โครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศกั ยภาพในการ สร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ
ส า ข า อ า ห า ร แ ล ะ แ ฟ ชั่ น รายงานการศึ ก ษาวิ จั ย แนวทางและโอกาสในการเข้ า สู่ ธุ ร กิ จ อาหารและแฟชั่ น สร้ า งสรรค์ ที่ มี ศั ก ยภาพ
งวดที่ 4 7 มีนาคม 2557
บทสรุปผู้บริหาร
จากการศึกษาวิจัยภายใต้โครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้ และโอกาสในการประกอบอาชี พ เพื่ อ วิ เ คราะห์ ห าพื้ น ที่ ต ลาดส าหรั บ การริ เ ริ่ ม ธุ ร กิ จ สร้ า งสรรค์ ส าขา อุตสาหกรรมอาหารและแฟชั่นในกลุ่ มผู้ ประกอบการรุ่นใหม่ ในขั้นต้นคณะผู้ วิจัยได้มีการศึกษาวิเคราะห์ ภาพรวมอุตสาหกรรมและศึกษาเชิงลึกในกลุ่มอุตสาหกรรมย่อย เพื่อประเมินสถานการณ์และศึกษาโอกาส ข้อจากัด ปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่นของไทย อีกทั้งการระดม ความคิดเห็นจากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรม ประกอบด้วย ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ สมาคม หน่วยงานภาครัฐ และภาควิชาการ เพื่อการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อ การประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหารและแฟชั่น กระบวนการสาคัญที่จะนาไปสู่แนวทางในการดาเนินงานส่งเสริมและขับเคลื่อนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ คือ การวิเคราะห์ศักยภาพเชิงลึกอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น เพื่อจัดกลุ่มอุตสาหกรรมกลุ่มย่อย (Sub-Sector) ที่มีศักยภาพ และการกาหนดสาขาย่อยของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่นที่ ประเทศไทยมีศักยภาพและโอกาสในการดาเนินธุรกิจ รวมถึงการสัมภาษณ์เชิงลึกธุรกิจสร้างสรรค์ต้นแบบเพื่อ ถอดบทเรียนจากผู้ประกอบการ รายงานการศึกษาวิจัยแนวทางและโอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและ แฟชั่นสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ ฉบับนี้ จึงได้มีการศึกษาโดยครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ศักยภาพ อุตสาหกรรมสาขาย่อย ด้วยการกาหนดกรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ศักยภาพ และกระบวนการในการ วิเคราะห์ประเมินผลอย่างเป็นระบบ
(1)
กรอบแนวคิดการวิเคราะห์ ศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อย ได้ทาการปรับใช้แนวทางการวิเคราะห์ และ ประเมินปัจจัย (Factor Rating Analysis) ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ในการประเมินทางเลือกที่มีมากกว่า 1 ทางเลือก ด้วยปัจจัยในการประเมินที่มีมากกว่า 1 ปัจจัยไปพร้อมๆ กัน ซึ่งประกอบไปด้วยปัจจัยหลักที่สาคัญ 6 ปัจจัย (1) ทักษะผู้ประกอบการด้านการบริหารจัดการธุรกิจ (2) การจ้างงานในธุรกิจสร้างสรรค์ที่ประกอบไป ด้วยแรงงานทั้งในภาคการผลิตและการบริการ (3) วัตถุดิบที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานในการบริโภค (4) การ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ที่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในตัวสินค้าและบริการ (5) เทคโนโลยีในการผลิตและให้บริการที่มี คุณภาพและสอดคล้องกับงบประมาณในการบริหารจัดการธุรกิจ และ (6) กลุ่มลูกค้าและตลาดเป้าหมายของ ธุรกิจ เพื่อประเมินศักยภาพกลุ่มอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ ตามปัจจัยดังกล่าวที่ส่งผลกระทบ ทั้งทางบวกและทางลบ โดยมีการให้ความสาคัญหรือการให้น้าหนักของปัจจัยที่ส่งผลต่อทางเลือกนั้นๆ และ นามาคานวณเพื่อหาค่าคะแนนในการประเมินปัจจัยอย่างเป็นระบบ ทางเลือกที่ได้รับคะแนนสูงสุด ถือว่าเป็น ทางเลือกที่มีความเหมาะสมในภาพรวม การวิเคราะห์และประเมินปัจจัยนี้ถือว่าเป็นกระบวนการที่ใช้ทั้งข้อมูล เชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ปรับใช้แนวทางการวิเคราะห์และประเมินปัจจัยนี้มาเพื่อ วิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อย เพื่อให้ได้อุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศั กยภาพ สอดคล้องกับปัจจัยทางธุรกิจและแนวโน้มทางสังคม อุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ การกาหนดสาขาย่อยของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่นที่ประเทศไทยมีศักยภาพและโอกาส ในการดาเนินธุรกิจ เพื่อนาไปสู่การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกจากธุรกิจต้ นแบบ ด้วยการการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และนามาถอดบทเรียนเพื่อเป็นแรงบันดาลใจในการประกอบธุรกิจ และใช้เป็นแนวทาง ในการประกอบอาชีพ ซึ่งในการคัดเลือกธุรกิจต้นแบบจากกลุ่มย่อย (Sub-Sector) ที่มีศักยภาพในแต่ละ สาขาๆ ละ 5 ธุรกิจ โดยเน้นกลุ่มผู้ประกอบการรายย่อย (SME) และรายเล็ก (Micropreneur) สรุปผลได้ดังนี้ รูปที่ 1 ผลการวิเคราะห์ธุรกิจอาหารที่มีศักยภาพในการเติบโต 10 อันดับแรก ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
อุตสาหกรรมสาขาย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์ ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก นักออกแบบอาหาร นักออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ วิศวกรอาหาร นักสถาปัตยกรรมอาหาร ช่างภาพอาหารมืออาชีพ เชฟ
(2)
ค่าคะแนน (เต็ม 10 คะแนน) 9.4 9.4 9.2 8.4 7.7 7.1 7.1 6.8 6.7 6.6
จากผลการวิเคราะห์ธุรกิจอาหารที่มีศักยภาพในการเติบโต พบว่า อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ ในสาขาอาหารที่มีศักยภาพในการประกอบอาชีพ ประกอบไปด้วยอาชีพที่มีค่าคะแนนสูงสุด 5 อันดับ แรก คือ (1) ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร (2) ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง (3) ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ (4) ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ รักษ์โลก และ (5) นักออกแบบอาหาร ซึ่งคณะผู้วิจัยจะได้ทาการวิเคราะห์เชิงลึกและจัดทาคู่มือแนวทางและ โอกาสการเข้าสู่ธุรกิจอาหารต่อไป รูปที่ 2 ผลการวิเคราะห์ธุรกิจแฟชั่นที่มีศักยภาพในการเติบโต 10 อันดับแรก ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
อุตสาหกรรมสาขาย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์ ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่นและความงาม ธุรกิจขายสินค้าแฟชัน่ ออนไลน์ ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ สถาบันสอนบริหารแบรนด์แฟชั่น ธุรกิจแบรนด์เครื่องประดับ ธุรกิจออกแบบเสื้อผ้าสุนัข ธุรกิจแฟชั่น DIY Costume/ Stylist / Personal Shopper
ค่าคะแนน (เต็ม 10 คะแนน) 8.7 8.8 8.5 8.3 7.9 7.4 7.3 7.3 7 7
จากผลการวิเคราะห์ธุรกิจแฟชั่นที่มีศักยภาพในการเติบโต พบว่า อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ ในสาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการประกอบอาชีพ ประกอบไปด้วยอาชีพที่มีค่าคะแนนสูงสุด 5 อันดับ แรก คือ (1) ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น (2) ธุรกิจแบรนด์กระเป๋ารองเท้า (3) ธุรกิจรีวิวแฟชั่นและความงาม (4) ธุรกิจ ขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ และ (5) ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ ซึ่งคณะผู้วิจัยจะได้ทาการวิเคราะห์เชิงลึกและจัดทา คู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจแฟชั่นต่อไป ปัจจัยแห่งความสาเร็จและข้อเสนอแนะเบื้องต้นสาหรับผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหาร ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ 1. การคิดสร้างสรรค์ พัฒ นาสินค้าหรือบริการที่แตกต่างและมีคุณภาพ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเป็น ช่องทางสาคัญในการสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการ 2. ความสามารถทางการตลาด กลุ่มเป้าหมายเป็นปัจจัยสาคัญในการทาตลาดและการนาเสนอ สินค้าอาหารและบริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมผู้บริโภค ซึ่งจาเป็นต้องศึกษาและทาความ เข้าใจ ปัจจุบันพฤติกรรมผู้บริโภคนับว่ามีความหลากหลาย และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การสร้างฐานลูกค้าประจาที่เกิดจากการซื้อซ้าหรือการเข้ามาใช้บริการซ้าถือเป็นหัวใจสาคัญในอยู่ (3)
รอดของกิจการ ดังนั้น การเข้าใจพฤติกรรมของลูกค้าจึงเป็นสิ่งสาคัญต่อการสร้างสรรค์สินค้าและ บริการใหม่ๆ เพื่อรักษาฐานลูกค้าเดิมและเพิ่มลูกค้าใหม่ได้ 3. ทักษะในการบริหารจั ดการ และการคิดกลยุทธ์ เพื่อการออกแบบกระบวนการทางธุรกิจให้ สามารถรับกับสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 4. การควบคุมมาตรฐานวัตถุดิบ ธุรกิจอาหารเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้บริโภค ดังนั้น การควบคุมมาตรฐานของวัตถุดิบในการผลิตสินค้าและบริการเป็นปั จจัยที่สาคัญต่อการ สร้างความน่าเชื่อถือ นอกจากการสร้างความแตกต่างของอาหารและบริการแล้ว ผู้ประกอบการ ต้องคานึงถึงความปลอดภัยในการบริโภคเป็นอันดับต้นๆ 5. ความมุ่งมั่น ในการทาธุรกิจ อาหารและบริการที่ได้รับความนิยม มักถูกลอกเลียนแบบเสมอ ดังนั้น ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ค วรมีความมุ่งมั่น และพร้อมที่พัฒนาสินค้าอาหารและบริการของ ตนเองอย่างต่อเนื่อง และเข้าใจสภาพของตลาดการลอกเลียนแบบหรือทาซ้าที่จะเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ว ข้อเสนอแนะเพื่อการสนับสนุนผู้ประกอบการ 1. การสร้ า งองค์ ค วามรู้ แ ละทั ก ษะการบริ หารจั ด การให้ กั บ ผู้ ประกอบการ เช่ น ความรู้ ด้ า น การตลาด การสร้างตราสินค้า (Brand) การวางแผนและการคิดกลยุทธ์ เพื่อให้ผู้ประกอบการรุ่น ใหม่มีทักษะในการบริหารจัดการให้ธุรกิจอยู่รอดได้อย่างยั่งยืน 2. การส่งเสริมให้มีเครือข่ายแหล่งวัตถุดิบ เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการด้านปัจจัยการผลิต เพื่อลด ปัญหาด้านต้นทุนการผลิตของผู้ประกอบการ 3. การสนับสนุนงานด้านการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์และส่งเสริมการสร้างเครือข่า ย ความร่วมมือ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ เนื่องจากการลงทุนด้านการออกแบบ บรรจุภัณฑ์มีต้นทุนที่สูงและเป็นปัญหาต่อการลงทุนของผู้ประกอบการขนาดกลางและขยาดย่อม หรือ SME ซึ่งหากได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์จากภาครัฐใน ระดับที่ผู้ประกอบการสามารถต่อยอดโครงการดังกล่าวจากต้นแบบบรรจุภัณฑ์ไปสู่การดาเนิน ธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง ก็จะส่งผลให้เกิดโอกาสในการสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการไทย ทั้งยัง เป็ น การสร้ างเครื อข่ายให้ กับ ผู้ประกอบการเพื่อการพัฒ นาธุรกิจให้ มีความเข้มแข็ง ส่ งผลให้ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารของไทยมีศักยภาพสามารถแข่งขันได้ อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ 1. ความคิดสร้างสรรค์ ในการออกแบบสร้างอัตลักษณ์ตัวตนให้แก่ ผลิตภัณฑ์ บริการ และแบรนด์ ความคิดสร้างสรรค์ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างความแตกต่างให้แก่ผลิตภัณฑ์ได้ 2. ความสามารถทางการตลาด ในการหาส่วนตลาดที่มีศักยภาพ การสร้างตาแหน่งทางการแข่งขัน และการสื่อสารตัวตนสู่ตลาด การหาส่วนตลาดเฉพาะที่มีศักยภาพได้ หมายถึงธุรกิจนั้นเข้าใจ ลูกค้าของตัวเองชัดเจน รู้แหล่งที่เข้าถึงลูกค้า และพฤติกรรมของลูกค้า สิ่งนี้จะส่งผลต่อ การส่ง มอบคุณค่าที่ลูกค้าต้องการ การสร้างตาแหน่งทางการแข่งขันที่ชัดเจนแตกต่างจากคู่แข่ง ความถี่ และวิธีการสื่อสารให้ลูกค้าจดจาตัวตนของธุรกิจได้ นาไปสู่ธุรกิจที่ยั่งยืนในอนาคต (4)
3. ทักษะในการบริ หารจัด การ และการคิดกลยุทธ์ เพื่อการออกแบบกระบวนการทางธุรกิจให้ สามารถรับกับสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 4. การใช้ระบบ Outsourcing และการบริหารจัดการ Supply chain ที่มีประสิทธิภาพ ผู้ประกอบการรายเล็กไม่จาเป็นต้องดาเนินการผลิตเองทุกกระบวนการเนื่องจากจะกลายเป็นการ ลงทุนที่เกินตัว แต่สามารถใช้วิธีการจ้างผลิตเป็นส่วนๆ ซึ่งช่วยลดต้นทุน กระจายความเสี่ยง และ ทาให้สินค้าออกสู่ตลาดได้รวดเร็ว โดยผู้ประกอบการเองต้อ งมีความเข้าใจทั้งเรื่องแฟชั่นและ กระบวนการผลิต เพื่อสื่อสารกับผู้รับจ้างผลิตให้รู้เรื่อง ข้อเสนอแนะเพื่อการสนับสนุนผู้ประกอบการ 1. สนับสนุนการสร้างองค์ค วามรู้และทักษะการบริ หารจัดการให้ กับผู้ ประกอบการ เช่น การ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากธุรกิจต้นแบบไปสู่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ การสร้างเครือข่ายธุรกิจพี่ เลี้ยง เพื่อให้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่มีทักษะในการบริหารจัดการให้ธุรกิจอยู่รอดได้อย่างยั่งยืน การถ่ายทอดความรู้ ให้ ผู้ ป ระกอบการเข้าใจอุ ตสาหกรรมแฟชั่นทั้งกระบวนการเพื่อให้ เลื อ ก พันธมิตรทางธุรกิจได้เหมาะสมกับขนาดและความต้องการของธุรกิจตนเอง 2. สนับสนุนแหล่งข้อมูลหรือเครือข่ายข้อมูล ตามห่วงโซ่อุปทานเพื่อความสะดวกในการดาเนิน ธุรกิจ เช่น การสนับสนุนกิจกรรมเครือข่ายผู้ประกอบการ การมีศูนย์แสดงสินค้าสร้างสรรค์ในราย ภูมิภ าค เพื่อให้ ผู้บ ริโภคเกิดการรับรู้และผู้ประกอบการมีจุดนัดพบในการซื้อขายแลกเปลี่ยน ระหว่างกันมากขึ้น 3. สนับสนุนผลิตภัณฑ์/สินค้าสร้างสรรค์ หน่วยงานของภาครัฐควรสนับสนุนผลิตภัณฑ์/สินค้ า สร้างสรรค์ของผู้ประกอบการไทย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการ ทั้งยังเป็น ส่วนหนึ่งในการกระจายผลิตภัณฑ์/สินค้าต่างๆ ออกไปสู่ตลาดในวงกว้าง
(5)
สารบัญ หน้า บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทนา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6
ที่มาโครงการ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการดาเนินโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ความคืบหน้าโครงการ โครงสร้างรายงาน
กรอบแนวคิดการวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อย 2.1 ภาพรวมกรอบแนวคิด 2.2 ขั้นตอนการประเมิน ภาพรวมอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 3.1 นิยามและขอบเขตอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 3.2 สถานการณ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 3.3 สถานการณ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหารต่อระบบเศรษฐกิจไทย 3.4 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ 3.5 บทสรุป การวิเคราะห์ศักยภาพเชิงลึกอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 4.1 ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 4.2 อาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหารที่มีศักยภาพ 4.3 การวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ 4.4 สรุปอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ 4.5 บทสรุป
1-1 1-2 1-2 1-3 1-4 1-5 2-1 2-2 3-1 3-7 3-10 3-13 3-22 4-1 4-7 4-15 4-17 4-18
หน้า บทที่ 5
บทที่ 6
ภาพรวมอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 5.1 นิยามและขอบเขตอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 5.2 สถานการณ์อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มที่มีต่อระบบเศรษฐกิจไทย 5.3 สถานการณ์อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับที่มีต่อระบบเศรษฐกิจไทย 5.4 สถานการณ์อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังที่มีต่อระบบเศรษฐกิจไทย 5.5 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ 5.6 บทสรุป
5-1 5-3 5-10 5-13 5-15 5-25
การวิเคราะห์ศักยภาพเชิงลึกอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 6.1 ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 6.2 อุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพ 6.3 การวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ 6.4 สรุปอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ 6.5 บทสรุป
6-1 6-8 6-19 6-21 6-22
ภาคผนวก ก ข ค ง จ
ข้อมูลผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ ในสาขาอาหารและแฟชั่น คาจากัดความธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพสาขาอาหารและแฟชั่น การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ธุรกิจสร้างสรรค์ต้นแบบ สาขาอาหารและแฟชั่น สรุปผลการจัดสัมมนาเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อมูลนักวิจัย
สารบัญรูปภาพ หน้า รูปที่ 2.1 รูปที่ 2.2 รูปที่ 3.1 รูปที่ 3.2 รูปที่ 3.3 รูปที่ 3.4 รูปที่ 3.5 รูปที่ 3.6 รูปที่ 3.7 รูปที่ 3.8 รูปที่ 3.9 รูปที่ 3.10 รูปที่ 3.11 รูปที่ 3.12 รูปที่ 3.13 รูปที่ 3.14 รูปที่ 3.15 รูปที่ 4.1 รูปที่ 5.1 รูปที่ 5.2 รูปที่ 5.3 รูปที่ 5.4
กรอบการวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อย ขั้นตอนการวิเคราะห์และประเมินปัจจัย (Factor Rating Analysis) โครงสร้างอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร รูปแบบอาหารสร้างสรรค์ ตัวอย่างการเติมรูปลักษณ์อาหารประเภทคัพเค้ก (Cup Cake) ตัวอย่างการเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหารประเภทต่างๆ ตัวอย่างการเพิ่มกระบวนทัศน์ในธุรกิจข้าวแกงออนไลน์ “มายมัมเมด” ตัวอย่างการเพิ่มกระบวนทัศน์ในธุรกิจปลูกผักไอโดรโพนิกส์สู่ร้านอาหารฯ สัดส่วนมูลค่าการส่งออกอาหารแยกตามประเทศผู้ส่งออกปี 2554 ตลาดส่งออกสินค้าอาหารในกลุ่มอาเซียน ปี 2554 มูลค่าตลาดและอัตราการเติบโตเฉลี่ยอาหารแปรรูปแช่แข็งใน 4 ประเทศอาเซียน ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหารของไทย ปี 2551-2555 GDP ภาคการผลิตของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2554 ความต้องการในการบริโภคอาหาร การวิเคราะห์ PESTLE อุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ สรุปผลการวิเคราะห์ SWOT Analysis ในอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ ธุรกิจและอาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมอาหาร ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหรรมสาขาย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร แยกตามห่วงโซ่คุณค่า โครงสร้างอุตสาหกรรมแฟชั่น โครงสร้างอุตสาหกรรมย่อย (Subsector) ของอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม โครงสร้างส่วนตลาดของกลุ่มเสื้อผ้าสาเร็จรูป โครงสร้างส่วนตลาดกลุ่มผลิตเสื้อผ้าแบบสั่งตัด
2-2 2-3 3-2 3-3 3-4 3-4 3-5 3-5 3-7 3-8 3-10 3-11 3-12 3-14 3-17 3-19 3-21 4-4 5-2 5-3 5-4 5-7
รูปที่ 5.5 รูปที่ 5.6 รูปที่ 5.7 รูปที่ 5.8 รูปที่ 5.9 รูปที่ 5.10 รูปที่ 5.11 รูปที่ 5.12 รูปที่ 5.13 รูปที่ 5.14 รูปที่ 5.15 รูปที่ 6.1 รูปที่ 6.2
มูลค่าการส่งออกและนาเข้าของอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม การบริโภคเครื่องนุ่งห่มภายในประเทศ มูลค่าการส่งออกและนาเข้าอุตสาหกรรมเครื่องประดับ ปี 2551-2555 แนวโน้มการบริโภคในประเทศมีสัดส่วนสูงขึ้น มู ล ค่ า การส่ ง ออกและน าเข้ า ของอุ ต สาหกรรมรองเท้ า และเครื่ อ งหนั ง และ เปรียบเทียบ รายผลิตภัณฑ์ มูลค่าการใช้จ่ายส่วนบุคคลเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายและรองเท้า ปี 2549 - 2553 รูปแบบแฟชั่นสร้างสรรค์ มูลค่าการค้าอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย ปี 2551-2555 สัดส่วนการจ้างงานของอุตสาหกรรมแฟชั่นเมื่อเทียบกับการจ้างงานในภาคการผลิต การวิ เ คราะห์ ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของอุ ต สาหกรรมด้ ว ย PESTLE Analysis สรุปปัจจัยภายในและภายนอกอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ตาม SWOT Analysis ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหรรมสาขาย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น แยกตามห่วงโซ่คุณค่า ธุรกิจเกี่ยวเนื่องของอุตสาหกรรมแฟชั่น
5-9 5-10 5-12 5-12 5-14 5-15 5-17 5-17 5-18 5-21 5-24 6-4 6-9
สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 4.1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพ หรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ตารางที่ 4.2 ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพในการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์ สาขาอาหาร ตารางที่ 4.3 ค่าน้าหนักของปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพในการประกอบธุรกิจ ตารางที่ 4.4 ผลการประเมินปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์ สาขาอาหาร ตารางที่ 4.5 ผลการวิเคราะห์ธุรกิจอาหารที่มีศักยภาพในการเติบโต ตารางที่ 6.1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพ หรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น ตารางที่ 6.2 ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพในการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น ตารางที่ 6.3 ค่าน้าหนักของปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพในการประกอบธุรกิจ ตารางที่ 6.4 ผลการประเมินปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น ตารางที่ 6.5 ผลการวิเคราะห์ธุรกิจแฟชั่นที่มีศักยภาพในการเติบโต
4-4 4-10 4-15 4-16 4-17 6-5 6-13 6-19 6-20 6-21
ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ น ว ท า ง ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร เ ข้ า สู่ ธุ ร กิ จ อ า ห า ร แ ล ะ แ ฟ ชั่ น ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ มี ศั ก ย ภ า พ
บทที่ 1 บทนำ ในบทนี้ ก ล่ า วถึ ง ความส าคั ญ วั ต ถุ ป ระสงค์ ขอบเขตการด าเนิ น งานและผลที่ ค าดว่ า จะ ได้ รั บ จากการด าเนิ น งาน และสรุ ป ความ คืบหน้าโครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและ บริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้ และโอกาสในการประกอบอาชีพ สาขาอาหาร และแฟชั่ น โดยบทที่ 1 บทน า เป็น การ น า เ ส น อ เ นื้ อ ห า 6 ป ร ะ เ ด็ น ห ลั ก ซึ่ ง ประกอบด้วย 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6
ที่มาโครงการ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการดาเนินโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ความคืบหน้าโครงการ โครงสร้างรายงาน
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มำโครงกำร ประเทศไทยต้องเผชิญกับความท้าทายหลายประการจากบริบทการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ อาทิ ภาวะความซบเซาและการผันผวนของเศรษฐกิจ ในตลาดส่งออกหลักของไทย เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา และกลุ่มสหภาพยุโรป การย้ายฐานอานาจทางเศรษฐกิจมายังทวีปเอเซีย โดยเฉพาะจีน และอินเดีย การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีประชากรวัยแรงงานและวัยเด็กลดลง ชน ชั้นกลางมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น และข้อจากัดด้านทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเร่ง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการพัฒนาอุตสาหกรรม จากการผลิตที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานค่าจ้างต่าจานวน มากมาเน้นการใช้นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างมูลค่าเพิ่ม เพื่อให้ ได้สินค้า และบริการมากขึ้น รวมทั้งใช้กลยุทธ์การแข่งขันด้านคุณภาพแทนกลยุทธ์ด้านราคาด้วย เพื่อให้การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับทิศทางความต้องการของ ผู้บริ โภคและเกิดประโยชน์ต่อประเทศไทย จึง จาเป็นต้องค้นหาภาคการผลิ ตและบริการที่เป็นโอกาสของ ประเทศไทยอย่างแท้จริง ซึ่งนอกจากจะช่วยสร้า งงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ส่วนใหญ่ให้คนไทยแล้ว ยังพึ่งพาตลาดภายในประเทศและมีลู่ทางในการแสวงหาตลาดใหม่ๆ ที่มีอานาจซื้อ สูงเพื่อทดแทนตลาดเก่าที่ ซบเซา โครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบ อาชีพ สาขาอาหารและแฟชั่น ได้ริเริ่มขึ้นโดยสานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อจัดทาคู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่น (Pocket Book) จากการ ประเมินสถานการณ์อุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบ 1-1
อาชีพสาขาอาหารและแฟชั่น โดยศึกษาโอกาส ข้อจากัด ปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรม วิเคราะห์ ศักยภาพเชิงลึกอุตสาหกรรม การจัดกลุ่มอุตสาหกรรมกลุ่มย่อย (Sub-Sector) ที่มีศักยภาพ และกาหนดสาขา ย่อยที่มีศักยภาพและโอกาสในการดาเนิน ธุรกิจ เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการจัดทาคู่มือแนวทางและ โอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น อันจะเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาและส่งเสริม ผู้ประกอบการรุ่นใหม่และผู้ประกอบการวิชาชีพ ให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติการได้จริง เพื่อสร้าง อาชีพ สร้างงานและสร้างรายได้อย่างยั่งยืนต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์ การดาเนินงานโครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาส ในการประกอบอาชีพสาขาอาหารและแฟชั่น มีวัตถุประสงค์ที่สาคัญ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์อุตสาหกรรมและบริการสร้างสรรค์ของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และ โอกาสในการประกอบอาชีพ 2 สาขา ได้แก่ อาหารและแฟชั่น 2) เพื่ อ สร้ า งเครื อ ข่ ายความร่ ว มมื อ ระหว่ า งผู้ ป ระกอบการในกลุ่ ม อุต สาหกรรมย่ อ ยในการพั ฒ นา อุตสาหกรรมและบริการเชิงสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพในสาขาอาหารและแฟชั่น 3) เพื่ อ ก าหนดแนวทางและโอกาสในการเข้ า สู่ ธุ ร กิ จ อาหารและแฟชั่ น ต้ น แบบที่ มี ศั กยภาพแก่ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติการได้จริง
1.3 ขอบเขตกำรดำเนินโครงกำร เพื่อให้การจัดทาโครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาส ในการประกอบอาชีพ 2 สาขา คือ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหาร และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขา แฟชั่น เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ คณะผู้วิจัยจึงได้กาหนดขั้นตอนในการดาเนินการศึกษาวิจัย โดย แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 กำรประมวลสังเครำะห์ข้อมูลเบื้องต้น ประเมินสถานการณ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่นที่มีศักยภาพ ศึกษาโอกาส ข้อจากัด ปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น ของไทย ส่วนที่ 2 กำรวิเครำะห์ศักยภำพอุตสำหกรรมสำขำย่อย การวิ เ คราะห์ ศั ก ยภาพเชิ ง ลึ ก อุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ ส าขาอาหารและแฟชั่ น เพื่ อ จั ด กลุ่ ม อุตสาหกรรมกลุ่มย่อย (Sub-Sector) ที่มีศักยภาพ ระดมความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 2 สาขา คือ สาขาอาหารและแฟชั่น 1-2
กาหนดสาขาย่อยของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น ที่ประเทศไทยมีศักยภาพ และโอกาสในการดาเนินธุรกิจ ส่วนที่ 3 กำรจัดทำคู่มือและเผยแพร่แนวทำงและโอกำสกำรเข้ำสู่ธุรกิจสร้ำงสรรค์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกจากธุรกิจต้นแบบ การจัดทา (ร่าง) คู่มือแนวทางและโอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น (Pocket Book) เพื่อเป็นคู่มือในการเริ่มต้นธุรกิจสาหรับผู้ประกอบการใหม่ จั ด สั ม มนาเผยแพร่ และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และประสบการณ์ ข องผู้ เ ชี่ ย วชาญ/ ผู้ประกอบการ การจัดทา (ร่าง) รายงานการศึกษาวิจัยแนวทางและโอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่น สร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ ส่วนที่ 4 จัดทำรำยงำนสรุปและคู่มือแนวทำงและโอกำสในกำรเข้ำสู่ธุรกิจสร้ำงสรรค์ จัดทารายงานสรุป “อุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาส ในการประกอบอาชีพในสาขาอาหารและแฟชั่น” จัดทาคู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่น (Pocket Book)
1.4 ผลที่คำดว่ำจะได้รบั 1.4.1 ผลผลิต โครงการศึกษาวิจัยนี้มีผลผลิตหลักแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1) รายงานผลการศึกษาวิจัยเรื่องอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้ และโอกาสในการประกอบอาชีพ สาขาอาหารและแฟชั่น โดยมีองค์ประกอบหลักที่สาคัญ คือ ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหารและแฟชั่น ความสาคัญของอุตสาหกรรมอาหารและแฟชั่นต่อระบบเศรษฐกิจไทย และอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวเนื่อง การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารและแฟชั่นของไทย แนวโน้มของตลาดและผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมอาหารและแฟชั่น การวิเคราะห์และจัดกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและแฟชั่นในระดับอุตสาหกรรมย่อยที่มี ศักยภาพ การวิเคราะห์เชิงลึกและการถอดบทเรียนจากกรณีศึกษาธุรกิจต้นแบบ ปัจจัยแห่งความสาเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย ใน อุตสาหกรรมอาหารและแฟชั่น สรุปประเด็นสาคัญที่ต้องการการสนับสนุน ข้อเสนอแนะสาหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการสนับสนุนผู้เริ่มต้นธุรกิจและผู้ประกอบการ ปัจจุบันที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในอุตสาหกรรมอาหารและแฟชั่น 1-3
2) คู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่น (Pocket Book) เพื่อเป็นแนวทางใน การเริ่มต้นธุรกิจสาหรับผู้ประกอบการใหม่ โดยมีองค์ประกอบหลักที่สาคัญ ดังนี้ โอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจสร้างสรรค์ (Business Opportunity) แนวทางการเข้าสู่ธุรกิจสร้างสรรค์ (Business Start-up) วิธีการดาเนินธุรกิจ (Business How-to) ปัจจัยแห่งความสาเร็จ (Key Success Factor) 1.4.2 เป้ำหมำย ความคาดหวังและกลุ่มเป้าหมายของโครงการศึกษาวิจัยนี้ มีดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่/นักศึกษาที่กาลังจะสาเร็จการศึกษาเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่น 2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่น (Business Start-up) 3. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในสาขาอาหารและแฟชั่น 4. เพื่อเป็นเครื่องมือในการเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการที่อยู่ในธุรกิจอาหารและแฟชั่น 5. เพื่อเป็นแรงบันดาลใจในการประกอบธุรกิจอาหารและแฟชั่น โดยอาศัยต้นแบบจาก ผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จ 1.4.3 ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการวิจัยศึกษานี้ ประกอบด้วย 1. จานวนผู้ประกอบการในธุรกิจอาหารและแฟชั่นเพิ่มมากขึ้น 2. จานวนแรงงานในธุรกิจอาหารและแฟชั่นเพิ่มมากขึ้น 3. จานวนผู้ประกอบการต้นแบบที่ประสบความสาเร็จเพิ่มมากขึ้น 4. จานวนนักเรียน/นักศึกษารุ่นใหม่สนใจเข้าศึกษาต่อในสาขาอาหารและแฟชั่นเพิ่มมากขึ้น 5. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง สามารถนาไปประยุกต์ใช้และให้การสนับสนุนกลุ่ม ผู้ประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.5 ควำมคืบหน้ำโครงกำร ความคืบหน้าของโครงการสามารถสรุปได้ดังนี้ กิจกรรม สถำนะ ส่วนที่ 1 กำรประมวลสังเครำะห์ข้อมูลเบื้องต้น ประเมินสถานการณ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่นที่มีศักยภาพ ศึกษาโอกาส ข้อจากัด ปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น ของไทย ส่วนที่ 2 กำรวิเครำะห์ศักยภำพอุตสำหกรรมสำขำย่อย 1-4
กิจกรรม สถำนะ การวิเ คราะห์ ศักยภาพเชิงลึ ก อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ส าขาอาหารและแฟชั่น เพื่อ จัดกลุ่ ม อุตสาหกรรมกลุ่มย่อย (Sub-Sector) ที่มีศักยภาพ ระดมความคิดเห็นจากผู้ เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 2 สาขา คือ สาขาอาหารและ แฟชั่น กาหนดสาขาย่อยของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น ที่ประเทศไทยมีศักยภาพ และโอกาสในการดาเนินธุรกิจ ส่วนที่ 3 กำรจัดทำคู่มือและเผยแพร่แนวทำงและโอกำสกำรเข้ำสู่ธุรกิจสร้ำงสรรค์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกจากธุรกิจต้นแบบ การจัดทา (ร่าง) คู่มือแนวทางและโอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น (Pocket Book) เพื่อเป็นคู่มือในการเริ่มต้นธุรกิจสาหรับผู้ประกอบการใหม่ จั ด สั ม มนาเผยแพร่ และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และประสบการณ์ ข องผู้ เ ชี่ ย วชาญ/ ผู้ประกอบการ การจัดทา (ร่าง) รายงานการศึกษาวิจัยแนวทางและโอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่น สร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ ส่วนที่ 4 จัดทำรำยงำนสรุปและคู่มือแนวทำงและโอกำสในกำรเข้ำสู่ธุรกิจสร้ำงสรรค์ จัดทารายงานสรุป “อุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาส ในการประกอบอาชีพในสาขาอาหารและแฟชั่น” จัดทาคู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่น (Pocket Book) หมายเหตุ: ดาเนินการแล้วเสร็จ ◙ อยู่ในระหว่างการดาเนินการ ○ อยู่ในระหว่างการเตรียมการ
1.6 โครงสร้ำงรำยงำน (ร่าง) รายงานการศึกษาวิจัยแนวทางและโอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่นสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ ฉบับนี้ ครอบคลุมเนื้อหาตามโครงสร้างรายงานต่อไปดังนี้ บทที่ 1 บทนำ ในบทนี้กล่าวถึงความสาคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการดาเนินงานและผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน และสรุปความคืบหน้าโครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และ โอกาสในการประกอบอาชีพ สาขาอาหารและแฟชั่น
1-5
บทที่ 2 กรอบแนวคิดกำรวิเครำะห์ศักยภำพอุตสำหกรรมสำขำย่อย ในบทนี้อธิบายถึงกรอบแนวคิดการวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อย โดยเป็นการปรับใช้แนวคิดการ ประเมินและวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Rating Analysis) เพื่อให้สามารถประเมินศักยภาพอุตสาหกรรมสาขา ย่อยได้อย่างเป็นระบบ บทที่ 3 ภำพรวมอุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ สำขำอำหำร ในบทนี้นาเสนอนิยามและขอบเขตอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร โดยศึกษาภาพรวมของอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ สาขาอาหารทั้งในและต่างประเทศ โดยให้ความสาคัญกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหารต่อ ระบบเศรษฐกิจไทย รวมถึงการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ ของ ไทยที่มีศักยภาพ และโอกาสในการสร้างรายได้และการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหาร บทที่ 4 กำรวิเครำะห์ศักยภำพเชิงลึกอุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ สำขำอำหำร ในบทนี้นาเสนอปัจจัยที่มีผลกระทบต่อศักยภาพและการเติบโตของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหาร ทั้ง ปัจจัยบวกและปัจจัยลบ และทาการประเมินศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อยตามกรอบแนวคิดการประเมิน และวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Rating Analysis) และให้ข้อสรุปว่าอุตสาหกรรมสาขาย่อยใดบ้ างที่จะนาไปทา การวิเคราะห์เชิงลึกและจัดทาคู่มือธุรกิจต่อไป บทที่ 5 ภำพรวมอุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ สำขำแฟชั่น ในบทนี้นาเสนอภาพรวมของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น โดยศึกษาอุตสาหกรรมในเชิงความสัมพันธ์ กับอุตสาหกรรมอื่นๆ กลุ่มอุตสาหกรรมย่อยที่มีอยู่ในปัจจุบัน ศั กยภาพทางเศรษฐกิจไทย โดยให้ความสาคัญ กับการกาหนดขอบเขตอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ ซึ่งเติบโตขึ้นอีกระดับจากอุตสาหกรรมแฟชั่นทั่วไป รวมถึงการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ของไทยที่มีศักยภาพ และโอกาสในการสร้างรายได้และการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น บทที่ 6 กำรวิเครำะห์ศักยภำพเชิงลึกอุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ สำขำแฟชั่น ในบทนี้นาเสนอปัจจัยที่มีผลกระทบต่อศักยภาพและการเติบโตของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น ทั้ง ปัจจัยบวกและปัจจัยลบ และทาการประเมินศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อยตามกรอบแนวคิดการประเมิน และวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Rating Analysis) และให้ข้อสรุปว่าอุตสาหกรรมสาขาย่อยใดบ้างที่จะนาไปทา การวิเคราะห์เชิงลึกและจัดทาคู่มือธุรกิจต่อไป
1-6
ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ น ว ท า ง ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร เ ข้ า สู่ ธุ ร กิ จ อ า ห า ร แ ล ะ แ ฟ ชั่ น ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ มี ศั ก ย ภ า พ
บทที่ 2 กรอบแนวคิดกำรวิเครำะห์ศักยภำพ อุตสำหกรรมสำขำย่อย ในบทนี้อธิบายถึงกรอบแนวคิดการวิเคราะห์ ศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อย โดยเป็นการ ปรั บ ใช้ แ นวคิ ด การประเมิ น และวิ เ คราะห์ ปัจจัย (Factor Rating Analysis) เพื่อให้ สามารถประเมินศักยภาพอุตสาหกรรมสาขา ย่ อ ยได้ อ ย่ า งเป็ น ระบบ ในบทที่ 2 จึ ง ได้ นาเสนอเนื้อหา 2 ประเด็นหลัก ดังนี้ 2.1 ภาพรวมกรอบแนวคิด 2.2 ขั้นตอนการประเมิน
บทที่ 2 กรอบแนวคิดการวิเคราะห์ศักยภาพ อุตสาหกรรมสาขาย่อย
2.1 ภาพรวมกรอบแนวคิด กรอบแนวคิดการวิเคราะห์ ศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อย ได้ ทาการปรับใช้ แนวทางการวิเคราะห์ และ ประเมินปัจจัย (Factor Rating Analysis) ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ในการประเมินทางเลือกที่มีมากกว่า 1 ทางเลือก ด้วยปัจจัยในการประเมินที่มีมากกว่า 1 ปัจจัยไปพร้อมๆ กัน โดยมีการให้ความสาคัญหรือการให้ นาหนักของปัจจัยที่ส่งผลต่อทางเลือกนันๆ และนามาคานวณเพื่อหาค่าคะแนนในการประเมินปัจจัยอย่างเป็น ระบบ ทางเลือกที่ได้รับคะแนนสูงสุด ถือว่าเป็นทางเลือกที่มีความเหมาะสมในภาพรวม การวิเคราะห์และ ประเมินปัจจัยนีถือว่าเป็นกระบวนการที่ใช้ทังข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ปรับใช้ แนวทางการวิ เ คราะห์ แ ละประเมิ น ปั จ จั ย นี มาเพื่ อ วิ เ คราะห์ ศั ก ยภาพอุ ต สาหกรรมสาขาย่ อ ย เพื่ อ ให้ ไ ด้ อุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ สอดคล้องกับปัจจัยทางธุรกิจและแนวโน้มทางสังคม และเพื่อจะได้วิเคราะห์ข้อมูลเชิ งลึกและจัดทาคู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่น ใน ลาดับต่อไป วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินศักยภาพกลุ่มอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ ตามปัจจัยภายนอกที่ ส่งผลกระทบทังทางบวกและทางลบ ผลลัพธ์ที่ได้: อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ในสาขาอาหารและแฟชั่นที่ มีศักยภาพในการ เติบโต ข้อมูลที่ใช้: ปัจจัยที่ผลต่อศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ ซึ่งประกอบด้วย ทักษะ ผู้ ป ระกอบการ การใช้ วั ตถุ ดิ บ ท้อ งถิ่ น การจ้า งงานในประเทศ การพึ่ ง พาการลงทุ น และ 2-1
เทคโนโลยีจากต่างประเทศ การสร้างตลาดในประเทศและต่างประเทศ และศักยภาพในการ แข่งขัน เป็นต้น ทังนีอาจมีปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องที่ได้มาจากการประมวลข้อมูลจากการ สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น ค่าน้าหนักของปัจจัย ซึ่งได้มาจากการประมวลข้อคิดเห็นจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และการ สนทนากลุ่มย่อยของผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหารและแฟชั่น ทังหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสมาคมต่างๆ อุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ที่ต้องการประเมิน (ทางเลือก) ซึ่งได้มาจากการ รวบรวมข้อมูลผลสารวจออนไลน์ของความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่ ประกอบกับข้อมูลเพิ่มเติมที่ ได้มาจากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพของอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ เป็นการ รวบรวมและประมวลข้อมูลทุติยภูมิทังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ประกอบกับข้อมูลจากการ สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) รูปที่ 2.1 กรอบการวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อย
2.2 ขันตอนการประเมิน ขันตอนการวิเคราะห์และประเมินปัจจัย (Factor Rating Analysis) ประกอบด้วย 5 ขันตอนหลักดังนี ขันตอนที่ 1
ระบุปัจจัยที่มีต่อศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์
2-2
ขันตอนที่ 2
ขันตอนที่ 3
ขันตอนที่ 4 ขันตอนที่ 5
ระบุค่าน้าหนักระหว่าง 0% ถึง 100% ( ) ค่านาหนักที่มากหมายถึงผลกระทบและ ความส าคัญของปั จ จั ย นั นๆ มีม ากกว่ าปัจจั ยอื่นๆ ทังนีผลรวมของค่ านาหนักของปัจจั ย ทังหมดต้องเท่ากับ 100% การให้ค่านาหนักต่อปัจจัยต่างๆ เหล่านี ได้มาจากการประมวล ข้ อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ แ ละข้ อ มู ล เชิ ง ความคิ ด เห็ น ของผู้ เ ชี่ ย วชาญและผู้ ที่ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย กั บ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์นันๆ ประเมินอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ ( ) โดยเป็นการประเมินรายปัจจัย และให้คะแนนอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ ตังแต่ -10 ถึง 10 คะแนน โดย คะแนนที่สูงบ่งบอกว่าปัจจัยนันๆ จะส่งผลเชิงบวกในการดาเนิน อุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือ ธุรกิจสร้างสรรค์นันๆ อย่างมีนัยสาคัญ คะแนนที่น้อยลงมาบ่งบอกว่าปัจจัยนันๆ มีผลกระทบ เชิงบวกในระดับรองลงมา ในขณะที่คะแนนติดลบหมายถึงปัจจัยนันๆ ส่งผลกระทบเชิงลบ ต่อการดาเนินอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์นันๆ ค้านวณผลคูณคะแนนกับน้าหนักของแต่ละปัจจัย ( x ) ค้ า นวณผลรวมของคะแนนของแต่ ล ะอุ ต สาหกรรมสาขาย่ อ ยหรื อ ธุ ร กิ จ สร้ า งสรรค์ ∑ ( ) เมื่อได้คะแนนผลรวม นามาเปรียบเทียบกัน อุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือ ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ได้คะแนนสูงสุดถือว่ามีศักยภาพในภาพรวมที่ดีที่สุด
ดังนัน จากกระบวนการวิเคราะห์และประเมินปัจจัย ทัง 5 ขันตอนนี จะทาให้ได้กลุ่มอุตสาหกรรมสาขาย่อย และธุรกิจสร้างสรรค์ในสาขาอาหารและแฟชั่นที่มีศักยภาพในการเติบโต 5 อันดับแรก เพื่อทาการวิเคราะห์ เชิงลึกและจัดทาคู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจอาหารและแฟชั่นต่อไป รูปที่ 2.2 ขันตอนการวิเคราะห์และประเมินปัจจัย (Factor Rating Analysis)
2-3
ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ น ว ท า ง ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร เ ข้ า สู่ ธุ ร กิ จ อ า ห า ร แ ล ะ แ ฟ ชั่ น ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ มี ศั ก ย ภ า พ
บทที่ 3 ภำพรวมอุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ สำขำอำหำร ในบทนี้นาเสนอนิยามและขอบเขตอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ สาขาอาหาร โดยศึกษาภาพรวมของ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหารทั้งในและ ต่างประเทศ โดยให้ความสาคัญกับอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ สาขาอาหารต่อระบบเศรษฐกิจไทย รวมถึ ง การวิ เ คราะห์ ขี ด ความสามารถในการ แข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ของ ไทยที่มีศักยภาพ และโอกาสในการสร้างรายได้ แล ะก าร ปร ะก อบ อา ชี พ ใน อุ ต สา หก รร ม สร้างสรรค์สาขาอาหาร โดยบทที่ 3 ภาพรวม อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหาร เป็นการ นาเสนอเนื้อหา 5 ประเด็นหลัก ซึ่งประกอบด้วย 3.1 นิยามและขอบเขตอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 3.2 สถานการณ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขา อาหาร 3.3 สถานการณ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขา อาหารต่อระบบเศรษฐกิจไทย 3.4 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการ แข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ 3.5 บทสรุป
บทที่ 3 ภาพรวมอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
3.1 นิยามและขอบเขตอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 3.1.1 ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญสร้างรายได้ และก่อให้เกิดการจ้างงานภายในประเทศเป็น จานวนมาก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตอาหารจากวัตถุดิบที่หลากหลายภายในประเทศ ปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารกาลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านการผลิตและการจาหน่าย อันเนื่องมาจาก พฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารมีแนวโน้มการแข่งขันสูง ขึ้น ทั้งจากสินค้า อาหารที่ผลิตในประเทศและสินค้าอาหารที่นาเข้าจากต่างประเทศ ในขณะที่ผู้บริโภคยุ คใหม่มีปัจจัยในการ บริโภคอาหารมากกว่าเพียงเพื่อการดารงชีวิต เช่น ความสะดวกสบายในการบริโภค ความต้องการอาหารที่มี รูปลักษณ์แปลกใหม่ หรืออาหารที่ผลิตแบบเฉพาะเจาะจงสาหรับผู้บริโภคคนใดคนหนึ่ง เป็นต้น จากพฤติกรรม ผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปดังกล่าว จึงส่งผลให้ผู้ประกอบการหรือผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่จะเข้าสู่ธุรกิจอาหาร จาเป็นต้องสร้างความแตกต่าง ความแปลกใหม่ ใส่ไอเดียหรือความคิดสร้างสรรค์ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า อาหารของตนเอง เพื่อทัดเทียมต่อการแข่งขันในอุตสาหกรรมในอนาคตต่อไป อุตสาหกรรมอาหาร (Food Industry)1 คือ อุตสาหกรรมที่นาผลิตผลจากภาคเกษตรได้แก่ ผลิตผลจากพืช ปศุสัตว์ และประมง มาใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตอาหาร โดยอาศัยเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารและการ ถนอมอาหาร ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องจักร อุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการแปรรูปอาหาร (Food Processing 1
ฝ่ายยุทธศาสตร์ SMEs รายพื้นที่/รายสาขา, สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.
3-1
Equipment) และบรรจุ ภัณ ฑ์อ าหาร (Packaging) เพื่อการผลิ ต อาหารให้ ไ ด้ปริ มาณมากๆ มีคุณ ภาพ สม่าเสมอ ปลอดภัยและสะดวกต่อการบริโภค หรือนาไปใช้ในขั้นตอนต่อไป และเป็นการยืดอายุการเก็บรัก ษา ผลิตผลจากพืช ปศุสัตว์ และประมง เป็นต้น สาหรับประเทศไทยอุตสาหกรรมอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศใน ลาดับต้นๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้เงินลงทุนน้อย และมีการ ใช้วัตถุดิบในประเทศมาแปรรูปเพื่ อเพิ่มมูลค่า และเป็นอุตสาหกรรมที่เกิดผลเชื่อมโยงไปสู่กิจกรรมการผลิต อื่นๆ และนาไปสู่การจ้างงานและรายได้ประชาชาติที่สูงขึ้นอีกด้วย รูปที่ 3.1 โครงสร้างอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
ที่มา: คณะผู้วิจยั , 2556.(ปรับปรุงจากรายงานอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม)
อุ ต สาหกรรมอาหาร เป็ น อุ ตสาหกรรมที่ใ ห้ ค วามส าคั ญ ในการสร้ า งมูล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สิ นค้ า อาหาร ทั้ ง ใน กระบวนการผลิตและการให้บริการ ซึ่งประกอบไปด้วย 3 อุตสาหกรรมหลัก ดังนี้ 1. อุตสาหกรรมสนับสนุน คือ อุตสาหกรรมต้นน้าที่มีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมอาหาร ทา หน้าที่หลักเป็นวัตถุดิบ เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรมค้า ปลีก และอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมถึงกิจกรรมสนับสนุนต่างๆ เพื่อให้ ได้มาซึ่งอาหารสร้างสรรค์ เช่น นักออกแบบอาหาร นักบริหารจัดการอาหาร/เชฟ เป็นต้น 2. อุตสาหกรรมหลัก คือ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการแปรสภาพวัตถุดิบ เพื่อเพิ่มมูลค่า (Value Added) ให้กับสินค้าอาหาร โดยกิจกรรมดังกล่าวอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้าน รูปลักษณ์ รสชาติ หรือสร้างความประทับ ใจในการบริโภคสินค้าอาหารนั้นๆ เช่น อุตสาหกรรม อาหารแปรรูปพร้อมรับประทาน (Ready-to-eat) และอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปพร้อมปรุง (Ready-to-cook) และอาหารกึ่งสาเร็จรูป (Instant Foods) เป็นต้น
3-2
3. อุตสาหกรรมต่อเนื่อง คือ อุตสาหกรรมปลายน้าที่มีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมอาหาร ทา หน้าที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ สินค้าอาหารผ่านกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งที่มีความต่อเนื่องจากการ ผลิตอาหาร เช่น ธุรกิจร้านอาหารและภัตตาคาร ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงอาหาร ธุรกิจบริการส่ง อาหาร และธุรกิจบริการออกแบบอาหาร เป็นต้น 3.1.2 อาหารสร้างสรรค์ อาหารสร้างสรรค์ (Creative Foods) คือ การสร้างคุณค่าให้กับอาหารที่มิใช่การสร้างคุณค่าทางโภชนาการแต่ เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนคุณค่าผลิตภัณฑ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคในมิติที่มากกว่าตัวอาหารที่บริโภค โดยอาจตีความรวมถึง ความสุข รสนิยม ประเพณี วัฒนธรรมของผู้บริโภคอีกด้วย2 รูปที่ 3.2 รูปแบบอาหารสร้างสรรค์
3
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556 .
รูปแบบของอาหารสร้างสรรค์แบ่งออกได้ 3 ระดับ4 ดังนี้ 1. การเติมรูปลักษณ์อาหาร (Cosmetic Change) หมายถึง การตกแต่งตัวอาหาร โดยนาไอเดียและ ความคิดสร้างสรรค์มาใช้ในตกแต่งสินค้าอาหารนั้นๆ ให้มีความสวยงาม สะดุดตาหรือดูแปลกใหม่ทันสมัยเพิ่ม มากขึ้น เพื่อกระตุ้นความต้องการในการบริโภคของผู้บริโภค และเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าอาหารนั้นๆ เช่น การ ตกแต่งอาหารด้วยภาชนะบรรจุ การตกแต่งอาหารขนาดพอดีคา หรือการตกแต่งอาหารให้มีรูปลักษณ์สวยงาม แปลกตาเพิ่มมากขึ้น เป็นต้น
2
สรุปจากสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, สถาบันอาหาร. ปรับปรุงจากรายงานอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. 4 ปรับปรุงจากโครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ระดับสาขา. 3
3-3
รูปที่ 3.3 ตัวอย่างการเติมรูปลักษณ์อาหารประเภทคัพเค้ก (Cup Cake)
ที่มา: สืบค้นออนไลน์5
2. การเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหาร (Context Change) หมายถึง การเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหารให้มี บริบทหรือคุณสมบัติที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อสะดวกและง่ายต่อการบริโภค รวมถึงการเพิ่มเติมคุณสมบัติของ อาหาร การเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหารโดยกระบวนการแปรรูป เพื่อความสะดวกต่อการบริโภค เช่น การแปรรูป กะทิผงสาเร็จรูปหรือปลาร้าผงสาเร็ จรูป การเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหารโดยกระบวนการแปรรูป เพื่อยืดอายุของ อาหาร เช่น บะจ่ างบรรจุกระป๋องที่มีอายุในการเก็บรักษาอาหารที่ยาวนานขึ้น หรือการเปลี่ยนรูปลักษณ์ อาหารเพื่อความสะดวกต่อบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น รูปที่ 3.4 ตัวอย่างการเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหารประเภทต่างๆ
ที่มา: สืบค้นออนไลน์
6
3. การเพิ่มกระบวนทัศน์อาหาร (Concept Change) หมายถึง การเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าอาหาร ผ่านกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการและการส่งมอบอาหารไปยังกลุ่มลูกค้าในรูปแบบต่างๆ เช่น ร้านอาหารและภัตตาคาร การบริการจัดส่งอาหาร การบริการอาหารจัดเลี้ยง การบริการสอนทาอาหาร เป็นต้น โดยมูลค่าเพิ่มของสินค้าอาหารจะอยู่ในรูปแบบของการให้บริการมากกว่ามูลค่าเพิ่มจากตัวสินค้า เช่น ธุรกิจข้าวแกงออนไลน์มายมัมเมด (My mommade) ร้านขายอาหารข้าวแกงทั่วไปสู่ร้านข้าวแกงออนไลน์ ให้ บ ริ การสั่ งซื้อและจ าหน่ ายข้าวแกงออนไลน์ เพื่ออานวยความสะดวกให้ แก่ลู กค้าได้อย่างสอดคล้ องกับ พฤติกรรมคนรุ่นใหม่ที่เป็นกลุ่มคนสังคมออนไลน์ อย่างไรก็ตาม นอกจากการเพิ่มกระบวนการให้บริการแล้ว ยังรวมถึงการสร้างมูลค้าเพิ่มให้กับสินค้า อาหาร จากการให้ บ ริ การอาหารในรู ป แบบเดิ มแต่ ส ามารถตอบสนองความต้ องการทางด้ า นสั ง คมและ
5 6
http://cartoonthai.bloggang.com. กะทิผงสาเร็จรูป กรไทย, บะจ่าง กระป๋อง,มะพร้าวเผาติดฝา โคโค่ อีซี่
3-4
สุนทรียภาพที่ได้รับจากการบริโภคอาหาร เช่น ธุรกิจ คอมมูนิตี้มอลล์ ที่มีการรวบรวมร้านอาหาร ภัตตาคาร คาเฟ่ต์หรือบาร์เข้าไว้ในคอมมูนิตี้มอลล์ เพื่อเพิ่มทางเลือกในการบริโภคของกลุ่มลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น รูปที่ 3.5 ตัวอย่างการเพิ่มกระบวนทัศน์ในธุรกิจข้าวแกงออนไลน์ “มายมัมเมด”
ที่มา: สืบค้นออนไลน์7
หรือการเพิ่มกระบวนทัศน์ของธุรกิจที่เพิ่มขึ้น อาทิ โฮมเฟรชไฮโดรฟาร์ม 8 ธุรกิจร้านอาหารเพื่อสุขภาพและ ฟาร์มผักสลัดไฮโดรโพนิคส์ (Hydrofarm) ที่เริ่มต้นจากธุรกิจปลูกและจาหน่ายผักสดไฮโดรโพนิกส์ และต่อมา ได้พัฒนาธุรกิจเข้าสู่บริการร้านอาหารเพื่อสุขภาพ โดยใช้วัตถุดิ บหลักจากผักไฮโดรโพนิคส์ในฟาร์มมาปรุงเป็น อาหารเพื่อให้บริการแก่ลูกค้า เป็นต้น รูปที่ 3.6 ตัวอย่างการเพิ่มกระบวนทัศน์ในธุรกิจปลูกผักไอโดรโพนิกส์สู่ร้านอาหารฯ
ที่มา: สืบค้นออนไลน์9
การเพิ่มกระบวนทัศน์ หรือการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าอาหารผ่านกิจกรรมการให้บริการและการส่งมอบอาหาร ไปยังกลุ่มลูกค้าในรูปแบบต่างๆ สาหรับประเทศไทยในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 6 ประเภทธุรกิจ10 ดังนี้ 1. ร้านคาเฟ่และบาร์11 (Café/Bar) เป็นธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับกาแฟที่มีลักษณะร้านแบบคาเฟ่ โดยทั่วไปจะให้บริการเครื่องดื่มประเภทกาแฟ ชา และช๊อกโกแลต และอาจมีอาหารว่างประเภท 7
ข้าวแกงออนไลน์ มายมัมเมด (My mommade) เข้าถึงได้ที่ http://www.mymommade.in.th. โฮมเฟรชไฮโดรฟาร์ม เข้าถึงได้ที่ http://www.homefreshhydrofarm.com. 9 ร้านอาหารโฮมเฟรชไฮโดรฟาร์ม 10 อุตสาหกรรมสาร วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ฉบับเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2556. 11 สืบค้นออนไลน์ http://th.wikipedia.org/wiki. 8
3-5
2. 3.
4.
5.
6.
ซุป แซนวิช ขนมอบและขนมหวาน เช่น เค้กหรือคุ๊กกี้ไว้บริการด้วย โดยแบ่งร้านออกเป็น 2 ลักษณะ คือ แบบมีโต๊ะนั่งและแบบไม่มีโต๊ะนั่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปแบบและสไตล์การจัดตกแต่งร้าน ตามรสนิยมของผู้ประกอบการ ร้านบริการจัดส่งอาหารถึงบ้าน (Delivery) เป็นธุรกิจให้บริการจัดส่งอาหารแก่ลูกค้าถึงบ้าน เริ่มเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา ร้านอาหารที่ให้บริการเต็มรูปแบบ (Full-Service) หรือ ภัตตาคาร ปัจจุบันมีผู้ประกอบการ เพี ย ง 61,760 รายเท่ านั้ น ที่ ขึ้น ทะเบีย นกั บกรมพั ฒ นาธุ รกิ จการค้ า โดยแบ่ ง เป็ นกลุ่ ม ธุร กิ จ ภัตตาคาร ร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม จานวน 6,933 ราย การจดทะเบียนในรูปแบบบริษัท จากัด 6,002 ราย และเป็นการจดทะเบียนในรูปแบบอื่นๆ ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจากัด ห้างหุ้นส่วน สามัญนิติบุคคลฯลฯ จานวน 931 ราย12 ร้านอาหารจานด่วน13 (Fast Food) หมายถึง อาหารจานด่วนที่หาง่าย รวดเร็ว รับประทานได้ ทันที เป็นอาหารที่ทางาน โดยมีการเตรียมส่วนประกอบในการปรุงไว้เรียบร้อย ในส่วนของคุณค่า ทางโภชนาการอาจจะมีครบหรือไม่ครบขึ้นอยู่กับอาหารแต่ล ะชนิด ซึ่งอาหารประเภทที่ไม่มี คุณค่าทางโภชนาการมากนัก คือ จังค์ฟู้ด (Junk Food) เช่น เบอร์เกอร์ ไก่ทอด มันฝรั่งทอด ฮอทดอก เป็นต้น ร้านอาหารเล็กๆ ข้างทาง14 (Street Stalls) คือ ร้านอาหารริมทางหรือรถเข็นริมทาง ซึ่งเป็น ร้านอาหารขนาดเล็กหรือขนาดกลาง อาจเป็นแผงร้านหรือรถเข็น ซึ่งมักตั้งอยู่บริเวณแหล่งชุมชน เน้นการจาหน่ายอาหารปรุงสาเร็จ ราคาไม่แ พง และยังเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวที่ต้องการ สัมผัสวัฒนธรรมการกินของท้องถิ่นนั้นๆ ร้านอาหารแบบบริการตนเอง15 (Self-Service Cafeterias) คือ ร้านอาหารที่ลูกค้าจะต้อง บริการตนเองส่วนหนึ่งและมีพนักงานบริการอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งลูกค้าจะบริการตนเองในเรื่องของ การเดินไปตักหรือสั่งอาหารเอง เลือกหยิบเครื่องดื่มเอง การเดินไปชาระเงินที่แคชเชียร์เอง ส่วน พนักงานจะมีหน้าที่ในการเก็บจานหรือแก้วน้าที่ใช้ไปแล้ว ทาความสะอาดโต๊ะและอานวยความ สะดวกเล็กๆ น้อย โดยรูปแบบการบริการที่เป็นสากลมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ บริการคาเฟ่เทอเรีย (Cafeteria) และบริการบุฟเฟต์ (Buffet)
ทั้งนี้ คณะผู้วิจัยจะมีการศึกษาข้อมูลเชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์อีกครั้งหนึ่ง ก่อน การประเมินและจัดกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพเพื่อเป็นอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ ต้นแบบต่อไป
12
อุตสาหกรรมสาร วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ฉบับเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2556. อาหารจานด่วน ฟาสต์ฟู้ด (Fast Food) ภัยใกล้ตัวสาหรับคนรุ่นใหม่, Magazine Trendyday (2012). 14 สืบค้นออนไลน์ http://www.ryt9.com/s/exim/1452109. 15 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการจัดการและควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม, โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฎ สวนดุสิต (2554). 13
3-6
3.2 สถานการณ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 3.2.1 อุตสาหกรรมอาหารโลก ปี 2011 มูลค่าการส่งออกอาหารของโลกมีมูลค่า 1.3 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 23 เมื่อเทียบกับปี 201016 โดยสหภาพยุโรปถือเป็นประเทศผู้ส่งออกอาหารมากที่สุดในโลกหรือกว่าร้อยละ 41.2 ของมูลค่าการส่งออกของโลก รองลงมาคือสหรัฐอเมริกามีมูลค่าการส่งออกอาหารคิดเป็นร้อยละ 11 ของ มูลค่าการส่งออกของโลก สาหรับประเทศไทยมีสัดส่วนการส่งออกสินค้าอาหารคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 2.62 หรือมีมูลค่าการส่งออกสินค้าอาหารเป็นลาดับที่ 12 ของโลก17 .
