สุนทรียศาสตร์ 1

Page 1

เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

สุ นทรี ยศาสตร์เบื้องต้น 2301 - 1004

1


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

2

ความหมายของสุนทรี ยศาสตร์ มีผรู ้ ู ้หลายท่านให้ความหมายเกี่ยวกับคาว่า “สุ นทรี ยแ์ ละสุ นทรี ยศาสตร์ ” ไว้มากมายหลาย ท่าน ในที่น้ ีขอใช้ความหมายจากหนังสื อพจนานุกรมศัพท์ศิลป์ ฉบับไทย – อังกฤษ (2530 : 7) ได้ อธิ บายความหมายของคาว่า สุ นทรี ยแ์ ละสุ นทรี ยศาสตร์ Aesthetic ว่า หมายถึง วิชาที่วา่ ด้วย ความนิยมความงามหรื อความนิยมในความงาม เป็ นอารมณ์ ความซาบซึ้ งในคุณค่าของสิ่ งงดงาม ไพเราะรื่ นรมย์ ไม่วา่ จะเป็ นธรรมชาติหรื องานศิลปะ ความรู ้สึกนี้เกิดขึ้นด้วย ประสบการณ์ การศึกษาอบรมและพัฒนาเป็ นรสนิยมความรู้และความเข้าใจทางประวัติศาสตร์ สามารถ เสริ มสร้างพัฒนาการทางสุ นทรี ยภาพให้เพิ่มขึ้น รู ้และเข้าใจคุณค่าของความงาม มีผรู ้ ู ้หลายท่านให้ ความหมายเกี่ยวกับคาว่า “สุ นทรี ยแ์ ละสุ นทรี ยศาสตร์ ” ไว้มากมายหลายท่าน ในที่น้ ี ขอใช้ ความหมายจากหนังสื อพจนานุกรมศัพท์ศิลป์ ฉบับไทย – อังกฤษ (2530 : 7) ได้อธิบายความหมาย ของคาว่า สุ นทรี ยแ์ ละสุ นทรี ยศาสตร์ Aesthetic ว่า หมายถึง วิชาที่วา่ ด้วยความนิยมความงาม หรื อความนิยมในความงาม เป็ นอารมณ์ ความซาบซึ้ งในคุณค่าของสิ่ งงดงามไพเราะรื่ นร มย์ ไม่วา่ จะเป็ นธรรมชาติหรื องานศิลปะ ความรู ้สึกนี้เกิดขึ้นด้วยประสบการณ์ การศึกษาอบรม และพัฒนา เป็ นรสนิยมความรู้และความเข้าใจทางประวัติศาสตร์ สามารถเสริ มสร้างพัฒนาการทาง สุ นทรี ยภาพให้เพิ่มขึ้น รู ้และเข้าใจคุณค่าของความงาม อเล็กซานเดิร์ กอตตรี บ โบมกา ร์เด้น (Alexander Gottrib Baumgaten) นักปรัชญาชาว เยอรมัน ได้ตีพิมพ์ผลงานเป็ นครั้งแรก เริ่ มจากงานเรื่ อง The Aestheteca และเป็ นผูใ้ ห้ความหมาย ของคาว่า สุ นทรี ยศาสตร์ วา่ Aesthetic ซึ่งโบมการ์เด้นใช้อธิบาย การรับรู้ความรู้สึกทางประสาท สัมผัส ซึ่งเป็ นสิ่ งที่โบมการ์ เด้นค้นพบในบทกวีนิพนธ์ และขยายไปสู่ ศิลปะสาขาอื่น ๆ และได้ใช้ คาว่าสุ นทรี ยศาสตร์ เป็ นครั้งแรกในหนังสื อของเขเอง ชื่อผลสะท้อนของกวีนิพนธ์ เขาได้พิจารณา คาจากในภาษากรี ก คือ การกาหนดรู ้ Aesthesis และจึงเริ่ มใช้คาว่า Aesthetics อธิบายการรับรู้ ทางประสาทสัมผัส จนได้รับการยกย่องให้เป็ นบิดาแห่งสุ นทรี ยศาสตร์ และยังได้อธิ บาย ความหมายของคาว่าสุ นทรี ยศาสตร์ (Aesthetics) ไว้วา่ 1. สุ นทรี ยศาสตร์ เป็ นความรู้จากประสบการณ์ (Conceptual Knowledge) ซึ่งเป็ น การนาเอาเหตุผลมาตัดสิ นความงาม 2. สุ นทรี ยศาสตร์ เป็ น ความรู้โดยตรง (Intuitive knowledge) เป็ นความรู ้ที่เกิดขึ้น อย่างฉับพลัน หรื อเรี ยกว่าการหยัง่ รู ้เป็ นความรู ้ที่สูงกว่าปกติและเป็ นการนาความรู ้ที่ใช้มาตัดสิ น ความงาม โดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยเหตุผลอื่นมาเกี่ยวข้อง Aesthetic สุ นทรี ยศาสตร์ คือ สาขาหนึ่งของวิช าปรัชญา เป็ นวิชาที่วา่ ด้วยเรื่ องของ ความงาม ความนิยมในความงาม เป็ นการศึกษาค้นคว้าเพื่อหามาตรฐานของความงามทางด้าน


