สูจิบัตรออนไลน์ “จุฬาวาทิตครั้งที่ 231 สิ้นสาย ไม่เสียง วงดนตรีเฉลิมศิลป์“

Page 1


จุฬาวาทิต ครั้งที่ ๒๓๑

สิ้นสายไม่สน้ิ เสียง

วงดนตรี“เฉลิมศิลป์”

วันศุกร์ที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ณ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


วงเฉลิมศิลป์

เมื่อราวปีพุทธศักราช ๒๕๑๒ ครูเฉลิม ม่วงแพรศรี กลับมาจากการไปเป็นครูสอนภาษาไทยที่ ประเทศออสเตรเลีย และสอบเข้ารับราชการใหม่ที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ ช่วงนั้นท่านได้กลับมาเล่นดนตรี ไทยกับเพื่อน ๆ ชุมนุมดนตรีไทยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นกลุ่มลูกศิษย์ของคุณครูหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) และคุณครูประเวช กุมุท อีกครั้ง โดยร่วมบรรเลงออกรายการวิทยุกันเป็นประจา ต่อมาเมื่อ มีรายการวิทยุบ่อยขึน้ ครูเฉลิมจึงคิดก่อตั้งวงเครื่องสายของตัวเองขึ้น และตั้งชื่อวงว่า "เฉลิมศิลป์" โดย นักดนตรีในวงช่วงแรก ๆ จะเป็นเพื่อน ๆ น้อง ๆ จากธรรมศาสตร์ เช่น คุณไพศาล อินทวงศ์ คุณวิชัย อัจฉริยะเสถียร คุณพงษ์ศักดิ์ เกตุจรูญ คุณพงศกร (สุพจน์) นุชน้อย ฯลฯ และลูกศิษย์จากวิทยาลัย นาฏศิลป์ เช่น ครูปี๊บ คงลายทอง ครูศักดิ์ชัย ลัดดาอ่อน เป็นต้น ต่อมาเมื่อแต่ละคนมีหน้าที่การงานมากขึ้นจึงไม่ค่อยได้รวมวงไปบรรเลงออกอากาศกันบ่อยนัก และบางท่านก็เหินห่างจากการเล่นดนตรี และหลังจากครูเฉลิม ม่วงแพรศรี ถึงแก่กรรมเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๗ กลุ่มลูกศิษย์จากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ จึงดาริที่จะใช้ชื่อวง "เฉลิมศิลป์" เพื่อระลึกถึงครูและ รวมตัวกันบรรเลงในงานต่าง ๆ อีกหลายวาระด้วยกัน



รายการแสดง

๑. โหมโรงบัวกลางบึง ๒. คูม่ อญราดาบ เถา ๓. เดี่ยวซอด้วงและซออู้ เพลงสุดสงวน เถา ๔. แขกกุลติ เถา ๕. พราหมณ์ดีดน้าเต้า เถา ๖. สารถี เถา ๗. เดี่ยวซอสามสาย เพลงแขกมอญ ๘. เพลงลา เต่ากินผักบุง้


๑. โหมโรงบัวกลางบึง เพลงบัวกลางบึง อาจารย์เฉลิม ม่วงแพรศรี ได้ประดิษฐ์ขึ้นจากเพลงบัวกลางบึง ซึ่งเป็นเพลง ไทยสากล โดยสมมติให้ทานองเพลงดังกล่าวเป็นอัตราสองชั้น และได้แต่งขยายขึ้นเป็นสามชั้น และ เนื่องจากเพลงดังกล่าวเป็นเพลงท่อนเดียว อาจารย์เฉลิม ม่วงแพรศรี จึงได้แต่งทางเปลี่ยนได้อีกด้วย ส่วนอัตราชั้นเดียว นพ.ธัญพงษ์ ณ นคร เป็นผูต้ ัดลงให้ครบเป็นเพลงเถา ต่อมาอาจารย์เฉลิม ม่วงแพรศรี เห็นว่าทานองในจังหวะสามชั้นและสองชั้นมีทางเปลี่ยนแล้ว แต่ชั้นเดียวยังไม่มีทางเปลี่ยน จึงได้แต่งทาง เปลี่ยนในชั้นเดียวขึ้นอีกจนครบสมบูรณ์ แต่เนื่องจากยังไม่ได้แต่งทางร้องสาหรับเพลงนี้ จึงได้นาเฉพาะ อัตราจังหวะสามชั้นมาบรรเลงในลักษณะของโหมโรงก่อน


