จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเสนอการแสดงดนตรี เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดย วงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ วันเสาร์ที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๑๔.๐๐ น. หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Chulalongkorn University Requests your presence at a concert On the Auspicious Occasion of Her Majesty Queen Sirikit The Queen Mother’s 90th Birthday Performed by Chulalongkorn University Symphony Orchestra Under the Royal Patronage of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra 2:00 PM, Saturday, December 3, 2022 Chulalongkorn University Auditorium
‡√ ¡° Õμ ß Õ °∑ ߬ ߉¥ √ ∫‡° ¬√μ ®“°º™«¬»“ μ√“®“√¬ æπ‡Õ° ™™“μ æ∑°…“°√ »≈ªπ·Àß™“μ·≈–»≈ªπ·Àß ¡À“«∑¬“≈¬ ´ß‡ªπºÕ”𫬇æ≈ߧπ·√°¢Õß«ß °√≥“‡ªπºÕ”𫬇æ≈ß„À°∫ «ß´¡‚øπÕÕ√‡§ μ√“·À߮Óœ Õ°§√ß √«¡∑ߺ™«¬»“ μ√“®“√¬™«∑¬ ¬√–¬ß ¥√.¿“«»∑∏ æ√¬–æß…√μπ ·≈–º™«¬»“ μ√“®“√¬ ¥√.π√Õ√√∂ ®π∑√°≈” π∫‡ªπ§√ß·√°∑¡ºÕ”𫬇æ≈ß∂ß 4 ∑“π„π°“√· ¥ß§Õπ‡ √μ¢Õ߮Ó≈ß°√≥ ¡À“«∑¬“≈¬ ¢Õ· ¥ß§«“¡™ π™¡° ∫º≈ ”‡√ ®·≈–§«“¡° “«Àπ “¢Õß«ß´ ¡‚øπ ÕÕ√ ‡§ μ√“·À ß® Ó≈ß°√≥ ¡À“« ∑¬“≈ ¬ ∑ ¥”‡π π¡“Õ¬ “ß¡ æ ≤π“°“√·≈–°“«Àπ“μ≈Õ¥‡«≈“
2 “√Õ∏°“√∫¥ „π‚Õ°“ §√∫ 102 ª ·À ß°“√ ∂“ªπ“® Ó≈ß°√≥ ¡À“« ∑¬“≈ ¬ «ß´ ¡‚øπ ÕÕ√ ‡§ μ√“·À ß® Ó≈ß°√≥ ¡À“« ∑¬“≈ ¬ „πæ√–Õ ª∂ ¡¿ ¡‡¥ ® æ√–‡®“æπ“߇∏Õ ‡®“ø“°≈¬“≥«≤π“ °√¡À≈«ßπ√“∏«“ √“™π§√π∑√ °°“« ‡¢“ ª∑ 30 „πª æ.». 2563 ∑®–∂ßπ ‡æÕ‡ªπ°“√‡√¡μπ·Àß°“√‡©≈¡©≈Õß ∑ß Õß«“√– ”§≠¥ß°≈“«
π μ‡°
®“°°“√∑¡‡∑·√ß°“¬·√ß„®¢Õߧ≥“®“√¬ ∫§≈“°√ π μ ‡° “·≈–π μª ®® ∫ π μ≈Õ¥®πº ∑√ߧ ≥« ≤ ∑ßÀ≈“¬ „ππ“¡¢Õß® Ó≈ß°√≥ ¡À“«∑¬“≈¬ ¢Õ¢Õ∫§≥∑°∑“π∑¡ «π„π°“√ π∫ ππμ≈Õ¥¡“√«¡∑ß°“√· ¥ß §Õπ‡ √μ„π§√ßπ ·≈–¢Õ¢Õ∫§≥º∑„À§«“¡ π„®·≈–‡ªπ°”≈ß„®·°«ß´¡‚øπ ÕÕ√‡§ μ√“·À߮Óœ ¡“‚¥¬μ≈Õ¥ »“ μ√“®“√¬ ¥√.∫≥±μ ‡ÕÕÕ“¿√≥ Õ∏°“√∫¥ โลโกชนิดสีเทา โลโกชนิดสีดำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอเสนอการแสดงดนตรีของวงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อเผยแพร่ศักยภาพและความสามารถของคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิต ปัจจุบันของมหาวิทยาลัย นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2533 วงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาฯ ได้จัดกิจกรรมการ แสดงดนตรีอย่างต่อเนื่อง การจัดแสดงดนตรีแต่ละรายการ วงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาฯ ได้คัดเลือกบทเพลงที่มีเนื้อหาทางดนตรีอันเข้มข้น เพื่อให้ผู้ฟังได้รับอรรถรส คุณค่า และ ความไพเราะ และให้นักดนตรีได้รับความรู้และการพัฒนาทักษะทางดนตรี การจัดการแสดงในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงวาระครบรอบคล้ายวันพระบรมราชสมภพ ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทุกเดือน ธันวาคม และยังเป็นการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวาระมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในปีนี้ การแสดงนี้เป็นผลส�าเร็จที่เกิดขึ้นการจากทุ่มเทแรงกายแรงใจของคณาจารย์ บุคลากร นิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน ตลอดจนความกรุณาของศิลปินแห่งมหาวิทยาลัย และผู้ทรงคุณวุฒิ ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนในการสนับสนุนการแสดง คอนเสิร์ตครั้งนี้ และขอขอบคุณผู้ที่ให้ก�าลังใจแก่วงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาฯ มาโดยตลอด ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดี สารจากอธิการบดี
®ß‡°¥°“√· ¥ß√“¬°“√ çReunion Concerté ‚¥¬
“·≈–π°¥πμ√∑ ‡§¬√«¡«ß°π¡“μß·μ
Message from the President
On behalf of Chulalongkorn University, I am delighted to present tonight’s concert in a performance by Chulalongkorn University Symphony Orchestra (CUSO) under the Royal Patronage of HRH Princess Galyani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra. The Concert is part of CUSO’s continued effort to provide a creative musical platform for our artistic community including music instructors, present as well as past students.
CUSO has been active in the field of classical music for more than 30 years with regular concerts featuring substantial musical works which have always brought joy and exuberant artistic experiences on part of the musicians as well as the audiences.
On the 102nd anniversary of the establishment of Chulalongkorn University and the upcoming 30th annual celebration of the founding of the Chulalongkorn University Symphony Orchestra under the Royal Patronage of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Laung Naradhiwas Rajanagarindra in 2020, it has been deemed appropriate to celebrate these two occasions with a special programme, the Reunion Concert, which is to be performed by Chulalongkorn University alumni and musicians who played in the ensemble at the time when the orchestra was formed. This performance will be even more special because Assistant Professor Colonel Choochart Pitaksakorn, a National Artist, an Artist of the University, will once again, direct the music. He will be joined by Assistant Professor Choowit Yurayong, Dr.Pawasut Piriyapongrat and Assistant Professor Dr.Nora-ath Chanklum, making this concert one that will be led by four directors.
‡√ ¡° Õμ ß Õ °∑ ߬ ߉¥ √ ∫‡° ¬√μ ®“°º™«¬»“ μ√“®“√¬ æπ‡Õ° ™™“μ æ∑°…“°√ »≈ªπ·Àß™“μ·≈–»≈ªπ·Àß ¡À“«∑¬“≈¬ ´ß‡ªπºÕ”𫬇æ≈ߧπ·√°¢Õß«ß °√≥“‡ªπºÕ”𫬇æ≈ß„À°∫ «ß´¡‚øπÕÕ√‡§ μ√“·À߮Óœ Õ°§√ß √«¡∑ߺ™«¬»“ μ√“®“√¬™«∑¬ ¬√–¬ß ¥√.¿“«»∑∏ æ√¬–æß…√μπ ·≈–º™«¬»“ μ√“®“√¬ ¥√.π√Õ√√∂ ®π∑√°≈” π∫‡ªπ§√ß·√°∑¡ºÕ”𫬇æ≈ß∂ß 4 ∑“π„π°“√· ¥ß§Õπ‡ √μ¢Õ߮Ó≈ß°√≥ ¡À“«∑¬“≈¬ ¢Õ· ¥ß§«“¡™ π™¡° ∫º≈ ”‡√ ®·≈–§«“¡° “«Àπ “¢Õß«ß´ ¡‚øπ ÕÕ√ ‡§ μ√“·À ß® Ó≈ß°√≥ ¡À“« ∑¬“≈ ¬ ∑ ¥”‡π π¡“Õ¬ “ß¡ æ ≤π“°“√·≈–°“«Àπ“μ≈Õ¥‡«≈“
Tonight’s concert is in memory of the late King Bhumibol whose Birthday is in December. And the concert is also part of a celebration in honour of Her Majesty Queen Sirikit, the Queen Mother who celebrates her 90 th Birthday this year. Once again, on behalf of Chulalongkorn University, I would like to thank the artists, instructors, present and past students as well as all supporters involved for making this concert possible. I also would like to thank the audience for your generous support as always.
I would like to express my appreciation for the achievements and progress of the Chulalongkorn University Symphony Orchestra, which has consistently developed through the concerted effort of faculty members, staff, alumni and current students as well as specialists. On behalf of the University I wish to thank all of you for your support of all the activities of the Chulalongkorn University Symphony Orchestra and, also, for this Concert. In addition, I extend my thanks to those who have shown interest in and given moral support to the Universityûs classical musical group.
