คู่มือบัณฑิตของแผ่นดิน

Page 1


¤ÙÁè Í× “ºÑ³±Ôμ¢Í§á¼è¹´Ô¹”

จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


"คูม่ อื บัณฑิตของแผ่นดิน” เรียบเรียง : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ พิมพ์ครัง้ ที่ 1 จำนวน 4,000 เล่ม : กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ สุรพล ไกรสราวุฒ.ิ คูม่ อื บัณฑิตของแผ่นดิน. -- กรุงเทพฯ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552. 48 หน้า. 1. พุทธศาสนากับชีวติ ประจำวัน. 2. ปัญญา. 3. ปรัชญาธรรมชาติ. I. ชือ่ เรือ่ ง

294.3144 ISBN 978-974-03-2414-0 บรรณาธิการอำนวยการ : ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล บรรณาธิการ : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ออกแบบปก : นายมาโนช กลิน่ ทรัพย์ พิสจู น์อกั ษร : นางปาลิดา จิรภาธงชัย ประสานงาน : นางสาวปทุมรัตน์ กิจจานนท์ , นางนิตพิ ร ใบเตย พิมพ์ท่ี : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถ.พญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.0-2215-1991-2 ลิขสิทธิ์ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 02-2183018 Email : dharma-centre@chula.ac.th


คำนำ


สารบัญ z ความหมาย “บัณฑิตของแผ่นดิน”

คือ “บุคคลผูท้ รงความรูแ้ ละภูมปิ ญ ั ญา ผูด้ ำเนินชีวติ ด้วยปัญญา ทีเ่ ป็นทีพ่ ง่ึ และความหวังของแผ่นดิน ทีจ่ ะช่วยนำพาสังคม ประเทศชาติ ตลอดจนโลกทัง้ มวล ไปสูค่ วามเจริญรุง่ เรือง ทีถ่ กู ต้องดีงาม สงบสุข สันติ และยัง่ ยืน” z ปัญญา คืออะไร ? z ทำไมจึงต้องดำเนินชีวต ิ ด้วยปัญญา ? z ปัญญาประการแรกทีพ ่ งึ รู้ คือ รูจ้ กั ธรรมชาติชวี ติ ของตนเอง ♦พิจารณาธรรมชาติของ “ชีวติ ” z ปัญญาประการถัดไปทีพ ่ งึ รู้ คือ รูจ้ กั ธรรมชาติและกฎธรรมชาติ ทัง้ หมดเกีย่ วข้อง ♦“อุตน ุ ยิ าม” : กฎธรรมชาติเกีย่ วกับอุณหภูมิ ♦“พีชนิยาม” : กฎธรรมชาติเกีย่ วกับการสืบพืชพันธุ์ ♦“จิตตนิยาม” : กฎธรรมชาติเกีย่ วกับการทำงานของจิต ♦“กรรมนิยาม” : กฎธรรมชาติเกีย่ วกับการกระทำของมนุษย์ ♦“ธรรมนิยาม” : กฎธรรมชาติเกีย่ วกับความสัมพันธ์ของ สิง่ ทัง้ หลาย z จากปัญญา จึงมาสู่ “หน้าที”่ z จากนิยาม 5 .... นำมาสูก ่ ารปฏิบตั ติ นของมนุษย์ ♦การฝึกจิตให้เข้มแข็งและอยูใ่ นอำนาจการควบคุม z หลักปฏิบต ั พิ น้ื ฐานเพือ่ การดำเนินชีวติ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ สังคมมนุษย์ ♦หลักปฏิบตั ิ “อนุรกั ษ์” และ “พัฒนา” ♦หลักปฏิบตั ิ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ♦หลักปฏิบตั เิ พือ่ ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคลในสังคม z บทสรุป

หน้า 1

3 5 6 7 9 10 13 16 20 25 29 31 32 36 37 37 41 43


“คูม่ อื บัณฑิตของแผ่นดิน” 1) ความหมาย “บัณฑิตของแผ่นดิน” พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ.2542 ได้ให้ ความหมายไว้วา่ ั ญา นักปราชญ์ “บัณฑิต” คือ “ผูท้ รงความรู้ ผูม้ ปี ญ ผูส้ ำเร็จการศึกษาขัน้ ปริญญาตรีขน้ึ ไป ผูม้ คี วามสามารถ เป็นพิเศษโดยกำเนิด” ท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ได้เพิม่ เติม ความหมายในพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ซึง่ ทำให้ เข้าใจได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ว่า คือ “ผูด้ ำเนินชีวติ ด้วยปัญญา” “แผ่นดิน” คือ “พืน้ ดินของโลก รัฐ ประเทศ”

1


“บัณฑิตของแผ่นดิน” จึงหมายถึง “บุคคลผู้ทรง ความรู้และภูมิปัญญา ผู้ดำเนินชีวิตด้วยปัญญา ทีเ่ ป็นทีพ ่ ง่ึ และความหวังของแผ่นดิน ทีจ่ ะช่วยนำพา สังคม ประเทศชาติ ตลอดจนโลกทัง้ มวล ไปสูค่ วาม เจริญรุง่ เรืองทีถ่ กู ต้องดีงาม สงบสุข สันติ และยัง่ ยืน” “บัณฑิตของแผ่นดิน” ในทีน่ ้ี จึงมีความหมายกว้าง ซึง่ หมายถึง บุคคลใดก็ได้ที่มีคุณสมบัติดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น ไม่ได้จำกัดว่าจะ ต้องสำเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือไม่แต่ประการใด การผลิต “บัณฑิต” ของสถาบันการศึกษาทั้งหลาย หากมุ่ง ประโยชน์และอุดมคติที่ควรจะเป็นแล้ว ก็ไม่ควรจะมุ่งผลิตบัณฑิต เพียงให้ได้รับวุฒิบัตรหรือปริญญาบัตร และมีความรู้เฉพาะในด้าน วิชาชีพเพือ่ การประกอบอาชีพเท่านัน้ แต่ควรมุ่งให้มีหลักประกันต่อสังคม ประเทศชาติ และโลก โดยรวมด้วยว่า บัณฑิตที่ผลิตออกมานั้น จะเป็น “บั ณ ฑิ ต ของ แผ่นดิน” ทีม่ คี วามสง่างาม เป็นทีพ่ ง่ึ เป็นความหวัง และเป็นความ ภาคภูมิใจของส่วนรวมอย่างแท้จริง อีกทั้งจะไม่กลับกลายเป็น “บัณฑิตอันตราย” ทีน่ ำความรูท้ ไ่ี ด้รบั จากการสอนนัน้ ไปก่อปัญหา หรือสร้างความเดือดร้อนให้เกิดขึน้ เสียเอง 2


2) ปัญญา คืออะไร ? พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของท่านเจ้าคุณ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ได้ให้ความหมายไว้วา่ “ปัญญา” คือ “ความรูท้ ว่ั ปรีชาหยัง่ รูเ้ หตุผล ความรูเ้ ข้าใจ ชัดเจน ความรูเ้ ข้าใจหยัง่ แยกได้ในเหตุผล ดีชว่ั คุณโทษ ประโยชน์มิ ใ ช่ ป ระโยชน์ เป็นต้น และรู ้ ท ี ่ จ ะจั ด แจง จั ด สรร จั ด การ ความรอบรูใ้ นกองสังขาร มองเห็นตามความเป็นจริง” ซึง่ สามารถสรุปความได้วา่ ปัญญาทีจ่ ะนับว่าเป็นความรูอ้ ย่าง ทัว่ ถึงแท้จริงในพุทธศาสนา อย่างน้อยมี 4 นัยสำคัญที่ต้องรู้จัก คือ (1) ปัญญาทีเ่ ป็นองค์ความรู้ในเรือ่ งของเหตุและผลของ สิง่ นัน้ ๆ ซึ่งในที่นห้ี มายถึง รูถ้ งึ โครงสร้าง รูถ้ งึ องค์ประกอบ รูท้ ม่ี า ทีไ่ ป รูเ้ หตุปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้อง เป็นต้น (2) ปั ญ ญาที่รู้ถึงคุณค่าและความหมายของสิ่งนั้น ๆ ทั้งในส่วนทีเ่ ป็นคุณ-โทษ ประโยชน์-มิใช่ประโยชน์ ที่มีต่อชีวิตและ สิง่ แวดล้อม (3) ปัญญาทีร่ จู้ กั เข้าไปทำหน้าที่ จัดแจง จัดสรร จัดการ หรือเข้าไปทำหน้าทีแ่ ละเกีย่ วข้องกับสิง่ นัน้ ๆ ได้อย่างถูกต้อง (4) ปัญญาทีร่ เู้ ท่าทันความเป็นจริงในกองสังขาร ซึง่ ในทีน่ ้ี หมายถึง รูเ้ ท่าทันในความเป็นไตรลักษณ์ (= อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา= ความเปลีย่ นแปลง ความทนอยูใ่ นสภาพเดิมไม่ได้ ความไม่ใช่ตวั ตน) ของสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ ป็นของปรุงแต่ง ซึง่ จะมีผลทำให้จติ มีความเป็นอิสระ ไม่มคี วามบีบคัน้ และไม่เกิดความประมาท ไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ แม้ในความรูท้ ม่ี ี นัน้ และพร้อมทีจ่ ะปรับปรุงความรูต้ า่ งๆ ให้ดขี น้ึ ก้าวหน้าขึน้ ตลอดเวลา 3


ยกตัวอย่าง เช่น การจะมีปัญญารอบรู้อย่างทั่วถึงใน เรือ่ งของ “ยา” ชนิดหนึง่ ประการแรก จะต้องรู้จกั เรือ่ งของ “ตัวยา” และ “กลไกการ ออกฤทธิ”์ ของตัวยานัน้ ๆ ซึ่งในทางการแพทย์แผนปัจจุบนั สามารถ ลงลึกถึงการรูจ้ กั “โครงสร้างทางเคมี” ตลอดจน “ปฏิกิริยาทางเคมี” ในระดับโมเลกุล เมือ่ เข้าสูร่ ะบบต่างๆ ของร่างกาย รวมไปถึงการรูใ้ น เรือ่ งปฏิกริ ยิ าต่อกันของยาต่างๆ เมือ่ ใช้รว่ มกัน เป็นต้น ประการที่ 2 รูถ้ งึ “สรรพคุณ” ทัง้ ในส่วนทีเ่ ป็นคุณต่อการรักษา และส่วนทีอ่ าจเกิดเป็นผลข้างเคียง หรือเป็นพิษต่อระบบของอวัยวะ ต่าง ๆ ประการที่ 3 รู ้ ถ ึ ง วิธีการสกัดหรือสังเคราะห์ ให้ได้มาซึ่ง ตัวยานัน้ ๆ ตลอดจนวิธกี ารปรุงให้อยูใ่ นรูปแบบทีจ่ ะนำไปใช้เพือ่ ให้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เช่น ใช้ทา ใช้กนิ หรือใช้ฉดี เป็นต้น นอกจากนั้น รู้ถึงขนาดของการใช้ยา รูถ้ งึ จังหวะเวลาในการใช้ เช่น รับประทานเฉพาะในตอนเช้า , รับประทานก่อนหรือหลังอาหาร เป็นต้น ประการสุดท้าย คือ มีปญ ั ญารูเ้ ท่าทัน ไม่ประมาทและยึดมัน่ ต่อความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่นั้น ว่าเป็นความรู้ที่ถูกต้องและสมบูรณ์แล้ว แต่ยงั จะคอยสังเกตและหมัน่ ปรับปรุงความรูต้ า่ ง ๆ ให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ ยิง่ ขึน้ ๆ ตลอดเวลา และด้วยท่าทีแห่งการมีปญ ั ญาเช่นทีว่ า่ นี้ นอกจาก จะช่วยให้มีพัฒนาการของตัวปัญญาเองอยู่ตลอดเวลาแล้ว ยังมีผล ทำให้จติ ของบุคคลมีความเป็นอิสระ ไม่มคี วามบีบคัน้ ใด ๆ ในทุกเรือ่ ง ทีเ่ ข้าไปเกีย่ วข้อง 4


3) ทำไมจึงต้องดำเนินชีวติ ด้วยปัญญา ? เพราะว่า : ธรรมชาติมกี ฎธรรมชาติควบคุมความเป็นไป ของสิง่ ต่าง ๆ กล่าวคือ ทุกสิง่ ในธรรมชาติ ไม่วา่ จะเป็นสิง่ มีชวี ติ หรือไม่มชี วี ติ ทัง้ หมดล้วนมีการดำรงอยูแ่ ละเปลีย่ นแปลงไปตาม “กฎของธรรมชาติ” หรือเรียกให้ชัดยิ่งขึ้นว่า“กฎแห่งเหตุและผล” หรืออย่างที่ภาษาทาง ศาสนาใช้คำว่า “เปลีย่ นแปลงไปตามเหตุปจั จัย” ดังนัน้ การจะกระทำหรือดำเนินการในเรือ่ งใดๆ ทีเ่ กีย่ ว ข้องกับธรรมชาติ จึงถูกบังคับให้ต้องแสวงหา “ปัญญา” หรือ “ความรู”้ ทีเ่ ป็น “กฎธรรมชาติ” หรือ “เหตุปจั จัย” ทีเ่ กีย่ วข้องกับ เรือ่ งนัน้ ๆ เสียก่อน แล้วจึงค่อยกระทำหรือดำเนินการไปตามกฎ ธรรมชาติทค่ี วบคุมอยู่ ก็จะทำให้ได้รบั ผลสำเร็จด้วยดี บุคคลไม่สามารถที่จะกระทำอะไรตามอำเภอใจหรือตาม ความอยากของตน ซึง่ หากกระทำเช่นทีว่ า่ นี้ นอกจากจะไม่สามารถทำให้ เกิดผลสำเร็จแล้ว ยังอาจจะทำให้เกิดปัญหาอีกมากมายติดตามมาได้ การดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง ที่จะให้ผลเป็นความสงบสุข สันติ และยัง่ ยืน ทัง้ ต่อบุคคลและสังคม ตลอดจนต่อโลกทัง้ มวล จึงต้องอาศัย “ปัญญา” เป็นเครือ่ งนำทาง