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

3

ศิลปะ ทั้งวิจิตรศิลป์ (Fine Art) และประยุกต์ศิลป์ (Applied Art) ซึ่งในสมัยกรี กโบราณใช้ กล่าวถึงเรื่ องของความงาม ความสะเทือนใจ ซึ่ งเป็ นความรู้สึกทางการรับรู้ (Sense perception) และพัฒนา การเรียนรู้ เพือ่ สั มผัสความงาม การรับรู ้โดยใช้ประสาทสัมผัสเพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งมี 3 วิธี 1. แบบโดยตั้งใจ (Intention or Interesting) มีความสนใจและความตั้งใจที่จะ มองเห็นโดยตรง 2. แบบโดยไม่ต้ งั ใจ (Un – Intention or Disinteresting) รับรู ้ค่าความงามที่มีอยูใ่ น ธรรมชาติแบบไม่รู้ตวั 3. แบบรสนิยม (Taste) เป็ นความรู ้สึกซาบซึ้ งในคุณค่า สามารถเลือกในสิ่ งที่ชอบ เลือกสรรพคุณ ให้กบั ตนเองได้ มิใช่ความชอบตามกระแสนิยม สภาวะธรรมชาติมีอทิ ธิพลต่ อการเรียนรู้ ทางด้ านความงาม การศึกษาสุ นทรี ยศาสตร์เป็ นลักษณะของการเรี ยนรู้สภาวะธรรมชาติโดยตรง ซึ่งความงาม ในธรรมชาติเองมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จะแบ่งออกเป็ น 3 ระดับ คือ 1. การเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ (Natural Movement) ได้แก่ การขึ้น – ลง ของดวง อาทิตย์ เป็ นต้น 2. ภาพลักษ ณ์ตามธรรมชาติ (Natural Imagery) เช่น การพบเห็นความงามตาม ธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ เมฆ ทะเล ภูเขา ฯลฯ 3. เสี ยงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ (Natural Sound) เช่น การฟังเสี ยงสัตว์หรื อเสี ยงที่ เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็ นต้น


