รายงานประเมินตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ประจําปีการศึกษา ๒๕๕7
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 1 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ก
คํานํา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ฉบับนี้ จัดทําขึ้น เพื่อนําเสนอผลการดําเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ๗ มาตรฐาน 35 ตัวบ่งชี้ ของวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม่ ปีการศึกษา ๒๕๕7 ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับบทสรุปสําหรับผู้บริหาร สภาพทั่วไป ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ วิธีดําเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาผลการประเมิน คุณภาพภายใน สรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน จุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา ทิศทางการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ในอนาคต การจัดทํารายงานประเมินตนเองในครั้งนี้ สําเร็จได้ด้วยความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา จึงขอขอบคุณในความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งมา ณ ที่นี้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ พฤษภาคม ๒๕๕8
ข
สารบัญ หน้า คํานํา สารบัญ บทสรุปสําหรับผู้บริหาร ตอนที่ ๑ สภาพทั่วไปของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา 1.2 สภาพปัจจุบันของสถานศึกษา 1.3 ระบบโครงสร้างการบริหาร 1.4 เกียรติประวัติของสถานศึกษา 1.5 ความสําเร็จตามเป้าหมายของของการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา 1.6 ความสําเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง ตอนที่ ๒ การดําเนินงานของสถานศึกษา ๒.๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าประสงค์ของสถานศึกษา ๒.๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2.3 ความสําเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง 2.4 การพัฒนาสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ตอนที่ ๓ การดําเนินงานตามมาตรฐานของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 ด้านผู้เรียนและผู้สําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา มาตรฐานที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา มาตรฐานที่ 4 ด้านการบริการวิชาชีพและวิชาชีพ มาตรฐานที่ 5 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์หรืองานวิจัย มาตรฐานที่ 6 ด้านการปลูกจิตสํานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มาตรฐานที่ 7 ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
ก ข 1 10 10 18 21 23 28
ตอนที่ ๔ สรุปและแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา 4.๑ สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน 4.๒ แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา 4.๓ ความต้องการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
158 158 160 165
31 32 32 33 47 48 50 50 88 104 132 134 143 153
ภาคผนวก
๗ ภาคผนวก ก ผลการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม
168 171
ค
สารบัญ หน้า ภาคผนวก ข 1. คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 181 ปีการศึกษา 2557 2. คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานรับการตรวจ 210 คุณภาพภายในโดยต้นสังกัดประเมิน
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร ประวัติของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ เดิมชื่อโรงเรียนประชาบาล สังกัดกองวิสามัญศึกษา กรมศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๗๖ โดยเช่าอาคารไม้ ๒ ชั้น บนถนนท่ า แพ เปิ ด ทํ า การสอนวิ ช าการฝี มือ การตั ด เย็ บ เสื้ อ ผ้ า ช่ า งทอผ้ า และบั ญ ชี ร้ า นค้ า พ.ศ. ๒๔๘๑ เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนช่างตัดเย็บเสื้อผ้าและการช่างสตรีเชียงใหม่ สังกัดกองอาชีวศึกษา กรมวิช าการกระทรวงศึก ษาธิก าร พ.ศ. ๒๔๘๒ ย้า ยมาตั ้ง ณ สถานที ่ป ัจ จุบ ัน เลขที ่ ๑๖๗ ถนนพระปกเกล้า อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปรัชญาวิทยาลัย วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ พันธกิจ ปรัชญาวิทยาลัย “มีทักษะชีวิต คิดสร้างสรรค์ มุ่งมั่นคุณธรรม นําวิชาชีพสู่สากล” มีทักษะชีวิต คิดสร้างสรรค์
มุ่งพัฒนาพัฒนาผู้เรียนให้สามารถดํารงชีวิตได้อย่างมีความสุข โดยใช้ ความรู้ ความคิด การปรับตัว การตัดสินใจ การสื่อสารและการแก้ปัญหา ที่ถูกต้องเหมาะสม มุ่งฝึกให้ผู้เรียน มีความคิดที่หลากหลาย แปลกใหม่ และดีกว่าเดิม
มุ่งมั่นคุณธรรม มุ่งเน้นให้มีจิตสํานึก ในด้านความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด กตัญญู ความรับผิดชอบ และพัฒนาตนเอง เพื่อให้เป็นพลเมืองดีของสังคม นําวิชาชีพสู่สากล มุ่งเน้นในด้านการฝึกทักษะวิชาชีพของตนเองให้เกิดความชํานาญ ปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ ตามมาตรฐานสากล วิสัยทัศน์ “สถาบันแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ มุ่งผลิตกําลังคนอาชีวศึกษาสู่นานาชาติ” อัตลักษณ์ “เป็นคนดี มีจิตบริการ ชํานาญวิชาชีพ” เอกลักษณ์ “ดูแลห่วงใย หัวใจแบ่งปัน ทํางานเป็นทีม” CARE SHARE TEAM
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
พันธกิจ ๑. พัฒนาประสิทธิภาพด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ และ ระบบบริหารงานคุณภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. พัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับการประกันคุณภาพ การศึกษาทั้งภายในและภายนอก และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (MIS) ให้ สามารถเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในระดับนานาชาติ ๓. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาชีพ โดยใช้กระบวนการ ให้ผู้เรียนสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การเรียนในสถานที่จริง และสถานการณ์จริง รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ ๔. พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะร่วมกับสถานประกอบการ และจัดทําแผนการจัดการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับสมรรถนะของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 ๕. พัฒนาผูเ้ รียนด้านทักษะการเรียนรู้ทักษะฝีมือ ตามสมรรถนะวิชาชีพให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงาน สถานประกอบการในประเทศและนานาชาติ ๖. พัฒนาศักยภาพผู้เรียน ให้มีทักษะชีวิตเป็นคนดีมีคุณภาพสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่น ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลกได้อย่างมีความสุข การดําเนินงานประกันคุณภาพในสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา โดยได้วางแผน การดําเนินงานตามโครงสร้างบริหารงาน โดยอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารฝ่ายแผนงานและ ความร่ ว มมื อ งานประกั น คุณ ภาพและมาตรฐานการศึ กษา แผนกวิ ชาและคณะกรรมการบริ ห าร สถานศึกษาร่วมกันวางแผนการดําเนินงานประกันคุณภาพ แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ คณะกรรมการดําเนินงาน คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อกํากับ ติดตาม การพัฒนา คุณภาพในแต่ละมาตรฐาน โดยบุคลากรทุกฝ่ายทุกคนมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพมีรายงาน การประเมินตนเองเป็นรายบุคคล สาขาวิชา และสถานศึกษา พร้อมทั้งนําเสนอรายงานการประเมิน ตนเองต่อต้นสังกัด เผยแพร่ต่อสาธารณชน รวมทั้งการนําผลการประเมินตนเอง เสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา คณะกรรมการวิทยาลัย คณะครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และร่วมมือกันวางแผนแก้ไข ปรับปรุงโครงการกิจกรรมในแผนปฏิบัติการประจําปี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป จุดเด่นของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 1.1 ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 92.66 1.2 สถานประกอบการมีความพึงพอใจต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สําเร็จการศึกษา มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
1.3 ผู้เรียนระดับชั้น ปวช. 3 ทุกสาขาวิชามีจํานวนทั้งหมด 557 คน ผ่านการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพทั้งหมด 527 คน คิดเป็นร้อยละ 94.61 ของผู้สําเร็จการศึกษานักศึกษา ระดับชั้น ปวส. 2 ทุกสาขาวิชา มีจํานวนทั้งหมด 487 คน ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งหมด 482 คน คิดเป็นร้อยละ 98.97 ของผู้สําเร็จการศึกษา รวมทั้งระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 รวมทั้งหมด 1,044 ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งหมด 1,009 คน คิดเป็นร้อยละ 96.65 ของผู้สําเร็จการศึกษาทั้ง 2 ระดับชั้น อยู่ในระดับดีมาก 1.7 ผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า จํานวน 1,095 คน จากจํานวน นักศึกษาแรกเข้า 1,507 คน คิดเป็นร้อยละ 72.66 อยู่ในระดับดีมาก 1.8 ผู้สําเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2556 จํานวน 962 คน ได้ทํางานในสถาน ประกอบการจํานวน 33 คน ผู้ประกอบอาชีพอิสระ จํานวน 16 คน ศึกษาต่อ จํานวน 829 คน รวม ผู้สําเร็จการศึกษา ได้งานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระและศึกษาต่อภายใน 1 ปี จํานวน 878 คน คิดเป็นร้อยละ 91.27 อยู่ในระดับดีมาก 1.9 สถานประกอบ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อคุณภาพ ของผู้สําเร็จการศึกษาคิดเป็นร้อยละ 86.60 อยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 2 2.1 การใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของ สถานประกอบการหรือประชาคมอาเซียน อยู่ในระดับดีมาก 2.2 ครูผู้สอนทุกคนจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2.3 ครูผู้สอนทุกคนจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2.4 ครูผู้สอนทุกคนได้ดําเนินการวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนตามรายวิชา อย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2.5 การฝึกงานมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 3 3.1 การปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.2 การจัดทําแผนการบริหารจัดการสถานศึกษาอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก 3.3 การพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.4 การบริหารงานและภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.5 การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.6 การบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.7 การจัดระบบดูแลผู้เรียนมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.8 การพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.9 การบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.10 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
3.11 การบริหารการเงินและงบประมาณมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.12 ระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายทั้งในและ หรือต่างประเทศ มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 4 4.1 การบริหารจัดการการบริการวิชาการและวิชาชีพมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 5 5.1 การบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของผู้เรียน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 5.2 การบริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู มีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 6 6.1 การปลูกจิตสํานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมให้แก่ ผู้เรียนมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 6.2 การปลูกฝังจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 6.3 การส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 6.4 การปลูกจิตสํานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 7 7.1 การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก 7.2 การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐานการอาชีวศึกษามีคุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก จุดควรพัฒนาของสถานศึกษา 1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวน 489 คน จากจํานวนผู้เรียน ทั้งหมด 1,006 คน คิดเป็นร้อยละ 48.61 1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน อาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ จํานวน 541 คน จากจํานวนทั้งหมด 1,006 คน คิดเป็นร้อยละ 53.78
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๕ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้กําหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาโดยระบุไว้ในแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ดังนี้ 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและผู้สําเร็จการศึกษา 1.1 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณด้านวิชาชีพ พัฒนามาตรฐานฝีมือ ของผู้สําเร็จการศึกษาที่ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ ในระดับสากล 1.2 การพัฒนาผลงานทางวิชาการนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ ทางด้าน อุตสาหกรรมบริการ 1.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ 1.4 พัฒนาระบบการจัดการเรียนการรู้ 1.5 พัฒนาหลักสูตรด้านอุตสาหกรรมบริการ 1.6 สร้างความร่วมมือการจัดการศึกษากับสถาบันการศึกษาในประเทศและต่างประเทศ 1.7 พัฒนาภาวะผู้นํา 1.8 พัฒนาสุขภาพกายและใจของผู้เรียน 1.9 ทะนุบํารุงสืบสานภูมิปัญญาไทย ประเพณีศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 2. พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากร 3. พัฒนาคุณภาพหลักสูตรการเรียนและการสอน 3.1 พัฒนาคุณภาพงานวิทยบริการ 3.2 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ 3.3 พัฒนาครุภัณฑ์และอุปกรณ์ให้มีคุณภาพและมาตรฐานสากล 3.4 พัฒนาระบบการจัดการศึกษาร่วมกับสถานประกอบการ 3.5 ทะนุบํารุงสืบสานภูมิปัญญาไทย ประเพณีศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 4. พัฒนาการบริการวิชาชีพสู่สังคม 4.1 ขยายเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กร ชุมชน สังคม ให้มีความเข้มแข็ง 4.2 สร้างระบบการถ่ายโอนความรู้สู่ชุมชน 5. พัฒนานวัตกรรมและการวิจัย 5.1 การพัฒนาผลงานทางวิชาการนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ ทางด้าน อุตสาหกรรมบริการ 5.2 พัฒนาคุณภาพงานวิจัยพื้นฐาน 6. พัฒนาคุณภาพด้านการบริหารจัดการ 6.1 สร้างศักยภาพการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๖ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
6.2 พัฒนาการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการภายใน สถานศึกษา และใช้ในการเรียนการสอน 7. พัฒนามาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน 7.1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 7.2 พัฒนาระบบกลไกในการประกันคุณภาพ 8. พัฒนาคุณภาพด้านอาคารสถานที่ 8.1 ปรับปรุงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการด้วยการนําเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการ 9. พัฒนาคุณภาพด้านพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยกําหนดทิศทางคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ตามโครงการกิจกรรมดังนี้ 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. โครงการพัฒนาหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะรายวิชาของครูวิชาชีพ 3. โครงการพัฒนาสมรรถนะครูด้านวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน อาชีวศึกษาส่งเสริมผลงานวิชาการตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเลื่อนวิทยฐานะ 4. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษา และการบริหารทั่วไป 5. โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการความรู้ 6. โครงการรณรงค์ลดใช้พลังงาน 7. โครงการปรับปรุง ซ่อมแซม ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 8. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ 9. โครงการจัดทําบัตรประจําตัวนักเรียน นักศึกษา ประจําปีการศึกษา 2558 10. โครงการจัดพิธีมอบประกาศนียบัตร นักเรียน นักศึกษา ประจําปีการศึกษา 2557 11. โครงการสร้างสัมพันธภาพกับองค์กร ชุมชน และสังคม 12. โครงการจัดทําวารสารเผยแพร่ผลงานวิทยาลัย 13. โครงการปรับปรุงระบบเครื่องเสียงภายในวิทยาลัย 14. โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายโทรศัพท์ภายในและภายนอกวิทยาลัย 15. โครงการจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 16. โครงการติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 17. โครงการจัดทําหนังสือรายงานประจําปี (Annual Report) 18. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทําผลงานวิจัย 19. โครงการประชุมสัมมนาวิชาการงานวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา 20. โครงการสนับสนุนทุนโครงการงานวิทยาศาสตร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๗ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
21. โครงการสนับสนุนทุนงานวิจัยครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ 22. โครงการดําเนินงานประกันคุณภาพ 23. โครงการสัปดาห์เค้กปีใหม่ 24. โครงการส่งเสริมกิจกรรมชมรม 25. โครงการพัฒนากิจกรรมองค์การวิชาชีพ 26. โครงการทําความสะอาดครั้งใหญ่ (BIG CLEANING DAY) และกิจกรรม 5 ส 27. โครงการอบรมภาวะผู้นําและจัดทําแผนงานโครงการ 28. โครงการคุณธรรมนําความรู้ (ปวช.2 ปวช.3 และ ปวส.2) 29. โครงการเข้าค่ายพักแรมเตรียมลูกเสือ – เนตรนารี 30. โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และวิทยาลัย 31. โครงการส่งเสริมกิจกรรมกีฬา 32. โครงการจัดอบรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม (ปวช.1 และ ปวส.1) 33. โครงการจิตอาสาพัฒนาสังคม 34. โครงการกิจกรรมกีฬาสี ประจําปีการศึกษา 2558 35. โครงการเผยแพร่ความรู้เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 36. โครงการนวสัมพันธ์แกนนํานักศึกษาและองค์การวิชาชีพ ประจําปีการศึกษา 2558 37. โครงการเยี่ยมบ้าน หอพัก บ้านเช่า และที่พักอาศัยของผู้เรียน 38. โครงการพัฒนาศักยภาพและปลูกจิตสํานึกของครูที่ปรึกษาที่มีต่อผู้เรียน 39. โครงการอบรมอาสาจราจร 40. โครงการอบรมขับขี่ปลอดภัยร่วมใจสร้างวินัยจราจร 41. โครงการอบรมผู้นําเครือข่ายสารวัตรนักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษา 42. โครงการแนะแนวสัญจร 43. โครงการติดตามผู้สําเร็จการศึกษา 44. โครงการสร้างสัมพันธภาพกับองค์กร ชุมชน และสังคม (สื่อประชาสัมพันธ์) 45. โครงการศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ 46. โครงการจัดหาทุนการศึกษา 47. โครงการปัจฉิมนิเทศผู้สําเร็จการศึกษา 48. โครงการส่งเสริมการมีงานทําของนักเรียน นักศึกษาเพื่อให้มีรายได้ระหว่างเรียน 49. โครงการจัดทําหนังสือรุ่น 50. โครงการจัดทําคู่มือนักเรียน นักศึกษา 51. โครงการปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษาใหม่และประชุมผู้ปกครอง 52. โครงการตรวจสุขภาพนักเรียน นักศึกษาประจําปี 53. โครงการประกันอุบัติเหตุผู้เรียน 54. โครงการบริการด้านสุขภาพของผู้เรียน 55. โครงการ Stop Teen Mon 56. โครงการบริจาคโลหิต 57. โครงการตรวจเยี่ยมหอพักนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๘ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
58. โครงการฝึกอาชีพระยะสั้น 108 อาชีพ 59. โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix It Center) 60. โครงการซ่อมบํารุงและพัฒนาบุคลากรซ่อมบํารุงคอมพิวเตอร์ (โรงเรียนตํารวจ ตระเวนชายแดน) 61. โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (To Be Number One) 62. โครงการแข่งขันกีฬาฟุตบอลต่อต้านยาเสพติด 63. โครงการอบรมแกนนํา 64. โครงการจิตอาสา 65. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุ่มวิชาภาษาไทย) 66. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุ่มวิชาสังคมศึกษา) 67. โครงการศึกษาวิถีชีวิตพอเพียงและวัฒนธรรมไทยในท้องถิ่น 68. โครงการศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 69. โครงการจัดนิทรรศการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 70. โครงการรู้รักษ์ สามัคคี เยาวชนพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตยเฉลิมพระเกียรติ 71. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร์) 72. โครงการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร์ 73. โครงการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ 74. โครงการ English Day Camp 75. โครงการซ่อมแซมและบํารุงรักษาจักรเย็บผ้า 76. โครงการร่วมแข่งขันทางวิชาการทางด้านคหกรรมศาสตร์ที่สถาบันภายนอกเป็นผู้จัด 77. โครงการส่งเสริมการออมและการลงทุนทางธุรกิจ ครั้งที่ 3 78. โครงการแนะแนวสัญจร 79. โครงการส่งเสริมกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ 80. โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน (หุ่นต้นแบบ) 81. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (สรุปผลการเรียนวิชาภาพพิมพ์) 82. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (นิทรรศการอาชีวศิลปกรรม’58) 83. โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และวิทยาลัย (จัดพิธีทําบุญ ประเภทวิชาศิลปกรรม) 84. โครงการนิทรรศการวิชาโครงการ 85. โครงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะร่วมกับสถานประกอบการ ประจําปี การศึกษา 2558 86. โครงการงานบริการวิเคราะห์ข้อสอบ แบบทดสอบ 87. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ปีการศึกษา 2558 88. โครงการสอบ V-NET ปีการศึกษา 2558 89. โครงการส่งเสริมรักการอ่าน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๙ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
90. โครงการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการงานวิทยบริการ 91. โครงการเยาวชนยอดนักอ่าน 92. โครงการพัฒนาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและการฝึกงานร่วมกับสถาน ประกอบการ ประจําปีการศึกษา 2558 93. โครงการศึกษาดูงาน
ตอนที่ 1 สภาพทั่วไปของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ 1.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา 1.1.1 ประวัติของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ เดิมชื่อ “โรงเรียนประชาบาลอําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่” สังกัดกอง วิสามัญศึกษา กรมศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนท่าแพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2476 พ.ศ. ๒๔๘๑
พ.ศ. ๒๔๘๒ พ.ศ. ๒๔๘๖ พ.ศ. ๒๕๐๑ พ.ศ. ๒๕๐๓ พ.ศ. ๒๕๐๗ พ.ศ. ๒๕๑๓
เปิดทําการสอนเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2476 โดยรับนักเรียนประโยคประถมศึกษา ปีที่ 3 เข้าเรียนวิชา การฝีมือตัดเย็บเสื้อผ้า ช่างทอผ้า บัญชีร้านค้า ซึ่งในขณะนั้นมีครู ทั้งสิ้น 3 คน นักเรียนจํานวน 10 คน เปลี่ยนชื่อโรงเรียน ชื่อ “โรงเรียนตัดเย็บเสื้อผ้าและการช่างสตรีเชียงใหม่” สังกัดกอง อาชีวศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ โดยรับนักเรียนที่จบชั้นประถมปีที่ 4 เข้าเรียน แบ่งการเรียนการสอนออกเป็น 2 แผนก คือ แผนกช่างตัดเย็บเสื้อผ้า และแผนก การช่างสตรี ทางราชการได้สั่งย้ายจากสถานที่เช่าเดิมซึ่งตั้งอยู่ที่ถนนท่าแพ ให้มาตั้งอยู่ที่สถานที่ปัจจุบัน เดิมเคยเป็นที่ตั้งของ โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ (โรงเรียนสตรีประจําจังหวัดเชียงใหม่) มีพื้นที่ 8 ไร่ 38 ตารางวา ได้รวมแผนกตัดเย็บเสื้อผ้า และแผนกช่างสตรี เข้าด้วยกันให้ชื่อใหม่ว่า แผนกการช่างสตรี และเปลี่ยนชื่อสถานศึกษาใหม่โดยชื่อว่า “โรงเรียนการช่างสตรี” สังกัดแผนกการช่างสตรี กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สอนระดับอาชีวศึกษาชั้นต้น หลักสูตร 2 ปี เปิดสอนระดับชั้นอาชีวศึกษาชั้นสูง หลักสูตร 3 ปี โดยรับนักเรียนที่จบชั้น ม.6 (เท่ากับ ม.3 ปัจจุบัน) จํานวน 2 แผนก คือ แผนกวิชาผ้าและการตัดเย็บ และแผนกวิชาอาหาร และโภชนาการ ได้รับงบประมาณจากทางราชการ จัดซื้อที่ดินเพิ่มอีก 1 ไร่ 2 งาน 86 ตารางวา รวมกับ เนื้อที่เดิมที่มีอยู่แล้ว จึงมีเนื้อที่ทั้งหมด 9 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา จัดการเรียนการสอนแผนกวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย แผนกวิชาอาหารและโภชนาการ และ เปิดสอนเพิ่มขึ้นอีก 1 แผนกวิชา คือ แผนกวิชาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป เสนอโครงการนําร่องขอเปิดสอนแผนกวิชาพณิชยการ ซึ่งได้รับอนุมัติ ถือได้ว่าเป็น สถานศึกษาแห่งแรกของกรมอาชีวศึกษาในส่วนภูมิภาค ที่เปิดสอนแผนกวิชาพณิชยการ ซึ่งต่อมาได้รับการเห็นชอบจากกรมอาชีวศึกษา ให้เปิดสอนแผนกวิชาพณิชยการในโรงเรียน อาชีวศึกษาทั่วประเทศในระยะเวลาต่อมา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๑ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
พ.ศ. ๒๕๑๔
พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๑๖ พ.ศ. ๒๕๑๘ พ.ศ. ๒๕๑๙
พ.ศ. ๒๕๒๑
พ.ศ. ๒๕๒๒
ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารหอประชุม 1 หลัง จํานวนเงิน 600,000 บาท เป็นอาคารหอประชุมชั้นเดียว (อาคารนี้ถูกรื้อถอนในปี 2528 เพื่อก่อสร้างอาคารประชุม หลังใหม่ คือ อาคารหอประชุมปัจจุบัน) และ ในปี 2514 ได้รับงบก่อสร้างอาคารบ้านพัก ครูจํานวนเงิน 500,000 บาท ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนตึก 2 ชั้น ขนาด 8 ห้องเรียน เป็นเงินจํานวน 500,000 บาท เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนอาชีวศึกษาเชียงใหม่” ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2516 สังกัด กองโรงเรียน กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับงบประมาณ 190,000 บาท ต่อเติมอาคารเรียนของคณะวิชาศิลปหัตถกรรม ซึ่งก่อสร้างเมื่อปี 2515 กรมอาชีวศึกษาประกาศรวมสถานศึกษา คือโรงเรียนอาชีวศึกษาเชียงใหม่ กับโรงเรียน เทคนิคเชียงใหม่ ยกระดับมาตรฐานของสถานศึกษา ขึ้นเป็นวิทยาลัยในชื่อใหม่ว่า “วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่” มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 และให้เป็น สถานศึกษาในสังกัด กองวิทยาลัยอาชีวศึกษา กรมอาชีวศึกษา แต่งตั้งนางจันทดา โหละสุต ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการ และนายถาวร สัพพเลข (อาจารย์ใหญ่โรงเรียนเทคนิคเดิม) ดํารงตําแหน่งผู้ช่วยผู้อํานวยการ การบริหารงานปี 2519 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มี 2 วิทยาเขต คือ วิทยาเขต 1 คือโรงเรียนเทคนิคเชียงใหม่เดิม เปิดสอนประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ทั้งระดับ ปวช. และ ปวส. วิทยาเขต 2 คือโรงเรียนอาชีวศึกษาเชียงใหม่เดิม เปิดสอนในประเภทวิชาคหกรรม พาณิชยกรรม และศิลปหัตถกรรมทั้ง ปวช. และ ปวส. ได้รับงบประมาณ 3,300,000 บาท ก่อสร้างอาคาร 4 ชั้นจํานวน 18 ห้องเรียน ซึ่งปัจจุบันคืออาคาร 5 ของคณะบริหารธุรกิจ การก่อสร้างอาคารดังกล่าวนี้ วิทยาลัยต้อง ใช้เงินบํารุงการศึกษาสมทบเพิ่มอีก 305,250 บาท เพื่อจัดซื้อครุภัณฑ์ สถานที่สร้าง อาคารนี้เคยเป็นที่ตั้งของเรือนวัฒนาเดิม กรมอาชีวศึกษาได้มีประกาศแยกการบริหารเป็นวิทยาลัย โดยให้วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม่ ซึ่งมีอยู่ 2 วิทยาเขตในปี 2519 นั้น เป็นสถานศึกษาเดิมและเปลี่ยนชื่อจาก โรงเรียนเป็นวิทยาลัย มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2522 ดังนี้ วิทยาเขต ๑ โรงเรียนเทคนิคเชียงใหม่ เป็นวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ วิทยาเขต ๒ โรงเรียนอาชีวศึกษาเชียงใหม่ เป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ และ นางจันทดา โลหะสุต ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๒ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
พ.ศ. ๒๕๒๓ พ.ศ. ๒๕๒๔
พ.ศ. 2525 พ.ศ. ๒๕๒๗
พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ศ. ๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๓๒ พ.ศ. ๒๕๓๓
ได้รับงบประมาณจํานวน 396,925 บาท ก่อสร้างอาคารคหกรรมศาสตร์ (แผนกวิชา อาหารและโภชนาการ) เพิ่มเติมอีก 4 ห้อง และได้รับอนุมัติให้ดําเนินการจัดการเรียน การสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาบัญชี กรมอาชีวศึกษาประกาศใช้หลักสูตรใหม่ คือ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีพุทธศักราช 2524 และจัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) สาขาวิชาธุรกิจการโรงแรมหลักสูตร 2 ปี โดยรับนักเรียนที่มีความรู้พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้าเรียนเป็นปีแรก 1. เปิดสอนประเภทวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาศิลปหัตถกรรม กลุ่มวิชาวิจิตรศิลป์ 2. ได้รับการประกาศเกียรติคุณจากกรมอาชีวศึกษาให้เป็น สถานศึกษาดีเด่นของกรม อาชีวศึกษาประจําปี 2525 ประเภทวิชาคหกรรม พาณิชยกรรม และศิลปกรรม 1. กรมอาชีวศึกษาได้ประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ปีพุทธศักราช 2527 2. ได้รับอนุมัติจากกรมอาชีวศึกษาให้เปิดสอนแผนกวิชาใหม่ ดังนี้ 2.1 ระดับ ปวช. กลุ่มวิชาศิลปประยุกต์ สาขาวิชาศิลปหัตถกรรม 2.2 ระดับ ปวส. แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2.3 ระดับ ปวท. แผนกวิชาบัญชี และวิชาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป ได้รับงบประมาณจํานวน 4,000,000 บาท ก่อสร้างอาคาร 4 ชั้น ขนาด 20 ห้องเรียน และใช้เงินบํารุงการศึกษาสมทบอีก 1,570,000 บาท ปัจจุบันคือ อาคาร 2 ซึ่งแต่เดิม บริเวณนี้เป็นอาคารเรียนไม้ 2 ชั้น 1. ได้รับงบประมาณต่อเนื่องจากปี ๒๕๒๘ อีก 4,000,000 บาท เพื่อสร้างอาคาร 4 ชั้น ขนาด 20 ห้องเรียน ซึ่งยังไม่แล้วเสร็จและต้องใช้เงินบํารุงการศึกษาของ สถานศึกษาเพิ่มเติมอีกจํานวน 815,712 บาท 2. ได้รับงบประมาณอีก 2,500,000 บาท เพื่อก่อสร้างอาคารหอประชุมใหม่เป็น อาคาร 2 ชั้น โดยรื้อถอนหอประชุมเดิม ซึ่งเป็นอาคารชั้นเดียว แล้วสร้างในสถานที่เดิม ซึ่งสถานศึกษาต้องสมทบเงินอีก 1,674,288 บาท 1. ได้รับงบประมาณจํานวน 500,000 บาท เพื่อก่อสร้างอาคาร 2 ชั้น เป็นอาคาร ปฏิบัติการของแผนกวิชาอาหารและโภชนาการ โดยก่อสร้างในบริเวณที่ตั้งของเรือน อลงกรณ์เดิม 2. กรมอาชีวศึกษาได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรใหม่ โดยประกาศใช้หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2530 เปิดสอนระดับ ปวช. สาขาวิชาศิลปหัตถกรรม กลุ่มวิชาหัตถอุตสาหกรรม ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารปฏิบัติการโรงแรมจํานวน 9,000,000 บาท โดยก่อสร้างเป็นอาคาร 4 ชั้น และใช้เงินบํารุงการศึกษาสมทบอีก 3,600,000 บาท อาคารหลังนี้แล้วเสร็จในต้นปี 2535 แต่ยังไม่สามารถใช้ดําเนินการเรียนการสอน และฝึกปฏิบัติการโรงแรมได้ เนื่องด้วย ยังขาดครุภัณฑ์ที่จําเป็นอีกมาก ซึ่งวิทยาลัยได้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๓ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๘ พ.ศ. ๒๕๔๐
พ.ศ. ๒5๔๑
พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๖
ดําเนินการแก้ไขด้วยการขอเงินงบประมาณเพิ่มเติม จนสามารถใช้ปฏิบัติการได้ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ เปิดสอนระดับ ปวช. สาขาวิชาการถ่ายภาพ 1. รื้อถอนอาคารตึก 2 ชั้น ซึ่งเป็นอาคารเดิมตั้งแต่ครั้งเป็นโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ (ตึกหอนอน) ตั้งอยู่ระหว่างอาคารคณะวิชาศิลปหัตถกรรม และ อาคารคณะวิชา คหกรรมศาสตร์ โดยสร้างเป็นอาคารเรียนชั่วคราวก่อน และวิทยาลัยได้ทําแผนพัฒนา สถานศึกษา เพื่อของบประมาณจากกรมอาชีวศึกษาในการก่อสร้างเป็นอาคารตึก 4 ชั้น ขนาดกว้าง 9.50 เมตร ยาว 54 เมตร ต่อไป 2. กรมอาชีวศึกษา ปรับปรุงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และประกาศใช้ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงพุทธศักราช 2536 ได้รับคัดเลือกให้เป็น สถานศึกษารางวัลพระราชทานระดับอุดมศึกษา ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้งเป็นสถานศึกษาประเภทวิทยาลัยอาชีวศึกษา ทําให้ได้มีโอกาสเปิดทําการสอนระดับอุดมศึกษา คือหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส.) และขยายเปิดสาขาวิชาชีพเพิ่มขึ้นอย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบัน กรมอาชีวศึกษา ได้ประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2538 1. เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) คณะวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชา พณิชยกรรม กลุ่มวิชาธุรกิจค้าปลีกในระบบทวิภาคี 2. เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการตลาดภาคสมทบ 1. รื้อถอนเรือนเพาะชํา และอาคาร 4 (แผนกอาหารและโภชนาการ) เพื่อก่อสร้าง อาคารเรียนคณะวิชาศิลปกรรม ได้รับเงินงบประมาณ 1,500,000 บาท ใช้เป็น อาคารเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2542 เป็นต้นมา 2. เปิดสอนการศึกษาระบบทวิภาคี หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) คณะวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ กลุ่มวิชาคหกรรมธุรกิจผ้า กลุ่มวิชาคหกรรมธุรกิจอาหาร กลุ่มวิชาคหกรรมธุรกิจ และคณะวิชาศิลปกรรม เปิดสอนสาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา 3. เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคโนโลยี การถ่ายภาพและวีดีทัศน์ จัดตั้งธนาคารโรงเรียน โดยได้รับความร่วมมือจากธนาคารออมสิน จังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาจิตรกรรมสากล กรมอาชีวศึกษา ประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 1. กรมอาชีวศึกษา ประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2545 2. เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว คณะวิชาบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๔ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕5 พ.ศ. ๒๕๕6 พ.ศ. ๒๕๕7
1. แยกคณะวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว จากคณะวิชาบริหารธุรกิจ 2. จัดการเรียนการสอน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาการโรงแรม และบริการ 3. ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพสถานศึกษา จากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) 1. เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีศิลปกรรม และ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก คณะวิชาศิลปกรรม 2. ยกเลิกหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาจิตรกรรมสากล และสาขาวิชา เทคโนโลยีการถ่ายภาพและวิดีทัศน์ 3. จัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ซึ่งเป็นการศึกษารูปแบบโรงเรียน ในโรงงาน สาขาวิชาทันตกรรม โดยความร่วมมือกับบริษัทเอ็กซ่า ซีแลม จํากัด 1. เข้ารับการประเมินคุณภาพสถานศึกษา โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ผลการประเมินในระดับดีมาก (๔.๗๕) 2. เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิชาบริหารธุรกิจ 3. ทําความร่วมมือกับทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ กรมราชทัณฑ์ จัดการศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะวิชาคหกรรมศาสตร์ ทําความร่วมมือกับเรือนจํากลาง จังหวัดเชียงใหม่ กรมราชทัณฑ์จัดการศึกษา หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาวิจิตรศิลป์ จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมและผลิตภัณฑ์อาชีวศึกษาเบเกอรี่ ผลิตภัณฑ์นักเรียนนักศึกษา และ ศูนย์ภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. ได้รับคัดเลือกให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการ บริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจําปี ๒๕๕๓ 2. ได้ผ่านการคัดเลือกเป็นแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอน และการบริหาร จัดการ ตามนโนบายสถานศึกษา 3D ระดับเหรียญเงิน รับการประเมินคุณภาพภายใน โดยสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการ ประเมินในระดับดีมาก (๔.๙๑) ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสําหรับวิทยาลัย อาชีวศึกษา ผ่านการรับคัดเลือกให้เป็นสถานศึกษาพระราชทาน ประจําปีการศึกษา 2554 และผ่านการ ประเมินการประกันคุณภาพภายนอก รอบสาม โดยคณะกรรมการจากสํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ในระดับดีมาก ร้อยละ 96.16 เปิดสอนหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตสายเทคโนโลยี หรือสานปฏิบัติการ สาขาวิชาการ โรงแรมต่อเนื่อง และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (MEP.) สาขาสาขางานอาหารและ โภชนาการ (MEP.) สาขางานการโรงแรม (MEP.) และสาขางานการท่องเที่ยว (MEP.) เปิดสอนหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สาขาวิชาดิจิตอล กราฟิก (ต่อเนื่อง)
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๕ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
1.1.๒ ขนาดและที่ตั้งของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีเนื้อที่ ๙ ไร่ ๓ งาน ๒๔ ตารางวา ตั้งอยู่เลขที่ ๑๖๗ ถนน พระปกเกล้า ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ ๕๐๒๐๐ หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๕๓๒๒ ๑๔๙๓ และ ๐ ๕๓๔๑ ๖๒๐๓ โทรสาร ๐ ๕๓๒๑ ๗๓๑๐ เว็บไซต์ http://www.cmvc.ac.th ทิศเหนือติดกับสํานักงานยาสูบเชียงใหม่ ทิศใต้ติดกับอาคารพาณิชย์ ทิศตะวันออกติดกับถนน พระปกเกล้า ฝั่งตรงกันข้ามเป็นโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ทิศตะวันตกติดกับถนนจ่าบ้าน ฝั่งตรงกันข้ามเป็น หอพักเอกชน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘.
1
๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕.
อาคารเรียนคณะวิชาพื้นฐาน อาคารเรียนคณะวิชาบริหารธุรกิจ อาคารเรียนคณะวิชาคหกรรม อาคารเรียนคณะวิชาศิลปกรรม อาคารห้องสมุดและอาคารเรียน อาคารปฏิบัติการอาหารและพัสดุ โรงอาหาร หอประชุม ธนาคารโรงเรียน งานการค้า และศูนย์แฟชั่นภาคเหนือ อาคารปฏิบัติการโรงแรมและอาคารเรียน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว อาคารเรียนและปฏิบัติการชั่วคราว โดมกีฬา ห้องประชาสัมพันธ์ บ้านพักครู สนามหน้าเสาธง (ใช้เป็นที่จอดรถ) ป้อมยาม ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาชีวศึกษา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๖ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
1.1.3 สภาพชุมชน เศรษฐกิจ สังคม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ตั้งอยู่ใจกลางเมืองของจังหวัดเชียงใหม่ ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อยู่ใกล้กับสถานที่ราชการหลายแห่ง อาทิ เช่น โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเชียงใหม่ (ศาลา กลางเดิม) ที่ว่าการอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ และอยู่ใกล้รัฐวิสาหกิจ อาทิ เช่น ที่ทําการไปรษณีย์ โทรเลขศรีภูมิ สํานักงานยาสูบเชียงใหม่ นอกจากนี้บริเวณโดยรอบวิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม่ ยังประกอบด้วยอาคารพาณิชย์ ร้านค้า มีหอพักนักเรียน นักศึกษา หลายแห่ง เป็นแหล่งชุมชนที่มี ฐานะทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับดี การคมนาคมสะดวก สามารถติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานอื่นได้อย่างรวดเร็ว
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๗ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
1.1.4 งบประมาณ จํานวนทั้งสิ้น 94,789,755.61 บาท รายละเอียดแสดงในตาราง ที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 งบดําเนินการ งบประมาณ ประจําปีการศึกษา 2557 รายการ 1. งบบุคลากร (เงินเดือน,เงินประจําตําแหน่ง,เงินวิทยฐานะ,ค่าจ้างลูกจ้างประจํา) 2. งบดําเนินงาน 2.1 งบดําเนินงาน (ของแผนงาน โครงการ ในแผนปฏิบัติการประจําปี 2.2 ค่าสาธารณูปโภค 3. ค่าเสื่อมราคา 4. งบเรียนฟรี 15 ปี : ค่าจัดการเรียนการสอน (งบอุดหนุนขั้นพื้นฐาน) 4.1 ค่าจัดการเรียนการสอน 4.2 ค่าหนังสือเรียน+เครื่องแบบ+อุปกรณ์+กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 5. งบรายจ่ายอื่น ๆ (เงินอุดหนุนโครงการพิเศษต่าง ๆ) 5.1 โครงการ Fix it Center 5.2 สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ 5.3 โครงการคุณธรรมนําความรู้สู่เศรษฐกิจพอเพียง 4.4 โครงการหารายได้ระหว่างเรียน 4.5 โครงการสร้างอาชีพเพื่อชุมชน/วิชาชีพระยะสั้น ฯลฯ รวมงบดําเนินการทั้งสิ้น
จํานวนเงิน (บาท) 53,412,508.67 7,981,500 4,168,303.76 7,279,686.18 11,024,050 9,615,710 861,000 100,000 100,000 247,000 94,789,758.61
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๘ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
1.2 สภาพปัจจุบันของสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2556 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2546 และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2556 รายละเอียดสภาพปัจจุบันของสถานศึกษาดังนี้ 1.2.1 จํานวนผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ประจําปีการศึกษา 2557 ดังแสดงในตารางที่ 1.2 ถึงตารางที่ 1.5 หลักสูตรการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2557 ตารางที่ 1.2 จํานวนผู้เรียน จําแนกตามระดับชั้น หลักสูตร เพศ หลักสูตร ระดับชั้น ปวช. 1 ปวช. 2 ปวช. 3 รวมระดับปวช. ปวส. 1 ปวส. 2 รวมระดับปวส. รวมทั้งหมด
ปกติ+ทวิภาคี ชาย หญิง 203 529 173 469 146 438 522 1,436 146 501 100 404 246 905 768 2,341
เทียบโอนฯ ชาย หญิง -
-
รวม ชาย 203 173 146 522 146 100 246 768
หญิง 529 469 438 1,436 501 404 905 2,341
ทั้งหมด 732 642 584 1,958 647 504 1,151 3,109
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๙ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตารางที่ 1.4 จํานวนผู้บริหารและครูจําแนกตามสถานภาพ เพศ วุฒิการศึกษา ตําแหน่ง
28 5 22 7 8
18 6 8 4 7
13 8 14 2 5
4 1 2
1
3
3
7 2 3 1 6
8 2 3 1 9 15 45 2 177
5
3 1
1
5 1 3 1 8
4 1 1 1 6
45
15 11
63
59
15 2 109
5
หมายเหตุ ครูจ้างสอนรายชั่วโมงมี จํานวน 14 คน
1 1
34 2 118
2
3
1
21 11 11 5 8
10 3 10 2 4
2
56
32
1
2
1 37 2
14 6
54
101
20
เชี่ยวชาญ
3 9
ชํานาญการพิเศษ
31 14 22 7 13
ชํานาญการ
31 14 22 7 13
2
ครูผู้ช่วย
5
ตําแหน่ง ผู้บริหาร/ครู
ต่ํากว่า
2
ป.ตรี
3
ป.โท
5
ป.เอก
หญิง
5
อัตราจ้าง
ชาย
ผู้บริหาร ครูประจํา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรมศาสตร์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ประเภทวิชาพื้นฐาน ครูอัตราจ้าง (มากกว่า ๙ เดือน) และพนักงานราชการ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรมศาสตร์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ประเภทวิชาพื้นฐาน บุคลากรสายสนับสนุน ลูกจ้างประจํา ลูกจ้างชั่วคราว ข้าราชการพลเรือน รวมทั้งหมด
วุฒิการศึกษา
จํานวน (คน)
พนักงาน
ผู้บริหาร/แผนกวิชา
เพศ
ข้าราชการ
สถานภาพ
-
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒๐ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตารางที่ 1.5 จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนจําแนกตามงาน สถานภาพ เพศ วุฒิการศึกษา
1.3 ระบบโครงสร้างบริหาร
1 1 3 1 1 1 1 1 1 1 1 3 1 1 62
1
1
1
3 10
2
15
1 1 3 1 1 1 1 1 1 1 1 3 1 1 45
1 4 13
3
1
1
2 7
1 5
3 1 1 2
1 26
1 1
1
1 1 2 1 1
สูงกว่า ป.ตรี
ปริญญาตรี 5 1 6 1 3 3 1 1 3
1 1 1
2
1
1
ปวส. /อนุปริญญา
5 1 5 1 3
ม.ปลาย/ปวช.
1
ม.ต้นหรือต่ํากว่า
5 1 4 1 3 3 3 1 1 5
หญิง
1
วุฒิการศึกษา
ชาย
6 1 6 1 7 13 3 1 1 5
ลูกจ้างชั่วคราว
1. งานบริหารงานทั่วไป 2. งานบุคลากร 3. งานการเงิน 4. งานการบัญชี 5. งานพัสดุ 6. งานอาคารสถานที่ 7. งานทะเบียน 8. งานประชาสัมพันธ์ 9. งานแผนและงบประมาณ 10. งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ 11. งานความร่วมมือ 12. งานวิจัย พัฒนา นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ 13. งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 14. งานส่งเสริมผลิตผล การค้าและประกอบธุรกิจ 15. งานกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา 16. งานครูที่ปรึกษา 17. งานปกครอง 18. งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน 19. งานสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา 20. งานโครงการพิเศษและบริการชุมชน 21. งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน 22. งานวัดผลและประเมินผล 23. งานวิทยบริการและห้องสมุด 24. งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 25. งานสื่อการเรียนการสอน รวมทั้งหมด
จํานวน (คน)
เพศ
ลูกจ้างประจํา
งานตามโครงสร้างบริหารสถานศึกษา
ข้าราชการ ก.พ.
สถานภาพ
1 1 1
1 1 1 1 1 1 2 1 36
9
6
7
1 1 1 1 1 3 1 1 37
3
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒๑ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
เพื่อให้การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรได้ร่วมคิด ร่วมทํา ร่วมประเมินผล ร่วมปรับปรุง จึงกระจายอํานาจการบริหารงานภายในสถานศึกษาตาม โครงสร้างการบริหารงานดังนี้ (แสดงแผนภูมิโครงสร้างการบริหารของวิทยาลัย)
นางสุพิศ ยางาม ผู้อํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
นายฉัตรชัย เรืองมณี รองผู้อํานวยการ ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
นายสุรพล สุริยสาคร รองผู้อํานวยการ ฝ่ายวิชาการ
นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย รองผู้อํานวยการ
นางศศิรส บํารุงวงศ์ รองผู้อํานวยการ
ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ฝ่ายบริหารทรัพยากร
แผนภูมิการบริหารงานวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ผูอ้ าํ นวยการ นางสุพิศ ยางาม
คณะกรรมการบริ หารสถานศึกษา รองผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบริ หารทรัพยากร นางศศิรส บํารุ งวงศ์ งานบริ หารงานทัว9 ไป นางรุ่ งทิพย์ เตจะโส งานบุคลากร นางปวีณกร แป้ นกลัด งานการเงิน นางสาวอรัญญา ศักดิ?ทอง งานการบัญชี นางฉัตรพร คริ สต์รักษา งานพัสดุ นางศุภมาส เรื องลักษณ์วิลาศ
งานอาคารสถานที9 นายโททท อัคคพงศ์พนั ธุ์ งานทะเบียน นางธิวาวรรณ แย้มยินดี งานประชาสัมพันธ์ นางศิริเนตร สิ งห์ช่างชัย
คณะกรรมการสถานศึกษา
รองผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายแผนงานและความร่ วมมือ
รองผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายพัฒนากิจการนักเรี ยน นักศึกษา
นายฉัตรชัย เรื องมณี
นายบัณฑิตย์ สิ งห์ช่างชัย
งานวางแผนและงบประมาณ นางกชกร บรรณวัฒน์
งานกิจกรรมนักเรี ยน นักศึกษา นายศุภกิจ นรกิจ
รองผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายวิชาการ นายสรพล สุริยาสาคร
แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ นางศรัญญา กิจเจริ ญสิ น แผนกวิชาผ้าฯ นางวิระภา คอทอง
แผนกวิชาออกแบบ นายเรื องชัย ชื9นศิริกลุ ชัย แผนกวิชาศิลปกรรมเซรามิก นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์
งานศูนย์ขอ้ มูลสารสนเทศ นางโฉมจิตรา ศรี อนุรักษ์
งานครู ที9ปรึ กษา นางศรี พรรณ เผ่าบุญเสริ ม
งานความร่ วมมือ นางนารี สุ วรรณโภคัย
งานปกครอง
งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมฯ นางอัปสร คอนราด
งานแนะแนวอาชีพฯ นางสุ ทธิลกั ษณ์ เกิดสว่างกุล
แผนกวิชาพณิ ชยการ นางนฤมล อัคคพงศ์พนั ธุ์
งานประกันคุณภาพฯ นางสิ นีพร ศรี จนั ทร์
งานสวัสดิการนักเรี ยนฯ นางอําไพ วัชริ นทร์
แผนกวิชาการบัญชี นายคงศักดิ? กิจเจริ ญสิ น
แผนกวิชาการจัดการฯ นางสาวสายหยุด ศรี สุเทพ
แผนกวิชาการตลาด นางฐิ ติกลั ยา ปาปวน
งานพัฒนาหลักสู ตรการเรี ยนฯ นางสาวเกศริ น เกาะดี
แผนกวิชาการเลขานุการ นางนิ ภาพันธ์ แสนมโนรักษ์
งานวัดผลและประเมินผล นายภคพจน์ ปวนอินตา
แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ฯ นางสาวจิราภรณ์ ปาลี
งานวิทยบริ การและห้องสมุด นางมลุลี บุญสม
แผนกวิชาศิลปกรรม นางสาวเรไร จันทร์นิกลุ
นางทักษวรรณ โรจนสกุลพิสุทธิ?
แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ กราฟิ ค นายพัฒนา สมปรารถนา
งานสื9 อการเรี ยนการสอน นายวศิน คําดี
งานส่ งเสริ มผลิตผล การค้าฯ นางสาวปราณี หอมละออ
แผนกวิชาคหกรรมศาสตร์ นางศิริกลุ อินทรอุทก แผนกวิชาอาหารฯ นางสุ พตั รา จันทร์ เจนจบ
งานโครงการพิเศษฯ นางจรรยา สุ วรรณประเสริ ฐ
แผนกวิชาวิจิตรศิลป์ นายเสกสรร สิ งห์อ่อน แผนกวิชาเทคโนโลยีศิลปกรรม นายโอภาส ชมชื9น แผนกวิชาการโรงแรมฯ นางสุ ภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส
งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒๓ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
1.4 เกียรติประวัติของสถานศึกษา (รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียนซึ่งเป็นที่ยอมรับของสังคม ในรอบปีการศึกษา) 1.4.๑ สถานศึกษา หน่วยงานที่จัด/ สถานที่จัดงาน เกียรติบัตร เป็นสถานศึกษาทีไ่ ด้จัดกระบวนการ วิทยาลัยอาชีวศึกษา สํานักงานบริหาร เชียงใหม่ โครงการกองทุนโลก (ระดับชาติ) เรียนรู้เพศศึกษาในโครงการ “ก้าวย่างอย่างเข้าใจ” วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิค การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของ รางวัล คนรุ่นใหม่ “ด้านผลิตภัณฑ์อาหาร เชียงใหม่ สันกําแพง ชนะเลิศ จังหวัดเชียงใหม่ (ระดับจังหวัด) คุ๊กกี้รางจืด” ประจําปีการศึกษา 2557
ลําดับ วัน/เดือน/ปี ประเภทรางวัล
1 2
8-10 กันยายน 2557 24 ตุลาคม 2557
เกียรติยศ ชื่อเสียง
รายชื่อ
1.4.๒ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ลําดับ วัน/เดือน/ปี ประเภทรางวัล
เกียรติยศ ชื่อเสียง
รางวัล คุรุสดุดี (ระดับชาติ) รางวัล หนึ่งแสนครูดี (ระดับชาติ)
ได้รับเครื่องหมายเชิดชู เกียรติ “คุรุสดุดี” ประจําปี 2557 ได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ประจําปี พ.ศ. 2557
1 2
14 สิงหาคม 2557 ปีการศึกษา 2557
รายชื่อ นางสุพิศ ยางาม นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางสาวสุภาพิท อินทรบันลือ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล
หน่วยงาน ที่จัด/ สถานที่จัดงาน สํานักงานคุรุสภา
สํานักงาน คณะกรรมการ นายวิทยา กิตติเนาวสุนทร การอาชีวศึกษา นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางวิระภา คอทอง นางมลุลี บุญสม นางสายสมร ห้องดอกไม้ นายชัยประสิทธิ์ ศรีวิชัย นางนิภา ตั้งพิษฐานสกุล นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางสาวปราณี หอมละออ นางเรืองพร ปรัชญาดํารง นายพูนศักดิ์ ณรงค์ศักดิ์ นางยุวดี วาฤทธิ์ นายโอภาส ชมชื่น
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒๔ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ลําดับ วัน/เดือน/ปี ประเภทรางวัล
เกียรติยศ ชื่อเสียง
3
ปีการศึกษา 2557
รางวัล ได้รับการประกาศเกียรติคุณ ครูผู้สอนดีเด่น ครูผู้สอนดีเด่น ประจําปี (ระดับชาติ) พ.ศ. 2557
4
14 สิงหาคม 2557
5
16 มกราคม 2557
6
24 ตุลาคม 2557
รางวัลชนะเลิศ การประกวดผลิตภัณฑ์ (ระดับชาติ) อาหารเพื่อเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ หนึ่งตําบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ (OTOP) ชุด อาหารปิ่นโต เกียรติบัตร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ (ระดับจังหวัด) เป็นผู้ทําคุณประโยชน์ ทางด้านการศึกษาระดับ จังหวัดเป็นแบบอย่างที่ดีใน ด้านการปฏิบัติตน การ ปฏิบัติงาน และพัฒนา คุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น เป็นที่ ประจักษ์ต่อสาธารณชน การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของ รางวัล คนรุ่นใหม่ “ด้านผลิตภัณฑ์ ชนะเลิศ (ระดับจังหวัด) อาหาร คุ๊กกี้รางจืด” ประจําปีการศึกษา 2557
รายชื่อ นางลภัสลดา สมบูรณ์ นางจันทรา นรกิจ นายจีรัง วงศ์วุฒิ นายเฉลิมพงศ์ เลขะวณิย์ นายวันชัย น้อยจันทร์ นางนภาพร ธิยาม นางกรรณิการ์ จันทร์ฉาย นายไกรสร ฝึกฝน นายนพปฎล เพ็ชรไพร นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นางพรวิไล สายศร นายศุภกิจ นรกิจ นายวศิน คําดี นายไกรสร ฝึกฝน นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ
นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นายพุทธา แก้วพิทักษ์
ว่าที่ร.ต. หญิงสุภารัตน์ ช่างล้อ
หน่วยงาน ที่จัด/ สถานที่จัดงาน
สํานักงาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา สํานักงาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา สํานักงาน คณะกรรมการ ส่งเสริมสวัสดิการ และสวัสดิภาพครู และบุคลากร ทางการศึกษา (สกสค.)
วิทยาลัยเทคนิค นางทิฆัมพร วาสิทธิ์ สันกําแพง นายยุทธกร แก้วใส จังหวัดเชียงใหม่ นางวรินทร์ทิพย์ สัมปชัญญสถิตย์ นางพรวิไล นายไพศาล
สายศร หลังปูเต๊ะ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒๕ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
1.4.๓ นักเรียน นักศึกษา หน่วยงาน ลําดับ วัน/เดือน/ปี ประเภทรางวัล เกียรติยศ ชื่อเสียง รายชื่อ ที่จัด/ สถานที่จัดงาน นายเฉลิมศักดิ์ แก้วกันหา สํานักงาน 1 14 รางวัลชนะเลิศ การประกวดผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อ (ระดับชาติ) เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์หนึ่งตําบลหนึ่ง นายทศนิพรรษ ทิพยโสตถิ คณะกรรมการ สิงหาคม ผลิตภัณฑ์ (OTOP) ชุดอาหารปิ่นโต การอาชีวศึกษา 2557 นายธารินทร์ ตันตระกูล 2 1-7 รางวัลเหรียญ การแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษา สํานักงาน กันยายน ทองแดง อาชีวศึกษา ระดับชาติ ครั้งที่ 9 คณะกรรมการ 2557 (ระดับชาติ) “ยุทธหัตถีเกมส์” การอาชีวศึกษา 3 19-29 รางวัล World Skills ASEAN Hanoi 2014 นายทัตพงศ์ พรมพิงค์ World Skills ตุลาคม BRONZE for their outstanding ASEAN Hanoi 2557 MEDAL Achievement as a Competitor ประเทศเวียดนาม (ระดับชาติ) In RESTAURANT SERVICE นางสาวพิชญา หมื่นมหายศ สํานักงาน 4 2-6 รางวัล การประชุมทางวิชาการองค์การ กุมภาพันธ์ ชนะเลิศ นักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย คณะกรรมการ 2558 (ระดับชาติ) การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะวิชา การอาชีวศึกษา พื้นฐาน “การวาดภาพคนเหมือน” ณ จังหวัด (ระดับปวช.) หนองคาย นายภานุพงศ์ สุภา 5 2-6 รางวัล การประชุมทางวิชาการองค์การ สํานักงาน นักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย นายจรัสพงษ์ อุตเจริญ คณะกรรมการ กุมภาพันธ์ ชนะเลิศ 2558 (ระดับชาติ) การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะวิชา นายอภิสิทธิ์ บัวลอย การอาชีวศึกษา พื้นฐาน “ทักษะการประดิษฐ์ของที่ ณ จังหวัด ระลึกสําหรับตกแต่งบ้าน” หนองคาย (ระดับปวส.) นางสาวจิรารัตน์ อินทวงค์ สํานักงาน 6 2-6 รางวัล การประชุมทางวิชาการองค์การ คณะกรรมการ กุมภาพันธ์ รองชนะเลิศ นักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย การอาชีวศึกษา 2558 อันดับ 1 การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะวิชา ณ จังหวัด (ระดับชาติ) พื้นฐาน “ทักษะการประกวด หนองคาย สุนทรพจน์ภาษาไทย” นางสาวศิริพร สาระวรรณา สํานักงาน 7 2-6 รางวัล การประชุมทางวิชาการองค์การ กุมภาพันธ์ รองชนะเลิศ นักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย นายชญานิน เห็งจาย คณะกรรมการ 2558 อันดับ 2 การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะวิชา การอาชีวศึกษา (ระดับชาติ) พื้นฐาน “การประกวดมารยาทไทย” ณ จังหวัด หนองคาย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒๖ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ลําดับ วัน/เดือน/ปี ประเภทรางวัล
8
18 กรกฎาคม 2557
รางวัล ชนะเลิศ (ระดับภาค)
9
22 กรกฎาคม 2557
รางวัล ชนะเลิศ (ระดับภาค)
10
22 กรกฎาคม 2557
11
22 กรกฎาคม 2557
12
22 กรกฎาคม 2557
13
19 ธันวาคม 2557
รางวัลรอง ชนะเลิศ อันดับ 1 (ระดับภาค) รางวัลรอง ชนะเลิศ อันดับ 2 (ระดับภาค) รางวัลรอง ชนะเลิศ อันดับ 2 (ระดับภาค) รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 (ระดับภาค)
เกียรติยศ ชื่อเสียง
หน่วยงาน รายชื่อ ที่จัด/ สถานที่จัดงาน นางสาวกัลยรัตน์ จักสมศักดิ์ กระทรวงการ นางสาวจุฑามาศ เจริญศรี ท่องเที่ยวและ นางสาววิลาวัลย์ ตาคํา กีฬา
การประกวดกิจกรรมการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ภายใต้โครงการ “ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ สัมผัสภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ปี 2” นางสาวนิศารัตน์ สิทธิ การแข่งขันกีฬาอาชีวะภาคเหนือ ครั้งที่ 9 การแข่งขันกีฬาสมัครเล่น รุ่นไลท์ฟลายเวท น้ําหนัก 48 กิโลกรัม ณ สนามกีฬากลาง จังหวัดพิจิตร นายธารินทร์ ตันตระกูล การแข่งขันกีฬาอาชีวะภาคเหนือ ครั้งที่ 9 “ประเขย่งก้าวกระโดด” ณ สนามกีฬากลาง จังหวัดพิจิตร
สํานักงาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ณ จังหวัดพิจิตร สํานักงาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ณ จังหวัดพิจิตร นางสาวจารุวรรณ ปัน้ วงค์ สํานักงาน การแข่งขันกีฬาอาชีวะภาคเหนือ ครั้งที่ 9 กีฬาเปตอง “ประเภทหญิง” คณะกรรมการ ณ สนามกีฬากลาง จังหวัดพิจิตร การอาชีวศึกษา ณ จังหวัดพิจิตร นางสาวธิดา ปางงาม การแข่งขันกีฬาอาชีวะภาคเหนือ สํานักงาน นางสาวกฤติ ย าภรณ์ ริ น ไชชยา ครั้งที่ 9 กีฬาเซปัคตะกร้อ คณะกรรมการ นางสาวปวี ณ า เตจา ณ สนามกีฬากลาง จังหวัดพิจิตร การอาชีวศึกษา นางสาวปรียานุช พูดหมั้น ณ จังหวัดพิจิตร ได้รับรางวัลเหรียญทอง การแข่งขัน นางสาวสุวิภา พรมเมืองมา สํานักงาน ทักษะวิชาชีพ ทักษะวิชาการบัญชี นางสาวสุพัตรา หอมนวล คณะกรรมการ กับคอมพิวเตอร์ (ระดับปวช.) การอาชีวศึกษา ณ วิทยาลัย เทคนิคน่าน จังหวัดน่าน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒๗ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ลําดับ วัน/เดือน/ปี ประเภทรางวัล
เกียรติยศ ชื่อเสียง
รายชื่อ
14
7 สิงหาคม 2557
รางวัล การแข่งขันตอบปัญหากฎหมาย ชนะเลิศ เนื่องในวันรพี 2557 (ระดับจังหวัด)
นางสาวหนูเกษ แก้วพร นางสาวณัฐธิดา ชัยชนะ นายอนุพงศ์ ฟักทอง
15
15-30 กันยายน 2557
รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 (ระดับจังหวัด)
นางสาวหทัยรัตน์ วงศ์สูน นางสาวอําพา ลุงคํา
24 ตุลาคม 2557
รางวัล การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของ ชนะเลิศ คนรุ่นใหม่ “ด้านผลิตภัณฑ์อาหาร (ระดับจังหวัด) คุ๊กกี้รางจืด” ประจําปีการศึกษา 2557
16
17
18
19
การแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียน จังหวัดเชียงใหม่ ประจําปี 2557 ประเภทกีฬาวอลเลย์บอล รุ่นอายุ ไม่เกิน 18 ปี หญิง
12-14 รางวัล การแข่งขันกรีฑานักเรียนจังหวัด พฤศจิกายน ชนะเลิศ เชียงใหม่ ประจําปี 2557 2557 (ระดับจังหวัด) ประเภทกีฬาก้าวกระโดด รุ่นอายุ ไม่เกิน 18 ปี ชาย 14 รางวัล โครงการแข่งขันแฟนพันธุ์แท้ พฤศจิกายน ชนะเลิศ ประวัติศาสตร์ไทย ระดับ 2557 (ระดับจังหวัด) มัธยมศึกษาตอนปลาย เนื่องในงานเปิดกล่องชอล์ก ปีที่ 12 ประจําปีการศึกษา 2557 21-30 รางวัล การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ พฤศจิกายน รองชนะเลิศ ภาค 5 ครั้งที่ 31 “หริภุญไชยเกมส์” 2557 อันดับ 2 สถิติ 12.95 เมตร (ระดับจังหวัด)
นางสาวชุติกาญจน์ จันทร์เพ็ญ นางสาวกมลชนก ทาสม นางสาวหมี่จู แยแบวกู่ นางสาวพจนา หลวงสม นางสาวนฤมล บุญเป็ง นางสาววลัยพร ภารกิจ นางสาวรุ่งนภา อายิ นางสาวตุลญาณีย์ สุวรรณ์
หน่วยงาน ที่จัด/ สถานที่จัดงาน สํานักงานอธิบดี ผู้พิพากษาภาค 5 ศาลจังหวัด เชียงใหม่ สถาบันพลศึกษา วิทยาเขตเชียงใหม่
นายกฤษณะ เตจ๊ะ วิทยาลัยเทคนิค นายนันท์สัตตริน ทะยอมใหม่ สันกําแพง นายพิษณุ ขันทะบัว จังหวัดเชียงใหม่ นางสาววิภาดา รอดเที่ยงธรรม นางสาวสุพิชญา หนักฝุ่น นางสาวศรินทร พิมสาร นายพุฒิพงษ์ พงษ์มา
นายธารินทร์ ตันตระกูล ท่องเที่ยวและกีฬา
จังหวัดเชียงใหม่ นางสาวรัชมล พรหมมา คณะศึกษาศาสตร์ นายวราพงษ์ ธิมะโน มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ นายธารินทร์ ตันตระกูล จังหวัดลําพูน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒๘ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
1.5 ความสําเร็จตามเป้าหมายของการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ความสําเร็จตามเป้าหมายของการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจําปี การศึกษา 2557 ซึ่งประชาคมของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบมีดังนี้ ด้าน 1.5.1 ผู้เรียนและผู้สําเร็จการศึกษา
เป้าหมายความสําเร็จ ๑. ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป ร้อยละ 90 ขึ้นไป 2. สถานประกอบการมีความพึงพอใจต่อ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สําเร็จการศึกษา อยู่ในระดับดีมาก 3. ผู้เรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จํานวน 527 คน คิดเป็นร้อยละ 94.61 4. ผู้เรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูงผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จํานวน 482 คน คิดเป็นร้อยละ 98.97 5. ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวน 489 คน คิดเป็นร้อยละ 48.61 6. ผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปในกลุ่มวิชา ภาษาอังกฤษ จํานวน 541 คน จากจํานวนทั้งหมด 1,006 คน คิดเป็นร้อยละ 53.78 7. ผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า จํานวน 1,095 คน คิดเป็นร้อยละ 72.66 ขึ้นไป 8. ผู้สําเร็จการศึกษา ที่ได้งานทําหรือประกอบ อาชีพอิสระหรือศึกษาต่อภายใน 1 ปี มีจํานวน 878 คน คิดเป็นร้อยละ 91.27 ขึ้นไป 9. สถานประกอบ หน่วยงานหรือสถานศึกษา หรือ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อผู้สําเร็จการศึกษาอยู่ ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒๙ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ด้าน 1.5.2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
เป้าหมายความสําเร็จ ๑. การใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ รายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการ ของสถานประกอบการหรือประชาคม อาเซียน อยู่ในระดับดีมาก 2. ครูผู้สอนทุกคนจัดทําแผนการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการ อยู่ในระดับดีมาก 3. ครูผู้สอนทุกคนจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาอย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 4. ครูผู้สอนทุกคนได้ดําเนินการวัดผลและ ประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนตาม รายวิชาอย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 5. สถานศึกษามีระบบการจัดการฝึกงาน มีคุณภาพระดับดีมาก
1.5.3 การบริหารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษา
1. การปฏิบัติงานของคณะกรรมการ สถานศึกษาหรือวิทยาลัยมีคุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก 2. การจัดทําแผนการบริหารจัดการ สถานศึกษา อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก 3. การพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์ มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 4. การบริหารงานและภาวะผู้นําของผู้บริหาร สถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 5. การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล สารสนเทศของสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก 6. การบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษา มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 7. การจัดระบบดูแลผู้เรียนมีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก 8. มีระบบความปลอดภัยของสภาพแวด ล้อมสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ ในสาขาวิชา/ สาขางาน อยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓๐ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ด้าน
1.5.4 การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ 1.5.5 นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย
1.5.6 การปลูกฝังจิตสํานึกและเสริมสร้างความเป็น พลเมืองไทยและพลโลก
เป้าหมายความสําเร็จ 9. การบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 10. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก 11. การบริหารการเงินและงบประมาณ มีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก 12. สถานศึกษามีคุณภาพในการระดม ทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับ เครือข่ายทั้งในประเทศและ หรือต่างประเทศ มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 1. การบริหารจัดการการบริการวิชาการและ วิชาชีพมีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก ๑. การบริหารจัดการ โครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ของผู้เรียน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2. การบริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู อยู่ใน ระดับดีมาก ๑. การปลูกจิตสํานึกด้านการ รักชาติ เทิดทูน พระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข และทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมให้แก่ผู้เรียนมีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก 2. การปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3. การส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการ มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 4. การปลูกฝังจิตสํานึกด้านปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓๑ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ด้าน 1.5.7 การประกันคุณภาพการศึกษา
เป้าหมายความสําเร็จ ๑. การประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผลและมี ประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก 2. การดําเนินงานประกันคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษามีคุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก
1.6 ความสําเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง ความสําเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง ประจําปีการศึกษา 2557 ซึ่งประชาคมของ สถานศึกษาให้ความเห็นชอบมีดังนี้ ด้าน 1.5.1 ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษา 1.5.2 ความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท
1.5.3 ความด้านสิ่งเสพติด 1.5.4 ความเสี่ยงด้านสังคม เช่น การตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร 1.5.5 ความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม
เป้าหมายความสําเร็จ ร้อยละ 2.99 ของจํานวนผู้เรียน ครูและบุคลากร ประจําปีการศึกษา 2557 (จํานวน 100 คน) ร้อยละ 2.09 ของจํานวนผู้เรียน ประจําปีการศึกษา 2557 (จํานวน 70 คน) ร้อยละ 3.59 ของจํานวนผู้เรียนประจําปีการศึกษา 2557 (จํานวน 120 คน) ร้อยละ 0.14 ของจํานวนผู้เรียนประจําปีการศึกษา 2557 (จํานวน 5 คน) ร้อยละ 1.94 ของจํานวนผู้เรียน ประจําปีการศึกษา 2557 (จํานวน 65 คน)
1. ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษาลดลง คิดเป็นร้อยละ 2.99 จากเป้าหมายความสําเร็จ 2. ความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท ลดลง คิดเป็นร้อยละ 2.09 จากเป้าหมายความสําเร็จ 3. ความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติด คิดเป็นร้อยละ 3.59 จากเป้าหมายความสําเร็จ 4. ความเสี่ยงด้านสังคม เช่น การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร/ติดเกมส์ คิดเป็นร้อยละ 0.14 จากเป้าหมายความสําเร็จ 5. ความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม คิดเป็นร้อยละ 1.94 จากเป้าหมายความสําเร็จ
ตอนที่ ๒ การดําเนินงานของสถานศึกษา ๒.๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของสถานศึกษา ปรัชญาการจัดการศึกษา “มีทักษะชีวิต คิดสร้างสรรค์ มุ่งมั่นคุณธรรม นําวิชาชีพสู่สากล” วิสัยทัศน์ “สถาบันแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ มุ่งผลิตกําลังคนอาชีวศึกษาสู่นานาชาติ” พันธกิจ 1. พัฒนาประสิทธิภาพด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ และ ระบบบริหารงานคุณภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. พัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับการประกันคุณภาพ การศึกษาทั้งภายในและภายนอก และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (MIS) ให้ สามารถเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในระดับนานาชาติ ๓. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาชีพ โดยใช้กระบวนการ ให้ผู้เรียนสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การเรียนในสถานที่จริง และสถานการณ์จริง รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ ๔. พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะร่วมกับสถานประกอบการ และจัดทําแผนการจัดการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับสมรรถนะของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 ๕. พัฒนาผูเ้ รียนด้านทักษะการเรียนรู้ทักษะฝีมือ ตามสมรรถนะวิชาชีพให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน สถานประกอบการในประเทศและนานาชาติ ๖. พัฒนาศักยภาพผู้เรียน ให้มีทักษะชีวิตเป็นคนดีมีคุณภาพสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่น ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลกได้อย่างมีความสุข เป้าประสงค์ของสถานศึกษา 1. เพื่อดําเนินงานวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งครูและบุคลากร ทางการศึกษา งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการ บริหารจัดการ ยกระดับมาตรฐานสถานศึกษาให้สามารถแข่งขันได้ในระดับชาติ 2. เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาชีพประเภทวิชาพาณิชยกรรม บริหารธุรกิจ คหกรรม ศิลปกรรม อุตสาหกรรมท่องเที่ยว และเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง สาขาการโรงแรม) โดยใช้ หลักสูตรฐานสมรรถนะที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญด้วยหลักการเรียนรู้ที่หลากหลายใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการเรียนการสอน ตลอดจนการจัดทําวิจัยนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ 3. เพื่อผลิตกําลังคนอาชีวศึกษา ที่ต้องใช้ความรู้ในการทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม มีจิตอาสา มีทักษะในการเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ ทํางานเป็นทีม มีภาวะผู้นํา มีทักษะการใช้ภาษา ในการสื่อสาร ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ มีมาตรฐานวิชาชีพและทักษะชีวิตสามารถทํางาน ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ได้อย่างมีความสุข
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓๓ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
๒.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา เพื่อให้การดําเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษาบรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา จึงกําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ ด้านผู้เรียนและผู้สําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา มาตรฐานและตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.1 ร้อยละของผู้เรียน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย สะสม 2.00 ขึ้นไป
เป้าหมายความสําเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
๑. ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการ ประเด็นยุทธศาสตร์ 5.1 : เพิ่มทักษะ การเรียนรู้ของผู้เรียน เรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ๑. โครงการทัศนศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ ขึ้นไป ร้อยละ 90 ขึ้นไป สถาบันการศึกษาที่โดดเด่นทางด้าน นวัตกรรม ๒. โครงการอบรมการใช้กระบวนการคิด ๓. โครงการวันภาษาไทย ๔. โครงการวันสุนทรภู่ ๕. โครงการเยาวชนยอดนักอ่าน ๖. โครงการวัดระดับการใช้ภาษาไทยเพื่อ การสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ๗. โครงการค่ายภาษาอังกฤษ English Camp ๘. โครงการพัฒนาภาษาต่างประเทศโดย เจ้าของภาษา ๙. โครงการแข่งการพูดในที่ชมุ ชน ๑๐. โครงการวัดระดับการใช้ภาษาอังกฤษ ๑๑. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการเรียนการสอนเพื่อให้มี ประสิทธิภาพ ๑๒. โครงการส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองทาง อินเตอร์เน็ต ๑๓. โครงการให้ความรู้ในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เผยแพร่ ผลงานด้านวิชาการและวิชาชีพ ๑๔. โครงการจัดตั้งชมรมเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อให้ความรู้ดา้ นวิชาการ และวิชาชีพ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓๔ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา 15. โครงการ open House 16. โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพ 17. โครงการส่งเสริมและสนับสนุน การแข่งขันทักษะกับหน่วยงาน ภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน 18. โครงการจัดนิทรรศการมาตรฐาน วิชาชีพในระดับนานาชาติ 19. โครงการอบรมสร้างความเข้าใจ มาตรฐานวิชาชีพในระดับนานาชาติ 20. โครงการอบรมความรู้เกี่ยวกับความ ต้องการตลาดแรงงานทั้งในและ นานาชาติ 21. โครงการสัมนาความรู้เรื่องมาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพ 22. โครงการสอนซ่อมเสริมระดับปวช. และระดับปวส. 23. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ 24. โครงการทัศนศึกษาดูงานแหล่ง วิชาชีพสถานประกอบการที่ได้ มาตรฐานสากล 25. โครงการจัดเตรียมความพร้อม เพื่อสอบ V-NET ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ระดับความพึงพอใจ ๑. สถานประกอบการมีความ ประเด็นยุทธศาสตร์ 4.2 : ขยาย พึงพอใจต่อคุณลักษณะ เครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาคส่วนใน ของสถานประกอบการ หน่วยงาน ที่พึงประสงค์ของผู้สําเร็จ การจัดการเรียนรู้ ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของผู้เรียน การศึกษาอยู่ในระดับดีมาก ๑. โครงการวัดและประเมินผลการ ฝึกงานร่วมกับสถานประกอบการ ครึ่งหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ร้อยละของผู้เรียน 1. ผู้เรียนตามหลักสูตร ประเด็นยุทธศาสตร์ 5.2 : เพิ่มสมรรถนะ ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ทักษะฝีมือของผู้เรียน วิชาชีพ ผ่านการประเมินมาตรฐาน ๑. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ วิชาชีพ จํานวน 527 คน ๒. โครงการอบรมสร้างความเข้าใจ ร้อยละ 94.61 มาตรฐานวิชาชีพในระดับนานาชาติ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓๕ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มี คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับชาติขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มี คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับชาติขึ้นไปในกลุ่มวิชา ภาษาอังกฤษ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.7 ร้อยละของผู้สําเร็จ การศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับ แรกเข้า
เป้าหมายความสําเร็จ 2. ผู้เรียนตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จํานวน 482 คน ร้อยละ 98.97 1. ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ย จากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET ) ตั้งแต่ค่าคะแนน เฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวน 489 คน ร้อยละ 48.61 1. ผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย จากการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนน เฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปในกลุ่ม วิชาภาษาอังกฤษ จํานวน 541 คน ร้อยละ 53.78 ๑. ผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร เทียบกับแรกเข้าจํานวน 1,095 คน คิดเป็นร้อยละ 72.66
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเด็นยุทธศาสตร์ 5.2 : เพิ่ม สมรรถนะทักษะฝีมือของผู้เรียน ๑. โครงการจัดเตรียมความพร้อม เพื่อสอบ V-Net 2. โครงการสอนซ่อมเสริมระดับปวช. และ ระดับปวส. ประเด็นยุทธศาสตร์ 5.2 : เพิ่ม สมรรถนะทักษะฝีมือของผู้เรียน ๑. โครงการจัดเตรียมความพร้อม เพื่อสอบ V-Net 2. โครงการสอนซ่อมเสริมระดับปวช. และระดับปวส.
ประเด็นยุทธศาสตร์ ๓.๑ : พัฒนา สมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน ๑. โครงการพัฒนาความเป็นเลิศ ของผู้เรียนวิชาชีพสู่นานาชาติ ๒. โครงการศึกษาดูงานด้านวิชาชีพ ในต่างประเทศ ๓. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 ร้อยละของผู้สําเร็จ 1. ผู้สําเร็จการศึกษา ที่ได้งานทํา ประเด็นยุทธศาสตร์ 4.2 : ขยาย การศึกษา ที่ได้งานทําหรือประกอบ หรือประกอบอาชีพอิสระหรือ เครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาค ส่วนในการจัดการเรียนรู้ อาชีพอิสระหรือศึกษาต่อภายใน 1 ปี ศึกษาต่อภายใน 1 ปี ๑. โครงการความร่วมมือในการฝึกงาน มีจํานวน 878 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.27 กับสถานประกอบการและชุมชน ๒. โครงการวัดและประเมินผล การฝึกงานร่วมกับสถาน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓๖ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 1.9 ระดับความพึงพอใจ ของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือผู้รับบริการที่มี ต่อคุณภาพของผู้สําเร็จการศึกษา
เป้าหมายความสําเร็จ
๑. สถานประกอบ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ ต่อผู้สําเร็จการศึกษาอยู่ใน ระดับดีมาก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ๒. โครงการวัดและประเมินผล การฝึกงานร่วมกับสถาน ประกอบการครึ่งหลักสูตร ๓. โครงการพัฒนาการจัดการ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกับ สถานประกอบการสู่อาเซียน ประเด็นยุทธศาสตร์ 4.2 : ขยาย เครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาค ส่วนในการจัดการเรียนรู้ ๑. โครงการความร่วมมือในการฝึกงาน กับสถานประกอบการและชุมชน ๒. โครงการวัดและประเมินผล การฝึกงานร่วมกับสถาน ประกอบการครึ่งหลักสูตร ๓. โครงการพัฒนาการจัดการ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกับ สถานประกอบการสู่อาเซียน
มาตรฐานที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระดับคุณภาพใน ๑. การใช้และพัฒนาหลักสูตร การใช้และพัฒนาหลักสูตรฐาน ฐานสมรรถนะรายวิชาที่ สมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับ สอดคล้องกับความต้องการ ความต้องการของสถานประกอบการ ของสถานประกอบการหรือ หรือประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน อยู่ใน ระดับดีมาก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเด็นยุทธศาสตร์ 4.1 : พัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะร่วมกับสถาน ประกอบการที่มีมาตรฐานในระดับสากล ๑. โครงการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะ ๒. โครงการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะร่วมกับสถานประกอบการ ๓. โครงการประเมินหลักสูตรฐานสรรถนะ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ระดับคุณภาพในการ ๑. ครูผู้สอนทุกคนจัดทําแผนการ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.๑ : พัฒนา จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ สมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา อยู่ในระดับดีมาก ๑. โครงการฝึกอบรมและจัดทําแผน การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นผูเ้ รียน เป็นสําคัญ ๒. โครงการจัดอบรมหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓๗ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
๓. โครงการจัดอบรมให้มีความรู้ความ เข้าใจหลักธรรมาภิบาลและหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ระดับคุณภาพในการ 1. ครูผู้สอนทุกคนจัดการเรียน ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.๑ : พัฒนา จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา การสอนในรายวิชาอย่างมี สมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑. โครงการพัฒนาสื่อการเรียนรู้โดยใช้ คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒. โครงการจัดอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร จัดทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระดับคุณภาพในการ 1. ครูผู้สอนทุกคนได้ดําเนินการ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.๑ : พัฒนา วัดผลและประเมินผลในการ สมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา วัดและประเมินผลการจัดการเรียน ๑. โครงการจัดอบรมการประเมินผล จัดการเรียนการสอนตาม การสอนรายวิชา ตามสภาพจริง รายวิชาอย่างมีคุณภาพอยู่ใน ๒. โครงการประเมินผลการปฏิบัติงาน ระดับดีมาก ครูและบุคลากรทางการศึกษา 3. โครงการนิเทศการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ระดับคุณภาพในการ 1. สถานศึกษามีระบบการจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1 : พัฒนา ฝึกอบรมมีคุณภาพอยู่ในระดับ สมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน ฝึกงาน ดีมาก ๑. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา ฝึกงาน 2. โครงการนิเทศผู้เรียนในสถาน ประกอบการ
มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา มาตรฐานและตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระดับคุณภาพในการ ปฏิบัติงานของคณะกรรมการ สถานศึกษา หรือวิทยาลัย
ยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑. การปฏิบัติงานของคณะกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.1 :พัฒนา การสถานศึกษาหรือวิทยาลัยมี มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ๑. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ จัดทํามาตรฐานการศึกษา ๒. โครงการติดตามประเมินผลการ ดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา ๓. โครงการพัฒนาปรับปรุง มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม่ เป้าหมายความสําเร็จ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓๘ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระดับคุณภาพใน การจัดทําแผนการบริหารจัดการ สถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ระดับคุณภาพใน การพัฒนาสถานศึกษาตาม อัตลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ระดับคุณภาพใน การบริหารงานและภาวะผู้นําของ ผู้บริหารสถานศึกษา
เป้าหมายความสําเร็จ ๑. การจัดทําแผนการบริหาร จัดการสถานศึกษา อยู่ใน ระดับคุณภาพดีมาก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.4 : บริหาร จัดการสถานศึกษาโดยใช้ระบบ บริหารงานคุณภาพตามหลัก ธรรมาภิบาล ๑. โครงการอบรมส่งเสริมความรู้ เกี่ยวกับระบบบริหารงานคุณภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล ๒. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้ระบบบริหารงานคุณภาพ PDCA ในการจัดการเรียน การสอน การปฏิบัติงาน ในสถานศึกษา 1. การพัฒนาสถานศึกษาตาม ประเด็นยุทธศาสตร์ 4.1 : พัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะร่วมกับสถาน อัตลักษณ์มีคุณภาพอยู่ใน ประกอบการที่มีมาตรฐานในระดับ ระดับดีมาก สากล ๑. โครงการจัดทําหลักสูตรวิชาชีพ นานาชาติ ๒. โครงการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะ 3. โครงการประเมินหลักสูตรฐาน สมรรถนะ 1. การบริหารงานและภาวะผู้นํา ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.1 : พัฒนา ของผู้บริหารสถานศึกษามี สมรรถนะครูและบุคลากรทางการ คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.2 : บริหาร จัดการงบประมาณอย่างมี ประสิทธิภาพ ๑. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ จัดทําสมรรถนะบุคลกรทาง การศึกษาตามระเบียบสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2552
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๓๙ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ตัวบ่งชี้ที่ 3.5 ระดับคุณภาพในการ ๑. การบริหารจัดการระบบ บริหารจัดการระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูลสารสนเทศของ สารสนเทศของสถานศึกษา สถานศึกษามีคุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 3.6 ระดับคุณภาพ ในการบริหารความเสี่ยง
๑. การบริหารความเสี่ยงของ สถานศึกษามีคุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา 2. โครงการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนา ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี 3. โครงการจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปี 4. โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาสถานศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒.3 : พัฒนา ประสิทธิภาพระบบเทคโนโลยี สารสนเทศในการบริหารจัดการ ๑. โครงการพัฒนาระบบระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ บริหารจัดการ 2. โครงการพัฒนาอินเตอร์เน็ต ไร้สาย 3. โครงการพัฒนา website ของ วิทยาลัย 4. โครงการปรับปรุง ดูแล ซ่อมแซม เครือข่ายภายใน 5. โครงการพัฒนาระบบความ ปลอดภัยด้วยกล้อง CCTV 6. โครงการพัฒนาการตรวจสอบ สิทธิการใช้งานอินเตอร์เน็ต และระบบข้อมูลสารสนเทศ 7. โครงการพัฒนาโปรแกรม สําเร็จรูปสําหรับดําเนินงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑.๒ : บริหาร จัดการงบประมาณอย่างมี ประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ 6.3 : ส่งเสริม คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพและใจของ ผู้เรียน ๑. โครงการจัดทําการบริหารความ เสี่ยง ด้านการบริหารงบประมาณ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๐ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ตัวบ่งชี้ที่ 3.7 ระดับคุณภาพ ในการจัดระบบดูแลผู้เรียน
๑. การจัดระบบดูแลผู้เรียนมี คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 3.8 ระดับคุณภาพในการ พัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อมและ ภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและการใช้ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ
๑. มีระบบความปลอดภัยของ สภาพแวดล้อมสิ่งอํานวย ความสะดวกที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ ในสาขาวิชา/ สาขางานอยู่ในระดับดีมาก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา 2. โครงการจัดทําระบบการควบคุม ภายใน และบริหารความเสี่ยง 3. โครงการตรวจสุขภาพผู้เรียน 4. โครงการประกันอุบัติเหตุผู้เรียน 5. โครงการอาชีวะวัยใสห่วงใย สุขภาพ 6. โครงการอบรมและจัดทํา แผนงานโครงการเพื่อบริหาร ความเสี่ยง ประเด็นยุทธศาสตร์ 6.3 : ส่งเสริม คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพและใจของ ผู้เรียน ๑. โครงการศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น ๒. โครงการ Stop Teen Mom 3. โครงการเยี่ยมบ้านและหอพัก ของนักเรียน นักศึกษา 4. โครงการป้องกันโรคเอดส์และ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.3 : บริหาร จัดการวัสดุ ครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ ให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ ๑. โครงการจัดซื้อ จัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ ๒. โครงการอบรมการบํารุงรักษา วัสดุ ครุภัณฑ์และความ ปลอดภัย 3. โครงการปรับปรุง ซ่อมแซม ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ 4. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ที่ สอดคล้องตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 5. โครงการอนุรักษ์และประหยัด พลังงานแบบมีส่วนร่วม 6. โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๑ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 3.9 ระดับคุณภาพในการ บริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์
เป้าหมายความสําเร็จ ๑. การบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และ คอมพิวเตอร์มีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 3.10 ระดับคุณภาพในการ ๑. การพัฒนาครูและบุคลากร พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางการศึกษามีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก
๑. การบริหารการเงิน และ ตัวบ่งชี้ที่ 3.11 ระดับคุณภาพ งบประมาณ มีคุณภาพ ในการบริหารการเงินและงบประมาณ อยู่ในระดับดีมาก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.3 : บริหาร จัดการวัสดุ ครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ให้มี ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้๑. โครงการจัดซื้อ จัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ 2. โครงการซ่อมบํารุงครุภัณฑ์ 3. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทําทะเบียนควบคุมวัสดุ และครุภัณฑ์ 4. โครงการตรวจสอบพลังงานไฟฟ้า ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.๑ : พัฒนา สมรรถนะครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ๑. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาการเรียนการสอน อาชีวศึกษาสู่ผลงานทางวิชาการ เพื่อเลื่อนวิทยฐานะ ๒. โครงการจัดอบรมให้มีความรู้ ความเข้าใจหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๓. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการ จัดทําวิจัยและประเมินโครงการ ของบุคลากรทางการศึกษา ๔. โครงการฝึกอบรมครูด้านภาษา ต่างประเทศ ๕. โครงการประเมินผลการปฏิบัติ งานครูและบุคลากรทางการ ศึกษา 6. โครงการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.๒ : บริหาร จัดการงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ ๑. โครงการจัดทํารายงานผล การดําเนินงานโครงการ 2. โครงการจัดทําระบบควบคุมภายใน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๒ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ เป้าหมายความสําเร็จ ตัวบ่งชี้ที่ 3.12 ระดับคุณภาพในการ 1. สถานศึกษามีคุณภาพในการ ระดมทรัพยากรในการจัดการ ระดมทรัพยากรในการจัดการ อาชีวศึกษากับเครือข่ายทั้งในประเทศ อาชีวศึกษากับเครือข่ายทั้งใน และ หรือต่างประเทศ ประเทศและ หรือต่างประเทศ มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1 : พัฒนา สมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน 1. โครงการพัฒนาความเป็นเลิศ ของผู้เรียนวิชาชีพสู่นานาชาติ 2. โครงการแลกเปลี่ยนผู้เรียน กับสถานศึกษาในต่างประเทศ
มาตรฐานที่ 4 ด้านการบริการวิชาการและวิชาชีพ มาตรฐานและตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระดับคุณภาพ ในการบริหารจัดการการบริการ วิชาการและวิชาชีพ
เป้าหมายความสําเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
1. การบริหารจัดการการบริการ ประเด็นยุทธศาสตร์ 6.1 : เพิ่ม วิชาการและวิชาชีพมีคุณภาพ ศักยภาพผูเ้ รียนให้มีภาวะความเป็น ผู้นําและผู้ตามที่ดี อยู่ในระดับดีมาก 1. โครงการบริการชุมชนและสังคม 2. โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อ ชุมชน (Fix it Center) 3. โครงการฝึกอาชีพระยะสั้น 108 อาชีพ 4. โครงการฝึกอาชีพนักเรียนเก่า โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน 5. โครงการสร้างอาชีพเพื่อชุมชน
มาตรฐานที่ 5 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย มาตรฐานและตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระดับคุณภาพในการ บริหารจัดโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์หรืองานวิจัยของ ผู้เรียน
เป้าหมายความสําเร็จ ๑. การบริหารจัดการ โครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ของผู้เรียน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1 : การ พัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ๑. โครงการส่งเสริมการทําวิจัย นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ของ ผู้เรียน 2. โครงการอบรมการจัดทํา โครงงานวิทยาศาสตร์ 3. โครงการประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ 4. โครงการประกวดโครงงาน วิทยาศาสตร์ระดับวิทยาลัย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๓ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
5. โครงการส่งเสริมการ จดสิทธิบัตรของครูและนักเรียน นักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระดับคุณภาพในการ ๑. การบริหารจัดการนวัตกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.1 : พัฒนา สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ สมรรถนะครูและบุคลากรทางการ บริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ หรืองานวิจัยของครู อยู่ใน ศึกษา งานสร้างสรรค์หรืองานวิจัยของครู ๑. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับดีมาก จัดทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 2. โครงการส่งเสริม สนับสนุน การทําวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา 3. โครงการเผยแพร่ งานวิจัย นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ 4. โครงการอบรบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทําวิจัยและประเมิน โครงการของบุคลากรทาง การศึกษา 5. โครงการทุนการศึกษา ทุนวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จาก หน่วยงานทั้งภายในและภายนอก
มาตรฐานที่ 6 ด้านการปลูกฝังจิตสํานึกและส่งเสริมความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระดับคุณภาพในการ ๑. การปลูกจิตสํานึกด้านการ รักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ปลูกฝังจิตสํานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ส่งเสริมการ ส่งเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมี ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็น พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ ประมุข และทะนุบํารุงศาสนา ทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ศิลปะ วัฒนธรรมให้แก่ผู้เรียน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ 6.2 : ส่งเสริม ผู้เรียนให้มีคุณธรรม ในความเป็น พลเมืองไทยและพลโลก ประเด็นยุทธศาสตร์ 6.4 : ทํางาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขใน ฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ๑. โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒. โครงการตักบาตรสืบสาน วัฒนธรรมไทย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๔ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
