ละครชาตรี ละครชาตรี เป็ นละครพื้นบ้านแบบดัง้ เดิม ใช้แสดงในงานต่างๆ ได้ทุกโอกาส ผู้แสดงแต่เดิมเป็น ชายล้วน และมีเพียง ๓ คน เท่านัน้ คือ ตัวนายโรง (แสดงเป็ นตัวพระ) ตัวนาง และตัวเบ็ดเตล็ด (หรือ ตัวตลก) ในระหว่างการแสดงก็ จะเปลี่ยนบทบาทไปตามท้องเรื่อง คนหนึ่งแสดงหลายบท ต่อมาละคร ชาตรีใช้ผู้หญิงแสดงด้วย และเพิ่มผู้แสดงมากขึ้นกว่าเดิม ตัวละครต้องร้องและเจรจาเองพร้อมๆ กับการร่ายรา ตัวที่ยงั ไม่ถึงบทแสดงก็ทาหน้าที่เ ป็ น ลู กคู่ ไปด้วย การดาเนินเรื่องใช้การร้องและเจรจา การเจรจาในละครชาตรีเป็ นการสนทนาโต้ตอบระหว่า งตั ว ละครด้วยภาษาพูดธรรมดา เนื่องจากการแสดงละครชาตรีมุ่งที่จะให้คนดูสนุกสนานเพลิ ดเพลิน จึงมัก ดาเนินเรื่องรวบรัด รวดเร็ว และมีการเจรจาบ่อยๆ ครัง้ ละนานๆ เพื่อมุ่งให้เกิดความตลกสนุกสนานของ คนดูเป็ นสาคัญ ปี่ พาทย์ประกอบละครชาตรี เรียกว่า ปี่ พาทย์ชาตรี นับเป็ นปี่ พาทย์เ บา เช่นเดียวกับที่ ใ ช้ เ ล่ น ประกอบโนราและหนัง ตะลุ ง ประกอบด้ วยปี่ (คื อ ปี่ ใ น) ทับ(รู ปร่ า งคล้ า ยโทน) กลองชาตรี หรือบางที เรี ย กว่ า กลองตุ๊ ก ๑ คู่ ฆ้ อ งคู่ กรับ ฉิ่ ง เมื่ อ ประมาณ ๘๐ ปี ม านี้ ละครชาตรี น าระนาดเข้ า มาตี ประกอบด้วย ต่อมาจึงใช้เครื่องปี่ พาทย์อย่างอื่นเข้าไปประสม จงทาให้ลักษณะของวงดนตรีคล้ายกับของ ละครนอก แต่เดิมละครชาตรีแสดงกันในลานโล่งๆ หรือในโรงที่คนดูดูได้รอบด้าน ต่อมาแบบแผนของละคร ชาตรีเปลี่ยนแปลง จึงมักกัน้ ม่านตายตัวไว้ด้านหลังละครเล่นหน้าม่านนี้ แต่เดิมละครชาตรีไม่ได้แต่ง ตั ว สวยงาม โดยเฉพาะผู้ชายไม่สวมเสื้อ อาจมีเครื่องประดับบ้าง ต่อมาเครื่องแต่งตัวละครชาตรีอนุโลมตาม แบบละครนอกและละครใน เรื่ อ งที่ ใช้ แสดงเดิม แสดงอยู่เ พี ยงไม่ กี่เ รื่องคือ เรื่ อ งพระรถเมรี พระสุธน มโนราห์ แต่ต่อมาใช้เรื่องอื่นๆ เช่นเดียวกับละครนอก เช่น ไชยเชษฐ์ คาวี มณีพิชยั ฯลฯ ก่อนที่จะเริ่มแสดงเนื้อเรื่อง คณะผู้แสดงจะต้องทาพิธีบูชาครู โดยมีสิ่งของที่ใช้บูชาร่วมด้วยหลาย อย่าง เช่น ธูป เทียน หมากพลู และเงิน เป็ นต้น เมื่อเสร็จพิธีไหว้ครูแล้วปี่ พาทย์ก็จะบรรเลงเพลงโหมโรง หลังจากนัน้ ตัวละครจะออกมาร้องประกาศหน้าบท คือเชิญครูเพื่อความเป็ นสิริมงคลอีกครัง้ หนึ่ง แล้วตัว ยืนเครื่องซึง่ หมายถึงตัวนายโรงซึ่งแต่งเครื่องละครครบจะออกมราซัดหน้าบทหรือราซัดหน้าเตียงในสมัย โบราณมักจะว่าคาถาอาคมพร้อมกันไปด้วย เมื่อราจบแล้วจึงเริ่มจับเรื่อง หลังจากที่การแสดงจบลง ตัว ละครจะออกมาราซัดอีกครัง้ หนึ่ง พร้อ มกับว่าคาถาอาคมเป็ นการถอนอาถรรพ์ จากการศึกษาตานานและบทร้องที่ตกทอดมาของละครชาตรี และการแสดงโนราที่นิยมเล่นกันอยู่ ในภาคใต้ ทาให้เห็นชัดว่าการแสดงทัง้ สองอย่างมีความเกี่ยวพันกันอย่างใกล้ชิด บางครัง้ เรียกว่า โนราชาตรี แบบแผนในการแสดงโนราชาตรีคล้ายคลึงกับละครของมลายูที่เรียกว่า “มะย่ง” เป็ นอย่างมาก จะ ต่างกันตรงที่ภาษาและทานองดนตรีเท่านัน้ ท่านผู้รู้หลายท่านจึงสันนิษฐานว่าไทยเรารับแบบแผนการ แสดงชนิดนี้มาจากอินเดียทางภาคใต้โดยผ่านทางแหลมมลายู ทัง้ นี้นอกจากละครทัง้ ๒ แหล่งนี้จะมีแบบ แผนการแสดงบางอย่างเหมือนกันแล้วยังปรากฏข้อความในคาร้องโบราณเก่าแก่ตอนหนึ่งว่า
