ฟังดนตรีที่จุฬาฯ ONLINE รายการ “ทิพย์นรีกับสยามดุรยิ างค์เชมเบอร์” วันศุกร์ที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ รายการแสดง วงเครื่องสายผสมเปียโน “ทิพย์นรี” มอญอ้อยอิง่ เถา พญาโศกสำหรับเปียโนและคลาริเน็ต ระบำสุโขทัย แฟนตาซี จันทราหู-สุรินทราหู สยามดุริยางค์เชมเบอร์ เขมรพายเรือ บุหลันลอยเลื่อน ลาวลำปาง แสนคำนึง เขมรปี่แก้ว ทางสักวา เขมรลออองค์ เถา สร้อยสนตัด
คำอธิบายเพลง มอญอ้อยอิ่ง เถา เฉลิม บัวทั่ง ประพันธ์ เพลงมอญอ้อยอิ่ง เถา เป็นบทเพลงอมตะที่มีท่วงทำนองอันไพเราะ ให้ความรู้สึกหวานปน เศร้า ครูเฉลิม บัวทั่ง ประพันธ์เพลงมอญอ้อยอิ่ง เถา ขึ้นจากเพลงมอญอ้อยอิ่ง สองชั้น ของเดิมที่ ประพันธ์โดย ม.ล.ต่วนศรี วรวรรณ สำหรับเพลงมอญอ้อยอิ่ง เถา ฉบับนี้ นำมาบรรเลงในรูปแบบวง เครื่องสายผสมเปียโน เรียบเรียงแนวเปียโนโดยณัชชา พันธุ์เจริญ พญาโศกสำหรับเปียโนและคลาริเน็ต พระประดิษฐ์ไพเราะ (มี ดุริยางกูร) ประพันธ์ เพลงพญาโศก สามชั้น ใช้ในการร้องหรือบรรเลงประกอบอารมณ์โศกเศร้า เป็นทำนองเก่า ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมานิยมนำมาประดิษฐ์เป็นทางเดี่ยวสำหรับเดี่ยวเครื่องดนตรีชนิดต่ าง ๆ พระประดิษฐ์ไพเราะ (มี ดุริยางกูร) เป็นผู้ที่นำเพลงพญาโศก สามชั้น มาประดิษฐ์ทางเดี่ยวเป็ นคน แรก พญาโศกสำหรับเปียโนและคลาริเน็ตฉบับนี้ เรียบเรียงแนวเปียโนโดยพันเอกชูชาติ พิทักษา กร ปรับเป็นแนวเปียโนและคลาริเน็ตโดยณัชชา พันธุ์เจริญ แฟนตาซี จันทราหู-สุรินทราหู ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร ประพันธ์ แฟนตาซี จันทราหู -สุริ นทราหู ประพันธ์ขึ้ นโดยใช้ท ำนองหลั กจากเพลงจั นทราหู แ ละ สุรินทราหู ซึ่งเป็นทำนองเพลงเก่าตั้งแต่สมัยอยุธยา มีท่วงทำนองไพเราะ อ่อนหวาน และเป็นที่นิยม นำมาบรรเลงมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน บทเพลงนี ้ ป ระพันธ์ ส ำหรั บวงเปี ยโนควอเต็ต ประกอบไปด้ วยเครื ่องดนตรี 4 ชิ ้ น คื อ ไวโอลิน คลาริเน็ต เชลโล และเปียโน นำเสนอด้วยเสียงประสานสมัยใหม่ และลักษณะจังหวะที่ น่าสนใจ
ระบำสุโขทัย มนตรี ตราโมท ประพันธ์ ระบำสุโขทัยฉบับนี้ เป็นการตีความและสร้างอารมณ์ ใหม่ให้กับบทเพลง เป็นการสร้าง บรรยากาศแห่งการระบำอันงดงาม อ่อนช้อย เปี่ยมไปด้วยอารมณ์ความรู้สึก ด้วยสำเนียงดนตรีร่ วม สมัย และเข้าถึงความรู้สึกเบื้องลึกของผู้ฟัง โดยได้รักษาท่วงทำนองเดิมเอาไว้อย่างครบถ้วน นับเป็น แนวทางการเรียบเรียงเพื่อพัฒนาและสานต่อบทเพลงไทยเดิม อันทรงคุณค่าสู่คนยุคปัจจุบั นและยุค ต่อไป เขมรพายเรือ สองชั้น สำหรับเชลโลและเปียโน ทำนองเก่า ไม่ทราบนามผู้ประพันธ์ เพลงเขมรพายเรื อ สองชั ้ น เดิ มชื ่ อเพลงเขมรอมตึ ๊ ก เป็ นทำนองเก่ าไม่ ป รากฏนาม ผู้ประพันธ์ ครูมนตรี ตราโมท เป็นผู้เปลี่ยนชื่อเพลงเป็น “เขมรพายเรือ” เป็นเพลงสำเนี ยงเขมรที่ มี ลีลาอ่อนหวาน มีชีวิตชีวา