๓. โครงการต้นกล้าคุณธรรม นําสังคม จิตสาธารณะ ๔. โครงการชุมชนคนรักศาสนา 5. โครงการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ไทย 6. โครงการอนุรักษ์ดนตรีพื้นเมือง 7. โครงการวัฒนธรรมสัญจร 8. โครงการจัดอบรมเสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรม ๗. โครงการคุณธรรมนําความรู้ 8. โครงการกิจกรรมไหว้ครู 9. โครงการปลูกจิตสํานึกและ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจใน การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยโดยมี พระมหากษัตริย์ทางเป็น ประมุข ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ระดับคุณภาพในการ 1. การปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการ ประเด็นยุทธศาสตร์ 6.4 : ทํางาน ปลูกฝังจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณภาพ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขใน สิ่งแวดล้อม ฐานะพละเมืองและพลโลก อยู่ในระดับดีมาก ๑. โครงการทําความสะอาด ครั้งใหญ่ ๒. โครงการปลูกป่า ๓. โครงการคัดแยกขยะใน สถานศึกษา ๔. โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ภายใน ภายนอกวิทยาลัย ๕. โครงการขยะทองคํา ๖. โครงการอนุรักษ์ลําน้ําปิง ๗. โครงการประกวดประดิษฐ์ จากของเหลือใช้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๕ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานที่ 6 ด้านการปลูกฝังจิตสํานึกและส่งเสริมความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ระดับคุณภาพในการ 1. การส่งเสริมด้านการกีฬาและ นันทนาการมีคุณภาพอยู่ใน ส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการ ระดับดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 6.4 ระดับคุณภาพในการ ปลูกฝังจิตสํานึกด้านปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
ประเด็นยุทธศาสตร์ 6.3 : ส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ กายและใจของผู้เรียน 1. โครงการห่วงใยใส่ใจสุขภาพ 2. โครงการส่งเสริมกิจกรรมกีฬา ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา 3. โครงการเดินวิ่งการกุศล มินิมาราธอน 4. โครงการหนทางสู่ความสุขและ การมีสุขภาพที่ดี (เต้า เต๋อ ซิน ซี) 5. โครงการกิจกรรมกีฬาสี ประเด็นยุทธศาสตร์ 6.4 : ทํางาน ๑. การปลูกฝังจิตสํานึกด้าน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขใน ฐานะพลเมืองไทยและพลโลก มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 1. โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงใน สถานศึกษา
มาตรฐานที่ 7 ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
พันธกิจที่ 2 : พัฒนาระบบกลไกใน ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ระดับคุณภาพในการ ๑. การประกันคุณภาพภายในมี ประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ การประกันคุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพภายใน ๑. โครงการส่งเสริมความรู้ด้าน อยู่ในระดับดีมาก การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในและภายนอก 2. โครงการศึกษาดูงานด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา 3. โครงการประกวดรายงาน การประเมินตนเองของครูและ ของแผนกวิชา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๖ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
มาตรฐานและตัวบ่งชี้
เป้าหมายความสําเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
4. โครงการดําเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา 5. โครงการเตรียมความพร้อม เพื่อรับการประเมินคุณภาพ การศึกษา 6. โครงการตรวจติดตามภายใน การประเมินคุณภาพการศึกษา 7. โครงการนิเทศการดําเนินงาน ประกันคุณภาพ 8. โครงการประเมินผลการ ดําเนินงานประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ระดับคุณภาพในการ ๑. การดําเนินงานประกันคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.2 : พัฒนา มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ดําเนินงานตามมาตรฐานการ ภายในตามมาตรฐานการ อาชีวศึกษา ๑. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ อาชีวศึกษามีคุณภาพอยู่ใน จัดทํามาตรฐานการศึกษา ระดับดีมาก 2. โครงการติดตาม ประเมินผล การดําเนินงานตามมาตรฐาน การศึกษา 3. โครงการพัฒนา ปรับปรุง มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๗ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
2.3 ความสําเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษาบรรลุเป้าหมายตามแผนบริหารความเสี่ยง จึงกําหนดมาตรการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง ดังนี้ ด้าน 2.3.1 ความเสี่ยงด้านความ ปลอดภัย ของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายใน สถานศึกษา 1.5.2 ความเสี่ยงด้านการ ทะเลาะวิวาท
มาตรการป้องกันและควบคุม 1. โครงการอบรมอาสาจราจร 2. โครงการตรวจสุขภาพประจําปี 2557 3. โครงการ stop teen mom 4. โครงการประกันอุบัติเหตุประจําปี 2557 1. โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม 2. โครงการจัดระเบียบสังคม ร่วมศูนย์เสมา รักษ์เชียงใหม่ 3. โครงการกีฬาสีประจําปี 2557 4. โครงการเตรียมลูกเสือเนตรนารี 2557 5. โครงการอบรมภาวะผู้นํา 1.5.3 ความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติด 1. โครงการกีฬาสี ประจําปี 2557 2. โครงการกีฬาต้านยาเสพติด ประจําปี 2557 3. โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในสถานศึกษา ประจําปี 2557 4. โครงการอบรม “ทําดีเพื่อแม่ แก้ปัญหา ยาเสพติด” เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ 5. โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม ประจําปี 2557 1.5.4 ความเสี่ยงด้านสังคม 1. โครงการ stop teen mom เช่น การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 2. โครงการจัดระเบียบสังคม ร่วมศูนย์เสมา รักษ์เชียงใหม่ 3. โครงการกีฬาสีประจําปี 2557 4. โครงการนวสัมพันธ์ แกนนํา นักเรียน นักศึกและองค์การวิชาชีพ 5. โครงการอบรมภาวะผู้นํา 1.5.5 ความเสี่ยงด้านการพนัน 1. โครงการจัดระเบียบสังคม ร่วมศูนย์เสมา และการมั่วสุม รักษ์เชียงใหม่ 2. โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครส่งเสริมความ ประพฤตินักเรียน นักศึกษา 3. โครงการเข้าค่ายเตรียมลูกเสือเนตรนารีวสิ ามัญ
เป้าหมายความสําเร็จ ร้อยละ 5 ของจํานวนผู้เรียน ครู และบุคลากร (จํานวน 100 คน) ร้อยละ 5 ของจํานวนผู้เรียน (จํานวน 70 คน)
ร้อยละ 5 ของจํานวนผู้เรียน (จํานวน 120 คน)
ร้อยละ 5 ของจํานวนผู้เรียน (จํานวน 5 คน)
ร้อยละ 5 ของจํานวนผู้เรียน (จํานวน 65 คน)
(ให้จัดทําจนครบเป้าหมายความสําเร็จทุกข้ออย่างสอดคล้องกับแผนบริหารความเสี่ยง)
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๘ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
๒.4 การพัฒนาสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ข้อเสนอแนะจากการประเมิน แผนการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ 2.4.1 การประเมินคุณภาพภายนอก 1) เร่งพัฒนารูปแบบรายงานผลงานของนักศึกษาที่มีแนว 1) พัฒนารูปแบบรายงานผลงานของนักศึกษาที่มีแนว ทางการเขียนผลงานวิชาการ 5 บทที่เป็นแบบฟอร์ม ทางการเขียนผลงานวิชาการ 5 บทที่เป็นแบบฟอร์ม เดียวกันทุกสาขาวิชา เช่น คู่มือการจัดทําโครงงาน และ เดียวกันทุกสาขาวิชา เช่น คู่มือการจัดทําโครงงาน รายงานผลงานขอนักศึกษา โดยบูรณาสาขาวิชาร่วมกัน และรายงานผลงานขอนักศึกษา โดยบูรณาสาขาวิชา และสามารถชี้ประเด็นโจทย์ปัญหาและแนวทางการ ร่วมกันและสามารถชีป้ ระเด็นโจทย์ปัญหาและแนว ทางการแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึ้นจากนวัตกรรมของ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากนวัตกรรมของผู้เรียน ที่ส่งผล ผู้เรียน ที่ส่งผลให้ชุมชนได้ประโยชน์ด้านการ ให้ชุมชนได้ประโยชน์ด้านการพัฒนาการประกอบอาชีพ พัฒนาการประกอบอาชีพ 2) พัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริม 2) เร่งพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนตระหนัก เห็นความสําคัญในการเข้ารับการ ให้ผู้เรียนตระหนัก เห็นความสําคัญในการเข้ารับการ ทดสอบ V-net เนื่องจากเป็นข้อสอบที่เน้นวิชาพื้นฐาน ทดสอบ V-net เนื่องจากเป็นข้อสอบที่เน้นวิชา สําหรับการทดสอบในการศึกษาต่อระดับสูง ซึ่งส่งผล พื้นฐานสําหรับการทดสอบในการศึกษาต่อระดับสูง ให้ผู้เรียนได้ศึกษาต่อและสามารถทดสอบเมื่อต้องการ ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนได้ศึกษาต่อและสามารถทดสอบ เมื่อต้องการประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพในปีต่อไป 3) ควรส่งเสริมรูปแบบการจัดการความรู้และการ 3) ส่งเสริมรูปแบบการจัดการความรู้และการ สร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมรองรับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมรองรับเศรษฐกิจ (Creative Economy) ที่สามารถเผยแพร่นวัตกรรม สร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่สามารถ ผลงานต่อหน่วยงานอื่น โดยกําหนดหมวดหมู่ผลงาน เผยแพร่นวัตกรรมผลงานต่อหน่วยงานอื่น โดย ระดับสาขาวิชา ที่สามารถตอบสนองการใช้ประโยชน์ กําหนดหมวดหมู่ผลงาน ระดับสาขาวิชา ที่สามารถ ในระดับ ชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด และระดับชาติในปีต่อไป ตอบสนองการใช้ประโยชน์ ในระดับ ชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด และระดับชาติ 4) ควรเพิ่มการจัดครูผู้สอนภาษาต่างประเทศที่เป็นเจ้าของ 4) จัดครูผู้สอนภาษาต่างประเทศที่เป็นเจ้าของ ภาษายังมีน้อย ซึ่งจะทําให้บุคลากรและนักศึกษา ภาษายังมีน้อย ซึ่งจะทําให้บุคลากรและนักศึกษา ได้ฝึก ได้ฝึกทักษะในการพัฒนาศักยภาพพื้นฐานด้านภาษา ทักษะในการพัฒนาศักยภาพพื้นฐานด้านภาษาใน ชีวิตประจําวัน เช่น พัฒนาการจัดโปรแกรมการเรียน ในชีวิตประจําวัน เช่น พัฒนาการจัดโปรแกรม แบบ Multi Language ซึ่งสามารถรองรับการเข้าสู่ การเรียนแบบ Multi Language ซึ่งสามารถ ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ 5) ส่งเสริมรูปแบบการจัดทําข้อมูลสารสนเทศ และการนํา 5) ส่งเสริมรูปแบบการจัดทําข้อมูลสารสนเทศ และ การนําข้อมูลมาทําวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาผู้เรียนออก ข้อมูลมาทําวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาผู้เรียนออกกลางคัน กลางคันส่งผลให้สามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนา ส่งผลให้สามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาหลักสูตรการ หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนร่วมกับชุมชน จัดการเรียนการสอนร่วมกับชุมชน สถานประกอบการ และตลาดแรงงานที่กําลังมีการเคลื่อนย้ายแรงงาน สถานประกอบการ และตลาดแรงงานที่กําลังมีการ ภายในปี ๒๕๕๘ เคลื่อนย้ายแรงงานภายในปี ๒๕๕๘
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๔๙ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕57
6) ส่งเสริมการนําหลักฐานไปจดสิทธิบัตรผลงานนวัตกรรม 6) ส่งเสริมการนําหลักฐานไปจดสิทธิบัตรผลงาน นวัตกรรมให้ครบทุกสาขาวิชา พร้อมทั้งเป็น ให้ครบทุกสาขาวิชา พร้อมทั้งเป็นนวัตกรรมที่คงรักษาไว้ ซึ่งเอกลักษณ์ของความเป็นวิชาชีพด้านช่างอุตสาหกรรม นวัตกรรมที่คงรักษาไว้ ซึ่งเอกลักษณ์ของความ บริการของประเทศไทย และตอบสนองแผนการจัดการ เป็นวิชาชีพด้านช่างอุตสาหกรรมบริการของ อาชีวศึกษาในระยะยาวต่อไป ประเทศไทย และตอบสนองแผนการจัดการ อาชีวศึกษาในระยะยาว 2.4.2 การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด 1) ควรจัดกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการใช้ 1) จัดกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้มากขึ้น ภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้มากขึ้น 2) ผู้สอนควรสอดแทรกการใช้ภาษาอังกฤษในทุกรายวิชา 2) จัดให้ครูผู้สอนสอดแทรกการใช้ภาษาอังกฤษ ในทุกรายวิชา 3) ควรนําผลการวิจัย สภาพปัญหา สาเหตุการออกกลางคัน 3) นําผลการวิจัย สภาพปัญหา สาเหตุการออก ของผู้เรียนเสนอต่อผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย กลางคันของผู้เรียนเสนอต่อผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 4) ควรศึกษาหาแนวทางแก้ไขปัญหาการออกกลางคันของ 4) หาแนวทางแก้ไขปัญหาการออกกลางคันของ ผู้เรียนแล้วดําเนินการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น ผู้เรียนแล้วดําเนินการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น 5) ควรนําข้อมูล สาเหตุที่ผู้เรียนขอลาออกจากสภาพ 5) นําข้อมูล สาเหตุที่ผู้เรียนขอลาออกจากสภาพ การเป็นนักเรียน/นักศึกษาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ การเป็นนักเรียน/นักศึกษาไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ 6) ในการเลือกกิจกรรม-โครงการมาใช้ในตัวบ่งชี้ต้องเลือก 6) เลือกกิจกรรม-โครงการมาใช้ในตัวบ่งชี้ กิจกรรมที่ตรงกับตัวบ่งชี้จริงๆ และได้เลือกกิจกรรมที่ตรงกับตัวบ่งชี้ 7) ผลงานของผู้เรียน และครู ควรจะมีการพัฒนาให้ต่อเนื่อง 7) ผลงานของผู้เรียน และครู มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง และได้รางวัลจึงมีการ และถ้าได้รางวัลในระดับใดก็ตามควรมีการจดสิทธิบัตร จดสิทธิบัตรเจ้าของผลงานไม่ว่าจะเป็นผู้เรียน ของวิทยาลัยหรือเจ้าของผลงานไม่ว่าจะเป็นผู้เรียน หรือครู หรือครู 8) สถานศึกษาควรเพิ่มจํานวนโครงการในการส่งเสริม 8) สถานศึกษาได้เพิ่มจํานวนโครงการในการ ด้านกีฬาและนันทนาการให้มากขึ้นกว่าเดิม ส่งเสริมด้านกีฬาและนันทนาการให้มากขึ้น 2.4.3 การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 1) ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา เห็นความสําคัญ 1) จัดประชาสัมพันธ์เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา ของการสอบ V-NET เห็นความสําคัญของการสอบ V-NET อย่างสม่ําเสมอ 2) ควรมีการสอนวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น 2) จัดทําโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษแก่นักเรียน นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการแก้ปัญหาการออกกลางคัน 3) จัดทําวิจัย เพื่อแก้ปัญหานักเรียน นักศึกษา ด้วยการวิจัย ออกกลางคัน
ตอนที่ 3 การดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ ด้านผู้เรียนและผู้สําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ พัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง โดยจัดโครงการ กิจกรรมให้ความรู้ ทักษะและเทคโนโลยีด้านวิชาชีพที่เหมาะสม และกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านต่างๆ ตามความจําเป็น ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนที่สําคัญได้แก่ จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ จัดการเรียน การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญและเน้นปฏิบัติจริง อาทิ การศึกษาดูงานนอกสถานที่ของนักเรียน นักศึกษา โครงการประชาสัมพันธ์ และแนะแนวการศึกษาระบบทวิภาคี จัดกิจกรรมเสริมทักษะวิชาชีพ ตามความ เหมาะสมของศักยภาพผู้เรียน การจัดครูที่ปรึกษา การประชุมผู้ปกครอง การศึกษาดูงาน เป็นต้น ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินงานที่แสดงถึงความตระหนัก โดยมีกิจกรรม/งาน/โครงการ ที่ดําเนินการ เพื่อนําไปสู่มาตรฐานคุณภาพ สําหรับผู้เรียนทั้งหมดในแต่ละชั้นปี (ปวช.1,2,3 และ ปวส.1,2) ที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ที่กําหนดแต่ละชั้นปี ตามประเภท วิชา สาขาวิชา และสาขางานทุกชั้นปี เช่น โครงการฝึกปฏิบัติมาตรฐานวิชาชีพมัคคุเทศก์ โครงการอบรม เชิงปฏิบัติการการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ โครงการประชาสัมพันธ์และแนะแนวการศึกษา ระบบทวิภาคี เป็นต้น ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีนักเรียน นักศึกษาจํานวนทั้งหมด 2,779 คน และมีผู้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป จํานวน 2,575 คน คิดเป็นร้อยละ 92.66
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๕๑
ตารางแสดงจํานวนร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2557 ระดับ/ ประเภทวิชา ปวช. ประเภทวิชา พาณิชยกรรม
สาขาวิชา/สาขางาน สาขาวิชา พณิชยการ สาขางาน การบัญชี สาขาวิชา พณิชยการ สาขางาน การตลาด สาขาวิชา พณิชยการ สาขางาน การเลขานุการ สาขาวิชา พณิชยการ สาขางาน คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
ประเภทวิชา ศิลปกรรม
สาขาวิชา ศิลปกรรม สาขางาน วิจิตรศิลป์ สาขาวิชา ศิลปกรรม สาขางาน การออกแบบ สาขาวิชา ศิลปกรรม สาขางาน ศิลปกรรมเซรามิค
ประเภทวิชา คหกรรม
สาขาวิชา ศิลปกรรม สาขางาน เทคโนโลยี ศิลปกรรม สาขาวิชา แฟชั่นและสิ่งทอ สาขางาน เสื้อผ้าแฟชั่น สาขาวิชา อาหารและ โภชนาการ สาขางาน อาหารและ โภชนาการ
ชั้นปี
จํานวนผู้ ลงทะเบียน ทั้งหมด
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
162 140 117 57 29 27 16 20 37 109 102 72 19 11 17 30 21 21 13 13 19 25 20 16 21 28 18 104 113 120
จํานวน จํานวนผู้มีผล จํานวนผู้เรียน ผู้เรียนออก การเรียน คงเหลือ กลางคัน 2.00 ขึน้ ไป 35 5 6 8 6 1 6 4 4 22 9 1 4 3 5 2 2 6 2 1 4 2 1 2 2 10 10 6
127 135 111 49 23 26 10 16 33 87 93 71 15 8 17 25 19 19 7 11 18 21 18 15 19 26 18 94 103 114
127 123 103 44 21 24 9 16 33 69 88 71 13 6 13 17 14 18 3 10 11 14 17 13 16 22 16 85 103 109
คิดเป็น ร้อยละ 100 91.11 92.79 89.80 91.30 92.31 90 100 100 79.31 94.62 100 86.67 75 76.47 68 73.68 94.74 42.86 90.91 61.11 66.67 94.44 86.67 84.21 84.62 88.89 90.43 100 95.61
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ระดับ/ ประเภทวิชา
สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชา สาขาวิชา อาหารและโภชนาการ คหกรรม สาขางาน อาหารและโภชนาการ (MEP.) สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ สาขางาน ธุรกิจงานประดิษฐ์ สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ สาขางาน เด็กปฐมวัย ประเภทวิชา สาขาวิชา การโรงแรมและการ อุตสาหกรรม ท่องเทีย่ ว ท่องเที่ยว สาขางาน การโรงแรม สาขาวิชา การโรงแรมและการ ท่องเที่ยว สาขางาน การโรงแรม(MEP.) สาขาวิชา การโรงแรมและการ ท่องเที่ยว สาขางาน การท่องเที่ยว สาขาวิชา การโรงแรมและการ ท่องเที่ยว สาขางาน การท่องเที่ยว (MEP.) รวม ปวช.
ชั้นปี 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
จํานวนผู้ ลงทะเบียน ทั้งหมด 17 14 15 20 21 16 19 15 15 42 27 30 15 15 6 44 34 26 19 19 12 1,958
จํานวน ผู้เรียนออก กลางคัน 1 1 3 2 7 3 4 2 1 1 1 4 1 3 203
จํานวน ผู้เรียน คงเหลือ 17 13 15 19 18 14 12 12 11 40 26 30 14 15 5 40 33 26 16 19 12 1,755
จํานวนผู้มีผล การเรียน 2.00 ขึ้นไป 16 12 13 17 17 11 11 12 8 36 25 28 11 14 5 36 33 25 16 19 12 1,605
๕๒
คิดเป็น ร้อยละ 94.12 92.31 86.67 89.47 94.44 78.57 91.67 100 72.73 90 96.15 93.33 78.57 93.33 100 90 100 96.15 100 100 100 91.45
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๕๓
ตารางแสดงจํานวนร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป ระดับ ปวส. ปีการศึกษา 2557 ระดับ/ ประเภทวิชา ปวส. ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
สาขาวิชา/สาขางาน สาขาวิชา การบัญชี สาขางาน การบัญชี สาขาวิชา การตลาด สาขางาน การตลาด สาขาวิชา การจัดการสํานักงาน สาขางาน การจัดการสํานักงาน สาขาวิชา การจัดการทั่วไป สาขางาน การจัดการทั่วไป สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ สาขางาน การพัฒนาเว็บเพจ สาขาวิชา การจัดการธุรกิจค้าปลีก (ทวิ) สาขางาน การจัดการธุรกิจค้าปลีก ทั่วไป (ทวิ)
ประเภทวิชา ศิลปกรรม
สาขาวิชา การออกแบบ สาขางาน ออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต
ประเภทวิชา คหกรรม
สาขาวิชา เทคโนโลยีผ้าและเครื่อง แต่งกาย สาขางาน การตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง
สาขาวิชา อาหารและโภชนาการ สาขางาน การประกอบอาหาร สาขาวิชา การบริหารงาน คหกรรมศาสตร์ สาขางาน ธุรกิจงานประดิษฐ์ สาขาวิชา อาหารและโภชนาการ สาขางาน การประกอบอาหาร (ทวิ)
ประเภทวิชา อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว
สาขาวิชา การโรงแรมและบริการ สาขางาน การโรงแรมและบริการ สาขาวิชา โรงแรมและบริการ (ทวิ) สาขางาน แม่บ้านโรงแรม (ทวิ) สาขาวิชา โรงแรมและบริการ (ทวิ) สาขางาน ครัวโรงแรม (ทวิ)
ชั้นปี
จํานวนผู้ จํานวน ลงทะเบียน ผู้เรียนออก ทั้งหมด กลางคัน
จํานวน ผู้เรียน คงเหลือ
จํานวนผู้มีผล การเรียน 2.00 ขึ้นไป
คิดเป็น ร้อยละ
1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2
132 122 34 46 47 53 36 51 57 32 16
25 4 14 2 4 5 9 2 3 3
107 118 20 44 43 53 31 42 55 29 13
101 117 17 *47 43 53 30 40 54 28 13
94.39 99.15 85 100 100 100 96.77 95.24 98.18 96.55 100
1 2 1 2 1 2
11 8 20 17 10 13
1 5 2 2 -
10 8 15 15 8 13
9 8 15 15 7 13
90 100 100 100 87.5 100
1 2 1 2
85 77 28 8
10 3 -
75 77 25 8
73 46 25 *9
97.33 59.74 100 100
1 2 1 2 1 2 1 2
55 15 38 19 18 7 2 8
4 6 1 4 1
51 15 32 18 14 7 2 7
48 15 30 18 14 6 2 7
94.12 100 93.75 100 100 85.71 100 100
หมายเหตุ * สาขางานการตลาด และสาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ รวมนักศึกษาตกค้าง
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ระดับ/ ประเภทวิชา
ประเภทวิชา อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว
จํานวนผู้ จํานวน ลงทะเบียน ผู้เรียนออก ทั้งหมด กลางคัน
๕๔
จํานวน ผู้เรียน คงเหลือ
จํานวนผู้มีผล การเรียน 2.00 ขึ้นไป
คิดเป็น ร้อยละ
สาขาวิชา/สาขางาน
ชั้นปี
สาขาวิชา โรงแรมและบริการ (ทวิ) สาขางาน บริการส่วนหน้าโรงแรม (ทวิ) สาขาวิชา โรงแรมและบริการ (ทวิ) สาขางาน บริการอาหารและ เครื่องดื่ม (ทวิ) สาขาวิชา การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว สาขางาน การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว
1 2
6 2
5 -
1 2
1 2
100 100
1 2
14 9
6 1
8 8
8 8
100 100
1 2
28 27 1,151 3,109
2 3 127 330
26 24 1,024 2,779
25 23 970 2,575
96.15 95.83 94.73 92.66
รวมปวส. รวม ปวช. ปวส.
การคํานวณ ระดับชั้น ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 ปวส.1 ปวส.2 รวมทั้งหมด
จํานวนผู้ลงทะเบียน ทั้งหมด 732 642 584 647 504 3,109
ร้อยละ =
2,575
จํานวนผู้เรียน ออกกลางคัน 120 54 29 108 19 330
จํานวนผู้เรียน คงเหลือ 612 588 555 539 485 2,779
จํานวนผู้เรียน 2.00 ขึ้นไป 540 552 513 516 454 2,575
X 100
2,779 ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 92.66 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก
หมายเหตุ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๕๕
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.2 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของผู้เรียน ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของคุณภาพผู้เรียน จึงได้จัดการเรียน การสอน ร่วมสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดแรงงานครบทั้ง 3 ด้าน คือด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และด้านสมรรถนะวิชาชีพ เพื่อให้เกิดผลดีกับผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านความรู้ความสามารถ ในทางปฏิบัติ และมีสมรรถนะจนสามารถประกอบอาชีพในอนาคตได้ ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการจัดการเรียน การสอน และโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรม ลักษณะ นิสัย และทักษะทางปัญญา ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ ความรู้ความสามารถ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้และการปฏิบัติตน การทํางานร่วมกับผู้อื่น การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้ตัวเลข การจัดการและการพัฒนางาน และด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความสามารถในการ ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในสาขาวิชาชีพ สู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ พร้อมทั้งได้ติดตามประเมิน ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของผู้เรียน อย่างต่อเนื่อง เพื่อนํามาพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการประเมินความพึงพอใจของสถานประกอบการทีม่ ีต่อคุณภาพผู้เรียน ระดับ ปวช. ปวส. รวม เฉลี่ย
ระดับความพึงพอใจของสถาน ประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพผู้เรียน (5) ดีมาก (5) ดีมาก (5) ดีมาก (5) ดีมาก
คิดเป็นร้อยละ
หมายเหตุ
100 100 100 100
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของผู้เรียน เฉลี่ย ร้อยละ 100 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับคุณภาพ (5) ดีมาก ผลการประเมินระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของ ผู้เรียน สรุปได้ว่า ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยโดยรวม 5 คิดเป็นร้อยละ 100 โดยพิจารณาจากภาพรวม เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๕๖
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้วางแผนโดยมีโครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพทุกปีการศึกษา อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ซึ่งได้จัดสอบให้แก่ผู้มีสิทธิ์สําเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โดยนําข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพที่ได้รับจากสํานักมาตรฐาน การอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มาปรับปรุง แก้ไขและผ่านความเห็น สอดคล้องกันทั้งหมดของคณะกรรมการที่วิทยาลัยแต่งตั้งขึ้น ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการสอบตามโครงการการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ทุกสาขางาน และสาขาวิชา นักเรียนชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 แต่ละประเภทวิชา สาขาวิชา/สาขางาน ทุกปีการศึกษา โดยใช้แบบทดสอบที่ได้มาตรฐาน ซึ่งได้รับจากสํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา นํามาปรับปรุง แก้ไขและผ่านความเห็น สอดคล้องกันทั้งหมดของคณะกรรมการ ที่วิทยาลัยแต่งตั้งขึ้น จึงสามารถดําเนินการทดสอบได้บรรลุตามจุดประสงค์ ซึ่งการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ได้กําหนดเกณฑ์ผ่านในการสอบ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ร้อยละ 65 และ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ร้อยละ 70 ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีนักเรียนระดับชั้น ปวช. 3 ทุกสาขาวิชามีจํานวนทั้งหมด 557 คน ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพทั้งหมด 527 คน คิดเป็นร้อยละ 94.61 ของผู้สําเร็จการศึกษา นักศึกษาระดับชั้น ปวส. 2 ทุกสาขาวิชา มีจํานวนทั้งหมด 487 คน ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งหมด 482 คน คิดเป็นร้อยละ 98.97 ของผู้สําเร็จการศึกษา รวมทั้งระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 รวมทั้งหมด 1,044 ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งหมด 1,009 คน คิดเป็นร้อยละ 96.65 ของผู้สําเร็จการศึกษาทั้ง 2 ระดับชั้น อยู่ในระดับ ดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๕๗
ตารางแสดงผลของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีการศึกษา 2557 ระดับการศึกษา ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวิชาพณิชยการ 1.1 สาขางานการบัญชี 1.2 สาขางานการขาย 1.3 สาขางานการเลขานุการ 1.4 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ รวมประเภทวิชาพาณิชยกรรม ประเภทวิชาศิลปกรรม 2. สาขาวิชาศิลปกรรม 2.1 สาขางานวิจิตรศิลป์ 2.2 สาขางานการออกแบบ 2.3 สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา 2.4 สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม รวมประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 3. สาขาวิชาผ้าและเครือ่ งแต่งกาย 3.1 สาขางานออกแบบเสื้อผ้า 4. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 4.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ 5. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 5.1 สาขางานคหกรรมการผลิต 5.2 สาขางานคหกรรมบริการ รวมประเภทวิชาคหกรรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 6. สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว 6.1 สาขางานการโรงแรม 6.2 สาขางานการท่องเที่ยว 6.3 สาขางานการท่องเที่ยว(MEP.) รวมประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว รวมทุกประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวนผู้เรียนทีผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน จํานวนผู้เรียน มาตรฐานวิชาชีพ ที่ลงทะเบียนเรียน รวม ครบทุกรายวิชาตาม ทฤษฏี ปฏิบตั ิ ไม่ต่ํากว่า โครงสร้างหลักสูตร 60 % 65 % 65 %
ร้อยละ
113 26 33 73 245
108 25 33 73 239
108 25 33 73 239
108 25 33 73 239
95.58 96.15 100 100 97.55
17 18 18 15 68
13 18 18 14 63
13 18 18 14 63
13 18 18 14 63
76.47 100 100 93.33 92.65
18
18
18
18
100
129
112
112
112
86.82
13 9 169
13 9 152
13 9 152
13 9 152
100 100 89.94
37 26 12 75 557
35 26 12 73 527
35 26 12 73 527
35 26 12 73 527
94.59 100 100 97.33 94.61
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๕๘
ตารางแสดงผลของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปีการศึกษา 2557
ระดับการศึกษา ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาการบัญชี 1.1 สาขางานการบัญชี 2. สาขาวิชาการตลาด 2.1 สาขางานการตลาด 3. สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน 3.1 สาขางานการจัดการสํานักงาน 4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 4.1 สาขางานการพัฒนาเว็บเพจ 5. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก (ทวิ) รวมประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม 6. สาขาวิชาการออกแบบ 6.1 สาขางานออกแบบนิเทศศิลป์ 7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 7.1 สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต รวมประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 8. สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย 8.1 สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง 9. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 9.1 สาขางานการประกอบอาหาร 10. สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์ 10.1 สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ รวมประเภทวิชาคหกรรม
จํานวนผู้เรียน ที่ลงทะเบียนเรียน ครบทุกรายวิชา ตามโครงสร้าง หลักสูตร
จํานวนผู้เรียนทีผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน มาตรฐาน วิชาชีพ รวม ทฤษฏี ปฏิบตั ิ ไม่ต่ํากว่า ร้อยละ 65 % 70 % 70%
117
117
117
117
100
46
46
46
46
100
52
52
52
52
100
56 13 284
55 13 283
55 13 283
55 13 283
98.21 100 99.65
8
8
8
8
100
16 24
15 23
15 23
15 23
93.75 95.83
13
13
13
13
100
92
90
90
90
97.83
8 113
8 111
8 111
8 111
100 98.23
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557 จํานวนผู้เรียน ที่ลงทะเบียนเรียน ครบทุกรายวิชา ตามโครงสร้าง หลักสูตร
ระดับการศึกษา ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 11. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ 12. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว 12.1 การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว รวมประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว รวมทุกประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน รวมทั้งหมด
๕๙
จํานวนผู้เรียนทีผ่ ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน วิชาชีพ รวม ทฤษฏี ปฏิบตั ิ ไม่ต่ํากว่า ร้อยละ 65 % 70 % 70%
43
42
42
42
97.67
23 66 487 1,044
23 65 482 1,009
23 65 482 1,009
23 65 482 1,009
100 98.48 98.97 96.65
การคํานวณ จํานวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
ร้อยละ =
=
X 100
จํานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบ 1,009 X 100 = 96.65 1,044
ผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพในระดับ ปวช. และ ปวส. คิดเป็นร้อยละ 96.65 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๖๐
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้มีการวางแผนการสอบ (V-NET) จึงได้วางแผนการเตรียมตัวเข้า สอบด้วยการจัดสอนพิเศษให้กับนักเรียน นักศึกษาชั้นปีสุดท้าย ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 (ปวช. 3) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 (ปวส. 2) ด้านความรู้และทักษะที่จําเป็น ในการทํางานใช้แบบทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ที่ได้รับรองจาก สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เปรียบเทียบกับผู้ที่จะสําเร็จการศึกษา ทั้งหมด ในปีการศึกษา 2557 ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยได้ดําเนินการจัดการเรียนการสอนพิเศษให้แก่นักเรียน นักศึกษาในวันเสาร์และวันอาทิตย์ เพื่อเตรียมสอบ (V-NET) ปีการศึกษา 2557 สําหรับผู้เรียนชั้นปีสุดท้ายในระดับชั้น ปวช. 3 และปวส. 2 ทุกสาขางาน สาขาวิชา และประเภทวิชา ด้านวิชาการ ด้านความรู้ และทักษะที่จําเป็นในการทํางาน (ภาษา การสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะเชิงตัวเลข ทักษะเชิงวิทยาศาสตร์ ฯลฯ) โดยใช้แบบทดสอบ ที่ได้มาตรฐานจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) และดําเนินการทดสอบ (V-NET) ระดับชั้น ปวช. 3 ในวันเสาร์ที่ 24 มกราคม 2558 และระดับ ปวส. 2 ในวันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม 2558 ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีนักเรียนระดับชั้น ปวช. 3 ที่ลงทะเบียนเข้ารับการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) มีจํานวนทั้งหมด 531 คน โดยผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย จากการทดสอบ ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับชาติขึ้นไป มีจํานวน 270 คน คิดเป็นร้อยละ 50.85 ระดับชั้น ปวส. 2 มีจํานวนทัง้ หมด 475 คน โดยผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบ ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวน 219 คน คิดเป็นร้อยละ 46.11 รวมนักเรียน นักศึกษาระดับ ปวช. 3 และ นักศึกษาระดับ ปวส. 2 มีจํานวนทั้งหมด 1,006 คน มีนักเรียน นักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป มีจํานวน 489 คน คิดเป็นร้อยละ 48.61 อยู่ในระดับพอใช้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๖๑
ตารางแสดงผลของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 3) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ปีการศึกษา 2557 วิชาความรู้พนื้ ฐานทั่วไป
สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวน ผู้เรียนที่มี คะแนน จํานวน จํานวน เฉลี่ยจาก ผู้เรียน ผู้เรียนที่ ทั้งหมด ลงทะเบียน การทดสอบ ทาง เข้าทดสอบ การศึกษา ระดับชาติ ขึ้นไป
ร้อยละ
วิชาความรู้วิชาชีพพืน้ ฐาน จํานวน ผู้เรียนที่มี คะแนน จํานวน เฉลี่ยจาก ผู้เรียนที่ การ ร้อยละ ลงทะเบียน ทดสอบ เข้าทดสอบ ทาง การศึกษา ระดับชาติ ขึ้นไป
จํานวน ผู้เรียนที่มี ผลการ ทดสอบ ผ่านทั้ง 2 วิชา
ร้อยละ
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวิชาพณิชยการ 1.1 สาขางานการบัญชี
117
100
79
79.00
100
88
88.00
74
74.00
1.2 สาขางานการขาย
27
25
14
56.00
25
17
68.00
10
40.00
1.3 สาขางานการเลขานุการ
37
32
20
62.50
32
22
68.75
15
46.88
1.4 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
72
70
46
65.71
70
37
52.86
35
50.00
253
227
159
70.04
227
164
72.25
134
59.03
2.1 สาขางานวิจิตรศิลป์
17
15
5
33.33
15
10
66.67
5
33.33
2.2 สาขางานการออกแบบ
21
19
12
63.16
19
14
73.68
11
57.89
2.3 สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา 2.4 สาขางานเทคโนโลยี ศิลปกรรม รวมประเภทวิชาศิลปกรรม
19
16
8
50.00
16
5
31.25
4
25.00
16
15
8
53.33
15
9
60.00
6
40.00
73
65
33
50.77
65
38
58.46
26
40.00
3.1 สาขางานออกแบบเสื้อผ้า 18 4. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 4.1 สาขางานอาหารและ 135 โภชนาการ
17
11
64.71
17
12
70.59
8
47.06
124
69
55.65
124
73
58.87
51
41.13
รวมประเภทวิชาพาณิชยกรรม ประเภทวิชาศิลปกรรม 2. สาขาวิชาศิลปกรรม
ประเภทวิชาคหกรรม 3. สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
วิชาความรู้พนื้ ฐานทั่วไป
วิชาความรู้วิชาชีพพืน้ ฐาน จํานวน ผู้เรียนที่มี คะแนน จํานวน เฉลี่ยจาก ผู้เรียนที่ การ ร้อยละ ลงทะเบียน ทดสอบ เข้าทดสอบ ทาง การศึกษา ระดับชาติ ขึ้นไป
๖๒
จํานวน ผู้เรียน ทั้งหมด
จํานวน ผู้เรียนที่ ลงทะเบียน เข้าทดสอบ
จํานวน ผู้เรียนที่มี คะแนน เฉลี่ยจาก การทดสอบ ทาง การศึกษา ระดับชาติ ขึ้นไป
5.1 สาขางานคหกรรมการผลิต
16
14
5
35.71
14
7
50.00
4
28.57
5.2 สาขางานคหกรรมบริการ
15
13
4
30.77
13
4
30.77
3
23.08
184
168
89
52.98
168
96
57.14
66
39.29
สาขาวิชา/สาขางาน
ร้อยละ
จํานวน ผู้เรียนที่มี ผลการ ทดสอบ ผ่านทั้ง 2 วิชา
ร้อยละ
5. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์
รวมประเภทวิชาคหกรรม
ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 6. สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว 6.1 สาขางานการโรงแรม
36
34
26
76.47
34
21
61.76
19
55.88
6.2 สาขางานการท่องเที่ยว รวมประเภทวิชาการโรงแรม และการท่องเที่ยว รวมทั้งหมด
38
37
29
78.38
37
31
83.78
25
67.57
74
71
55
77.46
71
52
73.24
44
61.97
584
531
336
63.28
531
350
65.91
270
50.85
การคํานวณ ร้อยละ =
=
จํานวนผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบ
X 100
270 X 100 = 50.85 531 นักเรียนระดับ ชั้นปวช. 3 จํานวนทั้งหมด 531 คน และมีผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับชาติขึ้นไป จํานวน 270 คน คิดเป็นร้อยละ 50.85 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๖๓
ตารางแสดงผลของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส. 2) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ปีการศึกษา 2557 สมรรถนะพื้นฐานประยุกต์/สมรรถนะเพื่อการเรียนรู้ สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาการบัญชี 1.1 สาขางานการบัญชี 2. สาขาวิชาการตลาด 2.1 สาขางานการตลาด 3. สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน 3.1 สาขางานการจัดการสํานักงาน 4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 4.1 สาขางานการพัฒนาเว็บเพจ 5. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก 5.1 สาขางานการจัดการธุรกิจค้าปลีก รวมประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม 6. สาขาวิชาการออกแบบ 6.1 สาขางานออกแบบนิเทศศิลป์ 7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต 7.1 สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต รวมประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 8. สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย 8.1 สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง 9. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 9.1 สาขางานการประกอบอาหาร 10.สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์ 10.1 สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ รวมประเภทวิชาคหกรรม
จํานวน ผู้เรียน ทั้งหมด
จํานวนผู้เรียนที่ ลงทะเบียนเข้า ทดสอบ
จํานวนผู้เรียนที่มีตั้งแต่ คะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จากการทดสอบทาง การศึกษา
ร้อยละ
122
113
61
53.98
46
44
13
29.55
53
51
22
43.14
57
53
29
54.72
16 294
14 275
6 131
42.86 47.64
8
7
3
42.86
17 25
16 23
11 14
68.75 60.87
13
13
2
15.38
92
91
37
40.66
8 113
8 112
2 41
25.00 36.61
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๖๔
สมรรถนะพื้นฐานประยุกต์/สมรรถนะเพื่อการเรียนรู้ จํานวน ผู้เรียน ทั้งหมด
สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวนผู้เรียนที่ ลงทะเบียนเข้า ทดสอบ
จํานวนผู้เรียนที่มีตั้งแต่ คะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จากการทดสอบทาง การศึกษา
ร้อยละ
ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 11. สาขาวิชาการโรงแรม 11.1 สาขางานการโรงแรมและบริการ 12. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว 12.1 การจัดการธุรกิจท่องเทีย่ ว รวมประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว รวมระดับ ปวส. ทั้งหมด
45
44
20
45.45
27 72 504
21 65 475
13 33 219
61.90 50.77 46.11
รวมทั้งหมด
1,088
1,006
489
48.61
การคํานวณ ร้อยละ =
=
จํานวนผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบ
X 100
219 X 100 = 46.11 475
ระดับชั้น ปวส. 2 จํานวนทั้งหมด 475 คน และมีผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวน 219 คน คิดเป็นร้อยละ 46.11 เทียบเกณฑ์การตัดสิน อยู่ในระดับคุณภาพพอใช้ สรุปรวมนักเรียน นักศึกษาระดับชั้น ปวช. 3 และ นักศึกษาระดับ ปวส. 2 =
489 X 100 = 48.61 1,006 สรุปรวมนักเรียน นักศึกษาระดับชั้น ปวช. 3 และ นักศึกษาระดับ ปวส. 2 มีจํานวนทั้งหมด 1,006 คน มีนักเรียน นักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวน 489 คน คิดเป็นร้อยละ 48.61 อยู่ในระดับคุณภาพพอใช้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้มีการวางแผนการเตรียมตัวเข้าสอบด้วยการจัดสอนพิเศษ ให้กับนักเรียน นักศึกษาชั้นปีสุดท้าย ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 (ปวช. 3) และระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 (ปวส. 2) ด้านความรู้และทักษะที่จําเป็นในการทํางานใช้แบบ ทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ที่ได้รับรองจากสํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เปรียบเทียบกับผู้ที่จะสําเร็จการศึกษาทั้งหมด ในปีการศึกษา 2557 ความพยายาม ( Attempt) วิทยาลัย ได้ดําเนินการจัดการเรียนการสอนพิเศษให้แก่นักเรียน นักศึกษาในวันเสาร์และ วันอาทิตย์ เพื่อเตรียมสอบ (V-NET) ปีการศึกษา 2557 สําหรับผู้เรียนชั้นปีสุดท้าย ในระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 ทุกสาขางาน สาขาวิชา และประเภทวิชา ด้านวิชาการ ด้านความรู้ และ ทักษะที่จําเป็นในการทํางาน (ภาษา การสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะเชิงตัวเลข ทักษะ เชิงวิทยาศาสตร์ ฯลฯ) โดยใช้แบบทดสอบที่ได้มาตรฐานจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) และดําเนินการทดสอบ (V-NET) ระดับชั้น ปวช. 3 ในวันที่ 24 มกราคม 2558 และ ปวส. 2 ในวันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม 2558 ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีนักเรียนระดับชั้น ปวช. 3 ที่ลงทะเบียนเข้ารับการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) จํานวนทั้งหมด 531 คน โดยผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย จากการทดสอบ ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับชาติขึ้นไป ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ มีจํานวน 300 คน คิดเป็นร้อยละ 56.50 ระดับชั้น ปวส. 2 จํานวนทั้งหมด 475 คน และมีผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบ ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ มีจํานวน 241 คน คิดเป็นร้อยละ 50.74 รวมนักเรียน นักศึกษาระดับ ปวช. 3 และ นักศึกษาระดับ ปวส. 2 มีจํานวนทั้งหมด 1,006 คน โดยมีนักเรียน นักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ มีจํานวน 541 คน คิดเป็นร้อยละ 53.78 อยู่ในระดับพอใช้
๖๕
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๖๖
ตารางแสดงผลของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวช. 3) ตัง้ แต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขนึ้ ไป ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2557
ระดับ ปวช.
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวิชาพณิชยการ 1.1 สาขางานการบัญชี 1.2 สาขางานการขาย 1.3 สาขางานการเลขานุการ 1.4 สาขางานคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ รวมประเภทวิชาพาณิชยกรรม ประเภทวิชาศิลปกรรม 2. สาขาวิชาศิลปกรรม 2.1 สาขางานวิจิตรศิลป์ 2.2 สาขางานการออกแบบ 2.3 สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา 2.4 สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม รวมประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 3. สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย 3.1 สาขางานออกแบบเสื้อผ้า 4. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 4.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ 5. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 5.1 สาขางานคหกรรมการผลิต 5.2 สาขางานคหกรรมบริการ รวมประเภทวิชาคหกรรม
จํานวน ผู้เรียน ทั้งหมด
จํานวนผู้เรียน ที่ลงทะเบียนเข้า ทดสอบ กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ
จํานวนผู้เรียนที่มี คะแนนเฉลี่ยจากการ ทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขึ้นไป
ร้อยละ
117 27 37 72 253
100 25 32 70 227
58 14 17 38 127
58.00 56.00 53.13 54.29 55.95
17 21 19 16 73
15 19 16 15 65
7 11 5 8 31
46.67 57.89 31.25 53.33 47.69
18
17
10
58.82
135
124
68
54.84
16 15 184
14 13 168
7 3 88
50.00 23.08 52.38
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ระดับ
จํานวน ผู้เรียน ทั้งหมด
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวนผู้เรียน จํานวนผู้เรียนที่มี ที่ลงทะเบียนเข้า คะแนนเฉลี่ยจากการ ทดสอบ ทดสอบทางการศึกษา กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชาติขึ้นไป
๖๗
ร้อยละ
ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 6. สาขาวิชาการโรงแรมและการ ท่องเที่ยว 6.1 สาขางานการโรงแรม 6.2 สาขางานการท่องเที่ยว รวมประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
36 38 74
34 37 71
24 30 54
70.59 81.08 76.06
รวมระดับ ปวช. ทั้งหมด
584
531
300
56.50
การคํานวณ
ร้อยละ =
จํานวนผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ
X 100
จํานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบ =
300 X 100 = 56.50 531
ผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับประเทศด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศขึ้นไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 3) จํานวน 300 คน จากจํานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบ 531 คน คิดเป็นร้อยละ 56.50 เทียบเกณฑ์การตัดสิน อยู่ในระดับคุณภาพดี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๖๘
ตารางแสดงผลของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.2) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2557
ระดับ
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ปวส.