Professor Bundhit Eua-arphorn, Ph.D. President
2 “√Õ∏°“√∫¥ „π‚Õ°“ §√∫ 102 ª ·À ß°“√ ∂“ªπ“® Ó≈ß°√≥ ¡À“« ∑¬“≈ ¬ «ß´ ¡‚øπ ÕÕ√ ‡§ μ√“·À ß® Ó≈ß°√≥ ¡À“« ∑¬“≈ ¬ „πæ√–Õ ª∂ ¡¿ ¡‡¥ ® æ√–‡®“æπ“߇∏Õ ‡®“ø“°≈¬“≥«≤π“ °√¡À≈«ßπ√“∏«“ √“™π§√π∑√ °°“« ‡¢“ ª∑ 30 „πª æ.». 2563 ∑®–∂ßπ ‡æÕ‡ªπ°“√‡√¡μπ·Àß°“√‡©≈¡©≈Õß ∑ß Õß«“√– ”§≠¥ß°≈“«
π μ‡° “·≈–π°¥πμ√∑
‡° “·≈–π μª ®® ∫ π μ≈Õ¥®πº ∑√ߧ ≥« ≤ ∑ßÀ≈“¬ „ππ“¡¢Õß® Ó≈ß°√≥ ¡À“«∑¬“≈¬ ¢Õ¢Õ∫§≥∑°∑“π∑¡ «π„π°“√ π∫ ππμ≈Õ¥¡“√«¡∑ß°“√· ¥ß §Õπ‡ √μ„π§√ßπ ·≈–¢Õ¢Õ∫§≥º∑„À§«“¡ π„®·≈–‡ªπ°”≈ß„®·°«ß´¡‚øπ ÕÕ√‡§ μ√“·À߮Óœ ¡“‚¥¬μ≈Õ¥ »“ μ√“®“√¬ ¥√.∫≥±μ ‡ÕÕÕ“¿√≥ Õ∏°“√∫¥ 3
®ß‡°¥°“√· ¥ß√“¬°“√ çReunion Concerté ‚¥¬
‡§¬√«¡«ß°π¡“μß·μ
®“°°“√∑¡‡∑·√ß°“¬·√ß„®¢Õߧ≥“®“√¬ ∫§≈“°√ π μ
โลโกชนิดสีเทา
โลโกชนิดสีดำ
อาทิ วงเครื่องสาย (String Orchestra), วงเครื่องเคาะ (Percussion Ensemble), วงคลาริเน็ต (Clarinet Ensemble), วงแซ็กโซโฟน (Saxophone Ensemble), วงฟลูต (Flute Ensemble), คณะนักร้องประสานเสียง (Concert Choir) และ วงวิโอลา (Viola ensemble) ในนามวง “The Viola Lovers” เพื่อสืบสานพระด�าริของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
°“√ √“ߧ√ Õ“®“√¬ π°¥πμ√¡“°¡“¬ ´ßª®®∫πÕÕ°‰ª‡ªπ À≈ °„π·μ ≈– ∂“∫ π∑“ߥ “π¥πμ√ ·≈–«ß°“√¥πμ√ ∑ «ª√–‡∑» ·≈–™ «¬° π √ “ß ‡¬“«™π§π¥πμ√„À‡μ∫‚μ¢πμÕ‰ª °“√®¥§Õπ‡ √μ„π√“¬°“√ çReunion Concerté πÕ°®“°‡ªπ°“√®¥‡πÕß „π‚Õ°“ ∑«ß´¡‚øπœ ®–°“«‡¢“ ª∑ 30 ¬ß‡ªπ°“√‡ª¥æπ∑·≈–™°™«π懰“π° ¥πμ√ ™“«® Óœ „À ‰¥ °≈ ∫¡“æ∫ª– ß √√§ ·≈–‡≈ π¥πμ√
4 “√®“°ºÕ”𫬰“√¥πμ√ º».æ.Õ.™™“μ æ∑°…“°√ ºÕ”𫬰“√¥πμ√ «ß´¡‚øπÕÕ√‡§ μ√“·À߮Ó≈ß°√≥¡À“«∑¬“≈¬ „πæ√–Õª∂¡¿ ¡‡¥® æ√–‡®“æπ“߇∏Õ ‡®“ø“°≈¬“≥«≤π“ °√¡À≈«ßπ√“∏«“ √“™π§√π∑√ ‰¥¥”‡ππ°®°√√¡ ∑“ߥ“π¥πμ√μ–«πμ°¡“Õ¬“ßμÕ‡πÕßμß·μª
∫π
®® ∫
´ ß ‡ªπ‚Õ°“ ∑À“‰¥¬“°¬ß ·≈–‰¡‡æ¬ß·μ懰“·≈–π μ®Ã“œ
‰¡ “¡“√∂‡μ∫„À≠‰¥Õ¬“߇¢¡·¢ß‡™π„𪮮∫πÀ“°¢“¥§«“¡™«¬‡À≈Õ¢Õßπ°¥πμ√ √∫‡™≠®“°Àπ«¬ß“πμ“ßÊ À≈“¬∑“π∑¡“™«¬‚Õ∫Õ¡·≈–„À§«“¡√∑“ߥ“π¥πμ√ °∫π μ®Ã“œ μ≈Õ¥¡“ „ππ“¡¢Õß«ß´¡‚øπÕÕ√‡§ μ√“·À߮Ó≈ß°√≥¡À“«∑¬“≈¬ „πæ√–Õª∂¡¿ ¡‡¥ ®æ√–‡® “æ π“߇∏Õ ‡® “ø “° ≈¬“≥ « ≤π“ °√¡À≈«ßπ√“∏ «“ √“™π§√ π∑√ º¡¢Õ¢Õ∫§≥懰“∑°∑“π π°¥πμ√√∫‡™≠ ∂“∫π·≈–Àπ«¬ß“πμ“ßÊ ∑‡°¬«¢Õß ∑¡ «π√«¡„À°“√· ¥ß§√ß𠔇√®≈≈«ß‡ªπÕ¬“ߥ โลโกชนิดสีเทา โลโกชนิดสีดำ ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปีของการก่อตั้งวงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ทางวงได้มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องในหลายด้าน ทั้งในแง่ของจ�านวนคอนเสิร์ต ที่น�าเสนอในแต่ละฤดูกาลคอนเสิร์ต บทประพันธ์เพลงที่น�าเสนอในคอนเสิร์ตแต่ละครั้ง จ�านวน ผู้ชมที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการผลิดอกออกใบเป็นวงดนตรีอีกหลายรูปแบบ
ในการเผยแพร่ความรู้ทางด้านดนตรีคลาสสิกให้แก่เยาวชนและ ประชาชนทั่วไป การแสดงคอนเสิร์ตในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงวาระครบรอบคล้ายวันพระบรมราชสมภพ ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในทุกเดือนธันวาคม และยังเป็นการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวาระมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในปีนี้ โดยทางวงได้น�าบทเพลงเปียโนเดี่ยวกับวงออร์เคสตราในชื่อผลงาน “เปียโนคอนแชร์โต มหามงคล” ผลงานการประพันธ์ของ ศ.ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร ศิลปินแห่งชาติ และเดี่ยวเปียโน โดย ผศ. ดร.รามสูร สีตลายัน กลับมาแสดงอีกครั้งในคืนนี้ ร่วมด้วยผลงานเพลง “ Journey Through the Music of the Great King, A Suite for Orchestra” ผลงานการเรียบเรียง เสียงของ รศ. ดร.นรอรรถ จันทร์กล�่า ศิลปินศิลปาธร ที่ได้น�าบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเรียงร้อยต่อกัน เป็นเพลงชุด (suite) และ Karelia Suite, Op. 11 ผลงานของ Jean Sibelius อ�านวยเพลง โดย รศ. ดร.นรอรรถ จันทร์กล�่า ศิลปินศิลปาธร ผู้อ�านวยเพลงประจ�าวงซิมโฟนีออร์เคสตรา แห่งจุฬาฯ
æ.». 2533 ·≈–°”≈ß°“«‡¢“ ª∑ 30 „πª æ.». 2563 π «ß´¡‚øπœ ‰¥‡μ∫‚μ¢πÕ¬“ß¡“° ¡°®°√√¡∑“ߥ“π«ß¥πμ√‡™¡‡∫Õ√ μ“ßÊ °“√Õ∫√¡‡™ßªØ∫μ°“√∑“ߥ“π¥πμ√∑„À§«“¡√·°º π„® ·≈–∑ ”§≠·≈–‡Àπ‰¥Õ¬“ß™¥‡®π§Õ
√ «¡°
μª
π
‡∑“ππ «ß´¡‚øπœ ®–
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
º».æ.Õ.™™“μ æ∑°…“°√ ºÕ”𫬰“√¥πμ√
¥πμ√ ™“«® Óœ „À ‰¥ °≈ ∫¡“æ∫ª– ß √√§ ·≈–‡≈ π¥πμ√ √ «¡° ∫π μª ®® ∫ π ´ ß
≤π“ °√¡À≈«ßπ√“∏ «“ √“™π§√ π∑√ º¡¢Õ¢Õ∫§≥懰“∑°∑“π π°¥πμ√√∫‡™≠ ∂“∫π·≈–Àπ«¬ß“πμ“ßÊ ∑‡°¬«¢Õß ∑¡ «π√«¡„À°“√· ¥ß§√ß𠔇√®≈≈«ß‡ªπÕ¬“ߥ ในนามของวงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ผมขอขอบคุณ สถาบันและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมทั้งเจ้าหน้าที่ทุกแผนก ตลอดจนนักดนตรี และผู้ปกครองที่มีส่วนร่วมให้การแสดงครั้งนี้ส�าเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี ผศ. พ.อ.ชูชาติ พิทักษากร ผู้อ�านวยการดนตรี
‡ªπ‚Õ°“ ∑À“‰¥¬“°¬ß ·≈–‰¡‡æ¬ß·μ懰“·≈–π μ®Ã“œ ‡∑“ππ «ß´¡‚øπœ ®–‰¡ “¡“√∂‡μ∫„À≠‰¥Õ¬“߇¢¡·¢ß‡™π„𪮮∫πÀ“°¢“¥§«“¡™«¬‡À≈Õ¢Õßπ°¥πμ√ √∫‡™≠®“°Àπ«¬ß“πμ“ßÊ À≈“¬∑“π∑¡“™«¬‚Õ∫Õ¡·≈–„À§«“¡√∑“ߥ“π¥πμ√ °∫π μ®Ã“œ μ≈Õ¥¡“ „ππ“¡¢Õß«ß´¡‚øπÕÕ√‡§ μ√“·À߮Ó≈ß°√≥¡À“«∑¬“≈¬ „πæ√–Õª∂¡¿ ¡‡¥ ®æ√–‡® “æ π“߇∏Õ ‡® “ø “° ≈¬“≥ «
โลโกชนิดสีเทา
Message from the Music Director
Chulalongkorn University Symphony Orchestra (CUSO) under the royal patronage of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Laung Naradhiwas Rajanagarindra, has always been growing in terms of the number of concerts given, its repertory, as well as the number of audiences. In recent years, performances under the organization of the CUSO have also branched out into concerts by various types of ensemble including performances of the viola ensemble, titled çThe Viola Loversé, percussion ensemble, clarinet & saxophone ensembles, concert choir as well as string orchestra.