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

4

ความแตกต่ างของสุ นทรียศาสตร์ เชิ งปรัชญากับเชิงพฤติกรรม 1. สุ นทรี ยศาสตร์เชิงปรัชญา (Philosophical Aesthetics) เป็ นการเรี ยนรู้โดยการ สนทนา ถกเถียง บรรยาย อาศัยเรื่ องความจริ งที่สัมผัสได้ (Reality) ข้อเท็จจริ งที่อธิบายได้ (Fact) และความจริ งที่ไม่เปลี่ยนแปลง (Truth) 2. สุ นทรี ยศาสตร์เชิงพฤติกรรม (Psychological Aesthetics) เป็ นการปฏิบตั ิให้เกิด ประสบการณ์สุนทรี ย เป็ นการเรี ยนรู้ดว้ ยการฝึ กฝน ซึ่ งความรู ้ท้ งั 2 แบบนี้ตอ้ งอาศัยสุ นทรี ยะวัตถุ (Aesthetics Objects) ทั้งวัตถุทาง ธรรมชาติ (Natural object) และวัตถุทางศิลปกรรม (Artistic Object) แล้วนาประสบการณ์ตรง มาเป็ นรู ปแบบของการสร้างสรรค์งานศิลปะ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ฐานศาสตร์ คือ 1. ฐานศาสตร์ ทางการเห็น ว่าด้วยเรื่ องเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ เป็ นต้น 2. ฐานศาสตร์ ของการได้ยนิ ว่าด้วยเรื่ องของดนตรี การใ ช้เสี ยงอย่างมีระบบ เกี่ยวเนื่องกับตัวโน้ต 3. ฐานศาสตร์ ของการเคลื่อนไหว ว่าด้วยเรื่ องละครและการแสดงต่าง ๆ เป็ นเรื่ อง เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวโดยใช้ความคิดและการสร้างสรรค์ สุ นทรียภาพ คือ อะไร ? สุ นทรียภาพ คือ ความรู ้สึกซาบซึ้ งในคุณค่าของความงามที่มีอยูใ่ นสรรพสิ่ งต่าง ๆ ทั้งที่เกิดโดย ธรรมชาติ และทั้งที่มนุษย์สร้างขึ้น อันเกิดจากความพึงพอใจในความสุ ขที่ได้สัมผัสกับความงาม โดยปราศจากความคิดเป็ นเจ้าของและหวังผลตอบแทน การตัดสิ นทางสุ นทรียศาสตร์ สุ นทรียศาสตร์ คืออะไร ? การตัดสิ นทางสุ นทรียศาสตร์ คือ การที่เราใช้จิตใจแสดงปฏิกิริยาต่อสภาพการณ์ในสิ่ งแวดล้อม หรื อการที่จิตประเมินค่าวัตถุที่มีคุณค่าทางความงาม ที่เร้าให้เกิดความรู ้สึกภายในจิตใจ แม้วา่ ความ งามจะขึ้นอยูก่ บั จิต แต่ก็ไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั การเลือกตามใจชอบ หากแต่ตอ้ งขึ้นอยูก่ บั คุณค่าที่มีอยูใ่ น วัตถุน้ นั ๆ ด้วย ฉะนั้นในการศึกษาเพื่อเป็ นแนวทางสู่ ความซาบซึ้ งควรมีความรู ้ในการตัดสิ นคุณค่า ความงาม


