รายงานฉบับสมบูรณ์ Final Report โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็ นเครื อข่ ายเมืองสร้ างสรรค์ ขององค์ การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้ าน
เสนอต่อ องค์ การบริหารส่ วนจังหวัดเชียงใหม่ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มีนาคม 2562
ค�ำน�ำ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ มีพนั ธกิจส�าคัญในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ในหลากหลายด้านทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของจังหวัด เชียงใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ตระหนักและเล็งเห็นความส�าคัญของการ พัฒนาเมืองเชียงใหม่อย่างยั่งยืนที่เกิดขึ้น จากการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน จึงได้สนับสนุนโครงการ ขับเคลือ่ นเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน มาตั้งแต่ปี 2557 โครงการดังกล่าวมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ในการขับเคลื่อนงานหัตถกรรมและศิลปะพื้น บ้านเพื่อมุ่งตอบสนองนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ Creative Economy ของรัฐบาล ซึ่งได้รับการตอบรับจาก ประชาชนชาวเมืองเชียงใหม่ด้วยดีตลอดมา ทั้งนี้การด�าเนินการมีมาอย่างต่อเนื่อง ในหลายส่วนทั้งในส่วนการ ศึกษา และในส่วนของการด�าเนินการเรื่องการสมัคร ได้แก่ 1) การศึกษาวิจัยองค์ความรู้ที่เกี่ยวเนื่องกับสถานภาพของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านในอ�าเภอ ต่างๆ ของจังหวัดเชียงใหม่ 2) การพัฒนาส่งเสริม ต่อยอดงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ผ่านกระบวนการอบรม 3) การสร้างเครือข่ายกับเมืองสร้างสรรค์ในประเทศอืน่ ๆ รวมถึงการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง 4) การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ความรู้ที่เกี่ยวกับหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน 5) การสร้างพื้นที่สาธารณะ (Creative Space) เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการด้านหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน ต่อมาในวันที่ 31 ตุลาคม 2560 ที่ผ่านมา เมืองเชียงใหม่ได้รับการประกาศจากองค์การ UNESCO ให้ เป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน และได้รับตราสัญลักษณ์ (Logo) ของ เมืองเชียงใหม่ที่ได้รับการออกแบบจากองค์การ UNESCO ให้ใช้ได้อย่างเป็นทางการ น�าความยินดีให้แก่จังหวัด เชียงใหม่และประเทศไทย ซึง่ การได้เป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์น ี้ มิได้เป็นเพียงการได้รบั การยกย่องแล้วก็จบสิน้ โครงการ หากแต่เป็นพันธสัญญาระดับโลกระหว่างเมืองเชียงใหม่ และองค์การ UNESCO ว่าเมืองเชียงใหม่สัญญาว่าจะมี การจัดการเมืองด้วยวิธตี า่ งๆ ในการดึงดูดผูท้ ที่ า� งานสร้างสรรค์ ให้กา้ วพร้อมกันไปกับเมืองทีก่ า� ลังพัฒนา ในขณะ เดียวกันก็สามารถท�างานกับเมืองสร้างสรรค์อนื่ ๆ ในทุกสาขาทัว่ โลก และทีส่ า� คัญคือการยังคงสามารถรักษามรดก ทางภูมิปัญญาทางหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เพื่อส่งผ่านไปยังคนรุ่นหลังได้อย่างยั่งยืนตลอดไป ซึ่งสิ่งที่กล่าว มานีจ้ งึ เป็นโครงการระยะยาว และต้องมีการวางนโยบายระดับจังหวัดในการด�าเนินงานอย่างต่อเนือ่ งทุกภาคส่วน ทั้งในส่วนขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนของเมือง ผู้ประกอบการ สถาบันการศึกษาและประชาชน เพื่อให้ เกิดการท�างานทีผ่ สาน สอดคล้อง เพือ่ เอือ้ อ�านวยให้การก้าวต่อในจังหวะทีไ่ ด้รบั การยอมรับเป็นเครือข่ายสมาชิก เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO มีความสง่างาม และได้รับผลประโยชน์แก่ทุกฝ่ายโดยพร้อมกัน รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานที่ปรึกษาโครงการ
สำรบัญ ค�าน�า สารบัญ
หน้า
1. บทน�ำ
1
- ความรู้เบื้องต้นเรื่องเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
3
- คุณสมบัติของสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
6
- กระบวนการปรับปรุงองค์ประกอบของเมืองให้เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
6
- ภารกิจและความรับผิดชอบของการเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
7
- วัตถุประสงค์ของการเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
8
- การเป็นเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก คืออะไร
10
2. กรอบแนวคิดในกำรด�ำเนินกำรเครือข่ำยเมืองสร้ำงสรรค์
15
3. กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติกำร
23
4. เทศกำล Chiang Mai Crafts Fair 2018
103
5. แนวทำงกำรประชำสัมพันธ์กำรด�ำเนินงำนในฐำนะสมำชิกเมืองสร้ำงสรรค์
133
6. แนวทำงกำรศึกษำดูงำนเมืองที่เป็นสมำชิกเครือข่ำยเมืองสร้ำงสรรค์
163
7. วำงแผนกำรประชุมเครือข่ำยเมืองสร้ำงสรรค์
185
- การประประจ�าปีเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ณ เมือง Frabiano ประเทศอิตาลี
(Annual UNESCO Creative Cites Network : UCCN)
- ประชุมประจ�าปีเครือข่ายย่อยเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก
ณ เมือง Kanazawa ประเทศญี่ปุ่น (Creative City Subnetwork Meeting
in The Field of Crafts and Folk Art)
8. ภำคผนวก
191
1 บทน�ำ
ในบทนีจ้ ะกล่าวถึงความรูเ้ บือ้ งต้นของการเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ว่าได้กอ่ ตัง้ ขึน้ มาได้ อย่างไรมีวตั ถุประสงค์เพือ่ อะไร ความส�าคัญของการเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ คุณสมบัตขิ องเมือง ที่จะเข้าร่วมเครือข่าย และเมื่อเข้าร่วมเครือข่ายเเล้วเมืองจะมีภาระกิจและขอบเขตการด�าเนินงาน อย่างไร รวมถึงเอกสารที่องค์การ UNESCO ได้ตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่เป็นความรู้ในเรื่องการเป็นเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO คืออะไรเพือ่ เป็นความรูพ้ นื้ ฐานในการศึกษาเอกสารรายงานต่อไป
2
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ปัจจุบันผู้คนในสังคมโลกเริ่มยอมรับความหลากหลายที่มีอยู่ในสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากปี พ.ศ. 2544 (ค.ศ.2001) องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ UNESCO มี ความตกลงว่าด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรม (The UNESCO Universal Declaration of Cultural Diversity) เพื่อให้มีการก�าหนดมาตรฐานนานาชาติท ี่ ใช้เป็นเครื่องมือส�าหรับการพิทักษ์รักษาและส่งเสริมความหลากหลายทางวัฒนธรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่าง วัฒนธรรม โดยในปีตอ่ มาองค์การ UNESCO ได้รเิ ริม่ โครงการพันธมิตรระดับโลก เพือ่ ยอมรับความหลากหลายทาง วัฒนธรรม (Global Alliance for Cultural Diversity) และก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างวัฒนธรรม ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งองค์การ UNESCO พยายามด�าเนินกิจกรรมสนับสนุนนโยบายส่งเสริมความหลาก หลายทางวัฒนธรรมของโลก จนในที่สุดในปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) องค์การ UNESCO จึงได้เสนอโครงการ “เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์” (Creative Cities Network) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industries) ทีจ่ ะน�าไปสูร่ ปู แบบใหม่ของความร่วมมือในระดับนานาชาติ ทัง้ ในส่วนของภาคประชาชน เอกชน สาธารณะและประชาคมขึ้น
ภาพ Website Creative Cities Network ขององค์การ UNESCO Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
3
เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก หรือ UNESCO Creative Cities Network เป็นโครงการ หนึง่ ขององค์การ UNESCO ทีด่ า� เนินงานควบคูก่ บั การประกาศแหล่งมรดกโลก ทางธรรมชาติและประวัตศิ าสตร์ โดยริเริ่มโครงการนี้ตั้งแต่ ปีพุทธศักราช 2547 (ค.ศ. 2004) และเปิดรับสมัครเมือง หรือมหานครที่ทาง องค์การ UNESCO พิจารณาว่าเป็นแหล่งรวบรวมวิทยาการ มีพื้นฐานที่จะขับเคลื่อนเมือง ทั้งในส่วนเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) โดยแบ่งสาขาของเมืองสร้างสรรค์ ออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่
1. เมืองแห่งวรรณกรรม (City of Literature) 2. เมืองแห่งภาพยนตร์ (City of Film) 3. เมืองแห่งดนตรี (City of Music) 4. เมืองแห่งหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (City of Crafts and Folk Arts) 5. เมืองแห่งการออกแบบ (City of Design) 6. เมืองแห่งศิลปะสื่อประชาสัมพันธ์ (City of Media art) 7. เมืองแห่งวิทยาการอาหาร (City of Gastronomy)
จากการประกาศผลขององค์การ UNESCO ในปี 2560 ที่ผ่านมา มีเมืองสร้างสรรค์ทั่วโลกจ�านวนทั้งสิ้น 64 เมือง จาก 44 ประเทศ ได้รับการคัดเลือก ซึ่งรวมมีเมืองสร้างสรรค์ทั้งสิ้น 186 เมืองจากประเทศทั้งหมด 196 ประเทศทั่วโลก โดยเมืองด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน มีสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์จ�านวนมากที่สุด ถึง 38 เมือง รองมาคือเมืองที่เกี่ยวกับการออกแบบ คือ 34 เมือง และเมืองทางด้านดนตรีจ�านวน 31 เมือง
4
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ภาพแสดงจ�านวนสมาชิกของเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ในปี 2560
ภาพเมืองเชียงใหม่ในรายชื่อสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ปี 2017 ที่ประกาศใน Website ขององค์การ UNESCO Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
5
1.2 คุณสมบัติของสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ที่องค์การ UNESCO ได้ก�าหนดไว้ 1. สร้างสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมที่เอื้อให้เกิดการสร้างสรรค์งาน 2. มีการจัดเตรียมปัจจัยพืน้ ฐาน (Infrastructure) เพือ่ อ�านวยความสะดวกแก่ผปู้ ระกอบธุรกิจสร้างสรรค์ 3. น�าความหลากหลายทางวัฒนธรรม (Culture Diversity) มาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานและการ พัฒนาเมืองให้เป็น Creative City ทีจ่ ะก่อให้เกิดการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) ส่งผลต่อการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และเป็นการสร้างความหลากหลายทางวัฒนธรรม (Cultural Diversity) ซึ่งเป็นปัจจัยส�าคัญในการสร้าง บรรยากาศที่เหมาะสมกับการสร้างสรรค์
1.3 กระบวนการปรับปรุงองค์ประกอบของเมือง ให้เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ การสร้างเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมให้แก่เมือง (Cultural Identity) การสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคม ให้มีความเปิดกว้าง (Diversity & Open Society) เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ก่อให้เกิดความคิด สร้างสรรค์ใหม่ๆ การรวบรวมนักคิดและผู้ประกอบการสร้างสรรค์ (Talented / Creative Entrepreneur) เป็นการ รวบรวมผู้มีความคิดสร้างสรรค์ในการผสมผสานวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เข้ากับเทคโนโลยีและการ จัดการด้านธุรกิจ ทีก่ อ่ ให้เกิดการจ้างงานและก�าลังซือ้ สินค้าหมุนเวียนอันเป็นกลไกให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของเมืองและประเทศ การสร้างพื้นที่และสิ่งอ�านวยความสะดวก (Space & Facility) เมืองจะต้องมีสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ เพียงพอและมีคุณภาพ ช่วยก่อให้เกิดสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการผลิตนักคิดและธุรกิจสร้างสรรค์ การบริหารจัดการเมือง (Management) องค์กรของภาครัฐและเอกชน จะต้องมีวสิ ยั ทัศน์ในการพัฒนาเมือง โดย เป็นองค์กรทีม่ คี วามยืดหยุน่ และท�างานประสานกันเพือ่ น�าไปสูเ่ ป้าหมายได้อย่างสร้างสรรค์ โดยมีแนวทางในการ ปรับปรุงเมืองเพื่อให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) โดยการผสานแนวคิดทางวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ไปพร้อมกัน
6
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
1.4 Mission Statement 1.4.1 ภารกิจและความรับผิดชอบของการเป็นสมาชิก เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก (UCCN) มีเป้าหมายที่จะเสริมสร้างความเข้มแข็ง ความ ร่วมมือกับเมืองและระหว่างเมืองที่มีการยอมรับความคิดสร้างสรรค์เป็นปัจจัยเชิงกลยุทธ์ของการพัฒนาที่ยั่งยืน ในด้านเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม เมื่อเข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่าย ในแต่ละเมืองจะร่วมกันหาแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด ในการพัฒนาร่วม กับภาคีเครือข่าย เป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม และการบูรณาการในแผน พัฒนาเศรษฐกิจของเมือง เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก ครอบคลุมเจ็ดสาขาความคิดสร้างสรรค์ ประกอบไปด้วย : งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน, การออกแบบ,ภาพยนตร์, อาหาร, วรรณกรรม, สื่อศิลปะ และดนตรี
1.4.2 วัตถุประสงค์ของการเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO
1. เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ ระหว่างเมืองที่มีการยอมรับความคิดสร้างสรรค์เป็นปัจจัย เชิงกลยุทธ์ของการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน 2. กระตุน้ และยกระดับการริเริม่ ต่าง ๆ ทีน่ า� โดยเมืองสมาชิกเพือ่ ให้ความคิดสร้างสรรค์เป็นองค์ประกอบ ของการพัฒนาเมือง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผ่านความร่วมมือทีเ่ กีย่ วข้องกับสาธารณะและภาคเอกชนและภาคประชา สังคม 3. เสริมสร้างการผลิตการจัดจ�าหน่ายและเผยแพร่กิจกรรมทางวัฒนธรรม เพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการ 4. พัฒนาศูนย์ของความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ขยายโอกาสส�าหรับผู้ผลิต และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน วัฒนธรรม 5. ปรับปรุงการเข้าถึงและการมีสว่ นร่วมในวิถชี วี ติ ของการใช้สนิ ค้าและบริการทีม่ คี ณ ุ ค่าทางวัฒนธรรม ส�าหรับกลุ่มคนชายขอบหรือกลุ่มเสี่ยง 6. บูรณาการทางวัฒนธรรมและความคิดสร้างสรรค์ เข้ากับกลยุทธ์และแผนการพัฒนาท้องถิ่น อย่าง เต็มที่
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
7
1.4.3 ขอบเขตการด�าเนินงานของการเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO จะต้องถูกน�ามาใช้ทั้งในระดับของเมืองสมาชิกและในระดับนานาชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการ ด�าเนินการต่อไปนี้: o แลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด o จัดท�าโครงการน�าร่องการมีส่วนร่วมและการริเริ่มที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐและเอกชนและสังคม o โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรกับเมืองเครือข่ายเมืองสมาชิก o การศึกษาวิจัยและประเมินผลประสบการณ์ของเมืองสร้างสรรค์อื่น ๆ o จัดท�านโยบายและมาตรการเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน o สร้างกิจกรรมด้านการสื่อสารและการสร้างจิตส�านึก
8
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Creative Cities Network Mission Statement ขององค์การ UNESCO Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
9
1.5 การเป็นเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโกคือะไร ด้วยการเข้าร่วมเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก (UCCN) เมืองทั่วโลก มุง่ มัน่ ทีจ่ ะวางวัฒนธรรมและความคิดสร้างสรรค์เป็นแกนหลักของกลยุทธ์นโยบายและ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ต่อไปนีเ้ ป็นข้อมูลส�าคัญในการแนะน�าภารกิจของ UCCN ให้กบั เมืองที่สนใจเข้าร่วมเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและพันธมิตรอื่น ๆ นอกจากนี้ยัง มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้คา� แนะน�าทีด่ สี า� หรับคุณในการเป็นสมาชิกเครือข่ายของเมืองให้ได้ มากที่สุด 1.5.1 เครือข่ายสามารถผลักดันเมืองไปได้อย่างไร? การเป็นเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโกให้โอกาสทางยุทธศาสตร์แก่เมืองในการก ระตุน้ และสร้างสรรค์นโยบายท้องถิน่ เพือ่ ความคิดสร้างสรรค์และเสริมสร้างความเข้ม แข็งในระดับนานาชาติ การเป็นส่วนหนึ่งของ UCCN แสดงถึงมูลค่าที่เพิ่มขึ้นอย่าง แท้จริงท�าให้เมือง: 1. เสริมสร้างความเป็นสากลและความเป็นผู้น�าโดยการมองเห็นนโยบาย นวัตกรรมกลยุทธ์และกิจกรรมที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์และเมืองที่ยั่งยืน 2. เพิม่ ความน่าดึงดูดในระดับภูมภิ าคและระดับสากลให้กบั นักลงทุนและผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสียทางเศรษฐกิจ ผู้เชี่ยวชาญด้านความคิดสร้างสรรค์หรือผู้มาเยือน และ อ�านวยความสะดวกในการระดมทรัพยากรทางการเงินจากภาครัฐและเอกชน 3. เชือ่ มโยงกับเมืองสร้างสรรค์เพือ่ นผ่านกิจกรรมร่วมและโครงการทัว่ ไปเพือ่ กระตุ้นแลกเปลี่ยน แบ่งปันความรู้และสร้างพันธมิตรเมืองสร้างสรรค์ 4. สร้างแรงผลักดันในความคิดสร้างสรรค์โดยให้เป็นแรงขับเคลือ่ นเมือง ระดม ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทัง้ หมดและการเสวนาเชิงสนทนาระหว่างหน่วยงานท้องถิน่ องค์กร วิชาชีพทั้งภาครัฐและเอกชนสถาบันการศึกษาและชุมชนสร้างสรรค์ 5. เตรียมพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์ในท้องถิน่ และชุมชนเพือ่ ส่งเสริมนโยบายและสภาพ แวดล้อมทางเศรษฐกิจที่เอื้ออ�านวย เชื่อมต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างสรรค์ ธุรกิจ สร้างสรรค์ท้องถิ่นเข้ากับเครือข่ายและตลาดระหว่างประเทศเพิ่มเติม
10
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
1.5.2 เมืองต่างๆจะสามารถยกระดับเป็น UCCN ได้อย่างไร ในฐานะเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก เป็นตัวแทนของภารกิจหลักของเครือ ข่ายเพื่อสร้างความตระหนักถึงพลังของความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมในการ สร้างเมืองที่ยั่งยืน ความมุ่งมั่นนี้ตั้งอยู่ภายในกรอบของวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนของ สหประชาชาติป ี 2030 และ New Urban Agenda การเป็นส่วนหนึ่งของ UCCN ช่วยให้เมืองมีเสียงทีแ่ ข็งแกร่งในระดับสากลเพือ่ มีสว่ นร่วมในการอภิปรายระดับโลก เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์และเมืองที่ยั่งยืนรวมทั้งส่งเสริมการยอมรับนวัตกรรม ของเมือง 1. พัฒนารวมกลุ่มและแบ่งปันแนวปฏิบัติที่ดีโดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างเมืองที่ยั่งยืนและครอบคลุมยิ่งขึ้น และเพิ่มการเผย แพร่ผ่านเว็บไซต์ UCCN 2. เสนอเป้าหมายที่ส�าคัญของวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ ปี 2030 และ New Urban Agenda ในกลยุทธ์และนโยบายการพัฒนาท้องถิ่นรวม ถึงสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา (R&D) ในด้านวัฒนธรรมความคิดสร้างสรรค์และ นวัตกรรมเพื่อสะท้อนความเป็นสากล 3. มีส่วนร่วมใน “ความร่วมมือสร้างสรรค์” กับเมืองต่างๆจากทั่วโลกใต้ซึ่ง เป็นกลไกที่จัดตั้งขึ้นโดย UNESCO เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ การแบ่งปันความรูก้ บั ภูมภิ าคทีอ่ ยูภ่ ายใต้เครือข่ายโดยเฉพาะแอฟริกาและรัฐอาหรับ 4. มีส่วนร่วมในเครือข่ายย่อย UCCN เพื่อตรวจสอบแนวโน้มที่ส�าคัญใน สาขาความคิดสร้างสรรค์ของเมือง (งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน, ออกแบบ, ภาพยนตร์, อาหาร, วรรณคดี, สื่อศิลปะ และดนตรี) ระบุโอกาสและสร้างแนวทาง เชิงกลยุทธ์ กับเครือข่ายย่อยของเขตข้อมูลสร้างสรรค์อื่น ๆ เพื่อส่งเสริมความร่วม มือและการท�างานร่วมกัน; 5. ส่งเสริมชุมชนสร้างสรรค์ของเมืองโดยเพิม่ ขีดความสามารถและความเป็น ไปได้ รวมถึงการมีสว่ นร่วมในโครงการระหว่างประเทศและการและเปลีย่ นเรียนรูก้ บั เครือข่ายที่อยู่ในเมืองสร้างสรรค์อื่น ๆ
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
11
วาระการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติปี 2030 คืออะไร วาระ 2030 เป็นแผนปฏิบัติการส�าหรับผู้คนโลกและความ เจริญรุ่งเรืองที่น�ามาใช้ในปี 2558 โดยชุมชนระหว่างประเทศ มันเป็น ตัวก�าหนดวิสยั ทัศน์สา� หรับอนาคตทีย่ งั่ ยืนมากขึน้ โดยเป็นสิง่ ทีเ่ ท่าเทียม กันครอบคลุมสงบและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เป้าหมายการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน 17 ข้อ (SDGs) และ 169 ข้อให้คา� แนะน�าส�าหรับการออกแบบ นโยบายและการด�าเนินการในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับ นานาชาติ เป็นครั้งแรกที่วัฒนธรรมและความคิดสร้างสรรค์ได้รับการยอมรับว่า เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพส�าหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน บทบาทของ วัฒนธรรมสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนใน SDG 11 เพื่อ “ท�าให้เมืองและ การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ครอบคลุมปลอดภัยปลอดภัยและยั่งยืน” ซึ่ง Creative Cities เป็นพันธมิตรส�าคัญในการด�าเนินงานวาระการ พัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติป ี 2030 ในระดับเมือง New Urban Agenda คืออะไร คือวิสัยทัศน์ของการบรรลุเป็นเมืองที่ยั่งยืนผ่านวัฒนธรรม และความคิดสร้างสรรค์ ได้รับการส่งเสริมและด�าเนินการใน New Urban Agenda ซึ่งได้รับการอนุมัติในปี 2559 ที่การประชุม Habitat III ด้านการเคหะและการพัฒนาที่ยั่งยืน ในโอกาสนี้องค์การ UNESCO ได้เปิดตัวรายงานวัฒนธรรมระดับโลก: อนาคตชุมชนเมืองซึ่งส่งเสริม ยุทธศาสตร์เมืองและการมีสว่ นร่วมของชุมชน รายงานรวมถึงกรณีศกึ ษา ที่คัดเลือกจากเมืองสมาชิกของ UCCN 1.5.3 ความรับผิดชอบของเมืองในฐานะเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโกคืออะไร? การก�าหนดให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโกเป็นจุดเริม่ ต้นของการเดินทาง ระยะยาว เพือ่ เป็นการขับเคลือ่ นเมืองไปตามเส้นทางการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนผ่านวัฒนธรรม และความคิดสร้างสรรค์ วามรับผิดชอบของเมืองในฐานะเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก ได้แก่: 1. ด�าเนินงานตามค�าแถลงพันธกิจและกรอบกลยุทธ์ของเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ วิสัยทัศน์โดยรวมของ UCCN และวัตถุประสงค์ทั่วไป 12
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
2. รายงานทุก ๆ สี่ปีเกี่ยวกับการด�าเนินการตามแผนปฏิบัติการที่น�าเสนอใน แอปพลิเคชัน เพื่อรับข้อเสนอแนะการริเริ่มในระยะกลางเชิงกลยุทธ์ในอนาคต 3. เข้าร่วมการประชุมประจ�าปีของ UCCN ซึ่งเป็นการรวมตัวกันทาง ยุทธศาสตร์ครั้งส�าคัญของเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์โดยน�านายกเทศมนตรีเมือง และ Focal Point มาประชุมด้วยกันซึ่งจะช่วยให้เป็นการแบ่งปันประสบการณ์และระดม ความร่วมมือในอนาคต 4. พิจารณาให้การสนับสนุนทางการเงินแก่เครือข่ายผ่านกลไกการสนับสนุน ทางการเงินของ UCCN ทีเ่ มืองสมาชิกได้รบั เชิญให้เข้าร่วมตามสถานการณ์ทางการเงิน และความสามารถของเมือง 5. เข้าร่วมในกิจกรรมของเครือข่ายย่อย ของเมืองสาขาต่างๆรวมถึงการชุมนุม ประจ�าปีของเครือข่ายย่อยและพิจารณาสมัครกลุ่มแกนน�าในการประสานงานเมือง สมาชิกสาขาต่างๆและประสานงานกับส�านักเลขาธิการ UNESCO 6. ติดต่อสื่อสารกับส�านักเลขาธิการ UNESCO อย่างแข็งขันและสม�่าเสมอ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลและความคิดริเริ่มที่ดา� เนินการในระดับท้องถิ่นและระดับสากล 1.5.4 UCCN ท�างานอย่างไร ส�านักเลขาธิการ UNESCO รับรองการจัดการเครือข่ายโดยรวมในระดับโลก ซึง่ จะน�าเสนอและน�าไปสูก่ ารริเริม่ เชิงกลยุทธ์และการเขียนโปรแกรม ส�านักเลขาธิการ ให้การสนับสนุนเมืองสมาชิกผ่านค�าแนะน�าและวัสดุเสริมสร้างขีดความสามารถระดม ทุน และส่งเสริมการมองเห็นเครือข่ายผ่านการสื่อสารและการสนับสนุนโดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในระดับนานาชาติ ส�านักเลขาธิการยังประสานกระบวนการก�าหนดและเรียก ประชุมเครือข่ายประจ�าปีและการประชุมอื่น ๆ ตามความเหมาะสม เครือข่ายย่อย 7 เครือข่ายซึ่งสอดคล้องกับเขตข้อมูลสร้างสรรค์ 7 แห่งเป็น เวทีสา� หรับเมืองภายในพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์เพือ่ แลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ เครือ ข่ายย่อยติดตามความคืบหน้าและระบุแนวโน้มและโอกาสที่ส�าคัญ Steering Group ท�าหน้าทีป่ ระสานงานระหว่างยูเนสโกและเครือข่ายย่อย 7 เครือข่าย ประกอบด้วยตัวแทนของแต่ละเครือข่ายย่อยทีก่ า� หนดโดยเมืองสมาชิกของ สาขา กลุม่ แกนน�าความร่วมมือกับส�านักเลขาธิการในค�าถามทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้งาน โปรแกรมสมาชิกการสื่อสารการประเมินผลหรือการระดมทุน อ่านเพืมิ่ เติมเอกสารต้นฉบับภาษาอังกฤษ https://en.unesco.org/creative-cities/ sites/creative-cities/files/uccn_faq-en.pdf Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
13
2 กรอบแนวคิดในกำรด�ำเนินกำร
กรอบแนวคิดในกำรด�ำเนินกำร แนวทำงกำรด�ำเนินงำนขับเคลื่อน เมืองเชียงใหม่ ในฐำนะสมำชิกเครือข่ำยเมืองสร้ำงสรรค์ ขององค์กำร UNESCO (สำขำหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้ำน) นับตั้งแต่ปี 2557 ที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลักดันโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน) ตามนโยบายของรัฐบาล ในการ ตอบโจทย์เรือ่ งเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือ Creative Economy ซึง่ ก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประชาชนชาวเชียงใหม่ จังหวัดใกล้เคียงและประเทศไทย ทั้งนี้การเป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO จ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องด�าเนินการหลาย เรื่องที่ควบคู่กัน ส�าหรับการท�างานของคณะที่ปรึกษาโครงการ ได้ด�าเนินงานครอบคลุมใน 5 มิติ ได้แก่ 1. มิติของหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้ำน : การน�าเสนอความรุ่มรวยด้านงานหัตถกรรมและศิลปะพื้น บ้านของเมืองเชียงใหม่ตอ่ สายตาชาวโลก ซึง่ งานหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้านของเชียงใหม่เป็นทัง้ สิง่ ทีแ่ สดงออก ใน 2 ลักษณะ คือ ความหลากหลายของงาน ที่มีถึง 9 ประเภท คือ งานผ้า งานไม้ งานเครื่องเงิน งานเครื่องโลหะ งาน เครื่องปั้นดินเผา งานกระดาษ งานเครื่องเขิน งานเครื่องจักสาน และ งานสบู่ น�า้ มัน เครื่องหอม ความเป็นเอกลักษณ์ของงานแต่ละประเภท ที่มีความแตกต่างทั้งรูปแบบลวดลาย เทคนิค ซึ่งเป็นรายละเอียด ของแต่ละชุมชน หรืออ�าเภอ ทั้งแบบดั้งเดิมและสร้างสรรค์ใหม่ ซึ่งสร้างรายได้จา� นวนมากให้กับจังหวัด เพียงผู้ ประกอบการรุ่นใหม่ในกลุ่ม 200 ราย สามารถสร้างรายได้ถึงปีละกว่า 3000 ล้านบาท 2. มิติของคน : เป็นมิติที่ต้องท�างานอย่างระมัดระวังและมีความเข้าใจในความคิด ความสามารถของ ผู้คน โดยการผสมผสานผู้คนที่มีความรู้ ภูมิปัญญาดั้งเดิม กับคนรุ่นใหม่ ทั้งชาวเชียงใหม่ และผู้คนจากต่างพื้น ถิ่น ที่เดินทางเข้ามาอยู่อาศัย ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ที่คา� นึงถึง 2 เรื่องใหญ่ คือ 2.1 การสร้างผู้ประกอบการสร้างสรรค์ (Creative Entrepreneur) ที่ไม่ได้หมายถึงแต่เพียงผู้ประกอบ การด้านงานศิลปะหรืองานออกแบบเพียงด้านเดียว แต่หมายถึงผู้ประกอบการที่สามารถรวบรวมองค์ความรู้ ทักษะ เทคโนโลยีและสุนทรียภาพจากวัฒนธรรมและงานศิลปะดัง้ เดิม แล้วน�ามาแปรเป็นกระบวนการสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณค่าและความแตกต่าง ซึ่งตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละกลุ่มได้ 2.2 การรวบรวมนักคิด (Talented Entrepreneur) เป็นการรวบรวมผูม้ คี วามคิดสร้างสรรค์ในการผสม ผสานวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ให้เข้ากับเทคโนโลยีและการจัดการด้านธุรกิจ ทีก่ อ่ ให้เกิดการจ้างงานและ ก�าลังซื้อสินค้าหมุนเวียนอันเป็นกลไกให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองและประเทศ 16
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