Message from the Music Director
Chulalongkorn University Symphony Orchestra (CUSO) under the Royal Patronage of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Laung Naradhiwas Rajanagarindra, has always been growing in terms of the number of concerts, its repertory, as well as the number of audiences. In recent years, performances under the organization of the CUSO have also branched out into concerts by various types of ensemble including performances of the “The Viola Lovers” orchestra, percussion ensemble, clarinet & saxophone ensembles, concert choir as well as string orchestra.
Chulalongkorn University Symphony Orchestra (CUSO) under the royal patronage of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Laung Naradhiwas Rajanagarindra, has always been growing in terms of the number of concerts given, its repertory, as well as the number of audiences. In recent years, performances under the organization of the CUSO have also branched out into concerts by various types of ensemble including performances of the viola ensemble, titled çThe Viola Loversé, percussion ensemble, clarinet & saxophone ensembles, concert choir as well as string orchestra.
Tonightûs concert features works by 4 major composers; namely, Franz von Suppe, Astor Piazzolla, Charles-Camille Saint-Saens, Antonio Vivaldi and Peter I. Tchaikovsky. Our programme tonight will feature Suppeûs famous Light Cavalry Overture, Piazzollaûs Libertango, Saint-Saensû Bacchanale Dance from the Opera çSamson & Delilah and Tchaikovskyûs 1812 Overture. Each work will be conducted by our well-known and active conductor including Asst. Prof. Choowit Yurayong, Dr. Pawasut Piriyapongrat, Dr. Nora-ath Chanklum and myself.
Tonight’s concert is in memory of the late King Bhumibol whose Birthday is in December. And the concert is also part of a celebration in honour of Her Majesty Queen Sirikit, the Queen Mother who celebrates her 90 th Birthday this year. The programme features Piano Concerto Mahamankala written by Professor Dr. Narongrit Dhamabutra, National Artist, an Orchestral Suite ‘Journey Through the Music of the Great King’ arranged from HM’s compositions by Associate Professor Dr. Nora-ath Chanklum, Silapathorn Artist. The programme will be concluded by Karelia Suite, Op 11 by Jean Sibelius. The performance is under the baton of Associate Prof. Dr. Nora-ath.
Tonightûs concert features works by 4 major composers; namely, Franz von Suppe, Astor Piazzolla, Charles-Camille Saint-Saens, Antonio Vivaldi and Peter I. Tchaikovsky. Our programme tonight will feature Suppeûs famous Light Cavalry Overture, Piazzollaûs Libertango, Saint-Saensû Bacchanale Dance from the Opera çSamson & Delilah and Tchaikovskyûs 1812 Overture. Each work will be conducted by our well-known and active conductor including Asst. Prof. Choowit Yurayong, Dr. Pawasut Piriyapongrat, Dr. Nora-ath Chanklum and myself.
On behalf of the CUSO, I would like to extend my sincere thanks and appreciation to everyone involved in making this concert possible. Asst. Prof. Col. Choochart Pitaksakorn Music Director
On behalf of the CUSO, I would like to extend my sincere thanks and appreciation to everyone involved in making this concert possible. (Asst. Prof. Col. Choochart Pitaksakorn) Music Director
On behalf of the CUSO, I would like to extend my sincere thanks and appreciation to everyone involved in making this concert possible. (Asst. Prof. Col. Choochart Pitaksakorn) Music Director
5
5
โลโกชนิดสีดำ
Õ”π«¬‡æ≈ß‚¥¬ ™™“μ æ∑°…“°√
Conducted by Choochart Pitaksakorn Light Cavalry Overture Franz von Suppe Õ”π«¬‡æ≈ß‚¥¬ ™«∑¬ ¬√–¬ß
Conducted by Choowit Yurayong Libertango Astor Piazzolla
Transcription by Akkarin Choo-arun ≈°¢™¬ °ƒ…πÕ¬ º· ¥ß‡¥¬«·´°‚´‚øπ Luckachai Kritnoi Saxophone Soloist
Karelia Suite, Op 11
Bacchanale from çSamson et Dalilaé Camille Saint Saens ❃ ❃ æ°°“√· ¥ß 15 π“∑ -Intermission 15 Minutes ❃ ❃
Jean Sibelius
Õ”π«¬‡æ≈ß‚¥¬ ¿“«»∑∏ æ√¬–æß…√μπ
Conducted by Pawasut Piriyapongrat Gloria in D Major, RV 589 Antonio Vivaldi ‡æ≈π ‚»¿…∞æß»∏√ ‚´ª√“‚π Ploen Sopitpongstorn Soprano Soprano æ∑∏ππ∑ Õ“®Õߧ ‚´ª√“‚π Pattanan Art-ong Soprano æπ∏«∑¬ Õ»«‡¥™‡¡∏“°≈ ‡§“π‡μÕ√‡∑‡πÕ√
Puntwitt Asawadejmetakul Countertenor Õ”π«¬‡æ≈ß‚¥¬
π√Õ√√∂ ®π∑√°≈” Conducted
1812
º™«¬»“ μ√“®“√¬ æπ‡Õ°™™“μ æ∑°…“°√ ºÕ”𫬰“√¥πμ√ Asst. Prof. Col. Choochart Pitaksakorn Music Director rogram PP rogramme Journey Through the Music of the Great King A Suite for an Orchestra เปียโนคอนแชร์โตมหามงคล Piano Concerto Mahamankala รวยชัย แซ่โง้ว หัวหน้าวง รองศาสตราจารย์ นรอรรถ จันทร์กล�่า ผู้อ�านวยเพลง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอก ชูชาติ พิทักษากร ผู้อ�านวยการดนตรี พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เรียบเรียงโดย รศ. ดร.นรอรรถ จันทร์กลํ่า ศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รามสูร สีตลายัน ผู้แสดงเดี่ยว พักครึ่งการแสดง
by Nora-ath Chanklum
Overture Op.49 Pyotr Ilyich Tchaikovsky
- Intermission
Journey Through the
