ศัพท์ธรรมะที่เข้าใจผิด: คืออุปสรรคเบื้องต้นของการเข้าถึงธรรม

Page 1


ศัพทธรรมะที่เขาใจผิด: คืออุปสรรคเบือ้ งตนของการเขาถึงธรรม

จัดพิมพและเผยแพรโดย ธรรมสถาน สํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


"ศัพทธรรมะที่เขาใจผิด : คืออุปสรรคเบื้องตนของการเขาถึงธรรม” เรียบเรียง : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ พิมพครั้งที่ 1 : กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ธรรมสถาน สํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จํานวน 4,000 เลม หลวงพอปฏิ จจะ สัมมั ตตะ10 (พระวิ นัย สิริธโร) จํานวน

ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒ.ิ ศัพทธรรมะทีเ่ ขาใจผิด : คืออุปสรรคเบือ้ งตนของการเขาถึงธรรม. -- กรุงเทพฯ : ธรรมสถาน สํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2561. 64 หนา. 1. พุทธศาสนา -- ศัพทบญ ั ญัต.ิ I. ชื่อเรือ่ ง. 294.303 ISBN 978-616-407-327-2 บรรณาธิการอํานวยการ : รองศาสตราจารย ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ, นายกรรชิต จิตระทาน บรรณาธิการ : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ออกแบบปก : นายพงศศักดิ์ สุวรรณมณี พิสูจนอกั ษร : นางปาลิดา จิรภาธงชัย ประสานงาน : นายจาตุรนต กิตติสุรินทร นายมาโนช กลิ่นทรัพย, นางนิติพร ใบเตย พิมพที่ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.0-2215-1991-2 ลิขสิทธิ์ : ธรรมสถาน สํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3018 Website : http://www.dharma-centre.chula.ac.th Email : dharma-centre@chula.ac.th จัดทําโดย : ธรรมสถาน สํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


คําปรารภของผูเ รียบเรียงหนังสือ เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ผูเชี่ยวชาญดานศาสนาและประเพณี (ธรรมสถานจุฬาฯ) ***************************************** แรงจูงใจในการเรียบเรียงหนังสือ “ศัพทธรรมะทีเ่ ขาใจผิด : คือ อุปสรรคเบื้ องตนของการเขาถึงธรรม” นี้ เกิดขึ้ นจากการที่ไดมีโอกาส พบปะและพู ดคุยกับผู ที่สนใจธรรมะหลายทานที่ ธรรมสถานจุ ฬาฯ ซึ่ง ได ใชคําและตั วอย างงาย ๆ ในการอธิ บาย ปรากฏผลทําใหผู ฟงเกิ ด ความเขาใจทีช่ ัดเจนขึ้น และสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน ไดจริงจังยิ่ งขึ้น และไดรับการรองขอใหเขียนเป นหนังสืออธิบายความหมายของศั พท ธรรมะในพระพุ ทธศาสนาตามที่ ได พู ดคุ ยกั นนั้ น เพื่ อ รวบรวมไว ไม ให สูญหาย นอกจากนั้ น ยั งสามารถนํ าไปเผยแพร เป น ประโยชน แก ผู สนใจศึ กษาและปฏิ บั ติ ธรรมในพระพุ ทธศาสนาต อไป ไดอีกดวย หนังสือ “ศัพทธรรมะทีเ่ ขาใจผิด : คืออุปสรรคเบือ้ งตนของการ เขาถึงธรรม” จึงเกิดขึน้ ดวยเหตุผลดังทีก่ ลาว โดยการเรียบเรียงไดอางอิง หลักฐานจากพระพุทธพจนในพระไตรปฎกเปนหลัก เพือ่ ใหมีความหมาย ตรงตอจุดมุงหมายที่พระพุทธเจาตรัสสอน แตไดพยายามตี ความและ ยกตัวอยางประกอบแบบประยุกต โดยเนนการอธิบายและยกตัวอยาง ที่เหมาะแกการเขาใจของคนในปจจุบัน เพื่อใหเกิดประโยชนแกผูอ าน เทาที่ จะสามารถกระทําได อยางไรก็ตาม การอธิบายศัพทธรรมะในหนังสือนี้ เชื่อไดวาจะ ยังมีความผิดพลาดคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดขึ้นได ดังนั้น หากจะมีบณ ั ฑิตหรือ ทานผูรูชวยชี้แนะก็จักเปนพระคุณยิ่ง เพื่อที่จะไดนําไปปรับปรุงแกไขให ถูกตองยิ่งขึ้นในโอกาสตอไป.

1 ตุลาคม 2560


สารบัญ

หนา

คําปรารภของผูเรียบเรียงหนังสือ เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ผูเชี่ยวชาญดานศาสนาและประเพณี (ธรรมสถานจุฬาฯ)  การฟงธรรมเปนกาวแรกของการศึกษาและปฏิบัติธรรม  การรูคําและความหมายของศัพทธรรมะ เปนปจจัยสําคัญทําให เขาใจธรรมะไดถูกตอง หลักธรรมบางประการที่ชว ยใหเขาใจธรรมไดถูกตอง  หลักตัดสินธรรมวินยั 7  หลักตัดสินธรรมวินยั 8  หลักมหาปเทส 4 ในฝายธรรม  หลักมหาปเทส 4 ในฝายวินัย  องคคณ ุ ของพระธรรม 6 ประมวลรูปแบบปญหาอันเนื่องมาจากศัพทธรรมะ 1. ใหความหมายผิด  จุติ  อารมณ  เวทนา สัญญา วิญญาณ มานะ อธิษฐาน วาสนา ภาวนา ทิฏฐิ หรือ ทิฐิ กรรม อัตตา อนัตตา 2. ใหความหมายที่ไมชัดเจน หรือเขาใจยาก  โยนิโสมนสิการ

1 3 4 4 5 5 6 6 8 8 8 9 9 9 10 10 11 11 11 12 12 12 13 14 14


สารบัญ  สัมปชัญญะ  สันโดษ  ปติ และ สุข  ธรรมจักษุ  อวิชชา  ตัณหา  โลภะ โทสะ โมหะ  นิพพิทา 3. ใหความหมายไมตรงบริบท เพราะมีหลายความหมาย  สังขาร (สังขารขันธ 30 / สังขารในปฏิจจสมุปบาท 31 / สังขารธรรม 32)  อุเบกขา (อุเบกขาเวทนา 33 / อุเบกขาพรหมวิหาร 33 / อุเบกขาสัมโพชฌงค 35)  สติ (สัมมาสติ 37 / สติปฏฐาน 4 (ในมหาสติปฏฐานสูตร) 38 / สติสัมโพชฌงค 39 / สตินทรีย และสติพละ 39)  ทุกข (ทุกขในอริยสัจ 41 / ทุกขในเวทนา 42 / ทุกขในไตรลักษณ 42) 4. ใหความหมายที่คลาดเคลื่อน ไมตรงจุด หรือไมครบถวน  โลก / ธรรม และ โลกียะ / โลกุตตระ  ปฏิบัติธรรม  ศีล  สมาธิ  ปญญา  บทสรุป  รายชื่อหนังสือทีไ่ ดจัดพิมพมาแลวของผูเรียบเรียง  ทายเลม โดย นายกรรชิต จิตระทาน ผูอํานวยการสํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม

หนา 16 18 20 21 23 25 27 28 30 30 32 36 40 43 43 45 48 49 52 56 57 58


ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ธรรม 2 อยางนี้ ยอมเปนไปเพือ่ ความฟนเฟอนเลือนหายแหงสัทธรรม 2 อยางเปนไฉน คือ บทพยัญชนะที่ตั้งไวไมดี 1 อรรถที่นํามาไมดี 1 แม เนือ้ ความแหงบทพยัญชนะทีต่ งั้ ไวไมดี ก็ยอ มเปนอันนํามา ไมดี ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ธรรม 2 อยางนีแ้ ล ยอมเปนไปเพือ่ ความฟน เฟอนเลือนหายแหงพระสัทธรรม ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ธรรม 2 อยางนี้ ยอมเปนไปเพือ่ ความตัง้ มัน่ ไมฟน เฟอน ไมเลือนหายแหงสัทธรรม 2 อยาง เปนไฉน คือ บทพยัญชนะทีต่ ั้งไวดี 1 อรรถทีน่ ํามาดี 1 แมเนือ้ ความแหงบทพยัญชนะทีต่ ั้งไวดแี ลว ก็ยอมเปนอัน นํามาดี ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ธรรม 2 อยางนีแ้ ล ยอมเปนไป เพือ่ ความตัง้ มัน่ ไมฟน เฟอน ไมเลือนหายแหงพระสัทธรรม 

พระไตรปฎก เลมที่ 20 ขอที่ 266


ศัพทธรรมะที่เขาใจผิด:

คืออุปสรรคเบื้องตนของการเขาถึงธรรม *********************************************** การฟงธรรม เปนกาวแรกของการศึกษาและปฏิบตั ิธรรม ากมีผถู ามวา อะไรคือเบื้องตนหรือกาวแรกจริงๆ ห ของการศึกษาและปฏิบตั ธิ รรมในพระพุทธศาสนา ?

ทานจะตอบคําถามนีอ้ ยางไร ? คําตอบตอคําถามนี้ สามารถพิจารณาไดจากพระดํารัสของ พระพุทธเจ าเมื่อตอนที่สงพระอรหันตสาวกจํา นวน 60 รูป ออกไป ประกาศธรรมเปนครัง้ แรก ตามทีป่ รากฏในพระไตรปฎกเลมที่ 4 ขอที่ 32 วา “ครัง้ นัน้ พระผูม ีพระภาครับสัง่ กะภิกษุทงั้ หลายวา ......ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราพนแลวจากบวงทั้งปวง ทั้งที่เปน ของทิพย ทัง้ ทีเ่ ปนของมนุษย แมพวกเธอก็พนแลวจากบวงทัง้ ปวง ทัง้ ที่ เปนของทิพย ทั้งที่เปนของมนุษย พวกเธอจงเทีย่ วจาริก เพือ่ ประโยชน หมายเหตุ : พระไตรปฎกที่ใชอางอิงในหนังสือนี้ คือ ฉบับหลวง ป 2521

1


และความสุขแกชนหมูมาก เพื่ออนุเคราะหโลก เพื่อประโยชนเกือ้ กูล และความสุขแกทวยเทพและมนุษย พวกเธออยาไดไปรวมทางเดียวกัน สองรูป จงแสดงธรรมงามในเบื้องตน งามในทามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรยพรอมทัง้ อรรถทัง้ พยัญชนะครบบริบรู ณ บริสทุ ธิ์ สัตวทั้งหลายจําพวกทีม่ ีธุลีคือกิเลสในจักษุนอย มีอยู เพราะไมไดฟง ธรรม ยอมเสือ่ ม ผูร ทู วั่ ถึงธรรม จักมี ดูกรภิกษุทงั้ หลาย แมเราก็จกั ไปยัง ตําบลอุรเุ วลาเสนานิคม เพือ่ แสดงธรรม....” พระพุทธดํารัสทีย่ กมาขางตน แสดงถึงน้าํ พระราชหฤทัยและ พระกรุณาทีต่ องการจะโปรดบุคคลทัง้ หลายใหไดรแู ละไดรับประโยชน จากธรรมทีต่ รัสรูเ ปนอยางยิง่ เมือ่ มีสาวกที่รูตามและเขาถึงธรรม ก็ไม ทรงรีรอทีจ่ ะชีช้ วนใหออกไปประกาศธรรม ใหบคุ คลทัง้ หลายไดรู และได อาศัยเปนแนวทางในการดําเนินชีวติ เพื่อประโยชนและความสุขทีจ่ ะ บังเกิดแกชวี ติ ทัง้ หลายตลอดกาลนาน นัยสําคัญของการประกาศธรรม แทจริงคือเพื่อใหบุคคลได ฟงธรรม โดยเฉพาะธรรมทีต่ รัสสอนนัน้ เปนธรรมทีต่ รัสรูด ว ยพระองคเอง เปนธรรมทีไ่ มเคยไดยินไดฟง จากใครมากอน และเปนธรรมทีไ่ มมผี ูใด ลวงรูและเขาถึงมากอนเลย ดังนั้น หากไมไดฟงธรรมกอน ยอมไมรู ไมเขาใจ และไมสามารถปฏิบัตเิ พือ่ เขาถึงเปาหมายตามทีพ่ ระพุทธองค ทรงคนพบไดเลย การฟงธรรมและเขาใจในความหมายของธรรมที่ฟงได ถูกตอง จึงเปนเบือ้ งตนหรือกาวแรกของผูท สี่ นใจศึกษาและปฏิบตั ิ ธรรม เพื่อใหเขาถึงและไดรับประโยชนตรงตอธรรมตามที่ได ตรัสสอนจริง ๆ 2


การรูค ําและความหมายของศัพทธรรมะ เปนปจจัยสําคัญทําให เขาใจธรรมะไดถกู ตอง ดังที่ไดกลาวไปแลววา สาระสําคัญของการฟงธรรม คือ ตองการรูและเขาใจในสิ่งที่ฟงไดถูกตอง และสิ่งที่จะทําใหรแู ละ เขาใจในสิ่งที่ฟงไดถูกตอง คือการรูและเขาใจถึงคําและความหมาย ของศัพทธรรมะทีฟ่ งไดถกู ตอง ตรงตามจุดมุงหมายทีผ่ ูแสดงธรรมนัน้ ประสงค ในพระสูตรที่ ยกมา พระพุทธเจ าไดตรัสแนะนําในสวนของ ผูแ สดงธรรมไวชัดดวยประโยคทีว่ า “จงประกาศพรหมจรรย พรอมทัง้ อรรถทัง้ พยัญชนะครบ บริบรู ณ บริสทุ ธิ”์ กลาวคือใหมคี วามละเอียดออน ในการเลือกเฟน คําศัพท (พยัญชนะ) ที่ใชใหเหมาะสม รวมทัง้ การ อธิบาย ความหมาย (อรรถ) ใหชดั เจนและถูกตอง เพื่อปองกันไมให เกิดความเขาใจผิดหรือเขาใจคลาดเคลื่อน และในสวนของผูฟงเองก็ เชนกัน จะตองศึกษาและเรียนรูท ั้งคําและความหมายของศัพทธรรมะ ใหถกู ตองเชนกัน จึงจะทําใหไดรบั ประโยชนจากการฟงธรรม และบังเกิด ผลตรงตามทีต่ รัสสอนไดอยางแทจริงดวย นอกจากนั้น ดวยความรอบคอบและรัดกุม พระพุทธเจายังได ตรัสแสดงหมวดธรรมอีกบางหมวด เชน หลักตัดสินธรรมวินยั 7 และ 8 หลักมหาปเทส 4 ทัง้ ในฝายธรรมและวินยั และองคคณ ุ ของพระธรรม 6 ใหใชเปนหลักในการเทียบเคียงหรือตรวจสอบความเขาใจ เพือ่ เปนหลัก ประกันความมัน่ ใจในความเขาใจตอศัพทธรรมะทีถ่ ูกตอง ซึ่งหากเปน ความเขาใจที่ถูกตองอยางแทจริง ยอมจะไมมอี ะไรทีข่ ัดแยงหรือลงกัน ไมไดกบั หมวดธรรมเหลานีเ้ ลย ดังนัน้ จึงจําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองเรียนรูไ ว ซึง่ จะไดนํามาแสดงในบทถัดไป 3


หนังสือที่เรียบเรียงขึน้ นี้ มีจุดมุงหมายที่จะทําความเขาใจใน พยั ญชนะ และ อรรถ ของศัพทธรรมะที่พระพุทธเจาตรัสสอนให ชัดเจนและถูกตอง โดยจะเลือกศัพทธรรมะทีจ่ ําเปนตองรูแ ละทีเ่ นือ่ งกับ การปฏิบัติทบี่ ุคคลทัว่ ไปมักเขาใจผิดหรือเขาใจคลาดเคลือ่ น หรือเปน คําศัพททเี่ ขาใจยาก ทีเ่ ปนอุปสรรคทําใหเขาไมถงึ ธรรม มาทําความเขาใจ ดวยภาษางาย ๆ ที่ใชกนั ในบริบทของสังคมปจจุบัน เพือ่ ใหเกิดความ เขาใจชัดเจนแลวสามารถนําไปปฏิบัติตอได ไมไดทําในลักษณะของ การแปลเพือ่ รักษารูปศัพททางไวยากรณ ดวยความหวังเปนอยางยิง่ วา จะสามารถชวยบุคคลโดยเฉพาะผูเ ริม่ ตนสนใจในธรรมทีต่ อ งการเรียนรู และฝกฝนการปฏิบตั หิ ลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ใหเขาใจและไดรบั ประโยชนสงู สุดจากคําสอนของพระพุทธเจาเทาทีจ่ ะเปนไปได สมตาม พระพุทธประสงคที่ไดสงพระสาวกไปประกาศธรรมเพื่อความสุขแก ชนหมูม าก และเพือ่ อนุเคราะหโลก หลักธรรมบางประการทีช่ วยใหเขาใจธรรมไดถูกตอง หลักตัดสินธรรมวินัย 7 พระพุทธเจาไดตรัสแสดงหลักสําหรับตรวจสอบธรรมและวินัย แกพระอุบาลีในพระไตรปฎก เลมที่ 23 ขอที่ 80 วา ธรรมและวินัยที่ ตรัสสอน มีลกั ษณะดังตอไปนี้ คือ เปนไปเพือ่ เอกันตนิพพทิ า (ความ หนายอยางสิ้นเชิง) เพือ่ วิราคะ (คลายยึดติด) เพือ่ นิโรธะ (ความดับ ทุกข) เพื่ออุปสมะ (ความสงบระงับ) เพือ่ อภิญญา (ความรูยงิ่ ) เพือ่ สัมโพธะ (ความตรัสรู) และเพือ่ นิพพาน (ความดับสิน้ ไปแหงภพ) ดังนัน้ การอธิบายหรือใหความหมายศัพทธรรมะทีพ่ ระพุทธเจา 4


ตรัสสอน หากไมไดเปนไปตามวัตถุประสงคตามหลักตัดสินธรรมวินยั 7 นีแ้ ลว นั่นยอมแสดงวา ไมตรงตอคําสอนของพระพุทธเจา หลักตัดสินธรรมวินยั 8 พระพุทธเจาไดตรัสแสดงหลักสําหรับตรวจสอบธรรมและวินัย แกพระนางมหาปชาบดีในพระไตรปฎก เลมที่ 7 ขอที่ 523 วา ธรรมและ วินัยที่ตรัสสอน มีลักษณะดังตอไปนี้ คือเปนไปเพื่อคลายกําหนัด เพือ่ ความคลายทุกข เพือ่ ความไมพอกพูนกิเลส เพือ่ ความมักนอย เพือ่ ความสันโดษ เพื่อความสงัด เพื่อการระดมความเพียร และ เพือ่ ความเปนผูเ ลีย้ งงาย ดังนัน้ การอธิบายหรือใหความหมายศัพทธรรมะทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสสอน หากไมไดเปนไปตามวัตถุประสงคตามหลักตัดสินธรรมวินยั 8 นัน่ ยอมแสดงวา ไมตรงตอคําสอนของพระพุทธเจา หลักมหาปเทส 4 ในฝายธรรม พระพุทธเจาไดตรัสแสดงหลัก มหาปเทส 4 ในฝา ยธรรม สําหรับตรวจสอบความถูกตองของธรรม ในกรณีทมี่ กี ารอางวาเปนคําสอน ทีไ่ ดฟง มาจากพระพุทธเจาหรือพระเถระจากทีต่ า ง ๆ ไวในพระไตรปฎก เลมที่ 10 ขอที่ 113 โดยสรุปวา อยาเพิง่ รับหรืออยาเพิง่ ปฏิเสธโดยทันที แตใหศกึ ษาขอความและถอยคําทีอ่ า งนัน้ ใหดเี สียกอน แลวนํามาตรวจสอบ เทียบเคียงกับคําสอนของทานในสูตรและวินยั วาสามารถเขากันหรือลงกัน ไดหรือไม หากลงกันไมได ก็ใหละทิง้ เสีย แตหากลงกันได ก็ใหรบั คําสอน นัน้ ไว เพราะคําสอนของพระพุทธเจาแมตรัสไวมากมายและหลากหลาย 5


