บทสรุปสําหรับผูบริหาร การใหบริการแหลงเรียนรูทางศิลปะและวัฒนธรรม สํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประจําป ๒๕๖๑ การใหบริการแหลงเรียนรูทางศิลปะและวัฒนธรรม ของสํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ นครราชสีมา ซึ่งเปนการดํา เนิ น งานที่ ส อดคล องกั บ ยุ ทธศาสตร การพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ยและ ยุทธศาสตรของสํานักศิลปะและวัฒนธรรมอยางเปนพลวัตร สถานการณในปจจุบันยังคงดําเนินงานภายใต ขอจํากัดในดานบุคลากรที่มีจํานวนนอย แตสวนใหญก็มีทัศนคติเชิงบวก และพรอมที่จะใหบ ริการอยูเสมอ ผนวกกับโอกาสที่รัฐใหการสนับสนุนการพัฒนากําลังคนและการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต นับเปนโอกาส ในการขยายแหลงเรียนรูทางศิลปะและวัฒนธรรมใหเปนสาธารณะมากยิ่งขึ้น ดังปรากฏในการดํา เนินงาน ในชวงที่ผานมาที่พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมาที่มุงสรางเครือขายทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ แสวงหา ความร ว มมือทั้ งในดา นวิช าการพิพิธ ภั ณฑ และด า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมควบคู กันไป เพื่ อ ให เกิ ดผลงานที่ หลากหลายและเปนรูปธรรม รางวัลและความสําเร็จอยางเปนรูปธรรมในรอบปงบประมาณ ๒๕๖๑ ๑) เรื อ นโคราช เรื อ นพอ คง มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า ได รั บ รางวั ล พระราชทาน รางวั ล ศิ ล ปะสถาป ต ยกรรมดี เ ด น ประจํ า ป ๒๕๖๑ จากสมาคมสถาปนิ ก สยาม ในพระบรมราชูปถัมป ๒) การสนับสนุนขอมูลทางวิชาการตอสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ในการขึ้นทะเบียน มรดกภูมิปญญาทางวัฒ นธรรม “เรือนโคราช” ซึ่งไดรับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เรียบรอยแลว ๓) การนําเสนอบทความในการประชุมวิชาการดานพิพิธภัณฑ ASEAN Museum Forum 2018 : บทความเรื่อ ง “พิพิธ ภัณฑเมืองนครราชสี มากับการสื่อสารโดยใช ฐานความรูเปนตนทุน ” ใน วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) จัดโดย มิว เซียม สยาม และภาคีรวมจัดทั้งในและตางประเทศ
๔) โครงการจัดการความรูจากทฤษฎีสูการปฏิบัติ หัวขอ “องคความรูที่ซอนอยูในเรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา” ไดเขารวมประกวดแนวปฏิบัติที่ดีในมหกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู ครั้งที่ ๖ : NRRU Show & Share 2017 เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ณ เรือน โคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึ่งปรากฏวาสํานักศิลปะฯ ควาไป ๒ รางวัล คือ ๑) ชนะเลิศแนวปฏิบัติที่ดีดานศิลปวัฒนธรรม และ ๒) รางวัลความคิดสรางสรรคในการจัดแสดง นิทรรศการ
พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา นับเปนตนแบบการพัฒนาแหลงเรียนรูทางศิลปะและวัฒนธรรมของ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยในป ๒๕๕๙ เปนตนมา คณะศิษยเกาโรงเรียนฝกหัดครู วิทยาลัยครู สถาบั นราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภั ฏ นครราชสี มา ได ร ว มใจกันจั ด สร า งเรื อนโคราช และมอบให มหาวิทยาลัย ดวยเงินบริจาคที่มูลคาสูงถึง ๔ ลานบาท นับเปนตัว อยา งของความกตัญูของศิษยเกาที่ได สรางอนุสรณรําลึกถึงกตัญูระหวางครู อาจารย และสถาบันอันที่ป ระสิทธิ์ประสาทวิช าจนอาชีพที่มั่นคง สงางามในสังคมได ปจจุบันเรือนโคราช ไดเปนสวนหนึ่งของพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมาในฐานแหลงเรียนรู กลางแจงที่สามารถรองรับตอกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมไดอยางหลากหลาย ดังนั้นผลการดําเนินงานการใหบริการแหลงเรียนรูทางศิล ปะและวัฒนธรรม จึงขอกลาวถึงการ ดําเนินงานที่มีรายละเอียดใน ๒ สวน ไดแก คือ ๑) นิทรรศการทางประวัติศาสตรจังหวัดนครราชสีมา และ สวนที่ ๒) เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มีรายละเอียด โดยสังเขป ดังนี้ ดานการจัดแสดงนิทรรศการ ปริมาณผูใชบริการสะสม ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ จํานวน ๒๗,๘๕๔ คน ปริมาณ ผูใชบริการในปงบประมาณ ๒๕๖๑ คือ ระหวาง ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ – ๑๒ กันยายน ๒๕๖๑ (ขอมูลลาสุดใน ขั้นตอนการจัดทํารายงาน) จํานวน ๕,๒๔๘ คน (ในเดือนกันยายน ๒๕๖๐ – มกราคม ๒๕๖๑ พิพิธ ภัณฑ ประกาศปดชั่วคราวเนื่องจากปรับปรุงบันไดทางเดินและสวนสํานักงาน) โดยพบวา สวนใหญรูจักพิพิธภัณฑ เมืองนครราชสีมาจากสื่ออินเทอรเน็ต รอยละ ๓๑.๘ สวนใหญผูชมเปนนักทองเที่ยวทั่วไป รอยละ ๔๔ สวน ใหญมีลักษณะการมาชมเปนหมูค ณะ รอยละ ๗๒.๔ และปริมาณนักทองเที่ยวที่เปนชาวตางชาติ รอยละ ๔.๑
ในดานกายภาพ สํานักศิลปะและวัฒนธรรม โดยผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกิตติ์ อินทรสวรรค ได ดําเนินการปรับปรุงบริเวณโดยรอบ ตั้งแตเดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ แลวเสร็จภายในหวงปงบประมาณ ๒๕๖๑ ซึ่งทําใหพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมามีสภาพเปลือกอาคารที่สวยงามมากยิ่งขึ้น และทําใหจุดดึงดูดที่อาจทํา ใหเกิดผูชมหนาใหมไดมากยิ่งขึ้น แตในระยะเวลาที่ทําการปรับปรุงนั้นตองปดการใหบริการบางชวงจึงสงผล ตอปริมาณผูเขาชมดวย ดานการประชาสัมพันธ การดํา เนินงานยังคงเนนการใช สื่ อออนไลน เปน หลั กเพื่ อให เข า ถึง กลุ ม เป า หมายได งา ย และ ประหยัดงบประมาณ ซึ่งนับเปนจุดแข็งในการทํางานในปจจุบัน โดยนํา Content หรือองคความรูไปบรรจุ ในเว็บไซต อาทิ พิพิธภัณฑเสมือน ๓๖๐ องศา คลังภาพพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ที่ขอมูลไดถูกนําไปใช งานและมีการอางอิงถึงอยางหลากหลาย เนนย้ําจุดยืนในการเปนศูนยกลางขององคค วามรูดา นศิล ปะและ วัฒนธรรมของจังหวัดนครราชสีมา โดยในชวงปงบประมาณ ๒๕๖๑ ในสวนของเรือนโคราช ไดรับรางวัลพระราชทาน จึงไดเสริมแรง โดยการสงขอมูลไปยังสื่อมวลชนจึง ไดรั บการเผยแพรเปนจํานวนมาก รวมถึงสื่อของมหาวิทยาลัยที่ไ ด นําเสนอหลากหลายรูปแบบ ดานการบริหารวัตถุพิพิธภัณฑ การบริหารวัตถุพิพิธภัณฑไดมีการเชิญผูเชี่ยวชาญจากสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติม า วิเคราะหความเหมาะสมการจัดเก็บวัตถุพิพิธ ภัณฑในปจจุบันและการปรับปรุงที่เหมาะสมกับขนาดของ องคกร รวมถึงไดรับการคัดเลือกใหเปนกลุมตัวอยางในการทดลองการขับไลแมลงและการใชกับดักจากวัสดุ ที่สามารถผลิตเองได ดานการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาบุคลากรมุงเนนการพัฒนามิติของการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ โดยมีสถาบันพิพิธ ภัณฑ การเรียนรูแหงชาติเปนที่ป รึกษา และการพัฒนาในดา นศิลปวัฒนธรรมไดมีการทํางานรวมกับ สํานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมาในการขึ้นทะเบียนมรดกทางวัฒนธรรม เรือนโคราช และเพลงโคราช ทําให
บุคลากรไดรับประสบการณตรงจากการปฏิบัติงาน ไดพบกับขอมูลจริง ซึ่งสามารถนํามาปรับใชงานอยา ง เปนรูปธรรมไดเปนอยางดี นอกจากนี้ ยังไดมีการจัดการความรู เรื่อง องคความรูที่ซอนอยูในเรือนโคราช เพื่อสรางโครงสรางของเนื้อหาซึ่งจะนําไปใชในการสรางสื่อชนิดตางๆ ตอไป และในกระบวนการยังมุงสราง ใหบุคลากรของสํานักศิลปะและวัฒนธรรม รูจักกับเรือนโคราชในขั้นพื้นฐาน ซึ่งจะทํา ใหบุค ลากรสามารถ ทํางานแทนกันได โดยเฉพาะในการใหบริการแกผูมาเยี่ยมชมเรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มีการศึกษาดูงานแหลงเรียนรูในภาคใต คือ อุทยานธรณีสตูลและศูนยวัฒนธรรมเฉลิมราชทุงหวา รวมถึ งศึ กษาดูง านในเขตกรุง เทพมหานคร คื อ นิ ทรรศการชุ ดถอดรหั ส ไทยของมิ ว เซี ยมสยาม และ หองปฏิบัติการคลังวัตถุพิพิธภัณฑ ณ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ การพัฒนาเครือขายแหลงเรียนรู นักวิชาการของพิพิธภัณฑไดรวมเปนคณะทํางานตรวจสอบความถูกตองการนําเสนอเนื้อหาดา น ประวัติศาสตร ในงานกินเขาค่ํารําบูชา สักการะทาวสุรนารี เนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๙๐ ป สถาปนาทา ว สุรนารี ซึ่งจัดขึ้นโดยกองทัพภาคที่ ๒ รวมกับองคกรปกครองทองถิ่นจังหวัดนครราชสีมา การดําเนินงานในเชิงวิชาการดานพิพิธภัณฑ การดําเนินงานในดานวิชาการพิพิธภัณฑและแหลงเรียนรูนั้น นายชุตินันท ทองคํา หัวหนากลุมงาน หอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู ไดรับการคัดเลือกใหนําเสนอบทความและนําเสนอในการประชุมวิชาการ ดา นพิพิธ ภัณฑ ASEAN Museum Forum 2018 : Museum Media : Connecting Museums, Converging People สื่อ สาระ เชื่อมพิพิธภัณฑ โยงผูคน บทความเรื่อง “พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมากับ การสื่อสารโดยใชฐานความรูเปนตนทุน” ในกลุมหัวของานการศึกษาของพิพิธภัณฑและความเชื่อมโยงกับ ระบบการศึกษาหลัก ในระหวาง วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) จัดโดย มิวเซียมสยาม และภาคีรวมจัดทั้งในและตางประเทศ กาวตอไปของพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ยังคงตองเรงปรับปรุงดานกายภาพใหมีความพรอมตอ การบริการอยางมีสุนทรียภาพ มีความสงางาม สะทอนอัตลักษณข องจังหวัดนครราชสีมาและเปนความ ภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และควรเพิ่มความแข็งแกรงในองคความรูในดา นวิช าการ การบริหารจัดการพิพิธ ภัณฑที่จ ะสามารถเป นตนแบบในระดับจังหวัดและถายทอดไปสูเครือขา ยแหลง
เรียนรูในจังหวัดนครราชสีมา เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน สังคม โดยใชแหลงเรียนรูทางศิลปะและ วัฒนธรรมเปนฐานการพัฒนา และเพื่อเนนย้ําใหอัตลักษณของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาไดมีภ าพที่ ชัดเจนยิ่งขึ้น ในการ “เปนที่พึ่งของทองถิ่น” ในดานศิลปวัฒนธรรม
ผูรายงาน .................................................................. (นายชุตินันท ทองคํา) หัวหนากลุมงานหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู
ผูเห็นชอบ .................................................................. (ผศ.ดร.ณัฏฐินี ทองดี) รองผูอํานวยการฝายพัฒนาแหลงเรียนรูทางศิลปวัฒนธรรม
ผูรับทราบ................................................................... (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกิตติ์ อินทรสวรรค) ผูอํานวยการสํานักศิลปะและวัฒนธรรม
สารบัญ บทสรุปสําหรับผูบริหาร สวนที่ ๑ ขอมูลพื้นฐาน ๑.๑ นิทรรศการพัฒนาการทางประวัติศาสตรของจังหวัดนครราชสีมา
๑ ๑
๑.๒ เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๑๐
