สูจิบัตรออนไลน์ จุฬาวาทิตครั้งที่ 227 “วงดุริยางค์เครื่องลมกองทัพอากาศ” วันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566

Page 1

จุฬาวาทิต ครั้งที่ ๒๒๗ “วงดุริยางค์เครื่องลม กองทัพอากาศ” กองดุริยางค์ทหารอากาศ วันศุกร์ที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๖ ณ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาดับการแสดง 1.สรรเสริญเสือป่า พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ๒.สวัสดีชัยโย ประพันธ์โดยจิรพรรณ อังศวานนท์ เรียบเรียงเสียงประสานโดย เมธา เกรียงปริญญากิจ ดัดแปลงเสียงประสานสาหรับวงดุริยางค์เครื่องลม: อภิชิต มานิตศรศักดิ์ ๓.ทยอยนอกสามชั้น พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ขับร้องโดย จ่าอากาศเอกหญิง ขวัญนภา เทียนสี ๔.Old comrades ประพันธ์โดย Carl Teike ๕.มาร์ชดารง พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ๖.มาร์ชบริพัตร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ๗.เตือนใจ พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เรียบเรียงเสียงประสานโดย วิจิตร จิตรรังสรรค์ ๘.When พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เรียบเรียงเสียงประสานโดย Eric Richards ๙.เธอหนอเธอ ประพันธ์ทานองและคาร้องโดย วิเชียร ตันติพิมลพันธ์ เรียบเรียงเสียงประสานโดย สาครินทร์ หวังสมบูรณ์ดี ขับร้องโดย จ่าอากาศเอกหญิง กัลยรัตน์ กรสุทธินันท์

๑๑.Now And Forever, Suriyothai

๑๐.กษัตริยา ประพันธ์ทานองโดย ชาติชาย พงษ์ประภาพันธ์ ประพันธ์คาร้องโดย คงเดช จาตุรันต์รัศมี ขับร้องโดย จ่าอากาศเอกหญิง กัลยรัตน์ กรสุทธินันท์
ประพันธทาน้องโดย
Harvey ประพันธ์คาร้องโดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ปริญญา สากิยลักษณ์ และ นันทนา บุญหลง เรียบเรียงเสียงประสานโดย อภิชิต มานิตศรศักดิ์ ขับร้องโดย จ่าอากาศโทหญิง กุลพัชร พัฒโนดม ๑๒.สายโลหิต ประพันธ์ทานองและคาร้องโดยโดย สุทธิพงษ์ วัฒนจัง (ชมพู ฟรุตตี้) เรียบเรียงเสียงประสานโดย สาครินทร์ หวังสมบูรณ์ดี ขับร้องโดย จ่าอากาศเอก ธรรมรัต อภิรดี ๑๓.ตามรอยพ่อ ประพันธ์ทานองและคาร้องโดย ยืนยง โอภากุล เรียบเรียงเสียงประสานโดย เรืออากาศตรี ปริวรรต ปาลพันธุ์ ขับร้องโดย จ่าอากาศเอก ธรรมรัต อภิรดี ๑๔.จากลูกของแผ่นดิน ประพันธ์ทานองและผลิตดนตรีต้นฉบับโดยสราวุธ เลิศปัญญานุช ประพันธ์คาร้องโดย วิเชียร ตันติพิมลพันธุ์ เรียบเรียงเสียงประสานโดย สิบเอก ธนภาค ไชยศร ขับร้องโดย จ่าอากาศโทหญิง กุลพัชร พัฒโนดม
Richard

ด้วยการผลิตภาพยนตร์ที่สมบูรณ์จะต้องผลิตเพลงและใช้วงดนตรีประกอบกองทัพอากาศจึงได้ เชิญพระเจนดุริยางค์มาเป็นผู้ควบคุมและอานวยเพลง นอกจากนี้ยังได้ตั้งโรงเรียนดุริยางค์ทหาร อากาศขึ้นในปี พ.ศ. 2485 ด้วย

