แบบฟอร์ม วิชาโครงการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

Page 1

งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ฉบับร่าง คาชี้แจงเอกสารรูปแบบการจัดทารายงานวิชาโครงการ ปัจ จุบั นในการจั ดการเรีย นการสอนของสถานศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษา เพื่อวางแผนที่จะ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542และ เป้าประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการที่เน้นให้ผู้เรียนมีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีการเผยแพร่และให้ ประโยชน์เพิ่มขึ้น จึงสอดคล้องยุทธศาสตร์ที่ 6 ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่กาหนดให้ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี และประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อ 2.4 ของ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ที่ได้กาหนดการพัฒนาคุณภาพการวิจัย ซึ่งจากนโยบาย เป้าประสงค์และ ยุทธศาสตร์ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่า การพั ฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะในด้านการวิจัยเป็น เรื่องสาคัญที่สถานศึกษาจะต้องกาหนดรูปแบบแนวทางให้ชัดเจน เพื่อจะได้เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียนมาก ที่สุด ดังนั้น การพัฒนาทักษะวิจัยให้แก่ผู้เรียน โดยบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ เพื่อให้ผู้เรียน สามารถสร้างชิ้นงาน/โครงการ/สิ่งประดิษฐ์ โดยมีกระบวนการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการเรียน เพื่อพิสูจน์ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของผลงาน โดยใช้วิชาโครงการและรายวิชาอื่น ที่มี ความประสงค์ จะให้ผู้เรียนเขียนรายงานโครงการในรูปแบบงานวิจัย ซึ่งงานวิจัยและพัฒนา จึงได้ศึกษางานวิจัยจาก ตาราและผู้รู้ แล้วจึงกาหนดเป็นเอกสารรูปแบบการจัดทารายงานโครงการ เพื่อให้ครูผู้สอนวิชาโครงการ และวิชาอื่น ใช้ประกอบการเรีย นการสอน โดยกาหนดให้ผู้เรียนจัดทารายงานวิช าโครงการในรูปแบบ เดียวกัน งานวิจัยงานวิจัย พัฒนา นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ จึงหวังว่าเอกสารรูปแบบการจัดทารายงาน วิชาโครงการจะเป็นประโยชน์สาหรับครูผู้สอน ผู้เรียน และผู้สนใจ ในการนาไปใช้ในการเรียน การสอน หากพบข้อบกพร่องประการใด กรุณาแจ้งที่งานวิจัยฯ ด้วยจะเป็นพระคุณยิ่ง

งานวิจัย พัฒนา นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์

1


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ตัวอย่างหน้าที่ 1 ปกนอก เข้าปกแข็ง

ตัวอย่ างวิชาโครงการ รายงาน 5 บท ขนาด 24 หนา

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โนริมะรุ ม The Development Of Nori Marom Products ขนาด 22 หนา

นายอภิชน สายทอง นางสาวทวย ลงทุน ขนาด 18 หนา

โครงการนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง สาขาวิชา......................... ประเภทวิชา....................... วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ปี การศึกษา 2555

ปี การศึกษาที่ จบ

หมายเหตุ เสนอรู ปแบบ เพือ่ เป็ นตัวอย่าง/แนวทางเท่านั้น ซึ่งสถานศึกษา/ครู ผ้ สู อนสามารถ นาไปพัฒนา ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของสถานศึกษาและโครงการของผู้เรี ยน แต่ ให้ คงลักษณะรู ปแบบรายงาน

การวิจัย 5 บท


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ตัวอย่างหน้าที่ 2

(กระดาษเปล่ารองปกใน 1 แผ่น)


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ตัวอย่างหน้าที่ 3 ปกใน

ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม The Development Of Nori Marum Products

ทั้งหน้าใช้ตวั หนังสื อขนาด 18 ปกติ

นายอภิชน สายทอง นางสาวทวย ลงทุน

โครงการนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง สาขาวิชา............................... ประเภทวิชา ............................. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ปี การศึกษา 2555


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ตัวอย่างหน้าที่ 4 ใบรับรองโครงการ

ใบรับรองโครงการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ขนาด 18 หนา

เรื่ อง พัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม โดย นายอภิชน สายทอง รหัส 5431050033 นายทวย ลงทุน รหัส 5431050034 ได้รับการรับรองให้นบั เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง สาขาวิชา...................................... ประเภทวิชา ...................................... .....................................หัวหน้าแผนกวิชา (………………………) วันที่…เดือน………พ.ศ…. คณะกรรมการสอบโครงการ ................................................................... ( ชื่ออาจารย์ )

…………………………………รองผูอ ้ านวยการฝ่ ายวิชาการ

(………………………) วันที่…เดือน………พ.ศ….