๒. คู่มอญราดาบ เถา เพลงคู่มอญราดาบ เถา เป็นเพลงที่ครูโองการ กลีบชื่น ประพันธ์ขึ้นจากเพลงมอญราดาบ อัตราจังหวะสองชั้ นทาง เปลี่ยน ซึ่งเป็นทางของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) โดยท่านได้ขยายขึ้นเป็นอัตราจังหวะสามชั้น และตัดลงเป็ น อั ต ราจั ง หวะชั้ น เดี ย ว รวมทั้ ง แต่ ง ทางร้ อ งไว้ ด้ ว ย เมื่ อ ราว พ.ศ. ๒๕๐๒ เพลงคู่มอญราดาบ เถา นี้ เมื่อครูโ องการแต่งเสร็ จ ได้ ต่ อ เพลงไว้ ใ ห้ กั บ ลู ก ศิ ษ ย์ แ ละนั ก ดนตรี ใ นวงเครื่ อ งสาย ประสมออร์แกนคณะ "กลีบชื่น" ของท่าน บรรเลงออกอากาศ ทางสถานี วิ ท ยุ โดยมี นั ก ดนตรี รุ่ น แรก ๆ ที่ เ ป็ น สมาชิ ก วงนี้ ได้แก่ ม.จ.หญิง ศรีอัป สร วรวุ ฒิ ครูป ระกอบ สุกั ณหเกตุ ครูฉุ ย นาคพลั้ง ครูจานงค์ ส่งศรีวัฒ น์ ครูประชิต ขาประเสริฐ และครูเฉลิม ม่วงแพรศรี เป็นต้น

บทร้องเพลงคู่มอญราดาบ เถา สามชั้น

ครั้นสั่งการเสร็จสมอารมณ์หมาย ทาแป้งหอมปลุกเสกลงเลขยันต์

สองชั้น

แล้วใส่เสือ้ ปักทองของประทาน จับดาบสองมือเดินดาเนินมา

ชั้นเดียว

ครั้นถึงจึงลงในเรือรบ ครั้นว่าได้ฤกษ์งามยามดี

มาจัดแจงแต่งกายให้เฉิดฉัน ให้อยู่ยงคงกระพันกันศาสตรา อย่างทหารท่วงทีมีสง่า ตรงไปยังนาวาทันที พร้อมครบทหารชาญชัยศรี ออกเรือตีกรรเชียงแซ่เสียงไป บทละครเรื่องราชาธิราช

หลวงพัฒนพงษ์ภักดี (ทิม สุขยางค์) ประพันธ์


๓. เดี่ยวซอด้วงและซออู้ เพลงสุดสงวน สามชั้น เพลงสุดสงวน สามชั้น ไม่ทราบว่าท่านผู้ใดแต่ง

และ

แต่งจากเพลงอะไร แต่เมื่อพิจารณาสานวนทานองแล้ว อาจ แต่งในสมัยปลายรัชกาลที่ ๔ เป็นเพลงสาเนียงมอญ

ท่อน

เดี ย ว มี ค วามยาว ๖ จั ง หวะ นายกล้ อ ย ณ บางช้ า ง ได้ ตั ด ทานองสามชั้นลงเป็นอัตราสองชั้น โดยประดิษฐ์ทานองให้เป็น สาเนียงมอญซ่อนเงื่อนงา สาหรับใช้บรรเลงเป็นเพลงลูก บท ท้ายเพลงสุดสงวน สามชั้น และเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ อาจารย์ มนตรี ตราโมท ได้ตัดทานองลงเป็นอัตราชั้นเดียว และได้นาบท ร้องจากเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนแผนขึน้ เรือนขุนช้างได้ นางแก้วกิริยา มาบรรจุเพื่อใช้ขับร้องและบรรเลงเป็นเพลงเถา ได้ครบสมบูรณ์ ส่ ว นซอด้ ว ง ครู เ ฉลิ ม ม่ ว งแพรศรี ได้ ม อบทางซอให้ กั บ นายอวรั ช ชลวาสิ น ใช้ บ รรเลง ออกอากาศทางสถานีวทิ ยุศึกษา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ส่วนซออู้ เป็นทางที่ครูเฉลิมมอบให้กับนายอวรั ช ชลวาสิน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เพื่อใช้บรรเลง ออกอากาศทางสถานีวทิ ยุศึกษา