3. มิติของกำรส่งเสริม พัฒนำ : การแสดงความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษาใน การร่วมมือในการส่งเสริม พัฒนางานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และเป็นฐานใน การต่อยอดงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน รวมถึงการเอื้ออ�านวยให้เกิดการจ�าหน่ายสินค้าได้ 4. มิติของเมือง : การแสดงความตั้งใจของเมืองในการสร้างระบบการจัดการเมืองในมิติที่เชื่อมโยง ระหว่างเมืองที่เป็นมิตรกับผู้คน เช่น 4.1 การสร้างเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมให้แก่เมือง (Cultural Identity) มีการสร้างสภาพแวดล้อมทาง สังคมให้มีความเปิดกว้าง (Diversity & Open Society) เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ก่อให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ การสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคมให้มีความเปิดกว้าง (Diversity & Open Society) เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ 4.2 การสร้างพืน้ ทีแ่ ละสิง่ อ�านวยความสะดวกทีเ่ พียงพอ (Space & Facility) มีคณ ุ ภาพ และสร้างสภาพ แวดล้อม ที่เอื้อต่อการผลิตนักคิดและธุรกิจสร้างสรรค์ 4.3 การบริหารจัดการเมือง (Management) องค์กรของภาครัฐและเอกชน จะต้องมีวิสัยทัศน์ในการ พัฒนาเมือง โดยเป็นองค์กรทีม่ คี วามยืดหยุน่ และท�างานประสานกันเพือ่ น�าไปสูเ่ ป้าหมายได้อย่างสร้างสรรค์ โดย มีแนวทางในการปรับปรุงเมืองเพื่อให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) โดยการผสานแนวคิดทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ไปพร้อมกัน 5. มิติของเครือข่ำย : เป็นอีกหัวใจหลักของเมืองสร้างสรรค์ โดยเป็นทั้งเครือข่ายองค์กรทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยมีเครือข่ายใน 3 ระดับคือ ระดับที่ 1 เครือข่ายระดับหน่วยย่อย เช่น ระหว่างชุมชน สถาบัน ระดับที่ 2 เครือข่ายระดับเมือง ระดับที่ 3 เครือข่ายระดับประเทศ ซึ่งหลังจากการได้รับเป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์แล้ว ทุกปีจะมีการ ประชุมเครือข่ายระดับนานาชาติอย่างต�่า 2 ครั้ง คือ Creative Cities - Sub Network Meeting เป็นการประชุมเมืองเครือข่ายในสาขาสร้างสรรค์ 7 สาขา ในประเทศต่างๆ สลับเปลี่ยนการเป็น เจ้าภาพการประชุม ซึ่งมีการจัดตลอดปี และเมืองเชียงใหม่ควรแสดงบทบาทเป็นเจ้าภาพการจัดการประชุม เช่นนี้ในอนาคตอันใกล้ UNESCO Creative Cities Annual Meeting ที่จัดขึ้นในราวเดือนมิถุนายนของ ทุกปี ซึ่งส่วนที่ส�าคัญของการประชุมมี 2 ส่วนคือ กำรแสดงควำมก้ำวหน้ำของเมืองในบริบทของกำร จัดกำรตำม Theme ของประชุมแต่ละปี และ กำรแสดงวิสัยทัศน์ของผู้น�ำเมือง ซึ่งเรียกว่ำ Mayor Forum เป็นการน�าเสนอแนวทางการจัดการเมืองของตนทั้งในเมือง และการแสดงผลงานความร่วมมือกับ เมือง ต่างๆ ที่เป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ในสาขาเดียวกัน และต่างสาขา Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
17
ดังผลจากการประชุมที่ประเทศโปแลนด์ ที่ใช้ชื่อ “Creative Crossroads” รวมถึงการแสดงตัวตนของเมือง ที่ เชือ่ มโยงระหว่าง Creative city + Innovation + Culture ในชือ่ ว่า LAB.2030 เพือ่ แสดงความหลากหลายของ วิธีการที่เมืองน�า นวัตกรรม และวัฒนธรรม มาสู่นโยบายของเมืองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน ขององค์การสหประชาชาติ หรือ 2030 Agenda for Sustainable Development. เพื่อให้ตอบโจทย์ตามวัตถุประสงค์ของการเป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ในแต่ละ ปีของการท�างาน จะประกอบด้วยเรื่องที่ด�าเนินการในกิจกรรมที่แตกต่างกันไป แต่มีเป้าหมายเพื่อตอบโจทย์ทั้ง 5 มิติข้างต้น ได้แก่ 1. กำรวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับหัตถกรรมและเรือ่ งอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วข้อง เริม่ จากการวิจยั เรือ่ งลักษณะหัตถกรรม ในอ�าเภอต่างๆ ของจังหวัดเชียงใหม่ 2. กำรจัดอบรม เพื่อสร้ำงควำมรู้ และพัฒนำทักษะทำงหัตถกรรม ให้แก่ผู้คนของเมือง และ เยาวชน รุ่นใหม่ อันจะก่อให้เกิดอาชีพและการตอบโจทย์การพัฒนาที่ยั่งยืน เช่น การจัดอบรมงานย้อมคราม การอบรม เรื่องเซรามิก การอบรมเรื่องงานปัก การอบรมเรื่องผ้าเขียนเทียนของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง เป็นต้น 3. กำรสร้ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ ผ่านการจัดสัมมนา (Forum) เพื่อตอบโจทย์มิติของเมือง มิตขิ องความสัมพันธ์ การสร้างเครือข่ายระหว่างเมืองสร้างสรรค์ จึงมีการเดินทางเพือ่ สร้างความร่วมมือกับเมือง ในประเทศต่างๆ เช่น เมือง Kanazawa ประเทศญีป่ นุ่ , เมือง Pekalongan ประเทศอินโดนีเซีย อันเป็นประโยชน์ ต่อภาพพจน์และแสดงความมุง่ มัน่ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ในการด�าเนินการ ซึง่ ถึงแม้ในขณะเริม่ ต้นเมืองเชียงใหม่จะยังไม่ได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ก็ตาม หากแต่เป็นการประกาศเจตนารมณ์ของ เมืองเชียงใหม่ให้สมาชิกเมืองสร้างสรรค์อื่นๆ ได้ทราบ พร้อมกับการสนับสนุนในวาระต่างๆ ตามมา 4. สนับสนุนให้เกิดกำรสร้ำงพื้นที่สร้ำงสรรค์ (Creative Space) เพื่อสนับสนุนการน�าเสนอผล งานหัตถกรรมทั้งที่ด�าเนินการเอง สลับกับการด�าเนินการแบบความร่วมมือ เช่น ท�างานกับศูนย์สร้างสรรค์การ ออกแบบเชียงใหม่ (TCDC) ในชื่องานว่า “Chiang Mai Crafts Fair”
18
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
19
อีกทั้งการด�าเนินงานตลอดระยะเวลาจะต้องสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การ UNESCO (SDGs (Sustainable Development Goals)) ทั้งสิ้น 17 ข้อ ได้แก่ 1. เราจะท�าอย่างไรให้คนไม่ยากจน 2. ขจัดความหิวโหย เพื่อบรรลุเป้าหมายความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการที่ดีขึ้นและการส่งเสริม เกษตรกรรมที่ยั่งยืน 3. ท�าให้แน่ใจถึงการมีสุขภาวะในการด�ารงชีวิต และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนในทุกช่วงอายุ 4. คือการท�าให้แน่ใจถึงการได้รับการศึกษาที่ได้คุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง และส่งเสริมโอกาสในการ เรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน 5. การท�าให้แน่ใจว่าเรื่องน�า้ และการสุขาภิบาล จะได้รับการจัดการอย่างยั่งยืน และมีสภาพพร้อมใช้ส�าหรับทุก คน 6. ความเท่าเทียมทางเพศ และเสริมสร้างพลังให้แก่สตรีและเด็กหญิงทุกคน 7.ท�าให้แน่ใจว่าทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานที่ทันสมัย ยั่งยืน เชื่อถือได้ ตามก�าลังซื้อของตน 8. ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและทั่วถึงให้เป็นไปอย่างยั่งยืน ส่งเสริมศักยภาพการมีงานท�า และการจ้างงานเต็มที่ และงานที่มีคุณค่าส�าหรับทุกคน 9. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการปรับตัวให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนและ ทั่วถึง และสนับสนุนนวัตกรรม 10. ลดความเหลื่อมล�้าทั้งภายในและระหว่างประเทศ 11. ท�าให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัย ทั่วถึง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและยั่งยืน 12. ท�าให้แน่ใจถึงการมีแบบแผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน 13. ด�าเนินการอย่างเร่งด่วน เพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น 14. การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลส�าหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ เป็นไปอย่างยื่น 15. การพิทักษ์ บูรณะ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืนของระบบนิเวศบนบก จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ต่อสู้กับการแปรสภาพเป็นทะเลทราย หยุดยั้งและฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของที่ดิน และหยุดยั้งการสูญเสียความ หลากหลายทางชีวภาพ 16. การส่งเสริมให้สังคมมีความเป็นปกติสุข ไม่แบ่งแยก เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีการเข้าถึงความยุติธรรมโดย ถ้วนหน้า และสร้างให้เกิดสถาบันอันเป็นที่พึ่งของส่วนรวม มีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับในทุกระดับ 17. การเสริมสร้างความเข้มแข็งในวิธีปฏิบัติให้เกิดผล และสร้างพลังแห่งการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระดับ สากลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 20
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ขององค์การ UNESCO
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
21
3 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติกำร
Creative Workshop : ควำมส�ำคัญในกำรจัดกิจกรรม การด�าเนินโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขา หัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน มีเป้าหมายเพือ่ ด�าเนินกิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การเป็นสมาชิกเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ไว้โดยจะมุ่งเน้นการส่งเสริม วิจัย การเรียนรู้หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ให้ กับบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องให้เกิดศักยภาพเกิดองค์ความรูท้ งั้ ในเชิงอุตสาหกรรม การออกแบบงานนวัตกรรมและการ พัฒนางานหัตถกรรมศิลปะพืน้ บ้านให้เกิดความยัง่ ยืน การประชาสัมพันธ์เพือ่ สร้างทัศนคติให้เกิดการยอมรับ และ เกิดการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคการศึกษา ภาคธุรกิจ และประชาชน ตลอดจนการประชาสัมพันธ์ เพื่อชูจุดเด่นของเมือง โดยเฉพาะงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน โดยมีเป้าหมาย ของโครงการเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ดังนี้ 1. สนับสนุนความร่วมมือระหว่างท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาในระดับนานาชาติ 2. ตั้งหลักตอบรับกับผลกระทบในระดับโลก โดยพยายามที่จะเชื่อมโยงเมืองต่าง ๆ เข้าด้วยกัน สร้ า งความเป็ น ไปได้ ใ นการสร้ า งรู ป แบบใหม่ ข องการท่ อ งเที่ ย ว (Creating New Tourism Opportunities) ที่นักท่องเที่ยวจะสามารถเข้าใจ รับรู้มีประสบการณ์ และร่วมเป็นส่วนหนึ่งใน วัฒนธรรมของเมืองนั้น ๆ ทั้งวัฒนธรรมในลักษณะที่จับต้องได้และที่เป็นนามธรรม (Tangible and Intangible C u l t u r e s ) โ ด ย ผ ่ า น ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ข อ ง นั ก ท ่ อ ง เ ที่ ย ว เ อ ง โ ด ย เ น ้ น ถึ ง “ ค ว า ม ผู ก พั น ” ( E n g a g e d ) “ ค ว า ม จ ริ ง แ ท ผ ่ า น ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ” ( A u t h e n t i c E x p e r i e n c e ) ซึ่ ง เป็ น การส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมที่ จ ะท� า ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วมี ค วามเข้ า ใจอย่ า งลึ ก ซึ้ ง ในลั ก ษณะทางวั ฒ นธรรม ของเมืองที่ตนไปเยือน (Active understanding of the specific cultural features of a place)
24
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
กำรจัดฝึกอบรมเพื่อพัฒนำงำนออกแบบหัตถกรรม (Creative Workshop) เชียงใหม่ เมืองแห่งงานหัตถกรรมและวิถีชีวิตอันหลากหลาย ซึ่งมิติแห่งการสร้างสรรค์งานหัตถกรรม ของเมืองเชียงใหม่ล้วนมีการสร้างสรรค์และประยุกต์ใช้จากรากฐานของวิถีชีวิตความเป็นอยู่จากผู้คนในพื้นที่ ซึ่งจะเป็นการตอบโจทย์ตามเป้าหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีมิติทางการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมอยู่ 3 ประการ คือ 1. การพัฒนาสร้างสรรค์งานจากรากเหง้าทางวัฒนธรรม 2. การพัฒนาและสร้างสรรค์งานเพื่ออุตสาหกรรมหัตถกรรม 3. การพัฒนาและสร้างสรรค์งานหัตถกรรมร่วมสมัย แผนการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนางานออกแบบหัตถกรรม ในการจัดกิจกรรมที่จะจัดขึ้นครั้ง นี้เพื่อพัฒนางานออกแบบหัตถกรรมจ�านวน 4 ครั้ง โดยจะประกอบด้วยการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งในครั้ง นี้จะมุ่งเน้นในเรื่องของงานหัตถกรรมสิ่งทอิ และวิถีทางของธรรมชาติเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน ผ้า (Textile) : เป็นงานหัตถกรรมที่ถือเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ในการด�ารงชีวิตของผู้คน และถือเป็นงาน หัตถกรรมที่มีชื่อเสียง เอกลักษณ์ และ อัตลักษณ์อันสะท้องถึงวิถีชีวิตของกลุ่มคนในพื้นที่นั้น โดยจากการศึกษา ข้อมูลจากกลุม่ เครือข่ายสมาชิกเมืองในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้านนัน้ จะพบเห็นได้วา่ งาน สิง่ ทอทางด้าน ผ้านัน้ ล้วนเป็นงานหัตถกรรมทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของพืน้ ทีใ่ นทุกๆ ประเทศของเครือข่ายสมาชิก จ�านวน 6 ประเทศ ในเอเชียตะวันออก งานหัตถกรรมที่ได้รับความนิยมและถือเป็นเอกลักษณ์ของงานหัตกรรมทางด้านศิลปะพื้น บ้านล้วนได้แก่งานสิ่งทอในประเภทของงานผ้า และเมืองเชียงใหม่เองนั้น งานหัตถกรรมในประเภทของงานสิ่ง ทอ ผ้าทอ อาทิ ผ้าทอตีนจก ผ้าทอของกลุ่มชาติพันธุ์ของเมืองเชียงใหม่ ต่างเป็นสิ่งที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จัก ออกไปในภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศ และยังเป็นที่รู้จักและยอมรับจากนักท่องเที่ยวจากประเทศ โดยถือว่าเป็น งานหัตถกรรมที่สร้างชื่อเสียงให้แก่เมืองเชียงใหม่เป็นการเผยแพร่งานหัตถกรรมพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ออก สู่สายตาของผู้คนทั้งในและต่างประเทศ
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
25
ภาพแสดงงานหัตถกรรมของสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO (ภูมิภาคเอเชีย) ซึ่งในปัจจุบันนั้นนอกจากการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมสิ่งทอในรูปแบบดั้งเดิมที่มีการสืบต่อกันมาด้วย เทคนิคและกรรมวิธกี ารสร้างสรรค์ทสี่ บื ต่อกันมาอย่างยาวนานจากการถ่ายทอดผ่านทางองค์ความรูแ้ ละภูมปิ ญ ั ญา พื้นบ้านแล้วนั้น และในปัจจุบันได้มีการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมสิ่งทอเหล่านี้ขึ้นมาในรูปแบบใหม่ จากเหล่านัก ออกแบบและผูส้ ร้างสรรค์ผลงานทีม่ คี วามสนใจและใส่ใจในงานหัตถกรรม โดยมีการน�าเทคนิค วิธกี ารสร้างสรรค์ งานในแบบดั้งเดิมมาประยุกต์และปรับใช้กับกรรมวิธีที่ทันสมัยให้เกิดเป็นผลงานอันร่วมสมัยขึ้นมา ซึ่งได้ถือว่า เป็นการต่อยอดและการรักษาภูมิปัญญาและองค์ความรู้ในเชิงช่างหัตถกรรมแบบดั้งเดิมไว้ให้คงอยู่สืบไป โดย การจัดกิจกรรมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้เป็นการจัดกิจกรรมเผยแพร่องค์ความรู้ และร่วมกันทดลอง ปฏิบัติการทางด้านงานสิ่งทอ โดยมีการมุ่งเน้น ดังนี้ 1. การมุ่งเน้นการสืบทอด และถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านงานสิ่งทอ ทั้งในด้านของงานหัตถกรรม แบบดั้งเดิม และงานหัตถกรรมรูปแบบของงานสมัยใหม่ 2. การมุ่งเน้นการถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านเทคนิค กระบวนการสร้างสรรค์งาน และวิธีการต่อยอด งานหัตถกรรมพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ 3. การมุ่งเน้นสร้างสรรค์งานหัตถกรรมร่วมสมัย โดยการสร้างสรรค์จากรากฐานทางงานหัตถกรรม และกระบวนการสร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติ เพื่อสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ที่ส่งผลดีต่อชุมชน 4. การมุ่งเน้นในการน�าเสนอผลงานหัตถกรรมของเมืองเชียงใหม่ให้เป็นที่ประจักษ์ และได้รับความสนใจ ต่อผู้คนภายนอกทั้งในประเทศและต่างประเทศ 26
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
นอกจากนี้ยังมีการจัดการอบรมโดยการผสมผสานงานหัตถกรรมแบบดั้งเดิมเข้าร่วมกับองค์ความรู้ทาง นวัตกรรมการออกแบบ (Innovation) สูก่ ารสร้างสรรค์และต่อยอดผลงานของงานหัตถกรรมให้มคี วามร่วมสมัย และคงความเป็นเอกลักษณ์ของงานหัตถกรรมพื้นบ้านให้คงอยู่สืบไปโดยในท้ายที่สุดหลังจากการจัดกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการเสร็จสิ้นแล้วนั้นจะเป็นการน�าผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมการอบรมมาร่วมประยุกต์ในการ เขียนแบบแผนสูก่ ารจัดการองค์ความรูใ้ นการสร้างสรรค์งานและพัฒนางานหัตถกรรมสืบต่อไป ซึง่ การจัดกิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร (Creative Workshop) ในครัง้ นีจ้ ะเป็นการร่วมการท�างานในระดับภาคีจากหลากหลาย หน่วยงาน อาทิ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันการศึกษาทั้งในระดับมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และ อุดมศึกษาจากหลากหลายสถาบันการศึกษา, ส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สังกัดส�านักนายกรัฐมนตรี (Creative Economy Agency: CEA), เหล่านักออกแบบ และผูท้ รงคุณวุฒทิ างการออกแบบและการสร้างสรรค์ งาน และอีกหลากหลายหน่วยงาน โดยที่ผ่านมาทางโครงการได้มีการประชาสัมพันธ์งานหัตถกรรมที่หลากหลายผ่านทาง Facebook page แต่กลับพบว่า กิจกรรมที่มักได้รับความสนใจมากที่สุดได้แก่กิจกรรม และหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับผ้า จากภาพที่ 3.1 เป็นภาพที่แสดงจ�านวนผู้คนที่เข้าถึงเนื้อหาซึงเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับงานหัตถกรรมอื่นที่ไม่ใช่ผ้ามีจา� นวนที่น้อยกว่า 10,000 คน แต่จากภาพที่ 3.2 เป็นภาพที่แสดงจ�านวนผู้ที่เข้าถึงเนื้อหาเกี่ยวกับงานหัตถกรรมที่เป็นผ้ามีจา� นวน มากกว่าหลายเท่าตัว และที่มากที่สุดมีผู้เข้าถึงกว่า 420,000 คน เป็นที่หนึ่งในเหตุผลที่ในปีนี้ทางคณะท�างานได้ เลือกผ้ามาเป็นจุดส�าคัญในปีนี้ เนื่องจากผ้าเป็นสิ่งที่สามารถสร้างสรรค์ได้ง่าย น�ามาต่อยอดในการสร้างสรรค์ โดยการดึงเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ได้อย่างง่าย และเกิดมูลค่าและการสร้างคุณค่าให้แก่งานหัตถกรรมที่สูงตาม มา เมื่อนับงานหัตถกรรมของเมืองเชียงใหม่ทั้ง 7 ประเภทแล้ว ผ้า ถือเป็นงานหัตถกรรมที่จะสามารถตอบโจทย์ ได้เร็วและง่ายที่สุด (Quick Win) เพื่อน�ามาใช้เป็นโมเดลในการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมประเภทอื่นของเมือง เชียงใหม่ ต่อไป
แสดงจ�านวนผู้คนที่เข้าถึงเนื้อหาซึงเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับงานหัตถกรรมอื่นที่ไม่ใช่ผ้า Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
27
เป็นภาพที่แสดงจ�านวนผู้ที่เข้าถึงเนื้อหาเกี่ยวกับงานหัตถกรรมที่เป็นผ้า จากการกล่าวมาข้างต้นนัน้ ทางโครงการจึงเล็งเห็นถึงความส�าคัญทีจ่ ะจัดกิจกรรมอบรมเชิงการปฏิบตั กิ าร (Creative Workshop) ในเรื่องราวของผ้าและสิ่งถักทอของงานหัตถกรรมในเมืองเชียงใหม่ ทั้งในกลุ่มพื้นที่ราบ และกลุ่มของชาติพันธุ์ในพื้นที่สูงของเมืองเชียงใหม่ ในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1. วิธีการสืบทอดและเรียนรู้ (How to) โดยการเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านงานสิ่งทอ ทั้งในกลุ่มพื้นที่ ราบ และงานสิ่งทอของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่สูงของเมืองเชียงใหม่ ให้เป็นที่รู้จักและมุ่งเน้นให้เล็งเห็นถึงความ ส�าคัญของงานหัตถกรรม เพื่อให้เกิดความตระหนักถึงคุณค่าและน�าไปสู่การรักษาและน�าไปต่อยอดเพื่อให้งาน หัตถกรรมสิ่งทอนี้คงอยู่สืบไป 2. มุ่งเน้นในการเสริมสร้างทักษะในกระบวนการสร้างงานหัตถกรรมในพื้นที่ (Skills) โดยการเสริมสร้าง ทักษะทางด้านเทคนิคของงานสิ่งทอ เพื่อเป็นการหาแนวทางและวิธีทางในการอนุรักษ์ รักษางานหัตถกรรมสิ่ง ทอในรูปแบบดั้งเดิม และการเสริมสร้างกระบวนการและแนวทางในการพัฒนาต่อยอดงานหัตถกรรมสิ่งทอให้ เกิดความร่วมสมัยและเป็นที่ได้รับความนิยม 3. ผลิตภัณฑ์จากการพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาและการน�าเสนอผลงานออกสู่สากลทั้งในและต่างประเทศ (Product and Presentation) โดยการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้จะเป็นการจัดอบรมเพื่อเรียนรู้ เข้าถึง และเข้าใจในหลักของการสร้างสรรค์ของงานหัตถกรรม โดยมีรากฐานจากรากงานหัตถกรรมดั้งเดิมอันมี เอกลักษณ์ที่โดดเด่นและมีคุณค่า เพื่อน�าไปสู่การต่อยอดโดยการน�าแนวคิด และเอกลักษณ์ของงานหัตถกรรมสู่ การสร้างสรรค์ เพื่อเกิดเป็นงานหัตถกรรมในรูปแบบใหม่ที่มีความทันสมัยและร่วมสมัยออกสู่สากล
28
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
โดยจากการศึกษาถึงคุณค่าและความส�าคัญงานหัตถกรรมสิง่ ทอของเมือเชียงใหม่จะพบว่างานหัตถกรรม สิ่งทอของเชียงใหม่นั้นล้วนเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมมาอย่างยาวนาน โดยถือว่างานหัตถกรรมทางด้านสิ่ง ทอนี้สามารถเป็นเอกลักษณ์ที่ชัดเจนให้แก่เมืองเชียงใหม่ได้กลายเป็นที่รู้จักและเป็นสิ่งที่เผยแพร่งานหัตถกรรม ของเมืองเชียงใหม่ออกไปสู่ภายนอก อาทิ ผ้าตีนจก อ�าเภอแม่แจ่ม ผ้าซิ่น อ�าเภอสันก�าแพง ผ้าทอไทยอง บ้าน ป่าตาล และนอกจากนี้ยังมีผ้าและงานสิ่งทอของกลุ่มชาติพันธุ์ในเมืองเชียงใหม่ที่ล้วนเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ ท้องถิ่น อันเป็นงานหัตถกรรมที่มีคุณค่า อาทิ ผ้าเขียนเทียนม้ง บ้านดอยปุย ผ้าปัก กลุ่มชาติพันธุ์อาข่า ผ้าทอ ของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ ซึ่งทางโครงการได้เล็งเห็นถึงความส�าคัญ และคุณค่าของงานหัตถกรรมเหล่านี้ที่ ควรจะมีการสืบทอด ต่อยอด และน�าเสนอให้เป็นที่ได้รับความสนใจ และอาจส่งผลไปสู่การสร้างเป็นอาชีพและ รายได้ในภาคหน้า โดยทางโครงการจึงได้จดั ท�าแผนกิจกรรมการฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร (Creative Workshop) ครั้งนี้เพื่อพัฒนางานออกแบบหัตถกรรมออกเป็นจ�านวน 4 ครั้ง โดยประกอบไปด้วย ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 : Chiang Mai Thai Textile เรียนรู้ สืบสาน สร้างสรรค์งานสิ่งทอ กิจกรรมที่ 2 : เส้นสาย สีสัน สร้างสรรค์สิ่งถักทอ กิจกรรมที่ 3 : Design Style Chiang Mai กิจกรรมที่ 4 : Creative of Chiang Mai โดยก่อนการเริ่มจัดกิจกรรมทั้ง 4 กิจกรรมที่ทางคณะท�างานได้ผ่านการสรุปและออกแบบรูปแบบในการ จัดกิจกรรมนั้นทางคณะท�างานได้ทา� การลงพืื้นที่ส�ารวจแหล่งชุมชนหัตถกรรมที่เป็นงานประเภทสิ่งทอของเมือง เชียงใหม่ที่ยังคงมีความเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ทา� การพูดคุยกับเหล่าช่างหัตถกรรมและ เก็บรวบรวมข้อมูลแหล่งงานหัตถกรรม อาทิ ชุมชนหัตถกรรมป่าตาล ชุมชนบ้านย่าพาย ชุมชนบ้านปง-ห้วยลาน กลุ่มทอผ้าสันก้างปลา อ�าเภอสันก�าแพง กลุ่มทอผ้าอ�าเภอดอยสะเก็ต ศูนย์การเรียนรู้บ้านไร่ใจสุข อ�าเภอหางดง
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
29
กิจกรรมที่ 1 : Chiang Mai Thai Textile เรียนรู้ สืบสำน สร้ำงสรรค์งำนสิ่งทอ วันที่ 6 - 7 ตุลำคม 2561 ณ สถำบันวิจัยสังคม มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ แนวคิดในกำรจัดกิจกรรม ในการจัดกิจกรรมครั้งที่ 1 มีชื่อกิจกรรมว่า “Chiang Mai Textile : เรียนรู้ สืบสาน สร้างสรรค์งานสิ่ง ทอ” เป็นการจัดกิจกรรมในรูปแบบการอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างพื้นฐานทางองค์ความรู้เกี่ยวกับงานสิ่งทอของ เมืองเชียงใหม่ ทั้งในพื้นที่ราบและจากกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นีท่สูง เพื่อให้ผู้อบรมได้รับความรู้เกี่ยวงานหัตถกรรม ประเภทสิ่งถักทอของเมืองเชียงใหม่ที่มีความหลากหลายและความโดดเด่นในเรื่องของเทคนิคการทอและการ สร้างลวดลาย วัสดุ และรูปแบบการสร้างสรรค์งานหัตถกรรม โดยในกิจกรรมครึ่งที่ 1 นี้เปรียบเหมือนการสร้าง พืน้ ฐานและสร้างความเข้าใจในเอกลักษณ์ของงานหัตถกรรมสิง่ ทอของเมืองเชียงใหม่ โดยมีการให้ความรูท้ างด้าน ผ้าและสิ่งถักทอจากเหล่าผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะสามารถน�าไปใช้ต่อยอดได้ในกิจกรรมถัดไป และ เป็นแนวคิดหลักพื้นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานต่อยอดทางงานหัตถกรรมพื้นบ้าน จุดประสงค์ในกำรจัดกิจกรรม 1. เพือ่ ให้สร้างความตระหนักรูถ้ งึ คุณค่า และความส�าคัญของงานหัตถกรรมประเภทผ้าของเมืองเชียงใหม่ 2. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้เทคนิคด้านงานสิ่งทอ อันเป็นพื้นฐานส�าคัญในการพัฒนางานหัตถกรรม สร้างสรรค์ ให้กับนักออกแบบรุ่นใหม่และชุมชน 3. เพือ่ เป็นการให้เกิดการกระตุน้ เศรษฐกิจภายในพืน้ ทีข่ องชุมชน มีการผลิตสินค้าทีเ่ กิดจากงานหัตถกรรม ในชุมชนทีม่ กี ารออกแบบทีผ่ า่ นกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ทงั้ รูปแบบดัง้ เดิมและการออกแบบ ร่วมสมัย 4. ผลของการจัดกิจกรรมสู่การตอบโจทย์เป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในข้อ : 1 2 3 4 5 8 9 10 11 12 17 กำรด�ำเนินงำน/รูปแบบกำรจัดกิจกรรม ขัน้ ตอนเตรียมกำรจัดกิจกรรม ในขัน้ ตอนการด�าเนินงานก่อนการจัดกิจกรรมในครัง้ ที่ 1 ภายหลังจากการ ได้ผลสรุปแนวคิดหลักของการจัดกิจกรรมในปี 2561 ทางคณะท�างานได้ทา� การวางแผนและออกแบบแนวทางใน การจัดกิจกรรม โดยในปีนี้เป็นการจัดกิจกรรมในรูปแบบต่อเนื่องเพื่อเป็นการทดลองและปฏิบัติสร้างองค์ความ รู้ โดยได้แบ่งส่วนการจัดกิจกรรมออกเป็นทั้งหมด 4 ครั้ง โดยเป็นการร้อยเรียงกระบวนการตั้งแต่การปลูกฝัง แนวคิดการสร้างงานจากทฤษฎี สูก่ ารสร้างแรงบันดาลใจจากการลงมือปฏิบตั ิ และการทดลองผลิตชิน้ งานในชัน้ ตอนสุดท้าย ซึ่งในกิจกรรมครั้งที่ 1 นี้ เป็นการเสริมสร้างแนวคิดและการปูพื้นฐานของงานหัตถกรรมสิ่งทอโดย ทางคณะท�างานได้มีการเชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านงานผ้าและสิ่งถักทอมาร่วมบรรยายเพื่อให้ความรู้แก่ ผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรม โดยมีการแบ่งออกเป็นงานหัตถกรรมผ้าและสิ่งถักทอของคนพื้นราบเชียงใหม่ และงาน หัตถกรรมผ้าและสิ่งถักทอของกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงของเมืองเชียงใหม่ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
31
32
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
วิทยำกรผู้บรรยำย วันที่ 6 ตุลำคม 2561 คุณวสิน อุ่นจะน�ำ นักวิชาการผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านผ้า และสิ่งถักทอในกลุ่มชาติพันธุ์ไท
วันที่ 7 ตุลำคม 2561
รองศำสตรำจำรย์ทรงศักดิ์ ปรำงค์วัฒนำกุล อาจารย์ประจ�าภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้ากลุ่มชาติพันธุ์ไทและสิ่งทอ
อำจำรย์นุสรำ เตียงเกตุ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าและสิ่งถักทอ
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
33
34
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ขั้นตอนจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมในวันที่ 6 ตุลาคม 2561 กิจกรรมครั้งนี้จัดท�าขึ้นในรูปแบบการสร้างความเข้าใจและรับ รู้ถึงวัตถุประสงค์ของโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่สู่เมืองหัตถกรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO ด้าน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ในช่วงเช้าเป็นการบอกเล่าและแชร์ประสบการณ์ แนวทางในการขับเคลื่อนเมือง เชียงใหม่ในด้านหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้านตลอดการด�าเนินผ่านระยะเวลา 4 ปีและแนวทางในการด�าเนินงาน เพือ่ ขับเคลือ่ นและเพิม่ ประสิทธิภาพทางด้านงานหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้านของเมืองเชียงใหม่ และท�าการชีแ้ จง รายละเอียดของการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร (Creative Workshop) ในปีนแี้ ก่ผเู้ ข้าอบรมกิจกรรม ซึง่ จะ เป็นการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนือ่ งอย่างมีความเกีย่ วเนือ่ งกันและการท�างานร่วมกันกับชุมชนเพือ่ โดยเป็นแนวทาง ในการต่อยอดและสร้างสรรค์ผลงานของงานหัตถกรรมให้แก่ชุมชนในอนาคตต่อไป
รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ หัวหน้าโครงการฯ ได้กล่าวถึงที่มาและความส�าคัญของการ ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ในฐานะสมาชิกเมืองเครือข่ายสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
35
และในช่วงบ่าย ได้รับเกียรติจาก คุณวสิน อุ่นจะน�า นักวิชาการผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านผ้าและสิ่งถัก ทอในกลุ่มชาติพันธุ์ไท ได้มาให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่อง “ผ้าและสิ่งถักทอของเมืองเชียงใหม่” โดย เป็นการให้ความรู้และข้อมูลแก่ผู้เข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับเอกลักษณ์ ลักษณะ และจุดเด่นของผ้าและสิ่งถักทอของ คนเมืองในเมืองเชียงใหม่ เพือ่ เป็นการสร้างพืน้ ฐานและความเข้าใจแก่ผเู้ ข้าร่วมอบรมเพือ่ ทีจ่ ะน�าไปใช้เป็นข้อมูล และสร้างแรงบันดาลใจส�าหรับการสร้างสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเพื่อเมืองเชียงใหม่ในกิจกรรมต่อไป
การบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่อง “ผ้าและสิ่งถักทอของเมืองเชียงใหม่” โดย คุณวสิน อุ่นจะน�า นักวิชาการผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านผ้าและสิ่งถักทอในกลุ่มชาติพันธุ์ไท
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
37
การจัดกิจกรรมในวันที่ 7 ตุลาคม 2561 การจัดกิจกรรมในวันนี้เป็นการให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับงานสิ่งทอของกลุ่มชาติพันธุ์ในเมืองเชียงใหม่ ในหัวข้อ “ผ้าและสิ่งถักทอของกลุ่มชาติพันธุ์” โดยได้รับ เกียรติจาก ท่านรองศาสตราจารย์ทรงศักดิ์ ปรางค์วฒ ั นากุล อาจารย์ประจ�าภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านผ้าและสิ่งถักทอของกลุ่มชาติพันธุ์ และอาจารย์นุสรา เตียงเกตุ ผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านผ้าและผูก้ อ่ ตัง้ ศูนย์การเรียนรูบ้ า้ นไร่ใจสุข โดยทัง้ สองท่านได้มาพูดคุยแลกเปลีย่ นและให้ความ รูแ้ ก่ผเู้ ข้าร่วมอบรมเกีย่ วกับลักษณะทัง้ ทางประวัตศิ าสตร์ เอกลักษณ์ จุดเด่นทัง้ ทางด้านวิถชี วี ติ และทางด้านของ งานสิ่งถักทอของกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในเมืองเชียงใหม่ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถมองเห็นและเข้าใจถึง ลักษณะจุดเด่นของเอกลักษณ์เฉพาะตัวในการสร้างสรรค์งานของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ เพื่อสามารถน�ามาใช้เป็น เป็นแนวคิดในการสร้างสรรค์งานต่อยอดและประยุกต์ใช้ในทางงานหัตถกรรมได้ในกิจกรรมต่อไป และสามารถ น�าไปปรับใช้ได้ในการสร้างสรรค์งานอื่นๆ ในชีวิตประจ�าวันได้
การบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่อง “ผ้าและสิ่งถักทอของกลุ่มชาติพันธุ์” โดยรองศาสตราจารย์ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และอาจารย์นุสรา เตียงเกตุ
ประมวลภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่อง “ผ้าและสิ่งถักทอของกลุ่มชาติพันธุ์” โดยรองศาสตราจารย์ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และอาจารย์นุสรา เตียงเกตุ และ ผู้เข้าอบรม
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
39
ผลลัพธ์จำกกำรจัดกิจกรรม จากการจัดกิจกรรมในครั้งที่ 1 Chiang Mai Textile เรียนรู้ สืบสาน สร้างสรรค์งานสิ่งทอ โดยผู้เข้าร่วม อบรมกิจกรรมได้รับการเรียนรู้เรื่องพื้นฐานเกี่ยวกับงานสิ่งทอของเมืองเชียงใหม่ ทั้งในแบบพื้นเมืองดั้งเดิม และ งานสิง่ ทอของกลุม่ ชาติพนั ธุ์ โดยได้รบั องค์ความรูใ้ นเรือ่ ง ความเป็นมาของวิถชี วี ติ ของกลุม่ คนในเมืองเชียงใหม่ การ ตัง้ ถิน่ ฐาน ตลอดจนการสร้างสรรค์งานของสิง่ ทอ และเรียนรูเ้ ทคนิคพินื้ ฐานในการสร้างงานสิง่ ทอทัง้ ของผูค้ นใน พืน้ ทีร่ าบและการเทคนิคการสร้างงานสิง่ ทอของกลุม่ ชาติพนั ธุใ์ นพืน้ ทีส่ งู ของเมืองเชียงใหม่ ซึง่ องค์ความรูท้ ผี่ เู้ ข้า อบรมกิจกรรมได้รับจากการจัดกิจกรรมในครั้งที่ 1 นี้จะเป็นการน�าไปต่อยอดเพื่อใช้เป็นแนวคิดในการออกแบบ และพัฒนางานในกิจกรรมต่อไปทีจ่ ะท�าการจัดขึน้ โดยเมือ่ ผูเ้ ข้าร่วมอบรมกิจกรรมได้เรียนรูแ้ ละผ่านการเข้าร่วม กิจกรรมแล้วนั้น สามารถน�าแนวคิด เทคนิค และวิธีการสร้างสรรค์งานไปใช้ในการออกแบบและสร้างผลงาน ผลิตภัณฑ์ต้นแบบขึ้นได้จากกระบวรการทั้งหมดที่ได้ผ่านการจัดกิจรรมมา
ประมวลภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลระหว่างวิทยากรและผู้เข้าอบรมจากการจัดกิจกรรม 40
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เอกสำรประกอบกำรบรรยำย กิจกรรม “Chiang Mai Thai Textile เรียนรู้ สืบสาน สร้างสรรค์งานสิ่งทอ” Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
41
เอกสำรประกอบกำรบรรยำย กิจกรรม “Chiang Mai Thai Textile เรียนรู้ สืบสาน สร้างสรรค์งานสิ่งทอ”
42
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
รับชมคลิปวิดีโอภำพบรรยำกำศกิจกรรม “Chiang Mai Thai Textile เรียนรู้ สืบสาน สร้างสรรค์งานสิ่งทอ” ได้ที่ QR Code หรือลิงค์ https://goo.gl/r2wNGq
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
43
กิจกรรมที่ 2 : เส้นสำย สีสัน สร้ำงสรรค์สิ่งถักทอ วันที่ 20 - 21 ตุลำคม 2561 ณ สตูดิโอแน่นหนำ และ ศูนย์กำรเรียนรู้บำ้ นไร่ใจสุข แนวคิดในกำรจัดกิจกรรม กิจกรรมครัง้ ที่ 2 มีชอื่ กิจกรรมว่า “เส้นสาย สีสนั สร้างสรรค์สงิ่ ถักทอ” เป็นกิจกรรมทีต่ อ่ เนือ่ งจากกิจกรรม ในครัง้ ทีผ่ า่ นมาแล้วนัน้ จากการได้รบั ความรูพ้ นื้ ฐานของงานสิง่ ทอของเมืองเชียงใหม่แล้ว เพือ่ น�าผูเ้ ข้าร่วมอบรม สร้างพืน้ ฐานและความเข้าใจเกีย่ วกับการออกแบบในขัน้ ตอนถัดไปนัน้ ทางโครงการจึงต้องการให้ผเู้ ข้าร่วมอบรมมี ความรูแ้ ละความเข้าใจพืน้ ฐานเกีย่ วกับงานสิง่ ทอ โดยการน�าผูเ้ ข้าร่วมอบรมไปเรียนรูแ้ ละสืบทอดองค์ความรูด้ า้ น เทคนิคการสร้างสรรค์งานสิ่งทอ โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการองค์ความรู้ทางด้านเส้นใย เทคนิค และกรรมวิธีการ ย้อมโดยการสร้างสรรค์จากสีธรรมชาติ และวัสดุธรรมชาติ และการทดลองปฏิบัติการทางด้านงานสิ่งทอ ในการ สร้างลวดลายจากเทคนิคต่างๆ ตลอดทั้งการตกแต่ง อาทิ เทคนิคการปัก เทคนิคการย้อม เป็นต้น เพื่อเป็นการ สร้างสรรค์แรงบันดาลใจและเสริมสร้างความเข้าใจในการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมให้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ซึ่งจะ สามารถน�าความรู้ที่ได้จากการจัดอบรมเชิปฏิบัติการนี้ไปใช้สร้างสรรค์ผลงานในกิจกรรมต่อไป จุดประสงค์ในกำรจัดกิจกรรม 1. เพื่อให้สร้างความตระหนักรู้ถึงคุณค่า และความส�าคัญของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านในท้องถิ่น ของตนเอง 2. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้เทคนิคด้านงานสิ่งทอ อันเป็นพื้นฐานส�าคัญในการพัฒนางานหัตถกรรม สร้างสรรค์ ให้กับนักออกแบบรุ่นใหม่และชุมชน 3. ผลของการจัดกิจกรรมสู่การตอบโจทย์เป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในข้อ : 1 2 3 4 5 8 9 10 11 12 17 กำรด�ำเนินงำน/รูปแบบกำรจัดกิจกรรม ขั้นตอนเตรียมกำรจัดกิจกรรม ในการจัดกิจกรรมครั้งที่ 2 เส้นสาย สีสัน สร้างสรรค์สิ่งถักทอ ทางคณะท�างานได้มีการออกแบบกิจกรรม ในครัง้ นีใ้ ห้มคี วามต่อเนือ่ งจากการจัดกิจกรรมในครัง้ ที่ 1 และเชือ่ มโยงทางกระบวนการในการออกแบบทีจ่ ะเกิด ขึ้นภายหลังในกิจกรรมครั้งที่ 3 และ 4 โดยการจัดกิจกรรมในครั้งที่ 2 นี้เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อเรียนรู้และสร้าง ความเข้าใจพื้นฐานอันเป็นปัจจัยส�าคัญใรการสร้างสรรค์ชิ้นงาน โดยเป็นการน�าผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรมในเรื่อง ของเส้นใย การสร้างสีสรรค์ และการสร้างเทคนิคลวดลายให้กบั งานสิง่ ทอ โดยทางโครงการได้ทา� การลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ท�าการติดต่อวิทยากรผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านงานสิ่งทอและการสร้างลวดลายในงานสิ่งทอ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
45
46
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ครั้งที่ 1 ในวันที่ 8 ตุลาคม 2561 ทางคณะท�างานได้เดินทางลงส�ารวจพื้นที่ในการจัดกิจกรรม ณ ศูนย์การเรียนรู้บ้านไร่ใจสุข 203 หมู่ 1 ซอย 4 ต�าบลบ้านแหวน อ�าเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 50230 ของ ท่านอาจารย์ นุสรา เตียงเกตุ ผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านงานสิง่ ทอ ซึง่ ศูนย์การเรียนรูบ้ า้ นไร่ใจสุขเป็นการก่อตัง้ โดยท่าน อาจารย์นุสร เตียงเกตุ เพื่อใช้เป็นสถานที่ในการเผยแพร่และเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับงานสิ่งทอและหัตถกรรม พื้นบ้านโดยมีการเปิดจัดอบรมและเป็นสถานที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่ผู้ที่มีความสนใจทางด้านงานหัตถกรรม และงานสิง่ ทอสามารถเข้าไปศึกษาเรียนรูแ้ ละแลกเปลียน่ ประสบการณ์ได้โดยทางคณะท�างานได้ทา� การประสาน งานและพูดคุยเเลกเปลี่ยนแนวคิดและรูปแบบวิธีในการจัดกิจกรรมเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรมได้รับ ความรู้และสามารถเสริมสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่สามารถน�าไปใช้เป็นแนวคิดในการต่อยอด ได้ในกิจกรรมต่อๆ ไป
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
47
ครั้งที่ 2 ในวันที่ 9 ตุลาคม 2561 ทางคณะท�างานได้เดินทางลงส�ารวจพื้นที่ในการจัดกิจกรรม ณ สตูดิ โอแน่นหนา 138/8 ซอยช่างเคี่ยน ถนนห้วยแก้ว ต�าบลช้างเผือก อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ สตูดิโอ แน่นหนาเป็นสถานทีท่ ใี่ ช้ในการสร้างสรรค์งานสิง่ ทอและใช้เป็นสถานทีใ่ นการเผยแพร่ความรูแ้ ละทดลองปฏิบตั ิ งานเกี่ยวกับงานสิ่งทอของ โดยท่านอาจารย์แพทรีเซีย ชีสแมน ผู้เชี่ยวชาญทางด้านงานสิ่งทอ และผ้าในกลุ่ม ชาติพันธุ์ไท ผู้ริเริ่มการศึกษาเรื่องราวและเผยแพร่งานวิชาการของกลุ่มผ้าชาติพันธุ์ ทางคณะท�างานได้ท�าการ ประสานงานและพูดคุยเเลกเปลีย่ นแนวทางและรูปแบบวิธใี นการจัดกิจกรรมเพือ่ เป็นการเสริมสร้างพืน้ ฐานความ รูแ้ ละทักษะในด้านของเส้นใยและการใช้วสั ดุธรรมชาติในการสร้างสีสนั แก่งานสิง่ ทอเพือ่ มุง่ เน้นให้ผเู้ ข้าร่วมอบรม กิจกรรมได้รับความรู้และสามารถเสริมสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่สามารถน�าไปใช้เป็นแนวคิด ในการต่อ ยอดได้ในกิจกรรมต่อๆ ไป
48
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
วิทยำกรผู้บรรยำย วันที่ 20 ตุลำคม 2561
อำจำรย์แพทรีเซีย ชีสแมน ผู้เชี่ยวชาญทางด้านงานสิ่งทอและผ้าในกลุ่มชาติพันธุ์ไท ผู้ริเริ่มการศึกษาเรื่องราวและเผยแพร่งานวิชาการของ กลุ่มผ้าชาติพันธุ์
วันที่ 21 ตุลำคม 2561
อำจำรย์นุสรำ เตียงเกตุ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าและสิ่งถักทอ
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
49
ขั้นตอนกำรจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมในวันที่ 20 ตุลาคม 2561 ในกิจกรรมครั้งนี้เป็นการน�าผู้เข้าร่วมกิจกรรมไปเรียนรู้ เสริม สร้างความเข้าใจและสร้างแรงบันดาลใจ โดยการท�ากิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร (Creative Workshop) ซึง่ ในการ จัดกิจกรรมครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก อาจารย์แพทริเซีย ชีสแมน ณ สตูดิโอแน่นหนา โดยการจัดกิจกรรม Creative Workshop ในครัง้ นีเ้ ป็นการแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละให้ความรูใ้ นเรือ่ งเส้นใยในสิง่ ถักทอ การสร้างสีสนั เทคนิคและ วิธกี ารสร้างสลวดลายแก่เส้นใยในงานสิง่ ถักทอโดยการใช้สธี รรมชาติจากวัสดุในธรรมชาติและแนวทางในการน�า วัสดุธรรมชาติมาสร้างสรรค์งานสิ่งทอ
กิจกรรม Creative Workshop เรียนรู้เรื่องเส้นใย และการย้อมสีธรรมชาติ ณ สตูดิโอแน่นหนา โดย อาจายร์แพทริเซีย ชีสแมน 50
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ประมวลภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องเรียนรู้เรื่องเส้นใย และการย้อมสีธรรมชาติ ณ สตูดิโอแน่นหนา โดย อาจายร์แพทริเซีย ชีสแมน Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
51
การจัดกิจกรรมในวันที่ 21 ตุลาคม 2561 ภายหลังจากการเรียนรู้และได้ทบลองปฏิบัติการเรื่องเส้นใย และการสร้างสีสันเพื่องานสิ่งทอแล้วนั้น ทางโครงการได้น�าผู้เข้าร่วมกิจกรรมไปร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อ การสร้างลวดลายให้แก่ผนื ผ้าและงานสิง่ ทอ โดยได้นา� ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมเดินทางไปยังศูนย์การเรียนรูบ้ า้ นไร่ใจสุข ของอาจารย์นุสรา เตียงเกตุ ผู้มีความรักและเชี่ยวชาญในงานสิ่งทอ โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เข้าร่วมท�ากิจกรรม Creative Workshop เกี่ยวกับกรรมวิธีในการสร้างเส้นใยและวิธีการสร้างสรรค์ลวดลายบนผืนผ้าทั้งในรูปแบบ ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทในพื้นราบและของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่สูง
กิจกรรม Creative Workshop เรียนรู้เทคนิค การทอ และการสร้างลวดลาย ณ ศูนย์การเรียนรู้บ้านไร่ใจสุข โดย อาจายร์นุสรา เตียงเกตุ
กิจกรรม Creative Workshop เรียนรู้เทคนิค กรรมวิธีการเตรียมเส้นใย
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
53
กิจกรรม Creative Workshop เรียนรู้เทคนิค การทอด้วยกี่แบบกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง (กี่เอว)
54
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
กิจกรรม Creative Workshop เรียนรู้เทคนิคการทอและการสร้างลวดลายด้วยกี่แบบพื้นเมือง โดยการสร้างลวดลายจากเทคนิคจก และเกาะล้วง และการปัก
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
55
ประมวลภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่อง “ผ้าและสิ่งถักทอของกลุ่มชาติพันธุ์” โดยรองศาสตราจารย์ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และอาจารย์นุสรา เตียงเกตุ และ ผู้เข้าอบรม 56
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ผลลัพธ์จำกกำรจัดกิจกรรม ในการจัดกิจกรรมครั้งที่ 2 เป็นการน�าผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรมไปเรียนรู้และฝึกฝนในทางเทคนิคเกี่ยวกับ เรื่องของเส้นใย การย้อมสีโดยวัสดุจากธรรมชาติ และเทคนิคในการสร้างลวดลายให้กับผืนผ้าด้วยเทคนิคในการ ทอทัง้ ในแบบพืน้ เมือง (กีเ่ มือง) และการทอในรูปแบบของกลุม่ ชาติพนั ธุ์ (กีเ่ อว) ซึง่ จากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบตั ิ การในกิจกรรมครั้งนี้ สามารถเห็นได้ว่าผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรมมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องของเทคนิคและ การน�าเส้นใยไปใช้ในการสร้างสรรค์งานได้ โดยจากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้เปรียบเสมือนเป็นการต่อเนื่องทาง กระบวนการในการสร้างสรรค์ผลงานจากกิจกรรมที่ผ่านมาซึ่งส่งผลใหเผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีพื้นฐานและเข้าใจใน เทคนิคของการสร้างสรรค์ลวดลายและการเลือกใช้วสั ดุเพือ่ ทีจ่ ะเตรียมในการออกแบบชิน้ งานใรกิจกรรมต่อไปได้
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
57
รับชมคลิปวิดีโอภำพบรรยำกำศกิจกรรม “เส้นสาย สีสัน สร้างสรรค์สิ่งถักทอ” ได้ที่ QR Code หรือลิ้งค์ https://goo.gl/kcvj1v
58
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
กิจกรรมที่ 3 : Design Style Chiang Mai วันที่ 27 - 28 ตุลำคม 2561 สถำนที่ สถำบันวิจัยสังคม มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ แนวคิดในกำรจัดกิจกรรม กิจกรรมครั้งที่ 3 มีชื่อกิจกรรมว่า “Design Style Chiang Mai” เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องจากกิจกรรมใน ครัง้ ทีผ่ า่ นมาแล้วโดยเป็นกิจกรรมในเชิงเสริมสร้างแนวคิดทางด้านการออกแบบ การสร้างสรรค์ และการท�างาน ร่วมกับชุมชน ซึง่ หลังจากผูเ้ ข้าร่วมอบรมได้รว่ มเรียนรูแ้ ละได้รบั แนวคิดต่างๆ จากกิจกรรมทีผ่ า่ นมา ในกิจกรรมนี้ จะต้องน�ามาปรับใช้ผา่ นกระบวนการคิดและสร้างสรรค์สกู่ ารออกแบบผลงานผลิตภัณฑ์เพือ่ ร่วมผลิตและท�างาน งานร่วมกับชุมชนหัตถกรรมในเมืองเชียงใหม่ จุดประสงค์ในกำรจัดกิจกรรม 1. เพื่อให้สร้างความตระหนักรู้ถึงคุณค่า และความส�าคัญของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านในท้องถิ่น ของตนเอง 2. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้เทคนิคด้านงานสิ่งทอ อันเป็นพื้นฐานส�าคัญในการพัฒนางานหัตถกรรม สร้างสรรค์ ให้กับนักออกแบบรุ่นใหม่และชุมชน 3. เพือ่ เป็นการให้เกิดการกระตุน้ เศรษฐกิจภายในพืน้ ทีข่ องชุมชน มีการผลิตสินค้าทีเ่ กิดจากงานหัตถกรรม ในชุมชนทีม่ กี ารออกแบบทีผ่ า่ นกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ทงั้ รูปแบบดัง้ เดิมและการออกแบบ ร่วมสมัย 4. เพือ่ สร้างสรรค์ผลงานทีม่ าจากรากฐานจากงานทางวัฒนธรรม สูง่ านหัตถกรรมร่วมสมัยโดยนักออกแบบ รุ่นใหม่ 5. เพื่อส่งเสริมเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (The Sustainable Development Goals : SDGs) 6. ผลของการจัดกิจกรรมสู่การตอบโจทย์เป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในข้อ : 1 2 3 4 5 8 9 10 11 12 17 กำรด�ำเนินงำน/รูปแบบกำรจัดกิจกรรม ขั้นตอนเตรียมกำรจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมในครั้งที่ 3 ทางคณะท�างานได้วางแนวทางในการจัดกิจกรรมโดยหลังจากผู้เข้าร่วมอบ รกิจกรรมทั้ง 30 ท่านได้ผ่านการเรียนรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของงานสิ่งทอของเมืองเชียงใหม่ และได้ลงมือปฏิบัติ ลดลองในกิจกรรมการสร้างสีสันและลวดลายลงบนผืนผ้าให้แก่งานสิ่งทอ ซึ่งในกิจกรรมครั้งที่ 3 นี้ ในวันที่ 1 ของการจัดกิจกรรมเป็นการน�าผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรมร่วมเรียนรู้และรับแนวคิดเกี่ยวกับการท�างานร่วมกับ ชุมชนเพื่อแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานซึ่งทางคณะท�างานได้เรียนเชิญท่านวิทยากรผู้ผ่านการร่วมท�างาน 60
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
กับหลากลหายชุมชนมากบอกเล่าประสบการณ์และชี้แนะแนวทางในการเข้าไปท�างานร่วมกันกับผู้คนในชุมชน โดยได้รับเกียรติจาก ดร.กรวรรณ สังขกร และ ดร.เผชิญวาส ศรีชัย จากศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาร่วมพูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และร่วมให้แนวทางในการ ท�างาน ร่วมกับชุมชนแก่ผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรม และได้เรียนเชิญนักออกแบบสร้างสรรค์ผลงานจากกลุ่มคนรุ่น ใหม่ โดยได้รับเกียรติจาก คุณยุจเรศ สมนา จากแบรนด์ ETHNICA ผู้สร้างสรรค์งานโดยการดึงน�าเอาเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของงานหัตถกรรมพืน้ บ้านมาต่อยออดและสร้างสรรค์ผลงานให้เกิดความร่วมสมัยและสร้างมูลค่า ให้แก่งานหัตถกรรมจากฝีมอื ของช่างพืน้ บ้าน และคุณศุภกร สันคนาภรณ์ จากแบรนด์ LONG GOY นักออกแบบ รุน่ ใหม่ทนี่ า� เอาเอกลักษณ์ของล้านนามาสร้างสรรค์และต่อยอดเป็นงานสมัยใหม่ทยี่ งั คงเอกลักษณ์และความทัน สมัยใบห้แก่งาน โดยได้รับเกียรติจากทั้งสองนักออกแบบรุ่นใหม่มาร่วมบอกเล่าและแลกเปลี่ยนแนวคิดจากการ สร้างสรรค์งานโดยการต่อยอดจากต้นทุนทางวัฒนธรรมจากนักออกแบบและร่วมแนะแนวทางในการน�าทุนเดิม ทางวัฒนธรรมมาต่อยอดและสร้างสรรค์ผลงานให้ยังคงเอกลักษณ์และคุณค่าสืบไป และในวันที่ 2 ของการจัด กิจกรรมทางคณะท�างานได้เรียนเชิญวิทยากรจากทัง้ สามกิจกรรมทีไ่ ด้ผา่ นมา ได้มาร่วมเป็นผูช้ แี้ นะแนวทางและ ให้ค�าปรึกษาแก่ผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรมในการออกแบบชิ้นงาน
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
61
62
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
วิทยำกรผู้บรรยำย วันที่ 27 ตุลำคม 2561
ดร.กรวรรณ สังขกร ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดร.เผชิญวำส ศรีชัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
63
คุณยุจเรศ สมนำ นักออกแบบจากแบรนด์ ETHNICA ผู้สร้างสรรค์ผลงานต่อยอดจากแนวคิดงานหัตถกรรมและ ทุนทางวัฒนธรรม โดยการสร้างสรรค์งานร่วมกับชุมชน
คุณศุภกร สันคนำภรณ์ นักออกแบบจากแบรนด์ LONG GOY นักออกแบบรุ่นใหม่ที่น�าเอาเอกลักษณ์ของล้านนามาสร้าง สรรค์และต่อยอดเป็นงานสมัยใหม่ที่ยังคงเอกลักษณ์และ ความทันสมัยใบห้แก่งาน
64
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
วันที่ 28 ตุลำคม 2561
อำจำรย์นุสรำ เตียงเกตุ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าและสิ่งถักทอ
คุณวสิน อุ่นจะน�ำ นักวิชาการผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านผ้า และสิ่งถักทอในกลุ่มชาติพันธุ์ไท
คุณศุภกร สันคนำภรณ์ นักออกแบบจากแบรนด์ LONG GOY นักออกแบบรุ่นใหม่ที่น�าเอาเอกลักษณ์ของล้านนามาสร้าง สรรค์และต่อยอดเป็นงานสมัยใหม่ที่ยังคงเอกลักษณ์และ ความทันสมัยใบห้แก่งาน
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
65
ชั้นตอนจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมในวันที่ 27 ตุลาคม 2561 กิจกรรมในช่วงเช้า เป็นการแลกเปลีย่ นแนวคิดและประสบการณ์ ของจากการท�างานร่วมกับชุมชน โดยได้รบั เกียรติจาก ดร.กรวรรณ สังขกร และ ดร.เผชิญวาส ศรีชยั จากศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการท่องเทีย่ ว สถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมบอกเล่าและแลกเปลีย่ นประสบการณ์ใน การท�างานร่วมกับชุมชนแก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ “แนวทาง การพัฒนา การท�างานร่วมกับชุมชน” เพื่อที่จะ ได้ใช้เป็นแนวทางและสามารถน�าไปใช้ได้จริงเมื่อต้องการท�างานร่วมชุมชนในการร่วมกันผลิตผลงานหัตถกรรม ตัวอย่าง
การแลกเปลี่ยนแนวคิดและประสบการณ์ของจากการท�างานร่วมกับชุมชน โดย ดร.กรวรรณ สังขกร และ ดร.เผชิญวาส ศรีชัย จากศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
66
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
และในช่วงบ่าย ได้รับเกียรติจากเหล่านักออกแบบรุ่นใหม่ คุณยุจเรศ สมนา จากแบรนด์ ETHNICA ผูส้ ร้างสรรค์งานโดยการดึงน�าเอาเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของงานหัตถกรรมพืน้ บ้านมาต่อยออดและสร้างสรรค์ ผลงานให้เกิดความร่วมสมัยและสร้างมูลค่าให้แก่งานหัตถกรรมจากฝีมอื ของช่างพืน้ บ้านและคุณศุภกร สันคนาภ รณ์ จากแบรนด์ LONG GOY นักออกแบบรุน่ ใหม่ทนี่ า� เอาเอกลักษณ์ของล้านนามาสร้างสรรค์และต่อยอดเป็นงาน สมัยใหม่ทยี่ งั คงเอกลักษณ์และความทันสมัยใบห้แก่งานร่วมบอกเล่าและแลกเปลีย่ นแนวคิด และการสร้างสรรค์ แรงบันดาลใจในการออกแบบจากงานหัตถกรรมและวิถชี มุ ชน ในหัวข้อ “สร้างสรรค์แรงบันดาลใจสูก่ ารออกแบบ ร่วมสมัยจากทุนทางเดิมวัฒนธรรม” โดยมีการแลกเปลี่ยนแนวคิดและประสบการณ์ผ่านงานออกแบบร่วมสมัย จากทัง้ สองนักออกแบบ และแนวทางในการออกแบบและพัฒนางานหัตถกรรมในรูปแบบดัง้ เดิมสูง่ านออกแบบร ร่วมสมัยทีส่ ามารถน�ามาใช้และผลิตได้จริงจากแรงบันดาลใจจากรากเหง้าทุนเดิมทางวัฒนธรรมของงานหัตถกรรม
การแลกเปลี่ยนแนวคิด และเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบ โดย คุณยุจเรศ สมนา จากแบรนด์ ETHNICA Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
67
การแลกเปลี่ยนแนวคิด และเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบ โดย คุณกล้า ศุภกร สันคนาภรณ์ จากแบรนด์ LONG GOY
68
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
การจัดกิจกรรมในวันที่ 28 ตุลาคม 2561 ในช่วงเช้าคณะผู้จัดกิจกรรมท�าการแนะน�าและให้ข้อมูลแหล่ง ชุมชนหัตถกรรมที่มีความเกี่ยวเนื่องกับงานสิ่งถักทอในเมืองเชียงใหม่ที่ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเข้าไปร่วมท�างาน และสร้างสรรค์ผลงานร่วมกับชุมชนเหล่านั้นได้
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
69
และในช่วงบ่ายผูเ้ ข้าร่วมอบรมได้นา� ผลงานทีผ่ า่ นการออกแบบเข้าปรึกษากับเหล่าผูท้ รงคุณวุฒซิ งึ่ ได้แก่ ผศ. ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์, อาจารย์นุสรา เตียงเกตุ, คุณวสิน อุ่นจะน�า และคุณศุภกร สันคนาภรณ์ จากแบรนด์ LONG GOY โดยทางผูเ้ ข้าร่วมอบรมได้เข้าน�าเสนอผลงานและรับฟังค�าชีแ้ นะเพือ่ น�าผลงานการออกแบบไปพัฒนา และต่อยอดสู่การผลิตเป็นผลงานต้นแบบในกิจกรรมต่อไป
ภาพบรรยากาศผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรม เข้าขอค�าแนะน�า แนวทางในการออกแบบชิ้นงานและแนวทางในการพัฒนาชิ้นงานกับทางวิทยากร
70
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ผลลัพธ์จำกกำรจัดกิจกรรม ผลการจัดกิจกรรมในครั้งที่ 3 เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนในเรื่องแนวความคิดในการ ท�างานร่วมกับชุมชน การสร้างสรรค์งานโดยการดึงทุนทางวัฒนธรรม และงานหัตถกรรมดั้งเดิมมาพัฒนาต่อย อดให้เกิดความสร้างสรรค์และพัฒนาเพื่อสร้างสรรค์เป็นชิ้นงานต้นแบบร่วมกับชุมชน โดยจากการจัดกิจกรรม ในครั้งนี้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้และแนวทางในการร่วมพัฒนาและสร้างสรรค์งานกับชุมชนโดยมีการชี้แนะ แนวทาง หลักการของการท�างาน แนวทางในการเข้าหาและท�างานร่วมกับชุมชน และนอกจากนีย้ งั ได้รบั แนวคิด ในการดึงเอกลักษณ์และอัตลักษณ์จดุ เด่นของงานหัตถกรรม และรากฐานทางวัฒนธรรมน�ามาใช้ในการออกแบบ ซึง่ หลังจากการแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ล้วนันท้ างผูเ้ ข้าร่วมอบรมได้ทา� การออกแบบชิน้ งานและเข้าขอค�าแนะน�าจาก เหล่าวิทยากร ซึง่ จากการออกแบบผลงานทัง้ สิน้ เป็นการออกแบบผลงานโดยการน�าแนวคิดมาจากงานหัตถกรรม ของชุมชน ออกแบบและสร้างสรรค์ผลงานเพือ่ สามารถน�ากลับไปผลิตและสร้างสรรค์ได้โดยชุมชนต่อไป ซึง่ ผูเ้ ข้า รวมกิจกรรมได้ท�าการออกแบบและน�าค�าแนะน�าไปใช้ในการปรับแก้เพื่อให้ชิ้นงานมีความสมบูรณ์และสามารถ ลงมือสร้างสรรค์ได้จริงในกิจกรรมครั้งที่ 4 เป็นขั้นตอนต่อไป
ภาพบรรยากาศผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรม เข้าขอค�าแนะน�า แนวทางในการออกแบบชิ้นงานและแนวทางในการพัฒนาชิ้นงานกับทางวิทยากร Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
71
ภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ชิ้นผลงานตัวอย่างจากผู้เข้าร่วมอบรม
72
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
รับชมคลิปวิดีโอภำพบรรยำกำศกิจกรรม “Design Style Chiang Mai” ได้ที่ QR Code หรือลิ้งค์ https://goo.gl/LRpLXN
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
73
กิจกรรมที่ 4 : Creative of Chiang Mai กำรจัดกิจกรรมระยะเวลำตลอดเดือนพฤศจิกำยน 2561
แนวคิดในกำรจัดกิจกรรม กิจกรรมครั้งที่ 4 : Creative of Chiang Mai เป็นกิจกรรมครั้งสุดท้ายของการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดย ภายหลังจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ท�าการเรียนรู้และฝึกฝนทักษะทางด้านงานหัตถกรรม ซึ่งหลังจากผ่านการ เรียนรู้ในทางด้านทฤษฎีและฝึกในด้านทักษะมาจากทั้ง 3 กิจกรรมที่ผ่านมาแล้วนั้น ทางผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้ ร่วมกับออกแบบและทดลองผลิตชิ้นงานหัตถกรรมที่ถือเป็นการรวบรวมและการสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรม ต่อยอดจากรากฐานและทุนเดิมของงานหัตถกรรมดั้งเดิมของเชียงใหม่ โดยการออกแบบจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม ในครั้งนี้เป็นการร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานโดยกลุ่มชุมชนและผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างสรรค์งานหัตถกรรม จาก การใช้ทักษะต่างๆ น�าไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานเพื่อเป็นการทดลองผลิตชิ้นงานเป็นชิ้นงานต้นแบบให้แก่เมือง เชียงใหม่ ภายใต้แบรนด์ของโครงการ Chiang Mai City of Crafts and Folk Art และน�าไปสู่การน�าเสนอผล งานหัตถกรรมที่มีการสร้างสรรค์จากการอบรมเชิงปฏิบัติการภานในงาน Chiang Mai Crafts Fair 2018 ที่ร่วม กับงาน Chiang Mai Design Week 2018 ในช่วงวันที่ 8 – 16 ธันวาคม 2561 เพื่อเป็นการน�าเสนองานและ เผยแพร่งานหัตถกรรมของเมืองเชียงใหม่ให้เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมมากยิ่งขึ้นไป จุดประสงค์ในกำรจัดกิจกรรม 1. เพื่อให้สร้างความตระหนักรู้ถึงคุณค่า และความส�าคัญของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านในท้องถิ่น ของตนเอง 2. เพือ่ เป็นการให้เกิดการกระตุน้ เศรษฐกิจภายในพืน้ ทีข่ องชุมชน มีการผลิตสินค้าทีเ่ กิดจากงานหัตถกรรม ในชุมชนทีม่ กี ารออกแบบทีผ่ า่ นกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ทงั้ รูปแบบดัง้ เดิมและการออกแบบ ร่วมสมัย 3. เพือ่ สร้างสรรค์ผลงานทีม่ าจากรากเหง้าทางวัฒนธรรม สูง่ านหัตถกรรมร่วมสมัยโดยนักออกแบบรุน่ ใหม่ 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมและเป็นพื้นที่แสดงงานส�าหรับนักออกแบบรุ่นใหม่ 5. เพื่อส่งเสริมเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (The Sustainable Development Goals : SDGs) 6. ผลของการจัดกิจกรรมสู่การตอบโจทย์เป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในข้อ : 1 2 3 4 5 8 9 10 11 12 17
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
75
กำรด�ำเนินงำน/รูปแบบกำรจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมในครั้งที่ 4 นี้ ถือเป็นการจัดกิจกรรมเพื่อสรุปผลของการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตลอด ระยะเวลาทั้ง 3 กิจกรรมที่ผ่านมานั้น โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ในทางทฤษฎีและในด้านการลงมือปฏิบัติ ทางเหล่าผูท้ รงคุณวุฒทิ างด้านงานสิง่ ทอจากหลากหลายแขนง และเสริมสร้างแรงบันดาลใจจากการลงมือปฏิบตั ิ ในพื้นที่และสิ่งแวดล้อมจริงเพื่อเป็นการเสริมสร้างความเข้าใจและแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน โดย ในกิจกรรมครั้งที่ 4 เป็นกิจกรรมที่ทางโครงการได้มอบโจทย์แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อร่วมกันออกแบบชิ้นงาน ผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากการต่อยอดผ่านทุนเดิมของงานหัตถรรมพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ โดยการดึงลักษณะ เด่น จุดเด่น และเอกลักษณ์ของงานหัตถกรรมมาสู่การออกแบบ และร่วมกันผลิตชิ้นงานออกมาร่วมกับแหล่ง ชุมชนหัตถกรรม เพื่อเป็นการทดลองและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักออกแบบและผู้คนในชุมชนไปอีกด้วย โดยการด�าเนินกิจกรรมในครั้งนี้เป็นการด�าเนินกิจกรรมในระยะยาวตลอดทั้งเดือนพฤศจิกายน 2561 เพื่อให้ผู้ เข้าร่วมกิจกรรมได้มีระยะเวลานการสร้างสรรค์ผลงาน และมีการติดตามงานโดยคณะท�างานจากทางโครงการ ร่วมชี้แนะแนวทางในการลงมือผลิตชิ้นงานต้นแบบและการท�างานร่วมกับชุมชนให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
76
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
77
ภำพผลงำนจำกกิจกรรมที่ 4 : Creative of Chiang Mai
78
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
79
80
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
81
82
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
83
84
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
85
86
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
87
88
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
89
90
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
91
92
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
93
94
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
95
96
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
97
98
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
99