ประธานกรรมการ

.................................................................... ( ชื่ออาจารย์ )

กรรมการ

.................................................................... ( ชื่ออาจารย์ )

กรรมการ


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ตัวอย่างหน้าที่ 5 กิตติกรรมประกาศ ขนาด 16 หนา

กิตติกรรมประกาศ

ขนาด 16 ปกติ

(กิตติกรรมประกาศ เป็ นส่ วนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาของการทางานชิ้นนี้และขอบคุณ ผูท้ ี่ มีส่วนช่วยเหลือในการทาโครงการ โดยเรี ยงลาดับความสาคัญจากมากไปหาน้อย) ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………..

นายอภิชน สายทอง นางสาวทวย ลงทุน


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ตัวอย่างหน้าที่ 6 บทคัดย่อ

ชื่อ ชื่อโครงการ สาขาวิชา ประเภทวิชา ครู ที่ปรึ กษาโครงการ ปี การศึกษา

: นายอภิชน สายทอง, นางสาวทวย ลงทุน : พัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม : ………………….. : ............................. : นางสุ พตั รา จันทร์เจนจบ : 2555

ขนาด 18 หนา

ขนาด 18 หนา

บทคัดย่ อ

ขนาด 16 ปกติ

โครงการ เรื่ อง พัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ มมีวตั ถุประสงค์เพื่อ…………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… การเขียนบทคัดย่อ เป็ นส่ วนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อเรื่ อง วัตถุประสงค์การทาโครงการ วิธีการดาเนิ นงานแบบย่อ และผลของการดาเนินงาน จะเขียนจานวน 2 หน้า และต้องเป็ นภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษประกอบกัน จะต้องกล่าวถึงหัวข้อต่อไปนี้ * ชื่อโครงการ * วัตถุประสงค์ * วิธีการดาเนินการ * ผลการดาเนินการ เขียนเป็ นย่อหน้าเดียวกัน โดยความยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ตัวอย่างหน้าที่ 7 สารบัญ

สารบัญ เรื่อง ใบรับรองโครงการ กิตติกรรมประกาศ ขนาด 16 ปกติ บทคัดย่อ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของโครงการ 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) 1.4 ขอบเขตของโครงการ 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 2.1 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.2 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดาเนินการทดลอง/วิธีดาเนินการ 3.1 ขั้นตอนวิธีดาเนินงาน…………………………… 3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการดาเนินงาน 3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง……………………………….. 3.4 วิธีดาเนินการ…………………. 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล บทที่ 4 ผลการทดลอง/ผลการดาเนินการ 4.1 ................................................................. 4.2 …………………………………………. 4.3 ………………………………………….

ขนาด 18 หนา ห่างจากขอบบน 2 นิ้ว

หน้ า ก ข ค ง จ 1


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

สารบัญ (ต่ อ) เรื่อง บทที่ 5 สรุ ปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุ ปผล 5.2 อภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก โครงร่ างโครงการ ภาคผนวก ข เครื่ องมือ ภาคผนวก ค รู ปภาพประกอบ ภาคผนวก ง แบบรายงานผลการนาไปใช้ประโยชน์ ประวัติผจู้ ดั ทา

ขนาด 18 หนา

หน้ า ขนาด 16 ปกติ


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ขนาด 18 หนา

สารบัญตาราง

ขนาด 16 ปกติ

ตารางที่ ตารางที่ 2.1 คุณสมบัติของ กรด และ ด่าง ตารางที่ 3.1 แสดงสู ตรและอัตราส่ วนผสมในการผลิตโนริ มะรุ มทั้ง 3 สู ตร ตารางที่ 4.1 แสดงลักษณะ สี กลิ่น ความหวาน ค่าpH ปริ มาณกรด ความชื้น และสถานะ ตารางที่ 4.2 แสดงผลโนริ มะรุ ม ที่ได้จากการเตรี ยมส่ วนผสมที่แตกต่างกัน ตารางที่ 4.3 แสดงลักษณะผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ มจาก 3 สู ตรที่ได้จากก่อนอบและหลังอบ ตารางที่ 4.4 แสดงการเปรี ยบเทียบของส่ วนผสมโนริ มะรุ ม ทั้ง 3 สู ตร ตารางที่ 4.5 แสดงผลของความร้อนที่มีผลต่อน้ าหนักในการอบโนริ มะรุ ม ตารางที่ 4.6 แสดงผลของโนริ มะรุ มที่ได้จากการอบที่ 50 60 70 80 90 และ 100 องศาเซลเซียส ตารางที่ 4.7 แสดงการศึกษาวิธีการนาโนริ มะรุ มมารับประทาน ตารางที่ 4.8 แสดงศึกษาการบรรจุภณั ฑ์ที่เหมาะสม ตารางที่ 4.9 แสดงอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ มเป็ นเวลา 6 เดือน ตารางที่ 4.10 แสดงผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของโนริ มะรุ ม ตารางที่ 4.11 แสดงประสาทสัมผัสโดยผูท้ ดลองชิม