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

5

มุมมองทางความคิดที่มีความแตกต่างกัน หลากหลายออกไป ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั บุคคลนั้น ๆ ว่าใช้อะไร เป็ นหลักในการตัดสิ นสิ่ งต่าง ๆ และการตัดสิ นทางสุ นทรี ยศาสตร์ ก็สามารถแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม แนวคิด ดังนี้ 1. กลุ่มทีใ่ ช้ ตนเองเป็ นตัวตัดสิ น เรี ยกเกณฑ์ตดั สิ นนี้วา่ “ จิตพิสัยหรืออัตวิสัย ” ( Subjectivism ) เป็ นกลุ่มที่เชื่อว่า ความรู้ ความจริ งและความดีงามทั้งหลายล้วนเป็ นสิ่ งที่ไม่มีความจริ งในตัวเอง หากแต่เป็ นเพียงสิ่ ง ที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเท่านั้น ดังนั้น กฎเกณฑ์ในทางความรู้ ความจริ งและความดีงามนี้จึงไม่มีอยูจ่ ริ ง มนุษย์เท่านั้นที่มีอยูจ่ ริ งและจะเป็ นตัวตัดสิ น พร้อมทั้งเป็ นผูก้ าหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ขึ้นมา มนุษย์ แต่ละคนต่างมีมาตรวัดความจริ งต่างกันออกไปโดยไม่ข้ ึนอยูก่ บั ใครหรื อสิ่ งใด เกณฑ์การตัดสิ น แบบนี้สามารถทาให้เราเกิดความเชื่อมัน่ ในตัวเองได้ แต่หากความรู ้สึกเชื่อมัน่ นี้มีมากจนเกินไป อาจจะส่ งผลทาให้เราเป็ นผูท้ ี่เห็นแก่ตวั เอาแต่ใจตัวเอง ไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ซึ่ งจะ ส่ งผลต่อไปคือ ทาให้เรามีโลกทัศน์ที่แคบ และเดียวดายในโลกกว้างนี้ 2. กลุ่มทีเ่ ชื่ อว่ า มีหลักเกณฑ์ ทตี่ ายตัวทีจ่ ะใช้ ตัดสิ นได้ เรี ยกเกณฑ์ตดั สิ นนี้วา่ “ วัตถุพสิ ั ยหรือปรวิสัย ” ( Objectivism ) เป็ นกลุ่มที่เชื่อว่า มี เกณฑ์มาตรฐานตายตัวแน่นอนในทางศิลปะ ซึ่ งสามารถนาไปตัดสิ นผลงานได้ในทุกสมัย เกณฑ์ มาตรฐานนี้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงและไม่ข้ ึนอยูก่ บั ความรู ้สึก ใครหรื อศิลปิ นคนไหน กลุ่มนี้มีความ เชื่ออีกว่า สุ นทรี ยธาตุมีอยูจ่ ริ ง แม้วา่ เราจะเข้าถึงมันไม่ได้ก็ตาม แต่มนั ก็มีอยูจ่ ริ ง และด้วยเหตุผลนี้ การที่เราตัดสิ นศิลปะออกมาไม่เหมือนกันก็เพราะเราแต่ละคนไม่สามารถเข้าถึงสุ นทรี ยธาติที่ แท้จริ งได้หรื อตัวจริ งมาตรฐานนัน่ เอง การที่เราจะเข้าถึงเกณฑ์มาตรฐานนี้ได้น้ นั เราจาเป็ นต้องฝึ ก พัฒนาจิตให้สมบูรณ์จนสามารถเห็นความงามมาตรฐานได้ บางคนอาจทาสมาธิ บางคนอาจฝึ กฝน ทางศิลปะจนชานา ญ 3. กลุ่มทีเ่ ชื่ อว่ า หลักเกณฑ์ ในการตัดสิ นสุ นทรียศาสตร์ น้ ันเปลีย่ นแปลงไปตามสภาวะแวดล้ อม เรี ยกเกณฑ์ตดั สิ นนี้วา่ “ สั มพัทธพิสัย ” ( Relativism ) เป็ นกลุ่มที่มีแนวคิดคล้ายกับกลุ่ม จิตพิสัย แต่ต่างกันตรงที่กลุ่มสัมพัทธพิสัยนั้นมีความเชื่อว่า กฎเกณฑ์ตดั สิ นทางสุ นทรี ยศาสตร์ น้ นั ขึ้นอยูก่ บั สภาวะแวดล้อม วัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น หรื อขึ้นอยูก่ บั สภาพภูมิประเทศ ตลอดจน ดิน ฟ้ า อากาศของแต่ละพื้นที่ โดยไม่ข้ ึนอยูก่ บั ตัวผูว้ จิ ารณ์ เพราะผูว้ จิ ารณ์จะต้องวางตัวเป็ นกลาง และต้องสานึกอยูใ่ นใจเสมอว่า ตนเองเป็ นเพียงส่ วนหนึ่งของสังคม ดังนี้แล้ว เกณฑ์ตดั สิ นทาง


