อริยสัจสำหรับทุกคน เพือ่ ร่วมฉลอง พุทธชยันตี 2,600 ปีแห่งการตรัสรูข้ องพระพุทธเจ้า
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ ดร.มงคล เดชนครินทร์ ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ที่ได้กรุณาตรวจแก้สำนวนและวรรคตอนให้ถูกต้องและเหมาะสม
"อริยสัจสำหรับทุกคน” เรียบเรียง : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ พิมพ์ครัง้ ที่ 1 : พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 4,000 เล่ม หลวงพ่อปฏิจจะ สัมมัตตะ10 (พระวินยั สิรธิ โร) จำนวน 500 เล่ ฒโน ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ สุรพล ไกรสราวุฒ.ิ อริยสัจสำหรับทุกคน.- - กรุงเทพฯ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2555. 64 หน้า. 1. พุทธปรัชญา. 2. อริยสัจ. I. ชือ่ เรือ่ ง. 294.301 ISBN : 978-616-551-559-7 บรรณาธิการอำนวยการ : ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล บรรณาธิการ : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ออกแบบปก : นายมาโนช กลิน่ ทรัพย์ พิสจู น์อกั ษร : นางปาลิดา จิรภาธงชัย ประสานงาน : นางสาวปทุมรัตน์ กิจจานนท์, นางนิตพิ ร ใบเตย พิมพ์ท่ี : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.0-2215-1991-2 ลิขสิทธิ์ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3018 Website : http://www.dharma-centre.chula.ac.th Email : dharma-centre@chula.ac.th
คำนำ โดย ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล ****************************************************
19 สิงหาคม 2555
สารบัญ
หน้า
อริยสัจ คือสูตรสูค่ วามสำเร็จแห่งการดำเนินชีวติ ของมนุษยชาติ 1 มูลเหตุทม่ี าของอริยสัจ 3 ความหมายของอริยสัจสำหรับทุกคน 5 เรือ่ งทีค่ วรทราบก่อน : 6 ♦ คำสอนเรือ่ งอริยสัจ ไม่ใช่การมองโลกในแง่รา้ ย 6 และไม่ใช่เหมาะสำหรับบุคคลทีก่ ำลังประสบทุกข์เท่านัน้ ♦ ทุกข์ในอริยสัจเป็นทุกข์ทางใจ ทีเ่ กิดขึน้ จากความยึดมัน่ ถือมัน่ 7 ♦ ความสัมพันธ์ระหว่างทุกข์ในอริยสัจ กับทุกข์ในเวทนา 9 และทุกข์ในไตรลักษณ์ ความสำคัญของอริยสัจ 10 อริยสัจ และกิจในอริยสัจ ตามหลักพระพุทธศาสนา 11 ♦ สรุปใจความของอริยสัจ แสดงการดำเนินชีวติ 2 เส้นทาง 11 เส้นทางชีวติ ทุกข์ 12 เส้นทางชีวต ิ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ 13 ♦ เคล็ดสำคัญทีท่ ำให้เข้าใจอริยสัจไม่ถกู ต้อง 14 ความหมายของความต้องการทีเ่ ป็นตัณหา 14 และความถูกต้องทีเ่ ป็นสัมมา ♦ ทุกข์ในอริยสัจ คืออะไร ? 18 ♦ สมุทยั ในอริยสัจ คืออะไร ? 22 ♦ นิโรธในอริยสัจ คืออะไร ? 23 ♦ มรรคในอริยสัจ คืออะไร ? 24 สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) 25 สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งปัจจัย 4 29 สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งสิง่ อำนวย 31 ความสะดวกสบาย สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการเรียน 32
สารบัญ สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการทำงาน เกียรติ ตำแหน่ง ฯลฯ สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการมีครอบครัว สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งอายตนะ 6 สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งขันธ์ 5 สัมมาสังกัปปะ (ดำริชอบ) สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ) สัมมาอาชีวะ (เลีย้ งชีพชอบ) สัมมาวายามะ (พยายามชอบ) สัมมาสติ (ระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ตัง้ จิตมัน่ ชอบ) บทสรุป ดรรชนีคน้ คำ รายชือ่ หนังสือทีไ่ ด้จดั พิมพ์มาแล้วของผูเ้ รียบเรียง
หน้า 33 37 38 40 42 43 46 56 57 58
ใบโพธิ์ หมายถึง การตรัสรูแ้ ห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
สีเขียวแห่งใบโพธิ์ หมายถึง ความเจริญงอกงามไพบูลย์แห่งพระธรรมคำสัง่ สอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ธรรมจักรกลางผืนธงฉัพพรรณรังสี หมายถึง หลักธรรมคำสัง่ สอนของพระพุทธเจ้า
กนกลายไทยชูชอ่ ฟ้า หมายถึง ผืนแผ่นดินไทยรุง่ เรืองด้วยอารยธรรมแห่งชนชาติไทย ได้เชิดชูพระธรรมคำสัง่ สอนของพระพุทธเจ้าให้อำนวย ประโยชน์แก่มวลมนุษยชาติและจะดำรงอยูค่ ผู่ นื แผ่นดินไทย ชัว่ กัลปาวสาน
“อริยสัจสำหรับทุกคน” ************************************ อริยสัจ คือสูตรสูค่ วามสำเร็จแห่งการดำเนินชีวติ ของมนุษยชาติ อริยสัจ ในพระพุทธศาสนา หากกล่าวอย่างเฉพาะเจาะจง โดยถือเอาอุดมคติสงู สุด ทีม่ งุ่ นำบุคคลผูป้ ฏิบตั ใิ ห้เข้าถึงความดับทุกข์ ดับกิเลสอย่างสิน้ เชิง เพือ่ บรรลุความเป็นพระอริยบุคคลเป็นสำคัญแล้ว มีความหมายตามทีแ่ ยกศัพท์วา่ อริย (ประเสริฐ) + สัจ (ความจริง) หรือ อริ (ข้าศึก) + ยะ (ไป, พ้น) + สัจ (ความจริง) หมายถึง ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ ความจริงทีท่ ำให้ผเู้ ข้าถึงกลายเป็นพระอริยะ หรือความจริงทีท่ ำให้พน้ ไปจากข้าศึกศัตรู ซึง่ ในทีน่ ห้ี มายถึงกิเลส หรือเครือ่ งเศร้าหมองทัง้ ปวง อริยสัจ ตามความหมายข้างต้นนี้ เป็นหัวใจคำสอนที่เป็น เอกลักษณ์ของพระพุทธศาสนา ทำให้แตกต่างจากศาสนาอืน่ ๆ ทัง้ หมด เป็นธรรมทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสรูโ้ ดยเฉพาะ อริยสัจ หากนำไปใช้ในความหมายทีก่ ว้าง โดยพิจารณาจาก หัวข้อหรือส่วนทีเ่ ป็นหลักของอริยสัจ คือ หัวข้อ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ และ มรรคแล้ว จะเห็นได้วา่ หลักของอริยสัจนี้ โดยวิถีของธรรมชาติ 1
ก็เป็นหลักสากลทีส่ ามารถนำไปใช้ในการดำเนินและพัฒนาใน ทุก ๆ เรือ่ งของชีวติ เพือ่ แก้ปญ ั หาในด้านต่าง ๆ ทีป่ ระสบอยู่ ให้บรรลุประโยชน์และความสำเร็จตามทีป่ ระสงค์ กล่าวได้ว่า ศาสนา ลัทธิต่าง ๆ ตลอดจนศาสตร์ทั้งหลาย ล้วนอาศัยหลักของอริยสัจเป็นแนวทางในการค้นคว้าและแสวงหาทัง้ สิน้ กล่าวคือค้นหาว่า ปัญหาหรือทุกข์ทป่ี ระสบอยูน่ น้ั คืออะไร ? (=ทุกข์) มีสาเหตุมาจากอะไร ? (=สมุทัย) จะสามารถแก้ไขให้ลุล่วงไปได้ อย่างไร ? (=มรรค) และทีส่ ดุ เมือ่ แก้ปญ ั หาหรือทุกข์นน้ั ๆ ให้ลลุ ว่ ง ไปได้แล้ว จะนำไปสู่จุดหมายที่มุ่งหวังหรือที่เป็นอุดมคติคืออะไร ? (=นิโรธ) ความสำเร็จทีเ่ ป็นเครือ่ งชีว้ ดั ในทีน่ ้ี ไม่ใช่อะไรอืน่ คือ การที่ สามารถพบความจริงหรือมีคำตอบพร้อมทัง้ แนวทางปฏิบตั คิ รบถ้วน ตามหัวข้อทัง้ 4 ในหลักอริยสัจนีเ้ อง การเผยแผ่หรือถ่ายทอดคำสอนของศาสนา ลัทธิ และศาสตร์ ต่าง ๆ อันทีจ่ ริงก็ไม่ใช่อะไรอืน่ คือเนือ้ หาสาระและวิธปี ฏิบตั ติ ามหลัก ของอริยสัจเช่นกัน สิง่ ทีแ่ ตกต่างกันจริงๆ ในเรือ่ งของหลักอริยสัจ คือส่วนที่ เป็นรายละเอียดเนือ้ หาในแต่ละหัวข้อ ส่วนนีน้ บั เป็นส่วนสำคัญ ทีส่ ดุ ทีท่ ำให้เกิดวิถกี ารดำเนินการต่าง ๆ ทีแ่ ตกต่างกันออกไป และยังเป็นเครือ่ งกำหนดว่าจะสามารถนำไปใช้ให้บงั เกิดผลสำเร็จ ได้จริงเพียงใด ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั ว่ามีความถูกต้อง ตรงตามเหตุปจั จัย หรือกฎธรรมชาติในเรือ่ งนัน้ ๆ หรือไม่ เพียงใด
2
จากเหตุผลดังทีก่ ล่าว พระสารีบตุ รจึงได้กล่าวถึงอริยสัจว่าเป็น หลักธรรมทีก่ ว้างขวางและครอบคลุมหลักธรรมอืน่ ๆ ทัง้ หมด โดยได้ เปรียบอริยสัจประดุจเป็นรอยเท้าช้าง เพราะรอยเท้าของสัตว์ทเ่ี ดินไปบน แผ่นดินทุกชนิด ย่อมสามารถนำมาหยั่งลงในรอยเท้าช้างได้ทั้งสิ้น1 ความหมายในทีน่ ก้ี ค็ อื ว่า อริยสัจทีท่ รงแสดงนัน้ แท้จริงแล้วมีเนือ้ หา ครอบคลุมวิถกี ารดำเนินชีวติ ทัง้ หมดทัง้ สิน้ ของมนุษย์ หรืออีกนัยหนึง่ มี ความหมายว่า หลักของอริยสัจเป็นหลักสากลทีส่ ามารถนำไปใช้เป็น แนวทางในการดำเนินการและพัฒนาในทุกเรือ่ งของชีวติ อริยสัจ หรือหลักของอริยสัจ แท้จริงจึงเป็น สูตรทีจ่ ะนำไป สูค่ วามสำเร็จแห่งการดำเนินชีวติ ของมนุษยชาติ เพือ่ นำมนุษยชาติ ไปสูจ่ ดุ หมายหรือภาวะชีวติ ทีเ่ ป็นอุดมคติ มูลเหตุทม่ี าของ อริยสัจ สำหรับมูลเหตุทม่ี าของอริยสัจ พิจารณาได้จากพระพุทธพจน์ ทีต่ รัสว่า “เราบัญญัตวิ า่ นีท้ กุ ข์ นีเ้ หตุให้เกิดทุกข์ นีค้ วามดับทุกข์ นีข้ อ้ ปฏิบตั ใิ ห้ถงึ ความดับทุกข์ แก่บคุ คลผูเ้ สวยเวทนาอยู”่ 2 จะเห็นได้ว่า เรื่องเวทนาหรือความรู้สึกที่มีต่อการรับรู้ สิง่ ต่าง ๆ (=ความรูส้ กึ สุข ทุกข์ หรือเฉย ๆ) ซึง่ เป็นองค์ประกอบ พืน้ ฐานอย่างหนึง่ ในตัวชีวติ เป็นสิง่ สำคัญทีส่ ดุ ในฐานะเป็นมูลเหตุ ทำให้เกิดการแสวงหาอริยสัจ 1
(12/340) ; 2 (20/501) (หมายเหตุ การอ้างอิงทัง้ หมดของหนังสือนี้ จากพระไตรปิฎก
ฉบับสยามรัฐ โดยสัญลักษณ์ทใ่ี ช้หมายถึง เล่มที่ / ข้อที่ เช่น เล่มที่ 12 ข้อที่ 340)
3
กระบวนการดำเนินชีวติ ของมนุษย์ทเ่ี ป็นปุถชุ นโดยทัว่ ไป แท้จริง แล้วเป็นการแสวงหาความรูส้ กึ สุข หลีกหนีความรูส้ กึ ทุกข์ และไม่สามารถ ทนนิง่ อยูก่ บั ความรูส้ กึ เฉย ๆ ล้วนมีแรงขับเคลือ่ นมาจากเวทนา เป็นไป เพือ่ เวทนา และตกอยูภ่ ายใต้อำนาจการครอบงำของเวทนาทัง้ สิน้ หลักธรรมในพระพุทธศาสนา ให้ความสำคัญแก่เรื่อง ของทุกขเวทนามากกว่า กล่าวให้ชดั ยิง่ ขึน้ หากในองค์ประกอบของ ชีวติ ไม่มเี วทนาหรือความรูส้ กึ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทุกขเวทนา เพียง อย่างเดียว กล่าวคือ ไม่วา่ บุคคลจะกระทำอะไร หรือถูกกระทำอย่างไร ไม่วา่ จะเป็นไปในทางร้ายหรือทางดี ก็ไม่มคี วามรูส้ กึ ทีเ่ ป็นทุกข์ใด ๆ เกิดขึน้ หากเป็นเช่นนี้แล้ว อริยสัจก็ไม่มีความหมายและไม่มีความสำคัญที่ จะต้องมาสนใจหรือแสวงหา รวมทัง้ บุคคลก็ไม่มคี วามจำเป็นทีจ่ ะต้อง มาศึกษาและปฏิบตั ธิ รรมแต่อย่างใด แต่ในความเป็นจริง ทุกการกระทำในการดำเนินชีวติ ล้วนมี เวทนาเป็นผลเกิดขึน้ ด้วยเสมอ เวทนาทีเ่ ป็นทุกข์นเ่ี อง เป็นเงือ่ นไขสำคัญที่ ผลักดันให้ทกุ ชีวติ ต้องดิน้ รนและแสวงหาแนวทางหรือวิธที จ่ี ะระงับและดับ ทุกขเวทนาทีเ่ กิดขึน้ นัน้ จึงเป็นทีม่ าของ “อริยสัจ” ทัง้ นีเ้ พือ่ แสวงหาแนวทาง การดำเนินชีวติ ว่าจะต้องปฏิบตั ติ นอย่างไร ชีวติ จึงจะไม่มที กุ ข์เกิดขึน้ และเนือ่ งจากหลักการสำคัญในพระพุทธศาสนา แสดงไว้วา่ สิง่ ต่าง ๆ ล้วนเกิดขึน้ จากเหตุปจั จัย ไม่ได้เกิดขึน้ จากอำนาจดลบันดาล ของผูใ้ ด และไม่ได้เกิดขึน้ เองอย่างลอย ๆ หรือโดยบังเอิญ ดังนัน้ สาระ ของอริยสัจในพระพุทธศาสนา จึงตัง้ อยูบ่ นฐานความจริงทีจ่ ะต้องรูว้ า่ ความทุกข์เกิดขึน้ มาจากเหตุปจั จัยอะไร และจะมีวธิ ดี บั เหตุปจั จัยของ ทุกข์นน้ั ได้อย่างไร บุคคลจึงจะสามารถบรรลุภาวะทีเ่ ป็นอุดมคติหรือ ภาวะทีห่ ลุดพ้นจากความทุกข์ได้ 4
ภาวะใดทีค่ วามทุกข์ยงั สามารถเกิดขึน้ บีบคัน้ และเสียด แทงบุคคลได้ หลักพระพุทธศาสนาแสดงว่าภาวะนั้นยังไม่ใช่ อุดมคติทแ่ี ท้จริง ความหมายของอริยสัจสำหรับทุกคน ดังทีไ่ ด้ยกมากล่าวแล้ว อริยสัจเป็นหลักธรรมกว้างขวางทีค่ รอบ คลุมหลักธรรมอืน่ ๆ ทัง้ หมด อริยสัจ แสดงให้เห็นถึงเส้นทางดำเนินชีวติ ทัง้ หมดทัง้ สิน้ ของ บุคคลว่า มี 2 เส้นทางใหญ่ ๆ คือ เส้นทางชีวติ ทุกข์ (ทุกข์ - สมุทยั ) และ เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ (นิโรธ - มรรค) ซึง่ จะอธิบายโดยละเอียดต่อไป อริยสัจ แสดงถึงระดับชีวติ ทัง้ หมดทัง้ สิน้ ของบุคคล กล่าวคือ ชีวติ ใน 31 ภพภูมิ =ชีวติ ทุกข์ ; ชีวติ ในระดับโลกุตตรภูมิ คือ ระดับพระ โสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ =ชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ อริยสัจ แสดงเนือ้ หาครอบคลุมหลักโอวาทปาฏิโมกข์ทง้ั หมด กล่าวคือ การไม่ทำบาปทัง้ ปวง การบำเพ็ญกุศลให้ถงึ พร้อม =เส้นทาง ชีวติ ทุกข์ ; การชำระจิตให้ขาวรอบ =เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ อริยมรรคมีองค์ 8 ในอริยสัจ หรือข้อปฏิบตั ใิ ห้บรรลุถงึ ภาวะ ไม่มที กุ ข์ อันทีจ่ ริง คือ พฤติกรรมทีค่ รอบคลุมในทุก ๆ ด้านของชีวติ ทัง้ กาย วาจา และใจ ทีจ่ ะต้องฝึกฝนและปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้อง ดังนั้น อริยสัจโดยเนื้อแท้จึงเป็นเรื่องของทุกคนและ สำหรับทุกคน ทีม่ งุ่ หวังจะดำเนินทุกเรือ่ งในชีวติ ให้เป็นไปด้วยดี ไม่มีปัญหาและความทุกข์ โดยดำเนินการกับทุกเรื่องที่เข้าไป เกีย่ วข้องตามรายละเอียดเนือ้ หาในอริยสัจทีพ ่ ระพุทธองค์ทรง วางไว้ หรือมีอริยสัจเป็นประดุจหางเสือทีค่ อยควบคุมทิศทางให้ 5
เรือ่ งทีค่ วรทราบก่อน ก่อนทีจ่ ะอธิบายถึงเนือ้ หาสาระของอริยสัจ ตลอดจนการปฏิบตั ิ หรือประยุกต์อริยสัจเพือ่ การดับทุกข์ดบั กิเลส ผูเ้ รียบเรียงเห็นว่าควรจะ ได้ทำความเข้าใจในเรือ่ งทีอ่ ยูร่ อบข้างบางเรือ่ ง หรือทีค่ าบเกีย่ วกันตาม สมควร ซึง่ จะช่วยทำให้เข้าใจอริยสัจแจ่มแจ้งยิง่ ขึน้ เมือ่ ถึงบททีอ่ ธิบาย เนือ้ หาสาระโดยตรง คำสอนเรือ่ ง อริยสัจ ไม่ใช่การมองโลกในแง่รา้ ย และไม่ใช่เหมาะสำหรับบุคคลทีก่ ำลังประสบทุกข์เท่านัน้ มีบคุ คลจำนวนไม่นอ้ ย ทีย่ งั เข้าใจผิดต่อคำสอนในพระพุทธศาสนา และเห็นว่าคำสอนเรือ่ งอริยสัจทีส่ อนเรือ่ งทุกข์และความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์น้ี เป็นการมองโลกในแง่รา้ ย เป็น “ทุกขนิยม” ทีม่ องทุกอย่าง เป็นทุกข์ เป็นสิง่ เลวร้าย หรือสิง่ ไม่ดไี ปหมด หรือไม่เช่นนัน้ ก็เหมาะสำหรับ คนทีก่ ำลังมีทกุ ข์ หรือผิดหวังเสียใจด้วยเรือ่ งอะไรอยูเ่ ท่านัน้ อันทีจ่ ริงคำสอนเรือ่ งอริยสัจเป็นการมองโลกตามความเป็นจริง เพราะทุกข์เป็นเรื่องหรือสภาวะที่เป็นจริง และมีอยู่แล้วในธรรมชาติ พระพุทธเจ้าเพียงแต่หยิบมาเป็นประเด็นและเห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญ ทีส่ ดุ เท่านัน้ และได้เสนอว่า ภาวะทีเ่ ป็นอุดมคติทแ่ี ท้จริง คือภาวะ ของชีวติ ทีไ่ ม่มที กุ ข์ โดยเด็ดขาด ต่างหาก โดยมีเรือ่ งความไม่มที กุ ข์ เป็นคำตอบชีข้ าดในขัน้ สุดท้าย ในเรื่องนี้ อาจเปรียบได้กับการศึกษาทางการแพทย์ ที่มี จุดประสงค์ต้องการรักษาร่างกายให้มีสุขภาพแข็งแรง แต่จะเห็นว่า นักศึกษาแพทย์ได้รับการฝึกสอนให้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคภัยไข้เจ็บ 6