of the Great King, เรียบเรียงโดย A Suite for an Orchestra รศ.ดร.นรอรรถ จันทร์กล�่า บทเพลงชุดนี้เป็นผลงานการเรียบเรียงของ รองศาสตราจารย์ ดร.นรอรรถ จันทร์กล�่า เรียบเรียงขึ้น หลังจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคต ในปี พ.ศ. 2559 เพื่อเป็นเครื่องราชสักการะและถวายความอาลัย รวมทั้งยกย่องในพระราชอัจฉริยภาพ ทางดนตรีของพระองค์ ผู้เรียบเรียงได้อัญเชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์ 10 บท มาเรียงร้อยเป็นบทเรียบเรียงที่มี ความต่อเนื่องเกี่ยวโยงเป็นเพลงชุด (suite) ส�าหรับบรรเลงด้วยวงออร์เคสตรา บทเพลงพระราชนิพนธ์ ทั้ง 10 บท ได้แก่ 1. The Hunter (จากเพลงพระราชนิพนธ์ประกอบบัลเลต์ “กินรี”) 2. สายลม 3. สายฝน 4. ฝัน 5. ในดวงใจนิรันดร์ 6. เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย 7. มาร์ชราชนาวิกโยธิน 8. มาร์ชราชวัลลภ 9. ความฝันอันสูงสุด 10. แผ่นดินของเรา ผู้เรียบเรียงตั้งใจให้บทเพลงพระราชนิพนธ์แต่ละบทเป็นสื่อแทนเหตุการณ์ บรรยากาศหรือ อารมณ์โดยรวมในช่วงต่างๆ ของพระชนม์ชีพ ประหนึ่งเป็นการเดินทางผ่านกาลเวลาโดยใช้บทเพลง พระราชนิพนธ์เป็นสื่อ จึงให้ชื่อชุดว่า A Journey Through the Music of the Great King เริ่มจากบทเพลงพระราชนิพนธ์ The Hunter ในกุญแจเสียงไมเนอร์ มีส�าเนียงเศร้า เปรียบเสมือน การเริ่มรัชกาลด้วยความหม่นหมองจากเหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์ สมด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาท สมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงต้องแบกรับพระราชภาระอย่างกะทันหัน รวมทั้งทรงต้องเผชิญกับปัญหาการเมืองที่ซับซ้อน เสมือนต้องทรงต่อสู้โดยล�าพัง ในขณะที่ยังทรงพระเยาว์ มีพระชนมายุเพียง 19 พรรษา ด้วยพระบารมีและพระปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข แห่งมหาชนชาวสยาม” ที่ทรงเปล่งประกาศในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ท�าให้ประชาชนรู้สึกเหมือนมี สายลม พัดพาเอาความร่มเย็น ที่ได้อยู่ใต้พระบรมโพธิสมภาร เป็นการเริ่มต้นห้วงเวลาใหม่ด้วยความหวัง ความเจริญเติบใหญ่แผ่กิ่งก้านสาขา เสมือนต้นไม้ใหญ่น้อยที่ได้รับน�้าจาก สายฝน อันชุ่มฉ�่าประดุจน�้าทิพย์ จากสวรรค์สู่ดิน
Music
เพลงสายฝนและเพลงสายลมนี้ แทนความรู้สึกของเหล่าพสกนิกรที่มีต่อพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ พระองค์ใหม่ ในตอนเริ่มเพลงสายลม ผู้เรียบเรียงใช้กลุ่มเครื่องดนตรีประเภทเครื่องลมไม้ บรรเลงรับส่งกันด้วยส่วนโน้ตที่มีความถี่และมีจังหวะที่เร็ว เพื่อแทนเสียงลมพัด จากนั้นเชลโลและบาสซูน จะน�าท�านองเพลงสายลมกลับเข้ามาอีกครั้ง ในครั้งที่สองนี้มีการเปลี่ยนกุญแจเสียง เพื่อให้เกิดการเคลื่อนที่ ของท� า นองและเพิ่มความสว่างให้บทเพลง โดยมีไซโลโฟน เครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ เข้ามาเพิ่มสีสันโดยให้บรรเลงท�านองรอง จากนั้นเป็นช่วงท่อนเชื่อม จากเพลงสายลมสู่สายฝน ผู้เรียบเรียงวาดภาพเสียงฝนที่ค่อยๆ ลงเม็ด จากเบาแล้วถี่ขึ้นเรื่อยๆ โดยเพิ่มความถี่ของส่วนโน้ต เริ่มด้วยปิคโคโล ตามด้วยกลุ่มไวโอลินและเครื่อง ประกอบจังหวะ กล็อกเคนชปีลและไซโลโฟน เพลงสายฝนเริ่มด้วยท่อนน� า (introduction) ของพระราชนิพนธ์ฉบับดั้งเดิม ซึ่งเป็นเพียง หนึ่งในไม่กี่บทเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์บทน�าให้เป็นส่วนหนึ่งของบทเพลง จากนั้นผู้เรียบเรียงให้กลุ่ม เครื่องสายบรรเลงท�านองในช่วงเสียงที่ค่อนข้างต�่า ในโทนเสียงที่อบอุ่น โดยมีกลุ่มเครื่องลมไม้บรรเลง ประกอบด้วยแนวดนตรีเลียนเสียงฝนตก ในท่อนที่สองผู้เรียบเรียงเปลี่ยนให้กลุ่มเครื่องลมทองเหลือง บรรเลงท�านองหลัก และมีกลุ่มเครื่องสายบรรเลงท�านองรองสอดรับกัน เป็นการเปลี่ยนสีสันก่อนจะลงท้าย ด้วยความสงบ ชุ่มฉ�่าดุจยามเมื่อฝนขาดเม็ด แล้วค่อยๆ ซาลงด้วยเสียงเดี่ยวฟลูทและกลุ่มเครื่องสาย บทเพลงพระราชนิพนธ์ฝันและในดวงใจนิรันดร์ ที่ตามมา เป็นตัวแทนความรักของล้นเกล้าฯ ที่ทรงมีต่อสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เพลงพระราชนิพนธ์ ฝัน เป็นบทเพลงที่มีกลิ่นอายของโรแมนติกแจ๊ส ซึ่งผู้เรียบเรียงให้เทเนอร์แซ็กโซโฟนบรรเลงเดี่ยว ในลีลาอิสระแบบแจ๊สอย่างเต็มที่ จากนั้นตามด้วยบทเพลง ในดวงใจนิรันดร์ ในจังหวะสโลว์โซล ซึ่งเรียบง่าย ไม่ซับซ้อนฟังง่าย ซึ่งเป็นความตั้งใจของผู้เรียบเรียงที่ต้องการสื่อว่า บทเพลงพระราชนิพนธ์เป็นเพลงที่เข้าถึงผู้ฟังได้ง่าย ด้วยธรรมชาติของบทเพลงที่มีความเรียบง่าย ท�านองไพเราะติดหู บทเพลงพระราชนิพนธ์ในจังหวะมาร์ชทุกเพลงของพระองค์ท่านเป็นเพลงที่ไพเราะ มีลีลาเป็น สากลอย่างยิ่ง ทุกเพลงแสดงถึงพระราชอัจฉริยภาพทางดนตรีอย่างชัดเจนและแท้จริง ผู้เรียบเรียงมีความ ประทับใจในลีลาท�านองและการประสานเสียงที่ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เป็นอย่างยิ่ง จึงได้อัญเชิญบทเพลง พระราชนิพนธ์ในจังหวะมาร์ช 3 เพลง มาเป็นตัวแทนของพระราชภารกิจในด้านการทหาร การรักษา มาตุภูมิ รวมถึงความเป็นองค์จอมทัพไทย ช่วงเพลงมาร์ชนี้ เริ่มด้วยบทเพลงพระราชนิพนธ์ เกิดเป็นไทยตายเพื่อไทย ด้วยเครื่องดนตรี น้อยชิ้น เพื่อรักษาบรรยากาศของเพลงมาร์ชดั้งเดิม ที่มีเพียงขลุ่ยเสียงสูง กลองสแนร์และฉาบ ในท่อน ท� า นองที่สองจะรับโดยเครื่องลมทองเหลืองเสียงต�่ า โดยมีปิคโคโลและฟลูทบรรเลงท� า นองรอง ล้อกับ ท�านองหลักตามลีลาดั้งเดิมของเพลงมาร์ช จากนั้นเข้าสู่บทเพลงพระราชนิพนธ์ มาร์ชราชนาวิกโยธิน บรรเลงเต็มวงด้วยความคึกคัก ในท�านองท่อนที่สอง ผู้เรียบเรียงให้กลุ่มเครื่องลมทองเหลืองเสียงต�่า บรรเลงท�านองโดยมีกลุ่มเครื่องสาย และกลุ่มฮอร์นบรรเลงท� า นองประกอบที่เข้มแข็ง ห้าวหาญ จากนั้นจะน� า เข้าสู่บทเพลงพระราชนิพนธ์ มาร์ชราชวัลลภ ที่จบลงอย่างฉับพลันเพื่อสื่อถึงพระราชภารกิจที่มีไม่สิ้นสุด
A Journey Through the Music of the Great King Arranged by Prof. Dr. Nora-ath Chanklum A Suite for an Orchestra
A Journey Through the Music of the Great King is an arrangement of His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s compositions. It was created after the King passed away in 2016, as a musical garland for the beloved King.
The Suite is based on 10 of HM’s compositions, namely; The Hunter/ I Think of You (in Thai also known as ‘Breeze’)/ Falling Rain/ Somewhere Somehow (in Thai also known as ‘Dream)/ Still on my Mind/ Born Thai, Remain Thai/ Royal Marine Corps March, Royal Guards March, The Noble Dreams and Our Land.
These royal compositions are freely combined and arranged into a Suite which portrays certain situations, atmospheres and moods during HM’s long life. Thus, it represents a ‘Journey’ of a life of the great and beloved monarch through his own compositions.
These royal compositions are mostly well-known and loved by the Thais. Thus, when combined into a suite, on a deeper level, they remain a driving force, musically, that unite Thai society as one.