นางช่วยเล็บเงิน ยกเริน(เรือน)ไปตัง้ อยู่หว่างไพร คนมักชอบใจ เรียกว่ามโนรามาแต่แขก ในสมัยอยุธยา ธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีผู้นาโนราจากนครศรีธรรมราชเข้ามาแสดง ในพระนครหลวง และมีชาวหัวเมืองปั กษ์ใต้อพยพเข้ามาตัง้ บ้านเรือนอยู่ในกรุงเทพฯ เป็ นจานวนมาก ละครโนราชาตรีมาแสดงแพร่หลายในกรุงเทพฯ อยู่นานพอสมควรจนกระทังปลายสมั ่ ยรัชกาลที่ ๖ มีผู้คิดเอาแบบแผนละครโนราชาตรีเข้ามาผสมกับแบบแผนละครนอก เรี ยกว่าละครชาตรี เข้าเครื่อ ง หรือละครชาตรีเครื่องใหญ่ กล่าวคือ ให้แสดงกันในโรง มีฉากกัน้ อย่างละครนอก แต่งตัวอย่างละครนอก ใช้วงปี่ พาทย์อย่างละครนอกและละครชาตรีปนกั น (คือมีทบั และกลองชาตรีแทรกเข้ าไปในวงปี่ พาทย์ ธรรมดา) การแสดงดังกล่าวนี้เริ่มด้วยการร้องบทไหว้ครู และราซัดอย่างละครชาตรีปนกัน ละครชาตรีใน กรุงเทพฯ แสดงในลักษณะดับกล่าวมาจนทุกวันนี้ วิ ธีการแสดง และลาดับการแสดง ลาดับการแสดง จะประกอบไปด้วย ๑. โหมโรงชาตรี ๒. ประกาศหน้าบท ๓. ราซัดหน้าบท หรือราซัดหน้าเตียง ๔. จับเรื่อง ๑. โหมโรงชาตรี เป็ น การบรรเลงโหมโรงก่ อน การแสดงเหมื อ นกั บการแสดงทัว่ ไป ส่ ว น ที่ เ รี ย บ เ รี ย ง ไ ว้ ใ น ที่ นี้ คื อ กระบวนการบรรเลงโหมโรงละครชาตรี คณะครู ทองใบ เรื อ งนนท์ ในเรื่องของ เครื่องที่ใช้ดาเนินทานองคือ ปี่ ครูทอง ใบ ท่านได้ให้คาจากัดความในการเปา ว่ า เป่ า “ลอยลม” หมายถึง การเป่ าปี่ ให้เข้ากับทานองหน้าทับของโทนชาตรี และกลองตุ๊ก เป่ าโหยบ้าง เป็ นวรรคบ้าง ให้พอดีกับหน้าทับ ดาเนินทานองให้ติดต่อคล้องจองกันเหมื อ น เป่ าแบบต้นไปเรื่อยๆ ไม่ได้อยู่ในทานองของเพลงใดเพลงหนึ่ง ซึ่งคนเป่ าปี่ ละครชาตรีต้องมีความเข้ า ใจ วิธีการเป่ าแบบ “ลอยลม” ยกเว้นตอนขึ้นเพลงรัว ชาตรี และเพลงเชิด ที่เป่ าตามปกติ
ส่วนวิธีการตีโทนชาตรีจะใช้ผู้ตี ๒ คน ผู้ที่ตีตามจังหวะตกของ ห้องเพลงเรียกว่า “ตัวยืน” ส่วนผู้ที่ตีลง จังหวะยกของห้องเพลงเรียกว่า “ตัวขัด” ที่สอดประสานกันไป การโหมโรงชาตรีนนั ้ ไม่มีระยะเวลาในการบรรเลงที่แน่นอน หลักสาคัญขึ้นอยู่ กับการ กาหนด เวลาของการแสดงโดยรวม เช่น ถ้ามีเวลาในการทาการแสดงน้อย การโหมโรงการจะบรรเลง แบบตัดให้ แต่ละเพลงใช้เวลาสัน้ ลง พอเป็ นสังเขปให้ครบตามประเพณีที่สืบต่อกันมา แต่หากการ แสดงมีเวลามาก หรือนักแสดงยังไม่พร้อมที่จะทาการแสดงก็จะบรรเลงโหมโรงให้ยาวขึ้น เป็ นต้น ๒. ประกาศหน้ าบท ประกาศหน้ า บทเป็ น บทที่ กล่ า วถึง คุ ณพระรัตนตรัย คุ ณ บิ ดามารดา คุ ณ ครู เทพยดาและสิ่ง ศักดิ ์สิทธิ ์ทัง้ หลายของหัวหน้าคณะ เพื่อให้มารับเครื่องสังเวย ดูการแสดงตามที่ทางเจ้าภาพได้บน บาน ศาลกล่าวไว้ รวมทัง้ ให้มาช่วยคุ้มครองดูแลรักษาและเป็ นพยานในการทาพิธีกรรม โดยลักษณะ การร้อง จะมีต้นเสียงนา และมีลูกคู่ร้องรับพร้อมตีกรับไปด้วย เรียกว่า “ตีกรับรับบท” ในการร้องประกาศหน้าบท จะร้องโดยมีจงั หวะหน้าทับของโทนชาตรีและกลองตุ๊กสอด ประสานอยู่ด้วย เรียกว่า “หน้าทับร่ายชาตรี” เมื่อร้องประกาศหน้าบทจบ ผู้ที่ดีโทนและ กลองตุ๊ ก จะตี ต่ อ ไปจนกระทัง่ ผู้แสดงราซัดออก นั ง่ เตี ย ง ดนตรี ก็จ ะลงจบหรือเรีย กว่า "ลงโทน” จากนัน้ ผู้ราซัดจะพนมมือและร้องบทไหว้ครูละคร ชาตรี ตัวอย่างบทร้องประกาศหน้าบท
บทร้องประกาศหน้ าบท อ้อ......เอย..... สิบนิ้วลูกหรือคือดังเทียนยกขึ้นเหนือเศรียรไหว้วนั ทา (ลูกคู่รบั ) ไหว้พระพุทธบาทองค์พระศาสดา
ธัมมังสังฆาครูอาจารย์ (ลูกคู่รบั )
ลูกจะไหว้คุณครูผู้ประสิทธิ ์
ไหว้คุณพระบิตุลามารดา (ลูกคู่รบั )