อยางไรก็ตาม แตทงั้ หมดจะสอดคลองกันเปนอยางดี ไมมีทขี่ ดั กันเองเลย ดังนัน้ การอธิบายหรือใหความหมายศัพทธรรมะทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสสอน เมื่อนํามาตรวจสอบและเทียบเคียงกับในสูตรและวินัยแลว หากเขากันหรือลงกันไมไดแลว นั่นยอมแสดงวาไมตรงตอคําสอนของ พระพุทธเจา หลักมหาปเทส 4 ในฝายวินัย พระพุทธเจาไดตรัสแสดงหลัก มหาปเทส 4 ในฝายวินัย สําหรับตรวจสอบความถูกตองของวินยั ในกรณีทไี่ มไดทรงบัญญัตใิ น เรือ่ งนัน้ ๆ ไวโดยตรง ไดทรงแนะใหนําเรือ่ งดังกลาว มาสอบเทียบเคียง กับเรือ่ งทีท่ รงบัญญัตไิ วแลววาควรหรือไมควร หากเขากันไดกบั เรือ่ งทีค่ วร และขัดกับเรือ่ งทีไ่ มควร ก็ใหวนิ จิ ฉัยวาเปนเรือ่ งทีค่ วร แตหากเรือ่ งดังกลาว เขากันไดกับเรือ่ งทีไ่ มควร และขัดกับเรือ่ งทีค่ วร ก็ใหวนิ ิจฉัยวาเปนเรือ่ ง ที่ไมควรดวย ดังที่ตรัสสอนไวในพระไตรปฎก เลมที่ 5 ขอที่ 92 ดังนัน้ การอธิบายหรือใหความหมายศัพทธรรมะทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสสอน โดยเฉพาะในประเด็นของวินัย เมือ่ นํามาตรวจสอบและเทียบ เคียง หากอธิบายผิดตอหลักเกณฑทเี่ ขากันไดหรือทีข่ ดั กันตามหลักมหาปเทส 4 ฝายวินยั นีแ้ ลว นัน่ ยอมแสดงวาไมตรงตอคําสอนของพระพุทธเจา องคคุณของพระธรรม 6 พระพุทธเจาไดแสดงองคคุณของพระธรรม หรือ คุณลักษณะ ของ “ธรรม” ทีต่ รัสสอนไววามี 6 ประการ ในพระไตรปฎก เลมที่ 16 ขอที่ 472 ซึ่งเห็นวาเปนอีกเรือ่ งหนึง่ ที่สําคัญทีจ่ ะชวยทําใหเกิดความเขาใจ 6


ในศัพทธรรมะไดถูกตองและตรงตอพระพุทธประสงคยงิ่ ขึ้น จึงขอนํา เสนอใหเปนหลักอีกขอหนึง่ สําหรับการทําความเขาใจศัพทธรรมะในหนังสือ ที่เรียบเรียงนีด้ วย องคคุณของพระธรรม 6 ประการ หรือทีเ่ รียกวา ธรรมคุณ 6 มีเนือ้ หาสาระดังนี้ 1. สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม เปนธรรมที่ตรัสไวดีแลว มี ความหมายวา ตรัสไวเชนไร ก็เปนเชนนัน้ ไมมกี ารเปลีย่ นกลับไป - กลับมา ไมมกี ารขัดแยงกันเอง และไมมใี ครทีจ่ ะกลาวแยงหรือหักลางคําสอนได 2. สนฺทิฏฐโิ ก เปนสิง่ ที่ผศู ึกษาและปฏิบตั ิสามารถประจักษ แจงไดดว ยตนเอง ไมใชสอนใหเพียงเชือ่ ตามอยางเดียว 3. อกาลิโก เปนสิ่งที่ไมขนึ้ กับบุคคลหรือยุคสมัย ไมมกี ารลา สมัย เพราะเปนเรือ่ งความจริงของธรรมชาติทเี่ ปลีย่ นแปลงไปตามกฎ ของธรรมชาติ 4. เอหิปสฺสโิ ก เปนสิง่ ทีท่ าทายใหใคร ๆ สามารถเขามาพิสจู น ได 5. โอปนยิโก เปนสิง่ ทีส่ ามารถนอมนําเขามาสูก ารปฏิบตั หิ รือ ใชประโยชนในชีวติ จริงได 6. ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิฺูหิ เปนสิง่ ที่ถงึ ที่สดุ แลวตองรู เฉพาะตน หรือรูจ ากประสบการณของตนเอง และเมื่อรูแ ลวจะทําให บุคคลนั้ นไม ตองฝากความเชื่ อไว กับใครอี ก แม แต กับพระศาสดา ดังเชนมี คํากลาวถึงพระอรหันตวา เปน อสัทธา คือ เปนบุคคลที่ ไมตอ งเชือ่ ใครอีก (ในเรือ่ งของการปฏิบตั เิ พือ่ ความดับทุกข) ดังนัน้ การอธิบายหรือใหความหมายศัพทธรรมะทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสสอน หากมีคณ ุ ลักษณะทีข่ ดั ตอองคคณ ุ หรือคุณลักษณะ 6 ประการ ของธรรมตามทีก่ ลาว ยอมแสดงวาไมตรงตอคําสอนของพระพุทธเจา 7


ประมวลรูปแบบปญหาอันเนือ่ งมาจากศัพทธรรมะ ตอจากนี้ จะไดเขาสูป ระเด็นปญหาในเรือ่ งศัพทธรรมะที่เห็น วาควรนํามาทําความเขาใจใหถกู ตอง ซึง่ จะเปนพืน้ ฐานทีท่ ําใหเขาถึง ธรรมโดยสะดวกและราบรื่ นยิ่ งขึ้ นต อไป ในทัศนะของผู เรี ยบเรี ยง ประมวลไดเปน 4 รูปแบบ คือ 1. ใหความหมายผิด 2. ใหความหมายที่ไมชดั เจนหรือเขาใจยาก จนไมสามารถ นําไปปฏิบัตไิ ด 3. ใหความหมายไมตรงบริบท เพราะมีหลายความหมาย 4. ใหความหมายคลาดเคลือ่ น ไมตรงจุด หรือไมครบถวน จะไดอธิบายโดยละเอียดตอไป 1. ใหความหมายผิด ปญหาเรือ่ งศัพทธรรมะประเด็นแรก คือการเขาใจความหมาย ของคําศัพทผิดไปจากที่พระพุทธเจาตรัสสอน ทําใหเวลาฟงหรืออาน ไมสามารถเขาใจในเนือ้ หา และอาจถึงกับเขาใจผิดชนิดตรงกันขามกับ ความหมายทีแ่ ทจริง หรือผิดไปจากความหมายทีป่ ระสงคกไ็ ด ศัพทธรรมะในกลุม นี้ อาทิคําวา จุติ / อารมณ / เวทนา / สัญญา / วิญญาณ / มานะ / อธิษฐาน / วาสนา / ภาวนา / ทิฏฐิ (ทิฐ)ิ / กรรม / อัตตา / อนัตตา  จุติ

มีความหมายวา เคลือ่ น หรือ ตาย ซึง่ ในภาษาบาลีสามารถ 8


ใชไดทวั่ ไป แตในภาษาไทยสวนมากใชกบั เทวดา และมักจะเขาใจผิดวา หมายถึง “เกิด”  อารมณ

มีความหมายวา สิง่ ทีถ่ ูกรู หรือสิง่ ทีร่ ับรูผ านชองทางการรับรู ซึง่ มี อยู 6 ชองทาง คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย และใจ ดังนั้น อารมณตาม หลักพระพุทธศาสนา จึงหมายถึง รูป เสียง กลิน่ รส สิง่ ทีส่ มั ผัสทางกาย และสิง่ ทีส่ ัมผัสทางใจ ในขณะที่กําลังรับรูท างตา หู จมูก ลิน้ กาย และ ใจ ....ไมไดหมายถึง “สภาวะความเปนไปของจิตในลักษณะตาง ๆ” เชน อารมณดี อารมณเสีย อารมณเศรา ฯลฯ  เวทนา

มีความหมายวา ความรูส กึ ทีเ่ กิดขึน้ จากการรับรู ไมวา จะเปน การรับรูผ านทางชองทางการรับรูใ ดก็ตาม (ตา หู จมูก ลิน้ กาย และใจ) จําแนกเปนความรูส ึกสุข ทุกข และเฉย ๆ ซึง่ ในหลักธรรมยังจําแนกชัด ลงไปอีกวา เวทนาทีเ่ กิดจากการรับรูท างตา หู จมูก ลิ้น จะเกิดขึน้ ได เฉพาะทีเ่ ปนความรูส กึ เฉย ๆ สวนเวทนาทีเ่ กิดจากการรับรูท างกายและ ทางใจ จึงจะเกิดเปนเวทนาไดครบทัง้ 3 แบบ คํา “เวทนา” มักถูกเขาใจ ผิดวาเปน “ความรูส ึกที่สงสาร หรือนาสงสาร หรือ เปนความรูส ึกเจ็บ ปวดทรมาน” เพียงอยางเดียว  สัญญา

มีความหมายวา จําได หมายรู เปนอาการรูแ บบหนึ่งของจิต 9


(จิตมีอาการรู 4 แบบดวยกัน คือ รูส กึ (เวทนา) รูจ าํ (สัญญา) รูค ิด(สังขาร) รูแ จงอารมณ(วิญญาณ)) ธรรมชาติของจิตเมือ่ รับรูส งิ่ ใดสิง่ หนึง่ จะจําได วาไดเคยรับรูในสิ่งนัน้ มากอนแลว เชนไดกลิน่ อะไรอยางใดอยางหนึ่ง เมื่อมาไดกลิ่นนั้นอีกครั้ง จะจําไดวาเปนกลิ่นที่ไดเคยสัมผัสมาแลว นอกจากนั้นยังมีการหมายรูล งไปดวยวาเปนกลิน่ อะไร เชน กลิ่นของ ดอกกุหลาบ หรือกลิน่ ของดอกมะลิ ....ไมไดหมายถึง “สัญญาที่เปนขอ ตกลง หรือการรับปาก หรือการใหคํามัน่ ตอกัน”  วิญญาณ

มีความหมายวา รูแจงในอารมณ คือรูวาอารมณหรือสิ่งที่ รับรูนั้นเปนอะไร โดยการจะเกิดวิญญาณขึ้นมารับรูนั้นในหลักธรรม แสดงไววา จะตองเกิดขึน้ จากอายตนะภายใน (ตา หู จมูก ลิน้ กาย และ ใจ) ไปกระทบหรือรับรูต อ อายตนะภายนอก (รูป เสียง กลิน่ รส สิง่ ทีส่ มั ผัส ทางกาย (โผฏฐัพพะ) และสิง่ ทีส่ มั ผัสทางใจ (ธรรมารมณ)) แลวจึงทําให เกิดวิญญาณขึ้น คือวิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทาง จมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และวิญญาณทางใจ หรือ ใชคาํ เรียกงาย ๆ วา ไดเห็น ไดยนิ ไดกลิ่น ไดรส ไดรูสัมผัสทางกาย และไดรูสัมผัสทางใจ ....ไมไดหมายถึง “วิญญาณที่สงิ อยูในรางกาย เมือ่ สิน้ ชีวติ ก็จะออกจากราง เพือ่ ไปแสวงหารางใหมหรือเกิดใหม”  มานะ

ในทางธรรมจัดเปนกิเลส มีความหมายวา ความถือตัว ความ สําคัญตน โดยมีการเปรียบเทียบกับผูอ นื่ ไมวา จะในแงต่ํากวา สูงกวา หรือเสมอกันก็ตาม ....ไมไดหมายถึง “มีความมุง มัน่ มีความพากเพียร” 10


 อธิษฐาน

มีความหมายวา การตั้งใจมั่น หรือความตั้งใจแนวแนที่ จะกระทําการใหสําเร็จบรรลุจุดหมาย....ไมไดหมายถึง “การออน วอน หรือขอใหไดรับความสําเร็จหรือบรรลุจุดมุงหมายจากสิง่ ทีเ่ ชือ่ วา มีความศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละสามารถดลบันดาลใหได”  วาสนา

มีความหมายวา พฤติกรรมทางกายและวาจาทีไ่ มเหมาะสม ทีส่ งั่ สมมาเปนเวลานาน จนเคยชินติดเปนพืน้ ประจําตัว เฉพาะ พระพุทธเจาเทานั้น ที่สามารถละในเรือ่ งวาสนานีไ้ ด แมสาวกผูปฏิบตั ิ ธรรมจนสําเร็จเปนพระอรหันต ก็ยังไมสามารถละได ในคัมภีรมักจะ ยกตัวอยางกรณีของพระสารีบตุ ร ซึ่งในอดีตชาติเคยเกิดเปนลิงหลาย รอยชาติ ยังติดวาสนาบางอยางที่ไมสามารถละได เวลาจะกาวขาม ทองรอง มักจะกระโดดขาม ....ไมไดหมายถึง “อํานาจบุญเกาหรือกุศล ทีท่ ําใหไดลาภยศ”  ภาวนา

มีความหมายวา การเจริญ การทําใหมีขึ้น ดังเชนที่พระพุทธเจาตรัสถึงกิจในอริยสัจ 4 ไววา ทุกข มีกิจคือ กําหนดรู (ปริญญา) สมุทยั มีกิจคือ ใหละ (ปหานะ) นิโรธ มีกจิ คือ ทําใหแจง (สัจฉิกริ ิยา) มรรค มีกจิ คือ ใหเจริญ หรือทําใหมี ใหเกิดขึ้น (ภาวนา) ....ไมไดหมายถึง “การทองบน หรือวาซ้าํ ๆ เพือ่ ใหเกิดความขลัง” 11


 ทิฏฐิ หรือ ทิฐิ

มี ความหมายวา ความเห็ น ความเข าใจ มั กมี คํา ขยาย นําหนา เชน สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) มิจฉาทิฏฐิ (ความเห็นผิด) หากใชลําพังเพียงคําวา “ทิฏฐิ” มักจะมีความหมายเปนความเห็นผิด ....ไมไดหมายถึง “ความดือ้ ดึงถือรัน้ ในความเห็นของตน”  กรรม

มีความหมายวา การกระทํา เปนความหมายทีเ่ ปนกลาง ๆ ใชไดกับการกระทําทั้งในทางดี ทางชัว่ หรือเหนือดีเหนือชัว่ มักจะมีคํา ขยายนําหนาหรือตอทาย เพือ่ ใหทราบชัดวาเปนกรรมประเภทใด เชน อกุศลกรรม กุศลกรรม หรือกรรมดํา กรรมขาว กรรมไมดําไมขาว ....ไมได หมายถึง “การกระทําในทางชัว่ ” หรือเขาใจผิดไปใหความหมายวาเปน “ผลของการกระทําความชัว่ ” ซึง่ ในหลักธรรมใชคําวา “วิบากกรรม“  อัตตา

มีความหมายวา ตัวตน ซึง่ ตามหลักคําสอนในพระพุทธศาสนา แสดงไววา เปนสิง่ ทีไ่ มมอี ยูจ ริงในธรรมชาติ เปนเพียงความเห็นผิดหรือ ความยึดมัน่ ผิด ๆ ไปเองของจิต ในภาษาบาลีมคี ําใชวา อัตตานุทิฏฐิ และอัตตวาทุปาทาน ความเห็นผิดในเรือ่ งตัวตนนี้ จําแนกไดเปน 2 แบบ คือ (1)เห็นผิดวามีตัวตนที่เที่ยงแทและยั่งยืน (สัสสตทิฏฐิ) ซึ่งใชคํา แทนสั้นๆ วา อัตตา หรือ มีตัวตน และ (2)เห็ นว ามี ตัวตนแตจะ ขาดสูญเมื่อตาย (อุจเฉททิฏฐิ) ซึ่งใชคําแทนสั้นๆ วา นิรัตตา หรือ ไมมีตวั ตน ....ไมไดหมายถึง “สภาวะของตัวตนใดใด หรือทีเ่ นือ่ งกับ ตัวตนใด ๆ ซึง่ คนสวนใหญเขาใจวาเปนความเยอหยิง่ ถือตัว” 12


 อนัตตา

มักจะบัญญัตคิ วามหมายวา ไมใชตัวตน เพื่อใหแตกตางจาก คํา “อัตตา” และ “นิรตั ตา” ที่ใหความหมายวา “มีตวั ตน” และ “ไมมี ตัวตน” เปนการปฏิเสธความเห็นหรือความยึดมัน่ ทีผ่ ิดๆ ของจิต วาเปน ตัวตนหรือที่เนื่องดวยตัวตนเปนสําคัญ เปนศัพทธรรมะที่เขาใจยาก และเห็นไดยากเพราะขัดกับความรูส กึ ซึง่ เปนสัญชาตญาณทีอ่ ยูส ว นลึก ที่สุด มีสอนเฉพาะในพระพุทธศาสนา การรูห รือเห็นอนัตตา กลาวโดย สรุป คือการเห็นวาสิง่ ตางๆลวนเปนไปตามกฎธรรมชาติ ไมสามารถบังคับ ใหเปนไปตามใจตนทีต่ องการได สมดังทีตรั ่ สไวในพระไตรปฎก เลมที30 ่ ขอที่ 505 วา ....“ดูกรภิกษุทงั้ หลาย รูปเปนอนัตตา. ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ถารูปนีจ้ กั เปนอัตตาแลวไซร รูปนีก้ ไ็ มพงึ เปนไปเพือ่ อาพาธ (ความเจ็บปวย ความเสือ่ มโทรม) และจะพึงไดใน รูปวา ขอรูปของเราจงเปนอยางนี้ รูปของเราอยาไดเปนอยางนีเ้ ลย ดูกรภิกษุทงั้ หลาย แตเพราะรูปเปนอนัตตา ฉะนัน้ รูปจึง เปนไปเพือ่ อาพาธ และยอมไมไดในรูปวา ขอรูปของเราจงเปนอยางนี้ รูปของเราจงอยาไดเปนอยางนีเ้ ลย” (ตอจากนีไ้ ดแสดงถึง เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ดวยขอความเดียวกัน) ความเขาใจผิดเกี่ยวกับอนัตตาที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ เขาใจวา อะไร ๆ ลวนไมมีอยู ผูท ี่เขาใจหรือรูใ นอนัตตาอยางถูกตอง จะเห็นวาสิง่ ตาง ๆ ในธรรมชาติมีอยู และมีกฎธรรมชาติควบคุมความ เปนไป ไมขนึ้ กับใคร หรือใคร ๆ ไมสามารถบังคับใหเปนไปตามอําเภอใจ ตนได ดังนั้น ผูรูอนัตตา จะปฏิบัติตอสิ่งตาง ๆ ตามกฎธรรมชาติที่ ควบคุมความเปนไปของสิง่ นั้น ๆ ไมเอาความตองการของตัวตนเปน เครือ่ งนํา หรือไมไดปฏิบัตติ อ สิง่ ตาง ๆ เพือ่ ตอบสนองตัวตนแตอยางใด 13