ท่อนเพลงต่อไปจะขึ้นต้นด้วยเสียงไวโอลินเดี่ยว เพลง The Hunter จากนั้นจึงน�าเข้าสู่บทเพลง พระราชนิพนธ์ ความฝันอันสูงสุด น� า เสนอท� า นองแรกโดยแตรฮอร์น เพื่อให้เกิดความสง่างาม แฝงความมุ่งมั่นในพระราชปณิธานที่จะท� า ความฝันอันสูงสุดให้เป็นจริง คือการที่พสกนิกรทั้งผอง ของพระองค์ มีอยู่มีกิน และมีความสุข บทเรียบเรียงนี้จบลงด้วยบทเพลงพระราชนิพนธ์ แผ่นดินของเรา ซึ่งจะน�าด้วยท่อนเพลงที่สื่อถึงความรื่นเริง เฉลิมฉลองด้วยความยินดีปรีดา และมีกลุ่มนักร้องประสานเสียง ขับร้องถวายราชสดุดีของปวงชนชาวไทยอย่างกึกก้อง ท้ายสุดของบทเรียบเรียง ท�านอง The Hunter กลับมาอีกครั้ง เสมือนเป็นบทสรุปว่า ตลอดรัชสมัย 70 ปีของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระองค์ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการเพื่อความอยู่เย็นเป็นสุขของประชาชนโดยแท้
เปียโนคอนแชร์โตมหามงคล ศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร เปียโนคอนแชร์โตมหามงคล เป็นบทประพันธ์เพลงล่าสุดของ ศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร ศิลปินแห่งชาติ สาขาการประพันธ์เพลง ประจ�าปี พ.ศ. 2564 ประพันธ์ขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนจาก ส�านักบริหารศิลปวัฒนธรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องใน วโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา ในปี พ.ศ. 2565 นี้ เพลงบทนี้มีแนวคิดแบบเพลงประเภทคอนแชร์โต (concerto) ของวัฒนธรรมดนตรีชั้นสูงของ ตะวันตก กล่าวคือเป็นบทเพลงขนาดใหญ่ ส�าหรับเดี่ยวเครื่องดนตรีประชันกับวงดุริยางค์ ผสมผสานด้วย แนวคิดของบทเพลงพรรณนา (programme music) ซึ่งเป็นที่นิยมแต่ง บรรเลงและฟังกันมานาน สืบทอด และแพร่หลายจากดินแดนตะวันตกสู่วัฒนธรรมดนตรีบ้านเรา ผู้ประพันธ์ได้ศึกษาและวางแนวทางในการประพันธ์ไว้ว่า สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ในรัชกาล ปัจจุบัน ทรงโปรดเปียโน และในช่วงต้นแห่งพระชนม์ชีพ เคยทรงศึกษาและแสดงความปรารถนาที่จะศึกษา การบรรเลงเปียโนอย่างจริงจัง ดังนั้นผู้ประพันธ์จึงเลือก ‘เปียโน’ เป็นเครื่องเดี่ยวชูโรงในเพลงคอนแชร์โต มหามงคลบทนี้ นอกจากนี้ ในแง่ของความเป็นดนตรีพรรณนา ซึ่งเป็นบทเพลงที่มีเรื่องราวและภาพต่างๆ เป็น จุดก�าเนิดและเป็นพื้นฐานในการประพันธ์ ก็คือ พระราชกรณียกิจต่างๆ ที่ทรงมีต่อสังคมและประชาชน ชาวไทย ในแง่ของเสียงเพลงโดยรวม ผู้ประพันธ์ได้สร้างสรรค์แนวท�านองและจังหวะจะโคน แบบไทยๆ ผสมผสานกับเสียงประสานและกลวิธีการประพันธ์เพลงชั้นสูงแบบตะวันตก ท�าให้ฟังแล้วได้รสชาติเป็น เพลงไทยคลาสสิกร่วมสมัยอย่างสมบูรณ์ เปียโนคอนแชร์โตมหามงคล ประกอบด้วย 5 ท่อน แต่ละท่อนบรรยายหรือชวนให้ระลึกถึง พระองค์ท่าน ในแง่มุมต่างๆ ทั้งพระราชกรณียกิจและพระราชจริยาวัตร ท่อนแรก: มีชื่อว่า ‘โขน’ ศิลปะการร่ายร�าชั้นสูง ที่พัฒนามาสมบูรณ์ลงตัวแต่โบราณ แต่อาจ ไม่เป็นที่รู้จัก เข้าใจ และชื่นชมนักในสมัยปัจจุบัน สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ทรงเล็งเห็นในความส�าคัญนี้ และทรงมีพระราชด�าริให้มีการรื้อฟื้น ‘โขน’ ทั้งด้านการสร้างเครื่องแต่งกายอันวิจิตรงดงามเป็นเอกลักษณ์ ทดแทน เครื่องแต่งกายหลวงชุดเดิมที่มีมาแต่โบราณและช� า รุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา นอกจากนี้ ทรงให้มีการจัดแสดง ‘โขน’ อย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลาหลายปี รวมทั้งมีการผสมผสานเทคโนโลยีและ เทคนิคบนเวทีประกอบการแสดงร่วมสมัย ให้เป็นที่ตื่นตาตื่นใจยิ่งขึ้น ซึ่งต่อมาเรียกขานกันติดปากว่า ‘โขนสมเด็จพระนางเจ้าฯ’ เป็นการแสดงประจ� า ปีที่ยิ่งใหญ่ประสบความส� า เร็จเป็นอย่างสูง และท� า ให้ ‘โขน’ กลับมาเป็นที่นิยมในหมู่ผู้ชมชาวไทยในปัจจุบัน ดนตรีในท่อนนี้ มีความขึงขัง เน้นจังหวะจะโคน เพื่อสื่อถึงความขึงขังและเข้มแข็งของท่าร่ายร�า และบุคลิกของตัวละคร/ผู้เต้น เช่นตัวละครฝ่ายยักษ์ หรือเหล่าทหารวานรที่สู้กับฝ่ายยักษ์ เปียโนเดี่ยว จะมีลีลาเลียนเสียงและลีลาของกลอง และเครื่องประกอบจังหวะต่างๆ
ท่อนที่สอง: มีชื่อว่า ‘เพลงราตรี’ หรือ ‘nocturne’ ดังที่ผู้ประพันธ์ค้นคว้ามาว่า สมเด็จ พระพันปีหลวงฯ ทรงโปรดบทเพลงคลาสสิก โดยเฉพาะเพลงของโชแปง (Frederic Chopin) นักประพันธ์ เพลงและนักเปียโนเอกชาวโปแลนด์ ที่แต่งเพลงประเภท nocturne เอาไว้มากมาย ในท่อนนี้ ผู้ประพันธ์จึงน� า ท� า นองหลักของเพลง Nocturne ในกุญแจเสียง E-flat Opus 9 ซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่คอเพลงคลาสสิก มาเป็นพื้นฐานในการแต่งท่อนนี้ ผู้ฟังที่รู้จักเพลงบทนี้ ก็จะติดตามท่อนนี้ได้ไม่ยาก เมื่อผู้แต่งน�าท�านองหลักของเพลงโชแปงดังกล่าว มาบิดผัน และแฝงปริศนา ซ่อนเร้นต่างๆ ด้วยเทคนิควิธีการประพันธ์เพลงแบบตะวันตก ท่อนที่สาม: มีชื่อว่า ‘ดอกมะลิ’ ท่วงท�านองอันอ่อนหวานเย็นใจของท่อนนี้ สื่อถึงความหอมและ ความบริสุทธิ์ของดอกมะลิ ซึ่งเราคนไทยถือเป็นสัญลักษณ์ของ ‘แม่’ และเราก็รักและเคารพพระองค์ท่าน เสมือนเป็น ‘แม่แห่งแผ่นดิน’ ท่อนที่สี่: มีชื่อว่า ‘งามศิลป์แผ่นดิน’ เพื่อชวนให้ระลึกถึงงานฝีมืออันวิจิตรของช่างศิลป์ไทย ที่พระองค์ท่านทรงสนับสนุนมาเป็นเวลานาน จนเป็นที่รู้จักเรียกกันว่า ‘งานศิลปาชีพ’ ที่เกิดขึ้นและ ด� า เนินงานต่อมาได้ด้วยพระวิสัยทัศน์ ที่ทรงเล็งเห็นว่า ลูกหลานไทยที่แม้เป็นชาวไร่ชาวนา มิได้ผ่าน การฝึกปรือฝีมือในเชิงช่างศิลป์ ก็มีความสามารถ มีสายตาและรสนิยมสะสมกันมาแต่โบราณ พระองค์ จึงมีพระราชด�าริให้สนับสนุนลูกหลานไทยเหล่านี้ ให้สร้างงาน และพระองค์ทรงน�าไปเผยแพร่ยังต่างประเทศ ด้วยพระองค์เอง อาทิ งานผ้าไหม งานผ้าทอ ศิลปะการปักผ้าอันวิจิตร งานแกะไม้สลัก และงานเครื่องเงิน เครื่องทองอันละเอียดประณีต และอื่นๆ ปัจจุบันงานศิลปาชีพ ชิ้นเอกๆ เหล่านี้ จัดแสดงอยู่ที่ พิพิธภัณฑ์ศิลป์แผ่นดิน ที่ต�าบลเกาะเกิด อ�าเภอบางปะอิน จังหวัดอยุธยา สถานที่แห่งนี้เปิดให้ประชาชนเข้าชม และเป็นแรงบันดาลใจส�าคัญของ ท่อนนี้ เสียงเพลงทั้งจากแนวเปียโนและเครื่องดนตรีประกอบอื่นๆ ให้ความรู้สึกแวววาว พริ้งพราย ดั่งจะสะท้อนถึงความงดงามแพรวพราวของ ‘งานศิลป์แห่งแผ่นดิน’ ซึ่งเป็นมรดกของชาติ ท่อนสุดท้าย: มีชื่อว่า ‘สายธาราและป่าใหญ่’ ท่อนนี้ผู้แต่งได้แรงบันดาลใจ จากพระราชด�ารัส ที่แสดงถึงพระราชปณิธาณของพระองค์ท่านว่า ‘พระเจ้าอยู่หัวฯ เป็นน�้า ฉันจะเป็นป่า ป่าที่ถวาย ความจงรักภักดีต่อน�้ า พระเจ้าอยู่หัวฯ สร้างอ่างเก็บน�้ า ฉันจะสร้างป่า’ (จากพระราชด� า รัส ที่พระราชทานไว้เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2525 ที่ อ.ส่องดาว จ.สกลนคร) ในแง่ของดนตรี ก็จะมีเสียงและท� า นองต่างๆ โดยเฉพาะจากแนวเปียโน ที่สื่อถึง ‘น�้ า ’ เช่น สายธาร สายฝนที่ตกลงมาชุ่มฉ�่า แล้วช่วงท้าย แนวเปียโนจะเดี่ยวโชว์ลีลาเต็มที่ในช่วง cadenza (ช่วงที่ วงดุริยางค์หยุดบรรเลงเพื่อให้แนวเครื่องเดี่ยวได้โชว์ลีลาอย่างเต็มที่ เป็นเอกลักษณ์ส� า คัญของเพลง ประเภทคอนแชร์โตมาแต่โบราณ) ก่อนจะพาวงดุริยางค์ทั้งวง จบลงอย่างยิ่งใหญ่อลังการ
Piano Concerto Mahamankala
Prof. Dr. Narongrit Dhamabutra
Piano Concerto Mahamankala was composed by Professor Dr. Narongrit Dhamabutra (National Artist), in honour of the Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother, on the auspicious occasion of HM’s 90th Birthday anniversary this year.