ต่าง ๆ มากมาย การเรียนรูเ้ รือ่ งโรคนี้ ไม่ใช่เป็นการมองโลกในแง่รา้ ย แต่ประการใด เพราะหากไม่เรียนรูเ้ รือ่ งโรคแล้ว ก็เป็นอันว่าจะไม่สามารถ รักษาสุขภาพให้ดแี ละแข็งแรงได้อย่างแท้จริง และการเรียนรูเ้ รือ่ งโรค อันทีจ่ ริงไม่ใช่เรียนรูต้ อ่ เมือ่ เป็นโรคแล้ว แต่ทด่ี มี ากกว่า คือให้เรียนรูไ้ ว้ แต่เนิน่ ๆ เพือ่ จะได้รจู้ กั ป้องกัน และหลีกเลีย่ งความเสีย่ งทีจ่ ะเป็นโรค เรือ่ ง ทุกข์ และความดับทุกข์ ก็ในทำนองเดียวกัน หากไม่ เรียนรูเ้ รือ่ ง ทุกข์ แล้ว จะรักษาชีวติ ให้ ไม่มที กุ ข์ ได้อย่างไร ? การเรียนรูแ้ ละปฏิบตั ใิ นเรือ่ งอริยสัจ ย่อมเป็นสิง่ ทีด่ แี ละให้บงั เกิด ผลดีดว้ ยประการทัง้ ปวง ช่วยทำให้บคุ คลไม่ตอ้ งเสีย่ งกับการประสบ กับความทุกข์ หรือหากมีทกุ ข์เกิดขึน้ ก็ไม่หนักหนาหรือรุนแรงนัก เพราะรูถ้ งึ ทีม่ าทีไ่ ป ตลอดจนวิธที จ่ี ะทำให้ทกุ ข์นน้ั หมดไปได้อย่างไร ทุกข์ในอริยสัจเป็นทุกข์ทางใจ ทีเ่ กิดขึน้ จากความยึดมัน่ ถือมัน่ ทุกข์ในอริยสัจ กล่าวโดยสรุป คือ อุปาทานขันธ์ 5 เป็นทุกข์ ทีเ่ กิดขึน้ จากอุปาทานหรือความยึดมัน่ ถือมัน่ ในขันธ์ 5 โดยมีสาระ สำคัญคือยึดมัน่ ถือมัน่ ในขันธ์ 5 ให้ดำรงอยูใ่ นสภาพอย่างทีต่ อ้ งการนัน้ ตลอดไป (นิจจัง) ไม่ให้เปลีย่ นสภาพไปเป็นอย่างอืน่ (สุขขัง) และให้ เป็นไปตามอำนาจการบังคับของตน (อัตตา) ซึง่ ไปขัดแย้งกับความจริง ของธรรมชาติทว่ี า่ สิง่ ต่าง ๆ ล้วนเปลีย่ นแปลงไปตามเหตุปจั จัย (อนิจจัง) อยูใ่ นสภาวะทีท่ นอยูใ่ นสภาพเดิมไม่ได้ (ทุกขัง) และไม่อยูใ่ นอำนาจ การบังคับของใคร (อนัตตา) ทุกข์ในอริยสัจ จึงเป็นทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากความขัดแย้งของ ใจทีย่ ดึ มัน่ ถือมัน่ อยูก่ บั ความจริงทีเ่ ป็นอยู่ 7
ยึดมัน่ มาก.....ก็ทกุ ข์มาก ยึดมัน่ น้อย.....ก็ทกุ ข์นอ้ ย ไม่ยดึ มัน่ .....ก็ไม่ทกุ ข์ สมดังพระพุทธวจนะทีต่ รัสว่า ภิกษุผมู้ อี ปุ าทาน ย่อมไม่ปรินพิ พาน และ ภิกษุผไู้ ม่มอี ปุ าทาน ย่อมปรินพิ พาน 3 เนื่องจากทุกข์ในอริยสัจเกิดขึ้นจากความยึดมั่นถือมั่น จึงจัดเป็นทุกข์ทางใจ นอกจากจะหมายรวมถึงทุกขเวทนาทางใจ ซึง่ เป็นทุกข์ทเ่ี ห็นได้ชดั เจนตามทีร่ กู้ นั อยูท่ ว่ั ไปแล้ว ยังมีนยั อืน่ อีกทีจ่ ะต้อง รูจ้ กั อาทิ ในขณะทีก่ ำลังมีสขุ เวทนาอยู่ แม้ขณะนัน้ ไม่มที กุ ขเวทนาทางใจ แต่หากมีความยึดมัน่ ถือมัน่ เกิดขึน้ ด้วยแล้ว ก็กล่าวว่าเกิดทุกข์ในอริยสัจขึน้ นอกจากนัน้ ยังมีพระพุทธวจนะทีน่ า่ สนใจและเห็นว่าเกีย่ วข้อง กับทุกข์ในอริยสัจ จึงขอนำมาแสดงไว้ในทีน่ ้ี คือ “ความหวัน่ ไหว ย่อมไม่มแี ก่บคุ คลทีไ่ ม่มตี ณ ั หา มานะ และ ทิฐอิ าศัยอยู”่ 4 และในอีกแห่งหนึง่ “เมื่อไม่ถือมั่น ย่อมไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง ย่อมปรินิพพาน เฉพาะตน” 5 ดังนัน้ กล่าวได้วา่ ภาวะของทุกข์ในอริยสัจหรืออุปาทานขันธ์ 5 ในขัน้ ละเอียด คือ ความหวัน่ ไหว และความสะดุง้ นัน่ เอง บุคคลผูส้ ามารถดับทุกข์ในอริยสัจได้อย่างแท้จริง นอกจาก จะไม่มที กุ ขเวทนาทางใจแล้ว ยังจะต้องไม่มแี ม้กระทัง่ ความหวัน่ ไหว และความสะดุง้ เกิดขึน้ ในชีวติ อย่างเด็ดขาด 3
(18/191-192) ; 4 (18/110) ; 5 (12/158)
8
ความสัมพันธ์ระหว่าง ทุกข์ในอริยสัจ กับ ทุกข์ในเวทนา และทุกข์ในไตรลักษณ์ หลักธรรมในพระพุทธศาสนามีคำสำคัญ 3 คำ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ เรือ่ งทุกข์ และมีความหมายคนละอย่าง แต่มคี วามสัมพันธ์กนั ใกล้ชดิ และอาจทำให้เข้าใจสับสนกันได้งา่ ย คือทุกข์ในอริยสัจ ทุกข์ในเวทนา และทุกข์ในไตรลักษณ์ จึงขอนำมาอธิบายให้ชดั เจนไว้เป็นเบือ้ งต้น ซึง่ จะช่วยทำให้เข้าใจในอริยสัจต่อไปได้ดยี ง่ิ ขึน้ ทุกข์ในอริยสัจ เป็นทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากอุปาทานหรือความ ยึดมัน่ ถือมัน่ ในขันธ์ 5 เป็นทุกข์ทส่ี ามารถดับให้หมดสิน้ ได้ กล่าวคือ เมือ่ บุคคลดับอุปาทานได้หมดสิน้ ทุกข์ในอริยสัจก็ถกู ดับหมดสิน้ ไปด้วย ทุกข์ในเวทนา เป็นทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากการกระทบกันของ อายตนะภายใน กับอายตนะภายนอก หรือกล่าวได้วา่ เป็นรสชาติทเ่ี กิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูต้ อ่ สิง่ ต่าง ๆ ในกรณีของทุกขเวทนานัน้ บุคคลสามารถ ดับได้อย่างเด็ดขาดเฉพาะทุกขเวทนาทางใจเท่านัน้ ไม่สามารถดับทุกขเวทนาทางกายให้เด็ดขาดได้เลย ทุกข์ในไตรลักษณ์ เป็นสามัญลักษณะประการหนึง่ ใน สามของสิง่ ทีเ่ ป็นสังขารธรรมหรือสิง่ ทีม่ ปี จั จัยปรุงแต่ง เรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า ทุกขัง หมายถึงสภาพทีท่ นอยูใ่ นสภาพเดิมไม่ได้ เป็นทุกข์ทบ่ี คุ คลต้อง รูจ้ กั และเข้าถึง เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือนำไปดับทุกข์ในอริยสัจโดยเฉพาะ ความสัมพันธ์ของทุกข์ทง้ั 3 ประเภท คือ เพราะไม่รคู้ วามจริง ว่าสิง่ ต่าง ๆ ล้วนตกอยูภ่ ายใต้กฎไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงไปหลงและยึดมัน่ ในเวทนาทีเ่ กิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูต้ อ่ สิง่ ต่าง ๆ โดยอยากให้เวทนาทัง้ หลายเป็นไปดังใจ (นิจจัง สุขขัง อัตตา) จึงทำให้ เกิดทุกข์ในอริยสัจขึน้ 9
ความสำคัญของ อริยสัจ ก่อนที่จะอธิบายเรื่องราวของอริยสัจ ขอนำพระพุทธวจนะที่ พระพุทธองค์ตรัสไว้ มาแสดงประกอบการพิจารณา เพือ่ ให้ทา่ นผูอ้ า่ น ได้ตระหนักถึงความสำคัญสูงสุดของอริยสัจ ว่ามีเพียงใด อริยสัจ เป็นความจริงอันประเสริฐสุด ยิง่ กว่าความจริงอืน่ ใด เพราะการรูค้ วามจริง คือ อริยสัจ จึงทำให้ได้ชอ่ื ว่าตรัสรูอ้ นุตตรสัมมา สัมโพธิญาณ 6 เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า อริยสัจ เป็นเสมือนการปรากฏของความสว่างอันใหญ่หลวง 7 ทีช่ ว่ ยขจัดความมืดบอดในจิตใจของสัตว์โลกให้หมดสิน้ ไป ส่องให้เห็น เส้นทางการดำเนินชีวติ ทีถ่ กู ต้องดีงาม นำไปสูช่ วี ติ อุดมคติทม่ี แี ต่สนั ติสขุ อยูเ่ หนือความทุกข์และความร้อยรัดเสียดแทงจากสิง่ ทัง้ ปวง อริยสัจ เป็นหัวใจคำสอนของพระพุทธศาสนา เป็นธรรมที่ พระพุทธเจ้าทรงเลือกและนำมาตรัสสอนโดยเฉพาะ สมดังพระพุทธวจนะทีต่ รัสว่า “ธรรมทีต่ รัสรูป้ ระดุจใบไม้ทอ่ี ยูบ่ นต้น แต่ธรรมทีน่ ำมา สอนประดุจเพียงใบไม้ 2-3 ใบในฝ่ามือ” 8 ซึง่ ก็คอื เรือ่ งอริยสัจ และใน อีกแห่งหนึง่ ทีต่ รัสว่า “ในกาลก่อนด้วย ในบัดนีด้ ว้ ย เราย่อมบัญญัตทิ กุ ข์ และความดับแห่งทุกข์ ฯ” 9 ซึง่ ก็คอื เรือ่ งอริยสัจ เพราะไม่รู้ อริยสัจ จึงทำให้บุคคลต้องท่องเที่ยวไปใน สังสารวัฏ 10 เผชิญทุกข์ โศก โรค ภัย ตลอดกาลอันยืดยาวนาน ไม่สามารถ หลุดพ้นไปจากชีวติ ทุกข์ในวัฏสงสารได้ บุคคลจักกระทำให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบได้ โดยไม่รู้ อริยสัจ ไม่เป็นฐานะทีจ่ ะมีได้ 11 6
(19/1703) ; 7 (19/1721) ; 8 (19/1712) ; 9 (18/770) ; 10 (19/1698) ; 11 (19/1714)
10
อริยสัจและกิจในอริยสัจตามหลักพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าตรัสแสดงอริยสัจ พร้อมทั้งกิจที่ต้องกระทำใน อริยสัจ โดยจำแนกเป็น 4 ประการ ในทีน่ ข้ี อยกมากล่าวเฉพาะหัวข้อ และประเด็นทีส่ ำคัญ ๆ ก่อน สำหรับเนือ้ หาทีเ่ ป็นรายละเอียด จะได้กล่าว โดยพิสดารในบทถัดไปข้างหน้า 1. ทุกข์ คือ อุปาทานขันธ์ 5 เป็นทุกข์ทเ่ี กิดจากอุปาทาน หรือ ความยึดมัน่ ถือมัน่ ในขันธ์ 5 มีกจิ ทีต่ อ้ งกระทำ คือ กำหนดรู้ หรือรูส้ ภาวะ ของทุกข์ในอริยสัจได้ถกู ต้อง 2. สมุทยั คือ ตัณหา หรือความทะยานอยาก มีกจิ ทีต่ อ้ งกระทำ คือ ให้ละ หรือถอยออกห่าง หรือถอนตัวออกเสีย 3. นิโรธ คือ ภาวะทีไ่ ม่มที กุ ข์ หรือภาวะทีต่ ณ ั หาดับสิน้ ไป มีกจิ ทีต่ อ้ งกระทำ คือ ทำให้แจ้ง หรือทำให้ปรากฏ 4. มรรค คือ อริยมรรคมีองค์ 8 หรือข้อปฏิบตั ใิ ห้บรรลุภาวะ ทีไ่ ม่มที กุ ข์ มีกจิ ทีต่ อ้ งกระทำ คือ ให้เจริญ หรือฝึกฝนปฏิบตั ใิ ห้เกิดขึน้ โดยแสดงว่า ทุกข์เป็นผล มาจากเหตุ คือ สมุทยั นิโรธเป็นผล มาจากเหตุ คือ มรรค สรุปใจความของอริยสัจ แสดงการดำเนินชีวติ 2 เส้นทาง กล่าวโดยสรุป สาระสำคัญของอริยสัจ 4 เป็นการประมวล วิถกี ารดำเนินชีวติ ของมนุษย์ทง้ั หมด พร้อมทัง้ สาเหตุและวิธปี ฏิบตั ิ ว่ามีอยู่ 2 เส้นทางใหญ่ คือ :1. เส้นทางชีวติ ทุกข์ (ทุกข์ - สมุทยั ) 2. เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ (นิโรธ - มรรค) 11
เส้นทางชีวติ ทุกข์ * เส้นทางชีวติ ทุกข์ เป็นเส้นทางดำเนินชีวติ ทีเ่ อาความ ต้องการของตน(=ตัณหา) เป็นหลักหรือตัวนำในการดำเนินชีวติ เมือ่ มีตณ ั หาเกิดขึน้ จะทำให้อปุ าทานเกิดขึน้ ตามมา และนำไปสู่ อุปาทานขันธ์หรือทุกข์ในอริยสัจในทีส่ ดุ (=ทุกข์) ซึง่ จะเกิดมากหรือน้อย หยาบหรือละเอียด ขึน้ กับคุณภาพของความต้องการนัน้ ๆ เป็นสำคัญ หลักธรรมในพระพุทธศาสนา แสดงเส้นทางชีวติ ทุกข์ไว้เป็น 31 ระดับ หรือทีเ่ รียกว่า 31 ภพภูมิ จำแนกเป็นระดับทีเ่ ป็นทุคติ 4 ภพภูมิ คือ นรก เปรต อสุรกาย เดรัจฉาน ; ทีเ่ ป็นสุคติ 27 ภพภูมิ คือมนุษย์(1) เทวดา(6) รูปพรหม(16) อรูปพรหม(4) และเรียกชีวิตที่เดินทางวนเวียนอยู่ใน 31 ภพภูมนิ ว้ี า่ เวียนว่ายในวัฏสงสาร กลไกความเป็นไปของเส้นทาง ชีวติ ทุกข์น้ี ได้แสดงไว้อย่างละเอียดในเรือ่ ง ปฏิจจสมุปบาท (โปรดอ่าน รายละเอียดเพิ่มเติมจากหนังสือ ปฏิจจสมุปบาท ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์ จัดพิมพ์โดยธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ย.2553)
กล่าวอีกนัยหนึง่ เส้นทางชีวติ ทุกข์ เป็นเส้นทางชีวติ ทีด่ ำเนินไป ตามการลากจูงของเวทนา ทัง้ นีเ้ พราะสิง่ ทีเ่ ป็นความต้องการของตัณหา จริง ๆ คือเวทนา ดังพระพุทธพจน์ทต่ ี รัสว่า “เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา” 12 เส้นทางชีวติ ทุกข์จงึ เป็นไปในลักษณะขึน้ ๆ ลง ๆ ฟู ๆ แฟบ ๆ ไปตาม เวทนาทีเ่ กิดขึน้ ตลอดเวลา ชีวติ ในลักษณะทีก่ ล่าวนีเ้ อง คือสาระอันแท้จริง ของชีวติ ทีเ่ วียนว่ายอยูใ่ นวัฏสงสารหรือ 31 ภพภูมิ เพราะภพภูมจิ ริง ๆ แล้ว จำแนกตามระดับความหยาบและประณีตของเวทนา กล่าวคือในภพภูมิ ทีเ่ ป็นทุคติ มีทกุ ขเวทนามากกว่าสุขเวทนา แต่ในสุคติภมู ิ มีสขุ เวทนา พอ ๆ กัน หรือมากกว่าทุกขเวทนา จนถึงในระดับพรหม ไม่มที กุ ขเวทนาเลย 12
(16/2)
12
เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ * เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ เป็นเส้นทางดำเนินชีวติ ทีเ่ อา ความถูกต้อง เป็นหลักหรือตัวนำในการดำเนินชีวติ (=อริยมรรคมี องค์ 8 ทุกองค์ขน้ึ ต้นด้วย สัมมา ซึง่ มีความหมายว่า ความถูกต้อง) กล่าวอีกนัยหนึง่ เป็นเส้นทางชีวติ ทีเ่ อาปัญญาเป็นตัวนำ เพราะการจะรูว้ า่ อะไรคือความถูกต้อง ต้องอาศัยปัญญาเป็นเครือ่ งรู้ การมีปญ ั ญาเป็นตัวนำ ทำให้ชวี ติ ดำเนินไปอย่างสอดคล้อง กับความเป็นจริงของธรรมชาติ ไม่มคี วามยึดมัน่ ถือมัน่ ทีท่ ำให้เกิดการ ปีนเกลียวกับความเป็นจริงของธรรมชาติ จึงทำให้ไม่มีอุปาทานขันธ์ หรือทุกข์ในอริยสัจเกิดขึน้ (นิโรธ) เส้นทางชีวติ ทีไ่ ม่ทกุ ข์ เมือ่ ไม่ได้เอาตัณหาเป็นตัวนำ ชีวติ จึงไม่ ตกอยูภ่ ายใต้อำนาจการลากจูงของเวทนา ไม่ขน้ึ ๆ ลง ๆ ฟู ๆ แฟบ ๆ ไปตามเวทนาทีเ่ กิดขึน้ จึงเป็นชีวติ ทีอ่ สิ ร ะและเป็นไท พ้นจากการเวียน ว่ายในภพหรือวัฏสงสาร บุคคลผูส้ ามารถดำเนินชีวติ บนเส้นทางนีเ้ รียก ว่าเป็นผูร้ ู้ ผูต้ น่ื ผูเ้ บิกบาน หรือพระอริยบุคคล ซึง่ จำแนกได้เป็น 4 ระดับ คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ ตามระดับความหยาบและละเอียดของทุกข์ทถ่ี กู ดับไป สำหรับ กิจในอริยสัจ กล่าวโดยสรุป พระพุทธเจ้าได้ตรัส สอนให้ละการดำเนินชีวติ ในเส้นทางทีท่ กุ ข์เสีย แล้วฝึกหัดหรือ เพียรดำเนินชีวติ ในเส้นทางทีไ่ ม่ทกุ ข์ กล่าวคือ ไม่ดำเนินชีวติ ตาม ความต้องการของตน หรือเป็นไปตามความรูส้ กึ หรือเวทนาทีต่ น พอใจ แต่ให้ดำเนินชีวติ ด้วยปัญญาหรือความรู้ ทีร่ ถู้ กู ต้อง และรู้ เท่าทันความเป็นจริงในเรือ่ งนัน้ ๆ 13