2. ใหความหมายที่ไมชัดเจน หรือเขาใจยาก ปญหาเรือ่ งศัพทธรรมะในประเด็นที่ 2 คือการใหความหมาย ของศัพทธรรมะทีไ่ มชดั เจน หรือเขาใจยาก จนปฏิบตั ไิ มถกู หรือไมสามารถ ปฏิบัตไิ ด ศัพทธรรมะในกลุม นี้ อาทิคําวา  โยนิโสมนสิการ (การกระทําในใจโดยแยบคาย)  สัมปชัญญะ (ความรูส  กึ ตัวทัว่ พรอม)  สันโดษ (ความพอใจในสิง่ ทีม ่ )ี  ปติ (ความอิม ่ ใจ) / สุข (ความสบายกายสบายใจ)  ธรรมจักษุ (ดวงตาเห็นธรรม)  อวิชชา (ความไมร)ู  ตัณหา (ความทะยานอยาก)  นิพพิทา (ความเบือ ่ หนาย)  โยนิโสมนสิการ

มักจะอธิบายหรือใหความหมายวา การกระทําในใจโดย แยบคาย ซึง่ ผูฟ ง สวนใหญจะไมเขาใจวาใหทาํ อยางไร โดยรูปศัพทประกอบดวยคําศัพท 2 คํา คือ โยนิโส (เหตุ ตนเคา แหลงเกิด) + มนสิการ (การทําในใจ การใสใจ การพิจารณา การคิด) โยนิโสมนสิการ จึงเปนการวางทาทีของจิตในการรับรูหรือ เกีย่ วของกับสิง่ ตาง ๆ ใหถกู ตอง กลาวคือ การมีทา ทีรบั รูต อ สิง่ ตาง ๆ ใน ลักษณะเปนการเรียนรูเ พือ่ เขาถึงตนเคาหรือความจริงของสิง่ ทีร่ บั รู เพือ่ จะไดเขาไปทําหนาทีแ่ ละเกีย่ วของไดอยางถูกตอง โดยเฉพาะในแงมมุ ทีท่ ําใหจติ สามารถอยูเ หนืออิทธิพลหรือความรอยรัดเสียดแทงจากสิง่ ทีร่ บั รู ไมใหกอ ความทุกขแกจติ ได 14


เพือ่ ความเขาใจทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ ขอเสนอใหทาํ ความเขาใจศัพท ธรรมะทีม่ ีความหมายตรงกันขาม คือ อโยนิโสมนสิการ ซึง่ ใหความ หมายวา การกระทําในใจโดยไมแยบคาย คือการมีทา ทีในการรับรู ตอสิ่งตาง ๆ อยางไมถกู ตอง กลาวคือรับรูด วยทาทีทเี่ อาความรูส ึกที่ เกิดจากการรับรูน นั้ เปนตัวนํา โดยหากการรับรูใ ดทีท่ ําใหเกิดความรูส ึก ยินดีหรือพอใจ ก็จะเกิดความอยากได และทําใหแสวงหาเพือ่ ครอบครอง แตหากเกิดเปนความรูส ึกไมพอใจหรือขัดเคืองใจ ก็เกิดเปนความโกรธ ที่ตองการผลักไสหรือทําลาย แตหากเกิดเปนความรูสกึ เฉยๆ ก็ทําให ปลอยปละละเลย ไมสนใจตอสิง่ ทีร่ บั รูน นั้ เทาใด จิตทีร่ บั รูด ว ยอโยนิโสมนสิการจึงขึ้น ๆ ลง ๆ ไปตามความรูสึกที่เกิดขึ้นจากการรับรู หรือ กลาวอีกนัยหนึ่ง จิตถูกครอบงําและเปนไปตามอํานาจของความรูสกึ ทีเ่ กิดขึน้ จากการรับรู ทานพุทธทาสภิกขุไดเคยแสดงอุปมาเปรียบเทียบทีท่ ําใหเขาใจ ในเรื่ องโยนิโสมนสิ การและอโยนิ โสมนสิ การได งายขึ้ นและมากขึ้ น โดยเปรียบเทียบกับการทีบ่ คุ คลเอาไมไปแหยเสือหรือสิงโต เสือหรือสิงโต จะกระโดดไปขย้าํ คนที่แหย แตหากไปแหยสนุ ัข สุนขั จะไลงับปลายไม ไมวา บุคคลจะขยับไมไปทิศทางใด ก็จะไลงบั ปลายไมไปตามทิศทางนัน้ ลักษณะของโยนิโสมนสิการ เหมือนเสือและสิงโตที่ไม มัวแตสนใจในไมทแี่ กวงไปมาซึง่ เปนเสมือนสิ่งทีจ่ ิตรับรู แตจะ เขาไปขย้าํ ถึงบุคคลทีเ่ ปนตนตอ คือตองการเขาถึงความจริงหรือ กฎธรรมชาติทเี่ ปนตนตอของสิ่งทีจ่ ิตรับรูน นั้ ; สวนลักษณะของ อโยนิโสมนสิการ เหมือนสุนัขทีค่ อยไลงบั ปลายไมที่ขยับไปมา คือจิตวิง่ ตามสิง่ ทีร่ ับรู เปนไปตามอิทธิพลของสิง่ ทีร่ ับรู 15


เพื่อความเขาใจในเรื่องโยนิโสมนสิการใหกระจางยิ่งขึ้น ขอ เสนอใหพิจารณาหลักธรรมคืออริยสัจ 4 ซึง่ ไดแสดงวิถีการดําเนินชีวติ เปน 2 เสนทาง คือเสนทางชีวิตทุกข (ทุกข - สมุทัย) และเสนทางชีวติ ทีพ่ นทุกข (นิโรธ - มรรค) โดยเสนทางชีวติ ทุกข เปนเสนทางชีวิตที่เอา ความอยากความตองการของตน (ตัณหา) เปนตัวนํา ซึง่ จะเปนไปตาม ความรูส ึกที่มตี อสิง่ ทีร่ ับรู คือสุข ทุกข หรือเฉย ๆ เปนสําคัญ สวนเสน ทางชีวติ ทีพ่ นทุกข เปนเสนทางชีวติ ทีเ่ อาความถูกตองตามกฎธรรมชาติ หรือสัมมา (คือความถูกตอง) ในองคมรรคแตละหัวขอเปนตัวนํา กลาวโดยสรุป การมีทา ทีในการดําเนินชีวติ โดยเอาตัณหาเปน ตัวนํา ซึ่งนําไปสูช ีวติ ทุกข เปนทาทีของอโยนิโสมนสิการ ; สวนการ ดําเนินชีวิตโดยเอาความถูกตองเปนตัวนํา ซึ่งนําไปสูชีวิตที่พนทุกข เปนทาทีของ โยนิโสมนสิการ  สัมปชัญญะ

มักจะอธิบายหรือใหความหมายวา ความรูส ึกตัวทัว่ พรอม สวนใหญจะเขาใจวาเปนการทําความรูส กึ ตัวใหทวั่ ทัง้ ตัวหรือสารพางคกาย ซึง่ เปนความหมายทีย่ งั ไมถกู ตองเสียทีเดียว การจะเขาใจความหมายของสัมปชัญญะไดโดยถองแทนั้ น เห็นวาควรนําพระพุทธพจนที่ตรัสไวหลายแหงในพระไตรปฎกมารวม พิจารณา ก็จะทําใหสามารถปะติดปะตอความหมายตามทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสสอนไดถกู ตองอยางแทจริง ในพระไตรปฎก เลมที่ 11 ขอที่ 378 มีพระพุทธพจนตรัสไววา “ธรรม 2 อยางทีม่ อี ปุ การะมากเปนไฉน คือ สติ 1 สัมปชัญญะ 1 ธรรม 2 อยางเหลานีม้ ีอปุ การะมาก ฯ” 16


สติในทีน่ ี้ คือ ความระลึกได นึกได หรือสํานึกอยูไ มเผลอ สัมปชัญญะ คือ ความรูช ัด รูช ัดในสิง่ ทีน่ ึกได ตระหนักเขาใจ ชัดตามความเปนจริง ซึง่ หมายถึงปญญา ในพระไตรปฎก เลมที่ 10 ขอที่ 276 ในมหาสติปฏฐานสูตร วาดวยกายานุปส สนาสติปฏฐาน หมวดสัมปชัญญบรรพ มีพระพุทธพจนตรัสไววา “ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกขอหนึง่ ภิกษุยอ มทําความรูส ึกตัวใน การกาว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการคูเ ขา ในการเหยียด ออก ในการทรงผาสังฆาฏิบาตรและจีวร ในการฉัน การดืม่ การเคีย้ ว การลิม้ ในการถายอุจจาระและปสสาวะ ยอมทําความรูส กึ ตัวในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตืน่ การพูด การนิง่ ....” เมือ่ ประมวลความหมายจาก 2 พระสูตรทีย่ กมา จะเห็นไดวา ความหมายของสัมปชั ญญะ มีนั ยสําคัญอยู ที่ 2 ประเด็นใหญ คือ เรือ่ งของปญญาและเรือ่ งของอิรยิ าบถยอย ดังนัน้ การมีสมั ปชัญญะตาม ทีพ่ ระพุทธเจาตรัสสอน จึงมีความหมายวาในขณะนัน้ ๆ จะตอง มีปญ  ญาหรือรูจ กั เลือกเฟนปญญาใหเหมาะสมกับสถานการณที่ กําลังเกิดขึน้ นอกจากนั้นยังตองเตรียมทุกสวนของรางกายให พรอมเพือ่ ทีจ่ ะกระทําตอสถานการณทกี่ ําลังเผชิญ ในเรือ่ งนี้ ขอนําคําสอนของทานอาจารยพทุ ธทาสทีบ่ รรยายไวใน หมวดธรรมทีท่ านใหชอื่ วา “ธรรม 4 เกลอ” คือสติ ปญญา สัมปชัญญะ และสมาธิ มาลงไว ณ นีด้ วย ซึง่ เห็นวาจะชวยทําใหเขาใจความหมาย ของสัมปชัญญะไดดียงิ่ ขึน้ ทานอาจารยพุทธทาสไดอธิบายวา “ธรรม 4 เกลอ” คือ สติ ปญญา สัมปชัญญะ และสมาธิ เปนธรรมที่จําเปนตองใชในทุกกรณี 17


โดยอธิบายความหมายของสัมปชัญญะวา เปนปญญาทีเ่ หมาะสมกับ สถานการณ สวนปญญาในธรรม 4 เกลอ หมายถึงคลังปญญาทีบ่ คุ คล มีอยูห รือสะสมอยู เปรียบไดกับตูย าทีจ่ ะตองมียาไวใหครบทุกประเภท แตเวลาจะใชจริง ไมไดใชยาทุกประเภทพรอมกัน บุคคลตองรูจ ักเลือก ใชเฉพาะยาทีต่ รงกับโรคทีเ่ ปนอยูเ ทานัน้ วิธใี ชธรรม 4 เกลอ ประการแรกสุด คือตัง้ สติรับรูต อเหตุการณ ที่กําลังเผชิญใหดี จากนั้นพิจารณาเลือกเฟนหาปญญาที่เหมาะสม และตรงกับเหตุการณทกี่ ําลังเผชิญอยู (สัมปชัญญะ) จากคลังปญญา ที่มีอยู ของบุคคล เพื่ อมาใช ควบคุมและจัดการกับเหตุการณ นั้ น ๆ แลวยังตองอาศัยสมาธิมาเปนพลังรักษาจิตใหมีความแนวแนมั่นคง ก็จะทําใหบุคคลสามารถผานเหตุการณตาง ๆ นั้น ไปไดดวยดีและ ถูกตอง มีคาํ อธิบายทีเ่ ขาใจงาย ๆ แบบประยุกตเกีย่ วกับคํา สัมปชัญญะ ซึ่งสามารถนําไปใชไดเปนอยางดีในชีวิตประจําวัน โดยพิจารณาจาก เรือ่ งราวทีบ่ คุ คลจะตองเกีย่ วของทัง้ หมด ซึง่ มีเรือ่ งของ อะไร ? ใคร ? เมือ่ ไร ? ที่ไหน ? ทําไม ? อยางไร ? โดยสติจะทําหนาที่ระลึกในสวนที่ใหรูวา อะไรเปนอะไร คือ อะไร ? ใคร ? เมือ่ ไร ? ที่ไหน ? สวนสัมปชัญญะจะ ทําหนาทีเ่ ปนปญญารูใ นสวนของทําไม ? และอยางไร ? ทั้งนีร้ วมทัง้ การมีอิ ริยาบถยอยทางกาย ก็เลือกให เหมาะสมกับสถานการณ ใน ขณะนัน้ ดวย  สันโดษ

มักจะอธิบายหรือใหความหมายวา ความพอใจในสิ่งที่มี แตมักเขาใจผิดไปวาบุคคลผูสันโดษจะเปนผูไมมีความกระตือรือรน 18


หรือขวนขวายที่จะแสวงหาหรือกระทําอะไรใหมากไปกวาที่มีอยูหรือ เปนอยู หรือเปนบุคคลทีช่ อบอยูต ามลําพัง ไมชอบยุง เกีย่ วกับใคร ความ เขาใจแบบทีว่ า นี้ ไดทําใหรฐั บาลของประเทศไทยในยุคหนึง่ ถึงกับขอให คณะสงฆไมสอนเรื่องสั นโดษ เนื่ องเพราะเกรงว าประชาชนจะไม มี ความกระตือรือรน ตางคนตางอยู ไมรว มกันทํากิจของสวนรวม ซึ่งจะ สงผลเสียทําใหประเทศชาติไมพัฒนา และขัดขวางตอความเจริญ ความหมายของคําวา “สันโดษ” ทีแ่ ทจริง ไมไดสอนใหมี ความพอใจในสิง่ ทีม่ ี แลวหยุดการขวนขวายหรือกระทําสิง่ ตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องนั้น แตมุงหมายใชรักษาจิตใหเปนปกติสุข ไมใหเกิดความเดือดรอนใจเพราะความโลภหรือความไมรจู กั พอ ของบุคคล หรือเพราะการเปรียบเทียบในสิง่ ทีต่ นมีกับบุคคลอืน่ แลวทําใหเกิดความลําพองใจหรือความเสียใจในทางใดทางหนึง่ จึงมีพระพุทธพจนตรัสสรรเสริญหลักธรรมคือสันโดษวา “เปน ทรัพย(สิง่ ทีท่ ําใหเกิดความปลืม้ ใจ)อยางยิง่ ” กลาวคือทําใหสงิ่ ตาง ๆ ทีม่ นี ํามาแตความสุข และความปลืม้ ใจแกบคุ คล โดยธรรมชาติของบุคคล เมือ่ มีสนั โดษ รูสึ กพอ หรือพอใจในสิง่ ทีมี่ บุคคลยอมมีความสุขหรือเปนปกติสขุ อยูก บั สิง่ นัน้ ในทางตรงกันขาม หาก บุคคลไมมสี นั โดษ ไมรจู กั พอ หรือไมพอใจในสิง่ ทีม่ ี ยอมเกิดความรูส กึ ขัดเคืองใจหรือมีความทุกขสมุ ใจอยูต ลอดเวลา จะเห็นไดวา ความสุขหรือ ความทุกขทเี่ กิดจากสิง่ ทีบ่ คุ คลมีอยู แทจริงแลวไมไดเกิดจากทัง้ ในสวนของ ปริมาณหรือคุณภาพของสิง่ ทีม่ อี ยูน นั้ แตเกิดจากความสันโดษ หรือความ ไมสนั โดษของบุคคลเปนสําคัญ ดังนัน้ บุคคลผูม สี นั โดษจะมีความสุข อยูก ับสิง่ ทีม่ ี ไมทุกขกบั สิง่ ทีไ่ มมีหรือยังไมมี ซึง่ จะทําใหชีวติ มีแต ความเปนปกติสขุ และกาวยางตอไปในทุกขัน้ ตอนเปนไปดวยความสุข 19


นอกจากความหมายของ สันโดษ ดังที่กลาวแลว ซึง่ เนนไปใน เรือ่ งทีเ่ กีย่ วของกับวัตถุสงิ่ ของ ในทางตรงกันขาม หากเปนเรือ่ งของจิตใจ ซึ่งเปนการสงเสริมคุณธรรมความดี พระพุทธเจากลับตรัสสอนไมให สันโดษ โดยไดทรงแนะนําใหสงั่ สมและเพิ่มพูนใหมมี ากขึน้ และลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ ตลอดเวลา โดยไมใหสันโดษ จนกวาจะบรรลุจดุ หมายปลายทาง คือความเปนพระอรหันต ซึ่งเปนอเสขบุคคล กลาวคือเปนผูทไี่ มตอง ศึกษาและปฏิบตั อิ ะไรเพิม่ เติมอีกเพือ่ การดับทุกขดบั กิเลส  ปติ และ สุข คํา ปติ มักใหความหมายวา ความอิ่มใจ และคํา สุข ที่ ใหความหมายวา ความสบายกายสบายใจ คําทัง้ 2 นี้ มีความหมาย ใกลเคียงกัน และมักจะแยกกันไมคอ ยออก ในหนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย ซึ่งเรียบเรียงโดยพระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) (ปจจุบนั คือสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย) ในหนา 826 ไดอธิบายความแตกตางของ “ปต”ิ และ “สุข” ไวอยางชัดเจน วา ปติ หมายถึง ความยินดีในการไดอารมณทตี่ องการ สวน สุข หมายถึง ความยินดีในการเสวยอารมณที่ ตองการ ความแตกตางระหวาง ปติ กับ สุข ทีส่ ําคัญอีกประการหนึง่ คือ ปติจัดอยู ในสังขารขันธ ซึ่งเปนเรื่ องของเจตจํานงที่จะไดสิ่งหรื อ อารมณทตี่ องการ เมือ่ ไดรบั สิง่ หรืออารมณตามที่ตองการ จึงจะเกิดปติ สวน สุขจัดอยูในเวทนาขันธ ซึ่งขึ้นอยูก ับการสัมผัสรับรูก ับสิ่งหรือ 20


อารมณทเี่ ปนทีต่ งั้ ของความสุข จึงจะเกิดสุข โดยทั่ วไปป ติและสุขมักจะเกิดขึ้นตอเนื่องกัน กลาวคือเมื่อ เกิดปตแิ ลว ก็จะเกิดสุขตามมา แตในกรณีของสุข ไมจําเปนทีจ่ ะตอง เกิดปตกิ อ น  ธรรมจักษุ