ประวัติหน่วยงาน เมื่อกองทัพอากาศ ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2480 โดยขึ้นตรงต่อ กระทรวงกลาโหม กองทัพอากาศได้จัดตั้งหน่วยขลุ่ย-กลองขึ้น ณ กองบินน้อยที่ 4(ชื่อในขณะนั้น) ตาบลโคกกระเทียม อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ในปี พ.ศ.2482 ต่อมาได้ขยายเป็นกองแตรวง พ.ศ.2483-2484 กองทัพอากาศได้จัดตั้งหมู่แตรวงขึ้นที่ฐานทัพอากาศดอนเมือง และได้ ปรับย้ายกาลังพลจากกองบินน้อยที่ ๔ เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยนี้ด้วย ในห้วงปี 2484 กองทัพอากาศได้ย้ายกองแตรวงทหารอากาศไปรวมกับกองภาพยนตร์ทหารอากาศ ซึ่งกองทัพอากาศ ได้รับพื้นที่โรงถ่ายทาภาพยนตร์และพื้นที่โดยรอบจากรัฐบาลที่ซื้อมาจากบริษัทไทยฟิล์ม ตั้งอยู่ในพื้นที่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ และได้มอบหมายให้กองทัพอากาศผลิตภาพยนตร์เพื่อเป็นสื่อให้ รัฐบาลกับประชาชน
กองดุริยางค์ทหารอากาศได้มีพัฒนาการจนมีวงดนตรีที่เป็นมาตรฐาน เพื่อตอบสนองภารกิจ ต่างๆ ที่ได้รับมอบหมาย ได้แก่ วงโยธวาทิต(Military Band, Concert Band) วงจุลดุริยางค์(Symphony Orchestra) วงหัสดนตรี(Big Band, Combo) วงดนตรีไทย รวมถึงส่วนสนับสนุนและส่วนปฏิบัติการต่างๆ จนถึง พ.ศ.2538 กองทัพอากาศจึงได้ปรับย้ายพื้นที่กองดุริยางค์ทหารอากาศมาอยู่ที่ทุ่งสีกัน เขตดอน เมืองจนถึงปัจจุบัน “Royal Thai Air Force Wind Orchestra” หรือ “วงดุริยางค์เครื่องลมกองทัพอากาศ” เป็นชื่อที่ ตั้งขึ้นเพื่อให้มีความเป็นมาตรฐานสากลให้มีความแตกต่างจาก Military Band หรือ โยธวาทิต ที่อาจมอง ได้ว่าเป็นวงดนตรีสาหรับกิจการทหาร วงดนตรีนาแถว ทั้งนี้เพื่อให้สัมผัสได้ถึงรูปแบบของวงที่มี พัฒนาการด้านการบรรเลง(หมายถึงการนั่งบรรเลง) ขั้นสูงตามแบบตะวันตกนั่นเอง ทั้งนี้สมาชิกส่วน ใหญ่จะเป็นข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ในแผนกโยธวาทิต กองดนตรี กองดุริยางค์ทหารอากาศ หน่วย บัญชาการอากาศโยธิน
นาวาอากาศเอก ยิ่งศักดิ์ เรืองฉาย ผู้บังคับการกองดุริยางค์ทหารอากาศ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน ผู้อานวยการบรรเลง ด้านการศึกษา สาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 31 โรงเรียนนายเรืออากาศ รุ่น ที่ 38 โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง รุ่นที่ 100 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 51 วิทยาลัย เสนาธิการทหารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศรุ่นที่ 61 ด้านการทางาน เคยดารงตาแหน่ง ผู้บังคับกองพันทหารต่อสู้อากาศยาน 1 กรมทหารต่อสู้ อากาศยานรักษาพระองค์ ผู้บังคับกองพันทหารต่อสู้อากาศยาน 2 กรมทหารต่อสู้อากาศยานรักษา พระองค์ ผู้บังคับกองพันทหารอากาศโยธิน 3 กรมทหารอากาศโยธินรักษาพระองค์ หัวหน้ากองฝึก กองฝึกกาลังสารอง ศูนย์การทหารอากาศโยธิน ผู้บังคับกองนักเรียน โรงเรียนจ่าอากาศ เสนาธิการ โรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ปัจจุบันรับราชการในตาแหน่ง ผู้บังคับกองดุริยางค์ ทหารอากาศหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน
นาวาอากาศโทวิศิษฎ์ ภวปัญญากุล หัวหน้าแผนกโยธวาทิต กองดนตรี กองดุริยางค์ทหารอากาศ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน พิธีกร และผู้อานวยเพลง ได้รับการศึกษาวิชาดนตรีจาก นาวาอากาศเอกบุญเสริม ช้างใหญ่ จากโรงเรียนดุริยางค์ทหาร อากาศ (หลักสูตร 5 ปี) เมื่อพ.ศ.2534-2539 พ.ศ.2537-2539 เป็นสมาชิกวงดุริยางค์เยาวชนไทย พ.ศ.2546 ได้รับทุนจากกองทัพอากาศให้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีที่สาขาวิชาดนตรี ตะวันตก ภาควิชาศิลปนิเทศ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาเร็จการศึกษาด้วย คะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับรางวัลนิสิตผู้มีผลการเรียนสูงสุดในสาขาวิชา โอกาสนี้จึงได้รับ การศึกษาวิชาดนตรีและวิชาอานวยเพลงจากอาจารย์สุรพล ธัญญวิบูลย์ พ.ศ.2546-ปัจจุบัน เป็นสมาชิกของวงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ วงนนทรีออร์เคสตร้าวินด์ เข้าร่วมการแสดงคอนเสิร์ต บันทึกเสียง เป็นวงสาธิตและวิทยากรในการ ประชุมเชิงปฏิบัติการด้านดนตรี ทั้งในและต่างประเทศหลายครั้ง
พ.ศ.2547-2548 ได้รับเชิญให้เป็นอาจารย์พิเศษสาหรับนักเรียนกลุ่มเครื่องลมไม้และเป็นผู้ อานวยเพลงที่ 2 ให้กับวงดุริยางค์ของโรงเรียนสุรนารี จังหวัดนครราชสีมาในการประกวดดนตรีโลก ณ ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้รับรางวัลเกียรตินิยมเหรียญทอง พ.ศ.2550 ได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้แสดงเดี่ยว Flute กับวง Orchestra ในคอนเสิร์ตทัพฟ้าคู่ไทย เพื่อชัยพัฒนาครั้ง 2 ในการนี้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร(พระราชอิสริยะยศใน ขณะนั้น)เสด็จแทนพระองค์ฯ เป็นองค์ประธาน พ.ศ.2551-2552 ได้รับเชิญให้เป็นอาจารย์พิเศษ ณ สาขาวิชาดนตรีตะวันตก ภาควิชา ดนตรี คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ.2556 และ2560 เข้าร่วมวงวงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และวง นนทรีออร์เคสตร้าวินด์ในการประกวดดนตรีโลก ณ ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้รับรางวัลเหรียญทอง เกียรตินิยม พ.ศ.2559 ได้รับเชิญจากธนาคารออมสินให้เป็นกรรมตัดสินวงโยธวาทิต โครงการธนาคาร โรงเรียนธนาคารออมสิน ทาหน้าที่เป็นผู้กากับ/ผู้ช่วยผู้กากับเวที และออกแบบการแสดงในคอนเสิร์ตทัพฟ้าคู่ไทยเพื่อชัย พัฒนา ของกองทัพอากาศ และคอนเสิร์ตของวงดุริยางค์เครื่องลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ วงนนทรีออร์เคสตร้าวินด์ การศึกษาทางทหาร สาเร็จการศึกษาหลักสูตรนายทหารผู้บังคับหมวดรุ่นที่ 63 ปี พ.ศ.2552 นายทหารชั้นผู้บังคับฝูง รุ่นที่ 129 ปี พ.ศ.2560 นายทหารอากาศอาวุโส รุ่นที่ 79 พ.ศ.2565 หลักสูตรรักษาสันติภาพ Pirab-Jabiru เมื่อ พ.ศ.2561 ปัจจุบันรับราชการตาแหน่งหัวหน้าแผนกโยธวาทิต กองดนตรี กองดุริยางค์ทหารอากาศ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน
จ.อ.หญิง ขวัญนภา เทียนสี (นักร้อง) สาเร็จการศึกษามัธยมปลายโรงเรียนบ้านหมี่วิทยา จ.ลพบุรี โดยได้เรียนดนตรีจากวงดนตรีไทย ที่บ้าน สาเร็จการศึกษาหลักสูตรโรงเรียนนายทหารชั้นประทวนรุ่น 68 ปัจจุบัน ปัจจุบันรับราชการ เป็น นักดนตรี แผนกดนตรีไทย กองดนตรี กองดุริยางค์ทหารอากาศ หน่วยบัญชีการอากาศโยธิน จ่าอากาศเอกหญิงกัลยรัตน์ กรสุทธินันท์ (นักร้อง) สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยบูรพา คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาดนตรี และการแสดง ปัจจุบันรับราชการตาแหน่ง นักร้อง ฝ่ายขับร้องและการแสดง กองดนตรี กองดุริยางค์ ทหารอากาศ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน จ.ท.หญิง กุลพัชร พัฒโนดม (นักร้อง) สาเร็จการศึกษาวิชาเอกขับร้อง สาขาดุริยางคศาสตร์สากล คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา ปัจจุบันรับราชการตาแหน่ง นักร้อง ฝ่ายขับร้องและการแสดง กองดนตรี กองดุริยางค์ทหารอากาศ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน

เจ้าอยู่หัว เช่นสานักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติจัดให้วงโยธวาทิตบรรเลงเพลงนี้แทนการ

สรรเสริญเสือป่า พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนากองลูกเสือป่าขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2454 มีพระราช ประสงค์ที่มีเพลงบรรเลงคานับสาหรับกองเสือป่า พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรม พระนครสวรรค์วรพินิต พระนิพนธ์ถวาย ทรงนาเพลงบุหลันลอยเลื่อนอัตราจังหวะ 2 ชั้น ซึ่งเป็นเพลง ไทยเดิม ในพระราชนิพนธ์ของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มาเรียบเรียงทางบรรเลงใหม่ใน รูปแบบดนตรีสากล และบรรเลงด้วยแตรวง เพลงสรรเสริญเสือป่านี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แตรวงกรมเสือป่าหลวงรักษาพระองค์ เริ่มบรรเลงเพลงนี้เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2454 ในการถือน้าพิพัฒน์สัตยาและพระราชทานธงไชยเฉลิมพลกองเสือป่ามณฑลนครสวรรค์ การที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เริ่มบรรเลงเพลงสรรเสริญเสือป่าในการพระราชทาน ธงไชยเฉลิมพลเสือป่ามณฑลนครสวรรค์นี้ เป็นการพระราชทานพระเกียรติยศแก่นายกองตรี สมเด็จ พระเจ้าน้องยาเธอฯ
ผู้ทรงพระนิพนธ์เพลงนี้ซึ่งทรงมีพระนามกรมพ้องกับนามมณฑลและทรงเป็นผู้
ให้ใช้แตรวงบรรเลงเพลงสรรเสริญเสือป่าเป็น
และศารทูลธวัชประจากรมกองเสือป่ารวมทั้งในระหว่าง เวลาเสด็จพระราชดาเนินทรงตรวจพลเสือป่าและลูกเสือในวโรกาสต่าง ๆ ต่อมาในพุทธศักราช 2456 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ได้ ทรงนิพนธ์คาร้องขึ้นถวายเพื่อใช้กับเพลงสรรเสริญเสือป่า และทรงใช้เป็นเพลงคานับสาหรับกองเสือป่า จนสิ้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้โปรดเกล้าฯ ให้วชิราวุธวิทยาลัยฟื้นฟูการดนตรีขึ้น อีกครั้งหนึ่ง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องดนตรีและครูมาฝึกสอน เมื่อฝึกหัดนักเรียน จนสามารถจัดตั้งวงจุลดุริยางค์ขึ้นได้สาเร็จแล้ว พระยาภรตราชา (ม.ล.ทศทิศ อิศรเสนา) ผู้บังคับการ วชิราวุธวิทยาลัย จึงได้กาหนดให้วงจุลดุริยางค์บรรเลงเพลงสรรเสริญเสือป่าในงานพิธีการของโรงเรียน เช่นในเวลาเปิด - ปิดพระวิสูตรพระบรมฉายาทิสลักษณ์บนหอประชุม ต่อมา จึงได้มีหน่วยงานต่าง ๆ จัด ให้มีการบรรเลงเพลงสรรเสริญเสือป่าในวาระสาคัญที่เกี่ยวเนื่องในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
บังคับการพิเศษกรมเสือป่ารักษาดินแดนมณฑลนครสวรรค์ด้วย
ต่อจากนั้นยังได้พบหลักฐานอีกว่า
ได้โปรดเกล้าฯ
เพลงเคารพมหาศารทูลธวัชประจาคณะเสือป่า

th/Honor/Detail/43

2541 เพื่อใช้ในพิธีเปิดในโอกาสที่ประเทศได้เป็นเจ้าภาพจัดแข่งขัน

บรรเลงเพลงมหาฤกษ์เมื่อคราวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดาเนิน ทรงเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ อาเภอ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๖ มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ จัดให้มีการแสดงละครพระราชนิพนธ์หรือกิจกรรม ณ โรงละครศรีอยุธยา หอวชิราวุธานุสรณ์ ก็ได้จัด ให้มีการบรรเลงเพลงสรรเสริญเสือป่าก่อนเริ่มการแสดงละครหรือเริ่มกิจกรรม เป็นสัญญาณว่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จลงประทับทอดพระเนตรการแสดงละครหรือทรงเป็น ประธานในการจัดกิจกรรมนั้น ๆ จึงนิยมกันว่า เพลงสรรเสริญเสือป่านี้คือ เพลงสรรเสริญพระบารมี ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว อนึ่ง เนื่องจากเพลงสรรเสริญเสือป่านี้ มีที่มาจากเพลงสรรเสริญพระบารมีเก่า ซึ่งมีที่มาจาก พระสุบินนิมิตในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เพลงนี้จึงมีชื่อเรียกว่า สรรเสริญพระจันทร์ บ้าง บุหลันลอยเลื่อนบ้าง บุหลันเลื่อนลอยฟ้าบ้าง นอกจากนั้น ในตอนท้ายของเพลงนี้ยังมีลักษณะที่ พิเศษแตกต่างไปจากเพลงอื่น ๆ คือ ตอนจบของเพลงเสียงดนตรีจะค่อย ๆ เบาลง ๆ จนเงียบหายไปใน ราตรีกาล ฉะนั้น เมื่อทรงพระนิพนธ์เพลงสรรเสริญเสือป่าขึ้น จึงได้ทรงกาหนดให้ตอนท้ายของเพลงนี้ ค่อยๆ เบาลงจนเงียบหายไปในที่สุด อ้างอิงจาก http://www.kingrama9.
สวัสดีชัยโย เพลงนี้ถูกประพันธ์ขึ้นในปี
กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 13 โดยจิรพรรณ อังศวานนท์ ได้เป็นผู้ประพันธ์และเรียบเรียงดนตรี โดยนาเอา เพลงจากการละเล่นพื้นบ้านของไทยมาร้อยเรียงสอดประสานกัน และใส่ท่อนเพลงให้เกิดความยิ่งใหญ่ อลังการให้สมกับเป็นบทเพลงที่ใช้ในพิธีเปิดมหกรรมกีฬาอันยิ่งใหญ่