ธัมมังสังฆาครูอาจารย์
โปรดปรานสังสอนแต่ ่ ก่อนมา (ลูกคู่รบั )
สอนให้ลูกขีดสอนให้ลูกเขียน
สอนให้ลูกเรียนมโนราห์ (ลูกคู่รบั )
วันนี้ละครจะราถวาย
ทัง้ พระหัตถ์เบื้องซ้ายและเบื้องขวา (ลูกคู่รบั )
เจ้าที่มาแล้วมึถึงแล้ว
คลาดแคล้วขึ้นประทับบนพลับพลา (ลูกคู่รบั )
บทร้องไหว้ครูละครชาตรี คุณเอ๋ยคุณครู
เหมือนฝัง่ แม่น้าคงคา (ลูกคู่รบั )
สิ้นๆจะแห้งแล้วก็ไหลมา
ยังไม่รู้สิ้นไม่รู้สุด (ลูกคู่รบั )
สิบนิ้วลูกจะยกขึ้นดาเนิน
สรรเสริญถึงคุณพระพุทธ (ลูกคู่รบั )
จาศีลเสียแล้วให้บริสุทธิ ์
ไหว้พระเสียแล้วจะสวดมนต์ (ลูกคู่รบั )
จะไหว้พระพุทธพระธรรมเจ้า
ยกไว้ใส่เกล้าใส่ผม (ลูกคู่รบั )
เล่นไหนให้ดีขอให้มีคนรัก
หยุดพักตร์ให้ดีมีคนชม (ลูกคู่รบั )
ยกขึ้นไว้ใส่เกล้ายกขึ้นไว้ใส่ผม
ถวายบังคมทุกราตรี (ลูกคู่รบั )
*รักเจ้าเอ๋ยยอไหว้
คุณไหว้มหาโยคี (ลูกคู่รบั )
ขอให้สรรพเสียงของลูกเสียงดี
จะร้องจะราให้จบั จิต (ลูกคู่รบั )
กลางคืนลูกจะไหว้องค์พระจันทร์เจ้า
เช้าๆจะไหว้พระอาทิตย์ (ลูกคู่รบั )
บทบาทพลาดพลัง้ ลูกยังร้องผิด
ผิดหน่อยจะขอสมา (ลูกคู่รบั )
จะขอไปด้วยอีกทัง้ พระปั ญยงค์
สะสมไปด้วยพระปั ญญา (ลูกคู่รบั )
บทบาทพลาดพลัง้ ลูกก็ขอเสียบางลา
ปั ญญาลูกมาแม่น้ าไหล (ลูกคู่รบั )
ขอสรรพขอเสียงให้ลูกดังก้อง
เหมือนฆ้องชวาหล่อใหม่ (ลูกคู่รบั )
ขอสรรพขอเสียงให้ลูกเกรียงไกร ไหลไปยังท้องธารา (ลูกคู่รบั ) หมายเหตุ * การแสดงครัง้ นี้ไม่ได้ร้อง เพราะมีข้อจากัดเรื่องเวลา
บทร้องท้ายบทไหว้ครู (คาพลัด) ตัวพี่
ชาตรีเหมือนนกสาริกา (ลูกคู่รบั )
ไม่มีคู่กินมาเที่ยวบินหา
ตัวเดียวเที่ยวมาในพงพี (ลูกคู่รบั )
เป็ นชะตาอาภัพมาให้อัปหมอง
มาไร้คู่อยู่ครองเศร้าหมองศรี(ลูกคู่รบั )
เล็ดลอดสอดหาแม่นางนารี
น้องรักปั กษีไม่พบนวล (ลูกคู่รบั )
๓. ราซัดหน้ าบท หรือราซัดหน้ าเตียง การร าซัดหน้า บทหรือราซัดหน้ าเตียงนัน้ เป็ น การร าเบิ กโรงถวายครู และสิ่ งศั กดิ ส์ ิทธิ ์ เพื่อ ป้ อ งกั น ขจัดปั ดเป่ าเสนีย ดจัญไรในบริเ วณพื้ นที่ที่ ทาการแสดงและเพื่อ ความเป็ นสิริมงคลแก่ ทุ ก คน ใน คณะผู้แสดงจะต้องเป็ นตัวนายโรง หรือตัวพระ จะต้องร้องบทไหว้ครูเอง ดนตรีจะดาเนินทานองไป พร้อมกับการราโดยมีโทนชาตรีและกลองตุ๊กตีสอด ประสานกันเป็ นจังหวะเข้ากับท่วงท่าในการรา ๔. จับเรื่อง ในการแสดงครัง้ นี้จะจับเรื่อง พระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเสื้อ
เรื่องย่อ พระอภัยมณี ตอนหนี นางผีเสื้อ พระอภัยมณีกับสินสมุทรได้หลอกให้นางผีเสื้อสมุทรไปจาศีลภาวนาเป็ นเวลา ๗ วัน เพราะได้นัด หมายกับตาเงือกเพื่อที่จะได้พาหนีกลั บไปยังเมืองรัตนา พระอภัยมณีได้ให้สินสมุทรผลักแผ่นหินซึ่งปิ ด ปากถ้าไว้ออก จากนัน้ ก็พากันมาที่ชายหาดเพื่อรอเงือก เมื่อตาเงือกพร้อมเมียและลู กมาถึง ทัง้ หมดจึ ง พากันหนีไปทางทะเล เมื่อนางผีเสื้อสมุทรจาศีลครบ ๗ วัน จึงกลับมาถ้า พอมาถึงก็รู้ว่าพระอภัยและลูก พากันหนี นางผีเสื้อสมุทรจึงได้ออกติดตาม และได้ตามทันมาจนถึงเกาะแก้วพิ สดาล (ตัวอย่าง) บทละครชาตรี เรื่องพระอภัยมณี ตอนหนีผีเสื้อ แสดง ณ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม รายการจุฬาวาทิต ครัง้ ที่ ๒๑๗ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๔ *************** เพลง……………….. จะกล่าวกลับจับความเป็ นตามเรื่อง
ถึงบาทเบื้องปรเมศวร์พระเชษฐา
องค์พระอภัยศรีโสภา
