cg tv

Page 1

องค์ ประกอบของมัลติมีเดีย มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่ อมากว่า 2 สื่ อตามองค์ประกอบ ดังนี้ ตัวอักษร ภาพนิ่ง เสี ยง ภาพเคลื่อนไหว การเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ์ และวีดิทศั น์ เป็ นต้น โดยที่องค์ประกอบเหล่านี้มีความสาคัญต่อการออกแบบ ดังนี้ ตัวอักษร (Text) ตัวอักษรถือว่าเป็ นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญในการเขียนโปรแกรมมัลติมีเดีย โปรแกรมประยุกต์โดยมากมีตวั อักษรให้ผเู้ ขียนเลือกได้หลาย ๆ แบบ และสามารถที่จะเลือกสี ของตัวอักษร ได้ตามต้องการ นอกจากนั้นยังสามารถกาหนดขนาดของตัวอักษรได้ตามต้องการ การโต้ตอบกับผูใ้ ช้ก็ยงั นิยมใช้ตวั อักษร รวมถึงการใช้ตวั อักษรในการเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ์ได้ เช่น การคลิกไปที่ตวั อักษรเพื่อ เชื่อมโยงไปนาเสนอ เสี ยง ภาพกราฟิ ก หรื อเล่นวีดิทศั น์ เป็ นต้น นอกจากนี้ตวั อักษรยังสามารถนามาจัดเป็ น ลักษณะของเมนู (Menus) เพื่อให้ผใู้ ช้เลือกข้อมูลที่จะศึกษาได้ โดยคลิกไปที่บริ เวณกรอบสี่ เหลี่ยมของ มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ภาพนิ่ง (Still Images) ภาพนิ่งเป็ นภาพกราฟิ กที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย หรื อ ภาพวาด เป็ นต้น ภาพนิ่งมีบทบาทสาคัญต่อมัลติ-มีเดียมาก ทั้งนี้เนื่องจากจะให้ผลในเชิงของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการ มองเห็นไม่วา่ จะดูโทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์ วารสาร ฯลฯ จะมีภาพเป็ นองค์ประกอบเสมอ ดังคากล่าวที่วา่ “ภาพหนึ่งภาพมีคุณค่าเท่ากับคาถึงพันคา” ดังนั้นภาพนิ่งจึงมีบทบาทมากในการออกแบบมัลติมีเดียที่มี ตัวอักษรและภาพนิ่งเป็ น GUI (Graphical User Interface) ภาพนิ่งสามารถผลิตได้หลายวิธี อย่างเช่น การวาด (Drawing) การสแกนภาพ (Scanning) เป็ นต้น ภาพเคลือ่ นไหว (Animation)ภาพเคลื่อนไหวจะหมายถึง การเคลื่อนไหวของลูกสู ปและวาล์วใน ระบบการทางานของเครื่ องยนต์ 4 จังหวะ เป็ นต้น ซึ่งจะทาให้สามารถเข้าใจระบบการทางานของ เครื่ องยนต์ได้เป็ นอย่างดี ดังนั้นภาพเคลื่อนไหวจึงขอบข่ายตั้งแต่การสร้างภาพด้วยกราฟิ กอย่างง่าย พร้อม ทั้งการเคลื่อนไหวกราฟิ กนั้น จนถึงกราฟิ กที่มีรายละเอียดแสดงการเคลื่อนไหวในวงการธุ รกิจ ก็มี Autodesk Animator ซึ่ งมีคุณสมบัติดีท้ งั ในด้านของการออกแบบกราฟิ กละเอียดสาหรับใช้ใน มัลติมีเดียตามต้องการ การเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ์ (Interactive Links) การเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ์จะหมายถึงการ ที่ผใู้ ช้มลั ติมีเดียสามารถเลือกข้อมูลได้ตามต้องการ โดยใช้ตวั อักษรหรื อปุ่ มสาหรับตัวอักษรที่จะสามารถ เชื่อมโยงได้จะเป็ นตัวอักษรที่มีสีแตกต่างจากอักษรตัวอื่น ๆ ส่ วนปุ่ มก็จะมีลกั ษณะคล้ายกับปุ่ มเพื่อชม ภาพยนตร์ หรื อคลิกลงบนปุ่ มเพื่อเข้าหาข้อมูลที่ตอ้ งการ หรื อเปลี่ยนหน้าต่างของข้อมูลต่อไป