คํา ธรรมจั กษุ มั กให ความหมายว า ดวงตาเห็ นธรรม โดยสาระแลวผูไดดวงตาเห็นธรรมหมายถึงพระอริยบุคคลขั้นตนหรือ พระโสดาบันผูแ รกเขาสูก ระแสที่จะบรรลุถึงพระนิพพาน แตอาจยังมี ความคลุมเครืออยูม ากวาทีเ่ ห็นธรรมนัน้ เห็นอะไร ? หรือเห็นอยางไร ? ในพระไตรปฎก เลมที่ 4 ขอที่ 16 มีพระพุทธพจนตรัสไววา “.....ก็ แลเมื่ อพระผู มี พระภาคตรั สไวยากรณภาษิ ตนี้ อยู ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ไดเกิดขึ้นแกทาน พระโกณฑัญญะวา สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้น ทัง้ มวล มีความดับเปนธรรมดา.....” ดังนั้น การได ดวงตาเห็นธรรม จึงมีความหมายวา เห็นวา สิ่งใดสิ่ งหนึ่ งมีความเกิ ดขึ้ นเป นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลยอมมี ความดับไปเปนธรรมดา ความเห็นทีว่ านี้เปนสิง่ สําคัญมาก เพราะเปนปจจัยสําคัญที่ ทําใหบคุ คลละความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งทัง้ ปวง ซึ่งการละความยึดมั่น ถือมั่นเปนหลักการใหญของคําสอนในพระพุทธศาสนา กลาวคือมุง เพื่อถอนความยึดมั่นถือมั่นเปนสําคัญ และหากสามารถถอนความ ยึดมั่นถือมั่นไดหมดสิน้ อยางเด็ดขาด ก็จะทําใหบุคคลบรรลุถงึ อุดมคติ ตามที่ พระพุทธเจาตรัสสอนในที่ สุด สมดังพระพุทธพจน ที่ตรัสไวใน 21


พระไตรปฎก เลมที่ 18 ขอที่ 192 วา “ภิกษุผูไมมีอปุ าทาน ยอมปรินิพพาน” ความเห็นที่เกิดขึ้ นที่วา สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้ นเปน ธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลยอมมีความดับไปเปนธรรมดา จึงเปรียบ ไดกับการไดดวงตาเห็นธรรม กลาวคือเห็นแนวทางการดําเนินชีวิตที่ ถูกตองทีม่ ุงตรงสูอ ุดมคติของชีวติ ทีแ่ ทจริง ตรงตามทีพ่ ระพุทธเจาตรัส สอน กลาวคือดวยการละหรือถอนความยึดมัน่ ถือมัน่ เปนสําคัญ ดวงตาเห็นธรรม ยังมีความหมายอีกอยางหนึง่ วา เห็นทาง ซึง่ พิจารณาไดจากพระสูตรแรก คือธรรมจักกัปปวัตตนสูตรทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสสอนแกพระปญจวัคคีย โดยไดแสดงทางทีส่ ุดโตง 2 สาย คือการ ประกอบตนใหพวั พันดวยกามสุข (กามสุขลั ลิกานุโยค) และการประกอบ ความเหน็ดเหนือ่ ยแกตน ใหเปนความลําบาก (อัตตกิลมถานุโยค) วาเปน ทางดําเนินชีวติ ทีผ่ ดิ ไมใชของพระอริยเจา ไมประกอบดวยประโยชน เปน ทางดําเนินชีวติ ทีพ่ งึ ละเวน และไดตรัสทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ทีป่ ระกอบดวยองค 8 (สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ) วาเปนทาง ดําเนินชีวิตทีเ่ ปนไปเพือ่ ความสงบ เพือ่ ความรูย งิ่ เพือ่ ความตรัสรู เพือ่ นิพพาน ซึง่ ทางสายกลางคืออริยมรรคมีองค 8 นี้ เปนสิง่ ทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสรูด ว ยพระองคเอง ไมมีใครรูห รือสอนในเรือ่ งนีม้ ากอนในสมัยนัน้ การไดฟ งและรูถึงทางสายกลาง ทําใหเห็นทางดําเนินชีวิต สายใหมทจี่ ะพาไปสูจ ดุ หมายของชีวติ ทีแ่ ทจริง เรียกบุคคลทีร่ เู ขาใจและ เริ่มดําเนินชีวิตตามแนวทางใหมนี้วาเปนผูเขาสูกระแสหรือโสดาบัน ซึง่ เปนผูแ รกมาถึงกระแสธรรม ยืนชิดประตูอมตะ และจะบรรลุจดุ หมาย 22


ปลายทางคือนิพพานซึ่งเปนภาวะพนทุกขอยางสิ้นเชิงในทีส่ ุด สมดัง พระพุทธพจนที่ตรัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 19 ขอที่ 1432 วา “.....ดูกรสารีบตุ ร ทีเ่ รียกวา โสดาบันๆ ดังนี้ โสดาบันเปนไฉน? สา. ขาแตพระองคผเู จริญ ผูใ ดประกอบดวยอริยมรรคมีองค 8 นี้ ผูน เี้ รียกวาพระโสดาบัน ทานผูน นี้ ั้น มีนามอยางนี้ มีโคตรอยางนี.้ ...”  อวิชชา

มักจะอธิบายหรือใหความหมายสัน้ ๆ วา คือ ความไมรู ซึง่ อาจทําใหเกิดความเขาใจที่ไมชัดเจน หรือคิดสงสัยไปวาความไมรูใน เรือ่ งตาง ๆ จัดเปนอวิชชาดวยหรือเปลา ? พระไตรปฎก เลมที่ 16 ขอที่ 17 ไดแสดงความหมายของอวิชชา ตามนัยของพระสูตร ไวดงั นี้ “...ก็ อวิชชาเปนไฉน ความไมรใู นทุกข ความไมรใู นเหตุเกิดแหงทุกข ความไมรใู นความดับทุกข ความไมรใู น ปฏิปทาทีจ่ ะใหถงึ ความดับทุกข นีเ้ รียกวา อวิชชา.....” ดังนัน้ อวิชชา ในพระพุทธศาสนาจึงมีความหมายเฉพาะ วา เปนความไมรใู นทุกข เหตุเกิดทุกข ความดับทุกข และปฏิปทา หรือวิธปี ฏิบตั ทิ จี่ ะนําไปสูค วามดับทุกข หรือความไมรใู นอริยสัจ 4 เทานัน้ ไมใชความไมรใู นเรือ่ งอืน่ ๆ อวิชชาหรือความไมรใู นอริยสัจ 4 เปนสิง่ สําคัญมาก เพราะเปน ตัวนําในการดําเนินชีวติ ของบุคคลใหเปนไปอยางไร เปรียบไดกบั หัวรถจักร ซึ่งเปนหัวขบวนที่ลากจูงขบวนรถตูใหแลนไปตามทิศทางที่หัวรถจักร พาไป ดังนัน้ ชีวติ ของแตละบุคคลจะเปนอยางไร ยอมขึน้ กับอวิชชาของ บุคคลนั้นวาคืออะไร ชีวิตที่ยงั ตองเวียนวายในวัฏสงสารทีไ่ มสามารถ หลุดพนจากกองทุกขได ก็เพราะอวิชชานีเ้ อง และจนกวาบุคคลไดรใู น 23


อริยสัจ 4 และนําวิชชาหรือความรูใ นอริยสัจ 4 เปนตัวนําในการดําเนิน ชีวติ แทน จึงจะสามารถหลุดพนจากกองทุกขได อวิชชาเปนตัวนําในการดําเนินชีวติ อยางไร ? เพือ่ ความเขาใจประเด็นนีใ้ หชดั เจน ขอเสนอใหมองเรือ่ งอวิชชา หรือความไมรใู นอริยสัจ 4 วา เปนความไมรวู า “อะไรคือปญหาทีแ่ ท จริ งของชีวิต พร อมทั้งสาเหตุ และอะไรคื ออุ ดมคติของชีวิต พรอมทั้งวิธีปฏิบัติเพื่ อเขาถึง” ซึ่งในที่นี้หมายรวมถึงความรูที่ไม ถูกตอง หรือความเขาใจผิดในเรือ่ งเหลานีด้ วย แนวทางการดําเนินชีวติ ของบุคคล มีตน เหตุมาจากเรือ่ งนีเ้ ปนสําคัญ คือเห็นวาอะไรทีเ่ ปนปญหา และอะไรทีเ่ ปนอุดมคติทแี่ ทจริงของชีวติ ยกตัวอยาง ในศาสนาบางศาสนาที่เปนเทวนิยม ไดสอนวา ปญหาของชีวติ คือความทุกขหรือการทีต่ องมาเผชิญกับปญหา ความ ลําบาก ความเจ็บปวด ความระหกระเหิน ความไมแนนอน และภัยอันตราย ตาง ๆ โดยไดแสดงถึงสาเหตุของปญหาวามาจากการถูกขับไลใหพน ไปจากแผนดินสวรรค เนือ่ งจากไปทําผิดดวยการกระทําอะไรบางอยาง ทีข่ ดั คําสัง่ ของพระเจา สําหรับเปาหมายหรืออุดมคติของชีวติ คือการได กลับไปอยูบนแผนดินสวรรค ที่ไมมีความทุกข มีแตความสุขอันเปน นิรนั ดร ซึง่ สามารถทําใหเกิดขึน้ ได ดวยการปฏิบตั ติ ามคําสอนของพระเจา ซึ่งไดเมตตาถายทอดผานทางศาสดาลงมา และเมื่อถึงวันพิพากษา ผูที่ปฏิบัติตามคําสอน จะไดรับกลับไปอยูบนแผนดินสวรรคในที่สุด บุคคลผูม ีทศั นะตอชีวติ เชนนี้ ยอมดําเนินชีวติ ไปตามคําสอนของพระศาสดาอยางเครงครัด ดวยความหวังวา จะไดรบั ผลคือเขาถึงอุดมคติ ของชีวติ ตามทีเ่ ชือ่ นี้ ในทีส่ ุด อีกตัวอยาง เชน บุคคลทีด่ ําเนินชีวติ อยูด ว ยการทรมานรางกาย 24


ทัง้ นีเ้ พราะมีความรูค วามเขาใจวา ปญหาชีวติ คือความทุกขทไี่ ดรบั มีสาเหตุ มาจากกรรมเกา การจะบรรลุเปาหมายหรืออุดมคติของชีวติ ก็ดวยการ ชดใชกรรมเกาใหหมดสิน้ ซึ่งหากบุคคลประสงคจะใหหมดสิน้ โดยเร็ว ก็ตอ งเรงการชดใชดว ยการทรมานกายใหมากขึน้ และหนักขึน้ ก็จะสามารถ สิน้ กรรมเกาไดเร็วขึน้ ดังนัน้ จึงไมแปลกใจทีท่ ําไมจึงมีบคุ คลยินดีในการ ทรมานรางกายตน ซึง่ เปนสิง่ ทีไ่ มนา ยินดีเลยสําหรับบุคคลโดยทัว่ ไป หรืออีกตัวอยาง บุคคลทีเ่ ห็นวาปญหาของชีวติ คือความทุกขที่ เกิดจากการขาดแคลนวัตถุสิ่งของที่เปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวติ หรืออํานวยความสะดวกสบายแกชีวติ ซึง่ มีสาเหตุสําคัญมาจากความ ยากจนและอุดมคติของชีวิตคือการมีวัตถุสิ่งของพรั่งพรอม ชีวิตของ บุคคลทีเ่ ห็นเชนทีว่ า นี้ จึงมุง แตการหาเงินเปนสําคัญ กลาวโดยสรุป ตราบใดที่บุคคลยังมีอวิชชา ไมรูในอริยสัจ 4 กลาวคือ ไมรถู งึ ปญหาทีแ่ ทจริงของชีวติ ซึง่ พระพุทธเจาตรัสสอนวา คือ อุปาทานขันธ 5 (ทุกขในอริยสัจ) ซึง่ มีสาเหตุมาจากตัณหาหรือความ ทะยานอยาก (สมุทยั ) และอุดมคติของชีวติ คือ ความดับสิน้ ไปแหงทุกข ซึง่ เขาถึงไดดวยการทําตัณหาใหหมดสิน้ ไป (นิโรธ) ดวยเครือ่ งมือหรือ การปฏิบตั ใิ นอริยมรรค มีองค 8 (มรรค) ยอมไมสามารถดําเนินชีวติ เพือ่ บรรลุอดุ มคติของชีวติ ทีท่ ําใหกองทุกขหมดสิน้ ไปไดเลย ดังที่อธิบาย ทําใหเห็นและเขาใจชัดเจนวา อวิชชาคืออะไร มี ความสําคัญอยางไร และเปนตนตอของกองทุกข ในอริยสัจทั้งหมด อยางไร ?  ตัณหา

มักจะอธิบายหรือใหความหมายสัน้ ๆ วา คือ ความทะยาน 25


อยาก พระไตรปฎก เลมที่ 4 ขอที่ 14 ไดแสดงความหมายของตัณหา ไววา “.... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ขอนี้แลเปนทุกขสมุทัยอริยสัจ คือ ตัณหา อันทําใหเกิดอีก ประกอบดวยความกําหนัด ดวยอํานาจความเพลิน มีปกติเพลิดเพลินในอารมณนั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา” แตในพระไตรปฎกเลมดังกลาว รวมถึงในพระสุตตันตปฎก ทัง้ หมด ไมไดอธิบายความหมายของตัณหาทัง้ 3 ไวแตอยางใด สําหรับคําอธิบายตัณหา 3 ทีป่ รากฏมากทีส่ ดุ ในแวดวงชาวพุทธ ไดใหความหมายของกามตัณหาวา คือความอยากในกาม ภวตัณหาคือ ความอยากเปน และวิภวตัณหาคือความอยากไมเปน ในพระไตรปฎกเลมที่ 35 ขอที่ 933 ซึง่ เปนพระอภิธรรมปฎก ไดใหความหมายของตัณหา 3 ไวอกี นัยหนึง่ วา กามตัณหา เปนความทะยานอยากในรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัสทางกาย หรือในกามคุณ 5 ภวตัณหา เปนความทะยานอยากทีจ่ ะเปนอยางใดอยางหนึง่ ซึง่ ประกอบดวยสัสสตทิฏฐิ คือความเห็นวาเทีย่ ง เห็นวามีตวั ตนคงอยู ตลอดไป วิภวตัณหา เปนความทะยานอยากทีจ่ ะพรากตัวตนจากความ เปนอยางใดอยางหนึ่งซึ่งประกอบดวยอุจเฉททิฏฐิ คือความเห็ นวา ตัวตนมีอยูเ ฉพาะเมือ่ ยังมีชวี ิต แตหากสิน้ ชีวติ เมือ่ ใดตัวตนจะขาดสูญ ไปทันที คําอธิบายทีป่ รากฏในพระอภิธรรมปฎกทีย่ กมา ยังนับวาเขาใจ ไดยาก และยังอาจมีขอถกเถียงไมนอยโดยเฉพาะในประเด็นของภวตัณหาและวิภวตัณหา เพราะโดยขอเท็จจริงสัสสตทิฏฐิและอุจเฉททิฏฐิ เปนความเห็นผิดทีต่ รงขามกัน ในบุคคลคนหนึง่ จึงไมสามารถมีสสั สตทิฐิ 26


และอุจเฉททิฏฐิพรอมกันได คําอธิบายดังกลาวนี้ จึงนําไปสูข อสรุปวา เรือ่ งตัณหา 3 ในชีวติ ของบุคคลคนหนึง่ จะเกิดขึน้ ไดเพียง 2 อยางเทานัน้ คือ กามตัณหา+ภวตัณหา หรือกามตัณหา+วิภวตัณหา ซึ่งมีบุคคล จํานวนไมนอยที่เห็นวาตัณหา 3 ควรจะเกิดขึ้นไดทั้งหมดในชีวิตของ แตละบุคคล มีขอ เสนอของผูเ รียบเรียงเกีย่ วกับการอธิบายกรณีของภวตัณหา และวิภวตัณหาอีกแบบหนึง่ กลาวคือ ทั้งภวตัณหาหรือความอยากที่ จะเปน และวิภวตัณหาหรือความอยากทีจ่ ะไมเปน สามารถเกิดซอนอยู ในสิ่งเดียวกันหรือเรื่องเดียวกันได เชน บุคคลอยากจะเกิดอีก หรือ อยากจะเปนอะไรอยางใดอยางหนึง่ (ภวตัณหา) แตกไ็ มอยากจะแกเจ็บ ตาย หรือพลัดพรากจากภาวะทีอ่ ยากจะเปนนั้น (วิภวตัณหา) ทั้งนี้เพราะ ในตัวชีวิตมีทั้ งความเกิด และความแก เจ็บ ตาย เปนตน ดํารงอยู รวมกัน ไมสามารถแยกขาดออกจากกันได จึงทําใหสามารถมีทงั้ ความ อยากทีจ่ ะเปนคือภวตัณหา และความอยากทีจ่ ะไมเปนคือวิภวตัณหา เกิดขึน้ ควบคูก ันทัง้ 2 อยางได  โลภะ โทสะ โมหะ

เปนคําศัพทอีกกลุมหนึ่ง ที่มักเขาใจคอนขางคลุมเครือ โดย เขาใจวาเปนเพียงภาวะของกิเลสทีเ่ กิดขึน้ ในใจ 3 ตัว คือ โลภ โกรธ หลง เท านั้ น อั นที่ จริ งพระพุ ทธเจ าได ตรั สแสดงว าเป นอกุ ศลมู ล ซึ่ งมี ความหมายวาเปนกิเลส 3 กลุม หรือ 3 ตระกูล โดยกิเลสทั้งหลาย เมือ่ นํามาจัดกลุม แลว ยอมจัดลงไดวา เปนกิเลสในกลุม ใดกลุม หนึง่ ใน 3 กลุมนี้ทั้งนั้น และเพื่อความเขาใจกิเลสกลุมนี้ใหชัดเจนยิ่งขึ้น ตองรู วากิเลสทัง้ 3 กลุม ลวนมีตนตอมาจากเวทนาหรือความรูส ึกที่รับรูเ ปน 27


สําคัญ กลาวคือ กิเลสในกลุม โลภะ เกิดมาจากการรับรูเ วทนาทีเ่ ปนสุข ซึ่งลักษณะหรืออาการของกิเลสในกลุม นี้ มีความยินดีพอใจ อยากได อยากครอบครอง หรืออยากดึงเขาหาตัว กิเลสในกลุม โทสะ เกิดมาจากการรับรูเ วทนาทีเ่ ปนทุกข ซึง่ ลักษณะหรืออาการของกิเลสในกลุม นี้ มีความไมยนิ ดี ไมพอใจ ขัด เคืองใจ หรืออยากผลักไสออกจากตัว กิเลสในกลุม โมหะ เกิดมาจากการรับรูเ วทนาทีเ่ ปนเฉย ๆ ซึง่ ลักษณะหรืออาการของกิเลสในกลุม นี้ มีความรูส ึกเฉย ๆ รับรูว น ๆ อยูกับสิง่ ที่รับรู ตัดสินใจไมถูกวาจะดึงเขาหาตัว หรือผลักไสออกจาก ตัวดี กิเลสในกลุม โลภะ เชน ราคะ ตัณหา อภิชฌา (เพงเล็งอยากได) นันทิ (ความเพลิน) อุปาทาน (ความยึดมัน่ ) ความกําหนัด ความติดใจ ความอาลัยอาวรณ ความกระหยิม่ ใจ ความรัก ความผูกพัน กิเลสในกลุม โทสะ เชน โกธะ (ความโกรธ) อิสสา (อิจฉา) มัจฉริยะ (ตระหนี)่ กุกกุจจะ (ความรําคาญใจ) ความกลัว ความเกลียด ความเครียด ความหงุดหงิด ความขัดเคือง ความขุน ใจ ความพยาบาท ความแคน ความคิดปองราย ความเหงา ความหดหู ความเศรา กิเลสในกลุมโมหะ เชน อวิชชา อุทธัจจะ (ความฟุงซาน) อหิริกะ (ความไมละอายชัว่ ) อโนตตัปปะ (ความไมกลัวบาป) วิจกิ ิจฉา (ความลังเลสงสัย)  นิพพิทา