เคล็ดสำคัญทีท่ ำให้เข้าใจอริยสัจไม่ถกู ต้อง สิ่งที่ทำให้เข้าใจอริยสัจได้ยาก และถึงกับทำให้เข้าใจผิดไป คือความเข้าใจทีไ่ ม่ถกู ต้องเกีย่ วกับสิง่ ทีเ่ ป็นหลักหรือตัวนำในการดำเนิน ชีวิต 2 เส้นทางใหญ่ ตามที่ได้กล่าวไปแล้วในบทที่ผ่านมา คือเรื่อง ความต้องการของตน (ตัณหา) และความถูกต้อง (สัมมา) ว่าคืออะไร ? ดังนัน้ จึงขอเสนอให้ทำความเข้าใจในเรือ่ งนีเ้ ป็นเบือ้ งต้นก่อน ความหมายของความต้องการทีเ่ ป็น ตัณหา และความถูกต้องทีเ่ ป็น สัมมา การจะรูว้ า่ ความต้องการลักษณะใดเป็น ตัณหา และความ ถูกต้องลักษณะใดเป็น สัมมา นัน้ ขอเสนอว่า ไม่สามารถหาคำตอบ ด้วยการใช้ความคิด หรือใช้กรอบทฤษฎีตา่ ง ๆ มาอธิบาย แต่อนั ทีจ่ ริง คำตอบนั้นมีอยู่พร้อมมูลแล้วในตัวธรรมชาติของชีวิต กล่าวคือตัว ธรรมชาติชีวิตนั้นเองกำลังป่าวประกาศคำตอบนั้นอยู่ทุกขณะ เพียงแต่มนุษย์เราอาจจะไม่ได้สงั เกตให้ดพี อ หรือมัวแต่ไปสังเกตทีอ่ น่ื จึงไม่พบคำตอบทีม่ าจากตัวธรรมชาติชวี ติ แท้ ๆ ในที่นี้ จึงขอเชิญชวนท่านผู้อ่านมาร่วมกันสังเกตและเฝ้าดู ทีต่ วั ชีวติ กันสักเล็กน้อย จะเห็นได้วา่ ธรรมชาติของชีวติ มีองค์ประกอบสำคัญอยู่ 2 ฝ่าย คือ ชีวติ ฝ่ายกาย และชีวติ ฝ่ายจิตหรือใจ ชีวิตในฝ่ายกาย เมื่อสังเกตและเฝ้าดูพบว่า ธรรมชาติของ กายมีสว่ นทีแ่ ข็ง ส่วนทีเ่ หลว ส่วนทีเ่ คลือ่ นไหวลอยไปมาได้ และส่วนที่ ร้อน-เย็น ซึง่ ในภาษาธรรมะเรียกว่า ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม และธาตุไฟ 14
ธรรมชาติของชีวิตฝ่ายกาย ก็คือ การประกอบกันเข้า ของธาตุทง้ั 4 นีเ้ อง เมือ่ สังเกตและเฝ้าดูตอ่ ไปอีกได้พบว่า ชีวติ ในฝ่ายกายยังมีความต้องการตามธรรมชาติ ซึง่ กล่าว โดยสรุปคือ ต้องการธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม และธาตุไฟ จาก ธรรมชาติภายนอกซึง่ อยูใ่ นรูปปัจจัย 4 (อาหาร, เครือ่ งนุง่ ห่ม, ทีอ่ ยู่ อาศัย และยารักษาโรค) เพือ่ อะไร ? เพือ่ หล่อเลีย้ งและค้ำจุนชีวติ ฝ่ายกาย ให้สามารถดำรงอยู่ และทำหน้าทีไ่ ด้เป็นปกติ เพราะหากชีวติ ฝ่ายกายไม่ได้รบั ปัจจัย 4 จากธรรมชาติภายนอกแล้ว ก็ไม่สามารถดำรงอยูไ่ ด้ ในส่วนของชีวติ ฝ่ายจิตบ้าง เมือ่ สังเกตและเฝ้าดูจะพบว่า ในตัวชีวิตยังมีธรรมชาติอีกประเภทหนึ่ง เป็นธรรมชาติรู้ ที่สามารถรู้ สิง่ ต่างๆ ได้ ธรรมชาติรนู้ ้ี คือ จิต นัน่ เอง จิต เป็นธรรมชาติรู้ ธรรมชาติรนู้ ้ี ก็มคี วามต้องการแท้ ๆ ตามธรรมชาติ เช่นเดียวกัน กับชีวติ ฝ่ายกายทีก่ ล่าวไป แต่อาจสังเกตได้ยากกว่า กล่าวโดยสรุป เนื่องจากจิตเป็นธรรมชาติรู้ ดังนั้น สิ่งที่จิต ต้องการตามธรรมชาติ ก็คอื ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง เพือ่ อะไร ? เพือ่ หยุดความสงสัย หยุดความดิน้ รน หรือหยุดปัญหา ที่เกิดขึ้นจากความไม่รู้ของตัวจิตเอง เพราะตราบใดที่จิตยังไม่รู้ ถูกต้องหรือไม่รแู้ จ้งในเรือ่ งใด เรือ่ งนัน้ ก็ยงั มีอนั พัวพันจิตให้ดน้ิ รนด้วย ความงุนงงสงสัย ไม่สามารถสงบ นิง่ เป็นปกติได้ 15
ตัวอย่างในชีวติ จริงทีท่ กุ คนคงเคยประสบมาแล้ว คือในยามที่ มีปญ ั หาทำให้เกิดความกังวลหรือทุกข์ใจ ตราบใดทีจ่ ติ ยังไม่รวู้ า่ อะไร เป็นอะไร ยังมองไม่เห็นทางออก หรือไม่รคู้ ำตอบของปัญหานัน้ จิตก็จะ ยังทุกข์และกังวลอยูต่ ราบนัน้ แต่เมือ่ เห็นทางออก และรูค้ ำตอบของ การแก้ไขปัญหานัน้ จิตจะเกิดภาวะโล่งใจ อย่างทีม่ คี ำกล่าวว่า เหมือน ยกภูเขาออกจากอก นีย่ อ่ มเป็นเครือ่ งแสดงว่า สิง่ ทีจ่ ติ ต้องการจริง ๆ คือ ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง หรือหากพิจารณาจากพระพุทธประวัติ ซึ่งมีเรื่องเล่าว่า พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญบารมีนานถึง 4 อสงไขยกับแสนกัปป์ หลังจาก ทีไ่ ด้รบั พระพุทธพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าทีปงั กร ถามว่า : ทีท่ รงบำเพ็ญมาทัง้ หมดต้องการอะไร ? คำตอบ คือต้องการโพธิญาณหรือการตรัสรู้ รู้แจ้งเห็นจริง ในสรรพสิง่ นี่ย่อมเป็นสิ่งยืนยันให้เห็นชัดเจนว่า สิ่งที่จิตต้องการตาม ธรรมชาติแท้ ๆ คือความรูแ้ จ้ง หรือความรูท้ ถ่ี กู ต้อง ความต้องการตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วนี้ เป็นความต้องการแท้ ๆ ของธรรมชาติชีวิตที่จะต้องรู้จัก และจะต้องปฏิบัติเพื่อตอบสนอง เป็นความต้องการที่เป็นตัวบังคับให้ชีวิตมีหน้าที่ที่จะต้องกระทำ ไม่กระทำไม่ได้ และหากไม่กระทำแล้ว จะส่งผลให้เกิดปัญหาและ ความเดือดร้อนต่าง ๆ มากมายแก่ชวี ติ ผูร้ บู้ างท่านจึงได้ให้ความหมายของธรรมะว่า ธรรมะคือหน้าที่ ก็มาจากความเข้าใจตรงนีเ้ อง กล่าวคือหน้าทีท่ จ่ี ะต้องกระทำหรือ ปฏิบตั ิ เพือ่ ตอบสนองความต้องการแท้ ๆ ของธรรมชาติ 16
จากการสังเกตและเฝ้าดูธรรมชาติชวี ติ ทัง้ ฝ่ายกายและฝ่ายจิต นี่เอง จึงทำให้บุคคลรู้จักว่าอะไรคือความต้องการที่เป็นตัณหา และ อะไรคือความถูกต้องทีเ่ ป็นสัมมา กล่าวโดยสรุป ความต้องการใดทีต่ อ้ งการนอกเหนือจากความต้องการแท้ ๆ ของธรรมชาติชวี ติ ความต้องการนัน้ เป็น ตัณหา ความรูท้ เ่ี ข้าใจชีวติ ฝ่ายกายและฝ่ายจิตตรงตามธรรมชาติ ทีเ่ ป็นอยูจ่ ริง กล่าวคือรูว้ า่ คืออะไร ต้องการอะไร และเพือ่ อะไร ความรูค้ วามเข้าใจนัน้ เป็น สัมมา หรือ วิชชา ในทางตรงกันข้าม ความรู้ความเข้าใจชีวิตฝ่ายกายและ ฝ่ายจิตผิดไปจากธรรมชาติทเ่ี ป็นอยูจ่ ริง ความรูค้ วามเข้าใจนัน้ เป็น มิจฉา หรือ อวิชชา การพิจารณาให้รู้จักชีวิตฝ่ายกายและฝ่ายจิตดังที่กล่าวมา จึงเป็นการชีใ้ ห้เห็นชัดถึงความหมายของ สัมมา และตัณหา รวมไปถึง มิจฉา อวิชชา และวิชชา ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไว้เป็นอย่างดี ซึง่ จะเป็นประโยชน์อย่างมากแก่การทำความเข้าใจอริยสัจอย่างแจ่มแจ้ง ต่อไปข้างหน้า ดังนัน้ ในเรือ่ งของ ความต้องการ เราจะต้องพิจารณาให้ดี ไม่ใช่ขน้ึ ชือ่ ว่า ความต้องการ แล้ว จะต้องเป็น ตัณหา เสมอไป อย่างทีอ่ าจจะมีชาวพุทธจำนวนไม่นอ้ ยเข้าใจผิดอยู่
17
ทุกข์ในอริยสัจ คืออะไร ? พระพุทธเจ้าได้ตรัสแสดงทุกข์ในอริยสัจว่า คือ ความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความประจวบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความไม่ได้ในสิ่งที่ปรารถนา ว่าโดยย่อคือ อุปาทานขันธ์ 5 13 กล่าวโดยสรุป ทุกข์ในอริยสัจ คืออุปาทานขันธ์ 5 เป็นทุกข์ ทีเ่ กิดจากอุปาทานหรือความยึดมัน่ ถือมัน่ และสาระสำคัญของ ขันธ์ 5 ซึง่ เป็นทีต่ ง้ั ของความยึดมัน่ ถือมัน่ เมือ่ ประมวลทัง้ หมด แล้ว มีศนู ย์กลางวนเวียนอยูท่ เ่ี รือ่ งของความเกิด ความแก่ ความ เจ็บ ความตาย และสิง่ อันเป็นทีร่ กั ทีพ ่ อใจเป็นสำคัญ และจัดเป็น ทุกข์ทางใจ อย่างทีไ่ ด้อธิบายไปแล้ว คำว่า อุปาทานขันธ์ 5 หมายถึง ขันธ์ 5 ทีม่ อี ปุ าทานเกิดขึน้ เพียงลำพังอุปาทาน หรือขันธ์ 5 อย่างใดอย่างหนึง่ เท่านัน้ ยังไม่ชอ่ื ว่า เป็น อุปาทานขันธ์ 5 และยังไม่จดั เป็นทุกข์ในอริยสัจ ในกรณีน้ี อาจเปรียบได้กบั บุคคลเป็นโรคทีเ่ กิดมาจากเชือ้ โรค ชนิดหนึง่ ลำพังเชือ้ โรคเพียงอย่างเดียว หรือร่างกายเพียงอย่างเดียว ยังไม่ชอ่ื ว่าบุคคลเป็นโรคแต่อย่างใด ต่อเมือ่ มีเชือ้ โรคเข้าสูร่ า่ งกาย บุคคล จึงได้ชื่อว่าเป็นโรคนั้น ๆ และแสดงอาการของโรคออกมาที่ร่างกาย นัน้ เอง เช่น เป็นไข้ ตัวร้อน เจ็บ ปวด บวม ผืน่ คัน ไอ ในทำนองเดียวกัน เมือ่ เกิดอุปาทานขันธ์ 5 ขึน้ จึงกล่าวได้วา่ เกิดทุกข์ในอริยสัจขึน้ นอกจากนัน้ ยังแสดงอาการปรากฏอืน่ ๆ ขึน้ ทีต่ วั ขันธ์ 5 อีก ตามทีแ่ สดงไว้ในคัมภีรว์ า่ คือ ความโศก ความร่ำไรรำพัน 13
(4/14)
18
ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ รวมไปถึง ความ หวัน่ ไหว และความสะดุง้ อย่างทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว ประเด็นทีค่ วรตัง้ ข้อสังเกตในทีน่ ้ี คือ เรือ่ ง ความไม่สบายกาย ซึง่ ในภาษาบาลีใช้คำว่า ทุกขะ หมายถึง ทุกขเวทนาทางกาย แต่หาก มีสาเหตุเกิดมาจากอุปาทาน ก็จดั เป็นทุกข์ในอริยสัจด้วย ต่อจากนีไ้ ปจะขออธิบายเรือ่ งขันธ์ 5 และอุปาทาน เพือ่ จะทำให้ เข้าใจเรือ่ งอุปาทานขันธ์ 5 หรือทุกข์ในอริยสัจโดยละเอียดต่อไป ขันธ์ 5 คือส่วนประกอบ 5 ประการที่รวมกันเข้าเป็นชีวิต และก่อให้เกิดพฤติกรรมของชีวติ อธิบายเพือ่ ให้เข้าใจง่าย ๆ ว่า 1. รูปขันธ์ คือ กายรวมทัง้ พฤติกรรมทางกาย หรือส่วนที่ เป็นรูปธรรม 2. เวทนาขันธ์ คือ ความรูส้ กึ (สุข ทุกข์ หรือ เฉย ๆ) 3. สัญญาขันธ์ คือ ความจำ และการหมายรู้ 4. สังขารขันธ์ คือ ความคิดปรุงแต่ง 5.วิญญาณขันธ์ คือ ความรู้แจ้งในอารมณ์ที่เกิดขึ้นทาง อายตนะต่าง ๆ เช่น การเห็น การได้ยนิ ในส่วนของ อุปาทาน 14 ได้จำแนกไว้เป็น 4 อย่าง คือ 1. กามุปาทาน (ความยึดมัน่ ในกาม คือ รูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ ทีน่ า่ ใคร่ น่าพอใจ) 2. ทิฏฐุปาทาน (ความยึดมัน่ ในทิฏฐิ ความเห็น ลัทธิตา่ ง ๆ ) 3. สีลัพพตุปาทาน (ความยึดมั่นในศีลและพรต หรือข้อ ปฏิบตั ิ แบบแผน ระเบียบ วิธี ขนบธรรมเนียมประเพณี ลัทธิพธิ ตี า่ ง ๆ) 4. อัตตวาทุปาทาน (ความยึดมัน่ ในวาทะว่าตัวตน) 14
(11/262)
19
ดังนัน้ หากกล่าวให้ละเอียด สามารถจำแนกทุกข์ในอริยสัจได้ เป็น 4 ประเภทใหญ่ ๆ ตามอุปาทานทีเ่ กิดขึน้ คือ อุปาทานขันธ์ 5 หรือ ทุกข์ทเ่ี นือ่ งด้วยอุปาทานต่าง ๆ ดังนี้ คือ (1) ทุกข์ทเ่ี นือ่ งด้วยกามุปาทาน (2) ทุกข์ทเ่ี นือ่ งด้วยทิฏฐุปาทาน (3) ทุกข์ทเ่ี นือ่ งด้วยสีลพั พตุปาทาน และ(4) ทุกข์ทเ่ี นือ่ งด้วยอัตตวาทุปาทาน ดังนัน้ จึงสามารถจำแนกทุกข์ในอริยสัจหรืออุปาทานขันธ์ 5 ที่จะเกิดขึ้นได้ทั้งสิ้น ตามลำดับจากหยาบไปหาละเอียด ดังนี้ คือ ทุกข์ที่เนื่องด้วยทิฏฐุปาทาน ทุกข์ที่เนื่องด้วยสีลัพพตุปาทาน ทุกข์ที่ เนือ่ งด้วยกามุปาทาน และทุกข์ทเ่ี นือ่ งด้วยอัตตวาทุปาทาน ทุกข์ในอริยสัจยังสามารถอธิบายในบริบทของ สังโยชน์10 15 ซึง่ หมายถึงสิง่ ผูกมัดหรือร้อยรัดบุคคลไว้กบั ภพหรือกองทุกข์ การอธิบาย ตามนัยนีเ้ ป็นทีร่ จู้ กั ในหมูช่ าวพุทธทัว่ ไปมากกว่า อันทีจ่ ริงสังโยชน์ 10 ก็มที ม่ี าจากอุปาทาน 4 (โปรดอ่านเพิม่ เติมจากหนังสือ ปฏิจจสมุปบาท ฉบับ วิเคราะห์-สังเคราะห์ ทีอ่ า้ งแล้ว ในหน้า 39-41)
* จาก ทิฏฐุปาทาน และสีลพั พตุปาทาน ถูกขยายออกมาเป็น สังโยชน์ คือ สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา และสีลพ ั พตปรามาส * จาก กามุปาทาน ถูกขยายออกมาเป็นสังโยชน์ คือ กามราคะ และปฏิฆะ * จาก อัตตวาทุปาทาน ถูกขยายออกมาเป็นสังโยชน์ คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา 15
(19/349,351) สักกายทิฏฐิ (ความเห็นผิดว่าเป็นตัวตน) วิจกิ จิ ฉา (ความลังเล สงสัยหรือขาดความมัน่ ใจในการดำเนินชีวติ ) สีลพ ั พตปรามาส (ความงมงายในศีล และพรต) กามราคะ (ความติดใจในกามคุณ) ปฏิฆะ (ความหงุดหงิดขัดเคือง) รูปราคะ (ความติดใจในอารมณ์ของรูปฌาน) อรูปราคะ (ความติดใจในอารมณ์ของ อรูปฌาน) มานะ (ความถือตน) อุทธัจจะ (ความฟุง้ ซ่าน) อวิชชา (ความไม่รจู้ ริง)
20
การอธิบายทุกข์ในอริยสัจตามนัยของสังโยชน์ 10 ช่วยทำให้เห็น และเข้าใจเรือ่ งของทุกข์ในอริยสัจได้ดยี ง่ิ ขึน้ และยังทำให้เห็นแนวทางที่ จะละทุกข์ในอริยสัจไปตามลำดับได้ชดั เจนขึน้ กล่าวคือ ทุกข์ในอริยสัจ หรืออุปาทานขันธ์ลำดับแรกสุดทีบ่ คุ คล สามารถละได้กอ่ น คือทุกข์ที่มาจากความยึดมั่นในความเห็นผิด ในเรื่องตัวตน โดยเห็นผิดว่ารูปธรรมและ/หรือนามธรรมเป็น ตัวตน (=สักกายทิฏฐิ, วิจกิ จิ ฉา, สีลพั พตปรามาส) ทุกข์ในอริยสัจ หรืออุปาทานขันธ์ทจ่ี ะละในลำดับถัดไป คือทุกข์ทม่ี าจากความยึดมัน่ ในรูปธรรม รวมถึงนามธรรมทีเ่ นือ่ ง ด้วยรูปธรรม (คือความรูส้ กึ นึกคิดทีม่ รี ปู ธรรม เช่น รูป เสียง ฯลฯ เป็นอารมณ์) ว่าเป็นตัวตน ซึง่ ไปรวมอยูท่ ร่ี สชาติทม่ี าจากรูปธรรม เป็นสำคัญ (=กามราคะ, ปฏิฆะ) ทุกข์ในอริยสัจ หรืออุปาทานขันธ์ลำดับสุดท้ายทีจ่ ะละได้ คือทุกข์ทม่ี าจากความยึดมัน่ ในนามธรรม ทีพ ่ น้ ไปจากรูปธรรม (คือความรูส้ กึ นึกคิดทีไ่ ม่เนือ่ งด้วยรูปธรรมใด ๆ) ว่าเป็นตัวตน ซึง่ ไปรวมอยูท่ ร่ี สชาติทม่ี าจากนามธรรมล้วน ๆ (=รูปราคะ, อรูปราคะ, มานะ, อุทธัจจะ และอวิชชา) สิง่ ต่าง ๆ ในธรรมชาติทม่ี นุษย์จะยึดมัน่ ถือมัน่ ได้ เมือ่ จำแนก แล้วมีอยู่ 2 สิง่ ใหญ่ ๆ คือสิง่ ทีเ่ ป็นรูปธรรม และสิง่ ทีเ่ ป็นนามธรรม ดังนัน้ ความยึดมั่นถือมั่นที่จะเกิดขึ้นได้ คือความยึดมั่นถือมั่นในรูปธรรม และความยึดมัน่ ถือมัน่ ในนามธรรมโดยตรง นอกจากนัน้ ก็มคี วามยึดมัน่ ถือมัน่ ในความเห็นผิดต่อรูปธรรมและนามธรรม จึงทำให้เกิดทุกข์ใน อริยสัจได้เป็น 3 ระดับ ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว 21
สมุทยั ในอริยสัจ คืออะไร ? มีพระพุทธวจนะตรัสแสดงไว้วา่ ตัณหา คือความทะยานอยาก เป็นเหตุแห่งทุกข์ ความทะยานอยากนี้ หากกล่าวให้ชดั คือความทะยานอยาก ในเวทนาหรือความรูส้ กึ หรือรสชาติทเ่ี กิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูเ้ ป็นสำคัญ ดังพระพุทธพจน์ทไ่ี ด้อา้ งไปแล้วว่า เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา บุคคลเมือ่ มีความทะยานอยาก (ตัณหา) ในรสชาติสมั ผัส ของสิง่ ใด ก็จะยึดติดอยูก่ บั สิง่ นัน้ และก่อตัวเป็นความยึดมัน่ ถือมัน่ ในรูปแบบต่างๆ ขึน้ (อุปาทาน) โดยมีจติ ฝังลงไปว่า ด้วยความ ยึดมัน่ ถือมัน่ นี้ จะทำให้ชวี ติ มีความสุข ความมัน่ คง และความ ยัง่ ยืนทีแ่ ท้จริง เมือ่ อุปาทานเกิดขึน้ ทุกข์ในอริยสัจหรืออุปาทานขันธ์ 5 ก็เกิดขึน้ ตัณหา หรือความทะยานอยาก จำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ กามตัณหา (ความอยากได้ อยากมี หรือความทะยานอยากในกาม), ภวตัณหา (ความอยากเป็น หรือความทะยานอยากในภพ) และวิภวตัณหา (ความอยากไม่เป็น หรือความทะยานอยากในวิภพ) เกิดขึน้ จากเวทนาทีส่ มั ผัสรับรู้ ดังนี้ คือ หากรับรูว้ า่ เป็น สุขเวทนา จะเร้าให้เกิดความทะยานอยากไป ในทางทีอ่ ยากจะได้หรืออยากจะมี (= กามตัณหา) หรืออยากดำรงอยู่ เป็นอันหนึง่ อันเดียวกับภาวะของสุขเวทนานัน้ (= ภวตัณหา) แต่หากรับรูว้ า่ เป็น ทุกขเวทนา ก็จะเร้าให้เกิดความทะยาน อยากไปในทางที่จะผลักไสหรือหนีห่างจากภาวะของทุกขเวทนานั้น (= วิภวตัณหา) 22