ยกยากอยู่คูหามาช้านาน
อยู่ด้วยนางอสุรีรูปนิมิต
เป็ นคู่ชิดเชยชมสมสมาน
ต้องรักใคร่ไปตามยามกันดาร
จนนางมารมีบุตรบุรุษชาย
(บทร้องตอนปลอบสินสมุทรหนีผีเสือ้ ) เพลง……………….. ฝ่ ายองค์พระอภัยวิไลโฉม จึงหยิบปี่ ที่เป่ าเมื่อคราวนัน้
ปลอบประโลมลูกชายจะผายผัน เอาผ้าพันผูกปี่ แล้วลีลา
-เสมอเพลง……………….. พงศ์กษัตริย์ตรัสชวนสินสมุทร
สอนให้บุตรขอสมาอัชฌาสัย
พระทรงบ่าเงือกน้างามวิไล เพลง……………….. ฝ่ ายพระอภัยมณีเมือ่ หนียกั ษ์
พระหน่อไทขอสมาขึ้นบ่านาง กับลูกรักเงือกน้ามาตามคลื่น
บรรลุทางกลางชลาได้ห้าคืน เพลง……………….. พระอภัยใอ่อนถอนสะอืน้
ดูทะมึนมาข้างหลังดังสะเทือน อุตส่าห์ฝืนพักตร์ว่านิจจาเอ๋ย
แม่ผีเสื้อเจ้าไม่เชื่อพี่บ้างเลย
พี่ไม่เคยอยู่ในถ้าให้ราคาญ
พี่คิดถึงสองชนกที่ปกเกล้า
จะสร้อยเศร้าคอยหาน่าสงสาร
ด้วยพลัดพรากจากมาก็ช้านาน
ไม่แจ้งการว่าข้างหลังเป็ นอย่างไร
เพลง……………….. ขอพนจพบฐานตามตารา
อดข้าวปลาอดนอนอ่อนกาลัง
ได้สามวันรันทดสลดจิต
เพียงชีวิตลาลับไม่กลับหลัง
อุตส่าห์ยืนฝืนใจได้ประทัง
เซซังซวนซงไม่คงตัว
เห็นลูกไม้ในป่ าคว้าเข้าปาก
กาลังอยากยืนขยอกดูกลอกหัว
มืดหน้าตาลายหายหมองมัว เพลง………………. เห็นประตูคูหานัน้ เปิ ดอยู่ เข้าในห้องมองเขม้นไม่เห็นใคร เพลง……………….. มาดูปี่ที่เป่ าเล่าหาย เสียใจในอารมณ์ไม่สมประดี เพลง……….. ได้สามวันรันทดสลดจิต
คิดถึงผัวเหยาะย่างมากลางไพร โอ้อกกูเกิดเข็ญเป็ นไฉน นางตกใจแทบจะดิ้นสิ้นชีวี นางยักษ์ร้ายรู้ว่าพากันหนี สองมือตีอกตูมฟูมน้าตา เพียงชีวิตลาลับไม่กลับหลัง
อุตส่าห์ยืนฝืนใจได้ประทัง
เซซังซวนทรงไม่คงตัว
เห็นลูกไม้ในป่ าคว้าเข้าปาก
กาลังอยากยืนขยอกดูกลอกหัว
มืดหน้าตาลายหายหมองมัว
คิดถึงผัวเหยาะย่างมากลางไพร
รายชื่อผู้แสดง ราซัดหน้ าเตียง
บัวสาย เรืองนนท์ / วิภาวี เรืองนนท์ / พัชมน เรืองนนท์
พระอภัยมณี
บัวสาย เรืองนนท์
พ่อเงือก
สุวพัชชา นาคพลี
นางผีเสื้อสมุทร
ชนกาญ สมสกุล
แม่เงือก
บุญเตือน พงษ์เถื่อน
สิ นสมุทร
อรัญญา ขาเจริญพร
สุวรรณมัจฉา มณทิรา ฉายแสง
ฤาษี
นายทรงชัย ขาเจริญ รายชื่อผู้บรรเลง
ปี่
นายอัครพล พจนารถ
ระนาดเอก
บุญสืบ เรืองนนท์
ระนาดทุ้ม
ณัฐวัฒน์ เรืองนนท์
ฆ้องวงใหญ่
อริย์ธชั สมพงษ์
เครื่องหนัง
พิณ เรืองนนท์
บุญสืบ เรืองนนท์
บุญสร้าง เรืองนนท์
ภาคภูมิ พนเสาวภาคย์
กรับ/ลูกคู่
บุณรดา เรืองนนท์
พรศรี เรืองนนท์
ขับร้อง
บุญสร้าง เรืองนนท์
วรรณิดา วีระกุล
อรัย์ธชั สมพงษ์
ควบคุมบทการแสดง อรัญญา ขาเจริญพร ควบคุมดนตรีและการแสดง บุญสร้าง เรืองนนท์
ละครชาตรี คณะครูทองใบ เรืองนนท์ ละครชาตรี นั ้นมีประวัติมานาน แต่ คณะของคุ ณ ครู ทองใบ เรื อ งนนท์ นนั ้ เ ป็ น คณ ะ ละคร ที่ สื บเ ชื้ อ สา ย ม า จ าก ชาวเมืองนครศรีธรรมราช เริ่มจากพระศรี ชุ ม พล (ฉิ ม ) ได้ ร ับราชการในส านั กเมือง นครศรี ธ รรมราช เป็ นครู ส อนละครที่ มี สมญานาม คณะว่า “ละครเรือเร่ หรือละคร เรื อ ลอย” มี ชื่อ เสี ย งและลู กศิ ษ ย์ ที่ฝึ ก หั ด จานวนมาก ส่วนใหญ่ยึดอาชีพเดียวกั น คื อ การแสดงละครชาตรี หนึ่งในบุตรของท่าน พระศรีชุมพล (ฉิม) ชื่อว่านายเรือง “นายเรือง” นัน้ จึงได้แยกตัวจากคณะของพ่อ เพราะเห็นว่าพี่น้ อ ง แย่งกันทามาหากิน ประกอบกับฝนแล้ง น้าน้อย เกิดข้าวยากหมากแพง ราษฎรอดอยาก จึงได้ขออพยพ แลติดตามกองทัพของเจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) เมื่อครัง้ กรีธาทัพไปปราบหัวเมืองทางภาคใต้ ปี พ.