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงเปฏิบตั กิ ารในปี 2561 นี้ เป็นการจัดกิจกรรมโดยได้มกี ารปรับเปลีย่ นรูปแบบ ของการจัดกิจกรรมฝึกอบรมให้มกี ารร้อยเรียงเรือ่ งราวของการจัดกิจกรรมทัง้ 4 ครัง้ ภายใต้หวั ข้อเดียวกันซึง่ ก็คอื “ผ้าและงานสิง่ ทอของเมืองเชียงใหม่” โดยเป็นการน�าเอางานหัตถกรรมผ้าและงานสิง่ ถักทอของเมืองเชียงใหม่มา เผยแพร่องค์ความรู้ เสริมสร้างทักษะ และน�ามาประยุกต์เพื่อสร้างสรรค์ต่อยอดในงานหัตถกรรมให้เกิดเป็นงาน หัตถกรรมรูปแบบใหม่ที่สามารถส่งเสริมและดึงดูดความสนใจแก่ผู้คนในยุคสมัยปัจจุบันให้หันกลับมาเล็งเห็นถึง คุณค่าและร่วมกันอนุรกั ษ์ รักษางานหัตถกรรมพืน้ บ้านของเมืองเชียงใหม่นใี้ ห้ยงั คงอยูส่ บื ไป โดยการจัดกิจกรรม ในปี 2561 แบ่งออกเป็นทั้งหมด 4 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1 : Chiang Mai Thai Textile เรียนรู้ สืบสาน สร้างสรรค์งานสิ่งทอ กิจกรรมที่ 2 : เส้นสาย สีสัน สร้างสรรค์สิ่งถักทอ กิจกรรมที่ 3 : Design Style Chiang Mai กิจกรรมที่ 4 : Creative of Chiang Mai
กระบวนการจัดท�าแผนกิจกรรมต้นแบบ (Process) โดยในกิจกรรมครั้งที่ 1 “Chiang Mai Thai Textile เรียนรู้ สืบสาน สร้างสรรค์งานสิ่งทอ” เป็นการ จัดกิจกรรมเพื่อสร้างพื้นฐานทางองค์ความรู้เกี่ยวกับงานสิ่งทอของเมืองเชียงใหม่ ทั้งในพื้นที่ราบและจากกลุ่ม ชาติพนั ธุบ์ นพืน้ ทีส่ งู ให้ผอู้ บรมได้รบั ความรูเ้ กีย่ วงานหัตถกรรมประเภทสิง่ ถักทอของเมืองเชียงใหม่ทมี่ คี วามหลาก หลายและความโดดเด่นในเรื่องของเทคนิคการทอและการสร้างลวดลาย วัสดุ และรูปแบบการสร้างสรรค์งาน หัตถกรรม ซึง่ เปรียบเหมือนการสร้างพืน้ ฐานและสร้างความเข้าใจในเอกลักษณ์ของงานหัตถกรรมสิง่ ทอของเมือง 100
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เชียงใหม่ และต่อมาในกิจกรรมที่ กิจกรรมครั้งที่ 2 “เส้นสาย สีสัน สร้างสรรค์สิ่งถักทอ” การเรียนรู้กระบวนการ องค์ความรู้ทางด้านเส้นใย เทคนิค และกรรมวิธีการย้อมโดยการสร้างสรรค์จากสีธรรมชาติ และวัสดุธรรมชาติ และการทดลองปฏิบัติการทางด้านงานสิ่งทอ ในการสร้างลวดลายจากเทคนิคต่างๆ ตลอดทั้งการตกแต่ง อาทิ เทคนิคการปัก เทคนิคการย้อม เป็นต้น เพื่อเป็นการสร้างสรรค์แรงบันดาลใจและเสริมสร้างความเข้าใจในการ สร้างสรรค์งานหัตถกรรมให้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ซึ่งจะสามารถน�าความรู้ที่ได้จากการจัดอบรมเชิปฏิบัติการนี้ไป ใช้สร้างสรรค์ผลงานในกิจกรรมต่อไป กิจกรรมครั้งที่ 3 “Design Style Chiang Mai” เป็นกิจกรรมในเชิงเสริม สร้างแนวคิดทางด้านการออกแบบ การสร้างสรรค์ และการท�างานร่วมกับชุมชน ซึ่งหลังจากผู้เข้าร่วมอบรม ได้ร่วมเรียนรู้และได้รับแนวคิดต่างๆ จากกิจกรรมที่ผ่านมา ในกิจกรรมนี้จะต้องน�ามาปรับใช้ผ่านกระบวนการ คิดและสร้างสรรค์สู่การออกแบบผลงานผลิตภัณฑ์เพื่อร่วมผลิตและท�างานงานร่วมกับชุมชนหัตถกรรมในเมือง เชียงใหม่ และในกิจกรรมที่ 4 “Creative of Chiang Mai” เป็นกิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทา� การออกแบบ และและร่วมกันผลิตชิ้นงานหัตถกรรมตัวอย่างร่วมกับชุมชน โดยสร้างสรรค์ผลงานจากการต่อยอดจากรากของ งานหัตถกรรมพื้นบ้าน สู่การสร้างสรรค์งานร่วมสมัย ซึง่ จากการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารในปี 2561 นี้ ผลตอบรับของการจัดกิจกรรมในรูปแบบต่อเนือ่ ง ร้อยเป็นเรื่องราวกันผ่านกระบวนการเสริมสร้างทักษะสู่การออกแบบ และสร้างสรรค์ชิ้นงานจริง ถือว่าเป็นการ ประสบผลส�าเร็จของการจัดกิจกรรม และส่งผลให้เกิดชิน้ งานผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จา� นวน 22 ชิน้ ทีล่ ว้ นเกิดจาก กระบวนการเสริมสร้างให้ความรู้ เสริมสร้างทักษะ และเสริมสร้างแรงบันดาลใจ ตัง้ แต่การจัดกิจกรรมในครัง้ ที่ 1 จนถึงครัง้ ที่ 4 ตลอดการจัดกิจกรรม โดยได้รบั ความร่วมมือจากผูเ้ ข้าร่วมอบรมทัง้ กลุม่ บุคคลทัว่ ไปทีใ่ ห้ความสนใจ นักศึกษาจากสถาบันต่างๆ และนักออกแบบรุ่นใหม่ที่ให้เกียรติร่วมกันในการสร้างสรรค์ค์ชิ้นงานร่วมกับชุมชน และนอกจากนี้ยังได้รับผลตอบรับจากชุมชนที่มีความสนใจและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการสร้างสรรค์งาน ร่วมกับกลุ่มผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยผลงานทั้ง 22 ชิ้นนี้ได้ถูกน�าไปจัดแสดงภายในงาน Chiang Mai Crafts Fair 2018 ณ หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ ร่วมกับงาน Chiang Mai Design Week 2018 ซึ่งได้รับผู้ตอบรับจาก บุคคลทั่วไปทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติให้ความสนใจในชิ้นงานและกระบวนการของการสร้างสรรค์งานร่วม กับชุมชนในครั้งนี้เป็นอย่างมากตลอดระยะเวลาของการจัดแสดงงานตั้งแต่วันที่ 8-16 ธันวาคม 2561 ที่ผ่านมา โดยการจัดการฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารในครัง้ นีบ้ รรลุเป้าประสงค์ของการจัดกิจกรรมตามทีต่ งั้ วัตถุประสงค์ ไว้ โดยเป็นการจัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร (Creative Workshop) ทีต่ อ้ งการมุง่ เน้นให้เกิดความตระหนัก รู้ของเมืองเชียงใหม่ เล็งเห็นถึงอัตลักษณ์ของงานสิ่งทอ ในจังหวัดเชียงใหม่ และ มีการน�าเป้าหมายของการ พัฒนาที่ยั่งยืน (THE SUSTANIANABLE DEVELOPMENT GOALS : SDGS) มาประยุกต์ใช้ เพื่อตอบสนองต่อ การพัฒนาทางด้านงานหัตถกรรม ตลอดทัง้ วิถชี วี ติ ความเป็นอยูเ่ พือ่ ความยัง่ ยืนของชุมชน ซึง่ จากแผนการปฏิบตั ิ งานนั้นสามารถตอบสนองต่อเป้าหมายของแผนการท�างานของสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO อย่างยั่งยืนได้ดังนี้
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
101
1. การส่งเสริมและพัฒนาด้านการส่งเสริมและสร้างอาชีพ ตลอดทั้งการเสริมสร้างเสริมคุณภาพชีวิตและ ความเป็นอยู่ที่ดีให้แก่คนทุกช่วงวัย แก่ชุมชนทั้งกลุ่มคนในพื้นที่ราบและพื้นที่สูงของเมืองเชียงใหม่ 2. ส่งเสริมระบบเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน และครอบคลุมในทุกพืน้ ที่ ส่งผลให้เกิดการจ้างงาน การขับเคลือ่ นและ เกิดการจัดการโดยตัวชุมชนอย่างยั่งยืน 3. การส่งเสริมทางการเกษตรเชิงธรรมชาติกับการสร้างสรรค์งานหัตถกรรม โดยส่งเสริมการสร้างงาน หัตถกรรมด้วยการใช้วสั ดุจากธรรมชาติ ตลอดทัง้ การปลูกทดแทนกลับสูธ่ รรมชาติ เพือ่ ความสมดุลของระบบนิเวศ 4. การสร้างระบบการศึกษาทางด้านงานหัตถกรรมอย่างมีคณ ุ ภาพและครอบคลุม เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 5. ส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศสภาพ ส่งเสริมความสามารถของเพศหญิงในเชิงด้านงานหัตถกรรม ตลอดทั้งเพศชายในการร่วมกันขับเคลื่อนงานหัตถกรรม
ผลที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม (Output)
102
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
4 เทศกำล Chiang Mai Crafts Fair 2018
4. เทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018 4.1 Chiang Mai Crafts Fair คืออะไร ? Chiang Mai Crafts Fair (เชียงใหม่ คราฟแฟร์) คือ พื้นที่สร้างสรรค์ของงานหัตถกรรมใน จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการน�าเสนอแนวคิด ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ โดยกลุ่มชุมชนต่าง ๆ ภายในเมือง เชียงใหม่ อันมีอัตลักษณ์เฉพาะตัว และการน�าเสนอรูปแบบการสร้างสรรค์ผลงานผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ อันเกิดจาก การต่อยอด ทางด้านแนวคิดและเทคนิค จากทุนทางวัฒนธรรมจากงานหัตถกรรมดั้งเดิม (Wisdom) ร่วมกับ นวัตกรรมสร้างสรรค์ (Innovation) สู่การออกแบบเป็นงานหัตถกรรมร่วมสมัย โดยกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วม กิจกรรมในครั้งนี้ ได้จากกลุ่มที่เคยเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการกับโครงการและเครือข่าย เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่ด้อย โอกาส และ สร้างอาชีพ แล้วยังสามารถพัฒนารากฐานของตนเองต่อยอดคุณค่า เพิ่มมูลค่า ของผลิตภัณฑ์ที่มา จากทุนทางวัฒนธรรมเดิมท�าให้เกิดเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยการจัดงาน Chiang Mai Crafts Fair ได้จัด งานร่วมกันกับ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบเชียงใหม่ (TCDC Chiang Mai) ในปี พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา ได้จัดกิจกรรมในวันที่ 6 - 10 ธันวาคม 2560 ในหัวข้อ “สร้างสรรค์ จากชุมชน สู่งานหัตถกรรมร่วมสมัย” เป็นกิจกรรมเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ สืบสาน และพัฒนางานหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้าน มุ่งเน้นงานที่ท�าจากธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีวัสดุและวัตถุดิบ ที่สามารถทดแทนกันได้ และเกิดขึ้นจากการท�างานด้วยตนเอง ตลอดจนสามารถน�าไปจัดแสดงนิทรรศการและ ต่อยอดทางเศรษฐกิจได้ เพื่อสร้างเครือข่ายและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การด�าเนินงานของเมืองเชียงใหม่ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อ 1. สร้างพื้นที่ให้แก่ผู้ประกอบการที่สนใจในงานหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้านหน้าใหม่ มีพื้นที่ ในการจัดแสดงและจัดจ�าหน่ายสินค้า 2. ต้องการความร่วมมือจากกลุ่มผู้ประกอบการทั้งรายเล็กและรายใหญ่ที่ ผลิตงานหัตถกรรม เข้าร่วมจัดแสดงและจัดจ�าหน่ายด้วยเช่นกัน เพื่อให้เกิดความหลากหลายและมีพื้นที่ในการ แสดงตัวตน สร้างความภาคภูมิใจในตนเอง และเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อเมืองเชียงใหม่ ภายในงาน Chiang Mai Crafts Fair ยังมีกจิ กรรมทีจ่ ะเสริมสร้างความรู ้ และแลกเปลีย่ นประสบการณ์ เกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ โดยจัดให้มีการบรรยาย การพูดคุย พบปะ ร่วมถึงการสร้างสรรค์เครือข่ายทางงาน หัตถกรรม ซึ่งจะน�าพาไปสู่การต่อยอดแนวความคิดในการผลิตงาน เกิดความเข้าใจ และเล็งเห็นความส�าคัญ ของการที่เมืองเชียงใหม่ได้พยายามขับเคลื่อนตนเอง สู่เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตกรรม และศิลปะพื้นบ้าน เป็นการสร้างคุณค่าและก่อเกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ ลดความเหลื่อมล�้าทางสังคม และผลัก ดันเยาวชนคนรุ่นใหม่ให้หันมารักษา อนุรักษ์ เรียนรู้ภูมิปัญญา สืบสานลมหายใจของบรรพชน Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
105
จากการท�างานร่วมกับศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบเชียงใหม่ (TCDC) ในปี 2017 ซึ่งมีการจัดเทศกาล Chiang Mai Design Week 2017 ทางโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ได้จัดเสวนาเกี่ยวกับเสวนาเมืองสร้างสรรค์ โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากเมืองไทเป สาธารณรัฐเกาหลี จากภาครัฐ ภาควิชาการ และภาคปฏิบัติ มาร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองและประสบการณ์การ อนุรักษ์ พร้อมการต่อยอดพัฒนาเมืองให้เติบโตโดยใช้พื้นฐานอัตลักษณ์พื้นถิ่นของเมือง ร่วมกับศูนย์สร้างสรรค์ งานออกแบบเชียงใหม่ (TCDC) และหน่วยงานในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งทางโครงการจัดกิจกรรมบริเวณกลางเมือง เชียงใหม่ โดยใช้พื้นสร้างสรรค์ 3 พื้นที่ โดยแบ่งไปตามประเภทงานและได้รับผลตอบรับจากการจัดกิจกรรม Chiang Mai Crafts Fair 2017 ผ่านทางเฟสบุ๊ค โดยมีการสร้างเพจ งานกิจกรรมขึ้นพบว่ามีผู้เข้าดูเพจ จ�านวน 57,401 คน และมีการกดตอบรับเข้าร่วมกิจกรรม จ�านวน 1,368 คน หากแบ่งตามเพศ เพศหญิงมีจ�านวนที่ มากกว่าเพศชายทุกช่วงอายุ ส�าหรับช่วงอายุที่มีความสนใจมากที่สุดได้แก่ ช่วงอายุระหว่าง 25 ถึง 34 ปี ซึ่ง เป็นตัวบ่งชี้ได้ว่าว่ามีผู้ที่สนใจในกิจกรรม Chiang Mai Crafts Fair 2017 เป็นจ�านวนมากในสังคมออนไลน์
แสดงการเข้าถึงกิจกรรม Chiang Mai Crafts Fair 2017 จ�านวน 57,401 คน และจะเข้าร่วมกิจกรรมจ�านวน 1,368 คน
106
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
แสดงค่าสถิติการเข้าถึงกิจกรรม Chiang Mai Crafts Fair 2017 แบ่งตามเพศ และช่วงอายุ การส�ารวจผลลงทะเบียนในวันที่จัดกิจกรรมพบว่าทั้ง 3 จุด มีผู้ที่เข้าร่วมงาน ลงทะเบียนบ้างเป็นบาง ส่วน ไม่ทั้งหมดทุกท่านเนื่องจากช่วงเวลาที่มีผู้เข้าชมงานจ�านวนมากจะมีการเดินเข้าไปโดยไม่ได้ลงทะเบียนเลย และจากการนับจากจ�านวนคู่มือ ที่จัดพิมพ์จ�านวน 4,000 แผ่น มีแผ่นพับคงเหลือ 354 แผ่น แจกไปทั้งหมด 3,646 แผ่นเป็นตัวบ่งชี้ได้ว่าว่ามีผู้ที่ข้าร่วมกิจกรรม Chiang Mai Crafts Fair 2017 เป็นจ�านวนมากตามเป้า หมายที่ทางคณะท�างานคาดหวังไว้ จากผลตอบรับในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ท�าให้เป็นการเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ ให้กับชุมชนงานหัตถกรรม กลุ่มชาติพันธุ์ได้มาแสดงผลงานฝีมือ รวมถึงนักออกแบบรุ่นใหม่ที่เคยร่วมอบรมงาน หัตถกรรมร่วมกับโครงการ
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
107
เทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2017 108
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2017 Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
109
Crafts Fair 2018 ส�ำหรับปี 2561 นี้ ทางโครงการได้เข้าร่วมจัดกิจกรรม Chiang Mai Crafts Fair 2018 ร่วมกับศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบเชียงใหม่ (TCDC) ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ส�านักงานส่งเสริม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) Creative Economy Agency (Plublic Organization) : CEA ซึ่ง ในปีนี้เองนั้นได้รับแรงบันดาลใจในการจัดงานครั้งนี้ จากการจัดกิจกรรมอบรมงานหัตถกรรมสร้างสรรค์ 4 กิจกรรมที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับงาน “ผ้ำเชียงใหม่” โดยทางโครงการจะออกแบบพื้นที่สร้างสรรค์ให้กับผู้ เข้าอบรมกับโครงการ ได้แสดงงานหัตถกรรมของตัวเองสามารถต่อยอดอาชีพ หรือ สร้างอาชีพ รวมถึงการ เปิดพื้นที่ให้กับชุมชนหัตถกรรมในเมืองเชียงใหม่ได้แสดงศักยภาพถึงงานหัตถกรรมในชุมชนที่มีความโดดเด่น สร้างความ ภาคภูมิใจให้กับชุมชน ระยะเวลำ : 8 – 16 ธันวำคม 2561 สถำนที่ : หอประวัติศำสตร์ เมืองเชียงใหม่
สื่อประชาสัมพันธ์การจัดงาน Chiang Mai Design Week 2018 หัวข้อประจ�าปีคือ “Keep Refining ยิ่งขัดเกลำ ยิ่งแหลมคม” ความคิดสร้างสรรค์และงานออกแบบ มิได้เป็นเพียงแค่การน�าเสนอสิ่งใหม่ และการเพิ่มประโยชน์ใช้สอยเพื่อให้คุณภาพชีวิตของเราดีขึ้นเท่านั้น หากแต่สิ่งที่ส�าคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันคือความหมั่นเพียร การขัดเกลาและการพัฒนากระบวนการ เทคนิค ทักษะฝีมือ เทคโนโลยีการผลิต ตลอดจนคุณภาพวัสดุ ซึ่งทั้งหมดนี้คือองค์ประกอบที่จะช่วยรักษาและยกระดับ งานสร้างสรรค์ให้มีความแหลมคม ประณีต ทันต่อเหตุการณ์ และยังตอบสนองความต้องการของชีวิตประจ�าวัน และการเดินหน้าสู่อนาคต
110
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ขั้นตอนกำรเตรียมงำน เทศกำล Chiang Mai Crafts Fair 2018
คณะท�างานโครงการฯ ประชุมร่วมกับ TCDC เชียงใหม่ เพื่ออธิบายถึงวัตถุประสงค์ของการจัดงาน และน�าเสนอพื้นที่ รวมถึงประเภทผลงานที่ทางโครงการได้ออกแบบเพื่อการน�าเสนอนิทรรศการ ณ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบเชียงหม่
คณะท�างานโครงการฯ ร่วมประชุมรับทราบข้อตกลงและท�าความเข้าใจ เกี่ยวกับเทศกาล Chiang Mai Design Week 2018 ร่วมกับ TCDC เชียงใหม่ และองค์การ หน่วยงานที่ร่วมจัดเทศกาล ณ โรงแรมแชงกีล่า จังหวัดเชียงใหม่ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
111
Exhibition Category ในเทศกำลได้แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ซึ่งมีรำยละเอียดดังต่อไปนี้ 1. Manufacturers ผลงานจากกลุม ่ บริษทั ทีมกี ารผลิตเชิงอุตสาหกรรม หรือมีกา� ลังการผลิตสินค้าด้วย
ตนเองหรือรับจ้างผลิตตามค�าสังซือ ได้แก่ ของใช้ ของตกแต่งบ้าน, เฟอร์นิเจอร์, สินค้าไลฟ์สไตล์, แฟชันและ จิ วเวอรี 2. Designers and Creators ผลงานจากนักออกแบบ นักสร้างสรรค์ เป็นกลุ่มผู้ทีใช้กระบวนการใน การออกแบบ หรือสร้างสรรค์ผลงาน ได้แก่ งานคอมมูนเิ คชันดีไซน์, งานศิลปะ หัตถกรรม งานออกแบบผลิตภัณฑ์ และงานทดลอง 3. Craftspeople ผ ล ง า น จ า ก ช่า ง ฝี มือ (Craftsmen) ทีใช้ความ ช�านาญในทักษะฝีมือหรือ เทคนิคเชิงช่า ง ในกา รสร้างสรรค์ผลงาน 4. Organizations - Universities ผลงานจากกลุ่มหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและสถาบันการ ศึกษา ซึงส่งเสริมการพัฒนาความคิดสร้า งสรรค์ ง านออกแบบหรือ นวัตกรรม
โครงการ Chiang Mai City of Crafts and Folk Art จัดอยู่ในกลุ่มประเภท Organisation 112
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
4.2 รูปแบบการจัดงาน Chiang Mai Crafts Fair 2018
ภาพสื่อประชาสัมพันธ์การจัดเทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018 วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ เป็นการส่งเสริมงานหัตถกรรมของเมืองเชียงใหม่ ทีม่ คี วามโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละ พืน้ ที ่ ให้เป็นทีร่ จู้ กั และสร้างความรับรูถ้ งึ คุณค่าของงานหัตถกรรมของเมืองเชียงใหม่ให้กบั ประชาชนในประเทศ และต่างประเทศ 2. เพื่อเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพื้นที่พบปะระหว่างกลุ่มช่างฝีมือพื้นบ้าน นักออกแบบ และผู้ที่ ให้ความสนใจทางด้านงานหัตถกรรม 3. เพือ่ สร้างพืน้ ทีใ่ นการน�าเสนอผลงานหัตถกรรมจากกลุม่ ช่างฝีมอื พืน้ บ้าน ทีม่ เี ทคนิคในการสร้างสรรค์ รูปแบบงานหัตถกรรมแบบดั้งเดิม และนักออกแบบงานหัตถกรรมสร้างสรรค์ที่ผลิตงานด้วยการ ต่อยอดจาก รากฐานทางวัฒนธรรม ซึ่งการจัดเทศกาลในปีน ี้ ทางโครงการ Chiang Mai City of Crafts and Folk Art ได้ก�าหนดแนวคิด ในการจัดนิทรรศการในหัวข้อ “Use Share Care Protect” มิติใหม่ในชีวิตธรรมดา ส่งมอบคุณค่าสู่ธารณะ เมืองแห่งศิลปหัตถกรรม รากฐานทางวัฒนธรรมที่ยั่งยืน โดยทางโครงการต้องการสร้างพื้นที่การน�าเสนองาน หัตถกรรมอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดหลักการออกแบบที่นา� รากฐานทางวัฒนธรรมของชุมชนเพื่อน�ามาสร้างสรรค์ งานออกแบบ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
113
แนวคิดคิดตัวแรกที่น�าเสนอค�าว่า “Use” “ใช้” คือ การน�า งานหัตถกรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�าวันมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่าง สูงสุด รวมถึงการปลูกฝังจิตส�านึกของคนรุ่นใหม่ ให้หันมาอุปโภคงาน หัตถกรรมเหล่านั้น เพื่อเป็นการรักษาคุณค่าและเพิ่มมูลค่าของงาน หัตถกรรมจังหวัดเชียงใหม่ไว้ได้อย่างดีที่สุด “Share” “แบ่งปัน” คือ การน�าเอาเอกลักษณ์และเทคนิค ของการผลิตงานหัตถกรรม รวมถึงแนวคิด คุณค่าและความส�าคัญของ งานหัตถกรรมจังหวัดเชียงใหม่ มาน�าเสนอและเผยแพร่ให้คนรุ่นใหม่ ได้รับรู้ในรูปแบบของนิทรรศการงานหัตถกรรมดั้งเดิม ที่มีช่างฝีมือพื้น บ้านมาสาธิตเทคนิคและกรรมวิธีการผลิตผลงาน รวมถึงการเผยแพร่ งานหัตถกรรมในรูปแบบของการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) “Care” “ดูแลรักษา” คือ การอนุรักษ์ รักษา คงคุณค่า ใน เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ของงานหัตถกรรมและงานศิลปะพื้นบ้านของ เมืองเชียงใหม่ให้ยังคงอยู่สืบไป ซึ่งเป็นการดูแลรักษาในรูปแบบของ นิทรรศการแสดงผลงานและสาธิตงานหัตถกรรมดั้งเดิม ของช่างฝีมือ “Protect” “ปกป้อง” คือ การร่วมกันรักษาและส่งเสริม งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ ให้คงคุณค่าและ เอกลักษณ์ของงานหัตถกรรมพื้นบ้าน โดยผ่านการส่งเสริมการเรียนรู ้ การเข้าใจ เข้าถึง และสร้างความภาคภูมิใจในงานหัจถกรรมและศิลปะ พืน้ บ้านของเมืองเชียงใหม่ โดยคนเชียงใหม่เป็นหัวใจหลักในการปกป้อง และขับเคลือ่ นเมือง ซึง่ รูปแบบการเผยแพร่ในครัง้ นี ้ คือการจัดแสดงเป็น นิทรรศการแบบผู้เข้าชมสามารถมีส่วนร่วมในการทดลองฝึกปฏิบัติอีก ด้วย
114
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
4.3 ส่วนจัดแสดงนิทรรศกำร (Exhibition) การจัดแสดงนิทรรศการในเทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018 มีการจัดแสดงแบ่งเป็น 2 ประเภท ด้วยกัน คือ นิทรรศการจัดแสดงและสาธิตงานหัตถกรรมพื้นบ้าน จากกลุ่มช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งเป็นรูปแบบของ การจัดแสดงและสาธิต พร้อมกับมีการจ�าหน่ายสินค้าหัตถกรรมของช่างฝีมือ รวมถึงนิทรรศการจัดแสดงผลงาน สร้างสรรค์จากนักสร้างสรรค์ 1. นิทรรศกำรจัดแสดงและสำธิตงำนหัตถกรรมพื้นบ้ำน การจัดแสดงและสาธิตงานหัตถกรรมดั้งเดิมของจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีการสาธิตจากกลุ่มช่าง ฝีมือ จากลุ่มงานหัตถกรรมในแต่ละพื้นที่ และผู้เข้าเยี่ยมชมสามารถทดลองท�างานหัตถกรรมร่วมกับช่างฝีมือได้ อีกด้วย รวมถึงการจัดจ�าหน่ายสินค้าหัตถกรรมจากกลุ่มช่างฝีมือ การจัดแสดงประกอบด้วย นิทรรศกำร “พุง่ เส้นให้เป็นผืน” ลักษณะของงานหัตถกรรมประเภทผ้าทอ เครือ่ งนุง่ ห่ม ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของจังหวัดเชียงใหม่ จัดแสดงงานพื้นฐานของงานทอผ้าผืน ย่าม ผ้าพัน ผ้านุ่ง เสื้อ ประกอบ เป็นต้น การจัดแสดงนิทรรศการจะเป็นการสาธิตการทอผ้าผืนโดยใช้กี่กระตุก โดยช่างฝีมือจากอ�าเภอ ฮอด จังหวัดเชียงใหม่ และมีการสาธิตการใช้กี่เอวในการทอย่าม ของกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ โดยช่างฝีมือจากบ้าน มืดหลอง อ�าเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
นิทรรศการพุ่งเส้นให้เป็นผืนโดยชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ลัวะและเมี่ยน Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
115
นิ ท รรศกำร “เรื่ อ งรำวในลวดลำย” น� า เสนอการสร้ า งสรรค์ ล วดลายในการ ทอ หลากหลายเทคนิค เช่น จกลาย ยกเขา มัดก่าน และกรรมวิธีการสร้างลวดลายบนผืนผ้าด้วยเทคนิคปัก เป็นต้น โดยมีการสาธิตขั้นตอน และกรรมวิธีในการสร้างสรรค์ลวดลายลงบนผ้าทอ ซึ่งประกอบด้วยเทคนิคการ “จกลาย” โดยช่างฝีมือชาวอ�าเภอแม่่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เทคนิคการสร้างลวดลายลงบนผ้าทอของกลุ่ม ชาติพันธุ์ลัวะ เทคนิคที่เรียกว่า “มัดก่าน” หรือ “มัดหมี่” โดยช่างฝีมือกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ บ้านมืดหลอง อ�าเภอ แม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ และเทคนิคการสร้างลวดลายลงบนผ้า ด้วยเทคนิคการปักแบบพิเศษทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของ ชาวอิ้วเมี่ยน โดยช่างฝีมือกลุ่มชาติพันธุ์อิ้วเมี่ยน อ�าเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย
นิทรรศการเรื่องราวในลวดลาย โดยชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะและเมี่ยน 116
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
นิทรรศกำร “กอปรกิจ ชีวิตประจ�ำวัน” งานหัตถกรรมที่มีผ้าเป็นส่วนประกอบ ร่ม หมอน หมวก รูปแบบการตัดเย็บเครื่องแต่งกายแบบดั้งเดิม เป็นนิทรรศการที่จะจัดแสดงรูปแบบของเครื่องนุ่ง ห่ม เครื่องนอน การแต่งกาย รวมถึงงานหัตถกรรมที่มีผ้าเป็นส่วนประกอบ ที่เกี่ยวกับชีวิตประจ�าวันของผู้คนใน อดีตและปัจจุบัน
นิทรรศการแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มของชาวเชียงใหม่ในอดีต นิทรรศกำร “สู่จิตวิญญำณงำนหัตถกรรม” งานหัตถกรรมที่ใช้ในพิธีกรรม ผ้าห่อ คัมภีร์ พระบฎ ผ้ายันต์ เครื่องราง เป็นนิทรรศการที่จัดแสดงงานหัตถกรรมที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรม และ ประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนา รวมถึงงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมการนับถือผี บรรพบุรุษของชาวล้านนา
นิทรรศการเกี่ยวกับความเชื่อในการนับถือผีของชาวล้านนา และการน�าหัตถกรรมมาใช้ในพิธีกรรม Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
117
2. นิทรรศกำรจัดแสดงงำนหัตถกรรมร่วมสมัย การจัดแสดงงานหัตกรรมร่วมสมัย (Contemporary) และงานหัตถกรรมสมัยใหม่ (Modern) จากกลุ่มนักออกแบบ ศิลปิน และนักสร้างสรรค์ผลงานทางด้านหัตถกรรม ร่วมกับโครงการ Chiang Mai City of Crafts and Folk Art ผลงานหัตถกรรมสร้างสรรค์ของโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็นเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO และผลงานหัตถกรรมสร้างสรรค์จากผูเ้ ข้าร่วมฝึกอบเชิงปฏิบตั กิ ารร่วมกับทาง โครงการ น�าเสนอผลงานที่รังสรรค์รากฐานของงานศิลปหัตถรรมพื้นบ้านจังหวัดเชียงใหม่
นิทรรศการจัดแสดงผลงานหัตถกรรมร่วมสมัยของผู้เข้าอบรมกับทางโครงการฯ
118
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
4.4 กิจกรรมเสวนำ (Talk) ภายใต้แนวคิด “Use – Share – Care – Protect” ซึ่งในการเสวนาพูดคุยนั้นเป็นการถ่ายทอดองค์ ความรู้ ในการออกแบบงานหัตถกรรมที่เกี่ยวข้องกับเมือง ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ การใช้งานของงานหัตถกรรม โดยกิจกรรมเสวนาในครัง้ นีท้ างโครงการขับเคลือ่ นเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ได้ร่วมจัดกับศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบเชียงใหม่ เนื่องจากรูปแบบแนวคิด ของงานมีความเกี่ยวเนื่องกันในบริบทเรื่องราวของงานหัตถกรรมและวิถีชีวิตของคนในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีทั้ง วิทยากรทีเ่ ป็นผูท้ รงคุณวุฒิ ทีม่ ชี อื่ เสียงในด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนา และวิทยากรผูส้ ร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรม สร้างสรรค์จากกระบวนการมีสว่ นร่วมของช่างฝีมอื และวิทยากรชาวต่างชาติทมี่ คี วามรูค้ วามสามารถในด้านการ ออกแบบอีกด้วย ก�ำหนดกำรกิจกรรมเสวนำ Creative Talk ภายใต้แนวคิด Use – Share – Care - Protect วันที่ 10 ธันวาคม 2561 ณ หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ 10:00 – 11:00 วิถีชีวิตล้ำนนำเป็นอย่ำงไรและคนเมืองออกแบบของใช้ในบ้ำนหรือไม่ อ. จุลทัศน์ กิติบุตร อ. วิถี พานิชพันธุ์ อ. จารุพัชร อาชวะสมิต 11.00 – 12.00 เรำครีเอทและสร้ำงนวัตกรรมในกระบวนกำรท�ำงำนช่ำงฝีมือพื้นบ้ำนได้หรือไม่ จิรวงษ์ วงษ์ตระหง่าน, InClay Studio Chiang Mai รอวียะ หะยียามา, Batik de Nara อ. จารุพัชร อาชวะสมิต 13:30 – 15:30 What is a value of crafts in today lifestyle and design? (TBC) Alison Welsh, Head of Fashion Research ManchesterMetropolitan University Can folk crafts evolve and be contemporary? Ayip Budiman, Rumah Sanur Creative Hub Q&A by Jarupatcha Achavasmit
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
119
กิจกรรมเสวนาภายในเทศกาล โดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน
กิจกรรมเสวนาภายในเทศกาล โดยผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ
120
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
4.5 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติกำร (Workshop) กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในเทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018 นี้ เป็นกิจกรรมเพื่อเสริม สร้างความรู้และทักษะฝีมือ และเทคนิค ในการสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมพื้นบ้านประเภทงานผ้า เพื่อใช้ใน ชีวิตประจ�าวัน และเป็นการสร้างคุณค่าให้แก่ช่างฝีมือบ้าน รวมถึงเป็นการกระตุ้นให้คนรุ่นใหม่เกิดความส�านึก รักและหวงแหน และเล็งเห็นคุณค่าของงานหัตถกรรมพื้นบ้าน ท�าให้เมืองเชียงใหม่สามารถเป็นเมืองแห่งงาน ศิลปหัตถกรรมสร้างสรรค์อย่างยั่งยืนได้ต่อไปในอนาคต โดยกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในปีนี้ มีก�าหนดเวลาจัดขึ้น 4 วัน ในหัวข้อเรื่อง “ เย็บ ถัก ปัก ย้อม” เป็นการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการที่มีช่างฝีมือพื้นบ้านเป็นผู้สอน โดยใช้วัสดุและเทคนิควิธีการดั้งเดิมในการ สร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมครั้งนี้ ซึ่งทางโครงการเปิดให้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 4 กิจกรรม กิจกรรมละ 25 ท่าน ทาง Facebook Fanpage เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2561 ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้คนจ�านวนมากทั้ง ชาวจังหวัดเชียงใหม่และใกล้เคียง และใช้เวลาเปิดรับสมัครเพียง 2 วันเท่านัน้ ก็ได้ผสู้ มัครเข้าร่วมอบรมเต็มจ�านวน ที่ทางโครงการได้ก�าหนดไว้
โพสต์แสดงจ�านวนผู้ให้ความสนใจลงทะเบียนเพื่อสมัครกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
121
กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “เย็บหมอน นอนหนุน” 122
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “ถักร้อย สร้อยลัวะ” Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
123
กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “ปั๊กกระเป๋า” 124
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “มัดฝ้ายย้อมลาย” Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
125
4.6 กำรออกแบบพื้นที่ Chiang Mai Crafts Fairs 2018 พื้นที่ที่ใช้ในการจัดแสดงเทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018 คือ พื้นที่บริเวณหอประวัติศาสตร์ เมืองเชียงใหม่ บริเวณหลังอนุสาวรียส์ ามกษัตริ ยิ ์ โดยเทศกาล Chiang Mai Design Week 2018 ได้กา� หนดพืน้ ที่ บริเวณหอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ เป็นพื้นที่จัดแสดงงาน Crafts ทั้งประเภทงานหัตถกรรมดั้งเดิมและงาน หัตถกรรมสร้างสรรค์ ซึ่งมีหน่วยงานที่ร่วมจัดแสดงในปีนี้ 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. โครงการขับเคลื่อนเมือง เชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน 2. Community Challenge โดยเทศกาล Chiang Mai Design Week 2018 3. กลุ่มศิลปิน Artisan 4. British Council โดย นิทรรศการทั้ง 4 หน่วยงานนี้ จะเป็นการจัดแสดงผลงานหัตถกรรมแบบดั้งเดิมและงานหัตถกรรมร่วมสมัย ใน รูปแบบของการสาธิตงานหัตถกรรมจากช่างฝีมือพื้นบ้าน และการจัดแสดงชิ้นงาน (Showcase)
