ความรู้พื้นฐานคอมพิวเตอร์

Page 1

บทที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร


2

สารบัญ หนา บทที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ....................................................................................................................... 1 1.1 คอมพิวเตอร หมายถึง .................................................................................................................................................. 3 1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร....................................................................................................................................3 1.2.1 ความเปนอัตโนมัติ (Self Acting)..................................................................................................................3 1.2.2 ความเร็ว (Speed)...........................................................................................................................................3 1.2.3 ความเชือ่ ถือ (Reliable)..................................................................................................................................3 1.2.4 ความถูกตองแมนยํา (Accurate).....................................................................................................................3 1.2.5 เก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ได (Store massive amounts of information)...........................................................3 1.2.6 ยายขอมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งไดอยางรวดเร็ว (Move information) .....................................................3 1.2.7 ทํางานซ้ําๆได (Repeatability) .......................................................................................................................4 1.3 สวนประกอบของคอมพิวเตอร..............................................................................................................................4 1.3.1 อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Device)..............................................................................................................4 1.3.2 อุปกรณประมวลผล (Processing Device)......................................................................................................5 1.3.3 หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device)....................................................................................6 1.3.4 อุปกรณแสดงผล (Output Device)................................................................................................................7 1.4 ประโยชนของคอมพิวเตอร ....................................................................................................................................7 1.4.1 งานธุรกิจ .......................................................................................................................................................8 1.4.2 งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข ..........................................................................................8 1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ...............................................................................................................................8 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม ..................................................................................................................8 1.4.5 งานราชการ....................................................................................................................................................8 1.4.6 การศึกษา .......................................................................................................................................................8 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร ......................................................................................................................................8 1.5.1 ตามลักษณะการใชงาน..................................................................................................................................9 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ..........................................................................................................................9 1.6 องคประกอบของคอมพิวเตอร .............................................................................................................................10 1.6.1 ฮารดแวร (Hardware)..................................................................................................................................11 1.6.2 ซอฟตแวร (Software)..................................................................................................................................11 1.6.3 บุคลากร (People ware) ...............................................................................................................................12 1.6.4 ขอมูล/สารสนเทศ (Data/Information) ........................................................................................................12


3

บทที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 1.1 คอมพิวเตอร หมายถึง คอมพิวเตอร คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ทาํ งานตามชุดคําสั่งอยางอัตโนมัติ โดยจะทําการคํานวณเปรียบเทียบ ทางตรรกกับขอมูล และใหผลลัพธออกมาตามตองการ โดยมนุษยไมตองเขาไปเกี่ยวของในการประมวลผล 1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร ปจจุบันนี้คนสวนใหญนิยมนําคอมพิวเตอรมาใชงานตาง ๆ มากมาย ซึ่งผูใชสวนใหญมักจะคิดวาคอมพิวเตอร เปนเครื่องมือที่สามารถทํางานไดสารพัด แตผูที่มีความรูทางคอมพิวเตอรจะทราบวา งานที่เหมาะกับการนํา คอมพิวเตอรมาใชอยางยิ่งคือการสราง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหลานั้นสามารถนํามาพิมพออกทางเครื่องพิมพ สงผานเครือขายคอมพิวเตอร หรือจัดเก็บไวใชในอนาคตก็ได เนื่องจากคอมพิวเตอรจะมีคุณสมบัติตาง ๆ คือ 1.2.1 ความเปนอัตโนมัติ (Self Acting) การทํางานของคอมพิวเตอรจะทํางานแบบอัตโนมัติภายใตคําสั่งที่ได ถูกกําหนดไว ทํางานดังกลาวจะเริ่มตั้งแตการนําขอมูลเขาสูระบบ การประมวลผลและแปลงผลลัพธออกมาใหอยูใน รูปแบบที่มนุษยเขาใจได 1.2.2 ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอรในปจจุบันนี้สามารถทํางานไดถึงรอยลานคําสั่งในหนึ่งวินาที 1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable) คอมพิวเตอรทุกวันนี้จะทํางานไดทั้งกลางวันและกลางคืนอยางไมมีขอผิดพลาด และไมรูจักเหน็ดเหนื่อย 1.2.4 ความถูกตองแมนยํา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอรนั้นจะใหผลของการคํานวณที่ถูกตองเสมอหากผล ของการคํานวณผิดจากที่ควรจะเปน มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือขอมูลที่เขาสูโปรแกรม 1.2.5 เก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ได (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอรในปจจุบัน จะมีที่เก็บขอมูลสํารองที่มีความสูงมากกวาหนึ่งพันลานตัวอักษร และสําหรับระบบคอมพิวเตอรขนาดใหญจะสามารถ เก็บขอมูลไดมากกวาหนึ่งลาน ๆ ตัวอักษร 1.2.6 ยายขอมูลจากที่หนึง่ ไปยังอีกทีหนึ่งไดอยางรวดเร็ว (Move information) โดยใชการติดตอสื่อสารผาน ระบบเครือขายคอมพิวเตอรซึ่งสามารถสงพจนานุกรมหนึ่งเลมในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกส ไปยังเครื่องคอมพิวเตอรที่ อยูไกลคนซีกโลกไดในเวลาเพียงไมถึงหนึ่งวินาที ทําใหมกี ารเรียกเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมกัน ทั่วโลกในปจจุบันวา ทางดวนสารสนเทศ (Information Superhighway)