วีดิทศั น์ (Video) การใช้มลั ติมีเดียในอนาคตจะเกี่ยวข้องกับการนาเอาภาพยนตร์ วดี ิทศั น์ ซึ่ งอยูใ่ นรู ป ของดิจิตอลรวมเข้าไปกับโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนขึ้น โดยทัว่ ไปของวีดิทศั น์จะนาเสนอด้วยเวลาจริ งที่ จานวน 30 ภาพต่อวินาทีในลักษณะนี้จะเรี ยกว่าวีดิทศั น์ดิจิตอล (Digital Video) คุณภาพของวีดิ ทัศน์ดิจิตอลจะทัดเทียมกับคุณภาพที่เห็นจอโทรทัศน์ ดังนั้นทั้งวีดิทศั น์ ดิจิตอลและเสี ยงจึงเป็ นส่ วนที่ผนวก เข้าไปสู่ การนาเสนอและการเขียนโปรแกรมมัลติมีเดียว วีดิทศั น์สามารถนาเสนอได้ทนั ทีดว้ ย จอคอมพิวเตอร์ ในขณะที่เสี ยงสามารถเล่นออกไปยังลาโพงภายนอกได้โดยผ่านการ์ ดเสี ยง (Sound Card) การรวมองค์ ประกอบของมัลติมีเดีย พื้นฐานของมัลติมีเดียจะต้องมีองค์ประกอบมากกว่า 2 องค์ประกอบเป็ นอย่างน้อย เช่นใช้ตวั อัก ษรร่ วมกับ การใช้สีที่แตกต่างกัน 2-3 สี ภาพศิลป์ ภาพนิ่ง จากการวาดหรื อการสแกน นอกนั้นก็อาจมีเสี ยงและวีดิ ทัศน์ร่วมอยูด่ ว้ ยก็ได้ การใช้มลั ติมีเดียที่นิยมกันมี 2 แบบ แบบแรกคือ การใช้มลั ติมีเดียเพื่อการนาเสนอ และแบบที่สอง คือ การใช้มลั ติมีเดียเพื่อการฝึ กอบรม หรื อ การเรี ยนรู้ในด้านของการใช้จะนิยมใช้ โปรแกรมชุดนาเสนอ Presentation Packages) และชุดประพันธ์ (Authoring Packages) ----------------------------------------------------------


งานกราฟฟิ กส์ สื่ อมัลติมีเดีย ผสมผสานภาพและเสี ยงเข้าด้วยกัน สร้างจินตนาการให้เกิดเป็ นงานวีดีทศั น์ ที่สมจริ ง..... ศิลปะวีดีทศั น์ คือ ภาพต้ องเป็ นตัวนา เสี ยง ต้องเป็ นเพียงตัวหนุน การสื่ อสารเข้าใจถึงผูช้ มจะบังเกิดผลกับการมองเห็นด้วยตามากกว่าการได้ยนิ ด้วยหู “ภาพ” ต้องสามารถดาเนินเรื่ องราวและสื่ อความหมายได้ดว้ ยตนเองเสี ยก่อน “เสี ยงประกอบต่างๆ” จะเป็ นตัวช่วยเสริ มให้การสื่ อความหมายด้วยภาพสมบูรณ์ข้ ึนเท่านั้น ** ภาพ มีความสาคัญต่อการสื่ อความหมายถึง 90% ** เสี ยง มีความสาคัญต่อการสื่ อความหมายเพียง 10%

