จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ขอเชิิญชมการแสดงดนตรีีเฉลิิมพระเกีียรติิ สมเด็็จพระเจ้้าพี่่�นางเธอ เจ้้าฟ้้ากััลยาณิิวััฒนา กรมหลวงนราธิิวาสราชนคริินทร์์ เนื่่องในโอกาสครบ 100 ปีีวัันประสููติิ โดย
วงซิิมโฟนีีออร์์เคสตราแห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ในพระอุุปถััมภ์์สมเด็็จพระเจ้้าพี่่�นางเธอ เจ้้าฟ้้ากััลยาณิิวััฒนา กรมหลวงนราธิิวาสราชนคริินทร์์
วันเสาร์ที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เวลา ๑๔.๐๐ น. หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย In commemoration of the 100th Anniversary of the Birth of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra,
Chulalongkorn University
Requests your presence at a concert Performed by
Chulalongkorn University Symphony Orchestra Under the Royal Patronage of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra 2:00 PM, Saturday, November 11, 2023 Chulalongkorn University Auditorium
สารจากอธิิการบดีี ในโอกาสครบรอบ 100 ปีีวันั ประสููติิ สมเด็็จพระเจ้้าพี่่น� างเธอ เจ้้าฟ้้ากััลยาณิิวัฒ ั นา กรมหลวงนราธิิวาสราชนคริินทร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ได้้จัดั การแสดงเทิิดพระเกีียรติิ เพื่่อ� น้้อมรำ��ลึกึ ถึึงพระมหากรุุณาธิิคุณ ุ ของพระองค์์ท่า่ นที่่ป� ระทานแก่่ชาวจุุฬาฯ ทั้้�งมวล นัับตั้้�งแต่่ปีีพุุทธศัักราช 2533 วงซิิมโฟนีีออร์์เคสตราแห่่งจุุฬาฯ ได้้จััดกิิจกรรม การแสดงดนตรีีอย่่างต่่อเนื่่�อง การจััดแสดงดนตรีีแต่่ละรายการวงซิิมโฟนีีออร์์เคสตรา แห่่งจุุฬาฯ ได้้คัดั เลืือกบทเพลงที่่มีี� เนื้้�อหาทางดนตรีีอัันเข้้มข้้น เพื่่อ� ให้้ผู้้�ฟัังได้้รับั อรรถรส คุุณค่่า และความไพเราะ และให้้นัักดนตรีีได้้รัับความรู้้�และการพััฒนาทัักษะทางดนตรีี การจััดแสดงคอนเสิิร์ต์ ครั้้ง� นี้้�เป็็นผลสำำ�เร็็จที่่เ� กิิดขึ้้น� การจากทุ่่�มเทแรงกายแรงใจ ของคณาจารย์์ บุุคลากร นิิสิิตเก่่าและนิิสิิตปััจจุุบััน ตลอดจนความกรุุณาของศิิลปิิน แห่่งมหาวิิทยาลััย และผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ ในนามของจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ขอขอบคุุณ ทุุกท่่านที่่มีีส่ � ว่ นในการสนัับสนุุนการแสดงคอนเสิิร์ต์ ครั้้ง� นี้้� และขอขอบคุุณผู้้�ที่ใ�่ ห้้กำำ�ลังั ใจ แก่่วงซิิมโฟนีีออร์์เคสตราแห่่งจุุฬาฯ มาโดยตลอด
(ศาสตราจารย์์ ดร. บััณฑิิต เอื้้�ออาภรณ์์) อธิิการบดีี
Message from the President On the occasion of the 100th Anniversary of the Birth of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, Chulalongkorn University has organized a concert to commemorate the event as a tribute to her contribution to the whole Chula Community. Since 1990, the Chulalongkorn University Symphony Orchestra under the Royal Patronage of Her Royal Highness Princess Galayani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra has been active on the classical music scene in Thailand. All musical works presented at their concerts are carefully chosen for their aesthetic and didactic qualities to immerse the audience in the beauty and value of the music and to provide the opportunity for musicians to learn and develop their musical skills through performance. The success of this concert is the result of the concerted efforts of the faculty members, staff, alumni and current students, as well as the University’s artists in residence and experts. On behalf of Chulalongkorn University, I would like to express my sincere appreciation to all who have supported today’s concert and I would like to thank them for their much valued support of the Chulalongkorn University Symphony Orchestra.
Professor Bundhit Eua-arphorn, Ph.D. President
สารจากผู้้อำ� ำ�นวยการดนตรีี ศาสตราจารย์์ ดร.ณรงค์์ฤทธิ์์� ธรรมบุุตร (ศิิลปิินแห่่งชาติิ) ได้้ประพัันธ์์เพลง “ถวายปฏิิญญา – Pledge to HRH Princess Galyani Vadhana” และทางวงซิิมโฟนีี ออร์์เคสตราแห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ในพระอุุปถััมภ์์สมเด็็จพระเจ้้าพี่่�นางเธอ เจ้้าฟ้้ากััลยาณิิวััฒนา กรมหลวงนราธิิวาสราชนคริินทร์์ ได้้นำำ�ออกแสดงในคอนเสิิร์์ตที่่� จััดขึ้้�นเพื่่�อน้้อมถวายเป็็นคีีตาลััยแด่่ สมเด็็จพระเจ้้าพี่่�นางเธอ เจ้้าฟ้้ากััลยาณิิวััฒนา กรมหลวงนราธิิวาสราชนคริินทร์์ หลัังจากพระองค์์สิ้้�นพระชนม์์ในปีี พ.ศ. 2551 ในโอกาสที่่�ปีีพ.ศ. 2566 นี้้� เป็็นวาระครบรอบ 100 ปีีวัันประสููติิของพระองค์์ ทางวงซิิมโฟนีีออร์์เคสตราแห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ซึ่่�งได้้รัับพระกรุุณาธิิคุุณ รัับเป็็นวงในพระอุุปถััมภ์์ตั้้�งแต่่ครั้้�งที่่�ยัังทรงดำำ�รงพระชนม์์ชีีพ จึึงขอนำำ�บทเพลง ดัังกล่่าวมาเสนออีีกครั้้�ง เพื่่�อน้้อมรำ��ลึึกในพระกรุุณาธิิคุุณที่่�ทรงมีีต่่อวงซิิมโฟนีีฯ เสมอมา และได้้มอบหมายให้้ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร.กิิตติินัันท์์ ชิินสำำ�ราญ เป็็นผู้้�อ่่าน บทกวีีและขัับร้้องเดี่่ย� วในการแสดงครั้้ง� นี้้� ร่่วมกัับวงซิิมโฟนีีออร์์เคสตราและคณะนัักร้้อง ประสานเสีียงแห่่งจุุฬาฯ นอกจากบทเพลง “ถวายปฏิิญญา” ทางวงฯยัังขอเสนอผลงานสำำ�คััญอีีกบทหนึ่่�ง ในช่่วงครึ่่�งหลัังของการแสดง คืือ Symphony No. 1 in D major “Titan” ประพัันธ์์โดย Gustav Mahler การแสดงครั้้�งนี้้�อำำ�นวยเพลงโดย รองศาสตราจารย์์ ดร.นรอรรถ จัันทร์์กล่ำำ�� ในนามของวงซิิมโฟนีีออร์์เคสตราแห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ในพระอุุปถัมั ภ์์ สมเด็็จพระเจ้้าพี่่�นางเธอ เจ้้าฟ้้ากััลยาณิิวััฒนา กรมหลวงนราธิิวาสราชนคริินทร์์ ผมขอขอบคุุณสถาบัันและหน่่วยงานต่่าง ๆ ที่่เ� กี่่ย� วข้้องทุุกฝ่่าย ตลอดจนนัักดนตรีีและผู้้� ปกครองที่่มีีส่ � ว่ นร่่วมทำำ�ให้้การแสดงครั้้ง� นี้้�สำำ�เร็็จลุุล่ว่ งเป็็นอย่่างดีี ผศ. พ.อ.ชููชาติิ พิิทัักษากร ผู้้�อำำ�นวยการดนตรีี
Message from the Music Director Professor Dr. Narongrit Dharmabutra (National Artist) composed “Pledge to HRH Princess Galyani Vadhana” for the Chulalongkorn University Symphony Orchestra (CUSO) under the Royal Patronage of HRH Princess Galyani Vadhana, to feature in a concert in memory of the Princess who passed away in 2008. In today’s concert we will once again bring back the well-loved work “Pledge to HRH Princess Galyani Vadhana” to mark the 100 Anniversary of the Princess’ Birthday. The concert will round off with Symphony No. 1 in D Major “Titan” a symphonic masterpiece by Gustav Mahler. Asst. Prof. Kittinant Chinsamran will be the baritone solo in the first piece. The performance is under the baton of Assoc. Prof. Nora-ath Chanklum, CUSO’s principle conductor. On behalf of the CUSO, I would like to extend my sincere thanks and appreciation to everyone involved in making this concert possible.