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาการบัญชี 1.1 สาขางานการบัญชี 2. สาขาวิชาการตลาด 2.1 สาขางานการตลาด 3. สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน 3.1 สาขางานการจัดการสํานักงาน 4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 4.1 สาขางานการพัฒนาเว็บเพจ 5. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก 5.1 สาขางานการจัดการธุรกิจค้าปลีก รวมประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม 6. สาขาวิชาการออกแบบ 6.1 สาขางานออกแบบนิเทศศิลป์ 7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต 7.1 สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต รวมประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม
จํานวน ผู้เรียน ทั้งหมด
จํานวนผู้เรียน ที่ลงทะเบียนเข้า ทดสอบ กลุ่มวิชา ภาษาอังกฤษ
จํานวนผู้เรียนที่มี คะแนนเฉลี่ยจาก การทดสอบทาง การศึกษา ระดับชาติขึ้นไป
ร้อยละ
122
113
55
48.67
46
44
23
52.27
53
51
20
39.22
57
53
31
58.49
16 294
14 275
4 133
28.57 48.36
8
7
3
42.86
17 25
16 23
10 13
62.50 56.52
13
13
6
46.15
92
91
43
47.25
8 113
8 112
5 54
62.50 48.21
8. สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย
8.1 สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง 9. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 9.1 สาขางานการประกอบอาหาร 10.สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรม ศาสตร์ 10.1 สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ รวมประเภทวิชาคหกรรม
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ระดับ
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว 11. สาขาวิชาการโรงแรม 11.1 สาขางานการโรงแรมและบริการ 12. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว 12.1 การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว รวมประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว รวมระดับ ปวส. ทั้งหมด รวมทั้งหมด
๖๙
จํานวน ผู้เรียน ทั้งหมด
จํานวนผู้เรียน ที่ลงทะเบียนเข้า ทดสอบ กลุ่มวิชา ภาษาอังกฤษ
จํานวนผู้เรียนที่มี คะแนนเฉลี่ยจาก การทดสอบทาง การศึกษา ระดับชาติขึ้นไป
ร้อยละ
45
44
24
54.55
27 72 504
21 65 475
17 41 241
80.95 63.08 50.74
1,088
1,006
541
53.78
การคํานวณ
ร้อยละ =
จํานวนผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ
X 100
จํานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบ = 241 X 100 = 50.74 475 ผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับประเทศด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศขึ้นไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส. 2) จํานวน 241 คน จากจํานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบ 475 คน คิดเป็นร้อยละ 50.74 เทียบเกณฑ์การตัดสิน อยู่ในระดับคุณภาพพอใช้ สรุปรวมนักเรียน นักศึกษาระดับชั้น ปวช. 3 และ นักศึกษาระดับ ปวส. 2 =
541 X 100 = 53.78 1,006 สรุปรวมนักเรียน นักศึกษาระดับชั้น ปวช. 3 และ นักศึกษาระดับ ปวส. 2 มีจํานวนทั้งหมด 1,006 คน มีนักเรียน นักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา ( V-NET ) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ จํานวน 541 คน คิดเป็นร้อยละ 53.78 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับคุณภาพพอใช้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๗๐
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.7 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้สามารถเข้าสู่กระบวนการเรียน การสอน และสําเร็จการศึกษาตามหลักเกณฑ์ที่หลักสูตรได้กําหนดไว้และเป็นทรัพยากรบุคคลที่ได้รับการ พัฒนาเต็มตามศักยภาพ โดยสามารถนําความรู้ต่าง ๆ ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและประเทศชาติ ฝ่ายงานต่าง ๆ ได้ร่วมมือกันวางแผนและพัฒนาผู้เรียนโดยจัดให้มีโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ผู้เรียนเริ่มเข้าสู่กระบวนการ การเป็นนักเรียน นักศึกษาของสถานศึกษาจนกระทั่งสําเร็จการศึกษา ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้จัดโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐาน โดยมีโครงการสนับสนุนผู้เรียน เช่น โครงการปฐมนิเทศ โครงการเข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรม โครงการจัดหาทุนการศึกษา โครงการพัฒนาครู โครงการอบรมระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อป้องกันและ แก้ปัญหาสังคม และการพัฒนาระบบสารสนเทศ RMS เป็นต้น โครงการเหล่านี้ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตนเอง และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจนสําเร็จการศึกษาตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกําหนด ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ปีการศึกษา 2555 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีนักเรียน ระดับชั้น ปวช. 1 แรกเข้า จํานวน 889 คน โดยมีผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรในปีการศึกษา 2557 จํานวน 599 คน คิดเป็นร้อยละ 67.38 และ ในปีการศึกษา 2556 มีนักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1 แรกเข้าจํานวน 618 คน โดยมีผู้สําเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2557 จํานวน 496 คน คิดเป็นร้อยละ 80.26 สรุปมีจํานวนนักเรียน นักศึกษาแรกเข้าทั้งหมด 1,507 คน และมีผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ของรุ่น จํานวน 1,095 คน คิดเป็นร้อยละ 72.66 อยู่ในระดับดี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๗๑
ตารางแสดงผลร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีการศึกษา 2557 ระดับการศึกษา ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวนผู้เรียน แรกเข้า (ณ วันที่ 30 มิ.ย. 55)
ผู้สําเร็จการศึกษาตาม หลักสูตรเทียบกับ ผู้เรียนแรกเข้า จํานวน ร้อยละ
ผู้เรียนที่ออกกลางคัน จํานวน
ร้อยละ
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวิชาพณิชยการ 1.1 สาขางานการบัญชี
159
119
74.84
40
25.16
1.2 สาขางานการขาย
58
29
50
29
50
1.3 สาขางานการเลขานุการ
60
37
61.67
23
38.33
120 397
79
65.83
41
34.17
264
66.50
133
33.50
128
76
59.37
52
40.63
128
76
59.37
52
40.63
26
20
76.93
6
23.07
4.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ
164
121
73.79
43
26.21
4.2 สาขางานอาหารและโภชนาการ (MEP.)
18
14
77.78
4
22.22
5.1 สาขางานคหกรรมการผลิต
28
15
53.58
13
46.42
5.2 สาขางานคหกรรมบริการ
20
11
55
9
45
256
181
70.70
75
29.30
1.4 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ รวมประเภทวิชาพาณิชยกรรม ประเภทวิชาศิลปกรรม 2. สาขาวิชาศิลปกรรม 2.1 สาขางานวิจิตรศิลป์ 2.2 สาขางานการออกแบบ 2.3 สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา 2.4 สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม รวมประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 3. สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย 3.1 สาขางานออกแบบเสื้อผ้า 4. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
5. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์
รวมประเภทวิชาคหกรรม
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ระดับการศึกษา ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ผู้สําเร็จการศึกษา จํานวนผู้เรียนแรก ตามหลักสูตรเทียบกับ เข้า ผู้เรียนแรกเข้า ( ณ วันที่ 30 มิ.ย. 55) จํานวน ร้อยละ
๗๒
ผู้เรียนที่ออกกลางคัน จํานวน
ร้อยละ
ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 6. สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว 6.1 สาขางานการโรงแรม
40
30
75
10
25
6.2 สาขางานการโรงแรม (MEP.)
11
6
54.54
5
45.46
6.3 สาขางานการท่องเที่ยว
41
30
73.18
11
26.82
6.4 สาขางานการท่องเที่ยว (MEP.)
16
12
75
4
25
108
78
72.22
30
27.78
889
599
67.38
290
32.62
รวมประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว รวมทุกประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๗๓
ตารางแสดงผลร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปีการศึกษา 2557
ระดับการศึกษา ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวนผู้เรียนแรก เข้า ( ณ วันที่ 30 มิ.ย. 56)
ผู้สําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรเทียบกับ ผู้เรียนแรกเข้า
ผู้เรียนที่ออกกลางคัน
จํานวน
ร้อยละ
จํานวน
ร้อยละ
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาการบัญชี
155
120
77.42
35
22.58
2. สาขาวิชาการตลาด
54
47
87.03
7
12.97
3. สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน
63
53
84.13
10
15.87
4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
68
57
83.83
11
16.17
5. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
21
13
61.91
8
38.09
361
290
80.33
71
19.67
6. สาขาวิชาการออกแบบ
14
9
64.29
5
35.71
7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
19
16
84.21
3
15.79
33
25
75.75
8
24.25
17
13
76.48
4
23.52
9.1 สาขางานการประกอบอาหาร
79
73
92.40
6
7.60
9.2 สาขางานการประกอบอาหาร (ทวิ)
23
17
73.91
6
26.09
9
9
100
-
-
128
112
87.50
13
12.50
รวมประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม
รวมประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 8. สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย 8.1 สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง 9. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
10. สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์ 10.1 สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ รวมประเภทวิชาคหกรรม
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ระดับการศึกษา ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวนผู้เรียนแรก เข้า ( ณ วันที่ 30 มิ.ย. 56)
ผู้สําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรเทียบกับ ผู้เรียนแรกเข้า
๗๔
ผู้เรียนที่ออกกลางคัน
จํานวน
ร้อยละ
จํานวน
ร้อยละ
ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 11. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ
27
19
70.38
8
29.62
12. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว
30
25
83.34
5
16.66
13. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ (ทวิ)
39
25
64.10
14
35.90
รวมประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
96
69
71.87
27
28.13
รวมทุกประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
618
496
80.26
122
19.74
การคํานวณ ร้อยละ = =
จํานวนผู้สําเร็จการศึกษาจากผู้เรียนแรกเข้าของรุ่น จํานวนผู้เรียนแรกเข้าของรุ่นนั้น
X 100
1,095 X 100 = 72.66 1,507 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า คิดเป็นร้อยละ 72.66 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับดี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๗๕
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.8 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้งานทํา หรือประกอบอาชีพอิสระ หรือศึกษาต่อภายใน 1 ปี ความตระหนัก (Awareness) สถานศึกษาได้ตระหนักถึงความสําคัญของผู้สําเร็จการศึกษา จึงได้กําหนดนโยบายให้จัดกิจกรรมแนะ แนวอาชีพและศึกษาต่อ โดยได้มอบหมายให้งานแนะแนะอาชีพและจัดหางาน จัดโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ พร้อมทั้งมีโครงการติดตามผู้สําเร็จการศึกษา ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษาได้มอบหมายให้งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน จัดกิจกรรมโครงการเพื่อ แนะแนวทางให้ผู้สําเร็จการศึกษามีงานทําหรือศึกษาต่อ อาทิ โครงการปัจฉิมนิเทศผู้สําเร็จการศึกษา โครงการติดตามผู้สําเร็จการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผู้สําเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2556 จํานวน 962 คน ได้ทํางานในสถานประกอบการ จํานวน 33 คน ผู้ประกอบอาชีพอิสระ จํานวน 16 คน ศึกษาต่อ จํานวน 829 คน รวมผู้สําเร็จการศึกษา ที่ได้งานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระและศึกษาต่อภายใน 1 ปี จํานวน 878 คน คิดเป็นร้อยละ 91.27 เทียบเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับดีมาก ตารางแสดงจํานวนผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้งานทํา หรือประกอบอาชีพอิสระ หรือศึกษาต่อภายใน 1 ปี ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2556
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวน จํานวน ผู้สําเร็จ ผู้สําเร็จ การศึกษาที่ การศึกษา ได้งานทํา ภายใน 1 ปี
จํานวน จํานวนผู้ ผู้สําเร็จ การศึกษาที่ ศึกษาต่อที่ ศึกษาต่อ ประกอบ อาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี ภายใน 1 ปี
รวม
ร้อยละ
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวิชาพณิชยการ 1.1 สาขางานการบัญชี
107
1
2
92
95
88.79
1.2 สาขางานการขาย
30
-
3
27
30
100
1.3 สาขางานการเลขานุการ
23
1
-
22
23
100
1.4 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
63
-
-
57
57
90.48
223
2
5
198
205
91.93
รวมประเภทวิชาพาณิชยกรรม
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
จํานวน ผู้สําเร็จ จํานวนผู้ การศึกษาที่ ศึกษาต่อที่ ประกอบ ศึกษาต่อ อาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี ภายใน 1 ปี
จํานวน ผู้สําเร็จ การ ศึกษา
จํานวน ผู้สําเร็จ การศึกษาที่ ได้งานทํา ภายใน 1 ปี
14
-
-
2.2 สาขางานการออกแบบ
16
-
2.3 สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา
14
2.4 สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
๗๖
รวม
ร้อยละ
12
12
85.71
-
15
15
93.75
1
-
12
13
92.86
14
-
-
13
13
92.86
58
1
-
52
53
91.38
13
-
1
11
12
92.31
87
2
1
78
81
93.10
5.1 สาขางานคหกรรมการผลิต
27
-
-
25
25
92.59
5.2 สาขางานคหกรรมการบริการ
18
-
-
17
17
94.44
145
2
2
131
135
93.10
6.1 สาขางานการโรงแรมและบริการ
27
-
-
25
25
92.59
6.2 สาขางานการธุรกิจท่องเที่ยว
26
-
-
24
24
92.31
รวมประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
53
0
0
49
49
92.45
รวมทุกประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
479
5
7
430
442
92.28
ประเภทวิชาศิลปกรรม 2. สาขาวิชาศิลปกรรม 2.1 สาขางานวิจิตรศิลป์
รวมประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 3. สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย 3.1 สาขางานออกแบบเสื้อผ้า 4. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 4.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ 5. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์
รวมประเภทวิชาคหกรรม ประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 6. สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๗๗
ตารางแสดงจํานวนผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้งานทํา หรือประกอบอาชีพอิสระ หรือศึกษาต่อภายใน 1 ปี ระดับ ปวส. ปีการศึกษา 2556
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวน จํานวน ผู้สําเร็จ ผู้สําเร็จ การศึกษาที่ การศึกษา ได้งานทํา ภายใน 1 ปี
จํานวน ผู้สําเร็จ จํานวนผู้ การศึกษาที่ ศึกษาต่อที่ ประกอบ ศึกษาต่อ อาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี ภายใน 1 ปี
รวม
ร้อยละ
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาการบัญชี 2. สาขาวิชาการตลาด 3. สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน 4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
128 45 50 34
4 2 5 2
3 1 -
114 35 41 29
121 38 46 31
94.53 84.44 92.00 91.18
5. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
15
5
-
8
13
86.67
รวมประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม 6. สาขาวิชาการออกแบบ 7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก รวมประเภทวิชาศิลปกรรม
272
18
4
227
249
91.54
10 35 45
1 1
0
7 28 35
7 29 36
70.00 82.86 80.00
14
1
-
10
11
78.57
80
4
3
69
76
95.00
11.1 สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์
12
-
-
10
10
83.33
รวมประเภทวิชาคหกรรม ประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 12. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ 13. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว
106
5
3
89
97
91.51
44 16
3 1
2 -
35 13
40 14
90.91 87.50
รวมประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
60
4
2
48
54
90.00
รวมทุกประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
483
28
9
399
436
90.27
ประเภทวิชาคหกรรม 9. สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครือ่ งแต่งกาย 9.1 สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง 10. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 10.1 สาขางานการประกอบอาหาร 11. สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้งานทํา ภายใน 1 ปี ในสถานประกอบการหน่วยงานต่างๆ ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2556
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขางานการบัญชี สาขางานการขาย สาขางานการเลขานุการ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขางานวิจิตรศิลป์ สาขางานการออกแบบ สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม สาขางานออกแบบเสื้อผ้า สาขางานอาหารและโภชนาการ สาขางานคหกรรมการผลิต สาขางานคหกรรมการบริการ ประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขางานการโรงแรมและบริการ สาขางานการธุรกิจท่องเที่ยว รวม
จํานวนผู้สําเร็จ การศึกษา
จํานวนผู้สําเร็จ การศึกษาที่ได้งาน ทําภายใน 1 ปี
ร้อยละ
107 30 23 63
1 1 -
0.93 4.35 -
14 16 14 14
1 -
7.14 -
13 87 27 18
2 -
2.30 -
27 26 479
5
1.04
๗๘
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาที่ประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2556
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขางานการบัญชี สาขางานการขาย สาขางานการเลขานุการ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขางานวิจิตรศิลป์ สาขางานการออกแบบ สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม สาขางานออกแบบเสื้อผ้า สาขางานอาหารและโภชนาการ สาขางานคหกรรมการผลิต สาขางานคหกรรมการบริการ ประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขางานการโรงแรมและบริการ สาขางานการธุรกิจท่องเที่ยว รวม
จํานวนผู้สําเร็จ การศึกษา
จํานวนผู้สําเร็จ การศึกษาที่ ประกอบอาชีพ อิสระ ภายใน 1 ปี
ร้อยละ
107 30 23 63
2 3 -
1.87 10.00 -
14 16 14 14
-
-
13 87 27 18
1 1 -
7.69 1.15 -
27 26 479
7
1.46
๗๙
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาที่ศึกษาต่อ ภายใน 1 ปี ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2556
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขางานการบัญชี สาขางานการขาย สาขางานการเลขานุการ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขางานวิจิตรศิลป์ สาขางานการออกแบบ สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม สาขางานออกแบบเสื้อผ้า สาขางานอาหารและโภชนาการ สาขางานคหกรรมการผลิต สาขางานคหกรรมการบริการ ประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขางานการโรงแรมและบริการ สาขางานการธุรกิจท่องเที่ยว รวม
จํานวนผู้สําเร็จ การศึกษา
จํานวนผู้สําเร็จ การศึกษาที่ศึกษาต่อ ภายใน 1 ปี
ร้อยละ
107 30 23 63
92 27 22 57
85.98 90.00 95.65 90.48
14 16 14 14
12 15 12 13
85.71 93.75 85.71 92.86
13 87 27 18
11 78 25 17
84.62 89.66 92.59 94.44
27 26 479
25 24 430
92.59 92.31 89.77
๘๐
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้งานทํา ภายใน 1 ปี ในสถานประกอบการหน่วยงานต่าง ๆ ระดับ ปวส. ปีการศึกษา 2556
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาการออกแบบ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก ประเภทวิชาคหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย - สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ - สาขางานการประกอบอาหาร สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์ - สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ ประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว รวม
จํานวน ผู้สําเร็จ การศึกษา
จํานวนผู้สําเร็จ การศึกษาที่ได้งาน ทําภายใน 1 ปี
ร้อยละ
128 45 50 34 15
4 2 5 2 5
3.13 4.44 10.00 5.88 33.33
10 35
1
2.86
14
1
7.14
80
4
5.00
12
-
-
44 16 483
3 1 28
6.82 6.25 5.80
๘๑
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาที่ประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี ระดับ ปวส. ปีการศึกษา 2556
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาการออกแบบ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก ประเภทวิชาคหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย - สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ - สาขางานการประกอบอาหาร สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์ - สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ ประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว รวม
จํานวน ผู้สําเร็จ การศึกษา
จํานวนผู้สําเร็จ การศึกษาที่ ประกอบอาชีพ อิสระ ภายใน 1 ปี
ร้อยละ
128 45 50 34 15
3 1 -
2.34 2.22 -
10 35
-
-
14
-
-
80
3
3.75
12
-
-
44 16 483
2 9
4.55 1.86
๘๒
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๘๓
ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาที่ศึกษาต่อ ภายใน 1 ปี ระดับ ปวส. ปีการศึกษา 2556
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาการออกแบบ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก ประเภทวิชาคหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย - สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ - สาขางานการประกอบอาหาร สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์ - สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ ประเภทวิขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว รวม
จํานวน ผู้สําเร็จ การศึกษา
จํานวนผู้สําเร็จ การศึกษาที่ศึกษาต่อ ภายใน 1 ปี
ร้อยละ
128 45 50 34 15
114 35 41 29 8
89.06 77.78 82.00 85.29 53.33
10 35
7 28
70.00 80.00
14
10
71.43
80
69
86.25
12
10
83.33
44 16 483
35 13 399
79.55 81.25 82.61
การคํานวณ จํานวนผูส้ ําเร็จการศึกษาที่ได้งานทํา หรือประกอบอาชีพอิสระ หรือศึกษาต่อภายใน 1 ปี X 100
ร้อยละ = จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา
=
878 X 100 = 91.27 962 ผู้สําเร็จการศึกษาได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อภายใน 1 ปี ในระดับปวช. และปวส. คิดเป็นร้อยละ 91.27 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับ ดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๘๔
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.9 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือผู้รับบริการ ที่มีต่อคุณภาพของผู้สําเร็จการศึกษา
ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของตลาดแรงงาน จึงได้จัดการเรียน การสอน ร่วมกับสถานประกอบการ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณสมบัติสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งทางด้านความรู้ความสามารถ ทักษะและสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เกิดประสิทธิผลแก่ผู้เรียน
ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการจัดการเรียน การสอน และได้จัดโครงการกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ มีความรู้ความสามารถด้านวิชาชีพตามสาขาวิชา มีความรู้ ความสามารถพื้นฐานที่จําเป็น และมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ และได้จัดกิจกรรม อาทิ โครงการสัมมนาร่วมกับสถานประกอบการ โครงการพัฒนาผู้เรียน โครงการนิเทศนักศึกษาฝึกงาน พร้อมทั้งได้ ติดตามประเมินระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สําเร็จ การศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ประเมินความพึงพอใจ โดยกําหนดกลุ่มตัวอย่างสร้างเครื่องมือ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง นํามาวิเคราะห์ และมีผลการประเมินโดยเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.60 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับ ดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๘๕
สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๑ ในแต่ละตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ๑.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป
1.2 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของผู้เรียน
1.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน มาตรฐานวิชาชีพ
เกณฑ์การตัดสิน - ดีมาก 80 ขึ้นไป - ดี 70-79.99 - พอใช้ 60-69.99 - ปรับปรุง 50-59.99 - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน < 50 - ดีมาก ปฏิบัติ (1) และมีผล (5) - ดี (1) และมีผล (4) - พอใช้ (1) และมีผล (3) - ปรับปรุง (1) และ มีผล (2) - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบตั ิ (1)
- ดีมาก 80 ขึ้นไป - ดี 70-79.99 - พอใช้ 60-69.99 - ปรับปรุง 50-59.99 - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน < 50 1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการ - ดีมาก 65 ขึ้นไป ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา - ดี 55-64.99 (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป - พอใช้ 45-54.99 - ปรับปรุง 35-44.99 - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน < 35 1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการ - ดีมาก 65 ขึ้นไป ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา - ดี 55-64.99 (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปใน - พอใช้ 45-54.99 - ปรับปรุง 35-44.99 กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน < 35 1.7 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร - ดีมาก 80 ขึ้นไป - ดี 70-79.99 เทียบกับแรกเข้า - พอใช้ 60-69.99 - ปรับปรุง 50-59.99 - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน < 50
สัมฤทธิ์ผลของ ผลการประเมิน การดําเนินงาน ร้อยละ 92.66 5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ร้อยละ 96.59
5
ร้อยละ 48.61
3
ร้อยละ 53.78
3
ร้อยละ 72.66
4
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตัวบ่งชี้
เกณฑ์การตัดสิน
1.8 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้งานทํา - ดีมาก 80 ขึ้นไป หรือประกอบอาชีพอิสระ หรือศึกษาต่อภายใน 1 ปี - ดี 70-79.99 - พอใช้ 60-69.99 - ปรับปรุง 50-59.99 - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน < 50 1.9 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ - ดีมาก ปฏิบัติ (1) และมีผล (5) หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือผู้รับบริการที่มี - ดี (1) และมีผล (4) - พอใช้ (1) และมีผล (3) ต่อคุณภาพของผู้สําเร็จการศึกษา
๘๖
สัมฤทธิ์ผลของ ผลการประเมิน การดําเนินงาน ร้อยละ 91.27 5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก ระดับคุณภาพ ดีมาก
35
- ปรับปรุง (1) และ มีผล (2) - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบตั ิ (1)
รวมผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 1 ค่าเฉลี่ย
4.38
สรุปจุดเด่น และจุดที่ต้องพัฒนาของมาตรฐานที่ 1 จุดเด่น ได้แก่ ตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ 1.1 ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 92.66 1.2 สถานประกอบการมีความพึงพอใจต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สําเร็จการศึกษา มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 1.3 ผู้เรียนระดับชั้น ปวช. 3 ทุกสาขาวิชามีจํานวนทั้งหมด 557 คน ผ่านการประเมินมาตรฐาน วิชาชีพทั้งหมด 527 คน คิดเป็นร้อยละ 94.61 ของผู้สําเร็จการศึกษานักศึกษาระดับชั้น ปวส. 2 ทุกสาขาวิชา มีจํานวนทั้งหมด 487 คน ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งหมด 482 คน คิดเป็น ร้อยละ 98.97 ของผู้สําเร็จการศึกษา รวมทั้งระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 รวมทั้งหมด 1,044 ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งหมด 1,009 คน คิดเป็นร้อยละ 96.65 ของผู้สําเร็จการศึกษา ทั้ง 2 ระดับชั้น อยู่ในระดับดีมาก 1.7 ผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า จํานวน 1,095 คน จากจํานวนนักศึกษา แรกเข้า 1,507 คน คิดเป็นร้อยละ 72.66 อยู่ในระดับดีมาก 1.8 ผู้สําเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2556 จํานวน 962 คน ได้ทํางานในสถานประกอบการ จํานวน 33 คน ผู้ประกอบอาชีพอิสระ จํานวน 16 คน ศึกษาต่อ จํานวน 829 คน รวมผู้สําเร็จการศึกษา ได้งานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระและศึกษาต่อภายใน 1 ปี จํานวน 878 คน คิดเป็นร้อยละ 91.27 อยู่ในระดับดีมาก 1.9 สถานประกอบ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อคุณภาพของผู้สําเร็จ การศึกษาคิดเป็นร้อยละ 86.60 อยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
จุดที่ต้องพัฒนา ได้แก่ 1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวน 489 คน จากจํานวนผู้เรียนทั้งหมด 1,006 คน คิดเป็นร้อยละ 48.61 1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ จํานวน 541 คน จากจํานวน ทั้งหมด 1,006 คน คิดเป็นร้อยละ 53.78
๘๗
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๘๘
มาตรฐานที่ ๒ ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับ ความต้องการของสถานประกอบการ หรือประชาคมอาเซียน ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการให้ครูใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา โดยกําหนดรายวิชาใหม่ หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม เกี่ยวกับเนื้อหาสาระ โดยร่วมกับสถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบ หรือประชาคมอาเซียน โดยมี การสํารวจข้อมูลความความต้องการในการพัฒนาหลักสูตร มีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการทดลองใช้หลักสูตร ประเมินหลักสูตร นําหลักสูตรฐาน สมรรถนะรายวิชา ที่พัฒนาแล้วมาจัดการเรียนการสอน ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ โดยกลุ่มงานหลักสูตรได้มีการดําเนินงานดังนี้ 1. สํารวจข้อมูลความต้องการในการพัฒนาหลักสูตร มีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับ สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ทดลองใช้หลักสูตร 3. ประเมินหลักสูตร 4. นําหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่พัฒนาแล้วมาจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการดําเนินงานพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของสถาน ประกอบการ หรือประชาคมอาเซียนมีดังต่อไปนี้
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
1
สถานศึกษามีการสํารวจข้อมูลความต้องการใน การพัฒนาหลักสูตร
2
สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับ สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ปวช. 6 สาขาวิชา 17 สาขางาน ปวส. 13 สาขาวิชา 17 สาขางาน มีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับ สถานประกอบการและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ 3 4 5
ประเด็นพิจารณา สถานศึกษามีการทดลองใช้หลักสูตร สถานศึกษามีการประเมินหลักสูตร สถานศึกษามีการนําหลักสูตรฐานสมรรถนะ รายวิชาที่พัฒนาแล้วตามข้อ (1)-(4) ไม่เกิน 3 ปี ไปใช้อย่างน้อยร้อยละ 50 ของจํานวนสาขางาน ที่จัดการเรียนการสอน
ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีการทดลองใช้หลักสูตร มีการประเมินหลักสูตร นําไปใช้ 34 สาขางาน จากทั้งหมด 34 สาขางาน คิดเป็นร้อยละ 100
๘๙
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีการนําหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่พัฒนาแล้ว มาจัดการเรียน การสอนกับรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการหรือประชาคมอาเซียน นําไปใช้ จํานวน 34 สาขางาน จากจํานวนทั้งสิ้น 34 สาขางาน คิดเป็นร้อยละ 100 เทียบเกณฑ์การตัดสิน อยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๙๐
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการให้ครูจัดทําแผนการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอน ที่หลากหลายที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกรายวิชาที่สอน ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่กลุ่มงานหลักสูตรได้มีการดําเนินงานดังนี้ 1. ให้ครูจัดทําแผนการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงทุกรายวิชาที่สอน 2. จัดทําแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ตามตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา 3. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ทุกแผนกวิชา 4. จัดทํารายงานผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีครูจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิควิธีการสอน ที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาที่สอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จํานวน 122 คน จากจํานวนครูทั้งหมด 124 คน คิดเป็นร้อยละ 98.39 และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จํานวน 123 คน จากจํานวนครูทั้งหมด 124 คน คิดเป็นร้อยละ 99.38 เฉลี่ยโดยรวมทั้งสองภาคเรียน ร้อยละ 99.19 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตารางแสดงผลการดําเนินการให้ครูจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ทุกรายวิชาที่สอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 คณะวิชา/สาขาวิชา
ประเภทวิชาคหกรรม สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการคอมพิวเตอร์ธุรกิจ พาณิชยการ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาการออกแบบ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค ประเภทวิชาพื้นฐาน สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (ภาษาอังกฤษ) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (วิทยาศาสตร์) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (ภาษาไทย) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (คณิตศาสตร์) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (สังคมศึกษา) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (พลานามัย) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (ภาษาจีน) รวม
จํานวนครูผู้สอน ทั้งหมด
จํานวนครูที่จัดทํา แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการอย่างมี ประสิทธิภาพ
6 15 8
6 15 7
100 100 87.5
11 6 7 8 7
11 6 7 8 7
100 100 100 100 100
6 6
6 5
100 83.3
8 5 3
8 5 3
100 100 100
9 5 3 3 3 3 2 124
9 5 3 3 3 3 2 122
100 100 100 100 100 100 100
คิดเป็น ร้อยละ
98.39
๙๑
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตารางแสดงผลการดําเนินการให้ครูจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ทุกรายวิชาที่สอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
คณะวิชา/สาขาวิชา ประเภทวิชาคหกรรม สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการคอมพิวเตอร์ธุรกิจ พาณิชยการ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาการออกแบบ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค ประเภทวิชาพื้นฐาน สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (ภาษาอังกฤษ) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (วิทยาศาสตร์) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (ภาษาไทย) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (คณิตศาสตร์) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (สังคมศึกษา) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (พลานามัย) สาขาวิชาสามัญ สัมพันธ์ (ภาษาจีน) รวม
จํานวนครูผู้สอน ทั้งหมด
จํานวนครูที่จัดทํา แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการอย่างมี ประสิทธิภาพ
6 15 8
6 15 7
11 6 7 8 7
11 6 7 8 7
6 6
6 6
8 5 3
8 5 2
9 5 3 3 3 3 2 124
9 5 3 3 3 3 2 123
คิดเป็น ร้อยละ
100 100 87.5 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 99.19
๙๒
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๙๓
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ระดับคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ให้ครูจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม จัดให้มีการนิเทศการเรียนการสอนและให้ครูทําบันทึกหลังการสอน ให้ครูนําผลจากการสอนด้วยเทคนิควิธี การสอนที่หลากหลาย และผลการนิเทศการจัดการเรียนการสอนไปจัดทําวิจัยและนําผลจากวิจัยไปแก้ไข ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน ความพยายาม (Attempt) ทางวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ โดยกลุ่มงานหลักสูตรได้มีการดําเนินการดังนี้ 1. ให้ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามแผนการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และจัดทําบันทึกหลังการสอน 2. จัดทําแบบนิเทศการสอน 3. แต่งตั้งคณะกรรมการในการนิเทศการสอนของครูผู้สอนทุกรายวิชา 4. จัดทํารายงานผลการประเมินการนิเทศการสอนของครูผู้สอน 5. ให้ครูผู้สอนนําผลการสอนและผลการนิเทศไปจัดทําวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนา การเรียนการสอนในรายวิชาที่สอน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชามีดังต่อไปนี้ ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1
สถานศึกษาดําเนินการให้ครูแต่ละคนจัดการเรียนการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของรายวิชาที่สอน
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี ครูจัดการเรียนรู้ตาม
แผนฯ จํานวน 123 คน จากจํานวนทั้งหมด 124 คน คิดเป็นร้อยละ 99.38
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
2
สถานศึกษาดําเนินการให้ครูแต่ละคนใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของรายวิชาที่สอน
3
4
5
๙๔
ผลการ ดําเนินงาน ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี ครูใช้สื่อเทคโนโลยี
จํานวน 124 คน จากจํานวนทั้งหมด 124 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สถานศึกษาดําเนินการให้มีการนิเทศการจัดการเรียนการสอน นิเทศการสอนครู และให้ครูแต่ละคนทําบันทึกหลังการสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จํานวน 124 คน จากจํานวนทั้งหมด ของรายวิชาที่สอน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ครูนําผลการสอนไป สถานศึกษาดําเนินการให้ครูแต่ละคนนําผลจากการสอนด้วย จัดทําวิจัยเพื่อแก้ไข เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายและผลการนิเทศการจัดการ เรียนการสอนไปจัดทําวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาการเรียน ปัญหาหรือพัฒนา การเรียนการสอน การสอน ไม่น้อยกว่าหนึ่งรายวิชาที่สอน จากจํานวนทั้งหมด 124 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูแต่ละคนนําผลจากการวิจัยไปแก้ไข ครูทําวิจัยฯ จํานวน 124 คน ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน ไม่น้อยกว่าหนึ่งรายวิชา จากจํานวนทั้งหมด ที่สอน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 100
การ ปฏิบัติ
สรุปผลการดําเนินงาน การจัดการเรียนการสอนดังนี้ ครูผู้สอนของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ สามารถจัดการเรียนการสอนตามแผนการเรียนรู้ ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรมค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และจัดทําบันทึกหลัง การสอน มีการนําผลการวิจัย การจัดการเรียนการสอนไปแก้ไขปัญหาและพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชา ที่สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับ ดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้กําหนดการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา โดยให้ครูผู้สอนทุกคนกําหนด และแจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการวัดและประเมินผล ให้ผู้เรียนทราบก่อนการ จัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาที่สอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ทุกรายวิชาที่สอน ใช้วิธีการวัดและ ประเมินผลที่หลากหลาย และเหมาะสมทุกรายวิชาที่สอน นําผลจากการวัดและประเมินผลไปใช้ในการ พัฒนาสมรรถนะผู้เรียนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาที่สอน ความพยายาม ( Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ โดยงานวัดผลและประเมินผล ให้ครูทุกคนกําหนด และแจ้ง หลักเกณฑ์และวิธีการวัดและประเมินผล ให้ผู้เรียนทราบก่อนการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาที่สอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ทุกรายวิชาที่สอน ครูได้มีการใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย และ เหมาะสมทุกรายวิชาที่สอน และได้นําผลจากการวัดและประเมินผลไปใช้ในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาที่สอน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการให้ครูทุกท่าน นําผลจากการวัดและประเมินผลไปใช้ ในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน ที่มุ่นเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาที่สอน
๙๕
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๙๖
ผลการประเมินคุณภาพภายใน
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ
การปฏิบัติ มี
1 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูทุกคนกําหนด และแจ้ง หลั กเกณฑ์ แ ละวิธี การวั ดและประเมิน ผล ให้ ผู้ เรี ย น ทราบก่อนการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาที่สอน 2 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูทุกคน วัดและประเมินผล ตามแผนการจัดการเรียนรู้ทุกรายวิชาที่สอน 3 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูทุกคน ใช้วิธีการวัดและ ประเมินผลที่หลากหลายและเหมาะสมทุกรายวิชา ที่สอน 4 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูทุกคน ให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการวัดและประเมินผลทุกรายวิชาที่สอน 5 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูทุกคน นําผลจากการวัด และประเมินผลไปใช้ในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนที่ มุ่ ง เน้ น สมรรถนะอาชี พ และบู ร ณาการคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ค่ า นิ ย ม และคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาที่สอน
ครูผู้สอน จํานวน 110 คน ครูผู้สอน จํานวน 110 คน ครูผู้สอน จํานวน 110 คน ครูผู้สอน จํานวน 110 คน ครูผู้สอน จํานวน 110 คน
ไม่มี
ผลการ ดําเนินงานมี คุณภาพ มี ไม่มี
สรุปผลการดําเนินงาน การวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๙๗
ตารางแสดงผลการดําเนินการงานการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวิชาพณิชยการ 1.1 สาขางานการบัญชี 1.2 สาขางานการขาย 1.3 สาขางานการเลขานุการ 1.4 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม 2. สาขาวิชาศิลปกรรม 2.1 สาขางานวิจิตรศิลป์ 2.2 สาขางานการออกแบบ 2.3 สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา 2.4 สาขางานเทคโนโลยีศลิ ปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 3. สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย 3.1 สาขางานออกแบบเสื้อผ้า 4. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 4.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ 4.2 สาขางานอาหารและโภชนาการ (MEP.) 5. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 5.1 สาขางานคหกรรมการผลิต 5.2 สาขางานคหกรรมบริการ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 6. สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว 6.1 สาขางานการโรงแรม 6.2 สาขางานการโรงแรม (MEP.) 6.3 สาขางานการท่องเที่ยว 6.4 สาขางานการท่องเที่ยว (MEP.)
แจ้งเกณฑ์ การวัดและ ประเมินผล ให้ผู้เรียน ทราบก่อน เรียน ( )
ประเมิน ผลตาม แผนฯ ( )
วิธีวัดและ ประเมินผล หลากหลาย เหมาะสม ( )
ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการวัด และ ประเมินผล ( )
นําผล ไปใช้ ( )
รวม
5 5 5 5
5 5 5 5
5
5 5
5 5
5 5 5 5
ผลการดําเนินงาน ระดับคุณภาพในการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา คิดเป็นร้อยละ 100 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๙๘
ตารางแสดงผลการดําเนินการงานการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาการบัญชี 1.1 สาขางานการบัญชี 2. สาขาวิชาการตลาด 2.1 สาขางานการตลาด 3. สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน 3.1 สาขางานการจัดการสํานักงาน 4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 4.1 สาขางานการพัฒนาเว็บเพจ 5. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก 5.1 สาขางานการจัดการธุรกิจค้าปลีก(ทวิ) ประเภทวิชาศิลปกรรม 6. สาขาวิชาการออกแบบ 6.1 สาขางานออกแบบนิเทศศิลป์ 7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 7.1 สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต ประเภทวิชาคหกรรม 8. สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย 8.1 สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง 9. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 9.1 สาขางานการประกอบอาหาร 10. สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์
10.1 สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 11. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ 11.1 สาขางานการโรงแรมและบริการ 12. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว 12.1 สาขางานมัคคุเทศก์เดินป่า
แจ้งเกณฑ์ การวัดและ ประเมินผล ให้ผู้เรียน ทราบก่อน เรียน ( )
วิธีวัดและ ผู้เรียนมีส่วน ประเมินผล ประเมินผล ร่วมในการวัด ตามแผนฯ หลากหลาย และประเมินผล เหมาะสม ( ) ( ) ( )
นําผล ไปใช้ ( )
รวม
5
5
5
5
5
5
5
5
5
5
5
5
ผลการดําเนินงาน ระดับคุณภาพในการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา คิดเป็นร้อยละ 100 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๙๙
ตารางแสดงผลการดําเนินการงานการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวิชาพณิชยการ 1.1 สาขางานการบัญชี 1.2 สาขางานการขาย 1.3 สาขางานการเลขานุการ 1.4 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม 2. สาขาวิชาศิลปกรรม 2.1 สาขางานวิจิตรศิลป์ 2.2 สาขางานการออกแบบ 2.3 สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา 2.4 สาขางานเทคโนโลยีศลิ ปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 3. สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย 3.1 สาขางานออกแบบเสื้อผ้า 4. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 4.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ 4.2 สาขางานอาหารและโภชนาการ (MEP.) 5. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 5.1 สาขางานคหกรรมการผลิต 5.2 สาขางานคหกรรมบริการ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 6. สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว 6.1 สาขางานการโรงแรม 6.2 สาขางานการโรงแรม (MEP.) 6.3 สาขางานการท่องเที่ยว 6.4 สาขางานการท่องเที่ยว (MEP.)
