1 จุฬาวาทิต ๒๒๕ วงดนตรีไทย สายศิษย์ครูธนัญฐ์อร และ วงสาเนียงอรชร “เสนาะเสียงจะเข้ เสน่ห์ขจร” ๗๒ ปี ครูธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ (ครูจารุ บาลี) วันศุกร์ที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๕ ณ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม สานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2 รายการแสดง รายการแสดงที่ ๑ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง สามชั้น รายการแสดงที่ ๒ เพลงเขมรไทรโยค ออกมยุราภิรมย์ รายการแสดงที่ ๓ เพลงขอมทรงเครื่อง เถา รายการแสดงที่ ๔ เพลงลาวดวงดอกไม้ ออกลาวซุ้ม (ราประกอบ) รายการแสดงที่ ๕ ......................................... เพลงกราวใน สองชั้น รายการแสดงที่ ๖ เพลงจีนขิมใหญ่ สองชั้น
3 เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง สามชั้น โหมโรงเพลงคลื่นกระทบฝั่ง สามชั้น เป็นเพลงที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ โดยทรงนาเพลงคลื่นกระทบฝั่ง อัตรา สามชั้น ของเก่า ประเภทหน้าทับสองไม้ มาแต่งขยายขึ้น เป็นอัตรา สามชั้น ครูมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญด้านดุริยางค์ไทย ของกรมศิลปากรและศิลปินแห่งชาติ ได้ให้ ข้อสังเกตว่า ลานาของเพลงนี้เป็นเสมือนเสียงคลื่นกระทบฝั่งสมดังชื่อเพลง ในท่อนต้นมีลูกล้อและลูกขัดเป็นเสียง คลื่นกระฉอก เมื่อกระทบกับแง่หินที่ยืนย้อยออกมาตามชายฝั่งในลักษณะต่าง ๆ กัน ในตอนท้ายก่อน ๒ ของเที่ยว แรก แสดงถึงคลื่นใต้น้าที่หนุนเนื่องซ้อนกันผสมกับคลื่นเหนือน้า ส่วนตอนท้ายใกล้จะจบเพลงมีลักษณะคล้ายคลื่น ลูกเล็ก ๆ ที่วิ่งพลิ้วไล่กันมาตามกระแสลมอย่างรวดเร็ว ท่วงทานองให้ความรู้สึกสนุกสนาน นับว่าเป็นเพลงที่ ไพเราะน่าฟังมากเพลงหนึ่ง ในการแสดงครั้งนี้ ท่านจะได้รับชมรับฟังการบรรเลงของวงดนตรีไทยประเภทวงเครื่องสายเครื่องคู่ของ คณะสายศิษย์ครูธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ (ครูจารุ บาลี) ที่ล้วนเป็นลูกศิษย์จากวิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม. รายชื่อผู้บรรเลง เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง สามชั้น วงเครื่องสายเครื่องคู่ เครื่องมือ รายชื่อผู้บรรเลง ซอสามสาย วาคภัฏ ศรีวรพจน์ นนทวิทย์ คุรุเสถียร ซอด้วง สุริยะ ชิตท้วม เมธีพัฒน์ ชุ่มชื่น จะเข้ มนศักดิ์ มหิงษ์ ชัยรัตน์ วีระชัย ซออู้ สุเมธ สุขสวัสดิ์ กุศล นาคอรุณ ขลุ่ยเพียงออ รัตน์ประกร ญาณวารี ขลุ่ยหลีบ จักรายุทธ ไหลสกุล โทน - รามะนา พรรษพงศ์ สิขัณฑกนาค ฉิ่ง อัศม์เดช กุลภัทรแสงทอง ฉาบ จิตต์เดช โอภาสสุริยะ กรับ ณัฏฐวิต จิยะจันทน์ โหม่ง ณัฐกานต์ พุ่มเรียบ