มักจะอธิบายหรือใหความหมายสัน้ ๆ วา คือ ความหนาย หรือ 28


ความเบือ่ หนาย ซึง่ อาจทําใหเกิดความเขาใจที่ไมชดั เจน และเขาใจ ความหมายปนเปไปกับความเบื่อหนายที่ใชกัน ที่หมายถึงความรูสึก อิดหนาระอาใจ เหนื่อยหนาย ไมอยากตออารมณหรือสิ่งที่รับรู เชน เบือ่ งาน เบือ่ อาหาร เบือ่ โลก ซึง่ จัดเปนความรูส กึ ในฝายอกุศล การจะเขาใจความหมายของนิพพิทาตามทีพ่ ระพุทธเจาตรัส สอนไดอยางถองแท ขอนําพระพุทธพจนที่ตรัสถึงกระบวนธรรมทีเ่ ปน ขัน้ ตอนการปฏิบตั ไิ ปตามลําดับ ตามทีท่ รงแสดงไวในพระไตรปฎก เลมที่ 24 ขอที่ 208 โดยเริม่ ตนทีศ่ ีลทีเ่ ปนกุศล ศีลที่เปนกุศล เป นปจจัยทําใหเกิด อวิปปฏิสาร (ความไม เดือดรอน) ---> ปราโมทย (ความบันเทิงใจ) ---> ปติ (ความอิ่มใจ) ---> ปสสัทธิ (ความผอนคลายกายใจ) ---> สุข ---> สมาธิ ---> ยถาภูตญาณทัสสนะ (ปญญารูเ ห็นตามความเปนจริง) ---> นิพพิทา (ความ เบือ่ หนาย) ---> วิราคะ (ความคลายกําหนัด) ---> วิมตุ ติญาณทัสสนะ (ญาณรูว า ไดหลุดพน) จะเห็นไดวาการจะเกิดนิพพิทาไดนั้น จะตองมียถาภูตญาณทัสสนะคือปญญารูเห็นตามความเปนจริงเกิดขึน้ กอน ซึง่ ในทีน่ ี้คือรูวา ชีวิตทุกขและชีวิตที่พนทุกข ตลอดจนวิถีการดําเนินชีวิตที่ทําใหเกิด ทุกขและพนทุกข เปนอยางไร และแตกตางกันอยางไร จึงทําใหเกิด นิพพิทา คือความเบือ่ หนายหรือไมยินดีทจี่ ะเวียนวายอยูใ นชีวิต ทุกขอีกตอไป แตกลับจะดําเนินชีวิตที่มงุ ไปสูความพนทุกข คือการ คลายกําหนัด (วิราคะ) หรือละถอนความยึดมัน่ ถือมัน่ ทัง้ ปวง เมือ่ ทําได สําเร็จก็จะเกิดวิมตุ ติญาณทัสสนะ คือญานรูว าไดประสบความสําเร็จ คือบรรลุความหลุดพนแลวในทีส่ ดุ 29


3. ใหความหมายไมตรงบริบท เพราะมีหลายความหมาย ปญหาเรือ่ งศัพทธรรมะในประเด็นที่ 3 คือการใหความหมายที่ ไมตรงกับบริบท ทัง้ นีเ้ พราะศัพทธรรมะคํานัน้ มีหลายความหมาย หาก ใชผดิ ความหมาย ก็ยอ มทําใหเขาใจผิดหรือคลาดเคลือ่ นจากความหมาย ทีป่ ระสงคได ศัพทธรรมะในกลุม นี้ อาทิคําวา  สังขาร (สังขารขันธ , สังขารในปฏิ จจสมุปบาท, สังขารธรรม)  อุเบกขา (อุเบกขาเวทนา, อุเบกขาพรหมวิหาร, อุเบกขาสัมโพชฌงค)  สติ (สติ, สัมมาสติ, สติปฏ  ฐาน, สติสมั โพชฌงค, สตินทรีย, สติพละ)  ทุกข (ทุกขในอริยสัจ, ทุกขในเวทนา, ทุกขในไตรลักษณ)  สังขาร

เปนคําทีม่ ีความหมายกวางขวาง โดยทั่วไปมีความหมายวา การปรุงแตง หรือ สิง่ ปรุงแตง หรือใชหมายถึง รางกาย ก็ได การจะรู ความหมายใหตรงกับวัตถุประสงคจริง ๆ จําเปนตองดูบริบทของคําใน ขอความ หรือดูคําขยายที่อยูขางหนาหรือขางหลัง คําในกลุมนี้ เชน สังขารขันธ, สังขารในปฏิจจสมุปบาท และสังขารธรรม 

สังขารขันธ

เปนองคประกอบหนึง่ ของชีวติ ทีจ่ ําแนกเปนขันธ 5 กลาวคือ (1) รูปขันธ เปนองคประกอบในฝายกายหรือฝายรูปธรรม และ (2) เวทนา30


ขันธ คือความรูส ึกสุข ทุกข เฉยๆ (3) สัญญาขันธ คือความจําไดและ หมายรู (4) สังขารขันธ คือความคิดปรุงแตง และ (5) วิญญาณขันธ คือความรูแ จงในอารมณที่รับรู ซึง่ เปนองคประกอบในฝายจิตหรือฝาย นามธรรม ที่วาสังขารขันธนี้ หมายถึงความคิดปรุงแตงนั้น อธิบายให ชัดเจนยิง่ ขึน้ คือความคิดหรือเจตจํานงทีม่ งุ กระทําตอสิง่ ทีร่ บั รู เชน รับรู วาเปนสุขเปนสิง่ ทีน่ า ปรารถนา ก็คดิ อยากจะไดอยากจะเอา แตหากรับรู วาเปนทุกขเปนสิง่ ทีไ่ มนา ปรารถนา ก็คดิ จะทิง้ หรือจะทําลาย เปนตน 

สังขารในปฏิจจสมุปบาท

ในกระแสปฏิจจสมุปบาท ไดแสดงวงจรการเกิดขึน้ ของความ ทุกขเปน 11 อาการ 12 องคธรรม ดังตอไปนี้ อวิชชา --> สังขาร --> วิญญาณ --> นามรูป --> สฬายตนะ --> ผัสสะ --> เวทนา --> ตัณหา --> อุปาทาน --> ภพ --> ชาติ--> ชรามรณะ ฯลฯ โดยสังขารในปฏิจจสมุปบาท ในพระไตรปฎก เลมที่ 16 ขอที่ 16 ไดใหอรรถาธิบายไววา “.... ก็สังขารเปนไฉน สังขาร 3 เหลานี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร จิตสังขาร นี้เรียกวาสังขาร ฯ” ซึ่งในแวดวง พระพุทธศาสนาไดใหคําอธิบายไวคอ นขางหลากหลาย เช น ให ความหมายว า คือ เจตนา ซึ่ งพระพุ ทธเจ าไดตรัส วาคือตัวกรรม ทีแ่ สดงออกมาทางกายบาง วาจาบาง หรือใจบาง หรื อหากนํา เอาเฉพาะคํา กายสั งขาร วจี สั งขาร และจิ ตสังขาร ทีม่ ีแสดงไวในพระสูตรตาง ๆ ในพระไตรปฎก มาพิจารณาก็จะ ไดความหมายวา กายสังขาร คือสภาพที่ปรุงแตงกาย ไดแก ลมหายใจ เขาออก ; วจีสงั ขาร คือสภาพทีป่ รุงแตงวาจา ไดแก วิตกเจตสิก ; จิต31


สังขาร คือสภาพทีป่ รุงแตงจิต ไดแกเวทนาและสัญญา ในความเห็นของผูเ รียบเรียง เห็นวาสามารถใหความหมายอีกนัย หนึง่ วา เปนพฤติทางกาย วาจา และใจ หรือลักษณะการแสดงออก ทางกาย วาจา และใจทีส่ งั่ สมจนเปนอุปนิสยั ของบุคคล กลาวคือ มี การกระทําทางกาย รวมถึงอากัปกิรยิ า คําพูด และความรูส กึ นึกคิดทีเ่ ปน เอกลักษณของแตละบุคคล แตพฤติเหลานี้มสี งิ่ ทีเ่ หมือนกันอยางหนึง่ คือลวนปรุงแตงไปตามอวิชชา และนําไปสูท กุ ขในอริยสัจในทีส่ ดุ 

สังขารธรรม

คํา สังขารธรรม หมายถึงสิ่งปรุงแตง หรือสิ่งที่มีปจ จัยปรุง แตง ดังนั้น จึงเปนสิ่งทีด่ ํารงอยูในลักษณะ เกิดขึน้ ตั้งอยู และดับไป หรืออยูใ นภาวะทีก่ ําลังเปลีย่ นแปลง (อนิจจัง) ทนอยูใ นสภาพเดิมไมได (ทุกขั ง) อยู ตลอดเวลา เป นคําที่ มีความหมายกินความกว างขวาง หมายรวมถึงสิง่ ทีเ่ ปนรูปธรรมและนามธรรมไดทงั้ หมด มีคําตรงขามคือ วิสงั ขารธรรม ซึง่ หมายถึงสิง่ ทีป่ ราศจากการปรุงแตง หรือ ไมมีปจ จัย ปรุงแตง จึงมีลกั ษณะทีต่ รงกันขามกับสังขารธรรม กลาวคือมีลักษณะ ทีไ่ มมกี ารเปลีย่ นแปลง (นิจจัง) คงตัวอยูใ นสภาพเดิมตลอดเวลา (สุขงั ) แตทั้งสังขารธรรมและวิสังขารธรรม ลวนไมใชตัวตน (อนัตตา) เพราะ ไมตกอยูใ นอํานาจการบังคับของใคร ๆ  อุเบกขา

โดยปกติหากคํา อุบกขา อยูลําพังโดด ๆ ไมสามารถที่จะ ใหความหมายที่ชัดเจนได จําเปนตองดูบริบทที่แวดลอม แตหากจะ ใหมคี วามหมายทีช่ ัดเจนจริงๆ ก็จะตองมีคําขยายซึง่ มักจะอยูต อทาย 32




อุเบกขาเวทนา

ดังทีไ่ ดกลาวไปแลวในการอธิบายคําศัพท “เวทนา” วาจําแนก ไดเปน 3 ประเภท คือ ความรูส กึ ทีเ่ ปนสุข ทุกข และเฉย ๆ อุเบกขาเวทนา ก็คือความรูสึกเฉย ๆ ที่เกิดขึ้นจากการสัมผัสรับรูอารมณนั่นเอง ซึ่ง พิจารณาไดจากปฏิกยิ าทีเ่ กิดขึน้ กลาวคือ หากเปนสุขเวทนา จะเกิดความยินดีพอใจ หากเปนทุกขเวทนา จะเกิดความไมยนิ ดีไมพอใจ หากเปนอุเบกขาเวทนา จะเกิดความรูส กึ เฉยๆ ไมมีทงั้ ความ ยินดีพอใจ หรือความไมยนิ ดีไมพอใจ 

อุเบกขาพรหมวิหาร

อุเบกขาพรหมวิหาร เปนหัวขอธรรมขอหนึง่ ในหมวดธรรม ที่เรียกวาพรหมวิหาร 4 ซึง่ เปนหลักธรรมสําหรับความเปนผูใ หญ หรือ ผูท มี่ ีใจอันประเสริฐ การจะเขาใจวาอุเบกขาพรหมวิหารคืออะไร จําเปน ตองเขาใจหัวขอธรรมแตละขอในพรหมวิหาร 4 เสียกอน ซึง่ จําแนกเปน เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา การจะเลือกใชหัวขอธรรมใดของ พรหมวิหาร 4 นั้น อันทีจ่ ริงขึน้ อยูก ับสถานการณที่กาํ ลังเผชิญอยูเ ปน สําคัญ ในสถานการณปกติหรือสถานการณทวั่ ไป จะใชหรือดํารง ตนอยูด ว ย เมตตา คือความปรารถนาดีเปนหลัก ซึง่ จะทําใหเกิดความรัก ความเปนมิตร และความสามัคคีในหมูค ณะ ในสถานการณทมี่ ีความทุกขความเดือดรอนเกิดขึน้ ก็ใช กรุณา คือความปรารถนาที่จะชวยใหพนทุกข คือลงมือหรือหยิบยื่น ความชวยเหลือตาง ๆ ใหตามความเหมาะสม ซึง่ นอกจากจะชวยปดเปา 33


หรือบรรเทาความเดือดรอนใหแกบุคคลในหมูคณะใหคืนสูความเปน ปกติสุขแลว ยังทําใหเกิดความซาบซึง้ ใจและความผูกพันกันแนนแฟน ยิง่ ขึน้ ในสถานการณ ที่ มีบุ คคลในหมู คณะที่ ได ดีไดรั บรางวัล หรือไดรบั เกียรติหรือความยกยองเปนพิเศษ ก็ใช มุทติ า คือมีใจรวมยินดี ในความสุขความเจริญและเกียรติที่ไดรบั ซึ่งนอกจากจะปองกันไมให เกิดความอิจฉาริษยา หรือการขัดแขงขัดขากันเองแลว ยังทําใหเกิด กําลังใจและแรงบันดาลใจทีจ่ ะทําความดีและสิง่ ทีม่ ีคณ ุ ประโยชนยงิ่ ๆ ขึ้น  หา จะตองใช และในสถานการณทตี่ องตัดสินหรือแกปญ อุเบกขา ซึง่ ในทีน่ ี้คือการวางใจทีเ่ ปนกลาง ใหมั่นอยูก ับความถูกตอง และตัดสินกระทําสิง่ ตาง ๆ อันควรใหเปนไปตามความถูกตอง โดยไม เอนเอียงตอหมูค ณะดวยความไมชอบธรรม ทัง้ นีเ้ พือ่ ธํารงความถูกตอง ใหคงเปนหลักในการดํารงอยูของหมูคณะ เพื่อความวัฒนาถาวรอัน ยัง่ ยืนตลอดไป หรือในบางกรณีทตี่ องการใหบุคคลหรือหมูค ณะไดฝกฝนและ ้ อ่ ใหบคุ คลหรือหมูค ณะ หาประสบการณ ก็จาํ เปนตองใช อุเบกขา ทัง้ นีเพื ไดเรียนรูแ ละฝกฝนดวยตนเองอยางแทจริง หรือในกรณีทยี่ งั ไมสามารถหาวิธที เี่ หมาะสมทีจ่ ะนําไปใชหรือ จัดการกับเรื่องราวทีเ่ กิดขึน้ ได ก็จําเปนตองใช อุเบกขา ซึ่งในที่นคี้ ือ คอยดูหรือคอยหาขอมูลใหเพียงพอเสียกอน และในทีส่ ดุ หากไมสามารถ ทําอะไรไดจริง ๆ ก็ใหใช อุเบกขา คือการวางเฉยตอเรือ่ งนัน้ ๆ เพื่อ รักษาจิตไมใหถกู กระทบและทําใหเกิดความเดือดรอนหรือวุน วายใจ 34




อุเบกขาสัมโพชฌงค

สําหรับอุเบกขาสัมโพชฌงค เปนอุเบกขาทีอ่ ยูใ นหมวดธรรม คือโพชฌงค 7 ซึง่ เปนหลักธรรมเพือ่ การตรัสรู การจะเขาใจในอุเบกขาสัมโพชฌงค จําเปนตองรูจ กั กระบวนการทํางานของโพชฌงค ทัง้ 7 กอน หลักธรรมโพชฌงค 7 ทีท่ ําหนาทีต่ อ เนือ่ งกันเปนกระบวนธรรม มี 7 ขอ คือ สติสัมโพชฌงค ธัมมวิจยสัมโพชฌงค วิริยสัมโพชฌงค ปติสัมโพชฌงค ปสสัทธิสัมโพชฌงค สมาธิสัมโพชฌงค อุเบกขาสัมโพชฌงค การทํางานของโพชฌงค 7 ซึง่ มีจดุ มุง หมายคือการตรัสรูห รือ รูแ จงเห็นจริงในสิง่ ทีป่ ระสงคนั้น เริม่ ตนทีส่ ติสัมโพชฌงคกอน กลาวคือ สติจะเสาะหาในสวนทีเ่ ปนผล วาอะไรคือปญหาหรือประเด็นทีต่ องการ คนหาความจริง จากนั้นธัมมวิจยสัมโพชฌงคจะทําหนาที่สืบคนหา สาเหตุหรือทีม่ าทีไ่ ปของปญหา ซึง่ ในระหวางนีจ้ ะตองมีวริ ยิ สัมโพชฌงค มาทําหนาทีร่ กั ษาหรือประคับประคองการทําหนาทีข่ องสติสมั โพชฌงค และธัมมวิจยสัมโพชฌงคใหมคี วามตอเนื่อง ไมใหขาดตอน และหาก ประสบความสําเร็จในการคนหาจนรูแจงเห็นจริงในประเด็นปญหาที่ หยิบยกมาเพื่อพิจารณาเมื่อใด จะมีปติสัมโพชฌงค คือความอิ่มใจ เกิดขึน้ ซึง่ เปนเครือ่ งหมายบอกถึงการประสบความสําเร็จ ตอจากนัน้ ทัง้ กายและจิ ตจะสงบระงั บผอนคลายเปน ปสสั ทธิ สัม โพชฌงค จิตใน ขณะนี้จะมีความแนวแนและตัง้ มัน่ เปนอยางยิง่ เปนสมาธิสัมโพชฌงค และถึงที่สุดคือมีใจวางเฉยเปนอุเบกขาสัมโพชฌงค กลาวคือบุคคลจะ ไมถกู กระทบหรือรบกวนใด ๆ จากปญหานีอ้ กี ตอไป ในกรณีที่โพชฌงคทํางานไมสําเร็จ กลาวคือไมมาถึงปติสัม35


โพชฌงค และหากเวลาไมอาํ นวย ก็อาจจําเปนตองหยุดการเจริญโพชฌงค7 ไวชวั่ คราวกอน โดยอาศัยอุเบกขาสัมโพชฌงค ซึง่ ในทีน่ คี้ ือการวางเฉย ไวชวั่ คราว ทั้งนีเ้ พราะหากไมวางเฉยไวกอน เรื่องราวของปญหาอาจ วนเวียนรบกวนจิตใหกงั วลและวุน วายจนไมเปนอันทําอะไรได  สติ