แจ้งเกณฑ์ การวัดและ ประเมินผล ให้ผู้เรียน ทราบก่อน เรียน ( )
ประเมิน ผลตาม แผนฯ ( )
5 5 5 5
5 5 5 5
5
5 5
5 5
5 5 5 5
วิธีวัดและ ผู้เรียนมีส่วน นํา ประเมินผล ร่วมในการวัด ผล หลากหลาย รวม และประเมินผล ไปใช้ เหมาะสม ( ) ( ) ( )
ผลการดําเนินงาน ระดับคุณภาพในการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา คิดเป็นร้อยละ 100 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๐๐
ตารางแสดงผลการดําเนินการงานการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู (ปวส.) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาการบัญชี 1.1 สาขางานการบัญชี 2. สาขาวิชาการตลาด 2.1 สาขางานการตลาด 3. สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน 3.1 สาขางานการจัดการสํานักงาน 4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 4.1 สาขางานการพัฒนาเว็บเพจ 5. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก 5.1 สาขางานการจัดการธุรกิจค้าปลีก(ทวิ) ประเภทวิชาศิลปกรรม 6. สาขาวิชาการออกแบบ 6.1 สาขางานออกแบบนิเทศศิลป์ 7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 7.1 สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต ประเภทวิชาคหกรรม 8. สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครือ่ งแต่งกาย 8.1 สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง 9. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 9.1 สาขางานการประกอบอาหาร 10. สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์
10.1 สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 11. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ 11.1 สาขางานการโรงแรมและบริการ 12. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว 12.1 สาขางานมัคคุเทศก์เดินป่า
แจ้งเกณฑ์ การวัดและ ประเมินผล ให้ผู้เรียน ทราบก่อน เรียน ( )
วิธีวัดและ ประเมิน ผู้เรียนมีส่วน ประเมินผล นําผล ผลตาม ร่วมในการวัด หลากหลาย ไปใช้ แผนฯ และประเมินผล เหมาะสม ( ) ( ) ( ) ( )
รวม
5
5
5
5
5
5
5
5
5
5
5
5
ผลการดําเนินงาน ระดับคุณภาพในการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา คิดเป็นร้อยละ 100 เทียบเกณฑ์การตัดสินอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๐๑
ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ระดับคุณภาพในการฝึกงาน ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของระดับคุณภาพในการฝึกงานของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะทั้งในด้านความรู้ ความชํานาญ และประสบการณ์จากการฝึกปฏิบัติจริง จากแหล่ง ความรู้ที่มีในท้องถิ่น ชุมชน รวมทั้งสถานประกอบการ ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้คัดเลือกและทําความร่วมมือร่วมกับสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ในการส่งผู้เรียนให้ฝึกงานตามหลักสูตร จัดการปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนออกฝึกงาน พร้อมมีคู่มือการ ฝึกงาน จัดการนิเทศการฝึกงานของผู้เรียน ในสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน จัดให้มีการวัดผลการ ฝึกงานของผู้เรียนร่วมกับสถานศึกษา หน่วยงาน ชุมชน จัดการสัมมนาการฝึกงานของผู้เรียนร่วมกับสถาน ประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ระดับคุณภาพในการฝึกงานของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ข้อ
ประเด็นพิจารณา
ได้รับความร่วมมือจาก สถานประกอบการ จํานวน 1,067 คน สถานประกอบการ 433 แห่ง นักเรียน นักศึกษาปฐมนิเทศ สถานศึกษามีการปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนการฝึกงาน ก่อนการฝึกงานและคู่มือการ พร้อมมีคู่มือการฝึกงาน ฝึกงานจํานวน 1,067 คน สถานศึกษามีการนิเทศการฝึกงานของผู้เรียนในสถาน นิเทศการฝึกงานของผู้เรียนใน สถานประกอบการ หน่วยงาน ประกอบการ หน่วยงาน จํานวน 1,067 คน สถานศึกษามีการวัดผลการฝึกงานของผู้เรียนร่วมกับ วัดผลการฝึกงานนักเรียน ร่วมกับสถานประกอบการ สถานประกอบการ หน่วยงาน หน่วยงานจํานวน 1,067 คน สถานศึกษามีการสัมมนาการฝึกงานของผู้เรียน เพื่อนํา มีสถานประกอบการเข้าร่วม ผลไปปรับปรุง โดยเชิญสถานประกอบการ หน่วยงาน สัมมนา จํานวน 1 แห่ง
1 สถานศึกษามีการคัดเลือกสถานประกอบการ หน่วยงานและทําความร่วมมือในการส่งผู้เรียนเข้า ฝึกงานตรง หรือสัมพันธ์กับสาขางาน 2 3 4 5
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการสัมมนา
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๐๒
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีการคัดเลือกสถานประกอบการ หน่วยงานและทําความร่วมมือ ในการส่งผู้เรียนเข้าฝึกงานตรง หรือสัมพันธ์กับสาขางาน และมีการปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนการฝึกงานพร้อม มีคู่มือการฝึกงาน และมีการนิเทศการฝึกงานของผู้เรียนในสถานประกอบการ หน่วยงาน โดยการวัดผล การฝึกงานของผู้เรียนร่วมกับสถานประกอบการ หน่วยงาน และมีการสัมมนาการฝึกงานของผู้เรียน เพื่อนําผลไปปรับปรุง โดยเชิญสถานประกอบการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการสัมมนา เทียบเกณฑ์ การตัดสินอยู่ในระดับดีมาก สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 ในแต่ละตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้
เกณฑ์การตัดสิน
2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐาน - ดีมาก ปฏิบัติ (1) - (5) สมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของ - ดี ปฏิบัติ (1) - (4) - พอใช้ ปฏิบัติ (1) - (3) สถานประกอบการ หรือประชาคมอาเซียน 2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทําแผนการจัดการ เรียนรู้รายวิชา
2.3 ระดับคุณภาพในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา
2.4 ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลการ จัดการเรียนการสอนรายวิชา
- ปรับปรุง ปฏิบัติ (1) - (2) - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ (1) - ดีมาก ปฏิบัติ (1) และมีผล (5) - ดี (1) และมีผล (4) - พอใช้ (1) และมีผล (3) - ปรับปรุง (1) และ มีผล (2) - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบตั ิ (1) - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบตั ิ 1 ข้อ - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
สัมฤทธิ์ผล ของการ ดําเนินงาน ระดับคุณภาพ ดีมาก
ผลการ ประเมิน 5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตัวบ่งชี้ 2.5 ระดับคุณภาพในการฝึกงาน
เกณฑ์การตัดสิน - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบตั ิ 1 ข้อ
สัมฤทธิ์ผล ของการ ดําเนินงาน ระดับคุณภาพ ดีมาก
ระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ดีมาก
รวมผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 2
๑๐๓
ผลการ ประเมิน 5
25 5
สรุปจุดเด่น และจุดที่ต้องพัฒนาของมาตรฐานที่ 2 จุดเด่น ได้แก่ ตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ 2.1 การใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของ สถานประกอบการหรือประชาคมอาเซียน อยู่ในระดับดีมาก 2.2 ครูผู้สอนทุกคนจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2.3 ครูผู้สอนทุกคนจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2.4 ครูผู้สอนทุกคนได้ดําเนินการวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนตามรายวิชา อย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2.5 ระดับคุณภาพในการฝึกงานอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๐๔
มาตรฐานที่ ๓ ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ตระหนักถึงการบริหารงานสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมในรูปแบบของ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา คณะกรรมการวิทยาลัย และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เพื่อร่วมกันบริหาร จัดการ และพัฒนาแนวทางการดําเนินงานของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ความพยายาม (Attempt) ในการบริหารจัดการศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการดังนี้ 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ผู้อํานวยการวิทยาลัย รองผู้อํานวยการวิทยาลัย ผู้แทนจากฝ่ายต่าง ๆ และผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือในการบริหาร สถานศึกษา และพิจารณาให้ความเห็น เสนอแนะการบริหารสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ 2. ดําเนินการสรรหาคณะกรรมการวิทยาลัย ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนฝ่ายต่าง ๆ ได้แก่ ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของวิทยาลัย ผู้แทน องค์การศาสนาและผู้ทรงคุณวุฒิ 3. มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ประชุมจํานวน 2 ครั้ง และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ประชุมจํานวน 1 ครั้ง 4. มีการประชุมคณะกรรมการวิทยาลัย อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ประชุมจํานวน 1 ครั้ง 5. คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาและคณะกรรมการวิทยาลัย ปฏิบัติงานตามอํานาจหน้าที่ที่ กําหนดไว้ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 5.1 กําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ของวิทยาลัยฯ 5.2 พิจารณาอนุมัติแผนปฏิบัติการ ประจําปี พ.ศ. 2558 5.3 พิจารณาอนุมัติแผนยุทธศาสตร์ ประจําปี พ.ศ. 2557-2560 5.4 พิจารณาอนุมัติมาตรฐานสถานศึกษา ประจําปี พ.ศ. 2555 5.5 พิจารณาอนุมัติการจัดซื้อครุภัณฑ์การศึกษาของวิทยาลัยฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 5.6 กําหนดแผนการรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา 2558 5.7 ส่งเสริม สนับสนุน ให้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาแนว ทางการดําเนินงานของวิทยาลัย 5.8 กํากับ ติดตามผลการปฏิบัติงานของวิทยาลัยฯ 6. จัดให้ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถานศึกษา ประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษา และคณะกรรมการวิทยาลัย ในการปฏิบัติงานร่วมกับวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ โดยความพึงพอใจอยู่ใน ระดับดีมาก 7. จัดให้ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถานศึกษาประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ สถานศึกษาและคณะกรรมการวิทยาลัย โดยความคิดเห็นต่อคุณภาพการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๐๕
ผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษา หรือวิทยาลัย
ข้อ 1
ประเด็นพิจารณา
สถานศึกษามีคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย คณะกรรมการบริหาร สถานศึกษามีจํานวน 19 คน ตามที่กําหนดในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2
สถานศึกษาดําเนินการให้มี การประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาหรือวิทยาลัยอย่างน้อยภาคเรียน ละ 1 ครั้ง
3
สถานศึกษาดําเนินการให้คณะกรรมการสถานศึกษา หรือวิทยาลัย ปฏิบัติงานตามอํานาจหน้าที่ที่กําหนด ไว้ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
4
สถานศึกษาดําเนินการให้ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก สถานศึกษาประเมินความพึงพอใจของ คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ในการ ปฏิบัติงานร่วมกับสถานศึกษาและมีผลการประเมิน โดยเฉลี่ย 3.51-5.00 สถานศึกษาดําเนินการให้ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก สถานศึกษาประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยเพื่อพัฒนา คุณภาพการปฏิบัติงาน
5
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
คณะกรรมการวิทยาลัย มีจํานวน 19 คน มีการประชุมคณะกรรมการ บริหารสถานศึกษา จํานวน 1 ครั้ง/ภาคเรียน และ ประชุมคณะกรรมการ วิทยาลัย จํานวน 1 ครั้ง/ ภาคเรียน ดําเนินการให้คณะกรรมการ สถานศึกษาหรือวิทยาลัย ปฏิบัติงานตามอํานาจหน้าที่ ที่กําหนด ผลการประเมินโดยเฉลี่ย 4.77
ผลการประเมินคุณภาพการ ปฏิบัติงานโดยเฉลี่ย 4.83
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๐๖
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา จํานวน 19 คน และ คณะกรรมการวิทยาลัย จํานวน 19 คน และได้ดําเนินการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา จํานวน 1 ครั้ง/ ภาคเรียน และประชุมคณะกรรมการวิทยาลัย จํานวน 1 ครั้ง/ภาคเรียน โดยได้ปฏิบัติงานตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง และดําเนินการให้ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถานศึกษาประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการ สถานศึกษา หรือวิทยาลัย ในการปฏิบัติงานร่วมกับสถานศึกษาและมีผลการประเมินโดยเฉลี่ย 4.77 รวมถึง มีผลการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของคณะกรรมการวิทยาลัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานจาก ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถานศึกษา ผลการประเมินโดยเฉลี่ย 4.83 ระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๐๗
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทําแผนการบริหารจัดการสถานศึกษา ความตระหนัก (Awareness) สถานศึกษาได้กระจายอํานาจในการบริหารงานโดยการจัดทําคําสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบงานต่าง ๆ ในสถานศึกษา มีการกําหนดจุดมุ่งหมาย เป้าหมาย ทิศทางการวางแผนจัดการศึกษาของตนเอง ตามแผน ยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ พ.ศ.2557 - 2560 ซึ่งแผนยุทธศาสตร์นี้ได้ จัดทําโดยบุคลากรทุกฝ่าย ได้ร่วมกันคิด ตัดสินใจ บริหารการจัดการศึกษา เพื่อช่วยกันขับเคลื่อน การจัดการศึกษาไปสู่เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ที่ได้กําหนดไว้ และได้ดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีการตรวจติดตาม กํากับ ดูแล และประเมินผลการดําเนินงาน ได้จัดทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ทุกปีการศึกษา แล้วนําผลการประเมินมาใช้ในการวางแผนและการปฏิบัติงาน ได้จัดทําแผน ปฏิบัติงานประจําปี เพื่อส่งเสริมจุดเด่นและแก้ไขจุดด้อยแล้วนําข้อเสนอแนะมาพัฒนาในปีการศึกษาต่อไป ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษาได้จัดทําคําสั่งแต่งตั้งคณะทํางานตามโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาคณะกรรมการ สถานศึกษา และคณะทํางานด้านต่าง ๆ เพื่อบุคลากรทุกท่านได้ทราบขอบข่ายงานที่รับผิดชอบและสามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้ตรงตามสายการบริหาร บุคลากรดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ที่ได้จัดทําไว้และมีการพัฒนาการ ดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ให้ดีขึ้น โดยพิจารณาจากผลงานในปีที่ผ่านมา ผลการประเมินตนเองและผลการ ประเมินคุณภาพภายนอก โดยมีการดําเนินการตามวงจรคุณภาพ PDCA ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการดําเนินงานในการจัดทําแฟ้มการบริหารจัดการสถานศึกษา มีดังนี้ ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1
สถานศึกษามีการจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของครูและ บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
2
สถานศึกษามีการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
มีแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนา สถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วม ของครูและบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน จํานวน 1 เล่ม มีแผนการปฏิบัติการประจําปี ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการ จัดการศึกษาของสถานศึกษา จํานวน 1 เล่ม
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ 3 4 5
ประเด็นพิจารณา สถานศึกษามีการดําเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการ ประจําปี สถานศึกษามีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และเสนอข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง สถานศึกษามีการจัดทํารายงานตามแผนปฏิบัติการ ประจําปี
ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีการดําเนินงาน ตามแผน ปฏิบัติการประจําปี มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และเสนอ ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง มีการจัดทํารายงานตาม แผนปฏิบัติการประจําปี
๑๐๘
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีการจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา มีแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาวิทยาลัย โดยการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําปี และมีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และเสนอข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง และการจัดทํารายงานตามแผนปฏิบัติการประจําปี ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๐๙
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ระดับคุณภาพในการพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ตระหนักถึงการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ การจัดสถานศึกษา ตามอัตลักษณ์ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ โดยการเผยแพร่อัตลักษณ์ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ การสร้างความร่วมมือในวิทยาลัย โดยครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกฝ่ายและการสร้างความ ร่วมมือกับชุมชน องค์กรส่วนท้องถิ่นต่าง ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นตาม อัตลักษณ์ที่สถานศึกษากําหนด โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทุกฝ่าย ในสถานศึกษา ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ โดยความร่วมมือของคณะกรรมการวิทยาลัย ผู้ปกครอง ชุมชน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียนและหน่วยงานอื่น ๆ ได้กําหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษาของ สถานศึกษา ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และได้เผยแพร่ให้บุคคลทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัย ตลอดจนชุมชนต่าง ๆ ทราบและได้ดําเนินงานตามอัตลักษณ์ โดยจัดทําแผนงาน โครงการเพื่อพัฒนา สถานศึกษาให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ ดําเนินงานตามแผนงาน โครงการที่กําหนด ประเมินผลการดําเนิน งานตามแผนงาน โครงการ และนําผลการประเมินมาปรับปรุงการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาสถานศึกษา ให้บรรลุตามอัตลักษณ์ ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการดําเนินงานพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์ ตามประเด็นพิจารณา ดังต่อไปนี้ ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน ข้อ ประเด็นพิจารณา ข้อปฏิบัติ/จํานวน คุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี 1 สถานศึกษามีการกําหนดอัตลักษณ์ โดยความ มีการกําหนดอัตลักษณ์ โดยความ เห็ น ชอบของคณะกรรมการ เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือ สถานศึกษาหรือวิทยาลัย วิทยาลัย มีแผนงาน โครงการพัฒนา 2 สถานศึกษามีแผนงาน โครงการพัฒนา สถานศึ ก ษาที ส ่ อดคล้ อ งกั บ สถานศึกษาที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา สถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของครูและ โดยการมีส่วนร่วมของครูและ บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาชุมชน และ บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
3
สถานศึกษามีการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ สถานศึกษามีการประเมินผลการดําเนินงานตาม แผนงาน โครงการ สถานศึกษามีการนําผลการประเมินไปปรับปรุง การบริหารจัดการ
มีการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ
4 5
๑๑๐
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
มีการประเมินผลการดําเนินงาน ตามแผนงาน โครงการ
มีการนําผลการประเมินไป ปรับปรุงการบริหารจัดการ
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้กําหนดอัตลักษณ์ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร สถานศึกษา โดยมีแผนงาน โครงการพัฒนาสถานศึกษาที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของสถานศึกษา โดยการมี ส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการดําเนินงานตามแผน และโครงการ พร้อมทั้งมีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของ สถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ดําเนินงานตามแผนงานโครงการ ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ ผลการประเมินไปปรับปรุงการ บริหารการจัดการ ระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๑๑
ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ระดับคุณภาพในการบริหารงานและภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษา ความตระหนัก (Awareness) ผู้บริหารสถานศึกษาตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารจัดการสถานศึกษา โดยใช้ภาวะผู้นํา ในการบริหารงานและการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและทุกระดับ จึงกําหนดให้มีการวาง แผนการจัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจําปีอย่างเกี่ยวข้องต่อเนื่องและสัมพันธ์กับนโยบาย ของกระทรวงศึกษาการ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็น สถานศึกษาที่มีคุณภาพ ความพยายาม ( Attempt) ผู้บริหารมีการประชุม เพื่อดําเนินการบริหารภายในสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายของสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษา แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจําปี มีการดําเนินการร่วมกันระหว่างคณะครู บุคลากรในสถานศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษา มีการประสานงานการจัดการอาชีวศึกษาร่วมกับสถานประกอบการตามนโยบายอย่างครอบคลุม และมี ประสิทธิภาพดังนี้ 1. บริหารจัดการสถานศึกษาตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้แก่ 1.1 นโยบายการเพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ - ดําเนินการเพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพโดยการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าเรียนสายอาชีพ ด้วยระบบโควตา มีการจัดโครงการแนะแนวการศึกษาเพื่อการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และจูงใจให้ผู้เรียน ตัดสินใจเข้าศึกษาต่อสายอาชีพ จัดโครงการเยี่ยมบ้านนักเรียน นักศึกษา เพื่อลดปัญหาการออกกลางคันของ ผู้เรียน 1.2 นโยบายการขยายโอกาสในการเรียนอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ - มีการดําเนินการส่งเสริมสนับสนุนการจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา ในส่วนของสถาบัน การอาชีวศึกษา ภาคเหนือ 1 - มีการจัดอบรมขยายโอกาสในการเรียนอาชีวศึกษา และการฝึกอบรมอาชีพ เช่น โครงการฝึกอาชีพระยะสั้น 108 อาชีพ โครงการสร้างอาชีพเพื่อชุมชน โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน - มีการผลิตและพัฒนากําลังคนในสาขาวิชาที่เป็นความต้องการของตลาดแรงงาน ได้แก่ สาขาวิชาการท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ เป็นต้น - มีการประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการ/หน่วยงานในการจัดการอาชีวศึกษา เช่น การจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี การฝึกงานและการฝึกสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ 1.3 นโยบายการยกระดับคุณภาพการจัดอาชีวศึกษา - ส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครู เพื่อเพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์ แก่ผู้เรียนที่หลากหลาย เช่น การฝึกงานในสถานประกอบการ การศึกษาดูงาน เป็นต้น - ส่งเสริมสนับสนุนการใช้สื่อการเรียนการสอน และการใช้ ICT ในการเรียนการสอน - จัดให้มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ การทดสอบอาชีวศึกษาระดับชาติ (V-NET) เพื่อการพัฒนาผู้เรียน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๑๒
- มีการส่งเสริม สนับสนุนการจัดโครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม และโครงการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน - มีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร Mini English Program (MEP) ในสาขาวิชากร โรงแรม/การท่องเที่ยว และสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 1.4 นโยบายด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ มีการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีทักษะในการ บริหารอย่างมีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ผู้บริหารมีการส่งเสริมและพัฒนาตนเอง มีการจัดองค์ ความรู้ การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย มีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายใน การบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ 2. การบริหารจัดการสถานศึกษาแบบกระจายอํานาจโปร่งใส บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาได้รับ ทราบนโยบายทุกระดับของหน่วยงานต้นสังกัด และนโยบายของสถานศึกษาตลอดจนเปิดโอกาสให้บุคคล ทุกฝ่ายในสถานศึกษามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา โดยจัดให้มีการประชุมครูและบุคลากรทุกฝ่าย ในสถานศึกษาปีการศึกษา 2557 ดังนี้ - ประชุมคณะครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ จํานวน 4 ครั้ง - ประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ จํานวน 3 ครั้ง - ประชุมคณะกรรมการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่จํานวน 1 ครั้ง 3. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง สถานประกอบการ ชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา ในรูปแบบ ของคณะกรรมการวิทยาลัย ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน ท้องถิ่น ผู้แทนสถาน ประกอบการ เพื่อรับฟังความคิดเห็นและนํามาใช้ในการจัดการศึกษาสนองต่อความต้องการของสถาน ประกอบการ 4. นําความคิดเห็นของคณะกรรมการวิทยาลัย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู บุคลากร ผู้ปกครอง สถานประกอบการมาพัฒนาและปรับปรุงสถานศึกษา 5. มีการประเมินผลการบริหารงาน และภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษา โดยคณะกรรมการ สถานศึกษามีผลการประเมินโดยเฉลี่ย 4.35 ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการบริหารงานและภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีดังนี้
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1 สถานศึกษามีการบริหารจัดการสถานศึกษาตาม นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด
ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีการบริหารจัดการ สถานศึกษาตามนโยบายของ หน่วยงานต้นสังกัด
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การ ปฏิบัติ
มีการประชุมครู และบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษาจํานวน 2 ครั้ง/ภาคเรียน มีการจัดประชุมผู้ปกครอง 3 สถานศึกษามีการจัดประชุมผู้ปกครอง ผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับการจัดการอาชีวศึกษาอย่างน้อย ภาคเรียน ผู้ที่มีส่วนเกีย่ วข้องกับการจัดการ อาชีวศึกษา จํานวน 1 ครั้ง ละ 1 ครั้ง
2 สถานศึกษามีการประชุมครู และบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง
มีการนําความคิดเห็นของ คณะกรรมการสถานศึกษาหรือ วิทยาลัย ครูและบุคลากรทุกฝ่าย ในสถานศึกษา ผู้ปกครองรวมทั้ง ผู้ที่มีส่วนเกีย่ วข้องไปใช้ในการ พัฒนาสถานศึกษา 5 สถานศึกษามีการประเมินผลการบริหารงาน และภาวะ มีการประเมินผลการบริหารงาน และภาวะผู้นําของผู้บริหาร ผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษา โดยคณะกรรมการ สถานศึกษา โดยคณะกรรม สถานศึกษาหรือวิทยาลัย และมีผลการประเมิน โดย สถานศึกษาหรือวิทยาลัย เฉลี่ย 3.51-5.00 ผลการประเมินเฉลี่ย 4.35
4 สถานศึกษามีการนําความคิดเห็นของคณะกรรมการ สถานศึกษาหรือวิทยาลัย ครูและบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษา ผู้ปกครอง รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องไปใช้ ในการพัฒนาสถานศึกษา
๑๑๓
สรุปผลการดําเนินงาน ผู้บริหารสถานศึกษามีการบริหารงานตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ใช้ภาวะผู้นําบริหารงาน แบบมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๑๔
ตัวบ่งชี้ที่ 3.5 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล สารสนเทศของสถานศึกษา ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล สารสนเทศของสถานศึกษา โดยได้ดําเนินการจัดทําข้อมูลพื้นฐาน 9 ประเภท ที่เกี่ยวกับสถานศึกษาทั้งหมด เช่น ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ข้อมูลบุคลากร โดยจัดทําระบบฐานข้อมูลสารสนเทศอย่างต่อเนื่องเป็นปัจจุบัน และอาจมีข้อมูลที่จําเป็นสําหรับสถานศึกษาที่ครบถ้วนและเชื่อมโยงเป็นระบบ มีระบบสํารองข้อมูลสารสนเทศ เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล ความพยายาม (Attempt) 1. มีการจัดทําข้อมูลพื้นฐานทั้ง 9 ประเภท (ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ข้อมูลตลาดแรงงาน ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลงบประมาณ ข้อมูลหลักสูตรฯ ข้อมูลครุภัณฑ์ ข้อมูลอาคารสถานที่ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษาข้อมูลพื้นฐานของจังหวัด) อย่างถูกต้องสมบรูณ์ และเป็นปัจจุบัน และจัดทําระบบ สํารองข้อมูลสารสนเทศเพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล 2. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง และเป็นปัจจุบัน โดยปรับ ข้อมูล 9 ประเภท ให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน บนหน้าเว็บไซด์ของวิทยาลัยฯ และมีการเชื่อมโยงข้อมูลไปยัง คอมพิวเตอร์ กําหนดจุดที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์ สําหรับให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน สามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลสารสนเทศ 3. มีการประเมินความพึงพอใจในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา โดยครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1
สถานศึกษามีข้อมูลพื้นฐาน 9 ประเภทและอาจมี ข้อมูลอื่น ที่จําเป็นสําหรับสถานศึกษาที่ครบถ้วนและ เชื่อมโยงเป็นระบบ และมีระบบสํารองข้อมูล สารสนเทศเพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี มีข้อมูลพื้นฐานจํานวน 9 ประเภท ที่จําเป็นสําหรับสถานศึกษาที่ ครบถ้วนและเชื่อมโยงเป็นระบบ และมีระบบสํารองข้อมูล สารสนเทศเพื่อป้องกันการสูญหาย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ 2
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
สถานศึกษามีการพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศอย่าง มีการพัฒนาฐานข้อมูล สารสนเทศอย่างต่อเนื่องและ ต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน
3
สถานศึกษาดําเนินการให้ครู และบุคลากรทุกฝ่าย ในสถานศึกษา และผู้เรียนสามารถเข้าถึงและใช้ ประโยชน์จากฐานข้อมูลสารสนเทศ
4
สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจในการ บริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของ สถานศึกษา โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษาและผู้เรียน
5
สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจในการ บริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของ สถานศึกษา โดยเฉลี่ย 3.51-5.00
๑๑๕
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
เป็นปัจจุบัน ดําเนินการให้ครูและบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษา และ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงและใช้ ประโยชน์จากฐานข้อมูล สารสนเทศ จํานวน 3,370 คน มีผลการประเมินความพึงพอใจ ในการบริหารจัดการระบบ ฐานข้อมูลสารสนเทศของ สถานศึกษา โดยครูและบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน ผลการประเมินความพึงพอใจใน การบริหารจัดการระบบ ฐานข้อมูลสารสนเทศของ สถานศึกษา ผลการประเมิน โดยเฉลี่ย 4.40
สรุปผลการดําเนินงาน มีการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๑๖
ตัวบ่งชี้ที่ 3.6 ระดับคุณภาพในการบริหารความเสี่ยง ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีการวิเคราะห์และจัดทําแผนงาน โครงการบริหารความเสี่ยงที่สําคัญ อย่างน้อย 5 ด้าน ได้แก่ด้านความปลอดภัย ด้านการทะเลาะวิวาท ด้านสิ่งเสพติด ด้านการพนันมั่วสุมโดยการ มีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียนและผู้ปกครอง ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาชียงใหม่ มีการวิเคราะห์และจัดทําแผนงาน โครงการบริหาร ความเสี่ยงที่สําคัญ อย่างน้อย 5 ด้าน ได้แก่ด้านความปลอดภัย ด้านการทะเลาะวิวาท ด้านสิ่งเสพติด ด้านการพนันมั่วสุมโดยการ มีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียนและผู้ปกครอง ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ โดยความเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการ วิทยาลัย โดยมีแผนโครงการพัฒนาสถานศึกษา ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและดํางานตามแผนงาน โดยการ จัดทําแผนงานโครงการบริหารความเสี่ยงที่สําคัญทั้ง 5 ด้าน โดยมีส่วนร่วมครูและบุคลากรทุกฝ่าย ในสถานศึกษา ผู้เรียน ผู้ปกครองประเมินผลการดําเดินงานตามแผนงาน โครงการ ผลการประเมินไปปรับปรุง ระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน ผลการดําเนินงานในการบริหารความเสี่ยง มีดังนี้ ข้อ 1
2 3 4 5
ประเด็นพิจารณา สถานศึกษามีการวิเคราะห์และจัดทําแผนงาน โครงการ บริหาร ความเสี่ยงที่สําคัญอย่างน้อย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านการทะเลาะวิวาท ด้านสิ่งเสพ ติด ด้านสังคม ด้านการพนันและการมั่วสุม โดยการมี ส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียนและผู้ปกครอง สถานศึกษามีการดําเนินงาน ตามแผน โครงการ สถานศึกษามีการประเมินผลการดําเนินงานตาม แผนงาน โครงการ สถานศึกษามีการนําผลการประเมินไปใช้ในการ ปรับปรุงการบริหารความเสี่ยง สถานศึกษามีความเสี่ยงลดลงอย่างน้อย 3 ด้าน
ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีแผนงาน โครงการบริหาร ความเสีย่ งจํานวน 5 ด้าน โดยการมีสว่ นร่วมของครูและ บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียนและผู้ปกครอง มีการดําเนินงานตามแผน มีการผลการประเมิน
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
มีการนําผลการประเมินมาใช้ ปรับปรุงบริหารความเสีย่ ง ความเสีย่ งลดลง 5 ด้าน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๑๗
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ โดยความเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการ วิทยาลัย โดยมีแผนโครงการพัฒนาสถานศึกษา ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยงข้องและดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ จัดทําแผนงาน โครงการบริหารความเสี่ยงที่สําคัญทั้ง 5 ด้าน โดยมีส่วนร่วมของครูและบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียน ผู้ปกครองมีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ นําผลการ ประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการบริหารความเสี่ยง ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๑๘
ตัวบ่งชี้ที่ 3.7 ระดับคุณภาพในการจัดระบบดูแลผู้เรียน ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของผลผลิตทางการศึกษา คือผู้เรียน ที่มีคุณภาพด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้งด้านบุคลิกภาพ มนุษย์สัมพันธ์ ที่ดี จึงได้วางแผนจัดระบบดูแลผู้เรียน เมื่อผู้เรียนเข้ามาศึกษาในวิทยาลัย โดยการปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษาเข้าใหม่ แต่งตั้งครูที่ปรึกษา มีระบบเครือข่ายผู้ปกครอง ส่งเสริมสนับสนุนทุนการศึกษาแก่ผู้เรียน ส่งเสริมผู้เรียนที่มีผลการเรียนดี วิเคราะห์กลุ่มเสี่ยง เพื่อดูแลอย่างใกล้ชิด ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยได้จัดระบบดูแลผู้เรียนโดยได้ดําเนินงาน ดังนี้ 1. ปฐมนิเทศผู้เรียนเมื่อเข้ามาศึกษาในวิทยาลัย เพื่อชี้แจงแนวทางในการจัดการศึกษา การดูแล ผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม จัดโครงการเข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรม แก่นักเรียน นักศึกษาที่เข้าใหม่เป็นประจําทุกปี 2. แต่งตั้งครูที่ปรึกษาเพื่อกํากับ ดูแลนักเรียนนักศึกษาทุกระดับชั้น และกําหนดให้ครูที่ปรึกษา พบผู้เรียนในที่ปรึกษาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยกําหนดในตารางการเรียนของนักเรียน นักศึกษา 3. มีระบบเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อร่วมกันดูแลผู้เรียน โดยให้แต่ละห้องเรียนคัดเลือกตัวแทนผู้ปกครอง อย่างน้อยห้องละ 2 คน และคัดเลือกตัวแทนผู้ปกครองเพื่อเป็นคณะกรรมการชมรมผู้ปกครองและครู เป็นตัวแทนของผู้ปกครองในการบริหารวิทยาลัย 4. จัดทําแผนงาน โครงการสนับสนุนทุนการศึกษาแก่ผู้เรียนโดยเป็นทุนการศึกษาสนับสนุน จากบุคลากรในวิทยาลัย และจากบุคคลภายนอก 5. ส่งเสริมผู้เรียนที่มีผลการเรียนดี โดยจัดทําเกียรติบัตรมอบในวันไหว้ครู และในงานพิธีมอบ ประกาศนียบัตรนักเรียน นักศึกษาที่จบการศึกษา เป็นประจําทุกปี 6. ให้ความสะดวกแก่นักเรียน นักศึกษาที่ยืนความจํานงขอกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา (กยศ.) โดย ประสานงานกับกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ในการจัดทําสัญญา และดําเนินการเกี่ยวกับเอกสาร การกู้ยืมให้เรียบร้อยเพื่อช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาที่มีปัญหาด้านการเงิน 7. มีแผนงาน โครงการเพื่อดูแลผู้เรียนกลุ่มเสี่ยง อย่างใกล้ชิด
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๑๙
ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการดําเนินงาน ระบบดูแลนักเรียน ได้สรุปเป็นประเด็นพิจารณา ดังนี้ ข้อ 1 2 3 4
5
ประเด็นพิจารณา สถานศึกษามีการปฐมนิเทศผู้เรียน สถานศึกษามีการแต่งตั้งครูที่ปรึกษาและจัดให้ผู้เรียน พบครูที่ปรึกษาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง สถานศึกษามีระบบเครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อร่วมกัน ดูแลผู้เรียน สถานศึกษามีแผนงาน โครงการส่งเสริม สนับสนุน ทุนการศึกษาแก่ผู้เรียนอย่างน้อย ร้อยละ 10 ของ จํานวนผู้เรียนที่ร้องขอ สถานศึกษามีระบบดูแลผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงและส่งเสริม ผู้เรียนปัญญาเลิศ
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
มีการปฐมนิเทศผู้เรียน ครูที่ปรึกษาพบผูเ้ รียน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง มีเครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อร่วมกันดูแลผู้เรียน มีการสนับสนุนทุนการศึกษา จํานวน 94 ทุน จากผู้ขอจํานวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 62.67 มีระบบดูแลผู้เรียนกลุม่ เสีย่ ง และส่งเสริมผูเ้ รียนปัญญาเลิศ
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยได้มีการปฐมนิเทศผู้เรียน การแต่งตั้งครูที่ปรึกษาและจัดให้ผู้เรียนพบครูที่ปรึกษาอย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง มีระบบเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อร่วมกันดูแลผู้เรียน โดยมีแผนงาน โครงการส่งเสริม สนับสนุนทุนการศึกษาแก่ผู้เรียนอย่างน้อย ร้อยละ 10 ของจํานวนผู้เรียนที่ร้องขอ มีระบบดูแลผู้เรียนกลุ่ม เสี่ยงและส่งเสริมผู้เรียนปัญญาเลิศ ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๒๐
ตัวบ่งชี้ที่ 3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของสถานศึกษา และการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ โดยวิทยาลัยมีการวางแผนการปฏิบัติงาน ระเบียบและแนวทางในการปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพ เห็นผล เชิงประจักษ์ เพื่อนําไปสู่มาตรฐานคุณภาพ ความต้องการในแต่ละแผนกวิชา/สาขางาน และสามารถ ตอบสนองการใช้งานของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยได้ดําเนินการตามแผนปฏิบัติงาน ระเบียบและแนวทางในการปฏิบัติ โดยจัดทําเป็นโครงการ และกิจกรรม เพื่อจัดให้มีสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ ประจําปีการศึกษา 2557 พร้อมทั้งได้มีการประเมินความพึง พอใจ โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 โดยมีส่วนร่วมของครูและบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการดําเนินงานพัฒนาสถานศึกษาการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของสถานศึกษา และการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ ตามประเด็นพิจารณา ดังต่อไปนี้ ข้อ 1
2 3
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
มีแผนงาน โครงการ ในการ พัฒนาและดูแลภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์การใช้อาคาร สถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ ดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ มีการประเมินความพึงพอใจ สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจต่อ สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและการใช้ ต่อสภาพแวดล้อม และ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ภูมิทัศน์ของสถานศึกษา
สถานศึกษามีแผนงาน โครงการ ในการพัฒนาและ ดูแลสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและ การใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรง ฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ โดยการมีส่วนร่วมของครู และบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน สถานศึกษามีการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ
4 5
ประเด็นพิจารณา ศูนย์วิทยบริการ โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษาและผู้เรียน สถานศึกษามีผลการประเมิน ความพึงพอใจ โดยเฉลี่ย 3.51- 5.00 สถานศึกษามีการนําผลการประเมินไปปรับปรุง การบริหารจัดการ
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
๑๒๑
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี
ผลการประเมินเฉลี่ย 4.75
นําผลการประเมินไปปรับปรุง การบริหารจัดการ
สรุปผลการดําเนินงาน การปฏิบัติงานการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและการใช้ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๒๒
ตัวบ่งชี้ที่ 3.9 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา มีการประเมินความพึง พอใจของครู และบุคลกรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน โดยใช้แบบประเมินมาตรส่วนประมาณค่าและมีการ นําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารจัดการ ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการจัดหาการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ ตามแผนปฏิบัติงาน โครงการ ระเบียบและแนวทางในการปฏิบัติ โดยจัดทําเป็นโครงการเพื่อจัดหา การใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ อาทิ จัดให้มีการประเมินความพึงพอใจของครู และบุคลากรทุกฝ่าย ในสถานศึกษาและผู้เรียน เพื่อนําผลการประเมินที่ได้ปรับปรุงการบริหารจัดการต่อไป ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ได้ดําเนินการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ ดังนี้
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1
สถานศึกษามีแผนงาน โครงการ การจัดหา การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์
2 3
สถานศึกษามีการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดหา การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และคอมพิวเตอร์ โดยครู และบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน
4
สถานศึกษามีผลการประเมิน ความพึงพอใจ โดยเฉลี่ย 3.51- 5.00 สถานศึกษามีการนําผลการประเมินไปปรับปรุง การบริหารจัดการ
5
ผลการ การปฏิบัติ ดําเนินงาน ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี มีแผนงาน โครงการ การจัดหา การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ครุภณ ั ฑ์ และคอมพิวเตอร์ ดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ มีการประเมินความพึงพอใจ ต่อการจัดหาการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และ คอมพิวเตอร์ ผลการประเมินเฉลี่ย 4.30 นําผลการประเมินไปปรับปรุง การบริหารจัดการ
สรุปผลการดําเนินงาน ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ จากหลักฐานการ ประเมินความพึงพอใจต่อการจัดหา การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ โดยครูและบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๒๓
ตัวบ่งชี้ที่ 3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามหน้าที่ความ รับผิดชอบ มีการจัดประชุมชี้แจงให้ทราบนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในการ จัดการเรียนการสอน และจัดโครงการบริหารงานบุคลากร มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ มีการจัด ทําแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ พ.ศ. 2557-2560 เพื่อพัฒนาศักยภาพ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ให้เป็นสถานศึกษาแห่งคุณภาพ โดยมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาได้รับการพัฒนาวิธีการจัดการความรู้และการคิดอย่างเป็นระบบ และ พัฒนาคุณภาพงานวิจัย ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยการ ส่งบุคลากรทางการศึกษา เข้ารับการอบรม การประชุมสัมมนา ทั้งในวิทยาลัย และนอกวิทยาลัยในปีการศึกษา 2557 บุคลากรได้รับการพัฒนาตามหน้าที่ความรับผิดชอบ ได้แก่ การพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากร ทางการศึกษาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูวิชาชีพแบบฐาน สมรรถนะ โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษากับสาธารณรัฐ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และโครงการฝึกอบรมผู้นําเยาวชน ณ ประเทศญี่ปุ่น ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการพัฒนาและบุคลากรทางการศึกษา มีดังต่อไปนี้ ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1
สถานศึกษาดําเนินการให้ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในสถานศึกษา ได้รับการฝึกอบรมด้าน วิชาการหรือวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ผลการ ดําเนินงาน ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี ครูและบุคลากรทางการศึกษา การ ปฏิบัติ
ในสถานศึกษา ได้รับฝึกอบรม จํานวน 191 คน จากจํานวนทั้งหมด 191 คน คิดเป็นร้อยละ 100
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ 2
3
4
5
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษา ได้รับทุน จํานวน 13 คน จากจํานวน ทั้งหมด 191 คน คิดเป็นร้อยละ 6.81 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษา ได้เข้าร่วม ในสถานศึกษา เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน ครูและ โครงการ จํานวน 14 คน บุคลากรทางการศึกษากับสถานศึกษาอื่น หรือ จากจํานวนทั้งหมด 191 คน หน่วยงาน องค์กรภายนอกตรงกับสาขาวิชาชีพ ไม่น้อย คิดเป็นร้อยละ 7.33
สถานศึกษาดําเนินการให้ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในสถานศึกษา ได้รับทุนการศึกษา ทุนวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์จากหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
๑๒๔
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การ ปฏิบัติ
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษา ได้รับการพัฒนา จํานวน 191 คน จากจํานวนทั้งหมด 191 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ครู และบุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษาดําเนินการให้ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในสถานศึกษา ได้รับการประกาศเกียรติคุณยก ในสถานศึกษา ได้รับประกาศ เกียรติคณ ุ ยกย่องด้านวิชาการ ย่องด้านวิชาการหรือวิชาชีพ หรือจรรยาบรรณ หรือวิชาชีพหรือจรรยาบรรณ วิชาชีพ จากหน่วยงานหรือองค์กรภายนอกไม่น้อยกว่า วิชาชีพ จํานวน 23 คน ร้อยละ 5 จากจํานวนทั้งหมด 191 คน คิดเป็นร้อยละ 12.04
กว่าร้อยละ 5 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในสถานศึกษา ได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ เหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
สรุปผลการดําเนินงาน
จากการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ทําให้ครูและบุคลากรในวิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม่ได้รับการฝึกอบรมด้านวิชาการและวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพร้อยละ 100 ได้รับ ทุนการศึกษา ทุนวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัยร้อยละ 6.81 เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนครูและบุคลากรทางการศึกษากับสถานศึกษาอืน่ หรือหน่วยงานองค์กร ภายนอกตรงกับสาขาวิชาชีพร้อยละ 7.33 ได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่เหมาะสมร้อยละ 100 และครู บุคลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ได้รบั ประกาศเกียรติคุณยกย่อง ด้านวิชาการ วิชาชีพ หรือจรรยาบรรณจากหน่วยงานหรือองค์กรภายนอก จํานวนร้อยละ 12.04 ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๒๕
ตัวบ่งชี้ที่ 3.11 ระดับคุณภาพในการบริหารการเงินและงบประมาณ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ตระหนักต่อการจัดสรรงบประมาณ เพื่อซื้อวัสดุฝึก อุปกรณ์ สําหรับการจัดการเรียนในแต่ละสาขาวิชา โดยจัดทําคําสั่งแต่งตั้งบุคลากรให้ทําหน้าที่จัดทํารายระเอียด ชั่วโมงสอนมอบหมายให้ครูทําหน้าที่สอนตามรายวิชาที่ตรงกับความรู้ความสามารถและจัดทํา สผ.1 เพื่อเสนอขอซื้อวัสดุฝึกสําหรับการจัดการเรียนการสอนแต่ละภาคเรียนและรายงานผลการจัดการเรียน การสอน โดยใช้วัสดุฝึกด้วย สผ.2 ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีการบริหารการเงินและงบประมาณ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ ประจําปีของสถานศึกษา ในด้านวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อสําหรับการเรียนการสอน การบริการวิชาการและ วิชาชีพ การส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและผู้เรียนจัดทํา และดําเนินการจัดประกวด จัดแสดงโครงการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย การดําเนินงานตามโครงการ กิจกรรม ด้านการปลูกจิตสํานึกและ เสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โดย 1. จัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อจัดสรรงบประมาณตามความเหมาะสม 2. สถานศึกษาแจ้งให้บุคลากรทุกคนจัดทําโครงการ เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสร้างรายได้เสริมหลักสูตรที่มีการใช้วัสดุฝึก 3. จัดทําแผนปฏิบัติการประจําปีที่มีการจัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดซื้อวัสดุฝึก ผลสัมฤทธิ์ (Achievement)
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1 สถานศึกษามีรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์ และสื่อ สําหรับการจัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของงบดําเนินการ
ข้อปฏิบัติ/จํานวน ค่าใช้จ่ายค่าวัสดุฝึก จํานวน 2,508,560 บาท จากงบดําเนินการ 21,529,219.75 บาท คิดเป็นร้อยละ 11.65
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การ ปฏิบัติ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
รายได้จากการใช้วัสดุฝึก จํานวน 1,644,739.67 บาท จากวัสดุฝึก 2,000,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 82.24 ค่าใช้จ่ายวัสดุฝึก สถานศึกษามีรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อ สําหรับการบริการวิชาการและวิชาชีพไม่น้อยกว่า 1,739,905 บาท จากงบดําเนินการ ร้อยละ 1 ของงบดําเนินการ จํานวน 21,529,219.75 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.08 ค่าใช้จ่ายส่งเสริม สนับสนุนให้ครู สถานศึกษามีรายจ่ายในการส่งเสริม สนับสนุน ให้ครู และผู้เรียนจัดทําและดําเนินการจัดประกวด และผู้เรียนจํานวน 2,929,880 บาท จากงบดําเนินการ จัดแสดงโครงการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ จํานวน 21,529,219.75 บาท งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 คิดเป็นร้อยละ 13.61
2 สถานศึกษามีรายได้หรือมีมูลค่าของผลผลิต ผลงานจากการใช้วัสดุฝึกในการจัดการเรียน การสอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของวัสดุฝึก 3
4
5
ของงบดําเนินการ สถานศึกษามีรายจ่ายในการดําเนินงานตาม โครงการ กิจกรรม ด้านการปลูกฝังจิตสํานึกและ เสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 5 ของงบดําเนินการ
ค่าใช้จ่ายการดําเนินงาน ตามโครงการ กิจกรรม จํานวน 2,704,900 บาท จากงบดําเนินการ จํานวน 21,529,219.75 บาท คิดเป็นร้อยละ 12.56
๑๒๖
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การ ปฏิบัติ
สรุปผลการดําเนินงาน ในการบริหารการเงินและงบประมาณโดยมีการบริหารการเงินและงบประมาณวิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม่ มีรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์ และสื่อสําหรับการเรียนการสอน ร้อยละ 11.65 ของงบดําเนินการ มีรายได้หรือมีมูลค่าของผลผลิต ผลงานจากการใช้วัสดุฝึกในการจัดการเรียนการสอนร้อยละ 82.24 ของวัสดุฝึก มีรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อสําหรับการบริการวิชาการและวิชาชีพคิดเป็นร้อยละ 8.08 ของงบดําเนินการ มีรายจ่ายในการส่งเสริม สนับสนุน ให้ครู และผู้เรียนจัดทําและดําเนินการจัดประกวด จัดแสดงโครงการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย คิดเป็นร้อยละ 13.61 ของ งบดําเนินการ มีรายจ่ายในการดําเนินงานตามโครงการ กิจกรรม ด้านการปลูกฝังจิตสํานึกและเสริมสร้าง ความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก คิดเป็นร้อยละ 12.56 ของงบดําเนินการ ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๒๗
ตัวบ่งชี้ที่ 3.12 ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่าย ทั้งในประเทศ และหรือต่างประเทศ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ได้กําหนดวิสัยทัศน์ของวิทยาลัย “สถาบันแห่งการเรียนรู้ มุ่งผลิต กําลังคนอาชีวศึกษาสู่นานาชาติ” ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนจึงต้องมุ่งเน้น การประสานความร่วมมือ กับสถาบันการศึกษาและองค์กรต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อระดมทรัพยากร และบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ ในการสนับสนุนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของวิทยาลัย อีกทั้งในปี 2558 ประเทศไทยจะ ก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเป็นองค์กรหนึ่งที่จะต้องขับเคลื่อนเข้าสู่ AEC พร้อมกับการผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพออกสู่ตลาดแรงงาน ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ในการระดมทรัพยากรเพื่อจัดการเรียน การสอนด้านอาชีวศึกษา ในการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคีได้ทํา MOU กับสถานประกอบการที่มี ระบบการทํางานสอดคล้องกับแผนการเรียน ส่วนในการศึกษาระบบปกติได้จัดหาทรัพยากรบุคคลที่มี ความเชี่ยวชาญจากภาครัฐและเอกชนมาสนับสนุนการเรียนการสอนเพื่อผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพตรงตาม ความต้องการของสถานประกอบการ เช่นการประสานความร่วมมือกับโรงเรียนสอนภาษา CEC ในการจัดหา ครูสอนที่เป็น Native speaker การร่วมมือกับศูนย์สอบ TOEIC เพื่อสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษของ ผู้เรียนโดยเฉพาะผู้เรียนใน Mini English Program การทํา MOU กับโรงเรียน SMK N 27 ประเทศ อินโดนีเซียในรูปของโครงการแลกเปลี่ยนบุคคลากรทางการศึกษาและนักเรียน ในอนาคตได้วางแผนที่จะให้ ผู้เรียนของทั้ง 2 สถาบันได้เรียนร่วมกันโดยใช้บทเรียนออนไลน์ (Edmodo) เพื่อพัฒนาการจัดเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ได้ประสานความร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศ ในการจัดการศึกษา ทําให้สามารถผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพ จากสถิติการจบการศึกษาและ การมีงานทําของผู้เรียนอยู่ในระดับสูง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าวิทยาลัยอาชีวศึกษาประสบความสําเร็จในการจัด การศึกษาตามตัวบ่งชี้ที่ 3.12
ข้อ 1
ประเด็นพิจารณา สถานศึกษามีแผนงาน โครงการในการระดม ทรัพยากร ในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่าย ทั้งในประเทศและหรือต่างประเทศ
ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีแผนงาน โครงการในการ ระดมทรัพยากร ในการจัดการ อาชีวศึกษากับเครือข่าย ทั้งในประเทศและหรือ ต่างประเทศ
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การปฏิบัติ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ 2
3
4
5
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
มีจํานวนสาขางาน จํานวน 34 สาขางาน จากจํานวนสาขางานที่ เปิดสอน 34 สาขางาน คิดเป็นร้อยละ 100 สถานศึกษามีจํานวนสถานประกอบการทั้งในประเทศ มีสถานประกอบการทั้งใน และ หรือต่างประเทศที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ประเทศ และต่างประเทศที่มี ส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา กับสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 20 แห่ง กับสถานศึกษา จํานวน 433 แห่ง มีการระดมทรัพยากรอื่น ๆ สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรอื่น ๆ เช่น เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการ งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ จัดการอาชีวศึกษา เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษา จํานวน 28 รายการ ไม่น้อยกว่า 5 รายการ มีการประเมินผลการ สถานศึกษามีการประเมินผลการดําเนินงานตาม ดําเนินงานตามแผนงาน แผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรในการ จัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายทั้งในประเทศและ โครงการ
สถานศึกษามีสาขางานที่มีการจัดหาภูมิปัญญา ท้องถิ่น ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งในประเทศ และ หรือต่างประเทศร่วมพัฒนาผู้เรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของจํานวนสาขางานที่เปิดสอน
๑๒๘
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การปฏิบัติ
หรือต่างประเทศ เพื่อการปรับปรุง สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีแผนงานโครงการในการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษา กับเครือข่ายทั้งในประเทศและหรือต่างประเทศ ในด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ สถาน ประกอบการ งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ จํานวนโครงการ 28 โครงการ ระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๒๙
สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๓ ในแต่ละตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้
3.1 ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย
เกณฑ์การตัดสิน
- ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ
สัมฤทธิ์ผล ของการ ดําเนินงาน
ผลการประเมิน
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
- ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทําแผนการบริหาร - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ จัดการสถานศึกษา - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.3 ระดับคุณภาพในการพัฒนาสถานศึกษา ตามอัตลักษณ์
- ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.4 ระดับคุณภาพในการบริหารงานและภาวะ - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ ผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษา - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.5 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการระบบ - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ ฐานข้อมูล สารสนเทศของสถานศึกษา - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตัวบ่งชี้ 3.6 ระดับคุณภาพในการบริหารความเสี่ยง
เกณฑ์การตัดสิน - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ
สัมฤทธิ์ผล ของการ ดําเนินงาน
๑๓๐
ผลการประเมิน
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
- ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.7 ระดับคุณภาพในการจัดระบบดูแลผู้เรียน - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของสถานศึกษา และการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ
- ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.9 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์
- ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษา
- ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.11 ระดับคุณภาพในการบริหารการเงิน และงบประมาณ
- ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ตัวบ่งชี้
เกณฑ์การตัดสิน
สัมฤทธิ์ผล ของการ ดําเนินงาน
๑๓๑
ผลการ ประเมิน
- ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
3.12 ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรใน - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ การจัดการศึกษากับเครือข่าย ทั้งในประเทศ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ และ หรือต่างประเทศ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ดีมาก
60
- ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
รวมผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 3
5
สรุปจุดเด่น และจุดที่ต้องพัฒนาของมาตรฐานที่ 3 จุดเด่น ได้แก่ ตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ 3.1 การปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.2 การจัดทําแผนการบริหารจัดการสถานศึกษาอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก 3.3 การพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.4 การบริหารงานและภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.5 การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.6 การบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.7 การจัดระบบดูแลผู้เรียนมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.8 การพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.9 การบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.10 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.11 การบริหารการเงินและงบประมาณมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.12 การระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายทั้งในประเทศและ หรือต่างประเทศ มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๓๒
มาตรฐานที่ ๔ ด้านการบริการวิชาการและวิชาชีพ ตัวบ่งชี้ 4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการการบริการวิชาการและวิชาชีพ ความตระหนัก (Awareness) สถานศึกษามีการวางแผนการจัดการประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจกับบุคลากรในฝ่ายงาน เพื่อรับทราบและร่วมปรึกษาในการกําหนดโครงการ กิจกรรมการดําเนินงาน การให้บริการ และส่งเสริม วิชาชีพในการพัฒนาทักษะของผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์ที่กําหนด ซึ่งผลการประชุมทําให้สถานศึกษา ได้มีส่วนร่วมกับชุมชนและเกิดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น โครงการสอนอาชีพระยะสั้น ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียน มีส่วนร่วมการดําเนินโครงการฝึกทักษะปฏิบัติงานถ่ายทอดความรู้ในองค์กรแหล่งเรียนรู้อื่น เป็นต้น ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษาได้นําโครงการ/กิจกรรม ที่ได้กําหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจําปีไปดําเนินการ พบว่า มีอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาได้ดําเนินการปรับปรุง พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อนําไป จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่งเน้นการถ่ายทอด และส่งเสริมวิชาชีพความรู้สู่ชุมชน ดําเนินโครงการฝึกทักษะปฏิบัติของผู้เรียนในองค์กรแหล่งเรียนรู้อื่น ส่งผลให้เกิดการพัฒนาทักษะวิชาชีพและคุณภาพของผู้เรียน ซึ่งผลการดําเนินการทําให้ผู้เรียนสําเร็จการศึกษา ได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องได้ ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การปฏิบัติ
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
1
สถานศึกษามีแผนงาน โครงการ กิจกรรม บริการ วิชาการและวิชาชีพ โดยการมีส่วนร่วมของครูและ บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน สถานศึกษาดําเนินการให้ทุกสาขางานดําเนินงาน ไม่น้อยกว่า 2 โครงการ กิจกรรม ต่อปี สถานศึกษาดําเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่าย ในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เข้าร่วม โครงการกิจกรรม
มีแผนงาน โครงการ กิจกรรม การบริการวิชาการและวิชาชีพ โดยครูและ ผู้เรียนมีส่วนร่วม
2 3
ทุกสาขางานดําเนินงาน ทั้งหมด 12 โครงการ ครูและบุคลากรเข้าร่วม กิจกรรม จํานวน 191 คน จากจํานวนทั้งหมด 191 คน คิดเป็นร้อยละ 100
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๓๓
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การปฏิบัติ
ข้อ 4
5
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
สถานศึกษาดําเนินการให้ผู้เรียนในแต่ละสาขางาน ผู้เรียนทุกสาขางานเข้าร่วม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 เข้าร่วมโครงการ กิจกรรม โครงการ กิจกรรม
สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจของ ผู้รับบริการและมีผลการประเมินโดยเฉลี่ย 3.51-5.00
จํานวน 2,998 คน จากผู้เรียนทั้งหมด 3,109 คน คิดเป็นร้อยละ 96.43 ผลการประเมินความพึงพอใจ ผู้รับบริการโดยเฉลี่ย 4.59
สรุปผลการดําเนินงาน การบริหารจัดการการบริการวิชาการและวิชาชีพ มีการปฏิบัติตามประเด็นพิจารณา 5 ข้อ ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 4 ในแต่ละตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้
เกณฑ์การตัดสิน
4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ การบริการวิชาการและวิชาชีพ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ รวมผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 4 ค่าเฉลี่ย
สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน ระดับคุณภาพ ดีมาก
ผลการ ประเมิน 5
ระดับคุณภาพ ดีมาก ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
สรุปจุดเด่น และจุดที่ต้องพัฒนาของมาตรฐานที่ 4 จุดเด่น ได้แก่ ตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารจัดการการบริการวิชาการและวิชาชีพมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
5
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๓๔
มาตรฐานที่ ๕ ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ตัวบ่งชี้ 5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของผู้เรียน ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สอน ผู้เรียน จัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ คนรุ่นใหม่ โครงงาน และงานวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การประกอบอาชีพ หรือ พัฒนาชุมชนท้องถิ่น และประเทศชาติ กําหนดให้มีวิชาโครงการ สําหรับนักศึกษา ปวช. 3 และปวส. 2 เพื่อส่งเสริมให้บุคลากร และนักเรียน นักศึกษาทุกสาขาวิชาจัดทําโครงงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และ งานวิจัย เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนการสอน และมีการจัดเผยแพร่ไปยังชุมชน ท้องถิ่น เพื่อเป็น แนวทางในการประกอบอาชีพ รวมทั้งการนําผลงานไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา มีการส่งเสริมให้เข้า ร่วมแสดงและได้รับรางวัลหรือนําไปใช้ประโยชน์ในระดับ ชุมชน จังหวัด ภาค และชาติ ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้เรียนจัดทําและดําเนินการประกวด จัดแสดง โครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย หรือได้รับรางวัลในระดับชุมชน จังหวัด ภาค และชาติ และเผยแพร่ต่อสาธารณชน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการดําเนินงานทุกประเภทวิชา สาขางาน มีโครงการสิ่งประดิษฐ์ หรืองานวิจัยที่ได้รับรางวัล หรือนําไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา ในระดับชุมชน ท้องถิ่น ภาค และระดับชาติ อีกทั้งมีการเผยแพร่ ต่อสาธารณชน ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การปฏิบัติ
ข้อ 1
2
ประเด็นพิจารณา
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้เรียนจัดทําและ ผู้เรียนจัดทําและดําเนินการ จัดประกวด จัดแสดงโครงการ ดําเนินการจัดประกวด จัดแสดงโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย
หรืองานวิจัย จํานวนผู้เรียนระดับชั้น ปวช.3 สถานศึกษาดําเนินการให้ผู้เรียนระดับชั้น ปวช.3 584 คน จัดทําโครงงาน และระดับชั้นปวส.2 จัดทําโครงการสิ่งประดิษฐ์ จํานวน 198 ชิ้นงาน และ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยโดยมีจํานวนผลงาน จํานวนผู้เรียนระดับ ปวส. ทั้งหมด ตามเกณฑ์เฉลี่ย ระดับชั้น ปวช.3 จํานวน 3 504 คน จัดทําโครงงาน คน : 1 ชิ้น และระดับชั้น ปวส. 2 จํานวน 2 คน : 1 ชิ้น จํานวน 255 ชิ้นงาน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
3 สถานศึกษาได้จัดประกวดและได้นําโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 ของจํานวนผลงานทั้งหมดไปใช้ ประโยชน์ในสถานศึกษา 4 สถานศึกษาได้นําโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของจํานวนผลงานทั้งหมด เผยแพร่ต่อสาธารณชน 5 สถานศึกษาดําเนินการให้โครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนงานทั้งหมด นําไปใช้ประโยชน์หรือ ได้รับรางวัลในระดับชุมชน จังหวัด ภาค และชาติ
ข้อปฏิบัติ/จํานวน จํานวนผลงานทั้งหมด 453 ชิ้น นําไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา 453 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 100 จํานวนผลงานทั้งหมด 453 ชิ้น นําไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน 453 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 100
๑๓๕
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การ ปฏิบัติ
จํานวนผลงานทั้งหมด 453 ชิ้น ได้นําไปใช้ประโยชน์ หรือ ได้รับรางวัลระดับจังหวัด 145 ชิ้น นําไปใช้ประโยชน์หรือได้รับ รางวัลระดับภาค 289 ชิ้น นําไปใช้ประโยชน์หรือได้รับ รางวัลระดับชาติ 19 ชิ้น รวมทั้งหมด 453 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 84.01
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๓๖
ตารางแสดงระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของผู้เรียน
ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2557 สาขาวิชา/สาขางาน
จํานวนผู้เรียนชั้น ปวช.3 ทั้งหมด หารด้วย 3 จํานวน จํานวน นักเรียน ผลงาน
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวิชาพณิชยการ 1.1 สาขางานการบัญชี 117 39 1.2 สาขางานการขาย 27 9 1.3 สาขางานการเลขานุการ 37 13 1.4 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 72 24 รวมประเภทวิชาพาณิชยกรรม 253 85 ประเภทวิชาศิลปกรรม 2. สาขาวิชาศิลปกรรม 2.1 สาขางานวิจิตรศิลป์ 17 6 2.2 สาขางานการออกแบบ 21 7 2.3 สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา 19 7 2.4 สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม 16 6 รวมประเภทวิชาศิลปกรรม 73 26 ประเภทวิชาคหกรรม 3. สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย 3.1 สาขางานออกแบบเสื้อผ้า 18 6 4. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 4.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ 120 4 4.2 สาขางานอาหารและโภชนาการ (MEP.) 15 5 5. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 5.1 สาขางานคหกรรมการผลิต 16 6 5.2 สาขางานคหกรรมบริการ 15 5 รวมประเภทวิชาคหกรรม 184 62 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว 6. สาขาวิชาการโรงแรมและการ ท่องเที่ยว 6.1 สาขางานการโรงแรม 30 10 6.2 สาขางานการโรงแรม (MEP.) 6 2 6.3 สาขางานการท่องเที่ยว 26 9 6.4 สาขางานการท่องเที่ยว (MEP.) 12 4 รวมประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว 74 25 รวมทั้งหมด 584 198 คิดเป็นร้อยละ 165.3 X 100 = 83.48% 198
ระดับภาค
ระดับชาติ
คะแนน รวม ทั้งหมด
ระดับ สถานศึกษา
ระดับจังหวัด
จํานวน x0.5
จํานวน
x0.7
จํานวน
x0.9
จํานวน
x1.0
1 1
1 1
32.4 7.3 11.1 19.4 70.2
-
5.4 5.5 6.1 5.2 22.6
-
-
14 4 3 11 32
9.8 2.8 2.1 7.7 22.4
2.4 5 10 13 52
21.6
-
-
2 1 1 4
1.4 0.7 0.7 2.8
6 5 6 5 22
5.4 4.5 5.4 4.5 19.8
-
-
-
2
1.4
2
1.8
2
2
5.2
-
-
8 3
5.6 2.1
30 2
27 1.8
2 -
2 -
34.6 3.9
-
-
2 2 17
1.4 1.4 11.9
4 3 41
3.6 2.7
4
4
5. 4.1 52.8
-
-
7 1 5 1 14 67
4.9 3 0.7 1 3.5 4 07 3 9.8 11 46.9 126
5
5
7.6 1.6 7.1 3.4 19.7 165.3
4.5 9 11.7 46.8
36.9
2.7 0.9 3.6 2.7 9.9 113.4
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๓๗
ตารางแสดงระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของผู้เรียน
ระดับ ปวส. ปีการศึกษา 2557 สาขาวิชา/สาขางาน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาการบัญชี 1.1 สาขางานการบัญชี 2. สาขาวิชาการตลาด 2.1 สาขางานการตลาด 3. สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน 3.1 สาขางานการจัดการสํานักงาน 4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 4.1 สาขางานการพัฒนาเว็บเพจ 5. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก (ทวิ)
รวมประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาศิลปกรรม 6. สาขาวิชาการออกแบบ 6.1 สาขางานออกแบบนิเทศศิลป์ 7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 7.1 สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต
8. สาขาวิชาช่างทันตกรรม 8.1 สาขางานช่างทันตกรรม (ทวิ) รวมประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม 9. สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย 9.1 สาขางานการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีขั้นสูง
จํานวนผู้เรียนชั้น ปวส.2 ทั้งหมด ระดับ หารด้วย 2 สถานศึกษา จํานวน จํานวน จํานวน x0.5 นักเรียน ผลงาน
ระดับจังหวัด
ระดับภาค
ระดับชาติ
จํานวน
x0.7
จํานวน
x0.9
จํานวน
x1.0
คะแนน รวม ทั้งหมด
122
61
-
-
22
15.4
36
32.4
3
3
50.8
46
23
-
-
17
11.9
6
5.4
-
-
17.3
53
27
-
-
8
5.6
19
17.1
-
-
22.7
57 16 291
29 8 148
-
-
12 4 63
8.4 2.8 44.1
15 4 80
13.5
3.6 72
2 5
2 5
23.9 6.4 121.1
8
4
-
-
-
-
4
3.6
-
-
3.6
17
9
-
-
2
1.4
7
6.3
-
-
7.7
25
13
-
-
2
1.4
11
9.9
-
-
11.3
13
7
-
-
-
-
5
4.5
2
2
6.5
92
46
-
-
-
-
41
36.9
5
5
41.9
8 113
4 57
-
-
-
-
4 50
3.6 45
7
7
3.6 52
26
13
-
5
3.5
8
7.2
-
-
10.7
10. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 10.1 สาขางานการประกอบอาหาร 11. สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์
11.1 สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ์ 11.2 สาขางานคหกรรมการบริการ (ทวิ)
รวมประเภทวิชาคหกรรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 12. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ 12.1 สาขางานการบริการอาหารและ เครื่องดื่ม (ทวิ)
12.2 สาขางานครัวโรงแรม (ทวิ) 12.3 สาขางานแม่บ้านโรงแรม (ทวิ) 12.4 สาขางานบริการส่วนหน้าโรงแรม(ทวิ)
-
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๓๘
ตารางแสดงระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของผู้เรียน
ระดับ ปวส. ปีการศึกษา 2557 จํานวนผู้เรียนชั้น ปวส.2 ทั้งหมด หารด้วย 2 จํานวน จํานวน นักเรียน ผลงาน
สาขาวิชา/สาขางาน 12.5 สาขางานการบริหารอาหารและ เครื่องดื่ม (ทวิ) 13. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว 13.1 สาขางานมัคคุเทศก์เดินป่า รวมประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
รวมทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 215.3 255
ปี การศึกษา
จํานวน ผลงาน
2557 รวมเฉลี่ย
คิดเป็นร้อยละ
453 453
19
10
27
14 37 255
ระดับ สถานศึกษา จํานวน
ระดับจังหวัด
ระดับภาค
ระดับชาติ
คะแนน รวม ทั้งหมด
x0.5
จํานวน
x0.7
จํานวน
x0.9
จํานวน
x1.0
-
3
2.1
6
5.4
1
1
8.5
-
5 13 78
3.5 9.1 54.6
8 7.2 22 19.8 163 146.