4 เพลงเขมรไทรโยค ออกมยุราภิรมย์ เพลงเขมรไทรโยค อัตรา สองชั้น ประเภทหน้าทับปรบไก่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ทรงนิพนธ์ขึ้นโดยอาศัยเค้าโครงจากเพลงเขมรกล่อมลูกชั้นเดียว ของเก่า มี ๒ ท่อน ท่อนละ 4 จังหวะ แต่ลีลาของเพลงเขมรไทรโยคเหมาะที่จะเป็น เพลงอัตรา สามชั้น จึงบรรเลงด้วยอัตราจังหวะ สามชั้น หน้าทับปรบไก่ สามชั้น เพลงมยุราภิรมย์ อัตราสองชั้นและชั้นเดียว เป็นอีกหนึ่งบทเพลงที่มักนิยมบรรเลงต่อท้ายเพลงเขมรไทร โยค ครูมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญด้านดุริยางค์ไทย ของกรมศิลปากรและศิลปินแห่งชาติ แต่งทานองเพลงเพื่อ ประกอบท่าร่ายราหมู่นกยูงในการแสดงละครเรื่อง “อิเหนา” ตอน “สียะตราพบนางเกนหลง” โดยเป็นเพลง บรรเลงไม่มีบทร้อง ภายหลังครูสมบัติ สังเวียนทอง ครูผู้มีความรู้ความสามารถในด้านการร้องเพลงไทย ของกรม ศิลปากร และได้รับรางวัลฆ้องทองคาทางการขับร้องได้ประพันธ์บทร้องบรรจุในเพลงมยุราภิรมย์ มีเนื้อหาต่อเนื่อง จากเนื้อร้องเขมรไทรโยค สามชั้น อย่างผสมผสานลงตัว การบรรเลงในครั้งนี้ทุกท่านจะได้รับชมรับฟังการบรรเลงของวงดนตรีไทยประเภาวงเครื่องสายผสม ออร์แกน ของวงสาเนียงอรชร โดยครูธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ (ครูจารุ บาลี) เป็นผู้บรรเลงขิมสาย
5 บทร้องเพลงเขมรไทรโยค สามชั้น บรรยายความ ตามไท้ เสด็จยาตร ยังไทรโยค ประพาส พนาสณฑ์ ไม้ไล่ หลายพันธุ์คละ ขึ้นปะปน ที่ชายชล เขาชะโงก เป็นโตรกธาร น้าพุพุ่งซ่า ไหลฉ่าฉาดฉาน เห็นตระการ มันไหลจ้อกโครม จ้อกโครม มันดัง จ้อก จ้อก จ้อก จ้อก โครม โครม น้าใส ไหลจนดู หมู่มัสยา กี่เหล่าหลายว่ายมาก็เห็นโฉม ยินปักษา ซ้องเสียง เพียงประโคม เมื่อยามเย็น พยับโพยม ร้องเรียกรัง เสียงนกยูงทอง มันร้องโด่งดัง หูเราฟัง มันดังกระโต้งโห่ง มันดัง กอก กอก กอก กอก กะโต้งโห่ง. (พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์) บทร้องเพลงมยุราภิรมย์ เพลง ฟังยิ่งวังเวง ฟังเพลงเขมรไทรโยค จง สร่างโศก สิ้นโศกสิ้นทุกข์ มลาย พวกเรา ทั้งหลาย พากันพร้อมเหล่า หมู่หญิงหมู่ชาย พวกเรา ทั้งหลาย หมู่หญิง หมู่ชาย ร่วมใจกันพร้อมมา (....) ร่ายราทาท่า (....) เริงร่าครื้นเครง (....) ดนตรี บรรเลง (....) กล่อมเพลงสวรรค์ พร้อมกัน ร่าย เยื้องกราย สนุก ปลดเปลื้อง เรื่องทุกข์ สนุกกันทั้งวัน (....) ก๊อกๆ กระโต้งโฮง (....) ก๊อกๆ กระโต้งโฮง เสียงนกยูงร้องฟัง มันดัง ก๊อก กอก กระโต้งโฮง เสียง ดนตรี กล่อมดง กล่อมพงพฤกษ์ไพร ในสวรรค์ ธรรมชาติ สดชื่น ร่มรื่น นิรันดร์ (ผู้ประพันธ์บทร้องครูสมบัติ สังเวียนทอง)
6
ออกมยุราภิรมย์
เครื่องมือ รายชื่อผู้ขับร้องและบรรเลง ขับร้อง มณรดา ศิลปบรรเลง ออร์แกน นนทวิทย์ คุรุเสถียร ซอสามสาย มาณพ อิศรเดช ซอด้วง มารุธ วิจิตรโชติ ซออู้ ณรงค์ บาลี ขิม ธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ ขิมเหล็ก เชษฐ์ ติงสาลี ขลุ่ย เสาวภาคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ ฉิ่ง ปกรณ์ รักยงค์ โทน – รามะนา ทิวากร ล้อมเวียง ฉาบ อติรุจ สายจันทร์ กรับ บุษราคัม เชื้อประสาท โหม่ง ชาคริต บุ่งนาม