4

1.2.7 ทํางานซ้ําๆได (Repeatability) ชวยลดปญหาเรื่องความออนลาจากการทํางานของแรงงานคน นอกจากนี้ยังลดความผิดพลาดตางๆไดดีกวาดวย ขอมูลที่ประมวลผลแมจะยุงยากหรือซับซอนเพียงใดก็ตาม จะ สามารถคํานวณและหาผลลัพธไดอยางรวดเร็ว 1.3 สวนประกอบของคอมพิวเตอร จําแนกหนาที่ของฮารดแวรตางๆ สามารถแบงเปนสวนสําคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Device) อุปกรณประมวลผล (Processing Device) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ แสดงผล (Output Device)

รูปที่ 1 แสดงวงจรการทํางานของคอมพิวเตอร

1.3.1 อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Device)

รูปที่ 2 อุปกรณนําเขาแบบตางๆ ที่พบเห็นในปจจุบัน


5

เปนอุปกรณที่เกี่ยวของกับการนําเขาขอมูลหรือชุดคําสั่งเขามายังระบบเพื่อใหคอมพิวเตอรประมวลผลตอไปได ซึ่งอาจจะเปน ตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง เปนตน 1.3.2 อุปกรณประมวลผล (Processing Device) อุปกรณประมวลผลหลักๆ มีดังนี้ 1.3.2.1 ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หนวยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งวา โปรเซสเซอร (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเปนอุปกรณที่มีความสําคัญมากที่สุดของฮารดแวร เพราะมีหนาทีใ่ นการ ประมวลผลขอมูลที่ผูใชปอนเขามาทางอุปกรณนําเขาขอมูลตามชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ผูใชตองการใชงาน หนวย ประมวลผลกลาง 1.3.2.2 หนวยความจําหลัก (Main Memory) หรือเรียกวา หนวยความจําภายใน (Internal Memory) สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก - รอม (Read Only Memory - ROM) เปนหนวยความจําที่มีโปรแกรมหรือขอมูลอยูแลว สามารถเรียกออกมาใชงานไดแตจะไมสามารถเขียนเพิ่มเติมได และแมวาจะไมมีกระแสไฟฟาไปเลี้ยงใหแกระบบขอมูล ก็ไมสูญหายไป - แรม (Random Access Memory) เปนหนวยความจําที่สามารถเก็บขอมูลไดเมื่อมี กระแสไฟฟาหลอเลี้ยงเทานั้น เมื่อใดไมมีกระแสไฟฟามาเลี้ยงขอมูลที่อยูในหนวยความจําชนิดนี้จะหายไปทันที 1.3.2.3 เมนบอรด (Main board) เปนแผงวงจรตอเชื่อมอุปกรณที่เกี่ยวของกับการทํางานของ คอมพิวเตอรทั้งหมด ถือไดวาเปนหัวใจหลักของ พีซีทุกเครื่อง เพราะจะบอกความสามารถของเครื่องวาจะใชซีพียูอะไร ไดบาง มีประสิทธิภาพเพียงใด สามารถรองรับกับอุปกรณใหมไดหรือไม

