บทสรุปสําหรับผูบริหาร เรือนพอคง ถูกสรางขึ้นเมื่อพุทธศักราช 2448 ณ หมูบานตะครอ ตําบลเมืองคง อําเภอคง จังหวัด นครราชสีมา เพื่อเปนบานพักอาศัยของครอบครัวพอคง และแมพุม โชตินอก (ธีระโชติ) ตอเนื่องกันมาถึง 4 รุน พื้นฐานครอบครัวของพอคงมีความร่ํารวยเนื่องจากพอคงเปนคนขยันมีความมุมานะในการถากถาง ผืนปารกเพื่อสรางผืนนาดวยสองมือและแรงงานจากควาย เมื่อมีที่นามากบวกกับความขยันในแตละปจึง ทํานาไดขาวมาก นับไดวาเปนเศรษฐีจากการทํานา เรือนหลังนี้จึงแสดงถึงจิต วิญญาณและภูมิ ปญญาใน อดีตของชาวนาโคราชกวารอยปมาแลว ตอมาในพุทธศักราช 2559 เรือนพอคงไดรับการรื้อถอน ขนยาย และปรุ ง ขึ้ นใหม ภ ายในพื้ นที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า โดยคณะศิษ ย เ ก า โรงเรี ย นฝ กหั ด ครู วิทยาลัยครู สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ที่ไดรวมกันบริจาคเพื่อจัดสรางใหเปน อนุสรณที่แสดงถึงความกตัญูตอสถาบันการศึกษาและแผนดินเมืองโคราช มุงหวังใหเปนแหลงเรียนรูวิถี ชีวิต ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีทองถิ่น รวมถึงเปนเรือนครูที่สามารถสะทอนใหเห็นอัจฉริย ภาพและ ปญญาสรางสรรคของชางทองถิ่นโคราชไดอยางชัดเจน เรือนพอคง เปนเรือนไมพื้นถิ่นยกใตถุนสูง ลักษณะเปนเรือนจั่วแฝดที่มีเรือนนอน 2 หลัง ขนาน กัน มีชานหรือโถงกั้นกลาง ซึ่งเปนลักษณะที่โดดเดนแตกตางจากเรือนทั่วไป ทั้งนี้ เรือนพอคงมีลักษณะผัง เรือนและขนาดพื้นที่ใชสอยใกลเคียงกับเรือนสามจั่วทั่วไป แตดวยความชาญฉลาดประกอบกับ ความคิด ริเริ่มสรางสรรคของชาง จึงลดจํานวนจั่วลงจากสามจั่วเปนจั่วแฝดที่มีขนาดเทากัน แตยังคงรักษารูปแบบ ผังพื้นเรือนไวใหใกลเคียงแบบเดิม คือ มี 3 ระดับ โดยขยายขนาดหลังคาจั่วแฝดใหครอบคลุมพืน้ ทีท่ งั้ หมด แลวกําหนดใหมีรางน้ําเพียงจุดเดียวบริเวณแนวกลางของโถง เพื่อบังคับทิศทางการไหลของน้ําฝนไปยัง ภาชนะรองรับสําหรับใชอุปโภคบริโภคในฤดูแลง เรือนพอคง ไดรับ การอนุรักษต ามหลักวิชาการดวยการเก็บ สํา รวจขอมูล เกี่ย วกับประวัติค วาม เปนมา ขนาดขององคประกอบตาง ๆ และรายละเอียดที่เกี่ยวของทั้งหมด กอนจะเขาสูขั้นตอนของการรือ้ ขนยาย และปรุงขึ้นใหมตามตําแหนงองคประกอบเดิมทั้งหมดได สวนที่ชํารุดและขาดหายจะทําขึ้นใหม และเติมใหครบทุกสวน ทําใหเรือนพอคงกลายเปนแหลงเรียนรูทางประวัติศาสตร สถาปตยกรรม และภูมิ ปญญาทองถิ่นของชาวโคราชในรูปแบบพิพิธภัณฑกลางแจงที่เปดกวางสําหรับบุคคลทั่วไปไดเขามาศึกษา หาความรู หรือพักผอนไดตามอัธยาศัย และที่สําคัญที่สุด คือ การมีบทบาทในการสรางความตระหนักรูถึง คุณคาความสําคัญของภูมิปญญาของบรรพบุรุษ และอัตลักษณข องคนโคราชซึ่งจะมาสูการอนุรักษเรือน โคราชหลังอื่น ๆ ตอไปในอนาคต จากความชํานาญของดร.ดุลยพิชัย โกมลวานิช ผูควบคุมการกอสราง ใชระยะเวลาเพียงประมาณ 7 เดื อนเท านั้ นก็ ส ามารถเคลื่อ นย า ยเรื อนจากอํ า เภอคงมาสร า งองคอ าคารในมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสีมาไดแลวเสร็จ และมอบสูการดูแลโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยมีสํานักศิล ปะและ วัฒนธรรมเปนหนวยงานในการดําเนินงานหลัก ตั้งแตวันที่ 17 ธันวาคม 2559 เปนตนมา โดยสํานักศิลปะ
และวัฒนธรรมไดรับความอนุเคราะหในการปรับปรุงสถานที่โดยรอบทั้งจากโครงการจัดตั้งกองงานสถานที่ งานโยธาและสถาปต ยกรรม รวมถึง คณะศิษย เกาที่ยั งคงใหค วามอนุเ คราะหเสมอมา และเพื่ อใหการ ดําเนิ นงานเป นไปอยางเป นรู ปธรรมในการสร างมู ลค าเพิ่ม และการสรางความภาคภู มิใจ จึง ได มีการ ดําเนินงานในอีก 3 ขั้นตอนหลัก คือ 1. การดําเนินงานรวมการสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ในการจัด เก็บขอมูลมรดกภูมิ ป ญ ญาทางวั ฒ นธรรม เรื อ นโคราช ในพื้ น ที่ 10 อํ า เภอของหวั ด นครราชสี ม า และนํ า เสนอต อ คณะกรรมการในระดับชาติ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2560 คณะกรรมการสงเสริมและรักษามรดกภูมิ ปญญาทางวัฒนธรรม ไดพิจารณาและเห็นชอบประกาศขึ้นบัญชีมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจําป 2561 โดยมีเ รือนโคราช เปนหนึ่งในจํานวน 18 รายการ ซึ่งการขึ้นบัญชีมรดกภูมิปญญาทาง วัฒนธรรมของชาติ จะเปนการประกาศหลั กฐานสําคั ญของชาติ นําไปสูการปกปอ งคุมครองมรดกภู มิ ปญญาทางวัฒนธรรมของทองถิ่นและของชาติ ไมใหถูกคุกคาม และสูญหาย ทั้งยังสงเสริมการมีสวนรวม ของชุมชนใหเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของแตละทองถิ่นโดยไดมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2561 2. รางวัลอนุรักษศิลปสถาปตยกรรมดีเดน ประจําป 2561 โดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรม ราชูปถัมป หรือ ASA (The Association of Siamese Architects) ประกาศผลเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2561 โดยเรือนโคราช เรือนพอคง มหาวิท ยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา คณะกรรมการมีความเห็นวาเปน เรือนทีส่ ามารถเก็บรายละเอียดทางสถาปตยกรรมทองถิ่นไดครบถวน มีองคกรที่ค อยจัดการดูแ ลใหเกิด การใชงานอยางตอเนื่อง โดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมป จะไดกําหนดวันในการเขารับ พระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในภายหลัง (ประมาณเดือน เมษายน 2562) 3. ป ง บประมาณ 2560 สํ า นั ก ศิ ล ปะและวัฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า ได ดําเนินการโครงการจัดการความรูจากทฤษฎีสูการปฏิบัติ โดยไดจัด การความรูใน หัวขอ “องคค วามรูที่ ซอนอยู ในเรื อนโคราช มหาวิท ยาลัย ราชภั ฏนครราชสี มา ” และไดเ ขา ร วมประกวดแนวปฏิบั ติที่ดี ใน มหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู ครั้งที่ 6 : NRRU Show & Share 2017 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 ณ เรือน โคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึ่งปรากฏวาสํานักศิลปะฯ ควาไป 2 รางวัล คือ 1) ชนะเลิศแนว ปฏิบัติที่ดีดานศิลปวัฒนธรรม และ ๒) รางวัลความคิดสรางสรรคในการจัดแสดงนิทรรศการ นอกจากนี้ยัง ไดอํานวยความสะดวกในดานสถานที่การจัดงานเพื่อกระตุนใหเกิดการประชาสัมพันธพื้นที่เรือนโคราชให เปนที่รูจักมากขึ้น สงเสริมใหเปนพื้นที่ที่ชาวราชภัฏ นครราชสีมาจะภาคภูมิใจในความสําเร็จในการสราง เรื อนโคราชด วยการบริ จาคของคณะศิ ษ ยเ ก าร วมกั บ การหนุ นเสริ มของสํ า นั กศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม นอกจากนี้กิจกรรมนี้ ยังเปนกิจกรรมตัวอยางที่กลุมงานหอวัฒนธรรมจะบันทึกผลการทํางานเพื่อใชในการ วางแผนบริหารจัดการเรือนโคราชเพื่อใหเกิดความยั่งยืนอยางมากที่สุด
การดําเนินงานในกาวตอไปของเรือนโคราช มหาวิทยาลัย ราชภัฏ นครราชสีมา มีการสรางมูลคา การดําเนินการสงเสริมดานองคความรูขยายผลสูชุมชนซึ่งจะผลักดันใหเกิดความความภาคภูมิใจ หวงแหน และร วมกั น อนุ รัก ษ เ รื อนโคราชหลั งอื่นๆ ในพื้น ที่จัง หวั ด นครราชสี มาซึ่ ง นับ วั นจะเหลือ น อยลงทุ กที นอกจากนี้จะทําการบอกตอเรื่องราวดีๆ คือ ความกตัญูของคณะศิษยเกาฯ ที่ไดสรางเรือนโคราชไวเปน อนุสรณและเพื่อเปนการตอบแทนบุญคุณของสถาบันการศึกษาอันเปนที่รักยิ่งของพวกเขา
(นายชุตินันท ทองคํา) หัวหนากลุมงานหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู สํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ประกาศกรมสงเสริมวัฒนธรรม เรื่อง การประกาศขึ้นบัญชีมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม พุทธศักราช 2561
เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง
หน้า ๓ ราชกิจจานุเบกษา
๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๑
ประกาศกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เรื่อง การขึ้นบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศั ย อํา นาจตามความในมาตรา ๑๘ (๕) และมาตรา ๒๒ แห่ งพระราชบั ญ ญั ติ ส่งเสริม และรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญ ญาทางวัฒ นธรรม เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๑ จึงประกาศขึ้นบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จํานวน ๑๘ รายการ ดังต่อไปนี้ ๑. ประเภท รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่ต้องได้รับการส่งเสริมและรักษาอย่างเร่งด่วน ๑.๑ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านศิลปะการแสดง ๑.๑.๑ สะไน ๑.๑.๒ วายังกูเละ ๑.๒ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล ๑.๒.๑ พิธีถวายข้าวพีชภาคฯ และบุญเสียค่าหัวข้าโอกาสพระธาตุพนม ๑.๒.๒ ประเพณีปอยส่างลอง ๑.๓ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ และจักรวาล ๑.๓.๑ ขนมฝรั่งกุฎีจีน ๑.๔ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านงานช่างฝีมือดั้งเดิม ๑.๔.๑ เรือนโคราช ๑.๔.๒ กลองเอกราช ๑.๔.๓ เรือก่าบาง ๒. ประเภท รายการตัวแทนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒.๑ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา ๒.๑.๑ นิทานพื้นบ้าน เรื่องท้าวแสนปม ๒.๑.๒ ตํารายาหลวงปู่ศุข ๒.๒ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านศิลปะการแสดง ๒.๒.๑ ลิเก ๒.๓ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านการปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล ๒.๓.๑ ประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ําโพ
เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง
หน้า ๔ ราชกิจจานุเบกษา
๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๑
๒.๓.๒ ประเพณีปักธงเมืองนครไทย ๒.๓.๓ ประเพณีถือศีลกินผัก ๒.๔ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ และจักรวาล ๒.๔.๑ ดินสอพองลพบุรี ๒.๔.๒ วัวเทียมเกวียน ๒.๕ ลั ก ษณะมรดกภู มิ ปั ญ ญาทางวัฒ นธรรมด้ านการเล่ น พื้ น บ้ าน กี ฬ าพื้ น บ้ าน และ ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ๒.๕.๑ การเล่นสะบ้า ๒.๕.๒ การแข่งเรือยาวขึ้นโขนชิงธง ประกาศ ณ วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ พิมพ์รวี วัฒนวรางกูร อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม
ประกาศผล การคัดเลือกรางวัลอนุรักษศิลปสถาปตยกรรมดีเดน
ประวัติพอคง และเรือนโคราช
ประวัตพิ อคง และเรือนโคราช
พอคง โชตินอก
แมพุม โชตินอก (ธีระโชติ)
ชาติกําเนิด พอคงเกิดที่บานหนองนา ตําบลพลสงคราม อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๒๐ สมรสกับแมพุม ซึ่งเปนคนบานเดียวกัน เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ มีบุตร ธิดา ๘ คน ดังนี้ ๑. นางหุน ๒. เด็กหญิงไมทราบชื่อ เสียชีวิตตั้งแตแรกเกิดขณะเดินทางยายถิ่นฐาน ๓. นายแกว ธีระโชติ สมรสกับนางสาย ๔. นายก่ํา สมรสกับนางบุญเลี้ยง ๕. นางหาน ไมปรากฏชื่อคูสมรส เนื่องจากไมมีการพูดถึงในทุกกรณี ๖. นางหงส (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน อึ่ง ) สมรสกับมหานอย ถนอมพล มีธิดา ๓ คน คือ
นางหงส (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน อึ่ง )
มหานอย ถนอมพล
๖.๑ นางกุหลาบ สมรสกับนายไพฑูรย ลิศนันท ๖.๒ นางพิกุล สมรสกับนายอั้น ศิริวัฒน มีบุตร ๓ คนคือ ๖.๒.๑ นายวิรพงศ ศิริวัฒน สมรสกับนางไฉไล มีบุตร ๒ คน ๖.๒.๒ นายอนันต ศิริวัฒน สมรสกับนางปาริชาติ มีบุตรธิดา ๒ คน ๖.๒.๓ นายอนนท ศิริวัฒน สมรสกับนางวัชรา มีบุตร ๑ คน ๖.๓ นางเฉลิมศรี สมรสกับ รศ.บัญชา กัลยารัตน มีบุตรธิดา ๒ คน ๗. นายเหมี่ยง เสียชีวิตเมื่ออายุ ๒๕ ป ดวยโรคไขกาฬ ๘. นายสัตวแพทยปลอด ธีระโชติ สมรสกับนางเติมใจ
การอพยพยายถิ่นฐาน พ.ศ.๒๔๔๕ พอคงพาครอบครัว คือเมียและลูกๆ ซึ่งลูกคนแรกชื่อหุนอายุประมาณ ๓ ขวบ และลูกคนที่ ๒ ที่เพิ่งเกิด พรอมดวยญาติมิตร เดินทางมาหาหลักแหลง การทํากินใหม โดยใชเกวียนเปนพาหนะ ระหวาง การเดินทางลูกที่เกิดใหมไดเสียชีวิตลง พ.ศ.๒๔๔๖ เดินทางมาถึง บานตะครอ (ปจ จุบันคือบานตะครอ ตําบลเมืองคง อําเภอคง จังหวัด นครราชสีมา) พบทําเลที่เหมาะแกการตั้งรกรากทํามาหากิน มีปาดงหลวงที่มีสัตวนานาชนิดและทําเลที่เหมาะ กับการทํานา จึงหยุดปกหลักสรางที่พัก หักรางถางพงทําไรทํานา พ.ศ.๒๔๔๗ ลูกคนที่ ๓ ชื่อ แกว เกิด พ.ศ.๒๔๔๘ ปรุงเรือนถาวรตามคติของชาติพันธุโ คราช โดยชางที่ปรุงชื่อ พิมพ เปนคนที่อพยพมา ดวยกันจากบานหนองนา ลูกๆอีก ๕ คน คือ ก่ํา หาน หงส(อึ่ง) เหมี่ยง และปลอด ไดเกิดที่บานหลังนี้ การปรุงเรือนจะเริ่มจากการไปคัดเลือกไมจากปาโคกหลวง ซึ่งเปนปาใหญตอเนื่องไปจนถึงจัตุรัส มีไม นานาพันธุและสัตวปานานาชนิด ชางปรุงเรือนจะคัดเลือกไมมงคลในปาตามคติของการสรางเรือน ทั้งชนิดของ ไม อายุไมขนาดและความสูงของไม ลักษณะไมไมคดงอ ไมมีตาไม เมื่อคัดเลือกไดตามตองการแลวจึงทําการตัด ที่สําคัญขณะโคนตองไมมีเสียงอัปมงคล เชน เสียงรอง เสียงโอดโอย ปาโคกหลวงอุดมสมบูรณมาก วันหนึ่งนางหานไปพบไขนกก็เก็บเอามาใหไกฟก ปรากฏวาไดลูกนกยูง นกยูงตัวนี้เฝาบานใหอยางดี เพราะจิกตีเกง พ.ศ.๒๔๖๗ นายแกวอายุ ๒๐ ปครบบวช ในพิธีบวชมีการแหนาคดวยชางหลายเชือก ซึ่งจางมาจาก บานกะฮาดและบานคาย จังหวัดชัยภูมิ ราคาตัวละ ๕-๖ บาท นาคและญาติจะขึ้นนั่งบนหลังชาง พรอมทั้ง มโหรีปพาทย โดยชางจะมาเทียบที่ชานบาน แลวนําแห จ ากบานตะครอ ไปยังหมูบานตางๆ ในละแวกนั้น ไดแกบานหวยเหนือ บานโนนตาล บานหมัน บานหนองมะนาว แลวกลับมายังบานตะครอ การแหนาคดวย ชางนี้ นอกจากประชาชนในหมูบานตางๆจะไดรวมอนุโมทนาบุญแลวยังไดเลนสนุกจากการเลนมาลอชาง คือคน ที่ขี่มาเกงๆจะขับมาใหเขาใกลชางมากที่สุดสามารถกระตุกเอาเสนขนหางชางติดมือมาไดจะไดรับรางวัล คนสวน ใหญจะเดินตามชาง หนุมสาวมีโอกาสไดใกลชิดกัน หลังจากบวชและสึกแลว นายแกวไดไปเปนทหารชาง ๒ ป เมื่อออกจากทหาร ก็มาทําธุรกิจคาขาวโดยใชรถไฟ ภายหลังตอมาไดเปนผูใหญบานและกํานันโดยลําดับ ช ว งก อ นมี พ ระราชบั ญ ญั ติ น ามสกุ ล ใช ผู ค นทั่ ว ไปจะตั้ ง สมญานามพ อ คงว า ตาคงเศรษฐี คู กั บ ตาหรี่นาราย พอคงเปนเศรษฐีเพราะความเปนชาวนา มีที่นามากจากการสรางนาดวยสองมือ เมื่อมีที่นามาก ทํานาก็ ไดขาวมาก ตัวชวยที่สําคัญคือควาย ชาวนาที่จะเปนเศรษฐีไดตองขยันมากๆ ความขยันของพอคงเปนที่เลาลือ เลากันวาแมฝนไมตกไถนาไมได พอจะพาลูกขุดดินเอาเมล็ดขาวเปลือกหยอดไว ฝนตกเมื่อไรก็งอกเมื่อนั้นพอ จะฝกลูกทุกคนทั้งลูกหญิงและลูกชายใหเปนคนขยัน แข็งแกรง ไดขาวลนยุง เวลาจะตักขาวในยุงตองตักทาง หนาจั่ว คุณสมบัติขอนีพ้ อคงไดมอบใหลูกโดยเฉพาะ นางหงส(หรือ อึ่ง) ซึ่งอาศัยอยูกับพอแมขณะที่พี่ๆ นองๆ แยกไปตั้งครอบครัว หลังจากทีพ่ อคงเสียชีวิตเมื่อพ.ศ. ๒๔๘๑นางอึ่งซึ่งครองตัวเปนโสดไดบุกบั่นทํานาไดขาวลน ยุงทุกป ไมใหใครดูถูกได จนเมื่อมีชายที่คูควรคือ มหานอย เปรียญธรรม ๔ ประโยค จากกรุงเทพฯคนบาน พลกรัง มาขอจึงแตงงานในปพ.ศ. ๒๔๘๔ ขณะอายุได ๒๙ ป
ยุงขาวของพอคงเปนยุงขนาดใหญ เสา ๑๒ ตน ถูกรื้อไปโดยลูกหลานรุนที่ ๔ พอคงเปนเศรษฐีแตไมเคยถูกโจรปลน โจรในสมัยกอนเมื่อจะปลนบานใดจะประกาศใหทราบลวงหนา พอคงเปนเศรษฐีชาวนาที่มีคุณธรรม ชวยทํานุบํารุงพระศาสนา ทอดกฐินผาปาไมขาด สรางกุฏิไมใต ถุนสูง ๒ ชั้น ถวายวัดตะครอ คนจีนที่เขามาทํามาหากินไดรับความชวยเหลือจากพอคง จึงใหความเคารพรัก นับถือพอคงมาก จนถึงชั้นลูกหลานก็ยังเคารพรักนับถือกันตอมาถึงปจจุบัน เมื่อมีการประกาศใชพระราชบัญญัตินามสกุลซึ่งเริ่มตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ พอคงและ ลูกๆไดนามสกุลวา โชตินอก เพราะขณะนั้น อยูในเขตการปกครองของอําเภอนอก ( บัวใหญ ) พ.ศ. ๒๔๘๓ กิ่ง คง ไดแยกการปกครองออกจากอําเภอบัวใหญ และพัฒนามาเปนอําเภอคงในปจจุบัน เนื่องจากนามสกุล โชตินอก มีคนมาขอใชรวมจํานวนมากทั้งๆที่ไมใชสายเลือดเดียวกันเพราะความ ศรัทธาและความเชื่อมั่นในพอคง ลูก ชายคนเล็ก ชื่อปลอด เมื่อเรียนจบสัตวแพทย ไดไปเปนสัตวแพทยที่จัง หวัดเลย จึง ขอเปลี่ยน นามสกุล เปน ธีระโชติ เมื่อพ.ศ.๒๔๘๘ ลูกหลานของพอคงทุกคนจึงเปลี่ยนตามเปนธีระโชติ วาระสุดทายของชีวิต พอ คงทํางานหนัก ตลอดชีวิตตั้ง แตวัยหนุม เพื่อลงหลักปก ฐานสรางบานแปลงนา ใหเปนมรดกแก ลูกหลานไดสืบทอดมาถึงปจจุบัน ไดลมปวยและเสียชีวิตที่บานหลังนี้เมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๑ ขณะ อายุได ๖๑ ป หลังจากพอคงเสียชีวิต แมพุมก็ตาเสียทั้งสองขางแตก็สามารถดํารงชีวิตอยูไดดวยความสุข เปน เสาหลักใหลูกหลาน โดยเฉพาะลูกของนางอึ่งที่กําพราพอเพราะมหานอยเสียชีวิต เมื่อพ.ศ. ๒๔๙๔ ขณะที่เฉลิม ศรี ลูกคนเล็กของนางอึ่งอายุเพียง ๓ ป แมพุมอยูกับลูกหลานมาจนถึงวัยชรา จึงลมปวยและเสียชีวิตเมื่อวัน อาทิตยที่ ๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๔ ที่บานหลังนี้ เชนกัน ขณะอายุได ๘๔ ป หางจากพอคง ๒๓ ป ปดฉากชีวิตของคูสราง ที่ผานรอนผานหนาว ผานสุขผานทุกข และโลกธรรมทั้งแปด ทิ้ง บานหลังนี้ไวเปนสมบัติของโลก ใหลูกหลานไดเรียนรูถึงจิตวิญญาณและภูมิปญญาในอดีต เปนภูมิปญญาอัน บริสุทธิ์ของชาวนาโคราช นับจากวันปรุงถึงวันนี้ บานหลังนี้อายุได ๑๑๑ ป
รุนที่ ๑ รุนที่ ๒ รุนที่ ๓ รุนที่ ๔
ผูอาศัยในบานหลังนี้ พอคง โชตินอก แมพุม ธีระโชติ(สกุลเดิม โชตินอก) และลูกๆ พอมหานอย แมอึ่ง ถนอมพล และลูกๆ นายอั้น นางพิกุล ศิริวัฒน และลูกๆ นายอนันต นางปาริชาติ ศิริวัฒน และลูกๆ
ผูใหขอมูล ๑. จ.สอ.บุญรอด พจนปริญญา อายุ ๘๗ ป อยูบานเลขที่ ๑๐๓/๑๔ บานเขาเสด็จ ต. หนองสาหราย อ.ปากชอง จ. นครราชสีมา สัมภาษณเมื่อ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๙ ๒. นางพิรุณ พจนปริญญา อายุ ๘๔ ป อยูบ านเลขที่ ๑๐๓/๑๔ บานเขาเสด็จ ต. หนองสาหราย อ. ปากชอง จ. นครราชสีมา สัมภาษณเมือ่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๙ ๓. นางเฉลิมศรี กัลยารัตน อายุ ๖๘ ป อยูบานเลขที่ ๑๔๓/๓๙ ถนนสุรนารายณ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา สัมภาษณเมื่อ ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ผูสัมภาษณ ผศ. นฤมล ปยวิทย อายุ ๖๙ ป อยูบานเลขที่ ๕๙๘ ม.๑ ต. บานเกาะ อ.เมือง จ.นครราชสีมา
ขั้นตอนการชะลอเรือน จากอําเภอคงสูมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ขัน้ ตอนการชะลอเรือน จากอําเภอคง จังหวัดนครราชสีมา สูมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ขอใชพื้นที่ – พิธีกรรม 1. สํา นั กศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได ดํ า เนิ นการขอใช พื้ น ที่ บ ริเ วณสวนฝง ตรงข า มกั บ ลานธรรม เฉลิ ม พระเกี ย รติ ที่ ซึ่ ง เคยเป น บ า นพั ก อาจารย ใ หญ ข องโรงเรี ย นฝ ก หั ด ครู มาตั้ ง แต ป พ.ศ. 2491 ซึ่ ง คณะกรรมการบริ ห ารของมหาวิ ท ยาลั ย ให ค วามเห็ น ชอบให พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ เ ป น แหล ง เรี ย นรู ดานศิลปวัฒนธรรม เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2559 สํานักศิลปะและวัฒนธรรม จึงดําเนินการบอกกลาวเทพ เทวดา เจาที่เจาทาง เพื่อขอใชพื้นที่นี้ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
2. การประชุมคณะทํางานในสวนของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดย ผศ.เรืองชัย บุญศักดิ์ รองอธิการบดีฝา ยบริหาร, ดร.อาภา สธนเสาวภาคย ผูชวยอธิการบดีฝายกายภาพและอาคาร, ผศ.นฤมล ปยวิทย อดีตผูอํานวยการสํา นัก พรอมดวยผศ.ดร.ณัฐกิตติ์ อินทรส วรรค ผู อํา นวยการสํานัก ศิล ปะและ วัฒนธรรม ประชุมเพื่อปรึกษาหารือในรายละเอียดของการกอสรางเรือนโคราช เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ณ หองประชุมสํานักศิลปะและวัฒนธรรม
หนาที่ 1
3. การประชุมคณะทํางานภาพรวมทุกฝาย เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2559 คณะทํางานจัดสรางเรือน โคราชทุ กฝาย อาทิ คณะศิษยเกา วิทยาลัยครู คณะผูบริห ารมหาวิทยาลัย คณะผู บ ริหารสํา นักศิ ล ปะและ วัฒนธรรม และ ดร. ดุลยพิชัย โกมลวานิช (ผูปรุงเรือน) ประชุมรวมกันเพื่อกํา หนดแนวทางการดํา เนินงาน แจงกําหนดการอยางคราวๆ พรอมกับการทําพิธีตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางเรือนโดยเนนพิธีตามแบบโคราช ที่ประชุมไดกําหนดใหมีการทําพิธีกรรมการสวดถอน ณ สถานที่กอสราง เพื่อความเปนสิริมงคล ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2559 และทําพิธีลงเสาเอกในวันที่ 2 มิถุนายน 2559 ในวันนี้ตัว แทนมหาวิทยาลัยฯ และผูปรุง เรือนรวมกันตีผัง ปกเขต เรือนที่จะสราง
หนาที่ 2
4. เพื่อความเปนสิริมงคลอยางยิ่ง หลวงพอพระครูอินทสรานุยุต (หลวงพอศรี อินทสโร) วัดสูงจอหอ ไดนําคณะสงฆ 5 รูปมาทําพิธีสวดถอนสิ่งอัปมงคล เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เวลา 14.39 น.
