สูจิบัตรออนไลน์ "เพลงจากวรรณศิลป์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล" วันศุกร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2566

Page 1


รายการแสดง โหมโรงจอมสุรางค์ เจ้าคือความหวังของทั้งมวล แสงจากตะวัน ความดีนั้นไม่ตาย การศึกษาคืออานาจ ปิ่นหทัย ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้ สามเสน่หา หลักความเจริญ ดอกรัก สีนวล ครุมาลา


๑. เพลง โหมโรงจอมสุรางค์ ทำนอง เรียบเรียงโดย บรรเลงโดย

สันนิษฐำนว่ำ นำยดำบขุนเจริญดนตรี(เจริญ โรหิตะโยธิน) เป็นผู้ประพันธ์ ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ วงสไบ

เพลงโหมโรงจอมสุรำงค์ เป็นเพลงที่มีทำนองซับซ้อนซ่อนเงื่อนเป็นส่วนมำก และให้ควำมรู้สึกสนุกสนำน ร่ำเริง ใช้เพลงสะบัดสะบิ้งเป็นเพลงต่อท้ำย เป็นเพลงโหมโรงที่นิยมใช้บรรเลงมำก ๒. เพลง เจ้าคือความหวังของทัง้ มวล บทร้อง หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล บทร้องเพิ่มทำนองเรียบเรียงโดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย ณัฐธนัญ แซ่เจำ โรดริเกซ พ่อแม่หวังพึ่งพำเจ้ำ ชำติหวังกำลังฝีมือ หมั่นฝึกฝนตน ศึกษำครบถ้วนควำมดีควำมรู้

ครูเล่ำหวังเจ้ำสร้ำงชื่อ เจ้ำคือควำมหวังของทั้งมวล ใฝ่หำปัญญำ ทบทวนกตัญญูคู่ควรคุณธรรม

๓. เพลง แสงจากตะวัน บทร้อง หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล บทร้องเพิ่มทำนองเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย ชมพูนภำ เอกอัครำยุทธ จุดประทีปดวงใดก็ไม่เหมือน สงเครำะห์เพื่อนผู้น้อยวำสนำ ชีวิตน้อยค่อยฟื้นตื่นขึ้นมำ ได้รับแสงเจิดจ้ำจำกตะวัน คนเรำยำมยำกมักมืดมิด มีดวงจิตรอแสงแห่งควำมหวัง เมื่อมวลมิตรคอยสงเสริม พลังชีวิตยังมีแสงแห่งศรัทธำ


๔. เพลง ความดีนั้นไม่ตาย บทร้อง หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล บทร้องเพิ่มทำนองเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย อำจำรย์ณกฤศ จิรำรัฐพัชร ควำมดีนั้นไม่ตำยถ่ำยให้ศิษย์ กลำยเป็นแก่นกิจกำรงำนทั่วไป เวลำจะผ่ำนพ้นไป บุญกรรมดั่งน้ำในสำคร

ครั้นชีวิตศิษย์มลำยหำยไปไหน ประเทศไทยเฟื่องฟูเพรำะครูเอกเอย ฝำกดีให้ไว้เป็นอนุสรณ์ จำกจรแล้วเวียนกลับมำเป็นสำยฝน

๕. เพลง การศึกษาคืออานาจ บทร้อง หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล บทร้องเพิ่มทำนองเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย อำจำรย์ณกฤศ จิรำรัฐพัชร อันอำนำจใดใดในโลกนี้ สร้ำงคนหำค่ำมิได้ในโลกำ อันสมบัติเงินทองของมีค่ำ แต่ควำมรู้อยู่กับตัวและชั่วดี

ไม่เห็นมีเปรียบปำนกำรศึกษำ ขึ้นจำกผู้ที่หำค่ำไม่มี ถึงเวลำเสื่อมสลำยละลำยหนี อำนำจนี้คือกำลังทั้งโลกำ