หน้ า 19 26 29 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ขนาด 18 หนา

สารบัญภาพ ขนาด 16 ปกติ

ภาพที่ ภาพที่ 2.1 แสดงใบมะรุ ม ภาพที่ 2.2 แสดงต้นมะรุ ม ภาพที่ 2.3 แสดงผักบุง้ ภาพที่ 2.4 แสดงเกลือ ภาพที่ 2.5 แสดงเจลาติน ภาพที่ 2.6 แสดงน้ าตาลทราย ภาพที่ 2.7 แสดงพริ กไทยสด ภาพที่ 2.8 แสดงน้ า ภาพที่ 2.9 แสดงโมเลกุลน้ า ภาพที่ 2.10 แสดงพันธะไฮโดรเจน ภาพที่ 2.11 แสดงพลังงานที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของน้ า ภาพที่ 2.12 แสดงความหนาแน่นของน้ า ณ อุณหภูมิต่างๆ ภาพที่ 2.13 แสดงการทาละลายของน้ า ภาพที่ 2.14 แสดง pH ของสารประกอบชนิดต่างๆ ภาพที่ 4.1 แสดงฉลากผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ มที่ได้รับอนุญาตจากสาธารณสุ ข

หน้ า 3 3 6 8 9 11 12 13 14 15 15 16 18 20 39


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

บทที่ 1 บทนา

ขนาด 18 หนา ขนาด 16 หนา

1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ขนาด 16 ปกติ (เป็ นส่ วนแสดงต้นตอของปั ญหาในการทาโครงการว่าเกิดจากอะไร มีความจาเป็ นอะไรถึงต้อง ทาเรื่ องนี้ ผลของการทาโครงการจะเกิดประโยชน์กบั ใครบ้าง โดยอาจจะเขียนจากมุมกว้างไปสู่ มุมที่ แคบลง เขียนอย่างสมเหตุสมผล ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย และที่สาคัญที่สุด สิ่ งที่นามาเขียนในความ เป็ นมาต้องนามาจากเอกสารงานที่เกี่ยวข้องและต้องมีอา้ งอิง เอกสารวิชาการและงานวิจยั ด้วย) 1.2 วัตถุประสงค์ ของโครงการสอดคล้องกับชื่อโครงการ (เป็ นส่ วนที่บอกวัตถุประสงค์วา่ งานเรื่ องนี้ ต้องการศึกษาอะไร) 1.2.1 เพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ในการผลิตโนริ มะรุ ม 1.2.2 เพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม 1.2.3 เพื่อศึกษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม 1.2.4 เพื่อศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม 1.3 ขอบเขตของการวิจัย (เป็ นส่ วนแสดงขอบเขตของประชากร และขอบเขตของเนื้อหาหรื อตัวแปรที่ เราสนใจศึกษา) - ขอบเขตเนื้อหา - ขอบเขตของประชากร 1.4 สมมุติฐานของการทาโครงการ (ถ้ามี เป็ นส่ วนแสดงว่า ก่อนลงมือปฏิบตั ิการทาโครงการนั้น ผู ้ ดาเนินงานได้คาดเดาคาตอบการวิจยั ว่าอย่างไร ถ้าเป็ นงานวิจยั เชิงเปรี ยบเทียบ เชิงหาความสัมพันธ์/ สาเหตุ จาเป็ นต้องกาหนดสมมุติฐานไว้ล่วงหน้า แต่หากเป็ นงานวิจยั เชิงสารวจก็ไม่ตอ้ งใส่ สมมุติฐาน) 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ (เป็ นส่ วนแสดงการอธิ บายศัพท์ โดยทัว่ ไปจะเป็ นศัพท์สาขาวิชาที่ผอู ้ ื่นไม่ค่อยรู ้จกั เป็ นศัพท์ เฉพาะที่ใช้ในในโครงการเรื่ องนี้เท่านั้น) โนริมะรุม หมายถึง ผลิตภัณฑ์แผ่นใบมะรุ มอบกรอบ ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….