ในกรณีทร่ี บั รูเ้ ป็น อทุกขมสุขเวทนา (เวทนาทีย่ งั ตัดสินลงไป ไม่ได้วา่ เป็นสุขหรือเป็นทุกข์) ก็ขน้ึ อยูก่ บั บุคคลแต่ละคนว่าจะตัดสินต่อ เวทนานั้นอย่างไร หากตัดสินไปในทางที่อยากจะได้หรืออยากจะมี หรืออยากจะดำรงอยูเ่ ป็นอันหนึง่ อันเดียวกับเวทนานัน้ ก็จะเร้าให้เกิด กามตัณหา และภวตัณหา ตามลำดับ ในทางตรงข้ามหากตัดสินไป ในทางทีอ่ ยากจะผลักไสหรือหนีหา่ ง ก็จะเร้าให้เกิด วิภวตัณหา ขึน้ จากกามตัณหา จะนำไปสูอ่ ปุ าทาน คือ กามุปาทาน จากภวตัณหา และวิภวตัณหา จะนำไปสูอ่ ปุ าทาน คือ ทิฏฐุปาทาน สีลพ ั พตุปาทาน และอัตตวาทุปาทาน ตัณหา คือความทะยานอยาก เป็นเหตุแห่งทุกข์ ตามเหตุ และผลดังทีไ่ ด้กล่าวมา นิโรธในอริยสัจ คืออะไร ? นิโรธ คือความดับทุกข์ ได้แก่ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป การให้อรรถาธิบายดังทีก่ ล่าวนี้ มีนยั สำคัญยิง่ และเป็นหลักการทีจ่ ะต้อง ระลึกไว้ให้ดี นิโรธในพระพุทธศาสนา ไม่ใช่ภาวะทีบ่ คุ คลพยายามปฏิบตั ิ ให้เข้าถึง แต่เป็นภาวะทีจ่ ะปรากฏขึน้ มาเอง เมือ่ ตัณหาถูกดับให้หมด สิน้ ไป กิจทีก่ ระทำในนิโรธ จึงได้สอนว่า “ทำให้แจ้ง” หรือ “ทำให้ปรากฏ” ภาวะความดับทุกข์น้ี ก็มลี ำดับความดับสิน้ ไปของทุกข์ จากหยาบ ไปหาละเอียด ดังเช่นทีก่ ล่าวไปแล้วในหัวข้อทุกข์ในอริยสัจ กล่าวคือ * ทุกข์อนั เนือ่ งจากทิฏฐุปาทานและสีลพั พตุปาทานจะถูกดับ ไปก่อนเป็นอันดับแรก เรียกบุคคลผู้ดับทุกข์ระดับนี้ได้หมดสิ้นว่า พระโสดาบัน และหากสามารถกระทำราคะ โทสะ โมหะ ให้เบาบาง 23
ลงไปอีก จะได้ชอ่ื ว่าเป็นพระสกทาคามี เป็นผูท้ ด่ี บั ทุกข์ในระดับอบายภูมไิ ด้อย่างเด็ดขาด * ทุกข์อนั เนือ่ งจากกามุปาทานจะถูกดับในลำดับถัดไป เรียก บุคคลผูด้ บั ทุกข์ระดับนีไ้ ด้หมดสิน้ ว่าพระอนาคามี เป็นผูไ้ ม่มที กุ ข์อนั เกิดจากกามหรือทีเ่ นือ่ งกับธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรมทัง้ หมดโดยเด็ดขาด * ทุกข์อนั เนือ่ งจากอัตตวาทุปาทานจะถูกดับไปเป็นลำดับสุดท้าย เรียกบุคคลผูด้ บั ทุกข์ระดับนีไ้ ด้หมดสิน้ ว่าพระอรหันต์ เป็นผูไ้ ม่มที กุ ข์ อันเกิดธรรมชาติฝา่ ยนามธรรมทัง้ หมดโดยเด็ดขาด และไม่มสี ง่ิ ใดทีจ่ ะ ทำให้เกิดทุกข์ได้อกี ต่อไป มรรคในอริยสัจ คืออะไร ? มรรค คือทางหรือข้อปฏิบตั ใิ ห้ถงึ ภาวะความดับทุกข์ พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงอริยมรรคมีองค์ 8 ว่าเป็นทางดำเนิน ชีวติ อันประเสริฐ เพือ่ ความดับทุกข์อย่างหมดจดและสิน้ เชิง จำแนก ได้เป็น 1. สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) 2. สัมมาสังกัปปะ (ดำริชอบ) 3. สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) 4. สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ) 5. สัมมาอาชีวะ (เลีย้ งชีพชอบ) 6. สัมมาวายามะ (พยายามชอบ) 7. สัมมาสติ (ระลึกชอบ) 8. สัมมาสมาธิ (ตัง้ จิตมัน่ ชอบ) 24
ข้อปฏิบตั ทิ ง้ั 8 ประการนี้ อันทีจ่ ริงคือพฤติกรรมการแสดงออก ทัง้ หมดของบุคคล ทัง้ ทางกาย วาจา และใจ การปฏิบตั ธิ รรมในพระพุทธศาสนา หากจะกล่าวให้ครบถ้วน จะต้องปฏิบตั ใิ ห้ครบทัง้ 8 เรือ่ ง ในมรรคมีองค์ 8 จึงจะทำให้ประสบผลและบรรลุถงึ ภาวะทีเ่ ป็นความ ดับทุกข์ได้อย่างแท้จริง สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) สัมมาทิฏฐิ แปลว่าเห็นชอบ หมายถึงมีความเห็นทีถ่ กู ต้อง หรือมีความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้อง สัมมาทิฏฐิ เป็นข้อปฏิบตั อิ นั ดับแรกในองค์มรรค เป็นปัญญา พืน้ ฐานหรือปัญญาขัน้ ต้น ทีบ่ คุ คลจะต้องมีหรือจะต้องแสวงหาก่อน เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งนำทางและลากจูงให้ขอ้ ปฏิบตั ลิ ำดับถัดไปในองค์มรรค เป็นไปด้วยความถูกต้อง หมายความว่า การทีบ่ คุ คลจะเข้าไปทำหน้าทีห่ รือเกีย่ วข้องกับ เรือ่ งอะไรก็ตาม บุคคลจะต้องแสวงหาความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องหรือ สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งนัน้ ๆ ให้มอี ย่างเพียงพอเสียก่อน แล้วจึงค่อยเข้าไป ทำหน้าทีห่ รือเกีย่ วข้องตามความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องนัน้ จึงจะทำให้ ประสบความสำเร็จด้วยดี หากบุคคลยังไม่มีความรู้ความเข้าใจหรือสัมมาทิฏฐิในเรื่อง นัน้ ๆ ดีพอ แล้วไปทำหน้าทีห่ รือเกีย่ วข้องเข้า ก็อาจทำให้เกิดปัญหาหรือ ผลร้ายติดตามมาได้งา่ ย สัมมาทิฏฐิ จึงเปรียบเสมือนเป็น แผนที่ ทีเ่ ป็นเครือ่ งนำทาง หรืออาจเปรียบได้กบั คูม่ อื ทีต่ ดิ มาพร้อมกับอุปกรณ์หรือเครือ่ งใช้ท่ี ซือ้ มา คูม่ อื จะบอกให้ทราบถึงรายละเอียดต่าง ๆ ทีค่ วรรู้ เช่น ชือ่ เรียก 25
และการทำงานของชิน้ ส่วนต่าง ๆ วิธกี ารใช้ การบำรุงรักษา ข้อทีค่ วรระวัง หรือการแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้น เป็นต้น เมื่อบุคคลได้อุปกรณ์หรือเครื่องใช้อะไรมาสักอย่างหนึ่ง อันดับแรกสุดทีจ่ ะต้องกระทำก่อน คือการศึกษาสิง่ ต่าง ๆ ทีร่ ะบุอยูใ่ น คูม่ อื ให้เข้าใจให้ดี แล้วจึงค่อยไปใช้หรือเกีย่ วข้องกับอุปกรณ์หรือเครือ่ งใช้ นัน้ ๆ ตามทีร่ แู้ ละเข้าใจถูกต้อง ก็จะทำให้สามารถเข้าไปใช้งานและ ได้รับประโยชน์เป็นอย่างดีและเต็มประสิทธิภาพ มีความปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดผลเสียหายติดตามมา หากเปรียบเทียบกับบุคคลที่ยัง ไม่มคี วามรูค้ วามเข้าใจดีพอ แล้วเข้าไปใช้โดยทันที นอกจากจะไม่สามารถ ใช้อปุ กรณ์หรือเครือ่ งใช้ดงั กล่าว ให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์แล้ว ยังอาจทำให้เกิดอันตรายทั้งแก่ผู้ใช้และแก่อุปกรณ์เครื่องใช้นั้นเอง โดยความรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์อกี ด้วย ในกรณีของพระพุทธศาสนาก็เช่นเดียวกัน การจะเข้าไปเกีย่ ว ข้องกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา เพื่อให้ได้รับประโยชน์ตรงตาม วัตถุประสงค์และอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยนัน้ ประการแรกสุดทีจ่ ะต้อง ทำก็คอื การแสวงหาความรูค้ วามเข้าใจทีเ่ ป็นสัมมาทิฏฐิในพระพุทธ ศาสนาก่อน สัมมาทิฏฐิ ในพระพุทธศาสนา มีเนือ้ หาสาระแสดงไว้วา่ คือ ความรูใ้ นเรือ่ ง ทุกข์ , เหตุแห่งทุกข์ (สมุทยั ), ความดับทุกข์ (นิโรธ), และข้อปฏิบตั เิ พือ่ ถึงความดับทุกข์ (มรรค) หรืออริยสัจ 4 นัน่ เอง ดังนัน้ หลักธรรมใดทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับเรือ่ งทุกข์และความดับสิน้ ไป แห่งทุกข์ กล่าวได้ว่า นั่นไม่ใช่คำสอนในพระพุทธศาสนา สมดังที่มี 26
พระพุทธวจนะตรัสไว้วา่ “ในกาลก่อนด้วย ในบัดนีด้ ว้ ย เราย่อมบัญญัติ ทุกข์และความดับแห่งทุกข์ ฯ” ตามทีไ่ ด้อา้ งไปแล้ว กล่าวโดยสรุป สัมมาทิฏฐิ ซึง่ เป็นมรรคในองค์แรก ทำหน้าที่ บอกให้รวู้ า่ การดำเนินชีวติ ทีจ่ ะไม่ให้ทกุ ข์เกิดขึน้ นัน้ จะต้องไม่ ดำเนินชีวติ ตามความอยากหรือความต้องการของตน แต่ให้ดำเนิน ชีวิตด้วยปัญญาที่รู้ถูกต้อง และรู้เท่าทันความเป็นจริงในเรื่อง นัน้ ๆ การดำเนินชีวิตไปตามกรอบของสัมมาทิฏฐิดังที่กล่าวไปนี้ นอกจากจะไม่ทำให้ทกุ ข์ในอริยสัจคืออุปาทานขันธ์ 5 เกิดขึน้ ในจิตของ บุคคลแล้ว ยังทำให้กจิ หรืองานต่าง ๆ ทีเ่ ข้าไปกระทำนัน้ เป็นไปด้วยดี ไม่กอ่ ปัญหาหรือความเดือดร้อนออกไปในวงกว้างอีกด้วย ประเด็นทีย่ ากในเรือ่ ง สัมมาทิฏฐิ คือจะรูไ้ ด้อย่างไรว่า ความรู้ความเข้าใจในสิ่งหรือเรื่องที่กระทำอยู่นั้น ถูกต้องตาม ความเป็นจริงหรือไม่ ? ในทีน่ ข้ี อเสนอว่า ความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติของชีวิตที่ ถูกต้องทัง้ ในฝ่ายกายและฝ่ายจิต ว่าคืออะไร ต้องการอะไร เพือ่ อะไร ตามทีไ่ ด้อธิบายไปแล้วนัน้ เป็นรากฐานสำคัญทีจ่ ะทำให้ความรูค้ วาม เข้าใจในเรือ่ งต่าง ๆ ของชีวติ เป็นไปโดยถูกต้องได้งา่ ยขึน้ เพราะจะ ขัดแย้งกับความเป็นจริงของธรรมชาติพน้ื ฐานนีไ้ ม่ได้เลย นอกจากนัน้ อาจมีหลักง่าย ๆ ทีพ่ ระพุทธเจ้าให้ไว้ สำหรับการ ประเมินว่าอะไรคือความถูกต้อง โดยพิจารณาจากผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ว่า จะไม่กอ่ ความเดือดร้อนให้เกิดขึน้ ทัง้ แก่ตนเองและแก่สว่ นรวม
27
เมือ่ มีสมั มาทิฏฐิในเรือ่ งใด ก็เท่ากับว่าเห็นแนวทางทีจ่ ะเข้าไป รับรูแ้ ละทำหน้าทีใ่ นเรือ่ งนัน้ ได้อย่างถูกต้อง สัมมาทิฏฐิจงึ เป็นหลักประกัน ทีท่ ำให้การดำเนินชีวติ และการดำเนินการในเรือ่ งต่าง ๆ เป็นไปด้วยดี ไม่เกิดผลลัพธ์ทเ่ี ป็นทุกข์และความเสียหายเดือดร้อน แต่ประการใด สมดังพระพุทธวจนะทีต่ รัสว่า บุคคลก้าวล่วงทุกข์ได้ เพราะ สมาทานสัมมาทิฏฐิ 16 ดังทีไ่ ด้กล่าวมา จะเห็นได้วา่ สัมมาทิฏฐิเป็นหลักธรรมทีก่ ว้างขวาง ครอบคลุมทุกสิง่ และทุกเรือ่ งทีช่ วี ติ เข้าไปเกีย่ วข้อง ซึง่ แต่ละเรือ่ งมีราย ละเอียดของเนือ้ หาทีแ่ ตกต่างกันออกไป ในขัน้ ต้นทีส่ ดุ บุคคลจึงควร แสวงหาสัมมาทิฏฐิทเ่ี ป็นความจริงของชีวติ ในเรือ่ งทัว่ ๆ ไปให้เพียงพอ ก่อน และเพิม่ พูนให้มากขึน้ และลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ จนถึงระดับทีเ่ รียกว่ามี สัมมาทิฏฐิสมบูรณ์ ก็จะทำให้บคุ คลกลายเป็นพระอริยบุคคลขัน้ แรก คือพระโสดาบัน เป็นผูร้ เู้ ข้าใจความจริงของชีวติ และสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับชีวติ ได้ถกู ต้อง หรืออีกนัยหนึง่ คือ เห็นแนวทางในการดำเนินชีวติ ที่ ถูกต้อง ไม่ทำอะไรตามความต้องการของตน (=ละสักกายทิฏฐิ) จึงทำให้ มีความมัน่ ใจในการดำเนินชีวติ (=ละวิจกิ จิ ฉา) และจะไม่ประพฤติหรือ ปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีเ่ ป็นความงมงายใด ๆ อีกต่อไป (=ละสีลพั พตปรามาส) เพราะรูแ้ ล้วเห็นแล้วถึงแนวทางการดำเนินชีวติ ทีถ่ กู ต้องนัน้ ต่อจากนีไ้ ป จะได้กล่าวถึงสัมมาทิฏฐิในเรือ่ งต่าง ๆ ทีช่ วี ติ ของ บุคคลทัว่ ไปจะต้องรูจ้ กั เกีย่ วข้อง และทำหน้าที่ ตามสมควร พอเป็น ตัวอย่างแก่บคุ คล ทีจ่ ะรูจ้ กั และเห็นการทำหน้าทีข่ องสัมมาทิฏฐิได้ดี ยิง่ ขึน้ และสามารถนำไปประยุกต์ดว้ ยตนเองได้ตอ่ ไป 16
(21/49)
28
สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งปัจจัย 4 สัมมาทิฏฐิเรื่องแรกสุดที่จะต้องรู้และเข้าใจก่อน อย่างที่ได้ กล่าวไปแล้วว่า คือสัมมาทิฏฐิในเรือ่ งของชีวติ ทีจ่ ะต้องรูเ้ ข้าใจว่าชีวติ ซึง่ มีองค์ประกอบอยู่ 2 ฝ่าย คือฝ่ายกายและฝ่ายจิตนัน้ ในแต่ละฝ่าย คืออะไร ? ต้องการอะไร ? เพือ่ อะไร ? สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งนีเ้ ป็นพืน้ ฐานทีส่ ดุ ทีจ่ ะทำให้เกิดความรูเ้ ข้าใจถึงเรือ่ งอืน่ ๆ ของชีวติ ต่อไปได้ถกู ต้อง สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งถัดไป ทีเ่ ป็นเรือ่ งใกล้ตวั คือเรือ่ งปัจจัย 4 (อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค) เป็นสิ่งที่ ทุกชีวิตต้องอาศัยเป็นสิ่งหล่อเลี้ยงและค้ำจุน เพื่อให้ชีวิตฝ่ายกาย สามารถดำรงอยูแ่ ละทำหน้าทีไ่ ด้เป็นปกติ พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนพระภิกษุสาวกในเรือ่ งการพิจารณา ปัจจัย 4 17 ไว้ในหลายพระสูตร จึงขอสรุปใจความสำคัญและนำมาลงไว้ ในทีน่ ้ี ซึง่ อันทีจ่ ริงก็คอื เนือ้ หาทีเ่ ป็นสัมมาทิฏฐิในเรือ่ งปัจจัย 4 นีเ่ อง 1. สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งอาหาร กล่าวโดยสรุป คือความรูค้ วาม เข้าใจทีว่ า่ อาหารนีเ้ ป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ รับประทานเพือ่ บรรเทา ความหิว ป้องกันไม่ให้โรคภัยไข้เจ็บและความทุกข์ทรมานอืน่ ๆ เกิดขึน้ ช่วยให้รา่ งกายสามารถดำรงอยูแ่ ละทำหน้าทีไ่ ด้เป็นปกติ ไม่ได้เป็นไปเพือ่ ความเอร็ดอร่อย เพือ่ การบำรุงบำเรอ หรือใช้เป็นเครือ่ งอวดสถานภาพ 2. สัมมาทิฏฐิในเครือ่ งนุง่ ห่ม กล่าวโดยสรุป คือความรูค้ วาม เข้าใจทีว่ า่ เครือ่ งนุง่ ห่มนี้ เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ นุง่ ห่มเพือ่ ป้องกัน สัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด ความร้อน ความหนาว ปิดบัง ไม่ให้เกิดความอาย 17
(22/329)
29
3. สัมมาทิฏฐิในทีอ่ ยูอ่ าศัย กล่าวโดยสรุป คือความรูค้ วาม เข้าใจทีว่ า่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยนี้ เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ มีไว้อาศัยเพือ่ ป้องกัน สัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด ความร้อน ความหนาว และบรรเทา อันตรายอันเกิดจากดินฟ้าอากาศ หรือความแปรปรวนของฤดูกาล 4. สัมมาทิฏฐิในยารักษาโรค กล่าวโดยสรุป คือความรูค้ วาม เข้าใจทีว่ า่ ยารักษาโรคนี้ เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ มีไว้เพือ่ รักษา ความเจ็บป่วย และบรรเทาทุกขเวทนาทีเ่ กิดขึน้ จากการเจ็บป่วยนัน้ เพราะสัมมาทิฏฐิหรือความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องใน เรื่องของปัจจัย 4 จึงทำให้บุคคลรู้จักและเข้าไปทำหน้าที่และ เกีย่ วข้องกับปัจจัย 4 ได้อย่างถูกต้อง ยกตัวอย่าง เช่น เรือ่ งอาหาร เมือ่ มีสมั มาทิฏฐิ หรือความรูค้ วาม เข้าใจทีถ่ กู ต้องแล้ว จะทำให้รจู้ กั คุณค่าความหมายของอาหารทีม่ ตี อ่ กาย และรูจ้ กั ทีจ่ ะเข้าไปทำหน้าทีเ่ กีย่ วข้องกับอาหารได้ถกู ต้อง เพราะ โดยความเป็นจริงแล้ว อาหารทุกชนิดไม่วา่ จะมีรสชาติเป็นอย่างใด มีการ ุ ค่า ปรุงแต่งเช่นไร ราคาเท่าใด หรืออยูใ่ นบรรยากาศแบบใด ล้วนมีคณ ความหมายเหมือนกันหมด และเป็นอย่างเดียวกันหมด ขอให้อาหาร นัน้ เพียงแต่สะอาด ไม่มเี ชือ้ โรคหรือสิง่ ทีเ่ ป็นพิษต่อร่างกายเท่านัน้ ดังนัน้ บุคคลจะไม่มที กุ ข์ใด ๆ เกิดขึน้ จากการไปรูแ้ ละทำหน้าที่ เกีย่ วข้องในเรือ่ งอาหารในทางทีผ่ ดิ ๆ จะรับประทานอาหารอะไร ทีใ่ ด เมือ่ ใด ก็เหมือนกันหมดในความรูส้ กึ ไม่รสู้ กึ ฟู ๆ แฟบ ๆ ไปกับเรือ่ ง ของอาหาร จิตจะเป็นอิสระ ไม่ตกเป็นทาส ไม่ถกู บังคับให้ไปกระทำ สิง่ ต่าง ๆ ทีไ่ ม่ควร โดยเฉพาะในทางทุจริตด้วยเรือ่ งของอาหาร และยัง ทำให้สามารถเลือกรับประทานได้ตามความเหมาะสมของกาลเทศะ ในกรณีของปัจจัย 4 อย่างอืน่ ก็มนี ยั เป็นเช่นเดียวกัน 30
สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งสิง่ อำนวยความสะดวกสบาย เรือ่ งใกล้ตวั ลำดับถัดไปทีจ่ ะต้องมีสมั มาทิฏฐิหรือความรูค้ วาม เข้าใจทีถ่ กู ต้อง เพือ่ จะได้รจู้ กั และเข้าไปทำหน้าทีเ่ กีย่ วข้องได้อย่างถูกต้อง ไม่กอ่ ให้เกิดทุกข์เพราะสิง่ เหล่านี้ คือ สิง่ อำนวยความสะดวกสบาย ทัง้ หลาย เช่น รถยนต์ เครือ่ งปรับอากาศ อุปกรณ์ เครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ ฯลฯ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในเรือ่ งนีค้ อื ความเข้าใจผิดทีเ่ ห็นว่าสิง่ อำนวย ความสะดวกสบายทั้งหลายเป็นเครื่องหมายของความสุขและ ความสำเร็จในชีวิต และใช้เป็นเครื่องวัดสถานภาพสูง-ต่ำของ บุคคล ทัง้ ๆ ทีโ่ ดยความเป็นจริงแล้ว สิง่ เหล่านีเ้ ป็นเพียงเครือ่ งอำนวย ความสะดวกสบายในการดำรงชีวติ เท่านัน้ จะมีหรือไม่มี ชีวติ ก็ยงั สามารถ ดำเนินต่อไปได้ ไม่เหมือนกับเรื่องของปัจจัย 4 ซึ่งเป็นสิ่งที่ชีวิตขาด ไม่ได้เลย แต่มนุษย์ได้บริโภคใช้สอย จนเกิดการเสพติด และทำให้เกิด ความรูส้ กึ ประหนึง่ ว่าจะขาดเสียไม่ได้ เหมือนกับบุคคลทีต่ ดิ สิง่ เสพติด อย่างไรอย่างนัน้ จึงทำให้ชวี ติ ต้องมีความเดือดร้อน ดิน้ รน ฟู ๆ แฟบ ๆ ไปกับสิง่ เหล่านีต้ ลอดเวลา ยกตัวอย่าง เช่น รถยนต์ โดยคุณค่าความหมายทีแ่ ท้จริงแล้ว เป็นยานพาหนะทีช่ ว่ ยให้เดินทางไปมาได้รวดเร็วขึน้ สะดวกขึน้ เหนือ่ ย น้อยลงเท่านัน้ ไม่ใช่เป็นเครือ่ งอวดสถานภาพ หรือเป็นเครือ่ งบ่งบอกถึง ความสำเร็จหรือความน่าเชือ่ ถือของบุคคล ว่ามีมากหรือน้อยเพียงใด ด้วยสัมมาทิฏฐิตามทีก่ ล่าวมานี้ จึงทำให้บคุ คลไม่มคี วามทุกข์ความ เดือดร้อนใจใด ๆ เกีย่ วกับเรือ่ งของรถยนต์ เพราะมองเห็นความจริงว่า ไม่ว่ารถยนต์จะยี่ห้ออะไร ราคาเท่าไร โดยคุณค่าความหมายแล้ว ล้วนเหมือนกันทัง้ สิน้ หรือแม้หากไม่มเี งินเพียงพอทีจ่ ะซือ้ การใช้ยาน พาหนะทีเ่ ป็นสาธารณะ ก็ไม่มคี วามแตกต่างแต่ประการใด 31
สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการเรียน สัมมาทิฏฐิ ทีบ่ คุ คลจะต้องเรียนรูแ้ ละเกีย่ วข้องอีกเรือ่ งหนึง่ คือ เรือ่ งการเรียน ทำไมมนุษย์จงึ ต้องมีการเรียน ? ทัง้ นีเ้ พราะธรรมชาติของชีวติ มนุษย์แตกต่างจากสัตว์อน่ื ๆ ที่ ดำรงชีวิตอยู่ด้วยสัญชาตญาณ แต่มนุษย์มีสิ่งที่เรียกว่าภาวิตญาณ ซึง่ เป็นความรูท้ เ่ี กิดขึน้ จากการเรียนรูแ้ ละฝึกฝน ไม่ได้มมี าเองหรือเกิด ขึน้ เองมาแต่กำเนิด มนุษย์ได้พฒ ั นาและสะสมภาวิตญาณในด้านต่าง ๆ มาตลอด จึงทำให้วถิ กี ารดำรงชีวติ แปลกแยกออกไปจากวิถธี รรมดา ของธรรมชาติเป็นอย่างมาก จนทำให้การดำรงอยูใ่ นสังคมของมนุษย์ มีความซับซ้อนยิง่ ขึน้ ๆ ตามลำดับ หากไม่ได้มกี ารเรียนรูแ้ ละฝึกอบรม ให้มคี วามรูค้ วามสามารถมากพอในระดับหนึง่ ก็ทำให้ไม่สามารถพึง่ ตนเองหรือดำรงตนอยูใ่ นสังคมได้ ดังนัน้ มนุษย์จงึ ต้องมีการเรียน ซึง่ อาจจะเป็นการเรียนในระบบ หรือนอกระบบการศึกษาก็สุดแท้แต่ เพื่อฝึกฝนอบรมตนให้สามารถ ดำเนินชีวติ ในสังคมได้อย่างราบรืน่ นอกจากนัน้ การเรียนยังมีวตั ถุประสงค์ สำคัญอีกประการหนึง่ คือเพือ่ สร้างเสริมความรูค้ วามสามารถทีจ่ ะไป ประกอบวิชาชีพ และสิง่ ทีเ่ ป็นผลลัพธ์สงู สุดของการเรียนจริงๆ คือ การเสริมสร้างสติ สมาธิ และปัญญาของบุคคลให้แก่กล้าและมีมากพอ ทั้ง 3 สิ่งนี้เป็นเครื่องมือสำคัญที่นำไปใช้ในทุกสถานการณ์ของชีวิต เพือ่ ให้ชวี ติ ดำเนินไปด้วยดี และบรรลุเป้าหมายของชีวติ ทีต่ ง้ั ไว้ การมีสมั มาทิฏฐิในเรือ่ งการเรียน จะทำให้บคุ คลรูจ้ กั คุณค่า และความหมายทีแ่ ท้จริงของการเรียน รูจ้ กั ทำหน้าทีต่ อ่ การเรียน ได้ถกู ต้อง และได้รบั ประโยชน์จากเรือ่ งการเรียนอย่างแท้จริงด้วย 32
สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการทำงาน เกียรติ ตำแหน่ง ฯลฯ การทำงาน เป็นเรือ่ งใหญ่อกี เรือ่ งหนึง่ ในชีวติ มนุษย์ ทีจ่ ะต้อง ทำความรูค้ วามเข้าใจให้ถกู ต้อง ทำไมมนุษย์จงึ ต้องมีการทำงาน และ/หรือ ประกอบอาชีพ ทัง้ นีเ้ พราะธรรมชาติของชีวติ มนุษย์โดยเฉพาะฝ่ายกาย ต้อง อาศัยปัจจัย 4 ในการดำรงชีวติ และในปัจจุบนั ปัจจัย 4 ซึง่ มีอยูต่ าม ธรรมชาติถกู มนุษย์จบั จองเป็นกรรมสิทธืไ์ ปหมด ทำให้บคุ คลไม่สามารถ แสวงหาปัจจัย 4 ที่มีอยู่ในธรรมชาตินั้นได้โดยอิสระ และเนื่องจาก ความจำกัดของบุคคลทีไ่ ม่สามารถแสวงหาปัจจัยทัง้ 4 ให้ได้ครบถ้วน โดยลำพังตนเพียงผู้เดียว มนุษย์จึงจำเป็นต้องทำอะไรบางอย่างขึ้น ซึง่ เรียกว่าการทำงาน แล้วนำสิง่ ทีท่ ำขึน้ นัน้ ไปแลกเปลีย่ นเป็นปัจจัย 4 อย่างอืน่ ทีย่ งั ขาดอยู่ ก็ทำให้สามารถมีปจั จัย 4 ไว้ดำรงชีพอย่างเพียงพอ ต่อมาได้มพี ฒ ั นาการทีส่ ลับซับซ้อนมากขึน้ ในเรือ่ งการทำงาน จนเกิด เป็นระบบงานทีม่ กี ารแบ่งหน้าทีต่ า่ ง ๆ ซอยลงไปเป็นส่วน ๆ และทำงาน ทีม่ คี วามจำเพาะมากขึน้ นอกจากนัน้ มนุษย์ยงั ได้คดิ ค้นและสร้างหรือ สมมติสง่ิ ทีเ่ รียกว่า “เงิน” ขึน้ เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือหรือสือ่ กลางในการ แลกเปลีย่ นปัจจัย 4 ให้มคี วามสะดวกและรวดเร็วยิง่ ขึน้ จนทำให้เกิด ความเข้าใจในความหมายและคุณค่าของการทำงานและเงินผิดไป และได้ก่อให้เกิดความทุกข์แก่บุคคลและสังคมเพราะความเข้าใจผิด ในเรือ่ งนีเ้ ป็นอย่างมาก คุณค่าความหมายในขัน้ พืน้ ฐานของการทำงานทีแ่ ท้จริง คือ เป็นวิธีแสวงหาให้ได้มาซึ่งปัจจัย 4 อันเป็นปัจจัยพื้นฐาน สำหรับการดำรงชีวติ ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว 33
ดังนัน้ ในเรือ่ งของการทำงานแล้ว ขอให้เป็นงานทีส่ จุ ริต เท่านัน้ งานทุกอย่างล้วนมีคณ ุ ค่าความหมายขัน้ พืน้ ฐานเหมือนกัน หมด ไม่มงี านทีส่ งู หรือต่ำ มีเกียรติหรือไม่มเี กียรติ เมือ่ บุคคลมีความเข้าใจในคุณค่าและความหมายของการทำงาน ถูกต้อง จะทำให้บคุ คลมีความรูส้ กึ ต่องานทีท่ ำเหมือนกันหมด ไม่รสู้ กึ น้อยเนือ้ ต่ำใจ หรือความรูส้ กึ หยิง่ ผยอง เพราะการทำงานใด ๆ บุคคลจะ ทำงานอะไรก็ได้ แล้วแต่ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ในส่วนทีเ่ ป็นความสูงหรือต่ำ มีเกียรติหรือไม่มเี กียรติ ทีแ่ ท้จริง ของการทำงานนัน้ คือความรูค้ วามเข้าใจหรือความรูส้ กึ ของบุคคลใน การทำงานอะไรก็ตาม ไม่ได้มงุ่ หวังเพียงเรือ่ งของปัจจัย 4 ซึง่ เป็นคุณค่า ความหมายขัน้ พืน้ ฐานเท่านัน้ แต่มคี วามมุง่ หวังไปถึงคุณค่าความหมาย ที่สูงส่งและกว้างไกลกว่า เช่นในเรื่องของสังคมส่วนรวมหรือ เรือ่ งทีเ่ ป็นอุดมคติ ยกตัวอย่าง บุคคลทีท่ ำงานกวาดถนน ซึง่ ไม่ได้ กวาดเพียงหวังให้ได้เงินค่าจ้างเพือ่ นำไปซือ้ หาปัจจัย 4 เท่านัน้ แต่กวาด ด้วยความรูส้ กึ ทีป่ ระสงค์จะให้บา้ นเมืองมีความสะอาด มีความน่าอยู่ เป็นที่เจริญตาเจริญใจ มุ่งหวังให้ผู้คนในสังคมได้อยู่อาศัยกันด้วย ความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นสุข หรือหากไปไกลกว่านัน้ ก็อาศัยการกวาดถนนนัน้ เอง เป็นการฝึกหัดขัดเกลาและกวาดกิเลสในจิตใจออกไปพร้อม ๆ กัน ฝึก การเจริญสติ-สมาธิไปในตัว ดังเช่นคำของผูร้ บู้ างท่านทีเ่ สนอแนะไว้วา่ “การทำงานคือการปฏิบตั ธิ รรม” ก็ยง่ิ ทำให้การทำงานนัน้ ๆ มีคณ ุ ค่า ความหมายมากยิง่ ขึน้ จนกลายเป็นว่า ได้นำเรือ่ งผลของการทำงานมา เป็นสิง่ วัดคุณค่าของคน ดังคำทีว่ า่ “ค่าของคนอยูท่ ผ่ี ลของงาน” จากเรื่องการทำงาน จึงทำให้เข้าใจเรื่องของเกียรติ และ ชือ่ เสียงทีแ่ ท้จริงของมนุษย์ดว้ ยว่า อันที่จริงเป็นสิ่งทีผ่ กู อยูก่ บั เรือ่ งของ 34
การทำงานนีเ้ อง กล่าวคือ มีเกียรติและชือ่ เสียง เพราะได้ทำงานจนเป็น ทีย่ อมรับและยกย่องจากสังคม การให้เกียรติในสังคมก็เพือ่ ยกย่องบุคคล ให้เป็นทีป่ รากฏ เพือ่ ให้เป็นตัวอย่างแก่บคุ คลทัว่ ไป ทีจ่ ะเอาแบบอย่าง และทำตามต่อไป ไม่ได้มไี ว้เพือ่ ให้นำไปยกหูชหู าง และสำคัญผิดว่าตน อยูส่ งู กว่าบุคคลอืน่ แต่อย่างใด เกีย่ วกับการทำงานยังมีเรือ่ งอีกบางเรือ่ งทีจ่ ะต้องรูจ้ กั และทำ ความเข้าใจ เพือ่ ให้การทำงานเป็นไปด้วยดี ไม่กอ่ ให้เกิดปัญหาหรือทุกข์ ขึน้ เพราะการทำงาน โดยเฉพาะจากเรือ่ งของ “ตำแหน่ง” ในการทำงานทีเ่ ป็นระบบทีม่ คี วามสลับซับซ้อนมากขึน้ และมี การจำแนกการทำงานทีย่ อ่ ยลงไปและมีความจำเพาะขึน้ เพือ่ ทำให้ระบบ ของงานเคลือ่ นตัวเป็นไปด้วยดี มนุษย์ได้สร้างสิง่ ทีเ่ รียกว่า “ตำแหน่ง” ขึน้ เพือ่ ให้รวู้ า่ ใครทีอ่ ยูใ่ นตำแหน่งใด มีหน้าทีอ่ ะไร ต้องดูแลและทำงานใน ส่วนใด เพือ่ ให้ระบบงานทีอ่ อกแบบไว้นน้ั สามารถดำเนินไปด้วยดี ไม่ตดิ ขัด และทำให้เกิดผลของงานได้ตามทีป่ ระสงค์ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในเรือ่ งนี้ คือ ความเข้าใจผิดต่อเรือ่ ง “ตำแหน่ง” โดยไปเห็นว่าตำแหน่งเป็นสิง่ หรือเครือ่ งวัดทีบ่ อกให้รวู้ า่ ใครใหญ่ กว่าใคร หรือใครประสบความสำเร็จมากกว่าใคร ทั้ง ๆ ที่โดย ความเป็นจริงแล้ว ตำแหน่งเป็นเพียงสิง่ ทีบ่ อกให้รวู้ า่ ใครมีหน้าที่ อะไร ต้องทำอะไรในระบบงานเท่านั้น ซึ่งอันที่จริงทุกตำแหน่งมี ความสำคัญด้วยกันทัง้ นัน้ เป็นเสมือนฟันเฟืองน้อยใหญ่ทช่ี ว่ ยกันทำให้ งานทัง้ ระบบดำเนินไปได้ จะขาดอะไรไปไม่ได้เลย เมื่อบุคคลเข้าใจผิด ก็ทำให้เกิดปัญหาจากตำแหน่งหน้าที่ ในการทำงานได้มาก เช่น เกิดความน้อยเนือ้ ต่ำใจทีเ่ ห็นว่าตำแหน่งทีท่ ำ 35
อยูน่ น้ั ต่ำ เกิดความผิดหวังเสียใจทีม่ งุ่ หวังตำแหน่งใดแล้วไม่ได้ หรือเมือ่ ถูกถอดหรือลดตำแหน่งจากทีท่ ำอยูเ่ ดิม ในทางตรงข้ามเกิดความหยิง่ ลำพอง ทีเ่ ห็นว่าตำแหน่งทีท่ ำอยูน่ น้ั สูง หรือเมือ่ ได้รบั การเลือ่ นตำแหน่งทีส่ งู ขึน้ นอกจากนัน้ ยังมีปญ ั หาในความเข้าใจผิดทีเ่ ห็นว่าเรือ่ งตำแหน่ง เป็นเรือ่ งจริงทีม่ อี ยูจ่ ริง ทัง้ ทีค่ วามจริงแล้วเป็นเพียง “หัวโขน” หรือสิง่ ที่ สมมติขน้ึ เท่านัน้ จึงทำให้บคุ คลผูด้ ำรงตำแหน่งเกิดปัญหาและความทุกข์ อันเนือ่ งจากเข้าไปแบกรับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากการทำงาน เพราะเห็นว่า เป็นปัญหาของเราผูม้ ตี ำแหน่ง ทัง้ ๆ ทีจ่ ริง ๆ แล้วเป็นปัญหาของหน่วยงาน ไม่ใช่ปัญหาของเรา เพราะหากเพียงบุคคลลาออกหรือไม่ได้อยู่ใน ตำแหน่งนั้นเพียงนั้น ปัญหาต่าง ๆ ที่มีอยู่ ก็ไม่เป็นปัญหาอีกต่อไป การรูจ้ กั และมีการวางตนต่อการดำรงตำแหน่งได้ถกู ต้อง ทำให้บคุ คล สามารถรักษาจิตของตนให้เป็นปกติสขุ อยูไ่ ด้ แม้วา่ จะมีปญ ั หาเกิดขึน้ ในการทำงานเพียงใดก็ตาม เรือ่ ง ”เงิน” เป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีท่ ำให้เกิดปัญหายุง่ ยากและวุน่ วาย ในชีวติ ของมนุษย์ได้มาก ซึง่ เห็นว่าควรจะได้กล่าวถึงด้วย คุณค่าความหมายที่แท้จริงของ “เงิน” คือสิ่งสมมติขึ้น เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งอำนวยความสะดวกในการแลกเปลีย่ นปัจจัย 4 สิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่าและความหมายต่อชีวติ จริง ๆ คือปัจจัย 4 ต่างหาก ลำพัง เงินเองไม่ได้มคี า่ หรือความหมายโดยตัวเอง แต่ทม่ี คี า่ ขึน้ มาก็เพราะได้รบั ความยอมรับว่า สามารถนำไปแลกเปลีย่ นเป็นปัจจัย 4 ได้เท่านัน้ การทีเ่ งินสามารถนำไปแลกเปลีย่ นเป็นปัจจัย 4 ได้นน้ั ทำให้ มนุษย์เกิดความหลงผิดไปเป็นอย่างมาก คือแทนทีจ่ ะเห็นว่าเงินเป็น เพียงสิง่ อำนวยความสะดวกในการแลกเปลีย่ นปัจจัย 4 และอันทีจ่ ริงชีวติ ไม่ได้ตอ้ งการปัจจัย 4 อะไรมากมาย สิง่ ทีส่ ำคัญยิ่งกว่าคือการทำงาน 36
ที่ทำให้เกิดคุณค่าในตัวมนุษย์ เพราะมนุษย์จะไม่มีคุณค่าในตัวเลย หากไม่ได้ทำงาน แต่กลับไปเห็นผิดว่าเงินเป็นเสมือนพระเจ้าทีส่ ามารถ ดลบันดาลให้ได้สิ่งต่าง ๆ สมใจปรารถนา จนสามารถทำอะไรก็ได้ แม้วา่ งานทีท่ ำนัน้ จะเป็นไปในทางทุจริตและทำให้หมดคุณค่าในตัวเอง หรือทำให้เกิดปัญหาและความเดือดร้อนแก่บุคคลและสังคมก็ตาม เพือ่ ให้ได้เงินมามาก ๆ ซึง่ เป็นเรือ่ งทีน่ า่ กลัวมาก สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการมีครอบครัว เรือ่ งการมีครอบครัวเป็นเรือ่ งใหญ่อกี เรือ่ งหนึง่ ในชีวติ มนุษย์ ทีจ่ ะต้องทำความรูค้ วามเข้าใจให้ถกู ต้อง บุคคลทัว่ ไป มักจะมีความเห็นว่าการมีครอบครัวเพือ่ ความสุข ความอบอุน่ และความมัน่ คงของชีวติ มีบคุ คลทีจ่ ะอยูร่ ว่ มทุกข์รว่ มสุข กันไปจนตลอดชีวติ มีบตุ รหลานทีจ่ ะช่วยดูแลในยามเจ็บไข้และเมือ่ เข้า สูว่ ยั ชรา ความเข้าใจดังกล่าวนี้ ก็นบั ว่าเป็นความถูกต้องในระดับหนึง่ แต่ความเข้าใจแบบนีก้ อ็ าจนำมาซึง่ ความทุกข์และความผิดหวังมากมาย ได้งา่ ย เพราะมีสกั กีค่ รอบครัวทีก่ ล่าวได้อย่างเต็มปากและภาคภูมใิ จว่า ได้ประสบความสุขและความสำเร็จอย่างทีป่ รารถนาข้างต้น แต่สำหรับ บุคคลผูม้ เี ป้าหมายชีวติ เพือ่ ความดับทุกข์ดบั กิเลส และยังประสงค์จะมีครอบครัว ก็สามารถมีครอบครัวได้ เพราะแม้แต่ พระอริยบุคคลในระดับต้น คือพระโสดาบันและพระสกทาคามีกไ็ ม่มี ข้อห้ามหรือข้อจำกัดในเรือ่ งการมีครอบครัวแต่ประการใด แต่บคุ คลต้อง ปรับความรูค้ วามเข้าใจถึงคุณค่าและความหมายของการมีครอบครัวใหม่