การสื่ อความหมายด้ วย “ภาษาของภาพ” มีวธิ ีการอย่ างไร? ภาษาพูดของคน สื่ อความหมายกันได้ดว้ ยวิธีผกู ประโยคต่าง ๆ เข้าด้วยกัน แต่ภาษาของภาพ สื่ อความหมายด้วย อาศัยสิ่ งต่างๆ ต่อไปนี้ประกอบกันเพื่อให้ผชู ้ มเกิดความเข้าใจ คือ 1. การต่อเนื่องของภาพ (Pictorial Continuity) 2. การเคลื่อนไหวของกล้องและเลนส์ (Camera and Lens Movement) 3. การจัดองค์ประกอบของมุมภาพ (Camera Angle) รวมถึงการจัดแสง 4. การตัดต่อ (Editing) ประกอบเสี ยง (Sound Mixing) และการใช้เทคนิคพิเศษ (Special Effect and Visual Effect) การนาสิ่ งต่างๆ เหล่านี้มาใช้ร่วมกันจะเป็ นเหมือนภาษาอีกภาษาหนึ่งที่สามารถสื่ อความหมายถึงผูช้ มได้ โดยใช้อย่าง ถูกหลักไวยากรณ์ของวีดีทศั น์

การต่ อเนื่องของภาพ (Pictorial Continuity) การต่อเนื่องของภาพ มีความสาคัญมากในการสื่ อความหมาย เพื่อให้ผชู ้ มเข้าใจลาดับของเหตุการณ์ต่างๆ หรื อ สถานการณ์ต่างๆ ของเรื่ องราว เปรี ยบเหมือนไวยากรณ์หลักของภาษาภาพ เพราะถ้าภาพต่อเนื่องอย่างไม่ถูกวิธีจะทา ให้ผชู ้ มเกิดการสับสน ไม่เข้าใจจุดประสงค์ หรื อเข้าใจแต่คลาดเคลื่อนไปจากจุดที่ตอ้ งการ การเข้าใจวิธีการต่อเนื่องของภาพ ต้องเข้าใจหลักการ 2 ข้อ คือ 1. Scene Sizes คือ ขนาดต่างๆ ของภาพ ที่จะต้องมีขนาดลดหลัน่ กันไปอย่างน้อย 3 ขนาด คือ - Long Shot ขนาดไกล - Medium Shot ขนาดปานกลาง - Close up Shot ขนาดใกล้ 2. Screen Direction and Continuity Line Screen Direction คือ การสร้างความต่อเนื่อง โดยรักษาทิศทางของ Subject ในภาพเอาไว้ให้เป็ นทิศทางคงเดิม ไม่วา่


จะเปลี่ยนมุมกล้องหรื อขนาดของภาพไปอย่างไรก็ตาม Continuity Line คือ เส้นสมมุติที่ลากผ่านเพื่อจากัดบริ เวณที่จะตั้งกล้องสาหรับถ่ายมุมต่าง ๆ ไม่ให้เกินเส้น Continuity Line ที่วางไว้ หรื อไม่เกินกว่า 180 องศา

การเคลือ่ นไหวกล้องและเลนส์ (Camera and Lens Movement) การเคลื่อนไหวเกิดขึ้น 2 ลักษณะ คือ 1. Subject Movement คือ กล้องอยูก่ บั ที่ แต่ Subject เคลื่อนไหว 2. Camera Movement คือ Subject อยูก่ บั ที่ แล้วกล้องเคลื่อนไหว หรื อกล้องเคลื่อนไปตาม Subject ที่กาลัง เคลื่อนไหว การเคลื่อนไหวของกล้อง - Pan คือ การหันกล้องไปทางซ้ายหรื อขวา - Tilt คือ การแพนขึ้น-ลง ในแนวดิ่ง - Dolly คือ การเคลื่อนกล้องจากมุมหนึ่งไปยังอีกมุมหนึ่งด้วยล้อเลื่อน - Crane Shot คือ การนากล้องขึ้นติดตั้งบนเครน และเคลื่อนที่จากมุมต่าไปมุมสู งมากๆ หรื อ เปลี่ยนระยะจากความ สู งมากให้ต่าลงมา - Hand – held - camera คือ การถ่ายโดยไม่ใช้ขาตั้ง การเคลื่อนไหวของเลนส์ -Zoom in คือ การดึงภาพจากไกลเข้ามาใกล้ -Zoom out คือ การถอยภาพจากไกลออกไปเป็ นภาพไกล -Shift Focus คือ การสร้างความเคลื่อนไหวด้วยการเปลี่ยนตาแหน่งความชัดของภาพ