รูปที่ 3 เมนบอรด หรือแผงวงจรหลัก


6

1.3.2.4 ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซ็ตเปนชิปจํานวนหนึ่งหรือหลายตัวที่บรรจุวงจรสําคัญๆ ที่ชวยการ ทํางานของซีพียู และติดตั้งตายตัวบนเมนบอรดถอดเปลี่ยนไมได ทําหนาที่เปนตัวกลางประสานงานและควบคุมการ ทํางานของหนวยความจํารวมถึงอุปกรณตอพวงตางทั้งแบบภายในหรือภายนอกทุกชนิดตามคําสั่งของซีพียู เชน SiS, Intel, VIA, AMD เปนตน 1.3.3 หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device) เนื่องจากหนวยความจําหลักมีพื้นที่ไมเพียงพอในการเก็บขอมูลจํานวนมากๆ อีกทั้งขอมูลจะหายไปเมื่อปด เครื่อง ดังนั้นจําเปนตองหาอุปกรณเก็บขอมูลที่มีขนาดใหญขึ้น เชน 1.3.3.1 ฮารดดิสก (Hard Disk) เปนฮารดแวรที่ทําหนาที่เก็บขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอร ทั้ง โปรแกรมใชงานตางๆ ไฟลเอกสาร รวมทั้งเปนที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เปนโปรแกรมควบคุมการทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอรดวย 1.3.3.2 ฟล็อบปดิสก (Floppy Disk) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลที่มีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเปนแผน กลมบางทําจากไมลาร (Mylar) สามารถบรรจุขอมูลไดเพียง 1.44 เมกะไบต เทานั้น ี 1.3.3.3 ซีดี (Compact Disk - CD) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลแบบดิจิทลั เปนสื่อที่มีขนาดความจุสงู เหมาะสําหรับบันทึกขอมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทํามาจากแผนพลาสติกกลมบางที่เคลือบดวยสารโพลีคารบอเนต (Poly Carbonate) ทําใหผิวหนาเปนมันสะทอนแสง โดยมีการบันทึกขอมูลเปนสายเดียว (Single Track) มีขนาด เสนผาศูนยกลางประมาณ 120 มิลลิเมตร ปจจุบันมีซีดอี ยูหลายประเภท ไดแก ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD VCD) ซีดี- อาร (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อารดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวดี ี (Digital Video Disk - DVD) สื่อเก็บขอมูลอื่นๆ 1) รีมูฟเอเบิลไดรฟ (Removable Drive) เปนอุปกรณเก็บขอมูลทีไ่ มตองมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถ พกพาไปไหนไดโดยตอเขากับเครื่องคอมพิวเตอรดวย Port USB ปจจุบันความจุของรีมูฟเอเบิลไดรฟ มีตงั้ แต 8 , 16 , 32 , 64 , 128 จนถึง 1024 เมกะไบต ทัง้ นีย้ ังมีไดรฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออืน่ ๆ ไดแก Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive 2) ซิบไดรฟ (Zip Drive) เปนสื่อบันทึกขอมูลที่จะมาแทนแผนฟล็อปปดิสก มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต ซึ่งการใชงานซิปไดรฟจะตองใชงานกับซิปดิสก (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บขอมูลของซิปดิสกจะเก็บขอมูลได มากกวาฟล็อปปดิสก 3) Magnetic optical Disk Drive เปนสื่อเก็บขอมูลขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งมีขนาดพอๆ กับ ฟล็อบปดิสก แตขนาดความจุมากกวา เพราะวา MO Disk drive 1 แผนสามารถบันทึกขอมูลไดตั้งแต 128 เมกะไบต จนถึงระดับ 5.2 กิกะไบต


7

4) เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เปนอุปกรณสําหรับการสํารองขอมูล ซึ่งเหมาะกับการสํารองขอมูลขนาด ใหญมากๆ ขนาดระดับ 10-100 กิกะไบต 5) การดเมมโมรี (Memory Card) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลที่มีขนาดเล็ก พัฒนาขึ้น เพื่อนําไปใชกับอุปกรณ เทคโนโลยีแบบตางๆ เชน กลองดิจิทัล คอมพิวเตอรมือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพทมือถือ 1.3.4 อุปกรณแสดงผล (Output Device) คืออุปกรณสําหรับแสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลของคอมพิวเตอร และเปนอุปกรณสงออก (Output device) ทําหนาที่แสดงผลลัพธเมื่อซีพียูทําการประมวลผล