รายนามผู้บรรเลง เพลงเขมรไทรโยค
วงเครื่องสายผสมเปียโน
7 เพลงขอมทรงเครื่อง เถา เพลงขอมทรงเครื่อง สองชั้น เป็นเพลงที่ใช้ขับร้องในการแสดงละครมาแต่โบราณ นายมนตรี ตราโมท ได้แต่งขึ้นเป็น สามชั้น และตัดลงเป็นชั้นเดียว ครบเป็นเพลงเถา ใช้ร้องส่งวิทยุกระจายเสียงของวงมโหรีหลวง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๔ เป็นครั้งแรก โดยพยายามประดิษฐ์ทานองให้เป็นสาเนียงเขมรสมตามชื่อ มีความหมายถึงการ แต่งกายอย่างพินิจพิเคราะห์ของขอมผู้สูงศักดิ์ ครั้งนี้ ทุกท่านจะได้รับชมรับฟังการบรรเลงของวงดนตรีไทยประเภาวงมโหรีเครื่องคู่ ของวงสาเนียงอรชร โดยครูธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ (ครูจารุ บาลี) เป็นผู้ฝึกซ้อมทางจะเข้ที่ได้รับถ่ายทอดจากครูทองดี สุจริตกุล และเป็น ทางเพลงที่ใช้สอนในวิทยาลัยนาฏศิลปมาอย่างยาวนานราวกว่า ๕๐ ปี บทร้องเพลงขอมทรงเครื่อง เถา คิดแล้วจึงสั่งนักคุ้ม เจ้าจงอยู่ควบคุมทัพใหญ่ ตัวกูจะปลอมแปลงไป กระทั่งสุโขทัยธานิน จะแต่งกายให้เหมือนคนไทย เล็ดลอดดอดไปสมถวิล ลี้ลับเหมือนกับกูดาดิน คงได้เสร็จสิ้นดังจินดา แล้วจึงจัดแจงแต่งกาย ให้ละม้ายแม้นไทยเช่นว่า เลือกสรรอาวุธสาตรา ซ่อนในกายาเรียบร้อย มุ่นเกล้าเมาลีวิธีใหม่ เหมือนอย่างแบบไทยใช้สอย แล้วรีบเลี้ยวลดสะกดรอย ไต่ต้อยติดตามพระร่วงไป. (บทละครเรื่องพระร่วง พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖)
8 รายนามผู้บรรเลง เพลงขอมทรงเครื่อง เถา วงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องมือ รายชื่อผู้ขับร้องและบรรเลง ขับร้อง สิทธิพงษ์ กลับโต ซอสามสาย มาณพ อิศรเดช ซอสามสาย พงศ์ศิริ มงคลโสภากุล ซอด้วง สุขสันต์ พ่วงกลัด ซอด้วง มนศักดิ์ มหิงษ์ จะเข้ ปกรณ์ รักยงค์ จะเข้ กมนทัต ใจขัน ซออู้ มารุธ วิจิตรโชติ ซออู้ ณัฏฐวิต จิยะจันทน์ ขลุ่ยเพียงออ สุกฤตยา เตชะสุนทโรวาท ขลุ่ยหลิบ ทิวากร ล้อมเวียง ระนาดเอก เสาวภาคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ ระนาดทุ้ม อิสริยะ ไชยมนตรี ฆ้องวงใหญ่ นิรมล มะอยู่เที่ยง ฆ้องวงเล็ก ณัฐณิตา ลาญาติ กลองแขก ภิรมย์ ใจชื้น กลองแขก ธนาชัย สามพุดซา ฉิ่ง วงศธร จินตทิพย์วรรณ ฉาบ อติรุจ สายจันทร์ กรับ บุษราคัม เชื้อประสาท โหม่ง ชาคริต บุ่งนาม