5


4. ปัญญาประการแรกทีพ ่ งึ รู้ ..... : คือรูจ้ กั ธรรมชาติชวี ติ ของตนเอง มีผรู้ บู้ างท่านได้กล่าวคำทีน่ า่ สนใจยิง่ ไว้วา่ .... “การรูจ้ กั ตนเอง เป็นจุดเริม่ ต้นของปรีชาญาณ” ซึง่ มีนยั สำคัญว่า สำหรับมนุษย์แล้ว ปัญญาประการแรก สุดที่จะต้องรู้ก่อน คือ การรู้จักตนเองหรือธรรมชาติชีวิตของ ตนเอง และปัญญารู้จักตนเองนี้ จึงเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญที่จะ นำบุคคลไปสูป่ รีชาญาณต่าง ๆ ทีถ่ กู ต้อง และกว้างไกลต่อไป หากยังไม่มีความรู้ที่ถูกต้องต่อเรื่องของตนเองหรือธรรมชาติ ชีวิตของตนเองอย่างเพียงพอแล้ว จะไปรู้จักทำหน้าที่หรือเกี่ยวข้อง กับสิง่ อืน่ ๆ ทีอ่ ยูร่ อบตัวออกไปให้ถกู ต้องได้อย่างไร ? ในเรือ่ งนี้ มนุษย์มคี วามแตกต่างจากสัตว์อน่ื ๆ ทัง้ หมด เพราะ สัตว์อน่ื ๆ นัน้ ดำรงชีวติ อยูไ่ ด้ดว้ ย “สัญชาตญาณ” เพียงอย่างเดียว สัตว์อน่ื ๆ จึงไม่ตอ้ งใส่ใจในเรือ่ งปัญญาหรือแสวงหาความรูใ้ ด ๆ มา ใช้ในการดำรงอยูข่ องชีวติ แต่มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตพิเศษทีม่ คี วามสามารถในการเรียนรู้ และฝึกฝนตนเองอย่างไม่มขี ดี จำกัด และยังรูจ้ กั นำสิง่ ทีไ่ ด้รบั จากการ เรียนรู้มาปรับปรุงการดำรงชีวิตตลอดเวลา เรียกความรู้ใหม่นี้ว่า “ภาวิตญาณ” จึงทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความแปลก แยกออกไปจาก “สัญชาตญาณ” มากขึน้ ๆ จนกลายเป็นชีวติ ทีต่ อ้ ง อาศัยปัญญาหรือความรูเ้ ป็นเครือ่ งนำในการดำเนินชีวติ ไม่สามารถ ดำรงอยูไ่ ด้โดยอาศัย “สัญชาตญาณ” เพียงอย่างเดียวอีกต่อไป ซึง่ จะ ได้กล่าวถึงเรือ่ งนีใ้ ห้ละเอียดยิง่ ขึน้ ในหัวข้อต่อ ๆ ไป 6


4.1 พิจารณาธรรมชาติของ “ชีวติ ” มีคำอธิบายเรือ่ งชีวติ ไว้หลากหลายในศาสตร์ตา่ ง ๆ แต่ในทีน่ ้ี จะขอนำเสนอในแง่มมุ ของพุทธศาสนา ซึง่ เข้าใจกันดีอยูแ่ ล้วโดยทัว่ ไป ทีว่ า่ “ชีวติ ” คือ “กาย กับ จิต” โดยเสนอให้พจิ ารณาดังต่อไปนีว้ า่ : กาย คืออะไร?….ต้องการอะไร?…...เพือ่ อะไร? จิต คืออะไร?….ต้องการอะไร?…...เพือ่ อะไร? (โปรดอ่านรายละเอียดเพิม่ เติมจากหนังสือ "หลักธรรมพืน้ ฐานทีช่ าว พุทธพึงรู้ " หน้า16 - 21 จัดพิมพ์โดยธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

กล่าวโดยสรุป : “กาย” คือ ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากการประกอบกันเข้าของ ธาตุพน้ื ฐานทัง้ 4 คือ ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม และธาตุไฟ “กาย” ต้องการ ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม และธาตุไฟ จาก ธรรมชาติภายนอกซึง่ อยูใ่ นรูปของปัจจัย 4 (= อาหาร , เครือ่ งนุง่ ห่ม, ทีอ่ ยูอ่ าศัย และยารักษาโรค) เพื่อ หล่อเลี้ยงและค้ำจุนชีวิตฝ่ายกาย ให้สามารถดำรงอยู่ และทำหน้าทีไ่ ด้เป็นปกติ “จิต” คือ ธรรมชาติรู้ “จิต” ต้องการ ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง เพือ่ หยุดความสงสัย หยุดความดิน้ รนกระวนกระวาย หรือ หยุดปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากความไม่รขู้ องตัวจิตเอง เพราะตราบใดทีจ่ ติ ยังไม่รู้ถูกต้องหรือไม่รู้แจ้งในเรื่องใด เรื่องนั้นก็ยังมีอันพันพัวจิต ให้ดน้ิ รนด้วยความงุนงงสงสัย ไม่สามารถสงบ นิง่ เป็นปกติได้

7


เมื่อรู้เข้าใจธรรมชาติของ “ชีวิต” ถูกต้อง ตามที่ได้กล่าว ไปแล้ว จะทำให้ :z...รูว ้ า่ การมีชวี ติ นัน้ ธรรมชาติได้กำหนดสิง่ ทีเ่ รียกว่า “หน้าที”่ มาให้พร้อมแล้วกับตัวชีวติ ซึง่ อันทีจ่ ริงก็คอื เรือ่ งเดียวกันกับ“ความต้องการ” ของชีวิตในแต่ละฝ่ายนั่นเอง กล่าวคือ “ความต้องการ” ที่ว่านี้เป็น ความต้องการแท้ๆ ของธรรมชาติ ทีบ่ งั คับบุคคลให้มี “หน้าที”่ ทีต่ อ้ ง กระทำเพื่อตอบสนอง ไม่ทำไม่ได้ หรือหากไม่ทำ ชีวิตก็จะประสบ ปัญหาและความยากลำบาก ทำให้ไม่สามารถดำรงอยูไ่ ด้ในทีส่ ดุ เมือ่ รูถ้ งึ “ความต้องการ” ทีแ่ ท้จริงของธรรมชาติ ก็จะทำให้ :z...รูถ ้ งึ “ความต้องการ” ของบุคคลทีค่ ดิ นึกไปเองด้วยความ หลงหรือความเข้าใจผิด อย่างทีเ่ รียกว่า “ตัณหา” เรือ่ งนีส้ ำคัญมาก หลักธรรมในพุทธศาสนาแสดงไว้ว่า “ตัณหา” นี้คือ “เหตุแห่งทุกข์” หมายความว่าปัญหาหรือความทุกข์ที่มนุษย์ประสบ ล้วนมีสาเหตุ สำคัญมาจาก “ตัณหา” หรือ “ความต้องการ” ทีบ่ คุ คลเข้าใจผิดไปเอง คือไปต้องการในสิง่ ทีช่ วี ติ จริง ๆ ไม่ได้มคี วามต้องการ นอกจากนัน้ ยังทำให้ :z...รูแ ้ ละเข้าใจเป้าหมายของชีวติ อย่างถูกต้อง รูค้ ำตอบของ ชีวติ ทีว่ า่ “เกิดมาทำไม” ซึง่ กล่าวโดยสรุป ก็คอื “การมีสขุ ภาพทาง กายที่สมบูรณ์ เพื่อให้เป็นฐานรองรับการแสวงหาความรู้ที่ ถูกต้องของจิต จนกว่าจิตจะรู้ถูกต้องอย่างสมบูรณ์ ทำให้จิต มีภาวะปลอดโปร่งจากความดิน้ รนทัง้ ปวง" และยังทำให้รถู้ งึ คุณค่า และความหมายของสิง่ ต่างๆ ทีม่ ตี อ่ ชีวติ อย่างถูกต้อง จึงทำให้สามารถ เข้าไปทำหน้าทีแ่ ละเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่างๆทีอ่ ยูร่ อบตัวได้ถกู ต้อง ไม่กอ่ ปัญหากับสิง่ ต่างๆ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก 8


5. ปัญญาประการถัดไปทีพ ่ งึ รู้ ...... : คือรูจ้ ักธรรมชาติและกฎธรรมชาติทง้ั หมดทีเ่ กีย่ วข้อง ในทีน่ ข้ี อเสนอให้พจิ ารณา “นิยาม 5” ในพุทธศาสนา ซึง่ ได้ แสดงถึง “กฎธรรมชาติ 5 ประการ” ที่ควบคุมความเป็นไปของ สิง่ ต่าง ๆ ในธรรมชาติทง้ั หมด จำแนกได้ดงั นี้ 1. อุตุนิยาม (physical laws) กฎธรรมชาติเกี่ยวกับ อุณหภูมิ หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติตา่ งๆ ในสิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะ ในเรือ่ งของธาตุพน้ื ฐาน คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ 2. พีชนิยาม (biological laws) กฎธรรมชาติเกี่ยวกับ การสืบพืชพันธุ์ 3. จิตตนิยาม (psychic law) กฎธรรมชาติเกี่ยวกับ การทำงานของจิต 4. กรรมนิยาม (the law of Kamma) กฎธรรมชาติ เกีย่ วกับการกระทำของมนุษย์ 5. ธรรมนิยาม ( the genaral law of cause and effect) กฎธรรมชาติเกีย่ วกับความสัมพันธ์ของสิง่ ทัง้ หลาย “นิยาม 5” นี้ แต่ละนิยามล้วนมีเนือ้ หาสาระทีก่ ว้างขวางและ ลึกซึง้ มาก สามารถศึกษาเรียนรูแ้ ละนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่มขี ดี จำกัด ในหนังสือนีจ้ ะเลือกกล่าวถึงนิยามทัง้ 5 เฉพาะเนือ้ หาในแง่มมุ ที่แต่ละนิยามเป็นเหตุปัจจัย และมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันขึ้นไป เป็นลำดับ โดยมองว่านิยามทัง้ 5 นี้ เป็นเสมือนตึก 5 ชัน้ ทีแ่ ต่ละชัน้ เป็นฐานรองรับให้สามารถต่อเติมชัน้ ถัดไปได้ 9


5.1 อุตนุ ยิ าม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิ อุตนุ ยิ าม เป็นกฎธรรมชาติพน้ื ฐานทีส่ ดุ เป็นเสมือนบันไดขัน้ แรก ทีส่ ดุ หมายความว่า จะต้องมีอตุ นุ ยิ ามหรือสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ ด้านรูปธรรมที่เหมาะสมเป็นเบื้องต้นก่อน สิ่งต่าง ๆ ซึ่งเป็นผลของ นิยามในลำดับถัดไป คือ พืช สัตว์ และมนุษย์ หรืออาจเรียกรวมว่า สิง่ มีชวี ติ ทัง้ หลาย จึงจะสามารถอุบตั ขิ น้ึ และดำรงอยูไ่ ด้ “อุต”ุ แปลว่า “ฤดู” ดังนัน้ สาระสำคัญของ “อุตนุ ยิ าม” ในทีน่ ้ี จึงมีความหมายว่า จะต้องมีฤดูกาล หรือมี ดิน ฟ้า อากาศ ทีเ่ หมาะสมและลงตัวเสียก่อน จึงจะเป็นปัจจัยก่อกำเนิดให้มีสง่ิ มีชวี ติ ต่าง ๆ ขึน้ มาได้ ความหมายของ “ฤดูกาล” หากจะพิจารณาให้ละเอียดยิง่ ขึน้ หลักธรรมทางพุทธศาสนาแสดงไว้วา่ คือ “ภาวะทีเ่ ป็นความสมดุลของ ธาตุพน้ื ฐานในฝ่ายรูปธรรมทัง้ 4 ในธรรมชาติ คือ ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม ธาตุไฟ จนเกิดเป็นระบบของดิน ฟ้า อากาศ ทีล่ งตัวและมีความแน่นอน เป็นฤดูตา่ งๆ นัน่ เอง” โดยในหลักธรรมได้แสดงไว้ว่า “ธาตุไฟ” เป็นธาตุทส่ี ำคัญ ทีส่ ดุ ทีเ่ ป็นตัวควบคุมความเปลีย่ นแปลงของธาตุอน่ื ๆ ดังนัน้ ในเรือ่ งของอุตนุ ยิ าม ทีจ่ ะทำให้เกิดภาวะของความสมดุล ของธาตุพน้ื ฐานทัง้ 4 จะต้องเริม่ ต้นทีก่ ารมีอณ ุ หภูมหิ รือ “ธาตุไฟ” ทีเ่ หมาะสมเสียก่อน คือ ไม่รอ้ นเกินไป และไม่เย็นเกินไป “ธาตุไฟ” ทีเ่ หมาะสมนัน้ พิจารณาจากอะไร ? คำตอบ คือ ให้พิจารณาจาก “ธาตุน้ำ” คือ ทำให้ธาตุน้ำ สามารถดำรงอยู่ได้ 3 สถานะในบรรยากาศธรรมชาติ คือ ของแข็ง (=น้ำแข็งหรือหิมะ) , ของเหลว และก๊าซ (=ไอน้ำ) 10


ถามต่อว่า : ทำไม “ธาตุนำ้ ” จึงต้องมี 3 สถานะในบรรยากาศ ธรรมชาติ คำตอบ คือ เพื่อที่ธรรมชาติจะสามารถกระจายน้ำไปได้ อย่างทัว่ ถึงบนผืนพิภพ โดยอาศัยการเปลีย่ นไปมาระหว่าง 3 สถานะ นี้เอง (โปรดอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจากหนังสือ "ความหมาย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนามนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ" หน้า12 - 17 จัดพิมพ์โดยธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) เพราะน้ำเป็นปัจจัย

สำคัญในการดำรงอยูข่ องสิง่ มีชวี ติ โดยธาตุนำ้ จะทำหน้าทีเ่ ป็นตัวทำ ละลายทีส่ ำคัญทีท่ ำให้สารต่างๆ ละลาย ผสมผสานและคลุกเคล้ากัน จนสามารถรวมตัวกันและก่อตัวเป็นสิง่ มีชวี ติ ขึน้ มาได้ เมือ่ ธาตุไฟและธาตุนำ้ อยูใ่ นภาวะเหมาะสมอย่างทีก่ ล่าวแล้ว “ธาตุลม” ทีใ่ นหลักธรรมแสดงว่า เป็นเรือ่ งของพลังในการขับเคลือ่ น หรือเคลือ่ นไหวของสิง่ ต่างๆ ก็อยูใ่ นภาวะทีเ่ หมาะสมไปด้วย กล่าวคือ ทำให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า “ปราณ” (ผู้รู้บางท่านให้ความหมายว่า คือ อ๊อกซิเจน) หรือ “พลังแห่งชีวติ ” ขึน้ ในธาตุลม จึงพร้อมทีจ่ ะขับเคลือ่ น ขบวนการต่าง ๆ ของชีวิตให้ดำเนินต่อไปได้.......นอกจากนัน้ ยังทำให้ เกิดทิศทางการพัดของลมที่มีความแน่นอนและสม่ำเสมอ ซึ่งเป็น ปัจจัยสำคัญทีท่ ำให้เกิดฤดูกาลต่างๆ โดยตรง กล่าวคือ ลมที่พัดผ่านที่ที่มีน้ำแข็งหรือที่หนาวเย็น ก็จะพัดพาเอา ความเย็นไปด้วย ทำให้เกิด “ฤดูหนาว” ลมที่พัดผ่านที่ที่ร้อน ก็จะพัดพาเอาความร้อนไปด้วย ทำให้ เกิด “ฤดูรอ้ น” ลมที่พัดผ่านที่ที่เป็นห้วงน้ำ เช่น ทะเลหรือมหาสมุทร ก็จะ พัดพาเอาเมฆหรือความชุม่ ชืน้ ไปด้วย ทำให้เกิด “ฤดูฝน” 11