รูปที่ 4 แสดงอุปกรณแสดงผลขอมูลแบบตางๆ

1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เปนอุปกรณแสดงผลลัพธที่เปนภาพ ปจจุบันแบงออกเปน 2 ชนิด คือ จอภาพ แบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) 1.3.4.2 เครื่องพิมพ (Printer) เปนอุปกรณที่ทาํ หนาที่แสดงผลลัพธในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไป ปรากฏอยูบนกระดาษ แบงออกเปน 4 ประเภท ไดแก เครื่องพิมพดอตเมตริกซ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพแบบ พนหมึก (Ink-Jet Printer) เครื่องพิมพแบบเลเซอร (Laser Printer) และพล็อตสเตอร (Plotter) 1.3.4.3 ลําโพง (Speaker) เปนอุปกรณแสดงผลลัพธที่อยูในรูปของเสียง สามารถเชื่อมตอกับ คอมพิวเตอรผานแผงวงจรเกี่ยวกับเสียง (Sound card) ซึ่งมีหนาที่แปลงขอมูลดิจิตอลไปเปนเสียง 1.4 ประโยชนของคอมพิวเตอร จากการที่คอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหถูกนํามาใชประโยชนตอการดําเนินชีวิตประจําวันใน สังคมเปนอยางมาก ที่พบเห็นไดบอยที่สุดก็คือ การใชในการพิมพเอกสารตางๆ เชน พิมพจดหมาย รายงาน เอกสาร ตางๆ ซึ่งเรียกวางานประมวลผล (Word processing) นอกจากนี้ยังมีการประยุกตใชคอมพิวเตอรในดานตางๆ อีก หลายดาน ดังตอไปนี้


8

1.4.1 งานธุรกิจ เชน บริษทั รานคา หางสรรพสินคา ตลอดจนโรงงานตางๆ ใชคอมพิวเตอรในการทําบัญชี งานประมวลคํา และติดตอกับหนวยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคม นอกจากนีง้ านอุตสาหกรรม สวนใหญกใ็ ช คอมพิวเตอรมาชวยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นสวนของอุปกรณตางๆ เชน โรงงานประกอบรถยนต ซึ่งทําใหการผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ใหบริการถอนเงินผานตูฝากถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) และใชคอมพิวเตอรคิดดอกเบี้ยใหกบั ผูฝากเงิน และการโอนเงินระหวางบัญชี เชื่อมโยงกันเปนระบบเครือขาย 1.4.2 งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในนํามาใชในสวน ของการคํานวณที่คอนขางซับซอน เชน งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการสงจรวดไปสูอวกาศ หรืองาน ทะเบียน การเงิน สถิติ และเปนอุปกรณสําหรับการตรวจรักษาโรคได ซึ่งจะใหผลที่แมนยํากวาการตรวจดวยวิธีเคมี แบบเดิม และใหการรักษาไดรวดเร็วขึ้น 1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ในสวนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใชคอมพิวเตอรในการจองวันเวลา ทีน่ งั่ ซึง่ มี การเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได ทําใหสะดวกตอผูเดินทางที่ไมตองเสียเวลารอ อีกทั้งยังใชในการ ควบคุมระบบการจราจร เชน ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็ใชควบคุมวงโคจรของ ดาวเทียมเพื่อใหอยูในวงโคจร ซึ่งจะชวยสงผลตอการสงสัญญาณใหระบบการสื่อสารมีความชัดเจน 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรในการออกแบบ หรือ จําลองสภาวการณ ตางๆ เชน การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผนดินไหว โดยคอมพิวเตอรจะคํานวณและ แสดงภาพสถานการณใกลเคียงความจริง รวมทั้งการใชควบคุมและติดตามความกาวหนาของโครงการตางๆ เชน คนงาน เครื่องมือ ผลการทํางาน 1.4.5 งานราชการ เปนหนวยงานที่มกี ารใชคอมพิวเตอรมากที่สุด โดยมีการใชหลายรูปแบบ ทัง้ นีข้ ึ้นอยูกับ บทบาทและหนาที่ของหนวยงานนั้นๆ เชน กระทรวงศึกษาธิการ มีการใชระบบประชุมทางไกลผานคอมพิวเตอร , กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันตางๆ, กรมสรรพากร ใชจัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เปนตน 1.4.6 การศึกษา ไดแก การใชคอมพิวเตอรทางดานการเรียนการสอน ซึ่งมีการนําคอมพิวเตอรมาชวยการสอน ในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานดานทะเบียน ซึ่งทําใหสะดวกตอการคนหาขอมูลนักเรียน การเก็บขอมูลยืมและการ สงคืนหนังสือหองสมุด 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอร แบงออกเปนหลายประเภท ขึ้นอยูกับเกณฑที่ใชในการแบง