Asst. Prof. Col. Choochart Pitaksakorn Music Director
รายการแสดง - Program ถวายปฏิญญา Pledge to HRH Princess Galyani Vadhana
ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร Narongrit Dhamabutra (b.1962)
ก้องภพ รื่นศิริ ผู้แต่งบทกวี Gongbhoap Ruensiri Poet กิตตินันท์ ชินสำ�ราญ อ่านบทกวีและขับร้องเดี่ยว Kittinant Chinsamran Read Poem and Vocal Soloist พักครึ่งการแสดง - Intermission Symphony No. 1 in D major “Titan” Gustav Mahler (1860-1911) I. Langsam. Schleppend (Slowly. Dragging.) II. Kräftig bewegt, doch nicht zu schnell. (Moving vigorously, but not too fast.) III. Feierlich und gemessen, ohne zu schleppen. (Solemn and measured, without dragging.) IV. Stürmisch bewegt. (With stormy emotion.) รวยชัย แซ่โง้ว หัวหน้าวง Ruaichai Sae-Ngow Concertmaster นรอรรถ จันทร์กล่ำ� ผู้อำ�นวยเพลง Nora-ath Chanklum Conductor ชูชาติ พิทักษากร ผู้อำ�นวยการดนตรี Choochart Pitaksakorn Music Director
ถวายปฏิญญา
Pledge to HRH Princess Galyani Vadhana
ศาสตราจารย์์ ดร. ณรงค์์ฤทธิ์์� ธรรมบุุตร ศิิลปิินแห่่งชาติิ ประพัันธ์์เพลงบทนี้้โ� ดยได้้รับั แรงบัันดาลใจ จากบทกวีี “ถวายปฏิิ ญญา” ของคุุณก้้ อ งภพ รื่่ � น ศิิริิ กวีีร่่ว มสมัั ย รางวัั ลดีีเด่่ น สาขากวีีนิิ พ นธ์์ ‘โคลงนิิ ร าศแม่่ เ มาะ’ จากการประกวดหนัั ง สืือประจำำ�ปีี 2550 งานสัั ปด าห์์ ห นัั ง สืือแห่่ ง ชาติิ ผนวกกัับความรู้้�สึึกน้้อมรำ��ลึึกในพระกรุุณาธิิคุุณที่่�สมเด็็จพระเจ้้าพี่่�นางเธอ เจ้้าฟ้้ากััลยาณิิวััฒนา กรมหลวงนราธิิวาสราชนคริินทร์์ ทรงมีีต่่อชาวไทย โดยเฉพาะประชาคมดนตรีีคลาสสิิกในเมืืองไทย เพลงบทนี้้�มีีความอลัังการทางศิิลปะ กำำ�หนดให้้มีีการอ่่านทำำ�นองเสนาะการอ่่านบทกวีีและ การขัับร้้อง จากนัักร้้องเดี่่ย� วและกลุ่่�มนัักร้้องประสานเสีียง ร่่วมกัับการบรรเลงของวงดุุริยิ างค์์ขนาดใหญ่่ บทเพลงเริ่่�มต้้นด้้วยบทนำำ�จากวงดุุริิยางค์์ ตามด้้วยการอ่่านโคลงสี่่�สุุภาพแบบทำำ�นองเสนาะ จากนั้้�นเป็็นการอ่่านกลอนสุุภาพคลอด้้วยวงดุุริิยางค์์ นำำ�เข้้าสู่่�บทเพลงขัับร้้องที่่�ยิ่่�งใหญ่่อลัังการขึ้้�น ตามลำำ�ดัับ โดยเฉพาะเมื่่อ� บทร้้องกล่่าวถึึงคำำ�มั่่�นสััญญาที่่จ� ะธำำ�รงรัักษาซึ่่ง� ปณิิธานที่่จ� ะสืืบสานงานศิิลปะ ตามที่่�สมเด็็จพระเจ้้าพี่่�นางเธอฯ ทรงวางแนวทางไว้้ และปิิดท้้ายด้้วยการอ่่านโคลงสี่่�สุุภาพ (กระทู้้�) แบบทำำ�นองเสนาะ Professor Dr. Narongrit Dharmabutra (National Artist) was inspired to composed “Pledge to HRH Princess Galyani Vadhana” by the poem of the same name written by Gongbhoap Ruensiri, an award winning contemporary poet. The piece is a musical tribute and a pledge to HRH Princess Galyani Vadhana, to follow her footsteps in fostering the development of artistic endeavors, particularly in the field of classical music education as well as music performances in Thailand. The form of this spectacular work is a combination of poem recitation, poem reading and a song for solo voice and chorus accompanied by full symphony orchestra. The poems used as lyrics reflect a deep feeling of reverence and gratitude towards the beloved Princess and her compassionate deeds she had done for the Thai people as well as a pledge to follow in her footsteps.