รื้อถอน – ขนยาย – ปรุงใหม วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เจาของกรรมสิทธิ์เรือน ทําบุญถวายภัตตาหารเพลพระสงฆ 5 รูป เพื่ออุ ทิศบุญกุศ ลแกบ รรพบุรุษ ตั้งแต พอคง แมพุม พอนอย แม อึ่ง ถนอมพล นายอั้ น นางพิกุล ศิ ริวัฒ น และคนอื่ นๆ และบอกกลาววาจะขอรื้อ เรือนเอาไปปรุ งใหมไ วที่มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมาให เปน แหลงเรียนรู
หนาที่ 3
ดร.ดุลยพิชัย โกมลวานิช ทําพิธีบอกกลา วเทพเทวดาผูคุมครองรักษาพื้นที่บริเวณนั้น ตลอดจน บรรพบุรุษวาจะขอรื้อเรือนนําไปปรุงใหม ขอใหทานปกปกรักษาคุมครอง การทํางานใหราบรื่น สําเร็จดวยดี
วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เริ่มรื้อถอน จัดหมวดหมู ทําเครื่องหมายไมทุกชิ้นวาตําแหนงเดิมอยูที่ ใด ขัดลาง ซอมแซมสวนของเรือนที่ชํารุด
ทําฐานราก ขนยาย และกอสราง ในขั้นตอนทําฐานราก และการปลูกสรางนี้ ไดรับการอนุเคราะหจากมหาวิทยาลัยฯ และสํานักศิลปะ และวั ฒ นธรรม หลายทา นรว มดูแ ล ประสานกั บ ช า งปรุ งเรือ นตลอดเวลาทุ กวั น และสนับ สนุ นวัส ดุ ข อง มหาวิทยาลัย เพื่อประหยัดเงิน อาทิ ดินถมที่และไมบางสวนเพื่อซอมเสริมสวนที่เรือนหลังเกาชํารุดผุพัง
หนาที่ 4
วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 รถแบคโฮขุดหลุมเพื่อเตรียมทําฐานราก
วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เทปูนเพื่อทําฐานราก
วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ขนยายไมมาที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559 งานฐานรากเพื่อเตรียมยกเสาเอก
หนาที่ 5
วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ทําพิธียกเสาเอก
หลังจากยกเสาเอกแลว ชางไดดําเนินการปรุงเรือนโดยลําดับดังนี้ วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ตัดแตงโคนเสาที่ผุ เพื่อเตรียมการตั้งเสา
หนาที่ 6
วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ตั้งเสาเรือนดานทิศตะวันตก
วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งฝาผนังและไมกระดานพื้นเรือนทิศตะวันตก
วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งฝาผนังและติดตั้งจั่วเรือนทิศตะวันตก
หนาที่ 7
วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ตั้งเสาเรือนทิศตะวันออก เสาดั้ง รอด และตง สํา หรับ ไมร องรับชาน ตรงกลางเรือน
วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ถมดิน และดันดินเขาบริเวณใตถุนเรือน
วันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งผนังและกระดานพื้นเรือนทิศตะวันออก
หนาที่ 8
วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งเสาดั้งเล็ก และไมพื้นชานกลาง
วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งจั่วเรือนดานตะวันออก พรอมเสาดั้งเล็กตรงกลาง
วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งเชิงชายหลังคา
หนาที่ 9
วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ตีไมระแนงหลังคา
วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ตั้งเสาเรือนครัว ติดตั้งตะเหลวดานหนาทางเขา
วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ตั้งเสาเรือนครัว และดึงใหตั้งตรง
หนาที่ 10
วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2559 ติดตั้งเสาบริเวณชานดานหนา และโครงหลังคาเรือนครัว
วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งระแนงโครงหลังคา
วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งไมระแนงหลังคา ไมตงพื้นครัว และเริ่มสวนพื้นชานดานหนา
หนาที่ 11
วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งไมระแนงหลังคาเรือนนอนทิศตะวันตก และไมระแนงหลังคาเรือนครัว
วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2559 – ติดตั้งไมระแนงหลังคาเรือนนอน และไมระแนงหลังคาเรือนครัว
วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559 – ติดตั้งพื้นเรือนครัว และเตรียมดึงเสาชานดานหนาใหตั้งตรง
หนาที่ 12
วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ติดตั้งพื้นชานดานหนา และขนกระเบื้องมุงหลังคาลงจากรถ
วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ขัดลางกระเบื้องหลังคา และเริ่มติดตั้งฝาเรือนครัว
วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 – เกลี่ยดินเขาใตถุนเรือน และลางกระเบื้องหลังคา
หนาที่ 13
วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ติดตั้งโครงหลังคาชานดานหนา และทาสีไมระแนงหลังคาเรือนทั้ง 2 หลัง
วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ทาสีระแนงหลังคาเรือนทั้ง 2 หลัง และระดมคนเพื่อมาเรงขัดลาง กระเบื้องหลังคา
วันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ทาสีไมระแนงหลังคาเรือนนอนทั้ง 2 หลัง
หนาที่ 14
วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ติดตั้งไมระแนงหลังคาชานดานหนา
วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ปรับระยะไมระแนงหลังคาหอนอนทิศตะวันตก เนื่องจากติดตั้งไมได ระยะที่เหมาะสม
วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ปรับระยะไมระแนงหลังคาใหม เนื่องจากติดตั้งไมไดระยะที่เหมาะสม
หนาที่ 15
วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 มุงกระเบื้องหลังคาเรือนทิศตะวันตก
วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เตรียมการเทพื้นปูน ติดตั้งระแนงหลังคาครัว เริ่มติดตั้งรางน้ําฝน
หนาที่ 16
วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เตรียมการเทพื้นปูน ติดตั้งรางน้ําฝน มุงกระเบื้องหลังคาเรือนทิศ ตะวันออก
วันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.2559 เตรียมการเทพื้นปูน
วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เตรียมการเทพื้นปูน และแตงสีใหมีสีแดง
หนาที่ 17
วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 มุงหลังคาครัว และตีฝาครัว (ดานในเรือน)
วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 แตงไมฝาโดยการขยับ อุด และขัด และมีการประชุมของคณะ ดําเนินงานในชวงบาย
หนาที่ 18
วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เตรียมทําหลบหลังคา โดยใชปูน
วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ทําหลบหลังคา และทําการรัดเสา
วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ติดตั้งหลบหลังคา และติดตั้งบันได
หนาที่ 19
วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ติดตั้งหลบหลังคา และมุงกระเบื้องหลังคาชานดานหนา
วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559 มุงกระเบื้องหลังคาชานดานหนา ติดตั้งตะเหลวบริเวณชาน ติดตั้งสวน เสริมจากชาน เติมทรายดานขางเรือน ติดตั้งรานน้ําตอจากครัว
วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ติดตั้งยอดจั่ว ติดตั้งฝาครัว อุดรูและรอยแตกของเสา และทาสีบริเวณ หนาจั่ว
หนาที่ 20
วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ตีไมปดชองแมว และแตงพื้นรานน้ําสวนตอจากครัวและทําราวจับ
วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ปลูกตนไมรอบเรือน
วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ติดตั้งระบบไฟฟา
หนาที่ 21
วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ติดตั้งระบบไฟฟา อุดรอยราวของเสา และชวงค่ําทดลองความสวยงาม ของไฟสองสวาง
วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ติดตั้งระบบไฟฟา ทาสีบริเวณราวของชานน้ํา และเก็บรายละเอียด
วัน ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2559 เตรี ยมพิ ธีส งมอบเรื อนจากช างผู ปรุ ง เรื อนสู ศิ ษย เกา และติดตั้ง ปายชื่อเรือน
หนาที่ 22
วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2559 พิธีสงมอบเรือนจากชางผูปรุงเรือนสูศิษยเกา
พระครูอินทรสรานุยุต (ศรี อินทสโร) นั่งอธิษฐานจิตเพื่อความเปนสิริมงคล
ดร.ดุลยพิชัย กลาวมอบเรือน
ดร.นิเชต กลาวรับมอบและสงมอบเรือนให มหาวิทยาลัย
รศ.ดร.วิเชียร ฝอยพิกุล อธิการบดีกลาวรับมอบ
สวนหนึ่งของผูรวมงาน
สวนหนึ่งของผูรวมงาน
ถายรูปรวมกันเปนที่ระลึก
ปายเรือนโคราช หนาที่ 23
วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 การทาน้ํามันสน
วันที่ 17 ธันวาคม 2560 พิธีขนึ่ เรือนใหม
และแลวเรือนโคราช : เรือนพอคงก็เสร็จสมบูรณ ดวยพลังของศิษยเกา โรงเรียนฝกหัดครู วิทยาลัยครู นครราชสีมา สถาบันราชภัฏนครราชสีมา และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา แสดงเอกลักษณและภูมิ ปญญาทางสถาปตยกรรมทองถิ่นของบานคง ซื่อตรง คงอยูตลอดไป
หนาที่ 24
การระดมทุนโดยคณะศิษยเกาฯ
เริ่มดําเนินการ ทานอาจารย ดร.นิเชต สุนทรพิทักษ ศิษยเกาโรงเรียนฝกหัดครูนครราชสีมา หลักสูตร ป.ป.รุนหนึ่ง ทา นเปนที่เคารพรักของศิษยเกาวิทยาลัยครูนครราชสีมา ทา นไดทราบเรื่องเรือนโคราชหลังนี้ จากผูชว ย ศาสตราจารยนฤมล ปยวิทย ศิษยเกา ป.กศ. รุน 9 อดีตผูอํานวยการศูนยศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ทานมีความสนใจจึงตัดสินใจเดินทางไปดูบานหลังนี้กับอาจารยสุมาลัย (ภรรยา) เมื่อได เห็นทานรูสึกตื่นเตน แปลกใจ ทั้งความเกาและรูปแบบที่แปลกไปจากบานทั่วๆ ไปที่เคยเห็น และคิดวา ถาได ชะลอไปตั้งในที่ๆ เดน และเหมาะสม ตกแตง ซอมแซมให สมบูร ณที่ สุดเทา ที่จ ะทํ าได ใหค นทั้ งหลายได เยี่ยมชม ภูมิปญญาทางสถาปตยกรรมที่ปรากฏใหเห็นก็จะเกิดประโยชน และมีคุณคากวางไกลยาวนาน ดังนั้น ทานอาจารยนิเชต สุนทรพิทักษกับ ผูชวยศาสตราจารยนฤมล ปยวิทย จึงติดตอสอบถามราคา บาน ทายที่สุด ผูมีกรรมสิทธิ์ บอกขายในราคา 1.2 ลานบาท ระดมทุน
ประชุมระดมทุน ที่บานอาจารยนิเชต – อาจารยสุมาลัย สุนทรพิทักษ (บานเฉลิมวัฒนา)
วันที่ 24 มกราคม 2559 ทา นอาจารยนิเชต สุนทรพิทัก ษ ได ติดตอนัดประชุม ปรึก ษาหารือกับ ตัวแทนศิษยเกาวิทยาลัยครูนครราชสีมา ที่จบ ป.กศ. รุน 1 – 15 ที“่ บานเฉลิมวัฒนา”โดยใหตัว แทน ป.กศ. รุน 5 และตัวแทน ป.กศ. รุน 8 เปนผูประสาน มีศิษยเกามาประชุม 10 รุน รวม 15 คน ศิษยเกา ที่รว มหารือ ตางก็เห็นดวยเปนเอกฉันท ที่จะซื้อบานหลังนี้ และชะลอมาไวที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หนาที่ 25
สํา หรับ คาใชจายในการดําเนินการนี้ มี มติร วมกันใหตัวแทนรุ นแตล ะรุนดํา เนินการรวบรวมเงิน บริจาคตามศรัทธาจากเพื่อนในรุน เพื่อเปนคาซื้อบาน คารื้อถอน ขนยาย และคาปลูกสราง เมื่อรวบรวมเงินได จํานวนหนึ่งแลว ใหนําสงบัญชี ใหชื่อบัญชีวา “โครงการเรือนโคราชของศิษยเกา ฝค.นม. และ วค.น.” มีทา น อาจารยสุมาลัย สุนทรพิทักษ นายวุฒิเดช ครจํานงค และนางบุบผา รุจิรวรรธน เปนผูรักษาบัญชี ในการระดมเงินครั้งนี้ ที่ประชุมขอใหทานอาจารยนิเชต สุนทรพิทักษ เขียนจดหมายถึงศิษยเกา ฝค. นม. และ วค.น. แลวใหตัวแทนแตละรุนเปนผูอัดสําเนาสงใหเพื่อนในรุน เมื่อรวบรวมเงินไดจํานวนหนึ่งใหสง เงินนั้นเขาบัญชีเปน งวดแรก ภายในเดือนพฤษภาคม 2559 ในการนี้ทานอาจารยนิเชต สุนทรพิทักษ บริจาค เพื่อเปดบัญชีเปนจํานวนเงิน 20,000 บาท และที่จะเวนไมกลา วถึงไมไดคือ ผูจุดประกายของความศรัทธา มุงมั่นที่จะชวยใหโครงการนี้สําเร็จลุลวงดวยดี คือ นายถนอม โชคคา ตัว แทนศิษยเการุน 7 ไดประกาศในที่ ประชุมวันนั้น ขอบริจาคเงินจํานวน 10,000 บาทและใหอาจารยไขมุกด (ภรรยา) บริจาคเปนจํานวน 10,000 บาท เปนประเดิมเปนตัวอยางที่สรางแรงบันดาลใจใหรุนอื่นๆ ไดทําตอมา ตัวแทนแตละรุนรับมติไปประชาสัมพันธไปยังเพื่อนรวมรุนดว ย กําลังใจ กําลังกาย กําลังสติปญญา และความทุมเท เอาใจใสอยางมาก รุนใดมีนัดพบปะสังสรรคในเวลาเร็ววัน ก็จ ะงา ยตอการระดมเงิน เชน ป.กศ. รุน 5 มีสังสรรครุน วันที่ 1 กุมภาพันธ 2559 ที่โรงแรมสีมาธานี มีเพื่อนไปรวม 30 คนเศษ เพื่อนๆ แจง ความประสงคบริจาคในวันนั้นไดเงินรวม 164,000 บาท และตอมานายสวัสดิ์ สายขุนทด ประธานรุนติดตอ เพื่อนตางจังหวัด ไดรับบริจาคเพิ่มเติมรวมเปนเงิน 250,000 บาท จึงนัดพบปะสังสรรคเพื่อนๆ และจัดงานรด น้ํา สงกรานต ทานอาจารยดร.นิเชต และทานอาจารยสุมาลัย พรอมกับมอบเงินจํา นวน 250,000 บาท ที่ หองอาหารในเรือนโรงแรมสีมาธานี เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2559 เปนยอดที่ 1 และประชุมตอไปอีก 2 ครั้ง รวม ไดเงินทั้งสิ้น 400,000 บาท
หนาที่ 26
ตัวแทนทุกรุน แมบางรุนไมไดเขาประชุมก็รับมติที่ประชุมตามที่ผูประสานงานโครงการฯ ไดติดตอ แจงใหทราบ ตางก็ประชาสัมพันธติดตอเพื่อนรวมรุนหลายวิธี เชน การสงจดหมายทางไปรษณีย ติดตอทาง โทรศัพท ตลอดทั้งทางสื่อออนไลน เกิดผูประสานงานกลุมยอย ผูประสานงานรุนแตล ะจังหวัด แตละอําเภอ แตละคนจายเงินสวนตัว เปนคาถายเอกสาร คาสงจดหมายและคาโทรศัพทติดตอเปนจํานวนมากก็ไมมีใครบน บางรุนก็ประสบความสําเร็จดวยดี บางรุนก็พบปญหาอุปสรรคมากบาง นอยบา ง แตไมเหลือบากวาแรงของ ตัวแทนรุนและตัวแทนกลุมยอย ในที่สุด ความหวังของคณะศิษยเกาก็เปนความจริง ทุกรุนสงเงินเขาบัญชี โครงการไดทันกําหนดยอดที่ 1 พอเพียงที่จะจายเปนคาบานงวดที่ 1 จํานวนเงิน 800,000 บาท (แปดแสน บาทถ วน) ในวัน ทํา สัญ ญาซื้อบานวันที่ 25 เมษายน 2559 ที่ หอ งอาหารชั้ น 2 โรงแรมสี มาธานี ในวั น เดี ยวกั นนั้น ทา นอาจารย ดร.นิเชต สุนทรพิ ทักษ ขออนุญ าตตอที่ ประชุ มจ า ง ดร.ดุ ล ย พิชั ย โกมลวานิช นักวิชาการอิสสระทางดานศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเปนผูที่มีผลงานการสรางเรือนไทยเปนที่ยอมรับมานาน ซึ่งที่ ประชุมเห็นชอบอยางเปนเอกฉันท วันที่ 1 พฤษภาคม 2559 ดร.ดุลยพิชัย โกมลวานิช ทําหนังสือเสนองบประมาณการชะลอ การยา ย และปลูกสรางเรือนโคราชเปนเงินทั้งสิ้น 1,500,000 บาท (หนึ่งลานหาแสนบาทถวน) กําหนดเวลารื้อถอน ขน ยาย ปลูกสราง เสร็จสิ้นภายในเวลา 3 เดือน โดยจะเริ่มรื้อถอนในวันที่ 7 พฤษภาคม 2559 รวมพลังแกปญหา หลังจากจายคาบา น งวดที่ 1 จํานวน 800,000 บาท จํา เปนตองจา ยคารื้อถอน ขนยา ย รวมทั้งคาบา นที่เหลืออีก 400,000 บาท แตเงินบริ จาคที่เหลือจากจายคา บานยอดที่ 1 ยังไมพอที่จ ะจา ย เนื่องจากเวลากระชั้นชิดมาก ระดมเงินยอดที่ 2 ไมทัน จึงเสนอขอยืมเงินจากศิษยเกา โดยไมมีดอกเบี้ย และ ให ชื่ อ เงิ น ยืม นี้ ว า “เงิ น ยื ม พร อ มเสี่ ย ง” คื อ มี เงิ น ก็ ใ ห คื น ถ า มี ไ ม พ อก็ ไ ม ต อ งคื น มี ผู ใ ห ยื ม 2 ท า นคื อ อาจารยบุญเริง แกวสะอาด ศิษยเกา ป.ป.รุน 1 ใหยืม 50,000 บาท ดร.นิเชต สุนทรพิทักษ ใหยืม 100,000 บาท และบริจาคเพิ่มอีก 30,000 บาท รวมเปนบริจาค จํานวน 50,000 บาท นายวุฒิเดช ครจํานงคบ ริจาคเพิ่มอีก 30,000 บาท รวมเปนเงินบริจาคทั้งสิ้ น 50,000 บาทนาย สมพงษ –นางบุ ป ผา รุ จิ ร วรรธน บริ จ าคเพิ่ ม อี ก 50,000 บาท รวมเป น บริ จ าค 90,000 บาท อาจารยนันทพร แสนประเสริฐ ป.กศ. รุน 11 จัดทําบุญอุทิศสวนกุศลใหสามี นําเงินชวยงาน จํานวน 64,800 บาท บริจาคเพิ่มในยอดของ ป.กศ. รุน 11 หนาที่ 27
ดวยเหตุนี้ ตัวแทนรุนตางๆ จึงตองรีบชวยระดมเงินบริจาคอีกครั้งดว ยกุศโลบายตา งๆ ดังปรากฎใน ขอเขียนบรรยายความรูสึกของตัวแทนรุน แมแตทานอาจารย ดร.นิเชต สุนทรพิทักษ เองก็ชวยโทรศัพทติดตอ ศิษยเกาที่ทานเคยสอนทุกรุน โดยเฉพาะ ป.กศ.รุน 3 ผูชวยศาสตราจารยนฤมล ปยวิทย ศิษยเกา ป.กศ. รุน 9 ในฐานะอดีตผูอํานวยการสํา นักศิล ปะและ วัฒนธรรมไดขออนุญาต ขยายการขอรับบริจ าคไปยั งศิษยเกา ตั้ง แต ป.กศ.รุน 16 เป นต นไปถึงศิษย เกา สถาบั นราชภัฏ ฯ และมหาวิ ท ยาลัย ราชภั ฏ ฯ โดยจั ดพิ มพ แ ผ น พั บ ประชาสั ม พั น ธ ใ ห ศิ ษ ย เ ก า ที่ ผู ช ว ย ศาสตราจารยนฤมล ปยวิทยเคยสอนบาง และลูกศิษยเพื่อนของทานและอาจารยทานอื่นอีกบาง เชน อาจารย ออยทิพย เกตุเอม เปนตน ซึ่งไดรับอนุญาต นางสาวกฤษณา สนิท ลูกศิษย ผศ.นฤมล ปยวิทย เมื่อทราบขา วก็แ สดงความจํานงบริจาคเปนเงิน 50,000 บาท และบอกบุญเพื่อนรวมรุนไดเงินมาอีกมาก เงินบริจาคจากมวลศิษยเกา รุนตางๆ จึงไหลเขา บัญชี “เรือนโคราช” ผานตัวแทนรุนเปนกอนใหญ บาง เปนรายบุคคลบาง มากบาง นอยบา ง ตามกํา ลังทรัพยแ ละกํา ลังศรัทธา พอเพียงที่จะจายเปนคาปลูก สรางไดทันเวลาอยางนาอัศจรรย ภายในเวลาไมถึง1 ป นับตั้งแตวันประชุมปรึกษาหารือ ครั้งที่ 1 “เรือนโคราช” ของพอคง ก็ถูกชะลอ มาตั้ ง ณ มหาวิท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี มา บริ เวณบ า นพั กอาจารย ใ หญ โรงเรี ยนฝ กหั ด ครู ซึ่ ง เป น ที่ ที่ เหมาะเจาะ ดูเดน เครงขรึม มั่นคง อยูทามกลางความรมรื่นของตนไมใหญ รายลอมดวยสวนหยอมที่สวยงาม ใหคนที่ผานไปมาไดชื่นชม กอใหเกิดความภาคภูมิใจประทับใจ อิ่มใจ ตอบรรดาศิษยเกาที่บริจาคดวยความรัก ความผูกพัน และความกตัญูตอสถาบันดังคํากลาวของทานสวิน อัครายุธ อดีตหัว หนา คณะผูพิพากษาศาล ฎีกา ศิษยเกา ป.ป.รุน 1 กลาววา “โรงเรียนฝกหัดครูนครราชสีมา เปนบุพการี เปนผูใหชีวิต เลือดเนื้อ และจิต วิญญาณ แกศิษยานุศิษย” การประชุม การดําเนินการโครงการ “เรือนโคราช” ดําเนินไปดวยสัญญาใจของศิษยเกาทั้งหลายที่รวมคิดรวมทํา กันดวยการประชุมตัวแทนศิษยเกาเพียงไมกี่ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2559 ประชุมที่ “บานเฉลิมวัฒนา” มีมติรับโครงการฯ เปนเอก ฉันท มีตัวแทนรุนเขาประชุม 10 รุน รวม 15 คน (รายละเอียดดังกลาวขางตน)
หนาที่ 28
ครั้งที่ 2 วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2559 ประชุมที่โรงแรมเฮอรมิเทจ มีตัวแทนเขาประชุม 11 รุน รวม 16 คนประชุมเพื่อรายงานผลการระดุมทุนของแตละรุน รายงานการแกปญหา อุปสรรค ที่เกิดขึ้น
ครั้ง ที่ 3 วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2559 ประชุ มที่ โรงแรมสี มาธานี ผู เข าประชุม 16 คน 10 รุน ที่ประชุมเห็นชอบเปนเอกฉันท ดังนี้ 1. อนุมัติจายคาบานยอดที่ 1 เปนเงิน 800,000 บาท (แปดแสนบาทถวน) 2. อนุมัติจาง ดร.ดุลยพิชัย โกมลวานิช นักวิชาการอิสระดานศิลปวัฒนธรรม เปนชางปรุงเรือน 3. มอบผูชวยศาสตราจารยนฤมล ปยวิทย รับผิดชอบทํา หนังสือที่ระลึกในวันมอบเรือนโคราชให มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
หนาที่ 29