เมือ่ ธาตุตา่ ง ๆ อยูใ่ นภาวะทีเ่ หมาะสม ก็จะทำให้ “ธาตุดนิ ” เกิดภาวะทีเ่ หมาะสมไปด้วย กล่าวคือ ทำให้เกิดคุณสมบัตพิ ร้อมทีจ่ ะ รวมตัวกันและก่อกำเนิดเป็น “สารอินทรีย”์ ซึง่ เป็นโครงสร้างพืน้ ฐาน ของสิง่ มีชวี ติ ต่อไป ดังนัน้ กล่าวได้วา่ ดาวเคราะห์ดวงใด หากมีววิ ฒ ั นาการจนมี “ธาตุไฟ” หรือ “อุณหภูม”ิ ทีเ่ หมาะสม ทำให้ “ธาตุนำ้ ” สามารถมี 3 สถานะในบรรยากาศธรรมชาติ และเกิด “ปราณ” ขึน้ ใน “ธาตุลม” และ ุ สมบัตกิ อ่ เกิดเป็น “สารอินทรีย”์ ได้ ทำให้ “ธาตุดนิ ” พร้อมทีจ่ ะมีคณ นัน่ หมายความว่า ดาวเคราะห์ดวงนัน้ มี “อุตนุ ยิ าม” ทีเ่ หมาะสม พร้อมที่จะรองรับการเกิดขึ้นและดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ได้ และสิง่ มีชวี ติ อันดับแรกทีจ่ ะเกิดขึน้ คือ “พืช” ซึง่ จะมี “พีชนิยาม” เป็น กฎธรรมชาติทร่ี องรับและควบคุมต่อไป ดังนัน้ การกระทำใดทีม่ ผี ลต่อ “อุณหภูม”ิ หรือ “ธาตุไฟ” โดยเฉพาะการเผาผลาญพลังงานอย่างมหาศาล (อันทีจ่ ริงเกิดจาก การทีม่ นุษย์ “กิน - อยู”่ อย่างสุรยุ่ สุรา่ ย มุง่ ตอบสนองความต้องการ ของตนอย่างไม่มขี ดี จำกัด ไม่ได้เป็นไปตามความจำเป็นหรือตามความ ต้องการทีแ่ ท้จริงของธรรมชาติ...อุตนุ ยิ าม จึงเป็นกฎธรรมชาติทจ่ี ำกัด ไม่ให้มนุษย์บริโภคใช้สอยสิง่ ต่างๆ ตามอำเภอใจ) จนเกิดภาวะเรือนกระจก ดังเช่นที่ปรากฏชัดในปัจจุบันในเรื่อง “ภาวะโลกร้อน” จึงเป็นมหันตภัยทีน่ า่ กลัวและใหญ่หลวงทีส่ ดุ เพราะไปกระทบ ถึง “ธาตุไฟ” ซึง่ เป็นธาตุพน้ื ฐานทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ทีเ่ ป็นตัวควบคุม การเปลีย่ นแปลงของธาตุอน่ื ๆ เมือ่ “ธาตุไฟ” เสียความสมดุลไป จะส่งผลทำให้ “ธาตุนำ้ ” เสียความสมดุลไปด้วย กล่าวคือ ทำให้เกิดการเสียความสมดุล 12


ของ 3 สถานะของน้ำในธรรมชาติ น้ำแข็งบริเวณขัว้ โลกทัง้ สองและ ทีป่ กคลุมอยูต่ ามยอดเขาสูง จะมีอตั ราการละลายทีเ่ ร็วขึน้ และ มากขึน้ ซึง่ จะส่งผลทำให้นำ้ ในมหาสมุทรมีปริมาณเพิม่ ขึน้ ทำให้ เกาะแก่งตลอดจนแผ่นดินทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีต่ ำ่ ตามชายฝัง่ จมอยูใ่ ต้นำ้ และอาจถึงกับหายไปจากแผนทีโ่ ลก พืน้ ทีบ่ างแห่งอาจเกิดภัยพิบตั ิ จากน้ำท่วมอย่างรุนแรง นอกจากนัน้ ยังส่งผลถึง “ธาตุลม” ทำให้เกิด พายุตา่ งๆ มากขึน้ และรุนแรงขึน้ ทัง้ พายุลมและพายุฝน รวมทั้ง ทำให้ทศิ ทางการพัดของลมเปลีย่ นแปลงไป ส่งผลทำให้ฤดูกาลของ ภูมภิ าคต่างๆ เปลีย่ นแปลงไป ซึง่ เป็นเรือ่ งใหญ่มากและกระเทือนถึง “อุตนุ ยิ าม” อย่างรุนแรง จะมีผลกระทบทำให้ “ธาตุดนิ ” รวมไปถึง พืช สัตว์ และมนุษย์ มีสภาพและวิถกี ารดำรงชีวติ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป สิง่ มีชวี ติ หลายอย่างอาจไม่สามารถปรับตัวให้ดำรงอยูต่ อ่ ไปได้ ก็อาจต้องล้มหายตายจากและสูญพันธุไ์ ป นอกจากนัน้ ยังมีผลทำให้ เกิดโรคภัยไข้เจ็บทีแ่ ปลกๆ ใหม่ๆ ฯลฯ ซึง่ เป็นเรือ่ งทีน่ า่ กลัวมาก ! 5.2 พีชนิยาม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพืชพันธุ์ เมือ่ “อุตนุ ยิ าม” หรือกฎธรรมชาติทท่ี ำให้ภาวะของสิง่ แวดล้อม ทางกายภาพมีความเหมาะสมแล้ว โดยเฉพาะทำให้ “ธาตุดนิ ” มีคณ ุ สมบัตพิ ร้อมทีจ่ ะก่อเกิดเป็น “สารอินทรีย”์ ได้ ธรรมชาติกจ็ ะมี “พีชนิยาม” หรือกฎธรรมชาติเกีย่ วกับการสืบพืชพันธุ์ มารับช่วงต่อ กล่าวคือ ทำให้ เกิดสิ่งที่เป็น “สารอินทรีย”์ ทีเ่ รียกว่า “พืช” ขึ้น ซึ่งมีคุณสมบัติ พิเศษมากขึน้ ไปกว่าเรือ่ งของ “อุตุนิยาม” คือ มีความสามารถ ในการสร้างสิง่ ทีเ่ หมือนกับตัวเองขึน้ และเพิม่ ปริมาณมากขึน้ ได้ เรียกความสามารถนีว้ า่ “การสืบพืชพันธุ”์ หรือ “การสืบพันธุ”์ 13


การเกิดขึน้ ของพืช ในแง่หนึง่ เป็นดัชนีชี้วัดให้รวู้ า่ “อุตนุ ยิ าม” หรือกฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิหรือสิ่งแวดล้อมทางกายภาพนั้น มีความเหมาะสมจริง พืน้ ทีใ่ ดมีพชื เกิดขึน้ อุดมสมบูรณ์ ย่อมหมายความ ว่า อุตุนิยามหรือสิ่งแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่นั้น ๆ มีความ เหมาะสมแล้วหรือมีความสมดุลเป็นอย่างดี ในทางตรงข้าม หากพืน้ ทีใ่ ด “ไม่มพี ชื ” หรือ “พืช” ไม่สามารถ เกิดขึน้ ได้ นัน่ ย่อมเป็นเครือ่ งแสดงว่า “อุตนุ ยิ าม” ในพืน้ ทีบ่ ริเวณนัน้ ไม่มีความเหมาะสม เป็นพื้นที่ที่มีสภาวะแวดล้อมทางกายภาพไม่ดี ไม่รองรับต่อสิง่ มีชวี ติ ทีจ่ ะอาศัยและดำรงอยูไ่ ด้อย่างเป็นปกติสขุ นัยสำคัญของการเกิดขึ้นของ “พืช” คือ การแปรสาร วัตถุ (ดิน-น้ำ-ลม-ไฟ ทีอ่ ยูใ่ นภาวะสมดุล)ทีเ่ ป็น “สารอนินทรีย”์ ให้อยู่ในสภาพของ “สารอินทรีย์” ซึ่งเป็นสารที่เป็นโครงสร้าง ของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย และ “พีชนิยาม” ทำให้เกิดการเพิ่มขึ้น และกระจายตัวของ “พืช” ไปในส่วนต่างๆ บนพื้นพิภพอย่าง ทั่วถึง ทั้งนี้เพื่อเตรียมการอะไรบางอย่าง ให้นิยามในลำดับ ถัดไป คือ “จิตตนิยาม” สามารถเกิดขึน้ และดำเนินต่อไปได้ การเกิดขึ้นของ “พืช” นอกจากเป็นเรื่องของ “สารอินทรีย์” ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว พิจารณาอีกแง่หนึง่ เป็นการตระเตรียมให้เกิดมี สิง่ ทีเ่ รียกว่า “ปัจจัย 4”(อาหาร เครือ่ งนุง่ ห่ม ทีอ่ ยูอ่ าศัย และยารักษา โรค) ซึง่ เป็นปัจจัยพืน้ ฐานสำหรับการดำรงอยูข่ องสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ทีจ่ ะ เกิดขึน้ ในลำดับถัดไปด้วย นอกจากนั้น “พืช” ยังสามารถย้อนกลับมามีบทบาทต่อ “อุตนุ ยิ าม” ด้วย โดยช่วยรักษาระบบความสมดุลของสิง่ แวดล้อมทาง 14


กายภาพ หรือ ความสมดุลของ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ ให้สามารถดำรงอยูอ่ ย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนยิง่ ขึน้ โดยการ...... z ...เป็น “ป่าไม้” ซึง่ เป็นแหล่งให้ความชุม ่ ชืน้ และความเย็น ทำหน้าทีค่ วบคุม “ธาตุไฟ” หรือเป็นตัวปรับอุณหภูมหิ รืออาจเรียกว่า เป็นแอร์คอนดิชั่นของโลก ทำให้ลมฟ้าอากาศ และฤดูกาล เป็นไป โดยปกติ z ...เป็น “ป่าต้นน้ำ” ซึง่ เป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร เพือ ่ ควบคุม “ธาตุน้ำ” หรือควบคุมและจัดระบบการจัดสรรของน้ำในธรรมชาติ (โปรดอ่ า นรายละเอี ย ดเพิ ่ ม เติ ม จากหนั ง สื อ "ความหมาย คุ ณ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนามนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ" หน้า12 - 17 จั ด พิ ม พ์ โ ดยธรรมสถานจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย)

...ในส่วนที่เกี่ยวกับ “ธาตุลม” กล่าวได้ว่า“พืช”เป็นแหล่ง ผลิต “อ๊อกซิเจน” หรือ “ปราณ” ซึ่งเป็นพลังงานสำคัญในการ ขับเคลือ่ นกิจกรรมต่าง ๆ ของสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หลาย z...การเกิดและตายของพืช อันที่จริงเป็นกลวิธีการปรับปรุง สภาพของดินทีส่ ำคัญ ทำให้ “ธาตุดนิ ” มีคณ ุ ภาพทีด่ แี ละเหมาะสม ยิง่ ขึน้ ๆ ตลอดเวลา ดังนัน้ การกระทำใดทีม่ ผี ลต่อ “พืช” ดังเช่นทีป่ รากฏชัด ในปัจจุบนั โดยเฉพาะเรือ่ ง “การตัดไม้ทำลายป่า” จึงเป็นมหันต ภัยที่น่ากลัวและใหญ่หลวงที่สุดอีกเรื่องหนึ่ง เพราะไปทำลาย สิง่ ทีเ่ ป็นตัวการรักษาความสมดุลของสิง่ แวดล้อมที่สำคัญ “การตัดไม้ทำลายป่า” โดยเฉพาะในแง่ที่ไปทำลาย แอร์คอนดิชั่นของโลก เรื่องนี้จึงเป็นสาเหตุสำคัญอีกประการ z

15


หนึ่งของ “ภาวะโลกร้อน” นอกเหนือจากสาเหตุที่มาจากการ เผาผลาญพลังงานทีม่ ากมายมหาศาล จนเกิดภาวะเรือนกระจก “การทำลายป่าต้นน้ำ” ทำให้แหล่งต้นน้ำลำธารถูก ทำลาย ซึง่ จะส่งผลทำให้นำ้ ในแม่นำ้ ลำคลองแห้งลง เกิดภาวะ แห้งแล้งอย่างมากในฤดูแล้ง เพราะไม่มีป่าต้นน้ำคอยดูดซับ น้ำฝน แล้วค่อย ๆ ปล่อยลงมาเติมแก่แม่นำ้ ลำคลอง ; และยัง ทำให้เกิดน้ำท่วมอย่างรุนแรงในฤดูฝน เพราะฝนตกลงมาเท่าใด ก็ไหลลงสู่พื้นราบเท่านั้น ไม่มีป่าต้นน้ำคอยเก็บซับน้ำไว้ และยิ่งหากมีการตัดไม้ทำลายป่าในบริเวณภูเขาอื่นๆ ด้วย ก็เท่ากับเป็นการเปิดหน้าดิน ไม่มรี ากไม้คอยยึดเหนีย่ วหน้าดิน ไว้ เมื่อมีฝนตกหนัก ก็จะมีการพัดพาเอาหน้าดินดังกล่าว ให้ไหลลงมาพร้อมกับต้นไม้ที่ถูกตัด เกิดเป็นดินโคลนถล่ม พร้อมท่อนซุง ดังที่มีข่าวให้ได้ยินบ่อยขึ้นๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่น่า กลัวมากอีกเช่นกัน 5.3 จิตตนิยาม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทำงานของจิต เมือ่ “อุตนุ ยิ าม” และ “พีชนิยาม” มีความเหมาะสมแล้ว กล่าวคือ มี ส ิ ่ ง แวดล้ อ มทางกายภาพที ่ เ หมาะสม มี ด ิ น น้ ำ ลม ไฟ ที่สมดุล และมีพืชเกิดขึ้นแล้ว ก็จะเป็นพื้นฐานรองรับให้เกิดสิ่งที่ เรียกว่า “สัตว์” และจะมี “จิตตนิยาม” หรือ กฎธรรมชาติเกีย่ วกับ การทำงานของจิต มารับช่วงต่อเป็นลำดับถัดไป การเกิดขึ้นของ “สัตว์” จึงเป็นเสมือนดัชนีบอกให้ทราบถึง ความเหมาะสมของ “อุตนุ ยิ าม” และความอุดมสมบูรณ์ของ “พืช” หรือ “พีชนิยาม” ว่ามีถงึ ในระดับสูงสุดแล้ว นัน่ เอง 16