๖. เพลง ปิ่นหทัย บทร้อง ชอุ่ม ปัญจพรรค์ บทร้องเพิ่มทำนองเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย ณริษฎำ จันทรศุภแสง วันเดือนปีที่ผ่ำนมำ โอ้ ต.อ. จ๋ำรักยังแจ่มจ้ำไม่เลือน สระน้ำคูบัวตำมเตือน สงวนบุญหนุนเลื่อน เสียงครูเสียงเพื่อนแจ่มใจ ยำมเรียนลืมยำมเล่นเด่น ชื่น ต.อ. ระบือลือสนั่นลั่นไกล คิดถึงพระคุณอำจำรย์ยิ่งใด เป็นปิ่นหทัยให้ร่มเย็นใจเสมอมำ รัก ต.อ. ขอจงอยู่ยื่นนำน รักครูอำจำรย์รักเพื่อนทั่วหน้ำ รักจริงรักจริงรักสิงวิญญำณ์ รัก ต.อ. ยิ่งชีวำรักจนดินฟ้ำมลำย รัก ต.อ. ขอจงอยู่ยืนนำน รักครูอำจำรย์รักเพื่อนทั่วหน้ำ รักจริงรักจริงรักสิงวิญญำณ์ รัก ต.อ. ประหนึ่งว่ำปิ่นปักจุฑำ นั่นเอย รัก ต. เอย รักจริงรักจริงรักสิงวิญญำณ์ รัก ต.อ.ประหนึ่งว่ำปิ่นปักจุฑำนั่นเอย ๗. เพลง ในโลกนีม้ ีอะไรเป็นไทยแท้ บทร้อง หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล ทำนองเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย ณริษฎำ จันทรศุภแสง ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้ ซึ่งผลิดอกออกผลแต่ต้นมำ อนึ่งศิลป์งำมเด่นเป็นของชำติ อีกดนตรีร่ำยรำลวดลำยไทย และอย่ำลืมจิตใจแบบไทยแท้ กำเนิดธรรมจริยำเป็นอำภรณ์ แล้วยังมีประเพณีมีระเบียบ เป็นของร่วมรวมไทยให้คงไทย ได้รู้เช่นเห็นชัดสมบัติชำติ ล้วนไทยแท้ไทยแน่ไทยเรำมี

ของไทยแน่นั้นหรือคือภำษำ รวมเรียกว่ำวรรณคดีไทย เช่นปรำสำทปรำงค์ทองอันผ่องใส อวดโลกได้ไทยแท้อย่ำงแน่นอน เชื่อพ่อแม่ฟังธรรมคำสั่งสอน ประชำกรโลกเห็นเรำเป็นไทย ซึ่งไม่มีที่เปรียบในชำติไหน นี่แหละประโยชน์ในประเพณี เหลือประหลำดล้วนเห็นเป็นศักดิ์ศรี สิ่งเหล่ำนี้คือวัฒนธรรม


๘. เพลง สามเสน่หา บทร้อง หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล ทำนองเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย สวรรยำ รุ่งมณีพิพัฒน์ เด็กชำยหญิงนั่งนิ่งเหมือนผ้ำขำว มีปัญหำว่ำจะให้อะไรดี ให้รักชำติศำสนำมหำกษัตริย์ แม้เด็กเด็กจะมิได้อื่นใดมำ

พอเป็นหนุ่มเป็นสำวก็เปลี่ยนสี รัศมีจึงจะเปล่งเหมือนทองทำ เห็นแน่ชัดสำมสีมีคุณค่ำ ได้แต่สำมเสน่หำก็พอใจ

๙. เพลง หลักความเจริญ บทร้อง หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล บทร้องเพิ่มทำนองเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย ณัฐธนัญ แซ่เจำ โรดริเกซ ขำสองต้องยืนหยัด ตำสองมองออกไป หูสองต้องสดับ มือสองต้องทำงำน เป็นหลักสร้ำงควำมเจริญ จิตใจตำมควำมคิดทัน

อยู่ในวัฒนธรรมไทย ยังโลกใหญ่มโหฬำร ส่วนดีรับปรับกิจกำร รวมถึงด้ำนกำรวิจัยฯ ให้ดำเนินชีวิตดีงำม มั่นในควำมดีมแี ต่รุ่งเรือง