Old comrades

แต่งเพลงนี้ขึ้นต่อหัวหน้าวงดนตรีของเขาแต่เขากลับได้รับคาแนะนาให้นาไปเผาไฟเสียเถิด

ท่านก็นาเสนอเพลงนี้จนได้รับการออกบรรเลงและได้รับการยอมรับ โดยชื่อภาษาเยอมันนั้นมีตัวสะกด

ทยอยนอก สามชั้น เพลงทยอยนอก สามชั้น เป็นเพลงที่พระประดิษฐ์ไพเราะ(ครูมีแขก หรือ มีดุริยางค์กูร) แต่งขึ้น สาหรับบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ นิยมบรรเลงมาแต่สมัยรัชกาลที่ 6 ทูนกระหม่อมบริพัตรฯ ทรงนาเพลง ทยอยนอก สามชั้น นี้ มาบรรเลงด้วยแตรวงขนาดใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ 6 นอกจากจะทรงใช้เครื่อง ดนตรีประเภทเป่านานาชนิดให้บรรเลงล้อกันและขัดกันตามแบบฉบับของเพลงทยอยดั้งเดิมแล้ว ยังได้ ทรงพระนิพนธ์ และทรงเรียบเรียงเสียงร้องหมู่แบบตะวันตกไว้ในท่อนที่ 3 แทนที่เครื่องดนตรี นับเป็น ครั้งแรกในประวัติการดนตรีไทย อ้างอิงจาก
html
https://www.rtnsm.com/nms-military/music%20page/music-15.
ในปี ค.ศ.1689 ในช่วงที่ Carl Teike ผู้ประพันธ์เพลงชาวเยอรมันท่านนี้มีอายุ 25 ปี ท่านได้
แต่ในที่สุด
Kameraden ซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษว่า Old comrades ต่อมาบทเพลงนี้เป็นเพลงรูปแบบเพลง March แบบเยอรมันที่สมบูรณ์แบบ และได้รับความนิยมไปทั่วโลก มาร์ชดารง เพลงมาร์ชดารง เป็นเพลงที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระ นครสวรรค์วรพินิต ทรงพระนิพนธ์ในราวต้นรัชกาลที่ 6 ระหว่างปี พ.ศ.2453-2458 แล้วถวายเป็น เพลงประจาพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพพระอนุชาของรัชกาล ที่ 5 ทรงพระนิพนธ์ขึ้นก่อนเพลงมาร์ชบริพัตรไม่นานนัก เพลงมาร์ชดารงมีลักษณะท่วงทานองเป็น ตะวันตกอยู่มาก โดยเฉพาะลักษณะทานองในท่อนสอง ความหลากหลายในทานอง ทาให้มาร์ชดารง เป็นเพลงมาร์ชที่มีสีสันสดใสและร่าเริงสง่างามมากที่สุดเพลงหนึ่งในบรรดาเพลงมาร์ชที่แต่งขึ้นในยุคนี้ อ้างอิงจาก https://www.rtnsm.com/nms-military/music%20page/music-4.html
ว่า Alte
มาร์ชบริพัตร เพลงมาร์ชบริพัตร เป็นเพลงในพระนามของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ทรงพระนิพนธ์ในราวต้นรัชกาลที่ 6 ระหว่างปี พ.ศ.2458-2460 ใช้ บรรเลงประกอบภาพยนตร์เงียบและงานอื่นๆ มาช้านาน ครูนารถ ถาวรบุตรได้จดโน้ตไว้และนาออก เผยแพร่ นับเป็นเพลงมาร์ชที่สง่างามและไพเราะมากที่สุดเพลงหนึ่ง อ้างอิงจาก https://www.rtnsm.com/nms-military/music%20page/music-2.html เตือนใจ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงพระ ราชนิพนธ์เพลง Old Fashioned Melody เป็นลาดับที่ 39 และเป็นลาดับที่ 2 ที่ทรงพระราชนิพนธ์ทั้ง ทานองและเนื้อร้องภาษาอังกฤษ สองปีต่อมา (พ.ศ.2510) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ท่านผู้หญิง มณีรัตน์ บุนนาค และ ม.ล.ประพันธ์ สนิทวงศ์ ร่วมกันแปลเนื้อร้องเป็นภาษาไทยถวาย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรฯ ทรงพระราชทานพระวินิจฉัยแก่ รศ.