รูปที่ 3.7 สัดส่วนการส่งออกอาหารแยกตามประเทศผู้ส่งออก ปี 2554
อื่นๆ 29%
จีน ไทย บราซิล 4% 2.62% 6% อินโดนีเซีย 2.52% อียู 42%
สหรัฐอเมริกา 11% มาเลเซีย 2.39% ที่มา: สถาบันอาหาร
3.2.2 อุตสาหกรรมอาหารในภูมิภาค จากการขยายตัวของเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศอาเซียน ส่งผลให้รูปแบบและวิถีชีวิตด้านการบริโภคของคนใน อาเซียนเปลี่ยนแปลงไป หลายครอบครัวมีเวลาปรุงอาหารรับประทานเองที่บ้านน้อยลงอาหารแปรรูป จึงเข้ามา มีบทบาทและได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ กลุ่มธุรกิจบริการร้านอาหารหรือภัตตาคารขนาดใหญ่ก็ นิยมซื้อวัตถุดิบประเภทเนื้อสัตว์ อาหารทะเล ผัก เบเกอรี่ หรือขนมหวานสาเร็จรูปในลักษณะแช่แข็งมากขึ้น เพราะสามารถเก็บรักษาวัตถุดิบไว้ได้นาน ไม่เน่าเสีย ช่วยควบคุมค่าใช้จ่ายด้านวัตถุดิบ ของร้านได้ดีกว่าการซื้อ ของสด กลุ่มประเทศอาเซียนเป็นตลาดส่งออกสินค้าอาหารอันดับ 1 ของไทยคิดเป็นสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 20.6 หรื อรวมมู ล ค่ า 198,953 ล้ า นบาท 18 โดยสิ นค้ า หลั กที่ ไ ทยส่ งออกคื อ ข้า ว น้ าตาลทราย มัน ส าปะหลั ง เครื่องดื่ม ผลไม้สด ครีมเทียมและขนมปังกรอบ เป็นต้น อินโดนีเซียเป็นประเทศผู้นาเข้าสินค้าประเภทอาหาร 16
Global Trade Atlas อ้างถึงส่วนงานวิจัยสถาบันอาหาร, 2555. ภาวะอุตสาหกรรมอาหารไทยปี 2554 แนวโน้มครึ่งปีแรกและภาพรวมปี 2555, สถาบันอาหาร. 18 ภาวะอุตสาหกรรมอาหารไทยปี 2554 แนวโน้มครึ่งปีแรกและภาพรวมปี 2555, สถาบันอาหาร. 17
3-7
ของไทยมากที่สุด คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27 รองลงมา คือ มาเลเซีย และกัมพูชา โดยสินค้าอาหารส่งออกที่ สาคัญของไทย ได้แก่ ข้าว อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งและแปรรูป ไก่แช่เย็นแช่แข็ง และแปรรูป ผักผลไม้กระป๋องและแปรรูป และผักผลไม้สดแช่เย็นแช่แข็งและแห้ง เป็นต้น รูปที่ 3.8 ตลาดส่งออกสินค้าอาหารไทยในภูมิภาคอาเซียน ปี 2554 ฟิลิปปินส์ 9%
สปป.ลาว บรูไน 1% 6% อินโดนีเซีย 27%
เมียนมาร์ 9% สิงคโปร์ 9% เวียดนาม 10%
มาเลเซีย 18% กัมพูชา 11%
ที่มา: ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย.
อินโดนีเซีย19 อิน โดนี เซี ย เป็ น ประเทศที่มี จ านวนประชากรมากที่สุ ดในอาเซียนรวมจานวน 251.16 ล้ านคน20 ในขณะที่ประชากรร้อยละ 15 เป็นผู้มีฐานะดีและมีกาลังซื้อสูงมาก 21 และมีชาวมุสลิมอีกกว่า 208.3 ล้านคน จึงเป็นเหตุผลให้ส่วนแบ่งตลาดเนื้อไก่แช่แข็งในอินโดนีเซียจึงสูงถึงร้อยละ 94 ของมูลค่าตลาดรวมสินค้ากลุ่มไก่ แช่แข็งเป็นที่นิยมมากในอินโดนีเซียมีมูลค่าตลาดในปี 2554 ทั้งหมด 15,893.27 ล้านบาท22 และมีอัตราการ ขยายตั วเฉลี่ย ร้อยละ 14.97 ต่อปี23 อาหารแปรรูปยอดนิยมในหมู่วัยรุ่นอินโดนีเซีย คือ นักเก็ตไก่ ทาให้ บริษัทผู้ผลิตอาหารแช่แข็งมีการผลิตนักเก็ตไก่รูปแบบต่างๆ มากมายทั้งรสชาติ รูปร่าง และส่วนผสมต่างๆ เช่น ชีส ผัก และเพื่อเอาใจลูกค้าวัยเด็ก ผู้ผลิตมีการทานักเก็ตไก่รูปสัตว์ ตัวเลข และตัวอักษรต่างๆเป็นต้น ชาวอินโดนีเซียวัยทางานที่อยู่ในเมืองใหญ่นิยมรับประทานอาหารพร้อมบริโภคและอาหารปรุงสาเร็จ แช่แข็ง (Packaged and Frozen Food) ในขณะที่วัยรุ่นอินโดนีเซียจานวนกว่าร้อยละ 29 ของประชากรทั้ง ประเทศ เป็นกลุ่มที่เปิดรับอาหารและเครื่องดื่มตามกระแสนิยม กลุ่มผู้มีรายได้ปานกลางถึงสูงในอินโดนีเซีย ร้อยละ 10-15 ของประชากรทั้งหมดนิย มบริโภคอาหารสดที่ดีต่อสุขภาพ (Healthy Products) และ อินโดนีเซียยังเป็นประเทศผู้นาเข้าอาหารมากที่สุดแห่งหนึ่งในอาเซียน โดยมีไทยเป็นแหล่งนาเข้าอาหารสาคัญ ของอินโดนีเซีย24
19
Frozen Processed Food in Indonesia, Euromonitor International, October 2011 (อ้างอิงสถาบันอาหาร). International Cooperation Study Center, TU (2013). 21 สานักความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าระหว่างประเทศ, เมษายน 2556. 22 สถาบันอาหาร 2555. 23 อัตราเฉลีย่ การขยายตัวระหว่างปี 2550-2555, สถาบันอาหาร 2555. 24 ปรับปรุงจากบทวิเคราะห์ศูนย์วิจยั กสิกรไทย หัวข้อ "เทรนด์อาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซีย...ที่ผู้ประกอบธุรกิจไทยไม่ควรพลาด”. 20
3-8
ฟิลิปปินส์25 ฟิลิปปินส์มีจานวนประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของอาเซียนรองจากอินโดนีเซีย มีรายได้หลักจากการ ส่งออกแรงงานกว่า 7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปีอุตสาหกรรมอาหารในฟิลิปปินส์มีอัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 5.44 ต่อปี26 โดยในปี 2554 ฟิลิปปินส์มีมูลค่าตลาดอาหารแปรรูปสูงที่สุดในอาเซียนรวม 19,379.37 ล้านบาท ทั้งนี้ ส่วนหนึ่งมาจากการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกทาให้ช่องทางจัดจาหน่ายแบบควบคุมอุณหภูมิกระจายสู่ทุก หัวเมืองมากขึ้น อาหารแช่แข็งที่จาหน่ายมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น ทั้งอาหารดิบ ปรุงแต่งบางส่วน และ สาเร็จรูป ผลิตภัณฑ์มีความหลากหลายของขนาดบรรจุ โดยเนื้อสัตว์แปรรูปแช่แข็งเป็นที่นิยมสาหรับผู้บริโภค มากที่สุด ชาวฟิลิปปินส์มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ประชากรทางานในเมืองหลวงมากขึ้น ไม่สะดวกในการ ปรุงอาหารเอง อาหารแช่แข็งสาเร็จรูปจึงตอบโจทย์กลุ่มผู้บริโภคกลุ่มนี้ได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันสินค้าอาหารของ ไทยมีส่วนแบ่งตลาดในฟิลิปปินส์ประมาณร้อยละ 7 ของตลาดสินค้าอาหารทั้งหมดอาหารแปรรูปที่ได้รับความ นิยมมากที่สุด ได้แก่ ฮอตดอก เบคอน แฮมเบอเกอร์ และไส้กรอกหมู เป็นต้น รองลงมาคืออาหารทะเลแปรรูป แช่แข็ง โดยสินค้าหลักจะเป็นกลุ่มปลาหมัก (Marinated fish) ลูกชิ้นปลาและลูกชิ้นปลาหมึก ส่วนสินค้ากลุ่ม เนื้อไก่แช่แข็งที่ได้รับความนิยม ได้แก่ เนื้อไก่นักเก็ต ไส้กรอก ไก่บาร์บีคิว และไก่ชุบขนมปัง เป็นต้น และจาก กระแสความนิยมบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ จึงคาดว่าอาหารทะเลจะเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มขยายตัวดีในอนาคต เพราะภาพลักษณ์เป็นโปรตีนที่มีคุณภาพกว่าเนื้อแดง มาเลเซีย27 อุตสาหกรรมอาหารในมาเลเซียมีอัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3.24 ต่อปีโดยในปี 2554 มาเลเซียมีมูลค่า ตลาดอาหารแปรรูปรวม 5,040.96 ล้านบาท 28 สาหรับตลาดมาเลเซียไก่แช่แข็งเป็น กลุ่มอาหารที่ได้รับความ นิยมมากที่สุดเช่นเดียวกับอินโดนีเซียมีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 42 รองลงมาคือเนื้อสัตว์แปรรูปร้อยละ 21 และ อาหารทะเลแช่แข็งร้อยละ 17 โดยสินค้าอาหารทะเลแช่แข็งมีแนวโน้มเติบโตสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ และยังเป็นกลุ่ม ทีม่ ีแนวโน้มขยายตัวมากที่สุดในช่วง 4 ปีต่อจากนี้ ในขณะที่กลุ่มเนื้อไก่ เนื้อสัตว์แช่แข็ง มันฝรั่ง ภาพรวมตลาด มีแนวโน้มหดตัวลง เนื่องจากพฤติกรรมผู้บริโภคมาเลเซียที่นิยมรับประทานอาหารนอกบ้านมากขึ้น ด้วยวิถี ชีวิตของชาวมาเลเซียที่มีความเร่งรีบขึ้น มีเวลาในการเตรียมอาหารน้อยลง และต้องการความสะดวกสบายใน การรั บประทานอาหารประเภทพร้ อมรับ ประทาน อาหารพร้อมรับประทานที่ได้รับความนิยมมากที่สุดใน มาเลเซีย คือ อาหารพร้อมรับประทานแบบบรรจุกระป๋อง (Canned/Preserved Ready Meals) สิงคโปร์29 อุตสาหกรรมอาหารในสิงคโปร์มีอัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 4.37 ต่อปี โดยในปี 2554 สิงคโปร์มีมูลค่า ตลาดอาหารแปรรูปรวม 2,383.67 ล้านบาท30 การขยายตัวของตลาดอาหารแช่แข็งในสิงคโปร์มีแรงผลักดันมา จากการออกผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อสุขภาพ โดยเฉพาะเบเกอรี่และขนมหวานและรสชาติที่แตกต่างเป็นหลัก ชาว สิงคโปร์มีรายได้ค่อนข้างสูง ให้ความสาคัญกับคุณภาพสินค้ามากกว่าราคา และให้ความสาคัญกับอาหารเพื่อ 25
Frozen Processed Food in Philippine, Euromonitor International, November 2011 (อ้างอิงสถาบันอาหาร). อัตราเฉลี่ยการขยายตัวระหว่างปี2550-2555, สถาบันอาหาร 2555. 27 Frozen Processed Food in Malaysia, Euromonitor International, October 2011(อ้างอิงสถาบันอาหาร). 28 อัตราเฉลี่ยการขยายตัวระหว่างปี 2550-2555, สถาบันอาหาร 2555. 29 Frozen Processed Food in Singapore, Euromonitor International, November 2011 (อ้างอิงสถาบันอาหาร). 30 อัตราเฉลี่ยการขยายตัวระหว่างปี 2550-2555, สถาบันอาหาร 2555. 26
3-9
สุขภาพ คนสิ งคโปร์นิย มรั บประทานอาหารนอกบ้าน เนื่องจากข้อจากัดเรื่องเวลาในการประกอบอาหาร รับประทานเองที่บ้าน อาหารแปรรูปในสิงค์โปร์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด คือ ไส้กรอกไก่รองลงมาคือ นักเก็ต และกลุ่มอาหารทะเลแช่แข็ง เนื้อปลาแบบฟิลเลต รูปที่ 3.9 มูลค่าตลาดและอัตราการเติบโตเฉลี่ยอาหารแปรรูปแช่แข็งใน 4 ประเทศอาเซียน (หน่วย: ล้านบาท) 20,000.00
5.44%
14.97%
15,000.00
2550
4.37%
10,000.00
2551 2552
3.24%
5,000.00
4.37%
2553 2554
0.00 ฟิลิปปินส์
อินโดนีเซีย
ไทย
มาเลเซีย
สิงคโปร์
31
ที่มา: Euromonitor .
3.3 สถานการณ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหารต่อระบบ เศรษฐกิจไทย 3.3.1 อุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกสินค้าอาหารในอันดับที่ 12 ของโลก โดยในปี 2555 ประเทศไทยมีมูลค่าการค้า อาหารรวมทั้งสิ้น 1,339,449 ล้านบาท โดยเป็น มูลค่าการนาเข้าสินค้าอาหารจานวน 364,810 ล้านบาทและ เป็นมูลค่าการส่งออกสินค้าอาหารรวม 971,689 ล้านบาท32 โดยสินค้าส่งออกที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นจาก ปี 2554 สูงสุด 5 อันดับแรก คือ น้าตาลทราย อาหารแปรรูปกระป๋อง ไก่และสัตว์ปีก ผักและผลไม้สด และ อาหารสัตว์ ในขณะที่สินค้าส่งออกของไทยที่มีมูลค่าการส่งออกลดลง ได้แก่ ข้าว กุ้ง และผักผลไม้แปรรูป 33 อย่างไรก็ตามมีการคาดการณ์ว่าในปี 2556 ประเทศไทยจะมีมูลค่าการส่งออกอาหารเพิ่มมากขึ้นรวมมูลค่ากว่า 1.03 ล้านล้านบาท34 โดยตั้งเป้าการส่งออกในปี 2560 ไว้ที่ 2 ล้านล้านบาท
31
ข้อมูลจาก Euromonitor 2011 อ้างอิงสถาบันอาหาร. รวบรวมข้อมูลจากสถาบันอาหารโดยเฉลี่ยประเทศไทยจะมีมูลค่าตลาดการส่งออกอาหารโลกประมาณร้อยละ 2-3 ต่อปี และเป็นประเทศผู้ ส่งออกอาหารลาดับที่ 12 ในปี 2554-2555. 33 ฝ่ายวิจัยและข้อมูล สถาบันอาหาร. 34 บทสัมภาณ์ผู้อานวยการสถาบันอาหาร เข้าถึงได้ที่ http://www.naewna.com/business/42266. 32
3-10
รูปที่ 3.10 ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหารของไทย ปี 2551-2555 (หน่วย: ล้านบาท) 1,200,000
นาเข้า
ส่งออก
971,689
1,000,000 800,000
715,920
840,000
759,660
754,212
600,000 400,000
298,300
293,222
252,286
381,285
364,810
200,000 2551
2552
2553
2554
2555
ที่มา: สภาหอการค้าฯ สภาอุตสาหกรรมฯ และสถาบันอาหาร.
จานวนผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมอาหารของไทยประกอบไปด้วยผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) เป็น จานวนมากหรือคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 96.9 ของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารทั้งหมด ซึ่งหาก แบ่งตามจานวนเงินลงทุนจะมีสัดส่วนของโรงงานขนาดใหญ่ (เงินลงทุนมากกว่า 100 ล้านบาท) ร้อยละ 3.1 ธุรกิจขนาดกลาง (เงินลงทุน 10 ล้านบาทถึง 100 ล้านบาท) ร้อยละ 1.3 และธุรกิจขนาดเล็ก (เงินลงทุนน้อย กว่า 10 ล้านบาท)35 ร้อยละ 95.6 ซึ่งเป็นจานวนผู้ประกอบการ SME ทั้งหมด 95,506 ราย36 หากพิจารณาถึงศักยภาพของผู้ประกอบการ SME ในภาคการผลิตพบว่า ในปี 2554 ผู้ประกอบการ SME มีมูลค่าการผลิตอาหารรวมทั้งสิ้น 205,069.30 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17 37 ของ GDP ในภาคการ ผลิตของกลุ่มผู้ประกอบการ SME ไทย ทั้งนี้ จากอัตราการเติบโตของธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ยังส่งผลดีต่อ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงต่างๆ อาทิ ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ ธุรกิจท่องเที่ยว ธุรกิจโรงแรมและภัตตาคาร ที่มี แนวโน้มจะเติบโตเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย
35
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมยา, สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2554 และปี 2555. 37 จาแนกตามสาขาการผลิต ISIC 2 หลัก (ISIC หรือ International Standard Industrial Classification of All Economic Activities (ISIC Code) คือ การจัดประเภทอุตสาหกรรมตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกประเภทตามมาตรฐานสากล โดยองค์การสหประชาชาติกาหนดขึ้นเพื่อใช้ใน การจัดประเภทข้อมูลกิจกรรมทางเศรษฐกิจ http://unstats.un.org/unsd/cr/registry/regcst.asp?Cl=17). 36
3-11
รูปที่ 3.11 GDP ภาคการผลิตของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2554 เครื่องแต่งกาย 8%
อาหารและเครื่องดื่ม 17% เครื่องจักรและอุปกรณ์ 6% เครื่องเรือนที่มิได้จัดไว้ใน ประเภทอื่น 13%
อื่นๆ 44% เคมี 12%
ที่มา: สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
38
การจ้างงาน ปี 2555 ประเทศไทยมีผู้ ประกอบการอยู่ในอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมเครื่องดื่มที่ จ ด ทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้น 8,434 ราย โดยส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมที่พึ่งพาการใช้ แรงงานเพื่อการผลิตเป็นสาคัญ ซึ่งมีจานวนแรงงานรวมทั้งสิ้น 518,152 คน39 การบริโภคในประเทศ การขยายตัวของสังคมเมืองส่งผลให้ความต้องการใช้บริการธุรกิจร้านอาหารเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากวิถี ชีวิตที่เร่งรีบของคนในสังคมและขนาดครอบครัวที่เล็กลง ทาให้ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนแปลงไป ธุ ร กิ จ บริ ก ารอาหารที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มมากที่ สุ ด คื อ ร้ า นอาหารที่ ใ ห้ บ ริ ก ารเต็ ม รู ป แบบ รองลงมา คื อ ร้านอาหารจานด่วน และร้านคาเฟ่และบาร์40 อุตสาหกรรมอาหารในภาคบริการของไทยมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวล รวมร้อยละ 26.3 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 41 โดยแบ่งเป็นสัดส่วน GDP จากวิสาหกิจขนาดใหญ่ร้อย ละ 54.2 และเป็นมูลค่ารวมจากวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ร้อยละ 45.8 หากจะพิจารณาใน กลุ่มของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจะพบว่า ธุรกิจบริการโรงแรมและภัตตาคาร มีโครงสร้างการ กระจายตัวของ GDP ในภาคบริการสูงเป็นอันดับ 1 มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 482,122.60 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 37.942 ของมูลค่าการค้าในภาคบริการของไทย และเมื่อพิจารณามูลค่าตลาดแบ่งตามลักษณะธุรกิจ บริการด้านอาหารแบบทั่วไปที่ไม่ได้เป็นเครือข่าย ธุรกิจอาหาร (Independent Consumer Foodservice) และธุรกิจบริการด้านอาหารที่เป็นเครือข่ายธุรกิจ 38
สถานการณ์และตัวชีว้ ัดเชิงเศรษฐกิจของ SME ปี 2554-2555 (จาแนกตามสาขาอุตสาหกรรม). สถิติสะสมจานวนโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ (เปิดดาเนินการ) ตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535 จาแนกรายหมวดอุตสาหกรรมที่ สาคัญ ตามจาพวก ณ สิ้นปี 2555, ศูนย์สารสนเทศโรงงานอุตสาหกรรม, กรมโรงงานอุตสาหกรรม. 40 Euromonitor International (2012) A faster World:Global Performance and Opportunities in Consumer Foodservice อ้างโดย อุตสาหกรรมสาร. 41 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประมวลโดย: สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2554. 42 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อ้างโดยสานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว). 39
3-12
อาหาร (Food Chain Restaurant) หรือธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchises) มีการคาดการณ์มูลค่าตลาดในปี 2556 ที่คาดว่าจะสูงกว่า 669,000 ล้านบาท ในธุรกิจที่ไม่ใช่ธุรกิจแฟรนไชส์มีมูลค่าราว 488,370 ล้านบาท และมี มูล ค่าตลาดในธุรกิจแฟรนไชส์ ราว 180,630 ล้ านบาท 43 ซึ่งจะเห็นได้ว่ามูล ค่าตลาดในธุรกิจที่ไม่ใช่ ธุรกิจแฟรนไชส์มีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 73 ของมูลค่าตลาดทั้งหมด ดังนั้น ทิศทางการประกอบธุรกิจบริการด้าน อาหารทีไ่ ม่ใช่ธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchises) จึงนับว่าเป็นโอกาสทางธุรกิจที่ควรให้ความสนใจ
3.4 การวิเ คราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม อาหารสร้างสรรค์ 3.4.1 แนวโน้มตลาดและผู้บริโภคที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม ในปี 2555 คนไทยมีค่าใช้จ่ายบริการด้านอาหารกับผู้ให้บริการทั่วไปที่ไม่ได้เป็นเครือข่ายธุรกิจอาหารเฉลี่ย 7,481 บาทต่อคน ในขณะที่มีค่าใช้จ่ายบริการด้านอาหารกับผู้ให้บริ การที่เป็นเครือข่ายธุรกิจอาหาร 44 เฉลี่ย 2,431 บาทต่อคน45 ซึง่ สะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมการเลือกใช้จ่ายบริการด้านอาหารของคนไทยที่เลือกใช้จ่าย ค่า อาหารกั บ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น เครื อ ข่ า ยธุ ร กิ จ อาหารเป็ น จ านวนมาก จึ ง นั บ เป็ น โอกาสที่ ดี ส าหรั บ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่กาลังจะตัดสินใจเข้าสู่ธุรกิจอาหาร ปัจจุบันความต้องการในการบริโภคอาหารมีความหลากหลายมากขึ้น จากความต้องการขั้นพื้นฐานที่อาหาร เป็น 1 ในปัจจัย 4 ที่มนุษย์ต้องบริโภคเพื่อ ความอยู่รอด มาสู่การเลือกบริโภคอาหารเพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรง นอกจากนี้ในกลุ่มผู้บริโภคบางกลุ่มยัง เลือกที่จะบริโภคอาหารเพื่อความสุนทรียภาพและการสร้างอัตลักษณ์ เฉพาะตัว ความต้องการบริ โภคอาหารที่เปลี่ ยนแปลงไปส่ วนหนึ่ง มีส าเหตุมาจากระบบเศรษฐกิจ ที่มีการ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ผู้บริโภคมีรายได้สูงขึ้นส่งผลต่อความต้องการอาหารที่ เพิ่มมากขึ้นและ มีคุณภาพทีด่ ีมากขึ้น รวมถึงความต้องการด้านการบริการที่ผู้บริโภคคาดหวังจะได้รับไปพร้อมๆ กับการบริโภค ทีแ่ ตกต่างไปจากเดิม
43
เชนร้านอาหารเติบโต ...อาหารสัญชาติเอเชียยังเป็นดาวรุ่ง (2556),ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จากัด. เครือข่ายธุรกิจอาหาร เช่น ร้านอาหารโออิชิกรุ๊ปประกอบไปด้วยเครือข่ายอาหาร คือ โออิชิบุฟเฟต์, โออิชแิ กรนด์, ชาบูชิและโออิชิราเมน เป็นต้น หรือ เอ็มเค เรสโตรองต์ ประกอบไปด้วยเครือข่ายอาหาร คือ เอ็มเค เรสโตรองด์, เอ็มเค โกล์ด และเอ็มเค เทรนดี้ เป็นต้น. 45 Euromonitor International 2012. 44
3-13
รูปที่ 3.12 ความต้องการในการบริโภคอาหาร
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.
ดังนั้น จะเห็นได้ว่าปัจจุบันสินค้าอาหารและธุรกิจบริการอาหารมีแนวโน้มขยายตัวอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม นอกจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่ส่ งผลต่อพฤติกรรมการบริโ ภคแล้ว การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ผู้บริโภคยังมีสาเหตุมาจากปัจจัยที่สาคัญอื่นๆ อีก อาทิเช่น 1. การก้าวเข้าสู่สังคมคนเมือง (Urbanization) การเป็นสังคมคนเมืองที่มีรูปแบบการใช้ชีวิตแบบ คนทางาน ต้องการความสะดวกรวดเร็วในการใช้ชีวิต เนื่องจากข้อจากัดด้านเวลา ดังนั้น รูปแบบ การบริโภคสินค้าอาหารของสังคมคนเมือง มักต้องการความสะดวกสบายและง่ายต่อการเข้าถึง อาหารและบริการอาหารในรูปแบบต่างๆ เช่น ความต้องการอาหารสาเร็จรูปหรือบริการอาหาร ประเภทคอมมูนิตี้มอลล์เป็นต้น 2. รายได้ (Income) รายได้ของประชากรที่เปลี่ยนแปลงไป ย่อมส่งผลต่อความต้องการในการ บริ โ ภค และเมื่อประชากรมีร ายได้มากขึ้น ย่อมมีความต้องการบริโ ภคอาหารที่มากกว่าการ บริโภคเพื่อการดารงชีวิต เช่น ต้องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพหรืออาหารออแกนิกส์ หรือการ บริการอาหารที่ตรงกับไลฟ์สไตล์ของตัวเอง เป็นต้น 3. สภาพครอบครัวเดี่ยว ขนาดของครอบครัวที่เล็กลงหรือการครองชีวิตโสดที่เพิ่มมากขึ้นของคนยุค ใหม่ ส่งผลต่อการเลือกซื้อและบริโภคสินค้าประเภทอาหารมากขึ้น การออกแบบรูปลักษณ์ ขนาด และปริมาณของอาหารให้พอดีกับขนาดของครอบครัวยุคใหม่หรือคนโสด นับเป็นการสร้างโอกาส ทางการตลาดที่เข้าถึงลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. กระแสรักสุขภาพ (Organic Lifestyle) วิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปส่งผลให้ ผู้บริโภคหันมาสนใจสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (Wellness) มากขึ้น ดังนั้น อาหารเพื่อสุขภาพ จึงเป็นธุรกิจที่มีแนวโน้มเติบโตมากยิ่งขึ้น 5. สังคมคนสูงอายุ (Aging Society) ความก้าวหน้าทางการแพทย์ และการเข้าถึงความรู้ด้าน สุขภาพ ทาให้คนมีอายุยืนขึ้น ส่งผลต่อความต้องการด้านอาหารที่ดีมีคุณภาพและเหมาะกับช่วง วัย ในอนาคตอันใกล้ประเทศไทยจะเข้าสู่ประเทศผู้สูงอายุ ดังนั้น อาหารสาหรับผู้สูงอายุ หรือ การบริการด้านอาหารเพื่อผู้สูงอายุ จึงเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่มีแนวโน้มเติบโตเพิ่มมากขึ้น 6. ความเท่าเทียมทางสังคมของผู้หญิง (Gender Equality) การที่ผู้หญิงได้รับการศึกษาสูงขึ้นทา ให้มีโอกาสก้าวหน้าในอาชีพการงานดีขึ้นและรายได้สูงขึ้น ดังนั้น สินค้าอาหารและบริการด้าน 3-14
อาหารที่ตอบสนองไลฟ์สไตล์ของผู้หญิงวัยทางาน โดยเฉพาะกลุ่มผู้หญิงที่มีกาลังซื้อจึงมีแนวโน้ม ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น เช่น สินค้าอาหารเพื่อสุขภาพ เป็นต้น 7. การเพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการรายใหม่ ประเทศไทยเป็นแหล่งดึงดูดเครือข่ายธุรกิจอาหารที่เป็น ของต่างชาติให้เข้ามาประกอบธุรกิจอาหาร เนื่องจากผู้บริโภคคนไทยโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นและวัย ทางานมีค่านิยมในการบริโภคธุรกิจบริการอาหารเครือข่ายและอาหารจานด่วน อีกทั้งประเทศยัง เป็ น ประเทศที่ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วเดิ น ทางเข้ า มาท่ อ งเที่ ย วในประเทศเป็ น จ านวนมาก ดั ง นั้ น ผู้ประกอบการต่างชาติจึงนิยมเข้ามาประกอบธุรกิจเครือข่ายอาหาร เพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภคที่เป็นคนไทย และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย อีกด้วย 8. การท าโปรโมชั่น ร้ า นอาหารร่ ว มกั บองค์ กรพัน ธมิ ตรต่า งๆ การจัด โปรโมชั่ นพิ เศษร่ ว มกั บ ร้านอาหารที่เป็นเครือข่ายธุรกิจอาหารรายใหญ่ นิยมสร้างความร่ว มกับองค์กรพันธมิตรต่างๆ ใน ประเทศ อาทิ สถาบันการเงิน ธุรกิจซื้อขายคูปองส่วนลด ในการทาการตลาดเพื่อกระตุ้นให้คน ไทยนิยมรับประทานอาหารในร้านอาหารที่เป็นเครือข่ายธุรกิจอาหารยิ่งขึ้น โดยมีสิทธิพิเศษ ของ สมนาคุณ และการสะสมแต้มเป็นสิ่งจูงใจให้แก่ลูกค้าในการใช้บริการ 9. อิทธิพลเครือข่ายสังคมออนไลน์หรือโซเซียลเน็ตเวิรค์ (Social Media) กระแสความนิยมใน การใช้โซเชียลเน็ตเวิรค์ของคนรุ่นใหม่ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและความสะดวกในการเข้าถึงอาหาร และการให้บริการอาหารรูปแบบต่างๆ ผู้ผลิตและผู้ให้บริการอาหารสามารถนาเสนอรูปลักษณ์ และบริการอาหารของตนเองผ่านสังคมออนไลน์ได้อย่างรวดเร็ว การนาเสนอโปรโมชั่นต่า งๆ การ ให้ส่วนลด การแนะนาเมนูใหม่ หรือสถานที่ตั้งร้านแห่งใหม่ สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้อย่าง รวดเร็ ว และในวงกว้ า ง อี ก ทั้ ง โซเซี ย ลเน็ ต เวิ ร ค์ ยั ง ท าหน้ า ที่ เ ป็ น สื่ อ ทางการตลาดและการ ประชาสัมพันธ์ให้กับธุรกิจได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในขณะที่ต้นทุนต่ากว่าการใช้สื่อ ประเภทอื่นๆ อีกด้วย 3.4.2 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย PESTLE Analysis จากการวิเคราะห์ PESTLE พบว่า ปั จจั ย ต่างๆ ที่ส่ งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ ของไทย สามารถสรุปได้ ดังนี้ นโยบายภาครัฐ มีการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์สร้างมูลค่าเพิ่มอุตสาหกรรม อาหารไทยสู่เป้าหมายครัวไทยสู่ครัวโลก 46 โดยตั้งเป้าพัฒนาให้ไทยเป็นศูนย์กลางอาหารแช่แข็ง ของโลกและเป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปครบวงจร หรือโครงการหุบเขาอาหาร (National Food Valley) เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอย่าง เป็นระบบ47 ในขณะที่นโยบายค่าจ้างแรงงาน 300 บาท ที่ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมไทยเป็นอย่างมาก
46 47
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (2556). โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปครบวงจร, กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.
3-15
เศรษฐกิจในประเทศ ในปี 2556 ธุรกิจบริการอาหารจะมีอัตราการเติบโตสูงกว่าอัตราการเติบโต เฉลี่ยโดยร้านอาหารญี่ปุ่นมีอัตราการเติบโตมากที่สุดหรือร้อยละ 20 ร้านอาหารปิ้งย่างมีอัตราการ เติบโตร้อยละ 16 และร้านอาหารไทย ร้านสุกี้และชาบู เติบโตร้อยละ 1548 เศรษฐกิจโลก วิกฤตเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาและยุโรปชะลอตัวส่งผลต่อการนาเข้าสินค้าอาหาร แปรรูปของไทย ในขณะที่ตลาดอาหารแปรรูปในภูมิภาคอาเซียนยังมีสัดส่วนเพียงเล็กน้อย การรวมกลุ่มประชาคมอาเซียน ส่งผลให้อุตสาหกรรมอาหารของไทยมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่ม สูงขึ้น จากการเข้ามาลงทุนของต่างชาติ ทั้งนักลงทุนในและนอกภูมิภาคอาเซียน ประเทศไทยมี ศักยภาพและปัจจัยดึงดูดการลงทุนที่เหนือกว่าประเทศคู่แข่งหลายด้าน อาทิ ทาเลที่ตั้งเหมาะสม ตลาดที่มีขนาดใหญ่ กฎระเบียบรวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานอยู่ในเกณฑ์ดี ปัจจัยการผลิตมีศักยภาพ (แรงงาน วัตถุดิบ อุตสาหกรรมสนับสนุน) ต้นทุนทางธุรกิจที่ได้เปรียบประเทศอาเซียนจากการลด อัตราภาษีนิติบุคคลมาอยู่ในอัตราต่าที่ร้อยละ 20 ในปี 255649 ปัจจัยทางสังคม ประเทศไทยกาลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สินค้าอาหารสาหรับคนสูงอายุจะมี บทบาทเพิ่มมากขึ้น และสังคมยุคใหม่ให้ความใส่ใจกับเรื่องสุขภาพเป็นสาคัญ เทคโนโลยี ผู้ประกอบการไทยยังขาดเทคโนโลยีและเครื่องจักรสมัยใหม่ เนื่องจากการนาเข้า เครื่องจักรและเทคโนโลยีต้องใช้เงินลงทุนสูงมาก กฎหมาย ขั้นตอนในการขอการรับรองมาตรฐานต่างๆ มีความล่ าช้าต้องใช้ระยะเวลาในการ ดาเนินการนาน อาจก่อให้เกิดการเสียโอกาสในการดาเนินธุรกิจ ประเทศคู่ค้าบางประเทศมีการ ใช้มาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีมากขึ้น เช่น มาเลเซียมีข้อจากัดด้านอาหารประเภท อาหารฮาลาล สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศส่งผลให้ผลิตผลทางการเกษตรซึ่งเป็นวัตถุดิบพื้นฐานมี จานวนลดน้อยลง และอาจส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ ลูกค้า มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอย่างรวดเร็ว ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายมีรายได้ดีขึ้น มี กาลังซื้อมากขึ้นและนิยมบริโภคอาหารนอกบ้านเพิ่มมากขึ้น ผู้ผลิต ในอุตสาหกรรมแปรรูปผู้ ประกอบการส่ วนใหญ่เป็นกลุ่ม SME ที่มีความรู้ ทักษะ และ ความช านาญในการแปรรู ป สิ นค้า แต่มัก ประสบปั ญหาการขาดแคลนแรงงานระดับล่ าง ซึ่ ง ปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารขาดแคลนแรงงานมากกว่า 50,000 คน คู่แข่ง ประเทศเพื่อนบ้านมีต้นทุนการผลิตที่ต่ากว่า เช่น CLMV มีต้นทุนค่าจ้างแรงงานถูกกว่า และมีวัตถุดิบเพื่อการผลิตมากกว่า เช่น พม่าและเวียดนาม เป็นต้น และการมีวัตถุดิบที่เหมือนกัน ส่งผลให้การแข่งขันมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
48 49
สถาบันอาหาร 2556. สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
3-16
รูปที่ 3.13 การวิเคราะห์ PESTLE อุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.
3.4.3 การวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกอุตสาหกรรมอาหารด้วย SWOT Analysis SWOT Analysis เป็นกระบวนการที่ประยุกต์ใช้แนวคิดการกาหนดกลยุทธ์ เพื่อทาความเข้าใจอุตสาหกรรม และปัจจัยแวดล้อมแบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค สาหรับอุตสาหกรรมอาหาร สร้างสรรค์สามารถสรุปได้ดังนี้ จุดแข็ง ศักยภาพด้านแรงงาน ในภาคการผลิต เช่น อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ประเทศไทยมีแรงงานที่ มีทักษะฝีมือ มีความชานาญและมีประสบการณ์มาอย่างยาวนาน และยังมีความชานาญในการใช้ เทคโนโลยีในการผลิตสินค้าอาหารแปรรูปที่มีมาตรฐานและปลอดภัย ซึ่งไทยนับว่ามีแรงงงานที่มี ศักยภาพมากกว่าประเทศคู่แข่ง เช่น เวียดนาม พม่าและมาเลเซีย ส่วนในภาคบริการ เช่น ธุรกิจ บริการร้านอาหาร แรงงานไทยมีจุดเด่นเรื่องอัธยาศัยดี อ่อนโยนและมีใจรักด้านบริการ ความเข้มแข็งในห่วงโซ่อุปทานครบวงจรตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า มีวัตถุดิบพื้นฐานเพื่อ การผลิตที่หลากหลาย มีบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านอาหารสร้างสรรค์ มีสถาบันให้ ความรู้ด้านอาหารเป็นจานวนมาก และมีบุคลากรให้บริการด้านอาหารที่มีทักษะและมีใจรักใน การให้บริการ คุณภาพสินค้าอาหารของไทยเป็นที่ยอมรับในตลาดต่างประเทศ อาหารไทยได้รับการจัดอันดับ สุดยอดอาหาร 50 อันดับของโลก (โดย CNNgo Staff) ซึ่งอาหารไทยที่ได้รับความนิยมได้แก่ แกง
3-17
มัสมัน่ (อันดับ 1) ต้มยากุ้ง (อันดับ 8) น้าตกหมู (อันดับ 19) และส้มตา (อันดับ 46)50 จึงนับเป็น โอกาสอันดีในการพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป จุดอ่อน ขาดแคลนแรงงานระดับล่างและแรงงงานทักษะ ปัญหาการขาดแคลนแรงงานไทยเป็นปัญหา ส่งผลกระทบในทุกอุตสาหกรรมของประเทศ แบ่งออกเป็น 2 ระดับคือ - การขาดแคลนแรงงานระดับล่า ง (Low-Skilled Labor) แรงงานไทยไม่นิยมงานใช้ แรงงานระดับล่าง ส่งผลให้ปัจจุบันในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารจาเป็นต้องพึ่งพาแรงงาน จากต่างชาติ ซึ่งในปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารยังคงขาดแรงงานระดับล่างอีกกว่า 50,000 คน51 - การขาดแคลนแรงงานทักษะ (High Skilled Labor) โดยแบ่งเป็นแรงงานทักษะในภาค การผลิตอาหารด้านเทคโนโลยีการผลิต นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Food Safety ซึ่งใน สายอาชีพดังกล่าวยังไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควรเมื่ อเทียบกับสายงานหรืออาชีพอื่นๆ และ แรงงานทักษะในภาคการบริการของอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งประเทศไทยยังคงมีขาดแคลน แรงงานในภาคบริการที่มีทักษะและความชานาญทางด้านภาษา พึ่งพาการนาเข้าวัตถุดิบพื้นฐานจากต่างประเทศ วัตถุดิบพื้นฐานเพื่อการผลิตอาหารแปรรูปบาง ชนิ ด ไทยยัง ต้องน าเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น การนาเข้าปลาซาร์ดีน ปลาแมคเคอเรล เป็นต้น ขาดการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมและงานวิจัย อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปอาหารส่วนใหญ่ ยั ง ขาดแคลนเทคโนโลยี ชั้ น สู ง ในขณะที่ ผู้ ป ระกอบการบางรายต้ อ งน าเข้ า เครื่ อ งจั ก รและ เทคโนโลยีจากต่างประเทศ จึงส่งผลให้มีต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการสมัยใหม่ โดยเฉพาะ ผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก (SME) ส่วนใหญ่ต้องทาหน้าที่ทั้งการบริหารและปฏิบัติงานใน กระบวนการผลิตควบคู่กันไป จึงทาให้ไม่สามารถพัฒนาต่อยอดความรู้ด้านการเพิ่มผลิตภาพและ ประสิทธิภาพในการผลิต โอกาส ภาวะโลกร้อนส่งผลให้เกิดวิกฤตการอาหารโลก ทาให้เกิดความต้องการสินค้าเกษตรและอาหาร เพิ่มมากขึ้น โอกาสจากการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 - ทาให้ไทยได้รับประโยชน์จากการนาเข้าวัตถุดิบราคาถูกจากประเทศสมาชิก - การทา Contract Farming เพื่อขยายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านที่มีต้นทุนการ ผลิตที่ต่ากว่า - โอกาสในการขยายตลาดไปยังประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะกลุ่มประเทศ CLMV โดยอาศัย สิทธิประโยชน์ด้านต้นทุน วัตถุดิบและแรงงาน 50 51
CNNGo staff. World's 50 most delicious foods on 21 July, 2011. สถาบันอาหาร เข้าถึงได้ที่ http://www.thairath.co.th/content/newspaper/253824.
3-18
- การเดิน ทางระหว่าง 10 ประเทศในอาเซียนสะดวกขึ้น อุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์มี แนวโน้มเติบโตเพิ่มมากขึ้น นโยบายการสนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมจากภาครั ฐ อุ ต สาหกรรมอาหารของไทยเป็ น กลุ่ ม อุตสาหกรรมที่ได้รั บการสนั บสนุนในอันดับต้นๆ ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกของไทยสูงถึงปีล ะ หลายแสนล้านบาท และยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง โดยรัฐบาลสนับสนุนให้ไทยเป็น “ครั ว ของโลก” อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากหน่ ว ยงานภาครั ฐ อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ที่ให้สิทธิประโยชน์ที่เหมาะสมและสอดรับกับ สถานการณ์ความต้องการของนักลงทุน เป็นต้น อุปสรรค การแข่งขันในอุตสาหกรรมอาหารโลกมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น หรือแม้แต่ในประเทศกลุ่ม อาเซียน หลายประเทศมีวัตถุดิบเหมือนกัน จึงส่งผลให้เกิดการแข่งขันกันเองในอาเซียน การเกิดใหม่ของประเทศผู้ผลิตอาหาร ที่มีความได้เปรียบทางด้านต้นทุนการผลิต และมีต้นทุน แรงงานที่ต่ากว่าไทย เช่น พม่า และเวียดนาม เป็นต้น กฎระเบียบของแต่ละประเทศในอาเซียนต่างกัน เป็นอุปสรรคกับการลงทุน เช่นอินโดนีเซีย กาหนดให้ร้อยละ 70 ของสัตว์น้าที่จับได้ในน่านน้าอินโดนีเซียจะต้องส่งขึ้นที่ท่าเรือของ อินโดนีเซีย เพื่อจาหน่ายหรือแปรรูปในประเทศ (โดยการแปรรูปผู้ประกอบการต้องร่วมทุนกับ ชาวอินโดนีเซียเท่านั้น) แนวโน้มการเกิดภัยธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น อาจส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรและปศุสัตว์ ของ ไทยมีแนวโน้มลดลงเป็นอุปสรรคต่อการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ วิกฤติการณ์โลกร้อนส่งผลให้เกิดวิกฤตการอาหารโลก และส่งผลต่อปริมาณและคุณภาพของ ผลิตผลทางการเกษตร ทาให้เกิดความเสี่ยงและยากต่อการบริหารวางแผน เพื่อกาหนดทิศทางใน อนาคตได้อย่างแม่นยา
ปัจจัยภายใน
รูปที่ 3.14 สรุปผลการวิเคราะห์ SWOT Analysis ในอุตสาหกรรมอาหาร จุดแข็ง (S) - แรงงานไทยมีทักษะและฝีมือดี - ความเข้มแข็งในห่วงโซ่อุปทานครบวงจรตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า - คุณภาพสินค้าเป็นที่ยอมรับในตลาดต่างประเทศ
-
ปัจจัยภายนอก
-
อุปสรรค (T) การแข่งขันในอุตสาหกรรมอาหารโลกมีความรุนแรงเพิ่มมาก ขึ้น การเกิดใหม่ของประเทศผู้ผลิตอาหารที่มีต้นทุนการผลิตที่ต่า กว่าประเทศไทย กฎระเบียบของแต่ละประเทศในอาเซียนต่างกัน เป็นอุปสรรค กับการลงทุน เช่น อุตสาหกรรมการประมงที่อินโดนีเซีย ฯลฯ แนวโน้มการเกิดภัยธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น ส่งผลต่อผลผลิตทาง การเกษตร วิกฤติการณ์โลกร้อนส่งผลให้เกิดวิกฤตการอาหารโลก
3-19
-
จุดอ่อน (W) ขาดแคลนแรงงานระดับล่างและแรงงงานทักษะ การพึ่งพาการนาเข้าวัตถุดิบการผลิตจากต่างประเทศ ผู้ ป ระกอบการขาดการพั ฒ นาเทคโนโลยี นวั ต กรรมและ งานวิจัย ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ ยังขาดความรู้ ค วามสามารถในการ บริหารจัดการสมัยใหม่ โอกาส (O) ภาวะโลกร้อนส่งผลให้เกิดวิกฤตการอาหารโลก การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 นโยบายการสนับสนุนอุตสาหกรรมจากภาครัฐทั้งทางตรงและ ทางอ้อม อาทิ นโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก, นโยบายสนับสนุน การท่องเที่ยว ฯลฯ
3.4.4 ธุรกิจและอาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรม จากการวิเคราะห์ตามโครงสร้างอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ จะเห็นได้ว่า อุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์มี ความเชื่อมโยงกับธุรกิจและอาชีพที่หลากหลาย ทั้งธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต และแปรรูปอาหาร และธุรกิจบริการอาหารในรูปแบบต่างๆ ซึ่งในแต่ละกิจกรรมมีการส่งมอบสินค้าและบริการให้ความสาคัญกับ การใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการที่ต้องการส่งมอบให้แก่ผู้บริโภค เช่น เชฟหรือนักบริหารจัดการอาหาร จะทาหน้าที่การคิดสู ตรอาหารที่มีส่วนผสมหรือรสชาติ ใหม่ๆ และรายการอาหารแปลกใหม่52 พ่อครัวหรือกุ๊ก (Cook) ทาหน้าที่ปรุงอาหาร และจัดเตรียมส่วนประกอบของอาหารและ เครื่องปรุงต่างๆ เพื่อให้อาหารมีหน้าตาดูน่ารับประทานมากขึ้น นักออกแบบอาหาร (Food Designer) จะทาหน้าที่ออกแบบอาหารโดยใช้ ความคิดและ สร้างสรรค์ตั้งแต่กระบวนการจัดหาและคัดสรรวัตถุดิบ เพื่อนามาใช้กับสูตรอาหารที่คิดค้นขึ้น ครอบคลุมจนถึงการจัดวางอาหารไว้ในจาน53 นักชิมทดสอบ (Cupper) จะทาหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพของอาหารนั้นๆ ว่าเป็นอย่างไร ทั้งนี้ เนื่องจากเรื่องของคุณภาพอาหารบางชนิดไม่สามารถวัดได้จากการชั่ง หรือตวงส่วนผสม ดังนั้น นักชิมทดสอบอาจมีจุดสังเกตในรายละเอียดมากน้อยต่างกันไป เช่นกลิ่น หรือรสชาติ ที่บกพร่องต่างๆ ความสมดุลของรสชาติ ตลอดจนรสชาติหรือกลิ่นที่ติดค้างในปากเมื่อกลืน อาหารไปแล้ว54 นักผสมเครื่องดื่ม (Bartender) คือ บุคคลที่ทาหน้าที่ผสม ปรุง ตกแต่งและจัดวางเครื่องดื่ม ประเภทต่างๆ ให้มีรสชาติ ภาพลักษณ์ และคุณภาพตามมาตรฐานสากล และเป็นผู้มีความรู้ ความชานาญในคุณสมบัติเฉพาะตัวของเครื่องดื่มประเภทต่างๆ มีความสามารถในการปรุงรส เครื่องดื่มและแนะนาเครื่องดื่มที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้บริโภค เชพออนไลน์ คือ ธุรกิจที่ให้บริการนาเสนอและถ่ายทอดเรื่องราวการทาอาหารประเภทต่างๆ ผ่านสื่ออินเตอร์เน็ตประเภทต่างๆ เช่น เว๊บไซด์ส่วนตัว ยูทูป (YouTube) เป็นต้น นักปรุงกาแฟ (Barista) คือ บุคคลที่ทาหน้าที่คัดเลือกกาแฟ คั่วและบดเมล็ดกาแฟ ชงกาแฟ รวมถึงการสร้างสรรค์การออกแบบตกแต่งกาแฟให้มีภาพลักษณ์ที่สวยงาม เช่น การตีฟองนม การตกแต่งเครื่ องดื่ม ในแก้วกาแฟด้วยฟองนมเป็นรูปภาพต่างๆ เป็นต้น รวมถึงการสร้าง บรรยากาศและการให้บริการที่ดีภายในร้านกาแฟอีกด้วย โรงเรียนสอนทาอาหาร (Cooking school) การเรียนการสอนในการออกแบบอาหารทั้งใน เรื่องของรู ปลักษณ์และการประยุกต์ใช้วัตถุดิบ ต่างๆ ภายในพื้นที่นอกเหนือจากการสอน ทาอาหารแบบดั้งเดิม ธุรกิจโรงแรมและร้านอาหาร (Hotel and Restaurant) ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มด้านความรู้สึก ความประทับใจ และยังเป็นการสร้างเอกลักษณ์ ให้กับอาหารอีกด้วย เช่น ร้านอาหารเด็ก เลี้ยงแกะ (Dekliangekae Farm & Restaurant) ร้านอาหารที่มีบรรยากาศฟาร์มที่เจ้าของ 52
เข้าถึงได้ที่ http://th.wikipedia.org. Cookool studio. 54 อาชีพนักทดสอบกาแฟ เข้าถึงได้ที่ http://www.seat2cup.com/blog/2010/09/coffee-cupper/. 53
3-20
ได้แรงบันดาลใจมาจากการไปเที่ยวพักผ่อนที่สวนผึ้ง เลยนาคอนเซ็ปส่วนหนึ่งของเดอะซีน เนอร์รี่ฟาร์มมาสร้างเป็นบ้านสไตล์ฟาร์มทีส่ ามารถนั่งรับประทานอาหารพร้อมกับมองฝูงแกะ ไปแบบเพลินๆ และเหมาะกับการจัดปาร์ตี้55 ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง (Catering) ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงที่เน้นรูปแบบการตกแต่งอาหารให้มี ดีไซน์และมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง เช่น The Chef Catering ให้บริการอาหารจัดเลี้ยง นอกสถานที่ ที่ดีไซน์ทั้งรูปแบบอาหารและรสชาติอาหารเพื่อส่งเสริมให้บรรยากาศของงาน น่าสนใจยิ่งขึ้น56 ธุร กิจ บริ การจั ดส่ งอาหาร (Delivery) เป็นการให้ บริการส่ งมอบอาหารให้ แก่ผู้ บริโ ภค ณ สถานที่ใดที่หนึ่ง มุ่งเน้นความสะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคเป็นสาคัญ ธุรกิจแฟรนไชส์อาหาร (Franchise) หรือธุรกิจเครือข่ายอาหารที่มีรูปแบบการให้บริ การตาม มาตรฐานที่แฟรนไชส์นั้นๆ กาหนด รูปที่ 3.15 ธุรกิจและอาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมอาหาร
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.
55 56
เข้าถึงได้ที่ http://www.facebook.com/dekliangkae#sthash.MYyRhjRc.dpuf. เข้าถึงได้ที่ http://www.tcdcconnect.com/content/detail.php?ID=676&sphrase_id=286432.
3-21
3.5 บทสรุป อุตสาหกรรมอาหารของไทยในภาคการผลิตถือว่ามี มาตรฐานและได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคทั้งในตลาด ระดับภูมิภาคและในตลาดโลก โดยเฉพาะประเทศในแถบยุโรปและญี่ปุ่นล้วนให้การยอมรับว่าอาหารไทยเป็น สิ น ค้ า ดี มี คุ ณ ภาพและมี ค วามปลอดภั ย สู ง ซึ่ ง อาหารไทยเป็ น อาหารได้ รั บ ความนิ ย มจากผู้ บ ริ โ ภคใน ต่างประเทศ ซึ่งจากผลการจัดอันดับสุดยอดอาหารโดย CNNgo Staff พบว่ามีอาหารไทย 4 รายการที่ ได้รับ การจัดอันดับว่าเป็นอาหารได้รับความนิยมติด 1 ใน 50 อันดับโลก คือ แกงมัสมั่น (อันดับ 1) ต้มยากุ้ง (อันดับ 8) น้าตกหมู (อันดับ 19) และส้มตา (อันดับ46)57 ที่ผ่านมาอุตสาหกรรมอาหารของไทยส่วนใหญ่เน้นการผลิตเพื่อการส่งออกเป็นหลัก ดังจะเห็นได้จากโครงการ รณรงค์ส่งเสริมและผลั กดัน อุตสาหกรรมอาหารจากหน่วยงานภาครัฐและสมาคมต่างๆ ซึ่งส่ว นใหญ่จะให้ ความสาคัญกับตลาดส่งออก อาทิ การส่งเสริมโครงการครัวไทยสู่ครัวโลก โครงการเจาะตลาดอาหารสุขภาพ เพื่อการส่งออก และโครงการลู่ทางการค้าการส่งออกอาหารแช่แข็งไปตลาดยุโรปและอาเซียน เป็นต้น ซึ่ง ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่มีศักยภาพใน การผลิตเพื่อการส่งออก ในขณะที่อุตสาหกรรมอาหารของไทยร้อยละ 99 ยังเป็นผู้ประกอบการขนาดเล็ก อย่างไรก็ดี จากการวิเคราะห์ แนวโน้มการบริโภคในปัจจุบัน นับว่า อุตสาหกรรมอาหารยังมีโอกาสสาหรับ กับ ผู้ประกอบการขนาดเล็กหรือผู้ประกอบการรุ่นใหม่ หากหันมาให้ความสาคัญกับการต่อยอดธุรกิจอาหารด้วย ความคิดสร้างสรรค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ธุรกิจที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อนาไปสู่อุตสาหกรรมการผลิตอาหารหรือเป็นกิจกรรมที่เกิดก่อน การผลิตสินค้าอาหาร หรือเป็นกิจกรรมที่เป็นจุดเริ่มต้นของการได้มาซึ่งอาหารสร้างสรรค์ เช่น นักออกแบบอาหารนักชิม ทดสอบ โรงเรียนสอนทาอาหารและนักบริหารจัดการอาหาร/เชฟ เป็นต้น ธุรกิจที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อนาไปสู่กระบวนการส่งมอบอาหารหรือเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ ที่เกิ ดขึ้น หลั ง จากกระบวนการผลิ ต อาหารหรืออยู่ในล าดั บสุ ด ท้าย เพื่ อส่ ง มอบอาหารให้ แ ก่ ผู้บริโภค เช่น ธุรกิจโรงแรมและร้านอาหาร (Hotel and Restaurant) ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง (Catering) ธุ ร กิ จ บริ ก ารจั ด ส่ ง อาหาร (Delivery) และธุ ร กิ จ แฟรนไชส์ อ าหาร (Franchise) เป็นต้น
57
CNNGo staff. World's 50 most delicious foods on 21 July, 2011. เข้าถึงได้ที่ http://www.cnngo.com/explorations/eat/worlds50-most-delicious-foods-067535?page=0,1. (อ้างถึงแผนปฏิบัติการส่งเสริม SME อุตสาหกรรมอาหาร).
3-22
ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ น ว ท า ง ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร เ ข้ า สู่ ธุ ร กิ จ อ า ห า ร แ ล ะ แ ฟ ชั่ น ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ มี ศั ก ย ภ า พ
บทที่ 4 กำรวิเครำะห์ศักยภำพเชิงลึก อุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ สำขำอำหำร ในบทนี้ น าเสนอปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ศั ก ยภาพและการเติ บ โตของอุ ต สาหกรรม สร้ า งสรรค์ ส าขาอาหาร ทั้ ง ปั จ จั ย บวกและ ปั จ จั ย ลบ และท าการประเมิ น ศั ก ยภาพ อุตสาหกรรมสาขาย่อยตามกรอบแนวคิดการ ประเมินและวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Rating Analysis) และให้ข้อสรุปว่าอุตสาหกรรมสาขา ย่อยใดบ้างที่จะนาไปทาการวิเคราะห์ เชิงลึ ก และจัด ทาคู่มื อธุ รกิ จต่ อไป ในบทที่ 4 จึ งได้ นาเสนอเนื้อหา 4 ประเด็นหลัก ดังนี้ 4.1 ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 4.2 อุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหารที่มีศกั ยภาพ 4.3 การวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์ 4.4 สรุปอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ 4.5 บทสรุป
บทที่ 4 การวิเคราะห์ศักยภาพเชิงลึก อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
4.1 ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 4.1.1 สถานการณ์และแนวโน้มอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ธุรกิจอาหารและให้บริการอาหารเป็นธุรกิจที่มีแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนหนึ่งมาจากการขยายตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศ และพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป รูปแบบของการใช้ชีวิตสังคมเมือง ความเร่ง รีบในการใช้ชีวิตประจาวัน และการปรับขึ้นค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้นส่งผลให้คนไทยมีกาลังการซื้อมากขึ้น และเลือก รับประทานอาหารนอกบ้านเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งผู้บริโภคยังสามารถเข้าถึงธุรกิจอาหารได้มากขึ้น เช่น การขยายตัว ของห้างสรรพสินค้าที่เป็นที่ตั้งของธุรกิจอาหาร การเกิดขึ้นของคอมมูนิตี้มอลล์หรือศูนย์รวมร้านอาหาร รวมถึงการ ทาธุรกิจอาหารออนไลน์ที่สามารถในการเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว มีการคาดการณ์ว่าในปี 2556 ธุรกิจบริการ เกี่ยวกับอาหารจะมีมูลค่าสูงถึง 669,000 ล้านบาท เป็นมูลค่าตลาดของธุรกิจบริการด้านอาหารทั่วไป 488,370 ล้านบาท และเป็นมูลค่าตลาดเครือข่ายธุรกิจอาหารเพียง 180,630 ล้านบาท 1 โดยธุรกิจบริการอาหารทั่วไปที่ ไม่ได้เป็นเครือข่ายธุรกิจอาหาร (Chained Consumer Foodservice) จากข้อมูลดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า ธุรกิจ บริการอาหารของผู้ประกอบการทั่วไปมีส่วนแบ่งทางการตลาดสูงถึงร้อยละ 73 ของมูลค่าธุรกิจบริการอาหาร หรือ
1
เชนรานอาหารเติบโต อาหารสัญชาติเอเซียยังเป็นดาวรุ่ง, ศูนยวิจยั กสิกรไทย (2013).
4-1
อาจกล่าวได้ว่าธุรกิจบริการอาหารทั่วไปเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพและมีโอกาสในการสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการ ไทยอีกเป็นจานวนมาก การเติบโตของธุรกิจบริการอาหารส่วนหนึ่งมาจากการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การบริโภคอาหารของผู้บริโภคในปัจจุบันทีซ่ ึมซับวัฒนธรรมทางสังคมของชาวเอเซีย ที่ให้ความสาคัญกับอาหารมื้อ เย็นและมื้อค่ากับบุคคลในครอบครัว และยังเป็นช่วงเวลาของการพบปะเพื่อนฝูง และยังใช้เป็นสถานที่สาหรับการ เจรจาทางธุรกิจบนโต๊ะอาหารได้อีกด้วย ดังนั้น จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปส่งผลให้ธุรกิจ ร้านอาหารต่างๆ ต่างปรับตัวและปรั บเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของ ผู้ บ ริ โ ภคได้อย่ างครบครั น ในขณะที่ผู้ บ ริ โ ภคเองก็แสวงหารูปแบบการบริการร้านอาหารแบบใหม่ที่ส ามารถ ตอบสนองความต้องการของตนเองได้มากกว่าความต้องการในการบริโภคอาหารแต่ละมื้อเท่านั้น 4.1.2 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ปัจ จั ย ที่ส่ งผลต่อ ศักยภาพในการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ประกอบไปด้วยปัจจัยหลักที่สาคัญ 6 ปัจจัย ดังนี้2 1. ทักษะผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์ นอกจากการมีแนวคิดสร้างสรรค์ ไอเดียแปลกใหม่ที่จะพัฒนาต่อ ยอดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการแล้ว ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมีทักษะด้านการบริหาร จัดการธุรกิจ อื่นๆ ด้วย เช่น การบริหารการตลาด การบริห ารต้นทุน การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น เนื่องจากผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นประกอบธุรกิจโดยคานึงถึงการขาย สินค้าและบริการ โดยไม่ได้คานึงถึงขั้นตอนการทาการตลาดและการทาประชาสัมพันธ์ เพื่อการเข้าถึง กลุ่มลูกค้า ดังนั้น จะเห็นได้ว่ามีผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์เป็นจานวนมาก ที่มีแนวคิดและไอเดีย สร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและบริการ แต่ไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ และบางรายไม่สามารถทา การตลาดได้ และส่งผลให้ต้องปิดกิจการไปในที่สุด 2. การจ้างงาน การจ้างงานในธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ประกอบไปด้วยแรงงานทั้งในภาคการผลิตอาหารและ การบริการอาหาร ปัจจุบันภาคการผลิตอาหารขนาดเล็กจะมีอัตราการหมุนเวียนพนักงานค่อนข้างสูง แรงงานส่ ว นใหญ่ มัก จะผั น ตั ว เองไปสู่ ธุ รกิ จขนาดใหญ่ที่ บ่ งบอกถึ งความมั่น คงในชี วิต ที่ มากกว่ า อย่ างไรก็ตาม ปั จ จุ บั น ในธุร กิจสร้างสรรค์ส าขาอาหารของไทยเริ่มมีการใช้แรงงานต่างชาติจาก ประเทศเพื่อนบ้าน และเป็นแรงงานที่มีศักยภาพในการทางานได้ดีทั้งในภาคการผลิตและการบริการ ในขณะที่แรงงานต่างชาติเหล่านี้ยังมีค่าจ้างแรงงานที่ต่ากว่าแรงงานในประเทศไทย
2
การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องกรุงเทพ 4 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview).