เนื้อดนตรีเป็นแบบทำนองหลักและแนวประกอบ ดำเนินเรียบง่ ายโดยให้ เชลโลบรรเลงทำนองหลัก และแนวเปียโนบรรเลงประกอบด้วยลีลาของสายน้ำที่มีคลื่นเบา ๆ บุหลันลอยเลื่อน สองชั้น สำหรับเชลโลและเปียโน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระพุท ธเลิศหล้ านภาลัย ทรงพระสุบินว่าได้ สดั บทำนองเพลงนี้ใ นคื น พระจันทร์เต็มดวง จึงทรงพระราชทานชื่อเพลงว่า "บุหลันลอยเลื่อน" เพลงมี 2 ท่อน ใช้การบรรเลง แบบสลับเที่ยวหวานและเที่ยวเก็บ เมื่อกล่าวถึงเพลงบุหลันลอยเลื่อน สองชั้น เครื่องดนตรีที่นิยม นำมาบรรเลงเดี่ยวคือซอสามสาย ดังนั้นทำนองหลักเที่ยวหวานในแนวเชลโลจะประดับตกแต่งให้เป็น สำเนียงและบุคลิกของซอสามสาย ลาวลำปาง สองชั้น สำหรับไวโอลิน เชลโล และเปียโน ทำนองเก่า ไม่ทราบนามผู้ประพันธ์ ทำนองลาวลำปางอัตราสองชั้นเป็นทำนองเก่า ไม่ปรากฏนามผู้ประพันธ์ มีอีกชื่อว่ า "ลาว สร้อยลำปาง" เป็นทำนองที่มีลีลาอ่อนหวาน บรรเลงด้วยบันไดเสียงตะวันตกได้อย่างกลมกลืน
แสนคำนึง สำหรับไวโอลิน เชลโล และเปียโน หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปะบรรเลง) ประพันธ์ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง พ.ศ. 2424 - 2497) นำทำนองเก่าอัตราสองชั้น สำเนียงลาวมาประพันธ์ขึ้นใหม่ทั้งเถา ปรับแต่งลีลาตามหลักทฤษฎีดนตรีไทย ประพันธ์เสร็จสิ้นใน พ.ศ. 2483 บทเรียบเรียงนี้เป็นอัตราสองชั้นและนำอัตราชั้นเดียวมาต่อท้ายเพื่อให้เพลงมีสี สันและมี ชี วิ ต ชี วาขึ ้ น เพราะทำนองอั ต ราชั ้ นเดี ย วเป็ นทำนองที ่ ฟ ั ง ง่ ายและสนุ ก สนาน วลี จากจั ง หวะ Habanera ในแนวเชลโล ส่งเข้าสู่การเริ่มต้นทำนองหลัก และยังใช้วลีนี้อีกครั้ง ทำนองอัตราสองชั้ น เป็นที่คุ้นหูเพราะมีการนำไปใส่เนื้อร้องเป็นเพลงลูกกรุง แต่ในบทเรียบเรียงใช้การบรรเลงตามแบบ ดนตรีไทย ใช้เทคนิคการล้อ การรับ การเหลื่อม โดยให้เครื่องดนตรีทั้ง 3 ชิ้นสลับกันบรรเลงนำ เขมรปี่แก้วสามชั้นทางสักวา สำหรับไวโอลิน วิโอลา เชลโล และเปียโน มนตรี ตราโมท ประพันธ์ ครูมนตรี ตราโมท นำเพลงเขมรปี่แก้วสามชั้นของนายช้อย สุนทรวาทิน มาปรับให้เป็นลีลา และสำเนียงให้เป็นทางร้องแบบสักวา เป็นเพลงอัตราสามชั้น มี 2 ท่อน เรียบเรียงให้มีบุคลิกแบบ ขรึมปนความสง่างาม ดำเนินทำนองโดยใช้เครื่องสายเสียงต่ำเป็ นหลัก คือมีช่วงเดี่ยวข องวิโ อลา และเชลโล ไวโอลินจะเป็นแนวสนับสนุนด้วยการบรรเลงทำนองรอง และสอดแทรกด้วยการใช้การ โปรยเสียงขึ้นสู่ช่วงเสียงสูงบ่อยครั้ง เขมรลออองค์ เถา สำหรับไวโอลิน วิโอลา เชลโล และเปียโน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำเพลงเพลงเขมรเอวบางสองชั้น มาพระราช นิพนธ์ครบเป็นเพลงเถา ในอัตราสามชั้นของบทเรียบเรียงเริ่มด้วยทำนองหลักแต่เสมือนบรรเลงท่ อน นำ และตามด้วยทำนองหลักในแนวเปียโน เน้นการใช้รายละเอียดทางการบรรเลงมากำหนดสีสันของ แนวประกอบของกลุ่มเครื่องสาย การบรรเลงล้อรับ กลุ่มเครื่องเสียงสูงกับเสียงต่ำสลับกันบรรเลงนำ บางครั้งเป็นการบรรเลงโต้ตอบระหว่างเปียโนกับเครื่องสาย อัตราสองชั้นและชั้นเดี ย วจะมี ชี วิต ชี วา ขึ้น