ครั้งที่ 4 วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ประชุมหลังจากเสร็จพิธียกเสาเอก-เสาโท เพื่อประกอบเรือน โคราช ในการประชุมครั้งนี้ ตัวแทนรุนหลายรุนนําเงินมามอบใหเพิ่มเติม และในการประชุมมีขอสรุป คือ 1. ทุกรุนจะยังคงดําเนินการระดมเงินตอไปอีกจนกวาจะพอเพียงกับรายจาย 2. ดร.ดุลยพิชัย โกมลวานิชย บรรยายเรื่องการอนุรักษศิลปวัฒนธรรม 3. ทานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กลาวชื่นชมการดําเนินงานตามโครงการ และกลาววา สถานที่สรางเรือนโคราชเปนหัวใจของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ครั้ง ที่ 5 วัน ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประชุ มที่ ร า นอาหารบ า นแกว มี ผู เข า ประชุ ม 9 รุน รวม 14 คน การประชุมมีขอสรุปดังนี้ 1. สรุปผลการดําเนินงานแจงรายรับ-รายจาย 2. กําหนดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2559 เปนวันมอบเรือนโคราชใหสํานักศิลปะและวัฒนธรรม ดูแ ล ชั่วคราว โดยชางจะเขาตกแตง ซอมแซม ระยะที่ 2 ขั้นรายละเอียด เปนครั้งคราว 3. กําหนดวันสงมอบเรือนโคราชใหแกมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2559 4. พิจารณาสังเขปเนื้อหาในหนังสือที่ระลึก หนาที่ 30
ครั้งที่ 6 วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ประชุมตอทายวาระการประชุมจัดงานวันครูโลก ซึ่ง ป.กศ. รุน 7 เปนแมงาน ณ โรงแรมเฮอรมิเทจ มีตัวแทนรุน 15 รุน เขารวมประชุม สรุปไดดังนี้ 1. เห็น ชอบรูป แบบการจัด งานส งมอบเรื อนโคราชในวั นที่ 17 ธั น วาคม พ.ศ. 2559 ซึ่ง ผู ชว ย ศาสตราจารยนฤมล ปยวิ ทย เสนอเปนหลั กการคร า วๆ คื อ ส ง มอบเรื อ นโคราช ถวายภั ต ตาหารเพล พิธีขึ่นเรือนใหมและชวงเย็นมีการแสดงธรรมและจิตภาวนาถวายเปนพระราชกุศล ที่ประชุมเห็นชอบ 2. นําเสนอเสื้อเรือนโคราช และขอความรวมมือใหใสวันงานสงมอบเรือนโคราชเพื่อใหตัวแทนรุนชวย ประชาสัมพันธขาย ราคาตัวละ 300 บาท โดยจะนํา กํา ไรเปนคา จัดทําหนัง สือที่ร ะลึก ที่ป ระชุ มเห็นชอบ แตมีขอเสนอใหทําเปนเสื้อสีขาวดวย 12.5 การตรวจสภาพอาคารกอนอนุรักษ - การตรวจสภาพเรือนกอนรื้อยาย โดยทีมชางของ ดร.ดุลยพิชัย โกมลวานิช
หนาที่ 31
หนาที่ 32
13. แผนที่ และภาพถายของอาคาร Map and Photographs ภาพถายอาคารกอนการอนุรักษ
หนาที่ 33
หนาที่ 34
หนาที่ 35
ภาพถายอาคารระหวางการอนุรักษ
หนาที่ 36
หนาที่ 37
หนาที่ 38
หนาที่ 39
ภาพถายอาคารหลังการอนุรักษ
หนาที่ 40
ภาพถายสภาพแวดลอมโดยทั่วไปรอบอาคาร
อยูระหวางการปรับปรุงสวนบริเวณดานหนา โดยการปลูกเนนพันธุไมพื้นเมือง และตนไมที่เปนชื่อของอําเภอ และตนไมประจําจังหวัดนครราชสีมา
หนาที่ 41
ดานหลังเรือนพอคง
หนาที่ 42
การดําเนินงานของสํานักศิลปะและวัฒนธรรม หลังการรับมอบเรือนโคราชจากคณะศิษยเกาฯ
การดําเนินงานหลังจากรับมอบจากคณะศิษยเกาฯ การดํ า เนิ น งานหลั ง จากรั บ มอบจากคณะศิ ษ ย เ ก า ประกอบไปด ว ยกระบวนการซ อ มบํ า รุ ง การประชาสัมพันธ การสงเสริมการเรียนรู และการกระตุนการใชประโยชนพื้นที่ มีการดําเนินงาน ดังนี้ ระยะของการดําเนินงานสนับสนุนคณะศิษยเกาในการจัดสราง การจําหนายเสื้อเพื่อระดมทุน
สนับสนุนการจัดทําหนังสือ เรือนโคราช และศิษยเการะดมทุนจัดสรางเรือนโคราช
หนา ๑
สนับสนุนในดานอื่นๆ ตามการรองขอ
ระยะในระหวางพิธีกรรมการรับมอบ “พิธีขึ่นเรือนใหม” ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๐
หนา ๒
พิธีมอบเรือน และวัตถุประกอบเรือน เมื่อวันที่ ๑๖ ม.ค. ๒๕๖๐ คณะศิษยเกาโรงเรียนฝกหัดครู วิทยาลัยครู สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ไดมอบเงินที่ทางคณะศิษยเกาฯ ไดระดมทุนเพื่อจัดสรางเรือนโคราช ซึ่งคงเหลือ จํานวน ๔๒,๐๐๐ บาท มอบเพื่อนํามาจัดเตรียมเปนคาบํารุงรักษาเรือนโคราชในลําดับตอไป นอกจากนี้ยังไดมอบตูไมเพื่อ จัดแสดงประวัติการจัดสรางเรือน มูลคา ๑๐,๐๐๐ บาท ตนตะโกใหญ ๔ ตน และตนตะโกหนู ๒ ตน มูลคากวา ๒๐,๐๐๐ บาท ไฟสปอรตไลทประดับตกแตงเรือน จํานวน ๒ ชุด มูลคา ๑๑,๐๐๐ บาท โตะหมูบูชา ๑ ชุด รวมถึง ขาวของเครื่องใชที่เคยอยูในเรือน จํานวน ๒๖ ชิ้น ซึ่งสิ่งของทั้งหมดจะนําไปจัดแสดงไวบนเรือนโคราช เพื่อใหเปน แหลงเรียนรูทางภูมิปญญาของทองถิ่นชาวโคราชในหลายมิติ และเปนมรดกที่รุนพี่ไดสงมอบใหแกรุนนองตอไป
ประสานงานในการสรางโรงเก็บเกวียน
หนา ๓
การดําเนินการหลังการสงมอบจากคณะศิษยเกา คุณธมลภรณ เลาหวงษเพียรพุฒิ บริจาคเกวียนจํานวน ๒ เลม
ลางทําความสะอาดเกวียน
ทาสีเกวียน
หนา ๔
นําสายไฟรอยใสทอลงเดิน (จะมีการสรางโรงเกวียนทับแนวสายไฟเดิม)
ปลูกหญา โดยงบประมาณสํานักศิลปะและวัฒนธรรม จํานวน ๔๐,๐๐๐ บาท
ปรับแตงสวนบริเวณดานหนาปาย
ปรับแตงสวนบริเวณทางขึ้น
หนา ๕
จัดหาวัสดุจัดแสดงในหองครัว
ทาสีตัวอักษรในปาย
สํานักวิทยบริการฯ รวมบริจาคหนังสือไวบริการ ณ เรือนโคราช
ปรับแตงสีพื้นเรือนครัว เรือนนอนโท
หนา ๖
เรียงหินและทําแนวทางเดินใหม
ปลูกพิชพื้นเมือง
ศิษยเกา บริจาคตนตะโก จํานวน ๕ ตน
จัดหาอุปกรณประกอบนิทรรศการ
ทําความสะอาด
ซอมรอยรั่วของโอง
ปรับระดับพื้นใหเรียบขึ้น (นําแผนไมรองสวนโคง)
หนา ๗
ซอมรางกลาง (โดยงานอาคาร)
ถายภาพเปนวัตถุดิบในการประชาสัมพันธ
ตัดตนไมสูงบริเวณใกลเรือนโคราช
สํารวจหลังคาหาสาเหตุน้ําลนราง
สมาคมเพลงโคราช รวมบริจาคเพิ่มเติม
หนา ๘
ปลูกตนไมเพิ่มเติมในกิจกรรม Green University
กิจกรรมสงกรานต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
หนา ๙
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู กับ มหาวิทยาลัยเจมสคุก ประเทศออสเตรเลีย
ชมรมโคราชยิ้ม จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูศลิ ปวัฒนธรรมโคราช ณ เรือนโคราช
หนา ๑๐
งานประชาสัมพันธ ใชสถานที่เรือนโคราช ฝกปฏิบัติการถายภาพบุคคล
หลักสูตรสังคมศึกษา ใชสถานที่หนาเรือนจัดกิจกรรมเสวนาประวัติศาสตรนครราชสีมา
หนา ๑๑
- การปรับปรุงภูมิทัศนหนาเรือนโคราช ใชงบประมาณมหาวิทยาลัย (๒๕๖๑) จํานวน ๒๐๒,๔๕๐ บาท เริ่มดําเนินการในชวงตนเดือนตุลาคม ๒๕๖๐ โดยเปนการปรับปรุงลวงหนากอนทําสัญญา เพื่อใหทันการใชงาน NRRU Show & Share 2017 ประกอบดวยงานปรับพื้นที่ ลงหนาดิน ปูหญา วางทอระบายน้ําและบอพักน้ํา โดยตรวจรับไปเมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๑
กอนปรับปรุง
- ถายภาพเพื่อเปนตนทุน (Footage) ในการประชาสัมพันธ
ปรับเปลี่ยนฝาทอ
ทํารั้วบริเวณใกลเรือน
หนา ๑๒
- หลักสูตรนาฏศิลปไทย ขอใชเรือนโคราช จัดแสดง "นาฏการลีลาละครรํา เงาะปา ” ๒๔ พ.ย. ๒๕๖๐ โดยไดเสริมแรงดานการประชาสัมพันธดวยการเชิญสื่อมวลชนเพื่อนําเสนอขาว กระตุนใหเรือนโคราชเปนที่รู จัก มากขึ้นผานกิจกรรมที่จัดขึ้นบริเวณเรือนโคราช
- คณะกรรมการ Km มหาวิทยาลัย จัดงานมหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู NRRU Show and Share 2017
หนา ๑๓
บัณฑิตวิทยาลัยขอใชเรือนโคราช จัดเลี้ยงในงาน 8th GRC 2017 ๓ ธ.ค. ๒๕๖๐
พิธีม งคลสมรสแบบโคราช “เสนผี ” ผศ.ดร.นวลระวี จันทนลุน และคุณพชร กระตายทอง โดยได ดําเนินการจัดเก็บขอมูลพิธีกรรม อยูระหวางการเขียนใหเปนบทความทางวิชาการ
- ปกหมุดเพือ่ เพิม่ Location Google Map เดิ่นหนา เรือนโคราช
จัดหาของประดับในครัวเพิ่มเติม
หนา ๑๔
- จัดทําเอกสาร “เรือนพอคง เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา” ประกอบการพิจารณา รางวัลอนุรักษศิลปสถาปตยกรรมดีเดน นําเสนอตอสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรม โดยคณะกรรมการประเมิน ไดดําเนินถายภาพประกอบการประเมินในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ ราชูปถัมภ
- ปรับปรุงพื้นที่ลานขางเรือนทิศตะวันตก
หนา ๑๕
เรือนพอคง ปญญาสรางสรรคและอัจฉริยภาพของชางทองถิ่นโคราช โดย ผศ.ดร. การุณ ศุภมิตรโยธิน
1
เรื อนพ่ อคง: ปั ญญาสร้ างสรรค์ และอัจฉริยภาพของช่ างท้ องถิ่นโคราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ การุณย์ ศุภมิตรโยธิน1 สถาปั ตยกรรมพื น้ ถิ่นเป็ นสิ่งที่ สะท้ อนถึง เรื่ องราวทางประวัติศาสตร์ ทางด้ านเศรษฐกิ จ สังคม วิถีชีวิต วัฒนธรรมความเป็ นอยู่ และเทคโนโลยีการก่อสร้ างในอดีต อีกทังยั ้ งแสดงให้ เห็นถึง ภูมิปัญญาของเหล่าบรรพชนในแต่ละยุคแต่ละสมัย ที่ได้ สงั่ สม กลัน่ กรอง และพัฒนาจนก่อรูปเป็ น งานสถาปั ต ยกรรมอัน ทรงคุ ณ ค่ า “เรื อ นโคราช” เป็ นเรื อ นพั ก อาศัย พื น้ ถิ่ น ของชาวจัง หวัด นครราชสี ม า โดยเฉพาะกลุ่ ม คนไทยโคราช ซึ่ ง รู ป แบบของเรื อ นนั น้ ได้ รั บ การปรั บ เปลี่ ย น องค์ ป ระกอบและรายละเอี ย ดบางอย่ า งจากเรื อ นไทยภาคกลาง เพื่ อ ให้ สอดคล้ องกั บ สภาพแวดล้ อม ภูมิ ป ระเทศ ภูมิ อากาศ และสภาพสัง คมวัฒ นธรรมของท้ องถิ่ น การคลี่ คลาย รู ป แบบนี ก้ ่อให้ เกิ ด ลักษณะเฉพาะตัวที่ เป็ น อัตลักษณ์ ขึน้ มา โดยทั่วไป เรื อนโคราชส่วนใหญ่ มี ลักษณะเป็ นเรื อนไม้ ยกพื ้นสูง ใต้ ถนุ โล่ง หลังคาทรงจัว่ ที่มีความลาดชัน ก่อสร้ างด้ วยระบบสาเร็ จรูป ตัวเรื อนแบ่งพื ้นที่ ใช้ สอยเป็ น 4 ส่วน คือ เรื อนนอน (นิยมสร้ างเป็ น 3 ห้ อง หรื อ 3 ช่วงเสา) ระเบียง (มี หลังคาคลุม ) นอกชาน และครัว ทัง้ นี ้ รู ป แบบสถาปั ตยกรรมของเรื อนโคราชมี ความสัม พัน ธ์ สอดคล้ องกับวิถีชีวิตสังคมเกษตรกรรมและสภาพแวดล้ อมท้ องถิ่นอย่างแท้ จริง (ภาพที่ 1) นับตังแต่ ้ เรื อนโคราชถูกก่อรูปขึ ้นมาจนได้ รับความนิยมในการปลูกสร้ างเป็ นที่อยู่อาศัยของ ชาวจังหวัดนครราชสีมามาอย่างต่อเนื่องยาวนาน โดยผ่านกาลเวลาแต่ละยุคสมัย ประกอบกับเหตุ ปั จจัยความเจริ ญทางด้ านเศรษฐกิจ สังคม และการแลกรับวัฒนธรรม จึงก่อกาเนิดพัฒนาการทัง้ ทางด้ านรู ป แบบ วัส ดุ และเทคนิ ค การก่ อ สร้ าง สิ่ ง เหล่ า นี ล้ ้ วนส่ ง ผลให้ เรื อ นโคราชมี ค วาม หลากหลายและแตกต่างกัน ไปตามแต่ละท้ องที่ ดัง จะเห็ นได้ จ าก “เรื อนพ่อคง” ซึ่ง ปั จ จุบันถูก เคลื่อนย้ ายมาจัดแสดงเป็ นพิพิธภัณฑ์ พื ้นบ้ านภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา เป็ นเรื อน ตัวอย่างที่สะท้ อนให้ เห็นถึงความอัจฉริ ยภาพของช่างท้ องถิ่น ในการบูรณาการองค์ความรู้ มีความ เข้ าใจสัจ จะของวัส ดุ มี ความเชี่ ยวชาญทัง้ ระบบโครงสร้ าง การเข้ าไม้ การประยุกต์เทคโนโลยี สมัยใหม่ในยุคนัน้ เข้ ามาผสมผสานเป็ นองค์อาคารได้ อย่างลงตัว อีกทัง้ ยังมีความกล้ า คิดนอก กรอบ โดยปรั บ เปลี่ ยนรู ป แบบและรู ป ทรงสถาปั ต ยกรรม ให้ ห ลุด จากแบบแผนจารี ต เดิม เพื่ อ ตอบสนองการใช้ งาน การแก้ ปัญ หาและสร้ างประโยชน์ได้ อย่างเหมาะสม ผนวกกับ ความชาญ
1
อาจารย์ประจาโปรแกรมวิชาสถาปั ตยกรรม คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
2
ฉลาดในการแปรรูปไม้ ความประณีตในการก่อสร้ าง สิ่งเหล่านี ้ส่งผลให้ เรื อนโคราชหลังนี ้ สามารถ ดารงอยูม่ าได้ จนถึงปัจจุบนั ซึง่ ผ่านกาลเวลามาเนิ่นนานนับ 111 ปี ด้ วยลักษณะพิเศษดังกล่าว จึงนับได้ ว่าเรื อนพ่อคง “เป็ นเรื อนครู ” ที่แสดงให้ เห็นถึง ปั ญญาสร้ างสรรค์และอัจฉริยภาพของบรรพบุรุษคนไทยโคราชในการปลูกสร้ างเรื อน ซึง่ ควรค่าแก่ การบัน ทึ ก ไว้ เป็ นลายลัก ษณ์ อัก ษร เพื่ อ ให้ ลู ก หลานชาวไทยได้ ศึก ษาสื บ ไป ดัง จะกล่ า วถึ ง ภูมิ ปั ญ ญาทัง้ 3 ด้ าน ได้ แก่ การวางผัง เรื อน การบูรณาการรู ป แบบสถาปั ตยกรรม และระบบ โครงสร้ าง ดังรายละเอียดต่อไปนี ้ 1. ปั ญ ญาสร้ า งสรรค์ ในการวางผั งเรื อน เรื อนพ่อคง เดิม ตังอยู ้ ่บริ เวณใจกลาง หมู่บ้านตะคร้ อ อาเภอคง จังหวัดนครราชสีมา โดยวางตัวเรื อนตามตะวัน หรื อหันด้ านจัว่ ไปทางทิศ ตะวันออกและทิศตะวันตก ซึ่งเป็ นการวางตาแหน่งทิศทางที่สอดรับกับสภาพแวดล้ อมของท้ องถิ่น การวางเรื อนลักษณะนี ้จะทาให้ พื ้นที่ด้านยาวของตัวเรื อนไม่รับแดดตลอดทังวั ้ นและสามารถรับลม ประจาฤดูกาลได้ ดี แสดงให้ เห็นถึงความเข้ าใจถึงวิถีธรรมชาติที่ตนอาศัยอยู่ อี ก ทัง้ การวางผัง เรื อ นหลังนี ม้ ี ลัก ษณะพิ เศษที่ แตกต่างจากเรื อ นโคราชทั่วไป กล่าวคือ การสร้ างเป็ นเรื อนแฝดที่มีเรื อนนอน 2 หลังวางขนานกัน คัน่ กลางด้ วยโถงขนาดกว้ าง มี การกันฝาเรื ้ อนนอนเพียงสองช่วงเสา ตังแต่ ้ ช่วงเสาที่สองถึงช่วงเสาที่สาม ส่วนช่วงเสาแรกเปิ ดโล่ง ด้ า นข้ า งหนึ่ ง ด้ า น เพื่ อ เชื่ อ มต่ อ กับ โถงกลาง ซึ่ ง พื น้ ที่ ส่ ว นนี ใ้ ช้ ส าหรั บ นั่ง พัก ผ่ อ นหรื อ รั บ แขก โดยทั่วไปคนไทยโคราชส่วนใหญ่มักจะสร้ างเรื อนเดี่ยวที่ประกอบไปด้ วยเรื อนนอน ระเบียง นอก ชาน และครัว ในช่วงต้ นของการสร้ างครอบครัวใหม่ ต่อมาเมื่อมีจานวนสมาชิกในครอบครัวเพิ่มขึ ้น ประกอบกับมีฐานะความเป็ นอยู่ที่มนั่ คงขึ ้น หรื อมีการเปลี่ยนจากครอบครัวเดี่ยวมาเป็ นครอบครัว ขยาย จึงต่อเติมเพิ่มพื ้นที่ใช้ สอยให้ เพียงพอต่อการใช้ งาน จากเรื อนเดี่ยวเป็ นเรื อนแฝด เรื อนสาม จัว่ หรื อต่อเติมออกไปในลักษณะอื่น แต่สาหรับเรื อนพ่อคงหลังนี ้ถูกสร้ างเป็ นเรื อนแฝดขนาดใหญ่ ซึ่งมี เรื อนนอนขนานกันสองหลังขึน้ มาพร้ อมกัน มี พื น้ ที่ โถงกลางและชานด้ านหน้ าที่กว้ าง เพื่ อ รองรับการใช้ งานของสมาชิกในครอบครัวขนาดใหญ่ นัน่ แสดงให้ เห็นถึงฐานะและความมัง่ คัง่ ทัง้ ทางทรัพ ย์สิ นและบริ วารของเจ้ าของเรื อน เพราะการที่จ ะสร้ างเรื อนขนาดใหญ่ ได้ นัน้ จะต้ องใช้ กาลังคนเป็ นจานวนมากในการหาไม้ แปรรูป และปรุงขึ ้นมาเป็ นเรื อน นอกจากนัน้ เรื อนหลังนี ้มีการแบ่งเขตพื ้นที่ใช้ สอยอย่างเป็ นสัดส่วนตามลาดับ การ เข้ าถึงและระดับความต้ องการความเป็ นส่วนตัว ดังจะเห็นได้ จากการวางตาแหน่งชานทางขึ ้นเรื อน ไว้ ด้านหน้ าสุด ซึ่งเป็ นส่วนสาธารณะที่มีระดับพื ้นต่าที่สุด เพื่อเชื่อมต่อระหว่างพื ้นที่ภายนอกและ พื ้นที่บนเรื อน จากชานด้ านหน้ าเชื่อมต่อไปยังโถงกลางขนาดกว้ าง ซึ่งเป็ นพื ้นที่เอนกประสงค์และ
3
ทางสัญจรไปยังส่วนต่างๆ โดยเฉพาะการเชื่อมต่อกับห้ องโถงของเรื อนนอนทังสองฝั ้ ่ ง ซึ่งเป็ นพื น้ ที่ กึ่งสาธารณะที่ ยกระดับพื ้นสูงขึ ้นไปอีกประมาณ 40 ซม. ส่วนห้ องนอนทังสองฝั ้ ่ งนันจะกั ้ น้ ด้ วยฝา รอบด้ าน มี ประตูทางเข้ าบริ เวณหลังสุดเพื่อความเป็ นส่วนตัว สาหรับครัวเป็ นเรื อนขวางอยู่ด้าน หลังสุด มีขนาดความยาวสองห้ องที่มีระบบโครงสร้ างขนาดใหญ่ และมีความประณีตมากกว่าเรื อน ครัวทัว่ ไป (ภาพที่ 2 และ 3) 2. การบู รณาการรู ปแบบสถาปั ตยกรรม เรื อนพ่อคงหลังนี เ้ ป็ นเรื อนที่มีลักษณะ เด่น ทางด้ า นรู ป แบบสถาปั ต ยกรรมหลายประการ ที่ แ สดงให้ เห็ น ถึ ง อัจ ฉริ ย ภาพของช่า งที่ ไ ด้ บูรณาการรู ปแบบขึน้ มาใหม่ โดยอาศัยรากฐานจากความชานาญทางด้ านฝี มือช่าง การเข้ าใจ ธรรมชาติของวัสดุ กฎการรับแรงและการถ่ายน ้าหนัก ผนวกกับความคิดริ เริ่มสร้ างสรรค์ และความ กล้ าที่ จ ะคิ ด นอกกรอบ หรื อ ฉี ก จากแบบแผนจารี ต ดั ง้ เดิ ม เพื่ อ สนองประโยชน์ ใ ช้ สอย ดังรายละเอียดต่อไปนี ้ 2.1 รู ปแบบเรื อนแฝดที่บูรณาการขึน้ มาใหม่ การสร้ างเรื อนจัว่ แฝดที่มีเรื อนนอน 2 หลัง ขนานกัน มีชานหรื อโถงกันกลาง ้ ซึง่ เป็ นลักษณะที่โดดเด่นแตกต่างจากเรื อนทัว่ ไป โดยปกติ แล้ วรู ปแบบเรื อนโคราชที่นิยมสร้ างสาหรับครอบครัวขนาดใหญ่ (ซึ่งสร้ างขึ ้นมาพร้ อมกันในคราว เดียว) ได้ แก่ เรื อนแฝดอันประกอบไปด้ วยเรื อนนอนเพียงหลังเดียว อีกหลังหนึ่งเป็ นโถงโล่ง (ภาพที่ 4) อีกรูปแบบหนึ่ง คือ เรื อนสามจัว่ ที่มีเรื อนนอนหนึ่งหลัง เรื อนจัว่ ที่ 2 เป็ นโถงโล่งที่มีระดับพื ้นต่า กว่าเรื อนนอน ส่วนเรื อนจัว่ ที่ 3 อาจจะเป็ นโถงโล่ง (เรี ยกกันว่าหอนัง่ ) หรื อ กันฝาเป็ ้ นเรื อนนอนอีก หลังหนึง่ ที่มีระดับความสูงของพื ้นเท่ากับเรื อนนอนหลังแรก (ภาพที่ 5) ทัง้ นี ้ เรื อนพ่อคงมีลักษณะผังเรื อนและขนาดพืน้ ที่ ใช้ สอยใกล้ เคียงกับเรื อนสามจั่ว ทัว่ ไป แต่ด้วยความชาญฉลาดประกอบกับความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์ของช่างดังกล่าวมาแล้ วข้ างต้ น จึงลดจานวนจัว่ ลงจากสามจัว่ เป็ นจัว่ แฝดที่มีขนาดเท่ากัน แต่ยงั คงรักษารูปแบบผังพื ้นเรื อนไว้ ให้ ใกล้ เคียงแบบเดิม คือ มี 3 ระดับ โดยขยายขนาดหลังคาจั่วแฝดให้ ครอบคลุมพืน้ ที่ทงั ้ หมด แล้ ว กาหนดให้ มีรางน ้าเพียงจุดเดียวบริเวณแนวกลางของโถง เพื่อบังคับทิศทางการไหลของน ้าฝนไปยัง ภาชนะรองรับ สาหรับใช้ อุปโภคบริ โภคในฤดูแล้ ง ซึ่งนอกจากจะได้ ประโยชน์ จากการใช้ นา้ แล้ ว ยังเป็ นการแก้ ปัญหาการรั่วซึมของน ้าบริ เวณแนวรอยต่อระหว่างจัว่ อีกด้ วย (หากเป็ นเรื อนสามจัว่ ทัว่ ไปจะมีแนวรางน ้าสองแนวบริ เวณรอยต่อระหว่างจัว่ ซึ่งโดยมากจะเป็ นแนวที่ขนานฝาเรื อนฝั่ ง ประตูเข้ าเรื อนนอน)
4
การสร้ างหลังคาจัว่ แฝดให้ ครอบคลุมผังเรื อนทัง้ 3 ช่วงในลักษณะนี ้ ทาให้ ต้องสร้ าง หลัง คาเรื อ นขนาดใหญ่ ส่ ง ผลให้ มี แ ผงหน้ า จั่ว ที่ ใหญ่ แ ละสูง กว่า เรื อ นปกติ ดัง นัน้ ช่า งจึง ได้ ปรับเปลี่ยนโครงสร้ างของเรื อนตังแต่ ้ เสาช่วงกลางเรื อน ไปจนถึงช่วงเครื่ องบนหรื อโครงหลังคาทัง้ ระบบ โดยให้ สอดรับกันทังสองฝั ้ ่ ง เมื่อหน้ าจัว่ มีความยาวมากขึ ้นหรื อมีส่วนฐานสามเหลี่ยมที่กว้ าง ขึ ้น ช่างจึงเพิ่มขนาดความยาวของขื่อให้ ยื่นเลยออกมาจากระยะช่วงเสาด้ านสกัดของเรื อนนอนทั ง้ สองฝั่ งประมาณ 1.3 เมตร โดยเลื่ อนตาแหน่งเสาดัง้ มาตัง้ บริ เวณความยาวประมาณ 2/3 ของ ความยาวรอดด้ านสกัด (ปกติเสาดังจะตั ้ งอยู ้ ่กึ่งกลางรอด) เพื่อให้ ใบดังสามารถสอดทะลุ ้ ขื่อขึ ้นไป รับอกไก่ที่เลื่อนตาแหน่งตามแผงจัว่ เช่นกัน ส่วนปลายขื่ออีกด้ านหนึ่งที่ยื่นเลยออกมานอกแนวเสา บริ เวณโถงกลางนัน้ จะวางสวมอยู่บนหัวเทียนของเสาตุ๊กตา ซึ่งวางบนขื่อคัดที่สอดระหว่างเสา ด้ านในของเรื อนนอนทัง้ สองฝั่ งอีกทีหนึ่ง ทังนี ้ ้ ช่างได้ ปรับเปลี่ยนโครงสร้ างดังกล่าวกับหลังคาจัว่ แฝดทังสองหลั ้ งแบบสมมาตรกัน โดยวางรางน ้าขนาดใหญ่บริเวณรอยต่อของจัว่ แฝด นับได้ ว่าเป็ น การบูรณาการรูปแบบขึ ้นมาใหม่เพื่อตอบสนองการใช้ งานและแก้ ปัญหาได้ อย่างเหมาะสมลงตัว (ภาพที่ 6) 2.2 การปรุ งฝาเรื อนที่สะท้ อนถึงสมัยนิยม ลักษณะเด่นที่แสดงถึงการบูรณาการ รู ปแบบของเรื อนหลังนี อ้ ี กประการหนึ่ง คือ รู ปแบบของฝาเรื อนนอนทัง้ สองหลังที่ แตกต่างกั น สะท้ อนให้ เห็นถึงการผสมผสานรูปแบบตามสมัยนิยม ทังนี ้ ้ ฝาเรื อนนอนทังหมดก่ ้ อสร้ างด้ วยระบบ สาเร็ จรู ปโดยการประกอบไม้ เข้ าเป็ นแผงฝา แล้ วยกวางบนพรึ ง แนบกับเสาเรื อน จากนันจึ ้ งล็อค ด้ วยเต้ าโดยรอบทุกด้ าน และตอกตะปูขนาด 6 นิว้ ยึดทุกมุมของแผงฝา (ภาพที่ 7) รายละเอียด ของฝาเรื อนทังสองฝั ้ ่งมีดงั นี ้ 2.2.1 ฝาเข้ าลิน้ ไม้ ซ้อนเกล็ดแนวนอน (ฝาเรื อนนอนฝั่ งซ้ าย-ถ้ ามองจากชาน ด้ านหน้ า) มีลกั ษณะการเข้ าไม้ ตามรูปแบบอัตลักษณ์ ดงเดิ ั ้ มของฝาเรื อนโคราช ที่มีการคลี่คลาย แบบแผนและการเข้ าไม้ มาจากเรื อนไทยภาคกลาง โดยไม่มีการยึดหรื อตอกด้ วยตะปู แต่จะนาแผ่น ไม้ แต่ละแผ่นมาประสานกันด้ วยวิธีการเข้ ารางลิ ้น สอดสลักเดือย โดยประกอบเป็ นแผงฝา ซึง่ แต่ละ แผงมีขนาดเท่ากับหนึง่ ห้ องหรื อหนึง่ ช่วงเสา (ภาพที่ 8) ส่วนประกอบของฝาแต่ละแผงมีดงั นี ้ 1) ลูกตัง้ เป็ นไม้ ท่อนยาวขนาด 7x4 เซนติเมตร ซึ่งมีการเซาะร่องด้ านข้ าง ซ้ ายและขวาเพื่อสอดลูกนอนและไม้ กรุฝาลงไป บริเวณปลายด้ านบนและล่างของลูกตังแต่ ้ ละตัวจะ บากไม้ เป็ นบ่า เพื่อสอดเข้ าไปในร่ องของกรอบฝาแล้ วเข้ าเดือยแบบใส่สลัก ไม้ เพื่อล็อคไว้ ให้ แน่น ลูกตังท ้ าหน้ าที่เป็ นรางสาหรับสอดไม้ กรุฝาลงไป โดยวางเป็ นระยะห่างเท่าๆกัน
