คู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น

Page 1

โครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพ ในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

คู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่

ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า แ ฟ ชั่ น

ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์

1. แ บ ร น ด์ ก ร ะ เ ป๋ า ร อ ง เ ท้ า

2 . แ บ ร น ด์ เ สื้ อ ผ้ า แ ฟ ชั่ น

3 .รี วิ ว สิ น ค้ า แ ฟ ชั่ น 4 . ข า ย สิ น ค้ า แ ฟ ชั่ น อ อ น ไ ล น์

5 . ธุ ร กิ จ เ สื้ อ ผ้ า พ ลั ส ไ ซ ส์ งวดที่ 4 วันที่ 7 มีนาคม 2557


สารบัญ ห น้ า

ธุ ร กิ จ แ ฟ ชั่ น ส ร้ า ง ส ร ร ค์ กั บ โ อ ก า ส ใ น ก า ร ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้

1-1

5 ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า แ ฟ ชั่ น ที่ มี ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ แ ล ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ

2-1

1 . ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด์ ก ร ะ เ ป๋ า ร อ ง เ ท้ า

2-2

2 . ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด์ เ สื้ อ ผ้ า แ ฟ ชั่ น

2-38

3 . ธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค้ า แ ฟ ชั่ น

2-54

4 . ธุ ร กิ จ ข า ย สิ น ค้ า แ ฟ ชั่ น อ อ น ไ ล น์

2-70

5 . ธุ ร กิ จ เ สื้ อ ผ้ า พ ลั ส ไ ซ ส์

2-93

ภาคผนวก


ส่วนที่ 1 ธุ ร กิ จ แฟชั่ น สร้ า งสรรค์ กั บ โอกาสใน การสร้ า งรายได้ แ ฟ ชั่ น ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส ถ า น ก า ร ณ์ แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ต ล า ด ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ห รื อ ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า แ ฟ ชั่ น


แฟชั่นสร้างสรรค์ (Creative Fashion)

อุตสาหกรรมแฟชั่นเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้การออกแบบสร้างสรรค์เป็นพื้นฐานในการดาเนิ นธุรกิจ แต่จากการ วิเคราะห์ลักษณะของสินค้าและบริการในธุรกิจแฟชั่น ทาให้ สามารถแบ่งธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์ออกจากธุรกิจ แฟชั่นทั่วไปได้ โดยอาศัยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ องค์ประกอบธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์ การออกแบบ สร้างสรรค์เพื่อ แก้ปัญหาให้กับ ผู้บริโภคเป้าหมาย (Functional Design)

การสร้างอัตลักษณ์ ของตนเอง (Identity)

การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการ บริการ (Value adding Service)

ด้วยองค์ประกอบทั้ง 3 ประการส่งผลให้รูปแบบการดาเนินธุรกิจระหว่างธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับแฟชั่นทั่วไป มีความแตกต่าง ดังนั้น เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนจะขอยกตัวอย่างธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น ดังนี้ 1. การออกแบบสร้างสรรค์เพื่อแก้ปัญหาให้กับผู้บริโภคเป้าหมาย เกิดขึ้นได้ด้วยการใช้ความคิดสร้างสรรค์ มองปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน แล้วนาการออกแบบและเทคโนโลยีมาช่วยในการพัฒนาสินค้าและบริการ แก้ปัญหาให้กับผู้บริโภคเป้าหมาย เช่น

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-1


 รองเท้า Finn Comfort1 รองเท้าเพื่อสุ ขภาพให้ ความส าคั ญ กั บ การออกแบบแผ่ น รองฝ่ า เท้ า โดยใช้ เทคโนโลยี การแพทย์เข้ามาช่วย เนื่องจากโครงสร้าง เท้ า วิ ธี ก ารเดิ น และการรั บ น้ าหนั ก ของแต่ ล ะคนไม่ เหมือนกัน Finn Comfort จึงออกแบบแผ่นรองฝ่าเท้า ที่เ หมาะกั บ แต่ ล ะบุ ค คล กระบวนการผลิ ต จะมี ก าร ทดสอบการเดินผ่านเครื่องสแกนเท้าที่เพื่อวิเคราะห์หาน้าหนักเท้าที่เดินอย่างละเอียด จากนั้นนัก กายภาพบาบัดจะอธิบายถึงสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นรวมถึงปัญหาที่มีอยู่ เพื่อกาหนดหาแนวทางการ แก้ไข ผลที่ได้จากการสแกนพร้อมทั้งภาพบันทึกการเดินของผู้ทดสอบส่งไปยังศูนย์ที่ประเทศ เยอรมนีผ่านทางอินเทอร์เน็ต เพื่อทาการวิเคราะห์อย่างละเอียดอีกครั้งหนึ่ง เมื่อผลส่งกลับมาจึง จะถูกนาไปผลิตแผ่นรองเท้าขึ้นอีกครั้งในไทย ผ่านเครื่องเจียรที่มีความแม่นยาสูง ราคาขาย เฉพาะแผ่นรองฝ่าเท้าอยู่ที่ 5,800-7,300 บาท หากตัดออกมาเป็นรองเท้าด้วยนั้น จะอยู่ที่ราคา ตั้งแต่ 6,000 บาทขึ้นไปจนถึงกว่าหมื่นบาทขึ้นอยู่กับรูปแบบของรองเท้านั่นเอง แม้ว่าราคาขาย จะสูงและเป็นตลาดเฉพาะกลุ่ม แต่ตอบรับกับการเติบโตของสังคมผู้สูงอายุที่มีเงินซึ่งคานึงถึง สุขภาพเป็นหลัก  เสื้อผ้าพลัสไซส์2 เสื้อผ้าพลัสไซส์หรือเสื้อผ้าคนอ้วน ปัจจุบันมีทั้งแบรนด์ไทย เช่น Suri by Surivipa และ Jumbo Design เป็นต้น ส่วนแบรนด์ต่างประเทศ เช่น Catherine Women Plus Size, Mark & Spencer ที่ มีคุณภาพและราคาหลายระดับ สินค้ากลุ่มนี้ เป็นการ ออกแบบเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับกลุ่มลูกค้าเป้า หมายที่ หาเสื้อผ้าที่มีขนาดพอดีและช่วยเสริมบุคลิกภาพยาก เนื่ องจากผู้ ผ ลิ ต ส่ ว นใหญ่ จ ะเข้า ใจว่า เพี ยงแค่ ขยาย ขนาดจากเสื้ อ ผ้ า ปรกติ ก็ เ พี ย งพอ แต่ แ ท้ ที่ จ ริ ง นั ก ออกแบบจะทราบดีว่าเสื้อผ้าไซส์ใหญ่จาเป็นต้องมีการ ออกแบบที่ช่วยในการพรางสรีระแตกต่างจากเสื้อผ้ า ไซส์ปรกติและคนอ้วนมีจุดต้องพรางแตกต่างกัน ธุรกิจเสื้อผ้าไซส์ใหญ่ของไทยจึงเป็น ตลาดเฉพาะ กลุ่มที่มีศักยภาพทั้งในประเทศและในภูมิภาคอาเซียน ปัจจุบันประเทศไทยพบประชากรที่มี น้าหนักเกิน (ค่าเฉลี่ย BMI เกิน 25 kg/m2) ร้อยละ 32.2 ของประชากรวัย ผู้ใหญ่ทั้งประเทศ 1 2

http://www.nationejobs.com/ content/career/catrend/template.php?conno=627 http://grabhdwallpaper.com/plus-sized-women-clothing.

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-2


นับเป็นอันดับ 2 ของอาเซียน โดยอันดับ 1 คือ มาเลเซียซึ่งมีประชากรวัยผู้ใหญ่ที่มีน้าหนักเกินสูง ถึงร้อยละ 44.23 2. การสร้างอัตลักษณ์ของตนเอง นาเทรนด์แฟชั่นมาสร้างสรรค์การออกแบบที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ นาเสนอ ตัวตนหรือสร้างคาแรคเตอร์ให้กับสินค้า และบริการ ให้ความสาคัญกับการสร้างแบรนด์เพื่อสื่อสารภาพลักษณ์ และคาแรคเตอร์ของสินค้าและบริการ เช่น  แบรนด์ ASAVA4 ลักษณะเด่นของแบรนด์นี้คือ การ ออกแบบสไตล์ Minimalist เน้นความเรียบโก้ ประดับ ตกแต่ ง น้ อ ยๆ แต่ ท าให้ ดู โ ดดเด่ น ให้ ภ าพลั ก ษณ์ คล่ อ งแคล่ ว ว่อ งไวสะดวกสบายและกระฉั บกระเฉง การออกแบบเน้นในเรื่องของเส้นกราฟิกที่คมชัดสไตล์ สปอร์ต  แบรนด์ The Kloset5 ซึ่งเคยสร้างปรากฏการณ์ลูกค้า เข้าคิวรอซื้อสินค้ายาวเหยียดมาแล้ว ทั้งที่ไม่ใช่ช่วงลด ราคา คาแรคเตอร์ ข องแบรนด์ นี้ สื่ อ ถึ ง ผู้ ห ญิ ง ที่ ช อบ แต่ ง ตั ว สดใส น่ า รั ก การออกแบบมี ลู ก เล่ น เหมาะ สาหรับจับคู่กับเครื่องประดับ เป็นแบรนด์ขวัญใจสาว วัยทางานและวัยนักศึกษาขายในราคาเอื้อมถึง  แบรนด์ Rouge Rouge6 ฉีกรูปแบบกระเป๋าทรง เรียบๆ พลิกมาสู่ การออกแบบกระเป๋าคลัชท์ แบรนด์ สาวมั่ น แต่งตั ว เก่ ง มี จุ ดขายที่ก ารออกแบบรู ปทรง สีสั น ลวดลายโดดเด่น สะดุดตา เช่น ทรงหมวก ทรง ปาก ทรงลูกระเบิด ทรงแมว ทรงมือ ฯลฯ แบรนด์นี้มี คาแรกเตอร์ที่ชัดเจนเหมาะกับสาวรักแฟชั่น แต่งตัว จัด มั่นใจในตัวเอง เป็นผู้หญิงทางานยุคใหม่ ไม่ชอบ ความซ้าซากจาเจ สนุกสนานกับชีวิต ด้วยคุณภาพวัสดุ และการออกแบบทาให้สามารถใช้ได้ถือไปทางานและ 3

WHO, 2011. คอลเลคชั่น Voyage#Dots and Stripes , ASAVA Spring/Summer 2013 http://th.lifestyleasia.com/th/features/style/asv. 5 http://www.jarern.com/2010/12/whats-happen-at-the-kloset. 6 https://www.facebook.com/RougeRougeThailand. 4

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-3


ถือไปปาร์ตี้ตอนเย็นได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนกระเป๋าใบใหม่  กระเป๋ า แบรนด์ Kanita มี จุ ด เด่ น เรื่ อ งไอเดี ย การ ออกแบบ ที่นารูปทรงขนมไทยมาออกแบบเป็นกระเป๋า และเครื่ อ งประดั บ กระเป๋ า เป็ น การออกแบบที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ ซึ่งนอกจากจะตอบโจทย์ลูกค้าวัยรุ่นที่ชอบ สินค้าแปลกใหม่แล้ว ยังสามารถขยายไปยังตลาดการ ท่องเที่ยวได้อีกด้วย  กระเป๋าแบรนด์ The Remaker7 เน้นการออกแบบที่ นาวัสดุเหลือใช้ เช่น ยางในรถยนต์ ป้ายโฆษณาผ้าไวนิล มาเป็นวัตถุดิบในการผลิต กระเป๋าแฟชั่นสาหรับวัยรุ่น หั ว ใจสี เ ขี ย ว มี ก ารออกแบบรู ป ร่ า งและลวดลายดู ทั น สมั ย และมี ก ระบวนการตั ด เย็ บ ที่ ป ราณี ต ท าให้ กระเป๋าดูมรี าคา  กระเป๋าแบรนด์ Ruchitta8 กระเป๋าหนังแท้ฝีมือคน ไทยที่โ ด่งดังในสั งคมออนไลน์ ด้ว ยบริการที่ ประทับใจ ลู ก ค้ า ใช้ ช่ อ งทางขายทางเฟซบุ๊ ก ด้ ว ยดี ไ ซน์ เ รี ย บหรู ใช้ได้ทุกวัน สีสันสดใสจัดจ้าน ใช้วัสดุหนังคุณภาพ การ ตัดเย็บเรียบร้อยทนทาน ทาให้ถึงไม่มีหน้าร้านก็ขายดีได้ Ruchitta ไม่จาเป็นต้องขายราคาถูกแข่งกับกระเป๋าโหล ด้วยราคาระดับ 5,000-7,000 บาทต่อไป สาวออฟฟิศ ธรรมดาก็ส ามารถครอบครองกระเป๋าหนังแท้คุ ณภาพดีไม่แพ้แบรนด์ชั้นนาจากต่างประเทศ Ruchitta มีฐานลูกค้าประจาทางสื่อสังคมออนไลน์เป็นหลัก จุดแข็งของ Ruchitta คือ การรักษา คุณภาพสินค้าและการบริการใส่ใจรายละเอียดและออกแบบกระบวนการทางานจากมุมมองของ ลูกค้า ทาให้ลูกค้าประทับใจ ซื้อซ้าและบอกต่อ เช่น การรักษาสัญญาส่งสินค้าที่คุณภาพดีสีสัน ตรงตามที่โฆษณา การดูแลตอบข้อซักถามทุกรายละเอียด การส่งการ์ดขอบคุณมาให้ลูกค้าพร้อม กระเป๋า ให้ลูกค้าสั่งสกรีนป้ายโลหะห้อยกระเป๋าได้ตามชอบและมีบริการหลังการขาย กรณีมี

7 8

http://www.manager.co.th/ibizchannel/viewnews.aspx?NewsID=9560000049820. http://pantip.com/topic/30852942 และ http://women.sanook.com/14489/ruchitta.