9 เพลงลาวดวงดอกไม้ ออกลาวซุ้ม เพลงลาวดวงดอกไม้ ออกลาวซุ้ม เมื่อบรรเลงประกอบการแสดงจะเรียกอีกชื่อว่า ฟ้อนมาลัย หรือเพลง ฟ้อนดวงดอกไม้ เป็นเพลงเก่าของเชียงใหม่ เจ้าดารารัศมีพระชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ ทรงนามาใช้ในละครเรื่อง น้อยใจยา ซึ่งกรมศิลปากรปรับปรุงขึ้นเพื่อแสดงละครพันทางเรื่องพระยาผานอง แสดง ณ โรงละครแห่งชาติเมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๑ ครูมนตรี ตราโมท เป็นผู้แต่งทานองเพลงและประพันธ์บทร้อง โดยนา ทานองเพลงฟ้อนดวงดอกไม้ของนางข้าหลวงของแม่ท้าวคาปินมาใช้ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนีย์ เป็นผู้ประดิษฐ์ ท่ารา ครั้งนี้ทุกท่านจะได้รับชมรับฟังการบรรเลงของวงดนตรีไทยประเภาวงเครื่องสายผสมเปียโน ของวง สาเนียงอรชร ประกอบการแสดงฟ้อนมาลัย โดยครูธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ (ครูจารุ บาลี) เป็นผู้บรรเลงจะเข้ บทร้องเพลงลาวดวงดอกไม้ ชมดอกไม้เบ่งบานสลอน ฝูงภมรวะว่อนใฝ่หา ดอกพิกุลยี่สุ่นจาปา ลมพัดพาราเพยขจร เกดกระถินส่งกลิ่นหอมฟุ้ง กาจายจรุงระรื่นเกสร จันทน์กะพ้อช่างล่อภมร ให้หลงเริงร่อนบินว่อนตอม โอ้ดอกไม้ก็ได้ใช้กลิ่น อวดประทินที่แสนสุดหอม เร้าฤทัยเราให้ใฝ่ดอม ช่างน่าถนอมจริงเหนอ พวงดอกไม้ก็ไม่งามเท่า พักตร์แม่เจ้าแม่ท้าวคาปิน สารวยเลิศช่างเฉิดโฉมฉิน บ่มีมลทินทั่วสรรพางค์ กลิ่นดอกไม้ก็ไม่ระรื่น หอมชุ่มชื่นเท่าคุณพระนาง ข้าเจ้าภักดีบ่มีจืดจาง จนชีวิตวางวายเนอ. (ผู้ประพันธ์บทร้อง ครูมนตรี ตราโมท)
10 รายชื่อผู้บรรเลง เพลงลาวดวงดอกไม้ ออกลาวซุ้ม วงเครื่องสายผสมเปียโน เครื่องมือ รายชื่อผู้ขับร้องและบรรเลง ขับร้อง ประสพสุข พัดวิจิตร เปียโน สถิรกร พงศ์พานิช ไวโลลิน เชษฐ์ ติงสาลี ซอสามสาย มาณพ อิศรเดช ซอด้วง ณัฏฐวิต จิยะจันทน์ จะเข้ ธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ ซออู้ สุขสันต์ พ่วงกลัด ขลุ่ยเพียงออ เสาวภาคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ ขลุ่ยหลีบ ทิวากร ล้อมเวียง ฉิ่ง ปกรณ์ รักยงค์ กลองแขก ภิรมย์ ใจชื้น กลองแขก ธนาชัย สามพุดซา ฉาบ อติรุจ สายจันทร์ กรับ บุษราคัม เชื้อประสาท โหม่ง ชาคริต บุ่งนาม รายชื่อผู้แสดงนาฎศิลป์ไทย ตวงฤดี ถาพรพาสี ศรีเวียง จิ๋วพัฒนกุล พิมพ์ทอง วัจนะพุกกะ ธัญรัด จันทร์ปลั่ง Makeup Artist / Custune บุญประเสริฐ วงศ์วิรัตน์ คมสันฐ หัวเมืองลาด
11 เพลงกราวใน สองชั้น เพลงกราวใน สองชั้น เป็นเพลงที่บรรเลงรวมอยู่ในชุดโหมโรงเย็นและใช้เป็นหน้าพาทย์ประกอบกิริยาไป มาหรือยกพลตรวจพลของยักษ์และอสูร โบราณจารย์ท่านเห็นว่ากราวในมีโยนถึง ๖ แห่ง (๖ เสียง) สามารถที่จะ แยกแยะประดิษฐ์ทานองไปได้มากมาย จึงนามาขยายขึ้นเป็น สามชั้น สาหรับเดี่ยวเครื่องดนตรีในวงปี่พาทย์ ประดิษฐ์ทางโลดโผนพลิกแพลงทุกๆ โยนอย่างพิสดาร ส่วนเครื่องดนตรีในวงเครื่องสาย นิยมเดี่ยวด้วยอัตราจังหวะ สองชั้น และในทุก ๆ โยนก็แต่งอย่างประณีตพิสดารเหมือนกัน เพลงเดี่ยวกราวในจึงถือว่าเป็นเพลงเดี่ยวสูงสุด เพลงหนึ่งของวงการดนตรีไทย และในวันนี้ท่านจะได้รับซมรับฟังการบรรเลงเดี่ยวจะเข้หมู่ ๒๐ ตัว เพลงกราวใน