๔. แขกกุลติ เถา เพลงแขกกุลิต เถา ประวัติและที่มาของทานอง เพลงแขกหนัง อัตราจังหวะ สองชั้นของเก่า ประเภทหนา้ทับปรบไก่มีท่อนเดียว ๔ จังหวะ นายมนตรี ตราโมท ได้แต่งขยายขึ้นเป็นอัตราสามชั้น และตัดลงเป็นชั้นเดียวครบเป็นเพลงเถา เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๒ พร้อมทั้งแต่งบทร้องและตั้งชื่อใหม่ตามภาษา มลายูว่า “เพลงแขกกุลิต” (คาว่า กุลิต แปลว่า หนัง) บทร้อง เพลงแขกกุลิต เถา สามชั้น

สายยันต์ตะวันฉายแสงส่อง บุปผาหวนอวลอบตลบฟุ้ง

สองชั้น

ดอกปาหนันพลันคลี่กลีบขยาย ตันหยงร่วงหล่นพรูดูตระการ

ชั้นเดียว

บุหรงร้องก้องกึกอธึกป่า โกกิลาพาคู่สู่รังนอน

ดังแสงทองส่องทอทิวกุหนุง กลิ่นจรุงเจริญใจใสสะคราญ กลิ่นขจายปนรสสุคนธ์หวาน กุหลาบบานชูช่ออรชร บ้างแถกถาโผผนิเที่ยวบินร่อน หมูภ่ มรว่อนหาผกาเชย นายมนตรี ตราโมท ประพันธ์


๕. พราหมณ์ดีดน้าเต้า เถา เพลงพราหมณ์ดีด น้าเต้ านี้ แต่เ ดิมมีแต่อัตราชั้นเดีย ว ซึ่งบรรเลงแทรกอยู่ใ นเพลงเร็ ว ของ โบราณเรื่องหนึ่ง แล้วจึงมีผู้เลือกออกมาแต่งขยายขึ้นเป็นสองชั้น สาหรับร้องและบรรเลงประกอบการ แสดงโขนละครและอื่น ๆ ซึ่งนับว่าเป็นเพลงที่แพร่หลายมากเพลงหนึ่ง เมื่อราว พ.ศ. ๒๔๖๐ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปะบรรเลง) จึงได้นาทานองสองชั้นของเดิม นั้นมาแต่งขึ้นเป็นสามชั้น ครั้งแรกได้ แต่งไว้แต่ทางพื้นทางเดียว แม้จะบรรเลงรับร้องกลับต้น ก็คงซ้า ตามทานองเดิม ต่อเมื่อราว พ.ศ. ๒๔๖๒ จึงได้แต่งทานองเปลี่ยนขึ้นอีก ๒ ทาง สาหรับใช้บรรเลงเป็น เที่ยวกลับ ซึ่งมีทานองไพเราะเพราะพริง้ น่าฟังอย่างยิ่งเพลงหนึ่ง ส่วนทานอง สองชั้นนัน้ ทานองดนตรีของโบราณณเป็นทางเรียบ ๆ พืน้ ๆ ได้มผี คู้ ิดแต่งเป็นทาง เปลี่ยนขึ้นหลายทาง เช่น ในการแสดงละครดึกดาบรรพ์ เรื่องคาวี ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เ ธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ก็ได้แต่งทางเปลี่ยนเป็นสาเนียงภาษาต่าง ๆ ไว้ ๔ ทางด้วยกัน และในการบรรเลงเพลงตับนางลอย หลวงประดิษฐไพเราะ ก็แต่งทานองดนตรีเป็นทางเปลี่ยนไว้อีก ในการบันทึกเพลงพราหมณ์ดดี น้าเต้า เถา เป็นโน้ตสากลเพื่อตีพิมพ์ใน หนังสือศิลปากร ข้าพเจ้าเห็นว่าเมื่อทานองสามชั้นเป็นของหลวงประดิษฐไพเราะแล้ว ก็ควรจะใช้ ท านองสองชั้น ทางเปลี่ย นที่เ ป็นของหลวงประดิษ ฐไพเราะด้วยกัน จึงได้นาท านอง เปลี่ยนที่หลวงประดิษฐไพเราะได้แต่งไว้ในการบรรเลงเพลงตับนางลอย ที่เป็นสาเนียง มอญเที่ย วหนึ่งกั บ ส าเนีย งแขกเที่ย วหนึ่ง มาใช้ ส่วนท านองชั้น เดีย วก็ ไ ด้แ ต่ งใหม่ ใ ห้ เหมาะสมกับการที่จะบรรเลงเป็นเพลงเถา มิได้เหมือนกับของโบราณที่รวมบรรเลงอยู่ ในเรื่องเพลงเร็ว (คัดจาก หนังสือคาอธิบายและโน้ตเพลงไทย มหาวิ ทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รวบรวมจากฉบับ ต่าง ๆ ในสมัยที่ศาสตราจารย์สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี)