สวนที่ ๒ การบริหารจัดการ ๒.๑ โครงสรางการแบงสวนราชการภายใน
๑๖ ๑๖
๒.๒ โครงสรางภาระงาน ๒.๓ โครงสรางบุคลกร
๑๗ ๑๘
๒.๔ การวิเคราะหองคประกอบของงาน
๑๙
๒.๕ งบประมาณ ๒.๖ รูปแบบการดําเนินงาน
๒๑ ๒๑
สวนที่ ๓ ผลการปฏิบัติงาน
๒๘
๑. โครงการการประยุกตการใชเทคโนโลยี QR Code ในพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา
๒๘
๒. การพัฒนาแหลงเรียนรูโดยการเพิ่มเติมเนื้อหาภาษาอังกฤษฯ ๓. ผลการบริหารจัดการพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ๑. ดานการจัดแสดงนิทรรศการ
๔๐ ๔๕ ๔๕
๒. ดานการประชาสัมพันธ
๖๐
๓. ดานการบริหารวัตถุพิพิธภัณฑ
๖๒
๔. ดานการพัฒนาบุคลากร ๕. การพัฒนาเครือขายแหลงเรียนรู
๖๓ ๖๖
๖. การใหบริการพิเศษในดานอื่นๆ เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา สวนที่ ๔ สถิติการใหบริการ ภาคผนวก
๖๙ ๖๙ ๗๘
สวนที่ ๑ ขอมูลพื้นฐาน พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ภายใตการบริหารของสํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครราชสีมา โดยกลุมงานหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู มีฐานการพัฒนาการมากกวา ๓๗ ป โดยมี การปรับ ปรุง รูป แบบการบริห ารจัด การ การให บ ริ ก ารที่มี ค วามยื ดหยุ นเหมาะสมตามยุ ค สมั ย และมี พัฒนาการที่ดีอยางตอเนื่อง ซึ่งมีรายละเอียดโดยสังเขป ดังนี้ ๑.๑ นิทรรศการพัฒนาการทางประวัติศาสตรของจังหวัดนครราชสีมา ๑.๒ เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๑.๑ นิทรรศการพัฒนาการทางประวัติศาสตรของจังหวัดนครราชสีมา ๑.๑.๑ ประวัติความเปนมา พิพิธ ภัณฑเมืองนครราชสีมา ภายใต การบริห ารของสํ า นั กศิ ล ปะและวัฒ นธรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา มีพัฒนาการมาจาก “หอวัฒนธรรม” กอตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ เมื่อครั้งสํานักศิลปะ และวัฒนธรรม ยังเปน “ศูนยศิลปวัฒนธรรม” ของวิทยาลัยครูนครราชสีมา โดยมีวาที่ ร.ต. ถาวร สุบงกช เปนหัว หนาศูนยศิล ปวัฒนธรรมทานแรก ใช หอง ๕๑๔ และ ๕๑๕ เปนสถานที่เก็บ รวบรวมโบราณวัต ถุ ศิลปวัตถุ และสิ่งอื่นๆ ที่ไดรับความไววางใจจากชุมชนมอบใหเปนผูเก็บรักษา และขอซื้อเพิ่มเติมในบางสวน โดยพัฒนาการใหเปนนิทรรศการที่นําเสนอเนื้อหาประวัติความเปนมาของจังหวัดนครราชสีมา ในป พ.ศ. ๒๕๒๘ ผศ.ดร. เกียรติศักดิ์ นาคประสิทธิ์ หัวหนาศูนยศิลปวัฒนธรรมทา นตอมาไดยา ย สํานักงานศูนยศิลปวัฒนธรรมไปอยูชั้นลางของหองประชุม ๑๐.๒๑ ของอาคาร ๑๐ แตยังคงใชหอง ๕๑๔ และ ๕๑๕ เปนหอวัฒนธรรมเชนเดิม
หนา ๑
ในป พ.ศ. ๒๕๒๙ รองศาสตราจารย ดร. ทองคูณ หงสพันธุ อธิการบดีในขณะนั้น ไดยายสํานักงาน ศูนยศิลปวัฒนธรรมและหอวัฒนธรรมไปยัง ณ อาคาร ๒ ซึ่งเปนอาคารไมดั้งเดิมของสถาบัน เพื่อความ สะดวกในการดําเนินงาน เนื่องจากมีพื้นที่กวางขวางมากขึ้น โดยแบงเปนหองตางๆ ดังนี้ ๑. หองสํานักงาน ๒. หองเอกสารทางวัฒนธรรม ๓. หองนิทรรศการและสาธิต แบงออกเปน หองฝกอบรม และหองนาฏศิลป ๔. หองจัดแสดงนิทรรศการ แบงออกเปน หองของดีโคราช หองเอกลักษณไทย หองงานอาชีพ พื้นบาน และหองโบราณวัตถุ
จากนั้น ในป พ.ศ. ๒๕๓๘ ผูชวยศาสตราจารยอุทัย เดชตานนท อธิการบดีในขณะนั้น มีโครงการ ในการจัดสรางอาคารบนพื้นที่อาคาร ๑ และอาคาร ๒ แตไมตองการที่รื้อถอนอาคารทั้งสอง จึงไดทํา การ เคลื่ อนยา ยอาคารโดยวิ ธีก ารดีด ขึ้น บนรางรถไฟเคลื่ อนย า ยไปทางทิ ศ ตะวั น ออกของสนามฟุ ต บอล แตเนื่องจากอาคารทั้งสองมีความยาวมากจึงทําการตัดบางสวนออกแลวยุบรวมอาคารทั้งสองเขาดวยกัน และใหหมายเลขอาคารวาอาคาร ๑
การยายอาคาร ๑ และอาคาร ๒ หนา ๒
อาคาร ๑ ไดรับการพัฒ นาใหเปนอาคารหอวัฒ นธรรม โดยผูช วยศาสตราจารยนฤมล ปยวิท ย ผูอํานวยการสํานักศิลปวัฒนธรรมในขณะนั้นไดปรับปรุงรูปแบบการจัดแสดงออกเปนหองตางๆ จํานวน ๗ ห อ ง โดยมีหอ งหลัก คื อ หอ งเมือ งโคราช นํ า เสนอเนื้ อ หาประวั ติ จั งหวั ด นครราชสี ม าตามหลั กวิ ช า ประวัติศาสตรศิลป โดยมีคณาจารยโปรแกรมวิชาประยุกตศิล ป (ทัศ นศิลป) ชวยดําเนินการออกแบบและ ชวยควบคุมการกอสราง ซึ่งนับไดวาเปนตนแบบของพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมาในปจจุบัน
อาคาร ๑ สํานักศิลปะและวัฒนธรรม
หองเมืองโคราช ณ อาคาร ๑ สํานักศิลปะและวัฒนธรรม
นอกจากนี้ยังไดจัดแสดงนิทรรศการดานศิลปวัฒนธรรมแขนงอื่นๆ ในหองตางๆ ไดแก หองพุทธ ศาสตร หองจริยธรรม หองดนตรีศิลปกรรม หองประวัติสถาบัน บานโคราช และพิพิธภัณฑเพลงโคราช และ บานโคราช หนา ๓
หองเมืองโคราช
หองเมืองโคราช
หองดนตรีและศิลปกรรม
หองจริยธรรม
หองประวัติมหาวิทยาลัย
หองเพลงโคราช
หองพุทธศาสตร
บานโคราช หนา ๔
ในป พ.ศ. ๒๕๕๕ มหาวิทยาลัยตองการใชพื้นที่บริเวณอาคาร ๑ เพื่อดําเนินการกอสรางศูนยรวม กิจการนักศึกษาและศูนยประชุมนานาชาติ ดังนั้นในวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ หอวัฒนธรรมจึงได ถูกรื้อถอนอีกครั้งหนึ่ง
พ.ศ. ๒๕๕๖ ผูชว ยศาสตราจารย ดร. เศาวนิต เศาณานนท อธิ การบดี ในขณะนั้น ไดอนุมัติ งบประมาณ จํานวน ๔.๕ ลานบาท เพื่อใหอาจารยวิลาวัลย วัชระเกียรติศักดิ์ ผูอํานวยการสํานักศิลปะและ วัฒนธรรมในขณะนั้น ดําเนินการออกแบบและจัดสรางหอวัฒ นธรรม ณ อาคาร ๑๐ ซึ่งเปนอาคารดั้งเดิม ของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่ใชงานมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๑๕ โดยไดป รับปรุงบทและเนื้อหาการจัด แสดงโดยใชรูป แบบเดิมที่เคยจัดแสดง ณ อาคาร ๑ มาเป นฐาน โดยตอยอดการพั ฒนาโดยเน นความ เชื่อมโยงของเรื่องราวรวมกับ โบราณวัตถุที่จัดแสดง และพัฒนาเนื้อหาในสว นของความเจริญของจังหวัด นครราชสีมาในดานตางๆ เพิ่มเติม เพื่อใหเห็นพัฒนาการของจังหวัดนครราชสีมาที่มีเป นมาอยา งยาวนาน และเปลี่ยนชื่อมาเปน “พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา” ภายใตแ นวคิด "บรรยากาศยอนอดีต เพลินพินิจ นครราชสีมา" ซึ่งกอสรางแลวเสร็จในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ในสมัยการบริหารของผูชวยศาสตราจารย ดร. ณัฐกิตติ์ อินทรสวรรค หนา ๕
พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา นําเสนอเนื้อหาตั้งแตมีการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางประวัติศาสตร สืบตอกันมาหลายยุคหลากสมัย ตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร เมื่อประมาณ ๔, ๕๐๐ ปมาแลว พบรองรอย อารยธรรมโบราณที่ไดสั่งสมเทคโนโลยีผานกาลเวลา เรื่อยมาจนถึงสมัยประวัติศาสตรเริ่มตั้งแตสมัยทวารวดี ลพบุรี สืบตอมาจนถึงเมื่อคราวที่นครราชสีมารวมกับอาณาจักรไทยสมัยอยุธยาในฐานเมืองชั้นโท ทําหนาที่ ดูแลหัวเมืองชายพระราชอาณาเขตในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และไดรับไดรับการยกฐานะเปนเมืองชั้นเอก ในสมัยรัตนโกสินทร ทําหนาที่ดูแลสวยอากรรักษาความสงบ ปราบปรามกบฏ ในดานการทหารเปนที่ตั้งของ กองกําลังที่ใหญที่สุดในภูมิภาค ในดา นเศรษฐกิจก็มีความสํา คัญในการเปนศูนยกลางการคมนาคมขนสง สินคาและบริการทางรถยนต รถไฟ และเครื่องบิน กับภูมิภาคตางๆ และเปนศูนยกลางธุรกิจ ที่สํา คัญของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หนา ๖
๑.๑.๒ ลักษณะเนื้อหาการจัดแสดง ลักษณะการจัดแสดงไดจัดเรียงเนื้อ หาตามหลั กประวั ติศ าสตร ศิ ล ปะ โดยศึกษาจากหลั กฐาน ทางดานศิลปกรรมที่พบในเขตจังหวัดนครราชสีมา ทั้งทางดานสถาปตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม โดยเรียงเนื้อหาตามลําดับเวลา แบงออกเปน 7 หอง ดังนี้
ชื่อหองจัดแสดง หองตนกําเนิดอารยธรรม
หองสมัยทวารวดี
หองสมัยลพบุรี
รายละเอียด จัดแสดงเนื้อหาในสมัยกอนประวัติศาสตร ในยุคที่ยังไมมีศาสนาและภาษา จึงยัง ไมมีบันทึก หรือพงศาวดารใดๆ การศึกษาถึงสังคมในอดีตจึงนิยมใชกระบวนการ ทางโบราณคดี โดยทําการการศึกษาจากหลุมศพ และภาพเขียนสีตามผนังถ้ํา ซึ่ง วัตถุที่พบรวมกับหลุมศพ สามารถสะทอนใหเห็นถึงสังคมของผูคนเมื่อยังมีชีวิต อยู ลักษณะการฝงศพแตละศพอาจบงบอกถึงสถานะของผูตายเมื่อครั้งยังมีชีวิต นําเสนอเนื้อหาในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ที่ปรากฏหลักฐานของชุมชนโบราณ สมัยประวัติศ าสตรแรกเริ่ มตอเนื่องจนถึงในสมัยทวารวดีมีห ลักฐานความเปน เมือง ณ เมืองเสมา (พื้นที่อําเภอสูงเนินในปจจุบัน) เชื่อกันวาวัฒนธรรมทวารวดี มีศูนยกลางอยูในแถบที่ราบลุมภาคกลางของไทย สันนิษฐานคงจะแพรห ลาย ผานการเผยแผพระพุทธศาสนาเปนหลัก สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางมาก จากเดิ ม ที่ ไ ม มี ก ารนั บ ถื อ ศาสนา มาเป น บ า นเมื อ งที่ ย อมรั บ นั บ ถื อ ศาสนา โดยเฉพาะพุ ทธศาสนา และสร า งสรรค งานศิ ลปกรรมเนื่องในศาสนาขึ้นเปน จํานวนมาก นําเสนอเนื้อหาในชวงประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๙ ชวงที่วัฒนธรรมขอมได แผอิทธิพลมายังภาคอีสานของไทย สงผลตอความความเปลี่ยนแปลงอยางมาก โดยเฉพาะอยา งยิ่งดา นศิล ปกรรมและวัฒนธรรมทางความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องใน ศาสนาฮิ น ดู ผ สมผสานกั บ ศาสนาพุ ท ธ ลั ท ธิ ม หายาน ซึ่ ง สะท อ นอยู ใ น โบราณสถานที่ไดรับแบบอยางจากวัฒนธรรมขอมที่สําคัญ ไดแก แบบแผนการ สรางเมืองเปนรูปสี่เหลี่ยม การสรางอางเก็บน้ําขนาดใหญ ศาสนสถานขนาดใหญ ในรูปแบบปราสาทหิน เครื่องปนดินเผาแบบขอม เปนตน
หนา ๗
ชื่อหองจัดแสดง หองสมัยอยุธยา
หองสมัยรัตนโกสินทร
หองมหานครแหงอีสาน
หองของดีโคราช
รายละเอียด นํา เสนอเนื้ อ หาในช ว งที่ ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป น ราชธานี โดยในรั ช สมั ย สมเด็ จ พระนารายณมหาราช โปรดฯ ใหยายเมืองโคราชเดิม (อําเภอสูงเนินในปจจุบัน) มาตั้ง ณ สถานที่ปจจุบัน โดยใหชา งชาวฝรั่งเศสออกแบบเมืองที่มีกํา แพงและ ปอมปราการแบบตะวันตก และ ใหสรางวัดประจํา ทิศตา งๆ ภายในเขตกํา แพง เมือง ไดแก วัดกลางนคร วัดบูรพ วัดอิสาน วัดพายัพ วัดสระแกว และวัดบึง ซึ่ง วัดเหลานี้สวนใหญยังคงรูปแบบทางสถาปตยกรรมตามแบบกรุงศรีอยุธยา นํา เสนอในช ว งสมั ยรั ตนโกสิ น ทร ซึ่ ง มี เ หตุ การณ สํ า คั ญ ที่ เกิ ดขึ้ นในรัช สมั ย พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลา เจาอยูหัว คือ วีร กรรมทุงสัมฤทธิ์ และนอกจากนี้ ในสวนนี้นําเสนอศิล ปวั ตถุ อันเปนมรดกจากตึก ดินของคุ ณยายยี่ สุน ไกรฤกษ ประกอบดวย เอกสารโบราณ เครื่องมือเครื่องใชของขุนนางและคหบดีที่ห ลาย ชิ้นมีอายุไมต่ําวา 100 ป นํา เสนอเนื้อหาในชวงรัช สมัยพระบาทสมเด็จ พระจุ ลจอมเกลาเจา อยูหัว เปน ระยะที่มหาอํานาจตะวันตกกําลังดําเนินนโยบายแผขยายอํานาจทางการเมือง เขามาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยสงผลตอความมั่นคงของประเทศ จึง ทําใหพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเริ่มปฏิรูปการปกครองจัด หัวเมืองเปนมณฑลเทศาภิบาล และเมืองนครราชสีมาก็ยังเปนฐานกําลัง ในการ รักษาอํานาจการปกครองของสวนกลาง และยังใชเมืองนครราชสีมาเปนแหลง ยุทธศาสตรทางทหาร ยิ่งไปกวานั้นนครราชสีมายังเปนตัว อยา งของการยอมรับ อํานาจของรัฐบาลกลางไดอยางผสมกลมกลืนกันในทางสังคมและทางวัฒนธรรม ของชาวกรุงเทพฯและชาวอีสานอีกดวย สวนนี้เปนสวนที่ออกแบบไวเพื่อรองรับการจัดนิทรรศการกึ่งหมุนเวียน โดยได คัดเลือกเนื้อหาที่เปนของดีเมืองโคราช ทั้งจากคําขวัญในอดีต-คํา ขวัญปจ จุบัน และที่ไมไดอยูนําคํา ขวัญ เพื่อนํา เสนอใหเยาวชนคนรุนใหมไดรูจักวา โคราชมี ของดีอีกมากมายที่ไดรับ การกลา วขวัญในอดีต ทั้งมวยโคราช ผา หางกระรอก รถสามลอ แมวโคราช และเพลงโคราช
