Final Report ปีที่ 1 พ.ศ. 2557

Page 1

รายงานฉบับสมบูรณ์ Final Report

โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO (สาขางานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน)

เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ธันวาคม ๒๕๕๗


สารบัญ หน้า บทที๑่ กรอบแนวคิดและวิธีการศึกษาถึงศักยภาพและความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ ๑.๑ หลักการและเหตุผล ๑.๒ วัตถุประสงค์ ๑.๓ ขอบเขตการดาเนินการ ๑.๔ วิธีดาเนินการศึกษา ๑.๕ นิยามศัพท์ ๑.๖ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ ๒ แนวคิดและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ๒.๑ เมืองสร้างสรรค์และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๒.๒ ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เข้าสู่การเป็นเมืองสร้างสรรค์ (CreativeCity) ของ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๒.๓ การทบทวนวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๒.๓.๑) แนวคิดเรื่องหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๒.๓.๒) แนวคิดเรื่องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ๒.๓.๓) แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วม ๒.๓.๔) แนวคิดเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืน ๒.๓.๕) แนวคิดเรื่องการประเมินศักยภาพการรองรับ (Carrying Capacity) ของเมือง เชียงใหม่ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City ๒.๔ เอกสารงานวิจัย และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง บทที่ ๓ วิธีการศึกษา ๓.๑ วัตถุประสงค์ข้อที่ ๑ เพื่อศึกษาเอกลักษณ์และสภาพการณ์ของหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๓.๑.๑ การกาหนดแหล่งข้อมูล ๓.๑.๒ เครื่องมือการเก็บข้อมูล ๓.๑.๓ การจัดเก็บข้อมูล ๓.๑.๔ การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล ๓.๒ ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ ๒ เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพความเป็นไปได้และความพร้อมของ

๑–๑ ๑–๓ ๑–๓ ๑–๘ ๑–๑๑ ๑–๑๓

๒-๑ ๒-๑๐ ๒-๑๕ ๒-๑๕ ๒-๒๐ ๒-๓๒ ๒-๔๐ ๒-๖๒ ๒-๗๑

๓-๑ ๓-๑ ๓-๓ ๓-๓ ๓-๓ ๓-๔


หน้า หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ ที่จะยื่นเสนอเป็น “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๓.๒.๑ การกาหนดแหล่งข้อมูล ๓.๒.๒ ที่ปรึกษาได้จัดทาเครื่องมือจัดเก็บข้อมูลจานวน ๗ ชุด ๓.๒.๓ การจัดเก็บข้อมูล ๓.๒.๔ การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล ๓.๓ วัตถุประสงค์ข้อที่ ๓ เพื่อจัดทาข้อเสนอแนะและแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งเสริมงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็น “เมืองสร้างสรรค์ ” (Creative City) โดยเป็นเครือข่ายสมาชิกสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๓.๓.๑ การรวบรวมข้อมูล ๓.๓.๒ การสังเคราะห์ข้อมูล บทที่ ๔ เอกลักษณ์และสภาพการณ์ของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ ๔.๑ เอกลั ก ษณ์แ ละสภาพการณ์ข องหั ต ถกรรมและศิ ล ปะพื้น บ้า นของเมือ งเชีย งใหม่ ที่ เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์( Creative City) ของ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๔.๑.๑ เอกลักษณ์ของงานศิลปะหัตกรรมพื้นบ้านจังหวัดเชียงใหม่ ๔.๑.๒ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานศิลปะหัตกรรมพื้นบ้านเมืองเชียงใหม่ ๔.๑.๓ ข้อมูลเกี่ยวกับงานหัตถกรรม ๔.๒ ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๔.๒.๑ การแสดงค่าร้อยละต่อประเด็นคาถามหลักของ “การเตรียมความพร้อมของ เมืองเชียงใหม่ เพื่อการขับเคลื่อนเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ขององค์กร UNESCO ๔.๒.๒ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม บทที่ ๕ ศักยภาพและสภาพการณ์ในปัจจุบันของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๕.๑ ศักยภาพและสภาพการณ์ในปัจจุบันของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๕.๑.๑ ศักยภาพของเมืองเชียงใหม่ทางด้านต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของ ก า ร เ ป็ น เมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art)

๓-๕ ๓-๖ ๓-๖ ๓-๗ ๓-๗

๓-๗ ๓-๑๐

๔-๒

๔-๒ ๔-๓ ๔-๔๕ ๔-๙๘ ๔-๑๐๘

๔-๑๑๘

๕-๒ ๕-๒


หน้า ตามนิยามขององค์การ UNESCO ๕.๑.๒ สภาพการณ์ในปัจจุบันของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๕.๒ ความพร้ อมของเมืองเชีย งใหม่ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ของ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๕.๓ แผนยุทธศาสตร์และการดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เข้าสู่การเป็นเมือง สร้างสรรค์(Creative City) ของ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน(Crafts and Folk Art) ๕.๔ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ บทที่ ๖ ผลการศึกษาดูงานเมืองที่เป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก ๖.๑ ประวัติเมือง คานาซาวะ ๖.๑.๑) พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ต่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ของคานาซาวะ ๖.๑.๒) วิถีวัฒนธรรมการผลิตของคานาซาวะ ๖.๒ วัตถุประสงค์ของการศึกษาดูงาน ๖.๓ ความจาเป็นของการศึกษาดูงาน ๖.๔ เป้าหมายของการศึกษาดูงาน ๖.๕ การติดต่อประสานงานกับเมืองคานาซาวะ ๖.๖ กาหนดการศึกษาดูงานเมืองคานาซาวะ ๖.๗ รายละเอียดผลของการศึกษาดูงาน ๖.๘ ประสบการณ์ที่ได้รับ ๖.๘.๑) ประสบการณ์การแลกเปลี่ยนการทางานเรื่องเมืองสร้างสรรค์กับเทศบาล Kanazawa ๖.๘.๒) ประสบการณ์เรื่องกรอบวิธีคิดในการพัฒนาเมืองผ่านการทางานร่วมกัน ระหว่างภาครัฐและเอกชน ๖.๘.๓) ประสบการณ์การเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้คนในเมืองโดยหน่วยงานรัฐ ๖.๘.๔) ประสบการณ์เรื่องวิธีการสร้างการเรียนรู้ ชื่นชม และสืบทอดมรดกทาง วัฒนธรรมของเมือง ๖.๘.๕) ประสบการณ์เรื่องวิธีการสร้างการเรียนรู้ ชื่นชม และรักษามรดกทาง วัฒนธรรมของเมือง Shirakawago และ Takayama ๖.๙ ประโยชน์และผลที่จะนามาใช้กับหน่วยงาน

๕-๕ ๕-๙ ๕-๑๑

๕-๒๒

๖-๒ ๖-๒ ๖-๓ ๖-๓ ๖-๔ ๖-๕ ๖-๕ ๖-๗ ๖-๙ ๖-๑๑ ๖-๑๑ ๖-๑๔ ๖-๑๖ ๖-๑๖ ๖-๒๒ ๖-๒๔


บทที่ ๑

บทนา ๑.๑ หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ กาหนดให้มีหน่วยการบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง เรียกว่า “องค์การบริหารส่วนจังหวัด” โดยมีอยู่ในทุกจังหวัด ๆ ละ ๑ แห่ง รวม ๗๗ แห่ง มีฐานะเป็นนิติบุคคลและมีพื้นที่ทั่วทั้ งจังหวัด โดยทับซ้อนพื้นที่กับพื้นที่ของหน่วยงาน การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น คือ เทศบาล สุขาภิบาลและองค์การบริหารส่วนตาบลในจังหวัดนั้น ความเป็นนิติบุคคลก่อให้เกิดความสามารถในการทานิติกรรม ความเป็นหน่วยงานการบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่นอื่นทาให้เกิดอานาจหน้าที่ และพื้นที่ในการใช้อานาจหน้าที่นั้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด เชียงใหม่ มีอานาจหน้าที่ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ในหลายด้านทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ สาธารณูปโภคทรัพยากรธรรมชาติและจารีตประเพณี ดัง พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่ว นจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๖ ตามข้อ ๑ (๗) คือ การคุ้มครอง ดูแล การบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, และตาม พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ตามข้อ ๕, ๑๔, ๑๘ กล่าวคือ ข้อ ๕ การคุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษาปุาไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, ข้อ ๑๔ การส่งเสริมการท่องเที่ยว, ข้อ ๑๘ การส่งเสริมการกีฬา จารีตประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ได้กาหนดนโยบายการบริหาร เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ที่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และจังหวัด เชียงใหม่ หนึ่งในนโยบายการบริหารงานที่สาคัญคือการมุ่งเน้นการทานุบารุงรักษาศาสนา รักษา เอกลักษณ์ทางศิลปะและวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมทางสถาปัตยกรรม แหล่งโบราณสถาน และแหล่ง ประวัติศาสตร์ รวมทั้งศิลปะและวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นของเมืองเชียงใหม่ ให้ดารงอยู่และสืบทอดสู่คนรุ่นต่อไป(องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ : ๒๕๕๕ ) โดยมีแนวทาง ปฏิบัติดังนี้ ๑) ส่งเสริมสนับสนุนให้ท้องถิ่นดาเนินกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ ทางานอย่างบูรณาการ เพื่อให้ เกิดความตระหนัก ในการดาเนินกิจกรรมในด้านการศาสนา การฟื้นฟูจารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่และชนเผ่าที่หลากหลาย

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๑-๑


๒) ส่งเสริมสถาบันทางการศึกษา และสถาบันทางสังคมต่างๆ ให้มีบทบาทสาคัญในการอนุรักษ์ ทานุบารุง รักษา สืบทอด พัฒนา มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีอันดีงาม ตลอดจน สถาปัตยกรรมโบราณและแหล่งประวัติศาสตร์ของจังหวัดเชียงใหม่ ๓) สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านศิลปะ วัฒนธรรมสู่ท้องถิ่นและศาสนสถาน โดย ร่วมกับองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์กรที่ทางานเพื่อสังคมทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อร่วมพัฒนาเมืองเชียงใหม่ สู่เมืองแห่งการสร้างสรรค์ทางศิลปะและวัฒนธรรม (Creative City of Art and Culture) นโยบายดังกล่าวข้างต้นขององค์การบริหารส่วนจังหวั ดเชียงใหม่ สอดรับกับวิสัยทัศน์ที่ตั้งขึ้น ของจังหวัดเชียงใหม่ (องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ : ๒๕๕๖ ) ภายใต้นโยบาย “นครแห่งชีวิต และความมั่งคั่ง” (City of Life & Prosperity) ซึ่งเกี่ยวพันกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจโดยการส่งเสริมการพัฒนาเมือง สร้างสรรค์ (Creative City) และกาหนดนโยบายการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ ภายใต้พันธะกิจที่มุ่งเน้น และเสริมสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในระดับภูมิภาคและท้องถิ่น โดยเฉพาะการเพิ่มมูลค่าสินค้าบริการ ควบคู่กับการพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์อันเป็นการเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการและบุคลากรให้ น ามาคิ ดสร้ างสรรค์ม าเพิ่ มมู ล ค่า ของสิ น ค้า และบริ การพัฒ นาระบบการเงิน พัฒ นาอุ ตสาหกรรม สร้างสรรค์และพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร ที่มีคุณภาพและทันสมัยเพื่อสร้าง บรรยากาศและสภาวะที่เอื้ออานวยต่อการเรียนรู้ ศึกษาวิจัยและการพัฒนาความคิดให้มีการ สร้างสรรค์ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิต การค้า และการบริการของธุรกิจ สร้างสรรค์ของภูมิภาคอาเซียน (Creative Hub of ASEAN)นโยบายของรัฐบาลเมื่อนามาสู่การปฏิบัติ ยังเมืองเชียงใหม่เมืองที่มีความเจริญในด้านวัฒนธรรมศิลปกรรม ศาสนา ประเพณีและวรรณกรรมที่ สืบทอดมาจากอดีตจนปัจจุบันกว่า ๗๑๘ ปี ถือได้ว่าเมืองนี้มีต้นทุนทางวัฒนธรรมที่ยาวนานและ หลากหลายกลั บต้องเผชิญกับ ความท้าทายในกระบวนการวางแผนการดาเนินงานที่จาเป็นต้องมี การศึกษารากฐานเดิมทางศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อให้สามารถสร้างกระบวนการและแนวทาง ขับเคลื่ อนเมืองเชียงใหม่สู่เมืองสร้ างสรรค์อย่างเป็นรูปธรรมที่ผ่านมาจังหวัดเชียงใหม่ได้มีการจัด การศึกษารวบรวมและจัดทาข้อมูล เบื้องต้นของเมืองเชียงใหม่เพื่อสมัครเข้าร่วมการประเมินเป็น เครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึ่งกระบวนการดาเนินงาน จาเป็นต้องมี การศึกษาทั้งแนวกว้างและเชิงลึกและปฏิบัติการอย่างเป็นรูปธรรมทั้งส่วนนโยบายและปฏิบัติการจริง เพื่อให้ได้ข้อมูลและผลสัมฤทธิ์ที่เกี่ยวข้องตามเกณฑ์มาตรฐานที่องค์การ UNESCO กาหนดไว้ อีกทั้ง ยังต้องมีการรับรองจากสมาชิกเมืองสร้า งสรรค์ขององค์การUNESCO ที่กระบวนการดังกล่าว ต้อง อาศัยระยะเวลาและผู้ที่เข้าใจ ในกระบวนการของภาพรวมทั้งหมด ทางองค์การบริหารส่วนจังหวัด รายงานฉบับที่ ๓ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๑-๒


เชียงใหม่ได้เชิญชวนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้ดาเนินการโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็น เครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นมหาวิทยาลัย แห่งแรกในส่วนภูมิภาค ที่จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐและเจตนารมณ์ของประชาชนในภาคเหนือ ให้ เป็นศูนย์กลางทางวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงเพื่ออานวยประโยชน์แก่ท้องถิ่นและประเทศชาติโดย ส่วนรวม และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ตระหนั กเห็นความมุ่งมั่นตามนโยบายขององค์การบริหารส่วน จังหวัดเชียงใหม่ ในการส่งเสริมให้จังหวัดเชียงใหม่เป็นเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ขององค์การ UNESCO ให้ประสบความสาเร็จตามที่รัฐบาลได้กาหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) จึงได้จัดทาโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ ภายใต้ชื่อ “ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ของ องค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) ” โดยความร่วมมือจากผู้ที่มีความ เชี่ยวชาญหลากหลายสาขา อันจะสามารถทาให้นโยบายขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่และ รัฐบาลดาเนินการสาเร็จสมดังวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ๑.๒ วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาเอกลักษณ์และสภาพการณ์ของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ที่ เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๒) เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพความเป็นไปได้และความพร้อมของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของ เมืองเชียงใหม่ ที่จะยื่นเสนอเป็น “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่ายสมาชิกเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๓) เพื่อจัดทาข้อเสนอแนะแนวทางและแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมงานหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็น “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็น เครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ต่อไป ๑.๓ ขอบเขตการดาเนินการ ๑) ขอบเขตพื้นที่ การดาเนินการศึกษาในปีแรกนี้ ประกอบด้วย ๘ พื้นที่ของจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีรากฐาน ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมร่วมกัน ได้แก่ ๑.๑) อาเภอเมืองเชียงใหม่ ๑.๒) อาเภอสารภี ๑.๓) อาเภอหางดง ๑.๔) อาเภอสันปุาตอง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๑-๓


๑.๕) อาเภอแม่ริม ๑.๖) อาเภอดอยสะเก็ด ๑.๗) อาเภอสันกาแพง ๑.๘) อาเภอสันทราย ทั้งนี้เดิมในสัญญาการดาเนินงาน ได้ระบุเพียง ๗ พื้นที่ของเมืองเชียงใหม่ หากแต่ผลการทางาน หลังจากการประชุมเสนอผลงานการดาเนินงาน ในวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗ คณะกรรมการตรวจ รับงานจ้างได้ขอให้คณะทางานเพิ่มพื้นที่การทางานอีก ๑ อาเภอ คือ อาเภอสันทราย เพื่อให้เกิดความ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัดเชียงใหม่รอบใน โดยให้เน้นใน ๗ พื้นที่หลักเป็นลาดับแรก (ภาพที่ ๑.๑) รวมเป็น ๘ พื้นที่ของจังหวัดเชียงใหม่

รายงานฉบับที่ ๓ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๑-๔


ภาพที่ ๑.๑ แสดงขอบเขต ๘ พื้นที่หลักการศึกษาวิจัยในจังหวัดเชียงใหม่รอบใน ๒) ขอบเขตประชากรในการศึกษา จังหวัดเชียงใหม่มีประชากรทั้งสิ้น ๑,๖๖๖,๘๘๘ คน สาหรับพื้นที่ในการศึกษามีจานวน ๘ อาเภอ ประกอบด้วย อาเภอเมืองเชียงใหม่ มีประชากร ๒๓๕,๑๕๔ คน อาเภอสารภี มีประชากร ๗๘,๘๓๕ คน อาเภอหางดงมีประชากร ๘๑,๖๓๕ คน อาเภอสันปุาตองมีประชากร ๗๕,๔๙๐ คน อาเภอแม่ริม มีประชากร ๘๗,๖๐๕ คน อาเภอดอยสะเก็ดมีประชากร ๖๙,๓๙๗ คน อาเภอสัน กาแพงมีประชากร ๘๐,๐๘๐ คน และอาเภอสันทรายมีประชากร ๑๒๓,๘๑๗ คน ( สานักบริหาร การทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย : ๒๕๕๖) และขอบเขตประชากรในการศึกษา ครั้งนี้ มี ๕ กลุ่ม คือ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๑-๕


๒.๑) บุคคลที่เป็นภูมิปัญญาทางศิลปหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านประเภทต่าง ๆ ๙ สาขา ได้แก่ ๑. งานปั้นและงานหล่อ ๒.งานทอผ้าและงานเย็บปักถักร้อย ๓.งานไม้แกะสลัก และผลิตภัณฑ์จากไม้ ๔.การก่อสร้าง ๕.งานเขียนและงานวาด ๖.งานจักสาน ๗.การทาเครื่อง กระดาษ ๘.งานบุดุนโลหะ ๙.งานเครื่องเขิน งานทั้ง ๙ สาขาเหล่านี้ จะสะท้อนผลงานและ กระบวนการผลิตการถ่ายทอด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการจัดการเชิงธุรกิจ ผ่านภูมิปัญญาที่ เป็นทั้งบุคคลและผู้แทนองค์กรชุมชนวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง โดยอาจจาแนกกลุ่มเป็นผลิตภัณฑ์ ดั้งเดิม และ / หรือผลิตภัณฑ์เลียนแบบของโบราณ (Imitated Antique) จานวน ๗๒ คน ๒.๒) ผู้ประกอบการ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและ การจัดจาหน่ายสินค้าหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ จานวน ๒๑๖ คน ๒.๓) ผู้ประกอบการส่งออกสินค้าหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านเมืองเชียงใหม่ รวมทั้ง ผู้ประกอบการด้าน Logistics และ Packaging สาหรับสินค้าดังกล่าว จานวน ๕ คน ๒.๔) กลุ่มผู้แทนภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จาก หัตถกรรมและศิลปวัฒนธรรม จานวน ๓๐ คน ๒.๕) กลุ่มนักวิชาการ จากสถาบันอุดมศึกษา องค์กรเอกชน และ องค์กรชุมชน จานวน ๕๐ คน ๓) ขอบเขตเนื้อหา ๓.๑)เอกลักษณ์และสภาพการณ์ของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๓.๑.๑) เอกลักษณ์ข้อมูลที่เกี่ยวกับงานหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ของเมืองเชียงใหม่ วิเคราะห์ และคัดเลือกงานหัตถกรรม และศิลปะ พื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ที่มีศักยภาพและความเหมาะสม สาหรับเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (Creative Economy) เพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ๓.๒) ศักยภาพและความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ ตลอดจนงานหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ เพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ขององค์การ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ซึ่งมีรายละเอียดและ ขั้นตอนการศึกษา ประกอบด้วย ๓.๒.๑) ศักยภาพของเมืองเชียงใหม่ทางด้านต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของ การ เป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ตามนิยามขององค์การ UNESCO รายงานฉบับที่ ๓ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๑-๖


- บริบททางประวัติศาสตร์ของจังหวัดเชียงใหม่ - ลักษณะทางกายภาพของ ๘ อาเภอ ประกอบด้วย อาเภอเมือง อาเภอ หางดง อาเภอสารภี อาเภอสันปุาตอง อาเภอแม่ริม อาเภอสันกาแพง อาเภอสัน ทรายและอาเภอดอยสะเก็ด - ข้ อ มู ล ผู้ ผ ลิ ต ผู้ ป ระกอบการ ที่ ไ ด้ รั บ การลงทะเบี ย นเป็ น ผู้ ผ ลิ ต ผู้ประกอบการ ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ จังหวัดเชียงใหม่ (OTOP) - ข้อมูลผู้ส่งออกสินค้างานหัตถกรรม (NOHMEX) ๓.๒.๒) ความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ทางด้านต่ างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของ การเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ตามนิยามขององค์การ UNESCO ๓.๒.๓) ความคิดเห็นจากการประชุมเสนอผลการศึกษาต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ตลอดจนกลุ่มเปูาหมายระดับ ชาวบ้าน ของจังหวัดเชียงใหม่ ๓.๓) ข้อเสนอแนะเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ ขององค์กร UNESCO ๓.๓.๑) ศึกษาการจัดทาเอกสารใบสมัคร (Application Form) สาหรับเตรียมการสมัคร เข้ารับการเสนอชื่อเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ขององค์กร UNESCO ซึ่งเป็นการนา ผลการศึกษาจากข้อ ๓.๓.๑ มาสังเคราะห์เพื่อการจัดเตรียมทาเอกสารใบสมัคร (Application Form) สาหรับเตรียมการสมัครเข้ารับการเสนอชื่อเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ของ องค์การ UNESCO ต่อไป ๓.๓.๒) การจัดกิจกรรมต้นแบบเพื่อส่งเสริมและพัฒนางานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๓.๓.๓) จัดการศึกษาดูงานเมืองที่เป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO อย่างน้อย ๑ เมือง เพื่อเตรียมการสร้างเครือข่าย เพื่อให้ได้รับการสนับสนุนและได้ รับรองจากสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ๓.๓.๔) ข้อเสนอแนะ ๔) ขอบเขตระยะเวลา ๒๔๐ วัน นับจากวันลงนามในสัญญา

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๑-๗


๑.๔ วิธีดาเนินการศึกษา การกาหนดพื้นที่และประชากร ๑) คณะผู้ศึกษาได้กาหนดพื้นที่ ๘ อาเภอ ตามข้อ ๓.๑ คือ อาเภอเมือง, อาเภอสารภี, อาเภอ หางดง, อาเภอสันปุาตอง, อาเภอแม่ริม, อาเภอดอยสะเก็ด, อาเภอสันกาแพง, อาเภอสันทราย โดย อาศัยเกณฑ์ดังนี้ ๑.๑) ภูมิหลังของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมร่วมกันของชุมชน ที่สะท้อนความเป็น ล้านนา และการบูรณาการทางศิลปวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ๑.๒) สภาพความเป็นแหล่งผลิตงานหัตถกรรม จากศิลปะพื้นบ้าน ที่เป็นทั้งภูมิปัญญาใน ชีวิตประจาวัน และที่ใช้เป็ นรากฐานสาคัญของการออกแบบผลิ ตภัณฑ์เชิงประยุกต์ เพื่อ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๒) การกาหนดประชากรกลุ่มตัวอย่างและผู้ให้ข้อมูลหลัก ประชากรในการศึกษาครั้งนี้แบ่งเป็น ๕ กลุ่ม ซึ่งผู้ศึกษากาหนดให้เป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ๒.๑) บุคคลที่เป็นภูมิปัญญา สาขาต่างๆ ๙ สาขาที่เป็นตัวแทนและเป็นที่ยอมรับ ของ สาธารณชนในการจรรโลงและสร้างงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านจานวน ๙ สาขา สาขาละ ๘ คน รวม ๗๒ คน ๒.๒) ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก และที่เกี่ยวข้องกับการจัด จาหน่าย สินค้าหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ จาแนกเป็น ๙ สาขา ขนาด สถานประกอบการละ ๘ คน รวม ๒๑๖ คน ๒.๓) ผู้ประกอบการส่งออกสินค้าหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านเมืองเชียงใหม่รวมทั้ง ผู้ประกอบการด้าน Logistics และ Packaging จานวน ๕ บริษัทหลัก ๒.๔) กลุ่มผู้ แทนภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการส่ งเสริม เศรษฐกิจสร้างสรรค์จาก หัตถกรรมและศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมบริการ หอการค้าจังหวัด สภาอุตสาหกรรม จังหวัด เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จานวน ๓๐ หน่วยงาน ๒.๕) กลุ่มนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรชุมชน ที่ เกี่ยวข้องกับหัตถกรรม ศิลปะพื้นบ้านและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องในเชียงใหม่ จานวน ๕๐ คน ๓) การพัฒนาเครื่องมือจัดเก็บข้อมูล คณะผู้ศึกษากาหนดให้มีเครื่องมือ เก็บข้อมูล ๙ ชุด ได้แก่ ๓.๑) แบบสอบถาม ๓.๒) แบบสัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้าง ๓.๓) แบบสังเกตการณ์ รายงานฉบับที่ ๓ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๑-๘


๓.๔) แบบตรวจสอบ สภาพคุณลักษณะและเอกลักษณ์ของหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ ๓.๕) ประเด็นวิเคราะห์เอกสาร ๓.๖) ประเด็นสัมภาษณ์เชิงลึก ๓.๗) ประเด็นการประชุมกลุ่มย่อย (Process Group Discussion Items) ๓.๘) ประเด็นการประชุมสัมมนา ๓.๙) ประเด็นการศึกษาดูงานต่างประเทศเครื่องมือทั้งหมดได้รับการทดสอบเพื่อหาค่า ความเชื่อมั่น (Reliability) และความคงเส้นคงวา (Validity) ตลอดจนการหาค่าความเชื่อมั่น เชิงเนื้อหา เพื่อให้แน่ใจได้ว่าสามารถจัดเก็บข้อมูลได้ สมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์การศึกษา ๔) ศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ สาหรับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) เพื่อ การเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ขององค์การ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ซึ่งมีรายละเอียดและขั้นตอนการศึกษา ๒ ขั้นตอน วิธีการเก็บข้อมูล คณะผู้วิจัยได้ทาการฝึกอบรมผู้ช่วยนักวิจัยเพื่อจัดเก็บข้อมูล โดยได้คัดเลือกจากนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท) สาขาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม และสาขาอื่นที่ เกี่ยวข้องใน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จานวน ๑๒ คน ส่วนวิธีการเก็บข้อมูล มี ๔ ขั้นตอน ขั้นที่ ๑ ศึกษาศักยภาพและความพร้อมเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ ขั้นที่ ๒ ศึกษาการจัดทาเอกสารใบสมัครเป็นเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ขั้นที่ ๓ การจัดกิจกรรมต้นแบบ ขั้นที่ ๔ การจัดการศึกษาดูงานเมืองสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึ่ง ขั้นที่ ๑ ศึกษาศักยภาพและความพร้อมเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอนย่อย คือ ขั้นที่ ๑.๑ ศึกษาความพร้อมเอกลักษณ์ สถานการณ์ ศักยภาพความพร้อม ขั้นที่ ๑.๒ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ขั้นที่ ๑.๓ จัดประชุมและนิทรรศการ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๑-๙


ขั้นที่ ๑.๔ การจัดทารายงาน ดังมีรายละเอียดแสดงขั้นตอนในแผนภูมิที่ ๑ ดังต่อไปนี้

รายงานฉบับที่ ๓ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๑ - ๑๐


๑.๕ นิยามศัพท์ ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economic) หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่มี ผู้ประกอบการณ์สร้างสรรค์เป็นกลไกขับเคลื่อนซึ่งจะก่อให้เกิดจาการจ้างงานและขยายฐานรายได้ และส่งผลต่อระบบภาษีให้กับประเทศ เมืองสร้างสรรค์ (Creative City) หมายถึง เมืองที่มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่หลากหลายเป็น ส่วนสาคัญของเศรษฐกิจและสังคมของเมืองนั้นและต้องประกอบการด้วยรากฐานที่มั่นคงทางสังคม และวัฒนธรรม มีการรวมกลุ่มกันอย่างหนาแน่นของคนทางานสร้างสรรค์ และมีสภาพแวดล้อมที่ ดึงดูดการลงทุนเพราะความยั่งยืนของสถานที่ในเชิงวัฒนธรรม เมืองดังกล่าวมีพัฒนาของอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องกับ วัฒนธรรมการเสริมสร้างความรู้ด้วยฐานทางวัฒนธรรม และการขยับตัวจาก ภาคอุตสาหกรรมสู่การบริการที่จะก่อให้เกิดการจ้างงาน การสร้างรายได้ และ การกระจายรายรับ รายจ่าย จนเป็นที่ยอมรับว่าเป็นเมืองที่อาศัยวัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นกลไกขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ หัตถกรรม (Craft) หมายถึง งานที่ใช้ฝีมือในการดัดแปลงวัสดุที่มีอยู่ตามธรรมชาติมาเป็น เครื่องมือใช้ในชีวิตประจาวันหรือโอกาสพิเศษในครอบครัวและสังคม ตามวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมและ ประเพณีของแต่ละท้องถิ่นเมื่อมนุษย์เริ่มใช้มือดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติให้มีรูปร่างและลักษณะ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเพื่อประโยชน์ในการใช้สอย นับได้ว่าเป็นการเริ่มต้นสร้างงานหัตถกรรมของ มนุษย์หัตถกรรมเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่ายิ่งเป็นผลงานที่ตกทอดจากอดีตที่เกิดจากฝีมือและ ปัญญาสร้างสรรค์เพื่อประโยชน์การใช้สอยในชีวิตประจาวันและความพึงพอใจทางวัฒนธรรมและ ประเพณี ศิลปะพื้นบ้าน (Folk Art) หมายถึง ศิลปะที่มีความงามความเรียบง่ายจากฝีมือของชาวบ้าน ทั่วไปชีวิตจิตใจของประชาชนศิลปะชาวบ้านหรือศิลปะพื้นบ้านส่วนใหญ่จะเกิดควบคู่กับการดาเนิน ชีวิตของชาวบ้านภายใต้อิทธิพลของชีวิตความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ และความ จาเป็นของสภาพท้องถิ่นเพื่อใช้สอยในชีวิตประจาวัน ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถที่จะตอบสนองความต้องการ รวมถึงการแก้ไขปัญหา และ การพัฒนาหรือการทาให้สิ่งต่างๆปรากฏให้เป็นสิ่งที่ประจักษ์ได้ ความพร้อม หมายถึง สภาพที่มีวุฒิภาวะ แรงจูงใจ และประสบการณ์เดิมสูงพอที่จะก่อให้เกิด การเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้โดยสะดวก เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ หมายถึง กลุ่มเมืองต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นทางการที่ คัดเลือกโดยองค์การ UNESCO เพื่อส่งเสริมการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรมของเมือง ต่างๆ ทั้งในประเทศที่กาลังพัฒนา และพัฒนาแล้วจาแนกเป็น เมืองสร้างสรรค์ใน ๗ สาขาได้แก่ City of Literature (เมืองแห่งวรรณกรรม) , City of Film(เมืองแห่งภาพยนตร์) , City of Music (เมือง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๑ - ๑๑


แห่งดนตรี) , City of Design (เมืองแห่งการออกแบบ) , City of Crafts & Folk Art (เมืองแห่ง หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) , City of Gastronomy (เมืองแห่งอาหารการกิน) , City of Media Art (เมืองแห่งสื่อศิลปะ) ศักยภาพและความพร้อมเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ ในการศึกษาครั้งนี้คณะที่ปรึกษาได้ กาหนดความหมายเชิงปฏิบัติการ ดังนี้ ๑. ศักยภาพเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ หมายถึงการแสดงถึงลักษณะและสถานการณ์ที่ เชียงใหม่สามารถได้รับการยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ที่แสดงออกถึงเมืองที่มีความหลากหลายทาง วัฒนธรรมอันเป็นส่วนสาคัญของเศรษฐกิจและสังคม บนรากฐานที่มั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการสั่งสมของภูมิปัญญามาแต่เนิ่นนาน โดยมีการรวมกลุ่มของคนทางานสร้างสรรค์ ด้วยสภาพ แววล้อมที่ดึงดูดการลงทุนและความยั่งยืนในธุรกิจ ศั ก ยภาพดั ง กล่ า วได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เกิ ด จากการที่ เ มื อ งเชี ย งใหม่ ไ ด้ มี วิ วั ฒ นาการและ พัฒนาการของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ วัฒนธรรมการเสริมสร้างความรู้ด้านฐานวัฒนธรรมจน กลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน การสร้างโอกาสการมีงานทา การตลาด การกระจาย รายได้ และส่งเสริม เผยแพร่ อนุ รักษ์ และพัฒนาต่อยอดของผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภูมิปัญญา และ วัฒ นธรรมของเมืองเชียงใหม่ที่เกิดจากอาชีพหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ทั้งนี้คณะที่ปรึกษาได้ กาหนดไว้จานวน ๙ ประเภทคือ ๑. งานปั้นหล่อ ๒. งานผ้า ๓. งานไม้ ๔. งานก่อสร้าง ๕. งานวาดเขียน ๖. งานจักสาน ๗. งานกระดาษ ๘. งานโลหะ ๙. งานเครื่องเขิน ๒. ความพร้ อ มเพื่ อ การเป็ น เมื อ งสร้ า งสรรค์ หมายถึ ง ผลการเปรี ย บเที ย บระหว่ า ง สถานการณ์ปั จจุ บั นและสถานการณ์ที่คาดหวังของศักยภาพ เพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์โดยใช้ รูปแบบการประเมินความต้องการ (Needs Assessment) ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างการเปรียบเทียบ สองสถานการณ์ดังกล่าว

รายงานฉบับที่ ๓ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๑ - ๑๒


เมื่อประมวลค่าทางสถิติพรรณนา หรือ ประมวลค่ าโดยวิธีการตีค วามหมาย ด้ว ยวิ ธีการ วิเคราะห์เชิงคุณภาพตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแล้ว หากค่าของสถานการณ์ที่ คาดหวังสูงกว่าค่า ของสถานการณ์ในปัจจุบันตามประเด็นของศักยภาพเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ แล้วค่าดังกล่าว ย่อมตีความได้ว่าเป็นระดับความพร้อมของการเป็นเมืองสร้างสรรค์ หากนาตัวแปรอื่นๆที่เกี่ยวข้องมา พิจารณาในเชิงปัจจัยและกระบวนการกับเงื่อนไขแห่งกลไกขับเคลื่อนแล้วย่อมตีความหมายได้ถึง ระดับความเป็นไปได้ในการเข้าสู่กระบวนการเป็นเมืองสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๑.๖ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑) ทาให้ได้ทราบศักยภาพและความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ ตลอดจนข้อมูลงานหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economic) เพื่อ สาหรับการเตรียมการเสนอเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ขององค์การ UNESCO ในสาขา หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๒) ช่วยสร้างความก้าวหน้า และการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านในการสนับสนุนร่วมมือกัน ผลักดันเมืองเชียงใหม่เป็นเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ๓) ทาให้มีเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดทาเอกสารยื่นสมัครเข้ารับการเสนอชื่อ เมืองสร้างสรรค์ของ (Creative City) ขององค์การ UNESCO ต่อไป ๔) ทาให้เกิดความพร้อมในการเตรียมการสร้างเครือข่าย เพื่อให้ได้รับการยอมรับและสนับสนุน จากเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก อย่างน้อย ๑ เมือง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๑ - ๑๓


บทที่ ๒ แนวคิดและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง คณะทางานศึกษาแนวคิดวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อได้ประยุกต์ แนวคิด ทฤษฏี และมาใช้ ในการจัดทาเป็ นกรอบแนวคิดการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับศักยภาพและความพร้อมของเมืองเชี ยงใหม่ เพื่อการเป็ นเมืองสร้างสรรค์ขององค์กร UNESCO แนวคิดวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องได้แก่ ๒.๑ เมืองสร้างสรรค์และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เมื อ งสร๎ า งสรรค๑ แ ละเศรษฐกิ จ สร๎ า งสรรค๑ เ ป็ น เรื่ อ งที่ เ ข๎ า ในประเทศไทยไมํ น าน ทั้ ง นี้ มี องค๑ประกอบ ที่เกี่ยวโยงเพื่อความเข๎าใจในหลายประการ ได๎แกํ ๒.๑.๑) ความหมายของเมืองสร๎างสรรค๑ ประกอบด๎วยหัวข๎อหลักดังนี้ ๒.๑.๑.๑) เมืองสร๎างสรรค๑ (Creative City) ๒.๑.๑.๒) กลุํมมวลชนสร๎างสรรค๑ (Creative Class) ๒.๑.๒) ความหมายของเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ ประกอบด๎วยหัวข๎อหลักดังนี้ ๒.๑.๒.๑) เศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ ๒.๑.๒.๒) องค๑ประกอบของเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ ๒.๑.๓) ความสัมพันธ๑ระหวํางเมืองสร๎างสรรค๑และเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ ๒.๑.๔) การจัดตั้งเมืองสร๎างสรรค๑ในประเทศไทย ๒.๑.๔.๑) องค๑ประกอบของในการจัดตั้งเมืองสร๎างสรรค๑ ๒.๑.๕) ประโยชน๑จากการเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ ๒.๒ การขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เข้าสู่การเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ของ องค์การ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ประกอบด๎วยหัวข๎อ ดังตํอไปนี้ ๒.๒.๑) หลักเกณฑ๑เบื้องต๎นของการเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ (ด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน) ที่ องค๑การUNESCO พิจารณา ๒.๒.๒) กระบวนการปรับปรุงองค๑ประกอบของเมืองให๎เป็นเมืองสร๎างสรรค๑ ๒.๒.๓) กรอบคิดเรื่องแนวทางในการขับเคลื่อนเมือง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒-๑


๒.๓ การทบทวนวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ประกอบด๎วยหัวข๎อ ดังตํอไปนี้ ๒.๓.๑) แนวคิดเรื่องหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ประกอบด๎วยหัวข๎อหลักดังนี้ ๒.๓.๑.๑) ความหมายของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ๒.๓.๑.๒) ประเภทของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ๒.๓.๑.๓) ความเป็นมาของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านเชียงใหมํ ๒.๓.๒) แนวคิดการอนุรักษ๑มรดกทางวัฒนธรรม ประกอบด๎วยหัวข๎อหลักดังนี้ ๒.๓.๒.๑) ความหมายของการอนุรักษ๑มรดกทางวัฒนธรรม ๒.๓.๒.๒) คุณคําและการประเมินคุณคําของมรดกวัฒนธรรม ๒.๓.๒.๓) หลักการในการอนุรักษ๑ ๒.๓.๓) แนวคิดเรื่องการมีสํวนรํวม ประกอบด๎วยหัวข๎อหลักดังนี้ ๒.๓.๓.๑) ความหมายของการมีสํวนรํวม ๒.๓.๓.๒) ขั้นตอนการมีสํวนรํวม ๒.๓.๓.๓) มิติและบริบทการมีสํวนรํวม ๒.๓.๓.๔) ปัจจัยที่มีผลตํอการมีสํวนรํวมของประชาชน ๒.๓.๓.๕) ปัญหาและข๎อจากัดการมีสํวนรํวม ๒.๓.๔) แนวคิดการพัฒนาอยํางยั่งยืน ประกอบด๎วยหัวข๎อหลักดังนี้ ๒.๓.๔.๑) การพัฒนาอยํางยั่งยืน (Sustainable Development) ๒.๓.๔.๒) องค๑ประกอบของการพัฒนาอยํางยั่งยืน ๒.๓.๔.๓) วัตถุประสงค๑ของการพัฒนาอยํางยั่งยืน ๒.๓.๔.๔) การบูรณาการแนวคิดด๎านการพัฒนาอยํางยั่งยืน ๒.๓.๔.๕) ตัวชี้วัดความสาเร็จของการพัฒนาอยํางยั่งยืน ๒.๓.๔.๖) การพัฒนาอยํางยั่งยืนกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยํอย (SMEs) ๒.๓.๔.๗) การเป็นผู๎ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยํอม (SMEs) เพื่อการ พัฒนาอยํางยั่งยืน ๒.๓.๔.๘) ปัจจัยที่สํงผลให๎เกิดการเป็นผู๎ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยํอม (SMEs) เพื่อการพัฒนาอยํางยั่งยืน ๒.๓.๔.๙) มุมมองทีเ่ กี่ยวการพัฒนาอยํางยั่งยืน ๒.๓.๔.๑๐) การพัฒนาการทํองเที่ยวที่มีความยั่งยืน ๒.๓.๔.๑๑) การพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของชุมชน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒-๒


๒.๓.๕) แนวคิดการประเมินศักยภาพการรองรับ (Carrying Capacity) ของเมืองเชียงใหมํใน การเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ (Creative City) ประกอบด๎วยหัวข๎อหลักดังนี้ ๒.๓.๕.๑) ความหมายของศักยภาพของชุมชน ๒.๓.๕.๒) ความหมายของศักยภาพและความรู๎ ๒.๔ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประกอบด๎วยหัวข๎อดังตํอไปนี้ เอกสารและหนังสือ งานวิจัยที่เกี่ยวข๎อง ดังมีรายละเอียดตํอไปนี้ ๒.๑.๑) ความหมายของเมืองสร้างสรรค์ ๒.๑.๑.๑) เมืองสร้างสรรค์ (Creative City) หมายถึง เมืองที่มีกิจกรรมทางวัฒนธรรม ที่หลากหลายเป็นสํวนสาคัญของเศรษฐกิจและสังคมของเมืองนั้นและต๎องประกอบการด๎วย รากฐานที่มั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรม มีการรวมกลุํมกันอยํางหนาแนํนของคนทางาน สร๎ างสรรค๑ และมีส ภาพแวดล๎อมที่ดึงดูดการลงทุนเพราะความยั่งยืนของสถานที่ในเชิง วัฒนธรรม เมืองดังกลําวมีพัฒนาของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข๎องกับ วัฒนธรรม การเสริมสร๎าง ความรู๎ ด๎ว ยฐานทางวัฒนธรรม และการขยับตัว จากภาคอุตสาหกรรมสูํ การบริการที่จะ กํอให๎เกิดการจ๎างงาน การสร๎างรายได๎ และการกระจายรายรับรายจําย จนเป็นที่ยอมรับวําเป็น เมืองที่อาศัยวัฒนธรรมท๎องถิ่นเป็นกลไกขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ NCTAD (United Nations Conference on Trade and Development) ให๎นิยาม ของเมืองสร๎างสรรค๑ วําหมายถึง (UNCTAD : ๒๐๑๐, ๑๒) หมายถึง เมืองที่มีกิจกรรมทาง วัฒนธรรมที่ หลากหลายเป็นสํวนสาคัญของเศรษฐกิจและสังคมของเมืองนั้นๆ และต๎อง ประกอบไปด๎วยรากฐานที่มั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรม มีการรวมกลุํมกันอยํางหนาแนํนของ คนทางานสร๎างสรรค๑และมีสภาพแวดล๎อมที่ดึงดูดการลงทุนเพราะความยั่งยืนของสถานที่ใน เชิงวัฒนธรรม Charles Landry ผู๎เชี่ยวชาญด๎านการวางแผนการประยุกต๑ใช๎วัฒนธรรมเพื่อการฟื้นฟู เมืองและผู๎เขียนหนังสือ The Creative City ได๎กลําวไว๎วําคนและวัฒนธรรมท๎องถิ่นมีสํวน สาคัญทีท่ าให๎เมืองเป็นพื้นที่ของความคิดสร๎างสรรค๑และทาให๎เกิดพลวัตขึ้นในสังคมเมือง ดังนั้น ความเป็นท๎องถิ่นที่สื่อสารออกมาทางศิลปะในรูปแบบตํางๆ และกิจกรรมทางวัฒนธรรมซึ่งถือ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒-๓


เป็นทรัพยากรสร๎างสรรค๑ซึ่งเป็นสํวนประกอบสาคัญที่ทาให๎ความเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ของแตํละ ท๎องถิ่นมีเอกลักษณ๑เฉพาะตัวที่ตํางกันไป ๒.๑.๑.๒) กลุ่มมวลชนสร้างสรรค์ (Creative Class) หมายถึงกลุํมชนที่ทางาน เกี่ยวกับการสร๎างสรรค๑ ทั้งนี้ Richard Florida ผู๎ให๎นิยามกลุํมมวลชนสร๎างสรรค๑ (Creative Class) กลําวได๎วํา กลุํม งานสร๎างสรรค๑ซึ่งเป็นกลุํมคนที่เป็นกลไกสาคั ญในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจสร๎างสรรค๑มีความสาคัญอยํางยิ่ง ด๎วยเหตุผลดังกลําว เมืองตํางๆจึงต๎องแขํงขันกัน เพื่อดึงดูด รักษาและสร๎างกลุํมมวลชน สร๎างสรรค๑ด๎วยการพัฒ นาสภาพแวดล๎ อมเมือง การพัฒ นาโครงสร๎ างพื้นฐานและกลไกทางธุรกิจทางเอื้อตํอการลงทุนและพัฒ นา ธุรกิจ สร๎างสรรค๑และให๎ความสาคัญกับสํวนที่สาคัญที่สุดคือ การรักษาวัฒนธรรมท๎องถิ่นและวางแนว ทางการพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อให๎เมืองมีความพร๎อมในเชิงเอกลักษณ๑และบรรยากาศทางวัฒนธรรม ที่มีความหลากหลายควบคูํไป กับการพัฒนาเมืองด๎านกายภาพ โดยสรุปแล้ว ความหมายของเมืองสร้างสรรค์จึงประกอบไปด้วย ๒ ส่วนคือ เมือง และคนในเมืองที่มีความคิด ไมํใชํเรื่องของการปรับปรุงภูมิทัศน๑หรือการพัฒนาเมืองในเชิง ทํองเที่ยวเพียงด๎านเดียว แตํเมืองสร๎างสรรค๑คือเมืองที่มีพื้นที่และสภาพแวดล๎อมที่เอื้อให๎เกิด กิจกรรมทางเศรษฐกิจจากความคิดสร๎างสรรค๑และเป็นแหลํงรวมนักคิดและผู๎ประกอบการ สร๎างสรรค๑ จากทั้งในประเทศและตํางประเทศที่มาประกอบกิจการและกํอให๎เกิดการจ๎างงาน สร๎ างรายได๎ และเพิ่มศักยภาพในการแขํงขันให๎ กับเศรษฐกิจของเมืองและประเทศ เพราะ องค๑ประกอบหลักของเมืองสร๎างสรรค๑ คือ ผู๎ประกอบการสร๎างสรรค๑ทั้งหลาย หรือนักคิด ที่ เปรียบเหมือนสินทรัพย๑สาคัญของเมืองที่สามารถเคลื่อนที่ไปได๎ทั่วโลกเพื่อแสวงหาสถานที่ที่ เหมาะสมสาหรับการอยูํอาศัยและประกอบธุรกิจสร๎างสรรค๑ ๒.๑.๒) ความหมายของ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๒.๑.๒.๑) เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ได๎ให๎นิยามเรื่อง เศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ไว๎ดังนี้ “ เศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ คือ กระบวนการหรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ใช๎พื้นฐาน ของสินทรัพย๑ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset-Based) รํวมกับความคิด สร๎างสรรค๑ (Creativity) นวัตกรรม (Innovation) หรือเทคโนโลยี ในการ สร๎างสรรค๑สินค๎าและบริการที่สามารถสร๎างมูลคําเพิ่มในเชิงพาณิชย๑ (Commercialization) หรือคุณคําเพิ่มทางสังคม ” รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒-๔


สํวนนักวิชาการ คือ John Howkins ได๎นิยามคาวํา เศรษฐกิจสร๎างสรรค๑วํา คือ “ การสร้างมูลค่าที่เกิดจากความคิดมนุษย์ ” ๒.๑.๒.๒) องค์ประกอบของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หัวใจสาคัญของเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ คือ การนาความคิด (idea) ไปใช๎ในการผลิตสินค๎าและบริการใหมํที่มีมูลคําเพิ่มเชิงพาณิชย๑ เศรษฐกิจสร๎างสรรค๑มีองค๑ประกอบหลัก ๓ สํวน ได๎แกํ (๑) อุตสาหกรรมสร๎างสรรค๑หลัก (Core Creative Industries) ซึ่งเป็นแกํนหลัก ที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ของประเทศ (๒) อุตสาหกรรมโดยรวม (Total Creative Sector) และอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข๎องและสนับสนุนอุตสาหกรรมหลักนั้น (Related and Supporting Industries) (๓) ระบบนิเวศน๑เชิงสร๎างสรรค๑ (Creative Ecology) ซึ่งประกอบด๎วย (๓.๑) โครงสร๎างพื้นฐาน (Infrastructure) (๓.๒) การพัฒนาระบบการศึกษาและทรัพยากรมนุษย๑ (Education and Human Resources) (๓.๓) การพัฒนาแรงบันดาลใจและสังคมสร๎างสรรค๑ Creative Society and Inspiration) (๓.๔) การเงินและการลงทุน (Finance and Investment) องค๑ประกอบทั้งหมดนี้ ตํางเป็นปัจจัย แวดล๎อมที่ชํวยสร๎างบรรยากาศทางธุรกิจที่ดีสาหรับธุรกิจในการคิดสร๎างสรรค๑สินค๎าและบริการที่สร๎าง มูลคําเพิ่มสูง ๒.๑.๓) ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจสร้างสรรค์และเมืองสร้างสรรค์ การสร๎าง “ระบบเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑” (Creative Economy) ได๎กลายเป็นยุทธศาสตร๑สาคัญ ในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของหลากหลายประเทศทั่วโลกจากประสบการณ๑ของเมืองสาคัญทั่ว โลก พบวํา “การพัฒนาสูํเมืองสร๎างสรรค๑ (Creative City)” เป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาระบบ นิเวศน๑เพื่อการสร๎างสรรค๑ (Creative Ecology) หรือสภาพแวดล๎อมที่เอื้ออานวยให๎เกิดอุตสาหกรรม และธุรกิจเชิงสร๎างสรรค๑ขึ้นและเกิดขึ้นอยํางแพรํหลายทั่วโลก เชํน เมืองเบอร๑มิงแฮม ประเทศอังกฤษ ได๎กาหนดแผนพัฒนาเมืองระยะ ๑๐ ปี ที่คาดวําจะสามารถพัฒนาการลงทุนในอุตสาหกรรมภาคตํางๆ และสร๎างเม็ดเงินได๎ถึง ๑๗,๕๐๐ ล๎านปอนด๑ (หรือประมาณ ๙๓๐,๐๐๐ล๎านบาท) เป็นต๎น รัฐ บาลไทยเองก็เล็ งเห็น ประโยชน๑จากแนวคิดนี้เชํนกัน จึงได๎กาหนดเป็นแผนแมํบทใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติฉบับที่ ๑๑ ข๎อ ๖ ที่มุํงสํงเสริมเศรษฐกิจ สร๎างสรรค๑ในระดับ ภูมิภาคและท๎องถิ่น เพื่อสร๎างมูลคําเพิ่มและสร๎างรายได๎ ภายในพื้นที่โดยการตํอยอดภูมิปัญญาไทย รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒-๕


เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขํงขันของผู๎ประกอบการไทย ให๎แข็งแกรํงมากยิ่งขึ้น ซึ่งการจะไปสูํเปูาหมาย “ ระบบเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ ” ได๎นั้นต๎องมีปัจจัยที่ เอื้ออานวยกํอนนั่นคือ “ เมืองสร๎างสรรค๑ (Creative City) ” ที่มีลักษณะพิเศษ คือ (๑) “เมือง” ที่มีพื้นที่เอื้อตํอการทางานในเชิงสร๎างสรรค๑ เพื่อเตรียมความพร๎อม สาหรับเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ (๒) “เมือง” ที่มีพื้นที่เอื้อตํอการแสดงออก และสร๎างปฏิสัมพันธ๑ของกลุํม คนทางานสร๎างสรรค๑ ๒.๑.๔) การจัดตั้งเมืองสร้างสรรค์ในประเทศไทย การจั ดตั้งเมืองสร๎ างสรรค๑ในประเทศไทยนั้น รัฐบาลไทยได๎นาความคิดเรื่องเมือง สร๎ า งสรรค๑ ม าใช๎ ใ นยุ ท ธศาสตร๑ ข องประเทศ โดยการจัด ตั้ ง เมือ งสร๎า งสรรค๑ เ ป็ น การน าความคิ ด สร๎างสรรค๑มาใช๎ในการพัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค๑เพื่อให๎เกิด เมืองสร๎างสรรค๑ ที่ประชาชนในภูมิภาคและท๎องถิ่นตํางๆสามารถสร๎างศักยภาพของสินค๎าหรือบริการ ให๎มีมูลคําเพิ่มและสร๎างรายได๎ภายในพื้นที่ มีการนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท๎องถิ่นมาเชื่อมโยงเข๎า กับสินค๎าและบริการของเมือง จนกระทั่งเกิดเป็นเอกลักษณ๑ของเมือง ซึ่งจะสร๎างงาน สร๎างรายได๎แกํ ท๎องถิ่นและประเทศชาติได๎ ตลอดจนเป็นการสร๎า งความตื่นตัว สร๎างแรงกระตุ๎นให๎ทุกภาคสํวนเข๎ามา มีสํวนรํวม และให๎ความสาคัญกับการนาเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑มาสร๎างรายได๎ให๎กับชุมชนมากขึ้น เพื่อ สร๎างโอกาสทางสังคมและเศรษฐกิจให๎แกํชุมชนและจังหวัด สามารถพัฒนาสินค๎าหรือบริการเพื่อเป็น เมืองเศรษฐกิจ สร๎างสรรค๑อยํางเป็น รู ป ธรรมตามนโยบายของรัฐบาล (เชียงใหมํเมืองสร๎างสรรค๑ , ๒๕๕๔ : ออนไลน๑) ๒.๑.๔.๑) องค์ประกอบของในการจัดตั้งเมืองสร้างสรรค์ การจัดตั้งเมืองสร๎างสรรค๑ของประเทศไทย ดาเนินการเริ่มแรกโดยการทางานของ หลายกรม เพื่อให๎ครบตามเกณฑ๑ของคณะกรรรมการโครงการเมืองต๎นแบบเศรษฐกิจ สร๎างสรรค๑ ใน การนี้กรมทรัพย๑สินทางปัญญา จึงจาแนก องค๑ประกอบในการจัดตั้งเมืองสร๎างสรรค๑ วําต๎อง ประกอบด๎วย (๑) ศักยภาพด้านทุนทางปัญญา หมายถึง ความรู๎จริง ความชานาญหรือ ภูมิปัญญาเฉพาะทางการประยุกต๑ประสบการณ๑เทคโนโลยีของบริษัท / สถานประกอบการซึ่งทาให๎ สามารถพัฒนาศักยภาพและสร๎างมูลคําเพิ่มให๎กับสินค๎า หรือบริการ แบํงเป็น ๓ ด๎าน ดังนี้ (๑.๑) ทุนทางกายภาพ เชํน แหลํงธรรมชาติ ภูมิศาสตร๑ หรือ ประวัติศาสตร๑ของเมือง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒-๖


(๑.๒) ทุนทางวัฒนธรรม เชํน ภูมิปัญญาท๎องถิ่น มรดกสืบทอดทาง วัฒนธรรม ความรู๎ที่สั่งสมมาแตํบรรพบุรุษ รวมไปถึงขนบธรรมเนียม ประเพณีในเทศกาลตํางๆ (๑.๓) องค๑ความรู๎สาคัญในด๎านตํางๆ เชํน ลอสแอนเจลิสเป็นเมือง หรือแหลํงที่มีองค๑ความรู๎ด๎านภาพยนตร๑ เมืองมิลานและนครปารีส เป็น เมืองที่มีองค๑ความรู๎ด๎านแฟชั่น ซิลิคอน วัลเลย๑ เป็นเมืองที่มีองค๑ความรู๎ ด๎านเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร๑ เป็นต๎น (๒) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholder) ประกอบด้วย (๒.๑) ผู๎ประกอบการ เชํน ผู๎ประกอบการ SMEs ตั้งแตํขนาดเล็ก ไปถึงขนาดใหญํ ผู๎ผลิตโรงงาน เจ๎าของธุรกิจ (๒.๒) หนํวยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข๎องในการผลักดันและสามารถ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร๑ด๎านเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ให๎เป็นเอกภาพ (๒.๓) ภาคประชาชน ที่สามารถผลักดันและพัฒนาศักยภาพสินค๎า และบริการให๎มีมูลคําเพิ่มได๎ เชํน กลุํมแมํบ๎าน กลุํมสหกรณ๑ตํางๆ (๒.๔) ภาคการศึกษา เชํน สถาบันการศึกษาในระดับตํางๆ นักเรียน นักศึกษาอาจารย๑มหาวิทยาลัย หรือคนรุํนใหมํที่เป็นกลไกสาคัญ ในการผลักดันเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ของประเทศ (๓) กลุ่มสิ นค้าและบริ การ แบ่งออกเป็ น ๔ กลุ่ม ๑๕ สาขา ได้แก่ (๓.๑) กลุ่มมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ได้แก่ ๑. งานฝีมือ/หัตถกรรม เชํน ผ๎าทอ จักสาน แกะสลัก เครื่องปั้นดินเผา ฯลฯ ๒. การแพทย๑แผนไทย เชํน นวดแผนไทย นวดแผนโบราณ สมุนไพรกลุํมสปาสมุนไพร ๓. อาหารไทย เชํน อาหารแปรรูป อาหารชุด ผู๎ประกอบการร๎านอาหารไทย ผู๎ประกอบการร๎านอาหารท๎องถิ่น ฯลฯ ๔. การทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหรือความหลากหลายทาง ชีวภาพ เชํนการทํองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร๑ ทํองเที่ยวไหว๎พระ ทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมทํองเที่ยวเชิงนิเวศน๑ โฮมสเตย๑ ฯลฯ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒-๗


(๓.๒) กลุ่มศิลปะ ได้แก่ ๑. ศิลปะการแสดง (Performing Arts) เชํน หมอลา ลา เพลิน ลิเก ลาตัด ละครโขน หุํนหลวง หุํนกระบอก หุํนเล็ก สะล๎อ ซอซึง มโนราห๑ หนังตะลุง ฯลฯ ๒.ทัศนศิลป์ (Visual Arts) เชํน จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนัง งานปั้น งานหลํอ หอศิลป์ แกลลอลี่ พิพิธภัณฑ๑ (๓.๓) กลุ่มสื่ อ ได้แก่ ๑. ภาพยนตร๑และวีดีทัศน๑ เชํน หนังสั้น ภาพยนตร๑ ละคร ทีวี การ๑ตูน ๒. การพิมพ๑ เชํน หนังสือพิมพ๑ นิตยสาร วารสาร หนังสือ การ๑ตูน นิทานสาหรับเด็ก พ็อกเก็ตบุ๏ค และหนังสือเฉพาะสาขา ตํางๆ ฯลฯ ๓. การแพรํภาพกระจายเสียง เชํน ผู๎ประกอบการสถานี วิทยุ ผู๎ประกอบการ สถานีโทรทัศน๑ผู๎ผลิตรายการ ดีเจ พิธีกร วิทยุ ชุมชน ๔. ดนตรี เชํน เพลงลูกทุํง เพลงสุนทราภรณ๑ ดนตรีไทย ดนตรีพื้นเมืองถิ่นตํางๆ ผู๎ประพันธ๑เนื้อร๎องและทานอง (๓.๔) กลุ่มงานสร้างสรรค์ตามหน้าที่ ได้แก่ ๑. การออกแบบ เชํน นักออกแบบตกแตํงภายใน นัก ออกแบบผลิตภัณฑ๑ นักออกแบบอุตสาหกรรม นักออกแบบแฟชั่น ฯลฯ ๒. แฟชั่น เชํน เครื่องแตํงกาย เครื่องประดับ กระเป๋า รองเท๎า หมวก ฯลฯ ๓. สถาปัตยกรรม เชํน การออกแบบสิ่งกํอสร๎าง สิ่งกํอสร๎าง ๔. การโฆษณา เชํน ครีเอทีฟ สปอตโฆษณา บิลบอร๑ด ภาพยนตร๑โฆษณา ฯลฯ ๕. ซอฟต๑แวร๑ เชํน ผู๎ผลิตซอฟต๑แวร๑ประเภทตํางๆ และผู๎ ประกอบ การด๎านแอนิเมชั่น รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒-๘


ระบบการบริหารจัดการและการวางแผนเมืองสร๎างสรรค๑ จะต๎องมีวิสัยทัศน๑ที่ชัดเจน มี จุดมุํงหมายในการเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ มีการจัดระบบบริหาร มีเครือขําย และแผนปฏิบัติงาน เพื่อให๎ มีการนาศักยภาพด๎านทุนทางปัญญามาใช๎อยํางเหมาะสม มีความรํวมมือที่ดีระหวํางผู๎มีสํวนเกี่ยวข๎อง (Stakeholder) มีกลุํมสินค๎า หรือบริการที่นําสนใจ และมีโอกาสในการพัฒนาตํอยอด มีเครือขํายหรือ องค๑กรที่จะขับเคลื่อนงานเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ ได๎อยํางมีเอกภาพ และมีประสิทธิภาพ สรุปเกณฑ์สาคัญในการจัดตั้งเมืองสร้างสรรค์ ๑) เป็นเมืองที่มีการพัฒนาหรืออยู่ระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ซึ่งมีการนาความคิด สร้างสรรค์มาพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจ โดยคานึงถึงสังคม สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดี นอกเหนือจากการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ๒) มีวิสัยทัศน์ มีแผนงาน หรือเป็นเมืองที่สามารถต่อยอดเพื่อนาไปสู่เมืองสร้างสรรค์ที่ยั่งยืน ดังนั้น เมื่อพิจารณาถึงความพร้อมและศักยภาพในเบื้องต้นของจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ในเขตพื้นที่ ศึกษา ๘ อาเภอ มีสินค้าหรือบริการที่สาคัญในเชิงสร้างสรรค์ห รือสามารถพัฒนาให้เติบโตเป็น เศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้ ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ จะทาการวิเคราะห์ถึงศักยภาพของสินค้าหรือบริการที่มี อยู่แล้วในเขต ๘ อาเภอ ของจังหวัดเชียงใหม่ ว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหนในการที่จะพัฒนา ต่อยอดสินค้าหรือบริการเหล่านั้ นให้มีมูลค่าที่สู งขึ้น โดยผู้ศึกษาจะใช้เกณฑ์ในการจัดประเภท เศรษฐกิจ สร้ า งสรรค์ ของส านั ก งานคณะกรรมการเศรษฐกิ จและสั งคมแห่ ง ชาติม าประกอบการ พิจารณา ซึ่งสินค้าหรือบริการเหล่านี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่จะระบุได้ว่าจะมีความเป็นไปได้หรือไม่ที่เมือง เชียงใหม่จะเป็นเมืองสร้างสรรค์ขององค์กร UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน

๒.๑.๕) ประโยชน์จากการเป็นเมืองสร้างสรรค์ ปัจจุบันผู๎คนในสังคมโลกเริ่มยอมรับความหลากหลายที่มีอยูํในสังคมมากขึ้น โดยเริ่ม จากในปี พ.ศ.๒๕๔๔ (ค.ศ. ๒๐๐๑) องค๑การการศึกษาวิทยาศาสตร๑และวัฒนธรรมแหํงสหประชาชาติ (UNESCO) มีความตกลงวําด๎วยความหลากหลายทางวัฒนธรรม (The UNESCO Universal Declaration of Cultural Diversity) เพื่อให๎มีการกาหนดมาตรฐานนานาชาติที่ใช๎เป็นเครื่องมือ ส าหรั บ การพิ ทั ก ษ๑ รั ก ษาและสํ ง เสริ ม ความหลากหลายทางวั ฒ นธรรมและปฏิ สั ม พั น ธ๑ ร ะหวํ า ง วัฒนธรรม โดยในปีตํอมาองค๑การUNESCO ได๎ริเริ่มโครงการพันธมิตรระดับโลกเพื่อความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม (Global Alliance for Cultural Diversity) เพื่อให๎การแลกเปลี่ยนเรียนรู๎ระหวําง วัฒนธรรมได๎เกิดขึ้นจริงตามวัตถุประสงค๑ที่ตั้งไว๎

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒-๙


ตั้งแตํนั้นมาองค๑การ UNESCO พยายามดาเนินกิจกรรมสนับสนุนนโยบายสํงเสริม ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของโลก จนในที่สุดในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ (ค.ศ. ๒๐๐๔) องค๑การ UNESCO จึงได๎เสนอโครงการ “เครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑” (Creative Cities Network)เพื่อสํงเสริม การพัฒนาด๎านอุตสาหกรรมสร๎างสรรค๑ (Creative Industries) ที่จะนาไปสูํรูปแบบใหมํของความ รํวมมือในระดับนานาชาติ ทั้งในสํวนของภาคประชาชน เอกชน สาธารณะและประชาคมขึ้นเครือขําย เมืองสร๎างสรรค๑องค๑การ UNESCOจึงหมายถึงกลุํมเมืองตํางๆ ที่มีความสัมพันธ๑กันอยํางเป็นทางการที่ คัดเลือกโดยองค๑การ UNESCO เพื่อสํงเสริมการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรมของเมือง ตํางๆ ทั้งในประเทศที่กาลังพัฒนาและพัฒนาแล๎ว มีทั้งหมด ๗ กลุํมเมืองหนึ่งเมืองใดที่จะเสนอเมือง เข๎ารํวมเป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ (Creative City) ภายใต๎การประกาศรับรองโดยองค๑การ UNESCO จะต๎องเลือกเสนอตนเองได๎เพียงประเภทเดียวเทํานั้น ซึ่งได๎แกํ (๑) City of Music (เมืองแหํงดนตรี) : Bologna (อิตาลี), เกนท๑ (เบลเยียม), เซวียา (สเปน) , Glasgow (สก๏อตแลนด๑) (๒) City of Media Art (เมืองแหํงสื่อศิลปะ) : ลี ออง (ฝรั่งเศส) (๓) City of Crafts and Folk Art (เมืองแหํงหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน) : อัสวาน (อียิปต๑), คานาซาวา (ญี่ปุน), ซานเตเฟ (สหรัฐอเมริกา), อินซอน (เกาหลีใต๎) (๔) City of Film (เมืองแหํงภาพยนตร๑) : แบรคฟอร๑ด (อังกฤษ) (๕) City of Gastronomy (เมืองแหํงอาหารการกิน) : โปปายัน (โคลัมเบีย) , เฉินตู (จีน) , ออสเตอร๑ซุนด๑ (สวีเดน) (๖) City of Design (เมืองแหํงการออกแบบ) : เบอร๑ลิน (เยอรมัน), บัวโนสแอเรส (อาร๑เจนตินา), มอนทรีอัล (แคนาดา), โกเบ (ญี่ปุน), นาโกยา (ญี่ปุน), เสิ่นเจิ้น (จีน),เซี่ยงไฮ๎ (จีน), โซล (เกาหลี) (๗) City of Literature (เมืองแหํงวรรณกรรม) : เอดินเบิร๑ก (สก๏อตแลนด๑), ไอโอวาซิตี้ (สหรัฐอเมริกา), เมลเบิร๑น (ออสเตรเลีย), ดับลิน (ไอร๑แลนด๑ โครงการเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ขององค๑การ UNESCO มีเปูาหมายที่จะสนับสนุนความ รํวมมือระหวํางท๎องถิ่น เพื่อการพัฒนาในระดับนานาชาติ และเพื่อตั้งหลักตอบรับกับผลกระทบใน ระดับโลก โดยพยายามที่จะเชื่อมโยงเมืองตําง ๆ เข๎าด๎วยกัน รวมถึงสร๎างความเป็นไปได๎ใน การสร๎าง รูปแบบใหมํของการทํองเที่ยว (Creating New Tourism Opportunities) ที่นักทํองเที่ยวจะสามารถ เข๎าใจ รับรู๎มีประสบการณ๑ และรํวมเป็นสํวนหนึ่งในวัฒนธรรมของเมืองนั้น ๆ ทั้งวัฒนธรรมในลักษณะ ที่จับต๎องได๎ และที่เป็นนามธรรม (Tangible and Intangible Cultures โดยผํานประสบการณ๑ของ นักทํองเที่ยวเองโดยเน๎นถึง “ความผูกพัน ” (Engaged) “ความจริงแท๎ผํานประสบการณ๑ ” รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๑๐


(Authentic Experience) ซึ่งเป็นการสํงเสริมกิจกรรมที่จะทาให๎นักทํองเที่ยวมีความเข๎าใจอยํางลึกซึ้ง ในลักษณะทางวัฒนธรรมของเมืองที่ตนไปเยือน (Active understanding of the specific cultural features of a place) ๒.๒ การขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เข้าสู่การเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ของ องค์การ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) สาหรับเมืองเชียงใหมํ เมืองที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศไทย เป็น ความท๎าทายอยํางมากที่องค๑การบริหารสํวนจังหวัดมีแนวคิดในการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ ให๎เป็น สมาชิกเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (City of Crafts and Folk Art) ขององค๑การ UNESCO เชํนกัน และเพื่อให๎เข๎ากับเกณฑ๑ขององค๑การ UNESCO องค๑การบริหารสํวน จังหวัดเชียงใหมํ มีอานาจหน๎าที่ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหมํในหลายด๎านทั้งด๎านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การสํงเสริมอาชีพ สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติและจารีตประเพณี ดังพระราชบัญญัติองค๑การบริหารสํวนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ และที่แก๎ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๖ ตามข๎อ ๑ (๗) คือ การคุ๎มครอง ดูแล การบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม, และตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ ให๎แกํองค๑กรปกครองสํวน ท๎องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ตามข๎อ ๕, ๑๔, ๑๘ กลําวคือ ข๎อ ๕ กลําวถึงการคุ๎มครอง ดูแลและบารุงรักษาปุาไม๎ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล๎อม, ข๎อ ๑๔ การสํงเสริมการทํองเที่ยว, ข๎อ ๑๘ การสํงเสริมการกีฬา จารีตประเพณีและ วัฒนธรรมอันดีงามของท๎องถิ่น ดั ง นั้ น เพื่ อ ให๎ เ กิ ด ประโยชน๑ สู ง สุ ด ตํ อ ประชาชนในท๎ อ งถิ่ น องค๑ ก ารบริ หารสํ ว นจั ง หวั ด เชียงใหมํ จึงได๎กาหนดนโยบายการบริหาร ที่สอดคล๎องกับนโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย กรมสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่น และจังหวัดเชียงใหมํ ภายใต๎นโยบาย “นครแหํงชีวิตและความมั่ง คั่ง” (City of Life & Prosperity) ซึ่งเกี่ยวพันกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่ ๑๑ ที่ให๎ความสาคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการสํงเสริมการพัฒนาเมืองสร๎างสรรค๑ (Creative City) และกาหนดนโยบายการพัฒนาเมืองสร๎างสรรค๑ ภายใต๎พันธกิจที่มุํงเน๎นและเสริมสร๎างเศรษฐกิจ สร๎างสรรค๑ในระดับภูมิภาคและท๎องถิ่น โดยเฉพาะการเพิ่มมูลคําสินค๎าบริการควบคูํกับการพัฒนา ธุรกิจสร๎างสรรค๑อันเป็นการเสริมสร๎างศักยภาพของผู๎ประกอบการและบุคลากรให๎นามาคิดสร๎างสรรค๑ มาเพิ่มมูลคําของสินค๎าและบริการพัฒนาระบบการเงินพัฒนาอุตสาหกรรมสร๎างสรรค๑และพัฒนา เครือขํายเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร ที่มีคุณภาพและทันสมัยเพื่อสร๎างบรรยากาศและสภาวะที่ เอื้ออานวยตํอการเรียนรู๎ ศึกษาวิจัยและการพัฒนาความคิดให๎มีการสร๎างสรรค๑ เพื่อให๎ประเทศไทย รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๑๑


เป็นศูนย๑กลางเครือขํายการผลิต การค๎า และการบริการของธุรกิจสร๎างสรรค๑ของภูมิภาคอาเซียน (Creative Hub of ASEAN) นโยบายของรั ฐ บาลเมื่ อ น ามาสูํ ก ารปฏิ บั ติ ยั ง เมื อ งเชี ย งใหมํ เ มื อ งที่ มี ค วามเจริ ญ ในด๎ า น วัฒนธรรม ศิลปกรรม ศาสนา ประเพณีและวรรณกรรมที่สืบทอดมาจากอดีตจนปัจจุบันกวํา ๗๑๘ ปี ถือได๎วําเมืองนี้มีต๎นทุนทางวัฒนธรรมที่ยาวนานและหลากหลายกลับต๎องเผชิญกับความท๎าทายใน กระบวนการวางแผนการดาเนินงานที่จาเป็น ต๎องมีการศึกษารากฐานเดิมทางศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อให๎สามารถสร๎างกระบวนการและแนวทางขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํสูํเมืองสร๎างสรรค๑อยํางเป็น รูปธรรม ที่ผํ านมาจังหวัดเชียงใหมํได๎มีการจั ดการศึกษารวบรวมและจัดทาข๎อมูล เบื้องต๎นของเมือง เชียงใหมํเพื่อสมัครเข๎ารํวมการประเมิ นเป็นเครือขํายสมาชิกเมืองสร๎างสรรค๑ขององค๑การ UNESCO ซึ่งกระบวนการดาเนินงาน จาเป็นต๎องมีการศึกษาทั้งแนวกว๎างและเชิงลึกและปฏิบัติการอยํางเป็น รูปธรรมทั้งสํว นนโยบายและปฏิบัติการจริ ง เพื่อให๎ ได๎ข๎อมูลและผลสั มฤทธิ์ที่เกี่ยวข๎องตามเกณฑ๑ มาตรฐานที่องค๑การ UNESCO กาหนดไว๎ โดยมีความเชื่อมโยงในหัวข๎อตํอไปนี้ ๒.๒.๑) หลักเกณฑ๑เบื้องต๎นของการเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ (ด๎านหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ๎าน) ที่องค๑การUNESCO พิจารณา ๒.๒.๒) กระบวนการปรับปรุงองค๑ประกอบของเมืองให๎เป็นเมืองสร๎างสรรค๑ ๒.๒.๓) กรอบคิดเรื่องแนวทางในการขับเคลื่อนเมือง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ๒.๒.๑) หลักเกณฑ์เบื้องต้นของการเป็ นเมืองสร้างสรรค์ (ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) ที่องค์การUNESCO พิจารณา ได้แก่ (๑) หนํวยงานภาคราชการของเมืองต๎องกาหนดยุทธศาสตร๑และนโยบาย รวมถึงการ จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ (๒) เมืองต๎องขับเคลื่อนสภาพแวดล๎อมในเมือง และภูมิทัศน๑ทางวัฒนธรรมโดยรวม ที่ เอื้อให๎เกิดการสร๎างสรรค๑งาน นอกจากนี้ยังต๎องมีการจัดเตรียมปัจจัยพื้นฐาน (Infrastructure) เพื่ออานวยความสะดวกแกํผู๎ประกอบธุรกิจสร๎างสรรค๑ (๓) การมีสํวนรํวมของภาคสํวนตํางๆ ที่เกี่ยวข๎อง คือ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ และชุมชน (๔) การจัดสรรพื้นที่ของเมือง เพื่อเป็นเวทีแสดงความคิดสร๎างสรรค๑ของประชาชน (๕) การมีป ระสบการณ๑ก ารเป็น เจ๎ า ภาพจั ดงานและจัด กิ จกรรมสร๎ างสรรค๑ ทั้ ง ระดับประเทศและระดับนานาชาติ (๖) การมีสํวนรํวมของภาคการศึกษา เพื่อสนับสนุนการเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ เชํนการ เรียน การสอนการวิจัย รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๑๒


(๗) เมืองต๎องให๎ความสาคัญแกํวัสดุท๎องถิ่นและสภาพแวดล๎อมในเมือง หรือธรรมชาติ โดยนาความหลากหลายทางวัฒนธรรม (Culture Diversity) มาใช๎ในการสร๎างสรรค๑ ผลงาน การพัฒนาเมืองให๎เป็น Creative City จะกํอให๎เกิดการทํองเที่ยวเชิง สร๎างสรรค๑ (Creative Tourism) สํงผลตํอการขยายตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมสร๎างสรรค๑และเป็นการสร๎าง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม (Cultural Diversity) ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการสร๎าง บรรยากาศที่เหมาะสมกับการสร๎างสรรค๑ ๒.๒.๒) กระบวนการปรับปรุงองค์ประกอบของเมืองให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ มีดังนี้ (๑) การสร๎างเอกลักษณ๑ทางวัฒนธรรมให๎แกํเมือง (Cultural Identity) การสร๎าง สภาพแวดล๎อมทางสังคมให๎มีความเปิดกว๎าง (Diversity & OpenSociety) เพื่อให๎เกิดการ แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกํอให๎เกิดความคิดสร๎างสรรค๑ใหมํๆ (๒) การรวบรวมนักคิดและผู๎ประกอบการสร๎างสรรค๑ (Talented / Creative Entrepreneur) เป็นการรวบรวมผู๎มีความคิดสร๎างสรรค๑ในการผสมผสานวัฒนธรรม และภูมิ ปัญญาท๎องถิ่นเข๎ากับเทคโนโลยีวัฒนธรรม และการจัดการด๎านธุรกิจ ที่กํอให๎เกิดการจ๎างงาน และกาลังซื้อสินค๎า หมุนเวียนเป็นกลไกให๎เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ (๓) การสร๎างพื้นที่และสิ่งอานวยความสะดวก (Space & Facility) โดยจะต๎องสร๎าง โครงสร๎างพื้นฐานที่เพียงพอและมีคุณภาพ ชํวยกํอให๎เกิดสภาพแวดล๎อมที่เอื้อตํอการผลิตนัก คิดและธุรกิจสร๎างสรรค๑ (๔) การบริหารจัดการเมือง (Management) องค๑กรของภาครัฐและเอกชนจะต๎องมี วิสัยทัศน๑ในการพัฒนาเมืองโดยเป็นองค๑กรที่มีความยืดหยุํน และทางานประสานกันเพื่อนาไปสูํ เปูาหมายได๎อยํางสร๎างสรรค๑ โดยมีแนวทางในการปรับปรุงเมือง เพื่อให๎เป็นเมืองสร๎างสรรค๑ (Creative City) โดยการผสานแนวคิดทาง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร๑ และความคิดสร้างสรรค์ ตัวอยํางการปรับปรุงองค๑ประกอบของเมืองและการบริหารจัดการ ได๎แกํ เมืองโปปายัน ใน ประเทศโคลัมเบีย เมื่อเมืองตัดสินใจเข๎ารํวมเป็นเครือขํายสมาชิกเมืองสร๎างสรรค๑ ด๎านอาหาร (City of Gastronomy) ขององค๑การ UNESCO เมืองดังกลําวได๎เริ่มวางโครงสร๎างหลักที่ เอื้อตํอการเป็นเมือง แหํงอาหารการกิน โดยสร๎างห๎องสมุดและศูนย๑วิจัยเกี่ยวกับอาหาร มีองค๑กร Gastronomy Corporationof Popayan ที่รับผิดชอบการจัดประชุมเกี่ยวกับอาหารในระดับประเทศ (National Gastronomy Congress) นอกจากนั้นองค๑กรดังกลําวยังรํวมมือกับสถาบันการศึก ษาของโคลัมเบีย Universidad del Cauca ในการศึกษาวิจัยด๎านวัฒนธรรมและมรดกทางวัฒนธรรมของเมืองอีกด๎วย เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุน เป็นเมืองที่มีความอุดมสมบูรณ๑ เป็นแหลํงปลูกข๎าวคุณภาพดีและผลิตเหล๎า รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๑๓


สาเกแหลํงใหญํที่สุดของญี่ปุน นอกจากนั้นยังเป็นศูนย๑กลางของบริษัทข๎า มชาติขนาดใหญํมากมาย โกเบเป็นเมืองแรกของญี่ปุนที่วางวิสัยทัศน๑ของเมืองโดยการออกมาตรการทางกฎหมายเพื่อควบคุม ภูมิทัศน๑เมือง มาตั้งแตํปี พ.ศ. ๒๕๓๑ เมื่อตัดสินใจเข๎ารํวมเป็นเครือขํายสมาชิกเมืองสร๎างสรรค๑ ด๎าน การออกแบบ (City of Design) ขององค๑การ UNESCO เมืองได๎ปรับเปลี่ยนจากเมืองศูนย๑กลางทาง ธุรกิจมาสูํเมืองศูนย๑กลางแหํงแฟชั่นชั้นนาของญี่ปุน โดยมีการจัดงานสัปดาห๑แฟชั่นปีละ ๒ ครั้ง ซึ่งมี ผู๎เข๎ารํวมงานครั้งละหมื่นคน และยังมีที่ตั้งของสถาบันการออกแบบชั้นนามากมาย เชํน Kobe Design University ที่สอนทั้งการออกแบบ กราฟฟิค แฟชั่น ผลิตภัณฑ๑และสถาปัตยกรรม รวมถึงมีกิจกรรม และนิทรรศการเกี่ยวกับศิลปะและการออกแบบอยํางตํอเนื่อง เชํน Kobe Biennale เทศกาลศิลปะที่ จัดขึ้นทุก ๒ ปี เป็นต๎น

๒.๒.๓) กรอบคิดเรื่องแนวทางในการขับเคลื่อนเมือง เมืองเชียงใหมํ เมืองที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมเมื องหนึ่งของประเทศไทย เป็น ความท๎าทายอยํางมากที่องค๑การบริหารสํวนจังหวัดมีแนวคิดในการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ ให๎ เป็นสมาชิกเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (City of Crafts and Folk Art) ขององค๑การ UNESCO เชํนกัน และเพื่อให๎เข๎ากับเกณฑ๑ขององค๑การ UNESCO จาเป็นต๎องอาศัยกรอบคิดเรื่องแนวทางในการขับเคลื่อนเมือง ที่แสดงถึงความพร๎อมใน ๗ ด๎าน ดังนี้ (๑) ความเข๎าใจในทุกภาคสํวนของจังหวัดเชียงใหมํ (๒) มีการสํงเสริม วิจัย การเรียนรู๎หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ทั้งในเชิง อุตสาหกรรม งานนวัตกรรม และการพัฒนาอยํางยั่งยืน (๓) การสร๎างทัศนคติ ที่เปิดกว๎างยอมรับสิ่งใหมํๆของประชาชน (๔) การสร๎างพื้นที่และรูปแบบเมือง ที่สามารถใช๎งานได๎หลายวัตถุประสงค๑ (๕) การประชาสัมพันธ๑ชูจุดเดํนของเมือง โดยเฉพาะทางด๎านหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ๎าน (๖) การมีความพร๎อมด๎านแรงงานและบุคคลากร สาหรับงานเชิงความรู๎ (๗) มีความรํวมมือที่ดีของทุกฝุายที่เกี่ยวข๎องทั้งหนํวยราชการ ภาคธุรกิจ ภาค การศึกษาและภาคประชาชน ซึ่งโครงการขับ เคลื่อนเมืองเชียงใหมํเข๎าสูํ เครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ขององค๑การ UNESCO สาขาหั ตถกรรมและศิ ล ปะพื้ น บ๎ า น ในครั้ ง นี้ จ าเป็ นต๎ อ งอาศั ย ระยะเวลาในการด าเนิ นงานและ ประสานสัมพันธ๑ทุกภาคสํวน เพื่อให๎เกิดความพร๎อมในทุกๆด๎าน ซึ่งขอบขํายการทางานในครั้งนี้จะ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๑๔


ครอบคลุมการทางาน ในวัตถุประสงค๑ข๎อที่ ๒ และ ๕ กลําวคือ “ การเรียนรู๎หัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ๎าน เพื่อเป็นฐานความรู๎เพื่อใช๎เป็นฐานหลักในการพัฒนาในเชิงอุตสาหกรรม งานนวัตกรรม และ การพัฒนาอยํางยั่งยืนในอนาคต” และเป็นฐานไปสูํการประชาสัมพันธ๑ ชูจุดเดํนของเมือง โดยเฉพาะ ทางด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ผํานการศึกษาและจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข๎อง ๒.๓ การทบทวนวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ประกอบด๎วยหัวข๎อ ดังตํอไปนี้ ๒.๓.๑) แนวคิดเรื่องหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ๒.๓.๒) แนวคิดการอนุรักษ๑มรดกทางวัฒนธรรม ๒.๓.๓) แนวคิดเรื่องการมีสํวนรํวม ๒.๓.๔) แนวคิดการพัฒนาอยํางยั่งยืน ๒.๓.๕) แนวคิดการประเมินศักยภาพการรองรับ (Carrying Capacity) ของเมืองเชียงใหมํใน การเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ (Creative City) ๒.๓.๑) แนวคิดเรื่องหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๒.๓.๑.๑) ความหมายของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ๒.๓.๑.๒) ประเภทของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ๒.๓.๑.๓) ความเป็นมาของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านเชียงใหมํ โดยมีรายละเอียดคือ ๒.๓.๑.๑) ความหมายของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน หัตถกรรม (Crafts) หมายถึง งานที่ใช๎ฝีมือในการดัดแปลงวัสดุที่มีอยูํตามธรรมชาติมา เป็นเครื่องมือเครื่องใช๎ในชีวิตประจาวัน หรือโอกาสพิเศษในครอบครัวและสังคม ตามวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมและประเพณีของแตํละท๎องถิ่น เมือ่ มนุษย๑เริ่มใช๎มือดัดแปลงสิ่งที่มีอยูํตามธรรมชาติให๎ มีรูปรํางและลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเพื่อประโยชน๑ในการใช๎สอย นับได๎วําเป็นการเริ่มต๎นสร๎าง งานหัตถกรรมของมนุษย๑ หัตถกรรมเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณคํายิ่งเป็นผลงานที่ตกทอดจาก อดีตที่เกิดจากฝีมือและปัญญาสร๎างสรรค๑เพื่อประโยชน๑การใช๎สอยในชีวิตประจาวันและความพึงพอใจ ทางวัฒนธรรมและประเพณี ศิลปะพื้นบ๎าน (Folk Art) หมายถึง ศิลปะที่มีความงามความเรียบงํายจากฝีมือของ ชาวบ๎านทั่วไป ที่สร๎างสรรค๑ผลงานอันมีคุณคํา ทางด๎านความงามและประโยชน๑ใช๎สอยตามสภาพของ ท๎องถิ่น ซึ่งมีกาเนิดมาจากชีวิตจิตใจของประชาชน ศิลปะชาวบ๎านหรือศิลปะพื้นบ๎านสํวนใหญํจะเกิด ควบคูํกับการดาเนินชีวิตของชาวบ๎านภายใต๎อิทธิพลของชีวิตความเป็นอยูํขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ และความจาเป็นของสภาพท๎องถิ่นเพื่อใช๎สอยในชีวิตประจาวัน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๑๕


เอกลักษณ๑และองค๑ประกอบของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของเมืองเชียงใหมํ หมายถึงลักษณะเดํนของศิลปวัฒนธรรมพื้นบ๎านของเมืองเชียงใหมํ ที่แสดงออกในรูปแบบของ หัตถกรรมด๎านตํางๆ ที่ได๎รับการยอมรับวําเป็นเอกลักษณ๑ หรือเป็นตัวแทนของเมืองเชียงใหมํและ สามารถนาสูํการมีงานทา การสร๎างอาชีพ การตลาด และเพิ่มมูลคําทางเศรษฐกิจอยํางสร๎างสรรค๑ รวมถึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล๎อม ๒.๓.๑.๒) ประเภทของงานหัตถกรรมและศิลปพื้นบ้าน งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ในประเทศไทยมีการจัดประเภทและจาแนก งานหลายลักษณะ ดังนี้ (๑) การจัดประเภทของงานศิลปหั ตถกรรมไทยตามประโยชน๑ใช๎สอยเชํน ที่อยูํ อาศัย เครื่ อ งมื อประกอบอาชีพ และอาวุธ เครื่อ งใช๎ตํ า ง ๆ เครื่ องนุํง หํ ม ยานพาหนะและวัต ถุ ที่ เกี่ยวเนื่องกับความเชื่อ (๒) การจัดประเภทของงานศิลปหัตถกรรมไทยตามวัสดุและกรรมวิธีการผลิต เชํน การปั้นและหลํอ การทอและเย็บปักถักร๎อย การแกะสลัก การกํอสร๎าง การเขียนหรือการว าด การจักสาน การทาเครื่องกระดาษ และกรรมวิธีอื่น ๆ (๓) การจั ด ประเภทของงานศิล ปหั ตถกรรมไทยตามสถานภาพของชํา ง เชํ น ศิลปหัตถกรรมฝีมือชํางหลวง ศิลปหัตถกรรมฝีมือชาวบ๎าน ในการศึกษาครั้ งนี้ จะเลื อกแบํงประเภทของงานศิล ปหั ตถกรรมตามวัส ดุและ กรรมวิธีการผลิต ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ คือ (๑) การปั้นและหล่อ ศิล ปหั ตถกรรมที่เป็นงานปั้นและทาขึ้นเพื่อใช๎ส อยก็คือ เครื่องปั้นดินเผา มี ๒ ประเภท คือ (๑.๑) เครื่องปั้นดินเผา เป็นเครื่องปั้นดินเผาที่เผาในอุณหภูมิต่า ไมํเคลือบ สีหรือ ทาลวดลายบนภาชนะ (๑.๒) เครื่ องเคลือบดินเผา เป็นเครื่องปั้นดิ นเผาที่เผาในอุณหภูมิสู ง เคลือบสี เชํน สีน้าตาล สีเขียวแกมเข๎ม ที่เรียกวําสีเซลาดอน เป็นต๎น การหลํอเป็นกรรมวิธีการทา ศิลปหัตถกรรมเครื่องโลหะและประติมากรรม ได๎แกํ ภาชนะเครื่องใช๎ที่เป็นโลหะ พระพุทธรูป และรูป เคารพอื่น ๆ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๑๖


(๒)การทอและเย็บปักถักร้อย ผ๎าทอของไทยมีทั้งผ๎าทอด๎ายหรือฝูาย ผ๎าทอไหม และผ๎าทอแกมไหม (๒.๑) ผ๎าไหม เป็นผ๎าทอด๎วยไหมล๎วน ๆ ถ๎าเป็นดอกเป็นดวงใช๎ไหม ตํางสี เรียกวํา ผ๎ายก ผ๎าทอที่ทอให๎มีลวดลายดอกดวงเต็มทั้งผืน เรียกวํา ผ๎าปูม (๒.๒) ผ๎ามํวง เป็นผ๎าทอเกลี้ยง ๆ ไมํมีลาย ถ๎าทอให๎มีลวดลายที่เชิง ผ๎า เรียกวํา ผ๎ามํวงเชิง (๒.๓) ผ๎าด๎ายแกมไหม เป็นผ๎าทอด๎วยไหมปนเส๎นด๎าย ถ๎าทอด๎วย ด๎ายล๎วน ๆ เรียกวํา ผ๎าพื้น ซึ่งเป็นผ๎าที่คนสามัญใช๎นุํงหํมกัน (๒.๔) ผ๎าลาย เป็นผ๎าทอลาย เป็นตา ตามอยํางที่ชํางเขียนขึ้น เชํน ผ๎าลายอยําง ก็คือผ๎าที่ทอตามอยํางลายที่ชํางหลวงออกแบบ และสํงทาถึง ตํางประเทศ โดยในการทอนั้นมีกรรมวิธีหลาแบบ เชํน การยก หรือ ขิด และมัดหมี่ (๓) ไม้แ กะสลัก และผลิตภัณฑ์จากไม้ เป็นกรรมวิธีสาหรับตกแตํง สถาปัตยกรรม เครื่องมือเครื่องใช๎และ การสร๎างงานประติมากรรม โดยใช๎วัสดุประเภท ไม๎ หิน เขา สัตว๑ งาช๎าง เป็นต๎น หรือจะเป็นการแกะสลักของสดและวัสดุเนื้ออํอน เชํน ผลไม๎ ผักสด หยวกกล๎วย หนังโค กระดาษ เป็นต๎น หรือเปูนพวกวัสดุเนื้อแข็ง เชํน จาหลักหน๎าบัน บานประตู เป็นต๎น (๔) การก่อสร้าง เป็นกรรมวิธีการสร๎างที่อยูํอาศัย อาคารทางศาสนา และโรงเรือน ตําง ๆ โดยมีกรรมวิธีในการสร๎างสรรค๑ ดังนี้ (๔.๑) การผูก โดยใช๎ไม๎ไผํหรือไม๎รวก มาเป็นโครงสร๎าง และมุง หลังคาและฝา ด๎วยทางสาคู ทางจาก ทางระกา ฟาง ใช๎เชือก หวายหรือ เถาวัลย๑ ในการยึดสํวนตําง ๆ เข๎าด๎วยกัน (๔.๒) การสับ เป็นกรรมวิธีการเข๎าไม๎โดยใช๎วัสดุที่เป็นไม๎จริง ใน การกํอสร๎างจะใช๎ วิธีมากและเจาะเพื่อทาเดือยและรูเดือย และเอาไม๎แตํ ละชั้นสอดใสํประกบเข๎าด๎วยกันตามตาแหนํงของเดือยและรูเดือยในบาง กรณีอาจใช๎สลักลิ่มตอกให๎แนํนขึ้น รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๑๗


(๔.๓) การกํอ คนไทยนิยมใช๎อิฐและศิลาแลงในการกํอสร๎างอาจจะ มีการใช๎ปูนเชื่อม ให๎แผํนอิฐหรือศิลาแลงติดกันแล๎วฉาบภายนอกด๎วยปูน ให๎เรียบหรือไมํใช๎ปูนก็ได๎ (๕) การเขียนหรือวาด เป็นการเขียนภาพลายเส๎น ภาพเขียนระบายสี บนวัสดุ ที่เป็นแผํนหรือผืน เชํน กระดาษ ผ๎า กระดาน และผนังฉาบปูน สีที่ใช๎ในการเขียนจะเป็นสีฝุน (๖) การจักสาน เป็นกรรมวิธีการทาภาชนะบรรจุสิ่งของหรือเครื่องใช๎ด๎วย วิธีการจัก สาน ถัก ผูก และพัน ใช๎วัสดุประเภทไม๎ไผํ หวาย ใบลาน ฟาง ก๎าน และใบมะพร๎าว เป็น ต๎น (๖.๑) การจัก คือ การทาให๎เป็นแฉก ๆ หรือหยัก คล๎ายฟันเลื่อย เอมีดผําไม๎ไผํ หรือหวายให๎แตกจากกันเป็นเส๎นบาง ๆ อันหมายถึงขั้นตอน ของการเตรียมวัสดุที่นามาสานเป็นสิ่งของตําง ๆ นั่นเอง (๖.๒) การสาน คือ การใช๎เส๎นตอกหรือสิ่งที่เป็นเส๎นอื่น ๆ ที่อํอน ตัวได๎มาขัดกัน คือ ยกและขํมให๎เกิดเป็นลายที่ต๎องการ (๖.๓) การถัก คือ การใช๎เส๎นเชือกหรือหวายเป็นต๎น ไขว๎สอด ประสานกัน ให๎ เป็ น ลวดลายตํ าง ๆ บ๎ า งให๎ เป็ น เส๎ น และเป็ นผื น บ๎า งให๎ ติดตํอกัน การจักสานมีรูปทรง ๒ แบบ คือ - รูปทรงที่มีโครงสร๎างเสริม นอกเหนือจากตอกยืนและตอก สาน เป็น ผลิตภัณฑ๑ที่ต๎องรับน้าหนักมาก ๆ เชํน กระบุง กระจาด เป็นต๎น - รูปทรงที่ไมํมีโครงสร๎างเสริม เป็นผลิตภัณฑ๑ที่ไมํต๎องรับ น้าหนักมาก เชํน หมวก ซองใสํยาสูบ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๑๘


(๗) การทาเครื่องกระดาษ การทากระดาษและเครื่องใช๎สอยจากกระดาษ เชํน การทากระดาษขํอยหรือกระดาษสา นอกจากนี้ยังมีงานกระดาษที่ใช๎ตกแตํงงานเทศกาลตําง ๆ ซึ่งทาขึ้นจากการตัดกระดาษเป็นริ้วธง พุํมดอกไม๎ เป็นต๎น (๘) งานบุดุนโลหะ งานศิลปหัตถกรรมที่มีชื่อเสียงของจังหวดเชียงใหมํ และยังเป็นที่ชื่นชอบของนักทํองเที่ยวอีกแขนงหนึ่ง คือ การบุและการดุล การฉลุ เป็นต๎น (๘.๑) การบุ คือ การนาโลหะมาตีแผํขึ้นรูปแล๎วแกะสลักดุนเป็น ลวดลาย เชํน ขันน้าลงหิน ขันของทางภาคเหนือ ฯลฯ. (๘.๒) การดุน เป็นการฉลุแผํนไม๎ โลหะ เพื่อตกแตํงอาคาร ทา เครื่องประดับ สถาปัตยกรรม เครื่องสูง เป็นต๎น (๙) งานเครื่องเขิน เครื่องเขินเป็นภาชนะเครื่องใช๎ที่ทาจากไม๎ไผํ สาน แล๎ วทาด๎ว ยรั กสี ดา ตกแตํงลวดลายด๎ว ยเปลือกหอยมุก ทองคาเปลว เงินเปลว ให๎เกิดลวดลายที่ สวยงามนําชม เครื่องเขินเป็นภาชนะที่ใช๎ในชีวิตประจาวันทางภาคเหนือ ภาชนะที่นิยมทา เชํน แจกัน ถาด ตลับ ขันน้า โถ ที่เขี่ยบุหรี่ เชี่ยนหมาก ตลับ ตลุํม ฯลฯ ในปัจจุบันนอกจากจะใช๎ไม๎ไผํสานแล๎ว ยังใช๎ไม๎กลึงด๎วย เครื่องจักรและวัสดุอื่นๆอีกเชํนพลาสติก กระดาษอัด ไม๎อัด เหล็ก อลูมิเนียม ดินเผา และผลิตภัณฑ๑ที่ผลิตออกมามีรูปแบบตํางๆมากมายทั้งในรูปวัสดุ เครื่องใช๎ในบ๎านและเป็นของที่ระลึก เป็นต๎น ๒.๓.๑.๓) ความเป็นมาของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านเชียงใหม่ หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านเชียงใหมํปรากฎควบคูํกับประวัติศาสตร๑ของเมืองซึ่งเป็น ศูน ย๑ ก ลางของอาณาจั กรล๎ านนา ตั้ง แตํครั้ งกํอ นการสร๎า งเมือ งเชี ยงใหมํ ดั งปรากฏการรวบรวม ชํางฝีมือ (สลํา) ตํางๆ มาไว๎ในอาณาจักรเพื่อเป็นกาลังสาคัญในการสร๎างบ๎านแปงเมือง ให๎เกิดความ เจริญรุํงเรือง มาตั้งแตํสมัยพญามังราย เมื่อครั้นที่สร๎างเวียงกุมกามเป็นราชธานี และได๎เสด็จไปทาศึก สงครามยั ง เมื องพุ ก ามอั ง วะ จึ ง ได๎ น าชํ า งคา (ทองค า) ชํ า งฆ๎ อ ง ชํ า งตอง (ทองเหลื อง) ชํ า งเงิ น ชํางเหล็ก ได๎ประมาณ ๕๐๐ คน นากลับมาไว๎ที่เวียงกุมกาม และในปี พ.ศ. ๒๓๒๕ สมัยพระยากาวิละ ขับไลํพมําออกไปจากเมืองเชียงใหมํ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๑๙


ซึ่งในยุคนั้นเมืองเชียงใหมํร๎างคนจึงไมํสามารถที่จะบูรณะเมืองขึ้นใหมํได๎ จึงจา เป็นที่จะต๎องเกณฑ๑ไพรํพลจากเมืองที่อยูํทางตอนเหนือตั้งแตํเมืองสิบสองปันนา เมืองเชียงตุง และ ล๎านช๎าง เกณฑ๑ลงมาไว๎ยังเมืองเชียงใหมํ จึงเรียกวํายุคสมัยนั้นวํายุค “เก็บผักใสํซ๎า เก็บข๎าใสํเมือง” ซึ่ง กลุํมชนที่อพยพโยกย๎าย และถูกเทครัวมาอยูํในเชียงใหมํ ทาให๎เกิดกลุํมชนที่มาอยูํในเมืองเชียงใหมํ อันประกอบไปด๎วยชาวไทยวน ไทเขิน ไทยอง ไทลื้อ และไทใหญํ ซึ่งหากเป็นกลุํมชนชํางฝีมือหรือไพรํ ชั้นดีให๎กาหนดอาศัยอยูํในเขตคูเมืองเชียงใหมํ เชํน ชาวไทเขิน บ๎านนันทาราม ที่อพยพมาจากเมือง เชียงตุง ให๎อยูํระหวํางกาแพงเมืองชั้นในและชั้นนอกด๎านใต๎ ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการทาเครื่ องเขิน สํวนชาวไทยวนบ๎านฮํอม ที่ย๎ายมาจากเชียงแสนให๎ตั้งบ๎านเรือนอยูํระหวํางกาแพงเมืองชั้นในและ ชั้นนอกด๎านตะวันออกมีความเชี่ยวชาญในทาดอกไม๎กระดาษ อาหาร และการค๎า ชาวไต หรือ ไทใหญํ ที่มีอาชีพปั้นหม๎อและทาการค๎ามาแตํเดิม ให๎ตั้งถิ่นฐานบริเวณช๎างเผือก ช๎างมํอย และบ๎านวัวลาย (ศรี สุพรรณและหมื่นสารเชี่ยวชาญทาเครื่องเงิน) และไพรํที่ไร๎ฝีมือให๎ย๎ายไปตั้งถิ่นฐานอยูํนอกเมืองเพื่อทา เกษตรกรรม จึงเกิดเป็นชุมชนตํางๆในเมืองเชียงใหมํที่มีชื่อเรียกชุมชนนาหน๎าวํา “ชําง” และ “พวก” แสดงถึงกลุํมของคนที่มีฝีมือทางด๎านงานชําง ดังปรากฏชื่อหมูํบ๎านและชื่อวัดที่บํงบอกถึงลักษณะ ความสามารถทางด๎านงานชํางของชนกลุํมนั้น เชํน ชํางแต๎ม ชํางฆ๎อง พวกเปีย (เปี๊ยะ) ชํางหลํอ พวก หงส๑ พวกแต๎ม และชํางเคี่ยน เป็นต๎น ในยุคแหํงการรวมหัวเมืองประเทศราชล๎านนาเข๎าสูํสํวนกลาง ของรัฐสยาม เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๒๗ – ๒๔๗๖ ซึ่งเป็นการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ ๕ โดย มีจัดการปกครองในรูปแบบของมณฑลเทศาภิบาล สํงผลให๎ขนบธรรมเนียมและจารีตท๎องถิ่น รวมไป ถึงรูปแบบของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของล๎านนาเปลี่ยนแปลงไปจากที่สร๎างขึ้นเพื่อการใช๎ใน ชีวิตประจาวันมาสูํการผลิตงานเพื่อเป็นสินค๎าเพื่อการค๎าขายมากยิ่งขึ้น ๒.๓.๒) แนวคิดการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ๒.๓.๒.๑ ความหมายของการอนุรักษ๑มรดกทางวัฒนธรรม การอนุรักษ๑ (Conservation) หมายถึง ความพยายามที่จะรักษาสภาพของวัตถุให๎คง อยูํในสภาพเดิม โดยกาจัดสาเหตุของการเสื่อมสภาพ เพื่อหยุดยั้ง หรื อชะลอการเสื่อมสภาพ และ ปูองกันไมํให๎วัตถุเสื่อมสภาพตํอไป ซึ่งรวมถึงการควบคุมดูแลรักษาวัตถุให๎อยูํในสภาพแวดล๎อมที่ เหมาะสมไมํเป็นอันตรายตํอวัตถุด๎วย การอนุรักษ๑มีผลทาให๎เกิดความเข๎าใจอดีต และเข๎าใจวัตถุมากขึ้นโดยทาให๎หลักฐานที่มี อยูํบนวัตถุปรากฏขึ้นอยํางชัดเจน และสงวนรักษาไว๎ให๎อยูํในสภาพที่ดี เพื่อการศึกษา และสาธารณะ ได๎ชื่นชม นอกจากนี้บทบาทของการอนุรักษ๑ยังต๎องทาให๎เกิดความสมดุลระหวํางความปรารถนาที่จะ เข๎าถึงเพื่อชื่นชมศึกษาศิลปะโบราณวัตถุ กับความจาเป็นของขบวนการสงวนรักษา ทั้งนี้เพื่อให๎ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๒๐


มรดกทางวัฒนธรรมได๎ อยูํรอดไปถึงอนาคตเพื่อคนรุํนตํอไปด๎ว ย ฉะนั้นการอนุรักษ๑มีความรวม ๒ ประการคือ (๑) การอนุรักษ๑เชิงปูองกัน (Preventive conservation) เป็นขวนการ ปูองกันและดูแลรักษาวัตถุให๎ปลอดภัยจากอันตรายที่อาจเกิดจากสิ่งแวดล๎อม และจากการกระทาของมนุษย๑ (๒) การอนุรักษ๑เชิงปฏิ บัติการ (Curative conservation) เป็นการ ปฏิบัติการตํอตัววัตถุ เพื่อกาจัดปัจจัยหรือสาเหตุของการเสื่อมสภาพและยับยั้ง ไมํให๎วัตถุเสื่อมสภาพตํอไป การบูรณะซํอมแซม (Restoration) หมายถึง การพยายามทาให๎วัตถุคืนสูํสภาพ เดิม(กํอนการเสื่อมสภาพ) อาจมีการเพิ่มเติมสํวนที่ชารุดเสียหายไป ซึ่งจะทาเฉพาะในกรณีที่รู๎รูปแบบ ดั้งเดิมอยํางแนํนอน และเมื่อถึงจุดที่สงสัยหรือคาดเดาต๎องหยุดทาการตํอเติมซํอมแซม และในการ ซํอมแซมต๎องพยายามทาให๎ สี ของสํ ว นที่ซํอมแซมคล๎ ายของเดิม เพื่อให๎ เป็นรูปแบบที่มองดูแล๎ ว ครบถ๎วนและไมํขัดตา และในการบูรณะซํอมแซมยังทาให๎วัตถุแข็งแรงขึ้นด๎วย แตํในขณะเดียวกันก็ ต๎องสามารถมองเห็นความแตกตํางระหวํางสํวนที่เป็นของเดิม และสํวนที่ตํอเติมใหมํ เป็นความจริง ที่วําไมํมีวัตถุใดจะสามารถคงสภาพอยูํได๎ตลอดไป แตํการอนุรักษ๑เบื้องต๎นโดยดูแลรักษาวัตถุให๎อยูํใน สภาวะแวดล๎อมที่เหมาะสมจะชํวยชะลอการเสื่อมสภาพได๎ และในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันแล๎ววํา การดูแลปกปูองวัตถุอยํางถูกต๎องยํอมเป็นการสิ้นเปลืองน๎อยกวํา อีกทั้งเป็นการปลอดภัยตํอวัตถุ มากกวําการปฏิบัติการอนุรักษ๑และซํอมแซมตัววัตถุภายหลังที่เกิดการเสื่อมสภาพแล๎ว หรือแม๎แตํวัตถุ ที่ ผํ า นการซํ อ มแซมแล๎ ว ก็ จ าเป็ น ต๎ อ งเก็ บ รั ก ษาไว๎ ใ นสิ่ ง แวดล๎ อ มที่ เ หมาะสมมิ ฉ ะนั้ น วั ต ถุ ก็ อ าจ เสื่อมสภาพได๎อีก จากความสาคัญ ดังที่กลําวมาข๎างต๎น ทาให๎ทราบถึงแนวทางในการที่จะอนุรักษ๑ ผลงานทางศิลปกรรมอันทรงคุณคํานี้ ซึ่งก็ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นพร๎อมกับศิลปกรรมเหลํานั้น และก็ ถือได๎วําเป็นสิ่งที่ทาให๎ผลงานด๎านศิลปกรรม อยูํรอดมาจนถึงปัจจุบัน นั้นก็คือ “วัฒนธรรม” และสิ่งนี้ เองที่เป็ น ตัว สั่ งสมความดีงามของคน และชุมชน ให๎ มีใจรักในภูมิปัญญาและศรัทธาในการรับใช๎ พระพุทธศาสนาวัฒนธรรมถือกาเนิด เพื่อพัฒนาและเปลี่ยนแปลงตามปัจจัยตํางๆ ที่เป็นองค๑ประกอบ แวดล๎อมของมนุษย๑และสังคมของมนุษย๑ ซึ่งปัจจัยพื้นฐานที่แท๎จริงของการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมสืบ เนื่องมาจากปัญหาและความต๎องการของมนุษย๑เป็นไปอยํางไมํมีวันสิ้นสุด และการเปลี่ยนแปลงทาง สิ่งแวดล๎อมตํางๆ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในองค๑ประกอบทางสังคม ทั้งนี้ ปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการ กาหนดรูปแบบของวัฒนธรรมสามารถจาแนกได๎เป็น ๓ สํวน คือ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๒๑


(๑) ปัจจัยภายนอก หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากสังคมภายนอก และสํงผลเสียหายตํอสังคมใดสังคมหนึ่งในลักษณะการเจือปนทางวัฒนธรรม เชํน การพัฒนาระบบสารสนเทศทาให๎สมาชิกในสังคมตํางๆ ได๎รับข๎อมูลขําวสารอยําง มากมาย และรวดเร็ว สํงผลให๎เกิดการเปรียบเทียบ เลียนแบบ และนาไปสูํการ เปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมในที่สุด (๒) ปัจจัยภายใน หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในสังคม และ สํงผลเสียหายตํอวัฒนธรรมดั้งเดิม เชํน การเพิ่มจานวนของประชากร สถานภาพ ทางเศรษฐกิจ และการเมือง เป็นต๎น (๓) ปัจจัยแวดล๎อมอื่น ๆ หมายความรวมถึงการเปลี่ยนแปลงตํางๆ ที่เกิด ขึ้น กั บ วั ฒ นธรรมจากปั จ จั ยตํ า งๆ ที่ ไ มํส ามารถคาดการณ๑ ไ ด๎ ซึ่ง จะสํ ง ผลตํ อ วัฒนธรรมในลักษณะตํางๆ กันออกไป เชํน การเกิดภัยพิบัติตํางๆ เป็นต๎น แนวความคิดในการอนุรักษ๑มรดกทางวัฒนธรรมมีความแตกตํางกับการอนุรักษ๑ สิ่งแวดล๎ อมธรรมชาติ เนื่ องจากหากเกิดความเสื่ อมสลายจนถึงจุดหนึ่งแล๎ว มนุษย๑จะไมํส ามารถ สร๎างสรรค๑มรดกทางวัฒนธรรมขึ้นทดแทนได๎อีกตํอไป ดังนั้นแนวทางการดาเนินงานใดๆ เกี่ยวกับ มรดกทางวัฒนธรรมจึงให๎ความสาคัญกับความพยายามฟื้นฟู และรักษาสภาพดั้งเดิมไว๎ให๎มากที่สุด โดยกาหนดมาตรการเพื่อหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่อาจสํงผลในความเสียหายตํอมรดกทางวัฒนธรรมทั้งโดย ทางตรง และทางอ๎อม สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล๎อม (๒๕๔๒) เสนอแนวทางการคุ๎มครอง มรดกทางวัฒนธรรมมิให๎เสื่อมคุณคําลงโดยการกาหนดกลยุทธ๑ในการดาเนินงานให๎ได๎ผลทั้งระยะสั้น และตํอเนื่องเป็นผลระยะยาวด๎วย ข๎อเสนอแนะจึงมีทั้งสาหรับการปฏิบัติในระยะสั้นและในระยะยาว ได๎แกํ (๑) การประชาสัมพันธ๑ เป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ ในการปฏิ บั ติ ง านยุ ค ประชาธิ ป ไตย ซึ่ ง เป็ น ตาม รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ การประชาสัมพันธ๑สามนรถขยายความรู๎และ ขยายผลการปฏิบัติงานให๎ประชาชนสํวนใหญํรับทราบ ทาให๎เกิดความเข๎าใจในวัตถุประสงค๑ตรงกัน ปฏิบัติงานไปในทิศทางเดียวกัน การถํายเทความรู๎ระหวํางสํวนกลางกับท๎องถิ่น เมื่อประชาชนมีข๎อมูล ขําวสารเทําเทียมกันสามารถเรียนรู๎และรํวมมือกันอนุรักษ๑ และการคุ๎มครองมรดกทางวัฒนธรรมไปใน แนวทางเดียวกันได๎

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๒๒


(๒) การสร๎างจิตสานึก เป็ น การสร๎ า งจิ ต ส านึ ก ให๎ ทั้ ง เจ๎ า หน๎ า ที่ ที่ เ ป็ น บุ ค คลากรของรั ฐ และ ประชาชนเห็นคุณคําของการคุ๎มครองมรดกทางวัฒนธรรมให๎ดารงอยูํในท๎องถิ่นอยํางถาวร แม๎วําจะมี การถํายเททางวัฒนธรรมกันบ๎างก็ตาม การปรุงแตํงประเพณีวัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต จนกลายไปจากต๎ น แบบนั้ น เป็ น การไมํ ส มควร นอกจากการพัฒ นาแบบคํ อยเป็ นคํ อยไป ซึ่ งต๎ อ ง สอดคล๎องกับ ระบบเศรษฐกิจ สังคมและลักษณะทางกายภาพของแตํล ะท๎องถิ่น เมื่อประชาชนมี จิตสานึกที่ดีแล๎วยํอมระมัดระวังการปฏิบัติงานที่จะมีผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อมธรรมชาติและมรดกทาง วัฒนธรรม (๓) การมีสํวนรํวมของประชาชน ในการคุ๎มครองมรดกทางวัฒนธรรมซึ่งเป็นของประชาชนทุกคน ดังนั้น การปฏิบัติการใดๆ เกี่ยวกับสิ่งแวดล๎อม ประชาชนในท๎องถิ่นซึ่งเป็นเจ๎าของพื้นที่ต๎องมีสํวนได๎รับรู๎ทุก ขั้นตอน ในทางปฏิบัติควรให๎ผู๎ทรงคุณวุฒิ ประชาชนและองค๑กรพัฒนาเอกชนได๎มีสํวนรํวม ทั้งแสดง ความคิดเห็นและรํวมปฏิบัติการด๎วย เพื่อให๎เกิดความรู๎สึกวําได๎เป็นเจ๎าของรํวมกันจะได๎ชํวยกันดูแล รักษาและคุ๎มครองวัฒนธรรมตํอไป (๔) การอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อม การอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อมโดยการดาเนินการคุ๎มครองมรดกทางวัฒนธรรม ตามหลักเกณฑ๑ ขั้นตอน และวิธีการทางวิชาการ โดยอาจดาเนินการในลักษณะ ดังนี้ (๔.๑) การฟื้นฟูวัฒนธรรม เป็นการนาวัฒนธรรมที่กาลังจะสูญหาย หรือ เสื่อมสลายมาทาให๎มีความหมาย และความสาคัญตํอการดาเนินชีวิตของคนในชาติ (๔.๒) การถํายทอดวัฒนธรรม เป็นการนาวัฒนธรรมที่ผํานการเลือกสรร กลั่นกรองแล๎วไปใช๎ ในกระบวนการให๎การศึกษา อันทาให๎สมาชิกในสังคมเกิดความเข๎าใจ ตระหนักใน คุณคํา และน าไปปฏิบั ติอยํ างเหมาะสม และสอดคล๎ องกับยุคสมัย การถํายทอดวัฒ นธรรม อาจ ดาเนินการในรูปแบบที่หลากหลาย อันหมายรวมถึง “การฝึกอบรม” ซึ่งเป็นการฝึกอบรมเพื่อการ เรียนรู๎ และการฝึกอบรมเพื่อการอาชีพ และการแขํงขัน (๔.๓) การสํงเสริมสนับสนุนงานวัฒนธรรม โดยหนํวยงานภาครัฐ และ เอกชนให๎การสนับสนุนการดาเนินงานวัฒนธรรมในรูปแบบตํางๆทั้งในการสนับสนุนงบประมาณ และ ยกยํองเชิดชูเกียรติบุคลากรทางวัฒนธรรมที่มีความรู๎ความสามารถ (๔.๔) การสร๎างสรรค๑ทางวัฒนธรรม เป็นการกระตุ๎นให๎บุคลากรทาง วัฒนธรรม/ผู๎สร๎างสรรค๑งานวัฒนธรรม และบุคคลทั่วไป ได๎สร๎างสรรค๑งานวัฒนธรรมในรูปแบบตํางๆ ไมํวําจะเป็นงานหัตถกรรม หัตถศิลป์ ศิลปะแขนงตํางๆ ทั้งนี้เพื่อการจรรโลงไว๎ซึ่งศิลปะและวัฒนธรรม รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๒๓


ของประเทศ ประชาชนตระหนักในความสาคัญของวัฒนธรรม เกิดสุนทรียะทางศิลปะ วัฒนธรรม สร๎างสรรค๑งานวัฒนธรรม ทั้งในระดับท๎องถิ่นและระดับชาติให๎คงอยูํสืบไป (๔.๕) การพัฒนา เป็นการริเริ่มสร๎างสรรค๑ และการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง วัฒ นธรรมให๎ เหมาะสมกับ ยุ คสมัย บั งเกิดคุณประโยชน๑แกํชีวิต สั งคมและธรรมชาติ รวมถึงการ ปรับปรุง และการออกกฎหมาย ระเบียบข๎อบังคับ เพื่อเอื้อตํอการพัฒนาวัฒนธรรม (๕) การค๎นคว๎าวิจัยการสารวจศึกษาวิเคราะห๑ สังเคราะห๑ ข๎อมูลเพื่อ ประโยชน๑ ในการอนุรักษ๑ ฟื้นฟู ถํายทอด พัฒนา สํงเสริม และสนับสนุนงานด๎านวัฒนธรรม ให๎คงอยูํ สืบไป ในการอนุรักษ๑ และพัฒนาความรู๎ งานคัวตอง ชุมชนวัดพวกแต๎ม อาเภอเมือง เชีย งใหมํให๎ เป็ น มรดกทางวัฒนธรรมได๎นั้ น นอกจากต๎องรู๎และเข๎าใจในแนวคิดหลั กการของการ อนุ รั ก ษ๑ อ ยํ า งลึ ก ซึ้ ง แล๎ ว อี ก แนวคิ ด หนึ่ ง ที่ ต๎ อ งพั ฒ นาควบคูํ กั น ไปก็ คื อ “แนวคิ ด การอนุ รั ก ษ๑ สิ่งแวดล๎ อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรม” ทั้งนี้ก็เพื่อกํอให๎เกิดผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม สามารถที่ จ ะรั บ รู๎ ไ ด๎ จ ากการสั ม ผั ส การมองเห็ น และรู๎ เ ข๎ า ไปได๎ ถึ ง จิ ต ใจของคนในชุ ม ชน ที่ ใ ห๎ ความสาคัญ และเห็นถึงคุณคําของงานคัวตอง ในชุมชนวัดพวกแต๎มแหํงนี้ ไมํวําอยํางไรก็ตาม การที่ ได๎ เรียนรู๎ถึงหลักการในการอนุรักษ๑ หรือหลักการที่วําด๎วยการพัฒนาสิ่งตํางๆ รอบตัวเรา ถือได๎วําเป็นสิ่ง ที่จะทาให๎เกิดความสามัคคีในชุมชน และเกิดพลังในการสร๎างสรรค๑ผลงานที่มีคุณคําให๎คงอยูํสืบไป ซึ่งแนวคิดดังกลําววําด๎วย (สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล๎อม, ๒๕๔๒) McNeeley J.A (๑๙๙๖) ได๎ประยุกต๑แนวคิดการอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล๎อมให๎ขยายขอบเขตครอบคลุม ถึงหลักการทาง เศรษฐศาสตร๑ สังคม และการเมือง ซึ่งเกี่ยวข๎องโดยตรงกับสาธารณชนเป็นสาคัญนั้น จึงมีหลักการ อนุรักษ๑ทรัพยากรทางชีวภาพ ซึ่งสามารถประยุกต๑ใช๎กับการอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อมธรรมชาติ และมรดก ทางวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล๎อมได๎ โดยประกอบด๎วยหลักการที่เรียกวํา “หลักการ ๗Is” คือ (๑) การใช๎ประโยชน๑ (Investigation) หมายถึงการกาหนดรูปแบบการใช๎ ประโยชน๑สิ่งแวดล๎อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นไปตามหลักการอนุรักษ๑ที่ต๎องพยายาม รั ก ษาความสมดุ ล ของระบบนิ เ วศ และทรั พ ยากรธรรมชาติ ทั้ ง นี้ ในการก าหนดรู ป แบบการใช๎ ประโยชน๑สิ่งแวดล๎อมธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรมดังกลําวอาจครอบคลุมถึงมาตรการทางด๎าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในรูปของระเบียบข๎ อบังคับ และกฎหมาย โดยอาจมีการการลงโทษ ผู๎กระทาความผิดด๎วย

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๒๔


(๒) ข๎อมูลสนับสนุน (Information) คือการกาหนดนโยบายมาตรการ และแผนการดาเนินงานเพื่อให๎การอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรมเป็นไปได๎ อยํางรอบคอบรัดกุม (๓) นวัตกรรมในการใช๎ประโยชน๑ (Innovation) คือการประดิษฐ๑คิดค๎น นวัตกรรมใหมํๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเปลําจากการใช๎ประโยชน๑สิ่งแวดล๎อมธรรมชาติ และมรดกทาง วัฒนธรรม รวมทั้งการปูองกันการเกิดปัญหามลพิษสิ่งแวดล๎อม (๔) การสร๎างแรงดึงดูด (Incentives) ในการใช๎ประโยชน๑สิ่งแวดล๎อม ธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรมโดยหนํวยงานองค๑กรกลุํมบุคคล หรือบุคคลที่ได๎ดาเนินการตาม หลักการอนุรักษ๑อยํางมีประสิทธิภาพนั้น หนํวยงาน องค๑กร กลุํมบุคคล หรือ บุคคลดังกลําว อาจได๎รับ การสํ ง เสริ ม สนั บ สนุ น โดยกลไกทางสั ง คม และเศรษฐกิ จ รวมทั้ ง เผยแพรํ เ กี ย รติ คุ ณ ดั ง กลํ า วสูํ สาธารณชนด๎วย (๕) การบูรณาการ (Integration) การบูรณาการศาสตร๑ตํางๆ ที่เกี่ยวข๎อง กับเทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาการคอมพิวเตอร๑ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร๑ ฯลฯ เป็นพื้นฐานสาคัญใน การสร๎ า งนวัต กรรมใหมํใ นการอนุ รัก ษ๑ สิ่ งแวดล๎ อ มธรรมชาติ และมรดกทางวั ฒ นะธรรมอยํ า งมี ประสิทธิภาพ (๖) การมีสํวนรํวมของชุมชนท๎องถิ่น (Indigenous Community) ชุมชน ท๎องถิ่นเป็นสังคมที่อยูํใกล๎ชิดกับสิ่งแวดล๎อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรมมากที่สุด และจะเป็น สังคมแรกที่ได๎รับความเดือดร๎อน และได๎รับผลกระทบในลักษณะความเสียหายจากการใช๎ประโยชน๑ ดังนั้น ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการอนุรักษ๑ สิ่งแวดล๎อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรม จึงต๎อง ให๎ความสาคัญกับข๎อจากัด และศักยภาพของชุมชุนท๎องถิ่น โดยเปิดโอกาสให๎ชุมชนท๎องถิ่นเข๎ามามี สํวนรํวมในการดาเนินงานด๎านการอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรม (๗) ความรํวมมือระหวํางประเทศ (International Cooperation) เป็น การดาเนินงานด๎านการอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อม และมรดกทางวัฒนธรรมที่เกิดจากความรํวมมือระหวําง หนํวยงานภาครัฐ หนํวยงานภาครัฐวิสาหกิจ และองค๑กรพัฒนาเอกชนในทุกรูปแบบ เพื่อให๎บรรลุ วัตถุประสงค๑รํวมกัน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพในการอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อมธรรมชาติ และมรดกทาง วัฒนธรรมในระดับนานาชาติ (McNealy J.A, ๑๙๙๖) กรมศิลปากร (๒๕๔๐) แนวความคิดในการจาแนกประเภทของวัฒนธรรม นั้น อยูํบนบรรทัดฐานที่แตกตํางกันและสามารถพิจารณาได๎จากหลายมุมมอง ทั้งนี้ อาจกลําวได๎วํา ประเภทของวัฒนธรรมสามารถจาแนกอยํางงํายๆ ตามอุดมคติเป็น ๒ ประเภทคือ วัฒนธรรมที่เป็น วัตถุ (Material Culture) หรือวัฒนธรรมรูปธรรม (Tangible) และวัฒนธรรมที่ไมํใช๎วัตถุ (Nonรายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๒๕


material Culture) หรือวัฒนธรรมทางจิตใจ หรือวัฒนธรรมทางนามธรรม (Intangible) อยํางไรก็ ตามการจ าแนกประเภทของวั ฒ นธรรมยั ง อาจจ าแนกตามอายุ ข องวั ฒ นธรร ม หลั ก ฐานทาง ประวัติศาสตร๑ โบราณคดี การวิวัฒนาการของมนุษย๑และระดับของสังคม (กรมศิลปากร, ๒๕๔๐) ดังนี้ ในสํวนของการแบํงประเภทวัฒนธรรมตามยุคสมัยนั้น ยุคของวัฒนธรรม สามารถจาแนกได๎เป็น ๒ ระยะ คือ (๑) มรดกทางศิลปะและวัฒนธรรม (Past Culture or Cultural Heritage) หมายถึง เรื่องราวของคนในอดีตทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม เริ่มตั้งแตํเรื่องของ วัฒนธรรม ยุคกํอนประวัติศาสตร๑ สืบตํอมมาถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ในการพิจารณากาหนดวําวัฒนธรรมใด จัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหรือไมํนั้น แตํละประเทศจะมีหลักเกณฑ๑แตกตํางกันออกไปกลําว คือ ประเทศตํางๆ ในภาคพื้นยุโรปจาแนกวัฒนธรรมอดีต และวัฒนธรรมปัจจุบันโดยยึดชํวงเวลาของการ ปฏิรูป หรือการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ สํวนบางประเทศ ยึดถือชํวงเวลาที่รัฐบาลประกาศ นโยบายการสงวนรักษาของโบราณ ทั้งนี้ หลักในการปฏิบัติของนานาประเทศกาหนดให๎ระยะเวลา ๕๐ ปี เป็น ๑ ชั่วอายุคนซึ่งใช๎เป็นชํวงเวลาในการแบํงระหวํางวัฒนธรรมอดีต และวัฒนธรรมปัจจุบัน ณรงค๑ เส็งประชา (๒๕๓๑) มรดกทางศิลปะและวัฒนธรรม ประกอบด๎วย สิ่งสร๎างของคน ในอดีตที่เป็นทั้งวัฒนธรรมรูปธรรม (Tangible) หรือวัฒนธรรมที่เป็นวัตถุ เชํน ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม สิ่งกํอสร๎าง เป็นต๎น และวัฒนธรรมนามธรรม (Intangible) หรือวัฒนธรรม ที่ไมํใชํวัตถุ เชํน ภาษา ศีลธรรม จริยธรรม สุ นทรียศาสตร๑ ตลอดจนอาหารการกิน การแตํงกาย ศาสนาและความเชื่อ เป็นต๎น (ณรงค๑ เส็งประชา, ๒๕๓๑) (๒) วัฒนธรรมรํวมสมัย (Cultural Life) หมายถึง พฤติกรรมที่เป็นวิถีชีวิต ของคนปัจจุบันเป็นแบบแผนการประพฤติปฏิบัติ และการแสดงออกซึ่งความรู๎สึกนึกคิดในสถานการณ๑ และสถานภาพตํางๆ ที่ส มาชิกในสังคมเดียวกันสามารถเข๎าใจและซาบซึ้งรํว มกัน เป็นเอกลั กษณ๑ เฉพาะตัวของกลุํมชนที่สร๎างสมสืบตํอมาจากอดีตกาล วิบูลย๑ ลี้สุวรรณ (๒๕๔๒) กลําววํา วัฒนธรรมเป็นเรื่องของภูมิปัญญา ภูมิ ความรู๎ และความคิดสร๎างสรรค๑ของมนุษย๑ โดยมรดกวัฒนธรรมพื้นบ๎านสามารถสะท๎อนให๎เห็นถึง ความเชื่อ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียม วิถีชีวิต อารยธรรม และวัฒนธรรมของมนุษย๑ โดยมรดกทาง วัฒนธรรมพื้นบ๎านในปัจจุบันได๎รับการสืบทอดมาอยํางตํอเนื่องในรูปของศิลปะพื้นบ๎าน โดยสามารถ สรุปลักษณะสาคัญของศิลปะพื้นบ๎าน ได๎ดังนี้ (๑) ศิลปะพื้นบ๎านได๎รับการสร๎างสรรค๑ขึ้นโดยชาวบ๎าน หรือประชาชน โดยได๎รับแรงบันดาลใจจากขนบประเพณี และความเชื่อที่ได๎รับการถํายทอดมาจากโบราณกาล

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๒๖


(๒) จากความแตกตํางของแตํละพื้นฐาน ทาให๎พัฒนาการของศิลปะ พื้ น บ๎ า นในแตํ ล ะท๎ อ งถิ่ น มี ลั ก ษณะเป็ น เอกลั ก ษณ๑ เ ฉพาะถิ่ น และมี ก ารถํ า ยทอด และคงรั ก ษา เอกลักษณ๑ดังกลําวได๎อยํางตํอเนื่องจนถึงปัจจุบัน (๓) การถํายทอด และการรักษาเอกลักษณ๑ศิลปะพื้นบ๎านดาเนินการ โดย กลุํมบุคคลที่เรียกวํา “ชํางชาวบ๎าน หรือ ศิลปินชาวบ๎าน” ทั้งนี้ เอกลักษณ๑ของศิลปะพื้นบ๎านแสดงให๎ เห็นถึงภูมิปัญญาท๎องถิ่นที่แตกตํางกัน (๔) ศิล ปะพื้นบ๎านมีลั กษณะเรียบงําย และมุํง เน๎นการใช๎ประโยชน๑ ตอบสนองความต๎องการตามสภาพท๎องถิ่น ขนบประเพณี และวัฒนธรรมของกลุํมชนมากกวําความ งดงาม หรือความไพเราะ โดยการพัฒนารูปแบบให๎ความสาคัญการใช๎ประโยชน๑จากวัสดุท๎องถิ่น (๕) ความงดงาม หรือความไพเราะของศิล ปะพื้นบ๎านเกิดจากความ ชานาญ และการขัดเกลาที่ได๎รับการสืบทอด และพัฒนามาอยํางตํอเนื่องยาวนานให๎มีความเหมาะสม ตามยุคสมัย (วิบูลย๑ ลี้สุวรรณ, ๒๕๔๒) กรมศิล ปากร (๒๕๔๐) กลํ าวถึงองค๑ประกอบของมรดกทางวัฒ นธรรมวํ า ประกอบด๎วยสิ่งสร๎างสรรค๑ของคนในอดีตที่เป็นรูปธรรม (Tangible) เชํน ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม สิ่งกํอสร๎าง รวมทั้งนามธรรม (Intangible) ซึ่งไมํปรากฏรูปรําง เชํน ภาษา ความรู๎ ศีลธรรม จริยธรรม สุ น ทรี ย ศาสตร๑ ตลอดจนอาหารการกิ น การแตํ ง กาย ศาสนาและความเชื่ อ เป็ น ต๎ น และได๎ ใ ห๎ ความหมายของมรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรม คือ วัตถุ หรือสถานที่ที่เกิดขึ้นจากฝี มือ การ ประดิษฐ๑ คิดค๎น การดัดแปลง การอยูํอาศัย หรือใช๎ประโยชน๑จากมนุษย๑ สามารถมองเห็นและจับต๎อง ได๎ สิ่งตํางๆ ดังกลําวอาจจะใช๎เพียงชั่วระยะเวลาหนึ่ง แล๎วทิ้ งร๎างไป หรือใช๎ประโยชน๑มาจนกระทั้ง ปัจจุบัน ซึ่งประกอบด๎วย (๑) ศิลปวัตถุ หมายถึง สิ่งที่ทาด๎วยฝีมือและเป็นสิ่งที่นิยมกันวํามีคุณคําทาง ศิลปะ (๒) โบราณวั ตถุ หมายถึง สั ง หาริ มทรัพ ย๑ที่ เ ป็น ของโบราณ ไมํ วํ าจะเป็ น สิ่งประดิษฐ๑หรือเกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือที่เป็นสํวนหนึ่งสํวนใดของโบราณสถาน ซากมนุษย๑หรือซาก สัตว๑ ซึ่งโดยอายุหรือโดยลักษณะแหํงการประดิษฐ๑ หรือ โดยประวัติเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย๑นั้น เป็น ประโยชน๑ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร๑ และโบราณคดี (๓) โบราณสถาน หมายถึง อสังหาริมทรัพย๑ซึ่งโดยอายุ หรือ โดยลักษณะแหํง การกํอสร๎ างหรื อหลั กฐานที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือโดยหลั กฐานที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร๑ของ อสังหาริมทรัพย๑นั้น เป็นประโยชน๑ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร๑ และโบราณคดี รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๒๗


(๔) อนุสรณ๑สถานและแหลํงประวัติศาสตร๑ สถานที่ตั้งของเมืองหรือชนบท ซึ่งพบ หลักฐานของอารยะธรรมอยํางหนึ่งอยํางใดเป็นพิเศษที่นั้น และเป็นหลักฐานของความเจริญก๎าวหน๎า ที่สาคัญหรือเป็นหลักฐานเหตุการณ๑ทางประวัติศาสตร๑ (๕) จิตรกรรม เป็นผลงานทางศิลปะ โดยเฉพาะอยํางยิ่งภาพวาดหรืภาพพิมพ๑ที่ ปรากฏอยูํในบารณสถานและปรากฏอยูํบนโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ (๖) ศิลปหัตถกรรม หมายถึง เครื่องมือ เครื่องใช๎ เสื้อผ๎า และอุปกรณ๑ตํางๆ ที่มี การคิดค๎นโดยชุมชนท๎องถิ่นและผลิตขึ้นอยํางงํายๆ ไมํซับซ๎อน โดยใช๎วัสดุในท๎องถิ่น โดยคานึงถึง ประโยชน๑ใช๎ (กรมศิลปากร, ๒๕๔๐) ประสงค๑ เอี่ยมอนันต๑ (๒๕๓๗) ได๎จาแนกมรดกทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข๎องกับ โบราณสถานออกไว๎เป็น ๖ ประเภท คือ (๑) สิ่งกํอสร๎างเดี่ยว เป็นสิ่งกํอสร๎างชิ้นเดียวที่ตั้งอยูํโดดๆ อาจเป็นอนุสาวรีย๑ อาคารสะพาน เจดีย๑ โบสถ๑ วิหาร มัสยิด เป็นต๎น (๒) กลุํมของสิ่งกํอสร๎าง เป็นสิ่งกํอสร๎างหลายชิ้นที่ตั้งอยูํรวมกันเป็นกลุํม อาจมี สิ่งกํอสร๎างที่สาคัญที่สุดชิ้นหนึ่งเป็นศูนย๑กลาง หรือไมํมีก็ได๎ เชํน วัด โรงเรียน ศูนย๑ราชกร เป็นต๎น (๓) ยําน ชุมชน และเมืองประวัติศาสตร๑ เป็นกลุํมอาคารที่มีองค๑ประกอบตาม ความต๎องการของชุมชนนั้น หากมีประวัติสาคัญก็เป็นเมืองประวัติศาสตร๑ (๔) แหลํงโบราณคดี แบํงออกเป็น - แหลํงโบราณคดีที่ทาการขุดค๎นแล๎ว - แหลํงโบราณคดีที่ยังไมํได๎ทาการขุดค๎น - แหลํงศิลปะถ้า ได๎แกํ ภาพเขียน หรือภาพแกะสลัก ที่ปรากฏอยูํตามผนังถ้า (๕) แหลํงประวัติศาสตร๑ เป็นพื้นที่ที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร๑ เชํน เป็น บริเวณที่เกิดเหตุการณ๑สาคัญทางประวัติศาสตร๑ สถานที่ประกอบพระราชพิ ธี การจัดการละเลํน กีฬา พื้นถิ่น (๖) ภู มิทั ศ น๑ ป ระวัติ ศ าสตร๑ เป็ น สถานที่ ที่มี ก ารจั ด ภู มิทั ศ น๑ และมี ความสาคัญทางประวัติศาสตร๑ ทั้งนี้ การจัดลาดับความสาคัญของโบราณสถานสามารถจาแนกได๎ ๔ ระดับ คือ - สมบัติของชาติ หมายถึง โบราณสถานที่มีคุณคําความสาคัญ เยี่ยมยอดในระดับชาติ - มรดกทางวัฒนธรรมสาคัญ หมายถึง โบราณสถานที่มีคุณคํา ความสาคัญระดับภูมิภาค รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๒๘


มรดกทางวัฒ นธรรม หมายถึง โบราณสถานที่มีคุณคํ า ความสาคัญในระดับท๎องถิ่น - อาคารสถานที่อนุรักษ๑ หมายถึง สิ่งกํอสร๎างหรือสถานที่ที่มี ความสาคัญทางด๎าน ประวัติศาสตร๑ หรือศิลปะ และสถาปัตยกรรม (ประสงค๑ เอี่ยมอนันต๑ , ๒๕๓๗) อิ โคโมสไทย (๒๕๕๔) การอนุ รั ก ษ๑ หมายถึ ง การดู แ ลรั ก ษา การปูอ งกั น การสงวนและการ บูรณปฏิสังขรณ๑เพื่อให๎คงคุณคําไว๎ โดยการอนุรักษ๑แหลํงมาดกวัฒนธรรมที่เกี่ยวข๎องแตํละแหลํงนั้น อาจมีวิธีการในระดับตําง ๆ กันแล๎วแตํสถานการณ๑และปัจจัยอื่น ๆ ในแตํละกรณี โดยอาจจะใช๎วิธีการ ใดวิธีการหนึ่ง หรือหลายวิธีรํวมกันและให๎หมายรวมถึงการอนุรักษ๑เพื่อรื้อฟื้น ฟื้นฟู สืบสาน สามารถ นามาใช๎งานตํอให๎เกิดประโยชน๑ ๒.๓.๒.๒) คุณค่าและการประเมินคุณค่าของมรดกวัฒนธรรม (๑) มรดกวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มีคุณคํา ดังนั้นการประเมินคุณคํามรดกวัฒนธรรม จึงเป็นขั้นตอนสาคัญในกระบวนการอนุรักษ๑ เพื่อนามาจัดลาดับความสาคัญ และนามาใช๎พิจารณา เลือกใช๎วิธีการในการอนุรักษ๑ และบริหารจัดการที่เหมาะสม เพื่อให๎เกิดประโยชน๑สูงสุดตํอสังคม (๒) ในการอนุรักษ๑มรดกวัฒนธรรมต๎องพิจารณาวํามรดกวัฒนธรรมนั้นมีคุณคํา โดดเดํนในด๎านใดบ๎าง เชํน ด๎านสุนทรียภาพ ด๎านโบราณคดี ด๎านประวัติศาสตร๑ ด๎านวิชาการ ด๎าน สังคม เป็นต๎น เพื่อวางแผนรักษาคุณคําความสาคัญที่เดํนที่สุดเอาไว๎ โดยยังคงองค๑ประกอบคุณคํา ความสาคัญในด๎านที่รองลงมาด๎วยตามความเหมาะสม (๓) มรดกวัฒนธรรมที่เป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุที่มีคุณคําหรือ ที่ได๎รับการประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ตามกฎหมายวําด๎วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหํงชาติ ต๎องได๎รับการปกปูองคุ๎มครองตามกฎหมายโดย เครํงครัด (๔) มรดกวัฒนธรรมที่ได๎รับการประเมินคุณคําแล๎ววํามีความสาคัญระดับชาติ หรือระดับท๎องถิ่นควรได๎รับการขึ้นทะเบียนหรือขึ้นบัญชีเพื่อให๎ได๎รับการปูองกันคุ๎มครอง ๒.๓.๒.๓) หลักการในการอนุรักษ์ (๑) การดาเนินการอนุรักษ๑มรดกวัฒนธรรมที่มีคุณคําความสาคัญอยํางสูงและหา ได๎ยากพึงรักษาความแท๎ไว๎ โดยแก๎ไขน๎อยที่สุด จึงควรอนุรักษ๑ด๎วยวิธีปูองกันการเสื่อมสภาพ วิธีการ สงวนรักษา วิธีการเสริมความมั่นคงแข็งแรงเทํานั้น ทั้งนี้ให๎หลีกเลี่ยงการรบกวนหลักฐานดั้งเดิมที่ยัง หลงเหลืออยูํ และไมํควรกํอสร๎างทับลงบนซากสิ่งกํอสร๎างเดิม รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๒๙


(๒) ดาเนินการบูรณะมรดกวัฒนธรรมที่เป็นปูชนียสถานอันเป็นที่เคารพบูชา โดย ไมํมีการแก๎ไขเปลี่ยนแปลงลักษณะ สี และทรวดทรง ซึ่งจะทาให๎มรดกวัฒนธรรมนั้นด๎อยคุณคําหรือ เสื่อมความศักดิ์สิทธิ์ไป (๓) ดาเนินการอนุรักษ๑มรดกวัฒนธรรมที่ยังมีประโยชน๑ใช๎สอยอยูํอยํางตํอเนื่อง โดยการเสริมสร๎างหรือตํอเติมสิ่งที่ เป็นขึ้นใหมํก็ได๎ เพื่อความเหมาะสมในการใช๎งาน โดยไมํจาเป็น ต๎องสร๎างให๎เหมือนเดิม แตํสิ่งที่เพิ่มขึ้นใหมํนั้นจะต๎องกลมกลืนและไมํทาลายมรดกวัฒนธรรมนั้นให๎ ด๎อยคําลงไป (๔) ดาเนินการศึกษาให๎ละเอียดวํา มรดกวัฒนธรรมที่มีการอนุรักษ๑โดยมีการ แก๎ไขมากํอนแล๎ว บูรณะแก๎ไขมาแล๎วกี่ครั้ง ผิดถูกอยํางไร ระยะเวลานานเทําไร การอนุรักษ๑ใหมํที่จะ ทานี้ไมํจาเป็นจะต๎องใช๎แบบใดแบบหนึ่งเสมอไป แตํให๎มีกระบวนการพิจารณาเลือกแบบที่เหมาะสม ที่สุดเป็นหลัก เพื่อให๎มรดกวัฒนธรรมนั้นคงคุณคําและความสาคัญมากที่สุด (๕) ไมํควรเคลื่อนย๎ายมรดกวัฒนธรรมหรือชิ้นสํวนของมรดกวัฒนธรรม ไปยัง สถานที่ตั้งใหมํ ซึ่งเป็นการฝุาฝืนหลักการอนุรักษ๑มรดกวัฒนธรรม ยกเว๎นพิจารณาอยํางรอบคอบแล๎ว เห็นวําเป็นวิธีการสุดท๎ายในการปูองกันการชารุดเสียหาย หรือการถูกโจรกรรม แตํจะต๎องนามรดก วัฒนธรรมหรือชิ้นสํวนของมรดกวัฒนธรรมนั้นมารักษาไว๎ในสถานที่ปลอดภัยและถูกต๎องตามกฎหมาย โดยต๎องจาลองแบบชิ้นสํวนของมรดกวัฒนธรรมที่ถอดย๎ายมานั้นไปประกอบไว๎แทน ณ ที่ตั้งเดิมและ ต๎องมีการสื่อความหมายให๎เกิดความเข๎าใจอยํางถูกต๎อง เนื่องจากจุดมุํงหมายของการอนุรักษ๑มรดก วัฒนธรรมคือการใช๎ประโยชน๑ และการรักษามรดกวัฒ นธรรมไว๎ ณ บริเวณที่ค๎นพบอยํางยั่งยืนและ เหมาะสม (๖) การกํอสร๎างหรือฟื้นฟูมรดกวัฒ นธรรมขึ้นมาใหมํตามความต๎องการใน ปัจจุบันจะต๎องมาจากการออกแบบและการตัดสินใจที่มีกระบวนการศึกษาข๎อมูล รูปแบบและที่ตั้ง ดั้งเดิมอยํางครบถ๎วนที่จะไมํกํอให๎เกิดการสื่อความหมายที่ผิด และบิดเบือนข๎อมูลคุณคําของมรดก วัฒนธรรม (๗) การดาเนินการเพื่อการอนุรักษ๑มรดกวัฒนธรรมโดยวิธีการปฏิสังขรณ๑เพื่อ ประโยชน๑ในการอธิบายสื่อความหมาย ควรเป็นไปตามข๎อมูลหลักฐานที่ได๎ศึกษาวิเคราะห๑ตีความอยําง มีเหตุผล และเป็นที่ยอมรับ โดยให๎คานึงถึงการที่จะสามารถปรับเปลี่ยนแก๎ไขได๎ในอนาคต (๘) ดาเนินการเพื่อการอนุรักษ๑มรดกสิ่งกํอสร๎างพื้นถิ่น โดยคานึงถึงการพัฒนา หรือความเปลี่ยนแปลงที่ไมํอาจหลีกเลี่ยงได๎ และลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมที่สืบทอดมาของชุมชน โดยงานที่ตํอเติมบนสิ่งกํอสร๎าง หรือในบริเวณชุมชนพื้นถิ่นนั้น ควรเคารพคุณคํา ทางวัฒนธรรมและ ลักษณะตามแบบดั้งเดิมที่ผสานกลมกลืนกับสภาพแวดล๎อมทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ แนวทาง ในการปฏิบัติได๎แกํ การวิจัย บัน ทึก จัดเก็บข๎อมูล สํงเสริมให๎มีการสืบสานระบบการกํอสร๎างและ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๓๐