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-4


ปัญหาอะไหล่ชารุด สามารถเปลี่ยนหรือเคลมได้ฟรีและมีถุงสาหรับการเก็บรักษากระเป๋าเมื่อยาม ไม่ได้ใช้งาน เป็นต้น 3. การเพิ่มมูลค่าด้วยการบริการ คือ กลุ่มธุรกิจบริการแฟชั่น และธุรกิจที่ขายผลิตภัณฑ์พร้อมกับการ บริการ แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ  กลุ่มธุรกิจบริการแฟชั่นแบบ B2B9 หรือธุรกิจบริการแบบธุรกิจต่อธุรกิจ คือ กลุ่มอาชีพบริการที่ เชื่อมโยงอุตสาหกรรมแฟชั่นต้นน้า กลางน้าและปลายน้า สอดแทรกอยู่ในวงจรการผลิตตั้งแต่การ ออกแบบ การผลิตเส้นใยไปจนถึงกระบวนการนาสินค้าแฟชั่นออกสู่ตลาด เช่น ธุรกิจรับจัดหา วัสดุและวัตถุดิบ ธุรกิจ รับจ้างออกแบบลวดลาย ธุรกิจรับจ้างทาแพทเทิร์น ธุรกิจรับจ้างผลิ ต ธุรกิจรับจ้างออกแบบบรรจุภัณฑ์แฟชั่น ดีไซเนอร์ ธุรกิจสถาบันสอนการออกแบบแฟชั่น และ ธุรกิจถ่ายแบบแฟชั่น เป็นต้น10 - Lamune11 ละมุนเป็นธุรกิจบริการแฟชั่นในการ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ให้ดีไซเนอร์ใช้ในการออกแบบ ธุ ร กิ จ นี้ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ที่ อ ยู่ ใ น อุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้ามานานแล้วพบว่า ความ หลากหลายของอุปกรณ์ตัดเย็บสาหรับการทางาน แฟชั่นในประเทศไทยมีน้อย คุณภาพไม่เป็นไป ตามความต้ อ งการของดี ไ ซเนอร์ แ ละอุ ป กรณ์ ระดับไฮเอนด์ เช่น เข็มหมุดคุณภาพสูง กรรไกรและอื่นๆ ที่ราคาสูงยังมีไม่เพียงพอ ประกอบ กับจานวนผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่อยากออกแบบสินค้าของตัวเองมีจานวนเพิ่มขึ้นและแหล่ง หาซื้ออุปกรณ์ในประเทศมีไม่มากและอยู่กระจัดกระจาย Lamune จึงเห็นโอกาสในการเป็น ธุร กิจ งานออกแบบตัดเย็ บแบบครบวงจรที่สามารถบริก ารลู กค้าตั้งแต่ต้นจนถึงปลายน้า จุดเด่นของละมุน คือ สินค้ามีคุณภาพในระดับสากลที่ดีไซเนอร์หลายคนต้องการใช้แต่ไม่มี ขายทั่วไป เข้าใจรายละเอียดของงานออกแบบและตัดเย็บเป็นอย่างดี จึงเลือกสรรสินค้าที่ ช่วยอานวยความสะดวกให้นักออกแบบให้สามารถทางานได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมาก 9

การตลาดธุรกิจ (B2B) คือ การที่ลูกค้า ซื้อสินค้าและบริการของเรา เพือ่ นาไปผลิตต่อ ด้วยการเพิ่มคุณค่า ให้เป็นสินค้าและบริการ อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่ใช่นาไปอุปโภค หรือ บริโภคเอง เช่น ซื้อจมูกข้าว เพือ่ ไปทาเป็น อาหารเสริม เป็นต้น. 10 ปรับปรุงข้อมูลจากการสัมภาษณ์ คุณประดิษฐ์ รัตนวิจิตราศิลป์ รองผู้อานวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ ข้อมูลสิ่งทอ. 11 http://eureka.bangkokbiznews.com/detail/501880#sthash.Gl5LniF5.dpuf. ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-5


ขึ้น สินค้าของละมุนจะนาเข้าภายใต้ 4 กลุ่มหลัก คือ (1) การออกแบบ (2) การผลิต (3) บรรจุภัณฑ์ และ (4) การสร้างแบรนด์ ซึ่งปัจจุบันมีการนาเข้ามาแล้วกว่า 10 แบรนด์ เช่น ปากกามาร์กเกอร์ Touch ของเกาหลี, อุปกรณ์ตัดเย็บสาหรับดีไซเนอร์ Fashionary เป็นต้น และยังมีการจัดกิจกรรมการวาดรูปและการลงสีเป็นประจา กลุ่มเป้าหมายเป็นลูกค้าเฉพาะ กลุ่ม เช่น ผู้ประกอบการ/ผู้เริ่มต้นธุรกิจ ช่างฝีมือด้านเสื้อผ้า ดีไซเนอร์หน้าใหม่ และนักเรียน นักศึกษาด้านแฟชั่น เป็นต้น - Lagom Art12 สถาบันสอนการออกแบบกระเป๋า สร้างแพทเทิร์นและเทคนิคการเย็บสาหรับผู้ที่ไม่มี พื้นฐาน เป็นธุรกิจที่เกิดจากการพลิกบทบาทของ ผู้ ป ระกอบการจากนั กออกแบบแบรนด์กระเป๋ า Schnauzer มาสู่ผู้ให้บริการสอนทากระเป๋า และ แบรนด์ นี้ เ คยได้ รั บ รางวั ล จากการประกวด ออกแบบกระเป๋าเพื่อตลาดยุโรปที่จัดโดยกรมส่งเสริมการส่งออกและสมาคมเครื่องหนังไทย และเคยได้รับรางวัลออกแบบผลิตภัณฑ์ดีเด่นจากโครงการประกวดผลงานออกแบบ ELLE DECORATION DESIGN CONTEST 2008 โดยนิตยสาร ELLE DECORATION มาแล้ว Lagom Art เป็นสถานที่เหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้นอาชีพใหม่ในธุรกิจแฟชั่น รวมถึง นิ สิ ต นั กศึ กษาที่อยากค้ น หาความชอบของตนเอง ผู้ รั กงานศิล ปะที่ อยากได้ กระเป๋า ที่ไ ม่ เหมือนใครในโลกสักใบ และผู้ที่อยากหาอาชีพเสริม ที่นี่จะสอนให้รู้จักกระเป๋ารูปแบบต่างๆ การออกแบบ ถอดแบบและวางแพทเทิร์น ตลอดจนสอนการตัดเย็บด้วยจักรอุตสาหกรรม ซึ่ง ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพตนเองได้ นอกจากนั้น Lagom Art ยังทาแพทเทิร์น กระเป๋าแบบต่างๆ ขายทาง Online Download ซึ่งอานวยความสะดวกให้ผู้เริ่มต้นธุรกิจ แฟชั่นทางานง่ายขึ้น  กลุ่มธุรกิจบริการแฟชั่นแบบ B2C หรือธุรกิจบริการแบบธุรกิจต่อผู้บริโภค คือ กลุ่มอาชีพบริการ ที่ต่อยอดขึ้นจากการขายสินค้าแฟชั่น นาเสนอบริการที่อานวยความสะดวกให้ผู้บริโภคตัดสินใจ ซื้อสินค้าแฟชั่นได้ง่ายขึ้น เช่น ธุรกิจแฟชั่น DIY, Personal Shopper, Stylist, ธุรกิจรีวิวสินค้า แฟชั่น, Make-up Artist, Personality Trainer และธุรกิจสปากระเป๋า เป็นต้น

12

http://www.schnauzerbkk.com/LaGom_art/LaGom.html.

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-6


- Big Knit Café13 ไลฟ์สไตล์คาเฟ่ จาหน่ายไหม พรมจากยุโรปให้เลือกกว่า 1,000 สี รวมถึง เสื้อผ้า หมวด ผ้ าพันคอ ถุงเท้า เครื่องประดับ กระเป๋า ตุ๊กตาที่ทาจากไหมพรมและอุปกรณ์นิ้ตติ้ง โครเชต์ และยังมีพื้นที่ Workshop นั่งสบายพร้อมอุปกรณ์ ปั่ น ไหมพรมให้ ลู ก ค้ า ได้ ส นุ ก สนานกั บ การ สร้างสรรค์แฟชั่นไหมพรมของตัวเองได้ทั้งวัน ที่นี่เป็นจุดนัดพบของคนรักงานฝีมือ พร้อมทั้งมี บริการขายเครื่องดื่ม อาหารว่างและอาหารจานเดียวให้ลูกค้าได้ นั่งทากิจกรรมต่างๆ ซึ่งถือ เป็นการขายสินค้ากึ่งสาเร็จรูป (Do It Yourself หรือ DIY) ผนวกกับการให้บริการสร้างสรรค์ ตัวจริง

สถานการณ์และแนวโน้มตลาด

อุตสาหกรรมแฟชั่นเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศไทย ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็น SME กว่าร้อยละ 90 การจ้างงานรวมกันคิดเป็น 1 ใน 3 ของการจ้างงานในภาคการผลิตทั้งหมด โดยมี จานวนแรงงานประมาณ 1.8 ล้านคน และหากรวมจานวนแรงงานที่อยู่นอกระบบด้วยแล้วอาจมี จานวนแรงงานมากถึง 3 ล้านคน จึง นับเป็นอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับหลายอาชีพและก่อให้เกิดการจ้างงานเป็นจานวนมาก ในปี 2556 อุตสาหกรรมแฟชั่นของไทยมีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 9,667.80 ล้านเหรียญสหรัฐฯ14 แบ่งเป็นมูลค่าการ ส่งออกจานวน 7,766.95 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเป็นการนาเข้าจานวน 1,900.85 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มูลค่า การซื้อขายระหว่างประเทศชะลอตัวลงด้วยภาวะความไม่สงบด้านการเมืองภายในประเทศ ทั้งนี้ ในช่วงปี 2551-2556 ประกอบกับเศรษฐกิจภายนอกประเทศอยู่ในระยะเพิ่งฟื้นตัวจากปัญหาหนี้เสีย ด้านการส่งออก กลุ่มเครื่องประดับมีมูลค่าการส่งออกและอัตราการเติบโตสูงสุด รองลงมาคือกลุ่มรองเท้าและกระเป๋า และ กลุ่มเครื่องนุ่งห่ม ตามลาดับ ทั้งนี้ อุตสาหกรรมแฟชั่นไทยกาลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนถ่ายจากการการแข่งขัน ด้านต้นทุนในตลาดระดับล่าง ไปสู่การเพิ่มมูลค่าเพื่อการแข่งขันในตลาดระดับกลางและระดับบน อุปสรรคที่ สาคัญของไทย คือ การสร้างตาแหน่งทางการแข่งขัน (Strategic Positioning) ของประเทศในฐานะศูนย์กลาง แฟชั่นของภูมิภาคทีย่ ังไม่ชัดเจนเมื่อเทียบกับสิงคโปร์ ฮ่องกงและเกาหลี 13

http://www.bigknit49.com/page/about. รวบรวมข้อมูลการนาเข้าและส่งออกสินค้ากลุ่มเสื้อผ้าสาเร็จรูป เครื่องประดับไม่รวมอัญมณีและทองไม่ขึ้นรูป และเครื่องหนังไม่รวมแผ่นหนัง ฟอก จากสรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมปี 2556 และแนวโน้มปี 2557 สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 14

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-7


มูลค่าการค้าอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย ปี 2554-2556 8,394.17

(หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

8,048.61

1,910.34

1,769.30

2554

7,766.95

1,900.85

2555

2556

การส่งออก

การนาเข้า

ที่มา: สรุปภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมปี 2556

ในปี 2556 ประเทศไทยมีมูลค่าการค้าอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้า คิดเป็นมูลค่ารวม 3,055.90 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่าการนาเข้า จานวน 1,314.80 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีมูลค่าการส่งออก จานวน 1,741.10 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.25 มูลค่าอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้า ปี 2556-2554 (หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ) 1,835.90

1,741.10

1,684.50 1,149.30

2554

1,162.90

2555 การส่งออก

1,314.80

2556 การนาเข้า

ที่มา: สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-8


การบริโภคภายในประเทศ ปี 2556 ประเทศไทยมีการนาเข้าสินค้า ฟุ่มเฟือย15 เป็นมูลค่า 81,100 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 จานวน 10,000 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 14.12 16 ในบรรดาสินค้าฟุ่มเฟือยนี้มีมูลค่าการนาเข้าสินค้า แฟชั่นหรูหรากลุ่มกระเป๋ามีมูลค่าการนาเข้าสูงถึง 11,000 ล้านบาท กลุ่มเครื่องประดับประเภทนาฬิกามีมูลค่า การนาเข้าจานวน 10,000 ล้านบาท แว่นตามีมูลค่าการนาเข้า 2,000 ล้านบาท และกลุ่มเสื้อผ้ามี มูลค่าการ นาเข้า 6,000 ล้านบาท ส่วนตลาดสินค้ากลุ่มเครื่องสาอางมีมูลค่าการค้าราว 40,000 ล้านบาท การอัตราการ เติบโตประมาณร้ อยละ 9 โดยช่องทางการขายร้อยละ 50 เป็นการขายตรง ร้อยละ 30 เป็นการขายผ่าน เคาน์เตอร์และร้อยละ 20 เป็นการขายผ่านหน้าร้าน (Retail Shop) ซึ่งข้อมูลเชิงสถิติเหล่านี้แสดงให้เห็นถึง โอกาสของผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในการทาตลาดภายในประเทศให้มากขึ้น

แนวโน้มตลาดที่เกื้อหนุนต่อธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์  Gen Me ผู้บริโภครุ่นใหม่ที่สร้างคาแรกเตอร์ตัวเอง กลุ่มคนวัยทางานตอนต้นที่กาลังจะเป็น กาลังซื้อสาคัญของประเทศ นิยมบริโภคสินค้าแฟชั่นที่ถ่ายทอดตัวตนของตนเองออกมาให้มาก ที่สุด ทาให้เกิดส่วนตลาดที่หลากหลายขึ้นในตลาด ธุรกิจแฟชั่นในยุคที่ใครๆ ก็อยากมีอัตลักษณ์ ของตัวเองต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์สร้างคาแรกเตอร์หรือจุดขายที่เ ด่นชัด และปรับตัวให้ สนองตอบต่อกลุ่มลูกค้ายุคใหม่ให้ได้  ผู้บริโภคมองหาสินค้าคุณ ภาพดีร าคาย่อมเยา การเติบโตของตลาด Fast Fashion ทาให้ ผู้บริโภคมองหาสินค้าคุณภาพระดับบนในราคาย่อมเยา โดยเฉพาะสินค้าสาเร็จรูปที่มีแบรนด์และ มีคุณภาพดี ปรากฏการณ์นี้ช่วยกระตุ้นให้สินค้ากลุ่มเสื้อผ้าสาเร็จรูปคุณภาพดีระดับ Street Brand ซึ่งเป็นสินค้าตลาดระดับกลาง (B- ถึง B+) เติบโตมากขึ้น ยอดการใช้จ่ายของลูกค้าต่อครั้ง อยู่ที่ระดับ 2,500-3,000 บาท17  กาลังการบริโภคภายในประเทศสาหรับสินค้าแฟชั่นมีเพิ่มสูงขึ้น โดยชาวไทยนิยมซื้อสินค้า หลากหลาย ทั้งสินค้านาเข้าแบรนด์เนมไปจนถึงร้านขนาดเล็กในสถานที่ต่างๆ เช่น ตลาดนัด ตลาดซูเปอร์มาเก็ต และห้างสรรพสินค้า ผู้บริโภคที่เป็นพนักงานหรือผู้มีรายได้ประจามักจะซื้อ 15