๑๐. เพลง ดอกรัก บทร้องทำนองและเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย ชนัญชิดำ สนสง หอมกลิ่นไอดินยินเสียงลมโชย ยอดไม้เอนไหวปลิวโปรย ลู่โรยตำมลมบรรเลง ดังแผ่วแว่วเสียงสอดสำเนียงคล้ำยดังเสียงเพลง คำหวำนที่เคยบรรเลงได้เป็นเพลงบอกรักของเรำ เธอฝำกวำจำสัญญำหัวใจ ว่ำรักในเพลงบังใบพอห่ำงไกลก็ร้ำงจำกหำย เธอคงลืมเพลงเตร๊ง เตรง ของดนตรีไทย หลงเสียงเพลงศิวิไล ลืมดนตรีไทยของชำวบ้ำนนำ จำเสียงซอ ขลุย่ คลอเพลงแสนคำนึง คิดไว้สักวันหนึ่งเธอจะคิดถึงวันที่เรำสอง หัดเรียนดนตรี ตริ๊ด ตรี เสียงปี่กลอง ครูท่ำนจับมือตีฆ้องค่อยประคองธูปเทียนบูชำ ฉันยังคอยเพลงสร้อยที่ขำดหำยไป ยินเสียงระนำดครั้งใดบำดหัวใจ ข้ำงในใฝ่ฝัน แรงลมจำกใจผ่ำนขลุ่ยไผ่ส่งใจถึงกัน ว่ำดอกรักนี้ยงั คงมั่น อย่ำงลืมวันเล่นดนตรีไทย ๑๑. เพลง สีนวล บทร้อง อมรำ วัจนะพุกกะ บทร้องเพิ่มทำนองเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องโดย ชนิดำภรณ์ ปำลวัฒน์ สีนวลสวยชวนมองชมแต่งตัวงำนสม สมเป็นเด็กไทยเสื้อคอกระเช้ำ ขลิบขำวลูกไม่ซ่อนเสื้อชำยไว้ในโจงกระเบน สวยเอยสวยงสมยำมกรำย ส่ำยกรรำร่ำยพริ้มพรำยเพียงเพ็ญ แช่มช้อยตรึงใจผู้ใดแลเห็นรำไทยสวยเด่นสมเป็นศิลปะไทย สวยไทย กรีดมือ ซ้ำยขวำเยื้องย้ำยกรำยรำสวยสมคมขำเหลือล้ำคำชมท่ำรำอ่อนช้อยชวนคล้อยอำรมณ์ช่วยกันนิยมชื่นชมศิลปะไทย กรีดมือซ้ำยไทยกรีดมือซ้ำยขวำเยื้องย้ำยกรำยรำสวยสมคมขำเหลือล้ำคำชมท่ำรำอ่อนช้อยชวนคล้อยอำรมณ์ ช่วยกันนิยมชื่นชมศิลปะไทย


๑๒. เพลง ครุมาลา บทร้อง หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล บทร้องเพิ่มทำนองเรียบเรียง โดย ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ขับร้องหมู่ กล้วยไม้มีดอกช้ำ กำรศึกษำก็เป็นไป แต่ดอกออกครำใด งำนสั่งสอนปลูกปั้น มำลำนี้เป็นดังคำสอน รอวันเจริญงอกงำม

ฉันใด เช่นนั้น งำมเด่น เสร็จแล้วแสนงำม ให้เฝ้ำคอยมั่นดูแลและติดตำม ด้วยควำมรักจักออกดอกออกผล


หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประวัติ หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล เป็นนักกำรศึกษำที่มีบทบำทสำคัญในกำรจัดกำรศึกษำของประเทศไทย โดย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงวัฒนธรรม เป็นผู้ก่อตั้งและ ผู้อำนวยกำรคนแรกของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ ก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงซึ่งต่อมำพัฒนำเป็นมหำวิทยำลัย ศรีนครินทรวิโรฒ จัดทำโครงกำรปรับปรุงและขยำยมหำวิทยำลัยศิลปำกรไปสู่ภูมิภำคโดยก่อตั้ง วิทยำเขต พระรำชวังสนำมจันทร์ ของมหำวิทยำลัยศิลปำกร จังหวัดนครปฐม[1] หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุลเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลำคม พ.ศ.2446 เป็นบุตรของเจ้ำพระยำพระเสด็จสุเรน ทรำธิบดี (หม่อมรำชวงศ์เปีย มำลำกุล) อดีตเสนำบดีกระทรวงธรรมกำรและท่ำนผู้หญิงเสงี่ยม เริ่มกำรศึกษำที่บ้ำนโดยบิดำจัดให้เรียนกับพระยำอนุศำสตร์พำณิชยกำร (แฉล้ม คุปตำรักษ์) พระยำ พำณิชย์ศำสตร์วิธำน (อู๋ พรรธนแพทย์) และหลวงไวทเยศ (หม่อมหลวงเชื้อ อิศรำงกูร) จนมีอำยุได้ 7 ขวบจึงเข้ำ เรียนชั้นประถมศึกษำพิเศษที่โรงเรียนรำชบูรณะ (ต่อมำโรงเรียนได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนสวนกุหลำบวิทยำลัย) เมื่ออำยุได้ 8 ขวบบิดำได้นำหม่อมหลวงปิ่นเข้ำเฝ้ำถวำยตัวเป็นมหำดเล็กในพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำ เจ้ำอยู่หัวที่พระที่นั่งอัมพรสถำนในพระรำชวังดุสิตในวันที่ 10 พฤษภำคม พ.ศ.2454 ต่อมำหม่อมหลวงปิ่นได้ ย้ำยจำกโรงเรียนสวนกุหลำบวิทยำลัยไปเข้ำโรงเรียนมหำดเล็กหลวง (ปัจจุบันคือ โรงเรียนวชิรำวุธวิทยำลัย) เมื่อ วันที่ 11 พฤษภำคม พ.ศ.2457 หลังจำกเรียนได้ครึ่งปีพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรงพระกรุณำ


โปรดเกล้ำฯให้เป็นนักเรียนมหำดเล็กรับใช้ ทำให้หม่อมหลวงปิน่ ได้เรียนรู้ขนบประเพณีตำ่ งๆของพระรำชสำนัก และได้เป็นนักเรียนเสือป่ำ ในเวลำต่อมำพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรงส่งไปศึกษำต่อที่ประเทศอังกฤษโดยทุนของ กระทรวงธรรมกำร พ.ศ.2464 ได้รับปริญญำตรีเกียรตินิยม ทำงภำษำสันสกฤต (B.A. Honours) จำก มหำวิทยำลัยลอนดอน ปริญญำตรีเกียรตินิยม สำขำวิชำโบรำณตะวันออก (ภำษำบำลี-สันสกฤต) จำกมหำวิทยำลัย ออกซ์ฟอร์ด และปริญญำโท ทำงอักษรศำสตร์ (M.A.) จำกมหำวิทยำลัยออกซ์ฟอร์ด เหตุการณ์สาคัญ หม่อมหลวงปิ่นเริ่มรับรำชกำรเป็นอำจำรย์ประจำกองแบบเรียน กรมวิชชำกำร กระทรวงธรรมกำร ในพ.ศ. 2474[3] ขณะเดียวกันได้เป็นอำจำรย์พิเศษที่จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย โดยสอนภำษำไทยให้แก่นิสิตคณะอักษร ศำสตร์ วิทยำศำสตร์และคณะรัฐศำสตร์ สอนภำษำอังกฤษให้กับนิสิตเตรียมแพทยศำสตร์ และคณิตศำสตร์ให้กับ นิสิตคณะอักษรศำสตร์[4] ต่อมำได้เลื่อนตำแหน่ง เป็นหัวหน้ำแผนกฝึกหัดครู คณะอักษรศำสตร์และวิทยำศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย และอำจำรย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมหอวังซึ่งเป็นโรงเรียนสำธิตแห่งแรกเพื่อให้นิสิตฝึกหัดครู สอน[5] พ.ศ.2480 หม่อมหลวงปิ่นได้รับมอบหมำยจำกจอมพล ป.พิบูลสงครำมซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่ง อธิกำรบดีจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัยให้จัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำซึ่งเป็นโรงเรียนสหศึกษำแห่งแรกโดยกำรยุบ รวมโรงเรียนมัธยมหอวังและท่ำนได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยกำรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำเป็นท่ำนแรกระหว่ำงพ.ศ. 2480-2487[6] เมื่ออำยุได้ 39 ปีหม่อมหลวงปิ่นได้เลื่อนตำแหน่งขึ้นเป็นอธิบดีกรมสำมัญศึกษำและพ.ศ.2489 ได้รับ แต่งตั้งให้เป็นปลัดกระทรวงศึกษำธิกำรขณะที่มีอำยุได้ 43 ปี ผลงำนที่มีควำมสำคัญต่อกำรศึกษำไทยคือท่ำนได้ตั้ง กรมวิชำกำรขึ้นในพ.ศ.2495 และกรมกำรฝึกหัดครูในพ.ศ.2497[7] หม่อมหลวงปิ่นมีบทบำทสำคัญในกำรพัฒนำวงกำรศึกษำ ระหว่ำงที่ท่ำนดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวง ศึกษำธิกำร ได้ผลักดันให้จัดตัง้ โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงขึ้นในพ.ศ.2492 ซึ่งต่อมำได้เปลี่ยนเป็นวิทยำลัยวิชำ กำรศึกษำในพ.ศ.2497 เพื่อให้สำมำรถเปิดกำรเรียนกำรสอนครอบคลุมทั้งในระดับบัณฑิต มหำบัณฑิต โดย หม่อมหลวงปิ่นได้รักษำกำรในตำแหน่งอธิกำรวิทยำลัยวิชำกำรศึกษำระหว่ำงพ.ศ.2497-2499[8] วิทยำลัยนี้ ต่อมำได้พัฒนำกลำยเป็นมหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒและเปิดกำรเรียนกำรสอนถึงระดับดุษฎีบัณฑิต ในฐำนะปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร หม่อมหลวงปิ่นยังได้เป็นผู้แทนประเทศไทยในกำรสมัครเข้ำเป็นสมำชิก ขององค์กำรศึกษำวิทยำศำสตร์และวัฒนธรรมของสหประชำชำติ (UNESCO) ในพ.ศ.2491[9] ภำยหลังกำรรัฐประหำร 16 กันยำยน พ.ศ.2500 หม่อมหลวงปิ่นได้รับกำรทำบทำมจำกนำยพจน์ สำร สินให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรและรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงวัฒนธรรม โดยหม่อมหลวง ปิ่นได้บันทึกเหตุกำรณ์ในครั้งนั้นว่ำ “ถำมคุณพจน์ว่ำทำไมจึงเชิญผม ได้รบั คำตอบว่ำ คุณปิ่นเป็นผู้ที่มีคนนับถือ และเชื่อถือมำกรวมทั้งชำวต่ำงประเทศด้วย”[10] โดยหม่อมหลวงปิ่นได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่ำกำร กระทรวงศึกษำธิกำรต่อเนื่องระหว่ำงพ.ศ.2500-2512 รวมระยะเวลำ 12 ปี