4-2
3. วัตถุดิบ วัตถุดิบหลักในการผลิตอาหารส่วนใหญ่ เป็นวัตถุดิบภายในประเทศ ในขณะที่บางส่วนเป็น วัตถุดิบ น าเข้ า จากต่ า งประเทศ การน าเข้ า สิ น ค้ า จากต่ า งประเทศไม่ เ ป็ น ปั ญ หาส าหรั บ ผู้ ป ระกอบการ เนื่องจากวัตถุดิบบางชนิดใช้สินค้านาเข้าเป็นวัตถุดิบได้มาตรฐานดีกว่าใช้สินค้าในประเทศ เช่น ผลไม้ บรรจุกระป๋อง เมล็ดกาแฟสด เป็นต้น 4. การใช้ความคิดสร้างสรรค์ การใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างความแตกต่างให้กับตัวสินค้า และก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในตัวสินค้า และบริการอาหาร การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในธุรกิจอาหารสร้างความแตกต่างในตัวสินค้าและ บริการ ควรคานึงถึงความสามารถในการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างแท้จริง อย่างไร ก็ตามจากการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่า ผู้ประกอบการสามารถนาเสนอสินค้าและ บริการที่มีความคิดสร้างสรรค์ แต่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค 5. เทคโนโลยี การนาเทคโนโลยีมาใช้กระบวนการผลิตสินค้าและให้บริการอาหาร ทั้งนี้ในอุตสาหกรรมสาขาย่อย และธุรกิจสร้างสรรค์นับได้ว่ามีการนาเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต ไม่มากนัก และ การพึ่งพาการใช้เทคโนโลยีที่นาเข้ามาจากต่างประเทศยังส่งผลต่อต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น 6. กลุ่มลูกค้าและตลาด ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคของลูกค้ามีความหลากหลายมากขึ้น และมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา กล้าที่จะทดลองบริโภคอาหารและใช้บริการที่มีความแปลกใหม่ และยินดีที่จ่ายค่าอาหาร/ บริการที่สูงขึ้น หากสินค้าหรือบริการนั้นๆ สามารถตอบสนองความต้องการได้มากกว่า และกระแส ความนิยมและการขยายตัวของสังคมออนไลน์ ส่งผลให้เกิดการรับรู้ต่อธุรกิจอาหารสร้างสรรค์ได้ง่าย และรวดเร็ ว ขึ้น โดยเฉพาะอย่ างยิ่งอาหารที่มีการออกแบบหรือให้ บริการที่โ ดดเด่น มักจะมีการ เผยแพร่ผ่านสังคมออนไลน์อย่างรวดเร็ว สร้างการรู้จักและการรับรู้ในตัวสินค้าได้ในวงกว้าง สามารถ เข้ า ถึ ง กลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมายได้ ภ ายในระยะเวลาอั น สั้ น และยั ง ช่ ว ยท าหน้ า ที่ ท างการตลาดและ ประชาสัมพันธ์ให้กับธุรกิจได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ในขณะที่การใช้สื่อสังคมออนไลน์ยังมีต้นทุนต่ากว่า การประชาสัมพันธ์และทาการตลาดในรูปแบบอื่นๆ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงกระบวนการในการดาเนินธุรกิจ จะเห็นว่าทั้ง 6 ปัจจัยข้างต้นครอบคลุมกระบวนการ ทางธุรกิจตามห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจ ดังนี้
4-3
รูปที่ 4.1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหรรมสาขาย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหาร แยกตามห่วงโซ่คุณค่า
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพในการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ทั้ง 6 ปัจจัยจะส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพในระดับที่แตกต่างกัน สามารถสรุปได้ ดังนี้3 ตารางที่ 4.1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพ หรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ปัจจัยที่ส่งผล ปัจจัยบวก (+) ปัจจัยลบ (-) ต่อการประกอบอาชีพ หรือโอกาสทางธุรกิจ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ 1. ทักษะผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่มีความคิด ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังขาด สร้างสรรค์และไอเดียในการนาเสนอ ทักษะด้านการทาการตลาด การ สินค้าและบริการใหม่อย่างต่อเนื่อง บริหารจัดการต้นทุน และการสร้าง แบรนด์สินค้าของตนเอง ผู้ประกอบการไทยส่วนใหญ่มีความรู้ ความชานาญในการนาวัตถุดิบต่างๆ มาใช้ในการผลิต เพื่อต่อยอดและ สร้างมูลค่าเพิ่ม การสนับสนุนการประกอบธุรกิจจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สสว. สถาบันอาหาร สบร. เป็นต้น 2. แรงงาน แรงงานไทยมีความรู้ความชานาญใน ธุรกิจขนาดเล็กมีอัตราหมุนเวียน การผลิตอาหารจากวัตถุดิบใน แรงงานมีอัตราการเข้า-ออกงานสูง ประเทศ ทาให้เสียเวลาในการฝึกฝนและ สอนงานใหม่ 3
ระดับ ผลกระทบ
การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องกรุงเทพ 4 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
4-4
ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการประกอบอาชีพ 3. วัตถุดิบ
4. การใช้ความคิด สร้างสรรค์
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ แรงงานไทยมีใจรักด้านการบริการ ส่งผลดีต่อธุรกิจในภาคบริการอาหาร เด็กรุ่นใหม่สนใจที่จะเข้าศึกษาต่อใน อุตสาหกรรมอาหารเพิ่มมากขึ้น ส่งผลดีต่อจานวนแรงงานในอนาคต ประเทศไทยมีวัตถุดิบเพื่อการผลิต อาหารเป็นจานวนมาก อาทิ เนื้อสัตว์ ผักและผลไม้ ฯลฯ วัตถุดิบในท้องถิ่นของไทยยังมีราคา ต่ากว่าเมื่อเทียบกับการนาเข้าวัตถุดิบ จากต่างประเทศ เช่น ผักและผลไม้ ไทย ฯลฯ วัตถุดิบของไทยมีความหลากหลาย เช่น ผลไม้ตามฤดูกาล สมุนไพรของ ไทยฯลฯ วัตถุดิบเพื่อการผลิตอาหารของไทย ได้รับการยอมรับด้านคุณภาพใน ระดับสากล
เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/ บริการ เพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภค และตอบรับกับกระแส การบริโภคที่เปลี่ยนแปลงในแต่ละ ช่วงเวลา เป็นการสร้างเอกลักษณ์ให้กับสินค้า หรือบริการในสภาวะที่มีการแข่งขัน ทางการตลาดที่สูง เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/ บริการ เพื่อเปิดตลาดการบริโภค รูปแบบใหม่ การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการ ปรับตัวหรือรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงของสภาพทางเศรษฐกิจ 4-5
ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ในภาคการบริการยังขาดแคลน แรงงานในประเทศและต้องพึ่งพา แรงงานต่างชาติ เช่น พนักงาน เสริฟ์อาหาร เป็นต้น ความผันผวนทางด้านธรรมชาติที่ ส่งผลต่อราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้น เช่น ราคาวัตถุดิบบางชนิดผันผวนตาม ฤดูกาล (ราคาขึ้น-ลงเป็นบางช่วง) ฯลฯ ความผันผวนทางด้านเศรษฐกิจที่ ส่งผลต่อราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้น เช่น การขึ้นค่าจ้างแรงงาน การปรับ ราคาค่าขนส่ง (ราคาสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง) ฯลฯ วัตถุดิบในประเทศบางประเภทยังมี คุณภาพด้อยกว่าวัตถุดิบจาก ต่างประเทศ เช่น เมล็ดกาแฟสด ฯลฯ วัตถุดิบบางประเภทยังไม่มีใน ประเทศไทย และจาเป็นต้องใช้ วัตถุดิบนาเข้าจากต่างประเทศ เช่น แบลคเบอรี่ เชอรี่ เป็นต้น ต้นทุนการสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้า และบริการอาหารที่เพิ่มสูงขึ้น
ระดับ ผลกระทบ
ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการประกอบอาชีพ
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ ที่จะส่งผลกระทบต่อความอยูร่ อด ของธุรกิจ เทคโนโลยีช่วยให้การผลิตสินค้าและ อานวยความมีความสะดวกและ รวดเร็วมากขึ้น
ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ
ระดับ ผลกระทบ
เทคโนโลยีในการผลิตอาหารส่วน ใหญ่ยังคงพึ่งพาการนาเข้าจาก ต่างประเทศ ซึ่งส่งผลต่อต้นทุน สินค้าและบริการที่สูงขึ้น เช่น เครื่องผลิตไอศครีม เป็นต้น 6. ลูกค้าและตลาด จากพฤติกรรมของผู้บริโภคใน สินค้าและบริการอาหารสร้างสรรค์ ปัจจุบันเปลีย่ นแปลงไป กล้าและ มักถูกลอกเลียนแบบได้ง่าย จาก แสวงหาที่จะบริโภคสินค้าแปลกใหม่ คู่แข่งทั้งในและต่างประเทศ เพิ่มมากขึ้น การขยายตลาดไปสู่ต่างประเทศ จากพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีการใช้ ต้องใช้เงินลงทุนสูง สื่อออนไลน์อย่างแพร่หลาย ซึ่งเป็น การขยายตัวอย่างรวดเร็ว อาจ ผลทาให้เกิดตลาดการบริโภครูปแบบ ส่งผลต่อกาลังการผลิตของ ใหม่จากสื่อออนไลน์ ที่ปัจจุบันมีการ ผู้ประกอบการขนาดเล็ก ขยายตัวอย่างรวดเร็ว เป็นช่องทางใน การเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่าย ผู้บริโภคมีรายได้เพิม่ มากขึ้น ส่งผล ต่ออานาจในการซื้อสินค้ามากขึ้น โอกาสในทางการค้า จากจานวน ประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ก่อให้เกิดกลุ่มลูกค้าใหม่ เช่น ผู้บริโภคชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามา ทางานในประเทศไทย สินค้าประเภทอาหารของไทยได้รบั การยอมรับจากผู้บริโภคใน ต่างประเทศว่าเป็นสินค้าดีมีคณ ุ ภาพ ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) หมายเหตุ: ปัจจัยบวกหรือโอกาสทางธุรกิจทีส่ ่งผลกระทบมาก ปัจจัยบวกหรือโอกาสทางธุรกิจที่ส่งผลกระทบน้อย ปัจจัยลบหรือข้อจากัดทางธุรกิจ 5. เทคโนโลยี
4-6
4.2 อาชีพในอุตสาหกรรมย่อ ยหรื อ ธุ ร กิจสร้ างสรรค์ สาขาอาหารที่ มี ศักยภาพ จากการรวบรวมข้อมูลผลสารวจออนไลน์ของความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่ ประกอบกับข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้มาจาก การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม พบว่า คนรุ่นใหม่มีความสนใจในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย โดย สามารถจัดเป็นหมวดตามกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ ดังนี้ ธุรกิจผลิตอาหารสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 1. พ่อครัวหรือกุ๊ก (Cook) คือ บุคคลที่ทาหน้าทีป่ รุงอาหาร และจัดเตรียมส่วนประกอบของอาหารและ เครื่องปรุงต่างๆ เพื่อให้อาหารมีหน้าตาดูน่ารับประทานมากขึ้น 2. เชฟ (Chef) คือ บุคคลที่ทาหน้าที่ในการปรุงอาหาร การคิดสูตรอาหารและการคิดรายการอาหาร แปลกใหม่ สารวจความต้องการของลูกค้าเพื่อออกเมนูใหม่ หรือเปลี่ยนวิธีการปรุงอาหารเป็นแนวใหม่ และควบคุมคุณภาพของอาหารทุกจานที่จาหน่ายภายในกิจการ 3. นักผสมเครื่องดื่ม (Bartender) คือ บุคคลที่ทาหน้าที่ผสม ปรุง ตกแต่งและจัดวางเครื่องดื่มประเภท ต่างๆ ให้มีรสชาติ ภาพลักษณ์ และคุณภาพตามมาตรฐานสากล และเป็นผู้มีความรู้ความชานาญใน คุณสมบัติเฉพาะตัวของเครื่องดื่มประเภทต่างๆ มีความสามารถในการปรุงรสเครื่องดื่มและแนะนา เครื่องดื่มที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้บริโภค 4. นักปรุงกาแฟ (Barista) คือ บุคคลที่ทาหน้าทีค่ ัดเลือกกาแฟ คั่วและบดเมล็ดกาแฟ ชงกาแฟ รวมถึง การสร้างสรรค์การออกแบบตกแต่งกาแฟให้มีภาพลักษณ์ที่สวยงาม เช่น การตีฟองนม การตกแต่ง เครื่องดื่มในแก้วกาแฟด้วยฟองนมเป็นรูปภาพต่างๆ เป็นต้น รวมถึงการสร้างบรรยากาศและการ ให้บริการที่ดีภายในร้านกาแฟอีกด้วย 5. นักชิม (Cupper) คือ บุ คคลทาหน้าที่ ตรวจสอบคุณภาพของอาหารนั้นๆ ว่าเป็นอย่างไร ทั้งนี้ เนื่องจากเรื่องของคุณภาพอาหารบางชนิดไม่สามารถวัดได้จากการชั่ง หรือตวงส่วนผสม ดังนั้น นักชิม ทดสอบอาจมีจุดสังเกตในรายละเอียดมากน้อยต่างกันไป เช่น กลิ่ น หรือรสชาติที่บกพร่องต่างๆ ความสมดุลของรสชาติ ซึ่งมีผลต่อการกาหนดทิศทางการตลาดของสินค้า/อาหารนั้นๆ ดังนั้น นักชิม จะมีส่วนช่วยในการสร้างสรรค์ ออกแบบ และกาหนดรสชาติแปลกใหม่ให้กับอาหาร ธุรกิจผู้ให้บริการอาหารสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 1. ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง (Catering Service) ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงที่เน้นรูปแบบการตกแต่งอาหารให้มี ดีไซน์และมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง เช่น The Chef Catering ให้บริการอาหารจัดเลี้ยงนอกสถานที่ ที่ดีไซน์ทั้งรูปแบบอาหารและรสชาติอาหารเพื่อส่งเสริมให้บรรยากาศของงานน่าสนใจยิ่งขึ้น 2. ธุ ร กิ จ บริ การอาหารออนไลน์ คื อ การให้ บริ ก ารซื้ อขายสิ น ค้า และบริก ารอาหารผ่ า นระบบ อิ น เตอร์ เ น็ ต โดยธุ ร กิ จ ออนไลน์ ถื อ ได้ ว่ า เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ เ ข้ า ถึ ง ลู ก ค้ า ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และเข้ า ถึ ง กลุ่มเป้าหมายได้ตลอด 24 ชั่วโมง สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทั่วโลก และค่าใช้จ่ายไม่แพง 4-7
3. วิศวกรอาหาร4 คือ นักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตทาง เคมี รวมถึงวิจั ย และพัฒ นา ค้นหาผลิ ตภัณฑ์อาหารและกระบวนการผลิ ตชนิดใหม่ คานวนและ ออกแบบกรรมวิ ธีก ารผลิ ต เครื่อ งจั กร และอุป กรณ์ ส าหรับ ใช้ ในการผลิ ต เชิ งอุ ตสาหกรรมเคมี ตลอดจนคานวณและออกแบบระบบและมาตรการความปลอดภัย การกาจัดของเสียในกระบวนการ ต่างๆ 4. เชพออนไลน์ คือ ธุรกิจที่ให้บริการนาเสนอและถ่ายทอดเรื่องราวการทาอาหารประเภทต่างๆ ผ่านสื่อ อินเตอร์เน็ตประเภทต่างๆ เช่น เว๊บไซด์ส่วนตัว หรือยูทูป (YouTube) เป็นต้น 5. นักสถาปัตยกรรมในอาหาร คือ นักการออกแบบอาหารโดยคานึงถึงรูปร่าง ขนาด และคุณลักษณะ ของอาหาร ให้ มี คุณ สมบั ติ ที่ม ากขึ้น เช่น การปรั บเปลี่ ยนรูป แบบขนมทองม้ ว นจากการม้ว นใน ลักษณะทรงกลมยาว เป็นรูปทรงกรวยคล้ายดอกไม้ เพื่อความสวยงามและสะดวกต่อการบรรจุลงใน ภาชนะรูปทรงต่างๆ ได้อย่างสวยงาม 6. นักออกแบบอาหาร (Food Stylist) คือ บุคคลที่ทาหน้าที่ออกแบบรูปร่าง รูปลักษณ์และการจัดวาง อาหารประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้ผลิตอาหาร โดยกลุ่มอาชีพนี้จะใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทาหน้าที่เริ่มต้น ตั้งแต่ กระบวนการคัดสรรวัตถุดิบเพื่อนามาใช้กับสูตรอาหารที่คิดค้นขึ้น ครอบคลุมจนถึงการจัดวาง องค์ประกอบอาหารไว้ในจานให้ออกมาหน้าตาสวยงามน่ารับประทาน ซึ่งต้องอาศัยมุมมองทางด้าน ศิลปะพร้อมกับความรู้เรื่องอาหาร 7. ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร คือ บุคคลที่ให้บริการสอนทาอาหาร/ปรุงอาหารให้กับบุคคลทั่วไปที่ สนใจจะประกอบอาหารชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง โดยมี ก ระบวนการสอนที่ ไ ม่ ซั บ ซ้ อ น วิ ธี ก ารสอนใช้ ระยะเวลาในการสอนเพียง 0.5-1 วัน เช่น คัพเค้ก ชีสเค้ก เนื้ออบ เป็นต้น 8. นักแนะนาอาหารและไวน์ คือ บุคคลที่ให้บริการเป็นที่ปรึกษาด้านอาหารและไวน์ โดยเป็นบุคคลที่มี ความรู้และความชานาญในอุตสาหกรรมการผลิตไวน์ มีความรอบรู้เรื่องคุณภาพไวน์ แหล่งผลิตไวน์ กรรมวิธีการผลิตไวน์ และคุณสมบัติเฉพาะตัวของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตไวน์ และมีความรอบรู้เรื่อง ไวน์อย่างรอบด้าน ธุรกิจสนับสนุนอาหารสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 1. ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Sustainable Packaging) คือ ผู้ประกอบการธุรกิจดีไซน์ และออกแบบ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถนามารีไซเคิลได้ มีการใช้ทรัพยากรน้อยลง ช่วยลด ต้นทุนให้แก่เจ้าของสินค้า แต่โดยยังคงรูปแบบสวยงาม ทันสมัย สามารถตอบสนองความคาดหวังของ ผู้บริโภคที่มีมากขึ้นทั้งด้านคุณภาพ ความปลอดภัย การใช้งาน การให้ข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับสินค้า และยังคงเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า/อาหารได้เป็นอย่างดี 2. นักออกแบบและผลิตรายการอาหาร คือ กลุ่มอาชีพที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทาหน้าที่เริ่มต้นตั้งแต่ กระบวนการคั ดสรรวั ต ถุดิ บ เพื่ อน ามาใช้ กั บสู ต รอาหารที่ คิ ดค้ นขึ้ น ครอบคลุ ม จนถึ งการจั ดวาง องค์ประกอบอาหารไว้ในจานให้ออกมาหน้าตาสวยงามน่ารับประทาน ซึ่งต้องอาศัยมุมมองทางด้าน ศิลปะพร้อมกับความรู้เรื่องอาหาร ตลอดจนการนาเสนอเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาหารผ่านสื่อ 4
สืบค้นออนไลน์ “วิศวกรรมอาหาร..เขาเรียนอะไรกัน” http://blog.eduzones.com/ent54/52121.
4-8
3.
4. 5.
6. 7.
8.
9.
สาธารณะ เช่น โทรทัศน์ และวิทยุ เป็นต้น มีการดาเนินรายการโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง เช่น เชฟ นัก ชิม หรือนักแสดง เป็นต้น เป็นผู้ดาเนินรายการและถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ โดยเนื้อหาส่วนใหญ่จะ ประกอบไปด้วยการนาเสนอกรรมวิธีการปรุงอาหารผ่านรายการโทรทัศน์ และเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับ การประกอบอาหาร เช่น การเลือกซื้อวัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆ ในเมนูอาหาร การให้คาแนะนาวิธีการ ปรุงอาหาร เป็นต้น รวมถึงการแนะนาร้านอาหาร/รายการอาหารจากร้านอาหารและภัตตาคารต่างๆ ที่มีชื่อเสียงทั้งในและต่างประเทศ ผู้ผลิตรายการอาหาร คือ ธุรกิจที่นาเสนอเรื่องราวและถ่ายทอดกรรมวิธีการปรุงอาหารชนิดใดชนิด หนึ่ง มีการดาเนิน รายการโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง เช่น เชฟ นักชิม หรือนักแสดง เป็นต้น เป็นผู้ ดาเนินรายการและถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ โดยเนื้อหาส่ว นใหญ่จ ะประกอบไปด้วยการนาเสนอ กรรมวิธีการปรุงอาหารผ่านรายการโทรทัศน์ และเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาหาร เช่น การเลือกซื้อวัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆ ในเมนูอาหาร การให้คาแนะนาวิธีการปรุงอาหาร เป็ นต้น รวมถึง การแนะนาร้านอาหาร/รายการอาหารจากร้านอาหารและภัตตาคารต่างๆ ที่มีชื่อเสียงทั้งในและ ต่างประเทศ นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Designer) คือ ธุรกิจให้บริการออกแบบและดีไซน์บรรจุภัณฑ์ ที่ใ ช้บ รรจุ อ าหารชนิ ด ต่า งๆ โดยวัส ดุ ที่ใ ช้จ ะมุ่ งเน้น ถึง ความสอดคล้ องกับ รู ปลั กษณ์ ดีไ ซน์ และ ประเภทของอาหาร ความสวยงาม และความทันสมัย เพื่อช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า/อาหาร นักออกแบบแอพพลิเคชั่นอาหาร คือ ธุรกิจให้บริการออกแบบและจัดทาแอพพิเคชั่นที่เกี่ยวข้องกับ อาหารบนมือถือ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค โดยภายในแอพพลิเคชั่นจะบรรจุเรื่องราว ต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร เช่ น ตาราอาหารการปรุงอาหาร ร้านอาหารที่ได้รับความ นิยม เป็นต้น ช่างภาพอาหารมืออาชีพ คือ ผู้ประกอบการที่ ทาหน้าที่ถ่ายภาพอาหารประเภทต่างๆ โดยมีการ ออกแบบและจัดวางอาหาร เพื่อสร้างภาพลักษณ์ให้กับอาหาร เช่น ช่างภาพถ่ายรูปทาเมนูอาหาร ช่างภาพถ่ายรูปลงนิตยสารอาหาร เป็นต้น ธุรกิจตาราอาหาร/นิตยสารอาหาร คือ การรวบรวมและเรียบเรียงสูตรการประกอบอาหาร เทคนิค/ เคล็ดลับในการปรุงอาหาร โภชนาการอาหาร เรื่องราวเกี่ยวกับบุคลากรในสายอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ อาหาร การนาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับส่วนประกอบต่างๆ ของอาหาร ผู้ปรุงอาหาร ตลอดจนแนะนา ร้านอาหารประเภทต่างๆ เช่น ร้านอาหารใหม่ ร้านอาหารยอดนิยม เมนูการทางานอาหารอย่างง่าย เป็นต้น ธุรกิจอุปกรณ์เครื่องครัวและเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร คือ ธุรกิจการจาหน่ายสินค้าและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้เพื่อการประกอบและปรุงอาหาร อาทิ เครื่องใช้ในครัว อุปกรณ์สาหรับรับประทานอาหาร บรรจุ ภัณฑ์เครื่องปรุงต่างๆ และวัสดุหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการประกอบอาหาร เป็นต้น ธุรกิจโมเดลอาหาร เป็นการจาลองรูปลักษณ์ หน้าตา ขนาด สีสัน และรูปแบบการจัดวางอาหารที่ เหมือนจริง มีทั้งขนาดเท่าของจริงและขนาดเล็กกว่าของจริง ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการ ประชาสัมพันธ์รูปร่างและลักษณะอาหารที่เน้นความสวยงาม 4-9
10. ตัวแทนจัดหาพ่อครัว/กุ๊ก/เชฟ (Food Agent) มีลักษณะเป็นคนกลางในการจัดหารพ่อครัว/กุ๊ก/ เชฟ ไปท างานในสถานที่ ต่ า งๆ เช่ น โรงแรมห้ า ดาว ภั ต ตาคารขนาดใหญ่ หรื อ ร้ า นอาหารใน ต่างประเทศ เป็นต้น จากการรวบรวมข้อมูลผลสารวจออนไลน์ของความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่ ประกอบกับข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้มาจาก การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม พบว่า คนรุ่นใหม่มีความสนใจในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย โดย แต่ละอาชีพมีปัจจัยบวกหรือโอกาสทางธุรกิจ และปัจจัยลบหรือข้อจากัดทางธุ รกิจที่จะสะท้อนให้เห็นถึงโอกาสใน การประกอบอาชีพหรือการดาเนินธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพได้ ดังนี้
ตารางที่ 4.2 ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพในการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ธุรกิจผลิตอาหารสร้างสรรค์ 1. พ่อครัวหรือกุ๊ก (Cook)
2. เชพ (Chef)
3. นักผสมเครื่องดื่ม (Bartender) 4. นักปรุงกาแฟ (Barista) 5. นักชิม (Cupper)
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ
ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ
มีโอกาสในการประกอบอาชีพเพิ่ม ผู้ประกอบการรายเล็กมักทาหน้าที่ มากขึ้น จากแนวโน้มการขยายตัวของ พ่อครัวหรือกุ๊กด้วยตนเอง หรือคน ธุรกิจอาหารขนาดกลางและขนาด ในครอบครัว หรือหุ้นส่วน แทนการ ใหญ่เพิ่มมากขึ้น จ้างพ่อครัวหรือกุ๊กประจาร้าน เพือ่ ควบคุมต้นทุนในการดาเนินธุรกิจ มี โ อกาสในการประกอบอาชี พ เพิ่ ม ผู้ ป ระกอบการรายเล็ ก ยั ง ไม่ เ ห็ น มากขึ้น จากแนวโน้มการขยายตัวของ ความส าคั ญ ของอาชี พ เชฟมากนั ก ธุรกิจอาหาร และความต้องการด้า น และท าให้ มี ต้ น ทุ น ในการด าเนิ น บุค ลากรในการปรุงอาหารเพิ่ มมาก ธุรกิจทีส่ ูง ขึ้น โอกาสในการประกอบอาชีพเพิ่มมาก มีความเฉพาะเจาะจงในกิจกรรมการ ขึ้ น จากแนวโน้ ม การขยายตั ว ของ ให้บริการในธุรกิจบริการ ธุรกิจอาหาร ธุรกิจกาแฟมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น เป็นอาชีพที่มีความเฉพาะเจาะจงใน อย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อความต้องการ การให้บริการแก่ลูกค้า นักปรุงกาแฟเพิ่มมากขึ้น ผู้บริโภคในปัจจุบันให้ความสาคัญกับ ธุรกิจขนาดเล็กยังไม่ให้ความสาคัญ การเลื อกบริ โ ภคอาหารที่มี คุ ณภาพ กับการทดสอบรสชาติอาหารด้วยนัก และรสชาติดีมากขึ้น ชิมมืออาชีพ เนื่องจากการใช้บริการ นั ก ชิ ม ส่ ง ผลต่ อ ต้ น ทุ น การผลิ ต ที่ สูงขึ้น
กลุ่มธุรกิจสนับสนุนอาหารสร้างสรรค์ 1. ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง ปั จ จุ บั น หน่ ว ยงานให้ ค วามสนใจใน ต้ อ งใช้ เ งิ น ลงทุ น ด้ า นอุ ป กรณ์ แ ละ 4-10
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร (Catering Service)
2. ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์
3. วิศวกรอาหาร
ปัจจัยบวก (+) ปัจจัยลบ (-) หรือโอกาสทางธุรกิจ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ก า ร จั ด บ ริ ก า ร จั ด เ ลี้ ย ง ภ า ย ใ น แรงงานเป็นจานวนมาก หน่วยงานตนเองมากขึ้น ธุรกิจบริการ จัดเลี้ยงจึงได้รับความสนใจเพิ่มมาก ขึ้น เนื่องจากลดค่าใช้จ่ายในการเช่า สถานที่ เช่น โรงแรม ฯลฯ ผู้บริโภคต้องการความสะดวกสบาย เพิ่ ม มากขึ้ น และต้อ งการหลี ก เลี่ ย ง ปัญหาการเดินทาง จึงนิยมใช้บริการ จัดเลี้ยงเพิ่มภายในสถานที่มากขึ้น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น วัตถุดิบในประเทศที่มีต้นทุนต่า ลดต้นทุนจากการเช่าสถานที่ เพื่อ ผู้บริโภคขาดความเชื่อถือ และไม่ ประกอบธุรกิจ มั่นใจในตัวสินค้า เพราะไม่มโี อกาส ได้พบเห็นตัวตนสินค้าที่แท้จริง (เป็น ธุรกิจอาหารออนไลน์ผู้ประกอบการ การตัดสินใจซื้อจากรูปภาพผ่านเว๊บ จะลงทุนผลิตอาหาร เมื่อมีการสั่งซื้อ ไซด์) สินค้า ในขณะเดียวกันบางธุรกิจ อาจ ได้รับเงินค่ามัดจาสินค้า ซึ่งสามารถ นาไปใช้เพื่อการลงทุนผลิตสินค้า (ลด ความเสีย่ งจากการลงทุนในขณะทีย่ ัง ไม่มีคาสั่งซื้อ) การจาหน่ายสินค้าออนไลน์ สามารถ เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้รวดเร็ว ตลอด 24 ชั่วโมง ผู้ประกอบการสามารถสื่อสารและ แนะนาสินค้าอาหารได้อย่างรวดเร็ว ทาให้ผู้บริโภคสามารถพบเห็นสินค้าได้ ทันทีที่สินค้าพร้อมจาหน่าย ซึ่ง สอดคล้องกับไลฟสไตล์ของคนรุ่นใหม่ที่ ต้องการความสะดวกสบายและรวดเร็ว สื่อออนไลน์ในปัจจุบันมีความหลาก หลาย และสามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภค ได้ในวงกว้างและเป็นจานวนมากภายใน เวลารวดเร็ว เช่น การใช้สื่อเฟสบุค๊ อินสตราแกรม หรืออีเมล์ เป็นต้น มี โ อกาสในการประกอบอาชี พ เพิ่ ม ผู้ ป ระกอบการรายเล็ ก ยั ง ไม่ เ ห็ น มากขึ้นจากแนวโน้มการขยายตัวของ ความสาคัญของการวิจัยและพัฒนา ธุรกิจอาหาร ธุรกิจอาหาร 4-11
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร 4. เชพออนไลน์
ปัจจัยบวก (+) ปัจจัยลบ (-) หรือโอกาสทางธุรกิจ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง ยั ง มี ผู้ บ ริ โ ภคบางกลุ่ ม ยั ง ไม่ เ ข้ า ถึ ง ไป มีการเข้าถึงเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น การใช้เทคโนโลยีมากนัก หรือมีการ ส่งผลให้ธุร กิจบริ การเชฟออนไลน์ มี ใช้ เทคโนโลยี แต่ ไ ม่ส ามารถรองรั บ แนวโน้มเติบโตเพิ่มขึ้น แอพพิเคชั่นได้ เช่น โทรศัพท์บางรุ่น ที่ไม่รองรับระบบแอพพิเคชั่น 5. นักสถาปัตยกรรมอาหาร การแข่งขันในธุรกิจอาหารเพิ่มมากขึน้ ผู้ ป ระกอบการรายเล็ ก ยั ง ไม่ เ ห็ น ส่งผลต่อการสร้างความแตกต่างและ ความสาคัญของการวิจัยและพัฒนา มูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าอาหารมากขึ้น ธุรกิจอาหาร 6. นักออกแบบอาหาร (Food การขยายตัวทางเศรษฐกิจส่งผลต่อ ธุรกิจขนาดเล็กยังไม่ให้ความสาคัญ Stylist) ความต้องการในการบริโภคอาหารที่ กับการออกแบบอาหารโดยนัก หลากหลายมากขึ้น ออกแบบมืออาชีพ เนื่องจากการใช้ บริการนักออกแบบอาหารจะส่งผล แนวโน้มความต้องการนักออกแบบ ต่อต้นทุนอาหารทีส่ ูงขึ้น อาหารในอนาคตเพิ่มมากขึ้น อัน เนื่องมาจากผู้บริโภคเริม่ ให้ความสาคัญ กับภาพลักษณ์อาหารเพิ่มมากขึ้น ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหารขนาด ใหญ่ เช่น ภัตตาคาร โรงแรม และ สถาบันการศึกษา มีแนวโน้มความ ต้องการบุคลากรด้านการออกแบบ อาหารเพิ่มมากขึ้น เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันและเพิ่ม มูลค่าให้สินค้าประเภทอาหารใน สถานประกอบการของตนเองมากขึ้น 7. ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร กระแสความนิยมเรียนทาอาหารเพื่อ เป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนสูง อุปกรณ์ เป็นงานอดิเรก ส่งผลต่อการขยายตัว เครื่องครัว สถานที่ และบุคลากรที่ ของธุรกิจสอนทาอาหาร ทาหน้าที่สอนทาอาหาร การเรี ย นท าอาหารช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย น สามารถน าไปประกอบอาชี พ และ สร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ตนเองได้ ม ากขึ้ น ส่ ง ผลให้ ก ารเรี ย นท าอาหารได้ รั บ ความนิยมเพิ่มมากขึ้น เช่น การเรียน ทาอาหาร เพื่อน าไปประกอบอาชี พ เสริ ม /หารายได้ พิ เ ศษจากการขาย อาหารในวันหยุด เช่น การเรีย นท า เค้กหรือเบเกอรี่ประเภทต่างๆ ) คนรุ่นใหม่มีข้อจากัดด้านเวลาในการ ประกอบอาหาร จึ ง ส่ ง ผลให้ ค นรุ่ น 4-12
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
8. นักแนะนาอาหารและไวน์
ปัจจัยบวก (+) ปัจจัยลบ (-) หรือโอกาสทางธุรกิจ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ใหม่ ใ นปั จ จุ บั น ไม่ ส ามารถประกอบ หรือปรุงอาหารเพื่อบริโภคได้ ดังนั้น ธุรกิจสอนทาอาหารจึงเป็นทางเลือก ใหม่สาหรับผู้บริโภค เช่น การสอนทา ขนมไทย การสอนทาอาหารจีน เป็น ต้น (หลักสูตรที่ใช้ระยะเวลาเรียนครึ่ง ถึง 1 วัน) ผู้บริโภคให้ความสาคัญกับการเลือก ลู ก ค้ า และตลาดของนั ก แนะน า บริ โ ภคอาหารมากขึ้ น เช่ น การ อาหารและไวน์ยังจากัดอยู่ในวงแคบ บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ค่านิยมและกระแสการบริโภคไวน์ใน ประเทศเพิ่มมากขึ้น
ธุรกิจสนับสนุนอาหารสร้างสรรค์ 1. ธุ ร กิ จ บรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลก ผู้ประกอบการธุรกิจส่วนใหญ่เริ่มให้ บรรจุภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Sustainable Packaging) ความสาคัญกับการมาตรการรักษา ที่ผ่านกระบวนการออกแบบดีไซน์ สิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น เพื่อสร้าง มักมีราคาสูง ซึ่งส่งผลต่อต้นทุนการ ภาพลักษณ์ทดี่ ีต่อตัวสินค้าและบริการ จาหน่าย ของตนเองมากขึ้น เทรนด์การบริโภคของผู้บริโภค เปลี่ยนไป โดยให้ความสาคัญและใส่ ใจกับสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น การ นาเสนอบรรจุภณ ั ฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมและไม่ทาลายธรรมชาติ ช่วยสร้างความเชื่อมั่นและไว้ใจในการ บริโภคสินค้าทางอ้อม เช่น ภาชนะ บรรจุอาหารที่ไม่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ส่งผลให้ผู้บริโภครู้สึกถึง ความปลอดภัยในการบริโภคอาหารที่ อยู่ในบรรจุภณ ั ฑ์นั้นๆ 2. นักออกแบบและผลิต ธุรกิจอาหารขยายตัวส่งผลให้ธรุ กิจ เป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนสูง ทั้งใน รายการอาหาร นักออกแบบและผลิตรายการอาหาร ภาคการออกแบบและการผลิต มีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มมากขึ้น เช่น รายการ รวมถึงต้องใช้บุคลากรใน การใช้สื่อรายการอาหารเพื่อ การผลิตรายการเป็นจานวนมาก ประชาสัมพันธ์ธุรกิจอาหาร 3. ผู้ผลิตรายการอาหาร ธุรกิจอาหารขยายตัวและมีการ เป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนสูง ทั้งใน แข่งขันในธุรกิจมากขึ้น ส่งผลให้ธรุ กิจ ภาคการผลิตและบุคลากรที่มีความรู้ ผลิตรายการอาหารมีแนวโน้ม ความชานาญในการผลิตรายการ 4-13
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
4. นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Designer)
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ทั้งในรูปแบบ การนาเสนอธุรกิจผ่านรายการอาหาร และการเป็นสปอนเซอร์สนับสนุน รายการ เป็นต้น ธุรกิจอาหารขยายตัวส่งผลธุรกิจการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์มีแนวโน้มขยาย เพิ่มขึ้น การแข่งขันในธุรกิจอาหาร ส่งผลให้ ผู้ประกอบการมีความต้องการบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ แ ละส่ งเสริ ม ภาพลั ก ษณ์ ใ ห้ กั บ สิ น ค้ า และอาหาร เพิ่มมากขึ้น ไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง ไป มีการเข้าถึงเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ แอพพิ เ คชั่ น มี อัตราการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น มี โ อกาสในการประกอบอาชี พ เพิ่ ม มากขึ้นจากแนวโน้มการขยายตัวของ ธุ ร กิ จ อาหาร และการเกิ ด ใหม่ ข อง ธุรกิจผลิตและให้บริการอาหาร แนวโน้มการขยายตัวของธุรกิจอาหาร ส่ ง ผลให้ ธุ ร กิ จ บริ ก ารอาหาร ท า ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เพื่อการ แข่งขันทางธุรกิจ เช่น การลงโฆษณา ในนิตยสารเพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร หรือนาเสนอโปรโมชั่นต่างๆ ที่เกี่ยวกับอาหาร เป็นต้น การเกิดใหม่ของธุรกิจบริการอาหาร ส่งผลดีต่อการจาหน่ายสินค้าอุปกรณ์ เครื่องครัวและเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร
ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ อาหาร
ผู้ประกอบการรายเล็กยังไม่ให้ ความสาคัญกับการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์มากนัก เนื่องจากอาจ ก่อให้เกิดต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้น
5. นักออกแบบแอพพิเคชัน่ อาหาร
6. ช่างภาพอาหารมืออาชีพ
7. ธุรกิจตาราอาหาร/นิตยสาร อาหาร
8. ธุรกิจอุปกรณ์เครื่องครัวและ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร
9. ธุรกิจโมเดลอาหาร
มี โ อกาสในการประกอบอาชี พ เพิ่ ม ลู ก ค้ า และตลาดของธุ ร กิ จ โมเดล มากขึ้นจากแนวโน้มการขยายตัวของ อาหารยังจากัดอยู่ในวงแคบ ธุรกิจอาหาร มี โ อกาสในการประกอบอาชี พ เพิ่ ม ลู ก ค้ า และตลาดของธุ ร กิ จ ตั ว แทน มากขึ้น จากแนวโน้มการขยายตัวของ จัดหาพ่อครัว/กุ๊ก/เชฟยังเป็นที่รู้จัก
10. ตัวแทนจัดหาพ่อครัว/กุ๊ก/ เชฟ (Food Agent)
4-14
ไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคที่ใช้ เทคโนโลยี ที่ ไ ม่ ส ามารถรองรั บ แอพพิเคชั่นได้ เช่น โทรศัพท์บางรุ่น ที่ไม่รองรับระบบแอพพิเคชั่น กลุ่มผู้ใช้บริการถ่ายภาพอาหาร ยัง อยู่ในวงค่อนข้างจากัด ผู้บริโภคบางส่วนให้ความสาคัญกับ การติดตามข้อมูลข่าวสารต่างๆ ฟรี ผ่านระบบออนไลน์มากกว่า ผู้บ ริ โ ภคบางส่ ว นนิ ย มอ่ า นหนั งสื อ ออนไลน์ เพราะมีความสะดวกสบาย สามารถอ่านผ่านโทรศัพท์มือถือหรือ คอมพิวเตอร์ได้ทันที การหมุนเวียนและการซื้อซ้าน้อย เนื่องจากอุปกรณ์ เครื่องครัวและ เครื่องใช้ต่างๆ มักมีอายุการใช้งาน เป็นระยะเวลานาน
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
ปัจจัยบวก (+) ปัจจัยลบ (-) หรือโอกาสทางธุรกิจ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ธุ ร กิ จ อาหาร ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความ อยู่ในวงแคบ ต้ อ งการบุ ค ลากรในธุ ร กิ จ บริ ก าร อาหารเพิ่มมากขึ้น ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
4.3 การวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ ในขั้นตอนนี้จะเป็นการวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ในแต่ละปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อศักยภาพในการประกอบธุรกิจที่แตกต่างกันโดยใช้เกณฑ์ค่าน้าหนักเป็นเกณฑ์ ค่าน้าหนักที่มาก หมายถึงผลกระทบและความสาคัญของปัจจัยนั้นๆ มีมากกว่าปัจจัยอื่นๆ ทั้งนี้ ผลรวมของค่าน้าหนักของปัจจัย ทั้งหมดต้องเท่ากับร้อยละ 100 การให้ค่าน้าหนักต่อปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ได้มาจากการประมวลข้อมูลทุติยภูมิและ ข้อมูลเชิงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์นั้นๆ ตารางที่ 4.3 ค่าน้าหนักของปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพในการประกอบธุรกิจ ปัจจัยที่ผลต่อศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ 1. ทักษะผู้ประกอบการ 2. วัตถุดิบ 3. แรงงาน 4. การใช้ความคิดสร้างสรรค์ 5. เทคโนโลยี 6. ลูกค้าและตลาด รวม
ค่าน้าหนัก (0% ถึง 100%) 15 % 10 % 10 % 35 % 5% 25 % 100%
ที่มา: การ ประมวล ข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร และ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
4-15
ตารางที่ 4.4 ผลการประเมินปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
1. 2. 3. 4. 5. 6.
ตัวแทนจัดหาพ่อครัว/กุ๊ก/เชฟ
ธุรกิจโมเดลอาหาร
ธุรกิจอุปกรณ์เครื่องครัวและเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร
ธุรกิจตาราอาหาร/นิตยสารอาหาร
ช่างภาพอาหารมืออาชีพ
นักออกแบบแอพพิเคชั่นอาหาร
ั ฑ์ นักออกแบบบรรจุภณ
ผู้ผลิตรายการอาหาร
นักออกแบบและผลิตรายการอาหาร
ั ฑ์รักษ์โลก ธุรกิจบรรจุภณ
นักแนะนาอาหารและไวน์
ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร
นักออกแบบอาหาร
นักสถาปัตยกรรมในอาหาร
เชฟออนไลน์
วิศวกรอาหาร
ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง
นักชิม
นักปรุงกาแฟ
นักผสมเครื่องดืม่
เชพ
พ่อคัวหรือกุ๊ก
ปัจจัยที่ผลต่อศักยภาพ อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์
ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์
ทักษะผู้ประกอบการ วัตถุดิบ แรงงาน การใช้ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี ลูกค้าและตลาด
รวม
ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) หมายเหตุ : = มาก = ปานกลาง = น้อย 4-16
4.4 สรุปอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ จากการวิเคราะห์และประเมินปัจจัย (Factor Rating Analysis) และจัดอันดับอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์ สาขาอาหาร พบว่า มีกลุ่มอุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ในสาขาอาหารที่มีศักยภาพใน การเติบโต ดังนี้ ตารางที่ 4.5 ผลการวิเคราะห์ธุรกิจอาหารที่มีศักยภาพในการเติบโต ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
อุตสาหกรรมสาขาย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์ ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก นักออกแบบอาหาร นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ วิศวกรอาหาร นักสถาปัตยกรรมอาหาร ช่างภาพอาหารมืออาชีพ เชฟ
ค่าคะแนน (เต็ม 10 คะแนน) 9.4 9.4 9.2 8.4 7.7 7.1 7.1 6.8 6.7 6.6
ที่มา: การประมวลข้อ มูลจากการจัด สนทนากลุ่ม ร่ วมกับ ผู้เ ชี่ยวชาญและผู้ที่มีส่ วนเกี่ยวข้ องในอุต สาหกรรม สร้างสรรค์ สาขาอาหาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
จากผลการวิเคราะห์ธุรกิจอาหารที่มีศักยภาพในการเติบโต พบว่า อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ใน สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการประกอบอาชีพ ประกอบไปด้วยอาชีพที่มีค่าคะแนนสูงสุด 5 อันดับ แรก คือ (1) ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร (2) ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง (3) ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ (4) ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก และ (5) นักออกแบบอาหาร ซึ่งคณะผู้วิจัยจะได้ทาการวิเคราะห์เชิงลึกและจัดทาคู่มือแนวทางและโอกาสการเข้ า สู่ธุรกิจอาหารต่อไป
4-17
4.5 บทสรุป ข้อเสนอแนะเบื้องต้นสาหรับ การสนับสนุนผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร และภาพรวมปัจจัย แห่ง ความสาเร็จสาหรับธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร สามารถสรุปได้ ดังนี้5 ข้อเสนอแนะเพื่อการสนับสนุนผู้ประกอบการ 1. การสร้างองค์ความรู้และทักษะการบริหารจัดการให้กับผู้ประกอบการ เช่น ความรู้ด้านการตลาด การสร้างตราสินค้า (Brand) การวางแผนและการคิดกลยุทธ์ เพื่อให้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่มีทักษะใน การบริหารจัดการให้ธุรกิจอยู่รอดได้อย่างยั่งยืน 2. การส่งเสริมให้มีเครือข่ายแหล่งวัตถุ ดิบ เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการด้านปัจจัยการผลิต เพื่อลด ปัญหาด้านต้นทุนการผลิตของผู้ประกอบการ 3. การสนับสนุนงานด้านการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ เนื่องจากการลงทุนด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ มีต้นทุนที่สูงและเป็นปัญหาต่อการลงทุนของผู้ประกอบการขนาดกลางและขยาดย่อม หรือ SME ซึ่ง หากได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์จากภาครัฐในระดับที่ผู้ประกอบการ สามารถต่อยอดโครงการดังกล่าวจากต้นแบบบรรจุภัณฑ์ไปสู่การดาเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง ก็จะ ส่งผลให้เกิดโอกาสในการสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการไทย ทั้งยังเป็นการสร้างเครือข่ายให้กับ ผู้ประกอบการเพื่อการพัฒนาธุรกิจให้มี ความเข้มแข็ง ส่งผลให้อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาอาหาร ของไทยมีศักยภาพสามารถแข่งขันได้ ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ 1. การคิดสร้างสรรค์ พัฒนาสินค้าหรือบริการที่แตกต่างและมีคุณภาพ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเป็นช่องทาง สาคัญในการสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการ 2. ความสามารถทางการตลาด กลุ่มเป้าหมาย เป็นปัจจัยสาคัญในการทาตลาดและการนาเสนอสินค้า อาหารและบริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมผู้บริโภค ซึ่งจาเป็นต้องศึกษาและทาความเข้าใจ ปัจจุบันพฤติกรรมผู้บริโภคนับว่ามีความหลากหลาย และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การสร้าง ฐานลูกค้าประจาที่เกิดจากการซื้อซ้าหรือการเข้ามาใช้บริการซ้าถือเป็นหัวใจสาคัญในอยู่รอดของ กิจการ ดังนั้น การเข้าใจพฤติกรรมของลูกค้าจึงเป็นสิ่งสาคัญต่อการสร้างสรรค์สินค้าและบริการใหม่ๆ เพื่อรักษาฐานลูกค้าเดิมและเพิ่มลูกค้าใหม่ได้ 3. ทักษะในการบริหารจัดการ และการคิดกลยุทธ์ เพื่อการออกแบบกระบวนการทางธุรกิจ ให้สามารถ รับกับสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
5
การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องกรุงเทพ 4 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
4-18
4. การควบคุมมาตรฐานวัตถุดิบ ธุรกิจอาหารเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้บริโภค ดังนั้น การควบคุมมาตรฐานของวัตถุดิบ ในการผลิตสินค้าและบริการเป็นปัจจัยที่สาคัญต่อการสร้างความ น่าเชื่อถือ นอกจากการสร้างความแตกต่างของอาหารและบริการแล้ว ผู้ประกอบการต้องคานึงถึง ความปลอดภัยในการบริโภคเป็นอันดับต้นๆ 5. ความมุ่งมั่นในการทาธุรกิจ อาหารและบริการที่ได้รับความนิยม มักถูกลอกเลียนแบบเสมอ ดังนั้น ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ควรมีความมุ่งมั่น และพร้อมที่พัฒนาสินค้าอาหารและบริการของตนเองอย่าง ต่อเนื่อง และเข้าใจสภาพของตลาดการลอกเลียนแบบหรือทาซ้าที่จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
4-19
ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ น ว ท า ง ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร เ ข้ า สู่ ธุ ร กิ จ อ า ห า ร แ ล ะ แ ฟ ชั่ น ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ มี ศั ก ย ภ า พ
บทที่ 5 ภำพรวมอุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ สำขำแฟชั่น ในบทนี้ น าเสนอภาพรวมของอุ ต สาหกรรม สร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น โดยศึกษาอุตสาหกรรม ในเชิงความสั มพันธ์กับอุตสาหกรรมอื่นๆ กลุ่ ม อุตสาหกรรมย่อยที่มีอยู่ในปัจจุบัน ศักยภาพทาง เศรษฐกิจไทย โดยให้ความสาคัญกับการกาหนด ขอบเขตอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ ซึ่งเติบโต ขึ้นอีกระดับจากอุตสาหกรรมแฟชั่นทั่วไป รวมถึง การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของ อุ ต สาหกรรมแฟชั่ น สร้ า งสรรค์ ข องไทยที่ มี ศักยภาพ และโอกาสในการสร้างรายได้และการ ประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขา แฟชั่ น โดยบทที่ 5 ภาพรวมอุ ต สาหกรรม สร้างสรรค์สาขาแฟชั่น เป็นการนาเสนอเนื้อหา 6 ประเด็นหลัก ซึ่งประกอบด้วย 5.1 นิยามและขอบเขตอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 5.2 สถานการณ์อุตสาหกรรมเครือ่ งนุ่งห่มที่มีต่อ ระบบเศรษฐกิจไทย 5.3 สถานการณ์อุตสาหกรรมอัญมณีและ เครื่องประดับที่มีต่อระบบเศรษฐกิจไทย 5.4 สถานการณ์อุตสาหกรรมรองเท้าและเครือ่ ง หนังที่มีต่อระบบเศรษฐกิจไทย 5.5 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการ แข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ 5.6 บทสรุป
บทที่ 5 ภาพรวมอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น
5.1 นิยามและขอบเขตอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 5.1.1 ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ แฟชั่ น ประกอบด้ ว ย 3 อุ ต สาหกรรมหลั ก คื อ อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม อุตสาหกรรมอั ญมณีและเครื่ องประดับ และอุ ตสาหกรรมหนังและผลิ ตภัณ ฑ์ห นัง อุต สาหกรรมแฟชั่น มี ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวม สินค้าแฟชั่นขั้นสุดท้ายจะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่วัตถุดิบนั้นๆ ได้ หลายเท่าตัวจากการออกแบบและการใช้ความคิดสร้างสรรค์ และต่อยอดการสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยเมื่อนาสินค้า แฟชั่นไปผสมผสานกับการบริการหรือกิจกรรมอื่นๆ จะก่อให้เกิดระบบห่วงโซ่อุปทานที่ยาวมีอุตสาหกรรม สนับสนุน และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องจานวนมาก โดยสามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. อุตสาหกรรมหลัก คือ อุตสาหกรรมในการผลิตสินค้าแฟชั่น และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการ สร้ า งมู ล ค่ า ให้ สิ น ค้ า แฟชั่ น โดยตรง ประกอบไปด้ ว ยอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ และอุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑ์หนั ง และกิจกรรมที่ ช่วยขับเคลื่อนอุตสาหกรรม หรือ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าแฟชั่น เช่น กิจกรรมการออกแบบ สินค้าแฟชั่น การออกแบบวัสดุ การสร้างแพทเทิร์น การสอนการออกแบบ 2. อุต สาหกรรมสนับ สนุ น คื อ อุ ตสาหกรรมที่มีค วามเชื่อ มโยงกั บสิ น ค้าแฟชั่ น เป็นกิ จกรรมที่ สนับสนุนการผลิตและส่งสินค้า วัตถุดิบหรือบริการให้กับอุตสาหกรรมหลัก ซึ่งถือว่ามีความสาคัญ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก เช่น อุตสาหกรรมการเกษตรที่เป็นจุดตั้งต้น ของการผลิ ตเส้ น ใย แผ่ น หนั งเข้าสู่ อุตสาหกรรมแฟชั่น อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลการผลิ ต อุตสาหกรรมค้าปลีกที่เป็นจุดนาเสนอสินค้าและกระตุ้นความต้องการซื้อ อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ 5-1
และอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ทชี่ ่วยรักษาคุณภาพสินค้า จนกว่าจะกระจายสินค้าให้ถึงมือผู้บริโภค เป็นต้น อุตสาหกรรมสนับสนุนนอกจากจะเกิดผลิตภัณฑ์ที่มีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมหลัก และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มโดยรวมของอุตสาหกรรมให้สูงขึ้นแล้ว ยังนับเป็นการเพิ่ มขีดความ สามารถในการแข่งขันที่ยั่งยืนให้กับประเทศอีกทางหนึ่งด้วย 3. อุตสาหกรรมต่อเนื่องกับสินค้าแฟชั่น เป็นอุตสาหกรรมและธุรกิจที่ส่งเสริมให้การสร้างสรรค์ สินค้าแฟชั่นมีความสมบูรณ์มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การนาเสนอสินค้าแฟชั่ นมีความน่าสนใจมาก ยิ่งขึ้น เช่น อุตสาหกรรมบันเทิง อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์จาพวกนิตยสาร การถ่ายภาพแฟชั่น ธุรกิจ โมเดลลิ่ง อุตสาหกรรมเครื่องสาอางค์และความงาม การแต่งหน้าและทาเครื่องประดับตกแต่ง ธุรกิจสไตล์ลิ่ง และธุรกิจพัฒนาบุคลิกภาพ เป็นต้น
รูปที่ 5.1 โครงสร้างอุตสาหกรรมแฟชั่น
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.
แม้ปัจจุบันจะเห็นสินค้าแฟชั่นวางขายมากมายดูเหมือนการแข่งขันในอุตสาหกรรมนั้นรุนแรง แต่ทว่า แฟชั่น คือ การยอมรับและความเชื่อมั่นของผู้บริโภคซึ่งมี แบบแผนความนิยม (Preferential Pattern) ที่แตกต่างกัน ไป (Heterogeneous Consumers) หากความยอมรับในแฟชั่นนั้นๆ ลดลงหรือความมั่นใจของผู้บริโภคต่อ รูปแบบสินค้าหนึ่งๆ ลดลงจะหมายถึงสินค้านั้นจะไม่เป็นแฟชั่นต่อไป แฟชั่นจึงมีความเป็นพลวัต (Dynamic) เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และนั่นหมายถึงโอกาสของผู้เล่นรายใหม่ที่จะเข้าสู่อุตสาหกรรมแฟชั่น ดังนั้น การเข้า สู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น จึงควรออกจากกฎเกณฑ์การแข่งขันทางธุรกิจแบบเดิมๆที่มองผลิตภัณฑ์ เป็นหลัก แล้วเข้าสู่การสร้างธุรกิจสร้างสรรค์ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์สร้างคุณค่าใหม่ๆ ที่ผู้บริโภคเห็นคุณค่า และยินดีจ่าย เพื่อให้เข้าใจอุตสาหกรรมแฟชั่นในประเทศไทยมากขึ้น ก่อนนาไปสู่การกาหนดขอบเขตของ อุ ต สาหกรรมแฟชั่ น สร้ า งสรรค์ ในส่ ว นต่ อ ไปจะน าเสนอรายละเอี ย ดในอุ ต สาหกรรมเครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ และอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง ตามลาดับ 5-2
5.2 สถานการณ์อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มที่มีต่อระบบเศรษฐกิจไทย 5.2.1 กลุ่มอุตสาหกรรมย่อย (Sub-sector) ภายใต้อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มในที่นี้ไม่รวมอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซึ่งถึงแม้จะเป็นต้นทางของอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม แต่อยู่นอกขอบเขตของอุตสาหกรรมแฟชั่น อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มมีรากฐานอยู่ในประเทศไทยมานานกว่า 40 ปี มีห่วงโซ่อุปทานภายในประเทศครบวงจร แต่ปัจจุบันกาลังเผชิญวิกฤตถดถอย เนื่องจากผู้ประกอบการ ส่วนใหญ่มีวิวัฒนาการไปสู่สินค้าอุตสาหกรรมที่แข่งขันในเรื่องราคาและปริมาณ การแยกกลุ่มอุตสาหกรรมย่อย จะทาให้เข้าใจความแตกต่างระหว่างอุตสาหกรรมแฟชั่นทั่วไปกับอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์มากยิ่งขึ้น อุตสาหกรรมเสื้อผ้าและเครื่องนุ่ง ห่ม สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ (1) กลุ่มเสื้อผ้าสาเร็จรูป (Readyto-wear) และ (2) กลุ่มเสื้อผ้าสั่งตัด (Tailor-made boutique) โดยรายละเอียด ดังนี้ รูปที่ 5.2 โครงสร้างอุตสาหกรรมย่อย (Subsector) ของอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม
OEM: Original Equipment Manufacturing ODM: Original Design Manufacturing OBM: Original Brand Manufacturing ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556 ปรับปรุงข้อมูลจากแผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุง่ ห่มไทย (พ.ศ. 2555- 2559) สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ, 2555.
1) กลุ่มเสื้อผ้าสาเร็จรูป (Ready–to–Wear) เป็นกลุ่มใหญ่ในอุตสาหกรรมมีจานวนผู้ประกอบการ ประมาณ 20,000 ราย สินค้าจะเป็นเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มแฟชั่นที่สามารถใส่ได้ในชีวิตประจาวัน สามารถจาแนกกลุ่มย่อยได้ ดังนี้ 5-3
รูปที่ 5.3 โครงสร้างส่วนตลาดของกลุ่มเสื้อผ้าสาเร็จรูป
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556. ปรับปรุงข้อมูลจากแผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุง่ ห่มไทย (พ.ศ. 25552559) สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ, 2555.
ไฮสตรีทแบรนด์ (High Street Brand) กลุ่มแบรนด์ชั้นนา ซึ่งเป็นผู้ประกอบการเสื้อผ้า สาเร็จรูปที่มีแบรนด์เป็นของตัวเอง เป็นที่รู้จักในย่านการค้าชั้นนา ซึ่งมีทั้งแบรนด์ของไทยและ แบรนด์จากต่างประเทศ มีโอกาสในการร่วมงานแสดงแฟชั่นสาคัญทั้งในและต่างประเทศ มักจะ มีนักออกแบบหรือดีไซเนอร์ผู้ก่อตั้งแบรนด์ หรือมีดีไซเนอร์ (Designer) ที่มีชื่อเสียงเป็นดีไซ เนอร์ประจาแบรนด์ สินค้าจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สาหรับประเทศไทยผู้ประกอบการกลุ่มนี้มี อยู่จานวนไม่มากนัก และเริ่มมีการรวมตัวกันเองเป็น Bangkok Fashion Society (BSF) ซึ่ง ประกอบด้วยแบรนด์ชั้นนา 11 แบรนด์ อาทิ Stresis, Senada, Greyhound และ Flynow เป็นต้น บางแบรนด์มีร้านหรือสาขาของตัวเองในต่างประเทศ กลุ่มลูกค้าของผู้ประกอบการ กลุ่มนี้เป็นกลุ่มลูกค้าระดับบนที่มีรายได้และกาลังซื้อสูง เนื่องจากสินค้าของแบรนด์เหล่านี้มี ราคาสูง ส่วนหนึ่งเป็นเสื้อผ้าสาเร็จรูปจากแบรนด์ ปัจจุบันผู้ประกอบการกลุ่มนี้ต้องเผชิญกับ ปัญหาสาคัญ คือ การถูกลอกเลียนแบบจากผู้ผลิตระดับล่างและเผชิญกับการแข่ งขันจาก แบรนด์ระดับ โอต์ กูร์ตู (Haute Couture)1 หรือแบรนด์ระดับพรีเมี่ยมของต่างประเทศ เช่น 1
โอต์ กูตู คือ ศิลปะการตัดเย็บชั้นสูง หรือ High sewing จากัดวงเฉพาะอยู่ในเมืองแฟชั่นระดับแนวหน้าของโลกเท่านั้น เช่น ปารีส นิวยอร์ค ลอนดอน และมิลาน ถือเป็น Trend Setter ในวงการแฟชั่นจุดเด่นของชุด Haute Couture จึงอยู่ที่การออกแบบและตัดเย็บซึ่งถูกรังสรรค์มาเป็น พิเศษเพื่อสร้างความ เป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัวสาหรับผู้สวมใส่เท่านั้นและเป็นการตัดเย็บด้วยมือ นอกจากนั้นยังมีการผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรูปออกมา
5-4
Channel, Versace, Dior, Givenchy Coach, Longchamps, Armani Exchange, Rayban ซึ่งผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปออกสู่ตลาดเช่นกัน ในปี 2555 ภาพรวมสินค้าหรูหราในไทยมีมูลค่าราว 1.4 พัน ล้ านเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ โดยกลุ่ มเสื้ อผ้ าแฟชั่นมีสั ดส่ ว นสู งสุ ดรวมมูล ค่ากว่า 496 ล้ าน เหรียญสหรัฐฯ และมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นเป็น 595.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 25602 กลุ่มฟาสต์แฟชั่น (Fast Fashion)3 คือ ชื่อเรียกกระบวนการผลิตของกลุ่มผู้ผลิตเสื้อผ้า ส าเร็ จ รู ป ที่ เ น้ น การผลิ ต ออกสู่ ต ลาดที่ ร วดเร็ ว โดยอ้ า งอิ ง กระแสแฟชั่ น จากกลุ่ ม Haute Couture แต่สามารถผลิตสินค้าออกสู่ตลาดได้รวดเร็วกว่า สินค้ากลุ่มนี้มีรูปแบบการดีไซน์ ทันสมัยราคาไม่แพงมากนัก ใส่หมุนเวียนซ้าได้ ด้วยเหตุนี้ จึงทาให้สินค้าประเภทฟาสต์แฟชั่น เข้ามามีบทบาทในตลาดแฟชั่นของไทยมากขึ้น 4 ในขณะที่วงการแฟชั่นของไทยต่างได้รับความ สนใจจากแบรนด์เสื้อผ้าชื่อดังจากต่างประเทศที่ปรับตัวเข้าสู่ฟาสต์แฟชั่นและมีหลายแบรนด์ที่ กาลังได้รับความนิยมในประเทศไทย เช่น Zara, H&M, Uniqlo Forever 21 และ Topshop เป็นต้น ซึ่งแต่ละแบรนด์มีการนาเสนอทั้งในรูปแบบเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ของ แบรนด์สินค้า มีการนาเสนอรูปแบบการแต่งกายร่วมสมัย และนาเสนอสินค้าแฟชั่นอื่นๆ เช่น เครื่องประดับ รองเท้า กระเป๋า ผ้าพันคอภายใต้แบรนด์สินค้าของตนเองควบคู่ไปด้วย โดยส่วน ใหญ่นิยมนาเสนอแฟชั่นผ่านหนังสือแฟชั่นหรือนิตยสารชั้นนา และการจัดแสดงสินค้าที่ร้าน จ าหน่ ายสิ น ค้า (Shop) ซึ่งเป็นเป็นการให้ ความรู้แก่ผู้ บริ โ ภคในอีกทางหนึ่ ง ทาให้ เกิดการ ยอมรับสินค้า เนื่องจากสินค้าดูดีแต่ราคาไม่สูงนัก ทาให้ร้านค้าแฟชั่นรายย่อยของไทยมีโอกาส ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายตามไปด้วยเช่นกัน สตรีทแบรนด์ (Street Brand) กลุ่มแบรนด์ทั่วไป เป็นผู้ประกอบการเสื้อผ้าสาเร็จรูปที่มี แบรนด์เป็นของตัวเองและได้รับการยอมรับในระดับประเทศ โดยวางตาแหน่งสินค้าอยู่ในระดับ ปานกลาง ราคาสมเหตุสมผล มีการจ้างดีไซเนอร์มาออกแบบสินค้า โดยมักได้รับอิทธิพลในการ ออกแบบจากกระแสแฟชั่นในต่างประเทศ จึงยังไม่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่เด่นชัดเท่ากลุ่มไฮ สตรีทแบรนด์ (High street brand) กลุ่ มลู กค้าของผู้ประกอบการกลุ่มนี้ เป็นลูกค้าใน ระดับกลางที่มีรายได้และกาลังซื้อปานกลางถึงสูง (C ถึง B+) ตัวอย่างแบรนด์ในกลุ่มนี้ เช่น AIIZ, CPS Chaps และ Dapper เป็นต้น กลุ่มผู้ประกอบการกลุ่มนี้มักประสบปัญหาการถูก ลอกเลียนแบบจากผู้ผลิตสินค้าในระดับล่าง และการแข่งขันจากแบรนด์เสื้อผ้าฮ่องกงที่คุณภาพ และราคาใกล้เคียงกัน ซึ่งการถูกลอกเลียนแบบในตลาดระดับล่างทาให้สินค้ากลุ่มนี้ถูกมองเป็น สินค้าโหล ควบคู่กันจัดอยู่ในระดับ High Street brand โดยออกแบบตามขนาดมาตรฐาน ลดทอนรายละเอียดและประยุกต์รูปแบบให้เหมาะกับการนามาใช้ ในชีวิตประจาวันมากขึ้น ห้องเสื้อโอต์ กูตูจะต้องนาเสนอแบบเสื้อในงานแฟชั่นของโอต์ กูตูปีละ 2 ครั้ง คือ มกราคม (แฟชั่นฤดู ใบไม้ผลิ และฤดู ร้อน) และกรกฎาคม (แฟชั่นฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว) เพื่อให้แก่ผู้บริโภคได้รู้ถึงทิศทาง (trend) ในฤดูที่จะมาถึง การแสดงแบบเสื้อในแต่ละคอล เลคชั่นจะต้องมีอย่าง 35 แบบ ทั้งชุดกลางวันและชุดราตรี ปัจจุบันมีสานักออกแบบเครื่องแต่งกายโอต์ กูตู ในฝรั่ งเศสอยู่ 24 แห่งด้วยกัน เช่น Pierre Cardin, Chanel, Christain Dior , Lious Féraud, Givenchy, Christian Lacroix, Guy Nina Ricci, Yves Saint Laurent, Jean Paul Gaultier, Versace, Valentino เป็นต้น สาหรับในประเทศไทยยังไม่มีแฟชั่นที่เรียกได้ว่า โอต์ กูตูร์ แต่แบรนด์เสื้อผ้าสาเร็จรูประดับสูงของไทยยัง จัดอยู่ในกลุ่ม High street brand. เข้าถึงได้ที่ http://widewonderland.blogspot.com/2007/02/haute-couture-vs-prt-porter.html 2 เข้าถึงได้ที่ http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1357792092&grpid=02&catid=11. 3 ฟาสต์แฟชั่น คือ แฟชั่นเสื้อผ้าที่สนองตอบแต่แฟชั่นฮิตล่าสุด อย่างที่เรียกกว่าแทบจะทันทีกับแฟชั่นที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น ด้วยกระบวนการผลิตที่ ทาได้แบบฉับไว หมุนเวียนเปลี่ยนแบบและดีไซน์ได้แบบอาทิตย์ต่ออาทิตย์ เข้าถึงได้ที่ http://www.ryt9.com/s/tpd/1617828. 4 ยูโรมอเตอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล.