9

เกณฑที่ใชจาํ แนก ตามลักษณะการใชงาน ตามขนาดและความสามารถ

ประเภทคอมพิวเตอร - แบบใชงานทั่วไป (General purpose computer) - แบบใชงานเฉพาะ (Special purpose computer) - ซูเปอรคอมพิวเตอร (Supercomputer) - เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe computer) - มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer) - ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) - คอมพิวเตอรมือถือ (Handheld computer)

1.5.1 ตามลักษณะการใชงาน 1.5.1.1 แบบใชงานทัว่ ไป (General Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับการออกแบบใหสามารถ ประยุกตใชในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก โดยระบบจะทํางานตามคําสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผูใช ตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานอะไร ก็เพียงแตออกคําสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเขามาใชงาน โดยเราสามารถ เก็บโปรแกรมไวหลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได เชน ในขณะหนึ่งเราอาจใชเครื่องนี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบ บัญชี และในขณะหนึ่งก็สามารถใชในการออกเช็คเงินเดือนได เปนตน 1.5.1.2 แบบใชงานเฉพาะดาน (Special Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่ถกู ออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ใหทํางานอยางใดอยางหนึ่งเปน การเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใชในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่เนนการประมวลผลแบบรวดเร็ว เชน เครื่องคอมพิวเตอรควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรควบคุมลิฟต หรือคอมพิวเตอรควบคุมระบบอัตโนมัติใน รถยนต เปนตน 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ เปนการจําแนกประเภทของคอมพิวเตอรที่พบเห็นไดมากที่สุดในปจจุบัน ซึ่งสามารถแบงออกไดดังนี้ 1.5.2.1 ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสรางขึ้นเปนการเฉพาะ เพื่องานดานวิทยาศาสตรที่ตองการการประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูง เชน งานวิจัยขีปนาวุธ งาน โครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณอากาศ เปนตน 1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe computer)