The piece is in a form of a concerto featuring the piano as a solo instrument vying with a large orchestra combining with the concept of programmatic music with images and stories behind. Piano is chosen as a solo instrument as it is widely known that HM much favours this particular musical instrument. While the programme behind the piece reflects HM’s personality and her life’s works which are beneficial to the country as well as its people in all walks of life.
Piano Concerto Mahamankala consists of 5 movements:
1. Khon: The opening movement is rather masculine with its strong rhythmic character reflecting the movement of a ‘Khon’ dance. Khon or Thai mask-dance is a traditional dance form highly developed since ancient time. However, in recent years, it has, to a certain extent, lost its popularity as well as its audience, particularly younger generation. HM has made great effort to revive and help bringing it back into the limelight. The annual Khon performances under her royal patronage, have become very popular and a much awaited event of the year since then.
2. Night Music or Nocturne: The movement is based on and enlarged from Frederic Chopin’s well-known Nocturne in E-flat, Opus 9. Chopin was a noted Polish pianist-composer and also HM’s favourite composer.
3. Jasmine Flower: This lyrical movement is slow and serene portraying a lovely jasmine flower, representing the image of a motherly love in our Thai society as HM is regarded as the ‘Mother of the Land’.
4. Arts of the Land: This glittering movement represents the arts and crafts created by our local artists and artisans under the ‘Silapacheep’ Foundation, a royal project initiated and supported by HM.
5. The Rivers and the Forests: This final movement was inspired by HM’s commitment to help protect and conserve the forests as she once said many years ago that ‘His Majesty has created Water for the land by building reservoirs for water storage, I shall follow side by side in his footsteps by fostering and protecting the forests.’
The watery image is heard throughout the movement, portraying the images of water in various forms (drizzles, rain and rivers). Towards the end of the movement, a dazzling piano cadenza (a passage where the orchestra stops playing to showcase the brilliant piano part) brings the movement to a grand finale portraying the lush greenery of the forests.
Karelia Suite, Op 11 Jean Sibelius (1865-1957)
Jean Sibelius was one of the foremost Finnish composers from the Romantic period. He lived and worked from the late 19th century into the first half of the 20th century. Sibelius composed this work in 1893, originally as music to accompany a play for the Students Association of the Viipuri University located in Karelia territory in the eastern part of Finland. From a province in the Finnish territory in the 19th century, Karelia was later incorporated into the then Soviet Union Socialist Republics. The play traced various scenes from the rich history of Karelia.
After the first performance, Sibelius selected various numbers from the original music to the play and turn it into a suite titled ‘Karelia Suite’, later published as opus 11. It has remained one of the composer’s most popular works.
The Suite comprised of 3 movements
1. Intermezzo: a high-spirited march-like piece.
2. Ballade: reflecting the mood of a 15th century King Karl Knutsson being entertained by a minstrel in his castle.
3. Alla Marcia: an exhilarating march accompanying the scene where the Kakisalmi castle was attacked. บทบรรยายเพลงโดย
Book by Sadabpin Ratanaruang
Karelia Suite, Op
Sibelius เป็นนักประพันธ์เพลงเอก ชาวฟินแลนด์ มีชีวิตและท�างานสร้างสรรค์อยู่ในช่วงปลาย สมัยโรแมนติก (ศตวรรษที่ 19) ต่อเนื่องกับศตวรรษที่ 20 ท่านประพันธ์เพลงชุดนี้ในปี 1893 แรกเริ่มเพื่อใช้ประกอบการแสดงของสมาพันธ์นักศึกษา แห่งมหาวิทยาลัย Viipuri ซึ่งตั้งอยู่ในแคว้น Karelia ซึ่งอยู่ทางภาคตะวันออกของฟินแลนด์ ในสมัย ศตวรรษที่ 19 แต่ต่อมาตกเป็นของสหภาพโซเวียต และการแสดงดังกล่าวก็เป็นการแสดงฉากต่างๆ จากประวัติศาสตร์ของดินแดน Karelia หลังการแสดงครั้งแรก Sibelius ได้น�าดนตรีบางบทจากการแสดงดังกล่าวมารวมเป็นเพลงชุด ส�าหรับบรรเลงแยกจากการแสดง ใช้ชื่อชุดว่า Karelia Suite และเป็นเพลงที่ได้รับความนิยมและเป็นที่ รู้จักกันดีที่สุด ชุดหนึ่งของ Sibelius ประกอบด้วย 3 ท่อนย่อย 1. Intermezzo มีจังหวะเร็ว ร่าเริง ในลีลาคล้ายเพลงมาร์ช 2. Ballade เดิมใช้ประกอบฉากขณะ พระราชา Karl Knutsson ก� า ลังสดับบทเพลงขับร้อง อันไพเราะ 3. Alla Marcia เพลงมาร์ชใช้ประกอบฉากการบุกพระราชวัง
11 Jean Sibelius (1865-1957)
Kakisalmi
รัตนเรือง
สดับพิณ
Programme
Orchestra of Chicago, The Japan Shinsei Symphony Orchestra, Hiroshima Symphony Orchestra, Melbourne Symphony Orchestra, Verdehr Trio (USA), IRCAM Ensemble (Paris), Ensemble Stella Nova (Tokyo), Ensemble Kochi, New York New Music Ensemble เป็นต้น
า คัญ อาทิ Asia Pacific International Music Festival, Contemporary Music Project, Sendai Asian Music Festival, Asian Contemporary Music, Asian Traditional/Asian Modern, และ Musicarama
ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร ผู้ประพันธ์เพลง ศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2505 ที่กรุงเทพฯ จบปริญญาเอก ด้านการประพันธ์เพลงจากมหาวิทยาลัย มิชิแกนสเตท ประเทศสหรัฐอเมริกา มีผลงานการประพันธ์เพลง อย่างสม�่าเสมอมาเป็นระยะเวลากว่า 20 ปี ท�าให้ได้รับการยอมรับว่าเป็น นักประพันธ์เพลงคลาสสิกร่วมสมัยที่โดดเด่นของไทย มีความสามารถ ในการประยุกต์และผสมผสานดนตรีไทยกับดนตรีคลาสสิกร่วมสมัย ได้อย่างลงตัว ผลงานการประพันธ์เพลง ได้รับการบรรเลงโดยวงออร์เคสตรา ชั้นน� า ในระดับนานาชาติทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย และออสเตรเลีย เช่น The Civic
ตลอดจนมีการน� า มาแสดงในเทศกาลดนตรีร่วมสมัยนานาชาติที่ส�
ส�าหรับระนาดเอกและวงดุริยางค์, ซิมโฟนีแห่งสกลจักรวาล (ซิมโฟนีหมายเลข 1), ซินโฟเนียสุวรรณภูมิ (ซิมโฟนีหมายเลข 2), คอนแชร์โตส�าหรับออร์เคสตรา (Concerto for Orchestra), ภวังค์ส�าหรับระนาด เอกและวงออร์เคสตรา, คอนแชร์โตสังคีตมงคลส� า หรับไวโอลินและวงออร์เคสตรา, ซินโฟเนียจักรี, ดับเบิลคอนแชร์โตส� า หรับระนาดเอกและระนาดทุ้ม, ซิมโฟนีแห่ง พ.ศ. 2489 (ซิมโฟนีหมายเลข 3), โหมโรงจตุภูมิ, ถวายปฏิญญา, ปิยสยามินทร์ (ซิมโฟนีหมายเลข 4), นัมมทา ส� า หรับเปียโนและ วงออร์เคสตรา, เปียโนคอนแชร์โตแห่งกรุงสยาม ซึ่งเป็นผลงานที่ได้รับทุนจากส�านักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติให้เป็นศิลปินต้นแบบด้าน ดุริยางคศิลป์ในปี พ.ศ. 2555, ซิมโฟนีประสานเสียงส�าเนียงระฆัง (The Harmony of Chimes) ในปี พ.ศ. 2557 ซึ่งเป็นซิมโฟนีหมายเลข 5 ที่ประพันธ์ขึ้นส� า หรับ เครื่องดนตรีอาเซียนและวงออร์เคสตรา และผลงานล่าสุด เปียโนคอนแชร์โตมหามงคล ซึ่งประพันธ์ ถวายสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในวาระมงคลที่ทรงเจริญ พระชนมพรรษา 90 พรรษาในปีนี้ นอกจากผลงานด้านการประพันธ์เพลงแล้ว ศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร ยังสร้างสรรค์ ผลงานทางวิชาการที่มีประโยชน์ด้านการประพันธ์เพลง เช่น การผลิตต�ารา “การประพันธ์เพลงร่วมสมัย” และหนังสือ “อรรถาธิบายและบทวิเคราะห์บทเพลงที่ประพันธ์ โดยณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร” รวมทั้ง ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรทางด้านการประพันธ์เพลงและการสร้างงานวิจัยทางดนตรีจากสถาบันการศึกษา ทั้งในและนอกประเทศ และร่วมน� า เสนอผลงานบทประพันธ์เพลง ตลอดจนเป็นคณะกรรมการตัดสิน การประกวดบทประพันธ์เพลงทั้งระดับชาติและนานาชาติ
ในประเทศไทย ผลงานมากมายได้รับการบรรเลงโดยวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ, วงดุริยางค์ กรมศิลปากร, วงดุริยางค์ซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, วงดุริยางค์ศิลปากร Summer Music Camp, วงดุริยางค์แห่งสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา ผลงานส�าคัญ ได้แก่ คอนแชร์โตมหาราชา
Narongrit Dhamabutra Composer
Born in 1962, one of the most respected Thai composers, Professor Dr. Narongrit Dhamabutra received a doctoral degree in Music Composition from Michigan State University, U.S.A. His compositions have been performed regularly by leading orchestras and ensembles in the United States, Europe, Asia, and Australia, including The Civic Orchestra of Chicago, Japan Shinsei Symphony Orchestra, Hiroshima Symphony Orchestra, Melbourne Symphony Orchestra, Verdehr Trio (USA), IRCAM Ensemble (Paris), Ensemble Stella Nova, Ensemble Kochi, New York New Music Ensemble, and the Ensemble Intercontemporain (Paris). In Thailand, his compositions were performed by the Royal Bangkok Symphony Orchestra, the National Symphony Orchestra, Chulalongkorn University Symphony Orchestra, The Orchestra of Silpakorn Summer Music Camp and the Orchestra of Galyani Vadhana Music Institute.