5
2) ลู ก นอน เป็ นไม้ ท่ อ นขนาด 7x4 เซนติ เ มตร มี ค วามยาวเท่ า กั บ ระยะห่างระหว่างลูกตังหรื ้ อเท่ากับความยาวของไม้ กรุฝา ซึ่งขอบด้ านบนและด้ านล่างจะเซาะร่อง ไว้ สาหรับสอดไม้ กรุฝาและลูกฟั ก ส่วนด้ านซ้ ายและขวาจะบากไม้ เป็ นบ่ายื่นออกไปเพื่อสอดเข้ ากับ ร่องของลูกตัง้ ลูกนอนทาหน้ าที่เป็ นตัวกันระหว่ ้ างฝาช่วงบนกับฝาช่วงล่าง 3) ไม้ กรุฝา เป็ นแผ่นไม้ บาง ซึ่งมีการเซาะเป็ นร่องตามแนวนอน บริ เวณ ด้ านหน้ าหรื อด้ านที่หันออกนอกเรื อน ทาเลียนแบบการตีฝาไม้ ซ้อนเกล็ด แล้ วแต่งลวดบัวปลาย เกล็ดเพื่อกันน ้าฝนไหลย้ อนเข้ าในเรื อน ส่วนด้ านข้ างซ้ ายและขวาจะบากไม้ เป็ นบ่ายื่นออกไปเพื่อ สอดลงในร่องของลูกตัง้ ด้ านบนและด้ านล่างจะบากไม้ รับกับฝากรุไม้ แผ่นอื่น หรื อบากเป็ นบ่ายื่น เพื่อสอดเข้ าไปในร่องของลูกนอน ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั ตาแหน่งการวางของไม้ กรุฝา (ภาพที่ 9) 4) ลูกฟั ก เป็ นแผ่นไม้ รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ าที่ อยู่ส่วนล่างสุดของแผงฝา เรี ยกบริ เวณนีว้ ่า “ล่องตีนช้ าง” ซึ่งมีการเจียดขอบทัง้ สี่ด้านให้ บางลงและทาให้ ส่วนตรงกลางนูน ขึ ้นมาเป็ นรู ปสี่เหลี่ยม การเจียดขอบให้ บางลงมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะสอดแผ่นลูกฟั กเข้ ากับร่ อง ของกรอบฝา ลูกตัง้ และลูกนอน ทังนี ้ ้ การตกแต่งลูกฟั กบริ เวณช่วงล่างนี ้จะช่วยเสริ มความแข็งแรง ทนทานให้ กบั ฝา เนื่องจากเป็ นบริเวณที่ต้องสัมผัสแดดและฝนมากกว่าจุดอื่น 5) กรอบฝา เป็ นท่อนไม้ ที่อยู่รอบนอกทังสี ้ ่ด้าน ซึ่งทาหน้ าที่ปิดหรื อล็อค ส่วนประกอบของแผงฝาทังหมดเข้ ้ าด้ วยกัน บริเวณขอบด้ านในของกรอบฝาแต่ละท่อนจะเซาะร่อง ไว้ สาหรับสอดเดือยของลูกตัง้ ลูกนอน ฝากรุไม้ หรื อลูกฟั ก มุมทังสี ้ ่ของกรอบฝานี ้จะเข้ าเดือยแบบ ปากกบแล้ วเจาะรูสอดสลักไม้ เข้ าไปเพื่อเพิ่มความแข็งแรง (ภาพที่ 10) ส าหรับ แผงฝาที่ มี การเจาะประตูห รื อหน้ าต่างนัน้ มี วิธี การปรุ งฝาใน ลักษณะเดียวกัน เพียงแต่เพิ่มกรอบวงกบประตูหรื อหน้ าต่างเข้ า ไป ส่วนการประกอบบานประตู หรื อบานหน้ าต่างจะใช้ วิธีการเข้ าไม้ เหมือนกัน จากนันจึ ้ งยกตัวบานไปยึดติดกับวงกบด้ วยบานพับ เหล็ก ซึง่ เป็ นวัสดุใหม่ที่ได้ รับความนิยมในช่วงเวลานัน้ (ภาพที่ 11) 2.2.2 ฝาไม้ กระดานตีแนวนอนมีเกล็ดช่ องลม (ฝาเรื อนนอนฝั่ งขวา-ถ้ ามองจาก ชานด้ านหน้ า ) สันนิษฐานว่า ไม่ได้ สร้ างพร้ อมกันกับฝาเรื อนนอนฝั่ งซ้ าย แต่ อาจจะสร้ างขึน้ มา ภายหลัง ซึ่งมี ลักษณะเป็ น การนาไม้ กระดานตีซ้อนกันขึน้ ไปตามแนวนอน โดยตอกตะปูยึดฝา กระดานแต่ล ะแผ่น กับ เคร่ าตัง้ ประกอบเป็ น แผงฝาเพื่ อ วางประกบในแต่ล ะห้ อ งหรื อ ช่วงเสา ลักษณะคล้ ายกันกับฝาเรื อนนอนฝั่ งซ้ าย แต่มีองค์ประกอบบางอย่างที่แตกต่างกัน ดังรายละเอียด ต่อไปนี ้ (ภาพที่ 12)
6
1) กระดานฝา เป็ นแผ่นกระดานไม้ ที่แต่งลวดบัวช่วงปลายด้ านล่าง เพื่อ กันน ้าฝนไหลย้ อนเข้ าในเรื อน แล้ วจึงนามาประกอบเป็ นแผงฝา โดยวางซ้ อนชันขึ ้ ้นไปตามนอนและ ยึดกับโครงเคร่าตังด้ ้ วยการตอกตะปูขนาดเล็ก 2) เคร่ าตัง้ เป็ นท่อนไม้ วางในแนวตังภายในฝาเป็ ้ นระยะ ซึ่งมีการบาก ปลายด้ านบนเพื่อสอดเข้ ากับเคร่านอน และบากปลายด้ านล่างเพื่อสอดเข้ ากับกรอบฝา แล้ วจึงยึด ด้ วยสลักไม้ เคร่าตังท ้ าหน้ าที่เป็ นโครงเคร่าสาหรับยึดแผ่นไม้ กระดานเข้ าด้ วยกันเป็ นแผงฝา 3) เคร่านอน เป็ นท่อนไม้ ขนาดเดียวกันกับเคร่าตัง้ แต่วางแนวนอนโดย บากปลายด้ านซ้ า ยและขวาเพื่ อ สอดเข้ าร่ อ งของเคร่ าตัง้ และกรอบฝา แล้ วจึง ยึด ด้ วยสลัก ไม้ เคร่ านอนทาหน้ าที่ ยึดเคร่ าตังและแยกฝาส่ ้ วนบนที่เป็ น เกล็ดช่องลมกับฝาฝากระดานตีแนวนอน ส่วนล่าง 4) เกล็ดช่องลม เป็ นช่องระบายอากาศที่ มีลกั ษณะคล้ ายบานเกล็ด ซึ่ง เกล็ดนันท ้ าด้ วยแผ่นไม้ ตีซ้อนกันขึ ้นไป และเว้ นช่องสาหรับระบายอากาศ แผ่นเกล็ด ไม้ นี ้ยึดติดกับ เคร่าตังที ้ ่บากทามุมประมาณ 60 องศา ด้ วยตะปู (ภาพที่ 13) 5) กรอบฝา มีลกั ษณะเช่นเดียวกันกับกรอบฝาของแผงฝาเรื อนนอนฝั่ ง ซ้ าย ซึง่ มุมทังสี ้ ่จะเข้ าเดือยแบบปากกบ และเจาะรูสอดสลักไม้ เข้ าไปเพื่อช่วยยึดให้ แข็งแรง (ภาพที่ 14) สาหรับแผงฝาที่มีการเจาะประตูหรื อหน้ าต่างนัน้ จะใช้ วิธีการประกอบ ลักษณะเดียวกันกับแผงทึบ แต่จะเพิ่มวงกบประตูหน้ าต่างเข้ าไปเช่นกัน เป็ นที่น่าสังเกตว่า ฝาไม้ กระดานตีแนวนอนที่มีเกล็ดช่องลมด้ านบนเพื่อระบายอากาศ ในลักษณะนี ้ มี ความคล้ ายคลึงกับฝาเรื อนแถวไม้ ในตัวเมือง หรื อย่านการค้ าเก่า ในหลายพื น้ ที่ อีกทัง้ ยังมีการใช้ ตะปูขนาดเล็กในการตอกยึดไม้ กระดานฝาเข้ ากับเคร่าไม้ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็ น รูปแบบฝาเรื อนไม้ รูปแบบใหม่ที่ได้ รับความนิยมในช่วงหลัง เนื่องจากมีเทคนิควิธีการก่อสร้ างใหม่ เกิดขึ ้น และมีวสั ดุก่อสร้ างประเภทเหล็กโดยเฉพาะตะปูวางจาหน่ายตามท้ องตลาดที่หาซื ้อได้ ง่าย ขึ ้น แต่ยงั คงมีราคาสูงอยู่ จึงอาจจะเป็ นไปได้ ว่า ช่างที่ปรุ งเรื อนหลังนี ้มีแนวคิดที่จะผสมผสานฝา รู ป แบบใหม่เข้ าไปโดยยัง คงยึด เทคนิ ค วิธี ก ารการเข้ า ไม้ แบบเดิม ที่ ต นถนัด ในบางจุด และคง ลักษณะของฝาที่ประกอบเป็ นแผงไว้ ดังนัน้ จึงแสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนผ่านของกรรมวิธีการปรุง แผงฝาเรื อนโคราชในช่วงเวลานัน้ โดยคงแบบแผนดัง้ เดิม ของตนไว้ บางส่วนแล้ วเลื อกที่ จ ะน า รูปแบบและเทคนิควิธีการใหม่ผสมผสานเข้ าไปอย่างลงตัว
7
2.3 การปรุงแผงหน้ าจั่วอย่ างประณีต ดังที่กล่าวมาแล้ วในช่วงต้ นว่าเรื อนหลังนี ้ได้ บูรณาการรู ปแบบเรื อนแฝดขึน้ มาใหม่ ดังนัน้ หน้ าจั่วของเรื อนจึงมี ขนาดใหญ่ และสูงกว่าเรื อน โคราชปกติทวั่ ไป ถึงแม้ จะต้ องทาแผงจัว่ ขนาดใหญ่ แต่ช่างไม่ได้ ละเลยหรื อมองข้ ามความสาคัญ ขององค์ประกอบส่วนนี ้ เพราะถือว่าเป็ นส่วนสาคัญที่แสดงถึงฐานะของเจ้ าของเรื อนและแสดงออก ถึงฝี มือช่างอย่างแท้ จริง โดยการคงรูปแบบและแบบแผนการปรุงแผงจัว่ แบบดังเดิ ้ ม ด้ วยวิธีการเข้ า ไม้ อย่างประณีตและตกแต่งลวดลายอย่างงดงาม การเข้ าไม้ ของแผงจัว่ นี ้ใช้ เทคนิควิธีการเดียวกัน กับ การเข้ าไม้ ของฝาเรื อ นนอนฝั่ ง ซ้ าย ซึ่ง ไม่มี ก ารตอกตะปูยึ ด ชิ น้ ส่ว นแต่ล ะชิ น้ รายละเอี ย ด ส่วนประกอบการตกแต่ง ได้ แก่ การแต่งช่วงล่างด้ วยลูกฟั ก การจัดองค์ประกอบของลูกตัง้ ลูกนอน และไม้ กรุ แผงจั่วอย่างเหมาะสมลงตัว ซึ่งไม้ กรุแผงจัว่ นี ้มีการเซาะร่ องทาเลียนแบบการตีไม้ ซ้อน เกล็ดเหมือนการแต่งไม้ กรุฝา นอกจากนัน้ ยังมีการแกะสลักไม้ บริ เวณสามเหลี่ยมที่อยู่ใต้ กรอบจัว่ เป็ นรู ปใบตาล ส่วนประกอบทัง้ หมดนีถ้ ูกจัดวางประสานกันเป็ นแผงจัว่ ที่ มีความประณี ตงดงาม (ภาพที่ 15 และ 16) 3. ความเข้ าใจระบบโครงสร้ างและสัจจะของวัสดุ เรื อนหลังนี ้ใช้ ไม้ เนื ้อแข็งเป็ น วัสดุก่อสร้ างหลักเกือบทังหมด ้ ซึ่งรวมทังส่ ้ วนโครงสร้ างและส่วนประกอบต่างๆ ทังนี ้ ้ กลุม่ ช่างได้ ใช้ ความเพียรพยายามในการเดินทางเข้ าไปในป่ าบริเวณใกล้ เคียง เพื่อคัดสรรไม้ ด้วยทักษะและความ ชานาญตามคติความเชื่อที่ถ่ายทอดกันมา จากนันจึ ้ ง แปรรูปไม้ เป็ นส่วนประกอบต่างๆของตัวเรื อน ด้ วยแรงงานคน โดยอาศัยเครื่ องมือช่างและเครื่ องมือเกษตรกรรมที่ใช้ ในชีวิตประจาวัน การแปรรูป ไม้ ให้ ได้ ขนาดและสัดส่วนที่ เหมาะสมสวยงามนี ้ ช่างจะต้ องมีความรู้ ความชานาญ และความ เข้ าใจธรรมชาติของวัสดุ เพื่อเลือกไม้ เหล่านันให้ ้ เหมาะสมกับองค์ประกอบของเรื อนแต่ละส่วน อัน ได้ แก่ โครงสร้ างหลักของเรื อน เช่น เสา พืน้ หรื อส่วนที่ต้องรับนา้ หนัก จะใช้ ไม้ เต็งรัง ส่วนฝา จั่ว หรื อส่วนอื่นที่ไม่ต้องรับน ้าหนักมากจะใช้ ไม้ ประดูห่ รื อไม้ แดง เป็ นต้ น เนื่องจากเรื อนหลังนีส้ ร้ างด้ วยระบบสาเร็ จรูปที่สามารถถอดประกอบได้ ซึ่งเป็ นระบบ การก่อสร้ างอาคารไม้ ที่ได้ รับความนิยมในช่วงเวลานัน้ ดังนัน้ ช่างจะต้ องมีความชานาญและมี ความแม่นยาอย่างสูงในการวัดขนาด การเจาะ การบาก เพื่อปรุงเป็ นเครื่ องเรื อนส่วนต่างๆแล้ วยก ประกอบขึ ้นเป็ นตัวเรื อน โดยยึดองค์อาคารเหล่านันด้ ้ วยวิธีการเข้ าเดือย สอดสลักลิ่ม เพื่อยึดตรึงให้ มัน่ คงแน่นหนาด้ วยฝี มืออันประณีต อันเป็ นทักษะที่สืบทอดต่อกันมา องค์ประกอบของตัวเรื อนมี 3 ส่วน ดังรายละเอียดต่อไปนี ้
8
3.1 ส่ ว นเดี่ ย วล่ า ง คื อ โครงสร้ างส่ว นพื น้ ซึ่ง โครงสร้ างส่วนนี ม้ ี ค วามมั่น คง แข็งแรงได้ ด้วยวิธีการก่อสร้ างด้ วยระบบเสาคาน โดยตังเสาฝั ้ งลงในดิน แล้ วสอดรอด (คาน) เชื่อม เสาสองต้ นด้ านสกัดซ้ ายและขวาเข้ าด้ วยกัน ตลอดแนวทังสี ้ ่แถว ทังนี ้ ้ ช่างจะวางรอดยื่นเลยออกมา จากแนวเสาประมาณ 30 เซนติเมตร เพื่อวางพรึงและเพิ่มความแข็งแรง จากนันจึ ้ งวางขื่อสวมลง บนหัวเทียนบริ เวณปลายเสา เพื่อล็อคเสาช่วงบนให้ มนั่ คง วางพรึงด้ านยาวบนรอดและวางพรึ ง ด้ านสกัดทังสองด้ ้ าน ซึง่ จุดที่พรึงด้ านยาวและด้ านสกัดมาบรรจบกันจะบากไม้ เข้ าเดือยรับกันพอดี พรึงทาหน้ าที่ยดึ ช่วงล่างส่วนพื ้นเรื อนให้ แน่น และยังช่วยรับแผงฝาทุกด้ าน เมื่อวางพรึงครบทุกด้ าน แล้ วจึงวางไม้ ตงตามแนวยาวของเรื อนเป็ นระยะ แล้ วจึงวางแผ่นกระดานพื ้นตามแนวขวางทับลงไป การวางไม้ ตงและแผ่นกระดานพืน้ นี ้จะไม่มีการตอกยึดด้ วยตะปู เนื่องจากสามารถตังอยู ้ ่ได้ ด้วย น ้าหนักของตัวมันเอง (ภาพที่ 17 และ 18) 3.2 ส่ วนเดี่ยวบน คือองค์ประกอบส่วนฝาเรื อน ดังที่กล่าวมาแล้ วว่าฝาเรื อน หลังนี ้เป็ นฝาสาเร็ จรู ปที่ ประกอบไม้ แต่ละชิ ้นเข้ าเป็ นแผงฝา และติดตังประตู ้ หน้ าต่างไปพร้ อมกัน ซึ่งฝาแต่ละแผงจะวางบนพรึงและยึดช่วงบนด้ วยเต้ าที่สอดทะลุรูเสาช่วงบนออกไปยึดแผงฝาและ ไม้ เชิงกลอน (เชิงชาย) โดยรอบ เนื่องจากฝาแต่ละแผงมีขนาดใหญ่และมีน ้าหนักมาก ช่างจึงตอก ตะปู 6 นิ ้ว ยึดมุมทังสี ้ ่ด้านของทุกแผงฝาให้ มนั่ คง (ภาพที่ 19) 3.3 ส่ วนเครื่ องบน คื อ องค์ป ระกอบส่วนโครงหลังคา เป็ น ส่วนโครงสร้ างที่ ซับซ้ อนที่ต้องอาศัยทักษะฝี มืออันประณีตในการก่อสร้ าง เพื่อให้ สามารถคุ้มแดดคุ้มฝน และทนต่อ ความแปรปรวนของสภาพอากาศภายนอกได้ ซึง่ มีองค์ประกอบต่างๆ ได้ แก่ - ส่วนโครงจัว่ ประกอบด้ วย ขื่อ แปหัวเสา ดัง้ จันทัน อกไก่ (ภาพที่ 20) - ส่วนหน้ าจัว่ ปัน้ ลม (ภาพที่ 21) - ส่ วนวัส ดุมุง หลัง คา ซึ่ ง แต่เดิม มุง ด้ วยหญ้ าแต่เจ้ า ของเรื อ นเปลี่ ย นเป็ น สังกะสีในภายหลัง ประกอบด้ วย แปลาน ไม้ กลอน - ส่วนประกอบอื่นๆ เช่น เต้ า เชิงชาย ตะพานหนู รางนา้ รวมถึงขื่อคัดและ ตุ๊กตา ซึง่ เป็ นโครงหลังคาส่วนโถงกลาง (ภาพที่ 22) โครงสร้ างเครื่ องบนทังหมดนี ้ ้ถูกประสานกันด้ วยวิธีการบาก เจาะ เข้ าเดือย สอดสลัก หรื อลิ่ม เกือบทังหมด ้ มี เพียงบางส่วนเท่านันที ้ ่ตอกตะปู 6 นิ ้ว เพื่อช่วยการยึดเกาะและเพิ่มความ แข็งแรง เช่น ปัน้ ลม เป็ นต้ น
9
ทังนี ้ ้ การก่อสร้ างดังกล่าว ต้ องอาศัยช่างที่มีความเข้ าใจในธรรมชาติของวัสดุ กฎการ รับแรงและการถ่ายน ้าหนัก มีทกั ษะในการคัดสรรไม้ มีความแม่นยาในการกาหนดขนาดสัดส่ วน รวมถึงจะต้ องมีฝีมือที่ประณี ตในการเข้ าไม้ นอกจากนัน้ ยังต้ องพึ่งกาลังคนจานวนมากเพื่ อใช้ แรงงานในการหาไม้ การแปรรูป และการประกอบเรื อน ด้ วยวิธีการช่วยเหลือเกือ้ กูลกันตามระบบ สังคมเกษตรกรรมในอดีต โดยสรุปแล้ ว การวางตาแหน่งทิศทางเรื อนให้ สอดคล้ องกับบริ บทสภาพแวดล้ อมท้ องถิ่น การวางผังเรื อนแฝดที่ มี โถงกลางคั่น แยกเรื อนครัวออกจากเรื อนหลักอย่างชัดเจน การกาหนด ตาแหน่งประตูหน้ าต่าง การกันฝา ้ และแบ่งพื ้นที่ใช้ สอยด้ วยระดับความสูงของพื ้น ซึ่งสัมพันธ์ กับ ลาดับการเข้ าถึงและความต้ องการความเป็ นส่วนตัว สะท้ อนให้ เห็นถึงภูมิความรู้ ของช่างที่มีความ เข้ าใจความสัมพันธ์ ระหว่างวิถีชี วิตเกษตรกรรมกับธรรมชาติที่แยกออกจากกันไม่ได้ อนึ่ง สิ่งที่ แสดงถึงความโดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์ ชัดเจน คือ การบูรณาการรู ปแบบเรื อนแฝดขึน้ ใหม่ โดย ปรับเปลี่ยนโครงสร้ างทังระบบ ้ และสอดประสานชิ ้นส่วนต่างๆเข้ าด้ วยกันเป็ นองค์อาคารได้ อย่าง แข็งแรงมัน่ คง ซึ่งทาให้ เรื อนพ่อคงหลังนี ้ สามารถคงอยู่มาได้ นานนับ 111 ปี สิ่งเหล่านี ้ สะท้ อนให้ เห็นถึงความอัจฉริ ยภาพและปั ญญาสร้ างสรรค์ของช่างท้ องถิ่นโคราช ที่มีความคิดริ เริ่ ม มีความ เชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบโครงสร้ าง และมีความกล้ าที่จะออกนอกกรอบจารี ตแบบแผนดังเดิ ้ ม เพื่อ แก้ ปัญหาและสนองประโยชน์ใช้ สอยอย่างลงตัว ซึ่ง ยังไม่เคยมีช่างคนใดในสมัยนันกล้ ้ าทา เพราะ เกรงว่าจะเป็ นการทา “นอกครู ” แต่เรื อนหลังนีไ้ ด้ ทาให้ ลูกหลานในปั จจุบนั ได้ เรี ยนรู้ และเข้ าใจถึง แนวความคิดนัน้ และยอมรับว่าเป็ น “เรื อนครู ” ที่ จะเป็ นข้ อมูลสาคัญทางประวัติศาสตร์ และเป็ น แหล่งเรี ยนรู้ทางด้ านภูมิปัญญาท้ องถิ่นของชาวโคราช ให้ ประจักษ์แก่ชาวไทยสืบต่อไป
10
ภาพที่ 1 ลักษณะเรื อนโคราชทัว่ ไป ซึง่ ประกอบไปด้ วยเรื อนนอน ระเบียง นอกชาน และครัว
ภาพที่ 2 เรื อนพ่อคงมีลกั ษณะเป็ นเรื อนแฝดที่มีเรื อนนอนสองหลังวางขนานกันคัน่ กลางด้ วยโถงกว้ าง
11
ภาพที่ 3 ลักษณะภายในเรื อนพ่อคงซึง่ มองจากชานด้ านหน้ า จะเห็นโถงกลางขนาดกว้ างมีรางน ้าด้ านบน ฝั่งซ้ ายและขวาเป็ นเรื อนนอนขนาดสองช่วงเสา ส่วนช่วงเสาแรกเป็ นโถงพักผ่อน ถัดไปด้ านหลังเป็ นครัว
ภาพที่ 4 ลักษณะเรื อนแฝดทัว่ ไป ซึง่ เรื อนจัว่ แรกเป็ นเรื อนนอน ส่วนจัว่ ที่สองเป็ นโถง
12
ภาพที่ 5 ลักษณะเรื อนสามจัว่ ทัว่ ไป ซึ่งเรื อนจัว่ แรกเป็ นเรื อนนอน เรื อนจัว่ ที่สองเป็ นโถงกลาง และเรื อนจัว่ ที่สาม เป็ นเรื อนนอน
ภาพที่ 6 ลักษณะการบูรณการรู ปแบบเรื อนแฝดขึ ้นใหม่ โดยการเปลีย่ นแปลงโครงสร้ างทังระบบ ้ ได้ แก่ การเลือ่ น ตาแหน่งเสาดัง้ การยื่นขื่อออกมาจากแนวเสาแล้ ววางทับบนตุ๊กตาซึง่ นัง่ อยูบ่ นขื่อคัด เพื่อรับหน้ าจัว่ ขนาดใหญ่
13
ภาพที่ 7 ลักษณะการปรุ งฝาเรื อนที่สะท้ อนถึงสมัยนิยม ฝาฝั่ งซ้ ายจากภาพเป็ นฝาไม้ กระดานตีแนวนอนมีเกล็ด ช่องลม ส่วนฝาฝั่งขวาจากภาพเป็ นฝาเข้ าลิ ้นไม้ ซ้อนเกล็ดแนวนอน
ภาพที่ 8 ฝาเข้ าลิ ้นไม้ ซ้อนเกล็ดแนวนอนเป็ นฝารู ปแบบแบบดังเดิ ้ มที่นาไม้ มาปรุ งเป็ นแผงฝาด้ วยวิธีการเข้ าไม้ ประกอบไปด้ วยลูกฟั ก ลูกตัง้ ลูกนอน ไม้ กรุฝา และกรอบฝา
14
ภาพที่ 9 ไม้ กรุฝาสอดเข้ าร่องลูกตัง้
ภาพที่ 10 การเข้ าเดือยแบบปากกบบริ เวณมุมกรอบฝา
ภาพที่ 11 การเข้ าไม้ ของหน้ าต่างโดยวิธีสอดสลักเข้ าเดือย
ภาพที่ 12 ฝาไม้ ก ระดานตี แนวนอนมีเกล็ดช่ องลม สัน นิษ ฐานว่าสร้ างขึน้ มาภายหลัง ซึ่งมี การตอกยึด แผ่น กระดานกับเคร่าตังด้ ้ วยตะปู แต่องค์ประกอบส่วนอื่นยังมีการเข้ าไม้ รูปแบบเดิม
15
ภาพที่ 13 เกล็ดช่องลม
ภาพที่ 14 การเข้ า ไม้ บ ริ เวณรอยต่ อ ระหว่า ง กรอบฝา เคร่าตังและเคร่ ้ านอน
ภาพที่ 15 การเข้ าไม้ บริ เวณแผงจัว่
ภาพที่ 16 การตกแต่งแผงจัว่ ด้ วยลูกฟั ก เกล็ด ใบตาล ลูกตังและลู ้ กนอน
16
ภาพที่ 17 โครงสร้ างส่วนเดี่ยวล่างประกอบไปด้ วย เสา รอด พรึง ตง และไม้ กระดานพื ้น
ภาพที่ 18 การเข้ าไม้ บริ เวณที่พรึงด้ านยาวและด้ านสกัดมาบรรจบกัน
17
ภาพที่ 19 การนาไม้ มาปรุงเป็ นแผงฝาแล้ วยกประกอบกับตัวเรื อนโดยวางบนพรึง แล้ วยึดด้ วยเต้ า
ภาพที่ 20 โครงหลังคาของเรื อนนอน ประกอบไปด้ วย ขื่อ ดัง้ อกไก่ แปหัวเสา แปลาน กลอน และหน้ าจัว่
18
ภาพที่ 21 โครงหลังคาส่วนหน้ าจัว่ เชิงชาย และปั น้ ลม
ภาพที่ 22 โครงหลังคาบริ เวณโถงกลาง ประกอบไปด้ วยขื่อคัด ตุ๊กตา เต้ า และไม้ เชิงชาย
รายการเบื้องตนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม เรือนโคราช
๑ แบบจัดทำรำยกำรเบื้องต้นมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม
แบบ มภ. ๒
