รายงานผลโครงการการจัดการความรู้ เรื่อง ถอดรหัส ระหัดวิดน้ำ เทคโนโลยีชุมชนคนโคราช

Page 1


รายงานผลโครงการการจัดการความรู

เรื่อง “ถอดรหัส ระหัดวิดน้ํา : เทคโนโลยีชมุ ชนคนโคราช"

โครงการการจัดการความรู สํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๔


“ระหัดวิดน้ํา” เปนเครื่องมือในการนําน้ําเขาหรืออกจากคูคลองที่มีระดับต่ํามายังพื้นที่สูง กวา โดยใชกระแสน้ําพัดหมุนวงลอขนาดใหญโดยไมตองใชพลังงานอื่นชวย ทําใหกระบอกหรือ ภาชนะที่ติดอยูกับระหัดก็จะตักน้ําขึ้นไปเทบนรางรับน้ํา แลวไหลไปตามรางน้ําไมขาดสาย ซึ่งสวน ใหญน้ําเหลานีจ้ ะใชประโยชนในการเกษตรกรรมมาชานาน ในอดีตในพื้นที่ลุมน้ําลําตะคอง ของจังหวัดนครราชสีมาพบมีการสรางระหัดวิดน้ําจํานวน มาก แตในปจจุบันเหลือลงไปอยางมาก ดังนั้นสํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา จึงรวมนายวุฒิเดช ครจํานงค ศิษยเกาป.กศ. รุน ๕ วิทยาลัยครูนครราชสีมา จัดสราง ระหัดวิดน้ําโบราณ ในบริเวณใกลกับเรือนโคราชฯ เพื่อใหเปนการอนุรักษภูมิปญญาในการสราง ระหัด และเสริมศักยภาพใหโคราชเปนแหลงเรียนรูภูมิปญญาของชาวโคราชไดสมบูรณมากยิ่งขึ้น ในการนี้ สํานักศิลปะและวัฒนธรรมไดเล็งเห็นคุณคาขององคความรูและภูมิปญญาในการ จัดสรางระหัดวิดน้ํา ซึ่งหาดูไดยากในปจจุบัน จึงไดมีความเห็นรวมกันในการดําเนินการโครงการ จัดการความรู ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๔ ประเด็น “ถอดรหัส ระหัดวิดน้ํา: เทคโนโลยีชุมชนคน โคราช” เพื่อดําเนินการศึกษา รวบรวม จัดเก็บและเผยแพรองคค วามรูเกี่ยวกับการจัดสรางระหัด วิดน้ําโบราณ เปนสวนหนึ่งในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและการบริการวิชาการดานวัฒนธรรม แกชุมชนอีกดวย


ตัวชี้วัด

เปาหมาย

ระยะเวลา ดําเนินการ

การดําเนินงาน

ผลการดําเนินงาน การนําความรู ไปปฏิบัติ

แผนงานที่ ๑. การแสวงหาและสรางองคความรู - จํานวนองค ๑ องค ก.ย.– ขั้นตอนที่ ๑ การบงชี้ความรู ความรู ความรู ธ.ค. - ประชุมคนหาแนวปฏิบ ัติทดี่ ีในการ ๒๕๖๓ ปฏิบัติงาน (Best Practice) - สรุปปญหา แนวทางการพัฒนา แผนงานที่ ๒. การบูรณาการจัดการความรู - บุคลากรสํานัก - บุคลากร ม.ค. – ศิลปะและ รอยละ เม.ย. วัฒนธรรมไดเขา ๑๐๐ ได ๒๕๖๔ รวมแลกเปลี่ยน เขารวม เรียนรู กิจกรรม - มีการพัฒนาสื่อ - มีการ หรือคูมือที่ พัฒนาสื่อ สอดคลองกับ หรือคูมือฯ ประเด็นการ ๑ เรื่อง จัดการความรู