ภาธร ศรีกรานนท์ ถึงชื่อภาษาไทยของเพลงนี้เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2551 เอาไว้ว่า “พอท่านผู้หญิงมณีรัตน์ และ ม.ล.ประพันธ์ ร่วมกันประพันธ์เนื้อร้องภาษาไทย ก็ได้แปลจากเนื้อ ภาษาอังกฤษ Old Fashioned Melody จึงตั้งชื่อเพลงโดยแปลชื่อเพลงว่า “เพลงเตือนใจ” หรือ “ทานอง เตือนใจ” แต่เนื่องจากจริงๆ แล้ว ก็ไม่ได้แปลตรงตัวเสียทีเดียว ฉันก็เลยมาคิดดูว่า ชื่อ “เตือนใจ” เฉยๆ ก็พอแล้ว” อ้างอิงจาก บทเพลงพระราชนิพนธ์ : การวิเคราะห์และสังเคราะห์ทางดนตรีศึกษา โดย รศ.ดร. ภาธร ศรีกรานนท์
When เพลงพระราชนิพนธ์ลาดับที่ 27 ในทานองเพลงนี้มีชื่อเพลงถึง 3 ชื่อได้แก่ When ไกลกังวล และเกิดเป็นไทยตายเพื่อไทย ทรงพระราชนิพนธ์ทานองขณะประทับอยู่ ณ วังไกลกังวล อาเภอหัวหิน ใน พ.ศ.2500 และพระราชทานให้วงดนตรี อ.ส.วันศุกร์ ทรงร่วมบรรเลงกับวงเป็นเพลงสุดท้ายก่อน เสร็จการบรรเลงดนตรี โดยเป็นเพลงคู่แฝดกับเพลง I think of you ซึ่งเล่นเป็นเพลงเปิดวง ประพันธ์เนื้อ ร้องภาษาไทยโดย นายวิชัย โกกิลกนิฐ และเนื้อร้องภาษาอังกฤษ When โดยศาสตราจารย์ท่านผู้หญิง นพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา ต่อมาเมื่อครั้งที่เสด็นเยือนประเทศพิลิปินส์อย่างเป็ฯทางการในปี พ.ศ. 2506 นายราอูล เชวิยา มังกลาปุส (Raul Sevilla Manglapus) สมาชิกวุฒิสภา ประเทศฟิลิปปินส์ใน ขณะนั้น ได้ประพันธ์เนื้อร้องเป็นภาษาอังกฤษอีกฉบับหนึ่งด้วย พระราชทานให้นาออกบรรเลงครั้งแรก ในงานสมาคมนักเรียเก่าอังกฤษในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ เวทีลีลาศสวนอัมพร เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2500 และในปี พ.ศ.2502 แจ๊ก ทีการเด็น (Jack Tegarden) (พ.ศ.2448-2507) นักเป่า ทรอมโบนแนวนิวออร์ลีนส์แจ๊ส ได้บรรเลงเพลง “ บันทึกเสียงในแผ่นเสียงชุด “Jack Teagarden at the Roundtable” ซึ่งนับว่าเป็นครั้งแรก ที่มีการบันทึกเสียงบทเพลงพระราชนิพนธ์โดยนักดนตรีระดับแนว หน้าของสหรัฐอเมริกา ต่อมาใน พ.ศ.2516 บ้านเมืองอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่น่าไว้วางใจ จากภัยคอมมิวนิสต์ ในสมัย นั้นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึงได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชา นุญาต ให้ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค ประพันธ์เนื้อร้องภาษาไทยเป็นเพลงปลุกใจถวายชื่อว่า “เกิด เป็นไทยตายเพื่อไทย” เพื่อปลุกจิตสนึกให้คนไทยรักและหวงแหนแผ่นดินไทย เพลงนี้สามารถใส่สีสันในการบรรเลงได้อย่างหลากหลาย คือ ถ้าเป็นเพลง When ก็จะมีลักษณะ เป็นเพลงสนุกสนาน บรรเลงแบบนิวออร์ลีนส์แจ๊ส ดังที่ได้ทรงตั้งพระทัยไว้ หากเป็นเพลงไกลกังวล ก็ จะเป็นเพลงฟังสบายๆ แนวชายทะเล โดยอาจเล่นเป็นจังหวะบอสซาโนวา (Bossa Nova) หรือหากเป็น เพลงเกิดเป็นไทยตายเพื่อไทย ก็สมารถบรรเลงให้เป็นลักษณะเพลงปลุกใจ สร้างความฮึกเหิมได้อีก ด้วย อ้างอิงจาก บทเพลงพระราชนิพนธ์ : การวิเคราะห์และสังเคราะห์ทางดนตรีศึกษา โดย รศ.ดร. ภาธร ศรีกรานนท์