สาระสำคัญของ “สัตว์” ในที่นี้คือ การมีสิ่งที่เรียกว่า “ความรูส้ กึ นึกคิด” หรือทีเ่ รียกง่ายๆ ว่า “จิต” เกิดขึน้ ทัศนะทางพระพุทธศาสนานัน้ “พืช” ไม่มี “จิต” และได้อาศัย “จิต” เป็นเครือ่ งจำแนกความแตกต่างระหว่าง “พืช” กับ “สัตว์” และ ยังได้แสดงไว้ชัดว่า “จิต” เป็นธรรมชาติอีกประเภทหนึ่ง จัดเป็น ธรรมชาติฝา่ ยนามธรรม ทีแ่ ตกต่างออกไปจากธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม ธาตุไฟ ซึ่งเป็นธรรมชาติฝ่ายรูปธรรม แต่สามารถทำงานหรือทำ หน้าทีร่ ว่ มกับธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรมได้ โดยผ่านสิง่ ทีเ่ รียกว่า “ประสาท” หรือ “ระบบประสาท” ดังนัน้ สาระสำคัญของ “สัตว์” ทีน่ อกจากจะมี “จิต” แล้ว ยังจะต้องมีสง่ิ ทีเ่ รียกว่า “ประสาท” อีกด้วย จิตตนิยามที่เป็นพื้นฐานควบคุมการทำงานของจิตหรือ พฤติกรรมความเป็นไปของสัตว์ตา่ งๆ ก็คอื สิง่ ทีเ่ รียกว่า “สัญชาตญาณ” “สัญชาตญาณ” คือ ความรูท้ ม่ี มี าพร้อมจิต เป็นความรู้ ที่มีมาแต่กำเนิด และเกิดขึ้นได้เองโดยไม่ต้องมีใครสั่งสอน เพื่อที่จะควบคุมความเป็นไปต่าง ๆ ของสัตว์ และทำให้สัตว์ ทัง้ หลายสามารถรักษาตัวรอดและดำรงชีวติ อยูไ่ ด้ สัตว์ทกุ ชนิดจะต้องมี “สัญชาตญาณ” ที่ “จิตตนิยาม” หรือ กฎธรรมชาติเกีย่ วกับการทำงานของจิตให้มา เรือ่ ง“สัญชาตญาณ” ทีธ่ รรมชาติให้มานี้ ในปัจจุบนั สามารถ ศึกษาและเรียนรู้ได้ง่าย มีหลายหน่วยงานที่ได้ทำการศึกษาและ ถ่ายทำเป็นภาพยนตร์สารคดีออกมามากมาย ให้ได้ชมทัว่ ไปเกีย่ วกับ ชีวติ ของสัตว์โลกต่าง ๆ เช่น จากรายการ “Animal Planet”หรือ “Discovery Channel (เกีย่ วกับสัตว์)” เป็นต้น ซึง่ ทำให้เห็นถึงความน่าทึง่ 17


และความอัศจรรย์ยิ่งของ “จิตตนิยาม” ที่ทำให้ “สัตว์” ต่าง ๆ รู้จัก และสามารถทำอะไร ๆ ได้มากมาย โดยไม่ต้องมีใครมาสั่งสอนเลย เรือ่ งของ “จิตตนิยาม” ในกรณีของ “มนุษย์” มีความแตกต่าง จากสัตว์อื่นๆ เป็นอย่างมาก เนื่องจากมนุษย์มีระบบประสาทที่มี ความสมบูรณ์พเิ ศษ ประกอบกับมีคณ ุ ภาพของ “จิต” ทีม่ ศี กั ยภาพสูง ดังนัน้ “มนุษย์” นอกจากจะมีเรือ่ งของ “สัญชาตญาณ” ดังทีก่ ล่าวไปแล้ว ก็ยงั มี “ภาวิตญาณ” คือ ความรูท้ เ่ี กิดขึน้ จาก การเรียนรูแ้ ละฝึกฝน ไม่ได้มมี าเองหรือเกิดขึน้ เองมาแต่กำเนิด เพิม่ เติมมากไปกว่าสัตว์อน่ื ๆ และจาก “จิตตนิยาม” ในเรือ่ ง “ภาวิตญาณ” นีเ้ อง จึงทำให้ “มนุษย์” มีพัฒนาการในการดำรงอยู่ที่มากไปกว่าและแปลกไปกว่า ทีเ่ ป็นไปเองตามสัญชาตญาณ เมือ่ นานเข้า “ภาวิตญาณ” นีไ้ ด้เข้าไป แทนทีแ่ ละถึงกับลบล้าง “สัญชาตญาณ” อะไรบางอย่าง จนถึงจุดหนึง่ ได้ทำให้มนุษย์ไม่สามารถดำรงอยูโ่ ดยลำพังเพียงสัญชาตญาณ เช่น สัตว์อน่ื ๆ อีกต่อไป ต้องมีการเรียนรูแ้ ละฝึกฝนอบรมจนมีความรูอ้ ะไร บางอย่างเพิม่ เติม จึงจะทำให้สามารถดำรงอยูไ่ ด้ และกลายเป็นชีวติ ที่ ต้องขึน้ กับการฝึกฝนอบรมตนเป็นสำคัญ จนในทีส่ ดุ กลายเป็นชีวติ ทีน่ ำ เอาผลจากการฝึกอบรมมาเป็นเครือ่ งวัดและตัดสินคุณค่า-ความสำเร็จ ในความเป็นมนุษย์ ซึง่ สอดคล้องกับพุทธพจน์บทหนึง่ ทีต่ รัสว่า “ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสโฺ สสิ” แปลว่า “ในหมูม่ นุษย์ คนทีป่ ระเสริฐ คือคนที่ ฝึกแล้ว” ซึง่ มีนยั สำคัญว่า มนุษย์เป็นสิง่ มีชวี ติ ทีจ่ ะต้องได้รบั การเรียนรู้ และฝึกฝนตน และเพราะการเรียนรูแ้ ละฝึกฝนตน จึงทำให้มนุษย์มี ความประเสริฐ เลิศ และวิเศษ ไม่ได้หมายความอย่างทีอ่ าจเข้าใจผิด 18


กันมากว่า มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ กล่าวคือ พอเกิดเป็นมนุษย์เท่านัน้ ก็ประเสริฐขึน้ มาทันที จิตตนิยาม คือ “ภาวิตญาณ” จึงเป็นสิง่ กำหนดให้ชวี ติ ของมนุษย์ ต้องมีการเรียนรูแ้ ละฝึกฝนตนเอง หากมนุษย์ไม่เรียนรูแ้ ละฝึกฝนตนเอง หรือเรียนรูแ้ ละฝึกฝน ทีไ่ ม่ถกู วิธแี ล้ว ก็จะกลายเป็นสิง่ มีชวี ติ ทีไ่ ม่สามารถเอาตัวรอด หรือดำรงชีวติ อยูไ่ ด้ และอาจกลายเป็นชีวติ ทีก่ อ่ ปัญหาให้เกิดขึน้ ทัง้ ต่อตนเอง สังคม ตลอดจนสิง่ แวดล้อมได้อย่างกว้างขวาง แต่หากมนุษย์ได้เรียนรู้และฝึกฝนตนอย่างถูกวิธีแล้ว ก็จะกลายเป็นชีวติ ทีม่ คี วามประเสริฐ และเลิศล้ำสุดประมาณ สัตว์ทด่ี ำรงชีพอยูด่ ว้ ย “สัญชาตญาณ” อีกนัยหนึง่ มีความหมาย ว่า สัตว์นน้ั ๆ ไม่สามารถพัฒนาตนให้มากไปกว่าทีเ่ ป็นอยูต่ ามธรรมชาติ จึงมีวถิ ชี วี ติ และรูปแบบการดำรงอยูท่ ไ่ี ม่มคี วามแตกต่างกันนักในสัตว์ แต่ละประเภท ส่วนมนุษย์ซง่ึ มี “ภาวิตญาณ” ทำให้สามารถเรียนรูแ้ ละฝึกฝน พัฒนาตนได้อย่างไม่มขี ดี จำกัด ทัง้ ในทางทีเ่ จริญขึน้ หรือเสือ่ มลงกว่า ที่เป็นไปตามสัญชาตญาณก็ได้ เราจึงสามารถเห็นความแตกต่างใน ชีวิตและสังคมของมนุษย์ ทั้งในด้านรูปธรรมและนามธรรมคือจิตใจ ได้มากมายเหลือเกิน กล่าวเฉพาะในด้านจิตใจ มีตั้งแต่คนดีที่สุด จนถึงคนเลวทีส่ ดุ , คนทีม่ นี ำ้ ใจกรุณามหาศาลอย่างทีเ่ รียกว่าพระโพธิสตั ว์ จนถึงคนทีม่ จี ติ ใจอำมหิตโหดเหีย้ ม สามารถฆ่าล้างเผ่าพันธุม์ นุษย์ได้ ศาสตร์ตา่ ง ๆ ทีม่ นุษย์คน้ พบ ตลอดจนประดิษฐกรรมแปลก ใหม่ทม่ี นุษย์คดิ และสร้างสรรค์ขน้ึ มา เป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีเ่ ป็นเครือ่ งยืนยัน 19


ความจริงทีก่ ล่าวนีเ้ ป็นอย่างดี ซึง่ นอกจากจะมีภาวิตญาณในเรือ่ งของ วัตถุหรือธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรมแล้ว มนุษย์ยงั มีภาวิตญาณในเรือ่ งของจิต หรือธรรมชาติฝา่ ยนามธรรมอย่างลึกล้ำและสุดหยัง่ สามารถฝึกฝนให้ จิตมีภาวะทีด่ งี ามและมีประสิทธิภาพสูง จนถึงขนาดทำให้เกิดจิตทีเ่ ป็น “ฌาน” สามารถกระทำในสิง่ ทีเ่ รียกว่า “อภิญญา” หรือ “ฤทธิ”์ ในด้าน ต่าง ๆ และไปไกลถึงกับสามารถเปลีย่ นบุคคลจากปุถชุ นให้กลายเป็น “พระอรหันต์” ผู้หมดจดสิ้นเชิงจากทุกข์และกิเลสในจิตใจได้ ซึ่งมี ผูร้ บู้ างท่านได้กล่าวไว้อย่างน่าสนใจมากว่า นีค้ อื พัฒนาการทีส่ งู สุด ของ “ภาวิตญาณ” ทีส่ ามารถทำให้เกิดภาวะของชีวติ ทีส่ ามารถ เอาชนะความรู้สึกนึกคิดที่อยู่ภายใต้ “สัญชาตญาณ” ได้อย่าง เด็ดขาด ซึง่ จะได้กล่าวให้ละเอียดขึน้ ต่อไปในหัวข้อ “ธรรมนิยาม” 5.4 กรรมนิยาม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการกระทำ ของมนุษย์ เมือ่ “จิตตนิยาม” มีความเหมาะสมจนทำให้เกิด “สัตว์” ต่าง ๆ โดยเฉพาะเมือ่ มี “มนุษย์” เกิดขึน้ ; นัยสำคัญของความแตกต่างระหว่าง สัตว์อน่ื ๆ กับมนุษย์ อย่างทีก่ ล่าวไปแล้ว คือ สัตว์อน่ื ๆ ดำรงชีพอยูด่ ว้ ย สัญชาตญาณเพียงอย่างเดียวเป็นส่วนใหญ่ แต่มนุษย์ดำรงชีพอยูด่ ว้ ย ทัง้ สัญชาตญาณและภาวิตญาณ การดำรงชีพของสัตว์ต่างๆ ที่อยู่ด้วย “สัญชาตญาณ” นั้น อันทีจ่ ริงก็นบั ว่ามีผลดีอยูไ่ ม่นอ้ ย โดยเฉพาะในแง่ทจ่ี ะไม่มกี ารกระทำ ทีเ่ ป็นการทำลายระบบนิเวศในสิง่ แวดล้อมเลย สำหรับ “มนุษย์” นัน้ มีสง่ิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ มา คือเรือ่ ง “ภาวิตญาณ” 20


จึงทำให้มนุษย์สามารถเรียนรู้และกระทำสิ่งต่างๆ ที่แปลกใหม่ ซึง่ มีความแปลกแยกไปจากธรรมชาติทเ่ี ป็นอยูแ่ ละมีอยูเ่ ดิมได้มาก สิง่ แปลกใหม่ทม่ี นุษย์กระทำขึน้ นี้ เป็นสิง่ ทีม่ นี ยั สำคัญยิง่ เพราะสามารถส่งผลที่เป็นอันตรายคุกคาม และถึงขั้นทำลาย นิยามต่างๆ โดยตรง กล่าวคือ สามารถทำลาย อุตนุ ยิ าม พีชนิยาม และจิตตนิยาม ที่รองรับความสมดุลและการดำรงอยู่ของชีวิต ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วทัง้ หมดได้ นอกจากนัน้ กรรมหรือการกระทำของมนุษย์ยงั สามารถ ทำให้เกิดสิ่งที่เป็น “มลพิษ” ขึ้นในสิ่งแวดล้อม ส่งผลและทำ อันตรายต่อการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย รวมถึงมนุษย์ ด้วย อย่างน่ากลัว กรรมหรือการกระทำของมนุษย์ ยังสามารถส่งผลต่อ สังคมของมนุษย์เอง ให้เกิดความสงบสุขหรือวิกฤตการณ์ ขึน้ อยู่ ว่าการกระทำนั้นเป็นไปในทางเบียดเบียนหรือเกื้อกูลต่อกัน และยังส่งผลต่อจิตของบุคคลในทางจิตตนิยาม กล่าวคือ หากมี การกระทำบ่อยๆ ในลักษณะใด ก็จะเสริมสร้างให้เกิดคุณภาพ จิตใจในลักษณะนัน้ ขึน้ มา ดังนัน้ เมือ่ มี “มนุษย์” เกิดขึน้ หรือกล่าวให้ชดั คือ เมือ่ มี สิง่ มีชวี ติ ทีม่ ี “ภาวิตญาณ” เกิดขึน้ ธรรมชาติจงึ มี “กรรมนิยาม” หรือกฎธรรมชาติเกีย่ วกับการกระทำ มารับช่วงต่อเป็นลำดับถัดไป ทัง้ นีเ้ พือ่ ควบคุมมนุษย์ให้มกี ารกระทำและดำรงตนอยูใ่ นกรอบ ของ “ภาวิตญาณ” ในส่วนเท่าทีจ่ ะไม่กอ่ ให้เกิดภัยอันตรายต่อ ตนเอง ไปถึงไม่สง่ ผลกระทบให้เกิดการทำลายต่อนิยามอืน่ ๆ 21


เรือ่ ง “กรรมนิยาม” นี้ จึงถือว่าเป็นเรือ่ งสำคัญทีส่ ดุ ของ “มนุษย์” และเป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับ “มนุษย์” โดยเฉพาะ หลักหรือกฎธรรมชาติ ในเรื่อง “กรรมนิยาม” มีอยู่ว่า “การกระทำทุกอย่างย่อมมีผล ; การกระทำทีด่ ที ถ่ี กู ต้อง ย่อมให้ผล เป็นความสุข และการกระทำทีไ่ ม่ดที ไ่ี ม่ถกู ต้อง ย่อมให้ผลเป็น ความทุกข์” “กรรมนิยาม” อาศัย “ความสุขและความทุกข์” เป็นสิง่ ควบคุมการ กระทำของมนุษย์ กล่าวคือ เมือ่ มนุษย์กระทำในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง ก็จะบังเกิด ผลให้เป็นความสุข ความสงบ และสันติ แต่หากกระทำในสิง่ ทีไ่ ม่ถกู ต้อง ก็จะบังเกิดผลให้เป็นความทุกข์ ความเดือดร้อน และภัยพิบตั ติ า่ ง ๆ การกระทำที่ “ถูกต้อง” หรือ “ไม่ถูกต้อง” ของมนุษย์ พิจารณาจากอะไร ? คำตอบ คือ อยู่ที่ความรู้ความเข้าใจในเรื่องอุตุนิยาม พีชนิยาม และจิตตนิยาม ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว การกระทำที่ “ถูกต้อง” คือ การกระทำทีส่ อดคล้องกับ นิยามต่าง ๆ ทีน่ ำไปสูผ่ ลคือ ความสุข ความสมดุล และยัง่ ยืน ส่วนการกระทำที่ “ไม่ถูกต้อง” คือ การกระทำที่มีผล คือความทุกข์ และเป็นการทำลายนิยามต่างๆ ให้เกิดปัญหา และความเดือดร้อน มีขอ้ พึงระมัดระวังเป็นพิเศษในเรือ่ ง “กรรมนิยาม” ทีอ่ าจทำให้ เกิดความไขว้เขวและสับสนได้มาก โดยเฉพาะเรือ่ งของ “ความสุข” ทีเ่ ป็น ผลของการกระทำที่ถูกต้อง ถูกนำไปปนเปกับ “ความสุข” ที่เป็นผล จากการได้รับตอบสนองในสิ่งที่บุคคลมีความต้องการ ซึ่งอันที่จริง เป็นคนละเรือ่ งกัน 22


