

18

มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีย่ งั ไมไดใช กลุมบริษัทยังไมไดใชมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมดังตอไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไมมีการบังคับใช มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและ ปรับปรุงใหมดังตอไปนี้กําหนดใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี / มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เรื่อง

ปที่มีผล บังคับใช

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552)

การนําเสนองบการเงิน สินคาคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และขอผิดพลาด เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ภาษีเงินได สัญญาเชา การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

2554 2554 2554 2554

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) NINE Q2'10_Thai.doc

30

2554 2556 2554 2554 2554


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) มาตรฐานการบัญชี / มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เรื่อง

ปที่มีผล บังคับใช

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552)

สวนไดเสียในการรวมคา กําไรตอหุน งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่ อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพยไมมีตัวตน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงาน (ปรับปรุง 2552) ที่ยกเลิก

2554 2554 2554 2554 2554 2554 2554

ขณะนี้ผูบริหารกําลังพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใชมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมดังกลาวตองบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ 19

การจัดประเภทรายการใหม รายการบางรายการในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และงบกําไรขาดทุนสําหรับงวดสามเดือนและหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2552 ไดจัดประเภทใหมใหสอดคลองกับรายการในงบการเงินระหวางกาลของงวด 2553 ดังนี้ 2552 งบการเงินรวม

งบดุล คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

NINE Q2'10_Thai.doc

กอนจัด ประเภท ใหม

จัดประเภท ใหม

36,784

27,950 (27,950)

31

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจัด กอนจัด หลังจัด ประเภท ประเภท จัดประเภท ประเภท ใหม ใหม ใหม ใหม (พันบาท) 27,950 8,834

8,693

4,541 (4,541)

4,541 4,152


บริษัท เนชั่น อินเตอรเนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล สําหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ไมไดตรวจสอบ) 2552 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจัด กอนจัด หลังจัด ประเภท ประเภท จัดประเภท ประเภท ใหม ใหม ใหม ใหม (พันบาท)

กอนจัด ประเภท ใหม

จัดประเภท ใหม

งบกําไรขาดทุน สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน ตนทุนขายสินคาและตนทุนการ ใหบริการ 46,518 คาใชจายในการบริหาร 16,168

70 (70)

46,588 16,098

20,205 5,554

70 (70)

20,275 5,484

สําหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน ตนทุนขายสินคาและตนทุนการ ใหบริการ 101,066 คาใชจายในการบริหาร 31,878

102 (102)

101,168 31,776

42,137 11,368

102 (102)

42,239 11,266

NINE Q2'10_Thai.doc

32


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.