1.6 ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับจากโครงการ (เป็ นส่ วนแสดงถึงประโยชน์ที่ได้รับ แบ่งเป็ น 2 ส่ วน คือ ประโยชน์ ในเชิงวิชาการ คือประโยชน์ที่ ได้คน้ พบจากงานในเรื่ องนี้ ซึ่ งสามารถดูได้จากวัตถุประสงค์วา่ เราได้องค์ความรู ้อะไรบ้าง และ ประโยชน์ การนาไปใช้ คือ ประโยชน์สาหรับผูท้ ี่เกี่ยวข้องว่าจะนาผลการไปใช้ดา้ นใดบ้าง)


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

ขนาด 18 หนา

ในการศึกษาเรื่ องพัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม ผูด้ าเนินงานได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการ ต่าง ๆ จากเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับหลักคิด หลักทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องดังนี้ 2.1 ความรู้ เกีย่ วกับมะรุ ม 2.2 ..................................................... 2.3 ..................................................... 2.4 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความรู้ เกีย่ วกับมะรุ ม (วิไลวรรณ อนุสารสุ นทร. 2535)

………………………………………………………………………………………………. 2.2 ..................................................... 2.3 ..................................................... 2.4 งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง (เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง เป็ นส่ วนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีในเนื้ อหา ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโครงการวิชาชีพเรื่ องนี้ ส่ วนใหญ่ในการเขียนจะเขียนส่ วนที่เป็ นแนวคิดและทฤษฎี ก่อน แล้วจึงตามด้วยส่ วนที่เป็ นงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการทาวิจยั เรื่ องนี้ การเขียนเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง หัวข้อต่างๆ ที่กาหนดไว้ตอ้ งสัมพันธ์กบั โครงการ ใน การเขียนต้องอ้างอิงแหล่งที่มาและเขียนการอ้างอิงถูกให้ตอ้ งตามหลักวิชาการ)


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

บทที่ 3 วิธีดาเนินการทดลอง/วิธีดาเนินการ

ขนาด 18 หนา

โครงการเรื่ องการพัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาความเป็ นไปได้ในการ จัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม 2. พัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม 3. ศึกษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม 4. ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม มีวธิ ี การดาเนินงานดังต่อไปนี้………………………………………………………………………… (วิธีดาเนิ นงาน เป็ นส่ วนที่แสดงรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการดาเนิ นงาน ตามหัวข้อดังต่อไปนี้) 3.1 ขั้นตอนวิธีดาเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาค้นคว้าความเป็ นไปได้ในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม โดยศึกษาใน ด้านแหล่งวัตถุดิบ ด้านการตลาด (ค้นคว้าความรู ้ที่เกี่ยวกับโครงการจากเอกสาร งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง หรื ออินเตอร์ เน็ต ฯลฯ ) ขั้นตอนที่ 2 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม - ศึกษาอัตราส่ วนที่เหมาะสมในการผลิตโนริ มะรุ ม โดยกาหนดสู ตรที่ใช้ศึกษาจานวน 3 สู ตร และประเมินผลที่ได้จากผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งโนริ มะรุ ม โดยการนาโนริ มะรุ มไปอบในตู้ อบรมร้อนที่อุณหภูมิ 50, 60, 70, 80, 90 และ 100 องศาเซลเซียส ขั้นตอนที่ 3 เพื่อศึกษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม ศึกษาการยอมรับจากผูท้ ดสอบชิม ทาการทดสอบด้านการยอมรับในด้านประสาท สัมผัส (ทดสอบชิม) โดยใช้แบบทดสอบ HEDONIC SCALE ศึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม โดยการนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ มไปเก็บ รักษาในอุณหภูมิหอ้ งแล้วทาการตรวจสอบสี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส ทุกๆ 15 วัน การวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของโนริ มะรุ มโดยส่ งตัวอย่างไปวิเคราะห์ที่ สถาบันอาหาร ขั้นตอนที่ 4 ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม - ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาด - สร้างเครื่ องมือในการจัดเก็บข้อมูล - แจกแบบสอบถามให้กบั ประชากรกลุ่มเป้ าหมาย - รวบรวมข้อมูล - วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้โปรแกรม SPSS - สรุ ปผลโดยใช้ , SD


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

บทที่ 4 ผลการทดลอง/ผลการดาเนินการ

ขนาด 16

การจัดทาโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ มมีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาอัตราส่ วนที่เหมาะสม ในการผลิตโนริ มะรุ ม 2. ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งโนริ มะรุ ม 3.ศึกษาการยอมรับจากผู้ ทดสอบชิมและอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ 4. ศึกษาความเป็ นไปได้ในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ โนริ มะรุ ม สรุ ปผลการดาเนินงานได้ดงั นี้ (การเขียนบทที่ 4 จะเป็ นการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการ วิเคราะห์ขอ้ มูล ตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ การนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจะเขียนตามลาดับ วัตถุประสงค์ในการดาเนินงาน อาจนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในรู ปแบบข้อความ หรื อ ตาราง รู ปภาพ ต้องนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามความเป็ นจริ ง ไม่เขียนวกวนซ้ าซ้อน ) ขนาด 16 หนา

4.1 ศึกษาค้ นคว้าความเป็ นไปได้ ในการจัดจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ โนริมะรุ ม โดยศึกษาในด้ านแหล่ งวัตถุดิบ ด้ านการตลาด ……………………………………………………………………..(ได้ ผลอย่างไร) 4.2 เพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ โนริ มะรุ ม ผลของการศึกษาอัตราส่ วนที่เหมาะสมในการผลิตโนริ มะรุ ม พบว่าอัตราส่ วนที่ เหมาะสมคือ………………………………………………………………………………………. ผลของการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งโนริ มะรุ ม พบว่าอัตราส่ วนที่ เหมาะสมคือ……………………………………………………………………………………….