สองชั้น ทางครูทองดี สุจริตกุล ที่ได้ถ่ายทอดให้แก่ครูธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ (ครูจารุ บาลี) จากคณะสายศิษย์ ครูธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ (ครูจารุ บาลี). บทร้องเพลงเดี่ยวกราวใน สองชั้น พญาพิเภกผู้อาภัพ ถูกขับออกนอกบุรีศรี เดินพลางทางร่าโศกี ปะพหลพลกระบี่เข้ายุทธนา. (ผู้ประพันธ์บทร้องครูจุติญาณ สายใยทอง)
12 เพลงกราวใน สองชั้น วงเดี่ยวจะเข้หมู่ ๒๐ ตัว เครื่องมือ รายชื่อผู้ขับร้องและบรรเลง ขับร้อง นพัชรฐา ลิ่มหลัก จะเข้ ๑ ธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ จะเข้ ๒ มาณพ อิศรเดช จะเข้ ๓ จารุวรรณ ประถมปัทมะ จะเข้ ๔ มนศักดิ์ มหิงษ์ จะเข้ ๕ ชัยรัตน์ วีระชัย จะเข้ ๖ สุเมธ สุขสวัสดิ์ จะเข้ ๗ พงศ์ศิริ มงคลโสภากุล จะเข้ ๘ อภิชัย พงษ์ลือเลิศ จะเข้ ๙ ณัฏฐวิต จิยะจันทน์ จะเข้ ๑๐ สุขสันต์ พ่วงกลัด จะเข้ ๑๑ สุกฤตยา เตชะสุนทโรวาท จะเข้ ๑๒ กมนทัต ใจขัน จะเข้ ๑๓ ปกรณ์ รักยงค์ จะเข้ ๑๔ หทัยรัตน์ พงศ์พิทักษ์ จะเข้ ๑๕ อัญญาภ์ แสงเทียน จะเข้ ๑๖ อัษฎาวุฒิ นิลกาแหง จะเข้ ๑๗ รัชดา ขัตติสะ จะเข้ ๑๘ วิษณุ ปานโบ จะเข้ ๑๙ จิตเดช โอภาสสุริยะ จะเข้ ๒๐ คณนาถ ปุเลนเต ฉิ่ง อัศม์เดช กุลภัทร์แสงทอง กลองทัด ธนาชัย สามพุดชา ตะโพน ทิวากร ล้อมเวียง กรับ ศิรัฐกรณ์ สาลีผล
13 เพลงจีนขิมใหญ่ สองชั้น เพลงจีนขิมใหญ่ อัตรา สองชั้น ประเภทหน้าทับสองไม้ มี ๕ ท่อน มีสาเนียงจีนปรากฏอยู่ในเพลงเรื่องอา เฮีย สันนิษฐานว่าใช้สาหรับบรรเลงมโหรีมาแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย และเดิมเรียกเพียง “เพลงจีนขิม” ต่อมา เพลงจีนขิมใหญ่ อัตรา สองชั้นนี้ นิยมนามาทาเป็นทางเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยหลายชนิด โดยเฉพาะจะเข้ และใน วันนี้ท่านจะได้รับซมรับฟังการบรรเลงเดี่ยวจะเข้หมู่ ๓๓ ตัว เพลงจีนขิมใหญ่ สองชั้น ทางครูทองดี สุจริตกุล ที่ได้ ถ่ายทอดให้แก่ครูธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ (ครูจารุ บาลี) จากคณะสายศิษย์ครูธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ (ครูจารุ บาลี). บทร้องจีนขิมใหญ่ สองชั้น รื่นรื่นชื่นกลิ่นมณฑาทอง จะโรยร้างห่างห้องเวหาหาว หอมหวนประหลาดไม่ขาดคลาว จวนฟ้าขาวดาวเคลื่อนเลื่อนลับลี้ สาเนียงผู้ใดช่างไพเราะ มาพร้องเพราะหวานหูอยู่เมื่อกี้ หงส์ทองล่องฟ้ามารอรี สาเนียงนี้ขิมน้องสนองนาม. (บทของเก่า)