ศ. ๒๓๗๕ ในครัง้ นั ้นมี ชาวเมืองนครศรีธ รรมราช เมื อ งพัทลุ ง และเมื องสงขลา ตามเข้ า มาอยู่ที่ กรุงเทพมหานคร ได้รบั พระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ โปรดเกล้า ฯ ให้ตงั ้ บ้านเรือนอยู่ ที่สนามกระบือ หรือสนามควาย (ถนนหลานหลวง) เรียกว่าไพร่หลวง เกณฑ์ บุญ และในบรรดาผู้อพยพเหล่านั ้นมีผู้มีความสามารถในการแสดงละครชาตรี หลายคนที่มีปรากฏชื่อ ได้แ ก่ นายขา นายจัน และ นายธูป จึงรวบรวมกันจัดตัง้ คณะละครขึ้น รับเหมาแสดงในงานต่างๆ จนเป็ นที่นิยม อย่างแพร่หลายของ ชาวกรุง และได้ยึดอาชีพการแสดงละครชาตรีสืบทอดต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้ ครูทองใบ เรืองนนท์ เป็ นเจ้าของคณะละครชาตรี สืบทอดมาจากคุณพ่อ คือนายพูน เรืองนนท์ เจ้าของคณะละครเรืองนนท์ มีป้ายคณะเก่าแก่เห็นได้ชดั บริเวณ ป้ ายรถเมล์ชุมชนหลานหลวง ครูพูนมีความชานาญหลายประเภท เช่นละครชาตรี หนังตะลุง โนราห์ รับงานทัวไป ่ จนทาให้ มีรูปหนังตะลุงมากกว่า สองพันตัว ช่วงเวลาเดียวกัน การรับงานละครชาตรีก็มีมาก หากันไปแสดงอย่าง แพร่หลาย เป็ นที่นิยมมาก มีงานการแสดง แสดงสม่าเสมอเป็ นประจาทุกวัน แสดงเนื่องในงานแก้บนเป็น หลัก ตามบ้านหรือศาลหลักเมือง บางครัง้ ก็ แสดงแก้บนที่บ้านของนายพูนเอง แล้วแต่ความต้องการของ ผู้ว่าจ้าง ในระยะหลังได้แสดงประจาอยู่ที่ ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร ราคาแสดงเฉพาะคณะนายพูน ในยุคแรกคิดเป็ นเงินโรงละ ๒๑ บาท ส่วนคณะอื่นโรงละ ๗บาทเท่านัน้ เหตุผลที่คณะนายพูนราคาแพง กว่าคณะอื่น ๆ เพราะผู้แสดงมีฝีมือที่ ได้รบั การถ่ายทอดอย่างถูกต้องทัง้ การขับร้อง การรา ตลอดจนการ เล่นดนตรีประกอบการแสดงละคร ชาตรีที่ไพเราะ การดาเนินเรื่องคล่องแคล่ว ว่องไว สมบูรณ์แบบ มี ความสนุกสนานเรียกเสียงหัวเราะได้ ตลอดเวลา บางวันมีงานมากต้องแยกออกไปแสดงถึง ๒ โรง อีก ประการหนึ่ง นายพูนเป็ นผู้ที่รกั ใน ชื่อเสียงของคณะมาก ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของนักดนตรี หรือนักแสดง เมื่อหาคณะนายพูนแล้ว ผู้แสดงต้อง ไปครบ เช่น ถ้าหาปี่ พาทย์เครื่องห้า ก็จะต้องมีนักดนตรี ๕ คน และ
ผู้ที่เครื่องประกอบจังหวะต่างหาก ถ้าเป็ นละคร เรื่องไหน ตอนไหน มีตัวละครเท่าใดก็จะต้องจัดไปให้ครบ เช่น ตัวพระ ๒ ตัวนาง ๔ ตลก ๒ ก็ ต้องไป ๘ ตัวหรือมากกว่านัน้ นอกจากการเล่นละครชาตรีและการ เชิดหนังตะลุงแล้วนายพูนยังได้ฝึกหัดการแสดงอื่นๆ อีกหลายประเภท คือ โขน หุ่นกระบอก โขนสด นายพู น (บิ ดาครู ทองใบ ) เป็ น บุ ตรของนายนนท์ กั บนางทิ พ ชาวนครศรีธ รรมราช และ เป็ น หลานของนายเรือง เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๑๑ ปี เถาะ ตรงกับ พ.ศ. ๒๔๓๔ รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๕ ที่จงั หวัดนครศรีธรรมราช เป็ นลูกคนโต ในบรรดาทัง้ หมด ๑๔ คน เมื่อ อายุได้ ๑ เดือน พ่อได้พาขึ้นมาจากจังหวัดนครศรีธรรมราช มาอยู่ที่กรุงเทพฯ โดยมีแม่และยายมา ด้วย รวมเป็ น ๔ คนเมื่ออายุได้ ๘ ปี ได้เดินทางกลับไปบ้านเดิมที่จงั หวัดนครศรีธรรมราช เพื่อฝึกหัดการ เล่นละคร ชาตรี และโนรา หลังจากนัน้ ได้กลับขึ้นมากรุงเทพฯอีกครัง้ เริ่ มฝึกหัดละครชาตรีและการเชิ ด หนังตะลุง อย่างจริงจังกับ นายขา นายจัน และนายนนท์ (บิดา) อีกทัง้ ที่อยู่อาศัยก็อยู่ในย่านชุมชนที่เป็ น