ในระหว่ำงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรจอมพลถนอม กิตติขจร นำยกรัฐมนตรีได้ ขอให้หม่อมหลวงปิ่นดำรงตำแหน่งอธิกำรบดีมหำวิทยำลัยศิลปำกรอีกตำแหน่ง โดยให้เหตุผลว่ำ “กรมศิลปำกร และมหำวิทยำลัยศิลปำกรอยูใ่ นสถำนที่เดียวกันแต่มีเรื่องทะเลำะเบำะแว้งกันเสมอถ้ำตั้งรัฐมนตรี กระทรวงศึกษำธิกำรเป็นอธิกำรบดีเสียด้วยเรื่องเช่นนั้นก็จะหมดไป”[11] หม่อมหลวงปิ่นจึงดำรงตำแหน่ง อธิกำรบดีมหำวิทยำลัยศิลปำกรระหว่ำงพ.ศ.2508-2514 และได้นำควำมคิดจัดมหำวิทยำลัยในระบบ ออกซฟอร์ดมำใช้ จึงมีดำริที่จะขยำยตั้งมหำวิทยำลัยศิลปำกร ไปตั้งวิทยำเขตพระรำชวังสนำมจันทร์ โดยท่ำนให้ เหตุผลว่ำ “ควรขอใช้พระรำชวังสนำมจันทร์ที่นครปฐม พระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัวเคยโปรดจะให้ เป็นสถำนศึกษำ”[12] โดยที่วิทยำเขตแห่งนี้ได้จัดตั้งคณะอักษรศำสตร์ในพ.ศ. 2511 และคณะศึกษำศำสตร์ใน พ.ศ. 2513 ผลงานอื่นๆ หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล ได้มีผลงำนที่ตีพิมพ์เป็นเล่มเผยแพร่รวม 207 เรื่อง แบ่งออกเป็น 5 หมวด คือ หมวดกำรศึกษำ 57 เรื่อง หมวดบทละคร 58 เรื่อง หมวดคำประพันธ์ 32 เรื่อง หมวดกำรท่องเที่ยว 8 เรื่อง หมวดเบ็ดเตล็ด 52เรื่อง ในจำนวนนี้ ที่สำคัญ ได้แก่ศึกษำภำษิต 109 บท คำประพันธ์บำงเรื่อง 200 เรื่อง บท เพลง 24 เพลง บทนิรำศ 8 เรื่อง และบทละคร 58 เรื่อง[13] ท่ำนได้รบั กำรประกำศให้เป็นศิลปินแห่งชำติสำขำ วรรณศิลป์ ใน พ.ศ.2530 หม่อมหลวงปิ่น มำลำกุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ตุลำคม พ.ศ. 2538 สิริอำยุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน ในวันที่ ๓ พฤศจิกำยน ๒๕๔๔ ท่ำนได้รับกำรประกำศเชิดชูเกียรติจำกองค์กำรยูเนสโกยกย่องท่ำนเป็น “นักกำรศึกษำดีเด่นของโลก ในสำขำวรรณกรรมและกำรสื่อสำร” ที่มาของข้อมูล: คัดจากเว็บไซด์ สถาบันพระปกเกล้า, ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์