ภาพที่ 1 ผลิตภัณฑ์ของโนริ มะรุ ม


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

4.3 เพือ่ ศึกษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โนริมะรุ ม ผลของการศึกษาการยอมรับจากผูท้ ดสอบชิมพบว่าอัตราส่ วนที่เหมาะสม คือ…………………………………………………………………………………………………… ผลของการศึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ มพบว่าอัตราส่ วนที่เหมาะสม คือ……………………………………………………………………………………………………… ผลของการการวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของโนริ มะรุ มโดยส่ งตัวอย่างไปวิเคราะห์ที่ สถาบันอาหารพบว่าอัตราส่ วนที่เหมาะสมคือ…………………………………………………………… 4.4 ศึกษากลยุทธ์ ทางการตลาดในการจัดจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ โนริมะรุ ม การสร้ างตรายีห่ ้ อในตลาด -สร้ าง Brand Awareness ในตัวสิ นค้ าให้ เกิดขึน้ ในกลุ่มเป้าหมายและผู้บริโภคทัว่ ไป

ตราสิ นค้า -กระตุ้นให้ กลุ่มเป้าหมายเกิดความต้ องการทดลองชิ มและซื้อสิ นค้ า ราคา (Price) ราคาขายปลีก กระปุกละ 50 บาท ราคาขายส่ ง กระปุกละ 40 บาท ช่ องทางการจัดจาหน่ าย (Place) ผูผ้ ลิต ผูค้ า้ ปลีก ผูบ้ ริ โภค 1) ซูเปอร์มาร์ เกต 2) ร้านอาหารเพื่อสุ ขภาพ เช่น ร้านเจอิ่มบุญ ร้านเอกทิพย์โชคดี 3) ศูนย์ส่งเสริ มและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาชีวศึกษา


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล โครงการเรื่ องพัฒนาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ ม จากการที่ได้ศึกษามีการรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอน ของการดาเนินโครงการและวิเคราะห์ขอ้ มูล สามารถสรุ ปผลตามลาดับดังนี้ 5.1 สรุ ปผล (เป็ นส่ วนแสดงบทสรุ ปความสาคัญจากโครงการ โดยการเขียนวัตถุประสงค์ วิธีการ ดาเนินงาน และผลหรื อองค์ความรู้ที่คน้ พบ ) 5.2 อภิปรายผล (เป็ นส่ วนแสดงการให้เหตุผลว่าทาไมการทาโครงการถึงได้ผลเช่นนั้น ในการเขียน อภิปรายผลควรอาศัยแนวคิด ทฤษฎีหรื องานวิจยั ที่เกี่ยวข้องที่ได้สรุ ปไว้ในบทที่ 2 ว่ามีความเหมือน สอดคล้องหรื อแตกต่างอย่างไร) 1. ศึกษาค้นคว้าความเป็ นไปได้ในการผลิตโนริ มะรุ ม โดยศึกษาในด้านแหล่งวัตถุดิบ ด้านการตลาด (ได้ผลอย่างไร)……………..(สอดคล้องกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 อย่างไร) 2. เพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ โนริ มะรุ ม ผลของการศึกษาอัตราส่ วนที่เหมาะสมในการผลิตโนริ มะรุ ม พบว่าอัตราส่ วนที่ เหมาะสมคือ………………………………………………………………………………………. ผลของการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งโนริ มะรุ ม พบว่าอัตราส่ วนที่ เหมาะสมคือ………………………………………………………………………………………. (ได้ผลอย่างไร)……………..(สอดคล้องกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 อย่างไร) 3. เพือ่ ศึกษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โนริมะรุ ม ผลของการศึกษาการยอมรับจากผูท้ ดสอบชิมพบว่าอัตราส่ วนที่เหมาะสม คือ…………………………………………………………………………………………………… ผลของการศึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์โนริ มะรุ มพบว่าอัตราส่ วนที่เหมาะสม คือ……………………………………………………………………………………………………… ผลของการการวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของโนริ มะรุ มโดยส่ งตัวอย่างไปวิเคราะห์ที่ สถาบันอาหารพบว่าอัตราส่ วนที่เหมาะสมคือ…………………………………………………………… (ได้ผลอย่างไร)……………..(สอดคล้องกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 อย่างไร)