พื้นที่จัดแสดงเทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018 ณ หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ 126
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
พื้นที่ส่วนทางเข้าเทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018
พื้นที่ส่วนจัดแสดงนิทรรศการงานหัตถกรรมพื้นบ้าน 4 เรื่อง Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
127
พื้นที่จัดแสดงงานหัตถกรรมร่วมสมัย
พื้นที่จัดแสดงงานหัตถกรรมร่วมสมัย 128
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
พื้นที่เสวนา
พื้นที่ Workshop Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
129
พื้นที่เวทีกลางของเทศกาล
ภาพรวมของพื้นที่จัดแสดงเทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018 130
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
4.7 พิธีเปิดเทศกำล Chiang Mai Crafts Fair 2018 และงำนเฉลิมฉลองเชียงใหม่เมืองสร้ำงสรรค์ สำขำงำนหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้ำน ขององค์กำร UNESCO ในฐานะที่เชียงใหม่ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกเมืองเครือข่ายสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO เมื่อวัน ที่ 31 ตุลาคม 2561 เนื่องในโอกาสครบรอบ 1 ปีของการเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO ในเทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018 จึงได้จัดงานเฉลิมฉลองครบรอบ 1 ปีของการเป็นสมาชิก เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ภายใต้ชื่องาน “1st Year Anniversary, The Celebration of UNESCO Chiang Mai City of Crafts and Folk Art Designation” ใน วันที่ 10 ธันวาคม 2561 ณ หอประวัตศิ าสตร์เมืองเชียงใหม่ (หลังอนุสาวรียส์ ามกษัตริย)์ ประกอบด้วยนิทรรศการ งานหัตถกรรมพื้นบ้านของเมืองเชียงใหม่ และนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์จากนัก สร้างสรรค์ท่ีน�าแนวคิดมา จากงานหัตถกรรมพื้นบ้าน อันเป็นรากฐานทางวัฒนธรรมของเมืองเชียงใหม่ และการแสดงแฟชั่นโชว์ชุด “100 ปี พลวัตอาภรณ์ แห่งนครเชียงใหม่” (100 Years Evolution of Chiang Mai Costume) รวมถึงการมอบ ประกาศนียบัตรแก่ผู้เข้าร่วมอบรมกับทางโครงการตลอดปี 2561
ภาพบรรยากาศในวันพิธีเปิดเทศกาล Chiang Mai Crafts Fair 2018 Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
131
พิธีเปิดเทศกาลโดยท่านผอ.วรรณศรี, รศ. ดร. วรลัญจก์, ททท.จังหวัดเชียงใหม่, ผู้จัดการศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบเชียงใหม่
พิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการและจัดแสดงผลงานการออกแบบในเทศกาล 132
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
5 แนวทำงกำรประชำสัมพันธ์
การด�าเนินงานในฐานะสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ ปีงบประมาณ 2560 ที่ผ่านมา โครงการขับเคลื่อนเมือง เชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ได้มีการจัด ฝึกอบรมเพื่อพัฒนางานออกแบบหัตถกรรมแบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม เผยแพร่เมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ที่มีการประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์และการสร้างความพร้อมของเมืองเชียงใหม่สู่การเป็นเมือง สร้างสรรค์ได้มีเป้าหมายในการพัฒนาที่ยั่งยืน (The Sustainable Development Goals (SDGS) ขององค์ การยูเนสโกที่เป็นเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนของทั้งโลก เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่จากรากเหง้าสู่สังคมร่วม สมัยในหลากหลายมิติ เสริมสร้างทุนทางวัฒนธรรมเดิม จากการด�าเนินงานที่ผ่านมาท�าให้จังหวัดเชียงใหม่ได้รับ เลือกให้เป็นสมาชิกเมืองเครือข่ายสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ในวันที ่ 31 ตุลาคม 2560 การบริ ห ารการประชาสั ม พั น ธ์ ส มาชิ ก เมื อ งสร้ า งสรรค์ ถื อ เป็ น สิ่ ง ที่ ส� า คั ญ เนื่ อ งจากเป็ น ไปเพื่ อ ประชาสัมพันธ์การด�าเนินงาน ให้กบั ผูเ้ กีย่ วข้องทัง้ หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ภาคการศึกษา ภาคธุรกิจ ภาคประชาชน และองค์กรระหว่างประเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้น และสร้างการมีส่วนร่วม ในการด�าเนินงานร่วมกันเพื่อให้เกิดการพัฒนาเมืองเชียงใหม่อย่างยั่งยืน
134
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
5.1 การประชาสัมพันธ์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 การประชาสัมพันธ์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 นับเป็นจุดเปลี่ยนของโลกการสื่อสารในปัจจุบัน ไม่ว่าจะนิยาม ยุคสมัยนี้อย่างไร สิ่งที่สัมผัสกับความเปลี่ยนแปลงนี้ได้อย่างเป็นรูปธรรมนั้นย่อมเป็นที่ประจักษ์ พัฒนาการของ การสื่อสารการประชาสัมพันธ์ไปสู่รูปแบบใหม่ การใช้สื่อใหม่ที่เรียกกันว่าสื่อ “Application” และ สื่อ “New Media” เข้ามามีบทบาทการผสมผสานในยุคโลกาภิวัตน์ มีการด�าเนิน Digital เพื่อการเข้าถึงความต้องการของ ผูร้ บั เพือ่ ตอบสนองความต้องการทีแ่ ท้จริงและวัดผลได้ เพือ่ เป็นประโยชน์ตอ่ การสร้างโอกาสทางการรับรูใ้ ห้กว้าง ขวางขึน้ กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์จงึ เป็นความจ�าเป็นทีต่ อ้ ง คอยขับเคลือ่ นการประชาสัมพันธ์ในทุกยุคทุกสมัย การใช้กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์เป็นวิธีการด�าเนินการที่จะสร้างความร่วมมือในการท�ากิจกรรมอย่าง ใดอย่างหนึ่ง เพื่อน�าไปสู่การยอมรับวิธีปฏิบัติให้แพร่กระจายออกไปอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง โดยวิธีการ ดังกล่าว ต้องอาศัยการใช้สื่อต่างๆ อย่างหลากหลาย โดยมีวัตถุประสงค์ที่แน่นอนว่า ต้องการให้กลุ่มเป้าหมาย ยอมรับอะไร อย่างไร และจะต้องมีแผนการสื่อสารที่เป็นขั้นตอน และมีกลวิธีที่เหมาะสมจึงจะเกิดประสิทธิผล โดยมีจุดมุ่งหมาย ส�าคัญ คือ การเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมของบุคคลในสังคม การเลือกใช้กิจกรรมและ สื่อ ต่างๆ ทางการ ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ปลุกจิตสานึก โน้มน้าวให้เห็นด้วย คล้อย ตาม เกิดความร่วมมือ ร่วมใจกันปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กล่าวถึงหลักการและกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์ไว้ ดังนี้ สื่อประชาสัมพันธ์ หมายถึง ช่องทางการสื่อสารที่จะน�าข่าวสารไปสู่กลุ่มเป้าหมาย และเป็นเครื่องมือที่ใช้ ในการกระจายข้อมูลข่าวสารทีก่ อ่ ให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจทีจ่ ะน�าไปสูภ่ าพลักษณ์ทดี่ ใี ห้แก่องค์กร ส่วนกิจกรรม ประชาสัมพันธ์นั้น เพื่อให้ เกิด Talk of the town การเลือกสื่อต้องพิจารณาเลือกสื่อที่เหมาะสมและสามารถ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุด อีกทั้งควรเป็น สื่อที่ควบคุมได้ เพื่อให้ได้ข้อความที่เราต้องการสื่อออกไปมี ความถูกต้องและครบถ้วน
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
135
5.2 สื่อออนไลน์ และสื่อสังคมออนไลน์ สังคมไทยและสังคมโลกอยู่ในยุคของเทคโนโลยีและการสื่อสาร พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีอย่างรวดเร็วในไม่ก่ีปีท่ีผ่านมา ทั้งนี้โดยการน�าเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและสื่อใหม่ที่เป็นสื่อสังคม ออนไลน์มาใช้เพือ่ พัฒนารูปแบบการสือ่ สารข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการสารสนเทศเพือ่ ใช้ในงานบริหารองค์กร อย่างยั่งยืน การประชาสัมพันธ์เป็นหนึง่ ในช่องทางการสือ่ สารทีส่ า� คัญในการสร้างความเข้าใจทีด่ รี ะหว่างองค์กรกับ กลุม่ ทีม่ สี ว่ นได้สว่ นเสีย รวมถึงสาธารณชนทัว่ ไป ในอดีตการประชาสัมพันธ์ใช้สอื่ มวลชนกระแสหลักเช่น โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง และสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นเครื่องมือ แต่เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะการถือก�าเนิดสื่อ ใหม่ (New Media) เช่น สื่ออินเตอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ เป็นสื่อที่ถูฏน�ามาใช้อย่างกว้างขวาง เนืองจากการ เข้าถึงเป้หมายได้ง่าย และกว้างไกลกว่าสื่อแบบไม่ใช่ออนไลน์ จากผลส�ารวจผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ Hootsuite และ Wearesocial (ภาพที่ 5.1) ได้เผยสถิติการใช้งาน ดิจิทัลของประเทศไทย ในเดือนมกราคม 2018 (ลิงค์ผลการส�ารวจ https://goo.gl/b1pWcx) พบว่ามีจ�านวน ประชากรในประเทศไทย 69.11 ล้านคน มีประชากรผู้ใช้อินเตอร์ 57 ล้านคน ผู้ใช้มือถือ 55.56 ล้านคน โดยเป็น Active Users ส�าหรับมือถือ 46 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 82 ของประชากรในประเทศ เพิ่มขึ้นจากการส�ารวจ ในปีที่แล้ว 2017 ถึง 24%
แสดงการใช้งานสื่อดิจิตอลของคนไทยเทียบกับจ�านวนประชากรในประเทศไทย (ที่มา https://www.marketingoops.com/reports/behaviors/thailand-digital-in-2018/) 136
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
จากข้อมูลดังกล่าวท�าให้คณะท�างานได้ทราบถึงการเพิม่ ขึน้ และจ�านวนโดยคร่าวของผูใ้ ช้งานอินเตอร์เน็ต ในประเทศไทย จึงท�าให้ต้องมีการตระหนักถึงการประชาสัมพันธ์ด้วยสื่อ ออนไลน์มายิ่งขึ้นและหลังจากการ พิจารณาแล้วว่าจ�าเป็นทีจ่ ะต้องใช้สอื่ ออนไลน์เขามาช่วยในการประชาสัมพันธ์โครงการจากการส�ารวจโดยเว็บไซต์ Similarweb (ภาพที ่ 5.2 ) และ เว็บไซต์ Alexa (ภาพที ่ 5.3) ทีจ่ ดั อันดับเว็บไซต์ยอดนิยมของคนไทยเช่นเดียวกัน
แสดงการจัดอันดับเว็บไซต์ยอดนิยมของคนไทยโดยเว็บไซต์ Similarweb (ที่มา https://www.marketingoops.com/reports/behaviors/thailand-digital-in-2018/)
ภาพที่ 5.3 แสดงการจัดอันดับเว็บไซต์ยอดนิยมของคนไทยโดยเว็บไซต์ Alexa (ที่มา https://www.marketingoops.com/reports/behaviors/thailand-digital-in-2018/) Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
137
จากข้อมูลการจัดอันดับเว็บไซต์ทคี่ นไทยนิยมมากทีส่ ดุ ทัง้ ของสองเว็บไซต์ทที่ า� การส�ารวจ จะเห็นว่า เว็บที่ คนไทยนิยมมากทีส่ ดุ 3 อันดับแรกทีม่ คี วามคล้ายคลึงกันได้แก่ Google.com, Facebook.com และ Youtube. com จากข้อมูลดังกล่าวท�าให้คณะท�างานเล็งเห็นว่า ต้องมีช่องทางการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ให้สอดคล้องกับ ความนิยมดังกล่าวเพื่อให้เข้าถึงเป้าหมายได้มากที่สุด
Google.com เป็นเว็บไซต์ที่เป็น Search Engine มีผู้ใช้งานมากที่สุดในโลก การที่เราจะน�าเว็บไซต์ เข้าไปสู่หน้าแรกในการค้นหานั้นต้องอาศัยการท�า SEO (Search Engine Optimization) เพื่อให้ผู้คนสามารถ เข้าถึงเว็บไซต์ได้งา่ ยยิง่ ขึน้ สามารถหาเจอได้งา่ ยโดยใช้ Google แนวทางในการท�า SEO นัน้ ต้องอาศัยงานทัง้ หมด 3 ด้านรวมกันได้แก่ ด้านเนื้อหา, ด้านโครงสร้างและประสิทธิภาพเว็บไซต์ และด้านความน่าเชื่อถือ ซึ่งทั้ง 3 ด้าน นี้ต้องอาศัยการท�าควบคู่กันไปเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพดีที่สุด 1. เนือ้ หาเป็นส่วนทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ในการท�า SEO เพราะการทีเ่ ว็บไซต์จะเกีย่ วข้องกับ Keyword ใด Google จะดูจากความส�าคัญของ Keyword ในเนื้อหาที่อยู่บนเว็บ ทั้งปริมาณ Keyword, ต�าแหน่งที่ Keyword นั้น ปรากฏอยู่ ว่าจะอยู่ใน Title, URL, ส่วนบนล่างของเว็บไซต์ หรือรูปแบบของ Keyword ว่าเป็นหัวข้อ, ตัวหนา, ตัวเอียงหรือ Link เป็นต้น การท�า Content Marketing โดยการเขียนบทความให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าให้กับ ผู้ชมเว็บไซต์ ก็มีส่วนช่วยในการท�า SEO ได้ทางหนึ่ง เพราะบทความจะช่วยเพิ่มปริมาณ Keyword บนเว็บไซต์ คุณโดยอัตโนมัติ 2. โครงสร้างและประสิทธิภาพเว็บไซต์ เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเทคนิคการท�าเว็บไซต์ทั้งในด้านโครงสร้าง ความสะดวกในการใช้งาน ความปลอดภัย และประสิทธิภาพด้านความเร็ว ซึง่ ส่วนนีม้ กั จะต้องให้ผเู้ ชีย่ วชาญดูแล ให้ เช่น • การท�า HTTPS เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการรับส่งข้อมูลบนเว็บ • การท�า Responsive Design เพื่อให้สามารถแสดงผลอย่างเหมาะสมได้บนอุปกรณ์ทุกขนาด ทั้ง Mobile, Tablet และ PC • การท�า Inbound Link เพื่อให้แต่ละหน้าบนเว็บไซต์เชื่อมต่อกันอย่างทั่วถึง และเพิ่มคะแนน Backlink ให้แต่ละหน้า เทคนิคอื่นๆ เช่น เพิ่มความเร็วของเว็บไซต์ การบีบอัดภาพและสคริป การใช้ Hosting ที่น่าเชื่อถือ การ สร้าง robot.txt ส�าหรับ Search Engine เป็นต้น ควรให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเรื่องเหล่านี้ แล้วพิจารณาว่าจะ ปรับแก้เว็บไซต์เดิมให้ดีขึ้นหรือบางครั้งอาจจ�าเป็นต้องสร้างเว็บไซต์ใหม่ โดยเฉพาะเรื่อง Responsive Design เพราะหากเว็บไซต์เดิมไม่รองรับการแสดงผลบน Mobile Device แล้วการปรับแก้ของเดิมอาจยากกว่าการสร้าง ใหม่ 138
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
3. ความน่าเชื่อถือ เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพูดถึงหรืออ้างอิงมาที่เว็บไซต์จากแหล่งภายนอก ทั้ง Social Network และเว็บไซต์อนื่ ๆ (ซึง่ ส่วนนีจ้ ะมีผลต่อการท�า SEO มากทีส่ ดุ อย่างหนึง่ ) รวมถึงอายุของเว็บไซต์ โดยเว็บไซต์ที่อยู่มานานจะมีความน่าเชื่อถือกว่าเว็บไซต์ที่เพิ่งเปิดใหม่ การเขียนบทความที่มีคุณภาพเพื่อให้ เว็บไซต์อื่นใช้ในการอ้างอิง หรือให้แพร่หลายใน Social Network เป็นวิธีที่น่าสนใจและเป็นวิธีที่มีคุณภาพวิธี หนึ่ง ทั้งยังช่วยสร้างชื่อเสียงและภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กรอีกด้วย “ในปีงบประมาณนี้ทางคณะท�างานจึงมีเป้าหมายที่จะพัฒนาเว็บไซต์ของโครงการให้เป็นไปตาม หลักการดังกล่าว เนื้อหา, โครงสร้างและประสิทธิภาพเว็บไซต์ และความน่าเชื่อถือ เพื่อให้สามารถเข้าถึง เป้าหมายได้มากยิ่งขึ้น” สังคมออนไลน์ สิง่ ทีข่ าดไม่ได้ในการรับรูข้ า่ วสารในปัจจุบนั ให้ทนั เหตุการณ์ และสามารถเข้าถึงผูค้ น ทั่วโลกได้ง่ายยิ่งขึ้น
Facebook.com เป็นสังคมออนไลน์ หรือ เครือข่ายของสังคมออนไลน์ (Social Network) ทีม่ ผี ใู้ ช้บริการ มากทีส่ ดุ ในโลก ปัจจุบนั มีผใู้ ช้งาน Facebook ในเมืองไทยถึง 14 ล้านคน ซึง่ คิดเป็น 80% ของผูใ้ ช้งาน Internet ทั้งประเทศ Facebook ช่วยให้สามารถติดต่อกับฐานลูกค้าเดิม, หากลุ่มลูกค้าใหม่ หรือแม้แต่กระจายเรื่องราว ธุรกิจ องค์กร ข้อมูล ออกไปให้บุคคลทั่วไปได้ ส�าหรับ Facebook Page คือ เครื่องมือที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ติดต่อ สือ่ สารกับบุคคลทัว่ ไป การสร้าง Page ขึน้ มาเพือ่ ให้บคุ คลทัว่ ไปหรือผูท้ สี่ นใจในกิจกรรมต่างๆเข้ามากด Like ซึง่ เมื่อกด Like แล้ว ข้อความที่ทางโครการได้แชร์ หรือประชาสัมพันธ์จะไปปรากฏให้บุคคลที่กด Like เห็นในหน้า News feed ของตนเอง ซึ่งความง่ายและการกระจายข่าวสารที่รวดเร็วนี้ทา� ให้คณะท�างานเลือก Facebook มา ใช้ในเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์เพื่อให้บุคคลทั่วไปได้เข้าถึงและติดต่อกับทางโครงการได้ง่ายมากยิ่งขึ้น
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
139
Youtube.com เป็นเว็บไซต์แลกเปลีย่ นภาพวิดโี อทีม่ ชี อื่ เสียงโดยในเว็บไซต์น ี้ ผูใ้ ช้สามารถอัพโหลดภาพ วิดโี อเข้าไป เปิดดูภาพวิดโี อทีม่ อี ยู ่ และแบ่งภาพวิดโี อ เหล่านีใ้ ห้คนอืน่ ดูได้โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ยใดๆ ใน YouTube จะมีข้อมูลเนื้อหารวมถึงคลิปภาพยนตร์สั้นๆ และคลิปที่มาจากรายการโทรทัศน์ มิวสิกวิดีโอ และวิดีโอบล็อกกิ้ง (ซึ่งเป็นการสร้างบล็อกโดยมีส่วนของข้อมูลที่เป็นภาพ วิดีโอเป็นส่วนประกอบ โดยเฉพาะเป็นภาพวิดีโอที่เกิด จากมือสมัครเล่นถ่ายกันเอง) คลิปวิดโี อทีเ่ ผยแพร่อยูบ่ นเว็บไซต์ YouTube ส่วนมากเป็นไฟล์คลิปสัน้ ๆ ประมาณ 1 - 10 นาที ถ่ายท�าโดยประชาชนทัว่ ไป แล้วอัพโหลดขึน้ สูเ่ ว็บไซต์ของ YouTube โดยมีการแบ่งประเภทและจัด อันดับคลิปเอาไว้ดว้ ย เช่น ไฟล์ลา่ สุด, ไฟล์ทมี่ ผี ชู้ มมากทีส่ ดุ , ไฟล์ทไี่ ด้รบั การโหวตมากทีส่ ดุ YouTube.com เป็น เว็บไซต์ทใี่ ห้บริการวิดโี อผ่านอินเทอร์เน็ตทีม่ ยี อดผูช้ มวิดโี อของทางเว็บไซต์ทะลุหลัก 100 ล้านครัง้ ต่อวัน ในการ นี้คณะท�างานได้เล็งเห็นถึงความส�าคัญในการประชาสัมพันธ์ดังกล่าวจึงได้นา� มาใช้ในการอัพโหลดวิดีโอกิจกรรม ของทางโครงการเพื่อให้เข้าถึงบุคคลทั่วไปและผู้ที่สนใจได้มากยิ่งขึ้นอีกด้วย TOP APP RANKING นอกจากนีก้ ารจัดอันดับของ Hootsuite และ Wearesocial ยังได้มกี ารจัดอันดับแอพลิเคชัน่ ทางโทรศัพท์ ที่คนในประเทศใช้งานมากที่สุด (ภาพที่ 5.5)
แสดงการจัดอันดับแอพลิเคชั่นทางโทรศัพท์ที่คนในประเทศใช้งานมากที่สุด โดยเว็บไซต์ Hootsuite และ เว็บไซต์ Wearesocial (ที่มา https://www.marketingoops.com/reports/behaviors/thailand-digital-in-2018/) 140
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
จากข้อมูลการจัดอันดับดังกล่าวจะเห็นว่า แอพพลิเคชั่นที่คนไทยนิยมมากที่สุด 4 อันดับแรกที่มีความ คล้ายคลึงกันได้แก่ Line, Facebook, Facebook Messenger และ Instagram จากข้อมูลดังกล่าวท�าให้คณะ ท�างานเล็งเห็นว่า ต้องมีช่องทางการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ให้สอดคล้องกับความนิยมดังกล่าวเพื่อให้เข้าถึงเป้า หมายได้มากที่สุด
Line@ เป็นช่องทางการติดต่อสือ่ สารแบบโดยตรงระหว่างผูท้ ตี่ ดิ ตาม ซึง่ เป็นการประชาสัมพันธ์ทถี่ อื ว่า ส่งตรงถึงผู้ที่ติดตามได้รวดเร็วและได้รับแน่นอน โดยการประชาสัมพันธ์ 1 ครั้งนั้นโครงการสามารถส่งข้อความ ถึงทุกคนที่ติดตามและแจ้งเตือนเข้าไปยังผู้ที่ติดตามได้ทันที ซึ่งเป็นแอพที่ถือว่าเป็นการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ไม่ ต้องรอให้บุคคลมาพบเจอแต่เป็นการได้รับโดยตรง คณะท�างานเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นช่องทางที่น่าจะช่วยให้เกิด ประโยชน์มากยิ่งขึ้นจึงมีแผนที่จะน�าแอพลิเคชั่นดังกล่าวมามาใช้ในการประชาสัมพันธ์
Instagram (อินสตาแกรม) คือ แอพพลิเคชัน่ ถ่ายภาพและแต่งภาพบนสมาร์ทโฟน ทีม่ าพร้อมกับลูกเล่น การแต่งเติมสีสันให้กับรูปภาพด้วย Filters (ฟิลเตอร์) ต่าง ๆ ที่ให้เราสามารถเลือกปรับภาพได้หลากหลายและ สวยงามสามารถแชร์รูปภาพสวย ๆ ให้กับบุคคลทั่วไปที่อยู่ในสังคมออนไลน์อื่น ๆ เช่น Twitter, Facebook, Tumblr และ Foursquare เป็นต้น และในตัว Instagram เองก็เป็นสังคมออนไลน์การแบ่งปันภาพถ่าย (Social Photo Sharing) เพราะ Instagram มีระบบ Followers และ Following ให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกติดตามชม รูปภาพ ความเคลื่อนไหวการใช้งานของเพื่อน ๆ ที่ใช้งานแอพพลิเคชั่นหากถูกใจ ชอบรูปภาพไหน สามารถกด Like รวมไปถึง Comment รูปภาพนั้นได้ ทางคณะท�างานได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ในการใช้แอพลิเคชั่นดังกล่าว มาใช้ประชาสัมพันธ์ เพือ่ ให้บคุ คลทัว่ ไป และผูท้ สี่ นใจได้เห็นภาพทีเ่ กีย่ วกับเชียงใหม่และโครงการ อันจะสร้าง ความสนใจในการเข้ามารู้จักโครงการมากยิ่งขึ้น จะท�าให้การประชาสัมพันธ์ได้ผลมากยิ่งขึ้นอีกด้วย
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
141
5.3 สื่อออฟไลน์ เช่น โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง และสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นเครื่องมือที่ถูกใช้ในอดีตเป็นจ�านวนมาก แต่ก็ สามารถใช้การได้อย่างได้ผล ซึ่งในปัจจุบันการใช้สื่อเหล่านี้ยังมีอยู่แต่อาจถูฏปรับเปลี่ยนไปบ้าง แต่ข้อดีของสื่อ เหล่านี้ คือ สามารถพบเห็นได้ง่าย และทั่วไป สามารถสร้างภาพจ�าให้กับเป้าหมายได้เป็นอย่างดี คณะท�างาน จึงยังคงเล็งเห็นว่าควรใช้สื่อเหล่านี้ในการประชาสัมพันธ์ควบคู่ไปด้วย ได้แก่ นิตยสาร ป้ายโฆษณา รวมถึงการ จัดให้มีการ ประชาสัมพันธ์แบบบูรณาการ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ท�าให้ประชาชนทั่วไปได้รู้จักโครง การฯมากยิ่งขึ้น นอกจากจะเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ผู้คนรู้จักโครงการฯแล้ว ยังสามารถให้เป็นที่กล่าวขานถึง กิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ได้อกี ด้วย การจัดท�าการประชาสัมพันธ์แบบบูรณาการจะมีเป้าหมายเพือ่ ให้เข้าถึงกลุม่ เป้าหมาย ได้โดยตรง และท�าให้เกิดการเล่าต่อแบบปากต่อปาก เป็น Talk of the town ได้ ภาพลักษณ์ของโครงการจะถูก ถ่ายทอดผ่านรูปแบบของการจัดกิจกรรม ท�าให้กลุ่มเป้าหมายได้มีโอกาสสัมผัสใกล้ชิดกับโครงการฯมากยิ่งขึ้น
5.4 แผนการด�าเนินงาน
รูปแบบการประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์ การประชาสัมพันธ์แบบออนไลน์
Instagram Line@ Youtube
กิจกรรมของทางโครงการ
การประชาสัมพันธ์แบบออฟไลน์
142
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
การออกแสดงงาน การจัดนิทรรศการ
การด�าเนินงาน พั ฒ นาเว็ บ ไซต์ ให้ สามารถใช้งานได้เต็มรูปแบบ เพือ่ ใช้เป็นสือ่ กลางหลักในการสือ่ สาร ระดับกว้างมากยิ่งขึ้น
Youtube ใช้ เ ป็ น สื่ อ กลางหลักส�าหรับวิดีโอคลิปของ โครงการ ซคึง่ จะน�ามาแสดงผลต่อ ในเว็บไซต์ และ Facebook ของ ทางโครงการ
Instagram เพิม่ ประสิทธิภาพ การท� า งานร่ ว มกั บ Facebook น� า เสนอภาพความงามของเชียงใหม่เมือง สร้ า งสรรค์ ส าขางานหั ต ถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน
Facebook ก�าหนดให้มี การอัพเดทอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้งเพื่อกระตุ้นยอดการติดตาม
การประชาสัมพันธ์แบบออฟไลน์ คณะท�างานหาโอกาสในการแสดงนิทรรศการ ออกบูท ในงาน่างๆเพื่อให้เกิดการรับรู้ เกี่ยว กับโครงการมากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ยังพยายามเขียน ข่าวให้เกิดการประชาสัมพันธ์ที่มากขึ้น
Line@ ใช้เป็นสื่อ ประชาสัมพันธ์เชิงรุกส�าหรับ ผู้ติดตาม
5.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ การวางแผนการประชาสัมพันธ์สอื่ นัน้ เพือ่ ท�าให้หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ภาคการ ศึกษา ภาคธุรกิจ ภาคประชาชน และองค์กรระหว่างประเทศเข้าใจภารกิจของโครงการฯ ท�าให้เห็นถึงบทบาท หน้าทีข่ องโครงการฯ การประชาสัมพันธ์ถงึ งานกิจกรรมของโครงการ ทีม่ ตี อ่ การเป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ของ องค์การ UNESCO สาขางานหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน เผยแพร่ความก้าวหน้าของโครงการโดยมุง่ เน้นให้ความ ส�าคัญกับภูมิปัญญาดั้งเดิมของเมืองเชียงใหม่ สร้างผลงานผลิตภัณฑ์ ผลงานการจัดแสดงหัตถกรรมสร้างสรรค์ จากทุนทางวัฒนธรรมเดิม เกิดความตระหนักรูแ้ ละเห็นคุณค่าสร้างการสืบทอดงานหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน ต่อไปในอนาคต Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
143
5.6 การวิเคราห์ปัญหาการประชาสัมพันธ์
144
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
5.7 ผลการด�าเนินงาน 5.7.1 เว็บไซต์ www.chiangmai-cityofcrafts.com เนือ่ งจากการด�าเนินงานเพือ่ ผลักดันเชียงใหม่สกู่ ารเป็นเมืองสร้างสรรค์ดา้ นงานหัตถกรรมได้ดา� เนินงาน มาเป็นระยะเวลา 4 ปี และได้รับสถานะสมาชิกจากองค์การยูเนสโก้อย่างเป็นทางการใน วันที ่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560 สาระส�าคัญในกระบวนการด�าเนินงานภายใต้งบประมาณประจ�าปี 2561 คือ การปรับปรุงเว็บไซต์ ให้ดา้ น รูปลักษณ์ พัฒนาประสิทธิภาพการเข้าถึงส�าหรับผูส้ นใจทัง้ ชาวไทย และ ชาวต่างชาติ ภายใต้แนวคิดอันประกอบ ไปด้วย 1. น�าเสนอภาพลักษณ์งานหัตถกรรมสร้างสรรค์เมืองเชียงใหม่ผา่ นเว็บไซต์ทมี่ คี วามทันสมัยและง่ายต่อ การใช้งานกับทุกอุปกรณ์ เช่น การใช้งานผ่านเว็บไซต์บน Internet Browser แท็บเล็ต และ มือถือ 2. น�าเสนอภาพลักษณ์งานหัตถกรรมสร้างสรรค์เมืองเชียงใหม่ให้มีความเชื่อมโยงกับชุมชนและเครือ ข่ายในพื้นที่ 3. แก้ไขการออกแบบที่ผิดพลาดในเว็บไซต์เดิม เช่น ความคมชัด ขนาดตัวหนังสือ และ เนื้อหา 4. เชื่อมโยงการท�างานการวิเคราะห์ผลร่วมกับ Google เพื่อวิเคราะห์การเข้าถึง 5. ปรับเปลี่ยน Hosting เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท�างานและการจัดการที่เป็นระบบมากขึ้น
ภาพแนวคิดการพัฒนาเอกลักษณ์เว็บไซต์โดยใช้คู่สีจากโลโก้
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
145
เว็บไซต์ www.chiangmai-cityofcrafts.com ในปัจจุบัน เว็บไซต์หลักที่ของโครงการที่ใช้งานในปัจจุบัน พบปัญหาหลายจุด อันจะเป็นผลกระทบท�าให้ผู้เข้ามา เยี่ยมชมเว็บไซต์ ซึ่งท�าให้อาจจะเกิดภาพลักษณ์ที่ไม่ดีขององค์กร อีกทั้งชาวต่างชาตินิยมใช้เว็บไซต์ในการหา ข้อมูลข่าวสารเป็นหลัก ท�าให้โครงการต้องใช้เว็บไซต์เพื่อตอบสนองต่อความต้องการในสากลมากยิ่งขึ้น ปัญหา ที่พบหลักๆได้แก่ 1. ซึ่งไม่สามารถตอบสนองการใช้งานผ่านแท็บเล็ต และมือถือได้อย่างสะดวกและบางครั้งพบการ Eror 2. การน�าเสนองานหัตถกรรม ที่เชื่อมโยงกับชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ยังไม่โดดเด่น 3. ปัญหาตัวอักษรที่ใช้ในเว็บไซต์ ทั้งขนาด และเนื้อหา 4. การเชื่อมโยงกับ search engine เช่น Google มีน้อยมากท�าให้การเข้าถึงเว็บไซต์มีน้อยลง 5. Hosting เก็บข้อมูล เป็น Hosting ที่ค่อนข้างช้า จากปัญหาดังกล่าวจึงต้องมีการแก้ไขปัญหา ข้างต้นเพือ่ ให้สง่ ผลดีกบั องค์กร และคณะท�างานจ�าเป็นต้อง ใช้เว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์มากยิ่งขึ้น
ภาพปัญหาด้านการออกแบบและการแสดงผลที่มีข้อผิดพลาด
146
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ภาพปัญหาด้านการออกแบบและการแสดงผลที่มีข้อผิดพลาด
ภาพปัญหาด้านการออกแบบและการแสดงผลที่มีข้อผิดพลาด
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
147
ภาพการค้นหาเว็บไซต์ Chiang Mai Creative City of Crafts and Folk Arts ผ่าน Google โดยการประมวลผลโดย SEO (Search Engine Optimization) ค้นหาได้ยาก
ภาพเว็บไซต์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเมืองสร้างสรรค์ และหัตถกรรมสร้างสรรค์ ท�าให้เกิดความสับสน
148
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
กรอบการพัฒนาเว็บไซต์
1. ปรับปรุงโครงสร้างเนื้อหาเว็บไซต์(content) 2. ออกแบบรูปลักษณ์หน้าเว็บไซต์ 3. เพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาข้อมูลผ่านการประมวลผลโดย SEO (Search Engine Optimization) ผ่าน Google Search
ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
1. การท�าแบบร่างเว็บไซต์(mock-up) เพื่อดูภาพรวมเว็บไซต์ทั้งด้านเนื้อหา และ การออกแบบ 2. พัฒนาและปรับปรุงแบบร่าง (design iteration) 3. การท�าโครงสร้างรหัสเว็บไซต์(code structure) 4. การสร้างแผ่นแบบ (template) 5. การเขียนรหัสตามโครงสร้าง (coding process) 6. พัฒนารูปลักษณ์ (feature) เช่น เว็บไซต์สองภาษา วิดีโอ และ การเชื่อมโยงเว็บไซต์เครือข่าย 7. กระบวนการฝึกอบรมผู้ดูแลเว็บไซต์
ในกรอบการท�างานรายงานความก้าวหน้า คณะท�างานก�าลังอยู่ในระหว่างการด�าเนินงานขั้นตอนที่ 6 คือ การพัฒนารูปลักษณ์ (feature) เพื่อให้มีความสมบูรณ์สามารถใช้ได้ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อม การเชื่อมต่อเว็บไซต์สู่ฐานข้อมูลในรูปแบบวิดีโอ ตารางกิจกรรม และ เว็บไซต์เครือข่าย การพัฒนารูปลักษณ์เว็บไซต์ แบบร่างเว็บไซต์ครัง้ ที ่ 1 และ 2 พัฒนาจากรูปแบบเว็บไซต์เดิมให้มคี วามทันสมัย เข้าใจง่าย และสามารถ ค้นหาข้อมูล (Navigation) ได้สะดวก โดยคู่สีจากโลโก้โครงการประกอบกับภาพถ่ายและวิดีโอซึ่งถูกเก็บบันทึก ไว้จากกิจกรรมโครงการฯตลอดระยะเวลา 4 ปี ที่ผ่านมา น�าเสนอภายใต้แนวคิด Community Friendly หรือ มิตรภาพร่วมกับชุมชน ผู้คน ประเพณี และ งานหัตถกรรมสร้างสรรค์
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
149
ภาพแบบร่างเว็บไซต์ครั้งที ่ 1 และ 2 (จากซ้ายไปขวา)
150
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
แบบร่างครัง้ ที ่ 3 คือ แบบร่างสุดท้ายทีพ่ ฒ ั นามากจากแบบร่างครัง้ 2 โดยใช้โครงสร้างเนือ้ หาทีไ่ ด้ทา� การ พัฒนาแล้ว น�าเสนอในรูปแบบที่ทันสมัยมากขึ้น ในเชิงรายละเอียดค�านึงถึงผู้ใช้ (user) เป็นหลัก รวมไปถึงการ เชือ่ มต่อกับกิจกรรมโครงกาไร สือ่ ออนไลน์ เครือข่าย และ การสร้างสะพานเชือ่ ม (platform) กับหน่วยงานอืน่ ๆ เข้าสู่เว็บไซต์โครงการฯ
ภาพแบบร่างเว็บไซต์สุดท้าย ก่อนด�าเนินการสร้างแผ่นแบบ (template) และ การเขียนรหัสตามโครงสร้าง (coding process)
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
151