ประวัติวงสไบ วงสไบ เป็นวงดนตรีหญิงล้วน (girlband) ก่อตั้งขึ้นปี พ.ศ.๒๕๔๙ ปรำกฏกำรณ์ใหม่ของวงดนตรีไทย ร่วมสมัยในปีนนั้ เป็นวงดนตรีที่ผสมผสำนระหว่ำงกำรบรรเลงดนตรีไทยสด และเสียงดนตรีสำกลที่เรียบเรียงเป็น ดนตรีแบ็คอัพ (Backup music) ซึ่งอำจมีทั้งวงสำกลบรรเลงสด ๆ หรือกำรเปิดไฟล์เสียงสนับสนุน (Backing track) ก่อตั้ง และProduce โดย ร.อ. สมนึก แสงอรุณ สมำชิกของวงสไบส่วนใหญ่เป็นลูกศิษย์ของ ร.อ.สมนึก แสงอรุณ ประกอบไปด้วยนักดนตรีหญิงสำวสวยฝีมือเยี่ยม มีเครื่องดนตรีประกอบด้วย ระนำดเอก ระนำดทุ้ม เครื่องเป่ำไทย ขิมเครื่องสำยไทย กลองไทยต่ำง ๆ นักร้องเพลงไทย และสำกล ผสมดนตรีสำกลอีกหลำยชนิด แนว เพลงของวงสไบมีทั้งเพลงบรรเลงและขับร้อง นำเพลงไทยเดิมมำเรียบเรียงขึ้นใหม่ในแบบฉบับของวงสไบ และ เพลงสำกลสำหรับชำวต่ำงชำติ ซึ่งเป็นกำรนำเพลงสมัยนิยมมำผสมผสำนดนตรีไทย และเพลงที่วงสไบแต่งใหม่ สำหรับวงสไบเอง เคยออกแสดงในรำยกำรคุณพระช่วย รำยกำรดนตรีกวีศิลป์ TPBS และรำยกำรทีวีอีกหลำย รำยกำร วงสไบได้รับเกียรติให้บรรเลงในงำนสำคัญของชำติหลำย เช่นบรรเลงต้อนรับคณะทูตำนุทูต ณ กระทรวง ต่ำงประเทศเป็นประจำ งำนเลี้ยงรับรอง ณ ทำเนียบรัฐบำล และเดินทำงเผยแพร่วัฒนธรรมดนตรีไทยร่วมสมัย ณ ต่ำงประเทศ หลำยประเทศ เช่น ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเยอรมัน ประเทศสวีเดน เป็นต้น สมำชิกวงสไบตั้งแต่รุ่น แรกจนถึงปัจจุบันมีกำรหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงไปตำมภำรกิจหน้ำที่รับผิดที่มำกขึ้น แต่สมำชิกทุกคนยังคงควำมเป็น สมำชิกวงสไบตลอดเวลำ ปัจจุบันนับได้ว่ำเป็นสมำชิกรุ่นที่ ๓ แต่ก็ยังคงมีสมำชิกรุ่นก่อตั้งหมุนเวียน ร่วมกิจกรรม ดนตรี และแสดงกับวงสไบ เป็นประจำ สมำชิกวงสไบตั้งแต่รุ่นก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ นัฐนันท์ เรืองกิจไพโรจน์, สมกนก ยิ้มสนิท, อำภำพร กระโหมวงศ์, มธุริน เริ่มรุจน์, วิริยำ แสนเยีย, มณีรัตน์ สิงหนำท, นำตจิต รักษ์งำร, ภัทรำพร พืชจันทร์, พิชญำภำ มำนะวิริยภำพ, สวรรยำ รุ่งมณีพิพัฒน์, ฟ้ำใหม่ กัสทำลดี, ชนัญชิดำ สนสง



ร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ผู้ประพันธ์และผู้อานวยเพลง เป็นนักดนตรีไทย และสำกลร่วมสมัย ครูดนตรีไทย และสำกล สำเร็จกำรศึกษำจำกโรงเรียนดุริยำงค์ ทหำรบก รุ่นที่ ๘/๓ สำเร็จกำรศึกษำ ครุศำสตร์บัณฑิต และครุศำสตร์มหำบัณฑิต ดนตรีศึกษำ คณะครุศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย เรียนดนตรีจำก พ.ท.เสนำะ หลวงสุนทร ครูจำเนียร ศรีไทยพันธ์ พ.ท.วิชิตโห้ไทย ผศ.พ.อ. ชูชำติ พิทกั ษำกร อำจำรย์แมนรัตน์ ศรีกรำนนท์ พ.อ.ประสิทธิ์ จินดำอินทร์ อำจำรย์ไพทูรย์ อุณหกะ อำจำรย์ อำนันท์ นำคคง ผศ.สงบศึก ธรรมวิหำร รศ.ดร.ณรุทธิ์ สุทธจิตร ผศ.ชูวิทย์ ยุระยง ศ.ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร ศ.ดร. วีรชำติ เปรมำนนท์ และคณำจำรย์ทำงดนตรีที่สำคัญอีกหลำยท่ำน อดีตอำจำรย์โรงเรียนดุริยำงค์ทหำรบก ผู้บังคับหมวดดุริยำงค์ กรมดุริยำงค์ทหำรบก ครูดนตรีไทยมูลนิธิ หลวงประดิษฐไพเรำะ (ศร ศิลปบรรเลง) เป็นนักประพันธ์เพลง นักเรียบเรียงเสียงประสำน ผู้อำนวยเพลง เป็นผู้ก่อตั้งวงดนตรีโจงกระเบน บรรเลงในรำยกำรคุณพระช่วย และเป็นหนึ่งในผู้สร้ำงสรรค์ดนตรีในรำยกำรคุณ พระช่วย (ปี ๒๕๔๗-๒๕๕๒)