37
ด้วยการยอมรับว่าตนยังมีจติ ใจและปัญญาไม่เข้มแข็งพอ ยังไม่สามารถ เอาชนะหรืออยูเ่ หนือสังโยชน์เบือ้ งกลาง คือ กามราคะและปฏิฆะได้ ดังนัน้ สาระสำคัญของการมีครอบครัวในแบบหลังนี้ จึงไม่ได้ มีเป้าหมายอยู่ที่ความสุขและความมั่นคงของชีวิต เป็นต้น อย่างใน บุคคลทัว่ ไปตามทีก่ ล่าวไปข้างต้น แต่กลับมีเป้าหมายอยูท่ ่ี เพือ่ ศึกษา และเรียนรู้ให้เกิดความรู้แจ้งในเรื่องกามราคะและปฏิฆะเป็นสำคัญ จนเกิดปัญญาสามารถเอาชนะสังโยชน์ทง้ั 2 นีไ้ ด้ในทีส่ ดุ บุคคลจึงไม่ เกิดทุกข์เพราะความผิดหวังหรือสมหวังในเรื่องชีวิตครอบครัวเท่าใด เพราะไม่ใช่จดุ มุง่ หมายตัง้ แต่ตน้ อย่างไรก็ตาม เมือ่ มีครอบครัวแล้ว ก็ตอ้ งทำหน้าทีใ่ ห้ครบถ้วนตามทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอนในเรือ่ งทิศ ๖ ด้วย จะละเลยไม่ได้ เพือ่ ให้การมีครอบครัวดำเนินไปด้วยดี สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งอายตนะ 6 สัมมาทิฏฐิทจ่ี ะกล่าวต่อไป คือ เรือ่ งอายตนะ 6 เป็นสัมมาทิฏฐิ ในเรือ่ งสำคัญทีเ่ ป็นต้นทาง สำหรับการเข้าถึงความดับทุกข์ดบั กิเลสโดยตรง อายตนะ 6 เป็นเครือ่ งเชือ่ มต่อให้เกิดการรับรู้ มี 6 อย่าง เรียก ให้ชดั ว่าอายตนะภายใน จะทำหน้าทีเ่ ชือ่ มต่อกับอายตนะภายนอกที่ ถูกคูก่ นั จึงทำให้เกิดการรับรูข้ น้ึ ตา + รูป (สี) ----> เห็น หู + เสียง ----> ได้ยนิ จมูก + กลิน่ ----> ได้กลิน่ ลิน้ + รส ----> รูร้ ส กายประสาท + สิง่ ต้องกาย ----> รูส้ ง่ิ ต้องกาย ใจ + เรือ่ งทีร่ ทู้ างใจ ----> รูเ้ รือ่ งในใจ 38
อายตนะเป็นจุดเริม่ ต้นสำคัญ ทีท่ ำให้เกิดการรับรูข้ น้ึ เมือ่ มีการรับรูเ้ กิดขึน้ แล้ว หากมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ แสวงหาหรือ เสพรสชาติทเ่ี กิดขึน้ จากการรับรู้ ซึง่ ก็คอื เวทนาอย่างทีต่ นต้องการแล้ว จะนำไปสูก่ ลไกตามทีแ่ สดงไว้ในปฏิจจสมุปบาท คือ ---> ตัณหา ---> อุปาทาน ---> ภพ ---> ชาติ ---> ชรามรณะ จนเกิดเป็นกองทุกข์ขน้ึ แต่หากการรับรูท้ เ่ี กิดขึน้ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ การเรียนรู้ ให้เกิด ปัญญารู้แจ้งเห็นจริงในสิ่งที่รับรู้นั้น จะนำไปสู่ สติปัฏฐาน ---> โพชฌงค์ 7 ---> วิชชา ---> วิมตุ ติ หรือภาวะทีพ่ น้ ทุกข์ในทีส่ ดุ การมีสมั มาทิฏฐิ หรือความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องในเรือ่ ง อายตนะ 6 จะทำให้บคุ คลรูถ้ งึ จุดเริม่ ต้นซึง่ เป็นทีก่ อ่ ตัวของอริยสัจ ทีท่ ำให้เกิดเป็นเส้นทางชีวติ ทุกข์ หรือเส้นทางชีวติ ไม่ทกุ ข์ตอ่ ไป โดยเริม่ ทีอ่ ายตนะ 6 นีเ้ อง และขึน้ กับว่าเมือ่ มีการรับรูเ้ กิดขึน้ ที่ อายตนะแล้ว จะมีตัณหา หรือความถูกต้อง เป็นตัวนำในการ ดำเนินชีวติ ต่อไป การรูจ้ กั วางท่าทีทถ่ี กู ต้องต่อการรับรูท้ อ่ี ายตนะเพือ่ การเรียนรูน้ น้ั ทำให้บคุ คลมีแต่ได้หรือกำไรโดยส่วนเดียว กล่าวคือ ได้ปญ ั ญา เพิม่ พูน ขึน้ ตลอดเวลา ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งทีถ่ กู หรือทีผ่ ดิ ก็ตาม ดังคำทีก่ ล่าวว่า “ผิดเป็นครู หรือถูกก็เป็นครู” การปฏิบตั ธิ รรมทัง้ หมดในพระพุทธศาสนา อันทีจ่ ริงอยูต่ รงอายตนะนีเ้ อง คือการฝึกหัดรับรูต้ อ่ อารมณ์ทกุ ครัง้ ให้เป็นไปเพือ่ ศึกษาเรียนรูแ้ ละเกิดปัญญารูแ้ จ้งในสิง่ ทีร่ บั รูน้ น้ั และคอย ระมัดระวังไม่ให้รบั รูต้ อ่ สิง่ ต่าง ๆ ตามความอยากของตน เพือ่ แสวงหา รสชาติของเวทนาตามทีต่ นต้องการ จนถึงทีส่ ดุ ของการปฏิบตั ิ จะมีแต่การ รับรูท้ ถ่ี กู ต้องเพียงอย่างเดียว ไม่มกี ารรับรูต้ ามความอยากของตน เกิดขึน้ อย่างเด็ดขาด ผลลัพธ์คอื ความดับทุกข์ดบั กิเลสได้อย่างสิน้ เชิง 39
สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งขันธ์ 5 ขันธ์ 5 เป็นเรื่องสำคัญที่สุด ในฐานะเป็นที่ตั้งของทุกข์ใน อริยสัจโดยตรง เมือ่ มีอปุ าทานหรือความยึดมัน่ ในขันธ์ 5 เกิดขึน้ ก็จะ เกิดเป็นอุปาทานขันธ์ 5 ซึง่ เป็นทุกข์ในอริยสัจ ดังทีไ่ ด้อธิบายไปแล้ว แต่ในบทนีจ้ ะอธิบายในอีกลักษณะหนึง่ ในแบบประยุกต์ เพือ่ การปฏิบตั ิ ทีย่ น่ ย่อยิง่ ขึน้ มีพระพุทธพจน์บทหนึง่ ทีเ่ ห็นว่าสำคัญ และจะช่วยทำให้เกิด ความเข้าใจในเรื่องที่ได้กล่าวไปนี้ดีขึ้น จึงขอนำมาเสนอให้พิจารณา พระพุทธพจน์ทว่ี า่ นัน้ คือ “ธรรมทัง้ ปวงมีเวทนาเป็นทีป่ ระชุมลง” 18 ซึง่ มีความหมายว่า ความเป็นไปของธรรมต่าง ๆ ล้วนดำเนินไปสูจ่ ดุ หมาย คือเวทนา หรือเพือ่ เวทนาเป็นสำคัญ ในบทนี้ จะแสดงให้เห็นว่าในการปฏิบัติที่ย่นย่อนั้น สามารถเพ่งเล็งไปทีเ่ วทนาเพียงเรือ่ งเดียวก็ได้ ในฐานะเป็นสิง่ สูงสุดทีถ่ กู ยึดมัน่ ถือมัน่ แล้ว ทำให้เกิดอุปาทานขันธ์ 5 หรือทุกข์ ในอริยสัจทัง้ หมดได้ เวทนาทัง้ หมดตามทีแ่ สดงไว้ในมหาสติปฏั ฐานสูตร จำแนก เป็น 3 กลุม่ ใหญ่ ๆ คือ 1. เวทนาทางกาย 2. เวทนาทางใจทีม่ อี ามิส 3. เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส แต่ละกลุม่ จำแนกย่อยลงไปเป็น สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา รวมเป็น 9 ประการด้วยกัน (โปรดอ่านรายละเอียดเพิม่ เติมในเรือ่ ง 18
(23/189)
40
เวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน หน้า 32-41 ของหนังสือสติปฏั ฐาน 4 ฉบับวิเคราะห์ -สังเคราะห์ จัดพิมพ์โดยธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมือ่ พ.ย.2554)
จะเห็นได้วา่ เวทนาทัง้ 3 กลุม่ ล้วนเป็นผลทีเ่ กิดมาจาก ขันธ์อน่ื ๆ ทำหน้าทีป่ รุงแต่งร่วมกันทัง้ สิน้ เวทนาทางกาย เป็นผลทีเ่ กิดมาจากปฏิฆสัมผัส หรือสัมผัส ทางรูป คือ ตา หู จมูก ลิน้ และกาย ซึง่ เป็นรูปขันธ์และอายตนะภายใน ไปกระทบกับ รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ ซึง่ เป็นอายตนะภายนอก แล้วเกิดวิญญาณทางอายตนะขึน้ รับรู้ เวทนาทางใจทีม่ อี ามิส เป็นผลทีเ่ กิดจากอธิวจนสัมผัส หรือ สัมผัสทางนาม เมือ่ เกิดการรับรูท้ เ่ี ป็นปฏิฆสัมผัส รับรูท้ างกายแล้ว จะมี กระบวนการรับรูเ้ กิดสืบเนือ่ งต่อไปอีกทางมโนหรือใจ ต่อจากนัน้ จะมี สัญญาและสังขาร ซึง่ เรียกรวมว่าจินตนาการ เข้าร่วมปรุงแต่ง จนทำให้ เกิดเป็นเวทนาทางใจทีม่ อี ามิสขึน้ ส่วน เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส เป็นผลทีเ่ กิดจากอธิวจนสัมผัส รับรูท้ างใจเพียงอย่างเดียว โดยอาศัย สัญญาและสังขาร ทีพ่ น้ ไปจาก อารมณ์ทม่ี าจากรูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ ปรุงแต่งจนเกิดเป็น ธรรมารมณ์ทเ่ี รียกว่า ปฏิภาคนิมติ หรือทีล่ ะเอียดยิง่ ขึน้ คือ ธรรมารมณ์ ทีเ่ พิกปฏิภาคนิมติ จนทำให้เกิดเป็นเวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิสขึน้ การมีสมั มาทิฏฐิในเรือ่ งขันธ์ 5 นี้ ทำให้รแู้ จ้งว่า เพราะความยึดมัน่ ถือมัน่ ใน เวทนาทางกาย รวมทัง้ เวทนาทางใจทีม่ อี ามิส จะนำไปสู่ อุปาทานขันธ์หรือทุกข์ในอริยสัจในระดับทีเ่ รียกว่า กามภพ และเพราะ ความยึดมัน่ ถือมัน่ ใน เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส จะนำไปสูอ่ ปุ าทานขันธ์ หรือทุกข์ในอริยสัจในระดับทีเ่ รียกว่ารูปภพ และ อรูปภพ 41
กล่าวโดยสรุป เพราะความยึดมัน่ ถือมัน่ ในเวทนา 3 ประเภท นีเ้ อง ทีเ่ ป็นสาเหตุทำให้บคุ คลต้องเวียนว่ายในวัฏสงสาร คือภพ ทัง้ 3 และจมอยูใ่ นทุกข์ในอริยสัจตลอดกาลนาน การหลุดพ้น จากทุกข์ในอริยสัจในทีน่ ้ี เมือ่ พิจารณาในแง่ของเวทนา ก็คอื การ ทีส่ ามารถดำรงตนอยูเ่ หนืออำนาจหรืออิทธิพลบีบคัน้ จากเวทนา ทัง้ หลายเหล่านีโ้ ดยสิน้ เชิงนัน่ เอง สัมมาสังกัปปะ (ดำริชอบ) สัมมาสังกัปปะ เป็นมรรคองค์ท่ี 2 ซึง่ บุคคลจะต้องรูจ้ กั และ ฝึกปฏิบตั ใิ นลำดับถัดไปต่อจากสัมมาทิฏฐิทไ่ี ด้กล่าวโดยละเอียดไปแล้ว สัมมาสังกัปปะ คือความดำริชอบ พระพุทธเจ้าได้ทรงให้ อรรถาธิบายว่า คือความดำริในการออกจากกาม (เนกขัมมสังกัปป์) ความดำริในการออกจากพยาบาท (อพยาบาทสังกัปป์ ) และความ ดำริในการออกจากการเบียดเบียน (อวิหงิ สาสังกัปป์) การมีสมั มาทิฏฐิ ทำให้บคุ คลรูว้ า่ ควรจะเข้าไปรับรูแ้ ละทำหน้าที่ หรือเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่าง ๆ อย่างไร แต่เมือ่ เข้าไปทำหน้าทีจ่ ริงๆ ทัง้ ๆ ทีร่ ู้ ก็ยงั อาจมีความรูส้ กึ ชอบหรือชังของบุคคลทีม่ ตี อ่ เรือ่ งหรือสิง่ นัน้ ๆ เข้ารบกวน และทำให้เกิดการเบีย่ งเบนของการกระทำ ออกนอกไปจาก คลองของสัมมาทิฏฐิ คือเรือ่ งความทุกข์และความดับทุกข์ แล้วไปกระทำ ตามความรูส้ กึ ทีช่ อบและชังนัน้ จนทำให้เกิดการเบียดเบียนกันขึน้ ใน ทางใดทางหนึง่ นำมาซึง่ ความทุกข์และเดือดร้อนทีข่ ยายตัวออกไป ดังนั้น จึงต้องมีปัญญาที่เรียกว่า สัมมาสังกัปปะ คอย กำกับจิตไม่ให้ดำริไปหลงรักหรือหลงชอบ (=เนกขัมมสังกัปป์) 42
ไม่ให้ดำริไปหลงเกลียดหรือหลงชัง (=อพยาบาทสังกัปป์) และไม่ให้ ดำริไปหลงกระทำตามอารมณ์ทช่ ี อบทีช่ งั นัน้ จนทำให้เกิดความเบียดเบียน หรือความทุกข์ทง้ ั ต่อตนเองและบุคคลอืน่ (=อวิหงิ สาสังกัปป์) องค์มรรคทัง้ 2 คือ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ พระพุทธเจ้าได้สงเคราะห์จดั ให้อยูใ่ นกลุม่ ของ ปัญญาขันธ์ ซึง่ เป็นปัญญาทีเ่ ป็น เครือ่ งนำทาง และปัญญาทีค่ อยกำกับจิต เมือ่ มีองค์มรรคทัง้ 2 นีแ้ ล้ว ก็ทำให้สามารถปฏิบตั มิ รรคองค์อน่ื ๆ ต่อไปโดยถูกต้องได้งา่ ยขึน้ สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ) สัมมาอาชีวะ (เลีย้ งชีพชอบ) เมือ่ มีสมั มาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะแล้ว หมายความว่าบุคคล มีความพร้อมทัง้ ในส่วนของความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องทีจ่ ะเข้าไปรับรู้ และเกีย่ วข้องกับสิง่ ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง รวมทัง้ ในส่วนของปัญญาที่ สามารถควบคุมจิตไม่ให้ตกอยู่ภายใต้อารมณ์ชอบหรือชัง จึงเป็น ผูท้ พ่ี ร้อมทีจ่ ะเข้าเผชิญกับสิง่ ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องต่อไปอย่างแท้จริง ในขัน้ ต่อไป คือการเข้าไปเผชิญและทำหน้าทีจ่ ริง ๆ ต่อสิง่ ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เพือ่ ไม่ให้เกิดปัญหาหรือความทุกข์เพราะการ เข้าไปทำหน้าทีน่ น้ั ๆ เมือ่ ประมวลแล้ว จำแนกได้เป็นกลุม่ ใหญ่ ๆ 2 กลุม่ คือ สิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก และ สิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายใน การกระทำต่อสิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก ทีบ่ คุ คลสามารถกระทำ ได้ทง้ั หมด โดยสรุป คือ ด้วยวาจา ด้วยการกระทำทางกาย และด้วยการ เลีย้ งชีพ ซึง่ ก็คอื องค์มรรคในข้อถัดไป คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ การกระทำทีก่ ล่าวนีจ้ ะเป็นไปอย่างถูกต้องหรือไม่ 43
อันทีจ่ ริงขึน้ กับสัมมาทิฏฐิโดยตรง หากบุคคลมีสมั มาทิฏฐิและดำเนิน ไปตามสัมมาทิฏฐิทเ่ี ป็นเครือ่ งนำทาง การกระทำต่าง ๆ ย่อมเป็นไปโดย ถูกต้อง และเพือ่ กำกับการกระทำต่าง ๆ ให้เป็นไปโดยถูกต้อง ไม่กอ่ ให้เกิดความผิดพลาดขึน้ พระพุทธเจ้าจึงได้ตรัสสอนถึงการปฏิบตั ใิ น องค์มรรคกลุม่ นี้ ให้รดั กุมยิง่ ขึน้ ไปอีก โดยตรัสสอนในเรือ่ ง สัมมาวาจา ให้ละเว้นการพูดทีเ่ ป็นเท็จ คือ คำไม่จริง เว้นจากคำหยาบคาย คือ การ ประทุษร้ายด้วยคำพูด เว้นจากการส่อเสียด คือ การพูดทีย่ ใุ ห้แตกแยกกัน เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ คือ การพูดที่ไม่รู้จักกาลเทศะ และไม่อยู่ใน ครรลองแห่งเหตุผล นอกจากนั้นตรัสสอนให้พูดแต่ความจริง ที่เป็น ประโยชน์ รูก้ าลเทศะ และประกอบด้วยเมตตา สำหรับ สัมมากัมมันตะ ทรงสอนให้เว้นจากการกระทำทาง กายที่ไปประทุษร้ายหรือเบียดเบียนผู้อื่น ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิต (ปาณาติบาต) เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับทรัพย์สนิ (อทินนาทาน) และเรือ่ ง ทีม่ คี วามหมายพิเศษในจิตใจของบุคคล (กาเมสุมจิ ฉาจาร) ในเรือ่ ง ของชีวติ และทรัพย์สนิ นัน้ เป็นทีเ่ ข้าใจกันดีอยูแ่ ล้วว่าคืออะไร ส่วนใน เรือ่ งทีม่ คี วามหมายพิเศษในจิตใจของบุคคล เป็นเรือ่ งละเอียดอ่อนที่ บุคคลจะต้องรูจ้ กั สังเกตให้ดี เพราะบุคคลแต่ละคนได้ให้ความหมาย พิเศษแก่สง่ิ ต่าง ๆ แตกต่างกันไป สิง่ ทีม่ คี วามหมายพิเศษในจิตใจของบุคคลโดยทัว่ ไป คือบุตร ภรรยา สามี หรือบุคคลในครอบครัว และการกระทำทีเ่ ป็นกาเมสุมจิ ฉาจาร มักจะเพ่งเล็งไปเฉพาะเรื่องของการล่วงเกินทางเพศเท่านั้น ซึ่งก็เป็น ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องในระดับหนึง่ แต่ยงั ไม่ครอบคลุมความหมายอย่าง 44