หนา ๘
แผนผังการจัดแสดง
จากพัฒนาการอยางยาวนาน กวา ๓๗ ป จนถึงวันนี้ พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมายังคงมุงพัฒนาให เป น แหล ง เรี ย นรู ใ ห กั บ คนในท อ งถิ่ น โดยเฉพาะเด็ ก แล ว เยาวชน ได มี โอกาสเรี ย นรู บู ร ณาการทั้ ง ประวัติศาสตร ศิลปะ และวัฒนธรรมเขาดวยกัน ควรคาที่คนโคราชไดรับรูและภาคภูมิใจ
หนา ๙
๑.๒ เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภั ฏ นครราชสี ม า จั ดสร า งโดยคณะศิ ษ ย เก า โรงเรี ยนฝ กหั ดครู วิทยาลัยครู สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นําโดย ดร.นิเชต สุนทรพิทักษ ซึ่งทา น เป นทั้ งศิษยเกา และอาจารยเกา ของโรงเรี ย นฝ กหั ดครู และวิ ทยาลั ยครู นครราชสี มา ท า นได เล็ งเห็ น ความสําคัญของวิถีวัฒนธรรมแบบโคราชซึ่งนับวันจะสูญหายไปอยางรวดเร็วดว ยอิทธิพลของความเจริญ สมัยใหม จึงดําริชักชวนคณะศิษยเกาจัดสรางเรือนโคราชมอบใหมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาเพื่อให เปนแหลงเรียนรูภูมิปญญาและวิถีชีวิตของคนโคราช
เรือนเดิม ณ อําเภอคง จังหวัดนครราชสีมา
หนา ๑๐
๑.๒.๑ ปูมประวัติครอบครัวเจาของเรือนเดิม ปูมประวัติเจาของเรือนเดิม ทําการศึกษา คนควา รวบรวมและเรียบเรียงโดย ผศ.นฤมล ปยวิทย อดีตผูอํานวยการสํานักศิลปะและวัฒนธรรม มีรายละเอียด ดังนี้
พอคง โชตินอก
แมพุม โชตินอก (ธีระโชติ)
ชาติกําเนิด พอคงเกิดที่บานหนองนา ตําบลพลสงคราม อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๒๐ สมรสกับแมพุม ซึ่งเปนคนบานเดียวกัน เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ มีบุตร ธิดา ๘ คน ดังนี้ ๑. นางหุน ๒. เด็กหญิงไมทราบชื่อ เสียชีวิตตั้งแตแรกเกิดขณะเดินทางยายถิ่นฐาน ๓. นายแกว ธีระโชติ สมรสกับนางสาย ๔. นายก่ํา สมรสกับนางบุญเลี้ยง ๕. นางหาน ไมปรากฏชื่อคูสมรส เนื่องจากไมมีการพูดถึงในทุกกรณี ๖. นางหงส (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน อึ่ง ) สมรสกับมหานอย ถนอมพล มีธิดา ๓ คน คือ
หนา ๑๑
นางหงส (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน อึ่ง )
มหานอย ถนอมพล
๖.๑ นางกุหลาบ สมรสกับนายไพฑูรย ลิศนันท ๖.๒ นางพิกุล สมรสกับนายอั้น ศิริวัฒน มีบุตร ๓ คนคือ ๖.๒.๑ นายวิรพงศ ศิริวัฒน สมรสกับนางไฉไล มีบุตร ๒ คน ๖.๒.๒ นายอนันต ศิริวัฒน สมรสกับนางปาริชาติ มีบุตรธิดา ๒ คน ๖.๒.๓ นายอนนท ศิริวัฒน สมรสกับนางวัชรา มีบุตร ๑ คน ๖.๓ นางเฉลิมศรี สมรสกับ รศ.บัญชา กัลยารัตน มีบุตรธิดา ๒ คน ๗. นายเหมี่ยง เสียชีวิตเมื่ออายุ ๒๕ ป ดวยโรคไขกาฬ ๘. นายสัตวแพทยปลอด ธีระโชติ สมรสกับนางเติมใจ การอพยพยายถิ่นฐาน พ.ศ.๒๔๔๕ พอคงพาครอบครัว คือเมียและลูกๆ ซึ่งลูกคนแรกชื่อหุนอายุประมาณ ๓ ขวบ และลูก คนที่ ๒ ที่เพิ่งเกิด พรอมดวยญาติมิตร เดินทางมาหาหลักแหลงการทํากินใหม โดยใชเกวียนเปนพาหนะ ระหวางการเดินทางลูกที่เกิดใหมไดเสียชีวิตลง พ.ศ.๒๔๔๖ เดินทางมาถึงบานตะครอ (ปจจุบันคือบานตะครอ ตํา บลเมืองคง อําเภอคง จังหวัด นครราชสีมา) พบทําเลที่เหมาะแกการตั้งรกรากทํามาหากิน มีปาดงหลวงที่มีสัตวนานาชนิดและทํา เลที่ เหมาะกับการทํานา จึงหยุดปกหลักสรางที่พัก หักรางถางพงทําไรทํานา พ.ศ.๒๔๔๗ ลูกคนที่ ๓ ชื่อ แกว เกิด
หนา ๑๒
พ.ศ.๒๔๔๘ ปรุงเรือนถาวรตามคติของชาติพันธุโคราช โดยชางที่ปรุงชื่อ พิมพ เปนคนที่อพยพมา ดวยกัน จากบานหนองนา ลูกๆ อีก ๕ คน คือ ก่ํา หาน หงส(อึ่ง) เหมี่ยง และปลอด ไดเกิดที่บานหลังนี้ การปรุงเรือนจะเริ่มจากการไปคัดเลือกไมจากปาโคกหลวง ซึ่งเปนปาใหญตอเนื่องไปจนถึงจัตุรัสมี ไมนานาพันธุและสัตวปานานาชนิด ชางปรุงเรือนจะคัดเลือกไมมงคลในปาตามคติของการสรา งเรือน ทั้ง ชนิดของไม อายุไมขนาดและความสูงของไม ลักษณะไมไมคดงอ ไมมีตาไม เมื่อคัดเลือกไดตามตองการแลว จึงทําการตัดที่สําคัญขณะโคนตองไมมีเสียงอัปมงคล เชน เสียงรอง เสียงโอดโอย ปาโคกหลวงอุดมสมบูรณมาก วันหนึ่งนางหา นไปพบไขนกก็เก็บเอามาใหไกฟก ปรากฏวา ไดลูก นกยูง นกยูงตัวนี้เฝาบานใหอยางดี เพราะจิกตีเกง พ.ศ.๒๔๖๗ นายแกวอายุ ๒๐ ปครบบวช ในพิธีบวชมีการแหนาคดว ยชา งหลายเชือก ซึ่งจา งมา จาก บานกะฮาดและบานคาย จังหวัดชัยภูมิ ราคาตัวละ ๕-๖ บาท นาคและญาติจะขึ้นนั่งบนหลังชาง พรอมทั้งมโหรีปพาทย โดยชางจะมาเทียบที่ชานบา น แลวนํา แหจากบา นตะครอไปยังหมูบ านตา งๆ ใน ละแวกนั้น ไดแกบานหวยเหนือ บานโนนตาล บานหมัน บานหนองมะนาว แลวกลับมายังบานตะครอ การแหนาคดวยชางนี้ นอกจากประชาชนในหมูบานตางๆจะไดรวมอนุโมทนาบุญแลวยังไดเลนสนุกจากการ เลนมาลอชาง คือคนที่ขี่มาเกงๆจะขับมาใหเขาใกลชางมากที่สุดสามารถกระตุกเอาเสนขนหางชางติดมือมา ไดจะไดรับรางวัล คนสวนใหญจะเดินตามชาง หนุมสาวมีโอกาสไดใกลชิดกัน หลังจากบวชและสึกแลว นายแกวไดไปเปนทหารชาง ๒ ป เมื่อออกจากทหาร ก็มาทําธุรกิจคาขาวโดยใชร ถไฟ ภายหลังตอมาได เปนผูใหญบานและกํานันโดยลําดับ ชวงกอนมีพระราชบัญญัตินามสกุลใชผูคนทั่วไปจะตั้งสมญานามพอคงวา ตาคงเศรษฐี คูกับ ตีหรี่ นาราย พอคงเปนเศรษฐีเพราะความเปนชาวนา มีที่นามากจากการสรางนาดวยสองมือ เมื่อมีที่นามาก ทํา นาก็ไดขาวมาก ตัวชวยที่สําคัญคือควาย ชาวนาที่จะเปนเศรษฐีไดตองขยันมากๆ ความขยันของพอคงเปนที่ เลาลือ เลากันวาแมฝนไมตกไถนาไมได พอจะพาลูกขุดดินเอาเมล็ดขาวเปลือกหยอดไว ฝนตกเมื่อไรก็งอก เมื่อนั้นพอจะฝกลูกทุกคนทั้งลูกหญิงและลูกชายใหเปนคนขยัน แข็งแกรง ไดขาวลนยุง เวลาจะตักขาวใน ยุงตองตักทางหนาจั่ว คุณสมบัติขอนี้พอคงไดมอบใหลูกโดยเฉพาะ นางหงส(หรือ อึ่ง ) ซึ่งอาศัยอยูกับพอ แมขณะที่พี่ๆนองๆแยกไปตั้งครอบครัว หลังจากที่พอคงเสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๑ นางอึ่งซึ่งครองตัวเปน หนา ๑๓
โสดไดบุกบั่นทํานาไดขาวลนยุงทุกป ไมใหใครดูถูกได จนเมื่อมีชายที่คูควรคือ มหานอย เปรียญธรรม ๔ ประโยค จากกรุงเทพฯคนบานพลกรัง มาขอจึงแตงงานในปพ.ศ. ๒๔๘๔ ขณะอายุได ๒๙ ป ยุงขาวของพอคงเปนยุงขนาดใหญ เสา ๑๒ ตน ถูกรื้อไปโดยลูกหลานรุนที่ ๔ พอคงเปนเศรษฐีแตไมเคยถูกโจรปลน โจรในสมัยกอนเมื่ อจะปลนบ า นใดจะประกาศให ทราบ ลวงหนา พอคงเปนเศรษฐีชาวนาที่มีคุณธรรม ชวยทํานุบํารุงพระศาสนา ทอดกฐินผาปาไมขาด สรางกุฏิ ไมใตถุนสูง ๒ ชั้น ถวายวัดตะครอ คนจีนที่เขามาทํามาหากินไดรับความชวยเหลือจากพอคง จึงใหความ เคารพรักนับถือพอคงมาก จนถึงชั้นลูกหลานก็ยังเคารพรักนับถือกันตอมาถึงปจจุบัน เมื่อมีการประกาศใชพระราชบัญญัตินามสกุลซึ่งเริ่มตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ พอคง และลูกๆ ไดนามสกุลวา โชตินอก เพราะขณะนั้น อยูในเขตการปกครองของอําเภอนอก ( บัวใหญ ) พ.ศ. ๒๔๘๓ กิ่งอําเภอคง ไดแยกการปกครองออกจากอําเภอบัวใหญ และพัฒนามาเปนอําเภอคง ในปจจุบัน เนื่องจากนามสกุล โชตินอก มีคนมาขอใชรวมจํานวนมากทั้งๆที่ไมใชสายเลือดเดียวกันเพราะ ความศรัทธาและความเชื่อมั่นในพอคง ลูกชายคนเล็กชื่อปลอด เมื่อเรียนจบสัตวแพทย ไดไปเปนสัตวแพทยที่จังหวัดเลย จึงขอเปลี่ยน นามสกุลเปน ธีระโชติ เมื่อพ.ศ.๒๔๘๘ ลูกหลานของพอคงทุกคนจึงเปลี่ยนตามเปนธีระโชติ วาระสุดทายของชีวิต พอคงทํางานหนักตลอดชีวิตตั้งแตวัยหนุมเพื่อลงหลักปกฐานสรา งบา นแปลงนา ใหเปนมรดกแก ลูกหลานไดสืบทอดมาถึงปจจุบัน ไดลมปวยและเสียชีวิตที่บานหลังนี้เมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๑ ขณะอายุไ ด ๖๑ ป หลังจากพอคงเสีย ชีวิต แมพุม ก็ตาเสียทั้ งสองขางแตก็ส ามารถดํา รงชีวิต อยูไ ดดว ย ความสุข เปนเสาหลักใหลูกหลาน โดยเฉพาะลูกของนางอึ่งที่กําพราพอเพราะมหานอยเสียชีวิต เมื่อพ.ศ. ๒๔๙๔ ขณะที่เฉลิมศรี ลูกคนเล็กของนางอึ่งอายุเพียง ๓ ป แมพุมอยูกับลูกหลานมาจนถึงวัยชรา จึงลม ปวยและเสียชีวิตเมื่อวันอาทิตยที่ ๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๔ ที่บานหลังนี้ เชนกัน ขณะอายุได ๘๔ ป หาง จากพอคง ๒๓ ป
หนา ๑๔
ปดฉากชีวิตของคูสราง ที่ผานรอนผานหนาว ผา นสุขผา นทุกข และโลกธรรมทั้งแปด ทิ้งบานหลังนี้ไวเปนสมบัติของโลก ใหลูกหลานไดเรียนรูถึง จิตวิญญาณและภูมิปญญาในอดีต เปนภูมิ ปญญาอันบริสุทธิ์ของชาวนาโคราช นับจากวันปรุงถึงวันนี้ บานหลังนี้อายุได ๑๑๑ ป ผูอาศัยในบานหลังนี้ รุนที่ ๑ พอคง โชตินอก แมพุม ธีระโชติ(สกุลเดิม โชตินอก) และลูกๆ รุนที่ ๒ พอมหานอย แมอึ่ง ถนอมพล และลูกๆ รุนที่ ๓ นายอั้น นางพิกุล ศิริวัฒน และลูกๆ รุนที่ ๔ นายอนันต นางปาริชาติ ศิริวัฒน และลูกๆ ผูใหขอมูล ๑. จ.สอ.บุญรอด พจนปริญญา อายุ ๘๗ ป อยูบานเลขที่ ๑๐๓/๑๔ บานเขาเสด็จ ต. หนอง สาหราย อ.ปากชอง จ. นครราชสีมา สัมภาษณเมื่อ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๙ ๒. นางพิรุณ พจนปริญญา อายุ ๘๔ ป อยูบานเลขที่ ๑๐๓/๑๔ บานเขาเสด็จ ต. หนองสาหราย อ.ปากชอง จ. นครราชสีมา สัมภาษณเมื่อ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๙ ๓. นางเฉลิมศรี กัลยารัตน อายุ ๖๘ ป อยูบานเลขที่ ๑๔๓/๓๙ ถนนสุรนารายณ ต.ในเมือง อ. เมือง จ.นครราชสีมา สัมภาษณเมื่อ ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙
หนา ๑๕
สวนที่ ๒ การบริหารจัดการ สํานักศิลปะและวัฒนธรรม ในปงบประมาณ ๒๕๖๑ ไดปรับกระบวนทัศนในการพัฒนา ซึ่งปรากฏ อยูในยุทธศาสตร การพัฒนาสํานักศิลปวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ การเสริมสรา งศักยภาพแหลง เรียนรูทางศิลปวัฒนธรรม โดยบูรณาการงานของทั้งองคกรเพื่อนําไปสูการพัฒนาที่เปนรูปธรรม มุงสูการเปน ศูนยการเรียนรูชั้นนําของภาคอีสาน มีระบบการบริหารจัดการดังนี้ ๒.๑ โครงสรางการแบงสวนงานภายในสํานักศิลปะและวัฒนธรรม
หนา ๑๖
กลุมงานหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู เปนหนึ่งใน ๓ กลุมงานของสํานักงานผูอํานวยการสํานัก ศิลปะและวัฒนธรรม ประกอบไปดวย ๒ งาน ไดแก งานบริการหอศิลปและหอวัฒนธรรมและงานสงเสริม และพัฒนาศูนยการเรียนรูทางศิลปวัฒนธรรม ๒.๒ โครงสรางภาระงานสํานักศิลปะและวัฒนธรรม
กลุมงานหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู มีภาระงานที่ไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการ ดังนี้ - งานบริก ารหอศิ ลป และหอวั ฒนธรรม ประกอบด ว ย หน ว ยสํา รวจและจั ดเก็ บ ข อ มู ล ทาง ศิลปวัฒนธรรม, หนวยทะเบียนศิลปวัตถุ และหนวยพัฒนาและซอมบํารุงหอศิลปและหอวัฒนธรรม - งานสง เสริมและพัฒนาศูนยการเรียนรูทางศิ ล ปวัฒนธรรม ประกอบดว ย หนวยบริการศูน ย เรียนรูทางศิลปวัฒนธรรม และหนวยพัฒนาและสงเสริมการเรียนรูทางศิลปวัฒนธรรม หนา ๑๗
๒.๓ โครงสรางบุคลากร
ผศ.ดร ณัฐกิตติ์ อินทรสวรรค ผูอํานวยการสํานักศิลปะและวัฒนธรรม
ผศ.ดร.ณัฏฐินี ทองดี รองผูอํานวยการฝายหอวัฒนธรรม และศูนยการเรียนรู
นายธนัช แววฉิมพลีสกุล รักษาราชการแทนหัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ หนา ๑๘
นายชุตินันท ทองคํา นักวิชาการศึกษา ระดับปฏิบัติการ หัวหนากลุมงานหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู ๒.๔ การวิเคราะหองคประกอบของงาน การวิเคราะหองคประกอบของงานบริการหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู เพื่อใหมองเห็นแนวทาง และภาระงานที่สํานักศิลปะและวัฒนธรรมตองเตรียมรองรับ การทํางานใหครอบคลุม เพื่อใหเกิดความพึง พอใจสูง สุดของผูรับ บริการ จึง ทํา การวิเคราะหโดยใชพิพิธ ภัณฑ เมือ งนครราชสีมาเปนกรณีศึกษา พบ รายละเอียดดังนี้
หนา ๑๙
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ สามารถแบงออกเปน ๘ ดาน ดังนี้ ๑. งานดานนิทรรศการ ประกอบดว ย ๒ ลักษณะ คือ การพัฒนารูปแบบการจัดแสดง และการ ซอมบํารุง บํารุงรักษา ตรวจสอบสภาพ ความเรียบรอย และความสะอาด เพื่อใหพรอมตอการบริการ อยู เสมอ ๒. การใหบริการผูชม - การบรรยายใหความรูแกผูชมโดยวิทยากร หรือมัคคุเทศก หรือการจัด กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๓. การบริหารวัตถุพิพิธภัณฑ การสงวนรักษาโบราณวัตถุ วัตถุจัดแสดง และวัตถุพิพิธภัณฑ ให ปลอดภัย ลดความเสียหายอันเกิดจากการเสื่อมสภาพ หรือการชํารุดตามกาลเวลา ๔. การตลาดพิพิธภัณฑ – การพัฒนาของที่ระลึกเพื่อการจํา หนา ย หรือการพัฒนาหลักสูตรการ ฝกอบรม โดยอาจจะเปนการหารายไดเพื่อสนับสนุนพิพิธภัณฑ หรือการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก หนวยงานภายนอก ๕. งานดา นการพัฒนาเครือ ข า ยแหลง เรี ยนรู - พั ฒ นาเครื อข า ยความร ว มมื อ ทั้ งในดา น พิพิธภัณฑ/แหลงเรียนรู และดานองคความรู ภูมิปญญาทองถิ่น ๖. การดูแลรักษาพื้นที่อํานวยความสะดวก การดูแล รักษา ปรับปรุงภูมิทัศนใหเกิดความสวยงาม และครบถวนตามองคประกอบของแหลงเรียนรู อาทิ สถานที่จอดรถ หองน้ํา ตัวอาคาร บริเวณโดยรอบของ แหลงเรียนรู หรือปายบอกทาง ๗. งานดา นการประชาสัมพันธ - การเผยแพร ถา ยทอดสูส าธารณชน ให ไดทั้ งประสบการณ ความรูและความเพลิดเพลิน และเพื่อพัฒนาภาพลักษณของพิพิธภัณฑ ๘. งานดานการพัฒนาบุคลากร - การพัฒนาบุคลากรในดา นตา งๆ อาทิ เทคนิคในการนํา เสนอ ทักษะในการเปนมัคคุเทศก พรอมทั้งขอมูลเกี่ยวกับแหลงเรียนรูทางศิลปวัฒนธรรม ขอมูลพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร และบริบทใกลเคียง โดยเมื่อพิจารณาลักษณะงานในเบื้องหนาและเบื้องหลัง พบรายละเอียด ดังนี้ หนาฉาก หลังฉาก ภาพลักษณ ภาพลักษณ - การจัดแสดงนิทรรศการ - การรวบรวม สืบคนวัตถุ - กิจกรรมการศึกษา เผยแพรความรู - การศึกษาคนควา - การนําชม (วิทยากร, มัคคุเทศก) - การนุรักษ ดูแลรักษาวัตถุ - ประชาสัมพันธ - การทํานุบํารุง หนา ๒๐
การปฏิบัติงาน การเผยแพร การนําชม สิ่งพิมพ กิจกรรม เครือขาย ฯลฯ ที่ตองตอเนื่อง สม่ําเสมอ มีเอกลักษณนาสนใจ และทันตอเหตุการณ
การปฏิบัติงาน การดูแลรักษา ทํานุบํารุง พัฒนา/ปรับปรุง ถูกตอง ทันสมัย สวยงาม สะอาด - ขอมูล วัตถุจัดแสดง - เทคโนโลยีการนําเสนอ - บุคลากร - อาคารสถานที่ สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความสะดวก
๒.๕ งบประมาณ - งบประมาณกลุมงานหอวัฒนธรรมและศู นย การเรี ยนรู ที่ ไ ด รั บ จั ดสรรจากสํ า นั กศิ ล ปะและ วัฒนธรรม ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๑ จํานวน ๖๕,๐๐๐ บาท (หกหมื่นหาพันบาทถวน) ๒.๖ รูปแบบการดําเนินงาน ๒.๖.๑ รูปแบบการดําเนินงานของพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ระเบียบการเขาชม - แตงกายสุภาพ ระวังกิริยามารยาท และหามสงเสียงดังรบกวนผูอื่น - หามนําอาหาร เครื่องดื่มทุกประเภทเขาในบริเวณอาคารพิพิธภัณฑ - กรณีมาเปนหมูคณะ และขออนุญาตรับประทานอาหาร ตองนําเศษขยะ วัสดุบรรจุอาหาร น้ําดื่ม กลับไปและตองรับประทานในพื้นที่ๆ ไดรับอนุญาตเทานั้น - ในกรณีเขาชมเปนหมูคณะ และตองการความสะดวกรวดเร็วตองติดตอแจงการเขาชมเปนหนังสือ ลวงหนาไมนอยกวา ๓ วันทําการ - หามสูบบุหรี่ภายในอาคารโดยเด็ดขาด ทั้งนี้จะสูบบุหรี่ไดเฉพาะพื้นที่ๆอนุญาตไวเทานั้น
หนา ๒๑
ขั้นตอนการใหบริการ ขั้นตอนการใหบริการ ไดแบงออกเปน ๔ กรณี ตามลักษณะของผูมาเยี่ยมชม ดังนี้ - กรณีที่ ๑ ผูเยี่ยมชมทั่วไป (ไมไดแจงลวงหนา) - กรณีที่ ๒ มาเยี่ยมชมมาเปนหมูคณะ - กรณีที่ ๓ ผูเยี่ยมชมเปนชาวตางชาติ - กรณีที่ ๔ สื่อมวลชน ขั้นตอนการใหบริการแกผูมาเยี่ยมชม แบงได ๔ กรณี ตามลักษณะหรือวัตถุประสงคของผูมาเยี่ยม ชม ดังนี้ กรณีที่ ๑ ผูเยี่ยมชมทั่วไป (ไมแจงลวงหนา) ติดต่อ เจ้ าหน้ าที
แจกเอกสารประกอบการชม
มัคคุเทศก์ นําชม พร้ อมบรรยายเนื อหาความรู ้ ทีจัดแสดง
ชมพิพิธภัณฑ์ ตามอัธยาศั ย
ลงชือผู ้ เข้ าเยียมชม หรื อในสมุ ดเยียม กรอกแบบประเมิน ความพึงพอใจ เจ้ าหน้ าทีบันทึกสถิติ ผู ้ เยียมชม
หนา ๒๒
กรณีที่ ๒ ผูเยี่ยมชมมาเปนหมูคณะ (แจงลวงหนากอน ๓ วันทําการ)
๑. ขั้นตอนขออนุญาตเขาชม ผู ้ ใช้ บริการ ทํ าหนังสือราชการ, บันทึกข้ อความ, กรอกแบบฟอร์ มขอเข้ าชม
ธุรการรับรับหนังสือขอเข้ าชม
ตรวจสอบ/เช็คตารางการเข้ าชมพิพิธภัณฑ์ เสนอผู ้ อํานวยการพิจารณาอนุมัติ (ไม่เกิน ๑ วั นทําการ) หากไม่อนุมัติแจ้ งกลับ ไปยังผู ้ ขอเข้ าชม
ผู ้ อํานวยการอนุมัติ การเข้ าชม
แจ้ งเจ้ าหน้ าทีผู ้ ปฏิบัติงาน
แจ้ งวิทยากร/มัคคุเทศก์ หากมีการขอใช้ บ ริ การ
เจ้ าหน้ าทีผู ้ ปฏิบ ัติ จัดเตรี ยม อุปกรณ์ สถานที ให้ พร้ อมบริการ
หนา ๒๓
๒. ขั้นตอนการใหบริการ (ในลักษณะหมูคณะ) เจ้ าหน้ าทีผู ้ ปฏิบ ัติงาน ประสานไปยังผูป้ ระสานขอเข้ าชม นําผู ้ เข้ าชมไปยังจุดพัก สวนนํ าพุ/ ห้ องประชุม ๑๐.๒๑ / สนามหน้ าสํานักฯ แจกเอกสารประกอบการชม / โบรชัวร์ แบ่งผู ้ เข้ าชมเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ๒๐ – ๒๕ คน ผู ้ อํานวยการ หรือผู ้ แทน กล่าวต้ อนรับผู ้ เยียมชม
นําผู ้ เข้ าชม เข้ าชมพิพิธภัณฑ์ ตามกลุ่มทีได้ จัดไว้ ตามอัธยาศั ย
นําชมโดยวิทยากร / มัคคุเทศก์ บรรยายเนื อหาความรู ้ ทีจัดแสดง
ลงชือผู ้ เข้ าชม หรื อในสมุ ดเยียม ถ่ายภาพหมู ่เป็ นทีระลึก เจ้ าหน้ าทีผู ้ ปฏิบัติงานบันทึกสถิติผู ้ ชม
หนา ๒๔
กรณีที่ ๓ ผูเยี่ยมชมชาวตางชาติ
ติดต่อ เจ้ าหน้ าที
แจ้ งมัคคุเทศก์ / วิทยากร ของพิพิธภัณฑ์ทีสามารถสือสาร ภาษาต่างประเทศ
ประสานขอความอนุเคราะห์ ผู ้ แปลภาษาต่างประเทศจาก กองวิเทศสัมพันธ์
ผู ้ ชมต้ องการชม ตามอัธยาศั ย
แจกเอกสารนําชม ฉบับภาษาอังกฤษ
แจกเอกสารนําชม ฉบับภาษาอังกฤษ นําชม พร้ อมบรรยายเนื อหาความรู ้ ที จัดแสดงเป็ นภาษาต่างประเทศ
ชมพิพิธภัณฑ์ ตามอัธยาศั ย
ลงชือผู ้ เข้ าเยียมชมหรือ ในสมุดเยียม
เจ้ าหน้ าทีบันทึกสถิติ ผู ้ เยียมชม
หนา ๒๕
กรณีที่ ๔ สื่อมวลชน
๑. ขั้นตอนขออนุญาต ถายทําภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว / สัมภาษณ สือมวลชน ทําหนังสือขออนุญาต ถ่ายทํา/สัมภาษณ์
ธุรการรับหนังสือขออนุญาตถ่ายทํา/สัมภาษณ์
ตรวจสอบ/เช็คตารางการเข้ าชมพิพิธภัณฑ์ เสนอผู ้ อํานวยการพิจารณาอนุมัติ (ไม่เกิน ๑ วั นทําการ) หากไม่อนุมัติแจ้ งกลับ ไปยังผู ้ ขอ
ผู ้ อํานวยการอนุมัติ ถ่ายทํา/สัมภาษณ์
แจ้ งเจ้ าหน้ าทีผู ้ ปฏิบัติงาน
ผู ้ ให้ สัมภาษณ์
เจ้ าหน้ าทีผู ้ ปฏิบ ัติ จัดเตรี ยม อุปกรณ์ สถานที ให้ พร้ อมบริการ
หนา ๒๖
๒. ขั้นตอนการใหบริการตอสื่อมวลชน
เจ้ าหน้ าที/ผู ้ ปฏิบัติงาน ประสานไปยังผูป้ ระสานสือมวลชน
นําสือมวลชนไปห้ องรับรอง / ห้ องประชุม บริ การเครื องดืม / อาหารว่าง มอบเอกสาร / เนื อหาพิพิธภัณฑ์ หรื อประเด็นทีเกียวข้ อง
ดําเนินการถ่ายทํา
ดําเนิน การสัมภาษณ์
ถ่ายภาพขณะดําเนินงาน
ลงชือผู ้ เข้ าชม หรื อในสมุ ดเยียม เจ้ าหน้ าทีผู ้ ปฏิบ ัติงานบันทึกสถิติผู ้ ชม
หนา ๒๗
สวนที่ ๓ ผลการปฏิบัติงาน ปงบประมาณ ๒๕๖๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑)
๑. โครงการประยุกตการใชเทคโนโลยี QR Code ในพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา การนําเทคโนโลยี QR Code มาประยุกตใชในพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา มีวัตถุประสงค ๑) เพื่อ ประยุกตใชเทคโนโลยี QR Code กับพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ๒) เพื่ออํานวยความสะดวกในการเยี่ยม ชมพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา โดยออกแบบใหสามารถใชงานผานโปรแกรมบนโทรศัพทเคลื่อนที่ดว ยการ อานขอมูลจากคิวอารโคด โดยผูเขาเยี่ยมชมสามารถไดรับความรูและขอมูลตาง ๆ ของพิพิธ ภัณฑผา น QR Code ตามความตองการและความสนใจของตนเองไดอยา งทั่ว ถึง และยั งชว ยส งเสริมใหมีการเข าชม พิพิธ ภัณฑมากขึ้น คณะทํางานไดพัฒนาจุ ดในการอา นทั้งสิ้น ๒๐ จุดกระจายออกไปตามหอ งจั ด แสดง นิทรรศการพัฒนาการทางประวัติศาสตรเมืองนครราชสีมา ทั้ง ๗ หอง ผลการประเมินจากผูใช จํานวน ๑๐๐ คน พบวาผูใชบริการมีความพึงพอใจในภาพรวมอยูที่ระดับมากที่สุด เพื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา อยูในระดับมากที่สุดทุกดาน
ขั้นตอนการพัฒนา ๑. รวบรวม และวิเคราะหขอมูล ที่มีความเชื่อมโยงกับนิทรรศการ หรือวัตถุจัดแสดงในพิพิธ ภัณฑ เมืองนครราชสีมา ๒. ทําการนํา Link สื่อการเรียนรูมาสรางเปน QR Code ดวยโปรแกรมในเวอรชันออนไลน ๓. ปริ๊นใสกระดาษและติดลงบนกระดาษลัง (วัสดุเหลือจากการใชงาน)
หนา ๒๘
๔. การทดลองอาน QR Code ดวยApplication Line
๕. นําไปติดยังจุดใกลกับนิทรรศการหรือวัตถุจัดแสดงโดยพิจารณาไมใชเดนเกินไป หรือมีความรก รบกวนวัตถุจัดแสดง
หนา ๒๙
ผลการดําเนินการจัดทํา QR Code ในพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา No. เนื้อหา ๑. รายการประวัติศาสตรนอกตํารา ตอน บานโนนวัด
ลักษณะของขอมูล youtube.com
๒. คูมือประกอบนิทรรศการ ขาว เกลือ โลหะ โดย สพร.