การปรับเปลี่ยน Hosting เว็บโฮสติ้ง คือ พื้นที่การใช้งานในอินเทอร์เน็ต ส�าหรับเว็บไซต์ทั่วไป เช่น Bluehost, goDaddy และ Dreamhost โดย ณ ปัจจุบนั คือ เว็บไซต์โครงการใช้โฮสติง้ ซึง่ แบ่งพืน้ ทีก่ ารท�างานร่วมกับเว็บไซต์อนื่ ๆ ซึง่ ท�าให้มี ความล่าช้าในการประมวลผล และ ไม่ปลอดภัย โดยมีนัยทางอ้อม คือ การโฆษณาให้ซื้อ Plug in หรือ โปรแกรม เสริม ด้วยเหตุนี้คณะท�างานเล็งเห็นว่าในการพัฒนาเว็บไซต์นอกจากให้มีความสวยงาม ง่ายต่อการใช้งานแล้ว จ�าเป็นต้องเพิ่มประสิทธิภาพการท�างานให้เกิดความเสถียร โดยเฉพาะการเข้าถึงอย่างจากสาธารณะ และ การ เข้าถึงเว็บไซต์จากต่างประเทศ จึงมีความจ�าเป็นในการปรับเปลี่ยนโฮสติ้ง (Hosting) โดยระบบการดูแลเว็บไซต์ใหม่จะอยูภ่ ายใต้การท�างานของ WordPress ซึง่ เป็นโปรแกรมในการบริหาร จัดการเว็บไซต์ภายใต้รปู แบบ Content Management System (CMS) ดังนัน้ โฮสติง้ (Hosting) ใหม่จา� เป็นต้อง รองรับการท�างานของ WordPress โดยตรง คณะท�างานเลือกใช้โฮสติ้ง (Hosting) ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อรองรับ บริษัทที่ท�าเกี่ยวกับเว็บไซต์โดยตรงเพื่อให้บริการลูกค้าอีกขั้นหนึ่ง โดยเหตุผลด้านความปลอดภัย ความเสถียร ของการท�างาน โดยผ่านระบบที่ใช้เรียกว่า VPS (Virtual Private Servers) คือ ระบบที่ดูแลแต่ละเว็บไซต์แยก จากกัน ท�าให้การท�างานมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีพื้นที่ในการเก็บข้อมูลขนาดใหญ่กว่า โดย WordPress รองรับ ระบบ VPS โดยตรง ดังนั้นการอัพเดทจะเกิดขึ้นอัตโนมัติโดยตรงกับเว็บที่ใช้ WordPress เป็นฐาน และมี Plug in หรือ โปรแกรมเสริมให้ใช้โดยส่วนใหญ่ไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม โดยรายละเอียดการท�างานประกอบด้วย 1. ป้องกันไวรัส และ Malware โดยจะท�างานตลอดเวลาพร้อมมีการส�ารองข้อมูล (Backup) ให้ทุก 30 วัน ลงใน google drive 2. การพัฒนาคุณภาพ (Upgrade) จะท�างานตามอัตโนมัต ิ แต่หากมีปญ ั หาเรือ่ ง error code คณะท�างาน ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจะด�าเนินการแก้ไข 3. การเปลี่ยนย้ายโฮสติ้ง (Hosting) คณะท�างานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจะด�าเนินการย้ายและจัดการจน เว็บไซต์โครงการ สามารถท�างานบนโฮสติ้ง (Hosting) ใหม่ได้เรียบร้อย 4. การดูแลจะอัพเดท และ ให้คา� แนะน�าตลอดอายุ แต่หากมีการเปลี่ยนแปลงเว็บ เช่น ออกแบบใหม่ เพิ่มฐานข้อมูล จ�าเป็นต้องมีค่าใช้จ่ายในการด�าเนินการ
152
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ปัจจุบันเว็บไซต์เว็บไซต์พร้อมใช้งาน เว็บไซต์ปัจจุบันพร้อมส�าหรับการใช้งาน ในการนี้คณะท�างานได้หันมาใช้งานเว็บไซต์เป็นหลักในการ อัพเดทบทความและการประชาสัมพันธ์ต่างๆ เว็บไซต์มีทั้งสิ้น 2 ภาษาได้แก่ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้ สามารถเข้าถึงผู้คนได้มากยิ่งขึ้น ในเฟสต่อไปคณะท�างานได้วางแผนให้ในการท�า SEO ให้เว็บไซต์ของทางโครงการขึ้นเป็นอันดับ 1 ใน หน้าค้นหาเพิ่มเนื้อหาในบางส่วนเข้าไปเพื่อให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ภาพเว็บไซต์ www.chiangmai-cityofcrafts.com Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
153
5.7.2 Facebook Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ภาพหน้าเพจ Facebook Chiang Mai City of Crafts and Folk Art หลังจากสัญญาโครงการในปี 2560 สิน้ สุดลง ทางคณะท�างานได้ทา� การโปรโมทเพจอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้ สังคมภายนอกได้รบั รูถ้ งึ การเป็นเมืองสร้างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้านของเมืองเชียงใหม่ รวมทัง้ การ ประชาสัมพันธ์กจิ กรรมต่างๆทีเ่ กิดขึน้ และจะเป็นส่วนหนึง่ ของการผลักดันเมืองเชียงใหม่ให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ อย่างยั่งยืนปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจจ�านวน 8,413 ผู้ใช้งาน จากวันที ่ 2 มกราคม 2561 ที่มีผู้ติดตามเพียง 5,575 ผู้ใช้งาน ซึ่งเพิ่มขึ้นถึง 2,838 คน
ภาพแสดงยอดผู้ติดตามเพจ Facebook Chiang Mai City of Crafts and Folk Art 154
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เป้าหมายการประชาสัมพันธ์ในปีงบประมาณนีจ้ ะสอดคล้องกับกิจกรรมทีจ่ ะจัดขึน้ ได้แก่ความรู ้ บทความ บทสัมภาษณ์ เรื่องผ้าของเชียงใหม่
ภาพแสดงตัวอย่างโพสที่เผยแพร่แล้วทั้งหมดตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2562 ถึง วันที ่ 5 กุมภาพันธ์ 2562 Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
155
ภาพแสดงตัวอย่างโพสที่เผยแพร่เกี่ยวกับความรู้เรื่องผ้าเชียงใหม่
ภาพแสดงตัวอย่างโพสประชาสัมพันธ์กิจกรรมเวิร์คช็อป ที่จะจัดในงาน Chiang Mai Crafts Fair 2018 156
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ภาพแสดงตัวอย่างโพสประชาสัมพันธ์งาน “พลวัตอาภรณ์ แห่งนครเชียงใหม่” Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
157
5.7.3 Youtube Chiang Mai City of Crafts and Folk Art Youtube เป็นอีกหนึ่งช่องทางในการประชาสัมพันธ์โครงการ เพื่อให้คนหันมาสนใจและรู้จักโครงการ มากขึน้ และยังเป็นทีเ่ ก็บฐานข้อมูลวิดโี อต่างๆของโครงการเพือ่ น�ามาใช้ใน www.chiangmai-cityofcrafts.com อีกด้วย เพื่อไม่ให้เว็บไซต์โหลดข้อมูลที่มากจนเกินไปและสามารถเข้าสู่เว็บไซต์ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ปัจจุบันในช่อง Youtube ของทางโครงการมีวิดีโอทั้งหมด 22 วิดีโอและมีเป้าหมายจะให้เพิ่มมากขึ้น ในอนาคตเนื่องจากปัจจุบันการประชาสัมพันธ์ผ่านวิดีโอมักจะได้ผลลัพที่ด ี และจะสามารถสร้างเป็นไวรัลได้ง่าย กว่าภาพนิ่งอีกด้วย
ภาพแสดงวิดีโอทีเผยแพร่ลงในเว็บไซต์ Youtube
ภาพแสดงตัวอย่างวิดีโอในช่อง Youtube ของทางโครงการ 158
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
5.7.4 Line@ Chiang Mai City of Crafts and Folk Art (@chiangmaiccfa) Line@ เป็นช่องทางการติดต่อสือ่ สารแบบโดยตรงระหว่างผูท้ ตี่ ดิ ตาม ซึง่ เป็นการประชาสัมพันธ์ทถี่ อื ว่า ส่งตรงถึงผู้ที่ติดตามได้รวดเร็วและได้รับแน่นอน โดยการประชาสัมพันธ์ 1 ครั้งนั้นโครงการสามารถส่งข้อความ ถึงทุกคนที่ติดตามและแจ้งเตือนเข้าไปยังผู้ที่ติดตามได้ทันที ซึ่งเป็นแอพที่ถือว่าเป็นการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ไม่ ต้องรอให้บคุ คลมาพบเจอแต่เป็นการได้รบั โดยตรง เราจึงเลือกมาใช้งานในการประชาสมัพนั ธ์ตา่ งๆให้ได้ผลมาก ยิ่งขึ้น แต่ต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์ให้บุคคลทั่วไปเข้ามาเพิ่มเป็นเพื่อนก่อน ซึ่งปัจจุบันคณะท�างานพยายาม ให้บุคคลทั่วไปติดต่อกับทางโครงการผ่านทางช่องทางนี้เพื่อให้มีผู้ติดตามมากที่ขึ้น
ภาพแสดง Line@ ของโครงการ Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ภาพแสดงตัวอย่างการประชาสัมพันธ์กิจกรรมผ่านทางช่องทาง Line@ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
159
5.7.5 Instagram @chiangmai_creativecity Instagram (อินสตาแกรม) ทางคณะท�างานได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ในการใช้แอพลิเคชัน่ ในการเป็นสังคม ออนไลน์การแบ่งปันภาพถ่าย (Social Photo Sharing) มาใช้ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้บุคคลทั่วไป และผู้ที่สนใจ ได้เห็นภาพทีเ่ กีย่ วกับเชียงใหม่และโครงการ อันจะสร้างความสนใจในการเข้ามารูจ้ กั โครงการมากยิง่ ขึน้ จะท�าให้ การประชาสัมพันธ์ได้ผลมากยิ่งขึ้นอีกด้วย ในปีงบประมาณปัจจุบันจะใช้ช่องทางนี้มากยิ่งขึ้นเพื่อให้บุคคลทั่วไป และชาวต่างชาติได้รู้จักโครงการมากยิ่งขึ้น
ภาพแสดงตัวอย่างการประชาสัมพันธ์กิจกรรมผ่านทางช่องทาง Instagram (อินสตาแกรม) 160
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
5.7.6 การประชาสัมพันธ์ออฟไลน์ ภายในปีงบประมาณ 2561 นี้ทางคณะท�างานได้วางแผนการประชาสัมพันธ์แบบออฟไลน์ โดยการหา โอกาสในการแสดงนิทรรศการ ออกบูท ในงานต่างๆเพื่อให้เกิดการรับรู้ เกี่ยวกับโครงการมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยัง พยายามเขียนข่าวให้เกิดการประชาสัมพันธ์ทมี่ ากขึน้ ซึง่ ทีผ่ า่ นมาแล้วนัน้ ได้แก่งานแผ่นพับประชาสัมพันธ์เชียงใหม่ คราฟท์แฟร์ 2018 นิทรรศการงานสถาปนาสถาบันวิจยั สังคม งานตานข้าวใหม่ตานหลัวหิงไฟพระเจ้า งานปฏิรปู การศึกษาขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
ภาพแผ่นพับประชาสัมพันธ์ และนิทรรศการภายในงาน เชียงใหม่คราฟท์แฟร์ 2018
ภาพการจัดแสดงนิทรรศการในงานสถาปนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใม่
ภาพการจัดแสดงนิทรรศการในงานปฏิรูปการศึกษา ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
161
6 แนวทำงกำรศึกษำดูงำน เมืองที่เป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
การศึกษาดูงานสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ประเทศสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ : กรุงโซล เมืองอิชอน และเมืองชยอนจู สาธารณรัฐเกาหลีใต้ (Republic of Korea) วันที่ : 19 – 23 กันยายน 2561 วัตถุประสงค์: 1. เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายร่วมกันกับสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO 2. เพื่อเป็นการเรียนรู้ถึงการจัดงานน�าเสนอเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
165
6.1 ที่มาของการศึกษาดูงาน ณ กรุงโซล เมืองอิชอน และเมืองชยอนจู ประเทศเกาหลีใต้ เนื่องด้วยในปีที่ผ่านมาในปี พ.ศ. 2560 เมืองชยอนจู ประเทศเกาหลีใต้ มีการงานเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่ จับต้องไม่ได้ขึ้น โดยศูนย์วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ มหาวิทยาลัยชอนบุค ได้มีหนังสือเชิญมายังโครงการฯ และ คณะวิจติ รศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้ไป เผยแพร่-แลกเปลีย่ นวัฒนธรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับงานหัตถกรรมทีเ่ ชือ่ ม โยงกับวัฒนธรรมทีจ่ บั ต้องไม่ได้ของเมืองเชียงใหม่ และการศึกษาขึน้ ในวันที ่ 27-29 ตุลาคม 2560 จึงเป็นจุดเริม่ ต้นของความสัมพันธ์ระหว่างโครงการ คณะวิจิตรศิลป์ เมืองชยอนจู และมหาวิทยาลัยชอนบุคขึ้น อีกทั้งเมืองชย อนจูยังเป็นเมืองเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์สาขาอาหาร ขององค์การ UNESCO เช่นกัน หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมทางเมืองชยอนจูและคณะท�างานได้มีการติดต่อสื่อสารสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง โครงการและเมืองชยอนจูมาโดยตลอด ในปีนี้ พ.ศ. 2561 มีการจัดประชุม Subnetwork Meeting ของเมืองสร้างสรรค์ สาขางานหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้าน ณ เมือง อิชอน ประเทศเกาหลี หัวหน้าโครงการ รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ท่านปลัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ คุณอินศร พรหมมินทร์ และช่างฝีมอื งานหัตถกรรมน�า้ ต้น สล่าแดง สมทรัพย์ ศรีสวุ รรณ ได้เข้าร่วมการประชุม และมีการแลกเปลีย่ นพูดคุยกับคณะท�างานเมืองอิชอน และนายกเทศมนตรีเมือ งอิชอน สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างทั้งสองเมืองขึ้น ท�าให้ต่อมาทางเมืองชยอนจู มหาวิทยาลัยชอนบุค และศูนย์วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ได้เข้ามาศึกษาดูงานแลก เปลี่ยนเรียนรู้ที่จังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ 13-16 สิงหาคม 2561 โดยคณะท�างาน องค์การบริหารส่วนจังหวัด เชียงใหม่ และคณะวิจิตรศิลป์ก็ได้ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี ความสัมพันธ์อันดีในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างเมืองสร้างสรรค์ และสถาบันการศึกษาจึง ก่อเกิดขึ้น ท�าให้มีการเชิญเมืองเชียงใหม่น�าโดยท่านนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ให้ไปเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแสดงวัฒนธรรมให้ทั้งสองเมืองได้รู้จักและสร้างความเข้มแข็งระหว่างเมือง มากยิ่งขึ้น กอร์ปกับกรุงโซล เมืองหลวงของประเทศเกาหลีใต้ เมืองสร้างสรรค์สาขาการออกแบบ ขององค์การ UNESCO ได้มีการจัดงาน Seoul Design ขึ้น และมีการออกหนังสือเชิญให้ รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ได้น�า เสนอเกีย่ วกับเมืองเชียงใหม่ให้กบั เมืองอืน่ ๆ ให้เห็นถึงความเป็นเมืองเชียงใหม่ ในงาน seoul cloud เป็นงานทีน่ า� เสนอ เมือง UNESCO ในทุกสาขา ต่อเมืองสร้างสรรค์ของโซล เพือ่ แลกเปลีย่ นถึงการประสบปัญหาและแนวทาง การพัฒนาของแต่ละเมือง ให้สามารถแก้ไขในทิศทางเดียวกัน ในการนีจ้ งึ เป็นการเหมาะสมที ่ ทัง้ สองเมืองจะสร้างความสัมพันธ์ทดี่ งี าม สร้างความเข้มแข็ง แลกเปลีย่ น เรียนรู้ประสบการ การจัดการเมือง ทั้งการเป็นเมืองสร้างสรรค์ ทั้งการเป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมที่โดดเด่น คณะ ท�างานจึ้งได้มีการก�าหนดแผนการศึกษาดูงานดังกล่าวภายในปีงบประมาณ 2561 ณ กรุงโซล เมืองอิชอน และ เมืองชยอนจูขึ้น ในวันที่ 19-23 กันยายน 2561 166
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
6.2 ความส�าคัญและภูมิหลังของเมืองต่างๆ ที่คณะท�างานเดินทาง ไปศึกษาดูงาน ประเทศเกาหลีใต้ ได้รับคัดเลือกให้เป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ถึง 7 สาขา จ�านวน 8 เมือง และได้รับเลือกจากองค์การ UNESCO ให้เป็นศูนย์กลางของเอเชีย ท�าหน้าที่ในการรวบรวมงาน และเป็นเจ้าภาพงานจัดประชุมเครือข่ายย่อยของสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ในปี 2018 ทาง คณะท�างานได้เล็งเห็นถึงความส�าคัญดังกล่าวจึงเลือกสาธารณรัฐเกาหลีใต้เป็นประเทศทีค่ วรเข้าไปศึกษาถึงระบบ การจัดการเมืองสมาชิกสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO การจัดกิจกรรม การน�าเสนอฐานะเมืองสร้างสรรค์ของ องค์การ UNESCO ทั้งนี้คณะท�างานได้เดินทางไปศึกษาดูงานจ�านวนทั้งสิ้น 3 เมือง ได้แก่ กรุงโซล เมืองอิชอน และเมืองชยอนจู
เมืองที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ในสาธารณรัฐเกาหลีใต้ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
167
1. กรุงโซล (Seoul)
กรุงโซล (SEOUL) เป็นเมืองหลวงและมีฐานะเป็นศูนย์กลางทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของประเทศเกาหลีใต้ ได้รบั คัดเลือกให้เป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาการออกแบบ ในปี ค.ศ. 2010 ด้วยปริมาณ 73 เปอร์เซ็นต์ ของนักออกแบบชาวเกาหลีใต้ ทีเ่ ข้ามาท�างานด้านการออกแบบณ กรุงโซลแห่งนีโ้ ดยการออกแบบของนักออกแบบทีอ่ าศัยอยูใ่ น กรุงโซลมุ่งเน้นไปที่เครื่องมืออันทันสมัยใช้ระบบดิจิตอลในภาคอุตสาหกรรมและยานยนต์ตลอดจนกิจกรรมทางวัฒนธรรมและ กิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อให้บริการแก่ประชาชนในประเทศกว่าสิบล้านคน
ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมามีการสร้างงานกว่า 170,000 ต�าแหน่งในอุตสาหกรรมการออกแบบของกรุงโซล เพียงอย่างเดียว เกือบหนึ่งในสามของงานเหล่านี้อยู่ในภาคการผลิตและการออกแบบที่ปรึกษา ส่วนอีกสามคน ก�าลังอยูใ่ นการออกแบบแฟชัน่ นอกจากนีโ้ ซลยังเป็นทีต่ งั้ ของผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการโฆษณา สถาปนิก นักออกแบบ เกมและนักพัฒนาเนื้อหาดิจิทัลหลายพันคน “ผลงานสร้างสรรค์ของเมืองขึ้นอยู่กับเอกลักษณ์ของตน ความแรง ทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ของกรุงโซลคือความสามารถในการเฉลิมฉลองความหลากหลาย การเติบโตทีโ่ ดดเด่นภายในระยะ เวลาสั้น ๆ เกิดขึ้นได้จากความสามารถของผู้คนในการรับค่านิยมที่หลากหลายและจัดการกับความขัดแย้งและ การประนีประนอมที่เกิดขึ้นในกระบวนการดังกล่าว” ในปีนี้ทางเกาหลีใต้ได้เรียนเชิญ “รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์”ตัวแทนจากเมืองเชียงใหม่ และ คณะ ท�างานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ได้นา� เสนอ “Human Cities” ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที ่ 17-26 กันยายนเป็นโครงการหลักของ Seoul Design Cloud 2018 โดย มีการจัดนิทรรศการของแต่ละประเทศที่ขับเคลื่อนเมืองด้วยมนุษย์ซึ่งมี 11 เมืองจากยุโรป และ 7 เมืองที่ได้รับ การออกแบบจากยูเนสโก จีน ญี่ปุ่น และ เกาหลีเข้าร่วมโครงการ
168
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
โปสเตอร์งานจัดแสดงที่กรุงโซล
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
169
2. เมืองอิชอน (Icheon)
เมืองอิชอน ตั้งอยู่ในเขตจังหวัด Gyeonggi ตั้งอยู่ประมาณ 30 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรุง โซล Icheon City ได้รบั คัดเลือกให้เป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน ตั้งแต่ป ี ค.ศ. 2010 ในเมืองอีชอนมีหมู่บ้านที่เป็นศูนย์กลางของงานเซรามิกแบบดั้งเดิมและมีคุณภาพดี ตัง้ แต่ในสมัยราชวงศ์โชซอน (ค.ศ. 1392-1910) หรือประมาณ 500 ปีทผี่ า่ นมา เนือ่ งจากวัสดุทนี่ า� มาผลิตสามารถ หาได้ง่ายในพื้นที ่ ในปัจจุบันหมู่บ้านแห่งนี้ยังมีช่างฝีมือที่ยังผลิตงานเซรามิกอยู่เป็นจ�านวนมาก ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ถือว่าเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมทีม่ ชี วี ติ (Living Cultural Treasures) ของประเทศเกาหลีใต้ นอกจากนัน้ ภายในเมืองยังมีศูนย์เซรามิคเมืองอิคชอน (Icheon Cerapia World Ceramic Center) เป็นสถานทีท่ ี่จัดตั้ง ขึ้นเพื่อบันทึกความเป็นมาของงานเซรามิกของเมืองอิคชอน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ในอาคารประกอบไปด้วย การจัดแสดงงานเซรามิคทั้งแบบดั้งเดิม และแบบร่วมสมัย ที่มาจากศิลปิน อีกทั้งยังเป็นสถานที่ให้กลุ่มผู้ที่สนใจ ในงานเซรามิคได้เข้ามา Workshop โดยผู้เชี่ยวชาญและครูภูมิปัญญาของเมือง มาร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ กับผู้ที่เข้ามาท�ากิจกรรม การได้ไปสถานที่แห่งนี้จึงเป็นการแลกเปลี่ยน เรียนรู้วิธีการจัดการสถานที่ที่ใช้ในการ เผยแพร่งานหัตถกรรมของเมือง ซึ่งสามารถน�าองค์ความรู้นี้มาปรับใช้กับเมืองเชียงใหม่ในอนาคต
170
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
3. เมืองชยอนจู (Jeonju)
เมืองชยอนจู ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเมืองแห่งการท�าอาหารแห่งสหประชาชาติครั้งที่ 4 ในเดือน พฤษภาคม 2012 การแต่งตั้งเป็นที่ยอมรับของเมืองในการด�าเนินการมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพื่อปกป้องมรดก ทางอาหารของตนส่งเสริมอาหารและวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตนอย่างมีคุณค่า แสดงให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ในด้านการท�าอาหารโดยมีทรัพยากรส�าหรับการท�าข้าวย�า (บิบิมบับ) ที่เป็นเอกลักษณ์ขอเมืองและได้รับการ ประชาสัมพันธ์ผ่านงานเทศกาลอาหารต่างๆ และ ในตลาดแบบดั้งเดิมที่เป็นวิถีชีวิตในท้องถิ่น เมืองแห่งชยอนจูเป็นเมืองที่มีประวัติความเป็นมายาวนานถึง 1200 ปี และเป็นสถานที่เกิดของราชวงศ์ บาเจ็ค ภายหลังและราชวงศ์โชซอน มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอาหารของเมืองทีม่ ที นุ ทางวัฒนธรรมเดิมของท้อง ถิ่น Jeonju Bibimbab “ข้าวย�าเกาหลี” (บิบิมบับ) ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติในฐานะที่เป็นอาหาร ดั้งเดิมของเกาหลีที่มีชื่อเสียงที่สุด นอกจากนี้ชยอนจูยังเป็นที่รู้จักกันดีในเรืองของบ้านโบราณ (Hannok) ที่ยัง คงรักษาสภาพของตัวอาคารให้เป็นแหล่งประวัติศาสตร์ของเมือง
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
171
6.3 ก�าหนดการศึกษาดูงาน วันที่ 1 : พุธที่ 19 กันยายน 2561 20.00......คณะท�างานเดินทางพร้อมกันที่ สนามบินเชียงใหม่ 23.55......คณะท�างานเดินทางออกจากสนามบินเชียงใหม่ ด้วยสายการบิน KOREAN AIR ไปยังสนามบินอินชอน ประเทศเกาหลีใต้ วันที่ 2 : พฤหัสบดีที่ 20 กันยายน 2561 07.00......คณะท�างานเดินทางถึงสนามบินอินชอน ประเทศเกาหลีใต้ 08.00......คณะท�างานเดินทางไปยังเมืองอิชอน (ICHEON) สมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง 11.00......คณะท�างานเดินทางศึกษาดูงาน ณ เมืองอิคชอน (ICHEON) ด้านการจัดการเมืองและ สิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์ ณ เมืองอิชอน (ICHEON) 18.00......คณะท�างานเดินทางเข้าที่พัก ณ เมืองชยอนจู (JEONJU) : WOOSHIN HOTEL วันที่ 3
: ศุกร์ที่ 21 กันยายน 2561 09.00.....คณะท�างานศึกษาดูงาน ณ เมืองชยอนจู (JEONJU) สมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาอาหาร ตัวแทนจาก The Center for Intangible Culture Studies (CICS) ให้การต้อนรับ พร้อมเข้าพบผู้บริหารและตัวแทนเมือง 13.00.....คณะท�างานศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนความร่วมมือด้านศิลปวัฒนธรรม และหัตถกรรม พื้นบ้าน และการจัดการเมือง และสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์ แบบมีส่วนร่วม 15.00.....คณะศึกษาดูงาน เข้าพบนายกเทศมนตรีเมืองชยอนจู (JEONJU) 17.00.....คณะท�างานเข้าสู่ที่พัก ณ เมืองชยอนจู (JEONJU) : WOOSHIN HOTEL
วันที่ 4
: เสาร์ที่ 22 กันยายน 2561 09.00.....คณะท�างานเดินทางออกจากเมืองชยอนจู (JEONJU) ไปยังกรุงโซล (SEOUL) 13.00.....คณะท�างานเดินทางเข้าพบ ตัวแทนคณะท�างานเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ประจ�ากรุงโซล (SEOUL) ประเทศเกาหลีใต้ ศึกษาดูงานชุมชน เมืองหัตถกรรม สร้างสรรค์แห่งกรุงโซล (SEOUL) พร้อมทั้งแลกเปลี่ยน ด้านการศึกษา และวัฒนธรรม ร่วมกับ เทศกาล SEOUL Design ณ ดงแดมุนพลาซ่า (Dondaemun Design Plaza) 18.00.....คณะท�างานเข้าสู่ที่พัก ณ กรุงโซล (SEOUL) : L’ART HOTEL
172
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
วันที่ 5
: อาทิตย์ที่ 23 กันยายน 2561 09.00.....คณะท�างานเดินทางไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์พื้นถิ่นในกรุงโซล (SEOUL) และเข้าร่วมท�า กิจกรรมแลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรม ในเทศกาล SEOUL Design 15.00.....คณะท�างานเดินทางไปยังสนามบินอินชอน 18.40.....คณะท�างานอกกเดินทางด้วยไปยังสนามบินเชียงใหม่ ด้วยสายการบิน KOREAN AIR 22.25.....คณะท�างานเดินทางถึงสนามบินเชียงใหม่โดยสวัสดิภาพ
6.4 บทเรียนเมืองสร้างสรรค์และการน�ามาประยุกต์ใช้ เมืองอิชอน (ICHEON) สมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้น บ้าน ศึกษาดูงานด้านการจัดการเมืองและสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์ ใน เมืองอิชอน (ICHEON) ซึ่งเป็นตัวอย่างของ เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ประเภท เครื่องปั้นดินเผา เมืองอิ ชอน (ICHEON) ได้มีการจัดเทศกาลเซรามิค ทุกๆ ปี ในช่วงเดือนเมษายน เพื่อเป็นการสร้างเศรษฐกิจของเมือง และ ส่งเสริมงานหัตถกรรมของเมืองอิชอน (ICHEON) สถานที่แรกคณะท�างานได้รับเกียรติจากนายกเทศมนตรีเมืองอิชอน ให้การต้อนรับ ได้แลกเปลี่ยนเรื่อง การบริหารจัดการเมืองอิชอน ในเรื่องของการเป็นเมืองสร้างสรรค์สาขงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน โดยได้ จัดตัง้ คณะท�างานเพือ่ ผลักดันทางด้านนีโ้ ดยเฉพาะและหน่วยงานรัฐบาลสนับสนุนงบประมาณให้อย่างเต็มทีเ่ พือ่ ใช้ในการด�าเนินงานของคณะท�างานเพือ่ ผลักดันให้เกิดความยัง่ ยืนโดยใช้งานหัตถกรรมเซรามิคเป็นพืน้ ฐาน และ ได้ใช้พื้นที่ของรัฐบาลให้ช่างเซรามิคเข้ามาซื้อที่ดินในราคาที่ถูกเพื่อสร้างชุมชนเซรามิคขึ้น รวบรวมช่างฝีมือทาง ด้านเซรามิค เข้ามาอาศัยและสร้างสรรค์งานหัตถกรรมร่วมกันในพื้นที ่ ซึ่งเป็นนโยบายที่รัฐบาลของเกาหลีใต้ให้ ความส�าคัญกับรากเหง้าทางวัฒนธรรมของตนเองมาเป็นอันดับต้นๆเพื่อไม่ให้สูญหายไปกับกาลเวลา
การต้อนรับจาก เมืองอิชอน Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
173
สถานที่ต่อไปคณะท�างานได้เดินทางไปยังส�านักงานของคณะท�างานเมืองอิชอน โดยคณะท�างานเมืองอิ ชอน ได้นา� เสนอชุมชนเซรามิค YE’S Park และแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชน
ภาพการน�าเสนอพื้นที่ชุมชนเซรามิค YE’s Parks ของคณะท�างานเมืองอิชอน เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO “YE’S Park” ชุมชนเซรามิค การจัดตั้งสถานที่บันทึกความเป็นมาของเซรามิคของเมืองอิชอน ตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน ในอาคารประกอบไปด้วยการจัดแสดงงานเซรามิค ผลงานแบบดั้งเดิม และ ผลงานแบบร่วม สมัย ของศิลปิน ภายในอาคารเป็นสถานที ่ Workshop ส�าหรับการท�าเครื่องปั้นดินเผา ของกลุ่มผู้ที่สนใจในงาน เซรามิค โดยมีการแนะน�าโดยผู้เชี่ยวชาญ ครูภูมิปัญญา ของเมือง มาร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับผู้ที่เข้ามา Workshop และในเมืองอิชอนยังมีสถานทีส่ า� หรับการท�างานหัตถกรรม เครือ่ งปัน้ ดินเผาและเป็นสถานทีส่ า� หรับ การจัดแสดงงาน ของเมืองอิชอน โดยมีชื่อว่า “YE’s Parks” เป็นพื้นที่ส�าหรับการพบปะระหว่างงานหัตถกรรม ดั้งเดิม และ งานหัตถกรรมร่วมสมัยของ เครื่องปั้นดินเผา ที่มีเอกลักษณ์ของเมืองอิชอน ประเทศเกาหลีใต้
ภาพช่างฝีมือของเมืองอิชอน ที่มีเทคนิคการท�างานเซรามิคเฉพาะตัวได้ถ่ายทอดการท�าเครื่องปั้นดินเผา รวมถึงการจัดแสดงผลงานของตนเองในพื้นที่ของ YE’S Park 174
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ภาพพื้นที่จัดแสดงงานเชรามิคจากช่างฝีมือเมืองอิชอน
ภาพท่านนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่มอบของที่ระลึก แสดงความขอบคุณแก่ช่างฝีเมืองที่นา� ชมสถานที่
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
175
จากการศึกษาดูงานสถานที่ดังกล่าวถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐบาลใน พืน้ ทีใ่ นการสร้างพืน้ ทีใ่ หม่สา� หรับเมืองเชรามิค ทีร่ วมทัง้ งานดัง้ เดิมและงานร่วมสมัย เพือ่ ให้ชมุ ชนเกิดความ ตระหนักถึงคุณค่าของงานหัตถกรรมของตนเอง และสร้างรายได้ให้กบั ชุมชนและเมืองอิชอน แม้วา่ อาคารแล พื้นที่จะเป็นสถานที่ ที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่ก็ตาม แต่ก็เป็นการรวมตัวช่างฝีมือมาอยู่ร่วมกัน กลังจากนัน้ คณะท�างานได้เดินทางไปยัง Icheon Cerapia World Ceramic Center ซึง่ เป็นศูนย์เซรามิค ที่เมืองอิชอน (ICHEON) ได้จัดตั้งส�าหรับการเก็บรวบรวมผลงานของเมืองอิชอน ที่มีทั้งผลงานที่เป็นเอกลักษณ์ ดั้งเดิมและผลงานร่วมสมัยเปรียบเป็นพื้นที่ส�าหรับการศึกษาถึงเทคนิคการท�าเซรามิค รวมถึงเป็นพื้นที่ส�าหรับ การปฏิบัติงานของการสร้างสรรค์เครื่องปั้นดินเผาของเมืองอิชอนซึ่งในพื้นที่พบเด็กนักเรียนเป็นจ�านวนมาก มี การจัดท�าการอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับเด็กนักเรียนในเมืองอิชอน เพื่อเป็นการปลูกฝังรากเหง้าทางวัฒนธรรม ให้แก่เด็กๆ ที่จะเติบโตขึ้นในอนาคต
ภาพศูนย์เซรามิคเมืองอิชอน
ภาพการจัดแสดงผลงานเซรามิคภายในศูนย์เซรามิคเมืองอิชอน 176
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ภาพคณะท�างานเดินชมผลงานเซรามิคภายในศูนย์เซรามิคเมืองอิชอน และได้รับการบรรยายจากเจ้าหน้าที่
ภาพคณะท�างานเชียงใหม่และคณะท�างานสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ของเมืองอิชอน Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
177
เมืองชยอนจู (JEONJU) เป็นเมืองทีไ่ ด้รบั เลือกเป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ทาง ด้านอาหารซึง่ ได้ ให้ “บิมบิมบัม” ข้าวย�าเกาหลีได้เป็นเอกลักษณ์ของเมือง ซึง่ เป็นอาหารทีด่ ตี อ่ สุขภาพ สามารถ สร้างรายได้ให้กับชุมชน ทั้งด้านการเกษตรกรรม และ การประกอบอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของเมือง โดยทาง เมืองชยอนจูได้มีการสร้างสัญลักษณ์ของเมือง คือ “บิมบิมมิ” ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ “บิมบิมบัม” เมืองชยอนจู ได้มีศูนย์ที่เรียกว่า ICH (Intangible Cultural Heritage) เป็นพื้นที่ส�าหรับการสร้างสรรค์งาน หัตถกรรมในพิธกี รรม ประเพณี ความเชือ่ ของเมือง รวมถึงการผลิตช่างฝีมอื ของเมืองโดยทีศ่ นู ย์จะมีการสนับสนุน งบประมาณเพือ่ ให้คนรุน่ ใหม่ หรือ ผูท้ สี่ นใจ มาท�างานในศูนย์เป็นเวลาตามทีก่ า� หนดไว้ เปรียบได้วา่ เป็นพืน้ ทีแ่ ห่ง การเผยแพร่ และ สร้างสรรค์งานหัตถกรรมของเมืองชยอนจู
ภาพการต้อนรับจาก ICH (Intangible Cultural Heritage) ของเมืองชยอนจู
ภาพคณะท�างานเมืองชยอนจู พาชมการท�าพื้นที่ส�าหรับการสร้างสรรค์งานหัตถกรรม
178
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ในการเดินทางครั้งนี้คณะท�างานได้รับเกียรติได้ประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อเป็นเมืองสันถวไมตรีเชื่อมความ สัมพันธระหว่างเมืองชยอนจู และ เมืองเชียงใหม่รว่ มกับนายกเทศมนตรีเมืองชยอนจู Mr. Kim Seung-soo และ ทางคณะท�างานเมืองเชียงใหม่ได้มกี ารแลกเปลีย่ นศิลปะวัฒนธรรมร่วมกับเมืองชยอนจู (JEONJU) โดยทางคณะ ท�างานได้น�าดนตรีพื้นเมือง และการแสดงฟ้อนให้กับนายกเทศมนตรี และคณะท�างานเมืองชยอนจูได้รับชมด้วย ในวันทีพ่ บปะกันมีการพูดคุยถึงความคล้ายคลึงทางวัฒนธธรรมของทัง้ สองเมืองระหว่างคณะท�างานเมืองเชียงใหม่ และเมืองชยอนจู
ภาพคณะท�างานเมืองเชียงใหม่ฟ้อน และ แสดงดนตรีพื้นเมืองให้กับเมืองชยอนจู
ภาพถ่ายร่วมกันระหว่างคณะท�างานเข้าพบกับนายกเทศมนตรี เมืองชยอนจู Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
179
ภาพหมู่บ้านมรดกของเมืองชยอนจู หมู่บ้านชยอนจู ฮันอก (Jeonju Hanok Village) บ้านเรือนอาคารเก่าแก่ของเกาหลีหรือเรียกที่เรียก กันว่า “ฮันอก” ซึ่งมีอายุมากกว่า 800 ปี ยังคงมีการอนุรักษ์ไว้และได้ท�าเป็นแหล่งท่องเที่ยวขึ้น บ้านรูปแบบฮัน อกในหมู่บ้านแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ อันแช (Anchae) และ ซารังแช (Sarangchae) ปกติแล้วผู้หญิงและ ผู้ชายจะอยู่แยกบ้านกัน ซึ่งอันแชจะเป็นบ้านส�าหรับผู้หญิงเพราะอยู่ด้านในและเงียบสงบกว่า ส่วนซารังแชเป็น บ้านส�าหรับผู้ชาย นอกจากนี้บ้านฮันอกยังมีความพิเศษในเรื่องของการให้ความอบอุ่นในหน้าหนาวอีกด้วย หรือ เรียกว่า “อนดอล” ซึ่งจะท�าให้พื้นภายในบ้านอุ่นในช่วงฤดูหนาวการมาเยี่ยมชมที่หมู่บ้านชยอนจู ฮันอกนี้จะได้ ชมบรรยากาศบ้านแบบเกาหลีดงั้ เดิม ชมวิถชี วี ติ ของชาวเกาหลีเพราะบ้างบ้านยังมีคนอาศัยอยูจ่ ริงๆ เป็นตัวอย่าง การจัดการการท่องเที่ยวที่อาศัยความเป็นเมืองสร้างสรรค์มาใช้ในการประชาสัมพันธ์ได้เป็นอย่างดี “จากการศึกษาดูงานจะเห็นได้ว่าแต่ละเมืองของประเทศเกาหลีใต้ได้พยายามผลักดันพื้นที่สร้างสรรค์ ของแต่ละเมืองโดยชูเอกลักษณ์ของเมืองทัง้ ในเรือ่ งศิลปะหัตถกรรมเพือ่ ให้เกิดความรับรู ้ และถ่ายทอดองค์ความ รู้จากบรรพชนสู่คนรุ่นใหม่ได้อย่างลงตัว”