อาจารย์ณกฤศ จิรารัฐพัชร นักร้อง จบกำรศึกษำจำกคณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ มีประสบกำรณ์ร่วมงำนกับวงดนตรีร่วม สมัยต่ำงๆ เช่น วงโจงกระเบน วงสไบ วงบอยไทย วงขุนอิน วงบำงกอกอคูสติก วงกอไผ่ ฯลฯ ปัจจุบันทำงำนในตำแหน่ง ผู้จัดกำรอำวุโสฝ่ำยลิขสิทธิ์เพลงของบริษัท Epidemic Sound จำกประเทศ สวีเดน และได้รับเชิญเป็นวิทยำกรด้ำนงำนดนตรีสร้ำงสรรค์ให้กับสถำบันต่ำง ๆ เคยได้รับรำงวัลเหรียญทองเกียรตินิยม จำกกำรร่วมประกวดกับวง KU Percussion Ensemble โดยใช้ เครื่องดนตรี คือ ซออู้ และ ปีช่ วำ ในกำรแข่งขัน World Music Contest ณ ประเทศเนเธอแลนด์ (๒๕๖๐) รวมถึงเป็นเจ้ำของเสียงซออู้ เพลง "ออเจ้ำเอย" ประกอบละครโทรทัศน์ เรื่อง บุพเพสันนิวำส ช่อง ๓ (๒๕๖) และ กำลังจะมีผลงำนเพลงประกอบละครบุพเพสันนิวำสภำค ๒ “พรหมลิขิต” ในปลำยปี ๒๕๖๖ นี้


สวรรยา รุ่งมณีพพิ ฒ ั น์ นักร้อง จบกำรศึกษำคณะศิลปกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ปัจจุบันรับรำชกำรที่สถำนี วิทยุกระจำยเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชำสัมพันธ์ ในตำแหน่งดุริยำงคศิลปิน ชำนำญงำน (ดนตรีไทย) ของวง ดนตรีกรมประชำสัมพันธ์ และทำหน้ำที่อื่นที่ได้รับมอบหมำย อำทิ นักร้อง ผู้จัดรำยกำร ผู้ประสำนงำน


ณัฐธนัญ แซ่เจา โรดริเกซ นักร้อง จบกำรศึกษำเกียรตินิยมอันดับ ๑ จำกมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ คณะมนุษย์ศำสตร์ ภำควิชำดนตรีไทย เอกขับร้อง KU๗๔ เริ่มฝึกหัดเล่นดนตรีและฝึกร้องเพลงไทยเดิมตั้งแต่อำยุ ๑๑ ปี ทำให้มีทักษะทำงด้ำนดนตรี เพื่อที่จะนำไปต่อยอดและได้รับโอกำสอย่ำงมำกมำย เช่น - เข้ำร่วมกำรThe voice Season ๕ อยู่ในทีมโจอี้บอย - the golden song ซีซั่น๔ รอบ ๑๒ คนสุดท้ำย - ร้องเพลงประกอบภำพยนตร์และโฆษณำต่ำงๆ - รำยกำรโทรทัศน์ต่ำง ๆ เช่น I can see your voice ฟีจเจอริ่งกับ นัททิว ไผ่งำม, ดวลเพลงดัง - เป็นครูอำสำไปสอนดนตรีไทยที่รัฐเท็กซัส ประเทศอเมริกำ ปี ๒๐๑๙-๒๐๒๑


ชนัญชิดา สนสง นักร้อง จบกำรศึกษำเกียรตินิยมอันดับ ๑ ระดับปริญญำตรี สำขำดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษำ คณะศิลปกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ปัจจุบันรับรำชกำรครู โรงเรียนวัดจันเสน เป็นสมำชิกวงดนตรีไทยร่วมสมัย วง “สไบ” หมอทำขวัญนำคและนักดนตรีไทย


ชมพูนภา เอกอัครายุทธ นักร้อง จบกำรศึกษำระดับชั้นมัธยมศึกษำ โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยำ หลังจำกนั้นเข้ำศึกษำต่อระดับปริญญำตรีที่ มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนคร คณะวิทยำกำรจัดกำร สำขำกำรท่องเที่ยวและกำรโรงแรม เมื่อสำเร็จกำรศึกษำแล้ว เข้ำรับข้ำรำชกำรในสังกัด เหล่ำทหำรดุริยำงค์ เครื่องมือเอก Violin ตำแหน่ง ประจำหมวดดนตรีสำกล กรมดุริยำงค์ ทหำรบก