His major compositions include the Concerto Maharaja for Ranad-ek and Orchestra, Symphony of the Spheres (Symphony No. 1), Symphonic Poem Sinfonia Chakri, Sinfonia Suvarnabhumi (Symphony No. 2), Concerto for Orchestra, Bhawankha for Ranad-ek and Orchestra, Concerto Sankitamankala for Violin and Orchestra, Symphony of B.E. 2489 (Symphony No. 3), Double Concerto for Ranad-ek and Ranad-toom, Jatubhumi Overture, Pledge to H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Symphony Piyasayamintra (Symphony No. 4), Narmada Concerto for Piano and Orchestra, Piano Concerto of Siam which was funded by the Thailand Research Fund to be a model composer in 2012, The Harmony of Chimes (Symphony No. 5), a symphony for ASEAN Instruments and Orchestra and most recently Piano Concerto Mahamankala in honor of HM Queen Sirikit, the Queen Mother, on her 90th Birthday Anniversary this year (2022).
ศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็น “ศิลปินศิลปาธร” (ศิลปินร่วมสมัยดีเด่น) สาขาดนตรี ประจ� า ปี พ.ศ. 2551 จากกระทรวงวัฒนธรรม และล่าสุดได้รับ การเชิดชูเกียรติเป็น “ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช 2564” สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากลประพันธ์เพลงคลาสสิก) ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�าสาขาการประพันธ์เพลง ภาควิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (www.narongrit.com)
Besides his numerous compositions, Professor Dr. Narongrit Dhamabutra has written 2 scholarly textbooks: ‘On Writing Contemporary Composition’ and ‘Decoding & Analysis: Compositions of Narongrit Dhamabutra’ published by Chulalongkorn University Press. Moreover, he has been invited as special lecturer on composing contemporary composition and writing music research by universities both in Thailand and United States as well as presenting his compositions at an International Conference. He also serves as an adjudicator in many significant composition competitions at the national and international level.
In 2008, Professor Dr. Narongrit Dhamabutra was named ‘Silpathorn Artist’ by the Ministry of Culture for his outstanding artistic career. And most recently, he was named ‘National Artist’ in 2021.
Currently, he is a full professor of Music Composition at the Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University (www.narongrit.com).
Ramasoon graduated his Bachelor’s degree in piano performance from the Faculty of Fine & Applied Arts, Chulalongkorn University. His piano mentors include Professor Nat Yontararak and Professor Wei Zu. He then furthered his Master’s and Doctoral degrees at the Eastman School of Music, University of Rochester and then at West Virginia University, USA. During His studies in America, he took lessons with many leading pianists and teachers including Barry Snyder, Douglas Humpherys, Natalya Antonova, Ruth Tomfohrde and Peter Amstutz.
Currently, Ramasoon is an Assistant Professor in Music Theory and Piano Performance at the Department of Music, Faculty of Fine & Applied Arts, Chulalongkorn University.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รามสูร สีตลายัน ผู้แสดงเดี่ยว ส�าเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเรียนเปียโนกับอาจารย์ณัฐ ยนตรรักษ์ และอาจารย์เหวย ซู หลังจากนั้นได้ไปศึกษาต่อระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ Rochester Institute of Technology, The Eastman School of Music (University of Rochester) และ West Virginia University ในระหว่างศึกษาต่อ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา รามสูรได้เรียนกับนักเปียโนระดับโลกหลายท่าน อาทิ Barry Snyder, Douglas Humpherys, Natalya Antonova, Ruth Tomfohrde และ
ปัจจุบันรามสูรเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�าคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอาจารย์พิเศษที่สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา
Peter Amstutz
หลังจากจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านการแสดงไวโอลิน นรอรรถได้ไปศึกษาต่อและจบการศึกษาระดับปริญญาโทด้านการแสดง ไวโอลิน ณ สถาบันดนตรีนิวอิงแลนด์ เมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐ อเมริกา และต่อมาได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปัจจุบัน เป็นรองศาสตราจารย์ประจ�า ภาควิชาดุริยางค์ ศิลป์ตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นรอรรถมีผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีที่หลากหลายอย่าง นรอรรถ จันทร์กล�่า ผู้อ�ำนวยเพลง มากมายและสม�่าเสมอ ทั้งการอ�านวยเพลง การเรียบเรียงเสียงประสาน การประพันธ์เพลง การบรรเลง ไวโอลินและการขับร้อง นรอรรถและวงรอยัลบางกอกซิมโฟนีออร์เคสตรา (Royal Bangkok Symphony Orchestra; RBSO) ได้สร้างผลงานที่ถือเป็นนวัตกรรมทางดนตรีชิ้นส�าคัญคือ อัลบั้ม “บีเอสโอบรรเลงสุนทราภรณ์” ซึ่งผสมผสานบทเพลงสุนทราภรณ์กับวงซิมโฟนีออร์เคสตราในแนวทางการเรียบเรียงแบบดนตรีคลาสสิก อัลบั้มดังกล่าว ประสบความส�าเร็จมาก เป็นที่ยอมรับของทั้งนักวิชาการด้านดนตรีและผู้ฟังดนตรีทั่วไป รวมถึงจุดประกายให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จักบทเพลงสุนทราภรณ์ จากนั้นก็ตามมาด้วยผลงานการเรียบเรียง เสียงในแนวทางดนตรีคลาสสิก ให้บทเพลงไทยอมตะของครูอาจารย์เพลงไทยหลายท่าน เช่น ครูไพบูลย์ บุตรขัน, ครูชาลี อินทรวิจิตร รวมทั้งเพลงไทยอมตะแบบประเพณี บทเรียบเรียงอันเป็นนวัตกรรมใหม่ เหล่านี้ มีการน� า เสนอสู่สาธารณะทั้งในรูปแบบซีดี และรูปแบบคอนเสิร์ต ซึ่งล้วนประสบความส� า เร็จ อย่างดียิ่ง นอกจากนี้ นรอรรถยังได้ประพันธ์เพลงประกอบเอนิเมชันชุด ‘วรรคทอง’ ซึ่งประกอบด้วย บทเพลง 26 บท ปัจจุบัน นอกเหนือจากงานสอนแล้ว นรอรรถมีผลงานการสร้างสรรค์และการแสดงอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งการเป็นผู้อ� า นวยเพลงประจ� า ของวงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Symphony Orchestra) และ วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU String Orchestra) ผู้อ�านวยเพลงรับเชิญของวง RBSO และการเป็นนักประพันธ์เพลงและนักเรียบเรียงเสียงประสาน จากผลงานสร้างสรรค์มากมายและสม�่ า เสมอ นรอรรถจึงได้รับการประกาศเกียรติคุณ เป็น ‘ศิลปินศิลปาธร’ สาขาดนตรี ประจ�าปี พ.ศ. 2561
Nora-ath Chanklum Conductor
Nora-ath started his conducting lessons with Richard Hornich at the New England Conservatory of Music, Boston, USA. After graduating his master’s degree, he joined the faculty member of the Department of Music, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, and with the Academic Affair Department at the KPN Music Academy. He furthered his conducting studies with Assistant Professor Col. Choochart Pitaksakorn (National Artist) and regularly received advice on conducting from Dr. Pradhak Pradipasen.