Pdf Files
๓. โนนวัด สุสานสรางชีวิต โดย คุณธนินรัฐ ศักดาพิสิษฐ
youtube.com
หนา ๓๐
No. เนื้อหา ๔. รายการคันฉองสองไทย ตอน ธรรมจักรเสมาราม
ลักษณะของขอมูล youtube.com
๕. จารึกศรีจนาศะ โดย ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร
www.sac.or.th
๖. จารึกบออีกา โดย ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร
www.sac.or.th
๗. รายการคันฉองสองไทย ตอน เมืองเสมา
youtube.com
หนา ๓๑
No. เนื้อหา ๘. จารึกเมืองเสมา โดย ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร
ลักษณะของขอมูล www.sac.or.th
๙. วิดิทัศนอุทยานประวัติศาสตรพิมาย ผลิตโดยกรมศิลปากร
youtube.com
๑๐. การตูนการบูรณปราสาทหินพิมาย โดย กรมศิลปากร
youtube.com
๑๑. กําแพงเมืองนครราชสีมา โดย คุณสมเดช ลีลามโนธรรม
Pdf Files
หนา ๓๒
No. เนื้อหา ๑๒. รายการพินิจนคร ตอน นคราแหงยาโม
ลักษณะของขอมูล youtube.com
๑๓. รายการทีวีจออีสาน ตอน พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา (ตัดเฉพาะชวงหนาบัน)
youtube.com
๑๔. ภาษาโคราช โดย ผศ.นฤมล ปยวิทย
Pdf Files
๑๕. กลุมชาติพันธุในจังหวัดนครราชสีมา โดย ผศ.นฤมล ปยวิทย
Pdf Files
หนา ๓๓
No. เนื้อหา ๑๖. เอกสารประกอบนิทรรศการหลงรัก โดย สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ
ลักษณะของขอมูล Pdf Files
๑๗. วิดิทัศนมาตรฐานทารําเพลงโคราช โดย ผศ.เรขา อินทรกําแหง
youtube.com
๑๘. หนังสือเพลงโคราช เลม ๑
Pdf Files
๑๙. หนังสือเพลงโคราช เลม ๒
Pdf Files
หนา ๓๔
No. เนื้อหา ๒๐. รายการของไทยรัฐทีวี วิกฤตแมวสีสวาด
ลักษณะของขอมูล youtube.com
ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชงาน QR Code ในพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา
หนา ๓๕
คณะทํา งานได ทํ า การเปด รั บ การประเมิ น ในระบบออนไลน จากผู เ ข า ชมพิ พิ ธ ภั ณ ฑ เมื อ ง นครราชสีมามาจํานวน ๑๐๐ คน ในชวงเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยมีผลการประเมินโดย สรุป ดังนี้ ๑. ความพึงพอใจของผูใชบริการในภาพรวม
หนา ๓๖
ผูตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจตอการใชงาน QR Code ในพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมาใน ภาพรวม อยูในระดับ มากที่สุด ๔.๙๐ โดยส ว นใหญ มีความพึ งพอใจในระดับ มากที่ สุด ถึง ร อยละ ๙๓ รองลงมาพอใจในระดับมาก รอยละ ๖
๒. ความพึงพอใจดานความนาเชื่อถือของขอมูล
หนา ๓๗
๓. ความพึงพอใจดานความสะดวกในการใชขอมูล
๔. ความพึงพอใจดานความนาสนใจของขอมูล
๕. ความพึงพอใจดานความทันสมัยของขอมูล
หนา ๓๘
๖. ความพึงพอใจดานประโยชนตอการใชงาน ศึกษาคนควา
๗. ขอเสนอแนะเพิ่มเติม มีผูแสดงความคิดเห็น ๓ ขอ ดังนี้ ๑) นาจะเพิ่มจุดยิง qr code อีกสักนิด ๒) ชื่นชอบเพราะสามารถโหลดหนังสือบางเลมได
หนา ๓๙
๒. การพัฒนาแหลงเรียนรูโ ดยการเพิ่มเติมเนื้อหาภาษาอังกฤษในนิทรรศการของพิพิธภัณฑ เมืองนครราชสีมา โครงการพัฒนาแหลงเรียนรูโดยการเพิ่มเติมเนื้อหาภาษาอังกฤษในนิทรรศการของพิพิธภัณฑเมือง นครราชสีมา เปนการดําเนินการเพิ่มเนื้อหาภาษาอังกฤษในบริเวณนิทรรศการพัฒนาการทางประวัติศาสตร ของเมืองนครราชสีมา โดยเพิ่มเติมใน ๒ สวน คือ สวนอธิบายเนื้อหาในนิทรรศการ และสวนปายแสดงวัตถุ จัดแสดง ซึ่งมีผลในการดําเนินงาน ดังนี้
ปายนิทรรศการ 1. หองตนกําเนิดอารยธรรม โครงกระดูกมนุษยสมัยกอนประวัติศาสตรบานดานทองหลาง อ.โนนสูง
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร
หนา ๔๐
ภาพเขียนสีเขาจันทนงาม
ศิลปะถ้ํา
หนา ๔๑
2. หองสมัยทวารวดี ธรรมจักรศิลาจําลอง
เมืองเสมา
เมืองศรีจนาศะปุระ
หนา ๔๒
พระพุทธรูปปางไสยาสน
3. หองสมัยลพบุรี (เขมร) เมืองพิมาย
หนา ๔๓
อโรคยาศาล
แหลงหินตัด
ปราสาทหินพนมวัน
หนา ๔๔
4. หองสมัยอยุธยา การออกแบบเมืองนครราชสีมา
5. หองสมัยรัตนโกสินทร ทาวสุรนารี
6. หองมหานครแหงอีสาน - ไมมีการดําเนินการ
หนา ๔๕
7. หองของดีเมืองโคราช แมวโคราช แมวสีสวาด
ผาหางกระรอก
หนา ๔๖
คําอธิบายวัตถุพิพิธภัณฑ 1. หองตนกําเนิดอารยธรรม ภาชะดินเผาสมัยกอนประวัติศาสตร ทรงปากแตร
ภาชะดินเผาสมัยกอนประวัติศาสตร แบบพิมายดํา
โมเดลแหลงโบราณคดีบานโนนวัด
หนา ๔๗
2. หองสมัยทวารวดี - ไมมีการดําเนินการ
3. หองสมัยลพบุรี (เขมร) ศิวลึงก
ชิ้นสวนเสาประดับกรอบประตู
หนา ๔๘
นาคประดับชายคาปราสาท
แทนบรรจุวัตถุมงคล
หินแกะสลักรูปพระพิฆเณศ
หนา ๔๙
4. หองสมัยอยุธยา - ยังไมมีการดําเนินการ
5. หองสมัยรัตนโกสินทร เหรียญกษาปณตางประเทศ
เงินอีแปะจีน
เงินปกระเบื้องและถุงใสเงิน
หนา ๕๐
ราชกิจจานุเบกษา
ตราประทับ
เครื่องชั่งทอง และปากกาขนนก
หนา ๕๑
5. หองมหานครแหงอีสาน ปนใหญขนาดเล็ก
แผนที่ไปรษณี รศ. 115
กระบอกใสแผนที่
หนา ๕๒
เครื่องลายคราม และเครื่องเบญจรงค
เชี่ยนหมากอีสาน
7. หองของดีเมืองโคราช - ไมมีการดําเนินการ
หนา ๕๓
๓. ผลการปฏิบัติงานการบริหารจัดการพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ปจจุบันพิพิธ ภัณฑเมืองนครราชสีมา จัดแบงพื้นที่การจัดแสดงออกเปน ๒ สว น ดวยกัน คือ ๑) นิทรรศการพัฒนาการทางประวัติศาสตรจังหวัดนครราชสีมา เปนสวนภายในอาคาร อยูบริเวณ ชั้น ๒ ของ อาคาร ๑๐ และ ๒) เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา สวนการแสดงกลางแจง ซึ่งจัดสรางโดย คณะศิษยเกาฯ และมอบใหมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาในเดือนธันวาคม ๒๕๕๙ และมหาวิทยาลัย มอบใหสํานักศิลปะและวัฒนธรรมเปนผูดูแล ดังนั้นการดําเนินงานของพิพิธ ภัณฑจึงมีการดํา เนินงานใน ๒ มิติไปพรอมๆ กัน ซึ่งมีผลการดําเนินงานโดยสังเขป ดังนี้ ๓.๑ ดานการจัดแสดงนิทรรศการ ประสานการติดตั้งปายสื่อความหมาย Khorat Geopark ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๐
นําธรณีประตูบริเวณจุดเชื่อมตอออก (สะดุดบอย) หองทวารวดีกับหองลพบุรี
เติมหลอดไฟ (หลอดตะเกียบ) ในหองสมัย
Logo Khorat Geopark
รัตนโกสินทร
หนา ๕๔
ปรับแตงตูจัดแสดงเครื่องปนดินเผาสมัยกอน ประวัติศาสตร - ผูชมสามารถจับของจริงได
ติดตั้งหนังสือประกอบการคนควาในพิพิธภัณฑ
ปรับตูจัดแสดงผาหางกระรอก
ปรับแตงทางขึ้นบันได (ผนังไมเรียบ)
ติดตั้งผาขาวมาบริเวณทางออก เพื่อพรางตาไมให ผูชมที่เขามาใหมมองเห็นดานใน
ติดตั้งปายกลุมชาติพันธุในจังหวัดนครราชสีมา
จัดแสดงสามลอบริเวณทางเขาพิพิธภัณฑ
ปรับปรุงจุดเซ็นตเยี่ยม
หนา ๕๕
ยืมเหรียญรางวัลการแขงขันวิ่ง ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา มาจัดแสดงในสวนมหานครแหงการกีฬา
ติดตั้งปายแผนที่ลาลูแบรในหองอยุธยา
การปรับปรุงจุดเซ็นตเยี่ยม
ทําทอน้ําสมัยอยุธยามาจัดแสดง
ทําปายชี้ลูกศรทาเขา
หนา ๕๖
เพิ่มคําอธิบายในโมเดลเมืองนครราชสีมา
ตกแตงบริเวณทางขึ้นเพิ่มเติม
ติดตั้งปายเพิ่มเติมที่ไดรับบริจาค จากมิวเซียมสยาม จัดแสดงเครื่องปนดินเผาดานเกวียน
หนา ๕๗
เพิ่มภาพถายบริเวณโมเดลหองอยุธยา
ตกแตงปายสํานักศิลปะฯ ดวยเครื่องปนดินเผา
จัดแสดงตํานานเพลงโคราชฉบับการตูน
ติดตั้งปายใหขอมูลอุทยานธรณีโคราช
ใชผาขาวมาเปนมานกรองแสงบริเวณทางขึ้นอาคาร
หนา ๕๘
เพิ่มปายวัตถุที่เคยถูกยืมไปจัดแสดงที่มิวเซียมสยาม เพื่อดึงดูดความสนใจของผูชม
จัดหาเหรียญที่ระลึกประจําจังหวัดมาจัดแสดง
หนา ๕๙
๓.๒ งานดานการประชาสัมพันธ ปฏิทินมหาวิทยาลัย ๒๕๖๑
ลงประชาสัมพันธในเว็บไซต ททท.