Symphony No. 1 in D Major “Titan” Gustav Mahler (1860-1911)
Gustav Mahler (1860-1911) เป็็นนัักประพัันธ์์เพลงและ ผู้้�อำำ�นวยเพลงเอกชาวโบฮีีเมีีย-เชื้้�อสายยิิว ในสมััยที่่�โบฮีีเมีียเป็็นส่่วน หนึ่่�งของจัักรวรรดิิออสเตรีีย ในช่่วงปลายสมััยโรแมนติิก Mahler เล่่นเปีียโนเก่่งตั้้�งแต่่เด็็ก และต่่อมาเรีียนดนตรีีขั้้�นสููงที่่� วิิทยาลััยดนตรีีในกรุุงเวีียนนา (Vienna Conservatory) เรีียนทั้้�งเปีียโน ประพัันธ์์เพลง และเริ่่�มอำำ�นวยเพลงกัับวงของวิิทยาลััย ต่่อมาเมื่่�ออายุุราว 20 ปีี จึึงเริ่่�มอำำ�นวยเพลงเป็็นอาชีีพ และ หลัังจากเวลาผ่่านไปหลายปีี กัับหลายวงดุุริยิ างค์์ ในหลายเมืืองของยุุโรป ในที่่สุ� ดท่ ุ า่ นก็็ได้้รับั ตำำ�แหน่่งใหญ่่และสำำ�คััญที่่สุ� ดคืื ุ อผู้้�อำำ�นวยการดนตรีี และผู้้�อำำ�นวยเพลงของโรงอุุปรากรหลวงแห่่งเวีียนนา (Vienna Hofoper, ต่่อมาคืือ Vienna Staatoper) และต่่อมาได้้รัับเลืือกเป็็นผู้้�อำำ�นวยเพลง ของวงดุุริิยางค์์ Vienna Philharmonic ด้้วย ต่่อมาในช่่วงระหว่่างปีี 1908-1910, Mahler ไปรัับตำำ�แหน่่ง ผู้้�อำำ�นวยเพลงให้้โรงละคร Metropolitan Opera และวงดุุริิยางค์์ New York Philharmonic ที่่�สหรััฐอเมริิกา ในช่่วงบั้้�นปลายชีีวิิต จากการทำำ�งานหนัักและโรคภััยรุุมเร้้า ทั้้�งร่่างกายและจิิตใจ ในที่่�สุุดหลัังจบคอนเสิิร์์ตทััวร์์ที่่�ยุุโรป Mahler ก็็กลัับบ้้านที่่�กรุุงเวีียนนาในสภาพคนป่่วย และถึึงแก่่กรรมกลางปีี ค.ศ. 1911 สำำ�หรัั บ ผลงานด้้ า นการประพัั น ธ์์ เ พลงนั้้� น ท่่ า นรัั ง สรรค์์ ไว้้พอสมควร เพราะงานด้้านการอำำ�นวยเพลงกิินเวลาและพลัังไปมาก เกืือบตลอดทั้้�งปีี มีีเวลาปลอดโปร่่งเพื่่�อแต่่งเพลงราวไม่่กี่่�เดืือนในช่่วง พัั ก ร้้ อ นจากงานอำำ�นวยเพลงประจำำ�ในแต่่ ล ะปีี อย่่ า งไรก็็ ต าม แม้้จะมีีเวลาน้้อยกว่่าการอำำ�นวยเพลง ท่่านก็็ยังั แต่่งผลงานขนาดใหญ่่ ไว้้มาก ที่่�โดดเด่่นคืือ ซิิมโฟนีีขนาดใหญ่่ที่่�เสร็็จสมบููรณ์์ 9 บท และ
เพลงขัับร้้องประกอบด้้วยวงดุุริิยางค์์หลายชุุด (orchestral song cycle) ผลงานส่่วนใหญ่่ได้้รัับ การนำำ�ออกแสดงในช่่วงชีีวิิตของท่่านเอง เพราะท่่านเป็็นผู้้�อำำ�นวยเพลงใหญ่่และมีีวงดุุริยิ างค์์อยู่่�ในมืือ และได้้รับั ความชื่่น� ชมโดยเฉพาะจากศิิลปิินดนตรีีร่่วมสมััยเดีียวกััน แต่่ในช่่วงชีีวิิตของท่่านผลงานหลายบท ก็็ยัังเป็็นที่่�กัังขาและนัับว่่ามาก่่อนกาลสำำ�หรัับผู้้�ฟัังทั่่�วไป สำำ�หรัับซิิมโฟนีี หมายเลข 1 ในบัันได้้เสีียง D Major ที่่�จะนำำ�เสนอในการแสดงคืืนนี้้� เป็็นผลงาน จากช่่วงแรกของชีีวิิตการประพัันธ์์ ซึ่่�งผลงานในช่่วงนี้้� Mahler มัักผสมผสานแนวคิิดของเพลงบรรเลง (symphony และsymphonic poem) เข้้ากัับบทเพลงขัับร้้อง โดยทั้้�งหมดอยู่่�ในกรอบของโครงสร้้างซิิมโฟนีี ที่่�สืืบทอดมาจากแบบแผนของเพลงซิิมโฟนีีในสายคลาสสิิก-โรแมนติิก นัับตั้้�งแต่่งานของ Beethoven, Brahms, Schubert, Liszt, Wagner และ Bruckner Mahler เริ่่�มประพัันธ์์ซิิมโฟนีีบทนี้้�ปลายปีี 1887 มาเสร็็จ version แรกในเดืือนมีีนาคมปีี 1888 ในช่่วงนั้้�น Mahler เป็็นผู้้�อำำ�นวยเพลงที่่โ� รงอุุปรากรเมืืองไลพซีีก ดิินแดนเยอรมนีี นำำ�ออกแสดงครั้้ง� แรกที่่� เมืืองบููดาเปส ประเทศฮัังการีี ไม่่ค่่อยประสบความสำำ�เร็็จ ท่่านจึึงแก้้ไขปรัับปรุุงหลายครั้้�งและนำำ�ออก แสดงที่่ห� ลายเมืืองในดิินแดนเยอรมนีีและเมืืองต่่างๆในจัักรวรรดิิออสเตรีีย-ฮัังการีี ในที่่สุ� ดุ ฉบัับสมบููรณ์์ ลงตััวก็็ได้้รัับการตีีพิิมพ์์ครั้้�งแรกในปีี 1898 สำำ�หรัับการนำำ�เสนอครั้้�งแรกๆนั้้�น ผู้้�ประพัันธ์์แสดงแนวคิิดและเขีียนเป็็นลายลัักษณ์์อัักษรถึึง ซิิมโฟนีีบทนี้้�ว่่า เป็็นซิิมโฟนีีที่่�เป็็นดนตรีีพรรณนา (symphonic poem) คืือคล้้ายกัับจะเป็็นเพลงบรรเลง ที่่�เล่่าเรื่่�องหรืือวาดภาพอะไรบางอย่่าง (แม้้จะไม่่ชััดเจนว่่าเป็็นเรื่่�องราวหรืือภาพอะไร) และให้้ชื่่�อเล่่น ซิิมโฟนีีบทนี้้�ว่่า “Titan” (จากชื่่�อนวนิิยายของ Jean Paul) อย่่างไรก็็ตามในการแสดงครั้้�งต่่อๆ มา รวมทั้้�งเมื่่อ� นำำ�ตีีพิิมพ์์ ท่่านก็็ให้้ละชื่่อ� นี้้� รวมทั้้�งคำำ�บรรยายที่่เ� คยเขีียนไว้้สำำ�หรัับ version แรกๆ ของบทเพลง ฉบัับสมบููรณ์์เมื่่�อตีีพิิมพ์์ และใช้้สืืบต่่อมาจนปััจจุุบััน ประกอบด้้วย 4 กระบวน (movement) นัับเป็็นซิิมโฟนีีขนาดใหญ่่ ให้้บรรเลงด้้วยวงดุุริิยางค์์ขนาดใหญ่่แบบปลายสมััยโรแมนติิก ซึ่่�งผู้้�ประพัันธ์์ สามารถใช้้วงดุุริิยางค์์ได้้อย่่างเชี่่�ยวชาญและมีีสีีสัันมาก การใช้้เครื่่�องดนตรีีในวงมีีรายละเอีียดมาก เช่่น ให้้เครื่่�องเป่่าชนิิดต่่างๆมีีแนวเดี่่�ยวของตนเอง เหมืือนมีีภาพและเสีียงผุุดโผล่่ขึ้้�นมาตรงนั้้�นตรงนี้้� ทำำ�ให้้ดนตรีีมีีมิิติมิ าก หรืือบางช่่วงก็็ให้้กลุ่่�มแตร เป่่ามาจากหลัังเวทีีเพื่่อ� ให้้ได้้มิติิ เิ สีียงแว่่วมาจากที่่ไ� กลๆ ช่่วงท้้ายของแต่่ละกระบวน เครื่่�องทุุกกลุ่่�มจึึงรวมพลผนึึกกำำ�ลัังกัันและในที่่สุ� ุดจบเพลงอย่่างอลัังการ แม้้ซิิมโฟนีีบทนี้้�จะเป็็นเพลงบรรเลงล้้วน แต่่ก็็มีีความผููกพัันและอ้้างอิิงถึึงเพลงร้้องที่่� Mahler เคยแต่่งมาก่่อนหน้้า รวมทั้้�งเพลงพื้้�นบ้้าน เช่่น ทำำ�นองหลัักของกระบวนแรก มาจากเพลงร้้องชุุด Lieder eines fahrenden Gesellen หรืือในกระบวนที่่� 3 อ้้างอิิงเพลงกล่่อมเด็็ก Frere Jacques ของฝรั่่�งเศส ซึ่่�งรู้้�จัักกัันดีีโดยทั่่�วไป เพลงนี้้�แพร่่หลายอยู่่�ในแถบออสเตรีียในคริิสต์์ศตวรรษที่่� 19/20 (Mahler เรีียกเป็็นภาษาเยอรมัันว่่า Bruder Martin และผู้้�ฟัังทั่่�วไปอาจคุ้้�นเคยกัับเนื้้�อร้้องภาษาอัังกฤษว่่า Are You Sleeping?)