14 รายนามผู้บรรเลง เพลงจีนขิมใหญ่ สองชั้น วงเดี่ยวจะเข้หมู่ ๓๓ ตัว เครื่องมือ รายชื่อผู้ขับร้องและบรรเลง จะเข้ ๑ ธนัญฐ์อร ศรีสิทธิรักษ์ จะเข้ ๑๘ ธีรพงษ์ ฉลาด จะเข้ ๒ มาณพ อิศรเดช จะเข้ ๑๙ พงศ์ศิริ มงคลโสภากุล จะเข้ ๓ จารุวรรณ ประถมปัทมะ จะเข้ ๒๐ อัญญาภ์ แสงเทียน จะเข้ ๔ เกสร เอมโอด จะเข้ ๒๑ อัษฎาวุฒิ นิลกาแหง จะเข้ ๕ มารุธ วิจิตรโชติ จะเข้ ๒๒ รัชดา ขัตติสะ จะเข้ ๖ สุกฤตยา เตชะสุนทโรวาท จะเข้ ๒๓ ธีรภัทร โสนเส้ง จะเข้ ๗ ณัฏฐวิต จิยะจันทน์ จะเข้ ๒๔ นนทวิทย์ คุรุเสถียร จะเข้ ๘ สุขสันต์ พ่วงกลัด จะเข้ ๒๕ วิษณุ ปานโบ จะเข้ ๙ มนศักดิ์ มหิงษ์ จะเข้ ๒๖ จิตต์เดช โอภาสสุริยะ จะเข้ ๑๐ ชัยรัตน์ วีระชัย จะเข้ ๒๗ กิติพันธ์ คบพิมาย จะเข้ ๑๑ สุเมธ สุขสวัสดิ์ จะเข้ ๒๘ ธิดา นาทองบ่อ จะเข้ ๑๒ อภิชัย พงษ์ลือเลิศ จะเข้ ๒๙ สรัสนันท์ แสวงฟองคา จะเข้ ๑๓ สรบัญชา หมื่นแสวง จะเข้ ๓๐ สุทธิมนต์ นิลยา จะเข้ ๑๔ กมนทัต ใจขัน จะเข้ ๓๑ นิรชา เวสาลี จะเข้ ๑๕ ปกรณ์ รักยงค์ จะเข้ ๓๒ คณนาถ ปุเลนเต จะเข้ ๑๖ พรรษพงศ์ สิขัณฑกนาค จะเข้ ๓๓ ปณวรรธ ชิตร จะเข้ ๑๗ หทัยรัตน์ พงศ์พิทักษ์ ขับร้อง นพัชรฐา ลิ่มหลัก กลองแขก ภิรมย์ ใจชื้น กลองแขก ธนาชัย สามพุดซา ฉิ่ง อัศม์เดช กุลภัทร์แสงทอง ฉาบ เสาวภาคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ ฆ้องจีน (คิมเกี๊ย) / ผ่างจีน ศิรัฐกรณ์ สาลีผล กลองตุ๊ก ทิวากร ล้อมเวียง ต๊อก เชษฐ์ ติ่งสาลี
15 อ้างอิง ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๐) สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคประวัติและบทร้องเพลงตับ ประวัติเพลงหน้า พาทย์และเพลงโหมโรง. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๐.พิมพ์ครั้งที่ ๑ ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๐) สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคประวัติเพลงเกร็ดและเพลงละครร้อง กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ ๑ ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๙).สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคประวัติเพลงเถา. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ ๔ นริศรา พันธุ์ธาดาพร (๒๕๖๔).กลวิธีพิเศษการเดี่ยวจะเข้เพลงกราวใน สองชั้น ทางครูแสวง อภัยวงศ์ วารสารวิชาการ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๔ บุญเชิด พิณพาทย์. (๒๕๔๐). การศึกษาเพลงเดี่ยวกราวในสามชั้นทางระนาดเอก. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกมานุษยดุริยางควิทยา: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. มนตรี ตราโมท. ๒๕๕๕). ฟังและเข้าใขเพลงไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จากัด (มหาชน).
16 ขอบขอบคุณ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม วิทยาลัยนาฏศิลปศาลายา วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม วิทยาลัยเพาะช่าง มูลนิธิบ้านดุริยประณีต บ้านพญาปี่
สํานกบรหารศลปวฒนธรรมจฬาลงกรณมหาวทยาลย rtCulture @cuartculture CUArtCulture cu.art.culture 099-328-1616 cuartculture@chula.ac.th www.cuartculture.chula.ac.th