180
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
กรุงโซล (SEOUL) เมืองหลวงของประเทศเกาหลีใต้ ได้มีการสร้างพื้นที่ส�าหรับการแสดงออกทั้งงาน ศิลปะหัตถกรรม งานดีไซน์ จนกลายเป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงในเรื่องของงานออกแบบ Dondaemun Design Plaza (DDP) เป็นกลุ่มอาคารรูปทรงแปลกตา ตั้งอยู่ใจกลางกรุงโซล เป็นสถานที่จัดนิทรรศการระดับโลก มี ห้องประชุม พื้นที่ในการจัดแสดงงานสินค้าต่างๆ และยังเป็นสถานที ่ ที่ส�าคัญส�าหรับการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ระหว่างประเทศ Dondaemun Design Plaza มีการแบ่งโซนทั้งหมด 5 โซน ได้แก่ โซนที่ 1 คือ Oulimsqare หรือโซน Design Market โซนที่ 2 คือ Art Hall โซนนี้จะเป็นหอประชุม เหมาะส�าหรับการจัดงานตั้งแต่ งาน work shop เล็กๆ งานสัมมนา งานแฟชั่นโชว์ หรือคอนเสิร์ต แบ่งเป็นโซนย่อย – Open studio 1 คือสตูดิโอเอนกประสงค์ รองรับ 1,500 ที่นั่ง – Open studio 2 เป็นลานเอนกประสงค์ รองรับ 1,000 ที่นั่ง – Council Chamber เป็นห้องจัดงาน รองรับ 200 ที่นั่ง โซนที่ 3 คือ Museum เป็นพิพิธภัณฑ์ ที่ตั้งอยู่ใจกลาง Dondaemun Design Plaza เป็นการออกแบบ พื้นที่ เป็นวงกลมเพื่อเยี่ยมชมภายในพิพิธภัณฑ์ ด้วยระยะทาง 533 เมตร ท�าให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้เกี่ยวกับ วัฒนธรรมของเกาหลี โซนที่ 4 คือ Design Lap เป็นโซนที่ใช้เป็นสถานที่จัดการแสดงผลงานด้านการออกแบบ และความคิด สร้างสรรค์ ภายในอาคารมีห้างสรรพสินค้าที่จา� หน่ายสินค้าและการออกแบบ รวมถึงพิพิธภัณฑ์ และห้องสมุด โซนที ่ 5 เป็นโซนทีอ่ ยูบ่ ริเวณรอบนอกคือ Dongdaemun History & Culture Park เป็นสวนสาธารณะ ที่รวมประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของเขตดงแดมุน
ภาพพื้นที่ส�าหรับการแสดงผลงานสร้างสรรค์ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
181
ภาพการประชุมร่วมกับเมืองสร้างสรรค์ด้านการดีไซน์ Seoul Design Cloud 2018
ภาพการเดินแบบการดีไซน์ชุดประจ�าชาติเกาหลี (ฮันบก) ร่วมสมัย
182
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
คลองชองกเยชอน (Cheonggyecheon) เป็นคลองโบราณในสมัยราชวงศ์โชซอน อายุกว่า 600 ปี มี ความยาวประมาณ 6 กิโลเมตร ไหลผ่านใจกลางกรุงโซล ในช่วง ค.ศ. 1957 - 1977 ได้มีการพัฒนาประเทศ อย่างก้าวกระโดด ท�าให้คลองถูกถมลงเป็นถนนและทางด่วน เกิดตึกสูงจ�านวนมาก คลองชองกเยชอนจึงเริ่ม เน่าเสียและตื้นเขิน เรียงไปด้วยชุมชนแออัด จนกระทั่งปี ค.ศ. 2002 นายอี มย็อง-บัก รับต�าแหน่งเป็นผู้ว่าการ กรุงโซล ได้เสนอโครงการฟื้นฟูคลองชองกเยชอน มีพ่อค้าแม่ค้าและประชาชนต่อต้านจ�านวนมาก จนต้องมีการ ประชุมร่วมกันมากกว่า 4,300 ครั้งแต่โครงการก็เริ่มขึ้นได้ด้วยดีในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2003 โดยเริ่มทุบ ทางด่วน และรื้อถนนโดยรอบออกเป็นจ�านวนมาก จนแล้วเสร็จและมีพิธีเปิดเมื่อวันที ่ 1 ตุลาคม ในปีค.ศ. 2005 ท่ามกลางประชาชนเข้าร่วมงานอย่างคับคั่ง ใช้งบประมาณกว่า 3 แสน 8 หมื่นล้านวอน (ประมาณ 1 หมื่นล้าน บาท) พร้อมกับฟื้นฟูธรรมชาติสองฝั่งคลอง ตลิ่งถูกตกแต่งประดับประดาอย่างสวยงาม มีการสร้างน�้าพุตลอด แนว เขื่อนชะลอความเร็วน�า้ ลานกิจกรรม ที่พักผ่อน และมีน�้าตกเป็นแนวกั้นน�า้ ฝน มีทางเดินเลียบคลอง และ สะพานกว่า 22 แห่ง ซึ่งจัดให้ประชาชนร่วมออกแบบสะพานประกวด ท�าให้สะพานทุกแห่งมีรูปแบบที่ไม่ซ�้ากัน และแสดงออกถึงความมีเอกลักษณ์ของเกาหลี ใต้ จนคลองชองกเยชอนแห่งนี้กลายมาเป็นแหล่งท่องเที่ยวและ สถานที่พักผ่อนที่ส�าคัญของกรุงโซล
ภาพคลองชองกเยชอนภาพซ้ายเป็นนิทรรศการใต้สะพานเกี่ยวกับคลอง ภาพขวาเป็นภาพประชาชนที่มาเดินเล่น
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
183
การจัดสรรพื้นที่ภายในเมือง ให้เป็นพื้นที่สาธารณะเช่นสวนลอย (Hanging Garden) เป็นรูปแบบ ของการจัดสวนที่ได้รับความนิยมมาเนิ่นนานจนถึงปัจจุบัน และมีแนวโน้มที่จะนิยมอย่างแพร่หลายกันมาก ขึ้น เนื่องจากพื้นที่ในเมืองที่จา� กัด การจัดสวนลอยนั้น มักจะจัดไว้ในบริเวณพื้นที่ว่างที่เป็นพื้นที่สาธารณะ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ระเบียง ดาดฟ้า หรือแม้แต่ภายในตึก เนือ่ งจากการจัดสวนลอยเป็นการช่วยป้องกันมลภาวะจาก ทัง้ ภายนอกเข้าสูต่ วั อาคารและภายในอาคารเอง และลดยังช่วยเพิม่ พืน้ ทีอ่ ากาศบริสทุ ธ์ภายในอาคารและใน เมืองด้วย ซึ่งในปัจจุบันทางรัฐบาลเกาหลีใต้ และบริษัทเอกชนในประเทศเกาหลีมีการสร้างสวนลอยมากยิ่ง ขึ้นเพื่ออากาศที่บริสุทธิ์ และพื้นที่สีเขียวในเมืองหลวงดังจะเห็นได้ตามพื้นที่สาธารณะ และภายในตึกสูงใน กรุงโซลประเทศเกาหลีใต้ ในการเดินทางเพื่อไปศึกษาดูงานครั้งนี้ไม่ได้เพียงแต่เป็นการศึกษาดูงาน เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การบริหารจัดการเมืองอย่างเดียวเท่านั้น ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเมือง เชียงใหม่กับสมาชิกเมืองสร้างสรรค์อีก 3 เมือง ทั้งกรุงโซล เมืองชยอนจู และเมืองอิคชอน ตามเป้าหมาย ที่ทางองค์การ UNESCO ได้กา� หนดขึ้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในกลุ่มเมืองเครือข่าย
184
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
7 ประชุมเครือข่ำยเมืองสร้ำงสรรค์ Annual UNESCO Creative Cites Network : UCCN Subnetwork Meeting in The Field of Crafts and Folk Art
เหตุผลของกำรเข้ำร่วมประชุม Subnetwork และ Annual Meeting ตามวัตถุประสงค์ขององค์การยูเนสโก (UNESCO) ได้มีเป้าหมายส�าหรับการสร้างเครือข่ายของเมือง สร้างสรรค์เพื่อแลกเปลี่ยนกระบวนการขับเคลื่อนและแนวทางการปฏิบัติกับเมืองสร้างสรรค์จึงมีความจ�าเป็นที่ จะต้องเข้าร่วมประชุมเมืองเครือข่ายในแต่ละปี แบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ 1. Subnetwork Meeting การประชุมตามสาขาเมืองเครือข่ายสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO จะมี การจัดขึ้นทุกปี โดยจะมีการน�าเสนอ และ แลกเปลี่ยนถึงความก้าวหน้า อุปสรรค และ แนวทางการด�าเนินงาน ของเมืองสร้างสรรค์ให้สามารถด�าเนินงานตามวัตถุประสงค์ของสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึ่งจะมีการปรับเปลี่ยนการเป็นเจ้าภาพของงาน 2. Annual Meeting การประชุมประจ�าปีของสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ทุกสาขา เมืองสร้างสรรค์ เพือ่ น�าเสนอถึงการด�าเนินงานของเมืองสร้างสรรค์มคี วามแตกต่างกับการประชุมย่อย (Subnetwork Meeting) ซึ่ง การประชุมประจ�าปีของ UNESCO Creative Cities Network เป็นการเสริมสร้างความ สัมพันธ์ระหว่างเมืองจากทั่วโลกและท�าหน้าที่เป็นแพลตฟอร์มกลางในการน�าเสนอแลกเปลี่ยนความก้าวหน้า ของเมืองสร้างสรรค์ทุกสาขา ก�าหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ของเครือข่าย สามารถด�าเนินงานของเมืองเครือ ข่ายสามารถพัฒนาในทิศทางเดียวกัน จำกกำรประชุมทั้งสองประเภทนั้นจังหวัดเชียงใหม่ จึงมีควำมจ�ำเป็นที่จะต้องเข้ำร่วมประชุมทั้ง 2 ประเภท เพือ่ เตรียมควำมพร้อมส�ำหรับกำรเป็นเจ้ำภำพของงำนประชุมเมืองสร้ำงสรรค์ขององค์กำร UNESCO ต่อไปในอนำคต
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
187
7. วางแผนการประชุมเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ 7.1 Annual UNESCO Creative Cites Network : UCCN - เมือง Fabriano ประเทศอิตำลี ในปีนี้สมาชิกเมืองเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ได้เพิ่มความร่วมมือทั่วโลกเกี่ยวกับความ คิดสร้างสรรค์และมรดกทางวัฒนธรรมเป็นรากฐานในการท�าให้เมืองต่างๆมีความยืดหยุ่นและยั่งยืนมากยิ่งขึ้น กำรประชุมประจ�ำปีครั้งต่อไปในวันที่ 10 - 15 มิถุนำยน พ.ศ. 2562 จัดขึ้นที่เมือง Fabriano ประเทศอิตาลี เนื้อหาการประชุมจะมุ่งเน้นเรื่อง “เมืองในอุดมคติ”
188
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
7.2 Creative City Subnetwork Meeting in The Field of Crafts and Folk Art - เมือง Kanazawa ประเทศญี่ปุ่น เมืองคานาซาว่า ประเทศญี่ปุ่น เป็นสมาชิกเมืองเครือข่ายสร้างสรรค์ขององค์กร UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 จากประวัติศาสตร์เมืองคานาซาว่า เมื่อ 430 ปีที่แล้ว งานทองของเมืองคานาซ่าได้สร้างช่างฝีมือหัตถกรรมสร้างสรรค์งานดั้งแต่สมัยอดีต จนถึงปัจจุบัน โดย งานหัตถกรรมประเภททองค�าเปลว กับวัสดุที่ใช้ในชีวิตประจ�าวัน ปัจจุบันได้มีกาบสนับสนุนนวัตกรรมของงาน ฝีมอื แบบดัง้ เดิมกับการส่งเสริมอุตสาหกรรมใหม่ ๆ เพือ่ สร้างผลิตภัณฑ์ทมี่ มี ลู ค่าสูงในสาขาต่างๆ ท่ามกลางสภาพ แวดล้อมในเมืองแบบดัง้ เดิมท�าให้คานาซาวะเป็นเมืองแห่งหัตถกรรม งานหัตถกรรมยังคงเป็นส่วนส�าคัญของชีวติ ประจ�าวันของเมืองและวิถีการด�าเนินชีวิตแบบดั้งเดิม ในการจัดประชุมเครือข่ายย่อยของสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน เป็นการน�าเสนอถึงความก้าวหน้าในการน�างานหัตถกรรมของกลุม่ สมาชิกขับ เคลื่อนเมือง ให้เกิดมูลค่าทั้งทางด้านงานหัตถกรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านการพัฒนาอาชีพของชุมชน ให้เกิดความ ยัง่ ยืนของเมือง รวมถึงการจัดประชุมแต่ละครัง้ เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อมส�าหรับการจัดกิจกรรมร่วมกันและ การประชุมหารือ เสนอแนวทางแก้ไขเกิดผลกระทบของแต่ละเมือง การจัดประชุมเครือข่ายย่อยของสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขา หัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน เป็นการน�าเสนอถึงความก้าวหน้าในการน�างานหัตถกรรมของกลุม่ สมาชิกขับเคลือ่ น เมือง ให้เกิดมูลค่าทั้งทางด้านงานหัตถกรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านการพัฒนาอาชีพของชุมชน ให้เกิดความยั่งยืน ของเมือง รวมถึงการจัดประชุมแต่ละครั้งเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมส�าหรับการจัดกิจกรรมร่วมกันและการ ประชุมหารือ เสนอแนวทางแก้ไขเกิดผลกระทบของแต่ละเมือง กำรประชุมนีจ้ ะจัดขึน้ ในวันที่ 14 - 16 ตุลำคม พ.ศ. 2562 ที่เมือง Kanazawa ประเทศญี่ปุ่น
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
189
8 ภำคผนวก “ในช่วงปี 2561 ตั้งแต่สิ้นสุดโครงการงบประมาณปี 2560 นั้น ทางโครงการฯ ยังคงด�าเนินการอย่างต่อเนื่องของงานหัตถกรรมโดยได้มีการจัดกิจกรรมร่วมกันกับภาคีอย่างบูรณาการ ในฐานะที่เชียงใหม่ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO”
กำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
การประชุมร่วมกับ สมาชิกเมืองเครือข่ายขององค์การ UNESCO ครั้งที่ 12 ณ ประเทศโปรแลนด์ เพื่อแลกเปลี่ยนการเป็นเมืองสร้างสรรค์ของแต่ละสาขา และหาแนวทางร่วมกันเพื่อพัฒนาให้ยั่งยืน ตามแนวทาง เป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน SDGs Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
193
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
194
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
195
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
196
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
197
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
198
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
199
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
200
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
201
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
202
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เอกสำรกำรประชุม Annual Meeting UNESCO Creative Cites Network : UCCN ครั้งที่ 12 ณ เมือง Krakow และเมือง Kratowice ประเทศโปแลนด์
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
203
งำนปฏิรูปกำรศึกษำ ประจ�ำปี 2561 เมื่อวันที่ 30 -31 มกรำคม 2561 โดย องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดเชียงใหม่
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดงานปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 เมืิ่อวันที่ 30 - 31 มกราคม 2561 ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ เฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา จังหวัด เชียงใหม่ โดยทางโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ฯได้ร่วมจัดนิทรรศการเกี่ยวกับโครงการฯ และมีกิจกรรมฝึก อบรมเชิงปฏิบัติการให้นักเรียนได้ทดลองฝึกปฏิบัติกัน อาทิ เชือกถักลีซู เพ้นท์ร่ม ฯลฯ ซึ่งได้รับความสนใจจาก นักเรียนจากหลากหลายโรงเรียนทั้งชุมชนพื้นที่ราบ และชุมชนบนพื้นที่ราบสูง
204
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ภาพบรรยกาศกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยคณะท�างานโครงการฯ ได้รับความสนใจจากน้อง ๆ นักเรียน และสามารถสร้างความรูใ้ ห้แก่นักเรียน อีกทั้งยังสามารถน�าไปต่อยอดน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน หรือท�า เป็นงานอดิเรก ที่สามารถสร้างรายได้เล็ก ๆ น้อย ๆ ให้กับโรงเรียนและตนเองได้อีกด้วย
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
205
กำรประชุม Subnetwork Meeting in The Field of Crafts and Folk Art ณ เมือง Icheon ประเทศเกำหลีใต้ การประชุม Subnetwork Meeting in The Field of Crafts and Folk Art ณ เมือง Icheon ประเทศ เกาหลีใต้ ในวันที่ 25 ถึง 30 เมษายน 2561 สมาชิกเมืองเครือข่ายสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO จะมีการจัดประชุมส�าหรับสาขาหัตถกรรมและ ศิลปะพืน้ บ้าน ทุกๆปี โดยครัง้ นีไ้ ด้จดั ประชุมขึน้ ที่ เมืองอิชอน ประเทศเกาหลีใต้ เป็นเมืองทางด้านงานหัตถกรรม ประเภทเครื่องปั้นดินเผา ที่มีเอกลักษณ์และเทคนิคของประเทศเกาหลี ซึ่งการประชุมครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ เห็นความคืบหน้า และ สภาพปัญหาของเมืองรวมถึงการก้าวต่อไปของเมืองสร้างสรรค์ โดยครั้งนี้เมืองเชียงใหม่ ได้เป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้านใน ปี 2560 จึงท�าให้การ ประชุมครั้งนี้เป็นการน�าเสนอครั้งแรกของเมืองเชียงใหม่ในฐานะสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO โดยระยะเวลาในการจัดประชุมนั้นได้มีการน�าเสนอเมืองสร้างสรรค์ ทั้ง 34 เมือง ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้าน
ตัวแทนจากจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย ในฐานะสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน น�าโดย ท่านอินศร พรหมมินทร์ ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ หัวหน้าโครงการฯ และ Focal Point ของเชียงใหม่เมืองหัตกรรมสร้างสรรค์ และนายสมทรัพย์ ศรีสุวรรณ (สล่าแดง) ครูช่างภูมิปัญญญาด้านเครื่องปั้นดินเผา 206
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
รศ. ดร. วรลัญจก์ และท่านอินศร ตัวแทนเมืองเชียงใหม่ รับมอบของที่ระลึกจากนายกเทศมนตรีเมืองอิชอน
ช่างฝีมือด้านงานเครื่องปั้นดินเผา ตัวแทนจากประเทศไทย Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
207
คณะท�างาน และตัวแทนจากเมืองสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO เข้าเยี่ยมชมนิทรรศการแสดงผลงานเครื่องปั้นดินเผาของเมืองอิชอน
ตัวแทนเมืองสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ด้านงานหัตถกรรม ขององค์การ UNESCO
208
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
สรุปประเด็นกำรประชุม The 2nd Creative city Workshop and Subnetwork Meeting in the field of crafts and Folk Art การประชุมครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ เพือ่ เป็นการแนะน�าประเทศสมาชิกในกลุม่ เครือข่ายย่อยด้านงานหัตถกรรมและ ศิลปะพืน้ บ้าน ได้มกี ารจัดประชุมทีเ่ มืองอิชอน (ICHEON) ประเทศเกาหลีใต้ โดยครัง้ นีม้ ปี ระเทศทีเ่ ข้าร่วมทัง้ หมด 13 ประเทศ จากสมาชิกทั้งหมด 17 ประเทศ สมาชิกเครือข่ายย่อย ประกอบไปด้วย 16 เมือง โดยเชียงใหม่เป็น หนึง่ ในสมาชิกใหม่ของ สมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ทางด้านงานหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน ซึ่งได้รับประกาศเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2560 ที่ผ่านมา โดยในการประชุมสมาชิกเมืองเครือข่ายย่อยครั้งนี้ได้มี ประเด็นส�าคัญ 4 ประเด็นในการหารือดังต่อไปนี้ กลยุทธ์การขับเคลื่อนเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ในกลุ่มเครือข่ายย่อยด้านงานหัตถกรรมและศิลปะพื้น บ้านได้มีแผนงานของประเทศสมาชิกจะต้องน�าแนวคิด SDGs และ New Urban Agernda จาก UN-Habitat III. มาร่วมวางแผนในการท�างาน ประเทศเครือข่ายน�าเสนอเอกสารโครงสร้างการท�างาน และคณะกรรมการเมืองสร้างสรรค์ (Steering Committee) แก่กลุ่มสมาชิกเครือข่ายย่อยเพื่อการประสานงาน และ การท�างานร่วมกันในอนาคต โดยเน้นย�า้ ถึงโครงสร้างคณะกรรมการจะต้องประกอบไปด้วยตัวแทนจากภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาคประชาชน รวม ไปถึงศิลปินผู้ผลิตผลงานด้านหัตถกรรมและศิลปพื้นบ้าน แผนกลยุทธ์ (Strategic Plan) จ�าเป็นต้องน�าเสนอรายละเอียดการท�างานที่เกี่ยวข้องกับ What [ท�าอย่างไร] หมายถึง โครงการ กิจกรรม และ รูปแบบความร่วมมือ Where [ท�าที่ไหน] หมายถึง ศูนย์กลางในการประสานงานและการจัดการ Why [ท�าไม] หมายถึง กระบวนการท�างานน�าแนวคิด SDGs และ New Urban Agernda มาปรับใช้ ในการท�างานด้วยเหตุผลใด และมุ่งเป้าให้เกิดผลลัพธ์อย่างไร How [ท�าอย่างไร] หมายถึง รายละเอียดกระบวนการท�างานที่เกิดจากความร่วมมือเกิดการขับเคลื่อน ด้านหัตถกรรมและศิลปพื้นบ้าน Who [ใคร] หมายถึง ใครเป็นผู้รับผิดชอบ ใครเป็นผู้ด�าเนินงาน ใครเป็นผู้ได้รับผลกระทบ และ ความ ร่วมมือระหว่างกลุ่มต่างๆ เกิดขึ้นได้อย่างไร การน�าเสนอโครงงานเพื่อขับเคลื่อนเมืองสร้างสรรค์ในกลุ่มเครือข่ายย่อยเพื่อการสร้างความร่วมมือ ระหว่างประเทศ ดังนั้นประเทศสมาชิกเครือข่ายย่อย (Subnetwork) ควรมีการน�าเสนอโครงการเบื้องต้น (Initative Project) ตามแผนการท�างาน และ แผนกลยุทธ์ของตนแกเครือข่ายประเทศสมาชิกเพื่อหารือในการ ช่วยเหลือ และ สร้างความร่วมมือ ทัง้ นีค้ วามช่วยเหลือรวมไปถึงการสนับสนุนด้านเงินทุนและองค์ความรู้ เพือ่ ให้ ขับเคลื่อนการท�างานระหว่างประเทศสมาชิกในเครือข่ายย่อย โดยเมืองอิคชอน (Icheon) คือ เมืองที่ประสาน งานหลักในกลุม่ เครือข่ายย่อย และมีขอ้ ก�าหนดและกรอบการพิจารณาประเทศสมาชิกในการจัดประชุมประจ�าปี Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
209
โครงกำรจัดแสดงนิทรรศกำร “พลวัตอำภรณ์แห่งนครเชียงใหม่” 100 Years Evolution of Chiang Mai Costumes โครงการเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านเชียงใหม่ (Chiang Mai City of Crafts and Folk Art) ร่วมกับ สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกันจัดแสดงนิทรรศการ “พลวัตอาภรณ์แห่งนคร เชียงใหม่ (100 Years Evolution of Chiang Mai Costumes)” โดยเป็นการจัดแสดงนิทรรศการเล่าเรื่องเมือง เชียงใหม่ผา่ นทางเครือ่ งแต่งกาย โดยแบ่งออกเป็นช่วงระยะเวลาต่างๆ ตามบันทึกประวัตศิ าสตร์ของเมืองเชียงใหม่ ตั้งแต่ในปี ค.ศ 1900 – ปัจจุบัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน ดังนี้ - ยุคชาวเชียงใหม่ในยุคอิทธิพลอาณานิคม - ยุคชาวเชียงใหม่ในยุคสังคมเมืองสมัยใหม่ - ยุคฟื้นฟูวัฒนธรรมล้านนา โดยการแต่งกายในแต่ละยุคสมัยนัน้ จะมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวทีไ่ ด้รบั ทัง้ อิทธิพลส่งต่อจากต่าง ประเทศ หรือเป็นการประยุกต์และสร้างสรรค์ขนึ้ มาใหม่ให้เกิดออกมาเป็นชุดเสือ้ ผ้าเครือ่ งแต่งกายทีส่ วยงาม ทาง โครงการเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้านเชียงใหม่ (Chiang Mai City of Crafts and Folk Art) ร่วมกับ สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงเล็งเห็นถึงจุดส�าคัญทีค่ วรมีการจัดแสดงเป็นนิทรรศการ ประกอบ กับการจัดท�า Video Presentation การแต่งกายของชาวเชียงใหม่ในแต่ละยุคสมัย เพือ่ เป็นการเผยแพร่ทางองค์ ความรู้ในทางด้านงานหัตถกรรมพื้นบ้าน และวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณีของเมืองเชียงใหม่ ให้ผู้คนภายในเมือง เชียงใหม่และภายนอกนัน้ เล็งเห็น ให้ความสนใจ และหันกลับมาร่วมกันใส่ใจอนุรกั ษ์ในงานหัตถกรรม วัฒนธรรม ประเพณีของตนได้อย่างมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการจัดแสดง และเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านงานหัตถกรรมพื้นบ้าน และวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณีของเมืองเชียงใหม่ ให้ผู้คนทั้งภายในและภายนอกได้เรียนรู้ 2. เป็นการน�าเสนอรูปแบบความสวยงามของเมืองเชียงใหม่ในทางด้านงานหัตถกรรมพื้นบ้านให้แก่ ผู้คนได้รับรู้ และเกิดความสนใจ 210
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์นิทรรศการ
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
211
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั ผูค้ นในเมืองเชียงใหม่ มีความสนใจตระหนักถึง ความรักและหวงแหนในวัฒนธรรม ประเพณี ตลอดทัง้ งานหัตถกรรมพืน้ บ้านของตน ทีเ่ ปรียบเสมือนเป็นรากฐานของการด�าเนินวิถชี วี ติ และนอกจาก นี้แล้วยังส่งผลให้ผู้คนภายนอกเล็งเห็นถึงความมีคุณค่าของงานหัตถกรรม และวัฒนธรรมประเพณีของเมือง เชียงใหม่มากยิ่งขึ้น วัน เวลำ และ สถำนที่ : วันศุกร์ ที่ 4 พฤษภาคม – วันพฤหัสบดี ที่ 10 พฤษภาคม 2561 ณ ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ ผู้เข้ำร่วมโครงกำร : ประชาชน บุคคลทั่วไป ผู้ที่มีความสนใจ
วิธีด�ำเนินงำน : รูปแบบกำรด�ำเนินงำน ส่วนที่ 1 กำรจัดนิทรรศกำรแสดง การจัดนิทรรศการแสดงเล่าเรื่องเมืองเชียงใหม่ผ่านเครื่องแต่งกาย ประกอบการน�าเสนอผ่าน Video Presentation โดยแบ่งออกเป็นช่วงระยะเวลาต่างๆ ตามบันทึกประวัติศาสตร์ของเมืองเชียงใหม่ตั้งแต่ในปี ค.ศ 1900 – ปัจจุบัน ดังนี้ - ยุคชาวเชียงใหม่ในยุคอิทธิพลอาณานิคม - ยุคชาวเชียงใหม่ในยุคสังคมเมืองสมัยใหม่ - ยุคฟื้นฟูวัฒนธรรมล้านนา ส่วนที่ 2 กำรจัดเสวนำพูดคุยถึงบริบทกำรเปลี่ยนแปลงของกำรแต่งกำยของผู้คนในเมืองเชียงใหม่จำก เหล่ำนักวิชำกำร - คุณวสิน อุ่นจะน�า ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าทอไท ในหัวข้อ “บริบทการเปลี่ยนแปลงของการแต่งกาย ของเมืองเชียงใหม่ - คุณสุทธิพันธ์ เหรา นักออกแบบเครื่องแต่งกายงานละครโทรทัศน์ ในหัวข้อ “การแต่งกายประเพณีกับการน�ามาใช้ในปัจจุบัน”
212
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
นิทรรศการพลวัตอาภรณ์แห่งนครเชียงใหม่ ณ คุ้มบุรีรัตน์
ผศ. ดร. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดนิทรรศการพลวัตอาภรณ์แห่งนครเชียงใหม่ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
213
ภาพบรรยากาศภายในงานและกิจกรรมเสวนา ที่ผู้เข้าชมร่วมแต่งกายสวยงามตามแต่ละยุคของเชียงใหม่ 214
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
โพสต์แสดงจ�านวนผู้ให้ความสนใจต่อนิทรรศการ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
215
เอกสารประกอบการเสวนา
216
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เอกสารประกอบการเสวนา Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
217
เอกสารประกอบการเสวนา 218
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Chiang Mai Forum 2018 “ส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญำล้ำนนำสู่สำกล” การจัดประชุมสัมมนาในระดับนานาชาติ Chiang Mai Forum 2018 เพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่สู่ เมืองมรดกโลกและเมืองหัตถกรรมสร้างสรรค์จึงเป็นยุทธศาสตร์ส�าคัญในการน�าเสนอและแลกเปลี่ยนระหว่าง คณะท�างานและผู้เชี่ยวชาญในระดับประเทศและนานาชาติ ด้านการอนุรักษ์ พัฒนา เมืองมรดกโลกและงาน หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านสร้างสรรค์ภายใต้บริบทเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เป็นที่รับรู้และยอมรับในระดับ สากล
โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์งาน และพิธีเปิดงานโดยท่านวีระ โรจน์พจนรัตน์
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
219
ผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายสาขาร่วมสัมมนาในหัวข้อ ส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาล้านนาสู่สากล
บอร์ดนิทรรศการให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเมืองสร้างสรรค์ด้านงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน
220
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เทศกำล Seoul Cloud ณ กรุงโซล ประเทศเกำหลีใต้ ในการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ในระดั บ นานาชาติ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้รวมถึงการ ประชาสัมพันธ์เมืองเชียงใหม่ในฐานะสมาชิก เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขา หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน กับสมาชิกเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO โดยทาง โครงการได้รับการเชิญจาก กรุงโซล ประเทศ เกาหลีใต้ เป็นประเทศที่ได้รับเลือกให้เป็น สมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ในด้านงานออกแบบ (Design) โดยให้เมือง เชียงใหม่ได้น�าเสนอเรื่อง “Human City” ของเมืองเชียงใหม่ เพื่อเป็นการท�างานอย่าง บูรณาการ และ ศึกษาระบบการบริหารจัดการ การประชาสัมพันธ์ การสร้างเครือข่ายระหว่าง สมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สามารถน�ามาประยุกต์ใช้กับการด�าเนินงาน ของเมืองเชียงใหม่ ในฐานะที่เมืองเชียงใหม่ เป็ น สมาชิ ก เมื อ งสร้ า งสรรค์ ข ององค์ ก าร UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Chiang Mai City of Crafts and Folk Arts)
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
221
222
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ น�าเสนอเมืองเชียงใหม่ในเทศกาล Seoul Cloud 2018
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
223
รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ในเอกสารสูจิบัตร Seoul Cloud 2018 224
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ในเอกสารสูจิบัตร Seoul Cloud 2018 Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
225
รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ในเอกสารสูจิบัตร Seoul Cloud 2018 226
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
227
The 1st CMCCFA International Conference with CICS of Chonbuk National University เมื่อวันที่ 12 สิงหำคม 2561 สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ร่วมกับ มหาวิทยาลัย Chonbuk National University of Jeonju Korea ได้มกี ารประชุมและการจัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ นหัวข้อ “The 1st CMCCFA International Conference with CICS of Chonbuk National University in the City of Jeonju.” วันที่ 14 สิงหาคม 2561 ณ หอประชุม สถาบันวิจยั สังค มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นการจัดงานประชุมเพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรูก้ ระบวนการท�างานของเมืองสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมคุณค่าของพืน้ ทีท่ ไี่ ด้จากงานหัตถกรรม พิธีกรรม และ ภูมิทัศน์วัฒนธรรม เพื่อเป็นการเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของเมือง และ หาแนวทางในการท�างานร่วมกันระหว่างสองเมืองสร้างสรรค์
228
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
คณะท�างานโครงการฯ น�าทีม CICS จากเมืองชยอนจู เยี่ยมชมงานหัตถกรรมบ้านม้ง ดอยปุย
คณะท�างานโครงการฯ น�าทีม CICS จากเมืองชยอนจู เยี่ยมชมงานหัตถกรรมบ้านม้ง ดอยปุย
คณะท�างานโครงการฯ น�าทีม CICS จากเมืองชยอนจู เยี่ยมชมหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ และสักการะอนุสาวรีย์สามกษัตริย์
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
229
คณะท�างานโครงการฯ น�าทีม CICS จากเมืองชยอนจู เยี่ยมชมงานหัตถกรรมบ้านน�้าต้น อ�าเภอแม่วาง
คณะท�างานโครงการฯ น�าทีม CICS จากเมืองชยอนจู ร่วม Workshop กับช่างฝีมือบ้านน�า้ ต้น
คณะท�างานโครงการฯ น�าทีม CICS จากเมืองชยอนจู ร่วม Workshop กับช่างฝีมือบ้านน�า้ ต้น
230
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