ทั้้�ง 4 กระบวน ประกอบด้้วย 1. อารััมภบทเริ่่�มต้้าในลีีลาช้้า ก่่อนเข้้าสู่่�ทำำ�นองหลัักของกระบวน ที่่�ผู้้�แต่่งนำำ�ทำำ�นองมาจากดน ตรีีของเพลงขัับร้้องชุุด Lieder eines fahrenden Gesellen ที่่�เคยแต่่งไว้้ก่่อนหน้้า 2. อยู่่�ในลีีลาเพลงเต้้นรำ��พื้้�นบ้้านแบบ เลนดเลอร์์ (Landler) ซึ่่�งให้้ความรู้้�สึึกตรงไปตรงมา สนุุก ซื่่�อๆแบบเพลงเต้้นรำ��ของชาวบ้้าน 3. ลีีลาช้้า เคร่่งขรึึม ทำำ�นองหลัักอิิงทำำ�นองเพลงกล่่อมเด็็ก Frere Jacques ของฝรั่่�งเศส ซึ่่�งรู้้�จัักกัันทั่่�วไปในสัังคมฝรั่่�ง แต่่นำำ�มาแปรให้้อยู่่�ในกลุ่่�มเสีียง minor เพื่่�อให้้ได้้บรรยากาศของเพลง ประกอบขบวนแห่่ศพ (Funeral march) 4. กระบวนนี้้�ขึ้้น� ต้้นมาด้้วยทำำ�นองหลัักจากกลุ่่�มแตร ให้้ความรู้้�สึกึ โอ่่อ่า่ ดุุเดืือดที่่สุ� ดุ ของทั้้�งเพลง สลัับกัับช่่วงไพเราะอ่่อนหวาน ก่่อนจะจบซิิมโฟนีีทั้้�งบทด้้วยความอลัังการ
Symphony No. 1 in D Major “Titan” Gustav Mahler (1860-1911)
Mahler was a Bohemian-Jewish composer and an eminent conductor. He was born, educated and worked in the then Austrian-Hungary Empire in the late 19th century. During his teens he attended the Vienna Conservatory where he learned the piano, composition and started conducting the orchestra there. After his school years, he embarked on a conducting career in his twenties. After conducting professionally for many years with various orchestras. He finally landed one of the most illustrious posts as music director and conductor at the Vienna Hofoper (later; Vienna Staatoper) as well as the Vienna Philharmonic Orchestra. During 1908-1910, Mahler went on to conduct at the Metropolitan Opera and the New York Philharmonic in the US.
Finally, after years of strenuous works and some unfortunate incidents in personal life. He came back to Vienna, after a tour in Europe, gravely sick and died in 1911. Besides his conducting jobs, Mahler left us some compositions which he usually had time to write only during the summer holidays when away from his conducting routine. He finally left the world with 9 complete symphonies, many orchestral songs to name a few. Symphony No. 1 in D Major featured in tonight’s concert was composed during 1887-1888. It represents Mahler’s first creative period when he usually combined elements of purely instrumental symphonic works (symphony and symphonic poem) with orchestral songs. After many first few performances on various stages and many revisions, the final version, printed in 1898, has 4 movements: Introduction in slow tempo leads into the first movement proper which takes its main theme from the music to the famous orchestral song cycle “Lieder eines fahrenden Gesellen” composed earlier in 1885-85. The second movement is in a style of a Ländler, a folk dance popular in Austria. The music gives a simple and straightforward feel of folk music. A slow funeral march which its main theme is a variation, in minor mode, of the French nursery rhyme “Frere Jacques”. (Are You Sleeping?) The Symphony ends with a stormy agitated and most energetic resounding notes.
