คุณสมภพ จันทรประภา เกิดเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ ศ.2462 เป็นบุตรของรองอามาตย์เอก หลวง ประกิตกรณีย์ กับหม่อมหลวงชุบ เสนีย์วงศ์ สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การทางานเริ่มรับราชการในกระทรวงอุตสาหกรรม ตาแหน่งนายช่างผู้ช่วยแผนกตรวจเหมือง กองวิชาการ เหมืองแร่ กรมโลหะกิจ ในปี พ.ศ.2478 และได้รับการเลื่อนตาแหน่งตามลาดับ ต่อมาดารงตาแหน่งเลขานุการ กรม ทรัพยากรธรณี กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ใน พ ศ.2509 ต่อมาคุณสมภพ จันทรประภา ได้รับโอนตาแหน่งเป็น รองอธิบดีกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ ศ 2516 คุณสมภพ จันทรประภา มีประสบการณ์ในการประพันธ์ส่วนหนึ่งมาจากการเป็นผู้คัดลอกหนังสือต้นฉบับ ให้กับหม่อมหลวงบุปผา กุญชร นิมมานเหมินท์ เจ้าของนามปากกา “ดอกไม้สด” คุณสมภพ มีความสามารถในการ ประพันธ์บทละคร บทละครเรื่องแรกที่แสดงคือเรื่องนางเสือง จัดแสดงเพื่อเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระราชอิสริยยศในขณะนั้น) ทรงเจริญพระชนมายุ 3 รอบ แสดงโดยนิสิต จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ณ โรงละครแห่งชาติ พ ศ 2511 การแสดงครั้งนั้นได้รับความสาเร็จเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งต่อมาประพันธ์บท ละครที่มีชื่อเสียง เช่น ฉัตรแก้ว, สาวเครือฟ้า, สามัคคีเภท, พระบารมีมากพ้นราพัน, เงินถุงแดง, เจ้าชีวิต, พระ พิทักษ์, ยุติธรรมถ่องแท้ ฯลฯ1 คุณสมภพ จันทรประภา ประพันธ์บทละครเรื่องพญามังรายหลวง หรือพ่อขุนเม็ง รายมหาราช แสดง ณ สถานีโทรทัศน์ ช่อง 5
พญามังรายหลวงกลับมายังเชียงรายแล้วก็เริ่มวางแผนที่จะยึดเมืองลาพูนคืนโดยออกอุบายลงโทษอ้ายฟ้า
ครั้นสบโอกาสอ้ายฟ้าก็แกล้งปล่อยข่าวให้ร้ายพญายีบาและสรรเสริญพญามังรายหลวงไปพร้อม
พญามังรายหลวง วัดพระแก้ว จ.เชียงราย เรื่อง พญามังรายหลวง พญามังรายหลวง หรือพ่อขุนเม็งรายมหาราช กษัตริย์เมืองเชียงรายได้เสด็จมาจากเมืองลาพูนและได้พบ กับอ้ายฟ้าทหารคนสนิทที่ลอบเข้ามาสืบข่าวเมืองลาพูนที่ตกอยู่ภายใต้อานาตของมอญ โดยมีพญายีบาปกครองอยู่ พญามังรายหลวงนั้นคิดจะยึดเมืองลาพูนคืน จึงได้ลอบเข้ามาจนพบกับนางจวงจันทร์ผู้เป็นบุตรีพญายีบา เมื่อพระ มหาเทวีประภาจับได้ว่าทั้งสองลักลอบพบกันก็โกรธ เพราะตั้งใจไว้ว่าจะยกนางจวงจันทร์ให้กับเจ้ากรุงหงสาวดี
ของพญายีบา
ๆ กัน เมื่อเมืองลาพูนเกิดความระส่าระสาย อ้ายฟ้าก็แจ้งไปยังพญามังรายหลวงจนสามารถยึดเมืองคืนมาได้ และได้ ฆ่าพญายีบาตาย ทาให้จวงจันทร์นั้นโกรธมาก พญามังรายหลวงจึงส่งนางและพระมหาเทวีประภาไปอยู่หงสาวดี แล้วให้ทหารไปเชิญพ่อขุนรามคาแหง และพญางาเมืองเพื่อนสนิทมาช่วยกันสร้างบ้านแปลงเมืองใหม่ต่อไป ผู้แสดง อุษณีษ์ อัมพวะมัต แสดงเป็นพระมหาเทวีประภา ประดิษฐ ประสาททอง แสดงเป็นอ้ายฟ้า อนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์ แสดงเป็นพญายีบา สุขสันติ แวงวรรณ แสดงเป็นพญาเบิก ญาณวุฒิ ไตรสุวรรณ แสดงเป็นมังราย ลักษิกา สุภาโชค แสดงเป็นจวงจันทร์ นักแสดงสมทบ นิสิตภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ด้วยการเฆี่ยนตีแล้วปล่อยกลับไปลาพูน เมื่ออ้ายฟ้ากลับมาหาพญายีบาแล้ว ก็ได้รับใช้ใกล้ชิดจนเป็นที่วางพระทัย
นักดนตรี วงดนตรีดุริยประณีต สืบศักดิ์ ดุริยประณีต สุชีพ เพชรคล้าย ศิวกร อักษรศรี อนันต์ ดุริยพันธุ์ ภาคภูมิ รุ่งเรือง โกวิท ยิ่งเกียรติคุณ นรวิชญ์ รุ่งเรือง ภมรรัตน์ โพธิ์สัตย์ พิมลภาวรรณ ทวัฒน์อัษฎางค์ พรทิพย์ หงษ์อรุณ คณะผู้ดาเนินงาน อาจารย์ศุภชัย สิทธิเลิศ ที่ปรึกษา ศ กิตติคุณ ดร สุรพล วิรุฬห์รักษ์ ราชบัณฑิต กากับการแสดงและฝึกซ้อม พลตรีหญิง สาวิกา ชื่นตาชู กากับบท รองศาสตราจารย์ ดร อนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์ หัวหน้าภาควิชานาฏยศิลป์ อานวยการแสดง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร สุพรรณี บุญเพ็ง กากับเทคนิคการแสดง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร มาลินี อาชายุทธการ กากับระบา อาจารย์ ดร.ขวัญแก้ว กิจเจริญ กากับเวที อาจารย์ ดร ณัฐกานต์ บุญศิริ กากับเวที อาจารย์ ดร ศักย์กวิน ศิริวัฒนกุล ฝ่ายเครื่องแต่งกาย อาจารย์ ดร นิเวศ แววสมณะ ฝ่ายแสง สี อาจารย์ ดร จุฑาวัฒน์ โอบอ้อม ประสานงานการแสดง อาจารย์ธิดามาศ ผลไม้ ผู้ช่วยประสานงาน อาจารย์ธมนวรรณ นุ่มกลิ่น ผู้ช่วยประสานงาน