สินค้าฟุ่มเฟือยมี 17 รายการ ประกอบด้วย (1) ไวน์ ( 2) สุราต่างประเทศ (3) ผลไม้ (4) ดอกไม้ (5) น้าหอมและ เครื่องสาอาง (6) กระเป๋าหนัง และเข็มขัดหนัง (7) ผ้าทอทาด้วยขนสัตว์ (8) สูท เสื้อ กระโปรง กางเกง สาหรับบุรุษ สตรี เด็กชาย และเด็กหญิง และเนคไท (9) รองเท้าหนังและ รองเท้าผ้าใบ (10) เครื่องแก้วชนิดใช้บนโต๊ะอาหาร หรือใช้ตกแต่งภายในที่ทาด้วยคริสทัล (11) เครื่องประดับที่ทาด้วยคริสทัล (12) เลนส์ (13) แว่นตา (14) กล้องถ่ายรูปและอุปกรณ์ (15) นาฬิกาและอุปกรณ์ (16) ปากกาและอุปกรณ์ และ (17) ไฟแช็กและอุปกรณ์. 16 ข้อมูล ณ วันที่ 10 กันยายน 2556 กระทรวงการคลัง อ้างถึงในหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจออนไลน์ วันพุธที่ 11 กันยายน 2013 คอลัมน์ : การเงิน-ตลาดทุน. 17 บทสัมภาษณ์ ดร.ณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จากัด. ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-9


เสื้อผ้าที่มีราคาระหว่าง 200-400 บาท และมีความถี่ในการซื้อเดือนละ 1-3 ครั้ง ส่วนการซื้อ เสื้อผ้าในห้างสรรพสินค้าต้องมีการจัดโปรโมชั่นลดราคาร้อยละ 30-50 เพื่อจูงใจผู้บริโภค แฟชั่นเพื่อสุขภาพรองรับการเติบโตของสังคมผู้สูงอายุที่ มีกาลังซื้อสูง จานวนประชากรในวัย ทางานลดลง ประชากรแต่งงานช้าขึ้นและมีบุตรน้อยลง ในขณะที่ประชากรผู้สูงอายุมีจานวนเพิ่ม มากขึ้นจึงเป็นโอกาสสาหรับสินค้าที่ มีการออกแบบเพื่อรองรับจานวนประชากรสูงอายุที่มีเพิ่ม มากขึ้น และเป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีกาลังซื้อ เช่น รองเท้า Messenger เป็นรองเท้ากันลื่นสาหรับ ผู้สูงอายุ หรือรองเท้า Jolisnop เป็นรองเท้าสาหรับผู้ป่วยเบาหวาน และรองเท้า Finn comfort รองเท้าเพื่อผู้มีปัญหาสุขภาพการเดินหรือกระเป๋า LeSportsac ที่ออกแบบให้มีช่องใส่ของเยอะๆ น้าหนักเบา เพื่อลดอาการปวดเมื่อยและสะดวกในการจัดเก็บสิ่งของ กระแสการใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม (Environmental Friendly) กระแสรักษ์สิ่งแวดล้อมและ การบริโภคสินค้าที่ไม่ทาลายสภาพแวดล้อมกลายเป็นกระแสนิยมคนรุ่ นใหม่หัวใจสีเขียว ผลักดัน ให้ธุรกิจให้ความสาคัญกับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่การออกแบบและการเลือกวัตถุดิบ จนถึงกระบวนการ ผลิตสินค้าต่างๆ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สาหรับธุรกิจที่จะส่งออกไปต่ างประเทศจาเป็นต้อง พิจารณาถึงมาตรฐานสิ่ งแวดล้ อมในระดับสากล ซึ่งได้กลายเป็นข้อกาหนดที่ส าคัญในการทา การค้าระหว่างประเทศ ตัวอย่างธุรกิจที่ประสบความสาเร็จจากการอิงกระแสสิ่งแวดล้อม เช่น Eco Shop ผลิตสินค้าแฟชั่นและของใช้เครื่องประดับที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม The remake ไอเดียสร้างกาไรจากป้ายไวนิลโฆษณาเหลือทิ้ง เช่น กระเป๋า Freitag กระเป๋าราคาหลักหมื่นที่ทา มาจากวัสดุรีไซเคิล การค้าเปลี่ยนไปสู่การค้าออนไลน์ พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไปและส่งผลให้รูปแบบทาง การค้าเปลี่ยนไป จากเดิมที่ผู้ซื้อต้องเดินทางมาสั่งซื้อจากแหล่งผลิตตามแบบที่ผู้ผลิตนาเสนอ มา เป็นการสั่งซื้อและร่วมออกแบบสินค้าได้ เช่น การจาหน่ายเครื่องประดับออนไลน์ ผู้ซื้อสามารถ ต่อรองด้านการออกแบบและราคาออนไลน์ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลและการสืบค้นที่มาของสินค้า เครื่องประดับจะตรวจสอบได้ง่ายขึ้นและแม่นยามากขึ้น อิทธิพลเครือข่ายสังคมออนไลน์หรือโซเซียลมีเดีย (Social Media) กระแสความนิยมในการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนรุ่นใหม่ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูล สินค้าและบริการแฟชั่นต่างๆ วัยรุ่นปัจจุบันใช้ชีวิตส่วนใหญ่บนสื่อสังคมออนไลน์เพิ่มสูงขึ้น ส่งผล ให้ เ กิดการสื่ อสารหรื อเผยแพร่ข้ อมูล ส่ ง ต่อประเภท “ถ้ าชอบกดไลค์ ถ้า ใช่ กดแชร์ ” ซึ่ง การ กระจายข้อมูลด้วยวิธีดังกล่าวจะช่วยให้กลุ่มผู้บริโภคที่มีพฤติกรรมหรือรสนิยมใกล้เคียงกันมารู้จัก กั น การรี วิ ว สิ น ค้ า การแชร์ แ ละการคอมเม้ น ต์ ใ นโซเซี ย ลเน็ ต เวิ ร ค์ ยั ง ท าหน้ า ที่ เ ป็ น สื่ อ ทาง การตลาดและการประชาสัมพันธ์ให้กับธุรกิจได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในขณะที่ต้นทุน ต่ากว่าการใช้สื่อประเภทอื่นๆ

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-10


 การยอมรับแบรนด์ท้องถิ่นรสนิยมสากล (Local Chic) ผู้บริโภคปัจจุบันยอมรับแบรนด์ ท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น ยิ่งเป็นแบรนด์ที่มีการออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย ยิ่งได้รับกระแส ตอบรับที่ดี แบรนด์สินค้าไทยในปัจจุบัน มีการพัฒนาด้านการออกแบบเพิ่มมากขึ้น บางแบรนด์ ได้รับการยอมรับในระดับสากล เช่น แบรนด์กระเป๋าแฟชั่น Boyy สินค้าไทยที่ได้รับความนิยมใน หมู่คนดังในอังกฤษ เพราะมีรูปแบบการออกแบบเฉพาะตัวและใช้วัสดุคุณภาพดี  รูปแบบธุรกิจแฟชั่นเปลี่ยนสู่การ Outsourcing จาก Supply Chain เป็น Cluster Chain ผู้ประกอบการรุ่นใหม่สามารถยกกระบวนการผลิตไปให้ผู้รับจ้างผลิต ดาเนินการ เพื่อลดต้นทุน แรงงาน และสามารถผลิตได้ทันต่อคาสั่งซื้อและลดระยะเวลาการผลิต เปลี่ยนจากการจัดหาจาก ซัพพลายเออร์หลายแหล่งเป็นการจัดหาจากกลุ่มผู้ผลิตที่สามารถตอบสนองได้อย่างครบวงจร ซึ่ง จะช่วยให้ผู้ประกอบการประหยัดเวลาในการจัดหาและสามารถนาสินค้าออกสู่ตลาดได้ทันต่อ ความต้องการของผู้บริโภค

การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย PESTLE Analysis จากการวิเคราะห์ PESTLE พบว่า ปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมแฟชั่นไทยสามารถสรุปได้ ดังนี้  นโยบายภาครั ฐ มีก ารก าหนดยุ ทธศาสตร์ก ารสนั บสนุ น และขับ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรมแฟชั่ น สร้างสรรค์มีสมาคมเครือข่ายผู้ประกอบการ และหน่วยงานสนับสนุน ผู้ ประกอบการด้านการ ออกแบบมากมายตั้งแต่ต้นน้าจนถึงปลายน้า เช่น - มูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย (Share) ให้คาปรึกษาและสนับสนุนการ ฝึกอบรมที่จาเป็นสาหรับผู้ประกอบการเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม - ศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์แฟชั่น ฝึกฝนทักษะด้านการออกแบบ - ศูนย์ต้นคิดเป็นความร่วมมือระหว่างมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย (SHARE) ร่วมกับสานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรือ OKMD ในการให้ คาปรึกษาและฝึกหัดให้ผู้ประกอบการสามารถออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ด้วย ตัวเอง - TCDC แหล่งเรียนรู้ค้นคว้าข้อมูลด้านการออกแบบ สีสัน เทรนด์แฟชั่น วัสดุศาสตร์ เป็น จุดนัดพบของคนมีความคิดสร้างสรรค์กับผู้ประกอบการ  เศรษฐกิจในประเทศ รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนของประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่างปี 2554 และ 2556 พบว่ามีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.7 โดยมีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 25,403 บาท และมีค่าใช้จ่าย ในการบริโภคสินค้าแฟชั่นที่เกี่ยวกับข้องกับเสื้อผ้ารองเท้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6 ของรายได้เฉลี่ยต่อ ครัวเรือน18 18

http://www.ryt9.com/s/nso/1786490.

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-11


 เศรษฐกิจโลก การเปิดเสรีทางการค้าอาเซียนในปี 2558 เป็นการเปิดโอกาสไปสู่ตลาดที่มี ประชากรมากกว่า 600 ล้านคน อิทธิพลของอุตสาหกรรมบันเทิงไทยที่ได้รับความนิยมในกลุ่ม ประเทศ CLMV19 ทาให้แฟชั่นไทยได้รับความนิยมในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านด้วย ผู้ประกอบการ ควรศึกษารสนิยมประเทศเพื่อนบ้านและการสื่อสาร เพื่อการแสวงหาโอกาสในการขยายตลาด ต่อไป  ปัจจัยทางสังคม สังคมออนไลน์ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลสินค้าได้ง่ายขึ้น ผู้บริโภคไม่เชื่อ การโฆษณา แต่จะเชื่อรีวิวหรือความเห็นของผู้ใช้สินค้าด้วยกันมากกว่าการโฆษณา  ลูกค้า กลุ่มประชากรเพศหญิงและผู้สูงอายุมีจานวนเพิ่มขึ้น ซึ่งต้องการสินค้าที่มีการออกแบบให้ เหมาะสมกับข้อจากัดของเพศและวัย กลุ่มวัยรุ่นและวัยทางานมีความต้องการหลากหลายและ นิยมเลือกสรรสินค้าที่แสดงความเป็นอัตลักษณ์ของตัวเองทาให้เกิดโอกาสในตลาดมากยิ่งขึ้น  ผู้ผลิต ส่วนใหญ่ผู้ผลิตไทยเป็น SME ยังมองการแข่งขันสินค้าแฟชั่น แบบเสื้อผ้าโหล ขาดการต่อ ยอดความคิดสร้างสรรค์สู่ธุรกิจอย่างเป็นระบบ แบรนด์ไทยยังขาด Impact ในการสร้างตัวตนใน ใจกลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย บริ ษั ท ไทยขนาดใหญ่ที่ มี ศั ก ยภาพและมี แ บรนด์ มี น้ อ ย แม้ ว่ า ผู้ ผ ลิ ต บางส่วนได้รับการส่งเสริมเรื่องการสร้างแบรนด์จากภาครัฐแต่ไม่มีวิธีการที่ชัดเจน เนื่องจากผู้ผลิต มีพื้นฐานมาจาก OEM ไม่มีความชานาญด้านการตลาด และภาครัฐขาดความเข้าใจสภาวการณ์ ของการแข่งขันในตลาดจริง แต่ซัพพลายเออร์ในระดับห่วงโซ่อุปทานมีความเข้มแข็ง  คู่แข่ง มีการสร้างตาแหน่งทางการแข่งขันระดับประเทศที่ชัดเจน เช่น สินค้าระดับโรงงานที่ไม่ เน้นการออกแบบหาได้จาก เวียดนาม กัมพูชา เมียนมาร์ อินเดีย ปากีสถานและศรีลังกา เป็นต้น ส่วนแฟชั่นระดับปฐมภูมิราคาต่าสามารถหาได้จากจีน ฮ่องกงและเกาหลี ในขณะที่แฟชั่นระดับสูง สามารถหาได้จากฝรั่งเศส มิลาน และลอนดอน เป็นต้น  เทคโนโลยี มีหน่วยงานสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อนาไปใช้เชิงพาณิชย์ เช่น ศูนย์เทคโนโลยี โลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ซึ่งมีการวิจัยพัฒนาคุณสมบัติวัตถุดิบเส้นใย เพื่อไปต่อยอดให้กับ ภาคธุรกิจ , สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ G.I.T ที่ช่วยผู้ประกอบการในการพัฒนาเทคนิคและทดสอบวิจัยเรื่องเครื่องประดับ นอกจากนั้น ระบบ E-Commerce ที่เติบโตในโลกอินเตอร์เน็ตและโมบายแอพส์ ช่วยให้การค้าสินค้าแฟชั่น เติบโตและเข้าถึงง่ายยิ่งขึ้น  กฎหมาย มีการเผยแพร่ความรู้ กฎระเบียบทางการค้ายังไปไม่ถึงผู้ประกอบการส่ วนใหญ่ การ ติดตามหรือการเจรจา สิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างประเทศยังล่าช้า ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อ การตัดสินใจลงทุนของผู้ประกอบการ

19

CLMV ประกอบไปด้วยประเทศกัมพูชา (Cambodia) สปป.ลาว (Laos) เมียนมาร์ (Myanmar) และเวียดนาม (Vietnam).