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

6

สุ นทรี ยศาสตร์จึงเปลี่ยนแปลงไปตามสังคมบ้าง ตามสภาพของภูมิอากาศ ภูมิประเทศนั้น ๆ บ้าง แล้วแต่สภาวะแวดล้อมจะพาไป นัน่ เอง การตัดสิ นคุณค่าความงามสามแนวคิดดังกล่าวข้างต้นนี้เป็ นเพียงขั้นแรก ในการเข้าสู ้ความซาบซึ้ ง ของสุ นทรี ยภาพในสิ่ งแวดล้อมทัว่ ไปเท่านั้น ถ้าศึกษาต่อจะพบว่าการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับสุ นทรี ยศาสตร์ ที่แท้จริ งนั้นคือการศึกษาเกี่ยวกับ ศิลปะ(Art) โดยทัว่ ไป สุ นทรี ยภาพ คือ ความซาบซึ้ งในคุณค่าของสิ่ งที่มีความงาม ความไพเราะ และ ความรู ้สึกซาบซึ้ งในคุณค่าของความงามจะก่อให้เกิดประสบการณ์ และถ้าได้ผา่ นการศึกษาอบรม จนเป็ นนิสัยจะกลายเป็ นรสนิยม (Taste) ซึ่ งเป็ นผลที่เกิดจากปฏิกิริยาของการรับรู ้ท างการเห็น การฟัง และเป็ นที่มาของการรับรู้ความงามทางด้านทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฎศิลป์ โดยการรับรู้ที่ ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้จะมีอยู่ 3 แบบ คือ แบบตั้งใจ แบบไม่ต้ งั ใจ หรื อแบบที่เลือกสรรตามความ พอใจที่จะรับรู้ โดยอาศัยองค์ประกอบของสุ นทรี ยวัตถุ คือ วัตถุทางธรรมชาติ วัตถุทางศิลปกรรม และองค์ประกอบของประสบการณ์ทางสุ นทรี ยภาพ แต่ก็ตอ้ งประกอบด้วยคุณค่าทางความงามและ ตัวของผูร้ ับรู้ดว้ ย ดังนั้นถ้าจะศึกษาเรื่ องของความงามก็จะต้องกล่าวถึง สุ นทรี ยทัศน์ คือ มนุษย์เป็ นคน ตัดสิ นความงาม มนุษย์จึงเป็ นผูพ้ บเห็นความง าม ถ้าไม่มีมนุษย์ความงามก็ไม่เกิดหรื อความงาม ไม่ได้อยูท่ ี่มนุษย์ แต่ความงามอยูท่ ี่วตั ถุถึงมนุษย์ไม่พบเห็นความงาม ความงามก็ยงั คงอยูห่ รื อความ งามไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั ทั้ง 2 สิ่ ง แต่ความงามเกิดจากความสัมพันธ์ของทั้ง 2 สิ่ ง หรื อความสัมพันธ์ ระหว่างความสนใจกั บสิ่ งที่ถูกสนใจ หรื ออีกประการหนึ่งคือ ความงาม ความรู ้สึกเพลิดเพลิน เป็ นความชอบของแต่ละบุคคล ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับสุ นทรียภาพของชี วติ ศิลปะ คือ อะไร ? ศิลปะเป็ นสิ่ งที่แสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีความประเสริ ฐกว่าสัตว์โลกชนิดอื่น สัตว์สร้างสี สันลวดลายขึ้นบนตัวเองเนื่องจากสัญชาติญาณในการพรางตัวจากภัยอันตราย หรื อ ดึงดูดเพศตรงข้ามเพื่อสื บพันธ์


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

7

ดอกไม้มีสีสันรู ปทรงสะดุดตาเพื่อล่อแมลงให้มาช่วยผสมเกสร เป็ นต้น

แต่มนุษย์สร้างศิลปะขึ้นจากความต้องการทางจิตใจมากกว่าความต้องการทางกาย ฉะนั้น “ ศิลปะ” ก็คือ สิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการทางจิตใจ ซึ่งในระยะแรก อาจสร้างขึ้นจากสิ่ งของที่เป็ นความต้องทางกายก่อนก็ได้ เช่น อาหารซึ่งตามความเป็ นจริ งแล้ว มนุษย์กินอาหารเพื่อให้ดารงชีวติ อยูไ่ ด้ แต่ความต้องของมนุษย์มากไปกว่านั้น เช่น ระหว่างที่ตอ้ ง อาหารให้กายก็ตอ้ งอาหารให้จิตใจด้วย