ทักษะฝี มือชํางพื้นถิ่นในทุกระดับ อาจใช๎วัสดุใหมํที่ไมํเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของภาพลักษณ๑ ผิวสัมผัสรูปทรง ไปจากโครงสร๎างและวัสดุของเดิมที่สืบเนื่องมา (๙) ดาเนินการเพื่อการอนุรักษ๑มรดกวัฒนธรรมประเภทยํานชุมชนและเมือง ประวัติศาสตร๑ซึ่งมีความจาเป็นที่จะต๎องพัฒนาและปรับปรุงให๎สอดคล๎องกับวิถีชีวิตความเป็นอยูํใน ปัจจุบัน ทั้งนี้ ควรบูรณาการนโยบายของรัฐและการวางผังเมืองในทุกระดับให๎สอดคล๎องกันด๎วย (๑๐) ดาเนินการเพื่อการอนุรักษ๑ความดั้งเดิมของมรดกวัฒนธรรมประเภทยําน ชุมชน และเมืองประวัติศาสตร๑ โดยไมํละเลยการตรวจสอบด๎านโบราณคดีเพื่อเป็นความรู๎เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร๑ของยําน ชุมชน และเมืองประวัติศาสตร๑ เชํน รูปแบบแผนผังของเมือง การแบํงพื้นที่ดิน และโครงขํายการคมนาคม ความสัมพันธ๑ระหวํางสิ่งกํอสร๎าง พื้นที่โลํง และพื้นที่สีเขียว ทั้งที่เป็น ธรรมชาติและมนุษย๑สร๎างขึ้น รูปลักษณ๑ของสิ่งกํอสร๎างและการใช๎สอยเดิมที่มีความหลากหลาย (๑๑) ดาเนินการเพื่ออนุรักษ๑มรดกวัฒนธรรมที่เป็นซากสิ่งกํอสร๎าง ซึ่งมีคุณคํา ทางศิลปะประวัติศาสตร๑หรือโบราณคดี โดยรักษาไว๎ตามสภาพเดิมหลังการขุดแตํง แตํต๎องปูองกันมิให๎ เสียหายตํอไป ด๎วยวิธีที่ไมํทาให๎มรดกวัฒนธรรมเสียคุณคํา (๑๒) เนื่องจากภูมิทัศน๑ประวัติศาสตร๑เป็นมรดกวัฒนธรรมยังประกอบด๎ วยพืช พัน ธุ๑ที่ มีชี วิต การบ ารุ งรั ก ษาอยํ างตํ อเนื่อ งมี ความส าคั ญอยํา งยิ่ง ควรสงวนรั กษาสภาพไว๎ ไมํ ใ ห๎ เปลี่ยนแปลง ด๎วยการปลูกทดแทนโดยเร็ว และวางแผนการดูแลในระยะยาวไว๎ในการฟื้นฟูจะต๎องมี การศึกษาวิจั ย จากหลั กฐานที่ยั งหลงเหลืออยูํ จากการตรวจสอบทางโบราณคดีหรือจากเอกสาร หลักฐานที่เชื่อถือได๎ โดยผํานการตรวจสอบรับรองผลจากผู๎เชี่ยวชาญแล๎ว และเคารพตํอพัฒนาการใน ลาดับตําง ๆ ที่ตํอเนื่องมาของแหลํงนั้น ๆ การฟื้นฟูอาจดาเนินการเฉพาะในบางสํวนที่อยูํใกล๎เคียงกับ มรดกวัฒนธรรมในพื้นที่ เพื่อเผยให๎เห็นความตั้งใจของการออกแบบที่สัมพันธ๑กั นของภูมิทัศน๑โดยรวม ในพื้นที่นั้น (๑๓) การอนุรักษ๑มรดกวัฒนธรรมใด ๆ ก็ตามจะต๎องคานึงถึงวิถีชีวิตชุมชนที่ สอดคล๎องกับสภาพโดยรอบ และภูมิทัศน๑วัฒนธรรม ในฐานะที่เป็นสํวนประกอบสาคัญที่มีผลตํอการ ดารงอยูํและการเปลี่ยนแปลงในคุณคํา และลักษณะเฉพาะของมรดกวัฒนธรรม (๑๔) การอนุรักษ๑สภาพโดยรอบและภูมิทัศน๑วัฒนธรรมควรดาเนินการตั้งแตํการ จัดให๎มีระเบียบกฎหมายและระเบียบเฉพาะมีแผนการอนุรักษ๑แผนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ การกาหนดโบราณสถานตํอเนื่อง และเขตกันชนรอบบริเวณมรดกวัฒนธรรม หรือมาตรการอื่น ๆ เพื่อ รักษาคุณคําทางวัฒนธรรมและลักษณะเฉพาะของมรดกวัฒนธรรมนั้น ตลอดจนการจากัดผลกระทบที่ จะเกิดขึ้นจากการพัฒนาพื้นที่ (๑๕) มรดกวัฒ นธรรมที่จั บ ต๎อ งไมํ ไ ด๎ ถื อ เป็ น สํ ว นหนึ่ ง ที่ ส ร๎ า งคุ ณ คํา และ ความหมายรวมทั้งเกี่ยวข๎องกับมรดกวัฒนธรรมที่จับต๎องได๎ จึงจะต๎องพิจารณารํวมกันและคานึงถึง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๓๑


มาตรการในการอนุรั กษ๑ไว๎ด๎วย (อิโคโมสไทย, ๒๕๕๔) สานักโบราณคดี กรมศิลปากร (๒๕๕๖) กลําวถึงคุณคํา และความสาคัญของโบราณสถานไว๎วํา โบราณสถานทุกแหํงมีคุณคํา และความสาคัญ ด๎านตํางๆ ไว๎ในคูํมือการดูแลรักษาโบราณสถาน

๒.๓.๓ แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วม ๒.๓.๓.๑) ความหมายของการมีส่วนร่วม แอลมิน เบอร์นาร์ด (Alvin Bernard, ๑๙๕๘) ได๎ให๎ความหมายของการมีสํวนรํวมใน สังคมวําการมีสํว นรํ วมในสังคม หมายถึง การแสดงออกถึงปฏิสัมพันธ๑ทางสังคม (Social Internation) ตํอการมีสํวนรํวมในสถานการณ๑กลุํม (Group Situation)สานักงานแรงงานระหวํางชาติ (International Labour Office, ๑๙๗๑) ได๎ให๎ความหมายของการมีสํวนรํวม (Cooperating) ไว๎วํา การมีสํวนรํวมในบางสิ่งบางอยําง จึงรวมถึงความรับผิดชอบเดวิส ดี คิส (Davis D.Keith, ๑๙๗๒) ให๎ ความหมายของการมีสํวนรํวมวํา หมายถึง การเกี่ยวข๎องทางจิตใจและอารมณ๑ (Mental and Emotional Involvement) ของบุคคลหนึ่งในสถานกลุํม(Group Situation) ซึ่งผลของการเกี่ยวข๎อง นี้เป็นเหตุเร๎าใจให๎บรรลุจุดมุํงหมายของกลุํมนั้น กับทั้งให๎เกิดความรู๎สึกรับผิดชอบกับกลุํมดังกลําว ด๎วยพัฒน๑ บุญยรัตพันธุ๑ (๒๕๑๗) กลําววํา การมีสํวนรํวมของชุมชนจะต๎องมีขึ้นโดยตลอด ตั้งแตํขั้นกา รวมวางแผนโครงการ การเสียสละกาลัง แรงงาน วัสดุ กาลังเงินหรือทรัพยากรใด ๆ ที่มีอยูํในชุมชน United Nation (๒๕๑๗) ได๎ให๎ความหมายของการมีสํวนรํวมไว๎วํา เป็นกระบวนการเกี่ยวกับการ กระทาและเกี่ยวข๎องกับมวลชนในระดับตําง ๆ ดังนี้ (๑) ในกระบวนการตัดสินใจ ซึ่งตัดสินใจเกี่ยวกับจุดประสงค๑ทางสังคมและการจัดสรร ทรัพยากร (๒) ในการกระทาโดยสมัครใจตํอกิจกรรมและโครงการ วิลเลี่ยม เออร์วิน (William Erwin, ๑๙๗๖) ได๎ให๎แนวคิดเกี่ยวกับความหมายของการ พัฒนาแบบมีสํวนรํวม หมายถึง กระบวนการให๎ประชาชนเข๎ามามีสํวนเกี่ยวข๎องในการดาเนิ นงาน พัฒนา รํวมคิดการตัดสินใจแก๎ปัญหาของตนเอง เน๎นการมีสํวนรํวมเกี่ยวข๎องอยํางแข็งขันของ ประชาชน ใช๎ความคิดสร๎างสรรค๑และความชานาญของประชาชนแก๎ไขปฏิบัติรํวมกับการให๎วิทยาการ ที่เหมาะสม และสนับสนุนติดตามผลการปฏิบัติงานขององค๑การ และเจ๎าหน๎าที่ที่เกี่ยวข๎องอาภรณ๑ พันธ๑ จันทร๑สวําง (๒๕๒๒) ได๎อธิบายเรื่อง การมีสํวนรํวมของประชาชนไว๎วํา การมีสํวนรํวม (Participation) เป็นผลมาจากการเห็นพ๎องต๎องกันในเรื่องของความต๎องการและทิศทางของการ เปลี่ยนแปลง และความเห็นพ๎องต๎องกันนั้นจะต๎องมีมากพอจนเกิดความริเริ่ม เหตุผลเบื้องแรกรํวมกัน ได๎ควรจะต๎องมีความตระหนักวําปฏิบัติการทั้งหมด หรือการกระทาทั้งหมดที่ทาโดยหรือทาในนาม รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๓๒


กลุํมนั้นกระทาผํานองค๑กร (Organization) ดังนั้น องค๑กรจะต๎องเป็นเสมือนตัวนาให๎บรรลุถึงความ เปลี่ยนแปลงที่ต๎องการ แอนดรู เพียร์ส และมาเทียส์ สไตเฟล (Andrew Pearse and Mathias Stiefel,๑๙๗๙) ได๎ให๎ความหมายการมีสํวนรํวมของประชากรวํา หมายถึง การที่มีกลุํมประชาชนหรือ ขบวนการซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผํานมา เป็นผู๎ที่อยูํวงนอก ได๎เพิ่มความสามารถในการควบคุม ทรัพยากรและสถาบันตําง ๆ ตามสภาวะสังคมที่เป็นอยูํ อแลสแตร์ ที ไวท์ (Alastair T. White, ๑๙๘๒) ได๎ให๎ความหมายการมีสํวนรํวม ประกอบไปด๎วย ๓ มิติด๎วยกัน คือ มิติที่หนึ่ง การมีสํวนรํวมในการตัดสินใจวําอะไร ควรทาและทา อยํางไร มิติที่สอง มีสํวนรํวเสียสละในการพัฒนาการ ลงมือปฏิบัติการตามที่ได๎ตัดสินใจ และมิติที่สาม มีสํวนรํวมในการแบํงปันผลประโยชน๑ที่เกิดจากการดาเนินงาน ยุวัฒน์ วุฒิเมธี (๒๕๒๖) ได๎ให๎ความหมายของการมีสํวนรํวมของประชาชนวํา หมายถึง การเปิดโอกาสให๎ประชาชนได๎มีสํวนรํวมในการคิดริเริ่ม การพิจารณาตัดสินใจ การรํวม ปฏิบัติและรับผิดชอบในเรื่องตําง ๆ อันมีผลกระทบถึงตัวประชาชนเอง การที่สามารถทาให๎ประชาชน เข๎ามามีสํวนรํวมในการพัฒนาชนบท เพื่อแก๎ไขปัญหา และนามาซึ่งสภาพความเป็นอยูํของประชาชน ที่ดีขึ้นได๎นั้น ผู๎นาการเปลี่ยนแปลงต๎องยอมรับปรัชญาการพัฒนาชุมชนที่วํา มนุษย๑ทุกคนตํางมีความ ปรารถนาที่จะอยูํรํวมกันกับผู๎อื่นอยํางเป็นสุข ได๎รับการปฏิบัติอยํางเป็นธรรม และเป็นที่ยอมรับของ ผู๎อื่น และพร๎อมที่จะอุทิศตนเพื่อกิจกรรมของชุมชน ขณะเดียวกันต๎องยอมรับความจริงที่วํามนุษย๑นั้น สามารถพัฒนาได๎ ถ๎ามีโอกาสและได๎รับการชี้แนะอยํางถูกต๎องไพรัตน๑ เดชะรินทร๑ (๒๕๒๗) ได๎ให๎ ความหมายและหลักการสาคัญเรื่องนโยบายการมีสํวนรํวมของชุมชนในการพัฒนาวํา หมายถึง กระบวนการที่รัฐบาลทาการสํงเสริมชักนาและสร๎างโอกาสให๎ประชาชนทั้งรูปสํวนบุคคล กลุํมชน ชมรม สมาคม มูลนิธิ และองค๑การอาสาสมัครเข๎ามามีสํวนรํวมในการดาเนินงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือ หลายเรื่องรวมกันจากแนวคิดของนักวิชาการดังกลําวข๎างต๎น สามารถสรุปได๎วํา การมีสํวนรํวม หมายถึงกระบวนการกระทาที่ประชาชนเข๎ามามีสํวนในการตัดสินใจ ดาเนินการ และติดตามและ ตรวจสอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อให๎บรรลุตามวัตถุประสงค๑ตามความต๎องการของตนเองหรือของ กลุํม

๒.๓.๓.๒)ขั้นตอนการมีส่วนร่วม ลักษณะและขั้นตอนการมีสํวนรํวมของประชาชน มีรายละเอียดดังนี้ ปรีชา เปี่ยมพงษ๑สานต๑ (๒๕๓๖ : ๑๕๘-๑๕๙) อธิบายขั้นตอนการมีสํวนรํวมของ ประชาชนวํา รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๓๓


(๑) การมี สํ ว นรํ ว มในการค๎ น หาปั ญ หา สาเหตุ ข องปั ญ หา และรํ ว มในการ ตัดสินใจในขั้นตอนนี้มีความสาคัญ หากบุคคลในชุมชนยังไมํเข๎าใจปัญหาและสาเหตุของตนเองเสีย แล๎ว การจัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู๎ตําง ๆ ก็ไมํอาจเอื้อประโยชน๑ตํอบุคคลในชุมชนนั้นได๎ บุคคลใน ชุมชนจะขาดความเข๎าใจและมองไมํเห็นความสาคัญของกิจกรรมนั้น บุคคลในชุมชนจะเป็นผู๎รู๎จัก ปัญหาของตนเองมากที่สุ ด ดังนั้ น บุคคลในชุมชนจึงต๎องเข๎ามามีสํว นรํว มเพื่อเรียนรู๎ปัญหา และ วิเคราะห๑ปัญหาด๎วยตัวเอง ทั้งการตัดสินใจในการดาเนินกิจกรรมเพื่อจะนาไปสูํการหาแนวทางในการ แก๎ปัญหาตํอไป (๒) การมีสํวนรํวมในการวางแผน ดาเนินกิจกรรม และแสวงหาแหลํงทรัพยากร หรือความชํวยเหลือเพื่อนามาสนับสนุนกิจกรรมให๎เป็นไปตามเปูาหมายที่วางไว๎ นอกจากนี้ยังจะต๎องมี สํวนรํวมในการากาหนดทางเลือกในการแก๎ปัญหารํวมกัน ในการแก๎ปัญหานั้นอาจทาได๎หลายวิธี เชํน การค าปรึ ก ษาจากผู๎ มีป ระสบการณ๑ ผู๎ น าที่เป็ นทางการหรือไมํ เป็น ทางการ จนกระทั่งบุค คลนั้ น สามารถตัดสินใจวําจะเลือกวิธีใดในการแก๎ไขปัญหาของตนเอง และชุมชนที่กาลังเผชิญอยูํ (๓) การมีสํวนรํวมในการลงทุนและปฏิบัติงาน ในขั้นตอนนี้จะทาให๎บุคคลและ ชุมชนจะได๎เรีย นรู๎ วิธีดาเนิ นงานอยํ างใกล๎ชิด สามารถดาเนินกิจกรรมนั้นด๎ว ยตนเอง และรํว มรับ ประโยชน๑ที่เกิดจากการดาเนินกิจกรรมนั้น ซึ่งในขั้นตอนนี้จะทาให๎บุคคลเกิดความรู๎สึกมีสํวนรํวมที่ แท๎จริงและมีความรู๎สึกเป็นเจ๎าของ (๔) การมีสํวนรํวมในการติดตามประเมินผล ทั้งนี้เพื่อให๎ บุคคลและชุมชนได๎ ตระหนั กวํา กิจ กรรมที่ไ ด๎เข๎ามามีสํ ว นรํ ว มในการดาเนินงานทั้งหมดนั้นดี ห รือไมํเพีย งใด และได๎ พิจารณาวําจะดาเนินกิจกรรมนั้นํตํอไปอยํางไร ทาให๎เกิดการเรียนรู๎และเห็นประโยชน๑ของการดาเนิน กิจ กรรมรํ ว มกั น ซึ่ ง จะท าให๎ มี โ อกาสประสบผลส าเร็ จ และเป็ น ไปตามเปู า หมายที่ ไ ด๎ ว างไว๎ ได๎ สอดคล๎องกับการศึกษาของบัณทร อํอนคา และทศพล กฤตยพิสิฐ, ๒๕๓๗ : ๑๓ อ๎างใน ปาริชาติ วลัยเสถียร และคนอื่น ๆ, ๒๕๔๓ : ๑๐) กลําวถึงการมีสํวนรํวมตามขั้นตอน ในการพัฒนาซึ่งเป็นการ วัดเชิงคุณภาพ ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ การมีสํวนรํวมในขั้นที่ประชาชนรํวมค๎นหาปัญหาและ สาเหตุของปัญหาในชุมชนตลอดจนมีสํวนรํวมในการตัดสินใจ กาหนดความต๎องการของชุมชน และมี สํวนรํวมในการจัดลาดับความสาคัญของปัญหา หรือความต๎องการของชุมชนด๎วย ขั้นตอนที่ ๒ การมีสํวนรํวมในการกาหนดนโยบายและวัตถุประสงค๑ ของโครงการ ก าหนดวิธี การและแนวทางการดาเนินงาน ตลอดจนกาหนดทรัพยากรและแหลํ ง ทรัพยากรที่จะใช๎ ขั้นตอนที่ ๓ ประชาชนมีสํวนรํวมในการรับประโยชน๑จาการพัฒนา หรือยอมรับผลประโยชน๑ที่เกิดจากการดาเนินงานทั้งทางด๎านวัตถุและจิตใจ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๓๔


ขั้น ตอนที่ ๔ ประชาชนมี สํ ว นรํ ว มในการรั บ ประโยชน๑ จ ากการ พัฒนา หรือยอมรับผลประโยชน๑ที่เกิดจากการดาเนินงานทั้งด๎านวัตถุและจิตใจ ขั้นตอนที่ ๕ ประชาชนเข๎ามามีสํว นรํว มในการประเมินวํา การ ดาเนิ นงานหรือการพัฒนาที่ได๎กระทานั้นส าเร็จตามวัตถุประสงค๑ห รือไมํ อาจเป็นการประเมินผล ความก๎ า วหน๎ า เป็ น ระยะ ๆ (Formative Evaluation) หรื อ การประเมิ น ผลสรุ ป รวบยอด (Summative Evaluation) จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข๎องกับลักษณะและขั้นตอนการ มีสํวนรํวม สรุปได๎วําลักษณะและขั้นตอนการมีสํวนรํวมนั้น มี ๕ ขั้นตอจน คือ (๑) การมีสํ ว นรํว มในการศึกษาสภาพชุมชน ค๎นหาปัญหา และ สาเหตุของปัญหา รวมถึงการจัดลาดับความสาคัญของปัญหา และหาแนวทางการแก๎ไข (๒) การมีสํวนรํวมในการตัดสินใจ (Decision Making) ในการ ดาเนินกิจกรรม เพื่อแก๎ไขปัญหา ( ๓ ) ก า ร มี สํ ว น รํ ว ม ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ห รื อ ป ฏิ บั ติ ก า ร (Implementation) โดยการสนั บ สนุน ด๎ านทรั พยากร การบริ ห ารงาน และการประสานงานกั บ หนํวยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน (๔) การมีสํวนรํวมในการรับประโยชน๑ (Benefit) เป็นการนาเอา กิจกรรมมาใช๎ให๎เกิดประโยชน๑ทั้งด๎านวัตถุ และจิตใจ โดยอยูํบนรากฐานของความเทําเทียมกันของ บุคคลและสังคมตําง ๆ ที่เกิดขึ้นได๎ทันที หากประชาชนได๎เข๎ารํวมกิจกรรมในขั้นตอนทั้ง ๕ ขั้นตอนแล๎ว จะ สํงผลของการดาเนินกิจกรรมที่มีความยั่งยืนมากกวํา เพราะประชาชนจะเกิดความรู๎ มีความเข๎าใจ อยํางลึกซึ้งตํอสภาพการณ๑ที่เกิดขึ้นและนาความรู๎ ความเข๎าใจดังกลําวสูํกระบวนการคิด วิเคราะห๑ ผลได๎ผลเสียของการตัดสินใจกระทาอยํางใดอยํางหนึ่ง ผลของการดาเนินกิจกรรมจะปรากฏเป็นอยําง ใด ก็สบเองจากการตัดสินใจของประชาชนเอง หากไมํบรรลุตามที่คาดหวัง ก็สามารถแสวงหาแนว ทางแก๎ไขใหมํได๎เพราะได๎รู๎และรํวมเกิดมาตั้งแตํต๎น สาหรับการวิจัยครั้งนี้ ผู๎วิจัยใช๎แนวคิด การมีสํ ว นรํวมของโคเฮน และอัปฮอปป์ (Cohen & Uphoff) มาใช๎ในการวิจัย โดยแบํงการมีสํวนรํวมออกเป็น ๔ ขั้นตอน คือ การมีสวนรํวมในการตัดสินใจ การมีสํวนรํวมในการปฏิบัติงาน การมีสํวนรํวมในการรับประโยชน๑ และ การมีสํวนรํวมในการประเมินผล

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๓๕


๒.๓.๓.๓) มิติและบริบทการมีส่วนร่วม อคิน รพีพัฒน๑ (๒๕๒๗) ได๎กลําวถึงมิติ (Dimensions) ของการมีสํวนรํวมมี ๓ มิติ คือ (๑) ชนิดของการมีสํ วนรํวมในการตัดสินใจในขั้นริเริ่ม ขั้นดาเนินการตํอเนื่อง และตัดสินใจลงมือปฏิบัติการ, การมีสํวนรํวมปฏิบัติการ โดยการสนับสนุนทรัพยากร การบริหาร โครงการ การประสานงานและการขอความรํวมมือ , การมีสํวนรํวมในผลประโยชน๑ หรือผลที่เกิดขึ้น ตามมาซึ่งอาจเป็นด๎านลบ ได๎แกํ วัตถุสิ่งของ ด๎านสังคม และตัวบุคคล และสุดท๎ายคือ การมีสํวนรํวม ในการประเมินผล (๒) ผู๎เข๎ามามีสํวนรํวม เป็นใคร มี ๔ กลุํมคือ ผู๎ที่อาศัยในท๎องถิ่น ผู๎นาชุมชนใน ท๎องถิ่นบุคลากรของรัฐ และบุคคลภายนอก ซึ่งทั้งสี่กลุํมนี้มีปัจจัยที่เกี่ยวข๎อง คือ ลักษณะ อายุ เพศ สถานะครอบครั ว การศึกษา ชนชั้น ทางสังคม ระดับรายได๎ ระยะเวลาที่อาศัยอยูํในท๎องถิ่น และ สถานการณ๑มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน (๓) วิธีการในการเข๎ารํวม ได๎แกํ พื้นฐานของการมีสํวนรํวม มีแรงกระตุ๎นและ แรงจูงใจในการเข๎ารํวมอยํางไร, การเข๎ารํวมเป็นองค๑กร เข๎ารํวมโดยตรงหรือโดยอ๎อม, ขนาดของการมี สํวนรํวมขึ้นกับระยะเวลาที่เข๎าไปเกี่ยวข๎องและขอบเขตของกิจกรรม และผลของการมีสํวนรํวม ทาให๎ เดมีอานาจและปฏิกิริยาอยํางไร บริบท (Context) ของการมีสํวนรํวมพิจารณาในลักษณะของโครงการ (Project Characteristic) และสภาพแวดล๎อมของงาน (Task Environment) ผลที่เกิดขึ้นจากลักษณะของ โครงการ คือ ผลจากสิ่งที่นาเข๎าทางด๎านความซับซ๎อนเชิงเทคโนโลยี และความต๎องการใช๎ทรัพยากร ผลจากประโยชน๑ที่เกิดขึ้น ได๎แกํ ประโยชน๑ ที่จับต๎องได๎ โอกาสและประโยชน๑ปัจจุบันและผลจากการ ออกแบบโครงการ ได๎แกํ การเชื่อมตํอและความยืดหยุํนของโครงการ การยอมรับและความครอบคลุม ในการบริหารโครงการในประเด็นสภาพแวดล๎อมของงานมีปัจจัยที่เกี่ยวข๎อง ได๎แกํ (๑) ปัจจัยทางประวัติศาสตร๑ ได๎แกํ ประสบการณ๑และการยอมรับ (๒) ปัจจัยทางกายภาพและธรรมชาติ ได๎แกํ ภูมิศาสตร๑ และชีวภาพ (๓) ปัจจัยทางสังคม ได๎แกํ วัฒนธรรม สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๓๖


๒.๓.๓.๔) ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ปัจจัยที่มีผลตํอการมีสํวนรํวมของประชาชน มีผู๎ให๎ความคิดเห็น ดังนี้ วิลเลียม ดับบลิว รีดเดอร๑ (William W. Reeder อ๎างในอรอนงค๑ ธรรมกูล, ๒๕๓๙ และวีรวรรณ สีเขียว, ๒๕๔๒ : ๑๗) ได๎กลําวถึงปัจจัยที่มีผลตํอการมีสํวนรํวมของประชาชนไว๎ ดังนี้ (๑) การเลือกแบบวิธีการปฏิบัติที่สอดคล๎องและคล๎ายคลึงกับความเชื่อพื้นฐาน ของตนเอง (๒) มาตรฐานคุณคําทางปฏิบัติในลักษณะที่สอดคล๎องกับมาตรฐานของตัวเอง (๓) เปู า หมายที่บุ คลและกลุํ มคนจะสํ งเสริม ปกปูอ งและรักษาเปูา หมายของ ตนเอง (๔) ประสบการณ๑ที่ผิดปกติธรรมดา พฤติกรรมของบุคคลหรือกลุํมคนในบางครั้ง มีรากฐานมาจากประสบการณ๑ที่ผิดปกติธรรมดา (๕) ความคาดหมายของการประพฤติตามแบบที่ตนคาดหมายวําจะต๎องประพฤติ ในสถานการณ๑เชํนนั้น และชอบที่จะปฏิบัติตํอผู๎อื่นในลักษณะที่ตนคาดหวังจากบุคคล อื่นด๎วยเชํนเดียวกัน (๖) การมองตนเอง การกระทาสิ่งตําง ๆ ที่คิดวําตนเองต๎องกระทาเชํนนั้น (๗) การบีบบังคับกระทาสิ่งตําง ๆ ด๎วยความรู๎สึกวําตนถูกบีบบังคับให๎กระทา (๘) นิ สั ย และประเพณี กระทาสิ่ ง ตํ าง ๆ ตามอุป นิ สั ย ที่ ช อบกระท าเมื่ อ อยูํ ใ น สถานการณ๑นั้น ๆ (๙) โอกาสการเข๎ามามีสํวนรํวมในรูปแบบการปฏิบัติของสังคม โดยเฉพาะในทาง ที่เกี่ยวข๎องกับจานวนและชนิดของโอกาส ซึ่งโครงการของสังคมเอื้ออานวยให๎เข๎ามามี สํวนรํวมในการกระทานั้นเทําที่พวกเขาได๎รับรู๎มา (๑๐) ความสามารถ การมีสํ ว นรํว มในกิจกรรมบางอยํางที่ตนเองมองเห็ นวํ า สามารถให๎สิ่งที่ต๎องการให๎เขาทาในสถานการณ๑เชํนนั้น (๑๑) การสนับสนุนการเริ่มปฏิบัติเมื่อเขารู๎สึกวําเขาได๎รับการสนับสนุนที่ดีพอให๎ การกระทาเชํนนั้น ทวีทอง หงส๑วิวัฒน๑ (๒๕๒๗ : ๑๘๓) ได๎กลําวถึงปัจจัยการเข๎ามามีสํวนรํวมของ ประชาชนวําเกิดจากปัจจัยภายในตัวบุคคลเป็นตัวผลักดัน ปัจจัยภายในตัวบุคคลจะเกิดขึ้นได๎ ตํอเมื่อ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๓๗


(๑) บุคคลเกิดความศรัทธาที่มีตํอความเชื่อถือของบุคคลและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทาให๎ ประชาชนมีสํวนรํวมในกิจกรรมตําง ๆ เชํน การลงแขก การบาเพ็ญประโยชน๑ที่สํงผลตํอ สํวนรวม (๒) ความเกรงใจที่มีตํอบุคคลที่เคารพนับถือ มีเกียรติยศ หรือตาแหนํงทาให๎ ประชาชนเกิดความเกรงใจที่จะมีสํวนรํวมด๎วย ทั้ง ๆ ที่ยังไมํมีศรัทธาหรือความเต็มใจ (๓) อานาจที่เกิดจากบุคคลที่มีอานาจเหนือกวํา ทาให๎ประชาชนถูกบีบบังคับให๎มี สํวนรํวมในกิจกรรมตําง ๆ ปรัชญา เวสารัชช๑ (๒๕๒๗ อ๎างในนรินทร๑ แก๎วมีศรี, ๒๕๓๘ : ๓๓) กลําววําปัจจัย ที่สํงผลให๎ประชาชนเข๎ามีสํวนรํวม ได๎แกํ (๑) สภาพแวดล๎อม ได๎แกํ สภาพแวดล๎อมทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม การปกครอง การเมืองแ ละความปลอดภัย (๒) บุคคล บุคคลที่มีสํวนผลักดันให๎ประชาชนเข๎ามามีสํวนรํวมในกิจกรรม ชุมชน ได๎แกํ ผู๎น า ชุมชน ผู๎นาทางธรรมชาติ หรือบุคคลที่ประชาชนให๎ ความ เคารพนับถือ รวมถึงปัจจัยภายในตัวบุคคล ได๎แกํ ความคาดหวังในประโยชน๑ สํวนรวม ความรู๎สึกเกรงใจไมํกล๎าปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน หรือความรู๎สึกเป็ นพันธะ ที่ต๎องเข๎ารํวมเพื่อให๎เกิดความรู๎สึกสามัคคี ระเดํน หัสดี (๒๕๓๐) กลําวถึงปัจจัยที่มีผลตํอการมีสํวนรํวมของชุมชน ได๎แกํ การจัดระเบียบทางสังคม วัฒนธรรม คํานิยม ความเชื่อ ลักษณะทางจิตวิทยา ตลอดจนทรัพยากรตําง ๆ สํวนปัจจัยชุมชนที่เป็นอุปสรรคตํอการมีสํวนรํ วมเพื่อการพัฒนามีหลายประการ ได๎แกํ ลักษณะ ความสัมพันธ๑ของสมาชิกในชุมชน โครงสร๎างทางประชากรของชุมชน วัฒนธรรมทางสังคม คุณภาพ ของประชาชน บทบาทและพฤติกรรมของผู๎นาองค๑กรและอาสาสมัคร โครงสร๎างอานาจในชุมชน การ กระจายของบ๎านเรือน ทรัพยากรและสภาพแวดล๎อมของชุมชน และกิ จกรรมที่ชุมชนจัดทาขึ้น เป็น ต๎น จากที่กลําวมาข๎างต๎น สรุปได๎วํา ปัจจัยที่สํงผลตํอการมีสํวนรํวมของประชาชนนั้น เกิดจากความต๎องการ ความคาดหวัง ความรู๎สึกรํวม และความประสงค๑ในสิ่งตําง ๆ ของประชาชน รํ ว มกั บ แรงผลั กดั น จากบุ ค คลอื่น ที่ มี อิ ท ธิ พ ลตํ อ บุค คลหรื อ ชุ ม ชนนั้ น นอกจากนี้แ ล๎ ว ยั ง เกิ ด จาก สิ่งแวดล๎อมอื่น ๆ ได๎แกํ ปัจจัยทางด๎านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และการปกครอง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๓๘


๒.๓.๓.๕) ปัญหาและข้อจากัดการมีส่วนร่วม เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง (๒๕๒๖) ได๎กลําววํา เจ๎าหน๎าที่และระบบราชการเป็นอุปสรรค ตํอการมีสํวนรํวมของประชาชนไว๎ ๒ ด๎าน คือ (๑) ปัญหาเกี่ยวกับตัวชาวชนบทเองถึงความเป็นปัจเจกบุคคล นอกจากนั้นยังอยูํ ภายใต๎ระบบอุปถัมภ๑หรือพึ่งพาบุคคลภายนอกจนเกินไป ดูถูกฐานะของตนเอง เลือกผู๎นาที่สามารถ อุปถัมภ๑ตนเองได๎ (๒) ปัญหาเกี่ยวกับตัวของเจ๎าหน๎าที่และระบบราชการปัญหาการมีสํวนรํวมของ ประชาชนมีลักษณะ ดังนี้ (๒.๑) นโยบายในระบบราชการมักจะมาจากเบื้องบน (TopDown Policy) (๒.๒) การจัดสรรงบประมาณทามาจากสํวนกลาง คานึงถึงเฉพาะ กิจกรรมที่สํวนกลางกาหนด (๒.๓) ระบบราชการและเจ๎ า หน๎ า ที่ ร ะดั บ ตํ า ง ๆ ขาดการ ประสานงาน และรับปฏิบัติเฉพาะนโยบายหลักของหนํวยงาน (๒.๔) มีค วามสั ม พัน ธ๑แ บบผู๎ ใหญํผู๎ น๎อ ย มั กจะเชื่อ วํ าตั ว เองมา ฐานะสูงกวําชาวชนบท (๒.๕) เจ๎าหน๎าที่ราชการชอบทางานสานักงาน (๒.๖) ระบบราชการใช๎ ก ารให๎ คุ ณ ให๎ โ ทษ ท าตั ว ให๎ พ อใจแกํ ผู๎บังคับบัญชามิได๎ปฏิบัติงานเพื่อชาวชนบทอยํางแท๎จริง (๒.๗) บุคคลภายนอกหรือผู๎เกี่ยวข๎อง ได๎ต๎องการให๎ชาวชนบทเข๎า มารํวมในการพัฒนา ฉลาดชาย รมิตานนท๑ (๒๕๒๗) ได๎กลําวถึง ปัญหาอุปสรรคของการมีสํวนรํวมวํา “ถ๎าพูดถึงที่สุดของความล๎มเหลวของการพัฒนาทุกชนิดในประเทศเราสํวนหนึ่ง (อาจเป็นสํวนใหญํ ด๎วย) เกิดขึ้นจากการที่ไมํได๎กระจายอานาจหน๎าที่ และความรั บผิดชอบให๎แกํประชาชน โครงสร๎าง อานาจทางการเมือง การปกครอง และการบริหารก็ดี โครงสร๎างอานาจทางการเมือง เศรษฐกิจก็ดี โครงสร๎างทางสังคม วัฒนธรรมก็ดี เหลํานี้ล๎ วนตกอยูํในมือของตน ๓ กลุํม คือ ทหาร (ระดับสูง) นายทุน และข๎าราชการ ตราบใดที่ยังไมํมีการเปลี่ยนแปลงแก๎ ไขโครงสร๎างที่มีลักษณะผูกขาดดังกลําว นี้ ยากนักที่จะหวังวํา การพัฒนาแบบมีสํวนรํวมของประชาชนจะเกิดขึ้น เหตุผลงําย ๆ ก็คือ พวกเขา ไมํมีโอกาสเข๎ามามีสํวนรํวมนั่นเอง” รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๓๙


ระบบอุปถัมภ๑เป็นอุปสรรคสาคัญที่ขัดขวางการมีสํวนรํวมของประชาชน ในการ พัฒ นาสังคมไทย รวมทั้งความเกรงใจ การดิ้นรนหาที่พึ่งของชาวชนบท อันเนื่องมาจากความไมํ แนํนอนในอาชีพและรายได๎ ไมํมั่นใจในสถานภาพทางสังคมของตนเอง และกระบวนการแก๎ปัญหา เพื่อชํวยเหลือกลุํมคนขององค๑กรหลักท๎องถิ่น เชํน สภาตาบล กรรมการหมูํบ๎าน ที่ไมํกระจายผลถึง กลุํมคนยากไร๎อุปสรรคที่เป็นตัวขัดขวางการเข๎ามามีสํวนรํวมของประชาชนในหมูํเกษตรกร คือ ระบบ อุปถัมภ๑ และเสนอความเห็น เพิ่มเติมวํา ปั จจัยการเข๎ามามีสํ วนรํวมในการพัฒ นากลุํมของชาวนา รับจ๎าง มีทั้งปัจจัยสํงเสริมและปัจจัยที่ขัดขวาง อันเป็นเหตุให๎การกํอตั้งกลุํมหยุดชะงัก จากการทบทวนแนวคิ ด ทฤษฎี ก ารมี สํ ว นรํ ว มของประชาชนสามารถชี้ ไ ด๎ วํ า การศึกษาด๎านการมีสํ ว นรํ ว มนี้ สามารถกาหนดรูปแบบหรือขั้นตอนในการวิจัยครั้งนี้ได๎พยายาม ประมวลรูปแบบและขั้นตอนหลาย ๆ ทํานมาประกอบการพิจาณา ให๎เป็นกรอบในการศึกษาวิจัย เป็น ๔ ขั้นตอน ดังตํอไปนี้ (๑) ค๎นหาปัญหาและสาเหตุ (๒) วางแผนพิจารณาดาเนินกิจกรรม (๓) รํวมลงทุนและปฏิบัติงาน (รํวมดาเนินงาน) (๔) รํวมติดตามประเมินผลและดูแล ผู๎ศึกษาจึงใช๎รูปแบบการมีสํวนรํวมทั้ง ๔ เป็นพื้นฐาน ในการศึกษาเรื่องการมีสํวน รํวมในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว สวนสาธารณะ โดยอาศัยปัจจัยอื่น ๆ ประกอบในการจัดหา ข๎อมูลเพือ่ ให๎ทราบความต๎องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวสวนสาธารณะ

๒.๓.๔) แนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ๒.๓.๔.๑) การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) จากการพัฒนาทางด๎านวิทยาศาสตร๑อยํางตํอเนื่องที่ผํานมา ได๎สํงผลตํอการ พัฒนาและการเจริญเติบโตทางด๎านเทคโนโลยี อุตสาหกรรมรวมไปถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งการพัฒนาตําง ๆ ที่เกิดขึ้น ได๎สํงผลกระทบตํอสภาพแวดล๎อมทางธรรมชาติ กลําวคือ มีการนา ทรัพยากรทางธรรมชาติมาใช๎ในการผลิตเพื่อรองรับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากเกินไปสํงผลตํอ ความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล๎อม และปริมาณทรัพยากรทางธรรมชาติที่ลดลง (Kates, Parris, and Leiscrowitz, ๒๐๐๕) แม๎วํา การพัฒนาที่ผํานมานั้นยังไมํสํงผลตํอสภาพแวดล๎อมมาก แตํการที่มนุษย๑ มีความต๎องการพื้นฐานที่เพิ่มมากขึ้น จึงสํงผลให๎เกิดการพัฒนาที่ไมํหยุดยั้ง ซึ่งจากการพัฒนาดังกลําว นั้น ได๎สํงผลตํอความเสื่อมโทรมและลดลงอยํางรวดเร็วของทรัพยากรทางธรรมชาติ จะเห็นได๎จากการ ที่เกิดภัยธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น การขาดแคลนของสินค๎าเกสร เชํน สินค๎าจาพวกอาหาร ซึ่งหากมนุษย๑ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๔๐


ยั ง ไมํ เห็ น ถึ งความส าคัญ ของสิ่ ง แวดล๎ อมอาจจะสํ ง ผลที่ ร๎า ยแรงตํอ มนุษ ย๑เ ป็น ได๎ (Xepapadeas, ๒๐๑๑) ซึ่งจากผลกระบทนี้ได๎กํอให๎เกิดองค๑กรที่มีความคิดมุํงเน๎นเพื่อกํอให๎เกิดการพัฒนาแบบยั้งยืน (Sustainable Development) เพื่อรํวมกันหาทางแก๎ปัญหาและความเสียหายจากการพัฒนาในยุคที่ ผํานมา และเพื่อพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล๎อมตลอดจนคุณภาพชีวิตตําง ๆ (สมพร เทพสินทธา, ๒๕๓๗) จากที่กลําวมาทั้งหมดการพัฒนาที่ยั่งยืน คือ แนวคิดที่พัฒนามาจากเป็น แนวคิดที่สืบเนื่องมาจากแนวคิดการอนุรักษ๑ (Consecration) โดยเป็นการใช๎ประโยชน๑จากสิ่งที่มีอยูํ และเป็นอยูํอยํางมีประสิทธิภาพและกํอให๎เกิดประโยชน๑สูงสุดและยาวนาน ซึ่งแนวคิดการพัฒนาแบบ ยั่งยืนจะครอบคลุมไปถึงแนวคิดการพัฒนาในทุก ๆ ด๎าน ไมํวําจะเป็นด๎านเศรษฐกิจ สังคม ระบบ นิเวศ และการประสานสัมพันธ๑ในสาขาการพัฒนาตําง ๆ อีกด๎วย (รักกิจ ศรีสรินทร๑, ๒๕๔๑)

๒.๓.๔.๒) องค์ประกอบของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในการพัฒนาอยํางยั่งยืนมีองค๑ประกอบหลายปัจจัยที่มีความสาคัญตํอ ความสาเร็จของการพัฒนาที่ยั่งยืนแตํขณะเดียวกันปัจจัยตําง ๆ เหลํานั้น ก็อาจจะเป็นอุปสรรคตํอการ พัฒนาที่ยั่งยืนได๎เชํนกัน จึงมีความจาเป็นที่มนุษย๑ควรจะทาการพัฒนาในปัจจุบันให๎สอดคล๎องและมี ความสมดุลกันทุก ๆ ด๎าน สาหรับองค๑ประกอบพื้นฐานที่จะนาไปสูํการพัฒนาอยํางยั่งยืนมี ๔ ประการ ดังตํอไปนี้ (พระธรรมิฎก (ป.อ.ปยุตโต), ๒๕๓๙) มนุษย์ มนุษย๑เป็นสิ่งที่ควรให๎ความสาคัญสูงสุดเนื่องจากเป็นผู๎ที่มีองค๑ความรู๎ตําง ๆ มากมาย และยังเป็นองค๑ประกอบสาคัญทั้งทางด๎านการอนุรักษ๑และการทาลายสิ่งแวดล๎อม ซึ่งถือวํา มนุษย๑เป็นต๎นตอสาคัญในการทาลายสิ่งแวดล๎ อมและมีบทบาทที่จะต๎องรับผิดชอบตํอธรรมชาติและ สิ่งแวดล๎อมที่ตนนาไปใช๎ ดังนั้น มนุษย๑ต๎องมุํงเน๎นการศึกษาและการจัดสรรปัจจัยเกื้อหนุน เพื่อชํวยให๎ มนุษย๑นั้ นมีความเป็น มนุ ษย๑ ที่สมบูรณ๑และมีชีวิตที่ดีงาม ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่ส าคัญสุ ดเพื่อไปพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ถ๎าทรัพยากรมนุษย๑มีคุณภาพ ก็จะสามารถเป็นกาลังในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมอันจะนาไปสูํการพัฒนาอยํางยั่งยืน (๒) สังคม ทางด๎านสังคมควรจะต๎องมีการสร๎างบรรยากาศถึงการไมํเบียดเบียน มี การปลูกจิตสานึกตํอการั กษาและเห็นถึงความสาคัญของสิ่ งแวดล๎ อม ซึ่งการที่จะทาให๎ไมํเกิดการ เบียดเบียนนั้น สังคมจะต๎องมีกฎเกณฑ๑ข๎อบังคับอยํางแนํชัดเพื่อไมํให๎เกิดการโดนเอารัดเอาเปรียบ และเกิดการเอื้อโอกาสที่จะทาให๎บุคคลที่มีฐานะทางสังคมสูงกวํามาเอาเปรียบได๎ การที่สังคมมีความ เข๎มแข็งในแนวคิดการเกื้อกูลและการไมํเอาเปรียบนั้นจะสํงผลให๎สังคมนั้นมีส มาชิกที่มีสุขภาพและไมํ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๔๑


มีความคิดที่จะเอาเปรียบผู๎อื่น ซึ่งจะทาให๎ไมํเกิดการแยํงกันซึ่งทรัพยากร และการไมํเกิดการแยํงกัน ซึ่งทรัพยากรนั้นจะทาให๎ทรัพยากรที่มีอยูํไมํเสื่อมลงและทาให๎มีทรัพยากรเพียงพอที่จะทาให๎เกิดการ พัฒนาที่ยั่งยืน (๓) ธรรมชาติ ในอดี ต นั้ น มนุ ษ ย๑ จ ะเน๎ น การวั ด ความสามารถตนเองโดยการเอาชนะ ธรรมชาติและจัดการกับธรรมชาติได๎ตามที่ตนเองต๎องการ ซึ่งในภายหลังมนุษย๑ได๎ตระหนักวําการที่ พยายามเอาชนะธรรมชาตินั้นไมํได๎เป็นความสามารถที่นําภูมใจแตํอยํางใด ทั้งนี้ มนุษย๑ได๎ลืมไปวํา ความสามารถที่ แ ท๎ จ ริ ง ของมนุ ษ ย๑ นั้ น คื อ การท าให๎ โ ลก ซึ่ ง เต็ ม ไปด๎ ว ยความเบี ย ดเบี ย นกั น นั้ น เบียดเบียนกันน๎อยลง ทาให๎เกิดเป็นอยูํที่ดีขึ้น และเกื้อกูลกันมากขึ้น จากการที่มนุษย๑ได๎วางกฎเกณฑ๑ และสมมุติฐานตําง ๆ เพื่อให๎มนุษย๑สามารถอยูํรํวมกันอยํางสงบสุข ซึ่งสิ่งตําง ๆ ที่มนุษย๑กาหนดขึ้นมา นั้นไมํสามารถนามาใช๎กับธรรมชาติได๎ ดังนั้น การที่มนุษย๑จะสามารถอยูํรํวมกับธรรมชาติได๎อยําง ยั่งยืนนั้น มนุษย๑จะต๎องไมํเบียดเบียนธรรมชาติจนเกินไป ถ๎าหากมนุษย๑สามารถกระทาการดังกลําวได๎ ก็จะทาให๎ผลกระทบจากภัยธรรมชาติไมํรุนแรง แตํถ๎ามนุษย๑ยังเบียดเบียนธรรมชาติจนเกินขอบเขต นั้น สิ่งที่มนุษย๑จะได๎รับก็คือภัยธรรมชาติอันรุนแรง (๔) เทคโนโลยี เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มีบทบาทมากขึ้นตามยุคสมัย เนื่องจากเทคโนโลยีนั้น สามารรถทางานแทนมนุษย๑ได๎มากมาย อีกทั้งยังเป็นเครื่องอานวยความสะดวกสุขสบายแกํมนุษย๑ ซึ่ง ถ๎ามนุษย๑ใช๎เทคโนโลยีได๎อยํางถูกต๎อง ก็จะเป็นปัจจัยที่สํงผลเกื้อกูลตํอตัวมนุษย๑เอง และสามารถนามา ไปสูํการพัฒนาที่ยั่งยืนไปยังจุดหมายได๎ แตํถ๎าเกิดมนุษย๑ได๎ใช๎เทคโนโลยีในทางที่ผิด ก็จะเกิดผลเสีย และตกเป็นทาสของเทคโนโลยี ซึ่งผลกระทบตําง ๆ นั้นได๎แกํ การที่ขาดเทคโนโลยีไมํได๎ดาเนินชีวิตที่ ได๎ผลดีไมํได๎ เป็นต๎น ดังนั้น มนุษย๑จึงควรพัฒนาเทคโนโลยีควบคูํไปกับการพัฒนาตนเอง ซึ่งจากแนวคิดดังกลําว สามารถสรุปได๎วํา การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น จะต๎อง พัฒ นารอบด๎าน และทุกมิติไมํวําจะ มิติด๎านมนุษย๑ มิติด๎านสั งคม มิติด๎านธรรมชาติ และมิติด๎าน เทคโนโลยี นอกจากนี้การพัฒนาที่ยั่งยืนจะเกิดขึ้นได๎ก็ตํอเมื่อภาครับและภาคประชาชนมีความรํวมมือ ประสานงานกั บ พั ฒ นาในทุ ก ด๎ า นไปพร๎ อ ม ๆ กั น โดยภาครั ฐ จะต๎ อ งมี แ ผนที่ มุํ ง เน๎ น สร๎ า งความ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยํางเพียงพอเพื่อตอบสนองความต๎องการขั้นพื้นฐานของประชากร มีการ กระจายผลประโยชน๑จากการผลิตอยํางเที่ยงธรรมและถูกต๎อง มีการตอบสนองตํอความต๎องการของผู๎ ยากไร๎ มีการรักษาและปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู๎ยากไร๎ให๎ยาวนาน โดยเน๎นมาตรการทางเศรษฐกิจที่ หลากหลายมากขึ้น และสิ่งที่สาคัญที่สุด คือ ต๎องมีเครื่องมือในการแก๎ไขปัญหาความยากจนอยําง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๔๒


จริงจัง เพราะความยากจนถือเป็นอุปสรรคสาคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืน และภาคประชาชนต๎องมีการ พัฒนาให๎เป็นประชากรที่มีคุณภาพ มีความอดทน มีความขยันและรับผิดชอบ มีความรู๎ความสามารถ ที่พร๎อมจะเป็นกาลังสาคัญในระบบเศรษฐกิจที่จัดสรรให๎เกื้อหนุนและนาไปสูํการพัฒนาที่ยั่งยืน (วรา พร ศรีสุพรรณ, ๒๕๓๔)

๒.๓.๔.๓) วัตถุประสงค์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืนถือไดวําเป็นสิ่งที่สาคัญในการทาธุรกิจ และวัตถุประสงค๑ที่วิสาหกิจ ควรยึดถือปฏิบัติเพื่อให๎เกิดประโยชน๑ใน ๓ ด๎าน ได๎แกํ ๑) ประโยชน๑ด๎านเศรษฐกิจ ๒) ประโยชน๑ด๎าน สังคม ๓) ประโยชน๑ด๎านสิ่งแวดล๎อม ซึ่งวัตถุประสงค๑ทั้งสามนี้ถือได๎วําเป็นสิ่งที่จะกํอให๎เกิดการพัฒนา ที่ยั่งยืนได๎ เนื่องจากการดาเนินการดังกลําวไมํได๎มุํงเน๎นแตํผลกาไรทางเศรษฐกิจเพียงอยํางเดียว แตํ ยังเน๎นถึงสังคมและสิ่งแวดล๎อมควบคูํไปด๎วย ซึ่งถือได๎วําเป็นสิ่งที่จะทาให๎ทรัพยากรธรรมชาติไมํสูญ หายไปในระยะเวลาอันรวดเร็ว และยังทาให๎องค๑กรสามารถใช๎ทรัพยากรการผลิตอยํางมีประสิทธิภาพ อีกด๎วย (มูลนิธิโลกสีเขียว, ๒๕๓๗) การที่จะทาให๎วัตถุประสงค๑ของการพัฒนาอยํางยั่งยืนนั้นสามารถลุลํวงได๎ องค๑กรตําง ๆ จึงมีความพยายามในการหาหลักการและแนวคิดเพื่อให๎เป็นเครื่องในการสร๎างการพัฒนาที่ยั่งยืนขึ้น (เกื้อ วงศ๑บุญสิน, ๒๕๔๐) ซึ่งแนวคิดนี้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนมุมมองความคิดขององค๑กรตําง ๆ เนื่องจากการ ประกอบธุรกิจที่ผํานมาองค๑กรตําง ๆ ตํางมุํงเน๎นถึงแตํผลกาไร โดยไมํทันคิดถึงความยั่งยืนขององค๑กร ในระยะยาว ซึ่งยังยั่งยืนดังกลําวนั้นจะต๎องเกิดจากการที่องค๑กรมีปัจจัยในการผลิตทีสม่าเสมอและไมํ สํงผลเสียตํอผู๎คนรอบข๎าง ซึ่งถ๎าหาองค๑กรสามารถใช๎ทรัพยากรการผลิตอยํางมีประสิทธิภาพอีกด๎วย (มูลนิธิโลกสีเขียว, ๒๕๓๗) การที่จะทาให๎วัตถุประสงค๑ของการพัฒนาอยํางยั่งยืนนั้น สามารถลุลํวงได๎ องค๑กรตําง ๆ จึงมีความพยายามในการหาหลักการและแนวคิดเพื่อให๎เป็นเครื่องในการสร๎างการพัฒนาที่ยั่งยืนขึ้น (เกื้อ วงศ๑บุญสิน, ๒๕๔๐) ซึ่งแนวคิดนี้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนมุมมองความคิดขององค๑กรตําง ๆ เนื่องจากการ ประกอบธุรกิจที่ผํานมาองค๑กรตําง ๆ ตํางมุํงเน๎นถึงแตํผลกาไร โดยไมํทันคิ ดถึงความยั่งยืนขององค๑กร ในระยะยาว ซึ่งความยั่งยืนดังกลําวนั้น จะต๎องเกิดจากการที่องค๑กรมีปัจจัยในการผลิตที่สม่าเสมอและ ไมํสํงผลเสียตํอผู๎คนรอบข๎าง ซึ่งถ๎าหากองค๑กรสามารถอยูํรํวมกับบุคคลรอบข๎างและทรัพยากรได๎ การ พัฒนาขององค๑กรก็จะเป็นไปอยํางยั่งยืน (Cheney, ๒๐๐๔) จากการที่มีการพัฒนาทางด๎านเทคโนโลยีอยํางตํอเนื่องจึงทาให๎ผู๎บริโภคสามารถที่จะ เข๎าถึงข๎อขําวสารพื้นฐานขององค๑กรได๎วํา องค๑กรนั้น ๆ มีความประกอบการที่ทาลายสิ่งแวดล๎อม หรือไมํ ดังนั้น ปัจจุบันองค๑กรตําง ๆ จึงได๎มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบริหารให๎เกิดการอยูํ รํวมกัน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๔๓


ได๎ของสิ่งแวดล๎อมและชุมชนใกล๎เคียง จึงทาให๎องค๑กรตําง ๆ มีการใช๎นโยบายตามหลักของ TBL เพิ่ม มากขึ้น (Colbert and Kurcucz, ๒๐๐๗) จากแนวคิ ด ของ TBL นั้ น จะเห็ น ได๎ วํ า เป็ น แนวความคิ ด ที่ ไ มํ ไ ด๎ มุํ ง เน๎ น การพั ฒ นา ทางด๎านเศรษฐกิจแตํเพียงอยํางเดียว ซึ่งจะเห็นได๎จากองค๑ประกอบของแนวคิดที่ประกอบไปด๎วยภาค สํวนอื่น ๆ เชํน ด๎านสังคม และสิ่งแวดล๎อม (ดูรูปที่ ๒.๑ ประกอบ) ซึ่งการที่มีการเอาใจใสํตํอภาคสํวน อื่น ๆ นั้น จะทาให๎องค๑สามารถที่จะอยูํรํวมกับสังคมและเกิดการพัฒนาอยํางยั่งยืนได๎ (Elkington, ๑๙๙๗) ซึ่งเราจะสามารถอธิบายองค๑ประกอบของหลักการ TBL เพื่อเป็นสิ่งที่ทาให๎องค๑กรสามารถ บรรลุวัตถุประสงค๑ของการพัฒนาอยํางยั่งยืนได๎ดังนี้ (Savitz and Weber, ๒๐๐๖) (๑)ด้านเศรษฐกิจ (Economy) เปูาหมายขององค๑กรตําง ๆ ที่ผํานมาสํวนใหญํมุํงเน๎นไปที่ความสาเร็จทางเศรษฐกิจ ซึ่ง กลําวได๎วําเปูาหมายของธุรกิจทั้งหมดก็คือกาไร ซึ่งการที่จะทาให๎ธุรกิจมีกาไรได๎นั้นก็ต๎องมีการนา ทรั พยากรมาใช๎ในการผลิตเพื่อกํอให๎เกิดผลกาไร ถ๎าหากธุรกิจยังยึดมั่นแตํผ ลกาไร โดยไมํมีการ วางแผนที่รอบคอบในการประกอบกิจกรรทางธุรกิจ ในระยะยาวอาจจะสํงผลให๎ธุรกิจไมํสามารถที่จะ ขายสินค๎าและบริการได๎ และสามารถสํงผลให๎เกิดผลกระทบในด๎านเศรษฐกิจได๎ในอนาคตได๎ ซึ่งการที่ องค๑กรจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค๑ของการพัฒนาที่ยั่งยืนทางด๎านเศรษฐกิจได๎นั้น องค๑กรจะต๎อง เข๎าใจถึงบทบาทหน๎าที่ทางเศรษฐกิจของตนเองและมีหน๎าที่เป็นผู๎นาและเข๎าแสดงตัวเป็นแกนนาใน การเข๎าไปชํวยเหลือเพื่อแก๎ไขปัญหาตํอสิ่งที่ได๎รับผลกระบทจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจขององค๑กร เพราะถ๎าองค๑กรสามารถแก๎ไขปัญหาที่ตนเองได๎กํอขึ้นได๎ ก็จะทาให๎การดาเนินกิจการราบรื่นด๎วยดี จากที่กลําวมาข๎างต๎นเป็นสิ่งที่ทาให๎องค๑กรสามารถรับผิดชอบตํอด๎านเศรษฐกิจของตนเองและสามารถ ทาให๎ธุรกิจของตนเองเกิดการพัฒนาอยํางตํอเนื่องและยั่งยืน (ธงชัย สันติวงษ๑, ๒๕๔๐) ซึ่งจากที่กลําวมานั้นสิ่งสาคัญที่ทาให๎องค๑กรเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในด๎านเศรษฐกิจได๎นั้น องค๑กรจะต๎องมีการวางแผนและพัฒนาองค๑ประกอบตําง ๆ ในธุรกิจตนเองเสมอ และที่ขาดไมํได๎นั้น องค๑กรจะต๎องคอยปรับตัวให๎ทันตํอการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกอยูํเสมอ เพื่อให๎สามารถรักษา องค๑กรไว๎ได๎แม๎วําในยามที่เศรษฐกิจเกิดความปั่นปุวนมากเทําใดก็ตาม (สุทธิศักดิ์ ไกรสรสุธาสินี, ๒๕๕๐) (๒) ด้านสังคม (Society) เพื่อเป็นการทาให๎องค๑กรสามารถบรรลุวัตถุประสงค๑ ทางด๎านการพัฒนาด๎านสังคมนั้น องค๑กรควรจะการสํงเสริมให๎สังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและยังต๎องเห็นถึงความสาคัญของการสร๎าง คํานิ ย มที่ ดีตํอ สั งคม ทั้ งนี้ เ พื่อให๎ สั ง คมตระหนักและเห็ นถึ งคุณ คําของการอยูํรวมกัน (ส านัก งาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ, ๒๕๔๗) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๔๔


การที่ อ งค๑ก รธุ ร กิ จ เห็ น ถึ ง ความส าคัญ ของการพั ฒ นาทางด๎ า นสั ง คมนั้ น จะเป็ น การ เสริมสร๎างให๎ชุมชนเกิดความเข๎มแข็ง ซึ่งจะเกิดการชํวยเหลือเกื้อกูลกันระหวํางภาคธุรกิจและภาค สังคม และสํงผลให๎ทั้งสองภาคสํวนสามารถที่จะรํวมกันได๎อยํางยั่งยืน ลักษณะที่องค๑กรควรเข๎าไปมี สํ ว นรํ ว มในการชํ ว ยเหลื อ สั ง คม ได๎ แ กํ การสร๎ า งศั ก ยภาพชุ ม ชนในการมี สํ ว นรํ ว มอนุ รั ก ษ๑ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม การสร๎างเสริมจิตสานึกทางด๎านสิ่งแวดล๎อมและพลังงาน หรือ การพัฒนาเยาวชนที่จะกลายมาเป็นกาลังส าคัญของชาติ ซึ่งการที่เข๎ามามีสํว นรํว มขององค๑กรใน ลั กษณะดังกลํ าว เป็ น การสร๎ างประโยชน๑ส ร๎างองค๑ความรู๎แกํชุมชน และเป็นวิถีการที่เสริมสร๎ าง ศักยภาพแดํชุมชน ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาอยํางยั่งยืนด๎านสังคม (อานันท๑ ปันยารชุน, ๒๕๕๒) (๓) ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร (Environment) การที่องค๑กรใช๎ทรัพยากรอยํางบารุงรักษา และสามารถทาให๎ทรัพยากรที่มีอยูํกลับคืนสูํ สภาพปกติได๎ จะทาให๎คุณภาพสิ่งแวดล๎อมดีขึ้น และสามารถทาให๎เศรษฐกิจพัฒนาได๎อยํางยั่งยืน (Sustainable Economy) และยังสามารถรักษาสิ่งแวดล๎อมตําง ๆ ควบคูํไปด๎วย กิจกรรมดังกลําวถือ ได๎ วํ า สิ่ ง ที่ ส าคั ญ ในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ระยะยาว ซึ่ ง หากองค๑ ก รธุ ร กิ จ ยั ง ไมํ ต ระหนั ก และยั ง คงใช๎ ทรัพยากรของประเทศอยํางสิ้นเปลือง หรือถ๎าหากธุรกิจใด ยังคงมีการปลํอยสารพิษหรือมลพิษสูํ สังคมและสิ่งแวดล๎อม องค๑กรธุรกิจนั้นคงไมํสามารถที่จากลําวอ๎างได๎วํา เป็นองค๑กรที่มีนโยบายในการ รับผิดชอบตํอสังคมอยํางแท๎จริง อังนั้น องค๑กรธุรกิจจะต๎องเริ่มต๎นจากการมองภายในองค๑กร วําจะ ดาเนินการอยํางไร เพื่อให๎ธุรกิจสามารถบูรณาการหลักการ ของการรับผิดชอบตํอสังคมกับแนวทาง ธุรกิจได๎อยํางเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อที่จะสามารถพัฒนาแนวทางของธุรกิจ เป็นไปตามพื้นฐานของความ ยั่งยืน ทั้งในด๎านสิ่งแวดล๎อม (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ๑ศักดิ์, ๒๕๔๖) ซึ่งตามหลัก TBL นั้นองค๑กรธุรกิจตําง ๆ ต๎องพยายามที่จะยึดหลักการ พัฒนาอยํางยั่งยืน โดยไมํทาลายสิ่งแวดล๎อม ไมํมีการปลํอยมลพิษหรือผลิตของที่ไมํสามารถนากลับมา ใช๎ใ หมํไ ด๎ (Non-recyclable) ดังนั้ น องค๑ก รควรที่จ ะต๎อ งเน๎ นการผลิ ตที่ล ดการปลํ อยมลพิษ และ มลภาวะ และควรเน๎นการใช๎ทรัพยากรที่นามาผลิตสินค๎านั้น ให๎เป็นทรัพยากรสามารถนากลับมา หมุนเวียนได๎ และในขั้นตอนการผลิต ควรจะเน๎นไปในการใช๎พลังงานในการผลิตให๎น๎อยที่สุด เพื่อ ไมํให๎เกิดมลภาวะนั่นเอง ซึ่งถ๎าหากองค๑กรที่สามารถควบคุมการผลิต ให๎เกิดผลกระทบน๎อยได๎นั้น ก็จะ สํงผลให๎เกิดการพัฒนาอยํางยั่งยืนได๎ (Savitz and Weber, ๒๐๐๖) จากที่กลําวมาในขั้นต๎นจะเห็นได๎วํา การที่จะเกิดการพัฒนาอยํางยั่งยืน ต๎องให๎ความสาคัญถึงการสมดุลและความยั่งยืน โดยต๎อ งให๎ความสาคัญตํอบทบาทของชุมชนมากขึ้น และอาศัยกระบวนการที่นาพาภาคประชาชน เข๎ามามีสํวนรํวมในกระบวนการวางแผน การรํวมคิด รํวมตัดสินใจ รํวมดาเนินติดตาม รํวมประเมินผล และรับผลประโยชน๑และผลกระทบตําง ๆ จากการ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๔๕


พัฒนาทุกขั้นตอน ซึ่งชุมชนต๎องมีการทางานเป็นองค๑กร และมีการพัฒนาอยํางตํอเนื่อง เพื่อเสริมสร๎าง การเรี ย นรู๎ ของคนในชุ มชนตํ อการพัฒ นา เพื่อ ให๎ เกิ ดความเข๎ม แข็งในชุมชน (โกมล ชอบชื่ นชม, ๒๕๔๑) ซึ่งการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น เป็นเรื่องที่มีความยุํงยากและซับซ๎อนมาก และยังมีปัจจัยจานวน มากในการที่จะเกิดการพัฒนาอยํางยั่งยืนและตํอ เนื่อง ซึ่งมีปัจจัยหลัก ๆ เชํน การพึ่งพาตนเองทาง การเงิน ปัญหาความยากจน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล๎อม เทคโนโลยีที่เหมาะสม บทบาทของ รัฐ การพัฒนาทางการเมือง การมีสํวนรํวมในการพัฒนา และการกระจายอานาจ เป็นต๎น ซึ่งจาก ปัจจัยข๎างต๎นที่กลําวมานี้องค๑กระต๎องมีการบูรณาการทั้งสามสํวนไปพร๎อมกันเพื่อกํอให๎เกิดการพัฒนา ที่ยั่งยืน (โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ๑, ๒๕๓๓)

๒.๓.๔.๔) การบูรณาการแนวคิดด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน จากหลั ก การ TBL ที่ ก ลํ า วมานั้ น จะเห็ น ได๎ วํ า ในการที่ อ งค๑ ก รจะสามารถประสบ ความสาเร็จนด๎านการพัฒนาองค๑กรให๎เกิดความยั่งยื นได๎นั้น องค๑กรจะต๎องสามารถพัฒนาทุกด๎านไป พร๎อมกัน ไมํใชํเน๎นแตํการพัฒนาด๎านเศรษฐกิจแตํเพียงอยํางเดียว องค๑กรจะต๎องให๎ความสาคัญทั้ง สามด๎านอันได๎แกํ ด๎านเศรษฐกิจ ด๎านสังคม และด๎านสิ่งแวดล๎อม ซึ่งจากองค๑ประกอบทั้งสามด๎านนั้น จะเห็นได๎วําองค๑ประกอบในแตํละด๎านมีสัมพันธ๑เกี่ยวข๎องกันในทุกด๎าน ซึ่งจะต๎องเกิดการพัฒนาและ บูรณาการไปพร๎อมกัน (ศุภรัตน๑ รัตนมุขย๑, ๒๕๕๔) การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น องค๑กรจะต๎องมีการพัฒนาอยํางบูรณาการ โดยองค๑ประกอบทั้ง สามด๎านนามาบูรณาการเพื่อให๎เกิดประโยชน๑สูงสุด ดังจะเห็นได๎วํา องค๑กรสมัยใหมํ ที่ต๎องการพัฒนาที่ ยั่งยืนจะเน๎นไปทางด๎านการพัฒนาในด๎านสิ่งแวดล๎อม การที่จะพัฒนาแตํสิ่งแวดล๎อมอยํางเดียวนั้น ก็ จะไมํเกิดประโยชน๑ ถ๎าหากปราศจากการพัฒนาในด๎านสังคม ซึ่งสํงผลให๎การทาการรณรงค๑ขององค๑กร ก็จะสูญเปลํา ดังนั้น องค๑กรจะต๎องมีการพัฒนาในด๎านสังคมควบคูํไปด๎วย นั่นคือมีการปลูกฝังให๎สังคม เห็นถึงคุณคําของสิ่งแวดล๎อม และยังจะต๎องมีการปลูกฝังตํอคนรุํนใหมํในสังคม เพราะวําคนรุํนใหมํ นั้ น ถื อ ได๎ วํ า เป็ น อนาคตของชาติ เพื่ อ ให๎ เ กิ ด การพั ฒ นาด๎ า นสิ่ ง แวดล๎ อ มในอนาคต (ส านั ก งาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ , ๒๕๔๗) นอกจากนั้น องค๑กรจะต๎องให๎ความรู๎ ในด๎านการรักษาสิ่งแวดล๎อม ตํอบุคคลตําง ๆ ที่เกี่ยวข๎องกับองค๑กร ไมํวําจะเป็นลูกจ๎าง ลูกค๎า ชุมชน คูํค๎า และบุคคลอื่น ๆ เพราะวําการกระทาดังกลําว สามารถชํวยให๎ลดการใช๎ทรัพยากรในการผลิตของ องค๑กรลง เนื่องจากบุคคลตําง ๆ ในองค๑ เหลํานี้ล๎วนมีสํวนในการตัดสินใจ การวางแผนงานตําง ๆ ซึ่ง ถ๎าหากบุคคลเหลํานี้ได๎มีความรู๎การเห็นคุณคําของสิ่งแวดล๎อมก็จะกํอให๎เกิดความคิดสนับสนุนการ อนุรักษ๑ธรรมชาติ (โสภณ พรโชคชัย, ๒๕๕๑) การบู ร ณาการทางด๎ า นสิ่ ง แวดล๎ อ มและด๎ า นเศรษฐกิ จ ควบคูํ กั น ถื อ ได๎ วํ า มี ความสาคัญมาก โดยการนี้องค๑กรควรให๎ความสาคัญของวัตถุดิบที่ใช๎ในกระบวนการผลิต โดยควร รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๔๖


เลือกใช๎ทรัพยากรที่ไมํกํอให๎เกิดผลเสียตํอสิ่งแวดล๎อม ซึ่งท๎ายที่สุดจะชํวยผลักดันให๎องค๑กรประสบ ความสาเร็จในด๎านเศรษฐกิจได๎ เนื่องจากหากองค๑กรสามารถรักษาทรัพยากรในการผลิตของตนเองไว๎ ได๎ น าน ก็จ ะยั งท าให๎ อ งค๑กรสามารถดาเนินการของตนได๎อยํา งไมํมี ปัญหา (อานันท๑ ปันยารชุน , ๒๕๕๒) สิ่งตํอไปนี้องค๑กรจะต๎องมีการบูรณาการ คือ ด๎านสังคมกับด๎านเศรษฐกิจ แม๎วํา จุดประสงค๑ด๎านเศรษฐกิจเป็นจุดประสงค๑หลักขององค๑ธุรกิจทุก ๆ องค๑กร แตํเพื่อให๎เกิดการพัฒนาใน ด๎านเศรษฐกิจในระยะยาวได๎นั้น องค๑กรควรจะต๎องมีความสัมพันธ๑อันดีกับชุมชนรอบข๎าง เนื่องจาก หากองค๑กรไมํมีการรับผิดชอบตํอผลกระทบที่เกิดจากองค๑กร จะสํงผลให๎เกิดการตํอต๎านจากชุมชน รอบข๎างและจะทาให๎องค๑กรจะเกิดอุปสรรคในการดาเนินธุรกิจในระยะยาว (ณัฐชรินทร อภิวิชญ๑ชล ชาติ, ๒๕๕๑) ซึ่งการกระทาดังกลําวนั้น ถือได๎วําเป็นสิ่งที่องค๑กรจะเข๎ามาบทบาทและรับผิดชอบตํอ ทั้งด๎านเศรษฐกิจและด๎านสังคม (อานันท๑ ปันยารชุน, ๒๕๕๒) ซึ่งองค๑กรจะต๎องเป็นการวางแผนถึง อนาคตและรํวมมือกับสังคมในการแก๎ไขปัญหาตําง ๆ (ธงชัย สันติวงษ๑, ๒๕๔๐) องค๑กรจะต๎องเข๎าไปมี บทบาทสาคัญตํอการเข๎าไปเป็นผู๎นาในด๎านการชํวยเหลือหรือรับผิดชอบตํอสังคมซึ่งถือวําเป็นการ แสดงบทบาทการชํวยเหลือสังคมอยํางชัดเจน (ศิริวรรณ เสรีรัตน๑, ๒๕๓๙) นอกจากนี้ แล๎ ว ตามแนวคิด TBL นั้นองค๑กรจะต๎องปฏิบัติตํอลูกจ๎างอยํางเป็น ธรรม ไมํวําจะเป็นด๎านคําแรง ด๎านชั่วโมงเวลาในการทางานจะต๎องไมํเอารัดเอาเปรียบ ไมํมีการนา แรงงานเด็กมาใช๎เพื่อลดต๎นทุน องค๑กรที่ถือหลักตาม TBL จะต๎องสนใจไปถึงผู๎ที่มีสํวนได๎สํวนเสียตําง ๆ สํวนในด๎านสิ่งแวดล๎อมนั้น วัสดุที่นามาใช๎ในการผลิตสินค๎าและบริการนั้นจะต๎องมีความปลอดภัย และไมํเป็นอันตรายตํอสุขภาพ นอกจากนี้แล๎ว องค๑กรยังต๎องคานึงถึงผลิตภัณฑ๑ที่ออกไปสูํตลอดที่ต๎อง มีความรับผิดชอบตํอสังคม ซึ่งถ๎าหากผลิตภัณฑ๑ที่สํงไปยังท๎องตลาดมีอันตรายตํอสังคมนั้น องค๑กร จะต๎องมีนโยบายและวิธีปู องกัน ผลกระทบที่เกิดขึ้นด๎วย ซึ่งถือได๎วําองค๑ประกอบทุก ๆ สํ ว นของ หลักการ TBL จะต๎องเกิดการบูรณราการเข๎าหาพันและพัฒนาไปพร๎อม ๆ กัน เพื่อกํอให๎เกิดการ พัฒนาอยํางยั่งยืน (Savitz and Weber, ๒๐๐๖)

๒.๓.๔.๕) ตัวชี้วัดความสาเร็จของการพัฒนาอย่างยั่งยืน จากองค๑ ป ระกอบที่ สํ ง ผลตํ อ ความส าเร็ จ ของการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ซึ่ ง คื อ TBL (Three Bottom Line) นั้น ซึ่งได๎มีนักวิจัยหลายทํานได๎ให๎ข๎อสรุปและตัวชี้วัดตําง ๆ ไว๎มากมาย แตํ อยํ างไรก็ตามในงานวิจัย ชิ้น นี้ได๎ใช๎แนวความคิดและตัว ชี้วัดซึ่งอ๎างอิงจากงานวิจัยของ “Joseph Fiksel, Jeff McDaniel and Catherine Mendenhall (๑๙๙๙)” เป็นหลัก ซึ่งสามารถที่จะสรุปได๎ ดังนี้ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๔๗


(๑) ตัวชี้วัดทางด้านสังคม จากหลักการสามองค๑ประกอบที่สาคัญของธุรกิจทางด๎านสังคมนั้น องค๑กร ที่จะสามารถบรรลุแนวคิดด๎านนี้ได๎นั้น จะต๎องสามารถที่อยูํรํวมกับชุมชนได๎อยํางไมํมีปัญหาและมี ความรํวมมือกับทางชุมชนและบุคคลที่อาศัยอยูํใกล๎เคียง (พิพัฒน๑ ยอดพฤติการณ๑, ๒๕๕๓) ซึ่งตัวชี้วัด ที่สาคัญที่จะทาให๎ธุรกิจบรรลุวัตถุประสงค๑ด๎านนี้มีด๎วยกัน ๒ ด๎าน ได๎แกํ ๑) คุณภาพกายของคนรอบ ข๎าง และ ๒) คุณภาพจิตใจของคนรอบข๎าง (Fiksel et al., ๑๙๙๙) ทางด๎ า นกายภายของคนรอบข๎ า ง หมายถึ ง การประกอบกิ จ การของ องค๑กรธุรกิจนั้นจะต๎องไมํสํงผลกระทบรํางกายหรือสุขภาพของบุคคลที่อาศัยอยูํใกล๎เคียงกับสถานที่ ประกอบธุรกิจขององค๑กร เชํน องค๑กรจะต๎องไมํการสํงผลกระทบที่มลพิษตําง ๆ เป็นต๎น สํวนในด๎าน คุณภาพจิตใจของคนรอบข๎าง หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจขององค๑กรจะต๎องไมํมีผลกระทบตํอ จิตใจของชุมชน เชํน ไมํทาให๎ผู๎ที่อาศัยอยูํบริเวณใกล๎เคียงจะต๎องไมํรู๎สึกราคาญใจ เป็นต๎น จากที่กลําว มาตัวชี้วัดทั้งสองนี้เป็นสิ่งที่นามาชี้วัดถึงการอยูํรํวมกันระหวํางชุมชนและองค๑กรธุรกิจ (ทานตะวัน สุร เดชากุล, ๒๕๔๗) (๒) ตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม ตามหลักแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยอาศัยแนวความคิดของ TBL ดังนั้น การที่ จ ะเกิ ด การพั ฒ นาที่ยั่ งยื น ด๎ านสิ่ งแวดล๎ อ มได๎ นั้น ธุ รกิ จ จะต๎อ งตระหนัก ถึง ความส าคั ญของ ทรั พยากรที่มีอ ยูํ และจะต๎อ งปลู ก ฝั งจิ ตส านึกตํ อบุคคลภายนอกองค๑ กรให๎ เ ห็ นถึง ความส าคัญใน รูปแบบเดียวกับองค๑กร (สฤณี อาชวานันทกุล, ๒๕๕๔) ซึ่งตัว ชี้วัดความสาเร็จทางด๎านสิ่งแวดล๎อม ได๎แกํ ๑) การใช๎สิ่งของ วัตถุดิบ หรือ/และ อุปกรณ๑ตําง ๆ ที่ปลอดภัยตํอสิ่งแวดล๎อม ๒) ระดับการใช๎ พลังงานเพื่อดาเนินธุรกิจ และ ๓) ระดับของการนาของเสียกับมาใช๎ใหมํ (Fikesl et al., ๑๙๙๙) จากที่ ก ลํ า วมานั้ น ในด๎ า นสิ่ ง แวดล๎ อ มนี้ ไ ด๎ เ น๎ น ไปทางการใช๎ วั ส ดุ ห รื อ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ มํ เ กิ ด มลพิ ษ หรื อ มลภาวะ มี ก ารใช๎ พ ลั ง งานในการด าเนิ น งานอยํ า งรู๎ คุ ณ คํ า และเกิ ด ประสิทธิภาพ และการตระหนักถึงคุณคําของการนาวัสดุกลับมาใช๎ใหมํซึ่งเป็นการวัดถึงความสัมพันธ๑ที่ ดีระหวํางสิ่งแวดล๎อมและองค๑กรธุรกิจ (Andrew, ๒๐๑๐) (๓) ตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจ เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค๑การพัฒนาอยํางยั่งยืนในด๎านเศรษฐกิจนั้น ตาม หลักแนวคิด TBL นั้น สิ่งสาคัญก็คือการที่ธุรกิจสามารถประสบความสาเร็จในด๎านการเงินสามารถลด ต๎นทุนให๎ ลดลงและมีกาไรเติบ โตขึ้นอยํางตํอเนื่อง ซึ่งเป็นจุดประสงค๑หลักของการประกอบธุรกิจ (วิภาค วีระสัมฤทธิ์, ๒๕๕๓) จากที่กลําวมา ตัวชี้วัดที่จะทาให๎ธุรกิจสามารถบรรลุวัตถุประสงค๑ด๎าน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๔๘


เศรษฐกิจ ได๎แกํ ๑) รายได๎ทางตรง ๒) รายได๎ทางอ๎อม และ ๓) การเกิดต๎นทุนที่ไมํคาดคิด (Fiksel et al., ๑๙๙๙) ตัวชี้วัดด๎านเศรษฐกิจทั้งสองตัวนี้เป็นสิ่งที่ชี้วั ดถึงศักยภาพทางเศรษฐกิจ ขององค๑กร เชํน ความพึงพอใจตํอรายได๎ทางตรงและทางอ๎อม ซึ่งรายได๎ทางตรงนั้น หมายถึง รายได๎ ที่มาจากการขายสินค๎าและบริการขององค๑กร สํวนรายได๎ทางอ๎อมนั้น คือ รายได๎ที่ไมํได๎มากจากการ ขายสินค๎า และบริการแตํมาจากการที่นาสิ่งของที่ไมํได๎ใช๎ไปหารายได๎ เชํน การนาของเกําที่ไมํได๎ใช๎ไป ขาย เป็นต๎น ในสํวนของความพึงพอใจตํอต๎นทุนที่คาดคิดนั้น เป็นสํงที่วัดถึงการบริหารจัดการทุนของ องค๑กรวํามีความพร๎อมรับตํอต๎นทุนมากน๎อยเพียงใด ซึ่งต๎นทุนที่ไมํคาดคิดนั้น ได๎แกํ คํารักษาพยาบาล ของลูกจ๎าง คําใช๎จํายในการซํอมแซมอุปกรณ๑ที่เสียหาย เป็นต๎น (ทยุติ อิสริยฤทธานนท๑, ๒๕๕๐) ตารางแสดง ๓ องค์ประกอบที่สาคัญและตัวชี้วัด สามองค์ประกอบที่สาคัญ ตัวชี้วัดหลัก ผู้อื่นที่เคยศึกษาเรื่อง (Three Bottom Line) Fiskel et al (๑๙๙๙) ดังกล่าว ด๎านสังคม ทานตะวัน สุรเดชากุล - คุณภาพกายของคนรอบข๎าง (๒๕๔๗) - คุณภาพจิตใจของคนรอบข๎าง ด๎านสิ่งแวดล๎อม - การใช๎สิ่งของ วัตถุดิบ หรือ/และ อุ ป กรณ๑ ตํ า ง ๆ ที่ ป ลอดภั ย ตํ อ Dent H. Andrew (๒๐๑๐) ด๎านเศรษฐกิจ

-

สิ่งแวดล๎อม การใช๎พลังงานเพื่อดาเนินธุรกิจ ระดับของการนาของเสี ยกลั บมา ใช๎ใหมํ ทยุติ อิสริยฤทธานนท๑ รายได๎ทางตรง (๒๕๕๐) รายได๎ทางอ๎อม การเกิดต๎นทุนที่ไมํคาดคิด

๒.๓.๔.๖) การพัฒนาอย่างยั่งยืนกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อย (SMEs) ธุ ร กิ จ ขนาดกลางและขนาดยํ อ มนั้ น ถื อ ได๎ วํ า เป็ น องค๑ ป ระกอบส าคั ญ ในการพั ฒ นา เศรษฐกิจ เนื่องจากมีอิทธิพลอยํางมากตํอระบบเศรษฐกิจ (Audretsch and Acs, ๒๐๐๓) ผู๎ประกอบ ธุรกิจประเภทนี้นั้ นได๎มีสํวนในการขับเคลื่อนประเทศตําง ๆ ซึ่งลักษณะของประเทศที่จะสามารถ พัฒนาได๎อยํางยั่งยืนนั้น จะต๎องมีการกระจายอานาจที่ดี มีการปรับโครงสร๎างทางเศรษฐกิจที่สมดุล รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๔๙


และต๎องมีตลาดภายในที่แข็งแรงและมีการปรับตัวอยํางถูกวิธี (Smallbone et al., ๑๙๙๖) ซึ่งการที่ แตํละประเทศได๎เน๎นให๎ความรู๎ ความเข๎าใจตํอผู๎ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยํอมดังกลําว ไมํวําจะเป็ น เรื่ องความรู๎ พื้น ฐานทางเศรษฐกิจ การพัฒ นาที่ต๎องการรักษาสิ่ งแวดล๎ อม เป็นต๎น ก็ เพราะวําธุรกิจขนาดกลางและขนาดยํอมนั้น เป็นสํวนสาคัญ ในการกํอให๎เกิดพัฒนาในด๎านเศรษฐกิจ และเป็นการชี้วัดถึงศักยภาพด๎านเศรษฐกิจของประเทศนั้นเอง จากตัวอยํางในประเทศเอสโทเนีย (Estonia) การที่รัฐบาลได๎เห็นถึงความสาคัญของผู๎ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยํอม เป็น ผลที่สํงให๎ในชํวงสิบปีที่ผํานมานั้น เศรษฐกิจของประเทศเอสโทเนียนั้นได๎มีการเติบโตอยํางรวดเร็ว และเป็นสิ่งที่คอยผลักดันศักยภาพการผลิตในประเทศให๎เพิ่มมากขึ้น และเป็นสิ่งที่ทาให๎อัตราการ เติบโตทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอยํางรวดเร็ว (Estonia Country Assessment, ๒๐๐๒ : Smallbone, Piasecki, Venesaar, Todorow, and Labrianidis, ๑๙๙๙ : Smallbone and Venesaar, ๒๐๐๔; Venesaar, ๑๙๙๙) การที่ในแตํละประเทศจะประสบความสาเร็จในด๎านการพัฒ นาเศรษฐกิจนั้น แตํล ะ ประเทศจะต๎องเข๎าถึงและชํวยเหลือสนับสนุนการผลิตของธุรกิจขนาดกลางและขนาดยํอม เพื่อให๎ ธุรกิจประเภทนี้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจอยํางตํ อเนื่อง การที่จะเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจนั้น จาเป็นที่จะต๎องมีการเพิ่มขึ้นของผู๎ประกอบการอยํางรวดเร็ว และมีจานวนมาก ซึ่งการที่จะทาให๎เกิด ผู๎ประกอบการมากขึ้นก็จะสํงผลให๎เกิดการเพิ่มขึ้นของทุน และเป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข็งขันใน ด๎านเศรษฐกิจ (Fritsch and Mueller, ๒๐๐๔) ซึ่งจากที่กลําวมานั้น การเพิ่มขึ้นของกิจการประเภท นี้ เป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให๎เกิดอัตราการจ๎างงานที่สูงขึ้น การผลิตนวัตกรรมใหมํ และสิ่งที่ตามมาอยําง แนํนอนก็คือ การเติบโตทางเศรษฐกิจนั่นเอง (Baptista, Escaria, and Madruga, ๒๐๐๕) ความสาคัญอีกประการหนึ่ งก็คือ ซึ่งธุรกิจขนาดกลางและขนาดยํอมนั้นถือได๎วําเป็น ธุร กิจ ที่ไมํ จ าเป็ น ต๎ องใช๎ทุน สู งนั ก ดั งนั้ น การเข๎ ามาของผู๎ ประกอบการจึง สามารถทาได๎งํา ยและ สามารถกระจายไปได๎ทุกภาคสํวนของประเทศ จึงทาให๎การเกิดขึ้นของผู๎ประกอบการชนิดนี้อยําง รวดเร็ว และมีแนวโน๎มที่จะสามารถเติบโตได๎อีกในอนาคต นอกจากนี้แล๎วธุรกิจขนาดกลางและขนาด ยํอมนั้น เป็นธุรกิจที่ไมํสํงผลกระบทร๎ายแรงตํอบุคคลสํวนใหญํในกรรีที่มีการบริหารผิดพลาด อีกทั้งยัง สามารถเป็นฐานการผลิตที่สาคัญขององค๑กรขนาดใหญํได๎ ดังนั้น ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยํอม ถือ ได๎วําเป็ น สิ่ งที่ส าคั ญตํอระบบเศรษฐกิจ ไมํ วําจะเป็ นในด๎านการพัฒ นาและอัต ราการเติบโตด๎า น เศรษฐกิจ การจ๎างงานที่เพิ่มขึ้น การสร๎างมูลคําทางเศรษฐกิจ สํงผลให๎เกิดการเพิ่มขึ้นของ GDP และ ศักยภาพการสํ งออก เป็ นต๎น ซึ่งจากที่กลําวมานั้นจะเห็ นได๎วํา ปัจจัยหลั กที่ทาให๎ เกิดการพัฒ นา เศรษฐกิจได๎นั้นจาเป็นที่จะต๎องมีการเพิ่มขึ้นของผู๎ประกอบภายในประเทศ เนื่องจากผู๎ประกอบการ นั้นเป็นองค๑ประกอบหลังในการสร๎างความมั่นคงทางเศรษฐกิจภายใน (Bartelsman, Haltiwanger, รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๕๐


and Scarpetta, ๒๐๐๔; Johnson, ๒๐๐๔; Reynolds, Hay, Bygrave, Camp, and Autio, ๒๐๐๐)

๒.๓.๔.๗) การเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) เพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน ผู๎ประกอบการเป็นองค๑ประกอบที่สาคัญในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งคุณลักษณะที่จะทาให๎เป็น ผู๎ประกอบการที่ดีนั้น ได๎แกํ การตั้งใจ วิสัยทัศน๑ การเป็นผู๎นาทางด๎านนวัตกรรม มีแรงผลักดันให๎ ตัวเองพัฒนาอยูํเสมอ มีความทะเยอทะยาน และมีการบริหารความเสี่ยงที่ดี ซึ่งองค๑ประกอบตําง ๆ เหลํานี้เป็นสิ่งที่จะทาให๎ธุรกิจมีโอกาสประสบผลสาเร็จได๎ (Wickham, ๒๐๐๖) ซึ่งผู๎ประกอบการนั้น เป็นผู๎ที่มีความสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นอยํางมากเนื่องจากเป็นที่สร๎างสรรค๑นวัตกรรมตําง ๆ มากมายและยังทาให๎เกิดการจ๎างงานที่มากขึ้น (Chin, ๒๐๐๑) โดยลักษณะของผู๎ประกอบการที่ดีนั้น จะต๎องเป็นผู๎ที่ค๎นหาและคอยสังเกตถึงความต๎องการของตลาดเพื่อจะทาให๎ธุรกิจพัฒนาและเติบโต มี ความสามารถในการจัดการความเสี่ยง มีความเป็นผู๎นาทางด๎านนวัตกรรมเพื่อให๎ ทันตํอการพัฒนา เศรษฐกิจ (Dietz, Ostrom, and Paul, ๒๐๐๘X นอกจากนี้แล๎วเนื่องจากการเติบโตทางด๎าน เศรษฐกิจ จ าเป็ น ที่ต๎องทาให๎ ทุกภาคสํ ว นพัฒ นาไปด๎ว ยกัน การที่ จะเป็ นผู๎ ประกอบการที่ ประสบ ความสาเร็จนั้นจาเป็นที่จะต๎องมีความรู๎และเข๎าใจในระบบเศรษฐกิจอยํางถํองแท๎และสามารถพัฒนา ความรู๎ ตํ า ง ๆ ได๎ อ ยํ า งเสมอเพื่ อ น ามาเป็ น เครื่ อ งมื อ เพื่ อ น าพาธุ ร กิ จ ไปสูํ ค วามส าเร็ จ (Green, Whitten, and Inman, ๒๐๐๘) นอกจากนี้แล๎วผู๎ประกอบการต๎องเป็นผู๎ที่เข๎าใจพื้นฐานทางด๎าน สังคม มีความเอาใจใสํตํอผู๎ที่มีสํวนได๎สํวนเสีย มีหัวใจที่เข๎มแข็งพร๎อมที่จะเผชิญตํอปัญหาอุปสรรคตําง ๆ ซึ่งจาเป็นที่จะต๎องใช๎ความรู๎ความสามารถมาเป็นพื้นฐานในการแก๎ไขปัญหาและนาพาธุรกิจให๎ ประสบความส าเร็ จ และสํ ว นที่ส าคั ญ คื อ ผู๎ ป ระกอบการจะต๎ อ งมี ค วามคิ ด ที่ ส ร๎ า งสรรค๑ ส ามารถ สร๎างสรรค๑สินค๎าที่แปลกใหมํและตามความต๎องการของตลาดทันเมื่อสํงผลให๎ เกิดความพึงพอใจตํอ สินค๎าของตนและทาให๎เกิดความยั่งยืนแกํธุรกิจ (Hsiao, ๒๐๐๗)

๒.๓.๔.๘) ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMEs) เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน องค๑การสหพันธ๑ประชาชาติ (The United Nations) ได๎มีการเสนอแนวคิดเพื่อให๎ ผู๎ ป ระกอบการสามารถที่ จ ะท าให๎ อ งค๑ ก รของตนเองเกิ ด การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ซึ่ ง เป็ น การท าให๎ ผู๎ประกอบการเห็นถึงคุณคําความสาคัญด๎านอื่นนอกจากกาไรเพียงอยํางเดียว ซึ่งถือได๎วําเป็นการ สนับสนุนให๎เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในภาคธุรกิจ โดยการนี้องค๑การสหพันธ๑ประชาชาติได๎มีการพัฒนา ถึงแนวความคิดที่ผู๎ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยํอมพึงจะปฏิบัติเพื่อให๎เกิดการพัฒนา รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๕๑


ธุรกิจอยํางยั่งยืน ซึ่งผลลัพธ๑ของแนวคิดนี้จะทาให๎ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยํอมสามารถที่มีการ พัฒนาอยํางเป็นขั้นเป็นตอนและถูกต๎อง อันจะทาให๎องค๑กรธุรกิจดังกลําวสามารถเข๎า มามีบทบาทตํอ การพัฒนาเศรษฐกิจโลก โดยแนวคิดดังกลําวนั้นสามารถสรุปได๎วํามีปัจจัยที่จะทาให๎ผู๎ประกอบการ สามารถบรรลุเปูาหมาย ๑๐ ด๎านด๎วยกันดังนี้ (McClelland, ๒๐๐๘) (๑) ระดับการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจ (Opportunity-secking and Initiative) การแสวงหาโอกาสทางธุรกิจนั้น คือ การที่องค๑กรสามารถหาโอกาสที่จะทากาไรเพื่อ ธุรกิจของตนเองได๎ ไมํวําสถานการณ๑เวลานั้นจะแยํหรือดีเพียงใด ผู๎ประกอบการสมารถที่จะมองหา โอกาสทางธุรกิจและหาชํองวํางเพื่อทาให๎เกิดกาไรได๎ ผู๎ประกอบการของธุรกิจที่มีลักษณะเดํนทางด๎าน นี้ จะสามารถน าพาธุร กิจ ให๎ ผํ านพ๎ น อุป สรรคทางธุรกิจตําง ๆ ไปได๎ โดยไมํทาให๎ ธุรกิจเกิดความ เสียหาย ซึ่งจากคุณลักษณะของผู๎ประกอบการเชํนนี้เอง สามารถชํวยสํงเสริมให๎ธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยํอมเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนขึ้นได๎ ทั้งผู๎ประกอบการจะต๎องไมํใช๎การแสวงหากาไรในทางมิควร หรือกํอให๎ผู๎อื่นเดือดร๎อน เพราะวิธีนี้ไมํสามารถทาให๎ธุรกิจเกิดการเติบโตในระยะยาว แตํอาจสํงผลตํอ ภาพลักษณ๑และปัญหาตําง ๆ อีกมากมายตามมา ซึ่งสิ่งที่ผู๎ประกอบควรปฏิบัติเพื่อให๎เกิดการแสวงหา โอกาสทางธุรกิจอยํางถูกต๎อง ได๎แกํ จะต๎องสังเกตถึงสถานการณ๑ที่เกิดขึ้น เมื่อสังเกตสถานการณ๑แล๎ ว องค๑กรควรที่จะรีบลงมือทาในสิ่งที่วางแผนไว๎เพื่อให๎ไมํเสียโอกาสในการสร๎างกาไร หลังจากที่สามารถ ประสบความสาเร็จในเหตุการณ๑ที่เกิดขึ้นควรที่จะนาประสบการณ๑ที่เกิดขึ้นและนาเอาประสบการณ๑ที่ เคยเจอไว๎เป็นสิ่งชํวยเหลือถึงการแสวงหากาไรในอนาคตที่จะเกิดขึ้นในภายภาคหน๎ า (Gaglio and Katz, ๒๐๐๑ : hills and Shrader, ๑๙๙๘X (๒) ระดับการยึดติดกับธุรกิจที่มีอยู่ (Persistence) ผู๎ ป ระกอบสํ ว นใหญํ เ มื่ อ เจอปั ญ หาและอุ ป สรรคตํ า ง ๆ จะเกิ ด การ เปลี่ยนแปลงธุรกิจตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่เกิดจนทาให๎ไมํประกอบธุรกิจตามที่ตนเองถนัด ซึ่งผู๎ ประกอบที่ดีที่จะสามารถนาพาธุรกิจตนเองไปสูํความสาเร็จได๎นั้น จะต๎องมั่นใจในธุรกิจของตนเอง และเมื่อเผชิญกับปัญหาต๎องลงทาทัทีเพื่อแก๎ไขปัญหาให๎ได๎ ซึ่งผู๎ประกอบการนั้นจะต๎องตั้งใจทาธุรกิจ ของตนเองอยํางตํอเนื่อง ซึ่งในบางครั้งอาจจะเปลี่ยนนโยบายหรือแผนเพื่อทาให๎ธุร กิจสามารถผําน อุปสรรคได๎ และสิ่งที่สาคัญของผู๎ประกอบการก็คือ จะต๎องมีความรับผิดชอบตํอตนเองเพื่อนาพาธุรกิจ ไปสูํความสาเร็จ (Gompers, Kovner, Lerner, and Scharfstein, ๒๐๐๘) (๓) ระดับการยึดติดกับสัญญาที่มีอยู่ (Fulfilling Commitments) การที่องค๑กรมีการยึดติดกับ สัญญานั้น ถือได๎วําเป็นความรับผิดชอบตํอ สัญญาที่เกิดขึ้นกับคูํค๎าไมํวําจะเกิดสถานการณ๑ใดขึ้น องค๑กรธุรกิจควรที่จะยึดกับสิ่งที่สัญญาไว๎กับ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๕๒


ลูกค๎าเพื่อการเป็นการแสดงถึงความจริงใจตํอลูกค๎า นอกจากนี้แล๎วในการดาเนินธุรกิจนั้นองค๑กรแตํ ละองค๑การจะต๎องเจอปัญหาในด๎านตําง ๆ ไมํวําด๎านใดก็ด๎านหนึ่ง ซึ่งอาจจะสํงผลให๎องค๑กรเกิดการ ผิดสัญญาตํอผู๎ที่องค๑กรได๎ทาการสัญญาไว๎ ซึ่งถ๎าองค๑กรไมํสามารถรักษาสัญญาที่ให๎ไว๎ได๎เป็นการสํงผล ให๎ภาพลักษณ๑ขององค๑กรเสียหายและเกิดผลกระทบตํอการเติบโตทางด๎านเศรษฐกิจและผลกระทบ ตําง ๆ ที่ร๎ายแรงอีกมากมายมา ดังนั้น สิ่งที่จะทาให๎ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยํอมเกิดการพัฒนาที่ ยั่ ง ยื น นั้ น องค๑ก รดัง กลํ า วจะต๎ อ งให๎ ค วามส าคัญ ในด๎ านการยึด มั่ นรั กษาสั ญ ญาที่ ให๎ ไว๎ (Deason, ๒๐๐๙) (๔) ระดับความต้องการด้านคุณภาพและประสิทธิภาพ (Demand for Quality and Efficiency) ทางด๎านนี้ ถือได๎วําเป็นปัจจัยส าคัญตํอการพัฒ นาอยํางยั่งยืน ซึ่งความ ต๎องการของลูกค๎าทุกคนตํางต๎องการถึงคุณภาพของสินค๎าและบริการ ซึ่งการที่ผู๎ประกอบการสามารถ รักษาถึงคุณภาพของสินค๎าไว๎ได๎นั้นเป็นการทาให๎ธุรกิจสามารถรักษาฐานลูกค๎าไว๎ได๎ องค๑กรธุรกิจควร ที่จะต๎องมีการพัฒนาคุณภาพของสินค๎าอยํางสม่าเสมอเพื่อให๎เกิดสินค๎าที่ดีที่สุดออกสูํท๎องตลาดและ องค๑กรควรมีการนาความชานาญจากการผลิตมาใช๎ เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพทางการผลิตให๎ทันตํอ การความต๎องการของตลาด องค๑กรจะต๎องมีการพัฒนาการผลิตให๎รวดเร็ว และมีการใช๎ต๎นทุนการ ผลิตให๎น๎อยที่สุด ดังนั้น การรักษาคุณภาพของสินค๎าและมีการพัฒนาคุณภาพเพื่อตอบสนองตํอความ ต๎องการของท๎องตลาด ซึ่งท๎ายที่สุดก็เป็นสิ่งที่สนับสนนุให๎องค๑กรเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได๎ (Bautista, Barlis, and Nazario, ๒๐๐๗)

(๕) ระดับการประเมินความเสี่ยง (Taking Calculated Risks) การประเมินความเสี่ยงถือได๎วําเป็นสิ่งที่สาคัญที่จะทาให๎องค๑กรสามารถ ดารงอยูํได๎ในระยะยาว เนื่องจากการลงทุนทุกชนิดจาเป็นต๎องมีความเสี่ยงเกิดขึ้น ซึ่งไมํมีใครสามารถ หลีกเลี่ยงความเสี่ยงได๎ ดังนั้นทุกองค๑กรจะต๎องมีการประเมินความเสี่ยงอยํางถูกต๎อง และแมํนยา เพื่อให๎เกิดความเสียหายตํอองค๑กรน๎อยที่สุด การประเมินความเสี่ยงนั้นถือเป็นองค๑ประกอบสาคัญตํอ การเป็นผู๎ประกอบการที่ดีเพราะถือเป็นการรักษาให๎ธุรกิจสามารถพัฒนาได๎ในระยะยาว ซึ่งลักษณะที่ สาคัญของผู๎ประกอบการธุรกิจคือการที่ผู๎ประกอบการควรมีการคานวณความเสี่ยงอยํางสม่าเสมอและ ควรมีการประเมินมูลคําความเสี่ยง อีกทั้งองค๑กรจะต๎องมีแผนการในการลดความเสี่ยงและควบคุม รายจํายอยํางสม่าเสมอ และสิ่งสุดท๎ายที่สาคัญเพื่อให๎เกิดกาไรอยํางสม่าเสมอคือ องค๑กรควรจะต๎องมี รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๕๓


การลงทุนในระดับความเสี่ยงที่ไมํสูงจนเกินไป (MacCrimmon and Wehrung, ๑๙๘๖; Petersen and Lewis, ๑๙๙๙; Schulze, Lubatkin, and Dino, ๒๐๐๓) (๖) ระดับการตั้งเป้าหมาย (Goal-seeking) เปู า หมายคื อ สิ่ ง ที่ ส าคั ญ ของการประกอบธุ ร กิ จ เพราะหากองค๑ ก รไมํ สามารถประกอบธุรกิจได๎ตามเปูาหมายนั้น จะทาให๎เกิดความล๎มเหลวของการลงทุน ดังนั้น การที่ นาพาองค๑กรไปสูํเปูาหมายได๎นั้น ถือได๎วําเป็นหน๎าที่หลักของผู๎ประกอบการที่จะต๎องทาให๎ประสบ ความสาเร็จให๎ได๎ ซึ่งผู๎ประกอบการทุกคนจะต๎องรู๎ถึงวิธีการที่นาพาองค๑กรไปสูํเปูาหมายให๎ได๎ และ ผู๎ประกอบการทุกคนตํางเข๎าใจถึงธรรมชาติของธุรกิจตนเองอยํางชัดเจน และมีการตั้งเปูาหมายที่ เป็นไปได๎ ซึ่งลักษณะของผู๎ประกอบการที่จะทาให๎องค๑กรไปสูํเปูาหมายได๎นั้น ได๎แกํ มีการตั้งเปูาหมาย ของการประกอบการตั้ ง แตํ ค รั้ ง แรก ต๎ อ งมี ก ารวางแผนระยะยาว และสิ่ ง สุ ด ท๎ า ยจะต๎ อ งมี ก าร ระมัดระวังสิ่งที่เกิดขึ้นในระยะสั้น เพื่อให๎เป็นไปตามแผนที่องค๑กรได๎วางไว๎ในระยะยาว (Alexander, Haslett, and Smollen, ๒๐๐๑) (๗) ระดับการแสวงหาข้อมูลข่าวสาร (Information-seeking) ขําวสาร ถือได๎วํามีอิทธิพลอยํางสูงตํอการประกอบธุรกิจในแขนงตําง ๆ เนื่องจากถือได๎วํามีอิทธิพลมากตํอต๎นทุน ผู๎ประกอบการทุกคนล๎วนไมํชอบขําวสารตําง ๆ ที่ไมํแนํ นอน หรือสิ่งที่เรียกวํา สมมุติฐาน เพราะวําเป็นแหลํงข๎อมูลที่ไมํสามารถเชื่อถือได๎ ขําวสารถือได๎วําเป็นหนึ่ง ในฐานข๎ อ มู ล ที่ ส าคั ญ ตํ อ การตั ด สิ น ใจของผู๎ ป ระกอบการตํ อ การลงทุ น ในด๎ า นตํ า ง ๆ ดั ง นั้ น ผู๎ประกอบการที่จะสามารถนาพาธุรกิจไปสูํความยั่งยืนได๎นั้นจะต๎องมีความได๎ เปรียบในด๎านขําวสาร จะต๎องมีการหาขําวสารที่ถูกต๎องและรวดเร็วเพื่อให๎เกิดความได๎เปรียบตํอคูํแขํง ซึ่งองค๑กรนั้นจะต๎องมี การหาขําวสารที่ถูกต๎องและรวดเร็วเพื่อให๎เกิดความได๎เปรียบตํอคูํแขํง ซึ่งองค๑กรนั้นจะต๎องมีข๎อมูล ของทุกฝุายที่เกี่ยวข๎องกับองค๑กร ไมํวําจะเป็นฝุายการผลิต หรือโอกาสในตลาดตําง ๆ ซึ่งลักษณะของ ผู๎ประกอบการที่มีการแสวงหาขําวสารโดยสม่าเสมอ คือ จะต๎องมีข๎อมูลขําวสารที่ดีของผู๎บริโภค ของ การผลิ ตวัส ดุและต๎องมีการค๎นคว๎าหาข๎อมูล ของสิ นค๎าและบริการของ ตนเองเพื่อให๎เกิดการพัฒนาสินค๎าอยํางสม่าเสมอ จะต๎องมีการนาเทคโนโลยีมาเพิ่มศักยภาพของธุรกิจ เพื่อให๎ทันตํอการเปลี่ยนแปลงของตลาด ซึ่งปัจจัยตําง ๆ เหลํานี้ถือได๎วําเป็นสิ่งที่จะผลักดันให๎องค๑กร เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (Bentky, Fisher, and Craig, ๒๐๐๓ ; Scarborough, ๒๐๑๔ ; Tibbo, ๒๐๐๒) (๘) ระดับการควบคุมและวางแผน (Systematic Planning and Monitoring) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๕๔


การควบคุมถือได๎วําเป็นการทาให๎นโยบายและการดาเนินงานด๎านธุรกิจ อยูํกรอบที่วางไว๎ ซึ่งถือได๎วําเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให๎องค๑กรเกิดการพัฒนาในระยะยาว เนื่องจาก การที่จ ะประสบความส าเร็ จ ในด๎ านการประกอบธุร กิ จนั้ น องค๑ กรจะต๎ อ งคอยตรวจสอบวํา การ ดาเนิ น งานที่ ผํ า นมาเป็ น ไปตามแผนการที่ ว างไว๎ห รื อ ไมํ และถ๎ า หากไมํ เ ป็ น ไปตามแผนที่ ว างไว๎ ผู๎ประกอบการที่จะควบคุมให๎บุคคลในองค๑กรปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว๎ เพื่อเป็นการทาให๎องค๑กร สามารถดาเนินตามแผนงานในระยะสั้นและระยะยาวได๎อยํางมีประสิทธิภ าพ (Aderemi, IIori, Siyanbola, Adegbite, and Abereijo, ๒๐๐๘ ; Depositario, Aquino, and Felieciano, ๒๐๑๐ ; Fonacier and Mueller, ๒๐๐๖) (๙) ระดั บ การโน้ ม น้ า วให้ ผู้ อื่ น ช่ ว ยเหลื อ (Persuasion

and

Network) ปั จ จั ย ในด๎า นนี้ เ ป็ น การที่ แ สดงให๎ ถึ ง พั นธมิ ต รทางธุ ร กิ จ เนื่อ งจากทุ ก องค๑กรตํ างจะต๎องประสบปัญหาที่ไมํสามารถแก๎ไขได๎ด๎ว ยตนเอง ดังนั้น องค๑กรจาเป็นที่จะต๎องมี พันธมิตรทางธุรกิจเพื่อให๎ความชํวยเหลือในยามที่เกิดปัญหาที่ไมํสามารถแก๎ไขได๎ด๎วยตนเอง ซึ่งองค๑กร จะต๎องมีอิทธิพลตํอสังคมภายนอกเพื่อจะสํงผลให๎เวลาที่ต๎องการความชํวยเหลือจะสามารถหาผู๎ ที่เข๎า มาชํวยเหลือได๎งําย ซึ่งผู๎ประกอบการที่จะสามารถทาให๎องค๑กรเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได๎นั้นจะต๎องมี ความพยายามที่จะสามารถโน๎มน๎าวจิตใจผู๎อื่นได๎คํอนข๎างดี เพื่อให๎สามารถพัฒนาองค๑กรได๎แม๎ในยาม ที่เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจที่รุนแรง ซึ่งถือได๎วําเป็นปัจจัยหนึ่งในการสํงเสริมให๎องค๑กรเกิดการพัฒนาที่ ยั่งยืนได๎ (United Nations, ๒๐๐๔) (๑๐) ระดับความมั่นใจในการดาเนินธุรกิจ (Independence and Self confidence) ปัจจัยในด๎านนี้ถือได๎วําเป็นสิ่งที่ผู๎ประกอบการควรมีเป็นอยํางยิ่ง เนื่องจาก ในการดาเนินธุรกิจนั้นบางเวลาและบางโอกาสอาจจะเกิดซึ่งปัญหาและทาให๎ผู๎ประกอบการเกิดความ ไมํมั่นใจตํอแผนการทีได๎เตรียมไว๎วําจะสามารถรับมือตํอสิ่งตําง ๆ ที่เกิดขึ้นได๎หรือไมํ ดังนั้น เมื่อมีการ ได๎ ว างแผนการได๎ร อบคอบแล๎ ว ผู๎ ป ระกอบจะต๎ องมี ค วามมั่ นใจตํ อแผนที่ไ ด๎ ว างไว๎ และเชื่อ มั่ น ใน ศักยภาพของธุรกิจตนเองวําสามารถพัฒนาและเจริญเติบโตได๎ ซึ่งถ๎าหากผู๎ประกอบที่จะนาพาองค๑กร ไปสูํความยั่งยืนได๎นั้นจะต๎องมีคุณลักษณะนี้ เพื่อไมํเกิดความไมํมั่นคงในการดาเนินธุรกิจและสามารถ นาพาองค๑กรผํานเหตุการณ๑ตําง ๆ ได๎อยํางไมํเกิดความเสียหาย และกํอให๎เกิดความสาเร็จในระยะยาว (Jaafar, Maideen, and Sukarno, ๒๐๑๐)

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๕๕


ตารางแสดงการศึกษาปัจจัยของการเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมอย่างยั่งยืน ปัจจัยของการเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาด ผู้อื่นที่เคยศึกษาเรื่องดังกล่าว ย่อมอย่างยั่งยืนขององค์การสหพันธ์ประชาชาติ (The United Nation) ระดับการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจ - Hills and Shrader (๑๙๙๘) (Opportunity-Seeking and Initiative) - Gaglio and katz (๒๐๐๑) ระดับการยึดติดกับธุรกิจที่มีอยูํ - Gompers, Kovner, Lemer and (Persistence) Scharfstein (๒๐๐๘) ระดับการยึดติดกับสัญญาที่มีอยูํ - Deason (๒๐๐๙) (Fulfilling Commitments) ระดับความต๎องการด๎านคุณภาพ - Bautista, Barlis and Nazario (Demand for Quality and Efficiency) (๒๐๐๗) ระดับความประเมินความเสี่ยง - MacCrinumon and Wehrung (Taking Cakculated Risks) (๑๙๘๖) - Petersen and Lewis (๑๙๙๙) - Schulze, Lubarkin and Dino (๒๐๐๓) ระดับการตั้งเปูาหมาย - Alexander, Haslett and Smollen (Goal-Seeking) (๒๐๐๑) ระดับการแสวงหาข๎อมูลขําวสาร - Tibbo (๒๐๐๒) (Information-Seeking) - Bentley, Fisher and Craig (๒๐๐๓) - Scarborough (๒๐๑๑) ระดับการควบคมและวางแผน - Fonacier and Mueller (๒๐๐๖) (Systematic Planning and Monitoring) - Aderemi, Hori, Siyanbola, Adegbite and Abereijo (๒๐๐๘) - Depositario, Aquino and Feliciano (๒๐๑๐) ระดับการโน๎มน๎าวให๎ผู๎อื่นชํวยเหลือ - Unied Nations (๒๐๐๔) (Persuasion and Network) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๕๖


ปัจจัยของการเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาด ย่อมอย่างยั่งยืนขององค์การสหพันธ์ประชาชาติ (The United Nation) ระดับความมั่นใจในการดาเนินธุรกิจ (Independence and Self-Confidence)

ผู้อื่นที่เคยศึกษาเรื่องดังกล่าว

- Jaafar, Maideen and Sukarno (๒๐๑๐)

๒.๓.๔.๙) มุมมองทีเ่ กี่ยวการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตั้งแตํภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต๎นมา มนุษย๑เริ่มมีความตระหนักมากขึ้นวํา ความก๎าวหน๎า ความเติบโตด๎านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่มนุษย๑สร๎างขึ้นได๎ กํอผลกระทบ ร๎ายแรงตํอสิ่งแวดล๎อมโลก ความตระหนักในปัญหาเหลํานี้ได๎นามาสูํความตื่นตัวในเรื่องของการพัฒนา อยํางยั่งยืน (Sustainable Development) และให๎ความสาคัญวําเป็นหนทางที่จะนาไปสูํความอยูํ รอดของมนุษย๑ชาติ กาลังได๎รับการยอมรับการพัฒนาอยํางยั่งยืน โดยมีมุมมองมิติที่สาคัญ ๔ ประการ คือ (๑) ความหลากหลายทางวัฒนธรรม : การพัฒนาควรตั้งอยูํบนพื้นฐาน ของวัฒนธรรมพื้นบ๎าน และภูมิปัญญาท๎องถิ่น (๒) ความยั่งยืนทางสถาบัน : การตัด สิ นใจของชุมชน และการจัดตั้ ง องค๑การสังคมต๎องสอดคล๎องกับหลักการของตนเอง (๓) การมีสํวนรํวม : การพัฒนามาจากข๎างลําง โดยให๎ชุมชนท๎องถิ่นมี สิทธิในการจัดการ ทรัพยากรของตนเอง (๔) ความยุ ติ ธ รรมทางสั ง คม : ความมั่ น คงของการด ารงชี วิ ต ต๎ อ ง ครอบคลุม กลุํมชนผู๎ยากไร๎ในปัจจุบัน และคนรุํนหลังในอนาคตอันยาวไกล องค๑กร World Commission on Environmental and Development ได๎ กลําววํา การพัฒนาอยํางยั่งยืน (Sustainable Development) เป็นการพัฒนาที่ตอบสนองความ ต๎องการของคนในปัจจุบัน โดยที่ประชาชนรุํนตํอไปในอนาคต ไมํต๎องประนีประนอมลดการสนอง ความต๎องการของพวกเขาลง และการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นต๎องไมํเป็นอันตรายตํอธรรมชาติ ซึ่งเป็นระบบ ค้าจุนชีวิตบนโลกแหํงนี้ได๎ (ปรีชา เปี่ยมพงศ๑สานต๑, ๒๕๔๐ : ๑๖, ๑๐๓) สรุปได๎วํา การพัฒนาอยํางยั่งยืนจะต๎องอาศัยกระบวนการศึกษาหาความรู๎ การ วางแผนและการเมืองที่เปิดกว๎าง ให๎ทุกคนรับรู๎และมีความเสมอภาค จากแนวคิดการพัฒนาอยําง ยั่งยืน ดังกลําว จึงนามาประยุกต๑ใช๎ในการอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อมศิลปกรรมให๎ประชาชนมีความรํวมมือใน การอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อมศิลปกรรม ตั้งแตํการมีจิตสานึก การวางแผน การดาเนินงาน การประเมินผล การดาเนินงานและการปรับปรุงแก๎ไขรํวมกัน จึงจะพัฒนาอยํางยั่งยืนได๎ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๕๗


๒.๓.๔.๑๐) การพัฒนาการทํองเที่ยวที่มีความยั่งยืน จากการประชุมสหประชาชาติวําด๎วยสิ่งแวดล๎อมและการพัฒนา (The United Nations Conference on Environment and Development) หรือการประชุม EARTH SUMMIT ที่กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล ได๎ให๎ความหมายของการทํองเที่ยวแบบยั่งยืน (Sustainable Tourism) วําเป็นการทํองเที่ยวที่ไมํเป็นอันตรายตํอสิ่งแวดล๎อมทุกรูปแบบไมํวําจุดหมายปลายทางจะ เป็นที่ใด จะเป็นกลุํมใหญํ (Mass tourism) หรือกลุํมขนาดเล็กทั้งในเมืองและชนบทการพัฒนาการ ทํองเที่ยวแบบยั่งยืน เป็นการพัฒนาการทํองเที่ยวที่สนองความต๎องการของคนในปัจจุบันให๎ยืนยาวไป จนถึงคนรุํนลูกรุํนหลายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ต๎องไมํเป็นทางการไปเพิ่มภาระหรือสร๎างเงื่อนไขที่ ยากลาบางให๎แกํคนในยุคตํอไปต๎องคิดหาทางแก๎ไขการพัฒนาการทํองเที่ยวที่มีความยั่งยืนนั้นควรมี อยํางน๎อย ๓ ประการ คือ (๑) ความยั่งยืนทางด๎านเศรษฐกิจ (Economic Sustainability) การเติบโตต๎อง อยูํในอัตราที่บริหารจัดการได๎อยํางมีประสิทธิภาพ หากโตเร็วไปอาจทาให๎สิ่งรองรับนักทํองเที่ยวด๎าน ตําง ๆ ไมํพร๎อม ไมํเพียงพอ เชํน โครงสร๎างพื้นฐาน คุณภาพของแรงงาน และการให๎บริการอาจมีผล ทาให๎นักทํองเที่ยวไมํพอใจ ขาดความนิยม ไมํเดินทางมาทํองเที่ยวทาให๎เศรษฐกิจตกต่าในระยาว การ เติบโตของการทํองเที่ยวอาจทาให๎คนหันมาประกอบอาชีพเกี่ยวกับการทํองเที่ยวหมด เกิดผลกระทบ ตํอเศรษฐกิจในภาคอื่น ๆ เชํน ภาคเกษตร การกสิกรรม การอุตสาหกรรม การเติบโตที่ต๎องอาศัยวัสดุ อุปกรณ๑ แรงงานและผู๎เชี่ยวชาญจากตํางประเทศ เป็นผลให๎ เงินตราตํางประเทศรั่วไหลออกนอก ประเทศ (๒) ความยั่งยืนทางด๎านสังคม (Social Sustainability) (๒.๑) การหลั่งไหลของนักทํองเที่ยวตํางประเทศมากเกินไป และรวดเร็ว เกินไป มีผลกระทบรุนแรงตํอชุมชนที่มีความเป็นเอกลักษณ๑ในท๎องถิ่น (๒.๒) การใช๎จํายเงินอยํางงํายดายของนักทํองเที่ยว ซึ่ งมีกาลังซื้อสูงกวํา คนในท๎องถิ่น การใช๎ชีวิตที่ห รู ห ราหรื อ อยํ างอิส รเสรี ซึ่งทะลั กเข๎าสูํ ชุมชนหนึ่ ง ๆ อาจกลายเป็ น แมํเหล็กดึงดูดใจให๎คนหนุํมสาวในท๎องถิ่นหลงใหลมัวเมาตํอเงินทองหรือความสาราญที่หาได๎งําย ๆ ทาให๎เกิดปัญหาสังคมติดตามมากมาย (๒.๓) อาชีพขายตัว ทั้งหญิงชาย การขายยาเสพติด การละทิ้ง คุณคําทางวัฒนธรรมของท๎องถิ่นอาจนาไปสูํความลํมสลายทางโครงสร๎างวัฒนธรรมดั้งเดิมของชุมชน ซึ่งมีผ ลทาให๎ ชุมชนมีทัศนคติไมํดีตํอนั กทํองเที่ยววําเป็นตัว การทาให๎ สั งคมเสื่ อม ซึ่งบางครั้งอาจ สะท๎อนอกมาในรูปของการกระทาที่รุนแรงตํอนักทํองเที่ยว รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๕๘


(๓) ความยั่งยืนด๎านสิ่งแวดล๎อม (Environmental Sustainability) (๓.๑) การพัฒ นาการทํองเที่ยวที่ขาดการควบคุม อาจกลายเป็นสิ่ งที่ ทาลายสิ่งแวดล๎อม ซึ่งเป็นคุณคําหรือความเป็นตัวต๎นกาเนิดของกิจกรรมการทํองเที่ยวนั้น ๆ เสียเอ เชํน จานวนนักทํองเที่ยวที่ล๎นหลาม ความแออัดยัดเยียด ความสกปรกรุงรังและอื่น ๆ (๓.๒) การเรํงพัฒนาโดยใช๎เทคนิคกํอสร๎างที่ไมํเหมาะสม ทาให๎เกิดการ พังทะลายอยํางถาวรของหน๎าดิน หาดทรายชายทะเล การสูญเสียสภาพภูมิทัศน๑ ฯลฯ (๓.๓) การกํอสร๎างอาคารหรือสิ่งกํอสร๎างในตาแหนํงที่ผิดพลาด อาจทา ให๎วงจรทางธรรมชาติเกิดการเปลี่ยนแปลง (๓.๔) การเก็บเอาพันธุ๑ไม๎ไปจากพื้นที่ อาจทาลายระบบนิเวศวิทยาที่ เปราะบางองพื้นที่บางแหํงไป (๓.๕) กิจกรรมของนักทํองเที่ยวจานวนมากทาให๎เกิดปริมาณของเสี ย อยํางมหาศาล เชํน ของเสีย น้าเสีย อาหารเหลือ ขยะ ฯลฯ ทาให๎เกิดมลภาวะตํอสิ่งแวดล๎อมได๎อยําง มากมาย ๒.๓.๔.๑๑) การพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของชุมชน การพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของชุมชน มีระบบที่เกี่ยวข๎องอยูํ ๑๐ ระบบ และสัมพันธ๑กันอยํางเป็นกระบวนการ เรียกวํา “แนวทางการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของชุมชน” หรือ “ชุมชนยั่งยืน” (Sustainable Community) (วิชิต นันทสุวรรณ และจานง แรกพินิจ, ๒๕๔๒ : ๙๑๐) อธิบายด๎วยภาพแผนภูมิ ดังนี้ ระบบการจัดการ ระบบทุนชุมชน

ระบบอุตสาหกรรมชุมชน

ระบบสิ่งแวดล๎อม

ระบบคุณคํา ระบบการเรียนรู๎ ของชุมชน

ระบบสวัสดิการชุมชน

ระบบการรั ก ษาสุ ข ภาพของ ชุมชน

ระบบธุรกิจชุมชน ระบบการเกษตรกรรมยั่งยืน

แผนภูมิที่ ๒.๑ แนวทางการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของชุมชน (Sustainable Community) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๕๙


จากแผนภูมิที่ ๒.๒ สามารถอธิบายรายละเอียดความเชื่อมโยงได๎ดังตํอไปนี้ (๑) ระบบคุณคํา เป็นนามธรรมที่คอยกากับกิจกรรมหรือการดาเนินกิจกรรมของ ระบบอื่น ๆ โดยมี “คน” และ “การอยูํรํวมกันเป็นชุมชน” เป็นเปูาหมายสาคัญ ระบบคุณคําจะเน๎น การจัดความสัมพันธ๑ระหวํางคนกับคน (สังคมหรือชุมชน) ความสัมพันธ๑ระหวํางคนกับธรรมชาติ (การ ผลิต การจัดการทรัพยากร และการเลือกใช๎เทคโนโลยี) และคนกับคุณธรรม (กายและจิต) ระบบ คุณคําจึงปรากฏอยูํในกฎระเบียบตําง ๆ ของสังคม ในการดาเนินกิจกรรมตําง ๆ และกระบวนการ ถํายทอดการเรียนรู๎ของชุมชน (๒) ระบบการเรี ย นรู๎ เป็นแกนกลางของกิจกรรมทุกระบบ เป็ นการเรียนรู๎ ที่ ตํอเชื่อมความรู๎ภูมิปัญญาของชุมชนเข๎ากับความรู๎ทางสากล พัฒนาองค๑ความรู๎ใหมํที่สอดคล๎องและรับ ใช๎ชีวิตและชุมชนในปัจจุบัน กิจกรรมหรือระบบอื่น ๆ จึงต๎องมีการเรียนรู๎เฉพาะระบบหรือเฉพาะด๎าน โดยมี “ภูมิปัญญา” เป็นแกนกลาง เชื่อมร๎อยความรู๎ทุกสํวนเข๎าด๎วยกันเป็นองค๑ความรู๎ใหมํของชุมชน ไทย (๓) ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน การเกษตรที่คานึงถึงวงจรความอุดมสมบูรณ๑โดย ธรรมชาติหลีกเลี่ยงเทคนิคหรือวิธีการทางการเกษตรที่สํงผลกระทบตํอวิถีธรรมชาติ เกษตรกรรม ยั่งยืนในทางรูปแบบ จึงหมายรวมถึง เกษตรผสมผสาน วนเกษตร สวนสมรม (ภาคใต๎) ไรํนาสวนผสม เกษตรธรรมชาติ พุทธเกษตรกรรม ฯลฯ ที่มีเปูาหมายเพื่อการบริโภค และมีสํวนเกินเพื่อการแบํงปัน และแลกเปลี่ยนทั้งผํานระบบการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมชุมชนและแบบใหมํ (๔) ระบบทุนชุมชน การคิดที่กํอตัวขึ้นจากปัญหาหนี้สินและการพึ่งถาสถาบันทุน ของชุมชน คือ การพึ่งตนเองด๎านทุน หรือนัยหนึ่งคือ ระบบการสะสมทุนของชุมชนที่มีรูปแบบและ วิธี ก ารทางวั ฒ นธรรม เข๎ า มามีบ ทบาท ทั้ ง ในด๎า นการระดมการบริ ห ารจั ด การ หลั ก เกณฑ๑ แ ละ กฎระเบียบตําง ๆ รากฐานความคิดจึงแตกตํางจากการสะสมทุนของระบบทุนนิยม และมีเปูาหมาย เพื่อตอบสนองการปัจจัยพื้นฐานของสมาชิกในชุมชน (๕) ระบบธุรกิจชุมชน หรือการตลาดที่ชุมชนต๎องการ ซึ่งประกอบด๎วยการจัดการ ด๎านตลาดเพื่อเพิ่มมูลคําของผลผลิตของตนเอง การจัดการด๎านการตลาดเพื่อลดต๎นทุนสินค๎าอุปโภค บริโภคที่ชุมชนผลิตเองไมํได๎ ต๎องนาเข๎ามาจากภายนอกชุมชน และสุดท๎ายคือการจัดการด๎านระบบ การและเปลี่ยนผลผลิตระหวํางชุมชนและระหวํางผู๎ผลิตกับผู๎บริโภค (๖) ระบบอุต สาหกรรม เป็นระบบอยูํกับ ระบบธุรกิ จ แตํ มีพัฒ นาการ ตํอเนื่องจากระบบการพึ่งตนเองเดิมที่ครอบครัว เป็นผู๎แปรรูปเพื่อเก็บถนอมผลผลิ ตของตนเองไว๎ บริ โ ภคในระยะยาว โดยมีเทคนิ ควิทยากรรแปรรูปตําง ๆ เชํน เครื่องสี มือ การผลิ ตเครื่องมือใช๎ พื้นบ๎านตําง ๆ เป็นต๎น ศักยภาพพื้นฐานเดิมนี้ไมํได๎รับโอกาสในการพัฒนาโดยชุมชน และเป็นของ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๖๐


ชุมชนเอง ในปัจจุบันอุตสาหกรรมชุมชนในความหมายนี้จึงมี ๓ แบบ คือ อุตสาหกรรมชุมชนแปรรูป ผลผลิตของตนเอง อุตสาหกรรมชุมชนผลิตภัณฑ๑จากทรัพยากรในท๎องถิ่น และอุตสาหกรรมชุมชนที่ นาวัตถุดิบจากภายนอกมาผลิตเพื่อตอบสนองการบริโภคและใช๎สอยในชุมชน (๗) ระบบสิ่ ง แวดล๎ อม นอกเหนือ จากการเกษตร และอุต สาหกรรมที่ คานึงถึงผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อมแล๎ว ระบบสิ่งแวดล๎อมของชุมชนยังครอบคลุมถึงสภาพแวดล๎อมที่ เอื้อตํอวิถีชีวิต ระบบสิ่งแวดล๎อมจึงหมายรวมถึง ดิน น้า ปุา อากาศ การจัดการทางกายภาพของ ชุมชน เชํน ถนนหนทางแหลํงศูนย๑กลางชุมชน เป็นต๎น (๘) ระบบสวัสดิการชุมชน ความคิดแรกเริ่มของชุมชน คือ ชาวบ๎านต๎องมี สวัสดิการเหมือนข๎าราชการ เมื่อรัฐให๎ไมํได๎ ชุมชนต๎องดาเนินการเอง จึงเกิดกองทุนสวัสดิการชุมชนที่ นาผลกาไรของกองทุนชุมชนตําง ๆ มาจัดสรรเป็นคํารักษาพยาบาล คําทาศพ บานาญ ทุนการศึกษา ฯลฯ เมื่อสาเร็จแล๎วพบวําเปูาหมายสาคัญของระบบสวัสดิการชุมชน คือ การสร๎างหลักประกันความ มั่นคงในชีวิตรํวมกัน หลักประกันที่วํานี้อาจหมายรวมถึง การแก๎ปัญหาทางด๎านเศรษฐกิจ เชํน การ ชํวยเหลือให๎ผู๎ไมํมีที่ดินทากิจของตนเองได๎ด๎วย เป็นต๎น (๙) ระบบการรั ก ษาสุ ข ภาพของชุ ม ชน ตั้ง อยูํ บ นฐานของความรู๎ ด าน การแพทย๑ที่เรียกรํวม ๆ วําแผนไทย ซึ่งไมํได๎เน๎นที่การรักษา แตํเน๎นการดูแลสุขภาพ ซึ่งเชื่อมโยง ตั้งแตํภาวะรํางกายของคน (ธาตุ) ฤดูกาล อาหาร และยาสมุนไพร เกี่ยวข๎องโดยตรงกับการจัดการการ ผลิตในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน และระบบการรักษาสิ่งแวดล๎อมของชุมชน (๑๐) ระบบการจัดการของชุมชน นอกเหนือจากการที่ทุกระบบมีการ จัดการของตนเองแล๎ว ทั้งชุมชนจะต๎องมีการจัดการรํวมกัน เพื่อให๎อยูํในทิศทางเดียวกัน ระบบการ จัดการชุมชนนี้ อาจหมายถึงระบบแมํ ของทั้ง ๙ ระบบที่ทาให๎องค๑กรชุมชน (ใหมํ) ที่เกิดขึ้นพัฒนา ภาวะความเป็นสถาบันทางสังคมที่สมาชิกในชุมชนพึ่งพาได๎ทดแทนบทบาทของสถาบันหมูํบ๎าน (เดิม) ที่อํอนตัวลง ชุมชนหนึ่ง ๆ อาจจะไมํสามารถพัฒนาระบบทั้ง ๑๐ ระบบ ขึ้นภายใน ชุมชนครบ แตํสามารถสร๎างเครื อขํายความรํวมมื อเพื่อเสริมสร๎างความเข๎มแข็งของชุมชนด๎วยกัน ขึ้นมาทอแทนได๎ และที่สาคัญ ทุกชุมชนจาเป็นต๎องพัฒนาระบบการเรียนรู๎ ซึ่งเป็นระบบหลักที่ชํวยให๎ ระบบอื่น ๆ ได๎สามารถพัฒนาไปได๎อยํางตํอเนื่อง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๖๑


๒.๓.๕) แนวคิ ดการประเมิ น ศั กยภาพการรองรั บ (Carrying Capacity) ของเมืองเชียงใหม่ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ๒.๓.๕.๑) ความหมายของศักยภาพของชุมชน ศักยภาพ แปลวํา ความสามารถที่ยังไมํพัฒ นา หรือยังไมํพัฒ นาเต็มที่ ศักยภาพของชุมชนคือ การที่ชุมชนมีคน ความรู๎ ทรัพยากร ไมํได๎โงํ จน เจ็บแตํขาดโอกาสในการ เรียนรู๎และพัฒนาศักยภาพของตนเองหรือไมํมีความรู๎ในการจัดการทรัพยากรให๎เกิดประโยชน๑แกํ ชุมชนอยํางยั่งยืน ชุมชนสามารถค๎นหาศักยภาพของชุมชนได๎ (เสรี พงศ๑พิศ ๒๕๔๘: ๑๑๕) คน คือ การค๎นพบความรู๎ความสามารถของคน ของผู๎รู๎ คนที่สั่งสมความรู๎ และประสบการณ๑จากการทางาน จากการสืบทอดภูมิปัญญาดั้งเดิมในด๎านตํางๆ คนที่เป็นครู เป็น แรงงาน ความรู๎ คือ องค๑ความรู๎และตัวความรู๎ตํางๆ ที่มีอยูํในการดารงชีวิตการทามาหากิน การอยูํ รํวมกัน การแก๎ไขปัญหาตํางๆ ทรัพยากร คือ ดิน น้า ปุา ไรํนา พืช สัตว๑ ผลผลิต เป็นต๎น (เสรี พงศ๑ พิศ ๒๕๔๘: ๒๗) ศักยภาพของชุมชน หมายถึงขีดความสามารถในอันที่จะตอบสนองความ ต๎องการและแก๎ไขปัญหาของคนสํวนใหญํในชุมชน รวมทั้งความสามารถของชุมชนในการประสาน ความรํว มมือ การดาเนิน งานกับ คนภายในชุมชน ขณะเดียวกันก็ดาเนินการแก๎ไขปัญหาที่มาจาก ภายนอกชุ ม ชนด๎ ว ย ทั้ ง นี้ ด๎ ว ยจุ ด มุํ ง หมายเพื่ อ ความปกติ สุ ข ในการอยูํ รํ ว มกั น ของคนในชุ ม ชน องค๑ประกอบที่ทาให๎ชุมชนเกิดศักยภาพในการดาเนินการใดๆนั้น ได๎แกํโครงสร๎างประชากร อาชีพ และระบบการผลิต ปัจจัยในการผลิตและระบบความเชื่อ(สุวิทย๑ ธีรศาสวัต , ๒๕๓๓,หน๎า๕) ตัวอยําง ในเรื่ององศักยภาพชุมชน ดังกลําวนี้ อคิน ระพีพัฒน๑ ๒๕๓๑, (หน๎า๕๕-๕๖) ได๎ทาการศึกษาที่หมูํบ๎าน ยกกระบัตร และได๎พิสูจน๑ให๎เห็นวําชาวบ๎านยกกระบัตรมีศักยภาพ และใช๎กระบวนการจัดการในการ ดาเนินงานที่เป็นประโยชน๑กับชุมชนของตนเองได๎อยํางแท๎จริง เชํน ประเพณีการลงแขก เป็นต๎น ประวัติศาสตร๑ของชุมชนซึ่งดาเนินมาเป็นเวลานาน กํอนที่จะมีระบบการบ ริหาราชการเช๎าไปมีบทบาทในชุมชนนั้น ชุมชนเองมีระบบการจัดการภายในชุมชนของตนเองอยูํ นับเป็นเวลาหลายศตวรรษแล๎ว เชํน ระบบเครือญาติ ระบบการคัดเลือกผู๎นา ระบบผู๎นาเหมืองฝาย ระบบศาลเฒําศาลแกํ ที่ทาหน๎าที่พิจารณาคดี และแก๎ไขคลี่คลายความขัดแย๎ง หรือกรณีพิพาทใน ชุมชน นอกจากนี้ยังมีหมูํบ๎านทั่วประเทศอีกนับร๎อยที่พยายามขวนขวายรวมกลุํม รวมตัวกันจัดการ ทากิจ กรรมรํวมกันเป็น กลุํม โดยมีผู๎นาทางความคิด ปราชญ๑ช าวบ๎าน ปัญญาชน และนักวิช าการ ท๎องถิ่นสามารถเป็นกลุํมโดยมีผู๎นาทางความคิดความคิด ปราชญ๑ชาวบ๎าน ปัญญาชน และนักวิชาการ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๖๒


ท๎องถิ่น สามารถนาพลังทางวัฒนธรรมมาฟื้นฟูเพื่อแก๎ปัญหาและพัฒนาสร๎างสรรค๑ชุมชนได๎อยํางมีปะ สิทธิภาพ (สุรเชษฐ๑ เวชชพิทักษ๑,๒๕๓๓,หน๎า๒๒-๒๓) อเนก นาคะบุตร (๒๕๓๒) ได๎ทาการศึกษาศักยภาพของชุมชนในการแก๎ปัญหา ของตนเองได๎และสรุปผลการศึกษาวํา ประชาชนมีบทบาทจั ดการตนเอง ในเรื่องของการแก๎ปัญหา จัดการเรียนรู๎หาทางออกในเชิงดิ้นรน โดยได๎ประสบทั้งความสาเร็จ และความล๎มเหลวมากมายทั้งใน ด๎านความรู๎ ทักษะ และทัศนคติ กลําวคือ ทักษะและทัศนคติกลําวคือ (๑) ในด๎านความรู๎พบวําในชุมชนมีการสะสม และสืบทอดความรู๎ที่สามารถอบ ปัญหา และการดาเนินชีวิตของชาวบ๎านได๎ในระดับหนึ่ง บางหมูํบ๎านมีการผลิต การคิดค๎นประยุกต๑ ความรู๎ทางการเกษตร รํวมกับความรู๎ที่ได๎มาจากข๎างนอก มีการลองผิด ลองถูกอยูํตลอดเวลาในหมูํ ผู๎นาบ๎าน ปัญญาชนชาวบ๎าน นักเทคนิคพื้นบ๎านในหมูํผู๎นาอาวุโส (๒) การเปลี่ยนแปลงทัศนคติของชาวบ๎านในหลายกรณีพบวําเราสามารถทาผําน ผู๎นาชาวบ๎าน ที่มีบารมีที่เป็นฐานของความเชื่อ ความศรัทธาของชุมชน กลําวโดยสรุป ศักยภาพชุมชน คือ ความสามารถในการแก๎ไขปัญหาของคนสํวน ใหญํ ใน ชุมชน รวมถึงการประสานงานและให๎ ความรํว มมือ ของคนในชุ มชน ในการวิจั ยครั้ งนี้ ผู๎ ศึกษาวิจั ย ได๎ น าแนวคิ ดศัก ยภาพชุมชนในการแก๎ปั ญหาของตนเอง เพราะเชื่อวํ าชุม ชนนั้ น มี ศักยภาพในตัวเองและสามารถพัฒนาศักยภาพให๎สูงขึ้นได๎ หากได๎รับการสนับสนุนให๎ถูกทาง

นพพร (๒๕๔๖) ได๎กลําววํา ศักยภาพของชุมชน หมายถึง ขีดความสามารถใน อันที่จะตอบสนองความต๎องการและแก๎ไขปั ญหาของคนสํวนใหญํในชุมชน รวมทั้งความสามารถของ ชุมชนในการให๎ความรํวมมือการดาเนินงานกับคนภายในชุมชนขณะเดียวกันก็ดาเนินการแก๎ไขปัญหา ที่มีจ ากภายนอกชุมชน ทั้งนี้ ด๎ว ยจุ ดมุํงหมายเพื่ อความปกติสุ ขในการอยูํรํว มกันของคนในชุมชน องค๑ ป ระกอบที่ ท าให๎ ชุ ม ชนเกิ ด ศั ก ยภาพในการด าเนิ น งานใดๆนั้ น ได๎ แ กํ โครงสร๎ า งประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศวิทยา โครงสร๎างอานาจและระบบการปกครอง อาชีพ และระบบการ ผลิต ปัจจัยในการผลิตและระบบความเชื่อ กํอนที่จะมีระบบการบริหารราชการเข๎าไปมีบทบาทใน ชุมชนนั้น ชุมชนมีระบบการจัดการภายในชุมชนของตนเองอยูํหลายร๎อยปี เชํนระบบเครือญาติ ระบบ ผู๎ น าเมือ งฝุ ายตํ างๆ ระบบการคัดเลื อกผู๎ นา นอกจากนี้ยังมีห มูํ บ๎านทั่ว ประเทศอีกนับร๎ อยแหํ ง ที่ พยายามขวนขวายรวมกลุํม รวมตัวกันจัดการทากิจกรรมรํวมกันเป็นกลุํมโดยมีผู๎นาทางความคิด หรือ นักปราชญ๑ชาวบ๎าน ปัญญาชนและนักวิชาการในท๎องถิ่นสามารถนาพลังทางวัฒนธรรมมาฟื้นฟูแก๎ไข รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๖๓


ปัญหาและพัฒนาสร๎างสรรค๑ชุมชนได๎อยํางมีประสิทธิภาพในด๎านการจัดการของชุมชนจะใช๎ทุนชุมชน ให๎เกิดประโยชน๑สูงที่สุด ทุนชุมชนที่กลําวถึงประกอบด๎วย (๑) ผู๎นาชาวบ๎าน ประกอบด๎วย ผู๎นาสตรี ผู๎นาอาชีพ ผู๎นาเยาวชน ผู๎นาศาสนา รวมถึงผู๎นาอาสาพัฒนาชุมชน (๒) ทรัพยากร ประกอบด๎วย ดิน ปุาไม๎ แมํน้า/ลาธาร/ภูเขา และแรํธาตุ (๓) ภูมิปัญญาท๎องถิ่น ประกอบด๎วย ด๎านการเกษตร วัฒนธรรมและ เทคโนโลยี (๔) องค๑กรชุมชนและเครือขํายประกอบด๎วย อบต. กลุํมสตรี กลุํมเยาวชน (๕) วัฒนธรรมท๎องถิ่น ประกอบด๎วย ประเพณีพื้นบ๎าน การลงแขก ขอแรง/เอาแรงออกปาก/ขอชํวย และการแลกเปลี่ยนแรงงาน (๖) ปราชญ๑ชาวบ๎าน ประกอบด๎วย แพทย๑แผนโบราณ ผู๎นาพิธีกรรม และชําง พื้นบ๎าน (๗) สถาบันทางสังคม ประกอบด๎วย วัด/มัสยิด/โบสถ๑ โรงเรียนและสถานีอนามัย (๘) เทคโนโลยีพื้นบ๎าน ประกอบด๎วย การเพาะปลูกโดยธรรมชาติดูแล เครื่องมือ ปัจจัยการผลิตที่ใช๎วัสดุในหมูํบ๎าน(ภูริวัจน๑,๒๕๔๔)

๒.๓.๕.๒) ความหมายของศักยภาพและความรู้ ความหมายของศักยภาพ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ (๒๕๔๖ : ๑๐๙๕) ได๎ให๎ความหมายของคาวํา ศักยภาพ คือ ภาวะแผง อานาจหรือคุณสมบัติที่มีแผง อยูํในสิ่งตํางๆอาจจะทาให๎พัฒนาหรือให๎ปรากฏเป็นสิ่งที่ประจักษ๑ได๎ บรรพต วังวล (๒๕๔๕ : ๕) ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถที่มีอยูํในตัวบุคคล ของเจ๎าหน๎าที่สาธารณสุขระดับตาบล ได๎แกํ สติปัญญา และอารมณ๑ อันพร๎อมที่จะนาไปสูํการปฏิบัติ หรือดาเนินงานสํงเสริมสุขภาพตามแนวปฏิรูประบบสุขภาพ โดยมีเปูาหมายทาให๎ประชาชนมีสุขภาพ สมบูรณ๑ทั้งทางรํางกาย และจิตใจ สามารถอยูํในสังคมได๎อยํางปกติสุข ทฤษฎีศักยภาพการพัฒนาและการแพรํกระจาย (Development Potential Diffusion Theory) ได๎ให๎ความสาคัญกับปัจจัยที่มีแนวโน๎มวําชุมชนใด จะเป็นชุมชนที่มีความเจริญ จะต๎องมีปัจจัยที่กํอให๎เกิดศักยภาพ ๖ ประการดังนี้ (๑) ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource) มีทรัพยากรมากมายและต๎องมี ความรู๎ในการจัดการังนี้ ตัวแปรรํวมการอบรมจึงเข๎ามาเกี่ยวข๎องด๎วย (๒) ทรัพยากรมนุษย๑ (Human Resource) ประชาชนของชุมชนต๎องมีความรู๎ ทักษะและเทคโนโลยียํอมทาให๎ชุมชนเจริญขึ้น รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๖๔