1 2 14
1 2 14
11.7 30.9
-
7
215.3
X 100 = 84.43%
ระดับ ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับชาติ สถานศึกษา รวม รวม รวม รวม จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน 145 101.5 289 260.1 19 19 145 101.5 289 260.1 19 19 -
380.6 453
คะแนน รวม ทั้งหมด 380.6 380.6
X 100 = 84.01%
สรุปผลการดําเนินงาน ผลงานที่เป็นโครงงานทางวิชาชีพหรือสิ่งประดิษฐ์ของผู้เรียนที่ได้นําไปใช้ ประโยชน์ในระดับ ปวช. และ ปวส. ปีการศึกษา ๒๕๕7 รวมคิดเป็นร้อยละ 84.01 คิดเป็นคะแนน 4.20
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๓๙
ตัวบ่งชี้ 5.2 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ งานวิจัยของครู ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ส่งเสริมสนับสนุนจัดสรรงบประมาณทั้งภายในและภายนอกให้ครู และบุคลากรทางการศึกษา ในการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย และผลงาน ทางวิชาการที่พัฒนาองค์ความรู้ในการจัดการเรียนการสอน และส่งเสริมการประกวด จัดแสดงและเผยแพร่ ผลงานรวมทั้งการนําผลไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา มีการส่งเสริมให้เข้าร่วมแสดงแข่งขันและได้รับรางวัล หรือนําไปใช้ประโยชน์ในระดับชุมชน จังหวัด ภาค และระดับชาติ ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ จัดทําคู่มือการเขียนโครงร่างวิจัย และคู่มือการเขียนรายงานประเมินผล การดําเนินงานตามโครงการ 5 บท เพื่อพัฒนางานและพัฒนาการเรียนการสอน ดําเนินการให้ครูและบุคลากร ทางการศึกษา จัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย จัดให้มีการประกวดและได้นํา นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยไปใช้ประโยชน์ หรือได้รับรางวัล หรือนําไปใช้ประโยชน์ใน ระดับชุมชน จังหวัด ภาคและระดับชาติ ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การปฏิบัติ
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1 สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้ครูจัดทําและ ดําเนินการจัดประกวด จัดแสดง นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย 2 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูทุกคน จัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย 3 สถานศึกษาได้ประกวดและได้นํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ไม่น้อย กว่าร้อยละ 75 ของจํานวนผลงานทั้งหมดไปใช้ ประโยชน์ในสถานศึกษา 4 สถานศึกษาได้นํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์หรืองานวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนผลงานทั้งหมด เผยแพร่ต่อสาธารณชน
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
ครูจัดทําและดําเนินการจัด ประกวด จัดแสดง นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์หรือ งานวิจัย ครูจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย จํานวน 110 คน จํานวนผลงานทั้งหมด 110 ชิ้น นําไปใช้ประโยชน์ 110 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 100 จํานวนผลงานทั้งหมด 110 ชิ้น นําไปเผยแพร่ 110 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 100
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๔๐
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การปฏิบัติ
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
5 สถานศึกษาดําเนินการให้ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนผลงานทั้งหมดนําไปใช้ประโยชน์ หรือ ได้รับรางวัลในระดับชุมชน จังหวัด ภาคและชาติ
ข้อปฏิบัติ/จํานวน จํานวนผลงานทั้งหมด 110 ชิ้น ได้รับรางวัลระดับชุมชน - ชิ้น ได้รับรางวัลระดับจังหวัด 30 ชิ้น ได้รับรางวัลระดับภาค 67 ชิ้น ได้รับรางวัลระดับชาติ 13 ชิ้น รวมทั้งสิ้น 110 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 84.91
สรุปผลการดําเนินงาน การบริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครูมีการปฏิบัติตามประเด็น การพิจารณา 5 ข้อ ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน แสดงผลงานทีเ่ ป็นนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครูที่ได้นาํ ไปใช้ประโยชน์ ปีการศึกษา ๒๕๕7
สาขาวิชา/สาขางาน
สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาพณิชการ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว
สาขาวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟฟิก สาขาวิชาการออกแบบ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ รวม คิดเป็นร้อยละ
จํานวน ระดับ ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับชาติ ครูประจําทั้งหมด สถานศึกษา (9 เดือนขึ้นไป) จํานวน จํานวน x x x x จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน ครู ผลงาน 0.5 0.7 0.9 1.0 6 6 2 1.4 4 3.6 11 11 2 1.4 7 6.3 2 2 8 8 1 0.7 5 4.5 2 2 11 11 3 2.1 6 5.4 2 2 7 7 3 2.1 4 3.6 6 6 3 2.1 3 2.7 7 7 1 0.7 4 3.6 2 2 8 8 2 1.4 6 5.4 4 4 1 0.7 3 2.7 4 4 1 0.7 3 2.7 8 8 4 2.8 3 2.7 1 1 3 3 1 0.7 2 1.8 5 5 2 1.4 3 2.7 22 22 4 2.8 14 12.6 4 4 110 110 30 21 67 60.3 13 13 84.91 100 -
*ยกเว้นครูอัตราจ้างภาษาจีนชาวต่างชาติ จํานวน ........-........ คน คะแนนที่ได้เท่ากับ......4.24........
คะแนน รวม ค่าถ่วง น้ําหนัก 5.0 9.7 7.2 9.5 5.7 4.8 6.3 6.8 3.4 3.4 6.5 2.5 4.1 19.4 93.40
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
สรุปผลงานที่เป็นนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู ที่ได้นําไปใช้ประโยชน์ ต่อจํานวนครูประจําทั้งหมด ปีการศึกษา 2557 สาขาวิชา/สาขางาน
เฉลี่ยจํานวนครู
สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาพณิชยการ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว สาขาวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟฟิก สาขาวิชาการออกแบบ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ รวม คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้เท่ากับ 4.24
6 11 8 11 7 6 7 8 4 4 8 3 5 22 110 84.91 93.40 110
ปีการศึกษา ๒๕๕7 6 11 8 11 7 6 7 8 4 4 8 3 5 22
110
X 100 = 84.91 %
ค่าเฉลี่ยผลคะแนน ปีการศึกษา 2557 5.0 9.7 7.2 9.5 5.7 4.8 6.3 6.8 3.4 6.5 2.5 4.1 19.4 93.40
๑๔๑
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๔๒
สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 5 ในแต่ละตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้
เกณฑ์การตัดสิน
5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ โครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ หรืองานวิจัยของผู้เรียน - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ
สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน ระดับคุณภาพ ดีมาก
ผลการประเมิน 5
- ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
5.2 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ หรืองานวิจัยของครู - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก ระดับคุณภาพ ดีมาก
10
- ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
รวมผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 5 ค่าเฉลี่ย
5
สรุปจุดเด่น และจุดที่ต้องพัฒนาของมาตรฐานที่ 5 จุดเด่น ได้แก่ ตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ 5.1 การบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของผู้เรียนมีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก 5.2 การบริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู มีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๔๓
มาตรฐานที่ ๖ ด้านการปลูกฝังจิตสํานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ตัวบ่งชี้ 6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสํานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและ ทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้มีแผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ 2557 โดยสอดคล้องกับ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5.3 เพื่อให้บุคลากรมีความตระหนักและมีจิตใต้สํานึกในการทํานุบํารุง สืบสานภูมิ ปัญญาไทย ประเพณีศิลปวัฒนธรรม ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียน ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินกิจกรรมตามโครงการต่าง ๆ ในการปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข และทํานุบํารุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม เช่น โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และวิทยาลัย โครงการ และแต่ละชมรม แผนกวิชา ประเภทวิชามีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรมโครงการที่มุ่งเน้นในการสร้างจิตสํานึกให้เกิดขึ้นแก่นักเรียนนักศึกษา ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้จัดกิจกรรมที่ปลูกฝังจิตสํานึกด้านการรักชาติ เทินทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย ซึ่งมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และทํานุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ผลการ ดําเนินงาน ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี มีโครงการกิจกรรมการปลูกฝัง การปฏิบัติ
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1 สถานศึกษามีจํานวนโครงการ กิจกรรม การปลูกฝัง จิตสํานึกด้านการรักชาติ เทิดทูน พระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ กิจกรรม
จิตสํานึกฯ จํานวน 5 โครงการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๔๔
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การปฏิบัติ
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
2 สถานศึกษาดําเนินการให้ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วม โครงการ กิจกรรม การปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการรัก ชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข และทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม 3 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษาทุกคนเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม การ ปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการรักชาติ เทิดทูน พระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม 4 สถานศึกษามีการประเมินผลการดําเนินงานตาม โครงการ กิจกรรม การปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการรัก ชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข และทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน เพื่อนําผลไปปรับปรุงการบริหารจัดการ 5 สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจของ ผู้เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของ สถานศึกษาในการปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และมีผลการ ประเมินโดยเฉลี่ย 3.51 - 5.00
ข้อปฏิบัติ/จํานวน ผู้เรียนทั้งหมด จํานวน 3,109 คน เข้าร่วมโครงการกิจกรรม ปลูกฝังจิตสํานึกฯ
ครูและบุคลากรทั้งหมด จํานวน 191 คน เข้าร่วม โครงการกิจกรรมปลูกฝัง จิตสํานึกฯ
มีการประเมินผลการดําเนินงาน ตามโครงการ กิจกรรม ด้านปลูกฝังจิตสํานึกฯ
ผลการประเมินความพึงพอใจ ของผู้เกี่ยวข้องภายนอก สถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ ของสถานศึกษาในการปลูกฝัง จิตสํานึกฯ โดยเฉลี่ย 4.51
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีโครงการกิจกรรมการปลูกฝังจิตสํานึกด้านการรักชาติ เทิดทูน พระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ ทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จํานวน 5 โครงการ มีผู้เรียน ครูและบุคลากรทุกคนเข้าร่วมโครงการ มีการประเมินผลการดําเนินงานตามโครงการ และมีผลการประเมินความพึงพอใจ โดยเฉลี่ย 4.51 มีการ ปฏิบัติตามประเด็นพิจารณา 5 ข้อ ผลการประเมินระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๔๕
ตัวบ่งชี้ 6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้มีแผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ 2557 โดยสอดคล้องกับ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 53 เพื่อให้บุคลากรมีความตระหนักและมีจิตใต้สํานึกในการทํานุบํารุง สืบสาน ภูมิปัญญาไทย ประเพณีศิลปวัฒนธรรมและกิจกรรมที่ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินกิจกรรมตามโครงการต่าง ๆ ในการร่วมกันสร้างจิตสํานึก และส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ได้แก่ โครงการทําความสะอาดครั้งใหญ่ 5ส. กิจกรรมร่วมใจ อนุรักษ์แม่น้ําปิง กิจกรรมจิตอาสาทําความสะอาดลานวัด กิจกรรมปลูกป่าลดโลกร้อน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งให้ความร่วมมือสนับสนุนกิจกรรมของสังคมและท้องถิ่น ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้จัดกิจกรรมที่ปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จํานวน 5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 96.65 เทียบกับการตัดสินอยู่ในระดับดีมาก
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1 สถานศึกษามีจํานวนโครงการ กิจกรรม การปลูกฝัง จิตสํานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไม่น้อยกว่า 5 โครงการ กิจกรรม 2 สถานศึกษาดําเนินการให้ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วม โครงการ กิจกรรมการปลูกฝังจิตสํานึกด้านการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3 สถานศึกษาดําเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษา ทุกคนเข้าร่วมโครงการ กิจกรรมการ ปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีโครงการกิจกรรมการปลูกฝัง จิตสํานึกฯ จํานวน 5 โครงการ ผู้เรียนทั้งหมด จํานวน 3,109 คน คนเข้าร่วม โครงการกิจกรรมปลูกฝัง จิตสํานึกฯ ครูและบุคลากรทั้งหมด 177 คน เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมปลูกฝังจิตสํานึกฯ
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การปฏิบัติ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ผลการ ดําเนินงาน ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี มีการประเมินผลการดําเนินงาน การปฏิบัติ
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
4 สถานศึกษามีการประเมินผลการดําเนินงานตาม โครงการ กิจกรรม การปลูกฝังจิตสํานึกด้านการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษาและผู้เรียน เพื่อนําผลไปปรับปรุง การบริหารจัดการ 5 สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจของ ผู้เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ ของสถานศึกษาในการปลูกฝังจิตสํานึกด้านการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและมีผลการประเมิน โดยเฉลี่ย 3.51-5.00
๑๔๖
ตามโครงการ กิจกรรม ด้านปลูกฝังจิตสํานึกฯ
ผลการประเมินความพึงพอใจ ของผู้เกี่ยวข้องภายนอก สถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ ของสถานศึกษาในการปลูกฝัง จิตสํานึกฯ โดยเฉลี่ย 4.35
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีจํานวนโครงการ กิจกรรม การปลูกฝังจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมจํานวน 5 โครงการ มีผู้เรียน ครูและบุคลากรทุกคนเข้าร่วมโครงการ มีการประเมินผลการ ดําเนินงานตามโครงการ และมีผลการประเมินความพึงพอใจ โดยเฉลี่ย 4.35 มีการปฏิบัติตามประเด็น พิจารณา 5 ข้อ ผลการประเมินระดับคุณภาพดี ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๔๗
ตัวบ่งชี้ 6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ทุกคน และผู้เรียนทุกคน เข้าร่วมโครงการ กิจกรรม ด้านกีฬาและนันทนาการ มีการประเมินผล การดําเนินงาน ตามโครงการกิจกรรม โดยครู และบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนเพื่อนําผลไปปรับปรุง การบริหารจัดการและมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ ของสถานศึกษาโดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 1 - 5 ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินกิจกรรมตามโครงการต่าง ๆ ในการส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ ได้แก่ โครงการกีฬาต้านยาเสพติด โครงการกิจกรรมกีฬาสี ปีการศึกษา 2557 โครงการ กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ โครงการจัดกิจกรรมเดิน – วิ่งการกุศลอาชีวศึกษามินิมาราธอน ครั้งที่ 12 กิจกรรม โครงการเข้าค่ายลูกเสือ-เนตรนารี วิสามัญ 2557 โครงการนันทนาการสัมพันธ์ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งให้ความร่วมมือสนับสนุนกิจกรรมของสังคม และท้องถิ่น ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้จัดกิจกรรมที่การส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการ ดังนี้ ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี √ √
การปฏิบัติ ข้อ 1 2 3
ประเด็นพิจารณา สถานศึกษามีจํานวนโครงการ กิจกรรม ด้านการ กีฬา และนันทนาการ ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ กิจกรรม สถานศึกษาดําเนินการให้ ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วม โครงการ กิจกรรม ด้านการกีฬาและนันทนาการ สถานศึกษาดําเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่าย ในสถานศึกษา ทุกคนเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม ด้านการกีฬาและนันทนาการ
ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีโครงการส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ ฯ จํานวน 5 โครงการ ผู้เรียนทั้งหมดจํานวน 3,109 คน เข้าร่วมโครงการกิจกรรมส่งเสริม ด้านการกีฬาและนันทนาการ ครูและบุคลากรทั้งหมด 177 คน เข้าร่วมโครงการกิจกรรมส่งเสริม ด้านการกีฬาและนันทนาการ
√
√
√
√
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๔๘
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี √ √
การปฏิบัติ ข้อ
ประเด็นพิจารณา
4
สถานศึกษามีการประเมินผลการดําเนินงานตาม โครงการ กิจกรรม ด้านการกีฬา และนันทนาการ โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและ ผู้เรียนเพื่อนําผลไปปรับปรุงการบริหารจัดการ สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจของ ผู้เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ ของสถานศึกษา ในการส่งเสริมด้านการกีฬาและ นันทนาการ และมีผลการประเมิน โดยเฉลี่ย 3.515.00
5
ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีการประเมินผลการ ดําเนินงานตามโครงการ กิจกรรม ส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ ผลการประเมินความพึงพอใจ ของผู้เกี่ยวข้องภายนอก สถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ ของสถานศึกษาในส่งเสริมด้าน การกีฬาและนันทนาการ โดยเฉลี่ย 4.34
√
√
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีจํานวนผู้เข้าร่วมโครงการ การส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการ จํานวน 177 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการประเมินระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๔๙
ตัวบ่งชี้ 6.4 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสํานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึงความสําคัญในการปลูกฝังจิตสํานึกในหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร จัดการสถานศึกษาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา และผู้เรียนนําผลไปปรับปรุงการบริหารจัดการ และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้ดําเนินการโดยได้จัดอบรมให้ความรู้แก่ครูและบุคลากรทาง การศึกษา ในการปลูกฝังจิตสํานึกในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ คณะครูให้จัดการเรียนการสอน แบบบูรณาการหลักการเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชา โดยนําไปถ่ายทอดให้ผู้เรียน อาทิ เช่น วิชาเศรษฐกิจ พอเพียง ผู้เรียนได้ความรู้ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะได้นําไปใช้ประโยชน์ชีวิตประจําวัน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการดําเนินงานปลูกฝังจิตสํานึกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สรุปตามประเด็นพิจารณา มีดังต่อไปนี้ ข้อ
ประเด็นพิจารณา
1
สถานศึกษามีการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ครูและ บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน
2
สถานศึกษามีแผนงาน โครงการ การบริหาร จัดการสถานศึกษา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน สถานศึกษามีการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ มีแผนงานตามโครงการ จํานวน 3 โครงการ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3
ข้อปฏิบัติ/จํานวน
ผลการ ดําเนินงาน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี การ ปฏิบัติ
มีการให้ความรู้และสร้างความ เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงให้แก่ครูและบุคลากรทุก ฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน มีแผนงานโครงการบริหารจัดการ สถานศึกษาโดยมีครู และบุคลากร จํานวน 177 คน รวมทั้ง นักเรียน 3,109 คน มีส่วนร่วม
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
4
สถานศึกษามีการประเมินผลการดําเนินงานตาม แผนงาน โครงการ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน เพื่อนําผลไปปรับปรุงการบริหารจัดการ
5
สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจของ ผู้เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มีต่อการปลูกฝัง จิตสํานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมี ผลการประเมินโดยเฉลี่ย 3.51-5.00
๑๕๐
ผลการ ดําเนินงาน ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี มีการประเมินผลการดําเนินงาน การ ปฏิบัติ
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โดยครูและบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษา และ ผู้เรียน ผลการประเมินความพึงพอใจ ของผู้เกี่ยวข้องภายนอก สถานศึกษาที่มีต่อการปลูกฝัง จิตสํานึกด้านปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉลีย่ 4.10
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ครู และบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน มีแผนงาน โครงการ มีการประเมินผลการดําเนินงานและ มีผลการประเมินความพึงพอใจ โดยเฉลี่ย 4.10 ระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๕๑
สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 6 ในแต่ละตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้
เกณฑ์การตัดสิน
6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสํานึก ด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและ ทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม 6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ
สัมฤทธิ์ผลของ ผลการประเมิน การดําเนินงาน ระดับคุณภาพ 5 ดีมาก
- ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
- ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก ระดับคุณภาพ ดีมาก
20
- ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริม ด้านการกีฬาและนันทนาการ
- ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
6.4 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสํานึก - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ
รวมผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 6 ค่าเฉลี่ย
5
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
สรุปจุดเด่น และจุดที่ต้องพัฒนาของมาตรฐานที่ 6 จุดเด่น ได้แก่ ตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ 6.1 การปลูกจิตสํานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 6.2 การปลูกฝังจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 6.3 การส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 6.4 การปลูกจิตสํานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
๑๕๒
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๕๓
มาตรฐานที่ 7 ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ตัวบ่งชี้ 7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพภายใน ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในซึ่งประกอบด้วย การประกันคุณภาพ ภายในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยดําเนินการตามกฎ กระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจึงทําแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการศึกษาแผนปฏิบัติการประจําปี ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของครู บุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษา มุ่งเน้นชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และดําเนินงานตามปฏิบัติการ มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา จัดทํารายงาน ประเมินคุณภาพภายใน และนําผลการประเมินคุณภาพภายใน และภายนอกมาพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีระบบกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาที่ก่อให้เกิดการพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการจัดทําคู่มืองานประกันคุณภาพ ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล จัดทํารายงานและนําผลการประเมินคุณภาพมาพัฒนา สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพใน ระบบการประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับดีมาก ผลการ ดําเนินงาน ข้อ ประเด็นพิจารณา ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี 1 สถานศึกษามีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของ มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษา สถานศึกษาและจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาและจัดทํา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ ของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ ตามมาตรฐาน สถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วม ตามมาตรฐานการศึกษาของ ของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียน สถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วม ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานที่ ของครูและบุคลากรทุกฝ่ายใน เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถาน การ ปฏิบัติ
ประกอบการ และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๕๔
ผลการ ดําเนินงาน ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี ดําเนินงานตามแผนพัฒนาการจัด การปฏิบัติ
ข้อ
ประเด็นพิจารณา
2
สถานศึกษาได้ดําเนินงานตามแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษาได้จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา และจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
3
4 5
สถานศึกษาได้จัดทํารายงานประจําปีที่เป็นรายงาน ประเมินคุณภาพภายใน สถานศึกษาได้จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่องจากผลการประเมินคุณภาพภายใน และผลการประเมินคุณภาพภายนอก
การศึกษาของสถานศึกษา มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา และจัดให้มีการประเมิน คุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา จัดทํารายงานประจําปีทเี่ ป็น รายงานประเมินคุณภาพภายใน มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่องจากผลการประเมิน คุณภาพภายในและผลการ ประเมินคุณภาพภายนอก
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้จัดทําคู่มือแผนงานประกันคุณภาพ โดยมีหลักฐานรายงานตรวจสอบ มีข้อมูลหลักฐาน ตอบสนองข้อคิดเห็น การปรับปรุงกลไกการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา รายงาน การประเมินตนเอง สาขาวิชาให้วิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง ระดับคุณภาพ ดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๕๕
ตัวบ่งชี้ 7.2 ระดับคุณภาพในการดําเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและดําเนินงานอย่างเป็นระบบ ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 โดยมอบหมายให้งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา สรุปประเมินผลการดําเนินงานและรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง และสาธารณชน พร้อมทั้งนําผลการประเมินมาใช้พัฒนาสถานศึกษาให้มี คุณภาพยิ่งขึ้น ความพยายาม (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้มอบหมายให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องดําเนินงานตามมาตรฐานการ อาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 โดยให้งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา สรุปประเมินผลการดําเนินงาน และเผยแพร่ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง สถานศึกษาอื่น สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและสาธารณชน ผ่านทางเว็บไซด์ของสถานศึกษา พร้อมทั้งนําผลการประเมินแจ้งให้ครูในแต่ละสาขาวิชาทราบในที่ประชุม เพื่อนําผลการประเมินมาร่วมกัน พิจารณาแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ผลการ ดําเนินงาน ประเด็นพิจารณา ข้อปฏิบัติ/จํานวน มีคุณภาพ มี ไม่มี มี ไม่มี จํานวนตัวบ่งชี้ที่มีผลการตัดสินตามเกณฑ์สูงสุด มีผลการตัดสินตามเกณฑ์ สูงสุดในระดับ 5 คะแนน ในระดับ 5 คะแนน ดีมาก การปฏิบัติ
ข้อ 1
สรุปผลการดําเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ มีการดําเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา โดย 30 ตัวบ่งชี้ อยู่ในระดับดีมาก 1 ตัวบ่งชี้อยู่ในระดับดี และ 2 ตัวบ่งชี้อยู่ในระดับพอใช้ มีผลการตัดสินตามเกณฑ์ สูงสุดระดับคุณภาพดีมาก ค่าคะแนน 5 คะแนน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
๑๕๖
สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 7 ในแต่ละตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้
เกณฑ์การตัดสิน
7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกัน - ดีมาก ปฏิบัติ 5 ข้อ คุณภาพภายใน - ดี ปฏิบัติ 4 ข้อ - พอใช้ ปฏิบัติ 3 ข้อ - ปรับปรุงปฏิบัติ 2 ข้อ 7.2 ระดับคุณภาพในการดําเนินงาน ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕
- ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบัติ 1 ข้อ - จํานวนตัวบ่งชี้ที่มีผลการตัดสิน ตามเกณฑ์สูงสุดในระดับ 5 คะแนน ดีมาก - ดีมาก 30-34 ตัวบ่งชี้และไม่มี ตัวบ่งชี้ใดที่อยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง หรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน - ดี 24-29 ตัวบ่งชี้ - พอใช้ 18-23 ตัวบ่งชี้ - ปรับปรุง 12-17 ตัวบ่งชี้ - ต้องปรับปรุงเร่งด่วน < 12 ตัวบ่งชี้
รวมผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 7 ค่าเฉลี่ย
สัมฤทธิ์ผลของ ผลการประเมิน การดําเนินงาน ระดับคุณภาพ 5 ดีมาก
ระดับคุณภาพ ดีมาก
5
ระดับคุณภาพ ดีมาก ระดับคุณภาพ ดีมาก
10 5
สรุปจุดเด่น และจุดที่ต้องพัฒนาของมาตรฐานที่ 7 จุดเด่น ได้แก่ ตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ 7.1 การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก 7.2 การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐานการอาชีวศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2557
สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 1-7 สัมฤทธิ์ผลของ ผลการประเมิน การดําเนินงาน ๑ ด้านผู้เรียนและผู้สําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพ 35 ดีมาก 2. ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพ 25 ดีมาก 3. ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพ 60 ดีมาก 4. ด้านการบริการวิชาการและวิชาชีพ ระดับคุณภาพ 5 ดีมาก 5. ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ ระดับคุณภาพ 10 งานวิจัย ดีมาก 6. ด้านการปลูกฝังจิตสํานึกและเสริมสร้างความเป็น ระดับคุณภาพ 20 พลเมืองไทยและพลโลก ดีมาก 7. ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับคุณภาพ 10 ดีมาก รวมผลการประเมิน เฉลี่ย มาตรฐาน
ค่าเฉลี่ย 4.38 5 5 5 5 5 5 34.38 4.91
๑๕๗
ตอนที่ 4 สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา 4.๑ ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจําปีการศึกษา 2557 สรุปได้ดังนี้ 4.1.1 มาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่ดําเนินการได้ในระดับดีมาก เรียงตามลําดับดังนี้ มาตรฐานที่ 1 1.1 ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 92.66 1.2 สถานประกอบการมีความพึงพอใจต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สําเร็จการศึกษา มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 1.3 ผู้เรียนระดับชั้น ปวช. 3 ทุกสาขาวิชามีจํานวนทั้งหมด 557 คน ผ่านการประเมินมาตรฐาน วิชาชีพทั้งหมด 527 คน คิดเป็นร้อยละ 94.61 ของผู้สําเร็จการศึกษานักศึกษาระดับชั้น ปวส. 2 ทุกสาขาวิชา มีจํานวนทั้งหมด 487 คน ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งหมด 482 คน คิดเป็น ร้อยละ 98.97 ของผู้สําเร็จการศึกษา รวมทั้งระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 รวมทั้งหมด 1,044 ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งหมด 1,009 คน คิดเป็นร้อยละ 96.65 ของผู้สําเร็จการศึกษา ทั้ง 2 ระดับชั้น อยู่ในระดับดีมาก 1.7 ผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า จํานวน 1,095 คน จากจํานวนนักศึกษา แรกเข้า 1,507 คน คิดเป็นร้อยละ 72.66 อยู่ในระดับดีมาก 1.8 ผู้สําเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2556 จํานวน 962 คน ได้ทํางานในสถานประกอบการ จํานวน 33 คน ผู้ประกอบอาชีพอิสระ จํานวน 16 คน ศึกษาต่อ จํานวน 829 คน รวมผู้สําเร็จการศึกษา ได้งานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระและศึกษาต่อภายใน 1 ปี จํานวน 878 คน คิดเป็นร้อยละ 91.27 อยู่ในระดับดีมาก 1.9 สถานประกอบ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อคุณภาพของ ผู้สําเร็จการศึกษาคิดเป็นร้อยละ 86.60 อยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 2 2.1 การใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของ สถานประกอบการหรือประชาคมอาเซียน อยู่ในระดับดีมาก 2.2 ครูผู้สอนทุกคนจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2.3 ครูผู้สอนทุกคนจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2.4 ครูผู้สอนทุกคนได้ดําเนินการวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนตามรายวิชา อย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2.5 การฝึกงานมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๕๙ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
มาตรฐานที่ 3 3.1 การปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.2 การจัดทําแผนการบริหารจัดการสถานศึกษาอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก 3.3 การพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.4 การบริหารงานและภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.5 การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.6 การบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.7 การจัดระบบดูแลผู้เรียนมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.8 การพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและใช้อาคารสถานที่ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.9 การบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.10 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.11 การบริหารการเงินและงบประมาณมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3.12 ระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายทั้งในและ หรือต่างประเทศ มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 4 4.1 การบริหารจัดการการบริการวิชาการและวิชาชีพมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 5 5.1 การบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของผู้เรียน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 5.2 การบริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู มีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 6 6.1 การปลูกจิตสํานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและทะนุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมให้แก่ผู้เรียน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 6.2 การปลูกฝังจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 6.3 การส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 6.4 การปลูกจิตสํานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 7 7.1 การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก 7.2 การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐานการอาชีวศึกษามีคุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๖๐ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
จุดควรพัฒนาของสถานศึกษา 1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป จํานวน 489 คน จากจํานวนผู้เรียนทั้งหมด 1,006 คน คิดเป็นร้อยละ 48.61 1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ จํานวน 541 คน จากจํานวน ทั้งหมด 1,006 คน คิดเป็นร้อยละ 53.78 4.2 แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต เพื่อให้การพัฒนาการจัดการศึกษาในอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จึงกําหนดแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคตในรูปแบบ ของกลยุทธ์ แผนงาน โครงการ กิจกรรม ดังนี้ 4.2.1 ฝ่ายบริหารทรัพยากร งานบุคลากร 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. โครงการพัฒนาหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะรายวิชาของครูวิชาชีพ 3. โครงการพัฒนาสมรรถนะครูด้านวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน อาชีวศึกษาส่งเสริมผลงานวิชาการตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ 4. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษา และการบริหารทั่วไป งานการเงิน 5. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษา และการบริหารทั่วไป งานพัสดุ 6. โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการความรู้ 7. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษา และการบริหารทั่วไป งานอาคารสถานที่ 8. โครงการรณรงค์ลดใช้พลังงาน 9. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษา และการบริหารทั่วไป
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๖๑ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
10. โครงการปรับปรุง ซ่อมแซม ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 11. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ งานทะเบียน 12. โครงการจัดทําบัตรประจําตัวนักเรียน นักศึกษา ประจําปีการศึกษา 2558 13. โครงการจัดพิธีมอบประกาศนียบัตร นักเรียน นักศึกษาประจําปีการศึกษา 2557 งานประชาสัมพันธ์ 14. โครงการสร้างสัมพันธภาพกับองค์กร ชุมชน และสังคม 15. โครงการจัดทําวารสารเผยแพร่ผลงานวิทยาลัย 16. โครงการปรับปรุงระบบเครื่องเสียงภายในวิทยาลัย 17. โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายโทรศัพท์ภายในและภายนอกวิทยาลัย ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ งานวางแผนและงบประมาณ 18. โครงการจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2558 19. โครงการติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ 20. โครงการจัดทําหนังสือรายงานประจําปี (Annual Report) 21. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษา และการบริหารทั่วไป งานวิจัยพัฒนา นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์ 22. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทําผลงานวิจัย 23. โครงการประชุมสัมมนาวิชาการงานวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา 24. โครงการสนับสนุนทุนโครงการงานวิทยาสาสตร์ 25. โครงการสนับสนุนทุนงานวิจัยครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 26. โครงการดําเนินงานประกันคุณภาพ งานส่งเสริมผลิตผล การค้าและประกอบธุรกิจ 27. โครงการสัปดาห์เค้กปีใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๖๒ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา งานกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา 28. โครงการส่งเสริมกิจกรรมชมรม 29. โครงการพัฒนากิจกรรมองค์การวิชาชีพ 30. โครงการทําความสะอาดครั้งใหญ่ (BIG CLEANING DAY) และกิจกรรม 5 ส 31. โครงการอบรมภาวะผู้นําและจัดทําแผนงานโครงการ 32. โครงการคุณธรรมนําความรู้ (ปวช.2 ปวช.3 และ ปวส.2) 33. โครงการเข้าค่ายพักแรมเตรียมลูกเสือ – เนตรนารี 34. โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และวิทยาลัย 35. โครงการส่งเสริมกิจกรรมกีฬา 36. โครงการจัดอบรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม (ปวช.1 และ ปวส.1) 37. โครงการจิตอาสาพัฒนาสังคม 38. โครงการกิจกรรมกีฬาสี ประจําปีการศึกษา 2558 39. โครงการเผยแพร่ความรู้เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 40. โครงการนวสัมพันธ์แกนนํานักศึกษาและองค์การวิชาชีพ ประจําปีการศึกษา 2558 งานครูที่ปรึกษา 41. โครงการเยี่ยมบ้าน หอพัก บ้านเช่า และที่พักอาศัยของผู้เรียน 42. โครงการพัฒนาศักยภาพและปลูกจิตสํานึกของครูที่ปรึกษาที่มีต่อผู้เรียน งานปกครอง 43. โครงการอบรมอาสาจราจร 44. โครงการอบรมขับขี่ปลอดภัยร่วมใจสร้างวินัยจราจร 45. โครงการอบรมผู้นําเครือข่ายสารวัตรนักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษา 46. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษา และการบริหารทั่วไป งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน 47. โครงการแนะแนวสัญจร 48. โครงการติดตามผู้สําเร็จการศึกษา 49. โครงการสร้างสัมพันธภาพกับองค์กร ชุมชน และสังคม (สื่อประชาสัมพันธ์) 50. โครงการศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ 51. โครงการจัดหาทุนการศึกษา 52. โครงการปัจฉิมนิเทศผู้สําเร็จการศึกษา 53. โครงการส่งเสริมการมีงานทําของนักเรียน นักศึกษาเพื่อให้มีรายได้ระหว่างเรียน 54. โครงการจัดทําหนังสือรุ่น
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๖๓ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