ส าหรั บ การบรรเลงในครั้ ง นี้ ในอั ต ราจั ง หวะสองชั้ น ได้ น าทางเปลี่ ย นส าเนี ย งจี น ที่ ครูเฉลิม ม่วงแพรศรีประพันธ์ไว้มาบรรเลงในเที่ยวสุดท้าย และออกลูกหมดตามแนวทางการบรรเลง ของครูโองการ กลีบชื่น

บทร้อง เพลงพราหมณ์ดีดน้าเต้า เถา สามชั้น

ขุนแผนปลอยน้องอย่าร้องไห้ ไปเป็นเพื่อนพี่บ้างในกลางดง

สองชั้น

ไปเดือนหนึ่งแล้วจะพากลับ จะร้องไห้ครวญคร่าอยู่ทาไม

ชั้นเดียว

ไปหน่อยหนึ่งแล้วจะมาส่ง ชมหงส์เหมเล่นให้เย็นใจ ถ้วนเดือนแล้วจะรับเจ้าไปใหม่ เขาจะอยู่เขาจะไร้เมือ่ ไรมี

ข้างเขาอยู่บ้านเราสาราญไพร ข้างไหนจะปรีด์เิ ปรมเกษมศรี เปลี่ยนมีเปลี่ยนจนกันคนละที

ข้างไหนดีจะได้รอู้ ยู่ราคาญ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน


๖. สารถี เถา เพลงสารถี อัตราสองชั้น ของเก่า ประเภทหน้าทับปรบไก่ มี ๓ ท่อน ท่อนที่ ๑ และท่อนที่ ๒ มีท่อนละ ๔ จังหวะ ท่อนที่ ๓ มี ๕ จังหวะ เดิมมีชื่อเต็ม ว่า "เพลงสารถีชักรถ" อยู่ในเพลงเรื่องเพลงช้า เป็นเพลง ๓ ท่อน แต่เวลานามาใช้เป็นเพลงร้องในการแสดงละคร มักใช้เพียง ๒ ท่อนแรก

พระ

ประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร) หรือครูมีแขก ได้นาเพลงนี้มาแต่งขยายขึ้นเป็นอัตราสามชั้นในราวปลาย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังได้น่ามาทาเป็นเพลงสาหรับเดี่ยวเครื่ องดนตรี อวดฝีมืออีกเพลงหนึ่ง แพร่หลายมาจนทุกวันนี้ ต่อมาถึงสมัยที่นิยมบรรเลงเพลงเถาจึงมีผู้ตัดลงเป็นชั้น เดียวให้ครบเป็น บทร้อง สารถี เถา สามชั้น