บทบรรยาย โดย สดัับพิิณ รััตนเรืือง Program Note by Sadubpin Ratanaruang
ณรงค์์ฤทธิ์์� ธรรมบุุตร ผู้้�ประพัันธ์์เพลง ศาสตราจารย์์ ดร. ณรงค์์ฤทธิ์์� ธรรมบุุตร เกิิดเมื่่�อปีี พ.ศ. 2505 ที่่�กรุุงเทพฯ จบปริิญญาเอก ด้้านการประพัันธ์์เพลงจากมหาวิิทยาลััย มิิชิิแกนสเตท ประเทศสหรััฐอเมริิกา มีีผลงานการประพัันธ์์เพลงอย่่าง สม่ำำ��เสมอมาเป็็นระยะเวลากว่่า 20 ปีี ทำำ�ให้้ได้้รัับการยอมรัับว่่าเป็็น นัักประพัันธ์์เพลงคลาสสิิกร่่วมสมััยที่่�โดดเด่่นของไทย มีีความสามารถ ในการประยุุกต์์และผสมผสานดนตรีีไทยกัับดนตรีีคลาสสิิกร่่วมสมััยได้้ อย่่างลงตััว ผลงานการประพัันธ์์เพลง ได้้รับั การบรรเลงโดยวงออร์์เคสตรา ชั้้�นนำำ�ในระดัับนานาชาติิทั้้�งในประเทศสหรััฐอเมริิกา ยุุโรป เอเชีีย และออสเตรเลีีย เช่่น The Civic Orchestra of Chicago, The Japan Shinsei Symphony Orchestra, Hiroshima Symphony Orchestra, Melbourne Symphony Orchestra, Verdehr Trio (USA), IRCAM Ensemble (Paris), Ensemble Stella Nova (Tokyo), Ensemble Kochi, New York New Music Ensemble เป็็นต้้น ตลอดจนถููกนำำ�มาแสดง ในงานดนตรีีร่่วมสมััยนานาชาติิ ที่่�สำำ�คััญหลายงาน อาทิิเช่่น Asia Pacific International Music Festival, Contemporary Music Project, Sendai Asian Music Festival, Asian Contemporary Music, Asian Traditional/Asian Modern, และ Musicarama ในประเทศไทย ผลงานหลายบทได้้รัับการบรรเลงโดยวงดุุริิยางค์์ซิิมโฟนีีกรุุงเทพ วงดุุริิยางค์์ กรมศิิลปากรและวงซิิมโฟนีีออร์์เคสตราแห่่งจุุฬาฯ หลายครั้้ง� ผลงานสำำ�คััญ ได้้แก่่ คอนแชร์์โตมหาราชา สำำ�หรัับระนาดเอกและวงดุุริิยางค์์, ซิิมโฟนีีแห่่งสกลจัักรวาล (ซิิมโฟนีีหมายเลข 1), ซิินโฟเนีียสุุวรรณภููมิิ (ซิิมโฟนีีหมายเลข 2), คอนแชร์์โตสำำ�หรัับออร์์เคสตรา (Concerto for Orchestra), ภวัังค์์สำำ�หรัับระนาดเอกและ วงออร์์เคสตรา, คอนแชร์์โตสัังคีีตมงคลสำำ�หรัับไวโอลิินและวงออร์์เคสตรา, ซิินโฟเนีียจัักรีี, ดัับเบิิลคอน แชร์์โตสำำ�หรัับระนาดเอกและระนาดทุ้้�ม, ซิิมโฟนีีแห่่ง พ.ศ. 2489 (ซิิมโฟนีีหมายเลข 3), โหมโรงจตุุภููมิิ, ถวายปฏิิญญา, ปิิยสยามิินทร์์ (ซิิมโฟนีีหมายเลข 4), นััมมทา สำำ�หรัับเปีียโนและ วงออร์์เคสตรา, เปีียโน คอนแชร์์โตแห่่งกรุุงสยามซึ่่ง� เป็็นผลงานที่่ไ� ด้้รับั ทุุนจากสำำ�นัักงานคณะกรรมการวิิจัยั แห่่งชาติิให้้เป็็นศิิลปิิน ต้้นแบบด้้าน ดุุริิยางคศิิลป์์ในปีี พ.ศ. 2555 และผลงานล่่าสุุด ซิิมโฟนีีประสานเสีียงสำำ�เนีียงระฆััง (The Harmony of Chimes) ในปีี พ.ศ. 2557 ซึ่่ง� เป็็นซิิมโฟนีีหมายเลข 5 ที่่ป� ระพัันธ์์ขึ้้น� สำำ�หรัับเครื่่อ� งดนตรีี อาเซีียนและวงออร์์เคสตรา
นอกจากศาสตราจารย์์ ดร. ณรงค์์ฤทธิ์์� ธรรมบุุตร จะมีีผลงานด้้านการประพัันธ์์เพลงแล้้ว ยัังสร้้างสรรค์์ผลงานทางวิิชาการที่่มีีป � ระโยชน์์ด้้านการประพัันธ์์เพลง เช่่น การผลิิตตำำ�รา “การประพัันธ์์ เพลงร่่วมสมััย” และหนัังสืือ “อรรถาธิิบายและบทวิิเคราะห์์บทเพลงที่่ป� ระพัันธ์์ โดยณรงค์์ฤทธิ์์� ธรรมบุุตร” รวมทั้้�งได้้รับั เชิิญให้้เป็็นวิิทยากรทางด้้านการประพัันธ์์เพลงและการสร้้างงานวิิจัยั ทางดนตรีีจากสถาบััน การศึึกษาทั้้�งในและนอกประเทศและร่่วมนำำ�เสนอผลงานบทประพัันธ์์เพลง ตลอดจนเป็็นคณะกรรมการ ตััดสิินการประกวดบทประพัันธ์์เพลงทั้้�งระดัับชาติิและนานาชาติิ ศาสตราจารย์์ ดร. ณรงค์์ฤทธิ์์� ธรรมบุุตร ได้้รัับการประกาศเกีียรติิคุุณเป็็น “ศิิลปิินศิิลปาธร” (ศิิลปิินร่่วมสมััยดีีเด่่น) สาขาดนตรีี ประจำำ�ปีี พ.ศ. 2551 จากกระทรวงวััฒนธรรม และล่่าสุุดได้้รัับ การเชิิดชููเกีียรติิเป็็น «ศิิลปิินแห่่งชาติิ พุุทธศัักราช 2564” สาขาศิิลปะการแสดง (ดนตรีีสากลประพัันธ์์เพลงคลาสสิิก) ปััจจุุบันั เป็็นอาจารย์์ประจำำ�สาขาการประพัันธ์์เพลง ภาควิิชาดุุริยิ างคศิิลป์์ คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย (www.narongrit.com)
Narongrit Dhamabutra Composer Born in 1962, one of the most respected Thai composers, Professor Dr. Narongrit Dhamabutra received a doctoral degree in Music Composition from Michigan State University, U.S.A. His compositions have been performed regularly by leading orchestras and ensembles in the United States, Europe, Asia, and Australia, such as The Civic Orchestra of Chicago, Japan Shinsei Symphony Orchestra, Hiroshima Symphony Orchestra, Melbourne Symphony Orchestra, Verdehr Trio (USA), IRCAM Ensemble (Paris), Ensemble Stella Nova, Ensemble Kochi, New York New Music Ensemble, and the Ensemble Intercontemporain (Paris). In Thailand, a number of his compositions were performed by the Bangkok Symphony Orchestra, National Symphony Orchestra of Thailand. and Chulalongkorn Symphony Orchestra His major compositions include the Concerto Maharaja for Ranad-ek and Orchestra, Symphony of the Spheres (Symphony No. 1), Symphonic Poem Sinfonia Chakri, Sinfonia Suvarnabhumi (Symphony No. 2), Concerto for Orchestra, Bhawankha for Ranad-ek and Orchestra, Concerto Sankitamankala for Violin and Orchestra, Symphony of B.E. 2489
(Symphony No. 3), Double Concerto for Ranad-ek and Ranad-toom, Jatubhumi Overture, Pledge to H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Symphony Piyasayamintra (Symphony No. 4), Narmada Concerto for Piano and Orchestra, Piano Concerto of Siam which was funded by the Thailand Research Fund to be a model composer in 2012, and recently in 2014, The Harmony of Chimes (Symphony No. 5), a symphony for ASEAN Instruments and Orchestra. Besides his prestige in composition, Professor Dr. Narongrit Dhamabutra has provided Thailand music education two textbooks The Contemporary Composition and Decoding and Analysis: Compositions of Narongrit Dhamabutra, published by Chulalongkorn University Press. Moreover, he has been invited as special lecturer on composing contemporary composition and writing music research by several universities both in Thailand and United States as well as presenting his compositions at an International Conference. He also serves as an adjudicator in many significant composition competitions at the national and international level. In 2008, the Ministry of Culture awarded Professor Dr. Narongrit Dhamabutra as the prestigious Silpathorn Artist for his outstanding artistic career. Currently, he is a full professor of Music Composition at the Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University (www.narongrit.com).