ประวัตินักดนตรี ณัชชา พันธุ์เจริญ (ซอสามสาย) ศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุ์เจริ ญ ได้รับ ทุ น รั ฐ บาลไทยไปศึ ก ษาที ่ ป ระเทศสหรั ฐ อเมริ ก า สำเร็ จ การศึกษาระดับปริญญาตรีด้านการแสดงเปียโน ปริญญา โทและปริญญาเอกด้านทฤษฎีดนตรีสากล เป็นที่รู้จักในวง การศึกษาดนตรีข องประเทศในฐานะผู้ เขีย นตำราดนตรี จำนวนมาก ได้รับการถ่ายทอดศาสตร์การบรรเลงเปียโน เพลงไทยจากครูสุมิ ตรา สุจริตกุล และ ผศ. พันเอกชูชาติ พิทักษากร ได้รับการถ่ายทอดศาสตร์การสีซอสามสายจาก พระยาภูมีเสวิน และศาสตราจารย์อุดม อรุณรัตน์ ได้ก่อตั้ง “สำนักเดี่ยวเปียโนเพลงไทย” ขึ้นในปี พ.ศ. 2554 ก่อตั้งวงเครื่องสายผสมเปียโน “ทิพย์นรี” ขึ้นในปี พ.ศ. 2561 และก่อตั้งสำนักซอสาม สายทิพย์นรีขึ้นในปี พ.ศ. 2563 ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 11 สาขาดุริยางคศิลป์ตะวันตก คณะศิล ปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานรางวัล “เมธีวิจัยอาวุโส สกว.” ประจำปี พ.ศ. 2556 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นราชบัณฑิต สาขาดุริยางค กรรม เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2563 พิมพ์ชนก สุวรรณธาดา (ซอด้วง/เปียโน) ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.พิ ม พ์ ช นก สุ ว รรณธาดา สำเร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี เกียรตินิยม สาขาดุริยางค ศิลป์ตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย เรียนเปียโนกับศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุ์เจริญ และ ดร. Bennett Lerner สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาดนตรี ศึกษา จากวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และระดับ ปริ ญ ญาเอก สาขาการประพั น ธ์ เ พลง จากคณะศิ ล ปกรรม ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เป็นผู้บันทึ กโน้ตเพลงไทยสำหรั บเดี่ ยวเปียโน ชุด “วรรณกรรมเปีย โนแห่ งกรุง สยาม” เรียบเรียงเพลงไทยสำหรับเดี่ยวเปียโนชุด “สยามดุริยลิขิต” ถอดเสียงและบันทึกโน้ตเพลงเดี่ ย วซอ สามสายชุด “วรรณกรรมซอสามสายแห่งกรุงสยาม” และเรียบเรียงเพลงไทยสำหรับวงดนตรีเชม เบอร์ชุด “สยามดุริยางค์เชมเบอร์ ” ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และในปี พ.