“ความสุข” ที่เกิดขึ้นจากการได้รับสิ่งตอบสนองตามความ ต้องการนัน้ โดยปรมัตถ์แล้ว ไม่ควรจะเรียกว่าเป็น “ความสุข” ; แท้จริง เป็นเพียง “ความรู้สึกสมใจ” ที่ความต้องการได้รับการบำบัด เพราะต้องอิงอยูก่ บั ความต้องการเป็นสำคัญ หากไม่มคี วามต้องการ เสียแล้ว แม้ได้รบั สิง่ ตอบสนองนัน้ ๆ มา ก็อาจไม่มคี วามสุขเกิดขึน้ ดังนั้น จึงไม่สามารถนำมาเป็นเกณฑ์ในการตัดสินความถูกต้องหรือ ไม่ถกู ต้องในการกระทำของมนุษย์ได้ โดยเฉพาะ “กรรมนิยาม” ซึง่ เป็น กฎธรรมชาตินน้ั ไม่ขน้ึ ต่อความต้องการหรือไม่ตอ้ งการของใคร ๆ ในเรือ่ งกฎแห่งกรรมทีม่ ปี ญ ั หาในความเข้าใจของมนุษย์ ก็เพราะไปเอา “ความสุข” ทีเ่ กิดจากการตอบสนองความอยาก ของตนเป็นเกณฑ์ แทนทีจ่ ะเอา “ความสุข” ทีเ่ กิดจากการกระทำ ถูกต้องตามกฎธรรมชาติหรือนิยาม 5 เป็นเกณฑ์ นอกจากนั้น “กรรมนิยาม” ยังมีเรื่องราวและแง่มุมที่ลึกซึ้ง ที่สามารถส่งผลที่เป็นความสุขและความทุกข์ ได้ในลักษณะที่รู้เห็น ได้ยาก อย่างทีใ่ นพระพุทธศาสนาเรียกว่า “วิบากกรรม” ซึง่ สามารถ ส่งผลของการกระทำได้ในลักษณะที่เร้นลับ และยังส่งผลได้อย่างที่ เรียกว่า “ข้ามภพข้ามชาติ” เรือ่ งของ “วิบากกรรม” นี้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้วา่ เป็นเรือ่ ง “อจินไตย” บุคคลไม่ควรนำมาคิดให้มากจนเกินไป เพราะอาจทำให้ เป็นบ้าได้ โดยสอนให้มีความเชื่อในเรื่องนี้ก็เพียงพอแล้ว ก็สำเร็จ ประโยชน์แล้ว ซึง่ ในหนังสือนีจ้ ะยังไม่กล่าวถึงเรือ่ งของ “กรรมนิยาม” ในแง่น้ี แต่จะกล่าวในลักษณะเท่าทีส่ ามารถเห็น ๆ ได้งา่ ย และกล่าว เฉพาะแง่มมุ ทีใ่ ห้ผลสืบเนือ่ งกันตามระบบของนิยาม 5 นี้ เท่านัน้ 23


หากมนุษย์ยงั มองไม่เห็นถึงการกระทำทีไ่ ม่ถกู ต้องของตน หรือไม่สำนึกแล้วแก้ไขในการกระทำที่ไม่ถูกต้องนั้น และยังมี การกระทำทีไ่ ม่ถกู ต้องมากขึน้ ก็จะมีความทุกข์เป็นผลเกิดขึน้ ในการดำรงชีพ มากขึน้ หนักขึน้ รุนแรงขึน้ ตามลำดับ จนถึงจุดหนึง่ “กรรมนิยาม” ก็อาจจะต้องถึงกับทำการล้าง “มนุษย์” ให้แทบ หมดสิน้ ไป เพราะการกระทำทีไ่ ม่ถกู ต้องนัน้ ได้ไปทำลายนิยาม ต่างๆที่มีอยู่ ทำให้ไม่สามารถรองรับการกระทำของมนุษย์ใน ลักษณะนีไ้ ด้อกี ต่อไป เพือ่ ทีจ่ ะได้เริม่ ต้นใหม่ และเป็นเสมือน การเยียวยารักษานิยามต่าง ๆ ให้สามารถยังคงดำรงอยู่และ ทำหน้าทีต่ อ่ ไปได้ ในเรื่อง “กรรมนิยาม” นอกจากจะเป็นเรื่องของธรรมชาติที่ เป็นไปตามกฎของธรรมชาติแล้ว มนุษย์ซง่ึ มี “ภาวิตญาณ” ยังมีความ สามารถพิเศษในการบัญญัตสิ ง่ิ ทีเ่ รียกว่า “วินยั ” (=ข้อบังคับ,ระเบียบ, กฎหมาย, ประเพณี เป็นต้น) เพิม่ เติมจาก “กรรมนิยาม” ในธรรมชาติ ซึง่ อาจเรียกใหม่วา่ “กรรมนิยาม (ประดิษฐ์)”เป็นสิง่ ทีม่ นุษย์ได้กำหนด กันขึน้ มาเอง และมีบทลงโทษต่อบุคคลทีม่ กี ารกระทำฝ่าฝืนต่อวินยั ที่ ตั้งขึ้น เพื่อช่วยควบคุมและกำกับการกระทำของมนุษย์อีกชั้นหนึ่ง ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้เห็นเป็นกรอบทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ ในการกำกับการกระทำของ มนุษย์ให้เป็นไปตาม“กรรมนิยาม”ทีถ่ กู ต้อง ไม่ให้บงั เกิดผลทีจ่ ะไปทำลาย นิยามอื่นๆ และให้ได้ผลในการควบคุมการกระทำของมนุษย์รวดเร็ว ยิง่ ขึน้ กว่าทีจ่ ะปล่อยให้เป็นไปเองตาม “กรรมนิยาม” ของธรรมชาติ ดังนัน้ ในกรณีของ “มนุษย์” จึงมีความจำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องได้รบั การอบรมและเรียนรูใ้ นเรือ่ ง “กรรมนิยาม (ของ 24


ธรรมชาติ)” เพือ่ ทีจ่ ะได้รวู้ า่ อะไรทีท่ ำได้ อะไรทีท่ ำไม่ได้ อะไรที่ ควรทำ อะไรทีไ่ ม่ควรทำ และยังจะต้องมี “กรรมนิยาม (ประดิษฐ์)” ทีเ่ ข้มแข็ง ทีค่ อยจัดการกับบุคคลทีม่ กี ารกระทำทีฝ่ า่ ฝืนบทบัญญัติ ต่างๆที่ได้กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งหากขาดอย่างใด อย่างหนึง่ ไป ก็จะก่อให้เกิดผลร้ายนานัปการ 5.5 ธรรมนิยาม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ของสิง่ ทัง้ หลาย ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่า “กรรมนิยาม” มี “ความสุขและความทุกข์” เป็นสิง่ ควบคุมการกระทำของมนุษย์ เพือ่ ให้รวู้ า่ อะไรทีก่ ระทำได้ และอะไร ทีก่ ระทำไม่ได้ ซึง่ เมือ่ พิจารณาอย่างผิวเผินแล้ว เรือ่ งทัง้ หมดก็นา่ จะยุติ แต่เพียงเท่านี้ ไม่นา่ จะมีนยิ ามอะไรต่อไปอีก แต่แล้วมนุษย์กก็ ลับมามีปญ ั หากับเรือ่ ง “ความสุขและ ความทุกข์” ทีเ่ กิดขึน้ นัน้ เสียเอง กล่าวคือ เกิดมีปญ ั หาทีว่ า่ “รักสุขเกลียดทุกข์” ขึ้นมาในจิตใจ ทั้งๆที่โดยความเป็นจริงแล้ว “สุขและทุกข์” ไม่ใช่เป็นสิง่ ทีจ่ ะให้ “รักหรือเกลียด” เลย ทัง้ นีเ้ พราะ “ความสุขและความทุกข์” ทีเ่ กิดขึน้ โดยธรรมชาติ แล้วเป็นเสมือนมาตรบอกเพือ่ ให้ทราบถึงความถูกต้องหรือไม่ถกู ต้อง ของการกระทำของมนุษย์เท่านัน้ อาจเปรียบได้กบั มาตรเตือนความร้อนของเครือ่ งยนต์ ทีค่ อย บอกให้ทราบถึงความปกติหรือผิดปกติในการทำงานของเครื่องยนต์ ซึง่ ไม่ใช่เป็นสิง่ ทีท่ ำให้บคุ คลต้องไปรักตัวมาตร หากชีว้ า่ ขณะนีอ้ ณ ุ หภูมิ อยูใ่ นภาวะปกติ หรือไปเกลียดตัวมาตร หากชีว้ า่ ขณะนีอ้ ณ ุ หภูมริ อ้ น จนเกือบถึงขีดแดงแล้ว 25


ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ นี้ มีผลทำให้จติ ของมนุษย์ตกอยูใ่ นภาวะ ขึน้ ๆ ลงๆ ฟูๆ แฟบๆ ไปตามอำนาจของ “ความสุขและความทุกข์” ทีเ่ กิดขึน้ ตลอดเวลา หาความเป็นปกติสขุ ทีแ่ ท้จริงไม่ได้ นอกจากนั้นปัญหายังรุนแรงยิ่งขึ้นไปอีก ด้วยการไป หลงใหลมัวเมากับรสชาติของ “ความสุข” ทีเ่ กิดขึน้ จากการตอบ สนองความอยากของตน จนสามารถกระทำได้ทกุ อย่างและทุก วิธีการในทางที่ไม่ถูกต้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งรสชาติของความสุข อย่างทีต่ อ้ งการนัน้ มาถึงจุดนี้ ต้องอาศัยมนุษย์ผทู้ ม่ี สี ติปญ ั ญาลึกล้ำเป็นพิเศษ จึงได้คน้ พบต่อไปว่า ลำพังการรูแ้ ละปฏิบตั ถิ กู ต้องในเรือ่ ง “กรรมนิยาม” ทีม่ ี “ความสุขและความทุกข์” เป็นสิง่ ควบคุมการกระทำของมนุษย์นน้ั ยังไม่พอเพียงทีจ่ ะนำมนุษย์ ไปสูภ่ าวะทีเ่ ป็นอุดมคติทน่ี า่ พึงใจได้อย่าง แท้จริง เพราะจิตของมนุษย์ยงั ตกอยูใ่ นภาวะทีต่ อ้ งขึน้ ๆ ลงๆ ฟูๆ แฟบๆ ไปตามความสุขและความทุกข์ทไ่ี ด้รบั และกระวนกระวายไปกับความสุข และทุกข์ ซึง่ เกิดจากการตอบสนองในสิง่ ทีต่ อ้ งการ ยังไม่สามารถดำรง จิตให้เป็นปกติสขุ ได้อย่างยัง่ ยืนและตลอดเวลา ในทีส่ ดุ ได้คน้ พบว่า ยังมี “ธรรมนิยาม” ซึง่ เป็นกฎธรรมชาติ อีกประเภทหนึง่ และเป็นนิยามในลำดับสุดท้าย สำหรับการพัฒนา จิตของบุคคลให้อยูเ่ หนืออำนาจการครอบงำจาก “ความสุขและ ความทุกข์” ทัง้ หลาย และเหนืออำนาจการร้อยรัดเสียดแทงจาก สิง่ ทัง้ ปวง กลายเป็นจิตทีไ่ ม่มอี ะไรสามารถทำให้เกิดปัญหา ฟูๆ แฟบๆ ขึน้ ๆ ลงๆ ได้อกี ต่อไป “ธรรมนิยาม” เป็นกฎธรรมชาติที่ครอบคลุมกฎธรรมชาติอน่ื ๆ ทัง้ หมด ครอบคลุมทุกสิง่ ไม่มยี กเว้น ทัง้ สิง่ ทีม่ ปี จั จัย 26


ปรุงแต่ง(สังขตธรรม) และ สิ่งที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง (อสังขตธรรม หรือ นิพพาน) แต่เนื่องจากสิ่งที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง ไม่มีเรื่องราวที่จะกล่าว ถึงในรายละเอียดเท่าใด ดังนัน้ “ธรรมนิยาม” ทีจ่ ะกล่าวต่อไป จึงเป็น เรือ่ งทีเ่ กีย่ วเนือ่ งด้วยสิง่ ทีม่ ปี จั จัยปรุงแต่งเป็นสำคัญ กฎธรรมชาติใน “ธรรมนิยาม” มี 2 กฎใหญ่ คือ :1) กฎอิทปั ปัจจยตา และ 2) กฎไตรลักษณ์ 1) กฎอิทปั ปัจจยตา มีสาระอย่างทีไ่ ด้แสดงไว้วา่ “ เพราะสิง่ นีม้ ี สิง่ นีจ้ งึ มี , เพราะสิง่ นีเ้ กิดขึน้ สิง่ นีจ้ งึ เกิดขึน้ , เพราะสิง่ นีไ้ ม่มี สิง่ นีจ้ งึ ไม่มี , เพราะสิง่ นีด้ บั ไป สิง่ นีจ้ งึ ดับไป. ” กฎอิทปั ปัจจยตา แสดงให้เห็นว่า สิง่ ทีเ่ ป็นสังขตธรรมย่อมมี การเกิดขึน้ และดำรงอยู่ เป็นไปตามเหตุปจั จัยของธรรมชาติ ไม่มอี ะไร ที่เกิดขึ้นด้วยอำนาจการสร้างหรือการดลบันดาล หรือเกิดขึ้นด้วย ความบังเอิญ หรือดำรงอยูอ่ ย่างเป็นเอกเทศทีไ่ ม่ตอ้ งเกีย่ วข้องกับสิง่ อืน่ นิยามต่าง ๆ ทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว คือ อุตนุ ยิ าม พีชนิยาม จิตตนิยาม และกรรมนิยาม อันที่จริงเป็นเพียงการแสดงให้เห็นถึงราย ละเอียดของ “ธรรมนิยาม” ทีป่ รากฏในด้านต่าง ๆ เท่านัน้ เอง ว่าอะไร เป็นเหตุปจั จัย และทำให้เกิดอะไรขึน้ 2) กฎไตรลักษณ์ คือ กฎทีแ่ สดงให้เห็นภาวะหรือสามัญลักษณะ 3 ประการ ทีเ่ สมอเหมือนกันของสิง่ ทีม่ ปี จั จัยปรุงแต่ง ทัง้ หลาย กล่าวคือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา 27