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

4. ศึกษากลยุทธ์ ทางการตลาดในการจัดจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ โนริมะรุ ม การสร้ างตรายีห่ ้ อในตลาด สร้าง Brand Awareness ในตัวสิ นค้าให้เกิดขึ้นในกลุ่มเป้ าหมายและผูบ้ ริ โภคทัว่ ไป (ได้ผลอย่างไร)……………..(สอดคล้องกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 อย่างไร) - กระตุน้ ให้กลุ่มเป้ าหมายเกิดความต้องการทดลองชิมและซื้ อสิ นค้า (ได้ผลอย่างไร)……………..(สอดคล้องกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 อย่างไร) สร้างความน่าเชื่อถือและสร้างภาพพจน์ที่ดีในด้านคุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับจาก การรับประทานโนริ มะรุ ม (ได้ผลอย่างไร)……………..(สอดคล้องกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 อย่างไร) 5.3 ข้ อเสนอแนะ (ควรเขียน 2 ส่ วน ) 1. ข้ อเสนอแนะ (จากปั ญหาหรื ออุปสรรคที่ได้จากงานในครั้งนี้) 2. ข้ อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่ อไป (ข้อแนะนาแสนอแง่มุมเพื่อผูท้ ี่สนใจสามารถศึกษาต่อ ยอดผลงานชิ้นนี้ได้)


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ขนาด 18 หนา

บรรณานุกรม ภาษาไทย ขนาด 16 ปกติ หนังสื อ ชื่อผูแ้ ต่ง. ชื่อหนังสื อ. พิมพ์ครั้งที่(พิมพ์ครั้งที่ 2 ขึ้นไป). จังหวัด; สานักพิมพ์. ปี พ.ศ. ที่พิมพ์. ตัวอย่าง กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข. ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. 2535. ขนิษฐา พูนพลกุล. หลักการประกอบอาหาร . พิมพ์ครั้งที่ 2 ภาควิชา คหกรรมศาสตร์ คณะ เกษตร. กรุ งเทพ 9 : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2547. นิธิยา รัตนาปนทท์. หนังสื อ สมุนไพรไทย. กรุ งเทพ ฯ : โอเดียนสโตร์ . 2544 นิธิยา รัตนาปนทท์. เคมีอาหาร . ภาควิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอาหาร . คณะอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . 2547 . วิไลวรรณ อนุสารสุ นทร. หนังสื อรู้ ลกึ เรื่องมะรุ ม. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุ ข ตะรางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย 2535 มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมธิราช สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ . เอกสารการสอนวิชาเทคโนโลยีอาหาร และเครื่องดื่ม. หน่วยที่ 1-7 พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุ งเทพมหานคร . 2549 . มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมธิราช. เอกสารการสอนวิชา ผลิตภัณฑ์ อาหาร . หน่วยที่ 1-7 . พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุ งเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมธิราช . 2544. มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมธิราช. เอกสารการสอนวิชาการถนอม และการแปรรู ปอาหาร หน่ วยที่ 8 – 15 . พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุ งเทพมหานคร. 2545. เมื่อพิมพ์ในบรรทัดเดียวไม่พอ เมื่อขึ้นบรรทัดใหม่ให้ยอ่ หน้าเข้าไป 7 ตัวอักษร เริ่ มพิมพ์ให้ตรงกับ ตัวอักษรตัวที่ 8 ของบรรทัดแรก วารสาร ชื่อผูแ้ ต่ง. “ชื่อเรื่ อง”. ชื่อวารสาร. ฉบับที่. (วัน เดือน ปี ที่ออกเอกสาร): เลขหน้า. ตัวอย่าง ยืน ภู่สุวรรณ. "การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการเรี ยนการสอน". ไมโครคอมพิวเตอร์ . ฉบับที่ 1 (26 กุมภาพันธ์ 2545) : 120-129. หมายเหตุ ให้เรี ยงลาดับชื่ อผูแ้ ต่งตามลาดับตัวอักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ใช้รูปแบบเดียวกับภาษาไทย และเรี ยงลาดับผูแ้ ต่งตามอักษรภาษาอังกฤษ เช่น Heinich, Robert and Russal, Jame D. Instructional Media : the New Technologies of Instruction. New York: John Wiley&Sons Inc.,1982. เว็บไซต์ ถ้ามีการอ้างอิงข้อมูลจากเว็บไซต์ ให้อา้ งอิงเป็ นชื่อเว็บไซต์ที่อา้ งถึงข้อมูลอยู่ และเรี ยงลาดับ ตามอักษรภาษาอังกฤษ ชื่อเจ้าของข้อมูล. “ชื่อเรื่ อง”. (ระบบออนไลน์) แหล่ งข้ อมูล. http://www.______(วัน เดือน ปี ที่สืบค้น). (ให้เรี ยงตามลาดับตัวอักษรของชื่อผูแ้ ต่ง เช่นเดียวกับเอกสาร)