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

8

หรื อเครื่ องนุ่งห่มที่มีจุดประสงค์สวมใส่ เพื่อความอบอุ่นของร่ างกายมนุษย์ก็ยงั สร้างสรรค์ให้มีความ งดงามเป็ นต้น ศิลปะที่สร้างควบคู่ไปกับสิ่ งของในการดารงชีวติ มนุษย์เหล่านั้นจะร่ วมเรี ยกว่า “ ประยุกต์ศิลป์ (Applied Art)”

เมื่อมนุษย์มีความต้องการความงามสิ่ งที่สนองจิตใจมากเข้า กล่าวคือต้องการเพียงชื่นชม สี สัน สวยงาม ฟังเสี ยงไพเราะ มองลีลาเคลื่อนไหวที่อ่อนช้อย ประดิษฐกรรมทางศิลปะอันสู งส่ งที่มีผล ต่อจิตใจมนุษย์จึงเกิด ในรู ปแบบของ “ วิจิตรศิลป์ (Find Art)” จึงอุบตั ิข้ ึนอย่างมากมายมหา สาน ทุกชาติทุกภาษาในโลกนี้ลว้ นสร้างศิลปะอันวิจิตรนี้ ดังตัวอย่างที่รับกันว่าเป็ นสิ่ งมหัศจรรย์ ของโลกต่าง ๆ ดังนี้


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

9

ศิลปะมีที่มาอย่างไร ? แท้ที่จริ งแล้วศิลปะนั้นเกิดขึ้นจากการรับรู ้ทางสุ นทรี ยภาพของมนุษย์ ด้วยประสาทสัมผัสของ มนุษย์น้ นั เอง ประสาทสัมผัสที่สาคัญนั้นคือ ประสาทแห่งการมองเห็น และประสาทแห่งการได้ยนิ โดยเริ่ มจากการรับรู ้ความงามจากธรรมชาติ ซึ่ งสามารถแบ่งสภาวะความงามในธรรมชาติได้ 3 ลักษณะ คือ 

ภาพลักษณ์ตามธรรมชาติ (Natural Imagery) ความงามที่รับรู้ดว้ ยการมองเห็น เช่น ทุ่งหญ้า ท้องทะเล ภูเขา ดอกไม้ เป็ นต้น

เสี ยงตามธรรมชาติ ( Natural Sound) ความงามที่รับรู ้ดว้ ยการฟัง เช่ น เสี ยงคลื่น กระทบฝั่ง เสี ยงนกร้อง เสี ยงลมพัด เป็ นต้น การเคลือ่ นไหวตามธรรมชาติ (Natural Movement) ความงามที่ตอ้ งรับรู ้ท้ งั การ มองและการฟัง เช่น เกลียวคลื่นที่เคลื่อนที่กระทบฝั่ง เป็ นต้น จากสภาวะความงามทาง ธรรมชาติที่มนุษย์รับรู ้ท้ งั 3 แบบดังกล่าว ก่อให้เกิดฐานศาสตร์ ในการสร้างสรรค์วตั ถุทาง ศิลปกรรม 3 ฐาน เช่นกันดังนี้


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

10

ฐานศาสตร์ ทางการเห็น (The Perception Beauty of Imagery) หมายถึง กลวิธีในการสร้างสรรค์ผลงาน ที่เกิดขึ้นและรับรู ้จากการมองเห็น

ฐานศาสตร์ ทางการได้ ยนิ (The Perception Beauty of Sound) หมายถึง กลวิธีในการสร้างสรรค์ผลงาน ที่เกิดขึ้นและรับรู ้จากการได้ยนิ ได้ฟัง