หลังจากบทเพลง “ออเจ้าเอย” ที่ขับร้องโดยนักร้องชายได้ถูกเผยแพร่ในฐานะบทเพลงนาละคร

เธอหนอเธอ
ละคร และบทเพลงนา ในช่วงเวลาต่อมาก็ได้มีการเผยแพร่บทเพลงในทานองเดียวกันจากผู้ประพันธ์ ท่านเดียวกัน แต่มีคาร้องที่ต่างกัน ซึ่งขับร้องโดยนักร้องหญิงเผยแพร่ในช่วงเวลาต่อมา และได้รับความ นิยมไม่น้อยกว่าเพลงออเจ้าเอยเช่นกัน กษัตริยา เป็นเพลงนาละครโทรทัศน์เรื่องกษัตริยา ที่ออกอากาศในช่วงปี พ.ศ.2546 ละครเรื่องนี้เป็น ละครอิงประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ช่วงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเทียรราชา) เมื่อสมเด็จ พระสุริโยทัย พระชายา สิ้นพระชนม์ในการยุทธหัตถีกับพม่า จนถึงการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระ นเรศวรมหาราช โดยแบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาค “กษัตริยา” เป็นเรื่องราวของพระวิสุทธิกษัตรีย์ และพระ สุพรรณกัลยา และภาค “อธิราชา” หรือ มหาราชกู้แผ่นดิน เป็นเรื่องราวของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช Now And Forever, Suriyothai เป็นเพลงนาภาพยนตร์เรื่องสุริโยไท ผลงานการกากับของ หม่อมเจ้าชาตรี เฉลิมยุคล ที่นาออก ฉายเมื่อ พ.ศ.2544
โทรทัศน์เรื่องบุพเพสันนิวาส
ที่ออกอากาศในช่วงปี พ.ศ.2561 และได้รับความนิยมเป็นอย่างยิ่งทั้ง