สองชั้น

ชั้นเดียว

น้อยหรือวาจาช่างน่ารัก

เสนาะนักน้าคาร่าเสียดสี

ปิ้มจะกลืนชื่นใจในวาที

เสียดายแต่ไม่มีคู่ภิรมย์

แม้นชายใดได้อยู่เป็นคู่ครอง

จะแนบน้องเชยชิดสนิทสนม

พี่จะอยู่สู้รักไม่แรมชม

มิใช่ลมลวงน้องให้หมองใจ

อย่าว่าแต่เจ้ายากอยู่สบิ ห้า

ถึงห้าชั่งพี่ก็หามาช่วยได้

บุญหลังได้สร้างมาปางใด

บังเอิญให้จาเพาะพบประสบนาง

ว่าพลางอิงแอบแนบชิด

ปลืม้ จิตอย่าสะเทิน้ เมินหมาง

แก้หอ่ เงินมอบแล้วปลอบนาง

อย่าระคางเคืองใจได้เอ็นดู

ครานั้นนางแก้วกิรยิ า

เมินหน้าซ่อนซบหลบอยู่

ปัดป้องมิให้ต้องเข้าชมชู

รู้แล้วว่ารักว่าปรานี เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน



๗. เดี่ยวซอสามสายเพลงแขกมอญ สามชั้น เพลงนี้ พระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร) ได้แต่งขยายขึน้ จากเพลงแขกมอญ สองชั้น ของเก่า สมัยอยุธยา โดยแต่งทั้งทางธรรมและทางเดี่ยวสาหรับบรรเลงอวดฝีมือของนักดนตรี สาหรับเพลงนี้มี นักดนตรีหลายท่านได้นาไปประดิษฐ์เป็นทางเดี่ยว จนเพลงนี้ได้กลายเป็นเพลงเดี่ยวที่สาคั ญของทุก เครื่องมือ สาหรับการบรรเลงเดี่ยวซอสามสายเพลงแขกมอญในครั้งนี้ เป็นทางเดี่ยวซอสามสายที่ เฉลิม ม่วงแพรศรี ได้มอบให้กับ นายอวรัช ชลวาสิน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๑

ครู



๘. เพลงลาเต่ากินผักบุ้ง สองชั้น เพลงเต่ากินผักบุ้งสองชั้นนี้ เฉพาะทานองดนตรีเป็นเพลงโบราณราวสมัยกรุงศรีอยุธยาตอน ปลาย แต่เดิมใช้บรรเลงอยู่ในเพลงเรื่องประเพลงเพลงช้า ซึ่งมีเพลงเต่าเห่ เต่าเงิน เต่าทอง ฯลฯ รวมอยู่ ด้ว ย ครั้นมาถึ งสมัย ที่เ กิ ด ความนิย มในการร้องเพลงลาตอนที่จะจบการเล่นเสภา นิย มใช้เ พลงที่มี ทานองร้องล้อกับดนตรีหรือเรียกว่ามีสร้อยมีดอก เลียนอย่างลีลาของการเล่นดอกสร้อยสักวากันขึ้น เห็นจะราว ๆ ปลายสมัยรัชกาลที่ ๓ หรือต้นรัชกาลที่ ๔ จึงมีอาจารย์ผู้สามารถในการแต่งเพลงร้อง น าเอาเพลงเต่ า กิ น ผั ก บุ้ ง สองชั้ น นี้ ม าแต่ ง เป็ น ท านองร้ อ งขึ้ น โดยประดิ ษ ฐ์ ใ ห้ มี ทั้ง ดอกและสร้อย ท่ อ นหนึ่ ง ร้ อ งอย่ า งท านองสามั ญ ไม่ มี พ ลิ ก แพลงอย่ า งใด ท่ อ นสองร้ อ งเป็ น สองเที่ ย ว เที่ ย วแรก ร้องอย่างธรมดา แต่เที่ยวสองร้องเป็นดอกซึ่งเมื่อดนตรีรับก็จะต้องใช้เครื่องดนตรีชนิดใดชนิดหนึ่ง (ในวงปี่พาทย์ใช้ปี่ใน) บรรเลงเลียนเสียงและถ้อยคาที่ร้องดอกนั้ นให้ละม้ายที่สุด เรียกกันว่า “ว่าดอก” และวิธีบรรเลงดนตรีรับ ต้องบรรเลงเที่ยวว่าดอกเสียก่อนแล้วจึงบรรเลงเที่ย วธรรมดากลับ กั นกั บ การร้อง ส่วนท่อนสามวิธีร้องและบทประพันธ์เป็นสร้อยตลอดทั้งท่อน แต่การบรรเลงรับเป็นอย่าง สามัญ นับได้ว่าเพลงเต่ากันผักบุ้งสองชั้นนี้ เป็นเพลงลาที่สร้อยมีดอกก่อนเพลงใด ๆ ในแบบนี้ และ ได้รับความนิยมแพร่หลายจนในปัจจุบัน แต่เป็นที่น่าเสียใจ ที่ไ ม่ท ราบว่าท่านผู้ใ ดเป็นผู้ แต่ งทั้งท านองดนตรี ของเดิ ม ทานองร้องที่นิยมใช้กันอยู่น้ี สาหรับการบรรเลงในครั้งนี้จะนาด้วยซอสามสายหมู่ เพลงอาลัยลา ซึ่งเป็นเพลงของวงสุนทราภรณ์ ขับร้องโดย คุณมัณฑนา โมรากุล เพลงอาลัยลานี้ คุณครูเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล เคยนามาเดี่ย วซอสามสายปิดท้ ายรายการ กล่อมนิทรา ครูเฉลิมได้ฟังที่ท่านสีไว้และจามาบรรเลงตาม อย่างท่าน