55. โครงการจัดทําคู่มือนักเรียน นักศึกษา 56. โครงการปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษาใหม่และประชุมผู้ปกครอง งานสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา 57. โครงการตรวจสุขภาพนักเรียน นักศึกษาประจําปี 58. โครงการประกันอุบัติเหตุผู้เรียน 59. โครงการบริการด้านสุขภาพของผู้เรียน 60. โครงการ Stop Teen Mon 61. โครงการบริจาคโลหิต 62. โครงการตรวจเยี่ยมหอพักนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ งานโครงการพิเศษและบริการชุมชน 63. โครงการฝึกอาชีพระยะสั้น 108 อาชีพ 64. โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix It Center) 65. โครงการซ่อมบํารุงและพัฒนาบุคลากรซ่อมบํารุงคอมพิวเตอร์ (โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน) 66. โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (To Be Number One) 67. โครงการแข่งขันกีฬาฟุตบอลต่อต้านยาเสพติด 68. โครงการอบรมแกนนํา 69. โครงการจิตอาสา ฝ่ายวิชาการ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ 70. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุ่มวิชาภาษาไทย) 71. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุ่มวิชาสังคมศึกษา) 72. โครงการศึกษาวิถีชีวิตพอเพียงและวัฒนธรรมไทยในท้องถิ่น 73. โครงการศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 74. โครงการจัดนิทรรศการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 75. โครงการรู้รักษ์ สามัคคี เยาวชนพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตยเฉลิมพระเกียรติ 76. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร์) 77. โครงการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร์ 78. โครงการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ 79. โครงการ English Day Camp แผนกวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย 80. โครงการซ่อมแซมและบํารุงรักษาจักรเย็บผ้า
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๖๔ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
แผนกวิชาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป 81. โครงการร่วมแข่งขันทางวิชาการทางด้านคหกรรมศาสตร์ ที่สถาบันภายนอกเป็นผู้จัด แผนกวิชาอาหารและโภชนาการ 82. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษา และการบริหารทั่วไป แผนกวิชาการจัดการทั่วไป 83. โครงการส่งเสริมการออมและการลงทุนทางธุรกิจ ครั้งที่ 3 84. โครงการแนะแนวสัญจร แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 85. โครงการส่งเสริมกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ 86. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษา และการบริหารทั่วไป แผนกวิชาวิจิตรศิลป์ 87. โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน (หุ่นต้นแบบ) 88. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (สรุปผลการเรียนวิชาภาพพิมพ์) ประเภทวิชาศิลปกรรม 89. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (นิทรรศการอาชีวศิลปกรรม’58) 90. โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และวิทยาลัย (จัดพิธีทําบุญประเภทวิชาศิลปกรรม) งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน 91. โครงการนิทรรศการวิชาโครงการ 92. โครงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะร่วมกับสถานประกอบการ ประจําปีการศึกษา 2558 งานวัดผลและประเมินผล 93. โครงการงานบริการวิเคราะห์ข้อสอบ แบบทดสอบ 94. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ปีการศึกษา 2558 95. โครงการสอบ V-NET ปีการศึกษา 2558 งานวิทยบริการและห้องสมุด 96. โครงการส่งเสริมรักการอ่าน 97. โครงการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการงานวิทยบริการ 98. โครงการเยาวชนยอดนักอ่าน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑๖๕ รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๕7
งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 99. โครงการพัฒนาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและการฝึกงานร่วมกับ สถานประกอบการ ประจําปีการศึกษา 2558 100. โครงการจัดหาวัสดุต่ํากว่าเกณฑ์และครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการศึกษาและการบริหารทั่วไป 101. โครงการศึกษาดูงาน 4.3 ความต้องการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (แนวทางการนําเสนอ) 4.3.1 ความช่วยเหลือทางด้านวิทยากรในการพัฒนาบุคลากร ครู ในสถานศึกษาจาก สถาบันการศึกษาอื่น ๆ ในท้องถิ่น 4.3.2 การช่วยเหลือจากชุมชน และหน่วยงานต้นสังกัดในการจัดทําหลักสูตรท้องถิ่น 4.3.3 การช่วยเหลือด้านงบประมาณจากภาครัฐและเอกชน
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
๑๖๘
ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยต้นสังกัด วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ จุดเด่นของสถานศึกษา 1. งานทะเบียนได้ดําเนินการเก็บข้อมูล สาเหตุที่ผู้เรียนขอลอออกจากสภาพนักเรียน/นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ 2. สถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน มีความพึงพอใจผู้เรียนมาก มีความต้องการให้ผู้เรียน ไปฝึกงานมากกว่าจํานวนผู้เรียนที่มี 3. สถานศึกษาได้ดําเนินการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพโดยใช้สถานประกอบการ ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 4. มีการพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษให้กับผู้สอนเพื่อจะได้นําไปใช้กับผู้เรียน และโอกาสต่าง ๆ 5. มีการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมให้กับผู้เรียนทุกกลุ่ม 6. มีการดําเนินการวิจัยเพื่อศึกษาสภาพปัญหา สาเหตุการออกกลางคันของผู้เรียนของวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม่ 7. มีการตกลงความร่วมมือกับสถานประกอบการร่วมจัดแผนการจัดการเรียนรู้ และประเมินผล การเรียนร่วมกัน 8. มีสถานประกอบการเข้าร่วม ปวช. 249 แห่ง ปวส. 231 แห่ง รวม 480 แห่ง นักเรียน ปวช. 542 คน และ ปวส. 491 คน รวม 1,033 คน 9. วิทยาลัยมีการทํางานอย่างเป็นระบบ ทําให้ง่ายในการค้นหาร่องรอย ผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้ มีความรู้ดี 10. สถานศึกษาสามารถกระตุ้นครูทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์หรืองานวิจัยได้มาก ถึงร้อยละ 83.95 11. มีการนําผลการประเมินภายใน และภายนอกมาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา และแสดงให้ เห็นเป็นรูปธรรม จุดควรพัฒนาของสถานศึกษา 1. ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของผู้เรียน 2. สถานศึกษาควรมีการนําหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างน้อยร้อยละ 50 ของจํานวนสาขางานที่จัดการเรียนการสอน 3. ควรจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ในรูป CD และนําเผยแพร่ในเว็บไซด์ของสถานศึกษา 4. ควรกําหนดให้ครูส่งแผนการจัดการเรียนรู้ทุกคน ทุกรายวิชา 5. ควรนําปัญหาในการฝึกงานทุกครั้ง มาหาทางแก้ไขอย่างเป็นระบบ
๑๖๙
ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคตจากคณะกรรมการประเมินภายในโดยต้นสังกัด 1. ควรจัดกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้มากขึ้น 2. ผู้สอนควรสอดแทรกการใช้ภาษาอังกฤษในทุกรายวิชา 3. ควรนําผลการวิจัย สภาพปัญหา สาเหตุการออกกลางคันของผู้เรียนเสนอต่อผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย 4. ควรศึกษาหาแนวทางแก้ไขปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียนแล้วดําเนินการแก้ไขปัญหา เหล่านั้น 5. ควรนําข้อมูล สาเหตุที่ผู้เรียนขอลาออกจากสภาพการเป็นนักเรียน/นักศึกษาไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ 6. ในการเลือกกิจกรรม-โครงการมาใช้ในตัวบ่งชี้ต้องเลือกกิจกรรมที่ตรงกับตัวบ่งชี้จริงๆ 7. ผลงานของผู้เรียน และครู ควรจะมีการพัฒนาให้ต่อเนื่อง และถ้าได้รางวัลในระดับใดก็ตาม ควรมีการจดสิทธิบัตรของวิทยาลัยหรือเจ้าของผลงานไม่ว่าจะเป็นผู้เรียนหรือครู 8. สถานศึกษาควรเพิ่มจํานวนโครงการในการส่งเสริมด้านกีฬาและนันทนาการให้มากขึ้นกว่าเดิม บทสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัด ผลการประเมินคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัด ตัวบ่งชี้ที่ มาตรฐานที่
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐ ๑๑ ๑๒ รวม เฉลี่ย
5 4 5 5 5 5 5
5 5 5
5 5 5
4 5 5
4 5 5
-
4
5
5
5
5
5
5
5 5 4
5
5
37 4.63 24 4.8 60 5 5 5 10 5 20 5 9 4.5
5
5
5
เกณฑ์ผ่านการประเมินคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัด ต้องมีผลการประเมิน ตามเกณฑ์ทั้ง ๒ ข้อ ดังต่อไปนี้ ๑. แต่ละตัวบ่งชี้ได้คะแนนตามเกณฑ์การตัดสินไม่ต่ํากว่า ๓ คะแนน และ ๒. แต่ละมาตรฐานได้คะแนนเฉลี่ยจากทุกตัวบ่งชี้ ตามเกณฑ์การตัดสินไม่ต่ํากว่า ๓.๕๐ คะแนน
๑๗๐
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัด ๑. ระดับตัวบ่งชี้ ๑.๑ ตัวบ่งชี้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ๑.๒ ตัวบ่งชี้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
จํานวน 34 ตัวบ่งชี้ จํานวน - ตัวบ่งชี้
๒. ระดับมาตรฐาน ๒.๑ มาตรฐานที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จํานวน ๒.๒ มาตรฐานที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จํานวน
7 -
มาตรฐาน มาตรฐาน
๓. ผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัด ผ่านเกณฑ์การประเมิน ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านการอาชีวศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ตั้งอยู่เลขที่ 167 ถนนพระปกเกล้า ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีบุคลากรสายบริหาร ๕ คน ได้รับการประเมินรอบสาม เมื่อวันที่ ๒๗-๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ มีการจัดการศึกษา ๒ ระบบ คือ ระบบปกติ และระบบทวิภาคี จํานวน ๔ ประเภทวิชา ได้แก่ ๑) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ๒) ประเภทวิชาศิลปกรรม ๓) ประเภทวิชาคหกรรม และ ๔) ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ดังนี้คือ ๑. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีบุคลากรครูจํานวน ๗๗ คน ผู้เรียน จํานวน ๒,๒๓๕ คน ๒. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)มีบุคลากรครูจํานวน ๔๑ คน ผู้เรียนจํานวน ๑,๐๐๐ คน รวมทั้งสถานศึกษา มีบุคลากรครู จํานวน ๑๑๘ คน ผู้เรียน จํานวน ๓,๒๓๕ คน : ซึ่งครูจํานวน ดังกล่าวนี้ได้ทําหน้าที่สอนทั้งในระดับ ปวช. และ ปวส. สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านการอาชีวศึกษา ผลการประเมินคุณภาพภายนอกด้านการอาชีวศึกษา รอบสาม ของ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ พบว่า ผลประเมินในภาพรวมมีค่าคะแนนเท่ากับร้อยละ 96.16 เมื่อพิจารณาผลประเมินในกลุ่มตัวบ่งชี้พบว่า กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน มีคะแนนผลการประเมินเท่ากับร้อยละ 66.16 กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ มีคะแนนผลการ ประเมินเท่ากับร้อยละ 10.00 และ กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม มีคะแนนผลการประเมินเท่ากับร้อยละ 20.00 เมื่อพิจารณาจากมาตรฐานตามกฎกระทรวง พบว่า มาตรฐานด้านการบริหารจัดการศึกษา มีค่า คะแนนเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 5.00 มาตรฐานด้านการประกันคุณภาพภายใน มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และมาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และ มาตรฐานด้านผลการจัดการศึกษา มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.62 ตามลําดับ เมื่อพิจารณาตามเกณฑ์การรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาแล้วนั้น สถานศึกษาครบตามเกณฑ์ การรับรองมาตรฐานทุกข้อ แสดงว่าผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาได้มาตรฐาน สมศ. เห็นสมควรเสนอ ให้การรับรองมาตรฐานคุณภาพของสถานศึกษา
๑๗๒
จุดเด่น ๑) มีระบบกลไกการจัดเก็บเอกสารตาม คู่มือการประกันคุณภาพ ส่งผลให้มีการรายงานผล การดําเนินงานคุณภาพที่สอดคล้องการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์การดําเนินงานของสถานศึกษา 2) มีความพร้อมด้านการสนับสนุนด้านวัสดุ ครุภัณฑ์ สื่อโสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน ทันสมัยส่งผลให้จัดการเรียนการสอนมีคุณภาพตามมาตรฐาน 3) มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคณะกรรมการวิทยาลัยที่เข้มแข็ง สามารถประสานการพัฒนากับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ต่อเนื่อง 4) มีการพัฒนามาตรฐานฝีมือของผู้สําเร็จการศึกษาที่ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ ในระดับสากล และมีการกําหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ด้านการพัฒนาผู้เรียน ด้านการพัฒนาหลักสูตรและ การจัดการเรียนการสอน ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 5) มีการจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ และเน้นการปฏิบัติจริงจัดกิจกรรมเสริมทักษะ วิชาชีพ พัฒนาหลักสูตรในการฝึกอบรมแต่ละรายวิชา ตามความเหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน ให้ผู้สําเร็จ การศึกษามีผลการเรียนด้านวิชาชีพสาขาวิชา และวิชาชีพสาขางานที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ 6) การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาทักษะวิชาชีพให้กับนักเรียน นักศึกษาทุกระดับทุกสาขาวิชา และระดับชั้น 7) สนับสนุนให้มีการเผยแพร่ผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์ และงานวิจัยของครู เพื่อนําไปใช้ประโยชน์สู่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 8) การพัฒนาทักษะฝีมือของผู้เรียนในแต่ละสาขางานหรือสาขาวิชาชีพผ่านกระบวนการเรียนรู้ ในสถานประกอบการ โดยผู้เชี่ยวชาญภูมิปัญญาท้องถิ่น และหน่วยงานสถานประกอบการ ให้การสนับสนุน ในการบริการวิชาการและวิชาชีพ 9) คณะกรรมการสถานศึกษา มีการดําเนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล ครบถ้วน และมีการ ประเมินผลโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้มาจากการสรรหาจากบุคลภายนอก ๑0) ผู้บริหารบูรณาการจัดการศึกษาโดยนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไประยุกต์ใช้ ในด้านการ จัดการเรียนการสอนในทุกรายวิชา จัดทํากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ นําไปใช้ในชีวิตประจําวัน ส่วนในด้านการบริหารจัดการสถานศึกษามีการดําเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๑1) การจัดระบบฐานข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นหมวดหมู่ ครอบคลุมภารกิจงานด้านการบริหาร วิชาการ การบริหารงานบุคลากร การบริหารงบประมาณและการบริหารงานทั่วไป มีการเชื่อมโยงข้อมูลอย่าง เป็นระบบและเป็นปัจจุบัน ๑2) การสนับสนุนครูและบุคลากรให้ได้รับทุนการศึกษา ทุนวิจัย หรืองานสร้างสรรค์สถานศึกษา ได้สนับสนุนทั้งด้านทุนเงินและทุนเวลาให้กับบุคลากร ตามโครงการเงินกู้ SP๒ ในระดับปริญญาเอก ๑3) แผนการบริหารจัดการความเสี่ยงทั้ง ๕ ด้านที่นําไปสู่ความสําเร็จของการดําเนินการตามแผน ยุทธศาสตร์ มีความปลอดภัย ห่างไกลจากยาเสพติด การพนัน และเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
๑๗๓
จุดที่ควรพัฒนา ๑) ควรพัฒนาคู่มือการจัดทํารายงานผลงานโครงการของนักศึกษา ซึ่งยังขาดแนวทางการเขียนผลงาน
ทางเชิงวิชาการที่เป็นแบบฟอร์มเดียวกันทุกสาขาวิชา เพื่อให้ผลงานโครงงานของผู้เรียนสามารถนําไปใช้ประโยชน์ ได้จริงโดยเริ่มต้นจากสาขาวิชาวางแผนศึกษาความต้องการ (Need Assessment) เช่น โจทย์การพัฒนา อาชีพให้แก่ชุมชนและท้องถิ่น ๒) ผู้เรียนไม่เห็นความสําคัญในการสอบ V-net เนื่องจากเป็นข้อสอบที่เน้นวิชาพื้นฐานสําหรับวัด ความรู้ที่ใช้ในการศึกษาต่อระดับสูง ๓) ขาดกระบวนการจัดการความรู้ที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นที่สามารถเผยแพร่นวัตกรรมผลงาน ทางวิชาการและวิชาชีพ โดยการกําหนดหมวดหมู่ ผลงานระดับสาขาวิชาที่สามารถตอบสนองการใช้ประโยชน์ ในระดับชุมชน ท้องถิ่น จังหวัดและระดับชาติ ๔) ส่งเสริมครูผู้สอนภาษาต่างประเทศที่เป็นเจ้าของภาษาอาเซียน และภาษาประเทศเพื่อนบ้าน ยังมีน้อยทําให้บุคลากรและนักศึกษายังขาดความตระหนัก การพัฒนาศักยภาพพื้นฐานเป็นไปอย่างล่าช้า ๕) การจัดทําฐานข้อมูลนักศึกษา และการนําข้อมูลมาทําวิจัย ขาดการนําไปใช้ในการแก้ปัญหา ผู้เรียนออกกลางคัน ทําให้เกิดปัญหาการพัฒนาผู้เรียนได้ตรงศักยภาพ เพื่อให้ผู้เรียนเข้ามาเรียนแล้วต้องได้ อาชีพ ๖) การนําหลักฐานไปจดสิทธิบัตรผลงานนวัตกรรมให้ครบทุกสาขาวิชา เพื่อเป็นการคงรักษาตัวอย่าง ในการนําเสนอผลงานระดับสถานศึกษาและระดับท้องถิ่น พร้อมทั้งเป็นนวัตกรรมที่คงรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ของความเป็นวิชาชีพด้านช่างอุตสาหกรรมบริการยังมีน้อย ข้อเสนอแนะ ๑) เร่งพัฒนารูปแบบรายงานผลงานของนักศึกษาที่มีแนวทางการเขียนผลงานวิชาการ 5 บทที่ เป็นแบบฟอร์มเดียวกันทุกสาขาวิชา เช่น คู่มือการจัดทําโครงงาน และรายงานผลงานขอนักศึกษา โดยบูรณา สาขาวิชาร่วมกัน และสามารถชี้ประเด็นโจทย์ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากนวัตกรรมของ ผู้เรียน ที่ส่งผลให้ชุมชนได้ประโยชน์ด้านการพัฒนาการประกอบอาชีพ ๒) เร่งพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนัก เห็นความสําคัญในการ เข้ารับการทดสอบ V-net เนื่องจากเป็นข้อสอบที่เน้นวิชาพื้นฐานสําหรับการทดสอบในการศึกษาต่อระดับสูง ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนได้ศึกษาต่อและสามารถทดสอบเมื่อต้องการประกอบอาชีพในปีต่อไป ๓) ควรส่งเสริมรูปแบบการจัดการความรู้และการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมรองรับเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่สามารถเผยแพร่นวัตกรรมผลงานต่อหน่วยงานอื่น โดยกําหนดหมวดหมู่ ผลงานระดับสาขาวิชา ที่สามารถตอบสนองการใช้ประโยชน์ในระดับ ชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด และระดับชาติ ในปีต่อไป
๑๗๔
๔) ควรเพิ่มการจัดครูผู้สอนภาษาต่างประเทศที่เป็นเจ้าของภาษายังมีน้อย ซึ่งจะทําให้บุคลากรและ นักศึกษา ได้ฝึกทักษะในการพัฒนาศักยภาพพื้นฐานด้านภาษาในชีวิตประจําวัน เช่น พัฒนาการจัดโปรแกรม การเรียนแบบ Multi Language ซึ่งสามารถรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ๕) ส่งเสริมรูปแบบการจัดทําข้อมูลสารสนเทศ และการนําข้อมูลมาทําวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาผู้เรียน ออกกลางคัน ส่งผลให้สามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนร่วมกับชุมชน สถาน ประกอบการ และตลาดแรงงานที่กําลังมีการเคลื่อนย้ายแรงงานภายในปี ๒๕๕๘ ๖) ส่งเสริมการนําหลักฐานไปจดสิทธิบัตรผลงานนวัตกรรมให้ครบทุกสาขาวิชา พร้อมทั้งเป็นนวัตกรรม ที่คงรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของความเป็นวิชาชีพด้านช่างอุตสาหกรรมบริการของประเทศไทย และตอบสนอง แผนการจัดการอาชีวศึกษาในระยะยาวต่อไป นวัตกรรมหรือตัวอย่างการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ของสถานศึกษา การจัดการศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรผู้เรียน ชุมชน และองค์กรภายนอก ได้รวมพลังพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ “ ผู้เรียนมีคุณภาพด้านอุตสาหกรรมบริการ” Quality Standents in Sevice Industry มีคุณภาพ มาตรฐานวิชาชีพ (Vocational Standard) และเอกลักษณ์ “บริการด้วยหัวใจ” (Heart-On hospitality) โดยมีการวางแผนซึ่งได้กําหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ปี 2553 – 2556 โดยประชุมคณะครู บุคลากร คณะกรรมการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ เพื่อกําหนดจุดเน้น จุดเด่น เอกลักษณ์ ดําเนินงานอย่างเป็นระบบ มีกลไกการประกันคุณภาพ ทําให้วิทยาลัยประสบความสําเร็จ ทั้งนี้ นอกจากเป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอน ในด้านอุตสาหกรรมบริการทุกสาขางานและทุกสาขาวิชาชีพ ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า “มุ่งสู่สถานศึกษาแห่งคุณภาพที่มีความเป็นเลิศด้านอุตสาหกรรมบริการในระดับสากล” ใน การจัดการศึกษา มีนวัตกรรมหรือตัวอย่างการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ของสถานศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อ ผู้อื่นแล้วส่งผลให้สถานศึกษาได้รับการยกย่องและได้รับรางวัลดีเด่นอย่างมากมาย ได้แก่ 1. ได้รับการคัดเลือกเป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหาร จัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2553 2. ได้รับรางวัลในการประกวดแข่งขันทักษะวิชาชีพอย่างมากมาย เช่น 2.1 รางวัลชนะเลิศการประกวดคอมพิวเตอร์ ภาพโปสเตอร์ และชนะเลิศการประกวดร้องเพลง ไทยลูกทุ่งพร้อมหางเครื่อง ในโครงการต่อต้านยาเสพติดโลก White Power Day To Be Number One 2.2 รางวัลยอดเยี่ยมในการประกวดสุนทรพจน์ “ประชาธิปไตยในวิถีชีวิต” ระดับภาค ภาคเหนือ ที่สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ 2.3 รางวัลชนะเลิศ การประกวดการพูดสาธิตเป็นภาษาอังกฤษในการประชุมวิชาการองค์การ วิชาชีพ ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 22 ที่จังหวัดพะเยา 2.4 รางวัลชนะเลิศ การประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีน ในงานการประชุมองค์การวิชาชีพ ระดับภาค ภาคเหนือ และได้รับรางวัลรองชนะเลิศในงานการประชุมองค์การวิชาชีพ ระดับชาติ ณ จังหวัดเชียงราย 2.5 รางวัลชนะเลิศ การประกวดมารยาทไทย ในงานการประชุมองค์การวิชาชีพ ระดับภาค ภาคเหนือ และได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ในการประกวดระดับชาติ
๑๗๕
2.6 รางวัลชนะเลิศ การประกวด “ทักษะการเขียนแผนธุรกิจ” ในงานการประชุมองค์การวิชาชีพ ระดับภาค ภาคเหนือ และได้รับรางวัลรองชนะเลิศในระดับชาติ 2.7 รางวัลชนะเลิศ “การประกวดทักษะเครื่องแขวน” ในงานการประชุมองค์การวิชาชีพ ระดับ ภาค ภาคเหนือ 2.8 รางวัลชนะเลิศ “การประกวดทักษะออกแบบกราฟิก” ในงานประชุมองค์การวิชาชีพ ระดับ ภาค ภาคเหนือ 2.9 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 “การแข่งขันทักษะพิมพ์ดีดอังกฤษ” ในงานประชุมองค์การ วิชาชีพ ระดับภาค ภาคเหนือ 2.10 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 “การแข่งขันทักษะงานตัดเย็บเสื้อเชิ้ตสตรีแขนสามส่วน” ใน งานประชุมองค์การวิชาชีพ ระดับภาค ภาคเหนือ 3. ได้รับเกียรติจากสํานักพระราชวัง ให้จัดทําพระกระยาหารถวาย แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เมื่อเสด็จมาบําเพ็ญพระราชกรณียกิจ ณ จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดแม่ฮ่องสอน 4. ได้รับเกียรติจากสํานักพระราชวังให้จัดทําอาหารเลี้ยงข้าราชบริพารที่ตามเสด็จ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ทุกครั้งที่เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับ ณ ค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่ 5. ได้รับมอบหมายจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดทํานิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสต่าง ๆ ทุกปีการศึกษา อาทิ งานอาชีวะล้านหัวใจถวายแม่ของแผ่นดิน งาน อาชีวะสร้างอาชีพเป็นราชพลีถวายจักรีภูมิพล งานอาชีวะมหัศจรรย์สวนศิลป์แผ่นดินแม่ 6. ได้ให้ความร่วมมือกับจังหวัดเชียงใหม่ จัดทํามาลัยข้อพระกร พานพุ่มทองน้อยถวายแด่สมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทุกครั้งที่เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับ ณ พระตําหนักภูพงิ ค์ราชนิเวศน์ จังหวัด เชียงใหม่ 7. ได้ให้ความร่วมมือกับจังหวัดเชียงใหม่ จัดทําตกแต่งรถบุปผชาติ เข้าร่วมประกวดในงานมหกรรมไม้ ดอกไม้ประดับของจังหวัดเชียงใหม่ ได้รับรางวัลชนะเลิศทุกครั้ง รวมถึงได้ให้ความร่วมมือกับสํานักงาน ท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ จัดทําขบวนรถบุปผชาติไปจัดแสดง ณ ประเทศฮ่องกงและประเทศพม่า 8. ได้ให้ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ประดิษฐ์ตกแต่งดอกไม้ประดับหน้าที่ประทับ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร 9. ได้รับมอบหมายจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดสาธิตอาหารสมุนไพรในงาน นิทรรศการ “ยมหินถิ่นแพร่ อาชีวะเกษตรแฟร์ 54” ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแพร่ จังหวัดแพร่ 10. ได้รับมอบหมายจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดทําต้นอาชีวะและนิทรรศการ แสดงผลงานนักศึกษา สถานศึกษาอาชีวศึกษาทั่วประเทศในงาน “Open House เรียนอาชีวะดี เรียนฟรี มี เงินใช้ ได้งานทํา” ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย 11. ได้รับมอบหมายจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดบริการตามโครงการศูนย์ซ่อม สร้างเพื่อชุมชน (Fix It Center) โครงการสร้างงานสร้างอาชีพ (108 อาชีพ) โครงการจัดสอนอาชีพระยะสั้น รวมถึงให้ความร่วมมือกับหน่วยงาน กบข. จัดบริการวิชาชีพตามโครงการ “กบข. สร้างงาน สร้างอาชีพ”
๑๗๖
เช่น โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน ปี 2551 มีจํานวน 1 ศูนย์ คือ บ้านสันใต้ อําเภอสันกําแพง จังหวัด เชียงใหม่ ปี 2552 มีจํานวน 5 ศูนย์ คือ เทศบาลตําสุเทพ เทศบาลตําบลฟ้าฮ่าม องค์การบริหารส่วนตําบล สันผีเสื้อ เทศบาลตําบลหนองหอย และเทศบาลตําบลป่าแดด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2553 มี จํานวน 3 ศูนย์ คือ เทศบาล ตําบลหนองแฝก อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่เทศบาลตําบลหนองป่าครั่ง และเทศบาลตําบลท่าศาลา อําเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่ 12. จัดบริการวิชาการวิชาชีพแก่ชุมชน โดยจัดนิทรรศการวิชาโครงการ “ร้อยหัตถา บูรณาการสานสู่ วิชาชีพ” แสดงผลงานโครงการและโครงงาน ซึ่งเป็นการบริการวิชาการวิชาชีพให้แก่นักเรียน นักศึกษา ชุมชน องค์กร หน่วยงานและสถานศึกษาอื่น ๆ 13. ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ สําหรับความร่วมมือกับ ต่างประเทศ วิทยาลัยฯ ได้ทําความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ ได้แก่ ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ และประเทศภูฎาน 14. ได้รับรางวัลสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ ระดับชาติ ประเภทผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป ผลิตภัณฑ์โนริมะรุม อาหารเช้าเพื่อสุขภาพมูสลีธัญพืช และน้ําพริกแกงส้มก้อนสําเร็จรูป 15. โครงการ “อาชีวะเชียงใหม่ ร่วมแรงร่วมใจ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ําท่วม” ณ จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ๑. ควรเร่งวางแผนปรับปรุงการจัดทําผลงานโครงงานของผู้เรียนที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริง โดยเริ่มต้นจากสาขาวิชาวางแผนศึกษาความต้องการ (Need Assessment) เช่น ปัญหาของชุมชนในด้านการ ประกอบอาชีพ เพื่อเป็นโจทย์ในการจัดทําโคงการของผู้เรียนซึ่งจะสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริงได้ในปี การศึกษาต่อไป ๒. ควรเร่งพัฒนาการจัดทําข้อมูล และการนําข้อมูลมาทําวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาผู้เรียนออกกลางคันให้ ชัดเจน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียนได้ตรงมาตรฐานการจัดการศึกษาวิชาชีพซึ่งหากเข้ามาเรียน แล้วต้องได้อาชีพ ๓. ควรเร่งการนําหลักฐานไปจดสิทธิบัตรผลงานนวัตกรรมให้ครบทุกสาขาวิชา เพื่อเป็นการคงรักษา ตัวอย่างในการนําเสนอผลงานระดับสถานศึกษาและระดับท้องถิ่น พร้อมทั้งเป็นนวัตกรรมที่คงรักษาไว้ซึ่ง เอกลักษณ์ของความเป็นวิชาชีพด้านช่างอุตสาหกรรมบริการได้อย่างแท้จริง ๔. เร่งการขยายสาขาวิชาชีพในระดับปริญญาตรี ทั้งด้านภาษาไทย และภาษาต่างประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อส่งเสริมการศึกษาต่อด้านอาชีพสายตรงสอดคล้องต่อตลาดแรงงานในยุคสังคมอาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ ๕. เร่งหาที่จัดตั้งศูนย์ขยายงานด้านการผลิตกําลังคนด้านอาชีวศีกษาร่วมกับสถานประกอบการ ที่ สามารถจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี ซึ่งจะสามารถขยายฐานการผลิตกําลังคนด้านอาชีวศึกษา โดย เน้นการฝึกประสบการณ์ตรงกับมาตรฐานอาชีพและทักษะที่จําเป็นในการประกอบอาชีพภายในปี ๒๕๕๘
๑๗๗
๖) พัฒนาหลักสูตรฐานะสมรรถนะที่ทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการแรงงานระดับประเทศและ อาเซียน รวมทั้งโปรแกรมการเรียนแบบ Multi Language และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อส่งเสริม การจัดกเรียนการสอน และการพัฒนาทักษะทางภาษาต่างประเทศอย่างเร่งด่วน โดยการจัดทํา Intensive Courses ๗) พัฒนาผู้บริหารให้เป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลง (Change Leadership และสามารถบริหารฐานข้อมูล เพื่อนํามาใช้ในการตัดสินใจได้ทันเหตุการณ์ รองรับการเปลี่ยนแปลงด้านโลกาภิวัตน์ และการปรับตัวด้าน สิ่งแวดล้อม สามารถนํามาปรับปรุงการวางแผนระยะสั้นและระยะยาวได้จริง
๑๗๘
ตารางที่ ๑ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ตัวบ่งชี้
ผลการ ดําเนินงาน
ค่าคะแนน
ระดับ คุณภาพ
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน ๑. ผู้สําเร็จการศึกษาได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระในสาขาที่เกี่ยวข้องภายใน ๑ ปี ร้อยละ ๘๘.๘๕ ๔.๔๔ ดี ๒. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จําเป็นในการทํางาน ร้อยละ 90.78 4.54 ดีมาก ๓. ผู้เรียนผ่านการทดสอบมาตรฐานทางวิชาชีพจากองค์กรที่เป็นที่ยอมรับ ร้อยละ ๙๘.๒๓ ๔.๙๑ ดีมาก ๔. ผลงานที่เป็นโครงงานทางวิชาชีพหรือสิ่งประดิษฐ์ของผู้เรียนที่ได้นําไปใช้ประโยชน์ ผลงานทางวิชาชีพที่ได้นําไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ ๖๘.๔๔ ๓.๔๒ พอใช้ ๕. ผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ นวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์ของครูที่ได้นําไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ ๗๖.๙๙ ๓.๘๕ ดี ๖. ผลการให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะของผู้เรียน ร้อยละ ๑๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ๗. ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ร้อยละ ๑๐๐.00 ๕.๐๐ ดีมาก ๘. ผลการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการและผู้บริหารสถานศึกษา ๘.๑ ผลการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ๘.๒ ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ๙. ผลการใช้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ๑๐. ผลการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ๑๑. ผลการบริหารความเสี่ยง ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ๑๒. ผลการสร้างการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพ ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ๑๒. การพัฒนาสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพภายใน ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ผลรวมคะแนนการประเมินของตัวบ่งชี้พื้นฐาน 66.16 ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ๑๔. ผลการดําเนินงานตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้น จุดเด่นของสถานศึกษา ๑๐.00 คะแนน 10.00 ดีมาก ๑๔.๑ ผลการพัฒ นาอัต ลักษณ์ของผู้เ รียนตามปรัชญา วิสัยทัศน์และพัน ธกิจของ (๕.๐๐) สถานศึกษา ๑๔.๒ ผลการดําเนินงานตามจุดเน้น/จุดเด่นของสถานศึกษา ๑๐.00 คะแนน (๕.๐๐) ดีมาก ผลรวมคะแนนการประเมินของตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ๑๐.๐๐ ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ๑๕. ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ๑๖. ผลการพัฒนาคุณภาพครู ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ๑๗. การพัฒนาสถานศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ๑๘. การสร้างการมีส่วนร่วมและการขยายโอกาสทางการศึกษา ๑๐.00 คะแนน ๕.๐๐ ดีมาก ผลรวมคะแนนการประเมินของตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ๒๐.๐๐ ผลรวมคะแนนการประเมินของทุกตัวบ่งชี้ 96.16 ผลรวมคะแนนการประเมินของทุกตัวบ่งชี้ มีค่าร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ใช่ ไม่ใช่ ผลรวมคะแนนการประเมินของตัวบ่งชี้ที่ ๑ – ๑๓ มีค่าร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป ใช่ ไม่ใช่ ผลการดําเนินงาน อย่างน้อย ๑๖ ตัวบ่งชี้ มีค่าคะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๕๐ ใช่ ไม่ใช่ ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษา สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา
๑๗๙
สรุปผลการประเมินตามกลุ่มตัวบ่งชี้ของ สมศ. กลุ่มประเภทตัวบ่งชี้ ผลรวมคะแนนตัวบ่งชี้พื้นฐาน ผลรวมคะแนนตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ผลรวมคะแนนตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ภาพรวม
ตัวบ่งชี้ ๑ – ๑๓ ๑๔ ๑๕ – ๑๘
คะแนนเต็ม ๗๐ ๑๐ ๒๐ ๑๐๐
คะแนนที่ได้ 66.16 ๑๐.๐๐ ๒๐.๐๐ 96.16
ระดับคุณภาพ ดีมาก สรุปผลการประเมินตามกฎกระทรวง มาตรฐานกฎกระทรวง ผลการจัดการศึกษา การบริหารจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสําคัญ การประกันคุณภาพภายใน
ตัวบ่งชี้ ๑ – ๖ และ ๑๔ – ๑๖ ๘ – ๑๑ และ ๑๗ – ๑๘ ๗
คะแนนเฉลี่ย 4.62 5.00 5.00
ระดับคุณภาพ ดีมาก ดีมาก ดีมาก
๑๒ – ๑๓
5.00
ดีมาก
ภาคผนวก ข
คําสั่งวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ที่ 399/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจําปีการศึกษา 2557 ตามที่สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้มอบหมายให้สถานศึกษาในสังกัดดําเนินการ ประกันคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ซึ่งประกอบด้วย 7 มาตรฐาน 35 ตัวบ่งชี้ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคคล ในสถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยการส่งเสริม สนับสนุน และกํากับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด ดังนั้น เพื่อให้การดําเนินงานการประกัน คุณภาพของสถานศึกษา บรรลุตามวัตถุประสงค์ วิทยาลัยฯ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา ประจําปีการศึกษา 2557 ดังนี้ 1. คณะกรรมการที่ปรึกษา มีหน้าที่ ให้คําปรึกษา พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา และแต่งตั้งคณะอนุกรรมการประสานงานกับคณะกรรมการวิทยาลัย กํากับ ติดตาม ดําเนินการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และเห็นชอบ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา พร้อมทั้งนําเสนอคณะกรรมการวิทยาลัย ตลอดจนแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ อันอาจเกิดขึ้นให้ลุล่วงด้วยความเรียบร้อย ประกอบด้วย 1.1 นางชุลีพร สิงหเนตร ประธานกรรมการ (ผู้แทนกรรมการวิทยาลัย) 1.2 นางเสาวนิจ ศรีสวัสดิ์ กรรมการ (ผู้แทนกรรมการวิทยาลัย) 1.3 นายพิพัฒน์ มนัสเสวี กรรมการ (กรรมการชมรมผู้ปกครอง) 1.4 นางสุพิศ ยางาม กรรมการและเลขานุการ 1.5 นายฉัตรชัย เรืองมณี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 1.6 นายสรพล สุริยาสาคร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 1.7 นางศศิรส บํารุงวงศ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 1.8 นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 1.9 นางศิริกุล อินทรอุทก กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 1.10 นางศรัญญา กิจเจริญสิน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 1.11 นางสินีพร ศรีจันทร์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 2. คณะกรรมการประสานงาน มีหน้าที่ ให้คําปรึกษา แนะนํา ตรวจสอบและประสานงาน กับคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ดูแลติดตามการทํางานให้แล้วเสร็จภายในกําหนด ประกอบด้วย 2.1 นางสุพิศ ยางาม ประธานกรรมการ 2.2 นายฉัตรชัย เรืองมณี กรรมการ 2.3 นายสรพล สุริยาสาคร กรรมการ /2.4 นายบัณฑิตย์...
๑๘๒
2.4 นางศศิรส 2.5 นายบัณฑิตย์ 2.6 นางศิริกุล 2.7 นางกชกร 2.8 นางสาวเกศริน 2.9 นายศุภกิจ 2.10 นางปวีณกร 2.11 นางสาวสายหยุด 2.12 นายโททท 2.13 นางศุภมาส 2.14 นายเสกสรร 2.15 นายเรืองชัย 2.16 นางศิริเนตร 2.17 นางรุ่งทิพย์ 2.18 นางสินีพร 2.19 นางดาลัด 2.20 นางศรัญญา
บํารุงวงศ์ สิงห์ช่างชัย อินทรอุทก บรรณวัฒน์ เกาะดี นรกิจ แป้นกลัด ศรีสุเทพ อัคคพงศ์พันธุ์ เรืองลักษณ์วิลาศ คํายอง ชื่นศิริกุลชัย สิงห์ช่างชัย เตจะโส ศรีจันทร์ บุญตัน กิจเจริญสิน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
3. คณะกรรรมการจัดทํารายงานการประเมินตนเองของสาขาวิชา มีหน้าที่ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล นําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลจัดพิมพ์วิธีดําเนินการ (Awareness) ผลการดําเนินการ (Attempt) และสัมฤทธิ์ผล (Achievement) โดยจัดทําเป็นรูปเล่มและจัดส่งรายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) ของสาขาวิชา แฟ้มร่องรอยการดําเนินงานให้แก่งานประกันคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษา ภายในวันที่ 14 มีนาคม 2558 ประกอบด้วย 3.1 ฝ่ายวิชาการ 3.1.1 นายสรพล สุริยาสาคร ประธานกรรมการ 3.1.2 นางสาวเกศริน เกาะดี กรรมการและเลขานุการ 3.2 แผนกวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย 3.2.1 นางวิระภา คอทอง 3.2.2 นางสาวปราณีต มณีเทศ 3.2.3 นางสาวสุณี เสาร์คํา 3.2.4 นางสาวกัลยา วงค์บางโพ 3.2.5 นางสาวลาวัลย์ พรมานะจิรังกุล 3.2.6 นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ /3.3 แผนกวิชา...
๑๘๓
3.3 แผนกวิชาอาหารและโภชนาการ 3.3.1 นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ 3.3.2 นางสาวบุณฑริกกา เกษมมงคล 3.3.3 นางสาวทัศนันท์ จวนสาง 3.3.4 นางอนงค์ ทองดา 3.3.5 นางสายสมร ห้องดอกไม้ 3.3.6 นางธัชพร ขัดขาว 3.3.7 ว่าที่ร.ต. หญิงสุภารัตน์ ช่างล้อ 3.3.8 นางสุรีย์ สมปรารถนา 3.3.9 นางสาวรุ่งนภา โนจา 3.3.10นางสาวพิมพ์พรรณ อินทรีย์ 3.3.11นายโอภาส มูลอ้าย
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
3.4 แผนกวิชาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป 3.4.1 นางศิริกุล อินทรอุทก 3.4.2 นางกนกรัตน์ เลิศพิริยกมล 3.4.3 นางสาวสุนิสา ปิ่นเจริญ 3.4.4 นางสาวสนธยา อรุณเรืองสวัสดิ์ 3.4.5 นางพิมพ์รัตน์ สาลีวัน 3.4.6 นางจรรยา สุวรรณประเสริฐ 3.4.7 นางเรืองพร ปรัชญาดํารง 3.4.8 นางสาวแคทรีริน เอี่ยมศิริ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
3.5 แผนกวิชาการบัญชี 3.5.1 นายคงศักดิ์ 3.5.2 นางจันณิกิต 3.5.3 นางดวงพร 3.5.4 นางสาวเกศริน 3.5.5 นางศุภมาส 3.5.6 นางกชกร 3.5.7 นางศรีพรรณ 3.5.8 นางทักษวรรณ 3.5.9 นางฉัตรพร 3.5.10นางสินีพร 3.5.11นางลลิตา
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
กิจเจริญสิน สุวภาพ มงคลประเสริฐ เกาะดี เรืองลักษณ์วิลาศ บรรณวัฒน์ เผ่าบุญเสริม โรจนสกุลพิสุทธิ์ คริสต์รักษา ศรีจันทร์ ฤทธิ์สืบเชื้อ
/3.6 แผนกวิชา...
๑๘๔
3.6 แผนกวิชาการเลขานุการ 3.6.1 นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ 3.6.2 นางดาลัด บุญตัน 3.6.3 นางนิภา ตั้งพิษฐานสกุล 3.6.4 นางสาววราภรณ์ เรือนชัย 3.6.5 นางอรินทยา ใจเอ 3.6.6 นางรุ่งทิพย์ เตจะโส 3.6.7 นางลภัสรดา สมบูรณ์
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
3.7 แผนกวิชาการจัดการทั่วไป 3.7.1 นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ 3.7.2 นายวิทยา กิตติเนาวสุนทร 3.7.3 นางทรัพย์อารีย์ ศาลติกุลนุการ 3.7.4 นางอําไพ วัชรินทร์ 3.7.5 นางทิฆัมพร วาสิทธิ์ 3.7.6 นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง 3.7.7 นางสาวสิรีธร เครือคําขาว
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
3.8 แผนกวิชาการตลาด 3.8.1 นางฐิติกัลยา ปาปวน 3.8.2 นางวรินทร์ทิพย์ สัมปชัญญสถิตย์ 3.8.3 นางสาวปราณี หอมละออ 3.8.4 นางเพลินตา มีกลิ่นหอม 3.8.5 นายเฉลิมพงศ์ เลขะวณิชย์ 3.8.6 นางนภาพร ธิยาม
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
3.9 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3.9.1 นายเสกสรร คํายอง 3.9.2 นางปวีณกร แป้นกลัด 3.9.3 นางสาวจิราภรณ์ ปาลี 3.9.4 นางธิวาวรรณ แย้มยินดี 3.9.5 นายจีรัง วงศ์วุฒิ 3.9.6 นางสาววราภัสร์ จิกยอง 3.9.7 นายธีรวัฒน์ พรหมพันธกรณ์ 3.9.8 นายไพศาล หลังปูเต๊ะ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ /3.10 แผนกวิชา...
๑๘๕
3.10 แผนกวิชาการโรงแรมและบริการ 3.10.1 นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส 3.10.2 นางสาวสําราญ โพธิ์จาด 3.10.3 นางอัปสร คอนราด 3.10.4 นายทินกร ติ๊บอินถา
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
3.11 แผนกวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว 3.11.1 นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ 3.11.2 นางฑิษฆัมภรณ์ เมืองแก้ว
กรรมการ กรรมการ
3.11.3 นางศิริเนตร สิงห์ช่างชัย 3.11.4 นางสาวสาวิตรี ฤทธา
กรรมการ กรรมการ
3.12 แผนกวิชาศิลปกรรม 3.12.1 นางสาวเรไร จันทร์นิกุล 3.12.2 นายโททท อัคคพงศ์พันธุ์
กรรมการ กรรมการ
3.13 แผนกวิชาวิจิตรศิลป์ 3.13.1 นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน 3.13.2 นายศุภกิจ นรกิจ
กรรมการ กรรมการ
3.14 แผนกวิชาการออกแบบ 3.14.1 นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย 3.14.2 นางศิริภรณ์ แก้วหลวง 3.14.3 นางสาวสุภาพิท อินทรบรรลือ 3.14.4 นายพูนศักดิ์ ณรงค์ศักดิ์ 3.14.5 นางสาวจินตหรา มณีกาศ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
3.15 แผนกวิชาศิลปกรรมเซรามิก 3.15.1 นายพุทธา แก้วพิทักษ์ 3.15.2 นายสมพงษ์ ไกรกิจราษฎร์ 3.16 แผนกวิชาเทคโนโลยีศิลปกรรม 3.16.1 นายโอภาส ชมชื่น 3.16.2 นางโฉมจิตรา ศรีอนุรักษ์ 3.17 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 3.17.1 นายพัฒนา สมปรารถนา 3.17.2 นางจันทรา นรกิจ 3.17.3 นายกฤษณ์ บัวสุข
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ / 3.18 ประเภทวิชา...
๑๘๖
3.18 ประเภทวิชาพื้นฐาน 3.18.1 กลุ่มวิชาสังคม 1) นางไมรินทร์ 2) นายไกรสร
พงษ์นิกร ฝึกฝน
กรรมการ กรรมการ
3.18.2 กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 1) นางนารี สุวรรณโภคัย 2) นางพรวิไล สายศร 3) นางนฤมล ศรีดาคํา 4) นางยุวดี วาฤทธิ์ 5) นางกรรณิการ์ จันทร์ฉาย 6) นายนพปฎล เพ็ชรไพร 7) นางสาวอัจฉราภรณ์ ปัญโญใหญ่
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
3.18.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 1) นายชัยประสิทธิ์ 2) นายจักรพันธุ์ 3) นายวันชัย 4) นายยุทธกร
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ศรีวิชัย ปัญจะสุวรรณ น้อยจันทร์ แก้วใส
3.18.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 1) นายภคพจน์ ปวนอินตา 2) นายวศิน คําดี 3) นายคมสันต์ 3.18.5 กลุ่มวิชาภาษาไทย 1) นางรัตนาพรรณ 2) นางศรัญญา 3) นางมลุลี
กรรมการ กรรมการ
รัตนะ
กรรมการ
ประกอบของ กิจเจริญสิน บุญสม
กรรมการ กรรมการ กรรมการ
3.18.6 กลุ่มวิชาพลานามัย 1) นายณัฐภัทร์ ไชยจักร กรรมการ 2) นายชวิศา น่วมเจิม กรรมการ 3) นางสาวศิริพร ขยัน กรรมการ 4. คณะกรรรมการจัดทําข้อมูล หลักฐานตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ 4.1 ประธานกรรมการฝ่ายต่าง ๆ มีหน้าที่ กํากับ ติดตาม ควบคุม ดูแล ส่งเสริม สนับสนุน ในการดําเนินงานของผู้เก็บข้อมูลและจัดทําแฟ้มให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ /4.2 กรรมการ.....