In addition to playing the violin, his major instrument, Nora-ath continues his conducting activities in various kinds of music, including compositions by Aaron Copland, Igor Stravinsky, Darius Milhaud, Ottorino Respighi etc. He also conducted and directed Gian Carlo Menotti’s Opera, The Medium.
In 2004, he was awarded a scholarship from Chulalongkorn University to study conducting with Michael Jinbo at the Pierre Monteux School of Conducting, Mains, USA. After having finished the course, he has regularly appeared as conductor with the Chulalongkorn University Symphony Orchestra, the Royal Bangkok Symphony Orchestra and also as guest conductor with the National Symphony Orchestra. In 2006 Nora-ath was invited as guest conductor at the Yong Seaw Taw Conservatory, National University of Singapore and also as a jury for the conservatory’s concerto competition. In 2007 his violin solo recording “Tri” was awarded the Best Instrumental Recording by Khom Chud Luek magazine.
Currently, Nora-ath is an Associate Professor at the Music Department, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, the resident conductor of Chulalongkorn University Symphony Orchestra, and Guest Conductor of the Royal Bangkok Symphony Orchestra (RBSO).
From his dedication and outstanding musical activities, Nora-ath was named ‘Silapathorn Artist’ in Music for the year 2018.
รายชื่อนักดนตรี
Musician
1st Violin รวยชัย แซ่โง้ว
ไวโอลิน 1
Ruaychai Saengow อุษา โชติแช่มช้อย
Usa Chotchamchoi ภูมิสิริ ภัทรกุลบารมี
Poomsiri Phatarakulbaramee วรากุล ศรีนวล
Warakul Srinaun ปุญญพันธุ์ พิริปุญโญ
Poonyaphan Phiripoonyo ณิชชา แป้นเหมือน
Nitcha Panmuan ณัฐชา วงศ์อริยะกวี
Nuttacha Wongareyakawee ชินพงศ์ ไหลสกุล
Shinapong Laisakul อติภา วิเศษโอภาส
Atipa Wisedopas สุประวีณ์ จันทร์สว่าง
Suprevee Chansawang ชมบงกช วัฒนาตั้งตระกูล
Chombongkot Wattanatangtrakoo อติกานต์ นาคเสน Atikarn Naksen ไวโอลิน 2
2nd Violin กุลิสรา แสงจันทร์
Kulissara Saengchan นิรัฐศา อยู่สมบูรณ์
Nirutsa Usomboon ต้นไม้ ภัยชนะ
Tonmai Paichana อาคม กิตินพคุณ Arkom Kittinoppakun เพ็ญพัชร์ สุวรรณกิจ
Phenpach Suwanakit ณิชานันทน์ เอมอิ่ม
Nichanan Em-im ณัฐชา หมวดทอง
Natcha Muadthong ฉัตรดนัย นวลละออง
Chaddanai Nulla-ong รัชพล แสงจันทร์
Rachapong Saengchan พิยดา คงพรหม Piyada kongprom ปัญรัฏฐ์ วงศ์ปัทมภาส
Wongpattamapad
Miti Visuthiaomporn นิธิวดี ขาวสะอาด
Nithiwadee Kaosa-ard สราวุฒิ ผลาชีวะ
Sarawut Palacheeva
Panrat
วิโอลา Viola มิติ วิสุทธิอัมพร
ภาณุพงศ์ เสริมพงษ์ไพศาล
Phanupong Sermpongpaisal พันธุ์บุญ บุณยเกียรติ
Panboon Boonyakiat ธนวรรณ ฤทธิ์เดชขจร
Tanawan Ritdatchkajorn สิริรักษ์ ดีตะนะ
Sirirak Deetana ภัทรพล บุญฉิม Pathara Boonchim เชลโล Cello สมรรถยา วาทะวัฒนะ
Samatthaya Wathawattana ประทีป วรศริน
Prateep Worasarin รอยพิมพ์ ถาวรสุวรรณ
Roypim Thavornsuwan กิ่งกาญจน์ แสงผล
Kingkarn Saengpol ณัฐนนท์ กู้เกียรติกาญจน์
Nuttanon Googietgarn อัญมณี ภคพรวิวรรธน์
Anyamanee Pakaponwiwat เสาวภา แจ่มโคกสูง
Saowapha Jamkoksoong ทศพร โพธิ์ทอง
Thosaporn Pothong ดับเบิลเบส
Double Bass พงศธร สุรภาพ Pongsatorn Surapap ภูมิรพี วงศ์อนุสรณ์
Phumraphi Wong-anusorn พีรภัค เฉลิมสุข Parapak Chalermsuk ยศพล อ่อนส�าอางค์ Yossapol Onsam-ang ฟลูต Flute วรรณภพ วิบูลพัฒนะวงศ์ Wanapop Vibulpatanavong วรพงศ์ แสงเพชรวัฒนกุล
Worapong Saengpetchwattanakul
Pawarest Martsima กฤตณัฐ ปัญจธนมงคล
Krittanat Panchathanamongkol
Kotchawan Taiyansit
Siradanai Luengaroon
Pakpoom Janejetsada
Athichanun Joonoi
ณิชากร เอมจ้อย
Nichakon Emjoy ปวเรศ มาตสิมา
กชวรรณ ไทญาณสิทธิ
โอโบ
สิรดนัย เหลืองอรุณ
Oboe
ภัคร์ภูมิ เจนเจษฎา
อธิชนันท์ จูน้อย
คลาริเนต Clarinet ณัฐชนน จรัสพันธุ์
Natchanon Jarusphan นวพรรษ เลิศศิริ
Nawapat Lertsiri ศุภวุฒิ สหสัจจญาณ
Supawuth Sahasatjakarn ศุภกรณ์ สอนศรี
Supakorn Sornsri เจตดิลก อุ่มอาสา
Jetdilok Oumasa เยาวลักษณ์ ทองปรีชา Yaowaluck Thongpreecha บาสซูน Bassoon นนทปรีชา อุ่นเจริญ
Nonthapreecha Uncharoen ณัฐพล โกสัลล์ประไพ
Nattaphon Kosalpraphai ณธกร บุณยธนาศิริ
Nuthakorn Boonyathanasiri โสภิดา ประณิธิพงศ์
Sopida Pranithipong อัลโตแซกโซโฟน Alto Saxophone กิตติพร ปรุงสุข
Kittiporn Prungsuk ฮอร์น Horn วิรชิตา เปรมานนท์
Wirachita Premananda จิดาภา นาคทองค�า Jidapa Nakthongkam สรวิชญ์ โสภณคณาสาร Sorawith Soponkanasan อานาคินทร์ สวันตรัจฉ์
Anakin Sawantharaj ทรัมเป็ต
Wasin Chaiprasert ณัฐพล วรรณเพ็ชร
Natthapol Wannapetch ทิพวรรณ สันธิศิริ
Thipawan Santisiri นันท์นภัส
Nannapat Thangjitsratham สุรเสฎร์ ประสันธวงศ์
Suraset Prasanthawong ฉัตรชนก พิบูลย์
Chatchanok Piboon
Trumpet วศิน ชัยประเสริฐ
ตั้งจิตสระธรรม
ทรอมโบน
Trombone สรนนท์ หอมมณฑา
Soranont Hommontha นิลเนตร มนจิตร์โท
Nilnet Monjitto บัณฑิต ผ่องโชค
Bundit Pongchok ภาคภูมิ กันนิภา
Pakpoom Kannika บุณยวีร์ พงษ์เจริญ Boonyawee Pongchareon ทูบา Tuba สุทธิพจน์ ม่วงเจริญ
Sutthipot Muangcharoen รวิช รัชตะสมภพ Ravich Rachatasompope
เปียโน Piano ศศิภา รัศมิทัต Sasipa Rasmidatta กีตาร์ Guitar ทัตพงศ์ มาสุข Tatpong Masuk ณธี ศรีอุทิศ Nathee Sriuthid ฮาร์พ Harp เอมมา มิตะไร Ema Mitarai เครื่องกระทบจังหวะ
Pongkiettikul
Percussion นฤชิต ป้องเกียรติกุล
บูรพา นกทอง
รัชพล เฟื่องคอน
ภูมิพัฒน์ วรรณโอทอง
ชลันธร เตียวตระกูล
ร่วมด้วยกลุ่มนักร้องประสานเสียงคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ (Fine
Applied Art
Naruechit
ภัทรพล อดุลยานุภาพ Phattaraphol Adulayanubap
Burapa Nokthong
Ratchaphon Fuangkorn
Poomipat Wan-othong
Chalanthorn Tiewtrakul
and
Chorus)
ขอขอบคุณ บริษัทสยามดนตรียามาฮ่า จากัด สนับสนุน Concert Grand Piano CFX ในการแสดงคอนเสิร์ต