บ้านละคร จึงทาให้นายพูนมีโอกาสได้เรียนรู้และร่วมแสดงกับนักแสดงอาวุโสมากมายจนกระทังมี ่ ความ ชานาญในการแสดงหลายประเภทและมีชื่อเสียงในเวลาต่อมา เช่นละครชาตรี หนังตะลุง เป็ นต้น นายพู น มี ภ รรยา ๕ คน และบุ ต รธิ ด า รวมกั น ๑๗ คน ภรรยาและลู กทุ กคนอยู่ ในบ้ า น เดียวกัน ทัง้ หมด ช่วยกันทามาหากินในอาชี พการ แสดงละครชาตรี การแสดงหนังตะลุง บางคนไม่ มี ความรู้ ด้าน ละครชาตรีก็จะช่ วยในส่วนอื่นๆ และ ทุ กครัง้ ที่ รบั งาน นายพู น ก็จ ะแบ่ง เงิน ค่า ตอบแทน ให้กับภรรยาทุกคน เท่าๆ กัน และจะพาลูกไปเลี้ยง ที่ โ รงละครด้ ว ย ท่ า นมี วิ ธี ฝึ กลู กหลานทุ ก คนให้ แสดงละครชาตรีได้ตงั ้ แต่ รุ่นเล็กถึงรุ่นโต ขณะที่ละครชาตรีกาลังแสดงนัน้ ท่านจะให้ลูกหลานจดจ าท่า ร า วิธีร้อง และการเล่นดนตรี โดยดูแววว่า คนใดเรียบร้อยจะให้จดจาท่าราและบทร้องของตัวพระเอก บุตร หลานคนใดแก่นแก้วเฉลีย ว ฉลาดก็จะให้จดจาท่าร าและบทร้องของตัวโกง ให้ดูซ้าๆ เพราะการแสดง ละครชาตรี เป็ น เรื่อ งจักรๆ วงศ์ ๆ เป็ น วรรณคดี หรือนิ ทานชาวบ้ านซ้า ไปซ้ ามา บุ ตรหลานจึ งจดจ าได้ ทัง้ หมด สามารถแสดงแทนกันได้ถ้าผู้แสดงจริงไม่อยู่หรือป่ วยไข้ ในบรรดาลูกๆ ทัง้ หมดของนายพู น เรืองนนท์นนั ้ ถ้าเป็ นผู้หญิงก็จะให้ฝึกหัดเล่นละครชาตรี และการขับร้องหมดทุกคน แต่ถ้าเป็ นผู้ชายก็จะ ฝึกเล่นละครชาตรี และฝึกหัดดนตรีที่ใช้ประกอบการ แสดงละครชาตรีด้วย ซึ่งส่วนมากก็จะหัดในเรื่ อ ง ของการตีโทน และกลองชาตรี (กลองตุ๊ก) ส่วนการเป่ าปี่ การเรียนปี่ พาทย์ การหัดเชิดหนังตะลุงนัน้ มี ครู ทองใบผู้เดียวที่เรียนอย่างจริงจัง โดยมีการแบ่งหน้าที่ กันรับผิดชอบตามความสามารถคือ ฝ่ ายหนังตะลุง และปี พาทย์ ครูทองใบจะเป็ นผู้รบั ผิดชอบ ฝ่ ายการ แสดงละครจะเป็ น นางแพน นางสุพตั รา ฝายตลกคือ นายเพิ่ม เป็ นผู้รบั ผิดชอบสายตระกูลครูทองใบ เรืองนนท์
ประวัติ ครูทองใบ เรืองนนท์
ครูทองใบ เรืองนนท์ ศิลปิ นแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็ นบุตรของนายพู น เรืองนนท์ กับภรรยาคนที่ ๓ ชื่อนางเชื้อ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ เดือน ๕ ปี ขาล ตรงกับ พ.ศ. ๒๔๖๙ ต้น สมัย รัชกาลที่ ๗ ณ บ้ า นเลขที่ ๑๙๓ ถนนหลานหลวง แขวงวัดโสมนั ส เขต ป้ อ มปราบศั ตรู พ่า ย กรุงเทพมหานคร มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ๓ คน ได้แก่ นางอาพัน เรืองนนท์ นายทองใบ เรือง นนท์ นางสมโภชน์ เรืองนนท์ ครูทองใบ เรืองนนท์ สมรสกับนางสมศรี (แซ่ลิ้ม) และนางจาเรียง มีบุตรและหลานดังนี้ ๑. ครูทองใบ เรืองนนท์ สมรสกับภรรยาชื่อ นางสมศรี มีบุตรและธิดาชื่อ ๑.๑.นางใบศรี สมสรกับ นายบุญช่วย แสงอนันต์ มีหลานชื่อ เปมิกา ๑.๒ นางสมบุญ สมสรกับ นายจารัส ตูมไทย มีหลานชื่อ บุญสืบ / เด่นเดือน / ดวงชีวิน
๑.๓ นางสมบัติ เรืองนนท์ มีหลานชื่อ เปมิกา ๑.๔ นายบุญสร้าง สมสรกับ นางรัตนา มีหลานชื่อ วิภาวี / ณัฐวัฒน์ ๑.๕ นางบัวสาย สมสรกับนายวสันต์ มีหลานชื่อ วิศเวศ ๑.