(๓) องค๑กรทางสังคม (Social Organization) ชุมชนมีองค๑ทางสังคมมากและมี ความเข๎มแข็งทางโครงสร๎าง และการจัดการยํอมมีศักยภาพในการพัฒนาสูงกวํา (๔) ภาวะผู๎นา (Social Leadership) ชุมชนใดมีผู๎นายํอมมีศักยภาพสูงกวํา แตํก็ ขึ้นอยูํกับสภาพการปฏิบัติงานของผู๎นาวํามีคุณภาพเพียงใด ในการสร๎างกระบวนการการจัด ระเบียบ สภาพภายในองค๑กรของตนเองให๎มีแผนการปฏิบัติให๎เป็นไปด๎วยกัน การฝึกอบรมจึงเข๎ามาเกี่ยวข๎อง ด๎วย (๕) เครือขํายของนวัตกรรม (Network and Innovation) ชุมชนใดที่มีชาวบ๎าน ติดตํอกับข๎าราชการและภายนอกมากยํอมมีศักยภาพในการจัดมากกวํา (๖) การฝึกอบรม (Training) ชุมชนใดมีประชากรมารับการอบรมสูงมากเทําใดก็ ยิ่งให๎ชุมชนนั้น มีการพัฒนาสูงกวําเพราะรู๎จักเอาประโยชน๑ รู๎จักการจัดการมากกวํา อักษร สวัสดี (๒๕๔๒) ได๎ให๎ความหมายของ ความรู๎ วําหมายถึง เรื่องที่เกี่ ยวกับ การระลึกถึงสิ่งเฉพาะ วิธีการ และกระบวนการตํางๆ รวมถึงแบบกระบวนการ วัตถุประสงค๑ด๎าน ความรู๎ โดยเน๎ น เรื่องของกระบวนการทางจิตวิทยาของความจา อันเป็นกระบวนการที่เชื่อมโยง เกี่ยวกับการจัดระเบียบ โดยกํอนหน๎านั้นในปี ค.ศ. ๑๙๖๕ บลูม และคณะ ได๎เสนอแนวคิดเกี่ยวกั บ การรับรู๎ หรือพุทธิพิสัย (Cognitive domain) ของคน วําประกอบด๎วยความรู๎สึกตํางๆ รวมถึง ๖ ระดับ ซึ่งอาจพิจารณาจากระดับความรู๎ขั้นต่าไปสูํระดับที่สูงขึ้น และได๎แจกแจงรายละเอียดของแตํละ ระดับไว๎ดังนี้ (๑) ความรู๎ (Knowledge) หมายถึง การเรียนรู๎ที่เน๎นถึงการจา และการระลึกได๎ ถึงความคิดวัตถุ และปรากฏการณ๑ตํางๆซึ่งเป็นความจาที่เริ่มจากสิ่งงํายๆ ที่เป็นอิสระแกํกัน ไปจนถึง ความจาในสิ่งที่ยุํงยากซับซ๎อน และมีความสัมพันธ๑ระหวํางกัน (๒) ความเข๎าใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) เป็นความสามารถ ทางสติปัญญาในการขยายความรู๎ ความจา ให๎กว๎างออกไปอยํางสมเหตุสมผล การแสดงพฤติกรรมเมื่อ เผชิญกับสื่อความหมายและความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง (๓) การน าไปปรั บ ใช๎ (Application) เป็ น ความสามารถในการน าความรู๎ (Knowledge) ความเข๎าใจหรื อความคิดรวบยอด (Comprehension) ในเรื่องใดๆ ที่มีอยูํเดิม ไป แก๎ไขปัญหาที่แปลกใหมํของเรื่องนั้น โดยการใช๎ความรู๎ตํางๆ โดยเฉพาะอยํางยิ่งวิธีการกับความคิด รวบยอดมาผสมผสานกับความสามารถในการแปลความหมายการสรุปหรือการขยายความสิ่งนั้น รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๖๕


(๔) การวิเคราะห๑ (Analysis) เป็นความสามารถ และทักษะที่ สูงกวําความเข๎าใจ และการน าไปปรั บ ใช๎ โดยมี ลั ก ษณะเป็ น การแยกแยะสิ่ ง ที่ จ ะพิ จ ารณาออกเป็ น สํ ว นยํ อ ย ที่ มี ความสัมพันธ๑กันรวมทั้งการสืบค๎นความสัมพันธ๑ของสํวนตํางๆ เพื่อดูวําสํวนประกอบปลีกยํอยนั้น สามารถเข๎ากันได๎หรือไมํ อันจะชํวยให๎เกิดความเข๎าใจตํอสิ่งหนึ่งสิ่งใดอยํางแท๎จริง (๕) การสังเคราะห๑ (Synthesis) เป็นความสามารถในการรวบรวมสํวนประกอบ ยํอยๆ หรือสํวนใหญํๆ เข๎าด๎วยกันเพื่อให๎เป็นเรื่องราวอันหนึ่งอันเดียวกัน การสังเคราะห๑จะมีลักษณะ ของการเป็นกระบวนการรวบรวมเนื้อหาสาระของเรื่องตํางๆ เข๎าไว๎ด๎วยกัน เพื่อ สร๎างรูปแบบหรื อ โครงสร๎ า งที่ยั งไมํชั ดเจนขึ้ น มากํ อน อัน เป็ นกระบวนการที่ ต๎องอาศัย ความคิ ดสร๎า งสรรค๑ ภ ายใน ขอบเขตของสิ่งที่กาหนดให๎ (๖) การประเมิ น ผล (Evaluation) เป็ น ความสามารถในการตั ด สิ น เกี่ ย วกั บ ความคิด คํานิยม ผลงาน คาตอบ วิธีการและเนื้อหาสาระเพื่อวัตถุประสงค๑บางอยําง โดยมีการกาหนด เกณฑ๑(Criteria) เป็นฐานในการพิจารณาตัดสิน การประเมินผล จัดได๎วําเป็นขั้นตอนที่สูงสุดของพุทธิ ลักษณะ (Characteristics of cognitive domain) ที่ต๎องใช๎ความรู๎ความเข๎าใจ การนาไปปรับใช๎ การ วิเคราะห๑และการสังเคราะห๑เข๎ามาพิจารณาประกอบกันเพื่อทาการประเมินผลสิ่งหนึ่งสิ่งใด ดังนั้นความรู๎คือ สิ่งที่มนุษย๑สร๎าง ผลิต ความคิด ความเชื่อ ความจริง ความหมาย โดยใช๎ ข๎อเท็จจริง ข๎อติดเห็น ตรรกะ แสดงผํานภาษา เครื่องหมาย และสื่อตํางๆ โดยมีเปูาหมายและ วัตถุประสงค๑เป็นไปตามผู๎สร๎าง ผู๎ผลิตจะให๎ความหมาย การพัฒนาทักษะการปฏิบั ติงาน ความหมายและลาดับขั้นการเกิดทักษะ คาวํา ทักษะมีความหมายโดยทั่วไปคือ ความสามารถในการปฏิบัติงานได๎อํางถูกต๎องแมํนยา และตอบสนอง อยํางรวดเร็ว (ไมํต๎องเสียเวลาวิเคราะห๑เป็นเวลานาน)กับปรากฏการณ๑ตํางๆ ที่เกิดขึ้นด๎วยความรู๎และ ประสบการณ๑ ผู๎ที่ใช๎เวลาน๎อยกวําในการตรวจจับความผิดปกติและหาทางแก๎ไข คือผู๎ที่มีทักษะสูงกวํา ผู๎ที่ใช๎เวลามากกวําในการทาอยํางเดียวกัน โดยทั่วไปคนเราจะมีการพัฒนาทักษะ โดยอัตโนมัติ หากมี ประสบการณ๑ ที่เ พีย งพอหรื อ มีโ อกาสในการลองผิ ด ลองถู ก แตํ การรอให๎ เ กิด ทัก ษะโดยอั ตโนมั ติ ดังกลําว ต๎องใช๎เวลาและไมํสามมารถควบคุมได๎ เนื่องจากขึ้นอยูํกับลักษณะสํวนบุคคลเป็นหลัก ดังนั้น ความหมายของการพัฒนาทักษะในที่นี้ จึงหมายถึงการให๎การศึกษาและฝึกอบรมเพื่อยํนเวลาที่เกิด ทักษะ โดยไมํต๎องอาศัยประสบการณ๑เพียงอยํางเดียว สาหรับขั้นตอนของการพัฒนาทักษะของคนเราเริ่มตั้งแตํไมํรู๎ อะไรเลย และ ไมํ เคยมีประสบการณ๑เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ มากํอน จนถึงขั้นที่สามารถสอนผู๎อื่นได๎ มีดังตํอไปนี้ ขั้นที่ ๑ : ยังไมํมีทฤษฎีและทักษะ (ยังไมํผํานการฝึกอบรมและการปฏิบัติ) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๖๖


ขั้นที่ ๒ : มีเฉพาะทฤษฎี (เริ่มปฏิบัติ) ขั้นที่ ๓ : มีทักษะ (ประยุกต๑ทฤษฎีเข๎ากับการปฏิบัติ) ขั้นที่ ๔ : มีทฤษฎีใหมํ (ทฤษฎีที่ได๎จาการปฏิบัติ) ขั้นที่ ๕ : มีทักษะขั้นสูงสามารถสอนผู๎อื่นได๎ (ประยุกต๑ทฤษฎีใหมํเข๎ากับ ทักษะ) พสุ เดชะริ น ทร๑ (๒๕๔๘) ได๎ ก ลํ า วถึ ง แนวทางในการถํ า ยทอดความรู๎ ไว๎ ใ น หนังสือพิมพ๑กรุงเทพธุรกิจ เมื่อวันอังคารที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๘ โดยอ๎างถึงหนังสือ Deep Smart ที่เขียนโดย Dorothy Leonard และ Walter Swap ที่แบํงขั้นตอนหรือกระบวนการในการ ถํายทอดความรู๎จาการรับรู๎ในเชิงรับ แล๎วคํอยๆ เข๎าสูํการรับรู๎ในเชิงรุก ดังนี้ ขั้ น ที่ ๑ คื อ ก า ร ถํ า ย ท อ ด โ ด ย ก า ร บ ร ร ย า ย ห รื อ ชี้ น า (Directive/Presentations/Lectures) การถํายทอดด๎วยวิธีการนี้ผู๎เรียนไมํต๎องคิดอะไรมาก เพียงแคํ ปฏิบัติตามที่ถูกบอก ขั้นที่ ๒ คือการถํายทอดผํานสูตรสาเร็จ (Rules of Thumb) ภายใต๎แนวทางนี้ ตัวผู๎สอนหรือโค๎ชจะรวบรวมประสบการณ๑ที่ตนเองได๎เรียนรู๎มา แล๎วถํายทอดออกมาเป็นแนวทาง ประโยค หรื อข๎อคิ ดสั้ น ๆ ที่ถํ ายทอดตํ อไปยังคนรุํนหนึ่ง ผู๎ รับจะต๎อ งไปขยายความตํอ และบางที ประโยคเด็ดนั้นก็อาจจะยังไมํชัดเจนเพียงพอ ขั้นที่ ๓ คือ การถํายทอดผํานทางเรื่องราวหรือนิทาน (Stories with a Moral) ซึ่งถือเป็นวิธีการที่ใช๎กันอยํางแพรํหลายในการถํายทอด หรือบอกเลําประสบการณ๑จากรุํนหนึ่งไปยัง อีกรุํนหนึ่งและทาให๎เรื่องราวเหลํานั้นได๎ถูกจดจาได๎งํายขึ้นนักวิทยาศาสตร๑ยอมรับวํา มีสาเหตุทาง การแพทย๑ที่เป็นที่เชื่อถือได๎ วําสมองคนเราจะรับรู๎และจดจาตํอเรื่องราวและนิทานได๎ดีกวําการบอก เลําธรรมดา ขั้นที่ ๔ คือการถํายทอดผํานทางการตั้งคาถาม (Socratic questioning) เป็น แนวทางในการถํายทอดความรู๎สึกที่มีมานานตั้งแตํสมัยปราชญ๑โบราณอยําง Socratis และเป็นวิธีที่ อาจารย๑ทางด๎านบริหารธุรกิจหลายทํานใช๎ในการสอนกรณีศึกษา นั่นคือให๎ผู๎สอนจะใช๎วิธีตั้งคาถาม เพื่อให๎ผู๎เรียนได๎คิด และจากการที่ได๎คิดนั้นจะทาให๎สามารถได๎คาตอบนั้นด๎วยตนเอง โดยไมํต๎องอาศัย การบอกเลําจากผู๎สอน ซึ่งการตั้งคาถามนั้น จะทาให๎ผู๎ฟังได๎มีการทบทวนในประโยคคาถามเหลํานั้น ได๎ชัดเจน อีกทั้งทาให๎ผู๎ฟังได๎ย๎อนกลับมาคิดและท๎าทายถึงความเชื่อแตํเดิมของตนเอง ขั้นที่ ๕ คือ การถํายทอดความรู๎โดยผู๎เรียนมีโอกาสเรียนรู๎ด๎วยตนเอง และมีผู๎มี ประสบการณ๑คอยให๎คาแนะนา (Learning by Doing/Guided Experience) สํวนใหญํเป็นการ สัมมนาเชิงปฏิบัติการที่ผู๎เรียนได๎มีโอกาสปฏิบัติตามเนื้อหาที่เรียนมา โดยมีอาจารย๑หรือวิทยากรเป็น รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๖๗


ผู๎ให๎คาแนะนาอยูํข๎างๆ นอกจากนั้ นการถํายทอดความรู๎สึกด๎วยวิธีการ Guided Experience ยัง สามารถแบํงออกไปได๎หลายแบบดังนี้ (๑) Guided Observation ที่ผู๎รับการถํายทอดจะคอยสังเกตในพฤติกรรมและ การกระทาของผู๎ที่ถํายทอดความรู๎และประสบการณ๑ ซึ่งวิธีการนี้สอดคล๎องกับที่เด็กๆ จะเกิดการ เรียนรู๎โดยสังเกตจากพฤติกรรมของพํอแมํ (๒) Guided Problem Solving ที่ทั้งผู๎ถํายทอดและผู๎รับการถํายทอดจะมา รํวมกันแก๎ปัญหา โดยผู๎รับการถํายทอดได๎มีโอกาสเรียนรู๎อยํางใกล๎ชิดถึงแนวทางในการแก๎ไขปัญหา จากผู๎ที่มีประสบการณ๑มากวํา (๓) Guided Experimentation ที่เมื่อทํานได๎เจอกับสถานการณ๑หรือปัญหา แล๎วจะมีผูํที่มีประสบการณ๑คอยให๎คาแนะนาหรือชํวยเหลืออยูํใกล๎ๆ พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช๒๕๔๒(๒๕๔๖,หน๎า๖๐๒) ให๎แนวคิด ที่เกี่ยวกับบทบาทดังนี้บทบาทหมายถึงการทาตามบท การราตามบท โดยปริยายหมายความวําการทา หน๎าที่ ที่ได๎กาหนดไว๎ เชํน บทบาทของบิดามารดาในการเลี้ยงดูบุตร สุรางค๑ จันทร๑เอม (๒๕๒๙) แนวคิดที่เกี่ยวกับบทบาท มีดังนี้ สถานภาพเป็น นามธรรมหมายถึงตาแหนํงแตํละตาแหนํงจะกาหนดบทบาทไว๎อยํางไรบ๎าง ฉะนั้นเมื่อมีตาแหนํง ก็ จะต๎องมีบทบาทควบคูํกันไปเสมอ คือ เมื่อบุคคลมีตาแหนํงยํอมจะต๎องมีสิทธิ และหน๎าที่ตามมาเอง บางคนก็ปฏิบัติหน๎าที่ได๎สมบทบาท บางคนก็ได๎ไมํเต็มที่เพราะเกิดขัดแย๎งกันในบทบาท ผู๎ที่มีตาแหนํง จะปฏิบัติหน๎าที่ได๎สมบทบาทหรือไมํ ขึ้นอยูํกับองค๑ประกอบหลายๆอยําง เชํน บุคลิกภาพของผู๎ที่สวม บทบาท ลักษณะทางสังคม ตลอดจนประเพณีวัฒนธรรมของสังคมนั้น สุภา สกลเงิน(๒๕๔๕) ได๎ให๎แนวคิดอันเกี่ยวกับบทบาทคือ การแสดงของบุคคล ขึ้นอยูํกับปัจจัยที่เกี่ยวข๎องตํอไปนี้ (๑) บทบาทที่สังคมคาดหวัง(Role expectation) หมายถึง บทบาทที่สังคม คาดหวัง ให๎บุคคลปฏิบัติตามความคาดหวังที่กาหนดโดยสังคมและสถานภาพที่บุคคลนั้นครองอยูํ (๒) การรับรู๎บทบาท(Role Conception) หมายถึง การที่บุคคลรับรู๎ในบทบาท ของตนเองวําควรจะมีบทบาทหน๎าที่อยํางไร และสามารถมองเห็นบทบาทหน๎าที่ของตัวเองได๎ตามการ รับรู๎ซึ่งเกี่ยวข๎องสัมพันธ๑กับความต๎องการของบุคคลนั้นเอง โดยที่การรับรู๎ในบทบาทและความต๎องการ ของบุคคลก็ขึ้นอยูํกับลักษณะพื้นฐานสํวนบุคคล ตลอดจนเปูาหมายในชีวิตและคํานิยมของบุคคลที่ สวมบทบาทนั้นๆ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๖๘


(๓) การยอมรับบทบาทของบุคคล(Role acceptation) จะเกิดขึ้นเมื่อความ สอดคล๎องของบทบาทตามความคาดหวังของสังคมของสั งคมและบทบาทที่ตนรับอยูํ การยอมรับ บทบาทเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเข๎าใจในบทบาท และการสื่อสารระหวํางสังคมนั้น เพราะบุคคลจะไมํได๎ ยินดียอมรับบทบาทเสมอไป แม๎วําจะได๎รับการคัดเลือกหรือถูกแรงผลักดันจากสังคมให๎รับตาแหนํง และมีบทบาทหน๎าที่ที่ปฏิบัติตาม เพราะบทบาทที่ได๎รับนั้นทาให๎ได๎รับผลเสียหายหรือเสียประโยชน๑ โดยเฉพาะอยํางยิ่ งถ๎าขัดแย๎งกับความต๎องการ หรือคํานิยมของบุคคลนั้น ผู๎ครองตาแหนํงอยูํกลั บ พยายามหลีกเลี่ยงบทบาทนั้นๆ (๔) การปฏิบัติตามบทบาทหน๎าที่ของบุคคล(Role performance) เป็นบทบาท ของเจ๎าของสถานภาพที่แสดงออกจริง (Actual role) ซึ่งอาจเป็นการแสดงบทบาทตามที่สังคม คาดหวัง หรือเป็นการแสดงบทบาทตามการรับรู๎ และตามความคาดหวังของตนเอง การที่บุคคลใดจะ ปฏิบัติตามบทบาทหน๎าที่ได๎ดีเพียงใดนั้น ขึ้นอยูํกับระดับการยอมรับบทบาทนั้นๆ ของบุคคลที่ได๎ครอง ตาแหนํงนั้นอยูํเนื่องจากความสอดคล๎องกับบทบาทตามความคาดหวังของสังคมและการรับรู๎บทบาท ของตนเอง สงวน สุทธิเลิศอรุณ,จารัส ด๎วงสุวรรณ และฐิติพงษ๑ ธรรมานุสรณ๑ (๒๕๒๒,หน๎า ๓๖-๔๐) ได๎ให๎แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทดังนี้ บทบาท หมายถึง การแสดงพฤติกรรมของบุคคลตามสิทธิ และหน๎าที่ความรับผิดชอบของสถานภาพ แบํงได๎๓ ลักษณะ คือ (๑) บทบาทตามความคาดหวัง(Expected role) เป็นบทบาทที่ต๎องแสดงตาม ความคาดหวัง ของผู๎อื่น เชํน บทบาทของนักเรียนตามความคาดหวังของครู (๒) บทบาทตามลั ก ษณะการรั บ รู๎ ( Percted role) เป็ น บทบาทที่ เ จ๎ า ของ สถานภาพ รับรู๎วําตนควรมีบทบาทอยํางไร (๓) บทบาทที่แสดงออกจริง(Actual role) เป็นบทบาทที่เจ๎าของสถานภาพได๎ แสดงออกจริงซึ้งอาจเป็นบทบาทที่สังคมคาดหวัง หรือเป็นบทบาทที่ตนเองคาดหวัง หรืออาจจะไมํ เป็นบทบาทตามที่สังคมคาดหวังและตนเองคาดหวัง สุ ช า จั น ทน๑ เ อม และ สุ ร างค๑ จันทน๑เ อม (๒๕๒๐) ได๎ให๎ แนวคิ ดเกี่ยวของกั บ บทบาทดังนี้ บทบาทมีความหมายใกล๎เคียงกับสถานภาพมาก ซึ่งบทบาทเป็นสิ่งที่บุคคลในสถานภาพ ตางๆ พึ งกระท า ก็ คือเมื่อสั งคมกาหนดสิ ทธิ และหน๎าที่ ให๎ ส ถานะภาพใดอยํ างไร และบุคคลใน สถานภาพนั้นยํอมต๎องประพฤติหรือ ปฏิบัติตามหน๎าที่ที่กาหนดไว๎ ณรงค๑ เส็งประชา(๒๕๔๑) ได๎ให๎แนวคิดที่เกี่ยวข๎องกับบทบาทดังนี้ บทบาทคือ พฤติกรรมที่ปฏิบัติตามสถานภาพ บทบาทเป็นพฤติกรรมที่สังคมกาหนด และคาดหมายให๎บุคคลต๎อง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๖๙


กระทาตามหน๎าที่ เมื่อคนเราติดตํอสัมพันธ๑กับผู๎อื่นมากขึ้น ยํอมจะต๎องแสดงบทบาทหลายบทบาท มากขึ้นตามคูํบท หรือตามสถานภาพอันเกิดจากความสัมพันธ๑อื่นๆ และบางครั้งบทบท ที่เกิดขึ้นอาจ เกิดกาขัดแย๎งกันได๎ เมื่อบุคคลได๎ ดารงตาแหนํงในสังคมยํอมจะต๎องแสดงบทบาทตามตาแหนํงนั้นๆ สามารถสรุปได๎ดังนี้ บทบาทเป็นแบบแผนพฤติกรรม หรือการได๎กระทาของบุคคลที่สังคมคาดหวัง หรื อกาหนดให๎ กระทาโดยจะมีความเกี่ย วเนื่องกับอานาจหน๎าที่ และสิ ทธิซึ่ งขึ้นอยูํกับฐานะหรื อ ตาแหนํงทางสังคมของบุคคลนั้นซึ่งจะเป็นตัวกาหนดให๎ผู๎ดารงตาแหนํงนั้นๆยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ หากบุคคลที่สังคมคาดหวังนั้นไมํปฏิบัติตามบทบาทหน๎าที่ตามที่ได๎ดารงตาแหนํง ก็จะไมได๎รับการ ยอมรับจากสังคม จิระภา ฉิมสุข(๒๕๔๔) ทาการศึกษาวิจัยเรื่องศักยภาพของชุมชนในด๎านทันต สาธารณสุขผลการวิจัยพบวํา ศัก ยภาพของชุมชนในด๎านทันตสาธารณสุข ภาพรวมอยูํในระดับปาน กลาง มากที่สุด คิดเป็นร๎อยละ๔๐.๓ เมื่อพิจารณาเป็นรายด๎าน พบวําชุมชนมีความสามารถในการ ตอบสนองความต๎องกรและแก๎ไขปัญหาทางทันตสาธารณสุขให๎กับสมาชิกในชุมชน คิดเป็นร๎อยละ ๗๗.๗ และชุมชนมีความสามารถในการจัดตั้งและจัดการกลุํมกองทุนทางทันตสาธารณสุข คิดเป็นร๎อย ละเพียง๓๙.๕เทํานั้น พบวําปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอศักยภาพของชุมชนในด๎าน ทันตสาธารณสุข ได๎แกํ การได๎รับการสนับสนุนจากภายนอกด๎านวัสดุ อุปกรณ๑และการบริการ รักษาทางสาธารณะสุข การมี สํวนรํวมในงานพัฒนาของสมาชิกในชุมชน การได๎รับการสนับสนุน จากภายนอกด๎านข๎อมูลขําวสาร ทางสาธารณสุข อายุของชุมชน และภาวะผู๎นาของผุ๎นาในชุมชน ภูริวัจน๑ อินทร๑ตุ๎ม(๒๕๔๔) ทาการศึกษาเรื่องศักยภาพชุมชนชนบทในการจัดการ ปัญหาด๎านสุขภาพอนามัย ผลการศึกษาพบวํา โครงสร๎างทางสังคมของชุมชนที่มีความสัมพันธ๑กันใน ระดับครอบครัว เครือญาติ เพื่อนบ๎าน องค๑กรชุมชน และเครือขํายการเรียนรู๎ทั้งในและนอกชุมชนมี ผลตํอสภาพการจั ดการด๎านสุขภาพอนามัยของชุมชน ในด๎านการชํวยเหลื อเกื้อกูล การดูแลยาม เจ็บปุวย การให๎คาปรึกษา การตัดสินใจ การให๎กาลังใจการรวมกลุํมเพื่อแก๎ปัญหา และการประสาน ความชํ ว ยเหลื อ จาภายนอกชุ ม ชน เพื่ อ จั ด การปั ญ หาด๎ า นสุ ข ภาพอนามั ย ของชุ ม ชนได๎ อ ยํ า งมมี ประสิทธิภาพ คนในชุมชนมีรูปแบบความคิด ความเชื่อในการจัดการด๎านสุขภาพอนามัยทั้งในภาวะ ปกติ และขณะเจ็บปุวย ชุมชนมีกลไกทางสังคม ได๎แกํ ผู๎นาสถาบันหลักในชุมชน องค๑กรชุมชนและภูมิ ปัญญาชาวบ๎าน ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการปัญหาด๎านสุขภาพอนามัย เพราะชุมชนมีทรัพยากร บุคคลซึ่งเป็นกลไกทางสังคม ภูมิปัญญาชุมชนที่จะแสดงบทบาทของตนเพื่อแก๎ไขปัญหา ศิราณี อินทรหนองไฝ และคณะ(๒๕๔๖) ได๎ทาการศึกษาการพัฒนาศักยภาพเพื่อ การควบคุมและปูองกันโรคอุจจาระรํวงในกลุํมผู๎ดูแลเด็กอายุต่ากวํา๕ปี ด๎วยการวิจัยแบบกึ่งทดลองที่ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๗๐


มีพื้นฐานของประชากรกลุํมตัวอยํางใกล๎เคียงกัน ผลการวิจัยทาให๎ทราบวํามีพัฒนาการที่ดีขึ้นอยํางมี นัยสาคัญ ทางสถิติในกลุํมผู๎ดูแลเด็กที่เข๎ารํวมกิจกรรมการพัฒนาเมื่อเปรียบเทียบกับกลุํมควบคุม ๒.๔ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสารและหนังสือ (๑) สุ ร พล ด าริ ห๑ กุ ล (๒๕๔๙) ได๎ เ ขี ย นในหนั ง สื อ เรื่ อ ง “คุ ณ คํ า เอกลั ก ษณ๑ ศิลปกรรมล๎านนากับแนวทางสํงเสริมการเพิ่มมูลคําทางเศรษฐกิจและการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ” กลําวถึง ผลงานการสร๎างสรรค๑ผลิตภัณฑ๑ทางศิลปะที่โดดเดํน ซึ่ง สะท๎อนเรื่องราววิถีชีวิต ประวัติศาสตร๑ ธรรมชาติ และสิ่งแวดล๎อมรํวมกันของชาวล๎านนาในปัจจุบัน หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ๑ ง านศิ ล ปกรรมพื้ น ถิ่ น รํ ว มสมั ย ของชาวล๎ า นนาที่ มี ลั ก ษณะเดํ น และรากฐานทาง วัฒนธรรมรํวมกัน ซึ่งผลิตภัณฑ๑งานศิลปกรรมพื้นถิ่นรํวมสมัยเอกลักษณ๑ล๎านนา มีงานประเภทผ๎า งานประเภทเครื่องเขิน งานประเภทเครื่องเงินพื้นเมือง งานประเภทเครื่องจักสาน งานประเภท เครื่องปั้นดินเผาพื้นเมือง งานประเภทงานไม๎แกะสลัก และงานประเภทอื่นๆ รวมถึงวิธีการเพิ่ม มูลคําทางเศรษฐกิจให๎แกํผลิตภัณฑ๑ตํางๆ (๒) พจน๑ เกื้อกูล (๒๕๑๔) เขียนในหนังสือเรื่อง

“เครื่องถ๎วยและเตาเผาสัน

กาแพง” กลําวถึง เครื่องถ๎วยในสมัยโบราณ หลักฐานทางไชยโบราณคดีเครื่องถ๎วยและเตาเผาสัน กาแพงที่มีการสารวจพบในเขต ตาบลออนใต๎ อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหมํ มีเตาเผาเครื่องถ๎วย ชามแบบตํางๆ กรรมวิธีในการปั้นเครื่องปั้นดินเผา การเคลือบ และการเผา มีลักษณะเครื่องถ๎วยสัน กาแพง และอายุเครื่องถ๎วยและเตาเผาเครื่องถ๎วยสันกาแพง (๓) สนไชย ฤทธิโชติ(๒๕๓๙) เขียนในหนังสือเรื่อง “เครื่องไม๎ไผํ-หวาย” กลําวถึง ความรู๎ทั่วไปเกี่ยวกับ ไม๎ไผํ -หวาย การพัฒ นาการของงานเครื่องไม๎ไผํ -หวาย ไม๎ไ ผํช นิดที่สาคัญใน ประเทศไทย เครื่องมือและเครื่องจักรงานไม๎ไผํ-หวาย การเตรียมไม๎ไผํ-หวาย เพื่อใช๎งาน กรรมวิธีการ ย๎อมสีและตกแตํงผิวไม๎ไผํ -หวายผลิตภัณฑ๑เครื่องจักสาน การเก็บริม การเข๎าขอบ การผูกมัด การถัก ลาย งานเครื่องเรือนไม๎ไผํ-หวาย และไม๎ไผํ-หวาย กับการวิวัฒนาการสมัยใหมํ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๗๑


(๔) สุรพล ดาริห๑กุล (๒๕๔๔) เขียนในหนังสือเรื่อง “ลายคาล๎านนา” กลําวถึง งานศิลปกรรมลายคาประดับอาคารทางศาสนาล๎านนาในระหวํางพุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๔ มีประวัติ งานศิลปกรรมลายคาและสถานภาพการศึกษาลวดลายประดับของล๎านนา มีอาคารทางศาสนาล๎านนา ประวัติและลักษณะทางสถาปัตยกรรม มีงานศิลปกรรมลายคาประดับอาคารทางศาสนาระหวํางพุทธ ศตวรรษที่ ๒๑-๒๕ และมีรูปแบบและพัฒนาการของลวดลายประดับในงานศิปกรรมลายคา (๕) สานักสํงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยชียงใหมํ (๒๕๕๔) เขียนในหนังสือ เรื่อง “ภูมิปัญญาเชิงชํางเชียงใหมํ” กลําวถึง องค๑ความรู๎ด๎านศิลปวัฒนธรรมที่ทรงคุณคําออกสูํสังคม เพื่อจะได๎ถํายทอดองค๑ความรู๎จากชํางพื้นถิ่นเผยแพรํสูํสังคมแหํงการเรียนรู๎ ในเรื่องของความเป็นมา ลักษณะ การใช๎งาน วัสดุและอุปกรณ๑ที่ใช๎ในการผลิต กระบวนการผลิต ของทั้งสลําแปงกลองชัย มงคล กระบุ ง สั ตตภัณฑ๑ หม๎อ ดิน เผา(หม๎ อแกง) เครื่องเขิน เครื่องเงิน มอม กระดาษมูล ช๎า ง แกะสลักไม๎ และผ๎าจกแมํแจํม (๖) ศรี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภ ดม และคณะ (๒๕๕๐) เขี ย นใน หนั ง สื อ เรื่ อ ง “เครื่ องปั้ น ดินเผาและเครื่ องเคลื อบ กับพัฒ นาการทางเศรษฐกิจและสั งคมของสยาม” กลํ าวถึง เครื่องปั้นดินเผาและเครื่องเคลือบ กับพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคม สมัยกํอนประวัติศาสตร๑ และสมัยประวัติศาสตร๑ของสยาม ที่มนุษย๑เริ่มมีหน๎าที่และความชานาญเฉพาะด๎าน แล๎วเมื่อหมูํบ๎าน เริ่ มตั้งเป็ น หลั กแหลํงอยํ างถาวร จากนั้ น ก็มีการพัฒนาเครื่องปั้นดินเผาและเครื่องเคลื อบทั้งทาง เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งมีการกลําวถึง เทคโนโลยีของการทาเครื่องปั้นดินเผาและเครื่องเคลือบ (๗) วิถี พานิชพันธ๑ (๒๕๔๔) เขียนในหนังสือเรื่อง “ศิลปะเครื่องเขินในล๎านนา” กลําวถึง เครื่องเขินที่เป็นเครื่องใช๎ในครัวเรือน เป็นเครื่องใช๎ในพิธีกรรม เป็นรูปเคารพ และเป็นงาน ศิลปะ ทั้งวิธีการทา การเรียกชื่อเครื่องเขินในล๎านนา เครื่องเขินในวัฒนธรรมล๎านนา ขันหมากหรือ เชี่ยนหมาก ลวดลายของขันหมากล๎านนา รูปแบบของขันหมาก แอ็บหมาก แอ็บเรือ เอิบและหีบผ๎า ขันดอก ขันโตก กระบอกใสํเทียนไปวัด ปุง บุงหรือเปี้ยด โอหาบ แคง ซ๎าปอม รวมทั้งเครื่ องเขินของ กลุํมชาวเขาในล๎านนา ต๐าง ปิ่นโต โตก และแปม (๘) สุรพล ดาริห๑กุล (๒๕๔๒) เขียนในหนังสือเรื่อง “เครื่องปั้นดินเผา” กลําวถึง เครื่ องปั้ น ดินเผาไทย ทั้งเทคโนโลยี ของการทาเครื่องปั้นดินเผาไทย แหลํ งวัตถุดิบที่ใช๎ในการท า ผลิ ตภัณฑ๑เครื่ องปั้น ดิน เผา เทคนิ คการปั้ น หรือการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผา เทคนิคการตกแตํงผิ ว รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๗๒


ภาชนะดิ น เผา การเผาและชนิ ด ของเตาเผาเครื่ อ งปั้ น ดิ น เผาไทย ชนิ ด ของเครื่ อ งปั้ น ดิ น เผา เครื่ องปั้ น ดิน เผาในสมัย กํอ นประวัติ ศาสตร๑ ทั้ง ในวั ฒ นธรรมบ๎า นเชีย ง และวัฒ นธรรมบ๎ านเกํ า เครื่องปั้นดินเผาในสมัยประวัติศาสตร๑ ทั้งสมัยทวารวดี สมัยทวารวดีในภาคกลาง วัฒนธรรมหริภุญชัย สมัย ศรี วิชัย สมัย เขมร เครื่ องสั งคโลกหรือเครื่องปั้นดินเผาสุ โ ขทัย และเครื่องปั้นดินเผาล๎ านนา เครื่องปั้ นดินเผาสมัยอยุ ธยาและรัตนโกสิ นทร๑ ทั้งเครื่องถ๎วยเบญจรงค๑และเครื่องถ๎วยลายน้าทอง รวมถึงเครื่องปั้นดินเผาไทยรํวมสมัย (๙) วิถี พานิชพันธ๑ (๒๕๔๕) เขียนในหนังสือเรื่อง “สิ่งถักทอและผ๎าไทย” กลําวถึง สิ่งถักทอของคนไทกลุํมตํางๆในเอเชีอาคเนย๑ และสิ่งถักทอที่ใช๎ในวัฒนธรรมของไทย ทั้ง วัฒนธรรมการทอผ๎า วัสดุและอุปกรณ๑ที่ใช๎ในการทอผ๎า วิธีทอผ๎าแบบตํางๆ รูปแบบและลวดลายบน ผ๎าทอ การใช๎ผ๎าของคนกลุํมไท-ลาว วัฒนธรรมการใช๎ผ๎าของคนไทยในภาคกลางและภาคใต๎ และ บริบทของผ๎าไทในสังคมปัจจุบัน (๑๐) ศูนย๑การศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนือ หนังสือเรื่อง “เครื่องเขิน” (๒๕๓๗) กลําวถึง ประวัติความเป็นมาของเครื่องเขิน วัตถุดิบที่ใช๎ในการผลิตเครื่อ งเขิน แหลํงต๎นไม๎รัก ยางรัก การผลิตยางรัก การวิเคราะห๑ การปรับคุณภาพ และการตรวจสอบยางรัก วัสดุ องค๑ประกอบในการ ผลิตเครื่องเขิน วัสดุตกแตํงเครื่องเขิน กรรมวิธีการผลิตเครื่องเขิน หลักการและขั้นตอนสาคัญในการ ผลิตเครื่องเขิน การทาเครื่องเขินในประเทศไทย การทาเครื่ องเขินในประเทศญี่ปุน การทาเครื่องเขิน ประยุกต๑ รูปทรงและประโยชน๑ใช๎สอยของเครื่อ งเงิน เครื่องเขินกับการอนุรักษ๑ ปัญหา และแนวทาง แก๎ไข รวมถึงประวัติและทาเนียบผู๎ผลิตเครื่องเขิน (๑๑) มิ่งสรรพ๑ ขาวสะอาด และคณะ (๒๕๔๙: ๒๒๕ – ๒๕๘) ได๎ศึกษาการ พัฒนาการทํองเที่ยวเชิ งบูรณาการที่ยั่งยืนในลุํมแมํน้าโขง ๒ ผลการศึกษาในสํวนของการทํองเที่ยว วัฒนธรรม: กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหมํสรุปได๎วํา นักทํองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตํางชาติสํวนใหญํ (ร๎อยละ ๘๐) เลือกมาทํองเที่ยงจังหวัดเชียงใหมํโดยมีวัตถุประสงค๑หลักเพื่อมาทํองเที่ยววัฒนธรรม การทํองเที่ยววัฒนธรรมที่เป็นที่นิยมมากที่สุด ได๎แกํ การทํองเที่ยวงานเทศกาลประเพณี และวัด/ โบราณสถาน สาหรับสิ่งดึงดูดใจทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหมํที่สาคัญที่สุดสาหรับนักทํองเที่ยว ชาวไทยคือ เอกลักษณ๑ทางวัฒนธรรม และสาหรับนักทํองเที่ยวชาวตํางชาติคือ ประวัติศาสตร๑และ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๗๓


ความเป็นมาของวัฒนธรรม ด๎านการใช๎จํายของนักทํองเที่ยวนั้น นักทํองเที่ยวมีการใช๎จํายเพื่อซื้อของ ที่ระลึกทางวัฒนธรรมมากที่สุด ประมาณ ๑,๑๖๒ บาทตํอคนตํอครั้งสาหรับชาวไทยสํวนนักทํองเที่ยว ชาวตํางชาติมีคําใช๎จํายซื้อของที่ระลึกประเภทหัตถกรรมมากที่สุดเฉลี่ยประมาณ ๒,๗๐๐ บาท โดย ถนนคนเดินทําแพเป็นแหลํงขายของที่ระลึกทางวัฒนธรรมที่ได๎รับความนิยมมากที่สุ ด นอกจากนี้ นั กทํ องเที่ย วมีข๎อ เสนอแนะให๎ มีก ารปรั บ ปรุงห๎ องน้าสาธารณะให๎ เ พียงพอกับความต๎องการของ นักทํองเที่ยว (๑๒) ปริญญ๑ อภิว งศ๑ว าร (๒๕๔๘:

๔๗) ได๎ศึกษาพฤติกรรมการทํองเที่ยว

วัฒนธรรมในจังหวัดเชียงใหมํของนักทํองเที่ยวชาวไทย ผลการศึกษาพบวํา พฤติกรรมการทํองเที่ยว แหลํงวัฒนธรรมตํางๆ ของนักทํองเที่ยวได๎เที่ยวชมวัดพระธาตุดอยสุเทพมากที่สุด ซึ่งสํวนใหญํไมํได๎ เป็นการมาเที่ยวชมเป็นครั้งแรกและให๎คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยสูงกวําคําความคาดหวัง ในด๎านการ ทํองเที่ยวพิพิธภัณฑ๑พบวํา ได๎เที่ยวชมหอศิลปวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหมํมากที่สุด ซึ่งนักทํองเที่ยว สํวนใหญํระบุวําเป็นการมาเที่ยวชมเป็นครั้งแรกและให๎คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยต่ากวําคําความ คาดหวัง ในสํวนของการทํองเที่ยวแหลํงชุมชนทางวัฒนธรรม นักทํองเที่ยวได๎เที่ยวชมชุมชนชนเผําที่ สูงมากที่สุด สํวนใหญํไมํได๎เป็นการมาเที่ยวชมครั้งแรก และได๎ให๎คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยต่ากวําคํา ความคาดหวัง ในสํวนของการทากิจกรรมเชิงศาสนา นักทํองเที่ยวได๎ทาบุญตักบาตรมากที่สุด โดย ระบุวําไมํได๎ทากิจกรรมนี้เป็นครั้งแรก และได๎ให๎ค ะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยสูงกวําคําความคาดหวัง ในการทํองเที่ยวสถานที่จาหนํายสินค๎าและของที่ระลึกทางวัฒนธรรมนักทํองเที่ยวได๎เที่ยวชมถนนคน เดินมากที่สุดโดยไมํได๎เป็นการมาเที่ยวครั้งแรก และให๎คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยน๎อยกวําคําความ คาดหวั ง สิ่ ง ที่ นั ก ทํ อ งเที่ ย วเห็ น วํ า ควรปรั บ ปรุ ง ได๎ แ กํ การปรั บ ปรุ ง ห๎ อ งน้ า โดยเฉพาะในวั ด โบราณสถาน และพิพิธภัณฑ๑ ควรเพิ่มจานวนห๎องน้าให๎เพียงพอตํอความต๎องการของนักทํองเที่ยว ปัญหาที่จอดรถไมํเพียงพอ นอกจากนี้ควรเพิ่มการบริการข๎อมูลการเข๎าถึงอีกแหลํงทํองเที่ยว รวมถึง ข๎อมูล ด๎านประวัติศาสตร๑ ความเป็ น มาของวัฒนธรรม และวัน เวลาของการจัดงานเทศกาลหรือ ประเพณีตํางๆ ด๎วย (๑๓) อิราวัฒน๑ ชมระกา (๒๕๕๔) ทาการศึกษาแนวทางการสํงเสริมการตลาด การทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตตาบลฝายหลวง อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ๑ เพื่อศึกษาศักยภาพ การทํองเที่ยว ปัญหาและอุปสรร๕ในการดาเนินงานการสํงเสริมการตลาดการทํองเที่ยวในเขตตาบล รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๗๔


ฝายหลวง อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ๑ เป็นการวิจัยแบบผสมระหวํางเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เข๎าด๎วยกัน เครื่องมือที่ใช๎คือแบบสัมภาษณ๑และแบบสอบถาม พบวําในเขตตาบลฝายหลวงมีสถานที่ ทํองเที่ยวทางประวัติศาสตร๑โบราณสถาน โบราณวัตถุที่จะพัฒนาเป็นแหลํงทํองเที่ยวจานวน ๗ แหํง สํวนใหญํมีศักยภาพอยูํในระดับปานกลาง โดยความสาคัญของโบราณสถานมีความสาคัญมาก สํวนสิ่ง อานวยความสะดวกสาหรับนักทํองเที่ยวและการประชาสัมพันธ๑มีศักยภาพคํอนข๎างน๎อย แสดงให๎เห็น วําความสาคัญของตัวโบราณสถาน รวมทั้งประเพณีวัฒนธรรม หรือวันสาคัญในท๎องถิ่นที่เกี่ยวข๎องกับ โบราณสถานนั้น สามารถที่จะนามาใช๎เป็นจุดขายสาหรับการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตตาบลฝาย หลวง พบวําทรัพยากรการทํองเที่ยวทางด๎านวัตถุ ศิลปวัฒนธรรมจัดวํามีคุณคําและมีศักยภาพ แตํยัง ขาดการเชื่อมโยงคุณคําเหลํานี้กับกิ จกรรมสํวนอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎อง แนวทางการสํงเสริมการตลาดที่ นามาใช๎คือ การรวมกลุํมแบบภาคีมีการรํวมมือกับองค๑กรทุกฝุายที่เกี่ยวข๎อง การเข๎าถึงลูกค๎าเป็น รายบุคคลโดยตรง และการจัดโปรแกรมการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่งจะต๎องอาศัยการจัดการโดย ท๎องถิ่น และการจัดการเชิงธุรกิจอยํางจริงจังและตํอเนื่อง งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (๑) ผู๎ชํวยศาสตราจารย๑เจริญศรี พื้นผาสุก (๒๕๕๔) เขียนในงานวิจัยเรื่อง “การ ประยุกต๑พระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสืบทอดภูมิปัญญาท๎องถิ่น งานหัตถกรรมสาขางานศิลปะ ประดิษฐ๑ของจังหวัดเชียงใหมํ ” เพื่อศึกษาบริบทและศักยภาพภูมิปัญญาท๎องถิ่นด๎านงานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ๑ในจังหวัดเชียงใหมํ รวมถึงวิเคราะห๑ความสอดคล๎องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับภูมิ ปัญญาท๎องถิ่นด๎านงานหัตถกรรมศิลปะประดิษฐ๑ในจังหวัดเชียงใหมํ มีจุดมุํงหมายเพื่อสืบทอดองค๑ ความรู๎ภูมิปัญญาท๎องถิ่นด๎านงานหัตถกรรมสาขาศิลปะประดิษฐ๑ของจังหวัดเชียงใหมํเพื่อเผยแพรํ ประชาสัมพันธ๑ ในระดับท๎องถิ่น ระดับชุมชน ระดับประเทศสูํสากล โดยได๎ทาการศึกษาจากกลุํม ตัวอยํางทั้งหมด ๔ อาเภอ ได๎แกํ อาเภอสันกาแพง อาเภอสันทราย อาเภอเมือง และอาเภอหางดง ผลการวิจั ย พบวํา วัตถุดิบ และวัส ดุอุ ปกรณ๑สํ ว นใหญํมาจากแหลํ งผลิ ตภายในท๎องถิ่นของจังหวัด เชียงใหมํ สถานที่ผลิตของกลุํมตัวอยํางสํวนใหญํจะทากันที่บ๎าน มีลักษณะการบริหารงานรํวมกับ สมาชิกภายในครอบครัว สํวนรูปแบบของผลิตภัณฑ๑สํวนมากผู๎ประกอบการจะออกแบบเองทั้งหมด สาหรับชํองทางในการจัดจาหนํายและประชาสัม พันธ๑ผลิตภัณฑ๑ ได๎แกํ ร๎านค๎าของผู๎ประกอบการ ตัวแทนจาหนําย ตลาดนัด ถนนคนเดิน สื่อสิ่งพิมพ๑ สื่อออนไลน๑ และในการกาหนดราคาผลิตภัณฑ๑นั้น รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๗๕


ผู๎ประกอบการจะเป็นผู๎กาหนดเองทั้งหมด โดยพิจารณาจากต๎นทุนราคาสินค๎า คุณภาพสินค๎า กาลัง ซื้อ และราคาขายของคูํแขํงขัน ด๎านการวิเคราะห๑ความสอดคล๎องของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ การสืบทอดภูมิปัญญาท๎องถิ่นด๎านหัตถกรรมศิลปะประดิษฐ๑นั้นกลุํมตัวอยํางทั้งหมดมีการนาปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุ กต๑ใช๎กับ การดาเนินธุรกิจโดยไมํรู๎ตัว จากการให๎ ความรู๎เรื่องปรัช ญา เศรษฐกิจพอเพียง ทาให๎ผู๎ประกอบการเข๎าใจและถือวําเป็นหนทางที่จะสร๎างความเจริญเติบโตให๎แกํ ชุมชนและท๎องถิ่น ขจัดปัญหาความยากจน สร๎างชุมชนให๎มีความเข๎มแข็งสามารถต๎านทานกระแส ความเปลี่ยนแปลงของโลกได๎เป็นอยํางดี รวมทั้งสร๎างคํานิยมการเลือกใช๎ผลิตภัณฑ๑และบริการของ ไทย สํงผลให๎การสืบทอดภูมิปัญญาท๎ องถิ่นให๎คงอยูํสืบตํอไปด๎านการสืบทอดองค๑ความรู๎ภูมิปัญญา ท๎อ งถิ่น ด๎ านงานหั ตถกรรมสาขาศิ ล ปะประดิ ษฐ๑ ข องจั ง หวั ด เชี ย งใหมํ มี การเผยแพรํ ด๎ว ยการจั ด นิทรรศการ โดยการเชิญสลําหรือพํอครูแมํครูภูมิปัญญาท๎องถิ่น มาสาธิตและให๎ความรู๎การจัดจาหนําย ผลิตภัณฑ๑ เพื่อชํวยเพิ่มรายได๎นอกจากนั้นยังสํงเสริมให๎ความรู๎ด๎วยการเข๎ารํวมกิจกรรมการอบรม สัมมนาจากการจัดโดยคณะผู๎วิจัยหรือรํวมกับ ภาครัฐหรือภาคเอกชนจัดขึ้น ซึ่งนาองค๑ความรู๎ที่ได๎รับ ปรั บ ใช๎ กั บ ธุ ร กิ จ ของตนเองได๎ เ ป็ น อยํ า งดี ต ลอดจนมี ก ารจั ด ท าสื่ อ ประชาสั ม พั น ธ๑ เ พื่ อ เป็ น การ ประชาสัมพันธ๑หัตถกรรมสาขาตําง ๆ ภายในท๎องถิ่นของจังหวัดชียงใหมํ เพื่อเป็นฐานข๎อมูล องค๑ ความรู๎ทางเว็บไซด๑แกํผู๎ที่สนใจ สาหรับ สื่อประชาสัมพันธ๑ที่จัดทาขึ้น ได๎แกํ ปูายไวนิล สื่อโทรทัศน๑ สื่อ วิท ยุ สื่ อ อิเ ล็ กทรอนิ ก ส๑ สื่ อสิ่ ง พิม พ๑ เพื่ อเป็ นการสื บ ทอดภูมิ ปั ญญาท๎อ งถิ่น งานหั ตถกรรมศิล ปะ ประดิษฐ๑ (๒) ผู๎ชํวยศาสตราจารย๑ คนธาภรณ๑ เมียร๑แมน (๒๕๕๔) เขียยนในงานวิจัยเรื่อง “การวิจัยพัฒนารูปแบบและคุณคําผลิตภัณฑ๑เครื่องปั้นดินเผาบ๎านเหมืองกุง โดยการตํอยอดเทคนิค ภูมิปัญญาท๎องถิ่นและฟื้นฟูเอกลักษณ๑ในการออกแบบ" เพื่อศึกษาหาแนวทางการตํอยอดเทคนิคการ ตกแตํงเครื่องปั้นดินเผาที่เป็นภูมิปัญญาของหมูํบ๎านหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาเหมืองกุง อาเภอหาง ดง จังหวัดเชียงใหมํ โดยนามาประยุกต๑กับเทคนิคงานเครื่องปั้นดินเผารํวมสมัย เพื่อให๎เกิดการตกแตํง รูปลักษณ๑ใหมํที่มีความโดดเดํนหลากหลาย และมีคุณคําทางงานเครื่องปั้นดิ นเผา สามารถสร๎างตลาด และมูลคําเพิ่ม จากนั้นจึงทดลองสร๎างแนวทางการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ๑ ให๎สนองประโยชน๑ใช๎สอย ของผู๎บริ โภคปัจ จุบันได๎มากยิ่งขึ้นโดยเน๎นเอกลักษณ๑ท๎องถิ่นและเทคนิคภูมิปัญญาที่นามาตํอยอด ท๎ า ยที่ สุ ด จึ ง น าแนวทางที่ ไ ด๎ ม าถํ า ยทอดสูํ ชุ ม ชนด๎ ว ยการจั ด สั ม มนา อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร และ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๗๖


นิทรรศการแสดงผลิตภัณฑ๑ของโครงการวิจัยรํวมกับผลิตภัณฑ๑ของสลํา เหมืองกุงที่เป็นผลจากการ ฝึกอบรมงานวิจัยใช๎เวลาทั้งสิ้น ๒๔ เดือน โดยประชากรที่เข๎ารํวมการวิจัยและฝึกอบรมประกอบด๎วย สมาชิกและผู๎นากลุํมวิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาบ๎ านเหมืองกุง จานวน ๓๗ คน เก็บ ข๎อมูลโดยวิธีการ สังเกต สัมภาษณ๑เจาะลึก สนทนากลุํมยํอย และการทดลองในห๎องปฏิบัติการ การ วิเคราะห๑ข๎อมูลและรายงานผลใช๎เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพผลการวิจัยพบวําแนวทางที่เหมาะสมใน การตํอยอดเทคนิ คตกแตํง และพัฒ นารูปแบบผลิ ตภัณฑ๑ประกอบด๎ว ย ๓ แนวทาง คือ ๑. ฟื้น ฟู เอกลักษณ๑ของรูปทรง ลวดลาย และเรื่องราว ๒. ตํอยอดภูมิปัญญาเทคนิคการตกแตํง ด๎วยเทคนิคการ กันลายรมควัน และใช๎เคลือบเป็นสํวนเสริม ๓. พัฒนารูปแบบโดยคานึงถึง ประโยชน๑ใช๎สอยรํวมสมัย สํงเสริ มวิถีชีวิตและวัฒ นธรรมท๎องถิ่น สนับสนุนการเป็นหมูํบ๎ านทํองเที่ยวเชิงวัฒ นธรรม และใช๎ คุณสมบัติพิเศษของดินเผาโดยทั้ง ๓ แนวทางนี้ เป็นแนวทางที่ตํอเนื่องสนับสนุนซึ่งกันและกัน ควรใช๎ รํวมกันโดยปรับสัดสํวนให๎เหมาะสมกับประเภทของผลิตภัณฑ๑และกลุํมผู๎บริโภค แนวทางที่ชาวเหมือง กุงตอบรับและพบวําทาได๎งํายที่สุด คือแนวทางการฟื้นฟูเอกลักษณ๑ของรูปทรง โดยที่แนวทางการ พัฒนารูปแบบและแนวทางการตํอยอดภูมิปัญญาเทคนิคการตกแตํงนับเป็นเรื่องใหมํ ชาวบ๎านยัง ต๎องการให๎มีการอบรมเพิ่มเติมและตํอเนื่อง เพื่อให๎เข๎าใจแนวคิดและเกิดความชานาญมากพอ แตํ ผลสั มฤทธิ์ที่ได๎จ ากงานวิจั ย ครั้ งนี้ ที่ชัดเจน คื อการจุดประกายแนวคิดในการ “ตํอยอด”

และ

“พัฒนา” ให๎แกํสลํารุํนใหมํของหมูํบ๎าน (๓) สื บ พงศ๑ หงษ๑ภั ก ดี

(๒๕๔๘)

เขี ย นในการค๎ น คว๎า แบบอิ ส ระเรื่ อ ง

“กระบวนการทาหัตถกรรมท๎องถิ่นให๎กลายเป็นสินค๎าที่ระลึกสาหรับนักทํองเที่ยว : กรณีศึกษาบ๎าน บํอสร๎าง

อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหมํ” เพื่อศึกษากระบวนการและกลไกตํางๆ ที่มีสํวนทา

ให๎งานหัตถกรรมท๎องถิ่นของชุมชนบ๎านบํอสร๎าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหมํ กลายเป็นสินค๎าที่ ระลึกสาหรับนักทํองเที่ยว โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและได๎เลือกพื้นที่ในการศึกษา คือ หมูํบ๎านบํอสร๎าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหมํ ผลการศึกษา บริบททางประวัติศาสตร๑ของ บ๎านบํอสร๎าง เป็นที่อยูํอาศัยของชาวลาวและชาวไทยใหญํ ที่ประกอบอาชีพหลักคือการทานาและการ ทารํมพื้นเมืองเพื่อจาหนําย จุดเริ่มของการเปลี่ยนแปลงในการผลิตหัตถกรรมรํมนั้น ได๎สืบเนื่องมาจาก การที่รํมบํอสร๎างได๎รับการสนับสนุนจากทางภาครัฐเพื่อให๎เป็นสัญลักษณ๑ของการเป็นเมืองเชียงใหมํ ตํ อ มาจึ ง ได๎ รั บ ความนิ ย มจากคนทั่ ว ไปและนั ก ทํ อ งเที่ ย ว จึ ง ได๎ สํ ง ผลตํ อ กระบวนการผลิ ต รํ ม ที่ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๗๗


เปลี่ยนแปลงไปตามความต๎องการของกระแสสังคมเพราะชาวบ๎านเริ่มที่จะผลิตเป็นสินค๎าจาหนํ าย มากกวําคานึงถึงการใช๎สอย ในการศึกษาครั้งนี้ได๎จาแนกกระบวนการเปลี่ยนแปลงด๎านการผลิตของ ชุมชนออกเป็นชํวงเวลาตํางๆ คือ กระบวนการผลิตในยุคดั้งเดิม ยุคกํอนสํงเสริมการทํองเที่ยว ยุคที่มี การสํงเสริมการทํองเที่ยว และเปลี่ยนแปลงของการทาหัตถกรรมท๎องถิ่น ให๎กลายเป็น สินค๎าที่ระลึก เกิดกลไกทางการตลาด กลไกการเปลี่ยนแปลงด๎านการผลิต และกลไกจากการสํงเสริมการทํองเที่ยว จากภาครั ฐ โดยหั ต ถกรรมถู ก เปลี่ ย นแปลงคุ ณ คํ า จากเพื่ อ ใช๎ ส อยเป็ น คุ ณ คํ า ในรู ป ของรายได๎ กระบวนการเปลี่ยนแปลงในการทาให๎เป็นสินค๎า ถูกซึมซับเข๎ามาโดยไมํรู๎ตัว โดยเริ่มจากความต๎องการ รายได๎มาใช๎ในครอบครัวและเมื่อเห็นวําการจาหนํายสินค๎าที่ระลึกดังกลําวสามารถทารายได๎ให๎มาก ก็ เริ่ มที่จ ะเรํ งกาลังการผลิตเพื่อเป็น การสร๎างรายได๎ให๎มากกวําผู๎ ผ ลิตรายอื่น สํ งผลให๎ ลั กษณะทาง ประณีตศิลป์และประโยชน๑ใช๎สอยคํอยๆถูกลดความสาคัญลง เพื่อให๎เป็นเพียงสินค๎าที่ระลึกเทํานั้น (๔) อุษณีษ๑ ปัญจมาตย๑ (๒๕๔๙) เขียนในการค๎นคว๎าแบบอิสระเรื่อง “การ จัดการคุณภาพสิ่งแวดล๎อมในกระบวนการผลิตงานหัตกรรมไม๎ของผู๎ประกอบการในตาบลหนองควาย อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหมํ ” เพื่อศึกษากระบวนการผลิตและจัดการคุณภาพสิ่งแวดล๎อมในงาน หัตถกรรมไม๎ของผู๎ประกอบการในชุมชน และวิเคราะห๑ปัญหาสิ่งแวดล๎อมในชุมชนเพื่อนาไปสูํการ จัดการสิ่งแวดล๎อมชุมชนและการลดมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิตหัตถกรรมไม๎ของชุมชน ผล การศึกษาพบวํา ในการผลิตหัตถกรรมไม๎จะมีมลสารเกิดขึ้นในทุกขั้นตอนการผลิต โดนเฉพาะการ เคี้ยนขึน้ รูปจะเป็นขั้นตอนที่มีมวลสารเกิดขึ้นมากที่สุด ซึ่งเป็นมลสารที่กํอปัญหาให๎ทั้งผู๎ประกอบการ เอง และผู๎ที่อยูํในชุมชน ปัญหาที่สาคัญอีกอยํางหนึ่งคือการเผาเศษวัสดุหรือการอบชิ้นงานเพื่อลด ความชื้น จะกํอให๎เกิดควันปริมาณมาก เพราะในชํวงเช๎าหรือชํวงฤดูหนาว ควันจะลอยอยูํเต็มชุมชน ผู๎ ป ระกอบการผลิ ต สํ ว นใหญํ ไ มํ รู๎ สึ ก วํ า เป็ น ปั ญ หาจึ ง ยั ง คงละเลยกั บ ปั ญ หา ดั ง นั้ น การจั ด การ สิ่งแวดล๎อมในชุมชนต๎องอาศัยความรํวมมือ ๓ ฝุาย ทั้งผู๎ประกอบการ ผู๎ที่อยูํในชุมชนใกล๎เคียง และ ภาครัฐ โดยภาครัฐต๎องเป็นเจ๎าภาพรํวมกับผู๎นาชุมชนตามธรรมชาติ ชํวยปลูกจิตสานึกให๎ประชาชน เห็นแกํประโยชน๑สํวนรวม รัก และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อมของท๎องถิ่น การเพิ่ม ความเอาใจใสํและความรั บผิ ดชอบของเจ๎าหน๎าที่รัฐ ในการสอดสํองดูแลและแก๎ไขปัญหา รวมทั้ง หนํวยงานที่มีอานาจจะต๎องการออกกฏระเบียบเพื่อคุ๎มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม โดย จะต๎องมีการบังคับใช๎กฏระเบียบอยํางเข๎มงวดด๎วย และประการสาคัญจะต๎องให๎ประชาชนมีสํวนรํวม รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๗๘


ในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล๎อมชุมชน อบรมความรู๎ด๎านการผลิตเพื่อลดมลสารที่เกิดขึ้นจากการผลิต หัตถกรรมไม๎ รวมถึงการให๎ความรู๎ด๎านสาธารณสุขสิ่งแวดล๎อมแกํชุมชน จัดสถานที่ให๎ผู๎ประกอบการ ผลิตหัตถกรรมไม๎มาผลิตในบริเวณพื้นที่เดียวกันเพื่อสะดวกในการควบคุม จัดหาทุนให๎ผู๎ประกอบการ ในการปรับปรุงเครื่องมือเครื่องใช๎ที่มีเทคโนโลยีสีเขียว เพื่อสามารถลดการกระจายมลสาร (๕) ชัชรินทร๑ ปัญญา (๒๕๕๓) เขียนในการค๎นคว๎าแบบอิสระเรื่อ ง “การ ดาเนินงานของศูนย๑อุตสาหกรรมทารํมบํอสร๎าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหมํ” เพื่อศึกษากลยุทธ๑ การดาเนินงาน ปัญหาและการดาเนินงานของศูนย๑อุตสาหกรรมทารํมบํอสร๎าง จังหวัดเชียงใหมํ ผล การศึกษาพบวํา ศูนย๑อุตสาหกรรมทารํมบํอสร๎าง ได๎เปิดให๎นักทํองเที่ยว ตลอดจนผู๎ สนใจสามารถเข๎า เยี่ยมชมหรือเรียนรู๎เกี่ยวกับวิธีการทารํมในขั้นตอนตํางๆ ทุกขั้นตอน ซึ่งการกํอตั้งศูนย๑ฯ ในครั้งนี้ นอกจากจะสามารถอนุรักษ๑ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท๎องถิ่นไว๎ได๎แล๎ว ยังเป็นการสร๎างงาน สร๎าง รายได๎ให๎กับชาวบ๎านในท๎องถิ่น รวมทั้งเป็นแหลํงกระจายสินค๎า ให๎กับร๎านค๎ารายยํอยอีกด๎วย และเพื่อ พัฒนากิจการให๎มีระบบการบริหารที่ชัดเจนยิ่งขึ้น จึงได๎จดทะเบียนเป็น บริษัท ศูนย๑ทารํม ๑๙๗๘ จากัด สาหรับปัญหาด๎านการจัดการ พบวํา การบริหารแบบรวมอานาจ ทาให๎หัวหน๎างานและทีมงาน ขาดทัก ษะด๎า นการวิ เคราะห๑ แ ละจั ด ทารายงานเพื่ อ การตั ดสิ น ใจ อี กทั้ ง ไมํมี ร ะบบการเชื่ อมโยง ฐานข๎อมูลเพื่อสนับสนุนการบริหาร นอกจากนี้การที่กิจการไมํมีฝุายบริหารทรัพยากรมนุษย๑ จึงทาให๎ งานด๎านบุคคลไมํได๎รับการดูแล และพัฒนาอยํางเต็มที่ ปัญหาด๎านการผลิต พบวํา ด๎านผลิตภัณฑ๑ มี ข๎อจากัดในเรื่องของการออกแบบและการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ๑ แล๎วกาลังการผลิตในปัจจุบันไมํ ทันกับความต๎องการของลูกค๎า และไมํสามารถเพิ่มกาลังการผลิตได๎ อีกทั้งมีปัญหาด๎านการจัดการ สินค๎าคงเหลือ (๖) วัชรา ทองหยอด (๒๕๕๐) เขียนในการค๎นคว๎าแบบอิสระเรื่อง “การพัฒนา ผลิตภัณฑ๑งานจักสาน ตาบลปุาบง อาเภอสารภี จั งหวัดเชียงใหมํ” เพื่อศึกษากระบวนการผลิตและ พัฒนางานจักสาน ตาบลปุาบง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหมํ ที่เข๎ารํวมโครงการ “หนึ่งตาบลหนึ่ง ผลิ ต ภั ณ ฑ๑ ” สํ ว นเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช๎ ใ นการศึ ก ษาประกอบด๎ ว ย แบบสอบถาม แบบสั ม ภาษณ๑ แ บบมี โครงสร๎างโดยประชากรที่ใช๎ในการศึกษา คือ ผู๎อาวุโส ผู๎ประกอบอาชีพจักสาน คณะกรรมการกลุํมจัก สานและผู๎บริโภคผลิตภัณฑ๑งานจักสาน ตาบลปุาบง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหมํ ผลการศึกษาพบวํา กระบวนการผลิตจักสาน ตาบลปุาบงมีมานานแล๎ว โดยจะทางานในเวลาวํางจากทาไรํทานา ซึ่งทาไว๎ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๗๙


ใช๎เองในครอบครัว ตํอมาทาเพื่อขายในชุมชน หรือนาไปแลกสิ่งของจากที่อื่น และมีการพัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑ๑ให๎มีความแปลกใหมํ สวยงามมากขึ้น จึงเป็นกิจกรรมที่ชํวยสร๎างงานและเสริมรายได๎ให๎แกํ ชาวบ๎านเพิ่มขึ้น และการพัฒนาผลิตภัณฑ๑งานจักสาน ได๎มีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ๑ เชํน โคมไฟ กระเช๎า กระเป๋า เก๎าอี้ และมีการนาวั ตถุดิบอื่นๆ มาประยุกต๑ เชํนไม๎มะมํวง กิ่งไผํ ใบไผํ ใบยางพารา หวาย โดยใช๎โครงเหล็กและอุปกรณ๑ไฟฟูาเป็นสํวนประกอบ (๗) ธงชัย ปัญญาธนัญชัย (๒๕๔๘) เขียนในการค๎นคว๎าแบบอิสระเรื่อง “การ พัฒนาและสืบทอดอาชีพการ “ต๎อง” โลหะแผํนของกลุํมหัตถศิลป์ล๎านนา วัดศรีสุพรรณ บ๎ านวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมํ ” เพื่อศึกษาการพัฒนาและการสืบทอดอาชีพการต๎อง โลหะแผํนของ กลุํมหัตถศิลป์ล๎านนา วัดศรีสุพรรณ บ๎านวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมํ เพื่อหาแนวทางการ สํงเสริมอาชีพการต๎อง เครื่องเงินและโลหะเนื้ออํอนในลักษณะงานศิลปหัตถกรรม ซึ่งมีกลุํมศึกษาคือ สลํากลุํมหัตถศิลป์ล๎านนาและผู๎สืบทอด เครื่องมือที่ใช๎คือ แบบสัมภาษณ๑ปลายเปิด สรุปผลได๎ดังนี้ กลุํมหัตถศิลป์ล๎านนามีการพัฒนากลุํมจากชํางหัตถกรรมพื้นบ๎านการทาเครื่องเงิน และโลหะดุนลาย ของชํางบ๎านศรีสุพรรณ ซึ่งเป็นชํางในคุ๎มเมือง จังหวัดเชียงใหมํในอดีต ได๎นาความรู๎มาถํายทอดให๎ ลู กหลานจนมีค วามสามารถเป็ น ชํ างมีฝี มื อ ตํอมาได๎ใช๎ ความรู๎ ในการทาโลหะดุ นลายบนภาชนะ เครื่องใช๎ตํางๆ รูปภาพและของที่ระลึก รวมทั้งพัฒนาลวดลายจากการดัดแปลงการแกะสลักไม๎สักมา ใช๎บนโลหะอลูมิเนียม ทาให๎ได๎รับความนิยมแพรํหลายมากขึ้ น สํวนการสืบทอดนั้น ปัจจุบันสอนให๎ กลุํมผู๎สนใจทั่วไปเข๎ามาศึกษา สืบทอดการต๎องโลหะ และปรับเป็นหลักสูตรท๎องถิ่นในปัจจุบัน และ แนวทางการสํงเสริมอาชีพนั้น ภาครัฐได๎เข๎ามาดาเนินการจัดหาตลาดจาหนํายตามงานสาคัญตํางๆ ของจังหวัด ทาให๎มีผู๎นิยมผลิตภัณฑ๑ของกลุํมจานวนมาก (๘) นาริตา ชัยธิมา (๒๕๕๓) เขียนในวิทยานิพนธ๑เรื่อง “การพัฒนาหลักสูตร ฝึกอบรม เรื่อง การจักสานบ๎านปุาบง ตาบลปุาบง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหมํ ” เพื่อศึกษาการ พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง การจักสาน ศึกษาผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรฝึกอบรม และศึกษาความ คิดเห็นของผู๎รับการอบรมที่มีตํอหลักสูตรการอบรม เรื่อง การจักสานบ๎านปุาบง ตาบลปุาบง อาเภอ สารภี จังหวัดเชียงใหมํ กลุํมเปูาหมายที่ใช๎ในการวิจัย ได๎แกํ ผู๎เชี่ยวชาญด๎านการจักสานบ๎านปุาบง กลุํมผู๎ประกอบอาชีพจักสานบ๎านปุาบง และผู๎รับการอบรม ผลการศึกษาพบวํา หลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง การจักสานบ๎านปุาบง ตาบลปุาบง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหมํ ใช๎รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร ฝึกอบรมของ Nolker and Schoenfeldt ผลสัมฤทธ๑ของหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง การจักสานบ๎านปุา รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๘๐


บง ตาบลปุาบง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหมํ อยูํในระดับดี สามารถใช๎งานได๎ตรงตามประเภทของ ผลิตภัณฑ๑ รองลงมาคือความเหมาะสมของผลิตภัณฑ๑ แล๎วผู๎รับการอบรมเห็นด๎วยในเรื่องการจัดทา หลักสูตรฝึกอบรม และมีความพอใจในการจัดฝึกอบรมหลักสูตร ในระดับดีมาก (๙) อุทัย ดวงบาล (๒๕๕๑) เขียนในการค๎นคว๎าแบบอิสระเรื่อง “ความคงอยูํใน อาชีพการทาเครื่องปั้นดินเผาในหมูํบ๎ านพนาวัลย๑ อาเภอแมํริม จังหวัดเชียงใหมํ ” เพื่อศึกษาปัจจัยที่ เกี่ยวข๎องกับความคงอยูํในอาชีพการทาเครื่องปั้นดินเผาในหมูํบ๎านพนาวัลย๑ ตาบลขี้เหล็ก อาเภอแมํ ริ ม จั ง หวั ดเชีย งใหมํ กลุํ มตัว อยํ างคือ เจ๎ าของกิจ การ ชํ างปั้น ผู๎ ซื้อผลิ ต ภัณ ฑ๑ และผู๎ ที่ เกี่ ยวข๎อ ง เครื่องมือที่ใช๎ในการศึกษาประกอบด๎วย แบบสัมภาษณ๑ และแบบสังเกต ผลการศึกษาพบวํา หมูํบ๎าน พนาวัลย๑ ตาบลขี้เหล็ก อาเภอแมํริม จังหวัดเชียงใหมํ กํอตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๐ ราษฏรสํวนใหญํ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีโรงงานเครื่องปั้นดินเผา โดยเผาที่อุณหภูมิต่า ใช๎ดินที่เป็นเอกลักษณ๑ ของพื้นที่ เป็นดินดาหรือดินเหนียว ซึ่งเป็นวัตถุดิบในหมูบ๎าน รูปแบบผลิตภัณฑ๑คือ คนโท โอํง หม๎อ แจกัน การถํายทอดความรู๎คือ เจ๎าของได๎รับความรู๎จากโรงงานทาเครื่องปั้นดินเผาที่เคยทางาน แล๎ว มาประกอบอาชีพเพราะมีใจรัก และได๎รับการอบรมความรู๎จากศูนย๑สํงเสริ มอุตสาหกรรมภาคเหนือ สํวนด๎านการตลาด โรงงานได๎รับเลือกให๎เข๎ารํวมโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ๑ และมีพํอค๎ามารับ ซื้อผลิตภัณฑ๑ที่แหลํงผลิต ได๎รับสนับสนุนและเงินทุนจากพัฒนาชุมชนอาเภอแมํริม (๑๐) เอกพิงค๑ วงษ๑แก๎วจันทร๑ (๒๕๔๖) เขียนในวิทยานิพนธ๑เรื่อง “แนวทางการ จัดการอาชีพหัตถกรรมจากกะลามะพร๎าว จังหวัดเชียงใหมํ ” เพื่อศึกษาการจัดการอาชีพตลอดจนหา แนวทางในการประกอบอาชีพหั ตถกรรมจากกะลามะพร๎าวในจังหวัดเชียงใหมํ โดยวิธีการสังเกต สัมภาษณ๑และแบบสอบถามจากแหลํงข๎อมูล ผลการศึกษาพบวํา หัตถกรรมจากกะลามะพร๎าวได๎รับ การสนั บ สนุ น จากกรมสํ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ภาคที่ ๑ จั ง หวั ด เชี ย งใหมํ อี ก ทั้ ง วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช๎ เ ป็ น กะลามะพร๎าว สํวนใหญํจะรับซื้อจากพํอค๎าในตลาดเมืองใหมํ โดยเป็นมะพร๎าวจากทางภาคใต๎ของ ประเทศ แล๎ ว ผู๎ ป ระกอบอาชีพ ต๎อ งเป็ นผู๎ มีพื้ น ความรู๎ ทั กษะทางด๎ านงานชํา ง มี ความสนใจและ ความคิดสร๎างสรรค๑ในงานหัตถกรรมจากกะลามะพร๎าว ในด๎านการจัดการผู๎ประกอบอาชีพต๎องมีการ วางแผนในการดาเนินการจัดการอาชีพหัตถกรรมจากกะลามะพร๎าว โดยแผนงานที่ใช๎เป็นประจา ตลอดทั้งปีในการผลิตเครื่องใช๎ในครัวเรือน เครื่องประดับ เครื่องดนตรี อีกทั้งแผนงานที่ใช๎ผลิตตาม คาสั่งซื้อเป็นพิเศษจาพวกของที่ระลึก ของตกแตํงบ๎าน ในการกาหนดราคาผลิตภัณฑ๑นั้น ผู๎ประกอบ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๘๑


อาชีพหัตถกรรมจากกะลามะพร๎าวจะเป็นผู๎กาหนดราคาโดยคิดจาก คําวัสดุ+คําแรง+กาไรที่ต๎องการ สํวนชํองทางการจัดจาหนํายสินค๎าที่นิยมมากที่สุดได๎แกํ จากผู๎ผลิตไปยังผู๎ค๎าสํงจากนั้นไปผู๎ค๎าปลีก และสุดท๎ายถึงมือผู๎บริโภค แนวทางของการประกอบอาชีพหัตถกรรมจากกะลามะพร๎าวมีลักษณะเป็น เจ๎าของคนเดียว ผู๎ป ระกอบอาชีพต๎องมีความรู๎ในอาชีพหัตถกรรมจากกะลามะพร๎าวและมีทักษะ พื้นฐานในด๎านการผลิต มีเงินทุน มีการวางแผนการตลาดอยํางเป็นระบบ สามารถประสานความ รํวมมือกับหนํวยงานทางภาครัฐในการพัฒนาการจัดการอาชีพหัตถกรรมจากกะลามะพร๎าว (๑๑) ศิวดล วาฤทธิ์ (๒๕๔๕) เขียนในวิทยานิพนธ๑เรื่อง “ภูมิปัญญาท๎องถิ่นการ ทาโคมผัดจังหวัดเชียงใหมํ ” เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท๎องถิ่นการทาโคมผัดจังหวัดเชียงใหมํ ขอบเขต การศึกษาเป็นเรื่องราวความเป็นมาที่เกี่ ยวข๎องกับโคม และกระบวนการทาโคมผัด ศึกษารูปแบบ ลวดลาย ลักษณะรูปทรง และศึกษาภูมิปัญญาท๎องถิ่นการทาโคมผัด และประชากรที่ใช๎ในการศึกษา ได๎แกํผู๎รู๎และผู๎ประดิษฐ๑ โคมผัดที่ทาเป็นอาชีพหลัก หรืออาชีพเสริมที่อาศัยในจังหวัดเชียงใหมํ ผล การศึกษาพบวํา ความเป็นมาและตานานของโคม เกี่ยวข๎องกับประเพณีเดือนยี่เป็งของชาวล๎านนา เป็ น ประเพณี เกํ า แกํ เป็ น เรื่ อ งของความสั ม พัน ธ๑ ระหวํ า งคนกั บ คน ธรรมชาติแ วดล๎ อม สิ่ ง เหนื อ ธรรมชาติ ความเชื่อที่เป็นพื้นฐานขององค๑ความรู๎โดยผํานกระบวนการทางจารีตประเพณี วิถีชีวิตการ ทามาหากิน และพิธีกรรมตํางๆ เพื่อให๎เกิดความสงบสุขของชุมชนหมูํบ๎านของชาวบ๎าน การประดิษฐ๑ โคมมีจุดประสงค๑อยูํ ๔ ประการ คือ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา เพื่อความสวยงาม เพื่อเพิ่มความสวําง ให๎กับตัวอาคารบ๎านเรือนและเพื่อเป็นสิริมงคลแกํเจ๎าของบ๎าน ภูมิปัญญาท๎องถิ่นการทาโคมผัด คือ องค๑ความรู๎และความสามารถที่สั่งสมของผู๎ประดิษฐ๑ และถํายทอดกันมาจากคนรุํนหนึ่งไปยังอีกรุํน หนึ่ง กระบวนการทาโคมนั้นเกิดจากสติปัญญาและประสบการณ๑ของผู๎ประดิษฐ๑จากคนหนึ่งไปยังอีก คนหนึ่ ง นอกจากนี้ แ ล๎ ว ทั ก ษะตํ า งๆ ได๎ ม าจากการเรี ย นรู๎ แ ละจากประสบการณ๑ ข องตนเองใน สภาพแวดล๎อมของการทางานและสภาพแวดล๎อมทางธรรมชาติ (๑๒) กฤษดา ขุํ ย อาภัย (๒๕๕๒) เขีย นในงานวิจั ยเรื่ อง “การทํ องเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรมในพื้น ที่ บ๎ า นลวงเหนื อ ต าบลลวงเหนื อ อ าเภอดอยสะเก็ ด จั ง หวั ด เชี ย งใหมํ ” พบวํ า นักทํองเที่ยวชาวไทยเห็นวํา ปัจจัยทางการตลาดการทํองเที่ยวมีอิทธิพลมากที่สุด คื อ ในการตัดสินใจ มาเที่ยวจังหวัดเชียงใหมํ คือ แหลํงทํองเที่ยวตามธรรมชาติ สาหรับนักทํองเที่ยวชาวตํางประเทศมี ความเห็นวําปัจจัยที่มีผลมากคือศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิต ในด๎านศักยภาพและความพร๎อม รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๘๒


ของชุมชนพบวํามีความพร๎อมคํอนข๎างมาก ไมํวําจะเป็นโครงสร๎างพื้นฐานตํางๆ การคมนาคมขนสํง ที่ พัก ความปลอดภัย ประกอบกับผู๎นาชุมชนมีความเข๎มแข็งซึ่งสามารถผลักดันโครงการนี้ได๎ ทั้งนี้ควร รอจังหวะที่เหมาะสมกํอน สาหรับปัญหาสามารถวิเคราะห๑เป็น ๓ สํวนคือ ๑) ปัญหาภายนอกชุมชน ได๎แกํ ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาการเมือง ๒) ปัญหาภายในชุมชน เชํน การขาดความเข๎มแข็งของชุมชน ในเรื่องวัฒนธรรมท๎องถิ่น ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรและภาษาอังกฤษ ๓) ปัญหาจากภาครัฐคือ การขาดการสนับสนุนที่ดีจากภาครัฐเทําที่ควร สาหรับผลกระทบจากการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบํง ได๎ ส องสํ ว นคือ ผลกระทบด๎ า นบวก ท าให๎ เกิ ด ความเข๎ม แข็ง ของชุ มชน ไมํ วํา จะเป็ นรายได๎ การ ประชาสัมพันธ๑ชุมชน สํวนผลกระทบด๎านลบคือ อาจเกิดปัญหาด๎านอาชญากรรม ยาเสพติด และโรค ระบาด และแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒ นาการทํองเที่ยวเชิงวัฒ นธรรมบ๎านลวงเหนือคือ การ พัฒนาในรูปแบบของโฮมสเตย๑ และการสร๎างแหลํงความรู๎ชุมชน (๑๓) กาญจนา แสงลิ้มสุวรรณ และคณะ (๒๕๕๕) งานวิจัยเรื่อง “การทํองเที่ยว เชิ ง มรดกวั ฒ นธรรมอยํ า งยั่ ง ยื น ” จากวิ จั ย ชิ้ น นี้ ไ ด๎ ผ ลการศึ ก ษาวํ า การวางแผนการพั ฒ นาการ ทํองเที่ยวเชิงมรดกทางวัฒนธรรมเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร๑ที่ต๎องพัฒนาในประเทศไทย เพราะนอกจาก การทํองเที่ยวจะเป็นอุตสาหกรรมหลักที่สร๎างรายได๎และนาเงินตราตํางประเทศเข๎าสูํประเทศไทยแล๎ว การทํองเที่ยวยังกํอให๎เกิดการสร๎างอาชีพสืบเนื่องจากการทํองเที่ยว เชํน การผลิตหัตถกรรมพื้นบ๎าน หรือการให๎บริการด๎านตํางๆ นับได๎วํา การทํองเที่ยวมีบทบาทในการกระตุ๎นให๎เกิดการผลิตและการนา ทรัพยากรของประเทศมาใช๎ให๎ เกิดประโยชน๑สูงสุด อยํางไรก็ดี สถานการณ๑ตลาดการทํองเที่ยวใน ปัจจุบันมีการแขํงขันอยํางรุนแรง ประเทศไทยจึงควรสํงเสริมการทํองเที่ยวโดยให๎ความสาคัญกับการ ใช๎วัฒนธรรม เป็นจุดขายในการแขํงขันกับแหลํงทํองเที่ยวทั่วโลก ทั้งนี้หัวใจสาคัญของการวางแผน พัฒนาอุตสาหกรรมทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให๎มีการเติบโตอยํางยั่งยืน คือ การรักษาสมดุลระหวํางการ อนุรักษ๑มรดกทางวัฒนธรรม และการสํงเสริมพัฒนาการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่งจะสาเร็จลุลํวงไป ได๎จะต๎องอาศัยความรํวมมือกันจากทุกฝุายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค๑กรอิสระ และชุมชน (๑๔) จิ ร าวรรณ กาวิล ะ (๒๕๔๔) เขียนในงานวิจัยเรื่อง “ทางเลื อกของการ ทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่หมูํบ๎านวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมํ ” พบวํา หมูํบ๎านวัวลาย เป็นถิ่นที่อยูํของชํางฝีมือเครื่องเงินที่ถูกกวาดต๎อนมาจากลุํมแมํน้าสาละวินในประเทศพมํา ปรากฏ หลักฐานดังกลําวตั้งแตํปีพ.ศ.๒๓๔๒ ในสมัยพระเจ๎ากาวิละ และตั้งบ๎านเรือนอยูํโดยรอบวัดหมื่นสาร รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๘๓


ประกอบอาชีพหัตถกรรมเครื่องเงินสืบทอดกันมาเป็นเวลานาน จนกลายเป็นเอกลักษณ๑ของหมูํบ๎านวัว ลายจนถึงปัจจุบัน และเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให๎นักทํองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตํางประเทศเดินทาง มาเยี่ยมชมและเลือกซื้อเครื่องเงินในหมูํบ๎าน สาหรับปัญหาการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม พบวํา ปัญหา สภาพถนนที่คับแคบมีสิ่งกีดขวางไมํสะดวกในการสัญจร การทิ้งขยะ บริเวณที่รกร๎างขาดการเอาใจใสํ ดูแล การขาดแหลํงทํองเที่ยวใกล๎เคียงที่เป็นสิ่งดึงดูดใจ และแหลํงทํองเที่ยวกระจายตัวอยูํ ตามจุด ตํางๆ เป็นอุปสรรคตํอการเดินทางทํองเที่ยวในหมูํบ๎าน ปัญหาด๎านสิ่งอานวยความสะดวกในแหลํง ทํ อ งเที่ ย ว เชํ น ข๎ อ มู ล แหลํ ง ทํ อ งเที่ ย ว ที่ จ อดรถ ข๎ อ จ ากั ด ของคนท๎ อ งถิ่ น ในการสื่ อ สาร ภาษาตํางประเทศ ฯลฯ เป็นต๎น ในการเสนอกิจกรรมที่เป็นทางเลือก ได๎แกํ การจัดตั้งศูนย๑สํงเสริมการ ทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การจัดตั้งศูนย๑ศิลปหัตถกรรม การจัดงานเทศกาลเครื่องเงิน การจัดทํองเที่ยว แบบถีบจักรยาน และการจัดการทํองเที่ยวแบบโฮมสเตย๑ เป็นต๎น (๑๕) สํ ง ศรี วงษ๑ เ วช (๒๕๔๕) เขี ย นในงานวิ จั ย เรื่ อ ง “การทํ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมลุํมแมํน้าปิง ” พบวํา สองฝั่งแมํน้าปิงมีองค๑ประกอบของแหลํงทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ ครบถ๎วน จึงเป็นสิ่งดึงดูดใจในการทํองเที่ยวให๎สามารถจัดรูปแบบการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมได๎เป็น ๒ รูปแบบหลักๆ คือ การทํองเที่ยวทางน้าและทางบก ซึ่งได๎กลยุทธ๑และแนวทางในการพัฒนาให๎เป็น แหลํงทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดังนี้ ๑) กลยุทธ๑การจัดการ เชํน จัดหางบประมาณเพื่อสนับสนุนการ ทํองเที่ยวอยํางจริงจัง ๒) กลยุทธ๑การประชาสัมพันธ๑ เชํน สนับสนุนการจัดระบบข๎อมูล ขําวสาร และ การสื่อสารมวลชน ๓) กลยุทธ๑การสํงเสริมการตลาดและบริการทํองเที่ยว เชํน นาเอกลักษณ๑หรือจุด แข็ง และโอกาสผนวกกั บ กิ จ กรรมที่นํ าสนใจเสนอขาย ๔) กลยุ ทธ๑ก ารจัด โครงสร๎า งพื้ นฐานและ สิ่งแวดล๎อม เชํน ให๎ทุกหนํวยงานปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่วําด๎วยการควบคุมอาคารและการบาบัดน้า เสียลงสูํแมํน้า ๕) กลยุทธ๑การสร๎างจิตสานึก เชํน สนับสนุนให๎มีการศึกษาในประวัติศาสตร๑ล๎านนาแกํ เยาวชนและชุมชนท๎องถิ่น เพื่อจะได๎ตระหนักถึงคุณคําและเกิดความภาคภูมิใจในแหลํงทํองเที่ยวพื้นที่ ของตน ๖) กลยุทธ๑การมีสํวนรํ วมของชุมชนท๎องถิ่น เชํน เปิดโอกาสให๎ ชาวบ๎านมีสํวนรํวมในการ วางแผนตัดสินใจ และติดตามประเมินผล ตลอดจนได๎รับผลประโยชน๑จากการพัฒนาการทํองเที่ยวเชิง วัฒนธรรม (๑๖) สุดชีวัน นันทวัน ณ อยุธยา (๒๕๕๑) เขียนในงานวิจัยเรื่อง “การจัดการ ทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชนเป็นศูนย๑กลางในพื้นที่อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมํ ” ผลการศึกษา รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๘๔


พบวํา ยังมีปัจจัยดึงดูดทางการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบางประการ เชํน พิพิธภัณฑ๑ ดนตรี พื้นบ๎าน และวรรณกรรมท๎องถิ่น ที่ยังไมํได๎รับการสนับสนุนให๎เป็นปัจจัยดึงดูดเพื่อสํงเสริมการทํองเที่ยวเชิง วัฒนธรรม โดยพบปัญหาทั้งทางด๎านบุคลากรที่มีองค๑ความรู๎เกี่ยวกับเรื่องดังกลําวมีอยูํน๎อยและไมํได๎ รับการสนับสนุนทั้งทางด๎านนโยบายและงบประมาณ คนในชุมชนและเยาวชนคนรุํนใหมํยังคงเห็น ความสาคัญในเรื่องดังกลําวน๎อย สาหรับแนวทางการจัดการ การทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยเน๎นให๎ ชุมชนเป็นศูนย๑กลาง ได๎ดังนี้คือ ๑) การกาหนดนโยบายการศึกษาของรัฐเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการ อนุรักษ๑วัฒนธรรม และเป็นเครื่องมือในการจัดการทํองเที่ยวทางวัฒนธรรมภายใต๎กระแสโลกาภิวัตน๑ ๒) คือการกาหนดนโยบายการทํองเที่ยวของรัฐ จาเป็นต๎องสํงเสริมให๎ชุมชนมีสํวนรํวมในการจัดการ ทํอ งเที่ ย ว เพื่ อสร๎ างความตระหนั ก ในการมี สํ ว นรํว มในการพัฒ นาการทํ องเที่ ย วของท๎ องถิ่ น ๓) เสริมสร๎างชุมชนให๎เข๎มแข็ง และเปิดพื้นที่ให๎ภาคประชาชนเข๎ามามีสํวนรํวมในการดาเนินงาน มีสํวน รํวมในการตัดสินใจ มีสํวนรํวมในการประเมิน และที่สาคัญคือมีสํวนรํวมในผลประโยชน๑มากยิ่งขึ้น ๔) การสํงเสริมการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ภาครัฐ องค๑กรที่เกี่ยวข๎อง และคนในชุมชนไมํควรมุํงเน๎น ประโยชน๑ทางด๎านเศรษฐกิจเพียงด๎านเดียวเป็นสาคัญ ควรมุํงเน๎นวัตถุประสงค๑และความต๎องการของ เจ๎าของชุมชนและประโยชน๑ที่ชุมชนพึงจะได๎รับอยํางยั่งยืนในทุกๆ ด๎าน ทั้งด๎านคุณภาพชีวิต ความ มั่นคงทางสังคม ความงามทางศิลปวัฒนธรรมของชุมชนด๎วย (๑๗) ปิ่นรัชฏ๑ กาญจนัษฐิติ (๒๕๕๒) เขียนในงานวิจัยเกี่ยวกับ องค๑ประกอบหลัก ที่เกี่ยวเนื่องกับการทํองเที่ยวและการอนุรักษ๑พื้นที่สาคัญทางวัฒนธรรม ประกอบไปด๎วย ทรัพยากร ทางวัฒนธรรม ชุมชนและธุรกิจการทํองเที่ยว ซึ่งพบวํา การวางแผนการจัดการพื้นที่เพื่อการทํองเที่ยว มีหลายหนํวยงานรํวมดาเนินการจึงมีความต๎องการที่หลากหลาย ดังนั้น จึงเสนอแนวคิดการจัดการ ทํองเที่ยวในพื้นที่สาคัญทางวัฒนธรรม ไว๎ดังนี้ การพัฒนาการทํองเที่ยวภายในชุมชนจะต๎องคานึงถึง คุณคําทางด๎านกายภาพ และด๎านวัฒนธรรม ที่ทาให๎ชุมชนแตํละแหํงมีความเป็นเอกลักษณ๑เฉพาะ กํอนที่จะทาโครงการอนุรักษ๑ หรือพัฒนาชุมชน จาเป็นต๎องมีความเข๎ าใจ ความสาคัญและคุณคําของ สถานที่นั้นอยํางถํองแท๎ การตัดสินใจใดๆ ก็ตามที่เนื่องกับการพัฒนาหรือการอนุรักษ๑ จะต๎องอยูํบน พื้นฐานของความเข๎าใจในคุณคําเหลํานั้น การพัฒนาเพื่อการทํองเที่ยวและการกาหนดรูปแบบของ การทํองเที่ยวในชุมชนจะต๎องคานึงถึงศักยภาพด๎านการรองรับนั กทํองเที่ยว ทั้งในแงํกายภาพชุมชน ระบบและบริการตํางๆ ที่รองรับนักทํองเที่ยว และความเปราะบางทางวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมของ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๘๕


พื้นที่ แนวทางการพัฒนาการทํองเที่ยวในชุมชน จะต๎องยึดความสมดุลทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของ ชุมชนเป็นหลัก การพัฒนาการทํองเที่ยวที่เกิดขึ้นจะต๎องไมํเกิดผลกระทบในเชิงลบตํอคุณคําของมรดก ทางวัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตของชุมชนนั้น ลักษณะของการทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจะต๎องเป็น การพัฒนาและจัดการอยํางยั่งยืน (sustainable development) เพื่อให๎มรดกทางวัฒนธรรมใช๎ได๎ทั้ง ปั จ จุ บั น และอนาคตชุมชนควรจะมีบ ทบาทในการวางแผนเพื่อการอนุรักษ๑ และพั ฒ นาด๎าน การ ทํองเที่ย วในพื้น ที่ ของตนเอง การวางแผนจะต๎อ งเคารพความต๎ องการของชุมชน ถึงแม๎ วําความ ต๎องการนั้นอาจเป็นข๎อจากัดในการจัดการพื้นที่ ประชาชนในชุมชนควรจะได๎รับประโยชน๑โดยตรงจาก การพัฒนาด๎านการทํองเที่ยวอยํางเทําเทียมกันในทุกๆ ระดับ โดยประโยชน๑ที่ได๎รับอาจอยูํในรูปแบบที่ แตกตํางกัน

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๒ - ๘๖


กรอบแนวคิดการศึกษา อัตลักษณ๑งานศิลปหัตถกรรมตาม บริบท

สถานการณ๑ปัจจุบัน

ผลการประเมินความพร๎อมของเมือง สถานการณ๑ที่คาดหวังและควรจะเป็น

เชียงใหมํเป็นเมืองสร๎างสรรค๑

ระดับศักยภาพของเมืองเชียงใหมํใน

เกณฑ๑ศักยภาพ

การเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ วิเคราะห๑แนวทางการสํงเสริมและ ขับเคลื่อน เกณฑ๑ของ UNESCO ข๎อเสนอแนะ

แผนภูมิที่ ๒.๑ กรอบแนวคิดในการศึกษา

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ

๒ - ๘๗


บทที่ ๓ วิธีการศึกษา การศึกษาถึงศักยภาพและความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ขององค์การ UNESCO มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเอกลักษณ์และสภาพการณ์ของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ของเมืองเชียงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพความเป็นไปได้และความพร้อม ของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ ที่จะยื่นเสนอเป็น “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art)และเพื่อจัดทาข้อเสนอแนะ แนวทางและแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมงาน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็น “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็น เครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การUNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ต่อไป โดยมีขั้นตอน วิธีการศึกษา การเก็บข้อมูลและการสารวจภาคสนาม ประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ที่ คณะที่ปรึกษาขอนาเสนอภายใต้วัตถุประสงค์การศึกษารายข้อ ใน ๔ ประเด็นสาคัญ ดังนี้ ๑ กาหนดแหล่งข้อมูล - แหล่งข้อมูลเอกสาร - แหล่งข้อมูลบุคคล ภูมิปัญญา ตาม อัต ลักษณ์สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Folk Arts & Crafts) ๒ เครื่องมือจัดเก็บข้อมูล ๓ การเก็บข้อมูล ๔ การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล ๓.๑ วัตถุประสงค์ข้อที่ ๑ เพื่อศึกษาเอกลักษณ์และสภาพการณ์ของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมือง เชียงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๓.๑.๑ การกาหนดแหล่งข้อมูล ๑. กาหนดพื้นที่ศึกษา การดาเนินการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ช่วง โดยในช่วงแรก คณะที่ปรึกษา ได้กาหนด ๘ พื้นที่ของเมืองเชียงใหม่ ตามอาเภอที่มีรากฐานทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมร่วมกัน เพื่อหา แนวทางและข้อมูลจาแนกประเภทงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านพร้อมภูมิปัญญา ได้แก่ (๑) อาเภอเมืองเชียงใหม่ (๒) อาเภอสารภี (๓) อาเภอหางดง (๔) อาเภอสันป่าตอง (๕) อาเภอแม่ริม รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๑


(๖) อาเภอดอยสะเก็ด (๗) อาเภอสันกาแพง (๘) อาเภอสันทราย โดยกาหนดงานที่จะต้องทาการสารวจและเก็บข้อมูล เฉพาะแหล่งที่ยังมีการผลิตงาน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านที่ได้กาหนดไว้ ๙ ประเภท และกาหนดผู้ให้ข้อมูลหลักหลังจากการวิเคราะห์ คุณสมบัติที่เกี่ยวข้องแล้ว คือ ประเภท ผู้ให้ข้อมูลหลัก (คน) (๑) งานปั้น/งานหล่อ ๘ (๒) การทอผ้า ๘ (๓) งานไม้แกะสลักและผลิตภัณฑ์จากไม้ ๘ (๔) การก่อสร้าง ๘ (๕) งานเขียน/งานวาด ๘ (๖) งานจักสาน ๘ (๗) การทากระดาษ ๘ (๘) งานบุดุนโลหะ ๘ (๙) เครื่องเขิน ๘ รวม ๗๒ ซึ่งผลการกาหนดแหล่งข้อมูลทาให้ได้ข้อมูลสาคัญ ดังนี้ ๑. เอกลักษณ์ของงานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านเมืองเชียงใหม่ ๒. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านเมืองเชียงใหม่ - บริบททางประวัติศาสตร์ของจังหวัดเชียงใหม่ - ลั ก ษณะทางกายภาพของ ๘ อ าเภอ ประกอบด้ ว ย อ าเภอเมือ ง อาเภอหางดง อาเภอสารภี อาเภอสันป่าตอง อาเภอแม่ริม อาเภอสั นกาแพง อาเภอสันทรายและ อาเภอดอยสะเก็ด - ผู้ผลิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการลงทะเบียนเป็นผู้ผ ลิต ผู้ประกอบการ ประจาปี พุทธศักราช ๒๕๕๕ จังหวัดเชียงใหม่ (OTOP) - ข้อมูลผู้ผลิตและผู้ส่งออกสินค้างานหัตถกรรมภาคเหนือ (NOHMEX) ๓. ข้อมูลเกี่ยวกับงานหัตถกรรม

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๒


๓.๑.๒ เครื่องมือการเก็บข้อมูล เครื่องมือการเก็บข้อมูลตามวัตถุประสงค์ข้อ ๑ นั้น มี ๑ ชุด เป็นแบบสัมภาษณ์แบบไม่มี โครงสร้าง (ภาคผนวก ก เครื่องมือ ชุดที่ ๑) ผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมด ๗๒ คน เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจาก ชุมชนว่าเป็นภูมิปัญญาทางศิลปหัตถกรรม และ ศิลปะพื้นบ้านประเภทต่างๆ ๙ สาขา ได้แก่ งานปั้น/งานหล่อ , การทอผ้า, งานไม้แกะ/ผลิตภัณฑ์จากไม้, การก่อสร้าง, งานเขียน/งานวาด, งานจักสาน, การทากระดาษ, งานบุ ดุนโลหะ, เครื่องเขิน งานทั้ง ๙ สาขาเหล่ านี้ จะสะท้อนผลงานและกระบวนการผลิต การถ่ายทอด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการจัดการเชิงธุรกิจ ผ่านภูมิปัญญาที่เป็นทั้งบุคคลและผู้แทนองค์กรชุมชนวิชาชีพที่ เกี่ยวข้อง โดยอาจจาแนกกลุ่มเป็นผลิตภัณฑ์ดั้งเดิม และ/หรือ ผลิตภัณฑ์เลียนแบบของโบราณ (Imitated Antique) ๓.๑.๓ การจัดเก็บข้อมูล คณะที่ปรึกษาได้ทาการฝึกอบรมผู้ช่วยนักวิจัยเพื่อจัดเก็บข้อมูล โดยได้คัดเลือกจากนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท) สาขาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม และ สาขาอื่นที่เกี่ยวข้องใน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จานวน ๑๒ คน ส่วนวิธีการเก็บข้อมูล ทาการจัดเก็บจากผู้ให้ข้อมูลหลักที่ได้รับ การศึกษาระบุ ชื่อ และ ที่อยู่ เบื้องต้นแล้ว และ บางรายได้จากวิธีการคัดเลือกแบบ Snow Ball จนสามารถ สืบค้น ระบุตัวบุคคลและจัดเก็บข้อมูลได้จนครบ ส่วนการจัดเก็บข้อมูลจากการวิเคราะห์เอกสารมี ๔ ขั้นตอน คือ ขั้นที่ ๑ ศึกษาศักยภาพและความพร้อมเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ ขั้นที่ ๒ ศึกษาวิธีการจัดทาเอกสารใบสมัครเป็นเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ขั้นที่ ๓ วิธีการจัดกิจกรรมต้นแบบ ขั้นที่ ๔ วิธีการจัดการศึกษาดูงานเมืองสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึ่ง ในการศึกษาศักยภาพและความพร้อมเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ ต ามขั้นที่ ๑ ประกอบด้วย ๓ ขั้นตอนย่อย คือ ขั้นที่ ๑.๑ ศึกษาความพร้อมเอกลักษณ์ สถานการณ์ ศักยภาพความพร้อม ขั้นที่ ๑.๒ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ขั้นที่ ๑.๓ จัดประชุมและนิทรรศการ ๓.๑.๔ การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล คณะที่ปรึกษาได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น ๓ ส่วน ที่สาคัญ คือ ๑. เอกลักษณ์และสภาพการณ์ของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ที่เกี่ยวข้อง กับเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยอาศัยเกณฑ์ ๕ ประการในการจาแนก ดังนี้ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๓


๑.๑ ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economic) หมายถึง ระบบ เศรษฐกิจที่มีผู้ประกอบการณ์สร้างสรรค์เป็นกลไกขับเคลื่อนซึ่งจะก่อให้เกิดจาการจ้างงานและขยายฐานรายได้ และส่งผลต่อระบบภาษีให้กับประเทศ ๑.๒ หัตถกรรม (Craft) หมายถึง งานที่ใช้ฝีมือในการดัดแปลงวัสดุที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติม าเป็ น เครื่ อ งมื อ ใช้ใ นชีวิ ต ประจ าวั น หรื อ โอกาสพิ เ ศษในครอบครั ว และสั ง คม ตามวิถี ชี วิ ต ขนบธรรมเนียมและประเพณีของแต่ละท้องถิ่นเมื่อมนุษย์เริ่มใช้มือดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติให้มีรูปร่าง และลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเพื่อประโยชน์ในการใช้สอย นับได้ว่าเป็นการเริ่มต้นสร้างงานหัตถกรรม ของมนุษย์หัตถกรรมเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่ายิ่งเป็นผลงานที่ตกทอดจากอดีตที่เกิดจากฝีมือและ ปัญญาสร้างสรรค์เพื่อประโยชน์การใช้สอยในชีวิตประจาวันและความพึงพอใจทางวัฒนธรรมและประเพณี ๑.๓ ศิลปะพื้นบ้าน (Folk Art) หมายถึง ศิลปะที่มีความงามความเรียบง่ายจาก ฝีมือของชาวบ้านทั่วไปชีวิตจิตใจของประชาชนศิลปะชาวบ้านหรือศิลปะพื้นบ้านส่วนใหญ่จะเกิดควบคู่กับการ ดาเนินชีวิตของชาวบ้านภายใต้อิทธิพลของชีวิตความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ และความ จาเป็นของสภาพท้องถิ่นเพื่อใช้สอยในชีวิตประจาวัน ๑.๔ ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถที่จะตอบสนองความต้องการ รวมถึงการ แก้ไขปัญหา และการพัฒนาหรือการทาให้สิ่งต่างๆปรากฏให้เป็นสิ่งที่ประจักษ์ได้ ๑.๕ ความพร้อม หมายถึง สภาพที่มีวุฒิภาวะ แรงจูงใจ และประสบการณ์เดิมสูง พอที่จะก่อให้เกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้โดยสะดวก ๒. วิเคราะห์ศักยภาพความเป็นไปได้และความพร้อมของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของ เมืองเชียงใหม่ ที่จะยื่นเสนอเป็น “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๓. ข้อเสนอแนะแนวทางและแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมงานหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้านเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็น “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่าย สมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๓.๒ ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ ๒ เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพความเป็นไปได้และความพร้อมของหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ ที่จะยื่นเสนอเป็น “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่าย สมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art)

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๔


๓.๒.๑ การกาหนดแหล่งข้อมูล ๑. คณะที่ปรึกษาทาการวิเคราะห์แหล่งข้อมูลตามศักยภาพของเมืองเชียงใหม่ทางด้าน ต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ตามนิยามขององค์การ UNESCO ซึ่งตามเกณฑ์ขององค์การ UNESCO (ตามกรอบความคิดเรื่อง แนวทางในการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่) โดยมีเกณฑ์ ดังนี้ ๑. ความเข้าใจในทุกภาคส่วนของจังหวัดเชียงใหม่ ๒. มีการส่งเสริม วิจัย การเรียนรู้หัตถกรรมศิลปะพื้นบ้าน ทั้งในเชิงอุตสาหกรรมงาน นวัตกรรม และการพัฒนาอย่างยั่งยืน ๓. การสร้างทัศนคติ ที่เปิดกว้างยอมรับสิ่งใหม่ๆ ของประชาชน ๔. การสร้างพื้นที่และรูปแบบเมืองที่สามารถใช้งานได้หลายวัตถุประสงค์ ๕. การประชาสัมพันธ์ชูความโดดเด่นของเมืองเชียงใหม่ ด้านงานหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน ๖. การมีความพร้อมด้านแรงงานและบุคลากรสาหรับงานเชิงความรู้ ๗. มี ค วามร่ ว มมี ที่ ดี ข องทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง หน่ ว ยราชการ ภาคธุ ร กิ จ ภาค การศึกษา และภาคประชาชน หน่วยงานที่สนับสนุน ๒. สภาพการณ์ในปัจจุบันของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านโดยมีการกาหนดบุคคล มี ๔ กลุ่ม ได้แก่ ๑. ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และ ขนาดเล็ก ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและ การจั ดจ าหน่ ายสิ น ค้าหั ตถกรรมและศิล ปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ จาแนกเป็น ๙ สาขา ขนาดสถาน ประกอบการละ ๘ คน รวม ๒๑๖ คน ซึ่ง ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง บุคคลผู้ก่อตั้งองค์กร เป็นเจ้าของหรือหุ้นส่วนและดาเนินกิจการโดยยอมรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในการดาเนินธุรกิจ เพื่อผลกาไร และความพอใจด้วยตนเอง วิสาหกิจขนาดย่อม หรือ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (Small Enterprise) หมายถึง กิจการการผลิตหรือกิจการการค้าหรือกิจการการบริการ ที่มีลูกจ้างตั้งแต่ ๑-๕๐ คน และเงินลงทุนไม่ เกิน ๕๐ ล้านบาท วิสาหกิจ ขนาดใหญ่ หรือ ธุรกิจขนาดใหญ่ หมายถึง สถานประกอบการที่มีจานวน แรงงานมากกว่า ๒๐๐ คนขึ้นไป และมีทุนจดทะเบียน ๒๐๐ ล้านขึ้นไป ๒. ผู้ประกอบการส่งออกสินค้าหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านเมืองเชียงใหม่ รวมทั้ง ผู้ประกอบการด้าน Logistics และ Packaging สาหรับสินค้าดังกล่าว จานวน ๕ บริษัทหลัก รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๕


๓. กลุ่ มผู้ แทนภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการส่ งเสริมการเศรษฐกิจสร้างสรรค์จาก หัตถกรรมและศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมบริการ หอการค้าจังหวัด สภาอุตสาหกรรมจังหวัด เครือข่าย ที่เกี่ยวข้อง จานวน ๓๐ หน่วยงาน ๔. กลุ่มนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรชุมชนที่ เกี่ยวข้องกับหัตถกรรม ศิลปะพื้นบ้านและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องในเชียงใหม่ จานวน ๕๐ คน ๓.๒.๒ ที่ปรึกษาได้จัดทาเครื่องมือจัดเก็บข้อมูลจานวน ๕ ชุด (ภาคผนวก) ได้แก่ ๑. แบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง ๒. แบบสอบถามประชาชนทั่วไป ๓. แบบสัมภาษณ์ ผู้ผลิตและปราชญ์ ๔. แบบสอบถาม นักวิชาการ ๕. แบบสอบถาม ผู้ประกอบการด้านหัตถกรรมในชุมชน คณะที่ป รึ กษาได้ทาการทดสอบความเชื่อมั่น ด้านเนื้อหา จากผู้ เชี่ ยวชาญสาขาต่าง ๆ ที่ เกี่ ย วข้อ ง จาก คณาจารย์ ป ระจ า และ อาจารย์ พิเ ศษ ของคณะวิ จิต รศิล ป์ มหาวิ ทยาลั ยเชีย งใหม่ และ ผู้เชี่ยวชาญ ระดับประกอบการจากศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่ กับ ชมรมผู้ประกอบการสินค้าเลียนแบบของ โบราณ บ้านถวาย และ บ้านเหมืองกุง อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ จนกระทั้งพบว่า เครื่องมือจัดเก็บข้อมูล ทุก ฉบั บ มีร ะดั บ ความเชื่อ มั่ น ด้ า นเนื้ อ หา และวิช าชีพ ที่เ กี่ ยวข้ องกับ ความเป็น เศรษฐกิ จสร้ างสรรค์จ าก หัตถกรรมและศิลปวัฒนธรรม ๓.๒.๓ การจัดเก็บข้อมูล จัดนิทรรศการและจัดเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ และ ใช้แบบสอบถาม กับผู้ให้ข้อมูล หลักที่เป็น ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการจัดจาหน่าย สินค้าหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ จาแนกเป็น ๙ สาขา ขนาดสถานประกอบการละ ๘ คน รวม ๒๑๖ คน ผู้ประกอบการส่งออกสินค้าหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านเมืองเชียงใหม่ รวมทั้งผู้ ประกอบการ ด้าน Logistics และ Packaging สาหรับสินค้าดังกล่าว จานวน ๕ บริษัทหลัก กลุ่มผู้แทนภาคเอกชนที่ เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากหัตถกรรมและศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมบริการ หอการค้าจังหวัด สภาอุตสาหกรรมจังหวัด เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จานวน ๓๐ หน่วยงาน และ กลุ่มนักวิชาการ จากสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรชุมชนที่เกี่ยวข้องกับหัตถกรรม ศิลปะพื้นบ้านและ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องในเชียงใหม่ จานวน ๕๐ คน

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๖


๓.๒.๔ การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล คณะที่ป รึ ก ษาได้ ทาการวิ เคราะห์ ข้ อมู ล โดยใช้ โ ปรแกรมส าเร็ จรู ป SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) เพื่อหาความถี่ ค่าร้อยละ ความมัชฌิม เลขคณิต คานวณค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และ จัดกลุ่มข้อมูลเชิงพรรณนา เพื่อตอบโจทย์ของวัตถุประสงค์ข้อที่ ๒ โดยมีเกณฑ์การ แปลผล ที่ใช้สูตร Max – Min/Max ๕ – ๔ /๕ = ๐.๘๐ โดยที่ กาหนดค่าการแปลความหมายของข้อมูล ตามเกณฑ์ ดังนี้ ๐.๐๐ - ๑.๘๐ = น้อยที่สุด ๑.๘๑ - ๒.๖๐ = น้อย ๒.๖๑ - ๓.๔๐ = ปานกลาง ๓.๔๑ - ๔.๒๐ = มาก ๔.๒๑ – ๕.๐๐ = มากที่สุด ส่วนค่าร้อยละนั้น คณะที่ปรึกษากาหนดเกณฑ์ดังนี้ ต่ากว่า ๖๐ = น้อยที่สุด ๖๐ - ๖๙ = น้อย ๗๐ - ๗๙ = ปานกลาง ๘๐ – ๘๙ = มาก ๙๐ – ๑๐๐ = มากที่สุด ๓.๓ วัต ถุประสงค์ข้อที่ ๓ เพื่อจั ดทาข้อเสนอแนะและแผนปฏิบัติการที่เ กี่ยวข้องกับการส่งเสริ มงาน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็น “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดย เป็นเครือข่ายสมาชิกสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) คณะที่ปรึกษาได้กาหนดการจัดทาข้อเสนอแนะและแผนปฏิบัติการออกเป็น ๓ ขั้นตอนคือ ๓.๓.๑. การรวบรวมข้อมูล ๓.๓.๒. การสังเคราะห์ข้อมูล ๓.๓.๓. การจัดทาข้อเสนอแนะและแผนปฏิบัติการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ๓.๓.๑ การรวบรวมข้อมูล คณะที่ปรึกษาได้รวบรวมข้อมูลจาก ๒ แหล่ง คือ ๑. การวิเคราะห์ เอกสารเกี่ยวกับการส่ งเสริมงานหั ตถกรรมและศิล ปะพื้น บ้าน “เมือ ง สร้างสรรค์” (Creative City) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๗


๒. การจัด ประชุมสัมมนาประกอบการจัดนิทรรศการเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ การส่งเสริมงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่าย สมาชิกสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) จานวน ๕ ครั้ง คือ ๒.๑ การจัดการประชุมและร่วมเปิดงานแถลงข่าวโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็น เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านศิลปะพื้นบ้านและงานหัตถกรรมจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ระหว่างเวลา ๑๓.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๒ ของ หอศิลปวัฒนธรรมเมือง เชียงใหม่ เพื่อเป็นการสร้างเวทีแลกเปลี่ยนทัศนะ ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการบูรณาการการพัฒนา เชียงใหม่สู่ เมืองสร้างสรรค์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการทางานแบบบูรณาการและสร้างความร่วมมือแก่ หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชนให้ร่วมเป็นกลไกในการสร้างรากฐานความมั่งคงแก่เมืองเชียงใหม่ เพื่อ ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็นเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ อันจะเอื้อต่อการพัฒนาเมือง สร้างอาชีพ สร้าง รายได้และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ประชาชนของเมืองเชียงใหม่และประเทศในอนาคตและได้มีการแถลง ข่าวเปิดตัวโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้าน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ในเวลา ๑๗.๓๐ ณ ลานหอประวัติศาสตร์ ถ. พระปกเกล้า ซึ่งมีผู้เข้าร่วมทั้ง หน่วยงานภาครัฐ และ เอกชน ชุมชน วิสาหกิจ ตลอดจนประชาชนผู้สนใจในงานหัตถกรรมของเมืองเชียงใหม่ ซึ่งในการจัดงานครั้งนี้ มีผู้สนใจเข้าร่วมจานวน ๘๕๐ คน (ภาคผนวก ค การจัดกิจกรรมที่ ๑) ผู้ร่ว มสัมมนาส่วนใหญ่เป็นเครือข่ายสมาชิกสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขา หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เข้าใจดีถึงวัตถุประสงค์การสร้างความเข้าใจและแนว ทางการร่วมมือแบบบูรณาการ ผ่าน โครงการขับเคลื่อนเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้าน ในวันเสาร์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ และเพื่อเป็นการสร้าง เวทีแลกเปลี่ยนทัศนะ และระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ การทางานแบบบูรณาการและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และ ชุมชน ให้ร่วมกันเป็น กลไกลในการสร้ างรากฐานความมั่น คงแก่เมืองเชียงใหม่ เพื่อขับเคลื่ อนเมืองเชียงให้เป็นเมืองวัฒ นธรรม สร้างสรรค์ อันจะเอื้อต่อการพัฒนาและการสร้างงาน สร้างรายได้และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ประชาชนชาว เชียงใหม่และประเทศในอนาคต ซึ่งมีผู้ร่วมประชุม จานวน ๒๕๐ คน จากผู้แทนภาครัฐ และ เอกชน เช่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่, ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ เชียงใหม่ (TCDC Chiang Mai Center), สมาคมผู้ผลิตและส่งออกสินค้าหัตถกรรมภาคเหนือ (NOHMEX) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ และมี ประชาชนเข้าชมประมาณ ๘๕๐ คน สาหรับการจัดนิทรรศการเกี่ยวกับ การส่งเสริมงานหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่ายสมาชิกสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขา หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๘


๒.๒ การจัดกิจกรรมประกวดออกแบบผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art)” มีเนื้อหาในการอนุรักษ์ สืบสาน และพัฒนางานหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน โดยมุ่งเน้น ให้เกิดการตระหนั กคิดถึงแนวทางในการอนุรักษ์หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน รวมถึง พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับรากฐานทางวัฒนธรรมดั้งเดิม และสามารถต่อยอดไปสู่นวัตกรรมที่ ทันสมัยได้ กอปร กับการสร้างเครือข่ายในการกระตุ้นองค์ความรู้ที่ได้สืบทอดมาช้านาน เพื่อหาแนวทางในการ เพิ่มพูนความเข้าใจ และเห็นถึงคุณค่าทางมรดกวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ ผู้สร้างสรรค์ผลงาน สามารถ นาเสนอและแสดงออกถึงผลงานที่จะจัดส่งเข้าประกวดได้อย่างอิสระ ภายใต้แนวคิดในการอนุรักษ์ สืบสาน และพัฒนางานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ของจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้สนใจเข้าร่วมการสมัคร จานวน ๑๕๐ คน ซึ่งได้จัดการอบรมเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจของโครงการ ในวันอาทิตย์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ หอ ศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. (ภาคผนวก ค การจัดกิจกรรมที่ ๒) ๒.๓ การจัดประชุมสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็น “เสียง –สรรค์-สร้าง” ในวัน เสาร์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ยุ้งข้าวล้านนา (หลองข้าวลา) ตาบลหนองผึ้ง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเวลา ๐๙.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. การจัดงานระดมความคิดจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเพื่อนามาสู่ การวางแผนงาน ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้าน และเชื่อมโยงเครือข่ายของผู้ส่งออก ผู้ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับนโยบายของเมือง และงานหัตถกรรมรวมถึงศิลปะพื้นบ้าน โดยมีผู้ร่วมงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนผู้ผลิตและมีส่วนเกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม จานวน ๕๐ คน (ภาคผนวก ค การจัดกิจกรรมที่ ๓) ๒.๔ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับเยาวชน (Crafts with Hearth for Young Gens) องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้กาหนดจัดกิจกรรม ประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับเยาวชน ในโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่าย เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ในวัน เสาร์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ โรงละคร หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ วันอาทิตย์ที่ ๒๓ พฤศจิกายน ณ ห้องประชุมรวม ชั้น ๔ อาคารออกแบบ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างเวลา ๐๙.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ โรงละคร หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ห้องประชุมรวม ชั้น ๔ อาคารออกแบบ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การจัดกิจกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแนวทาง ในการเพิ่มพูนความเข้าใจและพัฒนาความรู้งานหัตถกรรมของชุมชน การสร้างแรงบันดาลใจ และเชื่อมโยง เครือข่ายด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านกับคนรุ่นใหม่ โดยมีเยาวชนจากสถาบันการศึกษา ทั้งนักศึกษา จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จานวน ๒๐๐ คน (ภาคผนวก ค การจัด กิจกรรมที่ ๔) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๙


๒.๕ การจัดแสดงนิทรรศการผลงานผลิตภัณฑ์ต้นแบบ (Crafts With Hearth) ในวัน อาทิตย์ที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ หอศิลปะเมืองเชียงใหม่ เวลา ๑๖.๐๐ น . เป็นต้นไป ณ ลานหอ ประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ (หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่) การจัดกิจกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดง ผลงานการสร้างสรรค์ งานหัตถกรรมของครูภูมิปัญญา และเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อแสดงความสามารถในการ ออกแบบสร้างสรรค์ใหม่จากภูมิปัญญาหัตถกรรมดั้งเดิมของชาวเชียงใหม่ และล้านนา พร้อมกับการเปิดโอกาส ให้เยาวชนสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมที่สอดคล้องกับชีวิตสมัยใหม่ อันเป็นการสร้างแนวทางในการต่อยอด หัตถกรรมท้องถิ่นสู่โลกปัจจุบัน รวมถึงการระดมพลังสร้างสรรค์ เพื่อโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็น เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) โดยมีหน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน สื่อมวลชน ครูภูมิปัญญา เยาวชนรุ่นใหม่จากสถาบันการศึกษาของจังหวัดเชียงใหม่ ชุมชน และวิสาหกิจ ตลอดจนประชาชนผู้สนใจในงานหัตถกรรม ได้เข้ามาร่วมในกิจกรรมครั้งนี้ จานวน ๓๗๒ คน (ภาคผนวก ค การจัดกิจกรรมที่ ๕) ๓.๒.๒ การสังเคราะห์ข้อมูล คณะที่ปรึกษาได้ทาการสังเคราะห์ข้อมูลตามแนวทาง (แผนภูมิที่ ๓.๑) ดังนี้ ๑. กาหนดและนาผลการจัดเก็บข้อมูลจากการจัดสัมมนาและนิทรรศการ มาวิเคราะห์ ภายใต้ ก รอบแนวคิ ด ๕ แนวคิ ด มาเป็ น แนวทางก าหนดเงื่ อ นไขและกลไกการจั ด ท าข้ อ เสนอแนะ และ แผนปฏิบัติการได้แก่ ๑.๑ แนวคิดการส่งเสริมงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๑.๒ “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่ายสมาชิกสร้างสรรค์ของ องค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๑.๓ การมีส่วนร่วม ๑.๔ การจัดทาแผนปฏิบัติการ ๑.๕ ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงอย่างมีส่วนร่วม ๒. นาผลการวิเคราะห์ แนวคิดดังกล่ าวมาวิเคราะห์เพื่อถอดบทเรียนจาก ๕ กิจกรรม ภายใต้บริบทของเชียงใหม่และแนวคิดเมืองสร้างสรรค์ คือ ๒.๑ การจัดการประชุมและร่วมเปิดงานแถลงข่าวโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านศิลปะพื้นบ้านและงานหัตถกรรมจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ระหว่างเวลา ๑๓.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๒ ของ หอศิลปวัฒนธรรมเมือง เชียงใหม่ เพื่อเป็นการสร้างเวทีแลกเปลี่ยนทัศนะ ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการบูรณาการการพัฒนา เชียงใหม่สู่ เมืองสร้างสรรค์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการทางานแบบบูรณาการและสร้างความร่วมมือแก่ หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชนให้ร่วมเป็นกลไกในการสร้ างรากฐานความมั่งคงแก่เมืองเชียงใหม่ เพื่อ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๑๐


ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็นเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ อันจะเอื้อต่อการพัฒนาเมือง สร้างอาชีพ สร้าง รายได้และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ประชาชนของเมืองเชียงใหม่และประเทศในอนาคตและได้มีการแถลง ข่าวเปิดตัวโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้าน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ในเวลา ๑๗.๓๐ ณ ลานหอประวัติศาสตร์ ถ. พระปกเกล้า ซึ่งมีผู้เข้าร่วมทั้ง หน่วยงานภาครัฐ และ เอกชน ชุมชน วิสาหกิจ ตลอดจนประชาชนผู้สนใจในงานหัตถกรรมของเมืองเชียงใหม่ ซึ่งในการจัดงานครั้งนี้ มีผู้สนใจเข้าร่วมจานวน ๘๕๐ คน (ภาคผนวก ค การจัดกิจกรรมที่ ๑) ๒.๒ การจัดกิจกรรมประกวดออกแบบผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) )” มีเนื้อหาในการอนุรักษ์ สืบสาน และพัฒนางานหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน โดยมุ่งเน้นให้เกิดการตระหนักคิดถึงแนวทางในการอนุรักษ์หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน รวมถึง พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับรากฐานทางวัฒนธรรมดั้งเดิม และสามารถต่อยอดไปสู่นวัตกรรมที่ ทันสมัยได้ กอปร กับการสร้างเครือข่ายในการกระตุ้นองค์ความรู้ที่ได้สืบทอดมาช้านาน เพื่อหาแนวทางในการ เพิ่มพูนความเข้าใจ และเห็นถึงคุณค่าทางมรดกวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ ผู้สร้างสรรค์ผลงาน สามารถ นาเสนอและแสดงออกถึงผลงานที่จะจัดส่งเข้าประกวดได้อย่างอิสระ ภายใต้แนวคิดในการอนุรักษ์ สืบสาน และพัฒนางานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ของจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้สนใจเข้าร่วมการสมัคร จานวน ๑๕๐ คน ซึ่งได้จัดการอบรมเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจของโครงการ ในวันอาทิตย์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ หอ ศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. (ภาคผนวก ค การจัดกิจกรรมที่ ๒) ๒.๓ การจัดประชุมสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็น “เสียง –สรรค์-สร้าง” ในวัน เสาร์ ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ยุ้งข้าวล้านนา (หลองข้าวลา) ตาบลหนองผึ้ง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเวลา ๐๙.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. การจัดงานระดมความคิดจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเพื่อนามาสู่ การวางแผนงาน ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้าน และเชื่อมโยงเครือข่ายของผู้ส่งออก ผู้ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับนโยบายของเมือง และงานหัตถกรรมรวมถึงศิลปะพื้นบ้าน โดยมีผู้ร่วมงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนผู้ผลิตและมีส่วนเกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม จานวน ๕๐ คน (ภาคผนวก ค การจัดกิจกรรมที่ ๓) ๒.๔ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับเยาวชน (Crafts with Hearth for Young Gens) องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้กาหนดจัดกิจกรรม ประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับเยาวชน ในโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่าย เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ในวัน เสาร์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ โรงละคร หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ วันอาทิตย์ที่ ๒๓ พฤศจิกายน ณ ห้องประชุมรวม ชั้น ๔ อาคารออกแบบ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างเวลา ๐๙.๓๐ – รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๑๑


๑๖.๐๐ น. ณ โรงละคร หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ห้องประชุมรวม ชั้น ๔ อาคารออกแบบ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การจัดกิจกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแนวทาง ในการเพิ่มพูนความเข้าใจและพัฒนาความรู้งานหัตถกรรมของชุมชน การสร้างแรงบันดาลใจ และเชื่อมโยง เครือข่ายด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านกับคนรุ่นใหม่ โดยมีเยาวชนจากสถาบันการศึกษา ทั้งนักศึกษา จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จานวน ๒๐๐ คน (ภาคผนวก ค การจัด กิจกรรมที่ ๔) ๒.๕ การจัดแสดงนิทรรศการผลงานผลิตภัณฑ์ต้นแบบ (Crafts With Hearth) ในวัน อาทิตย์ที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ หอศิลปะเมืองเชียงใหม่ เวลา ๑๖.๐๐ น . เป็นต้นไป ณ ลานหอ ประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ (หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่) การจัดกิจกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดง ผลงานการสร้างสรรค์ งานหัตถกรรมของครูภูมิปัญญา และเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อแสดงความสามารถในการ ออกแบบสร้างสรรค์ใหม่จากภูมิปัญญาหัตถกรรมดั้งเดิมของชาวเชียงใหม่ และล้านนา พร้อมกับการเปิดโอกาส ให้เยาวชนสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมที่สอดคล้องกับชีวิตสมัยใหม่ อันเป็นการสร้างแนวทางในการต่อยอด หัตถกรรมท้องถิ่นสู่โลกปัจจุบัน รวมถึงการระดมพลังสร้างสรรค์ เพื่อโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็น เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) โดยมีหน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน สื่อมวลชน ครูภูมิปัญญา เยาวชนรุ่นใหม่จากสถาบันการศึกษาของจังหวัดเชียงใหม่ ชุมชน และวิสาหกิจ ตลอดจนประชาชนผู้สนใจในงานหัตถกรรม ได้เข้ามาร่วมในกิจกรรมครั้งนี้ จานวน ๓๗๒ คน (ภาคผนวก ค การจัดกิจกรรมที่ ๕) ๓. การจัดทาข้อเสนอแนะและแผนปฏิบัติการคณะที่ปรึกษาได้จัดประชุมคณะนักวิจัย ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องและผู้จัดทาข้อมูลบทความร่วมกาหนดแนวทางจัดทาแผนปฏิบัติการภายใต้หัวข้อสาคัญ ๕ หัวข้อ คือ ๓.๑ วิสัยทัศน์ ๓.๒ พันธกิจ ๓.๓ จุดเน้น ๓.๔ Key Success Factors ๓.๕ แผนปฏิบัติการ และได้กาหนดข้อเสนอแนะออกเป็นข้อเสนอแนะ เร่งด่วน เชิง ปฏิบัติการ และ เชิงนโยบาย

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๑๒


กิจกรรม ๕ ประเภท จานวน ๕ ครั้ง

บริ บ ทเชี ย งใหม่ ภ ายใต้ แนวคิดเมืองสร้างสรรค์

การวิเคราะห์

ผลการสังเคราะห์

เอกสาร

แนวคิด ๑ แนวคิดการส่งเสริมงานหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน ๒ “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่ายสมาชิกสร้างสรรค์ของ องค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๓ การมีส่วนร่วม ๔ การจัดทาแผนปฏิบัติการ ๕ ยุ ทธศาสตร์ การเปลี่ ย นแผลงอย่างมี ส่วนร่วม

ข้อเสนอแนะ ๑. เร่งด่วน

แผนปฏิบัติการ ๑. วิสัยทัศน์ ๒. พันธกิจ ๓. Key Success Factors ๔. แผนปฏิบัติการ

๒. เชิงปฏิบัติการ ๓. เชิงนโยบาย

แผนภูมิที่ ๓.๑ แนวทางการจัดทาข้อเสนอแนะและแผนนโยบาย รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓-๑๓


บทที่ ๔ เอกลักษณ์และสภาพการณ์ หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ บทที่ ๔ นี้เป็นการนําเสนอผลของการศึกษาตามวัตถุประสงค๑ ข๎อที่ ๑ เรื่องเอกลักษณ๑และสภาพการณ๑ ของหั ตถกรรมและศิล ปะพื้น บ๎ า นของเมืองเชี ยงใหมํ สํ ว นบทที่ ๕ จะเป็นการนําเสนอ ผลการศึกษาตาม วัตถุประสงค๑ ข๎อที่ ๒ คือ ศักยภาพและความพร๎อมของเมืองเชียงใหมํในการเป็นเมืองสร๎างสรรค๑ (Creative City) ขององค๑การ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) ในบทที่ ๔ นี้ มีหัวข๎อนําเสนอ ตามผลการศึกษาตามวัตถุประสงค๑ ข๎อที่ ๑ ดังตํอไปนี้ ๔.๑ เอกลักษณ๑และสภาพการณ๑ของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของเมืองเชียงใหมํ ที่เกี่ยวข๎องกับ เศรษฐกิจสร๎างสรรค๑(Creative City) ของ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) ๔.๑.๑ เอกลักษณ๑ของงานศิลปะหัตกรรมพื้นบ๎านจังหวัดเชียงใหมํ ๔.๑.๒ ป๓จจัยที่เกี่ยวข๎องกับงานศิลปะหัตกรรมพื้นบ๎านเมืองเชียงใหมํ - บริบททางประวัติศาสตร๑ของจังหวัดเชียงใหมํ - ลักษณะทางกายภาพของ ๘ อําเภอ ประกอบด๎วย อําเภอเมือง อําเภอหางดง อําเภอ สารภี อําเภอสันปุาตอง อําเภอแมํริม อําเภอสันกําแพง อําเภอสันทรายและอําเภอดอยสะเก็ด - ข๎อมูลผู๎ผลิตผู๎ประกอบการ ที่ได๎รับการลงทะเบียนเป็นผู๎ผลิตผู๎ประกอบการ ประจําปี พุทธศักราช ๒๕๕๕ จังหวัดเชียงใหมํ (OTOP) - ข๎อมูลผู๎สํงออกสินค๎างานหัตถกรรม (NOHMEX) ๔.๑.๓ ข๎อมูลเกี่ยวกับงานหัตถกรรม ๔.๒ ความคิดเห็นของผู๎มีสํวนได๎สํวนเสีย

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔-๑


๔.๑ เอกลั ก ษณ์ แ ละสภาพการณ์ ข องหั ต ถกรรมและศิ ล ปะพื้ น บ้ า นของเมื อ งเชี ย งใหม่ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เศรษฐกิจสร้างสรรค์(Creative City) ของ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๔.๑.๑ เอกลักษณ์ของงานศิลปะหัตกรรมพื้นบ้านจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหมํ มีองค๑ประกอบที่เป็นเอกลักษณ๑สําคัญอยูํ หลากหลาย อาทิ ดอยสุเทพที่ถูกปก คลุมไปด๎วยสภาพปุาไม๎ที่อุดมสมบูรณ๑ ลํ าน้ําปิงอันมีลักษณะทางกายภาพที่สอดรับกับภูมิศาสตร๑ของเมือง ตลอดจนสภาพของบ๎านเรือน ถิ่นที่อยูํอาศัยของประชาชน ถูกสร๎างขึ้นมาตามความเชื่อและแรงศรัทธาของ บรรพชนแตํครั้งอดีต และความสําคัญที่มีความโดดเดํน จนได๎รับการยกยํองจากผู๎คนที่เข๎ามาทํองเที่ยวจังหวัด เชียงใหมํ คือ ศิลปวัฒนธรรม อันเป็นทั้งมรดกและทรัพยากรทางภูมิป๓ญญา ที่ถูกสั่งสมองค๑ความรู๎จากรุํนสูํรุํน เพื่อเป็นเสมือนเครื่องมือในการบํงบอกวําพื้นที่แหํงนี้ มีความเจริญรุํงเรืองทางศิลปวัฒนธรรมมาแตํ ช๎านาน ซึ่งมี รู ป แบบของการอยูํ ร วมกั น ของกลุํ ม ชน ที่ ป ระกอบด๎ ว ยรู ป แบบการปกครอง ประวั ติ ค วามเป็ น มา มี สภาพแวดล๎อมซึ่งเป็นแหลํงรวมของผู๎คน สิ่งปลูกสร๎างสภาพแวดล๎อมนี้ เกิดจากกระบวนการปฏิสัมพันธ๑ทาง สังคม และวัฒนธรรมของชุมชนทั้งภายในและภายนอกตัวเมือง ดังนั้นในแตํละสังคมยํอมมีวัฒนธรรมที่สร๎างขึ้น เอง หรือรับมาจากภายนอก แล๎วจึงพัฒนาเปลี่ยนแปลงและปรับตัวให๎เข๎ากับวิถีชีวิต ซึ่งเป็นกระบวนการที่ เกิดขึ้นและมีความสัมพันธ๑รํวมกันในแตํละสังคม วิถีชีวิตของชาวเชียงใหมํในอดีต เป็นวิถีชีวิตของการทําบุญ ในทางพระพุทธศาสนาได๎แบํงผู๎คนออกเป็น ๒ สังคม คือ ๑) สังคมอาณาจักร เป็นการทําบุญของฆราวาส ตามลําดับชั้นทางสังคม คือ กษัตริย๑ เจ๎า เมือง ขุนนาง และชาวบ๎าน เชํน การถวายที่ดิน การสร๎าง ปฏิสังขรณ๑ วัดวิหาร พระธาตุ และ พระพุทธรูป ๒) สังคมพุทธจักร เป็นการทําบุญของ พระสงฆ๑ ข๎าวัดมีการแบํงหน๎าที่ในการดูแลภายใน วัด การถํายทอดวิชาความรู๎ด๎านการเรียนภาษาบาลี การประพันธ๑ร๎อยแก๎วและร๎อยกรอง การ จารและเขียนคัมภีร๑ใบลานพับสา และงานชํางฝีมือประเภทตําง ๆ นอกจากนี้แล๎ว ความเชื่อ ดั้งเดิมอันเนื่องด๎วยการนับถือผี ขวัญจารีตประเพณี ประเพณีการเกิดแกํเจ็บตาย ที่มีบทบาทและ อิทธิพลตํอการดํารงชีวิตของผู๎คน จากประวัติศาสตร๑อันยาวนานกวํา ๗๐๐ ปี ทําให๎เชียงใหมํเป็นเมืองที่อุดมไปด๎วยทุนทาง วัฒนธรรม ซึ่งล๎วนแตํเสริมสร๎างศักยภาพของเมืองเพื่อยกระดับให๎เป็นเมืองสร๎างสรรค๑ ทางด๎านหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ๎าน (Chiang Mai : City of Crafts and Folk Art) อันมีองค๑ประกอบทั้งศิลปวัฒนธรรมประเพณี เอกลักษณ๑ และภูมิป๓ญญาท๎องถิ่นที่หลากหลาย ซึ่งมีความสัมพันธ๑กับวัฒนธรรมของผู๎คนที่พํานักอาศัย รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔-๒


ดํารงชีวิตและประกอบกิจกรรมตํางๆ การนําวัฒนธรรมที่สั่งสมมานานเป็นทุนเพื่อให๎การสร๎างสรรค๑ในป๓จจุบัน และอนาคตนั้นมีเรื่ องราวความเป็นมาที่สามารถศึกษาเรียนรู๎และนํามาสร๎างสรรค๑และตํอยอดวัฒนธรรมที่ เหมาะสมตํอวิถีชีวิตความเป็นอยูํในป๓จจุบันและอนาคตอยํางยั่งยืนมั่นคง เมืองเชียงใหม่มีมิติแห่งการสร้างสรรค์งานหัตถศิลป์อยู่ ๓ ประการ คือ ๑) งานหัตถกรรมที่พัฒนาการมาจากรากเหง๎าทางวัฒนธรรม ๒) งานอุตสาหกรรมหัตถศิลป์ ๓) งานหัตถศิลป์รํวมสมัย โดยธรรมชาติของงานสร๎างสรรค๑ งานหัตถศิลป์เชียงใหมํจะมีคุณลักษณะสามประการที่ยังยึดโยง กันอยูํอยํางแทบจะแยกออกจากกันได๎ ซึ่งเกิดจากพัฒนาการทางประวัติศาสตร๑ และวัฒนธรรมของชุมชน เชื่อมโยงจากระดับหมูํบ๎านสูํเมือง และเป็นแรงขับเคลื่อนสูํการสร๎างสรรค๑ ให๎เชียงใหมํนั้นบานสะพรั่งด๎วยงาน หัตถศิลป์พร๎อมการเคลื่อนตัว ของเมืองสูํอุตสาหกรรมสร๎างสรรค๑และความรํวมสมัยของงานหัตถศิลป์ การ พัฒนางานหัตถศิลป์สร๎างสรรค๑ จะเกิดขึ้นได๎ก็ตํอเมื่อมีความยั่งยืนของงานหัตถกรรมของชุมชน เปรียบดัง สายเลือดที่หลํอเลี้ยงชีวิต และสร๎างความงดงามให๎กับสังคมอันเกิดจากตัวตนของเรา ที่สร๎างสรรค๑ผลงาน หัตถศิลป์ ออกมาเป็นผลงานที่โดดเดํนเป็นเอกลักษณ๑ แหํงวัฒนธรรมเมืองเชียงใหมํ ความมีชีวิตชีวาจากงาน หัตถกรรมสร๎างสรรค๑ คือการพัฒนาอยํางตํอเนื่องจากรากเหง๎ามี อยูํสูํสังคมรํวมสมัยหลากหลายมิติ จะเป็นแสง สวํางแหํงเทียนศิลป์ที่จุดสืบตํอกันไปอยํางไมํหยุดเนื่อง มรรคผลของการสร๎างสรรค๑งานหัตถศิลป์จะกลับมาสูํ การพัฒนาคุณภาพของชีวิตและการศึกษาผู๎คนในท๎องถิ่น มีการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสร๎างสรรค๑ และการ ทํองเที่ยวที่ยั่งยืนเชียงใหมํกับงานหัตถศิลป์สร๎างสรรค๑ ก็เปรียบเหมือนดังการปลูกต๎นไม๎แหํงการสร๎างสรรค๑ มี รากเหง๎าที่ยั่งยืน ลําต๎นยืนแกรํง และมั่นคง กิ่งใบที่แผํไพศาลดอกผลที่เบํงบาน และเจริญงอกงามสืบตํอไป ๔.๑.๒ ป๓จจัยที่เกี่ยวข๎องกับงานศิลปะหัตกรรมพื้นบ๎านเมืองเชียงใหมํ ๑) ศิลปหัตถกรรมกับกระบวนการผลิตแบบแยกส่วน หลังปี ๒๕๓๔ ได๎มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเกิดขึ้น ทั้งในทางนิเวศและทางการค๎า กลําวคือ ได๎เกิดการผลิตวัฒนธรรมแบบใหมํขึ้น ด๎วยการผลิตศิลปหัตถกรรมแบบแยกสํวน ซึ่งตํางไปจากแบบ ประเพณีเดิมอยํางสําคัญ รูปแบบการผลิตที่สําคัญในการผลิตแบบอุตสาหกรรมที่อิงหลักประสิทธิภาพทางการ ผลิต คือ การผลิตแบบแยกออกเป็นสํวน ๆ หรือการแบํงงานกันทําเป็นขั้นเป็นตอน แล๎วนําชิ้นสํวนตําง ๆมา ประกอบกันในขั้นตอนสุดท๎าย ณ ศูนย๑กลางแหํงใดแหํงหนึ่ง รูปแบบเชํนนี้มีผลทําให๎เกิดการลดทักษะของ คนงานลงจากเดิมที่มีองค๑ความรู๎และทักษะแบบองค๑รวมกลายเป็นการรับรู๎เพียงบางสํวน แตํถือเป็น “ ทักษะ” หรือ “ ความชํานาญการ ” ของคนงาน การผลิตลักษณะนี้พบโดยทั่วไปในการผลิตอุตสาหกรรมใหญํ ๆ เชํน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔-๓


การผลิตรถยนต๑ กล๎องถํายรูป โทรทัศน๑ คอมพิวเตอร๑ ฯลฯ โดยนักลงทุนสํวนใหญํเป็นชาวตํางชาติที่เข๎ามา ลงทุนในประเทศที่กําลังพัฒนาในแถบเอเชียอาคเนย๑ หรือลาตินอเมริกา ฯลฯ ที่แรงงานมีราคาถูก ถือวําเป็น วัสดุปูอนเข๎า ที่มีความสําคัญที่สุดสําหรับเมืองไทย ในระยะเวลา ๑๐ – ๒๐ ปีที่ผํานมา อุตสาหกรรมแบบนี้ ขยายตั ว ไปทั่ ว ประเทศภายใต๎ เ ขตพื้ น ที่ พิ เ ศษที่ เ รี ย กวํ า นิ ค มอุ ต สาหกรรม ตํ อ มาในชํ วง ๓ – ๔ ปี ม านี้ ภาวการณ๑ผลิตตกอยูํในสภาพที่อํอนล๎า ด๎วยเหตุที่แรงงานราคาถูกหมดลง หรือคําแรงที่สูงขึ้นก็ตาม บรรดานัก ลงทุนเหลํานั้นซึ่งไมํเคยคิดที่จะหยั่งรากการผลิตอยูํในประเทศไทยอยูํแล๎ว และกําลังย๎ายถิ่นฐานไปยังประเทศ อื่นทั่งมีคําแรงงานต่ําอยูํ ทิ้งความไร๎ทักษะของคนงานไว๎เบื้องหลัง ยกตัวอยํางเชํน งานแกะสลักไม๎บ๎านถวาย มี ลักษณะใกล๎กับที่กลําวมา คือ กํอนหน๎านี้ได๎มีนักลงทุนไต๎หวันเข๎ามาลงทุนตั้งโรงงานใหญํ ที่บ๎านทา เขตติดตํอ ระหวํางลําพูน – ลําปาง เพราะที่นั่นมีแหลํงวัตถุดิบคือไม๎มากและเป็นชุมชนแกะสลักอยูํเดิม การจ๎างงานจาก โรงงานนี้มีสองรูปแบบ คือ จ๎างงานในโรงงานโดยชําง / คนงานที่นี่แกะสลักตามแบบที่มาให๎ รับคําแรงเป็นราย ชิ้นหรือรายวันก็ได๎ กับอีกแบบคือการจ๎างงานนอกโรงงาน โรงงานจะนําแบบมาให๎ชําง ชํางจะเป็นคนจัดหาไม๎ มาเอง คิดงานเป็น ชิ้น ตามคุณภาพมาตรฐานที่โ รงเรียนเป็ นผู๎กําหนด เมื่อโรงงานรับงานแกะไม๎ที่ขึ้นรูปไว๎ เบื้องต๎นที่เรียกวํา “ หุํน ” เหลํานี้มาขัดแตํง แบํงขั้นตอนทําสี ทํารายละเอียด จนถึงการบรรจุหีบหํอสํงออกไป ยังลูกค๎าตํางประเทศ เรียกวําเป็นธุรกิจแบบครบวงจร ป๓จจุบันโรงงานเหลํานี้มีแนวโน๎มที่จะย๎ายฐานการผลิตไป อยูํทปี่ ระเทศเพื่อนบ๎านเนื่องมาจากเหตุผลที่กลําวมาแล๎ว คือ วัตถุดิบขาดแคลน และคําแรงสูง นี่คือชะตากรรม ของการผลิตแบบทุนนิยมในประเทศกําลังพัฒนาที่ไมํอาจหลีกเลี่ยงได๎ จริงอยูํการลงทุนจากตํางประเทศแม๎จะ เป็นการสร๎างในงานท๎องถิ่น แตํเนื่องจากกระบวนการผลิตที่เทคโนโลยีอ ยูํในมือของผู๎ลงทุนท๎องถิ่นเหลํานั้นจะ ไมํสามารถเติบโตได๎ นอกจากชาวบ๎านจํานวนหนึ่งมีรายได๎เพิ่มขึ้นบ๎าง นอกจากนี้แล๎วชาวบ๎านไมํมีเครื่องมือที่ดี ทําให๎การใช๎วัตถุดิบไมํมีประสิทธิภาพและมีสัดสํวนสิ่งสูญเสียมาก สํงผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อมท๎องถิ่นต๎องแบก รับป๓ญหามลภาวะจากการผลิต รวมทั้งป๓ญหาสุขภาพของชํางด๎วย และที่สําคัญการจําลองให๎คนผลิตหัตถกรรม พื้นบ๎าน ความรู๎และทักษะของชํางลดลงและหายไป เหลือเพียงการทาแล็คเกอร๑เป็น และขัดกระดาษทรายได๎ กํอนทีจะสํงตํอไปให๎แผนกอื่น ๆ อีก ๖ – ๘ ขั้นตอน ๒) วัตถุดิบ : การแก้ปัญหาแบบขาดที่พึ่ง ล๎านนาในอดีตแทบจะไมํเห็นหลักฐานการใช๎ไม๎อื่นนอกจากไม๎สัก ในการทํางานไม๎ แกะสลัก ทั้งนี้เพราะไม๎แกะสลักเป็นไม๎เนื้ออํอน เนื้องาม แตํมีความคงทน และถือวําเป็นไม๎มงคลที่จะใช๎กับการ แกะชํอฟูา หน๎าบัน โบสถ๑วิหาร และบ๎านเรือนล๎านนา ทําให๎ได๎ทั้งสองคุณสมบัติคือ ความคงทนและความเป็น มงคลด๎วย ประกอบกับความอุดมสมบูรณ๑ของทรัพยากรไม๎สักในชํวงเวลาดังกลําวทําให๎ไม๎สักดูจะเป็นไม๎ชนิด เดียวที่ใช๎ในหัตกรรมการแกะสลักไม๎ แตํในป๓จจุบันไม๎ชนิดนี้กลายเป็นไม๎หายาก รัฐบาลได๎ออกกฎหมายให๎ไม๎ สักเป็น ไม๎หวงห๎าม วงการหัตถกรรมไม๎แกะสลักทั้งหลาย จึงหันไปหาไม๎ประเภทอื่น เชํน ไม๎ยางพารา และไม๎ยู คาลิปตัสมาทดแทน ไม๎ทดแทนเหลํานี้กลายมาเป็นไม๎เศรษฐกิจที่โดดเดํน อยํางไรก็ดีไม๎จากปุาธรรมชาติแทบ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔-๔