๑๘๗
4.2 กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ช่วยเหลือ ประธานกรรมการในการกํากับ ติดตาม ควบคุม ดูแล ส่งเสริมสนับสนุน ให้การดําเนินงานของผู้ให้ข้อมูล ผู้เก็บข้อมูลและจัดทําแฟ้มร่องรอย การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวบรวมเอกสาร แฟ้มร่องรอยการดําเนินงาน แผ่นบันทึกข้อมูล ตามตัวบ่งชี้ที่รับผิดชอบ 4.3 ผู้ให้ข้อมูล มีหน้าที่ จัดเตรียมข้อมูลและให้ข้อมูลแก่ผู้จัดทําแฟ้ม 4.4 ผู้จัดทําแฟ้ม มีหน้าที่ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล นําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล จัดพิมพ์วิธีดําเนินการ (Awareness) ผลการดําเนินการ (Attempt) และสัมฤทธิ์ผล (Achievement) และจัดส่ง แฟ้มร่องรอยการดําเนินงาน พร้อมด้วยแผ่นบันทึกข้อมูลผลการดําเนินงาน แก่ประธานกรรมการฝ่าย ก่อนวันที่ 14 มีนาคม 2558 ประกอบด้วย 4.4.1 ฝ่ายวิชาการ นายสรพล สุริยาสาคร ประธานกรรมการ นางสาวเกศริน เกาะดี กรรมการและเลขานุการ มาตรฐานที่ 1 ด้านผู้เรียนและผู้สําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ ผู้ให้ข้อมูล 1.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ นางธิวาวรรณ แย้มยินดี ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป นางพรวิไล สายศร นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
ผู้จัดทําแฟ้ม นางธิวาวรรณ แย้มยินดี นางจันทรา นรกิจ นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง นางสาวอังคณา ทองยิ้ม นางสาวสุพิชญา มูลคํา
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง /1.2 ระดับความพึงพอใจ...
๑๘๘
ตัวบ่งชี้ 1.2 ระดับความพึงพอใจของสถาน ประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของผู้เรียน
ผู้ให้ข้อมูล นางทักษวรรณ โรจนสกุลพิสุทธิ์
นางทักษวรรณ โรจนสกุลพิสุทธิ์
นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง
นางอนงค์ ทองดา นายทินกร ติ๊บอินถา นางสาวรุ่งนภา โนจา นางสาววราภัสร์ จิกยอง นางสาววนันท์ยา เขื่อนป้อ
นางสุภาภรณ์
1.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
ผู้จัดทําแฟ้ม
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางอนงค์ ทองดา ว่าที่ ร.ต.หญิงสุภารัตน์ ช่างล้อ นายภคพจน์ ปวนอินตา นางธิวาวรรณ แย้มยินดี
นางพรวิไล นางวิระภา นางสุพัตรา นางศิริกุล นายคงศักดิ์ นางฐิติกัลยา นางนิภาพันธ์ นางนฤมล นายเสกสรร นางสุภาภรณ์
สายศร คอทอง จันทร์เจนจบ อินทรอุทก กิจเจริญสิน ปาปวน แสนมโนรักษ์ อัคคพงศ์พันธุ์ คํายอง
นายภคพจน์ นางสาวสุณี นางสาวศุภศรี
ปวนอินตา เสาร์คํา กันทะปา
แสงจันทร์โอภาส
/ นางสาวสายหยุด ...
๑๘๙
ตัวบ่งชี้
1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย จากการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป
ผู้ให้ข้อมูล นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นายภคพจน์ ปวนอินตา นางสาวเกศริน เกาะดี นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย จากการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ
ผู้จัดทําแฟ้ม
นายภคพจน์ นางสาววราภัสร์ นายวศิน นางสาวศุภศรี
ปวนอินตา จิกยอง คําดี กันทะปา
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นายภคพจน์ ปวนอินตา นางนารี สุวรรณโภคัย นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ
นายภคพจน์ นายคมสันต์ นางสาวศุภศรี
ปวนอินตา รัตนะ กันทะปา
/ นางศิริกุล...
๑๙๐
ตัวบ่งชี้
ผู้ให้ข้อมูล นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
1.7 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางยุวดี วาฤทธิ์ นางธิวาวรรณ แย้มยินดี นางพรวิไล สายศร นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
ผู้จัดทําแฟ้ม
นางพรวิไล สายศร นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง นางสาววิจิตรา คําหมื่น
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา / นายพุทธา...
๑๙๑
ตัวบ่งชี้
ผู้ให้ข้อมูล นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง 1.8 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้งานทํา นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล หรือประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ นางอรินทยา ใจเอ ภายใน 1 ปี นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
ผู้จัดทําแฟ้ม
นางสุทธิลักษณ์ นางอรินทยา นายเสกสรร นางสาวธณัฐชา
เกิดสว่างกุล ใจเอ คํายอง มะโนแสน
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน 1.9 ระดับความพึงพอใจของสถาน ประกอบการ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือผู้รับบริการที่มีต่อคุณภาพ ของผู้สําเร็จการศึกษา
นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นางวิระภา คอทอง นางสุพตั รา จันทร์เจนจบ นางศิริกลุ อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์
นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นายเสกสรร คํายอง นางอรินทยา ใจเอ นางสาวธณัฐชา มโนแสน
/ นางนฤมล...
๑๙๒
ตัวบ่งชี้
ผู้ให้ข้อมูล นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
ผู้จัดทําแฟ้ม
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน 4.4.2 ฝ่ายวิชาการ นายสรพล นางสาวเกศริน
สุริยาสาคร เกาะดี
ประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ
มาตรฐานที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ 2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา ที่สอดคล้องกับความต้องการของสถาน ประกอบการ หรือประชาคมอาเซียน
ผู้ให้ข้อมูล นางสาวเกศริน เกาะดี นางดวงพร มงคลประเสริฐ นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
ผู้จัดทําแฟ้ม นางสาวเกศริน เกาะดี นางดวงพร มงคลประเสริฐ นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง นางสาวศิริพร ขยัน นางสาวจารุวรรณ จอมจันทร์
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย / นายพัฒนา ...
๑๙๓
ตัวบ่งชี้
2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทําแผน การจัดการเรียนรู้รายวิชา
ผู้ให้ข้อมูล นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางสาวเกศริน เกาะดี นางดวงพร มงคลประเสริฐ นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
ผู้จัดทําแฟ้ม
นางสาวเกศริน เกาะดี นางดวงพร มงคลประเสริฐ นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง นางสาวศิริพร ขยัน นางสาวจารุวรรณ จอมจันทร์
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัยนาย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางสาวศิริพร ขยัน 2.3 ระดับคุณภาพในการจัดการเรียน การสอน
นางสาวเกศริน เกาะดี นางดวงพร มงคลประเสริฐ นางวิระภา คอทอง นางสุพตั รา จันทร์เจนจบ นางศิริกลุ อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน
นางสาวเกศริน เกาะดี นางดวงพร มงคลประเสริฐ นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง นางสาวศิริพร ขยัน นางสาวจารุวรรณ จอมจันทร์
/ นางนิภาพันธ์...
๑๙๔
ตัวบ่งชี้
ผู้ให้ข้อมูล นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
2.4 ระดับคุณภาพในการวัดและ ประเมินผลการจัดการเรียน การสอนรายวิชา
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางสาวอมรรัตน์ แท่งทอง นายภคพจน์ ปวนอินตา นายวศิน คําดี นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
ผู้จัดทําแฟ้ม
นายภคพจน์ นายวศิน นางสาวสุณี นางสาวศุภศรี
ปวนอินตา คําดี เสาร์คํา กันทะปา
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน / 2.5 ระดับคุณภาพ ...
๑๙๕
ตัวบ่งชี้ 2.5 ระดับคุณภาพในการฝึกงาน
ผู้ให้ข้อมูล
ผู้จัดทําแฟ้ม
นางทักษวรรณ โรจนสกุลพิสทุ ธิ์ นางทักษวรรณ โรจนสกุลพิสุทธิ์
นางอนงค์ นางวิระภา นางสุพัตรา นางศิริกุล นายคงศักดิ์ นางฐิติกัลยา นางนิภาพันธ์ นางนฤมล นายเสกสรร นางสุภาภรณ์
ทองดา คอทอง จันทร์เจนจบ อินทรอุทก กิจเจริญสิน ปาปวน แสนมโนรักษ์ อัคคพงศ์พันธุ์ คํายอง
นางอนงค์ ทองดา นายทินกร ติ๊บอินถา นางสาวรุ่งนภา โนจา นางสาวรวราภัสร์ จิกยอง นางสาววนันท์ยา เขื่อนป้อ
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน 4.4.3 ฝ่ายบริหารทรัพยากร นางศศิรส บํารุงวงศ์ นางรุ่งทิพย์ เตจะโส
ประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ
มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ ผู้ให้ข้อมูล ยางาม 3.1 ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของ นางสุพิศ นายฉัตรชัย เรืองมณี คณะกรรมการสถานศึกษา หรือ นายสรพล สุริยาสาคร วิทยาลัย
ผู้จัดทําแฟ้ม
นางรุ่งทิพย์ เตจะโส นางนิภา ตั้งพิษฐานสกุล นายยุทธกร แก้วใส นางชัญญา คันธเลิศ นางศศิรส บํารุงวงศ์ นางสาวพัชรินทร์ โปธา นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย นางศุภมาส เรืองลักษณ์วิลาศ นางสาวนงนุช พรหมจักร์ นางกชกร บรรณวัฒน์
/นายศุภกิจ...
๑๙๖
ตัวบ่งชี้
3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทําแผน การบริหารจัดการสถานศึกษา
ผู้ให้ข้อมูล ผู้จัดทําแฟ้ม นายศุภกิจ นรกิจ นางปวีณกร แป้นกลัด นางสินีพร ศรีจันทร์ นางสาวเกศริน เกาะดี นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นางศิริกุล อินทรอุทก นายเสกสรร คํายอง นายโททท อัคคพงษ์พันธุ์ นางศิริเนตร สิงห์ช่างชัย นางรุ่งทิพย์ เตจะโส นางสุพิศ ยางาม นางกชกร บรรณวัฒน์ นายฉัตรชัย เรืองมณี นางสาวสิรีธร เครือคําขาว นายสรพล สุริยาสาคร นางกรณิการ์ ทิน่าน นางศศิรส บํารุงวงศ์ นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย นางศุภมาส
เรืองลักษณ์วิลาศ
นางกชกร บรรณวัฒน์ นายศุภกิจ นรกิจ นางสินีพร ศรีจันทร์ นางปวีณกร แป้นกลัด นางสาวเกศริน เกาะดี นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นางศิริกุล อินทรอุทก นายเสกสรร คํายอง นายโททท อัคคพงศ์พันธุ์ นางศิริเนตร สิงห์ช่างชัย นางรุ่งทิพย์ เตจะโส / 3.3 ระดับคุณภาพ ...
๑๙๗
ตัวบ่งชี้ 3.3 ระดับคุณภาพในการพัฒนา สถานศึกษาตามอัตลักษณ์
ผู้ให้ข้อมูล นายศุภกิจ นรกิจ นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม นางกชกร บรรณวัฒน์ นางรุ่งทิพย์ เตจะโส นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
ผู้จัดทําแฟ้ม นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม นางสาวสุภาพิท อินทรบันลือ
นางลภัสรดา สมบูรณ์ นางสาววราภัสร์ จิกยอง นางสาวธณัฐชา มโนแสน
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางกรณิการ์ ทิน่าน 3.4 ระดับคุณภาพในการบริหารงาน และ นางปวีณกร แป้นกลัด ภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษา นางสาววราภรณ์ เรือนชัย นางรุ่งทิพย์ เตจะโส นางนิภา ตั้งพิษฐานสกุล นายศุภกิจ นรกิจ นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก
นางรุ่งทิพย์ เตจะโส นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นางนิภา ตั้งพิษฐานสกุล นายยุทธกร แก้วใส นางชัญญา คันธเลิศ นางสาวนงนุช พรหมจักร์ นางสาวพัชรินทร์ โปธา นางสาวกานพลู วรวุฒิชัยนันท์
/ นายคงศักดิ์...
๑๙๘
ตัวบ่งชี้
ผู้ให้ข้อมูล นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
3.5 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ของสถานศึกษา
3.6 ระดับคุณภาพในการบริหาร ความเสี่ยง
ผู้จัดทําแฟ้ม
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางโฉมจิตรา ศรีอนุรักษ์ นางกชกร บรรณวัฒน์ นางธิวาวรรณ แย้มยินดี นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นางฉัตรพร คริสต์รักษา นางสาวอรัญญา ศักดิ์ทอง นายจีรัง วงศ์วุฒิ นางกนกรัตน์ เลิศพิริยกมล นายเสกสรร คํายอง นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นางอําไพ วัชรินทร์ นายศุภกิจ นรกิจ นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม นางจรรยา สุวรรณประเสริฐ นางเพลินตา มีกลิ่นหอม
นางโฉมจิตรา ศรีอนุรักษ์ นายจีรัง วงศ์วุฒิ นางสาวภัสราภรณ์ วงค์ย้ิมใย นายภูริณัฐ ยาระปา นายอาวิทวัส วรรณชัย นายอนุพงษ์ ไชยนิเวศน์ นางสาวสุนิสา ตุลาธร นางกนกรัตน์ เลิศพิริยกมล นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม นางจรรยา สุวรรณประเสริฐ นางอําไพ วัชรินทร์
นายเอกสิทธิ์ ปินตา นางสาวเกศินี สลี นางสาวธณัฐชา มโนแสน นางสาวภัทรพิชชา ลือชัยพัชรกุล
นางสาวสุกานดา อุตมะโน /3.7 ระดับคุณภาพ...
๑๙๙
ตัวบ่งชี้ 3.7 ระดับคุณภาพในการจัดระบบดูแล ผู้เรียน
3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนา และ ดูแลสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของ สถานศึกษา และการใช้อาคาร สถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ
ผู้ให้ข้อมูล นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม นางสาวสุภาพิท อินทรบรรลือ นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล นางกนกรัตน์ เลิศพิริยกมล นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์
แสงจันทร์โอภาส
นางสาวสายหยุด นางสาวเรไร นายเรืองชัย นายพัฒนา นายพุทธา นายเสกสรรค์ นายโอภาส นางศรัญญา นายโททท นางมลุลี นางวิระภา นางสุพัตรา นางศิริกุล นายคงศักดิ์ นางฐิติกัลยา นางนิภาพันธ์ นางนฤมล นายเสกสรรค์
ศรีสุเทพ จันทร์นิกุล ชื่นศิริกุลชัย สมปรารถนา แก้วพิทกั ษ์ สิงห์อ่อน ชมชื่น กิจเจริญสิน อัคคพงศ์พันธุ์ บุญสม คอทอง จันทร์เจนจบ อินทรอุทก กิจเจริญสิน ปาปวน แสนมโนรักษ์ อัคคพงศ์พันธุ์ คํายอง
นางสุภาภรณ์
ผู้จัดทําแฟ้ม นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม นางลภัสรดา สมบูรณ์ นางสาววราภัสร์ จิกยอง นางสาวธณัฐชา มะโนแสน
นายโททท อัคคพงศ์พันธุ์ นางมลุลี บุญสม นางกรรณิการ์ จันทร์ฉาย นางสาวหนึ่งฤทัย เริ่มกูล
แสงจันทร์โอภาส
/นางสาวสายหยุด ...
๒๐๐
ตัวบ่งชี้
3.9 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และ คอมพิวเตอร์
ผู้ให้ข้อมูล นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางศุภมาส เรืองลักษณ์วิลาศ นางกชกร บรรณวัฒน์ นางจันณิกิต สุวภาพ นางลลิตา ฤทธิ์สืบเชื้อ นางธัชพร ขัดขาว นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน
ผู้จัดทําแฟ้ม
นางศุภมาส เรืองลักษณ์วิลาศ
นางสาวสุคนทิพย์ โสภา นางสาวพิมพ์พรรณ อินทรีย์
นางสาวหนึ่งฤทัย เริ่มกูล นางสาวจุรีพรรณ พรมสนธิ
นายมณฑล ชัยประหลาด
/3.10 ระดับคุณภาพ...
๒๐๑
ตัวบ่งชี้ 3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษา
ผู้ให้ข้อมูล นางปวีณกร แป้นกลัด นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นางกรรณิการ์ จันทร์ฉาย
ผู้จัดทําแฟ้ม นางปวีณกร แป้นกลัด นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นางกรรณิการ์ จันทร์ฉาย
นางสาวอัจฉราภรณ์ ปัญโญใหญ่
นางสาวอัจฉราภรณ์ ปัญโญใหญ่
นางสาวศิรประภา ทรัพย์ประดิษฐ์
3.11 ระดับคุณภาพในการบริหารการเงิน และงบประมาณ
นางกชกร บรรณวัฒน์ นางฉัตรพร คริสต์รักษา นางสาวอรัญญา ศักดิ์ทอง
นางวนิดา ธนโชติ นางกชกร บรรณวัฒน์ นางสาวสิรีธร เครือคําขาว นางกรณิการ์ ทิน่าน
นางศุภมาส เรืองลักษณ์วิลาศ
3.12 ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากร ในการจัดการอาชีวศึกษากับ เครือข่ายทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ
นางสาวเกศริน เกาะดี นางนารี สุวรรณโภคัย นางทักษวรรณ โรจนสกุลพิสุทธิ์ นางสาวทัศนันท์ จวนสาง
นางกชกร บรรณวัฒน์ นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางรุ่งทิพย์ เตจะโส
ว่าที่ ร.ต.หญิงสุภารัตน์ ช่างล้อ
4.4.4 ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย นางจรรยา สุวรรณประเสริฐ
นางสาวกัลยา วงศ์บางโพ นางทรัพย์อารีย์ ศาลติกุลนุการ
นางอัปสร คอนราด นางยุวดี วาฤทธิ์ นางสาวพัชรินทร์ กวงคํา
ประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ
มาตรฐานที่ 4 ด้านการบริการวิชาการและวิชาชีพ ตัวบ่งชี้ 4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ การบริการวิชาการและวิชาชีพ
ผู้ให้ข้อมูล นางจรรยา สุวรรณประเสริฐ นางปวีณกร แป้นกลัด นางสาวเกศริน เกาะดี นางธิวาวรรณ แย้มยินดี นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก
ผู้จัดทําแฟ้ม นางจรรยา สุวรรณประเสริฐ นางเพลินตา มีกลิ่นหอม นางสาวแคทรีริน เอี่ยมศิริ นายชวิศา น่วมเจิม นางสาวภัทร์พิชชา ลือชัยพัชรกุล
/นายคงศักดิ์ ...
๒๐๒
ตัวบ่งชี้
ผู้ให้ข้อมูล นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน
4.4.5 ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ นายฉัตรชัย เรืองมณี ว่าที่ ร.ต.หญิงสุภารัตน์ ช่างล้อ
ผู้จัดทําแฟ้ม
ประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ
มาตรฐานที่ 5 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ตัวบ่งชี้ 5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ โครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของผู้เรียน
ผู้ให้ข้อมูล ว่าที่ ร.ต.หญิงสุภารัตน์ ช่างล้อ นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางสาวจิราภรณ์ ปาลี นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง
ผู้จัดทําแฟ้ม นางสาวจิราภรณ์ ปาลี นางทิฆัมพร วาสิทธิ์ นายยุทธกร แก้วใส นายโอภาส มูลอ้าย นายไพศาล หลังปูเต๊ะ นางศิรประภา โคบายาชิ
/นางสุภาภรณ์ ...
๒๐๓
ตัวบ่งชี้
ผู้ให้ข้อมูล นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางลลิตา ฤทธิ์สบื เชื้อ
ผู้จัดทําแฟ้ม
นางวรินทร์ทิพย์ สัมปชัญญสถิต
5.2 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู
นายทินกร ติบ๊ อินถา ว่าที่ ร.ต.หญิงสุภารัตน์ ช่างล้อ นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางสาวจิราภรณ์ ปาลี นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน
ว่าที่ ร.ต.หญิงสุภารัตน์ ช่างล้อ นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นายยุทธกร แก้วใส นายโอภาส มูลอ้าย นางศิรประภา โคบายาชิ
/ 6. ฝ่ายพัฒนา ...
๒๐๔
4.4.6 ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย ประธานกรรมการ นายศุภกิจ นรกิจ กรรมการและเลขานุการ มาตรฐานที่ 6 ด้านการปลูกฝังจิตสํานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ตัวบ่งชี้ 6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขและทํานุบํารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม
6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสํานึก ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ผู้ให้ข้อมูล นายศุภกิจ นรกิจ นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นายศุภกิจ นรกิจ นายจักรพันธุ์ ปัญจะสุวรรณ นางวิระภา คอทอง นางวรินทร์ทิพย์ สัมปชัญญสถิตย์
นายพูนศักดิ์ นางศิริเนตร นางจันทรา นางวิระภา
ผู้จัดทําแฟ้ม นายศุภกิจ นรกิจ นายกฤษณ์ บัวสุข นางสาวเกศินี สลี
นายศุภกิจ
นรกิจ
นางวรินทร์ทิพย์ สัมปชัญญสถิตย์
นายกฤษณ์ บัวสุข นางสาวเกศินี สลี
ณรงค์ศักดิ์ สิงห์ช่างชัย นรกิจ คอทอง
/ นางสุพัตรา...
๒๐๕
ตัวบ่งชี้
6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริม ด้านการกีฬาและนันทนาการ
ผู้ให้ข้อมูล ผู้จัดทําแฟ้ม นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นายณัฐภัทร ไชยจักร์ นางสาวแคทรีริน เอี่ยมศิริ นายกฤษณ์ บัวสุข นางสาวศิริพร ขยัน นายชวิศา น่วมเจิม นางวิระภา คอทอง นางสาวศิริพร ขยัน นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นายชวิศา น่วมเจิม นางศิริกุล อินทรอุทก นางสาวเกศินี สลี นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ / นางสาวเรไร ...
๒๐๖
ตัวบ่งชี้
6.4 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสํานึก ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้ให้ข้อมูล ผู้จัดทําแฟ้ม นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางศรัญญา กิจเจริญสิน นายศุภกิจ นรกิจ นายณัฐภัทร ไชยจักร์ นายกฤษณ์ บัวสุข นางสาวศิริพร ขยัน นายชวิศา น่วมเจิม นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางจรรยา สุวรรณประเสริฐ นายไกรสร ฝึกฝน นางสาวเพ็ญศุกร์ เพ็ญบริมาส นายศุภกิจ นรกิจ นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นายไกรสร ฝึกฝน / 4.4.7 ฝ่ายแผนงาน...
๒๐๗
4.4.7 ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ นายฉัตรชัย นางสินีพร
เรืองมณี ศรีจันทร์
ประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ
มาตรฐานที่ 7 ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ตัวบ่งชี้ 7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกัน คุณภาพภายใน
7.2 ระดับคุณภาพในการดําเนินงานตาม มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555
ผู้ให้ข้อมูล นางสินีพร ศรีจันทร์ นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางดาลัด บุญตัน นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น นางสินีพร ศรีจันทร์ นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางดาลัด บุญตัน นางวิระภา คอทอง นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ นางศิริกุล อินทรอุทก นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน
ผู้จัดทําแฟ้ม นางสินีพร ศรีจันทร์ นายไกรสร ฝึกฝน นางสาวนฤมล เครือฟู
นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางดาลัด บุญตัน นางนภาพร ธิยาม นางสาวนฤมล เครือฟู
/ นางฐิติกัลยา...
๒๐๘
ตัวบ่งชี้
ผู้ให้ข้อมูล นางฐิติกัลยา ปาปวน นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ นายเสกสรร คํายอง นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ นางสาวเรไร จันทร์นิกุล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายพัฒนา สมปรารถนา นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์ นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน นายโอภาส ชมชื่น
ผู้จัดทําแฟ้ม
5. คณะกรรมการฝ่ายอัดสําเนา มีหน้าที่ อัดสําเนาแบบสอบถามตามที่คณะกรรมการดําเนินการ ประกันคุณภาพได้จัดทําขึ้น ประกอบด้วย 5.1 นายวิทยา กิตติเนาวสุนทร ประธานกรรมการ 5.2 นางทิษฆัมภรณ์ เมืองแก้ว กรรมการ 5.3 นายนพปฎล เพ็ชรไพร กรรมการ 5.4 นายธนิต ธนโชติ กรรมการและเลขานุการ 6. คณะกรรมการจัดทําข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา (Common Data Set) มีหน้าที่ รวบรวม ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษาตามรูปแบบของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา บันทึกข้อมูล และรายงานต่อสถานศึกษา ประกอบด้วย 6.1 นางศรัญญา กิจเจริญสิน ประธานกรรมการ 6.2 นางนภาพร ธิยาม กรรมการ 6.3 นายไกรสร ฝึกฝน กรรมการและเลขานุการ 7. คณะกรรมการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง และเผยแพร่ผลการดําเนินงาน มีหน้าที่ ศึกษารวบรวมข้อมูล จัดทํารายงานการประเมินตนเองตามรูปแบบของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาให้แล้วเสร็จ จัดส่งสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และศูนย์ส่งเสริมและพัฒนา อาชีวศึกษาภาคเหนือ ทั้งรูปเล่มและรายงานในระบบคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ภายในวันที่ 30 พฤษภาคม 2558 รวมทั้งเผยแพร่ผลการดําเนินงานแก่สาธารณชนตามช่องทางต่าง ๆ ประกอบด้วย / 7.1 นางสินีพร ...
๒๐๙
7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 6.5
นางสินีพร นางดาลัด นายไกรสร นางนภาพร นางสาวนฤมล นางศรัญญา
ศรีจันทร์ บุญตัน ฝึกฝน ธิยาม เครือฟู กิจเจริญสิน
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ปฏิบัติหน้าที่ ตามที่ได้รับมอบหมายให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ในทุกเรื่อง โดยเฉพาะเกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน ซึ่งจะเป็นกําลังในการพัฒนาประเทศต่อไป สั่ง ณ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557
(นายสุพิศ ยางาม) ผู้อํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
คําสั่งวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ที่ 274/๒๕๕7 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานรับการตรวจประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ตามที่สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้กําหนดการตรวจประเมินคุณภาพภายใน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ในระหว่างวันที่ 7-9 กรกฎาคม ๒๕๕7 นั้น เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ดังต่อไปนี้ ๑. คณะกรรมการอํานวยการ มีหน้าที่ ให้คําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ให้ลุล่วงด้วยความเรียบร้อย ประกอบด้วย ๑.๑ นางสุพิศ ยางาม ประธานกรรมการ ๑.๒ นายสรพล สุริยาสาคร กรรมการ ๑.๓ นางศศิรส บํารุงวงศ์ กรรมการ ๑.๔ นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย กรรมการ ๑.๕ นายฉัตรชัย เรืองมณี กรรมการและเลขานุการ ๒. คณะกรรมการฝ่ายต้อนรับ มีหน้าที่ ต้อนรับคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด อํานวยความสะดวกและนําชมสาขาวิชาต่าง ๆ ประกอบด้วย ๒.๑ นายสรพล สุริยาสาคร ประธานกรรมการ ๒.๒ นายฉัตรชัย เรืองมณี กรรมการ ๒.๓ นางศศิรส บํารุงวงศ์ กรรมการ ๒.๔ นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย กรรมการ 2.5 นางวิระภา คอทอง กรรมการ 2.6 นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ กรรมการ 2.7 นางศิริกุล อินทรอุทก กรรมการ 2.8 นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน กรรมการ 2.9 นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ กรรมการ 2.10 นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ กรรมการ 2.11 นางฐิติกัลยา ปาปวน กรรมการ 2.12 นายเสกสรร คํายอง กรรมการ 2.13 นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส กรรมการ 2.14 นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ กรรมการ 2.15 นางสาวเรไร จันทร์นิกุล กรรมการ 2.16 นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย กรรมการ 2.17 นายพัฒนา สมปรารถนา กรรมการ 2.18 นายเสกสรร สิงห์อ่อน กรรมการ /2.19 นายโอภาส......
๒๑๑
2.19 นายโอภาส 2.20 นางศรัญญา ๒.21 นางสินีพร ๒.22 นางสุทธิลักษณ์ ๒.23 นางสาวสําราญ ๒.24 นางกชกร ๒.25 นางจรรยา ๒.26 นางศิริเนตร ๒.27 นางนภาพร ๒.28 นางสาวนฤมล ๒.29 นางดาลัด
ชมชื่น กิจเจริญสิน ศรีจันทร์ เกิดสว่างกุล โพธิ์จาด บรรณวัฒน์ สุวรรณประเสริฐ สิงห์ช่างชัย ธิยาม เครือฟู บุญตัน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
๓. คณะกรรมการตรวจสอบและพัฒนาแฟ้ม/ร่องรอย การดําเนินการประกันคุณภาพ มีหน้าที่ ตรวจสอบแฟ้มที่คณะกรรมการดําเนินการประกันคุณภาพจัดทําขึ้น ให้มีร่องรอยสอดคล้องกับการดําเนินการ ประกันคุณภาพของแต่ละฝ่ายตามเกณฑ์มาตรฐานการอาชีวศึกษา และข้อมูลการตรวจเยี่ยมของคณะกรรมการประเมิน คุณภาพ แล้วพัฒนาแฟ้มให้มีร่องรอยครบ สมบูรณ์ และถูกต้อง ก่อนวันที่ 16 มิถุนายน ๒๕๕7 ประกอบด้วย ๓.๑ นางสุพิศ ยางาม ประธานกรรมการ ๓.๒ นายสรพล สุริยาสาคร กรรมการ ๓.๓ นายฉัตรชัย เรืองมณี กรรมการ ๓.๔ นางศศิรส บํารุงวงศ์ กรรมการ ๓.๕ นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย กรรมการ ๓.๖ นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม กรรมการตรวจแฟ้มที่ 1.1-1.3 ๓.๗ นางศุภมาส เรืองลักษณ์วิลาศ กรรมการตรวจแฟ้มที่ 1.4-1.6 ๓.๘ นางทรัพย์อารีย์ ศาลติกุลนุการ กรรมการตรวจแฟ้มที่ 1.7-1.9 ๓.๙ นางรุ่งทิพย์ เตจะโส กรรมการตรวจแฟ้มที่ 3.1-3.3 ๓.๑๐ นางสาววราภรณ์ เรือนชัย กรรมการตรวจแฟ้มที่ 3.4-3.6 ๓.๑๑ นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ กรรมการตรวจแฟ้มที่ 3.7-3.9 ๓.๑๒ นางดาลัด บุญตัน กรรมการตรวจแฟ้มที่ 3.10-3.12 ๓.๑3 นางอําไพ วัชรินทร์ กรรมการตรวจแฟ้มที่ 2.1-2.2 ๓.๑4 นางพรวิไล สายศร กรรมการตรวจแฟ้มที่ 2.3-2.5 ๓.๑5 นางศรัญญา กิจเจริญสิน กรรมการตรวจแฟ้มที่ 4.1 ๓.๑6 นางสาวจิราภรณ์ ปาลี กรรมการตรวจแฟ้มที่ 5.1-5.2 ๓.๑7 นางจรรยา สุวรรณประเสริฐ กรรมการตรวจแฟ้มที่ 6.1-6.4 ๓.๑8 นางนภาพร ธิยาม กรรมการตรวจแฟ้มที่ 7.1-7.2 ๓.๑9 นายไกรสร ฝึกฝน กรรมการ ๓.20 นางสาวนฤมล เครือฟู กรรมการ ๓.21 นางสินีพร ศรีจันทร์ กรรมการและเลขานุการ
/๔. คณะกรรมการ...
๒๑๒
๔. คณะกรรมการจัดเตรียมข้อมูลแผนกวิชา มีหน้าที่ จัดเตรียมร่องรอยการดําเนินการประกัน คุณภาพพร้อมทั้งจัดนิทรรศการสรุปผลงานของแผนกวิชา เพื่อนําเสนอคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน โดยต้นสังกัด ประกอบด้วย ๔.๑ นายสรพล สุริยาสาคร ประธานกรรมการ ๔.๒ นางวิระภา คอทอง กรรมการ ๔.๓ นางสาวสุณี เสาร์คํา กรรมการ ๔.๔ นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ กรรมการ ๔.๕ นางอนงค์ ทองดา กรรมการ ๔.๖ นางศิริกุล อินทรอุทก กรรมการ ๔.๗ นางเรืองพร ปรัชญาดํารง กรรมการ ๔.๘ นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน กรรมการ ๔.๙ นางจันณิกิต สุวภาพ กรรมการ ๔.๑0 นางฐิติกัลยา ปาปวน กรรมการ ๔.๑1 นางวรินทร์ทิพย์ สัมปชัญญสถิตย์ กรรมการ ๔.๑2 นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ กรรมการ ๔.๑3 นางสาววราภรณ์ เรือนชัย กรรมการ ๔.๑4 นางศรัญญา กิจเจริญสิน กรรมการ ๔.๑5 นางนารี สุวรรณโภคัย กรรมการ ๔.๑6 นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส กรรมการ ๔.๑7 นางอัปสร คอนราด กรรมการ ๔.18 นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ กรรมการ ๔.19 นางฑิษฆัมภรณ์ เมืองแก้ว กรรมการ ๔.๒0 นางสาวเรไร จันทร์นิกุล กรรมการ ๔.๒1 นางสาวสุภาพิท อินทรบรรลือ กรรมการ ๔.๒2 นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย กรรมการ ๔.๒3 นางจันทรา นรกิจ กรรมการ ๔.๒4 นายโอภาส ชมชื่น กรรมการ ๔.๒5 นางโฉมจิตรา ศรีอนุรักษ์ กรรมการ ๔.๒6 นายพัฒนา สมปรารถนา กรรมการ ๔.๒7 นายพูนศักดิ์ ณรงค์ศักดิ์ กรรมการ ๔.28 นายเสกสรร คํายอง กรรมการ ๔.29 นางสาวจิราภรณ์ ปาลี กรรมการและเลขานุการ ๕. คณะกรรมการฝ่ายสวัสดิการ มีหน้าที่ จัดและบริการอาหารกลางวัน อาหารว่างและ เครื่องดื่มแก่คณะกรรมการดําเนินงานและคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ประกอบด้วย ๕.๑ นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ ประธานกรรมการ ๕.๒ นางสาวพิมพ์พรรณ อินทรีย์ กรรมการ ๕.๓ นางสาวรุ่งนภา โนจา กรรมการ ๕.4 นายทินกร ติ๊บอินถา กรรมการ ๕.5 นายโอภาส มูลอ้าย กรรมการ /5.6 นางรัตนาพรรณ....
๒๑๓
๕.6 นางรัตนาพรรณ ๕.7 นางสาวสุกานดา ๕.8 นางอําไพ
ประกอบของ อุตมะโน วัชรินทร์
กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
๖. คณะกรรมการจัดทําโปรแกรมนําเสนอข้อมูล มีหน้าที่ จัดทําข้อมูลแนะแนวสถานศึกษาและ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานมาตรฐานต่าง ๆ ด้วยโปรแกรมนําเสนอข้อมูล ประกอบด้วย ๖.๑ นายฉัตรชัย เรืองมณี ประธานกรรมการ ๖.๒ นายภูริณัฐ ยาระปา กรรมการ ๖.๓ นายอาวิทวัส วรรณชัย กรรมการ ๖.4 นางสาวภัสราภรณ์ วงค์ยิ้มใย กรรมการ ๖.5 นางสาวสุนิสา ตุลาธร กรรมการ ๖.6 นายอนุพงษ์ ไชยนิเวศน์ กรรมการ ๖.7 นางโฉมจิตรา ศรีอนุรักษ์ กรรมการและเลขานุการ ๗. คณะกรรมการประสานงานและจัดทํารายงานการประเมินผล มีหน้าที่ จัดทํารายงาน การดําเนินงานรับการตรวจประเมินคุณภาพภายในจากต้นสังกัด ประกอบด้วย ๗.๑ นายฉัตรชัย เรืองมณี ประธานกรรมการ ๗.๒ นางศรัญญา กิจเจริญสิน กรรมการ ๗.๓ นางสินีพร ศรีจันทร์ กรรมการ ๗.๔ นางนภาพร ธิยาม กรรมการ ๗.๕ นายไกรสร ฝึกฝน กรรมการ ๗.๖ นางสาวนฤมล เครือฟู กรรมการ ๗.๗ นางดาลัด บุญตัน กรรมการและเลขานุการ ๘. คณะกรรมการจัดเตรียมนักเรียน นักศึกษา เพื่อให้สัมภาษณ์ มีหน้าที่ จัดหานักเรียน นักศึกษา ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในระดับ ปวช. จํานวน ๓ คน และระดับ ปวส. จํานวน ๔ คน เพื่อให้คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายในจากต้นสังกัดสัมภาษณ์ ประกอบด้วย ๘.๑ นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย ประธานกรรมการ ๘.๒ นางกนกรัตน์ เลิศพิริยกมล กรรมการ ๘.3 นางศิริเนตร สิงห์ช่างชัย กรรมการ ๘.4 นายศุภกิจ นรกิจ กรรมการและเลขานุการ ๙. คณะกรรมการจัดเตรียมสถานประกอบการ เพื่อให้สัมภาษณ์ มีหน้าที่ จัดหา คัดสรร สถานประกอบการ ติดต่อประสานงาน และดูแลสถานประกอบการ เพื่อให้สัมภาษณ์ จํานวน ๓ คน ประกอบด้วย ๙.๑ นายสรพล สุริยาสาคร ประธานกรรมการ ๙.๒ นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส กรรมการ ๙.๓ นางฐิติกัลยา ปาปวน กรรมการ ๙.๔ นางวรินทร์ทิพย์ สัมปชัญญสถิตย์ กรรมการ ๙.๕ นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ กรรมการ ๙.6 นางสาวกัลยา วงค์บางโพ กรรมการ /9.7 นางอนงค์....
๒๑๔
๙.7 นางอนงค์ ๙.8 นางทักษวรรณ
ทองดา โรจนสกุลพิสุทธิ์
กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
๑๐. คณะกรรมการจัดเตรียมศิษย์เก่า เพื่อให้สัมภาษณ์ มีหน้าที่ คัดสรรศิษย์เก่า ติดต่อ ประสานงาน และดูแลศิษย์เก่า เพื่อให้สัมภาษณ์ จํานวน ๓ คน ประกอบด้วย ๑๐.๑ นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล ประธานกรรมการ ๑๐.๒ นางกนกรัตน์ เลิศพิริยกมล กรรมการ ๑๐.๓ นายเสกสรร คํายอง กรรมการ ๑๐.๔ นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ กรรมการ ๑๐.5 นางสาวเรไร จันทร์นิกุล กรรมการ ๑๐.6 นางอรินทยา ใจเอ กรรมการและเลขานุการ ๑๑. คณะกรรมการจัดหาของที่ระลึก มีหน้าที่ จัดหา เตรียมของที่ระลึกเพื่อมอบให้กับสถานประกอบการ และศิษย์เก่าที่มาให้สัมภาษณ์ รวมทั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ประกอบด้วย ๑๑.๑ นางศศิรส บํารุงวงศ์ ประธานกรรมการ ๑๑.๒ นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย กรรมการ ๑๑.3 นายเสกสรรค์ สิงห์อ่อน กรรมการ ๑๑.4 นางสาวสนธยา อรุณเรืองสวัสดิ์ กรรมการและเลขานุการ ๑๒. คณะกรรมการจัดเตรียมสถานที่ มีหน้าที่ ดูแลความสะอาด ความเรียบร้อย ความปลอดภัย ของสถานศึกษา จัดเตรียมห้อง ๒๒๑ จัดทํา และติดป้าย ตกแต่งดอกไม้ จัดเตรียมสถานที่สําหรับประชุมบุคลากร ประกอบด้วย ๑๒.๑ นายโททท อัคคพงศ์พันธุ์ ประธานกรรมการ ๑๒.๒ นางสาวสุนิสา ปิ่นเจริญ กรรมการ ๑๒.๓ นายชัยประสิทธิ์ ศรีวิชัย กรรมการ ๑๒.๔ นายพุทธา แก้วพิทักษ์ กรรมการ ๑๒.5 นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส กรรมการ ๑๒.6 นายทินกร ติ๊บอินถา กรรมการ ๑๒.7 นายคําปัน จุมปา กรรมการ ๑๒.8 นักการภารโรงทุกคน กรรมการ ๑๒.9 นางกรรณิการ์ จันทร์ฉาย กรรมการและเลขานุการ ๑๓. คณะกรรมการฝ่ายสื่อโสตทัศน์ มีหน้าที่ จัดเตรียมเครื่องเสียง อุปกรณ์ สื่อโสตทัศน์และ บันทึกภาพวีดิทัศน์ ประกอบด้วย ๑๓.๑ นายวศิน คําดี ประธานกรรมการ ๑๓.๒ นายเอกาภัทร เรืองปัญญา กรรมการ ๑๓.๓ นายธีรวัฒน์ พรหมพันธกรณ์ กรรมการ ๑๓.๔ นายจีรัง วงค์วุฒิ กรรมการและเลขานุการ 14. คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ประชาสัมพันธ์ให้ครูและบุคลากรภายใน สถานศึกษาทราบ ประกอบด้วย 14.1 นางศิริเนตร สิงห์ช่างชัย ประธานกรรมการ 14.2 นางสาววราภรณ์ เรือนชัย กรรมการ /14.3 นางมาลัย....
๒๑๕
14.3 นางมาลัย 14.4 นางวรินทร์ทิพย์
คุณยศยิ่ง สัมปชัญญสถิตย์
กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
๑5. คณะกรรมการนําเสนอผลงานโดยคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นําเสนอการดําเนินงานตาม มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย ๑5.๑ นางสุพิศ ยางาม แนะนําวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๑5.๒ นายสรพล สุริยาสาคร สรุปผลการดําเนินงานมาตรฐานที่ 1 และ ๒ (1๔ ตัวบ่งชี้) ๑5.๓ นายฉัตรชัย เรืองมณี สรุปผลการดําเนินงานมาตรฐานที่ ๕ และ ๗ (๔ ตัวบ่งชี้) ๑5.4 นางศศิรส บํารุงวงศ์ สรุปผลการดําเนินงานมาตรฐานที่ ๓ (๑2 ตัวบ่งชี้ ) ๑5.5 นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย สรุปผลการดําเนินงานมาตรฐานที่ ๔ และ ๖ (5 ตัวบ่งชี้) ๑6. ผู้ให้ข้อมูลการสัมภาษณ์ มีหน้าที่ตอบคําถามคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน โดยต้นสังกัด ประกอบด้วย ๑6.๑ นางสุพิศ ยางาม ให้ข้อมูลเรื่อง การบริหารสถานศึกษา ๑6.๒ นายสรพล สุริยาสาคร ให้ข้อมูลเรื่อง การบริหารงานฝ่ายวิชาการ ๑6.๓ นายฉัตรชัย เรืองมณี ให้ข้อมูลเรื่อง การบริหารงาน ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ ๑6.๔ นางศศิรส บํารุงศ์วงค์ ให้ข้อมูลเรื่อง การบริหารงาน ฝ่ายบริหารทรัพยากร ๑6.๕ นายบัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย ให้ข้อมูลเรื่อง การบริหารงาน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา ๑6.๖ นางธิวาวรรณ แย้มยินดี ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ๑6.7 นางทักษวรรณ โรจนสกุลพิสุทธิ์ ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ ๑.2 2.5 ๑6.8 นางพรวิไล สายศร ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ๑6.9 นายภคพจน์ ปวนอินตา ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 1.3 1.4 1.5 1.6 2.4 ๑6.๑0 นางสุทธิลักษณ์ เกิดสว่างกุล ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 1.8 1.9 ๑6.11 นางสาวเกศริน เกาะดี ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 2.1 2.2 2.3 ๑6.12 นางรุ่งทิพย์ เตจะโส ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ๑6.13 นางกชกร บรรณวัฒน์ ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.2 3.11 ๑6.14 นางศรีพรรณ เผ่าบุญเสริม ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.3 3.7 ๑6.15 นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ๑6.16 นางโฉมจิตรา ศรีอนุรักษ์ ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.5 ๑6.17 นางกนกรัตน์ เลิศพิริยกมล ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.6 ๑6.18 นายโททท อัคคพงศ์พันธุ์ ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.8 ๑6.19 นางศุภมาส เรืองลักษณ์วิลาศ ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.9 ๑6.20 นางปวีณกร แป้นกลัด ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.10 /16.21 นางนารี....
๒๑๖
๑6.21 นางนารี สุวรรณโภคัย ๑6.22 นางจรรยา สุวรรณประเสริฐ ๑6.23 นางทิฆัมพร วาสิทธิ์ ๑6.24 ว่าที่ ร.ต.หญิงสุภารัตน์ ช่างล้อ ๑6.25 นายศุภกิจ นรกิจ ๑6.26 นางสาวศิริพร ขยัน ๑6.27 นายไกรสร ฝึกฝน ๑6.28 นางสินีพร ศรีจันทร์ ๑6.29 นางนภาพร ธิยาม ๑6.30 นางวิระภา คอทอง ๑6.31 นางสุพัตรา จันทร์เจนจบ ๑6.32 นางศิริกุล อินทรอุทก ๑6.33 นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน ๑6.34 นางนิภาพันธ์ แสนมโนรักษ์ ๑6.35 นางฐิติกัลยา ปาปวน ๑6.36 นายเสกสรร คํายอง ๑6.37 นางนฤมล อัคคพงศ์พันธุ์ ๑6.38 นางสุภาภรณ์ แสงจันทร์โอภาส ๑6.39 นางสาวสายหยุด ศรีสุเทพ ๑6.40 นางสาวเรไร จันทร์นิกุล ๑6.41 นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย ๑6.42 นายพัฒนา สมปรารถนา ๑6.43 นายเสกสรร สิงห์อ่อน ๑6.44 นายพุทธา แก้วพิทักษ์ ๑6.45 นายโอภาส ชมชื่น ๑6.46 นางศรัญญา กิจเจริญสิน
ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 3.12 ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 6.1 6.2 ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 6.4 ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ให้ข้อมูลตามตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ให้ข้อมูล แผนกวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย ให้ข้อมูล แผนกวิชาอาหารและโภชนาการ ให้ข้อมูล แผนกวิชาคหกรรมศาสตร์ ให้ข้อมูล แผนกวิชาการบัญชี ให้ข้อมูล แผนกวิชาการเลขานุการ ให้ข้อมูล แผนกวิชาการตลาด ให้ข้อมูล แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ให้ข้อมูล แผนกวิชาการจัดการทั่วไป ให้ข้อมูล แผนกวิชาการโรงแรมและบริการ ให้ข้อมูลแผนกวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ให้ข้อมูล แผนกวิชาศิลปกรรม ให้ข้อมูล แผนกวิชาออกแบบ ให้ข้อมูล แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก ให้ข้อมูล แผนกวิชาวิจิตรศิลป์ ให้ข้อมูล แผนกวิชาศิลปกรรมเซรามิก ให้ข้อมูล แผนกวิชาเทคโนโลยีศิลปกรรม ให้ข้อมูล แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์
ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยเพื่อให้บังเกิดผลดี ต่อวิทยาลัยฯ และต่อทางราชการต่อไป สั่ง ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕7
(นางสุพิศ ยางาม) ผู้อํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่