การจัดองค์ ประกอบของมุมภาพ (Camera Angle) หลักการจัดภาพ อาจกล่าวได้วา่ ใช้หลักเดียวกับการจัดภาพทางด้านศิลป์ กล่าวคือ องค์ประกอบของภาพที่ดีจะต้อง -มีความสมดุล ดูแล้วไม่รู้สึกเอียงไปข้างหนึ่ง -มีความเป็ นกลุ่มก้อน มีจุดเด่น จุดรอง -มีระยะความลึก มีดา้ นหน้า (For ground) ด้านหลัง (Back ground) รวมทั้งส่ วนกลางของภาพ (Middle ground) ระดับมุมกล้อง -มุมก้ม (กล้องอยูส่ ู ง) ให้ความรู ้สึกอ่อนแอ, หงอยเหงา - มุมเงย (กล้องอยูต่ ่า) ให้ความรู ้สึกยิง่ ใหญ่, แข็งแรง, น่าเกรงขาม - มุมระดับตา ให้ความรู้สึกปกติธรรมดา การตัดต่ อ (Editing) ภาพแต่ละภาพที่ถ่ายไว้เพื่อเตรี ยมที่จะตัดต่อ เปรี ยบเหมือนคาพูดที่ถูกเลือกไว้เพื่อจะผูกออกมาเป็ นประโยค เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อ -Cut คือ การนาภาพหลายภาพมาต่อกันเพื่อแสดงความต่อเนื่องของการกระทาตั้งแต่ตน้ จนจบ หรื อใช้ตดั เมื่อต้องการ เปลี่ยนไปสู่ ฉากอื่นในทันทีทนั ใด


-Quick cut คือ การตัดภาพเร็ ว -Flash cut คือ การตัดภาพแว้บสลับกับอีกภาพหนึ่งที่ใช้ยนื พื้น นิยมใช้สื่อความหมายถึงการคิดกลับไปสู่ อดีต - Fade in คือ การเริ่ มภาพจากมืดสนิทแล้วค่อยๆ สว่างขึ้น -Fade out คือ การที่ภาพค่อยๆ มืดลงจนกลายเป็ นภาพมืดสนิท -Dissolve คือ การที่ภาพหนึ่งค่อยๆ จางหายไป ในลักษณะที่ภาพใหม่กาลังซ้อน และค่อยๆ ปรากฏชัดขึ้นมาแทนที่ -Wipe คือ การที่ภาพเดิมถูกปาดออกไปด้วยภาพใหม่ที่เข้ามาแทนที่ -Split Screen เป็ นการแบ่งจอภาพให้มีหลายส่ วน และมีภาพหลายภาพปรากฏพร้อมๆ กัน แต่อยูต่ ่างจุดกัน เพื่อแสดง ความหลากหลายของภาพให้ดูน่าสนใจ -Montage คือ เทคนิคที่ทาให้ภาพหลายๆ ภาพ มีการเหลื่อมซ้อนทับกัน การประกอบเสี ยง (Sound mixing) เสี ยงในภาพยนตร์ มีอยู่ 3 ชนิด คือ 1. เสี ยงพูด (Voices) หมายถึง เสี ยงผูแ้ สดงพูด และ/หรื อเสี ยงของผูบ้ รรยาย 2. เสี ยงธรรมชาติ (Sound Effect) รวมทั้งเสี ยงอิเลคทรอนิคส์ที่ประกอบขึ้นเพื่อเน้นภาพบางส่ วนให้น่าสนใจ 3. เสี ยงดนตรี (Music) คือ เพลงที่ใช้สร้างอารมณ์ ให้ผชู ้ มเกิดอารมณ์ร่วมไปกับเนื้อหาของวีดีทศั น์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.