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-12


 สิ่งแวดล้อม ผู้ประกอบการต้องเร่งปรับตัวในการพัฒนากระบวนการผลิตที่ไม่ส่งผลกระทบต่อ สิ่ ง แวดล้ อ ม มีห น่ ว ยงานภายใต้ก ระทรวงอุต สาหกรรมด าเนิน งานสนั บสนุ นด้ านการพัฒ นา กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ เช่น Eco Mark มีผลต่อการรับรองมาตรฐานสินค้า การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมด้วย PESTLE Analysis

ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น

เพื่อให้ได้ข้อมูลในการประเมินศักยภาพธุรกิจอย่างรอบด้าน การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพของ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะผู้วิจัยได้ศึกษาดาเนินการเก็บข้อมูลจากการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ การประชุมกลุ่ ม ย่อย การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ประกอบการ ผู้แทนสมาคม สถาบันวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมแฟชั่น และ ได้ข้อสรุป 6 ปัจจัย รายละเอียดดังนี้

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-13


1. ทักษะผู้ประกอบการ การบริหารธุรกิจแฟชั่นให้อยู่รอด การออกแบบมีความสาคัญคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20 อีกร้อยละ 80 คือ ความสามารถในการบริหารจัดการ 20 แต่ปัญหาใหญ่ที่พบในกลุ่มผู้ประกอบการใหม่ คือ ผลิตสินค้าและบริการจากความถนัดของตนเอง โดยไม่ได้ทาความเข้าใจกับความต้องการของ ลูกค้าเป้าหมายอย่างจริงจังซึ่งมีความเสี่ยงที่จะล้มเหลวสูง ผู้ประกอบการจาเป็นต้องสร้างความ ต้องการสินค้าไปยังลูกค้าเป้าหมายเพื่อกระตุ้นความต้องการซื้อ ผู้ประกอบการใหม่จานวนมากที่ เปิดตัวเข้าสู่อุตสาหกรรมด้วยการออกแบบที่โดดเด่นแต่สินค้าขายไม่ได้ และไม่ได้วางแผนการ ลงทุนล่วงหน้า ขาดแหล่งเงินทุนสารอง ทาให้ประสบภาวะขาดทุน จนต้องออกจากอุตสาหกรรม ไปในที่ ซึ่งต่างจากธุรกิจที่ผลิตสินค้าโดยคานึงถึงความต้องการในมุมมองของลูกค้ามิใช่มุมมอง ของผู้ผลิต เพราะกระบวนการคิดในวิธีหลังทาให้ผู้ประกอบการสามารถออกแบบทั้งผลิตภัณฑ์ไป จนถึงวิธีการขายและช่องทางการขายได้อย่างเหมาะสม 2. วัตถุดิบ ประเทศไทยมีแหล่ งวัตถุดิบจานวนมากและหลากหลาย ตั้งแต่วัตถุดิบราคาประหยัดไปจนถึง วัตถุดิบนวัตกรรมและวัตถุดิบจากต่างประเทศ มีตัวเลือกที่ หลากหลาย นักออกแบบสามารถนา วัตถุดิบที่มีอยู่แล้วมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ แต่ผู้ประกอบการก็ยังคงต้องการซัพพลายเออร์มาเป็นคู่ค้า ที่ดี สามารถให้บริการจัดหาวัตถุดิบแบบ One-Stop Service และสามารถรักษาคุณภาพวัตถุดิบ ได้ตรงตามสเปคและส่งสินค้าได้ตรงเวลา 3. แรงงาน แรงงานในธุรกิจแฟชั่นประกอบไปด้วยแรงงาน 2 ประเภท คือ  แรงงานฝีมือ ซึ่งเป็น กลุ่มช่างฝีมือและโรงงานรับจ้างผลิตแบบ (OEM) ประเทศไทยมี โรงงานรับ จ้างผลิ ตเป็นจานวนมาก ผู้ประกอบการใหม่สามารถใช้ระบบการจ้างช่ว ง (Outsource) ในการผลิตซึ่งจะช่วยลดต้นทุนประเภทเงินเดือนและค่าจ้าง ทาให้สามารถ คานวณต้น ทุน สิน ค้าต่อชิ้นง่าย และเริ่มธุรกิจเพียงคนเดียวสะดวกขึ้น ขณะเดียวกัน ปัญหาที่ผู้ประกอบการพบบ่อยในการจ้างผลิ ต คือ โรงงานไม่สามารถส่งมอบสินค้าได้ ทันเวลา ผลิตสินค้าไม่ตรงตามสเปค ผลิตเกินจานวน การลอกแบบสินค้าไปดัดแปลง ผลิตสินค้าให้ผู้ประกอบการเจ้าอื่น และไม่สามารถควบคุมคุณภาพระหว่างขั้นตอนการ ผลิตได้ ดังนั้น ผู้ประกอบการรายเล็กหลายรายจึงเลือกจ้างช่างฝีมือ ที่รับจ้างผลิตภายใน ครัวเรือนแทนโรงงานขนาดใหญ่ ซึ่งแม้กาลังการผลิตน้อย แต่สามารถควบคุม คุณภาพ และการผลิตได้ดีกว่า มีความยืดหยุ่นมากกว่า และมีเครือข่ายที่สามารถช่วยผลิตปริมาณ 20

ตัดตอนจากบทสัมภาษณ์คุณพลพัฒน์ อัศวะประภา เจ้าของแบรนด์ ASAVA รายการ SME ตีแตก ปี 2554.

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-14


มากได้ แต่ในปัจจุบันกลุ่มช่างฝีมือลักษณะนี้ ยังมีอยู่เป็นจานวนน้อยและไม่มีการจัดเก็บ ฐานข้อมูลเครือข่ายช่างฝีมือ ทาให้ต้องอาศัยการลองผิดลองถูกไปเรื่อยๆ  แรงงานไร้ฝีมือ เป็นกลุ่มลูกจ้างช่วยงานทั่วไป ซึ่งปัจจุบันนับเป็นกลุ่มแรงงานที่ยังมีความ ขาดแคลนทั้งแรงงานไทยและแรงงานต่างชาติ 4. ความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบความคิดสร้างสรรค์ถือเป็นหัวใจสาคัญของการทาธุรกิจแฟชั่น เพราะการออกแบบ นอกจากจะสร้างความสวยงามเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแบรนด์นั้นๆ แล้วยังสามารถออกแบบ เพื่อแก้ไขปัญหาการใช้งาน ตลอดจนออกแบบกระบวนผลิตและให้บริการเพื่อสร้างประสบการณ์ ที่ดีในกลุ่มลูกค้าได้อีกด้วย เวทีการประกวดการออกแบบ ภูมิปัญญาศิลปะท้องถิ่น กรรมวิธีเฉพาะ หรือความพิเศษของแหล่งกาเนิดสินค้า ล้วนช่วยเพิ่มคุณค่า ให้กับสินค้าและบริการได้ อุปสรรค สาคัญสาหรับความคิดสร้างสรรค์ คือ การลอกเลียนแบบ อีกทั้งการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ของประเทศไทยยังไม่เข้มงวด สินค้าจึงถูกลอกเลียนแบบได้ง่าย การพัฒนาสินค้าและบริการ สม่าเสมอย่อมทาให้ลูกค้าประทับใจและเชื่อใจที่จะซื้อสินค้าของแบรนด์นั้นๆ มากกว่าซื้อของ ลอกเลียนแบบที่ราคาถูกกว่า 5. เทคโนโลยี เทคโนโลยีช่วยให้การออกแบบเพื่อแก้ปัญหาการใช้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น และยังช่วยสร้าง นวัตกรรมให้กับสิ น ค้าและบริ การ เช่น การนาเทคโนโลยีการแพทย์ และเทคโนโลยีนาโนมา ผสมผสานกับการผลิตสินค้าแฟชั่น แต่การเข้าถึงเทคโนโลยีและการทดสอบต่างๆ เพื่อให้ได้การ ยอมรับต้องใช้เวลาและเงินทุน ดังนั้น ภาครัฐจึงมีหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาวิจัยและพัฒนา วัส ดุ ศ าสตร์ เ พื่ อ เป็ น ทางเลื อ กให้ กั บ นัก ออกแบบ อย่ า งไรก็ ต าม อุ ตสาหกรรมของไทยยั ง ใช้ เทคโนโลยีการผลิตในขั้นตอนกลางน้าน้อยมากหากเทียบกับประเทศอุตสาหกรรมชั้นนา ส่วนใหญ่ อุต สาหกรรมไทยมี แ ต่ก ารใช้เ ทคโนโลยี เฉพาะในผลิ ต ภั ณฑ์ ขั้ นสุ ด ท้า ยเท่ านั้ น และขาดการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการออกแบบอย่างเป็นระบบให้แก่ธุรกิจ 6. ลูกค้าและตลาด ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ มีทัก ษะด้ านการผลิ ต แต่ ขาดแคลนบุ คลากรที่มีค วามเข้ าใจด้า น การตลาดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Positioning) ผู้ประกอบการรุ่นใหม่จึงมีความจาเป็นที่ต้อง ศึกษาตลาดอย่างจริงจังโดยไม่คิดจากความเข้าใจของตนเองฝ่ายเดียว การพูดคุยกับกลุ่มลูกค้า เป้าหมายโดยตรง ถือเป็น วิธีห นึ่งที่ ทาให้ผู้ ประกอบการได้รับข้อมูลตามจริง ประเด็นสาคัญที่ ผู้ประกอบการพึงระลึกไว้คือ ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-15


 แบรนด์ คือ คามั่นสัญญา การสร้างแบรนด์ให้เป็นที่จดจา คือ การทาซ้าถี่ๆ จนเกิดภาพจาใน กลุ่มผู้บริโภคด้วยการรักษาคุณภาพของสินค้า หาวิธีการ ช่องทางและความถี่ที่ผู้บริโภคได้ เห็นภาพของสินค้านั้นๆ  “One size does not fit all” กลุ่มผู้บริโภคมีค่านิยมและความจาเป็นหลากหลายขึ้น ทาให้ เกิดส่วนตลาดที่หลากหลาย เป็นโอกาสสาหรับผู้ประกอบการใหม่และผู้ประกอบการรายย่อย การมองข้ามไปหาลู กค้าที่ไม่น่าใช่ทาให้มองเห็นโอกาสที่เพิ่มมากขึ้น เช่น รองเท้ากันลื่ น สาหรับผู้สูงอายุที่ขายให้กับโรงพยาบาล กระเป๋าทรงขนมไทยที่กลายเป็นของที่ระลึกสาหรับ ลูกค้าธุรกิจโรงแรมและร้านอาหาร เป็นต้น  ตลาดออนไลน์ คือ ช่องทางด้านการตลาดยุคใหม่ ผู้บริโภคสามารถเข้ าถึงข้อมูลสินค้าและ บริการได้อย่ างรวดเร็ว จึ งส่ งผลให้ผู้ บริโภคยุคใหม่ไม่ยึดติดกับแบรนด์มากนัก เนื่องจาก สามารถพบเห็นสินค้าใหม่ๆ ได้อย่างรวดเร็ว  ตลาด AEC คือ โอกาสใหม่ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศ CLMV21 ที่ได้รับอิทธิพลเรื่องแฟชั่นผ่าน อุตสาหกรรมบันเทิงไทย แต่ผู้ประกอบการแฟชั่นส่วนหนึ่งยังมองว่า AEC เป็นเรื่องไกลตัว และไม่ มี ผ ลกระทบมากนั ก จึ ง ไม่ มี ก ารเตรี ย มพร้ อ มรั บ โอกาสที่ จ ะเข้ า มาทั้ ง ด้ า นภาษา วัฒนธรรมและรสนิยม ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหรรมสาขาย่อย หรือธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่น แยกตามห่วงโซ่คุณค่า

ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.

21

CLMV ประกอบไปด้วยประเทศกัมพูชา (Cambodia) สปป.ลาว (Laos) เมียนมาร์ (Myanmar) และเวียดนาม (Vietnam).

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-16


จากการเก็บข้อมูล การประชุมกลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ ผู้แทนสถาบันการศึกษา ผู้แทน ภาครัฐ สมาคม สถาบันที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมแฟชั่น ได้ข้อมูลของแต่ละปัจจัยโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การประกอบอาชีพ

ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ

ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ

1. ทักษะผู้ประกอบการ

 ความรักในงานแฟชั่นเป็นแรงผลักดันใน การทาธุรกิจ  เห็นโอกาสทางการตลาดจากปัญหาที่พบ ในปัจจุบัน

 ขาดองค์ความรู้การบริหารจัดการ ธุรกิจอย่างเป็นระบบ  ขาดความเข้าใจด้านการตลาดและ การบริหารแบรนด์  การเข้าถึงแหล่งทุนสาหรับ ผู้ประกอบการรายย่อยยังมีข้อจากัด ค่อนข้างเยอะ

2. วัตถุดิบ

 ประเทศไทยมีแหล่งวัตถุดิบจานวนมาก และหลากหลาย เช่น วงเวียนใหญ่ สาเพ็ง ซึ่งเป็นแหล่งจาหน่ายวัตถุดิบ เครื่องหนัง อะไหล่เครื่องประดับ และผ้า ชนิดต่างๆ นักออกแบบสามารถเข้าถึง แหล่งวัตถุดิบและนาวัตถุดิบที่มีอยูแ่ ล้ว มาพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ได้ง่าย  กิจการมีโอกาสเข้าถึงสินค้าและวัตถุดิบที่ หลากหลายขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ทา ให้มีตัวเลือกเป็นหนทางในการควบคุม ต้นทุน  ธุรกิจขนาดเล็กต้องการคนกลางที่ทา หน้าที่ Fashion Buyer ช่วยเลือกและ คัดกรองสินค้าแฟชั่นที่เหมาะกับลูกค้า เป้าหมายของธุรกิจ

 แหล่งจาหน่ายวัตถุดิบให้กับธุรกิจ ขนาดเล็กและกลางแบบ One stop service มีน้อยมากต้องเดินหาจาก หลายที่แม้อยู่ในย่านเดียวกัน ทาให้ เสียเวลา  การใช้ซัพพลายเออร์ในต่างประเทศ พบปัญหาเรื่องการควบคุมคุณภาพ การส่งมอบสินค้าและการสื่อสาร

3. แรงงาน

 ธุรกิจแฟชั่นยุคใหม่ ไม่จาเป็นต้องใช้ แรงงานจานวนมาก เนื่องจากใช้ระบบ การจ้างช่วง (Outsource) เป็นบาง กระบวนการทาให้ลดต้นทุนคงที่ดา้ น แรงงานลงได้  การจ้างช่วงทาให้เกิดการสร้างระบบการ ควบคุมคุณภาพมากขึ้น

 โรงงานรับจ้างผลิตที่มคี วามรับผิดชอบ สามารถทางานได้ตามข้อกาหนดและ ส่งงานตรงเวลา หาได้ยากมาก  ไม่มีฐานข้อมูลเครือข่ายช่างฝีมือ ต้องอาศัยการลองผิดลองถูก  แรงงานทักษะทั้งชาวไทยและ ชาวต่างชาติขาดแคลน 1-17

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้


ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การประกอบอาชีพ

ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ

ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ

 มีเครือข่ายช่างฝีมือเฉพาะทางที่ช่วยใน การผลิตปริมาณมาก  มีแหล่งข้อมูลผู้รับจ้างผลิต OEM จานวน มากให้เลือกใช้บริการ