๖ นางบุศรา สมสรกับนายสมศักดิ ์ บัวคลี่ มีหลานชื่อ นัทธกร ๒. นายทองใบ + นางจาเรียง มีบุตรคือ นายบันลือ สมสรกับนางทัศนีย์ มีหลานชื่อ ล้อมเดช และลัคนา เมื่อแรกเกิดนัน้ ได้รบั การเลี้ยงดูจากคุณแม่ ชื่อมอญซึ่งเป็ นภรรยาของนายพูนอีกคนหนึ่ง ท่าน ไม่มีลูก จึงได้มาขอรับลูกทัง้ ๓ คน ของนางเชื้อไปเป็ นลูกตัว ครูทองใบและพี่น้องจึงมีแม่มอญเป็ นแม่ อุปถัมภ์ด้วย แม่มอญรักครูทองใบมาก จะเลี้ยงโดยผูกเปลข้างหนึ่งไว้กับเสากลาง (เสาโรงละคร) อีกข้าง หนึ่งผูกไว้กับเสาเตียง (เตียงแสดง ) เป็ นประจาทุกวันตัง้ แต่เล็กจนโต เมื่อครูทองใบอายุได้ ๔ ปี ก็เริ่มตี จังหวะ ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง ได้ ต่อมาเริ่มตีกลองตุ๊กและโทนชาตรีได้โดยอาศัยฟั งจากพ่อพูน และผู้ใหญ่ ในคณะ เมื่ออายุได้ ๕ ปี ก็สามารถแสดงละครชาตรี เป็ น เสนา สัตว์ เทวดา หรือเป็ นชาวบ้านชาวเมื อ ง ตามบทบาทที่ ได้ กาหนดให้ ได้ เ ป็ น อย่ างดี ตลอดจนพ่ อ พู นยังได้ แนะน าให้ ครูทองใบไปเรียนปี่ พาทย์ เพิ่มเติมอีกด้วย ส่วนแม่เชื้อ เป็ นผู้มีความรู้ทางด้านปั ้นหม้อ เพราะบ้านเดิมอยู่ทางบางตะนาวศรี ถิ่ นปั ้น หม้อ ไม่มีความรู้ทางด้านนาฏศิลป์ และการแสดง เมื่อครูทองใบสาเร็จการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ จากโรงเรียนวัดโสมนัสวรวิหารในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ จากนัน้ ก็ออกมาเอาจริงเอาจังด้านการแสดงละครชาตรี และการศึกษาด้านดนตรีไทยเพื่อช่วยเหลือทาง คณะอีกแรง และไม่เคยเข้าเรียนที่ไหนอีกเลย เนื่องจากครูทองใบเกิดในตระกูลที่เป็ นนักแสดงละครชาตรี จึงได้เห็นการแสดงละครชาตรี ตัง้ แต่ ยังเด็ก อีกทัง้ ยังเป็ นคนที่มีความรักและสนใจการแสดงละครชาตรี ติดตามคณะไปทุกงานและคอย สังเกต ว่าพ่อทาอะไร ทาอย่างไร ถ้าสงสัยก็จะถาม ทาให้เกิดความเข้าใจสามารถเล่นได้ทุกบทบาทและ คุ้นเคย เป็ นอย่างดี ละครชาตรีเรื่องที่นิยมเล่นมากที่สุ ดในขณะนัน้ คือ เรื่องแก้วหน้าม้า เงาะป่ า โสนน้อย เรือน งามและไชยเชษฐ์ และที่ยงั ได้รบั การถ่ายทอดโดยตรงจากนายพูน เรืองนนท์ (บิดา) คือ การเชิด หนัง ตะลุ ง การประกาศหน้ า บท การแสดงโขนสด จนกระทัง่ ได้ เ ป็ น คู่ เ ชิดกั บพ่ อ ภายหลั ง นายพู น จึงได้ ถ่ายทอดวิชาเชิดหนัง ตะลุงให้กับลู กชายจนหมด ครัง้ หนึ่ง บริษัทบุญรอดบริวเวอรี่ จากัด ได้เชิญคณะ หนังตะลุงนายพูนและครูทองใบถ่ายทาโฆษณาสินค้า เพื่อส่งไปประกวดที่ต่างประเทศ และได้รบั รางวัล ถึง ๕ รางวัล หลังจากนายพูนเสียชีวิต ครูทองใบจาเป็ นต้องหยุดการแสดงหนังตะลุง เพราะหาคู่เชิดไม่ได้ นอกจากด้านการแสดงแล้ว ครูทองใบได้สงสมความรู ั่ ้จากครูดนตรีท่านต่างๆตัง้ แต่ในวัยเด็ก และมีความ พยายามในการศึกษาหาความรู้จ ากบุคคลรอบตัว ไม่ว่า จะเป็ น ดนตรี ที่ใ ช้ประกอบการแสดงละครชาตรี แบบดัง้ เดิม เริ่มเรียนการเป่ าปี่ กับนายพูน เรืองนนท์ (บิดา) และนายไกร โปร่งน้าใจ แต่เนื่องจากครู ทองใบสุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง มีโรคประจาตัวเกี่ยวกับ ระบบทางเดินหายใจ เวลาเป่ าปี่ จะเหนื่อยง่าย จึงไม่มีความชานาญมากนัก หัดปี่ พาทย์เมื่ออายุ ๘ ปี โดยครูยรรยงค์ โปร่งน้ําใจ (ยรรยงค์ จมูกแดง) เป็ น ผู้จบั มือต่อเพลงสาธุการให้ (เดิมครูอุ้ย พ่อของครูยรรยงค์ จะจับมือให้เพราะท่านรักครูทองใบมาก แต่