ทีป่ ระสงค์ เพราะแม้แต่การล่วงเกินกันอาจจะด้วยเพียงการใช้สายตา หรือกิรยิ าท่าทางบางอย่างทีไ่ ม่เหมาะสม แล้วทำให้เกิดความบาดหมาง ไม่พอใจ หรือเลยเถิดไปเป็นความอาฆาตพยาบาทจองเวรต่อกัน ก็นบั ว่า เป็นการกระทำผิดในเรือ่ งกาเมสุมจิ ฉาจารแล้ว ในประเด็น สิ่งที่มีความหมายพิเศษนี้ ขอให้ตระหนักว่ามี ความหมายกว้างขวาง ขึน้ อยูก่ บั บุคคลว่าจะให้ความหมายพิเศษแก่ สิง่ ใด เช่น เสือ้ ผ้าชุดเก่า ๆ บางชุด หรือหมอนใบเก่า ๆ อย่างทีเ่ รียกว่า “หมอนเน่า” ซึง่ มีความหมายและความผูกพันอย่างลึกซึง้ ในจิตใจของ บุคคลบางคน ก็ตอ้ งมีความระมัดระวังทีจ่ ะไม่ไปก้าวล่วง ละเมิด หรือ ทำให้เกิดความเสียหายขึน้ เพราะสามารถทำให้เกิดความบาดหมาง ไม่พอใจ เป็นต้น ขึน้ และจัดเป็นการกระทำผิดในเรือ่ งกาเมสุมจิ ฉาจารได้ ส่วน สัมมาอาชีวะ คือการเลีย้ งชีพชอบ เป็นการกระทำต่อ สิง่ ภายนอกในลักษณะทีน่ ำสิง่ ต่าง ๆ จากภายนอกมาหล่อเลีย้ ง หรือ ค้ำจุนให้ชวี ติ ฝ่ายกายสามารถดำรงอยูไ่ ด้เป็นปกติสขุ บุคคลก็ตอ้ งรูจ้ กั และทำหน้าทีน่ ใ้ี ห้ถกู ต้องด้วย กล่าวคือ ไม่ให้มากไปหรือน้อยไป และ ไม่ให้เป็นโทษต่อกายในทางใดทางหนึง่ รวมถึงการประกอบอาชีพ ซึง่ เป็นช่องทางการกระทำเพือ่ ให้ได้รบั สิง่ ต่าง ๆ มาหล่อเลีย้ งกาย ก็ตอ้ ง เป็นอาชีพทีถ่ กู ต้องด้วย ในเรือ่ งการประกอบอาชีพ พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนให้งดเว้น การค้าขายทีไ่ ม่พงึ ทำ หรือมิจฉาวณิชชา ซึง่ มี 5 อย่าง คือ ค้าอาวุธ ค้ามนุษย์ ค้าสัตว์สำหรับฆ่าเป็นอาหาร ค้าของเมา และค้ายาพิษ กล่าวโดยสรุป การกระทำทัง้ หมดทัง้ สิน้ ต่อสิง่ ต่าง ๆ ภายนอก มีเรือ่ งราวทีก่ ระทำได้ตามองค์มรรคทัง้ 3 ทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว 45
องค์มรรคทัง้ 3 ในกลุม่ นี้ พระพุทธเจ้าได้สงเคราะห์จดั ให้อยู่ ในกลุม่ ของ ศีลขันธ์ ซึง่ เพ่งเล็งถึงการฝึกหัดขัดเกลาในเรือ่ งพฤติกรรม การแสดงออกของบุคคล ทางกายและวาจา ในการไปทำหน้าทีเ่ กีย่ วข้อง และสัมพันธ์กบั บุคคลและสิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายนอกให้ถกู ต้อง บุคคลเมือ่ มีสมั มาทิฏฐิ จะทำให้สงั โยชน์ คือสักกายทิฏฐิ และ วิจกิ จิ ฉา หมดสิน้ ไป และเมือ่ สามารถปฏิบตั ติ อ่ สิง่ ต่าง ๆ ภายนอกได้ ถูกต้อง จะทำให้สงั โยชน์ คือสีลพ ั พตปรามาสหมดสิน้ ไป ผลทีไ่ ด้รบั คือความไม่เดือดร้อนใจใดๆ อันเกิดขึน้ เนือ่ งจากการกระทำของตน ซึง่ ใน ภาษาธรรมเรียกว่า อวิปปฏิสาร เป็นผูพ้ น้ จากอบายหรือความเสือ่ ม ทัง้ ปวง ชีวติ จะมีแต่ความสุขและความก้าวหน้ายิง่ ๆ ขึน้ ไปโดยส่วนเดียว บุคคลผูส้ ามารถปฏิบตั อิ งค์มรรคสมบูรณ์มาถึงระดับนีเ้ รียกว่า พระโสดาบัน เป็นผูม้ ศี ลี บริบรู ณ์ ทีเ่ รียกว่า อริยกันตศีล (ศีลทีพ่ ระอริยเจ้า สรรเสริญ) หมดสิ้นทุกข์อันเนื่องมาจากความยึดมั่นในความเห็นผิด และการกระทำต่อสิง่ ต่าง ๆ ภายนอกอย่างผิด ๆ ได้โดยเด็ดขาด สัมมาวายามะ (พยายามชอบ) สัมมาสติ (ระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ตัง้ จิตมัน่ ชอบ) องค์มรรคทัง้ 3 ในกลุม่ นี้ พระพุทธเจ้าได้สงเคราะห์จดั ให้อยูใ่ น สมาธิขนั ธ์ เป็นมรรคทีม่ บี ทบาทในการปฏิบตั ติ อ่ สิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายใน คือ จิต ให้ถกู ต้อง หลักธรรมในหมวดสิกขา 3 จึงใช้คำว่า อธิจติ ตสิกขา แทน ไม่ใช้คำว่า อธิสมาธิสกิ ขา ซึง่ แตกต่างกับสิกขาในอีก 2 หมวด ทีใ่ ช้คำเดียวกันกับหมวดธรรม คือ ศีลและปัญญา โดยใช้คำว่า อธิศลี สิกขา และอธิปญ ั ญาสิกขา ตามลำดับ 46
การปฏิบตั ติ อ่ สิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายใน คือ จิต นี้ มีการปฏิบตั เิ ป็น 2 ขัน้ ตอน คือ การฝึกฝนให้จติ มีคณ ุ ภาพในด้านต่าง ๆ ตามทีก่ ำหนด และการ นำจิตทีม่ คี ณ ุ ภาพนัน้ ไปใช้ทำกิจต่าง ๆ ให้สำเร็จประโยชน์ตามทีป่ ระสงค์ สัมมาวายามะ คือพยายามชอบ ได้ตรัสสอน ให้ฝกึ ฝนจิตให้ มีความเพียร หรือพลังทีจ่ ะขับเคลือ่ นและดำเนินการต่าง ๆ ; ความสำเร็จ ใด ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ต้องอาศัยพลังในการขับเคลือ่ น รวมทัง้ ผลักดันและ ฝ่าฟันอุปสรรคหรือสิ่งกีดขวางทั้งหลาย จนกว่าจะบรรลุจุดหมาย หากจิตไม่มคี วามเพียรหรือพลังในการขับเคลือ่ น ก็ไม่สามารถกระทำ อะไรให้เกิดเป็นผลขึน้ มาได้ ในเรือ่ งของความเพียรนี้ นอกจากมีพลังแล้ว ยังจะต้องมีกรอบ หรือทิศทางการขับเคลือ่ นให้ถกู ต้องอีกด้วย พระพุทธเจ้าให้หลักไว้วา่ จะต้องระมัดระวังไม่ไปในทิศทางทีเ่ ป็นอกุศล ซึง่ เป็นความเสือ่ มและหายนะ หรือหากกำลังอยูใ่ นทิศทางดังกล่าว ก็ให้รบี เลิกละและถอนตัวออกเสีย ให้ เป็นไปแต่ในทางทีเ่ ป็นกุศล ซึง่ เป็นความเจริญและปลอดภัย ตลอดจนเพียร รักษาให้ดำรงอยูแ่ ต่ในทิศทางนีใ้ ห้ได้ ไม่ให้เกิดความเพลีย่ งพล้ำ และหาก ดีกว่านัน้ คือพยายามปรับปรุงให้เป็นกุศลทีด่ ขี น้ ึ ประณีตยิง่ ขึน้ ตลอดเวลา สำหรับ สัมมาสติ คือระลึกชอบ ได้ตรัสสอนให้ฝึกฝนและ พัฒนาจิต ให้มีสติเกิดขึ้นมาก ๆ ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ โดยฝึกฝนให้มกี ารระลึกต่อทุกสิง่ ทีร่ บั รูใ้ ห้ถกู ต้องยิง่ ขึน้ ๆ โดยเฉพาะรู้ เท่าทันในแง่ทว่ี า่ เป็นคุณและประโยชน์ หรือเป็นโทษและก่อให้เกิดความ เดือดร้อน เพือ่ ทีจ่ ะได้จดั การแก่สง่ิ ทีร่ บั รูน้ น้ั ได้อย่างถูกต้อง พระพุทธเจ้าได้ ตรัสสอนให้ฝกึ ฝนการระลึกให้ถกู ต้องในเรือ่ งของ กาย เวทนา จิต และ ธรรม ตามระบบทีเ่ รียกว่าสติปฏั ฐาน 4 (โปรดอ่านรายละเอียดเพิม่ เติมจาก หนังสือสติปฏั ฐาน 4 ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์ ทีไ่ ด้อา้ งแล้ว)
47
ส่วน สัมมาสมาธิ คือตัง้ จิตมัน่ ชอบ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ พัฒนา และปรับปรุงคุณภาพของจิต ให้มีความพร้อมและความเหมาะสมที่ จะทำภารกิจต่าง ๆ ได้ดว้ ยดี และอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวโดยสรุป คือคุณภาพของจิตทีม่ คี วามผ่องใส (ปริสทุ โฺ ธ) ตัง้ มัน่ (สมาหิโต) และ คล่องแคล่วว่องไว (กมฺมนีโย) ปราศจากนิวรณ์ซง่ึ เป็นสิง่ ทีข่ ดั ขวางจิต ไม่ให้กา้ วหน้า เป็นจิตทีอ่ ยูใ่ นอำนาจการควบคุมของสติ และมีความสุข ทีล่ ะเอียดประณีตยิง่ กว่าความสุขทีม่ าจาก รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัส ทางกาย หล่อเลี้ยงจิต ในพระไตรปิฎกพระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนให้ ปฏิบตั เิ พือ่ บรรลุถงึ ภาวะทีเ่ รียกว่า รูปฌาน 4 สำหรับการปฏิบตั สิ มาธิเพือ่ เข้าถึงภาวะรูปฌาน 4 นัน้ ในพระ ไตรปิฎก ได้แสดงวิธีการปฏิบัติไว้หลายรูปแบบ เช่น กสิน 10 และ อานาปานสติ แล้วแต่อธั ยาศัยของบุคคล แต่โดยทัว่ ไปการปฏิบตั ใิ น 2 รูปแบบข้างต้น มีขอ้ ดีและข้อด้อยทีแ่ ตกต่างกัน เช่น ข้อดีของกสิน คือเป็นอารมณ์หยาบทีก่ ำหนดได้งา่ ย แต่ขอ้ ด้อยคือต้องใช้สายตาใน การเพ่งมาก จึงอาจทำให้ผปู้ ฏิบตั เิ กิดอาการปวดประสาทตาหรือกล้าม เนือ้ ตาได้มาก ส่วนอานาปานสติมขี อ้ ดีคอื สะดวกและสามารถปฏิบตั ิ ได้ในทุกหนแห่ง ส่วนข้อด้อยคือเป็นอารมณ์ละเอียดทีก่ ำหนดได้คอ่ น ข้างยาก และการตามรูล้ มหายใจอย่างเป็นธรรมชาติ ก็ทำได้ยากเช่นกัน ในหนังสือนี้ ขอแนะนำการปฏิบตั อิ านาปานสติเพือ่ การเข้าถึง ภาวะรูปฌาน 4 โดยสังเขป พอให้รเู้ ป็นแนวทางคร่าว ๆ เท่านัน้ ซึง่ เป็น การสรุปจากคัมภีรแ์ ละประสบการณ์ของอาจารย์ผสู้ อนบางท่าน ก่อนการปฏิบตั คิ วรตัดปลิโพธ หรือเครือ่ งกังวลใจต่าง ๆ ออกไป ก่อน หาสถานทีท่ ส่ี งบ ปลอดจากการรบกวนของผูค้ น จากนัน้ นัง่ ขัดสมาธิ ทีเ่ รียกว่า “ท่าดอกบัว” หรือ “ท่าขัดสมาธิเพชร” ท่าเหล่านีท้ ำให้กายมี 48
ความมัน่ คง ไม่เกิดการโยกคลอนอันจะส่งผลรบกวนจิต ทำให้ไม่สามารถเข้า ถึงภาวะของรูปฌานได้ เพราะเมือ่ เข้าถึงภาวะของรูปฌานแล้ว จะไม่มกี าร รับรูท้ างประสาทต่าง ๆ ทีเ่ นือ่ งกับกายทัง้ หมด คือ ตา หู จมูก ลิน้ และกายประสาท จะมีการรับรูแ้ ต่ทางใจหรือมโนเพียงอย่างเดียวเท่านัน้ การโยกคลอน ของกายจะทำให้จติ ต้องมารับรูท้ างกาย และทำให้ไม่สามารถรับรูอ้ ยูแ่ ต่เพียง ทางใจอย่างเดียวได้ ต่อจากนัน้ ให้ตง้ั กายให้ตรง ดำรงสติอยูเ่ ฉพาะหน้า เมือ่ หายใจเข้าและหายใจออก ก็ให้มสี ติตามรูล้ มหายใจทีเ่ ข้าและออกนัน้ ไปตาม ทีเ่ ป็นอยูจ่ ริง ไม่วา่ ลมหายใจจะยาวหรือสัน้ ก็ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ ในตอนต้นของการปฏิบตั ิ ให้มสี ติตามรูล้ มทีเ่ ข้าและออก โดย ทำเหมือนวิง่ ตามลม ระหว่างปลายจมูกกับบริเวณหน้าท้อง เมือ่ สามารถ ตามรูไ้ ด้สม่ำเสมอพอสมควรแล้ว ก็ให้เปลีย่ นมารับรูเ้ ฉพาะตรงจุดสัมผัส ของลมทีก่ ระทบปลายจมูกเพียงอย่างเดียว และต่อจากนีก้ ใ็ ห้รกั ษาการ รับรูเ้ ฉพาะสัมผัสของลมตรงนีเ้ ท่านัน้ เมือ่ สามารถรับรูต้ รงจุดทีล่ มกระทบสัมผัสได้ตอ่ เนือ่ ง ไม่วอกแวก ไปทีอ่ น่ื หมายความว่า กำลังของสมาธิดขี น้ึ ตามลำดับ จนถึงจุดหนึง่ ที่ สมาธิเริม่ มีความแนบแน่นขึน้ และถึงระดับทีจ่ ะเข้าสูภ่ าวะของรูปฌานได้ จะมี สิง่ ทีเ่ รียกว่า “อุคคหนิมติ ” ปรากฏขึน้ เองตามธรรมชาติ ซึง่ อาจมีลกั ษณะ เป็นดวงสว่าง เป็นรูปทรงกลม หรืออาจเป็นรูปหยดน้ำ หรือคล้ายใยแมงมุม เป็นต้น ในกรณีน้ี อาจเปรียบได้กบั การใช้เลนส์นนู รับแสงจากดวงอาทิตย์ เพือ่ รวมแสงอาทิตย์ทก่ี ระจัดกระจายให้อยูใ่ นจุดเดียว ทำให้เห็นเป็นจุด หรือดวงสว่างเกิดขึน้ มีความร้อนสูงและสามารถเผาไหม้กระดาษให้ ลุกเป็นไฟได้ การทำสมาธิกเ็ ช่นเดียวกัน เป็นการรวมกระแสจิตทีก่ ระจัด กระจายไปกับการรับรู้อารมณ์ในช่องทางต่าง ๆ ให้มาอยู่ที่จุดเดียว เมือ่ รวมได้แน่วแน่กจ็ ะเกิดเป็นดวงสว่างทีเ่ รียกว่า “อุคคหนิมติ ” ขึน้ 49
ต่อจากนัน้ ให้รกั ษาการเห็นอุคคหนิมติ นีไ้ ว้ จนจิตมีความแนบ แน่น และเปลีย่ นการรับรูท้ ง้ั หมดจากสัมผัสของลมกระทบทีป่ ลายจมูก มารับรูท้ อ่ี คุ คหนิมติ เพียงอย่างเดียว และเพือ่ ทดสอบว่ากำลังสมาธิใน ขณะนีม้ คี วามมัน่ คง แนบแน่นเพียงพอสำหรับการเข้าสูภ่ าวะของรูปฌาน หรือยัง ก็ทำได้โดยการลองย่อ-ขยายอุคคหนิมติ หรือเลือ่ นให้ใกล้เข้ามา หรือให้ไกลออกไป ซึง่ หากสามารถทำได้ ก็จะเรียกชือ่ ใหม่วา่ “ปฏิภาคนิมติ ” ต่อจากนีไ้ ป ให้เลือกปฏิภาคนิมติ ทีม่ ขี นาด-สีสนั -อยูใ่ นระยะ ใกล้หรือไกล ทีม่ คี วามรูส้ กึ พอดีกบั จิต มาให้จติ รับรูอ้ ยูแ่ ต่ในปฏิภาคนิมติ นัน้ เมือ่ องค์ฌาน คือ วิตก วิจารณ์ ปีติ สุข และเอกัคคตา เกิดขึน้ ครบ ถ้วนสมบูรณ์เมือ่ ใด จิตก็จะเข้าถึงสมาธิทเ่ี รียกว่ารูปฌานที่ 1 และหาก รักษาการกำหนดรูอ้ ยูใ่ นปฏิภาคนิมติ อยูต่ อ่ เนือ่ งไปเรือ่ ย ๆ ก็จะค่อย ๆ ละองค์ฌานทีห่ ยาบไปตามลำดับ จนเมือ่ เข้าถึงภาวะของรูปฌานที่ 4 ก็จะเหลือแต่องค์ฌาน คือ อุเบกขา และเอกัคคตา ภาวะของจิตทีเ่ ข้าถึงรูปฌานนัน้ เป็นจิตทีส่ งัดจากกาม สงัดจาก อกุศลธรรมทัง้ หลาย ไม่มนี วิ รณ์เกิดขึน้ รบกวน ไม่มดี ำริใด ๆ เกีย่ วกับกาม หรือรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัสทางกาย เกิดขึ้น เวทนาทั้งหลายที่เกิดขึ้น ในระดับนี้ เรียกว่า เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส เป็นจิตทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสว่า เป็น อธิจติ 19 มีคณ ุ ภาพพร้อมและเหมาะสม ควรแก่การงานทุกอย่าง การจะปฏิบัติองค์มรรคในกลุ่มนี้ ให้ได้ผลดีและเป็นไปโดย ราบรืน่ ได้เพียงใด ขึน้ อยูก่ บั ความสามารถในการปฏิบตั อิ งค์มรรคทีอ่ ยู่ ในกลุม่ ก่อนหน้า คือ ศีลขันธ์ ว่าได้ผลดีเพียงใด เพราะสิง่ ทีเ่ ป็นเครือ่ ง หน่วง หรือคอยรบกวนจิตไม่ให้ก้าวหน้า และมีคุณภาพที่พร้อมและ เหมาะสม ส่วนใหญ่มาจากผลของการกระทำทีไ่ ม่ถกู ต้องทางกายและ 19
(29/46)
50
วาจา ทีน่ ำมาซึง่ ความเดือดร้อนใจ และความเดือดร้อนใจทีเ่ กิดขึน้ นีเ้ อง ทีเ่ ป็นเครือ่ งรบกวนให้การปฏิบตั ไิ ม่ประสบผลและไม่เกิดความก้าวหน้า นอกจากนัน้ การปฏิบตั อิ งค์มรรคในกลุม่ ของศีลขันธ์ นับเป็น การปฏิบตั ใิ นขัน้ ทีห่ ยาบกว่า เมือ่ เปรียบเทียบกับองค์มรรคในกลุม่ ของ สมาธิขนั ธ์ ดังนัน้ หากยังไม่สามารถปฏิบตั อิ งค์มรรคในกลุม่ ของศีลขันธ์ ให้ถูกต้องและบังเกิดผลก่อน ก็เป็นการยากที่จะปฏิบัติองค์มรรคใน กลุม่ ของสมาธิขนั ธ์ให้กา้ วหน้าและประสบผลสำเร็จ การปฏิบตั อิ งค์มรรคในกลุม่ ของ สมาธิขนั ธ์ นอกจากจะ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ฝึกฝนพัฒนาคุณภาพของจิตให้มคี วามเหมาะสม และพร้อมทีจ่ ะนำไปใช้ในการทำหน้าทีต่ า่ ง ๆ แล้ว ยังมีจดุ มุง่ หมาย สำคัญ คือ นำจิตทีฝ่ กึ ฝนแล้วนี้ ไปทำกิจเพือ่ ดับทุกข์ในอริยสัจที่ ยังเหลืออยู่ คือทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากความยึดมัน่ ในธรรมชาติฝา่ ย รูปธรรม (กามราคะ และ ปฏิฆะ) และทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ จากความ ยึดมัน่ ในธรรมชาติฝา่ ยนามธรรม (รูปราคะ, อรูปราคะ, มานะ, อุทธัจจะ และ อวิชชา) ให้หมดไปอย่างสิน้ เชิง ทำไมการปฏิบัติองค์มรรคในกลุ่มของสมาธิขันธ์ จึงทำให้ กามราคะ และปฏิฆะ หมดสิน้ ไปได้ เหตุผลก็คือ อาศัยสุขเวทนาที่ไม่มีอามิสจากรูปฌาน 4 ในสัมมาสมาธิ มาเป็นเครือ่ งหล่อเลีย้ งจิตทดแทนสุขเวทนาทีม่ ี อามิส ซึง่ เป็นกามสุข เพราะหากไม่มคี วามสุขอืน่ ทีล่ ะเอียดและ ประณีตยิ่งกว่ามาทดแทน ก็ไม่สามารถก้าวข้ามพ้นจากการ ครอบงำของกามสุขได้ คือไม่สามารถละกามราคะ และปฏิฆะให้ หมดสิน้ ไปได้ 51