ส่วนที่ ๑ ลักษณะของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม ๑. ชื่อรำยกำร เรือนโครำช ชื่อเรียกในท้องถิ่น เรือนโครำช ๒. ลักษณะของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม (เลือกได้มากกว่า ๑ ช่อง) วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา ศิลปะการแสดง แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และงานเทศกาล ๒ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล ๑งานช่างฝีมือดั้งเดิม การเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้านและศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ๓. พื้นที่ปฏิบัติ คณะทางานได้ศึกษาโดยวิธีการรวบรวมเอกสาร แบบทางสถาปัตยกรรม รวมถึงภาพถ่ายเรือนโคราช จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสารทางวิชาการ ประกอบกับการลงพื้นที่สารวจเรือนโคราชตัวจริง ในพื้นที่ ๓๒ อาเภอ เพิ่มเติม จากการสอบถามเบื้ องต้ น พบว่ า ยั งมี เรือ นโคราชปรากฏอยู่ รวมเรือนกรณีศึ กษาทั้ งหมด ๔๗ หลั ง มีอายุเรือนระหว่าง ๖๐-๑๖๐ ปี ในพื้นที่ ๑๐ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองนครราชสีมา อาเภอปักธงชัย อาเภอ ขามทะเลสอ อาเภอโชคชัย อาเภอเฉลิมพระเกียรติ อาเภอสูงเนิน อาเภอด่านขุนทด อาเภอโนนสูง อาเภอโนนไทย และอาเภอคง ๔. สำระสำคัญของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมโดยสังเขป “เรือนโคราช” เป็นเรือนพักอาศัยพื้นถิ่นที่ปลูกสร้างตามแบบประเพณีนิยมของกลุ่มคนที่อาศัยอยู่ ใน พื้น ที่จั งหวัดนครราชสี มา ที่ เกิดจากภูมิปัญญาของช่างท้องถิ่นที่มีการถ่ายทอดด้วยกระบวนการทางสังคมและ วัฒนธรรม โดยอาศัยแรงงานความร่วมมือกันของคนในครอบครัวและชุมชนตามวิถีสังคมเกษตรกรรม ลักษณะ โดยทั่วไปมีความคล้ายคลึงกับเรือนไทยภาคกลาง ทั้งนี้ วิโรฒ ศรีสุโร กล่าวไว้ว่า “…เรือนพักอาศัยพื้นบ้านของ ชาวจังหวัดนครราชสีมา ได้รับอิทธิพลจากเรือนไทยภาคกลางตั้งแต่สมัยอยุธยามาเป็นส่วนใหญ่กาลเวลาเนิ่นนานเข้า ฝีมือช่างได้เปลี่ยนแปลงไปตามความคิดความอ่านของช่างท้องถิ่นจนเกิดการคลี่คลาย ในรูปแบบและรายละเอียด บางส่วน จนเกิดเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นขึ้น เรียกว่า เรือนโคราช… ” ซึ่งมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว มีลักษณะ ทางสถาปัตยกรรมของเรือนโคราชที่โดดเด่นดังนี้ ๔.๑ ลักษณะทำงสถำปัตยกรรม เรือนโคราชเป็นเรือนไม้ชั้นเดียวยกพื้นสูง (ประมาณ ๒.๑๐ เมตร) ใต้ถุน โล่ง หลังคาจั่วทรงสูง (ประมาณ ๔๐ องศา) ซึ่งโดยทั่วไปนิยมเล่นระดับพื้นเรือนตามการใช้งานของพื้นที่เป็น ๓ ระดับ ระดับบนสุดเป็นเรือนนอน ลดหลั่นมาระดับที่ ๒ คือระเบียง ระดับต่าสุดคือนอกชาน สาหรับพาดบันไดและเชื่อม ต่อไปยังครัว
๒ ๔.๒ ทิศทำงกำรวำงเรือน โดยทั่วไปวางเรือนตามตะวัน คือ หันด้านสกัดของเรือนนอน (ซึ่งเป็นเรือนหลัก) ไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตก ด้วยความเชื่อว่า “การยกเรือน” หรือ “การปลูกเรือน” ต้องวางจั่วล่องตะวันหันหน้า เรือนไปทางทิศปะตีน (ปลายตีน) หรือทิศเหนือจะทาให้อยู่เย็นเป็นสุข ดังนั้น เรือนนอนส่วนใหญ่จึงอยู่ทางทิศใต้ ซึ่งทุกคนจะถูกบังคับให้นอนหันหัวไปทางทิศใต้ ด้วยข้อจากัดของพื้นที่ คนโคราชจึงเรียกทิศใต้ว่าทิศหัวนอน ทั้งนี้ การวางเรือนตามตะวันในลักษณะดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาของชาวไทยโคราชที่ปลูกสร้างเรือนพักอาศัยให้ สอดคล้องกับสภาพภูมิอากาศของพื้นที่ ๔.๓ รูปแบบ สามารถจาแนกรูปแบบเรือนโคราชตามลักษณะและขนาดของเรือนได้ ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ เรือนสองห้อง และเรือนสามห้อง ดังนี้ ๔.๓.๑ เรือนสองห้อง เป็นเรือนพักอาศัยรูปแบบดั้งเดิม พื้นที่ใช้สอยของเรือนประกอบด้วยเรือนนอน ขนาด ๒ ช่วงเสา ซึ่งมีฝาปิดรอบทั้งสี่ด้าน คลุมด้วยหลังคาจั่วทรงสูง บริเวณพื้นที่ที่ต่อจากด้านสกัดของเรือนนอน ออกไปอีก ๑ ช่วงเสา เรียกว่า “พะ” มีฝาปิดเพียงด้านเดียวต่อเนื่องกับผนังด้านยาวของเรือนนอน พื้นที่ที่เชื่อมต่อ กับประตูทางเข้าเรือนนอนยาวตลอด ๓ ช่วงเสา ไม่มีฝากั้นเรียกว่า “ระเบียง” ส่วนพะและระเบียงนี้เป็นพื้นที่ ต่อเนื่องที่มีระดับเดียวกัน ซึ่งต่ากว่าระดับของพื้นเรือนนอน จึงเกิดช่องว่าง เรียกว่า “ช่องแมว” หลังคาที่คลุมส่วน พะและระเบี ยงเป็น หลังคาลาดที่ต่อเนื่องกัน ซึ่ งแยกโครงสร้างออกจากโครงสร้างหลังคาส่ วนเรือนนอน ดังนั้น หลังคาส่วนนี้จึงมีตะเข้สัน (ร้านตะเข้) ถัดจากระเบียงจะเป็นส่วนนอกชาน ซึ่งเชื่อมต่อกับบันไดทางขึ้นเรือน
ภาพที่ ๑ เรือนสองห้องซึ่งเป็นรูปแบบดั้งเดิมที่เคยปรากฏการใช้งานในพื้นที่ จังหวัดนครราชสีมา ที่มา: สุวัฒน์ และคณะ, ๒๔๔๒; ๔๓-๔๔ ๔.๓.๒ เรือนสำมห้อง เป็นเรือนพักอาศัยที่มีขนาดเรือนนอนยาว ๓ ช่วงเสา เรือนสามห้องมีหลายรูปแบบ ซึ่งมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนในแต่ละยุคสมัยตามการเปลี่ยนแปลงของวัสดุและเทคโนโลยีการก่อสร้าง รูปแบบที่พบ การใช้งาน ได้แก่
๓ ๔.๓.๒.๑ เรือนระเบียง เป็นรูปแบบพื้นฐานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด พื้นที่ใช้สอยของเรือน ประกอบด้วยเรือนนอนขนาด ๓ ช่วงเสา ซึ่งมีฝาปิดรอบทั้งสี่ด้าน คลุมด้วยหลังคาจั่วทรงสูงมีชายคาปีกนกด้านสกัด หัวท้าย ถัดจากส่วนเรือนนอนออกมาเป็นระเบียงที่มีหลังคาคลุม ซึ่งโครงหลังคาส่วนนี้จะแยกออกจากโครงหลังคา ของเรือนนอน นอกจากนั้นยังมีนอกชานซึ่งเป็นพื้นทีเ่ ปิดโล่งไม่มีหลังคาคลุมและครัวซึ่งแยกออกจากเรือนหลัก
ภาพที่ ๒ เรือนระเบียงซึ่งเป็นรูปแบบพื้นฐานที่นิยมใช้มากที่สุดในอดีต ๔.๓.๒.๒ เรือนสองจั่ว เป็นเรือนที่มีหลังคาสองจั่วต่อเนื่องกัน นิยมปลูกสร้างในกลุ่มครอบครัวที่มี จานวนสมาชิกมาก ทั้งนี้ เรือนจั่วแรกเป็นเรือนนอนที่มีฝาปิดกั้นทั้งสี่ด้าน ส่วนเรือนจั่วที่สองเป็นโถงโล่ง ซึ่งตีฝาปิด รอบเพียงสามด้าน ยกเว้นส่วนที่เป็นพื้นที่เชื่อมต่อกับเรือนนอนจะไม่กั้นฝา ทั้งนี้ โครงสร้างพื้นและหลังคาของเรือน จั่วที่สองจะฝากกับโครงสร้างของเรือนนอน บริเวณรอยต่อที่หลังคาจั่วทั้งสองมาชนกันมักจะติดตั้งรางน้าฝนตลอด แนว การแบ่งระดับพื้นภายในมี ๓ ลักษณะ ได้แก่ ๑) แบบที่มีระดับพื้นเรือนนอนและพื้นของเรือนจั่วที่สองเท่ากัน ตลอด ๒) แบบที่มีการแบ่งระดับพื้น ๒ ระดับ ซึ่งเป็นแบบที่นิยมมากที่สุด และ ๓) แบบที่มีการแบ่งระดับพื้น ๓ ระดับ ซึง่ การแบ่งพื้นเป็นหลายระดับนี้ ทาให้มีชื่อเรียกพื้นที่ดังกล่าวเพิ่มขึ้นจากเดิม คือ พักต่าและพักบน
ภาพที่ ๓ เรือนสองจั่วและการแบ่งพื้นที่ใช้สอยภายใน
๔ ๔.๓.๒.๓ เรือนสำมจั่ว เป็นเรือนที่มีหลังคาสามจั่วต่อเนื่องกัน นิยมปลูกสร้างในกลุ่มครอบครัว ขนาดใหญ่ เรือนสามจั่วที่พบส่วนมากจะมีขนาดจั่วไล่เลี่ยกัน และมีการแบ่งพื้นที่ใช้ส อยภายใน ๓ ระดับ คือ เรือนนอน พักต่า และพักบน (ซึ่งมีระดับเท่ากับเรือนนอน) โดยทั่วไป เรือนนอนจะมีฝากั้นรอบทั้งสี่ด้าน ส่วนพื้นที่ พักต่ากับพักบนจะเป็นโถงโล่งเชื่อมต่อกัน มีฝาปิดล้อมเฉพาะด้านนอกทั้งสามด้าน ยกเว้นฝั่งที่ติดกับเรือนนอน
ภาพที่ ๔ เรือนสามจั่ว นอกจากนั้น ชาวไทยโคราชมักจะเรียกชื่อเรือนแตกต่างกันออกไป อาทิเช่น “เรือนมาด” หมายถึง เรือนที่ เจ้าของสร้างขึ้นเป็นเรือนหอในการแต่งงานออกเรือน ส่วน “เรือนหอ” หมายถึง เรือนที่สร้างไว้รับแขกหรือเป็นส่วน ที่ให้แขกพัก ๔.๔ พื้นที่ใช้สอย โดยทั่วไปพื้นที่ใช้สอยหลักบริเวณชั้นบนของเรือนโคราชประกอบไปด้วย ๔.๔.๑ เรือนนอน หรือเรียกว่า “ในเรือน” เป็นพื้นที่ส่วนตัวสาหรับพักผ่อนหลับนอนของเจ้าของเรือน และลูกสาว อีกทั้งยังเป็นพื้นทีเ่ ก็บทรัพย์สมบัติที่มีค่า ๔.๔.๒ ระเบี ยง มีลั กษณะเป็นพื้นที่เปิดโล่งมีห ลั งคาคลุ ม ส่ว นใหญ่ใช้ เป็นพื้นที่ นั่งเล่ น พักผ่ อน รับประทานอาหาร และรับรองแขกในช่วงกลางวัน หรือเป็นที่นอนของลูกชาย ญาติหรือแขกที่มาพักค้างคืนในช่วง กลางคืน ๔.๔.๓ นอกชาน เป็นพื้นที่เปิดโล่งไม่มีหลังคาคลุม ซึ่งนอกจากจะใช้เป็นทางสัญจรหลักที่เชื่อมต่อไปยัง ครัวแล้วยังเป็นพื้นที่สาหรับตากอาหารหรือวางภาชนะสาหรับเก็บน้าอีกด้วย ๔.๔.๔ ครัว เป็นพื้นที่ประกอบอาหาร หรือรับประทานอาหาร โดยทั่วไปมักจะสร้างแยกออกมา ต่างหากซึ่งส่วนใหญ่อยู่ด้านสกัดของเรือนหลัก เพื่อป้องกันการลามไฟและเขม่าควันขณะปรุงอาหาร เนื่องจากใน อดีตนิยมใช้ “แม่คีไฟ”เป็นอุปกรณ์ในการปรุงอาหาร
๕
ภาพที่ ๕ พื้นที่ใช้สอยภายในเรือนนอน ระเบียง และนอกชาน
ภาพที่ ๖ พื้นที่ใช้สอยส่วนครัว และใต้ถุน พื้นที่ใช้สอยหลักที่กล่าวมาแล้วข้างต้นเป็นพื้นที่ใช้สอยของเรือนระเบียงที่นิยมปลูกสร้างกันทั่วไป กรณีที่ เป็นเรือนรูปแบบอื่น ได้แก่ เรือนสองจั่วและเรือนสามจั่ว จะมีพื้น ที่ใช้สอยเพิ่มขึ้นซึ่งส่วนใหญ่เป็นโถงโล่งที่มีการปิด ล้อมภายใน และมีการเล่นระดับพื้นเพื่อแยกพื้นที่ใช้สอยจึงเกิดเป็นพักต่าและพักบน นอกจากนั้น พื้นที่โถงโล่งนี้ ยังใช้สาหรับการจัดกิจกรรมในพิธีกรรมทางศาสนาและพิธีกรรมในงานประเพณีตามวิถีชีวิต เช่น การทาบุญเลี้ยงพระ การทาพิธีเรียกขวัญนาค พิธีมงคลสมรส ตลอดจนพิธีร ดน้าศพและสวดพระอภิธรรม เป็นต้น ซึ่ง คนโคราชนิยมจัด ที่เรือนของตน ส่วนบริเวณใต้ถุนเรือนจะใช้เป็นพื้นที่เอนกประสงค์ โดยแบ่งเป็นส่วนพื้นที่จอดเกวียน คอกวัว ควาย ทางานหัตถกรรม เก็บสิ่งของและอุปกรณ์ทาการเกษตร ๔.๕. โครงสร้ำง โครงสร้างของเรือนโคราชเป็นระบบสาเร็จรูป โดยประกอบชิ้นส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน ด้วยวิธีการเจาะ บาก เข้าเดือย และยึดด้วยสลักไม้ ลักษณะคล้ายคลึงกับระบบการสร้างเรือนไทยภาคกลาง แต่มี รายละเอียดปลีกย่อยที่แตกต่างกันออกไป แสดงถึง ผลงานของช่างฝีมือที่สร้างสรรค์ออกมาด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน ทั้งนี้ วัสดุโครงสร้างของเรือนเป็นไม้จริงทั้งหมด ซึ่งหาได้ง่ายจากป่าเบญจพรรณบริเวณใกล้เคียง โดยทั่วไปนิยมใช้ ไม้เต็งรังทาเสาเรือน เนื่องจากมีความแข็งแรงทนทานเหมาะแก่การรับน้าหนัก โดยนามาถากให้เป็นเสากลมขนาด
๖ เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑๐ นิ้ว – ๑๓ นิ้ว ส่วนโครงสร้างพื้น เช่น รอด ตง และพรึงนิยมใช้ไม้เต็ง พื้นกระดานเป็นไม้จริง ซึ่งแต่ละแผ่นไม่ยึดติดกันแน่น โครงหลังคานิยมใช้ไม้พลวงเพราะมีเนื้อแน่นสามารถเจาะและเข้าไม้ประกอบโครง ได้ง่าย ที่น่าสนใจของระบบโครงสร้างเรือนโคราช มีดังนี้ ๔.๕.๑ ระบบโครงสร้ำงพื้น โครงสร้างพื้นเรือนนอนเป็นระบบเสาคาน โดยสอดรอด (คาน) ให้ทะลุ ช่องเสาโผล่ปลายทั้งสองด้านออกมาประมาณ ๓๐ เซนติเมตร แล้วจึงวางตงบนรอดในแนวขวางขนานตามแนวยาว ของเรือน เพื่อรองรับแผ่นพื้น โดยไม่มีการตอกตะปูหรือมีวัสดุยึดใดๆ ทั้งนี้ จานวนตงที่ใช้จะขึ้นอยู่กับขนาดและ ความหนาของไม้ กระดานพื้น ส่วนใหญ่เรือนนอนที่มีด้านสกัดกว้างเพียงช่วงเสาเดียวมักจะมีการวางตงจานวน ๓ – ๖ ตัว ๔.๕.๒ ระบบโครงหลังคำ โครงหลังคาเรือนนอนเป็นระบบการเข้าไม้แบบดั้งเดิม โดยปรุง โครงสร้าง แต่ละชิ้นให้มีขนาดที่สอดรับกันพอดีแล้วจึงยกประกอบติดตั้งพร้อมกัน ทั้งนี้ ส่วนปลายหัวเสาทุกต้นมักจะทาเดือย สูง ๑ คืบ เรียกว่า “ตีนเทียน” สาหรับสวมขื่อทางนอนลงบนตีนเทียนเพื่อยึด เสาทั้งสองข้าง บริเวณกลางขื่อตัวที่อยู่ ช่วงกลางห้องจะวางดั้งขึ้นไปรับอกไก่โดยบากปลายเป็นร่องให้เข้ากับอกไก่พอดี ส่วนขื่อตัวหัวท้ายจะเจาะช่องทะลุ เพื่อให้ปลายดั้งสอดขึ้นไป (ความสูงเท่าความสูงของจั่ว) ซึ่งช่วงล่างถัดจากใบดั้งเป็นเสากลมซึ่งบากกลางบริเวณหน้า ตัดเสาช่วงล่างสาหรับนั่งบนรอด ส่วนประกอบนี้เรียกว่า “เสาดั้ง ” ส่วนไม้อะเส (แปหัวเสา) จะบากล็อคลงบน ร่องบากของขื่อทุกตัว นอกจากนั้นยัง บากปลายจันทันส่วนล่างเพื่อวางลงบนไม้อะเส บากปลายจันทันส่วนบนเพื่อ วางแนบดั้ง และบากด้านข้างของจันทันเป็นร่องสาหรับวางแปทางนอน ส่วนเต้าจะสอดทะลุเสาออกไปรับเชิงชาย ทั้งนี้ในอดีตคนโคราชนิยมมุงหลังคาด้วยหญ้าโดยยึดแผงหญ้าที่ซ้อนทับกันเป็นตับไว้กับไม้กลอนซึ่งส่วนใหญ่ นิยมใช้ ไม้ไผ่รวกหรือไม้หมาก ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นสังกะสีในภายหลัง
ภาพที่ ๗ โครงสร้างพื้นและโครงหลังคา ๔.๖. ฝำเรือน ฝาเรือนนอนของเรือนโคราชแบบดั้งเดิมเป็นฝาสาเร็จรูป ซึ่งขนาดของฝาหนึ่งแผงจะเท่ากับ หนึ่งช่วงเสาพอดีหรือมีขนาดความกว้างและความสูงตามระยะช่วงห่างของเสา ทั้งนี้ฝาแต่ละแผงจะถูกประกอบ ติดตั้งบนพรึง โดยเจาะช่องประตูหน้าต่างไปพร้อมกับการประกอบแผงฝา จากนั้นจึงนาฝาแต่ละแผงขึ้นยกประกอบ เข้ากับโครงสร้างของเรือนแต่ละด้าน โดยวางบนพรึงแล้วล็อกส่วนบนของแผงฝาด้วยเต้าที่เสียบทะลุเสาจากด้านใน ออกมา ทั้งนี้ วัสดุและรูปแบบมีความหลากหลายและแตกต่างกันไปตามแต่ละท้องที่และยุคสมัย ขึ้นอยู่กับแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติ เทคนิควิธีการก่อสร้างของช่าง รวมถึงวิวัฒนาการของวัสดุและเทคโนโลยีการก่อสร้าง สามารถ จาแนกประเภทฝาเรือนได้ดังนี้
๗ ๔.๖.๑ ฝำปรือกรุเซงดำ (ไม้ไผ่ผ่าเสี้ยวทาน้ามันยางรมควันจนดา) เป็นรูปแบบฝาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ ของเรือนโคราชได้อย่างชัดเจน ซึ่งนิยมก่อสร้างกันมากในช่วงแรก (ก่อนที่เทคโนโลยีการแปรรูปไม้จะได้รับความนิยม กั น อย่ า งแพร่ ห ลายในเวลาต่ อ มา) ลั ก ษณะที่ โ ดดเด่ น ของฝาชนิ ด นี้ คื อ การน าต้ น ปรื อ สอดใส่ เ บี ย ดกั น แน่ น แล้วประกบด้วยไม้ไผ่ผ่าเสี้ยวรมไฟและน้ามันยางจนดาเพื่อกันมอดและแมลงทั้งด้านนอกและด้านใน (ชาวบ้านเรียก เซงดา) ปลายไม้ไผ่สอดเข้าไปในเคร่าตั้งไม้จริงขนาด ๑๑/๒ นิ้ว x ๓ นิ้ว วางห่างกันประมาณ ๔๐ เซนติเมตร โดย เซาะร่องให้โค้งรับกับรูปร่างของไม้ไผ่ทั้งสองท่อนซึ่งหนีบเอาต้นปรือไว้อย่างแน่นหนา (วิโรฒ, ๒๕๓๐; ๑๔๑) องค์ประกอบทั้งหมดนี้ถูกจัดวางอยู่ภายในกรอบไม้ทั้งสี่ด้าน ทั้งนี้ ฝาปรือเป็นแนวคิดของแผงฝาสาเร็จรูปที่มีรูปแบบ คล้ายคลึงกับฝาสาหรวดของเรือนไทยภาคกลาง แต่มีลักษณะเฉพาะ คือ การออกแบบช่องหน้าต่างและประตูที่มี ความสัมพันธ์กับความกว้างของช่องลูกตั้ งและช่องเซง รวมถึงการนาปรือซึ่งเป็นวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นมาทาเป็น วัสดุกรุฝานับเป็นภูมิปัญญาของชาวไทยโคราชอย่างแท้จริง
ภาพที่ ๘ ลักษณะของฝาปรือกรุเซงดา ๔.๖.๒ ฝำเข้ำลิ้นไม้ซ้อนเกล็ดแนวนอน เป็นรูปแบบฝาที่มีลักษณะการเข้าไม้ตามรูปแบบดั้งเดิม โดย ไม่มีการยึดหรือตอกด้วยตะปู แต่จะนาไม้กรุฝา (มีลักษณะเป็นแผ่นไม้บางที่มีการเซาะร่องตามแนวนอน) มาสอดเข้า กับ เคร่าตั้ง (ซึ่งมีการเซาะร่องด้านข้าง) ด้วยวิธีการเข้ารางลิ้น โดยประกอบเป็นแผงฝาทาลวดลายเลียนแบบฝาปรือ กรุเซงดาและตกแต่งช่วงล่างด้วยล่องตีนช้าง ซึ่งบริเวณกรอบฝามีการเข้าไม้แบบดั้งเดิม
ภาพที่ ๙ ลักษณะของฝาเข้าลิ้นไม้ซ้อนเกล็ดแนวนอน
๘ ๔.๖.๓ ฝำกระดำนตีนอนซ้อนเกล็ด เป็นรูปแบบฝาไม้กระดานที่นิยมก่อสร้างมากที่สุด มีลักษณะ การวางแผ่นไม้กระดานตามแนวนอนในกรอบไม้ แล้วตีไม้ทับเกล็ดแนวตั้งเป็นช่วงๆ แนวตรงกันทั้งด้านนอกและ ด้านในมีจังหวะการแบ่งช่องคล้ายกับฝาปรือกรุเซงดา บางแผงอาจจะมีการตกแต่งช่วงล่างด้วยล่องตีนช้าง ทั้งนี้ แผ่นกระดานไม้กับเคร่าตั้งนั้นยึดกันด้วยตะปูขนาดเล็ก แต่บริเวณกรอบฝาทั้งสี่ด้านยังคงการเข้าไม้แบบดั้งเดิม
ภาพที่ ๑๐ ลักษณะของฝากระดานตีนอนซ้อนเกล็ด ๔.๖.๔ ฝำกระดำนตีแนวนอน เป็นรูปแบบฝาไม้กระดานที่นิยมก่อสร้างในช่วงหลัง โดยนาไม้กระดาน ตีซ้อนทับกันขึ้นไปตามแนวนอน โดยตอกตะปูยึดฝากระดานแต่ละแผ่นกับเคร่าตั้ง มีทั้งรูปแบบที่ประกอบเป็นแผงฝา แบบดั้งเดิม และรูปแบบที่ติดตั้งแผ่นไม้กระดานบนโครงเคร่าแนวตั้งยาวตลอดความยาวฝาแต่ละด้าน ซึ่งรูปแบบนี้ จะไม่ประกอบเป็นแผงฝาแบบเดิม
ภาพที่ ๑๑ ฝากระดานตีแนวนอนรูปแบบที่ประกอบเป็นแผงฝาแบบดั้งเดิม และรูปแบบที่ติดตั้งแผ่นไม้กระดาน บนโครงเคร่าแนวตั้งยาวตลอดความยาวฝา
๙ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นฝาชนิดใด การออกแบบหน้าต่างประตูจะมีลักษณะคล้ายคลึงกัน คือ ฝาด้านยาวภายนอก ๑ แผงจะมีหน้าต่าง ๑ ช่องเปิดแบบบานเดี่ยวหรือบานคู่ ด้านสกัดไม่นิยมเจาะหน้าต่าง ฝาด้านยาวภายในทึบ แผงกลางเจาะประตู ๑ ช่องเปิดแบบบานคู่ หน้าต่างและประตูเปิดเข้าในเรือน ซึ่งรูปแบบของฝาเรือนโคราช มีความสัมพันธ์กับทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นนับเป็นการพัฒนารูปแบบอย่างกลมกลืน ๔.๗ ประตู ประตูทางเข้าเรือนนอนจะอยู่บริเวณฝาฝั่งที่เชื่อมต่อกับระเบียง ซึ่งส่วนใหญ่ มีเพียงตาแหน่ง เดียวบริเวณแผงฝาตรงกลางเรือน กรณีที่เป็นเรือนเก่าที่ใช้ระบบฝาสาเร็จรูป มักจะสร้างประตูบานเปิดคู่ที่มีขนาด เล็ กและมีความสูงไม่มากนัก โดยมีทิศทางการเปิดเข้าภายในเรือน ลั กษณะเด่นของประตู รูปแบบนี้ คือ มีการ แกะสลักวงกบ มีอกเลาที่บานประตูและใช้เดือยเป็นจุดหมุนบนล่างแทนบานพับ บางเรือนมีการแกะสลักดอกจันทน์ ซึ่งเป็นตัวยึดไม้ขวางภายในเรือนทั้งบนและล่าง หากเป็นเรือนที่สร้างในระยะหลังที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีมากขึ้น ประกอบกับมีวัสดุก่ อสร้างสมัยใหม่ที่ทาด้วยโลหะ เช่น ตะปู บานพับ มือจับ ขอสับ เป็นต้น ลักษณะประตูจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยเปลี่ยนทิศทางการเปิดประตูเป็นการเปิดออกภายนอกห้อง มีขนาดบาน และความสูงที่กว้างกว่ารูปแบบเดิม แต่ยังคงลักษณะเป็นประตูบานเปิดคู่ไว้อย่างเดิม
ภาพที่ ๑๒ ลักษณะประตูรูปแบบดั้งเดิม ๔.๘ หน้ำต่ำง ส่วนใหญ่นิยมเจาะหน้าต่างบริเวณฝาด้านยาวแผงฝาละหนึ่งช่อง แต่ไม่นิยมเจาะหน้าต่างแผง ฝาด้านสกัด โดยทั่วไปเรือนโคราชแบบดั้งเดิมมักจะมีหน้าต่างขนาดเล็กและแคบ มีทิศทางการเปิดเข้าภายในเรือน เหมือนกันทั้งหมด ซึ่งมีทั้งลั กษณะที่เป็นบานเปิดเดี่ยวและบานเปิดคู่ บริเวณวงกบมีการแกะสลักบานหน้าต่างมีอก เลาและใช้เดือยเป็นจุดหมุนบนล่างแทนบานพับ การใส่กลอนใช้วิธีการเจาะธรณีหน้าต่างแล้วนาไม้แผ่นแบนเสียบใน รูที่เจาะไว้กันไม่ให้ผู้อยู่ด้านนอกดันเปิดเข้าไปได้ (กาญจนา, ๒๕๔๕; ๕๑๘) สิ่งที่น่าสนใจเกี่ยวกับการเจาะหน้าต่าง ของเรือนโคราช คือ การเจาะหน้าต่างที่มีขนาดความกว้างพอดีและสัมพันธ์กับรูปแบบของช่องแนวตั้งของแผงฝา ซึ่ง สิ่ง นี้เ ป็น ลัก ษณะเฉพาะที่ไ ม่เ หมือนเรือ นพื้น ถิ่น ทั่ว ไป กรณีที่เ ป็น เรือ นโคราชที่ส ร้า งในระยะหลัง ที่มีความ เจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมากขึ้น ประกอบกับมีวัสดุก่อสร้างสมัยใหม่ที่ทาด้วยโลหะ ส่ว นใหญ่จ ะสร้า ง หน้าต่างบานคู่ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ซึ่งมีทิศทางการเปิดออกภายนอกเรือน แต่ยังคงลักษณะการเจาะช่องหน้าต่างฝา ด้านยาวแผงฝาละหนึ่งช่องและไม่นิยมเจาะช่องหน้าต่างฝาด้านสกัดเหมือนเดิม
๑๐