5-5
ไลเซนซิ่งสตรีทแบรนด์ (Licensing Street Brand) กลุ่มแบรนด์ที่มีลิขสิทธิ์ เป็น ผู้ ป ระกอบการที่ ไ ด้ รั บ ลิ ข สิ ท ธิ์ ใ นการผลิ ต เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป แบรนด์ ต่ า งประเทศ โดย ผู้ประกอบการกลุ่มนี้มีการออกแบบเอง แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากเจ้าของแบรนด์ใน ต่างประเทศ สินค้าในกลุ่มนี้อยู่ในระดับปานกลาง-บน ตัวอย่างแบรนด์ที่เป็นที่รู้จักในกลุ่มนี้ ได้แก่ Lacoste และ ELLE เป็นต้น ผู้ประกอบการกลุ่มนี้ ประสบปัญหาการถูกลอกเลียนแบบ จากผู้ผลิตสินค้าในระดับล่าง และการแข่งขันจากแบรนด์เสื้อผ้าฮ่องกงที่ มีคุณภาพและราคา ใกล้เคียง กลุ่มรับจ้างผลิตเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม (Garment OEMs) เป็นผู้รับจ้างผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูป ให้กับแบรนด์ทั้งในและต่างประเทศ ไม่มีการออกแบบของตนเอง เนื่องจากเป็นการผลิตตาม คาสั่งของลูกค้า ซึ่งลูกค้าบางรายจะมีการสั่งผลิตโดยครอบคลุมในเรื่องของการสรรหาวัตถุดิบที่ จะต้องเป็นแหล่งที่ลูกค้าระบุมา ดังนั้น คุณภาพของสินค้าจึงขึ้นอยู่กับระดับความต้องการของผู้ จ้างผลิต ผู้ประกอบการกลุ่มนี้ไม่ค่อยเห็นความจาเป็นของการออกแบบ มีความต้องการนัก ออกแบบหรื อ ดี ไ ซเนอร์ ไ ม่ ม ากนั ก ขาดแคลนแรงงานมี ฝี มื อ รวมทั้ ง เมอร์ แ ชนไดเซอร์ (Merchandiser) และปัญหาที่สาคัญอีกประการ คือ การขาดการเชื่อมโยงข้อมูลตลอดห่วงโซ่ อุปทาน ผู้ประกอบการจึงไม่สามารถสนับสนุนปัจจัยการผลิตระหว่างกันได้มากเท่าที่ควร สตรีทแวร์ (Street Wear) เป็นผู้ประกอบการรายย่อย ซึ่งมีทั้งการผลิตและออกแบบเสื้อผ้า สาเร็จรูปเอง หรือมีการรับสินค้าราคาถูกมาจากต่างประเทศ เช่น ประเทศจีน เกาหลี เพื่อนามา ค้าส่งค้าปลีกในประเทศ โดยผู้ประกอบการกลุ่มนี้มักจะตั้งอยู่ในย่านสยามสแควร์ จตุจักร โบ๊เบ๊ ประตูน้า และแพลทินัม เป็นต้น สินค้ากลุ่มนี้มีระดับราคาไม่สูงมากนักใน มี Niche Market จานวนมาก เช่น เสื้ อผ้า DIY ที่ให้ผู้ ซื้อได้ล งมือออกแบบเอง เสื้อผ้ า Plus Size ที่ขายใน ประเทศไทยและส่งออกไปทวีปแอฟริกา อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากรที่มีรูปร่าง อ้วน นอกจากนี้ยังมีการสนับสนุนช่องทางการขายให้แก่กลุ่ม Niche Market โดยเฉพาะ เช่น การจัดตลาดนัดศิลปะ Lifestyle Mall ผู้ประกอบการรุ่นใหม่มีการสร้างแบรนด์ของตนเอง แต่ ประสบปัญหาที่แบรนด์ยังไม่สื่อสารและไม่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ซื้อ ตลอดจนเงินทุนในการ ทาธุรกิจมีจากัด คู่แข่งมีจานวนมาก 2) กลุ่มผลิตเสื้อผ้าแบบสั่งตัด (Tailor Made Boutique) คือ กลุ่มผู้ประกอบการที่ตัดเสื้อผ้าให้ เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละรายโดยเฉพาะ ผู้ประกอบการกลุ่มนี้มีจานวนทั้งสิ้นประมาณ 10,000 ราย ซึ่งมีความหลากหลาย กล่าวคือ มีทั้งกลุ่มที่มีการออกแบบและแบรนด์ของตัวเอง และกลุ่มที่ ตัดเย็บตามแบบที่ลู กค้าสั่งหรื อตามนิตยสารแฟชั่น ซึ่งผู้ผลิตเสื้อผ้าแบบสั่งตัด สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่มย่อยได้ดังนี้
5-6
รูปที่ 5.4 โครงสร้างส่วนตลาดกลุ่มผลิตเสื้อผ้าแบบสั่งตัด
ที่มา: แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุง่ ห่มไทย (2555- 2559) สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ, 2555.
ห้องเสื้อแบรนด์ชั้นนา (Branded Boutique) หรือกลุ่มผู้ประกอบการที่มีห้องเสื้อของตัวเอง ซึ่งจะตัดเสื้อให้เหมาะกับลูกค้า และมีการออกแบบภายใต้แบรนด์ตนเอง และได้รับการยอมรับ ในระดับประเทศ เช่น ห้องเสื้อไข่บูติค ห้องเสื้อพิจิตรา สูทเจ้าคุณ Nagara เป็นต้น แต่การ ยอมรับยังไม่ถึงระดับห้องเสื้อชั้นสูง (Haute Couture)5 จากต่างประเทศ ซึ่งเป็นกลุ่มกาหนด กระแสนิยมแฟชั่นหลักของโลก (Trend Setter) กลุ่มลูกค้าของผู้ประกอบการกลุ่มนี้จะเป็น ลูกค้าระดับเอ (A) ที่เป็นชนชั้นนาในสังคม หรือมีรายได้และกาลังซื้อสูง โดยผู้ประกอบการกลุ่ม นี้มักถูกลอกเลียนแบบจากผู้ผลิตสินค้าในระดับล่าง ห้องเสื้อที่มีการออกแบบแต่ยังไม่มีแบรนด์ (Design Boutique) ผู้ประกอบการที่เป็นห้อง เสื้อซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่ มีการออกแบบและตัดเสื้อให้เหมาะกับ ลูกค้า แต่ยังไม่มีการสร้างแบรนด์ห้องเสื้อของตนเอง กลุ่มลูกค้าของผู้ประกอบการกลุ่มนี้จะเป็น ลูกค้าในระดับบีบวก (B+) ที่มีรายได้และกาลังซื้อระดับปานกลางถึงค่อนข้างสูง ปัจจุบัน ผู้ประกอบการกลุ่มนี้ประสบปัญหาการขาดแคลนช่างตัดเย็บที่มีฝีมือ เนื่องจากแรงงานหันไปตัด เย็บเสื้อผ้าในโรงงานเสื้อผ้าสาเร็จรูปมากขึ้น ห้องเสื้อทั่วไป (Basic Boutique) เป็นผู้ประกอบการรายย่อยที่มีร้านตัดเสื้อของตัวเอง ตั้ง กระจายอยู่ทั่วประเทศ เป็นกลุ่มที่ยังไม่มีการออกแบบของตนเอง แต่จะเป็นการตัดเสื้อตาม คาสั่งของลูกค้า ซึ่งมักเป็นการนาแบบมาจากสื่อต่างๆ เช่น นิตยสารแฟชั่น กลุ่มลูกค้าของ ผู้ประกอบการกลุ่มนี้เป็นกลุ่มระดับ บี (B) ถึงซี (C) ซึ่งมีกาลังซื้อในระดับปานกลาง ไม่สูงมาก ผู้ประกอบการกลุ่มนี้ประสบปัญหาเรื่องทุนหมุนเวียน เนื่องจากจาเป็นต้องมีผ้าไว้สาหรับเป็น 5
ตลาดแฟชั่นระดับพรีเมี่ยม แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1) Haute Couture ห้องเสื้อแฟชั่นระดับสูงที่เน้นการออกแบบ ความประณีตในการตัดเย็บ และเป็นผู้กาหนดทิศทางแฟชั่นของปีนนั้ ๆ 2) Boutique คือ กลุ่มห้องเสื้ออาจมีการออกแบบและมีแบรนด์ของตัวเอง เน้นการออกแบบให้เข้าอัต ลักษณ์ลูกค้าแต่ละราย แต่ยังไม่ถึงขั้นเป็นผู้กาหนดทิศทางแฟชั่น 3) เสื้อผ้าสาเร็จรูปเพรท-อะ-พอร์ทเตอร์ ( Ready-to-wear หรือ prêt-à-porter ในภาษาฝรั่งเศส).
5-7
สต๊อกวัตถุดิบ ขาดแรงงานหรือช่างตัดเย็บที่มีฝีมือ เนื่องจากแรงงานหันไปตัดเย็บเสื้อผ้าใน โรงงานเสื้อผ้าสาเร็จรูปมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีปัญหาสินค้าราคาถูกจากต่างประเทศ เช่น จีน เข้ามาตีตลาดอีกด้วย ทั้งนี้การตัดเย็บเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย ต้องใช้ระยะเวลา ในการผลิตที่มากและราคาสูง จึง เป็นสาเหตุที่ทาให้ ปัจจุบันกลุ่มผลิตเสื้ อผ้ าแบบสั่งตัดลด บทบาทลงไปมาก เนื่ องจากผู้ บริโ ภคหั นไปนิยมเสื้อผ้าส าเร็จรูปซึ่งราคาถูกกว่าและมีความ รวดเร็ว 5.2.2 ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ในภาคการผลิตผู้ประกอบการเครื่องนุ่งห่มประเภทเสื้อผ้าสาเร็จรูปมีอยู่ประมาณ 20,000 รายทั่วประเทศ และ เป็นกลุ่มผู้ประกอบการแบบสั่งตัดประมาณ 10,000 รายทั่วประเทศ ในภาคธุรกิจค้าปลีกเสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่ม ผู้ประกอบการ SME ส่วนใหญ่เป็นกิจการเจ้าของคนเดียวที่ไม่ใช่ นิติบุคคล ถึงเกือบร้อยละ 706 ผู้ประกอบการส่วนใหญ่อยู่ในธุรกิจภาคการค้าคิดเป็นร้อยละ 85.74 มีเพียงร้อย ละ 14.26 เท่านั้นที่เป็นผู้ผลิตด้วย 5.2.3 การจ้างงานในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ในปี 2554 อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มก่อให้เกิดการจ้างงาน 795,880 คน ลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 1.6 เนื่ องจากมีโ รงงานขนาดเล็ กปิ ดตัว ลงจ านวนมากเพราะปัญหาต้นทุนที่สู งขึ้น อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ ม ก่ อ ให้ เ กิ ด การจ้ า งงานมากเป็ น อั น ดั บ 2 ในกลุ่ ม อุ ต สาหกรรมแฟชั่ น รองจากอุ ต สาหกรรมอั ญ มณี แ ละ เครื่องประดับ และคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 16 ของการจ้างงานในภาคการผลิต ในภาคธุรกิจค้าปลีก7 กลุ่มกิจการเจ้าของคนเดียวที่ไม่ใช่นิติบุคคล ก่อให้เกิดการจ้างงานถึงร้อยละ 51.60 รองลงมา คือ กิจการขนาดเล็ก ร้อยละ 43.07 ส่วนการจ้างงานในกิจการขนาดกลาง มีเพียงร้อยละ 5.33 เท่านั้น 5.2.4 อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทยในตลาดโลก อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มของไทยอยู่ในระหว่างการปรับตัวที่จะยกระดับการแข่งขันจากตลาดล่างไปสู่ตลาดที่มี มูลค่าสูงขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์ หากสังเกตจากมูลค่าการส่งออกจะเห็นว่าสินค้าเครื่องนุ่งห่มอยู่ในช่วงขา ลงอย่างต่อเนื่องนับเป็นปีที่ 3 ในขณะที่ภาคการส่งออกหดตัวในทุกตลาดหลัก และยังมีแนวโน้มหดตัวลง เรื่ อยๆ เนื่ อ งจากผู้ ป ระกอบการไม่ ส ามารถแข่ งขันด้านต้น ทุ นต่า เช่น จีน เวียดนาม และอิน โดนีเซีย ใน ขณะเดียวกันแม้สินค้าของไทยจะได้รับการยอมรับเรื่องคุณภาพ และการออกแบบในระดับภูมิภาคอาเซียน แต่ ยังไม่สามารถสร้างอัตลักษณ์ หรือสร้างแบรนด์ได้เทียบเท่าประเทศที่มีจุดเด่นด้านแฟชั่น เช่น อิตาลี ฮ่องกง ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น และเกาหลี เป็นต้น ดังนั้น ประเทศไทยจึงตกอยู่ในภาวะถูกบีบจากทั้งตลาดล่างและตลาดบน ปี 6,7
การศึกษาสถานการณ์ และดัชนีย่านการค้าเป้าหมาย อุตสาหกรรมเสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่ม (ย่านประตูน้า โบ๊เบ๊ สาเพ็ง) ประจาไตรมาสที่ 1/2554, สสว.
5-8
2555 ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออกเสื้อผ้าสาเร็จรูปคิดเป็นมูลค่ารวม 2,555.88 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวลง จากปี 2551 ร้อยละ 17 หากวิเคราะห์ถึงรายผลิ ตภัณฑ์กลุ่มเครื่องนุ่งห่มจะเห็นว่ากลุ่มเครื่องยกทรงที่มีมูลค่า การส่งออกรองจากเสื้อผ้ากาลังเผชิญภาวะถดถอยเช่นกัน โดยมีมูลค่าการส่งออกปี 2555 ที่ 299.32 ล้าน เหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ 11 จากปี 2551 ส่วนสินค้าที่ยังเติบโตได้ดีได้แก่ กลุ่มถุงเท้าและถุงน่อง และกลุ่ม ถุงมื อผ้ า ซึ่ ง มี อัตราการเติบ โตสู งถึ งร้ อ ยละ 52 และร้อ ยละ 19 ตามล าดับ ข้อ มูล เหล่ านี้แ สดงให้ เห็ น ว่ า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยัง มุ่งแข่งขันในตลาดแฟชั่นระดับพื้นฐานและให้ความสาคัญกับการแข่งขันทางด้าน ราคาและปริมาณการผลิต ในขณะที่ความสามารถของประเทศในการแข่งขันตลาดแฟชั่นประเภทนี้กาลังลดลง รูปที่ 5.5 มูลค่าการส่งออกและนาเข้าของอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม เปรียบมูลค่าการส่งออกเครื่องนุ่งห่มรายผลิตภัณฑ์ ระหว่างปี 2551 และ 2555
เปรียบมูลค่าการนาเข้าเสื้อผ้าสาเร็จรูป ระหว่างปี 2551 และ 2555
ที่มา: สรุปภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมปี 2555 และแนวโน้มปี 2556 และ สถิติสิ่งทอไทย 2554/2555.
สาหรับคู่แข่งขันที่สาคัญของอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ในระดับโลก คือ ประเทศจีน และสหภาพ ยุโรป การส่งออกของจีนมีอัตราการเติบโตถึงร้อยละ 10 ในขณะที่การส่งออกของสหภาพยุโรปหดตัวลงร้อยละ 8 สาหรับในกลุ่มประเทศอาเซียน คู่แข่งโดยตรง คือ อินโดนีเซีย ซึ่งเป็นผู้ส่งออกอันดับ 1 รองลงมา คือ เวียดนาม ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงร้อยละ 30 ด้านการนาเข้าเสื้อผ้าสาเร็จรูปมีอัตราเพิ่ม ขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 86 เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี 2551 และ 2555 โดยในปี 2555 การนาเข้าเสื้อผ้าสาเร็จรูปมีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 536.76 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยตลาดนาเข้าหลัก ที่สาคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และฮ่องกง 5.2.5 การบริโภคภายในประเทศ มูลค่าการใช้จ่ายส่วนบุคคลเพื่อการซื้อเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายเพิ่มขึ้นในระยะ 5 จากปี 2549 ถึงปี 2553 รวม เป็นค่าใช้จ่ายประมาณ 311,219 ล้านบาท จากสถิติพบว่าค่าใช้จ่ายซื้อเสื้อผ้าของผู้บริโภคชาวไทยมีอัตราการ เติบโตสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยชาวไทยนิยมซื้อสินค้าหลากหลาย ทั้งสินค้านาเข้าแบรนด์เนมไปจนถึงร้านขนาดเล็กใน สถานที่ต่างๆ เช่น ตลาดนัด ตลาดซูเปอร์มาร์เก็ต และห้างสรรพสินค้า ผู้บริโภคกลุ่มมนุษย์เงินเดือนมักจะซื้อ 5-9
เสื้อผ้าราคาระหว่าง 200-400 บาท ส่วนการซื้อเสื้อผ้าในห้างสรรพสินค้าต้องมีการจัดโปรโมชั่ นร้อยละ 30-50 เพื่อจูงใจผู้บริโภค8 เมื่อเปรียบเทียบกาลังการผลิตและปริมาณการบริโภคเครื่องนุ่งห่มในประเทศ เปรียบเทียบระหว่างปี 2551 และ 2554 พบว่า กาลังการผลิตเครื่องนุ่งห่มเพิ่มขึ้นจาก 492,000 ตัน ไปเป็น 500,000 ตัน ในขณะที่การ ส่งออกชะลอตัว กาลังการบริโภคภายในประเทศเพิ่มขึ้นจาก 327,000 ตันในปี 2551 ไปเป็น 337,000 ตัน ใน ปี 2554 แสดงให้เห็นถึงโอกาสของผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในการทาตลาดภายในประเทศให้มากขึ้น รูปที่ 5.6 การบริโภคเครื่องนุ่งห่มภายในประเทศ (หน่วย: 1,000 ตัน)
ที่มา: สิ่งทอไทย 2554/2555 สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ.
5.3 สถานการณ์อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับที่มี ต่อระบบ เศรษฐกิจไทย 5.3.1 กลุ่มอุตสาหกรรมย่อย (Sub-sector) ภายใต้อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ (Gem and Jewelry Industry) มีมูลค่าการส่งออกสูงเป็นอันดับ 4 ของการส่งออกทั้งหมด ส่วนหนึ่งเกิดจากมูลค่าต้นทุนวัตถุดิบสูงและมูลค่าส่วนหนึ่งเกิดจากการซื้อขายเพื่อการ ลงทุน เช่น ทองคาแท่ง โดยการวิเคราะห์ในที่นี้จะไม่รวมมูลค่าทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปและอัญมณีที่เป็นวัตถุดิบใน การประกอบเครื่องประดับ เพื่อให้เห็นทิศทางของอุตสาหกรรมชัดเจนขึ้น ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งศึกษา อุตสาหกรรมเครื่องประดับเป็นสาคัญ โดยอุตสาหกรรมเครื่องประดับแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ เครื่องประดับแท้ ได้แก่ เครื่องประดับเงิน เครื่องประดับทองและแพลทินัม เป็นต้น เครื่องประดับเทียม ซึ่งเป็นเครื่องประดับที่ ทาขึ้นจากหิน เซรามิก วัตถุที่ไม่ได้มาจากธรรมชาติ และอัญมณีสังเคราะห์ (Created Gems Stone) เป็นต้น 7
โครงการศึกษาโอกาสสาหรับภาคอุตสาหกรรมและผลกระทบจากการเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน 2554.
5-10
5.3.2 ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องประดับ ผู้ป ระกอบการส่ว นใหญ่เป็ นกลุ่ม ผลิ ตภัณฑ์เครื่องประดับแท้ 11,184 แห่ ง คิดเป็นร้อยละ 70.89 ของทั้ง อุต สาหกรรม 9 โดยมี ผู้ ป ระกอบการเครื่อ งประดั บทองรูป พรรณมากที่ สุ ดคิ ด เป็น ร้ อยละ 31.42 ส่ ว น เครื่องประดับเงินมีสถานประกอบการจานวนทั้งหมด 494 แห่งกระจายตัวอยู่ในกรุงเทพฯ มากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ภาคเหนือ สาหรับภาคครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่องประดับมีจานวน 7,749 ครัวเรือน มีการ กระจายตัวอยู่ในกรุงเทพมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ภาคตะวันออก ครัวเรือนในภาคอัญมณีมีมากที่สุดถึง 4,320 ครัวเรือน หรือ ร้อยละ 55.75 ที่เหลือเป็น ครัวเรือนที่ผลิต เครื่องประดับ ได้แก่ เครื่องประดับแท้มี จานวน 3,146 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 40.60 ผลิตเครื่องประดับมุก 84 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.08 ผลิต เครื่องประดับเทียม 199 ครัวเรือน ส่วนเครื่องประดับเงินมีผู้ประกอบการจานวนทั้งหมด 677 ครัวเรือน กระจายตัวอยู่ในกรุงเทพมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกือบทั้งหมดเป็นวิสาหกิจขนาด ย่อม เมื่อจาแนกประเภทกิจการ พบว่า สถานประกอบการส่วนมากเป็นผู้นาเข้า -ส่งออก รองลงมาเป็นผู้ผลิต ส่วน ภาคครัวเรือนเป็นผู้ผลิตทั้งหมด 5.3.3 การจ้างงานในอุตสาหกรรมเครื่องประดับ อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับมีแรงงานในระบบประมาณ 865,65610 คน ในขณะที่จานวนแรงงานใน ครัวเรือนมีจานวน 30,857 คน ส่วนที่เหลือรับจ้างอิสระอยู่นอกสถานประกอบการรับค่าจ้างตามจานวน ชิ้น งานและไม่ มี ภ าระผู ก พัน กับ นายจ้ าง จากการส ารวจส ามะโนประชากรแรงงานที่ อยู่ ใ นอุ ต สาหกรรม เครื่องประดับ พบว่า มีแรงงานที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบขึ้นรูปและประกอบเครื่องประดับ จานวน 283,831 คน และแรงงานทีเ่ กี่ยวข้องกับการขายและการตลาด จานวน 208,700 คน โดยในกลุ่มนี้เป็นแรงงานในกิจการ เครื่องประดับแท้ร้อยละ 68.65 รองลงมา คือ เครื่องประดับเพชรร้อยละ 9.63 5.3.4 การค้าระหว่างประเทศ อุตสาหกรรมเครื่ องประดับมีมูลค่าอุตสาหกรรมสู ง ซึ่งเกิดจากต้นทุนวัตถุดิบเป็นหลัก เนื่องจากการนาเข้า วัตถุดิบเพื่อผลิตต่อ ในปี 2555 มีมูลค่าการส่งออกเครื่องประดับไม่รวมอัญมณีและทองคายังไม่ขึ้นรูป คิดเป็น มูลค่า 4,454.24 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2554 คิดเป็นร้อยละ 3 ซึ่งเป็นผลจากการส่งออกสินค้า เพิ่มขึ้นเกือบทุกผลิตภัณฑ์ เมื่อเปรียบเทียบรายผลิตภัณฑ์จะเห็นว่า กลุ่มสินค้าที่เติบโตได้ดีแม้มีมูลค่าน้อย คือ กลุ่ ม เครื่ อ งประดั บ เที ย มซึ่ ง มี อั ต ราการเติ บ โตเฉลี่ ย ระหว่ า งปี 2551-2555 สู ง ถึ ง ร้ อ ยละ 20 ส่ ว นสิ น ค้ า เครื่องประดับแท้แม้การเติบโตเฉลี่ยระหว่างปี 2551-2555 จะเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 8 แต่มีมูลค่าการส่งออก เฉลี่ยสูงถึง 3,813.24 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 9
โครงการจัดทาสามะโนอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย (2553), วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2553. โครงการจัดทาสามะโนอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย (2553), วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2553.
10
5-11
ตลาดส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และอินเดีย โดยสินค้าส่งออกที่สาคัญใน ตลาดสหรัฐอเมริกา ได้แก่ เครื่องประดับแท้ทาด้วยเงิน เครื่องประดับแท้ทาด้วยทองและพลอย และสินค้า ส่งออกที่สาคัญในตลาดอินเดีย ได้แก่ เพชร พลอย และเครื่องประดับแท้ทาด้วยทอง รูปที่ 5.7 มูลค่าการส่งออกและนาเข้าอุตสาหกรรมเครื่องประดับ ปี 2551-2555
อัตราการเติบโตเฉลี่ยระหว่างปี 2551- 2555 การส่งออก เครื่องประดับไม่รวมอัญมณีแบะทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูป
(หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
ขนาด = มูลค่าการส่งออกปี 2555 (หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
เปรียบเทียบสัดส่วนการส่งออกเครื่องประดับไม่รวมอัญมณีและทองคาที่ยังไม่ขนึ้ รูปปี 2555
ที่มา: สรุปภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมปี 2555 และแนวโน้มปี 2556
5.3.5 การบริโภคภายในประเทศ จากสถิติพบว่าสัดส่วนการขายเครื่องประดับภายในประเทศต่อการส่งออกเติบโตสูงขึ้นตั้งแต่ ปี 2551-2553 ซึ่ง อาจเป็นผลมาจากการท่องเที่ยวประเทศไทยของนักท่องเที่ยวและการบริโภคที่สูงขึ้นของผู้บริโภคชาวไทย รูปที่ 5.8 แนวโน้มการบริโภคเครื่องประดับภายในประเทศมีสัดส่วนสูงขึ้น
ที่มา: รายงานผลิตภาพและผลประกอบการอุตสาหกรรมปี 2553 สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 5-12
5.4 สถานการณ์ อุ ต สาหกรรมรองเท้ า และเครื่ อ งหนั ง ที่ มี ต่ อ ระบบ เศรษฐกิจไทย 5.4.1 กลุ่มอุตสาหกรรมย่อยภายใต้อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมแฟชั่นที่มีความสาคัญในระบบเศรษฐกิจ เนื่องจาก เป็นอุตสาหกรรมที่ต่อยอดมาจากอุตสาหกรรมปศุสัตว์และอุตสาหกรรมฟอกหนัง สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับหนังสัตว์ได้เป็นอย่างมาก โดยการนาหนังสัตว์มาผลิตเป็นสินค้าต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น รองเท้า กระเป๋า เข็มขัด ถุงมือ เครื่องใช้สานักงาน รวมถึงของเล่นสัตว์เลี้ยง ซึ่งมีความสร้างสรรค์ในการ ออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งสาคัญ ประเทศไทยถือว่าเป็นประเทศอันดับต้นๆ ในภูมิภาคอาเซียนที่มีการส่งออก รองเท้าและเครื่องหนังสูงสุด อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มรองเท้าและชิ้นส่วน 2) กลุ่มกระเป๋าและเครื่องเดินทาง 3) กลุ่มหนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ในการศึกษาครั้งนี้ให้ความสาคัญกับ กลุ่มรองเท้าและชิ้นส่วน และกลุ่มกระเป๋าและเครื่องเดินทาง เป็นหลัก เนื่องจากเป็นสินค้าแฟชั่นโดยตรง 5.4.2 ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังที่จดทะเบียนอยู่ในระบบมีเพียงร้อยละ 19 โดยในปี 2555 มีสถานประกอบการในอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังที่จดทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม ประมาณ 946 แห่ง แบ่งเป็น อุตสาหกรรมฟอกหนัง 186 แห่ง อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง 287 แห่ง อุตสาหกรรมรองเท้า 473 แห่ง ทั้งนี้ มีสถานประกอบการจานวนมากที่ไม่ได้จดทะเบียนไว้กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจากประมาณการ คาดว่าน่าจะมีจานวนสถานประกอบการในอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังทั้งสิ้นประมาณ 5,000 แห่ง11 5.4.3 การจ้างงานในอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง ในปี 2555 อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังมีการจ้างงานในระบบรวมจานวนทั้งสิ้น 103,406 คน ประกอบด้วย อุตสาหกรรมฟอกหนัง จานวน 8,300 คน อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง จานวน 24,679 คน อุตสาหกรรมรองเท้า จานวน 70,427 คน ทั้งนี้ เนื่องจากมีสถานประกอบการจานวนมากที่ไม่ได้จดทะเบียนไว้กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงประมาณ การว่าจะมีจานวนแรงงานหรือการจ้างงานทั้งหมดประมาณ 500,000 คน12 เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่พึ่งพา 11
โครงการจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมแฟชั่น 2554.
5-13
แรงงานเป็นหลัก ปัจจุบันแรงงานในอุตสาหรรมนี้แนวโน้มลดลงอย่างมาก ส่วนหนึ่งมาจากขาดการวางแผน กาลังคนอย่างมีประสิทธิภาพ สังคมมีความนิยมอาชีพเปลี่ยนไป ส่งผลให้อัตราการจ้างงานในอุตสาหกรรมมี แนวโน้มลดลง และนโยบายของภาครัฐที่ให้การสนับสนุนในอุตสาหกรรมภาคการเกษตรเพิ่มมากขึ้น เพื่อสร้าง ความเป็นเลิศด้านการเกษตรและเป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของโลก ส่งผลให้ แรงงานบางส่วนหันกลับคืนสู่ภาค การเกษตรมากขึ้น ซึ่งจะเห็นได้จากภาวะการขาดแคลนแรงงานในช่วงฤดูทานาและฤดูเก็บเกี่ยว13 5.4.4 การค้าระหว่างประเทศ การนาเข้า ในปี 2555 สินค้าประเภทรองเท้าหนัง รองเท้าแตะ รองเท้าอื่นๆ กระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือ และ เครื่องเดินทางอื่นๆ ยังมีอัตราการเติบโตที่น่าพอใจ หากพิจารณาสถิติการนาเข้าระหว่างปี 2551-2555 จะ เห็นว่า มีการนาเข้ารองเท้าหนังและรองเท้ากีฬาจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 36 และร้อยละ 18 ตามลาดับ รองเท้าทาด้วยยางหรือพลาสติกเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.53 ส่วนสินค้าประเภทกระเป๋าถือและกระเป๋าเดินทางมีการ นาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 24 และร้อยละ 21 ตามลาดับ โดยแหล่งนาเข้าที่สาคัญ คือ เวียดนาม อิตาลี และ อินโดนีเซีย การส่งออก การส่งออกผลิตภัณฑ์รองเท้าและกระเป๋าเครื่องใช้สาหรับเดินทาง มีมูลค่าการส่งออก 1,038.49 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากปี 2554 ร้อยละ 14.6 ผลิตภัณฑ์ที่มีอัตราการส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ เครื่องใช้ สาหรับเดินทาง เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.95 ทวีปเอเซียเป็นผู้ส่งออกรองเท้าถึงร้อยละ 84 ของโลก คู่แข่งรายสาคัญในอุตสาหกรรมรองเท้าและ กระเป๋า คือ ประเทศจีน ฮ่องกง เวียดนามซึ่งเป็นผู้ส่งออกรองเท้ารายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก ส่วนประเทศ ไทยอยู่ในอันดับ 914 รูปที่ 5.9 มูลค่าการส่งออกและนาเข้าของอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง และเปรียบเทียบ รายผลิตภัณฑ์ (หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
ที่มา: สรุปภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมปี 2555 และ แนวโน้มปี 2556 และ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 2554, World Footwear Yearbook 2012. 12
โครงการจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมแฟชั่น 2554. การประมาณการจานวนผู้ประกอบการจากงานสัมมนา,สถาบันพัฒนาสิ่งทอ. 14 World Footwear Yearbook 2012 . 13
5-14
5.4.5 การบริโภคภายในประเทศ มูลค่าการใช้จ่ายส่วนบุคคลเพื่อการซื้อเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายและรองเท้าเปรียบเทียบระหว่างปี 2549 และปี 2553 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 โดยในปี 2553 มีมูลค่าการใช้จ่ายส่วนบุคคลเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายและรองเท้ารวม ทั้งสิ้น 311,219 ล้านบาท ผู้บริโภคในประเทศมีความนิยมในสินค้านาเข้าโดยเฉพาะสินค้าที่มีตราสินค้า (Brand) มาจากประเทศในแถบยุโรป เกาหลี ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตภายในประเทศมีคุณภาพที่ใกล้เคียงและราคาที่ ใกล้เคียงกับสินค้านาเข้าเนื่องจากมีการนาเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ ทาให้ผู้บริโภคส่วนหนึ่งนิยมสินค้าจาก ต่างประเทศโดยเฉพาะตลาดระดับบนและระดับกลาง รูปที่ 5.10 มูลค่าการใช้จ่ายส่วนบุคคลเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายและรองเท้า ปี 2549-2553 (หน่วย: ล้านบาท)
ที่มา: TFP Industrial survey 2553, OIE.
5.5 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขัน ของอุ ตสาหกรรม แฟชั่นสร้างสรรค์ แม้อุตสาหกรรมแฟชั่นจะใช้การออกแบบสร้างสรรค์พื้นฐานในการดาเนินธุรกิจ แต่ จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง ลึ ก ด้า นคุ ณลั กษณะและจุ ด เด่ น ของธุ ร กิ จ (Business Attribute & Positioning) สามารถประมวล องค์ประกอบสาคัญที่สามารถแยกแยะอุตสาหกรรมแฟชั่นพื้นฐาน และอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ออกจาก กันได้ คือ อุตสาหกรรมแฟชั่นพื้นฐาน เน้นตอบสนองความต้องการใช้งานขั้นพื้นฐาน (basic need) ไม่เน้นความต่าง ในด้านการออกแบบหรือการสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยความคิดสร้างสรรค์อย่างชัดเจน เน้นปริมาณการผลิตเพื่อลด ต้นทุน ดีไซน์เข้ากับกระแสนิยมในตลาดเพื่อให้ขายได้ไว มีทั้งสินค้าที่มีแบรนด์และไม่มีแบรนด์ เน้นการแข่งขัน ด้านราคา ตัวอย่างสินค้าแฟชั่นพื้นฐาน เช่น เสื้อยืด No Problem, รองเท้าบาจา, กระเป๋า199, เสื้อผ้าโหล H&M, Zara, Uniqulo, Ten&Co และ Topshop เป็นต้น
5-15
อุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ มีการออกแบบเพื่อแก้ปัญหาการ ใช้งานหรือตอบโจทย์เฉพาะกลุ่ม (Functional Design) มีการนาเทรนด์แฟชั่นมาใช้สร้างอัตลักษณ์เฉพาะ (Identity) และการผสมผสานบริการเพื่อสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผลิตภัณฑ์ (Value adding service) ซึ่ง นาไปสู่การขยายกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงอาชีพใหม่ๆ ที่ต่อยอดขึ้นจากอุตสาหกรรมแฟชั่น จากองค์ประกอบ ข้างต้นทาให้สามารถแยกอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ธุรกิจผลิตภัณฑ์แฟชั่นสร้างสรรค์ (Creative Fashion) ประเภทออกแบบเพื่อแก้ปัญหาการใช้งานตอบโจทย์เฉพาะกลุ่ม (Functional Design) ซึ่ง ต้องอาศัยองค์ความรู้ การออกแบบ และเทคโนโลยีที่ ทาให้เกิดสินค้าที่ตอบสนองการใช้งาน เฉพาะ เช่น ชุดชั้นในกระชับสรีระ Finn Comfort รองเท้าเพื่อสุขภาพ บางส่วนกลายเป็น สินค้าที่ตอบสนองตลาดเฉพาะ (Nice Market) ขึ้นมา เช่น Women Plus size, Suri by Surivipa, Secant (รองเท้า/เสื้อผ้าสาวหล่อที่มีการออกแบบเพื่อเก็บหน้าอก หน้าท้อง สะโพกและเพิ่มส่วนสูง) เป็นต้น นาเสนออัตลักษณ์เฉพาะ (Identity) คือ กลุ่มที่นาเทรนด์แฟชั่นมาสร้างสรรค์การออกแบบที่ มีเอกลั กษณ์เ ฉพาะ น าเสนอตัว ตน หรื อสร้า งคาแรคเตอร์ใ ห้ กั บสิ นค้ า กลุ่ ม เสื้ อผ้ า เช่ น Wonder Anatomy, เสื้อผ้า DIY, Big Knit, Sinister (เสื้อผ้าสไตล์โกธติค) Yacco Marricard, Stresis, Senada, Greyhound, Flynow, A พิจิตรา, ดิษยา, สูทเจ้าคุณ, Negara ASAVA, Milin, KLOSET, TAWN C, Lovebird, VICKTEERUT กระเป๋า รองเท้า เครื่องหนัง เช่น Boyy, Kanita, What’s shop (รองเท้าเพ้นท์) เครื่องประดับ เช่น Trimode, Pitch, Pinwheel, Ninelucks เป็นต้น กลุ่มที่ 2 ธุรกิจบริการแฟชั่น (Fashion Service) คือ กลุ่มบริการสร้างสรรค์ที่เชื่อมโยงผสมผสาน บริการเพื่อสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผลิตภัณฑ์ (Value adding service) แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ บริการสร้างสรรค์สาหรับธุรกิจแฟชั่น (Fashion Business Service) คือ กลุ่มอาชีพบริการที่ เชื่อมโยงอุตสาหกรรมแฟชั่นต้นน้า กลางน้า ปลายน้า เช่น ธุรกิจ Sourcing รับจัดหาวัสดุ และวัตถุดิบแฟชั่น ธุรกิจอุปกรณ์แฟชั่นสาหรับ ดีไซเนอร์ ธุรกิจรับจ้างออกแบบลวดลาย ธุรกิจรับจ้างทาแพทเทิร์น ธุรกิจรับจ้างออกแบบบรรจุภัณฑ์แฟชั่น ดีไซเนอร์ ธุรกิจสถาบัน สอนการออกแบบแฟชั่น เป็นต้น15 บริการสร้างสรรค์สาหรับผู้บริโภค (Experience Fashion Service) คือ กลุ่มอาชีพบริการที่ ต่อยอดขึ้นจากการขายสินค้าแฟชั่น เช่น Stylist, Event Organizer, Wedding Planner, Product Reviewer, Make-up Artist, Personality Trainer, Window Display Artist, Merchandiser, ธุรกิจถ่ายแบบแฟชั่น เป็นต้น
15
ปรับปรุงข้อมูลจากการสัมภาษณ์นายประดิษฐ์ รัตนวิจิตราศิลป์ รองผู้อานวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ รักษาการ ผู้อานวยการ ศูนย์ข้อมูลสิ่งทอ
5-16
รูปที่ 5.11 รูปแบบแฟชั่นสร้างสรรค์
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556
5.5.1 ภาพรวมศักยภาพทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมแฟชั่น คาดการณ์ว่าประเทศไทยมีการส่งออกสินค้าแฟชั่นเฉลี่ยปีละ 160,000 ล้านบาท16 ในปี 2555 อุตสาหกรรม แฟชั่นของไทยมีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 9,958.95 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แบ่งเป็นมูลค่าการส่งออกรวมทั้งสิ้น 8,048.61 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเป็นการนาเข้า 1,910.34 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยไม่รวมมูลค่าอัญมณีและทองคาไม่ ขึ้นรูป ด้านการส่งออกกลุ่มเครื่องประดับมีมูลค่าการส่งออกและอัตราการเติบโตสูงสุด รองลงมาคือกลุ่ม เครื่องนุ่งห่มที่ถึงแม้อัตราการเติบโตติดลบร้อยละ 4 แต่มูลค่าการส่งออกยังมากกว่ากลุ่มรองเท้าและเครื่องหนัง ทั้งนี้สาเหตุเกิดจากเนื่องจากผลผลิตยังเป็นแฟชั่นขั้นต้นไม่อาจแข่งขันได้ด้วยต้นทุน (Cost Efficiency) เหมือน จีน เวียดนาม อินโดนีเซีย และตาแหน่งทางการแข่งขัน (Strategic Positioning) ในฐานะศูนย์กลางแฟชั่นของ ภูมิภาคยังไม่ชัดเจนเทียบเท่าสิงคโปร์ จึงถูกบีบให้เข้าสู่การแข่งขันด้านราคา รูปที่ 5.12 มูลค่าการค้าอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย ปี 2551-2555 (หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
ที่มา: สรุปภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมปี 2555 และแนวโน้มปี 2556. 16
ฐานข้อมูลโดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี 2550-2553.
5-17
อุตสาหกรรมแฟชั่นมีผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็น SME กว่าร้อยละ 90 การจ้างงานรวมกันคิดเป็น 1 ใน 3 ของ การจ้างงานในภาคการผลิตทั้งหมด โดยมีแรงงานประมาณ 1.8 ล้านคน หากรวมจานวนแรงงานที่ อยู่นอก ระบบด้วยแล้วอาจมีการจ้างงานมากถึง 3 ล้านคน รูปที่ 5.13 สัดส่วนการจ้างงานของอุตสาหกรรมแฟชั่นเมื่อเทียบกับการจ้างงานในภาคการผลิต (หน่วย: คน)
ที่มา: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 2555, โครงการจัดทาสา มะโนอุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ งประดับไทย (2553), วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2553, ศูนย์สารสนเทศ โรงงานอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม 24 มกราคม 2555.
5.5.2 แนวโน้มตลาดและผู้บริโภคที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม 1) การผลิตไร้พรมแดนและการย้ายฐานการผลิต (Borderless Manufacturing & Relocation) และการรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ศูนย์กลางการผลิตและการบริโภคสินค้าแฟชั่นมุ่งสู่ภูมิภาคเอเชียมีการคาดการณ์ว่าในศตวรรษที่ 21 ศูนย์กลางการเครื่องนุ่งห่มจะเริ่มมีการขยายวงกว้างมากขึ้นจากเดิมสหรัฐอเมริกา แคนาดา สหภาพยุโรป ออกไปยังเอเชียใต้ (โดยเฉพาะอินเดีย) และจีน (รวมถึง ฮ่องกง) ในขณะที่ศูนย์กลางการผลิต สิ่งทอและ เครื่องนุ่งห่ม ได้แก่ กลุ่มประเทศแคริเบียน ยุโรปกลาง เอเชียใต้ (โดยเฉพาะอินเดีย) จีน (รวมถึงฮ่องกง) และ อาเซียน นอกจากนี้ยังมีกลุ่มประเทศมาใหม่ที่อาจจะเป็นม้ามืดสาหรับการผลิตเครื่องนุ่งห่มที่สาคัญ ได้แก่ บัง คลาเทศ เวียดนาม กัมพูชา เติร์ กเมนิสถาน และอุซเบกิสถาน ซึ่งประเทศเหล่านี้ได้เปรียบในเรื่องต้นทุน แรงงานและวัตถุดิบการผลิตที่ถูกกว่าแนวโน้มของรูปแบบการผลิตในอนาคตที่เรียกว่า “การผลิตร่วม” หรือ Joint Manufacturing ผู้ผลิตมีการจัดหาสินค้ามากกว่าหนึ่งที่ (Dual Sourcing) โดยส่วนหนึ่งผู้ผลิต (Supplier) จะเลือกผลิตหรือประกอบสินค้ าใกล้ๆ กับประเทศผู้ซื้อ (Buyer) และอีกส่วนหนึ่งจะผลิตหรือ ประกอบในประเทศที่มีต้นทุนการผลิตต่ากว่า เพื่อให้ทันต่อคาสั่งซื้อและลดระยะเวลาการผลิต (Shorten Lead-Time)
5-18
2) การปรับเปลี่ยนบทบาทจาก Supply Chain เป็น Cluster Chain เปลี่ ย นจากการจั ดหาจากผู้ ผ ลิ ตหลายแหล่ งอย่างกระจัดกระจายเป็นการจัดหาจากกลุ่ มผู้ ผ ลิ ตที่ สามารถตอบสนองได้อย่างครบวงจร (Change from Fragmented Sourcing to Full Package Suppliers) โดยผู้ซื้อจะทางานร่วมกับผู้ผลิตกลุ่มเดียวที่มีสินค้าหรือบริการครบวงจรตั้งแต่การออกแบบ (Design) ไปจนถึง การพัฒนาสินค้า ซึ่งจะช่วยให้ผู้ซื้อประหยัดเวลาในการจัดหาและสามารถนาสินค้าออกสู่ตลาดได้ทันต่อความ ต้องการของผู้บริโภค 3) การก้าวเข้าสู่การแข่งขันในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การหั น มาส่ ง เสริ ม การด าเนิ น นโยบายเศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ ข องประเทศต่ า งๆ ทั่ ว โลกเพื่ อ เพิ่ ม ขีดความสามารถในการแข่งขันและหลีกหนีจากการผลิตโดยใช้ขนาด (Economy of Scale) ซึ่งต้องพึ่งพาการ ใช้แรงงานเป็นหลัก โดยอาศัยการขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่างสมดุลและยั่งยืนบนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้ การศึกษาการสร้างสรรค์งาน การใช้ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีการเชื่อมโยงกับพื้นฐานของวัฒนธรรม การสั่งสม ความรู้ของสังคมและเทคโนโลยีนวัตกรรมสมัยใหม่ในการสร้างสรรค์สินค้าและบริการใหม่ๆ นวัตกรรมในการ ผลิต และการใส่ความคิดสร้างสรรค์ลงไปในสินค้าเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่จะก้าวข้ามการกีดกันทางการค้าที่ ไม่ใช่ระบบภาษี 4) ภาวะประชากรสูงอายุมากขึ้น ประชากรในวัยทางานลดลง การเปิดเสรีด้านแรงงาน และการแต่งงานต่างเชื้อชาติ ก่อให้เกิดการ เคลื่อนย้ายของประชากร ซึ่งส่งผลให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป เป็นโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง สุขภาพประเภทใหม่ๆ (Functional fashion) เพื่อตอบสนองความต้องการประชากรสูงอายุที่มีเพิ่มมากขึ้น 5) กระแสการใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม (Environmental Friendly) ส่งผลกระทบถึงรูปแบบการพัฒนาของกระบวนการผลิตและสินค้าต่างๆ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงการออกมาตรฐานสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้กลายเป็นข้อกาหนดที่สาคัญในการทาการค้าระหว่างประเทศ 6) รูปแบบการค้าเปลี่ยนไปสู่การค้าออนไลน์ ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยี สารสนเทศส่ งผลให้ พฤติกรรมของผู้บริโ ภคเปลี่ ยนไป และส่ งผลให้ รูปแบบทางการค้าเปลี่ยนไป จากเดิมที่ผู้ซื้อต้องเดินทางมาสั่งซื้อจากแหล่งผลิตตามแบบที่ผู้ผลิตนาเสนอ มา เป็นการสั่งซื้อและร่วมออกแบบสินค้า ได้เช่น การจาหน่ายอัญมณีและเครื่องประดับออนไลน์ ผู้ซื้อสามารถ ต่อรองด้านการออกแบบและราคาออนไลน์ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลและการสืบค้นที่มาของสินค้าอัญมณีและ เครื่องประดับจะตรวจสอบได้ง่ายขึ้นและแม่นยามากขึ้น 7) การยอมรับแบรนด์ท้องถิ่นรสนิยมสากล (Local Chic)17 ผู้บริโภคร้อยละ 70 ถ้ามีโอกาสจะซื้อสินค้า Local Made และไม่คิดว่าสินค้าแบรนด์ท้องถิ่นดูเชย ยิ่งเป็นแบรนด์ที่มีการออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย แม้จะชื่อแบรนด์จะท้องถิ่นก็ยังได้รับกระแส ตอบรับที่ดี ตัวอย่างเช่น แบรนด์ แฟชั่น Boyy สินค้าไทยที่ได้รับความนิยมไปยังต่างประเทศถึงขนาดเอาไป เลียนแบบ
17
9 เทรนด์สุดชิค ผู้บริโภค Positioning Magazine 15 กุมภาพันธ์ 2556.
5-19
5.5.3 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย PESTLE Analysis จากการวิเคราะห์ PESTLE พบว่า ปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมแฟชั่นไทยสรุปได้ ดังนี้ นโยบายภาครั ฐ มีก ารก าหนดยุ ท ธศาสตร์ ก ารสนับ สนุน ด้ านการขั บเคลื่ อ นอุต สาหกรรมแฟชั่ น สร้างสรรค์และหน่วยงานสนับสนุนในการปลูกฝังความคิดสร้างสรรค์ในตัวผู้ประกอบการ เช่น ศูนย์ต้นคิด TCDC เศรษฐกิจในประเทศ ค่าใช้จ่ายในการบริโภคสินค้าแฟชั่นเพิ่มขึ้น โดยค่าใช้จ่ายครัวเรือนที่เกี่ยวกับ ข้องกับเสื้อผ้ารองเท้าเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 5.3 ต่อเดือนในปี 2551 เป็นร้อยละ 6.1 ต่อเดือนในปี 2554 และ ปรับลดลงเล็กน้อยเหลือร้อยละ 5.4 ในปี 255518 เศรษฐกิจโลก การเปิดเสรีทางการค้า AEC ในปี 2558 เปิดโอกาสไปสู่ตลาดที่มีประชากรมากกว่ า 600 ล้านคน ด้วยอิทธิพลของอุตสาหกรรมบันเทิงไทยที่ได้รับความนิยมในกลุ่มประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ เวียดนาม ทาให้แฟชั่นไทยได้รับความนิยมในกลุ่ม ประเทศเพื่อนบ้านด้วย ผู้ประกอบการควรศึกษารสนิยม ประเทศเพื่อนบ้านและการสื่อสารเพื่อการแสวงหาโอกาสในการขยายตลาด ปัจจัยทางสังคม สังคมออนไลน์ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลสินค้าได้ง่ายขึ้น ผู้บริโภคไม่เชื่อการ โฆษณา แต่จะเชื่อรีวิวหรือความเห็นของผู้ใช้สินค้าด้วยกันมากกว่าการโฆษณา ลูกค้า ผู้บริโภคภายในประเทศ มีอานาจต่อรองสูงเนื่องจากมีตัวเลือกในการบริโภคสินค้า มีความเป็น ปัจเจกสูง ลูกค้าต่างประเทศมีการย้ายฐานคาสั่งซื้อไปยังประเทศที่มีราคาต่า การให้ความสาคัญกับตราสินค้า ต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์ทาให้ความต้องการของผู้บริโภคเปลี่ยนไป ผู้ผลิต ส่วนใหญ่ผู้ผลิตไทยเป็น SME ที่ยังมองการแข่งขันสินค้าแฟชั่นระดับปฐมภูมิ ขาดการต่อยอด ความคิดสร้างสรรค์สู่ ธุรกิจอย่างเป็นระบบ แบรนด์ไทยยังขาด Impact ในการสร้างตัวตนในใจกลุ่มลูกค้า เป้าหมาย บริษัทไทยขนาดใหญ่ที่มีศักยภาพและมีแบรนด์มีน้อย แม้ว่าผู้ผลิตบางส่วนได้รับการส่งเสริมเรื่อง การสร้างแบรนด์จากภาครัฐแต่ไม่มีวิธีการที่ชัดเจน เนื่องจากผู้ผลิตมีพื้นฐานมาจาก OEM ไม่มีความชานาญ ด้านการตลาด และภาครัฐขาดความเข้าใจสภาวการณ์ของการแข่งขันในตลาดจริง แต่ซัพพลายเออร์ในระดับ ห่วงโซ่อุปทานมีความเข้มแข็ง คู่แข่ง มีการสร้างตาแหน่งทางการแข่งขันระดับประเทศที่ชัดเจน เช่น สินค้าระดับโรงงานที่ไม่เน้นการ ออกแบบหาได้จาก เวียดนาม กัมพูชา พม่า อินเดีย ปากีสถาน และศรีลังกา เป็นต้น ส่วนแฟชั่นระดับปฐมภูมิ ราคาต่าสามารถหาได้จากจีน ฮ่องกงและเกาหลี ในขณะที่แฟชั่นระดับสูงสามารถหาได้จาก ฝรั่งเศส มิลาน และลอนดอน เป็นต้น เทคโนโลยี มีหน่วยงานสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อนาไปใช้เชิงพาณิชย์ เช่น ศูนย์เทคโนโลยี โลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) และสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การ มหาชน) หรือ G.I.T เป็นต้น
18
การสารวจสภาวะเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือนปี 2555 สานักงานสถิตแห่งชาติ
5-20
กฎหมาย มีการเผยแพร่ความรู้ กฎระเบียบทางการค้ายังไปไม่ถึงผู้ประกอบการส่วนใหญ่ การติดตาม หรือการเจรจา สิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างประเทศยังล่าช้า ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุนของ ผู้ประกอบการ สิ่ง แวดล้ อม ผู้ ป ระกอบการต้ องเร่ งปรับ ตัว ในการพัฒ นากระบวนการผลิ ต ที่ไ ม่ส่ งผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อม มีหน่วยงานภายใต้กระทรวงอุตสาหกรรมดาเนินงานสนับสนุ นด้านการพัฒนากระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ เช่น Eco Mark มีผลต่อการรับรองมาตรฐานสินค้า รูปที่ 5.14 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมด้วย PESTLE Analysis
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.