การดําเนินงาน (Do) ขั้นตอนที่ ๒ การสรางและการ แสวงหาความรู - การถายทอดความรูของแตละคน - การถายทอดความรูจากวิทยากรผูมี ประสบการณ - การเรียนรูขณะดําเนินงาน ขั้นตอนที่ ๓ การจัดการความรูให เปนระบบ - การรวบรวมความรู (บันทึก) - จัดทําแบบบันทึกขอมูลที่เกิดขึ้นจาก การปฏิบ ัติงาน - เก็บ ความรูที่ไดรบั จากการถายทอด ประเมินผล (Check) ขั้นตอนที่ ๔ การประมวลและ กลั่นกรองความรูและ ขั้นตอนที่ ๕ การเขาถึงความรู - สรุปแนวปฏิบ ัติที่ดีในการปฏิบตั ิงาน ดี (Best Practice) - นําขอมูลความรูไปใชปฏิบัติงาน - ประเมินผลกิจกรรมโดยการประชุม ทั้งทางการและไมเปนทางการ

ผูจัดเก็บ ขอมูล

ดร.รชานนท งวนใจรัก ดําเนินการ นายธนัช แววฉิมพลีสกุล ควบคูไปกับ การปฏิบ ัติงาน นายอัครพล อินทกูล จริง

ดําเนินการ ควบคู ไปกับการ ปฏิบัติงานจริง

นายธนัช แววฉิมพลีสกุล นายอัครพล อินทกูล นายสุรชัย เดชชัยพิทักษ นายชุตินันท ทองคํา นางขวัญเรือน ทองตาม


ตัวชี้วัด

เปาหมาย

ระยะเวลา ดําเนินการ

แผนงานที่ ๓. การเผยแพรองคความรู - จํานวนองค ๑ องค พ.ค. – ความรูที่เผยแพร ความรู ส.ค. ๒๕๖๔

การดําเนินงาน

ผลการดําเนินงาน การนําความรู ไปปฏิบัติ

การปรับปรุง (ACT) ขั้นตอนที่ ๖ การแบงปนความรู และ ขั้นตอนที่ ๗ การเรียนรู - มีการเผยแพรองคความรูดวยเทคนิค วิธีตางๆ เชน เอกสาร สื่อหรือคูมือ เว็บไซต

การถอดองค ความรูที่ไดใน รูปแบบ เอกสาร และ เผยแพรผาน สื่อตางๆ

ผูจัดเก็บ ขอมูล

ดร.รชานนท งวนใจรัก นายธนัช แววฉิมพลีสกุล นายอัครพล อินทกูล นายชุตินันท ทองคํา

*** การดําเนินงานกิจกรรมคํานึงถึงความปลอดภัยจากสถานการณการแพรระบาดของไวรัสโควิด-19

การเผยแพรองคความรูในงาน Korat Mice City เมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ ณ ศูนยการคาเทอรมินอล ๒๑ โคราช


แนวความคิดของการจัดการความรู (KM Concept) คือ การบูรณาการพัฒนาบุคลากรดวย การจัดการความรูเขากับยุทธศาสตรของสํานักศิลปะและวัฒนธรรม ในประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ ของสํานักฯ “การพัฒนาแหลงเรียนรูระบบสารสนเทศดานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น” การบงชี้ ความรู เริ่มตนโดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการจัดการความรูของสํานักศิลปะและ วัฒนธรรมเพื่อเปนกลไกในการขับเคลื่อนการจัดการความรู (แบบเปนทางการ) โดยมีบุค ลากรทุก คนเปนคณะทํางานและรวมกันพิจารณาเปาหมาย และมีผูบริหารของสํานักเปนผูอํานวยความ สะดวก (Facilitator) และคอยใหขอเสนอแนะในการดําเนินงาน