สติ เปนอีกคําหนึง่ ทีมี่ ความหมายกวางขวาง เปนเครือ่ งมือสําคัญ ทีข่ าดไมได และจําเปนตองใชในทุกเรือ่ งทุกขัน้ ตอนในการดํารงอยูข อง ชีวิต เพื่อใหชีวิตดําเนินไปดวยความราบรื่น ปลอดภัย และสามารถ พัฒนาไปจนถึงเป าหมายสู งสุด สมดั งพุทธศาสนสุภาษิตที่ วา สติ สพฺพตฺถ ปตฺถยิ า ซึง่ แปลวา “สติจําปรารถนาในทีท่ งั้ ปวง” หลักธรรมในพระพุทธศาสนามีคําศัพทที่ เกี่ยวของกับ “สติ” อยูห ลายคํา เชน สติ สัมมาสติ สติปฏ ฐาน 4สติสมั โพชฌงค สตินทรีย และสติพละแตละคํามีความหมายกวางแคบและจุดเนนทีแ่ ตกตางกัน การทําความเขาใจใหชดั เจนถึงความหมายตาง ๆ จะชวยทําใหการศึกษา และปฏิบตั ิในเรือ่ งสติ ไดรับประโยชนและทําใหบังเกิดผลทีค่ รอบคลุม ตรงตามวัตถุประสงคทแี่ ทจริงอีกดวย ความหมายของ สติ ตามหลักพระพุทธศาสนาทีใ่ ชมากทีส่ ุด คือความระลึกได มีความหมายวา ความสามารถในการระลึกตออารมณ หรือสิง่ ทีร่ ับรู ไดอยางถูกตอง โดยเฉพาะระลึกไดวา อะไรเปนอะไร ประเด็นทีว่ า ระลึกไดวาอะไรเปนอะไร นี้ เปนความหมาย หลักและสําคัญทีส่ ุดของสติ กลาวคือ สามารถระลึกได วาอารมณที่ ระลึกอยูนนั้ คืออะไร? เปนคุณและประโยชน หรือ เปนโทษและกอให เกิดปญหาความเดือดรอน เพื่อจะไดทําหนาที่และจัดการแกอารมณ 36


นัน้ ๆ ไดอยางถูกตอง สมดังพระพุทธพจนทตี่ รัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 18 ขอที่ 342 โดยเปรียบ สติ เปนเสมือนนายประตูเมืองผูฉลาด เฉียบแหลม มีปญญา คอยหามคนทีต่ นไมรจู ัก อนุญาตใหคนที่ ตนรูจ กั เขาไปในเมืองนัน้ จากอุปมาขางตน ไดชวยทําใหรจู ักสติและบทบาทหนาที่ของ สติดียงิ่ ขึ้น ดวยการนึกถึงบานทีม่ ีและไมมีคนคอยเฝาอยูท ี่ประตูวา จะ ชวยอํานวยใหความปลอดภัยแกบา นตางกันอยางไร การมีสติคอยเฝา อยูท ปี่ ระตูทางเขาทีค่ อยรับรูอ ารมณตา งๆ คือทีต่ า หู จมูก ลิน้ กาย และใจ และทีป่ ระตูทางออก คือกาย วาจา และใจ จะชวยทําใหเกิดความปลอดภัย แกชวี ติ อยางไร 

สัมมาสติ

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนานอกจากใชคําวา “สติ” แลวยัง มีคาํ วา สัมมาสติ อีกคําหนึง่ คํา สัมมาสติ ที่ใชนี้ ก็เพื่อใหเห็นความแตกตางกับคํา สติ (เฉย ๆ) ชัดเจนยิง่ ขึน้ กลาวคือ สัมมาสติมีความมุง หมายใหเปนสติ ทีจ่ ะนําไปสูค วามดับทุกขดบั กิเลสโดยเฉพาะ เปนสติทไี่ มประกอบ ดวยความรูส ึกยินดีหรือยินราย และไมเนื่องดวยความรูส ึกที่เปนตัวตน สวนสติ (เฉย ๆ) มีความมุง หมายใหไดรับสิง่ ทีด่ ีทเี่ ปนคุณเปนประโยชน แกชวี ติ เปนสําคัญ เปนสติทยี่ งั ประกอบอยูก บั ความรูส กึ ยินดีหรือยินราย และเนื่องอยูกบั ความรูสกึ ทีเ่ ปนตัวตนได สมดังพระพุทธพจนที่ตรัสไว ในพระไตรปฎก เลมที่ 10 ขอที่ 299 วา “สัมมาสติ เปนไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นกาย ในกายอยู (เวทนา, จิต และธรรม) มีความเพียร มีสมั ปชัญญะ มีสติ 37


กําจัดอภิชฌา (ความโลภหรือความยินดี) และโทมนัส (ความทุกขใจ หรือความยินราย) ในโลกเสียได อันนีเ้ รียกวา สัมมาสติ ฯ” 

สติปฏฐาน 4 (ในมหาสติปฏ ฐานสูตร)

หลักธรรมในพระพุทธศาสนา มีศัพทธรรมะซึง่ มีนัยใกลเคียง กันมาก แตไมเทากันเสียทีเดียว คือคําวา สัมมาสติ และ สติปฏ ฐาน 4 ซึง่ สอนใหมีสติตามพิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เชนเดียวกัน แตใน กรณีของสติปฏฐาน 4 มีการสอนวิธปี ฏิบัติในกาย เวทนา จิต ธรรม ในแตละฐานที่ละเอียดลงไปดวย เชน พิจารณากาย 6 หมวด, เวทนา 9 ประเภท, จิต 16 ประเภท และธรรม 5 หมวด ความแตกตางทีส่ าํ คัญระหวาง สัมมาสติ และ สติปฏ ฐาน 4 สามารถสรุปเปนประเด็นไดดงั นี้ * สัมมาสติเปนธรรมขอยอยขอหนึ่ง อยูในหมวดธรรมคือ อริยมรรคมีองค 8 ซึง่ จัดเปนโพธิปก ขิยธรรม หรือธรรมทีเ่ ปนฝกฝายแหง การตรัสรูห มวดหนึง่ ; สวน สติปฏฐาน 4 จัดเปนหมวดธรรมหมวดหนึง่ ทีเ่ ปนโพธิปก ขิยธรรมเลยทีเดียว * สัมมาสติ ถูกจัดใหอยูใ น สมาธิขนั ธ ; สวนสติปฏ ฐาน 4 หาก จะจัดควรอยูใ นสมาธิขันธและปญญาขันธ * เนือ่ งจากสัมมาสติ เปนองคประกอบหนึง่ ในอริยมรรค มีองค 8 ซึง่ มีรายละเอียดของการปฏิบตั ิอยูใ นองคมรรคขออืน่ ๆ อยางพรอมมูล แลว ในกรณีสัมมาสติจึงเนนในเรือ่ งคุณภาพของสติก็เพียงพอ โดยไม จําเปนตองแจกแจงการปฏิบตั ิในแตละหัวขอของกาย เวทนา จิต ธรรม โดยละเอียดดังเชนในกรณีของสติปฏฐาน 4 38


* ในกรณีสมั มาสติเพียงอยางเดียว ไมสามารถทําใหบรรลุเปน พระอริยบุคคลในระดับตาง ๆ ได ตองรวมกับองคมรรคขออืน่ ๆ ใหครบ ถวน จึงจะนําไปสูก ารบรรลุธรรมได ; สวนในกรณีของสติปฏฐาน 4 มี การใหหลักประกันหรือพยากรณผลการปฏิบัตไิ วดวยวา หากปฏิบตั ิได ถูกตอง อยางชา 7 ป อยางกลาง 7 เดือน และอยางเร็ว 7 วัน ผูป ฏิบตั ิ จะบรรลุเปนพระอรหันต หรืออยางต่าํ บรรลุเปนพระอนาคามี 

สติสัมโพชฌงค

สติสัมโพชฌงค จัดอยูใ นหมวดธรรม คือ “โพชฌงค 7” ซึง่ เปนองคแหงการตรัสรู (โปรดดูรายละเอียดทีไ่ ดอธิบายไวในหนา 35) สติสัมโพชฌงค ที่แตกตางจากสัมมาสติ และสติปฏฐาน 4 คือเปนสติที่ทาํ หนาทีเ่ พือ่ ใหเกิดปญญา หรือความรูแ จง หรือการตรัสรู โดยเฉพาะ การจะทําใหเกิดปญญารูแจงในเรื่องใด สติสัมโพชฌงค จะทําหนาทีก่ อนในการคนหาหรือจับประเด็นของปญหาใหไดเสียกอน จากนันธั ้ มมวิจยั สัมโพชฌงคจะทําหนาทีต่ อเพือสื ่ บคนหาสาเหตุหรือทีมาที ่ ไป ่ ของปญหานัน้ ๆ ตอจากนัน้ โพชฌงคขอ อืน่ ๆ จะทําหนาทีร่ วมกันไป ตามลําดับ จนในทีส่ ดุ จะเกิดปญญารูแ จงเห็นจริงในเรือ่ งทีส่ ติสมั โพชฌงค หยิบยกขึน้ มาพิจารณา 

สตินทรีย และ สติพละ

ในเรือ่ ง “สติ” ยังมีคําศัพทอกี 2 คําทีค่ วรทําความเขาใจ คือ สตินทรีย ซึ่งมีความหมายวา สติที่เปนใหญ และ สติพละ ซึ่งมี ความหมายวา สติทเี่ ปนพลัง หลักการในพระพุทธศาสนา ขอธรรมตาง ๆ ที่แสดง หากจะ 39


สามารถนํามาใชงานใหไดผลจริง จะตองบมใหมีความเปนใหญ ให เติบใหญในระดับหนึ่งเสียกอน จึงจะมีพลังมากพอที่จะนําไปใชงาน ในเรือ่ งนีม้ อี ปุ มาเปรียบไดกบั การเลีย้ งแมวเพือ่ จับหนู หากแมวยังตัวเล็ก หรือเปนลูกแมวอยูก ไ็ มสามารถจับหนูได จําเปนตองเลีย้ งใหตวั ใหญขนึ้ กอน จึงจะมีความสามารถทีจ่ ะจับหนูได ในกรณีของสติหรือขอธรรม อืน่ ๆ ก็เชนกัน พระพุทธเจาทรงสอนใหมี ภาวิตา พหุลกี ตา คือทําให มาก ๆ ฝกฝนอบรมใหมาก ๆ ทําใหตอเนือ่ ง จึงจะทําใหสติหรือขอธรรม นัน้ ๆ แกกลา เติบใหญ เปน อินทรีย คือมีความเปนใหญในการทําหนาที่ จึงจะเปน พละ คือมีพลังทีจ่ ะไปกระทําตอสิง่ ตาง ๆ ใหบรรลุผลและประสบ ความสําเร็จไดในทีส่ ดุ  ทุกข

หลักธรรมในพระพุทธศาสนา แสดงเรื่องทุกข วามี 3 ประเภท ใหญ ๆ คือ ทุกขในอริยสัจ, ทุกขในเวทนา และทุกขในไตรลักษณ ซึ่งทุกขทั้ง 3 ประเภทนี้มีความสัมพันธกันอยางใกลชิด และนับเปน เรือ่ งใหญทสี่ ุดในพระพุทธศาสนาเลยทีเดียว ความสําคัญยิง่ ของทุกขในอริยสัจ พิจารณาไดจากทีพ่ ระพุทธเจาตรัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 24 ขอ 76 วา การบังเกิดของพระพุทธเจา ตลอดจนถึงพระธรรมวินัยทีต่ รัสสอน ที่มีความหมาย มีความจําเปน และมีความรุง เรืองในโลก ก็เพราะมีทกุ ขในอริยสัจปรากฏอยูใ นธรรมชาติ การบังเกิดของพระพุทธเจารวมทัง้ พระธรรมวินัยที่ตรัสสอน อันที่จริง ก็เพือ่ นําบุคคลไปสูค วามหลุดพนจากทุกขในอริยสัจนีเ้ อง สําหรับ ความสําคัญของทุกขในเวทนา พิจารณาไดจาก พระไตรปฎก เลมที่ 20 ขอที่ 501ที่ตรัสไววา 40


“เราบัญญัตวิ า นีท้ ุกข นี้เหตุใหเกิดทุกข นีค้ วามดับทุกข นีข้ อ ปฏิบัตใิ หถงึ ความดับทุกข แกบุคคลผูเ สวยเวทนาอยู” หมายความวาหากไมมี เวทนา ปรากฏในธรรมชาติของชีวติ กลาวคือบุคคลไมวา จะทํา พูด คิด หรือถูกกระทําใด ๆ ก็ตามแลว ไมมี สิง่ ทีเ่ รียกวาทุกขในเวทนา หรือความรูส ึกที่เปนทุกข ทั้งที่เปนทุกขทาง กายหรือทางใจใด ๆ เกิดขึ้ น เรื่องอริยสัจที่ พระพุทธเจาตรัสรูก็ไมมี ความหมายเชนกัน แตเนื่องจากทุก ๆ การกระทํา คําพูด การนึกคิด ลวนมีผลเปนเวทนาหรือความรูส กึ เกิดขึน้ ตามมา พระธรรมทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสสอน จึงมุง ทีจ่ ะทําใหไมเกิดผล เปนความทุกขในเวทนา โดยเฉพาะ ทีเ่ ปนทุกขเวทนาทางใจ สุดทายคือ ความสําคัญของทุกขในไตรลักษณ ซึง่ เปนกฎ ธรรมชาติขอ 1 ใน 3 ของไตรลักษณทคี่ วบคุมความเปนไปของสิง่ ตาง ๆ ทีม่ ปี จ จัยปรุงแตงกลาวคือ อนิจจัง (ความเปลีย่ นแปลง) ทุกขัง (ทนอยู ในสภาพเดิมไมได) และอนัตตา (ไมใชตวั ตน ไมอยูใ นอํานาจการบังคับ ของใคร ๆ) เปนกฎธรรมชาติทตี่ อ งเรียนรูแ ละเขาถึง เพือ่ ใชเปนเครือ่ งมือ สําหรับการดับทุกขในอริยสัจโดยเฉพาะ เพื่อความเขาใจความทุกขในประเภทตางๆ ใหชัดเจนยิ่งขึ้น จึงขอนํามาอธิบายโดยสรุปอีกครัง้ หนึง่ ดังนี้ 

ทุกขในอริยสัจ

เปนทุกขทเี่ กิดขึน้ จากอุปาทานหรือความยึดมัน่ ถือมัน่ ในขันธ 5 โดยสรุป คือยึดมัน่ ตองการใหไมเปลีย่ นแปลง (นิจจัง) ใหคงอยูใ นสภาพ เดิม (สุขงั ) และอยูใ นอํานาจการบังคับของตน (อัตตา) ทุกขในอริยสัจ จึงเปนทุกขทเี่ กิดจากความขัดแยงของความยึดมัน่ ถือมัน่ กับความเปน 41


จริงของธรรมชาติที่วาสิ่งตาง ๆ ที่มีปจ จัยปรุงแตงดํารงอยูในสภาพที่ เปลีย่ นแปลง (อนิจจัง) ทนอยูใ นสภาพเดิมไมได (ทุกขัง) และไมอยู ในอํานาจการบังคับของตน (อนัตตา) จึงเปนทุกขทางใจทีส่ ามารถดับ ใหหมดสิน้ ได ดวยการดับอุปาทานใหหมดสิน้ 

ทุกขในเวทนา

เปนทุกขทเี่ กิดขึน้ จากการกระทบกันของอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิน้ กายประสาท และใจ กับอายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิน่ รส สิ่ง สัมผัสทางกาย และสิ่ งที่ รูทางใจ หรือกลาวไดว าเปนรสชาติ ที่เกิดขึ้นจากการสัมผัสรับรูตอสิ่งตาง ๆ ในกรณีของทุกขเวทนานั้ น บุคคลสามารถดับได อยางเด็ดขาดเฉพาะทุกขเวทนาทางใจเทานั้ น ไมสามารถดับทุกขเวทนาทางกายใหเด็ดขาดไดเลย 

ทุกขในไตรลักษณ

เปนสามัญลักษณะประการหนึ่งในสามของสิ่งที่เปนสังขารธรรมหรือสิง่ ทีม่ ีปจ จัยปรุงแตง เรียกอีกชือ่ หนึง่ วา ทุกขัง หมายถึงสภาพ ที่ทนอยูใ นสภาพเดิมไมได เปนทุกขทบี่ ุคคลตองรูจกั และเขาถึง เพื่อใช เปนเครือ่ งมือนําไปดับทุกขในอริยสัจโดยเฉพาะ ความสัมพันธของทุกขทงั้ 3 ประเภท คือ เพราะไมรคู วามจริง วาสิง่ ตาง ๆ ลวนตกอยูภ ายใตกฎไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงไปหลงและยึดมัน่ ในเวทนาทีเ่ กิดขึ้นจากการสัมผัสรับรูตอสิง่ ตาง ๆ โดยอยากใหเวทนาทั้งหลายเปนไปดังใจ คือตองการใหเปน นิจจัง สุขงั อัตตา จึงทําใหเกิดทุกขในอริยสัจขึน้ 42


4. ใหความหมายทีค่ ลาดเคลือ่ น ไมตรงจุด หรือไมครบถวน ปญหาเรือ่ งศัพทธรรมะในประเด็นสุดทาย คือการใหความหมาย ที่คลาดเคลือ่ น ไมตรงจุด หรือไมครบถวน จึงทําใหไมไดรับประโยชน อยางเต็มเม็ดเต็มหนวย หรือไมทาํ ใหบังเกิดผลลัพธอยางทีค่ วรจะเปน ศัพทธรรมะในกลุม นี้ เชน  โลก / ธรรม และ โลกียะ / โลกุตตระ  ปฏิบต ั ิธรรม  ศีล  สมาธิ  ปญญา  โลก / ธรรม และ โลกียะ / โลกุตตระ

ประเด็น โลก / ธรรม เปนปญหาความเขาใจทีค่ ลาดเคลือ่ น อยางกวางขวางประเด็นหนึง่ ไมเฉพาะกับบุคคลทัว่ ไปเทานั้น แมแต ในแวดวงพุทธบริษทั เอง ก็ยงั มีความเขาใจทีค่ ลาดเคลือ่ นไมนอ ย ประเด็นความเขาใจคลาดเคลือ่ นทีส่ าํ คัญ คือ การแยกโลก และธรรมออกจากกันโดยเด็ดขาด โดยมองวาโลกเปนอยางหนึ่ง และธรรมเปนอีกอยางหนึง่ ทีแ่ ตกตางจากกัน และไมเกีย่ วของกัน ความเขาใจดังวานี้ จึงเปนสาเหตุสําคัญทําใหบุคคลผูท ี่ชอบ ทางโลก ก็จะยังไมสนใจหรือมาศึกษาและปฏิบัติในเรือ่ งที่เห็นวาเปน ธรรม และยังอาจรูส กึ เลยเถิดไปวาหากมาสนใจในทางธรรมมากเกินไป จะทําใหขาดความกระตือรือรนในการทํามาหากิน ทําใหตามเลหเ หลีย่ ม ของบุคคลทีอ่ ยูใ นทางโลกไมทัน และทําใหถกู เอาเปรียบไดงาย เปนตน 43