5.5.4 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย SWOT Analysis SWOT Analysis เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกอุตสาหกรรมที่ประยุกต์ใช้แนวคิดการ กาหนดกลยุทธ์ เพื่อทาความเข้าใจอุตสาหกรรมและปัจจัยแวดล้อม แบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค โดยมีรายละเอียดดังนี้ จุดแข็งของอุตสาหกรรมแฟชั่น 1) ประเด็นร่วม ระบบขนส่งและสาธารณูปโภค มีความพร้อมในการสนับสนุนการกระจายสินค้าทั้งในประเทศ และในอาเซียน 5-21
คุ ณ ภาพสิ น ค้ า เป็ น ที่ ย อมรั บ ในตลาดต่ า งประเทศ แม้ จ ะไม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นระดั บ พรี เ มี่ ย ม แต่ ภาพลักษณ์คุณภาพสินค้า ไทยดีกว่าสินค้าจากประเทศจีน เวียดนาม และประเทศอื่นๆ ใน อาเซียน 2) ประเด็นเฉพาะอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ในแง่ ห่ ว งโซ่อุ ป ทานมีอุ ต สาหกรรมสนั บสนุ น ที่ แข็ ง แกร่ ง สามารถหาวั ต ถุดิ บ ได้ ง่ ายจากใน ประเทศ มีก ารรวมตั ว ผู้ ป ระกอบการเป็น คลั ส เตอร์ สมาคม มู ล นิ ธิ และหน่ ว ยงานต่ า งๆ ให้ค วาม ช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาอุตสาหกรรมสิ่งทอของไทย เช่น การตั้งศูนย์วิเคราะห์และทดสอบ สิ่งทอ สถาบันพัฒนาสิ่งทอ สมาคมอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย ศูนย์ต้นคิด 3) ประเด็นเฉพาะอุตสาหกรรมเครื่องประดับ ทัก ษะฝี มื อแรงงานในอุ ตสาหกรรมเครื่ อ งประดับ ของไทยมีคุ ณภาพและเป็น ที่ย อมรั บ ของ ตลาดโลก มีอัตลักษณ์และภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นพื้นฐานในการออกแบบ มีงานแสดงสินค้าด้านอัญมณีและเครื่องประดับ ซึ่งเป็นช่องทางสาคัญในการจาหน่ายสินค้า มีการรวมตัวกันของผู้ผลิตและผู้ค้าเครื่องประดับ ในรูปแบบสมาคมมากขึ้น ก่อให้เกิดการสร้าง เครือข่ายการค้า และเริ่มมีการรวมตัวเพื่อเพิ่มอานาจด้านการต่อรองในการค้า
จุดอ่อนของอุตสาหกรรมแฟชั่น 1) ประเด็นร่วม ผู้ประกอบการเน้นการผลิตตามศักยภาพมากกว่าการผลิตในสิ่งที่ต ลาดต้องการ แนวคิดการ แข่งขันยังคงยึดติดกับการแข่งขันรูปแบบเดิมซึ่งปัจจัยการผลิตไม่เอื้ออีกต่อไป ขาดความช านาญด้ านการท าตลาดเชิ งรุ ก ขาดการสร้ า งจุ ด ขายให้ ธุ ร กิ จ จากลั ก ษณะการ ดาเนิ น ธุร กิจ ในอดีตของผู้ ประกอบการส่ ว นใหญ่ที่พึ่งพาการติดต่อสั่ งซื้อจากลู กค้า ทาให้ ผู้ ป ระกอบการไม่ ใ ห้ ค วามส าคั ญ กั บการทาการตลาดเชิ ง รุ ก ผู้ ป ระกอบการรายย่อ ยขาด ประสบการณ์ ก ารออกตลาดและไม่ มี เ งิ น ทุ น เพี ย งพอที่ จ ะลองผิ ด ลองถู ก ได้ เ หมื อ น ผู้ประกอบการรายใหญ่ ขาดทักษะการสร้ างแบรนด์ให้กับสินค้า แบรนด์ขาด Impact เนื่องจากผู้ประกอบการขาด ความรู้และไม่มีทักษะเพียงพอในการสร้างแบรนด์ให้กับสินค้าและธุรกิจ ในขณะที่ภาครัฐมีการ แนะนาให้มีการสร้างแบรนด์อย่างต่อเนื่อง แต่ผู้ประกอบการยังไม่เข้าใจในกระบวนการปฏิบัติ ขาดการสร้างตาแหน่งทางการแข่งขันที่ชัดเจน ผู้ ป ระกอบการไม่ส ามารถเข้า ถึ ง ข้อ มู ล การตลาดที่ภ าครั ฐ จั ด ไว้ อ ย่ างทั่ ว ถึง ข้ อมู ล ขาดการ ตีความสาหรับการนาไปปฏิบัติ ผู้ประกอบการรายเล็กขาดเงินทุนในการทาการตลาดด้วยตนเอง ขาดแรงงานใหม่เข้าสู่อุตสาหกรรม เนื่องจากค่านิยมอาชีพเปลี่ยนไป ขาดการสร้างความก้าวหน้าในอาชีพ (Career path) ให้แรงงานทักษะและอาชีพนักออกแบบ โอกาสของอุตสาหกรรมแฟชั่น 1) ประเด็นร่วม 5-22
การเติบโตของธุรกิจ E-commerce และ Social Media ทาให้ผู้ประกอบการรายเล็กมีโอกาส เข้าถึงผู้บริโภคมากขึ้นจากสื่ออินเตอร์เน็ต โซเชียลมีเดียที่มีต้นทุนต่า มีการเสนอสินค้าและ การออกแบบออนไลน์โดยปรับใช้แนวคิดแบบ Mass Customization การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 คาดว่าจะทาให้อุตสาหกรรมแฟชั่นไทย ขยายตัวเพิ่มขึ้นและสามารถพัฒนาเป็นศูนย์กลางการค้าของอาเซียนได้ เนื่องจากประเทศไทย มีที่ตั้งที่เหมาะสมในการจัดตั้งฐานการค้าเพื่อส่งออกสินค้าและกระจายสินค้าไปยังประเทศ ต่างๆ ในภูมิภาคเอเซีย ความต้องการบริโภคสินค้าประเภท Creative /Functional Fashion การเปิดเขตการค้าเสรี (FTA) ในภูมิภาคต่างๆ จะมีส่วนช่วยให้อุตสาหกรรมเติบโต การจั ด งานส่ ง เสริ ม ด้ า นแฟชั่ น ที่ มี ก ารร่ ว มมื อ กั น ของภาครั ฐ และเอกชน เพื่ อเป็นการ พัฒนาการออกแบบ การตลาด และการสร้างตราสินค้าแฟชั่นไทย คาดว่าจะช่วยยกระดับ คุณภาพและ ภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ไทยได้ 2) ประเด็นเฉพาะอุตสาหกรรมเครื่องประดับ แนวโน้มการขยายตัวของตลาดในประเทศ จากการบริโภคของคนไทย และจากชาวต่างชาติ ที่มาท่องเที่ยวในประเทศไทย อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวส่งผลอย่างมี นัยสาคัญต่อปริมาณการซื้อขายสินค้าเครื่องประดับในประเทศ แนวโน้มการขยายตัวของตลาดในอาเซียน แม้ว่าตลาดอาเซียนยังไม่ ใช่เป้าหมายที่สาคัญของ สินค้าอัญมณีไทยในขณะนี้เนื่องจากกาลังซื้อยังน้อยและมีมูลค่าการส่งออกที่ต่าอยู่ แต่เชื่อว่า จะเป็นตลาดที่สาคัญในอนาคต โดยเฉพาะ อินโดนีเซีย เวียดนาม และสิงคโปร์ การเติบโตของตลาดใหม่ เช่น การเติบโตของตลาดหลัก เช่น จีน ที่ยังมีทัศนคติที่ดี ต่อคุณภาพ สินค้าเครื่องประดับของไทย แม้ว่าจีนจะเป็นผู้ผลิตที่สาคัญแต่ความนิยมสินค้าเครื่องประดับ ของไทยยังเป็นที่นิยมและมีต้องการสูง
อุปสรรคของอุตสาหกรรมแฟชั่น 1) ประเด็นร่วม ความผันผวนของนโยบายภาครัฐในการสนับสนุนอุตสาหกรรมแฟชั่น ค่านิยมการบริโภคสินค้าไทยภายในประเทศอยู่ในระดับต่า การเกิดกลุ่มประเทศผู้ ส่งออกเกิดใหม่ เวียดนาม อินโดนีเซีย เป็นประเทศที่กาลั งพัฒ นาขีด ความสามารถในการผลิตและเริ่มเข้ามามีบทบาทในการแข่งขันในอุตสาหกรรมนี้พร้อมทั้งมี ความสามารถใช้ภาษาต่างประเทศได้ในการเจรจาต่อรองได้ดีกว่าคนไทย 2) ประเด็นเฉพาะอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง ขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิตรองเท้าและเครื่องหนัง ทาให้ต้นทุนการผลิตสูง ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นผู้รับจ้างผลิต (OEM) สัดส่วนมากกว่าร้อยละ 80 ผลิตตามคาสั่งซื้อ เพื่อส่งออกไปต่างประเทศในตราสินค้าของผู้สั่งมากกว่าที่จ ะเป็นการส่งออก ภายใต้ตราสินค้าตนเอง เนื่องจากผู้ประกอบการในประเทศไม่เห็นความสาคัญในการสร้างตรา สินค้า ซึ่งเป็นการสร้างมูลค่าให้กับสินค้าทางหนึ่ง การผลิตเพื่อส่งออกในตราสินค้าที่รับคาสั่ง ผลิตมา มีลักษณะคล้ายกับประเทศคู่แข่งที่สาคัญอย่าง จีน อินเดีย อินโดนีเซียและเวียดนาม 5-23
การย้ายฐานการผลิตในหมวดรองเท้ากีฬาที่ได้ทยอยย้ายฐานผลิตและคาสั่งซื้อไปยังประเทศที่ มีค่าจ้างแรงงานที่ต่ากว่า เช่น เวียดนาม อินโดนีเซีย และกัมพูชา ทาให้เสียฐานลูกค้าไป
รูปที่ 5.15 สรุปปัจจัยภายในและภายนอกอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ตาม SWOT Analysis จุดแข็ง (S) 1)
ปัจจัยภายใน
2)
3)
จุดอ่อน (W)
ประเด็นร่วม 1) ประเด็นร่วม • ระบบขนส่งและสาธารณูปโภคมีความพร้อม • ผู้ประกอบการเน้นการผลิตตามศักยภาพมากกว่าการผลิตในสิ่งที่ ตลาดต้องการ • คุณภาพสินค้าเป็นที่ยอมรับในตลาดต่างประเทศ • ขาดการสร้างจุดขายให้ธุรกิจ ประเด็นเฉพาะอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม • ห่วงโซ่อุปทานมีอุตสาหกรรมสนับสนุนที่แข็งแกร่ง • แบรนด์ขาด Impact • มีก ารรวมตั ว ผู้ ป ระกอบการเป็ น คลั ส เตอร์ สมาคม • ขาดการสร้างตาแหน่งทางการแข่งขันที่ชัดเจน มูลนิธิ และหน่วยงานต่างๆ ให้ความช่วยเหลือ • ผู้ป ระกอบการไม่สามารถเข้ าถึ งข้ อมูลการตลาดที่ภ าครัฐจัดไว้ ประเด็นเฉพาะอุตสาหกรรมเครื่องประดับ อย่างทั่วถึง ข้อมูลขาดการตีความสาหรับการนาไปปฏิบัติ • ทักษะฝีมือแรงงาน เป็นที่ยอมรับของตลาดโลก • ผู้ประกอบการรายเล็กขาดเงินทุนในการทาการตลาดด้วยตนเอง • มีอั ตลัก ษณ์และภูมิปั ญ ญาท้อ งถิ่ นเป็นพื้นฐานในการ • ขาดแรงงานใหม่เข้าสู่อุตสาหกรรม ออกแบบ • ขาดการสร้างความก้าวหน้าในอาชีพ (Career path) ให้แรงงาน • มีงานแสดงสินค้าด้านอัญมณีและเครื่องประดับ ทักษะและอาชีพนักออกแบบ • การสร้ า งเครื อ ข่ า ยการค้ า เพื่ อ เพิ่ ม อ านาจด้ า นการ ต่อรองในการค้า
ปัจจัยภายนอก
โอกาส (O)
อุปสรรค (T)
1) ประเด็นร่วม 1) ประเด็นร่วม • การเติบโตของธุรกิจ E-commerce และ Social Media • ความผันผวนของนโยบายภาครัฐในการสนับสนุนอุ ตสาหกรรม มีการเสนอสินค้าและการออกแบบออนไลน์โดยปรับใช้ แฟชั่น แนวคิดแบบ Mass Customization • ค่านิยมการบริโภคสินค้าไทยภายในประเทศอยู่ในระดับต่า • การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 • การเกิดกลุ่มประเทศผู้ส่งออกเกิดใหม่ เวียดนาม อินโดนีเซีย เป็น • การค้าในตลาดระดับกลางบริเวณชายแดนเป็นแกนหลัก ประเทศที่กาลังพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตและเริ่มเข้ามา ในการขับเคลื่อนวิสาหกิจชุมชน มีบทบาทในการแข่งขันในอุตสาหกรรมนี้พร้อมทั้งมีความสามารถ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเจรจาต่อรองได้ดีกว่าคนไทย • คว า ม ต้ อ ง ก า ร บ ริ โ ภ ค สิ น ค้ า ป ร ะ เ ภ ท Creative 2) ประเด็นเฉพาะอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง /Functional Fashion • ขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิตรองเท้าและเครื่องหนัง ทาให้ต้นทุน • การเปิดเขตการค้าเสรี (FTA) ในภูมิภาคต่างๆ จะมีส่วน การผลิตสูง ช่วยให้อุตสาหกรรมเติบโต • ผู้ประกอบการในประเทศไม่เห็นความสาคัญในการสร้างตราสินค้า • การจัดงานส่งเสริมด้านแฟชั่น • การย้ายฐานการผลิตในหมวดรองเท้ากีฬาที่ได้ทยอยย้ายฐานผลิต 2) ประเด็นเฉพาะอุตสาหกรรมเครื่องประดับ และคาสั่ งซื้ อ ไปยัง ประเทศที่มี ค่า จ้ า งแรงงานที่ต่ ากว่ า เช่ น • แนวโน้ ม การขยายตั ว ของตลาดในประเทศจากการ เวียดนาม อินโดนีเซีย และกัมพูชา ทาให้เสียฐานลูกค้าไป บริโภคของคนไทย และจากชาวต่างชาติที่มาท่องเที่ยวใน ประเทศไทย อั ต ราการเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมการ ท่องเที่ย วส่งผลอย่างมีนัยสาคัญต่อปริมาณการซื้อขาย สินค้าเครื่องประดับในประเทศ • แนวโน้มการขยายตัวของตลาดในอาเซียน แม้ว่าตลาด อาเซียนยังไมใช่เป้าหมายที่สาคัญของสินค้าอัญมณีไทย ในขณะนี้ เ นื่ อ งจากก าลั ง ซื้ อ ยั ง น้ อ ยและมี มู ล ค่ า การ ส่งออกที่ต่าอยู่ แต่เชื่อว่าจะเป็นตลาดที่สาคัญในอนาคต โดยเฉพาะ อินโดนีเซีย เวียดนาม และสิงคโปร์ • การเติบโตของตลาดใหม่ เช่น การเติบโตของตลาดหลัก เช่น จีน ที่ยังมีทัศนคติที่ดีต่อคุณภาพสินค้าเครื่องประดับ ของไทย แม้ ว่า จี นจะเป็ น ผู้ผ ลิต ที่สาคัญ แต่ ความนิย ม สินค้า เครื่อ งประดับ ของไทยยังเป็ นที่นิย มและมี ความ ต้องการสูง
5-24
5.6 บทสรุป จากการศึกษาอุตสาหกรรมในเบื้องต้นจะเห็นว่า อุตสาหกรรมแฟชั่นของไทยเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การ บริโภคสินค้าแฟชั่นภายในประเทศเพิ่มขึ้น แสดงถึงโอกาสสาหรับผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อุตสาหกรรมแฟชั่น ขั้นต้นของไทย เช่น เสื้อผ้าสาเร็จรูปแบบโหล รองเท้าหนัง ได้รับการยอมรับในตลาดโลกด้านคุณภาพแต่มีการ แข่ ง ขั น สู ง และอยู่ ใ นภาวะชะลอตั ว และก าลั ง ปรั บ ตั ว ไปสู่ ต ลาดที่ มี มู ล ค่า เพิ่ ม สู ง ขึ้ น นั่ นคื อ ตลาดสิ น ค้ า สร้างสรรค์ เมื่อพิจารณาแนวโน้มอุตสาหกรรมและพฤติกรรมผู้บริโภค จะเห็นว่าอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ที่มีโอกาสที่ ดีคือกลุ่มที่มีการนาเสนอคุณค่าให้แก่ผู้บริโภคมากกว่าความเป็นสินค้าแฟชั่น โดยสามารถจัดแบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์แฟชั่นสร้างสรรค์ (Creative Fashion) แฟชั่นสร้างสรรค์ที่เน้นการ ออกแบบเพื่อตอบโจทย์เฉพาะ ซึ่งอาศัยองค์ความรู้ การออกแบบ และเทคโนโลยี ในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ปรับเปลี่ยนบริบทใช้สอยเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมาย (Functional Design) หรือ สร้าง อัตลักษณ์ของตนเอง (Identity) โดยนาเทรนด์แฟชั่นมาสร้างสรรค์การออกแบบที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะ นาเสนอตัวตน หรือสร้างคาแรคเตอร์ให้กับสินค้า ซึ่งพัฒนาไปสู่การมีแบรนด์ของตนเอง และการสร้างตลาด Niche ขึ้นมา เช่น ชุดชั้นในกระชับสรีระ, Wonder Anatomy, ASAVA, Milin, KLOSET, TAWN C, Wonder Anatomy, รองเท้าเพื่อสุขภาพ Finn Comfort, Pring, Kanita, Boyy, Trimode, Pitch, Pinwheel เป็นต้น กลุ่มที่ 2 ธุ ร กิจ บริการแฟชั่น (Fashion Service) คือ กลุ่ มบริการสร้างสรรค์ที่เชื่อมโยง ผสมผสานบริการเพื่อสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผลิตภัณฑ์ (Value adding service) แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ บริการสร้างสรรค์ระหว่างธุรกิจแฟชั่น (Fashion Business Service) เช่น ธุรกิจ Sourcing รับจัดหาวัสดุและวัตถุดิบแฟชั่น ธุรกิจอุปกรณ์แฟชั่นสาหรับดีไซเนอร์ ธุรกิจรับจ้าง ออกแบบลวดลาย ธุรกิจรับจ้างทาแพทเทิร์น และ บริการสร้างสรรค์สาหรับสร้างประสบการณ์ ให้แก่ผู้บริ โภค (Experience Fashion Service) เช่น ธุรกิจรับนาเข้าสิ นค้าแฟชั่น, ธุรกิจ Styling, Event Organizer, Wedding Planner, Product Reviewer, Make-up Artist, Personality Trainer, Window Display Artist, ธุรกิจถ่ายแบบแฟชั่น เป็นต้น
5-25
ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ น ว ท า ง ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร เ ข้ า สู่ ธุ ร กิ จ อ า ห า ร แ ล ะ แ ฟ ชั่ น ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ มี ศั ก ย ภ า พ
บทที่ 6 กำรวิเครำะห์ศักยภำพเชิงลึก อุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ สำขำแฟชั่น ในบทนี้ น าเสนอปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ศั ก ยภาพและการเติ บ โตของอุ ต สาหกรรม สร้ า งสรรค์ ส าขาแฟชั่ น ทั้ ง ปั จ จั ย บวกและ ปั จ จั ย ลบ และท าการประเมิ น ศั ก ยภาพ อุตสาหกรรมสาขาย่อยตามกรอบแนวคิดการ ประเมินและวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Rating Analysis) และให้ข้อสรุปว่าอุตสาหกรรมสาขา ย่อยใดบ้างที่จะนาไปทาการวิเคราะห์ เชิงลึ ก และจั ด ท าคู่ มื อ ธุ ร กิ จ ต่ อ ไป ซึ่ ง ได้ น าเสนอ รายละเอียดเป็น 4 ประเด็นหลัก ดังนี้ 6.1 ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 6.2 อุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพ 6.3 การวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์ 6.4 สรุปอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ
บทที่ 6 การวิเคราะห์ศักยภาพเชิงลึก อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น
6.1 ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 6.1.1 สถานการณ์และแนวโน้มอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น สถานการณ์อุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น การเติบโตของตลาด Fast Fashion ดึงตลาดเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม เติบโต การเติบโตของตลาด Fast Fashion ซึ่งเป็นสินค้าระดับบนในราคาย่อมเยา กระตุ้นให้สินค้ากลุ่ม Street Brand ซึ่งเป็นตลาดระดับกลางค่อนตลาดบน (B- ถึง B+) เติบโตดีขึ้น ยอดการใช้จ่ายต่อบิลของสินค้ากลุ่มฟาสต์ แฟชั่นอยู่ที่ระดับ 2,500-3,000 บาท1 ทั้งนี้ประเทศไทยยังไม่มีแบรนด์ที่เป็นผู้นาตลาดชัดเจน กาลังการบริโภคภายในประเทศสาหรับสินค้าแฟชั่นเพิ่มขึ้น ค่า ใช้ จ่ า ยซื้ อ เสื้ อ ผ้ าของผู้ บ ริ โ ภคชาวไทยมี อั ต ราการเติ บ โตสู ง ขึ้ น เรื่ อยๆ โดยชาวไทยนิ ยมซื้ อ สิ น ค้ า หลากหลาย ทั้งสินค้านาเข้าแบรนด์เนมไปจนถึงร้านขนาดเล็กในสถานที่ต่างๆ เช่น ตลาดนัด ตลาดซูเปอร์มาเก็ต และห้างสรรพสินค้า ผู้บริโภคที่เป็นพนักงานมักจะซื้อเสื้อผ้าราคาระหว่าง 200-400 บาท ส่วนการซื้อเสื้อผ้าใน ห้างสรรพสินค้าต้องมีการจัดโปรโมชั่นร้อยละ 30-50 เพื่อจูงใจผู้บริโภค 1
บทสัมภาษณ์ ดร.ณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จากัด
6-1
ธุรกิจเครื่องสาอางมีทิศทางเป็น One-Shop with Multi-Brand แนวโน้มตลาดเครื่องสาอางและเครื่องประทินผิว มีทิศทางเป็น One-Shop with Multi-Brand รวบรวม หลายแบรนด์ไว้ในร้ านเดีย วให้ ลูกค้าใช้เวลาเลือกซื้อได้อย่างอิส ระ ปี 2555 ตลาดเครื่องสาอางมีมูล ค่ารวม ประมาณ 40,000 ล้านบาท การเติบโตประมาณร้อยละ 9 โดยช่องทางการขายร้อยละ 50 เป็นการขายตรง อีก ร้อยละ 30 เป็นการขายผ่านเคาน์เตอร์ และ ร้อยละ 20 เป็นการขายผ่านหน้าร้าน (Retail Shop) แนวโน้มอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น แฟชั่นเพื่อสุขภาพรองรับการเติบโตของสังคมผู้สูงอายุที่มีเงิน ประชากรในวั ย ท างานลดลง การเปิ ด เสรี ด้า นแรงงาน และการแต่ ง งานต่ า งเชื้ อชาติ ก่อ ให้ เ กิ ดการ เคลื่อนย้ายของประชากร ซึ่งส่งผลให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป เป็นโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องสุขภาพ ประเภทใหม่ๆ (Functional Fashion) เพื่อตอบสนองความต้องการประชากรสูงอายุที่มีเพิ่มมากขึ้น กระแสการใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม (Environmental Friendly) กระแสการรักษ์สิ่งแวดล้อมและการเสพสินค้าที่มาจากธรรมชาติผลักดันให้ธุรกิจคานึงตั้งแต่การออกแบบ ส่งผลกระทบถึงรูปแบบการพัฒนาของกระบวนการผลิตและสินค้าต่างๆ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงการออก มาตรฐานสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้กลายเป็นข้อกาหนดที่สาคัญในการทาการค้าระหว่างประเทศ รูปแบบการค้าเปลี่ยนไปสู่การค้าออนไลน์ พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไป และส่งผลให้รูปแบบทางการค้าเปลี่ยนไป จากเดิมที่ผู้ซื้อต้องเดินทางมา สั่งซื้อจากแหล่งผลิตตามแบบที่ผู้ผ ลิตนาเสนอ มาเป็นการสั่งซื้อและร่วมออกแบบสินค้า ได้ เช่น การจาหน่าย เครื่องประดับออนไลน์ ผู้ซื้อสามารถต่อรองด้านการออกแบบและราคาออนไลน์ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลและการ สืบค้นที่มาของสินค้าเครื่องประดับจะตรวจสอบได้ง่ายขึ้นและแม่นยามากขึ้น การยอมรับแบรนด์ท้องถิ่นรสนิยมสากล (Local Chic) ผู้บริโภคร้อยละ 702 ถ้ามีโอกาสจะซื้อสินค้า Local Made และไม่คิดว่าสินค้าแบรนด์ท้องถิ่นดูเชย ยิ่งเป็น แบรนด์ที่มีการออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย ก็ยิ่งได้รับกระแสตอบรับที่ดี ตัวอย่างเช่น แบรนด์แฟชั่น Boyy สินค้าไทยที่ได้รับความนิยมไปยังต่างประเทศถึงขนาดเอาไปเลียนแบบ รูปแบบธุรกิจแฟชั่นเปลี่ยนสู่การ Outsourcing จาก Supply Chain เป็น Cluster Chain นักออกแบบแฟชั่นหน้าใหม่เกิดขึ้นในวงการมากขึ้น เห็นได้จากการจัด เวทีประกวด และโครงการพัฒนา นักออกแบบที่เพิ่มขึ้น เช่น Talent Thai, Demark Award, Designer’s Room เป็นต้น ซึ่งนักออกแบบเหล่านี้ผัน ตัวไปเป็นผู้ประกอบการที่มีแบรนด์ของตนเอง ทาให้ผู้ประกอบการกลุ่มนี้ยกกระบวนการผลิตไปให้ผู้รับจ้างผลิต (OEM) ดาเนินการ เพื่อลดต้นทุนแรงงาน และสามารถผลิตได้ทันต่อคาสั่งซื้อและลดระยะเวลาการผลิต (Shorten Lead-Time) เปลี่ ย นจากการจั ด หาจากซั พ พลายเออร์ ห ลายแหล่ ง เป็ น การจั ด หาจากกลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต ที่ ส ามารถ ตอบสนองได้อย่างครบวงจร (Change from Fragmented Sourcing to Full Package Suppliers) ซึ่งจะช่วย ให้ผู้ประกอบการประหยัดเวลาในการจัดหาและสามารถนาสินค้าออกสู่ตลาดได้ทันต่อความต้องการของผู้บริโภค 2
9 เทรนด์สุดชิค ผู้บริโภค Positioning Magazine 15 กุมภาพันธ์ 2556
6-2
6.1.2 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพ หรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น เพื่อให้ได้ข้อมูลในการประเมินศักยภาพธุรกิจอย่างรอบด้าน การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพของ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะผู้วิจัยได้ศึกษาดาเนินการเก็บข้อมูลจากการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ การประชุมกลุ่มย่อย การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ประกอบการ ผู้แทนสมาคม สถาบันวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมแฟชั่น และได้ข้อสรุป 6 ปัจจัย รายละเอียดดังนี้ 1. ทักษะผู้ประกอบการ ในการบริ ห ารธุร กิจ แฟชั่น ให้ อยู่รอด การออกแบบคิดเป็นสั ดส่ ว นร้อยละ 20 อีกร้อยละ 80 คื อ ความสามารถในการบริ ห ารจั ด การ 3 ซึ่ ง แสดงถึ ง โอกาสในการน าพาธุ ร กิ จ ให้ อ ยู่ ร อด ทั ก ษะ ผู้ประกอบการประกอบไปด้วย ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ มีความ เข้าใจตลาดและสร้างโอกาสจากความต้องการของลูกค้า ทักษะการบริหารจัดการ และทักษะเฉพาะ ทางที่ต้องใช้ในการประกอบอาชีพ ซึ่งประเด็นนี้จะบ่งชื้ถึงความยากในการเข้าสู่อุตสาหกรรม ส่งผลให้ คู่แข่งหน้าใหม่เข้าสู่อุตสาหกรรมไม่มากนัก 2. วัตถุดิบ การใช้วัตถุดิบภายในประเทศ แสดงถึงความสามารถพึ่งพาวัตถุดิบในประเทศได้ และโอกาสในการ สร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ผู้ ป ระกอบการรายอื่ น ๆ ตามห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน หากมี ซั พ พลายเออร์ ทั้ ง ในและ ต่างประเทศ แสดงถึงความยั่งยืนในการจัดหาวัตถุดิบในการดาเนินกิจการ 3. แรงงาน จานวนแรงงาน แสดงถึงการจ้างงานในประเทศ ซึ่งส่งผลดีถึงเศรษฐกิจโดยรวม ในอีกทางหนึ่งหาก จาเป็นต้องใช้แรงงานจานวนมากในธุรกิจ ย่อมหมายถึงสัดส่วนต้นทุนขนาดใหญ่ของธุรกิจ ซึ่งมีผล สาหรับการตั้งธุรกิจใหม่ และผลกระทบที่จะได้รับจากภาวะการขาดแคลนแรงงาน 4. ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการออกแบบสร้ า งสรรค์ ประกอบด้ ว ย (1) การใช้ ค วามสามารถด้ า นการ ออกแบบสร้างความแตกต่าง มีจุดขายที่ต่างจากธุรกิจอื่นในอุตสาหกรรม (2) ใช้การออกแบบสร้าง มูล ค่าเพิ่มแก่ธุร กิจ ทาให้ สิ นค้าและบริการมีความหลากหลายเพิ่มมูล ค่า ได้ (3) การใช้ต้นทุนทาง วัฒนธรรมในการคิดสร้างสรรค์ เสริมสร้างการเพิ่มอัตลักษณ์ของสินค้า (4) การส่งเสริมและผลักดัน ให้เกิดการออกแบบสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เช่น การประกวด การอบรม การปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งเสริมให้เกิดการแปลงความคิดสร้างสรรค์สู่การสร้างธุรกิจได้ดีขึ้น 5. เทคโนโลยี การพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ การลงทุนในเทคโนโลยีเพื่อดาเนินกิจการ และความยากง่าย ของเทคโนโลยีที่ใช้ในการดาเนินธุรกิจ เป็นประเด็นที่ แสดงถึงความยากง่ายในการเข้าอุตสาหกรรม การลงทุนตั้งต้นธุรกิจ ยิ่งต้องพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ หรือลงทุนด้านเทคโนโลยีสูง แสดงถึง คู่แข่งรายใหม่เข้าสู่อุตสาหกรรมยาก 3
ตัดตอนจากบทสัมภาษณ์ปี 2554 รายการ SME ตีแตกคุณพลพัฒน์ อัศวะประภา เจ้าของห้องเสื้อ ASAVA
6-3
6. ลูกค้าและตลาด ลู กค้ าและตลาด คือ มิติที่ จ ะช่ ว ยวิ เคราะห์ ว่าธุ รกิจ นั้นๆ มี โ อกาสอยู่รอด หรือ เติบโตหรื อไม่ ประกอบด้วย (1) การรักษาลูกค้าปัจจุบัน ซึ่งบ่งชี้ถึงกาลังซื้อในปัจจุบัน (2) การขยายฐานลูกค้าใหม่ โดยการศึกษา อานาจการซื้อ ปริมาณการซื้อซ้า การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแสดงถึงโอกาสตลาด ในอนาคต (3) การหาช่องทางการขายให้เข้ากับ พฤติกรรมของผู้บริโภค เช่น ลูกค้าเปลี่ยนจากการ เดินช็อปปิ้งกลายเป็นการซื้อสินค้าออนไลน์ การใช้วันหยุดอยู่ใน Lifestyle Mall ผู้ประกอบการก็ จาเป็นต้องมีหน้าร้าน การตัดสินใจซื้อสินค้าจากการดูรีวิว แสดงว่าลูกค้าชอบวิธีบอกต่อ และการ เติบโตของสัมคมออนไลน์ การสร้างธุรกิจออนไลน์ก็เป็นวิธีสื่อสารที่ได้ผล ซึ่งธุรกิจต้องพิจารณาว่าช่อง ทางการขายธุรกิจเอื้อต่อรูปแบบพฤติกรรมลูกค้าที่เปลี่ยนไปหรือไม่ (4) การแข่งขันในธุรกิจ จานวน ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้ น สะท้อนให้เห็นความรุนแรงในการแข่งขัน (5) ความง่ายใน การเข้าสู่อุตสาหกรรม แสดงถึงโอกาสสาหรับผู้เล่นหน้าใหม่ (6) การเข้าถึงข้อมูลการตลาด แสดงให้ เห็นถึงโอกาสในการปรับตัวเพื่อขยายธุรกิจหรือรองรับกับการเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี (7) การมี เครื อ ข่ า ยผู้ ป ระกอบการเป็ น คลั ส เตอร์ ใ นอุ ต สาหกรรมนั้ น ๆ แสดงถึ ง โอกาสการค้ า การซื้ อ ขาย แลกเปลี่ยน ช่วยเหลือกันภายในคลัสเตอร์ เมื่อเปรียบเทียบกับกระบวนการดาเนินธุรกิจจะเห็นว่าทั้ง 6 ปัจจัยข้างต้นครอบคลุมกระบวนการทางธุรกิจ ตาม ห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจดังนี้ รูปที่ 6.1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหรรมสาขาย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น แยกตามห่วงโซ่คุณค่า
ที่มา: คณะผู้วิจัย , 2556
จากการเก็บข้อมูล การประชุมกลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ ผู้แทนสถาบันการศึกษา ผู้แทนภาครัฐ สมาคม สถาบันที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมแฟชั่น ได้ข้อมูลของแต่ละปัจจัยโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
6-4
ตารางที่ 6.1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพ หรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการประกอบอาชีพ 1. ทักษะผู้ประกอบการ
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ ความรักในงานแฟชั่นเป็นแรงผลักดัน ในการทาธุรกิจ เห็นโอกาสทางการตลาดจากปัญหาที่ พบในปัจจุบัน
2. วัตถุดิบ
3. แรงงาน
4. ความคิดสร้างสรรค์
ปัจจัยลบ (-) ระดับ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ผลกระทบ ขาดองค์ความรู้การบริหารจัดการ ธุรกิจอย่างเป็นระบบ ขาดความเข้าใจด้านการตลาดและ การบริหารแบรนด์ การเข้าถึงแหล่งทุนสาหรับ ผู้ประกอบการรายย่อยยังยากลาบาก แหล่งจาหนายวัตถุดิบให้กับธุรกิจ ขนาดเล็กและกลางแบบ One-stop Service มีน้อยมากต้องเดินหาจาก หลายที่แม้อยูใ่ นย่านเดียวกัน ทาให้ เสียเวลา การใช้ซัพพลายเออร์ในต่างประเทศ พบปัญหาเรื่องการควบคุมคุณภาพ การส่งมอบ และการสื่อสาร
ประเทศไทยมีแหล่งวัตถุดิบจานวน มากและหลากหลาย เช่น วงเวียน ใหญ่ สาเพ็ง ซึ่งเป็นแหล่งจาหน่าย วัตถุดิบเครื่องหนัง อะไหล่ เครื่องประดับ และผ้าชนิดต่างๆ นักออกแบบสามารถเข้าถึงแหล่ง วัตถุดิบและนาวัตุดิบทีม่ ีอยู่แล้วมา พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ได้ง่าย กิจการมีโอกาสเข้าถึงสินค้า/วัตถุดบิ ที่ หลากหลายขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ทาให้มีตัวเลือกเป็นหนทางในการ ควบคุมต้นทุน ธุรกิจขนาดเล็กต้องการคนกลางที่ทา หน้าที่ Fashion Buyer ช่วยเลือก และคัดกรองสินค้าแฟชั่นที่เหมาะกับ ลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ธุรกิจแฟชัน่ ยุคใหม่ ไม่จาเป็นใช้ โรงงานรับจ้างผลิตที่มคี วาม แรงงานจานวนมากเนื่องจากใช้ระบบ รับผิดชอบ สามารถทางานได้ตาม การจ้างช่วง (Outsource) เป็นบาง ข้อกาหนดและส่งงานตรงเวลา หา กระบวนการทาให้ลดต้นทุนคงที่ดา้ น ได้ยากมาก แรงงานลง ไม่มีฐานข้อมูลเครือข่ายช่างฝีมือ ต้องอาศัยการลองผิดลองถูกจนพบ การจ้างช่วงทาให้เกิดการสร้างระบบ การควบคุมคุณภาพมากขึ้น แรงงานทักษะทั้งชาวไทยและ มีเครือข่ายช่างฝีมือเฉพาะทางที่ช่วย ชาวต่างชาติขาดแคลน ในการผลิตปริมาณมาก มีแหล่งข้อมูลผู้รับจ้างผลิต OEM จานวนมากให้เลือกใช้บริการ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีส่วนช่วยในการ การพึ่งพาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาก สร้างความแตกต่าง ต้องรู้จักนาจุดของ เกินไปโดยไม่สร้างอัตลักษณ์ของ เล็กๆ น้อย เช่น กรรมวิธีเฉพาะ หรือ สินค้าตนเองที่ชัดเจนทาให้สินค้าดู ความพิเศษของแหล่งกาเนิดสินค้าหรือ ล้าสมัย 6-5
ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการประกอบอาชีพ
5. เทคโนโลยี
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ วัตถุดิบมาสร้างความแตกต่าง ซึ่งจะ ส่งผลต่อการตลาดตามมาด้วย คนไทยมีทักษะด้านการออกแบบเพื่อ ความสวยงาม การผสมผสานศิลปะกับงานออกแบบ เพื่อแก้ปัญหาที่มีในปัจจุบัน (Functional and Aesthetic Design) จะช่วยเปิดโอกาสตลาดใหม่ ได้มากขึ้น มีเวทีที่เปิดโอกาสให้นักออกแบบได้ รวมกลุม่ และแสดงผลงานมากขึ้น ทั้ง ในและต่างประเทศ การสร้างความแตกต่างด้วยการ ออกแบบทาให้ผู้บริโภคจดจา เช่น การนารูปทรงขนมไทยมาทาเป็น กระเป๋า ซึ่งไม่ใช่สินค้าที่เห็นได้ทั่วไป ในตลาด การสร้างเรื่องราว มีทไี่ ปที่มาของ สินค้าช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้ธุรกิจอีก ทางหนึ่ง การบริการที่เพิ่มขึ้นมาจากสินค้า คือ หัวใจการสร้างมูลค่าและสร้างฐาน ลูกค้าประจาให้เกิดขึ้น เช่น บริการ Personal Shopper ที่ให้คาแนะนา เรื่องเสื้อผ้าหน้าผม เครื่องสาอาง ที่ เหมาะกับลูกค้าทาให้ลูกค้าตัดสินใจ ซื้อสินค้าได้ง่ายกว่าให้ลูกค้าเลือกเอง โดยมองประเด็นราคาเป็นเรื่องรอง มีเทคโนโลยีที่ทาให้กระบวนการผลิต รวดเร็วมากขึ้น มีองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ สามารถนามาผสมผสานกับการออก แบบสินค้าแฟชั่นได้ เช่น เทคโนโลยี การแพทย์ เทคโนโลยีนาโน เป็นต้น การวิจัยและพัฒนาทางวัสดุศาสตร์ ของภาครัฐสร้างโอกาสและทางเลือก ให้แก่นักออกแบบ 6-6
ปัจจัยลบ (-) ระดับ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ผลกระทบ การออกแบบในตลาดแฟชั่นปัจจุบนั ยังเน้นการออกแบบเพื่อความ สวยงามมากกว่าประโยชน์ใช้สอย ทา ให้ความแตกต่างยังไม่เด่นชัด การปกป้ อ งทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา ให้กับนักออกแบบยังทาไม่เต็มที่
การเข้ า ถึ ง เทคโนโลยี และการ ทดสอบต่างๆ เพื่อให้ได้การยอมรับ ใช้เวลาและเงินทุน ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ใ น ก า ร ผ ลิ ต อุ ต ส า ห ก ร ร ม ข อ ง ไ ท ย ที่ ยั ง ใ ช้ เทคโนโลยี ใ นขั้ น ตอนกลางน้ าน้ อ ย มากหากเทียบกับประเทศที่ประสบ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น ใ น อุตสาหกรรมที่ศักยภาพ ส่วนใหญ่
ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการประกอบอาชีพ
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ
6. ลูกค้าและตลาด
ผู้บริโภคในปัจจุบันมีความเป็นปัจเจก สูง เข้าถึงข้อมูลข่าวสารรวดเร็ว ไม่ ยึดติดกับแบรนด์มากนัก ทาให้ อุตสาหกรรมแฟชั่นยังไม่มีแบรนด์ที่ เป็นผู้นาตลาดอย่างชัดเจน กลายเป็น โอกาสสาหรับผู้ประกอบการขนาด SME Niche Market คือตลาดทีม่ ีศักภาพ เช่น กลุ่มผู้บริโภคที่เป็นผูส้ ูงอายุ กลุ่ม คนอ้วน กลุ่มรักสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภคใน ปัจจุบันมีความผูกพันกับสังคม ออนไลน์ ต้องการความสะดวกสบาย และการบริการทีเ่ พิ่มมากขึ้น เป็น โอกาสสาหรับธุรกิจออนไลน์ การมองข้ามไปหาลูกค้าทีไ่ ม่น่าใช่ทา ให้มองเห็นโอกาสที่เพิ่มมากขึ้น เช่น รองเท้ากันลื่นสาหรับผู้สูงอายุแต่ขาย ให้กับโรงพยาบาล กระเป๋าทรงขนม ไทยที่กลายเป็นของที่ระลึกสาหรับ ลูกค้าธุรกิจโรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้น การเปลีย่ นแปลงตลาดจากปัจจัย ภายนอก เช่น AEC คือการเปิดโอกาส ไปสูต่ ลาดที่มีประชากรมากกว่า 600 ล้านคน และประเทศไทยมีโอกาสเป็น ผู้นาแฟชั่นในกลุ่ม CLMV ด้วยอิทธิพล ของอุตสาหกรรมบันเทิงที่เผยแพร่ไป ยังประเทศเพื่อนบ้าน การตลาดออนไลน์ คือ สนามรบใหม่ ของสินค้าแฟชั่น โดยเฉพาะการใช้ Social Network
6-7
ปัจจัยลบ (-) ระดับ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ผลกระทบ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ท ย มี แ ต่ ก า ร ใ ช้ เทคโนโลยี เ ฉพาะในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ขั้ น สุดท้ายเท่านั้น ขาดการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ก าร ออกแบบอย่างเป็นระบบให้แก่ธุรกิจ ผู้บริโภคอีกส่วนหนึ่งต้องการสัมผัส สินค้าก่อนการตัดสินใจ การมีหน้า ร้านจึงยังจาเป็นอยู่ สิ น ค้ า แฟชั่ น ในตลาดมี ป ริ ม าณมาก ส่ ว น ใ ห ญ่ ที่ ล้ ม เ ห ล ว เ นื่ อ ง จ า ก ผู้ประกอบการยังไม่การสร้างสื่อสาร จุดยืนอย่างมีนัยสาคัญผ่านสินค้าไป ยั ง กลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย จุ ด ยื น ทาง กลยุ ท ธ์ เ ป็ น เรื่ อ งส าคั ญ และต้ อ งคิ ด ตั้ ง แต่ ก ระบวนการออกแบบให้ มี ความแตกต่างอย่างชัดเจน อุ ต สาหกรรมแฟชั่ น สามารถเข้ า สู่ อุต สาหกรรมได้ง่าย มี ผู้เ ล่น จานวน มาก การแข่ งขั น สู ง แต่ มี Segment จานวนมาก บาง Segment มีความ ต้องการซื้อสูงและคู่แข่งน้อยมาก ผู้ป ระกอบการแฟชั่น ยั งมองว่ า AEC เป็น เรื่อ งไกลตัว และไม่มี ผลกระทบ มากนัก จึงไม่มีก ารเตรีย มพร้ อมรั บ โอกาสที่ จ ะเข้ า มาทั้ ง ด้ า นภาษา วัฒนธรรม รสนิยม แบรนด์ รุ่ น ใหม่ ข าดการสื่ อ สา ร แบรนด์แบบซ้าถี่ๆจนเกิดภาพจาใน กลุ่มผู้บริโภค ขาดแคลนนั ก การตลาดแฟชั่ น มื อ อาชี พ ที่ ส ามารถวิ เ คราะห์ ค วาม ต้ อ งการสิ น ค้ า ในอนาคตและชี้ เ ป้ า กลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ แ ตกต่ า งกั น ได้ อ ย่ า ง แม่นยา การขยายตลาดต่างประเทศ ต้อง พิจารณากลุ่มลูกค้าของงานแสดง สินค้าแต่ละงานให้ดีและอ่านตาแหน่ง
ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการประกอบอาชีพ
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ
ปัจจัยลบ (-) ระดับ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ผลกระทบ ทางการตลาดทั้งในงานแสดงสินค้า และตลาดในประเทศเป้าหมายให้ ออก ก่อนจะตัดสินใจเข้าไปขาย สินค้าหรือขยายกิจการ ขาดแคลน Trader ที่เก่งในการทา ตลาดต่างประเทศแทนผูผ้ ลิตซึ่ง ชานาญด้านการผลิตมากกว่าการทา ตลาด ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ทมี่ ีส่วนเกีย่ วข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
6.2 อุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพ จากการวิเคราะห์เบื้องต้นพบว่า ธุรกิจและอาชีพที่เกี่ยวเนื่องของอุตสาหกรรมแฟชั่น ทั้งที่เป็นธุรกิจและอาชีพ ดั้งเดิมและที่เกิดใหม่ตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและเทคโนโลยี แบ่งตามระดับการปรับใช้ความคิด สร้างสรรค์ในการสร้างมูลค่า สามารถสรุปได้ดังนี้ กลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์แฟชั่น เป็นกลุ่มอาชีพที่ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์สูง สร้างแรงบันดาลใจ ให้ กั บ ธุ ร กิจ อื่น ๆ มั กเป็ น พวก Trend Setter นั กออกแบบต่ างๆ เช่น ธุร กิจ นักออกแบบผลิ ตภัณ ฑ์แ ฟชั่ น (Designer) ผู้สร้างแฟชั่นออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ ธุรกิจวางแพทเทิร์น -แปลงความคิดสร้างสรรค์ของนักออกแบบสู่ ต้นแบบเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์ อยู่ธุรกิจผลิตอัญมณีและเครื่องประดับ ธุรกิจผลิตเสื้อผ้าเครื่องประดับ รองเท้า กระเป๋า กลุ่มธุรกิจบริการแฟชั่น ธุรกิจสนับสนุนอุตสาหกรรมแฟชั่น เป็นกลุ่มอาชีพที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ปานกลาง อาศัยผลงานจาก ความคิดสร้างสรรค์ของกลุ่มแรกต่อยอดธุรกิจ เช่น ธุรกิจออกแบบการแต่งตัว-นักจับคู่แฟชั่นกระจายตัวอยู่ในธุรกิจ แฟชั่น บันเทิง ร้านค้า (Window Display) ธุรกิจโมเดลลิ่ง ธุรกิจจัดแสดงสินค้า ธุรกิจรีวิวสินค้า ธุรกิจเสริมความ งาม เช่น สปา ผลิตภัณฑ์เสริมความงาม ธุรกิจบันเทิง ธุรกิจสื่อโฆษณา ธุรกิจแฟชั่นแม็กกาซีน ธุรกิจออกแบบและ พัฒนาบุ คลิ กภาพ ธุรกิจแต่งหน้า ธุรกิจเครื่องสาอางค์ ธุรกิจเสริมสวย ธุรกิจนักออกแบบเว็บไซต์และการค้า ออนไลน์ ธุรกิจเกมส์แต่งตัว เป็นต้น ธุรกิจซื้อขายขายไป เป็นกลุ่มอาชีพที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์น้อย แต่ช่วยเติมเต็มอุตสาหกรรมแฟชั่น ให้ สมบูรณ์ เช่น ธุรกิจร้านค้าปลีก ธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจห้างสรรพสินค้า ธุรกิจโลจิสติกส์ ธุรกิจซอฟต์แวร์และบริการไอที ธุรกิจการตลาด เป็นต้น
6-8
รูปที่ 6.2 ธุรกิจเกี่ยวเนื่องของอุตสาหกรรมแฟชั่น
ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.
จากการรวบรวมข้อมูลผลสารวจออนไลน์ของความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่ ประกอบกับข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้มาจาก การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม พบว่า คนรุ่นใหม่มีความสนใจในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย โดย สามารถจัดเป็นหมวดตามกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ ดังนี้ กลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์แฟชั่น ประกอบด้วย 1) ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น เป็นผู้ประกอบการเสื้อผ้าสาเร็จรูป หรือเสื้อผ้าสั่งตัดที่มีแบรนด์เป็นของ ตัวเอง มักจะมีนักออกแบบหรือดีไซเนอร์ผู้ก่อตั้งแบรนด์ หรือมีดีไซเนอร์ (Designer) ประจาแบรนด์ ความสร้ างสรรค์อยู่ที่การออกแบบที่ส ร้างเอกลั กษณ์เฉพาะตัว สามารถประยุกต์ใช้เทรนด์แฟชั่น แฟชั่นในต่างประเทศให้เค้ากับแบรนด์คอนเซ็ปและกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการวาง ตาแหน่งสินค้าอยู่ในระดับปานกลางถึงระดับสูง ในรายธุรกิจขนาดใหญ่อาจควบคุมตั้งแต่กระบวนการ ผลิตจนถึงกระบวนการขายได้ด้วยตัวเอง ตัวอย่างแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่นที่เป็นแบรนด์ขนาดใหญ่ เช่น The Kloset นาเสนอภาพลักษณ์สาวหวาน ที่ชอบการแต่งตัวและสนุกกับการจับคู่เครื่องประดับ , ASAVA ที่มีจุดขายเรื่องการออกแบบสไตล์ Minimalist เป็นต้น ในรายธุรกิจสร้างสรรค์ ขนาดเล็กก็ สามารถสร้างแบรนด์ตัวเองได้โดยอาศัยการออกแบบที่ทาให้เกิดจุดขาย จับกลุ่มลูกค้าที่ชัดเจน แม้จะ ไม่สามารถลงทุนทุกกระบวนการได้ตั้งแต่การผลิตจนถึงการขาย แต่การOutsourceงาน การหาคู่ค้า พันธมิตรที่ดี ก็ช่วยให้แบรนด์ขนาดเล็กสามารถเติบโตได้ดีเช่นกัน ตัวอย่างแบรนด์เสื้ผ้าแฟชั่นในราย 6-9
ธุรกิจขนาดเล็ก เช่น Standing rooms ที่มีจุดขายเรื่องเดรสกึ่งลาลองที่สุภาพ สะอาดตาและไม่เชย เหมาะกับภาพลักษณ์คุณหมอ ใช้ระบบการจ้างตัดเย็บจากช่างฝีมือในชุมชน, แบรนด์ Hempthai ที่มี จุดขายเทคโนโลยีการพัฒนาวัสดุสิ่งทอจากเส้นใยกัญชง และการออกแบบสไตล์ญี่ปุ่น เป็นต้น 2) ธุรกิจแบรนด์เครื่องประดับ เป็นผู้ประกอบการอัญมณี (Jewelry) หรือเครื่องประดับ (Accessory) ที่ มีการออกแบบและมีแบรนด์เป็นของตัวเอง มีดีไซเนอร์ประจาแบรนด์ สินค้าจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว มีการวางตาแหน่งสินค้าอยู่ในระดับปานกลางถึงระดับสูง เนื่องจากกระบวนการผลิตต้องใช้ทักษะ ฝีมือและความชานาญ ผู้ประกอบการบางรายจึงมีนากระบวนการบางส่วนไปจ้างช่างฝีมือภายนอก เช่น การเจียระไน การประกอบตัวเรือน ตัวอย่างธุรกิจ เช่น Pitch, Pinwheel, Trimode เป็นต้น 3) ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า กลุ่มผู้ประกอบการ หรือผู้ต้องการตั้งต้นในธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์โดย การจาหน่ายกระเป๋า หรือรองเท้าที่มีการออกแบบและมีแบรนด์ของตนเอง ไม่ได้จากัดวงว่าต้องเป็น กระเป๋าหนังเท่านั้น จะเป็นกระเป๋ารูปทรงไหน ใช้วัสดุอะไรก็ได้ อาจมีสินค้าแฟชั่นอื่นๆร่วมด้วย เช่น ของตกแต่งกระเป๋า เสื้อผ้า เครื่องประดับ มาเป็น collection ร่วมกับสินค้าหลักก็ทาได้ทั้งนั้น หัวใจ สาคัญคือ มีนักออกแบบหรือดีไซเนอร์ผู้ก่อตั้งแบรนด์ สินค้าจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว หรือมีบริการที่ สร้างจุดขายให้กับสินค้า เช่น แบรนด์ Container เพิ่มมูล ค่าด้ว ยการออกแบบที่แ ก้ปัญหาการใช้งาน (Functional Design) ซึ่งเน้นประโยชน์สอยจากการเลือกวัสดุน้าหนักเบา กันน้า และมีช่องเก็บของเยอะ เหมาะสาหรับงานลุย กระเป๋าแบรนด์ Boyy สร้างอัตลักษณ์ตัวตน (Identity) แตกต่างจากสินค้าแฟชั่นทั่วๆไป ประสบความสาเร็จทั้ งในอังกฤษและในประเทศไทย และบรรดาเซเลปนิยมนามาใช้ เพราะ สไตล์ของ Boyy มีดีไซน์ไม่ค่อยหวือหวา แต่โชว์ลักษณะเด่นของวัสดุที่นามาใช้ทากระเป๋า ใช้ได้กับการแต่งตัวหลายแบบ มีคอนเซ็ ปต์ คือ Personal พอไปอยู่กับใครก็จะช่วยเสริม บุคลิกและเสริมลุคให้คนที่ใช้ดูลงตัว นี่เป็นจุดสาคัญที่ทาให้คนจดจา กระเป๋าแบรนด์ Kanita ที่มีจุดเด่นเรื่องไอเดียการออกแบบ ที่นารูปทรงขนมไทยมาออกแบบ เป็นกระเป๋าและเครื่องประดับกระเป๋า เป็นการออกแบบที่แหวกตลาดที่นอกจากจะตอบ โจทย์ลูกค้าวัยรุ่นที่ชอบความแนวแล้ว ยังสามารถขยายไปยังตลาดการท่องเที่ยวได้ด้วย กระเป๋าแบรนด์ The Remaker ชูการออกแบบที่สามารถนาวัสดุเหลือใช้ เช่น ยางในรถยนต์ ป้ายโฆษณาผ้าไวนิลมาแปลงเป็นกระเป๋าสุดแนวสาหรับวัยรุ่นหัวใจสีเขียว โดยแปลงโฉม ลวดลายที่อยู่บนวัสดุด้วยกระบวนการตัดเย็บที่ทาให้กระเป๋าดูมีราคา กระเป๋าแบรนด์เนมระดับ high end ทุกราย มีบริการซ่อมแซม ทาความสะอาดกระเป๋า เช่น Ruchittra แบรนด์กระเป๋าหนังแท้ฝีมือคนไทยที่ให้ การบริการเสริมให้กับผลิตภัณฑ์ (Value adding Service) เอาใจใส่ลูกค้าและเน้นบริการหลังการขายเป็นอย่างมาก 4) ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ เป็นตัวอย่างหนึ่งของกลุ่มธุรกิจที่สามารถหาส่วนตลาดของตัวเองเจอ มีทั้งที่รับ ผลิตจนถึงขายด้วยตัวเอง ออกแบบเองแล้วจ้างตัดเย็บ จนถึงใช้ระบบ Sourcing หาสินค้าจาก ต่างประเทศแล้วใช้แบรนด์ตนเอง ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ มีการเติบโตเพิ่มขึ้นในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากประชากรอ้วนมีจานวนเพิ่มขึ้น โดยเด็กก่อนวัยเรียนอ้วนเพิ่มขึ้นร้อยละ 36 เด็กวัยเรียนช่วง 6-10
5)
6)
7) 8)
4
อายุ 6-13 ปี อ้วนเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.5 เมื่อรวมกับประชากรผู้ใหญ่แล้ว จะมีเด็กและผู้ใหญ่อ้วน เพิ่มขึ้น ปีล ะ 4 ล้ านคน4 สั งเกตได้จานวนผู้ประกอบการที่เข้าสู่ ตลาดนี้มีจานวนมากขึ้น ทว่ามี ผู้ประกอบการจานวนไม่น้อยที่ต้องออกจากตลาดไป เนื่ องจากความไม่เข้าใจในกลุ่มลูกค้า ซึ่งมีความ อ่อนไหวในเรื่องรูปร่างจุดบกพร่องบนร่างกาย การออกแบบเสื้อผ้าเพื่อลูกค้ากลุ่มนี้จึงไม่สามารถทา เพียงขยายขนาดจากดีไซน์ปกติ แต่ต้องดูการออกแบบรูปทรงสีสัน ลวดลายที่ช่วยพรางหุ่นด้วย ส่วน ตลาดนี้ไม่ได้จ ากัดแต่เพีย งตลาดในประเทศเท่านั้น ตลาดแอฟริกาก็ยังตอบรับธุรกิจกลุ่มนี้ด้วยดี เช่ น กั น โดยพ่ อ ค้ า แม่ ค้ า ชาวแอฟริ ก านิ ย มมาเลื อ กสิ น ค้ า เองที่ ป ระเทศไทยแล้ ว บรรทุ ก กลั บ ไป ตัวอย่างธุรกิจ เช่น แบรนด์ Suri by Surivipa เน้นการออกแบบกึ่งลาลองที่ดีไซน์เปรี้ยวซ่าคุณภาพ เนื้อผ้าดี , Women’s Plus size เน้นเสื้อผ้าที่สามารถใส่ทางานได้ , แบรนด์ W&W 999 เน้นชุด ทางานและชุดออกงาน สไตล์เกาหลี สามารถ customized ให้ลูกค้าแต่ละรายได้ เนื่องจากมีช่าง แพทเทิร์นและช่างตัดเย็บของตัวเอง แบรนด์ Birdyshop และ Jumbodesign เน้นเสื้อยืดและเดรส จากผ้าชีฟองและผ้าเรยอนที่คุณภาพปานกลางแต่มีดีไซน์ที่ช่วยอาพรางรูปร่าง เป็นต้น ธุ ร กิ จ เสื้ อ ผ้ า ไทยโมเดิ ร์ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารออกแบบน าลายผ้ า ไทยมาตั ด เย็ บ ในรู ป แบบทั น สมั ย เคลื่อนไหวสะดวกสาหรับการทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน ซึ่งตอบโจทย์ความต้องการของธุรกิจ โรงแรม สปา ร้านอาหาร ที่ต้องการยูนิฟอร์มพนักงานที่มีกลิ่นอายความเป็นไทย แต่ใช้สอยสะดวก นอกจากนั้นยังเป็นของขวัญ ของที่ระลึก ของฝากสาหรับนักท่องเที่ยวได้ด้วย ตัวอย่างธุรกิจ เช่น ไทย มาลิบู เจเอสพรอพเพอร์สไตล์ เป็นต้น ธุรกิจแฟชั่น DIY ธุรกิจที่เว้นกิจกรรมในการผลิตบางอย่างไว้เพื่อให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในการผลิตสินค้า ชิ้น นั้ น ๆ ออกมา เป็ น รู ป แบบธุ รกิจ ที่ได้ รับความนิยมในกลุ่ มวั ยรุ่น เนื่ องจากลู กค้า ได้แ สดงออก ความคิดสร้างสรรค์เต็มที่ สินค้าที่ผลิตเกือบเสร็จเพื่อรอลูกค้าเข้ามาต่อเติมส่วนสุดท้ายให้สมบูรณ์ ถือ เป็นการทางานในลักษณะ Mass Customization ซึ่งธุรกิจสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มจากบริ การส่วนนี้ ได้ ตัวอย่างเช่น ร้าน Big Knit ซึ่งจาหน่ายสินค้าแฟชั่นจากไหมพรม และเส้นไหมพรม โดยทางร้านได้ จัดพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็น Workshop พร้อมอุปกรณ์การถักไหมพรมที่ง่าย ทันสมัย และเสร็จรวดเร็ว ให้ ลูกค้าได้สนุกกับการเลือกไหมพรมแบบต่างๆได้ตามใจชอบ และสนุกกับการถักไหมพรมเป็นของใช้ หรือหุ้มหมอน หุ้มตุ๊กตา โดยทางร้านมีอุปกรณ์ไว้ให้ นอกจากนั้น Big Knit ยังเปิดส่วนที่เป็น ร้านอาหารเพื่ออานวยความสะดวกแก่ลูกค้าอีกด้วย ธุรกิจรับสกรีนเสื้อคู่รอรับได้ทันทีซึ่งแพร่หลายใน กลุ่มวัยรุ่นเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของแฟชั่น DIY ที่ตั้งใจขายบริการให้ลูกค้าสร้างสรรค์ลวดลายตามชอบ มากกว่าการขายเสื้อ ธุรกิจเสื้อผ้าเด็ก อาชีพที่ผลิตและจาหน่ายเสื้อผ้าเด็กเล็กไปจนถึงเด็กโต เป็นธุรกิจที่สร้างมูลค่าเพิ่มได้ มาก บางแบรนด์มีราคาสูงยิ่งกว่าเสื้อผ้าผู้ใหญ่ และต้องคานึงถึงความปลอดภัยเป็นอันดับต้นๆ ธุรกิจออกแบบเสื้อผ้าสุนัข * ผลิตเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับสาหรับสุนัข มีทั้งสินค้าใน ระดับตลาดกลาง และสินค้าในระดับตลาดบน ซึ่งในส่วนตลาดนนี้ยังไม่มีผู้เล่นมากนัก ไม่มีผู้นาตลาด ที่ชัดเจน ตัวอย่างธุรกิจเช่น เช่น Doodletons, Dogbras เป็นต้น
กระทรวงสาธารณสุข เข้าถึงได้จาก http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9560000074798
6-11