ภาพที่ ๑๓ ลักษณะหน้าต่างรูปแบบดั้งเดิมซึ่งมีขนาดความกว้างพอดีและสัมพันธ์กับช่องแนวตั้งของแผงฝา ๔.๙ หน้ำจั่ว โดยทั่วไปนิยมใช้ไม้จริงประกอบเข้ากันเป็นแผงสามเหลี่ยม มีการตกแต่งลวดลายหลากหลาย รูปแบบ เช่น การตีฝานอน การตีทับเกล็ดแนวตั้ง การตีลายทแยง การเซาะร่องลูกฟัก ใบตาล การแกะสลัก เป็นต้น ทั้งนี้ แผงจั่วของเรือนแบบดั้งเดิมมีการบากขอบด้านข้างและด้านบนเพื่อรับแปและอกไก่ ๔.๑๐ ม้ำรองตีน เป็นองค์ประกอบของเรือนที่มีลักษณะเหมือนบันไดหนึ่งขั้น คล้ายม้านั่ง เพื่อให้ผู้ที่อยู่ บริเวณระเบียงสามารถก้าวขึ้นไปภายในเรือนนอนได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ส่วนใหญ่พบในเรือนโคราชที่มีระดับ พื้นเรือนนอนกับระเบียงแตกต่างกันมาก ซึ่งบางเรือนอาจจะไม่มีม้ารองตีนเลยก็ได้ในกรณีที่ระดับพื้นต่างกันไม่มากนัก ๔.๑๑ บันได โดยทั่วไปพบเห็นตาแหน่งการวางบันไดขึ้นเรือนทุกทิศทางยกเว้นทิศตะวันตก ซึ่ง คนโคราช เชื่อว่าการทาบันไดขึ้นเรือนทางทิศตะวันตกเป็นอัปมงคล จะนาความทุกข์ยากเจ็บป่วยมาสู่เจ้าของเรือน รูปแบบ ของบันไดเดิมเป็นบันไดไม้ซึ่งความสูง ๕ หรือ ๗ ขั้น (มีความเชื่อว่าขั้นบันไดต้องเป็นเลขคี่) คล้ายบันไดลิง เรียกว่า “บันไดไก่” สามารถดึงขึ้นไปเก็บบนเรือนได้ในช่วงกลางคืน ต่อมาในระยะหลัง ที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีมากขึ้น ประกอบกับมีวัสดุก่อสร้างสมัยใหม่ จึงมีการสร้างบันไดให้มีลักษณะมั่นคงถาวรขึ้น ซึ่งมีลูกนอน เป็นแผ่นไม้กระดานที่มีขนาดกว้าง มีราวบันได หรือทาหลังคาคลุม
ภาพที่ ๑๔ ลักษณะหน้าจั่ว ม้ารองตีน และบันได
๑๑ ๔.๑๒. วิธีกำรก่อสร้ำง เรือนโคราชมีวิธีการก่อสร้างเป็นระบบสาเร็จรูป ซึ่งมีกรรมวิธีการประกอบติดตั้ง โดยอาศัยความชานาญของช่างฝีมือในท้องถิ่น โดยไม่ใช้ตะปูในช่วงแรกแต่ใช้วิธีการเข้าไม้ เช่น การบาก เข้าลิ่ม สลัก เดือย จึงสามารถรื้อถอนเคลื่อนย้ายเรือนได้ แต่ผู้ที่รื้อจะต้องศึกษาวิธีการอย่างละเอียดเพื่อให้ทราบว่าองค์ประกอบ ของแต่ ล ะส่ ว นวางซ้ อนทั บ กั น อยู่ อ ย่ า งไร เมื่ อถอดสลั ก ในส่ ว นไหนจะท าให้ โ ครงสร้ า งหลุ ด ออกจากกั น ทั้ ง นี้ เรือนฝาปรือกรุเซงดาเป็น เรือนในช่วงแรกที่ไม่ใช้ตะปู เลย ต่อมาเมื่อใช้ฝากระดานจึงเริ่มใช้ตะปูในการประกอบฝา แต่ในส่วนโครงสร้างหลักยังคงใช้กรรมวิธีการก่อสร้างเดิม ขั้นตอนการก่อสร้างเรือนนอนเริ่มจากการปรุง คือ การเจาะ บาก ผ่า ควั่น ตัดแต่งไม้ทุกตัวให้ได้ระยะตาม ต้องการ รวมทั้งการประกอบแผงฝาสาเร็จรูป พร้อมประตูและหน้าต่าง เมื่อถึงกาหนดวันที่จะสร้างเจ้าของเรือน จะทาพิธีย กเสาเอกซึ่งผูกด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อยและผ้าแดงลงหลุมที่ขุดไว้ แล้วยกเสาเรือนต้นอื่นๆ จนครบเพื่อ ประกอบตัวเรือน โดยนารอดที่มีความยาวมากกว่าช่วงเสามาสอดเข้าไปในต้นเสาที่เ จาะเตรียมไว้ให้ทะลุทั้งสองด้าน ปกติ เสาเรือน ๓ ห้อง ประกอบด้วยเสา ๔ คู่ด้านสกัด ทั้งนี้ สาเหตุที่รอดจะต้องยื่นเลยหัวเสาออกมา (อย่างน้อย ด้านละ ๓๐ เซนติเมตร) เพราะจะช่วยป้องกันการเคลื่อนตัวหลุดออกจากช่องเสา อันเป็นเหตุมาจากแรงที่กระทากับ ตัวเรือน ซึ่งอาจจะเกิดจากลมพายุ การทรุด ตัวของเรือน หรือควายชนเสา นอกจากนั้น หัวรอดยังทาหน้าที่รับพรึง ด้านยาวอีกด้วย เมื่อกลบหลุมเสา เสาทั้ง ๘ ต้น จะมีรอดเสียบทะลุ ๔ คู่ ช่างจะปีนขึ้นไปบนรอด นาเต้าเสียบเข้าไปใน รูเสาที่เจาะเตรียมไว้ แล้วปีนขึ้นไปนั่งบนเต้า นาขื่อสวมเข้าไปในหัวเทียนเสา ช่างที่อยู่ด้านล่างส่งเสาดั้งขึ้นไปเพื่อให้ ใบดั้งสอดเข้าไปในรูขื่อและเสาดั้งนั่ง อยู่บนรอดได้พอดี แล้วจึงส่งแปหัวเสาทั้งสองข้างให้บ่าแปหัวเสาวางบนหัวขื่อ ที่เตรียมไว้ นาพรึงด้านยาวซึ่งเป็นพรึงตัวเมียวางบนหัวรอด แล้วนาพรึงด้านสกัดซึ่งเป็นพรึ งตัวผู้สวมเข้าไปในพรึง ด้านยาว จากนั้นจึงใส่สลักติดกับเสา เรือนโคราชมีวิธีการเข้าพรึงแตกต่างจากเรือนภาคกลางคือ พรึงของเรือน ภาคกลางจะเข้ามุมเสมอกันที่มุมเรือน แต่เรือนโคราชจะยื่นพรึงด้านสกัดยาวเลยหัวเสาความยาวใกล้เคียงกับส่วนยื่น ของรอด บางหลังยาวกว่าหรือสั้นกว่ารอดซึง่ ไม่มีกาหนดตายตัว หลังจากแต่งระดับน้าให้หลังรอด พรึง แปหัวเสาได้ระดับแล้ว จึงวางตงและปูพื้นโดยไม่ตอกตะปู เมื่อถึง ขั้นตอนนี้โครงสร้างพื้นจะเป็นส่วนยึดโครงอาคาร ช่างจะนาแผงจั่วทั้งสองด้านวางให้ปลายล่างตีนจั่วทั บแปหัวเสา ส่วนที่ไม่มีเสาดั้ง คือ เสาเรือนคู่ที่ ๒ และ ๓ ใช้ดั้งแขวนสวมเข้าไปในขื่อ นาจันทันสวมเข้าไปในใบดั้ง โคนจันทันวาง ทับ แปหั วเสา วางแปเข้าที่ในแผงจั่ ว ที่บากไว้รองรับแป วางอกไก่สวมลงไปที่เดือยใบดั้งบนเสาดั้งและดั้ งแขวน ยกแผงฝาขึ้นตั้งบนพรึง สวมเข้าไปในเต้าและอยู่ใต้แปหัวเสา สวมเชิงชายเข้ากับเต้า ใส่สลักไม้อัดเชิงชายแน่นกับเต้ า ทุกตัว วางกลอน เมื่อครบตามขั้นตอนของตัวเรือน ช่างจะประกอบส่วนระเบียงและนอกชาน เสร็จแล้วจึงมุงหลังคา พร้อมกันทั้งหลัง
๑๒ ๕. ประวัติควำมเป็นมำ จังหวัดนครราชสีมาเป็นเมืองที่มีความสาคัญมาแต่อดีต เนื่องจากเป็นเมืองศูนย์กลางการติดต่อระหว่าง ชุ ม ชนที่ อ ยู่ แ ถบลุ่ ม น้ ามู ล ลุ่ ม น้ าชี แ ละลุ่ ม น้ าโขงกั บ ชุ ม ชนแถบลุ่ ม น้ าเจ้ า พระยา มี ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานมาแต่ ค รั้ ง ก่อนประวัติศาสตร์และสืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน มีประชากรที่ประกอบด้วยหลายกลุ่มชาติพันธุ์ เช่น ไทย ลาว เขมร มอญ ส่ ว ย จี น แขก เป็ น ต้น จึ งเกิดการผสมผสานทางวัฒ นธรรมเกิดเป็นเอกลั กษณ์ อันมีลั กษณะวัฒ นธรรม บางอย่างแตกต่างจากชาวไทยอีสานโดยทั่วไป เช่น เรือนพักอาศัยพื้นถิ่นซึ่งได้รับอิทธิพลจากเรือนไทยภาคกลาง มาตั้งแต่สมัยอยุธยาผ่านกาลเวลาเนิ่นนานเข้าฝีมือช่างได้เปลี่ ยนแปลงไปตามความคิดอ่านของช่างท้องถิ่นเกิดการ คลี่คลายในรูปแบบและรายละเอียดบางส่วนจนกลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นคือ “เรือนโคราช” ซึ่งเหมาะสมกับ สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศของจังหวัดนครราชสีมา วัสดุก่อสร้างส่วนใหญ่เป็นไม้เนื้อแข็ง ใต้ถุนสูง เรือนนอน ลดระดับ ไปยั งระเบี ยงและนอกชาน หลั งคาจั่วทรงสูง วิธีการปลูกสร้างเป็นระบบส าเร็จรูป รอดเจาะทะลุเสา เต้ารับชายคา พรึงรับฝาผนังซึ่งเป็นฝาผนังแบบสาเร็จรูป เช่น ฝาปรือกรุเซงดา คล้ายฝาสาหรวดของภาคกลาง ฝานอนตีทับเกล็ดที่มีลักษณะเฉพาะและฝาตั้งคล้ายฝาสายบัว จากกระแสของความเปลี่ ยนแปลงในยุคปัจจุบัน อาคารพักอาศัยได้รับการพัฒนาไปตามความนิยม มีรูปแบบใหม่ วัสดุใหม่ และเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาเกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มความสะดวกสบาย เรือนโคราชได้รับ ผลกระทบในการเปลี่ยนแปลงจนแทบจะไม่เหลือร่องรอยของวัฒนธรรมท้องถิ่น ปัจจุ บันชาวไทยโคราชส่วนใหญ่ ไม่รู้จักเรือนโคราช ใช้ภาษาโคราชในการสื่อสารน้อยลง แต่ยังมีคนโคราชจานวนหนึ่งอาศัยอยู่ในเรือนโคราชด้วย ความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของบรรพชนที่ได้สร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมอันทรงคุณค่ายิ่งไว้ให้ลูกหลาน ๖.ลักษณะเฉพำะที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม ๖.๑ ลักษณะ เนื่องจากเรือนโคราชเป็นเรือนพักอาศัยพื้นถิ่นที่นิยมสร้างกันอย่างแพร่หลายในพื้นที่ จังหวัด นครราชสีมา มาอย่างต่อเนื่องยาวนานมากกว่าร้อยปี และมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบเรือนตามความเจริญก้าวหน้า ของวัสดุและเทคโนโลยีการก่อสร้างในแต่ละยุคสมัย ส่งผลให้เรือนโคราชมีรูปแบบที่หลากหลายที่เกิดจากภูมิปัญญา ของช่างท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่ รูปแบบเรือนที่แสดงถึงอัตลักษณ์และเป็นลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น ได้แก่ ๖.๑.๑ เรือนสองห้อง เรือนรูปแบบนี้มีขนาดเรือนนอนเพียง ๒ ช่วงเสา และมีส่วนที่เรียกว่า “พะ” ซึ่งเป็นพื้นทีต่ ่อจากด้านสกัดของเรือนนอนออกไป ๑ ช่วงเสา ที่มีลักษณะเป็นโถงโล่งเชื่อมต่อกับระเบียงด้านข้างและ ปิดล้อมฝาเพียงสองด้าน ซึ่งแตกต่างจากเรือนพื้นถิ่นทั่วไป ๖.๑.๒ เรือนสามจั่ว ลักษณะเด่นของเรือนรูปแบบนี้คือ การสร้างหลังคาสามจั่วต่อเนื่องกัน เพื่อคลุม พื้นที่ใช้สอยชั้นบนซึ่งแบ่งเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ เรือนนอนที่มีฝาปิดกั้นทั้งสี่ด้าน (จั่วแรก) พักต่า(โถงกลาง) และพักบน (จั่วที่สาม) รวมถึง การเชื่อมต่อของโครงหลังคาทั้งสามจั่วและการเข้าไม้ที่มีลักษณะเฉพาะ ๖.๒ ฝำเรือนโคราชแบบดั้งเดิมซึ่งเป็นฝาสาเร็จรูปมีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นเกี่ยวกับวัสดุและรูปแบบ ดังนี้ ๖.๒.๑ ฝาปรื อกรุ เซงดา เป็ นรูปแบบฝาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของเรือนโคราช และนับได้ว่าเป็น ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวไทยโคราชอย่างแท้จริง ทั้งการใช้เลือกวัสดุและการจัดวางรูปแบบ โดยการนาต้นปรือมาใช้ เป็นวัสดุกรุฝาซึ่งประกบด้วยไม้ไผ่ผ่าเสี้ยวรมไฟและทารักจนดาเพื่อกันมอดและแมลง เรียกว่า “เซงดา” ปลายไม้ไผ่
๑๓ สอดเข้าไปในเคร่าตั้งไม้จริง ซึ่งองค์ประกอบทั้งหมดนี้ถูกจัดวางอยู่ภายในกรอบไม้ทั้งสี่ด้าน ทั้งนี้ การออกแบบช่อง หน้าต่างและประตูมีความสัมพันธ์กับความกว้างของช่องลูกตั้ง ๖.๒.๒ ฝาเข้าลิ้นไม้ซ้อนเกล็ดแนวนอน มีลักษณะการเข้าไม้ตามกรรมวิธีดั้งเดิมโดยไม่มีการยึดหรือ ตอกด้วยตะปู แต่จะนาแผ่นไม้แต่ละแผ่นมาประสานกันด้วยวิธีการเข้ารางลิ้นสอดสลักเดือย โดยประกอบไม้เป็นแผง ฝาทาลวดลายเลียนแบบฝาปรือกรุเซงดา ตกแต่งช่วงล่างด้วยล่องตีนช้าง ๖.๒.๓ ฝากระดานตีนอนซ้อนเกล็ด ซึ่งมีลักษณะการวางแผ่นไม้กระดานตามแนวนอนใน กรอบฝาทั้งสี่ ด้านที่ยังคงการเข้าไม้แบบดั้งเดิม แล้วตีไม้ทับเกล็ดแนวตั้งเป็นช่วงๆแนวตรงกันทั้งด้านนอกและด้านในให้มีจังหวะ การแบ่งช่องคล้ายกับฝาปรือกรุเซงดา บางแผงอาจจะมีการตกแต่งช่วงล่า งด้วยล่องตีนช้าง ซึ่งแผ่นกระดานไม้กับ เคร่าตั้งนั้นยึดกันด้วยตะปูขนาดเล็ก ทั้งนี้ ฝาเข้าลิ้นไม้ซ้อนเกล็ดแนวนอนและฝากระดานตีนอนซ้อนเกล็ดเป็นฝาที่ประกอบขึ้นจากไม้จริง ทั้งหมด ที่สะท้อนให้เห็นถึงการคงรูปแบบของการจัดวางองค์ประกอบลวดลายตามแบบอย่างฝาปรือกรุเซงดาเอาไว้ ซึ่งมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ๖.๓ ประตู ลักษณะเด่นของประตูรูปแบบดั้งเดิมที่ประกอบเข้ากับแผงฝาสาเร็จรูป คือ การทาประตูบาน เปิดคู่ที่มีขนาดเล็กและมีความสูงไม่มากนัก โดยมีทิศทางการเปิดเข้าภายในเรือน ซึ่งบานประตูใช้เดือยเป็นจุดหมุน บนล่างแทนบานพับ อีกทั้งยังมีการแกะสลักส่วนประกอบต่างๆ เช่น วงกบ อกเลา และดอกจันทน์ เป็นต้น แสดงให้ เห็นถึงทักษะฝีมือของช่างท้องถิ่นที่มีคุณค่า ๖.๔ หน้ำต่ ำง หน้ าต่างรู ปแบบดั้งเดิมที่ประกอบเข้ากับแผงฝาส าเร็จรูป มักจะมีขนาดเล็กและแคบ มีทิศทางการเปิดเข้าภายในเรือนเหมือนกันทั้งหมด ซึ่งมีทั้งลักษณะที่เป็นบานเปิดเดี่ยวและบานเปิดคู่ เปิดเข้าภายใน เรือนโดยใช้เดือยเป็นจุดหมุนบนล่างแทนบานพับ การใส่กลอนใช้วิธีการเจาะธรณีหน้าต่างแล้วนาไม้แผ่นแบนเสียบ ในรูที่เจาะไว้กันไม่ให้ผู้อยู่ด้านนอกดันเปิดเข้าไปได้ บางหลังมี การแกะสลักส่วนประกอบต่างๆ เช่น วงกบ อกเลา และดอกจันทน์ เป็นต้น สิ่งที่น่าสนใจเกี่ยวกับการกาหนดขนาดและตาแหน่งหน้าต่างของเรือนโคราช คือ การเจาะ หน้าต่างที่มีขนาดความกว้างพอดีและสัมพันธ์กับรูปแบบของช่องแนวตั้งของแผงฝา ซึ่งสิ่งนี้เป็นลักษณะเฉพาะที่ ไม่เหมือนเรือนพื้นถิ่น ส่วนที่ ๒ คุณค่ำและบทบำทของวิถีชุมชนที่มีต่อมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม ๑. คุณค่ำของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมที่สำคัญ ๑. คุณค่ำช่ำงฝีมือดั้งเดิม เรือนโคราชแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาของเหล่าบรรพชนที่ได้สั่งสม กลั่นกรอง และพัฒนาจนก่อรูปเป็น งานสถาปัตยกรรมอัน ทรงคุณค่า อีกทั้งยั งสะท้อนให้ เห็นถึงความอัจฉริยภาพของช่างท้องถิ่นในการบูรณาการ องค์ความรู้ แสดงถึงทักษะฝีมือการแปรรูปไม้และความประณีตในการเข้าไม้ที่ต้องอาศัยความเข้าใจสัจจะของวั สดุ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ ระบบโครงสร้าง กฎการรับแรงและการถ่ายน้าหนัก รวมถึง การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยี สมัย ใหม่ในแต่ล ะยุ คสมัย โดยเฉพาะอย่ างยิ่ง โครงสร้ างของเรือนโคราชซึ่งเป็นระบบส าเร็จรูปที่ส ามารถถอด ประกอบได้ เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าช่างจะต้องมีความชานาญและมีความแม่นยาอย่างสูงในการวัดขนาด การเจาะ
๑๔ การบาก เพื่อปรุงเครื่องเรือนส่วนต่างๆแล้วยกประกอบขึ้นเป็น ตัวเรือน โดยยึดองค์อาคารเหล่านั้นด้ วยวิธีการเข้า เดือย สอดสลักลิ่ม เพื่อยึดตรึงให้มั่นคงแน่นหนาด้วยฝีมืออันประณีต อันเป็นทักษะที่สืบทอดต่อกันมา ๒. เป็นเรือนครู นั บ ตั้ ง แต่ เ รื อนโคราชถู กก่ อ รู ป ขึ้ น มาจนได้รั บ ความนิ ยมในการปลู ก สร้ างเป็ นที่ อ ยู่ อาศั ย ของชาว จังหวัดนครราชสีมา มาอย่างต่อเนื่องยาวนานโดยผ่านกาลเวลาแต่ละยุคสมัย ประกอบกับเหตุปัจจัยความเจริญ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม จึงก่อกาเนิดพัฒนาการทั้งทางด้านรูปแบบ วัสดุ และ เทคนิ คการก่อสร้าง สิ่ งเหล่ านี้ ล้ วนส่ งผลให้ เรือนโคราชมีความหลากหลายและแตกต่างกันไปตามแต่ล ะท้องที่ ยกตัวอย่างเช่น “เรือนพ่อคง” ซึ่งปัจจุ บันถูกเคลื่อนย้ายมาจัดแสดงเป็นพิพิธ ภัณฑ์พื้นบ้านภายในมหาวิทยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี มา เป็ น เรื อนตั ว อย่ า งที่ส ะท้อนให้ เห็ นถึงความอัจฉริ ยภาพของช่ างท้ องถิ่น ในการบูรณาการ องค์ความรู้ มีความเข้าใจสัจจะของวัสดุ มีความเชี่ยวชาญทั้งระบบโครงสร้าง การเข้าไม้ การประยุกต์เทคโนโลยี สมัยใหม่ในยุคนั้น เข้ามาผสมผสานเป็นองค์อาคารได้อย่างลงตัว อีกทั้ง ยังมีความกล้าคิดนอกกรอบ โดยปรับเปลี่ยน รูปแบบและรู ปทรงสถาปั ตยกรรม ให้ หลุดจากแบบแผนจารี ตเดิม เพื่อตอบสนองการใช้งาน การแก้ปัญหาและ สร้ า งประโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งเหมาะสม ผนวกกั บ ความชาญฉลาดในการแปรรู ป ไม้ ความประณี ต ในการก่ อ สร้ า ง ด้ว ยลั กษณะพิเศษดังกล่ าว จึ งนั บ ได้ว่าเรื อนพ่อคง “เป็นเรือนครู ” ที่แสดงให้ เห็ นถึงปัญญาสร้างสรรค์และ อัจฉริ ยภาพของบรรพบุ รุษคนไทยโคราชในการปลู กสร้างเรือน ซึ่งควรค่าแก่การบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ลูกหลานชาวไทยได้ศึกษา ๓. ควำมสอดคล้องกับสภำพแวดล้อม เรือนโคราชมีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ดังนี้ ๓.๑ การวางตัวเรือนตามตะวัน หรือหันด้านจั่วไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตก เป็นการวางตาแหน่ง ทิศทางที่สอดรับกับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น ซึ่งการวางเรือนลักษณะนี้จะทาให้พื้นที่ด้านยาวของตัวเรือนไม่รับ แดดตลอดทั้งวันและสามารถรับลมประจาฤดูกาลได้ดี แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจถึงวิถีธรรมชาติที่ตนอาศัยอยู่ ๓.๒ ลักษณะสถาปัตยกรรมของเรือนโคราชมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น เช่ น การใช้ ใ ต้ ถุ น เรื อนเป็ น พื้ น ที่ อ เนกประสงค์ ร องรั บ กิ จ กรรมในการด าเนิ น ชี วิ ต ประจาวั น ตามวิ ถี ชี วิ ต สั ง คม เกษตรกรรม และการสร้ างระเบี ย งเปิ ดโล่ งที่ ไม่มีฝ ากั้นเพื่อ สร้างพื้น ที่ใช้ส อยที่ส อดคล้ องและเหมาะกับ สภาพ ภูมิอากาศเขตร้อนชื้นที่ต้องการการบังแดด การระบายอากาศ และการรับลม เพื่อให้ผู้อยู่อาศัยเกิดความรู้สึกสบาย ๓.๓ วัสดุที่นามาปลูกสร้างเรือนโคราชเป็นวัสดุธรรมชาติที่หาได้จากท้องถิ่น เช่น ชิ้นส่วนโครงสร้าง และองค์ประกอบของตัวเรือนแปรรูปจากไม้เนื้อแข็งที่หาได้จากป่าเบญจพรรณบริเวณพื้นที่ใกล้หมู่บ้าน และการนา ต้นปรือซึ่งมีอยู่ทั่วไปในบึงน้าที่สะอาดบริเวณพื้นที่เกษตรกรรมมาประกอบเป็นฝาเรือน ซึ่งสิ่งนี้สะท้อนให้เห็น ภูมิปัญญาของช่างท้องถิ่นโคราชในการคัดสรรและแปรรูปวัสดุธรรมชาติ เหล่านั้นมาปลูกสร้างที่อยู่อาศัยให้มีความ แข็งแรงมั่นคงนานนับร้อยปี ๔. เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ปัจจุบันมีหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ตระหนักถึงคุณค่า อัตลักษณ์ของ “เรือนโคราช” จึงบูรณการความร่วมมือในการอนุรักษ์ สืบทอด ความเป็นตัวเรือน รูปแบบการก่อสร้าง เรือนโคราช
๑๕ ให้นักท่องเที่ยว ผู้สนใจทั่วไป ได้เข้าชมและศึกษา โดยการส่งเสริมให้เป็นเส้นทางหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ได้แก่ หมู่บ้านนกออก ตาบลนอกออก อาเภอปักธงชัย ๕. เป็นแหล่งเรียนรู้ทำงวัฒนธรรมของชุมชน ด้วยอัตลักษณ์ของ “เรือนโคราช” มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา จึงได้สร้าง “เรือนพ่อคง” เป็น เรือนตัวอย่างแสดงให้เห็นถึงความสร้างสรรค์งานช่างฝีมือท้องถิ่นของคนโคราช บูรณาการกับความเป็นสมัยปัจจุบัน ถือเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครราชสีมา อันทรงคุณค่า เป็นแหล่งเรียนรู้ให้ประชาชน ผู้ สนใจ ได้ศึกษาต่อไป ๒. บทบำทของชุมชนที่มีต่อมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม ด้วยความตระหนักถึงคุณค่า ปัญญาสร้างสรรค์ของบรรพบุรุษและอัตลักษณ์ของ “เรือนโคราช” ชุมชนได้ ดาเนินการดังนี้ ๑. ทาให้เกิดแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ได้แก่ การสร้างเรือนพ่อคงของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ถือเป็น “เรือนโคราช” ที่เป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับ เด็ก เยาวชน ประชาชน และผู้สนใจทั่วไป รวมไปถึงนักท่องเที่ยว ได้ศึกษาถึงลักษณะเฉพาะตัวของเรือนที่เป็นอัตลักษณ์อันทรงคุณค่า เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของจังหวัด นครราชสีมา ๒. นามาสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ดังนี้ ๒.๑ การนาเสนอเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ได้แก่ หมู่บ้านนกออก ตาบลนกออก อาเภอ ปักธงชัย มีเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่บูรณาการแหล่งวัฒนธรรมต่างๆ ได้แก่ เรือนโคราช หอไตรกลางน้า และวิถีชีวิต ความเชื่อของชุมชน เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพัฒนาสร้างสรรค์และต่อยอดทุนทางวัฒนธรรม ๒.๒ จิมทอมป์สันฟาร์ม อาเภอปักธงชัย ได้ตระหนักถึงอัตลักษณ์อันทรงคุณค่าของ “เรือนโคราช” จึงได้สร้างเรือนโคราช จาลอง เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เห็นถึงความสร้างสรรค์ทางภูมิปัญญาการสร้างเรือนโคราช ของ บรรพบุรุษ ๒.๓ เรือนโคราชเฉลิมวัฒนา ตั้งอยู่ด้านหน้าอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี เป็นการจาลอง “เรือนโคราช” ในพื้นที่อาเภอเมืองนครราชสีมา เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ชมความสวยงาม ด้านในมี Art Gallery เป็นเหมือน พิพิธภัณฑ์จาลองของโคราช ที่คงความเป็นโคราช ๓. เป็นแหล่งข้อมูลในการศึกษาค้นคว้า การทาวิจัยเกี่ยวกับ “เรือนโคราช” ส่วนที่ ๓ มำตรกำรในกำรส่งเสริมและรักษำมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม ๑. โครงกำร กิจกรรมที่มีกำรดำเนินงำนของรำยกำรมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม กำรศึกษำ วิจัย ๑. สานั กงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ ร่ว มกับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา ดาเนินโครงการวิจัย สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น : กรณีศึกษาเรือนโคราช จังหวัด นครราชสีมา (VERNACULAR ARCHITECTURE : A CASE STUDY OF KORAT HOUSE IN NAKORNRATCHASIMA PROVINCE) เพื่ อ ศึ ก ษารู ป แบบและองค์ ป ระกอบของเรื อ นโคราชในเชิ ง สถาปั ต ยกรรมและความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรู ป แบบ สถาปั ต ยกรรมเรื อ นโคราชกั บ ความเป็ น อยู่ ข องชุ ม ชนและทรั พ ยากรธรรมชาติ ใ นท้ อ งถิ่ น หั ว หน้ า โคร งการ