ศ. 2563 มีผลงานสยามดุริยางค์เชมเบอร์ชุดที่ 2 คือ “วรรณกรรมดนตรีเชมเบอร์แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์” ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้รับรางวัลวิทยานิพ นธ์ ระดับดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2559 จากสภาวิจัยแห่งชาติ เป็นส่วนหนึ่งของการแสดงวงเครื่องสายผสม เปียโน “ทิพย์นรี” ที่ทำเนียบเอกอัครราชทูต ณ กรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561 ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำสาขาการแสดงดนตรี คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สีส้ม เอี่ยมสรรพางค์ (ซออู้) สี ส ้ ม เอี ่ ย มสรรพางค์ สำเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขาดนตรี ศ ึ ก ษา จากคณะครุ ศ าสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ปริ ญ ญาโทด้ านทฤษฎี ดนตรี สากลจาก Kent State University ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ดำเนินรายการ “ดนตรีคลาสสิก” ออกอากาศเป็ น ประจำทุกวันทางสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาเป็นเวลากว่า 30 ปี เคยผ่านหลั กสูต รการอบรมด้า น วิทยุจากประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นนักร้องประสานเสียงวง Resonance มีผลงานบันทึกเสียงเป็นจำนวนมากในฐานะ นักร้องสนับสนุน รวมทั้งผลงานในฐานะผู้ดำเนินรายการ งานแสดงดนตรีครั้งสำคัญหลายวาระ สนใจดนตรีไทยและเรียนซออู้มาตั้งแต่เยาว์วัย เป็นส่วนหนึ่งของการแสดงวงเครื่องสาย ผสมเปียโน “ทิพย์นรี” ที่ทำเนียบเอกอัครราชทูต ณ กรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561
ตวันรัตน์ มีวงศ์อุโฆษ (ขลุ่ย/คลาริเน็ต) ดร.ตวั น รั ต น์ มี ว งศ์ อ ุ โ ฆษ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เกียรติ นิ ย มอั นดั บ หนึ ่ ง สาขาการแสดงดนตรี จากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้รับทุนการศึกษาในระดับ ป ร ิ ญ ญ า โ ท ที่ Portland State University มลรั ฐ โอเรกอน ประเทศ สหรัฐอเมริกา จากนั้นทำงานเป็นผู ้ช่วยอาจารย์ที่ The Ohio State University สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอกด้ านการแสดงคลาริเ น็ต จาก Boston University ในปี พ.ศ. 2561 โดยได้รั บ ทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัย เรียนขลุ่ยกับอาจารย์ทศพร ทัศนะ ปัจจุบันเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจาร ย ์ พ ิ เ ศ ษ ท ี ่ ภ าค ว ิ ช าด นต รี ส าข าวิ ช าด นต ร ี ต ะ ว ั นต ก ค ณะ มนุ ษย ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บรรเลงคลาริเน็ตออกแสดงในคอนเสิร์ตต่าง ๆ และสอนคลาริเน็ตแก่ บุคคลทั่วไป ตรีทิพ กมลศิริ (เปียโน) ดร.ตรี ท ิ พ กมลศิ ริ สำเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับหนึ่ ง (เหรียญทอง) จาก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียน เปียโนกับอาจารย์ณัฐ ยนตรรักษ์ ได้รับทุนการศึกษาจน จบปริญญาเอกสาขาการแสดงและการสอนเปี ยโนจาก West Virginia University ประเทศสหรัฐอเมริกา เรียน เปียโนเพลงไทยกับศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุ์เจริญ ร่วมแสดงและเผยแพร่การเล่นเปียโนเพลงไทยในฐานะ ศิษย์สำนักเดี่ยวเปียโนเพลงไทยหลายครั้งทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