องค์กำรบริหำรกำรพัฒนำพื้นที่พิเศษเพื่อกำรท่องเที่ยวอย่ำงยั่งยืน (อพท.) ขอเข้ำพบนำยกองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และคณะท�ำงำนขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ฯ ประชุมร่วมกัน เพื่อช่วยผลักดันพื้นที่พิเศษเข้ำเป็นสมำชิกเครือข่ำยเมืองสร้ำงสรรค์ ในวันที่ 9-11 มกราคม 2562 ที่ผ่านมา โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ประชุมร่วมกับ องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่ พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) ร่วมกันหารือเพื่อช่วยผลักดันพื้นที่พิเศษในการก�ากับดูแล เช่นจังหวัดน่าน เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เข้าเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาต่าง ๆ น�าโดย ท่านนายกบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และ รองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ หัวหน้าโครงการและ foco point ของเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ของ องค์การ UNESCO ได้น�าเสนอวิธีการท�างานและเป้าหมายของการเป็นเมืองสร้างสรรค์ของเมืองเชียงใหม่ให้กับ องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) น�าโดย ดร.ชูวทิ ย์ มิตรชอบ รองผู้อ�านวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) ดร.พรสุข จงประสิทธิ์ ผู้อ�านวยการส�านักพัฒนาขีดความสามารถการท่องเที่ยว และผู้จัดการส�านักงานแต่ละพื้นที่เข้าร่วม ในการนี้ องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) ยังได้ ให้เกียรติเยี่ยมชม ศูนย์หัตถกรรมร่มบ่อสร้าง และศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช พิพิธภัณฑ์ผ้าไหมสันก�าแพง โดยมี อ.อนันท์ สุคันธรส ให้การต้อนรับ
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
231
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) ร่วมกันหารือเพื่อช่วยผลักดันพื้นที่พิเศษในก�ากับดูแล
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) น�าโดย ดร.ชูวิทย์ มิตรชอบ รองผู้อ�านวยการฯ 232
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) เยี่ยมชมศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช พิพิธภัณฑ์ผ้าไหมสันก�าแพง
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) เยี่ยมชม ศูนย์หัตถกรรมร่มบ่อสร้าง Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
233
กำรประชุมปรึกษำหำรือ ร่วมกับ นำยวิรุฬ พรรณเทวี รองผู้วำ่ รำชกำร จังหวัดเชียงใหม่ ในกำรจัดท�ำใบสมัคร เพื่อขอรับรองจังหวัดเชียงใหม่ เป็นเมืองหัตถกรรมโลก (World Craft City) จำกสภำหัตถกรรมโลก (World Crafts Council) จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ มี ค วามยิ น ดี ใ นการ สนับสนุน และช่วยเหลือกันในการจัดท�าแต่ด้วย อ�านาจหน้าที่ตามระบบราชการในการขับเคลื่อน นั้น ผู้ว่าราชการจังหวัด มีหน้าที่เพียงแค่การสั่ง การแต่อ�านาจหน้าที่อยู่กับการจัดหาหน่วยงาน หลักในการเป็นผู้รับผิดชอบ เช่น องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดเชียงใหม่ , มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การเรียนเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการท�างาน ร่วมกันอย่างบูรณาการ เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน ของเมืองเชียงใหม่ ผลลัพธ์ที่จะได้คือช่วยส่งเสริมการสร้าง มูลค่างานหัตถกรรม เพราะงานหัตถกรรมของ เชียงใหม่จะตอบโจทย์ในเรื่องวิถีชีวิต และ สร้าง รายได้ให้กับชุมชน “การสร้างอัตลักษณ์ของพื้นที่ ผ่านทางหัตถกรรมที่บอกถึงพื้นที่ถิ่นของตนเอง” รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ได้ยกตัวอย่างงานหัตถกรรมประเภทร่ม ที่เป็น เอกลักษณ์ของเชียงใหม่โดยมีน�าร่มมาใช้ให้เป็น ภาพลักษณ์ของเมืองสันก�าแพง รวมถึงการประดับ โรงแรม หรือ พื้นที่สร้างสรรค์ รณรงค์การน�างาน หัตถกรรมมาใช้ในชีวติ ประจ�าวัน และงานประเพณี เพื่อประชาสัมพันธ์เมืองเชียงใหม่
234
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ประเพณีตำนข้ำวใหม่ ตำนหลัวหิงไฟพระเจ้ำ เมื่อวันที่ 20 มกรำคม 2562 ตานข้าวใหม่ ตานหลัวหิงไฟพระเจ้า หนึ่งในงานประเพณี 12 เดือนของล้านนาที่ก�าลังจะเลือนหาย การจัดงานครั้งนี้ วัดต้นเกว๋น ชุมชนต้นเกว๋น ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ของงานประเพณีนี้ ให้กับเมืองเชียงใหม่ ร่วมกับ สถาบันวิจยั สังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, โครงการขับเคลือ่ นเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO , คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ นักศึกษาจาก คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้มแี นวคิดทีจ่ ะอนุรกั ษ์สบื สานประเพณีดงั้ เดิม ไว้ให้คนรุน่ หลังได้รจู้ กั และ เรียนรูถ้ งึ ความ ส�าคัญของงานประเพณี “ตานข้าวใหม่” จากประวัติศาสตร์ “ล้านนา” คือดินแดนที่เต็มไปด้วยนาข้าวดังชื่อ กอปรกับชาวล้าน นานัน้ มีความเลือ่ มใสในศาสนาพุทธเป็นอย่างมาก เมือ่ เก็บเกีย่ วผลผลิตแล้วสิง่ แรกทีช่ าวล้านนาจะนึกถึงเป็นการ ท�าบุญให้ศาสนาโดยการตานข้าวใหม่ “ตานหลัวหิงไฟพระเจ้า” โดยทั่วไปจะจัดงานตานหลัวหิงไฟในช่วงเช้าก่อนการตานข้าวใหม่ประมาณ ตี 3 ถึงตี 4 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อถวายหลัวหรือฟืนให้แก่พระภิกษุสงค์ไว้ใช้งานและมีการจุดบูชาพระประทาน ในวิหารด้วย แต่ ส�าหรับการจัดงานครั้งนี้ได้มีการประชุมร่วมกันกับชุมชนวัดต้นเกว๋น ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ประเพณีนี้ เป็นทีร่ บั รูข้ องคนทัว่ ไป และถ่ายทอดถึงองค์ความรูข้ องงานประเพณีให้เป็นทีร่ บั รู้ และให้บคุ คลทัว่ ไป สามารถเข้าร่วมงานจึงได้เลื่อนเวลามาเป็นช่วงค�่าในวันเดียวกัน การจัดกิจกรรมนี้จึงแตกต่างจาก การตานหลัว หิงไฟพระเจ้า ในอดีต แม้ว่าช่วงเวลาจะเปลี่ยนแปลงไป แต่ศรัทธาและความเคารพยังมีเหมือนเดิม และท�าให้ผู้ ที่ไม่รู้ได้เรียนรู้เพื่อสืบสานต่อไป
ประเพณีตานข้าวใหม่ในช่วงเช้าของวันที่ 20 มกราคม 2562 Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
235
ประเพณีตานข้าวใหม่ในช่วงเช้าของวันที่ 20 มกราคม 2562
ประเพณีตานหลัวในช่วงเย็นของวันที่ 20 มกราคม 2562
236
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
งำนปฏิรูปกำรศึกษำ ประจ�ำปี 2562 เมื่อวันที่ 30 -31 มกรำคม 2562 โดย องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดเชียงใหม่
นิทรรศการของโครงการฯ ในงานปฏิรูปการศึกษา ครั้งที่ 4 น�าเสนอเกี่ยวกับเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ในประเทศไทย Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
237
กำรประชุมและร่วมอภิปรำยเชียงใหม่ในฐำนะสมำชิกเมืองสร้ำงสรรค์ สำขำหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้ำนขององค์กำร UNESCO วันที่ : 6 สิงหาคม 2561 เวลา : 10.00 - 12.00 น. สถานที่ : ห้องประชุม 1 สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้เข้าร่วมประชุม รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ คุณนุสรา เตียงเกตุ คุณสมทรัพย์ ศรีสุวรรณ ดร. สราวุธ รูปิน รศ. ดร. สืบศักดิ์ แสนยาเกียรติคุณ เจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยสังคม เจ้าหน้าที่ TCDC เชียงใหม่ ตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สรุปสำระที่ได้จำกกำรประชุมและร่วมอภิปรำยเชียงใหม่ ในฐำนะสมำชิกเมืองสร้ำงสรรค์ ขององค์กำร UNESCO เมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน เป็นเมืองพิเศษที่ไม่ได้มีแค่นวัตกรรมสมัยใหม่เท่านั้น หากแต่มีช่างฝีมือ ทีเ่ ป็นผูร้ กั ษาภูมปิ ญ ั ญาและท�างานหัตถกรรมสร้างสรรค์อย่างเข้มข้น และยังสามารถสร้างทายาทรุน่ ใหม่ ๆ ขึน้ มา ท�างานด้วยตนเอง เพื่อเป็นคุณูปการของเมืองเชียงใหม่อย่างมากมาย และองค์กรต่าง ๆ ที่ทา� เรื่องงานหัตถกรรม เช่น หน่วยงานของสถาบันการศึกษาที่ท�างานวิจัยร่วมกับชุมชน สามารถหาจุดร่วมและช่วยกันก้าวต่อไปได้เรื่อง ของงานหัตถกรรม เนื่องจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ มีพื้นฐานกันโดยส่วนมาก และองค์กรภาครัฐอย่างองค์การ บริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ก็มีส่วนในการสนับสนุนงบประมาณในการด�าเนินงานขับเคลื่อน และยังมีหน่วย งานการศึกษาที่อยู่ในการดูแลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 25 อ�าเภอด้วยกัน
238
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
เมืองสร้างสรรค์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ 1. ส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับเมือง จะท�าอย่างไรให้เมืองมีความเจริญก้าวหน้าโดยใช้ฐานการขับเคลือ่ น เมือง 2. เป็นการรักษารากเหง้าของเมือง เนื่องจากเมืองเชียงใหม่เป็นเมืองประวัติศาสตร์ มีประวัติ ความเป็นมา มีอายุ 722 ปี และยังมีมรดกวัฒนธรรมหลากหลาย และคนในเมืองส่วนมากควรจะต้องรู้จักเมือง ของตนว่ามีคุณค่าและความส�าคัญอย่างไรในเรื่องของงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดเชียงใหม่ ค�าถามทีว่ า่ ท�าไมต้องเป็นเมืองสร้างสรรค์ เนือ่ งจากนโยบายของรัฐบาลทีว่ า่ ด้วยเมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูค้ นในเมือง เพือ่ น�าไปสูเ่ ศรษบกิจสมัยใหม่ ท�าให้คนทุกคนสามารถท�างานร่วมกันได้ และสามารถสร้างโอกาสการท�างานเข้าด้วยกัน เช่น พันธมิตรจากต่างอ�าเภอ ต่างเมือง ต่างจังหวัด ต่างประเทศ ที่รวมตัวกันท�างานสร้างสรรค์เพื่อเมือง กับค�าถามที่ว่าจะท�าอย่างไรให้คนไม่ยากจน เป็นการบูรณาการของศาต ร์หลายอย่าง ทีจ่ ะท�าให้สงิ่ เหล่านีอ้ อกไปสูโ่ ลกภายนอก เพือ่ ให้คนภายนอกสามารถอุปโภคบริโภคร่วมกันได้ เช่น การท่องเที่ยวอย่างไรให้สัมพันธ์กับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน หรือจะผลิตงานดิจิตอลอย่างไรให้สัมพันธ์ กับงานเหล่านี้ ซึ่งเป็นการน�าทุนทางวัฒนธรรมที่มีอยู่มาสร้างความโดดเด่นเป็นสากล เรื่องเศรษฐกิจก็เป็นส่วน หนึ่งที่ส�าคัญที่เป็นตัวกลางในการขับเคลื่อน หากแต่การพัฒนาชีวิตของผู้คนก็คือสิ่งส�าคัญ เช่นเดียวกับการขาย ของที่ระลึก เราจะจ�าหน่ายอย่างไรไม่ให้เป็นเพียงของแค่ของที่ระลึก การขายโอกาสทางด้านวิชาการให้แก่ผู้ ผลิต ขยายโอกาสทางด้ายอาชีพพร้อมกันไปด้วย เพราะเมืองเชียงใหม่มีความสามารถในด้านการออกแบบรูป แบบใหม่ ๆ ในเรื่องของการท่องเที่ยวก็เช่นเดียวกัน เราจะท�าอย่างไรให้นักท่องเที่ยวที่เข้ามาแล้วผ่านไป เปลี่ยน เป็นการท่องเทีย่ วแบบมีประสบการณ์ หรือเมือ่ เราผลิตของเหล่านีอ้ อกมาแล้ว มันมีความพิเศษยิง่ กว่าการเป็นของ ที่ระลึกติดไม้ติดมือกลับไป ต้นทุนทางวัฒนธรรมที่เมืองของเรามี ไม่ว่าจะเป็น แหล่งน�า้ ล�าธาร ป่าไม้ สิ่งแวดล้อม ทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ สามารถน�าสิ่งเหล่านี้มาผสมผสานกันได้หรือไม่ เป้าหมายที่โลกและประเทศไทยก�าลังลงมือท�า คือ SDGs (Sustainable Development Goals) ขององค์การ UNESCO ประการแรกคือ เราจะท�าอย่างไรให้คนไม่ยากจน ประการที่สองคือขจัดความหิวโหย เพื่อบรรลุเป้าหมายความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการที่ดีขึ้นและการส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน ประการที่ สาม คือ ท�าให้แน่ใจถึงการมีสุขภาวะในการด�ารงชีวิต และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนในทุกช่วงอายุ ประการทีส่ ี่ คือการท�าให้แน่ใจถึงการได้รบั การศึกษาทีไ่ ด้คณ ุ ภาพอย่างเท่าเทียมและทัว่ ถึง และส่งเสริมโอกาสใน การเรียนรูต้ ลอดชีวติ แก่ทกุ คน ประการทีห่ า้ คือการท�าให้แน่ใจว่าเรือ่ งน�า้ และการสุขาภิบาล จะได้รบั การจัดการ อย่างยั่งยืน และมีสภาพพร้อมใช้สา� หรับทุกคน ประการที่เจ็ด คือ ท�าให้แน่ใจว่าทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานที่ ทันสมัย ยั่งยืน เชื่อถือได้ ตามก�าลังซื้อของตน ประการที่แปด ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและ ทั่วถึงให้เป็นไปอย่างยั่งยืน ส่งเสริมศักยภาพการมีงานท�าและการจ้างงานเต็มที่ และงานที่มีคุณค่าส�าหรับทุกคน ประการที่เก้า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
239
ส่งเสริมการปรับตัวให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนและทั่วถึง และสนับสนุนนวัตกรรม ประการที่สิบ คือ ลด ความเหลือ่ มล�า้ ทัง้ ภายในและระหว่างประเทศ ประการทีส่ บิ เอ็ด ท�าให้เมืองและการตัง้ ถิน่ ฐานของมนุษย์มคี วาม ปลอดภัย ทั่วถึง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและยั่งยืน ประการที่สิบสอง คือ ท�าให้แน่ใจถึงการมีแบบแผนการ ผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน ประการที่สิบสาม คือ ด�าเนินการอย่างเร่งด่วน เพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น ประการที่สิบสี่ คือ การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และ ทรัพยากรทางทะเลส�าหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้เป็นไปอย่างยื่น ประการที่สิบห้า คือ การพิทักษ์ บูรณะ และ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืนของระบบนิเวศบนบก จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ต่อสู้กับการแปรสภาพเป็นทะเล ทราย หยุดยัง้ และฟืน้ ฟูความเสือ่ มโทรมของทีด่ นิ และหยุดยัง้ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ประการที่ สิบหก คือ การส่งเสริมให้สงั คมมีความเป็นปกติสขุ ไม่แบ่งแยก เพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน มีการเข้าถึงความยุตธิ รรม โดยถ้วนหน้า และสร้างให้เกิดสถาบันอันเป็นทีพ่ งึ่ ของส่วนรวม มีประสิทธิภาพและเป็นทีย่ อมรับในทุกระดับ และ ประการสุดท้ายประการที่สิบเจ็ด คือ การเสริมสร้างความเข้มแข็งในวิธีปฏิบัติให้เกิดผล และสร้างพลังแห่งการ เป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระดับสากลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
240
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
สิ่งที่เมืองเชียงใหม่อยำกให้เกิดขึ้นต่อไปในอนำคต คือ 1. กระบวนการถ่ายทอดต่อยอดและการรวบรวมองค์ความรู้ เนื่องจากเรามีต้นทุนทางวัฒนธรรมอย่าง มากมาย แต่ขาดกระบวนการบริหารและจัดการความรู้ ท�าให้องค์ความรู้ที่มีคุณค่าหายไปกับสล่า หรือช่างฝีมือ ที่ล้มหายตายจากไป 2. การเชือ่ มโยงผลิตภัณฑ์เข้ากับเมือง การเพาะพันธุส์ ล่า ครูชา่ งฝีมอื โดยให้องค์การท้องถิน่ จัดกิจกรรม ต่าง ๆ หรือมีการอบรมเชิงปฏิบัติการ ร่วมกับศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบเชียงใหม่ (TCDC) ในการจัดกิจกรรม เพือ่ ให้ชา่ งฝีมอื ได้พบปะพูดคุย แลกเปลีย่ นความรู้ กับนักออกแบบหรือนักวิชาการ จัดเวทีเชือ่ มโยงเครือข่ายการ ท�างานร่วมกันทั้งในอ�าเภอและต่างอ�าเภอ 3. หน่วยงานองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ก็สามารถจัดกิจกรรมงานสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยว เพื่อสร้างเครือข่ายให้กระจายสู่ภายนอกมากขึ้น มีงานหัตถกรรมที่เชื่อมโยงกับความเป็นเมือง 4. มีพนื้ ทีส่ าธารณะในเขตก�าแพงเมืองเชียงใหม่เพือ่ ท�างานหัตถกรรมของเมืองตลอดทัง้ ปี เนือ่ งจากตอน นีเ้ มืองเชียงใหม่ยงั ไม่มพี นื้ ทีช่ ดั เจนในการบอกเล่าเรือ่ งราวเกีย่ วกับงานหัตถกรรมของเมือง เพือ่ เป็นการยกระดับ งานหัตถกรรมสู่สากลได้อย่างดีเยี่ยม
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
241
ผลตอบรับจำกกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกับทำงโครงกำรฯ จากการจัดกิจกรรมทีผ่ า่ นมาคณะท�างานได้จดั ท�าแบบสอบถามออนไลน์ ส�าหรับผูท้ เี่ คยร่วมกิจกรรมกับ ทางโครงการเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์สาขางานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์การยูเนสโกเพื่อ 1. ต้องการรับทราบประโยชน์ และการน�าไปใช้ หลังจากเข้าร่วมกิจกรรมที่ผ่านมา 2. รับฟังข้อคิดเห็นในการจัดกิจกรรมที่ผ่านของทางโครงการฯ 3. เพื่อหาแนวทาง และรับฟังข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมในปีถัดไปของทางโครงการฯ โดยได้สง่ แบบสอบถามทางช่องทางออนไลน์ไปให้ทกุ คนทีเ่ คยเข้าร่วมกิจกรรมในปีทผี่ า่ นมาและประชา สัมพันธผ่านทางสือ่ อนไลน์ของโครงการ ของทางโครงการเพือ่ ให้บคุ คลทัว่ ไปได้แสดงความคิดเห็นด้วย ในการส่ง แบบสอบถามครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมตอบแบบสอบถามจ�านวน 38 คน ส่วนข้อมูลทั่วไป จ�านวนผู้ตอบแบบสอบถาม จ�านวน 38 ท่าน เป็นเพศชาย 4 ท่าน คิดเป็น 10.5% และเพศหญิง 34 ท่าน คิดเป็น 89.5%
242
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
243
อาชีพของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญ่ทา� ธุรกิจส่วนตัว (รวมเกษตรกร ศิลปินอิสระ ครูสอนโยคะ ครูสอน นาฏศิลป์ไทย) คิดเป็น 50 % รองลงมาท�าอาชีพรับราชการหรือพนักงานราชการ คิดเป็น 28.9% และงานประจ�าที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ท�าอยู่เป็นอาชีพเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมถึง 44.74% เป็น อาชีพที่เกี่ยวกับการให้ความรู้และการพัฒนาชุมชน 18.42% และเป็นบุคคลทั่วไปที่ไม่ได้มีอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ งานหัตถกรรมเลย 36.84% จากข้อมูลส่วนข้อมูลทั่วไปจะเห็นได้ว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง ที่มีอายุระหว่าง 31-40 ปี จ�านวนมากที่สุด รองลงมาได้แก่ช่วงอายุ 41 – 50 ปี และส่วนใหญ่ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ ผลงานหัตถกรรมถึง 44.74% ส่วนกำรเข้ำร่วมกิจกรรมที่ผำ่ นมำกับทำงโครงกำร ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรับประโยชน์ โดยสรุปรวมเป็นข้อๆได้ดังนี้ 1. ได้รับมุมมองใหม่เกี่ยวกับงานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านจากที่เคยมองข้ามไป 2. ได้รับรู้ เข้าใจ และได้เห็นถึงความสวยงามของงานหัตถกรรมของชนเผ่าในเชียงใหม่ที่ไม่ใช่แค่เพียง งานหัตถกรรมในพื้นราบ 3. น�าความรู้ที่ได้รับไปสร้างแบรนด์เพื่อประกอบอาชีพ 4. น�าความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อเผยแพร่ต่อไป 5. ได้ความรู้และช่องทางการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์จากงานหัตถกรรม 6. น�าความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดผลิตภัณฑ์เดิมเพื่อเพิ่มมูลค่าของงานหัตถกรรม 7. ได้รับเครือข่าย และการแบ่งปันประสบการณ์ความรู้ระหว่างวิทยากร ผู้จัดงาน และผู้เข้าร่วมงาน 8. น�าความรู้ที่ได้รับไปสร้างรายได้เสริม 9. น�าความรู้จากงานหัตถกรรมไปใช้ทางพุทธศาสนา 10. ได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมให้โดดเด่นยิ่งขึ้น 11. น�าความรู้ที่ได้รับไปจัดกิจกรรมจิตอาสาเพื่อสร้างอาชีพให้กับชุมชนอื่น ข้อเสนอแนะที่ผู้เข้ำร่วมกิจกรรมที่ผำ่ นมำ ได้เสนอแนะ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมในครั้งถัดไป โดยสรุปรวมเป็นข้อๆ ดังนี้ 1. จัดการประกวดงานหัตถกรรมพื้นบ้านสร้างสรรค์ 2. การออกแบบร่วมกันระหว่างงานหัตถกรรมกลุ่มชาติพันธุ์ และงานหัตถกรรมบนพื้นราบ
244
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
3. จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับงานหัตถกรรมพื้นถิ่นที่เหมาะส�าหรับนักท่องเที่ยวปัจจุบัน 4. จัดกิจกรรมให้ความรู้กับชุมชนที่ยังไม่ได้มีการสร้างสรรค์งานหัตถกรรม เพื่อให้ชุมชนสามารถใช้ ประกอบเป็นอาชีพ 5. จัดกิจกรรมการสอนเทคนิคพิเศษ และสร้างเครือข่ายออกสู่สากล 6. จัดการสอนเทคนิคเกี่ยวกับผ้า ทั้งเทคนิคการทอ การย้อมสีธรรมชาติ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 7. รวมตัวกันเป็นเครือค่ายสร้างผลงานจากงานหัตถกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใช้วัตถุดิบพื้นบ้าน เป็นส่วนประกอบของชิ้นงานใหม่ๆ 8. พัฒนางานหัตถกรรมที่หลากหลายโดยยังมีกลิ่นไอของวัตถุดิบพื้นบ้านอยู่ในผลิตภัณฑ์ 9. สร้างกลุ่มพูดคุยระหว่างผู้เข้าร่วมอบรม 10. อยากให้มีการกิจกรรม ที่มีการเผยแพร่ให้กับส่วนของทางมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อให้สามารถน�า นักศึกษาเพื่อเข้าร่วมบูรณาการกับโครงการเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ เพื่อมุ่งหวังให้นักศึกษามีจิตส�านึกที่ดีต่อ เมืองเชียงใหม่ และ สามารถน�าความรู้ที่ได้ศึกษามาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม หรือบ้านเกิดต่อไปได้ 11. มีกิจกรรมให้เด็กๆ รุ่นต่อไปได้เข้ามามีส่วนร่วมกับโครงการมากขึ้น 12. มีการออกบูทแสดงผลงานของผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13. อยากให้แต่ละกิจกรรม มีจ�านวนครั้งมากขึ้น 14. อยากให้เห็นความส�าคัญของชุมชนและส่งเสริมให้คนในชุมชนเข้มแข็งและเห็นถึงความส�าคัญในการ รักษาบรรยากาศของความเป็นเมืองที่มีชีวิต 15. ก�าหนดแผนหลักสูตรรายปี ให้ทราบล่วงหน้าว่าจะจัดกิจกรรมอะไร เมื่อไหร่ จะได้ประชาสัมพันธ์ ไปยังกลุ่มเป้าหมายล่วงหน้า สรุป จากข้อมูลการส�ารวจทั้งหมดจะเห็นได้ว่าผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่น�าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนา งานหัตถกรรมเดิมเพื่อให้มีความสร้างสรรค์มากยิ่งขึ้น และน�าไปประกอบอาชีพทั้งหลักและเสริม ส�าหรับ ข้อเสนอแนะทีท่ างผูเ้ ข้าร่วมอบรมได้ให้มานัน้ ได้สอดคล้องกับการจัดการประชุมและร่วมอภิปรายเชียงใหม่ในฐานะ สมาชิกเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO ที่ผ่านมาในวันที่ 6 สิงหาคม 2561 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมเป็น กลุ่มนักวิชาการ และสล่าช่าง ซึ่งเป็นการมุ่งหวังให้มีการพัฒนางานหัตถกรรมดั้งเดิมสู่งานสร้างสรรค์และเน้น ไปที่เด็กรุ่นใหม่เพื่อให้งานดั้งเดิมและเทคนิคยังคงถูกสืบทอด และให้มีพื้นที่ในการแสดงผลงานออกสู่สาธารณะ สร้างเครือข่ายเพื่อความมั่นคงและยั่งยืนของงานหัตถกรรมต่อไป
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
245
เทศกำลตรุษจีนย้อนอดีตเมืองภูเก็ต ครั้งที่ 20 จัดขึน้ โดย เทศบาลนครภูเก็ตและประชาชนชาวภูเก็ต ร่วมใจกันจัดงาน ย้อนอดีตเมืองภูเก็ต และส่งเสริม การท่องเที่ยวของจังหวัด Phuket Creative City of Gastronomy เมื่อปี พ.ศ. 2558 ภูเก็ตเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาวิทยาการอาหาร องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่และเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ ได้จัดนิทรรศการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ของจังหวัดเชียงใหม่ และ ท่านนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ท่าน บุญเลิศ บูรณุปกรณ์ และคุณวรรณศรี ปัญญาประชุม ผูอ้ า� นวยการส�านักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การ บริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ได้รบั เกียรติเข้าร่วมพิธเี ปิด โดยมี ท่านนายกเทศมนตรีเทศบาลนครภูเก็ต ท่านสมใจ สุวรรณศุภพนา ให้การต้อนรับ “เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ทัง้ สองเมืองของประเทศไทย ภูเก็ต และ เชียงใหม่ จะได้มีโอกาสในการท�างานร่วมกันเพื่อใช้ความคิด และงานสร้างสรรค์ พัฒนาเมืองต่อไปอย่างยั่งยืน
ท่านสมใจ สุวรรณศุภพนา ท่านนายกเทศมนตรีเทศบาลนครภูเก็ตและคณะ ให้การต้อนรับ
246
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
ตราสัญลักษณ์เชียงใหม่เมืองหัตถกรรมสร้างสรรค์ บนเวทีเทศกาลตรุษจีน ย้อนอดีตเมืองภูเก็ต ครั้งที่ 20
ท่านวรรณศรี ปัญญาประชุม ผู้อา� นวยการส�านักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ได้ร่วมพิธีเปิดเทศกาลฯ Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
247
เทศบาลนครภูเก็ตให้เกียรติคณะท�างานเชียงใหม่ฯ ประชุมหารือเรื่องเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
นายกวี ตันสุคตานนท์ รองนายกเทศมนตรีนครภูเก็ต 248
นางประนอม ตันสกุล หัวหน้าส�านักปลัดเทศบาล
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
Phuket City of Gastronomy จุดเด่นที่ UNESCO เลือกภูเก็๖เป็นเมืองสร้างสรรค์ ด้านวิทยาการอาหาร มี 5 ประเภทด้วยกัน คือ 1. ความหลากหลายทางวัฒนธรรมโดยเฉพาะวัฒนธรรมอาหารที่เกิดจากสังคมพหุวัฒนธรรม 2. อาหารของชาวภูเก็ตเป็นองค์ประกอบส�าคัญในทุกเทศกาล พิธีการ ความเชื่อ และครอบครัว 3. อาหารท้องถิน่ ภูเก็ตหลายประเภทมีอตั ลักษณ์ หาทานทีอ่ นื่ ไม่ได้ มีสตู รลับเฉพาะและวัตถุดบิ ทีม่ เี ฉพาะ ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต 4. มีความเข้มแข็งความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชน สถาบันการศึกษาทีม่ กี ารสร้างสรรค์ดา้ นนวัตกรรม อาหาร 5. ชาวภูเก็ตมีนา�้ ใจและยินดีร่วมมือแลกเปลี่ยนความรู้กับเมืองอื่น ๆ ในเครือข่าย แผนยุทธศำสตร์ Phuket City of Gastronomy ปี 2560 - 2564 เทศบาลนครภูเก็ตได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ด้านอาหาร เมื่อปี 2558 เป็นเมืองแรกของ ประเทศไทย และเป็น 1 ใน 18 เมืองสร้างสรรค์ด้านอาหารทั่วโลก ภูเก็ตมีความหลากหลายและมีจุดเด่นโดย เฉพาะวัฒนธรรมอาหาร อาทิ อาหารทะเลอันดามัน อาหารบาบ๋า อาหารท้องถิ่น และใช้วัตถุดิบที่มีเฉพาะใน พื้นที่จังหวัดภูเก็ต โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย อุตสาหกรรมอาหารท้องถิน่ ให้ได้มาตรฐานสากล เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ผ่านการท่องเที่ยวเชิงอาหาร เพื่อสร้างคุณค่า มูลค่าทางเศรษฐกิจ ให้กับชุมชน และเมือง เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหาร และเพื่อสร้างเครือข่ายและความร่วม มือในการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ 1. อนุรักษ์มรดกและวัฒนธรรมทางด้านอาหารและเพิ่มคุณค่าด้วยการสร้างสรรค์ (Cultural Heritage Conservation) - ภูมิปัญญาด้านอาหาร Gastronomic Heritage - เพิ่มคุณค่าด้วยการสร้างสรรค์ Gastronomic Creativity 2. เกิดความเจริญและมีความยั่งยืนทางสังคม (Economic Growth & Development) - Food Safety & Consumre’s Health - KM, Research & Innovations - Collaboration - Marketing & Promotion 3. เกิดความเจริญและมีความยั่งยืนทางสังคม (Prosperity & Socail Sustainability)
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
249
เป้ำหมำยเชิงยุทธศำตร์ Phuket City of Gastronomy 1. พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์และยั่งยืนด้วยการจัดการองค์ความรู้ วิจัยและนวัตกรรม 1.1 ร่วมมือกับสถาบันการสอนท�าอาหารเพื่อพัฒนาหลักสูตรในการปรุงอาหารท้องถิ่น 1.2 พัฒนา เผยแพร่ และจัดสัมมนาวิชาการด้านอาหาร 1.3 พัฒนางานวิจัย และเอกสารวิชาการ 1.4 พัฒนานวัตกรรมผลผลิต วัตถุดิบในท้องถิ่น / ส่งเสริมการปลูกพืชท้องถิ่น 1.5 พัฒนาผู้ประกอบการร้านอาหาร 2. ยกระดับคุณภาพอาหารและคุณภาพชีวิต 2.1 ใช้เกณฑ์ระดับสากลมาก�ากับเพื่อคุ้มครองสุขภาพอนามัย 2.2 ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่ก�าหนดมาตรฐาน และวางแผนการด�าเนินงานร่วมกัน 2.3 เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเรื่องมาตรฐานให้ผู้ผลิต ลูกค้า นักท่องเที่ยว 2.4 สร้างความเข้มแข็งให้ผู้ประกอบการ 2.5 พัฒนาระบบเฝ้าระวังคุณภาพ 3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ 3.1 สร้างเครือข่ายทุกภาคส่วน 3.2 สร้างเครือข่ายระหว่างเมืองที่เป็น City of Gastronomy (สัมมนาระหว่างเครือข่าย 18 เมือง) 3.3 สร้างเครือข่ายในประเทศระหว่างจังหวัดต่าง ๆ เพื่อเป็น Creative City เช่น เป็นพี่เลี้ยง ให้กับจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้เชียงใหม่เป็น City of Crafts and Folk Art 4. การตลาดและการประชาสัมพันธ์ 4.1 จัดกิจกรรมร่วมกับ Amazing Taste of Thailand หรือจัดท�า Website อาหาร การ แข่งขันท�าอาหาร 4.2 พัฒนา Product การท่องเทีย่ วทีเ่ กีย่ วกับ City of Gastronomy เพือ่ เพิม่ มูลค่า เช่น Street Food, Phuket Food Festival
250
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
หน่วยงำนในกำรขับเคลื่อนภูเก็ตเมืองสร้ำงสรรค์ดำ้ นวิทยำกำรอำหำร - ส�านักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดภูเก็ต - เทศบาลนครภูเก็ต - ส�านักงานจังหวัดภูเก็ต - การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย - ส�านักงานสาธารณะสุขจังหวัดภูเก็ต - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงพาณิชย์ (กรมส่งเสริมการส่งออก, กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ) - กระทรวงอุตสาหกรรม - ส�านักงานเกษตรจังหวัดภูเก็จ - กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์ - ส�านักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด - หอการค้าจังหวัด - สภาอุตสาหกรรมจังหวัด - สมาคมโรงแรมไทยภาคใต้ สาขาภูเก็ต - สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัด - สถาบันการศึกษา - องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น - สมาคมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กำรจัดตั้งคณะอนุกรรมกำรอ�ำนวยกำรเมืองสร้ำงสรรค์ของภูเก็ต 1. การจัดการองค์ความรู้ 2. การวิจัยอาหารสร้างสรรค์ 3. การจัดกิจกรรม 4. การด�าเนินการตามกรอบของ UNESCO 5. การประชาสัมพันธ์
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
251
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดน่ำน และองค์กำรพัฒนำพื้นที่พิเศษ เมืองเก่ำน่ำน เข้ำพบคณะท�ำงำนของเมืองเชียงใหม่ เพื่อหำรือเรื่องกำรส่งใบสมัครเข้ำร่วมเป็นสมำชิกเมืองสร้ำงสรรค์ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 ณ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นายธีระ ปัญญาอินทร์ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดน่าน มอบของที่ระลึก 252
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
อาจารย์สมเจตน์ วิมลเกษม ปราญช์เมืองน่าน และ นายสุขสันต์ เพ็งดิษฐ์ องค์การพัฒนาพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน
คณะท�างานจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดน่าน
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art
253
254
Final Report 4/2561 Chiang Mai City of Crafts and Folk Art