10

เมนเฟรมคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ ทํางานรวมกับอุปกรณหลายๆ อยางดวยความเร็วสูง ใชในงานธุรกิจขนาดใหญ มหาวิทยาลัยธนาคารและโรงพยาบาลเมนเฟรมคอมพิวเตอร สามารถเก็บขอมูลทีม่ ีปริมาณ มาก ๆ เชน ในการสั่งจองทีน่ งั่ ของสายการบินที่บริษทั ทัวรรับจองในแตละวัน นอกจากนี้ยงั สามารถเชื่อมโยงใชงานกับ เครื่องเทอรมินลั (Terminal) หลาย ๆ เครื่อง ในระยะทางไกลกันได เชน ระบบเอที่เอ็ม (ATM) การประมวลผลขอมูลของ ระบบเมนเฟรมนี้มีผูใชหลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน (Multi-user) สามารถประมวลผลโดยแบงเวลาการใชซพี ียู (CPU) โดยผานเครื่องเทอรมนิ ัล การประมวลผลแบบแบงเวลานีเ้ รียกวา Time sharing 1.5.2.3 มินิคอมพิวเตอร (Mini Computer) ธุ ร กิ จ และหน ว ยงานที่ มี ข นาดเล็ ก ไม จํ า เป น ต อ งใช ค อมพิ ว เตอร ข นาดเมนเฟรมซึ่ ง มี ร าคาแพง ผูผลิตคอมพิวเตอรจึงพัฒนาคอมพิวเตอรใหมีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกวา เครื่องมินิคอมพิวเตอร โดยมีลักษณะ พิเศษในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขางที่มีความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาขอมูล สามารถอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว หนวยงานและบริษัทที่ใชคอมพิวเตอร ขนาดนี้ ไดแก กรม กอง มหาวิทยาลัย หางสรรพสินคา โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ 1.5.2.4 ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) เปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กที่สุด ราคาถูกที่สุด ใชงานงาย และนิยมมากที่สุดราคาของเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอรจะอยูในชวงประมาณหมื่นกวา ถึง แสนกวาบาท ในวงการธุรกิจใชไมโครคอมพิวเตอรกับงานทุก ๆ อยาง ไมโครคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กพอที่จะตั้งบนโตะ (Desktop) หรือ ใสลงในกระเปาเอกสาร เชน คอมพิวเตอรวาง บนตัก (Lap top) หรือโนตบุก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอรสามารถทํางานในลักษณะประมวลผลไดดวยตนเอง โดยไมตองเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอรเครื่องอื่นเรียกวาระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไวสําหรับใชงานสวนตัว จึงเรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอรไดอีกชื่อหนึ่งวา คอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือเครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และ สามารถนําเครื่องไมโครคอมพิวเตอรมาเชื่อมตอกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ หรือเชื่อมตอกับเครื่อง เมนเฟรม เพื่อขยายประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทําใหเครื่องไมโครคอมพิวเตอรเปนที่นิยมใชกันแพรหลายอยางรวดเร็ว 1.5.2.5 คอมพิวเตอรมือถือ (Handheld Computer) เปนคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอรประเภทอื่นๆ อีกทั้งสามารถพกพาไปยังที่ตางๆ ได งายกวา เหมาะกับการจัดการขอมูลประจําวัน การสรางปฏิทินนัดหมาย การดูหนังฟงเพลงรวมถึงการรับสงอีเมล บาง รุนอาจมีความสามารถเทียบเคียงไดกับไมโครคอมพิวเตอร เชน ปาลม พ็อกเก็ตพีซี เปนตน นอกจากนี้โทรศัพทมือถือ บางรุนก็มีความสามารถใกลเคียงกับคอมพิวเตอรมือถือในกลุมนี้ในแงของการรันโปรแกรมจัดการกับขอมูลทั่วไปโดยใช ระบบปฏิบัติการ Symbian หรือไมก็ Linux 1.6 องคประกอบของคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอรที่เราเห็นๆ กันอยูนี้เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอรเทานั้น แตถา ตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่องสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพตามที่เราตองการนั้น จําเปนตองอาศัย


11

องคประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานรวมกัน ซึ่งองคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอรประกอบไปดวย ฮารดแวร (Hardware) ซอฟตแวร (Software) บุคลากร (People ware) ขอมูล / สารสนเทศ (Data/Information) 1.6.1 ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะเปนโครงรางสามารถมองเห็นดวยตา และสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครื่องพิมพ เมาส เปนตน ซึ่งสามารถแบงออกเปนสวนตางๆ ตาม ลักษณะการทํางาน ได 4 หนวย คือ หนวยรับขอมูล (Input Unit) หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หนวยแสดงผล (Output Unit) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณแตละหนวยมีหนาที่ การทํางานแตกตางกัน 1.6.2 ซอฟตแวร (Software) หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งใหเครื่อง คอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องคอมพิวเตอร ถาไมมี ซอฟตแวรเราก็ไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรทําอะไรไดเลย ซอฟตแวรสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรสามารถแบงได ดังนี้ 1.6.2.1 ซอฟตแวรสําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคําสั่งที่เขียนไวเปนคําสั่งสําเร็จรูป ซึ่งจะทํางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมากทีส่ ุด เพื่อคอยควบคุมการทํางานของฮารดแวรทุกอยาง และอํานวยความ สะดวกใหกับผูใชในการใชงาน ซอฟตแวรหรือโปรแกรมระบบที่รูจักกันดีก็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทั้ง โปรแกรมแปลคําสั่งทีเ่ ขียนในภาษาระดับสูง เชน ภาษา Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เปนตน นอกจากนี้ โปรแกรมที่ใชในการตรวจสอบระบบเชน Norton’s Utilities ก็นับเปนโปรแกรมสําหรับระบบดวยเชนกัน 1.6.2.2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ ซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่สั่งคอมพิวเตอร ทํางานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ไมวาจะดานเอกสาร บัญชี การจัดเก็บขอมูล เปนตน ซอฟตแวรประยุกตสามารถ จําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ - ซอฟตแวรสาํ หรับงานเฉพาะดาน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทํางานเฉพาะอยางที่เราตองการ บางที่เรียกวา User’s Program เชน โปรแกรมการทําบัญชีจายเงินเดือน โปรแกรมระบบเชาซื้อ โปรแกรมการทําสินคา คงคลัง เปนตน ซึง่ แตละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรมแตกตางกันออกไปตามความตองการ หรือกฎเกณฑ ของแตละหนวยงานที่ใช ซึ่งสามารถดัดแปลงแกไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมได เพื่อใหตรงกับ ความตองการของผูใช และซอฟตแวรประยุกตที่เขียนขึน้ นี้โดยสวนใหญมักใชภาษาระดับสูงเปนตัวพัฒนา - ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป เปนโปรแกรมประยุกตที่มีผจู ัดทําไว เพื่อใชในการทํางานประเภทตางๆ ทั่วไป โดยผูใชคนอื่นๆ สามารถนําโปรแกรมนี้ไปประยุกตใชกับขอมูลของตนได แตจะไมสามารถทําการดัดแปลง หรือ แกไขโปรแกรมได ผูใชไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเปนการประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายในการเขียน โปรแกรม นอกจากนี้ ยังไมตองใชเวลามากในการฝกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสําเร็จรูปนี้ มักจะมีการใชงานในหนวยงาน