จะไมํต๎องพูดถึงเพราะมีเหลืออยูํเพียง ๒๐ % ซึ่งเป็นปุาต๎นน้ํา ที่ไมํสามารถจะแตะต๎องได๎ ดังนั้นการนําเข๎าไม๎ จากตํางประเทศ จึงเป็นทางออกที่จําเป็นมีสูงถึง ๙๐ % ของปริมาณไม๎ที่ใช๎อยูํในประเทศ เป็นสัดสํวนที่สูงกวํา การนําเข๎าน้ํามัน ป๓ญหาการขาดแคลนไม๎อาจจะมองวํามีผลกระทบตํออุตสาหกรรมเฟอร๑นิเจอร๑และกํอสร๎าง เทํานั้น แตํในความเป็นจริงวิกฤติการณ๑ไม๎ขาดแคลนได๎สํงป๓ญหาสูํวงการไม๎และสลักด๎วย โดยเฉพาะอยํางยิ่งมี ผลกระทบตํอตัวชําง ซึ่งชีวิตต๎องขึ้นอยูํกับไม๎ ไม๎มีความสําคัญตํอชีวิตของชํางในฐานะที่เป็นแหลํงทําอาชีพ และ การแกะสลักไม๎ก็เป็นชีวิตทางวัฒนธรรมของชํางด๎วยในขณะเดียวกัน นักวิจัยทรัพยากรปุาไม๎กลําววํา ๗๐ % ของไม๎หนึ่งต๎นถูกทิ้งไป เหลือให๎ประโยชน๑ เพียง ๓๐ % เทํานั้น จากการใช๎ไม๎อยํางไมํประหยัด และไมํเห็นคุณคํา เป็นป๓จจัยเรํงให๎ป๓ญหาการขาดแคลน วัสดุเกิดขึ้นอยํางรวดเร็ว ไม๎สักที่เคยหาได๎งํายทั้งอยูํใกล๎บ๎านและอยูํในปุาไม๎ถูกกฎหมายตราให๎เป็น ไม๎หวงห๎าม สํงผลให๎ชํางแกะสลักหันไปหาไม๎อื่น ๆ ที่ หาได๎งําย มีราคาถูก แม๎จะมีคุณภาพต่ํากวํา เชํน ไม๎ฉําฉา นํามาแกะ ช๎างตัวใหญํ แตํในที่สุดไม๎ฉําฉาก็มาถึงจุดที่ขาดแคลนด๎วยเชํนกัน ทําให๎ต๎องไกลออกไปเพื่อที่จะหาไม๎ดังกลําวใน บางครั้งไปถึง ตาก เชียงราย หรือแม๎แตํอีสาน ผลกระทบจากการขาดแคลนไม๎ ทําให๎เกิดปรากฎการณ๑ใหมํที่ มี ผลกระทบทางวัฒนธรรมด๎วย ๓) ทักษะและเทคโนโลยี โดยทั่วไปแล๎ว คนสํวนใหญํมักจะเข๎าใจวํา งานชํางมักสืบสานความรู๎ เทคนิค มาจาก ชํางบรรพบุรุษ หรือผู๎รู๎ของหมูํบ๎าน หรือเกิดจากการซึมซับประสบการณ๑จากชํางรุํนกํอน ๆ อยํางคํอยเป็นคํอย ไป แตํ ในกรณีของงานหั ต ถกรรมประเภทครั ว เรือ นในจั งหวดเชียงใหมํนั้น จะชี้ ให๎ เห็ น กระบวนการ การ ถํายทอดความรู๎จากการเรียนรู๎ในการทํางานตอนเป็นคนงาน จากประสบการณ๑ของชํางคนหนึ่งที่เริ่มทํางานใน ร๎านขายของเกําในจังหวัดเชียงใหมํ ได๎เรียนรู๎งานซํอมของเกํา และได๎ทําเลียนแบบของเกําจากคําสั่งของลูกค๎า จึงทําให๎เขาเข๎าใจความต๎องการของลูกค๎า และเรียนรู๎วํา “ชําง” จะต๎อง “อําน” ทําความเข๎าใจเกี่ยวกับงานที่ จะทํา เพื่อทําตามความต๎องการของลูกค๎าให๎ได๎ แล๎ว จึงแปรผลงานให๎ตรงตามคําสั่ง การเรียนรู๎เหลํ านี้ จึง กลายเป็นทักษะและภูมิป๓ญญาของชํางชาวบ๎าน ชํางฝีมือจะต๎องพัฒนาทักษะให๎ สอดรับกับการผลิตในระบบตลาดที่เน๎นที่ตัวลูกค๎า และตามใบสั่ง มากกวําจะเน๎นที่ตัวชํางเอง กลําวคือ การจัดการผลิตในลักษณะการกระจายผลผลิตแบบแยก สํวนดังกลําว การขึ้นรูปแบบด๎วยการดูจากภาพถําย หรือจากการบอกเลํา หรือบูรณาการความรู๎ที่ตนเองมีอยูํ กับความรู๎ทางวัฒนธรรมของคนอื่น นับเป็นการรักษาชีวิตวัฒนธรรมล๎านนาในเชิงโครงสร๎างและรูปแบบให๎ยืน ยาวสืบ ตํอไป ผลก็คือ ทําให๎ เกิดความหลากหลายขึ้นในตัวของผลผลิต ทําให๎หํ วงกังวลในเรื่องของการถูก วิพากษ๑งานวํา เป็น วัฒนธรรมทียม หรือ วัฒนธรรมการทํองเที่ยวเทํานั้น ไมํมีคุณคําอะไร ทั้งทางศิ ลปะ หรือ ทางด๎านวัฒนธรรม แตํในความเห็นของคณะทํางานวิจัยนั้น วัฒนธรรมทั้งหลายล๎วนต๎องดิ้นรนเพื่อความอยูํรอด ทั้งสิ้น การหยิบยืมวัฒนธรรมอื่น หรือการผสมผสาน หรือแม๎กระทั่งการเลียนแบบ จึงถือเป็นความพยายามใน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔-๕


การตํอสู๎กับวัฒนธรรมทั้งสิ้น ทั้งนี้เพราะบริบทของวัฒนธรรมในแบบที่เคยเป็นอยูํในอดีตนั้น ได๎เปลี่ยนแปลงไป วัฒนธรรมที่จะอยูํรอดได๎จึงต๎องมีการปรับตัวหรือปรับเปลี่ยนแบบแผนไป หาไมํแล๎วก็คงเหลือเพียงซากอยูํใน พิพิธภัณฑ๑เทํานั้น ร๎ายไปกวํานั้น อาจจะเหลือเพียงคําบอกเลําแกํรุํนตํอ ๆ ไปเทํานั้น สํวนในด๎านเทคนิคนั้น ยกตัวอยํ างเชํนงานไม๎แกะสลัก ชํางฝีมือจะใช๎เทคโนโลยีมาชํวยทุํนแรง เชํน เลื่อยไฟฟูา เครื่องกลึง เกลาไฟฟูา เครื่องขัดแทนการขัดกระดาษทรายด๎วยมือ รวมไปถึงการทําสี อาจจะ ใช๎สีอุตสาหกรรมแทนการลงรักปิดทองอยํางแตํกํอน และทั้งหมดนี้ เอื้อให๎เกิดการผลิตแบบแยกสํวน และยังได๎ พัฒนาไปถึงขั้นตอนการออกแบบระบบการผลิตวํา ชํางคนไหน จะอยูํ ณ ตําแหนํงการผลิตแบบระบบสายพาน นี้อยํางไรอีกด๎วย แตํเป็นที่นําเสียดายวํา ระบบการผลิตแบบแยกสํวนดังที่ได๎กลําวไว๎แล๎ววําเป็นการลดทักษะ ของคนลง ทําให๎ชํางซึ่งเป็นบุคคลากรสําคัญไมํมีโอกาสแม๎แตํน๎อยที่จะครองความรู๎ ละทักษะเรื่องการบริหาร จัดการ ๔) รูปแบบท้องถิ่น และรูปแบบตามสั่ง รูปแบบงานหัตถกรรมพื้นบ๎าน ถูกพัฒนาและปรับเปลี่ยนมาโดยตลอด เนื่องจากชําง ในชุมชน ได๎ผลิตสินค๎าให๎ออกมาในลักษณะตามสั่ง (Order) ของคนนอกพื้นที่หรือ คนตํางประเทศบ๎าง ทําให๎ เอกลักษณ๑รูปแบบงานหัตถกรรมพื้นบ๎านของชํางชาวเชียงใหมํ งานประเภทที่เป็นสัญลักษณ๑สําคัญของจังหวัด หลงเหลือน๎อย หรือลดจํานวนลงไป ทําให๎นักทํองเที่ยวที่มาเที่ยวชม ความเป็นอัตลักษณ๑ของจังหวัดเชียงใหมํ ไมํทราบแนํชัด วําผลงานชิ้นไหน คือสัญลักษณ๑ที่สําคัญของชาวเชียงใหมํ แหลํงงานหัตถกรรมประเภทไม๎แกะสลักที่สําคัญแหํงหนึ่ง ของจังหวัดเชียงใหมํ คือ พิพิธภัณฑ๑บ๎านจ๏างนัก ตําบลบวกค๎าง อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหมํ เป็นแหลํงที่ยังคงเอกลักษณ๑ ของงาน ไม๎แกะสลักได๎อยํางชัดเจน คือการแกะสลักช๎างแบบเสมือนจริง ในอากัปกิริยาตําง ๆ ทําให๎สามารถเป็นตํานาน เลําขานได๎วํา เอกลักษณ๑งานแกะสลักไม๎ของจังหวัดเชียงใหมํ คือ การแกะสลักช๎าง แตํหากการแกะสลักเพียง อยํางเดียว อาจจะไมํเพียงพอตํอการอุปโภคของลูกค๎ามากนัก จึงทําให๎พิพิธภัณฑ๑บ๎านจ๏างนัก ต๎องหากรรมวิธี เพิ่มเติมในการสร๎างสรรค๑ช๎างในรูปแบบตําง ๆ โดยใช๎เทคนิคการกํอสร๎าง การป๓้ นปูน เพื่อที่จะตอบสนองตาม ความต๎องการของลูกค๎าและทันเวลาอีกด๎วย ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ความเปลี่ยนแปลงยํอมเกิดขึ้นเสมอ ทักษะฝีมือใหมํ ๆ ที่เกิดขึ้นไมํได๎รับการบันทึกไว๎ อันเนื่องมาจากระบบการเรียนรู๎จากคนสูํคน ขณะเดียวกันทักษะฝีมือบางทักษะ ก็ถูกปรับเปลี่ยนตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง บางทักษะไมํได๎รับการสานตํอและสูญหายไปพร๎อมกับการเวลา การบันทึกจึงมีคุณคําในการเก็บรวบรวมเอกลักษณ๑งานฝีมือของท๎องถิ่นตํางๆ เพื่อให๎คนรุํนหลังใช๎เป็นเครื่องมือ ทําความเข๎าใจอดีต และสร๎างสรรค๑อนาคตโดยไมํหลงลืมรากเหง๎าทางวัฒนธรรมในโลกที่กําลังหลอมรวมกัน

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔-๖


๕) ขายภายในหรือส่งออก ประเพณี ก ารทํา งานของงานหั ต ถกรรมพื้น บ๎า นนั้ น มั กจะทํา ใช๎ เ องในบ๎ าน หรื อ หมูํบ๎าน หรือทําถวายกับศาสนา วัดในหมูํบ๎าน ในเมือง วัดหลวง และเมื่อสามารถขายได๎ คนนอกหมูํบ๎านหรือ นอกวัฒนธรรมกะสามารถเข๎ามาซื้อวัฒนธรรมของเราเหลํานี้ไปอุปโภค บริโภคได๎ จะด๎วยเหตุผลใดก็ตาม งาน ศิลปหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ๎านล๎านนา จะกลายเป็นสินค๎าสํงออก ที่มาพร๎อมกับการยกให๎เป็นตัวแทนของ ความเป็นศิลปะพื้นบ๎านของไทย ความเป็นชนบทที่มีศิลปะและความงดงามแบบงําย ๆ แตํมีวัฒนธรรม มีงานหัตถกรรมจํานวนมากที่มีคุณภาพ และเป็นงานประณีต สํงขายไปยังเมืองอื่น ๆ หรือสํงไปยังลูกค๎าผู๎ที่มีรสนิยมและมีกําลังจะซื้อ งานเหลํานี้ก็จะสามารถสร๎างชื่อเสียงให๎กับชํางฝีมือ หรือสลํา ในหมูํบ๎าน พร๎อมกับอ๎างอิงถึงความเป็นงานศิลปะจากผู๎เสพดังกลําว คุณคําและความงามก็จะถูกตั้งด๎วยราคา ที่บางครั้งผู๎เสพจะเป็นผู๎กําหนด มากกวําที่ผู๎ผลิตจะเป็นผู๎กําหนด เมื่อราคาเป็นเงื่อนไขที่ดึงดูด ทําให๎บรรดาชําง อื่น ๆ อยากทํางานตามแบบที่ชํางทําเงินนั้นทําขึ้น ศิลปะพื้นบ๎านที่ทําขึ้นเพื่อขายหรือแลกเปลี่ยนในชุมชน ใชํวําจะหยุดอยูํกับที่ ไมํมี ความเปลี่ยนแปลง หากแตํการเปลี่ยนแปลงนั้นจะเป็นไปอยํางช๎า ๆ และมีบูรณาการ การเปลี่ยนแปลงนี้อาจจะ เป็นการค๎นพบลวดลาย รูปแบบ หรือเทคนิคตําง ๆ แตํในระยะเวลาหลังจากการเปลี่ยนแปลงนั้น จะเกิดจาก ความต๎องการลอกเลียนแบบ หรือเอาแบบอยํางของคนนอกที่ผลงานอยูํในความนิยม ซึ่งบางครั้ง อาจจะพัฒนา เป็นสไตล๑ของตนเองหรือบางครั้งหารากเดิมไมํพบก็ยังมี และในบางครั้งจําแนกไมํได๎วําผลงานนี้เป็นของชําง สํานักไหน หรือหมูํบ๎านอะไร ใน พ.ศ. ๒๕๕๓ สํานักงานพาณิชย๑จังหวัดเชียงใหมํได๎ประมาณการวํา “มูลคําการ สํงออกของตลาดทั้งหมดของผลิตภัณฑ๑ประเภทไม๎ระดับประเทศมีมูลคําโดยประมาณ 2,000-3,000 ล๎านบาท ขึ้นไป แตํเฉพาะหัตถกรรมประเภทไม๎ในจังหวัดเชียงใหมํ มีมูลคําการสํงออกประมาณ 600-1,000 ล๎านบาท ของมูลคําทั้งหมดในประเทศ แนวโน๎มการบริโภคผลิตภัณฑ๑ประเภทไม๎ มีแนวโน๎มที่ดีขึ้น ประมาณ 5-10% เพราะตลาดที่สําคัญอยํางประเทศจีนเป็นตลาดที่โตมากขึ้นเรื่อยๆ ในปี 2015 จะมีการเปิดสหพันธ๑อาเซียน ซึ่ง จะทําให๎สามารถเชื่อมตํอระหวํางประเทศได๎โดยไมํมีพรหมแดน ไมํมีภาษี ซึ่งเป็นผลดีตํอการสํงออกผลิตภัณฑ๑ ประเภทไม๎ยิ่งขึ้น” (www.google.http://tisc.feu.ac.th/input/file_upload/%E0%B9%84%E0% B8%A1%E0%B9%89%20%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E 0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C_2010_12_21_22_ 30_25.pdf, retrieved on January 2 2015)

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔-๗


๖) Cultural Goods : นัยและความหมาย กํอนที่จ ะทราบถึงบริบทของสินค๎าหัตถกรรม จําเป็นต๎องทําความเข๎าใจเบื้องต๎น เกี่ยวกับความหมายและนัยของสินค๎าวัฒนธรรมที่แฝงตัวมากับศิลปะ ภายใต๎ปริมณฑลทางวัฒนธรรม ๒ แบบ ดังนี้ ปริมณฑลที่ ๑ : วิถีชีวิตในวัฒนธรรมเดิม วัฒ นธรรมเป็ น เรื่ องของการดํา เนิ นชิ วิ ตตามปกติข องมนุ ษย๑ แตํล ะสั งคมมี จารี ต ประเพณีของตนเอง ตลอดรวมไปถึงระบบคุณคํา ความเชื่อ ศาสนา ศิลปะ ฯลฯ พื้นฐานวัฒนธรรมเหลํานี้มี การเปลี่ยนแปลงอยูํตลอดเวลาหากแตํคํอยเป็นคํอยไป อีกทั้งมีการเวียนผําน (Circulation) และแลกเปลี่ยน (Exchange) การเวียนผํานและการแลกเปลี่ยนนี้ มีอยูํในหลายวัฒนธรรมและหลายรูปแบบ ตัวอยํางที่รู๎จักกันดี ในหมูํนักมนุษยวิทยาคือ นิทานพื้นบ๎านของชาวอินเดียแดง “The Indian Giver” ที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการ หมุนเวียนของการให๎ กลําวคือ สิ่งใดก็ตามที่ได๎รับมาจะต๎องสํงตํอไปไมํพึงเก็บไว๎ และเป็นไปได๎ที่สิ่งของนั้นเมื่อ ถูกสํงไปยังผู๎รับแล๎ว อาจเวียนกลับมายังผู๎ให๎อีกก็ได๎(ในรูปแบบอื่น) โดยนัยเดียวกันอาจเป็นการดีกวํา ถ๎าไมํต๎อง สํงกลับมายังผู๎ให๎ แตํสํงผํานตํอไปยังคนใหมํ สาระสําคัญของระบบคุณคําแบบนี้ก็คือ “ของที่ให๎ต๎องเคลื่อนไหว อยูํเสมอ (The gift must always move)” หากผู๎รับเก็บไว๎ไมํสํงผําน ก็เสมือนการหยุดยั้งสายน้ําที่ควรจะต๎อง ไหล กลําวอยํางอุปมาอุปมัยก็คือ หากการกระทําของคนผู๎นั้นตรงข๎ามกับ Indian Giver ก็นําจะต๎องถูกขนาน นามวําเป็น “White Man Keeper” หรือนายทุนที่กระทําการเคลื่อนย๎ายสมบัติของเขาออกจากระบบ หมุนเวียนสํงผํานไปเก็บไว๎ในโกดังเก็บของ (Warehouse) หรือเก็บในพิพิธภัณฑ๑ (Museum) ซึ่งเป็นการนําเข๎า สูํระบบทุนนิยม เพื่อกระบวนการผลิตและการขายตํอไป (Hyde, L., ๑๙๗๙) อยํางไรก็ตาม สินค๎าวัฒนธรรมแบบนี้ในป๓จจุบันยังคงมีอยูํ แตํได๎เคลื่อนย๎ายไปสูํพื้นที่ ใหมํ เชํน เศียรพุทธรูป ลายแกะสลักหํายนต๑ กาแล ฯลฯ ถูกนําไปประดับติดฝาผนังบ๎านหรือทางเข๎าภัตตาคาร ชํอ ฟู า และหน๎ า บั น ย๎ า ยไปอยูํ ใ นโรงแรมและสถานบริ ก ารทํ อ งเที่ ย ว ศิ ล ปวั ต ถุ เ หลํ า นี้ ไ ด๎ ก ลายเป็ น สิ น ค๎ า วัฒนธรรมที่ผู๎ซื้อซื้อมาในฐานะเป็นวัฒนธรรมของที่อื่น ซื้อมาเพื่อการตกแตํ งในเชิงมัณฑนศิลป์ ซึ่งตํางไปจาก เดิมที่สิ่งประดิษฐ๑เหลํานั้นถูกสร๎างขึ้นมาจากจินตนาการที่เป็นอุดมการณ๑ของสังคม โดยศรัทธา/ความเชื่อ การ อุทิศ/การให๎ อันเป็นระบบคุณคําในวิถีชีวิตของวัฒนธรรมเดิม ปริมณฑลที่ ๒ : วิถีชีวิตในวัฒนธรรมใหม่ ในบางสังคมอาจมีวิถีการผลิตที่แตกตําง เชํนการผลิตที่เน๎นเรื่องการผลิตแบบจํานวน มาก(Mass Production) โดยถือเอาการผลิตดังกลําวเป็นวัฒนธรรมของเขา เชํน วัฒนธรรมแมคโดนัล วัฒนธรรมโคคาโคลํา วัฒนธรรมมิกกี้เมาส๑ ฯลฯ วัฒนธรรมเหลํานี้ถูกเคลื่อนย๎ายไปยังพื้นที่ของวัฒนธรรมอื่น โดยผํานตัวสินค๎า ดังนั้นการบริโภคสินค๎าชนิดนี้เป็นการบริโภควัฒนธรรมของผู๎ผลิต เชํน การใสํเสื้อยี่ห๎อเวอร๑ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔-๘


ซาเชํ ไมํเพียงแตํใสํเสื้อเพื่อให๎ความอบอุํนแกํรํางกายเทํานั้นแตํเป็นการใสํเพื่อบอกรสนิยมและสถานภาพของ ตน หรือการดื่มโค๎ก ที่ผู๎ดื่มไมํได๎ดื่มในฐานะที่โค๎กเป็นน้ําดื่มแตํกําลังบริโภคโค๎กเพราะโค๎กเป็นวัฒนธรรมที่แสดง สถานภาพ ซึ่งชี้ให๎เห็นวํา สิ่งที่เลือกกินนั้นเป็นสํวนหนึ่งของอัตลักษณ๑ (Identify) อยํางไรก็ดี แม๎วําสินค๎าเหลํานี้ อาจมีการปรับเปลี่ยนให๎เข๎ากับวัฒนธรรมท๎องถิ่น (Localization) เชํน การปรับรสชาติของแฮมเบอร๑เกอร๑ ซึ่งดู เหมือนเป็นการปรับเปลี่ยนให๎เข๎ากับวัฒนธรรมท๎องถิ่น แตํทั้งหมดนี้เป็นกระบวนการกลํอมเกลาให๎ยอมรับ วัฒนธรรมใหมํ เพื่อสร๎างอุปสงค๑(Demand)ให๎มากยิ่งขึ้น ดังนั้นการมองสินค๎าชิ้นใดชินหนึ่ง สิ่งที่เห็นไมํใชํเพียงแตํคุณสมบัติที่จะสนองความสุข ความพอใจในการเสพหรือบริโ ภคเทํานั้น หากแตํยังได๎เสพวัฒนธรรมที่ฝ๓งตัว (Cultural Embodiment) อยูํใน สินค๎าชิ้นนั้นด๎วย มีผู๎ตั้งข๎อสังเกตวํา “ผักผลไม๎และทรัพยากรธรรมชาติไมํได๎มีนัยทางวัฒนธรรมที่ชัดเจน แตํ เมื่อมนุษย๑นํามาปรุงแตํงเป็นอาหารจะมีนัยทางวัฒนธรรมที่แตกตํางกัน ” ทําให๎เกิดความแตกตํางระหวําง อาหารชนิดตําง ๆ ขึ้น เป็นต๎น ๗) พ่อค้าคนกลาง เมื่องานศิลปหัตถกรรมถูกแปรให๎กลายเป็นสินค๎า คนกลางก็จะเข๎ามีบทบาทมากขึ้น ความสัมพันธ๑ระหวํางชํางกับพํอค๎าที่เป็นคนกลาง นับเป็นเรื่องที่นําสนใจอยํางยิ่ง เหตุด๎วยวําสินค๎าในกรณีนี้ เป็นสินค๎าวัฒนธรรมที่เป็นสื่อความสัมพันธ๑ของคนในสังคม โดยตลาดถือเป็นพื้นที่ที่ประกอบด๎วยสัญลักษณ๑อัน หลากหลาย คนที่เข๎ามาในพื้นที่นี้จะอํานสัญลักษณ๑เหลํานี้ และตีความเพื่อกําหนดทิศทางและทํวงทํานองใน การขับเคลื่อนตัวเอง อันสํงผลให๎เกิดปฏิสัมพันธ๑ซึ่งกันและกันในหมูํผู๎ที่เกี่ยวข๎องกับสั ญลักษณ๑เหลํานั้น มองใน แงํนี้ คนกลางทําหน๎าที่เป็นผู๎เอื้ออํานวยให๎เกิดการปฏิสัมพันธ๑โดยอยํางยิ่งระหวํางชํางและผู๎เสพ โดยมีแรงจูงใจ เป็นตัวเงินซึ่งจะได๎กลําวถึงตํอไป ในมิติทางสังคม – วัฒนธรรม คนกลางมีสํวนชํวยให๎เกิดปฏิสัมพันธ๑ระหวําง คนอื่นกับชํางขึ้น โดยมีตัว ศิลปหัตถกรรมที่จัดวางในพื้นที่โดยพํอค๎าคนกลาง เชํน เจ๎าของหอศิลป์ เจ๎าของ ร๎านค๎าของเกํา หรือเจ๎าของร๎านศิลปหัตถกรรม โดยเฉพาะ นอกจากนี้แล๎วพํอค๎าคนกลางเหลํานี้ สามารถทํา หน๎าที่เป็นตัวแทนของชํางในพื้นที่ทางธุรกิจที่ชํางเองเพิ่งจะเริ่มสัมผัส ชํางยังไมํสันทัดที่ จะแปรคําทางสุนทรียะ ให๎เป็นคําทางเศรษฐกิจ ในขณะที่พํอค๎าเองก็ต๎องเรียนรู๎เกี่ยวกับคุณคําที่เป็นสุนทรียะของสินค๎าวัฒนธรรม เหลํานี้อีกด๎วย การแลกเปลี่ยนความรู๎และทักษะในการอําน และใช๎สัญลักษณ๑ของทั้งสองฝุาย กํอให๎เกิดมิติใหมํ ยิ่ง ทั้งตํอระบบทุนนิยม และวงการศิลปะ คล๎ า ยกั บ ในกรณี ข องสิ น ค๎ า ทั่ ว ไป ความสั ม พั น ธ๑ ร ะหวํ า งชํ า งกั บ คนกลางเป็ น ความสัมพันธ๑ทางเศรษฐกิจที่มีสินค๎าไม๎แกะสลักซึ่งสามารถตีเป็นตัวเงินได๎เป็นตัวเชื่อม เมื่อพูดถึงตลาด หรือ พื้นที่หรือเวที จะพบวําสินค๎าศิลปะ หรือสินค๎าทางวัฒนธรรมจะถูกจัดวางไว๎ในสองเวที เวทีหนึ่ง ก็คือเวทีกว๎าง ที่สินค๎าศิลปวัฒนธรรมนี้ถูกสํงเข๎าไปวางขาย โดยที่ผู๎ผลิตจะไมํเห็นภาพผู๎ซื้ออยํางชัดเจน สินค๎าในเวทีนี้ แม๎จะ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔-๙


เป็ น สิ น ค๎าศิล ปวัฒ นธรรม จะมีลั กษณะที่กว๎าง ผู๎ ผ ลิ ตไมํได๎ใสํ ตัว ตนเข๎ าไปในสิ นค๎า แม๎วําจะใสํ ตัว ตนของ วัฒนธรรมเข๎าไปอยูํในสินค๎านั้ นอยูํบ๎าง สินค๎าที่เข๎าขํายนิยามนี้ เชํน สินคค๎ารํมบํอสร๎าง เสื้อมํอฮํอม เป็นต๎น พํอค๎าคนกลางยังคงเป็นสื่อระหวํางผู๎ผลิตและผู๎บริโภค แตํผู๎บริโภคไมํสนใจวําใครเป็นคนผลิต ในขณะที่ผู๎ผลิตก็ ไมํจําเป็นต๎องรู๎วําใครจะเป็นผู๎บริโภคในการที่จะผลิตสินค๎านั้น ๆ จะกลําววําเป็นเวทีของผู๎ผลิตก็คงไมํผิดนัก อีก เวทีเป็นเวทีที่สินค๎าจะถูกผลิตขึ้นโดยการสั่งของพํอค๎าคนกลาง สินค๎าในเวทีนี้จะมีลักษณะเฉพาะเจาะจงทั้ง เรื่องวําใครเป็นผู๎ผลิต และคนประเภทไหนที่เป็นผู๎ซื้อ ทั้งสองฝุายไมํได๎พบกันโดยตรง แตํผํานสื่อ คือ พํอค๎าคน กลาง สินค๎าศิลปวัฒนธรรมที่ผลิตขึ้นเพื่อเวทีนี้ จะมีลักษณะที่สํอให๎เห็นตัวตนของผู๎ผลิตมากกวําในประเภท แรก ผู๎บริโภคสามารถกําหนดหรือสั่งผู๎ผลิตได๎ (โดยผํานพํอค๎าคนกลาง) ถือได๎วําเป็นเวทีของผู๎บริโภค หรือจะ ถือวําเป็นเวทีของอุปสงค๑ ก็คงฟ๓งได๎ ในเวทีแบบที่สองนี้ ทั้งผู๎ผลิตและผู๎บริโภค สนใจสัญลักษณ๑ตําง ๆ ที่มีอยูํใน สินค๎า ในขณะที่คนกลางสนใจเพียงเพื่อทําให๎สามารถแลกเปลี่ยนค๎าขายสินค๎าได๎เร็วขึ้นเทํานั้น อยํางไรก็ดี ความรู๎เกี่ยวกับสัญลักษณ๑ ไมํวําจะเป็นด๎านสังคม วัฒนธรรม หรือสุนทรียะของคนกลาง อาจจะสามารถพัฒนา เพื่อเพิ่มพูน ขึ้นได๎ ในกระบวนการซื้อขายแลกเปลี่ ยนที่ตนเป็นศูนย๑กลาง การทําไม๎แกะสลักซึ่งเป็นสิ นค๎า ศิลปวัฒนธรรม ที่ดูจะเกี่ยวข๎องกับตลาด หรือเวทีประเภทที่สองมากกวํา ในเวทีประเภทนี้ที่คนสองประเภทมา พบกันนั้น มีลักษณะเฉพาะตัว เป็นพื้นที่ที่มีทั้งการประสานกลมกลืน และตํอสู๎เชิงสั ญลักษณ๑กันอยูํตลอดเวลา อาจจะผลัดกันแพ๎ชนะ (ในเชิงสัญลักษณ๑อีกเชํนกัน) เป็นเวทีของปฏิสัมพันธ๑ระหวํางชําง / ผู๎ผลิตกับผู๎ซื้อ / คน กลาง ภายใต๎ป ฏิ สั ม พัน ธ๑ ที่ เป็ น ทั้ ง การประสานกลมกลื นและการตํ อ สู๎ ทั้ ง สองได๎ ใ ช๎เ วที นี้ ส ร๎ า งงานสิ น ค๎ า วัฒนธรรม คุณคําของสิ น ค๎าเชิงสั ญลั กษณ๑ ขึ้นอยูํกับคุณคําที่เกิดขึ้นมาจากชุมชนผู๎ บริโ ภคที่ จําเพาะที่ ชํางสัมผัสได๎โดยผํานคนกลาง ที่ผู๎ผลิตสามารถจะรับรู๎ได๎และแปรให๎เป็นสัญลักษณ๑ที่ผสมผสานทั้ง ความต๎องการที่จําเพาะของผู๎บริโภค และตัวตนของผู๎ผลิต มาถึงจุดที่สามารถมองเห็นได๎วํา ชํางหรือผู๎ผลิตคน นั้น หรือกลุํมนั้นประสบชัยชนะ ในการกําหนดคุณคํามากกวําคูํแขํงอื่น กรณีสินค๎าไม๎แกะรูปช๎างของชํางกลุํม “จ๏างนัก” เป็นตัวอยํางที่มี สลําของบ๎านจ๏างนัก เป็นกลุํมที่ได๎ทดลองใช๎สัญลักษณ๑ที่เป็นความเหมือนจริงในตัว ผลิตภัณฑ๑กํอนใคร ช๎างของพวกเขามองได๎วํา “ความเหมือนจริง” อาจจะชํวยตอบสนองแกํผู๎ซื้อในยุคนี้ที่ ตระหนักดี ถึงการหมดไปของปุา และการใกล๎สูญพันธ๑ของช๎าง ช๎างที่เหมือนจริงอาจจะตอบสนองความรู๎สึก อนุรักษ๑ที่มีอยูํได๎มากกวําช๎างที่แกะกันแบบกลม ๆ ในสมัยกํอน โดยรูปการของสถานการณ๑นี้ ดูเหมือนวําชํางจะเป็นผู๎ชนะในการกํา หนดคุณคําให๎กับ งานศิลปหัตถกรรมของตนเอง ในขณะที่ชํางอีกจํานวนหนึ่ง ยังไมํสามารถที่จะแสดงพลังให๎คนกลางเห็นได๎วําสิ่ง ที่เขาผลิตเป็นสิ่งที่สัมผัสกับจิตวิญญาณผู๎บริโภคได๎เต็มที่ พวกเขาจึงยังไมํอํานาจตํอรองอยํางเพียงพอที่จะทําให๎ คนกลาง “เพิ่มราคา” ให๎กับผลงานของพวกเขาได๎ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐


- บริบททางประวัติศาสตร๑ของจังหวัดเชียงใหมํ ประวัติความเป็นมาจังหวัดเชียงใหม่และอาณาจักรล้านนา

แผนที่ ๔.๑ จังหวัดเชียงใหมํและอาณาจักรล๎านนา การสถาปนาจังหวัดเชียงใหม่ เมืองเชียงใหมํถูกสถาปนาโดยพญามังรายในปี พ.ศ. ๑๘๓๙ เพื่อเป็นศูนย๑กลางด๎าน การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของ “อาณาจักรล๎านนา” พระองค๑ทรงตั้งเมืองขึ้นจากการขยาย เมืองและรวบรวมผู๎คนไว๎ได๎เป็นปึกแผํน เชียงใหมํซึ่งอยูํทางภาคเหนือของประเทศไทยในป๓จจุบันตั้งอยูํในพื้นที่ ปิดในศูนย๑กลางของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต๎ ในชํวงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ อาณาจักรตํางๆที่เกิดขึ้นมากํอนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต๎ อันได๎แกํ อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรจามปา และอาณาจักรขอม ได๎เสื่อมความเจริญ หรือลํมสลายไป แล๎วราชวงศ๑หยวน (มองโกล) แหํงประเทศจีนได๎เริ่มขยายอํานาจลงมาทางใต๎อันเป็นบริเวณ ของรัฐและชาวเผําที่มีเชื้อชาติไทและใช๎ภาษาไท พญามังรายซึ่งมีพระมารดาเป็นเจ๎าหญิงชาวไทลื้อจากเมืองเชียงรุ๎ง อาณาจักรสิบ สองป๓นนา (ซึ่งคือเมืองคุนหมิง ในประเทศจีนในป๓จจุบัน) เป็นกษัตริย๑องค๑ที่ ๒๕ แหํงราชวงศ๑ลวะจักราช (Lawachakaraj) (ลาวจก- Lao Chok) ตั้งแตํ พ.ศ. ๑๘๐๔ ทรงได๎สืบราชบัลลังก๑จากพระราชบิดาขึ้นเป็นผู๎ ครองหิรัญนครเงินยาง (Ngeonyang) ซึ่งอยูํใกล๎เมืองเชียงแสน และได๎สถาปนาอาณาจักรอยํางรวดเร็วโดย อาศัยวิธีทางการทูตและการทหารเพื่อรวบรวมเมืองและรัฐตําง ๆ ของชาวไทในภูมิภาคเข๎ารวมกับอาณาจักร ของพระองค๑ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑


ในปี พ.ศ. ๑๘๓๕ หลังจากได๎ทรงวางแผนอยํางรอบคอบเป็นระยะเวลานาน ทรงได๎ ใช๎กุศโลบายรวบรวมอาณาจักรมอญแหํงหริภุญไชย (จังหวัดลําพูนและลําปาง) ในป๓จจุบัน ซึ่งเป็นศูนย๑กลาง การเมืองในยุคโบราณที่มี แม๎วําจะได๎ทรงปกครองหริภุญไชยเป็นเวลาเพียงสองปี แตํอารยธรรมอันรุํงเรือง มี ความศรัทธาในพระพุทธศาสนาแตํสร๎างแรงบันดาลพระทัยหลายด๎านให๎แกํพระองค๑ซึ่งสะท๎อนผํานทางศิลปะ และสถาป๓ตยกรรม และมีระบบกฎหมายที่เป็นลายลักษณ๑อักษร เชํน กฎหมายมังรายศาสตร๑ กํอนการสถาปนาเชียงใหมํ ซึ่งมีความหมายวํา “เมืองใหมํ” พญามังรายได๎ทรงตั้ง เมืองหลวงที่ เวียงกุมกาม ก็จะทรงมอบหมายให๎บุตรชายองค๑หนึ่งพร๎อมกลุํมขุนนางที่ทรงไว๎วางพระราชหฤทัย ให๎ สํ าเร็ จราชการปกครองเมืองหลวงเดิมแทนเมื่อได๎ทรงค๎นพบสถานที่อันเหมาะสมตํอการสถาปนาเมือง เชียงใหมํ ซึ่งเป็นตําแหนํงของอําเภอสารภีในตอนใต๎ของจังหวัดเชียงใหมํ การสารวจและคัดเลือกสถานที่เพื่อเป็น “ชัยภูมิ”

แผนที่ ๔.๒ ชัยภูมิเชียงใหมํ เมื่อพญามังรายทรงมีพระชนมายุ ได๎ ๕๗ พรรษา พระองค๑ทรงครองราชย๑ได๎ ๔๐ ปี และยังทรงมีความกระตือรือร๎น โดยจะเสด็จพระราชดําเนินไปสถานที่ตําง ๆ ทั่วภูมิภาคพร๎อมกองกําลังและที่ ปรึกษาเพื่อหาสถานที่ที่สมบูรณ๑แบบเพื่อสร๎างเมืองหลวงที่ถาวรขึ้น เมื่อทรงพบสถานที่ที่นําสนใจและมีความ สงบสุข จะทรงพักแรมหนึ่งคืนเพื่อสํารวจและหา “สัญลักษณ๑อันเป็นมงคล” และ “ลางดี” ตามคติและความ เชื่อโบราณและตามนโยบายของพระองค๑ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๒


วันหนึ่ง ในปี พ.ศ. ๑๘๓๔ ทรงได๎พบสถานที่ในอุดมคติที่เชิงดอยสุเทพ ซึ่งลาดลงไป ทางตะวันตกไปยังที่ราบลุํมแมํน้ําขนาดใหญํในทางทิศตะวันออก ในบริเวณตอนกลางของที่ราบอันกว๎างใหญํ กลางหุบเขาแหํงนี้ มีทุํงหญ๎าที่อุดมสมบูรณ๑และสวยงาม ทรงพบสัตว๑หายากบางสายพันธุ๑ที่ไมํกลัวกองกําลัง ของพระองค๑ อีกทั้งยังทรงพบไม๎มงคลขนาดใหญํมากมายโดยเฉพาะต๎นมะเดื่อใหญํ

ทรงสังเกตเห็นน้ําตก

ใสไหลจากดอยสุเทพไปยังลําน้ําตําง ๆ ที่รายรอบพื้นที่ และสุดพื้นราบที่ฝ๓่งตะวันออก มีแมํน้ํากว๎างใหญํ คือ แมํน้ําปิง ซึ่งไหลผํานจากทิศเหนือลงสูํทิศใต๎ บริ เวณแหํ งนี้ มีช นเผํ าโบราณหลายเผํ าอาศัยอยูํมาหลายร๎อยปี โดยเฉพาะชาว “ลัวะ” “ละว๎า” ซึ่งอาศัย อยูํบริ เวณเชิงดอยสุเทพซึ่งชาวเผํานี้เห็นวําเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่สถิตของ วิญญาณของบรรพบุรุษของตนและผู๎ทรงภูมิคือสุเทวฤาษี (Sudeva) พญามังรายทรงปรึกษาบรรดาขุนนางและโหรหลวง ทุกฝุายเห็นชอบวําทุกสิ่งที่พบ เห็น ณ สถานที่แหํงนี้แสดงถึงสภาพทางธรรมชาติที่อุ ดมสมบูรณ๑ และลางดีตํอการสถาปนา “ชัยนคร” (เมือง แหํงชัยชนะ) ตามคติความเชื่อโบราณ เมื่อทรงมั่นพระทัยวําสถานที่ดังกลําวเป็นสถานที่ที่เหมาะสมตํอการ สถาปนาเมืองใหมํ พญามังรายได๎ทรงเข๎าครองสถานที่ดังกลําวเมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๑๘๓๕ จากนั้น พญามังรายได๎ทูลเชิญพระเชษฐารํวมสาบานสองพระองค๑ คือ พญางําเมืองแหํงพะเยา และพระรํวงเจ๎า (พํอขุน รามคําแหง) แหํงกรุงสุโขทัย มาเยือนสถานที่และเพื่อพระราชทานคําปรึกษาถึงความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง และผังเมือง กษัตริย๑ทั้งสองพระองค๑ได๎สํารวจสถานที่อยํางถี่ถ๎วนและสังเกตพบสัญลักษณ๑มงคลเจ็ด ประการซึ่ง แสดงให๎เห็นวํามีน้ํา เมืองมีความสมบูรณ๑ ได๎แกํ น้ําตก อํางเก็บน้ํา ลําธาร และแมํน้ํา ซึ่งทั้งสองพระองค๑ล๎วน เห็นวําเป็นปราการสําหรับเมือง กษัตริย๑ทั้งสองพระองค๑จึงทรงมีพระราชวินิจฉัยวําสมควรตั้งเมือง ณ บริเวณ ดังกลําว สําหรับพญามังรายและสําหรับกษัตริย๑ทั้ง สองพระองค๑ สิ่งที่สําคัญยิ่งคือการที่เมือง หลวงถาวรของล๎านนาจะสามารถมีประสิทธิผลในการเป็นปราการสําคัญในทิศเหนือ และเป็นฐานการเมืองการ ปกครองที่มีอิทธิพลอยํางมากในการควบคุมรัฐตําง ๆ ของชาวไทในอาณาบริเวณนี้ เกษตรกรรมและการค๎าอัน เป็นอาชีพที่ชํวยสร๎างความเจริญรุํงเรืองให๎แกํประชากรก็เป็นป๓จจัยสําคัญที่ควรพิจารณา ตั้งแตํปี พ.ศ. ๑๘๓๐ กษัตริย๑ทั้งสามพระองค๑ได๎รํวมทําสนธิสัญญาระหวํางกันเพื่อ เป็นพันธมิตรรํวมตํอต๎านการรุกรานจากศัตรูตํางชาติ โดยเฉพาะชาวมองโกลหรือราชวงศ๑หยวนของประเทศ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๓


จีน ในปี พ.ศ. ๑๘๐๐ ได๎เข๎าครอบครองแคว๎นยู นนาน โดยรวมเมืองเชียงรุ๎งในแคว๎นสิบสองป๓นนา ซึ่งเป็น แผํนดินประสูติของพระมารดาของพญามังราย พันธสัญญาระหวํางทั้งสามพระองค๑นี้มีความโดดเดํนและสําคัญ ยิ่งตํอภูมิภาคนี้ในยุคสมัยนั้น

ภาพที่ ๔.๒๗ อนุสาวรีย๑สามกษัตริย๑ จตุรัสในเมืองเชียงใหมํ จากที่ร ะบุ ในงานเขี ยน "Zinme Yazawin" ซึ่ งเขียนโดย Sithu Thingyam (University of Yangon, ๒๐๐๓) กลําวถึงชัยมงคล มีเจ็ดประการ ดังตํอไปนี้:

Gamani

“ลางดีประการแรกคือครอบครัวกวางเผือกเข๎ามาในพื้นที่ และไมํหวาดกลัวมนุษย๑ ประการที่สองคือ กวางขนแดงมีปานขาวตรงหน๎าผาก แนวสีขาวกลางหลัง และขาทั้งสี่ข๎างเป็นสีขาวลงมา จากปุาและขับไลํพลทหารไป ประการที่สามคือดอยสุเทพซึ่งอยูํทางทิศตะวันตก มีความศักดิ์สิทธิ์ทั้งสําหรับ ชาวละว๎าในท๎องที่และชาวมอญ เนื่องจากสร๎างโดยสุเทวฤาษีที่มีความศักดิ์สิทธิ์และเป็นผู๎สร๎างพระธาตุหริภุญ ไชยเชํนกัน ดังนั้นดอยสุเทพจึงเป็นสถานที่ปกปูองทางวิญญาณและทางภูมิศาสตร๑ฝ๓่งตะวันตก ประการที่สี่ คือ น้ําตกที่ไหลลงมาจากยอดเขาและไหลไปทางทิศเหนือลงสูํลําน้ํา เลี้ยวไปด๎านตะวันออกและไหลตามฝ๓่งด๎านใต๎ ของพื้นที่ที่เป็นชัยภูมิแล๎วจึงเบี่ยงไปทิศตะวันตกจึงเป็นปราการทางธรรมชาติของพื้ นที่บริเวณนี้ ประการที่ห๎า ภูมิประเทศของพื้นที่มีลักษณะที่เป็นคุณ เนื่องจากเป็นที่สูงในทิศตะวันตกและลาดต่ําไปทางทิศตะวันออก ประการที่หกคือลําน้ําที่ไหลไปทางทิศตะวันออก

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๔


ไปบรรจบแมํน้ําปิงในด๎านตะวันออกของพื้นที่อันเป็นมงคลแล๎วจึงไหลไปตามแนว ของพื้นที่ สร๎างแนวขอบของพื้นที่ในทิศใต๎ แมํน้ําปิงก็เป็นลางดี เนื่องจากไหลจาก (ทะเลสาบ) สระอโนดาต จากทิวเขาในอําเภอเชียงดาวและไหลไปด๎านตะวันออกของเมือง ลางดีประการที่เจ็ด คือ มีทะเลสาบขนาด ใหญํในบริ เวณทิศตะวันออกฉีย งเหนือของพื้นที่มงคล ทะเลสาบแหํงนี้ถูกกลํ าวถึงใน “ลํานําแหํ งความฝ๓ น ("Treatise on Dreams") และในลํานําเกี่ยวกับลางของศาสนาพราหมณ๑ วําเป็นสถานที่แหํงความสุขและเป็น ทะเลสาบแหํงอาหารทิพย๑ (Lake of Ambrosia)” สําหรับการเชื่อมโยงด๎านการเกษตรและการค๎า พื้นที่ที่ได๎รับเลือก ซึ่งเป็นทุํงหญ๎า อันกว๎างใหญํนั้นเหมาะสําหรับการทําเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทํานาข๎าว แมํน้ําปิงอันกว๎างใหญํและทอดยาว ชํวยอํานวยความสะดวกด๎านการติดตํอค๎าขายกับพื้นที่อื่น ๆ และยังชํวยให๎สามารถควบคุมรัฐ อื่น ๆ ได๎อีก ด๎วย พื้นที่แหํงนี้เชื่อมตํออยํางงํายดายกับเส๎นทางคาราวานในยุคโบราณ อันเป็นเส๎นทางที่บรรดาพํอค๎าวาณิช จากอินเดีย พมํา และยูนนานใช๎เดินทางพร๎อมสินค๎าอันได๎แกํ ใบชา และปศุสัตว๑ ผํานเส๎นทางข๎ามภูเขาตําง ๆ การสร้างเมืองในปราการป้องกัน

แผนที่ ๔.๓ ผังเมืองเชียงใหมํ หลั ง สถาปนาเมื อ งเชี ย งใหมํ สิ่ ง แรกสุ ด ที่ ต๎ อ งคํ า นึ ง ถึ ง คื อ การปกปู อ งเมื อ งและความ แข็งแกรํงของเมืองทั้งในยามสงบและยามศึก ดังนั้นสามกษัตริย๑จึงทรงออกแบบให๎เมืองเชียงใหมํเป็นปราการที่ มีประสิทธิภาพและใช๎งานได๎ดีสําหรับภูมิภาคนี้และข๎อวินิจฉัยประการนี้ก็ทําเกิดแนวคิดวําเมืองที่มีปราการ ปกปูองอันแข็งแกรํงนั้นจะไมํเล็กหรือไมํใหญํจนเกินไป ในยามศึก เมืองต๎องมีกําลังไพรํพ ลและช๎างสารเพื่อ ปกปูองปูอมปราการตําง ๆ ของเมือง เมื่อตระหนักถึงข๎อสําคัญประการนี้ พญามังรายจําต๎องลดขนาดเมืองลง ครึ่งหนึ่งจากขนาดที่ทรงต๎องการเมื่อแรกเริ่ม ผังเมืองเชียงใหมํมีความโดดเดํนเนื่องจากพญามังรายได๎ผสาน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๕


ความเชื่อดั้งเดิมของชาวไทเข๎ากับความรู๎และเทคโนโลยีของชาวละว๎า และผสานกับแนวคิดด๎านจักรวาลของ ศาสนาพุทธที่รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดูอันอาจได๎รับมาจากพระรํวงเจ๎าซึ่งเป็นกษัตริย๑แหํงกรุงสุโขทัย เมือง เชียงใหมํที่มีปูอมปราการปกปูองคุ๎มกันอยํางแข็งแรงนี้มีรูปทรงที่ทุกด๎านมีความยาวเกือบเทํากัน เพื่อแสดงถึง รํางกายมนุษย๑ มีศีรษะ แผํนหลัง ท๎อง มือ และเท๎า รูปทรงผังเมืองนี้แสดงถึงการที่มนุษย๑สามารถอยูํรํวมกับ ธรรมชาติได๎อยํางกลมกลืนและเชื่อมโยงถึงกัน โดยใช๎ประโยชน๑จากสภาพแวดล๎อมตามธรรมชาติแตํไมํเปลี่ยน หรือฝืนธรรมชาติดังกลําว ผังเมืองเชียงใหมํจึงเป็นสัญลักษณ๑แสดงถึงบุคคลที่มีสันติและความมั่งคั่ง เอนกาย นอนตะแคงโดยหันหลังไปด๎านตะวันตกพิงภูเขาอันมั่นคงและได๎รับการปกปูองจากวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ และหัน สํวนท๎องเข๎าไปยังแมํน้ําในฝ๓่งตะวันออก และมีความสมบูรณ๑พูนสุขจนท๎องย๎อยจากด๎านตะวันออกเฉียงเหนือไป จนถึงด๎านใต๎เหมือนท๎องของสตรีมีค รรภ๑ ซึ่งได๎รับการปกปูองสองชั้นจากกําแพงเมืองรอบนอกและคูน้ํา งาน กํอสร๎างสิ่งปลูกสร๎างตําง ๆ มิได๎เริ่มจนกระทั่งปี ค.ศ. ๑๒๖๙ หรือ พ.ศ. ๑๘๑๒ หรือประมาณหกปีหลังเลือก สถานที่ตั้งเมือง กํอนจะเริ่มกํอสร๎างสิ่งตําง ๆ พญามังรายทรงได๎จัดเครื่องเซํนสังเวยสามชุด ชุดแรกทรงถวาย แดํเทพารักษ๑และเจ๎าที่เจ๎าทางผู๎ปกป๓กรักษาพื้นที่บริเวณโดยรอบ ชุดที่สองทรงถวายแดํหนูขาวยักษ๑ ซึ่งเป็นสัตว๑ พิเศษซึ่งทรงพบเห็นวํากําลังมุดเข๎าต๎นไทร และชุดที่สามทรงแบํงเป็นห๎าสํวนเพื่อทรงถวายแดํวิญญาณที่สิงสถิต ที่บริเวณห๎าแหํงที่จะเป็นสถานที่ตั้งของซุ๎มประตูเมือง ได๎ทรงเกณฑ๑แรงงานชาย ๕๐,๐๐๐ นายเพื่อสร๎างราชวัง ที่ประทับสํวนพระองค๑ ที่ประทับของบรรดาสนมนางใน และท๎องพระโรงกลาง ตลอดจนพระคลัง คอกม๎าและ ช๎างที่ใช๎ในยามศึก นอกจากนี้ ยังได๎ทรงเกณฑ๑แรงงานชายอีก ๔๐,๐๐๐ นายเพื่อสร๎างกําแพงเมือง หอ สังเกตการณ๑ ซุ๎มประตูเมือง คูเมือง และโรงเก็บเรือ ในขณะเดียวกัน ณ ใจกลางเมืองเชียงใหมํก็เปิดเป็นตลาด “ขํวงหลวง” (Khuang Luang) การใช๎พื้นที่ตําง ๆ ตามลักษณะภูมิประเทศผสานกับความเชื่อด๎านดาราศาสตร๑ และพยากรณ๑ศาสตร๑ตามคติของชาวล๎านนา หลังจากนั้นสี่เดือน การสร๎างบ๎านแปลงเมืองก็ เสร็จสมบูรณ๑ และ สามกษัตริย๑ก็ได๎พระราชทานนามให๎แกํเมืองใหมํวํา “นพบุรีศรีนครพิงค๑เชียงใหมํ” หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปวํา “เชียงใหมํ” เพื่อประสาทพรให๎แกํเมืองใหมํนี้ หลั ง จากนั้ น สามกษั ต ริ ย๑ ไ ด๎ ท รงจั ด งานเฉลิ ม ฉลองอั น ยิ่ ง ใหญํ ทรงจั ด เตรี ย ม เครื่องเซํนสังเวยหกชุดและเชิญวิญญาณจากสรวงสวรรค๑ลงมาประทับที่เมืองเพื่อปกป๓กรักษาเมือง ณ จุดที่ ประทับหกจุดซึ่งทรงเล็งเห็นวําเป็นจุดอํอนแอของเมือง ได๎แกํ กลางเมือง และที่ซุ๎มประตูเมืองทั้งห๎าซุ๎ม ตาม พงศาวดารเมืองเชียงใหมํ พิธีดังกลําวถูกจัดขึ้นอยํางยิ่งใหญํสามวันสามคืนและมีอาหารและเครื่องดื่มมากมาย สําหรับเจ๎าหน๎าที่และแรงงานที่เป็นผู๎สร๎างเมือง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๖


ความสาคัญของพิธีการและการเฉลิมฉลอง พญามังรายทรงเป็นผู๎ประกอบพิธีเซํนสรวงบูชาเมื่อเริ่มการกํอสร๎างและเมื่อการ กํอสร๎ างเสร็ จ สิ้ น ลงสําหรั บ การกํอสร๎ างสํ วนสํ าคัญ ๆ ของฐานเมือง พิธีเซํนสรวงดังกลํ าวดําเนินการตาม ประเพณีของชาวไทยวน (Tai Yuan) ซึ่งเป็นประชากรสํวนใหญํของเมืองและรัฐตําง ๆ ในอาณาจักรล๎านนา ภายใต๎การปกครองของพญามังราย ชาวไทยวน (Tai Yuan) และชาวไทเผําอื่น ๆ สํวนใหญํมีความเชื่อและนับ ถือเทพบนสวรรค๑และบูชาวิญญาณบรรพบุรุษ คือ “ผีปูุยํา” และชาวลัวะหรือละว๎ายังนับถือวิญญาณแหํงปุา คือ “ผี ปุา” ชาวไทยั งคงมีความเชื่อวําในแตํละหมูํบ๎าน หรือแตํละสถานที่ที่มีปราการรายรอบขอบชิด มีมี ศูนย๑กลางของจิตวิญญาณ เรียกวํา “ใจบ๎าน – ใจเมือง” แตํถ๎าเป็นกรณีของเมือง จะเรียกวํา “สะดือเมือง” แม๎วําชาวไทสํวนใหญํโดยทั่วไปจะนับถือพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาและหลักการดํารงชีวิต ก็ยังคงรักษาความ เชื่อดั้งเดิมไว๎เชํนกัน ชาวไทมีองค๑การการปกครองที่เป็นระบบ และมีอารยธรรมทางด๎านสถาป๓ตยกรรม ที่รุํมรวยอยํางมาก มีการแสดงออกทางวัฒนธรรมและภาษาที่ก๎าวหน๎ากวําชาวละว๎าและชาวขํา ผู๎ซึ่งแม๎จะอยูํ ใกล๎ชิดกับธรรมชาติมากกวํา แตํก็มีอารยธรรมอันเนื่องจากมีระบบความรู๎และเทคโนโลยีเฉพาะของตน ชาว ไทยวน (Tai Yuan) สํวนใหญํประกอบอาชีพทํานา (ข๎าวเหนียว) และมีความรู๎เกี่ยวกับการทําสวน ภาษาและ วรรณคดี ตลอดจนศิลปะและหัตถกรรม ชาวไทในล๎ า นนาและชาวไทกลุํ ม อื่ น ๆ ในเมื อ งตํ า ง ๆ ในบริ เ วณใกล๎ เ คี ย งมี ความสัมพันธ๑เกี่ยวดองกันเป็นระยะเวลายาวนาน ชาวไทเหลํานี้มีภาษาที่มีลักษณะใกล๎เคียงกันทั้งในระบบการ พูดและการเขียน ตลอดจนสืบสานวรรณคดีที่เหมือนกันเป็นมรดกตกทอดมาแตํโบราณ เมื่อพญามังรายทรงจัดพิธีเฉลิมฉลองการที่เมืองเชียงใหมํสร๎างเสร็จสมบู รณ๑ ทรงได๎ ประกาศความยิ่งใหญํของเมืองหลวงแหํงใหมํนี้ให๎แพรํไปยังรัฐอื่น ๆ ตลอดจนประชากรกลุํมตําง ๆ แล๎วใน พิธีกรรมตําง ๆ ทรงแสดงความเคารพอยํางยิ่งตํอประเพณีและความเชื่อของชาวไทและชาวท๎องถิ่น แตํก็ได๎ทรง แสดงให๎เป็นที่ทราบไปโดยทั่วกันวําทรงเลื่อมใสและอุทิศพระองค๑เพื่อพระพุทธศาสนา ตามที่ระบุในจารึก ซึ่ง พบที่วัดเชียงมั่น (Wat Chiangman) พญามังรายได๎ทรงบริจาคตําหนักที่ทรงใช๎เป็นที่ประทับและทรงงานใน ระหวํางการวางแผนและการสร๎างเมืองเชียงใหมํ เพื่อแปลงเป็นวัดชื่อ “วัดเชียงมั่น” (Wat Chiang Man) ซึ่ง หมายความวํา “วัดแหํงความมั่นคงของเมือง” การที่ทรงผสมผสานวัฒนธรรมของชาวไท ชาวละว๎า เข๎ากับ วัฒนธรรมของพระพุทธศาสนาในการประกอบพิธีกรรมสาธารณะตําง ๆ ทําให๎เกิดยุคแหํงวัฒนธรรมล๎านนายุค ใหมํ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๗


ภาพที่ ๔.๒๘ ศิลาจารึกวัดเชียงมั่น

ภาพที่ ๔.๒๙ การถวายดอกไม๎ที่วัดเชียงมั่น ในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เมืองเชียงใหม่หลังจากพญามังรายสิ้นพระชนม์ พญามังรายทรงปกครองอาณาจักรล๎านนาโดยมีเมืองเชียงใหมํเป็นนครหลวงเป็น ระยะเวลา ๒๐ ปี กํอนจะสิ้นพระชมน๑อยํางไมํมีผู๎ใดคาดคิดมากํอนจากการที่ทรงถูกฟูาผํา ณ จุดกลางเมืองอัน เป็นจุดที่เชื่อวําเป็นที่สถิตของเทวดาผู๎ปกป๓กรักษาเมือง ซึ่งในป๓จจุบันกลายเป็น “วัดสะดือเมือง” รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๘


ภาพที่ ๔.๓๐ วัดสะดือเมือง อยํางไรก็ตาม พงศาวดารเมืองเชียงใหมํบางฉบับกลับระบุวําพญามังรายประชวร และทรงแปรพระราชฐานไปเวียงกุมกามและสวรรคตที่เวียงกุมกามนั่นเอง เมื่อพญามังรายสวรรคตเมื อง เชียงใหมํได๎เป็นที่รู๎จักอยํางกว๎างขวางวําเป็นศูนย๑กลางด๎านการปกครองและจิตวิญญาณแหํง อาณาจั ก รล๎ า นนา แม๎ จ ะไมํ เ ข๎ ม แข็ ง เทํ า พญามั ง รายแตํ ก ษั ต ริ ย๑ อ งค๑ ห ลั ง ๆ ที่ สืบราชสมบัติตํอจากพญามังราย ก็สามารถปกครองอาณาจักรล๎านนามากวํา ๒๐๐ ปี แตํมิใชํวําทุกองค๑จะทรง ใช๎เมืองเชียงใหมํเป็นศูนย๑กลางการปกครอง เนื่องจากบางองค๑โปรดที่จะทรงใช๎เมืองอื่น ๆ ที่พญามังรายทรง เคยใช๎มากํอนสถาปนาเมืองเชียงใหมํ ยุคทองของเชียงใหม่ ในราชวงศ๑มังรายมีกษัตริย๑ที่ทรงมีความโดดเดํนหลายองค๑ โดยเฉพาะองค๑ที่ห ก หรือ พญากือนา (พ.ศ. ๑๘๙๘-๑๙๒๘) และองค๑ที่เก๎า หรือ พญาติโลกราช (พ.ศ. ๑๙๘๔-๒๐๓๐) ซึ่งได๎พัฒนา อาณาจักรจนมีอารยธรรมเจริญรุํงเรืองสูงสุด ทั้งสองพระองค๑ได๎ทรงสร๎างวัดพุทธ และเจดีย๑ ตลอดจนสถานที่ สาธารณะ ที่มีความสําคัญหลายแหํง โดยใช๎เทคโนโลยีชั้นสูงซึ่งแสดงออกทางสถาป๓ตยกรรมที่ยิ่งใหญํและ รุํงเรืองซึ่งเป็นที่รู๎จักในยุคหลัง ๆ วําเป็นรูปแบบสถาป๓ตยกรรมแบบคลาสสิกล๎านนา พงศาวดารเมืองเชียงใหมํยกยํองพญากือนาวําเป็นนักปกครองที่ “ทรงมีความ ยุติธรรมและความศรัทธาอันแรงกล๎าตํอคําสั่งสอนขององค๑สัมมาสัมพุทธเจ๎า พญากือนาได๎ทรงสร๎างวัดและ เจดีย๑อันยิ่งใหญํไว๎มากมาย และทรงเป็นที่ยอมรับอยํางมากวําทรงมีความรู๎ในหลายสาขาวิชา เชํน ธรรมศาสตร๑ (Dharmasastra) ราชศาสตร๑ (Rajasastra) ประวัติศาสตร๑ และงานชํางสิบหมูํ พระองค๑ทรงสร๎างเจดีย๑ทองอัน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๙


สงํางามที่วัดพระธาตุดอยสุเทพที่บริ เวณยอดดอยสุ เทพ เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุขององค๑พระ สัมมาสัมพุทธเจ๎าซึ่งทรงได๎รับถวายจากกรุงสุโขทัย เจดีย๑องค๑นี้และวัดพระธาตุดอยสุเทพยังคงเป็นสัญลักษณ๑ เชิงจิตวิญญาณของเมืองเชียงใหมํตราบเทําทุกวันนี้ การเสื่อมและการแตกแยก เมื่อกษัตริย๑แหํงเชียงใหมํต๎องทรงพัวพันกับสงครามในกรุงศรีอยุธยาและรัฐฉาน จึง ทรงสูญเสียขุนนางและไพรํพลจํานวนมาก เชียงใหมํจึงอํอนแอลงและตกเป็นประเทศราชของพมําในปี พ.ศ. ๒๐๑๐ เนื่องจากกษัตริย๑บาเยงนอง (Bayinnaung) แหํงราชวงศ๑ตองอู (Toungoo) ประเทศพมําทรงขยาย อิทธิพลในภูมิภาคนี้ เชียงใหมํตกอยูํภายใต๎การปกครองของประเทศพมําเป็นระยะเวลา ๒๐๐ ปี อันเป็นชํวง ระยะเวลาที่เชียงใหมํกลายเป็นเมืองที่อัตคัดขัดสน ผู๎คนแตกแยก และอารยธรรมตําง ๆ ก็หยุดนิ่งซบเซา ไมํมี พัฒนาการใด ๆ ระหวํางปี พ.ศ. ๒๒๔๔ ถึง ๒๒๗๖ พมําได๎แบํงอาณาจักรล๎านนาเป็นล๎านนา ตะวันออกซึ่งมีศูนย๑กลางอยูํที่เมืองเชียงแสน และล๎านนาตะวันตกที่มีฐานอยูํที่เมืองเชียงใหมํ ในปี พ.ศ. ๒๓๑๘ กลุํมเชื้อพระวงศ๑ของล๎านนาได๎ทรงใช๎ลําปางเป็นฐานในการตํอต๎านการปกครองของพมํา และเข๎ารํวมสนับสนุน แผนการศึกของสยามประเทศในการขับไลํพมําไปจากดินแดนของตน สยามประเทศได๎เสียกรุงศรีอยุธยาแกํ พมําในปี ค.ศ. ๑๗๖๗ หรือ พ.ศ. ๒๓๑๐ โดยกษัตริย๑แหํงกรุงธนบุรีและปฐมกษัตริย๑แหํงราชวงศ๑จักรีในอนาคต ได๎ทรงดําเนินการกู๎ชาติในทันที ปฏิบัติการในการตํอต๎านพมําดําเนินการเกือบ ๒๐ ปี และเชียงใหมํ ซึ่งตั้งอยูํ ระหวํางสยามประเทศและประเทศพมํา ได๎กลายเป็นแนวหน๎าในการรบพุํงกันระหวํางสองชาติอยูํเป็นประจํา ในขณะที่บรรดาเชื้อพระวงศ๑และขุนนางต๎องไปออกรบ ประชากรของเมืองเชียงใหมํได๎อพยพหนีไปสถานที่ที่ ปลอดภัยกวํา ทําให๎เชียงใหมํเกือบกลายเป็นเมืองร๎าง แตํเมื่อพมําถูกขับไลํออกไปจากดินแดนเชียงใหมํ ทํา ให๎ เ ชีย งใหมํ กลั บ มาเป็ น เมืองหลวงแหํ งอาณาจักรล๎ านนาและกลั บมามี อิทธิ พลตํ อเมื องและรั ฐ ตํา ง ๆ ใน ภาคเหนือดังที่เคยเป็นมากํอนหน๎า

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๐


การเกิดใหม่ของอาณาจักรล้านนา

ภาพที่ ๔.๓๑ พระเจ๎ากาวิละ ในปี พ.ศ. ๒๓๓๙ พระเจ๎ากาวิละทรงได๎รับการสนับสนุนจากทางกรุงเทพมหานคร เพื่อฟื้นฟูเชียงใหมํเพื่อให๎เป็นศูนย๑กลางของอาณาจักรล๎านนา พระเจ๎ากาวิละทรงรวบรวมประชาชนกลุํมตําง ๆ จากบรรดาหมูํบ๎านและเมือง ในอาณาบริเวณโดยรอบให๎ เข๎ามาลงหลั กป๓กฐานในเมืองเชียงใหมํ และได๎ บูรณปฏิสังขรณ๑อาคารสําคัญตําง ๆ โดยเฉพาะวัดและสถานที่สําคัญ ๆ ที่สร๎างขึ้นในสมัยราชวงศ๑มังราย พระ เจ๎ากาวิละทรงสถาปนา ราชวงศ๑ “เจ๎าเจ็ดตน” เพื่อครองราชบัลลังค๑ปกครองเชียงใหมํและอาณาจักรล๎านนาให๎ รุํงเรืองอีกครั้ง แม๎วําในขณะนั้น เชียงใหมํจะมีสถานะเป็นเมืองประเทศราชของกรุงรัตนโกสินทร๑ เจ๎ากาวิละ ทรงได๎รับความไว๎วางพระราชหฤทัยอยํางมากจากราชสํานักของกรุงรัตนโกสินทร๑และทรงสามารถปกครอง เชียงใหมํได๎อยํางคํอนข๎างเป็นอิสระ พระเจ๎ากาวิละทรงฟื้นฟูวัฒนธรรมและประเพณีดั้งเดิมของล๎านนา โดยเฉพาะพิธี ราชาภิเษก ภาษาและวรรณคดี ตลอดจนพิธีสําคัญ ๆ ทางพระพุทธศาสนาในแบบล๎านนา และทรงสํงเสริม พิธีกรรม นาฏดนตรี และหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของล๎านนา พระเจ๎ากาวิละทรงยึดถือตามพระราชพิ ธี ล๎านนาโบราณโดยจะเสด็จฯ เข๎าเมืองเชียงใหมํผํานซุ๎มประตูทางทิศเหนือ ซึ่งเป็นซุ๎มประตูที่เป็นมงคลที่สุดคือ เป็น “ประตูหัวเมือง” (ได๎รับการขนานนามใหมํวํา “ประตูช๎างเผือก” ตั้งแตํในรัชสมัยพระเจ๎ากือนา) ทรงฉลอง พระองค๑และเครื่องราชอิสริยาภรณ๑เต็มยศดังเชํนเครื่องทรงของกษัตริย๑ในราชวงศ๑มังราย ราชวงศ๑ของพระองค๑ ได๎ครองเมืองเชียงใหมํและอาณาจักรล๎านนานับร๎อยปี โดยได๎รับการสนับสนุนจากกรุงรัตนโกสินทร๑ การแลกเปลี่ยนกับวัฒนธรรมอื่น ๆ ในยุคสมัยใหม่ เมืองเชียงใหมํในต๎นรัชสมัยของราชวงศ๑เจ๎าเจ็ดตนกลับมีชีวิตชีวาและเจริญรุํ งเรือง อีกครั้งโดยอาศัยการค๎าและพลังการสร๎างสรรค๑ตําง ๆ ดังที่ปรากฏการฟื้นฟูศิลปะและสถาป๓ตยกรรมดั้งเดิม และการสร๎างสรรค๑สิ่งใหมํ ๆ เมื่อเมืองเติบโตและขยายกว๎างไกลขึ้น ความเจริญรุํงเรือง อุดมสมบูรณ๑และความ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๑


สวยงามของทรัพยากรทางธรรมชาติ และสภาพแวดล๎อมทางวัฒนธรรมของเมืองเชียงใหมํทําให๎เมืองเป็นที่ สนใจของตํ างชาติ ที่ เ ข๎า มาในภูมิ ภ าคนี้ ในขณะนั้ น ประเทศอั งกฤษและประเทศฝรั่ง เศสได๎ ค รอบครอง อาณาจักรรายรอบเมืองเชียงใหมํ ในด๎านทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และได๎พยายามขยายอิทธิพล เข๎าสูํเชียงใหมํ ประเทศอังกฤษเริ่มเข๎าครอบครองประเทศพมําในปี พ.ศ. ๒๓๖๗ และได๎ชนะ สงครามระหวํางอังกฤษและพมําครั้งที่สอง จึงได๎เข๎าถือครองพมําตอนลํางในปี ค.ศ. ๑๘๕๒ หรือ พ.ศ. ๒๓๙๕ สยามประเทศก็ได๎รับแรงกดดันจากประเทศอังกฤษ จนกระทั่งยอมทําสนธิสัญญาเบาริ่งกับประเทศอังกฤษใน ปี พ.ศ. ๒๓๕๘ ได๎มีการลงนามในข๎อตกลงพิเศษเกี่ยวกับเมืองตําง ๆ ในภาคเหนือของสยามประเทศ ระหวําง สยามประเทศและรัฐบาลประเทศอังกฤษที่ปกครองประเทศอินเดีย สองครั้ง คือ ใน พ.ศ. ๒๔๑๗ และอีกครั้ง ในปี พ.ศ. ๒๔๒๖ จากนั้น จึงมีการแตํงตั้งกงสุลแหํงประเทศอังกฤษประจําเชียงใหมํ อันเป็นเจ๎าหน๎าที่การทูต รายแรกที่ประจําภาคเหนือของสยามประเทศ ดังที่กรุงรัตนโกสินทร๑ได๎ปูทางไว๎ให๎ เชียงใหมํได๎เริ่ม “เปิดประตู เมือง” และมีการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกับตํางชาติ โดยรับวิทยาศาสตร๑ การแพทย๑ เทคโนโลยี และระบบ การศึกษาสมัยใหมํแบบตะวันตก เมืองเชียงใหมํกลายเป็นศูนย๑รวมของกลุํมที่ มีความชํานาญด๎านตําง ๆ ซึ่งมี หลักฐานแสดงผลงานสําคัญคือผ๎าและรูปแบบสถาป๓ตยกรรมของสิ่งปลูกสร๎างตําง ๆ ในเมือง นโยบายปฏิรูปประเทศของสยามประเทศทําให๎ต๎องมีการปฏิรูปการปกครองสํวน ภูมิภาคด๎วย ในปี พ.ศ. ๒๔๒๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัว รัชกาลที่ ๕ ได๎ทรงริเริ่มการปกครอง สํ ว นภู มิ ภ าคในภาคเหนื อ โดยโปรดเกล๎ า ฯ ให๎ พ ระเจ๎ า น๎ อ งยาเธอ กรมหมื่ น พิ ชิ ต ปรี ช ากร ( Krommoen Phichitpreechakorn) ทรงเป็นผู๎สําเร็จราชการแทนพระองค๑ในภาคเหนือโดยทรงมีศูนย๑กลางการปกครองที่ เมืองเชียงใหมํ

ภาพที่ ๔.๓๒ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัว รัชกาลที่ ๕ แหํงสยามประเทศ ในชํวงต๎น ๆ ของการปฏิรูปประเทศ เจ๎าดารารัศมี แหํงเมืองเชียงใหมํ ทรงรับ เครื่องหมั้นที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัวพระราชทานให๎ จากนั้นไมํนานเจ๎าดารารัศมีก็ทรง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๒


ได๎รับพระราชานุญาตจากพระบิดา คือ เจ๎าอินทวิชยานนท๑ ให๎ เสด็จฯ ไปยังกรุงรัตนโกสินทร๑และทรงถวาย พระองค๑เข๎าเป็นพระชายา และประทับในพระบรมมหาราชวัง

ภาพที่ ๔.๓๓ เจ๎าดารารัศมี พระชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัว รัชกาลที่ ๕ ระบบการสื่อสารโทรคมนาคมในสยามประเทศได๎รับการพัฒนา เนื่องจากเป็นสํวน หนึ่ งของนโยบายและยุ ทธศาสตร๑ การปฏิรู ปประเทศ การเดินทางโดยเรือ ช๎าง หรือม๎านั้น ช๎าเกินไปและ ยากลําบาก สําหรับผู๎ที่มีภารกิจด๎านการเมืองการปกครอง ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ ได๎มีการตั้งสายโทรเลขระหวําง กรุงเทพมหานครกับเชียงใหมํ ได๎มีการเดินรถไฟสายเหนือจากกรุงเทพมหานคร ไปจังหวัดพิษณุ โลกในปี พ.ศ. ๒๔๕๒ ไปจังหวัดลําปางและเชียงใหมํในปี พ.ศ. ๒๔๕๙ และ พ.ศ. ๒๔๖๒ ตามลําดับ นอกจากนี้ ในชํวงเวลา เดียวกันนี้ ยังมีการพัฒนาระบบการคมนาคมโดยรถโดยสารและรถประจําทางไปเชียงใหมํอีกด๎วย การปฏิ รู ป การปกครองยัง คงดํา เนิน ตํ อ เนื่ อ ง จนกระทั่ ง สยามประเทศได๎ เ ป็ น ประชาธิปไตยในปี ค.ศ. ๑๙๓๒ หรือ พ.ศ. ๒๔๗๕ ในเวลาเดียวกันนี้การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช ของเชียงใหมํก็สิ้นสุดลง และรัฐบาลที่ปกครองเชียงใหมํก็เป็นคณะที่ทางรัฐบาลจากสยามประเทศสํงมา จังหวัดเชียงใหมํตั้งอยูํทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุ มพื้นที่ประมาณ ๒๐,๑๐๗ ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญํเป็น อันดับ ๒ ของประเทศ และมีประชากร ๑,๖๕๕,๖๔๒ คน มากเป็น อันดับ ๕ ของประเทศ ในจํานวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยูํในเขตเมืองและชานเมือง ๙๖๐,๙๐๖ คน จังหวัดเชียงใหมํแบํงการปกครองออกเป็น ๒๕ อําเภอ โดยมีอําเภอเมืองเชียงใหมํ เป็นศูนย๑กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๒ มีการจัดตั้งอําเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอําเภอลําดับที่ ๒๕ ของ จังหวัด และลําดับที่ ๘๗๘ ของประเทศ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๓


ภูมิศาสตร์ที่ตั้ง จังหวัดเชียงใหมํตั้งอยูํ ณ ละติจูดที่ ๑๖ องศาเหนือ ลองติจูด ๙๙ องศาตะวันออก สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ ๓๑๐ เมตร สํวนกว๎างจากทิศตะวันตกจรดทิศตะวันออกประมาณ ๑๓๘ กิโลเมตร สํวนยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต๎ประมาณ ๔๒๘ กิโลเมตร หํางจากกรุงเทพมหานคร ๖๙๖ กิโลเมตร [๗]

อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดตํอกับรัฐฉานของประเทศพมํา โดยมีดอยผีป๓นน้ําของดอยคํา ดอยปก กลา ดอยหลักแตํง ดอยถ้ําปุอง ดอยถ๎วย ดอยผาวอก และดอยอํางขางอันเป็นสํวนหนึ่งของทิวเขาแดนลาว เป็นเส๎นกั้นอาณาเขต ทิศใต้ ติดตํอกับอําเภอสามเงา อําเภอแมํระมาด และอําเภอทําสองยาง (จังหวัด ตาก) มีรํองน้ําแมํตื่นและดอยผีป๓นน้ํา ดอยเรี่ยม ดอยหลวงเป็นเส๎นกั้นอาณาเขต ทิศตะวันออก ติดตํอกับอําเภอแมํฟูาหลวง อําเภอเมืองเชียงราย อําเภอแมํสรวย อําเภอเวียงปุาเปูา (จังหวัดเชียงราย) อําเภอเมืองปาน อําเภอเมืองลําปาง (จังหวัดลําปาง) อําเภอบ๎านธิ อําเภอ เมืองลําพูน อําเภอปุาซาง อําเภอเวียงหนองลํอง อําเภอบ๎านโฮํง และอําเภอลี้ (จังหวัดลําพูน) สํวนที่ติดจังหวัด เชียงรายและลําปางมีรํองน้ําลึกของแมํน้ํากก สันป๓นน้ําดอยซาง ดอยหลุมข๎าว ดอยแมํวัวน๎อย ดอยวังผา และ ดอยแมํโตเป็นเส๎นกั้นอาณาเขต สํวนที่ติดจังหวัดลําพูนมีดอยขุนห๎วยหละ ดอยช๎างสูง และรํองน้ําแมํปิงเป็นเส๎น กั้นอาณาเขต ทิศตะวันตก ติดตํอกับอําเภอปาย อําเภอเมืองแมํฮํองสอน อําเภอขุนยวม อําเภอ แมํลาน๎อย อําเภอแมํสะเรียง และอําเภอสบเมย (จังหวัดแมํฮํองสอน) มีดอยผีป๓นน้ํา ดอยกิ่วแดง ดอยแปรเมือง ดอยแมํยะ ดอยอังเกตุ ดอยแมํสุรินทร๑ ดอยขุนยวม ดอยหลวง และรํองแมํริด แมํออย และดอยผีป๓นน้ําดอยขุน แมํตื่นเป็นเส๎นกั้นอาณาเขต จังหวัดเชียงใหมํมีชายแดนติดตํอกับ ประเทศพมํา ใน ๕ อําเภอ ได๎แกํ อําเภอแมํ อาย อําเภอฝาง อําเภอเชียงดาว อําเภอเวียงแหง อําเภอไชยปราการ รวมระยะทางทั้งสิ้น ๒๒๗ กิโลเมตร พื้นที่เขตแดนสํวนใหญํเป็นปุาเขา จึงไมํสามารถป๓กหลักเขตแดนได๎ชัดเจน และเกิดป๓ญหาเส๎นเขตแดนระหวําง ประเทศ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๔


จั ง หวั ด เชี ย งใหมํ มี พื้ น ที่ ๒๐,๑๐๗.๐๕๗ ตารางกิ โ ลเมตรหรื อ ประมาณ ๑๒,๕๖๖,๙๑๑ ไรํ มีพื้นที่กว๎างใหญํเป็นอันดับที่ ๑ ของภาคเหนือ และเป็นอันดับ ๒ ของประเทศ รองจาก จังหวัดนครราชสีมา ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปมีสภาพพื้นที่เป็นภูเขาและปุาละเมาะ มีที่ราบอยูํตอนกลาง ตามสองฟากฝ๓่งแมํน้ําปิง มีภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือ ดอยอินทนนท๑ สูงประมาณ ๒,๕๖๕.๓๓๕๕ เมตร อยูํในเขตอําเภอจอมทอง นอกจากนี้ยังมีดอยอื่นที่มีความสูงรองลงมาอีกหลายแหํง เชํน ดอยผ๎าหํมปก สูง ๒,๒๘๕ เมตร ดอยหลวงเชียงดาว สูง ๒,๑๗๐ เมตร ดอยสุเทพ สูง ๑,๖๐๑ เมตร สภาพพื้นที่แบํงออกได๎เป็น ๒ ลักษณะคือ ๑. พื้นที่ภูเขา สํวนใหญํอยูํทางทิศเหนือ และทิศตะวันตกของจังหวัด คิดเป็นพื้นที่ ประมาณร๎อยละ ๘๐ ของพื้นที่จังหวัด เป็นพื้นที่ปุาต๎นน้ําลําธาร ไมํเหมาะสมตํอการเพาะปลูก ๒. พื้นที่ราบลุ่มน้​้าและที่ราบเชิงเขา กระจายอยูํทั่วไประหวํางหุบเขาทอดตัวใน แนวเหนือ-ใต๎ ได๎แกํ ที่ราบลุํมน้ําปิง ลุํมน้ําฝาง ลุํมน้ําแมํงัด เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ๑เหมาะสมตํอ การเกษตร ภูมิอากาศ จังหวัดเชียงใหมํมีสภาพอากาศคํอนข๎างเย็นเกือบตลอดทั้งปี มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี ๒๕.๔ องศาเซลเซียส โดยมีคําอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย ๓๑.๘ องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย ๒๐.๑ องศา เซลเซียส มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย ๑,๑๐๐-๑,๒๐๐ มิลลิเมตร สภาพภูมิอากาศจังหวัดเชียงใหมํ อยูํภายใต๎อิทธิพล มรสุม ๒ ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต๎และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ แบํงภูมิอากาศออกได๎เป็น ๓ ฤดู - ลักษณะทางกายภาพของ ๘ อําเภอ ประกอบด๎วย ๑. อําเภอเมือง ๒. อําเภอหางดง ๓. อําเภอสารภี ๔. อําเภอสันปุาตอง ๕. อําเภอแมํริม ๖. อําเภอสันกําแพง ๗. อําเภอสันทราย ๘. อําเภอดอยสะเก็ด โดยมีรายละเอียดดังตํอไปนี้ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๕


๑. อาเภอเมือง ประวัติอาเภอเมือง อาณาบริ เวณของอําเภอเมืองเชียงใหมํในอดีตเป็นที่ตั้งของเมืองเกํา ซึ่งเป็น ศูนย๑กลางของอาณาจักรล๎านนาไทย อันมีนามวํา " นพบุรีศรีนครพิงค๑ เชียงใหมํ" กษัตริย๑ผู๎สร๎างนครเชียงใหมํ คือ พํอขุนเม็งรายมหาราชพระองค๑ ทรงรวบรวมบ๎านเล็กเมืองน๎อยบนแผํนดินล๎านนาไทย ให๎เป็นผืนปฐพี เดียวกัน รวม เป็นอาราจักรล๎านนาไทยอันกว๎างใหญํ อําเภอเมืองเชียงใหมํได๎ประกาศยกฐานะเป็นอําเภอเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๔๒ และมีที่ ทําการของอําเภอเมืองเชียงใหมํ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๒ อําเภอเมืองเชียงใหมํ เป็นศูนย๑กลาง การบริหาร ศูนย๑กลางธุรกิจ และวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหมํ นับเป็นเมืองที่มีความเจริญมากที่สุดของ จังหวัดและของภาคเหนือ และเป็นเมืองอันดับสองรองจากกรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต อําเภอเมืองเชียงใหมํตั้งอยูํทางตอนกลางของจังหวัดเชียงใหมํ มีอาณาเขตติดตํอกับ อําเภอและจังหวัดใกล๎เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต้ ทิศตะวันตก

ติดตํอกับอําเภอแมํริม ติดตํอกับอําเภอสันทรายและอําเภอสันกําแพง ติดตํอกับอําเภอสารภีและอําเภอหางดง ติดตํอกับอําเภอหางดง

ขนาดพื้นที่ อําเภอเมืองเชียงใหมํมีพื้นที่ ๑๕๒.๔ ตารางกิโลเมตร ลักษณะทางภูมิประเทศ อําเภอเมืองเชียงใหมํตั้งอยูํบริเวณที่ราบลุํมแมํน้ําปิงตอนกลางเชิงดอยสุเทพ เขตการปกครอง อําเภอเมืองเชียงใหมํแบํงเขตการปกครองออกเป็น ๑๖ ตําบล ได๎แกํ ๑. ตําบลศรีภูมิ ๒. ตําบลพระสิงห๑ ๓. ตําบลหายยา ๔. ตําบลช๎างมํอย รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๖


๕. ตําบลช๎างคลาน ๖. ตําบลวัดเกต ๗. ตําบลช๎างเผือก ๘. ตําบลสุเทพ ๙. ตําบลแมํเหียะ ๑๐. ตําบลปุาแดด ๑๑. ตําบลหนองหอย ๑๒. ตําบลทําศาลา ๑๓. ตําบลหนองปุาครั่ง ๑๔. ตําบลฟูาฮําม ๑๕. ตําบลปุาตัน ๑๖. ตําบลสันผีเสื้อ ทั้งนี้หัตถกรรมที่พบ ๙ ประเภทในอําเภอเมืองจากการสํารวจได๎แกํ ๑. งานป๓้นหลํอ จํานวน ๕ แหลํง ๒. งานผ๎า จํานวน ๓๓ แหลํง ๓. งานไม๎ จํานวน ๑๓ แหลํง ๔. งานกํอสร๎าง จํานวน ๐ แหลํง ๕. งานวาดเขียน จํานวน ๔ แหลํง ๖. งานจักสาน จํานวน ๒ แหลํง ๗. งานกระดาษ จํานวน ๘ แหลํง ๘. งานโลหะ จํานวน ๑๗ แหลํง ๙. งานเครื่องเขิน จํานวน ๑๗ แหลํง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๗


๒. อาเภอหางดง ประวัติอาเภอหางดง อําเภอหางดง เดิมมีนามวํา “แขวงแมํทําช๎าง” เป็นเขตการปกครองที่ตั้งขึ้นในสมัยรัชกาล ที่ ๕ โดยรัฐบาลกลางที่กรุงเทพฯ จัดระบบการปกครองที่เรียกวํา มณฑลเทศาภิบาล กําหนดแบํงเมืองเชียงใหมํ เป็นหัวเมืองชั้นนอกและหัวเมืองชั้นในแขวงแมํทําช๎างจัดอยูํในเขตหัวเมืองชั้นในหัวหน๎าผู๎รั บผิดชอบเรียกวํา “นายแขวง” นายแขวงคนแรกของแขวงแมํทําช๎าง คือ หลวงคชดิษฐาภิบาล (ไผํ) ระหวํางปี พ.ศ. ๒๔๕๑ – ๒๔๕๓ แขวงแมํทําช๎างได๎เปลี่ยนฐานะเป็นชื่ออําเภอหางดงพื้นที่อําเภอหางดงกํอนนี้มีสภาพรกร๎างวํางเปลํา ทั้ง หมูํบ๎านและราษฎรมีน๎อย เวลานั้นมีพญามะโน เจ๎าน๎อยมหาอินทร๑ และพญาประจักร๑ ได๎ครอบครอง ขึ้นตรงตํอ เจ๎าผู๎ครองนครเชียงใหมํที่เรียกวํา “แมํทําช๎าง” นั้น กลําวกันวํา ในท๎องที่นี้มีดงกรรมอยูํดงหนึ่ง เป็นดงไม๎สัก มี ลําน้ําแมํทําช๎างไหลผํานดงนี้ อยูํหํางจากที่วําการอําเภอนี้ขึ้นไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ ๑ กิโลเมตร เวลาเมื่อเจ๎านายทางเชียงใหมํจะไปยังจังหวัดแมํฮํองสอนหรือขุนยวมก็เดินผํานทางนี้ เมื่อมาถึงดงนี้ จําต๎องลงจากหลังช๎างแล๎วข๎ามทํานี้เข๎าดงไป จึงเรียกลําน้ํานี้วํา “แมํทําช๎าง” ในสมัย ร.ศ.๑๒๐ ทางการได๎มี การให๎จัดตั้งแขวงขึ้น โดยพิจารณาถึงหมูํบ๎านใหญํ ๆ หลายตําบลรวมกันในระยะทางที่จะไปมาถึงได๎ภายใน ๖ ชั่วโมง หรือ มีราษฎรมากกวําหมื่นคนจึงจัดเป็นหนึ่ง ๆ ทํานองอําเภอหนึ่งเชํนเดี๋ยวนี้ ในขณะนั้นจึงเรียกวํา “แขวงแมํทําช๎าง” บ๎างก็วํา “แมํทําช๎าง” มาจากคําวํา “แมํต๐าจ๎าง” หรือ “แมํตาช๎าง” ซึ่งหมายถึง ลําน้ํา แมํ ทําช๎าง ที่ต๎นน้ําออกมาจากชํองน้ําเล็ก ๆ เหมือนตาช๎าง จึงเรียกวํา “แมํต๐าจ๎าง” ปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ทางการได๎ เปลี่ยนชื่อใหมํ เพื่อให๎ตรงกับนามตําบลที่วําการอําเภอตั้งอยูํเป็นอําเภอ “หางดง” เพราะอยูํทางทิศใต๎ของดง กรรมดังกลําว คําวํา หาง แปลวํา ท๎าย คือทางทิศใต๎หรือท๎ายของดงกรรม ตํอมาวันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๑ สํานักนายกรัฐมนตรีได๎ออกประกาศวํา “ ได๎รับพระบรมราชโองการโปรดเกล๎าฯ ให๎ยุบอําเภอหางดง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๘


เป็นกิ่งอําเภอ ขนานนามวํา กิ่งอําเภอหางดง และให๎ไปขึ้นอยูํในความปกครองของอําเภอเมืองเชียงใหมํ ใน เดือนเดียวกันนี้กระทรวงมหาดไทยได๎มีคําสั่งที่ ๒๐๖/๒๔๘๑ ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๔๘๑ อนุมัติให๎ตําบลหาร แก๎ว ตําบลสันกลาง และตําบลหนองตอง ไปขึ้นอยูํในความปกครองของอําเภอสันปุาตองกับโอนตําบลขัวมุง และตําบลสันทรายไปขึ้นอยูํในความปกครองของอําเภอสารภี คงเหลืออยูํ ๘ ตําบลเทํานั้น การไปขึ้นกับอําเภอ เมืองเชียงใหมํนั้น ตํอมาปรากฏวําประชาชนได๎รับความเดือดร๎อนเนื่องจากต๎องเดินทางไปติดตํอราชการที่ อําเภอเมือง ระยะทางถึง ๑๕ กิโลเมตร ในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ทางราชการได๎พิจารณาขึ้นเป็นอําเภอหางดงอีกครั้ง หนึ่ง และให๎รวมตําบลหารแก๎วและตําบลหนองตอง กลับมาขึ้นกับอําเภอหางดงเหมือนเดิมอําเภอหางดง เป็น อําเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหมํที่มีความเจริญเติบโตอยํางรวดเร็ว สํงผลให๎อําเภอหางดงมีความ พร๎อมทุกๆด๎าน มีการเติบโตอยํางอสังหาริมทรัพย๑ บ๎านจัดสรร โรงแรมรีสอร๑ท ธุรกิจค๎าปลีก ห๎างสรรพสินค๎า จํานวนมากจากสภาพเมืองหางดงป๓จจุบัน มีสภาพเมืองที่กลมกลืนกับนครเชียงใหมํ จนเรียกได๎วําคือเมืองเมือง เดียวกัน อําเภอหางดงมีสภาพทางเศรษฐกิจดีมาก มีการจราจรที่คับคั่งที่สุดในจังหวัดเชียงใหมํ อีกทั้งเป็น อําเภอที่รองรับความเจริญของนครเชียงใหมํเพื่อขยายไปยังศูนย๑กลางทางตอนใต๎ของจังหวัดเชียงใหมํอีกด๎วย ที่ตั้งและอาณาเขต อําเภอหางดงมีอาณาเขตติดตํอกับอําเภอและจังหวัดใกล๎เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดตํอกับอําเภอสะเมิงและอําเภอแมํริม ทิศตะวันออก ติดตํอกับอําเภอเมืองเชียงใหมํและอําเภอสารภี ทิศใต้ ติดตํอกับอําเภอเมืองลําพูน (จังหวัดลําพูน) และอําเภอสันปุาตอง ทิศตะวันตก ติดตํอกับอําเภอสันปุาตอง อําเภอแมํวาง และอําเภอสะเมิง ขนาดพื้นที่ อําเภอหางดงมีพื้นที่ ๒๗๗.๑ ตร.กม. ลักษณะภูมิประเทศ อําเภอหางดง ๒ ใน ๓ ของพื้นที่สํวนใหญํเป็นภูเขา ซึ่งเป็นเขตอุทยานแหํงชาติดอยสุเทพปุยและเขตปุาสงวนแหํงชาติ (พื้นที่ตําบลบ๎านปง น้ําแพรํ และตําบลหนองควาย) นอกนั้นเป็นพื้นที่ราบ ซึ่งทํา เป็นพื้นที่เพาะปลูก ที่อยูํอาศัยและการพาณิชย๑ มีลําน้ําธรรมชาติที่สําคัญอยูํ ๒ สายคือ ๑. แมํน้ําปิง ไหลผํานทางทิศตะวันออกของอําเภอหางดง เป็นเส๎นทางแบํงเขต ระหวํางอําเภอหางดง กับอําเภอสารภีและอําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน ระยะทางประมาณ ๒๐ กิโลเมตร ๒. ลําน้ําแมํทําช๎าง เป็นแมํน้ําสายเล็ก ๆ มีต๎นน้ําจากภูเขาในท๎องที่ตําบลบ๎านปง ไหลผํานตําบลบ๎านปง ตําบลหนองควาย ตําบลบ๎านแหวน และตําบลหางดง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๒๙


เขตการปกครอง อําเภอหางดงแบํงเขตการปกครองออกเป็น ๑๑ ตําบล ได๎แกํ ๑. ตําบลหางดง ๒. ตําบลหนองแก๐ว ๓. ตําบลหารแก๎ว ๔. ตําบลหนองตอง ๕. ตําบลขุนคง ๖. ตําบลสบแมํขํา ๗. ตําบลบ๎านแหวน ๘. ตําบลสันผักหวาน ๙. ตําบลหนองควาย ๑๐. ตําบลบ๎านปง ๑๑. ตําบลน้ําแพรํ ทั้งนี้หัตถกรรมที่พบ ๙ ประเภทในอําเภอหางดงจากการสํารวจได๎แกํ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

งานป๓้นหลํอ จํานวน ๑๑ แหลํง งานผ๎า จํานวน ๒๒ แหลํง งานไม๎ จํานวน ๖๔ แหลํง งานกํอสร๎าง จํานวน ๐ แหลํง งานวาดเขียน จํานวน ๓ แหลํง งานจักสาน จํานวน ๑๑ แหลํง งานกระดาษ จํานวน ๒ แหลํง งานโลหะ จํานวน ๓ แหลํง งานเครื่องเขิน จํานวน ๐ แหลํง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๐


๓. อาเภอสารภี ประวัติอาเภอสารภี เป็นอําเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหมํที่ มีความเจริญเติบโตอยํางรวดเร็ว มี การพัฒนาทุก ๆ ด๎านจนเป็นอําเภอขนาดใหญํในแงํสถานประกอบการและอุตสาหกรรมขนาดใหญํที่ของ จังหวัด ได๎รับอานิสงส๑มาจากนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ลําพูน ป๓จจุบันอําเภอสารภีถือได๎วํามีการ พัฒนาจนสภาพความเจริญเป็นเขตเมืองที่เชื่อมตํอกับนครเชียงใหมํ มีประชากรหนาแนํนรองจากอําเภอเมือง เชียงใหมํ และเป็นอําเภอที่รองรับความเจริญของนครเชียงใหมํเพื่อขยายไปยังเมืองลําพูน ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ อําเภอสารภีตั้งอยูํทางตอนกลางของจังหวัดเชียงใหมํ มีอาณาเขตติดตํอกับอําเภอและ จังหวัดใกล๎เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดตํอกับอําเภอเมืองเชียงใหมํ ทิศตะวันออก ติดตํอกับอําเภอสันกําแพง ทิศใต้ ติดตํอกับอําเภอบ๎านธิ อําเภอเมืองลําพูน (จังหวัดลําพูน) และ อําเภอหางดง ทิศตะวันตก ติดตํอกับอําเภอหางดงและอําเภอเมืองเชียงใหมํ ขนาดพื้นที่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๙๗.๔๕ ตารางกิโลเมตร รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๑


ลักษณะทางภูมิประเทศ อําเภอสารภี เป็นอําเภอที่มีพื้นที่เล็กที่สุดและเป็นเพียงอําเภอเดียวในจังหวัดเชียงใหมํที่ไมํ มีภูเขา แตํมีจุดเดํน คือ ถนนสายต๎นยางซึ่งมีอายุกวําร๎อยปีเรียงรายตลอดสองข๎างทาง มีความยาวเริ่มตั้งแตํเขต อําเภอเมืองเชียงใหมํไปจรดถึงเขตอําเภอเมืองลําพูน เขตการปกครอง อําเภอสารภีแบํงเขตการปกครองออกเป็น ๑๒ ตําบล ๑๐๕ หมูํบ๎าน ได๎แกํ ๑. ตําบลยางเนิ้ง ๒. ตําบลสารภี ๓. ตําบลชมพู ๔. ตําบลไชยสถาน ๕. ตําบลขัวมุง ๖. ตําบลหนอกแฝก ๗. ตําบลหนองผึ้ง ๘. ตําบลทํากว๎าง ๙. ตําบลดอนแก๎ว ๑๐. ตําบลทําวังตาล ๑๑. ตําบลสันทราย ๑๒. ตําบลปุาบง ทั้งนี้หัตถกรรมที่พบ ๘ ประเภทในอําเภอสารภีจากการสํารวจได๎แกํ ๑. งานป๓้นหลํอ จํานวน ๑๒ แหลํง ๒. งานผ๎า จํานวน ๓๓ แหลํง ๓. งานไม๎ จํานวน ๗ แหลํง ๔. งานกํอสร๎าง จํานวน ๑ แหลํง ๕. งานวาดเขียน จํานวน ๐ แหลํง ๖. งานจักสาน จํานวน ๑๐ แหลํง ๗. งานกระดาษ จํานวน ๓ แหลํง ๘. งานโลหะ จํานวน ๐ แหลํง ๙. งานเครื่องเขิน จํานวน ๒ แหลํง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๒


๔ อาเภอสันป่าตอง ประวัติอาเภอสันป่าตอง อําเภอสันปุาตองได๎รับการยกฐานะเป็นอําเภอเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๕ เดิมเป็นการเขตการ ปกครองของสองอําเภอ คือ อําเภอแมํวาง และอําเภอบ๎านแม มีที่วําการอําเภอตั้งอยูํที่บ๎านกาด เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ กระทรวงมหาดไทยได๎ประกาศยุบอําเภอแมํวางและอําเภอบ๎านแม รวมเป็นอําเภอเดียวกันให๎ชื่อวํา "อําเภอบ๎านแม" โดยมีที่วําการอําเภอ ตั้งอยูํที่บ๎านเปียง หมูํที่ ๑๓ ตําบลบ๎านแม ตํอมาเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ได๎มีการย๎ายที่วําการอําเภอบ๎านแม มาตั้ง ณ ที่บ๎านสันปุาตอง หมูํที่ ๑๐ ตําบล ยุหวํา ซึ่งเป็นที่ตั้ง ป๓จจุบันและเปลี่ยนชื่ออําเภอเป็น "อําเภอสันปุาตอง" โดยมีเขตการปกครอง เพิ่มอีก ๒ ตําบล คือตําบลหาร แก๎วและตําบลหนองตองรวมเป็น ๑๔ ตําบลครั้นในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ ทางราชการได๎ประกาศตั้งกิ่งอําเภอหางดง ขึ้นเป็นอําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหมํ ซึง่ ติดกับอําเภอสันปุาตอง ตําบลหารแก๎วและตําบลหนองตอง จึงโอนไป ขึ้นในเขตการปกครองของอําเภอหางดงจนถึงป๓จจุบัน ที่ตั้งและอาณาเขต ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต้ ทิศตะวันตก

ติดตํอกับอําเภอแมํวางและอําเภอหางดง ติดตํอกับอําเภอหางดง และอําเภอเมืองลําพูน (จังหวัดลําพูน) ติดตํอกับอําเภอปุาซาง (จังหวัดลําพูน) และอําเภอดอยหลํอ ติดตํอกับอําเภอแมํวาง

ขนาดพื้นที่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๑๗๘.๑๘ ตารางกิโลเมตร รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๓


ลักษณะทางภูมิประเทศ อําเภอสั นปุาตองเป็ นอําเภอรอบนอกอําเภอเมืองเชียงใหมํ อยูํหํ างจากอําเภอเมือง เชียงใหมํ ๒๒ กิโลเมตร มีตําบลทั้งหมด ๑๑ ตําบล เส๎นทางเชียงใหมํ-สันปุาตอง แหลํงทํองเที่ยวทางวัฒนธรรม มากมาย เชํน แหลํงผลิตเครื่องเขิน การแกะสลักไม๎ นอกจากนี้ยังมีแหลํงทํองเที่ยวทั้งทางประวัติศาสตร๑ และ ธรรมชาติ ได๎แกํ เวียงทํากานหนองสะเรียม วัดปุาเจริญธรรม วัดพระบาทหยั้งหวิด วัดน้ําบํอหลวง(วนาราม) และเจดีย๑งามเวียงแม เป็นต๎น อําเภอสันปุาตองมีสภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป แบบมรสุม มี ๓ ฤดู ฤดูร๎อน ฤดูฝน ฤดูหนาว พืชเศรษฐกิจที่สําคัญคือ ลําไย, หอม, ข๎าว เขตการปกครอง อําเภอสันปุาตองแบํงพื้นที่การปกครองออกเป็น ๑๑ ตําบล ๙๑ หมูํบ๎าน ได๎แกํ ๑. ตําบลยุหวํา ๒. ตําบลสันกลาง ๓. ตําบลทําวังพร๎าว ๔. ตําบลมะขามหลวง ๕. ตําบลแมํก๏า ๖. ตําบลบ๎านแม ๗. ตําบลบ๎านกลาง ๘. ตําบลทุํงสะโตก ๙. ตําบลทุํงต๎อม ๑๐. ตําบลน้ําบํอหลวง ๑๑. ตําบลมะขุนหวาน ทั้งนี้หัตถกรรมที่พบ ๙ ประเภทในอําเภอสันปุาตองจากการสํารวจได๎แกํ ๑. งานป๓้นหลํอ จํานวน ๑ แหลํง ๒. งานผ๎า จํานวน ๑๘ แหลํง ๓. งานไม๎ จํานวน ๔๐ แหลํง ๔. งานกํอสร๎าง จํานวน ๐ แหลํง ๕. งานวาดเขียน จํานวน ๐ แหลํง ๖. งานจักสาน จํานวน ๓ แหลํง ๗. งานกระดาษ จํานวน ๕ แหลํง ๘. งานโลหะ จํานวน ๓ แหลํง ๙. งานเครื่องเขิน จํานวน ๑ แหลํง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๔


๕ อาเภอแม่ริม ประวัติอาเภอแม่ริม อําเภอแมํริม เดิมมีฐานะเป็นแขวง ตั้งอยูํที่บ๎านสะลวงนอก หมูํที่ ๓ ตําบลสะลวง ผู๎ดํารง ตําแหนํงนายแขวงคนแรกชื่อ นายมา ไ มํทราบนามสกุล เนื่องจาก เป็นท๎องที่หํางไกลมีหมูํบ๎านน๎อยและอยูํ จังหวัด การคมนาคมไมํสะดวก จึงย๎ายมาอยูํที่ บ๎านขํวงเปา หมูํที่ ๑ ตําบลริมใต๎ ตามที่อยูํป๓จจุบัน ตํอมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ได๎ยกฐานะเป็นอําเภอใช๎ชื่อวํา “อําเภอแมํริม” เหตุที่ชื่อนี้เนื่องจากที่ตั้งของที่วําการอําเภอ อยูํ บริเวณที่ลุํมแมํน้ําริม ซึ่งไหลผํานจากอําเภอแมํแตง ลงสูํแมํน้ําปิงที่บ๎านสบริม หมูํที่ ๓ ตําบลริมใต๎ อําเภอแมํริม กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เล็งเห็นความสําคัญถึงการให๎บริการประชาชนของอําเภอแมํริม จึงได๎ สนับสนุนงบประมาณ ประจําปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ใ ห๎จัดสร๎างที่วําการอําเภอ และอาคารหอประชุมหลังใหมํแทน อาคารที่วําการอําเภอหลังเดิมซึ่งได๎ปลูกสร๎างและใช๎งานมาตั้งแตํปี พ.ศ.๒๕๑๗ และได๎พิธีเปิดและใช๎อาคารเมื่อ วันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๔๘ โดยอาคารที่วําการอําเภอแมํริมหลังใหมํมีรูปทรงแบบล๎านนาประยุกต๑ ซึ่งมีเพียง สองแหํงในประเทศไทย คือ ที่วําการอําเภอแมํริม และอําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหมํ ที่ตั้งและอาณาเขต อําเภอแมํริม มีพื้นที่ทางทิศใต๎ติดตํอกับเขตอําเภอเมืองเชียงใหมํ ที่วําการอําเภออยูํหําง จากที่ตั้งของจังหวัดเชียงใหมํ ไปทางทิศเหนือตามทางหลวงแผํนดินหมายเลข ๑๐๗ เป็นระยะทาง ๑๖ กิโลเมตร และหํางจากศาลากลางจังหวัดเชียงใหมํ เป็นระยะทางประมาณ ๘ กิโลเมตร ทิศเหนือ ติดตํอกับอําเภอแมํแตง ทิศใต้ ติดตํอกับอําเภอเมืองเชียงใหมํและอําเภอหางดง ทิศตะวันออก ติดตํอกับอําเภอสันทราย รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๕


ทิศตะวันตก ติดตํอกับอําเภอสะเมิง ลักษณะทางภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ ๔ ตําบล (ตําบลแมํแรม , โปุงแยง , สะลวง , ห๎วยทราย) จากพื้นที่ทั้งหมด ๙ ตําบลมีสภาพเป็นปุาต๎นน้ําลําธาร อยูํในเขตอุทยานแหํงชาติดอยสุเทพ อีก ๗ ตําบล เป็นพื้นที่ราบมีลักษณะ ลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ด๎านทิศ ล๎อมรอบไปด๎วยภูเขา ในขณะที่ด๎านตะวันออกเป็นที่ราบลุํม มีแมํน้ําปิงไหลผําน โดยมีลําน้ําธรรมชาติที่สําคัญอยูํ ๓ สาย ได๎แกํ แมํน้ําปิง แมํน้ําริม น้ําแมํสา ขนาดพื้นที่ อําเภอแมํริม มีขนาดพื้นที่ ๔๔๓.๖ ตารางกิโลเมตร แยกเป็นเนื้อที่ปุาสงวนและอุทยาน แหํงชาติ ๓๑๘.๙๑ ตารางกิโลเมตร เขตการปกครอง อําเภอแมํริมแบํงพื้นที่การปกครองออกเป็น ๑๑ ตําบล ๙๑ หมูํบ๎าน ได๎แกํ ๑ ตําบลริมใต๎ ๒ ตําบลริมเหนือ ๓ ตําบลสันโปุง ๔ ตําบลขี้เหล็ก ๕ ตําบลสะลวง ๖ ตําบลห๎วยทราย ๗ ตําบลแมํแรม ๘ ตําบลโปุงแยง ๙ ตําบลแมํสา ๑๐ ตําบลดอนแก๎ว ๑๑ ตําบลเหมืองแก๎ว ทั้งนี้หัตถกรรมที่พบ ๙ ประเภทในอําเภอแมํริม จากการสํารวจได๎แกํ ๑. งานป๓้นหลํอ จํานวน ๘ แหลํง ๒. งานผ๎า จํานวน ๓๖ แหลํง ๓. งานไม๎ จํานวน ๔ แหลํง ๔. งานกํอสร๎าง จํานวน ๒ แหลํง ๕. งานวาดเขียน จํานวน ๑ แหลํง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๖


๖. ๗. ๘. ๙.

งานจักสาน จํานวน ๔ แหลํง งานกระดาษ จํานวน ๗ แหลํง งานโลหะ จํานวน ๐ แหลํง งานเครื่องเขิน จํานวน ๐ แหลํง

๖ อาเภอดอยสะเก็ด ประวัติอาเภอดอยสะเก็ด อําเภอดอยสะเก็ด เป็นอําเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหมํ ตั้งอยูํทางตอนกลางของจังหวัดและ เป็นอําเภอที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจในลําดับต๎นๆ ของจังหวัดเชียงใหมํ เนื่องจากเป็นเส๎นทางสําคัญที่ผําน จากจังหวัดเชียงใหมํไปยังจังหวัดเชียงราย ที่ตั้งและอาณาเขต อําเภอดอยสะเก็ดตั้งอยูํทางตะวันออกของจังหวัดเชียงใหมํ มีอาณาเขตติดตํอกับอําเภอ และจังหวัดใกล๎เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดตํอกับอําเภอแมํแตงและอําเภอพร๎าว ทิศตะวันออก ติดตํอกับอําเภอเวียงปุาเปูา (จังหวัดเชียงราย) และอําเภอเมืองปาน (จังหวัดลําปาง) ทิศใต้ ติดตํอกับอําเภอแมํออนและอําเภอสันกําแพง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๗


ทิศตะวันตก ติดตํอกับอําเภอสันทราย ขนาดพื้นที่ อาเภอดอยสะเก็ดมีพื้นที่ ๖๗๑.๓ ตร.กม. ลักษณะทางภูมิประเทศ สภาพทั่วไปเป็นปุาและภูเขา สํวนที่ราบมีประมาณ ๑ ใน ๕ ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ราบ สํวนใหญํเป็นที่นาและที่ไรํ มีแมํน้ําสําคัญไหลผําน ๖ สาย คือ แมํน้ํากวง แมํน้ําแมํลาย แมํน้ําแมํหวาน แมํน้ํา แมํคังแมํน้ําแมํฮํองฮัก และแมํน้ําแมํโปุง เขตการปกครอง อาเภอดอยสะเก็ดแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น ๑๔ ตาบล ได้แก่ ๑. เชิงดอย ๒. สันปูเลย ๓. ลวงเหนือ ๔. ปุาปูอง ๕. สงําบ๎าน ๖. ปุาลาน ๗. ตลาดขวัญ ๘. สําราญราษฎร๑ ๙. แมํคือ ๑๐. ตลาดใหญํ ๑๑. แมํฮ๎อยเงิน ๑๒. แมํโปุง ๑๓. ปุาเมี่ยง ๑๔. เทพเสด็จ ทั้งนี้หัตถกรรมที่พบ ๙ ประเภทในอําเภอดอยสะเก็ด จากการสํารวจได๎แกํ ๑. งานป๓้นหลํอ จํานวน ๗ แหลํง ๒. งานผ๎า จํานวน ๕๙ แหลํง ๓. งานไม๎ จํานวน ๓๒ แหลํง ๔. งานกํอสร๎าง จํานวน ๑ แหลํง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๘


๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

งานวาดเขียน จํานวน ๒ แหลํง งานจักสาน จํานวน ๒ แหลํง งานกระดาษ จํานวน ๘ แหลํง งานโลหะ จํานวน ๔ แหลํง งานเครื่องเขิน จํานวน ๒ แหลํง

๗ อาเภอสันทราย ประวัติอาเภอสันทราย เป็นอําเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหมํ ที่มีความเจริญโตอยํางรวดเร็ว เป็น อําเภอที่รองรับความเจริญจากนครเชียงใหมํ จนป๓จจุบันอําเภอสันทราย มีสถานะอําเภอขนาดใหญํ ในแงํของ จํานวนประชากรที่มากที่สุดเป็นอันดับ ๓ ของจังหวัดเชียงใหมํ รองจากอําเภอเมืองเชียงใหมํ และอําเภอฝาง ตามลําดับ สถานประกอบการ ที่มีมากรองจากอําเภอเมืองเชียงใหมํ การขยายตัวของชุมชนเมืองแมํโจ๎ ทําให๎ อําเภอสันทราย มีความพร๎อมทุกๆด๎าน ทั้งสถานศึกษา สถานประกอบการ บ๎านจัดสรร จากการเติบโตอยําง ตํอเนื่อง ที่ตั้งและอาณาเขต อําเภอสันทรายมีอาณาเขตติดตํอกับอําเภอใกล๎เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดตํอกับอําเภอแมํแตง ทิศตะวันออก ติดตํอกับอําเภอดอยสะเก็ด ทิศใต้ ติดตํอกับอําเภอดอยสะเก็ด อําเภอสันกําแพง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๓๙


และอําเภอเมืองเชียงใหมํ ทิศตะวันตก ติดตํอกับอําเภอเมืองเชียงใหมํและอําเภอแมํริม ขนาดพื้นที่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๒๘๕.๐๒ ตารางกิโลเมตร ลักษณะทางภูมิประเทศ อําเภอสันทราย ถูกกําหนดบทบาทให๎เป็นอําเภอที่รองรับในด๎านแหลํงที่อยูํอาศัยที่สําคัญ ของ จังหวัดเชียงใหมํ เขตการปกครอง อาเภอสันทรายแบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๑๒ ตาบล ๑๑๙ หมู่บ้าน ได้แก่ ๑. ตําบลสันทรายหลวง ๒. ตําบลสันทรายน๎อย ๓. ตําบลสันพระเนตร ๔. ตําบลสันนาเม็ง ๕. ตําบลสันปุาเปา ๖. ตําบลหนองแหยํง ๗. ตําบลหนองจ๏อม ๘. ตําบลหนองหาร ๙. ตําบลแมํแฝก ๑๐. ตําบลแมํแฝกใหมํ ๑๑. ตําบลเมืองเล็น ๑๒. ตําบลปุาไผํ ทั้งนี้หัตถกรรมที่พบ ๙ ประเภทในอําเภอสันทรายจากการสํารวจได๎แกํ ๑. งานป๓้นหลํอ จํานวน ๕ แหลํง ๒. งานผ๎า จํานวน ๒๒ แหลํง ๓. งานไม๎ จํานวน ๗ แหลํง ๔. งานกํอสร๎าง จํานวน ๐ แหลํง ๕. งานวาดเขียน จํานวน ๑ แหลํง ๖. งานจักสาน จํานวน ๒ แหลํง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๐


๗. ๘. ๙.

งานกระดาษ จํานวน ๓ แหลํง งานโลหะ จํานวน ๒ แหลํง งานเครื่องเขิน จํานวน ๐ แหลํง

๘ อาเภอสันกาแพง ประวัติอาเภอสันกาแพง จากหลักฐานศิลาจารึกที่ต๎นพบ ณ วัดเชียงแสน ตําบลออนใต๎ สันนิษฐานกันวําชาวอําเภอ สันกําแพงอพยพมาจากพันนาภูเลา แขวงเมืองเชียงแสน (ป๓จจุบันอยูํในจังหวัดเชียงราย) มาตั้งอยูํริมน้ําแมํออน โดยในสมัยพระเจ๎าศิริลัทธัมมังกร มหาจักพรรดิราชธิราช ได๎เสวยราชเป็นกษัตริย๑ครองนครเชียงใหมํ ได๎โปรด ให๎ราชมนตรีนายหนึ่งชื่อ เจ๎าอภิชวฌาณบวรสิทธิ เป็นหมื่นดาบเรือนได๎มีจิตศรัทธาชักชวนบรรดาทายกทายิกา ทั้งหลายมาประชุมกัน เพื่อสร๎างวิหารพระเจดีย๑และหอพระไตรปิฎก เมื่อสร๎างเสร็จแล๎วขนานนามวัดที่สร๎างขึ้น วํา "สาลกิจญาณหันตาราม" วัดนี้ตํอมาชาวบ๎านเรียกวํา "วัดเชียงแสน" นอกจากนั้น ชาวบ๎านในหลายท๎องถิ่น ของอําเภอเป็นไทยองและไทลื้อสําเนียงพูดของชาวบ๎านในอําเภอเชียงแสน ตํอมาได๎รับการยกฐานะขึ้นเป็น อําเภอเรียกวํา "แขวงแมํออน" อยูํในการปกครองของนครเชียงใหมํ ถึง พ.ศ. ๒๔๔๕ ในรัชสมัยของเจ๎าอินทวโร รสสุริยวงศ๑ ครองนครเชียงใหมํ ได๎เกิดกบฏเงี้ยวขึ้นที่อําเภอเมืองแพรํ ที่แขวงแมํออนมีชาวเงี้ยว ๑๑ คน มี อาวุธครบได๎ทําการบุกปล๎นโรงกลั่นสุราที่บ๎านปุาไผํ ตําบลแชํช๎าง แล๎วทําการเผาที่ทําการแขวงแมํออนเสีย หาย ทั้งหลัง แล๎วได๎หนีไปทางอําเภอดอยสะเก็ด ตํอมาในปี พ.ศ. ๒๔๔๖ทางราชการได๎ย๎ายที่ทําการแขวงแมํออนมา ปลูกสร๎างที่บ๎านสันกําแพง จึ งได๎ชื่อวํา "อําเภอสันกําแพง" มาจนถึงทุกวันนี้ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ กระทรวงมหาดไทยได๎แบํงพื้นที่บางสํวนของอําเภอสันกําแพงยกฐานะเป็น "กิ่งอําเภอแมํออน" รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๑


ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ อําเภอสันกําแพงอยูํทางทิศตะวันออกของอําเภอเมืองเชียงใหมํ มีอาณาเขตติดตํอกับ อําเภอและจังหวัดใกล๎เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดตํอกับอําเภอดอยสะเก็ดและอําเภอสันทราย ทิศตะวันออก ติดตํอกับอําเภอแมํออน ทิศใต้ ติดตํอกับอําเภอแมํออน และอําเภอบ๎านธิ (จังหวัดลําพูน) ทิศตะวันตก ติดตํอกับอําเภอสารภีและอําเภอเมืองเชียงใหมํ ขนาดพื้นที่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๑๙๖.๖๙ ตารางกิโลเมตร ลักษณะทางภุมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุํม มีลําน้ําที่สําคัญ ลําน้ําแมํออน ลําน้ําแมํปูคา ลําน้ําแมํกวง เป็นแหลํงน้ําสําคัญ เขตการปกครอง เขตการปกครองออกเป็น ๑๐ ตําบล ๑๐๐ หมูํบ๎าน ได๎แกํ ๑. ตําบลสันกําแพง ๒. ตําบลทรายมูล ๓. ตําบลร๎องวัวแดง ๔. ตําบลบวกค๎าง ๕. ตําบลแชํช๎าง ๖. ตําบลออนใต๎ ๗. ตําบลแมํปูคา ๘. ตําบลห๎วยทราย ๙. ตําบลต๎นเปา ๑๐. ตําบลสันกลาง ทั้งนี้หัตถกรรมที่พบ ๙ ประเภทในอําเภอสันกําแพงจากการสํารวจได๎แกํ ๑. งานป๓้นหลํอ จํานวน ๕ แหลํง ๒. งานผ๎า จํานวน ๒๒ แหลํง ๓. งานไม๎ จํานวน ๑๕ แหลํง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๒


๔. งานกํอสร๎าง จํานวน ๐ แหลํง ๕. งานวาดเขียน จํานวน ๐ แหลํง ๖. งานจักสาน จํานวน ๑ แหลํง ๗. งานกระดาษ จํานวน ๑๒ แหลํง ๘. งานโลหะ จํานวน ๒ แหลํง ๙. งานเครื่องเขิน จํานวน ๑ แหลํง

- ข๎อมูลผู๎ผลิตผู๎ประกอบการ ที่ได๎รับการลงทะเบียนเป็นผู๎ผลิตผู๎ประกอบการ ประจําปี พุทธศักราช ๒๕๕๕ จังหวัดเชียงใหมํ (OTOP) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ประเทศไทยได๎เผชิญป๓ญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจ และประชาชน ทุก ระดับ ประสบป๓ญหาที่ประชาชนระดับรากหญ๎า ซึ่งเป็นคนกลุํมใหญํของประเทศถูก รุมเร๎าคือป๓ญหาความ ยากจน รัฐบาลจึงได๎ประกาศสงครามกับความยากจน โดยได๎แถลงนโยบายตํอรัฐสภาวํา จะจัดให๎มีโครงการ หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ๑ เพื่อให๎แตํละชุมชนได๎ใช๎ภูมิป๓ญญาท๎องถิ่นมาใช๎ ในการพัฒนาสินค๎าโดยรัฐพร๎อมที่จะ เข๎าชํวยเหลือในด๎านความรู๎สมัยใหมํ และการบริหารจัดการเพื่อเชื่อมโยงสินค๎าจากชุมชนสูํตลาด ทั้งในประเทศ และตํางประเทศด๎วยระบบร๎านค๎าเครือขํายและอินเตอร๑เน็ต เพื่อสํงเสริมและสนับสนุนกระบวนการพัฒนา ท๎องถิ่น สร๎างชุมชนให๎เข๎มแข็ง พึ่งตนเองได๎ให๎ประชาชนมีสํวนรํวมในการสร๎างรายได๎ ด๎วยการนําทรัพยากรภูมิ ป๓ญญาในท๎องถิ่นมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ๑และบริการที่มีคุณภาพ มีจุดเดํนและมูลคําเพิ่ม เป็นที่ต๎องการของ ตลาด ทั้งในและตํางประเทศและได๎กําหนดระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวําด๎วย คณะกรรมการอํานวยการหนึ่ง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๓


ตําบล หนึ่ งผลิ ตภัณฑ๑ แหํงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๔ ประกาศ ณ วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๔๔ ขึ้น โดยกําหนดให๎ มี คณะกรรมการอํานวยการ หนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ๑ แหํงชาติ หรือเรียกโดยยํอวํา กอ.นตผ ซึ่งฯพณ ตํารวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2544 ได๎มอบหมายให๎รองนายกรัฐมนตรี (นายปองพล อดิเรก สาร) เป็ นประธานกรรมการ และให๎ คณะกรรมการ อํานวยการหนึ่งตํา บล มีอํานาจหน๎าที่ในการกําหนด นโยบาย ยุ ท ธศาสตร๑ และแผนแมํบ ทการดําเนินงาน“หนึ่งตําบล หนึ่งผลิ ตภัณ ฑ๑ ” กําหนดมาตรฐานและ หลักเกณฑ๑การคัดเลือกและขึ้นบัญชีผลิตภัณฑ๑ดีเดํนของตําบลรวมทั้งสนับสนุนให๎การดําเนินงานเป็นไปตาม นโยบาย ยุทธศาสตร๑และแผนแมํบท อยํางมีประสิทธิภาพ ปรัชญาของ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ “หนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ๑” เป็นแนวทางประการหนึ่ง ที่จะสร๎างความเจริญแกํชุมชนให๎ สามารถยกระดับฐานะความเป็นอยูํของคนในชุมชนให๎ดีขึ้น โดยการผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยูํในท๎องถิ่น ให๎กลายเป็นสินค๎าที่มีคุณภาพ มีจุดเดํนเป็นเอกลักษณ๑ของตนเองที่ สอดคล๎องกับวัฒนธรรมในแตํละท๎องถิ่น สามารถจําหนํายในตลาดทั้งภายในและตํางประเทศ โดยมีหลักการ พื้นฐาน ๓ ประการ คือ ๑. ภูมิป๓ญญาท๎องถิ่นสูํสากล (Local Yet Global) ๒. พึ่งตนเองและคิดอยํางสร๎างสรรค๑ (Self-Reliance-Creativity) ๓. การสร๎างทรัพยากรมนุษย๑ (Human Resource Development) ผลิตภัณฑ๑ ไมํได๎หมายถึงตัวสินค๎าเพียงอยํางเดียวแตํเป็นกระบวนการทางความคิดรวมถึง การบริการ การดูแลการอนุรักษ๑ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม การรักษาภูมิป๓ญญาไทย การทํองเที่ยว ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การตํอยอดภูมิป๓ญญาท๎องถิ่นการแลกเปลี่ ยนเรียนรู๎เพื่อให๎กลายเป็นผลิตภัณฑ๑ที่มี คุณภาพ มีจุดเดํน จุดขายที่รู๎จักกันแพรํหลายไปทั่วประเทศและทั่วโลก วัตถุประสงค์ของหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ จากนโยบายของรัฐบาล ที่แถลงตํอรัฐสภา และตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวําด๎วย คณะกรรมการอํานวยการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิต ภัณฑ๑แหํงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๔ การดําเนินงานตามโครงการหนึ่ง ตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ๑ มีวัตถุประสงค๑เพื่อ ๑. สร๎างงาน สร๎างรายได๎ แกํชุมชน ๒. สร๎างความเข๎มแข็งแกํชุมชน ให๎สามารถคิดเอง ทําเอง ในการพัฒนาท๎องถิ่น ๓. สํงเสริมภูมิป๓ญญาท๎องถิ่น รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๔


๔. สํงเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย๑ ๕. สํ ง เสริ ม ความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร๎ า งสรรค๑ ข องชุ ม ชน ในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ๑ โดย สอดคล๎องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมในท๎องถิ่น จากโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ๑ทําให๎ชุมชมได๎มีผลงานผลิตภัณฑ๑ในแตํละอําเภอ ออกสูํ ส าธารณะเพิ่ ม มากขึ้ น และมี ผ ลงานที่ โ ดดเดํ น ในแตํ ล ะอํ า เภอที่ มี ผู๎ ชํ า นาญการทางด๎ า นทั ก ษะงา น หัตถกรรมได๎สร๎างสรรค๑ผลงานจากข๎อมูลผู๎ผลิตผู๎ประกอบการ ที่ได๎รับการลงทะเบียนเป็นผู๎ผลิตผู๎ประกอบการ ประจําปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ จังหวัดเชียงใหมํ (OTOP) (ภาคผนวก ข ฐานข๎อมูลการลงพื้นที่ภาคสนาม) ๔.๑.๓ ข๎อมูลเกี่ยวกับงานหัตถกรรม งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านในจังหวัดเชียงใหม่ จากการลงพื้นที่งานหัตถกรรมจังหวัดเชียงใหมํ โดยมีขอบเขตพื้นที่ 8 อําเภอ ได๎แกํ อําเภอเมือง อําเภอหางดง อําเภอสันปุาตอง อําเภอสารภี อําเภอสันกําแพง อําเภอดอยสะเก็ด อําเภอสันทราย และ อําเภอ แมํริม พบวําแตํละอําเภอมีงานหัตถกรรมที่มีรูปแบบแตกตํางกันออกไปตามทรั พยากรที่มีอยูํในแตํละอําเภอ พบวําใน 8 อําเภอนั้นมีงานหัตถกรรมอยูํ ๙ ประเภทและถูกจําแนกงานออกดังตํอไปนี้ ๑. งานเครื่องปั้นดินเผาและงานหล่อ เครื่องป๓้นดินเผา เป็นคํานามที่มีความหมายถึง การเอาดินมาป๓้นแล๎วเผา มีความหมายตรงตัวกลําวคือ เป็นภาชนะที่เกิดจากการนําดินเหนีย วมาป๓้นขึ้นรูปทรง ภาชนะแล๎วนําไปเผาไฟ ซึ่งคุณสมบัติของดินโดยเฉพาะดินเหนียวนี้ สามารถอุ๎มน้ําได๎ดี เมื่อผสมกับน้ําจะทําให๎ ดินมีความเหนียวและสามารถป๓้นหรือขึ้นรูปเป็นภาชนะ โดยไมํต๎องเพิ่มเติมวัสดุอื่น จากนั้นนําดินที่ขึ้นรูปแล๎ว มาเผาให๎เกิดความร๎อน ดิน ซึ่งมีสํ วนประกอบของผลึกในตระกูล Alumina silicate จะมีการเปลี่ยนแปลง สัณฐานทางเคมี สารประกอบ Alkaline เป็นสารชนิดหนึ่งที่สามารถทําปฏิกิริยาเคมีกับผลึกดินที่มีอุณหภูมิสูง พลังงานความร๎อนนี้สามารถขับให๎เกิดการเปลี่ยนแปลงของผลึกดิน โดยจะทําให๎เกิดสารประกอบที่มีลักษณะ เป็นแก๎ว และสารประกอบเหลํานี้จะทําหน๎าที่เป็นตัวประสานอนุภาคดินที่เหลือ ทําให๎เนื้อดินหลังการเผามี ความคงทนแข็งแรง สามารถคงรูปภาชนะไว๎ได๎ ดังนั้นเครื่องป๓้นดินเผาจึงถือเป็นภาชนะสังเคราะห๑ชนิดแรกของ มนุษย๑ 1 สันนิษฐานวําเครื่องป๓้นดินเผาเกิดจากความจําเป็นในการใช๎ภาชนะของมนุษย๑ ซึ่งแตํเดิม ผลิตขึ้นเพื่อเป็นภาชนะใสํอาหารและน้ํา ตํอมามนุษย๑ได๎พัฒนาให๎มีคุณภาพและประโยชน๑ใช๎สอยตามลําดับ โดยเครื่องป๓้นดินเผาในยุคแรกมีอายุอยูํในชํวงราว ๑๕๐๐ ปีกํอนคริสตกาล เพราะได๎พบหลักฐานเป็นอิฐที่ใช๎ใน 1

จิรพันธ๑ สมประสงค๑, เทคนิคการสร้างสรรค์ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา (กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร๑, ๒๕๓๕), หน๎า ๑๐ - ๒๕. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๕


การกํอสร๎ างเป็ น ครั้ งแรกที่บ าบิ โ ลเนี ย อัส ซีเรี ย อียิ ปต๑ และประเทศในแถบเอเชีย ซึ่ง ประเทศในแถบนี้ มี ความก๎าวหน๎าในการผลิตเครื่องป๓้นดินเผาเป็นอยํางมาก โดยเฉพาะการผลิตเครื่องป๓้นดินเผาในประเทศจีนที่ สามารถย๎อนไปได๎ถึงสมัยราชวงศ๑ฮั่น พบวําเครื่องป๓้นดินเผาในชํวงแรกยังไมํมีการเคลือบ ตํอมาจึงพบการ เคลือบตะกัว่ และเคลือบดําง ในสมัยราชวงศ๑ถังเริ่มมีการเคลือบสีได๎หลายสี ตํอมาในสมัยราชวงศ๑หยวนและห มิงมีการเคลือบใสเกิดขึ้นโดยเผาในอุณหภูมิสูง และยังค๎นพบการเคลือบสีแดงเป็นครั้งแรก สํงผลให๎เกิดการ คิดค๎นวิธีการเคลือบสีน้ําเงิน และสีเขียวเป็นผลสําเร็จในเวลาตํอมา 2 สํ า หรั บ การทํ า เครื่ อ งป๓้ น ดิ น เผาในดิ น แดนล๎ า นนานั้ นได๎ ป รากฏหลั ก ฐานมานั บ ตั้ ง แตํ สมัยกํอนประวัติศาสตร๑ สืบทอดมาจนกระทั่งถึงสมัยหริภุญไชย แตํเครื่องป๓้นดินเผาเหลํานี้เป็นเครื่องป๓้นดินเผา เนื้อดินธรรมดา ที่ผลิตขึ้นเพื่อใช๎เองภายในชุมชนหรือท๎องถิ่นของตนเทํานั้น สํวนการทําเครื่ องป๓้นดินเผาชนิด เนื้อแกรํงทั้งแบบเคลือบและไมํเคลือบนั้น นําจะเริ่มมีการผลิตขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๙ โดยเชื่อวํามี ชํางชาวจีนเข๎ามาพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเครื่องป๓้นดินเผาให๎สูงขึ้น เนื่องจากหลักฐานที่เป็นบันทึกของจีนทํา ให๎ทราบวํา ในชํวงต๎นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ อาณาจักรล๎านนาได๎มีการติดตํอกับอุปราชมณฑลยูนนานอยําง ใกล๎ชิด อาจเป็นไปได๎วําชํางทําเครื่องป๓้นดินเผาของล๎านนาคงได๎รับการถํายทอดความรู๎จากชํางชาวจีน เพราะที่ มณฑลยูนนานในขณะนั้นมีแหลํงเตาเผาหยู๎จี ซึ่งผลิตเครื่องถ๎วยที่ตกแตํงด๎วยลายปลาคูํแบบเดียวกับเครื่องถ๎วย ของสันกําแพง 3 ครั้นถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ซึ่งเป็นชํวงเวลาที่ล๎านนามีความเจริญรุํงเรืองและมั่นคง การ ผลิตเครื่องป๓้นดินเผาจึงเพิ่มมากขึ้นเพื่อตอบสนองความต๎องการภายใน รวมทั้งผลิตขึ้นเพื่อเป็นสินค๎าสํงไป จําหนํายให๎แกํเมืองอื่นๆ โดยมีแหลํงผลิตขนาดใหญํอยูํด๎วยกั น ๓ แหลํง คือ แหลํงเตาสันกําแพง จังหวัด เชียงใหมํ แหลํงเตาเวียงกาหลง จังหวัดเชียงราย (นับรวมแหลํงเตาวังเหนือ จังหวัดลําปาง) และแหลํงเตาเมือง พาน จังหวัดเชียงราย ตํอมาการผลิตเครื่องเคลือบล๎านนาก็ประสบกับป๓ญหาอันเนื่องมาจากสงครามระหวําง ล๎านนากับพมํา โดยเฉพาะเมื่ อพระเจ๎าบุเรงนองยกทัพมาตีเมืองเชียงใหมํได๎ใน พ.ศ. ๒๑๐๑ ครั้งนั้นได๎มีการ กวาดต๎ อ นพลเมื องชาวล๎ า นนาไปยั ง พมํ า เป็ น จํ า นวนมาก ซึ่ ง ผลของสงครามดั ง กลํ า วอาจทํ า ให๎ ก ารผลิ ต เครื่องป๓้นดินเผาซบเซาลง และเลิกผลิตไปในที่สุด แตํจากการศึกษาครั้งลําสุดของนักวิชาการกรมศิลปากรได๎ 2

ภาวัต ไชยชนะ “การจัดการออกแบบสื่อเรียนรู้วัฒนธรรม ชุมชนหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา บ้านเหมืองกุง อาเภอหางดง จังหวัด เชียงใหม่” (บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ๒๕๕๖), หน๎า ๑๑. 3 สมศักดิ์ ธรรมปรีชากร และคณะ, เครื่องถ้วยในเอเชียอาคเนย์ ระหว่ างพุทธศตวรรษที่ ๑๕ – ๒๒ บริษัทโอสถสภา (เต๏กเฮงหยู) จํากัด จัดพิมพ๑ (กรุงเทพฯ : รุํงศิลป์การพิมพ๑, ๒๕๓๐) หน๎า ๘๑ – ๘๒. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๖


เสนอความเห็นวํา การผลิตเครื่องเคลือบล๎านนาโดยเฉพาะเครื่องเคลือบสันกําแพงนั้นนําจะยังคงมีการผลิตมา จนถึงอยํางช๎าที่สุดในราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๓ 4 ๑.๑ วัตถุดิบที่ใช้ในการทาเครื่องปั้นดินเผา ๑. ดินเหนียว เป็นวัสดุที่สําคัญที่สุดของการทําเครื่องป๓้นดินเผา ดินเหนียวที่ นิยมนํามาใช๎ในการทําเครื่องป๓้นดินเผาจะเป็นดินที่พบได๎ตามท๎องทุํงโดยทั่วไป แตํจะต๎องขุดเอาดินที่อยูํลึกลง ไปประมาณ ๑ เมตรหรือมากกวํานั้น ถ๎าหากเป็นดินเหนียวที่อยูํลึกกวํา ๑ – ๑.๕๐ เมตร ดินมักจะมีสีเทาอํอน หรือสีเทาแกํ ซึ่งดินชั้นนี้นับวําเป็นดินที่มีความเหนียวที่สุด เมื่อได๎ดินเหนียวมาแล๎วจะต๎องนําเข๎าสูํกรรมวิธีการ หมักดิน โดยนําดินเหนียวไปตากให๎แห๎งประมาณ ๑วัน ป๓่นดินที่แห๎งแล๎วนั้นให๎ละเอียด จากนั้นจึงรํอนดินเพื่อ เอาทรายเม็ดใหญํออก เพราะถ๎าหากไมํนําเม็ดทรายออกเวลาป๓้นจะทําให๎ดินมีรอยผุ เสร็จแล๎วนําดินเหนียวไป หมักโดยจะต๎องผสมน้ําเพื่อให๎ดินเหนียวมากขึ้น ใช๎เวลาในการหมัก ๑ วัน เมื่อนําดินเหนียวขึ้นจากอํางหมักดิน แล๎วนําไปเข๎าเครื่องเพื่อทําการอัดดิน ใช๎ถุงพลาสติกหํอดินไว๎เพื่อไมํให๎ดินแห๎ง ซึ่งสามารถนําดินที่ผํานการหมัก แล๎วมาใช๎งานได๎เลย ๒. หินดุ คืออุปกรณ๑ที่ใช๎สําหรับรองรับน้ําหนักจากการตีด๎วยไม๎ตีที่ผิวด๎าน นอก โดยทั่วไปหินดุจะทําด๎วยดินเผามีลักษณะคล๎ายกับดอกเห็ด มีด๎ามถือ แตํเดิมนั้นหินดุเป็นก๎อนหิน จริงๆ มี ลักษณะกลมมนพอจับถือได๎สะดวก ชาวล๎านนาจะเรียกหินดุวํา “หินเทาะหม๎อ” เพราะนิยมใช๎ในการขึ้นรูปทรง ของดินเหนียวให๎เป็นภาชนะประเภทหม๎อน้ํา ๓. ไม้กะต่าม หรือ ไม๎ตี บางครั้งเรียกวํา “ไม๎เดาะ” และ “ไม๎ลาย” ทํา หน๎าที่ตีตบผิวด๎านนอกของภาชนะให๎ได๎ รูปทรงและอัดเนื้อดินให๎แนํนและเข๎าสนิทตามต๎องการ โดยจะใช๎ รํวมกันกับหินดุ ไม๎ตีนั้นนิยมใช๎ไม๎จริงขนาดกลาง ยาว ประมาณ ๑๐ เซนติเมตร หนาพอสมควร ทําด๎ ามจับใน ตัว ไม๎ตีนั้นมีสองด๎านด๎านหนึ่งจะขุดเนื้อไม๎ให๎เป็นรํองลึก เป็นลวดลายตํางๆ ตามต๎องการ สํวนอีกด๎านหนึ่งมัก นิยม ปลํอยผิวให๎เรียบ

4

สายันต๑ ไพรชาญจิตร๑, “แหลํงเตาสันกําแพง” แหล่งเตาล้านนา กรมศิลปากรจัดพิมพ๑ (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ๑ชุมนุมสหกรณ๑การเกษคร แหํงประเทศไทย จํากัด, ๒๕๓๓), หน๎า ๑๕ – ๓๘. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๗


๑.๒ การปั้นขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผา เทคนิคการป๓้นขึ้นรูปเครื่องป๓้นดินเผาที่ใช๎ในการผลิตเครื่องป๓้นดินเผาแบบพื้นเมื อง ตั้งแตํสมัยโบราณ และยังคงสืบทอดมาจนถึงป๓จจุบัน สํวนใหญํจะเป็นการป๓้นหรือขึ้นรูปทรงด๎วยมือ ซึ่งนับวํา เป็นกรรมวิธีที่เกําแกํที่สุดในการทําเครื่องป๓้นดินเผา กํอนที่จะมีเครื่องมือชนิดอื่นๆ มาชํวยในการป๓้น โดยการ ป๓้นขึ้นรูปด๎วยมือนั้นมีอยูํหลายวิธีด๎วยกัน คือ ๑. การป๓้นมือแบบอิสระ การป๓้นเครื่องป๓้นดินเผาด๎วยมือนี้อาจกลําวได๎วําเป็นการขึ้นรูปที่เป็นอิสระ อยํางแท๎จริง และเป็นกรรมวิธีที่งํายที่สุด คือ การถือก๎อนดินไว๎ในมือข๎างหนึ่ง สํวนมืออีกข๎างหนึ่งใช๎ขึ้นรูปทรง ของภาชนะตามที่ต๎องการ โดยใช๎นิ้วมือบีบรีดดินขึ้นเป็นรู ป หลังจากนั้นจะใช๎เครื่องมือป๓้นได๎แกํ หินดุ และไม๎ กะตํามมาชํวยจัดแตํงรูปทรงของภาชนะ ภาชนะที่ป๓้นขึ้นรูปด๎วยวิธีนี้สํวนมากจะมีขนาดไมํใหญํนัก และมักจะ เป็ น ภาชนะก๎ น กลม ซึ่ ง จะพบภาชนะลั ก ษณะเชํ น นี้ ไ ด๎ ทั่ ว ไปในเครื่ อ งป๓้ น ดิ น เผายุ ค แรกๆ ชํ ว งสมั ย กํ อ น ประวัติศาสตร๑ และในป๓จจุบันตามท๎องถิ่นตํางๆ ก็ยังคงมีการป๓้นภาชนะดินเผาด๎วยวิธีนี้อยูํเชํนเดียวกัน ๒. การปั้นรูปทรงแบบขด การป๓้นหรือการขึ้นรูปทรงเครื่องป๓้นดินเผาแบบนี้เป็นที่นิยมแพรํหลายมาก เชํนกัน เพราะสามารถขึ้นรูปได๎ตั้งแตํชิ้นงานขนาดเล็กจนถึงโอํงน้ําขนาดใหญํ ชํางป๓้นเครื่อ งป๓้นดินเผาพื้นเมือง รู๎จักวิธีการการป๓้นรูปทรงแบบขดมานานแล๎ว โดยวิธีการขึ้นรูปแบบนี้ ในขั้นตอนแรกจะป๓้นดินให๎เป็นเส๎นกลม ยาวมีขนาดเล็กใหญํตามต๎องการ จากนั้นําไปขดบนแผํนฐานที่เตรียมไว๎ ประสานรอยตํอด๎วยการใช๎มือบีบกดให๎ ดินเข๎ากันสนิทเป็นแผํนเดียวกัน หรือใช๎น้ําดิน (slip) ประสานรอยตํอ ทําจนสูงพอและได๎รูปทรงที่ต๎องการ แล๎ว จึงจัดแตํงรูปทรงของภาชนะให๎เรียบร๎อย ๓. การขึ้นรูปทรงบนแป้นหมุน เป็นกรรมวิธีที่ได๎รับความนิยมและใช๎กันมากที่สุด พัฒ นาการของการป๓้น ภาชนะดินเผาด๎วยการใช๎แปูนหมุนนั้น เริ่มต๎นจากการป๓้นภาชนะบนแทํนรองที่ ยกสูงขึ้น ซึ่งชํางป๓้นจะต๎องเดิน วนไปรอบๆ แทํนรองนั้น ตํอมาจึงมีการติดตั้งแผํนไม๎เรียบหรือเสื่อบนแทํนป๓้นเพื่อวางก๎อนดิน แล๎วป๓้นขึ้นรูปไป พร๎อมกับการคํอยๆ หมันขยับแผํนไม๎หรือเสื่อไปเรื่อยๆ เพื่อเปลี่ยนด๎านในการขึ้นรูปภาชนะ ภายหลังจึงได๎ พัฒนารูปแบบและประดิษฐ๑เป็นแปูนหมุนขึ้นมา โดยแปูนหมุนในระยะแรกๆ จะเป็น “แปูนหมุนชิ้นเดียว” หรือ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๘