“อนิจจัง” คือ ภาวะ “ไม่เทีย่ ง” หรือ “เปลีย่ นแปลง” หมายความ ว่า สิ่งต่าง ๆ อยู่ในภาวะที่กำลังเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมี กรอบของการเปลี่ยนแปลงเป็นที่แน่นอน คือ เป็นไปตามเหตุปัจจัย ทีว่ า่ “เพราะสิง่ นีม้ ี สิง่ นีจ้ งึ มี” “ทุกขัง” คือ ภาวะ “ทนอยูใ่ นสภาพเดิมไม่ได้” หมายความ ว่า สิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นภาวะกำลังเปลีย่ นแปลงนัน้ มีภาวะทีถ่ กู บีบคัน้ อยู่ ตลอดเวลาเช่นกัน ให้ไม่สามารถดำรงอยูใ่ นสภาพเดิมได้ “อนัตตา” มีความหมายว่า “ไม่ใช่ตัวตน” หมายความว่า ไม่มสี ง่ิ ใดทีจ่ ะยึดถือเอาเป็นสาระหรือแก่นสารได้วา่ เป็นตนหรือของตน และไม่สามารถบังคับบัญชาให้สง่ิ ต่างๆ เป็นไปตามอำเภอใจตนได้ จิตของบุคคลผู้รู้และเข้าถึง “ธรรมนิยาม” จะเห็นว่า “ความสุขและความทุกข์” อันทีจ่ ริง เสมอเหมือนกันโดยความเป็น เหตุปจั จัยทีว่ า่ “เพราะสิง่ นีม้ ี สิง่ นีจ้ งึ มี” เมือ่ มีเหตุปจั จัยทีใ่ ห้ผลเป็นสุข ก็สขุ ; เมือ่ มีเหตุปจั จัยที่ ให้ผลเป็นทุกข์ ก็ทกุ ข์ ทัง้ สุขและทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ ล้วนถูกต้องแล้ว ซึง่ ต่างก็เป็นไปตามเหตุปจั จัย จึงไม่ทำให้เกิดความหลงรักในสุข และหลงเกลียดในทุกข์ นอกจากนัน้ บุคคลผูร้ แ้ ู ละเข้าถึง “ธรรมนิยาม” เมือ่ จะกระทำ การใดๆ ก็จะกระทำด้วยความรูเ้ ท่าทันในความจริง และเป็นไป ตามเหตุปจั จัยของธรรมชาติในเรือ่ งนัน้ ๆ (=กฎอิทปั ปัจจยตา) และทีส่ ำคัญคือด้วยจิตทีไ่ ม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ กล่าวคือ ไม่หวังผล ไม่บงั คับ ไม่คาดคัน้ ไม่เร่งรัดผลให้เกิดขึน้ ตามอำเภอใจตน (=กฎไตรลักษณ์) เพราะรูเ้ ท่าทันว่า ผลย่อมเกิดขึน้ ตามเหตุ โดยไม่เกีย่ วกับความ หวังหรือการคาดคัน้ ของใครๆ 28


และเพราะความไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ใดๆ นีเ้ อง จึงทำให้จติ ของบุคคลมีแต่ความปลอดโปร่ง โล่ง เบา ไม่มอี าการขึน้ ๆ ลงๆ ฟูๆ แฟบๆ ไม่มคี วามสะดุง้ หรือหวัน่ ไหว เป็นอิสระ และเป็นไท ปลอดพ้นจากความร้อยรัดเสียดแทงจากสิง่ ทัง้ ปวง ซึง่ ในพุทธศาสนาเรียกจิตชนิดนีว้ า่ “วิมตุ ติจติ ” หรือ “จิตหลุดพ้น” ซึง่ เป็น อุดมคติแท้จริงและสูงสุดทีม่ นุษย์จะสามารถพัฒนาไปได้ สมดัง พุทธพจน์ทต่ ี รัสไว้วา่ “บุคคลผูห้ มดสิน้ อุปาทาน (=ความยึดมัน่ ถือมัน่ ) ย่อมปรินพ ิ พาน” จิตที่เข้าถึง “ธรรมนิยาม” นี้ เป็นผลของภาวิตญาณ สูงสุดในทางจิตใจของมนุษย์ ทีส่ ามารถพัฒนาและบรรลุถงึ ได้ ทำให้กลายเป็นบุคคลอุดมคติที่อยู่เหนืออำนาจความบีบคั้นที่ มาจาก “สัญชาตญาณ” ทัง้ หมดได้ เป็นผูท้ ไ่ี ม่มอี ะไรทีจ่ ะทำให้จติ เกิดความหวัน่ ไหว หรือเกิดความทุกข์ ได้อกี ต่อไปโดยเด็ดขาด และสิน้ เชิง ชีวติ ทีย่ งั ดำรงอยู่ มีแต่การกระทำทีถ่ กู ต้องและอำนวย แต่สง่ิ ทีเ่ ป็นประโยชน์และความสุขแก่สรรพสิง่ อย่างไม่มปี ระมาณ 6 จากปัญญา จึงมาสู่ “หน้าที”่ ปัญญาทีร่ เู้ ข้าใจในธรรมชาติชวี ติ ของตนเอง ตลอดจนนิยาม5 ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว อันที่จริงก็คือความรู้เกี่ยวกับกฎธรรมชาติ ทีเ่ ป็นตัวควบคุมความเป็นไปของสิง่ ต่างๆ ในธรรมชาติทง้ั หมด คำว่า “กฎ” นี้ มีใจความสำคัญว่า “จะต้องปฏิบัติตาม” หากไม่ปฏิบตั ติ าม ก็จะนำมาซึง่ ปัญหาและความเดือดร้อนต่าง ๆ 29


กล่าวอีกนัย : เพราะธรรมชาติมี “กฎ” หรือ “นิยาม5” ควบคุมความเป็นไปของสิง่ ต่างๆ นีเ้ อง สิง่ ต่างๆ ในธรรมชาติ จึงมี “หน้าที”่ ทีจ่ ะต้องปฏิบตั ติ ามกฎของธรรมชาติ หรือนิยาม5 ทัง้ นีเ้ พือ่ ความอยูร่ อดและความเป็นปกติสขุ ในการดำรงอยูข่ อง สิง่ ต่างๆ นัน่ เอง และสิ ่ ง ที ่ ม ี ห น้ า ที ่ ท ี ่ จ ะต้ อ งเรี ย นรู ้ แ ละปฏิ บ ั ต ิ ต ามในที ่ น ี ้ โดยเฉพาะก็คอื “มนุษย์” ทัง้ นีเ้ พราะมนุษย์เท่านัน้ ทีม่ ี “ภาวิตญาณ” ที่สามารถเลือกกระทำสิ่งต่างๆ ได้โดยอิสระทั้งในทางที่เกื้อกูลและ ทำลาย ซึง่ สิง่ อืน่ ๆ ไม่มคี วามสามารถเช่นทีว่ า่ นี้ ดังนัน้ มนุษย์ทเ่ี กิดมาทุกคน หากหวังความเป็นปกติสขุ และความเกื้อกูลแก่การดำรงอยู่อย่างยั่งยืน ทั้งของมนุษย์เอง รวมไปถึงสิง่ ต่างๆในธรรมชาติ ก็จะต้องได้รบั การฝึกฝนอบรม ให้มีความรู้และปฏิบัติให้ถูกต้องต่อกฎธรรมชาติหรือนิยาม 5 ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบการศึกษาจะ ขาดเรือ่ งเหล่านีไ้ ม่ได้เลย กล่าวได้ว่าหลักประกันความสงบสุข สันติ ของมนุษย์ รวมไปถึงทุกสิ่งในธรรมชาติที่แท้จริงและยั่งยืน ขึ้นอยู่กับ มนุษย์เพียงอย่างเดียวเท่านัน้ ว่าจะรูจ้ กั และปฏิบตั ติ นให้ถกู ต้อง สอดคล้องกับกฎธรรมชาติหรือนิยาม5 ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว ได้มากน้อยเพียงใด การกระทำใดทีม่ ผี ลไปทำลายกฎธรรมชาติหรือนิยาม5 นี้ ไม่ใช่เรือ่ งเล็ก และอย่าเห็นเป็นเรือ่ งเล็กน้อย แท้จริงเป็นเรือ่ งใหญ่ และนับเป็นการกระทำทีร่ า้ ยแรงทีส่ ดุ เสียหายทีส่ ดุ อาจเปรียบ 30


ได้กับการกระทำที่เป็น “อนันตริยกรรม” ในพระพุทธศาสนา ซึง่ เป็นกรรมทีเ่ ลวร้ายทีส่ ดุ ให้ผลหนักทีส่ ดุ เทียบได้กบั “ปิตฆุ าตมาตุฆาต” คือ การฆ่าพ่อ-แม่ของตนเอง เลยทีเดียว ทัง้ นีเ้ พราะ “มนุษย์” เป็นผลผลิตของกฎธรรมชาติหรือ นิยาม5 ; พัฒนาการของนิยาม5 มองในแง่หนึ่งก็เพื่อสร้าง “มนุษย์” รวมถึงสิง่ ต่างๆ ในธรรมชาติให้มภี าวะเหมาะสมเพือ่ การ รองรั บ การอุ บ ั ต ิ แ ละดำรงอยู ่ กฎธรรมชาติ ห รื อ นิ ย าม 5 จึงเปรียบได้ว่าเป็น “พ่อ-แม่” ของมนุษยชาติ รวมตลอดถึง สิง่ ต่างๆในธรรมชาติทง้ั หมด การกระทำทีไ่ ปทำลายกฎธรรมชาติ หรือนิยาม5 จึงเป็นเสมือนการฆ่าพ่อแม่ที่เป็นผู้สร้างและ ผู ้ ใ ห้ ท ุ ก สิ ่ ง ทุ ก อย่ า ง ซึ่งจะส่งผลเสียหายร้ายแรงไม่เพียงต่อ มนุษย์เท่านัน้ แต่รวมไปถึงทุกสิ่งทุกอย่างในธรรมชาติที่เป็น ผลมาจากนิยาม 5 ทัง้ หมด 7 จากนิยาม 5....นำมาสูก่ ารปฏิบตั ติ นของมนุษย์ นิยาม 5 ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว นอกจากจะเป็นกฎธรรมชาติ ที่ควบคุมความเป็นไปของสิ่งต่างๆ ทั้งหมดที่มีในธรรมชาติแล้ว ยังเป็นเสมือนกรอบทีก่ ำกับการกระทำของมนุษย์ ให้รวู้ า่ อะไร ทีท่ ำได้ และอะไรทีท่ ำไม่ได้ กล่าวโดยสรุป มนุษย์สามารถกระทำอะไรก็ได้ เท่าทีไ่ ม่ไป กระทบหรือทำลายระบบความสมดุลของนิยามทัง้ 5 ดังนัน้ ผูท้ น่ี บั ว่าเป็น “บัณฑิตของแผ่นดิน” ทีแ่ ท้จริง จึงต้อง มีปญ ั ญาหรือความรอบรูใ้ นเรือ่ งธรรมชาติชวี ติ ของตนเอง และ 31


กฎธรรมชาติหรือนิยาม 5 ทีค่ วบคุมความเป็นไปของสิง่ ต่างๆ ใน ธรรมชาติ เป็นพืน้ ฐานอย่างทีจ่ ะขาดเสียมิได้เลย ปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อไป คือ ทัง้ ๆ ทีร่ วู้ า่ อะไรทีถ่ กู อะไรทีผ่ ดิ อะไรทีท่ ำได้ อะไรทีท่ ำไม่ได้ มนุษย์กย็ งั ไม่สามารถบังคับตนให้กระทำ แต่ในสิ่งที่ถูกต้องหรือสิ่งที่ควรทำ และบ่อยครั้งก็ยังไปกระทำในสิ่งที่ ผิดหรือไม่ควรทำ ทั้งนี้เพราะความอ่อนแอในจิตใจของมนุษย์ ทีม่ ตี อ่ อารมณ์และสิง่ เร้าทีเ่ ข้ามารบกวน นัน่ เอง ดังนัน้ นอกจากการมีปญ ั ญารูแ้ ล้ว ยังจะต้องฝึกฝนตนเอง ให้มจี ติ ใจทีเ่ ข้มแข็งและอยูใ่ นอำนาจการควบคุมของตน ทีจ่ ะสามารถ ยื น หยั ด และดำรงตนอยู ่ ใ นความถู ก ต้ อ ง ไม่ ใ ห้ เ พลี ่ ย งพล้ ำ ต่ อ ความไม่ถกู ต้องใด ๆ จึงจะบรรลุความเป็น “บัณฑิตของแผ่นดิน” ทีแ่ ท้จริงได้ 7.1 การฝึกจิตใจให้เข้มแข็งและอยูใ่ นอำนาจการควบคุม จิตใจทีเ่ ข้มแข็ง เป็นอย่างไร ? กล่าวโดยสรุป คือ จิตทีต่ ง้ั มัน่ เป็น “สมาธิ” กล่าวขยายความตามหลักพุทธธรรม เป็น จิตทีม่ ภี าวะผ่องใส (ปริสทุ โฺ ธ = Pureness) ตัง้ มัน่ (สมาหิโต = Firmness) และคล่องแคล่วว่องไว (กมฺมนีโย = Activeness) เป็นจิตทีไ่ ม่มี “นิวรณ์” รบกวน คือ ไม่ถกู ครอบงำด้วยอารมณ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความรักและความชัง ไม่มีความท้อแท้ ไม่เซื่องซึม ไม่มคี วามฟุง้ ซ่านรำคาญใจ ไม่มคี วามกังวลและลังเล เป็นต้น และเป็นจิตทีอ่ ยูใ่ นอำนาจการควบคุมของสติ 32