4. ความคิดสร้างสรรค์

 ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีส่วนช่วยในการสร้าง  การพึ่งพาภูมิปัญญาท้องถิ่นมากเกินไป ความแตกต่าง ต้องรู้จักนาจุดของเล็กๆ โดยไม่สร้างอัตลักษณ์ของสินค้าตนเอง น้อยๆ เช่น กรรมวิธีเฉพาะ หรือความ ที่ชัดเจน จะทาให้สินค้าดูล้าสมัย พิเศษของแหล่งกาเนิดสินค้าหรือวัตถุดิบ  การออกแบบในตลาดแฟชั่นปัจจุบนั ยัง มาสร้างความแตกต่าง ซึ่งจะส่งผลต่อ เน้นการออกแบบเพื่อความสวยงาม การตลาดตามมาด้วย มากกว่าประโยชน์ใช้สอย ทาให้ความ  คนไทยมีทักษะด้านการออกแบบเพื่อ แตกต่างยังไม่เด่นชัด ความสวยงาม  การปกป้องทรัพย์สินทางปัญญาให้กับ  การผสมผสานศิลปะกับงานออกแบบเพื่อ นักออกแบบยังทาไม่เต็มที่ แก้ปัญหาที่มีในปัจจุบันจะช่วยเปิดโอกาส ตลาดใหม่ได้มากขึ้น  มีเวทีที่เปิดโอกาสให้นักออกแบบได้ รวมกลุม่ และแสดงผลงานมากขึ้น ทั้งใน และต่างประเทศ  การสร้างความแตกต่างด้วยการออกแบบ ทาให้ผู้บริโภคจดจา เช่น การนารูปทรง ขนมไทยมาทาเป็นกระเป๋า ซึ่งไม่ใช่สินค้า ที่เห็นได้ทั่วไปในตลาด  การสร้างเรื่องราว มีทไี่ ปที่มาของสินค้า ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้ธรุ กิจอีกทางหนึ่ง  การบริการที่เพิ่มขึ้นมาจากสินค้า คือหัวใจ การสร้างมูลค่าและสร้างฐานลูกค้าประจา ให้เกิดขึ้น เช่น บริการ Personal Shopper ที่ให้คาแนะนาเรื่องเสื้อผ้า เครื่องสาอางที่เหมาะกับลูกค้าทาให้ลูกค้า ตัดสินใจซื้อสินค้าได้ง่ายกว่าให้ลูกค้าเลือก เองโดยมองประเด็นราคาเป็นเรื่องรอง

5. เทคโนโลยี

 มีเทคโนโลยีที่ทาให้กระบวนการผลิต  การเข้าถึงเทคโนโลยี และการทดสอบ รวดเร็วมากขึ้น ต่างๆ เพื่อให้ได้รับการยอมรับต้องใช้ เวลาและเงินทุน  มีองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีอื่นๆ ที่สามารถ

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-18


ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การประกอบอาชีพ

6. ลูกค้าและตลาด

ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ นามาผสมผสานกับการออก แบบสินค้า แฟชั่นได้ เช่น เทคโนโลยี การแพทย์และ เทคโนโลยีนาโน เป็นต้น  การวิจัยและพัฒนาทางวัสดุศาสตร์ของ ภาครัฐสร้างโอกาสและทางเลือกให้แก่ นักออกแบบ  ผู้บริโภคในปัจจุบันมีความเป็นปัจเจกสูง เข้าถึงข้อมูลข่าวสารรวดเร็ว ไม่ยึดติดกับ แบรนด์มากนัก ทาให้อุตสาหกรรมแฟชั่น ยังไม่มีแบรนด์ที่เป็นผู้นาตลาดอย่าง ชัดเจน กลายเป็นโอกาสสาหรับ ผู้ประกอบการ SME  Niche Market คือ ตลาดที่มศี ักยภาพ เช่น กลุ่มผู้บริโภคที่เป็นผูส้ ูงอายุ กลุ่มคน อ้วน กลุ่มรักสิ่งแวดล้อม  พฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภคใน ปัจจุบันมีความผูกพันกับสังคมออนไลน์ ต้องการความสะดวกสบาย และการ บริการที่เพิ่มมากขึ้น เป็นโอกาสสาหรับ ธุรกิจออนไลน์  การมองข้ามไปหาลูกค้าทีไ่ ม่ใช่ กลุ่มเป้าหมาย ทาให้มองเห็นโอกาสที่ เพิ่มมากขึ้น เช่น รองเท้ากันลื่นสาหรับ ผู้สูงอายุแต่ขายให้กับโรงพยาบาล กระเป๋าทรงขนมไทยที่กลายเป็นของที่ ระลึกสาหรับลูกค้าธุรกิจโรงแรมและ ร้านอาหาร เป็นต้น  การเปลีย่ นแปลงตลาดจากปัจจัย ภายนอก เช่น AEC คือการเปิดโอกาส ไปสูต่ ลาดที่มีประชากรมากกว่า 600 ล้านคน และประเทศไทยมีโอกาสเป็น ผู้นาแฟชั่นในกลุ่ม CLMV ด้วยอิทธิพล ของอุตสาหกรรมบันเทิงที่เผยแพร่ไปยัง

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ  การใช้เทคโนโลยีในการผลิต อุตสาหกรรมของไทยที่ยังใช้เทคโนโลยี ในขั้นตอนกลางน้าน้อยมาก ส่วนใหญ่ใช้ เทคโนโลยีเฉพาะในผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย เท่านั้น  ขาดการถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ออกแบบอย่างเป็นระบบให้แก่ธุรกิจ  ผู้บริโภคอีกส่วนหนึ่งต้องการสัมผัส สินค้าก่อนการตัดสินใจ การมีหน้าร้าน จึงยังจาเป็นอยู่  สินค้าแฟชั่นในตลาดมีปริมาณมาก ส่วน ใหญ่ที่ล้มเหลวเนื่องจากผู้ประกอบการ ยังไม่สามารถสื่อสารจุดยืนได้อย่างมี นัยสาคัญ กลยุทธ์เป็นเรื่องสาคัญและ ต้องคิดตั้งแต่กระบวนการออกแบบให้มี ความแตกต่างอย่างชัดเจน  อุตสาหกรรมแฟชั่นสามารถเข้าสู่ อุตสาหกรรมได้ง่าย มีผู้เล่นจานวนมาก การแข่งขันสูง แต่มี Segment จานวน มาก บาง Segment มีความต้องการซื้อ สูงและคู่แข่งน้อยมาก  ผู้ประกอบการแฟชั่นยังมองว่า AEC เป็นเรื่องไกลตัวและไม่มผี ลกระทบมาก นัก จึงไม่มีการเตรียมพร้อมรับโอกาสที่ จะเข้ามาทั้งด้านภาษา วัฒนธรรมและ รสนิยม  แบรนด์รุ่นใหม่ขาดการสื่อสารแบรนด์ แบบซ้าๆ จนเกิดภาพจดจาในกลุม่ ผู้บริโภค  ขาดแคลนนักการตลาดแฟชั่นมืออาชีพ ที่สามารถวิเคราะห์ความต้องการสินค้า ในอนาคตและชี้เป้ากลุ่มลูกค้าที่ แตกต่างกันได้อย่างแม่นยา  การขยายตลาดต่างประเทศ ต้อง 1-19


ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การประกอบอาชีพ

ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ ประเทศเพื่อนบ้าน  การตลาดออนไลน์ คือ สถานที่ซื้อขาย สินค้ายุคใหม่ทสี่ ามารถเข้าถึงกลุม่ ผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็วและเป็นวงกว้าง ภายในระยะเวลาสั้นๆ

ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ พิจารณากลุ่มลูกค้าของงานแสดงสินค้า แต่ละงานให้ดีและอ่านตาแหน่งทางการ ตลาดทั้งในงานแสดงสินค้าและตลาดใน ประเทศเป้าหมายให้ออก ก่อนจะ ตัดสินใจเข้าไปขายสินค้าหรือขยาย กิจการ  ขาดแคลน Trader ที่มีความสามารถใน การทาการตลาดต่างประเทศแทนผู้ผลิต ซึ่งชานาญด้านการผลิตมากกว่าการทา ตลาด ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ทมี่ ีส่วนเกีย่ วข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขา แฟชั่น และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)

จากการรวบรวมข้อมูล ผลส ารวจความคิ ดเห็ น ของคนรุ่นใหม่ ประกอบกับข้ อมูล เพิ่มเติ มที่ได้ มาจากการ สัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่มภายใต้โครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพ ในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพสาขาแฟชั่น พบว่า คนรุ่นใหม่มีความสนใจในการประกอบ อาชีพที่หลากหลาย โดยแต่ละอาชีพมีปัจจั ยบวกหรือโอกาสทางธุรกิจ และปัจจัยลบหรือข้อจากัดทางธุรกิจที่ สะท้อนให้เห็นถึงโอกาสในการประกอบอาชีพหรือการดาเนินธุรกิจสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพได้ และจากการ วิเคราะห์และประเมินปัจจัย (Factor Rating Analysis) และจัดอันดับอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจ สร้างสรรค์ สาขาแฟชั่น พบว่า มีกลุ่มอุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ในสาขาอาหารที่มีศักยภาพ ในการเติบโต 5 อันดับแรกประกอบด้วย 1. ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 2. ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 3. ธุรกิจรีวิวแฟชั่นและความงาม 4. ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5. ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ ซึ่งในส่วนต่อไปจะกล่าวถึง แนวทางและโอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจแฟชั่นที่มีศักยภาพรายธุรกิจ

ส่วนที่ 1 ธุรกิจแฟชั่นสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-20


ส่วนที่ 2 5 ธุ ร กิ จ สร้ า งสรรค์ ส าขาแฟชั่ น ที่ มี ศั ก ยภาพในการสร้ า งรายได้ แ ละ โอกาสในการประกอบอาชี พ 1 . ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด์ ก ร ะ เ ป๋ า ร อ ง เ ท้ า

2 . ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด์ เ สื้ อ ผ้ า แ ฟ ชั่ น 3 . ธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค้ า แ ฟ ชั่ น 4 . ธุ ร กิ จ ข า ย สิ น ค้ า แ ฟ ชั่ น อ อ น ไ ล น์ 5 . ธุ ร กิ จ เ สื้ อ ผ้ า พ ลั ส ไ ซ ส์


ประเด็นการตัดสินใจเบื้องต้นก่อนเข้าสู่ธรุ กิจแฟชั่น อุตสาหกรรมแฟชั่นเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่ประกอบไปด้วยตลาดหลายส่วน อาทิ ตลาดที่เน้นประโยชน์ ใช้สอย ตลาดที่ให้ความสาคัญกับการออกแบบ และตลาดที่เน้นการบริการ ดังนั้น ต้นทุนการผลิตส่วนใหญ่จึง อยู่ที่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทั้งในเชิงคุณภาพ นวัตกรรม ความประณีตและการออกแบบ ดังนั้น ก่อนที่จะเริ่มต้น ธุรกิจ ผู้ประกอบการควรตอบคาถามตนเองให้ได้เบื้องต้น ดังนี้ 1. จะขายอะไร? 4. จะขายอย่างไร 5. จะขายที่ไหน 6. จะขายเมื่อไหร่

3. จะขายอะไร 2. จะขายให้ใคร 1. เรามีจุดแข็งและจุดอ่อน เรื่องอะไรสาหรับธุรกิจ แฟชั่น

2. จะตั้งธุรกิจแบบไหน? การจัดตั้งธุรกิจ มีหลายแบบ มีข้อดีและข้อเสียและภาระด้านภาษีแตกต่าง กัน ผู้ประกอบการสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมและวิธีการจดทะเบียนธุรกิจแต่ละประเภทได้ในภาคผนวก โดย รูปแบบธุรกิจส่วนใหญ่มี 3 รูปแบบ คือ ธุรกิจเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วนและบริษัทจากัด ซึ่งแต่ละรูปแบบมี ข้อดีข้อเสีย แตกต่างกัน มีภาระผูกพันด้านภาษีและระบบบัญชีแตกต่างกัน สามารถอ่านรายละเอียดได้ใน ภาคผนวก แต่สาหรับผู้ประกอบการรายเล็ก การเป็นเจ้าของคนเดียว หรือมีเพื่อนเป็นหุ้นส่วนช่วยกันทาเป็น รูปแบบที่คล่องตัวมากกว่า 3. ส่วนไหนจะทาเอง ส่วนไหนจะจ้างคนอื่น? นี่คือการตัดสินใจวางระบบธุรกิจและวิธีการทางานว่า ในธุรกิจควรมีกิจกรรมใดบ้างที่ ต้องทา เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่วางไว้ โดยคิดจากกระบวนการดาเนิน ธุรกิจ 3 ด้านหลักได้แก่ การผลิต การขายและการตลาด และการบริหารจัดการ หากผู้ประกอบการสามารถลง รายละเอียดในขั้นตอนการทางานแต่ละด้านได้มากเท่าไร ก็จะยิ่งทราบทรัพยากรที่ต้องใช้ลงทุน กิจกรรมที่ต้อง ท าและก าลั ง คนที่ ต้ อ งใช้ หลั ง จากนั้ น ให้ พิ จ ารณาศั ก ยภาพของ ตนเองว่าอะไรที่ควรทาเอง อะไรที่สามารถ Outsource ออกไปได้ แม้การ Outsource อาจทาให้ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานสูงแต่ลด การลงทุนในระยะเริ่มต้น ลดการจ้างพนักงานประจา และลดภาระ ผู้ประกอบการในการทางานที่ไม่ถนัดลงไปได้ ช่วยให้ผู้ประกอบการ สามารถเริ่มต้นธุรกิจด้วยตัวคนเดียวสะดวกขึ้น


1

ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า

ธุรกิจแบรนด์ กระเป๋า รองเท้า หมายถึง ผู้ประกอบการในธุร กิจกระเป๋า และรองเท้า ที่ทาหน้าที่ ออกแบบ คัดเลือกวัตถุดิบ ควบคุมการผลิต และจาหน่ายกระเป๋าและรองเท้าประเภทต่างๆ ภายใต้ตรายี่ห้อ สินค้าหรือแบรนด์สินค้าของตนเอง ทั้งนี้ ผู้ประกอบการสามารถทาการผลิต ออกแบบและจาหน่ายสินค้าอื่นๆ ที่มีความสอดคล้องหรือเหมาะสมกับการใช้งานกระเป๋า และรองเท้า เช่น ผ้าพันคอ พวงกุญแจ เข็มกลัด กล่อง ใส่นามบัตรหรือแท๊กป้ายชื่อกระเป๋า ฯลฯ โดยสินค้าทั้งหมดจะอยู่ ภายใต้ยี่ห้อตราสินค้าหรือแบรนด์เดียวกัน โดยผู้ประกอบการสามารถทาการตลาดในรูปแบบของสินค้าคอลเลคชั่น (Collection) ได้ เพื่อเป็นการสร้าง มูลค่าให้กับแบรนด์สินค้าของตนเองได้อีกด้วย ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-2