บทร้องเพลงเต่ากินผักบุ้ง ประเลงเพลงดนตรีสู่แดนสรวง ศิษย์ระลึกถึงพระคุณอุ่นอนันต์

ให้ก้องห้วงผืนฟ้าสุธาสวรรค์ ขอครูท่านยลยินอีกสักครา

ดอกเอ๋ย

เจ้าดอกปาริชาต

หอมจรุงนภากาศ

สุคันธชาติชื่นเอย

สิน้ สายไม่สนิ้ เสียง พิณพาทย์ผสานสม

จาเรียงเริงรมย์ น้อมประณมบูชาครู รัตนชาติ จุมปามัญ ประพันธ์




รายนามผู้บรรเลง โหมโรงบัวกลางบึง ซอด้วง นายจารึก ศุภพงศ์

ซอด้วง นายวรกิตติ์ ศิริบรรจงศักดิ์

ซอด้วง นางสาววียาพร ปรางค์เมือง

ซอด้วง นายเมธัส กุลทนันท์

จะเข้ นายนราธิป เพียรทอง

จะเข้ นายสุริยะ ขนขจี

จะเข้ ผศ.ดร.เชาวน์มนัส ประภักดี

จะเข้ นายกรพิณ สอนเสน

ซออู้ นายภัทรณันท์ จันดาแก้ว

ซออู้ นายธีระยุทธ กิตตินภวัฒน์

ซออู้ นายสามารถ สาอางจิตร

ซออู้ นายจุติญาณ สายใยทอ

ซอสามสาย นายวัชรคม โสภณดิลก

ซอสามสาย นายธวลธรรม ทองโชติ

ซอสามสาย นางสาวมนนัทธ์ นิลกลัด

ซอสามสาย นายทยาวัต เอกบูรณะวัฒน์

ระนาดเอก นายธนกร เติมเต็มศรี

ระนาดทุ้ม นายยศกร ภูทอง

ระนาดทุ้มเหล็ก นายณัฐพล วิสุทธิแพทย์

ฆ้องวงใหญ่ เด็กชายศิวัช ชัยมงคลทิตต์

ฆ้องวงเล็ก นายวัชรพล เพิ่มสุข

ฆ้องหุ่ย นายตะวัน โตเอี่ยม

กลองแขก นายฐานันดร สาภู

กลองแขก นายนิติภูมิ มีบรรจง

ฉาบเล็ก นายก้องสกล -

กรับ เด็กชายปองภพ ทองคาแดง

ฉิ่ง เด็กชายปองภพ ทองคาแดง

ปี่มอญ นายปราโมทย์ เที่ยงตรง

ขลุ่ยเพียงออ นายปิยะพัฒน์ เวชประสิทธิ์

ผู้ฝึกซ้อม นายอวรัช ชลวาสิน


รายนามผู้ขับร้องบรรเลง คู่มอญราดาบ เถา ขับร้อง นายจุฑาภัทร บุญศรี ซอด้วง นายจารึก ศุภพงศ์