วิธฝี กึ จิตให้เป็น “สมาธิ” โดยหลักการ คือ ให้มสี ติระลึกรูอ้ ยูใ่ นเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ หรือสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ทีไ่ ม่มคี วามหมายต่อจิตในทางทีจ่ ะทำให้จติ กระเพื่อมไปทั้งในทางชอบหรือชัง และให้รักษาการระลึกรู้ให้ ต่อเนือ่ งอยูก่ บั เรือ่ งหรือสิง่ ทีก่ ำหนดนัน้ โดยมีคณ ุ ภาพของ “สติ” หรือวิธรี ะลึกรูท้ ถ่ี กู ต้องคือระลึก รูอ้ ย่างเป็นกลาง ไม่มอี คติทง้ั ในทางบวก หรือในทางลบ ให้เป็น สักแต่วา่ การระลึกรูท้ บ่ี ริสทุ ธิต์ ามทีเ่ ป็นจริงของสิง่ ทีร่ ะลึกรู้ และ ไม่ยดึ ติดถือมัน่ ต่อสิง่ ทีร่ ะลึกรูน้ น้ั ด้วย z ...การทีจ ่ ติ สามารถระลึกรูอ้ ยูก่ บั สิง่ ทีก่ ำหนดนัน้ ๆ ได้อย่าง ต่อเนือ่ ง ไม่แว็บออกไปนึกถึงเรือ่ งอืน่ มีความหมายว่า จิตของบุคคลนัน้ อยูใ่ นการควบคุมของสติ การทีจ่ ติ ทัง้ ๆ ทีต่ ง้ั ใจให้ระลึกรูอ้ ยูก่ บั สิง่ ทีก่ ำหนด แต่กย็ งั แว็บ ไปนึกถึงอารมณ์อื่นๆ ไม่สามารถระลึกรู้อยู่กับสิ่งที่กำหนดนั้นๆได้ หมายความว่า จิตของบุคคลนัน้ ไม่อยูใ่ นการควบคุมของสติ การที่จิตไม่อยู่ในอำนาจการควบคุมของสติ หมายความว่า บุคคลไม่สามารถใช้จติ ไปทำงานหรือทำหน้าทีไ่ ด้อย่างมีสมรรถภาพและ ประสิทธิภาพ และยังหมายถึงความอ่อนแอของจิตทีส่ ามารถถูกแทรก แซง หรือเพลีย่ งพล้ำจากอารมณ์หรือสิง่ เร้าต่างๆ ทีเ่ ข้ามารบกวนได้ z ...การทีจ ่ ติ สามารถระลึกรูอ้ ยูก่ บั สิง่ ทีก่ ำหนดนัน้ ๆ ได้อย่าง ต่อเนือ่ ง ไม่แว็บออกไปนึกถึงเรือ่ งอืน่ หรือในช่องทางการรับรูอ้ น่ื (ช่อง ทางการรับรู้ มี 6 คือ ทางตา หู จมูก ลิน้ กาย และใจ) ยังมีความหมาย อีกอย่างว่า จิตของบุคคลนัน้ ได้ถกู รวบและรวมเข้ามาให้มคี วามเข้มข้น มากขึน้ และมีพลังมากขึน้ 33


เปรียบเหมือนกับแสงแดดโดยทัว่ ไป ทีแ่ สงยังกระจัดกระจาย ยังไม่มพี ลังอะไรมากนัก แต่เมือ่ นำเลนส์นนู มารับแสงและปรับโฟกัสให้ รวมแสงเป็นจุดเดียว จะกลายเป็นจุดของแสงทีม่ คี วามเข้มข้นสูงและ มีพลังมาก จนทำให้เกิดการเผาไหม้ได้ จิตก็เช่นเดียวกัน หากยังมีการรับรูห้ ลายช่องทาง พลังของจิต จะถูกกระจัดกระจาย ทำให้ไม่มพี ลังเท่าใด แต่เมือ่ ให้มาระลึกรูต้ อ่ เนือ่ ง อยูก่ บั สิง่ ทีก่ ำหนดเพียงอย่างเดียวและในช่องทางการรับรูเ้ ดียว พลังของจิต จะถูกรวบและรวมให้มากขึน้ เข้มข้นขึน้ จนเป็นจิตทีม่ พี ลังสูงมีอานุภาพสูง โดยเฉพาะหากมีความนิง่ และแน่วแน่จนถึงในระดับทีเ่ รียกว่า “ฌาน” ซึง่ ในพระพุทธศาสนา เรียกว่า “อธิจติ ” คือ จิตทีค่ วรแก่การงานทุกอย่าง ก็จะเป็นจิตที่มีคุณสมบัติพร้อม ที่สามารถนำไปศึกษาและพิสูจน์ ความจริงของธรรมชาติได้ทกุ ระดับ ทัง้ ในฝ่ายรูปธรรมและนามธรรม z ...พิจารณาอีกแง่หนึ่ง การที่จิตสามารถระลึกรู้อยู่กับสิ่งที่ กำหนดนัน้ ๆ ได้อย่างต่อเนือ่ ง ทำให้จติ ปลอดหรือพ้นจากการรบกวน จากอารมณ์ตา่ ง ๆ เพราะอารมณ์ตา่ ง ๆไม่สามารถเกิดขึน้ ในความรับรู้ ของจิตได้ จึงทำให้จติ มีภาวะผ่องใส และมีความสุขเกิดขึน้ เป็นจิต ทีม่ คี ณ ุ ภาพเหมาะสม และพร้อมทีจ่ ะนำไปใช้ในการทำหน้าทีต่ า่ งๆ อาจเปรียบได้กบั น้ำในแก้วทีม่ ตี ระกอนลอยคลุง้ เมือ่ จับแก้ว นิง่ ไว้ให้นานพอ ตะกอนจะค่อยๆ ตกลงก้นแก้ว ได้นำ้ ใสทีอ่ ยูส่ ว่ นบน ทำให้สามารถเห็นสิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นแก้วน้ำได้ชดั เจน และน้ำที่ใสจึงมี ความเหมาะสมและคุณค่าทีจ่ ะนำไปใช้ในกรณีตา่ ง ๆ ได้เป็นอย่างดี จิตก็เช่นกัน เมือ่ มีสติแน่วแน่ระลึกรูอ้ ยูใ่ นอารมณ์เดียว อารมณ์ ต่างๆ ทีเ่ ป็นเสมือนตะกอนทีล่ อยคลุง้ และรบกวนจิต จะสงบตัวลงกลายเป็นจิต ทีส่ งบ นิง่ ผ่องใส และมีคณ ุ ภาพเหมาะสม ทีจ่ ะไปทำหน้าทีต่ า่ งๆ ได้เป็นอย่างดี 34


ความสุข ทีเ่ กิดขึน้ จากจิตทีเ่ ป็นสมาธิน้ี มีความสำคัญมาก เพราะโดยธรรมชาติแล้ว ความสุขเป็นอาหารของจิต เหมือนกับข้าวปลา ซึง่ เป็นอาหารของกาย เป็นสิง่ ทีข่ าดไม่ได้ หากขาดไปก็จะทำให้จติ แห้ง เฉา ไม่มีความสดชื่นร่าเริง ไม่มีพลังของชีวิตในการสร้างสรรค์และ กระทำการต่างๆ บุคคลทัว่ ไป รูจ้ กั แต่เพียงความสุขทีม่ าจากรูป เสียง กลิน่ รส สัมผัส ซึ่งในทางศาสนาเรียกว่า “กามสุข” หรือ “อามิสสุข” ดังนั้น พลังของชีวิตของบุคคลทั่วไป จึงขึ้นอยู่กับรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ซึง่ เป็นสิง่ ภายนอก ว่าเป็นอย่างไร? กล่าวคือ หากได้รบั อย่างทีต่ อ้ งการ ก็จะมีความสุขและมีพลังในการสร้างสรรค์และกระทำสิ่งต่างๆสูง แต่หากไม่ได้รับหรือสิ่งที่ได้รับอยู่นั้น มีอันสูญหายหรือพลัดพรากไป ก็จะทำให้เกิดทุกข์ แห้งเฉา ท้อแท้และขาดพลังของชีวติ ทีจ่ ะไปกระทำ การต่างๆ ชีวติ ของบุคคลทัว่ ไป จึงอยูใ่ นลักษณะแกว่งไป-มา ขึน้ ๆลงๆ หาความเป็นปกติสขุ ทีแ่ ท้จริงได้ยาก เพราะต้องขึน้ อยูก่ บั สิง่ ภายนอก ซึ่งควบคุมได้ยาก และยังจะต้องคอยแย่งชิงและปกป้องในรูป เสียง เป็นต้นนัน้ อยูต่ ลอดเวลา ความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากสมาธิน้ี เป็นความสุขชนิดทีไ่ ม่ตอ้ งอิง อาศัย หรือไม่ต้องเนื่องกับรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่เป็นวัตถุหรือ รูปธรรมใดๆ ในทางศาสนาเรียกว่า “นิรามิสสุข” เป็นความสุขทีม่ าจาก ความบริสุทธิ์ผ่องใสแห่งจิตของบุคคลนั้นเอง จึงเป็นความสุขที่เป็น เอกเทศของบุคคล เป็นความสุขที่มั่นคง ที่ไม่ต้องไปแย่งชิงกับใคร และไม่มใี ครสามารถแย่งชิงไปได้ นอกจากนัน้ ยังมีรสชาติของความสุข 35


ทีม่ คี วามสุขมุ คัมภีรภาพ และไม่ทำให้บคุ คลเกิดความรูส้ กึ จืดชืดหรือ เบือ่ หน่าย ดังเช่นความสุขทีม่ าจากรูป เสียง กลิน่ รส สัมผัส ทัง้ หลาย จึงทำให้บุคคลที่มีจิตเป็นสมาธิ มีจิตใจที่มั่นคง เป็นตัวของตัวเอง ไม่ถูกอิทธิพลของสิ่งต่างๆภายนอก ซึ่งส่วนใหญ่คือเรื่องของวัตถุ หรือความยียวนจากรสชาติของวัตถุ ครอบงำจิตใจให้หวั่นไหวหรือ บีบคัน้ ให้ตอ้ งไปกระทำในสิง่ ทีไ่ ม่ถกู ไม่ควรได้งา่ ย ดังนัน้ “บัณฑิตของแผ่นดิน” นอกจากจะต้องขวยขวาย ให้มปี ญ ั ญารอบรูใ้ นเรือ่ งธรรมชาติชวี ติ ของตนเองและกฎธรรมชาติ หรือนิยาม 5 ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว ยังจะต้องฝึกฝนตนเองใน เรือ่ งของ “สติ” และ “สมาธิ” ด้วย เพือ่ ให้มคี ณ ุ ภาพของจิตใจ ทีพ ่ ร้อมและเหมาะสม อยูใ่ นอำนาจการควบคุมของสติ สามารถ ควบคุมจิตให้กระทำในสิ่งที่ถูกต้องตามที่ปัญญารู้นั้น และมี ความมั่นคง ที่สามารถยืนหยัดอยู่เหนืออิทธิพลครอบงำหรือ อำนาจความยัว่ ยวนและบีบคัน้ จากสิง่ ต่างๆ ได้ 8. หลักปฏิบตั พ ิ น้ื ฐานเพือ่ การดำเนินชีวติ ทีเ่ กียวข้องกับ “สังคมมนุษย์” นอกจากปัญญารอบรู้ในเรื่องความจริงของชีวิตและคุณค่า ความหมายของสิง่ ต่างๆ ทีม่ ตี อ่ ชีวติ ตามทีเ่ ป็นจริง ตลอดจนนิยาม 5 หรือกฎธรรมชาติทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง และการมีจิตที่เข้มแข็งอยู่ใน อำนาจการควบคุมของสติแล้ว ในกรณีทเ่ี กีย่ วข้องกับ “มนุษย์” หรือ “สังคมมนุษย์” ซึง่ เป็นสิง่ มีชวี ติ พิเศษทีม่ ี “ภาวิตญาณ” ทีส่ ามารถคิดและกระทำสิง่ แปลกใหม่ได้ 36


อย่างไม่มขี ดี จำกัด การปฏิบตั ติ นจึงต้องมีความรอบคอบและละเอียด อ่อนยิง่ ขึน้ ผูท้ จ่ี ะได้ชอ่ื ว่าเป็น “บัณฑิตของแผ่นดิน” จึงต้องเรียนรู้ และฝึกฝนการปฏิบตั ติ นยิง่ ขึน้ ไปอีก 8.1 หลักปฏิบตั ิ : “อนุรกั ษ์” และ “พัฒนา” การจะเข้าไปเกีย่ วข้องหรือกระทำการในเรือ่ งใดๆ ประการแรกสุด ทีจ่ ะต้องทำก่อน คือ การศึกษาและทำความเข้าใจในเรือ่ งนัน้ ๆ และ สามารถแยกแยะออกมาได้วา่ มีสว่ นใดทีถ่ กู ต้องหรือดีอยูแ่ ล้ว และมี ส่วนใดทีย่ งั บกพร่องหรือมีปญ ั หา ในส่วนทีถ่ กู ต้องหรือดีอยูแ่ ล้ว ส่วนนัน้ จะต้อง “อนุรกั ษ์” หรือ รักษาเอาไว้ และในส่วนที่ยังบกพร่องหรือมีปัญหาอยู่ ส่วนนัน้ จะต้อง “พัฒนา” หรือ ปรับปรุงแก้ไขให้ดขี น้ึ หากไม่รู้หลักปฏิบัตินี้แล้ว ก็จะเกิดปัญหาได้มากว่า สิ่งที่ ถูกต้องหรือดีอยู่แล้ว ที่ควรอนุรักษ์เอาไว้ ก็อาจจะไม่หลงเหลืออยู่ เพราะไปพัฒนาเข้า และในทางตรงข้าม สิ่งที่บกพร่องหรือมีปัญหา ก็ไม่ได้รบั การแก้ไข เพราไปปฏิบตั ผิ ดิ คือไปอนุรกั ษ์ไว้ ทำให้เกิดความ เสียหายได้มาก 8.2 หลักปฏิบตั ิ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เมือ่ ทราบชัดว่าเรือ่ งใดหรือสิง่ ใดทีค่ วร “อนุรกั ษ์” หรือ “พัฒนา” แล้ว หลักปฏิบตั ใิ นขัน้ ต่อไป ขออัญเชิญ “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขและ 37


พระราชทานเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติงานของสำนักงานคณะ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนประชาชนทั่วไป เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 มาเป็น หลักปฏิบัติสำคัญยิ่งอีกประการหนึ่ง เพื่อบรรลุความเป็น “บัณฑิต ของแผ่นดิน” (โปรดอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจากหนังสือ "ความพอเพียง คือทางรอดของมนุษย์และสังคม" จัดพิมพ์โดยธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์เมือ่ มิ.ย.2551)

หลักที่เป็นรากฐานของ "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ตามที่ ทรงพระราชทาน กล่าวโดยสรุปมี 3 หัวข้อใหญ่ คือ 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล 3. การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี พอทีจ่ ะต้านทานและลดผล กระทบจากการเปลีย่ นแปลงต่างๆ จากกระแสโลกาภิวตั น์ หมายความว่า การจะกระทำกิจกรรมใด ๆ ก็ตาม จะต้อง คำนึงถึงเรือ่ ง “ความพอประมาณ” ก่อน เป็นประการแรก กล่าวคือ ให้คำนึงถึงศักยภาพหรือสิง่ ต่าง ๆ ทีบ่ คุ คล องค์กร หรือประเทศชาติ มีอยูจ่ ริงเสียก่อน ซึง่ ส่วนนีจ้ ะเป็นต้นทุนสำคัญในการดำเนินการ ต่างๆ ต่อไป เช่น ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนในเรือ่ งความรูค้ วามสามารถ และประสบการณ์ ต้นทุนในด้านทรัพยากรธรรมชาติ ต้นทุนในลักษณะ ภูมิประเทศและภูมิอากาศ หรือแม้แต่ต้นทุนที่เป็นนามธรรม เช่น ความเชือ่ ขนบประเพณี วิถกี ารดำเนินชีวติ ทางวัฒนธรรม เป็นต้น “ความพอประมาณ” ในทีน่ ้ี หมายถึง ไม่ทำอะไรที่เกินตัว หรือเกินเลยต้นทุนทีม่ อี ยู่ ไม่ทำด้วยความโลภหรือเล็งผลเลิศ จนเกินไป ไม่กอ่ หนีส้ นิ โดยไม่จำเป็น แต่จะต้องพิจารณาจากต้นทุน 38