การเริ่มต้นธุรกิจแบรนด์กระเป๋า และรองเท้า หากผู้ประกอบการไม่มีทักษะและองค์ ความรู้พื้นฐานด้านการ ออกแบบโดยตรง ควรให้ความสาคัญกับ การหาความรู้ด้านแฟชั่นและการออกแบบเพิ่มเติม หรือควรมีนัก ออกแบบ/ดีไซเนอร์ประจาแบรนด์สินค้า เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาและออกแบบสินค้าใหม่ๆ ได้ อย่างต่อเนื่อง

คุณสมบัติของผูป้ ระกอบธุรกิจ

ผู้ประกอบการในธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้าควรมีคุณสมบัติที่สาคัญ ดังนี้ 1. มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ เนื่ อ งจากเป็ น ธุ ร กิ จ ออกแบบเองพอได้ ตัดเย็บไม่เป็น ทาธุรกิจนี้ได้ สร้ า งแบรนด์ สิ น ค้ า แฟชั่ น ซึ่ ง จ าเป็ น ต้ อ งใช้ ไหม? ความคิดสร้ างสรรค์ในการออกแบบกระเป๋า “ได้ ” แต่ ต้ อ งศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ให้ รู้ ก ระบวนการ รองเท้ า ประเภทต่ า งๆ ที่ ส ร้ า งอั ต ลั ก ษณ์ ขั้นตอนเพื่อที่จะสื่อสารกับช่างตัดเย็บ หรือโรงงาน ภาพลักษณ์ของแบรนด์ให้กับสินค้า ความคิด ที่รับจ้างผลิตได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดปัญหาผลิต สร้างสรรค์คือ การสร้างมูลค่าของสินค้าแฟชั่น สิ น ค้ า ได้ ไ ม่ ต รงตามแบบ มี ห ลั ก สู ต รระยะสั้ น มากมายรออยู่ เช่น ในรายธุรกิจขนาดเล็กหรือผู้เริ่มต้นธุรกิจใหม่ - สถาบันส่งเสริมการออกแบบเพื่อการค้า ผู้ ป ระกอบการจ าเป็ น ที่ จ ะต้ อ งหาจุ ด แข็ ง ที่ กรมส่งเสริมการส่งออก ผู้ประกอบการสามารถทาได้ด้วยตัว เอง เช่น - วิทยาลัยสารพัดช่าง ความสามารถในการออกแบบ การสร้างสรรค์ - ส่วนพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องหนัง กรม โมเดลธุรกิจใหม่ๆ การพึ่งพาความสามารถของ ส่งเสริมอุตสาหกรรม - La Gom Art สอนออกแบบกระเป๋าและทา คนอื่น ทั้งหมด จะลดโอกาสการเติบโตอย่า ง แพทเทิร์นสาหรับผูไ้ ม่มีพื้นฐาน ยั่งยืนในอนาคต http://www.schnauzerbkk.com/ 2. มีความรู้ในกระบวนการบริหารจัดการธุรกิจ LaGom_art/LaGom.html ในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ จริ ง ผู้ ป ระกอบการไม่ - Craftmangus สอนออกแบบกระเป๋าและ จาเป็ นต้องลงมือทาเองทุกขั้น ตอน แต่ต้องมี ทาแพทเทิร์นสาหรับผูไ้ ม่มีพื้นฐาน ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และธุรกิจที่กาลังจะ http://www.craftsmangus.com ทา ว่าประกอบด้วยปัจจัยและขั้นตอนใดบ้า ง - โรงเรียนสอนออกแบบแฟชั่นดีไซน์รองเท้า เพื่ อ ให้ ส ามารถออกแบบธุ ร กิ จ วางแผน สร้างแบรนด์รองเท้า www.artbangkok.com/detail_page.ph กระบวนการผลิ ต วางแผนการขายได้ อ ย่ า ง p?sub_id=2693 เหมาะสม ตามแนวทาง “คิดได้ ทาได้ ขายได้” ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-3


 ความรู้ด้านแฟชั่น วัสดุศาสตร์ การออกแบบ การทาแพทเทิร์นและการตัดเย็บ การ ควบคุมคุณภาพสินค้าทั้งวงจรการผลิต ออกแบบและจาหน่ายสินค้าได้ตรงตามเป้าหมาย เช่น มีความรู้ ความเข้าใจถึงคุณสมบัติและข้อจากัดของวัตถุดิบที่นามาใช้เป็นวัตถุดิบในการ ผลิตกระเป๋าและรองเท้า สามารถเข้าถึงแหล่งวัตถุดิบแต่ละชนิด และแหล่งผู้ผลิตกระเป๋า และรองเท้าประเภทต่างๆ เป็นต้น  ความรู้ด้านกระบวนการผลิตและการบริหาร จัดการ ผู้ประกอบการควรมีความรู้ในขั้นตอน การผลิ ต กระเป๋ า และรองเท้า ประเภทต่างๆ เพื่อให้สามารถสื่อสารกับช่างตัดเย็บได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถประเมินระยะเวลาใน การผลิตและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องใช้ได้ ความ ยากง่ายของงานแต่ล ะอย่าง ซึ่ง ข้อมูล ส่วนนี้ จะช่วยผู้ประกอบการในการวางแผนการผลิต การหาวัตถุดิบ การจ้างแรงงาน การควบคุม ต้ น ทุ น และการแก้ ไ ขปั ญ หาเฉพาะหน้ า ที่ อาจจะเกิด ขึ้น ระหว่า งการผลิ ต ที่ต้ องอาศั ย ความรู้ เ ฉพาะทางที่ จ ะน าไปสู่ ก ารตั ด สิ น ใจ เลือกทางออกของปัญหาได้ทันเวลา  ความรู้ ด้ า นธุ ร กิ จ ตลาดและลู ก ค้ า เข้ า ใจ พฤติกรรมและความต้องการของกลุ่มลูกค้า เป้าหมายได้อย่างแท้จริงด้วย สามารถกาหนด รูปแบบและขนาดของธุรกิจได้อย่างเหมาะสม สามารถน าข้อมูล ด้านลู กค้ ามาแปรเป็นการ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ สามารถออกแบบ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การขายตามโอกาสและ เทศกาลสาคัญตามกลุ่มเป้าหมาย และนาไปสู่ การสร้างความประทับใจและสร้างโอกาสใน การซื้อซ้า

ประเภทของสินค้าแฟชั่น 1. High Fashion เป็นสินค้านาสมัยและมีราคา สู ง และเป็ น ระยะเริ่ ม ต้ น ของวงจรธุ ร กิ จ แฟชั่น สินค้า High Fashion เป็นสินค้าที่ สะดุดตาแก่ลูกค้าทั่วไปเมื่อนาโฆษณาหรือ นามาโชว์หน้าร้าน 2. Model Style สิ น ค้ า เป็ น ที่ นิ ย มปานกลาง ต้องการเข้ากับสังคมนั้นหรืออย่างน้อยเพื่อ ความต้ อ งการในแง่ ข องสิ น ค้ า แปลกใหม่

หรือต้องการเปลี่ยนสินค้าบ่อยๆ 3. Basic Style เป็นสินค้าแบบนิยมอาจจะเป็น ที่ยอมรับทั่วไป มีอายุสินค้ายาวนานกว่า โดยทั่วไปสินค้ าประเภท Basic Style จะมี ยอดขายสูงกว่าสินค้าประเภท High Fashion และ Model Style เนื่ อ งจากสิ น ค้ า High Fashion เป็นสินค้าที่กระตุ้นความสนใจมากกว่า กระตุ้นการซื้อสินค้า สินค้า High Fashion จะ เป็นสินค้าที่ดูดเปรี้ยวและเด่นเกินไป ลูกค้าส่วน ใหญ่จึงนิยมสินค้า Basic Style ที่ดูดี เรียบหรู ดู ดีและสามารถใช้งานได้บ่อยครั้ง มากกว่าสินค้า ที่มีลักษณะเด่นและหวือหวา

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

(ที่มา: http://www.marketeer.co.th/)

2-4


ประเภทของกระเป๋าแบบต่าง ๆ 1. Backpack (แบ๊คแพ๊ค) หรือกระเป๋าเป้ คือ กระเป๋าที่มีสายสะพาย 2 สาย นิยมเอาไว้สะพายบ่าทั้ง 2 ข้าง 2. Baguette กระเป๋าทรงนี้มีลักษณะโดดเด่นคือ ดูแล้วเป็นสีเหลี่ยมพื้นผ้าแนวนอน นิยมผลิตออกมาเป็นกระเป๋าถือ ขนาดเล็ก – ขนาดกลาง 3. Bowler Bag หรือ Bowling Bag กระเป๋าทรงนี้มีลักษณะเป็นเหมือนวงรี คลาย ๆ กระเป๋าใส่ลูกโบลิ่ง 4. Box Bag ตัวกระเป๋าจะมีเนื้อแข็ง สามารถทาออกมาได้หลายทรงไม่ว่าจะเป็นทรงเหลี่ยมหรือกลม นิยมทาออกมาในขนาดเล็ก – ขนาดกลาง 5. Briefcase ลักษณะเหมือนกระเป๋าหนังสือ อาจจะมีสายสะพายเพื่อเพิ่มความสะดวก 6. Bucket Bag ทรงถังน้าหรือตะกร้าทรงกระบอก หรือทรงเหลี่ยมสูง ด้านบนจะมีสายจับ 1 เส้น นิยมทาออกมาให้มีขนาดเล็ก – ขนาดกลาง 7. Change Purse กระเป๋าใส่เหรียญนี่เองคะ มีหลากหลายดีไชน์ นิยมทาออกมาให้มีขนาดเล็ก 8. Clutch Bag กระเป๋าทรงนี้มีลักษณะ เป็นสีเหลี่ยมผืนผ้าแนวนอน ไม่มีสาย หรือที่จับ เวลาใช้จะถือหรือหนีบไว้ที่รักแร้ สามารถ ใช้ได้ทั้งงานกลางวันและกลางคืน 9. Cosmetic Case Bag รูปทรงคล้ายๆ Box bag นิยมทาใช้ใส่เครื่องสาอาง 10. Demi Handbag ทรงนี้ก็นิยมในหมู่สาวๆ มาก คือ กระเป๋าที่มีสายสะพายหรือหูหิ้ว แต่จะไม่ยาวมาก แค่พอสามารถคล้องไหล่ได้ 11. Doctor’s Bag หรือ Gladstone Bag กระเป๋าทรงนี้ผู้เขียนปลื้มมากเป็นพิเศษ ถูกออกแบบมาให้มีคล้ายๆ กระเป๋าคุณหมอ มีหู จับสาหรับถือ 2 อัน ที่ปิด-เปิดจะอยูด่ ้านบนง่ายต่อการหาของ และกระเป๋าแบบนี้ก็สามารถใส่ของได้เยอะมาก 12. Drawstring Bag กระเป๋าทรงใดๆ ก็ตามที่มีสายรูด เพื่อไว้ปิด-เปิด 13. Duffle Bag กระเป๋าทรงกระบอกแนวนอน จะคุ้นตากันในลักษณะกระเป๋าที่ใช้ใส่ของเดินทาง กระเป๋านักกีฬาที่มีขนาดใหญ่ แต่ ปัจจุบันมีการออกแบบเพื่อเป็นกระเป๋าสาหรับถือ 14. Fanny Bag หรือ Hip/Waist Bag หรือคุ้นกันที่เรียกว่า กระเป๋าคาดเอว มีหลายแบบ หลายดีไซน์ 15. Flap Bag (Fold Over Lap Bag) กระเป๋าที่มีส่วนที่ปิด-เปิด แยกออกมาจากตัวกระเป๋า ลักษณะนี้สามารถนาไปผสมผสานกับ กระเป๋าแบบอื่นได้ด้วย 16. Hobo Bag กระเป๋าทรงพระจันทร์เสี้ยว เนื้อกระเป๋าจะดูห่อๆ แฟบๆ นิยมออกแบบเป็นกระเป๋าสะพายขนาดกลาง 17. Kelly Bag กระเป๋าทรงนี้เห็นบ่อยมากในหมู่ดาราไทย แต่ที่เห็นเป็นประจา เป็นเอกลักษณ์เลย คือ Hermes กระเป๋าทรง สามเหลี่ยม มีหูจับด้านบน 1 อัน ส่วนที่ปิด–เปิด 18. Messenger Bag ทรงนี้ออกแบบมาเพื่องานของพนักงานส่งเอกสาร ใช้ส่งจดหมาย หรือหนังสือพิมพ์ มีสายสะพายค่อนข้างยาว นิยมสะพายขวางลาตัว มีที่ปิด-เปิด กระเป๋าด้านบน นิยมทาออกมาในขนาดกลาง 19. Pocket Book กระเป๋าทรงแบน พับได้ มีช่องใส่เงิน และบัตรต่างๆ ได้ 20. Pouchette กระเป๋าถือขนาดเล็ก 21. Quilted Bag กระเป๋าที่ทาวัสดุเนื้อนิ่ม มีเอกลักษณ์โดดเด่น คือ จะมีการเย็บเป็นลายตาข่าย 22. Satchel Bag กระเป๋าถือทรงสี่เหลี่ยมคางหมู หรือสามเหลี่ยม นิยมดีไซน์ออกมาให้มีขนาดกลาง 23. Shoulder Bag กระเป๋าทรงนิยม สะพายบ่า ไม่ว่ายี่ห้อไหนก็นิยม 24. Signature Bag กระเป๋าที่ผลิตขึ้นมาดูแล้วเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละแบรนด์ คือ เห็นลวดลาย สีสันของผ้า หรือวัสดุที่ผลิตแล้วจะ ทราบเลยว่าเป็นของยี่ห้อไหน เช่น Paul Smith 25. Top Handle Bag กระเป๋าที่มีจับอยู่ด้านบน สามารถออกแบบให้ผสมผสานกับกระเป๋าแบบอื่น หรือทรงอื่นได้ด้วย 26. Tote Bag กระเป๋าทรงนี้นิยมใช้เวลาใส่ของไปเดินเล่นหรือช้อปปิ้ง มีหูจับด้านบน 2 อัน เช่น ยี่ห้อ Harrods 27. Wallet กระเป๋าใส่เงิน นามบัตร 28. Wristlet คล้ายกระเป๋าสตางค์ แต่มีสายคล้องข้อมือ (สืบค้นออนไลน์ www.vezenza.com ) ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-5


 ารเริ่มต้นธุรกิจ การเริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ ใหม่ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง ปั จ จั ย ที่ ส าคั ญ หลาย ประการ เพื่ อให้ ผู้ ป ระกอบการสามารถเห็ น ภาพรวมและ ความสัมพัน ธ์ขององค์ป ระกอบต่างๆ การจาลองภาพของ การดาเนินธุรกิจเป็นแนวคิดที่ช่วยให้ผู้ประกอบการเห็นภาพ การดาเนินธุรกิจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น Business Model Canvas1 เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ช่ ว ยให้ ผู้ ป ระกอบการสามารถเข้ า ใจถึ ง แบบจ าลองธุ ร กิ จ ที่ ช่ ว ยให้ ผู้ ป ระกอบการเห็ น ภาพ ความสั ม พั น ธ์ ข องกิ จ กรรมหลั ก ในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ผู้ประกอบการสามารถดาเนินการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด ของกิจกรรมพร้อมทั้งใช้เป็นเครื่องมือในการระดมสมองเพื่อ ปรับปรุงองค์ประกอบด้านต่างๆ ในการดาเนินธุรกิจ2