กลุม่ ธุรกิจค้าปลีกแฟชั่น5 ประกอบด้วย 1) ธุ ร กิ จ น าเข้ า เสื้ อ ผ้ า กระเป๋ า รองเท้ า น้ าหอมแบรนด์ เ นม ท าหน้ า ที่ น าเข้ า สิ น ค้ า แฟชั่ น จาก ต่างประเทศมีทั้งในรูปแบบหิ้วเข้ามาเก็บเพื่อรอขาย และการ Pre-Order ให้ลูกค้าสั่งซื้อเข้ามาก่อน พร้อมโอนเงิน แล้วผู้ขายจะจัดหามาให้ 2) ธุรกิจเสื้อผ้ามือสอง เสื้อผ้ามือสองจะจาหน่ายมาในรูปแบบกระสอบใช้ชั่งน้าหนักขายเป็นกิโลกรัม ไม่ สามารถแบ่งขายได้ โดยในแต่ละกระสอบจะมีทั้งเสื้อที่ชารุดแล้ว เสื้อใช้แล้ว และเสื้อใหม่ที่ร้านค้าต้อง ขายทิ้งเมื่อหมดฤดูกาล ผู้ประกอบการที่รับไปขายปลีกต่อจะต้องรับความเสี่ยงกับสินค้าเสียหายที่ ปะปนมาในกระสอบเอง 3) ธุรกิจขายอุปกรณ์สร้างสินค้าแฟชั่นแบบครบวงจร (Fashion Supply)* ธุรกิจประเภทนี้กลุ่ม ลูกค้าเป้าหมายคือ นักออกแบบแฟชั่น ไม่ใช่ซัพพลายเออร์ในกระบวนการผลิต สินค้าในร้านจึงมีไว้ เพื่อตอบโจทย์งานออกแบบ การทาแบรนด์สินค้ าแฟชั่นอีกทอดหนึ่ง ซึ่งร้านรูปแบบนี้ในประเทศไทย ยังหายาก ตัวอย่างเช่น ร้าน Lamune ซึ่งจาหน่ายเครื่องเขียนและอุปกรณ์สาหรับขึ้นแบบแฟชั่น โดยเฉพาะ รวมถึงอุปกรณ์ป้ายห้อยแบรนด์ด้วยเช่นกัน 4) ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ คือ การขายสินค้าแฟชั่นผ่านทางเว็บไซต์ Facebook Instragram เป็นต้น 5) ธุรกิจจาหน่ายเครื่องสาอาง* มีทั้งในรูปแบบการจาหน่ายออนไลน์ การขายตรง และ Counter brand มักมีบริการแต่งหน้าเพื่อทดลองใช้สินค้า หรือทางานร่วมกับ Beauty Blogger, Youtuber ในการรีวิวสินค้า ธุรกิจบริการสนับสนุนอุตสาหกรรมแฟชั่น ประกอบด้วย 1) ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่นและความงาม (Beauty Blogger) ธุรกิจนี้เกิดขึ้นจากการที่ผู้บริโภคสนใจ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าแฟชั่นและความงามซึ่งมีข้อมูลในปริมาณมาก การแสดงวิธีการใช้หรือการ ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ผ่านสื่อออนไลน์จึงตอบโจทย์ผู้บริโภคและทาให้บล็อกเกอร์กลายเป็นบุคคล ผู้ทรงอิทธิผลในธุรกิจนี้ ค่าใช้จ่ายที่เจ้าของผลิตภัณฑ์จ่ายให้กับบล็อกเกอร์มีตั้งแต่ขั้นต่า 15,000 บาท ไปจนถึง 100,000 บาทขึ้นไปตามกิจกรรมและความโด่งดังของบล็อกเกอร์ ตัวอย่างบล็อกเกอร์ที่ โด่งดังในประเทศไทย เช่น โมเมพาเพลิน Jeban พลอย Onewayticket MichaelPhan เป็นต้น 2) ธุรกิจบริการแต่งหน้าทาผม (Hair-Makeup Artist)* เป็นธุรกิจที่เติบโตคู่กับอุตสาหกรรมแฟชั่น ให้คาแนะนาในการแต่งหน้าที่เหมาะสมกับรูปหน้า เครื่องแต่งกาย และโอกาส 3) Costume / สไตลิสต์ / Personal Shopper มีหน้าที่ดูแลภาพลักษณ์ของศิลปิน ดารา คนดัง ผู้บริหาร นักการเมือง โดยมีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นทุกชนิดของกลุ่มลูกค้าที่ตนเอง ดูแลอยู่ และมีอิทธิพลต่อประชาชนทั่วไปในการเลือกซื้อสินค้าแฟชั่นเนื่องจากได้เห็นตัวอย่างการ แต่งกายและของใช้เครื่องประดับจากเหล่าคนดัง
5
* หมายถึง ข้อมูลเพิ่มเติมจากการประชุมและการสัมภาษณ์
6-12
4) Fashion Merchandiser* มีหน้าที่ในการจัดแสดงสินค้า ณ จุดขาย จัดตู้โชว์ และบริหารงานขาย ณ จุ ดขายหรื อในร้ านบู ติคแฟชั่น เป็นผู้ นาเสนอตั ว อย่างการผสมผสานเสื้ อผ้ า รองเท้า กระเป๋ า เครื่องประดับ เพื่อประกอบการตัดสินใจซื้อของลูกค้า 5) Fashion Buyer* มีหน้าที่ในการจัดซื้อสินค้าแฟชั่นเข้ามาขาย โดยต้องเป็นผู้มีความเข้าใจในเรื่อง แบรนด์ เทรนด์แฟชั่น รสนิยมและ Life Style ของตลาดเป้าหมาย แม้จะเป็นอาชีพที่มักพบใน Luxury Brand และบริษัทขนาดใหญ่ จากการสัมภาษณ์พบว่าธุรกิจซื้อมาขายไปขนาดกลางและย่อม ก็มีความต้องการบริษัทตัวแทนที่ทาหน้าที่ Fashion Buyer มีความเข้าใจแฟชั่น สามารถช่วยคัดกรอง ซัพพลายเออร์และเลือกซื้อสินค้าจากทั้งในและต่างประเทศได้ตรงกลุ่มลูกค้าธุรกิจ เพื่อพัฒนาการทา ธุรกิจของ SME ให้เป็นมืออาชีพและ ลดโอกาสเสี่ยงการเกิดสินค้าคงค้าง (Dead Stock) 6) นักการตลาดแฟชั่น* นักบริหารแบรนด์แฟชั่น (Fashion Marketer/ Brand Strategist) ทาหน้าที่ วางแผนการตลาด สื่อสารการตลาดและบริหารแบรนด์สาหรับธุรกิจแฟชั่นโดยเฉพาะ 7) ที่ปรึกษาธุรกิจแฟชั่น (Fashion Retail Consultant) * ทาหน้าที่ให้คาแนะนาการจัดตั้งร้านขาย สินค้าแฟชั่น 8) สถาบันสอนการออกแบบแฟชั่น* ทาหน้าที่ผลิตนักออกแบบ จัดฝึกอบรมและฝึกสอนทักษะที่จาเป็น สาหรับนักออกแบบ 9) สถาบั น สอนการบริ หารแบรนด์ แ ฟชั่ น * ท าหน้ าที่ ฝึ ก อบรมวิธี ก ารบริ ห ารแบรนด์ห รู ห ราให้ กั บ ผู้ประกอบการ 10) ธุรกิจบริการถ่ายภาพแฟชั่นและโมเดลลิ่ง บริการถ่ายภาพนาเสนอสินค้าให้ มีภาพลักษณ์ที่ตรงตาม แนวคิดของสินค้า จากข้อมูลผลสารวจออนไลน์ของความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่ ประกอบกับข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ เชิงลึก และการสนทนากลุ่มย่อย พบว่า คนรุ่นใหม่มีความสนใจในการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องในธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น รวมทั้งสิ้น 23 อาชีพ โดยแต่ละอาชีพมีปัจจัยบวกหรือโอกาสทางธุรกิจ และปัจจัยลบหรือข้อจากัดทาง ธุรกิจดังนี้ ตารางที่ 6.2 ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพในการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 1) ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น
ปัจจัยบวก (+) ปัจจัยลบ (-) หรือโอกาสทางธุรกิจ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ผู้บริโภคให้การยอมรับแบรนด์ท้องถิ่น คู่แข่งจานวนมาก กาลังการซื้อเพิ่มขึ้น ต้องอาศัยความรูด้ ้านการออกแบบ และระบบการบริหารจัดการที่ดี มีการซื้อซ้าบ่อย ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อง่าย มีปัญหาสินค้าถูกลอกเลียนแบบ เข้าสู่อุตสาหกรรมง่าย มีคลัสเตอร์อุตสาหกรรมรองรับการทา Outsourcing 6-13
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 2) ธุรกิจแบรนด์เครื่องประดับ
3) ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า
4) ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์
5) ธุรกิจเสื้อผ้าไทยโมเดิร์น
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ ตลาดกว้างมี Segment ที่หลากหลาย กาลังการซื้อเพิ่มขึ้น สร้างมูลค่าเพิ่มได้สูง มีฐานภูมิปญ ั ญาและช่างฝีมือที่เป็นที่ ยอมรับในระดับนานาชาติ จานวนคู่แข่งในประเทศน้อยกว่าสินค้า แฟชั่นอื่นๆ อาศัยการออกแบบเป็นหลัก มีแหล่งวัตถุดิบในประเทศจานวนมาก มีคลัสเตอร์อุตสาหกรรมรองรับการทา Outsourcing ช่วงอายุของผลิตภัณฑ์นานกว่าสินค้า แฟชั่นชนิดอื่นๆ สร้างมูลค่าเพิ่มได้สูง เป็นตลาด Niche Market ที่มีศักยภาพ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายมีอานาจการซือ้ คู่แข่งน้อย เนื่องจากมีการออกแบบ เฉพาะที่ต้องเข้าใจสรีระศาสตร์ของคน อ้วน การซื้อซ้าสูง มีฐานลูกค้าประจา ได้อานิสงค์จากการที่ลูกค้าบอกต่อ มีโอกาสในการเติบโตเนื่องจากประชากร โรคอ้วนในประเทศเพิ่มขึ้น การให้ข้อมูลและคาแนะนาประกอบการ ตัดสินใจเป็นการบริการทีส่ ร้างมูลค่าเพิ่ม
ต้องอาศัยการออกแบบที่ทาให้เสือ้ ผ้าไม่ ออกมาดูเชย และใช้งานได้สะดวก กลุ่มลูกค้ามีทั้งที่เป็นผู้ใช้โดยตรงซึง่ เป็น กลุ่มที่มีรสนิยมเฉพาะ การซื้อใช้ใน โอกาสพิเศษ นักท่องเที่ยวที่ซื้อเป็นของ ฝาก และกลุ่มลูกค้าบริษัท ธุรกิจสปา โรงแรมที่ใช้เป็นเครื่องแบบพนักงาน มีคู่แข่งน้อย มีแรงหนุนจากอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว และธุรกิจวัฒนธรรม 6-14
ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ แข่งขันกับแบรนด์จากต่างประเทศ ความยากอยู่ที่การสร้างคาแรคเตอร์ ในสินค้า พึ่งพาวัตถุดิบต่างประเทศ ทาให้การ ลงทุนสูง แข่งขันกับแบรนด์จากต่างประเทศ รอบการซื้อนานกว่าสินค้าแฟชั่นชนิด อื่น มีปัญหาสินค้าถูกลอกเลียนแบบ
ต้นทุนสูงเนื่องจากลูกค้ามีขนาด ร่างกายที่หลากหลายและ จุดบกพร่องไม่เหมือนกันทาให้ต้องหา สินค้าเข้าร้านให้ครอบคลุม หาช่างตัดเย็บยาก มีแหล่งเฉพาะใน การผลิต เกิด dead stock บ่อยครั้งด้วย ปัญหาเรื่องขนาดของลูกค้า สินค้าจากยุโรป อเมริกา ไทย และจีน มีมาตรฐานการวัดขนาดไม่เท่ากัน ต้องตรวจสอบและให้ข้อมูลสินค้าแต่ ละชิ้นอย่างละเอียด รายได้ร้อยละ 80 มาจากการสั่งตัด จึงต้องพึ่งพิงระบบการตลาดที่เข้าถึง ตัวผู้มีอานาจตัดสินใจซื้อ และ กระบวนการผลิตที่สามารถส่งมอบได้ ตรงเวลา มีต้นทุนหน้าร้าน เพื่อใช้เป็นส่วน แสดงสินค้า
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 6) ธุรกิจแฟชั่น DIY
7) ธุรกิจเสื้อผ้าเด็ก
8) ธุรกิจออกแบบเสื้อผ้าสุนัข
9) ธุรกิจนาเข้าเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า น้าหอมแบรนด์เนม
10) ธุรกิจเสื้อผ้ามือสอง
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ แฝงการบริการแบบ Customization ให้ ลูกค้าได้มสี ่วนร่วมในการออกแบบ สินค้ามีความเป็นเอกลักษณ์ ธุรกิจถูกออกแบบมาให้มีความยืดหยุ่นสูง สร้างมูลค้าเพิ่มได้สูง ออกแรงน้อยได้ กาไรมาก ได้อานิสงค์จากการตลาดแบบบอกต่อ และมีแฟนคลับ พ่อแม่ยุคใหม่มีกาลังซื้อสูง มีความถี่ในการซื้อ (การเติบโตตามช่วงวัย) สามารถออกแบบแบบฟรีไซส์เพื่อรองรับ การเติบโตที่ไม่เท่ากัน จึงไม่จาเป็นต้องมี ไซส์มาก สามารถคุมต้นทุนและสต็อกได้ ตลาดระดับกลางและสูงยังมีผู้เล่นไม่มาก กลุ่มผูซ้ ื้อเป็นกลุม่ ที่มีฐานะการเงินดี มี ความชอบในเรื่องสัตว์เลี้ยง และ พฤติกรรมการดูแลสัตว์เลีย้ งเหมือนลูก อาศัยองค์ความรู้ดา้ นธรรมชาติของสัตว์ พฤติกรรมการเคลื่อนไหว การขับถ่าย สรีระ ประกอบความรูด้ ้านแฟชั่น การวาง แพทเทิร์นและการตัดเย็บ สามารถสร้างความแตกต่างและสร้าง มูลค่าได้มาก สามารถสร้างฐานลูกค้าประจาได้งา่ ย ลงทุนสูงแต่ได้สดั ส่วนกาไรสูงเช่นกัน ธุรกิจแบบ Pre-Order ทาให้ ผู้ประกอบการแบกรับความเสี่ยงในการ ลงทุนน้อย รู้ต้นทุนแน่นอน
กาไรสูงเนื่องจากการเป็นการซื้อเสือ้ ผ้า เหมาแบบชั่งตามน้าหนักมาขายเป็นชุด เข้าสู่อุตสาหกรรมได้ง่าย สถานที่ขายหาได้ง่าย สามารถเวียนไป ตามแหล่งตลาดต่างๆได้ ผู้ซื้อตัดสินใจซื้อได้รวดเร็ว ซื้อซ้าได้บ่อย 6-15
ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ความถี่ในการซื้อซ้าน้อยกว่าเสื้อผ้า สาเร็จรูป มีต้นทุนหน้าร้าน เพื่อใช้เป็น workshop สาหรับลูกค้า
มีแบรนด์เจ้าตลาดชัดเจน ลงทุนกับการสร้างมาตรฐานความ ปลอดภัยสูงกว่าเสื้อผ้าผู้ใหญ่ ถูกลอกเลียนแบบง่าย ประชากรเด็กลดลง การหาซัพพลายเออร์ และผูร้ ับจ้าง Outsource ในกระบวนการผลิตยาก
เผชิญความเสีย่ งเรื่องอัตรา แลกเปลีย่ น ภาษีศลุ กากร สินค้าขาด ตลาด รายได้ไม่แน่นอน ตามคาสังซื้อที่มี เข้ามา ต้องอาศัยความน่าเชื่อถือ รับความเสี่ยงสูงจากสินค้าชารุด สินค้าตกรุ่น คู่แข่งจานวนมาก
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 11) ธุรกิจขายอุปกรณ์สร้างสินค้า แฟชั่นแบบครบวงจร (Fashion Supply)
12) ธุรกิจขายสินค้าแฟชัน่ ออนไลน์
13) ธุรกิจจาหน่ายเครือ่ งสาอาง
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ คู่แข่งน้อยมาก เติบโตตามธุรกิจออกแบบแฟชั่น และ การการศึกษาแฟชั่น สร้างมูลค่าเพิ่มได้สูง เป็นสินค้าใช้แล้วหมดไปจึงเกิดการซื้อซ้า ได้บ่อย ทั้งการซื้อเพื่อใช้สอย และการ ซื้อเพื่อใช้เชิงพาณิชย์ ตลาดเป้าหมายคือนักออกแบบ จึงต้อง อาศัยความรูเ้ ฉพาะทาง ลงทุนต่า ไม่จาเป็นต้องมีหน้าร้าน พฤติกรรมการใช้ชีวิตบนสังคมออนไลน์ ทาให้ธุรกิจแฟชั่นออนไลน์สามารถเข้าถึง ตัวลูกค้าได้ง่าย รักษาความน่าเชื่อถือด้วยคุณภาพของ สินค้าตรงกับการโฆษณาและการส่งมอบ สินค้าตรงเวลา สามารถรับคาสั่งซื้อได้ตลอด 24 ชม. มีเว็บไซต์ และระบบสาเร็จรูปสาหรับ รองรับการขายสินค้า การประมูล และ ธุรกรรมออนไลน์ ที่ใช้งานง่าย อาศัยความสม่าเสมอในการอัพเดทข้อมูล และกิจกรรมใหม่ๆ ลงในเว็บ แนวโน้มตลาดเติบโตต่อเนื่อง กลุม่ ผู้บริโภคขยายตัวจากเดิมที่เริ่มใช้ เครื่องสาอางในวัยมัธยมปลาย ขยับมา เป็นวัยมัธยมต้น กระแส Metrosexual ทาให้ผู้ชายหันมา ใช้เครื่องสาอางจาพวกเมคอัพ เช่นเดียวกับผูห้ ญิง ธุรกิจนาเข้าเครื่องสาอางแบรนด์ ต่างประเทศเติบโตสูง อาศัยองค์ความรู้ดา้ นผิวหนังและ ผลิตภัณฑ์ การบริการแต่งหน้า ทดลองสินค้า รีวิว สินค้าช่วยจูงใจให้ตัดสินใจซื้อ สัดส่วนกาไรสูง 6-16
ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ลงทุนสูง ต้องมีการจัดการระบบ Supply chain และการบริหาร partner ที่ดี เพื่อให้มีสินค้าหมุนเวียนตลอดเวลา
มีคู่แข่งจานวนมาก สินค้าต้องมีจดุ ขายที่ชัดเจนจึงจะ สามารถสร้างความแตกต่างได้ ต้องมีความรูเ้ รื่องระบบ IT และ ecommerce ความนิยมการได้เห็นสินค้าของจริง ก่อนตัดสินใจซื้อยังมีอยู่
การแข่งขันสูง ความน่าเชื่อถือ แหล่งที่มาและความ ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ ความรู้เกี่ยวกับกฏระเบียบการขาย เครื่องสาอาง การลงทุนสูง
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 14) ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่นและ ความงาม (Beauty Blogger)
15) ธุรกิจบริการแต่งหน้าทาผม (Hair-Makeup Artist)
16) Costume / สไตลิสต์ / Personal Shopper
17) Fashion Buyer
18) Fashion Merchandiser
19) นักการตลาดแฟชั่น – นักบริหารแบรนด์แฟชั่น (Fashion Marketer/ Brand Strategist)
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ มีฐานแฟนคลับเหนียวแน่น มีอิทธิพล ทางความคิดและการตัดสินใจซื้อ เป็นอิสระเรื่องเวลา อาศัยองค์ความรู้และการค้นข้อมูล สนับสนุนข้อคิดเห็นด้วยข้อเท็จจริง เพื่อให้ผู้อ่านเห็นคล้อยตาม ค่าตอบแทนสูง ได้รับการยอมรับในแวด วงโฆษณาแฟชั่น มีโอกาสการตลาดกว้างขวาง เป็นที่ ต้องการในหลายแวดวง มีความต้องการใช้บริการบ่อย เกิดฐาน ลูกค้าประจาได้ง่าย อาศัยองค์ความรู้ ฝีมือ ทักษะ ประสบการณ์ และการประชาสัมพันธ์ ตนเองอย่างถูกวิธี มีคู่แข่งน้อยราย ค่าตอบแทนสูง มีโอกาสการตลาดกว้างขวาง เป็นที่ ต้องการในหลายแวดวง อาศัยองค์ความรู้ ฝีมือ ทักษะ ประสบการณ์ และความรับผิดชอบใน การเตรียมงาน และศึกษาผู้ใช้บริการ ล่วงหน้า ใช้องค์ความรู้เฉพาะทาง ทาให้หาคู่แข่ง ได้ยาก มีความต้องการใช้บริการจากบรรดา ผู้ประกอบการธุรกิจซื้อมาขายไป ใช้องค์ความรู้เฉพาะทาง ทาให้หาคู่แข่ง ได้ยาก มีความต้องการใช้บริการจากบรรดา ผู้ประกอบการธุรกิจซื้อมาขายไป มีความเข้าใจเรื่องสี และมีรสนิยมดี ใช้องค์ความรู้เฉพาะทาง ทาให้หาคู่แข่ง ได้ยาก มีความต้องการใช้บริการจากบรรดา ผู้ประกอบการธุรกิจซื้อมาขายไป 6-17
ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ใช้ระยะเวลา และฝีมือการรีวิวเป็น เครื่องพิสูจน์ในการสร้างฐานแฟน คลับ การสร้างตัวตนในสังคมออนไลน์ ทา ให้คู่แข่งเกิดยาก
ต้นทุนสูง ต้องมีความยืดหยุ่นเรื่องเวลาและ สถานที่
การสั่งสมองค์ความรู้ และความ น่าเชื่อถือต้องใช้เวลาและต้องทา ผลงานให้ปรากฎก่อนถึงจะมีโอกาส เข้าสู่ธุรกิจนี้
กรณีประกอบอาชีพอิสระ ความ ยั่งยืนด้านรายได้ยังไม่เด่นชัด เพราะ ส่วนใหญ่พบการทางานแฝงอยู่ใน ธุรกิจขนาดใหญ่ กรณีประกอบอาชีพอิสระ ความ ยั่งยืนด้านรายได้ยังไม่เด่นชัด เพราะ ส่วนใหญ่พบการทางานแฝงอยู่ใน ธุรกิจขนาดใหญ่ กรณีประกอบอาชีพอิสระ ความ ยั่งยืนด้านรายได้ยังไม่เด่นชัด เพราะ ส่วนใหญ่พบการทางานแฝงอยู่ใน ธุรกิจขนาดใหญ่
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น 20) ที่ปรึกษาธุรกิจแฟชั่น (Fashion Retail Consultant)
ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ การสร้างความน่าเชื่อถือต้องใช้เวลา และต้องทาผลงานให้ปรากฎก่อนถึง จะมีโอกาสเข้าสู่ธุรกิจนี้ กลุ่มลูกค้าที่ยอมจ่ายเพื่อบริการนีม้ ี จากัด
การลงทุนสูง กลุ่มเป้าหมายมีค่านิยมไปศึกษาต่อ หรืออบรมกับสถาบันการออกแบบ ชั้นนาในต่างประเทศที่มีหลักสูตร ปริญญา หรือประกาศนียบัตร มากกว่าสถาบันสอนการออกแบบใน ประเทศ 22) สถาบันสอนการบริหาร มีผู้เล่นที่โดดเด่นน้อยราย การลงทุนสูง แบรนด์แฟชั่น เจาะกลุม่ แบรนด์แฟชั่นหรูหรา เติบโตตาม ต้องการอาศัย connection ในการ การเติบโตของธุรกิจแฟชั่นระดับบน สร้างเครือข่ายผูร้ ู้สาหรับป้อนองค์ ความรู้ให้กับสถาบัน สร้างมูลค่าเพิ่มได้มาก การสร้างความน่าเชื่อถือต้องใช้เวลา เป็นแหล่งข้อมูลจากผู้ปฏิบัติจริง ไม่ใช่ พิสูจน์ผลงาน ทฤษฎี มีเครือข่ายแหล่งข้อมูลกว้างขวาง 23) ธุรกิจบริการถ่ายภาพแฟชั่น ใช้องค์ความรู้เฉพาะทาง มีผู้ประกอบการช่างภาพอิสระและ และโมเดลลิ่ง นางแบบอิสระเกิดขึ้นใหม่จานวนมาก ค่าตอบแทนสูง รองรับการเติบโตของธุรกิจแฟชั่น เป็นที่ต้องการของธุรกิจขนาดกลางและ เทคโนโลยีสมัยใหม่ อุปกรณ์การ เล็ก ถ่ายภาพที่ราคาต่าลง และโปรแกรม ตกแต่งภาพที่ใช้ง่ายขึ้นสาหรับคน ทั่วไป และเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้ากับ สังคมออนไลน์ได้ทันทีทาให้ ผู้ประกอบการลดความจาเป็นในการ ใช้บริการถ่ายภาพแฟชั่นลง ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ทมี่ ีส่วนเกีย่ วข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) 21) สถาบันสอนการออกแบบ แฟชั่น
ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ ใช้องค์ความรู้เฉพาะทาง ทาให้หาคู่แข่ง ได้ยาก มีความต้องการใช้บริการจากบรรดา ผู้ประกอบการธุรกิจซื้อมาขายไป รายได้สูง ทางานในฐานะที่ธุรกิจที่ ปรึกษา โอกาสในการได้งานมาจากการทีล่ กู ค้า แนะนาต่อๆ กัน กระแสนิยมในอาชีพนักออกแบบและ การเป็นผูป้ ระกอบการแฟชั่นทาให้ธุรกิจ เติบโต มีเครือข่ายวิทยากรที่มีองค์ความรูเ้ ฉพาะ ทาง
6-18
6.3 การวิเคราะห์ศักยภาพอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ จากการประเมินข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพในการประกอบธุรกิจของคนรุ่นใหม่ สามารถกาหนดค่าน้าหนักตาม ความสาคัญและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับธุรกิจ จะเห็นได้ว่าปัจจัยด้านความคิดสร้างสรรค์และปัจจัยด้านลูกค้า และตลาดมีน้าหนักมากที่สุด เพราะความคิดสร้างสรรค์กาลังสะท้อ นถึงศักยภาพในการออกแบบ การสร้างความ แตกต่างและการสร้างมูลค่าเพิ่ม ส่วนปัจจัยด้านลูกค้าและตลาดสื่อให้เห็นถึงภาวะการแข่งขัน อิทธิพลของผู้บริโภค และโอกาสการอยู่รอดของธุรกิจ ตารางที่ 6.3 ค่าน้าหนักของปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพในการประกอบธุรกิจ ปัจจัยที่ผลต่อศักยภาพอุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์ 1. ทักษะผู้ประกอบการ 2. วัตถุดิบ 3. แรงงาน 4. ความคิดสร้างสรรค์ 5. เทคโนโลยี 6. ลูกค้าและตลาด รวม
ค่าน้าหนัก (0% ถึง 100%) 20% 10% 5% 30% 5% 30% 111%
ที่มา: การ ประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มสี ว่ นเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
เมื่อนาค่าน้าหนักมาประเมินคู่กับโอกาสและข้อจากัดในการดาเนินธุรกิจจะเห็นได้ว่าแต่ละปัจจัยส่งผลกระทบถึง ธุรกิจแต่ละธุรกิจไม่เท่ากัน สามารถสรุปผลการประเมินได้ดังนี้
6-19
ตารางที่ 6.4 ผลการประเมินปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น
1. 2. 3. 4. 5. 6.
ทักษะผู้ประกอบการ วัตถุดิบ แรงงาน การใช้ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี ลูกค้าและตลาด รวม
ธุรกิจบริการถ่ายภาพแฟชั่นและโมเดลลิ่ง
สถาบันสอนการบริหารแบรนด์แฟชั่น
ที่ปรึกษาธุรกิจแฟชั่น (Fashion Retail Consultant) * สถาบันสอนการออกแบบแฟชั่น
นักการตลาดแฟชั่น –นักบริหารแบรนด์แฟชั่น
Fashion Buyer
Fashion Merchandiser
Costume / สไตลิสต์ / Personal Shopper
ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่นและความงาม (Beauty Blogger) ธุรกิจบริการแต่งหน้าทาผม (Hair-Makeup Artist)
ธุรกิจจาหน่ายเครื่องสาอาง
ธุรกิจขายอุปกรณ์สร้างสินค้าแฟชัน่ แบบครบวงจร (Fashion Supply) ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์
ธุรกิจนาเข้าเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า น้าหอมแบรนด์ เนม ธุรกิจเสื้อผ้ามือสอง
ธุรกิจออกแบบเสื้อผ้าสุนัข
ธุรกิจเสื้อผ้าเด็ก
ธุรกิจแฟชั่น DIY
ธุรกิจเสื้อผ้าไทยโมเดิร์น
ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์
ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า เครือ่ งหนัง
ธุรกิจแบรนด์เครื่องประดับ
ปัจจัยที่ผลต่อศักยภาพ อุตสาหกรรมสาขาย่อยและ ธุรกิจสร้างสรรค์
ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น
อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์
ที่มา: ประมวลข้อมูลจากการประชุมกลุ่มย่อยผู้แทนจาก สมาคม สถาบันที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมแฟชั่น และการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ หมายเหตุ : = มาก = ปานกลาง = น้อย
6-20
6.4 สรุปอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ จากการวิเคราะห์และประเมินปัจจัย (Factor Rating Analysis) และจัดอันดับอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น พบว่า มีกลุ่มอุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ในสาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการ เติบโต ประกอบไปด้วยอาชีพที่มีค่าคะแนนสูงสุด 5 อันดับ แรก คือ (1) ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น (2) ธุรกิจ แบรนด์กระเป๋ารองเท้า (3) ธุรกิจรีวิวแฟชั่นและความงาม (4) ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ และ (5) ธุรกิจ เสื้อผ้าพลัสไซส์ ซึ่งคณะผู้วิจัยจะได้ทาการวิเคราะห์เชิงลึกและจัดทาคู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจ แฟชั่น ต่อไป ตารางที่ 6.5 ผลการวิเคราะห์ธุรกิจแฟชั่นที่มีศักยภาพในการเติบโต ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
อุตสาหกรรมสาขาย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์ ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่นและความงาม ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ สถาบันสอนบริหารแบรนด์แฟชั่น ธุรกิจแบรนด์เครื่องประดับ ธุรกิจออกแบบเสื้อผ้าสุนัข ธุรกิจแฟชั่น DIY Costume/ Stylist / Personal Shopper
ค่าคะแนน (เต็ม 11 คะแนน) 8.7 8.6 8.5 8.3 7.9 7.4 7.3 7.3 7 7
ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ทมี่ ีส่วนเกีย่ วข้องในอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
ทั้งนี้จากการประมวลข้อมูลจากการประชุมกลุ่มย่อยผู้แทนจาก ภาครัฐ สมาคม สถาบันที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม แฟชั่ น บทสั มภาษณ์ การสั มภาษณ์ ผู้ ป ระกอบการ ท าให้ ได้ รับ ข้อมู ล ข้ อเสนอแนะเบื้ องต้นส าหรับสนับ สนุ น ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นและภาพรวมปัจจัยความสาเร็จสาหรับธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นได้ ดังนี้
6-21
6.5 บทสรุป ข้อเสนอแนะเบื้องต้นสาหรับสนับสนุนผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น 1. สนั บ สนุ น การสร้ า งองค์ ค วามรู้ แ ละทั ก ษะการบริ ห ารจั ด การให้ กั บ ผู้ ป ระกอบการ เช่ น การ แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากธุรกิจต้นแบบไปสู่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ การสร้างเครือข่ายธุรกิจพี่เลี้ยง เพื่อให้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่มีทักษะในการบริหารจัดการให้ธุรกิจอยู่รอดได้อย่างยั่งยืน การถ่ายทอด ความรู้ให้ผู้ประกอบการเข้าใจอุตสาหกรรมแฟชั่นทั้งกระบวนการเพื่อให้เลือกพันธมิตรทางธุรกิจได้ เหมาะสมกับขนาดและความต้องการของธุรกิจตนเอง 2. สนับสนุนแหล่งข้อมูลหรือเครือข่ายข้อมูล ตามห่วงโซ่อุปทานเพื่อความสะดวกในการดาเนินธุรกิจ เช่น การสนับสนุนกิจกรรมเครือข่ายผู้ประกอบการ การมีศูนย์แสดงสินค้าสร้างสรรค์ในรายภูมิภาค เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดการรับรู้และผู้ประกอบการมีจุดนัดพบในการซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่างกันมากขึ้น 3. สนั บ สนุ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ / สิ น ค้ า สร้ า งสรรค์ หน่ ว ยงานของภาครั ฐ ควรสนั บ สนุ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ / สิ น ค้ า สร้างสรรค์ของผู้ประกอบการไทย เพื่อเสริม สร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการ ทั้งยังเป็นส่วน หนึ่งในการกระจายผลิตภัณฑ์/สินค้าต่างๆ ออกไปสู่ตลาดในวงกว้าง ภาพรวมปัจจัยความสาเร็จสาหรับธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น 1. ความคิดสร้า งสรรค์ ในการออกแบบสร้างอัตลักษณ์ตัวตนให้แก่ ผลิตภัณฑ์ บริการ และแบรนด์ ความคิดสร้างสรรค์ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างความแตกต่างให้แก่ผลิตภัณฑ์ได้ 2. ความสามารถทางการตลาด ในการหาส่วนตลาดที่มีศักยภาพ การสร้างตาแหน่งทางการแข่งขัน และการสื่อสารตัวตนสู่ตลาด การหาส่วนตลาดเฉพาะที่มีศักยภาพได้ หมายถึงธุรกิจนั้นเข้าใจลูกค้า ของตัวเองชัดเจน รู้แหล่งที่เข้าถึงลูกค้า และพฤติกรรมของลูกค้า สิ่งนี้จะส่งผลต่อ การส่งมอบคุณค่า ที่ลูกค้าต้องการ การสร้ างตาแหน่งทางการแข่งขันที่ชัดเจนแตกต่างจากคู่แข่ง ความถี่และวิธีการ สื่อสารให้ลูกค้าจดจาตัวตนของธุรกิจได้ นาไปสู่ธุรกิจที่ยั่งยืนในอนาคต 3. ทักษะในการบริหารจัดการ และการคิดกลยุทธ์ เพื่อการออกแบบกระบวนการทางธุรกิจ ให้สามารถ รับกับสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 6 4. การใช้ระบบ Outsourcing และการบริหารจัดการ Supply chain ที่มีประสิทธิภาพ ผู้ประกอบการรายเล็กไม่จาเป็นต้องดาเนินการผลิตเองทุกกระบวนการเนื่องจากจะกลายเป็นการ ลงทุนที่เกินตัว แต่สามารถใช้วิธีการจ้างผลิตเป็นส่วนๆ ซึ่งช่วยลดต้นทุน กระจายความเสี่ยง และทา ให้สินค้าออกสู่ตลาดได้รวดเร็ว โดยผู้ประกอบการเองต้องมีความเข้าใจทั้งเรื่องแฟชั่นและ กระบวนการผลิต เพื่อสื่อสารกับผู้รับจ้างผลิตให้รู้เรื่อง
ปรับปรุงข้อมูลจากการสัมภาษณ์นายประดิษฐ์ รัตนวิจิตราศิลป์ รองผู้อานวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ข้อมูล สิ่งทอ 6
6-22
ภาคผนวก ก ข้อมูลผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ ในสาขาอาหารและแฟชั่น
ก-1
ข้อมูลผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ตารางที่ ค-1 ผลการประเมินปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
ธุรกิจบริการจัด เลีย้ ง (23)
ตัวแทนจัด หาพ่อครัว/กุก๊ /เชฟ (22)
นักปรุงกาแฟ (21)
นักผสมเครือ่ งดื่ม (20)
นักแนะนาอาหารและไวน์ (19)
ธุรกิจโมเดลอาหาร (18)
นักสถาปัต ยกรรมในอาหาร (17)
เชฟออนไลน์ (16)
วิศ วกรอาหาร (15)
ธุรกิจอุปกรณ์เครือ่ งครัวและเครือ่ งใช้บนโต๊ะ อาหาร (14)
ธุรกิจหนังสือและนิต ยสารเกีย่ วกับอาหาร (13)
ช่างภาพอาหารมืออาชีพ (12)
นักออกแบบแอพพิเคชั่นอาหาร (11)
นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ (10)
สถาบันสอนทาอาหาร (9)
ผู้ผลิต รายการอาหาร (8)
นักออกแบบและผลิต รายการอาหาร (7)
ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รกั ษ์ โลก (6)
ธุรกิจอาหารออนไลน์ (5)
เชพ (4)
พ่อคั วหรือกุก๊ (3)
ค่าน้าหนัก ของปัจจัย (0-100%)
นักชิม (1)
ปัจจัย
นักออกแบบอาหาร (2)
อุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
ทักษะผูป้ ระกอบการ
15%
1.5
1.5
1.5
1.2
1.5
1.2
1.2
1.2
1.5
1.2
1.5
1.5
1.2
1.2
1.5
1.5
1.2
1.2
1.5
1.5
1.2
1.2
1.5
วัตถุดบิ
10%
0.4
0.6
0.6
0.4
0.8
1.0
0.2
0.2
0.8
0.6
0.2
0.4
0.4
0.2
0.4
0.8
0.4
0.4
0.4
0.4
0.4
0.4
0.8
แรงงาน
10%
0.2
0.4
0.6
0.4
0.6
0.4
0.8
0.8
0.8
0.2
0.2
0.2
0.6
0.6
0.4
0.4
0.2
0.4
0.2
0.2
0.8
0.6
0.8
ความคิดสร้างสรรค์
35%
1.4
3.5
2.1
2.8
3.5
3.5
2.1
2.1
3.5
2.8
2.5
2.8
2.1
2.1
2.8
2.1
3.2
2.1
2.1
2.1
2.1
2.1
3.5
5%
0.2
0.2
0.3
0.3
0.3
0.3
0.4
0.4
0.3
0.3
0.5
0.3
0.3
0.3
0.5
0.3
0.3
0.3
0.2
0.2
0.4
0.2
0.3
25%
2.0
1.5
1.5
1.5
2.5
2.0
1.5
1.5
2.5
2.0
1.3
1.5
1.5
1.5
1.5
1.5
1.5
1.5
1.5
2.0
1.5
2.0
2.5
100%
5.7
7.7
6.6
6.6
9.2
8.4
6.2
6.2
9.4
7.1
6.1
6.7
6.1
5.9
7.1
6.6
6.8
5.9
5.9
6.4
6.4
6.5
9.4
เทคโนโลยี ลูกค้าและตลาด รวม
ก-2
ตารางที่ ค-2 ข้อมูลการประเมินปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
ธุรกิจบริการจัดเลีย้ ง (23)
ตัวแทนจัดหาพ่อครัว/กุก๊ /เชฟ (22)
นักปรุงกาแฟ (21)
นักผสมเครือ่ งดืม่ (20)
นักแนะนาอาหารและไวน์ (19)
ธุรกิจโมเดลอาหาร (18)
นักสถาปัตยกรรมในอาหาร (17)
เชฟออนไลน์ (16)
วิศวกรอาหาร (15)
ธุรกิจอุปกรณ์เครือ่ งครัวและเครือ่ งใช้บนโต๊ะอาหาร (14)
ธุรกิจหนังสือและนิตยสารเกีย่ วกับอาหาร (13)
ช่างภาพอาหารมืออาชีพ (12)
นักออกแบบแอพพิเคชัน่ อาหาร (11)
นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ (10)
สถาบันสอนทาอาหาร (9)
ผูผ้ ลิตรายการอาหาร (8)
ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รกั ษ์โลก (6)
ธุรกิจอาหารออนไลน์ (5)
เชพ (4)
พ่อคัวหรือกุก๊ (3)
นักออกแบบอาหาร (2)
ค่ าน้าหนัก ของปัจจัย (0-100%)
นักชิม (1)
ปัจจัย
นักออกแบบและผลิตรายการอาหาร (7)
อุต สาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร
ทักษะผูป้ ระกอบการ
15%
10
1.5
10
1.5
9
1.4
8
1.2
10
1.5
8
1.2
8
1.2
8
1.2
10
1.5
8
1.2
10
1.5
10
1.5
8
1.2
8
1.2
10
1.5
10
1.5
8
1.2
8
1.2
10
1.5
10
1.5
8
1.2
8
1.2
10
1.5
วัตถุดบิ
10%
4
0.4
6
0.6
6
0.6
4
0.4
8
0.8
10
1
2
0.2
2
0.2
8
0.8
6
0.6
2
0.2
4
0.4
4
0.4
2
0.2
4
0.4
7
0.7
4
0.4
4
0.4
4
0.4
4
0.4
4
0.4
4
0.4
8
0.8
แรงงาน
10%
2
0.2
4
0.4
6
0.6
4
0.4
6
0.6
4
0.4
8
0.8
8
0.8
8
0.8
2
0.2
2
0.2
2
0.2
6
0.6
6
0.6
4
0.4
4
0.4
2
0.2
4
0.4
2
0.2
2
0.2
8
0.8
6
0.6
8
0.8
การใช้ความคิดสร้างสรรค์
35%
4
1.4
10
3.5
6
2.1
8
2.8
10
3.5
10
3.5
6
2.1
6
2.1
10
3.5
8
2.8
7
2.5
8
2.8
6
2.1
6
2.1
8
2.8
6
2.1
9
3.2
6
2.1
6
2.1
6
2.1
6
2.1
6
2.1
10
3.5
เทคโนโลยี
5%
4
0.2
4
0.2
6
0.3
6
0.3
6
0.3
6
0.3
8
0.4
8
0.4
6
0.3
6
0.3
10
0.5
6
0.3
6
0.3
6
0.3
10
0.5
6
0.3
6
0.3
6
0.3
4
0.2
4
0.2
8
0.4
4
0.2
6
0.3
ลูกค้าและตลาด
25%
8
2
6
1.5
6
1.5
6
1.5
10
2.5
8
2
6
1.5
6
1.5
10
2.5
8
2
5
1.3
6
1.5
6
1.5
6
1.5
6
1.5
6
1.5
6
1.5
6
1.5
6
1.5
8
2
6
1.5
8
2
10
2.5
รวม
100%
32
5.7
40
7.7
39
6.5
36
6.6
50
9.2
46
8.4
38
6.2
38
6.2
52
9.4
38
7.1
36
6.1
36
6.7
36
6.1
34
5.9
42
7.1
39
6.5
35
6.8
34
5.9
32
5.9
34
6.4
40
6.4
36
6.5
52
9.4
ก-3
ธุรกิจรีวิวสินค้ าแฟชั่นและความงาม (Beauty Blogger) (14) ธุรกิจบริการแต่งหน้าทาผม (Hair-Makeup Artist) (15) Costume / สไตลิสต์ / Personal Shopper (16)
นักการตลาดแฟชั่น (19) –นักบริหารแบรนด์ แฟชั่น (20) ทีป่ รึกษาธุรกิจแฟชั่น (Fashion Retail Consultant) (21)
ปัจจัย
ทักษะผูป้ ระกอบการ 20% 2.0 2.0 2.0 2.0 1.0 2.0 1.0 2.0 0.6 0.6 2.0 2.0 2.0 2.0 1.0 1.0 2.0 2.0 2.0 2.0 1.0 2.0 1.0
วัตถุดบิ 10% 1.0 -1.0 1.0 0.0 1.0 0.0 0.0 0.5 -1.0 0.0 0.5 0.0 0.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.3 0.0 0.0
แรงงาน 5% -0.2 0.5 -0.2 -0.3 0.2 0.3 0.3 0.0 0.0 0.2 -0.3 0.0 -0.3 0.0 -0.5 0.0 0.3 0.3 0.0 0.0 -0.5 -0.5 0.3
ความคิดสร้างสรรค์ 30% 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 1.5 3.0 1.5 0.0 1.5 3.0 1.5 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 1.5 3.0 3.0 3.0 3.0
เทคโนโลยี 5% -0.2 -0.3 -0.3 0.2 -0.3 0.3 -0.2 0.3 0.0 0.0 0.0 0.3 0.3 0.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.3 0.5 -0.2 0.0
ลูกค้าและตลาด 30% 3.0 3.0 3.0 3.0 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 1.5 1.5 3.0 1.5 1.5 3.0 1.5
รวม 100% 8.7 7.3 8.6 7.9 6.4 7.0 4.1 7.3 2.6 2.3 5.3 8.3 6.8 8.5 6.5 7.0 6.8 6.8 6.5 6.8 5.8 7.4 5.8
ค่าน้าหนัก ของปัจจัย (0-100%)
ก-4
ธุรกิจบริการถ่ายภาพแฟชั่นและโมเดลลิง่ (24)
สถาบันสอนการบริหารแบรนด์แ ฟชั่น (23)
สถาบันสอนการออกแบบแฟชั่น (22)
Fashion Buyer (18)
Fashion Merchandiser (17)
ธุรกิจจาหน่ายเครือ่ งสาอางค์ (13)
ธุรกิจขายสินค้ าแฟชั่นออนไลน์ (12)
ธุรกิจขายอุปกรณ์สร้างสินค้ าแฟชั่นแบบครบวงจร (Fashion Supply) (11)
ธุรกิจเสือ้ ผ้ามือสอง (10)
ธุรกิจนาเข้าเสือ้ ผ้า กระเป๋า รองเท้า น้าหอมแบ รนด์เนม (9)
ธุรกิจออกแบบเสือ้ ผ้าสุนัข (8)
ธุรกิจเสือ้ ผ้าเด็ก (7)
ธุรกิจแฟชั่น DIY (6)
ธุรกิจเสือ้ ผ้าไทยโมเดิรน์ (5)
ธุรกิจเสือ้ ผ้าคนอ้วน (4)
ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า เครือ่ งหนัง (3)
ธุรกิจแบรนด์เครือ่ งประดับ (2)
ธุรกิจแบรนด์เสือ้ ผ้าแฟชั่น (1)
ข้อมูลผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น ตารางที่ ค-3 ผลการประเมินปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น อุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น
ตารางที่ ค-4 ข้อมูลการประเมินปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น
ธุรกิจบริการถ่ายภาพแฟชั่นและโมเดลลิง่ (24)
สถาบันสอนการบริหารแบรนด์แ ฟชั่น (23)
สถาบันสอนการออกแบบแฟชั่น (22)
ทีป่ รึกษาธุรกิจแฟชั่น (Fashion Retail Consultant) (21)
นักการตลาดแฟชั่น (19) –นักบริหารแบรนด์ แฟชั่น (20)
Fashion Buyer (18)
Fashion Merchandiser (17)
Costume / สไตลิสต์ / Personal Shopper (16)
ธุรกิจบริการแต่งหน้าทาผม (Hair-Makeup Artist) (15)
ธุรกิจรีวิวสินค้ าแฟชั่นและความงาม (Beauty Blogger) (14)
ธุรกิจจาหน่ายเครือ่ งสาอางค์ (13)
ธุรกิจขายสินค้ าแฟชั่นออนไลน์ (12)
ธุรกิจขายอุปกรณ์สร้างสินค้ าแฟชั่นแบบครบวงจร (Fashion Supply) (11)
ธุรกิจเสือ้ ผ้ามือสอง (10)
ธุรกิจนาเข้าเสือ้ ผ้า กระเป๋า รองเท้า น้าหอมแบ รนด์เนม (9)
ธุรกิจออกแบบเสือ้ ผ้าสุนัข (8)
ธุรกิจเสือ้ ผ้าเด็ก (7)
ธุรกิจแฟชั่น DIY (6)
ธุรกิจเสือ้ ผ้าไทยโมเดิรน์ (5)
ธุรกิจเสือ้ ผ้าคนอ้วน (4)
ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า เครือ่ งหนัง (3)
ค่าน้าหนัก ของปัจจัย (0-100%)
ธุรกิจแบรนด์เครือ่ งประดับ (2)
ปัจจัย
ธุรกิจแบรนด์เสือ้ ผ้าแฟชั่น (1)
อุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น
ทักษะผูป้ ระกอบการ
20%
10
2
10
2
10
2
10
2
5
1
10
2
5
1
10
2
3
0.6
3
0.6
10
2
10
2
10
2
10
2
5
1
5
1
10
2
10
2
10
2
10
2
5
1
10
2
5
1
วัตถุดบิ
10%
10
1
-10
-1
10
1
0
0
10
1
0
0
0
0
5
0.5
-10
-1
0
0
5
0.5
0
0
3
0.3
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
3
0.3
0
0
0
0
แรงงาน
5%
-3
-0.2
10
0.5
-3
-0.2
-5
-0.3
3
0.2
5
0.3
5
0.3
0
0
0
0
3
0.2
-5
-0.3
0
0
-5
-0.3
0
0
-10
-0.5
0
0
5
0.3
5
0.3
0
0
0
0
-10
-0.5
-10
-0.5
5
0.3
30%
10
3
10
3
10
3
10
3
10
3
10
3
5
1.5
10
3
5
1.5
0
0
5
1.5
10
3
5
1.5
10
3
10
3
10
3
10
3
10
3
5
1.5
10
3
10
3
10
3
10
3
5%
-3
-0.2
-5
-0.3
-5
-0.3
3
0.2
-5
-0.3
5
0.3
-3
-0.2
5
0.3
0
0
0
0
0
0
5
0.3
5
0.3
10
0.5
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
5
0.3
10
0.5
-3
-0.2
0
0
30%
10
3
10
3
10
3
10
3
5
1.5
5
1.5
5
1.5
5
1.5
5
1.5
5
1.5
5
1.5
10
3
10
3
10
3
10
3
10
3
5
1.5
5
1.5
10
3
5
1.5
5
1.5
10
3
5
1.5
100%
34
8.7
25
7.3
32
8.6
28
7.9
28
6.4
35
7
17
4.1
35
7.3
3
2.6
11
2.3
20
5.3
35
8.3
28
6.8
40
8.5
15
6.5
25
7
30
6.8
30
6.8
25
6.5
30
6.8
23
5.8
17
7.4
25
5.8
ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี ลูกค้าและตลาด รวม
ก-5
ภาคผนวก ข คำจำกัดควำมธุรกิจสร้ำงสรรค์ที่มีศักยภำพสำขำอำหำรและแฟชั่น
ข-1
คาจากัดความธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ สาขาอาหาร ธุรกิจสร้างสรรค์ 1. ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร
2. ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์
3. ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง
4. ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก
5. นักออกแบบอาหาร
คาจากัดความธุรกิจ ธุรกิจที่ให้บริกำรสอนทำอำหำร/ปรุงอำหำรให้กับบุคคลทั่วไป ที่สนใจที่จะเรียนรู้ วิธีกำรทำอำหำรชนิดใดชนิดหนึ่ง กำรเรียนกำรสอนมีกระบวนกำรสอนที่ไม่ ซับซ้อน ผู้สอนเป็นผู้มีควำมรู้และ/หรือมีประสบกำรณ์ด้ำนกำรทำอำหำร มี ควำมสำมำรถในกำรคิดค้นสูตรกำรทำอำหำรใหม่ๆ และสำมำรถถ่ำยทอดองค์ ควำมรู้ในกำรทำอำหำรนั้นๆ ให้กบั ผู้อื่นได้ โดยกำรเรียนกำรสอนจะใช้ ระยะเวลำเพียงครึ่งจนถึง 1 วัน เช่น คัพเค้ก ชีสเค้กและอำหำรจำนเดียว ประเภทต่ำงๆ ซึ่งกำรเรียนทำอำหำรในธุรกิจประเภทนี้จะไม่มีกำรออกหนังสือ รับรองหรือเอกสำรรับรองคุณวุฒทิ ี่เกี่ยวข้องกับกำรเรียนกำรสอนในหลักสูตร กำรทำอำหำรนั้นๆ กำรดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับกำรซื้อขำยและบริกำรอำหำรโดยอำศัยช่องทำง อินเทอร์เน็ตในกำรประกอบธุรกิจ เช่น กำรติดต่อลูกค้ำ กำรประชำสัมพันธ์ กำร ขำยสินค้ำ กำรรับชำระเงิน ฯลฯ ในรูปแบบของกำรจัดทำเว็บไซด์เป็นของตนเอง หรือร้ำนค้ำออนไลน์ กำรทำธุรกิจผ่ำนเว็บไซด์พำณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ ของกำรประกำศซื้อ-ขำย (E-Classified) กำรทำธุรกิจผ่ำนตลำดกลำง อิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketing) หรือกำรทำธุรกิจบริกำรอำหำรออนไลน์ผ่ำนสื่อ สังคมออนไลน์ประเภทต่ำงๆ อำทิ เฟสบุ๊ค (Facebook) หรืออินสตรำแกรม (Instagram) เป็นต้น ธุรกิจให้บริกำรเฉพำะอำหำรและเครื่องดื่มมีลักษณะพิเศษด้ำนกำรให้บริกำร กล่ำวคือ เป็นกำรให้บริกำรทีไ่ ม่เฉพำะเจำะจงอยู่ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึง่ กำร ให้บริกำรสำมำรถเคลื่อนย้ำยกำรบริกำรอำหำรและเครื่องดื่มไปยังสถำนที่ต่ำงๆ ตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำหรือผูซ้ ื้อ โดยมีรูปแบบและขนำดของงำนที่ หลำกหลำยตำมคอนเซ็ปต์หรือรูปแบบของงำนตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้ซอื้ กำหนด เช่น กำรจัดเลี้ยงอำหำรไทย กำรจัดเลี้ยงอำหำรแบบบุฟเฟ่ต์ กำรจัดเลี้ยงอำหำร แบบค็อกเทล หรือกำรจัดเลี้ยงอำหำรว่ำงและกำรเลี้ยง น้ำชำ เป็นต้น ธุรกิจผลิตและออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดย บรรจุภัณฑ์ นั้นสำมำรถนำมำรีไซเคิลหรือนำกลับมำใช้ใหม่ได้ หรือมีกำรใช้ทรัพยำกรน้อยลง ช่วยลดต้นทุนให้แก่เจ้ำของสินค้ำ แต่โดยยังคงรูปแบบสวยงำม ทันสมัย สำมำรถ ตอบสนองควำมคำดหวังของผู้บริโภคที่มีมำกขึ้นทั้งด้ำนคุณภำพ ควำมปลอดภัย กำรใช้งำน กำรให้ข้อมูลและรำยละเอียดต่ำงๆ เกี่ยวกับสินค้ำ และยังคงเป็น บรรจุภัณฑ์ที่ช่วยเพิม่ มูลค่ำให้กับสินค้ำ/อำหำรได้เป็นอย่ำงดี บุคคลที่ทำหน้ำที่ออกแบบตกแต่งอำหำร จัดวำงองค์ประกอบของอำหำรให้ดูน่ำ รับประทำนมำกที่สุด นักออกแบบอำหำรเป็นอำชีพที่ใช้ควำมคิดสร้ำงสรรค์ ตั้งแต่กระบวนกำรคัดสรรวัตถุดิบ เพื่อนำมำใช้กับอำหำรที่คิดค้นขึ้น รสชำติและ หน้ำตำของอำหำร วิธีกำรบริโภค ตลอดจนถึงกำรจัดวำงองค์ประกอบของ อำหำรในจำนให้ออกมำมีหน้ำตำสวยงำมน่ำรับประทำน ซึ่งต้องอำศัยมุมมอง ทำงด้ำนศิลปะพร้อมกับควำมรู้เรือ่ งอำหำร
ข-2
คาจากัดความธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพ สาขาแฟชั่น ธุรกิจสร้างสรรค์ 1. ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า
2. ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น
3. ธุรกิจขายสินค้าแฟชัน่ ออนไลน์
4. ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น
5. ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์
คาจากัดความธุรกิจ ผู้ประกอบกำรในธุรกิจกระเป๋ำที่ทำหน้ำที่ออกแบบ คัดเลือกวัตถุดิบ ควบคุมกำร ผลิตและจำหน่ำยกระเป๋ำประเภทต่ำงๆ ภำยใต้ตรำยี่ห้อสินค้ำหรือแบรนด์ของ ตนเอง ทั้งนี้ ผู้ประกอบกำรสำมำรถทำกำรผลิต ออกแบบและจำหน่ำยสินค้ำ อื่นๆ ที่มีควำมสอดคล้องหรือเหมำะสมกับกำรใช้งำนกระเป๋ำ เช่น ผ้ำผูกกระเป๋ำ พวงกุญแจ เข็มกลัด กล่องใส่นำมบัตรหรือแท๊กป้ำยชื่อกระเป๋ำ ฯลฯ โดยสินค้ำ ทั้งหมดจะอยู่ภำยใต้ยี่ห้อตรำสินค้ำหรือแบรนด์เดียวกัน โดยผู้ประกอบกำร สำมำรถทำกำรตลำดในรูปแบบของสินค้ำคอลเลคชั่น (Collection) ได้ เพื่อเป็น กำรสร้ำงมูลค่ำให้กับแบรนด์สินค้ำของตนเองได้อีกด้วย ผู้ประกอบกำรในธุรกิจเสื้อผ้ำแฟชัน่ ที่ทำหน้ำที่ออกแบบ คัดเลือกวัตถุดิบ ควบคุมกำรผลิตและจำหน่ำยเสื้อผ้ำแฟชั่นประเภทต่ำงๆ ภำยใต้ตรำยี่ห้อสินค้ำ หรือแบรนด์ของตนเอง ทั้งนี้ ผู้ประกอบกำรสำมำรถทำกำรผลิต ออกแบบและ จำหน่ำยสินค้ำอื่นๆ ที่มีควำมสอดคล้องหรือเหมำะสมกับกำรสวมใส่เสื้อผ้ำ แฟชั่นนั้นๆ เช่น ผ้ำพันคอ เข็มขัดหรือหมวก ฯลฯ ได้ด้วย โดยสินค้ำทั้งหมดจะ อยู่ภำยใต้ยี่ห้อตรำสินค้ำหรือแบรนด์เดียวกัน ซึ่งผูป้ ระกอบกำรสำมำรถทำ กำรตลำดในรูปแบบของสินค้ำคอลเลคชั่น (Collection) ได้ เพื่อเป็นกำรสร้ำง มูลค่ำให้กับแบรนด์สินค้ำของตนเอง กำรดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับกำรซื้อขำยและบริกำรสินค้ำแฟชั่น โดยอำศัย ช่องทำงอินเทอร์เน็ตในกำรประกอบธุรกิจ เช่น กำรติดต่อลูกค้ำ กำร ประชำสัมพันธ์ กำรขำยสินค้ำ กำรรับชำระเงิน ฯลฯ ในรูปแบบของกำรจัดทำ เว็บไซด์เป็นของตนเองหรือร้ำนค้ำออนไลน์ กำรทำธุรกิจผ่ำนเว็บไซด์พำณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบของกำรประกำศซื้อ-ขำย (E-Classified) กำรทำธุรกิจ ผ่ำนตลำดกลำงอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketing) หรือกำรทำธุรกิจบริกำรอำหำร ออนไลน์ผ่ำนสื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่ำงๆ อำทิ เฟสบุ๊ค (Facebook) หรืออิน สตรำแกรม (Instagram) เป็นต้น ธุรกิจที่ทำหน้ำที่ถ่ำยทอดประสบกำรณ์กำรใช้สินค้ำแฟชั่นให้ผู้บริโภครำยอื่นๆ ได้ทรำบถึงคุณสมบัติ ข้อดี ข้อเสียของสินค้ำหรือบริกำรนั้นๆ ตำมจริง โดยมีกำร บรรยำยลักษณะของสินค้ำ วิธีกำรใช้งำนหรือขั้นตอนกำรรับบริกำรพร้อม ภำพประกอบ หรือที่เรียกทั่วไปว่ำ “กำรรีวิว” สินค้ำและบริกำร โดยทั่วไปนัก รีวิวสินค้ำแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ นักรีวิวมืออำชีพ (Professional Reviewer) และนักรีวิวมือสมัครเล่น (Amateur) กำรดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับกำรออกแบบ กำรจำหน่ำย กำรขำยเสื้อผ้ำเครื่อง แต่งกำยที่มีขนำดใหญ่กว่ำขนำดมำตรฐำน S M L หรือ เสื้อผ้ำที่มีรอบอกใหญ่ กว่ำ 38 นิ้วขึ้นไป เพื่อกลุ่มลูกค้ำคนอ้วน รูปแบบธุรกิจ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ (1) มีแบรนด์ของตนเอง เช่น กำรผลิตเอง กำรออกแบบเองแล้วจ้ำงผลิต ซื้อ สินค้ำมำติดแบรนด์ของตนเอง (2) ไม่มีแบรนด์ของตนเอง เป็นธุรกิจซื้อมำขำยไป หรือ รับนำเข้ำสินค้ำตำมสั่ง (Pre-order) (3) มีสินค้ำแบรนด์ของตนเองและรับ จำกแหล่งอื่นมำขำย เพื่อเพิม่ ควำมหลำกหลำยของสินค้ำและลดภำระต้นทุนใน กำรผลิต ด้ำนกำรจำหน่ำยสินค้ำอำจมีหน้ำร้ำนของตนเองควบคู่กับหน้ำร้ำน ออนไลน์เพื่อควำมสะดวกในกำรเข้ำถึงลูกค้ำ ข-3
ภาคผนวก ค การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ธุรกิจสร้างสรรค์ต้นแบบ สาขาอาหารและแฟชั่น
ค-1
กรณีศึกษาธุรกิจสร้างสรรค์ต้นแบบ สาขาอาหาร 1. ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร
C
reative Kitchen “สนุกที่ได้ทา”
เราสร้าง Trend Center เพื่อให้เหมาะสมกับไลฟ์สไตล์ ของคนในยุคปัจจุบันให้สามารถใช้เวลากับตนเอง ครอบครัว เพื่อน หรือ คนที่รัก รวมถึงยังเป็นกิจกรรมทางเลือกที่มีแบบแผน การเรียนการสอนที่เป็นมาตรฐาน ทั้งยังสามารถถ่ายทอดให้เข้าใจง่าย และสามารถนาไปปฏิบัติได้จริง Creative Kitchen ทาธุรกิจบนแนวคิดที่ท้าทายของกลุ่มคนรุ่นใหม่ในสาขาอาชีพเชฟ ด้วยแนวคิดที่กล้าจะ เปลี่ยนทัศนคติของคนไทยที่เดิมต้องการเรียนทาอาหารเฉพาะในโรงเรียนหรือสถาบันชื่อดังกับเชฟที่มีชื่อเสีย ง ให้ปรับทัศนคติมายอมรับกับการเรียนทาอาหารในโรงเรียนหรือสถาบันเล็กที่มีศักยภาพไม่แพ้กันและโดดเด่น ในการสร้างสรรค์เมนูอาหาร และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อย่างเช่น Creative Kitchen ทุกวันนี้
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-2
มีความรับผิดชอบในองค์ความรู้ทถี่ ่ายทอดให้กับผู้เรียน ให้ความสาคัญกับเป้าหมายของผู้เรียนทุกคนทุกระดับ ให้ความสาคัญกับงานสร้างสรรค์วธิ ีการสอน ให้ความสาคัญกับงานสร้างสรรค์และพัฒนาสูตรอาหาร ให้ความสาคัญกับการเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ให้ความสาคัญกับการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ เน้นความสนุกสนาน สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายแบบ เป็นกันเอง สามารถปรับตัวรับกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ มีใจรักและมุ่งมั่นพยายาม
คุณพีช ศุภธนิศร์ ศิวะพรพันธ์ ผู้ก่อตั้ง เป็นผู้ที่ได้รับ Certificate of Basic and Intermediate Cuisine, Le cordon bleu dusit, Bangkok, Thailand 2009 และ Certificate of Le cordon bleu of Patisserie, Le cordon bleu dusit , Bangkok, Thailand เมื่อเดือนมีนาคม 5222 มีหุ้นส่วนที่ประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาต่างๆ ทัง้ ด้านสายอาหาร สายวิชาการ และสายบริหาร ที่มีความชานาญในแต่ละสาขากว่าสิบปี รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (Workshop Style) ของ Creative Kitchen Kids Class เพื่อให้เด็กที่มาเรียนได้เรียนรู้ และมีพัฒนาการทั้งทางสมองและร่างกาย การเรียนรู้ การอยู่ร่วมกับผู้อื่ น และยังได้เรียนรู้คุณค่าทางโภชนาการของสารอาหารต่างๆ โดยใน Class Chef ที่มีความชานาญในการสอนเด็ก จะสอนวิธีการทาอาหาร วิชาการ และการฝึกกล้ามเนื้อ ต่างๆ ไปพร้อมๆกันกับการสร้างสรรค์ Creative จินตนาการของวัยเด็กเข้าสู่การทาอาหารเมนู ต่างๆ Professional Class สาหรั บ ผู้ที่ ต้องการเรีย นรู้ก ารทาอาหารอย่ า งจริง จั ง เพื่ อน าไปใช้ ใ น ชีวิตประจาวันอันเร่งรีบ โดยใช้อุปกรณ์ที่มีในครัวที่บ้าน ก็สามารถทาอาหารฝีมือระดับ Chef ร้านอาหารดังได้ สามารถนาไปทาได้จริง Chef ผู้สอนจะแนะนาเกร็ดความรู้ เทคนิค วิธีการ ทาอาหารต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนฝึกฝนการทาอาหารแบบมืออาชีพ Foreigners Class สาหรับลูกค้าที่ต้องการเรียนรู้การทาอาหารไทย มีทั้งการเรียนระยะสั้น เพียง ชั่วโมง ก็สามารถนากลับไปทาอาหารไทย โดยเรียนรู้วัฒนธรรมไทยไปพร้อมๆ 3 กัน หรือ ครอบครัว Expat ที่ภรรยามีเวลาว่างช่วงกลางวัน สามารถมาฝึกฝนฝี มือการทาอาหารกับกลุ่ม เพื่อน เพื่อสังสรรค์ และเรียนรู้การทาอาหารนานาชาติ Signature Class เพื่อเปิดสอนการทาอาหารที่เป็นอาหาร Signature ของโรงเรียน เหมาะ สาหรับคนที่สนใจความแปลกใหม่ของวิธีการทาอาหารและวัตถุดิบ เพื่อนามารังสรรค์เป็นเมนูที่ไม่ เหมือนใคร ทั้งคาวและหวาน Private class เป็นกิจกรรมพิเศษ Private Class ที่สามารถ Customize ได้ตามต้องการ จะ เรียนคนเดียว สองคน หรือเป็นกลุ่ม ก็สามารถวางแผนการทาอาหาร สามารถเลือกเมนูที่ต้องการ ทาได้เองเป็น Set สามารถสร้างเป็นกิจกรรมกับกลุ่มเพื่อนสนิท สังสรรค์ ปาร์ตี้ หรือรวมกลุ่ มทา กิจกรรมวันหยุด ทางโรงเรียนจะมี Chef คอยดูแลการสอนเป็นกรณีพิเศษ รวมถึงการไปสอนนอก สถานที่