“แปูนหมุนช๎า” หลังจากนั้นจึงมีการพัฒนาเป็น “แปูนหมุนสองชิ้น” หรือ “แปูนหมุนเร็ว” ลักษณะของแปูน หมุนชนิดนี้อาจทําขึ้นแบบงํายๆ คือใช๎ล๎อ หรือล๎อเกวียนมาตํอดุมให๎ยาว นํามาป๓กลงในดินให๎เป็น ตัวแปูนหมุน เอาไม๎กระดานเรียบมาเจาะรูแล๎วสวมวางลงข๎างบน เพื่อเป็นแปูนรองภาชนะ ซึ่งภาชนะที่ขึ้นรูปด๎วยแปูนหมุน โดยเฉพาะแปูนหมุนสองชิ้นนั้น จะมีลักษณะเป็นภาชนะก๎นแบน ผิวของภาชนะเรียบเกลี้ยง สํวนผิวด๎านในจะมี เส๎นเล็กๆ ในแนวขนานไปโดยสม่ําเสมอซึ่งเกิดขึ้นจากแรงหมุนของแปูนและนิ้วมือที่รูดไปบนผิวดานในของ ภาชนะ การผลิตเครื่องป๓้นดินเผาโดยใช๎แปูนหมุนนี้ชํวยประหยัดทั้งแรงงานและเวลา เพราะสามารถทําได๎ รวดเร็วกวําวิธีเดินหมุนตี ภาชนะที่ได๎มีความเรียบร๎อยสวยงาม รวมทั้งสามารถผลิตภาชนะได๎หลากหลายขนาด อีกด๎วย 5 ๑.๓ การตกแต่งภาชนะเครื่องปั้นดินเผา การตกแตํงผิวของภาชนะดินเผาถือได๎วําเป็นขั้นตอนที่สําคัญอีกขั้นตอนหนึ่งในการ ผลิตเครื่องป๓้นดินเผา เพื่อให๎เกิดความสวยงามและเหมาะสมกับการนําไปใช๎ประโยชน๑ ซึ่งวิธีการตกแตํงภาชนะ ดินเผามีอยูํหลายกรรมวิธีด๎วยกัน ได๎แกํ ๑. การตีประทับ หรือกดลวดลาย การตกแตํ ง ด๎ ว ยการกดหรื อ ประทั บ ลายนั้ น ทํ า ได๎ ห ลายวิ ธี เชํ น การใช๎ ฟ๓่นเชือก เชือกพันไม๎ เครื่องจักสาน เสื่อ เปลือกหอย ลูกกลิ้งดินเผาแกะสลักลวดลาย เป็นต๎น ใช๎เป็นแบบกดให๎ เกิดลวดลาบบนผิวภาชนะ โดยลวดลายที่เป็นที่รู๎จัก คือ “ลายเชือกทาบ” ที่ใช๎เชือกกดกลิ้งไปบนภาชนะ ซึ่ง ภาชนะดินเผาลวดลายเชือกทาบนี้เป็นที่นิยมมาตั้งแตํสมัยกํอนประวัติศาสตร๑ สืบมาจนถึงป๓จจุบัน ๒. การขูดขีด ลวดลายขูดขีดบนผิวภาชนะดินเผาจัดเป็นลายพื้นฐานอีกลวดลายหนึ่งที่พบ หลักฐานมาตั้งแตํสมัยกํอนประวัติศาสตร๑ ซึ่งลวดลายขูดขีดนี้เกิดจากการใช๎ของแหลม เชํน ไม๎ กระดูกสัตว๑ หรือหิน ขูดลงไปบนผิวภาชนะ ๓. การขุด การทําลวดลายด๎วยการขุด จะใช๎เครื่องมือที่มีคมหน๎าตัดหรือหน๎าตัดโค๎ง เชํน สิ่วเล็บมือ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีหน๎ากว๎าง ใช๎ขุดหรือปาดเอาเนื้อดินออกมาจากรํอง โดยการตกแตํงภาชนะ ให๎เกิดเป็นลวดลายด๎วยการขุดนั้น อาจมีการเคลือบหรือเขียนสีบนรํองของผิวภาชนะนั้นด๎วย เพราะจะชํวยให๎ 5

สุรพล ดําริห๑กุล, เครื่องปั้นดินเผา หน๎า ๓๓ – ๓๗. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๔๙


ลวดลายนั้นดูเดํนชัดขึ้น ซึ่งเทคนิคนี้จะพบมากในภาชนะดินเผาเคลือบที่ผลิตจากแหลํงเตาในสุโขทัย ศรีสัชนา ลัย และล๎านนา ๔. การแต่งเติมดิน เป็นการติดแผํนก๎อนดิน หรือเส๎นดินบนผิวของภาชนะในขณะที่ยังหมาดๆ อยูํ โดยมากแล๎วมักจะติดดินบริเวณไหลํของภาชนะ ซึ่งอาจจะทําเป็นรูปดอกไม๎ เป็นตัวตุ๏กตา เป็นรูปหํวง หรือ เป็นทํอนยาวๆ ทาบติดบนผิวของภาชนะในลักษณะคล๎ายเชือกทาบอยูํ หรือตามแตํชํางป๓้นจะคิดสร๎างสรรค๑ขึ้น วิธีการตกแตํงแบบนี้จะมีอยูํทั้งในเครื่องป๓้นดินเผาจากแหลํงเตาที่สุโขทัย ศรีสัชนาลัย ล๎านนา และแหลํงอื่นๆ ๕. การขัดผิว การขัดผิว คือวิธีการทําให๎ผิวของภาชนะเรียบและเป็นมัน จัดเป็นวิธีตกแตํง ผิวภาชนะภายนอกที่เกําแกํที่สุดวิธีหนึ่ง ซึ่งชํวยในการกันน้ําไมํให๎ซึมออกมาเร็ว เพราะรูพรุนของเนื้อดินจะมี น๎อยลง การขัดผิวของภาชนะนี้จะทําเมื่อดิ นนั้นแห๎งแล๎ว เครื่องมือที่ใช๎ขัดต๎องมีผิวเรียบกลมและแข็ง เชํน หิน กรวดแมํน้ําที่เรียบกลม ข๎อกระดูกสัตว๑ เมล็ดพืช รวมถึงไม๎และใบไม๎ เป็นต๎น ภาชนะดินเผาที่ตกแตํงด๎วยการ ขัดผิวนี้พบวํามามีตั้งแตํสมัยกํอนประวัติศาสตร๑แล๎ว ๖. การเช็ดหรือลูบผิว เป็นการตกแตํงผิวภาชนะด๎วยการใช๎มือ ผ๎า ใบไม๎ หรือฟองน้ําชุบน้ําหรือน้ํา ดินข๎นๆ ลูบไปบนผิวของภาชนะ โดยจะทําหลังจากที่ขึ้นรูปเป็นรูปภาชนะและผึ่งไว๎สักพักแล๎ว เมื่อนําไปเผาจะ เกิดเป็นผิวบางๆ ที่เป็นมันบนผิวของภาชนะ ๗. การทาผิวด้วยน้าดินข้น คื อ การนํ า เอาน้ํ า ดิ น ข๎ น ทาบนภาชนะขณะที่ กํ า ลั ง หมาดๆ หรื อ อาจจุํ ม ภาชนะลงในน้ําดิน บางครั้งมีการเทราดน้ําดินลงบนภาชนะ หลังจากนั้นจะทําการขัดผิวเพื่อตกแตํงพื้นผิวที่ หยาบของภาชนะ และปูองกันไมํให๎น้ําซึมออกมานอกภาชนะ วิธีการนี้ใช๎ในการผลิต น้ําต๎น หรือคนโท ที่บ๎าน เหมืองกุง อําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหมํ ๘. การรมควัน วิธี ก ารนี้ จะทํ าให๎ ภ าชนะดิ นเผามี สี ดํา โดยการนํา เอาภาชนะไปอบและ รมควันในขณะที่ภาชนะนั้นแห๎งและอยูํทรงแล๎ว ซึ่งภาชนะที่ผํานการรมควันจะมีผิวสีดํากํอนที่จะนําไปเผาจริง และเขมํ า ควั น ไฟจะเข๎ า ไปอุ ด ในรู พรุ น ของภาชนะ เวลาใสํ น้ํ า ลงไปจะทํ า ให๎ น้ํ า ซึ ม ออกมาได๎ ช๎ า กวํ า ปกติ นอกจากนี้การรมควันยั งชํวยให๎เนื้อดินของภาชนะที่ผํานการตากแล๎วมีความแห๎งมากยิ่งขึ้น ทําให๎ภาชนะไมํ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๐


แตกร๎าวเมื่อนําไปเผาจริงด๎วย อยํางไรก็ตามการรมควันอาจทําได๎ทั้งกํอนเข๎าเตาเผาจริงเพื่อปูองกันภาชนะแตก และการรมควันหลังจากเผาภาชนะแล๎ว เพื่อให๎มีสีดําและเขมําควันเข๎าไปอุดรูพรุนของภาชนะ ดดยภาชนะที่ ผํานการรมควันนี้มักจะใช๎สําหรับใสํน้ํา เพื่อให๎น้ําเย็นตลอกเวลา ๙. การเขียนสี การตกแตํ ง ภาชนะโดยการใช๎ สี เ ขี ย นนี้ จะเป็ น การใช๎ สี ที่ ไ ด๎ จ ากแรํ ต าม ธรรมชาติ เชํน สีจากดินเทศ หรือสีจากเมล็ดพืชที่ผสมกับผสมยางไม๎หรือไขสัตว๑ เขียนเป็นลวดลายตํางๆ ลงไป บนผิ วภาชนะขณะที่เนื้อดิน แห๎ งสนิทแล๎ว การเขียนสีนี้เป็นเทคนิคการตกแตํงที่นิยมกันมาตั้งแตํส มัยกํอน ประวัติศาสตร๑ ซึ่งภาชนะเขียนสีสมัยกํอนประวัติศาสตร๑ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู๎จักกันเป็นอยํางดี คือ ภาชนะเขียนสี จากแหลํงโบราณคดีบ๎านเชียง ๑๐. การเคลือบ การเคลือบเป็นการตกแตํงผิ วภาชนะอยํางหนึ่ง โดยใช๎น้ํายาเคลือบซึ่งเป็น สารประกอบอะลูมินา (Alumina) ซิลิกา (Silica) และสารที่ชํวยในการหลอมละลายในกระบวนความร๎อน มี ลักษณะใสคล๎ายแก๎ว 6 หรืออีกนัยหนึ่งคือ สารประกอบของซิลิเกต (Silicate) ที่ถูกความร๎อนแล๎วจะหลอม ละลายเป็นเนื้อเดียวกัน ทําหน๎าที่ฉาบบนผิวภาชนะ มีลักษณะโปรํงใส เปราะ แตํสามารถทนตํอการละลายของ กรดและดํางได๎เป็นอยํางดี ลักษณะของการเคลือบมีหลายอยํางด๎วยกัน ได๎แกํ การเคลือบใส เคลือบขุํน เคลือบ สี เคลือบด๎าน เคลือบผลึก และเคลือบราน เป็นต๎น ๑.๔ แหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาในเชียงใหม่ ในจังหวัดเชียงใหมํมีแหลํงงานหัตถกรรมเครื่องป๓้นดินเผาที่มีเอกลักษณ๑โดดเดํน จํานวน ๔ อําเภอ ได๎แกํ ๑.๔.๑ แหลํงเตาสันกําแพง อําเภอสันกําแพง ๑.๔.๒ แหลํงผลิตเครื่องป๓้นดินเผา อําเภอหางดง ๑.๔.๓. แหลํงผลิตเครื่องป๓้นดินเผา อําเภอสารภี ๑.๔.๔. แหลํงผลิตเครื่องป๓้นดินเผา อําเภอแมํริม โดยมีรายละเอียดในแตํละอําเภอดังตํอไปนี้

6

ทวี พรหมฤกษ๑, เครื่องเคลือบดินเผาเบื้องต้น (กรุงเทพ : โอเดียนสโตร๑, ๒๕๒๓), หน๎า ๙๔. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๑


๑.๔.๑ แหล่งเตาสันกาแพง อาเภอสันกาแพง แหลํงเตาสันกําแพงจะตั้งอยูํภายในหุบเขาตามริมลําห๎วยเล็กๆ หลายสาย อันเป็นสาขาของลําน้ําผาแหน และลําน้ําออน เขตบ๎านปุาตึง ตําบลออนใต๎ อําเภอสันกําแพง แหลํงเตาโบราณ แหํงนี้ นายไกรศรี นิมมานเหมินท๑ เป็นผู๎ค๎นพบครั้งครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๔๙๕ และนําเรื่องราวเผยแพรํตํอที่ ประชุมสัมมนาโบราณคดีสมัยสุโขทัย ณ เมืองเกําสุโขทัยเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ 7 จึงทําให๎เครื่องเคลือบสันกําแพง เป็นที่รู๎จักกันในหมูํนักวิชาการ หลังจากนั้นกรมศิลปากรได๎ทําการสํารวจและศึ กษาขุดค๎นแหลํงเตาแหํงนี้ในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ 8 และอีกครั้งในระหวําง พ.ศ. ๒๕๒๗ – ๒๕๒๘ 9 ซึ่งสรุปเรื่องราวที่ได๎จากการศึกษาในชํวงเวลา ที่ผํานมาได๎วํา แหลํงเตาสันกําแพงนับเป็นแหลํงผลิตเครื่องเคลือบแหลํงใหญํของล๎านนา ที่พบซากเตาเผา กระจัดกระจายอยูํในเขตพื้นที่ ๕.๐๐ -๕.๕๐ ตารางกิโลเมตร โดยมีกลุํมเตากระจายอยูํ ๘ กลุํม ได๎แกํ เตาห๎วย ปุาไรํ เตาห๎วยบวกบิ่น เตาดอยโตน เตาห๎วยปูุแหลม เตาทุํงโห๎ง เตาต๎นแหน เตาต๎นโจก และเตาเหลําน๎อย การผลิ ตเครื่องเคลื อบดินเผาของกลุํ มเตาสั นกําแพงนําจะเริ่มต๎นมาแล๎ ว ตั้งแตํปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ หรือต๎นพุทธศตวรรษที่ ๒๐ เป็นอยํางน๎อย และมีความเจริญรุํงเรืองอยํางยิ่ง เมื่อพุทธศตวรรษที่ ๒๐ จนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๑ หลังจากนั้นจึงคํอยๆ ลดความสําคัญลง และเลิก กิจการไปในที่สุด อยํางช๎าก็นําจะราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เตาเผาเครื่องป๓้นดินเผาที่พบในแหลํงเตาสันกําแพงนั้น มีทั้งเตาดินและเตา กํออิฐปะปนกัน ซึ่งเป็นเตาเผาประเภทระบายความร๎อนผํานในแนวนอน (Cross – draft kiln type) ที่แสดง ให๎เห็นถึงพัฒนาการและระยะเวลาอันยาวนานของการผลิตเครื่องป๓้นดินเผาแหํงนี้ สํวนเครื่องป๓้นดินเผาจาก แหลํงเตาสันกําแพงจะมีลักษณะเป็นเครื่องป๓้ นดินเผาเนื้อแกรํงเคลือบ ลักษณะเนื้อดินหยาบสีเทาดํา ซึ่งแหลํง วัตถุดิบที่สําคัญคือ ดินจากบริเวณริมฝ๓่งห๎วยแมํลานและแมํผาแหน และดินเหนียวในบริเวณทุํงนา รวมทั้งหิน ประเภทตํางๆ ตามเชิงเขา 10 ซึ่งผลิตภัณฑ๑ของแหลํงเตานี้มีอยูํหลากหลายรูปแบบ ได๎แกํ ชาม จาน ถ๎วย พาน ขวด หรือแจกัน ไหปากแคบ ไหปากบานขนาดใหญํ ตะเกียง ตะคัน หรือผางประทีบ ตุ๏กตารูปสัตว๑ดินเผา และ

7

ไกรศรี นิมมานเหมินท๑ “เครื่องถ๎วยสันกําแพง” คาบรรยายสัมมนาโบราณคดีสมัยสุโขทัย พ.ศ. ๒๕๐๓ กรมศิลปากรจัดพิมพ๑ (พระ นคร : ห๎างหุ๎นสํวนจํากัดศิวพร, ๒๕๐๗), หน๎า ๑๔๔ – ๑๖๐. 8 พจน๑ เกื้อกูล, เครื่องถ้วยและเตาสันกาแพง กรมศิลปากรจัดพิมพ๑ (กรงเทพ : โรงพิมพ๑การศาสนา, ๒๕๑๕) 9 สายันต๑ ไพรชาญจิตร๑, เรื่องเดิม, หน๎า ๑๕ – ๓๘. 10 พจน๑ เกื้อกูล, เรื่องเดิม, หน๎า ๑๔ – ๑๕. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๒


พระพุทธรูปดินเผา เป็นต๎น โดยภาชนะดินเผาที่ผลิ ตจากแหลํงเตาสันกําแพงจะมีลักษณะของการประดับ ตกแตํงที่เป็นเอกลักษณ๑อยูํหลายประเภทดังนี้ ๑.๑ ประเภทเคลือบสีเขียว เครื่องเคลื อบดินเผาที่เคลือบด๎วยสีเขียวเป็นเครื่องเคลือบที่พบมาก ที่สุดในแหลํงเตาสันกําแพง โดยเครื่องเคลือบดินเผาสีเขียวหรือสีขาวนวลนี้ คาดวําจะมีอายุรํวมสมัยกับเครื่อง เคลือบดินเผาที่ผลิตจากแหลํงเตาของเมืองศรีสัชนาลัย ที่เรียกวํา “เครื่องถ๎วยมอญ” ทั้งนี้เพราะมีรูปแบบที่ คล๎ายคลึงกัน โดยน้ําเคลือบนั้นจะมีอยูํหลายสี นับตั้งแตํสีเขียวอํอน สีเขียวนวล สีเขียวแกมน้ําตาล การตกแตํง ภาชนะประเภทจานและชามมักทําเป็นลวดลายขูดขีดใต๎เคลือบเป็นรูปวงกลม ลายลูกคลื่น ปาดแตํงผิวด๎านข๎าง ชามด๎านในเป็นลอนคลื่นตามแนวตั้ง นอกจากนี้มีลายประทับเป็นจุ ดๆ รูปดอกจันทน๑ รูปคล๎ายดาว บางครั้งมี การประทับลายรูปปลาสองตัวตรงกลางชาม และเคลือบสีน้ําตาลแกมเขียว สีเหลืองแกมน้ําตาล สํวนภาชนะ ประเภทไห กระปุก ขวด และตะเกียง ไมํนิยมทําลวดลายกํอนเคลือบ แตํก็พบบ๎างที่มีลายป๓้นแปะเป็นตุํมแหลม รอบสํวนไหลของไหขนาดกลาง

ภาพที่ ๔.๑ ประเภทเคลือบสีเขียว

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๓


๑.๒ ประเภทเขียนลายสีดาและน้าตาลใต้เคลือบ การเขียนลวดลายใต๎เคลือบนี้นําจะได๎รับอิทธิพลจากเครื่องเคลือบ ลายครามของจีน ที่ผลิตจากมณฑลยูนนาน ซึ่งกําหนดอายุเวลาอยูํในชํวง พ.ศ. ๑๘๒๒ – ๑๙๑๑ นับเป็นเครื่อง เคลือบที่พบมากเป็นอันดับสองรองจากประเภทเคลือบสีเขียว โดยเฉพาะในภาชนะรูปแบบจานและชาม ที่จะมี การเขียนลวดลายตกแตํงมากกวําภาชนะรูปแบบอื่นๆ สําหรับลวดลายเขียนสีที่เป็นเอกลักษณ๑ของเตาสั น กําแพง คือ ลายปลาคูํ อันหมายถึง สัญลักษณ๑ของสิ่งที่อยูํคูํกันในวงจรธรรมชาติตามคติความเชื่อของชาวจีน นอกจากนี้ยังมีลายวงกลม ลายสัตว๑ ลายพฤกษชาติ ลายบุปผชาติ ลายก๎านขด บางครั้งก็มีการเขียนรูปลายรูป สัตว๑และคนบนภาชนะประเภทไห

ภาพที่ ๔.๒ ถ๎วยเขียนลายสีดําและน้ําตาลใต๎เคลือบ ๑.๓ ประเภทเคลือบสีน้าตาล การเคลื อบสี น้ําตาลสํ ว นมากจะพบบนภาชนะประเภทไห ไหปาก แคบ และไหน้ําผึ้ง (มีขอบปากสองชั้น) นอกจากนี้ยังพบวํามีการเคลือบบนภาชนะประเภทกระปุก ขวด และ ตะคัน ซึ่งจะมีทั้งชนิดที่มีเนื้อแกรํงและไมํแกรํง ๑.๔ ประเภทเคลือบสองสี มักจะพบวําใช๎เคลือบภาชนะประเภทไหขนาดใหญํ ที่มีการเคลือบ ขอบปากเป็นสีเขียวอํอน สีเขียวนวล และเคลือบตัวไหตั้งแตํสํวนไหลํ ลงไปจรดก๎นด๎วยเคลือบสีน้ําตาล ซึ่ง ลักษณะการเคลือบแบบนี้นําจะได๎รับอิทธิพลจากไหของจีนในสมัยราชวงศ๑หยวน ที่มีอายุอยูํในระหวํางพุทธ ศตวรรษที่ ๑๙ – ๒๐

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๔


๑.๔.๒ แหล่งผลิต อาเภอหางดง อําเภอหางดง ประกอบด๎วย ๔ แหลํง คือ ๑.บ๎านเหมืองกุง ตําบลหนองควาย ๒.บ๎านปุาตาล ตําบลสันผักหวาน ๓. บ๎านกวน ตําบลหารแก๎ว ๔.บ๎านใหมํ – ปุาจี้ ตําบลน้ําแพรํ โดยทั้ง ๔ แหลํงมีลักษณะและเทคนิคการทําที่แตกตํางกันออกไปในแตํละ พื้นที่ดังรายละเอียดตํอไปนี้ ๑. บ้านเหมืองกุง ในจั ง หวั ด เชี ย งใหมํ ยั ง คงปรากฏมี แ หลํ ง ผลิ ต เครื่อ งป๓้ น ดิ น เผาที่ มี ชื่อเสียงแหํงหนึ่ง ที่ทําการผลิต เครื่องป๓้นดินเผาสืบทอดกันมาตั้งแตํสมัยโบราณ เพื่อสําหรับใช๎สอยภายใน ครัวเรือนและเป็นสินค๎าสํงไปจําหนํายยังพื้นที่ตํางๆ ในหลายจังหวัดของภาคเหนือตอนบน แหลํงผลิตดังกลําวนี้ ตั้งอยูํที่บ๎านเหมืองกุง อําเภอหางดง ซึ่งเดิมทีการผลิตเครื่องป๓้นดินเผาจะทํากันอยูํในเขตสองหมูํบ๎าน คือ บ๎าน เหมืองกุง และบ๎านขุนเส ซึ่งมีพื้นที่ติดตํอกัน โดยชาวบ๎านทั้งสองหมูํบ๎านนี้เป็นชาวไทใหญํที่อพยพมาจากเมือง ปุ และเมืองสาดตั้งแตํสมัยต๎นรัตนโกสินทร๑ ป๓จจุบันเมืองทั้งสองตั้งอยูํในแถบฝ๓่งตะวันออกของแมํน้ําสาละวิน ในเขตรัฐฉาน ประเทศพมํา ซึ่งเครื่ องป๓้นดินเผาที่ทั้งสองหมูํบ๎านผลิตขึ้นจะเป็นภาชนะประเภทหม๎อน้ํา และ คนโทเป็นสํวนมาก ภาชนะเครื่องป๓้นดินเผาดังกลําวจะมีรูปแบบเฉพาะเป็นของตนเอง เป็นที่รู๎จักและเรียกขาน กันในท๎องถิ่นวํา “หม๎อเงี้ยว” และ “น้ําต๎นเงี้ยว” ในอดีตที่ผํานมาเครื่องป๓้นดินเผาแบบไทใหญํที่ ผลิตจากบ๎าน เหมืองกุง และบ๎านขุนเสนี้จะได๎รับความนิยมอยํางแพรํหลาย และเป็นสินค๎าที่สําคัญของจังหวัดเชียงใหมํ แตํ เนื่องจากความจําเป็นในการใช๎เครื่องป๓้นดินเผาลดน๎อยลง รวมทั้งสินค๎าขายไมํได๎ราคา จึงเป็นเหตุให๎การทํา เครื่องป๓้นดินเผาที่บ๎านขุนเสเลิกผลิตไปเมื่อราวยี่สิบกวําปีที่ผํานมา คงเหลือทําอยูํแตํที่บ๎านเหมืองกุงมาจนถึง ทุกวันนี้ 11 บ๎านเหมืองกุง จะมีเครื่องป๓้นดินเผาที่จะเป็นการป๓้นดินเผาที่ใช๎แปูน หมุน ในการขึ้น รู ป โดยเครื่ องป๓้ น ดิน เผาที่เหมืองกุงจะมีเอกลั กษณ๑ที่โ ดดเดํนในเรื่องของการทําน้ําต๎นที่มีอ ยูํ 11

ภาวัต ไชยชนะ, การจัดการออกแบบสื่อเรียนรู๎วัฒนธรรม ชุมชนหัตถกรรมเครื่องป๓้นดินเผา บ๎านเหมืองงกุง อําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหมํ (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ๒๕๕๖), หน๎า ๗๙. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๕


หลากหลายรูปแบบ และนําจัดจําหนํายที่ศูนย๑จําหนํายสินค๎าหรือตามหมูํบ๎านที่จัดเป็นศูนย๑วิสาหกิจชุมชนและ สํงออกไปยังตํางจังหวัด สํวนวัสดุที่ใช๎ทําเครื่องป๓้นดินเผาโดยเฉพาะดินมีการสํงจากอําเภอสารภีแล๎วนํามาขึ้นรูป เป็นผลิตภัณฑ๑ตํางๆ ผลิตภัณฑ๑เครื่องป๓้นดินเผาบ๎านเหมืองกุง นับเป็นงานศิลปะพื้นบ๎านที่ กําเนิดขึ้น จากทักษะฝีมือในท๎องถิ่น และผลิ ตขึ้นเพื่อประโยชน๑ใช๎สอยในชีวิตประจําวัน หรือเพื่อสนองตํอ กิจกรรมทางประเพณีและวัฒนธรรม รูปแบบผลิตภัณฑ๑เครื่องป๓้นดินเผาแบบดั้งเดิมที่ผลิตขึ้นเพื่อวัตถุประสงค๑ ดังกลําว ได๎แกํ น้ําต๎น และน้ําหม๎อ ซึ่งเป็ นภาชนะสําหรับใสํน้ําดื่ม หม๎อประเภทตํางๆที่ใช๎ในการประกอบ อาหาร ตลอดจนวัสดุกํอสร๎างอยํางเชํน อิฐ และดินขอ แตํผลิตภัณฑ๑ที่ชํางป๓้นบ๎านเหมืองกุงมีความชํานาญเป็น ที่รูจักและยอมรับ คือ น้ําต๎น และน้ําหม๎อ มีการพัฒนารูปแบบให๎มีความสวยงาม จนกลายเป็นเอกลักษณ๑ของ บ๎านเหมืองกุง ๒. น้าต้น น้ําต๎น หรือ คนโท คือภาชนะใสํน้ําสําหรับใช๎ดื่มในครัวเรือนของชาว ล๎านนา แตํเดิมน้ําต๎นที่ผลิตขึ้นที่บ๎านเหมืองกุงนี้ ชาวพื้นเมืองเชียงใหมํจะเรียกวํา “น้ําต๎นเงี้ยว” เนื่องจาก บรรพบุรุษที่ริเริ่มทําน้ําต๎นนี้เป็นชาวเงี้ยว หรือไทใหญํที่ถูกกวาดต๎อนมาจากเมื องปุ และเมืองสาดในเขตรัฐฉาน เพื่อมาชํวยฟื้นฟูเมืองเชียงใหมํในสมัยรัตนโกสินทร๑ตอนต๎น หลังยุคเสื่อมของอาณาจักรล๎านนาจากการถูกพมํา ยึดครอง โดยลักษณะของน้ําต๎นที่ผลิตจากบ๎านเหมืองกุงจะมีอยูํหลายรูปแบบด๎วยกัน ได๎แกํ ๒.๑ น้าต้นปอม แบบหัวเด็งหรือหัวระฆัง เป็นชื่อที่เรียกตาม ลั ก ษณะเดํ น ของปากน้ํ า ต๎น ชนิ ด นี้ ที่ เ ป็ น ทรงกลมและปุ องออก มี รูป รํา งคล๎ ายคล๎ า ยกั บระฆัง หงาย คํา วํ า “หัวเด็ง” ก็หมายถึง “หัวระฆัง” นั่นเอง โดยที่สํวนคอด๎านลํางจะคอด แล๎วปุองออกเป็นทรงกลมแปูน หรือ บางครั้ งเป็น สันและคอดเข๎าสํ วนหัว ระฆังที่พองออก ตําแหนํงที่คอดเข๎าใต๎หั วระฆังนี้จะเป็นตําแหนํงที่วาง นิ้วโปูงและนิ้วชี้ในขณะยกน้ําต๎น สํวนที่พองออกของหัวระฆังจะชํวยเป็นตัวกันการลื่นหลุดของนิ้วมือ เพราะ เมื่อยกจะต๎องใช๎แรงพอสมควรเนื่องจากน้ําต๎นที่บรรจุน้ําแล๎วจะมีน้ําหนักคํอนข๎างมาก และสํวนทรงกลมแปูน ใต๎หัวระฆังจะมีขนาดพอเหมาะกับการวางนิ้วมือที่เหลือ ซึ่งรูปทรงที่โค๎งเว๎ารวมถึงขนาดและสัดสํวนของน้ําต๎น นี้จะตํางกันไปตามการผลิตของชํางแตํละพื้นที่ ตลอดจนจินตนาการของชํางป๓้นแตํละคน โดยน้ําต๎นหัวเด็งนี้เคย เป็นรูปแบบที่นิยมกันอยํางแพรํหลายในภาคเหนือ เชํน เชียงราย นําน และในเชียงใหมํเองก็เคยมีการผลิตน้ํา ต๎นหัวเด็งอยูํที่บ๎านเหมืองกุงด๎วยเชํนกัน

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๖


๒.๒ น้าต้นคอคอดปากบาน เป็นรูปแบบน้ําต๎นที่มีสํวนคอ ยาว คอดเข๎าเล็กน๎อยบริเวณชํวงตํอของคอกับไหลํ จากนั้นจะปุองออกกํอนและคํอยๆ คอดเข๎าทีละน๎อย และ บานออกอยํางชัดเจนที่สํวนปาก คอสํวนที่ยาวและคอดสอบเข๎านี้ทําให๎สะดวกตํอการใช๎มือจับหรือถือ ลักษณะ ของน้ําต๎นคอคอดปากบานสํวนไหลํจะตั้ง แตํมีความลาดชันน๎อย ลําตัวกลมและสอบเข๎าที่ก๎นคล๎ายทรงฟ๓กทอง ตัวฐานตํอเนื่องไปกับสํวนลํางของลําตัว พบการผลิตน้ําต๎นรูปทรงนี้ที่บ๎านเหมืองกุงอยูํบ๎างแตํมีจํานวนไมํมาก นัก ๒.๓ น้ าต้ น ดอกหรื อ หรื อ น้ าต้ น แก้ ว คื อ น้ํ า ต๎ น ที่ มี ก าร ตกแตํงลวดลายจากการพอกและการแกะ เรียกวํา “ดอก” ซึ่งนิยมแตํงลวดลายนี้บริเวณสํวนคอและไหลํ โดย ลวดลายที่เรียกวําดอกนี้จะไมํนับรวมถึงการตกแตํงประเภทติดลายเป็นเส๎นนูนเป็นแถบที่เรียกวํา “แรว” หรือ การกลิ้งลายด๎วยไม๎แมํลาย และการแตํงกลีบที่ลําตัวของน้ําต๎น ๒.๔ น้าต้น สังข์ หรื อน้าต้น ธรรมดา คือ น้ําต๎นที่ไมํมีการ ตกแตํงลวดลายดอก อาจมีเพียงการติดแรว กลิ้งลายหรือแตํงกลีบที่ลําตัวเทํานั้น คําวํา “สังข๑” ยํอมาจากคําวํา “สังฆทาน” แตํถูกเรียกให๎สั้นลง และสะกดคําที่ผิดเพี้ยนไป น้ําต๎นประเภทนี้นิยมใช๎สําหรับเสียบ “สวยดอก” คือกรวยใบตองใสํดอกไม๎บูชาพระ ด๎วยเหตุนี้จึงทําปากให๎บานออกเพื่อเหมาะกับการเสียบสวยดอก บางครั้งจึง มีการเรียกน้ําต๎นชนิดนี้วํา “น้ําต๎นสวย” ๒.๕ น้าหม้อ ในบรรดาหม๎อประเภทตํางๆ ที่มีการผลิตที่ บ๎านเหมืองกุง “น้ําหม๎อ” เป็นผลิตภัณฑ๑ที่ชาวบ๎านเหมืองกุงได๎มีการพัฒนารูปแบบให๎มีความหลากหลายและ สวยงาม นอกเหนือไปจากประโยชน๑เพื่อการใช๎สอยเพียงอยํางเดียว อีกทั้งยังเป็นผลิตภัณฑ๑ที่เป็นเอกลักษณ๑ ของหมูํบ๎าน ที่ได๎รับการอนุรักษ๑และยังคงมีการผลิตมาจนถึงทุกวันนี้ควบคูํไปกับการผลิตน้ําต๎น โดยสามารถ จําแนกรูปแบบของน้ําหม๎อที่ผลิตจากบ๎านเหมืองกุงได๎ดังนี้ ๒.๖ น้าหม้อดอกหลวง เป็นน้ําหม๎อที่มีการตกแตํงลวดลาย สํวนไหลํ บางครั้งมีการตกแตํงลวดลายเพิ่มที่ลําตัวและฝา โดยมักจะตกแตํงด๎วยการติดดินเป็นเส๎นนูนทําให๎เกิด เป็นสันกลางลําตัวภาชนะ สํวนที่พองกว๎างสุดของหม๎อเรียกวํา “แรว” ซึ่งสันนิษฐานวําเป็นการเลียนแบบมา จากเส๎นตะเข็บของภาชนะประเภทโลหะในสมัยกํอน และเนื่องจากมีขนาดที่ใหญํส ามารถบรรจุน้ําได๎เป็น ปริมาณมากจึงเรียกวํา “น้ําหม๎อดอกหลวง” รูปแบบดั้งเดิมมีทั้งแบบทรงสูงที่ลําตัวไมํพองออกมามาก แตํ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๗


สามารถจุน้ําได๎มากเนื่องจากมีความสูง และทรงแปูนที่ลําตัวจะพองออกจากสํวนฐาน บริเวณฐานที่แคบและสูง จะแยกออกจากลําตัว ทําให๎มีลักษณะที่คล๎ายกับพาน โดยป๓จจุบันพบวําบ๎านเหมืองกุงยังคงมีการผลิตน้ําหม๎อ ชนิดนี้อยูํ แตํเหลือชํางป๓้นเพียงสองคนเทํานั้นที่ยังใช๎ “จ๏าก” ในการขึ้นรูปน้ําหม๎อดอกหลวง เนื่องจากน้ําหม๎อ ชนิดนี้มีขนาดใหญํและมีน้ําหนักมาก ดังนั้นการหมุนจ๏ากจึงทําได๎ยาก ชํางรุํนใหมํจึงนิยมใช๎แปูนหมุนไฟฟูาแทน สําหรับผู๎ผลิตรายใหญํมีการใช๎แมํพิมพ๑และเครื่องจิกเกอร๑รํวมด๎วย สําหรับรูปทรงของน้ําหม๎อดอกหลวงที่ผลิต กันเมื่อกวํา ๒๐๐ ปีที่ผํานมานั้นมีอยูํด๎วยกันหลายรูปแบบ แตํป๓จจุบันเหลืออยูํเพียง ๓ แบบ ซึ่งเป็นที่นิยมและ เป็นเอกลักษณ๑ของน้ําหม๎อบ๎านเหมืองกุง คือ ทรงเตี้ยแปูน ทรงไหลํตั้งก๎นสอบ และทรงสูงไหลํตั้ง ๒.๗ น้าหม้อดอกน้อย เป็นน้ําหม๎อที่มีการตกแตํงด๎วยการ แกะลวดลาย เชํนเดียวกันกับน้ําหม๎อดอกหลวง แตํมีขนาดเล็กและจุน้ําได๎น๎ อยกวํา ซึ่งในป๓จจุบันยังคงมีการ ผลิตน้ําหม๎อชนิดนี้อยูํที่บ๎างเหมืองกุง ๒.๘ น้ าหม้ อ เกลี้ ย ง เป็ น น้ํ า หม๎ อ ที่ ไ มํ มี ก ารแกะลวดลาย ตกแตํงที่บริเวณสํวนหนึ่งสํวนใดเลย มีลักษณะของลําตัวสํวนกลางที่พองออก ผิวเกลี้ยงไมํมีแรว ก๎นสอบ ฝามี ลักษณะเป็นรูปวงกลมแตํมียอดแหลมคล๎ายทรงหัวเม็ด เพื่อให๎จับถือได๎สะดวก ๒.๙ น้ าหม้ อ กลี บ มะเฟื อ ง คื อ น้ํ า หม๎ อ ที่ เ พิ่ ม การตกแตํ ง บริเวณตัวหม๎อ โดยแบํงออกเป็นกลีบๆ ในแนวเฉียงควั่นไปกับตัวหม๎อ แล๎วแตํงให๎นูนดูคล๎ายกับกลีบมะเฟือง ทรงของหม๎อมักจะแคบและสูง เป็นรูปแบบของน้ําหม๎อที่พัฒนาขึ้นภายหลัง เนื่องจากการป๓้นขึ้นรูปทรงที่ยาก และต๎องใช๎เวลานาน จึงทําให๎น้ําหม๎อกลีบมะเฟืองมีราคาสูงกวําน้ําหม๎อชนิดอื่นๆ 12 เครื่ องป๓้ นดิน เผาบ๎านของเหมื องกุ งดัง ที่กลํ าวมาแล๎ ว วํา สํ ว นมาก มักจะเป็นภาชนะประเภทหม๎อดินสําหรับใสํน้ํา หรือ “น้ําหม๎อ” และคนโทบรรจุน้ํา หรือ ”น้ําต๎น” ซึ่งนอกจาก จะมีรูปทรงที่เป็นเอกลักษณ๑แล๎ว ยังวิธีมีการตกแตํงผิวของภาชนะทีเป็นเอกลักษณ๑ด๎วย โดยผิวของภาชนะ มักจะทาด๎วยน้ําดินสีแดง เพื่อเปลี่ยนสีผิวภาชนะให๎มีสีแดงเข๎มขึ้น ทําให๎มองเห็นลวดลายบนผิวภาชนะได๎ ชัดเจนขึ้น และสํวนผสมพิเศษของน้ําดินแดงยังชํวยทําให๎ผิวภาชนะมีความเงาเป็นพิเศษหลังจากกระบวนการ ขัดผิว ดินแดงที่นํามาใช๎ในการทําน้ําดินนั้นจะนํามาจากอําเภอดอยสะเก็ดเนื่องจากมีสีแดงเข๎มสวยงาม โดย ผสมดินกับน้ํามันโซลําและน้ําเป็นสูตรเฉพาะที่สืบทอดกันมาหลายรุํน แตํได๎มีการปรับเปลี่ยนสํวนผสมจาก 12

ภาวัต ไชยชนะ, เรื่องเดียวกัน, หน๎า ๙๗ – ๑๐๓.

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๘


น้ํามันหมู น้ํามันมะพร๎าว น้ํามันละหุํงจนกลายมาเป็นน้ํามันโซลํา ซึ่งการผสมน้ํามันลงในน้ําดินนี้จะทําให๎น้ําดิน มีความลื่น ทําให๎ขัดผิวภาชนะได๎งํายและไมํถลอกขณะขัด แตํบางครั้งก็พบวํามีการรมควันภาชนะให๎กลายเป็น สีดําด๎วยเชํนกัน นอกจากการทาผิวภาชนะด๎วยน้ําดินแดงแล๎ว การตกแตํงผิวที่มีความ โดดเดํนอีกประการของภาชนะดินเผาบ๎านเหมืองกุง คือ การกดประทับลาย ซึ่งเป็นการตกแตํงลวดลายให๎เกิด เป็นรํองรอยลึกเข๎าไปในผิวภาชนะ โดยจําทําหลังจากตากให๎ภาชนะหมาดพอดีแล๎วจึงขัดผิวดินให๎เรียบเงา จากนั้นใช๎ลูกกลิ้งลายเล็กกลิ้งลงด๎านลํางและบนของแถบนูนที่จะแกะลาย เกิดเป็นลายเส๎นสั้นๆ ขนานกันเป็ น แนวโดยรอบ และแกะผิวให๎เกิดเป็นลายเส๎นยาวเรียงขนานกัน จากนั้นใช๎อุปกรณ๑กดประทับลายลงบนแถบนูน เพื่ อ ประทั บ รู ป ใบโพธิ์ ล งในเนื้ อ ดิ น ลึ ก เทํ า ความหนาของแถบนู น แล๎ ว จึ ง แกะดิ น บริ เ วณแถบนู น เป็ น รู ป สามเหลี่ยมที่อยูํระหวํางลายใบโพธิ์ออก 13

ภาพที่ ๔.๓ น้ําต๎นบ๎านเหมืองกุง ๒. บ้านป่าตาล ตาบลสันผักหวาน เครื่องป๓้นดินเผาบ๎านปุาตาล จะมีความแตกตํางจากเครื่องป๓้นดินเผา ที่เหมืองกุง เพราะจะทําเครื่องป๓้นดินเผารูปแบบเป็นรูปตัวการ๑ตูน รูปสัตว๑ เป็นทั้งของตกแตํงและกระถาง ดอกไม๎ ภายในหมูํบ๎านจะมีการทําในลักษณะเชํนนี้กวํา 20 หลังคาเรื อน การจัดจําหนํายจะคล๎ายกันคือจัด จําหนํายที่ศูนย๑จําหนํายสินค๎าหรือตามหมูํบ๎านที่จัดเป็นศูนย๑วิสาหกิจชุมชนและสํงออกไปยังกรุงเทพมหานคร (ตลาดนัดจตุจักร) โรงแรม เกสต๑เฮ๎าส๑ตามตํางจังหวัด เนื่องจากวัสดุที่ใช๎เป็นดินที่มีการสํงมาจากอําเภอสารภี และจังหวัดลําปาง

13

คนธาภรณ๑ เมียร๑แมน, “การวิจัยพัฒนารูปแบบและคุณคําผลิตภัณฑ๑เครื่องป๓้นดินเผาเหมืองกุง โดยการตํอยอดเทคนิคภูมิป๓ญญา ท๎องถิ่นและฟื้นฟูเอกลักษณ๑ในการออกแบบ” (รายงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ๒๕๕๕), หน๎า ๙๔. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๕๙


ภาพที่ ๔.๔ เครื่องป๓้นดินเผาบ๎านปุาตาล ๓. บ้านกวน ตาบลหารแก้ว เครื่องป๓้นดินเผาบ๎านกวน ตําบลหารแก๎วจะมีลักษณะที่แตกตํางจาก เหมืองกุง คือ การขึ้นรูป เพราะลักษณะการขึ้นรูปของเครื่องป๓้นดินเผาบ๎านกวนคือ “การเดินวน” ซึ่งใน ป๓จจุบันบ๎านกวนมีเพียง 10 หลังคาเรือนที่ยังทําเครื่องป๓้นดินเผาอยูํ จากแตํเดิมมีมากกวํา 40 หลัง ซึ่งบ๎านกวน จะมีการรวมตัวของชํางภายในชุมชน จัดตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชน “กลุํมเครื่องป๓้นดินเผาบ๎านกวน” ผลิตภัณฑ๑ เครื่องป๓้นดินเผารูปแบบของหม๎อน้ํา หม๎อต๎ม หม๎ออุ๏บ สํวนดินนั้นได๎สั่งมาจากอําเภอสารภี เนื่อ งจากดินที่ อําเภอสารภีนั้นคํอนข๎างเหนียวและขึ้นรูปได๎งําย ซึ่งสํว นมากแล๎วจะผลิตเครื่องป๓้นดินเผาประเภทภาชนะ สําหรับหุงต๎มอาหาร เชํนหม๎อตํอม หม๎อแกง และหม๎อสาว โดยมีกรรมวิธีการผลิตที่โดดเดํนจากการใช๎ดิน เหนียวดํา นํามาขึ้นรูปด๎วยเทคนิคแบบดั้งเดิมบทแทํนที่ไมํสามารถหมุนได๎ แล๎วใช๎จึงนําไปเผาไฟและตกแตํงผิว ของภาชนะด๎วยวิธีแบบโบราณ โดยมีรายละเอียดของภาชนะแตํละชนิด ดังนี้ ๑) หม้อต่อม คือ หม๎อดินเผาที่ใช๎สํ าหรับประกอบอาหาร และต๎มยาสมุนไพร ในอดีตเป็นที่นิยมใช๎ทุกครัวเรือน ลักษณะรูปทรงของหม๎อตํอมจะเป็นหม๎อที่มีก๎นนูน ตัว หม๎อนูนเป็นทรงโค๎งและไมํมีหูหิ้ว จึงทําให๎ดูคล๎ายกับบาตรของพระสงฆ๑ เพียงแตํมีสํวนปากที่ยกสูงขึ้นมาและ ผายออกเทํานั้น ป๓จ จุบันหม๎อตํอมไมํได๎มีหน๎าที่ใช๎สอยสําหรับประกอบอาหารและต๎มยาสมุนไพรอีกตํอไป เนื่องจากมีภาชนะแบบใหมํเข๎ามาแทน หม๎อตํอมจึงเป็นเพียงหม๎อที่ยังคงใช๎ในพิ ธีกรรมเทํานั้น เชํน หม๎อเงิน หม๎อทองในพิธีขึ้นบ๎านใหมํ และหม๎อไฟในงานศพ 14 เอกลักษณ๑โดดเดํนของหม๎อตํอมบ๎านหารแก๎วนั้น เริ่มตั้งแตํ วัสดุที่ประกอบด๎วยดินเหนียวดํา ทราย และดินแดง ซึ่งดินเหนียวดํานั้นสามารถขุดหาได๎จากท๎องไรํท๎องนาใน ท๎องถิ่น โดยนําดินเหนียวดําใสํตะกร๎าแชํน้ําไว๎ ๑ คืน รุํงเช๎าก็ยกตะกร๎าดินขึ้นมาผึ่งลมให๎พอหมาดน้ํา แล๎วนํามา 14

ดุษฎี เทพสิริ, “งานเครื่องป๓้นดินเผาหางดง”, หางดง ถิ่นหัตถกรรม (เชียงใหมํ : มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔), หน๎า ๓๗.

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๐


ผสมกับทรายละเอียดคลุกเคล๎าให๎เป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นเริ่มการะบวนการผลิตด๎วยการขึ้นรูปภาชนะจาก สํวนก๎นเป็นอันดับแรก โดยการนําดินมาตบเป็นแผํนวงกลม จากนั้นกํอรูปขึ้นให๎เป็นทรงกระบอก ในขณะที่ป๓้น ผู๎ป๓้นจะต๎องเดินหมุนวนรอบๆแทํนป๓้น เนื่องจากแทํนป๓้นนั้นไมํสามารถหมุนได๎ เมื่อขึ้นรูปของภาชนะเสร็จก็จะ เป็นขั้นตอนการตีให๎ด๎านข๎างของตัวหม๎อโค๎งมน โดยใช๎ “ไม๎ไหํ” คือไม๎สําหรับใช๎ตีขึ้นรูป รํวมกับก๎อนหินแมํน้ําที่ มีลักษณะกลมเกลี้ยง ผู๎ป๓้นจะใช๎มือซ๎ ายถือก๎อนหินไว๎ด๎านในหม๎อ สํวนมือขวาจะถือไม๎ไหํไว๎ด๎านนอก แล๎ว คํอยๆ ตบขึ้นรูปจากด๎านนอกจนได๎รูปทรงที่ต๎องการ จากนั้นใช๎ผ๎าชุบน้ําเกลี่ยผิวโดยรอบให๎เรียบเนียนเสมอกัน ในสํวนของปากหม๎อ จะป๓้นดินเหนียวเป็นเส๎นมาติดลงเป็นแนวเดียวกับตัวหม๎อแล๎วใช๎ “ไม๎หวี” หรือไม๎ที่ใช๎ เกลี่ยทรงของปากหม๎อให๎ปากหม๎อผายออก ใช๎ผ๎าชุบน้ําลูบปากให๎เรียบ แล๎วนําไปตากไว๎มนที่รํม ซึ่งขั้นตอน เหลํานนี้ถือวําเป็นกรรมวิธีการป๓้นแบบโบราณที่ยังหลงเหลืออยูํเพียงไมํกี่แหํง สํวนการตกแตํงผิวของหม๎อตํอม ของบ๎านหารแก๎ว มีความโดดเดํนอยูที่การทาน้ําดินสีแดงโดยใช๎ผงดินแดงผสมกับน้ําทาลงไปบนผิวของหม๎อแตํ จะไมํมีการขัดผิวเหมือนกับที่บ๎านเหมืองกุง แล๎วจึงนําไปตากในที่รํมจนน้ําดินแห๎ง ขั้นตอนสุดท๎ายคือการนํา หม๎อไปเผาไฟด๎วยกรรมวิธีการเผาแบบดั้งเดิม คือการเผาแบบสุมกองฟืน ๔ ด๎าน ทับด๎านบนด๎วยฟางแล๎วโปะ ด๎วยขี้เถ๎า เมื่อเผาเสร็จแล๎วก็จะได๎หม๎อตํอมที่สมบูรณ๑ ๒) หม้อสาว คือ หม๎อแกงขนาดใหญํ ที่เหมาะสําหรับการ ประกอบอาหารในปริมาณมากๆ เพื่อใช๎เลี้ยงคนจํานวนมากในงานประเพณีตํางๆ เชํน งานขึ้นบ๎านใหมํ ปอย หลวง และงานศพ เนื่องจากไมํได๎ออกแบบมาเพื่อใช๎ทําอาหารรับประทานกันเองในครัวเรือน หม๎อสาวจึงเป็น งานเครื่องป๓้นดินเผาที่รองรับวัฒนธรรมการบริโภคสําหรับคนหมูํมากมาแตํช๎านาน สํวนป๓จจุบันมักพบการใช๎ หม๎อสาวในร๎านขนมจีน ร๎านลาบ และร๎านข๎าวราดแกงบางแหํงเทํานั้น ลักษณะรูปทรงภายนอกของหม๎อสาว คํอนข๎างจะคล๎ายกับหม๎อตํอม แตํมีขนาดใหญํกวํามากและมีลวดลายตกแตํงเพื่อไมํให๎หม๎อหลุดจากมือได๎งําย 15 โดยกรรมวิธีการผลิตนั้นจะมีวัตถุดิบ และการเตรียมดินเชํนเดียวกับการทําหม๎อตํอม แล๎วจึงขึ้นรูปทรงของหม๎อ เริ่มจากบริเวณก๎นหม๎อ ด๎วยการนําดินเหนียวเป็นแผํนวงกลมเรียบแบนมาวางลงบนแปูนหรือไม๎แผํน จากนั้น ป๓้นดินเหนียวเป็นเส๎นยาว ตบให๎แบนเรียบ นําไปติดเข๎ากับสํวนก๎นให๎เกิดเป็นผนังด๎านข๎างขึ้นมา ใช๎ไม๎หวีชํวย ปรับพื้นผิวด๎านนอกให๎เป็นเนื้อเดียวกัน แล๎วเอาผ๎าชุบน้ําปาดรอบๆ ปากหม๎อ ใช๎ไม๎หวีดัดสํวนปากให๎ผายออก แล๎วนําไปตากในที่รํม ขั้นตอนตํอมาคือ “การไหํหม๎อ” หรือวิธีการดันรูปทรงของหม๎อให๎ พองออกมาด๎วยไม๎ไหํ รํ ว มกับ ก๎อ นหิ น แมํน้ํ า กํอ ให๎ เ กิด พื้น ผิ ว ขรุ ขระเป็น แนวทแยงซ้ํา กัน ๆ ไปบนผิ ว หม๎อ จากนั้น นํา ไปผึ่ ง แดด ประมาณ ๒ ชั่วโมง แล๎วนํามาไหํก๎น หรือตบก๎นหม๎อให๎ได๎รูปทรงที่โค๎งมนรับกับสํวนตัวหม๎อ แล๎วตบด๎วยไม๎ไหํ ลายทแยงซ้ําลงไปอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งพื้นผิวลายทแยงบนตัวหม๎อนี้นอกจากจะมีประโยชน๑เพื่อกันลื่นแล๎ว ยังถือเป็น 15

ดุษฎี เทพสิริ, เรื่องเดียวกัน, หน๎า ๔๑. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๑


ลักษณะที่โดดเดํนของหม๎อสาวของบ๎านหารแก๎วด๎วย แล๎วจึงนําหม๎อไปผึ่งในที่รํม ๓ – ๔ วัน ทาผิวด๎านนอก ของหม๎อด๎วยน้ําดินแดงที่ได๎จากดินลูกรังบดผสมน้ําแล๎วผึ่งให๎แห๎ง ขั้นตอนสุดท๎ายคือการนําหม๎อไปเผาไฟบน ลานกลางแจ๎ง โดยจะสุมด๎วยฟืนทั้งสี่ด๎านแล๎วปิดด๎านบนด๎วยขี้เถ๎าและกองฟาง ๓) หม้อแกง คือเครื่องป๓้นดินเผาขนาดกลางชนิดหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะคล๎ายกับหม๎อสาว หรือหม๎อแกงขนาดใหญํ เพียงแตํลักษณะของผิวด๎านนอกจะเรียบเนียนกวํา และมี ขนาดที่เล็กกวํา เหมาะสําหรับหุงต๎มอาหารรับประทานภายในครัวเรือน รูปทรงที่ก๎นจะนูนโค๎งไปจนถึงสํวน ท๎อง ความสูงไมํมากเทํากับหม๎อสาว บริเวณปากผายออก มีทั้งรูปแบบที่มีหูหิ้วและไมํมีหูหิ้ว 16 การผลิตหม๎อ แกงจะเริ่มจากการนํ าดินเหนีย วที่หมักแล๎ วมาขึ้นรูปสํวนก๎นภาชนะ โดยการตบให๎เป็นแผํนกลมแบนเรียบ หลังจากนั้นจึงนําดินเหนียวอีกก๎อนมาป๓้นให๎เป็นเส๎นเรียวยาวขนาดใหญํ ตบให๎เป็นแผํนแบนเรียบ จากนั้นจึง นําไปติดกับ สํว นก๎น ที่เตรี ยมไว๎แตํแรก โดยกํอขึ้นเป็นผนังด๎ านขางของภาชนะเมื่อได๎ความสูงพอประมาณ (ประมาณ ๑๐ นิ้ว) แล๎ว จึงนําผ๎าชุบน้ํามาปาดบริเวณปากหม๎อ ใช๎มือดุนให๎ทรงขอบปากของหม๎อผายออก แล๎วจึงใช๎ไม๎หวีเกลี่ยไปโดยรอบเพื่อให๎พื้นผิวเรียบเนียนเสมอกัน หลังจากนั้นจึงใช๎ผ๎าชุบน้ําเช็ดอีกรอบกํอนจะ นําไปตาก เมื่อแห๎งพอประมาณแล๎วจึงนํามาไหํ คือการปรับแตํงรูปทรงด๎านข๎างของหม๎อให๎มีสํวนโค๎งที่สมดุลกัน ด๎วยไม๎ไหํ คือ แทํงไม๎มีด๎ามจับ ที่สํวนปลายจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมหนา ใช๎รํวมกับก๎อนหินแมํน้ําในการตบผนังหม๎อ จากด๎านนอกให๎โค๎งมนไปในทางเดียวกัน ทําให๎ได๎รูปทรงของหม๎อที่โค๎งมนเสมอกัน ขั้น ตอนสุดท๎ายของการขึ้น รูปจะเป็นการไหํซ้ําลงไปอีกครั้งด๎วยไม๎ไหํที่มีขนาดใหญํขึ้นแตํบางลง ซึ่งจะชํวยให๎พื้นผิวของหม๎อเรียบเนียน มากขึ้น จากนั้นจึงย๎อมสีผิวด๎านนอกของหม๎อด๎วยน้ําดินแดง จากการนําดินลูกรังมาบด แล๎วรํอนให๎เป็นผงผสม กับน้ํา นํามาทาผิวเฉพาะด๎านนอกของหม๎อเทํานั้น จากนั้นนําหม๎อไปตากให๎แห๎ง แล๎วจึงนําไปเผาโดยกรรมวิธี แบบเดิมคือ การเผาแบบสุมฟืนกลางแจ๎ง ใช๎เวลาเผาประมาณ ๓ – ๔ ชั่วโมงก็จะได๎หม๎อแกงดินเผาที่สมบูรณ๑

ภาพที่ ๔.๕ หม๎อบ๎านกวน ตําบลหารแก๎ว 16

ดุษฎี เทพสิริ, เรื่องเดียวกัน, หน๎า ๔๕.

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๒


๔. บ๎านใหมํ ปุาจี้ ตําบลน้ําแพรํ บ๎ า นใหมํ –

ปุ า จี้ เป็ น การรวมตั ว ของคนในชุ ม ชนที่ มี ก ารทํ า

เครื่องป๓้นดินเผาที่คล๎ายกับบ๎านปุาตาล ที่มีแนวทางด๎านรูปแบบเป็นรูปตัวการ๑ตูน รูปสัตว๑ตํางๆ แตํจะทําใน ลักษณะที่จะตัวใหญํกวําบ๎านปุาตาล

ภาพที่ ๔.๖ เครื่องป๓้นดินเผาบ๎านใหมํปุาจี้ ตําบลน้ําแพรํ ๑.๔.๓ แหล่งเครื่องปั้นดินเผา อาเภอแม่ริม บ๎านริมเหนือ อําเภอแมํริม โฮงกระถาง ตําบลริมเหนือ(คุณ นปภัทร บัว วัฒนา)ได๎มีการป๓้นดินเผาที่เหลือเพียง ๑ แหํงเทํานั้นโดยมีการนําดินจากอําเภอแมํริมเองที่ใช๎ในการทําดินเผา แตํที่ตําบลแมํสาการป๓้นดินเผาจะเป็นในรูปแบบ “โฮงกระถาง” และมีการป๓้นเป็น เทพ , ตุ๏กตา, สาวชุ ดไทย แตํที่เดํนชัดจะเป็นเรื่องของกระถางที่นําสํงไปยังตลาดนัดจตุจักร กรุงเทพ และ ตลาดคําเที่ยง ที่มีพํอค๎าคน กลางมาซื้อ หรือบางทีก็จะเป็นการขายทางตรงให๎กับลูกค๎า

ภาพที่ ๔.๗ เครื่องป๓้นดินเผา อําเภอแมํริม ๑.๔.๔ แหล่งเครื่องปั้นดินเผา อาเภอสารภี บ๎านน้ําล๎อม ตําบลขัวมุง อําเภอสารภี ประกอบไปด๎วย ๓ แหํง ด๎วยกันที่ ผลิตเตาอั้งโลํสํงขายยังพํอค๎าคนกลาง ที่จะมาสั่งและมารับไปขายเอง หรือลูกค๎าที่เข๎ามาสั่งโดยตรง ราคาขาย สํงจะอยูํที่ ๗๙-๘๐ บาท แล๎วแตํขนาดของเตา รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๓


ภาพที่ ๔.๘ เครื่องป๓้นดินเผา อําเภอสารภี ๒. งานผ้าและเย็บปักถักร้อย ดิน แดนล๎ า นนา หรื อ ภาคเหนื อ ตอนบนของประเทศไทยเป็ น ดิ น แดนที่ พ บวํ า มี ผ๎ า ทอ พื้นเมืองอยูํคํอนข๎างมากและมีความหลากหลาย ทั้งนี้เนื่องด๎วยมีกลุํมชนหลายชาติพันธุ๑อาศัยอยูํในดินแดนแหํง นี้ ซึ่งแตํละกลุํมชนล๎วนรู๎จักการทอผ๎าเพื่อใช๎ประโยชน๑ใช๎สอยตํางๆ และมีลักษณะที่เป็ นเอกลักษณ๑ของแตํละ กลุํม ด๎วยเหตุนี้ผ๎าทอพื้นเมืองที่พบในดินแดนล๎านนาจึงมีรูปแบบ เทคนิค และลวดลายที่แตกตํางกันออกไป ตามแตํละท๎องถิ่นและชาติพันธุ๑ ซึ่งสะท๎อนให๎เห็นถึงความสามารถในการสร๎างสรรค๑ หรือภูมิป๓ญญาของกลุํม ชาติพันธุ๑นั้นๆ ในอดีตการทอผ๎าของล๎านนาจะปรากฏมีอยูํในชุมชนตํางๆ แทบทุกหมูํบ๎าน เนื่องจาก เครื่องนุํงหํมเป็นป๓จจัยสําคัญตํอการดํารงชีวิต จึงเป็นวิถีชีวิตของสตรีชาวล๎านนาที่จะต๎องรู๎จักวิธีการทอผ๎า ซึ่ง ผ๎าที่ชาวล๎านนาทอขึ้นสําหรับใช๎สอยนั้นอาจแบํงได๎เป็น ๒ ประเภทหลักๆ คือ ประเภทแรก เป็นผ๎าที่ทอขึ้น สําหรับใช๎สอยในชีวิตประจําวัน ผ๎าประเภทนี้จะไมํคํอยให๎ความสําคัญกับความประณีตงดงามมากนัก เชํน ผ๎าซิ่นที่ชาวบ๎านใช๎นุํงสําหรับทํางาน หรืออยูํกับบ๎าน มักจะเป็นซิ่นที่ทอจากผ๎าฝูายเรียบสีเรียบๆ มีลวดลายอยํา งําย เน๎นสีพื้นเป็นหลัก หรือถ๎าจะทอเป็นผ๎าสําหรับตัดเสื้อที่ใช๎ใ นชีวิตประจําวันก็จะมีลักษณะเป็นผ๎าฝูายเนื้อ หยาบเพื่อความคงทน โดยอาจมีการย๎อมสีด๎วยวัสดุจากธรรมชาติ เชํน ผ๎าหม๎อห๎อมก็จะย๎อมสีด๎วยใบของต๎น คราม เป็นต๎น นอกจากเครื่องนุํงหํมแล๎ว ผ๎า ยังมีหน๎าที่ใช๎สอยอื่นๆ เป็นต๎นวํา ผ๎าขาวม๎า ผ๎าหํม และยําม ก็ มักจะทอขึ้นอยํางเรียบๆ แตํบางท๎องถิ่นจะมีการทอให๎มีลวดลายและสีสันที่สวยงามบ๎างก็มี สํวนอีกประเภทหนึ่งนั้น เป็นผ๎าที่ทอไว๎ใช๎ในโอกาสพิเศษ เชํน ผ๎าสําหรับนุํงหํม หรือใช๎ใน งานบุญ งานเทศกาล และพิธีการสําคัญๆ ซึ่งจะต๎องใช๎ผ๎าที่มีความประณีตงดงามเป็นพิเศษ เพราะการทอผ๎า ประเภทนี้นอกจากการประกวดประชันกันด๎านความประณีตงดงามแล๎ว ยังจะต๎องสอดคล๎องกับความเชื่อและ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๔


ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ของคนในกลุํ มชาติ พันธุ๑นั้ นๆ ด๎ ว ย ในโอกาสพิเศษเหลํ านี้ ผู๎ ห ญิงในฐานะที่เป็ น ผู๎เชี่ยวชาญในการทอผ๎ามักจะแตํงกายด๎วยเสื้อผ๎าที่มีความประณีตงดงามเป็นพิเศษ เชํน ผ๎าซิ่นที่สวมใสํอาจเป็น ผ๎าซิ่นตีนจกที่มีลวดลายและสีสันที่สวยงาม เพื่อแสดงฝีมือของตนเอง นอกจากการทอผ๎าเพื่อใช๎สอยโดยตรงแล๎ว ชาวล๎านนายังใช๎ผ๎า และเส๎นด๎ายมาทําเป็น สิ่งของที่เกี่ยวข๎องกับศาสนา ความเชื่อ และประเพณีพื้นบ๎านของตนด๎วย เชํน การใช๎ด๎ายหรือผ๎าประดิษฐ๑เ ป็น ตุง หรือธงเพื่อใช๎ในงานประเพณี และพิธีกรรมตํางๆ เป็นต๎น ๒.๑ วัตถุดิบที่ใช้ในการทอผ้า ผืนผ๎าที่ทอจากอดีตถึงป๓จจุบันล๎วนแตํสร๎างขึ้นจากธรรมชาติทั้งสิ้น ทั้งที่ได๎จากพืช และสัตว๑ เชํน จากใยฝูาย รังไหม เปลือกไม๎ชนิดตํางๆ เชํน ปอ ปุาน เป็นต๎น วัตถุดิบแตํละช นิดให๎ผิวสัมผัส แตกตํางกันไปเส๎นใยธรรมชาติที่นิยมมากที่สุด คือ เส๎นใยจากดอกฝูาย และจากรังไหม ๑. ผ้าจากใยฝ้าย ฝูายเป็นพืชล๎มลุก แตํละต๎นให๎ดอกจํานวนมาก ลักษณะของดอกเป็นปุยแลดู คล๎ายกับขนมถ๎วยฟู ปุยเนื้อข๎างในขยายตัวออกมาเป็น สีนวล จึงใช๎สํวนนี้มาทําเส๎นใยด๎วยการดี ดป๓่นในชะลอม ให๎เนื้อฟูจากนั้นเป็นการนําปุยฝูายมาฝ๓้นรวมเป็นเส๎นด๎วยเครื่องมือพื้นบ๎านเรียกวํา “เครื่องป๓่นฝูาย” ภาคเหนือ เรียกวํา “เพี่ยน” ใยฝู า ยให๎ เ นื้ อ ผ๎ า ได๎ ห ลากหลายลั ก ษณะ ทั้ ง ฝู า ยเนื้ อ บางจนถึ ง เนื้ อ หนา สามารถทอเป็นเนื้อผ๎าโปรํงจนถึงแนํนมาก แบบเนื้อละเอียด จนถึงเนื้อผ๎าทีหยาบมีปม ซึ่งเนื้อผ๎าแตํละลักษณะ ตํางก็มีหน๎าที่ใช๎สอยตํางๆ กัน ผ๎าที่ได๎จากเส๎นใยฝูายเป็นที่นิยมของคนทั่วไปเพราะเมื่อตัดเย็บเป็นเสื้อผ๎าสวมใสํ แล๎วรู๎สึกเย็นสบาย ไมํระคายผิวหนัง ดูดซับเหงื่อได๎ดี ดูแลรักษางําย ที่สําคัญคือสามารถปลูกและผลิตเองได๎ใน ทุกครัวเรือน เส๎นใยจากฝูายอาจมีอายุไมํยืนยาวเทํากับเส๎นไหม ด๎วยเป็นเส๎นใยจากพืชที่ยํอยสลายได๎งํายกวํา ทําให๎พบหลับฐานทางประวัติศาสตร๑ที่เป็นใยฝูายไมํมากนัก แม๎จะเป็นวัสดุที่นิยมใช๎แพรํหลายกวําใยไหมก็ตาม ๒. ผ้าจากใยไหม ไหมเป็นแมลงหนอนด๎วงชนิดหนึ่งที่ฝ๓กตัวเป็นดักแก๎กํอนที่จะกลายเป็นผีเสื้อ มนุษย๑เรียนรู๎การนําใยจากรังดักแก๎หรือรังไหมนั้นมาผํานกรรมวิธีทําเป็นเส๎น ซึ่งมีขั้นตอนคํอนข๎างซับซ๎อนกวํา การสร๎างเส๎นใยจากฝูาย ซึ่งเป็นที่รู๎จักกันมานานแล๎ววําผ๎าไหมมีต๎นกําเนิดจากประเทศจีนนักวิชาการผ๎าของจีน เชื่อวําชาวจีนเผํา เยวํะโบราณ (อายุประมาณ ๗,๐๐๐ ปี) เป็นผู๎ริเริ่มใช๎ผ๎าไหมกํอน ชนเผําอื่นของจีน และเชื่อ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๕


วํามนุ ษย๑ รู๎ จักใช๎ผ๎ าไหมมากํอนผ๎าฝู าย หรือ กํอนเส๎ นใยอื่นๆ โดยมีห ลั กฐานจากการขุดค๎นทางโบราณคดี สมัยกํอนประวัติศาสตร๑ที่เมือง เหอหมูํตู๎ มณฑลเจ๎อเจียง พบอุปกรณ๑การทอผ๎า ทําจากวัสดุไม๎ เขาและกระดูก สัตว๑ ดินเผา ที่มีลวดลายคล๎ายตัวไหมปรากฏอยูํ นอกจากนี้ยังพบจักรป๓่นด๎ายดินเผาและไม๎ ทําให๎เชื่อวําคนเผํา นี้ได๎พัฒนาการทอผ๎าไหมจนเป็นที่รู๎จักทั่วประเทศจีน ทั้งในสมัยราชวงศ๑ฉินและราชวงศ๑ฮั่น รวมทั้งมีบทบาท สําคัญทางเศรษฐกิจในเส๎นทางค๎ าสายแพรไหมด๎วย สําหรับประเทศไทย พบวํามีการใช๎ผ๎าไหมมาตั้งแตํสมัย วัฒนธรรมบ๎านเชียง ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นใกล๎เคียงกับจีน หรือ อาจมีมากํอนวัฒนธรรมที่เจริญกวําของจีนซึ่งได๎ กระจายทั่วโลก ๒.๒ วัสดุและอุปกรณ์/การเตรียมด้าย ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดั้งนี้ ๑. ดอกหวิง เป็นอุปกรณ๑สําหรับหมุนเพื่อกรอเส๎นด๎ายสีตํางๆเข๎าหลอดด๎าย มีลักษณะคล๎ายกังหันลมมีแกนกลางวางบนฐานไม๎สองข๎าง สํวนกลางของ ดอกหวิงมี ชํองสําหรับใสํเส๎นด๎าย ๒. ไน เป็นอุปกรณ๑กรอเส๎นด๎ายอยํางหนึ่ง มีลักษณะเป็นชํองสําหรับใสํแกน ม๎วนด๎ายซึ่งผูกโยงกับ ดอกหวิง ป๓จ จุบั นมีการนํามอเตอร๑ไฟฟูามาเป็นตัว ชํว ยหมุน เมื่อมอเตอร๑ไฟฟูาทํางา เส๎นด๎ายในดอกหวิงจะหมุนด๎ายมาเก็บไว๎ในแกนม๎วนด๎าย ๓. หลอดด้ายค้น ( ลูกค้น ) เป็นอุปกรณ๑สําหรับใช๎ในการค๎นเส๎นด๎าย โดย เส๎ น ด๎ า ยทุ ก เส๎ น จะถู ก ม๎ ว นหรื อ พั น เก็ บ ไว๎ ใ นหลอดค๎ น ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป็ น หลอดยาวประมาณ ๘ นิ้ ว เส๎นผําศูนย๑กลางประมาณ ๑ นิ้ว จํานวน ๑๕๒ หลอด หลอดค๎นทําจากไม๎ไผํ แตํป๓จจุบันใช๎ทํอน้ําพลาสติกแทน ๔. รางค้น เป็นอุปกรณ๑สํ าหรับเรียงหลอดด๎ายค๎ น เพื่อเตรียมไว๎สํ าหรั บ ขั้นตอนการเดินเส๎นด๎ายตํอไป รางค๎นมีลักษณะเป็นแถว ๒ ชั้น มีแกนสําหรับใสํหลอดด๎ายค๎นจํานวน ๑๕๒ แกนอยูํบนเสาสูงประมาณ ๑.๕ เมตร ยาวประมาณ ๕-๘ เมตร ๕. หลักค้น เป็นอุปกรณ๑สําหรับพันเส๎ นด๎ายที่ค๎นตามจํานวนความยาวที่ ต๎องการมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ๎า กว๎างประมาณ ๒ เมตร ยาว ๕-๘ เมตร ที่หัวหลักค๎นมีหลักสูงประมาณ ๖ นิ้วจํานวนประมาณ ๒๐ หลักอยูํทั้งสองด๎าน ๖. ฟืม หรือฟันหวี มีลักษณะคล๎ายหวี ยาวเทํากับความกว๎างของหน๎าผ๎าทํา ด๎วยโลหะ มีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ มีกรอบทําด๎วยไม๎หรือโลหะ แตํละซี่ของฟืมจะเป็นชํองสําหรับสอดด๎ายยืน เข๎าไป เป็นการจัดเรียงด๎ายยืนให๎หํางกันตามความละเอียดของเนื้อผ๎า เป็นสํวนที่ใช๎กระทบให๎เส๎นด๎ายที่ทอเรียง ติดกันแนํนเป็นผืนผ๎า ฟืมสมัยโบราณทําด๎วยไม๎ แกะสลักเป็นรูปนกหรือเป็นลวดลายตําง ๆสวยงามมาก

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๖


๗. ตะขอเกี่ยวด้าย ( เบ็ดเข้าฟืม ) เป็นอุปกรณ๑สําหรับเกี่ยวเส๎นด๎ายเข๎าฟืม ทําด๎วยเหล็กยาวประมาณ ๘ นิ้ว สํวนปลายทําเป็นตะขอไว๎สําหรับเกี่ยวเส๎นด๎ายเข๎าฟืม ซึ่งเส๎นด๎ายทุกเส๎น จะต๎องใช๎ตะขอเกี่ยวด๎ายสอดไว๎ในฟืมจนเต็มทุกชํอง ๘. เครื่องรองตอนเข้าฟืม ๙. ลูกหัด ( ระหัด ) เป็นอุปกรณ๑สําหรับม๎วนเก็บเส๎นด๎ายที่ค๎นเสร็จแล๎ว มี ลักษณะคล๎ายระหัดวิดน้ํา ซึ่งอยูํที่ด๎านปลายของแกนระหัดทั้งสองด๎าน โดยหมุนม๎วนเส๎นด๎ายเก็บไว๎เพื่อเตรียม ใสํในเครื่องทอผ๎า ๑๐. ไม้นัด เป็นไม๎ที่สอดอยูํในชํองด๎ายยืน เพื่อชํวยให๎ด๎ายไมํพันกัน ๑๑. ไม้ขัดด้าย หรือฟ๓นปลา เป็นอุปกรณ๑สําหรับขัดระหัดม๎วนผ๎าเพื่อไมํให๎ ระหัดม๎วนผ๎าขยับเขยื้อนได๎ ทําให๎เส๎นด๎ายตึงอยูํตลอดเวลา เมื่อถึงขั้นตอนการทอผ๎าก็จะงํายขึ้น ๑๒. เครื่องม้วนด้าย ใช๎สําหรับม๎วนด๎ายเข๎าหลอดด๎ายยืน ๒.๓ แหล่งผลิตผ้าทอในจังหวัดเชียงใหม่ จากการสํารวจใน ๘ อําเภอ พบวํามีแหลํงผลิตผ๎าทอ อยูํจํานวน ๓ แหลํง คือ ๒.๓.๑ งานผ๎าและสิ่งทอ อําเภอสันปุาตอง ๒.๓.๒ งานผ๎าและสิ่งทอบ๎านกาด อําเภอสันกําแพง ๒.๓.๓ งานผ๎าและสิ่งทอบ๎านลวงใต๎ ตําบลเชิงดอย อําเภอดอยสะเก็ด โดยมีรายละเอียดดังตํอไปนี้ ๒.๓.๑ งานผ้าและสิ่งทอ อาเภอสันป่าตอง วัฒนธรรมการใช๎ผ๎าและสิ่งทอในอําเภอสันปุาตอง มีลักษณะเฉพาะตัวและมี ความพิเศษ เนื่องจากมีการผสมผสานกันทางวัฒนธรรมของชาวไทยวน ไทเขิน และไทยอง แตํจากหลักฐานที่ ปรากฏในป๓จจุบันพบวํา รูปแบบของผ๎าและสิ่งทอสํวนใหญํมีลักษณะใกล๎เคียงกับวัฒนธรรมไทยวนมากกวํา เนื่องจากพื้นที่นี้เคยเป็นที่อยูํอาศัยของชาวไทยวนมาแตํดั้งเดิม นอกจากนี้ยังเป็นบริเวณใกล๎กับเมืองเชียงใหมํ ซึ่งเป็นเมืองศูนย๑กลางของชาวไทยวน จึงไมํนําแปลกใจนัก หากจะพบวําวัฒนธรรมการใช๎ ผ๎าบางประการของ ชาวไทเขินและไทยอง จะถูกกลืนกลายเป็นแบบไทยวนในที่สุด ผ๎ า ทอในอดี ต ของสั น ปุ า ตองมี ค วามโดดเดํ น และมี เ อกลั ก ษณ๑ เ ฉพาะที่ แตกตํางจากท๎องถิ่นอื่นๆ จากการวิจัยเรื่อง “การค๎าและผลิตภัณฑ๑ผ๎าในภาคเหนือของประเทศไทยจากมุมมอง ทางประวัติศาสตร๑” ของแคทเธอรีน เอ.โบวี ระบุวําสันปุาตองเป็นหนึ่งในศูนย๑กลางการผลิตผ๎าที่สําคัญของ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๗


ภาคเหนือ มีการค๎าขายฝูายและไหมโดยใช๎แมํน้ําปิง และแมํน้ําขานเป็นเส๎นทางคมนาคมที่สําคัญ สอดคล๎องกับ การให๎ข๎อมูลของชาวบ๎านที่กลําววําในอดีตมีการเดินทางไปค๎าขาย “ระแหงแกํงสร๎อย” และปากน้ําโพด๎วยการ ลํองแพเป็นหลัก ทําให๎เข๎าใจได๎วําในอดีตท๎องที่สันปุาตอง คงมีการทอผ๎าอยํางแพรํหลายแทบทุกครัวเรือน เพื่อ ประโยชน๑สําหรับการใช๎สอย และการสํงออกไปจําหนํายที่อื่น โดยผ๎าและสิ่งทอที่เป็นเอกลักษณ๑โดดเดํนของ สันปุาตองมีดังนี้ ๑. ผ้าซิ่น ซิ่น เป็นเครื่องแตํกายที่สําคัญของหญิงไท ลักษระซิ่นแบบ มาตรฐานที่พบในสันปุาตอง คือ “ซิ่นต๐า” หรือเรียกอีกอยํางวํา “ซิ่นตํอตีนตํอเอว” ตามลักษณะการเย็บผ๎าพื้น สีดําหรือแดงตํอเข๎าไปบริเวณสํวนบนและเชิงของซิ่น สํวนตรงกลางหรือตัวของซิ่นเป็น “ผ๎าลายต๐า” คือผ๎าที่มี ลายริ้วสม่ําเสมอขวางลําตัว จะมีสีตํางๆ เชํน เหลือง เขียว ชมพู และมํวง เป็นต๎น ซิ่นต๐านี้มีชื่อเรียกเฉพาะเพื่อ ระบุรายละเอียดลงไปอีก เชํน “ซิ่นต๐ามะนาว” หมายถึง ซิ่นต๐าที่มีสีเหลืองสด “ซิ่นต๐าเหล๎ม” หมายถึง ซิ่นที่มี ลายต๐าขนาดใหญํเรียงโทนสีอยํางดงาม หรือ “ซิ่นต๐าสามแลว” หมายถึง ซิ่นที่ลายต๐าเป็นริ้วสีขาวสามเส๎น ซึ่ง ทอขึ้นที่บ๎านแมํกุ๎ง เป็นต๎น ซิ่นต๐าที่ใช๎สวมใสํในชีวิตประจําวันจะทอขึ้นเองจากเส๎นฝูาย แตํถ๎าหากเป็นซิ่นต๐าที่ ใสํในโอกาสพิเศษ จะใช๎ตัวซิ่นที่เป็นไหม และมักซื้อมาจากแหลํงอื่น เชํน อําเภอสันกําแพง เป็นต๎น ผ๎าซิ่นอีกประเภทหนึ่งที่พบไมํมากนักของสันปุาตอง คือ ซิ่นตีนจก เป็นซิ่นลักษณะเดียวกับซิ่นต๐า แตํมีความพิเศษตรงที่บริเวณเชิงซิ่นจะตํอด๎วยผ๎าทอเทคนิค “การจก” เป็น ลวดลายที่สวยงาม ซิ่นตีนจกที่พบสํว นใหญํของสั นปุาตอง จะมีลั กษณะที่คล๎ายกับซิ่นของเจ๎านายในเมือง เชียงใหมํ คือ นิยมจกลายให๎โปรํงมองเห็นพื้น สีดําชัดเจน วัสดุที่ใช๎เป็นดิ้นควั่นกับฝูาย ไหม หรือฝูายย๎อมสี ธรรมชาติ ไมํฉูดฉาด ทอเป็นลวดลายหลักที่ประกอบด๎วยลายโคมและลายประกอบขนาบอยูํด๎านบนและลําง ที่ เชิงด๎านลํางสุดจะทําเป็นลายหางสะเปาสีดําล๎วน ซิ่นชนิดนี้มักเป็นของผู๎มีฐานะดี โดยจะมีการนุํงซิ่นซ๎อนอยูํ ภายในกํอน เพื่อปูองกันการระคายเคืองจากดิ้น และเนื่องจากซิ่นชนิดนี้มีความละเอียดงดงาม มีกรรมวิธีการ ผลิตที่คํอนข๎างยาก จึงมักสวมใสํในโอกาสพิเศษ และไมํนิยมซักเพราะจําทําให๎เกิดการชํารุดได๎ แตํจะเก็บรักษา ด๎วยวิธีการผึ่งแดด แล๎วคํอยพับเก็บไว๎ในหีบผ๎า ๒. ผ้ า เช็ ด เป็ น ผ๎ า ยาวรู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ๎ า กว๎ า งประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๘๐ – ๑๐๐ เซนติเมตร ตกแตํงที่ชายทั้งสองด๎านด๎วยเทคนิค “การขิด” สีดําและแดง เลือดหมู อันเป็นเอกลักษณ๑ของผ๎าเช็ดแบบสันปุาตอง โดยทอเป็นลายรูปเรขาคณิตและลายสัตว๑ตํางๆ เชํน ลาย กูบย๎อย ลายก๋ําปุูงหน๎อย ลายต๎ นดอก ลายเครือ ลายดอกต๎อมล๏อม ลายนกไลํ ลายนกหัสดีลิงค๑ ลายช๎าง และ ลายม๎า เป็นต๎น ซึ่งลายเหลํานี้มีลักษณะที่คล๎ายคลึงอยํางมากกับผ๎าเช็ดของชาวไทลื้อ ไทยอง ในเขตรัฐฉาน ประเทศพมํา โดยผ๎าเช็ดใช๎สําหรับเป็นผ๎าเช็ดหน๎า และผ๎าพาดไหลํของผู๎ชายเมื่อไปวัด นอกจากนี้ยังพบวํามี รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๘


ธรรมเนียมที่เจ๎าสาวจะมอบผ๎าช็ดที่ทอเองให๎กับเจ๎าบําวในวันแตํงงาน และใช๎สําหรับปิดหน๎าศพด๎วย ในป๓จจุบัน ยังมีผู๎ทอผ๎าเช็ดอยูํ ได๎แกํ นางจันทร๑แสง ตาพรหม และนางฟองนวล เทวารี ซึ่งอาศัยอยูํที่บ๎านต๎นแหนหลวง โดยยังคงเป็นการทอผ๎าลายแบบดั้งเดิมอยูํ แตํได๎เพิ่มความยาวของผ๎าเพื่อปรับใช๎เป็นผ๎าสไบของผู๎หญิง ๓. ผ้าหลบ หมายถึงผ๎าที่ใช๎ปูที่นอน มีหน๎ากว๎างประมาณ ๓๐ – ๔๐ เซนติเมตร เย็บสองผืนตํอกันตรงกลาง เพื่อให๎สามารถปูบนสะลี (ฟูก หรือที่นอน) ได๎ โดยทั่วไปเป็นผ๎าฝูาย สีขาวทอด๎วยเทคนิคขัดสานแบบธรรมดา ที่เชิงด๎านหนึ่งทอตกแตํงเทคนิคการขิดสีดําและแดงเลือดหมูเป็น ลวดลายตํางๆ เชํน ลายก๋ําปุูงหลวง ลายเครือ ลายนก ลายกูบย๎อยหรือเสาโขง และลายเหลียวปิด เป็นต๎น ลาย บางลายมีลักษระที่คล๎ายคลึงกับที่ทอบนผ๎าเช็ด แตํผ๎าหลบจะไมํนิยมทอลายช๎าง ลายม๎า ป๓จจุบันไมํมีการใช๎ผ๎า หลบแบบดั้งเดิมอีกตํอไปแล๎ว แตยังสามารถพบได๎ในเกือบทุกๆบ๎าน ที่เก็บรักษาไว๎ตามความเคยชินในอดีต ๔. ผ้าห่ม ผ๎าหํมแบบดั้งเดิมของชาวสันปุาตอง เรียกวํา “ผ๎าหํมลาย แซง” หรือ “ผ๎าหํมแซงแดง” ตามลักษณะที่เห็นได๎ชัดเจน คือ เป็นลายริ้วสีแดงขนาดเล็กบนพื้นขาวซึ่งเกิดจาก การขึงเส๎นยืน รูปแบบของผ๎ าหํมชนิดนี้จะนําผ๎าหน๎าแคบขนาดยาวสองผืนมาเย็บตํอกันตรงกลาง แล๎วเย็บที่ ชายผ๎าทั้งสองด๎านให๎ติดกันคล๎ายผ๎าซิ่น ซึ่งการทําเชํนนี้จะชํวยให๎ผ๎าหํมมีความหนาเพิ่มขึ้น ในฤดูหนาวหาก ต๎องการให๎มีความอบอุํนมากยิ่งขึ้น ก็จะใช๎ปุยฝูายที่ตีแล๎วมาคลี่แผํเป็นผืนกว๎างเย็บตํอ กันเป็นผืนแล๎วนําเอามา ยัดเข๎าไปในผ๎าหํม โดยจะเรียกผ๎าหํมแบบนี้วํา “ผ๎านวม” หรือ “ผ๎าลวม” ใช๎ในเวลานอนตอนกลางคืน โดยเฉพาะ สํวนผ๎าหํมลายแซงนั้นนอกจากจะใช๎หํมนอนแล๎ว ยังสามาถนํามาหํมในเวลากลางวันได๎อีกด๎วย ๕. หมอน หมอนที่ปรากฏในเขตอําเภอสันปุาตอง สามารถแบํงได๎ สองประเภท คือ หมอนที่ใช๎ในชีวิตประจําวัน และหมอนที่ใช๎สําหรับเป็นเครื่องประกอบพิธีกรรม โดยหมอน สําหรับใช๎นอนในชีวิตประจําวันจะเป็นหมอนขนาดกะทัดรัด เรียกวํา “หมอนหก” อันเนื่องมาจากลักษณะการ เย็บที่แบํงพื้นที่ยัดนุํนออกเป็นหกชํอง ตกแตํงที่หน๎าหมอนทั้งสองด๎านด๎วยการจกหรื อขิด นิยมใช๎ลายดอกจัน และลายก๋ําปุูงหลวงเป็นหลัก สํวนหมอนที่ใช๎ในพิธีกรรมจะมีลักษระที่พิเศษกวําหมอนทั่วไป ปรากฏอยูํ ๓ แบบ ได๎แกํ หมอนเก๎า หมอนผา ซึ่งเป็นหมอนรูปสามเหลี่ยม และหมอนปลํอง ซึ่งเป็นหมอนรูปสี่เหลี่ยมขนาดใหญํ เย็บเป็นชํองๆ สําหรับยัดนุํน โดยเว๎นตรงกลางไว๎ให๎เป็นชํองวําง และมีหมอนกลมอีกลูกหนึ่งยัดเข๎าไปตรงกลาง หมอนทั้งสามแบบนี้จะประดับตกแตํงอยํางงดงามที่หน๎าหมอน ด๎วยการป๓กแลํงเงินแลํงทองลงบนผ๎ากํามะหยี่สี เข๎ม สําหรับใช๎ในการประกอบพิธีกรรมและโอกาสพิเศษ เชํน งานบวช งานแตํงงาน หรือทําถวายเป็นพุทธบูชา เพื่อให๎พระภิกษุสงฆ๑ใช๎พิงเวลานั่งบนอาสนะ ๖. ถุงย่าม ถุงยําม หรือถุงปื๋อ เป็นถุงที่เย็บขึ้นจากแถบผ๎าฝูายสอง ชิ้น ชิ้นที่มีขนาดยาวใช๎ทําเป็นหูสะพาย สํวนชิ้นที่มีขนาดสั้นกวําใช๎ทําเป็นพื้นที่ใสํของตรงกลางถุง โดยถุงยําม ของชาวสันปุาตองนิยมทอผ๎าให๎เป็นลายริ้วสีดําบนพื้นขาว หรือทอเป็นริ้วสีเขียวบนพื้นสีแดง อาจมีการเย็บ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๖๙


ซ๎อนด๎านในด๎วยผ๎าสีขาว เพื่อให๎ถุงมีความหนาและแข็งแรงมากยิ่งขึ้น ใช๎สําหรับใสํสัมภาระเวลาเดินทางออก นอกบ๎านทั้งใกล๎และไกล จะเห็ น ได๎ วํ า วั ฒ นธรรมการใช๎ ผ๎ า และสิ่ ง ทอของชาวสั น ปุ า ตองมี ลักษณะที่คล๎ายคลึงกับคนเมืองโดยทั่วไปในดินแดนล๎านนา แม๎วําในเขตอําเภอสันปุาตองจะมิได๎มีประชากรซึ่ง ประกอบด๎วยชาวไทยวนเพียงกลุํมเดียว แตํยังมีชาวไทเขินและไทยอง ซึ่งได๎รับเอาวัฒนธรรมการใช๎ผ๎าจากคน เมือง และถูกกลืนกลายเป็นคนเมืองในที่สุด อยํางไรก็ตามยังสามารถสังเกตลักษณะลักษณะดั้งเดิมของชาวไท เขิน ไทยองได๎จากลวดลายบนผ๎าเช็ด ที่ยังคงมีการรักษารูปแบบการใช๎งานมาได๎อยํางตํอเนื่อง อันสะท๎อนให๎ เห็นถึงการผสมผสานกันระหวํางสองวัฒนธรรมได๎อยํางชัดเจน ๒.๓.๒ งานผ้าและสิ่งทอบ้านกาด อาเภอสันกาแพง อําเภอสันกําแพงเป็นแหลํงที่มีการทอผ๎ามาตั้งแตํอดีต กลุํมชาติพันธุ๑ตํ างๆ ไมํวําจะเป็นไทยวนที่เรียกตนเองวํา “คนเมือง” ไทลื้อ ไทยอง ไทเขิน ที่อยูํในชุมชนตํางๆ ในเขตอําเภอสัน กําแพงล๎วนมีฝีมือในการทอผ๎าด๎วยกี่แบบพื้นเมืองที่สืบทอดกันมาตั้งแตํบรรพบุรุษ นอกจากผ๎าพื้นแล๎วลวดลาย ที่ทอในแตํละกลุํมชาติพันธุ๑จะแตกตํางกันออกไป สําหรับผ๎าฝู ายที่ทอกันในแตํละครัวเรือนนั้น จะทอเพื่อใช๎ใน ชีวิตประจําวันเป็นสํวนใหญํ คือใช๎สําหรับเป็นเครื่องนุํงหํม เชํน ผ๎าซิ่น ผ๎าขาวม๎า โสรํง และถุงยําม หรือเป็น เครื่องใช๎ในครัวเรือน เชํน ผ๎าปูที่นอน ผ๎าหํมนอน รวมทั้งมีการทอและย๎อมจีวรสําหรับถวายพระภิกษุสงฆ๑ และ ผ๎าที่ใช๎ในพิธีกรรมด๎วย เชํน ตุง และผ๎าหํอคัมภีร๑ เป็นต๎น โดยฝูายนั้นจะมีปลูกในบางท๎องที่ และจะมีการป๓่น ฝูายใช๎เองในทุกครัวเรือน เส๎นฝูายที่ใช๎ทอชนิดนี้เรียกวํา “ฝูายเมือง” สําหรับการทอผ๎าไหมในเขตอําเภอสันกําแพงนั้นเริ่มขึ้นเมื่อราวพ.ศ. ๒๔๕๓ – ๒๔๕๔ ที่บ๎านกาด พร๎อมกับการเข๎ามาตั้งถิ่นฐานของนายอากรเส็ง ชินวัตร ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต๎นของการที่ บ๎านกาด อําเภอสันกําแพงได๎ชื่อวําเป็นแหลํงผลิตผ๎าไหมที่สําคัญในเวลาตํอมา เนื่องจากนายอากรเส็งได๎เริ่ม ลงทุนค๎าผ๎าไหมโดยจ๎างชาวบ๎านทอ และมีนายเชียงบุตรชายเป็นผู๎ชํวย ในชํวงแรกเป็นการค๎าช๎างและม๎าตํางวัว ตําง ระหวํางเชียงใหมํกับพมํา ตํอมามีการนําไหมดิบจากพมําเข๎ามา แล๎วนําไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตผ๎าซิ่น สํงกลับไปขายให๎กับชาวพมํา จึงถือได๎วําตระกูลชินวัตรเป็นผู๎ริเริ่มกิจการทอผ๎าไหม ที่มีการจ๎างแรงงานเป็นราย แรกของสันกําแพง และนําจะตามมาด๎วยกลุํมตระกูลพรหมชนะ และตระกูลเพียรสกุล ซึ่งกิจการทอผ๎าไหมของ ทั้งสามตระกูล นี้มีลั กษณะที่คล๎ ายคลึ งกัน หลายประการ นับตั้งแตํการคัดเลือกคนมาทํางาน การแบํงงาน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๐


การตลาด รวมไปถึงรูปแบบและลวดลายของผ๎า แม๎วําจะมีการพยายามที่จะออกแบบลวดลายและสีสันแบบ ใหมํๆ อยูํเสมอ โดยมีรูปแบบที่โดดเดํนของผ๎าแตํละประเภท ดังนี้ ๑. ผ้าซิ่น ผ๎าซิ่นนั้นมีทั้งที่เป็นผ๎าพื้น หรือที่เรียกวํา “ผ๎าด๎าน” คือ ผ๎าไหมที่ใช๎เส๎นไหมพุํงสีเดียวทอตลอดกันไปทั้งผืน ไมํมีดอกดวงหรือลวดลายอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีผ๎าซิ่นหาง กระรอก หรือซิ่นไก เพราะใช๎วิธีทอแบบป๓่นไก คือเอาเส๎นไหมสีตํางกันมาเป็นสีๆ ให๎เข๎ากันแล๎วทอ ลายทอของ ผ๎าซิ่นแตํเดิมนั้นมีทั้งซิ่นตาลายขวาง มีอยูํหลายแบบ เชํน ลายเต็มตัว ลายสองแลว ลายสามแลว และลายห๎า แลว เป็นต๎น และซิ่นลายทางลง เชํน ลายตาลํอง และลายตาแซง เป็นต๎น นอกจากนี้ยังมี ซิ่นยกหลาบ เป็นซิ่น พื้นดํามีลายเป็นทางลงสีขาว และซิ่นกลาง ซึ่งตรงกลางมีสีออกดํา ก็จะนําเอาผ๎าแดงไปย๎อมมะเกลือมาทอตํอ ออกทั้งข๎างลํางและข๎างบน ๒. ผ้าโสร่ง ผ๎าโสรํงนั้นจะมีทั้งการทอแบบป๓่นไก และทอเป็นลายตา หมากรุก หรือที่เรียกวํา “ลายตาตอบ” โดยสลับสีตํางๆ ให๎งดงามตามแตํจินตนาการของผู๎ทอ โดยชาวบ๎าน ผู๎ชายมักจะนิยมนุํงโสรํงไหมเวลาไปงาน ๓. ผ้าขาวม้า ผ๎าขาวม๎าสํวนมากนั้นจะทอสําหรับใช๎เองไมํได๎มีไว๎ ขาย โดยเป็นธรรมเนียมของคนเฒําคนแกํในสมัยโบราณจะทอเตรียมไว๎ให๎ลูกหลานเวลาศึกจากการบวชพระ ซึ่งผ๎าขาวม๎าที่เป็นไหมนี้จะมีทอเฉพาะในหมูํของผู๎มีฐานะเทํานั้น สํ วนชาวบ๎านทั่วไปจะใช๎ผ๎าขาวม๎าที่ทอจาก ฝูายแทน กลุํมทอผ๎าแมํบ๎านเกษตรกรบ๎านสันก๎างปลา ตั้งอยูํ บ๎านสันก๎างปลา ตําบล ทรายมูล อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหมํ เป็นหมูํบ๎านดั้งเดิมที่มีการทอผ๎ามาตั้งแตํอดีตที่จะมีการทอผ๎าจู ลกฐินถวายพระภิกษุสงฆ๑และใช๎เป็นเครื่องนุํงหํมทั่วไป จนมีหนํวยงานภาครัฐเข๎ามาเข๎ามาสนับสนุนจึงเกิดเป็น กลุํมขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2538 โดยเอกลักษณ๑ของกลุํมแมํบ๎านเกษตรกรบ๎านสันก๎างปลานั้น เรียกวํา “ลายเกล็ด เตํา” จากการบอกเลําของผู๎เฒําผู๎แกํในชุมชนบอกวําลายเกร็ดเตําเป็นเอกลักษณ๑ที่มีมาตั้งแตํอดีต โดยนํา มา ประยุกต๑ให๎ย๎อมฝูายตามด๎วยสีธรรมชาติ แตํได๎เพิ่มเอกลักษณ๑อีกอยํางหนึ่งเข๎าไปนั่นก็คือการนําเอาลูกป๓ดที่มี สีสันสวยงามมาเรียงผูกเข๎ากับเส๎นฝูายที่ใช๎เป็นเส๎นพุํงกับฝูายที่ทอ และนําเอาความมันวาวของเส๎นเงินเข๎ามา ผสมผสานเป็น “ลายเกร็ดเตําเงินไหลํ” ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลคําให๎กับผ๎าทออีกด๎วย กลุํ มทอผ๎ าบ๎านยําพาย ตั้งอยูํที่หมูํบ๎านยําพาย อําเภอสั นกําแพง จังหวัด เชียงใหมํ เป็นกลุํมวิสาหกิจชุมชนที่กํอตั้งขึ้น โดยสํวนมากงานที่ทํา จะเป็นงานประเภทผ๎าทอสําหรับใช๎งาน โดยทั่วไป เชํน ผ๎ามําน เครื่องนอน ผ๎าคลุมโต๏ะ ฯลฯ จากการสัมภาษณ๑คุณ....ได๎เลําวํา กลุํมนี้เป็นเพียงกลุํมที่ ทําการผลิตสินค๎าเองเทํานั้น แตํสําหรับวัสดุในการนํามาผลิต เชํน เส๎นฝูาย จะซื้อมาจากร๎าน จินเฮงฮวด ที่ ตรอกเหลาโจ๎ว ตลาดวโรรส และผลิตภัณฑ๑สํวนใหญํ จะผลิตตามคําสั่งของพํอค๎าคนกลาง ซึ่งจะนําไปจําหนําย ในแหลํงขายผ๎าฝูายทอมือชื่อดังของจังหวัดลําพูน นั่นก็คือ หมูํบ๎านดอนหลวง อําเภอปุาซาง จังหวัดลําพูน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๑


ภาพที่ ๔.๙ งานผ๎าทอ อําเภอสันกําแพง รูปแบบและลวดลายที่กลําวมานี้เป็นแบบโบราณที่ชาวสันกําแพงในอดีตเคย ใช๎กันอยูํจริง กํอนที่จะมีการพัฒนาและคิดค๎นลายใหมํๆ ในเวลาตํอมา หรือรับอิทธิพลลวดลายของท๎องถิ่นอื่น เชํน ลายยกดอกแบบลําพูน หรือลายเกล็ดเตําแบบไทลื้อ เป็นต๎น ๒.๓.๓ งานผ้าและสิ่งทอบ้านลวงใต้ ตาบลเชิงดอย อาเภอดอยสะเก็ด อําเภอดอยสะเก็ด (บ๎านลวงใต๎ ตําบลเชิงดอย ) จากการสํารวจพื้นที่พบวํา บ๎านลวงใต๎ยังมีการทอผ๎าอยูํ แล๎ วมีการสืบทอดมาเป็นระยะเวลา 20 ปี และมีการรวมกลุํ มกันจัดตั้งศูนย๑ วิสาหกิจชุมชนไทลื้อ ซึ่งเคยได๎รับรางวัล “รากวัฒนธรรม” ของอําเภอดอยสะเก็ด โดยมีสมาชิกกลุํมอยูํ 20 คน โดยประธานกลุํม คุณพรรณี สมโพธิ สํวนวัสดุที่นํามาใช๎นั้นจะเป็นการไปซื้อวัสดุจากตลาดวโรรส สํวนมากใน ชุมชนจะมีการทอผ๎าที่ศูนย๑วิสาหกิจชุมชนไทลื้อเทํานั้นและ มีเพียงไมํกี่หลังที่ทอในบ๎าน แล๎วนําสินค๎าไปขายที่ ศูนย๑วิสาหกิจชุมชนไทลื้อหน๎าชุมชน ผ๎าทอที่ขายจะเป็นผ๎าซิ่นสําเร็จรูป แตํในบางตําบลได๎มีการนําผ๎าทอจาก อําเภออื่นๆมาแปรรูปและขายในชุมชน

ภาพที่ ๔.๑๐ งานผ๎าทอ อําเภอดอยสะเก็ด

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๒


๓. งานแกะสลักและผลิตภัณฑ์จากไม้ การแกะสลักไม๎เป็นงานศิลปกรรมพื้นบ๎านของชาวล๎านนา ที่ทําสืบตํอกันมาเป็นเวลาช๎า นาน ในอดีตการแกะสลักไม๎สํวนใหญํจะเป็นงานศิลปกรรมที่มีความเกี่ยวข๎องกับสิ่งกํอสร๎างเนื่องในพุทธศาสนา นอกจากนั้นก็จะการแกะไม๎เพื่อใช๎ประดับตกแตํงบ๎านเรือนบ๎าง หรือทําเป็นสิ่งของเครื่องใช๎เล็กๆ น๎อยๆบ๎าง แตํ ป๓จจุบันรูปแบบของการแกะสลักไม๎ได๎เปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นงานศิลปกรรมเชิงพาณิชย๑ เนื่องจากผลิตภัณฑ๑ ไม๎ แ กะสลั ก เป็ น ที่ ต๎ อ งการของตลาดอยํ า งมาก ด๎ ว ยเหตุ นี้ รู ป แบบทางศิ ล ปกรรมของงานแกะสลั ก ไม๎ จึ ง เปลี่ ย นแปลงไป จากเดิมที่เคยทํางานแกะสลั กไม๎ด๎ว ยจิตศรัทธาในพุทธศาสนา โดยทําเป็นลวดลาย และ เครื่องประดับตกแตํงศาสนสถาน สํวนในป๓จจุบันงานแกะสลักไม๎มีรูปแบบที่เป็นไปตามความต๎องการของตลาด หรือมีลักษณะรูปแบบที่รํวมสมัยมากขึ้น ๓.๑ วัตถุดิบที่ใช้ในการแกะสลัก ไม๎สัก เพราะไม๎สั กเป็นไม๎ที่ไมํแข็งจนเกินไป สามารถใช๎เครื่องมือแกะ สลักได๎งําย นอกจากนี้ไม๎สักยังเป็นไม๎ที่ทนตํอสภาพดินฟูา อากาศไมํหดตัวมากนัก เมื่อแกะสลักจะไมํทําให๎เสียรูปทรง และ ยากแกํการทําลายจากการกัดกินของปลวก ๓.๒ เครื่องมือช่างแกะสลัก เครื่องมือของงานชํางแกะสลักที่สํา คัญๆ ก็มีสิ่ ว และ ค๎อน ๑. สิ่ว คือ สิ่งที่ทําจากโลหะ ที่เป็นเหล็กกล๎าแข็ง และ เหนียวทําให๎เกิด ความคม ด๎วยการตีการเจียร และตกแตํงให๎เป็น หน๎าตํางๆ เชํน หน๎าตรง หน๎าโค๎ง ซึ่งมีขนาดตํางๆ กันโดย สิ่ว ที่ใช๎ในการแกะสลักแบํงได๎ดังตํอไปนี้ ๑.๑ สิ่วหน๎าตรง ใช๎สําหรับตอกเดินเส๎นในแนวตรง และ ขุดพื้น ซึ่งมี หลายขนาด ๑.๒ สิ่วหน๎าโค๎ง โค๎งเล็บมือ ใช๎สําหรับตอกเดินเส๎นใน สํวนที่เป็นเส๎น โค๎ง และใช๎ปาดแตํงแกะแรลาย ๑.๓ สิ่วปากเสี้ยว ลักษณะสิ่วจะเป็นมุมเฉียงไปข๎างใดข๎าง หนึ่ง และ จะมีเป็นคูํคือเสี้ยวซ๎ายหรือเสี้ยวขวา ๒. ค้อนไม้ คือ ค๎อนที่ทําจากไม๎เนื้อแข็ง เชํน ไม๎ชิงชัน ไมํแกํนมะขาม ขนาดตัวค๎อนมีเส๎นผํานศูนย๑กลาง ประมาณ ๕ – ๖ นิ้ว เหตุที่ใช๎ค๎อนไม๎ เพราะจะได๎ไมํทํา ให๎ด๎ามสิ่วซึ่งเป็น เหล็กชํารุดเสียหาย และสามารถควบคุม น้ําหนักไม๎อีกทั้งยังเบามือ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๓


๓.๓ แหล่งผลิตงานไม้แกะสลัก แหลํงแกะสลักไม๎เชียงใหมํเป็นแหลํงผลิตงานสลักไม๎ที่ใหญํที่สุดในเขตภาคเหนือ ตอนบน โดยแหลํงผลิตไม๎แกะสลักเหลํานี้กระจายอยูํในเขตอําเภอ ๔ อําเภอ ของจังหวัดเชียงใหมํ ซึ่งมีแหลํง ผลิตที่สําคัญ ได๎แกํ ๓.๓.๑ กลุํมสลักไม๎บ๎านถวาย อําเภอหางดง ๓.๓.๒ กลุํมสลักไม๎ อําเภอสันปุาตอง ๓.๓.๓ กลุํมสลักไม๎ อําเภอดอยสะเก็ด ๓.๓.๔ กลุํมแกะสลักไม๎ อําเภอสันกําแพง ดังรายละเอียดตํอไปนี้ ๓.๓.๑ กลุ่มสลักไม้บ้านถวาย อาเภอหางดง บ๎านถวายเป็นสถานที่ทํองเที่ยวสําคัญของเมืองเชียงใหมํแหํงหนึ่ง ตั้งอยูํใน เขตตําบลขุนคง อําเภอหางดง ป๓จจุบันเป็นทั้งแหลํงผลิตและจํา หนํายผลิตภัณฑ๑ไม๎แกะสลักที่มีชื่อเสียง ความ เป็นมาของงานแกะสลักไม๎ที่บ๎านถวายเริ่มต๎นขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒ โดยชาวบ๎านที่เคยไปทํางานเป็นชํางแกะสลัก ไม๎อยูํตามร๎านค๎าที่ประกอบกิจการแกะสลักไม๎ในตัวเมืองเชียงใหมํ ได๎กลับมาอยูํที่บ๎านถวายโดยรับงานแกะสลัก ไม๎เป็นชิ้นๆ จากร๎านค๎าในตัวเมืองมาทําเป็นงานอิสระอยูํในหมูํบ๎าน รวมทั้งการแกะสลักไม๎เพื่อสํงไปจําหนําย ให๎กับร๎านค๎าตํางๆ ซึ่งอาชีพการแกะสลักไม๎นั้นสร๎างรายได๎เป็นอยํางดีให๎กับชาวบ๎าน ดังนั้นจึงมีผู๎สนใจเข๎ามา ฝึกหั ดและประกอบอาชีพแกะสลั กไม๎มากขึ้น ทําให๎ ห มูํบ๎านถวายกลายเป็ นแหลํ งผลิ ตงานไม๎แกะสลั กที่มี ชื่อเสียง มีนักทํองเที่ยวเดินทางเข๎ามาเที่ยวชมและเลือกซื้อผลิตภัณฑ๑อยูํเสมอ การทําหัตถกรรมไม๎แกะอยํางช๎านาน เป็นงานไม๎แกะสลักจากไม๎จามจุรี ไม๎ สัก ผลิตภัณฑ๑ไม๎แกะสลักประเภทงานจะเป็น สําหรับประดับตกแตํง ของฝากที่ระลึก จากอําเภอหางดงนั้น พบ การแกะสลักและโรงงานใหญํ ภายในตําบลขุนคงหลวง ที่มีการนําไม๎จามจุรี จากจังหวัดแพรํ และ อุตรดิตถ๑ มา ทําเป็นโต๏ะขนาดใหญํ หรือสินค๎าประดับทั่วไป และที่บ๎านปุาใหมํ-ปุาจี้ ตําบลน้ําแพรํเป็นอีกที่หนึ่งที่มีการ ทํางานไม๎แกะสลักในรูปแบบตํางๆ ทั้งเครื่องใช๎ รวมถึงของประดับตกแตํงภายในบ๎านซึ่งตลาดสํงออกของที่บ๎าน ใหมํ-ปุาจี้ เชํน ศูนย๑หัตถกรรมบ๎านถวาย, ตลาดจัตุจักร กรุงเทพมหานคร และ ที่ บ๎านม๎า จังหวัดลําพูน

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๔


ภาพที่ ๔.๑๑ งานแกะสลักบ๎านถวาย ตํอมาจึงมีร๎านค๎าจําหนํายผลิตภัณฑ๑ไม๎แกะสลักเกิดขึ้นในหมูํบ๎านเป็นจํานวน มาก ซึ่งผลิตภัณฑ๑ที่จําหนํายมีทั้งงานแกะสลักไม๎ที่ผลิตจากบ๎านถวายเอง และจากแหลํงผลิตอื่นๆ ซึ่งรูปแบบ ของงานไม๎แกะสลักที่ลิตจากบ๎านถวายจะเป็นงานแกะสลักไม๎ที่ใช๎ทั้งไม๎สัก และไม๎ชนิดอื่นๆ โดยมักจะแกะสลัก เป็นรูปสัตว๑ตํางๆ เชํน ช๎าง ม๎า สิงห๑ นอกจากนี้ยังมีการแกะสลักพระพุทธรูป เทวรูป รวมถึงสิ่งของเครื่องใช๎ เครื่องเรือน และเครื่องประดับตกแตํงอาคาร เป็นต๎น ๓.๓.๒ กลุ่มแกะสลักไม้ อาเภอสันป่าตอง อําเภอสันปุาตองมีแหลํงแกะสลักไม๎อยูํในหมูํบ๎านตํางๆ หลายแหํง โดยมี แหลํงสําคัญอยูํที่บ๎านกิ่วแลน๎อย และบ๎านกิ่วแลหลวง ชาวบ๎านที่ทําการแกะสลั กไม๎จะเป็นชํางอิสระที่ทํางาน ตามที่ร๎านค๎าและเอกชนสั่งทํา รํวมทั้งสํงไปจําหนํายให๎กับร๎านค๎าด๎วย ผลิตภัณฑ๑ไม๎แกะสลักที่ผลิตขึ้นในเขต อําเภอสันปุาตอง สํวนมากเป็นงานประติมากรรมรูปช๎าง รูปสัตว๑ตํางๆ รวมทั้งงานแกะสลักเป็นภาพทิวทัศน๑บน แผํนไม๎สัก และเครื่องเรือนบางประเภท การสํารวจพบงานแกะสลักโดยมากที่อําเภอสันปุาตอง ได๎แกํ ตําบลยุหวํา กาดสลําแมํครูคํา กาดสะลีบัวตอง กาดริมคลอง และกลุํมไม๎แกะสลักน้ําบํอหลวง งานหัตถกรรมไม๎แกะสักของ อําเภอสันปุาตองสํวนมากนั้นจะผลิตเพื่อสํงขายให๎กับพํอค๎าคนกลาง ซึ่งจากการสัมภาษณ๑ผู๎ผลิตนั้น งานสํ วน ใหญํพํอค๎าคนกลาง จะนําไปขายยังแหลํงขายที่ขึ้นชื่อของจังหวัดเชียงใหมํ คือ แหลํงหัตถกรรมบ๎านถวาย อําเภอหางดง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๕


ภาพที่ ๔.๑๒ กลุํมแกะสลักไม๎ อําเภอสันปุาตอง ๓.๓.๓ กลุ่มสลักไม้ อาเภอดอยสะเก็ด ในเขตอําเภอดอยสะเก็ดมีแหลํงแกะสลักไม๎อยูํตามหมูํบ๎านตํางๆ เชํน บ๎าน ปุายาง บ๎านสันต๎นมํวง บ๎านสันปูเลย เป็นต๎น ผลิตภัณฑ๑ที่ทําขึ้นจากหมูํบ๎านเหลํานี้สํวนใหญํจะเป็นเครื่องเรือน ตํางๆ เชํน ตู๎ โต๏ะ เก๎าอี้ เตียง และแหยํง เป็นต๎น ๓.๓.๔ กลุ่มแกะสลักไม้ อาเภอสันกาแพง ชุมชนบ๎านบํอสร๎างในเขตอําเภอสันกําแพง เป็นแหลํงผลิตงานไม๎แกะสลักที่ สําคัญอีกแหํงหนึ่งของจังหวัดเชียงใหมํ ผลิตภัณฑ๑จากแหลํงนี้สํวนมากจะเป็นงานศิลปกรรมรํวมสมัย โดยจะ แกะสลักแผํนไม๎สักเป็นรูปช๎างและสัตว๑ชนิดอื่น ในรูปแบบตํางๆ

ภาพที่ ๔.๑๓ กลุํมแกะสลักไม๎ อําเภอสันกําแพง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๖


๔. การก่อสร้าง การกํอสร๎าง เป็นกรรมวิธีการสร๎างที่อยูํอาศัย อาคารทางศาสนา และโรงเรือน ตําง ๆ โดย มีกรรมวิธีในการสร๎างสรรค๑หลายขั้นตอน ไมํวําจะเป็นการ การผูก โดยใช๎ไม๎ไผํหรือไม๎รวก มาเป็นโครงสร๎าง และมุงหลังคาและฝา ใช๎เชือกหวายหรือเถาวัลย๑ ในการยึดสํวนตําง ๆ เข๎าด๎วยกัน งานประเภทเหลํานี้ มักมีให๎ เห็นโดยทั่วไป ในแถบหมูํบ๎านในพื้นที่ชนบท เนื่องชาวบ๎านสํวนใหญํ สามารถใช๎วัตถุดิบและวัสดุตามธรรมชาติ ที่มีในพื้นที่ของตนเอง มาสร๎างเป็ นอาคารบ๎านเรือน หรือ “ห๎างนา” (ที่พํานักอาศัยขณะทํางานด๎าน เกษตรกรรมอยูํนอกบ๎าน) อีกกรรมวิธีหนึ่ง คือ การสับ เป็นกรรมวิธีการเข๎าไม๎โดยใช๎วัสดุ ที่เป็นไม๎จริง คือการ ประกอบไม๎เข๎าหากันโดยไมํใช๎ตะปู หรือเรียกวํา การสอดลิ่มไม๎ เป็นกรรมวิธีโบราณที่ชาวล๎านนาใช๎ในการสร๎าง วิห าร ดั ง จะเห็ น ได๎ จ ากโครงสร๎ า งทางสถาป๓ ต ยกรรมของวิ ห ารล๎ า นนา ในจั ง หวั ด เชี ย งใหมํ ที่ เ รี ย กวํ า “ โครงสร๎างม๎าตํางไหม ” งานอีกประเภทหนึ่ง ที่ใช๎กรรมวิธีการกํอสร๎าง และสามารถสร๎างชื่อเสียงให๎กับชํางฝีมือ ชาวเชียงใหมํ คือ การสร๎างประสาทศพ เนื่องจากชาวล๎านนามีความเชื่อเชิงวัฒนธรรมในการสร๎างปราสาทศพ โดยเฉพาะด๎านมรดกทางภูมิป๓ญญาของท๎องถิ่น ซึ่งความเชื่อเชํนนี้กลายเป็นวัฒนธรรมของคนล๎านนา ตั้งแตํ อดีตสืบมาจนถึงป๓จจุบัน ด๎านความกตัญ๒ูกตเวทีที่เชื่อวํา การสร๎างปราสาทศพให๎แกํผู๎วายชนม๑นั้น เป็นการ แสดงออกซึ่งความกตัญ๒ูกตเวทิตาธรรม โดยสลํา (ชํางฝีมือ) ที่มีชื่อเสียงในด๎านการสร๎างประสาทศพในพื้นที่ ของจังหวัดเชียงใหมํนี้ สํวนมากพบในเขตอําเภอหางดง และอําเภอสันปุาตอง ๔.๑ งานปูนปั้น งานปู น ป๓้ น ล๎ า นนาที่ ใ ช๎ ต กแตํ ง อาคารพุ ท ธศาสนสถานนั้ น เป็ น หลั ก ฐานทาง ประวัติศาสตร๑ชิ้นสําคัญที่บํงบอกถึงยุคสมัยของการกํอสร๎าง รูปแบบของลวดลายและคุณภาพของฝีมือชํางอัน สะท๎อนถึงลักษณะทางจิตใจและยังเป็นการสะท๎อนถึงสภาวะทางสังคมในชํวงเวลานั้นได๎อีก ทางหนึ่งลายปูนป๓้น ยังเป็นสิ่งที่ชี้ให๎เห็นถึงความรุํงเรืองของอดีตที่ตกทอดมายังป๓จจุบัน งานปูนป๓้นในแตํละพื้นที่บางครั้งยังเป็นการแสดงลักษณะรํวมกันของรูปแบบการ ตกแตํง แตํก็มีเอกลักษณ๑เฉพาะถิ่นหรือเฉพาะยุคสมัยของตน การทําความเข๎าใจถึงงานปูป๓้นจึงต๎องทําความ เข๎าใจถึงความสัมพันธ๑ระหวํางชุมชนเหลํานั้นด๎วย เชํน งานปูนป๓้นรูปเทวดา ฝ๓กเพกาประดับซุ๎ม ความรู๎ดังกลําว สร๎างคุณคําในเชิงประวัติศาสตร๑ไมํยิ่งหยํอนไปกวําคุณคําทางด๎านความงามของฝีมือชําง ๔.๑.๑ การตกแต่ง ลวดลายปูนป๓้นมักจะตกแตํงลงไปบนอาคารหรือสถูปเจดีย๑ตามแบบแผนที่ กําหนดไว๎อยํางมีแบบแผนที่แนํนอน พร๎อมกับการกําหนดลวดลายปูนป๓้นแตํละลาย ด๎วย เชํน บริเวณหน๎า กระดานและท๎องไม๎มักจะตกแตํงด๎วยลายหน๎ากระดาน สํวนลายไขํปลาจะใช๎ตกแตํงอาคารประกอบกับเส๎นลวด ได๎ในแนวดิ่งและแนวนอน โดยเฉพาะอยํางยิ่งในสํวนของซุ๎มหรือหน๎าตํางจะเป็นบริเวณสําคัญที่มีการตกแตํง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๗


อยํางงดงามที่สุดด๎วยลายเครือหรือลายพันธุ๑พฤกษาหรือลายเกียรติมุข ในยุคแรกๆ การป๓้นปูนตกแตํงบริเวณ ของฝาผนังเรือนธาตุจะมีน๎อยมาก ในหลายกรณีตกแตํงด๎วยลายปูนป๓้นแบบใหมํๆ หรือตกแตํงโดยการวางลงไป บนพื้นที่ซึ่งปรกติจะเป็นพื้นที่วํางยํอมบํงชี้งานปูนป๓้นลงไปในยุคลสมัยหลังลงมาแล๎ว ดังนั้นตําแหนํงของการ ติดตั้งงานปูนป๓้นลงไปบนตัวอาคารจึงเป็นเรื่องสําคัญที่ต๎องพิจาณาควบคูํกันไปกับตัวลายเองเสมอ 17 ๔.๑.๒ วัตถุดิบที่ใช้ในการก่อสร้าง ๑. ครกกระเดื่อง หรือ ครกมอง ใช๎ในการตําปูนและวัสดุสํวนผสม ตํางๆ ให๎เข๎ากัน ๒. ครก (ขนาดใหญํ) ใช๎ในการตําปูน และวัสดุสํวนผสม ๓. โอํง ใช๎สําหรับการหมักปูนขาว หนังขายและเปลือกไม๎ที่เป็น สํวนผสมปูนในกรณีที่ใช๎ในการกํอสร๎างขนาดใหญํต๎องทําบํอหมักที่มีขนาดใหญํเชํนกัน ๔. กระป๋อง ใช๎ตวงวัสดุสํวนผสมตํางๆ ในการผสมปูน ๕. ไม๎พาย ใช๎ในการคนวัสดุสํวนผสม ๖. ตระแกรง ใช๎ในการรํอนกรองทรายและเศษวัสดุ ๔.๑.๓ วัสดุในการผสมปูนโครงสร้างแบบล้านนาโบราณทั่วไป ๑. ต๎นไม๎ไก๐ หรือ ไม๎เมือก ใช๎สํวนเปลือกไม๎แชํน้ําประมาณ ๑๕ วัน จะได๎น้ํายางที่มีลักษณะของคล๎ายกันกับกาวน้ําหรืออาจนําปูนขาวลงไปหมักรวมน้ําเปลือกไม๎ไก๐ หรือไม๎ เมือกได๎ อีกวิธีหนึ่งเชํนกัน ๒. ปูนขาว (Slaked Lime) ปูนเผาหรือปูนเปลือกหอยเผาหรือปูน หอย ๓. หนังควาย (Buffalo Skin) ได๎จากสํวนที่เป็นหนังเผาเอาขน ควายออกให๎หมด โดยการนํามาขัดในน้ําให๎สะอาดอีกครั้งหนึ่งเพื่อการลดกลิ่นหลังจากที่นําไปหมักอีกประมาณ ๑๕ วัน แล๎วจึงนําน้ําหนังควายเอาไปเคี่ยวจนกลายเป็นกาวน้ําหนังควาย ๔. น้ําอ๎อย (Sugarcane) น้ําอ๎อย หรือ น้ําตาลอ๎อยได๎จากนําลํ า อ๎อยมาหีบเอาน้ําอ๎อยกํอน แล๎วจึงเอามาเคี่ยวในกระทะในบัวจนกวําน้ําอ๎อยจะเหนียวได๎ที่และมีสีน้ําตาลเข๎มจัด จากนั้นหยอดลงพิมพ๑ที่เตรียมไว๎ มีหลายรูปแบบ เชํน แผํนกลมแบน หรือทํอนทรงกระบอก

17

สมเจตน๑ วิมลเกษม และ สราวุธ รูปิน, กรรมวิธีดั้งเดิมในการผลิตงานช่าง พุทธศิลป์น่าน. (เชียงใหม่ : บริ ษทั สันติภาพ

แพ็คพริ นท์, ๒๕๕๒), หน้า ๕ – ๑๑. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๘


๔.๑.๔ แหล่งผลิตงานปูนปั้น แหลํงผลิตงานปูนป๓้นเชียงใหมํพบอยูํ ๒ แหลํงที่มีเทคนิคการทําคล๎ายคลึง กันคือ กลุํมงานปูนป๓้นอําเภอหางดง และ อําเภอสันปุาตอง ๑ กลุ่มงานปูนปั้นอาเภอหางดงและอาเภอสันป่าตอง พระพุทธศาสนาเป็นสํวนสําคัญอยํางยิ่งของวิถีชีวิตของชาวล๎านนามา ช๎านาน ดังนั้น ศิลปะของล๎านนาจึงได๎รับแรงบันดาลใจสํวนใหญํมากจากพระพุทธศาสนา หลักฐานสําคัญของ ประวัติศาสตร๑ศิลป์ล๎านนา ได๎ถูกจารึกไว๎ในสถาป๓ตยกรรมและการตกแตํงวัด ไมํวําจะเป็นจิตรกรรมภาพวาดฝา ผนั ง ภาพพระบฎ ตุงคําว และงานฝี มือนานาชนิดที่ป ระดิดประดอยขึ้นมาอยํางบรรจง เพื่อเป็นพุทธบูช า โดยศาสนสถานในจังหวัดเชียงใหมํนั้น จะมีความเรียบงําย ด๎วยขนาดที่เล็ก มีการประดับประดาเพียงเล็กน๎อย แตํเน๎นในความงามและทรงคุณคําของวัตถุดิบไว๎ อาทิ ปูน ไม๎สัก และกระเบื้องดินขอ

ภาพที่ ๔.๑๔ กลุํมปูนป๓้นสันปุาตอง ศิลปกรรมการตกแตํงภายในวิหาร หรืออุโบสถของวัด มักจะมีการลงรัก ปิดทองบนเสา และมีภาพเขียนพุทธประวัติอยูํบนผนังสองด๎าน ซึ่งงานจิตรกรรมฝาผนังที่มักพบอยูํนี้ เป็นหนึ่ง ในงานพุทธศิล ป์ ที่สํ าคัญของภูมิภ าคนี้ มีเอกลั กษณ๑โ ดดเดํนในการใช๎สี สันสดใส แตํงแต๎มภาพวิถีชีวิตของ ชาวเมือง ออกมาเป็นภาพที่มีชีวิตชีวา เป็นที่นําเสียดายที่หลักฐานภาพจิตรกรรมฝาผนัง อันถือเป็นบันทึก สําคัญทางประวัติศาสตร๑ของล๎านนานั้นหลงเหลืออยูํน๎อยมาก เนื่องจากมีการเสื่อมโทรมและจางหายไปตาม กาลเวลา จึงต๎องทําให๎มีกลุํมชํางฝืมือ (สลํา) ที่มีความชํานาญและสามารถถํายทอดความรู๎เหลํานี้ให๎แกํคนรุํน หลังสืบตํอไปได๎ในอนาคต เป็นกรรมวิธีการสร๎างที่อยูํอาศัย อาคารทางศาสนา และโรงเรือน ตําง ๆ โดยมีกรรมวิธีในการสร๎างสรรค๑หลายขั้นตอน สํวนมากจะเป็นงานประเภทเครื่องเครื่องประดับประกอบ ศาสน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๗๙


สถาน เชํน หน๎าบันวิหาร คันทวย ชํอฟูา สัตภัณฑ๑ เป็นต๎น งานประเภทนี้จะมีชื่อเสียงมากในอําเภอหางดง และ อําเภอสันปุาตอง เนื่องจากมีชํางฝีมือดีอาศัยอยูํแถบนั้นเป็นจํานวนมาก ๔.๒ งานก่อสร้างปราสาทไม้ การทํ า ปราสาทศพจะสวยงาม ประณี ต เพี ย งใดอยูํ ที่ ก ารพั ฒ นาฝี มื อ และการ ประยุกต๑ของแตํละคน ความสวยงาม ความอลังการอยูํ ที่งบประมาณของคนที่มาสั่งทํา งบประมาณตั้งแตํหลัก พันไปจนถึงหลักหมื่น หลักแสน และการทําปราสาทจะทําสีปราสาท ตามวัยของผู๎เสียชีวิต เชํน ผู๎สูงอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไปใช๎สีขาว วัยหนุํมใช๎หลากสี สีแดง สีชมพู พระสงฆ๑ใช๎สีทอง เป็นต๎น ๔.๒.๑ วัตถุดิบที่ใช้ในการก่อสร้างปราสาทไม้ ๑. ไม๎ งิ้ ว จะมี ลั ก ษณะเป็ น ไม๎ เ นื้ อ อํ อ น น้ํ า หนั ก เบา ติ ด ไฟงํ า ย ป๓จจุบันต๎องติดตํอสั่งซื้อจากโรงงานค๎าไม๎จากจังหวัดลําปาง เนื่องจากไม๎งิ้วในจังหวัดเชียงใหมํหาซื้อไมํได๎ ๒. กระดาษ กระดาษที่ใช๎ในปราสาทศพจําแนกได๎ ๓ ประเภท คือ ๒.๑ กระดาษสํ า หรั บ ติ ด โครงปราสาทเพื่ อ รองพื้ น มั ก ใช๎ กระดาษ หนังสือพิมพ๑ หรือ กระดาษที่มีความหนา ๒.๒ กระดาษสีตํางๆ ใช๎ปิดทับกระดาษรองพื้น โดยใช๎สีพื้น และฉลุเป็นลวดลายตํางๆ ๒.๓ กระดาษแข็ ง ตั ด เป็ น รู ป ตํ า งๆ เชํ น โกํ ง คิ้ ว ชํ อ ฟู า ใบระกา หางหงส๑ ภูํระย๎า ๓. ผ๎ามําน ผ๎าลูกไม๎ ใช๎ประดับตกแตํงเสาปราสาท ๔. กาว มั ก ใช๎ ก าวแปู ง เปี ย กที่ ต๎ ม เองเพื่ อ ประหยั ด คํ า ใช๎ จํ า ย ใช๎ สําหรับทากระดาษติดโครงปราสาท ๔.๒.๒ การตกแต่ง ในการทํ า ปราสาทศพนั้ น กลุํ ม ชํ า งจะมี ก ระบวนการขั้ น ตอนในการทํ า สํวนประกอบแตํละสํวน แยกออกจากกัน และทําเตรียมไว๎ลํวงหน๎าเป็นจํานวนมาก เนื่องจากงานสั่งทําปราสาท ศพไมํมีกําหนดที่แนํนอน ขึ้นอยูํกับการเป็นการตาย ชํางทําปราสาทศพจึงต๎องเตรียมวัสดุทุกอยํางไว๎ให๎พร๎อม ตลอดเวลา ที่เรียกกันวํา สั่งเช๎าได๎สาย สั่งบํายได๎เย็น หรือ คนใช๎ไมํได๎ซื้อ คนซื้อไมํได๎ใช๎ โดยมีกระบวนการ และขั้นตอน การผลิต แยกสํวนดังตํอไปนี้ ๑. สวนที่เป็นงานกระดาษ เป็นการนํากระดาษสีตํางๆ มาฉลุเป็น ลวดลายตํางๆ โดยเริ่มจากการนํากระดาษสีที่ต๎องการมาพับหรือตัด ซ๎อนเป็นชั้นๆ ประมาณ ๑๕-๒๐ ชั้น ใน ขนาดความกว๎างยาวที่ไมํเล็กกวําลวดลายที่ต๎องการ ลักษณะของลวดลายที่ใช๎ในการทําปราสาทศพนั้น ไมํมี รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๐


แบบแผนที่แนํนอนในการเรียก เชํน ลายประจํายาม ลายกนก ลายก๎ามปู ฯลฯ แตํจะเรียกตามขนาดความ กว๎างของหน๎าไม๎ เชํน ลายหน๎าสอง ลายหน๎าห๎า หรือ เรียกตามลักษณะที่ตกกันในกลุํม เชํน ลายดอกแก๎ว ลาย ดอกพุด เป็นต๎น อีกทั้งลวดลายที่ฉลุนั้นก็ได๎วิวัฒนาการ ดัดแปลงเป็นลายใหมํๆ แปลกๆ ไมํได๎เป็นไปตามแบบ แผนของลายไทยหรือลวดลายพื้นเมือง ซึ่งการฉลุลายนี้แม๎ไมํมีการสั่งซื้อปราสาทศพ ชํางก็จะฉลุลายไว๎เพื่อ สะดวกในการนํามาใช๎ ๒. ส่วนที่เป็นโครงปราสาท ตัวปราสาทศพ ชํางผู๎ชายจะเป็นผู๎ลง มือทําจะเริ่มจากการนําไม๎งิ้วมาตัดเป็นทํอนๆ ตามขนาดความกว๎างยาวของโครงสร๎างที่ต๎องการโดยทั่วไปจะไมํ ระบุ แนํ ชัดวําต๎องทําโครงสารสํ วนใดของปราสาทกํอนหลัง แตํมักจะทําสํว นฐานกํอนเพราคํอนข๎างงํายไมํ ซับซ๎อน เสร็จเร็ว เพื่อให๎สามารถนํามาติดกรดาษรองพื้น กระดาษสี กระดาษฉลุลายได๎กํอน สํวนหลังคา และ สํวนยอดมักจะทําภายหลังจากการขึ้นโครงสร๎างปราสาทซึ่งเป็นหน๎าที่ของชํางผู๎ชายเพราะต๎องใช๎แรงงาน โครง ปราสาทจึงแบํงวิธีการและขั้นตอนดังตํอไปนี้ ๒.๑ นําไม๎ที่เป็นแผํนใหญํมาเลื่อยให๎มีขนาดเล็กตามต๎องการ ๒.๒ เมื่อได๎ไม๎ตามขนาดที่ต๎องการแล๎ ว ชํางก็จะนําไม๎ขนาด ตํางๆ เหลํานั้นมาประกอบเป็นโครงปราสาท โดยอันดับแรกทําโครงเสาเป็นรูปสี่ เหลี่ยมด๎านไมํเทํา โดยการนํา ไม๎มาประกอบเข๎าด๎วยกัน ตามขนาดที่สั่ง เชํนต๎องการปราสาทศพขนาดเสา ๘ ต๎น หรือ ๑๒ ต๎น ๒๔ ต๎น โดย ชํางจะต๎องจัดทําโครงปราสาทไว๎เป็นจํานวนมากเชํนกัน ๒.๓ นําสํวนที่ประกอบเป็นเสาแตํละอัน มาประกบกันเพื่อทํา โครงปราสาท หรือ ตัวปราสาทโดยเริ่มตั้งแตํทําฐานขึ้นไปเป็นอันดับแรกเพื่อยึดให๎ตัวปราสาทตั้งได๎ ๓. ส่ ว นที่ เ ป็ น หลั ง คาปราสาท ชํ า งทํ า ปราสาท ก็ จ ะจั ด ทํ า สํ ว น หลังคาแยกไว๎ตํางหากเพื่อความสะดวกในการขนย๎าย และสามารถยกมาประกอบที่หลังได๎ จึงมีการทําปราสาท แยกแตํละสํวนไว๎เป็นจําวนมาก และพร๎อมที่จะประกอบให๎แล๎วเสร็จ ในการทําสํวนที่เป็นโครงหลังคาจะมี ขนาดเชํนเดียวกับทําเสาปราสาทโดยให๎ได๎สัดสํวนและมีความสัมพันธ๑กันทั้งโครงปราสาท และหลังคา ๔.๒.๓ แหล่งผลิตงานก่อสร้าง กลุํ ม งานกํ อ สร๎ า งเป็ น งานหั ต ถกรรมที่ จํ า แนกออกมาเนื่ อ งจากมี ค วาม ละเอียดอํอนโดยงานประเภทนี้ในจังหวัดเชียงใหมํ พบอยูํ ๒ แหลํงคือ กลุํมงานกํอสร๎างปราสาทไม๎ อําเภอหาง ดง และ อําเภอแมํริม

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๑


กลุ่มงานก่อสร้างปราสาทไม้ อาเภอหางดง และอาเภอแม่ริม งานไม๎ประเภทปราสาทไม๎ที่มีลักษณะอันโดดเดํนทั้งรูปทรง สี และลวดลาย ประดับบนปราสาท ซึ่งพบในอําเภอหางดง และ อําเภอแมํริม จากการสัมภาษณ๑ผู๎ผลิตในสองอําเภอพบวํา การ ทําปราสาทไม๎เป็นการนําไม๎สักเกํา มาใช๎ในการทําเพราะมีเนื้อแข็งกวํา แตํต๎องสั่งจาก จังหวัดแพรํ และ อําเภอ เชียงดาว เพราะวัสดุในการทําคํอนข๎างที่จะหายากมากขึ้น โดยอําเภอแมํริม พบปราสาทไม๎ ที่ตําบลแมํสา ร๎าน จีรเดชศิลป์ซึ่งร๎านนี้จะมีลักษณะการออกแบบคํอนข๎างเดํนชัดในลวดลาย ผู๎ผลิตกลําววําสํวนมากจะใช๎ในการ ประกอบพิธีตามพุทธศาสนาของ พระสงฆ๑ และ ร๎านสิงห๑แก๎วประทานศิลป์ ก็มีลักษณะในการออกแบบคล๎ายๆ กับร๎านจีรเดชศิลป์ สํวนใน อําเภอหางดง นั้น นาม “หนานคํา” ( นายชรต ชาญเชี่ยว) สลําที่ทําปราสาทไม๎ที่ ขึ้นชื่อของอําเภอหางดง ซึ่งมีผลงานในลักษณะเดํน คือ งานปราสาทไม๎ที่ทํางานงานไม๎เนื้อบาง แตํป๓จจุบันได๎ พัฒนาเป็นปราสาทไม๎เนื้อแข็งที่คงทนถาวร ไม๎เนื้อแข็งมีคุณสมบัติคงทนถาวร ทนตํอการถูกแมลงรบกวน

ภาพที่ ๔.๑๕ กลุํมงานกํอสร๎างปราสาทไม๎ ๕. จิตรกรรมและงานวาด งานเขียน ในสมัยกํอนไมํได๎มีการเขียนลวดลายเหมือนในป๓จจุบันเพียงใช๎รํมสีพื้นๆ ๒ สี ตามที่กลําว มาแล๎วคือสีแดง และสีดํา การเขียนลวดลายบนรํมเพิ่งมีขึ้นไมํกี่สิบปี มานี้เอง การเขียนลวดลายลงบนรํมนับวํา มีสํวนสําคัญ ในการชํวยทําให๎รํมขายดี ซึ่งทําความสนใจให๎แกํนักทํองเที่ยวที่ ไปเยี่ยมชมสินค๎าของหมูํบ๎านนี้ ลวดลายที่ เขียนนั้นมีหลายประเภทด๎วยกัน เชํนลายวิว ลายดอกไม๎ และลายสัตว๑ตํางๆ ชําง วาดภาพเหลํานี้ แสดงฝีมือ ให๎เห็นถึงความตื่นตา ตื่นใจตํอผู๎ที่ได๎ชมทั้ง ชาวไทย และชาวตํางประเทศเป็นอยํางมาก

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๒


จิตรกรรมและงานวาด งานเขียน พระพุทธศาสนาเป็นสํวนสําคัญอยํางยิ่งของวิถีชีวิตของ ชาวล๎ านนามาช๎านาน ดังนั้ น ศิ ล ปะของล๎ านนาจึงได๎รับแรงบั นดาลใจสํ ว นใหญํมากจากพระพุทธศาสนา หลักฐานสําคัญของประวัติศาสตร๑ศิลป์ล๎านนา ได๎ถูกจารึกไว๎ในสถาป๓ตยกรรมและการตกแตํงวัด ไมํวําจะเป็น จิตรกรรมภาพวาดฝาผนัง ภาพพระบฎ ตุ งคําว และงานฝีมือนานาชนิดที่ประดิดประดอยขึ้นมาอยํางบรรจง เพื่อเป็นพุทธบูชา โดยศาสนสถานในจังหวัดเชียงใหมํนั้น จะมีความเรียบงําย ด๎วยขนาดที่เล็ก มีการประดับ ประดาเพียงเล็กน๎อย แตํเน๎นในความงามและทรงคุณคําของวัตถุดิบไว๎ อาทิ ปูน ไม๎สัก และกระเบื้องดินขอ ศิลปกรรมการตกแตํงภายในวิหาร หรืออุโบสถของวัด มักจะมีการลงรักปิดทองบนเสา และมีภาพเขียนพุทธประวัติอยูํบนผนังสองด๎าน ซึ่งงานจิตรกรรมฝาผนังที่มักพบอยูํนี้ เป็นหนึ่งในงานพุทธศิลป์ ที่สําคัญของภูมิภาคนี้ มีเอกลักษณ๑โดดเดํนในการใช๎สีสันสดใส แตํงแต๎มภาพวิถีชีวิตของชาวเมือ ง ออกมาเป็น ภาพที่มีชีวิตชีวา เป็นที่นําเสียดายที่หลักฐานภาพจิตรกรรมฝาผนัง อันถือเป็นบันทึกสําคัญทางประวัติศาสตร๑ ของล๎านนานั้นหลงเหลืออยูํน๎อยมาก เนื่องจากมีการเสื่อมโทรมและจางหายไปตามกาลเวลา จึงต๎องทําให๎มี กลุํมชํางฝืมือ (สลํา) ที่มีความชํานาญและสามารถถํายทอดความรู๎เหลํานี้ให๎แกํคนรุํนหลังสืบตํอไปได๎ในอนาคต

ภาพที่ ๔.๑๖ งานวาดเขียน ๖. งานจักสาน เครื่ อ งจั ก สานเป็ น งานศิ ล ปหั ต ถกรรรมอยํ า งหนึ่ ง ที่ ม นุ ษ ย๑ ส ร๎ า งสรรค๑ ขึ้ น เพื่ อ ใช๎ เ ป็ น เครื่องมือ เครื่องใช๎ในชีวิตประจําวัน ด๎วยวิธีการสานและสอดขัดกันของวัสดุที่มีลักษณะเป็ นเส๎น หรือเป็นริ้ว เชํน เส๎นตอก และหวาย เป็นต๎น ซึ่งแหลํงผลิตเครื่องจักสานที่มีความเกําแกํและสําคัญมากแหํงหนึ่งของโลก ได๎แกํ บริเวณดินแดนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต๎ เนื่องจากได๎พบหลักฐานที่เกี่ยวกับการทําเครื่องจักสาน ของมนุษย๑ตั้งแตํสมัยกํอนประวัติศาสตร๑ ไมํวําจะเป็นเครื่องจักสานในยุคหินใหมํ ที่พบบริเวณถ้ําแหํงหนึ่งในเขต อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยเครื่องจักสานที่พบนั้นทําด๎วยไม๎ไผํ ลักษณะเป็นแบบลายขัดสองเส๎น มี รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๓


อายุประมาณ ๔,๐๐๐ ปีมาแล๎ว 18 หรือเครื่องจักสานของมนุษย๑ยุคหินในบริเวณแหลมมลายู ซึ่งมีลักษณะเป็ น ภาชนะที่เรียกวํา “ลํวม” สานด๎วยใบไม๎ กองรวมอยูํกับกลุํมเครื่องใช๎ของผู๎ตาย 19 ภายในหลุมฝ๓งศพ ซึ่งแสดง ให๎เห็นวําเครื่องจักสานได๎เข๎ามามีสํวนเกี่ยวข๎องกับคติความเชื่อของมนุษย๑ นอกเหนือไปจากการทําขึ้นเพื่อ ประโยชน๑ใช๎สอยในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้ยังพบหลักฐานประเภทภาชนะดินเผายุคกํอนประวัติศาสตร๑ จาก แหลํงโบราณคดีบ๎านเชียง อําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี โดยเป็นภาชนะรูปทรงคล๎ายอํางที่มีรํองรอยของ เครื่องจักสานประทับอยูํบนผิวด๎านนอก นําไปสูํการสันนิษฐานวํา เครื่องป๓้นดินเผาในยุคแรกทําขึ้นโดยการไล๎ ดินเหนียวลงไปภายในเครื่องจั กสาน เมื่อดินแห๎งและแข็งตัวแล๎วจึงนําไปเผาไฟ ทําให๎เครื่องจักสานที่อยูํด๎าน นอกไหม๎หมดไป คงเหลือแตํภาชนะดินเผาที่มีรํองรอยของเครื่องจักสานปรากฏอยูํ จากหลักฐานนี้แสดงให๎เห็น วํ า มนุ ษ ย๑ ยุ ค กํ อ นประวั ติ ศ าสตร๑ ที่ บ๎ า นเชี ย งรู๎ จั ก ผลิ ต ภาชนะเครื่ อ งจั ก สานใช๎ กํ อ นที่ จ ะรู๎ จั กการผลิ ต เครื่องป๓้นดินเผา ป๓จจัยประการหนึ่งที่ทําให๎ประเทศในดินแดนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต๎ เป็นแหลํงผลิต เครื่องป๓้นดินเผาที่สําคัญ ก็เพราะในบริเวณนี้มีสภาพภูมิศาสตร๑เหมาะสม อุดมไปด๎วยวัตถุดิบจากธรรมชาติที่ เหมาะสําหรับนํามาทําเป็นเครื่องจักสาน เชํน ไม๎ไผํ ใบตาล ใบมะพร๎าว ใบลาน หวาย กก กระจูด และหญ๎า บางชนิด เป็นต๎น ดังนั้นจึงไมํใชํเรื่องแปลกที่ประเทศในแถบภูมิภาคนี้จะมีการผลิตเครื่องจักสานสืบตํอกันมา เป็นเวลาช๎านาน และในป๓จจุบันก็ยังคงมีการผลิตเครื่องจักสานในประเทศตํางๆ เหลํานี้ด๎วย โดยรูปทรงของ เครื่องจักสานที่ทําจากวัตถุดิบธรรมชาติในยุคแรกๆ นั้น จะเป็นภาชนะที่มีรูปทรงและลวดลายแบบงํายๆ ตํอมา จึงได๎คิดพัฒนาให๎มีรูปทรงที่หลากหลายและมีลวดลายที่ละเอียดประณีตยิ่งขึ้น นอกจากป๓จจัยด๎านภูมิศาสตร๑แล๎ว การที่ประเทศตํางๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต๎ แตํเดิมมีเป็นสังคมเกษตรกรรม ประชากรประกอบอาชีพด๎านการเกษตรเป็นหลัก ดังนั้นเครื่องมือเครื่องใช๎ที่ เกษตรกรในภูมิภาคนี้ใช๎ในการประกอบอาชีพ จึงมีลักษณะเป็นเครื่องมือเครื่องใช๎แบบพื้นบ๎านที่ผลิตขึ้นเองจาก วัตถุดิบตามธรรมชาติที่มีอยูํในท๎องถิ่น ซึ่งรวมไปถึงการทําเครื่องจักสานด๎วยเถา ใบ และต๎ นไม๎ชนิดตํางๆ และ เครื่องจักสานนี้เองที่ถือเป็นเครื่องมือเครื่องใช๎ที่นิยมใช๎กันอยํางแพรํหลายมากที่สุด สําหรับเครื่องจักสานพื้นบ๎านในภาคเหนือหรือล๎านนานั้น ถือได๎วําเป็นงานศิลปหัตถกรรม ที่มีการทําสืบตํอกันมาเป็นเวลาช๎านานแล๎ว ดังเห็นได๎จากภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารของวัดหลายแหํง ในเขตภาคเหนือ ที่มีภาพชาวบ๎านใช๎เครื่องจักสานในชีวิตประจําวันปรากฏอยูํ เชํน ภาพจิตรกรรมฝาผนังวิหาร ลายคํา วัดพระสิงห๑ จังหวัดเชียงใหมํ แสดงให๎เห็นวิถีชีวิตของชาวบ๎านกําลังนั่งสนทนากันอยูํ ข๎างๆ ตัวมีภาชนะ เครื่องจักสานที่เรียกวํา “เปี้ยด” หรือกระบุงวางอยูํ ซึ่งรูปทรงของเปี้ยดที่ปรากฏอยูํในภาพนั้นไมํตํางไปจาก 18 19

ชิน อยูดี, คนกํอนประวัติศาสตร๑ในประเทศไทย (กรุงเทพ : กรมศิลปากร, ๒๕๑๒), หน๎า ๘ เรื่องเดิม, หน๎า ๔๓.