ฐานศาสตร์ ทางการเคลือ่ นไหว (The Perception Beauty of Movement) หมายถึง กลวิธีในการสร้างสรรค์ผลงาน ที่เกิดขึ้นและรับรู ้จากการ มองเห็นและได้ยนิ ได้ฟัง


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

11

สรุ ปก็คือ - เมื่อมนุษย์มองเห็นความงามของธรรมซาติอย่างสนใจจึงเกิดความคิดสร้างกลวิธีในการลอกแบบ ธรรมชาติ จนเป็ นวิชาการเขียนภาพขึ้น

- เมื่อมนุษย์ได้ยนิ เสี ยงอันไพเราะจากสภาพแวดล้อมในธรรมซาติอย่างสนใจจึงเกิดความคิดสร้าง กลวิธีในเลียนแบบธรรมชาติ จนเป็ นวิชาการบรรเลงดนตรี และขับ ร้องขึ้น

คลิกเพือ่ ฟังเสี ยง - เมื่อมนุษย์มองเห็นการเคลื่อนไหวอันงดงามของธรรมซาติอย่างสนใจจึงเกิดความคิดสร้างกลวิธี ในการเลียนแบบธรรมชาติ จนเป็ นวิชาการด้านการแสดงขึ้น


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

12

และจากกลวิธีในการสร้างสรรค์ความงามทั้ง 3 ฐานก็นาไปสู่ ผลงานศิลปะ ที่สามารถแบ่งออกเป็ น ประเภทใหญ่ ๆ ตามประสาทสัมผัสในการรับรู ้ความงามได้ 3 ประเภท ดังนี้ คือ   

ทัศนศิลป์ ( Visual Art) ศิลปะที่รับรู้ได้ดว้ ยการมองเห็น โสตศิลป์ (Audio Art) ศิลปะที่รับรู้ได้ดว้ ยการฟัง โสตทัศนศิลป์ (Audio-Visual Art) ศิลปะที่รับรู ้ดว้ ยทั้งการมองเห็นและการฟัง

สรุ ปทีม่ าขั้นพืน้ ฐานของศิลปะ

ที่มาของงานศิลปะข้างต้นนั้นเป็ นเพียงที่มาขั้นพื้นฐานเท่านั้น แต่การที่จะเกิดศิลปะขั้นสู งได้น้ นั จะต้องปัจจัยอื่น ๆ มาเป็ นส่ วนประกอบหรื อเป็ นสิ่ งเร้าให้มนุษย์น้ นั สร้างสรรค์ผลงานเหล่านั้น ซึ่ง สามารถแบ่งได้ 3 ประการ ดังนี้ 

ธรรมชาติ ถือเป็ นสิ่ งเร้าสิ่ งแรกที่ทาให้มนุษย์เริ่ มสร้างสรรค์งานศิลปะ ศิลปะยุคแรก ๆ จึง เป็ นการเลียนแบบธรรม ชาติ


เรี ยบเรี ยงโดย อ.ชูเกียรติ วงศ์โชติวนิช

13

ความเชื่อความศรัทธา เป็ นอีกส่ วนหนึ่งที่เร้าให้มนุษย์สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ และมักเป็ น ชิ้นสาคัญที่สุด ใหญ่ที่สุด งดงามที่สุด ของกลุ่มชนผูค้ ิดสร้างสรรค์งานนั้นเสมอ

จินตนาการและความคิดสร้ างสรรค์ ของมนุษย์ นอกสิ่ งอื่น ๆ ที่เป็ นสิ่ งเร้าภายนอกแล้ว มนุษย์ยงั มีความคิดจินตนาการจากอารมณ์ความรู้สึกทางใจ เป็ นสิ่ งเร้าที่อยูใ่ นตัวมนุษย์เอง เป็ นแรงขับดันอย่างที่ทาให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่ยงิ่ ใหญ่ได้เช่นกัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.