กิิตติินัันท์์ ชิินสำำ�ราญ อ่่านบทกวีีและขัับร้้องเดี่่�ยว ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.กิิตติินัันท์์ ชิินสำำ�ราญ นัักร้้องชาวไทย ที่่มีีผ � ลงานการแสดง ทั้้ง� ในทวีีปเอเชีีย ยุุโรปและสหรััฐอเมริิกาในหลากหลาย รููปแบบ หลัังจากได้้รัับการโหวตให้้เป็็น 4 คนสุุดท้้ายของรายการ The Voice Thailand Season 2 เขาได้้แสดงความสามารถทางด้้าน การร้้ อ งเพลงหลากหลายสไตล์์ ทั้้ � ง ป๊๊ อ ป แจ๊๊ ส ลูู ก กรุุ ง มิิ วสิ ิ คั ั ล และบทเพลงอุุปรากร นอกจากนั้้�นยัังได้้ฝากผลงานทั้้�งระดัับชาติิและ ระดัั บ นานาชาติิ ไว้้ ทั้้ � ง ในและต่่ า งประเทศอย่่ า งต่่ อ เนื่่ � อ ง อาทิิ คอนเสิิร์์ตความสััมพัันธ์์ไทย-อิิสราเอล, ไทย-อเมริิกััน, ไทย-ญี่่�ปุ่่�น, การแสดงต่่อหน้้าสุุดยอดผู้้�นำำ�ชาติิ ASEAN และ APEC, การแสดงพระมหาชนก The Phenomenon Live Show, ละครเวทีีเรื่่�องวัันสละโสดกัับโจทก์์เก่่าๆ บััลลัังก์์เมฆ ข้้างหลัังภาพ และทวิิภพ เดอะมิิวสิิคััล ของโรงละครเมืืองไทยรััชดาลััย และได้้เป็็นตััวแทนนัักร้้องไทยแสดงร่่วมกัับศิิลปิินระดัับโลกมากมาย อาทิิ José Carreras, Andrea Bocelli และ David Foster นอกจากผลงานด้้านการร้้องเพลงแล้้ว ยัังได้้ ใช้้ความสามารถทางการใช้้โทนเสีียงที่่ห� ลากหลายในการร้้องเพลงประกอบละครและพากย์์การ์์ตูนู อาทิิ เพลงประกอบละครดาวคนละดวง เลืือดมัังกร และมาดามดััน การพากย์์เสีียงภาษาไทยให้้กัับตััวละคร Baloo ในภาพยนตร์์ไลฟ์์แอ็็คชั่่�น The Jungle Book และร้้องเพลงและพากย์์เสีียงตััวละคร Beast พระเอกจาก Beauty and the Beast ภาพยนตร์์เพลง โรแมนติิกแฟนตาซีีสุุดยิ่่�งใหญ่่ของวอลท์์ดิิสนีีย์์ มีีผลงานการแสดงละครกัับช่่อง one เรื่่�อง พิิษสวาท เธอคืือพรหมลิิขิิต และไลลาธิิดายัักษ์์ ดร.กิิตติินัันท์์สำำ�เร็็จการศึึกษาระดัับปริิญญาตรีีจากภาควิิชาดนตรีีศึึกษา คณะครุุศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย (เกีียรติินิิยมอัันดัับ 1) หลัังจากนั้้�นเขาได้้รัับทุุนความสามารถพิิเศษทางดนตรีี จาก San Francsico Conservatory of Music ประเทศสหรััฐอเมริิกาเพื่่�อศึึกษาต่่อในระดัับปริิญญาโท ทางด้้านการร้้องเพลงคลาสสิิก โดยสำำ�เร็็จการศึึกษาด้้วย Voice Department Honor ต่่อมาได้้รับั คััดเลืือก ให้้เป็็นศิิลปิินในสัังกััด Falnders Operastudio ประเทศเบลเยี่่�ยมและสำำ�เร็็จการศึึกษาระดัับปริิญญาเอก จากคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ (ดุุริิยางคศิิลป์์ตะวัันตก) จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ทางด้้านการสอน ในระหว่่างที่่ศึ� ึกษาและทำำ�งานอยู่่�ที่่ป� ระเทศสหรััฐอเมริิกาเป็็นอาจารย์์สอนร้้องเพลงที่่� San Francisco School of the Arts และ San Francisco Conservatory of Music ในประเทศไทย เป็็นผู้้�ดูแู ลการร้้องเพลง ให้้กัับนัักแสดงนำำ�ของโรงละครเมืืองไทยรััชดาลััย ศิิลปิินเดอะสตาร์์ ผู้เ้� ข้้าประกวดรายการ The Voice
Thailand ศิิลปิินบริิษััท GMM TV, GMM WhiteFox, Be on Cloud, Millienials Choice และ Kicks Records เป็็นต้้น ปััจจุุบัันครููกิิตเป็็นผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ด้้าน Voice ที่่�สาขาดุุริิยางคศิิลป์์ตะวัันตก คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย
Kittinant Chinsamran Read Poem and Vocal Soloist Asst. Prof. Dr. Kittinant Chinsamran - Baritone Praised by the “San Francisco Chronicle” for his velvety tone, beautiful timbre, and high professionalism, Thai baritone, Asst. Prof. Dr. Kittinant Chinsamran, has established his reputation as one of Thailand’s most versatile singers. In 2013, he gained national recognition when he went to the final round of The Voice Thailand Season 2. He sings a wide range of repertoire from pop to classical through out Europe, the United States and Asia. He has shared the stage with many internationally well-known artists such as David Foster, Richard Marx, Nadine Sierra, Andrea Bocelli and José Carreras. On classical concert stage, he has performed as a soloist in major classical concert repertoire with many well-known orchestras such as Royal Bangkok Symphony Orchestra, National Symphony Orchestra of Thailand, Thailand Philharmonic Orchestra, San Francisco Sinfonietta, Golden Gate Symphony Orchestra, San Juan Symphony Orchestra, and the prestigious Israel Philharmonic. Asst. Prof. Dr. Chinsamran holds doctoral degree in fine art (Western Music) from Chulalongkorn University, Post Graduate Diploma and Masters’ degree in Vocal Performance (both with Voice Department Honors) from the San Francisco Conservatory of Music. He also had been one of the young artists at the Operastudio Vlaanderen in Belgium. He had great privilege to learn the art of classical singing from famous opera singers such as Dame Kiri Te Kanawa, Sir Thomas Allen, Thomas Hampson, Sherrill Milnes, Ann Murray, Diana Soviero, Justino Diaz, and Sarah Walker. As an actor, he appears both on musical theatre stage and in television. His voice also been heard in many Thai TV commercials, TV series and movie soundtracks. With Walt Disney Character Voices International, he was selected to revoice Bill Murray as “Baloo” for Disney live-action film, The Jungle Book 2016. Most recently, his marvellous portrayal of “The Beast” brings Beauty and the Beast to life in Thailand. Presently, he is an Assistant Professor in classical voice at Department of Western Music, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University.