วงจรการผลิตสินค้าแฟชั่น 1. การออกแบบ (Design) การพัฒนารูปแบบ สิ น ค้ า หรื อ คอลเล็ ค ชั่ น การท าแบบหรื อ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ 2. การรวบรวมข้อมูล (Sourcing) ประมาณ การต้นทุนการผลิต จัดหาวัตถุดิบ กาหนด ขนาดและปริมาณการผลิต เป็นต้น 3. การเตรียมการผลิต (Pre-production) การ ทดสอบและรั บ รองเกี่ ย วกั บ วั ต ถุ ดิ บ วั ส ดุ ประกอบ การตกแต่ง ป้ายสินค้า/ราคา การ ทาแบบตัดเพื่อใช้ในการผลิตจริง 4. การผลิต (Production) เข้าสู่กระบวนการ ผลิต ตัด เย็บ ประกอบและตกแต่งชิ้นส่วน เพื่อให้ได้ตัวสินค้าที่พร้อมจาหน่าย 5. การกระจายสินค้า (Distribution) การขนส่ง การกระจายสินค้าไปยังจุดต่างๆ 6. กา ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ต ล า ด แ ล ะ ก า ร ข า ย (Promotion and Sale) การจัดแสดงหรือ ต กแ ต่ งร้ า น ค้ า กา ร โ ฆ ษณ า แ นะ น า ผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาด และการทบทวน การสั่งซื้อสินค้า 7. การประเมินผล (Evaluation) วิเคราะห์การ จาหน่ายในฤดูกาลที่ผ่านมา วิเคราะห์การ ยอมรั บ ของลู ก ค้ า เพื่ อ วิ เ คราะห์ แ นวโน้ ม ผลิตภัณฑ์ในฤดูการต่อไป

1. กลุ่มลูกค้า (Customer Segments) เนื่องจากตลาดแฟชั่นกระเป๋าและรองเท้าเป็น ตลาดขนาดใหญ่ โดยส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มผู้บริโภคที่ชื่นชอบ สินค้าแฟชั่นตามสมัยนิยม มีเอกลักษณ์และมีรสนิยมในการ แต่งตัวที่บ่งบอกคาแรคเตอร์ของตนเองได้อย่างชัดเจน เป็น กลุ่ ม ที่ มี พ ฤติ ก รรมในการเสาะแสวงหาสิ น ค้ า ที่ ส ามารถ ตอบสนองความต้องการของตนเองได้อย่างถึงที่สุด (ใช้ความ พยายามในการค้นหาสินค้าที่เหมาะสมกับตนเอง) ภายใต้ งบประมาณและขีดความสามารถในการเลือกสินค้าของแต่ ล ะ ค น ดั ง นั้ น ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จ า เ ป็ น ต้ อ ง ก า ห น ด กลุ่มเป้าหมายหรือผู้ซื้อสินค้าของธุรกิจ ตนเองให้ชัดเจนก่อน (ที่มา: Brown and Rice 2000:76) เริ่มดาเนินธุรกิจหรือผลิตสินค้า เช่น  กลุ่มลูกค้าอัลตร้าไฮเอนด์ (Ultra High-End) คือ กลุ่มผู้บริโภคฐานะดี ที่มีรายได้และมี อานาจการซื้อสูง กลุ่มลูกค้าที่ ชื่นชอบสินค้าแฟชั่น และราคาสินค้าไม่ใช่ปัจจัยสาคัญในการ 1 2

Osterwalder, A. and Pigner, Y. (2010), Business Model Generation, John Wiley and Sons. www.businessmodelgeneration.com.

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-6


เลือกซื้อสินค้าสาหรับกลุ่มลูกค้าระดับนี้ เช่น กลุ่มนักธุรกิจ ผู้บริหารระดับสูง ซึ่งลูกค้ากลุ่มนี้ มีความต้องการกระเป๋าและรองเท้าคุณภาพดี หรูหราและสามารถบ่งบอกถึงฐานะของตนเอง ได้ โดยส่ ว นใหญ่ลู ก ค้ากลุ่ มนี้ มักให้ ความส าคัญกั บการเลื อ กใช้ สิ นค้ าแบรนด์เ นมหรูจาก ต่างประเทศ หากเป็นสินค้าแบรนด์ไทยสินค้านั้นๆ ต้องเป็นสินค้าระดับ อัลตร้าไฮเอนที่บ่ง บอกถึงรสนิยม ฐานะทางครอบครัวและสังคมที่โดดเด่นได้อย่างชัดเจน  กลุ่มลูกค้าแฟชั่นไฮเอนด์ (High-End Fashion) คือ กลุ่ ม ลู ก ค้า ที่ชื่ น ชอบสิ น ค้า แฟชั่น เป็น กลุ่ มที่ มี รายได้ สูง มี ฐ านะทางการเงินดี มีกาลั งซื้อสู ง กลุ่ ม ลู ก ค้ า ระดั บ นี้ มั ก จะเปรี ย บเที ย บระหว่ า งราคากั บ คุณภาพ เนื่ องจากมีโ อกาสในการเลื อกซื้อสิ นค้าที่ ดีกว่าและถูกใจกว่าแม้สินค้านั้นๆ จะมีราคาสูงกว่า ลู ก ค้ า กลุ่ ม นี้ มี ค วามต้ อ งการสิ น ค้ า ดี มี คุ ณ ภาพ ทันสมัย นาแฟชั่นและเหมาะสมกับราคา โดยสินค้า นั้นๆ ต้องบ่งบอกถึงรสนิยมและฐานะทางสังคมของ กลุ่มลูกค้าได้  กลุ่มลูกค้าแฟชั่นแบรนด์ (Fashion Brand) คือ กลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ ชื่ น ชอบสิ น ค้ า แฟชั่ น กลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ มี รายได้สูงถึงปานกลาง มีอานาจการปานกลางถึงสูง ต้องการสินค้าดีมีคุณภาพ มีเอกลักษณ์และบ่งบอก ถึงไลฟ์สไตล์ของตนเอง ชอบสินค้าเรียบหรูและดูดี และมีรสนิยม  กลุ่มลูกค้าสตรีทแฟชั่น (Street Fashion) คือ กลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา และกลุ่ ม วั ย ทางานที่พึ่งจะเริ่มต้นทางานใหม่ๆ กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่ม ที่ให้ความสาคัญกับสินค้าแฟชั่นมากที่สุด สนใจและ เสาะแสวงหาสินค้าที่ใหม่ที่กาลังเป็นที่นิยม ติดตาม ข่าวสารแฟชั่น และมีความถี่ในการซื้อสินค้าแฟชั่น สูงกว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้น สินค้าแฟชั่นของกลุ่มลูกค้า ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-7


วัยรุ่นจะเป็นสินค้าที่มีราคาไม่สูงมากนัก มีความถี่ในการซื้อสูงตามกระแสนิยม  กลุ่มนักท่องเที่ยว (Tourist) คือ กลุ่มลูกค้าที่เป็น นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ มักเป็น การเลื อ กซื้อ สิ น ค้ า เพื่อเป็นของที่ ระลึ ก หรื อของ ฝากที่ แ สดงถึ ง อั ต ลั ก ษณ์ แ ละเอกลั ก ษณ์ ข อง ประเทศไทยหรื อประเทศที่ เดิน ทางมาท่องเที่ย ว การดี ไ ซน์ เ น้ น ความสวยงามและมี อั ต ลั ก ษณ์ ที่ ผสมผสานระหว่ า งแฟชั่ น กั บ ความไทย โดยส่ ว น ใหญ่จ ะเป็ น สิ น ค้าที่จ าหน่ ายในแหล่ งท่องเที่ยวที่ สาคัญๆ  กลุ่มตลาดเฉพาะกลุ่ม (Niche Market) เป็นกลุ่มที่มีความประพฤติ รสนิยม ความชอบ

ไลฟ์สไตล์หรือเป้าหมายการใช้สอยสินค้าอย่างชัดเจน เช่น - กลุ่มคนรักไอที ให้ความสาคัญกับกระเป๋า ถนอมและป้ อ งกั น ความเสี ย หายให้ กั บ อุปกรณ์ไอที - กลุ่มคนงานฝีมือ ให้ความสาคัญกระเป๋าที่ ทาจากงาน Handmade ประเภทต่างๆ เช่น กระเป๋าถักหรือกระเป๋าผ้าต่อ เป็นต้น - กลุ่มคนรักสิ่งแวดล้อม ให้ความสาคัญกับ กระเป๋าและรองเท้าที่ช่วยลดปัญหาให้กับ สิ่งแวดล้อม เช่น กระเป๋าผ้าหรือกระเป๋าที่ผลิตจากวัสดุรีไซเคิล เป็นต้น - กลุ่มคนรักสัตว์เลี้ยง ต้องการกระเป๋าที่สามารถพาสัตว์เลี้ยงไปด้วยได้ทุกที่ โดยที่สัตว์ เลี้ยงไม่อึดอัด เป็นต้น - กลุ่มรักสุขภาพ ต้องการรองเท้าที่ช่วยดูแลสุขภาพเท้า รองรับน้าหนักและสรีระของผู้ สวมใส่ได้ดี 2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) คุณค่าที่นาเสนอ หมายถึง จุ ดขายของสินค้าและบริการที่ จะทาให้ลูกค้ากลับมาซื้อผลิตภัณฑ์ อย่างต่อเนื่อง การสร้างจุดขายต้องมาจากความเข้าใจความต้องการของลูกค้าเป้าหมายและจุดแข็งของ ผู้ประกอบการที่สามารถนาไปใช้ในธุรกิจได้ อาทิเช่น ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-8


 ราคาที่เหมาะสมกับรูปแบบและคุณภาพของกระเป๋า ไม่ตั้งราคาสูงเกินไปหรือตั้งราคาที่เอา เปรียบผู้บริโภคมากเกินไป  สินค้าดีมีคุณภาพและมีเอกลักษณ์เฉพาะแบรนด์ ที่บ่งบอกถึงตัวตนของกลุ่มลูกค้า  การรับประกันสินค้าและความพึงพอใจ จากการสร้างความเชื่อมั่นในการใช้สินค้าว่าลูกค้าจะ ได้ใช้สินค้าดี มีการรับประกันคุณภาพของสินค้าหรือรับเปลี่ยนสินค้าให้ใหม่หากพบ ข้อผิดพลาดจากการผลิตหรือคุณภาพของวัสดุ  การให้บริการ ให้คาแนะนาและให้ความช่วยเหลือลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าได้รับสินค้าที่ดีที่สุด ให้ คาแนะนาและคัดเลือกกระเป๋าที่เหมาะสมกับไลฟ์สไตล์และการใช้งานของลูกค้าอย่างจริงใจ 3. ช่องทาง (Channels) ช่องทาง หมายถึง แนวทางและวิธีการที่ผู้ประกอบการใช้ในการสื่อสารและสร้างความเข้าใจถึง คุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการที่ผู้ประกอบการต้องการนาเสนอให้กับลูกค้า ซึ่งประกอบไปด้วยการสื่อสาร การกระจายสินค้า ช่องทางการจัดจาหน่ายและการจัดแสดงสินค้า เพื่อให้ลูกค้าได้มีปฏิสัมพันธ์กับสินค้าและ บริการของผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นช่วงสาคัญที่ช่วยสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้าที่มีต่อสินค้าและบริการ โดย อาศัยช่องทางต่างๆ ดังนี้  ร้านค้า/หน้าร้านของตนเอง (Shop) การเลือกทาเลที่ตั้งร้านค้าเป็นปั จจัยสาคัญที่ส่งผล ต่อยอดขายและรายได้ของธุรกิจ และการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้อย่างตรงกลุ่มและ เหมาะสมกับ สิ น ค้า ผู้ ประกอบการควรเลื อกทาเลที่เป็นแหล่งช้อปปิ้งของกลุ่ มลู กค้า เป้าหมาย เช่น สยามเซ็นเตอร์ เอเชียทิค ตลาดนัดจตุจักร หรือแหล่งช้ อปปิ้งมอลล์ต่างๆ เป็นต้น  เว็บไซต์หรือสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็นสื่อที่เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและ

สามารถเข้าถึงได้ในวงกว้างและมีต้นทุนต่า  เครือข่ายธุรกิจในรูปแบบของการขายฝาก เป็นการวางขายสินค้าผ่านร้านค้าที่จาหน่าย

สินค้าแฟชั่นในกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน เช่น การฝากขายกระเป๋าแฟชั่นกับร้านขายเสื้อผ้า แฟชั่นของกลุ่มวัยรุ่น เป็นต้น  คู่ค้าทางธุรกิจ เช่น ห้างสรรพสินค้าหรือตัวแทนจาหน่าย 4. ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) การสร้างสายสัมพันธ์กับลูกค้า ทาให้ลูกค้ารู้สึกพึงพอใจกับสินค้าและบริก ารทั้งก่อนและหลังการ ขาย เพื่อก่อให้เกิดการซื้อซ้าหรือมีความจงรักภักดีต่อแบรนด์ของสินค้านั่นเอง การสร้างสายสัมพันธ์อันดีกับ ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-9