วารสารหอการคาจังหวัดนครราชสีมา
นิตยสารไทยแลนดจีโอกราฟฟก
กิจกรรมออเจาของโรงเรียนมัธยมดานขุนทด เมื่อ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๑
หนา ๖๐
การถายทํารายการกระจกหกดาน ตอน เพลงของยา
การถายทํารายการเช็คอินเมืองไทย
โม ณ เรือนโคราช
การปรับปรุงเว็บไซต
วิดิทัศนของกลุมนครชัยบุรินทร
หนังสือพิมพทองถิ่น
มอรมูฟลงการไดรับรางวัล
หนา ๖๑
โคราชเมืองที่คุณสรางได
ติดตั้งปาย เรือนโคราช รางวัลพระราชทาน
๓.๓ งานบริหารวัตถุพิพิธภัณฑ - รับบริจาคอาวุธทําจากหิน และเศษภาชนะดินเผาสมัยกอนประวัติศาสตร จากการคนพบในพื้นที่ อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา
- การทําความสะอาดคลังวัตถุพิพิธภัณฑประจําป
หนา ๖๒
- การจัดทําคําอธิบาย ปายจัดแสดงวัตถุในคลังวัตถุพิพิธภัณฑ
- การรวมทดลองและเปนกลุมตัวอยางในการศึกษาวิจัย การปองกันแมลงในพิพิธภัณฑและคลัง วัตถุพิพิธภัณฑ กับคณะนักวิจัยจากสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ
๓.๔ งานดานการพัฒนาบุคลากร - พบปะเครือขายนักโบราณคดี ดร.ไนเจล ชาง ณ แหลงขุดคนทางโบราณคดีโนนบานจาก บา น หนองเครือชุดพัฒนา ตําบลลําคอหงษ อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา ๘ ธันวาคม ๒๕๖๐
หนา ๖๓
- ศึกษาดูงานการจัดงาน Night at the Museum และนิทรรศการชุดใหมถอดรหัส ไทยของมิว เซียมสยาม ตามคํา เชิญ ของงานเครือ ขาย มิว เซียมสยาม สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแ หงชาติ , พิพิธ บางลําภู และพิพิธภัณฑเรียนรูการลงทุน ในวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๐
- ศึกษาดูงานศูนยวัฒนธรรมเฉลิมราชทุงหวา และสํานักงานอุทยานธรณีสตูล ระหวางวันที่ ๑๐ – ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๐
หนา ๖๔
- การอบรมเชิงปฏิบัติการ การอนุรักษวัตถุพิพิธภัณฑประเภทผาและสิ่งทอ เมื่อระหวางวันที่ ๒๑ – ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๑ ณ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ กรุงเทพฯ
การศึกษาดูงานหองปฏิบัติการคลังวัตถุพิพิธภัณฑ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ กทม. เมื่อ 21 มีนาคม 2561
หนา ๖๕
- การศึกษาดูงานนิทรรศการชุดใหม ของมิวเซียมสยาม ชุด ถอดรหัสไทย เมื่อ 21 มีนาคม 2561
๓.๕ งานดานการพัฒนาเครือขายแหลงเรียนรู - การนํา เสนอขอมูลพิพิธ ภัณฑเมืองนครราชสีมาเพื่อรับการพิจารณาคัดเลือกใหเปนพิพิธ ภัณฑ ตนแบบพิพิธ ภัณฑการเรียนรู ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒๖-๒๗ ธ.ค. ๒๕๖๐ ณ โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส จังหวัดนครราชสีมา
หนา ๖๖
- คณะทํางานตรวจสอบความถูกตองการนําเสนอเนื้อหาดานประวัติศาสตร ในงานกินเขาค่ํารําบูชา สักการะทาวสุรนารี เนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๙๐ ป สถาปนาทาวสุรนารี ๙-๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๐ จัดโดย กองทัพภาพที่ ๒ รวมกับองคกรปกครองทองถิ่นจังหวัดนครราชสีมา
หนา ๖๗
- สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมาขอความอนุเคราะหในการจัดนิทรรศการ พระบารมีปกเกลา ชาวนครราชสีมาเฉลิมพระเกียรติส มเด็จ พระเจ าอยูหั ว รัช การที่ ๑๐ เมื่ อวั นที่ ๒๙ กรกฎาคม ๑๕๖๑ ณ สโมสรรวมเริงชัย คายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา
- การรวมสนับสนุนขอมูลทางวิชาการในการดําเนินงาน การขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปญญาทาง วัฒนธรรม ประจําป ๒๕๖๑ เรื่อง ภาษาโคราช
- สํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏรธานี ศึกษาดูงาน เรื่องการบริหาร จัดการพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา และการบริหารจัดการคลังวัตถุพิพิธภัณฑ
หนา ๖๘
เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา - การปรับปรุงภูมิทัศนหนาเรือนโคราช ใชงบประมาณมหาวิทยาลัย (๒๕๖๑) จํานวน ๒๐๒,๔๕๐ บาท เริ่มดําเนินการในชวงตนเดือนตุลาคม ๒๕๖๐ โดยเปนการปรับปรุงลวงหนากอนทําสัญญา เพื่อใหทัน การใชงาน NRRU Show & Share 2017 ประกอบดวยงานปรับพื้นที่ ลงหนาดิน ปูหญา วางทอระบายน้ํา และบอพักน้ํา โดยตรวจรับไปเมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๑
กอนปรับปรุง
- ถายภาพเพื่อเปนตนทุน (Footage) ในการประชาสัมพันธ
หนา ๖๙
ปรับเปลี่ยนฝาทอ
ทํารั้วบริเวณใกลเรือน
- หลักสูตรนาฏศิลปไทย ขอใชเรือนโคราช จัดแสดง "นาฏการลีลาละครรํา เงาะปา ” ๒๔ พ.ย. ๒๕๖๐ โดยไดเสริมแรงดานการประชาสัมพันธดวยการเชิญสื่อมวลชนเพื่อนําเสนอขา ว กระตุนใหเรือ น โคราชเปนที่รูจักมากขึ้นผานกิจกรรมที่จัดขึ้นบริเวณเรือนโคราช
- คณะกรรมการ Km มหาวิทยาลัย จัดงานมหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู NRRU Show and Share 2017
หนา ๗๐
- บัณฑิตวิทยาลัยขอใชเรือนโคราช จัดเลี้ยงในงาน 8th GRC 2017 ๓ ธ.ค. ๒๕๖๐
- พิธีมงคลสมรสแบบโคราช “เสนผี” ผศ.ดร.นวลระวี จันทนลุน และคุณพชร กระตายทอง โดยได ดําเนินการจัดเก็บขอมูลพิธีกรรม อยูระหวางการเขียนใหเปนบทความทางวิชาการ
หนา ๗๑
- ปกหมุดเพื่อเพิ่ม Location Google
จัดหาของประดับในครัวเพิ่มเติม
Map เดิ่นหนาเรือนโคราช
- จัดทํา เอกสาร “เรือนพอคง เรือนโคราช มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสี มา” ประกอบการ พิ จ ารณารางวัล อนุรักษศิล ปสถาปตยกรรมดี เด น นํ า เสนอต อสมาคมสถาปนิ กสยามในพระบรม โดย คณะกรรมการประเมินไดดําเนินถายภาพประกอบการประเมินในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๖๐
หนา ๗๒
- ปรับปรุงพื้นที่ลานขางเรือนทิศตะวันตก
- การปลูกตนไมเพิ่มเติมในบริเวณโดยรอบเรือนโคราช
หนา ๗๓
- คุณยายพิรุณหลานพอคง บริจาคสิ่งของประกอบเรือนเพิ่มเติม
- ติดตั้งผาขาวมาประดับพื้นที่
หนา ๗๔
- การจัดซุมถายภาพในชวงการซอมรับพระราชทานปริญญาบัตร
หนา ๗๕
การดําเนินการพิเศษอื่นๆ - การประกวดนําเสนอบทความ Best Practice: องคความรูที่ซอนอยูในเรือนโคราช ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๐ ไดรับรางวัลชนะเลิศดานศิลปวัฒนธรรม และดานการนําเสนอนิทรรศการ (๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐)
- นายชุตินันท ทองคํา หัวหนากลุมงานหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู ไดรับการคัดเลือกให นําเสนอบทความและนําเสนอในการประชุมวิชาการดานพิพิธภัณฑ ASEAN Museum Forum 2018 : Museum Media : Connecting Museums, Converging People สื่อ สาระ เชื่อมพิพิธภัณฑ โยงผูคน บทความเรื่อง “พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมากับการสื่อสารโดยใชฐานความรูเปนตนทุน” ในกลุมหัวของาน การศึกษาของพิพิธภัณฑและความเชื่อมโยงกับระบบการศึกษาหลัก ในระหวาง วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) จัดโดย มิวเซียมสยาม และภาคีรวมจัดทั้งในและตางประเทศ
หนา ๗๖
ปญหาที่พบระหวางการปฏิบัติงาน - ขาดสถานที่สําหรับรับรองผูมาเยี่ยมในลักษณะกลุมใหญที่มากกวา ๘๐ คนขึ้นไป - หลังคาเรือนโคราช รั่วนับตั้งแตกอสรางแลวเสร็จ - ผูใชงานเรือนโคราช มักจะเก็บของไมเรียบรอย ทิ้งเศษวัสดุที่เปนอันตรายไว อาทิ เข็มหมุด ลวด ฯลฯ ความคาดหวังการดําเนินงานในลําดับถัดไป - การสรางการรูจักทั้งในสวนพิพิธภัณฑและเรือนโคราช - นิทรรศการบนเรือนโคราช - ปรับปรุงพื้นที่ทางขึ้นบันไดทิศตะวันตก ใหมีจุดดึงดูดนาสนใจ ภายใตบริบทที่เหมาะสม - จัดทําปายตอนรับคณะบุคคลเมื่อมาเปนหมูคณะ - พัฒนากระบวนการนําเสนอขอมูลของวิทยากร เนนการมีสวนรวมของผูชม และความสนุกสนาน - เพิ่มคําอธิบายขอความภาษาอังกฤษ - จัดทําอุปกรณสงเสริมการเรียนรูเพื่อลดการแทรกแซงของวิทยากรขณะชม - นําเสนอขอมูลการทํางานในเวทีวิชาการดานพิพิธภัณฑในระดับชาติหรือนานาชาติ หนา ๗๗
สวนที่ ๔ สถิติการใหบริการพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ปงบประมาณ ๒๕๖๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑) สํานักศิลปะและวัฒนธรรม ไดออกแบบระบบในการจัดเก็บขอมูลสถิติผูมาใชบริการแหลงเรียนรูทาง ศิลปวัฒนธรรม โดยเริ่มตนจากการออกแบบระบบของพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา และจะขยายผลไปยังแหลง เรียนรูของสํานักศิลปะและวัฒนธรรมแหลงอื่นๆ ในลําดับตอไป มีผลการดําเนินงานดังนี้ ปริมาณผูใชบริการสะสม ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ จํานวน ๒๗,๘๕๔ คน ปริมาณผูใชบริการใน ปงบประมาณ ๒๕๖๑ คือ ระหวาง ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ – ๑๒ กันยายน ๒๕๖๑ (ขอมูลลาสุดในขั้นตอนการจัดทํา รายงาน) จํา นวน ๕,๒๔๘ คน (ในเดือนกันยายน ๒๕๖๐ – มกราคม ๒๕๖๑ พิพิธ ภัณฑประกาศปดชั่ว คราว เนื่องจากปรับปรุงบันไดทางเดินและสวนสํานักงาน) โดยพบวา สวนใหญรูจักพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมาจากสื่อ อินเทอรเน็ต รอยละ ๓๑.๘ สวนใหญผูชมเปนนักทองเที่ยวทั่วไป รอยละ ๔๔ สวนใหญมีลักษณะการมาชมเปนหมู คณะ รอยละ ๗๒.๔ และปริมาณนักทองเที่ยวที่เปนชาวตางชาติ รอยละ ๔.๑ ปริมาณผูเขาชมพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ป พ.ศ. ๒๕๖๑
หนา ๗๘
ปริมาณผูเขาชมพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ป พ.ศ. ๒๕๖๐
ปริมาณผูเขาชมพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา ป พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑
หนา ๗๙
การรูจักพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา
คํานิยาม - การรูจัก คําเชิญ หมายถึง การรูจักโดยการเชิญชวนใหมาชมพิพิธภัณฑฯ โดยคณาจารย นักศึกษา หรือบุคลากรใน มหาวิทยาลัย อินเทอรเน็ต หมายถึง การรูจักพิพิธภัณฑฯ โดยการรับทราบ ขอมูล ขา วสารจากเว็บไซตของพิพิธ ภัณฑ หรือสื่ออินเทอรเน็ตอื่นๆ มาเอง หมายถึง การมาชมพิพิธภัณฑโดยไมทราบเหตุผลของการรูจัก เดินผาน หมายถึง ผูมาเยี่ยมชมที่แวะมา เพราะเดินผานแลวเห็นปายจึงแวะมาชม บอกตอ หมายถึง การไดรับขาวสารจากผูที่เคยมาเยี่ยมชมแลวบอกตอหรือเชิญชวนใหมาชม สื่อมวลชน หมายถึง การไดรับขาวสารจากสื่อมวลชนจึงสนใจมาชมพิพิธภัณฑ
หนา ๘๐
ประเภทของผูชม
คํานิยาม - ประเภทผูเขาชม นักทองเที่ยว หมายถึง บุคคลทั่วไปที่มาเยี่ยมชมโดยมีวัตถุประสงเพื่อการทองเที่ยว ทัศนศึกษา หรือ ศึกษาหาความรู นักเรียน หมายถึง ผูมาเยี่ยมชมที่ยังเรียนในระดับประถมศึกษา - มัธยมศึกษา นักศึกษา หมายถึง ผูมาเยี่ยมชมที่ยังเรียนในระดับอุดมศึกษา ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก สื่อมวลชน หมายถึง ผูมาเยี่ยมชนที่เปนสื่อมวลชนแขนงตางๆ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการทําขาว สารคดี หรืออื่นๆ ม.ราชภัฏนครราชสีมา หมายถึง ผูมาเยี่ยมชมที่เปนคณาจารย หรือบุคลากรของม.ราชภัฏนครราชสีมา
หนา ๘๑
ลักษณะการเขาชม จําแนกเปนกลุม หมูคณะ / เดี่ยว
ปริมาณผูชมชาวไทย เปรียบเทียบชาวตางชาติ
หนา ๘๒
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. เอกสารเกี่ยวกับความสําเร็จ การดําเนินงานพัฒนาเรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง
หน้า ๓ ราชกิจจานุเบกษา
๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๑
ประกาศกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เรื่อง การขึ้นบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศั ย อํา นาจตามความในมาตรา ๑๘ (๕) และมาตรา ๒๒ แห่ งพระราชบั ญ ญั ติ ส่งเสริม และรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญ ญาทางวัฒ นธรรม เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๑ จึงประกาศขึ้นบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จํานวน ๑๘ รายการ ดังต่อไปนี้ ๑. ประเภท รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่ต้องได้รับการส่งเสริมและรักษาอย่างเร่งด่วน ๑.๑ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านศิลปะการแสดง ๑.๑.๑ สะไน ๑.๑.๒ วายังกูเละ ๑.๒ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล ๑.๒.๑ พิธีถวายข้าวพีชภาคฯ และบุญเสียค่าหัวข้าโอกาสพระธาตุพนม ๑.๒.๒ ประเพณีปอยส่างลอง ๑.๓ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ และจักรวาล ๑.๓.๑ ขนมฝรั่งกุฎีจีน ๑.๔ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านงานช่างฝีมือดั้งเดิม ๑.๔.๑ เรือนโคราช ๑.๔.๒ กลองเอกราช ๑.๔.๓ เรือก่าบาง ๒. ประเภท รายการตัวแทนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒.๑ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา ๒.๑.๑ นิทานพื้นบ้าน เรื่องท้าวแสนปม ๒.๑.๒ ตํารายาหลวงปู่ศุข ๒.๒ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านศิลปะการแสดง ๒.๒.๑ ลิเก ๒.๓ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านการปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล ๒.๓.๑ ประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ําโพ
เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง
หน้า ๔ ราชกิจจานุเบกษา
๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๑
๒.๓.๒ ประเพณีปักธงเมืองนครไทย ๒.๓.๓ ประเพณีถือศีลกินผัก ๒.๔ ลักษณะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ และจักรวาล ๒.๔.๑ ดินสอพองลพบุรี ๒.๔.๒ วัวเทียมเกวียน ๒.๕ ลั ก ษณะมรดกภู มิ ปั ญ ญาทางวัฒ นธรรมด้ านการเล่ น พื้ น บ้ าน กี ฬ าพื้ น บ้ าน และ ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ๒.๕.๑ การเล่นสะบ้า ๒.๕.๒ การแข่งเรือยาวขึ้นโขนชิงธง ประกาศ ณ วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ พิมพ์รวี วัฒนวรางกูร อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม
ภาคผนวก ข. การนําเสนอบทความทางวิชาการ ในการประชุมวิชาการดานพิพิธภัณฑ Asean Museum Forum 2018
พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมากับการสื่อสารโดยใชฐานความรูเปนตนทุน ชุตินันท ทองคํา หัวหนากลุมงานหอวัฒนธรรมและศูนยการเรียนรู พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมาโดยสํานักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา sawadeegan@msn.com พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมาเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเผยแพรความรูทางวิชาการดาน ประวัติศาสตรภูมิปญญาและศิลปวัฒนธรรมของจังหวัดนครราชสีมามุงสรางฐานความรูใหกับคนทองถิ่นเพื่อนํา ไปสู การบอกตอดวยความภาคภูมิใจโดยมีจุดขายคือการเปนแหล งรวบรวมองคความรูเกี่ยวกับ จังหวัดนครราชสีมาไว หลากหลายดานและมีการประชาสัมพันธเผยแพรขอมูลองคความรูสูสาธารณะชนอยางตอเนื่อง การดําเนินงานดานการประชาสัมพันธของพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมาเนนการสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวาง พิพิธภัณฑกับสื่อมวลชนในแขนงต างๆและผูใชบริการโดยใชองคความรูเปนตนทุนเปนกระบวนการที่พิพิธภัณฑให ความสําคัญเปนอยางมากเนื่องจากเมื่อสื่อมวลชนเกิดความสะดวกในการคนควาขอมูลหรือมีประเด็นพรอมนําเสนอก็ จะมีความยินดีที่จะนําเสนอออกไปอยางถูกตองเหมาะสมนาสนใจและเมื่อขอมูลของพิพิธภัณ ฑไดถูกนําเสนอผาน หลายๆสื่อก็จะเกิดกระแสยอนกลับมาในการถูกกลาวถึงในวงกวางซึ่งผลกระทบทางออมคือการเกิดความภาคภูมิใจ ของผูบริหารและบุคลากรในองคกรรวมถึงประชาชนในทองถิ่นจากการที่พิพิธภัณฑเปนที่รูจักซึ่งเขาสามารถทําหนาที่ เปนสื่อบุคคลโดยการบอกตอหรือประชาสัมพันธพิพิธภัณฑใหเปนที่รูจักมากยิ่งขึ้นอีกทางหนึ่งดวย จากสถิติการใหบริการ พ.ศ. 2560 พบวาผูใชบริการสวนใหญรูจักพิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมาจากการบอก ตอรอยละ 31รองลงมาคือการคนหาจากสื่ออินเทอรเน็ตรอยละ 27.4 และพบวาเครื่องมือที่ทําใหเกิดการบอกตอไดใน วงกวางและรวดเร็วนั้นคือการบอกตอผานสังคมออนไลนโดยเฉพาะเพจตางๆ บนเฟซบุคที่เมื่อมีประเด็นที่นาสนใจก็จะ มีการกดไลทกดแชรสงตอ กันไปเรื่อยๆจึงถือเปนรูป แบบหนึ่งของการตลาดแบบปากตอปากที่มีประสิทธิภาพมาก โดยเฉพาะการที่พิพิธภัณฑเปนแหลงที่รวบรวมองคความรูไวเปนจํานวนมากแตไมสามารถนํามาจัดแสดงในนิทรรศการ ไดพรอมๆกันไดทั้งหมดจึงตองมีการคัดเลือกประเด็นและหมุนเวียนนํามาใชเพื่อโนมนาวผูชมใหเกิดความสนใจให สอดคลองกับสถานการณหรือ อิงกระแสหลักเชนการสรางเมืองนครราชสีม าในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เชื่อมโยงกับละครบุพเพสันนิสวาสเปนตนและสงตอใหสื่อมวลชนนําเสนอผาน Pageหรือ Website ที่มีชื่อเสียงดวย ทักษะของสื่อมวลชนจะสามารถปรับใหเนื้อหามีความนาสนใจมากยิ่งขึ้นและเมื่อมีการอางอิงหรือกลาวถึงพิพิธภัณฑก็ จะสงผลใหพิพิธภัณฑเปนที่รูจักมากยิ่งขึ้นแตเฟซบุคยังมีขอจํากัดคืออาจจะขาดความนาเชื่อถืออยูบางดังนั้นพิพิธภัณฑ จึงนําองคความรูมาสรางโลกเสมือนโดยการนําความรูมาบรรจุในระบบออนไลนอาทิการพัฒนาระบบฐานขอมูลที่มี ขอมูลลึกกวาที่จัดแสดงการเพิ่มการเขาถึงดวยการปกหมุดใน Google Map การสรางระบบคลังภาพและการพัฒนา พิพิธภัณฑเสมือน (Virtual Museum) เพื่อใหสามารถชมกอน-หลังไดเปนตนเพื่อตอกย้ําจุดขายในการเปนแหลง รวบรวมองคความรูและตอบสนองตอพฤติกรรมของผูชมที่มักจะคนหาขอมูลเบื้องตนในอินเทอรเน็ตกอนมาเยี่ยมชม
Nakhon Ratchasima City Museum and Communication by Using the Knowledge Base as a Cost Chutinun Tongkam Head of Culture Hall and Learning Center Nakhon Ratchasima City Museum by The Office of Arts and Culture, Nakhon Ratchasima Rajabhat University sawadeegan@msn.com Nakhon Ratchasima City Museum is a cultural attraction established to disseminate knowledge about the history, wisdom and culture of Nakhon Ratchasima. To build a knowledge base for local people and to lead the way with pride. The museum’s outstanding as a place of information, a source of knowledge about Nakhon Ratchasima in various areas and communicating their information to the public continuously. The public relations activities of theNakhon Ratchasima City Museum emphasize thegood relationship building between the museum with the mass media and the users. By using knowledge as a cost which is a process that the museum is concerned importantly. When the mass media comes to research, if the information is convenient to access or be ready to present then it will be pleased to present it properly and become interesting. Also, when the museum's information is presented through many media, it will be streamed and bring back of feedbacks. The indirect impact is the pride of administrators and officers in the organization, including local people for their museum become well-know. The local people can act as a media person by telling or promoting the museum to be even more recognizable. According to the service statistics of 2017, most of the users know the Nakhon Ratchasima City Museum by word of mouth with 31%, followed by Internet search 27.4%. They found that the tools as the key message to spread information about the museum faster and wider are by word
of mouth via social online, especially on Facebook Page. As when people found the interesting issue, they will click and share with each other. It is a form of viral marketing by by word of mouth that is very effective. Especially the museum is accumulated source of all knowledge but cannot be exhibited simultaneously. There are selected and circulated to use for convincing the audience to focus followed by the situation or the mainstream, such as the creation of Nakhon Ratchasima city during the reign of King Narai the Great associated with the “Buppe SanNivas� TV series. Later, it become forward to the media through the famous Facebook Page or Website with the ability of the media to adjust the content become more interesting. With referred to or mentioned to the museum, this make the museum will become more recognizable, but Facebook is still limited as it may lack of credibility. So, the museum brought knowledge to the virtual world by bringing knowledge into the online system, such as developing a database with deeper information than the display. Adding by pinning access in Google Map, creating a photo archive and developing the virtual museum to be able to preview before and after, and to emphasize the outstanding point as a source of knowledge and response to the behavior of the audience who often searching for information on the Internet before visiting.
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ Museum Media: Connecting Museums, Converging People สื่อ สาระ เชื่อมพิพิธภัณฑ์ โยงผู้คน 1-2 สิงหาคม 2561 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ความเป็นมา แนวคิด และประเด็นการประชุม พิพิธภัณฑ์จานวนมากพยายามผลักดันให้พิพิธภัณฑ์เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ เป็นพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่รองรับ คนทุกประเภท ทุกภูมิหลัง จึงทาให้พิพิธภัณฑ์เข้าสู่การปรับตัวขนานใหญ่เพื่อสื่อสารกับคนที่แตกต่าง หรือคนจานวน มากให้สามารถเข้าถึงพิพิธภัณฑ์ได้ การเป็นสื่อที่ส่งสารให้กับผู้เข้าชมจึงเป็นหน้าที่สาคัญของพิพิธภัณฑ์ สื่อในรูปแบบ ต่ างๆ ช่ วยให้ พิ พิ ธภัณ ฑ์ สามารถสร้างประสบการณ์ แ ละช่ วยเสริม การเรียนรู้ให้ แ ก่ ผู้ เข้ าชมได้ มี ส่วนร่วมและสร้า ง ปฏิสัมพันธ์จนนาไปสู่กิจกรรมที่สร้างความหมายมากขึ้น พิพิธภัณฑ์ได้ขยายขอบเขตรูปแบบการเรียนรู้มากกว่าการจัด วางวัตถุจึงมีการใช้สื่อที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบสื่อดิจิทัลและสื่อวัสดุอุปกรณ์ สื่อที่ถูกใช้ในพิพิธภัณ ฑ์สามารถแบ่งได้ตามหน้าที่ใช้สอยต่างๆ สิ่งของในพิพิธภัณ ฑ์ประกอบด้วย สื่อที่ใช้ใน นิทรรศการ ไม่ว่าจะเป็นแผ่นป้ายข้อมูล วัตถุจัดแสดง ภาพเล่าเรื่องต่างๆ สื่อเพื่อการเรียนรู้ เช่น สื่อที่ใช้ในงานกิจกรรม และสื่อที่ใช้ในงานการศึกษา สื่อเพื่อสื่อสารงานพิพิธภัณฑ์สู่สาธารณะ และสื่อที่ใช้ในงานพิพิธภัณฑ์ด้านอื่นๆ เช่น งาน สร้างเครือข่าย การพัฒ นาระบบฐานข้อมูลพิพิธภัณ ฑ์ งานอนุรักษ์โบราณวัตถุ ระบบงานคลังวัตถุ งานจดหมายเหตุ และงานบริการเชิงการค้า สื่อเหล่านี้ถูกใช้สอยตามความเหมาะสม ศักยภาพ และงบประมาณของแต่ละพิพิธภัณฑ์ จากบทบาทที่หลากหลายของสื่อในงานพิพิธภัณฑ์ในโลกที่ต้องหมุนตามเทคโนโลยี จึงเกิดประเด็นคาถามที่ว่า สื่อในพิพิธภัณ ฑ์ได้พัฒ นาไปในทิศทางใด เมื่อสื่อถูกนามาใช้ในพิพิธภัณ ฑ์ การพัฒ นาสื่อได้นาหลักการทางพิพิธภัณ ฑ์ วิทยาเข้ ามามี ส่วนเกี่ ยวข้ อ งด้ วยหรือ ไม่ การพั ฒ นาบทบาทของสื่อ พิ พิธภัณ ฑ์ ในด้ านต่ างๆ (สื่อ ดิ จิทัลและสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ) เป็นไปอย่างไร ทั้งสื่อที่ช่วยในการสื่อความหมายและรับรู้นิทรรศการ สื่อกับการสนับสนุนการเรียนรู้ด้วย ตนเอง การใช้ เกมเป็ น สื่ อ การเรี ย นรู้ ในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สื่ อ กั บ การพั ฒ นาผู้ เข้ า ชม เช่ น การพั ฒ นาผู้ เ ข้ า ชมผ่ า นสื่ อ ประชาสัมพันธ์ การพัฒนาสื่อพิพิธภัณฑ์เพื่อผู้พิการ สื่อดิจิทัลในงานพิพิธภัณ ฑ์ เว็บไซต์และสื่อสังคมกับบทบาทการ สื่อสารเพื่อให้เข้าถึงผู้เข้าชม สื่อกับการสนองตอบผู้เข้าชมเฉพาะกลุ่ม สื่อที่ถูกพัฒนาเพื่อใช้ในพิพิธภัณฑ์ได้ถูกใช้สอย และเกิดประโยชน์อย่างสมบูรณ์หรือไม่ ในอนาคตสื่อที่ถูกใช้ในพิพิธภัณฑ์จะเป็นเช่นไร นอกจากนี้ Museum Forum 2018 ยังต้ องการให้ เกิดการพูดคุย ถกเถี ยง วิเคราะห์ อภิปราย รวมถึ งการ สารวจสภาวการณ์ในการใช้สื่อต่างๆ ในพิพิธภัณฑ์ ทั้งในแง่มุมทางวิชาการและปฏิบัติการ เช่น ความคุ้มค่าในการใช้สื่อ พิพิธภัณฑ์ จริยธรรมของการใช้สื่อในงานพิพิธภัณฑ์ ผัสสะในพิพิธภัณฑ์ของโลกดิจิทัล การปรับตัวของพิพิธภัณฑ์ ทั้งใน แง่ของการตีความ การออกแบบ การสื่อสารด้วยสื่อต่างๆ การออกแบบการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีที่ดึงดูดกลุ่มผู้เข้าชม วัย เยาว์ เมื่ อ พิ พิ ธภั ณ ฑ์ ต้ อ งปรับ ตั วอย่า งหลีก เลี่ ยงไม่ ได้ ประเด็ น ส าคั ญ คื อ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ค วรใช้ สื่ อ อย่ า งไร เพื่ อ ให้ ตอบสนองจุดประสงค์ และการเป็นองค์กรการเรียนรู้ของสังคม การประชุมวิชาการครั้งนี้ยังเปิดพื้นที่ให้เพื่อนบ้านใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการนาเสนอบทความ เป็นโอกาสในการแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ทางด้าน พิพิธภัณ ฑ์วิทยากับพิพิธภัณฑ์ในประเทศเพื่อนบ้านที่มีบริบทใกล้เคียงกัน และนามาปรับใช้ให้เข้ากับพิพิธภั ณ ฑ์แต่ละ แห่งได้อย่างเหมาะสม
วัตถุประสงค์ 1
1. เพื่อรวบรวมปรากฏการณ์ของการใช้สื่อในพิพิธภัณฑ์ 2. เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลีย่ นความรู้และประสบการณ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงานในพิพิธภัณฑ์ 3. เพื่อสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ปฏิบัติงานพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่มเป้าหมาย 1. ผู้บริหารและปฏิบัติงานด้านพิพิธภัณฑ์ 2. ผู้ออกแบบและพัฒนาสื่อในงานพิพิธภัณฑ์ 3. องค์กรและผู้ปฏิบัติงานด้านสารสนเทศ 4. นักวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป้าหมาย 1. ผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการ 200 คน 2. บทคัดย่อที่ร่วมเสนอในงานประชุม 20 เรื่อง ผู้จัดงาน ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ และลานักงานผู้อานวยการ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) องค์กรร่วมจัด - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติฟิลิปปินส์ - ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) - คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ - คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร - สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล - หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร - ศูนย์ภูมิภาคโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ในองค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก - GOETHE-INSTITUT Thailand ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับการทางานด้านสื่อในพิพิธภัณฑ์ 2. เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงานในพิพิธภัณฑ์ 3. เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงานในพิพิธภัณฑ์ไทยและประเทศเพื่อนบ้าน รูปแบบของการจัดงาน ปาฐกถา, การเสนอผลงาน และการเสวนาโต๊ะกลม
2
กาหนดการประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ ASEAN Museum Forum 2018 Museum Media : Connecting Museums, Converging People / สื่อ สาระ เชื่อมพิพิธภัณฑ์ โยงผู้คน 1 สิงหาคม 2561 08.30-09.00 น. 09.00-09.30 น.