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ภาคผนวก ประกอบด้วยรายละเอียดต่าง ๆ ดังนี้ (ถ้ามี) ภาคผนวก ก (โครงร่ างโครงการ) ภาคผนวก ข (อาจเป็ นอาจเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล) ภาคผนวก ค (อาจเป็ นรู ปภาพประกอบ) ภาคผนวก ง (อาจเป็ นแบบสอบถาม) ภาคผนวก จ (อาจเป็ นแบบรายงานผลการนาไปใช้ประโยชน์)

ขนาด 18 หนา


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ประวัติผู้จัดทา

ขนาด 18 หนา

รู ปถ่ายหน้าตรงครึ่ งตัว

ชื่อ - สกุล ชื่อเรื่ อง (ชื่อโครงการ) สาขาวิชา ประเภทวิชา

ขนาด 2 นิ้ว

ประวัติ ประวัติส่วนตัว วัน เดือน ปี ที่เกิด อายุ ที่อยู่ (ปัจจุบนั )

ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ. 25.. มัธยมศึกษา …………………… โรงเรี ยน........................... ปี พ.ศ. 25.. ปวช. สาขาวิชา…………………… วิทยาลัย........................... ปี พ.ศ. 2554 กาลังศึกษาระดับชั้นปวส. สาขาวิชา......................... วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

รายงานผลการนาไปใช้ประโยชน์  ด้านวิชาชีพ

 ด้านการเรียนการสอน

ชื่อผลงาน...................................................................................................... เจ้าของผลงาน................................................................................................................................. วัน เดือน ปี .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... ..........................

การนาไปใช้ประโยชน์ ......................................................... ........................................................ ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................

สถานที่ ....................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ......................................

หลักฐาน ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... .......................................


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ส่ วนประกอบของโครงการ 1. ปก ทาด้วยกระดาษแข็งสี ขาว และชื่อหัวข้อโครงการ ชื่อโครงการ ชื่อผูจ้ ดั ทาโครงการวิชา และปี การศึกษาที่จบ สันข้างพิมพ์ชื่อโครงการและปี การศึกษาที่จบ 1.1 ใบรองปก มีไว้เพื่อยึดปกให้ติดกับเล่มหนังสื อ และช่วยป้ องกันเนื้ อหนังสื อเมื่อปกหลุด ใช้กระดาษสี ขาวปล่อยเป็ นแผ่นซ้อนบนหนังสื อ 1.2 ปกใน ข้อความในปกจะเหมือนกับปกแข็งด้านนอกทุกอย่างและเป็ นภาษาไทย พิมพ์ไม่ ใช้ตวั หนา 1.3 ใบรองปกหลัง อยูก่ ่อนปกหลังเป็ นกระดาษเปล่าสี ขาว 2. ใบรับรองโครงการ ใบรับรองโครงการ อนุมตั ิให้นบั โครงการ ระดับประกาศนียบัตร…………. สาขาวิชาช่าง……………………. นี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรประกาศนียบัตร… ต้องมีการอนุมตั ิผลจากกรรมการผูส้ อบ จึงจะสมบูรณ์ 3. กิตติกรรมประกาศ เขียนที่มาของการทาโครงการนี้ และเขียนถึงผูเ้ กี่ยวข้องช่วยเหลือ สนับสนุนจน โครงการสาเร็ จด้วยดี เรี ยงลาดับความสาคัญจากมากไปหาน้อย 4. บทคัดย่อ ให้เขียนบทคัดย่อ เป็ นการสรุ ปย่อความหลักการและเหตุผลความสาคัญของเนื้ อหา ที่จดั ทา 5. สารบัญตาราง เป็ นหน้าบอกรายการและตาแหน่งของตารางในเล่ม 6. สารบัญรู ปภาพ เป็ นหน้าบอกรายการและตาแหน่งของรู ปภาพในเล่ม 7. บทที่ 1 บทนา 8. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 9. บทที่ 3 วิธีดาเนินการทดลอง/วิธีดาเนินการ 10. บทที่ 4 ผลการทดลอง/ผลการดาเนินการ 11. บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายและข้อเสนอแนะ หมายเหตุ รายละเอียดแต่ละบท ได้แสดงไว้ในหน้าที่บทต่าง ๆ ข้างต้นแล้ว 12. บรรณานุกรม เอกสารอ้างอิง เป็ นรายการแสดงรายชื่อหนังสื อที่ใช้คน้ คว้าหรื ออ้างอิง ต้องพิมพ์ให้ถูกต้อง และดูรายละเอียดได้ในหน้าบรรณานุกรม 13. ภาคผนวก เป็ นส่ วนข้อมูลอื่น ๆ ที่ตอ้ งการเพิ่มเติม และ มีความสาคัญในการค้นคว้า และใช้ เป็ นอ้างอิงได้ เช่น Data sheet รายการอุปกรณ์ ภาพถ่ายชิ้นงาน แบ่งเป็ นภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ตามความเหมาะสม 14. ประวัติ ผู้จัดทา แสดงชื่อ อายุ การศึกษา ประสบการณ์ อาชีพ และ ความสามารถของผูจ้ ดั ทา โครงการ เป็ นกระดาษหน้าสุ ดท้ายของเนื้ อหา ถ้าผูจ้ ดั ทามากกว่า 1 คน ให้คนแยกคนละหน้า