4 ครั้ง เนื้อหาของละครกล่าวถึงความรักระหว่างนายทหารยอดฝีมือกับธิดาสาวคนเล็ก

สายโลหิต เป็นบทเพลงนาละครอิงประวัติศาสตร์เรื่อง
ออกอากาศถึง
ของช่างทองหลวงที่ดาเนินไปพร้อมกับการปฏิบัติหน้าที่เพื่อแผ่นดิน การปกป้องแผ่นดินเกิดให้รอดพ้น จากข้าศึก ความเสียสละของคนในชาติ สอดแทรกเรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณีไทย ตามรอยพ่อ เป็นบทเพลงนาละครเรื่อง “ตามรอยพ่อ” ซึ่งละครเรื่องนี้เป็นภาคต่อของละครเรื่อง “อยู่กับก๋ง” ซึ่งออกอากาศทางโทรทัศน์ช่วงปี พ.ศ.2548 ผู้เขียนบทละครเรื่องนี้คือ หยก บูรพา (เฉลิม รงคผลิน) ได้หยิบยกเอาปัญหาและแง่มุมต่างๆ ของสังคมาตีแผ่ในลักษณะของละคร เช่น ปัญหาการขับรถซิ่งของ วัยรุ่น การเรียนกวดวิชาของนักเรียนในปัจจุบัน การหลงเชื่อไสยศาสตร์ การคลั่งไคล้ศิลปินของวัยรุ่นจน หลงลืมการเรียน ปัญหาหนี้สินบัตรเครดิต การบีบบังคับลูกให้เดินไปตามทางที่ตัวเองวางไว้ รวมทั้งยัง สอดแทรกแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไว้ในเนื้อเรื่องอีกด้วย จากลูกของแผ่นดิน หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จสวรรคตในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2559 นั้น คุณถกลเกียรติ วีรวรรณ ผู้กากับละครเวทีเรื่องสี่ แผ่นดินได้มอบหมายให้คุณสราวุธ เลิศปัญญานุช และคุณวิเชียร ตันติพิมลพันธุ์ ผู้ประพันธ์เพลง “ใน หลวงของแผ่น” ที่เป็นเพลงเอกในละครเวทีเรื่องสี่แผ่นดิน และได้รับการเผยแพร่อย่างแพร่หลาย ประพันธ์และผลิตบทเพลงเพื่อให้คนไทยราลึกถึงน้าพระราชหฤทัย และน้อมสานึกในพระมหา กรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ โดยมอบหมายให้พินต้า ณัฐนิช รัตนเสรีเกียรติ ผู้รับบทเป็นแม่พลอยในละคร เรื่องสี่แผ่นดิน ขับร้องเป็นต้นฉบับ ซึ่งผลงานที่ออกมาก็คือบทเพลง “จากลูกของแผ่นดิน” นั่นเอง
“สายโลหิต” ได้รับความนิยมมาก มีการสร้างและ
รายนามนักดนตรี ตำแหน่ง ยศ ชื่อ สกุล Conductor น.ท.วิศิษฎ์ ภวปัญญำกุล Flute/Piccolo จ.อ.ภัทรดนัย ปฏิโก Flute/Piccolo จ.อ.สุรำรักษ์ รักษำศิลป์ Flute จ.อ.ศุภกำนต์ เลียบทวี Clarinet จ.อ.คณิตศร ศรีพรหมทอง Clarinet จ.ท.ธนวัฒน์ พ่วงหลำย Clarinet จ.อ.ณัฐวุฒิ เปรมแปลก Clarinet จ.อ.จำรุกิตติ์ มะโนเรือง Clarinet จ.อ.ณัฐพล สุขโฉม Clarinet จ.อ.ภูวนำถ ชมภูทวีป Alto Saxophone จ.ต.สุภัค นักฟ้อน Alto Saxophone จ.ต.จักกำย สว่ำงเนตร Alto Saxophone จ.อ.สำนนท์ อยู่สงค์ Tenor Saxophone จ.อ.ธีรภัทร สนเท่ห์ Tenor Saxophone จ.ต.ปรันตวัฒน์ มำรวิชัย Bariton Sax จ.ท.สหรัฐ เทียนทอง Trumpet จ.อ.จักรภัสณ์ ลิ้มศีวรกำนจ์ Trumpet พ.อ.อ.ศตวรรษ คงอิ่ม Trumpet จ.อ.ธนิน ผดุงไชยทรัพย์ Trumpet จ.อ.เปรม จันทะวงค์ Hn.1 จ.อ.สมัชญ์ ทรรศยำงกูร Hn.2 จ.ท.ธนพนธ์ อ่อนพรหม Hn.3 จ.อ.พงษ์พันธ์ เลี้ยงถนอม Hn.4 จ.อ.บัณฑิต ใจกล้ำ Trombone จ.อ.นิติธร ไวทยวัน Trombone/Electric Bass Guitar จ.อ.กิตติศักดิ์ เสำพึ่งดี Trombone จ.ท.อติชำต สุวรรณสม Bass Trombone จ.ท.ยศนันท์ ผิวผ่อง Euphonium จ.อ.พิสิษฐ์ พิศิษฐ์นรเดช Euphonium จ.ท.เดชำ อินซอน
ตำแหน่ง ยศ ชื่อ สกุล Tuba จ.ท.ธนำดล อินทร์รุ่ง Tuba จ.ท.พุฒิสรรค์ จงเกตุกรณ์ Tuba จ.ต.ธนวัฒน์ วำรี Percussion จ.ท.กมลชนก กันกระจ่ำง Percussion พ.อ.อ.อัฐพงศ์ มีสิงห์ Percussion พ.อ.ท.ปรัชญำ โชคชัย Percussion พ.อ.ท.ณรัตน์ เหลืองวิเชียรฉำย Percussion จ.อ.ณัฐพงศ์ ชัยยำนนท์ Drumset/Percussion จ.อ.ดนัย ยอดอ้อย กลองแขก 1 จ.อ นำโชค แก้วตำ กลองแขก 2 จ.อ.สุรศักดิ์ ดอนสระไพร ฉิ่ง จ.อ.ธนวิชญ์ นรเทพ Voice จ.อ.หญิง ขวัญนภำ เทียนสี Voice จ.อ.หญิงกัลยรัตน์ กรสุทธินันท์ Voice จ.ต.หญิงกุลพัชร พัฒโนดม Voice จ.อ.ธรรมรัต อภิรดี Stage manager/หัวหน้ำธุรกำร ร.ต.สุระชำติ บริบูรณ์ทรัพย์ ธุรกำร/Back stage จ.อ.ณรงค์ฤทธิ์ ปวะภูสะโก ธุรกำร/Back stage จ.ท.พัชรพล โสภำ ช่ำงภำพนิ่ง พ.อ.อ.ลมกรด ปรำโมช พลขับ1 พลขับ2

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.