ท่านถึงแก่กรรมก่อน) จากนัน้ ได้เรียนกับครู ดนตรี หลายท่าน ได้แก่ครูช่อ อากาศโปร่ง เรียนเพลงมุ ล่ง ทางระนาด และเพลงมอญ ครูเจริญ ทรัพย์โสภณ (คนระนาดเอกของทูลกระหม่อมอัษฎางค์ฯ) เรียนทาง ระนาดเอกและ ทางระนาดทุ้ม ครูบุญยงค์ เกตุคง เรียนระนาด เดี่ยวฆ้องวงเล็ก เพลงหน้าพาทย์ (บาง เพลง) ครูพริ้ง ดนตรีรส เพลงหน้าพาทย์ ขุนสาเนียงชัน้ เชิง เพลงหน้าพาทย์ เพลงองค์พระพิราพ (ทาง ระนาด ที่ได้รบั การสืบทอด ทางเพลงจาก พระเพลงไพเราะ) การต่อเพลงกับครูบุญยงค์ เกตุคงนัน้ ใน ระยะแรกก็เป็ นผู้ที่รู้จกั ชอบพอและนับถือกันดี ไปมาหาสู่และช่วยเหลือกันในด้านของการทางานมาโดย ตลอด ภายหลังเนื่องจากครูบุญยงค์ เกตุคง ได้สมรส กับนางสมโภชน์ เรืองนนท์ น้องสาวครูทองใบ ครู บุญยงค์จึงถือว่าเป็ นเขยคนหนึ่งในตระกูล เรืองนนท์ ทาให้มีความใกล้ชิดสนิทสนมมากขึ้น เริ่มต่อเพลง กันอย่างจริงจังตลอดมา ในการต่อเพลงเดี่ยวฆ้องวงเล็กกับครู บุญยงค์นั ้น เนื่องจากมีการประชัน กับวงของครู ประสิ ทธิ ์ ถาวร ในงานไหว้ครูบ้านคุณครูหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) โดยครูบุญยงค์ เกตุคง เป็ นผู้ ตี ระนาดเอก ครูบุญยัง เกตุคง ตีระนาดทุ้มครูสมภพ ขาประเสริฐ ตีฆ้องวงใหญ่ และครูทองใบ เรืองนนท์ ตี ฆ้องวงเล็ก ซึ่งเป็ นการประชันสองปี ติดต่อ กัน เพลงเดี่ยวที่ใช้บรรเลงคือ “เพลงสารถี ” และ “เพลงแขก มอญ ” (บุญสร้าง เรืองนนท์, ม.ป.ป.: สัมภาษณ์) ด้วยความมีฝีมือและความสามารถในด้านการแสดง ครู ทองใบ เรืองนนท์ได้ร่วมกันสร้างคณะจนมีชื่อเสียง ผลงานมากมาย มีรายได้เพิ่มขึ้นจึง สร้างเครื่องดนตรี ไว้ หลายชุ ด เครื่ อ งดนตรีบางชิ้ นมีการสังท ่ าเป็ น พิ เ ศษ เช่ น เครื่ อ งดนตรีที่ทาจากงาช้า ง และประกอบ งาช้าง เป็ นต้น นอกจากความสามารถทางละครและทางปี่ พาทย์แ ล้ว ครูทองใบยังสามารถแสดงลิเก และเป็ น จาอวด พร้อมทัง้ ตัง้ คณะกลองยาวประยุกต์ คณะเรืองนนท์ เข้าร่วมประกวดวงกลองยาวประยุกต์ ได้ร ับ รางวัลชนะเลิศของจังหวัดนนทบุรีอีกด้วย วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕ เวลาประมาณ ๑๙.๐๐ น. ได้เกิดไฟฟ้ าลัดวงจรเป็ นเหตุให้ เ กิ ด เพลิงไหม้บ้านข้างในซอยภายในชุมชน ย่านละคร ติดกับวัดสุนทรธรรมทาน (วัดแค นางเลิ้ง) ในวันนั ้น ทางคณะของครูทองใบได้ออกไปทาการแสดงที่ร้านอาหารบ้ านไทย อีกทัง้ ละครคณะจงกล โปร่งน้าใจ เป็ นคณะละครที่อยู่ติดกับบ้านครูทองใบก็มีงานราที่ ศาลพระพรหม และออกไปแสดงถึง ๘๐ คน จึงมีผู้ที่ อยู่บ้านเพียงไม่กี่คน ส่วนใหญ่จะเป็ นเด็ก ส่วนบ้านของครูทองใบ อยู่หลังแรก นับจากปากซอย ไฟไหม้ ครัง้ นัน้ ขนอุปกรณ์มาได้จานวนหนึ่ง แต่ก็มีเครื่องดนตรีที่มีคุณค่า เช่น ปี่ งา ผืนระนาดดีๆ ไม้ตีระนาด ของครูเจริญ ทรัพย์โสภณ และอุปกรณ์การแสดง หลักฐานใบสาคัญทางราชการและรูปถ่ายในอดี ต เสีย หายไปหมด หลังจากนัน้ ครูทองใบจึงได้ย้ายมาอยู่กับนางสมบุญ (บุตรสาว) ที่หมู่บ้านบัวขาว เขตมีนบุรี เป็ นการชัวคราว ่ จากนัน้ ไม่นานครูทองใบก็ได้ปลูกบ้านใหม่ซึ่งสร้างตรงที่เดิมที่เกิดเพลิงไหม้ (สมบุญ ตูม ไทย, ม.ป.ป.: สัมภาษณ์) และรับงานการแสดง จนกระทังได้ ่ รบั พระราชทานยกยกให้เป็ นศิลปิ นแห่งชาติ ด้านศิลปะการแสดง (ละครชาตรี) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ และเสียชีวิตในวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ด้วยภาวะหัวใจล้มเหลว สิริอายุได้ ๘๑ ปี
หลั ง จากที่ คุณ ครู ทองใบ เรื อ งนนท์ ได้ เ สี ย ชี วิ ตแล้ ว ลู กหลานภายในบ้ า นยังคงรับงานแสดง เรื่อยมาภายใต้การควบคุมการแสดงของคุณครูบุญสร้าง เรืองนนท์ ผู้เป็ นบุตรชาย ซึ่งท่านนี้นอกจากจะ สืบทอดสายการแสดงละครชาตรีแล้ว ยังเป็ นศิลปิ นด้านดนตรี ไทยของกรมศิ ลปากร เป็ นนักแสดงตลก ละคร เป็ นที่รู้จกั กันในวงการเป็ นอย่างดี