Creative Kitchen มีแนวคิดในการสร้างกิจกรรมยามว่างให้กับทุกคนในครอบครัว เพื่อน คนรัก โดยจัดให้ มีห้องเรียนที่หลากหลายทั้งอาหารและขนม มีบรรยากาศการสอนแบบเป็นกันเอง พร้อมด้วยอุปกรณ์ที่ครบ ครัน ทันสมัย อีกทั้งผู้เรียนก็สามารถกาหนดเวลาเรียนได้ด้วยตัวเอง และ Creative Kitchen ได้มีการกาหนด หลักการดาเนินธุรกิจสาคัญไว้แบ่งเป็น ด้านหลัก ดังนี้ 3 1) ด้านคุณภาพ (Quality) - คัดสรรวัตถุดิบคุณภาพสูงจากทั่วทุกมุมโลก - อุปกรณ์ทันสมัย ปลอดภัย ครบคัน แต่สามารถหาใช้ได้ในชีวิตจริง - เมนูอาหารมีการปรับปรุงสูตรให้ถูกปากกับคนไทย และสามารถหาซื้อวัตถุดิบไปทาได้จริง - ลงมือปฏิบัติเองในทุกขั้นตอน 2) ด้านความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) - เปิดจินตนาการทางความคิด ให้สร้างสรรค์ผลงานของแต่ละบุคคล ค-3
- ตารางเรียนมีความหลากหลาย และสามารถปรับได้ตามความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า - พร้ อมให้ คาปรึกษา และตอบคาถามทุ กข้อสงสั ยหลั งจบการเรียน หรือ ตลอดเวลาที่พบ ปัญหา - สาหรับการเรียนการสอนของเด็ก ทุกเมนูอาหาร และขนม ได้วางหลักสูตรให้สัมพันธ์และ สอดคล้ องกับ พัฒ นาการของเด็กในแต่ล ะช่ว งวัย พร้อมทั้ง เปิดโอกาสทางความคิด และ จินตนาการอย่างไร้ขีดจากัด 3) ด้านความปลอดภัย (Safety) - ด้านความปลอดภัยในการเรียนการสอนของเด็ก เราสามารถรับผิดชอบ บุตรหลานของท่าน ให้ได้รับความปลอดภัยสูงสุด จากคณะผู้สอน และพนักงานรักษาความปลอดภัยตลอด 52 ชั่วโมง - มีประกันอุบัติเหตุให้กับนักเรียนที่มาเรียนทุกท่าน โดยทาประกันภัยกับบริษัทชั้นนา Creative Kitchen เข้าถึงได้ที่: https://www.facebook.com/creativekitchenschool
ค-4
Ge'nie Chef “Be Ge'nie Chef Be Clever!” เราให้มากกว่าการทาอาหาร เรียนรู้ทักษะชีวิต ส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการ ทั้งคณิตศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษา โภชนาการ ประเพณี วัฒนธรรม ผ่านการทาอาหารนานาชาติเป็นภาษาอังกฤษ
Ge’nie Chef เติบโตได้จากวิกฤตที่เปลี่ยนมาเป็นโอกาส และเจตนาที่ดีที่ต้องการเห็นเด็กน้อยมีคุณภาพชีวิต ที่ดีได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน ด้วยประสบการณ์ตรงของครอบครัว และความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ที่นามา ปรับใช้กับการประกอบธุรกิ จที่ให้ความสาคัญกับพัฒนาการของเด็ก จะเห็นได้กลุ่ มลูกค้าและตลาดเป็นก้าว สาคัญก้าวแรกของการคิดทาธุรกิจของ Ge’nie Chef ที่ประสบความสาเร็จมาได้ในทุกวันนี้ และเป้าหมาย สูงสุด ของ Ge’nie Chef ก็คือการขยายธุรกิจในลักษณะ แฟรนไชส์มากกว่าที่จะขยายเอง เนื่องจากมีหลาย คนแสดงความสนใจมา ไม่ว่าจะเป็น ที่ลาปาง หาดใหญ่และกรุงเทพฯ ซึ่งอีกไม่นานคงจะพร้อม เพราะเริ่มทา ระบบแฟรนไชส์ไว้แล้ว
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
คิดสร้างสรรค์กิจกรรมแปลกใหม่สาหรับเด็ก หลักสูตรตอบโจทย์กลุม่ เป้าหมาย ที่ทาให้เด็ก กินอาหารได้มากขึ้น หลักสูตรสามารถช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทาง สมองที่ดีขึ้น มีสมาธิดีขึ้น การให้ข้อมูลและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ เป้าหมายสาคัญของสถาบัน กับกลุ่มเป้าหมาย อย่างต่อเนื่อง มีใจรักและมุ่งมั่นพยายาม
เป้ า หมายสู ง สุ ด คื อ การขยาย ธุ ร กิ จ ใ น ลั ก ษ ณ ะ แ ฟ ร น ไ ช ส์ มากกว่าที่จะขยายเอง เนื่องจากมี หลายคนแสดงความสนใจมา ไม่ ว่าจะเป็น ที่ลาปาง หาดใหญ่และ กรุ ง เทพฯ ซึ่ ง อี ก ไม่ น านคงจะ พร้ อม เพราะเริ่มท าระบบแฟรน ไชส์ไว้แล้ว
ค-5
Ge’nie Chef เป็นสถาบันที่ให้ “มากกว่าการทาอาหาร” โดย คุณรดา อดุลตระกูล ผู้ก่อตั้งสถาบันเสริม
ทักษะ และพัฒนาการของเด็กผ่านการทาอาหารแห่งแรกในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นคนรุ่นใหม่ที่เห็นโอกาสการทา ธุรกิจจากปัญหาการเลือกกินอาหารของลูกน้อยวัยขวบเศษ ประสบการณ์นี้จุดประกายให้รดาสร้างสถาบันสอน ทาอาหารสาหรับเด็กในชื่อ Genie Chef School ขึ้นมาเพราะรอบตัวเธอต่างมีพ่อแม่ที่เผชิญปัญหาเดียวกับ เธอ ด้ว ยการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน 2 ภาษา คือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และถูกออกแบบให้ เหมาะสมกับเด็กๆ ตั้งแต่อายุ 3 ขวบ จนถึง 12 ปี โดยมีแนวความคิด คือ “Be Ge’nie Chef…Be Clever” Ge’nie Chef มีแนวคิดในการทาธุรกิจด้วยการเชื่อมโยงความรู้และทักษะที่สาคัญสาหรับเด็กๆ ในด้านต่างๆ เป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและพัฒนาสมองสาหรับเด็กๆ ซึ่งสรุปได้ดังต่อไปนี้ การเชื่อมโยงสู่ความรู้สาขาในต่างๆ ให้กับเด็ก 1. คณิตศาสตร์ : ไม่ว่าจะเป็นการนับจานวน (Counting), เศษส่วน (Fractions), การแยกประเภท (Sorting), การชั่งตวงวัด (Measuring), น้าหนัก (Weighing), รูปร่าง สี (Shapes & Colors), ลาดับ (Sequencing), การเงิน (Money), การแก้ปัญหา (Problem Sloving) 2. วิทยาศาสตร์และเคมี : รู้จักและเข้าใจรู้ถึงที่มาว่าอาหารมีหลายประเภทหลายกลุ่ม ทั้งโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เป็นต้น ทั้งรู้จักทั้งรสชาติ เปรี้ยว หวาน ขม เค็ม เผ็ด และอื่นๆ ได้ ทาการทดลอง การทานาย ผ่า นห้องครั ว เช่น รู้จั ก สัง เกตการเปลี่ ยนแปลงของอาหาร ก่ อนปรุ ง ขณะปรุงและหลังการปรุง ทั้งรูป สีกลิ่น รสชาติ รู้จักความร้อน การต้ม การเดือด การเปลี่ยนสถานะ เป็นต้น ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าอย่างเต็มที่ ทั้งการดู การฟัง การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น ได้ความรู้เรื่องการปลูกและเติบโตมาของอาหารแต่ละอย่าง 3. ภาษาศาสตร์ : เด็กจะได้รับความสนุกสนานผ่านหลักสูตรสองภาษาที่จะสอนเน้นเป็นภาษาอังกฤษเป็นหลัก 4. ภูมิศาสตร์ : เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมเครื่องปรุงอาหารในแต่ละภูมิภาค แต่ละประเทศของโลก ได้ความรู้ เรื่องว่าอาหารแต่ละอย่าง ปลูกและเติบโตกันที่ไหนบ้างในโลก 5. ประวัติศาสตร์ : เรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาของ อาหาร ผัก ผลไม้ หรือแม้กระทั้งอุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น อาหารประจาชาติ อาหารประจาครอบครัว (สูตรเด็ดของครอบครัวตัวเอง) และความเป็นมา การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ ให้กับเด็ก 1. ศิลปะ : ได้พัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ สูตรใหม่ๆ อาหารของตัวเอง การออกแบบ การ ประดิษฐ์ ไม่ว่าจะเป็นการปั้น การแกะสลัก ตกแต่ง ใช้สี จัดวางอาหาร หรือจัดวางอุปกรณ์ต่างๆ 2. ความปลอดภัย : เด็กได้เรียนรู้การใช้เครื่องครัวและอุปกรณ์ต่างๆ แก๊ส ไฟฟ้า ความร้อน อะไรที่ปลอดภัย และอะไรที่ทาให้ เกิดอันตรายได้บ้าง เด็กจะได้เรียนรู้ และรู้จักระมัดระวังทุกครั้งที่ใช้เครื่องครัวต่างๆ และ เข้าครั วทาอาหารได้ ด้วยความปลอดภัย และการเรียนรู้ในเรื่องส่ว นผสม จากการอ่านฉลากและดูวัน หมดอายุ 3. ด้านพัฒนาการทางสมอง สังคม และอารมณ์ (EQ) : การเรียนทาอาหารนอกเหนือได้ความรู้ต่างๆ และ ความคิดสร้างสรรค์อย่างที่กล่าวไปแล้ว ยังส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ อีกทั้งทางสมอง สังคม และอารณ์ แก่เด็กๆ อีกด้วยทั้ง 4. ทักษะต่างๆ ในการทาอาหาร : หุง อุ่น ต้ม นึ่ง ผัด ทอด อบ ลวก ปอก หั่น ตุ๋น แกะสลัก ฉีก เท ตัก ตวง ฯลฯ ท าอาหารใได้ ห ลากหลายชนิ ด ทั้ ง ของคาวของหวาน ทั้ ง ของไทยและอาหารนานาชาติ รวมถึ ง เครื่องดื่มด้วย ค-6
ทัศนคติที่ดี เด็กๆ จะได้เรียนรู้โภชนาการและสุขอนามัย เป็นการปลูกฝังเรื่องการกินอาหารที่ดีมีประโยชน์ และรู้ว่าอะไร เป็นโทษไม่ควรกิน หรืออาหารอะไรที่เราแพ้บ้างและมีอาการอย่างไร และเรียนรู้เรื่ องการรักษาความสะอาด เพื่อสุขอนามัยที่ดี เช่น การล้างมือก่อนทาอาหาร การล้างผัก ผลไม้ และการทาความสะอาดภาชนะต่างๆ โต๊ะ จานถ้วย แก้ว เป็นต้น Ge’nie Chef เข้าถึงได้ท:ี่ http://www.geniechefschool.com
ค-7
2. ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์
F
ay Fay Homemade Bakery คัพเค้กออนไลน์
เน้นความอร่อยไปพร้อมกับรูปร่างหน้าตาที่สวยงาม จากความสามารถด้านศิลปะเฉพาะตัว Fay Fay Homemade Bakery โดดเด่นทั้งความอร่อยและศิลปะการเพ้นลายบนคัพเค้กนมสดที่เป็น ความสามารถเฉพาะตัว ซึ่งตอนนี้เราถือว่าเป็นรายเดียวที่ใช้การเพนต์ลายลงบนเค้กนมสด และการออกแบบ สร้ า งสรรค์ รู ป ร่ า งหน้ า ตาให้ รั บ กั บ เทศกาลส าคั ญ ๆ ต่ า งๆ เป็ น อี ก กลยุ ท ธ์ ที่ ท าให้ ย อดขายสู ง ขึ้ น ในทุ ก ปี “ความคิดสร้างสร้างสรรค์” จึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับการปรับตัวของผู้ประกอบการในวงการอาหารปัจจุ บัน ซึ่ง Fay Fay Homemade Bakery ให้ความสาคัญและเราก็ประสบความสาเร็จมาได้ในทุกวันนี้
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-8
การรักษาคุณภาพความอร่อย ศิลปะการตกแต่งรูปร่างหน้าตาที่สร้างสรรค์และ แตกต่าง การตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าในโอกาสพิเศษ ต่างๆ การใส่ใจวัตถุดิบทีส่ ดและใหม่เสมอ การปรับตัวรับกับการเปลีย่ นแปลงในสถานการณ์ต่างๆ ได้ดี ประสบการณ์ด้านการทาเบเกอรี่ที่มีมากว่า 12 ปี
Fay Fay Homemade Bakery โดย คุณประไพพร สิริอัฉรานนท์ เป็นเจ้าของกิจการที่มีประสบการณ์ทา เบ เกอรี่มานานกว่า 15 ปี ร้าน Fay Fay Homemade Bakery ถือกาเนิดมาจากการทาเค้กนมสดส่งขายให้ ร้านเบเกอรีในย่านธุรกิจในกรุงเทพฯ หลายแห่ง ร้านเบเกอรีดัง ๆ กระทั่งเกิดรูปแบบการตลาดใหม่ที่มีช่องทาง การขายผ่านออนไลน์เกิดขึ้นทาให้การแข่งขันในอาชีพนี้มีสูงขึ้นตามด้วยเช่นกัน เมื่อลูกค้ามี ทางเลือกเพิ่มขึ้น สะดวกขึ้นก็ส่งผลให้ยอดขายเราลดลง ดังนั้นร้านจึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการขายมาเป็นการขายผ่าน ออนไลน์ด้วยเช่นกัน อีกทั้งการปรับตัวกับเวลาที่มีมากขึ้นจึงทาให้ตัดสินใจเปิดสอนทาเบเกอรี่ร่วมด้วย ร้าน Fay Fay Homemade Bakery เปิดบริการวันจันทร์-วันศุกร์ ตั้งแต่ 08.00-18.00 น. เน้นการทาขนม ตามเทศกาลสาคัญๆ และในโอกาสพิเศษๆ อาทิ ครบรอบวันเกิด ครบรอบวันสาคัญๆ หรือฉลองในโอกาส พิเศษต่างๆ ด้วยการสร้างสรรค์รูปร่างหน้าต่างเค้กด้วยศิลปะที่โดนใจลูกค้า อีกทั้งช่วงเทศกาลจะเป็นช่วงเวลา ที่เป็นโอกาสในการสร้างรายได้ที่เพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ปี จึงเป็นทาให้ร้านต้องเตรียมความพร้อมและให้ความใส่ ใจกับการคิดสร้างสรรค์รูปแบบสินค้าในช่วงเทศกาลเป็นสาคัญด้วย ซึ่งในแต่ละปีพบว่าลูกค้านิยมซื้อเค้กมอบ ให้กันเป็นส่วนใหญ่ ร้านจึงคิดออกแบบเค้กให้เข้ากับธีมของเทศกาลนั้นๆ เสมอๆ ซึ่งผลตอบรับดีมาก ในปีที่ ผ่านมาคัพเค้กจะได้รับความนิยมอย่างมาก ด้ ว ยรู ป ร่ า งหน้ า ตาที่ ส ามารถตกแต่ ง ได้ หลากหลายและขนาดรูปแบบที่ง่ายต่อการ รับประทาน ส าหรั บ การน าเสนอราคาสิ น ค้ าของร้ า น Fay Fay Homemade Bakery จัดได้ว่า เป็ น ราคาที่ ไ ม่ สู ง มากเมื่ อ เที ย บกั บ กลุ่ ม สินค้าและบริการประเภทเดียวกัน ร้านเน้นกาหนดราคาขายเป็นเซทโดยบังคับด้วยขนาดของกล่อง รูปแบบ การสั่งซื้อออนไลน์ มีเงื่อนไขดังนี้ สั่งขนมในระหว่างวันจันทร์-วันพฤหัสบดี ลูกค้าจะได้รับขนมในวันถัดไป สั่งขนมในวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ ลูกค้าจะได้รับขนมในวันจันทร์ของสัปดาห์ถัดไป (เนื่องจากทางร้านจะปิดครัวทาความสะอาดในวันหยุดและจะเปิดเตาทาขนมอีกครั้งในวันจันทร์) **กรณีลูกค้าไม่สะดวกมารับสินค้าเอง สามารถส่งแผนที่มาให้ทางร้านที่ info@faycake.com ทางร้านจะ บริการส่งและคิดค่าขนส่งตามราคาที่เกิดขึ้นจริง** ดูข้อมูลสินค้าได้ที่เว็บไซต์ faycake Fay Fay Homemade Bakery เข้าถึงได้ที่: www.faycake.com
ค-9
ร้
านชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette)
“ร้านชีสเค้กคุณภาพออนไลน์แห่งแรกในไทย สร้างสรรค์เมนูชีสเค้กใหม่ๆ ให้หลากหลายควบคู่กับรักษา คุณภาพและบริการให้เป็นที่พึงพอใจของลูกค้าเสมอ เพื่อให้ลูกค้าเชื่อถือและจดจาว่า เมื่อคิดถึง “ชีสเค้ก” อยากให้นึกถึงแบรนด์ ‘ชีสเค้ก พาเลท’” ร้านชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette) เติบโตได้ด้วยใจรักและการเห็นโอกาสทางการตลาดในประเทศ ที่ยังไม่มีร้านชีสเค้กแบบร้อยเปอร์เซ็นต์ จึงเป็นบันไดมาสู่ความสาเร็จกับธุรกิจร้านขายอาหารออนไลน์ที่มุ่งมั่น สร้างสรรค์ชีสเค้กที่เข้มข้นด้วยรสชาติความอร่อยที่มากกว่า 25 รายการ รวมถึงการนาเสนอรสชาติความอร่อย ของชีสเค้กได้เช่นเดียวกับต้นตารับสไตล์นิวยอร์กที่ขึ้นชื่อเรื่องชีสเค้กได้อย่างครบสูตร พร้อมด้วยบริการส่งถึง บ้านที่เหมาะกับยุคสมัยและรูปแบบการใช้ชีวิตของคนในปัจจุบันที่ต้องการความสะดวกสบายและคงคุณภาพ ความอร่อยได้เหมือนกับซื้อรับประทานเองที่ร้าน
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
คุณภาพและความอร่อยของชีสเค้ก วัตถุดิบนาเข้าสาหรับผลิตชีสเค้กให้ได้คณ ุ ภาพ ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบชีสเค้กที่ หลากหลายเมนู และตอบโจทย์ความต้องการ ของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ความคิดสร้างสรรค์ในการออบแบบแพ็กเกจจิ้ง เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า รูปแบบการให้บริการ มีใจรักและชอบทาขนม
ค-10
คุณเบญจรงค์ เตชะมวลไววิทย์ เจ้าของร้านชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette) เป็นคนรุ่นใหม่ที่มีแรง บันดาลใจในการทาธุรกิจอาหารสร้างสรรค์จากความชอบส่วนตัว ชอบทาขนมมาตั้งแต่เด็กทั้งหัดทาเองและ เรียนจากสถาบันสอนทาขนมทั้งในและต่างประเทศ กระทั่งมีงานประจาทาแล้วการทาขนมก็ทาเป็นอาชีพเสริม อาศัยเวลาว่างทาเค้กส่งร้านกาแฟหลายแห่งในกรุงเทพฯ และเมื่อปี 2554 ได้มีโอกาสเดินทางไปนิวยอร์ก และ สหรัฐอเมริกา ได้ไปชิมชีสเค้กสไตล์นิวยอร์กแท้ๆ และเกิดประทับใจกับรสชาติความอร่อย จึงย้อนคิดถึงชีสเค้ก ที่ขายในเมืองไทยที่ตนเห็นว่ายังขาดความหลากหลาย ส่วนใหญ่มีแค่ชีสเค้กสตรอว์เบอร์รี กั บบลูเบอร์รี อีกทั้ง ร้านเค้กต่างๆ ก็จะเน้นทาเค้กนานาชนิดโดยมีเมนูชีสเค้กเป็นเพียงแค่หนึ่งในเมนูของร้านเท่านั้น แต่ยังไม่มีร้าน ใดเลยที่นาเสนอชีสเค้กเป็นเมนูหลักประจาแบรนด์ ทาให้มองเห็นว่ายังมีโอกาสในช่องทางตลาดที่เราจะมาเต็ม เติมในจุดนี้ได้
ร้านชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette) เปิดหน้าร้านขนาดกะทัดรัดอยู่ที่ซอยสุขุมวิท 36 ตกแต่ง บรรยากาศสบายๆ นั่งได้ประมาณ 15 คน รองรับลูกค้าเดินเข้ามาเลือกซื้อได้ทันที และใช้เป็นจุดที่ลูกค้าสั่ง และรับสินค้าได้เอง ซึ่งภายในร้านยังเสริมเมนูอื่นๆ ด้วย เช่น เครื่องดื่ม คุกกี้ และไอศกรีม เป็นต้น สาหรับชีส เค้ ก ได้ เ จาะจงสร้ า งรสชาติ เ ป็ น สไตล์ นิ ว ยอร์ ก ที่ ขึ้ น ชื่ อ เรื่ อ งชี ส เค้ ก มี จุ ด เด่ น เนื้ อ แน่ น และรสเข้ ม ข้ น ขณะเดียวกันก็เพิ่มความหลากหลายคิดค้นรสใหม่ขึ้นเอง ถึงปัจจุบันมีกว่า 25 รายการ เช่น ชาไทย เอสเพรสโซ ไวต์ช็อกโกแลต แมนฮัตตันวานิลลา เป็นต้น และสร้างสรรค์รูปแบบให้สวยงามตื่นตาตื่นใจอย่างหลากหลาย เช่น ทาเป็นแท่งคล้ายไอศกรีม หรือใส่ในถ้วยแบบคัพเค้ก เป็นต้น สูตรเด็ดเคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่การเลือกใช้ วัตถุดิบ คุณภาพเยี่ ย มน าเข้ าจากต่างประเทศ เช่น ครีม ชีส จากฟิล าเดลเฟี ย วิป ปิ้งครีม จากฝรั่งเศส และ ช็อกโกแลตยุโรป เป็นต้น ส่วนผสมทั้งหมดมาจากธรรมชาติไม่ใส่สีผสมอาหาร หรือสารกันเสียใดๆ ทั้งสิ้น และ ทั้งหมดผลิตแบบโฮมเมด เฉลี่ยทาเค้กได้ประมาณ 50 ก้อนต่อวัน ในกรณีที่ลูกค้าต้องการปริมาณมาก ๆ จึง จาเป็นต้องสั่งล่วงหน้า ซึ่งราคาขายก็ยังอยู่ระดับปานกลางเฉลี่ยชิ้นละ 100 บาท และเพิ่มมูลค่าเค้กด้วยแพกเก จจิ้งที่สวยงามเหมาะสมทั้งสามารถซื้อฝากมอบเป็นของขวัญในเทศกาลต่างๆ ได้ กลุ่มลูกค้าหลักคือ กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มหนุ่มสาวออฟฟิศ และกลุ่มคนที่ต้องการสั่งเป็นของขวัญมอบให้กับคนสาคัญ ในเทศกาลต่างๆ นอกจากนั้นด้วยรูปแบบเค้กที่สวยงามหลากหลาย จึงมีกลุ่มลูกค้าองค์กรหรือกลุ่มคนที่สั่งไป ใช้ในงานจัดเลี้ยงและอีเวนต์ต่างๆ ช่องทางขาย ทางร้านได้เลือกวางระบบรูปแบบบริการดีลิเวอรี โดยสั่งผ่านเว็บไซต์ด้วยระบบออนไลน์ หรือ โทรศัพท์ หลังรับออเดอร์ 2 วัน ลูกค้าจะได้รับสินค้าจากการบริการจัดส่งถึงที่ ทางร้านจะให้บริการส่งสินค้าใน กรุงเทพฯและปริมณฑล ต่อมาภายหลังได้มีการปรับปรุงระบบบริการ โดยจัดให้มีบริการเสริมส่งด่วนภายใน 90 นาที ในพื้นที่สุขุมวิท วิทยุ สีล ม และสาทร เป็นต้น ซึ่งบริการดีลิเวอรี่ชีส เค้กของร้านชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette) เป็นบริการร้านชีสเค้กออนไลน์รายแรกของเมืองไทย และการออกแบบบริการของ ทางร้านที่สามารถให้บริการออนไลน์และจัดส่งสินค้าได้ในระยะทางที่ค่อนข้างไกลครอบคลุมถึงเขตปริมณฑล จากหน้าร้านที่มีเพียงแห่งเดียวได้นั้น ส่วนหนึ่งสามารถทาได้เนื่องจากชีสเค้กมีข้อดี คือ อายุการเก็บรักษาจะ นานกว่าเค้กทั่วไป หากแช่เ ย็นก็จะเก็บไว้ได้นานถึง 1 เดือน รวมถึงคงรูปทรงได้ดีกว่าเค้กทั่วไป จึงทาให้ สามารถจัดส่งในรูปแบบดีลิเวอรีได้โดยไม่ติดปัญหาในการรักษาคุณภาพความอร่อยและการคงรูปลักษณ์เดิม เหมือนกับเค้กทั่วไป และทางร้านก็ประสบความสาเร็จจากช่องทางการขายแบบออนไลน์นี้ไม่ยากนัก ซึ่ง ลูกค้า ส่วนใหญ่ก็จะมาจากการบอกปากต่อปาก การแชร์รูป รวมถึงการแชร์ลิงก์ข่าวที่มีการประชาสัมพันธ์หรือทา โฆษณาไว้ ทาให้ผลตอบรับดีขึ้นเรื่อยมาเป็นลาดับ ค-11
การจัดส่ง : บริการจัดส่งทั่วกรุงเทพโดยมอเตอร์ไซต์และพนักงานของเราเอง และคิดค่าจัดส่งตามระยะทางซึ่งจะ ระบุไว้ในตารางสรุปราคาออเดอร์เมื่อท่านเลือกสินค้าแล้ว กรุณาสั่งสินค้าล่วงหน้า 2 วันทาการ โดยสามารถระบุเวลารับเค้กเป็นช่วงเช้า (10.00 - 12.00 น.) หรือ ช่วงบ่าย (13.00 - 18.30 น.) ไม่มีการบริการส่งเค้กในวันจันทร์ หากสั่งออเดอร์ในวันอาทิตย์ เค้กจะจัดส่งได้ในวันอังคาร เป็นต้นไป ร้านชีสเค้กพาเลท เข้าถึงได้ที่: www.cheesecakepalette.com
ค-12
3. ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง
DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) เราเป็นผู้ช่วยในการทาให้งานเลี้ยงสมบูรณ์แบบ สร้างรอยยิ้มให้กับเจ้าภาพและแขกที่มาร่วมงาน
DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) อาศัยความชานาญที่สั่งสม และความใส่ใจทั้งคุณภาพความอร่อยของอาหาร และความต้องการของลูกค้า เห็นได้จากการใส่ใจรักษาเมนูดั่งเดิมของร้านดีพร้อมไปพร้อมๆ กับการพัฒนา สร้างสรรค์เมนูที่หลากหลายใหม่ๆ ให้ตอบโจทย์กับความต้องการของลูกค้าในแต่ละยุคสมัย รวมถึงรูปแบบการ บริการที่หลากหลาย โดนใจ กระทั่ง DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) ประสบความสาเร็จเช่นทุกวันนี้ บริการของ DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง): Catering service - บุฟเฟต์มาตรฐาน (Thai Buffet: Standard Menu) - บุฟเฟต์ดีพร้อม (Thai Buffet: Dee Prom Signature) - บุฟเฟต์อาหารตะวันตก (Western Buffet) - ค็อกเทล (Cocktail) - คอฟฟี่เบรค (Coffee Break) - ออกร้าน (Food Stall) - โต๊ะไทยมาตรฐาน (Thai Table: Standard Menu) - โต๊ะไทยดีพร้อม (Thai Table: Dee Prom Signature) - เซ็ทเมนูอาหารไทย (Thai Set Menu) - อาหารกล่อง (Meal Box) - อาหารว่าง (Snack Box) Food & Beverage solution outsourcing บริ ก ารบริ ห าร Canteen ร้านอาหารของโรงแรม Catering Expert คอยช่วยดูแลและให้คาแนะนาผู้ที่ต้องการจัดงาน แต่งงานเก๋ๆ ในแบบของคุณเอง
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-13
รสชาติของอาหาร ความรู้และความเชื่ยวชาญในวิชาชีพเชฟ การสร้างสรรค์เมนูอาหารที่มคี วาม หลากหลาย การออกแบบรูปลักษณ์อาหารที่ หลากหลาย รูปแบบการบริการที่เป็นเลิศ
DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) เป็นบริการจัดเลี้ยงที่เติบโตมาจากร้านอาหารดีพร้อม ร้านอาหารไทยจาก บางแสนซึ่งเริ่มเปิดทาการขึ้นที่ชายหาดบางแสนเมื่อปี 5297 โดยคุณยายฝอย ดีพร้อม และคุณก๋งเหลียง ดี พร้อม โดยเริ่มแรกจากร้านกาแฟและค่อยขยายเป็นร้านอาหารในเวลาต่อมา จากตึกแถวสามคูหา ในปี 5297 ชื่อเสียงของร้านดีพร้อมเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นนับแต่ปี 5210 และ เมื่อขยายเปิดสาขาที่พัทยา ร้านอาหารดีพร้อมก็มีชื่อเสียงเป็นที่ รู้จักอย่างมาก และเป็นร้านอาหารชื่อดังของภาคตะวันออก อาทิ น้าพริกไข่ปูที่นาสูตรมาจากจันทบุรี และปรับปรุงเป็นอาหารจาน เด่น แกงป่าปลาเห็ ดโคนที่น้าเข้มข้น จนโรงแรมห้าดาวในพัทยา ต่างพยายามหาสูตรกันใหญ่ ห่อหมกทะเลที่ไม่ได้ใช้วิธีการนึ่ง แต่ เป็นการผัดด้วยกะทิในกระทะใหญ่ DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) ในตอนเริ่มต้นก็จัดเลี้ยงให้กับลูกค้า ที่ร้านและมีการบอกต่อกันมาเรื่อยๆ ผ่านมาได้ 6 ปี ทั้งฐานลูกค้า ใหม่และลูกค้าเก่าที่ยังอยู่ด้วยกันเสมอมา และยังคงรักษาเมนูขึ้น ชื่อของร้านดีพร้อมหลายๆ ตัวเอาไว้ให้ลูกค้าได้รับประทาน พร้อม กับพัฒนาเมนูอาหารไทยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะรายการอาหาร แบบค็อกเทล ของดีเคเทอริ่ง ที่มีจุดเด่นไม่เหมือนใคร เน้นการนา อาหารไทยมาปรับรูปแบบการนาเสนอ ให้เหมาะกับงานที่ไม่เป็น ทางการ แต่ยังคงความอร่อยแบบไทยๆ เอาไว้ได้ ซึ่งให้บริการจัด เลี้ยงในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล และรูปแบบบริการที่โดดเด่นแตกต่างของ DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) ก็คือ Catering Expert บริการคอยช่วยดูแลและให้คาแนะนาผู้ที่ต้องการจัดงาน แต่งงานแบบมีสไตล์เป็นของตนเอง นับเป็นบริการจัดเลี้ยงที่ทาให้ลูกค้าไว้วางใจ ในบริการได้มากกว่า เพื่อลดปัญหาความยุ่งยากให้กับคู่แต่งงานที่มักจะไม่ค่อยมี เวลาในการจัดการที่จะเตรียมความพร้อมในอีกมากมายหลายเรื่องขณะนั้น
กลุ่มลูกค้าของ DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) ประกอบด้วย 5 กลุ่มหลัก คือ 1. กลุ่มบุคคลทั่วไป บริการจัดงานขึ้นบ้านใหม่ งานแต่งงาน งานปาร์ตี้ในโอกาสต่าง ๆ หรือในโอกาส ที่อยากกินของอร่อยแบบไม่ต้องออกจากบ้าน 2. กลุ่มลูกค้าประเภทองค์กรหรือบริษัท ให้บริการจัดงานประชุมสัมมนา งานเลี้ยงส่ง งานเปิดตัว สินค้า และจัดเลี้ยงอาหารสาหรับพนักงานในองค์กรหรือบริษัท บริษัท ดี เคเทอริ่ง จากัด เข้าถึงได้ที่: เว็บไซต์ www.deecatering.com ค-14
4. ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก
ย
อด คอร์ปอเรชั่น
"คิดให้มากกว่าโจทย์" ยอด คอร์ปอเรชั่น นักสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์โดนๆ บรรจุภัณฑ์สุดเจ๋ง ด้วยงานกราฟฟิกที่ช่วยให้สินค้าหลายตัว กลับ มาโดดเด่น ในตลาดได้ คุณฉัตรชัย มีแนวความคิดที่จะขยายฐานกาลังที่เป็นกลุ่ มฟรีแลนซ์ให้มากขึ้น เพื่อให้สามารถรับงานใหญ่ๆ ได้เพิ่มขึ้น โดยมุ่งพัฒนา “ดีไซเนอร์เฉพาะทาง” ภายใต้เครือข่ายที่มีอยู่เดิม รวมถึงการขยายโอกาสไปในตลาดต่างประเทศ โดยเริ่มจากกลุ่มอาเซียน ที่งานด้านครีเอทีฟของไทยยังคงเป็น พี่ใหญ่ในภูมิภาคนี้
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-15
การบริการที่มีคณ ุ ภาพ ความคิดสร้างสรรค์ การกาหนดราคาที่เหมาะสม การทางานเชิงลึก เข้าถึงข้อมูลลูกค้า ให้ความสาคัญกับงานทุกชิ้น คิดต่อยอดธุรกิจจากช่องว่างที่มีอยู่ ด้วย บริการครบวงจร สร้างดีไซเนอร์เฉพาะทาง รองรับการ เติบโตของธุรกิจ
คุณยอด ฉัตรชัย ระเบียบธรรม เจ้าของ บริษัท ยอด คอร์ปอเรชั่น จากัด (Yod Corporation) จบสาขา Industrial Design คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้เปิดตัวทาธุรกิจรับ ออกแบบครบวงจร รวมถึงการออกแบบบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกในนาม บริษัท ยอด ภาพปรกอบจาก: http://www.bangkokbiznews.com/ คอร์ปอเรชั่น จากัด (Yod Corporation) ขึ้นเมื่อปี 5222 จากที่ผ่านมาเมื่อปี 5228 เคยทาธุรกิจออกแบบด้วยการสนับสนุนพื้นที่ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พื้นที่ในห้างประตูน้าเซ็นเตอร์ บริเวณสี่แยกราชประสงค์ได้เปิดบริษัทเล็กๆ ชื่อ Brainstore เพื่อบริการด้าน การออกแบบแก่สินค้าโอท็อป เป็นเวลา 3 ปี และใช้เงินทุนในการเริ่มต้นธุรกิจด้วยเงินเพียง 2 หมื่นบาท ซึ่ง ผู้ประกอบการสินค้าโอท็อปขณะนั้นประสบปัญหาปิดตัวลงหลายราย จึงทาให้ต้องปิดตัว Brainstore และไป เปิดบริษัท ยอด คอร์ปอเรชั่น โดยใช้พื้นที่ในตึกของคุณแม่ตั้งบริษัทแทน ปัจจุบันมีพนักงานประจาจานวน 10 คน มีเครื อข่ายพัน ธมิตรฟรี แลนซ์กว่ า 50 ราย มีผู้ เ ชี่ยวชาญในแขนงต่างๆ ไม่เพียงแค่งานออกแบบ แต่ ครอบคลุมทั้งงานการตลาดและการวิจัย ด้วย ยอด คอร์ปอเรชั่น ดาเนินธุรกิจด้วยจุดขายสาคัญในการสร้างฐานลูกค้าคือ การบริการที่มีคุณภาพ ทุ่มเทกับทุก โปรเจคที่ทา และในราคาที่ไม่แพง จนทาให้ลูกค้าเกิดความประทับใจแล้วบอกต่อกันไป กระทั่งได้มีการขยาย บริการอย่างครบวงจร เรียกว่าไม่ใช่แค่งาน ออกแบบ แต่รวมไปถึงการจั ดอบรมสัมมนา ด้านการออกแบบให้ กับ หน่ ว ยงานรั ฐ และ เอกชน รวมถึงบริ การรั บ สร้ างธุรกิจ ให้ นั ก ลงทุ น ตั้ ง แต่ ต้ น จนจบแบบครบวงจร ซึ่ ง ลูกค้าในบริการนี้เพียงแค่ มีฝัน มีเงิน ก็มา ใช้บริการได้ ผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกที่ สร้างชื่อเสียงให้กับ ยอด คอร์ปอเรชั่น ก็คือ บรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลกส าหรั บ ส้ ม โอขาว แตงกวา จ.ชัยนาท “Thai pomelo of Chainat province” บนแนวคิด เป็นความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบแพ็กเกจจิ้งสาหรับพืชผลทาง การเกษตรจากวั ช พื ช ที่ ไ ม่ มี ใ ครต้ อ งการ โดยได้ รั บ แรงบั น ดาลใจจากปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นามาประยุกต์รวมเข้ากับภูมิปัญญาชาวบ้าน จนได้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ทั้งยังช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าอีกด้วย
ที่มา: http://www.bangkokbiznews.com/
ค-16
ได้รับรางวัลที่ 3 - Eco & Sustainable Thai Pomelo Package ในงาน The Dieline Package Design 5015 โดย The Dieline เป็นชื่อเว็บไซต์จัดการประกวด การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ได้รับการยอมรับ ทั่ ว โลก ในปี 5015 นั้ น ได้ จั ด ขึ้ น ภายใต้ แ น ว ค ว า ม คิ ด ที่ ว่ า Creativity, Marketability และ Innovation โดยแบ่ง ประเภทของรางวัลออกเป็น 15 ประเภท ประกอบด้ ว ย บรรจุ ภัณ ฑ์อ าหาร เครื่ อ งดื่ม ไม่ มีแ อลกอฮอล์ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ เบีย ร์-ค็อกเทล-ยาสูบ ไวน์ -แชมเปญ ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดร่างกาย สินค้าตกแต่งบ้านและสัตว์ ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้สานักงาน คอมพิวเตอร์-เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ และบรรจุภัณฑ์ที่สร้างสรรค์จากนักเรียน นักศึกษา โดยมีผู้สนใจส่ง ผลงานเข้าร่วมการประกวดจากทั่วโลก
คิ ด แบบ “ยอดคอร์ ป ” ในการท าบรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลกให้ กั บ ส้ ม โอขาวแตงกวา “Thai pomelo of Chainat province” จากค าถามที่ ว่ า “ส้ ม โอเราไม่ มี ท าง แยกแยะออกเลยว่ามาจากที่ไหน ฉะนั้น เราเลยต้องสร้างคาแรคเตอร์ขึ้นมา ก่อน หน้านี้จะเห็นใครก็จับใส่กล่อง แต่เคยรู้มั้ย ว่าค่ากล่องมันตั้ง 30 บาท ส้มโอแข่งกัน จะตายอยู่แล้ว ค่ากล่องยังจะแพงกว่าส้ม โออีก ดังนั้นจึงได้ไปคุยกับชาวบ้านจนได้รู้ ว่าเขามีทักษะเรื่องการสานผักตบชวาที่ดี มาก ก็ก ลับมาคิ ดออกแบบให้เ ป็นบรรจุ ภัณฑ์ เพื่อ ให้ ชาวบ้ านเป็ นคนท าเอง ใช้ วัสดุที่หาได้ในบ้านเขา ให้สามารถพึ่งพา ตนเองได้” ผักตบไม่ได้เป็นเพียงวัสดุธรรมชาติ แต่นี่ คือมลภาวะของโลก การนาผักตบขึ้นมา ใช้ก็เท่ากับช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดี ขึ้นด้วย..นี่เป็นการคิดแบบ 360 องศา คิด แบบ “ยอด” แก้โจทย์ให้สุดๆ จนนามาสู่ รางวัล “สุดยอด” ในวันนี้
บรรจุ ภั ณ ฑ์ จ ากผั ก ตบชวานี้ ได้ รั บ การตอบรั บ อย่ า งเกิ น ความ คาดหมาย สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับส้มโอได้อย่างน่ามหัศจรรย์ ทั้ง ยังได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากกรมส่งเสริมการส่งออกนาไปแสดง ทั้งงานใหญ่ในประเทศอย่ าง Thai Fex 2011 และงานระดับ นานาชาติ Food Expo 2011 ที่ฮ่องกง มีผลทาให้ส้มโอขาว แตงกวาของไทย มียอดสั่งซื้อเป็นจานวนมาก ขณะเดียวกันชื่อเสียงทางด้านหัตถกรรมของไทยก็ได้รับความ สนใจอย่างสูงเช่นกัน บรรจุภัณฑ์ของฝากมะขามหวานเพชรบูรณ์ หัวใจสาคัญของการออกแบบบรรจุภัณฑ์โครงการนี้ 1.ต้องการยกระดับ และ เพิ่มมูลค่าสินค้างทางการเกษตร 5.สร้างเอกลักษณ์ที่โดดเด่นแก่ผลิตภัณฑ์ GI โดยรวมของชุ มชน เพื่อ สร้า งกระบวนการจดจาแก่ผู้ ซื้อ และต้ องสามารถ กระจายใช้ต่อภายใต้เกษตรกรไร่ต่างๆได้ 3.ใช้งบการผลิตอย่างเหมาะสมกับ ความเป็นจริง 2.เข้าใจความต้องการที่แท้จริงของโจทย์(ความต้องการการ ปกป้องของสินค้าเกษตร ที่ไม่เหมือนสินค้าทั่วไป) 2.พึ่งพาตนเอง หรือกลุ่ม ชุมชนให้ได้มากที่สุด โดยพึ่งพาระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรมให้น้อยที่สุด
ค-17
ชุดเพาะปลูกสาเร็จรูป ชุดเพาะปลูกสาร็จรูปสาหรับผู้ ที่รักสุขภาพที่ต้องการดูแลตนเองเลือกคัดสรรสิ่งดีๆ ให้แก่ร่างกาย โดยนาข้อมูลวิธีการปลูกรวมถึงวัตถุดิบนามากลั่นกรองคัดสรรให้การ ปลูกพืชผักที่ดูเหมือนจะยุ่งยากออกมาดูเรียบง่ายและสะดวกต่อความเข้าใจ ลบภาพ เดิมๆของการปลูกผักที่ ดูแสนยุ่งยากและเลอะเทอะออกไป ให้มีความร่วมสมัย ดู น่าสนใจ เหมาะแก่การซื้อเพาะปลูกเองหรือเป็นของฝากได้อย่างลงตัว
คุณฉัตรชัย กล่าวว่าปัจจุบันผู้ประกอบการตื่นตัวขึ้นว่าเรื่องของการออกแบบสามารถช่วยเขาได้ แต่ปัญหาก็คือ เรื่องงบประมาณและการลงทุน โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายเล็กๆ รวมถึงควรมีมุมมองที่เปิดกว้าง ศึกษา คู่แข่งเพื่อเข้าใจธุรกิจและยอมรับพร้อมที่จะปรับตัวให้เท่าทัน” บริษัท ยอด คอร์ปอเรชั่น จากัด เข้าถึงได้ที่: www.yodcorporation.com
ค-18
5. นักออกแบบอาหาร
ข
าบสตูดิโอ
"ไม่ว่าจะเป็นอาหารประเภทไหน ถ้าใช้วิธีคิดของฟู้ดสไตลิสต์คือให้เข้าถึงแก่นแท้ความเป็นธรรมชาติ เน้นความเรียบง่ายคือความงดงามที่แท้จริง" ขาบสตูดิโอ หลักในการทางานของ คุณขาบ อยู่ที่ความเข้าใจในเรื่องวัตถุดิบอย่างลึกซึ้ง รวมทั้งยังนาเอา commercial art มาปรับใช้กับการตกแต่งหน้าตาอาหาร เน้นเชิงการค้าแต่อาหารก็สวยงามได้ โดยตอกย้าที่ กระบวนการคิดอย่างมีระบบ สร้างสไตล์และรสนิยมที่เป็นเอกลักษณ์ ตลอดจนมีความตั้งใจที่จะสร้างผลงาน ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล และอย่าลืมว่าศิลปะเป็นเรื่องที่อยู่ในตัวของทุกคนอยู่แล้ว แต่เรามองข้ามไปว่า มันคืออาหารที่จะทาให้เรารู้สึกอิ่มท้อง แต่ความจริงการอิ่มท้องคือการทาให้ชีวิตมีคุณภาพควบคู่กันไปด้วย การนาเสนอรูปลักษณ์ของอาหารให้น่าสนใจน่ารับประทาน การจะหยิบยกอะไรมาใส่กับอะไร ต้องอยู่ภายใต้ กฎธรรมชาติของอาหาร โดยใช้การเรียนรู้คือนาวัตถุดิบส่วนประกอบทั้งหมดที่จะทาเมนูนั้นมาวางบนโต๊ะ แล้ว จะดูภาพรวมจากนั้นค่อย มาคัดสรรว่าสีอะไรคู่กับสีอะไร แล้วหั่นอย่างไรสวยและควรเลือกวัตถุดิบอย่างไร ส่วนภาชนะก็จะเป็นสิ่งที่มารองรับให้ของที่ทาสวยขึ้นมาอีกเพื่อให้เป็นความสวยแบบเบ็ดเสร็จและครบวงจร สิ่งเหล่านี้คือความต่อเนื่องของชิ้นงาน
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ที่มา: http://www.karbstyle.com/, ww.oknation.net, และ http://www.tcdcconnect.com/
ค-19
ความคิดสร้างสรรค์ เน้นความเรียบง่ายคือความ งดงามที่แท้จริง Simply the Best ความรู้และประสบการณ์ทยี่ าวนานด้าน Food Stylist ทักษะและความรู้ด้านบริหารธุรกิจ ที่ผสมผสานงาน ศิลปะอย่างลงตัว คุณภาพงานที่นาเสนอตามโจทย์ความต้องการของลูกค้า จุดประเด็นสร้างความแปลกใหม่เพื่อให้ลูกค้าเห็นโอกาส ใหม่ทางธุรกิจ รู ป แบบบริ ก ารในการน าเสนอความน่ า สนใจของ อาหารแบบครบวงจร
คุณสุทธิพงษ์ สุริ ยะ (ขาบ) ฟู้ดสไตลิสต์ผู้ คร่าหวอดในวงการศิลปะและอาหารมากว่า 17 ปี ปัจจุบันดารง ตาแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท ขาบสไตล์ จากัด องค์กรที่ให้บริการด้านการสร้างภาพลักษณ์และแบรนดิ้ง รวมทั้งงานออกแบบแนวคิดคอนเซ็ป (Concept Designer) ให้กับธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร ผลงานการ ออกแบบของคุณขาบเป็นที่ยอมรับเรื่องของมาตรฐานสากล ทั้งสไตล์การคิดงาน และมององค์ประกอบอย่าง รอบด้านด้วยความเข้าใจและเข้าถึงแก่น เพราะเคยผ่านงานหลากหลายบทบาท ทั้งงานเบื้องหน้าและเบื้องหลัง อาทิ เคยทางานบริษัทโฆษณา ทางานสิ่งพิมพ์แมกกาซีน เป็นนักเขียน นักการตลาด นักสร้างแบรนด์อาหาร กรรมการตัดสินการประกวดอาหารและบรรจุภัณฑ์อาหาร นักปรุงอาหาร และส่วนตัว ชื่นชอบศิลปะแนวไลฟ์สไตล์ ฯลฯ โดยเปิดให้บริการงานที่ปรึกษาด้านธุรกิจอาหาร อย่างเต็มรูปแบบและครบ วงจรเกี่ยวธุรกิจสื่อโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ ผลงาน Food Styling โดดเด่นด้วยวิธีการนาเสนอภาพถ่ายเมนูอาหาร ด้วยปรัชญาความเรียบง่ายคือความงดงามที่แท้จริง เน้นสร้าง ความสวยงามของวัตถุดิบอาหารให้โดดเด่นคงคุณค่าและดึงดูดสายตาได้อย่างไร ลูกค้าที่ดูแลมีทั้งร้านอาหาร โรงแรม บริษัทอุตสาหกรรมอาหาร และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมากมาย 1. ผลงานการออกแบบตกแต่งหน้าตาอาหารเพื่อทา รูปเล่มเมนูรายการอาหารให้กับร้านอาหารจีน ฮองมิ น ได้ รั บ คั ด เลื อ กเป็ น ตั ว แทนจากประเทศไทย เพื่ อ น าไปจั ด งานแสดงนิท รรศการภาพถ่ า ยรู ป เล่ ม เมนูอาหารในงาน DRUPA งานนิทรรศการแสดงผลงานสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิตอลและเทคโนโลยีการพิมพ์ระดับโลก ประเทศเยอรมนี 2. ผลงานการออกแบบตกแต่งหน้าตาอาหารเพื่อทา รูปเล่มเมนูรายการอาหารให้กับร้านอาหารจีน หลิวเซียงฟง ได้รับรางวัลเหรียญเงินจากงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 7THAI PRINT AWARDS 2012 3. ออกแบบหน้าตาเมนูอาหารกว่า 120 เมนูให้กับ FOOD WAVE แหล่งรวมร้านอาหารนานาชาติที่ ทันสมัยที่สุดในพัทยา ศูนย์การค้ารอยัลการ์เดนท์พลาซ่า ตั้งอยู่บริเวณชั้น 3 เพราะด้วยความตั้งใจและความรักในสิ่งที่ช อบจึงทาให้การทาธุรกิจฟู้ดสไตลิ สต์ประสบความสาเร็จและมี ชื่อเสี ย งระดับ โลกมาได้อย่ างทุกวัน นี้ จ ากพื้น ฐานที่ได้ทาธุร กิจของครอบครัว ที่เป็นธุรกิจ รับซื้อขายสิ นค้ า การเกษตรและรวมถึงธุรกิจร้านอาหารอีกด้วย จึงทาให้คุ้นเคยสัมผัสกับเหล่าวัตถุดิบสินค้าการเกษตรเป็น ประจาอยู่ทุกวันและทาให้เข้าถึงแก่นแท้มองเห็นความงดงามของวัตถุดิบ พืชพันธุ์ อาหาร ฤดูกาล ซึ่งเกี่ยวกับ เรื่องของการครัว ได้เข้าครัว ไปจ่ายตลาดเป็นเรื่องธรรมชาติของชีวิตประจาวัน และเนื่องจากที่บ้านเป็นร้าน ต่างจังหวัด (จังหวัดหนองคาย) ทุกคนต้องช่วยกัน หลักๆ คือคุณขาบจะเป็นผู้ช่วยเข้าครัวทาอาหาร ได้เรียนรู้ รสชาติ อ าหารจากการชิ ม ซึ่ ง เป็ น ประสบการณ์ ที่ ดี ส าหรั บ คนท าธุ ร กิ จ อาหาร กระทั่ ง ได้ พ บกั บ ครู โ ต หม่อมหลวงจิราธร จิรประวัติ ผู้จุดประกาย ผู้เปิดประตูสู่โลกกว้าง ท่านกล่าวว่า “บ้านเราไม่มีฟู้ดสไตลิสต์ แต่บ้านเราเป็นเมืองวัตถุดิบอาหารการกิน บ้านเราจึงมักจะมีปัญหาอยู่ว่า พอทาวัตถุดิบส่วนประกอบและ อาหารออกมาอย่างดี มีวางขายมากมายในบ้านเราแต่พอสินค้าเดินไปสู่สากล ภาพลักษณ์เรื่องของสไตล์ไม่ น่าสนใจ นั่นก็แปลว่าทาให้สินค้าไม่เดินทางสู่สากลได้” จึงเป็นที่มาของแนวคิดที่ว่า ถ้าจะทาธุรกิจอาหารไทย สู่มาตรฐานสากล ล้วนมีเส้นทางเดินของธุรกิจได้อย่างโดดเด่น มีสไตล์ และช่องทางตลาดชัดเจนแน่นอน ค-20
ขาบสตูดิโอ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างมาตรฐานสากลให้กับวงการอาหารไทย โดยเน้นการนาเสนอแนวคิดที่เรียบ ง่าย สวยนาน เป็ น ความสวยแบบมีชี วิตชี ว า ในกระบวนการท างานด้ว ยการมองโจทย์รอบด้า นเพื่ อไปสู่ เป้าหมายของงาน และมีกระบวนการคิดศิลปะในการปรุงอาหารบนกฎที่ตั้งไว้อยู่ข้อหนึ่งคือ ความอร่อยต้อง มาก่อนและอาหารนั้นจะต้องอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติของการกิน เช่น อาหารร้อนก็ต้องกินแบบร้อน อาหาร เย็นก็ต้องกินแบบเย็น ธรรมชาติของอาหารเป็นอย่างไรก็ต้องกินแบบนั้น การหยิบยกอะไรมาใส่กับอะไร ต้อง อยู่ภายใต้กฎธรรมชาติของอาหาร โดยใช้การเรียนรู้คือว่า นาวัตถุดิบส่วนประกอบทั้งหมดที่จะทาเมนูนั้นมา วางบนโต๊ะ แล้วจะดูภาพรวมจากนั้นค่อย มาคัดสรรว่าสีอะไรคู่กับสีอะไร แล้วหั่นอย่างไรสวยและควรเลือก วัตถุดิบ อย่างไร ส่วนภาชนะก็จ ะเป็น สิ่งที่มารองรับให้ ของที่ทาสวยขึ้นอีก สิ่งเหล่ านี้คือความต่อเนื่องของ ชิ้นงาน อย่าลืมว่าศิลปะเป็นเรื่องที่อยู่ในตัวของทุกคนอยู่แล้ว แต่เรามองข้ามไปว่ามันคืออาหารที่จะทาให้ เรารู้สึกอิ่มท้อง แต่ ความจริ งการอิ่มท้องคือการทาให้ชีวิตมีคุณ ภาพควบคู่กัน ไปด้วย สั งเกตง่ายๆ คือ เทศกาลอาหารหรืออะไรก็ตาม ถ้าคนไทยลุกขึ้นมาทางานคนไทยก็ทาให้มันสวยวิจิตรพิศดารมาก ทาให้อารมณ์ เข้าถึงได้ยาก เพราะว่ามันเป็นความสวยที่เกินความเป็นจริง ซึ่งในชีวิตประจาวันแทบจะไม่ค่อยได้สัมผัส แต่ถ้า เราทาอาหารออกมาให้คุ้นเคยกับชีวิตประจาวัน ไม่ต้องสวยมากแต่ว่าการสัมผัสเข้าถึงรับรู้ได้ นั่นแปลว่า ชีวิต เราจะค่อยๆ ซึมธรรมชาติของความสวยงามเข้าไป สุดท้ายเราจะตกผลึกเรื่องความคิดว่า เราจะได้ความสวย ด้วยธรรมชาติ นั่นก็แปลว่า ถ้าเราทาอาหารออกมาสวยมากจะไม่กล้ากิน แต่ถ้าเราทาอาหารออกมาแล้วไม่ ไปพลิกแพลงจากธรรมชาติของวัตถุดิบ เราจะเข้าใจและเราก็จะแปลงโจทย์ได้ง่ายขึ้น หมายความว่า ไม่ว่าจะ ทาอะไรก็ตามเราต้องเอารากเหง้ามาเป็นกระบวนการคิดเสมอในกระบวนการทางาน สรุปหลักการง่ายๆ ในการทาให้คนรู้สึกและสัมผัสได้ว่าอาหารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ คืออย่าไปใช้กระบวนการคิดที่ซับซ้อนหรือ ว่ามากเกินไป คือมองอาหารว่าเป็นเรื่องของง่ายๆ ยกตัวอย่างคือ พยายามเข้าถึงธรรมชาติของอาหาร อย่าให้ อาหารผ่านกระบวนการแปร กระบวนการปรุงที่มีขั้นตอนยุ่งยาก พยายามกินอาหารที่เป็นวัตถุดิบให้ได้มาก ที่สุด คือไม่ผ่านกระบวนการปรุงมาก จะทาให้ได้เรื่องของสุขภาพกลับคืนมา อาหารที่ไม่ผ่านการปรุงมากความ สวยก็จะคงอยู่ ที่สาคัญคุณค่าของสารอาหารในวัตถุดิบก็จะไม่สูญเสียด้วย กลุ่มลูกค้าของขาบสตูดิโอ ก็คือ บริษัทอุตสาหกรรมธุ รกิจอาหารในเมืองไทย ร้านอาหาร โรงแรม และธุรกิจ บริการด้านต่างๆ คุณขาบได้ให้หลักสาคัญที่เป็นกฎของฟู้ดสไตลิสต์ คือ อาหารต่างจากงานศิลปะอย่างอื่นตรงที่อาหารเราต้อง กินเข้าไป ดังนั้นกระบวนการแรกที่ต้องคานึงถึงคือ รสชาติต้องอร่อย ถัดมาคือโภชนาการที่ต้องได้และสุดท้าย คือเรื่องความสะอาด หลักสุขอนามัยต้องมี อันนี้เป็นกฎตายตัวของฟู้ดสไตลิสต์ที่จะต้องคานึ งถึงตลอดเวลา ส่วนความสวยงามด้านฟู้ดสไตลิสต์ จะเป็นเรื่องอันดับสุดท้ายเท่านั้นที่จะเอามาเป็นประเด็นในการคิดงาน บริษัท ขาบสไตล์ จากัด เข้าถึงได้ที่: www.karbstyle.com
ค-21
F
reelance Food Stylist ระดับประเทศ...คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์
"การได้ลงมือทาในสิ่งที่ตนรักและรักในสิ่งที่ตนทานั้น คุณค่าของผลงานจะทาให้ผู้คนที่ได้เห็นได้ชื่นชมสัมผัสได้ แต่คุณค่าที่เด่นชัดกว่านั้นคือ การที่เราสามารถหยิบจับของที่ทุกคนมองข้าม ดูไร้ราคา มาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ให้กลายเป็นของที่ทุกคนต้องเหลียวมองนั้น" คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Freelance Food Stylist บอกถึงคนรุ่นใหม่หากสนใจในอาชีพ Food Stylist สามารถทาได้ไม่ยากมองโลกในแง่ดี เห็นมุมมองที่สวยงามในทุกสรรพสิ่ง “มองให้เห็นความสวยแม้ ในความไม่สวย” ข้อนี้สาคัญมาก ขอให้ “รัก” ในงาน เพราะพอรักแล้วเราจะมีวิธีทาให้งานของเราออกมาดี เอง อย่าฝืนความรู้สึกเพราะถ้าฝืน ทาอย่างไรงานก็จะออกมาไม่สวยแน่นอน
รักในงานที่ทา สนุกในงานที่ทา คิดอยู่เสมอว่า “เวลาทางานเหมือนได้เล่นในอยู่ในสวนสนุก ฉันมีความสุขที่สุดเวลาทางาน”
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ด้านศิลปะ มีใจรักในงานศิลปะ มีใจรักในการทาอาหาร ความรู้และประสบการณ์งานเขียนคอลัมน์ อาหาร และจัด styling อาหาร มีความมุ่งมั่นและการฝึกฝนที่ดี
ที่มา: http://www.artbangkok.com/
ค-22
คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ จบปริญญาโทด้าน Cultural Heritage and Contemporary Arts Management มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ปริญญาตรีจากคณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร เคยเป็นนักโบราณคดี และภัณฑารักษ์ของกรมศิลปากร ก่อนออกมาเป็นนักออกแบบเรื่องราวให้ พิพิธภัณฑ์และนิทรรศการทั้งในและต่างประเทศ ผลงานที่สร้างชื่อคือ “มิว เซียมสยาม” และจากความประทับใจในเรื่องราวของอาหาร ที่ได้ลงมือเข้า ครั ว กับ คุณย่ามาตั้งแต่วัยเยาว์ จึงค่อยๆ กลายเป็นความรักความผู กพัน ประกอบกั บ ได้ เ รี ย นรู้ ก ารท าอาหารจากผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นอาหารชาววั ง ระดับประเทศ อย่างหม่อมหลวงเนื่อง นิล รัตน์ หม่อมหลวงต่อ กฤดากร และท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ จึงได้หันมาสนใจด้านการออกแบบอาหาร กระทั่งในที่สุ ดก็กลายเป็นผู้ เชี่ยวชาญด้านอาหาร และ Food Stylist ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบอาหารระดับประเทศในทุกวันนี้ ที่สามารถทา ให้อาหารที่แสนธรรมดาๆ สามารถกลายเป็นอาหารจานสวยรสชาติระดับ ชาววังในทันที ปัจจุบัน คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ มีงานเขียนคอลัมน์อาหาร และจัด Styling อาหาร ให้กับนิตยสาร Health & Cuisine และ Harper’s Bazaar (Thailand) เป็น Guru ด้านอาหารในรายการ Food & Health Gang ช่อง True Vision 67 รวมถึงเป็นเจ้าของร้านอาหาร Tempi Felici ที่ Palio เขาใหญ่ ตลอดจนเป็น Freelance Food Stylist โดยงานที่ผ่านมาได้ออกแบบอาหารให้กับแผ่นพับ สิ่งพิม พ์ให้กับ Central Food Hall และ S&P เป็นต้น การสร้างสรรค์ผลงานของ คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ ทุกครั้งมาจากแรงบันดาลใจในการสร้าง งานบนแนวคิดที่ว่า “การมองให้เห็นความงามของสิ่งที่เรากาลังทาอยู่” ว่าจะนาเสนอในมุมมอง ไหนให้ออกมาโดดเด่นและสวยงามที่สุด และดึงเสน่ห์ของอาหารออกมาให้ได้มากที่สุด และที่ สาคัญที่สุดคือ “การมองให้เห็นความสวยแม้ในความไม่สวย” ให้ได้ ด้วยแนวคิดเช่นนี้จึงเกิดการ ฝึกฝนตัวเองและศึกษาเชิงลึกในการพิจารณาความงามในทุกแง่มุมของวัตถุดิบที่ จะทาออกมาเป็น ชิ้นงาน สารวจข้อผิดพลาด นามาแก้ไข ปรับปรุง เปิดใจให้กว้าง เปิดโลกทัศน์ให้กว้าง ดูงานทั้ง ของเมืองไทยเราเองและของต่างประเทศให้มากที่สุดแล้วนามาปรับปรุงต่อยอด จะเป็นเครื่องมือ สาคัญสาหรับอาชีพการออกแบบอาหารหรือ Food Stylist การทาให้อาหารน่ากิน จึงไม่ได้อยู่ที่ฝีมือการประดิดประดอยอาหาร แต่สาคัญที่การเข้าใจอาหาร วัตถุดิบหลักของเมนูนั้น ๆ และดึงเอาจุดเด่นของเมนูนั้นออกมานาเสนอให้น่าสนใจ … แต่ไม่ว่าอาหารจะถูกจัดวางให้เย้ายวนสักเพียงใด ความอร่อยก็ยังเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้อยู่ดี คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ เข้าถึงได้ที่: https://www.facebook.com/duangrithi.claewplodtook
ค-23
ธุรกิจสร้างสรรค์ต้นแบบ สาขาแฟชั่น 1. ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า
K
anita
“เริ่มจากสิ่งที่ชอบ ให้เวลากับสิ่งที่ทา คิดอะไรออกต้องรีบทา ความสาเร็จไม่ได้มาจากสิ่งแรกที่เริ่มทา” “ฉัตรจะเริ่มจากจุดเล็กๆ ไม่ได้ใช้เงินลงทุนมาก นัก เบื้องต้นแค่ประมาณ 5,000 บาท เริ่มจากทา เองทุกอย่างคนเดียว ตั้งแต่ไปหาซื้อวัสดุอุปกรณ์ ต่างๆ ตัดเย็บหนัง ตอกหมุด ตัดกระดาษ ฯลฯ ท าให้ เ ราเรี ย นรู้ ขั้ น ตอนต่ า งๆ อย่ า งละเอี ย ด นอกจากนั้นยังไปขายด้วยตัวเองเพื่อรับฟังข้อติ ชมจากลูกค้านามาปรับปรุงแก้ไขตลอดเวลา” คณิตา คณิยมเวคิน Kanita จับขนมไทยมาเป็นแฟชั่นกระเป๋าหนัง "หัวใจสาคัญของการออกแบบ คือ การ สร้างกิมมิคหรือลูกเล่นให้สินค้า เพื่อให้ผู้ใช้เกิด ความสนุกสนานและจินตนาการกับผลิตภัณฑ์"คณิตา คณิยมเวคิน “คุ ณ ฉั ต ร” คณิ ต า คณิ ย มเวคิ น นั ก ออกแบบ เลือดใหม่ที่มีความคิดสร้างสรรค์แหวกแนวกว่า ใคร น าสิ่ ง ที่ ไ ม่ น่ า เชื่ อ มโยงกั น อย่ า งขนมและ กระเป๋ามาเชื่อมโยงกัน เธอมองว่าการพับใบตอง เป็นห่อขนม ไทยต่างๆ เป็นภูมิปัญญาไทยที่น่า ยกย่อง และเด็กรุ่นใหม่หลายคนแทบไม่รู้จักแล้ว เธอจึงนาจุดเด่นของห่อขนมแต่ละชนิด ทั้งรูปทรงภายนอก และสี มาผลิตเป็นกระเป๋าแฟชั่นเก๋ๆ โดยพยายามให้ทาออกแล้วใกล้เคียงกับของจริงมากที่สุดพร้อมกับ คานึงถึงข้อจากัดเรื่องวัสดุหนัง และการผลิตจริง ด้วย ผลงานขนมใส่ไส้ของ Kanita ยังได้รับรางวัล DE mark (Design Excellence Award 2011) สาขาแฟชั่น เส้นทางการก่อตั้งธุรกิจของเธอคือบทเรียนที่ดีของคนรุ่น ใหม่ที่ต้องการมีแบรนด์สินค้าเป็นของตัวเอง ค-24