สวนบุคคลผูท ี่ชอบในทางธรรม ก็อาจปลีกตัวไมสนใจกับงาน หรือเรือ่ งราวทีเ่ ห็นวาเปนทางโลก หรือหากไมสามารถปลีกตัวไปไดเพราะ มีงานรัดตัว ก็จะรูส กึ โหยหา หรือพร่ําบนวาไมมเี วลาทีจ่ ะปฏิบตั ธิ รรม คําสอนในพระพุทธศาสนาไมไดแยกโลกและธรรมในลักษณะ ที่วา แตมองวาทุกสิง่ ทุกอยางเปนเรือ่ งของธรรมไปหมด หากจะนําโลก มาเกีย่ วของ ก็สามารถจําแนกธรรมของพระพุทธเจาเปน ธรรมทีเ่ ปน ไปตามวิสยั โลก (โลกียะ) สําหรับผูท ตี่ อ งการไดรบั สิง่ ดี ๆ ทีน่ า ปรารถนา ทีน่ า พอใจ ซึง่ ประมวลแลว คือ โลกธรรมฝายเจริญ (ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ) ธรรมในระดับนี้ อาทิ อบายมุข 6 ฆราวาสธรรม 4 สังคหวัตถุ 4 พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4 และทิศ 6 จิตของบุคคลทีอ่ ยูใ นธรรมระดับนี้ จึงขึน้ ๆ ลง ๆ ไปตามโลกธรรมทีไ่ ดรับ และอีกระดับคือ ธรรมทีเ่ หนือ วิสั ยโลก (โลกุตตระ) สําหรับผูที่ไมไดตองการสิ่งใดสิ่งหนึ่ งที่เปน โลกธรรม แตตองการรูเ ทาทันความจริงของสิง่ ทีร่ ับรู เพือ่ ใหจิตสามารถ อยูเหนืออิทธิพลของสิ่งทีร่ ับรูน ั้น ไมใหรอยรัดเสียดแทง หรือทําใหจติ เกิดปญหาหรือทุกขอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งในพระพุทธศาสนาเรียกวา “วิมตุ ติ” ธรรมะในระดับนี้ เชน อริยสัจ 4 สติปฏฐาน 4 ดังนั้น ไมวาบุคคลจะมีความตองการในเรื่องที่เปนวิสัยโลก หรือเหนือวิสัยโลก ก็ยอมจะตองรูและปฏิบัติธรรมใหตรงกับเรื่องและ ระดับทีต่ อ งการ ก็จะทําใหไดรบั ผลอยางทีบ่ ุคคลตองการ เรือ่ ง โลกียะและโลกุตตระอาจสามารถอธิบายแบบประยุกต ใหเขาใจงายยิง่ ขึน้ โดยพิจารณาจากทาทีของจิตทีร่ บั รูต อ สิง่ ตาง ๆ เปน สําคัญ กลาวคือ หากรับรูแ ลว จิตอยูใ ตอทิ ธิพลครอบงําของสิง่ ที่รับรู จัดเปนทาทีแบบโลกียะ แตหากรับรูแลว จิตอยูเ หนืออิทธิพลครอบงํา ของสิง่ ทีร่ บั รู จัดเปนทาทีแบบโลกุตตระ 44


นอกจากนัน้ เรือ่ งของโลกียะและโลกุตตระอันทีจ่ ริงยังอยูใ นเรือ่ ง เดียวกันหรือทีเ่ ดียวกันอีกดวย ขึน้ อยูก บั ทาทีของจิตทีม่ ตี อ เรือ่ งนัน้ วาเปน อยางไร ยกตัวอยางการกินอาหาร หากกินดวยทาทีทตี่ อ งการความเอร็ดอรอย หรือความสนุกสนานจากอาหาร จัดเปนการกินแบบโลกียะ จิตจะ ขึน้ ๆ ลง ๆ ไปตามรสชาติและความสนุกสนานทีเ่ กิดขึน้ จากการกิน แตหากจิตมีทา ทีในการกินดวยความเขาใจถึงความจริงหรือคุณคา ความหมายที่แทจริงของอาหารนัน้ วาเปนสิง่ หลอเลีย้ งและค้ําจุนชีวติ ฝายกายใหแข็งแรงและสามารถทําหนาทีไ่ ดเปนปกติ จัดเปนการกินแบบ โลกุตตระ จิตจะอยูเ หนืออิทธิพลของการกินอาหารนัน้ จิตจะไมขนึ้ ๆ ลง ๆ ไปตามอาหาร หรือถูกบีบคัน้ ดวยเรือ่ งของอาหารในทางใดทางหนึง่ เพราะ เขาใจถูกตองวาอาหารทุกชนิดทุกประเภทลวนมีคณ ุ คาและความหมาย เปนอยางเดียวกันหมด กลาวคือ เปนสิง่ ทีก่ นิ เพือ่ หลอเลีย้ งค้าํ จุนชีวติ ฝายกาย ใหดํารงอยูไ ด ใหเปนปกติ แข็งแรง ไมเจ็บปวย หรือพิกลพิการ ซึง่ อาหาร ทุกชนิดโดยเนือ้ แทแลว มีคณ ุ คาและความหมายเชนนีท้ งั้ นัน้ ประเด็นของทาทีของจิตแบบโลกียะ และแบบโลกุตตระ อันที่ จริงอยูใ นคําสอนเรือ่ งอริยสัจ 4 นัน่ เองกลาวคือ จิตทีเ่ กีย่ วของกับสิง่ ตาง ๆ โดยมีตณ ั หาหรือความทะยานอยากเปนตัวนํา หรือเพื่อตอบสนองตอ ความอยาก เปนทาทีแบบโลกียะ ทําใหชีวิตเวียนวายอยูในกองทุกข แตหากนํามรรคมีองค 8 หรือความถูกตองเปนตัวนํา เปนทาทีแบบ โลกุตตระ จะนําชีวติ ไปสูน โิ รธคือความพนจากความทุกขไปตามลําดับ  ปฏิบตั ิธรรม

คํา ปฏิบัติธรรม เปนคําอีกคําหนึ่งที่มักเขาใจคลาดเคลือ่ น และถูกใหความหมายจําเพาะเกินไป จนทําใหไมไดรับประโยชนหรือ 45


ไดรับประโยชนจากการปฏิบตั ิธรรมนอยเกินไป เชน เขาใจวาการอาน หนังสือหรือการฟงธรรม เปนเรื่องของปริยัติ ยังไมไดปฏิบัต,ิ การพูด หรือสนทนากัน ไมใชการปฏิบติ, การทํางานอยูที่บานหรือที่ทํางาน ยังไมไดปฏิบัติ นอกจากนัน้ ยังมักเขาใจผิดไปวาการปฏิบัตธิ รรม คือการ เดินจงกรม เจริญสติ สมาธิ และวิปสสนา เทานั้น จึงทําใหไดยินเสียง บนจากผูท มี่ ีความเขาใจเชนนีว้ า ไมมีเวลาทีจ่ ะปฏิบัตธิ รรม หรือไมคอ ย มีโอกาสจะปฏิบตั ธิ รรมเทาใด ในทีน่ ี้ขอเสนอใหพจิ ารณามรรคมีองค 8 ซึง่ เปนขอปฏิบตั ิเพื่อ ความดับทุกขในอริยสัจ 4 ทีพ่ ระพุทธเจาตรัสสอน จะทําใหเห็นความหมาย ของการปฏิบตั ธิ รรมชัดเจนขึน้ วามีการปฏิบตั ใิ น 8 เรือ่ งหรือ 8 ดานดวยกัน ซึ่งอันทีจ่ ริงครอบคลุมการกระทําในทุก ๆ ดานของชีวิตทีจ่ ะตองไดรบั การปรับปรุงและปฏิบตั ใิ หถกู ตอง กลาวคือ 1. ปฏิบตั ใิ นเรือ่ งความเห็น ซึง่ เกิดจากการฟง - อาน - สังเกต เปนสําคั ญเพื่ อเสริมสรางใหมี ความเห็น ที่ถู กตอง ในเรื่องอริยสัจ 4 (สัมมาทิฏฐิ) 2. ปฏิบัติในเรื่องความคิดความตองการ เพื่อเสริมสราง ใหมีความคิดความตองการทีถ่ ูกตอง (สัมมาสังกัปปะ) คือ คิดที่จะ ออกจากความหลงใหลในกาม ในพยาบาท หรือทีเ่ ขาใจไดงา ย ๆ คือ ไมหลงรัก และหลงชัง ในสิง่ ใด ๆ ตลอดจนไมมคี วามคิดทีจ่ ะเบียดเบียน ทําใหเกิดความเดือดรอนทัง้ แกตนเองและผูอ นื่ 3. ปฏิบตั ใิ นเรือ่ งการพูด เพือ่ เสริมสรางใหมกี ารพูดทีถ่ กู ตอง (สัมมาวาจา) คือ ไมพูดเท็จ ไมพูดคําหยาบ (คือคําพูดทีต่ องการทําให ผูฟ งเกิดความรูส ึกเจ็บปวด) ไมพดู สอเสียด (คือพูดยุแหยใหแตกความ สามัคคี) และไมพดู เพอเจอ (คือคําพูดทีเ่ หลวไหล ไมรกู าละเทศะ) 46


4. ปฏิบัติในเรือ่ งการกระทําทางกาย เพื่อเสริมสรางใหมี การกระทําทางกายทีถ่ กู ตอง (สัมมากัมมันตะ) คือ เวนจากการใชกาย ไปทําประทุษรายในเรื่องของชีวิต ในเรือ่ งของทรัพยสิน และในเรื่องที่ เปนของรักของหวงของผูอ นื่ 5. ปฏิบตั ใิ นเรือ่ งการเลีย้ งชีพ เพือ่ เสริมสรางใหมกี ารเลีย้ งชีพ ทีถ่ กู ตอง (สัมมาอาชีวะ) คือการเลีย้ งชีพทีเ่ วนจากการหลอกลวงตาง ๆ ตลอดจนประกอบอาชีพที่ไมเปนโทษ 5 อยาง ตามทีพ่ ระพุทธเจาตรัส หามไว คือ คาอาวุธ คามนุษย คาสัตวสาํ หรับฆาเปนอาหาร คาของมึนเมา คายาพิษ 6. ปฏิบตั ิในเรือ่ งความเพียร เพือ่ เสริมสรางใหมีความเพียร ที่ถูกตอง (สัมมาวายามะ) คือ เพียรระวังไมใหเกิดบาปอกุศลทีย่ ังไม เกิด มิใหเกิดขึน้ เพียรละบาปอกุศลทีเ่ กิดขึน้ แลว เพียรเจริญกุศลธรรม ที่ยังไมเกิด ใหเกิดมีขนึ้ และเพียรรักษากุศลธรรมทีเ่ กิดขึน้ แลว ใหเจริญ ยิง่ ขึน้ จนไพบูลย 7. ปฏิบตั ิในเรือ่ งการระลึกตอสิง่ ตาง ๆ เพือ่ เสริมสรางให มีการระลึกทีถ่ กู ตอง (สัมมาสติ) คือ ระลึกในกาย เวทนา จิต ธรรม หรือ ระลึกตอสิ่งตาง ๆ อยางถูกตอง ดวยจิตที่ปราศจากความยินดีหรือ ยินราย ใหเปนเพียงเครือ่ งระลึก โดยไมยดึ มัน่ ถือมัน่ 8. ปฏิบัติในเรื่องความตั้งมั่นของจิต เพื่อเสริมสรางใหมี คุณภาพของจิตที่ถูกตอง (สัมมาสมาธ)ิ คือฝกจิตจนบรรลุสมาธิใน ระดับรูปฌานที่ 1 ถึง 4 นอกจากนั้นยังจะตองปฏิบัติใหไดคุณภาพที่บริบูรณไปตาม ลําดับ และใหครบถวนทัง้ 8 ขอ อยางทีเ่ รียกวา “มรรคสมังคี” จึงจะทําให บังเกิดผลและบรรลุผลเขาถึงจุดหมายคือความพนทุกขไดในทีส่ ดุ 47


 ศีล

ศีล เปนศัพทธรรมะอีกคําหนึง่ ทีย่ งั มีความเขาใจคลาดเคลือ่ น โดยเฉพาะในประเด็นวิธีปฏิบัติเพื่ อใหเกิดศีล ทั้งนี้ เนื่ องจากการให ความหมายของศีลทีว่ า เปน ขอหาม หรือ ของดเวน การกระทําทางกาย และวาจา ในขัน้ พืน้ ฐานมี 5 ประการ ตามทีท่ ราบกันดีอยูแ ลวในศีล 5 การที่ศีลมีความหมายวาเปน “ขอหาม” หรือ “ของดเวน” จึง ทําใหผคู นสวนใหญปฏิบัตศิ ีล ดวยการนําเอาขอหามหรือของดเวนนัน้ มาตัง้ ไวในใจ แลวคอยระมัดระวังควบคุมตนไมใหมีการกระทําทางกาย และวาจา ลวงละเมิดตอขอหามหรือของดเวนเหลานัน้ โดยมีเบือ้ งหลัง ของการปฏิบตั เิ นือ่ งมาจากความกลัวในบทลงโทษทีบ่ ญ ั ญัตไิ วเปนสําคัญ ซึ่งวิธีปฏิบัติศีลตามที่กลาวนี้ ก็นับเปนวิธีปฏิบัติที่ถูกตองเหมือนกัน ในแงทปี่ อ งกันไมใหเกิดการกระทบกระทัง่ หรือไมกอ ใหเกิดความเดือดรอน ในการอยูรว มกันของสังคม แตจะไมใหผลที่นําไปสูความดับทุกขดับ กิเลส เพราะไมไดปฏิบัติใหถกู ตองตามนัยของศีลที่เปนองคประกอบ ในมรรคมีองค 8 ศีลทีเ่ ปนองคประกอบในมรรคมีองค 8 เปนศีลทีม่ สี มั มาทิฏฐิเปน สมุฏฐาน ดังนัน้ การจะปฏิบตั ศิ ลี ตามนัยนี้ จึงตองแสวงหาสัมมาทิฏฐิหรือ ความรูในคุณคาความหมายทีถ่ ูกตองของเรือ่ งนัน้ ๆ หรือสิ่งนั้นๆ กอน แลวจึงใชกายและวาจาเขาไปทําหนาทีห่ รือเกีย่ วของใหถกู ตองตามสัมมาทิฏฐินนั้ ๆ ก็จะไมกอ ใหเกิดการกระทําทีเ่ ปนขอหามหรือของดเวนนัน้ เอง โดยทีไ่ มตองคอยระมัดระวังหรือคอยควบคุมตนเองแตประการใด และ ไมไดปฏิบัตเิ นือ่ งมาจากกลัวการถูกลงโทษ แตปฏิบตั ิเนื่องจากเห็นวา เปนสิง่ ถูกตองและดีงามทีพ่ ึงกระทํา จากวิธีปฏิบัตศิ ีลใน 2 แบบทีก่ ลาวขางตน จึงอาจจําแนกศีล 48


ไดเปน 2 แบบตามวิธีปฏิบัติที่แตกตางกัน คือ ศีลที่เปนธรรม ซึ่ง เกิดจากการปฏิบัติโดยมีสัมมาทิฏฐิ เปนตัวนํา และ ศีลที่เ ปนวินั ย ซึง่ เกิดจากการนําเอาขอหามหรือของดเวนมาตัง้ ไวในใจ แลวคอยระมัด ระวังควบคุมการกระทํา ไมใหเกิดการลวงละเมิด โดยมีความเกรงกลัว ตอบทลงโทษเปนเบือ้ งหลังสําคัญ เพือ่ ความเขาใจทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ ขอใหดตู วั อยางในเรือ่ งกฎหมาย ซึง่ มีเนือ้ หาสวนใหญเปนขอหามหรือขอบังคับทีม่ ีบทลงโทษ เพือ่ ไมให บุคคลกระทําสิง่ ทีก่ อ ใหเกิดการกระทบกระทัง่ แลวสรางความเดือดรอน ใหเกิดขึน้ แกสังคม แตจะเห็นไดวา ในบุคคลทีม่ ีจิตสํานึกดี แมไมรูใน ขอกฎหมาย ก็จะไมทําผิดกฎหมาย และไมกลัววาจะทําผิดกฎหมาย นัน่ เปนเพราะผูท มี่ ีจติ สํานึกดีหรือมีสัมมาทิฏฐิ โดยธรรมชาติแลวจะไม กระทําสิง่ ใดทีเ่ ปนการกระทบกระทัง่ ใหเกิดความเดือดรอนขึน้ แกใครเอง (ศีลทีเ่ ปนธรรม) แตอยางไรก็ตามเนือ่ งจากบุคคลในสังคม ไมใชวา ทุกคน จะเปนคนทีม่ ีสมั มาทิฏฐิหรือจิตสํานึกดี ดังนัน้ จึงตองมีกฎหมายที่เปน ขอหามหรือขอบังคับ และมีบทลงโทษ เขียนไวใหเห็นชัดเจน เพื่อปอง ปรามบุคคลประเภทนีโ้ ดยเฉพาะ ใหมีความกลัว แลวไมกลากระทําใน สิง่ ทีเ่ ปนการลวงละเมิดและกอความเดือดรอนแกสงั คม(ศีลทีเ่ ปนวินยั ) กลาวในแงของศีล ศีลทีเ่ ปนธรรมเทานัน้ จึงจัดเปนองคประกอบ ในอริยมรรค มีองค 8 ทีจ่ ะนําไปสูค วามดับทุกขดบั กิเลสได  สมาธิ

คํา สมาธิ โดยทัว่ ไปใหความหมายวา ความตัง้ ใจมั่น ซึง่ เล็ง เอาเรื่องความแนวแนของจิ ตในการรับรูตอสิ่ งตาง ๆ หรือที่เรียกวา เอกัคคตา (จิตทีต่ งั้ มัน่ ในอารมณเดียว) เปนสําคัญ 49


คํา สมาธิ ในอีกความหมายหนึง่ หมายถึง คุณภาพของจิต ทีเ่ หมาะสม ทัง้ นีโ้ ดยพิจารณาจากคําในชุดไตรสิกขาซึง่ จําแนกเปน ศีล สมาธิ ป ญญา หรื อ อธิ ศี ลสิ กขา อธิ จิ ตตสิ กขา อธิ ป ญญาสิ กขา ซึ่ งจะเห็นไดว าในกรณี ของสมาธิเป นอั นเดียวกันกั บอธิจิ ตตสิ กขา ทําใหเห็นชัดวาเรือ่ งของสมาธิจริง ๆ แลวมีวตั ถุประสงคในการปฏิบตั เิ พือ่ ปรับปรุงคุณภาพของจิตใหมคี ุณภาพทีเ่ หมาะสม กลาวคือ เปนจิตที่ ผองใส (ปริสทุ ฺโธ) ตัง้ มั่น (สมาหิโต) ควรแกการงาน (กมฺมนีโย) ไมมี นิวรณ (กามฉันท พยาบาท ถีนะมิทธะ อุทธัจจะกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) รบกวน ซึ่งมีพระพุทธพจนตรัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 20 ขอที่ 529 วา การปฏิบัติเพือ่ เขาถึงภาวะของรูปฌานที่ 1 - 4 เปนอธิจติ ตสิกขา และเรียกจิตทีอ่ ยูใ นภาวะของรูปฌานที่ 1 - 4 นี้วา “อธิจิต” ซึง่ เปนจิต ที่มีคุณภาพเหมาะสมและควรแกการงานทุกอยาง เปนจิตทีพ่ รอมจะ นําไปกระทําหรือพิสจู นความจริงของธรรมชาติไดในทุกระดับ สําหรับการปฏิบตั สิ มาธิ มีหลักอยูท กี่ ารใหจติ มีสติรบั รูแ นวแน อยูกับสิ่งใดสิง่ หนึ่งหรือเรื่องใดเรือ่ งหนึ่งที่เหมาะสม ไมไดจํากัดวาจะ ตองอยูใ นทานั่ง อยางทีม่ ักกลาวติดปากวานัง่ สมาธิ ไมไดจํากัดวาจะ ตองหลับตาหรือลืมตา ไมไดจาํ กัดวาจะตองอยูใ นสถานทีใ่ ด ซึ่งหากรู หลักเชนนีแ้ ลว บุคคลก็สามารถปฏิบตั สิ มาธิไดในทุกทีท่ กุ สถาน ขอเพียง แตใหรจู กั วางใจเลือกรับรูแ ละแนวแนในสิง่ หรือเรือ่ งทีร่ บั รูเ ปนสําคัญ คําสอนในพระพุทธศาสนาไดแนะนําสิง่ ทีร่ บั รูแ ลวทําใหจติ เปน สมาธิ ไวในเรือ่ ง กรรมฐาน 40 ซึง่ จําแนกเปน กสิณ 10, อนุสสติ 10, อสุภะ 10, อัปปมัญญา 4, อาหาเรปฏิกลู สัญญา 1, ธาตุ4 1, และอรูป 4 อารมณเหลานีเ้ ปนตัวอยางของสิง่ หรือเรือ่ งทีส่ ามารถใชเปนสิง่ ทีใ่ หจติ รับรู แลวเกิดสมาธิ เพือ่ ใหบุคคลสามารถนําไปเลือกปฏิบตั ิใหเหมาะสมกับ 50