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๔


เปี้ยดที่ใช๎อยูํในป๓จจุบันนัก แสดงวําชาวล๎านนารู๎จักสานเปี้ยดใช๎มาแล๎วไมํน๎อยกวําร๎อยปี ตามอายุเวลาของภาพ จิตรกรรมนั้น นอกจากภาพจิตรกรรมฝาผนังของวัดพระสิงห๑ที่แล๎ว ยังมีภาพจิตรกรรมฝาผนังของวัดอีกหลาย แหํงที่ปรากฏภาพการใช๎เครื่องจักสาน เชํน ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดบวกครกหลวง จังหวัดเชียงใหมํ และภาพ จิตรกรรมฝาผนังของวัดภูมินทร๑ จังหวัดนํานเป็นต๎น คําวํา “เครื่องจักสาน” นั้นเป็นคําที่เรียกขึ้นตามกรรมวิธีในการผลิตที่ทําให๎เกิดเป็นภาชนะ ซึ่งจะต๎องผํานกระบวนการที่ประกอบด๎วยการ “จัก” คือการนําวัสดุมาทําให๎เป็นเส๎น เป็นแฉก หรือเป็นริ้ว เพื่อ ความสะดวกในการสาน การจักถือได๎วําเป็นขั้นตอนแรกของการเตรียมวัสดุในการทําเครื่องจักสาน ลักษณะ ของการจักโดยทั่วไปนั้นขึ้นอยูํกับวัสดุที่นํามาจักแตํละชนิด โดยจะมีวิธีการเฉพาะที่แ ตกตํางกันออกไป เชํน วัสดุที่นํามาจักให๎เป็นริ้วนั้นเป็นไม๎ไผํ หรือหวาย จะเรียกวํา “ตอก” การจักตอกไม๎ไผํโดยทั่วไปแล๎วจะแบํงเป็น ๒ ลักษณะ คือ จักตามแนวไม๎ไผํโดยมีผิวไม๎เป็นสํวนแบนจะเรียกวํา “ตอกปื้น” สํวนอีกลักษณะหนึ่งเรียกวํา “ตอกตะแคง” ตอกชนิดนี้จะจักโดยมีผิวไม๎เป็นสํวนสันตอก นอกเหนือจากตอกไม๎ไผํสองลักษณะนี้แล๎ว อาจจะ มีตอกที่จักให๎เป็นเส๎นกลม หรือลักษณะอื่นๆ ตามความต๎องการที่จะนําตอกชนิดนั้นๆ ไปใช๎ ดังนั้นการจักตอก จึงเป็นขั้นตอนที่สําคัญขั้นตอนแรกในการทําเครื่องจักสาน เพราะลักษณะของตอกจะต๎องประสานกับลวดลาย และรูปทรงของภาชนะเครื่องจักสานนั้นด๎วย เชํน การสานสํวนก๎นของภาชนะ จะต๎องใช๎ตอกปื้นแบนๆ เพื่อให๎ เกิดลายสานที่เป็นแผํนตามแนวราบ มีความคงทน สามารถวางบนพื้นราบได๎ และสะดวกตํอการสร๎างรูปทรง ของภาชนะสํวนที่อยูํถัดจากสํวนก๎นขึ้นไป หรือตอกสําหรับสานสํวนของภาชนะบริเวณที่ เป็นคอ หรือสํวนที่ คอดจําเป็นจะต๎องใช๎ตอกเส๎นเล็กๆ ที่มีความละเอียด เพื่อความสะดวกในการสานให๎ได๎รูปทรงตามต๎องการ เป็นต๎น 20 สํวนการ “สาน” นั้นเป็นขั้นตอนที่สําคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทําเครื่องจักสาน ถัดจาก การจักซึ่งเป็นการเตรียมวัสดุ การสานนั้นถือได๎วําเป็นกระบวนการทางความคิดที่สร๎างสรรค๑ของมนุษย๑ ในการ นําวัสดุที่มีอยูํในธรรมชาติมาใช๎ประโยชน๑ ลักษณะของการสานในยุคเริ่มแรกจะเป็นการสานไปตามแนวราบ โดยใช๎วัสดุขัดกันไปมาอยํางงํายๆ ตามแบบที่เรียกกันวํา “ลายขัด” ด๎วยการยกขึ้นเส๎นหนึ่งและกดลงเส๎นหนึ่ง ให๎เกิดการขัดกัน ทําให๎วัสดุคงรูปตํอเนื่องกันไปเป็นพื้นที่มากขึ้นตามความต๎องการ และจากการสานด๎วยลาย ขัดตามแนวราบมนุษย๑ก็ได๎พัฒนาการสาน เพื่อตอบสนองความต๎องการด๎านประโยชน๑ใช๎สอยจึงเกิดเป็นภาชนะ ขึ้นมา โดยอาจจะสานลายขัดนั้นเข๎ากับแมํแบบเพื่อให๎เกิดเป็นรูปทรงของภาชนะ แมํแบบสําหรับสานภาชนะ นั้นอาจจะเป็นเปลือกผลไม๎ หรือเครื่องป๓้นดินเผาก็ได๎ และเมื่อมนุษย๑คิดค๎นวิธีการสานภาชนะได๎สําเร็จแล๎ว ก็ได๎ พัฒนาลวดลายที่ใช๎ในการสานด๎วยเชํนกัน เพื่อให๎ได๎ภาชนะที่มีรูปทรงเหมาะสมกับการใช๎สอย และเกิดความ สวยงามนําใช๎ยิ่งขึ้น อยํางไรก็ตามการสานที่ปรากฏอยูํบนเครื่องจักสานรูปแบบตํางๆ นั้นมีหลักการในการสาน 20

วิบูลย๑ ลี้สุวรรณ, เครื่องจักสานในประเทศไทย (กรุงเทพ : โอเดียนสโตร๑, ๒๕๓๙), หน๎า ๘ – ๑๐. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๕


ลวดลาย คือ จะต๎องใช๎การขัดกันเพื่อให๎วัสดุที่ใช๎สานยึดตัวขัดกัน และคงรูปอยูํได๎เป็นหลัก ไมํวําการสานนั้นจะ เป็นลายธรรมดา ลายสอง ลายสาม หรือลายอื่นๆ ก็ตาม ซึ่งวิธีการสานเครื่องจักสานโดยทั่วไปแล๎ว สามารถ จําแนกออกเป็นลักษณะใหญํๆ ดังนี้ ๑. การสานด๎วยวิธีสอดขัดกัน ๒. การสานด๎วยการสอดขัดกันของเส๎นทแยง ๓. การสานด๎วยวิธีขดเป็นวง ลักษณะการสานทั้ง ๓ แบบนี้ เป็นวิวัฒนาการของการสานเครื่องจักสาน เพื่อให๎เกิด ประโยชน๑และเหมาะสมกับชนิดหรือรูปทรงของภาชนะเครื่องจักสาน นอกจากนี้ยังมีลวดลายซึ่งได๎ดัดแปลง ออกไปเพื่อให๎เกิดความสวยงามมากขึ้นอีกหลายลายด๎วยกัน บางครั้งแม๎จะลายขัดธรรมดา แตํมีการสานด๎วย เส๎นตอกที่ขนาดเล็กกวําสอดแทรกเข๎าไประหวํางลายขัดนั้น เพื่อให๎เกิดเป็นลายขัดเล็กๆ ซ๎อนอยูํภายในเป็นการ เพิ่มลายละเอียดให๎มีความสวยงามมากขึ้น เชํน ลายดอกพิกุล เป็นต๎น ขั้นตอนที่สําคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทําเครื่องจักสาน คือ การถัก ซึ่งการถักนี้สํวนมาก จะเป็นการเสริมความแข็งแรงให๎กับโครงสร๎างภายนอก เชํน ขอบ ขา ปาก หู รวมถึงก๎นของภาชนะ และการ ถักยังทําให๎ภาชนะมีความเรียบร๎อยสวยงามมากขึ้นด๎วย โดยจะใช๎วัสดุที่เ ป็นเส๎นอํอนและยาวพอสมควรมาใช๎ สําหรับถัก การถักนี้บางครั้งอาจเรียกวํา “การผูก” ก็ได๎ ลักษณะของการถักหรือผูกขอบชองภาชนะโดยทั่วไป จะมีร ะเบีย บที่เป็นลักษณะเฉพาะของภาชนะแตํละแบบ เชํนเดียวกับลักษณะของลายถัก เชํน ลายถักหั ว แมลงวัน หรือลายถักสันปลาชํอน เป็นต๎น แม๎วําการถักจะเป็นขั้นตอนเสริมเพื่อให๎เครื่องจักสานมีความสมบูรณ๑ และสวยงามมากยิ่งขึ้น แตํการถักก็เป็นกระบวนการที่มีความจําเป็นอยํางขาดไมํได๎ของเครื่องจักสานหลายๆ ชนิด ไมํวําจะเป็นภาชนะหรือเครื่องใช๎ไม๎สอยตํางๆ ถ๎าลองสังเกตดูแล๎วจะเห็นวํามีระบวนการถักเข๎าไปเป็น องค๑ประกอบรํวมอยูํด๎วยเสมอ 21 ๖.๑ วัตถุดิบที่ใช้ในการทาเครื่องจักสาน ๑.ไม้ไผ่ ไม๎ไผํเป็นไม๎สารพัดประโยชน๑ที่สามารถนํามาทําเครื่องจักสานได๎ มากมายหลายรูปแบบ ในแถบภาคเหนือของประเทศไทยมีไม๎ไผํอยูํหลายชนิดที่สามารถนํามาทําเป็นเครื่องจัก สานได๎ โดยไม๎ไผํแตํละชนิดก็จะมี คุณสมบัติที่แตกตํางกันออกไป และเหมาะกับการใช๎ทําเป็นเครื่องจักสานแตํ ละประเภท ดังนี้ ๒.ไม้ไผ่บง เป็นไม๎ไผํที่มีลําต๎นขนาดใหญํและไมํคํอยมีหนาม ขึ้นโดยทั่วไปใน เขตภาคเหนือ มักจะใช๎ทําเป็นเครื่องจักสานประเภท เปี้ยด บุง ก๐วย ซ๎า ซ๎าหวด ข๎อง ไซ และสุํม 21

เรื่องเดิม, หน๎า ๑๑.

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๖


๓.ไม้ไผ่หก เป็นไผํที่มีลําต๎นใหญํ คือ ใหญํถึง ๖ นิ้วตามชื่อ ขึ้นอยูํตามภูเขา ใช๎สานเขํง กระบุง และซ๎าได๎ดี ๔.ไม้ไผ่เฮี๊ยะ เป็นไม๎ไผํที่มีปล๎องยาว ลําต๎นบาง เนื้ออํอน จึงสามารถลอก เป็นเส๎นตอกได๎ดี มีความยืดหยุํน จึงสารถขึ้นรูปทรงของภาชนะได๎งําย นิยมนํามาสานเป็น แอ็บข๎าว ชะลอม กุบ เสื่อ ฝาเรือนและโครงของภาชนะเครื่องเขิน ๕.ไม้ไผ่ซาง เป็นไม๎ไผํขนาดกลาง ขึ้นอยูํโดยทั่วไป นิยมนํามาสานเป็นกํอง ข๎าว ตะกร๎า บุง ซ๎า เขํง แอํวหรือคุตีข๎าว ฝาเรือน และรั้วบ๎าน ๖.ไม้ไผ่รวก เป็นไผํที่มีลําต๎นเล็กตั้งตรง ขึ้นอยูํตามไหลํเขาทั่วไป ใช๎ทําเครื่อง จักสานสําหรับจับสัตว๑น้ําได๎ดี เนื่องจากมีเนื้อที่แข็งและเหนียว นอกจากนี้ยังใช๎สานเป็นเขํง และซ๎าขนาดตํางๆ ด๎วย ๗.ไม้ไ ผ่สีสุก เป็นไผํ ที่มีลําต๎นสู งใหญํ ผิว แข็งเรียบเป็นมัน ลําต๎นมีสีออก เหลืองจึงเรียกวํา “ไผํสีสุก” นิยมนํามาทําเป็นเครื่องจักสานเกือบทุกประเภท เชํน เขํง ก๐วย กระด๎ง ตุ๎มดักปลา และฝาเรือน นอกจากนี้ยังใช๎ทําเป็นเสาของเรือนเครื่องผูกได๎อีกด๎วย ๘.ไม้ป้าง หรื อ ไม้ไผ่ข้าวหลาม เป็นไผํที่มีเนื้ออํอนคล๎าบกับไผํ เฮี๊ยะ ลํ า ปล๎องยาว ชอบขึ้นตามริมห๎วย นิยมนํามาทําเป็นชะลอม เสื่อ กระเป๋า และหมวก ๙.หวาย เป็นไม๎ประเภทปาล๑มเลื้อย ใช๎มัดยึดตํอสํวนตํางๆ ของภาชนะ เชํน มัดยึดขาหรือหูเข๎ากับตัวภาชนะ หรือใช๎ถักขอบปากภาชนะ เพื่อให๎มีความทนทานและสวยงาม ๑๐.กก เป็ น ไม๎ ล๎ ม ลุ ก คล๎ า ยหญ๎ า โดยพื ช ในตระกู ล เดี ย วกั บ กกที่ ช าว ภาคเหนือนํามาผลิตเป็นเครื่องจักสานคือ “ต๎นตองขาว” หรือที่ทางแมํฮํองสอนเรียกวํา “ต๎นจิ๋ง” ที่มีเนื้อบาง อํอนตัวดี ชาวเชียงใหมํ เชียงราย และแมํฮํองสอนนิยมนํามาสานเป็นเสื่อที่เรียกวํา “สาดอํอน” หรือ “สาดตอง ขาว” ๑๑.ต้นแหย่ง เป็นกล๎าชนิดหนึ่งลําต๎นตรง มีแขนงเล็กๆแยกออกจากข๎อ เป็นชํวงๆ ขึ้นได๎ดีในที่ลุํมมีน้ําขัง โดยจะนําสํวนเปลือกมาสานเสื่อ เรียกวํา “สาดแหยํง” ๑๒.ต้นตาล เป็นพันธุ๑ไม๎พวกปาล๑มขนาดใหญํ ลําต๎นเป็นเสี้ยนสีดําแข็งมาก ใบมีขนาดใหญํเป็นรูปพัด นิยมนําใบมาสานแอ็บข๎าว และใช๎เย็บปิดโครงกุบ ๑๓.ต้นลาน ต๎นลานจัดเป็นไม๎ยืนต๎นขนาดกลาง ลําต๎นตรงและแข็ง เนื้อไม๎ เป็นเส๎นใย ไมํมีกิ่ง มีแตํก๎านออกรอบลําต๎นเป็นชั้น ๆ มีหนามเป็นฟ๓นเลื่อยสั้น ๆ อยูํสองข๎างริมขอบก๎านใบ ใบ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๗


ยาวประมาณ ๒-๓ เมตร ใบใหญํ มีลักษณะเป็นรูปพัดคํอนข๎างกลมคล๎ายใบตาล นิยมนํามากรุระหวํางโครงกุบ และเย็บปิดโครงกุบเชํนเดียวกับใบตาล ๖.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการทาเครื่องจักสาน ๑.มีด เป็นเครื่องมือสําหรับแปรรูปวัสดุธรรมชาติมาเป็นวัสดุสําหรับทํา เครื่องจักสาน มีดที่ใช๎ทั่วไปมักเป็นมีดเหล็กกล๎าที่มีเนื้อแกรํงและมีความคมมาก โดยมีดที่ใช๎ในการทําเครื่ องจัก สานมีอยูํ ๒ ชนิด คือ ๑.๑ มีดสาหรับใช้ฟันหรื อตัดผ่าไม้ มักเป็นมีดที่มีขนาดคํอนข๎าง ใหญํ มีสันหนาประมาณ ๐.๕ – ๑ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๔๐ เซนติเมตร ใบมีดมีความคมมากแตํตจะไมํบาง นัก เพื่อความคงทนในการตัดทํอนไม๎ไผํ หวาย และอื่นๆ มีดที่ใช๎ตัดนี้โดยทั่วไปจะเป็น มีดหัวตัด หรือมีดโต๎ ซึ่ง มีดชนิดนี้จะใช๎ในการทําเครื่องจักสานขั้นตอนแรก คือ ตัดไม๎ไผํ หรือหวายมาจากปุา แล๎วตัดเป็นทํอนหรือผํา เป็นชิ้นสําหรับเตรียมจักเป็นตอกตํอไป ๑.๒ มีดตอก มีดชนิดนี้มีประโยชน๑ใช๎สอยตามชื่อเรียก คือ เป็นมีด สําหรับใช๎จักตอก ใบมีดมีลักษณะเรียวแหลม ปลายและด๎ามงอน สํวนมากตัวมีดจะสั้นกวําด๎าม เพราะสํวนด๎าม จะใช๎สอดกระชับกับแขนและลําตัวขณะจักตอก มีดชนิดนี้จะมีสันที่คํอนข๎างบาง เพื่อให๎มีน้ําหนักเบาและใช๎ งานได๎สะดวก สํวนปลายมีดที่งอนแหลมก็เพื่อความสะดวกในการจัก เหลา หรือเจาะคว๎าน มีดตอกนี้โดยทั่วไป แล๎วจะมีรูปแบบที่คล๎ายคลึงกัน จะตํางกันบ๎างตรงที่รูปทรงปลีกยํอยเทํานั้น มีดชนิดนี้ถือได๎วําเป็นเครื่องมือ ประจําตัวที่สําคัญของชํางจักสานเลยทีเดียว ๒. เหล็กหมาด หรือเหล็กจี เป็นเหล็กที่มีปลายแหลม ใช๎สําหรับเจาะ งัด หรือแงะ ซึ่งมีอยูํด๎วยกัน ๒ ชนิด คือ ๒.๑ เหล็กหมาดปลายแหลม สํวนมากจะทํามาจากเหล็กของก๎าน รํม หรือซี่รถจักรยาน มีลักษณะเป็นเหล็กปลายแหลมคล๎ายเข็ม ความยาวประมาณ ๓ นิ้ว มีด๎ามจับทรงกลมทํา ด๎วยไม๎ ใช๎สําหรับแยง ไช และแงะตามรูตอก ใช๎ร๎อยหวาย ใช๎ในการถักขอบภาชนะ รวมถึงใช๎ผูกโครงสร๎างของ เครื่องจักสานด๎วย ๒.๒ เหล็กมาดปลายแบน หรือปลายหอก เป็นเหล็กแหลมปลาย แบนคล๎ายกับปลายลูกศรหรือปลายหอก ความยาวประมาณ ๔ – ๖ นิ้ว มีด๎ามจับรูปทรงกลม เหล็กหมาดชนิด นี้จะใช๎สําหรับเจาะขอบของไม๎ไผํ หวาย หรือวัสดุอื่นๆ ที่ใช๎เป็นสํวนประกอบของเครื่องจักสาน ซึ่งวิธีการเจาะ ด๎วยเหล็กหมาดชนิดนี้ จะใช๎มือป๓่นที่ด๎ามให๎ปลายเหล็กหมุนเจาะลงไปในวัตถุ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๘


๓. คีมไม้ เป็นเครื่องมือที่ใช๎ในการทําเครื่องจักสานอีกชนิดหนึ่ง มีลักษณะ คล๎ายคีมทั่วไป คือ มีสํวนปากสําหรับหนีบ มีด๎ามจับ คีมนี้มักทําด๎วยไม๎เนื้อแข็งและเหนียว เชํน ไม๎ชิงชัน ไม๎ มะคํา ไม๎พะยูง และแกํนไม๎ขาม เป็นต๎น คีมชนิดนี้จะใช๎หนีบขอบปากของเครื่องจักสานเวลาผูกขอบหรือเข๎า ขอบ เชํน การเข๎าขอบกระบุง ขอบเขํง และขอบคุ เป็นต๎น 22 จะเห็นวําเครื่องมือทั้ง ๓ ชนิดนี้ เป็นเครื่องมือที่มีความจําเป็นอยํางยิ่งสําหรับการ ทําเครื่องจักสาน โดยเฉพาะเครื่องจักสานไม๎ไผํ และหวายที่ จะขาดไมํได๎ แตํอยํางไรก็ตามยังมีเครื่องมือที่ใช๎ใน การทําเครื่องจักสานชนิดอื่นอีก เชํน การจักหวายจะต๎องมีแผํนสังกะสี หรืออาจเป็นฝากระป๋องสังกะสีที่เจาะ เป็นรูเล็กๆ สําหรับสอดหวายที่ต๎องการจักให๎เป็นเส๎นผํานเข๎าไป ให๎ความคมของสังกะสีชํวยขูดขี้หวายออกไป ซึ่งจะเรียกวิธีการนี้วํา “ชักเลียด” และเรียกเครื่องมือที่เป็นแผํนสังกะสีวํา “เลียด” และในการทําเครื่องจักสาน ประเภทยํานลิเภาก็จะใช๎เครื่องมือชนิดนี้เชํนเดียวกัน แตํจะเรียกวํา “ชักแปูน” เป็นต๎น ซึ่งนอกเหนือไปจาก เครื่องมือดังกลําวมานี้แล๎ว อาจจะมีเครื่องมือที่ชํวยให๎ก ารทําเครื่องจักสานสะดวกรวดเร็วขึ้น ทั้งนี้ขึ้นอยูํกับ วัสดุแตํละชนิด แตํเทําที่ปรากฏทั่วไปการทําเครื่องจักสานจะไมํนิยมใช๎เครื่องมืออื่นๆ เข๎ามาชํวยมากนัก เพราะ หลักใหญํของการทําเครื่องจักสานนั้นขึ้นอยูํกับฝีมือ และทักษะของชํางเป็นสําคัญ ๖.๓ ลวดลายสาน ลวดลายในการสานเครื่องจักสานนั้นเป็นระเบียบอยํางหนึ่งของการขึ้นโครงสร๎าง ให๎เกิดความตํอเนื่องซ้ําๆกันไป โดยใช๎ลักษณะของการขัดกันเพื่อให๎มีแรงยึดระหวํางกันจนเกิดเป็นแผํน เป็น แผง หรือเป็นผนังของเครื่องจักสานตามต๎องการ ซึ่งลักษณะของการสร๎างลวดลายสามารถจําแนกได๎ ดังนี้ ๑ ลายขัด เป็นวิธีการสานแบบพื้นฐานที่เกําแกํที่สุด ลักษณะของการขัด เป็นการสร๎างแรงยึดระหวํางเส๎นตอกด๎วยการขัดกันเป็นรูปมุมฉาก ระหวํางแนวตั้งกับแนวนอน ใช๎ตอกยืนหรือ ตอกแนวตั้งสอดขัดกับตอกแนวนอน โดยยกขึ้นเส๎นหนึ่งและขํมหรือขัดลงเส๎นหนึ่งสลับกันไปอยํางที่เรียกวํา “ลายหนึ่ง” สํวนทางภาคเหนือจะเรียก “ลายตาน” เป็นลายที่ใช๎ประโยชน๑ได๎มาก เพราะสามารถสานให๎มี ความถี่ความหํางได๎ตามต๎องการ หรือมีความเหมาะสมกับสิ่งที่จะสาน และจากลายหนึ่งก็ได๎มีการพัฒนาให๎เกิด เป็นลายสอง ลายสาม และลายอื่นๆ ที่ยังคงรักษาลักษณะของการสอดและการขัดกันเชํนเดิม แตํใช๎เส๎นตอกใน แนวตั้งและแนวนอนมากกวําหนึ่งเส๎น สอดขัดกันให๎สลับไปสลับมา ซึ่งลายขัดนี้ใช๎สานเครื่องจักสานได๎หลาย ชนิด โดยมักจะใช๎รํวมกับลายสานแบบอื่นเพื่อให๎เกิดความแข็งแรงและได๎รูปทรงตามที่ต๎องการ ๒. ลายทแยง มีลักษณะของการสานคล๎ายกับการถัก สํ วนมากจะใช๎ตอก ปื้นหรือตอกเส๎นแบนบาง โครงสร๎างของลายทแยงนี้จะเบียดตัวกันสนิทจนเกือบไมํมีชํองวําง ลักษณะของตอก 22

เรื่องเดิม, หน๎า ๑๒ – ๑๔. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๘๙


และวัสดุที่สานจะขัดกันในแนวทแยง ไมํมีเส๎นตั้งหรือเส๎นนอนเหมือนกับลายขัด จึงสามารถสานเชื่อมตํอกันไป ตามความโค๎งของภาชนะ หรือสานเป็นแผํนแล๎วนําไปประกอบเข๎ ากับโครงสร๎างอื่นตามรูปทรงที่ต๎องการได๎ ตัวอยํางของลายประเภทนี้ เชํน ลายตาเขํง ลายชะลอม ลายเกล็ดเตํา และลายเฉลว เป็นต๎น ซึ่งลายทแยงที่ เกิดขึ้นจากหลักหรือระเบียบการสานโดยการขัดกันของตอก หรือวัสดุในลักษณะมุมทแยงนี้ สืบเนื่องมาจาก ความต๎องการสร๎างลวดลายให๎เกิดประโยชน๑ที่สอดคล๎องกับรูปทรง โครงสร๎าง และหน๎าที่ใช๎สอยของภาชนะแตํ ละชนิดนั่นเอง ๓. ลายขดหรือถัก เป็นการสร๎างรูปทรงของภาชนะด๎วยการขดตัวของวัสดุ ขึ้นเป็นชั้นๆ แล๎วใช๎ตัวกลางเชื่อมถักเข๎าไว๎ด๎วยกันด๎วยวิธีการการเย็บ ถัก หรือมัดระหวํางเส๎นวัสดุ ซึ่งอาจเป็น วัสดุที่ได๎รับการถักเป็นเส๎น เป็นริ้ว หรือเป็นเส๎นวัสดุธรรมดาๆ ที่ยังไมํได๎ถักก็ได๎ ลักษณะของการทําเครื่องจัก สานด๎วยการขดนี้ อาจเป็นวิธีการทําเครื่องจักสานที่เกําแกํอีกวิธีหนึ่ง และได๎มีการพัฒนาเรื่อยมาตามความ ต๎องการใช๎สอย ซึ่งอาจจะมีรูปทรงหรือลวดลายที่แตกตํางกันออกไปในแตํละพื้นที่ แตํโดยทั่วไปแล๎วการเริ่มต๎น จะเริ่มจากการขดวัสดุเป็นวงออกมาจากด๎านใน ในลักษณะรูปก๎นหอยเสมอ โดยการสานแบบขดในการทํา เครื่องจักสานมักจะใช๎วัสดุจําพวกหวาย ปอ หรือวัสดุอื่นๆที่ไมํสามารถคงรูปอยูํได๎ด๎วยตนเอง การสานแบบขด จะชํวยรับน้ําหนักและแรงกดดันได๎ดี เพราะโครงสร๎างทุกสํวนจะรับน้ําหนักเฉลี่ยได๎ทั่วถึงกัน ๔. ลายอิสระ เป็นลายที่สารขึ้นอยํางอิสระตามความต๎องการของผู๎สาน ที่ ไมํสารถจัดเข๎าไปอยูํในระเบียบลายหรือหลักการสานตํางๆ ดังกลําวมาแล๎วได๎ ลายประเภทนี้สามารถสร๎าง รูปทรง หรือโครงสร๎างของสิ่งที่สานขึ้นด๎วยกฎเกณฑ๑ของตนเอง เป็นระเบียบแบบแผนเฉพาะตัว ซึ่งจัดวําเป็น ลายที่เกิดขึ้นจากการสร๎างสรรค๑แบบอิสระ ตามความต๎องการใช๎สอย โดยใช๎วัสดุประเภทตํางๆ เชํน ไม๎ไผํ ใบตาล ใบลาน ใบมะพร๎าว หรือใบและเถาของต๎นไม๎ชนิดอื่นตามแตํจะหาได๎ 23 ๖.๔ แหล่งผลิตจักสานในเชียงใหม่ กลุํมงานเครื่องจักสานที่พบในจังหวัดเชียงใหมํจากการสํารวจ ๘ อําเภอ พบแหลํง ผลิตเครื่องจักสาน ๓ แหลํงได๎แกํ ๖.๔.๑ งานเจักสาน อําเภอหางดง ๖.๔.๒ งานจักสาน อําเภอสันปุาตอง ๖.๔.๓ งานจักสาน อําเภอสารภี

23

สาวิกา กังวานพงศ๑, การศึกษาเครื่องจักสานในเขต อ.หางดง จ.เชียงใหม่ : รายงานกระบวนวิชาการวิจัยทางศิลปะ (เชียงใหมํ : สาขาวิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ๒๕๔๕), หน๎า ๑๙ -๒๓. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๐


โดยมีรายละเอียดดังตํอไปนี้ ๖.๔.๑ งานจักสาน อาเภอหางดง การสร๎างสรรค๑ผลงานหัตถกรรมเครื่องจักสานของชํางในเขตอําเภอหางดง มี พื้นฐานมาจากสังคมเกษตรกรรม ชํางจักสานประกอบอาชีพด๎านการเกษตรสืบตํอกันมาตั้งแตํบรรพบุรุษ เมื่อ วํางเว๎นจากการทําไรํทํานา ก็ได๎เลือกใช๎ทรัพยากรในท๎องถิ่นอยํางต๎นไผํ หรือวัสดุอื่นๆ มาทําเครื่องจักสาน เพื่อ ใช๎เวลาวํางให๎เกิดประโยชน๑ และตอบสนองความต๎องการด๎านประโยชน๑ใช๎สอยในครัวเรือน แตํในป๓จจุบันเป็น การผลิตขึ้นเพื่อการค๎าเป็นหลัก โดยผลิตภัณฑ๑เครื่องจักสานที่ทําขึ้นในเขตอําเภอหางดง ซึ่งมีลักษณะที่โดดเดํน เชํน ๑. ฝาลายอา ฝาลายอําใช๎สําหรับเป็นฝาบ๎าน โดยมีแหลํงผลิตอยู ที่ บ๎านร๎อยจันทร๑ ตําบลหนองควาย อําเภอหางดง ซึ่งเป็นหมูํบ๎านที่มีชื่อเสียงในการทอฝาลายอํามาเป็นเวลาช๎า นาน ซึ่งบุคคลแรกที่ริเริ่มการสานฝาลายอํา คือ พํออุ๎ยปา สิงห๑ทอน ตํอมาไดรับสืบทอดการสานโดยพํอตา มาลา และในป๓จจุบันบุคลที่สืบตํอการสานฝาลายอํา คือ ลุงบุญศรี เรือนเหล็ก อายุ ๖๐ ปี โดยมีวัตถุดิบที่ใช๎ใน การสานคือไม๎ไผํเฮี๊ยะ จากจังหวัดแพรํและพะเยา ซึ่งจะใช๎ไม๎เฮี๊ยะแกํเพราะมีความทนทาน จากนั้นนําไผํเฮี๊ยะ มาลอกเอาตาไม๎ออกให๎หมด ผําครึ่งและนํามาวางบนเขียง เอาขวานสับให๎แตกแล๎วจักแยกสํวนผิวและสํวนเนื้อ หรือที่เรียกวํา “เติ๊ง” ออกจากกัน ตัดสํวนหัวและสํวนท๎ายให๎ได๎ขนาดตามต๎องการ จากนั้นนําไปตากแดดแล๎ว นํามาสาน โดยจะเอาไม๎ไผํที่เตรียมสานมาวางกับพื้น รองด๎วยไม๎กํายสําหรับรองสาน และระหวํางการสานในแตํ ละลายจะใช๎มีดในการตีให๎เส๎นตอกแตํละเส๎นเรียงชิดกันสวยงาม ซึ่งลายที่ใช๎ในการสานมีดังนี้ สานแบบลายสอง คือ ยก ๒ เส๎น ข๎าม ๒ เส๎น สานแบบลายสาม คือ ยก ๓ เส๎น ข๎าม ๓ เส๎น สานแบบลายอา คือ ยก ๔ เส๎น ข๎าม ๓ เส๎น และยก ๓ เส๎น ข๎าม ๒ เส๎น จากนั้นสานให๎ได๎ขนาดตามต๎องการ แล๎วจึงม๎วนเก็บ โดยในป๓จจุบัน ความนิยมในการใช๎ฝาลายอํา ซึ่งเป็นลวดลายที่เป็นเอกลักษณ๑ไมํได๎รับความนิยมเทําที่ควร เนื่องจากความเชื่อ ในเรื่องของความหมายของคําวํา “อํา” ที่มีความหมายวํา กั้น จึงเชื่อวําจะทําให๎กีดกั้นการทํามาหากิน หรือสิ่ง ที่เป็นมงคล จึงไมํนิยมใช๎ฝาลายอํา แตํฝาลายสองและลายสามนั้นได๎รับความนิยม เป็นที่ต๎องการของตลาด รวมทั้งมีวิธีการสานงํายกวําลายอําด๎วย 24

24

อมรรัตน๑ เหลี่ยมแสง, “งานเครื่องจกสานหางดง”, หางดง ถิ่นหัตถกรรม (เชียงใหมํ : มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔), หน๎า ๙ - ๑๐. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๑


๒.เข่งลาไย เขํงลําไย เป็นเครื่องจักสานที่ใช๎ในการเก็บผลผลิตทาง การเกษตร ซึ่งในอดีตการสานเขํงลําไยเป็นที่นิยมมาก มีการสานเขํงลําไยใช๎กันแทบทุกหลังคาเรือน แตํป๓จจุบัน เนื่องจากการประกอบอาชีพมีทางเลือกมากขึ้น ประกอบกับมีวัสดุชนิดใหมํเกิดขึ้ น จึงทําให๎ความนิยมในการใช๎ และการผลิตเขํงลําไยลดน๎อยลงไปมาก ซึ่งที่บ๎านท๎าวบุญเรือง (ศรีจุม) ตําบลบ๎านแหวน อําเภอหางดง เหลือ บ๎านของลุงแก๎ว หนํอเมฆ ที่ยังคงมีการผลิตเขํงลําไยเพียงแหํงเดียว และเป็นแหํงสุดท๎ายในท๎องถิ่น ซึ่งวัตถุดิบที่ ใช๎ในการทําคือไม๎ไผํซางจากจัง หวัดลําปาง โดยจะเลื่อยไม๎ซางให๎มีขนาดความยาวประมาณ ๑.๕ เมตร แล๎ว นํามาจักเป็นตอกซ๎าง (ตอกเส๎นตั้ง) ตอกเกี้ยว (ตอกเส๎นนอน) และตอกผิวไผํเพื่อใช๎ทําเป็นขอบปาก จากนั้นนํา ตอกแห๎งไปแชํน้ํา ๒ วัน ๒ คืน แตํถ๎าเป็นตอกอํอนไมํตองแชํน้ํา แล๎วจึงนําตอกที่ได๎ไปสาน เริ่มจากการสานก๎น ด๎วยตอกซ๎าง (ตอกเส๎นตั้ง) ขัดกันไปมาแบบลายหนึ่ง (ยก ๑ เส๎น ลง ๑ เส๎น) จากนั้นนํามาวางทาบบนแบบ พิมพ๑ และสานกํอตัวเขํงขึ้นไป ๑๑ ชั้น โดยใช๎ตอกเกี้ยว (ตอกเส๎นนอน) ขัดกันขึ้นลงกับตอกซ๎างเป็นลายแบบ ธรรมดาจนเสร็จ เก็บปลายตอกให๎เรียบร๎อยแล๎วใช๎ตอกกลมเส๎นเล็กมัดยึ ดที่ปากเขํง ๓ จุด เพื่อเพิ่มความ แข็งแรงในการใช๎งาน 25 งานจักสานที่พบในอําเภอหางดง ก็จะมีความแตกตํางกันของแตํละตําบล เชํน บ๎านร๎อยจันทร๑ หมูํ 6 ตําบลหนองควายจะเป็นการนําไม๎ไผํมาสานเป็นรูปแบบของฝาลายอํา จากการลง พื้นที่พบวําภายในบ๎านร๎อยจันทร๑ยังคงเหลือ อยูํ 3 แหํง ได๎แกํ บ๎านคุณบุญศรี เรือนเหล็ก, บ๎านอุ๐ยน๎อย กันต๏ะ และบ๎านแมํวรรณดา นันทวงค๑ที่มีการสานฝาลายอํา เพราะการสานจะต๎องใช๎ไม๎ที่มีขนาดคํอนข๎างใหญํ จาก การสัมภาษณ๑ คุณบุญศรี เรือนเหล็ก ได๎กลําวถึงป๓ญหาที่เกิดขึ้นวํา “.ตอนนี้ชํางหรือผู๎ที่ชํานาญในการจักสาน ฝาลายอํา ไมํมีแล๎ว ที่นี่เป็นเหมือนโรงเรียนมีการนํานักเรียนมาดูวิธีการและขั้นตอนในการทํา แตํก็หาผู๎ที่สนใจ จริงๆ คํอนข๎างน๎อย เพราะการสานฝาลายอํานั้นต๎องใช๎แรงงานและด๎วยความคิดของเด็กสมัยนี้มักจะคิดวําเป็น งานของคนแกํ.” (สัมภาษณ๑เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2557 ณ บ๎านคุณบุญศรี เรือนเหล็ก) การสานฝาลายอํานั้น นําวัสดุไม๎ไผํจาก อําเภอเชียงดาว ซึ่งจะมีความแตกตํางกับ ตําบลหนองแก๐ว (สันทรายพัฒนา) ที่มีกลุํมวิสาหกิจ ชุมชน เกิดจากการรวมตัวของคนในชุมชนสํวนมากที่พบจะเป็นคนสูงอายุผู๎หญิง กลุํมวิสาหกิจชุมชนตําบล หนองแก๐วนั้นเป็นการสานเสื่ออํอน จากการสอบถามจาก ประธานกลุํมวิสาหกิจชุมชน (คุณพรรณี อินทรัตน๑) ได๎ให๎ข๎อมูลวําเหตุใดทําไมถึงทําเสื่ออํอน วํา “แตํเดิมที่นี่เคยมีต๎นเสื่อ (ต๎นแหยง) คํอนข๎างมากยาวไปถึง บ๎าน ขุน คงหลวง เวลาเลิกจากฤดูทํานา ก็จ ะนําเนื้อไม๎มาจักให๎เป็นตอก และก็ชํว ยกัน จักสานให๎เป็น เสื่ ออํอน เมื่อกํอน จะมีความสุข สนุกกับการทํา เด็ก เล็กๆ ผู๎ใหญํ คนแกํ ก็จะรวมกันทําได๎พูดคุยแลกเปลี่ยนกัน เด็กๆ ก็ จะสนใจ แตํเดียวนี้เวลาเปลี่ยนไปแล๎วเด็กๆ ก็ไปเรียนหนังสือทํางานตํางจังหวัดได๎เงินเดือน พํอแมํผู๎ปกครองก็ สนับสนุนให๎เด็กเรียนสูงๆ ไมํต๎องมาทําแบบนี้หรอก มันได๎เงินน๎อย หมดรุ่นพวกป้าและยายตอนนี้ไป ก็คงไม่มี แล้วละที่นี่ แล๎วป๓จจุบันนี้ก็ยังประกอบกับเรื่องต๎นเสื่อ ที่แตํเดิมมีมาก ก็ล๎มหายตายจากไป เพราะมีหมูํบ๎าน 25

อมรรัตน๑ เหลี่ยมแสง, เรื่องเดียกัน, หน๎า๑๗ – ๑๘.

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๒


อาคารบ๎านเรือน เพิ่มขึ้น คนขายที่ไป เยอะ เอาไปทํานา บ๎าง ต๎นเสื่อก็หายไป ทําให๎เดี๋ยวนี้ต๎องสั่ งไม๎พวกนี้จาก เชียงราย และลาว” (สัมภาษณ๑เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2557) ณ ศูนย๑วิสาหกิจชุมชนบ๎านสันทรายพัฒนา) และ การสานกระบุงที่พบใน บ๎านแหวน ตําบลหารแก๎ว อําเภอหางดง จากการสัมภาษณ๑ คุณวัง และ คุณสม พงษ๑ แต๎ ที่ยังมีการสานกระบุงแตํป๓จจุบันจะเป็นการขึ้นรูปเนื่องจากการทํามีหลากหลายขั้นตอน การทําฐาน ได๎สํง ให๎ ตําบลหนองแก๐ว อําเภอหางดง เป็นผู๎รับทําฐาน และ ฝา จากนั้นสํงมาให๎ยังบ๎านแหวน เพื่อทําการขึ้นรูป ก็ เสร็จสิ้นในการสานกระบุง เหตุที่ต๎องทําแบบนี้เพราะวําขาดแคลนแรงงานใน การจักสาน โดยได๎รับการสั่งซื้อ จากบ๎านถวาย เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการจักสานกระบุงก็จะสํงตํอไปยังตําบลตํางๆ เพื่อเป็นการสร๎างมูลคําเพิ่ม ของผลิตภัณฑ๑กํอนสํงขายไปยังศูนย๑หัตถกรรมบ๎านถวาย จากการสัมภาษณ๑ร๎านค๎าข๎างทางอําเภอหางดง และภายในศูนย๑หัตถกรรม บ๎านถวายเจ๎าของร๎านจะให๎คําสัมภาษณ๑วํางานหัตถกรรมประเภทจักสานจะรับมาจาก อําเภอแมํวาง และ อําเภอสันปุาตอง และ อําเภอสารภี เพราะยังมีฝีมือชํางอยูํที่อําเภอนั้นที่อําเภอหางดงจะทําหน๎าที่เป็นที่จัด จําหนํายงานหัตถกรรมให๎

ภาพที่ ๔.๑๗ ฝาลายอํา อําเภอหางดง ๖.๔.๒ งานจักสาน อาเภอสันป่าตอง อําเภอสันปุาตอง เป็นดินแดนที่ศิลปวัฒนธรรมเฉพาะถิ่นที่นําสนใจเป็นอยําง ยิ่ง ซึ่งงานเครื่องจักสานของอําเภอสันปุาตองก็เป็นหนึ่งในงานหัตถกรรมที่มีคุณคํา เพราะการสานเครื่องมือ เครื่องใช๎ในครัวเรือนเหลํานี้ เป็นการสืบทอดกรรมวิธีมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งในสมัยกํอนการจักสานเป็นการสาน สิ่งของเครื่องใช๎เพื่อใช๎ในชีวิตประจําวัน และสํงไปขายที่ตลาด เป็นวิถีชีวิตแบบเรียบงําย โดยชาวบ๎านสํวนใหญํ จะประกอบอาชีพหลักเป็นเกษตรกร ทํานา ปลูกลําไยและพืชสวนตํางๆ เมื่อวํางจากการทํางานหลัก ก็จะใช๎ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๓


เวลาวํางมาทําเครื่องจักสานสําหรับใช๎สอยในชีวิตประจําวัน และยังผลิตเพื่อขายเป็นการหารายได๎เสริมด๎วย โดยเครื่องจักสานที่พบเป็นจํานวนมาก และเป็นเอกลักษณ๑ของอําเภอสันปุาตอง คือ “ก๐วยกล๎า” ก๋วยกล้า เป็นภาชนะสําหรับใสํพืชผลทางการเกษตร วัตถุดิบที่ใช๎ในการจัก สาน คือ ไม๎ไผํสีสุกและไม๎ซางดอย ซึ่งสามารถหาได๎ในท๎องถิ่น อาทิ บ๎านดอนแก๎ว ตําบลทุํงสะโตก และบ๎านทํา เดื่อ ตําบลบ๎านแม เป็นต๎น สํวนเครื่องมือที่ใช๎ในการทําเครื่องจักสาน คือ เลื่อยตัด มีดโต๎ และมีดเหลา โดย ใช๎ก๐วยกล๎าของเกําที่สานเสร็จแล๎วเป็นแมํพิมพ๑ เพื่อนํามาเป็นแบบขึ้นสาน ขั้นตอนในการสารก๐วยกล๎านั้นเริ่ม จากการสานก๎นเป็นสี่เหลี่ยม ใช๎ตอกมัดยึดติดกับแมํพิมพ๑ จากนั้นสานขึ้นตัวก๐วยด๎วย “ลายขัดตาทึบ” และสาน ตํอด๎วย “ลายขัดตาหําง” จากนั้นสานปากก๐วยด๎วยลายขัดตาทึบอีกครั้งเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให๎กับตัวก๐วย เก็บขอบปากก๐วยด๎วยการพันเกลียวที่ชาวบ๎านเรียกวํา “ลายเสือซํอนเล็บ” จะได๎ก๐วยกล๎าที่เสร็จสมบูรณ๑ 26 ด๎วยลักษะวิถีชีวิตของชาวสัน ปุาตองที่ประกอบอาชีพทําไรํ ทํานา จําเป็นที่ จะต๎องมีภาชนะสําหรับใสํพืชผลทางการเกษตรตํางๆ ก๐วยกล๎าจึงเป็นภาชนะที่มีความเหมาะสมในการขนย๎าย ผลผลิตแบบชั่วคราว เพราะมีความแข็งแรง และทนทาน ซึ่ง อําเภอสันปุาตอง บ๎านสั๋นด๎วงคํา ตําบลทําวังพร๎าว และ ตําบลยี่หวํา สํวนใหญํจะพบงานหัตถกรรมประเภทเครื่องจักสานประเภทสานก๐วย (ใสํผัก) ซึ่งในป๓จจุบัน เหลือไมํกี่หลังคาจากเมื่อกํอนจะทําแทบทุกหลังคาเรือนเนื่องจากขาดคนสืบทอดลูกหลานก็ออกไปรับจ๎างนอก บ๎านมากกวําที่จะนั่งทํางานจักสานอยูํบ๎านเพราะรายได๎น๎อย

ภาพที่ ๔.๑๘ จักสานอําเภอสันปุาตอง

๖.๔.๓ งานจักสาน อาเภอสารภี 26

อมรรัตน๑ เหลี่ยมแสง, “เครื่องจักสาน อําเภอสันปุาตอง จังหวัดเชียงใหมํ ”, แอ่วสันป่าตอง มองวัฒนธรรม เลิศล้างานศิลป์ (เชียงใหมํ : สํานักสํงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ และบริษัท ปตท. จํากัด มหาชน, ๒๕๕๒), หน๎า ๖๖ – ๖๗. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๔


อําเภอสารภี บ๎านปุาบง ตําบลปุาบง งานหัตถกรรมที่พบในสํวนใหญํภายใน ตําบลปุาบงจะเป็นหัตถกรรมประเภทเครื่องใช๎ในชีวิตประจําวัน เชํน ตะกร๎า สวิ๋ง เปี๊ยด เป็นต๎น ซึ่งจากการ สอบถามพบวําสินค๎าเครื่องใช๎ในตําบลปุาบงได๎นําไปสํงยังศูนย๑หัตถกรรมบ๎า นถวาย อําเภอหางดง กํอนที่จะ นําไปสํงนั้นได๎มีการเพิ่มมูลคําของงานจักสานโดยนําสํงไปยังอําเภอตํางๆ เชํน ตําบลหนองควาย จะเป็นที่ลงสี แกํงานหัตถกรรม และสํงไปยัง ตําบลหารแก๎ว ที่ทําการตกแตํง กํอนที่จะสํงไปยังศูนย๑หัตถกรรมบ๎านถวายเพื่อ เป็นการเสริมสร๎างมูลคําเพิ่มให๎แกํผลิตภัณฑ๑

ภาพที่ ๔.๑๙ จักสาร อําเภอสารภี ๗. งานเครื่องกระดาษ กระดาษพื้น เมืองทางภาคเหนือที่ผ ลิ ตด๎ว ยมือวิธีการทํากระดาษสาถูกเผยแพรํเข๎ามา พร๎อมกับพุทธศาสนา จากประเทศจีน เพื่อใช๎ทําบันทึกคําสั่งสอนดังนั้นการใช๎กระดาษสาของชาวพื้นเมืองทาง ภาคเหนือ จึงเกี่ยวข๎องกับศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและพิธีกรรมทางพุทธศาสนาอยํางมากกลําวคือ การตกแตํง ถวายทานแทบทุกประเภท จะตกแตํงด๎วยกระดาษสาทาสีตําง ๆ ให๎สวยงาม เพื่อใช๎ในงานเทศกาลตํางๆ ของ วัด และพิธีกรรมตําง ๆ ๗.๑ วัตถุดิบที่ใช้ทากระดาษ ต้นปอสา เป็นต๎นไม๎ประเภทไมํมีแกํน ลําต๎นคํอนข๎างเปราะแตกกิ่งก๎านออกรอบต๎น เปลือกมีสีขาวปนเทาหรือสีเขียวอํอน ใบมี ๒ ชนิด คือ ใบหยักและใบไมํหยักใบมีขนเล็กน๎อยต๎นปอสาชอบขึ้น ในพื้นที่ที่มีอากาศชื้น เชํนตามหุบเขา ตามริมห๎วย หรือพื้นดินที่ชุํมชื้นโดยปกติจะพบในพื้นที่ภาคเหนือ เชํน จังหวัดเชียงใหมํ เชียงราย ลําปาง ใยจากเปลือกของต้นปอสามีคุณสมบัติพิเศษเหมาะสําหรับทําเป็นเชือกได๎ แตํสํวนมากมักถูกนํามาใช๎ทํากระดาษปอสาที่นํามาใช๎ทํากระดาษจะต๎องมีเส๎นผําศูนย๑กลางของลําต๎น ประมาณ ๗-๑๐ เซนติเมตรหรือมีอายุประมาณ ๓– ๔ ปี รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๕


มูลช้าง จะใช๎วัตถุดิบจากมูลช๎าง ได๎มาจากการถํายมูลชองช๎าง โดยกากของวัตถุดิบ ได๎จากการกินของช๎าง โดยสามารถแยกออกมาได๎ ๕ จําพวก คือ หญ๎า ไม๎ไผํ เถาวัลย๑ ไม๎ยืนต๎น และพืชไรํพืช สวน ซึ่งไมํสามารถควบคุมการกินอาหารของช๎างตามธรรมชาติได๎ ทําให๎กระบวนการต๎มเยื่อและตีเยื่อของกาก มูลช๎างจะต๎องใช๎เวลานานโดยกระบวนการต๎มเยื่อจะใช๎เวลาต๎มเยื่อมากกวํา ๔ ชั่วโมง และการตีเยื่อ ไมํต่ํากวํา ๔ ชั่วโมง ขึ้นอยูํกับอาหารของช๎างที่กินเข๎าไปและถํายออกมา วัตถุดิบในการทํากระดาษแบบพื้นบ๎านที่มีมากและสามารถหาได๎ในท๎องถิ่นก็ได๎แกํ ฟางข๎าว สับปะรด กล๎วย ชานอ๎อย ปาล๑ม วัตถุดิบ เหลํานี้เป็นวัตถุดิบที่เหลือจากการเกษตร สํวนวัตถุดิบที่ได๎ จากวัชพืชได๎แกํ ผักตบชวา ธูปฤษี หญ๎าตามข๎างทาง เป็นต๎น เนื่องจากวัตถุดิบในการทํากระดาษแบบพื้นบ๎าน หาได๎หลากหลาย แตํก็ยังมีผู๎สนใจศิลปะทางด๎านกระดาษได๎คิดค๎นหาวัตถุดิบเพิ่มอีกหลายอยําง เชํน เปลือกมัน แกว ใบเตย จากใบไม๎ ใบผัก สํวนเหลือจากหนํอไม๎ฝรั่ง จากเปลือกส๎มโอ จากเปลือกกล๎วยก็ยังมีการคิดค๎น ซึ่ง เยื่อที่ได๎จากกล๎วยสํวนใหญํจะมาจากกาบและใบกล๎วย อาจจะเรียกได๎เลยวําการทํากระดาษเปรียบได๎กับการ สร๎างสรรค๑งานศิลปะได๎เหมือนกัน จะเห็นได๎วําการนําวัตถุดิบตํางๆ เหลํ านี้มาผลิตกระดาษควรจะได๎เยื่อให๎ มากกวํา ๓๐-๔๐% จึงจะคุ๎มกับการผลิตเยื่อทํากระดาษ แตํถ๎าเป็นงานศิลปะก็ทําได๎ ทําเพื่อให๎เป็นวัตถุดิบตั้ง ต๎นในการสร๎างสรรค๑งานอื่นๆ อีกตํอไป ในจังหวัดเชียงใหมํมีการผลิตกระดาษจากต๎นสา โดยเป็นทั้งกระดาษเป็นแผํนเพื่อ ใช๎หํอของและพัฒนาตํอเป็นผลิตภัณฑ๑อื่นๆ เชํน รํมกระดาษสา หรือกลํองใสํเครื่องประดับ รวมไปถึงงาน ดอกไม๎ประดิษฐ๑จากกระดาษอีกด๎วย และตํอมางานกระดาษจึงมีการผลิตเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน และ ได๎รับความนิยมมากจึงขยายการผลิตสูํตลาดตํางประเทศ งานกระดาษเป็นสินค๎าที่สร๎างชื่อให๎อําเภอสั นกําแพง และอําเภอแมํริม ๗.๒ แหล่งผลิตงานกระดาษในจังหวัดเชียงใหม่ แหลํงผลิตงานกระดาษที่พบในจังหวัดเชียงใหมํ พบอยูํ จํานวน ๓ แหลํง ได๎แกํ ๗.๒.๑ อําเภอสันกําแพง ตําบลต๎นเปา อําเภอสันกําแพง ๗.๒.๒ อําเภอแมํริม กระดาษสาจากมูลช๎าง ตําบลแมํแรม ๗.๓.๓ อําเภอดอยสะเก็ด กระดาษสาที่หมูํบ๎านไตลื้อ โดยแตํละแหลํงมีรายละเอียดดังนี้ ๗.๒.๑ อาเภอสันกาแพง บ๎านต๎นเปา เป็นหมูํบ๎านหนึ่งในเขตตําบลต๎นเปา อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหมํ เป็นชุมชนที่ผลิตกระดาษสา สินค๎าหัตถกรรมที่ทําจากกระดาษสาด๎วยภูมิ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๖


ป๓ญญาของท๎องถิ่นตั้งแตํบรรพบุรุษ ที่ได๎สืบ ทอดกันมา กวํา๑๐๐ ปีแล๎ว ในอดีต คนบ๎านต๎นเปาทํากระดาษสา แล๎วจะพับเป็นพัดเอาไปขายที่ตลาดบ๎านบํอสร๎าง เพราะวําเป็นหมูํบ๎านที่อยูํติดกัน คนบํอสร๎างก็จะซื้อไปทํา รํม ตํอมาคนบ๎านบํอสร๎างเริ่มเปลี่ยนจากกระดาษสามาใช๎ผ๎าทํารํมและพัดแทนเมื่อปี ๒๕๑๖ กระดาษสาคํอยๆ เงียบหายไปตามกาลเวลา ในบ๎านต๎นเปาแทบไมํมีคนทํากระดาษสาเลย คงเหลือไมํกี่ครอบครัวที่ยังคงยืนหยัดที่ จะทํากระดาษสาอยูํ แตํด๎วยความผูกพันกับกระดาษสามากกวํา ๑๐๐ ปี ของคนบ๎านต๎นเปา ป๓จจุบันสามารถ แปรเปลี่ยนเป็นอาชีพที่สร๎างงานและสร๎างเงินให๎กับครอบครัว จนขยายไปทั้งตําบลด๎วยผลิตภัณฑ๑กระดาษสาที่ ทําจากมือหลากหลายรูปแบบและสีสัน ตามความต๎องการของลูกค๎าและสามารถขายได๎ทั้งในและตํางประเทศ หนํวยงานในท๎องถิ่นโดยเทศบาลตําบลต๎นเปา จึงได๎สนับสนุนให๎เกิดงานกระดาษสาขึ้น เพื่อสํงเสริมผลิตภัณฑ๑ กระดาษสาและประชาสัมพันธ๑ให๎นักทํองเที่ยวและประชาชน ทั่วไปได๎รู๎จัก บ๎านต๎นเปา มากยิ่งขึ้น โดยใช๎ชื่อ งานวํา งามล้ําคําหัตถศิลป์ถิ่นกระดาษสา และภูมิป๓ญญาบ๎านต๎นเปา ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ตํอมาได๎รับการ สนับสนุนการจัดงานจากสํานักงานสํงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยํอม (สสว.) โดยใช๎ชื่องานวํา มหัศจรรย๑ล๎านนา เมืองกระดาษสาบ๎านต๎นเปา ซึ่งกลุํมผู๎ประกอบการกระดาษสาและราษฎรบ๎านต๎นเปา เห็นชอบที่จะใช๎ชื่อนี้ใน การจัดงานโดยตลอดตั้งแตํปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นต๎นมา

ภาพที่ ๔.๒๐ งานกระดาษสา บ๎านต๎นเปา ๗ . ๒ . ๒ อ า เ ภ อ แ ม่ ริ ม ก ร ะ ด า ษ ส า จ า ก มู ล ช๎ า ง (Elephant POOPOOPAPAPER ) ที่ตําบลแมํแรมเป็นการทําผลิตภัณฑ๑กระดาษจากมูลช๎าง และตอนนี้ก็มีการนํา มูล ม๎า วัว และวัสดุธรรมชาติอื่นๆ จากภูมิป๓ญญาที่มีอยูํอยํางช๎านาน มีกระบวนการผลิตโดยนําเอาอาหารช๎างไปแลก กับมูลช๎างที่ปางช๎างแมํสา แล๎วนํามูลช๎างที่ได๎ไปผลิตกระดาษสาที่อําเภอสันกําแพง แตํจะแบํงมูลช๎างสํ วนหนึ่ง ไว๎ที่ศูนย๑จําหนํายผลิตภัณฑ๑ด๎วยเพื่อสาธิตวิธีการทํากระดาษสาให๎นักทํองเที่ยวได๎ชมวิธีการผลิต จากนั้นนํา กระดาษสาที่ได๎มาผลิตเป็นดอกไม๎ สมุดบันทึก กลํองกระดาษโน๎ต ถุงของขวัญ และที่คั่นหนังสือเป็นต๎น แล๎วจําหนํายผลิตภัณฑ๑ที่ศูนย๑จําหนํายผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสาจากมูลช๎าง พร๎อมทั้งสํงออก ประเทศอเมริกา รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๗


และประเทศแคนาดา ผลิตภัณฑ๑ที่ออกมาจะเป็นการอนุรักษ๑ และทําให๎ ช๎าง ม๎า วัว ได๎ทานหญ๎าที่มีประโยชน๑ และผสานเข๎าไปกับงานฝีมือในการทํากระดาษ และรังสรรค๑ผลงานออกมาเป็นของที่ระลึกที่มีเรื่องราวและ คุณคํา

ภาพที่ ๔.๒๑ กระดาษมูลช๎าง อําเภอแมํริม ๗.๓.๓ อาเภอดอยสะเก็ด กระดาษสาที่หมูํบ๎านไตลื้อตําบลลวงเหนือนั้นได๎ ทํากระดาษสามาแล๎วกวํา ๑๖ ปี โดยที่ซื้อสามาจากจังหวัดแพรํและจังหวัดนําน แล๎วใช๎วัสดุที่มีภายในท๎องถิ่น ประดับตกแตํงกระดาษสา เชํน ดอกไม๎ ใบไม๎ สํวนการสํงออกถูกสํงไปขายที่ยํานสําเพ็ง กรุงเทพมหานคร ใน จังหวัดเชียงใหมํ และมีลูกค๎ามารับซื้อด๎วยตนเอง แล๎วมีการนํากระดาษสาที่ได๎มาผลิตเป็นโคมไฟกระดาษสา สมุดกระดาษสา กลํองกระดาษสา ถุงกระดาษสา และกรอบรูปกระดาษสาเป็นต๎น

ภาพที่ ๔.๒๒ กระดาษสา อําเภอดอยสะเก็ด

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๘


๘. งานบุดุนโลหะ ๘.๑ เครื่องเงิน ในสมัยโบราณเครื่องเงิน คือสิ่งของเครื่องใช๎ที่ทําด๎วยโลหะเงิน มีแหลํงผลิตงาน หัตถกรรมเครื่องเงินอยูํในเมืองสําคัญๆ ของล๎านนาแทบทุกเมือง แตํป๓จจุบันการทําเครื่องเงินพื้นเมืองของ ล๎านนาในจังหวัดตํางๆ แทบจะไมํมีหลงเหลืออยูํแล๎ว เพราะความนิยมในการใช๎เครื่องเงินดลน๎อยลง เนื่องจาก วัสดุที่ใช๎ในการผลิตเครื่องเงินมีราคาแพง ทําให๎เครื่องเงินมีราคาสูงขึ้นเกินกวําฐานะทางเศรษฐกิจของคน ธรรมดาที่จะหาซื้อไว๎ใช๎สอยได๎ ประกอบกับมีเครื่องใช๎ที่ทําจากวัสดุอื่นๆเข๎ามาแทนที่ ดังนั้นเมื่อความต๎องการ ใช๎เครื่องเงินลดลง การผลิตเครื่องเงินจึงคํอยๆลดลง และเลิกทําไปในที่สุด ป๓จจุบันยังคงเหลือแหลํงผลิตเครื่องเงินแบบล๎านนาอยูํเฉพาะที่จังหวัดเชียงใหมํ เทํานั้น โดยแหลํงผลิ ตเครื่ องเงินที่สําคัญและมีชื่อเสี ยงเป็นที่รู๎จักกันโดยทั่ว ไปตั้งอยูํที่บ๎านวัว ลาย บ๎านศรี สุพรรณ ในเขตอําเภอเมือง และที่บ๎านแมํยํอย อําเภอสันทราย ซึ่งสาเหตุที่เชียงใหมํยังคงมีแหลํงผลิตเครื่องเงิน อยูํนั้น อาจเป็นเพราะเมืองเชียงใหมํเป็นเมืองทํองเที่ยวที่สําคัญ ผลิตภัณฑ๑เครื่องเงินจึงเป็นสินค๎าที่สามารถ จําหนํายให๎กับนักทํองเที่ยว สามารถสร๎างรายได๎ให๎กับชํางผู๎ผลิตและผู๎ป ระกอบการค๎าเครื่องเงิน การผลิต เครื่องในระยะหลังจึงเป็นการผลิตเพื่อเป็นสินค๎าสําหรับจําหนํายมากกวําที่จะผลิตเพื่อเป็นสิ่งของเครื่องใช๎ เหมือนเชํนในอดีต ทําให๎รูปแบบของเครื่องเงินในป๓จจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ๘.๑.๑ วัตถุดิบที่ใช้ในการทางานโลหะ (เครื่องเงิน) เม็ดเงินบริสุทธิ์เป็นวัตถุดิบที่ใช๎ในการทําเครื่องเงิน ผู๎ทําเครื่องเงินนําเม็ดเงิน บริสุทธิ์มาหลอมและขึ้นรูป พร๎อมที่จะทําการบุดุน เป็นเครื่องเงินสําเร็จรูป ๘.๑.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการทางานโลหะ (เครื่องเงิน) ๑ อุปกรณ๑และเครื่องเงินในการหลอมเงิน ได๎แกํ ๑.๑ เบ๎าหลอมเงิน หรือ เตาเผาแบบสูบลมซึ่งใช๎ในการหลอม เม็ดเงินให๎รวมตัวกันตามน้ําหนักที่ต๎องการ ๒ อุปกรณ๑และเครื่องมือในการทุบเงิน ได๎แกํ ๒.๑ แทํนเหล็ก หรือ ทั่งเหล็กใช๎รองทุบเงินที่ผํานการหลอม แล๎ว ๒.๒ ค๎อนเหล็ก เพื่อใช๎ในการทุบเงินที่ผํานการหลอม ๓ อุปกรณ๑และเครื่องมือในการขัดเงิน ได๎แกํ ๓.๑ แปรงทองเหลือง สําหรับขัดเงินที่เตรียมจะนําไปขึ้นรูป เพื่อให๎เนื้อเงินสุกใส รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๙๙


๔ อุปกรณ๑และเครื่องมือในการแกะสลักเงิน ได๎แกํ ๔.๑ แทํนแกะลายที่ทําด๎วยซ๎น ซึ่งใช๎รองเงินที่ต๎องการบุกดุน เพื่อไมํให๎เนื้อเงินฉีกออกจากันและรองรับแรงกระแทก โดยสามารถนําซันที่ใช๎แล๎วกลับมาเคี่ยวใหมํได๎ ๔.๒ ค๎อน ลิ่ม หรือ สิ่ว สําหรับใช๎แกะลายตํางๆ บนเนื้อเงิน ๘.๑.๓ แหล่งผลิตเครื่องเงินในจังหวัดเชียงใหม่ แหลํงผลิตเครื่องเงินที่พบในจังหวัดเชียงใหมํมีทั้งหมด ๒ แหลํง คือ ชุมชน บ๎านวัวลาย ตําบลหายยา อําเภอเมือง และ ชุมชนบ๎านแมํยํอย อําเภอสันทราย “ชุมชนบ๎านวัวลาย” และบ๎านศรีสุพรรณถือได๎วําเป็นแหํงผลิตเครื่องเงิน แหลํงใหญํของเมืองเชียงใหมํที่มีการทําเครื่องเงินผลิตภัณฑ๑เครื่องเงินของชุมชนบ๎านวัวลายและบ๎านศรีสุพรรณ ในอดีต มักนิยมทําสลุง (ขัน) เป็นหลัก คําวําขันหรือสลุงของชาวล๎านนานั้นเป็นภาชนะสําหรับตักน้ํา หรือใสํน้ํา โดยมีอยูํหลายชนิดด๎วยกัน จึงมักเรียกชื่อแตกตํางกันไปตามรูปแบบและการใช๎งาน กลําวคือถ๎ามีขนาดใหญํ และใช๎เป็นคูํจะเรียกวํา “สลุงหาบ” ซึ่งเจ๎านายและผู๎มีฐานะดีในเมืองเชียงใหมํนิยมใช๎ สลุงหรือโอขนาดกลาง จะใช๎เป็นขันล๎างหน๎า สํวนสลุงขนาดเล็กที่ใช๎สําหรับตักน้ําดื่มจะเรียกวํา “จอกน้ํา” นอกจากนี้ยังมีการทํา ผลิตภัณฑ๑เครื่องเงินอีกหลายประเภท เชํน พานหรือขันดอก ตลับใสํของ หีบหมาก เครื่องเชี่ยนหมาก และ เครื่องประดับเป็นต๎น สําหรับลวดลายที่ปรากฏอยูํบน สลุงเงินของบ๎านวัวลาย เป็นลวดลายที่มีลักษณะเฉพาะ และถือวําเป็นลายแบบพื้นเมืองเชียงใหมํ ป๓จจุบันการทําโลหะเครื่องเงิน เริ่มเป็นไปได๎ยากขึ้น เนื่องจากเสียงที่ เกิดจากการทําเครื่องเงินมีเสียงดัง ทําให๎รบกวนชาวบ๎านภายในชุมชนที่เริ่มมีการสร๎างหอพัก ขึ้น และด๎วย วัตถุดิบที่แพงขึ้นและหายาก

ภาพที่ ๔.๒๓ เครือ่ งเงิน ชุมชนวัวลาย รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๐


“ชุมชนบ๎านแมํยํอย” เป็นชุมชนที่ผลิตเครื่องเงินอีกแหํงหนึ่งของเชียงใหมํ แตํเป็นแหลํงผลิตที่มีขนาดเล็กและมีชํางทําเครื่องเงินอยูํไมํมากนัก เนื่องจากเป็นชุมชนที่อยูํหํางไกลจากตัว เมืองจึงไมํเป็นที่รู๎จักเทําใดนัก ประกอบกับชาวบ๎านมีข๎อจํากัดด๎านเงินทุน เพราะวัตถุดิบคือ เงินเม็ด ที่ใช๎ในการ ผลิตนั้นมีราคาสูง ด๎วยเหตุนี้อาชีพการทําเครื่องเงินของบ๎านแมํยํอยได๎หยุดชะงักไประยะหนึ่ง ตํอมาเมื่อกิจการ ค๎าขายเครื่องเงินที่บ๎านวัวลายและบ๎านศรีสุพรรณดีขึ้น ร๎านค๎าที่บ๎านวัวลายและบ๎านศรีสุพรรณจึงได๎จ๎างให๎ชํ าง เงินบ๎านแมํยํอยผลิตเครื่องเงินให๎ ทําให๎การผลิตเครื่องเงินที่บ๎านแมํยํอยได๎รับการฟื้นฟูกลับมาทําการผลิต เครื่องเงินอีกครั้ง ดังนั้นทุกวันนี้ที่บ๎านแมํยํอยจึงยังคงมีการผลิตเครื่องเงินอยูํ แตํชํางเงินของบ๎านแมํยํอยจะเข๎า มารับจ๎างทําเครื่องเงินให๎ร๎านค๎าตํางๆ ในยํานชุมชนบ๎านวัวลาย และบ๎านศรีสุพรรณเป็นสํวนใหญํ การผลิต เครื่ อ งเงิ น ที่บ๎ านแมํยํ อ ยได๎ ทําสื บ ตํอ กัน มาตั้ง แตํส มัยโบราณ เดิมที ช าวบ๎านจะทํ าเครื่องเงิน เพื่อ ใช๎เ องใน ครัวเรือน หรือเพื่อถวายให๎แกํวัด รวมถึงจําหนํายให๎กับชุมชนในบริเวณใกล๎เคียง ผลิตภัณฑ๑เครื่องเงินของบ๎ าน แมํยํอยแตํดั้งเดิมจะทําเป็นขันหรือสลุง ซึ่งมีลักษณะคล๎ายสลุงแบบพมําของบ๎านวัวลายแตํจะมีฝาปิด สํวน ลวดลายที่เป็นเอกลักษณ๑ของบ๎านแมํยํอย คือกลุํม “ลายแมํยํอย” เป็นลายที่ชาวบ๎านแมํยํอยได๎คิดทําขึ้นจึงตั้ง ชื่อลายตามหมูํบ๎าน ๘.๒ เครื่องทองเหลือง เครื่องทองเหลือง หรือที่ชาวล๎านนาเรียกวํา “คัวตอง” ถือเป็นงานหัตถศิลป์ที่มี ความงดงามอี กประเภทหนึ่ ง ซึ่ ง ชาวล๎ า นนาไมํ คํ อ ยนิ ย มเครื่อ งมื อ เครื่ อ งใช๎ หรื อ เครื่ อ งประดั บ ที่ ทํ า จาก ทองเหลืองเทําใดนัก แตํโดยมากแล๎วมักจะพบงานทองเหลือง หรือคัวตองที่ใช๎สําหรับเป็นเครื่องประดับตกแตํง อาคารศาสนสถาน เพราะชาวล๎านนาถือวํา “วัด” เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ควรแกํการเคารพสักการะ ดังนั้นแทบ ทุกสํวนของอาคารสถาป๓ตยกรรมภายในวัดนั้นจะต๎องมีการตกแตํงประดับประดาอยํางวิจิตรงดงาม เพื่อเป็น พุทธบูช าตามความเชื่อความศรัทธาในพุทธศาสนา โดยลวดลายของคัวตองที่ใช๎ประดับตกแตํงนั้นจะเป็น ลวดลายที่มีอยูํในธรรมชาติ หรือลวดลายที่มีความหมายที่เป็นสิริมงคลชํวยเสริมให๎ตัวอาคารสถาป๓ตยกรรมมี ความสวยงามมากยิ่งขึ้น และในความคิดของศรัทธาผู๎สร๎างอาจจะมีความเชื่อในเรื่องของ “บุญบารมี” ซึ่งชาว ล๎านนาเชื่อวําการสร๎างหรือถวายของให๎กับวัด ผู๎สร๎ างหรือผู๎ถวายจะได๎รับผลบุญทั้งในชาตินี้และภายภาคหน๎า ยิ่ ง สิ่ ง ที่ ส ร๎ า งหรื อ ถวายนั้ น มี ค วามวิ จิ ต รงดงามและมีคุ ณ คํ า ก็ ยิ่ งจะได๎ รั บ ผลบุญ มากขึ้ น ตามไปด๎ ว ย และ นอกเหนือจากเรื่องของกุศลผลบุญแล๎ว ผู๎สร๎างหรือผู๎ถวายยังได๎แสดงออกถึงฐานะของตนด๎วย เพราะการที่จะ สร๎างอาคารสถาป๓ตยกรรมที่ประดับด๎วยคัวตองนั้น ศรัทธาผู๎สร๎างหรือถวายจะต๎องเป็นผู๎มีฐานะดีพอสมควร เนื่องจากงานคัวตองนี้มีราคาที่คํอนข๎างสูง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๑


๘.๒.๑ วัตถุดิบที่ใช้ในการทางานโลหะ (เครื่องทองเหลือง) ๑ แผํนทองเหลือง ๒ ลวดทองเหลือง ๘.๒.๒ แหล่งผลิตเครื่องทองเหลืองในเชียงใหม่ พบอยู่ ๑ แหล่ง คือ ชุมชนวัดพวกแต้ม อาเภอเมือง วัดพวกแต๎มปรากฏชื่อครั้งแรกในเอกสารแสดงรายชื่อวัดที่มีอยูํใน เวียงและนอกเวียงเชียงใหมํ ซึ่งมีผู๎บันทึกไว๎ในพับสาหรือใบลาน เมื่อปีพ.ศ. ๒๓๖๓ นอกจากนี้ชื่อของวัดยังทํา ให๎สันนิษฐานถึงผู๎สร๎างได๎ เพราะคําวํา “พวก” เป็นยศของขุนนางซึ่งหมายถึงหัวหน๎าหมูํ พวกแต๎ม จึงนําจะเป็น ขุนนางที่มีหน๎าที่ควบคุมทางด๎านการชํางคือ “ชํางแต๎ม” ที่หมายถึงผู๎เขียนงานจิตรกรรมหรืองานลายคํา โดยมี วัดที่มีชื่อคล๎ายกันนี้ในเวียงเชียงใหมํ เชํน วัดพวกเปีย วัดพวกหงส๑ และวัดพวกช๎าง เพราะกลําวกันวํา ในสมัย โบราณเวลาที่ทหารทําสงครามชนะ เมื่อกลับมาจะได๎รับการปูนบําเหน็จรางวัล ก็มักจะนําเงินที่ได๎ไปสร๎างวัด ด๎วยความศรัทธาในพุทธศาสนา และเพื่ออุทิศสํวนกุศลให๎กับเจ๎ากรรมนายเวร วัดที่สร๎างขึ้นอาจใช๎ชื่อของ ตนเอง เชํน วัด หมื่น ตูม วัดหมื่น สาร วั ดพ๎นอ๎น และวัด พันแหวน หรือ อาจใช๎ชื่ อกรมกองที่สั งกั ดรวมทั้ ง ตําแหนํงหน๎าที่ที่รับผิดชอบอยําง วัดพวกแต๎ม และวัดพวกช๎าง เป็นต๎น ชุม ชนวั ด พวกแต๎ ม เป็ น ชุม ชนชํ า งฝี มื อมาตั้ง แตํส มั ยโบราณ ซึ่ ง ใน ป๓จจุบันยังคงมีการผลิตเครื่องทองเหลืองหรือที่เรียกกันวํา “คัวตอง” รูปแบบตํางๆทั้งที่เป็นงานพุท ธศิล ป์ สําหรับประดับตกแตํงอาคาร ศาสนสถาน และที่เป็นงานหัตถศิลป์ สําหรับเป็นเครื่องประดับ บ๎านพวกแต๎ม ตําบลพระสิงห๑ เป็นอีกที่หนึ่งที่มีงานประเภทโลหะ คือ งานคัวตอง ซึ่งงานคัวตองจะแบํงเป็น 2 ประเภทคือ งานคัวตอง ด๎านพุทธศิลป์ เป็นงานที่ถูกทําขึ้นเพื่อรับใช๎ พุทธศาสนาเพื่อนําไปประดับตกแตํงอาคารทางพุทธศาสนาให๎เกิดความสมบูรณ๑ สวยงาม ทางองค๑ประกอบของ คติความเชื่อทางศาสนา เชํน พุํมดอกไม๎เงิน พุํมดอกไม๎ทอง และที่เป็นเอกลักษณ๑อันโดดเดํนของวัดพวกแต๎ม คือ ฉัตร และ สัปทน งานคัวตองประเภทนี้ถูกถํายทอดจากอดีตเจ๎าอาวาท จนป๓จจุบันได๎ รับการสืบทอดโดย พระครูปฏิภาณธรรมพิศิษฏ๑ (เนตร สิริจนฺโท) ซึ่งในป๓จจุบันยังได๎จัดตั้งกลุํมชํางผลิตงานขึ้นภายในวัดพวกแต๎ม งานคัวตอง ด๎านหัตถศิลป์ คือ งานคัวตองที่ใช๎ในการประดับตกแตํงรํางกาย งานดอกไม๎ไหว ที่นําไปใช๎ในงาน ฟูอนรํา ที่เรียกวําฟูอนเล็บ ชุมชนพวกแต๎มมีผู๎สืบทอดงานหัตถกรรมชนิดนี้อยูํ 2 ทําน คือ คุณปูาสมจิตร อินทะ ยะ และ คุณปูาวรรณา บุญสาร จากการสัมภาษณ๑ คุณปูาสมจิตร อินทะยะ คุณปูาได๎เลําเรื่องราวเกี่ยวกับการ ทํา งานคัวตอง ด๎านหัตถศิลป์วํา เดิมที่สมัยเจ๎าดารารัศมี ทํานได๎ทรงโปรดปรานการฟูอน คุณปูายังเป็นเด็กได๎ ไปเก็บปีกเครื่องบิน มาทําเป็นคัวตอง ดอกไม๎ไหวประดับตกแตํงกับตัว ชํางฟูอน ให๎เกิดความสวยงาม ป๓จจุบัน คุณปูาได๎สั่งวัสดุจาก กรุงเทพมหานคร มาผลิตงานชนิดนี้ (จากการสัมภาษณ๑เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2557) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๒


ภาพที่ ๔.๒๔ คัวตอง บ๎านพวกแต๎ม หัตถกรรมที่ใช๎โลหะเป็นวัสดุหลักในการผลิตงาน ในเชียงใหมํจะพบ ผลิตภัณฑ๑จากโลหะเป็นงานเครื่องเงินและทองเหลือง เดิมเป็นการผลิตเพื่อรับใช๎ศาสนาเชํน การ ทําฉัตร ทองเหลือง สํวนเครื่องเงินมักผลิตเป็นของใช๎ให๎แกํบุคคลชั้นสูงใช๎ในชีวิตประจําวัน ตํอมาจึงขยายไปสูํการทํา เพื่อเป็นของที่ระลึกป๓จจุบันยังคงมีการผลิตงานโลหะที่ชุมชนพวกแต๎ม และชุมชนศรีสุพรรณในเขตอําเภอเมือง และอําเภอสารภี ๙. งานเครื่องเขิน เครื่องเขินเป็นหัตถกรรมพื้นบ๎านชนิดหนึ่งที่สร๎างสรรค๑ขึ้นเพื่อประโยชน๑ใช๎สอยโดยมิได๎ อาศัยเครื่องจักร ทําด๎วยฝีมือของตนเองจะเป็นการเลียนแบบจากสิ่งที่ พบเห็นหรือตามต๎องการที่นําไปใช๎งาน และการตกแตํงประดับประดาให๎สวยงามตามความหมาย เชํน ตลับ ถาด แจกัน ขันน้ํา แอบยา กลํองใสํยาเส๎น เซี่ยนหมาก เป็นต๎น ซึ่งทําด๎วยไม๎ไผํ ไม๎เนื้ออํอน และ เคลีอบด๎วยรัก เครื่ อ งเขิ น เป็ น ลั ก ษณะเอกลั ก ษณ๑เ ฉพาะของภาคเหนื อ ที่ ตํา งไปจากภาคอื่ นๆ ตั้ ง แตํ ภูมิศาสตร๑ขนบธรรมเนียบประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนาของท๎องถิ่น ดังนั้นการผลิตงาน เครื่องเขินซึ่งทํากันในหมูํบ๎านที่สืบทอดตํอกันมาตามแบบอยํางของบรรพบุรุษโดยเฉพาะเขินเชียงใหมํ จึงเป็น จําพวกภาชนะเครื่องใช๎สอยมากกวําสิ่งของ เครื่องประดับตกแตํง แตํในป๓จจุบันได๎พัฒนาในเรื่องของรูปทรงให๎ มีรูปรํางตั้งแตํขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญํด๎วยหน๎าที่ใช๎สอยตามความต๎องการของตลาดและความนิยมของผู๎ ซือ้ เครื่องเขิน เรียกตามภาษาพื้นเมืองวํา ครัวรักครัวหาง (คัวฮัก คัวหาง) เป็นเครื่องจักสานที่ ทําเป็นของใช๎ประจําบ๎านและของใช๎ในพิธีกรรม แล๎ว ทาด๎วยน้ํารัก สํวนหาง หมายถึง สีชาด ซึ่งเป็นสีที่ใช๎ ตกแตํงเครื่องใช๎ ป๓จจุบันมักจะเรียกวํา “เครื่องเขิน ” ซึ่งมีกําเนิดมาจากประเทศจีนกวํา ๓,๐๐๐ ปีลํวงแล๎ว และขยายเข๎าสูํพมํา ไทย เกาหลี ญี่ปุน โดยข๎อสันนิษฐานเกี่ยวกับ “เครื่องเขิน” นั้นมาจากชนเผําไทเขิน (ไท ขืน) ในแคว๎นเชียงตุง ซึ่งตั้งอยูํตอนเหนือของประเทศสหภาพพมํา การเรียกชนเผํานี้วํา ไทเขิน (ไทขืน) เพราะ บริเวณที่ตั้งจะมีลําน้ําชื่อ แมํน้ําขืน ซึ่งเป็นแมํน้ําที่ไหลย๎อนขึ้นไปทางเหนือกํอนที่จะไหลลงใต๎ ความสัมพันธ๑ ระหวํางเชียงใหมํและเชียงตุงนั้นมีม าตั้งแตํสมัยพญามังราย (พ.ศ. ๑๘๓๙ – ๑๘๕๔) จวบจนสมัยพระเจ๎ากาวิ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๓


ละเจ๎าเมืองเชียงใหมํ (พ.ศ. ๒๓๒๕- ๒๓๕๘) ได๎ยกทัพไปตีเชียงตุงและหัวเมืองอื่น ได๎กวาดต๎อนผู๎คนมาอยูํใน เชียงใหมํ และชาวไทขืนตั้งบ๎านอยูํในบ๎านนันทารามและชุมชนระแกง ตําบลหายยา อําเภอเมือง บ๎านทรายมูล บ๎านมอญ บ๎านน๎อย บ๎านสันกลาง อําเภอสันกําแพง บ๎านสันต๎นแหน บ๎านแมํขาน บ๎านแดงก่ํา บ๎านไรํ บ๎านทุํง เสี้ยว อําเภอสันปุาตอง บ๎านปุาสัก บ๎านชํอแล อําเภอแมํแตง บ๎านลวงเหนือ บ๎านลวงใต๎ อําเภอดอยสะเก็ด27 ๙.๑ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตผลงาน ๑. ต้นไม้รัก แหลํงที่มาของยางรัก (น้ําฮัก) ต๎นรักใหญํ หรือ ฮักหลวง เป็น ไม๎ผลัดใบขนาดกลางลําต๎นตรง ขึ้นในที่อุดมสมบูรณ๑จะเจริญเติบโตเป็นไม๎ขนาดใหญํ มีเรือนยอดแผํกิ่งก๎าน กว๎างขวาง ขึ้นอยูํในปุาเบญจพรรณแล๎งและปุาแดงทั่วไปในภาคเหนือที่สูงจากระดับน้ําทะเล ตั้งแตํ ๓๐๐ – ๑,๐๐๐ เมตร โดยขึ้นปะปนกับไม๎เต็ง ไม๎รัง พลวงและเหียง พบมากในจังหวัดเชียงใหมํ ลําพูน ลําปาง พะเยา เชียงราย แมํฮํองสอน ยางจากต๎นรักใหญํ หรือ ฮักหลวงมีลักษณะเป็นของเหลวข๎นสีเทา ตํอมาจะกลายเป็นสี น้ําตาลเข๎มและดําสนิท เมื่อถูกอากาศ การเก็บรักษายางรักไว๎ในภาชนะที่ปกปิด เชํน โอํง หรือ ไห โดยไมํให๎ถูก แสงแดดหรือ ความร๎อน คุณสมบัติของยางรักก็จะไมํเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ยางรักจะได๎จากการเปิดเปลือก ลําต๎นด๎วยวิธีการเจาะ กรีดแบบตํางๆ ซึ่งทําให๎คุณสมบัติและสํวนประกอบดันได๎แกํ เรซิน กาวหรือยาง น้ํา และสารประกอบ แอลบูมมินั สแตกตํางกันไปตามลั กษณะพันธ๑ แหลํ งกําเนิด และสภาพภูมิอากาศนั้นๆ สําหรับยางรักที่ได๎จากฮักหลวงหรือที่เรียกวํา รักไทย จะมีเนื้อรักมากกวํารักพันธุ๑อื่นๆ จึงทําให๎มีผิวที่แข็งแกรํง ทนตํอการกระแทก ทนตํอความร๎อน ความชื้นได๎ดี มีการแห๎งตัวและความเรียบผิวที่สม่ําเสมอ คุณภาพไมํ เปลี่ยนแปลงเหมือนรักชนิดอื่นเมื่อเก็บไว๎นานๆ ยางรัก (น้าฮัก) การกรีดยางรักจะมี ๓ ระยะ คือ น้ํารักระยะที่ ๑ ระหวํางเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม ได๎น้ํารักมากแตํสกปรก เรียกวํา “ฮักแซว” น้ํารักระยะที่ ๒ ระหวํางเดือน พฤศจิกายน – มกราคม ยางรักจะเหนียว สะอาด คุณภาพดีเรียก “ฮักบาย” น้ํารักระยะที่ ๓ ระหวํางเดือน กุมภาพันธ๑ – เมษายน ระยะนี้ได๎น้ํารักน๎อย มักมีเศษดิน เศษไม๎ปะปนมาก เรียก “ฮักฮื้อ” ยางรักจะได๎จากอําเภอเชียงดาว อําเภอแมํแจํม จังหวัดเชียงใหมํ โดยจะบรรจุในปีบผนึกอยํางมิดชิด ๒. ไม้ไผ่ ประเภทไม๎เฮี้ย (ไม๎ซาง) สําหรับนํามาขึ้นโครง โดยการจักไม๎เฮี้ ย ให๎เป็นเส๎นบางเล็กสานเป็นรูปทรงภาชนะตํางๆ 27

ภูมิป๓ญญาเชิงชํางเชียงใหมํ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๔


๓. ไม้เ นื้ อ แข็ง ได๎แ กํ ไม๎ ไทร ไม๎ม ะมํ ว ง ไม๎ ด อกกระดั งงา ไม๎ข นุ น ไม๎ ยางพารา สําหรับนํามา กลึงทําเป็นภาชนะ รับซื้อจากท๎องถิ่นภายในจังหวัดเชียงใหมํ เชํน บ๎านหนองควาย อําเภอหางดง บ๎านหนองหวาย บ๎านกิ่วแลน๎อย อําเภอสันปุาตอง ๔. หาง ได๎จากแรํชนิดหนึ่ง สีแดง น้ําหนักมาก นํามาบดให๎เป็นฝุ​ุนละเอียด แล๎วใช๎ผสมกับรักใส สําหรับทํารักสีแดงใช๎ทารองพื้น ๕. ชาด ได๎จากการเอาปรอทกับกํามะถันมาผสมกัน ใสํในกองไฟแล๎วใช๎ กระเบื้องอังรับควันที่ลอยขึ้นไปติดเขมําสีแดงใช๎ผสมกับยางรัก จะสีแดงเพื่อใช๎เคลือบผิวงานเครื่องเขิน ๖. ทองคาเปลว ได๎จากทองคําบริสุทธิ์ผํานกระบวนการทุบจนเป็นแผํน บางกวํากระดาษใช๎ปิดบนงานเครื่องเขินเมื่อเขียนลายด๎วยหรดาลเสร็จแล๎ว ๗. หรดาล เป็นก๎อนแรํสีเหลืองอํอน แข็งคล๎ายหิน จะใช๎ต๎องบดหรือฝนให๎ ละเอียด ใช๎ฝ๓งในลายขูดฝ๓งสีและเขียนลงพื้นลายรดน้ํา ๙.๒ วัสดุที่ใช้ในการผลิตผลงาน ๑. กระดาษทราย ได๎จากการะดาษทรายที่ใช๎ขัดผิวไม๎ มีทั้งประเภทหยาบ และละเอียดลดหลั่นกัน ใช๎ขัดทับบนรักรองพื้น ๒. สมุ ก ได๎ จ ากการผสมของดิ น อิ ฐ ขี้ เ ถ๎ า แปู ง ข๎ า วจ๎ า วกั บ ยางรั ก คลุกเคล๎าและนวดจนเหนียวใช๎ป๓้นเป็นรูปรํางลวดลายตํางๆ แล๎วแปะติดกับผิวงานเครื่องเขิน ๓. เครื่องชั่ง สําหรับชั่งวัสดุตามอัตราที่กําหนด สําหรับใช๎ในงานเครื่อง เขิน เชํน การทําสมุก ๔. ไม้พาย ใช๎คนสํวนผสม สมุก และปูายฉาบเนื้อสมุก ๕. แปรง ทําจากผมคน หรือขนสัตว๑มาทําเป็นแปรง มีลักษณะเฉพาะใช๎ใน การทารัก ทาสมุก ๖. เครื่ อ งกรองน้ ารั ก ทํ า ด๎ ว ยผ๎ า ขาวบาง หรื อ ตะแกรงมุ๎ ง ลวด หรื อ กระดาษสาญี่ปุน สําหรับบีบยางรักเพื่อขจัดขยะ หรือเศษวัสดุที่ปะปนอยูํกับยางรัก ๗. หินขัด เป็นหินขัด (ลับมีด) มีเนื้อหยาบและละเอียด มีลักษณะเป็นแทํง สี่เหลี่ยมใช๎สําหรับขัดสมุก ๘. เครื่ อ งขู ด ขี ด ฝั ง สี เป็ น เหล็ ก ปลายแหลม ซึ่ ง แข็ ง และคมคล๎ า ยสิ่ ว สําหรับขูดขีดผิวบางบนพื้นที่เตรียมถึงขั้นรักเงาให๎เป็นรํองลึก ๙. ถุงมือยาง เป็นถุงมือยางปูองกันมือเปื้อน

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๕


๑๐. กาละมัง เป็นโลหะเคลือบ ขนาด ๒๐ x ๒๔ นิ้ว สําหรับใสํน้ําจัด ชิ้นงาน ๑๑. มีด จะมีหลายชนิด คือ มี ดปลายตัดสําหรับทําลาย มีดปลายแหลม มีดขุดสมุกสําหรับยารํอง มีดเซาะรํอง ๑๒. ขี้ดา่ ง ได๎จากการเผาแกลบ ๑๓. กรวยสีเพ็นท์ ๙.๓ แหล่งผลิตเครื่องเขินในเชียงใหม่ มีอยู่ทั้งหมด ๓ แหล่งได้แก่ ๙.๓.๑ ชุมชนนันทาราม อําเภอเมือง ๙.๓.๒ ชุมชนบ๎านศรีป๓นครัว อําเภอเมือง ๙.๓.๓ ชุมชนบ๎านต๎นแหน อําเภอสันปุาตอง โดยมีรายละเอียดดังตํอไปนี้ ๙.๓.๑ ชุมชนนันทาราม อาเภอเมือง “บ๎านเขินนันทาราม” ตําบลหายยา อําเภอเมือง ถือเป็นแหลํงผลิตเครื่อง เขินแหลํงใหญํที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู๎จัก และยังคงมีการผลิตเครื่องเขินเพื่อเป็นสินค๎าสําหรับจําหนําย ประวัติความ เป็นมาของบ๎านเขินนันทารามกลําววํา เดิมมีถิ่นฐานอยูํที่เมืองเชียงตุง ซึ่งตั้งอยูํแถบที่ราบลุํมแมํน้ําขืน หรือ แมํน้ําเขิน ในเขตรัฐฉาน ประเทศพมํา เอกลักษณ๑ของเครื่องเขินนันทารามนั้น เป็นเครื่องเขินที่มีโครงสร๎างเป็น เส๎นตอกไม๎ไผํที่เหลาจนได๎ขนาดเล็กคล๎ายกับทางมะพร๎าว นํามาขัดสานกับตอกเส๎นบางแบนเป็นรูปแฉกรัศมี จากก๎นของภาชนะจนได๎รูปทรงตามความต๎องการโดยไมํต๎องมีการดามโครง เมื่อทาผิวด๎วยรักสมุกแล๎วขัดจะได๎ ภาชนะที่มีผิวคํอนข๎างเรียบและมีน้ําหนั กเบา สํว นการประดับตกแตํงของเครื่องเขินนันทารามยังคงรักษา รูปแบบและเทคนิคการขูดลาย หรือที่เรียกวํา “ฮายดอก” แบบโบราณ ป๓จจุบันบ๎านนันทาราม คงเหลือเครื่อง เขินไมํมาก แล๎ว เนื่องจากป๓ญหาทางด๎านการสืบทอด และ กระบวนการผลิต วัตถุดิบที่หายากขึ้น บ๎านนันทาราม ตําบลหายยา เป็นชุมชนที่ขึ้นชื่อในเรื่องของการทําเครื่อง เขิน ลงรัก คัวรัก คัวหาง ประเภทผลิตภัณฑ๑ที่พบใน ชุมชนนันทารามผลิตได๎แกํ ตลับ ถาด แจกัน ขันน้ํา แอบ ยา กลํองใสํยาเส๎น เซียนหมาก ซึ่งกระบวนการทําจะทําจากการขดไม๎ไผํ ไม๎เนื้ออํอนแล๎วเคลือบด๎วยรัก และยัง มีการเคียนไม๎มะมํวง เครื่องเขินเป็นลักษณะเฉพาะภาคเหนือที่ตํางไปจากภาคอื่นจากการสํารวจพบวําบ๎านนัน ทารามยังคงสืบทอดการทําเครื่องเขิน ได๎แกํบ๎านยายน๎อย, ร๎านประเทืองเครื่องเขิน, วิชัยกุลเครื่องเขิน, กลุํม อาชีพเครื่องเขินในวัดนันทาราม และ กลุํมคัวฮัก คัวหาง จากการที่ได๎ไปสัมภาษณ๑ คุณยายน๎อยได๎ให๎ข๎อมูลวํา แตํกํอนที่นี่จะขึ้นชื่อในการทําเครื่องเขิ น เพราะจะแตกตํางจาก ที่ชุมชนศรีป๓นครัว ที่ชุมชนนันทาราม จะมี วิธีการทํากระบวนการออกแบบ และลาย ที่แตกตํางจากชุมชน ศรีป๓นครัว เมื่อกํอนชุมชนนันทาราม ทําเครื่อง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๖


เขินคํอนข๎างที่มากหลายสิบหลัง แตํด๎วยสภาพแวดล๎อมที่ไมํเอื้ออํานวยในป๓จจุบัน มีอาคารบ๎านเรือน หอพัก เพิม่ มาก ขึ้น การต๎มยางรัก บางที่ก็จะมีควันเยอะ ก็จะไปรบกวนหอพัก ทั้งๆ ที่หอพักก็มาอยูํหลังชุมชนนันทา รามก็มีการเลิกกิจการกันไปเกี่ยวกับการทําเครื่องเขินในชุมชน แตํจากการสํารวจก็ยังได๎พบวํามีการลงรักที่ นํามาผสมกับสินค๎าที่ใช๎ในชีวิตประจําวัน เชํน ที่ใสํโทรศัพท๑มือถือ ที่มีการลงรักและทําออกมาได๎อยํางลงตัว ทํา ให๎เห็นวํา การลงคัวรักคัวหางสามารถนํามาประยุกต๑ใช๎ได๎จริง

ภาพที่ ๔.๒๕ เครื่องเขิน บ๎านนันทาราม ๙.๓.๒ ชุมชนบ้านศรีปันครัว อาเภอเมือง บ๎านศรีป๓นครัว ตําบลทําศาลา ยังมีการทําไม๎ไผํขดกันอยูํในชุมชนศรีป๓นครัว โดย ลักษณะเดํนชัดของที่นี้จะ เป็น “พานแดง” (ขันแดง) ยังมีบ๎านบางหลังภายในชุมชน บ๎าน คุณปรานอม มโนทอง ที่มีการทําไม๎ไผํขดให๎เป็นรูปทรงกลม เพื่อนําไปใช๎ในการตกแตํง ซึ่งลูกค๎า คือ ศูนย๑หัตถกรรมบ๎าน ถวายที่มีการสั่งให๎ที่นี่จัดทําตามรูปแบบการขดไม๎ไผํให๎เป็นรูปทรงกลม ด๎วยสาเหตุที่วํา บ๎านคุณปรานอม มโน ทอง มีความประณีตในการขดไม๎ไผํในลักษณะเป็นทรงกลม สํวนบ๎านแมํขันแก๎ว เป็นอีกหลังหนึ่งที่มีการสืบ ทอดในการทําจากรุํนสูํรุํนป๓จจุบัน ลูกสาวของแมํขันแก๎วได๎รับชํวงตํอพร๎อมกับญาติพี่น๎องที่ยังมีการทําเครื่อง เขินที่มีเอกลักษณ๑อันโดดเดํนที่สืบทอดกันมาแตํช๎านาน ป๓ญหาที่พบในป๓จจุบันจะเป็นเรื่องของวัสดุเพราะ ต๎อง สั่งไม๎ไผํ มาจากเชียงดาว เพราะจะได๎เนื้อไม๎ที่สมบูรณ๑ต๎นจะสวย หรือจะสั่งจากจังหวัดแพรํที่มีการปลูกไม๎ไผํ จํานวนมาก และ “ยางรัก” ที่ป๓จจุบันหาได๎ยากขึ้น มักจะเจอป๓ญหาเจอ “ยางรัก” ปลอมที่มีการผสมยางไม๎กับ สีทาบ๎านจนทําให๎งานของชุมชนเสียหาย ป๓จจุบันยางรักจึงมีราคาที่สูงขึ้นเกือบเทําตัวเมื่อเทียบกับอดีต “บ๎านศรีป๓นครัว” ตําบลทําศาลา อําเภอเมือง ลักษณะของเครื่องเขินที่ผลิต ในหมูํบ๎านศรีป๓นครัวนี้ สํวนมากจะเป็นภาชนะที่ขึ้นรูปทรงของภาชนะด๎วยการขดตอกไม๎ไผํให๎เป็นรูปทรงตามที่ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๗


ต๎องการ เชํน พาน ตะลุํม ขันดอก ขันหมาก หีบผ๎าใหมํ ขันโตก และขันโอ เป็นต๎น แตํเนื่องจากในป๓จจุบันวัสดุ ที่ใช๎ในการทําเครื่องเขินทั้งรัก และชาดนั้นคํอนข๎างหายากและมีราคาสูง ดังนั้นชาวบ๎านศรีป๓นครัวจึงเปลี่ย นมา ใช๎วัสดุสมัยใหมํ เชํน สีน้ํามันและสีพลาสติกแทน เปรียบได๎วําเป็นแหลํงผลิตของการทําเครื่องเขินกํอนที่จะ จัดสํงไปยัง บ๎านถวาย อําเภอหางดงเพื่อทําการเพิ่มมูลคําของผลิตภัณฑ๑ตํอไป

ภาพที่ ๔.๒๖ เครื่องเขิน บ๎านศรีป๓นครัว ๙.๓.๓ ชุมชนบ้านต้นแหน อาเภอสันป่าตอง “บ๎านต๎นแหน” อําเภอสันปุาตอง เป็นอีกหมูํบ๎านนึ่งที่มีการผลิตเครื่องเขิน โดยชํางชาวบ๎านต๎นแหนนี้มีความชํานาญในการการทําเครื่องเขิน ลงรัก และเขียนชาดเป็นพิเศษ เนื่องจากมี บรรพบุรุษเป็นชาวไทเขินที่ถูกกวาดต๎อนมาจากทางเหนือของประเทศพมํา ในสมัยของพระเจ๎ากาวิละเครื่อง เขินของบ๎านต๎นแหนแบบโบราณมีเอกลักษณ๑ที่โดดเดํน อยูํที่ลวดลายประดับตกแตํง โดยชํางจะนิยมทารักสีดํา ทับไปบนโครงสร๎างที่เป็นเครื่องไม๎ ที่อาจทําด๎วยไม๎ไผํสานหรือขด หรือเป็นไม๎สัก ไม๎ขนุน และไม๎แดงกลึงก็มี แล๎วมีการเขียนลวดลายด๎วยชาดสีแดงสด เป็นลวดลายพันธุ๑พฤกษาที่มีความงดงาม ซึ่งเกิดจากความชํานาญใน การตวัดปลายพูํกันให๎เกิดเป็นเส๎นโค๎งฉวัดเฉวียน บางครั้งมีการปิดทองคําเปลวเป็นเส๎นขอบ หรือเป็นเกสร ดอกไม๎ที่ต๎องการเน๎นให๎เป็นสํวนสําคัญ หรืออาจจะใช๎รงค๑ซึ่งมีสีเหลืองเขียนเป็นลายแทนการปิดทองคําเปลวก็ จะมีความงดงามไปอีกแบบหนึ่ง ๔.๒ ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการใช๎แบบสอบถามกับ ผู๎ประกอบการด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านและผู๎แทนชุมชน จาก ๘ อําเภอ ได๎แกํ อําเภอเมืองเชียงใหมํ อําเภอสารภี อําเภอหางดง อําเภอสันปุาตอง อําเภอแมํริม อําเภอดอย

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๘


สะเก็ด อําเภอสันกําแพง อําเภอสันทราย นักวิชาการและบุคลากรระดับบริหารจากองค๑การบริหารสํวน จังหวัดเชียงใหมํ จํานวน ๓๗๓ คน28 ๔.๒.๑ การแสดงค่าร้อยละต่อประเด็นคาถามหลักของ “การเตรียมความพร้อมของเมือง เชียงใหม่ เพื่อการขับเคลื่อนเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์กร UNESCO ” - แสดงคําร๎อยละของความต๎องการให๎เมืองเชียงใหมํ มีพื้นที่แสดงความคิดสร๎างสรรค๑ด๎าน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ○ มาก ○ ปานกลาง ○ น๎อย ๘๒ %

๑๑ %

๗%

เกณฑ์ประเมินการรับรู้ รู้จัก และการไปเยี่ยมชมชุมชนเชียงใหม่ ต่ํากวํา ๖๐ = น๎อยที่สุด ๖๐ – ๖๙ = น๎อย ๗๐ – ๗๙ = ปานกลาง ๘๐ – ๘๙ = มาก ๙๐ – ๑๐๐ = มากที่สุด ตารางที่ ๔.๑ แสดงคําร๎อยละของการรับรู๎ รู๎จัก และการไปเยี่ยมชมชุมชนเชียงใหมํที่มีงานหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ๎านที่โดดเดํน (n=๓๗๓) การรับรู้ รู้จัก และ การไปเยี่ยมชน ความถี่ ร้อยละ แปลความหมาย ๑. งานไม๎แกะสลัก ๓๗๓ ๙๘ มากที่สุด ๒. เครื่องป๓้นดินเผา ๓๗๓ ๙๐ มากที่สุด 28

๑) บุคคลที่เป็นภูมิป๓ญญา สาขาตํางๆ ๙ สาขาที่เป็นตัวแทนและเป็นที่ยอมรับของสาธารณชนในการจรรโลงและสร๎างงานหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ๎านจํานวน ๙ สาขา สาขาละ ๘ คน รวม ๗๒ คน ๒) ผู๎ประกอบการขนาดใหญํ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก และที่เกี่ยวข๎องกับการจัดจําหนําย สินค๎าหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของเมือง เชียงใหมํ จําแนกเป็น ๙ สาขา ขนาดสถานประกอบการละ ๘ คน รวม ๒๑๖ คน ๓) ผู๎ประกอบการสํงออกสินค๎าหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านเมืองเชียงใหมํรวมทั้งผู๎ประกอบการด๎าน Logistics และ Packaging จํานวน ๕ บริษัทหลัก ๔) กลุํมผู๎แทนภาคเอกชนที่เกี่ยวข๎องกับการสํงเสริมเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑จากหัตถกรรมและศิลปวัฒนธรรม ได๎แกํ อุตสาหกรรมบริการ หอการค๎าจังหวัด สภาอุตสาหกรรมจังหวัด เครือขํายที่เกี่ยวข๎อง จํานวน ๓๐ หนํวยงาน ๕) กลุํมนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาและองค๑กรพัฒนาเอกชนและองค๑กรชุมชนที่ เกี่ยวข๎องกับหัตถกรรม ศิลปะพื้นบ๎านและ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข๎องในเชียงใหมํ จํานวน ๕๐ คน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๐๙


การรับรู้ รู้จัก และ การไปเยี่ยมชน ๓. กระดาษ (เชํน ตัดตุง งานกระดาษสา โคมลอย ฯลฯ) ๔. เครื่องเขิน ๕. งานผ๎า ๖. การกํอสร๎าง (ปราสาทศพ วิหาร สัตภัณฑ๑) ๗. งานวาดเขียน ๘. งานจักสาน ๙. งานบุดุนโลหะ สรุปภาพรวม

ความถี่ ๓๗๓

ร้อยละ ๗๓

แปลความหมาย ปานกลาง

๓๗๓ ๓๗๓ ๓๗๓ ๓๗๓ ๓๗๓ ๓๗๓ ๓๗๓

๗๔ ๙๕ ๖๑ ๗๗ ๘๗ ๘๒ ๘๑.๘๘

ปานกลาง มากที่สุด น๎อย ปานกลาง มาก มาก มาก

โดยภาพรวมแล๎วผลจากการวิเคราะห๑ข๎อมูลที่จัดเก็บได๎จากกลุํมตัวอยํางที่เป็นผู๎มีสํวนได๎สํวนเสีย จํานวน ๓๗๓ คน ได๎แกํ ผู๎ ป ระกอบการขนาดใหญํ ผู๎ ประกอบการขนาดกลาง ผู๎ ประกอบการขนาดเล็ ก ผู๎ สํ งออก นักวิชาการ ครูภูมิป๓ญญา ผู๎แทนเอกชนที่เกี่ยวข๎อง แสดงให๎เห็นภาพรวมวํา การรับรู๎ รู๎จัก และการไปเยี่ยมชม ชุมชนเชียงใหมํที่มีงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านที่โดดเดํน อยูํในระดับมาก (๘๑.๘๘%) ใน ๙ ประเภท (ตารางที่ ๔.๑) หากพิ จ ารณาในรายละเอี ย ดการแสดง การรั บรู๎ รู๎จั ก และการไปเยี่ย มชมชุ มชนเชี ยงใหมํ ที่ มีง าน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านที่โดดเดํนทําให๎พบวํา กลุํมตัวอยํางมีความรับรู๎ และการไปเยี่ยมชมชุมชนเชียงใหมํ ที่มีงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านที่โดดเดํนในประเภทงาน ในระดับมากที่สุด ถึง ๓ ประเภท ได๎แกํ งานไม๎ แกะสลั ก (๙๘%) รองลงมา งานผ๎ า (๙๕%) และ เครื่องป๓้นดินเผา (๙๐%) ตามลํ าดับ สํ วนประเภทที่ เหลืออยูํในระดับ มาก และ ปานกลาง (ตารางที่ ๔.๑) เกณฑ์ประเมินการเคยไปเยี่ยมงานส่งเสริมหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ที่จัดโดยหน่วยงานต่าง ๆ หรือชุมชน สมาคม ในรอบปีที่ผ่านมา ของกลุ่ มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการด้า นหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้านและผู้แทนชุมชน นักวิชาการและบุคลากรระดับบริหารจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ต่ํากวํา ๖๐ = ๖๐ – ๖๙ = ๗๐ – ๗๙ = ๘๐ – ๘๙ = ๙๐ – ๑๐๐ =

น๎อยที่สุด น๎อย ปานกลาง มาก มากที่สุด

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๐


ตารางที่ ๔.๒ แสดงคําร๎อยละของการเคยไปเยี่ยมงานสํงเสริมหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ที่จัดโดยหนํวยงาน ตําง ๆ หรือชุมชน สมาคม ในรอบปีที่ผํานมา ของกลุํมตัวอยํางที่เป็นผู๎ประกอบการด๎านหัตถกรรมและศิลปะ พื้น บ๎ านและผู๎แทนชุมชน นั กวิชาการและบุคลากรระดับบริห ารจากองค๑การบริหารสํ วนจังหวัดเชียงใหมํ (n=๓๗๓) งานส่งเสริมหัตถกรรม ความถี่ ร้อยละ แปลความ ๑. งานสํงเสริมหัตถกรรม บ๎านถวาย อําเภอหางดง ๓๗๓ ๙๕ มากที่สุด ๒. เทศกาลรํมบํอสร๎าง อําเภอสันกําแพง ๓๗๓ ๙๗ มากที่สุด ๓. งาน OTOP หนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ๑ ๓๗๓ ๘๑ มาก ๔. งานสํงเสริมศูนย๑สํงเสริมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ถ.ทุํงโฮเตล ๓๗๓ ๘๕ มาก ๕. งานสํงเสริมของดีตําบลสันผักหวานและมหัศจรรย๑ดินยิ้ม ๓๗๓ ๗๔ ปานกลาง ๖. มหัศจรรย๑ล๎านนาเมือง กระดาษสา บ๎านต๎นเปา ๓๗๓ ๖๓ น๎อย ๗. สัปดาห๑ของขวัญของที่ระลึก ถนนทุํงโฮเต็ล ๓๗๓ ๘๗ มาก สรุปภาพรวม ๓๗๓ ๘๓.๑๔ มาก โดยภาพรวมแล๎วผลจากการวิเคราะห๑ข๎อมูลที่จัดเก็บได๎จากกลุํมตัวอยํางที่เป็นผู๎มีสํวนได๎สํวนเสีย จํานวน ๓๗๓ คน ได๎แกํ ผู๎ ป ระกอบการขนาดใหญํ ผู๎ ประกอบการขนาดกลาง ผู๎ ประกอบการขนาดเล็ ก ผู๎ สํ งออก นักวิช าการ ครูภูมิป๓ญญา ผู๎ แทนเอกชนที่เกี่ยวข๎อง แสดงให๎เห็นภาพรวมวํา การเคยไปเยี่ยมงานสํ งเสริม หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ที่จัดโดยหนํวยงานตําง ๆ หรือชุมชน สมาคม ในรอบปีที่ผํานมา ของกลุํมตัวอยําง ที่เป็นผู๎ประกอบการด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านและผู๎แทนชุมชน นักวิชาการและบุคลากรระดับบริหาร จากองค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ (๘๓.๑๔%) ใน ๗ งานสํงเสริมงานหัตถกรรม ที่เกิดขึ้นในจังหวัด เชียงใหมํ (ตารางที่ ๔.๒) หากพิ จ ารณาในรายละเอี ย ดการแสดง การรั บรู๎ รู๎จั ก และการไปเยี่ย มชมชุ มชนเชี ยงใหมํ ที่ มีง าน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านที่โดดเดํนทําให๎พบวํา กลุํมตัวอยํางมีความรับรู๎ และการไปเยี่ยมชมชุมชนเชียงใหมํ ที่มีงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านที่โดดเดํนในประเภทงาน ในระดับมากที่สุด ถึง ๓ ประเภท ได๎แกํ งานไม๎ แกะสลั ก (๙๘%) รองลงมา งานผ๎ า (๙๕%) และ เครื่องป๓้นดินเผา (๙๐%) ตามลํ าดับ สํ วนประเภทที่ เหลืออยูํในระดับ มาก และ ปานกลาง (ตารางที่ ๔.๑)

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๑


เกณฑ์ ป ระเมิ น แสดงความต้ อ งการให้ เ มื อ งเชี ย งใหม่ มี ก ารจั ด งาน หรื อ จั ด กิ จ กรรมทางการ สร้างสรรค์เกี่ยวกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการด้านหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านและผู้แทนชุมชน นักวิชาการและบุคลากรระดับบริหารจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด เชียงใหม่ ต่ํากวํา ๑ ๑.๑ – ๒ ๒.๑ – ๓ ๓.๑ – ๔ ๔.๑ – ๕

= = = = =

น๎อยที่สุด น๎อย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ตารางที่ ๔.๓ แสดงความต๎องการให๎เมืองเชียงใหมํมีการจัดงาน หรือจัดกิจกรรมทางการสร๎างสรรค๑เกี่ยวกับ งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของกลุํมตัวอยํางที่เป็นผู๎ประกอบการด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านและ ผู๎แทนชุมชน นักวิชาการและบุคลากรระดับบริหารจากองค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ ระดับความต้องการ แปลความ เป้าหมายที่ต้องการ SD x ๑. การสร๎างความรู๎ ความเข๎าใจตํอหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ๎าน ๒. การสํ งเสริ มและอนุ รั กษ๑ งานหั ต ถกรรมและศิล ปะ พื้นบ๎าน ๓. การพัฒนางานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ๔. สร๎างทัศนคติตํอการยอมรับสิ่งที่มีอยูํแล๎วและพัฒนา ให๎ดีขึ้นด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ๕. เพื่อประชาสัมพันธ๑ให๎เกิดความรู๎อยํางกว๎างขว๎าง ๖. เพื่ อ กระตุ๎ น ให๎ เ กิด ความพร๎ อ มด๎ านเศรษฐกิ จ และ กระจายรายได๎จ ากผลผลิ ตด๎ านหั ตถกรรมและศิล ปะ พื้นบ๎าน ๗. เพื่ อ สร๎ า งความตระหนั ก ให๎ เ กิ ด การเตรี ย มความ พร๎อม

๔.๒

๐.๔๕

มากที่สุด

๔.๘

๐.๔๕

มากที่สุด

๕ ๔.๖

๐.๐๐ ๐.๕๕

มากที่สุด มากที่สุด

๕ ๕

๐.๐๐ ๐.๐๐

มากที่สุด มากที่สุด

๐.๐๐

มากที่สุด

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๒


ระดับความต้องการ SD x

เป้าหมายที่ต้องการ ๗.๑ ด๎านแรงงานฝีมือ ๗.๒ ด๎านบุคลากรงานธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ๗.๓ ด๎านการตลาด ๗.๔ ด๎านการบรรจุหีบหํอ ๗.๕ ด๎านการขนสํง และกระจายสินค๎า ๗.๖ การจัดการความรู๎เชิงอนุรักษ๑หัตกรรมและ ศิลปะพื้นบ๎าน ๘. เพื่อสร๎างระบบความรํวมมือ ระหวํางผู๎มีสํวนได๎สํวน เสีย ๘.๑ กลุํมผู๎ประกอบการด๎านหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ๎าน ๘.๒ กลุํมผู๎ผลิตสินค๎าเกี่ยวกับหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ๎าน ๘.๓ กลุํมหน๎างานที่สนับสนุน ๘.๔ กลุํมสถานการศึกษา ในการปลูกฝ๓่ง ความรัก และการจรรโลงหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน รวม

แปลความ

๕ ๔.๘ ๕ ๔.๖ ๔.๘ ๔

๐.๐๐ ๐.๔๕ ๐.๐๐ ๐.๕๕ ๐.๔๕ ๐.๗๑

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มาก

๐.๐๐

มากที่สุด

๐.๐๐

มากที่สุด

๐.๐๐

มากที่สุด

๔.๘ ๔.๔

๐.๔๕ ๐.๗๑

มากที่สุด มากที่สุด

๐.๐๐

มากที่สุด

โดยภาพรวมแล๎วผลจากการวิเคราะห๑ข๎อมูลที่จัดเก็บได๎จากกลุํมตัวอยํางที่เป็นผู๎มีสํวนได๎สํวนเสีย จํานวน ๓๗๓ คน ได๎แกํ ผู๎ ป ระกอบการขนาดใหญํ ผู๎ ประกอบการขนาดกลาง ผู๎ ประกอบการขนาดเล็ ก ผู๎ สํ งออก นักวิชาการ ครูภูมิป๓ญญา ผู๎แทนเอกชนที่เกี่ยวข๎อง แสดงให๎เห็นภาพรวมวํา ความต๎องการให๎เมืองเชียงใหมํมี การจัดงาน หรือจัดกิจกรรมทางการสร๎างสรรค๑เกี่ยวกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของกลุํมตัวอยํางที่เป็น ผู๎ประกอบการด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านและผู๎แทนชุมชน นักวิชาการและบุคลากรระดับบริหารจาก องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ ซึ่งมีระดับความต๎องการ ๕ (๐.๐๐) ซึ่งแปลความได๎ ในระดับ มากที่สุด (ตารางที่ ๔.๓) หากพิจารณาในรายละเอียด ความต๎องการให๎เมืองเชียงใหมํมีการจัดงาน หรือจัดกิจกรรมทางการ สร๎างสรรค๑เกี่ยวกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของกลุํมตัวอยํางที่เป็นผู๎ประกอบการด๎านหัตถกรรมและ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๓


ศิลปะพื้นบ๎านและผู๎แทนชุมชน นักวิชาการและบุคลากรระดับบริหารจากองค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ ในระดับมากที่สุด เกณฑ์ประเมิน แสดงปัจ จัยที่เข้าใจว่า ไม่เอื้ อการส่งเสริมและจรรโลงงานหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้านของเชียงใหม่ ต่ํากวํา ๑ ๑.๑ – ๒ ๒.๑ – ๓ ๓.๑ – ๔ ๔.๑ – ๕

= = = = =

น๎อยที่สุด น๎อย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ตารางที่ ๔.๔ แสดงป๓จ จัย ที่เข๎าใจวํา ไมํเอื้อการสํงเสริมและจรรโลงงานหัตถกรรมและศิล ปะพื้นบ๎านของ เชียงใหมํ ระดับความต้องการ

เป้าหมายที่ต้องการ

SD ๐.๐๐

๐.๗๑

ปานกลาง

๓ ๓ ๓.๔ ๓.๒ ๓ ๓ ๔.๖ ๔.๘

๐.๗๑ ๐.๗๑ ๐.๕๕ ๐.๘๔ ๐.๗๑ ๐.๗๑ ๐.๘๔ ๐.๔๕

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มากที่สุด มากที่สุด

x

๑. การสื บ ทอดภู มิ ป๓ ญ ญาด๎ า นหั ต ถกรรมและศิ ล ปะ พื้นบ๎าน ๒. กระบวนการผลิตสินค๎าหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน สํงผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อม ๒.๑ เสียง ๒.๒ กลิ่น ๒.๓ อากาศเป็นพิษ ๒.๔ ทัศนะอุจาด ๒.๕ การจัดการขยะ ๒.๖ น้ําเสีย ๓. วัสดุและวัตถุดิบในท๎องถิ่นมีราคาแพง ๔. เทคนิ ค การพั ฒ นาเพื่ อ เพิ่ ม มู ล คํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ๑ หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน

แปลความ มากที่สุด

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๔


ระดับความต้องการ

เป้าหมายที่ต้องการ

SD ๐.๗๑

๓.๕๕

๐.๒๔

x

๕. ความรู๎ ความเข๎าใจด๎านการสํงออกสินค๎าหัตถกรรม ความรู๎ความเข๎าใจด๎านระบบของการบรรจุหีบหํอเพื่อ สํงออก รวม

แปลความ ปานกลาง

ปานกลาง

โดยภาพรวมแล๎วผลจากการวิเคราะห๑ข๎อมูล ที่จัดเก็บได๎จากกลุํมตัวอยํางที่เป็นผู๎มีสํ ว นได๎สํว นเสี ย จํานวน ๓๗๓ คน ได๎แกํ ผู๎ ประกอบการขนาดใหญํ ผู๎ประกอบการขนาดกลาง ผู๎ประกอบการขนาดเล็ ก ผู๎ สํงออก นักวิชาการ ครูภูมิป๓ญญา ผู๎แทนเอกชนที่เกี่ยวข๎อง แสดงให๎เห็นภาพรวมป๓จจัยที่เข๎าใจวําไมํเอื้อการ สํงเสริมและจรรโลงงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของเชียงใหมํ ซึ่งมีระดับความต๎องการ ๓.๕๕ (๐.๒๔) ซึ่ง แปลความได๎ในระดับ ปานกลาง (ตารางที่ ๔.๔) หากพิจารณาในรายละเอียด ป๓จจัยที่เข๎าใจวําไมํเอื้อการสํงเสริมและจรรโลงงานหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ๎านของเชียงใหมํ กลุํมเปูาหมายที่ต๎องการในระดับมากที่สุดอยูํ ๓ กลุํมเปูาหมาย ได๎แกํ การสืบทอดภูมิ ป๓ญญาด๎านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ในระดับความต๎องการมากที่สุด (๕) รองลงมา เทคนิคการพัฒนาเพื่อ เพิ่มมูลคําผลิตภัณฑ๑หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (๔.๘) และ วัสดุและวัตถุดิบในท๎องถิ่นมีราคาแพง (๔.๖) ตามลําดับ สํวนกลุํมเปูาหมายที่เหลืออยูํในระดับปานกลาง (ตารางที่ ๔.๔) เกณฑ์ประเมิน แสดงความต้องการให้เมืองเชียงใหม่ ส่งเสริมให้มีการสร้างและจรรโลงเอกลักษณ์ และผลิตภัณฑ์ทางหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ต่ํากวํา ๑ ๑.๑ – ๒ ๒.๑ – ๓ ๓.๑ – ๔ ๔.๑ – ๕

= = = = =

น๎อยที่สุด น๎อย ปานกลาง มาก มากที่สุด

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๕


ตารางที่ ๔.๕ แสดงความต๎องการให๎เมืองเชียงใหมํ สํงเสริมให๎มีการสร๎างและจรรโลงเอกลักษณ๑และผลิตภัณฑ๑ ทางหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน ระดับความต้องการ แปลความ SD เป้าหมายที่ต้องการ ˉx ๑. ด้านเศรษฐกิจ ๑.๑ การพัฒนาจ๎างงาน ๑.๒ การกระจายรายได๎ยกระดับคุณภาพชีวิตและ ความเป็นอยูํของชุมชนท๎องถิ่นให๎ดีขึ้น ๑.๓ ชุมชน มีอาชีพหัตถกรรมเป็นอาชีพหลัก ๑.๔ ชุมชนมีรายได๎จากกิจกรรมงานหัตถกรรม รวมด้านเศรษฐกิจ ๒) ด้านสังคม/วิถีชีวิต ๒.๑ มีการบริหารจัดการชุมชนที่ดี ๒.๒ การมีสํวนรํวมของชุมชม ๒.๓ การหวงแหน และพัฒนางานหัตถกรรม ๒.๔ ความกลมเกลียวสามัคคีของชุมชน ๒.๕ การสร๎างโอกาสของการพึ่งพาตนเอง ๒.๖ การสร๎างความเข๎มแข็งแกํชุมชน รวมด้านสังคม/วิถีชีวิต ๓) ด้านสิ่งแวดล้อม ๓.๑ มีการจัดการสิ่งแวดล๎อมอยํางเป็นระบบ ๑ เสียง ๒ กลิ่น ๓ อากาศเป็นพิษ ๔ ทัศนะอุจาด ๕ การจัดการขยะ ๖ น้ําเสีย ๓.๒ มีแหลํงเรียนรู๎ด๎านการจัดการงานหัตถกรรม

๕ ๔

๐.๐๐ ๐.๖๑

มากที่สุด มาก

๔.๘ ๓ ๔

๐.๔๕ ๐.๕๑ ๐.๒๖

มากที่สุด ปานกลาง มาก

๔.๔ ๔.๖ ๕ ๔ ๔ ๔.๘ ๔.๔๗

๐.๗๑ ๐.๕๕ ๐.๐๐ ๐.๖๑ ๐.๖๑ ๐.๔๕ ๐.๒๕

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มาก มาก มากที่สุด มากที่สุด

๕ ๓.๒ ๓ ๓ ๓.๔ ๔ ๓.๒ ๕

๐.๐๐ ๐.๕๒ ๐.๕๑ ๐.๕๑ ๐.๕๔ ๐.๖๑ ๐.๕๒ ๐.๐๐

มากที่สุด ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก ปานกลาง มากที่สุด

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๖


ระดับความต้องการ SD ˉx

เป้าหมายที่ต้องการ ภายในชุมชน ๓.๓ การสร๎างเครือขํายความรํวมมือกับหนํวยงาน ตํางๆ ที่เกี่ยวข๎อง ๓.๔ ชุมชนมีสํวนรํวมในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล๎อมที่ใช๎เป็นวัตถุดิบสําหรับงานหัตถกรรม และงานศิลป์อยํางยั่งยืน รวมด้านสิ่งแวดล้อม ๔) ด้านวัฒนธรรมและการอนุรักษ์ ๔.๑ ประชาชนในพื้นที่ได๎ตระหนักถึงคุณคําของการ อนุรักษ๑งานหัตถกรรม ๔.๒ การสืบทอดการใช๎ภูมิป๓ญญาท๎องถิ่น ๔.๓ สามารถดัดแปลงวัสดุที่มีอยูํตามธรรมชาติมาใช๎ สร๎างสรรค๑ งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านได๎ ๔.๔ การสํงเสริมและจรรโลงศิลปะพื้นบ๎านที่มีความ งามอยํางเรียบงําย แตํสํงผลตํอการกระจายรายได๎ ๔.๕ การบูรณาการ ศิลปะเชิงสร๎างสรรค๑กับเชิง ธุรกิจและการตํอยอดอยํางยั่งยืน รวมด้านวัฒนธรรมและอนุรักษ์ รวมทั้งหมด

แปลความ

๐.๐๐

มากที่สุด

๔.๗

๐.๔๔

มากที่สุด

๔.๒๕

มาก

๐.๖๑

มาก

๔.๘ ๕

๐.๔๕ ๐.๐๐

มากที่สุด มากที่สุด

๐.๐๐

มากที่สุด

๔.๒

๐.๖๒

มากที่สุด

๕ ๔.๒

๐.๖๒ ๐.๒๕

มากที่สุด มากที่สุด

โดยภาพรวมแล๎วผลจากการวิเคราะห๑ข๎อมูล ที่จัดเก็บได๎จากกลุํมตัวอยํางที่เป็นผู๎มีสํ วนได๎สํว นเสี ย จํานวน ๓๗๓ คน ได๎แกํ ผู๎ ประกอบการขนาดใหญํ ผู๎ประกอบการขนาดกลาง ผู๎ประกอบการขนาดเล็ ก ผู๎ สํงออก นักวิชาการ ครูภูมิป๓ญญา ผู๎แทนเอกชนที่เกี่ยวข๎อง แสดงความต๎องการให๎เมืองเชียงใหมํ สํงเสริมให๎มี การสร๎างและจรรโลงเอกลักษณ๑และผลิตภัณฑ๑ทางหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน จากการหาคําเฉลี่ยได๎ ๔.๒ อยูํ ในระดับความต๎องการมากที่สุด (ตารางที่ ๔.๕)

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๗


หากพิ จ ารณาในรายละเอียด ความต๎อ งการให๎ เมื องเชี ยงใหมํ สํ งเสริ มให๎ มี การสร๎างและจรรโลง เอกลักษณ๑และผลิตภัณฑ๑ทางหั ตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน กลุํมเปูาหมายที่ต๎องการในระดับมากที่สุดอยูํ ๒ กลุํ มเปู าหมาย ได๎แกํ ด๎านวัฒนธรรมและอนุรักษ๑ (๕) รองลงมาคือ ด๎านสังคมและวิถีชีวิต (๔.๔๗) สํ ว น กลุํมเปูาหมายที่เหลืออยูํในระดับมาก (ตารางที่ ๔.๕) ๔.๒.๒ ข๎อคิดเห็นเพิ่มเติม จากกลุํมเปูาหมาย ๑. ระบบการรวมกลุํมและเครือขําย เกิดการแยกตัวของกลุํมที่เคยรวมตัวกัน เพราะวํา ประธานกลุํมหรือผู๎นํากลุํมในการรวมตัวกันได๎เสียชีวิตลงหรือไมํได๎ทําสินค๎าหัตถกรรมนี้แล๎ว ทําให๎สมาชิกกลุํม ไมํสามารถขับเคลื่อนกลุํมตํอไปได๎ ๒. การขาดแคลนวัตถุดิบและวัสดุในการผลิตสินค๎าหัตถกรรม เชํน เครื่องป๓้นดินเผา อําเภอหางดง ในป๓จจุบันนั้นดินซึ่งเป็นวัตถุดิบ สําคัญในการขึ้นรูปนั้นไมํมีในท๎องถิ่นแล๎ว แตํจะต๎องสั่งซื้อดิน จากอําเภอสารภีและจังหวัดลําปาง เครื่องจักสาน ในป๓จจุบันนั้นไม๎ไผํซึ่งเป็นวัตถุดิบสําคัญในการจักสานนั้นมี ไมํเพียงพอตํอความต๎องการของชํางจักสานในท๎องถิ่น ทําให๎ต๎องสั่งซื้อไม๎ไผํจากจังหวัดแพรํ จังหวัดนําน และ จังหวัดอุตรดิตถ๑ แล๎ วมีชํางจักสานบางเจ๎ าที่สั่ งซื้อไม๎ไผํ จากประเทศจีนและประเทศลาว งานผ๎ าใยกัญชง วัตถุดิบสําคัญในการผลิตผลิตภัณฑ๑จากใยกัญชง คือใยกัญชง แตํใยกัญชงนี้ชาวบ๎านไมํสามารถเพาะปลูกเองได๎ เพราะผิดกฎหมาย ต๎องซื้อใยกัญชงจากโครงการหลวงซึ่งมีราคาสูงหรือสั่งจากประเทศจีนเทํานั้น ๓. การสนั บ สนุ น จากภาครั ฐ และภาคเอกชนไมํ มี ค วามตํ อ เนื่ อ ง โดยภาครั ฐ และ ภาคเอกชนจะให๎การสนับสนุนในครั้งแรกที่เปิดศูนย๑หัตถกรรมขึ้นแล๎วหลังจากนั้นก็ไมํได๎ให๎ความสนใจและ ชํวยเหลือศูนย๑หัตถกรรมนั้นอีก ทําให๎ศูนย๑หัตถกรรมดังกลํา วไมํสามารถดําเนินงานตํอไปได๎ จนทําให๎ต๎องปิด ศูนย๑หัตถกรรมนั้นลงไป ๔. จากสถานการณ๑บ๎านเมืองที่ไมํปกติทําให๎เศรษฐกิจของประเทศตกต่ําลง(ถดถอย) ทําให๎ วัตถุดิบและวัสดุในการผลิตสินค๎าหัตถกรรมมีราคาสูงขึ้นจากเดิม การขนสํงก็มีคําใช๎จํายที่สูงขึ้น และผู๎บริโภค ก็มีจํานวนลดลง ๕. การสืบทอดงานหัตถกรรมจากรุํนสูํรุํนที่มีมาแตํอดีตนั้น ป๓จจุบันไมํมีการสืบทอดงาน หั ต ถกรรมแล๎ ว เพราะวํ า เด็ ก รุํ น หลั ง ในท๎ อ งถิ่ น ได๎ รั บ การศึ ก ษาที่ สู ง ขึ้ น ทํ า ให๎ ห วั ง ที่ จ ะทํ า งานในระบบ อุตสาหกรรมหรือบริษัทมากกวํา สํวนงานหัตถกรรมนั้นเด็กรุํนหลังในท๎องถิ่นเห็นเป็ นเพียงงานอดิเรกของ ผู๎สูงอายุ จึงทําให๎ไมํมีการสืบทอดจากรุํนสูํรุํนแตํจะมีการถํายทอดงานหัตถกรรมให๎กับคนตํางถิ่นที่สนใจ แตํก็ มีจํานวนที่น๎อยมาก ทําให๎วิธีทํางานหัตถกรรมบางอยํางลดน๎อยลงหรือสูญหายไปแล๎ว

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองวัฒนธรรมสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๘


๖. สภาพอากาศเป็นอุปสรรคตํอการผลิตสินค๎าหัตถกรรม เชํน การทํากระดาษสา จะต๎อง ตากกระดาษสาในที่โลํงแจ๎ง หากฝนตกก็จะทําให๎กระดาษสาเป็นราและแห๎งช๎า เครื่องป๓้นดินเผานั้นจะต๎อง ตากแดด กํอนเข๎าดินเผา ทําให๎มีป๓ญหาที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล ๗. ผู๎ประกอบการรายใหญํบางรายไมํได๎เข๎ารํวมอบรมกับกลุํมของรัฐบาลหรือชุมชน ทําให๎ เกิดการขัดแย๎งกัน ๘. การตลาดที่ผํานพํอค๎าคนกลาง ทําให๎ผู๎ผลิตได๎รายได๎ที่คํอนข๎างน๎อยกวําผลิตภัณฑ๑ที่ นํามาจัดจําหนํายด๎วยตนเอง ๙. กลุํมชาวบ๎านที่ไมํได๎รํวมกับ OTOP ทําให๎ไมํได๎รับการสนับสนุนจากกภาครัฐ ๑๐. การเข๎าใจวําการทํางานหัตถกรรมเป็นงานของคนสูงอายุ ทําให๎คนรุํนใหมํไมํอ ยากที่ จะทํางานหัตถกรรม และคนรุํนใหมํสํวนหนึ่งคิดวํางานหัตถกรรมเป็นงานที่ให๎รายได๎น๎อย ๑๑. ขาดแคลนผู๎ที่มีความรู๎ความสามารถและชํานาญการในการทํางานด๎านหัตถกรรม ทํา ให๎งานหัตถกรรมบางประเภทผลิตได๎ในปริมาณที่น๎อยและจํากัด อยํางไรก็ตาม กลุํมเปูาหมายดังกลําวมีความคิดเห็ นสนับสนุนให๎ หนํว ยราชการเป็นแกนหลั ก รํ ว มกั บ ผู๎ ป ระกอบการ และศิ ล ปิ น และเหลํ า ชํ า งประเภทตํ า ง ๆ รํ ว มกั บ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา โดยเฉพาะ มหาวิทยาลั ย เชีย งใหมํ ดําเนิ น การ เสริ ม สร๎างศักยภาพและความพร๎อมของเมืองเชี ยงใหมํ ให๎ เป็นเมือ ง สร๎างสรรค๑ (Creative City) ขององค๑การ UNESCO โดยควรต๎องมีการสังเคราะห๑ผลการศึกษาเอกลักษณ๑และ สภาพการณ๑ของหั ตถกรรมและศิลปะพื้น บ๎านของเมืองเชียงใหมํที่เกี่ยวข๎องกับเศรษฐกิจสร๎างสรรค๑ เพื่อ วิเคราะห๑ศักยภาพความเป็นไปได๎และความพร๎อมของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านของเมืองเชียงใหมํ ที่จะยื่น เสนอเป็น “เมืองสร๎างสรรค๑” (Creative City) โดยเป็นเครือขํายสมาชิกเมืองสร๎างสรรค๑ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art)และเพื่อจัดทําข๎อเสนอแนะ แนวทางและแผนปฏิบัติ การที่เกี่ยวข๎องกับการสํงเสริมงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎านเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํให๎เป็น “เมือง สร๎างสรรค๑” (Creative City) โดยเป็นเครือขํายสมาชิกเมืองสร๎างสรรค๑ขององค๑การUNESCO สาขาหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) ตํอไป

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค๑ ขององค๑การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art) เสนอตํอ องค๑การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ตุลาคม ๒๕๕๗

๔ - ๑๑๙


บทที่ ๕ ศักยภาพและสภาพการณ์ในปัจจุบันของงานหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน บทที่ ๕ นี้เป็นการนาเสนอผลของการศึกษาตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ ๒ คือ ศักยภาพและความพร้อมของ เมืองเชียงใหม่ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ขององค์การ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ซึ่งมีหัวข้อนาเสนอ ตามผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ ๒ ดังต่อไปนี้ ๕.๑ ศักยภาพและสภาพการณ์ในปัจจุบันของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๕.๑.๑ ศักยภาพของเมืองเชียงใหม่ทางด้านต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของ ก า ร เ ป็ น เ มื อ ง สร้างสรรค์ (Creative City) ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ตามนิยามขององค์การ UNESCO ๕.๑.๒ สภาพการณ์ในปัจจุบันของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน - ธุรกิจกับเส้นขนานงานอนุรักษ์ - อุตสาหกรรมส่งออก และการท่องเที่ยว - ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อค้าคนกลางและสล่า - การมอบหมายหรือผูกมัด ๕.๒ ความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ของ UNESCO ในสาขา หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๕.๓ แผนยุทธศาสตร์และการดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เข้าสู่การเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ของ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน(Crafts and Folk Art) ๕.๔ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑


๕.๑ ศักยภาพและสภาพการณ์ในปัจจุบันของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๕.๑.๑ ศักยภาพของเมืองเชียงใหม่ทางด้านต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของการเป็นเมืองสร้ างสรรค์ (Creative City) ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ตามนิยามขององค์การ UNESCO ศักยภาพเพื่อ การเป็ น เมือ งสร้ า งสรรค์ หมายถึงการแสดงถึงลั กษณะและสถานการณ์ที่เชี ยงใหม่ สามารถได้รับการยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ที่แสดงออกถึงเมืองที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมอันเป็น ส่วนสาคัญของเศรษฐกิจและสังคม บนรากฐานที่มั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการสั่งสมของภูมิ ปัญญามาแต่เนิ่นนาน โดยมีการรวมกลุ่มของคนทางานสร้างสรรค์ ด้วยสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดการลงทุนและ ความยั่งยืนในธุรกิจ ตามคานิยามศัพท์ดังกล่าวข้างต้น คณะที่ ปรึกษา ได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและผู้ให้ข้อมูล หลัก ดังได้นาเสนอ เอกลั กษณ์ ของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านไว้ในบทที่ 4 แล้ว พบว่า เมืองเชียงใหม่ โดยเฉพาะในพื้นที่ 8 อาเภอที่เป็นพื้นที่ศึกษา นั้น ได้แสดงถึงลักษณะและสถานการณ์ที่เชียงใหม่สามารถได้รับ การยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ที่แสดงออกถึงเมืองที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมอันเป็นส่วนสาคัญของ เศรษฐกิจและสังคม บนรากฐานที่มั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรม ศักยภาพดังกล่าวได้รับการยอมรับว่าเกิดจาก การที่เมืองเชียงใหม่ได้มีวิวัฒนาการและพัฒนาการของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกั บวัฒนธรรมการเสริมสร้าง ความรู้ด้านฐานวัฒนธรรมจนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน การสร้างโอกาสการมีงานทา การตลาด การกระจายรายได้ และส่งเสริม เผยแพร่ อนุรักษ์ และพัฒนาต่อยอดของผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภูมิ ปัญญา และวัฒนธรรมของเมืองเชียงใหม่ที่เกิดจากอาชีพ หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ทั้งนี้คณะที่ปรึกษาได้ กาหนดไว้จานวน ๙ ประเภทคือ ๑. งานปั้นหล่อ ๒. งานผ้า ๓. งานไม้ ๔. งานก่อสร้าง ๕. งานวาดเขียน ๖. งานจักสาน ๗. งานกระดาษ ๘. งานโลหะ ๙. งานเครื่องเขิน สาหรับเมืองเชียงใหม่ เมืองที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมเมืองหนึ่ง ของประเทศไทย เป็นความท้า ทายอย่างมาก ที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีแนวคิดในการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ ให้เป็นสมาชิกเครือข่าย รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๒


เมืองสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (City of Crafts and Folk Art) ขององค์การ UNESCO เช่นกัน และเพื่อให้เข้ากับเกณฑ์ขององค์การ UNESCO จาเป็นต้องอาศัยกรอบคิดเรื่อง แนวทางในการ ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ ที่แสดงถึงความพร้อมใน ๗ ด้านดังนี้ ๑. ความเข้าใจในทุกภาคส่วนของจังหวัดเชียงใหม่ ๒. มีการส่งเสริม วิจัย การเรียนรู้หัตถกรรมศิลปะพื้นบ้าน ทั้งในเชิงอุตสาหกรรม งานนวัตกรรม และการพัฒนาอย่างยั่งยืน ๓. การสร้างทัศนคติ ที่เปิดกว้างยอมรับสิ่งใหม่ ๆ ของประชาชน ๔. การสร้างพื้นที่และรูปแบบเมือง ที่สามารถใช้งานได้หลายวัตถุประสงค์ ๕. การประชาสัมพันธ์ชูความโดดเด่นของเมืองเชียงใหม่ ด้านงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๖. การมีความพร้อมด้านแรงงานและบุคคลากร สาหรับงานเชิงความรู้ ๗. มีความร่วมมือที่ดีของทุกฝุายที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยราชการ ภาคธุรกิจ ภาคการศึกษา และ ภาคประชาชน หน่วยงานที่สนับสนุน คณะที่ปรึกษาขอนาเสนอผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย จานวน ๓๗๓ คน ได้แก่ ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ ผู้ประกอบการขนาดกลาง ผู้ประกอบการขนาดเล็ก ผู้ ส่งออก นักวิชาการ ครูภูมิปัญญา ผู้แทนเอกชนที่เกี่ยวข้อง โดยอาศัยเกณฑ์ที่กาหนดเป็น เกณฑ์ประเมินความ พร้อมของเมืองเชียงใหม่ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ต่ากว่า ๖๐ = น้อยที่สุด ๖๐ – ๖๙ = น้อย ๗๐ – ๗๙ = ปานกลาง ๘๐ – ๘๙ = มาก ๙๐ – ๑๐๐ = มากที่สุด ตารางที่ ๔.๑ แสดงค่าความถี่และร้อยละ ของความพร้อมเมืองเชียงใหม่ ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (n=๓๗๓) องค์ประกอบความพร้อม ความถี่ ร้อยละ แปลความหมาย ๑. ความเข้าใจในทุกภาคส่วนของจังหวัดเชียงใหม่ ๓๗๓ ๖๑ น้อย ๒. มีการส่ งเสริม วิจั ย การเรี ย นรู้ หั ตถกรรมศิล ปะ ๓๗๓ ๙๗ มากที่สุด พื้น บ้ าน ทั้ งในเชิ งอุ ตสาหกรรม งานนวั ตกรรม และการพัฒนาอย่างยั่งยืน ๓. การสร้ า งทัศ นคติ ที่ เปิ ด กว้ างยอมรั บ สิ่ งใหม่ ๆ ๓๗๓ ๗๒ ปานกลาง ของประชาชน รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๓


องค์ประกอบความพร้อม ๔. การสร้างพื้นที่และรูปแบบเมือง ที่สามารถใช้งาน ได้หลายวัตถุประสงค์ ๕. การประชาสั ม พั น ธ์ ชู ค วามโดดเด่ น ของเมื อ ง เชียงใหม่ ด้านงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๖. การมีความพร้อมด้านแรงงานและบุคคลากร สาหรับงานเชิงความรู้ ๗. มี ค วามร่ ว มมื อ ที่ ดี ข องทุ ก ฝุ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง หน่ ว ยราชการ ภาคธุร กิจ ภาคการศึกษา และ ภาคประชาชน หน่วยงานที่สนับสนุน สรุปภาพรวม

ความถี่ ๓๗๓

ร้อยละ แปลความหมาย ๙๖ มากที่สุด

๓๗๓

๗๕

ปานกลาง

๓๗๓

๙๒

มากที่สุด

๓๗๓

๗๑

ปานกลาง

๔๐๐

๘๐.๕๗ มาก

โดยภาพรวมแล้ ว ผลจากการวิ เคราะห์ ข้อมูล ที่จัด เก็บได้จากกลุ่ มตัว อย่างที่เป็ นผู้ มีส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย จานวน ๔๐๐ คน ได้แก่ ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ ผู้ประกอบการขนาดกลาง ผู้ประกอบการขนาดเล็ก ผู้ ส่งออก นักวิชาการ ครูภูมิปัญญา ผู้แทนเอกชนที่เกี่ยวข้อง แสดงให้เห็นภาพรวมว่า เมืองเชียงใหม่มี ความ พร้อมระดับมาก (๘๐.๕๗ %) ใน ๗ ด้านตามเกณฑ์ขององค์การ UNESCO (ตามกรอบคิดเรื่อง แนวทางในการ ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่) (ตารางที่ ๔.๑) ซึ่งตีความได้ว่า ลักษณะและสถานการณ์ของเชียงใหม่ อยู่ในระดับที่ สามารถได้รับการยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ที่แสดงออกถึงเมืองที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมอันเป็น ส่วนสาคัญของเศรษฐกิจและสังคม บนรากฐานที่มั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการสั่งสมของภูมิ ปัญญามาแต่เนิ่นนาน โดยมีการรวมกลุ่มของคนทางานสร้างสรรค์ ด้วยสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดการลงทุนและ ความยั่งยืนในธุรกิจ หากพิจ ารณาในรายละเอียดตามเกณฑ์ขององค์การ UNESCO แล้ ว พบว่า เกณฑ์ที่มีความที่สุ ดคื อ เชียงใหม่มีการส่งเสริม ในระดับมากที่สุด ถึง ๓ เกณฑ์ ได้แก่ ในด้านวิจัย การเรียนรู้หัตถกรรมศิลปะพื้นบ้าน ทั้งในเชิงอุตสาหกรรม งานนวัตกรรม และการพัฒนาอย่างยั่งยืน (๙๗ %) รองลงมาเป็น การสร้างพื้นที่และ รูปแบบเมือง ที่สามารถใช้งานได้หลายวัตถุประสงค์ (๙๖%) และ การมีความพร้อมด้านแรงงานและบุ คคลากร สาหรับงานเชิงความรู้ (๙๒%) ตามลาดับ เกณฑ์ที่เหลืออยู่ในระดับมาก และ ปานกลาง (ตารางที่ ๔.๑) หากตีความในเชิงวิชาการของเมืองสร้างสรรค์แล้ว อาจกล่าวได้ว่าเชียงใหม่เป็น เมืองที่รู้จักด้วยภูมิหลัง ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม โดยที่ผู้เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นบุคคลหรือองค์กรสามารถเสาะหาประสบการณ์ ใหม่ ๆ ดั่งห้องทดลองสาหรับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เมืองต้องการที่จะได้รับการมองเห็นคุณค่า ยกย่องและ รับรองจากโลกโลกาภิวัตน์ แสดงทรัพย์สินทางวัฒนธรรมในเวทีโลก ทาให้ความคิดสร้างสรรค์เป็นส่วนประกอบ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๔