นรอรรถ จัันทร์์กล่ำำ�� ผู้้�อำำ�นวยเพลง อาจารย์์ประจำำ� ภาควิิชาดุุริยิ างค์์ศิลิ ป์์ตะวัันตก คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััยตำำ�แหน่่งรองศาสตราจารย์์ จบการศึึกษาระดัับ ปริิ ญ ญาโทด้้ า นการแสดงไวโอลิิ น ณ สถาบัั น ดนตรีีนิิ วอิ ิ ง แลนด์์ เมืืองบอสตัั น ประเทศสหรัั ฐ อเมริิ ก า และปริิ ญ ญาดุุ ษ ฎีีบัั ณ ฑิิ ต จากจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย นรอรรถมีีผลงานสร้้ า งสรรค์์ ท างดนตรีีที่่ � ห ลากหลายอย่่ า ง มากมายและสม่ำำ��เสมอ ทั้้�งการอำำ�นวยเพลง การเรีียบเรีียงเสีียงประสาน การประพัันธ์์เพลง การบรรเลงและการขัับร้้องในบางคราว นรอรรถและวงรอยััลบางกอกซิิมโฟนีีออร์์เคสตรา (Royal Bangkok Symphony Orchestra; RBSO) ได้้สร้้างผลงานที่่ถืื� อเป็็นนวััตกรรมทางดนตรีีชิ้้�นสำำ�คััญคืือ อััลบั้้�ม “บีีเอสโอบรรเลงสุุนทราภรณ์์” ซึ่่�งเป็็นการผสมผสานบทเพลงสุุนทราภรณ์์กัับวงซิิมโฟนีีออร์์เคสตราและแนวทางการเรีียบเรีียงแบบ ดนตรีีคลาสสิิก อััลบั้้�มดัังกล่่าว เป็็นที่่�ยอมรัับของทั้้�งนัักวิิชาการด้้านดนตรีีและผู้้�ฟัังดนตรีีทั่่�วไป รวม ถึึงคนรุ่่�นใหม่่ที่่�ได้้รู้้�จัักบทเพลงสุุนทราภรณ์์ผ่่านอััลบั้้�มนี้้� นอกจากนี้้� นรอรรถได้้ มีี โอกาสประพัั น ธ์์ เ พลงประกอบเอนิิ เ มชัั น ชุุ ด ‘วรรคทอง’ ประกอบด้้วยบทเพลง 26 บท มีีผลงานการเรีียบเรีียงและอำำ�นวยเพลงชุุด ‘สยามดุุริิยางค์์เครื่่�องสาย’ และได้้จััดคอนเสิิร์์ตผลงานดัังกล่่าวขึ้้�น ซึ่่�งประสบความสำำ�เร็็จอย่่างดีียิ่่�ง ปััจจุุบััน นอกเหนืือจากงานสอนแล้้ว นรอรรถมีีผลงานการสร้้างสรรค์์และการแสดงอย่่าง ต่่อเนื่่�อง ทั้้�งการเป็็นผู้้�อำำ�นวยเพลงประจำำ�วงซิิมโฟนีีออร์์เคสตราแห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย (CU Symphony Orchestra) วงเครื่่ � อ งสายแห่่ ง จุุ ฬ าลงกรณ์์ ม หาวิิ ท ยาลัั ย (CU String Orchestra) ผู้้�อำำ�นวยเพลงรัับเชิิญประจำำ�วง RBSO และการเป็็นนัักประพัันธ์์เพลงและนัักเรีียบเรีียงเสีียงประสาน ล่่าสุุด นรอรรถ ได้้รัับรางวััลศิิลปิินศิิลปาธร สาขาดนตรีี ประจำำ�ปีี พ.ศ. 2561
Nora-ath Chanklum Conductor Associate Professor Dr. Nora-ath started his conducting lessons with Richard Hornich at the New England Conservatory of Music, Boston, USA. After graduating his master’s degree, he joined the faculty member of the Department of Music, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, and Academic Affair at the KPN Music Academy. He furthered his conducting studies with Assistant Professor Col. Choochart Pitaksakorn and regularly received advice on conducting form Dr. Pradhak Pradipasen. In addition to playing the violin, his major instrument, Nora-ath continues his conducting activities in various kinds of music, including compositions by Aaron Copland, Igor Stravinsky, Darius Milhaud, Ottorino Respighi etc. He also conducted and directed Gian Carlo Menotti’s Opera, The Medium. In 2004, he was awarded a scholarship from Chulalongkorn University to study conducting with Michael Jinbo at the Pierre Monteux School of Conducting, Mains, USA. After having finished the course, he has regularly appeared as conductor with the Chulalongkorn University Symphony Orchestra, the Bangkok Symphony Orchestra and also as guest conductor with the National Symphony Orchestra. In 2006 Nora-ath was invited as guest conductor at the Yong Seaw Taw Conservatory, National University of Singapore and also as a jury for the conservatory’s concerto competition. In 2007 his violin solo recording “Tri” was awarded the Best Instrumental Recording by Khom Chud Luek magazine. Currently, Nora-ath is a resident conductor of Chulalongkorn University Orchestra, and Guest Conductor of the Royal Bangkok Symphony Orchestra (RBSO). From his dedication and numerous musical activities, Nora-ath was recently awarded the prestigious ‘Silapathorn’ Award for the year 2018.
นัักดนตรีี
Musician
ไวโอลิิน 1
1st Violin
ไวโอลิิน 2
2nd Violin
รวยชััย แซ่่โง้้ว อุุษา โชติิแช่่มช้้อย ภููมิิสิิริิ ภััทรกุุลบารมีี อััญชิิสา ศรีียายาง ปุุญญพัันธุ์์� พิิริิปุุญโญ อติิภา วิิเศษโอภาส อติิกานต์์ นาคเสน ณิิชชา แป้้นเหมืือน ณััฐชา วงศ์์อริิยะกวีี รััชพล แสงจัันทร์์ ฟ้้าใส บููรณศิิริิ นิิรััฐศา อยู่่�สมบููรณ์์ เพ็็ญพััชร์์ สุุวรรณกิิจ พาคร อุุดมทรััพย์์ ฐานิิกาประสููตร์์ ฉััตรชััย สุุขนิิยม ณััฐชา หมวดทอง พิิยดา คงพรหม ฉััตรดนััย นวลละออง สุุชนา ชุุณหะนัันทน์์ ปััญรััฏฐ์์ วงศ์์ปััทมภาส ภััทรมน ไกรธีีรวุุฒิิ ชิินพงศ์์ ไหลสกุุล ณิิชานัันท์์ เอมอิ่่�ม
Ruaychai Saengow Usa Chotchamchoi Poomsiri Phatarakulbaramee Anchisa Sriyayang Poonyaphan Phiripoonyo Atipa Wisedopas Atikarn Naksen Nitcha Panmuan Nuttacha Wongareyakawee Rachapong Saengchan Fhasai Buranasiri Nirutsa Usomboon Phenpach Suwanakit Pakorn Udomchub Tanika Prasood Chatchai Sukniyom Natcha Muadthong Piyada kongprom Chaddanai Nulla-ong Suchana Chunhanant Panrat Wongpattamapad Pattaramon Kraiteerawut Shinapong Laisakul Nichanant Aim-im