ก้าวออกจากชีวิตมนุษย์เงินเดือนเพื่อค้นหาตัวเอง คุณคณิตา จบการศึกษาจาก สาขาออกแบบผลิ ตภัณฑ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ทาให้เธอมีพื้นฐานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ สามารถออกแบบและวางแพทเทิร์นได้ด้วยตัวเอง เธอเริ่มต้นชีวิตทางานโดยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้กับบริษัทแห่งหนึ่งย่านถนนเสือป่า ทุกวันที่ไปทางานเธอ จะผ่านย่านที่ขายพวกแผ่นหนังวัสดุเครื่องหนังบ่อยๆจึงซื้อมาลองทาเครื่องหนังใช้เองบ้าง มอบแด่คนใกล้ชิด บ้าง จนพอมีความรู้เรื่องเครื่องหนังอยู่บ้าง คนส่วนใหญ่ที่พบเห็นผลงานต่างชื่นชมในความสวยงามและขอซื้อ ต่อ ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจเริ่มทาขายคนรอบตัว คุณคณิตาผันตัว เองมาเป็นกราฟฟิคดีไซเนอร์ให้กับผู้ผลิต รายการโทรทัศน์แห่งหนึ่งซึ่งได้รับเลือกให้เข้าทางานเพราะบริษัทเห็นปกพอร์ทโฟลิโอที่เธอออกแบบเองแล้ว เกิดสะดุดใจจึงให้โอกาสเธอเข้าสัมภาษณ์จนได้งานนี้มา นี่คือจุดเริ่มต้นที่ทาให้คุณฉัตรเห็นจุดแข็งของตนเอง ชัดเจนขึ้น ระหว่างทางานประจาในฐานะกราฟฟิคดีไซเนอร์อยู่ 5 ปี คุณคณิตาใช้เวลาว่างจากงานประจาไป เปิดร้านขายสมุดปกหนังตอกชื่อหรือข้อความตามต้องการขายที่สวนลุมไนท์บาซาร์ ซึ่งลูกค้าตอบรับดี ขายได้ หมด ลูกค้ากว่าร้อยละ 90 เป็ นชาวต่างชาติ จากงานอดิเรกกลายเป็นรายได้ที่มากกว่าเงินเดือ น เธอจึง ตัดสินใจหันหลังให้ชีวิตมนุษย์เงินเดือนมาเริ่มต้นธุรกิจเองด้วยงานที่ชอบและมีความสุข อุปสรรคมีไว้ข้ามผ่าน "ทุกธุรกิจล้วนมีปัญหารออยู่แทบทั้งสิ้น สิ่งสาคัญคือเราจะแก้ปัญหาและผ่านมันไปได้อย่างไร คนที่สู้และ แก้ปัญหาได้ จะยิ่งมีประสบการณ์สั่งสมและมีความสามารถในการบริหารจัดการธุรกิจได้ดียิ่งขึ้น แต่คนที่ไม่ ลองแม้จะคิดสู้ ไม่ว่ามีเงินลงทุนมากแค่ไหนยังไงก็ไปไม่รอด" - คณิตา คณิยมเวคิน หลังจากออกจากงานประจา คุณคณิตาก็เผชิญปัญหาใหญ่เนื่องจากสวนลุมไนต์บาซ่าปิดตัวลง ไม่มีที่ขายของ ทาให้แผนชีวิตที่วางไว้พลิกผัน จังหวะนั้นเองคุณคณิตามีโอกาสเข้าร่วมโครงการจับคู่ธุรกิจของศูนย์สร้างสรรค์ งานออกแบบ (TCDC) ด้วยความที่ไม่มีพอร์ทโฟลิโอผลงานออกแบบสินค้าอย่างเต็มตัว ไม่เคยผลิตกระเป๋าหรือ รองเท้าเหมือนนักออกแบบคนอื่นๆ เธอจึงตั้งใจคิดผลงานของตัวเองออกมาชุดหนึ่งเพื่อเข้าร่วมโครงการครั้งนี้ โดยอาศัยความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์กลายมาเป็นผลงานชุดขนมไทย ซึ่งต่อมากลายเป็นจุดขายประจา แบรนด์ Kanita แม้ Kanita ไม่ได้รับเลือกให้เข้าจับคู่ธุรกิจในโครงการครั้งนั้นแต่ก็ได้รับความสนใจจาก ผู้ประกอบการเป็นจานวนมาก มีการนาผลงานออกฝากขายที่ TCDC Shop และจดสิทธิบัตรเพื่อปกป้อง ทรัพย์สินทางปัญญาไม่ให้ผลงานถูกลอกเลียนแบบ ก้าวเล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่สู่การเป็นผู้ประกอบการใหม่ "ความยากของการทาธุรกิจ คือ การลงมือทาและสร้างแบรนด์ให้เป็นที่รู้จัก โดยเฉพาะสินค้าที่เป็นแบรนด์น้อง ใหม่ จะต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบรับความต้องการของผู้บริโภค มีความแปลกใหม่ ใช้ประโยชน์ได้ จริงรวมถึงมีตลาดเป้าหมายรองรับและอยู่รอดได้ จึงจะถือว่าประสบความสาเร็จอย่างแท้จริง "-คณิตา คณิยมเวคิน การฝากขายผลงานไว้ที่ TCDC นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ยิ่งใหญ่ที่ทาให้คุณคณิตาต้องคิดอย่างผู้ประกอบการขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบธุรกิจ การหาแหล่งซื้อวัตถุดิบ การหาแหล่งขึ้นรูปหนัง แหล่งรับจ้างตัดเย็บเครื่องหนัง คานวนปริมาณที่ควรสั่งผลิต วิธีขาย ได้ลองผิดลองถูกจนรู้ซึ้งว่าสาหรับผู้ประกอบการรายเล็กๆ ที่เพิ่งเริ่มต้น ค-25
การหาคู่ค้าที่ช่วยสนับสนุนกันในห่วงโซ่อุปทานเป็นเรื่องจาเป็น การจ้างผลิตช่วยลดภาระผู้เริ่มต้นธุรกิจไม่ต้อง ลงทุนสูงทั้งเรือ่ งการจ้างคนงาน เครื่องจักรอุปกรณ์ แต่การหาผู้รับจ้างผลิตในประเทศที่ทีความรับผิดชอบหาได้ ยากมาก การผลิตปริมาณน้อยๆควรหาโรงงานเล็กๆ หรือ ช่างที่รับงานตามบ้านสามารถให้ความร่วมมือได้ มากกว่าโรงงานขนาดใหญ่ หากสั่งผลิตสินค้าปริมาณน้อยๆ ก็ยอมทาให้ หรือหากสั่งปริมาณมากๆ ก็สามารถใช้ เครือข่ายของผู้ผลิตรายเล็กๆ ตามบ้านมาช่วยกันทาให้สามารถรับคาสั่งซื้อปริมาณมากๆได้ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้คน นอกวงการจะไม่ทราบเลยหากไม่เข้าไปคลุกคลีพูดคุยกับร้านวัตถุดิบเครื่องหนังต่างๆ คุณคณิตา เริ่มต้นโดยเงินลงทุนเพียง 2,000 บาท ซื้อแผ่นหนังไปว่าจ้างให้ช่างเครื่องหนังช่วยผลิตตามแบบ โดยผลิตเพียงแบบละ 52 ชิ้นเพื่อวางขายใน TCDC shop ผ่านประสบการณ์โดนเบี้ยวงานจนเกือบเสียโอกาส ส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าไม่ทันหากไม่ตัดสินใจยอมควักเนื้อลงทุนอีกก้อนเพื่อไปหาผู้รับจ้างผลิตเจ้าใหม่ จนทุก วันนี้เธอยืนหยัดอย่างเข้มแข็งด้วยโดยมีทีมช่างฝีมือที่ช่วยรับ outsource งานไปทา และพนักงานผู้ช่วยอีก 1 คนที่คอยแบ่งเบาภาระเพื่อให้เธอมีเวลาให้กับการออกแบบชิ้นงานใหม่ๆ มากขึ้น ผลิตภัณฑ์ร้าน Kanita มีหลากหลายตั้งแต่สินค้าชิ้นเล็กราคาไม่ถึงร้อยบาทไปจนถึงกระเป๋าหนังแท้ราคาสามถึง สี่พันบาท ตัวอย่างเช่น กระเป๋าหนังชุดขนมไทย มีสีสันที่เหมือนใบตองจริง ทั้งใบตองสด ใบตองนี่ง เช่น กระเป๋าใส่พวง กุญแจรูปข้าวต้มมัด กระเป๋าเครื่องเขียนขนมจาก กระเป๋าสตางค์ทรงขนมเทียน ทรงขนมใส่ไส้ ทรงข้าวต้มน้าวุ้น กระทงใบตองใส่คลิปหนีบกระดาษ สินค้าหนังทั่วไป เช่น กระเป๋าถือ กระเป๋าผ้าผสมหนัง ปกสมุด ซองนามบัตร แฟ้มเอกสาร เป็นต้น ปัจจุบันคุณคณิตามีหน้าร้านอยู่ที่เอเชียทิค ลูกค้าที่หน้าร้านส่วนมากจะเป็นนักท่องเที่ยว กลุ่มวัยรุ่นจนถึงวัย ทางานที่ชื่นชอบงานดีไซน์ ชอบเครื่องหนัง นิยมซื้อไปใช้เองหรือเป็นของฝาก ของที่ระลึก สินค้ามีการติดป้าย ให้ความรู้เกี่ยวกับขนมชนิดนั้นๆ ไว้ ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ โดยสินค้าที่ขายดีที่หน้าร้านคือ กระเป๋าขนมจาก ส่วนรายได้หลักมาจากลูกค้าที่เป็นหน่วยงาน องค์กรและโรงแรมที่คุณคณิตาได้พบเวลาไปออกงานแสดงสินค้า ซึ่งเป็ น กลุ่ มที่ สั่ งซื้ อเพื่ อแจกของเป็ น ของที่ร ะลึ ก และวางขายตามสถานที่ท่ องเที่ยวโดยสิ นค้ าที่ข ายดี คื อ กระเป๋าทรงขนมใส่ไส้ KANITA Shop @ Asiatique The River Front (เจริญกรุง72) เข้าถึงได้ที่: https://www.facebook.com/KanitaLeather ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-26
ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ การใช้ ร ะบบ outsource หาคู่ ค้ า มา ช่ ว ยลดภาระต้ น ทุ น และลดงานที่ ไ ม่ ถนัดลง การสร้าง Strategic Positioning ที่ ตรงกับกลุ่มตลาดเป้าหมาย ความมุ่งมั่นไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค
R
uchitta
1
2
3
4
5
Ruchitta เป็นอีกหนึ่งในแบรนด์กระเป๋าหนังแท้ฝีมือคนไทยที่ได้รับความนิยมแพร่หลายในสัมคมออนไลน์ ด้วย ดีไซน์เรียบหรู สีสันสดใสจัดจ้าน ใช้วัสดุหนังแท้ การตัดเย็บเรียบร้อยทนทาน ใช้ได้ทุกวัน แม้ไม่มีหน้าร้าน ใช้ ช่องทางขายทาง Facebook Line และ Instragram ก็ขายดี เริ่มต้นธุรกิจด้วยความรู้เท่ากับศูนย์ เบื้องหลังความสาเร็จของแบรนด์กระเป๋ารายนี้คือ คุณหญิง-จุฑาทิพย์ หรู จิตตวิวัฒน์ เธอเรียนจบด้านการบัญชี จากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และทางานสาย ธุรกิจบริการในฐานะแอร์โฮสเตสสายการบินอีวา (EVA) ด้วยความที่มีโอกาสหิ้วกระเป๋าแบรนด์เนมต่างๆจาก ต่างประเทศเข้ามาขายและช่างสังเกต ว่ามีการตัดเย็บแบบไหน และใช้วัสดุอะไร ทาให้เธอมีความคุ้นเคยกับ แฟชั่นกระเป๋าเป็นอย่างดี เมื่อถึงคราวตัดสินใจสร้างธุรกิจของตนเอง เธอจึงเลือกทาธุรกิจแบรนด์กระเป๋าของ ตนเองขึ้นมา โดยมองว่ากลุ่มสาววัยทางานอายุ 52-20 ปีเป็นกลุ่มเป้าหมายที่มักมีกระเป๋าคนละไม่ต่ากว่า 5-3 ใบ และการมีกระเป๋าดีๆ สัก 1 ใบเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับชีวิตที่ต้องพบปะผู้คน แต่การจะซื้อกระเป๋าหนังแท้แบ รนด์เนมต่างประเทศก็ราคาสูงเกินกาลังมนุษย์เงินเดือนทั่วไป Ruchitta จึงเป็นทางเลือกให้กับสาวออฟฟิศรุ่น ใหม่ที่อยากได้กระเป๋าหนังแท้สวยๆไว้ใช้ในราคาที่เอื้อมถึง ก้าวแรกในการตัดสินใจเริ่มธุรกิจยากที่สุด หลังจากตัดสินใจหันหลังให้กับอาชีพแอร์โฮสเตส คุณหญิงใช้เวลา ถึง 6 เดือนในการศึกษาข้อมูลอย่างจริงจังก่อนเริ่มต้นธุรกิจ จนสามารถออกแบบและทาโมเดลกระเป๋าจาก กระดาษได้ด้วยตัวเอง ในระหว่าง 6 เดือนนี้ต้องทาใจว่าจะไม่มีรายได้เข้ามาและต้องพยายามจัดสรรเงินออม มาลงทุนเพื่อให้มีภาระหนี้สินน้อยที่สุด คุณหญิงทุ่มเทเวลาเต็มที่ในการหาข้อมูล เดินสารวจวัตถุดิบจากแหล่ง ต่างๆและขอความรู้จากร้านค้า โรงฟอกหนัง และพูดคุยกับโรงงานรั บจ้างผลิตหลายแห่งจนได้รายที่คุยกันรู้ เรื่อง "ทุกวันนี้เป็นตั้งแต่ดีไซเนอร์ยันเมสเซนเจอร์ เริ่มจากสเก็ตภาพด้วยการดูหนังสือแฟชั่น ดูเทรนด์ในแต่ละปีว่าปี ไหนสีอะไรมา ได้แบบแล้วก็ต้องไปคุยกับช่างที่โรงงาน คุยอยู่หลายโรงงานกว่าจะได้รายที่คุยกันรู้เรื่อง ความ ยากอยู่ที่การสื่อสารกับช่างให้รู้ถึงความต้องการของเรา อะไหล่ หนัง แมททีเรียลทุกอย่างต้องไปหาซื้อเอง หนัง ค-27
วัวมีหลายชนิดเราก็ต้องศึกษาว่าแต่ละชนิดมีข้อดีข้อเสียอย่างไร เหมาะกับกระเป๋าประเภทไหน อย่างสายโซ่ สะพาย ถ้ายาวมากเกินไปมันก็รุ่มร่าม ไม่คล่องตัว ไม่ได้ทาออกมาครั้งเดียวถูกใจเลย บางทีต้องสั่งแก้ถึงสาม รอบ"1 เปิดตัวสาเร็จเกินคาดด้วยพลังของเครือข่าย สินค้าเปิดตัวมีความสาคัญมากเพราะเป็นใบเบิกทางสร้างความ ประทับใจให้แก่ลูกค้า กระเป๋าคอลเล็คชั่นแรกของ Ruchitta มีชื่อว่า Trifle (รูปที่ 1) ซึ่งคุณหญิงตั้งใจ ออกแบบให้เหมาะสมกับการใช้งานของลูกค้าเป้าหมายระดับ B ถึง B+ จุของได้มาก สีสันโดดเด่น ล็อตแรกสั่ง ผลิตเพียง 30 ใบ จากการแชร์ภาพทาง Facebook กันไปมาในหมู่เพื่อนฝูง ก็เริ่มมีคาสั่งซื้อเข้ามาจากเพื่อนๆ และเพื่อนๆของเพื่อนจนกระเป๋า 30 ใบขายได้ห มดภายใน 5 สัปดาห์ คุณหญิงจึงเริ่มมีกาลังใจทาคอลเล็คชั่น ต่อมา ค่อยๆ เพิ่มสีสันและปริมาณการผลิต ซึ่งก็ขายหมดทุกครั้งจากการที่ลูกค้าบอกต่อกันปากต่อปาก ใน 1 ปี Ruchitta มีคอลเล็คชั่นใหม่ๆได้ถึง 3 คอลเล็คชั่น ถือว่าทางานค่อนข้างเร็ว แต่คอลเล็คชั่นเดิมก็ยังสามารถ ขายได้เรื่อยๆ โดยลูกค้าใหม่ที่เริ่มซื้อสะสม คุณค่าของแบรนด์คือคุณภาพและความใส่ใจ หัวใจสาคัญที่ทาให้ลูกค้าประทับใจเป็นแฟนเหนียวแน่นของ Ruchitta และบอกต่อคือการสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพสินค้าและการให้บริการ คุณหญิงจะตรวจคุณภาพ สินค้าอย่างละเอียดทั้งสีสันและฝีเข็ม การบริการตั้งแต่ก่อนการขายจนถึงหลังการขายล้วนบ่งบอกถึงความใส่ใจ ในตัวลูกค้าและคิดอย่างละเอียด เช่น มีการส่งการ์ดขอบคุณมาให้ลูกค้าพร้อมกระเป๋า มีถุงผ้าอย่างดีสาหรับให้ ลูกค้าเก็บกระเป๋าเวลาที่ไม่ได้ใช้งาน ให้ลูกค้าสั่งสกรีนป้ายโลหะห้อยกระเป๋าได้ตามชอบ การตอบคาถามลูกค้า แต่ละรายด้วยอัธยาศัยอันดี และบริการหลังการขายในการรับเปลี่ยนคืนกรณี อะไหล่หลุด โซ่หลุด แม้กระทั่ง พบฝีเย็บไม่เรียบร้อยหรือมีเพียงรอยขนแมว อุปสรรคคือบทพิสูจน์ความสาเร็จ ในการจ้างผลิตปัญหาที่หลีกเลี่ยงไม่ได้มี 5 ด้าน คือ เรื่องคน และเรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา (1) ปัญหาด้านคน ผู้ประกอบการอาจต้องเจอปัญหาที่ช่างหรือโรงงานรับจ้างผลิตส่งงาน ไม่ตรงเวลา ต้องรอคิวการผลิตต่อจากผู้ว่าจ้างรายอื่ น ความประมาททาให้สินค้าเกิดตาหนิ เปลี่ยนสเปคสินค้า เองโดยไม่ถามผู้ว่าจ้าง สินค้าที่ไม่ผลิตไม่ได้มาตรฐาน ทั้งหมดต้นทุนที่ผู้ประกอบการต้องแบกรับ การขายลด สินค้ามีตาหนิ การแจก การแถมล้วนสร้างผลกระทบกับภาพลักษณ์แบรนด์ที่พยายามสร้างมาทั้งสิ้น (5) ปัญหา ด้านทรั พย์ สิ น ทางปั ญญา อาจพบการน าแบบของผู้ ว่าจ้างไปดัดแปลงผลิ ตให้ ผู้ ประกอบการรายอื่น แนว ทางการป้องกันปัญหาทั้ง 5 ด้านนี้ ได้แก่ การหาผู้รับจ้างผลิตที่วางใจได้ไว้เป็นทางเลือก 5-3 รายเพื่อกระจาย ความเสี่ยง ดาเนินการออกแบบและจัดซื้อวัตถุดิบเอง และควรตกลงรายละเอียดกับผู้รั บจ้างผลิตเป็นลาย ลักษณ์อักษรใช้ชัดเจน เช่น สเปคสินค้า วันส่งมอบ การเปลี่ยนคืน การชดเชยค่าเสียหาย การรักษาความลับ งานต้นแบบ เป็นต้น เส้นทางสู่อนาคต จากเงินทุนตั้งต้นเพียงหลักแสนต้นๆ ผ่านมาเพียง 5 ปี Ruchitta เติบโตมีเงินหมุนเวียน เดือนละประมาณ 1,000,000 บาท มีฐานลูกค้าประจาประมาณ 5,000 คน และกาลังสร้างโรงงานของตนเอง โดยอาศัยทีมช่างฝีมือที่เคยร่วมงานด้วยกันมาก่อน การเลือกลงทุนด้านโรงงานก่อนสร้างหน้าร้านก็เพื่อควบ คุณภาพสินค้าและป้องกันการลอกเลียนงานออกแบบ แม้จะเป็นการลงทุนหนักและมีภาระค่าใช้จ่ายคงที่เพิ่ม สูงขึ้นแต่แลกด้วยการควบคุมคุณภาพการผลิตดีขึ้น ของเสียลดลง สามารถผลิตได้ต่อเนื่องไม่ต้องรอคิวใคร 1
ที่มา: http://women.sanook.com/12289/ruchitta
ค-28
และลดความเสี่ยงถูกลอกแบบไปผลิตให้ผู้ประกอบการรายอื่น ส่วนการมีหน้าร้านจะเป็นการขยายธุรกิจในขั้น ต่อไป การมีหน้าร้านในห้างสรรพสินค้าอาจก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอี กเดือนละปะมาณ 100,000 บาท จึง ต้องประเมินกาลังของธุรกิจอย่างรอบคอบ ปัจจุบันคุณหญิงควบคุมการดาเนินงานเองแทบทุกอย่าง มีผู้ช่วย 1 คน ในการดูแลการขายบนหน้าเฟสบุ๊ค ส่วนการสื่อสารช่องทางอื่นๆจะดูแลเอง และoutsourceงานถ่ายภาพ ประชาสัมพันธ์สินค้าให้มืออาชีพ มีทีมงานผลิตกลุ่มเล็กๆ และมีครอบครัวช่วยเป็นทัพหลังยามงานยุ่ง เชื่อในสิ่งที่ทาและจงเป็นนกน้อยทารังแต่พอตัว คุณหญิงแนะเคล็ดลับสาหรับการเริ่มธุรกิจไว้ว่า ขอให้ทุกคน เชื่อมั่นว่าตัวเองทาได้ เลือกทาในสิ่งที่ชอบเพื่อที่จะไม่หาข้ออ้างให้ตนเองยอมแพ้เมื่อเจออุปสรรค ศึกษาธุ รกิจที่ จะทาอย่างจริงจัง ซื่อสัตย์ต่อลูกค้า รักษาคนให้รักองค์กร และค่อยๆ ลงทุน เลือกทาในสิ่งที่จาเป็นก่อน อย่า รีบร้อนจนเกินกาลัง Ruchitta เข้าถึงได้ท:ี่ http://www.facebook.com/Ruchittabrand ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-29
สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ลู ก ค้ า ในเรื่ อ ง คุณภาพและการส่งมอบ การออกแบบสิ น ค้ า และบริ ก ารจาก มุมมองของลูกค้า ความรวดเร็ ว และความใส่ ใ จในการ ตอบสนองต่อลูกค้า รัก ษาความสั ม พัน ธ์ กับ คู่ค้ า ให้ เติ บ โตไป ด้วยกัน ใช้เครือข่ายให้เป็นประโยชน์
2. ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น
Hempthai Hempthai ภู มิ ปั ญ ญ า ไ ท ย บ ว ก นวั ต กรรมสู่ ต ลาดแฟชั่ น สี เขียว “ท าในสิ่ ง ที่ ใ กล้ ตั ว และ ตัวเองรัก อย่าเปรียบเทียบ ตั ว เองกั บ ใคร และสร้ า ง ค ว า ม สุ ข ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ใ น สถานที่ทางาน”
สาหรั บตลาดในประเทศแล้ ว คนส่ วนใหญ่ยังไม่รู้จักผ้ าใยกัญชงมากนัก แต่สาหรับตลาดต่างประเทศแล้ ว แบรนด์ Hempthai ถือเป็นแบรนด์ของไทยอันดับต้นๆ ที่ลูกค้าในตลาดรักษ์สิ่งแวดล้อมยินดีจองสินค้าข้ามปี แต่ทว่าธุรกิจของ Hempthai ไม่ใช่เพื่อการแข่งขันแต่เน้นการอยู่รอดร่วมกันได้ทั้งระบบห่วงโซ่อุปทาน คุณดวงฤทัย ภูมิพิเชฐ ผู้จัดการฝ่ายผลิต บริษัท ดีดีเนเจอร์ คราฟต์ เล่าว่า Hempthai คือ ผลิตภัณฑ์แฟชั่นที่ ทาจากใยกัญชง ซึ่งมีการวิจั ย ออกมาแล้ว ว่าเป็นเส้ นใยที่คุณสมบัติพิเศษ ทนทาน ยิ่งใช้นานยิ่งนุ่มเหนียว ระบายความร้อนได้ดีเมื่ออยู่ ในอากาศร้อนและรักษาความอบอุ่นได้ดีในฤดูหนาว มีหน่วยงานภาครัฐร่วมวิจัย พัฒนาจนทาให้ผ้าใยกัญชงมีเนื้อสัมผัสที่นุ่มกว่าปรกติ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ร้าน Hemp Thai แบ่งได้ 2 รูปแบบ หลักๆ คือ 1) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย หมวก กระเป๋า รองเท้า ผ้าพันคอ 2) กลุ่มเคหะสิ่งทอ เช่น ผ้าม่าน ผ้าบุเฟอร์นิเจอร์ ปลอกหมอนผ้าปูเตียง ซึ่งเป็นวัสดุธรรมชาติเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ใช้เทคโนโลยีการวิจัยปรับปรุงคุณภาพเส้นใยให้มีน่าใช้มากขึ้น ส่วนการออกแบบยังมีกลิ่นอายศิลปะพื้นบ้านของชาวม้งอยู่แต่ปรับให้มีความทันสมัยดูเป็นสากลมากขึ้น กระบวนการผลิตของแบรนด์ Hempthai เริ่มต้นที่ภูมิปัญญาชาวบ้าน ในการปลูกต้นกัญชงซึ่งมีอยู่ตาม ภาคเหนือ การออกแบบที่ผสานศิลปะชาวม้ง ผสานกับวิทยาการพัฒนาเส้นใยและองค์ความรู้ในกระบวนการ ค-30
ผลิตตลอดห่วงโซ่อุปทานทาให้ธุรกิจและชุมชนเติบโตไปด้วยกัน Hempthai มีเป้าหมาย สร้างความยั่งยืนใน การดาเนินธุรกิจโดยการเกื้อกูลกับชุมชนชาวม้งซึ่งเป็นกาลังสาคัญในการผลิ ตวัตถุดิบ พยายามรักษาวิถีชีวิต ของชาวบ้านท้องถิ่นในการใช้ลายจักสานของชาวม้งเป็นลายหลักของสินค้า แบรนด์ HEMPTHAI ส่งเสริม อาชีพให้แก่ชาวบ้านในการดูแลไร่กัญชง ส่งเสริมการฝึกสอนวิชาชีพการผลิตเสื้อผ้าจากใยกันชงในโรงเรียน ชุมชนโดยให้ ผู้เฒ่ าในชุมชนเป็นครูสอนลูกหลานในโรงเรียนของชุมชน ทาให้ เด็กๆ มีรายได้และมีอาชีพที่ สามารถทาร่วมกับครอบครัวได้ ส่งผลให้เกิดความสุขในการทางาน ทาให้ Hempthai ไม่มีปัญหาขาดแคลน แรงงานคนในการผลิต “ทาในสิ่งที่ใกล้ตัวและตัวเองรัก อย่าเปรียบเทียบตัวเองกับใคร และสร้างความสุขให้เกิดขึ้นในสถานที่ทางาน” คือหัวใจสาคัญในการดาเนินธุรกิจ คุณดวงฤทัยมองว่าผลกาไรไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด ขอให้ธุรกิจพออยู่ได้ก็พอ แต่ถ้าชุมชมทางานร่วมกับบริษัทอย่างมีความสุข พนักงานทางานอย่างมีความสุขในสถานที่ทางาน ผลิตผลที่ได้ จะมีคุณภาพที่ดีและขายได้ด้วยตัวเอง Hempthai มีการทางานกับชุมชนใกล้ชิดและนาวัฒนธรรมการจัดการ คนแบบครอบครัว เคารพระบบอาวุโส มาใช้ แต่ไม่ใช่ระบบการบริหารธุรกิจครอบครัว ” คือข้อคิดดีๆจากคุณ ดวงฤทัยในการดาเนินธุรกิจ Hempthai มีคาแรคเตอร์เหมือนศิลปิน ถึงมีเงินแต่ก็ซื้อไม่ได้ หากอยากได้ต้องรอแต่ไม่เคยทาให้รอเก้อ นี่เป็น เสน่ห์อย่างหนึ่งที่ลูกค้าประจาตั้งตารอด้วยความเชื่อมั่น สินค้ามีราคา สินค้าทุกชิ้นจะถูกเย็บเป็นแบบ Zero Waste Concept คือพยายามเย็บให้มีตะเข็บน้อยที่สุด และลดการตัดทิ้งของเศษผ้า หากมองในตลาด สิ่งแวดล้อมแล้วแบรนด์ Hempthai แทบไม่มีคู่แข่งในประเทศ ส่วนคู่แข่งในต่างประเทศก็มีไม่มาก การตลาด จึงใจวิธีเจาะกลุ่มลูกค้าตลาดรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การออกงานแสดงสินค้า การไป Roadshow ประเทศต่างๆ การขายทางเว็บไซต์ การออกแสดงสินค้าในส่วนตลาดที่ถูกต้องทาให้ Hempthai ได้รับคาสั่งซื้อกลับมาทุกครั้ง กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย คือ กลุ่มประเทศในยุโรป เยอรมัน เดนมาร์ก อเมริกา และญี่ปุ่น ปัจจุบันกลุ่มคนไทยเริ่ม หันมาใช้สินค้าที่ทาจากวัสดุจากธรรมชาติมากขึ้นใน ช่วง 2 ปีที่ผ่านมาทาให้สัดส่วนการขายในประเทศไทย เพิ่มขึ้นส่งผลให้ยอดขายในประเทศมีสัดส่วนเป็น 20% และส่งออกต่างประเทศ 80% ของยอดขายทั้งหมด
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
เข้าถึงได้ที่: http://www.hempthai.com
ค-31
การพัฒนาธุรกิจโดยมองทั้งห่วงโซ่อุปทาน การสร้าง Strategic Positioning ที่ ชัดเจน ใช้นวัตกรรมในการพัฒนาสินค้า ความรับผิดชอบต่อลูกค้า พนักงาน และ ชุมชน
เ
ฮียสด
เฮียสด ชื่อแบรนด์สุดกวนที่วัยรุ่นเด็กแนวรู้จัก กันดี หน้าตาเหมือนอาหารสดตามซุปเปอร์มา เก็ ต แต่ เ มื่ อ แกะออกมากลั บ เป็ น เสื้ อ ยื ด เก๋ ๆ แบรนด์นี้ได้รับรางวัล GOLD AWARD บรรจุ ภัณฑ์ประเภท Body ของPENTAWARDS ปี 5010 เซียงไฮ้เวิลด์เอ็กซ์โป นี่คือการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วย บรรจุภัณฑ์(Packaging) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่เรียบง่าย จดจาได้ และทาลายการรับรู้แบบเดิมๆ ที่มีต่อบรรจุภัณฑ์ เก่าๆ อย่างสิ้นเชิง และสื่อสารสินค้ากับแบรนด์ได้อย่างตรงประเด็นคือการขายไอเดียสดใหม่
ชื่อ เฮี ย สดมี ที่ มาจากความคิด กวนๆ น าค า“อาเฮี ย ”จากร้ า นโชห่ ว ยขายของสดมาผสมกับ ภาษาอั ง กฤษ กลายเป็น Here! Sod ที่นี่ขายของสด เป้าหมายแรกของแบรนด์ เฮียสด คือ การทาเสื้อยืดขายในงาน Fat Radio ซึ่งกลุ่มลูกค้าในงาน Fat Radio ต้องไม่ธรรมดา และตามคอนเซ็ปต์เดิมคือคนอื่นทาอะไรเขาต้องไม่ทา จึงกลายเป็นแนวคิดเรื่องของซูเปอร์มาร์เก็ตผสมกับเสื้อยืด จนกลายเป็นเสื้อยืดเฮียสด (Here! Sod) ที่ฮิตติด ลมบน มีร าคาจาหน่ ายหลั กร้ อย วัย รุ่ นสามารถซื้อไหว แต่ไม่ได้ว างขายเกลื่ อนกลาดเหมือนเสื้ อยืดทั่ว ไป แบรนด์เฮียสดมีจาหน่ายทาง Facebook และงานอีเว้นต์ที่เหมาะกับภาพลักษณ์ของแบรนด์และอยู่ในกลุ่ม วัยรุ่นเด็กแนว เช่น K Village Artist Market, Sappe Idea Exposure และ Fat Radio เป็นต้น ค-32
แบรนด์นี้ออกแบบโดย Prompt Design Team นาโดยคุณสมชนะ กังวารจิตต์ ซึ่งจบการศึกษาด้านการ ออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ จ าก สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และชนะรางวัล การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ระดับโลกถึง 3 ปีซ้อน จนคณะกรรมการจาก PENTAWARDS เชิญไปเป็นกรรมการตัดสิน บรรจุภัณฑ์ระดับโลกในปี 2013 เมืองบาร์เซโลน่า ประเทศสเปน
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-33
การออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ การสร้าง Strategic Positioning ที่ ชัดเจน ความเข้าใจกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย รสนิยม และช่องทางการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า
3. ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น
J
eban.com
Jeban.com เจ้าแม่รีวิวแห่งวงการแฟชั่น
จากงานอดิเรกส่วนตัว สู่การรีวิวสินค้าแฟชั่นแบบมืออาชีพ นั่นคือเรื่องราวของเจ้าแม่ด้านความสวยความงาม จีราภัสร์ อริยบุรุษ เจ้าของและผู้บุกเบิกจีบันดอทคอม ชุมชนออนไลน์สาหรับสาวๆรักสวยรักงามที่ถือว่า ประสบความสาเร็จมากที่สุดเว็บไซต์หนึ่ง www.jeban.com บริหารโดยบริษัท ทูมังกี้ส์ สตูดิโอ เป็นแหล่ง แลกเปลี่ยนเคล็ดลับการแต่งหน้า แต่งตัว สไตล์ ความสวยงาม ตลอดจนพูดคุยเรื่องราวต่างๆ ที่อยู่ในความ สนใจของผู้หญิงมีสมาชิกกว่า 1.3 แสนคน ชื่อ Jeban มาจากชื่อล็อกอินที่คุณจีราภัสร์ใช้ในการเขียนบล็อก ซึ่งขณะนั้นเป็นที่ฮือฮาในกลุ่มสาวๆ เพราะ แนะนาวิธีการแต่งหน้าแบบฮาวทู เปิดเผยหน้าตาจริงทั้งก่อนแต่งหน้าและหลังแต่งหน้า กรรมวิธีทุกขั้นตอน จนเป็นที่อัศจรรย์ใจที่การแต่งหน้าสามารถเปลี่ยนบุคลิกคนได้ ความนิยมในกระทู้ความงาม และวิธี แต่งหน้าใน บล็ อกมีผู้ ติดตามมากขึ้น เรื่ อยๆ จน ในปี 2550 คุณจิราภัส ร์และเพื่อนๆ จึงรวมตัวกันเปิดบริษัทก่อตั้ง www.jeban.com ช่วงเริ่มต้นไม่ง่าย ความยากลาบากมีตั้งแต่การไม่เป็นที่รู้จัก การบุกเบิกธุรกิจเว็บไซต์ ซึ่งในขณะนั้นยังใหม่มาก รวมถึงปัญหาเงินสดหมุนเวียนจากัด ปัญหาที่เว็บคอมมูนิตี้ด้านความสวยความงามจะต้องเจอในช่วงแรก คือ การทาให้สปอร์นเซอร์หรือแบรนด์ต่างๆ เข้าใจลักษณะการทางานของเว็บไซต์ เนื่องการทาเว็บคอมมูนิตี้ใน ค-34
เมืองไทยค่อนข้างใหม่ แบรนด์ต่างๆ จะไม่เข้าใจว่าจีบันไม่ได้รับจ้างรีวิว หรือรับจ้างแต่งหน้า การหา ผู้สนับสนุนเว็บไซต์จึงเป็นเรื่องที่ยากพอสมควร จากจุดเล็กๆ ทุกวันนี้จีบันเติบโตมีทีมนักเขียนบล็อกซึ่งมีความ ชานาญหลากหลายรวมกันอยู่ที่เว็บไซต์นี้ มีทีมดูแลลูกค้า ทีมงานดูแลสมาชิก และทีมไอที จุดสาคัญที่ทาให้ Jeban.com ประสบความสาเร็จ คือ คอนเทนต์ และแฟนคลับ การที่มีข้อมูลใหม่ๆ เว็บไซต์ เคลื่อนไหวตลอด และเปิดพื้นที่ให้สมาชิกช่วยกันแชร์คอนเทนต์บนเว็บไซต์ได้ทาให้มีผู้ติดตามขาประจาและ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนั้นคือการสร้างชุมชนขึ้นในโลกจริงๆ ไม่ใช่เพียงโลกออนไลน์ Jeban.com มักจะจัด กิจกรรมสม่าเสมอที่ทาให้สมาชิกได้มีโอกาสพบปะสังสรรค์ สนุกร่วมกัน เช่น How-to contest, Workshop ต่างๆ, Harem ที่คัดเลือกสาวๆ ผู้โชคดีไปทากิจกรรมนอกสถานที่ด้วยกันทั้งท่องเที่ยว เปลี่ยนลุค และ กิจกรรม Swop แลกเปลี่ยนเครื่องสาอางค์และเครื่องประดับที่ซื้อมาแล้วไม่ได้ใช้ ระหว่างเพื่อนสมาชิกด้วยกัน เป็นความสนุกของสาวๆ ที่ได้พบปะพูดคุยคนที่มีความสนใจแบบเดียวกัน ธุรกิจริวิวสินค้าเติบโตได้เพราะผู้บริโภคสนใจที่จะหาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ ปัจจุบันในอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น โรงแรม ร้านอาหาร สปา ซาลอน มีการจ้างบล็อกเกอร์หรือ ล็อกอินดังๆ ในเว็บคอมมูนิตี้ขนาดใหญ่ที่มีแฟน คลับติดตามเป็นจานวนมาก ช่วยทารีวิวสินค้าและบริการให้ ในแวดวงแฟชั่นก็เช่นกัน โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอางค์และเครื่องประทินผิว ค่าตอบแทนในการทาวิดีโอรีวิวสินค้า 1 ชนิ ดอาจอยู่ในระดับหลักหมื่น หากทาเป็นซีรีส์เคมเปญอาจสูงถึงหลักแสน และยังมีกิจกรรมเปิดตัวสินค้าอีก ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่นคือโอกาส ที่ได้ทาในสิ่งที่รักเป็นอาชีพอย่างจริงจัง แต่ทุกอย่างต้องใช้เวลาและความทุ่มเทเช่นกัน
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-35
ก า ร ห า ข้ อ มู ล ม า ต อ บ โ จ ท ย์ ที่ กลุ่มเป้าหมายสงสัย ความสม่าเสมอในการผลิตคอนเทนต์ การรักษาสายสัมพันธ์กับฐานแฟนคลับ
4. ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์
Merry Go Round Dropship เครื่องมือธุรกิจออนไลน์แบบไม่มีสต็อค
การที่ ค นรุ่ น ใหม่ ใ ช้ ชี วิ ต ส่ ว นใหญ่ ทางานอยู่คอมพิวเตอร์ ใช้เวลาว่าง ในโลกออนไลน์ ท าให้ พ ฤติ ก รรม การช้ อปปิ้ง ของคนเปลี่ ยนไป คุ ณ ชญานี เจริ ญ สวั ส ดิ์ ศิ ริ เจ้ า ของ https://www.facebook.com/m errygoroundcloset เป็นตั ว อย่า ง หนึ่ งของนัก ธุร กิจ สาวรุ่ นใหม่ ที่รั ก ความเป็ น อิ ส ระ และใช้ ช่ อ งทาง ออนไลน์ในการขายสินค้าแฟชั่นควบคู่กับงานประจาที่มี ด้วยเป็นธุรกิจขายเสื้อผ้าแฟชั่นบนอินเทอร์เน็ต ความ สวยงามในการนาเสนอข้อมูล การอัพเดทข้อมูล การให้ข้อมูลแก่ผู้ซื้อจึงเป็นเรื่องสาคัญ โดยปรกติแล้วผู้ค้า ออนไลน์จะถ่ายภาพและตกแต่งภาพสินค้า ตลอดจนทารีวิวสินค้าสม่าเสมอ เพื่อให้ผู้เยี่ยมชมรู้ว่ากิจการนี้ยัง ดาเนินการอยู่ ในแต่ละวันเจ้าของร้านค้ าออนไลน์จะต้องอัพเดทสินค้า แชร์ หน้าแฟนเพจไปยังเว็บต่างๆ ลง โฆษณาตามเว็บไซต์ โทรติดต่อตอบคาถามลูกค้า คอยเช็คการโอนเงินและดูสต็อคสินค้า การเลือกสินค้ามาขาย และการตั้งราคา ถือเป็นเรื่องตัดสินใจยากเรื่องหนึ่ง เพราะหมายถึงต้นทุน และรายได้ที่จะเกิดขึ้น บ่อยครั้งที่ ร้านค้าออนไลน์เกิดภาวะทุนจม แต่มีเครื่องมือการตลาดออนไลน์แบบใหม่ที่ช่วยผ่อนแรงผู้ค้าออนไลน์ในการ ทาคอนเทนต์ สามารถหาสินค้าหลากหลายมาขายเสริมกับสินค้าหลักโดยไม่ต้องลงทุนสต็อคของ และผู้ค้า ได้รับส่วนแบ่งกาไรนั่น คือ ระบบ Dropship Dropship คือ การนาสินค้าของคนอื่นมาขาย โดยเราสามารถบวกกาไรเข้าไปอยู่ในสินค้านั้น ๆ โดยที่เราไม่ จาเป็นต้องส่งสินค้าหรือประกันสินค้า ใดๆ ว่าง่ายๆ คือเราไปเป็นตัวกลางโดยนาสินค้าของเจ้าของโรงงานไป ขายนั่นเองรูปแบบการตลาดแบบหนึ่งที่ประกอบด้วย ผู้ผลิตสินค้า หรือ โรงงาน Dropshipper เป็นคนกลางหรือ ยี่ปั๊วทาหน้าสต็อคสินค้า เตรียมภาพ ข้อมูลสินค้า ตั้งราคาและ จัดส่งสินค้าไปยังผู้ขาย Merchant ผู้ขายทาหน้าที่เป็นเหมือนตัวแทนจาหน่ายให้กับ Dropshipper โดยนาข้อมูลจาก Dropshipper ไปเผยแพร่ นาเสนอขายผ่าน face book, IG, Website ของตัวเอง ซึ่งในกรณีนี้ https://www.facebook.com/merrygoroundcloset ทาหน้าที่เป็น Merchant นั่นเอง ผู้ซื้อ ผู้บริโภคสินค้าปลายทาง
ค-36
กระบวนการทางาน คือ 1. Dropshipper จะ มี สิ น ค้ า อยู่ ใ นมื อ หรื อ รั บ ซื้ อ สิ น ค้ า จากผู้ ผ ลิ ต มา แล้ ว รั บ สมัครผู้ขายโดยให้ข้อมูลสินค้ า ภาพประกอบ ราคา ส่ ว นลด สิ น ค้ า / ห รื อ แ ต้ ม ส ะ ส ม Dropshipper มี ก า ร เ ก็ บ ค่ า สมาชิกหรือกาหนดยอดขายในช่วง 1-3 เดือนแรก เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ขายจะทาหน้าที่ตามข้อตกลง ในขณะเดียวกันก็รับสมัครผู้ผลิตมาเป็นเครือข่ายเพื่อให้ตนเองมีเครือข่ายสินค้าหลากหลาย 2. ผู้ขายนาข้อมูลสินค้าไปประชาสัมพันธ์เมื่อมีลูกค้าสั่งซื้อเข้ามาและโอนเงินเรียบร้อยแล้ว ผู้ขายจะ สั่งซื้อไปยัง Dropshipper ให้ดาเนินการจัดส่งสินค้าไปยังผู้ซื้ อ โดยอาจใช้ชื่อของผู้ขาย หรือ ชื่อ ของ Dropshipper ในการจัดส่ง แล้วแต่ข้อตกลง 3. Dropshipper จัดส่งสินค้าให้ผู้ซื้อและแบ่งกาไรให้กับผู้ขายตามแต่วิธีที่ตกลง เช่น ส่วนลดสินค้า สะสมแต้มแล้วจ่ายเป็นเดือน คิดเป็นค่าคอมมิชชั่นแต่ละครั้ง ในทัศนะของเจ้าของร้านค้าออนไลน์ เห็นว่า Dropship ไม่ควรเป็นช่องทางรายได้หลักแต่เหมาะเป็นวิธีทาง การตลาดเสริมส าหรับผู้ค้าออนไลน์ที่มีสิน ค้าหลักของตัวเองที่สามารถกาหนดราคาเองได้ เพื่อให้ มีรายได้ เพิ่มขึ้น ตรงข้าม Dropship เป็นเครื่องมือการตลาดทรงพลังสาหรับธุรกิจที่มีแบรนด์ของตัวเอง หรือผลิตสินค้า ของตัวเองด้วย ซึ่งประกอบไปด้วยข้อดีข้อเสียดังต่อไปนี้
ข้อดี สะดวก ไม่ต้องผลิตคอนเทนต์เอง ไม่ต้องลงทุนมาก มีสินค้าหลากหลายเพิม่ ความ น่าสนใจให้กับหน้าร้านของตนเอง มีรายได้เพิม่ โดยไม่ลงแรงมาก ในแง่ที่ธุรกิจมีสินค้าเป็นของตัวเอง สามารถใช้ระบบ dropship ช่วย ในการประชาสัมพันธ์
ข้อเสีย สัดส่วนกาไรทีไ่ ด้จาก dropship มี น้อยเนื่องจากไม่มสี ิทธิ์ในการตั้ง ราคาเอง ข้อมูลสินค้าจะซ้ากับเว็บอื่นๆ ผู้ค้าไม่เห็นสินค้าจริง อาจเกิด ปัญหาสินค้าไม่ตรงกับโฆษณาและ กระบวนการคืนสินค้ายุ่งยาก
Merry Go Round เข้าถึงได้ที่: https://www.facebook.com/merrygoroundcloset
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-37
ความซื่ อ สั ต ย์ ต่ อ ลู ก ค้ า ส่ ง มอบสิ น ค้ า ตรงที่โฆษณา การทาธุรกิจออฟไลน์คู่กับออนไลน์ การบริหารจัดการสินค้าคงคลังและการ ส่งมอบสินค้าตรงเวลา
5. ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์
J
umbo Design
Jumbo Design แฟชั่นเฉพาะสาว Plus size Jumbo Design เริ่มต้นธุรกิจเมื่อปี 5229 โดยคุณดุจดาว รุ่งธนวงศ์ผัน อดีตรองอันดับ 1 เวทีประกวดธิดา ช้างปี 5225 เดิมทีเสื้อผ้าสาหรับสาว ไซส์ใหญ่หายากมาก คุณภาพผ้าไม่ดี ส่วนใหญ่มักเป็นเสื้อผ้าผู้ชาย จึงเห็น โอกาสในการจับตลาดเสื้อผ้าผู้หญิง ไซส์ ใ หญ่ บ้ า ง ในช่ ว งแรกได้ เ ปิ ด กิจการเป็นหน้าร้านอย่างเดียว ซึ่ง ยอดขายไม่ค่อยดีนัก เนื่องจากเป็น สิ น ค้ า เฉพาะกลุ่ ม แต่ เ ติ บ โตมาได้ ด้วยการที่ลูกค้าบอกต่อๆ กัน ต่อมา จึงได้ตัดสินใจทาเว็บไซต์เปิดร้ านค้าออนไลน์ซึ่งทาให้ลูกค้ารู้จัก Jumbo Design มากขึ้น มีลูกค้ากระจาย ออกไปทั้งต่างจังหวัดและต่างประเทศ ลูกค้าเสื้อผ้ าไซส์ ใหญ่เป็น กลุ่ มที่มีกาลั งซื้อ และส่ วนใหญ่ถูกใจร้านไหนจะซื้อร้านนั้นประจา บางรายยอม เดินทางจากต่างจังหวัดมาถึงร้านเพื่อซื้อสินค้ากลับไป ลูกค้าที่มาที่ร้านอยากลองสินค้าก่อนตัดสินใจซื้อ ส่วน ลูกค้าประจาที่เชื่อใจกันแล้วสามารถตัดสินใจซื้อได้ทันทีทางอินเตอร์เน็ต ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ร้าน Jumbo Design แบ่งได้ 3 รูปแบบหลักๆ คือ 1) เสื้อผ้าประเภทต่างๆ ตั้งแต่ เสื้อลาลอง ชุดทางาน เดรส กระโปรง กางเกง ชุดราตรี ชุดชั้นใน ชุดว่ายน้า 2) รองเท้า เข็มขัดไซส์ใหญ่ที่เลือกมาให้เข้ากับสไตล์เสื้อผ้าในร้าน 3) เครื่องประดับ ความยากของธุรกิจเสื้อผ้าสาวไซส์ใหญ่คือสรีระ ของลูกค้าแต่ละรายไม่เหมือนกันบางคนอ้วนสม ส่วน บางคนอ้วนเป็นบางส่วน บางคนอ้วนมาก บางคนอ้วนน้อยทาให้ต้องลงรายละเอียดในเรื่อง ขนาดสินค้าและการสต็อกของ การเก็บข้อมูลว่า ลูกค้าเลือกซื้อไซส์ไหนจึงเป็นเรื่องสาคัญในการ เลือกสินค้าเข้ามาขาย ค-38
สิ่งที่ทาให้ Jumbo Design มีฐ านลูกค้าประจา เหนี ย วแน่ น ไม่ใ ช่เพี ย งเรื่ องของผลิ ตภัณ ฑ์แต่ เป็ น ความซื่อสัตย์จริงใจต่อลูกค้า ต้องให้ข้อมูลตรงกับ สภาพสินค้าจริงเรื่องขนาด ให้ความรู้ในการวัดสรีระ การเอาใจเขามาใส่ใจเรา แบบไหนที่ใส่ไม่ได้ใส่แล้ว ไม่เหมาะก็จะแนะนาลูกค้าโดยตรง จะไม่ฝืนเชียร์ว่า “ใส่ได้ค่ะเดี๋ยวผ้ามันยืดอีก” เหมือนร้านเสื้อผ้าไซส์ ใหญ่อีกหลายๆ ร้ านที่ผู้ ขายไม่ได้ใส่ใจประโยชน์ที่ ลูกค้าจะได้รับอย่างแท้จริง แม้แข่งขันในตลาดนี้เริ่ม สูงขึ้น ตามล าดับ เห็ นได้จ ากจานวนเว็บ ไซต์ที่ขาย เสื้อผ้าไซส์ใหญ่มีเพิ่มขึ้นจานวนมาก มีการนาเข้าเสื้อผ้าไซส์ใหญ่จากจีนและเกาหลีเพิ่มขึ้น แต่ทว่า Jumbo Design ยังคงยืนหยัดได้ ความซื่อสัตย์ ความน่าเชื่อถือ ส่งมอบตรงเวลา ร้าน Jumbo Design เข้าถึงได้ท:ี่ http://www.jumbodesign.net/
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ค-39
ความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า การทาธุรกิจออฟไลน์คู่กับออนไลน์ การบริหารจัดการสินค้าคงคลังและการ ส่งมอบสินค้าตรงเวลา
ภาคผนวก ง สรุปผลการจัดสัมมนาเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ง-1
สรุปผลการจัดสัมมนาเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จากการจัดสัมมนาเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (ร่าง) คู่มือแนวทางและโอกาสในการเข้าสู่ ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น (Pocket Book) สามารถสรุปปัจจัยแห่งความสาเร็จและประเด็นข้อ ท้าทายของอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหารและแฟชั่น เพื่อนาไปสู่แนวทางการเข้าสู่ธุรกิจ สร้างสรรค์ และวิธีการดาเนินธุรกิจให้ประสบความสาเร็จสาหรับผู้ประกอบการรุ่นใหม่ได้ดังนี้ ตารางที่ 1 สรุปประเด็นความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการจัดสัมมนาอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์สาขาอาหาร ธุรกิจสร้างสรรค์ 1. ธุรกิจบริการสอน ทาอาหาร
1. 2. 3. 4. 5.
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ อัตลักษณ์ของธุรกิจ บุคลากรสร้างสรรค์ เข้าใจความต้องการของลูกค้า การตลาดและประชาสัมพันธ์ คุณภาพและมาตรฐาน
2. ธุรกิจบริการอาหาร 1. ความสะดวกและง่ายต่อการใช้ ออนไลน์ งาน 2. คุณภาพสินค้าอาหารเป็นไปตามที่ คาดหวัง 3. ข้อมูลสินค้าและบริการครบถ้วน 4. การบริหารจัดการเว็บไซต์หรือสื่อ ออนไลน์ 5. สินค้าอาหารที่ส่งมอบไม่ชารุด เสียหาย 6. การให้บริการก่อนและหลังการขาย 3. ธุรกิจบริการจัด 1. คิดสร้างสรรค์ เลี้ยง 2. เข้าใจพฤติกรรมลูกค้า 3. มีทักษะการบริหารจัดการ การตลาด และการคิดกลยุทธ์ 4. ต้องควบคุมมาตรฐานวัตถุดิบ 5. มีความมุ่งมั่น
ง-2
1. 2. 3. 4. 5. 6. 1. 2. 3. 4.
ข้อท้าทาย การถูกลอกเลียนแบบ การรักษาฐานลูกค้า ต้นทุนแรงงาน คุณภาพและมาตรฐานของธุรกิจ ต้นทุนจากการใช้เทคโนโลยี การเกิดใหม่ของคู่แข่งขัน เทคโนโลยีและเครือข่าย อินเทอร์เน็ต การถูกลอกเลียนแบบ คุณภาพของอาหารและบริการ คู่แข่งขันรายใหม่
1. ถูกลอกเลียนแบบ 2. ลูกค้ากลุ่มบางกลุ่มยังคงให้ ความสาคัญกับราคา 3. ขาดแคลนพนักงานบริการ 4. การควบคุมคุณภาพแรงงานและ การให้บริการ 5. ควบคุมคุณภาพและรสชาติ อาหาร 6. การพึ่งพาเทคโนโลยี 7. คู่แข่งขันจากผู้ประกอบการใน ธุรกิจอาหาร
ธุรกิจสร้างสรรค์ 4. ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ รักษ์โลก
1. 2. 3.
4. 5. 5. นักออกแบบอาหาร 1. 2. 3. 4. 5. 6.
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ สร้างเอกลักษณ์และมูลค่าเพิ่ม ให้กับสินค้า เข้าใจความต้องการของลูกค้า สร้างความแตกต่างและสร้าง ยอดขายให้กับลูกค้า มีทักษะการบริหาร คุณภาพและมาตรฐาน การสร้างอัตลักษณ์ให้กับตนเอง ความคิดสร้างสรรค์ในการ ออกแบบอาหาร รสชาติของอาหาร เข้าใจพฤติกรรมและความ ต้องการของลูกค้า ออกแบบอาหารได้ตาม วัตถุประสงค์ เป็นที่ปรึกษาที่ดี
1. 2. 3. 4. 5. 6.
ข้อท้าทาย ต้นทุนการผลิต ลูกค้ายังไม่ให้ความสาคัญ การขาดแคลนแรงงาน มาตรฐานและความปลอดภัย การลงทุนในเทคโนโลยี คู่แข่งขันรายใหญ่
1. การออกแบบอาหารที่มุ่งเน้นแต่ ความสวยงาม โดยไม่คานึงถึง รสชาติอาหาร 2. ระยะเวลาในการได้รับการยอมรับ หรือมีชื่อเสียง 3. การสร้างการยอมรับและสร้าง ความต้องการด้านการออกแบบ อาหารของกลุ่มผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อมมีอยู่ อย่างจากัด
ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัด สัมมนาเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (ร่าง) คู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น (Pocket Book) เมื่อวันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2557 ณ ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัล พลาซ่า ลาดพร้าว และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์สาขา อาหารเพิ่มเติม จานวน 200 ราย
ตารางที่ 2 สรุปประเด็นความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการจัดสัมมนาอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์สาขาแฟชั่น ธุรกิจสร้างสรรค์ 1. ธุรกิจแบรนด์ กระเป๋า
1. 2. 3. 4. 5.
2. ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้า 1. แฟชั่น
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถทางการตลาดใน การสร้าง Strategic Positioning องค์ความรู้ด้านการออกแบบและ ผลิตสินค้า การปรับตัวด้านการออกแบบให้ ทันกับตลาดสินค้าแฟชั่นอื่นๆ องค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ และการวางระบบ Supply chain และ Outsourcing ความคิดสร้างสรรค์ในการ ออกแบบสร้างอัตลักษณ์ตัวตน ให้แก่ผลิตภัณฑ์ ง-3
1. 2. 3. 4. 5. 6.
ข้อท้าทาย การตีโจทย์ตัวเองไม่แตก การถูกลอกเลียนแบบ การขาดแคลนช่างฝีมือ การควบคุมคุณภาพการผลิต การวางแผนการผลิตและบริหาร สินค้าคงคลัง การขาดแคลนเงินทุน
1. ติดกับดักธุรกิจแฟชั่น 2. การควบคุมมาตรฐานสินค้า 3. การบริหารระบบสินค้าคงคลัง
ธุรกิจสร้างสรรค์ 2. 3. 3. ธุรกิจขายสินค้า แฟชั่นออนไลน์
1. 2.
4. ธุรกิจรีวิวสินค้า แฟชั่น
3. 4. 1. 2. 3.
5. ธุรกิจเสื้อผ้าคนอ้วน 1. 2. 3. 4.
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ความสามารถทางการตลาดใน การสร้าง Strategic Positioning การสร้างเครือข่ายหรือชขุมชน ผู้ประกอบการเพื่อเผยแพร่องค์ ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ในการนาเสนอ เนื้อหา ความรวดเร็วในการให้บริการและ ตอบคาถามแบบ Real time ระบบการเปลี่ยนคืนสินค้าที่ดี ระบบการเรียกเก็บเงินที่น่าเชื่อถือ ความคิดสร้างสรรค์ในการนาเสนอ เนื้อหา ความสามารถในการรักษาฐาน แฟนคลับ ความกระตือรือล้นในการหาแหล่ง รีวิวและสปอนเซอร์ การออกแบบที่เข้าใจรายละเอียด และข้อจากัดของคนอ้วน การรักษาคามั่นสัญญาที่ให้ต่อ ลูกค้า การบริหารสต็อคสินค้า และการ จัดการระบบซัพพลายเชน การมีหน้าร้านและการบริการ
ข้อท้าทาย
1. การจัดการเรื่องลิขสิทธ์ 2. การเข้าไม่ถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย 3. การบริหารสินค้าคงคลัง
1. ถูกลอกเลียนแบบข้อมูล ภาพถ่าย 2. การสร้างสมดุลย์ระหว่างรีวิวเพื่อ เอาใจผู้อ่านและรีวิวเพื่อ สปอนเซอร์ 1. สื่อสารโดยขาดความเข้าใจว่า ความอ้วนเป็นประเด็นอ่อนไหว 2. ขาดความเข้าใจตลาดและทักษะ ในการบริการกลุ่มสินค้า 3. การขาดแคลนคู่ค้าที่สามารถส่ง มอบงานได้ถูกต้อง ตรงเวลา
ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัดสัมมนาเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (ร่าง) คู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจ สร้างสรรค์สาขาอาหารและแฟชั่น (Pocket Book) เมื่อวันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2557 ณ ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัล พลาซ่า ลาดพร้าว และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น เพิ่มเติม จานวน 200 ราย
ง-4
ภาคผนวก จ ข้อมูลนักวิจัย
จ-1
คณะผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. การดี เลียวไพโรจน์ สาเร็จการศึกษาวิศวกรรมศาสตร บั ณ ฑิ ต ห ลั ก สู ต ร น า น า ช า ติ ส า ข า วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า ห ก า ร จ า ก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ M.S. Industrial Engineering และ Ph.D. Industrial Engineering จาก University of Wisconsin – Madison ประเทศสหรัฐอเมริกา
อาจารย์ ธั น ยพร สุ น ทรธรรม ส าเร็ จการศึ ก ษาศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาการ ระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ M.A. Business Economics (Upper Second Class Honors) จาก University College London (UCL) ประเทศอังกฤษ
นางสาววิยดา มากท่าไม้ สาเร็จการศึกษาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการตลาด จากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตธัญบุรี และบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
นางสาวพิมพ์นภา อมฤตวรชัย สาเร็จการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาจีน จากจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิท ยาลั ย และบริห ารธุ ร กิจ มหาบัณ ฑิ ต จากจุ ฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
นางสาวจรรยวรรธน์ สั ง ข์ เ มื อ ง ส าเร็ จ การศึ ก ษาศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขา บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ จากสถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม และ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จ-2
บรรณานุกรม
9 เทรนด์สุดชิค ผู้บริโภค -. (ม.ป.ป.). เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก Positioning Magazine: http://www.positioningmag.com/magazine. กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2554). โครงการศึกษาโอกาสสาหรับภาคอุตสาหกรรมและผลกระทบจากการเข้าร่วม เป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน. กระทรวงอุตสาหกรรม. (กันยายน 2552). แผนแม่บทอุตสาหกรรมอาหาร 2553-2557. กรุงเทพฯ : กระทรวง อุตสาหกรรม. โครงสร้างประชากรและตลาดแรงงานไทย. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Thaihealth.or.th. แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574. (2555). เข้าถึงได้จาก http://www.industry.go.th. มนันยา ชุณหวุฒิยานนท. (มกราคม 2555). ธุรกิจร้านอาหาร Kiosk ในประเทศไทย. สถาบันอาหาร. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Global Trade Information Services: http://www.gtis.com. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ: http://www.thaitextile.org/th.
มยุรา ปรารถนาเปลี่ยน. (15 กันยายน 2554). โอกาสธุรกิจอาหารเจสาเร็จรูป. สถาบันอาหาร. มูลนิธิส่งเสริมอัญมณีและเครื่องประดับ. (2553). โครงการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของอุตสาหกรรมอัญมณีไทย ระยะที่ 1 (2552-2553) . รายงานการศึกษา โครงการพัฒนาฐานข้อมูลอุตสาหกรรมเชิงเปรียบเทียบเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สาขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ. ( กันยายน 2553). เข้าถึงได้จาก http://www.oie.go.th/academic. ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร. (2556). CEOs Food Industry Sentiment Index (CEOs Food Index). เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร. สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ. (2555). สถิติสิ่งทอไทย 2554/2555. สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรม. ส่องแนวรบ “ชอปปิ้งออนไลน์” เทรนด์การค้ายุคดิจิตอลไลฟ์สไตล์. (ม.ป.ป.). เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก iBiz Manager Online: http://www.manager.co.th/ibizchannel. สานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2553). โครงการพัฒนาฐานข้อมูลอุตสาหกรรมเชิง เปรียบเทียบเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สาขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ . สานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (ธันวาคม 2555). สรุปภาวะเศรษฐกิจปี 2555 และแนวโน้มปี 2556. เรียกใช้ เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม: http://www.oie.go.th/academic. สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2553). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจรายย่อย ปี 2553. กรุงเทพฯ: สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2554). ผลการศึกษาสถานการณ์ และดัชนีย่านการค้า เป้าหมาย. เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก http://www.sme.go.th. สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2555). แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม พ.ศ. 2555-2559 สาขาอาหาร . กรุงเทพฯ: สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม. สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2555). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม 2554-2555. เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก http://www.sme.go.th.
สิทธิเดช ประเสริฐรุ่งเรือง. (2556). หมวดอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม. กรุงเทพฯ: บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรี จากัด (มหาชน). 10 ปีทองอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย. (ม.ป.ป.). เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก www.ttistextiledigest.com: http://www.ttistextiledigest.com/articles/industry-outlook. 13 เทรนด์ตลาดร้อนปี 2556 "กลยุทธ์สินค้ายุคผู้บริโภคทรงอานาจ". (ม.ป.ป.). เรียกใช้เมื่อ .ย. 2556 จาก ประชาชาติธุรกิจออนไลน์: http://www.prachachat.net. สุกัลยา ธรรมรักษา และ วิไลพร เสน่หา. (ม.ป.ป.). โครงการจัดทาสามะโนอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ไทย (2553). เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556. สุดารัตน์ อภิราชกมล และ พัชนี ศิระตานนท์. (2555). อุตสาหกรรมเครื่องประดับเงินของไทย. เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก http://www.utcc.ac.th. Commodity Trade Statistics Database (COMTRADE). (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก United Nations Statistics Division : http://comtrade.un.org. Fast fashion - แกะดาทาธุรกิจ . (ม.ป.ป.). เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก แกะดาทาธุรกิจ: http://www.blacksheep.co.th/article/fast-fashion. Fast fashion, "value" fashion | Ethical Fashion Forum. (ม.ป.ป.). เรียกใช้เมื่อ June 2013 จาก http://www.ethicalfashionforum.com/the-issues/fast-fashion-cheap-fashion. GIT TRADE REVIEW edit1. (ม.ป.ป.). เรียกใช้เมื่อ มิ.ย. 2556 จาก GIT: http://www.git.or.th/thai/info_center/trade_review/2011/02_2011_th.pdf. Import Export, Trade, International Business Help - Official Sources. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.sbdcnet.org/small-business-information-center/import-export-help. Investment applications in Thailand grew 106% in Q1 2012 (BOI). (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Investment - Thailand Business News: http://thailand-business-news.com. STRATEGIES-AND-MASTER-PLAN-FOR-FASHION-INDUSTRY-IN-CREATIVE-ECONOMY. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้ จาก http://www.oie.go.th.
Thai_Industry_and_AEC. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.med.cmu.ac.th/library/aseanweb/asean-pillars/Thai_Industry_and_AEC.pdf. World Economic Outlook database. (April 2011). เข้าถึงได้จาก http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2011/01/weodata/download.aspx. World footwear. (2012). 2012 world footwear yearbook. Retrieved June 2013, from http://www.worldfootwear.com.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.การดี เลียวไพโรจน์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณะผู้วิจัย