อัธยาศัยของตน มีอปุ มาทีท่ ําใหเขาใจวิธีปฏิบัตสิ มาธิดียงิ่ ขึน้ โดยเปรียบไดกับ การนําเชือกมาผูกวัวไวกับเสาหลัก ในตอนตนวัวอาจจะเดินไปมาดวย ความหงุดหงิดและกระชากไปมา แตในทีส่ ุดก็จะหมอบนิ่งและสงบอยู กับเสาหลักนั้นเอง ในกรณีนเี้ ปรียบเชือกคือสติ , วัวคือจิต, เสาหลักคือ กรรมฐานทีก่ ําหนด และวัวทีห่ มอบนิง่ สงบอยู คือภาวะจิตทีเ่ ปนสมาธิ สําหรับประโยชนของสมาธิ นอกจากเปนการปรับปรุงจิตใหตงั้ มัน่ และมีคณ ุ ภาพที่เหมาะสมซึง่ เปนดานหลักแลว อันที่จริงยังมีประโยชน ในดานอืน่ ๆ อีกมีมากมาย ซึง่ จะขอนํามาอธิบายไว ณ ทีน่ ี้ เพือช ่ วยทําให รูจ กั และไดรบั ประโยชนจากสมาธิเต็มเม็ดเต็มหนวยยิง่ ขึน้ นอกจากนัน้ ยังจะชวยชักจูงใหเกิดความสนใจและความตั้งใจที่จะปฏิบัติสมาธิให มากขึน้ และจริงจังขึน้ ดวย ดังนี้ 1. ทําใหสามารถควบคุมจิตใหอยูใ นอํานาจของสติ โดย พิจารณาจากการทีส่ ามารถรักษาจิตใหมสี ติรบั รูอ ยูแ ตในอารมณกรรมฐาน หรือในสิง่ ทีก่ ําหนดไวเพียงอยางเดียวได 2. ทําใหจติ มีพลังเพิม่ ขึน้ โดยพิจารณาจากในขณะปฏิบตั ิ สมาธิ จิตจะเลือกรับรูอ ยูในสิง่ เดียวหรือเรื่องเดียว ซึ่งทําใหจิตไมเสีย พลังหรือกระจายพลังไปรับรูใ นสิง่ อืน่ หรือในชองทางการรับรูอ นื่ จึงทําให เกิดการรวมพลังของจิตใหมีมากขึน้ และเขมขนขึน้ 3. ทําใหไดความสุข ทีเ่ รียกวา นิรามิสสุข ซึง่ เปนความสุข ทีไ่ มองิ กับ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ตองกายใด ๆ อยางทีเ่ รียกวากามคุณ จึงเปนความสุขทีเ่ ปนเอกเทศของจิตเอง ไมตอ งพึง่ พิงความสุขทีม่ าจาก สิง่ ตาง ๆ ภายนอก ทําใหจิตไมตกอยูใตอทิ ธิพล ไมหวัน่ ไหว หรือขึ้น ๆ ลง ๆ ไปตามรูป เสียง เปนตน 51


4. ทําใหไดบา นทางจิต ภาวะของสมาธิเปรียบไดกับบาน ทางจิต ผูท ที่ ําสมาธิจนไดผล เปรียบเสมือนไดสรางบานทางจิต ใหจติ มี บานอยูอ าศัย เมือ่ จิตตัง้ มัน่ อยูใ นอารมณของสมาธิ หรืออยูใ นบานทางจิต อารมณอนื่ ใดยอมไมสามารถเกิดขึน้ รบกวนจิตใหขนุ มัวเศราหมอง หรือ ทําอันตรายใด ๆ ตอจิตได ดังเชนชีวติ ในฝายกายก็ตอ งการบานทางกาย ทีจ่ ะอาศัยคุม ครองกายใหปลอดภัย เวลามีภัยหรืออันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ กับกาย ขอเพียงสามารถหลบเขามาอยูใ นบานทางกายไดเทานัน้ ก็ทําให กายมีความปลอดภัย ในเรือ่ งบานทางจิต ก็มนี ยั เชนเดียวกัน  ปญญา

ปญญา เปนคําทีม่ ีความหมายกวางขวางมาก โดยทั่วไปหาก อธิบายตามรากศัพทในภาษาบาลี ไดความวา คือ ความรูท ั่ว ซึ่งใน พจนานุกรมพุทธศาสน ของพระพรหมคุ ณาภรณ (ป. อ. ปยุ ตฺโต) (ปจจุบันคือสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย) ไดให ความหมายไววาคือ “ความรูทั่ว ปรีชาหยั่ง รูเหตุผล ความรู เขาใจชั ดเจน ความรู เขาใจ หยัง่ แยกไดในเหตุผล ดีชวั่ คุณโทษ ประโยชน-มิใชประโยชน เปนตน และรูทจี่ ะจัดแจง จัดสรร จัดการ ความรอบรูใ นกองสังขาร มองเห็น ตามความเปนจริง” แต ปญญาที่ตองการอย างแทจริ งตามหลักพระพุทธศาสนา คือป ญญาที่ สามารถถอนความยึ ดมั่ นถื อมั่ นใหห มด สิน้ ไป ดังพระพุทธพจนทไี่ ดตรัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 12 ขอที่ 434 วา “...... ภิกษุในธรรมวินยั นีไ้ ดสดับวา ธรรมทัง้ ปวงไมควรยึดมัน่ ถาขอนี้ ภิกษุไดสดับแลวอยางนี้ ภิกษุนนั้ ยอมรูย งิ่ ซึง่ ธรรมทัง้ ปวง...เมือ่ พิจารณาเห็นดังนั้น ยอมไมยึดมั่นสิ่งอะไร ๆ ในโลก เมือ่ ไมยึดมั่น ยอม 52


ไมสะดุงหวาดหวั่น เมื่อไมสะดุงหวาดหวั่น ยอมดับกิเลสใหสงบได เฉพาะตัว และทราบชัดวา ชาติสนิ้ แลว พรหมจรรยอยูจ บแลว กิจที่ ควรทําทําเสร็จแลว กิจอืน่ เพือ่ ความเปนอยางนี้ มิไดม”ี หรืออาจขยายความใหกวางออกไปไดวา ปญญาทีพ่ ระพุทธเจา มุงหมายตรัสสอนจริง ๆ คือ ปญญาทีส่ ามารถดับทุกขดบั กิเลสทัง้ ปวง โดยเฉพาะดับทีส่ าเหตุของทุกข คือ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน หรือสังโยชน (เครือ่ งรอยรัดใหจมอยูใ นกองทุกข มี 10 ประการดวยกัน คือ สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พตปรามาส กามราคะ ปฏิฆะ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา) ใหหมดสิ้นไปเปนสําคัญ ไมไดมุงปญญาที่จะ รอบรูใ นเรือ่ งอืน่ ๆ เลย ดังนัน้ การศึกษาและปฏิบัติในเรือ่ งปญญาตามหลักพระพุทธศาสนา เพือ่ ใหตรงตอทีพ่ ระพุทธเจาตรัสสอนอยางแทจริง จึงควรนําไป เชือ่ มกับเรือ่ ง อวิชชา ตัณหา อุปาทาน หรือสังโยชน และเรียนรูว า ปญญา อะไร ทีส่ ามารถละ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน หรือสังโยชนอะไร ก็จะทําให การศึกษาและปฏิ บัติในเรื่ องป ญญาไม สะเปะสะปะ มีเ ปาหมายที่ ชัดเจน และบรรลุประโยชนทปี่ ระสงคอยางแทจริงดวย ในหนังสือนีจ้ ะ ขออธิบายเรื่องปญญาในบริบทที่จะนําไปใชละสังโยชน เพื่อใหเห็น เรือ่ งราวของปญญาทีจ่ ะตองศึกษาและปฏิบตั อิ ยางครบถวนตอไป ปญญาลําดับแรกทีส่ ดุ ทีจ่ ะตองทําใหเกิดขึน้ กอน คือปญญา ที่ทาํ ใหสังโยชน 3 เบือ้ งตน คือสักกายทิฏฐิ (ความเห็นวาเปนตัวตน) วิจิ กิจฉา (ความลังเลสงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ หรือ ความลังเลสงสัยในการดําเนินชีวิต) และสีลัพพตปรามาส (ความ งมงายในศีลและพรต) หมดสิ้นไป ทําใหเขาถึงความเปนอริยบุคคล ระดับพระโสดาบัน 53


ปญญาในลําดับแรกนี้ กลา วโดยสรุป คือป ญญารูเขาใจใน อริยสัจ 4 หรือสัมมาทิฏฐิในอริยมรรค มีองค 8 ที่พระพุทธเจาตรัสสอน นั่นเอง สมดังพระพุทธพจนทตี่ รัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 16 ขอที่ 90 วา “พระโสดาบันเปนผูม ีสมั มาทิฏฐิสมบูรณ” ปญญารูเขาใจในสัมมาทิฏฐิหรือมีความเห็นถูกตองใน อริยสัจ 4 ทําใหสังโยชน 3 หมดสิ้นไปไดอยางไร ? บุคคลเมือ่ ไดเรียนรูจ นเกิดความรูค วามเขาใจในอริยสัจ 4 ได ถูกตอง จะทําใหเห็นเสนทางการดําเนินชีวติ ทัง้ หมดทัง้ สิน้ วามี 2 เสนทาง คือ (1) เสนทางชีวิตทุกข (ทุกข - สมุทัย) ที่เอาความตองการของตน (ตัณหา) เปนตัวนํา และ (2) เสนทางชีวติ ที่พน ทุกข (นิโรธ - มรรค) ที่เอาความถูกตอง (มรรคมีองค 8 ทุกองคขนึ้ ตนดวยสัมมา ซึง่ แปลวา ความถูกตอง) เปนตัวนํา บุคคลเมื่อเห็นเสนทางการดําเนินชีวิตเชนนี้แลว ยอมละการ ดําเนินชีวติ ในเสนทางชีวติ ทุกข แลวมาดําเนินชีวิตตามเสนทางชีวิตที่ นําไปสูค วามพนทุกข การละการดําเนินชีวิตในเสนทางชีวิตทุกข ซึ่งมีรากฐานอยูที่ ตัวตนและความทะยานอยากเพื่อตอบสนองตัวตนนี้ แทจริงแลวคือ การละสักกายทิฏฐิ นั่นเอง นอกจากนั้นยังทําใหละวิจกิ ิจฉา ไปดวย เพราะเห็นชัดแลวซึ่งเสนทางการดําเนินชีวิตที่ถูกตองวาเปนอยางไร และทําให ละสีลั พพตปรามาส ไปดวย กลาวคือ ไมตองไปพึ่ งสิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์หรือวิธีการอื่นใด ตลอดจนไมงมงายกับการกระทําสิ่งใด ๆ ในการดําเนินชีวิ ตอีกตอไป เพราะรู เห็นชัดเจนแล วถึงขอปฏิ บัติ คือ อริยมรรค มีองค 8 เทานั้น วาเปนขอปฏิบัตทิ ี่จะนําไปสูค วามพนทุกข ไดอยางแทจริง 54


และหากสามารถทําสังโยชนเบือ้ งตนทัง้ 3 นี้ใหหมดสิน้ ไปได โดยเด็ดขาด จะทําใหบคุ คลหลุดพนจากกองทุกขและกองกิเลสที่เกิด จากเรื่องของความเห็นผิดไดทั้งหมด บรรลุเปนพระอริยบุคคลระดับ พระโสดาบัน ซึง่ เปนพระอริยบุคคลขัน้ ตน และหากสามารถทํา ราคะ โทสะ โมหะ ใหเบาบางลงไปไดอกี จะทําใหบรรลุเปนพระสกทาคามี ปญญาในลําดับถัดไป คือปญญาทีม่ งุ ทําใหสงั โยชนในระดับ กลาง คือ กามราคะ (ความติดใจในกามคุณ) และปฏิฆะ (ความขัด เคืองใจ) หมดสิน้ ไป ทําใหเขาถึงความเปนอริยบุคคลระดับพระอนาคามี ปญญาในระดับนี้ ปฏิบัตใิ หเกิดขึน้ ไดดว ยการตามรูต ามเห็น จนเกิดปญญาประจักษชัดถึงตนเหตุทที่ ําใหเกิดกามราคะและปฏิฆะ ซึง่ ในพระไตรปฎก เลมที่ 22 ขอที่ 334 ตรัสแสดงไววา เกิดจากความ ดําริหรือการจินตนาการของจิตทีใ่ สลงไปใน รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย นั้นเอง จนเกิดความหมายทีเ่ ปนกามขึน้ โดยเมือ่ ดําริหรือจินตนาการไปในสุภนิมิต (เครื่องหมายวาสวยงาม) จะเกิด ความยินดีพอใจ และเกิดเปนกามราคะขึน้ แตหากดําริหรือจินตนาการ ไปในปฏิ ฆนิ มิต (เครื่ องหมายวาขั ดเคืองใจ) จะเกิดความยินราย ไมพอใจ และเกิดเปนปฏิฆะขึน้ เมือ่ สามารถดับความดําริหรือจินตนาการ ที่เปนสาเหตุทําใหเกิดกามราคะและปฏิฆะได ก็ทําใหกามราคะและ ปฏิฆะหมดสิ้นไปโดยเด็ดขาด ทําใหบุคคลบรรลุความเปนอริยบุคคล ระดับพระอนาคามี ปญญาในระดับสุดท าย คือปญญาที่มุงทําใหสังโยชนใน ระดับสูง คือ รูปราคะ(ความยินดีในอารมณแหงรูปฌาน) อรูปราคะ (ความยินดีในอารมณแหงอรูปฌาน) มานะ(ความถือตน) อุทธัจจะ (ความฟุง ซาน) และอวิชชา (ความไมรใู นอริยสัจ) ใหสนิ้ ไปอยางเด็ดขาด 55


โดยสังโยชนในระดับสุดทายทัง้ 5 ประการนีเ้ กี่ยวเนื่องกับความยินดี พอใจ และยึดติดถือมัน่ ในเรือ่ งของรูปฌานและอรูปฌานเปนสําคัญ ปญญาในระดับนีเ้ กิดขึน้ ไดดว ยการตามรูต ามเห็นจนเกิดปญญา ประจักษแจงในความไมเทีย่ ง(อนิจจัง) ความทนอยูใ นสภาพเดิมไมได (ทุกขัง) และความไมใชตัวตนหรือไมเปนไปตามอํานาจการบังคับของ ตัวตน (อนัตตา) ของฌานสุข จึงทําใหถอนความยึดติดถือมัน่ ในภาวะของ รูปฌานและอรูปฌาน และละสังโยชนเบือ้ งสูงทัง้ 5 นีไ้ ดทงั้ หมด หลุดพน จากกองทุกขทั้งหมดทั้งสิน้ ไดอยางเด็ดขาด บรรลุเปนพระอริยบุคคล ระดับพระอรหันต เขาถึงจุดหมายสูงสุดทีพ่ ระพุทธเจาตรัสสอน บทสรุป ผูเ รียบเรียงเชือ่ มัน่ วา ทานผูอ า นหนังสือมาจนถึงหนาสุดทายนี้ จะประจักษดว ยตนเองวาการเขาใจคําและความหมายของศัพทธรรมะ มีความสําคัญตอการศึกษาและปฏิบตั ธิ รรม ตลอดจนการเขาถึงและไดรบั ประโยชนจากธรรมเพียงใด จึงมีความหวังเปนอยางยิง่ วาหนังสือนีจ้ ะมี ส วนช วยหรื อเกื้ อกู ลแก ผู สนใจและใฝ ที่ จะศึ กษาและปฏิ บั ติ ธรรม ใหไดรับประโยชนจากธรรมที่พระพุทธเจาตรัสสอนอยางเต็มที่ และ เนื่องจากขณะที่เรียบเรียงหนังสือนีอ้ ยูในชวงพระราชพิธีออกพระเมรุ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ ตร จึ งขอร วมน อมอุ ทิ ศถวายบุ ญกุ ศลใด ๆ อั นจะพึ งเกิ ดขึ้ นจากการ เรียบเรียงหนังสือ ขอนอมถวายเปนพระราชสักการะและถวายเปน พระราชกุศล ดวยความสํานึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ มิได.

56


รายชือ่ หนังสือทีไ่ ดจดั พิมพมาแลวของผูเ รียบเรียง พ.ศ. 2548 “ความหมายคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนาชีวิต ทีส่ มบูรณแบบ”

พ.ศ. 2554 “สติปฏฐาน 4 ฉบับวิเคราะห-สังเคราะห”

พ.ศ. 2549 “ความพอเพียง คือทางรอด ของมนุษยและสังคม”

พ.ศ. 2555 “อริยสัจสําหรับทุกคน”

พ.ศ. 2550 “หลักธรรมพืน้ ฐาน ที่ชาวพุทธพึงรู”

พ.ศ. 2556 “ความสุขทุกมิติ ตามหลักพระพุทธศาสนา”

พ.ศ. 2551 “คูมอื บัณฑิต ของแผนดิน”

พ.ศ. 2557 “ชีวติ ติดปญญา”

พ.ศ. 2552 “คูม ือปญญา ในพระพุทธศาสนา”

พ.ศ. 2558 - 2559 “ปฏิบัตธิ รรม (ทําไม? - อยางไร?)”

พ.ศ. 2553 “ปฏิจจสมุปบาท ฉบับวิเคราะห-สังเคราะห”

พ.ศ. 2560 “ไตรสิกขา : ระบบการศึกษา ของพระพุทธเจา”

57


ทายเลม หนังสือเลมนี้ เปนคูม ือตัง้ ตนของการเขาถึงธรรมะ สําหรับพุทธศาสนิกชนและผูส นใจใฝรใู นพระพุทธศาสนา หวังวาเมือ่ ไดพจิ ารณาจนถึงทายเลมนีแ้ ลว คงจะมีความเขาใจคําศัพทและภาษาทีใ่ ช ในหลักธรรมของพระพุทธองคไดกระจางและชัดเจนยิง่ ขึน้ นําไปสูค วามเปนผูม ีปญ  ญา รูแ จง ตอไป นายกรรชิต จิตระทาน ผูอ ํานวยการสํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม

58



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.