สมดังพระพุทธพจน์ที่ตรัสว่า “เมื่อครั้งยังเป็นพระโพธิสัตว์ แม้จะรูว้ า่ กามให้ความยินดีนอ้ ย มีทกุ ข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษใน กามมีมากยิง่ แต่ตราบใดทีย่ งั ไม่บรรลุปตี แิ ละสุข หรือกุศลธรรมอืน่ ที่ ประณีตยิง่ กว่า ก็ยงั ต้องเวียนกลับมาหากามอีก” 20 และเหตุผลอีกประการหนึง่ คือ ภาวะของรูปฌาน เป็นภาวะที่ จิตสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นภาวะที่จิตไม่ได้ รับรูอ้ ารมณ์ใด ๆ ทางรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย ซึง่ เป็นที่ ตั้งของกามคุณ เป็นภาวะที่จิตยังไม่ได้มีดำริใด ๆ ในเรื่องของกาม ต่อเมือ่ ออกจากอารมณ์ของรูปฌาน จึงเริม่ มีการรับอารมณ์ คือ รูป เสียง เป็นต้น และมีการดำริต่าง ๆ เกิดขึ้น โดยเฉพาะการดำริด้วยความ กำหนัดในอารมณ์ คือ รูป เสียง เหล่านัน้ จึงทำให้เกิดกามราคะขึน้ สมดังพระพุทธพจน์ทต่ี รัสว่า “อารมณ์อนั วิจติ รทัง้ หลายในโลก ไม่ชอ่ื ว่ากาม ความกำหนัดทีเ่ กิดขึน้ ด้วยความสามารถแห่งความดำริ ของบุรษุ ชือ่ ว่ากาม” 21 การทีบ่ คุ คลเจริญสมาธิได้จนถึงระดับรูปฌาน นอกจากจะทำให้ จิตมีพลังเข้มแข็งมัน่ คง อันเนือ่ งมาจากความสุขทีไ่ ม่มอี ามิส ทำให้ไม่มี ความหวัน่ ไหวต่อความสุขทีม่ อี ามิส หรือทีม่ าจากกามคุณทัง้ 5 แล้ว ภาวะของรูปฌานดังกล่าว ยังเป็นปัจจัยสำคัญทีท่ ำให้สามารถเจริญ ปัญญา จนประจักษ์ถึงต้นตอของกามราคะ ว่าเกิดขึ้นจากดำริด้วย ความกำหนัดอย่างไร เพราะในขณะทีจ่ ติ ดำรงอยูใ่ นรูปฌาน จะยังไม่มี ความดำริในเรือ่ งของกามใด ๆ เกิดขึน้ ต่อเมือ่ ออกจากภาวะรูปฌาน แล้วมารับรูต้ อ่ รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย ความดำริในกาม จึงค่อยเกิดขึ้น จึงทำให้บุคคลประจักษ์ชัดถึงต้นตอการเกิดขึ้นของ 20
(12/211) ; 21 (22/334)
52
ความดำริน้ี และเกิดปัญญาละได้ในทีส่ ดุ ซึง่ มีผลทำให้กามราคะและ ปฏิฆะหมดสิน้ ไป กลไกการประจั ก ษ์ ท ี ่ ท ำให้ เ กิ ด ปั ญ ญาจนสามารถ ละ กามราคะ และ ปฏิฆะ ให้หมดสิน้ ไปนัน้ อาศัยองค์มรรคในส่วน ของสมาธิขนั ธ์เป็นสำคัญ คือ อาศัย สัมมาวายามะ ความเพียร อุดหนุนการทำงานของ สัมมาสติ โดยเฉพาะสติทค่ี อยติดตามและ พิจารณาในช่วงทีจ่ ติ ดำรงอยูใ่ นภาวะของรูปฌานใน สัมมาสมาธิ ซึง่ ขณะนัน้ ยังไม่มคี วามดำริใด ๆ เกีย่ วกับกามเกิดขึน้ แต่เมือ่ ออก จากภาวะของรูปฌาน แล้วมารับรูอ้ ารมณ์คอื รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย หรือทีม่ ารวมยอดอยูท่ ่ี เวทนาทางใจทีม่ อี ามิส ซึง่ เรียกรวมว่า กามอารมณ์ ความดำริดว้ ยความกำหนัดเกิดขึน้ เมือ่ ใด และเกิดขึน้ ได้อย่างไร เมือ่ ได้ประจักษ์ถงึ การเกิดขึน้ ของ ความดำริน้ี จึงทำให้เกิดปัญญารูแ้ จ้งขึน้ และทำให้บคุ คลสามารถ ละ กามราคะ และ ปฏิฆะ ได้อย่างเด็ดขาดในทีส่ ดุ บุคคลเมือ่ ปฏิบตั อิ งค์มรรคคือสมาธิขนั ธ์นไ้ี ด้จนสมบูรณ์ จะทำให้ บรรลุเป็นพระอริยบุคคลระดับพระอนาคามี เป็นผูห้ มดสิน้ ความทุกข์ อันเนือ่ งมาจากการครอบงำหรือเสียดแทงของรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัส ทางกาย หรือจากรสชาติอนั เนือ่ งมาจากธรรมชาติฝา่ ยรูปธรรมทัง้ หมดได้ อย่างเด็ดขาด เป็นผูห้ มดสิน้ ทุกขเวทนาทางใจโดยประการทัง้ ปวง ความทุกข์ที่ละเอียดในระดับสุดท้ายของพระอนาคามี ที่ยัง เหลืออยูแ่ ละจะต้องละให้หมดสิน้ ไป ไม่ใช่ทกุ ขเวทนาทางใจ แต่เป็น ความหวัน่ ไหว หรือ ความสะดุง้ อันเนือ่ งจากยังมีอปุ าทาน โดยเฉพาะ อัตตวาทุปาทาน ทีย่ ดึ มัน่ ในธรรมชาติฝา่ ยนามธรรมล้วน ๆ ทีพ่ น้ ไปจาก รูปธรรม ซึง่ เมือ่ ประมวลแล้วรวมยอดสูงสุดอยูท่ เ่ี รือ่ งของเวทนา คือ 53
เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส ตรงกับสังโยชน์ทเ่ี ป็นเครือ่ งผูกมัด คือ รูปราคะ และ อรูปราคะ กล่าวคือพระอนาคามี ยังมีความติดใจและ ความหวัน่ ไหว เพราะความยึดมัน่ ถือมัน่ ในรสชาติของความสุขทีม่ าจาก รูปฌานและอรูปฌาน ความทีพ่ ระอนาคามีสามารถปฏิบตั ติ นจนอยูเ่ หนือ กามราคะ และปฏิฆะ ได้อย่างเด็ดขาด และการทีส่ ามารถพ้นจากทุกขเวทนาทางใจ ได้อย่างสิน้ เชิง รวมถึงความสุขในระดับทีม่ าจากรูปฌานและอรูปฌาน ที่สามารถเข้าถึง จึงเป็นปัจจัยทำให้เกิดความรู้สึกที่เป็นสังโยชน์ คือ มานะ ขึน้ กล่าวคือ มีความรูส้ กึ อดไม่ได้ทจ่ี ะยินดีพอใจในตนเอง และ รูส้ กึ ปลืม้ ใจในตน ทีส่ ามารถปฏิบตั มิ าได้จนถึงระดับนี้ ซึง่ มีนอ้ ยคนนัก ทีจ่ ะสามารถทำได้ นอกจากนั้น ภาวะที่บุคคลสามารถปฏิบัติได้จนถึงระดับ พระอนาคามีน้ี เป็นภาวะทีล่ ะเอียด ประณีต บริสทุ ธิ์ ทีไ่ ม่เคยพบมาก่อน จึงทำให้บคุ คลเกิดความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นสังโยชน์ คือ อุทธัจจะ ขึน้ กล่าวคือ ความเพลินทีม่ วั ชืน่ ชมและพิจารณาอยูแ่ ต่กบั อารมณ์ทล่ี ะเอียดประณีต และธรรมทีต่ นเข้าถึงนัน้ ผูร้ บู้ างท่านให้อรรถาธิบายว่า เป็นความรูส้ กึ “ทึง่ ” อยูก่ บั ภาวะทีเ่ ข้าถึงนี้ อุทธัจจะในระดับนีจ้ งึ ไม่ควรใช้คำแปลทีว่ า่ คือ “ความฟุง้ ซ่าน” แต่ควรใช้คำว่า “ฟุง้ ในธรรม” แทน ซึง่ หมายถึงการ เพลินกับการพิจารณาหรือท่องไปในธรรมทีบ่ รรลุนน้ั กล่าวอย่างถึงที่สุด สังโยชน์และอุปาทานทั้งหมด ล้วนมีต้น กำเนิดมาจาก อวิชชา คือ ความไม่รจู้ ริง ซึง่ มีศนู ย์กลางอยูท่ ค่ี วาม สำคัญผิดในเรือ่ งของตัวตน จึงทำให้เกิดสังโยชน์และอุปาทานประเภท ต่าง ๆ เกิดขึน้ และเกิดเป็นอุปาทานขันธ์ในระดับต่าง ๆ ซึง่ เป็นทุกข์ใน อริยสัจในทีส่ ดุ 54
อัตตวาทุปาทาน คือ อุปาทานที่ยึดมั่นถือมั่นในตนนี้ เป็น อุปาทานในระดับที่ลึกที่สุด และอันที่จริงยังเป็นต้นตอที่ทำให้เกิด อุปาทานประเภทอืน่ ๆ ด้วย เมือ่ บุคคลปฏิบตั มิ าจนถึงระดับพระอนาคามี อุปาทานต่าง ๆ คือ ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน และกามุปาทาน ได้ถกู ละไปจนหมดสิน้ ยังคงเหลือแต่อตั ตวาทุปาทานในขัน้ ละเอียดนี้ อยูเ่ พียงอย่างเดียว ทีจ่ ะต้องละให้หมดสิน้ ต่อไป สำหรับกลไกการประจักษ์ทท่ี ำให้เกิดปัญญาจนสามารถ ละสังโยชน์เบือ้ งสูงทีเ่ หลือ คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ให้หมดสิน้ ไปนัน้ อาศัยองค์มรรคในส่วนของสมาธิขันธ์เป็นสำคัญ คือ อาศัย สัมมาวายามะ ความเพียร อุดหนุน การทำงานของ สัมมาสติ โดยเฉพาะสติทค่ี อยติดตามและพิจารณา ภาวะของรูปฌานใน สัมมาสมาธิ หรือทีม่ ารวมยอดอยูท่ ่ี เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส โดยพิจารณาเห็นว่า แม้แต่เวทนาในระดับนี้ ก็ยงั ตกอยูใ่ นสภาพของไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา จนกว่าจะเกิดปัญญาสมบูรณ์ทเ่ี รียกว่า สัมมาญาณะ 22 มีผลทำให้ ถอนความเพลิดเพลิน และความยึดมัน่ ถือมัน่ ในความรูส้ กึ ทีเ่ ป็น ตัวตนหรือของตน แม้ในธรรมชาติทป่ี ระณีตและบริสทุ ธิใ์ นระดับนี้ ลงได้ ละสังโยชน์เบือ้ งสูงได้ทง้ั หมด และละอัตตวาทุปาทานได้ อย่างหมดจดสิ้นเชิงไปด้วย บรรลุอุดมคติสูงสุดในพระพุทธศาสนา เป็นพระอรหันต์ผหู้ มดสิน้ อุปาทานโดยประการทัง้ ปวง เป็นผู้ไม่มีความหวั่นไหวและความสะดุ้งอันเนื่องจากสิ่งใดๆ ทัง้ หมดทัง้ สิน้ เป็นผูด้ บั ทุกข์ในอริยสัจได้อย่างหมดจดและสิน้ เชิง ไม่มกี จิ อะไรทีจ่ ะต้องกระทำเพือ่ แสวงหาความพ้นทุกข์อกี ต่อไป 22
(24/104)
55
บทสรุป อริยสัจที่ได้เรียบเรียงในหนังสือนี้ ทั้งหมดเน้นไปในแง่แสดง การเกิดขึน้ และดับไปของทุกข์ในอริยสัจคืออุปาทานขันธ์ 5 ซึง่ เป็นเรือ่ ง ทุกข์ทางใจของบุคคล แต่ในความเป็นจริงแล้ว ตัณหาซึง่ เป็นเหตุแห่ง ทุกข์ในอริยสัจนัน้ ยังเป็นต้นเหตุสำคัญทีท่ ำให้เกิดทุกข์แก่สงั คมอย่าง มากมายด้วย สมดังพระพุทธพจน์ทต่ี รัสไว้วา่ .....--> ตัณหา --> ปริเยสนา (การแสวงหา) --> ลาภะ (การได้) --> วินจิ ฉัย (การกะกำหนด) --> ฉันทราคะ (ความชอบชิดติดพัน) --> อัชโฌสาน (ความหมกมุน่ ฝังใจ) --> ปริคคหะ (การยึดถือครอบครอง) --> มัจฉริยะ (ความตระหนี)่ --> อารักขะ (ความหวงกัน้ ) อาศัยอารักขะ จึงมีการถือไม้ ถือมีด การทะเลาะ แก่งแย่ง วิวาท การด่าว่า การส่อเสียด มุสาวาท บาปอกุศลธรรมทัง้ หลายเป็นอเนก ย่อมเกิดมีพรัง่ พร้อมด้วย อาการอย่างนี้ 23 ดังทีไ่ ด้เรียบเรียงมา คงจะช่วยทำให้ทา่ นผูอ้ า่ นเกิดความ เข้าใจในอริยสัจตามที่พระพุทธองค์ตรัสสอนมากขึ้นและดีขึ้น มองเห็นช่องทางทีจ่ ะสามารถนำไปปฏิบตั แิ ละประยุกต์ใช้ในทุกเรือ่ ง และทุกสถานการณ์ของชีวติ ได้อย่างไร ตามชือ่ ของหนังสือนีท้ ว่ี า่ “อริยสัจสำหรับทุกคน” เพือ่ ให้อริยสัจทีพ ่ ระพุทธเจ้าทรงค้นพบ และตรัสรูน้ ้ี เป็นประโยชน์อย่างกว้างขวางในการดับทุกข์ ให้ทง้ั แก่บุคคล ตลอดจนมวลมนุษยชาติ โดยเฉพาะในโลกปัจจุบัน ซึง่ กำลังประสบวิกฤตการณ์ทท่ี ำให้เกิดความทุกข์ในด้านต่าง ๆ มากมายมหาศาล และต้องการแนวทางตลอดจนวิธที จ่ี ะใช้ดบั ทุกข์ทร่ี มุ เร้าเข้ามานัน้ อย่างรีบด่วน. 23
(10/59)
56
ดรรชนีคน้ คำ กฎธรรมชาติ 2 กมฺมนีโย 48 กสิน 48 กาม 19, 24, 50, 52 กามคุณ 20, 51, 52 กามตัณหา 22, 23 กามภพ 41 กามราคะ 20, 21, 38, 51, 52, 53, 54 กามสุข 51 กามอารมณ์ 53 กามุปาทาน 19, 20, 23, 24, 55 กาเมสุมิจฉาจาร 44, 45 กิเลส 1, 5, 6, 37, 38 กุศล 47, 52 ขันธ์ 5 7, 9, 11, 18, 19, 40, 41 ชรามรณะ 39 ชาติ 39 ชีวิตที่ไม่ทุกข์ 11, 13 ชีวิตทุกข์ 11, 12 ชีวิตฝ่ายกาย 14, 15, 17 ชีวิตฝ่ายจิต 14, 15, 17 เดรัจฉาน 12 ตรัสรู้ 1, 10, 16, 56 ตัณหา 8, 11, 12, 13, 14, 17, 22, 23, 39, 40, 56 ตัวตน 19, 20, 21, 54 ไตรลักษณ์ 9 ทิฏฐิ 19 ทิฏฐุปาทาน 19, 20, 23, 55 ทิฐิ 8 ทิศ 6 38 ทุกข์ทางใจ 7, 8, 56 ทุกขนิยม 6 ทุกข์ในไตรลักษณ์ 9 ทุกข์ในเวทนา 9 ทุกข์ในอริยสัจ 7, 8, 9, 11, 12, 13, 19, 20, 21, 22, 23, 27, 40, 41, 42, 54, 55, 56 ทุกขเวทนา 4, 9, 12, 22, 23, 30, 40 ทุกขเวทนาทางกาย 9 ทุกขเวทนาทางใจ 8, 9, 53, 54 ทุกขัง 7, 9 ทุคติ 12 เทวดา 12 โทสะ 23
ธาตุดิน 14, 15 ธาตุน้ำ 14, 15 ธาตุไฟ 14, 15 ธาตุลม 14, 15, นรก 12 นามธรรม 21, 24, 53 นิจจัง 7, 9 นิวรณ์ 48, 50 เนกขัมมสังกัปป์ 42 ปฏิฆสัมผัส 41 ปฏิฆะ 20, 21, 38, 51, 53, 54 ปฏิจจสมุปบาท 12, 39 ปฏิภาคนิมิต 41, 50 ปรินิพพาน 8 ปริสุทฺโธ 48 ปลิโพธ 48 ปัจจัย 4 15, 29, 30, 31, 33, 34, 36 ปัญญา 13, 25, 32, 38, 39, 43, 46, 53, 55 ปัญญาขันธ์ 43 ปาณาติบาต 44 ปีติ 50, 52 เปรต 12 พระสกทาคามี 13, 24, 37 พระสารีบุตร 3 พระโสดาบัน 13, 23, 28, 37, 43 พระอนาคามี 13, 24, 53, 54, 55 พระอรหันต์ 13, 27, 55 พระอริยบุคคล 1, 5, 13, 28, 37, 53 โพชฌงค์ 39 โพธิญาณ 10, 16 ภพ 39 ภพภูมิ 12 ภวตัณหา 22, 23 ภาวิตญาณ 32 มนุษย์ 12 มนุษยชาติ 1, 3, 56 มโน 41 มหาสติปัฏฐานสูตร 40 มานะ 8, 20, 21, 54, 55 มิจฉาวณิชชา 45 โมหะ 23 รอยเท้าช้าง 3 ราคะ 23 รูปพรหม 12 รูปขันธ์ 19, 41 รูปฌาน 20, 48, 49, 50, 51, 52, 53, 54
รูปธรรม 21, 51, 53, 53 รูปภพ 41 รูปราคะ 20, 21, 54, 55 โลกุตตระ 5 วัฏสงสาร 10, 12, 13, 42 วิจารณ์ 50 วิจิกิจฉา 20, 21, 28, 46 วิชชา 17, 39 วิญญาณ 41 วิญญาณขันธ์ 19 วิตก 50 วิภวตัณหา 22, 23 วิมุตติ 39 เวทนา 3, 4, 9, 12, 13, 22, 39, 40, 42, 51, 53 เวทนาขันธ์ 19 เวทนาทางกาย 40, 41 เวทนาทางใจที่มีอามิส 40, 41, 51, 53 เวทนาทางใจที่ไม่มิอามิส 40, 41, 50, 54, 55 ศีล 46 ศีลขันธ์ 46, 50, 51 สติ 32 สติปัฏฐาน 39, 47 สมาธิ 32 สมาธิขันธ์ 46, 51, 53, 55 สมาหิโต 48 สักกายทิฏฐิ 20, 21, 28, 46 สังขาร 41 สังขารขันธ์ 19 สังขารธรรม 9 สังโยชน์ 10 20, 21, 38, 51, 54, 55 สังสารวัฏ 10 สัญชาตญาณ 32 สัญญา 41 สัญญาขันธ์ 19 สัมมากัมมันตะ 24, 43, 44 สัมมาญาณะ 55 สัมมาทิฏฐิ 24, 25, 26, 27, 28, 29, 30, 31, 32, 33, 37, 38, 39, 40, 41, 42, 43, 44, 46 สัมมาวาจา 24, 43, 44 สัมมาวายามะ 24, 46, 47, 53, 55 สัมมาสติ 24, 46, 47, 53, 55 สัมมาสมาธิ 24, 46, 48, 51, 53, 55 สัมมาสังกัปปะ 24, 42, 43 สัมมาอาชีวะ 24, 43, 45
57
สิกขา 3 46 สีลพั พตปรามาส 20, 21, 28, 46 สีลพั พตุปาทาน 19, 20, 23, 55 สุข 50, 52 สุขขัง 7, 9 สุขเวทนา 8, 12, 22, 40, 51 สุคติ 12 หลักอริยสัจ 1, 2, 3 เหตุปัจจัย 2, 4 อกุศล 47, 50 องค์ฌาน 50 อทินนาทาน 44 อทุกขมสุขเวทนา 23, 40 อธิจิต 50 อธิจิตตสิกขา 46 อธิปัญญาสิกขา 46 อธิวจนสัมผัส 41 อธิศีลสิกขา 46 อนัตตา 7, 9 อนิจจัง 7, 9 อพยาบาทสังกัปป์ 42, 43 อริยกันตศีล 46 อริยมรรคมีองค์ 8 11, 13, 24 อรูปฌาน 20, 54 อรูปพรหม 12 อรูปภพ 41 อรูปราคะ 20, 21, 54, 55 อวิชชา 17, 20, 21, 54, 55 อวิปปฏิสาร 46 อวิหิงสาสังกัปป์ 42, 43 อสุรกาย 12 อัตตวาทุปาทาน 19, 20, 23, 53, 55 อัตตา 7, 9 อานาปานสติ 48 อายตนะ 6 19, 38, 39 อายตนะภายนอก 9, 38, 41 อายตนะภายใน 9, 38, 41 อุคคหนิมิต 49, 50 อุดมคติ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 34, 55 อุทธัจจะ 20, 21, 54, 55 อุเบกขา 50 อุปาทาน 7, 8, 9, 12, 18, 19, 20, 22, 39, 40, 53, 54, 55, 56 อุปาทานขันธ์ 5 7, 8, 11, 12, 13, 18, 19, 20, 21, 22, 23, 27, 40, 41, 55, 56 เอกัคคตา 50
รายชือ่ หนังสือทีไ่ ด้จดั พิมพ์มาแล้วของผูเ้ รียบเรียง พ.ศ. 2548 “ความหมายคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนาชีวิตที่สมบูรณ์แบบ” พ.ศ. 2549 “ความพอเพียง คือทางรอดของมนุษย์และสังคม” พ.ศ. 2550 “หลักธรรมพื้นฐานที่ชาวพุทธพึงรู้” พ.ศ. 2551 “คู่มือบัณฑิตของแผ่นดิน” พ.ศ. 2552 “คู่มือปัญญา ในพระพุทธศาสนา” พ.ศ. 2553 “ปฏิจจสมุปบาท ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์” พ.ศ. 2554 “สติปฏั ฐาน 4 ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์”
58