12

ที่ขาดบุคลากรที่มีความชํานาญเปนพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใชโปรแกรมสําเร็จรูปจึงเปนสิ่งที่อาํ นวย ความสะดวกและเปนประโยชนอยางยิ่ง ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปที่นยิ มใชไดแก MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมสตางๆ เปนตน 1.6.3 บุคลากร (People ware) หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกีย่ วกับคอมพิวเตอร สามารถใชงาน สัง่ งานเพื่อให คอมพิวเตอรทาํ งานตามที่ตอ งการ แบงออกได 4 ระดับ ดังนี้ 1.6.3.1 ผูจัดการระบบ (System Manager) คือ ผูวางนโยบายการใชคอมพิวเตอรใหเปนไปตาม เปาหมายของหนวยงาน 1.6.3.2 นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) คือ ผูทศี่ ึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมและทําการ วิเคราะหความเหมาะสม ความเปนไปไดในการใชคอมพิวเตอรกับระบบงาน เพื่อใหโปรแกรมเมอรเปนผูเขียนโปรแกรม ใหกับระบบงาน 1.6.3.3 โปรแกรมเมอร (Programmer) คือ ผูเขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใหทาํ งาน ตามความตองการของผูใช โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะหระบบไดเขียนไว 1.6.3.4 ผูใช (User) คือ ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป ซึ่งตองเรียนรูวธิ กี ารใชเครื่อง และวิธีการใชงาน โปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมทีม่ ีอยูสามารถทํางานไดตามที่ตองการ เนื่องจากเปนผูกําหนดโปรแกรมและใชงานเครื่องคอมพิวเตอร มนุษยจึงเปนตัวแปรสําคัญในอันทีจ่ ะทําใหผลลัพธมี ความนาเชื่อถือ เนื่องจากคําสั่งและขอมูลที่ใชในการประมวลผลไดรบั จากการกําหนดของมนุษย (People ware) ทั้งสิน้ 1.6.4 ขอมูล/สารสนเทศ (Data/Information) ขอมูล (Data) เปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่ง การทํางานของคอมพิวเตอรจะเกี่ยวของกับขอมูลตั้งแตการ นําขอมูลเขาจนกลายเปนขอมูลที่สามารถใชประโยชนตอไดหรือที่เรียกวา สารสนเทศ (Information) ซึ่งขอมูลเหลานี้ อาจจะเปนไดทั้งตัวเลข ตัวอักษร และขอมูลในรูปแบบอื่นๆ เชน ภาพ เสียง เปนตน ขอมูลที่จะนํามาใชกับคอมพิวเตอรไดนั้น โดยปกติจะตองมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะใหคอมพิวเตอรเขาใจ กอน จึงจะสามารถเอามาใชงานในการประมวลผลตางๆ ไดเราเรียกสถานะนี้วา สถานะแบบดิจิตอล ซึ่งมี 2 สถานะ เทานั้น คือ เปด(1) และ ปด(0) ………………………………………………………………………………………………………………


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.