ภัทราพร พืชจันทร์ ระนาดเอกเดี่ยว จบกำรศึกษำระดับชั้นมัธยมศึกษำที่วิทยำลัยนำฏศิลปลพบุรี หลังจำกนั้นเข้ำศึกษำต่อจนจบกำรศึกษำ ระดับปริญญำตรีที่สำขำดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษำ ภำควิชำนำฏดุริยำงคศิลป์ คณะศิลปกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี เรียนดนตรีทั้งไทยและสำกลที่สถำบันดนตรีสำธุกำรกับร้อยเอกสมนึก แสงอรุณ ปัจจุบันเป็นครู โรงเรียนชุมชนวัดพิชิตปิตยำรำม เป็นสมำชิกวงดนตรีไทยร่วมสมัยวง “สไบ”


ณริษฎา จันทรศุภแสง นักร้อง จบกำรศึกษำระดับชั้นประถมศึกษำ ทีโ่ รงเรียนประถมศึกษำธรรมศำสตร์ หลังจำกนั้นเข้ำศึกษำต่อ ระดับชั้นมัธยมศึกษำตอนต้นที่โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยำ และศึกษำระดับชั้นมัธยมศึกษำตอนปลำย ที่โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษำ ได้เรียนดนตรีทั้งไทยและสำกลที่สถำบันดนตรีสำธุกำรกับร้อยเอกสมนึก แสงอรุณและ อำจำรย์ณกฤศ จิรำรัฐพัชร ปัจจุบันกำลังศึกษำระดับปริญญำตรีทมี่ หำลัยสถำบันดนตรีกัลยำณิวัฒนำ หลักสูตรดุริ ยำงคศำสตรบัณฑิต เอกขับร้องคลำสสิก


ชนิดาภรณ์ ปาลวัฒน์ นักร้อง จบกำรศึกษำระดับชั้นประถมศึกษำ ทีโ่ รงเรียนโชคชัยครูเกียว(ลำดพร้ำว) และเข้ำศึกษำระดับชั้น มัธยมศึกษำที่โรงเรียนสตรีวิทยำ 2 ในพระรำชูปถัมภ์ สำยศิลป์-คำนวณ ปัจจุบันกำลังศึกษำระดับปริญญำตรีที่ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ คณะมนุษยศำสตร์ ภำควิชำดนตรี สำขำวิชำดนตรีไทย เอกขับร้อง

รายนามนักดนตรี/นักร้อง ระนำดเอก ภัทรำพร พืชจันทร์ ระนำดทุ้ม ชนัญชิดำ สนสง ขิม พิชญำภำ มำนะวิริยภำพ ซออู้ สวรรยำ รุ่งมณีพิพัฒน์ จะเข้ ธัญมน ปรำโมช ณ อยุธยำ จะเข้/เครื่องประกอบจังหวะ บุศรำทิพย์ รชตเรืองสิทธิ์ กลองไทย มณีรัตน์ สิงหนำท แซกโซโฟน สำธุกำร แสงอรุณ ฮำร์ป ภูมสิ ิริพรรษำ แดนศิลป์ เปียโน ลักษณ์สุภำ ทองเเผ่น


กลองชุด ไวโอลิน 1 ไวโอนลิน 2 วิโอลำ เชลโล่ ดับเบิลเบส นักร้อง นักร้อง/ขลุ่ย นักร้อง นักร้อง นักร้อง

ณัฐวรรณ ภู่สกุล ณัฐพัชร์ เบำรำญ ชมพูนภำ เอกอัครำยุทธ จันทนี เรือนแก้ว พรนภัส ศำนติวรำงกูร พรกมล เทพสุวรรณ ณัฐธนัญ แซ่เจำ โรดริเกซ ณกฤศ จิรำรัฐพัชร ณริษฎำ จันทรศุภแสง ชนิดำภรณ์ ปำลวัฒน์ ชนัญชิดำ สนสง

พิธีกร

อำนันท์ นำคคง

คณะทางาน ผู้จัดกำรและประสำนงำน ผู้จัดกำรเวที ข้อมูลสูจิบัตร ที่ปรึกษำ

อัญชรินทร์ แสงอรุณ จำตุรนต์ ยิ้มศิริ ธนวิชญ์ นรเทพ สมนึก แสงอรุณ ภัทรำพร พืชจันทร์ อำนันท์ นำคคง

ขอขอบคุณ มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเรำะ (ศร ศิลปบรรเลง) สถำบันดนตรีกัลยำณิวัฒนำ โรงเรียนหอวัง โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ บ้ำนดนตรีสำธุกำร ร้ำนขนมกัญญำ จังหวัดรำชบุรี โรงเรียนวัดจันเสน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.