09.30-10.30 น.
ลงทะเบียน หอประชุม ชั้น 5 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน) พิธีเปิด คุณฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร ผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ แห่งชาติ กล่าวรายงานการจัดงาน คุณราเมศ พรหมเย็น ผู้อานวยการสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ กล่าวเปิดงาน ปาฐกถา เรื่อง “A new net goes fishing: media strategies to connect museums to Maori audiences” โดย Ms. Puawai Cairns Head of Matauranga Maori, Maori Collection, Museum of New Zealand, New Zealand
10.30-10.45 น.
รับประทานอาหารว่าง (ห้องอาหาร 406 ชั้น 4)
10.45-12.00 น.
ปาฐกถา เรื่อง “Modern Museums - Challenges in a digital world” โดย Mr.Hans-Dieter Hahn Former curator at Jewish Museum, Berlin, Germany
12.00-13.00 น.
รับประทานอาหารกลางวัน (ห้องอาหาร 406 ชั้น 4)
13.00-15.00 น.
นาเสนอผลงานทางวิชาการ หอประชุม Museum Media and Social Engagement and Development (นาเสนอเป็น ภาษาอังกฤษ) ห้อง 402 สื่อพิพิธภัณฑ์กับการจัดการความท้าทาย (นาเสนอเป็นภาษาไทย)
15.00-15.15 น.
รับประทานอาหารว่าง (ห้องอาหาร 406 ชั้น 4)
15.15-17.15 น.
นาเสนอผลงานทางวิชาการ หอประชุม สื่อพิพิธภัณฑ์เพื่อทุกคนและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (นาเสนอเป็นภาษาไทย) ห้อง 402 สื่อพิพิธภัณฑ์กับการสร้างพื้นที่และพัฒนาสังคม (นาเสนอเป็นภาษาไทย)
17.15 น.
จบการประชุม
3
2 สิงหาคม 2561 09.00-09.30 น. 09.30-10.30 น.
ลงทะเบียน หอประชุมชั้น 5 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน) ปาฐกถา เรื่อง “Digital Museum as Museum Media: On NPM’s IT Strategy and its digital dissemination effect” โดย Mr. Wu Shao-chun The section Chief of the Department of Education, Exhibition and Information Services, National Palace Museum, Taiwan
10.30-10.45 น.
รับประทานอาหารว่าง (ห้องอาหาร 406 ชั้น 4)
10.45-12.00 น.
ปาฐกถา เรื่อง “The Modern Zoo and Aquarium: Visitor-centric Practices for All Ages” โดย Ms. Karen Chin Ai Ying Assistant Director, Education. Wildlife Reserves Singapore, Singapore
12.00-13.00 น.
รับประทานอาหารกลางวัน (ห้องอาหาร 406 ชั้น 4)
13.00-15.00 น.
นาเสนอผลงานทางวิชาการ หอประชุม Digital Media in Museums (นาเสนอเป็นภาษาอังกฤษ) ห้อง 402 การใช้กิจกรรมในฐานะ “สื่อ” เพื่อการเรียนรู้ (นาเสนอเป็นภาษาไทย)
15.00-15.15 น.
รับประทานอาหารว่าง (ห้องอาหาร 406 ชั้น 4)
15.15-17.15 น.
เสวนาโต๊ะกลม หอประชุม สื่อที่ทาไม่ได้ใช้ สื่อที่ใช้ไม่ได้ทา (นาเสนอเป็นภาษาไทย) ห้อง 402 การคัดสรรและออกแบบการฉายภาพยนตร์สาหรับพิพิธภัณฑ์และสถาบัน ศิลปะ (นาเสนอเป็นภาษาไทย) สรุปการประชุม โดย คุณฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร ผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
17.15-17.45 น.
17.45 น.
จบการประชุม
4
การนาเสนอผลงานวิชาการและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในห้องย่อย 1 สิงหาคม 2561 13.00-15.00
หอประชุม ชั้น 5
ห้อง 402
Museum Media and Social Engagement and Development (นาเสนอเป็นภาษาอังกฤษ)
สื่อพิพิธภัณฑ์กับการจัดการความท้าทาย (นาเสนอเป็นภาษาไทย)
1) From Witness, to Participate, to Construct an Area Sensory Archive Banyan Commune Artist Residency Project Series
1) นิทรรศการ กิจกรรมการเรียนรู้และการถอด บทเรียนประวัติศาสตร์บาดแผลเพื่อ ความ ยุติธรรมและสมานฉันท์ในพิพิธภัณฑ์: ความท้า ทาย ข้อจากัดและการรับมือ กรณีศึกษา พิพิธภัณฑ์ในประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
PAN Siming ภัทรภร ภู่ทอง 2) Museum Media and Social Engagement – A case from the Vietnamese Women’s Museum
2) พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมากับการสื่อสาร โดยใช้ฐานความรู้เป็นต้นทุน
Dr. Hoan Le
ชุตินันท์ ทองคา
3) Cross-community Collaboration to Develop the Open Museum for Lifelong Learning
3) พิพิธภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์” : ถอดบทเรียน การจัดทาคลังข้อมูลวัฒนธรรมดิจิทัล
พิสุทธิลักษณ์ บุญโต Titima Thumbumrung Boonlert Aroonpiboon 4) Refugees Welcome!? The Controversial Topic of Migration in German Museums
4) การประยุกต์ความรู้ด้านแมลงในพิพิธภัณฑ์ เพื่อพัฒนาชุดเครื่องมือกาจัดแมลง
วรรณวิษา วรวาท
Felix Pülm Discussed by
อภิปรายโดย
Dr. Ana Maria Labrador
อ.ดร.อิสระ ชูศรี
5
1 สิงหาคม 2561 15.15-17.15
หอประชุม ชั้น 5
ห้อง 402
สื่อพิพิธภัณฑ์เพื่อทุกคนและการเรียนรู้ตลอด สื่อพิพิธภัณฑ์กับการสร้างพื้นที่และพัฒนาสังคม ชีวิต (นาเสนอเป็นภาษาไทย) (นาเสนอเป็นภาษาไทย) 1) การใช้วัตถุของพิพิธภัณฑ์เป็นสื่อในการ เสริมสร้างสุขภาวะสาหรับกลุม่ ผู้สูงอายุ : โครงการนาร่อง ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ
1) ความสัมพันธ์ของ คน สื่อ และการเรียนรู้ ของพิพิธภัณฑ์โรงงานหลวงฯ ที่ ๑ (ฝาง)
บุณฑริก เขมาชีวะ
2) ความสัมพันธ์ระหว่างหอศิลป์เอกชนและ ชุมชนในพื้นที่ใกล้เคียง
2) แนวคิดอารยสถาปัตย์ในพิพิธภัณฑ์ของ ไทย กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์เหรียญ กรมธนา รักษ์
พิราวรรณ ปัญญาแก้ว
วรกัญญา แซ่เอี้ยว 3) วัฒนธรรมกริชในภาคใต้
ลลิตา อัศวสกุลฤชา บุญเลิศ จันทระ 3) สื่อสัมผัส จินตนาการที่จับต้องได้
เบญจวรรณ พลประเสริฐ 4) การออกแบบสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ อัจฉริยะ
4) การศึกษาเพื่อพัฒนาวัตถุจาลอง เครื่องนุ่งห่มไทยพวน จังหวัดลพบุรี สระบุรี และสิงห์บุรี
ธนพล ประกอบกิจ
สิทธิศักดิ์ ชมจันทร์ อภิปรายโดย
อภิปรายโดย
ผศ.ดร.เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์
คุณจารุณี อินเฉิดฉาย
6
2 สิงหาคม 2561 13.00-15.00
หอประชุม ชั้น 5
ห้อง 402
Digital Media in Museums (นาเสนอเป็นภาษาอังกฤษ)
การใช้กิจกรรมในฐานะ “สื่อ” เพื่อการเรียนรู้ (นาเสนอเป็นภาษาไทย)
1) The Use of Instagram as a Media to Communicate Museum and Exhibition to People. Is it a Threat or a Tools? In practice of ARTJOG, Yogyakarta, Indonesia
1) การพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ ไดโนเสาร์ไทยในพิพิธภัณฑ์ซากดึกดาบรรพ์
ศักดิ์ชัย จวนงาม, สุธาทิพย์ กาวิเนตร และ พลอยพรรณ จิตราช
Gabriella Celebrina Matanaomi Gunawan 2) เกมเพื่อสื่อ “สาร” ที่หล่นหาย 2) Controllable Hologram-Like Image of บุรินทร์ สิงโตอาจ Late Ban Chiang Pottery: Enhancement of Storytelling in the Museum 3) การจาลองประวัติศาสตร์และการร่วมงาน Exhibition Display กับพิพิธภัณฑ์
Pimrapat Thanusutiyaporn Atthasit Sukkham Eyael Phemius Romuald Jolivot Waleed Mohammed
พยัญชนะ ชลศรานนท์ 4) การให้บริการรถพิพิธภัณฑ์สัญจร (Mobile Museum) กรมศิลปากร
พุทธพร คุ้มวงษ์ 3) Media Forms of The Museum in The Digital Age
Nhi Vu Hong 4) A Place Called Home: #Negarakita Exhibition
Najib bin Dawa Anderson Ee Discussed by
อภิปรายโดย
Vipash Purichanont
คุณชนน์ชนก พลสิงห์
7
2 สิงหาคม 2561 15.15-17.15
17.15-17.45
หอประชุม ชั้น 5
ห้อง 402
เสวนาโต๊ะกลม : “สื่อที่ทาไม่ได้ใช้ สื่อที่ใช้ไม่ได้ทา” (นาเสนอเป็นภาษาไทย)
เสวนาโต๊ะกลม : การคัดสรรและออกแบบการฉายภาพยนตร์ สาหรับพิพิธภัณฑ์และสถาบันศิลปะ (นาเสนอ เป็นภาษาไทย)
ศรานันท์ มีหวัง วีรวัฒน์ กังวานนวกุล รามิล กังวานนวกุล
กฤติยา กาวีวงศ์ Keiko Sei วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ธิดา ผลิตผลการพิมพ์
อภิปรายโดย
อภิปรายโดย
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน)
แมรี่ ปานสง่า
Reflection
คุณฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร ผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ หมายเหตุ: ทางผู้จัดได้เตรียมหูฟังแปลเป็นภาษาไทย/ภาษาอังกฤษทุกห้องประชุม
8
ภาคผนวก ค. เอกสารที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน อื่นๆ
การถายทอดประสบการณการดําเนินงานและความสําเร็จ เรือนโคราช เรือนพอคง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โครงการเสวนาและแสดงนิทรรศการ “เรือนไทยถิ่นภูเก็ต อัตลักษณพื้นถิ่น คุณคาแหง แผนดิน ” เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2561 ณ สํานักศิลปะและวัฒนธรรม ม.ราชภัฏภูเก็ต ๑) หัว ขอ เกณฑก ารขึ้นทะเบียนบัญ ชีม รดกภูมิปญ ญาทางวัฒ นธรรม สาขางานชา งฝมือดั้ง เดิม “เรือนโคราช”โดย ผศ.นฤมล ปยะวิทย ผูทรงคุณวุฒิ สํานักศิลปะและวัฒนธรรม ม.ราชภัฏนครราชสีมา ๒) หัว ขอ แนวทางการอนุ รัก ษม รดกภู มิป ญ ญาทางวัฒ นธรรม "เรือ นโคราช" จ.นครราชสีม า โดย ผศ.ดร.ณัฐกิตติ์ อินทรสวรรค ผูอํานวยการ สํานักศิลปะและวัฒนธรรม ม.ราชภัฏนครราชสีมา