เป็นส่วนหนึ่งของการแสดงวงเครื่องสายผสมเปียโน “ทิพย์นรี” ที่ทำเนียบเอกอัครราชทูต ณ กรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561 เป็นศิษย์สำนักซอสามสาย “ทิพย์นรี” และเรียน ขิมกับอาจารย์ชนก สาคริก ตรีทิพเป็นผู้ดำเนินรายการวิทยุ “ดนตรีทิพย์” ทางสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ดนตรีสากลแห่งราชบัณฑิตยสภา เขียนบทความและบทวิจารณ์ ทางดนตรีให้กับนิตยสารและหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัย ศิลปากรและมหาวิทยาลัยรังสิต ภาศิณี สกุลสุรรัตน์ (โทน-รำมะนา) ดร.ภาศิ ณี สกุ ล สุ ร รั ต น์ สํ าเร็ จการศึ ก ษา ระดับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับสอง วิชาเอกการ ประพันธ์เพลง จากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เรียนทรัมเป็ตเป็นเครื่องดนตรีเอก ต่อมา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการประพันธ์ เพลงจาก Tokyo University of the Arts ประเทศ ญี่ปุ่น ปริญญาเอกสาขาการประพั นธ์เพลง จากคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สอบเปียโน ถึงระดับ Diploma in Recital in Solo Piano (ATCL), Trinity College London เรียนโทน-รํามะนากับอาจารย์ทศพร ทัศนะ เป็ นส่ วนหนึ ่ง ของการแสดงวงเครื่ องสายผสมเปียโน “ทิพย์นรี” ที่ทำเนียบเอกอัครราชทูต ณ กรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561 ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจําวิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต
ทินรัตน์ มีทองคำ (ฉิ่ง) ทินรัตน์ มีทองคำ สำเร็จการศึกษาปริญ ญาตรี ส าขา การแสดงเปียโน ปริญญาโทสาขาสังคีตวิจัยและพัฒนา จากคณะ ดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เรียนเปียโนเป็นเครื่อง ดนตรีเอกกับอาจารย์ ดร.พรพรรณ บันเทิงหรรษา เรียนเปียโน เพลงไทยกับศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุ์เจริญ ทินรัตน์เป็น ศิษย์สำนักซอสามสายทิพย์นรี ปัจจุบันกำลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอก สาขาสังคีต วิจัยและพัฒนา คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็น อาจารย์พิเศษสอนวิชาโสตทักษะที่โรงเรียนมาแตร์เดอี วิทยาลัย และเป็นหนึ่งในสมาชิกวงโปรมูสิก้า พูนสันต์ เตียรถ์ชัยวานิช (เปียโน) พู น สั น ต์ เตี ย รถ์ ช ั ย วานิ ช สำเร็ จ การศึกษาระดับปริญ ญาตรีและปริญ ญาโทด้ าน การแสดงเปี ย โน จากคณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย เรี ย นเปี ย โนกั บ รอง ศาสตราจารย์ ธงสรวง อิ ศ รางกู ร ณ อยุ ธยา มี ผลงานด้านการแสดงเดี่ยว เชมเบอร์มิวสิก และ บรรเลงประกอบ เป็นศิษย์สำนักเดี่ยวเปียโนเพลง ไทยของศาสตราจารย์ ดร.ณั ช ชา พั นธุ ์ เ จริ ญ เริ ่ มต้ นเรี ย นซอสามสายกั บ อาจารย์ ล ิ ล า มหา วินิจฉัยมนตรี ปัจจุบันเรียนกับอาจารย์กันต์ อัศว เสนา และได้รับคำแนะนำด้านการสีซอสามสาย เพิ่มเติมจากศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุ์เจริญ ในปี พ.ศ. 2562 มีผลงานการบันทึกเสียงโดยบรรเลงเปียโนในวงเครื่องสายผสมเปีย โนชุด “สดับพิณเพลงสยาม” ในปี 2563 ได้รับเชิญจาก Steinway Gallery Bangkok ให้บันทึกวีดิทัศน์ใน