ทีม่ อี ยู่ แล้วดำเนินการไปให้เหมาะสมและสอดคล้องกับต้นทุน ที่มีอยู่จริง ซึ ่ ง จะทำให้ ส ิ ่ ง ที ่ ท ำสามารถดำรงอยู ่ ใ นลั ก ษณะที ่ พึง่ ตนเองได้ อย่างทีเ่ รียกว่า “ไม่ตอ้ งยืมจมูกคนอืน่ หายใจ” “ความมีเหตุผล” หมายถึง ไม่ทำด้วยอารมณ์หรือความรูส้ กึ ไม่ทำตามกันด้วยความเห่อหรือตามแฟชั่น แต่ต้องแสวงหา ความรู้ และทำด้วยความรูเ้ ท่าทันและรูจ้ ริงในสิง่ ทีท่ ำ และมีจดุ มุ่งหมายในการกระทำที่ชัดเจน ตลอดจนรู้จักเลือกเฟ้นระบบ กระบวนวิธี เครือ่ งมืออุปกรณ์ และเทคโนโลยี เป็นต้น ให้เหมาะสม กับความพอประมาณทีเ่ ป็นอยู่ “การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี ฯ” หมายถึง ความมัน่ คงและ ยัง่ ยืนในกิจกรรมหรือสิง่ ทีท่ ำ ซึง่ อันทีจ่ ริง "ความพอประมาณ" และ "ความมีเหตุผล" เป็นปัจจัยหลักหรือฐานรากอันแข็งแกร่ง ทีจ่ ะทำให้เกิด ภูมคิ มุ้ กันทีด่ ใี นตัวอยูแ่ ล้ว แต่อย่างไรก็ตามเนือ่ งจากสิง่ ต่างๆ(=ยุคสมัย บุคคล สังคม เป็นต้น) มีความเคลือ่ นไหวและเปลีย่ นแปลงอยู่ ตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องติดตามความเคลื่อนไหวและความ เปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ และอาจจำเป็นต้องปรับปรุงระบบ กระบวนวิธี พัฒนาบุคลากร ฯลฯ อยูเ่ ป็นระยะๆ เพือ่ ให้กจิ กรรม หรือสิง่ ทีก่ ระทำสามารถดำรงอยูไ่ ด้และก้าวทันในความเปลีย่ นแปลง ไม่ถกู ผลกระทบจากความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ รากฐานของ "เศรษฐกิจพอเพียง" ทัง้ 3 หัวข้อดังทีก่ ล่าวแล้ว ยังได้ตรัสแนะนำอีกว่า แม้รหู้ ลักดังทีว่ า่ นีแ้ ล้ว ก็ใช่วา่ จะนิง่ นอนใจได้ แต่ยงั จะต้องกระทำไปด้วยความไม่ประมาท ด้วยความรอบคอบ ระมัด ระวังอยูเ่ สมอ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความเพียร ความอดทน ด้วยสติและ ปัญญาและจิตสำนึกในคุณธรรม เพือ่ ทีจ่ ะให้ประสบผลสำเร็จด้วยดี 39


เมื่อพิจารณา "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" โดยละเอียดแล้ว จะเห็นได้วา่ มีความสอดคล้องและเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันกับหลักธรรม คือ "สัปปุรสิ ธรรม 7" ทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้เป็นอย่างมาก อาจกล่าว ได้วา่ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นการอธิบาย “สัปปุรสิ ธรรม 7” ในลักษณะประยุกต์นน่ั เอง “สัปปุรสิ ธรรม7“ ได้จำแนกไว้ ดังนี้ 1. ธัมมัญญุตา = ความรูจ้ กั เหตุ คือ รูถ้ งึ หลักความจริง หรือเหตุปจั จัยทีเ่ ป็นกฎเกณฑ์หรือเงือ่ นไขของสิง่ ต่าง ๆ 2. อัตถัญญุตา = ความรูจ้ กั ผล คือ รูถ้ งึ ความมุง่ หมาย หรืออรรถประโยชน์ หรือคุณค่าทีแ่ ท้จริงของสิง่ ต่าง ๆ 3. อัตตัญญุตา=ความรูจ้ กั ตน คือรูถ้ งึ ฐานะหรือกำลังใน ด้านต่าง ๆ ของตนที่มีอยู่ เช่น วัย เพศ นิสัย สถานภาพทางสังคม กำลังทรัพย์ ความรู้ ความสามารถ ความถนัด เป็นต้น 4. มัตตัญญุตา=ความรู้จักประมาณ คือรู้ถึงความพอ เหมาะพอดีในการกระทำสิง่ ต่างๆ ไม่มากเกินไปหรือไม่นอ้ ยเกินไป 5. กาลัญญุตา = ความรูจ้ กั กาล คือ รูจ้ กั ใช้เวลาให้ถกู ต้อง ให้ตรงเวลา ให้เป็นเวลา ให้ทนั เวลา ให้พอเวลา ให้เหมาะเวลา ฯลฯ เป็นต้น 6. ปริสญ ั ญุตา = ความรูจ้ กั ชุมชน คือ รูจ้ กั ในเรือ่ งความเชือ่ ขนบประเพณี - วัฒนธรรมของชุมชน หรือรูเ้ ท่าทันความเป็นไปต่างๆ ของสังคม 7. ปุคคลัญญุตา = ความรูจ้ กั บุคคล คือ รูจ้ กั ความแตกต่าง ของบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องด้วย เช่น โดยอัธยาศัย ความสามารถ ความถนัด เป็นต้น 40


โดยสามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้ดงั นี้ 1.ความพอประมาณ = ความรูจ้ กั ตน + ความรูจ้ กั ประมาณ 2.ความมีเหตุผล = ความรูจ้ กั เหตุ + ความรูจ้ กั ผล 3.การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ฯี =ความรูจ้ กั กาล (=ยุคสมัย) + ความรูจ้ กั ชุมชน(=สังคม) + ความรูจ้ กั บุคคล(=บุคคล) ในแง่มมุ ของ “สัปปุรสิ ธรรม 7” ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ในอีกลักษณะหนึง่ กล่าวคือ เป็นกระบวนวิธกี ารใช้ปญ ั ญาเพือ่ สร้างสรรค์ ตลอดจนแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ หมายความว่า การจะกระทำอะไรหรืออย่างไรในกรณีหนึง่ ๆ การกระทำนัน้ ๆ ไม่ใช่ มาจากความอยากหรือความรูส้ กึ ของตน แต่ให้มาจากผลลัพธ์ของการ ประมวลความรูท้ ง้ั 7 ประการดังกล่าว ซึง่ จะให้ผลทีเ่ หมาะสมและตรง กับสถานการณ์นน้ั ๆ 8.3 หลักปฏิบตั เิ พือ่ ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคลในสังคม สิง่ ทีเ่ ป็นภาพสะท้อนทีส่ ำคัญมากในความเป็น “บัณฑิตของ แผ่นดิน” และเป็นความคาดหวังอย่างยิง่ คือ “บัณฑิตของแผ่นดิน” จะต้องรูจ้ กั การวางตนทีถ่ กู ต้องและเหมาะสม ให้เป็นทีไ่ ว้วางใจ และชืน่ ชม เป็นทีป่ รากฏแก่สายตาของบุคคลในสังคม หลักปฏิบตั ใิ นเรือ่ งนี้ คือ การประพฤติตนปลอดพ้นจากเรือ่ ง ของอบายมุข และการรูจ้ กั ปฏิบตั หิ น้าทีต่ า่ งๆ ทีม่ อี ยูใ่ ห้ถกู ต้อง อบายมุข คือ ทางแห่งความเสือ่ ม มีอยู่ 6 เรือ่ งทีส่ ำคัญ คือ 1. การติดสุรา สิง่ เสพติด และของมึนเมา 2. ชอบเทีย่ วกลางคืน ในสถานทีต่ า่ งๆ ทีไ่ ม่สมควร 41


3. ติดมหรสพและความบันเทิงต่างๆ จนไม่เป็นอันทำการงาน 4. ติดการพนัน 5. คบค้าสมาคมกับคนชัว่ 6. เกียจคร้านในการงาน คอยหลบเลีย่ งไม่ทำหน้าทีท่ ม่ี อี ยู่ เมือ่ ปลอดพ้นจากเรือ่ ง “อบายมุข” แล้ว “บัณฑิตของแผ่นดิน” ยังจะต้องรูจ้ กั ทำหน้าทีข่ องตนให้ถกู ต้องต่อหน้าทีต่ า่ งๆ ตามทีม่ อี ยู่ ในสังคม ในหลักของพุทธศาสนา จำแนกหน้าทีท่ ง้ั หมดของบุคคล ว่ามีอยู่ 6 ด้าน ซึง่ ได้แสดงไว้อย่างละเอียดในเรือ่ ง “ทิศ 6” กล่าวคือ 1. หน้าทีข่ องความเป็นพ่อแม่ และลูก 2. หน้าทีข่ องความเป็นครูอาจารย์ และศิษย์ 3. หน้าทีข่ องความเป็นสามี และภรรยา 4. หน้าทีข่ องความเป็นเพือ่ น ต่อเพือ่ น 5. หน้าทีข่ องความเป็นนายจ้าง และลูกน้อง 6. หน้าทีข่ องความเป็นสมณะ(ผูน้ ำทางจิตใจ) และชาวบ้าน ยกตัวอย่าง หน้าที่ของ “ลูก” ที่มีต่อ “พ่อแม่” ซึ่งหน้าที่นี้ อันทีจ่ ริงก็คอื ความคาดหวังของพ่อแม่ทม่ี ตี อ่ ลูกนัน่ เอง กล่าวโดยสรุป บุคคลผูเ้ ป็นพ่อแม่ทง้ั หลาย เมือ่ มีลกู ก็มคี วามหวังว่าลูกจะช่วยดูแล เมือ่ เจ็บป่วยหรือในยามชราทีช่ ว่ ยตัวเองไม่ได้ จะช่วยเป็นธุระในกิจการงาน ต่างๆ จะประพฤติตนในทางที่ถูกที่ควรเพื่อรักษาและเชิดชูวงศ์สกุล จะประพฤติตนได้เหมาะสมกับการทีจ่ ะรับมอบมรดกในเวลาอันสมควร เพราะทรัพย์สมบัติหรือมรดกทั้งหลายที่พ่อแม่มีอยู่ หากไม่มีลูกที่มี ความประพฤติเหมาะสมที่จะมอบให้ ก็จะคอยกังวลห่วงใยในทรัพย์ สมบัตนิ น้ั แต่หากมีลกู ทีม่ คี วามประพฤติดี ทีส่ ามารถยกให้ดว้ ยความรูส้ กึ 42


ที่เต็มใจ ก็จะมีความสบายใจและปลอดโปร่งใจ อย่างที่เรียกว่า นอนตายตาหลับ และทีส่ ดุ ก็หวังว่าเมือ่ ล่วงลับไปแล้ว จะมีลกู ทีค่ อย ทำบุญอุทศิ ไปให้ ดังนัน้ “บัณฑิตของแผ่นดิน” เมือ่ อยูใ่ นฐานะของ “ลูก” ก็จะ ต้องรูจ้ กั ทำหน้าทีข่ องความเป็น “ลูก” อย่างถูกต้อง ก็จะได้รบั ความ ชืน่ ชมและยกย่องว่า เป็นความหวังเป็นทีพ่ ง่ึ ได้อย่างแท้จริง สำหรับหน้าทีอ่ น่ื ๆ ก็เช่นกัน แต่คงจะไม่นำมากล่าวถึงในทีน่ ้ี โดยขอให้ศึกษาเพิ่มเติมจากเรื่อง “ทิศ 6” ซึ่งสามารถหาอ่านได้ใน หนังสือทัว่ ไป

8 บทสรุป “บัณฑิตของแผ่นดิน” ผูเ้ ป็นทีพ่ ง่ึ และ ความหวังของแผ่นดิน ทีจ่ ะช่วยนำพาสังคม ประเทศชาติ ตลอดจนโลกทัง้ มวล ไปสูค่ วาม เจริญรุง่ เรืองทีถ่ กู ต้องดีงาม สงบสุข สันติ ยัง่ ยืน และควรจะถือเป็นอุดมคติในการผลิตบัณฑิต ของสถาบันการศึกษาทัง้ หลาย นัน้ คือ ............. 43


บุคคลผูท้ รงภูมปิ ญ ั ญา และดำเนินชีวติ ด้วยปัญญา ผูร้ เู้ ท่าทันความจริงของชีวติ ทัง้ ทางด้านกายและใจ ผูร้ เู้ ท่าทันความจริงของธรรมชาติตา่ งๆ ทีอ่ ยูภ่ าย นอก รวมถึงสิง่ แวดล้อม ตลอดจนพัฒนาการและ ความสัมพันธ์ของสิง่ ต่างๆ ทีม่ ตี อ่ กันในธรรมชาติ นอกจากนัน้ ยังรูจ้ กั ฝึกฝนตนให้มคี ณ ุ ภาพของจิต ทีเ่ หมาะสม มีความเข้มแข็ง แน่วแน่ และอยูใ่ น อำนาจการควบคุมของสติ จนสามารถดำรงตน อยูใ่ นแนวทางทีถ่ กู ต้องได้อย่างมัน่ คง ไม่เพลีย่ งพล้ำต่ออารมณ์ หรือสิง่ เร้าทีจ่ ะบีบคัน้ ให้ไปกระทำ ในสิง่ ทีไ่ ม่ถกู ต้องได้โดยง่าย อีกทัง้ ไม่ปฏิบตั ติ นในทางทีจ่ ะนำไปสูค่ วามเสือ่ มเสีย ให้เป็นทีร่ ะแวง เคลือบแคลง และเกิดความ ไม่ไว้วางใจ และยังรูจ้ กั ปฏิบตั ติ นได้อย่างถูกต้อง ทัง้ ต่อบุคคล สังคม และหน้าทีก่ ารงานต่างๆ ทีร่ บั ผิดชอบอยู่ จนเป็นที่ชื่นชมและชืน่ ใจของบุคคลที่ได้พบเห็น บัณฑิตทีม่ คี ณ ุ สมบัตดิ งั ทีก่ ล่าวนี้ จึงนับว่าเป็น “บัณฑิต ของแผ่นดิน” ทีเ่ ป็นทีพ ่ ง่ึ และความหวังของแผ่นดินอย่างแท้จริง ความเจริญรุง่ เรืองทีถ่ กู ต้องดีงาม สงบสุข สันติ ยัง่ ยืน ของสังคมและโลกทัง้ มวล ขึน้ อยูก่ บั “มนุษย์” ว่าจะสามารถร่วมกัน เสริมสร้างให้เกิดมี “บัณฑิตของแผ่นดิน” ได้มากน้อยเพียงใด.

******************************* 44



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.