๑๖ รศ.กาญจนา ตันสุวรรณรัตน์ อาจารย์ประจาคณะวิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ๒. สานั กงานการเคหะแห่งชาติร่ว มกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลั ยขอนแก่น ดาเนิน โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรู้เรื่องอัตลักษณ์และภูมิปัญญาด้านที่อยู่อาศัยของท้องถิ่น : กรณีศึกษาพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (ลุ่มน้ามูล-ลาตะคอง) เพื่อสารวจและรวบรวมข้อมูลด้านที่อยู่อาศัยและวิถีชีวิต การอยู่อาศัยในทุกมิติ รวมทั้งการจัดการความรู้เรื่องที่อยู่อาศัยและวิถีชีวิตการอยู่อาศัยด้านมรดกภูมิปัญญาท้องถิ่น อย่างเป็นรูปธรรมในมิติของชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐาน สถาปัตยกรรม ศิลปกรรม ศิลปวัฒนธรรม ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ ในตั ว บุ ค คล หั ว หน้ า โครงการ ผศ.ดร. นพดล ตั้ ง สกุ ล อาจารย์ ป ระจ าคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๓. จัดทาสื่อวีดิทัศน์ในรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง “เรือนโคราช” เพื่อเผยแพร่ให้กับผู้สนใจทั่วไป กำรอนุรักษ์ ฟื้นฟู ๑. “เรือนโคราช” ในพื้นทีบ่ ้านพระเพลิง ตั้งอยู่ในเขต ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัด นครราชสีมา เจ้าของเรือนและชุมชน ให้ความสาคัญ ในการที่จะช่วยกันอนุรักษ์ ฟื้นฟู ให้เรือนโคราชยังคงอยู่ ดังนี้ - เรือนที่ถูกปล่อยร้างไม่มกี ารอยูอ่ าศัย - เรือนที่มีการอยู่อาศัยแต่ยังคงสภาพเดิม - เรือนที่มกี ารอยู่อาศัยและมีการดัดแปลงจากเดิม - เรือนที่คงรูปทรงเดิมแต่เปลี่ยนแปลงวัสดุใหม่ ๒. การสร้ า งเรื อ นโคราชจ าลอง ให้ เป็ นแหล่ ง เรี ยนรู้ ทางวั ฒ นธรรม ได้ แก่ เรื อนพ่อ คง ตั้ งอยู่ ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรือนโคราชเฉลิมวัฒนธรรม ตั้งอยู่บนถนนราชดาเนิน กำรสืบสำนและถ่ำยทอด ๑.หลักสูตรการเรียน การสอน ของคณะวิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ๒.เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นเรือนครู ได้แก่ การสร้าง “เรือนโคราช” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๓.โรงเรียนวัดหงส์ บ้านพระเพลิง ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา จัด กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ให้เด็ก โดยจัดห้องสมุดเป็นมุมเกี่ยวกับเรือนโคราชที่มีอยู่ในพื้นที่ และให้ เด็กได้เข้าไปศึกษา เรียนรู้ในพื้นที่จริง ๔. การจัดแสดงนิทรรศการเรือนโคราช ณ ห้างสรรพสินค้า Terminal ๒๑ นครราชสีมา และงาน ฉลองวันแห่งชัยชนะของท้าวสุรนารี กำรพัฒนำต่อยอดมรดกภูมิปัญญำ ๑. หมู่บ้านอีสาน ณ จิมทอมป์สัน ฟาร์ม ตั้งอยู่ที่บ้านตะขบ ตาบลตะขบ อาเภอปักธงชัย จังหวัด นครราชสีมา ได้นาเรือนโบราณในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ที่ มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรมกว่าหลายร้อยปี หรือ “เรือนโคราช” อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรม มาสร้างไว้ให้ลูกหลานชาวโคราช และผู้สนใจ นักท่องเที่ยว ได้ชื่นชมและ
๑๗ ศึกษาถึงอัตลั กษณ์ข อง เรื อนโคราช ที่ ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้เพื่อมิให้ สู ญหายตามกาลเวลา ซึ่งถือเป็นแหล่ ง ท่องเที่ยวที่สาคัญของจังหวัดนครราชสีมา ๒. หอศิล ป์ บ้ านโคราชโบราณ ณ วังตะแบก ตั้งอยู่ที่บ้านวังตะแบก ตาบลทุ่งอรุณ อาเภอโชคชัย จั งหวัด นครราชสี มา มีการจั ดแสดงนิ ท รรศการงานศิล ปะ ภายในบ้านโคราช ที่ยัง คงสภาพดั้งเดิม ให้ เห็ นถึ ง สถาปั ต ยกรรม “เรื อ นโคราช” เปิ ด ให้ ผู้ ส นใจทั่ ว ไปได้ เ ข้ า ชมงานศิ ล ปะและยั ง ได้ เ ห็ น ถึ ง ความงดงามของ สถาปัตยกรรม เรือนโคราช อีกด้วย ๓. เรือนโคราช เฉลิมวัฒนา ตั้งอยู่บนถนนราชดาเนิน ตาบลในเมือง อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวั ด นครราชสีมา เยื้องอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ทุกท่านที่มาสักการะอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี หรือผ่านไปมาบนถนนราชดาเนิน ก็จะเห็นเรือนโคราช เฉลิมวัฒนา ตั้งตะหง่านอยู่บนถนนราชดาเนิน แสดงให้เห็นถึงความงดงาม ความเป็นอัตลักษณ์ ของเรือนโคราชได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เป็นที่น่าชื่นชมของผู้พบเห็น ๔.ส านั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห่ ง ชาติ ร่ ว มกั บ สถาบั น เทคโนโลยี ร าชมงคล วิ ท ยาเขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา ดาเนินโครงการวิจัย สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น : กรณีศึกษาเรือนโคราช จังหวัด นครราชสีมา (VERNACULAR ARCHITECTURE : A CASE STUDY OF KORAT HOUSE IN NAKORNRATCHASIMA PROVINCE) เพื่ อ ศึ ก ษารู ป แบบและองค์ ป ระกอบของเรื อ นโคราชในเชิ ง สถาปั ต ยกรรมและความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรู ป แบบ สถาปั ต ยกรรมเรื อ นโคราชกั บ ความเป็ น อยู่ ข องชุ ม ชนและทรั พ ยากรธรรมชาติ ใ นท้ อ งถิ่ น หั ว หน้ า โครงการ รศ.กาญจนา ตันสุวรรณรัตน์ อาจารย์ประจาคณะวิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ๕. ส านั ก งานการเคหะแห่ งชาติร่ ว มกั บคณะสถาปัต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ด าเนิ น โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรู้เรื่องอัตลักษณ์และภูมิปัญญาด้านที่อยู่อาศัยของท้องถิ่น : กรณีศึกษาพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (ลุ่มน้ามูล -ลาตะคอง) เพื่อสารวจและรวบรวมข้อมูลด้านที่อยู่อาศัยและวิถีชีวิต การอยู่อาศัยในทุกมิติ รวมทั้งการจัดการความรู้เรื่องที่อยู่อาศัยและวิถีชีวิตการอยู่อาศัยด้านมรดกภูมิปัญญาท้องถิ่น อย่างเป็นรูปธรรมในมิติของชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐาน สถาปัตยกรรม ศิลปกรรม ศิลปวัฒนธรรม ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ ในตั ว บุ ค คล หั ว หน้ า โครงการ ผศ.ดร. นพดล ตั้ ง สกุ ล อาจารย์ ป ระจ าคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒. มำตรกำรส่งเสริมและรักษำมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมอื่นๆ ที่คำดว่ำจะดำเนินกำรในอนำคต ๒.๑ การสร้างแรงจูงใจให้กับเจ้าของเรือนโคราช โดยการมอบโล่หรือรางวัล ให้กับเจ้าของเรือนที่มีการ อนุรักษ์ เรือนโคราช ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ๒.๒ การส่งเสริม “เรือนโคราช”เป็นสินค้าทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวชุมชน ๒.๓ การน าองค์ความรู้ จากภูมิปัญญาการสร้าง “เรือนโคราช” ไปปรับใช้ในการอนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดล้อม ๒.๔ จัดทาแผนการส่งเสริม สืบสาน ถ่ายทอดและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ด้านช่างฝีมือดั้งเดิม “เรือนโคราช” บรรจุในแผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๒.๕ กาหนดให้ มีก ารเรี ย น การสอน หลั ก สู ตรเกี่ยวกับสถาปัต ยกรรมโครงสร้าง “เรื อนโคราช” ใน สถาบันการศึกษาประจาจังหวัดนครราชสีมา และสถาบันการศึกษาในพื้นที่
๑๘ ๓. กำรส่งเสริม สนับสนุนจำกหน่วยงำนภำครัฐ หรือภำคเอกชน หรือภำคประชำสังคม ๓.๑ การสนับสนุนจากการเคหะแห่งชาติ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดทา โครงการศึกษาวิจัยเพื่อ จัดการความรู้เรื่องที่อยู่อาศัยและวิถีการอยู่อาศัยผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓.๒ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลอี ส าน นครราชสี ม า คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ ได้ จั ด ท า โครงการวิจัยสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น : กรณีศึกษาเรือนโคราช จังหวัดนครราชสีมา ๓.๓ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ได้เขียน บทความในวารสารสังคมลุ่มน้าโขง ประจาเดือนมกราคม-เมษายน พ.ศ.๒๕๕๘ การศึกษาสถานภาพการดารงอยู่ ของเรือนโคราชในปัจจุบัน กรณีศึกษาหมู่บ้านพระเพลิง จังหวัดนครราชสีมา ๓.๔ คณะศิษย์เก่าโรงเรียนฝึกหัดครูนครราชสีมา, วิทยาลัยครูนครราชสีมา, สถาบันราชภัฏนครราชสีมา และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้จัดสร้าง “เรือนโคราช” หรือ “เรือนพ่อคง” ขึ้น ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา เป็นการสืบทอดภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น หรือ ช่างฝีมือดั้งเดิมท้องถิ่นของชาวโคราช และ เป็นการสืบสานมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่าของจังหวัดนครราชสีมา เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับ นักศึกษา และประชาชน ผู้สนใจทั่วไป ส่วนที่ ๔ สถำนภำพปัจจุบัน ๑. สถำนะกำรคงอยู่ของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม มีการปฏิบัติอย่างแพร่หลาย เสี่ยงต่อการสูญหายต้องได้รับการส่งเสริมและรักษาอย่างเร่งด่วน ไม่มีการปฏิบัติอยู่แล้วแต่มีความสาคัญต่อวิถีชุมชนที่ต้องได้รับการฟื้นฟู ๒. สถำนภำพปัจจุบันของกำรถ่ำยทอดควำมรู้และปัจจัยคุกคำม ๒.๑ สถำนภำพปัจจุบัน สถานภาพการดารงอยู่ของเรือนโคราชปัจจุบันมี ๔ ลักษณะคือ ๑) ถูกปล่อยร้าง ถูกซื้อและรื้อย้าย ออกจากชุมชน เนื่องจากเจ้าของเรือนย้ายไปอยู่อาศัยต่างถิ่น ๒) มีการอยู่อาศัยมาอย่างต่อเนื่องและยังคงสภาพเดิม ๓) มีการอยู่อาศัยมาอย่างต่อเนื่องโดยปรับเปลี่ยนเพิ่มลดพื้นที่ใช้สอย รูปทรง วัสดุ โครงสร้างและองค์ประกอบต่างๆ ๔) รื้อเรือนเดิมแล้วสร้างบ้านในรูปแบบใหม่ ซึ่งมีทั้งการนาวัสดุเดิมมาใช้เป็นองค์ประกอบบางส่วนหรือเป็นการใช้ วัสดุใหม่ที่ผลิตในระบบอุตสาหกรรมมาใช้ทั้งหมด ปรากฏการณ์เหล่านี้ สะท้อนให้เห็นถึงการลดความนิยมลงของ เรือนโคราชในปัจจุบัน ซึ่งหากยังไม่มีการสร้างจิตสานึกให้ตระหนักถึงคุณค่า ไม่มีการอนุรักษ์และพัฒนาสืบทอดใน อนาคต จะส่งผลให้เรือนโคราชเกิดการสูญหายไปจากวิถีชีวิตของผู้คนในจังหวัดนคราชสีมาอย่างแน่นอน ๒.๒ ปัจจัยคุกคำม การเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิจและสั งคมปัจจุบันส่ งผลกระทบต่อการดารงอยู่ของเรือนโคราช ซึ่งนับวันจะมีจานวนลดน้อยลงไป ทั้งนี้ ปัจจัยคุกคามที่ส่งผลต่อการดารงอยู่ของเรือนโคราช ได้แก่ ทัศนคติและ ค่านิยมของผู้อยู่อาศัย ซึ่งผู้อยู่ อาศัยเรือนโคราชส่วนใหญ่ (ที่เป็นกลุ่มลูกหลาน) มีค่านิยมในการสร้างบ้านรูปแบบ ใหม่ตามกระแสของคนในสังคมปัจจุบัน ประกอบกับการผุพังและทรุดโทรมของเรือนไม้เก่า การทาลายของปลวก และการเปลี่ ยนแปลงของสภาพพื้น ที่โ ดยรอบ สร้างความเสียหายให้ กับเรือนโคราชเป็นอย่างมากจนเกิ ดความ
๑๙ ยากลาบากในการรักษาไว้ให้คงสภาพเดิม เนื่องจากขาดแคลนทรัพยากรไม้ที่มีคุณภาพดี ราคาถูก และเทคโนโลยี การซ่อมแซมที่เหมาะสม รวมถึงขาดช่างฝีมือที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ได้โดยสิ้นเชิง ดังนั้น จึงเป็นเหตุให้ผู้อยู่อาศัย เกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อวัสดุและการดูแลรักษาในภายภาคหน้า ส่งผลต่อการรื้อถอนเรือนได้ ๓. รำยชื่อผู้สืบทอดหลัก รำยชื่อบุคคล/หัวหน้ำคณะ/กลุ่ม/สมำคม/ อำยุ/อำชีพ ชุมชน
องค์ควำมรู้ด้ำนที่ได้รับ กำรสืบทอด/จำนวนปีที่ สืบทอดปฏิบัติ
สถำนที่ติดต่อ/ โทรศัพท์
ผศ.ดร. นพดล ตั้งสกุล อาจารย์ประจาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาจารย์
โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการ ความรู้เรื่องอัตลักษณ์และ ภูมิปัญญาด้านที่อยู่อาศัยของ ท้องถิ่น : กรณีศึกษาพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง (ลุ่มน้ามูล-ลาตะคอง)
รศ.กาญจนา ตันสุวรรณรัตน์ อาจารย์ประจาสาขาสถาปัตยกรรม คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
อาจารย์
โครงการวิจัย สถาปัตยกรรม ๐๘ ๙๔๒๗ ๗๗๐๐ พื้นถิ่น : กรณีศึกษาเรือนโคราช จังหวัดนครราชสีมา
สานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครราชสีมา
หน่วยงาน
เรือนครู “เรือนพ่อคง” มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา การศึกษาสถานภาพการดารง อยู่ของเรือนโคราชในปัจจุบนั และคุณค่าของเรือนโคราชใน ทัศนคติของผู้อยู่อาศัย
ผศ.การุณย์ ศุภมิตรโยธิน อาจารย์ อาจารย์ประจาโปรแกรมวิชาสถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครราชสีมา
๐๘ ๙๔๑๖ ๔๔๔๘
๐ ๔๔๐๐ ๙๐๐๙ ต่อ ๑๐๑๐, ๑๐๑๓ ๐๘ ๓๙๓๓ ๑๙๙๖
๒๐ ส่วนที่ ๕ กำรยินยอมของชุมชนในกำรจัดทำรำยกำรเบื้องต้นมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม ๕.๑ หน่วยงำนสนับสนุนภำครัฐ ชื่อ-สกุล นางศศิฑอณร์ สุวรรณมณี ตาแหน่ง วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ถนนเพชรมาตุคลา ตาบลมะเริง อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ ๓๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๔๔๒๒ ๐๘๙๘ โทรสาร ๐ ๔๔๒๒ ๐๘๙๘ มือถือ ๐๘ ๙๙๗๓ ๙๘๓๒ อีเมล์ nakhonratchasimay@m-culture.go.th ขอรับรองข้อมูลตามเอกสารคาขอเสนอฯ และยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลและนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป ลงชื่อ (นางศศิฑอณร์ สุวรรณมณี) วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ๕.๒ หน่วยงำนผู้ให้บริกำรและผู้สืบทอด ชื่อ-สกุล รองศาสตราจารย์กาญจนา ตันสุวรรณรัตน์ อาจารย์ประจาสาขาสถาปัตยกรรม คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ที่อยู่ ๗๔๔ ถนนสุรนารายณ์ อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ ๓๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๙๔๒๗ ๗๗๐๐, ๐ ๔๔๒๓ ๓๐๐๐ ขอรับรองข้อมูลตามเอกสารคาขอเสนอฯ และยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลและนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป ลงชื่อ (รศ.กาญจนา ตันสุวรรณรัตน์) อาจารย์ประจาสาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ๕.๓ หน่วยงำนผู้ให้บริกำรและผู้สืบทอด ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์การุณย์ ศุภมิตรโยธิน อาจารย์ประจาโปรแกรมวิชาสถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ที่อยู่ ๓๔๐ ถนนสุรนารายณ์ อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ ๓๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๓๙๓๓ ๑๙๙๖, ๐ ๔๔๐๐ ๙๐๐๙ ขอรับรองข้อมูลตามเอกสารคาขอเสนอฯ และยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลและนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป ลงชื่อ (ผศ.การุณย์ ศุภมิตรโยธิน) อาจารย์ประจาโปรแกรมวิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๒๑ ส่วนที่ ๖ ภำคผนวก ๖.๑ เอกสำรอ้ำงอิง กาญจนา ตันสุวรรณรัตน์. (๒๕๔๔). สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: กรณีศึกษาฝาปรือ เรือนโคราช จังหวัดนครราชสีมา. รายงานวิจัย สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. นครราชสีมา กาญจนา ตันสุวรรณรัตน์. (๒๕๔๕). สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: กรณีศึกษาเรือนโคราช จังหวัดนครราชสีมา. รายงาน วิจัย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. นครราชสีมา การุณย์ ศุภมิตรโยธิน. (๒๕๕๘). สถานภาพการดารงอยู่ของเรือนโคราชในปัจจุบัน กรณีศึกษาหมู่บ้านพระเพลิง จังหวัดนครราชสีมา ในวารสารสังคมลุ่มน้าโขง Vol.๑๑ No.๑ มกราคม – เมษายน ๒๕๕๘ หน้า ๑๒๙-๑๔๙ การุณย์ ศุภมิตรโยธิน. (๒๕๕๙). คุณค่าของเรือนโคราชในทัศนคติของผู้อยู่อาศัย ในวารสารวิชาการคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม) หน้า ๑๗-๓๒ การุณย์ ศุภมิตรโยธิน. (๒๕๕๙). เรือนโคราช พ.ศ.๒๕๕๙. พิมพ์ครั้งที่ ๑. สานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ร่วมกับ คณะศิษย์เก่าโรงเรียนฝึกหัดครูนครราชสีมา วิทยาลัยครูนครราชสีมา สถาบันราชภัฏ นครราชสีมา และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นฤมล ปิยวิทย์. (๒๕๕๐). ไทโครำช. ที่ระลึกในโอกาสเกษียณอายุราชการ. นครราชสีมา วิโรฒ ศรีสุโร. (๒๕๓๐). เรือนพักอำศัยของชำวไทยโครำช: สถาปัตยกรรมอีสาน เอกสารประกอบการสัมมนา เอกลักษณ์สถาปัตยกรรมอีสาน งานนิทรรศการวัสดุก่อสร้างและผลงานสถาปัตยกรรมอีสาน สถาปัตยกรรม อีสานสัญจร ๒๙ ต.ค. - ๑ พ.ย.๒๕๓๐ ณ. โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น. กรุงเทพฯ: เมฆาเพรส นพดล ตั้งสกุล. (๒๕๕๙). สถานภาพผลงานวิชาการการศึกษาเรือนพื้นถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ไทย ในวารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๒ (มกราคม – มิถุนายน) หน้า ๑๗-๓๒ สุวัฒน์ ตัณฑนุช และคณะ. (๒๕๔๒). เรือนไทยโคราช. ศูนย์วัฒนธรรมวิยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถาบัน วัฒนธรรมราชมงคลเฉลิมพระเกียรติ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา
๖.๒ บุคคลอ้ำงอิง ๖.๒.๑ นางลมหวน โปรยขุนทด ที่อยู่ ๑๑ หมู่ที่ ๕ บ้านใหม่เจริญสุข ตาบลด่านขุนทด อาเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๒ นางสว่างจิตร ระราคี ที่อยู่ ๓๗ หมู่ที่ ๔ บ้านพิชิตคเชนทร์ ตาบลโชคชัย อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๓ นายประกอบ อาจยัง ที่อยู่ ๑๐ หมู่ที่ ๓ บ้านบุตาเหมา ตาบลกระโทก อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๔ นายใจ แผ่กระโทก ที่อยู่ ๗ หมู่ที่ ๓ บ้านบุตาเหมา ตาบลกระโทก อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๕ นางแหวน แก้วสระน้อย ที่อยู่ ๙๐ หมู่ที่ ๒ บ้านพระเพลิง ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๖ นายบุญช่วย โกฏสระน้อย ที่อยู่ ๓๖ หมู่ที่ ๒ บ้านพระเพลิง ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๗ นางมี โคกสระน้อย ที่อยู่ ๖๑ หมู่ที่ ๖ บ้านนกออก ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา
๒๒ ๖.๒.๘ นางสาวณัฐินี ฉิมพลี ที่อยู่ ๗๗/๑ หมู่ที่ ๖ บ้านนกออก ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๙ นางจิบ จินตนา ที่อยู่ ๕ หมู่ที่ ๖ บ้านนกออก ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๑๐ นางเนาวรัตน์ ทุมจานงค์ ที่อยู่ ๓๒ หมู่ที่ ๒ บ้านธงชัย ตาบลเมืองปัก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๑.๑๑ นายประดับ งอนตะคุ ที่อยู่ ๘๗ หมู่ที่ ๑ บ้านตะคุ ตาบลตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา (นายช่าง) ๖.๑.๑๒ นายสง่า คงศิริ ที่อยู่ ๑๕ หมู่ที่ ๒ บ้านคอนสาร ตาบลตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๑.๑๓ นางทองหลอม อินทวงศ์ ที่อยู่ ๑๗ หมู่ที่ ๔ บ้านโนนรัง ตาบลตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๑๔ นางทองเม่น พวงสุวรรณ ที่อยู่ ๒๓/๑ หมู่ที่ ๔ บ้านโนนรัง ตาบลตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๑๕ นางจูมจันทร์ ชมตะคุ ที่อยู่ ๕๒ หมู่ที่ % บ้านอุโลก ตาบลตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๑๖ นางอบ บุญตะคุ ที่อยู่ ๒๐ หมู่ที่ ๓ บ้านแดง ตาบลตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๖.๒.๑๗ นายพูน เปรมสระน้อย บ้านนกออก ต.นกออก อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา (นายช่าง)
๖.๓ ข้อมูลภำพถ่ำย ที่ ๑
ภำพถ่ำย
คำอธิบำย เรือนโคราช ๓ จั่ว
ผู้อ้ำงอิง นางสาวณัฐินี ฉิมพลี
๗๗/๑ หมู่ที่ ๖ บ้านนกออก ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา
๒
เรือนโคราช ๒ จั่ว ๘๗ หมู่ที่ ๑ บ้านตะคุ ตาบลตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา (นายช่าง)
นายประดับ งอนตะคุ
ติดต่อ
๒๓ ๓
เรือนโคราช ๑๐ หมู่ ๓ บ้านบุตาเหมา ตาบลกระโทก อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา
นายประกอบ อาจยัง
๔
เรือนโคราช ๓๖ หมู่ ๒ บ้านพระเพลิง ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา
นายบุญช่วย โกฏสระน้อย
๕
เรือนโคราชประยุกต์
นางมี โคกสระน้อย
๖๑ หมู่ ๖ บ้านพระเพลิง ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา
๒๔ ๖
เรือนโคราช “เรือนพ่อคง” นายชุตินันท์ ทองคา แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมของชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๗
เรือนโคราช “เรือนเฉลิมวัฒนา” ดร.นิเชต สุนทรพิทักษ์ ๐๘ ๑๗๑๘ ๓๗๘๗ ๖๘๘ ถนนราชดาเนิน ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
๘
โมเดล “เรือนโคราช” สาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
รศ.กาญจนา ตันสุวรรณรัตน์
๐๘ ๓๑๒๙ ๙๙๘
๐๘ ๙๔๒๗ ๗๗๐๐
๒๕ ๙
โครงสร้างเรือนโคราช ๓ จั่ว คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผศ.ดร.นพดล ตั้งสกุล ๐๘ ๙๔๑๖ ๔๔๔๘
๑๐
โครงสร้างเรือนโคราช ๒ จั่ว สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผศ.ดร.นพดล ตั้งสกุล ๐๘ ๙๔๑๖ ๔๔๔๘
๖.๔ ข้อมูลภำพเคลื่อนไหว หรือข้อมูลเสียง (ระบุประเภทของสื่อที่แนบมาพร้อมคาอธิบาย) ข้อมูลภาพถ่าย ได้แก่ เรือนโคราช, แบบจาลองเรือนโคราช ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว ได้แก่ วีดิทัศน์เรื่อง “เรือนโคราช” ข้อมูลเสียง ได้แก่ บทสัมภาษณ์เจ้าของเรือน, นายช่าง, นักวิชาการ (วีดิทัศน์) ๖.๕ ข้อมูลผู้เสนอ ชื่อ-สกุล นางศศิฑอณร์ สุวรรณมณี ตาแหน่ง วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา หน่วยงาน สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ถนนเพชรมาตุคลา ตาบลมะเริง อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ ๓๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๔๔๒๒ ๐๘๙๘ โทรสาร ๐ ๔๔๒๒ ๐๘๙๘ มือถือ ๐๘ ๙๙๗๓ ๙๘๓๒ อีเมล์ nakhonratchasimay@m-culture.go.th ๖.๖ ข้อมูลผู้ประสำนงำน ชื่อ-สกุล นางสาวฉวีวรรณ แปวกระโทก สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ถนนเพชรมาตุคลา ตาบลมะเริง อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ ๓๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๔๔๒๒ ๐๘๙๘ โทรสาร ๐ ๔๔๒๒ ๐๘๙๘ มือถือ ๐๘ ๙๕๗๙ ๑๒๑๔ อีเมล์ chjuky@hotmail.com ***********************
๒๖
กำรประชุมคณะกรรมกำรส่งเสริมและรักษำมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมประจำจังหวัดนครรำชสีมำ พิจำรณำข้อมูลมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม “เรือนโครำช”
๒๗
กำรประชุม Focus Group ณ โรงเรียนวัดหงส์ บ้ำนพระเพลิง ตำบลนกออก อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครรำชสีมำ
๒๘
คณะทำงำนลงพื้นที่สำรวจ จัดเก็บ ข้อมูลมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมของจังหวัดนครรำชสีมำ “เรือนโครำช”
๒๙
คณะทำงำนลงพื้นที่สำรวจ จัดเก็บ ข้อมูลมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมของจังหวัดนครรำชสีมำ “เรือนโครำช”
๓๐
คณะทำงำนลงพื้นที่สำรวจ จัดเก็บ ข้อมูลมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมของจังหวัดนครรำชสีมำ “เรือนโครำช”
แหล่งเรียนรู้ทำงวัฒนธรรม “เรือนโครำช” มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครรำชสีมำ
บทความ เรื่อง องคความรูที่ซอนอยูในเรือนโคราช การจัดการความรู สํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
องคความรูที่ซอนอยูในเรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 1. ที่มาและความสําคัญ เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จัดสรางเมื่อ พ.ศ. 2559 โดยเงินบริจาคของ คณะศิษยเกาโรงเรียนฝกหัดครูนครราชสีมา วิท ยาลัยครูนครราชสีมา สถาบันราชภัฏ นครราชสีม า และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึ่งเรือนโคราชหลังนี้ไดชะลอ (รื้อและยาย) มาจากอําเภอคง จังหวัดนครราชสีมา ที่มีอายุถึง 111 ป มีลักษณะโดดเดนแตกตางจากเรือนทั่วไป (เรือนมี 2 จั่ว แตมี พื้นที่ใชสอยเทียบเทาเรือน 3 จั่ว) มีการสอดประสานชิ้นสวนตางๆ เขาดวยกันเปนองคอาคารไดอยาง แข็งแรง มั่นคง สะทอนใหเห็นอัจฉริยภาพและปญญาสรางสรรคของชางทองถิ่นโคราชที่มีความริเริ่ม มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบโครงสราง แตกตางอยางเปนเอกลักษณ ทําหนาที่เปนขอมูลสําคัญทาง ประวัติศาสตรและเปนแหลงเรียนรูทางภูมิปญญาของทองถิ่นชาวโคราชสืบไป ซึ่งการดําเนินงานในระยะของการกอสรางไดเสร็จสิ้นแลว สํานักศิลปะและวัฒนธรรม จึงมี แผนในการดําเนินการลําดับตอไป คือ การนําเสนอเนื้อหาทางวิชาการที่เกี่ยวของกับเรือนโคราชดวย เทคนิคตางๆ อยางมีสุนทรียภาพ อาทิ การบรรยายทางวิชาการ การจัดทําเอกสารทางวิชาการ การ ประชาสัมพันธ หรือกระบวนการอื่นๆ ดังนั้นจึงมาสูการลงความเห็นรวมกันวาในปงบประมาณ 2560 จะไดดําเนินการจัดการความรูในเรื่อง “องคความรูที่ซอนอยูในเรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา” เพื่อระดมองคความรูสูโครงสรางเนื้อหาหลักประกอบการนําเสนอเนื้อหาทางวิชาการ ของเรือนโคราชตางๆ และกระตุนใหบุคลากรรูจักกับเรือนโคราชในขั้นพื้นฐานไดมากยิ่งขึ้น 2. วัตถุประสงค เพื่ อ ค น หาองค ค วามรู ใ นด า นต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เรื อ นโคราช มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสีมา สําหรับใชเปนตนทุนในการผลิตเอกสาร สื่อ นิทรรศการ หรือเทคนิคการนําเสนอเนื้อหา รูปแบบอื่นๆ และกระตุนใหบุคลากรรูจักกับเรือนโคราชในขั้นพื้นฐานไดมากยิ่งขึ้น
3. ผูใชความรู 3.1 บุคลากรสํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 3.2 ผูมาเยี่ยมชมเรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 4. กระบวนการ การดําเนินงานการจัดการความรู ใชกระบวนการจัดการความรูของ กพร. จํานวน 7 ขั้นตอน มีการดําเนินงานดังนี้ 4.1 การบงชี้ความรู การดําเนินงานการจัดการความรู มีก ลุม เปาหมายหลั ก คื อ บุคลากรสํา นัก ศิ ล ปะและ วัฒ นธรรมทุก คน จึง ได รว มกัน สรา งกลไกในการดํา เนิน งาน โดยผูบ ริห ารของสํา นัก ศิ ล ปะและ วัฒนธรรม เปนคณะกรรมการที่ปรึกษา และมีนายธนัช แววฉิมพลีสกุล เปนหัวหนาทีมการจัดการ ความรู โดยในสวนของบุคลากรทุกคนเปนคณะกรรมการดําเนินงานโดยไดแบงหนาที่ในแตละฝายตาม ความสนใจ และมอบหมายใหนายชุตินันท ทองคํา เปนเลขานุการ จากนั้นจึงประชุมระดมความคิดเห็นถึงความรูที่จําเปนตอการปฏิบัติงาน โดยมีความเห็น รวมกันในการขยายงาน ในสวนของพิพิธภัณฑฯ สืบเนื่องจากที่คณะศิษยเกาฯ มอบเรือนโคราชให มหาวิทยาลัยโดยมีสํานักศิลปะและวัฒนธรรมเปนผูดูแล เพื่อใหเรือนโคราชเกิดประโยชนสูงสุดจึงได ดําเนินการกําหนดเปนประเด็น ในการจัดการความรู คือ "องคความรูที่อยูในเรือนโคราช"
4.2 การสรางและการแสวงหาองคความรู คณะกรรมการจัดการความรู ไดเนนกระบวนการสรางและแสวงหาองคความรู เพื่อเปนการ สรางประสบการณใหกับบุคลากรของสํานักศิลปะฯ จึงไดออกแบบกิจกรรมออกเปน 4 ขั้นตอนดังนี้ 4.2.1 การประชุมบุคลากรสายสนับสนุน เพื่อหาแนวทางในการสรางและแสวงหาความรู โดย ไดรวมกันกําหนดกิจกรรมและแบงหนาที่อยางไมเปนทางการ สรางการพูดคุยดวยบรรยากาศที่ไม เครงเครียด โดยผลจากการพูดคุย ไดแนวทางในการระดมขอคําถามจากผูเ ยี่ยมชม และจะไดกําหนด วันในการทํา Mind Map เพื่อวิเคราะหประเภทของขอคําถามในภายหลัง
4.2.2 การแสวงหาองคความรูจ ากผูเชี่ยวชาญดานพิพิธภัณฑ จากสถาบันพิพิธภัณฑการ เรี ยนรูแ หง ชาติ ใหคํ า แนะนํ าเกี่ ยวกับ เทคนิค การจั ด แสดงในเรือ นโคราชและการอนุ รัก ษวั ต ถุ พิพิธภัณฑ (23-24 มีนามคม 2560)
4.2.3 การศึกษาดูงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูมีประสบการณตรง (Tacit Knowledge) ในแหลง เรียนรูที่มีลัก ษณะคลายคลึงกัน ณ หองไทยนิทัศนและวัฒนธรรมอาเซียน มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งไดพูดคุยกับผูบริหารและเจาที่ที่ดูแลโดยตรงเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ ทํางานระหวางกัน เกิดเครือขายที่สามารถปรึกษาระหวางหนวยงานไดในอนาคต
4.2.4 องคความรูที่อยูในรูปแบบเอกสาร (Explicit Knowledge) เลมหลัก คือ เรือนโคราช พ.ศ. 2559 เขียนโดย ศิษยเกาโรงเรียนฝกหัดครู วิทยาลัยครู สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ซึ่งเปนคณะผูทํางานระดมทุนและจัดสรางเรือนโคราชหลังนี้
4.3 การจัดการความรูใหเปนระบบ นําขอคําถามที่ผูชมไดส อบถาม มาจัดใหเ ปนระบบ โดยใช Mind Map เปนเครื่องมือ นําเสนอในรูป ของราง Mind Map และร างรูปแบบตารางคําถาม-คําตอบ ซึ่งสามารถนําเสนอใน รูปแบบ Info Graphic ไดในภายหลังเนื่องจากกระบวนการนี้ใชเวลาในการจัดทํา
4.4 การประมวลและกลั่นกรองความรู เมื่อจัดทํา Mind Map ที่ใชคอมพิวเตอรหรือวาดดวยมือใหมีสีสันสวยงาม อานเขาใจไดงาย ขึ้น และทําตารางคําถาม-คําตอบเสร็จเรียบรอย ดําเนินการนําเสนอตอบุคลากรสายสนับสนุน และ ผูบริหารของสํานักศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อทําการตรวจสอบความถูกตองเหมาะสม
4.5 การสรางการเขาถึงความรู 1 . นํ า เ ส น อ ข อ มู ล ผ า น ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น ไ ด แก www.koratmuseum.com แล ะ www.koratculture.com 2. ทดลองจัดทํานิทรรศการฉบับชั่วคราว และสังเกตพฤติกรรมของผูชมวามีความสนองตอบ ตอนิทรรศการอยางไร และใหนําผลกลับไปปรับปรุงอีกครั้ง 3. จัดทํา Postcard อธิบายรายละเอียดเรือนโคราชในฉบับยอ เพื่อใหเขาใจงาย
4.6 การแบงปนและการแลกเปลี่ยน 1. มีการฝกบุคลากรของสํานักศิลปะและวัฒนธรรมในการตอนรับผูมาเยี่ยมชมเรือนโคราช กลุมทั่วไป โดยผูปฏิบัติงานหลักรายงานผลการสังเกตพฤติกรรม และอธิบายรายละเอียดเติมซ้ําๆ 2. มีการรวมแสดงความคิดเห็นจากประสบการณที่ไดพบนําไปสูการปรับปรุงการทํางาน รวมถึงประสบการณในการทําการจัดการความรูในครั้งนี้
4.7 การเรียนรู - กระบวนการเรียนรูยังคงเนนการพูดคุยหลังจากการตอนรับผูชมเรือนโคราชอยูเสมอ เนน การเรียนรูที่จะเกิดขึ้นจากการสังเกต การใสใจในรายละเอียด กอใหเกิดผลทางออม คือ จิตสาธารณะ ที่จะเกิดจากการไดพูดไดคุย - ในสวนของนิทรรศการออนไลน ยังคงตองปรับปรุงขอมูลใหมีความครอบคลุม สนองตอ ความตองการอยูเสมอ โดยขยายมิติไปในการสรางจุดแข็งในดานวิชาการของสถาปตยกรรมพื้นถิ่น เปนแหลงที่อํานวยความสะดวกตอผูสนใจในเรือนโคราชที่จะไดมาคนควาในระบบออนไลนไดสะดวก ยิ่ง ขึ้น เพื่อสรา งการรับ รู นํามาสูก ารเกิดผูชมหนาใหมที่จ ะหมุ นเวียนเขามาชมพิพิธภั ณฑเ มือ ง นครราชสีมา และเรือนโคราช 5. ผลลัพธที่ได องคความรูหรือผลลัพธที่ไดจากการจัดการความรู เรื่อง “องคความรูที่ซอนอยูในเรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา” โดยไดประเด็นตางๆ ดังนี้ 1) ขอมูลเรือนเกา ณ อําเภอคง 2) ลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมไทโคราช 3) การระดมทุนของคณะศิษยเกา ฯ ในการจัดสรางเรือน โคราช 4) การดําเนินการชะลอ-ปรุงเรือนในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 5) ความรูพื้นฐานดาน โครงสราง-สถาปตยกรรมในเรือนโคราช 7) วัตถุประกอบเรือน 8) การบริหารจัดการเรือนโคราช และ อนาคตของเรือนโคราช จากนั้นจึงไดรวบรวมและจัดทําเปนผลลัพธใน 2 มิติคือ 1) จัดทํา webpage ใน www.koratmuseum.com เพื่อบริการแกผูเยี่ยมชมทั่วไป 2) จัดทําตารางวิเคราะหคําถาม-คําตอบที่ผูชมถามซ้ําๆ (Q&A) และจัดทําเปน Postcard เพื่อใหเขาใจงาย 6.ปจจัยสูความสําคัญ (เทคนิค วิธีการ เคล็ดลับ) - พูดคุยกันอยางไมเ ปนทางการ ในบรรยากาศที่ไม เ ครง เครียด ไม เ พิ่ม ภาระงานหลั ก แตมุงแกปญหาเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน - กระตุนใหเปดรับสิ่งใหม รวมแลกเปลี่ยนเรียนรูในดานที่ตัวเองไมรูหรือไมไดปฏิบัติงาน - มีการแสวงหาองคความรูที่เผยแพรบนสื่ออินเทอรเน็ต - มีการศึกษาดูงาน ณ องคกรที่มีขนาดและบริบทคลายคลึงกัน โดยไดแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผู มีประสบการณตรง - มีการดําเนินงานจริง เพื่อใหไดองคความรูควบคูกับการไดงานไปพรอมๆ กัน เมื่อเกิดขอ สงสัยก็จะเกิดการพูดคุยแลกเปลี่ยนระหวางการปฏิบัติงานไดทันที นํามาสูแนวทางการปรับปรุงการ ทํางานที่เหมาะสม - จะตองบูรณาการกับกิจกรรมอื่นๆ ขององคกรได เกิดประโยชนในหลายมิติ
7. การใชประโยชน องคความรูหรือผลลัพธที่ไดจากการจัดการความรู เรื่อง องคความรูที่ซอนอยูในเรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จะเปนการรวมขอคําถาม ขอสงสัย จากผูชมหลายกลุมเพื่อนํามา สรางเอกสารที่รวบรวมคําตอบที่ถูกจัดเรียงเปนหมวดหมู และตอบขอสงสัยโดยผูเชี่ยวชาญดานตางๆ ของสํ า นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม เพื่ อ มาเป น แนวทางในการผลิ ต สื่ อ ชนิ ด ต า งๆ อาทิ 1) สื่ อ ประชาสัม พันธ 2) สื่อการเรียนรู 3) นิทรรศการ 4) เอกสารทางวิชาการ 5) เทคนิคการนําเสนอ รูปแบบอื่นๆ เพื่อสง เสริม การเรียนรูในรูปแบบอื่นๆ สวนประโยชนของบุคลากรสํานัก ศิล ปะและ วัฒนธรรมจะทําใหไดรูจักและเขาในรายละเอียดของเรือนโคราชไดเพิ่มขึ้น และจะสามารถทํางาน ทดแทนกันไดในการบริการแกผูมาเยี่ยมเรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 8. วิธีหรือเครื่องมือที่ใชในการประเมินผลการนําความรูไปใช สํานักศิลปะและวัฒนธรรมไดนําความรูที่ไดมาใชในการสรางโครงสรางเนื้อหาในการผลิตสื่อ ชนิดตางๆ จากการประเมินผลโดยการสังเกต พบวา การดําเนินการจัดการความรูโดยการแสวงหา ความรูจากภายนอกในการไปศึกษาดูงาน ทําใหไดเปลี่ยนบรรยากาศทํางาน ไดพูดคุยแลกเปลี่ยน ขอคิดเห็น และไดมีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนในการตอนรับผูมาเยี่ยมชมเรือนโคราช ไดแสดงถึงความ สามัคคี ชวยเหลือกันอยางเต็มที่ ในทุก ขั้นตอน และสง ผลทางออมที่ทํา ใหบุคลากรกลาคิด กลา แสดงออก และมุงปฏิบัติงานเพื่อความเปนเลิศขององคกรในดานอื่นๆ อีกดวย - ตัวอยางผลการนําขอมูลที่เผยแพรไวบน www.koratmuseum.com/bankorat.html มีผูนําไปประกอบการสรางเรือนแบบโคราช (ที่มา : https://pantip.com/topic/36853656)
9. แหลงอางอิง หรือบุคคลอางอิง - หนังสือเรือนโคราช พ.ศ. 2559 โดย คณะศิษยเกา โรงเรียนฝกหัดครู วิทยาลัยครูสถาบัน ราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา - เรือนโคราช (เรือนพอคง) "เรือนแหงความดี ความจริง ความงาม ความสุข และความพอดี พอเพียงแบบวิถีโคราช โดย ดร.ดุลยพิชัย โกมลวานิชย 10. ประวัติผูเขียน ชื่อ – สกุล : ตําแหนงปจจุบัน : ประวัติการศึกษา :
อีเมลล : หมายเลขโทรศัพท :
นายชุตินันท ทองคํา หัวหนากลุมงานหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู สํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน - ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) นิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา sawadeegan@msn.com 044 – 009009 ตอ 1013 โทรศัพทมือถือ 083 – 129 9983