รายการ “The Concert Series” เพื ่ อ เผยแพร่ ท าง Steinway Gallery Facebook Page และ YouTube โดยได้แสดงบทเพลงไทยสำหรับเดี่ยวเปียโนจากชุด “สดับถ้อยเพลงไทย” ผลงานการ เรียบเรียงของศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุ์เจริญ ทั้งหมด 4 บทเพลง ได้แก่ บุหลันลอยเลื่อน เขมร ลออองค์ เถา สุรินทราหู และแขกมอญบางขุ นพรหม เถา ปัจจุบันเป็นหัวหน้าฝ่ ายวิ ชาการและ อาจารย์ ป ระจำภาควิ ช าเปี ย โน ศู นย์ ศ ึ กษาดนตรี ส ำหรั บ บุ ค คลทั ่ วไป วิ ท ยาลั ย ดุ ร ิ ย างคศิ ล ป์ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาสยามพารากอน ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ (ไวโอลิน) ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ สำเร็จการศึ กษาระดับปริ ญ ญาตรี จาก Hong Kong Academy for Performing Arts โดยเรี ย นวิ ช าไวโอลิ นขั ้ นสู ง กั บ Prof. Michael Ma และสำเร็จศึกษาระดับปริญญาโทจาก University of Oregon ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยได้รับทุนการศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย และทุนส่ งเสริมดนตรี คลาสสิ กในพระ อุปถัมภ์ของสมเด็ จพระเจ้ าพี่ นางเธอเจ้ าฟ้ า กัล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิ วาสราชนคริ นทร์ โดยเรี ย น ไวโอลินกับ Prof. Katherine Lucktenberg ระหว่าง ที่ศึกษาอยู่ ได้เข้าร่วมเล่นกับ วงซิ มโฟนีออร์เ คสตรา ระดั บ อาชี พ ของสหรั ฐ อเมริ ก าหลายวง เช่ น The Eugene Symphony Orchestra, The Oregon Mozart Player ฯลฯ นอกจากนี้ยังเคยเข้าร่วม The Oregon Bach Festival Orchestra ซึ่งถือว่าเป็นวงออร์ เคสตราประจำเทศกาลดนตรีที่ใหญ่ที่สุดในฝั่งตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ศิริพงษ์เคยได้รับเลือกให้ เป็นหัวหน้าวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ ซึ่งในขณะนั้นถือว่าเป็นหัวหน้าวงที่อายุ น้อยที่สุ ด และเคย ได้รับเชิญไปแสดงคอนเสิร์ตที่ Brahms Saal, Der Musikverein ณ กรุงเวียนนา และ De Doelen Hall เมืองรอทเทอแดม ในวโรกาสเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช บรมราชบพิตร เนื่องในวันชาติไทย ณ กรุงเวียนนา