ซอด้วง นายวรกิตติ์ ศิริบรรจงศักดิ์

ซอด้วง นางสาววียาพร ปรางค์เมือง

ซอด้วง นายเมธัส กุลทนันท์

จะเข้ นายนราธิป เพียรทอง

จะเข้ นายสุริยะ ขนขจี

จะเข้ ผศ.ดร.เชาวน์มนัส ประภักดี

จะเข้ นายกรพิณ สอนเสน

ซออู้ นายภัทรณันท์ จันดาแก้ว

ซออู้ นายธีระยุทธ กิตตินภวัฒน์

ซออู้ นายสามารถ สาอางจิตร

ซออู้ นายจุติญาณ สายใยทอ

ซอสามสาย นายวัชรคม โสภณดิลก

ซอสามสาย นายธวลธรรม ทองโชติ

ซอสามสาย นางสาวมนนัทธ์ นิลกลัด

ซอสามสาย นายทยาวัต เอกบูรณะวัฒน์

ระนาดเอก นายธนกร เติมเต็มศรี

ระนาดทุ้ม นายยศกร ภูทอง

ระนาดทุ้มเหล็ก นายณัฐพล วิสุทธิแพทย์

ฆ้องวงใหญ่ เด็กชายศิวัช ชัยมงคลทิตต์

ฆ้องวงเล็ก นายวัชรพล เพิ่มสุข

ฆ้องหุ่ย นายตะวัน โตเอี่ยม

กลองแขก นายฐานันดร สาภู

กลองแขก นายนิติภูมิ มีบรรจง

ฉาบเล็ก นายก้องสกล -

กรับ เด็กชายปองภพ ทองคาแดง

ฉิ่ง เด็กชายปองภพ ทองคาแดง

ปี่มอญ นายปราโมทย์ เที่ยงตรง

ขลุ่ยเพียงออ นายปิยะพัฒน์ เวชประสิทธิ์ ผู้ฝึกซ้อม นายอวรัช ชลวาสิน


รายนามผู้บรรเลง เดี่ยวซอด้วง เพลงสุดสงวน สามชั้น ซอด้วง ผศ.ดร.เมธี พันธุ์วราทร ซออู้ นายสมปราชญ์ ทองหล่อ

ซออู้ นายมัชฌิม บุญคง

ซออู้ นายวสัตติ์ นวลนาค

ซออู้ นายธนกร นามวงศ์

ซออู้ นายนนทณัฐ วิเศษศรี

ซออู้ นายทักษิณ เกษจรัล

ซออู้ นางสาวปิยพัทธุ์ สุวณิช ผู้ฝึกซ้อม ผศ.ดร.เมธี พันธุ์วราทร

รายนามผู้ขับร้องบรรเลง วงเครื่องสายประสมออร์แกน เพลงแขกกุลติ เถา ขับร้อง นางสาวจิราพร สวนดอกไม้

ออร์แกน นายโอภาส ชานาญกิจ

ซอด้วง นางสาวทัศนีย์ ทองสุข

ซออู้ นายชิณพร เรณูรัตน์

ขิมสาย นายจิรวัฒน์ ภู่ทนิน

ขลุ่ยเพียงออ นายธรรมศักดิ์ ศรีขาว

ฉิ่ง นายฌานิศ สวามีชัย

กรับพวง นายฐิตพิ ล สิงห์โต

โหม่ง นางสาวราชาวดี ทองขุนดา

ฉาบเล็ก นายธีรพงษ์ ฉลาด

โทน-รามะนา นายฐกฤต สุกุลกิตติไกร

กลองแขก นายวรเมธ จิตร์บารุง

กลองแขก นายรพีวิทย์ เรืองอยู่ ผู้ฝึกซ้อม นางวัฒนา โกศินานนท์

ดร.ศิริลักษณ์ ฉลองธรรม

นายฐกฤต สุกุลกิตติไกร

นายโอภาส ชานาญกิจ

นายธีรพงษ์ ฉลาด

นายธนิต ฉิมงามขา

ว่าที่รอ้ ยตรีธราธิป สิทธิชัย อานวยการบรรเลง ดร.ศิริลักษณ์ ฉลองธรรม


รายนามผู้ขับร้องและบรรเลง วงเครื่องสายประสมฮาร์ป เพลงพราหมณ์ดีดน้าเต้า เถา ขับร้อง นางสาวสวรรยา ทับแสง