สาคัญ สาหรับเศรษฐกิจท้องถิ่นและการพัฒนาสังคม แบ่งปันความรู้สู่กลุ่มวัฒนธรรมต่าง ๆ ทั่วโลก สร้าง ศักยภาพและฝึ กอบรมทางด้านทักษะธุรกิจ แก่ผู้มีส่ ว นร่ว มทางวัฒ นธรรม พัฒ นานวัตกรรมโดยผ่ านการ แลกเปลี่ยนความชานาญ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญทางเทคนิค ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ ที่หลากหลายทาง วัฒนธรรม ในตลาดระดับชาติและนานาชาติ ๕.๑.๒ สภาพการณ์ในปัจจุบันของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน - ธุรกิจกับเส้นขนานงานอนุรักษ์ ในปัจจุบัน ร้านค้างานหัตถกรรมที่หลงเหลืออยู่ให้เห็นตามท้องตลาดทั่วไปนั้น ประเภทของงานที่ พร้ อมออกจ าหน่าย มักจะเป็ นผลงานประเภทของที่ระลึ กเป็นเสี ยส่ว นมาก เนื่องจากผู้ ผ ลิตได้เล็งเห็ น ว่า นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ ไม่ทราบประวัติความเป็นมา หรือวัตถุประสงค์การใช้งานจริง ๆ ของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ที่มาในรูปแบบต่าง ๆ ที่ถูกผู้ผลิตพัฒนาแล้ว หากแต่มีความเชื่อว่า เป็นผลงานงานหัตถกรรมของชาวเชียงใหม่ จึงเห็นคุณค่าของงานชิ้นนั้น โดยสิ่งที่ผู้ผลิตไม่ได้คาดหวังไว้ คือการอนุรักษ์งานหัตกรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ของ ตนเอง เพื่อให้ผู้อื่นได้ชื่นชมและสืบทอด หากแต่ผู้ผลิต ผลิตผลงานออกมาตามใจของผู้ซื้อ ทาให้สภาพการณ์ ของงานหัตถกรรมเปลี่ย นแปลงไป เอกลั กษณ์ของงานหั ตถกรรมถูกพัฒนาไปจนไม่เหลื อเค้าโครงตามรูป แบบเดิม ยกตัวอย่างเช่น งานหัตถกรรมประเภทเครื่องเงิน การบุดุนเครื่องเงิน ที่เป็นเอกลักษณ์ของชาว ชุมชนวัวลาย ตาบลหายยา จังหวัดเชียงใหม่ ร้านค้าส่วนมากในแถบนั้น จะผลิตผลงานในประเภทที่เป็นของที่ ระลึก และใช้วัสดุทดแทน คือทาโลหะมาแทนเครื่องเงิน เนื่องจากเงินมีราคาค่อนข้างสูง หากแต่จะขายให้กับ นักท่องเที่ยว ก็จะขายในราคาที่แพงไม่ได้ และรูปแบบที่ผลิตส่วนมาก จะเป็นงานชิ้นเล็ก ๆ ไม่ค่อยมีความ ละเอียดมากนัก เพราะผู้ผลิตมักจะคิดว่า นักท่องเที่ยวไม่ได้ให้ความสนใจในด้านนี้มากนัก จึงเน้นการผลิตที่ สามารถผลิตได้ครั้งละมาก ๆ งานบางร้านจึงออกมาแบบไม่ละเอียดลออนัก จึงทาให้เกิดปัญหาอยู่ ๒ รูปแบบ ด้วยกัน คือ ร้านที่ขายได้ แต่ไม่มีออเดอร์ กับร้านที่ขายไม่ได้ แต่มีออเดอร์ ยกตัวอย่างคือ ร้านที่ขายได้ จะเป็น ประเภทร้านที่มีหน้าร้าน และนักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวชมและซื้อกลับไปเป็นของที่ระลึกได้ ก็จะทาให้ร้านค้า ประเภทนี้ มีเงินกาไรหมุนเวียนเข้ามาตลอด อีกประเภทหนึ่ง คือ ร้านที่ขายไม่ได้ แต่มีออเดอร์ คือร้านที่ไม่มี หน้าร้านเป็นของตัวเอง แต่เป็นช่าง หรือสล่าที่มีฝีมือ เป็นที่รู้จักในแวดวงของงานเครื่องเงิน ทาให้จะได้รับออ เดอร์จากแหล่งสาคัญอื่น ๆ ที่เน้นความสวยงาม ละเอียดประณีต เพื่อนาผลิตภัณฑ์ไปใช้ในงานสาคัญ และช่าง ประเภทนี้ จ ะสามารถสร้างรายได้มากในบางช่ว งเวลาเท่านั้น แต่ก็จะสามารถทารายได้ ได้ครั้งละมาก ๆ เนื่องจากเป็นงานฝีมือ ที่ต้องใช้ทักษะสูงและใช้เวลานาน - อุตสาหกรรมส่งออก และการท่องเที่ยว ในช่วงระหว่างปี ๒๕๒๖ – ๒๕๒๗ ประเทศไทยประสบภาวะวิกฤตเศรษฐกิจจากราคาน้ามันใน ตลาดโลกถีบตัวสูงขึ้น นโยบายส่งเสริมการส่งออกสิ นค้าอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ได้ถูกนามาใช้ห า รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๕


เงินตราเข้าประเทศเพื่อลดปัญหาดุลชาระเงินต่อธนาคารโลก ซึ่งประสบความสาเร็จ เนื่องจากมาตราการทั้ง สองประเภทสามารถนาเงินตราเข้าประเทศได้มาก จนได้ชื่อว่าเป็นยุคทองของเศรษฐกิจภาคบริการ ที่ส่งผลให้ เกิดสินค้าแบบใหม่ที่เรียกว่า “สินค้าวัฒนธรรม” ซึ่งรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (๒๕๓๙,๑๕ -๑๗) ให้คาอธิบายถึง การที่วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้าว่า เนื่องจากวัฒนธรรมในเรื่องเกี่ยวกับวิถีการดาเนินชีวิตตามปกติของคน และ ในการดาเนินชีวิตนั้น ผู้คนมีความต้องการบริโภคทั้งสินค้า และการบริการ ที่สอดคล้องตามแบบแผนประเพณี ตลอดจนความเชื่อที่มีร่วมกันมา ซึ่งทาให้สินค้าและบริการดังกล่าวรากฐานทางวัฒนธรรมที่ฝังตัวอยู่ ความ ต้องการของนักท่องเที่ยวที่ต้องการมาสัมผัสกับวิถีชีวิตจริง หรือวัฒนธรรมขนานแท้ของคนไทย และต้องการ หาซื้อสินค้าที่มีสัญลักษณ์เป็นตัวแทนของวัฒนธรรมนั้น ๆ ติดไม้ติดมือเพื่อนาไปฝากญาติมิตรทางบ้าน ทาให้ สินค้าดังกล่าวซึ่งเดิมบริโภคใช้สอยกันอยู่ภายในชุมชนนั้น ๆ ได้รับการดัดแปลงคิดค้ นและปรับปรุงรูปแบบ ให้ ตอบสนองความต้ อ งการแบบใหม่ ข องนั ก ท่ อ งเที่ ย ว ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ ต้ อ งการน าไปท าประโยชน์ ใ ช้ ส อยจริ ง ใน ชีวิตประจาวัน นอกจากจะเป็นของที่ระลึกหรือประดับตกแต่งเท่านั้น ยิ่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทั้งจาก ภายในและต่างประเทศมีกิจการเติบใหญ่มากมายมหาศาล ความต้ องการในสินค้าและบริการที่หยั่งไว้ด้วย รากฐานทางวัฒนธรรมก็ยิ่งเพิ่มปริมาณสูงขึ้น ในขณะที่หัตถกรรมพื้นบ้านที่ใช้สอยในชีวิตประจาวันหลายอย่าง หรืออาจกล่าวได้ว่าเกือบทั้งหมดของคนไทยในช่วงเวลานั้น แทบจะสูญหายไปจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคน ไทยแล้ว ดังนั้นการกลายเป็นสินค้าวัฒนธรรมของเครื่องใช้ไม้สอยในวิถีชีวิตไทยดั้งเดิมนี้ จึงนับเป็นการรื้อฟื้น ภูมิปัญญาที่ฝังอยู่ในตัวของชาวบ้านในแถบชนบท ให้กลับคืนมา มีชีวิตชีวาใหม่อีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตามความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เท่ากับการคืนชีวิตเพียงเสี้ยวหนึ่งให้แก่งานหัตถกรรม พื้นบ้านของจังหวัดเชียงใหม่ ที่ต้องแลกกับเงื่อนไขของการมีจิตวิญญาณใหม่ ที่รับใช้ตอบสนองความต้องการ ของนักท่องเที่ยวจากภายนอก และแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน เพราะดูเหมือนว่าจะ ไม่ทาให้คนชนบท ซึ่งเป็นเจ้าของภูมิปัญญาการผลิตสินค้าทางวัฒนธรรมดังกล่าว อยู่ในสถานะที่ได้เปรียบและ ไม่เกิดผลดีเท่าที่ควรต่อการสืบทอดงานด้านวัฒนธรรม เนื่องจากเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินคุณค่า ซึ่งเป็นกลไกการสืบ ทอดการผลิตผลงานมีความแตกต่างกันในวัฒนธรรมเดิม งานหัตถกรรมที่ทาขึ้นเป็นสิ่งสะท้อนตัวตน วิธีคิดและ อุดมการณ์ที่ผูกโยงกับความเชื่อทางศาสนา วัฒนธรรมและสุนทรียะทางอารมณ์ของเจ้าของผู้ผลิต ในขณะที่ วัฒนธรรมใหม่ซึ่งเป็นวัฒนธรรมการท่องเที่ยว อุดมการณ์การผลิตจะอยู่ที่การตอบสนองความพึงพอใจของ ลูกค้า ซึ่งมีหลากหลายมิติเช่น ความพึงพอด้านราคา ฝีมือ หรือรสนิยมแห่งยุคสมัย เป็นต้น ดังนั้นเมื่อต้ องมา อยู่ในกระแสการแข่งขันของตลาดแบบทุนนิยม จึงต้องเลือกวิถีการผลิตที่อยู่ในเงื่อนไขของการแข่งขันทาง ธุรกิจ ที่ทาให้ได้กาไรสูงสุด ทาให้ชาวบ้านจาต้องผลิตงานให้ได้มากชิ้นในเวลาที่จากัด ความประณีตซึ่งแสดง คุณค่าของงาน ไม่สามารถให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่คุ้มค่า ในวิถีชีวิตที่ต้องพึ่งเงินตราทุกด้านเช่นปัจจุบัน ได้ ทั้งนี้เนื่องจากมีเงื่อนไขข้อจากัดหลายประการ เช่น ประการแรกมีการแข่งขันทางการค้าสูง โดยเฉพาะด้าน ราคา ประการที่สองผู้บริโภคซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนนอกวัฒนธรรม และมีแนวโน้มว่าจะเลือกอุดหนุนแต่ผลงานที่มี ราคาถู ก เนื่ องจากขาดความรู้ ค วามเข้า ใจ ในเรื่ องความหมายและคุ ณ ค่ า ของหั ต ถกรรมแต่ ล ะประเภท รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๖


ตลอดจนวิธีการผลิต งานดีมีคุณภาพซึ่งจาเป็นต้องใช้ต้นทุนสูง เนื่องจากต้องใช้เวลามากในการผลิต จึงมี ผู้สนับสนุนจากัด ทาให้งานหัตถกรรมที่ผลิตมานาน เพื่อตอบสนองตลาดการท่องเที่ยว ยากที่จะหางานที่มี คุณภาพได้ นอกจากนี้ประการที่สาม ฐานะทางเศรษฐกิจของชาวบ้านผู้ผลิตสินค้าวัฒนธรรมเหล่านี้ อยู่ใน ระดับที่ไม่มีทุนซื้อวัตถุดิบ และไม่มีเวลาเพียงพอในการผลิตผลงานที่มีคุณค่ามีความประณีตได้ เนื่องจาก ต้องการรายได้ในเวลาอันรวดเร็ว เพื่อมาบริโภคต่อวัน หากต้องผลิตงานประณีต จะทาให้ต้นทุนสูงและมีตลาด จากัดเฉพาะกลุ่มที่มีความรู้ มีรสนิยม ซึ่งเป็นตลาดที่แคบกว่าการขาย ต้องรอเวลา ซึ่งไม่ทันต่อสภาวะของการ หาเช้ากินค่าของผู้ผลิต - ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อค้าคนกลางและสล่า ๑) คนกลางที่เป็นทั้งผู้ซื้อผู้ขายและผู้อุปถัมภ์ (patron) นอกจากซื้องานในลักษณะที่เปิดให้ช่างมี อิสระแล้ว ยังหาโอกาสพาช่างไปชมการแสดงงาน การออกร้าน ดูผลงานดีเด่นจากการประกวด หรือไปเปิดหู เปิ ดตาไกลๆ ในต่างจั งหวัดจนถึงกรุ งเทพฯ เป็นกาให้ การศึกษาเพิ่มพูนประสบการณ์กับ วิช าชีพของช่า ง นอกจากนี้ในยามที่ช่างเจ็ บ ไข้ได้ปุ ว ย”คนกลาง” จะนาไปหาหมอ คนกลางลั กษณะนี้ไม่มีข้อผูกมัดที่เป็น กฎหมายสัญญาที่ชัดเจน หากแต่เป็นข้อผูกมัดที่เป็นสัญลักษณ์ เป็นนามธรรม เป็นการแลกเปลี่ยนทางสังคม (Social Exchange) ที่ยังประโยชน์ร่วมกันแก่ทั้งสองฝุาย เป็นสิ่งที่สังคมไทยเรียกว่าบุญคุณ ที่ร้อยรัดคนให้ มี ความเกี่ยวพันกันที่ยั่งยืน ๒) คนกลางเป็นทั้ง “พ่อค้า”และ”ช่าง” ด้วยช่างบางคนมีความสามารถในทางบริหารจัดการ นากลุ่มช่างทางานภายใต้คาปรึกษาดูแลควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของตนจัดการเรื่องออกแบบการหา ตลาด นาผลงานไปจาหน่าย จัดหาวัสดุ รับงานพิเศษมาให้กลุ่มทาโดยที่ ตนเองก็เป็นผู้ทาเคียงข้างช่างเหล่านั้น มีความสัมพันธ์ระหว่างช่างต่อช่างเกิดการถ่ายทอดสืบสานงานช่างขึ้น คนกลางประเภทนี้กาลังสร้างช่างใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ๓) คนกลางที่เป็นนักธุรกิจโดยตรงในเชิงเดี่ยว กล่าวคือ ทาธุรกิจโดยไม่จัดความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ผลิตกับผู้ซื้ออย่างสอดคล้องกับธรรมชาติของการผลิตทางศิล ปะและวัฒนธรรมจึงมักสร้างข้อผูกมัดด้ว ย วิธีการต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างคนกลางประเภทนี้กับช่างมักนาไปสู่ความขัดแย้ง ส่งผลให้เกิดการย้ายเข้า ออกของช่าง ส่งผลทางลบต่อธุรกิจของคนกลางเองและช่างด้วยในที่สุด

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๗


- การมอบหมายหรือผูกมัด จ าเป็ น ต้องกล่ า วถึงลั กษณะส าคั ญอย่า งหนึ่ง ของการท า “ธุ รกิจ ศิล ปะ” ในประเทศไทยที่ มี รูปแบบแตกต่างไปจากสากล กล่าวคือโดยทั่วไปแล้ว ศิลปินจะไม่ขายผลงานด้วยตัวเอง แต่จะขายผ่านคนกลาง (Art Dealer)ในลักษณะมอบงาน(Consign) ไว้กับแกลลอรี่หรือสถานที่แสดงและขายศิลปะ จนกว่างาน เหล่านั้นจะขายได้แล้วเจ้าของแกลลอรี่จึงจะจ่ายเงินให้กับศิลปิน ตามสัดส่วนที่ทั้งสองฝุายได้ตกลงกันซึ่งโดย ปกติแล้วมักทาด้วยการลงนามเพื่อให้เป็นสัญญาที่ผูกพันกันตามกฎหมาย(Contract) ภายใต้ข้อตกลงดังกล่าว ทั้งคนกลางและศิลปินต่างก็มีพันธกรณีของตน ศิลปินพึ งสร้างสรรค์หรือผลิตผลงานที่ดีที่สุด คนกลางต้องหา ลูกค้าและPromoteผลงาน ทาประชาสัมพันธ์ในสื่อต่างๆ เพื่อให้ศิลปินมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในสาธารณะชนเพื่อ ความสาเร็จในธุรกิจร่วมกัน แต่ในแวดวงธุรกิจศิลปะในเมืองไทยมีการปฏิบัติที่แตกต่าง กล่าวคือคนกลางจะซื้อ ขาดผลงานจากศิลปินไปเลยด้วยเงินสดในราคาที่ค่อนข้างต่า ตามดุลพินิจของคนกลางว่าจะนาไปขายต่อให้ ลูกค้าในราคาเท่าใด ทั้ง ๒วิธี ต่างมีข้อดีข้อเสีย งานวิจัยนี้จะไม่ลงรายละเอียด แต่ต้องการจะเปรียบเทียบว่า กฎเกณฑ์ทางธุรกิจศิลปะในบ้านเรายังคงมีลักษณะหลวมๆ อิสระกว่าต่างประเทศ ยิ่งกว่านั้นเรื่องข้อผูกมัด (EXCRUSION) ระหว่างศิลปินกับคนกลางที่เป็นธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไป ยังไม่เคร่งครัดในสังคมธุรกิจศิลปะ ของประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมา วงการธุรกิจขายสินค้าหัตถกรรมก็เช่นเดียวกัน ธุรกิจศิลปหัตถกรรมของ เมืองไทยดาเนินไปตามธรรมชาติของตัวมันเอง จะมีบ้างก็เป็นเรื่องสานึกแบบเกรงใจกันโดยปราศจากข้อบังคับ หรือสัญญา ช่างคนหนึ่งกล่าวว่า “ทางบ้านถวายมาเห็นอยากให้ผมแกะบ้าง บอกว่าเอามาพ่วงกันเดือนหนึ่ง แกะให้ ๕วัน บ่ได้ก้า.... ผมทาอย่างนั้นบ่ได้มันบ่ซื่อต่อกัน ” แต่หากหาทางออกเกี่ยวกับรายได้เมื่อถึงคราว จาเป็นช่างก็ต้องทา เช่น ช่างบางคนกล่าวไว้ว่า ”เงินเป็นปัจจัยหนึ่งที่สาคัญ ถ้าเงินบ่พอก็ต้องออกไปหาข้าง นอกเหมือนกัน” “ข้างนอก” คืองานอื่น ไม่ใช่ทาให้คนกลางรายอื่น อย่างไรก็ตาม หากจะวิเคราะห์ลงลึกเฉพาะลงลึกเฉพาะความสัมพันธ์ที่มองว่า “หลวมๆ” ดังกล่าวนั้นอันทีจ่ ริงกลับเป็นพันธนาการที่สาคัญที่สามารถอธิบายด้วยความสัมพันธ์แบบทุนนิยมรากฐาน ความสัมพันธ์ในสังคมไทยที่ยังพัฒนาและยังคงมีอยู่คือ ความสัมพันธ์แบบเครือญาติและแบบอุปถัมภ์ ที่การ เกรงใจ บุญคุณ การเห็นอกเห็นใจหรืออื่นๆ ล้วนเป็นพันธนาการที่ร้อยรัดไม่ให้เกิดความหลวมในความสัมพันธ์ แบบ “หลวมๆ” ดังกล่าว เราจะพบว่าความสัมพันธ์แบบไทยๆ เข้าไปแทรกอยู่ในทุกมิติของความสัมพันธ์การ ผลิตแบบทุนนิยม ขณะเดียวกันช่างก็ใช้เงื่อนไขของความสัมพันธ์นี้รักษาสัญญาการจ้างงานให้นานที่สุดที่ อย่าง น้อยช่างก็มี Order โดยที่ตนเองไม่ต้องยุ่งเกี่ยวกับระบบตลาด ทั้งๆที่ในระบบทุนนิยมนั้น ถ้ายิ่งแยกผู้ผลิตออก จากผู้ขายได้ ก็จะทาให้อานาจการเป็นเจ้าและการต่อลองทางการค้ายิ่งอ่อนด้อยลงในแต่ละฝุาย

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๘


๕.๒ ความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ของ UNESCO ในสาขา หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ความพร้อมเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ หมายถึงผลการเปรียบเทียบระหว่างสถานการณ์ปัจจุบันและ สถานการณ์ที่คาดหวังของศักยภาพ เพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์โดยใช้รูปแบบการประเมินความต้องการ (Needs Assessment) ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างการเปรียบเทียบสองสถานการณ์ดังกล่าว เมื่อประมวลค่าทางสถิติพรรณนา หรือประมวลค่าโดยวิธีการตีความหมาย ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิง คุณภาพตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแล้ว หากค่าของสถานการณ์ที่คาดหวังสูงกว่าค่าของสถานการณ์ใน ปัจจุบันตามประเด็นของศักยภาพเพื่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ แล้วค่าดังกล่าวย่อมตีความได้ว่าเป็นระดับ ความพร้ อ มของการเป็ น เมื อ งสร้ า งสรรค์ หากน าตั ว แปรอื่ น ๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งมาพิ จ ารณาในเชิ ง ปั จ จั ย และ กระบวนการกับเงื่อนไขแห่ งกลไกขับ เคลื่ อนแล้ ว ย่อมตีความหมายได้ถึงระดับความเป็นไปได้ในการเข้าสู่ กระบวนการเป็นเมืองสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ๑) การส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น (การขับเคลื่อนจากภาครัฐ) จากความตระหนักในอิทธิพลของความทันสมัยแบบตะวันตก และกระแสอุตสาหกรรมที่คุกคาม นาความเสื่อมถอยมาสู่วัฒนธรรมท้องถิ่น รัฐบาลจึงมีนโยบายรณรงค์ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยรื้อฟื้นการ ทางานของหน่วยงานด้านวัฒนธรรมขึ้นมาใหม่ ในรูปของสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ในปี ๒๕๒๒ คณะอนุกรรมการหลายชุดได้ถูกแต่งตั้งขึ้น เช่นอนุกรรมการส่งเสริมการแต่งกายแบบไทย รับผิดชอบ การทาให้คนไทย หัน มานิยมผ้าไทย เป็นการสร้างตลาดภายในประเทศ ด้วยการส่งเสริมอาชี พหัตถกรรม พื้นบ้าน อนุกรรมการฝุายวัฒนธรรมพื้นบ้าน รับผิดชอบด้านการฟื้นฟูเอกลักษณ์ความเป็นท้องถิ่น ให้กลับคืน มาด้วยการประสานงาน กับกรมพัฒนาชุมชน กลุ่มแม่บ้านทอผ้า ถูกตั้งขึ้นในหลายพื้นที่ เพื่อส่งเสริมอาชีพจาก หัตถกรรมพื้นบ้าน แล้วจากการประกาศให้ปี ๒๕๓๗ เป็นปีรณรงค์วัฒนธรรมไทย ราชการได้ขอความร่วมมือ ไปยังข้าราชการในหน่วยงานต่าง ๆ ทั่วประเทศโดย ให้แต่งกายแบบท้องถิ่นทุกวันศุกร์ แต่การรณรงค์ส่งเสริม วัฒนธรรมไทยในครั้งนี้ มีลักษณะที่แตกต่างไปจากเดิม ในสมัยลัทธิชาตินิยม คือเอกลักษณ์ไทยที่ส่งเสริมใน คราวนี้ มีตัวตนของความเป็นท้องถิ่น (Local Identity) มากขึ้น แล้วทาในรูปแบบของการขอความร่วมมือ มากกว่าการบังคับ สาหรับความรับผิดชอบในการรณรงค์วัฒนธรรมในส่วนของท้องถิ่นนั้น เริ่มมีการระบุไว้ ชัดเจนในพระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๖ ให้อยู่ใน ความรับผิดชอบ ของสถาบันวัฒนธรรมศึกษา ผลจากการรณรงค์วัฒนธรรมท้องถิ่น ด้านการแต่งกายในครั้งนี้ ส่งเสริมให้เกิดความต้องการใช้ผ้า พื้นเมืองของแต่ละท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้น เมื่อรวมกับความร่วมมือของกระทรวงอุตสาหกรรม ในด้านการตลาด ซึ่ง จัดให้มีการแสดงสินค้าพื้นเมืองในโอกาสต่าง ๆ ทาให้ตลาดผ้าทอพื้นเมืองขยายตัวออกไปอย่างกว้างขวางทั่ว รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๙


ประเทศ การรับเอาวัฒนธรรมต่างถิ่น เป็นไปอย่างแพร่หลาย เช่น คนภาคกลางนุ่งผ้ามัดหมี่ของชาวอีสาน คน อีสานนุ่งผ้าตีนจกของไทลื้อ คนกรุงเทพนุ่งผ้ายกดอกของลาพูน คนเหนือนุ่งผ้าเกาะยอ เป็นต้น แต่เป็น การรับ เฉพาะรูปแบบของวัฒนธรรมเท่านั้น หากแต่ใช้การสวมใส่ผ้าซิ่นหรือผ้าพื้นเมือง เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงความ เป็นไทย ความหมายที่ซ่อนอยู่ในผ้าพื้นเมือง และจังหวะในการใช้ที่สอดคล้องตามความเชื่อ ไม่เป็นที่สนใจของ ผู้ใช้ต่างวัฒนธรรม จึงเห็นการนาเชิงตีนจกซึ่งชาวไทยวน นามาใช้เฉพาะเป็นเชิงผ้าซิ่นนั้นมาตัดเป็นเสื้อผ้า สาหรับผู้ชาย หรือการนาเสื้อของชนกลุ่มน้อยที่สวมใส่เฉพาะในการทาพิธีกรรมเท่านั้น มาใส่เป็นเสื้อกันหนาว เป็นต้น และเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่ไม่มีความรู้ และไม่ต้องการเข้าถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ แท้จ ริ ง ผ้ าพื้น เมือง จึ งถูกผลิ ตโดยเน้ น การใช้สี สั นและรูปแบบ การใช้ประโยชน์ที่ตอบสนองรสนิยมของ ผู้บริโภคเป็นหลัก ในช่วงนี้ผ้าพื้นเมืองจึงอยู่ในสภาพของการกลายร่าง ดังเป็นที่รู้จักกันผ่านคาที่ใช้ในวงการผ้า พื้นเมืองว่า “ผ้าพื้นเมืองแบบประยุกต์” ๒) นโยบายการแก้ปัญหาของรัฐ เพื่อติดตามความเคลื่อนไหวทางฝุายรัฐว่ามีนโยบายอย่างไรต่อปัญหานี้ โดยมีประเด็นที่น่าจะมี การวิเคราะห์ศึกษาในกลุ่มหัตถกรรมว่า ๒.๑) วิเคราะห์นโยบายปุาไม้ ว่าจะช่วยส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมของงานหัตถกรรม หรือไม่ เสนอแนวทางแก้ไข ๒.๒) ปัญหาวัตถุดิบของกลุ่มหัตถกรรม ว่าจะมีการปลูกต้นไม้ได้หรือไม่ เสนอรูปแบบการ ปลูกที่เหมาะสม ๒.๓) ความจาเป็นในการพัฒนาบุคคลและเสนอแนวทางในการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ ท้องถิ่น เพื่อรักษาคุณภาพของงานหัตถกรรม ๒.๔) การสร้างสรรค์งานหัตกรรมกับงานส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ๒.๕) ควรจะมีการจัดกลุ่มหัตถกรรม ในรูปแบบใด อาจเสนอได้หลายรูปแบบ ๒.๖) รัฐและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ควรให้สิ่งจูงใจแก้เจ้าของกิจกรรมหัตถกรรมอย่างไร ๒.๗) เสนอแนะประเด็นที่ควรแก้ไข กฎหมาย ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม ๒.๘) กิจกรรมหัตถกรรม จะมีส่วนส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมของคนชนบทอย่างไร ๒.๙) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น จากกิจกรรมหัตถกรรมและแนวทางแก้ไข ประเด็นต่างๆดังกล่าวนี้สะท้อนให้เห็นว่า รัฐได้ตระหนักและมีเจตนารมณ์ที่จะแก้ปัญหาให้กับ อาชีพผู้ทาหัตถกรรมอยู่ระดับหนึ่ง ในฐานะที่ผู้วิจัยได้สัมผัสกับบุคคลทั้งสองฝุาย คือฝุายชาวบ้านแ ละฝุาย วิชาการ ภายใต้การบริหารของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐพิจารณาได้เป็น ๒ระดับคือ ระดับสูง “แนวตั้ง” อันมี ข้าราชการ หัวหน้าส่วนวิชาการในสาขาวิชาเกี่ยวกับปุาไม้และเศรษฐกิจ ต่างมีอานาจและวางแผนการแก้ไข รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๐


ปัญหาด้วยนโยบายที่ดี แต่ในทางปฏิบัติยังเกิดช่องว่างกับ ”แนวนอน”หรือเจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติ งานในระดับล่าง อาจจะกล่าวได้ว่าหลักการไปอย่าง ปฏิบัติไปอย่างก็คงไม่ผิดนัก ๕.๓ แผนยุทธศาสตร์และการดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เข้าสู่การเป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ของ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน(Crafts and Folk Art) ๕.๓.๑) ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาดของการบริการ (Service Marketing Mix) หรือ ๗P’s ในการดาเนินงานทางธุรกิจนี้ ผู้ประกอบการจะต้องเตรียมความพร้อมในการแข่งขัน ด้วยการศึกษา ข้อมูลสภาพแวดล้อมทั่วไป ภาวะเศรษฐกิจ การเลือกตลาดเปูาหมาย การศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค รวมถึง การศึกษาส่วนประสมทางการตลาด เพื่อการพัฒนาตลาดที่ตอบสนองผู้บริโภคได้อย่างเหมาะสม การศึกษา ส่วนประสม การศึกษาส่วนประสมทางการตลาด ทาให้นักการตลาดวิจัยตลาด และศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค ในกลุ่มเฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น และจะทาให้การวางแผนการตลาดเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดอีกด้วย เนื่องจากส่วนประสมของการตลาด หมายถึง ตัวแปรทางการตลาดที่ควบคุมได้ ซึ่งหน่วยงานใช้ร่วมกันเพื่อ ตอบสนองความพึงพอใจแก่กลุ่มเปูาหมาย ส่วนประสมทางตลาด จึงจัดเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ทางการตลาด โดยพื้นฐานทั่วไป จะประกอบด้วย ๔P’s ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) ช่องทางการจาหน่าย (Place) และการส่งเสริมการตลาด (Promotion) แต่ส่วนประสมทางการตลาดของการบริการ จะแตกต่างจาก ส่วนประสมทางการตลาดโดยทั่วไป โดย Zeithaml และ Bitner (๑๙๙๖) ได้เสนอแนวคิดใหม่ในเรื่องส่วน ประสมทางการตลาด สาหรับการบริการ ซึ่งประกอบไปด้วย ส่วนประสมทางการตลาดดั้งเดิม หรือ ๔P’s รวม กับส่วนประสมอีก ๓ ส่วน ได้แก่ บุคลากรหรือพนักงาน (People) กระบวนการในการบริการ (Process) และ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Evidence) ดังนั้น ส่วนประสมสาหรับการตลาดบริการ จึงประกอบด้วย ๗P’s (ชัยสมพล ชาวประเสริฐ, ๒๕๔๗ : ๖๓-๘๓) ดังนี้ ๑) ผลิตภัณฑ์ (Product) ๒) ราคา (Price) ๓) ช่องทางการจาหน่าย (Place) ๔) การส่งเสริมการตลาด (Promotion) ๕) บุคลากรหรือพนักงาน (People) ๖) กระบวนการในการบริการ (Process) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๑


๗) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Evidence) มีนักวิชาการหลายท่าน ได้อธิบายเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาด (Services Marketing Mix) อาทิ เช่น ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (๒๕๔๑:๗๔-๗๙) ธีรกิติ นวรัตน์ ณ อยุธยา (๒๕๔๔) และชัยสมพล ชาว ประเสริฐ (๒๕๔๙:๗๔-๗๙) ได้อธิบายส่วนประสมทางการตลาดไว้ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ๕.๓.๑.๑ ผลิตภัณฑ์และการบริการ (Product) หมายถึง สิ่งที่นาเสนอแก่ตลาด เพื่อสนอง ความต้องการของลูกค้าพึงพอใจผลิตภัณฑ์ที่เสนอขาย ลูกค้ามีความต้องการเป็นกรรมสิทธิ์ การใช้ การ บริโภค ซึ่งอาจมีตัวตน หรือไม่มีตัวตนก็ได้ ผลิตภัณฑ์จึงประกอบด้วย สินค้า บริการ ความคิด สถานที่ องค์ ก ารบริ ห ารบุ ค คล ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต้ อ งมี อ รรถประโยชน์ มี มู ล ค่ า ในสายตาของลู ก ค้ า จึ ง มี ผ ลท าให้ ผลิตภัณฑ์สามารถขยายได้ ๕.๓.๑.๒ ราคา (Price) หมายถึง คุณค่าผลิตภันฑ์ในรูปแบบตัวเงิน จัดเป็นต้นทุนของลูกค้า ผู้บ ริโ ภคจะเปรีย บเทีย บระหว่างคุณค่าผลิตภัณฑ์ กับราคาผลิ ตภัณฑ์ ดังนั้น กลยุทธ์ด้านราคาต้อง คานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ๒.๑) คุณค่าที่รับรู้ (Product Value) ในสายตาของผู้บริโภคซึ่งต้องพิจารณาว่า ผู้บริโภค ยอมรับในคุณค่าของผลิตภัณฑ์ ที่สูงกว่าราราผลิตภัณฑ์นั้น ๒.๒) ต้นทุนสินค้า และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ๒.๓) การแข่งขันของคู่แข่งในที่มีอยู่ในตลาด ๒.๔) ปัจจัยอื่น ๆ ๕.๓.๑.๓ การจัดจาหน่าย (Place) หมายถึง ทาเลที่ตั้ง การจัดสถานที่ให้บริการ และโครงสร้าง ของช่องทาง ซึ่งประกอบด้วย สถาบันและกิจกรรมเพื่อเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ และบริการจากองค์กรไป ยังตลาด สถาบันที่นาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดเปูาหมาย คือ สถาบันการตลาด ส่วนกิจกรรมที่ช่วยในการ กระจายสินค้า ประกอบด้วย การขนส่ง การคลังสินค้า และการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง การจัดจาหน่าย ประกอบด้วย ๒ ส่วนดังนี้ ๓.๑) ช่องทางการจาหน่าย หมายถึง เส้นทางผลิตภัณฑ์ และกรรมสิทธิ์ถูกเปลี่ยนมือไปยัง ตลาดในระบบช่องทางการจัดจาหน่าย จึงประกอบด้วยผู้ผลิต คนกลาง ผู้บริโภคหรือผู้ใช้อุตสาหกรรม ๓.๒) การสนับสนุนการกระจายตัวสินค้าสู่ตลาด หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนย้ายตัวผลิตภัณฑ์ จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค หรือผู้ใช้ช่องทางอุตสาหกรรม การกระจายตัวสินค้า จึง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๒


ประกอบด้วยงานที่สาคัญ ได้แก่ ๑.การขนส่ง ๒.การเก็บรักษาสินค้า และการคลังสินค้า และ ๓.การบริหาร สินค้าคงคลัง ๕.๓.๑.๔ การส่งเสริมการตลาด (Promotion) เป็นการติดต่อสื่อสารเกี่ยวข้องระหว่างผู้ขาย ผู้ ซื้ อ เพื่ อ สร้ า งทั ศ นคติ แ ละพฤติ ก รรมการซื้ อ การติ ด ต่ อ สื่ อ สาร อาจใช้ พ นั ก งานท าการขาย และการ ติดต่อสื่ อสารโดยไม่ใช้คน เครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสารหลายประการ ซึ่งอาจจะเลื อกใช้ห นึ่งหรือหลาย เครื่ อ งมื อ โดยพิ จ ารณาถึง ความเหมาะสมของลู ก ค้า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ คู่ แ ข่ ง โดยบรรลุ จุ ด มุ่ ง หมายร่ ว มกั น ได้ เครื่องมือสาคัญต่อไปนี้ ๑) การโฆษณา (Advertising) เป็นกิจกรรมในการนาเสนอข่าวสารเกี่ยวกับองค์กรหรือ ผลิตภัณฑ์ บริการ หรือความคิดที่ต้องมีการจ่ายเงิน โดยผู้อุปถัมภ์รายการ กลยุทธ์ในการโฆษณา เกี่ยวข้องกับ ๑.๑) กลยุทธ์การสร้างโฆษณา และกลยุทธ์การโฆษณา ๑.๒) กลยุทธ์สื่อ ๒) การขายโดยใช้พนักงานขาย เป็นกิจกรรมการแจ้งข่าวสารและจูงใจตลาดโดยบุคคล ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ ๒.๑) กลยุทธ์การขายโดยพนักงานขาย ๒.๒) การจัดการจาหน่ายขาย ๓) การส่ งเสริ มการขาย หมายถึง กิจกรรมการส่ งเสริมการขาย ที่นอกเหนือจากงาน โฆษณา การขายโดยใช้พนักงานขาย การให้ข่าว และการประชาสัมพันธ์ ซึ่งสามารถกระตุ้นความ สนใจ ทดลองใช้ หรือการซื้อโดยลูกค้าขั้นตอนสุดท้าย หรือบุคคลอื่น ในช่องทางการส่ง เสริมการ ขายมี ๓ รูปแบบ คือ ๓.๑) การกระตุ้นผู้บริโภค เรียกว่า การส่งเสริมการขายที่มุ่งเน้นบริโภค ๓.๒) การกระตุ้นคนกลาง เรียกว่า การส่งเสริมการขายที่มุ่งเน้นสู่คนกลาง ๓.๓) กระตุ้นพนักงานขาย เรียกว่า การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่พนักงานขาย ๔) การให้ข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ การข่าวสารเป็นการเสนอความคิดเกี่ยวกับ สินค้า หรือบริการที่ไม่ต้องมีการจ่ายเงิน ส่วนการประขาสัมพันธ์ หมายถึงแผนงานและความ พยายามที่จะกระทาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างและรักษาภาพลักษณ์ และความเข้าใจอันดี ระหว่าง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๓


องค์กรและสาธารณชน โดยมีเครื่องมือส าคั ญของประชาสั มพันธ์ ได้แก่ สิ่ งตีพิมพ์ การสร้าง กิจกรรมพิเศษ การใช้สัญลักษณ์หรือตราขององค์กร และการจัดนิทรรศการ ๕) การเผยแพร่ แบบปากต่อปาก เป็นแหล่งอ้างอิงที่มีความสาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สาหรับธุรกิจบริการ ซึ่งข้อมูลที่ได้รับการเผยแพร่ออกไปด้วยวิธีการนี้ จะเป็นไปได้ทั้งในแง่บวก และแง่ลบ ๖) การตลาดทางตรง และการตลาดเชื่อมตรง ได้เข้ามามีบทบาทในวิถีวิตของผู้บริโภค มากขึ้น เนื่องจากการพัฒนาเทคโนโลยีทาวคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม โดยเฉพาะการเกิดขึ้น ของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองต่อวิถีชิตที่เปลี่ยนแปลงไป ของผู้ บริโภคยุคใหม่ที่มี เวลาน้อยลง เครื่องมือที่สาคัญของการตลาดทางตรง ประกอบด้วย ๖.๑) การโฆษณาทางไปรษณีย์ ๖.๒) การสั่งซื้อสินค้าทางไปรษณีย์ ๖.๓) การโฆษณาที่กระตุ้นให้มีการตอบสนองทันที ๖.๔) การขายตรง ๖.๕) การตลาดทาโทรศัพท์ ๖.๖)การตลาดโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๕.๓.๑.๕ บุค ลากร (People) หรื อ พนักงาน (Employees) พนักงานประกอบด้วยบุคคล ทั้งหมดในองค์กรที่ให้บริการ ซึ่งรวมตั้งแต่เจ้าของร้าน ผู้บริหาร พนักงานในทุกระดับ ซึ่งบุคคลดังกล่าวทั้งหมด มีผลต่อคุณภาพของการให้บริการ คุณภาพการให้บริการต้องอาศัยการคัดเลือก การฝึกอบรม การจูงใจเพื่อให้ สามารถสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับริการได้ พนักงานต้องมีความสามารถ มีทัศนคติที่ดี สามารถตอบสนองต่อ ลูกค้า ได้มีความคิดริเริ่ม มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และสามารถสร้างค่านิยมให้กับองค์กร ๕.๓.๑.๖ กระบวนการให้บริ การ (Process) กระบวนการให้ บริ การ เป็ น ส่ ว นประสมทาง การตลาด ที่มีความสาคัญมาก ต้องอาศัยพนักงานที่มีประสิทธิภาพ หรือเครื่องมือที่ทันสมัย ในการทาให้เกิด กระบวนการที่สามารถส่งมอบบริการที่มีคุณภาพ เนื่องจากการให้บริการโดยทั่วไป มักจะประกอบด้วยหลาย ขั้นตอน ได้แก่ การต้อนรับ การสอบถามข้อมูลเบื้องต้น การให้บริการตามความต้องการ การชาระเงิน ซึ่งในแต่ ละขั้นตอนต้องประสานเชื่อมโยงกันอย่างดี หากมีขั้นตอนใดไม่ดี ย่อมทาให้บริการไม่เป็นที่ประทับใจแก่ลูกค้า

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๔


๕.๓.๑.๗ การสร้ า งและน าเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical

Evidence

and

Presentation) ได้ แ ก่ สภาพแวดล้ อ มของกายภาพอื่ น ๆ ที่ ส ามารถดึ ก ดู ด ใจลู ก ค้ า และท าให้ ม องเห็ น ภาพลักษณ์ของบริการ ได้อย่างชัดเจนด้วย นอกจากส่วนประสมทางการตลาดแล้ว Kotler และ Armstrong (๑๙๙๗:๑๐๙) ได้กล่าวถึงการ วิเคราะห์ เกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ถือซึ่งความสาคัญ เพื่อทาให้ทราบถึงลักษณะความต้องการและ พฤติกรรมการซื้อ การใช้ของผู้ บริ โ ภค ซึ่งจะทาให้ ได้คาตอบ ที่ช่ว ยในการจัดกลยุทธ์การตลาดที่ส ามารถ ตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภคได้อย่างเหมาะสม ดังนี้ ๑) ใครอยู่ในตลาดเปูาหมาย ? เป็นคาถามเพื่อทราบถึงลักษณะของกลุ่มเปูาหมาย ๒) ผู้บริโภคซื้ออะไร ? เป็นคาถามเพื่อทราบถึงสิ่งที่ตลาดซื้อ ๓) ทาไมผู้บริโภคจึงซื้อ ? เป็นคาถามเพื่อทราบถึงวัตถุประสงค์ในการซื้อ ๔) ใครมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ? เป็นคาถามเพื่อทราบถึงบทบาทของกลุ่มต่าง ๆ ที่มีอิทธิพล หรือมีส่วนร่วมในการตัดสินใจซื้อ ๕) ผู้บริโภคซื้ออย่างไร ? เป็นคาถามเพื่อทราบโอกาสการซื้อ ๖) ผู้บริโภคซื้อที่ไหน ? เป็นคาถามเพื่อทราบถึงโครงการสร้างช่องทาง ที่ผู้บริโภคจะไปซื้อใน ช่องทางการจัดจาหน่ายนั้น ๆ ๕.๓.๒ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การรวบรวมข้อมูลสถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีดังนี้ ๕.๓.๒.๑ สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมทั่วโลก ประเด็นที่เป็นที่ถกเถียงกันมาก เกี่ยวกับสถานการณ์การท่องเที่ยวทั่วโลกว่า นักท่องเที่ยวมีความสนใจท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพิ่มขึ้นจริง หรือไม่ ซึ่งผลจากการวิจัยเรื่อง การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในประเทศเนเธอร์แลนด์ พบว่า นักท่องเที่ยวใน ปัจจุบันไม่ได้มคี วามสนใจในวัฒนธรรมมากขึ้นกว่าในอดีตแต่อย่างใด แต่ที่ดูเหมือนว่าปัจจุบัน นักท่องเที่ยวไป เที่ยวชมสิ่งดึงดูดทางวัฒนธรรมเป็นจานวนมากขึ้นเป็นเพราะว่านักท่องเที่ยวมีจานวนมากขึ้น ไม่ใช่เพราะ นักท่องเที่ยวมีความสนใจในวัฒนธรรมมากขึ้น การที่คนในยุคปัจจุบันได้รับการศึ กษาทั่วถึงและสูงขึ้น จึงมี ความรู้และเข้าใจการสื่อความหมายทางวัฒนธรรมได้มากขึ้นกว่าคนในยุคก่อน โดยเฉพาะวัฒนธรรมระดับสูง ประเภท พิพิธภัณฑ์ ห้องภาพ โรงละครฯ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๕


ปัจจัยที่สาคัญที่ส่งผลต่อการเติบโตของนักท่องเที่ยว เพื่อเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ประเภทมรดกโบราณสถาน ก็คือ ความรู้สึกระลึกถึงอดีต ทั้งนี้เป็นผลจากการที่โลกทันสมัยมากขึ้น การดาเนิน ชีวิตประจาวันของบุคคลที่มีความเร่งรีบและแข่งขันกันมากขึ้น ทาให้บุคคลที่ปรับตัวไม่ได้กับสังคมสมัยใหม่เกิด ความรู้สึกโหยหาวิถีแบบอดีต ส่งผลให้ธุรกิจ “การรักษาอดีตไว้” เพื่อให้บุคคลกลับมาเยี่ยมเยือนกลายเป็น ธุรกิจใหญ่ ในหลายทศวรรษที่ผ่านมา องค์กรหลายแห่ งจึงทุ่มงบประมาณเพื่อสงวนอนุรักษ์แหล่งมรดก โบราณสถาน ในยุ คที่โ ลกเข้าสู่ สั งคมผู้ สู งอายุ การเติบโตของนักท่องเที่ยวเชิงวัฒ นธรรมก็มีแนวโน้มที่จะ ขยายตัวเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากกลุ่มผู้สูงอายุมีความรูสึกระลึกถึงอดีต ยิ่งมีอายุเพิ่มมากขึ้นก็ยิ่งหวนคิดถึงอดีตมาก ยิ่งขึ้น และมีแนวโน้มที่จะเดินทางกลับไปเยี่ยมชมแหล่งมรดกวัฒนธรรมที่ตนเองรู้สึกผูกพันและเชื่อมโยงกับ อดีตของตน สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของประเทศไทย ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของไทยจา กกการเปรียบเทียบศักยภาพด้านการท่องเที่ยว ๑๒๔ ประเทศ ของ World Economic Forum พบว่า ประเทศไทยอยู่อันดับที่ ๓๙ของโลกในปี ๒๕๕๒ จากเดิมอยู่ในอันดับที่๔๓ ในปี๒๕๕๐ ทั้งๆที่ประสบปัญหา รุมเร้าหลายอย่างในประเทศ โดยนักท่องเที่ยวชื่นชอบในด้านทรัพยากรมนุษย์ ธรรมชาติ และวัฒนธรรม ความ คุ้มค่าด้านราคา รั ฐ บาลต้องการยกระดับคุณภาพมาตรฐานแหล่ งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจากแผนแม่บท วัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ (กระทรวงวัฒนธรรม๒๕๕๒) เป็นเครื่องมือสาคัญที่จะใช้เป็นกรอบ ทิศทางในการกระตุ้ น และฟื้ น ฟู ภ าคการท่ องเที่ ยวของทุก ฝุ า ยที่ มีส่ ว นเกี่ ย วข้ องทั้ งภาครัฐ และเอกชนมน อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เนื่องจาก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ให้เห็นความรุ่งเรื่อง ทางด้านวัฒนธรรมในแผ่นดินไทยที่มีการ ผสมผสาน หล่อหลอม มาอย่างยาวนาน และมีความหลากหลายของ ศิ ล ปะ วั ฒ นธรรมที่ มี เ อกลั ก ษณ์ แ ละมี คุ ณ ค่ า โดยความอุ ด มสมบู ร ณ์ ท างวั ฒ นธรรม จะเห็ น ได้ จ าก ศิลปวัฒนธรรมประจาชาติที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะในแต่ละพื้นที่ ทาให้ประเทศไทยพร้อมไปด้วยต้นทุนทาง วัฒนธรรม โดย”การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม” กาลังได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว ทาให้การท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมมีบทบาทสาคัญมากขึ้นต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวตอบรับจากการประชุมรัฐมนตรีดูแลวัฒนธรรม และศิลปะอาเซียนครั้งที่๖ ที่เป็นหนึ่งในพันธกิจที่มุ่งสร้างความเข้มแข็งให้ได้จัดตั้งประชาคม จากการที่มรดกทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของประเทศแถบอาเซียนยังมีความหลากหลาย และมีเอกลักษณ์โดดเด่น (Gaffar, Wetprasitand and Setiyorini ๒๐๑๑) สิ่งเหล่านี้ล้วนกระตุ้นให้เกิดความ คึกคักตื่นตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในประเทศไทย และมีแนวโน้มที่การท่องเที่ยวเชิง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๖


วัฒนธรรมในไทยจะเจริญเติบโตมากขึ้น หรือแม้แต่การเกิดกระแสการเดินทางท่องเที่ยวของประเทศในกลุ่ ม อาเซียน เป็นปัจจัยให้นักท่องเที่ยวกลุ่มท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมทั้งในและนอกภูมิภาคอาเซียนจัดทริปเดินทาง ท่องเที่ยวหลายประเทศในกลุ่มอาเซียนต่อเนื่องกัน โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย (๒๕๕๔) คาดว่าในปี ๒๕๕๗ จะมี นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางมาท่องเที่ยวยังประเทศไทยรวม ๒๘ ล้ านคนเพิ่มขึ้นร้อยละ ๔.๗ จากปี ๒๕๕๖ ก่อให้เกิดรายได้จากการท่องเที่ยวประมาณ ๑.๓๕ ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ ๙.๘ จากปี ๒๕๕๖ อีกทั้งศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) เสนอผลการสารวจความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวต่างชาติ เกี่ยวกับความพร้อมของประเทศไทยหากมีการเปิดเสรีอาเซียนในสายตานักท่องเที่ยวต่างชาติ ซึ่งดาเนินการ เก็บข้อมูลในช่วงเดือนมกราคม ๒๕๕๖ พบว่า จุดเด่นสาคัญที่ดึงดูดในนักท่องเที่ยวต่างชาติมาเที่ยวในประเทศ ไทย คือ โบราณสถานและโบราณวัตถุ (ร้อยละ ๒๘.๑) รองลงมา คือ วัฒนธรรม ประเพณี และศิลปะพื้นบ้ าน (ร้อยละ ๒๐.๔) และชายหาด ทะเล (ร้อยละ ๑๔.๓) (ฐานออนไลน์) สิ่งเหล่ านี้เป็นการตอกย้าให้ เล็งเห็ น ความสาคัญของการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวด้านวัฒนธรรมอย่างมากมาย เห็นได้จากองค์กรภาครัฐหลายองค์กร ได้หันมาให้ความสาคัญในการใช้ทุนทางวัฒนธรรมของแต่ละชุมชนมาพัฒนาเป็นแหล่ งท่องเที่ยวขึ้น มีการจัด ให้ท่องเที่ยวชมแหล่งวัฒนธรรมท้องถิ่น การนาเสนออาหารประจาถิ่น รวมไมไปถึงการจัดแสดงทางวัฒนธรรม แสงสีเสียงในโบราณสถานแห่งชาติ การไปเที่ยวหมู่บ้านชาวไทยภูเขา ฯลฯ จากรูปแบบการท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมที่แตกต่างหลากหลายเหล่านี้ เป็นการส่งเสริ มตลาดท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับนโยบาย ของรัฐบาลที่มุ่งเพื่อบรรลุเปูาหมายในการนาทุนทางสังคมและวัฒนธรรมของไทยที่สั่งสมมายาวนานในครั้ง อดีต มาเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและ/หรือสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีคุณภาพ ก่อให้เกิดผล ของการพัฒนาการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงธรรมชาติ กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิตชุมชน และภูมิปัญญา ท้ อ งถิ่ น มาสร้ า งงาน สร้ า งอาชี พ สร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก าร ที่ ส ามารถต่ อ ยอดไปสู่ อุ ต สาหกรรมทาง ศิลปวัฒนธรรมของประเทศภายใต้กรอบการมีส่วนร่วมในการดูแล รักษา อนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือบูรณะมรดกทาง วัฒนธรรม ยิ่งไปกว่านั้นยังมีความพยายามในการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมซึ่งการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ย่อมหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะทาความเสียหายให้แก่มรดกทางวัฒนธรรมทั้งตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม สาหรับการ จัดการธารง รักษามรดกทางวัฒนธรรมนั้น จะต้องมุ่งให้เกิดการท่องเที่ ยวเชิงสร้างสรรค์ และการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เช่น การพัฒนาตลาดเก่าของท้องถิ่น ชุมชนต่างๆ โดยใช้แนวทางการปรับปรุงตลาดเก่า ให้สื่อถึงความมีอัตลักษณ์ของชุมชน แต่มีการผสมผสานให้เห็นระหว่างความใหม่กับความเก่าเข้าด้วยกัน จาก รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๗


การจัดกิจกรรมที่รักษาวิถีชีวิ ตและสืบสานวิถีชุมชนดั้งเดิม แต่ก็พัฒนาตลาดเก่าให้มีความสะอาด การจัดหาที่ จอดรถ เพื่ อ สอดรั บ กั บ วิ ถี ค นเมื อ งที่ ใ ช้ ร ถยนต์ เ ป็ น พาหนะ การพั ฒ นาจั ด โซนร้ า นค้ า อย่ า งเป็ น ระเบี ย บ นอกจากนั้นยังมีความพยายามใส่ใจตลาดวัฒนธรรมท้องถิ่น บูรณะบ้านเรือน โรงแรม สถานที่ราชการ หรือ อาคารสถานที่แบบเก่า ก็ควรได้รับการฟื้นฟูและอนุรักษ์เพื่อสะท้อนวัฒนธรรมและวิถี และปรับปรุงภูมิทัศน์ หรื อ สร้ า งสิ่ ง ปลู ก สร้ า งใหม่ ๆ ที่ มี ส ถาปั ต ยกรรมสอดคล้ อ งกั บ บริ บ ทดั้ ง เดิ ม ของท้ อ งถิ่ น จากนั้ น ท าการ ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ส ถานที่ เ หล่ า นี้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มในกลุ่ ม นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ยกตัวอย่างเช่น ตลาดสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ที่ได้รับการปรับให้เป็นตลาดร้อยปี โดยมีร้านค้าที่จาหน่าย ขนมไทย อาหารไทยที่ห าทานได้ยากหรื ออาจถูกลืมกันไปแล้ ว ร้านขายของเล่นเด็กที่ตกแต่งและมีสินค้า รูปแบบสมัยก่อน หรือร้านขายยาในอดีต เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ทาให้ตลาดสามชุกคึกคักมาอีกครั้ง และกลายเป็น แหล่งท่องเที่ยวสาคัญในจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศแวะไปเที่ยวชมเป็น จานวนมากการรื้อฟื้นตลาดเก่าเป็นตลาดวัฒนธรรมท้องถิ่น ส่งผลให้เกิดการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจชุ มชน ทา ให้ผู้คนที่อาศัยในบริเวณนั้นมีรายได้ดีขึ้น (โลกวันนี้ ๒๕๕๑) ในทางกลับกัน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมยังอาจก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมหรือผลกระทบทาง ลบแก่ประเทศไทยจากการขยายตัวทางการท่องเที่ยวที่หากขาดการบริหารจัดการที่ดี ไร้การวางแผนรองรับ ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และสิ่งอานวยความสะดวกในปริมาณที่เหมาะสม และบริการที่มีคุณภาพ อาจส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น อัตราการเกิดอาชญากรรมที่สูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของมลพิษ และการ เสื่อมถอยของวัฒนธรรมพื้นเมืองและวิถีชีวิตที่เคยมีอยู่ ดังเช่นที่ศูนย์วิจัยกสิกรไทย (๒๕๕๔) พบว่า ถึงแม้ โอกาสในการขยายตัวของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในประเทศไทย ที่เป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สาคัญ แต่สิ่งที่พบคือ เกิดการสูญหายของวัฒนธรรมพื้นถิ่น เช่นเดียวกับปัญหาการ เติบ โตของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกลั บก่อให้ เกิดความเสี ยหายแก่มรดกทางวัฒ นธรรม วัดวาอาราม โบราณสถานต่างๆ หรือแม้แต่การละเลยการใส่ใจ ที่จะดูแลแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมเหล่านั้นของคน ท้องถิ่นเอง (Gaffar, Prateep and Setiyorini ๒๐๑๑) ประเด็นเรื่องผลกระทบของสภาพแวดล้อมจากการ ขยายตัวทางการท่องเที่ยวยังคงเป็นเรื่องที่มองข้ามไปไม่ได้ในประเทศไทย หรือแม้แต่การท่องเที่ยวยังทาให้เกิด ความขัดแย้งในชุมชนทั้งจากการแข่งขันประกอบการด้านการท่องเที่ยว การแย่งงานกันทา หรือความห่างเหิน ในสังคมชนบทที่เพิ่มมากขึ้น

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๘


สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคเหนือตอนบน ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ ๘ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน พะเยา และแม่ฮ่องสอน มีบทบาทสาคัญด้านการ ท่องเที่ยวของประเทศ เนื่องจากมีจุดขายทั้งด้านการเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและเป็นแหล่งวัฒนธรรม ล้านนาที่มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์เฉพาะ รวมถึงเป็นประตูการค้าชายแดนที่เชื่อมโยงเศรษฐกิจและการ ท่องเที่ย วกับ อนุ ภูมิภ าคลุ่ มน้ าโขงและเอเชียใต้ (คณะอนุกรรมการจัด ทาและทบทวนแผนพัฒ นาจังหวั ด เชียงใหม่ (พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐), ๒๕๕๕: ๒๔) โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ที่ถือเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวที่ ส าคัญของประเทศและนานาชาติ ซึ่ งภาคบริการที่เกี่ ยวข้องกับการท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นโรงแรม ที่พั ก ประเภทต่างๆ ร้านอาหาร สปา รถเช่า บริการท่องเที่ยว ฯลฯ ได้ผสมผสานเอกลักษณ์ของคนเหนือหรือความ เป็นล้านนารวมเข้าไว้ในผลิตภัณฑ์และบริการของตนด้วย (ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย และปิยพรรณ กลั่นกลิ่น, ๒๕๕๔: ๑) สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของภาคเหนือตอนบน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ พบว่า การ ท่องเที่ยวในครึ่งแรกของปีมีการปรับตัวที่ดีขึ้นจากระยะเดียวกันของปีก่อนหน้านี้ เนื่องจากไม่มีเหตุการณ์ความ ไม่สงบเกิดขึ้นดังเช่นปีก่อน สภาวะอากาศที่ค่อนข้างหนาวเย็นอย่างต่อเนื่องจากช่วงปลายปี ๒๕๕๓ จนถึงต้นปี ๒๕๕๔ ปัญหาหมอกควันที่ลดลง มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งของภาครัฐและภาคเอกชนเป็น ปั จ จั ย ช่ ว ยให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ เ ข้ า มาท่ อ งเที่ ย วในภาคเหนื อ เพิ่ ม มากขึ้ น แต่ อั ต ราการขยายตั ว ของ นักท่องเที่ยวยังไม่มากนัก (ธนาคารแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๔ อ้างใน ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย และปิยพรรณ กลั่นกลิ่น, ๒๕๕๔: ๑) ส่วนในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น ประธานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจพื้นที่ภาคเหนือ หอการค้าไทย ได้กล่าวถึงสถานการณ์การท่องเที่ยวภาคเหนือปี ๒๕๕๖ ไว้ว่าด้านการท่องเที่ยวของภาคเหนือ แม้จะมีการ ขยายตัวโดดเด่นน้อยกว่าที่ควรจะเป็น แต่หลายจังหวัดมีสถานการณ์การท่องเที่ยวอยู่ในระดับดี โดยเฉพาะ จังหวัดที่มีนั กท่องเที่ย วต่างประเทศเข้ามาเป็นประจา ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน รวมถึง จังหวัดที่มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศเพิ่มขึ้นอย่างโดดเด่น ได้แก่ พะเยา ลาพูน และน่ าน การท่องเที่ยวที่ยังคง ขยายตัวได้ดีในหลายจั งหวัดของภาคเหนื อส่งผลประโยชน์ในเชิงบวกกับภาวะเศรษฐกิจของภาคเหนือให้ ขยายตั ว ได้ใ นระดับ หนึ่ ง โดยการท่ องเที่ย วของภาคเหนื อ จะขยายตั ว ได้ ดีใ นช่ว งฤดู ท่อ งเที่ ยวครึ่ ง ปีห ลั ง (หอการค้าไทย, ๒๕๕๖: ระบบออนไลน์) จานวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคเหนือตอนบน ที่เป็นที่ตั้ง ของแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงทั้งในระดับชาติและนานาชาติ รวมทั้งยังเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๑๙


ไปยังกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง โดยปัจจัยดึงดูดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จุดเด่นด้านแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ อุทยานแห่งชาติ ปุาเขา โบราณสถาน ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ศาสนสถาน เทศกาล/ประเพณีต่างๆ ชุมชนวัฒนธรรม และยังรวมไปถึงความเป็นมิตรไมตรีของผู้คนในพื้นที่ (สานักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑, ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์: ๒๑) จึงทาให้มีนักท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทยและชาวต่างชาติมาเยือนภาคเหนือตอนบนในสัดส่วนที่สูงอย่างต่อเนื่อง ดังเช่นข้อมูลปรับปรุงเมื่อ มิถุนายน ๒๕๕๖ แสดงจานวนผู้เยี่ยมเยือน (นักท่องเที่ยวและนักทัศนาจร) ในจังหวัดเชียงใหม่ ดังนี้ พ.ศ. ๒๕๕๒ จานวน ๔,๓๔๓,๐๙๐ คน เป็นชาวไทย ๓,๑๐๑,๗๙๐ คน ชาวต่างชาติ ๑,๒๔๑,๓๐๐ คน พ.ศ. ๒๕๕๓ จานวน ๕,๐๔๐,๙๑๗ คน เป็นชาวไทย ๓,๓๔๕,๖๒๙ คน ชาวต่างชาติ ๑,๖๙๕,๒๘๘ คน พ.ศ. ๒๕๕๔ จานวน ๕,๖๖๑,๖๗๓ คน เป็นชาวไทย ๓,๖๒๒,๕๑๑ คน ชาวต่างชาติ ๒,๐๓๙,๑๖๒ คน จังหวัดเชีย งใหม่ ถือเป็ น ศูน ย์ กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาค มีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่เป็น เอกลั ก ษณ์ ท าให้ จั ง หวัด เชีย งใหม่ เป็ น เมื อ งท่ อ งเที่ ย วส าคัญ ระดั บ โลก คณะรั ฐ มนตรีจึ ง มีม ติ เมื่ อ วัน ที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ให้จังหวัดเชียงใหม่เป็นนครที่เป็นที่สุดแห่งความสง่างามทางวัฒนธรรม (Chiang Mai: The Most Splendid City of Culture) (สานักงานจังหวัดเชียงใหม่, ๒๕๕๕: ๕) เป็นจุดเชื่อมต่อที่สาคัญไปยัง จังหวัดอื่นๆ ในอาณาจักรล้านนา และยังสามารถเชื่อมต่อไปยังหลวงพระบางของ สปป.ลาวได้อีกด้วย โดยมี สถานที่ท่องเที่ยว ๔ ส่วนหลัก ได้แก่ ๑) การท่องเที่ยวในตัวเมือง มีวัดพระธาตุดอยสุเทพเป็นจุดท่องเที่ยว อันดับหนึ่ง มีวัดโบราณที่มีความงดงามและมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ มีสวนสัตว์ทั้งกลางวันและกลางคืน มี แหล่ งซื้อสิน ค้า คือ ถนนคนเดิน ไนท์บ าซาร์ ตลาดวโรรส ถนนวัว ลายซึ่งทาเครื่องเงินเลื่ องชื่อ ๒) แหล่ ง ท่องเที่ยวทางทิศเหนือ ประกอบด้วย ปางช้า ง น้าตกแม่สา สวนกล้วยไม้ สวนผีเสื้อ การแสดงของสัตว์ การ ผจญภัย เช่น การเดินปุา บันจี้จัมพ์ ถ้าเชียงดาว ยอดดอยหลวงเชียงดาว เป็นต้น ๓) แหล่งท่องเที่ยวทางทิศ ตะวันออก เป็นแหล่งซื้อสินค้า ของที่ระลึก โดยสินค้าที่สาคัญ เช่น ร่มบ่อสร้าง เครื่องเงิน ผ้าไหม อัญมณี ผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา เป็นต้น และ ๔) แหล่งท่องเที่ยวทางทิศใต้ มีการผสมผสานระหว่างการท่องเที่ยว ธรรมชาติกับการซื้อสินค้าที่ระลึก แหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ เช่น ยอดดอยอินทนนท์ น้าตกแม่กลาง น้าตกแม่ยะ เป็นต้น แหล่งจาหน่ายของที่ระลึกที่สาคัญ ได้แก่ ผ้าฝูายทอมือจอมทอง ผ้าฝูายตีนจกแม่แจ่ม ไม้แกะสลักที่ บ้านถวาย เป็นต้น (ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย และปิยพรรณ กลั่นกลิ่น, ๒๕๕๔: ๒๕) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๒๐


ข้อเสนอแนะต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคเหนือตอนบนจากภาคส่วนต่างๆ ประธาน คณะกรรมการพัฒ นาเศรษฐกิ จ พื้ น ที่ ภ าคเหนื อ หอการค้ าไทย ได้ใ ห้ ข้ อเสนอแนะด้า นการท่ อ งเที่ย วเชิ ง วัฒนธรรมของภาคเหนือตอนบนว่า ภาครัฐควรจัดการด้านมาตรฐานและคุณภาพของแหล่งท่องเที่ยวและ บุคลากรเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจีนที่หลั่งไหลเข้ามาเป็น จานวนมาก แต่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในวิถีชีวิต วัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของคนในภาคเหนือ (หอการค้า ไทย, ๒๕๕๖: ระบบออนไลน์) ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย และปิยพรรณ กลั่นกลิ่น (๒๕๕๔: ๒๘) ได้ให้ข้อเสนอแนะด้าน การท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนว่า ความสร้างความเชื่อมั่นในเรื่องความมั่นคงปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว เตรียมความพร้อมในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ให้กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีนโยบายของ ภาครัฐที่ชัดเจนในการสนับสนุนผู้ประกอบการ พัฒนาคมนาคมให้สอดคล้องกับการเติบโตในอนาคต พัฒนา บุคลากรสาหรับการท่องเที่ยวให้เข้าสู่มาตรฐานสากล และควบคุมมิให้มีการเอาเปรียบนักท่องเที่ยว รวมถึงมี มาตรฐานในการลงโทษผู้ที่หลอกลวงและเอาเปรียบนักท่องเที่ยวอย่างจริงจัง นอกจากนี้ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (๒๕๕๒: ระบบออนไลน์) ยังได้ให้ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรมของภาคเหนือ ได้แก่ ๑) ควรฟื้นฟูวัฒนธรรมและ วิถีชีวิตดั้งเดิมของท้องถิ่น โดยเฉพาะของชนเผ่าต่างๆ ๒) บูรณะแหล่งประวัติศาสตร์ โบราณสถาน ให้สะท้อน ถึงคุณค่าหรือเอกลักษณ์ของอารยธรรมล้านนา (Core Product) เพื่อส่งเสริมตลาดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ๓) บริหารจัดการปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ให้เอื้อต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการ พัฒนาบริการพื้นฐานที่จาเป็น การพัฒนาระบบกาจัดขยะมูลฝอยและน้าเสีย การดูแลรักษาความปลอดภัย นักท่องเที่ยว การควบคุมการใช้ประโยชน์พื้นที่ รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวในท้องถิ่นให้มี ศักยภาพ ๔) พัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของตลาด นักท่องเที่ยวกลุ่มเปูาหมายและชุมชนในพื้นที่ ๕) ควรบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดเพื่อปูองกันการนาคนใน พื้นที่ โดยเฉพาะชนเผ่าต่างๆ ออกไปนอกพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนเผ่ากะเหรี่ยงคอยาว ซึ่งเป็นผู้ลี้ภัยและ จากัดพื้นที่อยู่อาศัยเฉพาะที่รัฐจัดให้เท่านั้น ๖) ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมทางบกที่มีความเสี่ยงต่อการเดินทาง ของนักท่องเที่ยว รวมทั้งเป็นการลดระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางและเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ๗) ด้านการ คมนาคมทางอากาศควรขยายตารางการบินให้เพียงพอกับความต้องการของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะในฤดูกาล ท่องเที่ยว ๘) สนับสนุนการออกเทศบัญญัติควบคุมการก่อสร้างเพื่อรักษารูปลักษณ์ของเมืองและเอกลักษณ์ วัฒนธรรมดั้งเดิม ๙) จัดระเบียบธุรกิจบริการต่างๆ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัย เพื่อสร้างความ ประทับใจแก่นักท่องเที่ยว โดยเฉพาะธุรกิจที่พักและร้านอาหาร ๑๐) ศึกษาความสามารถในการรองรับของ แหล่งท่องเที่ยวและแนวทางการบริหารจัดการเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และ ๑๑) ส่งเสริมให้ชุมชนและ ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการฟื้นฟู อนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น การสร้าง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๒๑


ชุมชนวัฒนธรรมล้านนา การจัดกิจกรรมบอกกล่าวเล่าเรื่องราว (Story) ความเป็นมาของเมืองประวัติศาสตร์ การเป็นอาสาสมัคร ไกด์ท้องถิ่น การดาเนินธุรกิจแบบพานักระยะยาว (Long Stay) ที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรม และกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน เป็นต้น ๕.๔ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ จากการลงพื้ นที่เก็บข้อมูลงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดเชียงใหม่ ในเขต ๘ อาเภอ ซึ่งประกอบไปด้วย อาเภอเมือง อาเภอหางดง อาเภอสารภี อาเภอสันปุาตอง อาเภอแม่ริม อาเภอสัน กาแพง อาเภอสันทราย และอาเภอดอยสะเก็ดพบปัญหาการผลิตและการทางานรวมกลุ่ม ซึ่งไม่สามารถทาให้ เกิดการขับเคลื่อนงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านได้เท่าที่ควร ซึ่งมาจากปัจจัยหลายประการ เช่น ๑) ปัญหาเรื่องบุคคล เกิดการแยกตัวของกลุ่มที่เคยรวมตัวกัน เพราะว่าประธานกลุ่มหรือผู้นากลุ่มใน การรวมตัวกันได้เสียชีวิตลง หรือแยกตัวไปทาของตนเอง หรือไม่ได้ผลิตสินค้าหัตถกรรมแบบเดิมอีกต่อไป จึง ส่งผลให้สมาชิกในกลุ่มไม่สามารถผลิตงานได้ต่อ หรือไม่สามารถขับเคลื่อนกลุ่มต่อไปเองได้ การขัดแย้งของผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการรายใหญ่บางรายไม่ได้เข้าร่วมอบรม กับกลุ่มของรัฐบาลหรือชุมชน ทาให้เกิดการขัดแย้งกัน ๒) ปัญหาเรื่องวัตถุดิบ การขาดแคลนวัตถุดิบและวัสดุในการผลิตสินค้าหัตถกรรม เช่น เครื่องปั้นดินเผา อาเภอหางดง ในปัจจุบันนั้นดินซึ่งเป็นวัตถุดิบสาคัญในการขึ้นรูปนั้นไม่มีในท้องถิ่นแล้ว แต่จะต้องสั่งซื้อดิน จากอาเภอสารภีและจังหวัดลาปาง เครื่องจักสาน ในปัจจุบันนั้นไม้ไผ่ซึ่งเป็นวัตถุดิบสาคัญในการจักสานนั้นมี ไม่เพียงพอต่อความต้องการของช่างจักสานในท้องถิ่น ทาให้ต้องสั่งซื้อไม้ไผ่จากจังหวัดแพร่ จังหวัด น่าน และจังหวัดอุตรดิตถ์ แล้วมีช่างจักสานบางเจ้าที่สั่งซื้อไม้ไผ่จากประเทศจีนและประเทศลาว งานผ้าใย กัญชง วัตถุดิบสาคัญในการผลิตผลิตภัณฑ์จากใยกั ญชง คือใยกัญชง แต่ใยกัญชงนี้ชาวบ้านไม่สามารถ เพาะปลูกเองได้เพราะผิดกฎหมาย ต้องซื้อใยกัญชงจากโครงการหลวงซึ่งมีราคาสูงหรือสั่งจากประเทศจีน เท่านั้น ๓) ปัญหาเรื่องการสนับสนุน การสนับสนุนจากภาครัฐและภาคเอกชนไม่มีความต่อเนื่อง

โดยภาครัฐและ

ภาคเอกชนจะให้การสนับสนุนในครั้งแรกที่เปิดศูนย์หัตถกรรมขึ้นแล้วหลังจากนั้นก็ไม่ได้ให้ความสนใจและ ช่วยเหลือศูนย์หัตถกรรมนั้นอีก ทาให้ศูนย์หัตถกรรมดังกล่าวไม่สามารถดาเนินงานต่อไปได้ จนทาให้ต้องปิด ศูนย์หัตถกรรมนั้นลงไป กลุ่มชาวบ้านที่ไม่ได้ร่วมกับ OTOP ทาให้ไม่ได้รับการสนับสนุนจากกภาครัฐ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๒๒


๔) ปัญหาเรื่องจากสถานการณ์บ้านเมืองที่ไม่ปกติ ทาให้ เศรษฐกิจ ของประเทศตกต่าลง(ถดถอย) ทาให้ วัตถุดิบและวัส ดุในการผลิ ต สินค้าหัตถกรรมมีราคาสูงขึ้นจากเดิม การขนส่งก็มีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น และผู้บริโภคก็มีจานวนลดลง ๕) ปัญหาเรื่องการสืบทอดงานหัตถกรรม ค่ า นิ ย มของผู้ ค นท าให้ ก ารสื บ ทอดงานหั ต ถกรรมจากรุ่ น สู่ รุ่ น ที่ มี ม าแต่ อ ดี ต นั้ น เปลี่ยนแปลงไป

ปัจจุบันแทบจะไม่มีการสืบทอดงานหัตถกรรมในครอบครัวแล้ว เพราะว่าเด็กรุ่นหลังใน

ท้องถิ่นได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นทาให้หวังที่จะทางานในระบบอุตสาหกรรมหรือบริษัทมากกว่า

ส่วนงาน

หัตถกรรมนั้นเด็กรุ่นหลังในท้องถิ่นเห็นเป็นเพียงงานอดิเรกของผู้สูงอายุ จึงทาให้ไม่มีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น แต่จะมีการถ่ายทอดงานหัตถกรรมให้กับคนต่างถิ่นที่สนใจ แต่ก็มีจานวนที่น้อยมาก ทาให้วิธีทางานหัตถกรรม บางอย่างลดน้อยลงหรือสูญหายไป คาดว่าอีกไม่เกิน 10 ปี การผลิตแบบดั้งเดิมจะหมดไปจากสังคมเชียงใหม่ การเข้าใจว่าการทางานหัตถกรรมเป็นงานของคนสูงอายุ ทาให้คนรุ่นใหม่ไม่อยากที่ จะทางานหัตถกรรม และคนรุ่นใหม่ส่วนหนึ่งคิดว่างานหัตถกรรมเป็นงานที่ให้รายได้น้อย ขาดแคลนผู้ที่มีความรู้ความสามารถและชานาญการในการทางานด้านหัตถกรรม ทา ให้งานหัตถกรรมบางประเภทผลิตได้ในปริมาณที่น้อยและจากัด ๖) ปัญหาเรื่องการแปรปรวนของสภาพอากาศ ปัญหานี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นหลังจากการเดิดภาวะโลกร้อน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการ ผลิตสินค้าหัตถกรรม เช่น การทากระดาษสา จะต้องตากกระดาษสาในที่โล่งแจ้ง หากฝนตกก็จะทาให้ กระดาษสาเป็นราและแห้งช้า เครื่องปั้นดินเผานั้นจะต้องตากแดด ก่อนเข้าดินเผา ทาให้มีปัญหาที่เกิดขึ้นตาม ฤดูกาล ที่มีสภาพแปรปรวนไปจากเดิม ๗) ปัญหาเรื่องการตลาด ปั ญ หาพ่ อ ค้ า คนกลาง การตลาดที่ ผ่ า นพ่ อ ค้ า คนกลาง ท าให้ ผู้ ผ ลิ ต ได้ ร ายได้ ที่ ค่อนข้างน้อยกว่าผลิตภัณฑ์ที่นามาจัดจาหน่ายด้วยตนเอง ที่กล่าวมาข้างต้นล้วนแต่เป็นปัญหาที่ได้รับมาจากการออกภาคสนามซึ่งควรนามาใช้ในการดาเนินการ ต่อไป รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๕-๒๓


บทที่ ๖ ผลการศึกษาดูงานเมืองที่เป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก การศึกษาดูงานเป็นกิจกรรมหนึ่งที่โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ให้ความสาคัญ เพราะเป็นหนึ่งในข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับ แบบฟอร์ มการสมั คร ที่เมืองจะต้องได้รับการสนับสนุนจากเมืองสร้างสรรค์อื่นๆขององค์การ UNESCO อย่างน้อย ๕ เมือง โดย ๓ เมืองต้องมาจากต่างภูมิภาคของประเทศผู้สมัคร (อ้างถึงรายชื่อ ประเทศตามภูมิภาคขององค์การ UNESCO) จดหมายเหล่านี้ต้องลงนามโดยนายกเทศมนตรีหรือ ตัวแทนข้าราชการจังหวัด ดังนั้นการศึกษาดูงานจึงต้องมีการพบปะหารือกับนายกเทศมนตรีหรือ ตัวแทนข้าราชการจังหวัดของเมือง นอกจากนั้นยังเป็นการพัฒนาบุคลากรทั้งในส่วนราชการและผู้ที่เกี่ยวข้องให้เกิดความรู้ ความ เข้าใจ เพิ่มทักษะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวคิด หรือมุมมองที่เกี่ยวกับเมืองสร้างสรรค์ร่วมกัน ในการทัศนศึกษาดูงานครั้งนี้ทาให้เห็นถึงกรอบวิธีคิดในการพัฒนาเมือง เทคนิค รูปแบบ วิธีการ ปฏิบัติงาน รวมถึงประสบการณ์ของที่เมือง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาบุคลากร อันจะทาให้ สามารถนาองค์ความรู้ใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ในการวางแผนพัฒนาเมืองเชียงใหม่และเมืองอื่นๆต่อไป โดยมีหัวข้อดังต่อไปนี้ ๖.๑ ประวัติเมือง คานาซาวะ ๖.๑.๑) พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ต่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ของคานาซาวะ ๖.๑.๒) วิถีวัฒนธรรมการผลิตของคานาซาวะ ๖.๒ วัตถุประสงค์ของการศึกษาดูงาน ๖.๓ ความจาเป็นของการศึกษาดูงาน ๖.๔ เปูาหมายของการศึกษาดูงาน ๖.๕ การติดต่อประสานงานกับเมืองคานาซาวะ ๖.๖ กาหนดการศึกษาดูงานเมืองคานาซาวะ ๖.๗ รายละเอียดผลของการศึกษาดูงาน ๖.๘ ประสบการณ์ที่ได้รับ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖-๑


๖.๘.๑) ประสบการณ์การแลกเปลี่ยนการทางานเรื่องเมืองสร้างสรรค์กับเทศบาล Kanazawa ๖.๘.๒) ประสบการณ์เรื่องกรอบวิธีคิดในการพัฒนาเมืองผ่านการทางานร่วมกันระหว่าง ภาครัฐและเอกชน ๖.๘.๓) ประสบการณ์การเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้คนในเมืองโดยหน่วยงานรัฐ ๖.๘.๔) ประสบการณ์เรื่องวิธีการสร้างการเรียนรู้ ชื่นชม และสืบทอดมรดกทาง วัฒนธรรมของเมือง ๖.๘.๕) ประสบการณ์เรื่องวิธีการสร้างการเรียนรู้ ชื่นชม และรักษามรดกทางวัฒนธรรม ของเมือง Shirakawago และ Takayama ๖.๙ ประโยชน์และผลที่จะนามาใช้กับหน่วยงาน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ๖.๑ ประวัติเมือง คานาซาวะ การศึกษาดูงานได้เลือกเมืองต้นแบบ คือ เมือง คานาซาวะ Kanazawa เมืองหลวงของ จังหวัดอิชิคาวะ ประเทศญี่ปุน ซึ่งเป็นเมืองแรกในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของเกาะฮอนชู บริเวณด้านทิศใต้ของเมืองติดกับภูเขาและบริเวณ ด้านเหนือติดกับทะเลญี่ปุน อาณาเขตของเมืองนี้ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้าสองสาย เมืองคานาซาวะมี ประชากร ๔๕๙,๐๐๐ คน (ในเดือนเมษายน ๒๕๕๔) และเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจรวมถึงวัฒนธรรม ของเขตโฮกูริกุ (จังหวัดโทยามะ, อิชิกาวะ และฟูกุอิ) คานาซาวะเป็นเมืองชั้นนาด้านการท่องเที่ยว มี นักท่องเที่ยวมากถึง ๗ ล้านคนต่อปี เมืองนี้คือนครแห่งปราสาทที่ปกครองโดยผู้นาซึ่งมีอิทธิพลนับจาก ศตวรรษที่ ๑๗ ถึงช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ ๑๙ เมืองคานาซาวะไม่ได้รับผลกระทบจากสงคราม หรือภัยธรรมชาติร้ายแรงใดๆ เลยจึงคงไว้ซึ่งสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์ต่างๆ และงานหัตถกรรม พื้นบ้าน ๖.๑.๑) พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ต่อการเป็นเมืองสร้างสรรค์ของคานาซาวะ งานศิลปหัตถกรรมของเมืองคานาซาวะ ได้รับการอุปถัมภ์จากขุนนางตระกูลมาเอดะมาตั้งแต่ อดีต รวมถึงมีการส่งเสริมผู้มีความรู้ทางวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง เมืองแห่งนี้มีการสร้างวัฒนธรรม นักรบ (ซามูไร) ทาให้เกิดรูปแบบที่แตกต่างกันระหว่างความทันสมัยและวัฒนธรรมเดิม ในระหว่าง กระบวนการสร้างความทันสมัยซึ่งเริ่มต้นในสมัยเมจิ คานาซาวะสามารถปฏิวัติอุตสาหกรรมของเมือง จนสาเร็จ โดยการผสมผสานความรู้ด้านงานฝี มือแบบดั้งเดิม ผสานกับการพัฒ นาในระบบ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖-๒


อุตสาหกรรม ที่ใช้เครื่องจักร ทาให้เมืองแห่งนี้ประสบความสาเร็จด้านเศรษฐกิจที่เกิดจากความสมดุล ระหว่างวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม ในช่วงหลังสงครามโลกต่อถึงปัจจุบัน คานาซาวะได้ใช้ทุนทางวัฒนธรรมและปัญญา ส่งเสริมให้ เกิดหัตถกรรมสร้างสรรค์ใหม่ๆ ที่ผสมผสานระหว่างศิลปะที่ทันสมัยและงานฝีมือแบบดั้งเดิมจานวน มาก ๖.๑.๒) วิถีวัฒนธรรมการผลิตของคานาซาวะ เศรษฐกิจของเมืองคานาซาวะ เกิดจากการพัฒนาจากภายในเมืองเอง โดยเริ่มจากบริษัท ขนาดกลางและขนาดเล็กจานวนมาก ที่ประสบความสาเร็จอย่างต่อเนื่อง หลายแห่งมีช่างฝีมือและมี ความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ทาให้มีส่วนแบ่งในการตลาดระดับบน บริษัทเหล่านี้ได้ทา ให้เศรษฐกิจของเมืองมีการพัฒนา เช่นตัวอย่างของอุตสาหกรรมสิ่งทอ ที่พัฒนาทั้งสิ่งทอด้วยเทคนิค ดั้งเดิมและใช้เครื่องจักร, สิ่งพิมพ์และอุตสาหกรรมการพิมพ์ , อาหารและเครื่องจักรอุตสาหกรรม อาหาร ทาให้การพัฒนาสามารถรักษาโครงสร้างทางอุตสาหกรรมที่เป็นแบบดั้งเดิมและพัฒนาสู่ ระบบอุตสาหกรรมได้ รวมถึงยังสามารถตอบสนองต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนได้เป็นอย่างดี การพัฒนาเศรษฐกิจของคานาซาวะ ทาให้อุตสาหกรรมขนาดใหญ่จากภายนอกไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรมของเมืองได้ เมืองสามารถรักษาทั้งงานหัตถกรรมดั้งเดิมและ อุตสาหกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ที่มีมาอย่างต่อเนื่องนับ จากสมัยเอโดะ อีกทั้งยังมีการพัฒนาระบบ การศึกษาความรู้ และข้อมูลข่าวสาร มีการตั้งสถานศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยคานาซาวะ วิทยาลัย ศิลปะคานาซาวะ สถาบันเทคโนโลยีคานาซาวะ โรงเรียนเทคนิค ศูนย์วิทยบริการ รวมถึงพิพิธภัณฑ์ จานวนมาก สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นว่า เศรษฐกิจที่ไหลเวียนอยู่ในคานาซาวะได้ทาให้เกิดการพัฒนาทุน ทางวัฒนธรรมและทุนทางปัญญาขึ้นตลอดเวลา นับว่าเป็น“วิถีของการผลิตโดยการใช้ประโยชน์จาก ทุนทางวัฒนธรรม” อย่างแท้จริง ๖.๒ วัตถุประสงค์ของการศึกษาดูงาน ๖.๒.๑) เพื่อศึกษารูปแบบการดาเนินงานในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การทางานด้านต่างๆ ที่ สนับสนุนและเชิดชูงานศิลปะพื้นบ้านและงานหัตถกรรมของเมือง Kanazawa เมืองที่ได้รับการ ยอมรับให้เป็นเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖-๓


๖.๒.๒) เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างประเทศ เพื่อช่วยให้เมืองเชียงใหม่ สามารถ ดาเนิ น การขับ เคลื่ อนการทางานตามกระบวนการให้ เป็ น “เครือ ข่ายสมาชิกเมื องสร้า งสรรค์ (Creative Cities Network) ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรม และศิล ปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ๖.๓ ความจาเป็นในการไปศึกษาดูงาน โครงการเมืองสร้างสรรค์ (Creative Cities Programme) ขององค์การ UNESCO ก่อตั้งขึ้นใน ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่อรวบรวมเมืองในภูมิภาคต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างทั้งด้านระดับรายได้ ศักยภาพ เมือง รวมถึงจานวนประชากร ให้เข้ามาทางานร่วมกันเพื่อพัฒนาความร่วมมือในระดับนานาชาติของ เมืองต่าง ๆ ที่เห็นว่าสามารถนา ”การสร้างสรรค์” มาเป็นกลยุทธ์ที่ช่วยเสริมสร้างการพัฒนาเมือง แบบยั่งยืน ภายใต้กรอบการทางานที่แสดงถึงความร่วมมือทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กรวิชาชีพ ชุมชน ประชาสังคม และสถาบันทางวัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่ ง การด าเนิ น การเรื่ อ งเมื อ งสร้ า งสรรค์ ข องเชี ย งใหม่ ใ นครั้ ง นี้ เป็ น การด าเนิ น การตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ที่ ใ ห้ ค วามส าคั ญ กั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สร้างสรรค์ ซึ่งเมืองเชียงใหม่มีทุนเดิมที่มั่งคั่งทางสังคมวัฒนธรรม รวมถึงงานหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้านที่สาคัญ โดยเชื่อว่าหากมีการนาความคิดสร้างสรรค์มาผนวกกับทุนทางสังคมวัฒนธรรม ดังกล่าว จะสามารถสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงสามารถแสดงเอกลักษณ์ความ เป็นไทยสู่เวทีโลกได้ ผนวกกับจังหวัดเชียงใหม่ได้รับการคัดเลือกเป็นเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของกระทรวง พาณิชย์ในด้านหัตถกรรมสร้างสรรค์ และได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงวัฒนธรรม ให้เข้าร่วมการ คัดเลือกเป็นเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO โดยมุ่งการพัฒนางานหัตถกรรม ผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อสร้างเอกลักษณ์ และการผลิตสินค้าในท้องถิ่นให้มีศักยภาพ โดยใช้ทรัพยากร และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ อันจะเป็นการสร้างโอกาสเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการให้กับจังหวัด เชียงใหม่ในอนาคต ที่ผ่านมาจังหวัดเชียงใหม่มีความพยายามในการจัดทาข้อมูลเมืองเชียงใหม่เพื่อสมัครเข้าร่วม การประเมินเป็นเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO หากแต่ยังไม่สามารถเข้าเป็น สมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ได้ เนื่องจากยังขาดผลการดาเนินงานที่ เกี่ยวข้องตามเกณฑ์มาตรฐานที่องค์การ UNESCO ก าหนดไว้ ร วมถึ ง การได้ รั บ การยอมรั บ จาก ประเทศสมาชิกในด้านเดียวกัน อย่างน้อย ๕ ประเทศ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖-๔


การเดินทางศึกษาดูงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งกฎหมายที่ เกี่ ย วข้ อ งได้ กาหนดให้มีภารกิจหน้าที่ ในการส่งเสริมจารีตประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น จึงมีนัย ยะสาคัญต่อเมืองเชียงใหม่และประเทศไทยเป็นอย่างมาก เพราะเป็นการแสดงเจตน์จานงอย่างเป็น รู ป ธรรมถึ ง การขั บ เคลื่ อ นเมื อ งเชี ย งใหม่ ใ ห้ เ ป็ น เครื อ ข่ า ย สมาชิ ก เมื อ งสร้ า งสรรค์ ข ององค์ ก าร UNESCO โดยเริ่มจากการกระชับความสัมพันธ์กับเมือง Kanazawa ที่ถือว่าเป็น ๑ใน ๕ ของ ประเทศสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของ UNESCO ในเวทีโลก ต่อไป ๖.๔

เป้าหมายของการศึกษาดูงาน

๖.๔.๑) ศึกษากระบวนการ แผนยุทธศาสตร์ และการทางานด้านต่างๆ ที่เมือง Kanazawa ดาเนินการ สนับสนุนและเชิดชูงานศิลปะพื้นบ้านและงานหัตถกรรมของชาวเมือง จนได้รับการ ยอมรับให้เป็นเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ (Creative Cities Network) ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เพื่อนามาปรับใช้กับ เมืองเชียงใหม่ ซึ่งมี นโยบายในการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็นเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เช่นเดียวกัน ๖.๔.๒) เพื่อเป็นการแสดงเจตน์จานงในการสร้างเครือข่ายกับเมือง Kanazawa ซึ่งเป็นไป ตามหลักเกณฑ์การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเมืองสร้างสรรค์ ตามที่องค์การ UNESCO กาหนด ๖.๕

การติดต่อประสานงานกับเมืองคานาซาวะ

จากการประชุมคณะกรรมการตรวจรับงานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมือง วัฒนธรรมสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ได้ลงความเห็นร่วมกันในการไปดู การทางานเมืองสร้างสรรค์ที่เมืองคานาซาวะ ประเทศญี่ปุน ซึ่งมีรายละเอียดการดาเนินงานดังนี้

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖-๕


วันที่

รายละเอียด ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ติดต่อเรื่ององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ มี ความประสงค์ดูเรื่องเมืองสร้างสรรค์ที่เมืองคานา ซาวะ โดยผ่าน Consulate-General of Japan in Chiang Mai ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เข้าพบ Mr. Tomohiro KONDO, Vice-Consul of Japan in Chiang Mai มอบจดหมายจากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด เชียงใหม่ ถึง Mr Akihiko Fujii (No. 51003/4656) และ Mr. Yukiyoshi Yamano, Kanazawa City Mayor (No. 51003/4656.1) ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ได้รับการติดต่อทาง email จาก Mr. Tomohiro KONDO, Vice-Consul of Japan in Chiang Mai, แจ้งว่า ทางKanazawa ได้แต่งตั้ง: Ms. Rie Connell Kanazawa city City policy Department Planning Division Tel +81 76 220 2031 Fax +81 76 264 2535 email creative_city_kanazawa@city.kanazawa.lg.j p เป็นผู้ประสานงาน ของ Kanazawa

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖-๖


๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ และ ขอจ ดหม าย รั บ ร องเ ป็ น ทาง การ จา ก Kanazawa Mayor ได้รับ จดหมายรับรองเป็น ทางการจาก Kanazawa Mayor ทาง email

๖.๖

กาหนดการศึกษาดูงานเมืองคานาซาวะ การศึกษาดูงานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ไปยังเมืองคานาซาวะ ได้เดินทางระหว่างวันที่ ๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ ณ ประเทศญี่ปุน โดยมีกาหนดการดังนี้ วันแรก เชียงใหม่ – สุวรรณภูมิ (๘ กันยายน ๒๕๕๗) ๑๙.๐๐ น. พร้อมกันที่ท่าอากาศยานเชียงใหม่ เคาน์เตอร์ สายการบินไทย อาคารผู้โดยสารขา ออกต่างประเทศ (ตรวจเช็คหนังสือเดินทางที่เชียงใหม่) ๒๐.๕๐ น. ออกเดินทางสู่สนามบินสุวรรณภูมิ โดยสายการบินไทย เที่ยวบินที่ TG 121 ๒๒.๑๐ น. เดินทางถึงสนามบินสุวรรณภูมิ จากนั้นนาคณะศึกษาดูงานเปลี่ยนเครื่องบิน ไปประเทศญีป่ ุน วันที่สอง

สุวรรณภูมิ – นาโงย่า – คานาซาว่า – ระบบการจัดการรถนาเที่ยว LOOP BUS พิพิธภัณฑ์หัตถกรรม (๙ กันยายน ๒๕๕๗) ๐๐.๐๕ น. เดินทางสู่ประเทศญี่ปุน โดยสายการบินไทย เที่ยวบินที่ TG ๖๔๔ ๐๘.๐๐ น. เดินทางถึงสนามบินเมืองนาโกย่า ประเทศญี่ปุน ๐๘.๓๐ น. คณะศึกษาดูงานเดินทางสู่เมือง KANAZAWA เมืองหลวงของจังหวัด ISHIKAWA ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของแผ่นดินหลักประเทศญี่ปุน บริเวณใต้สุดของเมืองติดกับ ภูเขาและบริเวณเหนือสุดของเมืองติดกับทะเลญี่ปุน อาณาเขตของเมืองนี้ตั้งอยู่ ระหว่างแม่น้า SAIGAWA และแม่น้า ASANO ๑๒.๓๐ น. บริการอาหารกลางวัน ณ ภัตตาคาร รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖-๗


๑๓.๐๐ น.

๑๓.๐๐ น. ๑๘.๐๐ น. ๑๙.๓๐ น.

คณะศึกษาดูงาน ศึกษาการจัดการท่องเที่ยวของเทศบาลเมือง KANAZAWA โดยนั่ง รถโดยสารประจาทางแบบวน (KANAZAWA LOOP BUS) ซึ่งเป็นรถโดยสารที่ อานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว เพื่อดูระบบการจัดการรถนาเที่ยวของเทศบาล เมือง KANAZAWA คณะศึกษาดูงานการบริหารท้องถิ่นด้านหัตถกรรมและสินค้าพื้นเมือง รับประทานอาหารเย็น คณะศึกษาดูงานเข้าที่พัก โรงแรม KANAZAWA EXCEL HOTEL

วันที่สาม

ศึกษาดูงานระบบการบริหารจัดการของเทศบาลเมือง KANAZAWA เกี่ยว กับการดาเนินงานด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านที่ทาให้ได้รับการรับรองเป็น สมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (๑๐ กันยายน ๒๕๕๗) ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. คณะศึกษาดูงานเดินทางเข้าพบนายกเทศมนตรีเมือง KANAZAWA เพื่อรับฟังการ บรรยายสรุปเกี่ยวกั บการดาเนินงานด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน จนทาให้ สามารถเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ๑๒.๓๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๓๐ น. ศึกษาดูงานเข้าเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆของเมืองคานาซาว่า เพื่อศึกษารูปแบบการ บริหารงานและการสร้างความร่วมมือระหว่างเทศบาลกับประชาชนในการขับ เคลื่อนเมืองให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ด้านศิลปะและหัตถกรรมขององค์การ UNESCO ๑๘.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น ๑๙.๓๐ น. คณะศึกษาดูงานเข้าที่พัก โรงแรม KANAZAWA EXCEL HOTEL วันที่สี่ คานาซาว่า-ชิราคาวะโกะ-ลิตเติ้ลเกียวโต-อดีตจวนผู้ว่าฯ-นาโงย่า (SAKAE) (๑๑ กันยายน ๒๕๕๗) ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. คณะเดินทางสู่ “หมู่บ้านชิราคาวะโกะ” ซึ่งได้รับเลือกจากองค์การยูเนสโกให้ เป็ น “มรดกโลกทางวัฒ นธรรม” เพื่อศึกษาการบริห ารจัดการเมืองเก่า “Little Kyoto” หรือ “ซันมาซิซูจ”ิ เป็นเมืองเก่ากว่า หลังอาหารนาท่านเดินทางสู่ “หมู่บ้านชิราคาวะโกะ” ซึ่งได้รับเลือกจากองค์การยูเนสโกให้เป็น “มรดกโลกทาง รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖-๘


๑๒.๓๐ น. ๑๓.๓๐ น.

๑๘.๐๐ น. ๑๙.๓๐ น.

วัฒนธรรม” นาท่านชมเมืองเก่า “Little Kyoto” หรือ “ซันมาซิซูจิ” เป็นเมืองเก่า กว่า ๓๐๐ ปี โดยมีการจัดรูปแบบร้านค้าที่ทาให้นักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชม ซึ่งที่ยังคง อนุรักษ์รูปแบบของอาคารสมัยเอโดะ กว่า ๓๐๐ปี รับประทานอาหารกลางวัน ชมอดีต จวนผู้ว่าแห่งเมือง ทาคายามะ ซึ่งในอดีตเคยเป็นที่ทางานและที่พานักของ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นเวลา กว่า ๑๗๖ปี ภายใต้การปกครองของโชกุนตระกูลโทคุ งาวะสมัยเอโดะ ที่มีส่วนจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ รวมทั้งเอกสารโบราณซึ่งเป็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของเมืองทาคายามะ รับประทานอาหารเย็น คณะศึกษาดูงานเข้าที่พัก โรงแรม NAGOYA CASTLE HOTEL

วันที่ห้า สุวรรณภูมิ-กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗) ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. คณะเดินทางสู่สนามบินนาโงย่าเพื่อผ่านพิธีการตรวจคนเข้าเมือง ๑๑.๐๐ น.

เดินทางกลับกรุงเทพฯ โดยสายการบินไทย TG ๖๔๕

๑๕.๐๐ น. ๑๘.๔๕ น. ๒๐.๐๐ น.

ถึงสนามบินสุวรรณภูมิ และรอเปลี่ยนเครื่องเดินทางกลับเชียงใหม่ ออกเดินทางโดยสายการบินไทย เที่ยวบินที่ TG ๑๒๐ เดินทางถึงสนามบินเชียงใหม่ โดยสวัสดิภาพ

๖.๗

รายละเอียดผลการศึกษาดูงาน การศึกษาดูงานเป็นกิจกรรมหนึ่งที่โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมือง สร้างสรรรค์ขององค์การ UNESCO ให้ความสาคัญ เพราะเป็นหนึ่งในข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกั บ แบบฟอร์ มการสมัคร ที่เมืองจะต้องได้รับการสนับสนุนจากเมืองสร้างสรรค์อื่นๆขององค์การ UNESCO อย่างน้อย ๕ เมือง โดย ๓ เมืองต้องมาจากต่างภูมิภาคของประเทศผู้สมัคร (อ้างถึงรายชื่อ ประเทศตามภูมิภาคขององค์การ UNESCO) จดหมายเหล่านี้ต้องลงนามโดยนายกเทศมนตรีหรือ ตัวแทนข้าราชการจังหวัด ดังนั้นการศึกษาดูงานจึงต้องมีการพบปะหารือกับนายกเทศมนตรีหรือ ตัวแทนข้าราชการจังหวัดของเมือง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖-๙


นอกจากนั้นยังเป็นการพัฒนาบุคลากรทั้งในส่วนราชการและผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มทักษะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวคิด หรือมุมมองที่เกี่ยวกับเมืองสร้างสรรค์ ร่วมกัน ในการทัศนศึกษาดูงานครั้งนี้ทาให้เห็นถึงกรอบวิธีคิดในการพัฒนาเมือง เทคนิค รูปแบบ วิธีการปฏิบัติงาน รวมถึงประสบการณ์ของที่เมือง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาบุคลากร อันจะทา ให้สามารถนาองค์ความรู้ใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ในการวางแผนพัฒนาเมืองเชียงใหม่ ต่อไป การศึกษาดูงานครั้งนี้มีกิจกรรมการดูงาน ดังนี้ วันที่ ๘ กันยายน ออกเดินทางจากจังหวัดเชียงใหม่ ไปยังประเทศญี่ปุน วันที่ ๙ กันยายน

เดินทางสู่เมือง Kanazawa • ศึกษาการให้บริการของรถประจาทางแบบวน (Kanazawa Loop Bus) • ศึกษาการจัดการพื้นที่สีเขียวของเมือง • ศึกษาการจัดการพิพิธภัณฑ์เกี่ยวกับงานหัตถกรรม สินค้าพื้นเมือง Ishikawa Prefectural Museum of Traditional Arts and Craft • ศึกษาการจัดการหมู่บ้าน Higashi Chaya District

วันที่ ๑๐ กันยายน

ดูงานในเมือง Kanazawa • ศึก ษาการท างานของเทศบาลเมือ ง Kanazawa และสร้ า ง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การบริหารส่วนจังหวัดเมืองเชียงใหม่และเทศบาล เมือง Kanazawa, เข้าพบรองนายกเทศบาลเมือง Kanazawa และทีมงาน เมืองสร้างสรรค์ของเมือง Kanazawa • ศึกษาการจัดการสืบทอดงานหัตถกรรมที่ Sukuda Gold and Silver Leaf • ศึกษาการจัดการพิพิธภัณฑ์เกี่ยวกับทองคาเปลว Yasue Gold Leaf Museum • ศึกษาการจัดการสถาบันที่เมืองสร้างเพื่อการสืบทอดงานช่าง และ สร้างสรรค์งานใหม่ Utatsuyama Kogei Kobo

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๐


วันที่ ๑๑ กันยายน

ดูงานในเมือง Shirakawago และ Takayama • ศึกษาการรักษามรดกทางวัฒนธรรมของเมือง Shirakawago • ศึกษาการรักษามรดกทางวัฒนธรรมของเมือง Takayama

วันที่ ๑๒ กันยายน

เดินทางกลับจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย

๖.๘ ประสบการณ์ที่ได้รับ ประกอบด้วย ๖.๘.๑) ประสบการณ์การแลกเปลี่ยนการทางานเรื่องเมืองสร้างสรรค์กับเทศบาล Kanazawa ๖.๘.๒) ประสบการณ์เรื่องกรอบวิธีคิดในการพัฒนาเมืองผ่านการทางานร่วมกันระหว่างภาครัฐ และเอกชน ๖.๘.๓) ประสบการณ์การเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้คนในเมืองโดยหน่วยงานรัฐ ๖.๒.๔) ประสบการณ์เรื่องวิธีการสร้างการเรียนรู้ ชื่นชม และสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของ เมือง ๖.๒.๕) ประสบการณ์เรื่องวิธีการสร้างการเรียนรู้ ชื่นชม และรักษามรดกทางวัฒนธรรมของ เมือง Shirakawago และ Takayama ได้แก่ ๖.๘.๑) ประสบการณ์การแลกเปลี่ยนการทางานเรื่องเมืองสร้างสรรค์กับเทศบาล Kanazawa จากการเข้าพบรองนายกเทศมนตรีของเมือง Kanazawa, Mr. Atsushi Hamada และ คณะทางานอย่างเป็นทางการ ของคณะจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ในครั้งนี้ เป็นการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างเมืองเชียงใหม่และ Kanazawa และได้ทราบถึงกลยุทธ์และนโยบาย การเพื่อกระตุ้นให้เกิดศิลปะและงานฝีมือ อันเป็นกระบวนการที่สาคัญที่ก่อให้ ประสบผลส าเร็ จ ใน การที่จะเป็นเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๑


การต้อนรับของรองนายกเทศมนตรี ของเมือง Kanazawa และคณะทางานอย่างเป็ นทางการ การแลกเปลี่ยนของขวัญระหว่างเมือง และการรับฟังการบรรยาย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เรื่ องการเตรี ยมการเพื่อเป็ นเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO

๑) การให้การสนับสนุนของเมืองในทุกด้าน ทั้งการจัดทาวิสัยทัศน์ พันธกิจ กฏบัตร และกิจกรรมเพื่อนาสู่การเป็นเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO เป็นสิ่งสาคัญมากที่จะต้องแสดงจุดยืนสาคัญของเมืองและทางานตามที่แสดงให้เห็น ถึง ความพยายามของเมืองในการออกกฎหมาย ช่วยเหลือประชาชนในเรื่องสภาพแวดล้อมและ การปกปูองรักษามรดกทางศิลปะวัฒนธรรม และฝีมือช่างของเมืองไว้ในขณะเดียวกันก็ต้องมี การศึกษา วิจัย พัฒนารูปแบบเพือ่ ให้งานของเมืองเข้าสู่ระดับสากลโดยตัวเมืองและรัฐต้องเอื้อ ให้เห็นถึงการเห็นความสาคัญและรักษาของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เช่นเมืองมีการ นาช่างฝีมือมารวมกัน สร้างประตูเมืองอันเป็นสัญลักษณ์สาคัญของเมืองในปัจจุบัน ๒) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และการขยายช่องทางการตลาด มีการอุดหนุนค่าใช้จ่ายของการพัฒนาตราสินค้างานหัตถกรรมของ“คานาซาวา” และสนับสนุนการพัฒนาหัตถกรรมรูปแบบใหม่ เพื่อให้เหมาะกับวิถีการดาเนินชีวิต ร่วมสมัย อันเป็นการขยายช่องทางการตลาดให้กับงานหัตถกรรมของเมือง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๒


๓) สนับสนุนการพัฒนาตลาดในต่างประเทศ เมืองคานาซาวะสนับสนุนให้มีการศึกษาต่อในต่างประเทศ เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา และช่างได้เพิ่มความรู้และปรับปรุงเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม นอกจากนั้นเมือง ยังส่งเสริมการจัดแสดงนิทรรศการของช่างฝีมือรุ่นใหม่ทั้งในเมืองและต่างประเทศ เพื่อเป็นการ ส่งเสริมโอกาสให้แก่ช่างฝีมือและเป็นการขยายช่องทางตลาดไปยังต่างประเทศในเวลาเดียวกัน ๔) ระบบการยกย่องบุคคลที่เอื้อต่อหัตถอุตสาหกรรมแบบดั้งเดิม เมืองมีการจัดรางวัลให้กับช่างฝีมือที่มีส่วนร่วมในการสืบทอดงาน โดยจัดให้มีการเรียน การสอน หรือการพัฒนาเทคนิคงานช่าง ๕) ส่งเสริมงานช่าง เมืองมีการใช้ประโยชน์จากบ้านที่ไม่มีการใช้อยู่อาศัย ในพื้นที่ภูเขาปัจจุบันคือสถาบัน Utatsuyama Kogei Kobo เพื่อเตรียมความพร้อมของกลุ่มช่างฝีมือ เพื่อเป็นสถานที่สาหรับ กิจกรรมสร้างสรรค์ และมีการเปิดตัวของสตูดิโอโดยใช้ร้านค้าที่ทิ้งร้างในย่านกลางเมือง ๖) การจัดตั้งสมาคมส่งเสริมอาชีพด้านศิลปะคานาซาวะ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เมืองได้มีการก่อตั้งสมาคมส่งเสริมอาชีพด้านศิลปะคานาซาวะ โดย ร่วมมือกับกลุ่มอุตสาหกรรม ศิลปิน กลุ่มธุรกิจของเมืองคานาซาวะ เพื่อใช้เป็นองค์กร เพื่อ ขยายข้อมูลงานด้านหัตถกรรมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมถึงเป็นช่องทางการตลาด ส่งเสริมด้านการแสดงสินค้าและขายงานฝีมือแบบดั้งเดิม โดยมีการเผยแพร่ข้อมูลในเว็บไซต์ ฯลฯ ๗) เก็บรักษาเทคโนโลยีและโครงการเพื่อการพัฒนาความสามารถในการสืบต่องาน ช่างฝีมือ มีการตั้งกองทุนเพื่อการฟื้นฟูการพัฒนาทรัพยากรและกองทุนสารองเลี้ยงชีพเพื่อให้ แรงจูงใจ สาหรับผู้สืบทอดจากหัตถกรรมแบบดั้งเดิม ๘) การจัดประชุมในระดับชาติ นานาชาติ เป็นการสร่้างประสบการ์การเป็นเจ้าภาพของการจัดประชุม ที่ส่งเสริมให้มี ก า ร ศึ ก ษ า งานของเมืองตน ในขณะเดียวกันก็สร้างความร่วมมือกับนานาชาติในเรื่องหัตถกรรมและอื่นๆ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๓


๖.๘.๒) ประสบการณ์เรื่องกรอบวิธีคิดในการพัฒนาเมืองผ่านการทางานร่วมกันระหว่างภาครัฐ และเอกชน ได้แก่

รถประจาทางแบบวนของเมืองและสถานที่รอรถซึ่งมีการให้ขอ้ มูลและมีการ ออกแบบที่นงั่ รอรถที่นางานหัตถกรรมของเมืองมาผสมผสาน

การให้บริการของรถประจาทางแบบวน (Kanazawa Loop Bus) เป็นการทางานร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อให้บริการรถสาธารณะ ให้ชาวเมืองและผู้ มาเยือนสามารถเข้าถึงสถานที่สาคัญของเมืองโดยง่าย ทั้งนี้โดยมีสถานที่จาหน่ายบัตรโดยสารที่ สามารถเลือกวิธีการใช้ที่เหมาะกับผู้บริการ เช่น ๑ วัน ๗ วัน ฯลฯ และมีจุดจอดรถที่เอื้อต่อการเข้า ชมสถานที่สาคัญ หรือ หมู่บ้านหัตถกรรมได้โดยง่าย

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๔


การจัดการทางเท้าและทางจักรยานในเมือง เป็นการทางานที่นาเอกลักษณ์ของเมืองเข้ามาผสานกับการอานวยความสะดวกของรัฐ ที่ผสาน เอกลักษณ์ของเมืองในขณะเดียวกัน อันเป็นการสร้างคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้คนในเมือง

เมืองมีการจัดทางเท้าของเมืองที่มีการจัดการเรื่ องน้ าฝนและทางจักรยานรอบเมืองที่ ช่วยลดมลภาวะ และที่จอดจักรยานสาธารณะ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๕


๖.๘.๓) ประสบการณ์การเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้คนในเมืองโดยหน่วยงานรัฐ การจัดการพื้นที่สีเขียวของเมือง Kanazawa เป็นการทางานของภาครัฐในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคนผ่านการจัดทาสวนสาธารณะ Kenrokuenซึ่งถือเป็นสวนที่มีชื่อเสียง ๑ ใน ๓ ของประเทศ ที่รวบรวมพันธุ์ไม้นานาชนิด ที่ทาให้เกิด แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานศิลปะ และเป็นจุดรวมใจของผู้คน และนาไปสู่สัญลักษณ์ของการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆของเมือง

เมืองมีการจัดสวนสาธารณะที่มีตน้ ไม้นานาพันธ์และเป็ นสถานที่สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผคู ้ นในการสร้างงาน มีการจัดการที่ดี รวมถึงมีกิจกรรม และเทศกาลให้แก่ผคู ้ นได้ชื่นชมธรรมชาติ

๖.๘.๔) ประสบการณ์เรื่องวิธีการสร้างการเรียนรู้ ชื่นชม และสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของ เมือง ลักษณะเด่นของการเป็นเมืองหัตถกรรมของคานาซาวะ คือการเน้นการเรียนรู้ผ่านพิพิธภัณฑ์ และฝึกอบรมช่างฝีมือ งานหัตถกรรมได้รับการสนับสนุนจากรัฐและเอกชนให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีการ ดาเนินชีวิตแบบดั้งเดิม งานหัตถกรรมท้องถิ่นหลักของคานาซาวะ ได้แก่ งาน ตี แ ผ่ น ทองค าเปลว, ผ้าไหมย้อมสี Kaga - Yuzen, เครื่องเคลือบ, งานเย็บปักถักร้อย และแท่น พุทธบูชาในบ้านแบบ คานาซา วะ ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ได้รับประสบการณ์ในสถานที่ต่างๆ ดังนี้

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๖


การจั ด การพิ พิธ ภัณ ฑ์เ กี่ย วกั บงานหัต ถกรรม สิ น ค้ า พื้ น เมือ ง Prefectural Museum of Traditional Arts and Crafts

Ishikawa

การจัดแสดงงานสร้างสรรค์โดยฝี มือนักออกแบบรุ่ นใหม่ เพื่อเป็ นการสนับสนุนงาน สร้างสรรค์ Prefecturalตถกรรมของเมื Museum of Traditional and Crafts เป็นพิพิธภัณทีฑ์่ ทIshikawa ี่จัดแสดงผลงานหั อง รวม ๓๖Arts ประเภท ผู้ชมสามารถชม

และเรียนรู้การพัฒนาฝีมือช่างที่มีมากว่าศตวรรษ ซึ่งมีทั้งงานเสื้อผ้า งานผ้าไหมย้อมสี Kaga Yuzen, เครื่องเคลือบ, งานเย็บปักถักร้อย และแท่นบูชาในบ้านแบบคานาซาวะ เครื่ อ งดนตรี และมีการจัดแสดงงานของนักออกแบบรุ่นใหม่ที่ผสาน กับวัฒนธรรมดั้งเดิม อันเป็นการสร้าง ความเชื่อมโยงระหว่างอดีตกับปัจจุบัน การจัดการหมู่บ้าน Higashi Chaya District หมู่บ้านนี้ที่เดิมคือสถานที่แห่งความบันเทิง กลางเมือง Kanazawa ซึ่งเกอิชา (ผู้ให้ความ บันเทิงแบบพื้นเมืองของญี่ปุน เพศหญิง) ให้ความบันเทิงผ่านการแสดงวัฒนธรรมการร่ายรา และเล่นเครื่องดนตรีพื้นเมืองของญี่ปุนมาตั้งแต่สมัย Edo กว่า ๑๘๐ ปี ที่นี่ถือเป็นเขตร้านน้า ชาที่ใหญ่ที่สุดในคานาซาวะ และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของญี่ปุน

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๗


นอกจากนั้นยังมีการก่อสร้างบ้านเดี่ยว ๒ ชั้น ที่ถูกสั่งห้ามในสมัยเอโดะที่มีลักษณะเด่น จากโครงไม้ที่เป็นตารางเรียกว่า Kimusuko ที่ด้าน นอกของชั้น ๑ และห้องรับรองแขก แบบญี่ปุนบนชั้น ๒ และมีการปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกที่ผสานความรู้สึกดั้งเดิม มีการ ปรับบ้านเก่าให้เป็นร้านขายของที่ระลึก และผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ของ เมืองที่เกี่ยวข้องกับการตีทองคาเปลว และการเรียนรู้เรื่องราวในประวัติศาสตร์

บรรยากาศ การรักษาสภาพแวดล้อม สถาปั ตยกรรม การให้ขอ้ มูลในอดีตและของที่ระลึก ภายในหมู่บา้ น Higashi Chaya District

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๘


การจัดการสืบทอดงานหัตถกรรมที่ Sukuda Gold and Silver Leaf เป็นการเรียนรู้เรื่องการให้บริการแก่นักท่องเที่ยว เพื่อสามารถรับประสบการณ์ตรงใน การทางานหัตถกรรม โดยมีการสอนทั้งระยะสั้นและระยะยาว นักท่องเที่ยวสามารถเรียนรู้และ ฝึกทางานได้โดยผ่านการออกแบบการเรียนและเทคนิคที่พัฒนาขึ้นมาใหม่

เรี ยนรู ้เรื่ องการให้บริ การแก่นกั ท่องเที่ยว ความสาคัญ ของงานทองคาเปลว และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การทางานทอง ระหว่างช่างฝี มือของ Kanazawa และ นักวิชาการ ศิลปิ นเชียงใหม่ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์อนั ดีระหว่าง ๒ ประเทศ รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๑๙


การจัดการพิพิธภัณฑ์เกี่ยวกับทองคาเปลว Yasue Gold Leaf Museum พิพิธภัณฑ์แห่งนี้มุ่งเน้นไปที่การจัดแสดงนิทรรศการเครื่องมือการ ตี ท อ ง แ ล ะ ศิ ล ป ะ หัตถกรรมที่เก็บรวบรวมโดย Komei Yasue ช่างตีแผ่นทองที่มีชื่อเสียง ที่ผู้เข้าชมสามารถดู ขั้นตอนการตีแผ่นทองผ่านสื่อวีดิทัศน์และนิทรรศการเป็นงานจานวนมาก รวมถึงฉากพับเครื่อง แต่งกายของละคร Noh เครื่องลายคราม Kutani แท่นบูชา Kanazawa งานเคลือบเงา Kaga

เรี ยนรู ้เรื่ องความสาคัญของงานทองคาเปลวที่ใช้ในงานศิลปะ ในอดีตและปั จจุบนั และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ทางานลายทอง ระหว่างนักวิชาการของ Kanazawa และ นักวิชาการ ศิลปิ นเชียงใหม่ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่าง ๒ ประเทศ

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๒๐


ศึกษาการจัดการสถาบันที่เมืองสร้างเพื่อการสืบทอดงานช่าง และสร้างสรรค์งาน ใหม่ Utatsuyama Kogei Kobo เป็นสถาบันที่รัฐส่งเสริมมงานช่างรุ่นใหม่ โดยสถาบันจะคัดเลือกผู้ เ ข้ า เ รี ย น ผ่ า น ก า ร เขียนโครงร่างการทางาน เมื่อรับเข้ามาแล้วจะให้สร้างงานที่ตนออกแบบสร้างสรรค์โดยมี ฐาน จากงานวัฒนธรรมเดิม โดยรัฐออกค่าใช้จ่ายในการเรื่องค่ากินอยู่ อุปกรณ์ ห้องปฏิบัติงานต่างๆ จึงทาให้เกิดการสืบทอดงานแบบดั้งเดิมสมัยใหม่ได้อย่างไม่ขาดสาย

การเรี ยนรู ้เรื่ องแนวทางการสื บทอดงานช่างโดยการให้ทุนการศึกษาและพื้นที่แก่ศิลปิ นรุ่ นใหม่

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๒๑


สรุปได้ว่าเศรษฐกิจของเมืองคานาซาวะ เกิดจากทุนทางวัฒนธรรมในอดีต และมีการพัฒนา จากภายในเมืองเอง โดยเริ่มจากบริษัทขนาดกลางและขนาดเล็กจานวนมากที่ประสบความสาเร็จ อย่างต่อเนื่อง หลายแห่งมีช่างฝีมือและมีความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ทาให้มีส่วนแบ่งใน การตลาดระดับบน บริษัทเหล่านี้ได้ทาให้เศรษฐกิจของเมืองมีการพัฒนาและเมื่อมีการสนับสนุนจาก เทศบาลเมือง Kanazawa ที่สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบการศึกษาความรู้ และระบบข้อมูล ข่าวสาร มีการตั้งสถานศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยคานาซาวะ วิทยาลัยศิลปะคานาซาวะ สถาบัน เทคโนโลยีคานาซาวะ โรงเรียนเทคนิค ศูนย์วิทยบริการ รวมถึงพิพิธภัณฑ์จานวนมาก ทาให้เมือง สามารถรักษาทั้งงานหัตถกรรมดั้งเดิมและอุตสาหกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ที่มีมาอย่างต่อเนื่องนับจาก สมัยเอโดะ อีกทั้งยังมีการพัฒนาในระบบนวัตกรรม โดยอาศัยความร่วมมือในทุกภาคส่วนของเมือง จนนาไปสู่การเป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรรค์ขององค์การ UNESCO ซึ่งสามารถสร้างรายได้ ให้แก่ประชาชนมากขึ้น สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นว่าคานาซาวะได้ทาให้เกิดการพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมและทุนทาง ปัญญาขึ้นตลอดเวลา นับว่าเป็น“วิถีของการผลิตโดยการใช้ประโยชน์จากทุนทางวัฒนธรรม” อย่าง แท้จริง ๖.๘.๕) ประสบการณ์เรื่องวิธีการสร้างการเรียนรู้ ชื่นชม และรักษามรดกทางวัฒนธรรมของเมือง Shirakawago และ Takayama Shirakawago เป็นหมู่บ้านท่ามกลางหุบเขา ได้รับการขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดก โลกแห่งที่ ๖ ของประเทศญี่ปุน เพราะเป็นหมู่บ้านที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น หลังคามุงด้วยฟางข้าว สร้างขึ้นด้วยมือที่ เรียกว่า การสร้างบ้านแบบ กัตโชทสึคุริ (Gassho-zukuri)

การเรี ยนรู ้เรื่ องแนวทางการรักษาสถาปั ตยกรรม การจัดการเมือง การออกกฏระเบียบ ในการเป็ นมรดกโลก รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๒๒


เป็นบ้านชาวนาโบราณที่มีอายุมากกว่า ๒๕๐ ปี คาว่า "กัสโช" หมายความว่า พนมมือ ซึ่งเป็น การบ่งบอกถึงลักษณะรูปแบบของบ้านที่มีหลังคามุงด้วยฟางข้าวชันถึง ๖๐ องศา คล้ายมือที่พนมเข้า หากัน มุงแบบลาดลงคล้ายหน้าจั่ว เพื่อให้ทนทานต่อหิมะและลมในฤดูหนาว ตัวบ้านมีความยาว ประมาณ ๑๘ เมตร และมีความกว้าง ๑๐ เมตร สร้างขึ้นโดยไม่ใช้ตะปู ซึ่งบางแห่งสามารถเข้าพักค้าง คืนได้ หมู่บ้านนี้มีการจัดการเรื่องการท่องเที่ยวที่ให้ผู้คนสามารถเรียนรู้ศิลปะวัฒนธรรมของผู้คน และ มีการพัฒนาเรื่องพิพิธภัณฑ์ที่สร้างประสบการณ์ให้แก่ผู้มาเยือนได้เห็นการใช้ชีวิตแบบดั้งเดิมของชาว ญี่ปุนอย่างแท้จริง Takayama เป็นเมืองเก่าที่ได้ชื่อว่า หมู่บ้าน “Little Kyoto” หรือ “ซันมาซิซูจิ” ที่ยังคง อนุรักษ์ที่สภาพเดิมของบ้านเรือนไว้ได้เป็นอย่างดี มีร้านค้าที่นาผลิตภัณฑ์ของชุมชนทั้งการเกษตร และการผลิตของที่ระลึกที่แสดงอัตลักษณ์ของชุมชน จุดที่น่าสนใจคือ อดีตจวนผู้ว่าแห่งเมืองทาคายา มะ (takayama jinya) ทาคายามะ จินยะ ที่เคยเป็นที่ทางานและที่พานักของผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น เวลากว่า ๑๗๖ ปี ภายใต้การปกครองของโชกุนตระกูลโทคุงาวะในสมัยเอโดะ ภายในกว้างขวางและมี การแบ่งเป็นห้องต่างๆ มากมาย ทั้งห้องทางาน ห้องรับแขก ห้องเก็บส่วย หรือแม้กระทั่งห้องทรมาน นอกจากนี้ยังมีห้องในแบบที่เรียกว่าห้อง Garden View อันเป็นห้องที่ดีที่สุดภายในจวน เพราะ สามารถมองเห็นวิวของสวนสไตล์ญี่ปุนได้ชัดเจน ซึ่งสถานที่แห่งนี้เปรียบเสมือนพิพิธภัณฑ์ของเมือง

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๒๓


แนวทางการจัดการเมือง Takayama และความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ของเมือง

๖.๙ ประโยชน์และผลที่จะนามาใช้กับหน่วยงาน การศึกษาดูงานครั้ง นี้สามารถเห็นถึงวิสัยทัศน์ของเมืองทั้ง ๓ เมือง โดยเฉพาะเมือง Kanazawa ซึ่งเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรรค์ขององค์การ UNESCO ที่คณะเดินทางให้ความสาคัญ เป็นอย่างมาก เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับแบบฟอร์มการสมัคร ที่เมืองจะต้องได้รับ การสนับสนุนจากเมืองสร้างสรรค์อื่นๆขององค์การ UNESCO นอกจากนั้นยังเป็นการพัฒนาบุคลากร ทั้งในส่วนราชการและผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มทักษะและแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ แนวคิด หรือมุมมองที่เกี่ยวกับเมือง การเชื่อมโยงเครือข่ายภาคราชการ เอกชน ประชาชน ภาคธุรกิจที่เข้มแข็งเพื่อสร้างสรรค์เมืองร่วมกัน ในการทัศนศึกษาดูงานครั้งนี้ทาให้เห็นถึง กรอบวิธีคิดในการพัฒนาเมือง เทคนิค รูปแบบวิธีการปฏิบัติงาน รวมถึงประสบการณ์และอุปสรรค ของที่เมือง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาบุคลากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่และ องค์กรอื่น อันจะทาให้สามารถนาองค์ความรู้เหล่านี้ มาประยุกต์ใช้ในการวางแผนพัฒนาเมือง เชียงใหม่เพื่อเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรรค์ขององค์การ UNESCO ให้ประสบผลสาเร็จ ประโยชน์จากการศึกษา เมือง Kanazawa ที่ได้ออกกฏหมายดูแลเมืองเพื่อรักษาธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม โดยมีการศึกษาวิจัยรองรับ เช่น จานวนเพิ่มขึ้นของหิ่งห้อยในคูเมือง และความ หลากหลายที่เพิ่มขึ้นของพันธุ์พืชในสวน Kenrokuen สะท้อนให้เห็นถึงความสมบูรณ์ของสวน ซึ่ง แสดงถึงคุณภาพ สภาพแวดล้อมของเมืองที่เพิ่มมากขึ้น

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๒๔


ทั้งนี้การวางแผนกลยุทธ์ของเมืองที่มีการคาดการณ์ในอนาคต โดยใช้ทุนทาง วั ฒ น ธ ร ร ม และธรรมชาติ สามารถนาไปใช้กับหน่วยงานอื่นๆในประเทศ ที่มีการทางานที่สัมพันธ์กับสิ่งเหล่านี้ได้ ในอนาคต รวมถึงควรส่งเสริมการพัฒนาเมืองพร้อมกับการมีงานวิจัยรองรับ อีกทั้งการปรับปรุง ทางด้านนวัตกรรมให้กับงานหัตถกรรมของเมืองเชียงใหม่ให้ประสบผลสาเร็จต่อไปในอนาคต

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

๖ - ๒๕


บรรณานุกรม กมล ชอบชื่นชม. ชุมชน : ยุทธศาสตร์การพัฒนาชนบทที่ก้าวหน้าและยั่งยืน. ในเอกสารวิจัยส่วน บุคคล ลักษณะวิชาสังคมจิตวิทยา หลักสูตรการปูองกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๔๐ ประจาปี การศึกษา ๒๕๔๐ – ๒๕๔๑, หน้า ๔๓. กรุงเทพมหานคร : วิทยาลัยปูองกันราชอาณาจักร, ๒๕๔๑. กฤษดา ขุ่ยอาภัย. การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษาบ้านลวงเหนือ ตาบลลวงเหนือ อาเภอดอย สะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ การค้นคว้าอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ เศรษฐศาสตร์การเมือง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๒. กรมศิลปากร. วัฒนธรรม อารยธรรม ภูมิปัญญาและเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ: กรม, ๒๕๔๒. กาญจนา แสงลิ้มสุวรรณ และคณะ. การท่องเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ, ๒๕๕๕. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. ภาพและอนาคตคุณลักษณะของคนไทยที่ประสงค์ (พิมพ์ครั้งที่ ๑). กรุงเทพมหานคร : สานักพัฒนาการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ, ๒๕๔๖. เกื้อ วงศ์บุญสิน. ประชากรกับการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๐. โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์. การพัฒนาประเทศไทย แนวความคิดและทิศทาง. กรุงเทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๓๓. จิรายุ ทองเขาอ่อน. การมีส่วนร่วมของเกษตรในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้า เพื่อการเกษตรในจังหวัด ลาพูน. การค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาการส่งเสริมการเกษตร) บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๓๗. จิราวรรณ กาวิละ. ทางเลือกของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่หมู่บ้านวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๔. เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. ในการบริหารงานพัฒนาชนบท การระดมประชาชนเพื่อการพัฒนาชนบท. จักรฤษณ์ นรนิติผดุงการ (บก.) กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๒๖. ฉลาดชาย รมิตานนท์. วัฒนธรรมกับความหลากหลายทางชีวภาพกับการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, ๒๕๓๗. ชัชรินทร์ ปัญญา. การดาเนินงานของศูนย์อุตส่าหกรรมทาร่มบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัด เชี ย งใหม่ การค้ น คว้ า แบบอิ ส ระบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต (สาขาวิ ช าการบริ ห ารธุ ร กิ จ ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๓. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บ-๑


ชินรัตน์ สมสืบ. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๙. เชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์, เกี่ยวกับเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: htpp://www.creativechiangmai.com/about (๑ พฤษภคม ๒๕๕๔), ๒๕๕๔. เชี ย งใหม่ เ มื อ งสร้ า งสรรค์ , เมื อ งสร้ า งสรรค์ . [ระบบออนไลน์ ]. แหล่ ง ที่ ม า: htpp://www.creativechiangmai.com/activities/dip-creative-city (๒๑ กรกฏาคม ๒๕๕๔), ๒๕๕๔. ณัฐชรินทร อภิวิชญ์ชลชาติ. การศึกษาการให้ความหมาย รูปแบบ และกลยุทธ์การดาเนินกิจกรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๕๑. ณรงค์ เส็งประชา. มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๑. ณรงค์ เส็งประชา. สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ๒๕๒๘. ทยุติ อิสริยฤทธานนท์. การบริหารต้นทุนโครงการ. ค้นเมื่อ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๔, จาก http://www.eptg-acsc.co.th/mix-acs/images/Column/column๒.pdf, ๒๕๕๐. ทวีทอง หงส์วิวัฒน์. การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๗. ทานตะวัน สุรเดชากุล. สุขภาพจิตและระบบบริการสุขภาพจิตในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : บริษัทบียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จากัด, ๒๕๔๗. ธงชัย ปัญญาธนัญชัย. การพัฒนาและสืบทอดอาชีพการ “ต้อง” โลหะแผ่นของกลุ่มหัตถศิลป์ ล้านนา วัดศรีสุพรรณ บ้านวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาวิชาอาชีวศึกษา)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๘. ธงชัย สันติวงษ์. องค์การและการจัดการทันสมัยในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ไทย วัฒนาพาณิชย์, ๒๕๔๐. นพพร ภูมิสวัสดิ์. ศักยภาพของชุมชนกับการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๔๕. นาริตา ชัยธิมา. การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง การจักสานบ้านปุาบง ตาบลปุาบง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาวิชาอาชีวศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๓. นิรนทร์ แก้วมีศรี. การวิเคราะห์การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดสุขศึกษาในชนบท. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาการศึกษานอกระบบ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๓๘. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

บ-๒


บรรพต วิระสัย. สังคมวิทยา – มานุษยวิทยา. พระนคร: มหาวิทยาลัยรามคาแหง, ๒๕๒๐. ปรัชญา เวสารัชช์. รายงานการวิจัยการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๘. ปรัชญา เวสารัชน์. รายงานวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมเพื่อพัฒนาชนบท. สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๗. ปริญญ์ อภิวงศ์วาร. พฤติกรรมการท่องเที่ยววัฒนธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ของนักท่องเที่ยว ชาวไทย Research Exercise in Current Economics Issue คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๘. ปรีชา เปี่ยมพงษ์สานต์. วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย : วิธีไทยแห่งการพัฒนา. จตุรงค์ บุญยรัตน สุนทร. (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรสโปรดักส์, ๒๕๓๖. ปาริชาติ วลัยเสถียร และคนอื่น ๆ. คณะกรรมการและเทคนิคการทางานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), ๒๕๔๓. ปิ่นรัชฏ์ กาญจนัษฐิติ. การอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมและชุมชน โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คนธาภรณ์ เมียร์แมน. การวิจัยพัฒนารูปแบบและคุณค่าผลิตภัณฑ์ เครื่องปั้นดินเผาบ้านเหมืองกุง โดยการต่อยอดเทคนิคภูมิปัญญาท้องถิ่นและฟื้นฟูเอกลักษณ์ ในการออกแบบ สาขาวิชาการออกแบบ คณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เจริญศรี พื้นผาสุก. การประยุกต์พระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสืบทอดภูมิ ปัญญาท้องถิ่น งานหัตถกรรมสาขางานศิลปะประดิษฐ์ของจังหวัดเชียงใหม่ สาขาวิชา ศิลปกรรมคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, ๒๕๕๓. พจน์ เกื้อกูล. เครื่องถ้วยและเตาเผาสันกาแพง กรมศิลปากร, ๒๕๑๕. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สหธรรมิก, ๒๕๓๙. พัฒน์ บุญยรัตพันธุ์. การสร้างพลังชุมชนโดยขบวนการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๗. พสุ เดชะรินทร์. หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ : วันอังคารที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๘. พิพัฒน์ ยอดพฤติการ. หน้าที่ของ (องค์กร) พลเมือง. ค้นเมื่อ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๔, จาก http://pipatory.blogspot.com/๒๐๑๐_๐๕_๐๑_arcguve.html, ๒๕๕๓. ไพรัตน์ เดชะรินทร์. นโยบายและกลวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชนในยุทธศาสตร์การพัฒนาปัจจุบันของ ประเทศไทย. ในทวีทอง พงษ์วิวัฒน์, บรรณาธิการ. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ พัฒนา. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์การศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๗. ไพรัตน์ เตชะรินทร์. “แนวคิดใหม่ในการพัฒนาชนบท”. เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาพัฒนา รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บ-๓


ชนบทไทย หน่วยที่ ๑๕ . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, ๒๕๓๑. ไพโรจน์ สุขสัมฤทธิ์. “การมีส่วนร่วมของประชาชน”. วารสารพัฒนาชุมชน. ๒๗ กุมภาพันธ์, ๒๕๓๑. ภูริวัจน์ อินทร์ตุ้ม. “ศักยภาพของชุมชนชนบทในการจัดการปัญหาด้านสุขภาพอนามัย” วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๔. มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด และคณะ. การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการที่ยั่งยืนในลุ่มแม่น้าโขง สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๙. มูลนิธิโลกสีเขียว. มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร:อัมรินทร์พรินติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง, ๒๕๓๗. ยงยุทธ เปลี่ยนผดุง. การศึกษาวิเคราะห์ชุมชนอย่างมีส่วนร่วม. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๓๙. ยุวรัตน์ วุฒิเมธี. หลักการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : ไทยอนุเคราะห์ไทย, ๒๕๒๖. ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน, ๒๕๒๖. ระเด่น หัสดี. “การเตรียมชุมชนและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการพัฒนา ชีวิต”. เอกสารประกอบการอบรมการฟื้นฟูความรู้ครูฝึกระดับจังหวัด/ประชาชนในโครงการ พัฒนาชีวิต เรื่อง การดาเนิน งานสุขศึกษาและประชาสัม พันธ์. กรุงเทพฯ : กองสุข ศึกษา กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๓๐. รักกิจ ศรีสรินทร์. การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร : สถาบันดารงราชานุภาพ. รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า, ๒๕๔๑. วราพร ศรีสุพรรณ. การพัฒนาที่ยั่งยืน. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๓๔. วัชรา ทองหยอด. การพัฒนาผลิตภัณฑ์งานจักสาน ตาบลปุาบง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ การ ค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาวิชาอาชีวศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๐. วันรักษ์ มิ่งมณีนาศิน. การพัฒนาชนบทไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่น. (๒๕๔๐). องค์กรชุมชน : กลไกเพื่อแก้ไข ปัญหาและพัฒนาสังคม. กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๓๑. วิชิต นันทสุวรรณ. ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ : มูลนิธิหมู่บ้าน, ๒๕๓๖. วิถี พานิชพันธ์. ศิลปะเครื่องเขินในล้านนา สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

บ-๔


๒๕๔๔. วิถี พานิชพันธ์. สิ่งถักทอและผ้าไทย วิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยชียงใหม่, ๒๕๔๕. วิภาดา วีระสัมฤทธิ์. ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (CSR) ที่มีผลต่อความจงรักภักดี ของลูกค้าของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๕๓. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. การพัฒนาชุมชนเปรียบเทียบ การพัฒนาชุมชนตามอุดมการณ์ประชาธิปไตย และคอมมิวนิสต์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๕. วีระวรรณ สีเขียว. การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการปลูกปุาถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ : กรณีศึกษาตาบลส่ว นเขื่อน อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ , การค้นคว้าอิสระ ศิล ปะศาสตร์ มหาบัณฑิต (สาขาการจัดการมนุษย์และสิ่งแวดล้อม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ , ๒๕๔๒. ศรีศักร วัลลิโภดม และคณะ. เครื่องปั้นดินเผาและเครื่องเคลือบ กับพัฒนาการทางเศรษฐกิจและ สังคม ของสยามสานักพิมพ์มติชน, ๒๕๕๐. ศิริวรรณ เสรีรัตน์. องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : ดวงกมลสมัย, ๒๕๓๙. ศิวดล วาฤทธิ์. ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทาโคมผัดจังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาอาชีวศึกษา)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๕. ศุภรัตน์ รัตนมุขย์. การบริหารสถานศึกษาอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม. สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย. (๒๕๓๓). จานวนสมาชิก SMEs ในสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. ค้นเมื่อ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๔, จากhttp://www.smi.or.th/data/ data_detail.asp?id=๕๓, ๒๕๕๔. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนือ. เครื่องเขิน กิจเสรีการพิมพ์, ๒๕๓๗. ส่งศรี วงษ์เวช. รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมลุ่มแม่น้าปิง วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาการ จัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๕. สนไชย ฤทธิโชติ. เครื่องไม้ไผ่-หวาย โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๙. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. บทสรุปผู้บริหาร. กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๗. สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยชียงใหม่. ภูมิปัญญาเชิงช่างเชียงใหม่ สานักส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยชียงใหม่, ๒๕๕๔. สืบพงศ์ หงษ์ภักดี. กระบวนการทาหัตถกรรมท้องถิ่นให้กลายเป็นสินค้าที่ระลึกสาหรับนักท่องเที่ยว รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บ-๕


กรณีศึกษาบ้านบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ การค้นคว้าแบบอิสระ สาขาวิชา การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๘. สุดชีวัน นันทวัน ณ อยุธยา. การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง การค้นคว้า อิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเศรษฐศาสตร์การเมือง บัณ ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๑. สุทธิศักดิ์ ไกรสรสุธาสินี. CSR : มิติใหม่ในการบริหารธุรกิจ. วารสารสื่อพลัง. ๑๕(๑), ๒๕๕๐. สุภางค์ จันทวานิช. วิธีการวิจัยทางคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗. สุรพล ดาริห์กุล. เครื่องปั้นดินเผา มรดกไทย โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย, ๒๕๔๒. สุรพล ดาริห์กุล. ลายคาล้านนา สานักพิมพ์เมืองโบราณ, ๒๕๔๔. สุรพล ดาริห์กุล. คุณค่าเอกลักษณ์ศิลปกรรมล้านนากับแนวทางส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ สถาบันศิลปวัฒนธรรมร่วม สมัย สานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๔๙. สุรัสวดี หุ่นพยนต์. ปัจจัยที่มีผลต่อการไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาชุมชนของประชาชนยากจน : ศึ ก ษาเฉพาะกรณี ห มู่ บ้ า นเขาดิ น ต าบลวั ง น้ าลั ด อ าเภอไพศาลี จั ง หวั ด นครสวรรค์ . วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๘. เสรี พงศ์พิศ. ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท เล่ม ๑. กรุงเทพมหานคร.อัมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป, ๒๕๓๖. เสรี พงศ์พิศ. การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป, ๒๕๔๐. เสรี พงศ์พิศ. คืนสู่รากเหง้า ทางเลือกและทัศนวิจารณ์ว่าด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน. กรุงเทพฯ: เทียน วรรณ, ๒๕๒๙. โสภณ พรโชคชัย. CSR ที่แท้ : ส.วีรัชการพิมพ์, ๒๕๕๑. สานักบริหารการทะเบียน ประชากรในประเทศไทย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๕๖. สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรม, ๒๕๔๒. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ นโยบายการบริหารขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่, ๒๕๕๕. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่, ๒๕๕๖. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

บ-๖


พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐, ๒๕๔๐. อรอนงค์ ธรรมกุล. การมีส่วนร่วมของชุมชนในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต (สาขาศึกษานอกระบบ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๓๑. อคิน ระพีพัฒน์. ม.ร.ว. ปัญหาการพัฒนาชนบท : บทเรียนจากกรณียกบัตรโครงการพัฒนาชนบท กลุ่มแม่น้าแม่กลอง. ขอนแก่น : สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น, ๒๕๓๑. อคิน ระพีพัฒน์. มรว. ในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา การมีส่วนร่วมของชุมชนในการ พัฒนาชนบทในสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : ศักดิ์โสภาการพิมพ์, ๒๕๒๗. อานันท์ ปันยารชุน. ห่วงใยสังคมและสิ่งแวดล้อม. ค้นเมื่อ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔, จาก http://www.give๒all.com/data_file/givevijai.doc Andrew, D. H. (๒๐๑๐). A Materials Manifesto. Brand Packaging, ๒๕๕๒. อารี รังสินันท์. ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ข้าวฟุาง, ๒๕๓๒. อาภรณ์พันธ์ จันทร์สว่าง. คาบรรยายลักษณะวิชาทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน ๑ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๒. อิราวัฒน์ ชมระกา. แนวทางการส่งเสริมการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตตาบลฝายหลวง อาเภอลับแล จังหวัอุตรดิตถ์ วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ ๓(๔), ๒๕๕๔. อุทัย ดวงบาล. ความคงอยู่ในอาชีพการทาเครื่องปั้นดินเผาในหมู่บ้านพนาวัลย์ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาวิชาอาชีวศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๑. อุษณีษ์ ปัญจมาตย์. การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตงานหัตกรรมไม้ของ ผู้ประกอบการ ในตาบลหนองควาย อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ การค้นคว้าแบบอิสระ ศิลปศาตรมหาบัณฑิต(สาขาวิชาการจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ , ๒๕๔๙. เอกพิงค์ วงษ์แก้วจันทร์. แนวทางการจัดการอาชีพหัตถกรรมจากกะลามะพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาวิชาอาชีวศึกษา)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๖. Andrew, D. H. A Materials Manifesto. Brand Packaging, ๒๐๑๐. Charles Landry, The Creative City: A Toolkit for Urban Innovators, Earthscan Publications, ๒๐๐๘ Cohen, John M. and Uphoff, Normant. Rurai Development Partieipation : Concepts and Measurse for Project Design, Implementation and Evaluation, ๑๙๗๗. รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บ-๗


Richard L. Florida, Cities and the Creative Class, Psychology Press, ๒๐๐๕. Supeera laddachayaporn & Aree laddachyaporn. The development of appropriate refuse management model for communities and the operational firms accerding WHO. Research grant. January, ๑๙๙๙

รายงานฉบับที่ ๔ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ตุลาคม ๒๕๕๗

บ-๘


สารบัญ หน้า ภาคผนวก ก ชุดเครื่องมือ ชุดที่ ๑ แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง ชุดที่ ๒ แบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง ชุดที่ ๓ แบบสอบถามประชาชนทั่วไป ชุดที่ ๔ แบบสัมภาษณ์ ผู้ผลิตและปราชญ์ ชุดที่ ๕ แบบสอบถาม นักวิชาการ ชุดที่ ๖ แบบสอบถาม ผู้ประกอบการด้านหัตถกรรมในชุมชน

ก–๑ ก–๕ ก – ๑๑ ก – ๑๗ ก – ๑๙ ก – ๒๔

ภาคผนวก ข ฐานข้อมูลการลงพื้นที่ภาคสนาม ข้อมูลภาคสนาม อาเภอเมือง อาเภอหางดง อาเภอสารภี อาเภอสันป่าตอง อาเภอแม่ริม อาเภอสันกาแพง อาเภอสันทราย อาเภอดอยสะเก็ด

ข–๑ ข–๖ ข – ๑๓ ข – ๑๕ ข – ๒๐ ข – ๒๒ ข – ๒๓ ข – ๒๖

ข้อมูลผู้ประกอบการร้านค้า อาเภอเมือง อาเภอหางดง อาเภอสารภี

ข – ๓๑ ข – ๓๑ ข – ๓๓ ข – ๓๕


อาเภอสันป่าตอง อาเภอแม่ริม อาเภอสันกาแพง อาเภอสันทราย อาเภอดอยสะเก็ด ข้อมูลผู้ส่งออกสินค้างานหัตถกรรม (NOHMEX) อาเภอเมือง อาเภอหางดง อาเภอสารภี อาเภอสันป่าตอง อาเภอแม่ริม อาเภอสันกาแพง อาเภอสันทราย อาเภอดอยสะเก็ด ภาคผนวก ค การจัดกิจกรรมและการจัดประชุม กิจกรรมที่ ๑ การประชุมการสร้างความเข้าใจและแนวทางการร่วมมือแบบบูรณาการ : โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขา หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) วันเสาร์ ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ กิ จ กรรมที่ ๒ โครงการประกวดผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต้ น แบบการจั ด กิ จ กรรมประกวดออกแบบ ผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่าย เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) กิจกรรมที่ ๓ การจัดประชุมสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็น “เสียง –สรรค์-สร้าง” ในวัน เสาร์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ยุ้งข้าวล้านนา (หลองข้าวลา) กิจกรรมที่ ๔ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับเยาวชน (Crafts with Hearth for Young Gens) กิจกรรมที่ ๕ การจัดแสดงนิทรรศการผลงานผลิตภัณฑ์ต้นแบบ (Crafts With Hearth)

ข – ๓๗ ข – ๓๘ ข – ๔๒ ข – ๔๔ ข – ๔๕ หน้า ข – ๔๙ ข – ๔๙ ข – ๕๓ ข – ๕๕ ข – ๕๗ ข – ๕๘ ข – ๕๙ ข – ๖๒ ข – ๖๓

ค–๑

ค – ๒๐

ค – ๒๘ ค – ๓๓ ค – ๓๘


ภาคผนวก ก ชุดเครื่องมือ


ชุดที่ 1 แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง สาหรับสารวจและเก็บข้อมูลงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ แนวทางคาถาม ท่านคิดว่าในเขตพื้นที่ตาบล

อาเภอ...................................จังหวัดเชียงใหม่ มีแหล่งผลิต

(สถานที่) และผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่เกี่ยวกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ที่มีลักษณะโดดเด่นที่เป็น เอกลักษณ์ของท้องถิ่นอะไรบ้าง? ระบุชื่อผลิตภัณฑ์หรือสินค้างานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน และสถานที่ผลิต ตัวอย่าง ชื่อผลิตภัณฑ์ ๑. เครือ่ งปั้นดินเผาน้าต้น (คนโท)

แหล่งผลิต บ้านเหมืองกุง อาเภอหางดง และบ้านน้า

ต้น อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ แบบบันทึกข้อมูล (ของแต่ละตาบล) ชื่อผลิตภัณฑ์

แหล่งผลิต

๑. .......................................................