วิิโอลา
Viola
เชลโล
Cello
ดัับเบิิลเบส
Double Bass
ภาณุุพงศ์์ เสริิมพงษ์์ไพศาล ธนวรรณ ฤทธิ์์�เดชขจร ขจร โกศลสิิริิพจน์์ นราวิิชญ์์ ผู้้�มีีสััตย์์ นิิธิิวดีี ขาวสะอาด จงกล แสงผล สิิริิรัักษ์์ ดีีตะนะ ภััทรพล บุุญฉิิม ปาณััสม์์ ดำำ�รงศิิริิ พรนภััส ปิ่่�นโฉมฉาย กิิตติิคุุณ สดประเสริิฐ ณััฐนนท์์ กู้้�เดีียรติิกาญจน์์ ประทีีป วรศริิน ชญานิิศ ศิิริิโรจน์์ รอยพิิมพ์์ ถาวรสุุวรรณ ทศพร โพธิ์์�ทอง สิิริิพงษ์์ คีีตศิิลป์์สกุุล สมััชชา พ่่อค้้าเรืือ พิิมพ์์ชนก เกตุุมีี เสาวภา แจ่่มโคกสููง พงศธร สุุรภาพ พีีรภััค เฉลิิมสุุข ยศพนธ์์ อ่่อนสำำ�อางค์์ สิิริิพงศ์์ สิิริิรััตนาวงศ์์ ภููมิิรพีี วงศ์์อนุุสรณ์์ ฉััทมน ปั้้�นประเสริิฐ
Phanupong Sermpongpaisal Tanawan Ritdatchkajorn Kakorn Kosolsiripoj Narawich Poomeesat Nithiwadee Kaosa-ard Jongkol Saengpol Sirirak Deetana Miti Visuthiaomporn Pathara Boonchim Pornnaphas Pinchomchay Kittikun Sodprasert Nuttanon Googietgarn Prateep Worasarin Chayanit Siriroj Roypim Thavornsuwan Tossaporn Pothong Siripong Keetasilpsakul Samatthaya Wathawattana Pimchanok Ketmee Saowapha Jamkoksoong Pongsatorn Surapap Parapak Chalermsuk Yossapon Ornsam-ang Siripong Sirirattanawong Phumraphi Wong-anusorn Chatmon Punprasert
ฟลููต
Flute
โอโบ
Oboe
คลาริิเน็็ต
Clarinet
บาสซููน
Bassoon
ฮอร์์น
Horn
กฤตณััฐ ปััญจธนมงคล วรพงศ์์ แสงเพชรวััฒนกุุล กชวรรณ ไทญาณสิิทธิิ อารีีรััตน์์ มิิตรประสิิทธิ์์� ภััคร์์ภููมิิ เจนเจษฎา สิิรดนััย เหลืืองอรุุณ อธิิชนัันท์์ จููน้้อย นวพรรษ เลิิศศิิริิ ภััคจิิรา คงคารัักษ์์ ศุุภกรณ์์ สอนศรีี สาริิศา พุ่่�มพุุก เยาวลัักษณ์์ ทองปรีีชา ศุุภวุุฒิิ สหสััจจญาณ กนกสรร รุ่่�งจิิรธนานนท์์ ณััฏฐชััย สีีสกุุลวรารัักษ์์ คุุณาทร ทีีฆกุุล ศุุภบุุตร โสตถิิปรีีดาวงศ์์ ณธกร บุุณยธนาศิิริิ เจ้้าพระยา มาสง ภิิญญา เมธเศรษฐ วิิรชิิตา เปรมานนท์์ สรวิิชญ์์ โสภณคณาสาร นราทร ศรีีประสงค์์ อานาคิินทร์์ สวัันตรััจฉ์์ ภููวเดช ดอกกลอย
Krittanat Panchathanamongkol Worapong Saengpetchwattanakul Kotchawan Taiyansit Areerat Mitrprasit Siradanai Luengaroon Pakpoom Janejetsada Athichanun Joonoi Nawapat Lertsiri Pakjira Kongkarak Supakorn Sornsri Sarisa Pumpuk Yaowaluck Thongpreecha Supawuth Sahasatjakarn Kanoksun Rungjirathananont Natthachai Seesakulwararak Kunathorn Teekakul Suppabutr Sotipreedawong Nuthakorn Boonyathanasiri Chaopraya Masong Pinya Metseth Wirachita premananda Sorawith Soponkanasan Naratorn Sriprasong Anakin Sawantharaj Puwadech Dokkloy
ทรััมเป็็ต
Trumpet
ทรอมโบน
Trombone
ทููบา
Tuba
เครื่่�องกระทบจัังหวะ
Percussion
ฮาร์์พ
Harp
ทิิพวรรณ สัันธิิศิิริิ ปฏิิพล สุุขสา กิิตติิทััต สุุวรรณดวง ธนััช มงคลฤกษ์์ วศิิน ชััยประเสริิฐ กรวิิชญ์์ สิิงห์์เพชร ยุุทธวีีร์์ สงวนเพชรจิินดา อััครวััฒน์์ ปราบณรงค์์ ศิิวััช โสภาเจริิญ บััณฑิิต ผ่่องโชค ภาคภููมิิ กัันนิิกา บุุณยวีีร์์ พงษ์์เจริิญ สุุทธิิพจน์์ ม่่วงเจริิญ รวิิช รััชตะสมภพ รััชพล เฟื่่�องคอน บููรพา นกทอง ภััทรพล อดุุลยานุุภาพ ภููมิิพััฒน์์ วรรณโอทอง เอมมา มิิตะไร
Thipawan Santisiri Patipol Suksa Kittithay Suwanduang Thanut Mongkolrerks Wasin Chaiprasert Korawich Singpetch Yuttawee Sa-nguanpetchjinda Akkarawat Prabnarong Siwach Sopacharoen Bundit Pongchok Pakpoom Kannika Boonyawee Pongchareon Sutthipot Muangcharoen Ravich Rachatasompope Ratchaphon Fuangkorn Burapa Nokthong Phattaraphol Adulayanubap Poomipat Wan-othong Emma Mitarai
นัักร้้องประสานเสีียง
Choir
โซปราโน
Soprano
อััลโต
Alto
เทเนอร์์
Tenor
เบส
Bass
สิิริิกร เจีียรสวััสดิ์์�โสภณ กัันยาวีีร์์ ชุุติิพัันธ์์เจริิญ กมลพร คงจิินดา ชััญญา มณีีวรรณ เฌอมิินทร์์ พิิริิยาวรวงศ์์ ภาณุุ ภััสสร์์ บุุนนาค ลััลนา หนููเรขา ปาลิิตา ธรรมประโชติิ กััญญาวีีร์์ ซอนาติิ ธนวััฒน์์ วรรณสม ฤทธิ์์�ตะวััน เชยจัันทร์์ผลิิ ธนกร วััฒนกููล คมชััด อ่่อนสมพงษ์์ ณััฐนัันท์์ ยงพฤกษา ชลสิิทธิ์์� นงค์์พรหมมา
Sirikorn Jeerasawadsopon Kanyawee Chutiphancharoen Kamolporn Khongjinda Chanya Maneewan Chermin Piriyaworrawong Bhanu Patr Bunnag Lunlana Nurekha Palita Thumprachot Kanyawee Sornati Thanawat Wannasom Rittawan Shoeychanpli Tanakorn Wattanakul Comchat Onsompong Nutthanun Yongpruksa Chonlasit Nongpromma
ขอขอบคุุณ กองดุุริิยางค์์ทหารเรืือ กองดุุริิยางค์์ทหารบก กองดุุริิยางค์์ทหารอากาศ วงดุุริิยางค์์สากล กรมศิิลปากร มููลนิิธิิรอยััลแบงค์์คอกซิิมโฟนีีออร์์เคสตร้้าฯ วิิทยาลััยดนตรีี มหาวิิทยาลััยรัังสิิต ตลอดจนเจ้้าหน้้าที่่� และผู้้�เกี่่�ยวข้้องทุุกฝ่่าย
พิิมพ์์ที่่� สำำ�นัักพิิมพ์์จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย นายอรััญ หาญสืืบสาย ผู้้�พิิมพ์์โฆษณา โทร. 0 ๒๒๑๘ ๓๕๖๓ www.cupress.chula.ac.th ๑๐๐%