ฮาร์ป ร.ต.หญิง สุวีณา ยมะคุปต์

ซอด้วง นายอวรัช ชลวาสิน

ซออู้ ผศ.ดร.เมธี พันธุ์วราทร

ขลุ่ยเพียงออ นายอวิรุทธิ์ พรจะโป๊ะ

โทน-รามะนา นายตะวัน โตเอี่ยม

ฉิ่ง นายธนกร เติมเต็มศรี ผู้ฝึกซ้อม นายอวรัช ชลวาสิน

รายนามผู้ขับร้องและผู้บรรเลง เพลงสารถี เถา ขับร้อง ศ. ดร. ตะวัน สุขน้อย

ซอสามสาย ผศ. ดร. นพ.ธัญญพงษ์ ณ นคร

ซอด้วง นพ.พิเศษ พิเศษพงษา

ซออู้ นพ.อนุชา ก้องมณีรัตน์

ระนาดเอก พล.อ. ธนณัฐ ยังเฟื่องมนต์

ระนาดทุ้ม นพ.มนวัฒน์ เงินฉ่า

ฆ้องวงใหญ่ นายยศกร ภูทอง

ฆ้องวงเล็ก เด็กชายศิวัช ชัยมงคลทิตต์

ขลุ่ยเพียงออ นายวิกรานต์ โกมลบุตร

โทน-รามะนา นายประพจน์ แอตาล

ฉิ่ง นายตะวัน โตเอี่ยม

ฉาบเล็ก นายก้องสกล

กรับพวง นายธนกร เติมเต็มศรี ผู้ฝึกซ้อม ผศ.ดร.นพ.ธัญญพงษ์ ณ นคร


รายนามผู้ขับร้องและผู้บรรเลง เพลงเต่ากินผักบุ้ง สองชั้น ขับร้อง นางสาวสวรรยา ทับแสง ซอด้วง นายจารึก ศุภพงศ์

ซอด้วง นายวรกิตติ์ ศิริบรรจงศักดิ์

ซอด้วง นางสาววียาพร ปรางค์เมือง

ซอด้วง นายเมธัส กุลทนันท์

จะเข้ นายนราธิป เพียรทอง

จะเข้ นายสุริยะ ขนขจี

จะเข้ ผศ.ดร.เชาวน์มนัส ประภักดี

จะเข้ นายกรพิณ สอนเสน

ซออู้ นายภัทรณันท์ จันดาแก้ว

ซออู้ นายธีระยุทธ กิตตินภวัฒน์

ซออู้ นายสามารถ สาอางจิตร

ซออู้ นายจุติญาณ สายใยทอ

ซอสามสาย นายวัชรคม โสภณดิลก

ซอสามสาย นายธวลธรรม ทองโชติ

ซอสามสาย นางสาวมนนัทธ์ นิลกลัด

ซอสามสาย นายทยาวัต เอกบูรณะวัฒน์

ระนาดเอก นายวัชรพล เพิ่มสุข

ระนาดทุ้ม นายยศกร ภูทอง

ระนาดทุ้มเหล็ก นายณัฐพล วิสุทธิแพทย์

ฆ้องวงใหญ่ นายก้องสกล -

ฆ้องวงเล็ก เด็กชายศิวัช ชัยมงคลทิตต์

ฆ้องหุ่ย นายตะวัน โตเอี่ยม

กลองแขก นายฐานันดร สาภู

กลองแขก นายนิติภูมิ มีบรรจง

ฉาบเล็ก เด็กชายปองภพ ทองคาแดง

กรับ เด็กชายปองภพ ทองคาแดง

ฉิ่ง นายธนกร เติมเต็มศรี

ขลุ่ยหลิบ นายปราโมทย์ เที่ยงตรง

ขลุ่ยเพียงออ นายปิยะพัฒน์ เวชประสิทธิ์ ผู้ฝึกซ้อม นายอวรัช ชลวาสิน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.