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

รายละเอียดการพิมพ์ * การพิมพ์ให้ใช้ตวั อักษร AngsanaUPC/AngsanaNew เท่านั้น โดยมีขอ้ กาหนดดังนี้ 1. บทที่ และชื่อเรื่ องบท ใช้ขนาด 18 แบบ หนา ห่างจากขอบบน 2 นิ้ว 2. หน้าอื่นที่ไม่ใช่หน้าบท ให้ห่างจากขอบบน 1.5 นิ้ว 3. ถ้าเป็ นการพิมพ์ขอ้ ความปกติใช้ ขนาด 16 และ หัวข้อเนื้อหา ให้ใช้ ขนาด 16 แบบหนา 4. การใช้ภาษาอังกฤษให้ใช้รูปแบบเดียวกันรู ปแบบที่เป็ นภาษาไทย * การตั้งหน้ากระดาษ 1. ขอบบน 1.5 นิ้ว หรื อ 3.81 เซนติเมตร 2. ขอบซ้าย 1.5 นิ้ว หรื อ 3.81 เซนติเมตร 3. ขอบขวา 1 นิ้ว หรื อ 2.54 เซนติเมตร 4. ขอบล่าง 1 นิ้ว หรื อ 2.54 เซนติเมตร * ขึ้นต้นบทใหม่ให้ใช้คาว่า "บทที่.." ห่างจากขอบบนด้านขวา 2 นิ้ว และไม่พิมพ์ตวั เลขบอกหน้า * ตัวเลขบอกหน้าให้พิมพ์บนตาแหน่งของขอบบนขวา ห่างจากขอบกระดาษด้านบน 0.5 นิ้ว และห่างจากขอบขวา 0.5 นิ้ว และตัวอักษร AngsanaUPC/AngsanaNew ขนาดปกติ 16 * หัวข้อใหญ่ให้พิมพ์ชิดขอบซ้าย * หัวข้อรองให้พิมพ์ถดั จากขอบซ้าย 10 ตัวอักษร * หัวข้อย่อยของหัวข้อรอง ให้พิมพ์ถดั จากหัวข้อรอง 3 ตัวอักษร * การอ้างอิงแบบนามปี ผูจ้ ดั ทารายงานสามารถนาไปใช้อา้ งอิงได้ดงั นี้ ใจทิพย์ เชื้อวงศ์ (2552 : 25-26) ใช้ในกรณี ที่ตอ้ งการแสดงความคิดเห็นหรื อสิ่ งที่ได้กล่าวไว้ หรื อสิ่ งที่ได้สรุ ปไว้ของเจ้าของผลงานนั้น (ใจทิพย์ เชื้อวงศ์, 2552 : 25-26) ใช้ในกรณี ที่นาเนื้ อหามาอ้างอิงโดยพิมพ์ไว้หลังเนื้ อความที่ นามาอ้างอิงนั้น ใจทิพย์ เชื้อวงศ์ (2552) ใช้ในกรณี ที่ตอ้ งการอ้างอิงซ้ า จะอยูใ่ นบทที่ 5 เท่านั้น


งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

การจัดหน้ ากระดาษ หน้าปกติทวั่ ไป ให้ก้ นั บน 1.5 นิ้ว

กั้นหน้า 1.5 นิ้ว

หน้าเริ่ มต้นบทต่าง ๆ ให้ก้ นั บน 2 นิ้ว

กระดาษ A4

หน้าทัว่ ไปให้เริ่ มชิดขอบบน 1.5 นิ้ว ทุกหน้า ยกเว้นบทที่ บทที่ 3 เว้น 1 บรรทัด วิธีดาเนินการทดลอง/วิธีดาเนินการ กั้นหลัง 1 นิ้ว

กั้นล่าง 1 นิ้ว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.