ปัจจุบันศิริพงษ์เป็นอาจารย์ประจำวิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหัวหน้าสาขาการ แสดงดนตรี เ ครื ่ อ งสายตะวั น ตก และเป็ น หนึ ่ ง ในผู ้ ก ่ อ ตั ้ ง the RSU Piano Trio, the Artists Ensemble of Bangkok และ the Bangkok String Quartet (BSQ) อชิมา พัฒนวีรางกูล (ไวโอลิน) ดร.อชิมา พัฒนวีรางกูล สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เกี ย รติ นิ ย มอั นดั บ หนึ ่ ง (เหรี ยญ ทอง) สาขาการแสดงไวโอลินและ การประพันธ์เพลง ปริญญาโทและ ปริ ญ ญาเอกสาขาการประพั น ธ์ เพลง จากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยเป็น อาจารย์ พ ิ เ ศษวิ ช าทฤษฎี ด นตรี และไวโอลิน ที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเคยได้รับคัดเลือกให้ เป็ นผู้ ช่ วย วิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในโครงการวิจัยเรื่อง “มิติใหม่ของดนตรีสากลใน ประเทศไทย:ดนตรีสร้างสรรค์เชิง วิช าการ” ผลงานด้านดนตรีมีตั ้งแต่ การแสดงคอนเสิร์ตเปีย โน ไวโอลิน อย่างสม่ำเสมอ และการประพันธ์ เพลงหลากหลายรูป แบบ ที่มีชื่อเสีย งที่ส ุดคื อผลงาน หนังสือโน้ตเปียโนสำเนียงไทยสำหรับเด็กชุด "ดรุณดุริยางค์" ซึ่งปัจจุบันมีทั้งหมด 3 เล่ม รวมกว่า 60 บทเพลง ได้รับความนิยมในการบรรเลงทั้งในรูปแบบคอนเสิร์ต การสัมมนา ค่ายดนตรี การแข่งขัน เปียโน กิจกรรมสำหรับเด็ก รวมถึงใช้ในการเรียนการสอนเปียโนทั่วประเทศ นอกจากนี้ อชิมาเป็น หนึ ่ ง ในสมาชิ กวง "ทิ พ ย์ นรี " เป็ นนั กเขี ย นสู จิ บ ั ต รประจำของวง Royal Bangkok Symphony Orchestra และเป็นผู้ก่อตั้ง Darun Duriyang Music Studio เปิดสอนวิชาเปียโน ไวโอลิน ทฤษฎี ดนตรีและการประพันธ์เพลง
มิติ วิสุทธิ์อัมพร (วิโอลา) มิติเริ่มเรียนไวโอลินและวิโอลาเมื่ออายุ 14 ปี กับ อาจารย์พูนสุข กุหลาบวงศ์ และเรียนวิโอลาอย่างจริงจังเมื่อ อายุ 16 ปีกับพันเอกชูชาติ พิทักษากร ศิลปินแห่งชาติ เมื่อ ศึกษาต่อต่างประเทศได้มีโอกาสได้เรียนกับครูวิโ อลาที่ส ำคั ญ ได้แก่ Jiri Heger, Toby Appel และ Matthias Maurer มิติ สำเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี จ าก Yong Siew Toh Conservatory of Music, National University of Singapore ประเทศสิงคโปร์ ระดับปริญญาโทจาก Carnegie Mellon University สหรัฐอเมริกา และได้เดินทางไปศึกษา เพิ่มเติมที่ Universitat fur Musik und darstellende Kunst Graz สาธารณรัฐออสเตรีย มิติได้ร่วมเล่ นกับ วงออร์เคสตราระดั บ อาชี พหลายวงทั ่ วโลกและได้ แสดงในเวที ส ำคั ญ มากมาย เคยได้รับเกียรติอันสำคัญยิ่งให้แสดงดนตรีเฉพาะพระพักตร์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิ ซาเบธ ที่สองแห่งราชอาณาจักรในคราวเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศสิงคโปร์อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2549 โดยขณะนั้นมิติยังเป็นเพียงนักเรียนทุนของมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ปัจจุบันเป็น อาจารย์ พ ิ เ ศษที ่ ค ณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ และคณะครุ ศ าสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา อภิชัย เลี่ยมทอง (เชลโล) ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิชัย เลี่ยมทอง เริ่มการศึกษา ดนตรี จ ากการเรี ย นดนตรี ไ ทยที ่ ค ณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย จนกระทั ่ ง สำเร็ จ การศึ ก ษา จึ ง เปลี่ยนไปศึกษาด้านเชลโลอย่ างจริ ง จั งจนได้ รับ ทุ นเต็มให้ ไ ป ศึกษาเชลโลต่ อระดับ Professional Diploma ณ The Hong Kong Academy for Performing Arts ภายหลั ง จากสำเร็ จ การศึ ก ษาแล้ ว อภิ ช ั ย ยั ง ได้ ร ั บ ทุ น Rachael Percival เพื่ อ
กลั บ ไปศึ กษาด้ า นเชลโลและออร์ เ คสตราที่ Guildhall School of Music and Drama ณ กรุ ง ลอนดอน สำหรับในประเทศไทยนั้น อภิชัยได้ออกแสดงอย่างสม่ำเสมอทั้งผลงานประเภท chamber music ร่ วมกั บ วง Bangkok String Quartet และแสดงเดี ่ ย วเชลโลร่ ว มกั บ วง Chulalongkorn University Symphony Orchestra, National Symphony Orchestra แ ล ะ Bangkok Symphony String Orchestra เป็ น ต้ น ปั จ จุ บ ั น เป็ น ผู ้ ช ่ ว ยหั ว หน้ า กลุ ่ ม เชลโลของวง Royal Bangkok Symphony Orchestra (RBSO) และเป็ นหัวหน้ าหลั กสูต รดุ ริ ย างคศาสตรบัณฑิ ตของ วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต อภิชาต อินทรวิศิษฏ์ (ผู้ดำเนินรายการ) ดร.อภิ ช าต อิ นทรวิ ศ ิ ษฏ์ ทำหน้ าที ่ เ ป็ นผู ้ ด ำเนิ น รายการดนตรี ค ลาสสิ กให้ กั บ วงดุ ร ิ ย างค์ ซิ มโฟนี กรุ ง เทพ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 อีกทั้งเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์และ พิ ธี กรเวที ด ้ านศิ ล ปวั ฒ นธรรมให้ กั บ งานสำคั ญ ของรั ฐ และ องค์กรต่าง ๆ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ผลงานชิ้นสำคัญคือการบรรยายประกอบการแสดง โขน ณ เดอะรอยัล อั ล เบิ ร์ ตฮอลล์ กรุ ง ลอนดอน เมื ่ อเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2558 ในโอกาสฉลอง 500 ปีความสัมพั น ธ์ ไทย-อังกฤษ และการแสดงโขน ณ ซิดนีย์โอเปราเฮาส์ ณ นคร ซิดนีย์ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 เป็นนิสิตเก่ารุ่น 32 ของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์จากมหาวิทยาลัยลองไอ แลนด์ มลรัฐนิวยอร์ก ปริญญาเอกสาขาวาทศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริ กา ดร.อภิชาตได้รับรางวัลวัฒนคุณาธรเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2563 ในฐานะผู้สร้างคุณประโยชน์แก่ง าน ด้านวัฒนธรรมของชาติ โดยเฉพาะในการดำเนินรายการด้านดุริยศิลป์และนาฏศิลป์นานาชาติ ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำบัณฑิตวิทยาลัยทางบริหารธุรกิจที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ขอขอบคุณ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ มูลนิธิมนตรี ตราโมท ในพระราชูปถัมภ์ฯ มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