.......................................................

๒. .......................................................

.......................................................

๓. .......................................................

.......................................................

๔. .......................................................

.......................................................

๕. .......................................................

.......................................................

๖. .......................................................

.......................................................

๗. .......................................................

.......................................................


แบบบันทึกข้อมูลเบื้องต้นแหล่งผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ตาบล

อาเภอ

จังหวัด

(๑) ชื่อผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................. (๒) ประเภทของผลิตภัณฑ์ ............................................................................................................... (เช่น จักสาน แกะสลักไม้ เครื่องปั้นดินเผา เครื่องเงิน งานกระดาษ เป็นต้น) (๓) ประเภทสินค้า ........................................................................................................................... (เช่น สินค้าที่ระลึก เครื่องใช้ครัวเรือน เครื่องประดับ เป็นต้น) (๔) ประวัติความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ .......................................................................................... ............................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ........................................ (๕) แหล่งผลิตและที่ตั้งแหล่งผลิต ................................................................................................ ............................................................................................................................................ (๖) ประวัติความเป็นมาของแหล่งผลิ............................................................................................. ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... .............................. (๗) มีผลิตภัณฑ์อะไรบ้าง ........................................................................................................ .... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................


(๘) เจ้าของหรือผู้ดาเนินกิจการ ...................................................................................................................................................... ................................................................................................ (ส่วนบุคคล กลุ่มบุคคล กิจการธุรกิจหรืออุตสาหกรรม) (๙) อื่นๆ (ถ้ามี) ............................................................................................................... ........... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 2.4 ขั้นตอนสุดท้าย จากข้อมูลที่ได้นามาสรุปเขียนรายงานของผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้านที่ได้จากการสารวจในแต่ละอาเภอ (รวมเป็นของแต่ละอาเภอ) ว่าแต่ละตาบลและอาเภอ มีผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านกี่แห่ง อะไรบ้าง สถานที่ที่ไหน พร้อมเขียนรายละเอียด เบื้องต้นคร่าวๆ ของแต่ละผลิตภัณฑ์ ตามหัวข้อต่อไปนี้ แบบรายงานข้อมูลเบื้องต้นแหล่งผลิตและผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ตาบล

อาเภอ

จังหวัด

(เขียนไปตามหัวข้อแบบบันทึกข้อมูลที่ได้ไปเก็บมา) (๑) ชื่อผลิตภัณฑ์ ......................................................................................................................... (๒) ประเภทของผลิตภัณฑ์ .......................................................................................................... . (๓) ประเภทสินค้า ....................................................................................................................... (๔) ประวัติความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ ..................................................................................................... (๕) แหล่งผลิตและที่ตั้งของแหล่งผลิต ..................................................................................................... (๖) ประวัติความเป็นมาของแหล่งผลิต (คร่าวๆ) ..................................................................................... (๗) มีผลิตภัณฑ์ อะไรบ้าง .......................................................................................................................


(๘) อื่นๆ (ถ้ามี) ............................................................................................................... .......... (๙) ภาพถ่ายประกอบ


ชุดที่ ๒

โครงการ เตรียมความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ เพื่อการขับเคลื่อนเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์การ UNESCO คาชี้แจง แบบสอบถามนี้ เป็นแบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง มาประเมินเพื่อหาแนวทางในการ พัฒนาเมืองเชียงใหม่ใ ห้แก่องค์การบริหารส่ว นจังหวัด เพื่อช่วยเอื้อ ต่อความต้องการของประชาชนชาวเชียงใหม่ ผู้ประกอบการอาชีพที่เกี่ยวข้องกับหัตถกรรม ศิลปะ งานสร้างสรรค์สมัยใหม่ การท่องเที่ยว โดยไม่มีกระทบผลใดๆต่อ ผู้ตอบแบบสอบถามนี้ รับผิดชอบโดย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โทรศัพท์ 053-944818, 053-944849 คาชี้แจง กรุณาทาเครื่องหมาย / ลงใน ตามที่ท่านเห็นสมควร ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ให้ข้อเสนอแนะ 1.1 เพศ 1) ชาย 1.2.อายุ

1) ต่ากว่า 20 ปี 4) 14-50 ปี

2) หญิง 2) 20-30 ปี 5) มากกว่า 50 ปี

3) 31-40 ปี

1.3. ระดับการศึกษา 1) อนุปริญญาหรือเทียบเท่า

2) ปริญญาตรี

3) ปริญญาโท

4) สูงกว่าปริญญาโท

5) อื่นๆ 1.4. สถานภาพการทางานในปัจจุบัน 1) นักเรียน/นักศึกษาจากสถาบัน 2) ผู้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับงานหัตถกรรมประเภท 3) ผู้ผลิตเกี่ยวกับงานหัตถกรรม 4) ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เช่น โรงแรม บริษัททัวร์


5) ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 6) อื่นๆ.....................................

ตอนที่ 2 สถานภาพของงานศิลปะ หัตถกรรมของจังหวัดเชียงใหม่ 2.1. กรุณาให้ค่าลาดับความสาคัญของงานหัตถกรรมที่ท่านคิดว่าสร้างชื่อเสียงให้เชียงใหม่ ระดับความสาคัญ ประเภทงานหัตถกรรม มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย 1) งานปั้นงานหล่อ 2) งานทอผ้า 3) งานไม้แกะ 4) การก่อสร้าง (สัตภัณฑ์, ปราสาทศพ) 5) งานเขียน/งานวาด 6) งานจักสาน 7) งานกระดาษ 8) งานบุดุนโลหะ 9) งานเครื่องเขิน

น้อยที่สุด

2.2. กรุณาให้ชื่อสถานที่ ที่ท่านคิดว่าเป็นแหล่งที่สามารถประชาสัมพันธ์งานหัตถกรรมให้เชียงใหม่มากที่สุด 1. ……………………………………………………………………………………………… 2. ……………………………………………………………………………………………… 3. ……………………………………………………………………………………………… 4. ……………………………………………………………………………………………… 2.3 ในฐานะผู้ประกอบการเกี่ยวกับหัตถกรรมและศิลปะ งานของท่านประสบผลสาเร็จหรือประสบปัญหาในแต่ละ ด้าน เพราะเหตุใด ประสบความสาเร็จ ประสบปัญหา เหตุผล 1) ด้านการออกแบบ 2) ด้านการผลิต 3) ด้านวัสดุ 4) ด้านการตลาด 5) ด้านการออกแบบ 6) ด้านการผลิต 7) ด้านวัสดุ 8) ด้านการตลาด


ประสบความสาเร็จ

ประสบปัญหา

เหตุผล

9)อื่นๆ___________ 2.4 ท่านต้องการให้หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความช่วยเหลือเรื่องใด 1) จัดให้มีสถานที่จัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ 2) องค์ความรู้ เรื่อง ................................ 3) การสืบทอด

4) การประชาสัมพันธ์

5) การสร้างเครือข่ายกับต่างประเทศ

6) การฝึกอบรบ เรื่อง ................................

2.5 ท่านต้องการให้เมืองเชียงใหม่มีการจัดงานหรือ จัดกิจกรรมทางการสร้างสรรค์เกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้านและงาน หัตถกรรมมากน้อยเพียงใด น้อย ปานกลาง มาก 2.6 ท่านต้องการให้เมืองเชียงใหม่ มีพื้นที่แสดงความคิดสร้างสรรค์ใหม่ด้านศิลปะพื้นบ้านและงานหัตถกรรม มาก น้อยเพียงใด น้อย ปานกลาง มาก 2.7 ท่านคิดว่าสภาพปัญหาที่พบเกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้านงานหัตถกรรมมีผลกระทบมากน้อยเพียงใดในปัจจุบนั และ อนาคต ระดับ ปัจจุบนั อนาคต สภาพปัญหา มาก มาก ป า น น้อย น้อย มาก มาก ป า น น้อย น้อย ที่สุด กลาง ที่สุด ที่สุด กลาง ที่สุด 1) การสืบทอดภูมิปัญญา 2) สภาพแวดล้ อ มไม่ เ อื้ อ อ านวยต่ อ การ ทางานหัตถกรรม 3) วัสดุที่ทาหายาก และ มีราคาแพง 4) การขายตลาด 5) การต่อยอดผลิตภัณฑ์ 6) การส่งออกสินค้าหัตถกรรม


2.8 การคาดหวังเกี่ยวกับงานหัตถกรรมในด้านต่างๆ ท่านคิดว่าจะมีผลกระทบต่อสภาพปัจจุบันและอนาคต อย่างไร เรียงจาก มากไปน้อย ความคาดหวัง ปัจจุบนั อนาคต ประเด็น มาก มาก ปาน น้อย น้อย มาก มาก ปาน น้อย น้อย ที่สุด กลาง ที่สุด ที่สุด กลาง ที่สุด 1.ด้านเศรษฐกิจ 1.1 การพั ฒ นาศั ก ยภาพงาน หัตถกรรมให้เกิดการจ้างงานและ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และความ เป็นอยู่ของชุมชนท้องถิ่นให้ดีขึ้น 1.2 ชุมชน มีอาชีพหัตถกรรมเป็น อาชีพหลัก 1.3 ชุมชนมีอาชีพเสริมและมี รายได้เพิ่มขึ้น 1.4 ชุมชนมีรายได้จากกิจกรรม งานหัตถกรรม 1.5 อื่น ๆ ...................... 2.ด้านสังคม/วิถีชีวิต 2.1 มีการบริหารจัดการชุมชนที่ดี 2.2 การมีส่วนร่วมของชุมชน 2.3 การหวงแหน และ พัฒนางาน หัตถกรรม 2.4 ความกลมเกลียวของชุมชน 2.5 อื่น ๆ ....................... 3.ด้านสิ่งแวดล้อม 3.1 มีการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่าง เป็นระบบ 3.2 มีแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการ งานหัตถกรรมภายในชุมชน 3.3 การสร้ า งเครื อ ข่ า ยความ ร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง


ความคาดหวัง ประเด็น

มาก ที่สุด

มาก

ปัจจุบนั ปาน น้อย กลาง

น้อย ที่สุด

มาก ที่สุด

อนาคต มาก ปาน น้อย กลาง

3.4 ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ส ามารถสร้ า งงาน หัตถกรรม 3.5 อื่น ๆ ......................... 4.ด้านวัฒนธรรม และการ อนุรักษ์ 4.1 ประชาชนในพื้นที่ได้ตระหนัก ถึงคุณค่าของการอนุรักษ์งาน หัตถกรรม 4.2 การสืบทอดการใช้ภูมิปญ ั ญา ท้องถิ่น 4.3 สามารถนาคุณค่าทุนทางการ สร้างงานหัตถกรรมเพื่อให้เกิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4.4 อื่นๆ ........................... 2.9 ท่านคิดว่าเมืองเชียงใหม่มีความพร้อมในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ขององค์กร UNESCO ด้านศิลปะพื้นบ้านและ งานหัตถกรรมหรือไม่ ในระดับใด พร้อม ไม่แน่ใจ ไม่พร้อม น้อย ปานกลาง มาก 3. ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................. ............................................. ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ............................................... .............................................................................................................................................................................. ............ ........................................................................................................................................................................................... ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ

น้อย ที่สุด


ชุดที่ ๓ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลั ยเชียงใหม่ ดาเนินการวิจัยร่ว มกับองค์การบริห ารส่ ว นจังหวัด เชียงใหม่ เรื่อง “ โครงการเตรียมความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ เพื่อการขับเคลื่อนเป็นเครือข่าย เมืองสร้างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์กร UNESCO ” จึงขอความร่วมมือจาก ท่านได้กรุ ณาตอบคาถาม ในการเตรียมความพร้ อมเพื่อเอื้ อต่อการสร้างสรรค์ และนาเสนอผลงาน สร้างสรรค์สู่สากล คาอธิบาย : คณะวิจิตรศิลป์จะนาความเห็นของท่านไปประมวลวิเคราะห์ในภาพรวม และขอขอบคุณใน ความร่วมมือมา ณ โอกาสนี้ด้วย คาชี้แจง : กรุณาทาเครื่องหมาย ✓ตามที่ท่านเห็นสมควร 1. เพศ

○ ชาย

○ หญิง

2. อายุ

○ ต่ากว่า 20 ปี

○ 20 – 30 ปี

○ 40 – 50 ปี

○ มากกว่า 50 ปี

○ 31 – 40 ปี

○ ประถมศึกษาหรือต่ากว่า ○ มัธ ยมศึก ษาตอนต้ น ○ มัธยมศึกษาตอนปลาย ○ อนุ ป ริ ญ ญา หรือเทียบเท่า ○ ปริญญาตรี ○ ปริ ญ ญาโท ○ สูงกว่าปริญญาโท 4. ท่านรู้จักและเคยไปเยี่ยมชมชุมชนเชียงใหม่ที่มีงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านที่โดดเด่น ด้านต่อไปนี้บ้างหรือไม่ การรับรู้ การไปเยี่ยมชม โปรดระบุ ชุ ม ชน งานกิจกรรม หรือ อาเภอ รู้จัก ไม่รู้จัก เคย ไม่เคย 3. ระดับการศึกษา

1. งานไม้แกะสลัก 2. เครื่องปั้นดินเผา 3. กระดาษ (เช่น ตัดตุง งาน กระดาษสา โคมลอย ฯลฯ) 4. งานโลหะ (เช่น เครื่องเงิน คัวตอง ฯลฯ) 5. งานผ้า


งานกิจกรรม

การรับรู้ รู้จัก

ไม่รู้จัก

การไปเยี่ยมชม เคย

ไม่เคย

โปรดระบุ ชุ ม ชน หรือ อาเภอ

6. งานจักสาน 7. งานเครือ่ งเขิน 8. ดอกไม้ประดิษฐ์

5.ท่านเคยไปเยี่ยมงานส่งเสริมหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ที่จัดโดยหน่วยงานต่าง ๆ หรือ ชุมชน สมาคม ในรอบปีที่ผ่านมา หรือไม่ งานส่งเสริมหัตถกรรม เคย ไม่เคย 1. งานส่งเสริมหัตถกรรม บ้านถวาย อาเภอหางดง 2. เทศกาลร่มบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง 3. งาน OTOP หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ 4. งานส่งเสริมศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ถ.ทุ่งโฮเตล 5. งานส่งเสริมของดีตาบลสันผักหวานและมหัศจรรย์ดินยิ้ม 6. มหัศจรรย์ล้านนาเมือง กระดาษสา บ้านต้นเปา 7. สัปดาห์ของขวัญของที่ระลึก ถนนทุ่งโฮเต็ล 8. อื่นๆ (โปรดระบุ)................................................................................. 6. ท่านต้องการให้เมืองเชียงใหม่มีการจัดงาน หรือจัดกิจกรรมทางการสร้างสรรค์เกี่ยวกับ งานหั ต ถกรรมและศิ ลปะพื้ น บ้า นเพื่ ออะไร (โปรดใส่ เ ครื่ อ งหมาย ✓ตามระดับ ความ ต้องการ น้อยไปหามาก 1-5) ระดับความต้องการ เป้าหมายที่ต้องการ หมายเหตุ 1 2 3 4 5 1. การสร้ า งความรู้ ความเข้า ใจต่อหั ตถกรรม และศิลปะพื้นบ้าน 2. การส่ งเสริ มและอนุ รั กษ์งานหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน


3. การพัฒนางานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน 4. สร้างทัศนคติต่อการยอมรับสิ่งที่มีอยู่แล้วและ พัฒนาให้ดีขึ้นด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน 5. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ เกิดความรู้อย่างกว้าง ขว้าง 6. เพื่อกระตุ้นให้เกิดความพร้อมด้านเศรษฐกิจ และกระจายรายได้จากผลผลิตด้านหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน

เป้าหมายที่ต้องการ 7. เพื่ อ สร้ า งความตระหนั ก ให้ เ กิ ด การเตรี ย ม ความพร้อม 7.1 ด้านแรงงานฝีมือ 7.2 ด้านบุคลากรงานธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง 7.3 ด้านการตลาด 7.4 ด้านการบรรจุหีบห่อ 7.5 ด้านการขนส่ง และกระจายสินค้า 7.6 การจัดการความรู้เชิงอนุรักษ์หัตกรรม และศิลปะพื้นบ้าน 8. เพื่อสร้างระบบความร่วมมือ ระหว่างผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย 8.1 กลุ่มผู้ประกอบการด้านหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน 8.2 กลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกี่ยวกับหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน 8.3 กลุ่มหน้างานที่สนับสนุน 8.4 กลุ่ มสถานการศึกษา ในการปลู กฝั่ ง ความรั ก และการจรรโลงหั ต ถกรรมและศิ ล ปะ พื้นบ้าน

ระดับความต้องการ 1 2 3 4 5

หมายเหตุ


7. ท่านต้องการให้เมืองเชียงใหม่ มีพื้นที่แสดงความคิดสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน มากน้อยเพียงใด ○ มาก ○ ปานกลาง ○ น้อย 8. ปัจจัยใดบ้างต่อที่ท่านเข้าใจว่า ไม่เอื้อการส่งเสริมและจรรโลงงานหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้านของเชียงใหม่โปรดใส่เครื่องหมาย ✓ในระดับความเข้าใจของท่าน รายการ 5 4 3 2 1 1. การสืบทอดภูมิปัญญาด้านและศิลปะพื้นบ้าน 2. กระบวนการผลิตสินค้าหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2.1 เสียง 2.2 กลิ่น 2.3 อากาศเป็นพิษ 2.4 ทัศนะอุจาด 2.5 การจัดการขยะ 2.6 น้าเสีย 2.7 อื่นๆ (โปรดระบุ......................................................) 3. วัสดุและวัตถุดิบในท้องถิ่นมีราคาแพง 4. เทคนิคการพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์หัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน 5. ความรู้ ความเข้ า ใจด้ า นการส่ ง ออกสิ น ค้ า หั ต ถกรรม ความรู้ ความเข้าใจด้านระบบของการบรรจุหี บ ห่ อเพื่ อ ส่งออก 9. ท่านคิดว่าจะเกิดผลดีอย่างไรบ้าง กับจังหวัดเชียงใหม่ ส่งเสริมให้ มีการสร้างและจรรโลง เอกลักษณ์และผลิตภัณฑ์ทางหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ระดับผลดี ประเด็น มากที่สุด มาก ป า น น้อย น้อยที่สุด กลาง 1. ด้านเศรษฐกิจ 1.1 การพัฒนาจ้างงาน


ประเด็น 1.2 การกระจายรายได้ ย กระดั บ คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของชุมชน ท้องถิ่นให้ดีขึ้น 1.3 ชุ ม ชน มี อ าชี พ หั ต ถกรรมเป็ น อาชีพหลัก 1.4 ชุมชนมี ร ายได้ จ ากกิ จกรรมงาน หัตถกรรม 1.5 อื่นๆ.................................. 2 ด้านสังคม/วิถีชีวิต 2.1 มีการบริหารจัดการชุมชนที่ดี 2.2 การมีส่วนร่วมของชุมชม 2.3 การหวงแหน และพั ฒ นางาน หัตถกรรม 2.4 ความกลมเกลี ย วสามั ค คี ข อง ชุมชน 2.5 การสร้ า งโอกาสของการพึ่ ง พา ตนเอง 2.6 การสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน 3. ด้านสิ่งแวดล้อม 3.1 มีการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่าง เป็นระบบ 1. เสียง 2. กลิ่น 3. อากาศเป็นพิษ 4. ทัศนะอุจาด 5. การจัดการขยะ 6. น้าเสีย 7. อื่นๆ

ระดับผลดี มากที่สุด มาก ป า น น้อย น้อยที่สุด กลาง


ประเด็น (โปรดระบุ.............................) 3.2 มีแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการ งานหัตถกรรมภายในชุมชน 3.3 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ กับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.4 ชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มในการดู แ ล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ใช้ เป็นวัตถุดิบสาหรับงานหัตถกรรมและงาน ศิลป์อย่างยั่งยืน 3.5 อื่นๆ (โปรดระบุ.....................) 4. ด้านวัฒนธรรมและการอนุรักษ์ 4.1 ประชาชนในพื้นที่ได้ตระหนักถึง คุณค่าของการอนุรักษ์งานหัตถกรรม 4.2 การสืบทอดการใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่น 4.3 สามารถดัดแปลงวัสดุที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติมาใช้สร้างสรรค์ งานหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านได้ 4.4 การส่งเสริมและจรรโลงศิลปะ พื้น บ้ านที่ มีความงามอย่ า งเรี ย บง่าย แต่ ส่งผลต่อการกระจายรายได้ 4.5 การบู ร ณาการ ศิ ล ปะเชิ ง สร้ า งสรรค์กั บ เชิง ธุ ร กิจ และการต่อ ยอด อย่างยั่งยืน

ระดับผลดี มากที่สุด มาก ป า น น้อย น้อยที่สุด กลาง


10. ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ..................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................... ขอบพระคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ


ชุดที่ ๔ แบบสัมภาษณ์ ผู้ผลิต และ ปราชญ์ ตอนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ................................................................................ อายุ..................ปี ที่อยู่........................................................................................................................................ เบอร์โทรศัพท์..................................... ชื่อร้าน.................................................................. ........... ตอนที่ 2 ผลิตภัณฑ์ และการส่งออก ส่วนที่ 1 ที่มาของผลิตภัณฑ์ 1. ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์ ..................................................................................................................................... 2. แหล่งผลิตและที่ตั้งของแหล่งผลิต ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................... 3. แหล่งที่มาของวัสดุที่นามาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ................................................................................................................................. 4. การออกแบบผลิตภัณฑ์ แบบดั้งเดิม................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... แบบประยุกต์............................................................................................................... ............................................................................................................................................... .....................................................................................................................................


ส่วนที่ 2 ด้านการส่งออก 1. การส่งออกสินค้าในปัจจุบัน ในประเทศ................................................................................................................. ต่างประเทศ................................................................................................................ 2. ราคาของผลิตภัณฑ์เริ่มต้นที่ .................................................................................... 3. อุปสรรคของการส่งออก ..................................................................................................................................... ตอนที่ 3 ความคาดหวังจากเมือง 1. ผู้ผลิตมีความคาดหวังที่อยากให้เมืองช่วยเหลือในด้านใด ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...................................................................................................................... 2. เมืองได้ให้การช่วยเหลือในด้านใดบ้างในปัจจุบัน ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... .......................................................................................................................... ตอนที่ 4 ปัญหาและอุปสรรคที่พบ 1. ปัญหาในเรื่องของการออกแบบผลิตภัณฑ์หรือไม่อย่างไร............................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 2. ปัญหาในเรื่องของการสืบทอด หรือ ไม่อย่างไร........................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 3. ปัญหาในเรื่องของวัสดุที่ใช้ หรือ ไม่อย่างไร.................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 4. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม......................................................................................................... ............................................................................................................................. .................. ............................................................................................................................................... ขอบพระคุณในความร่วมมือเป็นอย่างสูง


ชุดที่ ๕ แบบสอบถาม นักวิชาการ เรื่อง “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรมและศิลปกรรม” คําชีแจง แบบสอบถามนี เป็ นแบบสอบถาม เพือสํารวจความคิดเห็นของนักวิชาการมีวตั ถุประสงค์เพือนํา ไปใช้ ในการวิเคราะห์เพือหาแนวทางในการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุ ง ชุมชน ซึ งจะเป็ นประโยชน์ต่อชุมชนและจังหวัด เชียงใหม่ ข้อมูลทีได้มุ่งเผยแพร่ เฉพาะทีเกิดประโยชน์กบั ชุมชนโดยรวมเท่านัน โดยขอรับรองว่าจะไม่นาํ ข้อมูล ใดๆ ทีอาจสร้างความเสี ยหายต่อผูใ้ ห้ขอ้ มูลไปเปิ ดเผย ขอขอบพระคุณผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ทุกท่าน ทีได้กรุ ณาให้ความ ร่ วมมือสละเวลาอัน มีค่าในครังนี

ส่วนที่ 1

ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ให้สัมภาษณ์ โปรดกาเครื่องหมาย

ในช่อง

ที่ตรงกับข้อมูลของผู้ให้สัมภาษณ์

1. เพศ ชาย

หญิง

2. อายุ 21-30 ปี

31-40 ปี

41-50 ปี

51-60 ปี

มากกว่า 60 ปี 3. หน่วยงาน ราชการ (โปรดระบุ)....................................................................... เอกชน (โปรดระบุ)...................................................................... 4. ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก


5. งานที่ท่านทามีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับงานในด้านใดบ้าง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ประติมากรรม

จิตรกรรม

การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย

ภาพพิมพ์

งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้

วิจัย

การก่อสร้าง(ปราสาทศพ,วิหาร, ฯลฯ)

สื่อศิลปะ

การสร้างสรรค์ด้วยภาพ

Digital

งานจักสาน

งานบุดุนโลหะ

การทาเครื่องกระดาษ(กระดาษสา / ดอกไม้ประดิษฐ์)

งานเครื่องเขิน

6. ท่านทางานต่อยอดจากองค์ความรู้เดิมในด้านใดบ้าง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ประติมากรรม

จิตรกรรม

การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย

ภาพพิมพ์

งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้

วิจัย

การก่อสร้าง(ปราสาทศพ,วิหาร, ฯลฯ)

สื่อศิลปะ

การสร้างสรรค์ด้วยภาพ

Digital

งานจักสาน

งานบุดุนโลหะ

การทาเครื่องกระดาษ(กระดาษสา / ดอกไม้ประดิษฐ์)

งานเครื่องเขิน

7. ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร หากเมืองเชียงใหม่ต่อการผลักดันให้ เมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ ายเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรมและศิลปพื้นบ้าน เห็นด้วย สถาบันการศึกษาให้ความร่วมมือ มีการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้อง เมืองมีหัตถกรรมที่โดดเด่น ผลิตภัณฑ์มีงานสร้างสรรค์ ชุมชนมีความเข้มแข็ง อื่นๆ (โปรดระบุ)................................................................................................................ ไม่เห็นด้วย สถาบันการศึกษาให้ความร่วมมือ มีการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้อง


เมืองมีหัตถกรรมที่โดดเด่น ผลิตภัณฑ์มีงานสร้างสรรค์ ชุมชนมีความเข้มแข็ง อื่นๆ (โปรดระบุ)................................................................................................ ส่วนที่ 2 กรุณาแสดงคิดเห็นที่เกี่ยวกับงานหัตถกรรมและความพร้อมของเมืองและหน่วยงานราชการ ในการเป็นเมืองสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปพื้นบ้าน โปรดกาเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับ ความคิดเห็นของผู้ให้ข้อมูลมากที่สุดเพียงช่องเดียว 5 แทนความหมายเห็นด้วยมากที่สุด 2 แทนความหมายเห็นด้วยน้อย 4 แทนความหมายเห็นด้วยมาก 1 แทนความหมายไม่เห็นด้วย 3 แทนความหมายเห็นด้วยปานกลาง

ความเข้าใจเรื่องงานหัตถกรรม

มาก ที่สุด 5

มาก 4

1. ท่า นมี ความเข้า ใจในเรื่ อ งของงานหั ต ถกรรมใน จังหวัดเชียงใหม่มากน้อยเพียงใด 2. เชี ย งใหม่ มี แ หล่ ง วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช้ ส าหรั บ การผลิ ต ที่ พร้อมใช้งานทั้งคุณภาพและปริมาณ 3. มี ก ารรั ก ษาเอกลั ก ษณ์ ข องงานหั ต ถกรรมแบบ ดั้งเดิมและจะ ยังสืบทอดต่อๆกันไป 4. ช่างฝีมือในปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอด องค์ ความรู้ ที่ เ ป็ น ภู มิ ปั ญญาท้อ งถิ่ น ให้ กั บคนรุ่ น ใหม่ 5. คนรุ่นใหม่มีความพร้อมในการรับการถ่ายทอดองค์ ความรู้ด้านหัตถกรรมเพื่อรักษาเอกลักษณ์ให้ยั่งยืน 6. การประกอบอาชี พ หั ต ถกรรมสามารถยึ ด เป็ น อาชีพที่ยั่งยืน ส่วนที่ 3 ท่านมีวิธีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับงานหัตถกรรมอย่างไร

ปาน กลาง 3

น้อย 2

น้อย ที่สุด 1


การจัดทาสื่อวีดีทัศน์ การจัดอบรม และสัมมนา การจัดแสดง กิจกรรม เกี่ยวกับงานหัตถกรรม เป็นหลักสูตรในการเรียนการสอน การสร้างค่านิยมเกี่ยวกับงานหัตถกรรมให้กับคนรุ่นใหม่ อื่นๆ (โปรดระบุ).................................................................................................. ส่วนที่ 4 กรุณาแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับการอานวยความสะดวกหรือ ความช่วยเหลือของ หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน องค์กร ต่อการสนับสนุนงานหัตถกรรม มาก มาก ปาน น้อย น้อย การสนับสนุน ที่สุด กลาง ที่สุด 5 4 3 2 1 1. ด้านการออกแบบ 2. ด้านการผลิต 3. ด้านการตลาด 4. ด้านการจัดการ 5. ด้านการเงินหรือเงินทุน 6. ด้านวัตถุดิบ 7. อื่นๆ (ระบุ)........................................................ ส่วนที่ 5 สถาบันของท่านมีการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมในด้านใด ความโดดเด่นของสถาบัน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

งานปั้น / งานหล่อ (พระ,เทียน,เซรามิก) การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ การก่อสร้าง (ปราสาทศพ,วิหาร) งานเขียน / งานวาด งานจักสาน

มาก ที่สุด 5

มาก 4

ปาน น้อย น้อย กลาง ที่สดุ 3 2 1


7. การท าเครื่ อ งกระดาษ(กระดาษสา / ดอกไม้ ประดิษฐ์) 8. งานบุดุนโลหะ 9. งานเครื่องเขิน 10.อื่นๆ (ระบุ)........................................................ ส่วนที่ 6 การที่ท่านเป็นนักวิชาการ กรุณาแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนางาน หัตถกรรมของจังหวัดเชียงใหม่ ควรพัฒนา ควร ควร ควร ควร มาก พัฒนา พัฒนา พัฒนา พัฒนา ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา ที่สุด มาก ปาน น้อย น้อย งานหัตถกรรม กลาง ที่สุด 5 4 3 2 1 1. ด้านการออกแบบ 2. ด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ 3. ด้านกิจกรรม 4. ด้านการประชาสัมพันธ์ 5. ด้านอื่นๆ (โปรดระบุ).................................. .................................................... ส่วนที่ 7 หากปัญหาที่คนรุ่นใหม่ไม่ให้ความสนใจรากฐานวัฒนธรรม รวมถึงงานหัตถกรรมท่านคิดว่า จะมีวิธีการใดแก้ไขปัญหานี้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………...……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………...


กรุณาให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ....................................................................................................................................…………………… … ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………...……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………...……………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………...……………………………………………………………………………………………… ……………………...……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………...……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอขอบคุณในความร่วมมือที่ตอบแบบสัมภาษณ์


ชุดที่ ๖ แบบสอบถาม ผู้ประกอบการด้านหัตถกรรมในชุมชน เรื่อง “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรมและศิลปกรรม” คาชี้แจง แบบสั ม ภาษณ์ นี้ เป็ น แบบสั ม ภาษณ์ เพื่ อ ส ารวจความคิ ด เห็ น ของผู้ ป ระกอบการด้ า นหั ต ถกรรมมี วัตถุประสงค์เพื่อนา ไปใช้ในการวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางในการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง ชุมชน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ต่อชุมชนและจังหวัดเชียงใหม่ ข้อมูลที่ได้มุ่งเผยแพร่เฉพาะที่เกิดประโยชน์กับชุมชนโดยรวมเท่านั้น โดยขอรับรอง ว่าจะไม่นาข้อมูลใดๆ ที่อาจสร้างความเสียหายต่อผู้ให้ข้อมูลไปเปิดเผย ขอขอบพระคุณผู้ให้สัมภาษณ์ทุกท่าน ที่ได้ กรุณาให้ความร่วมมือสละเวลาอัน มีค่าในครั้งนี้

ส่วนที่ 1

ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ให้สัมภาษณ์ โปรดกาเครื่องหมาย

ในช่อง

ที่ตรงกับข้อมูลของผู้ให้สัมภาษณ์

1. เพศ ชาย

หญิง

2. อายุ 21-30 ปี 41-50 ปี มากกว่า 60 ปี

31-40 ปี 51-60 ปี

3. อาชีพหลัก ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ/พนักงาน รัฐวิสาหกิจ/อื่นๆ ค้าขาย พนักงานบริษัท ห้างร้าน รับจ้างทั่วไป (ไม่ประจา ) เกษตรกร หัตถกรรม (เครื่องป้ันดินเผา) อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………..... 4. ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา/อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี


5. รายได้จากการขาย/เดือน น้อยกว่า 5,000 บาท 10,001 -1,5000 บาท มากกว่า 20,000 บาท

5,001 -10,000 บาท 15,001 -20,000 บาท

6.ประเภทงานหัตถกรรม งานปั้น / งานหล่อ (พระ,เทียน,เซรามิก) การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ การก่อสร้าง(ปราสาทศพ,วิหาร,สัตภัณฑ์,ฯลฯ) งานเขียน / งานวาด งานจักสาน การทาเครื่องกระดาษ(กระดาษสา / ดอกไม้ประดิศฐ์) งานบุดุนโลหะ งานเครื่องเขิน ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นด้านความพร้อมของผู้ประกอบการด้านศิลปหัตถกรรม โปรดกาเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของผู้ให้ข้อมูลมากที่สุดเพียงช่องเดียว 5 แทนความหมายเห็นด้วยมากที่สุด 2 แทนความหมายเห็นด้วยน้อย 4 แทนความหมายเห็นด้วยมาก 1 แทนความหมายไม่เห็นด้วย 3 แทนความหมายเห็นด้วยปานกลาง มาก มาก ปาน น้อย น้อย ความพร้อมด้านศิลปหัตถกรรม ที่สุด กลาง ที่สุด 5 4 3 2 1 7. หัตถกรรมที่ทาอยู่ เป็ น ฝี มือที่ตกทอดมาจากบรรพ บุรุษในอดีต 8. มีแหล่งวัตถุดิบที่ใช้สาหรับการผลิตที่พร้อมใช้งานทั้ง คุณภาพและปริมาณ 9. งานหัตถกรรมเคยได้รับรางวัล ระบุ (ถ้ามี)................................................................. 10.มีการรักษาเอกลักษณ์ของงานหัตถกรรมแบบดั้งเดิม


ความพร้อมด้านศิลปหัตถกรรม

มาก ที่สุด 5

มาก 4

ปาน น้อย น้อย กลาง ที่สดุ 3 2 1

และจะ ยังสืบทอดต่อๆกันไป 11.ช่างฝีมือที่มีอยู่ในปัจจุบันยังเป็นคนในท้องถิ่น และมี ความผูกพันกับท้องถิ่น 12.ช่างฝีมือในปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดองค์ ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับคนรุ่นใหม่ 13.คนรุ่ น ใหม่ ใ นชุ ม ชนมี ค วามพร้ อ มในการรั บ การ ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ด้ า นหั ต ถกรรมเพื่ อ รั ก ษา เอกลักษณ์ให้ยั่งยืน 14.รายได้ จ ากการประกอบกา รเพี ย งพอต่ อ การ ดารงชีวิต 15. การประกอบอาชี พ หั ต ถกรรมสามารถยึ ด เป็ น อาชีพที่ยั่งยืน ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถของช่างหัตถกรรม มาก ความสามารถของช่างหัตกรรมและผู้ประกอบการ ที่สุด 5 1. ช่างฝีมือในชุมชนมีความสามารถในการผลิตที่ หลากหลาย 2. ผู้ประกอบการในชุมชนมีความสามารถในการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย 3. ผู้ประกอบการในชุมชน สามารถเพิ่มกาลังการ ผลิตเพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นได้

มาก 4

ปาน กลาง 3

น้อย 2

น้อย ที่สุด 1


ส่วนที่ 4 ความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน องค์กร มาก ความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน องค์กร ที่สุด 5 1. มีหน่วยงานช่วยเหลือในเรื่องของพื้นที่จัดแสดง (ถ้ามี).............................................................................. 2. มีการส่งเสริมการตลาดจากหน่วยงานต่างๆ (ถ้ามี).............................................................................. 3. ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของหน่วยงาน องค์กร ภาครัฐ/ เอกชน (ถ้ามี)...................................................................... 4. การเข้าร่วมประชุมโดยหน่วยงาน องค์กร ภาครัฐ/ เอกชน (ถ้ามี)............................................................................ 5. อบจ. เป็นศูนย์กลางการจัดงานแสดงสินค้า สถานที่ (ถ้ามี)................................................. 6. ได้รับการลดหย่อนภาษีจากหน่วยงานรัฐบาล

มาก 4

ปาน น้อย น้อย กลาง ที่สดุ 3 2 1

ส่วนที่ 5 ปัญหา และข้อเสนอแนะ ปัญหาของผู้ประกอบการฯ ที่ประสบในด้านต่างๆ

มาก ที่สุด 5

มาก 4

ปาน น้อย น้อย กลาง ที่สดุ 3 2 1

8. ด้านการออกแบบ 9. ด้านการผลิต 10.ด้านการตลาด 11.ด้านการจัดการ 12.ด้านการเงินหรือเงินทุน 13.ด้านวัตถุดิบ 14.อื่นๆ (ระบุ)........................................................ ส่วนที่ 6 ความต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐ หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง


ความต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐ หรือ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

มาก ที่สุด 5

มาก 4

ปาน น้อย น้อย กลาง ที่สดุ 3 2 1

11.ด้านการออกแบบ 12.ด้านการผลิต 13.ด้านการตลาด 14.ด้านการจัดการ 15.ด้านวัตถุดิบ 16.อื่นๆ (ระบุ)........................................................ ส่วนที่ 7 ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนางานหัตถกรรมของผู้ประกอบการฯ ในด้านต่างๆ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนางานหัตถกรรม ที่สุด กลาง ที่สดุ 5 4 3 2 1 6. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 7. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8. ด้านเศรษฐกิจ 9. ด้านกิจกรรม 10.ด้านการประชาสัมพันธ์ 11.ด้านอื่นๆ...............................................................

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ................................................................................................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………... ขอขอบคุณในความร่วมมือที่ตอบแบบสัมภาษณ์


ภาคผนวก ข ข้อมูลผู้ผลิตและผู้ประกอบการงานหัตถกรรม

ข-๑


๑. อาเภอเมือง ๑.๑ งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมเครื่องป๓้นดินเผาตําบล

หนองป่าครั่ง

เมือง

ที่ระลึก

หนองป่าครั่ง

๑.๒ การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางชุลี เวียงสิมมา

พระสิงห๑

เมือง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กันยาชุดเด็กพื้นเมือง

หนองป่าครั่ง

เมือง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางรําไพ อินต๏ะวิชัย โยเนคุ

ทําศาลา

เมือง

รา ๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมผ๎าสาลูเพ๎นท๑ลาย

ป่าแดด

เมือง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมผลิตภัณฑ๑จากผ๎าฝ้าย

หนองป่าครั่ง

เมือง

ที่ระลึก

หนองป่าครั่ง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสาวพิมพ๑วลัญช๑ สุดา

หนองหอย

เมือง

หนองป่าครั่ง

เมือง

จันทร๑ ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมบายศรีตําบลหนองป่า

ที่ระลึก

ครั่ง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสุนีย๑ แก๎วเจริญ

หนองหอย

เมือง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมเชียงใหมํศิลปะ

หายยา

เมือง

๑๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ร๎านเงินเชียงใหมํ

หายยา

เมือง


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

๑๑

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

คุณศิริมา จันทร๑ไทย

สุเทพ

เมือง

กลุํมShaokhao Shop

ช๎างคลาน

เมือง

ดรุณีผ๎าฝ้าย

ช๎างมํอย

เมือง

ที่ระลึก ๑๒

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมผลิตภัณฑ๑ผ๎าฝ้ายทอมือ

ช๎างเผือก

เมือง

๑๕

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

คุณธนพล สิ้นลี้

ช๎างคลาน

เมือง

กระเป๋าหิ้วหนัง CCO

หนองป่าครั่ง

เมือง

ที่ระลึก ๑๖

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑.๓ งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายพรเทพ สกุลมาศ

ช๎างเผือก

เมือง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

โครงการลายไม๎ มูลนิธิ

ศรีภูมิ

เมือง

ที่ระลึก

สร๎างสรรค๑เพื่อคนพิการ

ที่ระลึก ๒

๑.๔ การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ)

ข-๓


๑.๕ การเขียนหรือวาด ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

ผลิตภัณฑ๑ไม๎เขียนลาย

ป่าตัน

เมือง

ที่ระลึก

(พระพิฆเฌศ)

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมศิลปะหนองป่าครั่ง

หนองป่าครั่ง

เมือง

ทําศาลา

เมือง

ที่ระลึก

คุณเบญจวรรณ ไชยชนะ ชมภู

ของใช๎ / ของตกแตํง /

กลุํมร๎านมัณฑนา

ช๎างเผือก

เมือง

ที่ระลึก ๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

๑.๖ การจักสาน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๑.๗ การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

บริษัท เปเปอร๑อาร๑ค จํากัด

ทําศาลา

เมือง

ทศวรรณกระดาษสา

หนองหอย

เมือง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

วิสาหกิจชุมชนกลุํมอาชีพ

สันผีเสื้อ

เมือง

ที่ระลึก

หัตถกรรมบ๎านทําเดื่อ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมดอกไม๎ประดิษฐ๑จาก

สุเทพ

เมือง

ที่ระลึก

กระดาษสา

ที่ระลึก ๓


๑.๘ งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมหัตถกรรมจาก

หายยา

เมือง

ที่ระลึก

อลูมิเนียมแกะลาย

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

หัตถกรรมเครื่องโลหะ

หายยา

เมือง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางสาวประภัสสร ทา

หายยา

เมือง

ที่ระลึก

ตระกูล

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

ทรงฤทธิ์แผํนภาพโลหะ

หายยา

เมือง

หายยา

เมือง

คุณจุรีย๑ รัฐผไท

หายยา

เมือง

คุณสัจจา จีนประดับ

หายยา

เมือง

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมการผลิตตําบลทําศาลา

ทําศาลา

เมือง

หายยา

เมือง

ที่ระลึก ๓

ที่ระลึก ๕

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ สุภาพหัตถกรรมเครื่องโลหะ ที่ระลึก

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑.๙ งานเครื่องเขิน ลาดับที่ ๑

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ที่ระลึก ๒

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

เครื่องเขินชุมชนวัดนันทา

ที่ระลึก

ราม

ข-๕


ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมหัตถศิลป์ล๎านนาวัดศรี

ที่ระลึก

สุพรรณ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

หายยา

เมือง

นางดวงกมล ใจคําป๓น

หายยา

เมือง

ประเทืองเครื่องเขิน

หายยา

เมือง

ที่ระลึก ๕

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๒. อาเภอหางดง ๒.๑ งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

วิสาหกิจชุมชนกลุํมดอกไม๎

สบแมํขํา

หางดง

ที่ระลึก

ประดิษฐ๑ดินไทย-ญี่ปุ่น

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมเครื่องป๓้นดินเผาบ๎าน

หารแก๎ว

หางดง

ที่ระลึก

กวน

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางบัวใหล บุญเติง

หนองควาย

หางดง

ตุ๏กตาดินเผาบ๎านรอยยิ้ม

สันผักหวาน

หางดง

กลุํมประติมากรรมดินเผา

สันผักหวาน

หางดง

น้ําแพรํ

หางดง

สันผักหวาน

หางดง

ที่ระลึก ๔ ๕

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

บ๎านป่าตาล

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมหัตถกรรมบ๎านใหมํ-ป่า ที่ระลึก จี้

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

นายกริช ป๓ญญา


๒.๒ การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางโสดา บุญศิริ

หารแก๎ว

หางดง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสาวจินดา ชัยยา

หนองตอง

หางดง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสาวแพรวพรรณ

หนองตอง

หางดง

หมํองแดง ๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางชุติกาญจน๑ กันธัง

บ๎านแหวน

หางดง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางสุหลั่น คุณยศยิ่ง

สันผักหวาน

หางดง

ที่ระลึก ๖

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางภัณฑิลา เรือนแก๎ว

สันผักหวาน

หางดง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ณัฐธิกาผ๎าไทย

สันผักหวาน

หางดง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

เย็บจักรป๓กมือ(นางบานเย็น

สันผักหวาน

หางดง

หนองแก๐ว

หางดง

หนองตอง

หางดง

ตนขัน) ๙

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กะลาดูดีเชียงใหมํ(นางยุพา พร วํองวิกย๑การ)

๑๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

เบญจาหัตถกรรม(นางเบญจ กุล คุณโย)

๑๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางอานงค๑ จันทร๑แดง

หนองแก๐ว

หางดง

๑๒

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

วิสาหกิจชุมชนกลุํมตัดเย็บ

หารแก๎ว

หางดง

หารแก๎ว

หางดง

ผ๎าหม๎อฮํอมบ๎านสันป่าสัก ๑๓

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

วิสาหกิจชุมชนกลุํมอนุรักษ๑ และผลิตผ๎าพื้นเมือง"ป่าน ข-๗


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ฝ้าย" ๑๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายนําพล แสงท๎าว

บ๎านปง

หางดง

๑๕

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมสานถักเชือกมัดฟาง

หางดง

หางดง

ที่ระลึก

เศรษฐกิจพอเพียง

๑๖

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสายฝน ป๓นนะศรี

บ๎านแหวน

หางดง

๑๗

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายศุภวัตร อภิวงค๑งาม

สันผักหวาน

หางดง

๑๘

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางดวงสุดา คําวงค๑

สันผักหวาน

หางดง

๑๙

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

น.ส.พิมพา ใจโต

หางดง

หางดง

วิสาหกิจชุมชนถักสาน

หางดง

หางดง

บ๎านแหวน

หางดง

๒๐

ผลิตภัณฑ๑เชือกมัดฟาง ตําบลหางดง ๒๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมแปรรูปผ๎าทอพื้นเมือง บ๎านท๎าวบุญเรือง

๒.๓ งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายป๓๋น ศรีวิลัย

ขุนคง

หางดง

ขุนคง

หางดง

ขุนคง

หางดง

ที่ระลึก ๒

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ร๎านภาณุวัฒน๑ แอนติก(นาย ที่ระลึก

ภาณุวัฒน๑ รังทะษี)

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางมยุรี ศรีวิลัย


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

นางอัมพร จันทร๑ถา

หนองตอง

หางดง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

บ.บี.เอ็ม.เอ.เดคอร๑เรท

ขุนคง

หางดง

ที่ระลึก

จํากัด(นายวสันต๑ เดชะกัน)

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

สิทธิพงษ๑แอนติค(นางบัว

ขุนคง

หางดง

ที่ระลึก

จันทร๑ ป๓นฟอง)

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางวรรณเพ็ญ โปธา

ขุนคง

หางดง

ขุนคง

หางดง

ที่ระลึก ๔

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

ที่ระลึก ๘

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมวิสาหกิจชุมชนแกะสลัก ที่ระลึก

บ๎านถวาย

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายผดุงเกียรติ คํายวง

ขุนคง

หางดง

นายนิคม คํายวง

ขุนคง

หางดง

นางปราณี ฝ่ายริพล

บ๎านแหวน

หางดง

นายเจริญ มะจันทร๑

ขุนคง

หางดง

นายอนุสรณ๑ เพ็ชรโรทัย

ขุนคง

หางดง

ศรีวรรณแอนติค

ขุนคง

หางดง

ที่ระลึก ๑๐

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๑

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๒

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๔

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

ข-๙


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ร๎านอัญชลีแอนติค

ขุนคง

หางดง

นางเพ็ญพร วิญญารัตน๑

ขุนคง

หางดง

ล๎านนาลายคํา (นายอุทิศ อินทร๑วิน)

หนองควาย

หางดง

ชัยเฟอร๑นิเจอร๑ (นางบุษบา พกาศรี)

บ๎านแหวน

หางดง

บ๎านแหวน

หางดง

ที่ระลึก ๑๕

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๖

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๗

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๘

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๑๙

๒๐

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ วิสาหกิจชุมชนกลุํมผลิตงาน ที่ระลึก

ไม๎และแปรรูปไม๎

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางทัศนีย๑ ทิพย๑ป๓ญญา

หนองแก๐ว

หางดง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายพุฒิกันต๑ศม จันทร๑

บ๎านแหวน

หางดง

ที่ระลึก

สุวรรณ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางเพียร ไชยชนะ

ขุนคง

หางดง

นางศุภกร คาบพชร

หางดง

หางดง

ขุนคง

หางดง

ขุนคง

หางดง

ที่ระลึก ๒๑

๒๒

ที่ระลึก ๒๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๒๔

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ม.ร.ว.ถาวรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์ ที่ระลึก

๒๕

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายสุวรรณ โปธิ


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

นางนงคราญ คําทิพย๑

บ๎านแหวน

หางดง

นางวันทนีย๑ มิ่งเมืองแก๎ว

ขุนคง

หางดง

นายอนันต๑ ดีโต๐

ขุนคง

หางดง

นายเทพทัย สุริยลักษณ๑

หางดง

หางดง

ที่ระลึก ๒๖

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๒๗

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๒๘

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๒๙

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๓๐

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

ร๎านจงรวยแกลเลอรี่ (นายนิวัฒน๑ ไชยมงคล)

ขุนคง

หางดง

๓๑

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

ไนท๑แอนติค (นายสุทธพงศ๑

ขุนคง

หางดง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

บ.ไทยร๏อกกิ้งฮอส จํากัด

หนองแก๐ว

หางดง

กลุํมแกะสลักบ๎านถวาย๓

ขุนคง

หางดง

นายประพันธ๑ พงษ๑จันทร๑

ขุนคง

หางดง

นายสุรพงษ๑ คําสร๎อย

หนองควาย

หางดง

น.ส.อนุศรา ญาติจอม

ขุนคง

หางดง

๓๒ ๓๓ ๓๔

๓๕ ๓๖

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

พันธุศาสตร๑)

โชติ

อินทร๑

ข - ๑๑


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ๒.๔ การก่อสร้าง ๓๗

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

น.ส.วีรินท๑ จีรัง

ขุนคง

หางดง

(ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๒.๕ การเขียนหรือวาด ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

PUPAINT Gallery (นาย

หนองควาย

หางดง

ที่ระลึก

พิมล สิงหาสิน)

ของใช๎ / ของตกแตํง /

ร๎านตอกลายศิลป์

ขุนคง

หางดง

๒.๖ การจักสาน ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางสาวจินดา ชัยยา

หนองตอง

หางดง

นางอรชพร กาวิละ

ขุนคง

หางดง

ที่ระลึก ๒

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๒.๗ การทาเครื่องกระดาษ (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๒.๘ งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายกําจร สายวงศ๑อินทร๑

หนองควาย

หางดง


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

ร๎านพีพีล๎านนา แฮนเมค

สันผักหวาน

หางดง

ที่ระลึก

(นายหิรัณย๑รัฐ อินต๏ะมา)

ที่ระลึก ๒

๒.๙ งานเครื่องเขิน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ)

๓. อาเภอสารภี ๓.๑ งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

ร๎องยาวเซรามิก

ยางเนิ้ง

สารภี

ยางนาเซรามิกส๑

สารภี

สารภี

ธ.รุํงโรจน๑ เซรามิก

ทําวังตาล

สารภี

ที่ระลึก ๒ ๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๓.๒ การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางดวงสุดา คําวงค๑

ขัวมุง

สารภี

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมตัดเย็บผ๎าปาเต๏ะมัดย๎อม

หนองแฝก

สารภี

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมแมํบ๎านบ๎านเชียงขาง

ไชยสถาน

สารภี

ข - ๑๓


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ร๎านยาโน(กลุํมออกแบบตัด

ทํากว๎าง

สารภี

เย็บเคหะสิ่งทอและเสื้อผ๎า สําเร็จรูปทํากว๎าง) ๕

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายอุทัย ขวัญศิริ

หนองผึ้ง

สารภี

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมอาชีพเย็บเสื้อผ๎า ผ๎า

หนองผึ้ง

สารภี

ฝ้าย ๗

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมเรณูผ๎าฝ้าย

ไชยสถาน

สารภี

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ร๎านเชียงใหมํซิลค๑

ดอนแก๎ว

สารภี

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ภาวนาผ๎าแปรรูป

หนองผึ้ง

สารภี

๑๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายธีรพงษ๑ ทาเกิด

สารภี

สารภี

๑๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

สุพัณณดา ผ๎าไหมแก๎ว

หนองผึ้ง

สารภี

๑๒

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสาวจุฬาลักษณ๑ สุข

สันทราย

สารภี

เกษม ๑๓

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ครามเชียงใหมํ

ยางเนิ้ง

สารภี

๑๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมสตรีสหกรณ๑ตัดเย็บ

ไชยสถาน

สารภี

หนองผึ้ง

สารภี

ป่าบง

สารภี

เสื้อผ๎า ๑๕ ๑๖

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางสาวกานดา หาญอาษา ที่ระลึก ผ๎า / เครื่องแตํงกาย ห๎องเสื้อวรัญญา สาขา ๒

๑๗

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ร๎านนามวงศ๑

หนองแฝก

สารภี

๑๘

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

สังคมผ๎าเมืองสําเร็จรูป

ไชยสถาน

สารภี

๑๙

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ธนัดพร ผ๎าฝ้าย

ไชยสถาน

สารภี


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

๒๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายสรพงษ๑ ฟองมี

หนองแฝก

สารภี

๒๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมวิสาหกิจชุมชนตัดเย็บ

ขัวมุง

สารภี

ทําวังตาล

สารภี

หนองผึ้ง

สารภี

หนองผึ้ง

สารภี

ทําวังตาล

สารภี

สารภี

สารภี

ทํากว๎าง

สารภี

นางจินดา ชัยวงค๑

ทําวังตาล

สารภี

นายสุรเดช คําป๓น

ยางเนิ้ง

สารภี

ชมภู

สารภี

เสื้อผ๎า ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ลักษณา บาติก

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ บริษัท อิสต๑ ทู เวสต๑ จํากัด ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ร๎านกนกพันธ๑ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ wish doll (วิท ดอร๑) ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางพรรณ๑ จันทร๑เกษม ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ร๎านยาโน(กลุํมออกแบบตัด ที่ระลึก เย็บเคหะสิ่งทอและเสื้อผ๎า สําเร็จรูปทํากว๎าง)

๒๘ ๒๙ ๓๐

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

ทิวา ศรียาบ

๓.๓ งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

Sunday Home

ชมภู

สารภี

ไทยเทรชเซอร๑

ทําวังตาล

สารภี

ที่ระลึก ๒

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

ข - ๑๕


ที่ระลึก ๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กมลวรรณ ผลมาก

ทําวังตาล

สารภี

นายกําพล เมตตาราษฏร๑

ขัวมุง

สารภี

นายเอกชัย แก๎ววงค๑วาร

สันทราย

สารภี

ที่ระลึก ๔

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๓.๔ การก่อสร้าง ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

บ๎านไม๎ไผํ Collection

ป่าบง

สารภี

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

หนองผึ้ง

สารภี

ป่าบง

สารภี

ป่าบง

สารภี

ที่ระลึก ๓.๕ การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๓.๖ การจักสาน ลาดับที่ ๑ ๒ ๓

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายจําเนียร จิณะชิต ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ แมํเขียวข๎องหลวง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ จักสานไม๎ไผํผู๎สูงอายุศรีเกตุ ที่ระลึก


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

กลุํมรับนกตําบลสารภี

สารภี

สารภี

นางชิสา เกษวีรภัทร๑กุล

ป่าบง

สารภี

ถวัลย๑ไม๎ไผํจักสาน

ป่าบง

สารภี

นางฉลวย ศรีจันทร๑

ป่าบง

สารภี

๕ ๖ ๗

๓.๗ การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

จิตรา กันทะวงค๑

ยางเนิ้ง

สารภี

นางพูนสวัสดิ์ สุภสวัสดิ์

หนองผึ้ง

สารภี

ที่ระลึก ๒

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๓.๘ งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๓.๙ งานเครื่องเขิน ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

จักสานไม๎ไผํขด

ป่าบง

สารภี

ที่ระลึก

ข - ๑๗


๔. อาเภอสันป่าตอง ๔.๑ งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมเครื่องป๓้นดินเผา

บ๎านแม

สันป่าตอง

ที่ระลึก ๔.๒ การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมทอผ๎าบ๎านกลาง

ยุหวํา

สันป่าตอง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางคําป้อ บุญเขียว

ยุหวํา

สันป่าตอง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ฝ้ายนพบุรี

สันกลาง

สันป่าตอง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายวรวิทย๑ ใจแก๎ว

สันกลาง

สันป่าตอง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

วิสาหกิจชุมชนกฤตยาเสื้อ

สันกลาง

สันป่าตอง

บ๎านแม

สันป่าตอง

กิจกรรมโปโล ๖

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมวิสาหกิจชุมชน หัตถกรรมเย็บผ๎าร๎องขุ๎ม

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมแกะสลักไม๎จามจุรีบ๎าน ที่ระลึก กิ่วแลน๎อย

บ๎านแม

สันป่าตอง

นางศิวพร ทองจําม

บ๎านแม

สันป่าตอง

นายนพดล นวลสุภา

บ๎านแม

สันป่าตอง

๑๐

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางศรีพรรณ แก๎วติ๊บ

บ๎านกลาง

สันป่าตอง

๑๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมแปรรูปผลิตภัณฑ๑ผ๎า

บ๎านกลาง

สันป่าตอง


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

จากภูดาว ๑๒

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

น.ส.พิชามญฐ๑ เจิตจง

บ๎านกลาง

สันป่าตอง

๑๓

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมคนเขิน

บ๎านกลาง

สันป่าตอง

๑๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางแสงคํา อุํนจาย

บ๎านกลาง

สันป่าตอง

๑๕

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

เหนือล๎านนา

น้ําบํอหลวง

สันป่าตอง

๑๖

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางรํมฟ้า จันคนา

ทุํงต๎อม

สันป่าตอง

๑๗

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมหัตถกรรมเพ๎นท๑ผ๎าหมูํ

ทุํงต๎อม

สันป่าตอง

๑๑ ๑๘

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสายสมร ชัยวิเทศ

ทุํงต๎อม

สันป่าตอง

๑๙

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายอนุชาติ จันทร๑คํา

ทุํงต๎อม

สันป่าตอง

๒๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมผ๎านวมเย็บบ๎านแมํกุ๎ง

ทุํงต๎อม

สันป่าตอง

ศูนย๑ผลิตตุ๏กตาเชียงใหมํ

มะขามหลวง

สันป่าตอง

หลวง ๒๑

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

๔.๓ งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

นางประเทือง รัตนกุล

ยุหวํา

สันป่าตอง

นางโนราห๑ แสนยส

ยุหวํา

สันป่าตอง

นางสุพรรณ๑ ใจจันทร๑

ยุหวํา

สันป่าตอง

นางพัชรนันท๑

ยุหวํา

สันป่าตอง

๒ ๓ ๔

ข - ๑๙


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

วรเศรษฐวัฒน๑ ๕

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมวิสาหกิจชุมชนแกะสลัก ที่ระลึก ไม๎ดอนตัน

ยุหวํา

สันป่าตอง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมอัญชันสันป่าตอง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายวิบูลย๑ มาเรือน ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมอาชีพแกะสลักไม๎บ๎านกูํ ที่ระลึก คํา

ยุหวํา

สันป่าตอง

ยุหวํา

สันป่าตอง

ยุหวํา

สันป่าตอง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

นายธนกฤต น๎อยติ๊บ

ยุหวํา

สันป่าตอง

นายยอดชาย เจริญวัย

ยุหวํา

สันป่าตอง

นางกชพร ประเสนมูล

ยุหวํา

สันป่าตอง

นายบุญศิลป์ เรือนแก๎ว

ยุหวํา

สันป่าตอง

น.ส.จินตนา ยาวิราช

ยุหวํา

สันป่าตอง

นายทวีสิน ศรีวิชัย

ยุหวํา

สันป่าตอง

นายเจริญ คําป๓น

สันกลาง

สันป่าตอง

กลุํมหัตถกรรมกิ่วแสน๎อย

บ๎านแม

สันป่าตอง

นางศรีลัย เดชรังษ๑

บ๎านแม

สันป่าตอง

นางเดือนเพ็ญ บุญมา

บ๎านแม

สันป่าตอง

๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘


ลาดับที่ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางรําไพ สมโน บ๎านแม ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางบัวเกี่ยง กิ่วแก๎ว บ๎านแม ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายสมบูรณ๑ หนันไชย บ๎านกลาง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางพิมทอง หวานดี แมํก๏า ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางธนภร แอํงสละ น้ําบํอหลวง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางปทุม เบญจมาส น้ําบํอหลวง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายเกษม ศรีธรรมราช น้ําบํอหลวง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายพัชฏะ เตชรังษ๑ น้ําบํอหลวง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมหัตถกรรมบ๎านหนองห๎า น้ําบํอหลวง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายวินัยศักดิ์ วรรณศรี น้ําบํอหลวง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายคมกริช มูลดองคะ น้ําบํอหลวง ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางมนทิรา ใจดวงจันทร๑ ทําวังพร๎าว ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / นายทรงเดช นันทะชัย มะขามหลวง

๔.๔ การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ)

ข - ๒๑

อาเภอ สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง สันป่าตอง


๔.๕ การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๔.๖ การจักสาน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๔.๗ การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมดอกไม๎ประดิษฐ๑

ยุหวํา

สันป่าตอง

ทุํงต๎อม

สันป่าตอง

ตาบล

อาเภอ

ทุํงสะโตก

สันป่าตอง

ที่ระลึก ๔.๘ งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่ ๑

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมออมทรัพย๑บ๎านร๎องตีมีด ที่ระลึก

๔.๙ งานเครื่องเขิน ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมผลิตภัณฑ๑เครื่องเขิน

มะขุนหวาน

สันป่าตอง

ที่ระลึก

ประยุกต๑


๕. อาเภอแม่ริม ๕.๑ งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

กลุํมดอกไม๎ดินดวงดี

ริมใต๎

แมํริม

๕.๒ การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมแฝกหลวง

ขี้เหล็ก

แมํริม

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ดอนแก๎ว

แมํริม

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

วิสาหกิจชุมชนกลุํม หัตถกรรมจากเศษผ๎า เอนกประสงค๑ กลุํมงานประดิษฐ๑จากหญ๎า

โป่งแยง

แมํริม

แมํสา

แมํริม

แฝก ๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมชุมชนแมํสาหมูํ ๔ เพื่อ การพัฒนา

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

ศูนย๑หัตถกรรมเมตตานารี

ริมใต๎

แมํริม

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

กลุํมหัตถกรรมในครัวเรือน

สะลวง

แมํริม

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมผู๎ผลิต ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

สันโป่ง

แมํริม

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมผลิตภัณฑ๑ผ๎าและโคร

ห๎วยทราย

แมํริม

ห๎วยทราย

แมํริม

บ๎านแมํก๏ะเปียง

เชต๑บ๎านห๎วยทราย ๙

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

วิสาหกิจชุมชนกลุํมแมํบ๎าน ข - ๒๓


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

เกษตรกรใยกัญชงทรายทอง ๑๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมผ๎าพื้นเมืองเหมืองแก๎ว

เหมืองแก๎ว

แมํริม

๑๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางวลัยพันธ๑ จงพลวิเศษ

ดอนแก๎ว

แมํริม

๕.๓ งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๕.๔ การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๕.๕ การเขียนหรือวาด ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

มะคําลายคํา

ดอนแก๎ว

แมํริม

ที่ระลึก ๕.๖ การจักสาน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๕.๗ การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

กลุํมกระดาษสา

เหมืองแก๎ว

แมํริม

๕.๘ งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน


(ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๕.๙ งานเครื่องเขิน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ)

๖. อาเภอสันกาแพง ๖.๑ งานปั้น / งานหล่อ (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๖.๒ การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

หนองแหยํง

สันกําแพง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมประดิษฐ๑เศษผ๎าบ๎าน บวกเปา รุํงนภา ใจดี

ออนใต๎

สันกําแพง

น.ส. ศุภัณดา สุระวงค๑

ทรายมูล

สันกําแพง

นางสําเนียง คํารินทร๑

สันกําแพง

สันกําแพง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

พรรณชภรณ๑ ตาจิโน

แมํปูคา

สันกําแพง

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

มารยาท ศรีเงิน

สันกําแพง

สันกําแพง

นางเฉลิมศรี คันธา

สันกําแพง

สันกําแพง

ลออ พัฒนเกียรติพงศ๑

แชํช๎าง

สันกําแพง

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของที่ระลึก ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ณัฐรดา มณีจักร๑

สันกําแพง

สันกําแพง

๑๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

สุนา โปธิเป็ง

ร๎องวัวแดง

สันกําแพง

ข - ๒๕


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

๑๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางฉันทนา โสมัจฉา

แชํช๎าง

สันกําแพง

๑๒

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางศศิธร สมวรรณ

สันกลาง

สันกําแพง

๑๓

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

เสาวนีย๑ มูลตุ๎ย

สันกลาง

สันกําแพง

๑๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางจันทร๑แสง ถนอม

แชํช๎าง

สันกําแพง

สุวรรณ ๖.๓ งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๖.๔ การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๖.๕ การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๖.๖ การจักสาน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๖.๗ การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

นางวิลาวัลย๑ บุญตันทา

แชํช๎าง

สันกําแพง

๖.๘ งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ)


๖.๙ งานเครื่องเขิน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ)

๗. อาเภอสันทราย ๗.๑ งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

ส.อ.ชาญชัย พรหมมิจิตร

หนองจ๏อม

สันทราย

ด.ต.ไพฑูรย๑ ไคร๎อินป๓๋น

หนองจ๏อม

สันทราย

นายสมนึก ชัยตามล

สันทรายหลวง

สันทราย

๒ ๓

ที่ระลึก ๗.๒ การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมทอผ๎าบ๎านดงเจริญชัย

หนองแหยํง

สันทราย

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

เย็บผ๎าบ๎านสันหลวง

สันนาเม็ง

สันทราย

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ประดิษฐ๑ผ๎าบ๎านบวกเปา

หนองแหยํง

สันทราย

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ทอผ๎าบ๎านทํายาว

ป่าไผํ

สันทราย

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

เสื้อสําเร็จก๋ําปอ

สันทรายหลวง

สันทราย

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

กลุํมสืบทอดภูมิป๓ญญา

หนองแหยํง

สันทราย

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางนลินทิพ๑ เมธารสิทธิ์

สันทรายน๎อย

สันทราย

ชาวบ๎าน

ข - ๒๗


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

น.ส.กัญญารัตน๑ มณฑลนที

ป่าไผํ

สันทราย

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางอารียา บุญยืน

หนองจ๏อม

สันทราย

๑๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางกุลทรัพย๑ ลี้ประเสริฐ

สันทรายน๎อย

สันทราย

๑๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางกุลสุขรักษ๑ คําเจริญ

สันทรายน๎อย

สันทราย

๑๒

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ศิริกัลยารัศ ธรรมชัย

สันทรายหลวง

สันทราย

๑๓

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางนิตยา ยอดสระ

หนองจ๏อม

สันทราย

๑๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

ไทยอลยา บาติก แอนด๑

ป่าไผํ

สันทราย

หนองจ๏อม

สันทราย

สันนาเม็ง

สันทราย

แกลอรี่ ๑๕

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางกุสุมาลย๑ เชาวน๑ ตระกูล

๑๖

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

น.ส.พิมพ๑วลัญช๑ สุดา จันทร๑

๑๗

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายศรัณย๑กร มาตนอก

หนองหาร

สันทราย

๑๘

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

น.ส.สวิตตา ถือความตรง

สันนาเม็ง

สันทราย

๑๙

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางธนิศา โกติละกาล

สันทรายน๎อย

สันทราย

๗.๓ งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายนิวาส ป๓ญญา

หนองหาร

สันทราย

นายเอกรินทร๑ พันธุ๑จินดา

หนองหาร

สันทราย

นางสุพรรษา หวังศรี

หนองแหยํง

สันทราย

๒ ๓


ลาดับที่ ๔ ๕ ๖

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

นางอัญชลี วรรณศรี

ป่าไผํ

สันทราย

นายศักดา นิติสัจจะ

สันนาเม็ง

สันทราย

นายฐปนพัฒน๑ ทิพย๑

หนองหาร

สันทราย

ป๓ญญา

๗.๔ การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๗.๕ การเขียนหรือวาด ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายอรรจฐาณิศร๑ จมูศรี

หนองหาร

สันทราย

ที่ระลึก ๗.๖ การจักสาน ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

สานตระกร๎าจาก

หนองหาร

สันทราย

ที่ระลึก

ก๎านมะพร๎าว

๗.๗ การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

หัตถกรรมบ๎านเดํนสันคะ

สันทรายน๎อย

สันทราย

ยอม

ข - ๒๙


๒ ๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

นางวรนุช อยํางจา

ป่าไผํ

สันทราย

นายอุทิตย๑ บัวแก๎วเกิด

หนองแหยํง

สันทราย

๗.๘ งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายพรชัย เขียวมั่ง

สันทรายน๎อย

สันทราย

ที่ระลึก ๗.๙ งานเครื่องเขิน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ)

๘. อาเภอดอยสะเก็ด ๘.๑ งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางกิตติยา ประสิทธิชัย

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

นางอัญชลี แก๎วดวงทิพย๑

ป่าลาน

ดอยสะเก็ด

นางธมนันท๑ ไชยยา

ตลาดใหญํ

ดอยสะเก็ด

หจก.เซลาดอนเฮ๎าส๑

ป่าป้อง

ดอยสะเก็ด

นายธีรวุฒ นงค๑ยา

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

๒ ๓

ที่ระลึก ๔

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก


๘.๒ การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางอุษณีย๑กร สมภมิตร

แมํคือ

ดอยสะเก็ด

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายรังสรรค๑ อุบล

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางประดับ คุณยศยิ่ง

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางพิมพ๑จุฑา เพอร๑วิส

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

วิสาหกิจชุมชนกลุํม

แมํคือ

ดอยสะเก็ด

ผลิตภัณฑ๑ชุมชนรัฐประชา

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมตัดเย็บบ๎านดอกแดง

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายสุรเดช ไพบูลย๑เสมา

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

ทัศน๑ ๘

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางเบญญทิพย๑ ทุมกิจจะ

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางจงรักษ๑ พานชาตรี

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๑๐

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมโคมไฟเส๎นด๎าย

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

นางบัวพิศ คําราพิศ

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

นางนภัสวรรณ อิ่นแกล๎ว

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๑๑ ๑๒ ๑๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

นายเทิดศักดิ์ พุทธิแจํม

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๑๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางประไพ เขื่อนล๎อม

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

ข - ๓๑


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

๑๕

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายบุญชํวย อังสมาภรณ๑

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

พานิช ๑๖

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นายวราดร ไชยถา

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

๑๗

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางธนพรรณ แฟบริค

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

๑๘

นายมนูญ ไชยเฉพาะ

สําราญราษฎร๑

ดอยสะเก็ด

๑๙

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสาวดวงเดือน ขันตี

ตลาดขวัญ

ดอยสะเก็ด

๒๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

วิสาหกิจชุมชนเปิงใจ๐

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๒๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสาวสังวาล ขัติยนต๑

แมํโป่ง

ดอยสะเก็ด

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๒๒ ๒๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางอรพิน ไชยถา ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ วิสาหกิจชุมชนกลุํมพรมเช็ด ที่ระลึก เท๎าและผ๎านวม

๒๔

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางวาทินี พิเคราะห๑งาน

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๒๕

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

กลุํมแมํบ๎านเกษตรกรบ๎าน

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๒๖

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางภรภัทร สมโพธิ์

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๒๗

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสาวพัทธนันท๑ กิ่งวัฒนา

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

๒๘

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

กลุํมผลิตภัณฑ๑จากผ๎าบ๎าน

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

สันทราย

ข๎างน้ํา ๒๙

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

นางปริยภรณ๑ นิตยา


ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

๓๐

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางปภาภัทร ชุติคุณานันท๑

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๓๑

ผ๎า / เครื่องแตํงกาย

นางสาริตา รัตนประภาศิลป์

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

๓๒

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

กลุํมหัตถกรรมผ๎าทอมือจัก

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

สานงานฝีมือ

๘.๓ งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายบรรจง ดาษดาคํา

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

ที่ระลึก ๒ ๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายอุปถัมภ๑ ใจดี ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ วิสาหกิจชุมชนบ๎านตุ๏กตาไม๎ ที่ระลึก

ลวงเหนือ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายจํารัส เฉลียว

สําราญราษฎร๑

ดอยสะเก็ด

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางสาวทัศนีย๑ พรหมขัติ

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

ที่ระลึก

แก๎ว

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

นายไชยวัฒน๑ ไชยซาว

ตลาดใหญํ

ดอยสะเก็ด

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นางจารุณี ไทยกรณ๑

แมํฮ๎อยเงิน

ดอยสะเก็ด

นายธีรพงษ๑ คําสิงห๑แก๎ว

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

ที่ระลึก ๕

๗ ๘

วงค๑

ข - ๓๓


ลาดับที่ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖

๑๗

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ สําราญราษฎร๑ นางสมศรี อินตาโย ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ แมํคือ นายดวงแก๎ว ไชยยาน ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ สงําบ๎าน กลุํมรํมไม๎ไผํบ๎านป่างิ้ว ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางจันทร๑เป็ง โสภาอินทร๑ ลวงเหนือ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายณรงค๑ฤทธิ์ เฉียงตะวัน แมํคือ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นายพัฒนศักดิ์ ถาปินตา แมํคือ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ป่าเมี่ยง ผลิตภัณฑ๑จากไม๎ไผํ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมหัตถกรรมแกะสลักบ๎าน สันปูเลย ที่ระลึก ยางทอง ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ ที่ระลึก

อาเภอ ดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด

นางจันทร๑เพ็ญ ไชยเทพ

แมํคือ

ดอยสะเก็ด

๘.๔ การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๘.๕ การเขียนหรือวาด ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายอนุชา บุญเรือง

แมํคือ

ดอยสะเก็ด

ที่ระลึก


๘.๖ การจักสาน (ไม่มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการ) ๘.๗ การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่ ๑ ๒

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ เฮือนปอกระดาษสา ลวงเหนือ ที่ระลึก ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ นางสกุลทิพย๑ กมลระวีพงศ๑ สําราญราษฎร๑

อาเภอ ดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด

ที่ระลึก ๓

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ กลุํมผลิตภัณฑ๑จากกระดาษ สําราณราษฎร๑ ที่ระลึก

ดอยสะเก็ด

สา

๘.๘ งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

นายณรงค๑ จามคํา

ป่าลาน

ดอยสะเก็ด

ที่ระลึก ๘.๙ งานเครื่องเขิน ลาดับที่

ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์

ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

วิสาหกิจชุมชนหัตถศิลป์

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

ที่ระลึก

เครื่องเขิน

ของใช๎ / ของตกแตํง / ของ

กลุํมเครื่องเขินเชิงดอย

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

ที่ระลึก

ข - ๓๕


- ข้อมูลผู้ประกอบการร้านค้า ๑.อาเภอเมือง ๑.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

หลํอพระพุทธรูป

สลําอี๊ด

ป๓้นพระพุทธรูป

แมํครูบุตร

ตาบล

อาเภอ

หายยา

เมือง

หายยา

เมือง

๑.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย (ไมํพบผู๎ผลิต) ๑.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ (ไมํพบผู๎ผลิต) ๑.๔. การก่อสร้าง (ไมํพบผู๎ผลิต) ๑.๕.การเขียนหรือวาด (ไมํพบผู๎ผลิต) ๑.๖.การจักสาน (ไมํพบผู๎ผลิต) ๑.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

โคมประดับ

บัวไหล คณะป๓ญญา

หนองหอย

เมือง


๑.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

บุดุน โลหะ

กลุํมหัตถศิลป์ล๎านนาวัดศรี

หายยา

เมือง

สุพรรณ บ๎านวัวลาย ๒

หัตถกรรมเครื่องโลหะ

ประภัสสร ทาตระกูล

หายยา

เมือง

บุดุน โลหะ

กลุํมหัตถศิลป์ล๎านนาหมื่น

หายยา

เมือง

สาร ๑.๙.งานเครื่องเขิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ของตกแตํงไม๎ขด

ปรานอม มโนทอง

ทําศาลา

เมือง

เครื่องเขิน ของตกแตํง

ขันแก๎ว กันธิมา

ทําศาลา

เมือง

ขันแดง

ป้าเจ๎า

ทําศาลา

เมือง

ประเทืองเครื่องเขิน

ประเทือง

หายยา

เมือง

วิชัยกุลเครื่องเขิน

ไชยพล แสนมโน

หายยา

เมือง

เครื่องเขิน

ยายน๎อย

หายยา

เมือง

นุชเครื่องเขิน

ชุมชนศรีสุพรรณ

หายยา

เมือง

เครื่องเขิน

ชุมชนนันทาราม

หายยา

เมือง

เครื่องเขิน

คัวฮักคัวหาง

หายยา

เมือง

๑๐

เครื่องเขิน

บ๎านดวงกมลเครื่องเขิน

หายยา

เมือง

๑๑

เครื่องเขิน

ร๎านนิ่ม เครื่องเขิน

หายยา

เมือง

ข - ๓๗


๒.อาเภอหางดง ๒.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องป๓้นดินเผา

วิสาหกิจชุมชนบ๎านเหมือง

หนองควาย

หางดง

วิสาหกิจชุมชนบ๎านป่าตาล

หนองควาย

หางดง

คุณวิฑูรย๑ แก๎วคําต๐า

น้ําแพรํ

หางดง

กุง ๒

เครื่องป๓้นดินเผารูปสัตว๑

วิสาหกิจชุมชนบ๎านใหมํป่าจี้

๒.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย (ไมํพบผู๎ผลิต) ๒.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑ทําจากไม๎

คุณบุญสํง รังทะสี

ขุนคง

หางดง

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎

สมบัติ บุตรเทพ

ขุนคง

หางดง

เคี่ยนไม๎

คุณคํา เตจ๏ะใหมํ

ไม๎แกะสลัก

ปราณี ฝ่ายริพล

บ๎านแหวน

หางดง

เฟอร๑นิเจอร๑ไม๎แกะสลัก

คุณพุฒิกันต๑ศม จันทร๑

บ๎านแหวน

หางดง

หางดง

สุวรรณ ๖

ของแตํงบ๎านทําจากไม๎

คุณนงคราญ คําทิพย๑

บ๎านแหวน

หางดง

ผลิตภัณฑ๑ทําจากไม๎

คุณกําจร สายวงค๑อินทร๑

หนองควาย

หางดง


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑ทําจากไม๎

คุณอุทิศ อินทร๑วิน

หนองควาย

หางดง

ผลิตภัณฑ๑ทําจากไม๎

คุณพิมล สิงหาสิน

หนองควาย

หางดง

๑๐

ไม๎เคี่ยน

คุณธนาเศรษฐ๑ ป๓ญญากิตติ

หนองควาย

หางดง

พัฒน๑ ๑๑

ผลิตภัณฑ๑ทําจากไม๎

คุณอัมพร จันทร๑ถา

หนองตอง

หางดง

๑๒

ไม๎แกะสลัก

คุณสุหลั่น คุณยศยิ่ง

สันผักหวาน

หางดง

๒.๔. การก่อสร้าง (ไมํพบผู๎ผลิต) ๒.๕.การเขียนหรือวาด ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เขียนลาย

คุณพนิดา

หนองควาย

หางดง

ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ฝาลายอํา

คุณบุญศรี เรือนเหล็ก

หนองควาย

หางดง

สาดอํอน

คุณพรรณี อินต๏ะรัตน๑

หนองแก๐ว

หางดง

จักสานเครื่องเรือน

คุณหมุน สดุดี

หางดง

หางดง

สานกระบุง

คุณบุญศรี พงษ๑แต๎

หางดง

หางดง

๒.๖.การจักสาน

ข - ๓๙


๒.๗.การทาเครื่องกระดาษ (ไมํพบผู๎ผลิต) ๒.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไมํพบผู๎ผลิต) ๒.๙.งานเครื่องเขิน (ไมํพบผู๎ผลิต)

๓.อาเภอสารภี ๓.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องป๓้นดินเผา

แสงหล๎า

ยางเนิ้ง

สารภี

เครื่องป๓้นดินเผา

สารภีเซรามิค

ยางเนิ้ง

สารภี

เครื่องป๓้นดินเผา

ศรีวรรณา

ยางเนิ้ง

สารภี

เครื่องป๓้นดินเผา

ลุงสอง

ไชยสถาน

สารภี

เครื่องป๓้นดินเผา

ลุงชาติ

ไชยสถาน

สารภี

เตาอั้งโลํ

วิรัตน๑ มูลดี

ขัวมุง

สารภี

เตาอั้งโลํ

กาญจน๑

ขัวมุง

สารภี

เตาอั้งโลํ

ลุงโทน

ขัวมุง

สารภี

เตาอั้งโลํ

ณัฐพล วงค๑ไชย

ขัวมุง

สารภี


๓.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

รองเท๎าจากเศษผ๎าชาวเขา

เทศบาลยางเนิ้ง

ยางเนิ้ง

สารภี

๓.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ (ไมํพบผู๎ผลิต) ๓.๔. การก่อสร้าง (ไมํพบผู๎ผลิต) ๓.๕.การเขียนหรือวาด (ไมํพบผู๎ผลิต) ๓.๖.การจักสาน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

สานตะกร๎า

คุณทองสุข แก๎วสมุทร

ป่าบง

สารภี

สาดแหยํง

ป้าบัวผัด

สันทราย

สารภี

๓.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

โคมไฟกระดาษ

คุณลุงแก๎ว

ยางเนิ้ง

สารภี

๓.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไมํพบผู๎ผลิต)

ข - ๔๑


๓.๙.งานเครื่องเขิน (ไมํพบผู๎ผลิต)

๔.อาเภอสันป่าตอง ๔.๑.งานปั้น / งานหล่อ (ไมํพบผู๎ผลิต) ๔.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย (ไมํพบผู๎ผลิต) ๔.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ไม๎แกะสลัก

คุณสลําแดง

บ๎านกลาง

สันป่าตอง

ไม๎แกะสลัก

คุณสีทอน กาวิละ

ทําวังพร๎าว

สันป่าตอง

ไม๎แกะสลัก

คุณลุงเดช

มะขามหลวง

สันป่าตอง

ไม๎แกะสลัก

คุณเขต ใจมา

ยุหวํา

สันป่าตอง

ไม๎แกะสลัก

คุณรัศมี แก๎วจันทร๑

ยุหวํา

สันป่าตอง

๔.๔. การก่อสร้าง (ไมํพบผู๎ผลิต) ๔.๕.การเขียนหรือวาด (ไมํพบผู๎ผลิต)


๔.๖.การจักสาน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

สานชะลอม(ก๐วย)

คุณพล นันตาศรี

ทุํงสะโตก

สันป่าตอง

เครื่องจักรสาน

คุณบัวทิพย๑ ศรีสุข

ทุํงสะโตก

สันป่าตอง

สานชะลอม(ก๐วย)

คุณศรีไพร ใจมูล

มะขามหลวง

สันป่าตอง

๔.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

กระดาษสา

คุณนงนุช

ทุํงต๎อม

สันป่าตอง

กระดาษสา

คุณวงศ๑พันธุ๑ ต๏ะมา

มะขุนหวาน

สันป่าตอง

กระดาษสา

คุณบุญป๓๋น

ยุหวํา

สันป่าตอง

๔.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ต๎องลายอลูมิเนียม

คุณเจริญ

ทําวังพร๎าว

สันป่าตอง

ตีมีด

คุณอันดา

ทุํงสะโตก

สันป่าตอง

๔.๙.งานเครื่องเขิน (ไมํพบผู๎ผลิต)

ข - ๔๓


๕.อาเภอแม่ริม ๕.๑.งานป๓้น / งานหลํอ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

ดอกไม๎ดินดวงดี

เครื่องป๓้นดินเผา

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ริมใต๎

แมํริม

ริมใต๎

แมํริม

กระถาง

ริมเหนือ

แมํริม

ดอกไม๎ดินญี่ปุ่น

ดอนแก๎ว

แมํริม

เซามิค

แมํริมเซรามิค

ดอนแก๎ว

แมํริม

กระเบื้องดินเผา

กระเบื้องเคลือบเวียงพิงค๑

ดอนแก๎ว

แมํริม

แมํป๓้นดินพํอทําสวน

๕.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑ผ๎าฝ้าย

อาริเคผ๎าฝ้าย

ริมใต๎

แมํริม

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

ศูนย๑หัตถกรรมเมตตานารี

ริมใต๎

แมํริม

เสื้อผ๎าฝ้าย

ตะวัน ยอดมณีกาญจน๑

ริมใต๎

แมํริม

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

One to tree รักร๎อย

ริมใต๎

แมํริม

เสื้อผ๎า

กลุํมผู๎ผลิตสันโป่ง

สันโป่ง

แมํริม

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

กลุํมผู๎ผลิตแมํก๏ะเปียง

สะลวง

แมํริม

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎าและโคร

กลุํมผู๎ผลิตห๎วยทราย

ห๎วยทราย

แมํริม

วิสาหกิจชุมชนผ๎าใยกัญชง

ห๎วยทราย

แมํริม

เชต๑ ๘

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎าใยกัญชง


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ทรายทอง ๙

ผ๎ามําน

คุณทัศนีย๑ พรหมป๓ญญา

ห๎วยทราย

แมํริม

๑๐

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

นัทธมล วะตินา

โป่งแยง

แมํริม

๑๑

ผลิตภัณฑ๑กระเป๋าผ๎า

ศรีพันธ๑ ป๓ญญาจันทร๑

โป่งแยง

แมํริม

๑๒

เสื้อผ๎า

พวงพลอย เจียมสกุล

แมํสา

แมํริม

๑๓

ผ๎าต๎องลาย

มหาพนลายต๎อง

แมํสา

แมํริม

๑๔

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

ชุมชนแมํสาหมูํ๔เพื่อการ

แมํสา

แมํริม

พัฒนา ๑๕

เปลญวน

เจริญ จอมงาม

แมํสา

แมํริม

๑๖

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

เรวดี ยอดศิริสุข

ดอนแก๎ว

แมํริม

๑๗

ผ๎ามําน

เพ็ญศิริ

ดอนแก๎ว

แมํริม

๑๘

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

เชียงใหมํแฮนด๑ควิท

ดอนแก๎ว

แมํริม

๑๙

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

วิสาหกิจชุมชนกลุํม

ดอนแก๎ว

แมํริม

วลัยพันธ๑ จงพลวิเศษ

ดอนแก๎ว

แมํริม

หัตถกรรมผ๎าอเนกประสงค๑ ๒๐

กระเป๋า รองเท๎าผ๎า

๒๑

ผลิตภัณฑ๑ผ๎าป๓ก

จุฑามาส

ดอนแก๎ว

แมํริม

๒๒

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

กลุํมผ๎าพื้นเมืองเหมืองแก๎ว

เหมืองแก๎ว

แมํริม

๒๓

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

คุณดาใจ ประภัสสรพงษ๑

เหมืองแก๎ว

แมํริม

๒๔

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎า

กลุํมแมํบ๎านเหมืองผํา

ริมเหนือ

แมํริม

ข - ๔๕


๕.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เกมส๑ไม๎

เสรี ศรีวิชัย

ริมใต๎

แมํริม

เกมส๑ไม๎

อภิชัย

โป่งแยง

แมํริม

ของประดับจาก

เพ็ญศิริ

ดอนแก๎ว

แมํริม

กะลามะพร๎าว ๕.๔. การก่อสร้าง ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ประดิษฐ๑ปราสาท โลงศพจี

สมเดช ยั่งยืน

สันโป่ง

แมํริม

สิงห๑แก๎ว

สันโป่ง

แมํริม

ระเดชศิลป์ ๒

ประดิษฐ๑ปราสาท โลงศพ สิงห๑แก๎วประธานศิลป์

๕.๕.การเขียนหรือวาด (ไมํพบผู๎ผลิต) ๕.๖.การจักสาน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ตะกร๎าสาน

สุนันทา คาภิระ

ริมเหนือ

แมํริม

ก๐วย

ดวง ถามถ๎วน

แมํแรม

แมํริม

ของใช๎จากหญ๎าแฝก

กลุํมหญ๎าแฝกหลวง

ขี้เหล็ก

แมํริม


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎จากหญ๎าแฝก

กลุํมงานประดิษฐ๑จากหญ๎า

โป่งแยง

แมํริม

แฝก ๕.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ดอกไม๎กระดาษสา

กานดา มินานนท๑

ริมใต๎

แมํริม

ดอกไม๎จันทน๑

จุ๎มใจ ตาวิโย

ริมเหนือ

แมํริม

กระดาษมูลช๎าง

เอเลเฟ่น พูพู เปเปอร๑ พาร๑ค

ริมเหนือ

แมํริม

กระดาษต๎องลาย

มหาพนลายต๎อง

แมํสา

แมํริม

กระดาษสา

มะคําลายคํา

ดอนแก๎ว

แมํริม

กระดาษสา

กลุํมกระดาษสา

เหมืองแก๎ว

แมํริม

๕.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไมํพบผู๎ผลิต) ๕.๙.งานเครื่องเขิน (ไมํพบผู๎ผลิต)

ข - ๔๗


๖.อาเภอสันกาแพง ๖.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

Full candle

คุณสดใส ขัติกุล

ร๎องวัวแดง

สันกําแพง

เทียนหอม

คุณศิริทิพย๑ จิรพรรณทวี

สันกําแพง

สันกําแพง

ตุ๏กตาดินเผา

คุณสุชานันท๑ วงศ๑ตาน๎อย

แชํช๎าง

สันกําแพง

๖.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎าฝ้าย

กลุํมพัฒนาอาชีพสตีบ๎านต๎น

สันกําแพง

สันกําแพง

โจ๎ก ๒

ของแตํงบ๎านทําด๎วยผ๎า

คุณจันทร๑เพ็ญ ทากําเนิด

ทรายมูล

สันกําแพง

ผ๎าฝ้ายและไหมประดิษฐ๑

คุณนงเยาว๑ ทองดอกแดง

ทรายมูล

สันกําแพง

๖.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

โคมไฟไม๎มะมํวง

คุณอารีย๑

สันกําแพง

สันกําแพง

ตลับไม๎มะมํวง

คุณกานดา เปรมธนากุล

สันกําแพง

สันกําแพง

ไม๎แกะสลัก

คุณเพชร วิริยะ

บวกค๎าง

สันกําแพง

ป๓้นขี้เลื่อย

คุณสุทัศน๑ ปิงโกดก

บวกค๎าง

สันกําแพง

เฟอร๑นิเจอร๑ไม๎

คุณวิลัย ยอดทองขาว

แมํปูคา

สันกําแพง


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎เข็มกลัด

คุณนิภา ปิยกุล

แมํปูคา

สันกําแพง

ไม๎แกะสลักเครื่องดนตรี

คุณวีรชัย มณีวรรณ

แมํปูคา

สันกําแพง

๖.๔. การก่อสร้าง (ไมํพบผู๎ผลิต) ๖.๕.การเขียนหรือวาด (ไมํพบผู๎ผลิต) ๖.๖.การจักสาน (ไมํพบผู๎ผลิต) ๖.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

รํมไม๎ไผํ, พัด และผลิตภัณฑ๑

คุณสุภัคสิริ วงศ๑ษา

ต๎นเปา

สันกําแพง

จากกระดาษสา ๒

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณศริญ จินะมอย

ต๎นเปา

สันกําแพง

โคมจากกระดาษสา

คุณพงพรรณ๑ คณะป๓ญญา

สันกําแพง

สันกําแพง

หมวกกะโลํ

คุณมนตรี คําลือ

สันกําแพง

สันกําแพง

๖.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องเงิน

คุณสงวน ป๓ญโญสุข

สันกําแพง

สันกําแพง

ข - ๔๙


๖.๙.งานเครื่องเขิน (ไมํพบผู๎ผลิต)

๗.อาเภอสันทราย ๗.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องป๓้นดินเผา

คุณสมนึก ชัยตามูล

สันทรายหลวง

สันทราย

เครื่องป๓้นดินเผาเขียนลาย

คุณภูริดล พิมสาร

หนองหาร

สันทราย

๗.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย (ไมํพบผู๎ผลิต) ๗.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ (ไมํพบผู๎ผลิต) ๗.๔. การก่อสร้าง (ไมํพบผู๎ผลิต) ๗.๕.การเขียนหรือวาด (ไมํพบผู๎ผลิต) ๗.๖.การจักสาน (ไมํพบผู๎ผลิต)


๗.๗.การทาเครื่องกระดาษ (ไมํพบผู๎ผลิต) ๗.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องเงิน

คุณนิตยา มหานาม

สันทรายหลวง

สันทราย

๗.๙.งานเครื่องเขิน (ไมํพบผู๎ผลิต)

๘.อาเภอดอยสะเก็ด ๘.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องป๓้นดินเผา

เซลาดอนเฮ๎าส๑

ป่าป้อง

ดอยสะเก็ด

เครื่องป๓้นดินเผา

คุณอัญชลี แก๎วดวงทิพย๑

ป่าลาน

ดอยสะเก็ด

๘.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

หมอนใบชา

คุณอรพิน ไชยถา

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

ผ๎าหํมนวม

กลุํมตัดเย็บบ๎านดอกแดง

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

ผลิตภัณฑ๑ผ๎าบาติก

คุณวราดร ไชยถา

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

คุณศรีนุช คํากันศิลป์

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

หัตถกรรมผ๎าทอมือ

ข - ๕๑


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎าไทลื้อลวงใต๎

คุณพรรณี สมโพธิ

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

รองเท๎าผ๎า

คุณรังสรรค๑ อุบล

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

เสื้อผ๎าเครื่องแตํงกาย

คุณพิมพ๑จุฑา เพอร๑วิส

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

กระเป๋าผ๎า

คุณประไพ เขื่อนล๎อม

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

เสื้อผ๎าเครื่องแตํงกาย

คุณบุญชํวย อังมาภรณ๑

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

พานิช ๑๐

เสื้อผ๎าเครื่องแตํงกาย

คุณธนพรรณ ยังแสง

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

๑๑

เสื้อผ๎าเครื่องแตํงกาย

คุณพันธนันท๑ กิ่งวัฒนา

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

๑๒

พรมเช็ดเท๎าและผ๎านวม

คุณวราภรณ๑ บัวเย็น

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๑๓

กระเป๋าชาวเขา

คุณนภัสวรรณ อิ่นแก๎ว

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๑๔

โคมไฟเส๎นด๎าย

กลุํมโคมไฟเส๎นด๎ายบ๎านทุํง

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

ป่าคา ๑๕

หมอนผ๎าไหม

กลุํมผลิตภัณฑ๑บ๎านข๎างน้ํา

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๑๖

ผ๎ามํานลายป๓ก

กลุํมเกษตรบ๎านสันทราย

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๑๗

ฝ้ายจันทร๑แก๎ว

คุณสุรเดช ไพบูลย๑เสมาทัศน๑

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๑๘

เสื้อผ๎าเครื่องแตํงกาย

คุณเบญญทิพย๑ ทุมกิจจะ

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๑๙

พรมเช็ดเท๎า

คุณจันทร๑เป็ง โสภาอินทร๑

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๒๐

ผ๎าทอไตลื้อ

คุณภรภัทร สมโพธิ์

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

๒๑

เสื้อผ๎าสตรี

คุณประดับ คุณยศยิ่ง

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

๒๒

เสื้อผ๎าเครื่องแตํงกาย

คุณจงรักษ๑ พานชาตรี

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๒๓

เสื้อผ๎าเครื่องแตํงกาย

วิสาหกิจชุมชนเปิงใจ๐

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๒๔

กระเป๋าผ๎า

คุณปภาภัทร ชุติคุณานันท๑

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๒๕

ปลอกหมอน

คุณมนูญ ไชยเฉพาะ

สําราญราษฎร๑

ดอยสะเก็ด

๒๖

เสื้อผ๎าเครื่องแตํงกาย

คุณดวงเดือน ขันตี

ตลาดขวัญ

ดอยสะเก็ด

๘.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

กลํองไม๎

คุณบรรจง ดาษดาคํา

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎

คุณอุปถัมภ๑ ใจดี

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

แกะสลักจากไม๎

กลุํมหัตถกรรมแกะสลักบ๎าน

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

ยางทอง ๔

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎

วิสาหกิจชุมชนบ๎านตุ๏กตาไม๎ ลวงเหนือ

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎

คุณปริยภรณ๑ นิตยา

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎

คุณทัศนีย๑ พรหมขัติแก๎ว

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

รํมไม๎ไผํ

กลุํมรํมไม๎ไผํบ๎านป่างิ้ว

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎ไผํ

คุณณรงค๑ จามคํา

ป่าลาน

ดอยสะเก็ด

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎

คุณจํารัส เฉลียว

สําราญราษฎร๑

ดอยสะเก็ด

๑๐

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎

คุณสมศรี อินตาโย

สําราญราษฎร๑

ดอยสะเก็ด

ข - ๕๓


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

๑๑

กําไลไม๎มะมํวง

คุณอุษณีย๑กร สมภมิตร

แมํคือ

ดอยสะเก็ด

๑๒

ออมสินกะลามะพร๎าว

คุณดวงแก๎ว ไชยยาน

แมํคือ

ดอยสะเก็ด

๑๓

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎ไผํ

คุณณรงค๑ฤทธิ์ เฉียงตะวัน

แมํคือ

ดอยสะเก็ด

๑๔

เฟอรร๑นิเจอร๑ไม๎

คุณไชยวัฒน๑ ไชยซาววงค๑

ตลาดใหญํ

ดอยสะเก็ด

๑๕

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎

คุณจารุณี ไทยกรณ๑

แมํฮํอยเงิน

ดอยสะเก็ด

๘.๔. การก่อสร้าง ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ปูนป๓้นประดับ

คุณธีรวุฒิ นงค๑ยา

สงําบ๎าน

ดอยสะเก็ด

๘.๕.การเขียนหรือวาด ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑จากเปลือกไขํ

คุณบรรจง ดาษดาคํา

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๘.๖.การจักสาน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

โคมไฟหวายจักรสาน

คุณบรรจง ดาษดาคํา

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

เครื่องจักรสาน

คุณศรีนุช คํากันศิลป์

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด


๘.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลําดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ๑

เจ๎าของกิจการ

ตําบล

อําเภอ

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณบัวพิศ คําราพิช

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

วิสาหกิจชุมชนรัฐประชา

แมํคือ

ดอยสะเก็ด

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณทัศนีย๑ วุฒิเจริญ

ลวงเหนือ

ดอยสะเก็ด

คุณสกุลทิพย๑ กมลระวีพงศ๑ สําราญราษฎร๑

ดอยสะเก็ด

๘.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องเขิน

กลุํมเครื่องเขินเชิงดอย

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

เครื่องเขิน

วิสาหกิจชุมชนหัตถศิลป์

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

เครื่องเขิน

คุณสวําง ใจสม

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๘.๙.งานเครื่องเขิน (ไมํพบผู๎ผลิต)

ข - ๕๕


- ข๎อมูลผู๎สํงออกสินค๎างานหัตถกรรม (NOHMEX) โดยข๎อมูลผู๎ผลิตและสํงออกสินค๎าหัตถกรรมเชียงใหมํจากสมาคมผู๎ผลิตและผู๎สํงออกสินค๎าหัตถกรรมภาคเหนือ (NOHMEX) ซึ่งมีผลงานในเรื่องหัตถกรรมอยูํหลากหลาย ได๎จัดแบํงตามประเภทตามอําเภอดังรายละเอียด ตํอไปนี้ ๑.อาเภอเมือง ๑.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เซรามิค ศิลาดล

คุณศิริพร ชาญศิริวิริยกุล

สุเทพ

เมือง

เครื่องป๓้นดินเผา

คุณศรีสุรางค๑ ศรีศุกรี

พระสิงห๑

เมือง

๑.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎าไหม

คุณอารียา หิรัญพฤกษ๑

ช๎างเผือก

เมือง

ผ๎าไหม

คุณกุณฑลี ระพิพงษ๑

ทําศาลา

เมือง

ผลิตและจําหนํายเสื้อผ๎า

คุณสุเมธ พันธุ๑แก๎ว

ป่าแดด

เมือง

คุณศิริมา จันทัย

สุเทพ

เมือง

สําเร็จรูป ผ๎าไหม ผ๎าฝ้าย ๔

กระเป๋าผ๎า และของตกแตํง บ๎านทําจากผ๎า

ผลิตภัณฑ๑ทําจากผ๎า

คุณพลชา วิจิตรเจริญ

สุเทพ

เมือง

กระเป๋าผ๎า และแก๎วเป่า

บริษัท ฮัปปาไทย จํากัด

ทําศาลา

เมือง

ศรีภูมิ

เมือง

(HAPPA THAI CO.,LTD.) ๗

กระเป๋าผ๎าใยกัญชง

คุณกรุณา ฉัตรวงค๑วาน


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เสื้อผ๎า

คุณปฏิมา ศรีทําพระ

ช๎างคลาน

เมือง

สินค๎าหัตถกรรม

คุณพัณณ๑ชิสา พรสวํางอุดม

วัดเกต

เมือง

ป่าแดด

เมือง

๑๐

แฟชั่นลายเสื้อ เชํน เสื้อผ๎า คุณรินทร๑ลภัส ธนพันสิทธิ์ กระเป๋า เครื่องประดับ และกิ๊ฟช็อปของตกแตํงบ๎าน

๑๑

เครื่องตกแตํงสตรี

คุณทัพพ๑ สุตา

แมํเหียะ

เมือง

๑๒

ผลิตภัณฑ๑จากผ๎าฝ้ายพิมพ๑

คุณอีริค นีลส๑ เมียร๑ฮอฟ

ทําศาลา

เมือง

คุณจิรดา เลิศปริสิญ๒ู

ช๎างมํอย

เมือง

ฟ้าฮําม

เมือง

ลาย, เสื้อผ๎าเด็ก กระเป๋า และกระเป๋าเงิน ๑๓

กระเป๋าทําจากหนังและผ๎า ชาวเขา

๑๔

เครื่องเขียน/เครื่องใช๎ทําจาก คุณภัสสรมณฑ๑ ชื่นพานิชย หนังหรือผ๎า อาทิ สมุด

กุล

นามบัตร , กระเป๋า , ซอง ปากกา , ซอง โทรศัพท๑มือถือ ๑๕

ตุ๏กตาเชือก และตุ๏กตาผ๎า

คุณกัญญา ถ๎วยลาย

แมํเหียะ

เมือง

๑๖

ตุ๏กตาเชือก

คุณธนยศ สายไฮคํา

ช๎างเผือก

เมือง

๑๗

ตุ๏กตาและเพชรประดับ

คุณวรพจน๑ เชาว๑วุฒิมา

หายยา

เมือง

ข - ๕๗


๑.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ดอกไม๎ประดิษฐ๑จากไม๎

คุณวลี มีรัตน๑

วัดเกต

เมือง

สินค๎าตกแตํงบ๎านทําจากไม๎

คุณบานเย็น อักษรศรี์

ป่าแดด

เมือง

สินค๎าตกแตํงบ๎านทําจากไม๎

คุณใจฟ้า อักษรศรี

ทําศาลา

เมือง

,เครื่องเขิน ๔

ผลิตภัณฑ๑ไม๎

คุณธีร๑ ชัยธีระสุเวท

ทําศาลา

เมือง

ผลิตภัณฑ๑เปลือกไม๎

คุณวัชรี ศรีตระกูล

แมํเหียะ

เมือง

ของตกแตํงบ๎าน, เฟอร๑นิเจอร๑ไม๎

คุณสิทธิศักดิ์ เวทีประสิทธิ์

หายยา

เมือง

หมอน, ตู๎

คุณนพพร แก๎วหนิ้ว

หนองหอย

เมือง

งานโมเดลไม๎สักจากเศษไม๎

คุณจรรยาพร มันทนากุล

สุเทพ

เมือง

โรงงานเฟอร๑นิเจอร๑, เครื่องประดับเงินสุโขทัย ๙

ไม๎กวาดจากข๎าวฟ่าง

คุณภรณี ชัยศิริ

ช๎างคลาน

เมือง

๑๐

ไม๎กวาดจากข๎าวฟ่าง

คุณสายน้ําผึ้ง จุนทะเกาศลย๑

ทําศาลา

เมือง

๑๑

ของใช๎ ของตกแตํงจากไม๎และ

คุณทวีชัย บุญธรรม

ช๎างเผือก

เมือง

วัสดุธรรมชาติ, ตุ๏กตาที่ผลิตจาก เชือก ๑.๔. การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ส่งออก)


๑.๕.การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ส่งออก) ๑.๖.การจักสาน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เฟอร๑นิเจอร๑หวาย

คุณอัจฉรา วงศ๑พายัพกุล

ช๎างมํอย

เมือง

๑.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

การ๑ดอวยพร

คุณจินตนา ทองธรรมชาติ

พระสิงห๑

เมือง

ดอกไม๎ประดิษฐ๑

คุณไพรัช โตวิวัฒน๑

แมํเหียะ

เมือง

ผลิตภัณฑ๑จากกาบกล๎วย

น.ส.ปิยะนุช ชัยธีระยานนท๑

ช๎างเผือก

เมือง

๑.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องประดับ

คุณวิคตอเรีย นิมมานเห

วัดเกตุ

เมือง

มินท๑ ๒

จิวเวลลี,่ เครื่องเงิน

คุณมนตรี พัฒนาอนันต๑วงศ๑

หนองป่าครั่ง

เมือง

ทองเหลือง

คุณอมร ศรีวรกุล

หนองป่าครั่ง

เมือง

เครื่องประดับกายที่ทํา

คุณอําภาพร ศรีแทํนแก๎ว

ศรีภูมิ

เมือง

ด๎วยเงิน หรือโลหะมีคํา ประกอบอัญมณีเพชร พลอย ทุกชนิด

ข - ๕๙


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

อุปกรณ๑และเครื่องประดับ

คุณเกสร โพธิสัตย๑

ช๎างมํอย

เมือง

ทุกชนิด ๖

เครื่องประดับ

คุณชัยณรงค๑ รังคกูลนุวัติ

สุเทพ

เมือง

เครื่องประดับ

คุณกิตติมา เอกมหาชัย

ป่าแดด

เมือง

ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องเขิน, สินค๎าตกแตํง

คุณใจฟ้า อักษรศรี

ทําศาลา

เมือง

๑.๙.งานเครื่องเขิน

บ๎านทําจากไม๎

๒.อาเภอหางดง ๒.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เซรามิค

คุณสุนิดา สุขเจริญ

บ๎านแหวน

หางดง

๒.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ของที่ระลึก(พวง

คุณเปรมฤดี กุลสุ

บ๎านแหวน

หางดง

กุญแจ ตุ๏กตา,กระเป๋า ผลิตจากผ๎าทอมือ ผ๎าไหม)


๒.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑ทําจากไม๎

คุณปิยะวาท บัวจีน

สันผักหวาน

หางดง

ผลิตภัณฑ๑จากไม๎ยางพารา

คุณมิ่งขวัญ วิมลสันติโรจน๑

หนองควาย

หางดง

เฟอร๑นิเจอร๑ไม๎สัก

คุณนันทิยา วีระพันธุ๑

หนองแก๐ว

หางดง

เฟอร๑นิเจอร๑ไม๎แกะสลัก

คุณวรรณภา สุขสมเพียร

หนองแก๐ว

หางดง

ของแตํงบ๎านทําจากไม๎

คุณรุจิรา เจียระสินธุ๑กุล

บ๎านแหวน

หางดง

สินค๎าตกแตํงบ๎านทําจาก

คุณนงค๑คราญ อุปโยคิน

หนองควาย

หางดง

คุณอุไร สืบตระกูล

หางดง

หางดง

ไม๎ ๗

สินค๎าตกแตํงบ๎านทําจาก ไม๎

ไม๎มะมํวงและหัตถกรรม

คุณชัชรัณ คลศรีชัย

หนองแก๐ว

หางดง

ของขวัญ, ของตกแตํงบ๎าน

คุณเดือนแรม ทิพละ

บ๎านแหวน

หางดง

คุณปราณี ฝ่ายริพล

บ๎านแหวน

หางดง

ทําจากไม๎, เฟอร๑นิเจอร๑ชิ้น เล็ก ๑๐

ไม๎แกะสลัก, เฟอร๑นิเจอร๑ ไม๎

๑๑

ม๎าโยก

คุณสุรพล อัศวเศรฐ๑โกวิท

หนองแก๐ว

หางดง

๑๒

ของตกแตํงบ๎านทําจากไม๎,

คุณประเสริฐ คิ้วดวงตา

หนองแก๐ว

หางดง

คุณชนัดดา จาคะมณี

หนองแก๐ว

หางดง

ทองเหลือง และ เครื่องป๓้นดินเผา ๑๓

เฟอร๑นิเจอร๑ไม๎

ข - ๖๑


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

๑๔

ของตกแตํงบ๎าน,

คุณสมชาติ กุญชร

หนองแก๐ว

หางดง

ผลิตภัณฑ๑ของขวัญ และ

บริษัท อาร๑ติซาน อินเตอร๑

บ๎านแหวน

หางดง

แตํงบ๎านทําจากไม๎

เทรด จํากัด (ARTISAN

กระดาษสา ผ๎า

INTERTRADE CO.,LTD.)

เฟอร๑นิเจอร๑ไม๎ ๑๕

๒.๔. การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ส่งออก) ๒.๕.การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ส่งออก) ๒.๖.การจักสาน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑จากเสื่อตาตามิ

คุณวิรัลพัชร ชิมาดะ

หนองควาย

หางดง

ตะกร๎าสาน

คุณทิฆัมพร คอช

บ๎านแหวน

หางดง

แอนติค,จักสาน

นางพิชญ๑ตะวัน ดวงดาว

บ๎านแหวน

หางดง

ผลิตภัณฑ๑เครื่องจักสาน

นางชบาไพร กัลยาณมิตร

ขุนคง

หางดง

เฟอร๑นิเจอร๑ หวาย

น.ส.นิชาน๑ จําเกิด

น้ําแพรํ

หางดง

๒.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณบุญนาค โจนส๑

น้ําแพรํ

หางดง


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑จากใบบัว

คุณสุจิต ฉิ่นยี่

บ๎านแหวน

หางดง

๒.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎าพันคอ, เสื้อผ๎าจากผ๎า

คุณภัคจิรา เจริญสุข

ขุนคง

หางดง

ไหมและเครื่องประดับ ๒.๙.งานเครื่องเขิน (ไม่มีผู้ส่งออก)

๓.อาเภอสารภี ๓.๑.งานปั้น / งานหล่อ (ไม่มีผู้ส่งออก) ๓.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎าไหมยกทอง

คุณดํารง มํวงเลี่ยม

ไชยสถาน

สารภี

กลํองผ๎าไหมของขวัญ

คุณประกิตต๑ โกสุรัตน๑

หนองผึ้ง

สารภี

๓.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

สินค๎าตกแตํงบ๎านทําจาก

คุณมานพ ชาวเมือง

ทําวังตาล

สารภี

ข - ๖๓


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

คุณกัลยา พรสมบูรณ๑กิจ

หนองผึ้ง

สารภี

ไม๎เกํา ๒

ของตกแตํงบ๎าน

๓.๔. การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ส่งออก) ๓.๕.การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ส่งออก) ๓.๖.การจักสาน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

กระเป๋าผักตบชวา

คุณวิชัย ไพจิตรกาญกุล

หนองผึ้ง

สารภี

กระเป๋ากระจูด ไม๎ไผํ ปาหนัน หวาย ๓.๗.การทาเครื่องกระดาษ (ไม่มีผู้ส่งออก) ๓.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไม่มีผู้ส่งออก) ๓.๙.งานเครื่องเขิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องเขิน,ของประดับ

บริษัท ลอยฟ้า คอลเลคชั่น

ทําวังตาล

สารภี

ตกแตํง

จํากัด (LOYFAR CO.,LTD.)


๔.อาเภอสันป่าตอง ๔.๑.งานปั้น / งานหล่อ (ไม่มีผู้ส่งออก) ๔.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย (ไม่มีผู้ส่งออก) ๔.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

โคมไฟ และสินค๎าของ

คุณนพพร แก๎วหนิ้ว

ทุํงต๎อม

สันป่าตอง

ตกแตํงบ๎าน ๔.๔. การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ส่งออก) ๔.๕.การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ส่งออก) ๔.๖.การจักสาน (ไม่มีผู้ส่งออก) ๔.๗.การทาเครื่องกระดาษ (ไม่มีผู้ส่งออก) ๔.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไม่มีผู้ส่งออก) ข - ๖๕


๔.๙.งานเครื่องเขิน (ไม่มีผู้ส่งออก)

๕.อาเภอแม่ริม ๕.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เซรามิค

คุณมะลิวัลย๑ คันธราษฎร๑

ดอนแก๎ว

แมํริม

๕.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

สปาโปรดักซ๑, กลํองผ๎าไหม

คุณนันทนา สิทธิชัยธนะ

ริมใต๎

แมํริม

กิจ ๕.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เฟอร๑นิเจอร๑

คุณสิทธิโชค พนายางกูร

ดอนแก๎ว

แมํริม

๕.๔. การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ส่งออก) ๕.๕.การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ส่งออก) ๕.๖.การจักสาน


(ไม่มีผู้ส่งออก) ๕.๗.การทาเครื่องกระดาษ (ไม่มีผู้ส่งออก) ๕.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไม่มีผู้ส่งออก) ๕.๙.งานเครื่องเขิน (ไม่มีผู้ส่งออก)

๖.อาเภอสันกาแพง ๖.๑.งานปั้น / งานหล่อ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ศิลาดล, เซรามิค

คุณเพ็ญพรรณ วังวิวัฒน๑

ต๎นเปา

สันกําแพง

เครื่องป๓้นดินเผาของตกแตํง

คุณอัมพร ขันชัยทิศ

ต๎นเปา

สันกําแพง

บ๎าน และของใช๎บนโต๏ะอาหาร

๖.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผ๎าฝ้าย, ผ๎าไหม

คุณวีรพรรณ เพียรกุศล

สันกลาง

สันกําแพง

ของแตํงบ๎านทําด๎วยผ๎า

คุณธัญลักษณ๑ ตามไท

สันกําแพง

สันกําแพง

ข - ๖๗


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

พรมแตํงบ๎าน,พรมเช็ดเท๎า,

คุณทศพล ปาติยเสวี

บวกค๎าง

สันกําแพง

หมอนอิง, เบาะนั่ง,โคมไฟ, ผ๎าคลุมเตียง, มํานบังตา ๔

เสื้อผ๎าสําเร็จรูป

คุณนวรัตน๑ ชุมภูคํา

ร๎องวัวแดง

สันกําแพง

อุปกรณ๑เครื่องใช๎สํานักงาน

คุณมรกต ยศธํารง

สันกลาง

สันกําแพง

ทําจากหนัง และผ๎า, กระเป๋าและของตกแตํงทํา จากหนังและผ๎า

๖.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ไม๎แกะสลัก

คุณปกรณ๑ บูรณุปกรณ๑

ต๎นเปา

สันกําแพง

ของเลํนไม๎ยางพารา

คุณณพงษ๑ สงวนนภาพร

ต๎นเปา

สันกําแพง

ผลิตภัณฑ๑ไม๎มะมํวง

คุณเริงฤทธิ์ ตรียานุรักษ๑

สันกําแพง

สันกําแพง

ผลิตภัณฑ๑ไม๎มะมํวง

คุณพิทักษ๑ อินทวงศ๑

ต๎นเปา

สันกําแพง

เกมส๑ทําจากไม๎

คุณวุฒิชัย ธรรมฐิติพงศ๑

ร๎องวัวแดง

สันกําแพง

ผลิตภัณฑ๑ไม๎มะมํวง, ตุ๏กตา

คุณวัฒนพงษ๑ รัตน๑ชัยศิลป์

สันกําแพง

สันกําแพง

คุณสังวร ลานยศ

สันกําแพง

สันกําแพง

ไม๎ ๗

ของตกแตํงบ๎านทําจากไม๎


ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ของใช๎ ของตกแตํงบ๎าน

คุณวิภาดา สุธิยะ

ห๎วยทราย

สันกําแพง

๖.๔. การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ส่งออก) ๖.๕.การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ส่งออก) ๖.๖.การจักสาน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

กระเป๋าสาน

นางสุวรรณนา วงค๑ใหมํ

ต๎นเปา

สันกําแพง

๖.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

รํมไม๎ไผํ, พัด และผลิตภัณฑ๑

คุณกัณณิกา บัวจีน

ต๎นเปา

สันกําแพง

จากกระดาษสา ๒

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณทวี เทพป๓ญญา

ต๎นเปา

สันกําแพง

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณธรินทร๑ญา สุภาษา

ต๎นเปา

สันกําแพง

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณภูมิสันต๑ จีวิพันธ๑พงษ๑

สันกําแพง

สันกําแพง

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณสังวร ลานยศ

สันกําแพง

สันกําแพง

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณฉัตรฐิมา ปิงพยอม

ต๎นเปา

สันกําแพง

ดอกไม๎ประดิษฐ๑ทําด๎วยมือ, คุณเสวิตา รัชตศรีประเสริฐ

ต๎นเปา

สันกําแพง

ของตกแตํงคริสต๑มาส, การ๑ด ข - ๖๙


อวยพร, ของขวัญทําจาก กระดาษ ๖.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องเงิน

คุณเติมศักดิ์ อินทนนท๑

สันกลาง

สันกําแพง

ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เครื่องเขิน

คุณฐิติยา ตันติพาณิชย๑

สันกลาง

สันกําแพง

๖.๙.งานเครื่องเขิน


๗.อาเภอสันทราย ๗.๑.งานปั้น / งานหล่อ (ไม่มีผู้ส่งออก) ๗.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ชุดนอนผ๎าคอตตอน

คุณณีราวรรณ๑ วอลเลอร๑

หนองจ๏อม

สันทราย

ผลิตภัณฑ๑ผ๎าฝ้าย

คุณดาว แสงบุญ

หนองหาร

สันทราย

กลํองผ๎าไหม

คุณอณัญญา อําพนพรรณ

สันทรายน๎อย

สันทราย

๗.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

เฟอร๑นิเจอร๑ไม๎

คุณภูวนาภ ดํารงพร

สันนาเม็ง

สันทราย

๗.๔. การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ส่งออก) ๗.๕.การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ส่งออก)

ข - ๗๑


๗.๖.การจักสาน ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

กระเป๋าและของตกแตํงบ๎าน

คุณมัลลิกา รํวมพิทักษ๑กุล

สันทรายน๎อย

สันทราย

จากวัสดุธรรมชาติ ๗.๗.การทาเครื่องกระดาษ (ไม่มีผู้ส่งออก) ๗.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไม่มีผู้ส่งออก) ๗.๙.งานเครื่องเขิน (ไม่มีผู้ส่งออก)

๘.อาเภอดอยสะเก็ด ๘.๑.งานปั้น / งานหล่อ (ไม่มีผู้ส่งออก) ๘.๒.การทอผ้า / เย็บปักถักร้อย ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ของแตํงบ๎าน

คุณรัตติกร อินทรเกษตร

สันปูเลย

ดอยสะเก็ด

๘.๓.งานไม้แกะ / ผลิตภัณฑ์จากไม้ (ไม่มีผู้ส่งออก)


๘.๔. การก่อสร้าง (ไม่มีผู้ส่งออก) ๘.๕.การเขียนหรือวาด (ไม่มีผู้ส่งออก) ๘.๖.การจักสาน (ไม่มีผู้ส่งออก) ๘.๗.การทาเครื่องกระดาษ ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

เจ้าของกิจการ

ตาบล

อาเภอ

ผลิตภัณฑ๑จากกระดาษสา

คุณปิยะนันท๑ มหานุภาพ

เชิงดอย

ดอยสะเก็ด

๘.๘.งานบุดุนโลหะ / เครื่องเงิน (ไม่มีผู้ส่งออก) ๘.๙.งานเครื่องเขิน (ไม่มีผู้ส่งออก)

ข - ๗๓


กิจกรรมครั้งที่ ๑ การจัดประชุมสัมมนาประกอบการจัดนิทรรศการเพิ่มเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ การ ส่งเสริมงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) โดยเป็นเครือข่ายสมาชิก สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Afrt) คณะผู้จัดทาได้ ออกแบบสัญลักษณ์โครงการ และความหมายของสัญลักษณ์โครงการ รวมถึงขั้นตอนในการทางานในกิจกรรม ครั้งนี้ที่จัดขึ้นในวันเสาร์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ หอศิลปวัฒ นธรรมเมืองเชียงใหม่ เพื่อเป็นการสร้างเวที แลกเปลี่ยนทัศนะ และ ระดมความคิดเห็ นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ การทางานแบบบูรณาการและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชน ให้ร่วมเป็นกลไก การสร้างรากฐานความมั่นคงแก่เมืองเชียงใหม่ คณะผู้ทางานมีขั้นตอนการทางานดังต่อไปนี้ ๑. การออกแบบสัญลักษณ์ โ ครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํเป็น เครื อขํา ยเมืองสร๎ า งสรรค์ของ องค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art)

“ นกกินน้​้ารํวมต๎น ” นก หรื อ หงส์ เป็ น รูป สั ตว์มงคลทั้งในชีวิตจริงและในจินตนาการ ที่สื่ อถึงป่าหิ มพานต์ในคติเรื่อง จักรวาล สื่อความหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ การมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างรักใคร่สามัคคี มีความมั่นคง และยั่งยืน เปรียบเสมือนกับผู้คนที่มาจากต่างที่ ต่างถิ่น ต่างภูมิลาเนา ได้มาอยู่ร่วมกัน เพื่อสร้างสรรค์งานหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้านด้วยความร่วมมือร่วมใจ เพื่อให้งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดเชียงใหม่ เจริญ สืบไปอย่างมั่นคงและยั่งยืน

ค-๑


๒. ป้ายประชาสัมพันธ์ (Posters) ที่จัดขึ้นในวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗


๓. บัตรเชิญผู๎รํวมงาน

ค-๓


๔. ก้าหนดการประชุมการสร๎างความเข๎าใจและแนวทางการรํวมมือแบบบูรณาการ กําหนด การประชุม การสร้างความเข้าใจและแนวทางการร่วมมือแบบบูรณาการ : โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน (Crafts and Folk Art) ณ หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ ถ. พระปกเกล้า เสาร์ ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๐๐ ลงทะเบียน ๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๐ วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑๓.๑๐ - ๑๓.๔๐ แนวคิดเรื่องเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ โดยนายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ๑๓.๔๐ - ๑๔.๔๐ การบูรณาการงานสร้างสรรค์ด้านศิลปะพื้นบ้านและงานหัตถกรรม นายสมควร ช่อมาลี พัฒนาการจังหวัดเชียงใหม่ ผศ. สุรพงษ์ เลิศทัศนีย์ สวทช. ภาคเหนือ ดร. ก้องภู นิมานันท์ โครงการ Chiang Mai Creative city ๑๔.๔๐ - ๑๕.๑๐ พัก ชมนิทรรศการ “เชียงใหม่เมืองหัตถศิลป์สร้างสรรค์” ๑๕.๑๐ - ๑๕.๔๐ ความพร้อมที่เกี่ยวกับเมืองสร้างสรรค์ด้านศิลปะพื้นบ้านและงานหัตถกรรม ดร. วิถี พานิชพันธ์ ด้านการศึกษาศิลปะพืน้ บ้าน ๑๕.๔๐ - ๑๖.๒๐ แนวคิ ด เรื่อ ง องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น กั บ การสร้ า งสภาพแวดล้ อ ม สร้างสรรค์เพื่อกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรม รศ. ดร. ยงธนิศร์ พิมลเสถียร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ การผัง เมืองมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๑๖.๒๐ - ๑๗.๐๐ ระดมความคิดแนวทางความร่วมมือแบบบูรณาการ ศ. ดร. อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์ รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ๑๗.๓๐ เปิดงานแถลงข่าว โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน โดย นายสุริยะ ประสาทบัณฑิตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ , รศ. นพ. อานาจ อยูส่ ุข ณ ลานหอประวัตศิ าสตร์ เมืองเชียงใหม่ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ๐๘๑-๗๘๓-๘๘๙๔ หรือ นางสาวอรกัญญา อินทวงศ์ ๐๙๕-๖๗๕-๑๓๑๔ โทรสาร ๐๕๓-๒๑๑-๗๒๔, ๐๕๓-๙๔-๔๘๔๙ หรือ woralun@gmail.com หรือ chiangmaiccfa@gmail.com


๕. การออกแบบผลิตภัณฑ์ ของที่ระลึกเกี่ยวกับโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํเป็นเครือขํายเมือง สร๎างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน (Crafts and Folk Art)

ค-๕


๖. บรรยากาศภายในงาน ๖.๑ ลงทะเบียนพร๎อมของที่ระลึกจากโครงการซึ่งทางโครงการได๎มีการมอบกระเป๋า แฟ้ม สมุด ดินสอ ที่แทนสัญลักษณ์ของโครงการ


๖.๒ บรรยากาศภายในห๎องประชุม

ค-๗


๖.๓ การกลําวเปิดงานโดย รศ.ดร. วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์ ประธานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํ เป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ๎าน


๖.๔ บรรยากาศของการประชุม แลกเปลี่ยนทัศนะและระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา เมืองเชียงใหมํ แนวคิดเรื่องเชียงใหมํเมืองสร๎างสรรค์ขององค์การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ โดย นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริหารสํวนจังหวัดเชียงใหมํ

๖.๕ การบูรณาการงานสร๎างสรรค์ด๎านศิลปะพื้นบ๎านและงานหัตถกรรม โดย นายสมควร ชํอมาลี พัฒนาการจังหวัดเชียงใหมํ ผศ. สุรพงษ์ เลิศทัศนีย์ สวทช. ภาคเหนือ และ ดร. ก๎องภู นิมานันท์ โครงการ Chiang Mai Creative city

ค-๙


๖.๖ การจัดของวํางส้าหรับผู๎เข๎ารํวมงาน โดยน้าผลิตภัณฑ์ที่ได๎จากชุมชนน้ามาใช๎เป็น การบรรจุขนม และยังมีการน้าสัญลักษณ์ของโครงการที่เป็นรูปนกกินน้​้ารํวมต๎น โดยคณะท้างานได๎แทนสัญลักษณ์ โดยการน้านกที่ได๎จากการจักสานรวมถึงบรรจุภัณฑ์ ที่แทนความโดดเดํนในเรื่องของงานหัตถกรรม และได๎มีการน้าขนมที่ผลิตโดยชุมชนเข๎ามามีสํวนรํวมในการจัดกิจกรรมครั้งนี้


๖.๗ ผู๎รํวมงานทุกทําน ชมนิทรรศการ “เชียงใหมํเมืองหัตถศิลป์สร๎างสรรค์

ค - ๑๑


๖.๘ ความพร๎อมที่เกี่ยวกับเมืองสร๎างสรรค์ด๎านศิลปะพื้นบ๎านและงานหัตถกรรม โดย ดร. วิถี พานิช พันธ์ ด๎านการศึกษาศิลปะพื้นบ๎าน

๖.๙ แนวคิดเรื่อง องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นกับการสร๎างสภาพแวดล๎อมสร๎างสรรค์เพื่อกระตุ๎นให๎ เกิดนวัตกรรม โดย รศ. ดร. ยงธนิศร์ พิมลเสถียร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


๖.๑๐ ระดมความคิดแนวทางความรํวมมือแบบบูรณาการ โดย ศ. ดร. อนุรักษ์ ปัญญานุวัตร และ รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์

ค - ๑๓


๖.๑๑ การถํายภาพรํวมกันกับวิทยากร หนํวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน

๖.๑๒ บรรยากาศบริเวณงาน ชั้น ๒ หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหมํ


๖.๑๓ เปิดงานและแถลงขําว โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมํเป็นเครือขํายเมืองสร๎างสรรค์ของ องค์การ UNESCO ด๎านศิลปะพื้นบ๎านและงานหัตถกรรม รอบสื่อมวลชน

ค - ๑๕


๖.๑๔ เปิดงานแถลงข่าวโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านศิลปะพื้นบ้านและงานหัตถกรรมจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ระหว่างเวลา ๑๓.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. ณ หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่


๖.๑๕ การน้าสัญลักษณ์ของโครงการ ซึ่งได๎แกํ นกจักสานเป็นสัญลักษณ์ของนกกินน้​้ารํวมต๎น โดย ให๎แกํหนํวยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน รํวมกันปักนกในพิธีเปิดงานแถลงขําวเปิดโครงการ

๖.๑๖ การแสดงจากนักศึกษา คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ และสถาบันการศึกษาจาก จังหวัดเชียงใหมํ พร๎อมการจัดกาดหมั้ว ซึ่งมีอาหารจากชุมชนตํางในจังหวัดเชียงใหมํมาจัดแสดงครั้ง นี้

ค - ๑๗


คณะทางานได้จัดประชุมสัมมนาเรื่องการสร้างความเข้าใจและแนวทางการร่วมมือแบบบูรณาการ : โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO การจัดการประชุมและ ร่วมเปิดงานแถลงข่าวโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านศิลปะพื้นบ้านและงานหัตถกรรมจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ระหว่างเวลา ๑๓.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๒ ของ หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ เพื่อเป็นการสร้างเวทีแลกเปลี่ยนทัศนะ ระดม


ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการบูรณาการการพัฒนาเชียงใหม่สู่เมืองสร้างสรรค์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ ทางานแบบบูรณาการและสร้างความร่วมมื อแก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชนให้ร่วมเป็นกลไกในการ สร้างรากฐานความมั่งคงแก่เมืองเชียงใหม่ เพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็นเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ อันจะ เอื้อต่อการพัฒนาเมือง สร้างอาชีพ สร้างรายได้และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ประชาชนของเมืองเชียงใหม่ และประเทศในอนาคตและได้มีการแถลงข่าวเปิดตัว โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ในเวลา ๑๗.๓๐ ณ ลานหอประวัติศาสตร์ ถ. พระปกเกล้า ซึ่งมีผู้เข้าร่วมทั้งหน่วยงานภาครัฐ และ เอกชน ชุมชน วิสาหกิจ ตลอดจนประชาชนผู้สนใจใน งานหัตถกรรมของเมืองเชียงใหม่ ซึ่งในการจัดงานครั้งนี้ มีผู้สนใจเข้าร่วมจานวน ๘๕๐ คน

ค - ๑๙


กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมครั้งที่ ๒ เป็นการจัดทาโครงการประกวดผลิตภัณฑ์ต้นแบบการจัดกิจกรรมประกวดออกแบบ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ หั ต ถกรรมชุ ม ชนในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ “โครงการขั บ เคลื่ อ นเมื อ งเชี ย งใหม่ เ ป็ น เครื อ ข่ า ยเมื อ ง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) )” มีเนื้อหาใน การอนุรักษ์ สืบสาน และพัฒนางานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน โดยมุ่งเน้นให้เกิดการตระหนักคิดถึงแนวทาง ในการอนุ รักษ์หั ตถกรรมและศิลปะพื้น บ้าน รวมถึงพัฒ นารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้ สอดคล้ องกับรากฐานทาง วัฒนธรรมดั้งเดิม และสามารถต่อยอดไปสู่นวัตกรรมที่ทันสมัยได้ กอปร กับการสร้างเครือข่ายในการกระตุ้น องค์ความรู้ ที่ได้สืบ ทอดมาช้านาน เพื่อหาแนวทางในการเพิ่มพูนความเข้าใจ และเห็นถึงคุณค่าทางมรดก วัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ ผู้สร้างสรรค์ผลงาน สามารถนาเสนอและแสดงออกถึงผลงานที่จะจัดส่งเข้า ประกวดได้อย่างอิสระ ภายใต้แนวคิดในการอนุรักษ์ สืบสาน และพัฒนางานหัตถกรรมและศิ ลปะพื้นบ้าน ของ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้สนใจเข้าร่วมการสมัคร จานวน ๑๕๐ คน ซึ่งได้จัดการอบรมเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ ของโครงการ ในวันอาทิตย์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ เวลา ๐๙.๐๐ ๑๒.๐๐ น. คณะผู้จัดทาได้จัดทาโครงการประกวดผลิตภัณฑ์ต้นแบบการจัดกิจกรรมประกวดออกแบบหัตถกรรม ออกเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ประเภทงานคัวตอง งานเครื่องเขิน และ งานจักสาน โดยได้จาทาขั้นตอนการสมัคร จนถึงการจัดอบรมเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน” ในวันอาทิตย์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ โดยคณะ ผู้จัดทาได้จัดทาขั้นตอนการประกวดและอบรมดังต่อไปนี้


๑. การจัดทาป้ายประชาสัมพันธ์

ค - ๒๑


๒. กาหนดการและใบสมัครการประกวดออกแบบผลิตภัณฑ์


ค - ๒๓



ค - ๒๕



๓. การจัดอบรมเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ ในวันอาทิตย์ ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ หอศิลป เมืองเชียงใหม่ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น ๓.๑ บรรยากาศภายในห้องประชุม

ค - ๒๗


กิจกรรมครั้งที่ ๓ การจัดประชุมสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็น “เสียง –สรรค์-สร้าง” ในวัน เสาร์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ยุ้งข้าวล้านนา (หลองข้าวลา) ตาบลหนองผึ้ง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเวลา ๐๙.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. การจัดงานระดมความคิดจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเพื่อนามาสู่การวางแผนงาน ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน และเชื่อมโยงเครือข่ายของผู้ส่งออก ผู้ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับนโยบาย ของเมือง และงานหัตถกรรมรวมถึงศิลปะพื้นบ้าน โดยมีผู้ร่วมงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนผู้ผลิตและ มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม จานวน ๕๐ คน คณะผู้จัดทาได้มีขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้ ๑. การจัดประชาสัมพันธ์ กิจกรรม เสียง – สรรค์ – สร้าง


๒. กาหนดการในการจัดกิจกรรม

ค - ๒๙


๓. บรรยากาศการจัดกิจกรรม ณ หลองข้าวลา (ยุ้งข้าวล้านนา) ในวันเสาร์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ๓.๑ การลงทะเบียน

๓.๒ เปิดงานระดมความคิดเห็นที่มีผู้เข้าระดมความคิดเห็นจากตัวแทนของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ตลอดจนเยาวชนรุ่นใหม่ที่สนใจในงานหัตถกรรม


๓.๓ การแบ่งกลุ่มระดมความคิดเห็นโดยการแยก จากหน่วยงานภาครัฐ และ กลุ่มชุมชน วิสาหกิจ ครูภูมิปัญญา

ค - ๓๑



กิจกรรมที่ ๔ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับเยาวชน (Crafts with Hearth for Young Gens) องค์การ บริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้กาหนดจัด กิจกรรม ประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับเยาวชน ในโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ในวัน เสาร์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ โรงละคร หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ วันอาทิตย์ที่ ๒๓ พฤศจิกายน ณ ห้อง ประชุมรวม ชั้น ๔ อาคารออกแบบ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างเวลา ๐๙.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ โรงละคร หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ห้องประชุมรวม ชั้น ๔ อาคาร ออกแบบ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การจัดกิจกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแนวทางในการ เพิ่มพูนความเข้าใจและพัฒนาความรู้งานหัตถกรรมของชุมชน การสร้างแรงบันดาลใจ และเชื่อมโยงเครือข่าย ด้ า นหั ต ถกรรมและศิ ล ปะพื้ น บ้ า นกั บ คนรุ่ น ใหม่ โดยมี เ ยาวชนจากสถาบั น การศึ ก ษา ทั้ ง นั ก ศึ ก ษา จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จานวน ๒๐๐ คน โดยคณะผู้จัดทาได้มี ขั้นตอนในการจัดกิจกรรมดังนี้ ๑. การประชาสัมพันธ์

ค - ๓๓


๒. คณะผู้ทางานได้จัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการออก เป็น ๒ วัน คือ วันเสาร์ ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ โรงละคร หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีการจัดกิจกรรมเชิง ปฏิบัติการจากกลุ่มนักดีไซน์เนอร์ รุ่นใหม่ของจังหวัดเชียงใหม่ มาช่วยในการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ให้กับเยาวชนรุ่นใหม่ที่สนใจ ทั้ง นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา ดังนี้ ๒.๑ อบรมเชิงปฏิบัติการโดยนักออแบบรุ่นใหม่ของจังหวัดเชียงใหม่ คุณ ปิยะนันท์ ลานยศ และ อาจารย์ ศราวุท รูปิน อาจารย์คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มาให้ความรู้ในเรื่องของการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่ผสมผสานกับงานหัตถกรรมของจังหวัดเชียงใหม่


๒.๒ ผู้อบรมได้เดินทางไปยัง บ้านข้างวัด เพื่อดูถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ร่วมสมัย

ค - ๓๕


๒.๓ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเยาวชนรุ่นใหม่ในเรื่องของงานหัตถกรรม

๓. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการในวันอาทิตย์ที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ชั้น ๔ ณ ห้องอาคาร เรียนรวม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยการจัดอบรมในวันนี้ได้ มีนักออกแบบรุ่นใหม่ของ ประเทศไทย คุณ ศรันย์ อยู่คงดี ได้จัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ ให้กับเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อเป็นแรง บันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานต่อไป


ค - ๓๗


กิจกรรมครั้งที่ ๕ การจัดแสดงนิทรรศการผลงานผลิตภัณฑ์ต้นแบบ (Crafts With Hearth) ในวัน อาทิตย์ที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ หอศิลปะเมืองเชียงใหม่ เวลา ๑๖.๐๐ น . เป็นต้นไป ณ ลานหอประวัติศาสตร์เมือง เชี ย งใหม่ (หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมเมื องเชี ย งใหม่ ) การจั ดกิ จกรรมครั้ งนี้ มีวั ตถุ ประสงค์ เ พื่อ แสดงผลงานการ สร้างสรรค์ งานหัตถกรรมของครูภูมิปัญญา และเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อแสดงความสามารถในการออกแบบ สร้างสรรค์ใหม่จ ากภูมิปัญญาหัตถกรรมดั้งเดิมของชาวเชียงใหม่ และล้านนา พร้อมกับการเปิดโอกาสให้ เยาวชนสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมที่สอดคล้ องกับชีวิตสมัยใหม่ อันเป็นการสร้างแนวทางในการต่อยอด หัตถกรรมท้องถิ่นสู่โลกปัจจุบัน รวมถึงการระดมพลังสร้างสรรค์ เพื่อโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็น เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) โดยมีหน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน สื่อมวลชน ครูภูมิปัญญา เยาวชนรุ่นใหม่จากสถาบันการศึกษาของจังหวัดเชียงใหม่ ชุมชน และวิสาหกิจ ตลอดจนประชาชนผู้สนใจในงานหัตถกรรม ได้เข้ามาร่วมในกิจกรรมครั้งนี้ จานวน ๓๗๒ คน โดยคณะทางานได้มีขั้นตอนในการจัดกิจกรรมดังนี้ ๑. ๒การจัดทาป้ายประชาสัมพันธ์ และกาหนดการเปิดงานนิทรรศการหัตถกรรมสร้างสรรค์จาก ครูภูมิปัญญา

ค - ๓๘


กาหนดการเปิดงานนิทรรศการหัตถกรรมสร้างสรรค์ จากครูภูมิปัญญา และ เยาวชนรุ่นใหม่ (Crafts with Heart) พร้อมระดมพลังโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) ในวันอาทิตย์ ที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐-๒๐.๐๐ น. ณ หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่

********************** เวลา ๑๖.๐๐ น. เวลา ๑๖.๓๐ น. เวลา ๑๖.๔๕ น.

เวลา ๑๗.๐๐ น.

เวลา ๑๗.๑๕ น.

เวลา ๑๗.๓๐ น. เวลา ๑๗.๔๕ น.

ลงทะเบียน ณ จุดลงทะเบียน นายกองค์ ก ารบริหารส่ว นจัง หวัด เชีย งใหม่ ประธานในพิ ธีเ ดิ นทาง มาถึง รองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญ จก์ บุณยสุรัตน์ ที่ป รึกษาโครงการ กล่ า วรายงานที่ ม าและกิ จ กรรมภายใต้ โ ครงการขั บ เคลื่ อ นเมื อ ง เชียงใหม่เ ป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์ก ร UNESCO (สาขา หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) โดยมีกิจกรรมที่ผ่านมา - การประกวดงานหัตถกรรมต้นแบบ - การจัดอบรมผู้เข้าประกวดออกแบบผลิตภัณฑ์ - งานระดมความคิด “เสียง-สรรค์-สร้าง” - กิจกรรม “Crafts with Heart for Yong Gen” เปิ ด งานนิ ท รรศการหั ต ถกรรมสร้ า งสรรค์ จากครู ภู มิปั ญ ญา และ เยาวชนรุ่นใหม่ (Crafts with Heart) โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรม และศิลปะพืน้ บ้าน) โดย นายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ มอบรางวัลแก่ผู้ชนะการ ประกวด และผู้ เ ข้ า ร่ ว มการประกวดกิ จ กรรม “ประกวดออกแบบ ผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมชุมชน” ภายใต้โครงการขับเคลื่อนเชียงใหม่เป็น เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์กร UNESCO (สาขาหัตถกรรมและ ศิลปะพืน้ บ้าน) มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม “Crafts with Heart for Young Gen” ระดมพลังขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของ องค์ ก ร UNESCO (สาขาหั ต ถกรรมและศิ ล ปะพื้ น บ้ า น) และ ชม นิทรรศการหัตถกรรมสร้างสรรค์ จากครูภูมิปัญญา และ เยาวชนรุ่น ใหม่ (Crafts with Heart) ค - ๓๙


๒. บรรยากาศภายในงาน ผลงานหัตถกรรมสร้างสรรค์จากครูภูมิปัญญาและเยาวชนรุ่นใหม่ ใน โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่สู่เมืองหัตถกรรม ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน ๒.๑ คณะต้อนรับ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

๒.๒ จุดลงทะเบียน

ค - ๔๐


๒.๓ กิจกรรมต้อนรับจากกลุ่มนักแสดง Sounthern Breeze

๒.๔ การมอบประกาศณียบัตร ให้กับผู้ที่ได้รับรางวัลการประกวดผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

ค - ๔๑


๒.๕ ผลงานจากการจัดประกวดผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

ค - ๔๒


๒.๖ ตุ๊ ก ตาต้ น แบบของโครงการขั บ เคลื่ อ นเมื อ งเชี ย งใหม่ เ ป็ น เครื อ ข่ า ยเมื อ ง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน)

ค - ๔๓


ค - ๔๔



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.