๑. Tacit Knowledge อาจารยสุช าติ พิมพพันธ รองผูอํ านวยการสํานักศิ ล ปะและ วัฒนธรรม ผูออกแบบระหัดวิดน้ําโบราณ โดยการศึกษาขอมูลจากระหัดวิดน้ําดั้งเดิมในลุมน้ําลํา ตะคอง และการปรึกษากับคุณลุงยนต ชางผูเชี่ยวชาญในการตีระหัด (สรางระหัดวิดน้ํา) และปรับ ใหมีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่สระน้ําของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

๒. Tacit Knowledge ลุงยนต หรือ คุณพยนต โภชนสูงเนิน ชางผูเชี่ยวชาญเรื่องระหัดวิด น้ํา จากบานวังวน ตําบลโคราช อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา


๓. การศึกษาดูงาน พัดทดน้ํา ณ พิพิธภัณฑไทดํา บานนาปาหนาด จังหวัดเลย เมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

๔. การแสวงหาความรูพรอมกับการปฏิบัติงานจริง



๕. Explicite Knowledge : การศึกษาคนควาจากหนังสือ เอกสาร บทความหรืองานวิจัย - ระหัดวิดน้ําลําตะคองและเหมืองฝายสีคิ้ว: ภูมิปญญาการจัดการทรัพยากรน้ําของชุมชน เกษตรกรรมบริเวณลุมน้ําลําตะคอง จ.นครราชสีมา โดย นราธิป ทับทัน และคณะ - ระหัดวิดน้ํา ณ ลําตะคอง ผานบานน้ําเมา อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา โดยคุณประชาธิป มากมูล - ระหัดวิดน้ําลําตะคอง : สัญศาสตรของเทคโนโลยีพลังน้ําพื้นบาน โดยอาจารยสุริยา สมุทคุปติ์ สาขาวิช าศึกษาทั่วไป สํานักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


รวบรวมองคความรูจากอาจารยสุชาติ พิมพพันธ ผูออกแบบโครงสรางระหัดวิดน้ํา เพื่อ จัดทําเปนสื่อการเรียนรู


การจัดทําสื่อการเรียนรู


การประชุมคณะกรรมการจัดการความรูสํานักศิล ปะและวัฒนธรรม เพื่อทําการทบทวน ประมวลผล และกลั่นกรอง รวมถึงกําหนดแนวทางการนําตนทุนองคความรูมาใชงานอยางเปน รูปธรรม


การจัดทําวิดิทัศ น สัมภาษณ อาจารยสุชาติ พิมพพัน ธุ รองผูอํานวยการสํานักศิล ปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึ่งเปนผูศึกษาและทําการออกแบบระหัดวิดน้ําที่ จัดสรางในสระน้ํา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในเดือนมกราคม - กุมภาพันธ 2564 โดยชาง ผูตีระหัด คือ ลุงยนต หรือ คุณพยนต โภชนสูงเนิน ชางผูเชี่ยวชาญเรื่องระหัดวิดน้ํา จากบานวังวน ตําบลโคราช อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา


การถายภาพนําเสนอใน Google Street View


การเผยแพรการสัมภาษณอาจารยสุชาติ พิมพพันธ ใน Youtube.com


พิธีสงมอบระหัดวิดน้ําโบราณ จากผูบริจาคสูมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564 การเรียนรูที่เกิดขึ้นพรอมกับการทํางานไปกับทีมออกแบบและทีมชาง ทั้งจากการพูดคุย และรวมดําเนินการ ซึ่งทําใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม รวมถึงมีความเขาใจในกระบวนการกอสราง และกลไกในการทํางานของระหัดวิดน้ําโบราณนี้ ซึ่งจะบุคลากรของสํานักศิลปะและวัฒนธรรมจะ ยังคงเรียนรูจากการใหบริการแกผูมาเยี่ยมชม การซอมแซม และสรางการถายทอดแลกเปลี่ยน ขอมูลระหวางกัน รวมถึงจะไดนําขอมูลมาพัฒนารูปแบบการใหบริการในอนาคตตอไป



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.