ลูกค้า ผู้ประกอบการสามารถเลือกใช้ช่องทางการสื่อสารได้หลากหลาย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับรูปแบบการดาเนินธุรกิจ ของผู้ประกอบการ เช่น  การอานวยความสะดวกในการเลือกซื้อสินค้า การให้บริการแนะนาสินค้าและรูปแบบ กระเป๋าที่เหมาะสมกับไลฟ์ส ไตล์และการใช้งานของลูกค้าผ่านช่องทางต่างๆ เช่น ให้ คาแนะนาตัวต่อตัวที่ร้านค้า/หน้าร้าน ให้คาแนะนาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ เป็นต้น  การสร้างความรู้สึกปลอดภัยให้กับลูก ค้า จากการสร้างความเชื่อมั่นในการใช้สินค้าว่า ลูกค้าจะได้ใช้สินค้าดี มีคุณภาพและเหมาะสมกับราคา เช่น การรับประกันการเปลี่ยน อะไหล่ที่ชารุดเสียหายภายในระยะเวลาที่กาหนด (3-5 ปีหรือตลอดอายุการใช้งาน) การ ให้บริการเปลี่ยนกระเป๋าใบใหม่ให้ เมื่อพบว่าคุณสมบัติบางประการที่ไม่เป็นไปตามคา ชี้แจงก่อนขาย เช่น กระเป๋าเคลือบน้ายาป้องกันน้าได้ หากลูกค้าซื้อนาไปใช้แล้วพบว่า เกิดข้อผิดพลาดกระเป๋าใบดังกล่าวซึ่งอาจเกิดจากความผิดพลาดจากการผลิตหรือเคลือบ น้ายา ไม่ส ามารถป้องกันน้าได้จริง ผู้ประกอบการจาเป็นต้องเปลี่ยนสิ นค้าใบใหม่ให้ ลูกค้าทันที  การบริการหลังการขาย การให้บริการแนะนาการใช้และการเก็บรักษาสินค้าที่เหมาะสม เพื่อยืดอายุการใช้งาน หรือเพื่อรักษาสภาพกระเป๋าให้มีคุณลักษณะหรือคงสภาพเดิม มากที่สุด เช่น การเก็บกระเป๋าควรเก็บในถุงผ้าแล้ววางในลักษณะตั้ง เพื่อรักษารูปทรง ของกระเป๋า หรือควรใช้น้ายาประเภทไหนเช็ดทาความสะอาด หรือให้บริการซักและทา ความสะอาดกระเป๋าฟรี 1 ครั้ง เป็นต้น  การสร้างชุมชนหรือเครือข่ายลูกค้า เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าและลูกค้า และ ลูกค้ากับเจ้าของกิจการ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ 5. รายได้ (Revenue Streams) รายได้หลักของผู้ประกอบการในธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า คือ  รายได้จากการจาหน่ายกระเป๋าและรองเท้า ทั้งรูปแบบการจาหน่ายสินค้าผ่านร้านค้า  การขายสินค้าออนไลน์ประเภทต่างๆ และการให้บริการออกแบบและตัดเย็บกระเป๋า รองเท้า

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-10


6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) ทรั พยากรหลั ก หมายถึ ง สิ น ทรัพย์ และเงินลงทุน ที่ส าคัญที่ ใช้ในการด าเนินธุรกิจ เช่น ที่ดิ น อาคาร อุปกรณ์ แรงงานคน เงินหมุนเวียนและทรัพย์สินทางปัญญา ฯลฯ ซึ่งทรัพยากรหลักนี้อาจมาจากการ เช่าซื้อหรือเป็นส่วนของเจ้าของ หรือ ได้จากคู่ค้าทางธุรกิจก็ได้ การระบุทรัพยากรหลัก ผู้ประกอบการต้องระบุ ให้ได้ว่าในการดาเนินธุรกิจตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ ผู้ประกอบการต้องใช้อะไรบ้าง อะไรที่ผู้ประกอบการมี อยู่แล้ว อะไรที่ไม่มี สิ่งที่ไม่มีมีความจาเป็นขนาดไหนในระยะเริ่มต้นธุรกิจ หากจาเป็นมาก เช่น ไม่มีโรงงาน ไม่ มีช่างช่วยตัดเย็บกระเป๋า ผู้ประกอบการก็ต้องหาสิ่งเหล่านี้ เพื่อให้ธุรกิจเดินต่ อได้ แต่ถ้าหากสิ่งไหนควรมี แต่ ยังไม่จาเป็นในระยะเริ่มต้น ผู้ประกอบการอาจชะลอการลงทุนในส่วนนั้นไว้ เพื่อให้ต้นทุนในการดาเนินธุรกิจไม่ สูงเกินไป ข้อแนะนาสาหรับทรัพยากรตั้งต้นที่ใช้ในการดาเนินธุรกิจ ดังนี้  สถานที่ตั้งหรือหน้าร้าน แม้ผู้ประกอบการจะ การเลือกสถานที่ตั้ง เลื อ กขายสิ น ค้ า ออนไลน์ แ ละมองว่ า ไม่ อาจมีหน้าร้านในย่านการค้า ประมาณ 10-30 จาเป็น ต้องมีหน้าร้าน แต่ก็จาเป็นจะต้องมี ตารางเมตร โดยแบ่งพื้นที่ครึ่งหนึ่งสาหรับแสดง พื้น ที่ในการทางานที่เป็ น สั ดส่ ว นเพื่อความ สินค้าติดต่อลูกค้า ส่วนอีกครึ่งหนึ่งใช้เก็บสต็อก สะดวก เช่ น ใช้ เ ป็ น สตู ดิ โ อการออกแบบ และเป็นที่นั่งทางาน กรณีพื้นที่ให้ย่านการค้ามี ทดลองท าต้ น แบบ เก็ บ สต็ อ กสิ น ค้ า วั ส ดุ จากัด หรือใช้วิธีฝากขายหรือ ขายออนไลน์ ก็ อุปกรณ์ ใช้พื้นที่บรรจุสินค้าเตรียมจัดส่งแก่ สามารถกั้นบริเวณบ้านให้เป็นสัดส่วน หรือหา สานักงานเช่า เป็นพื้นที่ในการทางานได้ ลู ก ค้ า ผู้ ป ระกอบการสามารถเลื อ กสถาน ที่ตั้งโดยคานึงถึงขนาดของธุรกิจ และกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งอัตราค่าใช้จ่ายขึ้นอยู่กับขนาด ทาเล ที่ตั้ง และเงื่อนไขการเช่าสถานที่ โดยเริ่มต้นธุรกิจขนาดเล็ก-กลางอาจมีพื้นฐานสาหรับสถาน ประกอบการประมาณ 30-60 ตารางเมตร  อุปกรณ์และเครื่องมือ สาหรับการออกแบบ เช่น อุปกรณ์เครื่องเขียน โต๊ะเขียนแบบ ปากกา เขียนแบบดิจิตอล จักรอุตสาหกรรมสาหรับทดลองเย็บสินค้าต้นแบบ ตัวอย่างวัสดุในการ ผลิตสินค้า เป็นต้น  วั ส ดุ แ ละวั ต ถุ ดิ บ มี ห ลายหลายชนิ ด ใน กรุงเทพมหานคร แหล่งที่สามารถหาซื้อแผ่น หนั ง ประเภทต่ า งๆ เครื่ อ งมื อ การตั ด เย็ บ และอุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งหนั ง ได้ แ ก่ ย่ า นถนน เจริญรัถ วงเวียนใหญ่และถนนเสือป่า ฯลฯ Mind by hand  พนักงาน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ จาหน่ายหูกระเป๋าแบบต่างๆ สายกระเป๋าและ - พนั ก งานประจ าส านัก งาน ท าหน้ า ที่ อุปกรณ์สาหรับทากระเป๋า เป็นผู้ช่วยในการดูแลหน้าร้าน หีบ ห่อ (ที่มา: http://www.mindbyhand.net) พั ส ดุ จั ด ส่ ง ของ จดบั น ทึ ก บั ญ ชี ฯลฯ ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-11


เพื่อให้เจ้าของกิจ การมีเวลาในการดูแลการออกแบบด้วย กรณีนี้ ห ากมีหุ้นส่วนช่ว ย ทางาน หรือมีสมาชิกในครอบครัวช่วยสนับสนุนก็จะประหยัดค่าจ้างในส่วนนี้ไป - พนักงานจ้างเหมา (Outsource) อาทิ ช่างฝีมือไม่ว่าจะเป็นช่างทาแพทเทิร์น ช่างตัดเย็ บ ซึ่งควรใช้ระบบจ้างเหมา เพื่ อ ไม่ ใ ห้ กิ จ การต้ อ งรั บ ภาระต้ น ทุ น ค่าแรงมากเกินไป การจ้างเหมาทาให้ BAG & LEATHER ส า ม า ร ถ ค า น ว ณ ต้ น ทุ น ต่ อ ชิ้ น ให้บริการผลิตและออกแบบ ทาแพทเทิร์น ตัด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ ง่ า ย แต่ มี ค วามเสี่ ย งใน และเย็บกระเป๋าหนังแท้และหนังเทียม (ที่มา:facebook.com/DesignAndOrderEveryKindBags) เรื่ อ งคุ ณ ภาพและระยะเวลาการส่ ง มอบที่เจ้าของกิจการต้องควบคุมดูแล 7. กิจกรรมหลัก (Key Activities) กิจ กรรมหลั ก หมายถึง กิจ กรรมที่ส าคัญของผู้ ประกอบการที่การดาเนินการเพื่อสร้างสรรค์ คุ ณ ค่ า ให้ กั บ ลู ก ค้ า เข้ า ถึ ง ตลาดและรั ก ษาความสั ม พั น ธ์ กั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ า เฉพาะ เพื่ อ สร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ผู้ประกอบการ ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรมหลัก ในธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้าดังตารางข้างล่างจะทาให้ เห็นกิจกรรมที่ต้องทา ความเร่งด่วน และการกระจายงาน ทาให้ทราบว่าต้องลงทุนอะไรบ้าง ใช้ทรัพยากร เท่าไหร่ มีขั้นตอนการทางานอย่างไรและใช้แรงงานกี่คน ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรมดังนี้ กิจกรรมการลงทุน

คาอธิบาย 1) การจัดตั้งสานักงานและ เพื่อใช้เป็นสถานที่ทางานออกแบบ และติดต่อลูกค้ากรณีไม่มีหน้าร้าน อาจจัดสรรพื้นที่ บางส่วนของบ้านใช้เป็นสานักงานได้เช่นกัน มีการซื้อเครื่องจักรอุปกรณ์ทดลองตัดเย็บ และ จัดซื้ออุปกรณ์ อุปกรณ์สานักงาน เช่น คอมพิวเตอร์ ปากกาดิจิตอลเขียนแบบ ปริ้นเตอร์ และจักรเย็บหนัง 2) การหาที่ตั้งโรงงานผลิต ในระยะแรกสามารถใช้ระบบจ้างผลิตได้ แต่ต้องทดลองติดต่อผู้รับจ้างผลิตหลายรายเพื่อหา รายที่คุยกันเข้าใจ หากมีการขยายธุรกิจภายหลังต้องคานึงถึงที่ตั้งโรงงานที่ใกล้แกล่งวัตถุดิบ ใกล้แหล่งช่างฝีมือ หรือใกล้ตลาดเพื่อความสะดวกในการขนส่ง เพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าและตาแหน่งที่ตั้งร้านค้า ทั้งนี้ผู้ประกอบการอาจเลือกใช้สื่อสังคม 3) การจัดทาเว็บไซต์ ออนไลน์ ซึ่งไม่เสียค่าใช้จ่ายและผู้ประกอบการสามารถทาด้วยตัวเองได้ง่าย แทนการทา เว็บไซต์ซึ่งมีค่าใช้จ่ายประจาปีได้ กิจกรรมด้านการผลิต

1) การออกแบบ

คาอธิบาย เป็ นจุ ด เริ่ ม ต้น ในการสร้า งตั ว ตนให้กั บแบรนด์ งานออกแบบที่ส ามารถขายได้ต้ อ งเน้ น น าเสนอจุ ด เด่ น หรื อ อั ต ลั ก ษณ์ ข องตนเอง การออกแบบที่ ดี ผู้ ป ระกอบการต้ อ งเข้ า ใจ คุณสมบัติของวัสดุที่นามาใช้ในการผลิตสินค้าด้วย และควรมีการทดลองตลาดก่อนขายจริง

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-12


กิจกรรมด้านการผลิต

2)

3)

4)

5)

คาอธิบาย เช่น สอบถามความเห็นลูกค้าเดิม /คนรอบข้าง เพื่อให้มั่นใจว่าการออกแบบในคอลเลคชั่น นั้นๆ ได้ส่งมอบคุณค่าที่ตรงใจกลุ่มตลาดเป้าหมาย ผู้ประกอบการสามารถทาเอง หรืออาศัย หุ้นส่วนที่มีความรู้ด้านการออกแบบ ผู้ป ระกอบการควรติ ด ต่อ หาวัต ถุดิ บเองในระยะแรก เพื่อ คัด กรองคุ ณภาพวัต ถุดิ บที่ ไ ด้ การจัดหาและขนส่ง มาตรฐานจากซัพพลายเออร์แหล่งต่างๆ และมีการตรวจสอบสต็อควัตถุดิบเป็ นประจา เมื่อ วัตถุดิบ มั่นใจแล้วจึงสามารถให้ซัพพลายเออร์เป็นผู้ส่งวัตถุดิบโดยตรงไปที่โรงงาน หรือให้พนักงาน เป็นผู้ขนส่ง แต่ไม่ควรวางใจให้โรงงานเป็นผู้จัดหาวัตถุดิบให้เพราะอาจเกิดปัญหาสินค้าไม่ได้ ตามสเปค หรือการลอกแบบสินค้าไปผลิตให้ผู้ประกอบการรายอื่นๆ ได้ สามารถจ้างเหมาผลิตได้ โดยทั่วไปผู้ประกอบการจะมีต้นแบบร่าง และ แบบจาลองสินค้า การทาแพทเทิร์น การขึ้นแบบ การตัดเย็บ (Mock up) ซึ่งอาจทาจากกระดาษ เพื่อสื่อสารทาความเข้าใจกับช่างทาแพทเทิร์นและช่าง ตัดเย็บ ทั้งนี้การแปลงแบบไปสู่สินค้าจริงต้องอาศัยช่างแพทเทิร์นที่ชานาญ โรงงานจะผลิต สินค้าตัวอย่างจากวัสดุจริงให้ก่อน 1 ชิ้นตามแพทเทิร์น ซึ่งผู้ประกอบการยังสามารถแก้ สินค้าตัวอย่างได้ จนมั่น ใจแล้วจึงสั่งผลิต ในการผลิตจะต้องตกลงรายละเอียดการผลิต สเปคสินค้ากับโรงงานให้ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรและภาพประกอบ (ถ้ามี) หากเกิดกรณี ผลิตไม่ตรงตามสเปค สามารถเรียกร้องให้โรงงานรับผิดชอบได้ การตรวจสอบคุณภาพ ควรมีการตรวจสอบคุณภาพทุกขั้นตอนการผลิตก่อนออกมาเป็นสินค้าสาเร็จรูป เพื่อป้องกัน ไม่ให้มีการผลิตผิดสเปค ทั้งนี้การตรวจสอบระหว่างขั้นตอนการผลิตไม่ใช่เรื่องง่ายในกรณี จ้างผลิต ผู้ประกอบการควรตกลงกับผูร้ ับจ้างผลิตตั้งแต่ต้น หรือหาผู้รับจ้างผลิตที่ยืดหยุ่นใน การทางาน สามารถหาแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีขายอยู่แล้ว หรือจ้างผลิตใหม่ตามที่ผู้ประกอบการออกแบบ การจัดหาบรรจุภณ ั ฑ์ เองก็ได้

กิจกรรมด้านการตลาด และสร้างแบรนด์ 1) การสร้างแบรนด์และ การตั้งราคา

คาอธิบาย

ผู้ป ระกอบการควรตั ด สิ นใจอย่ างระมัด ระวัง การตั้ งชื่อ แบรนด์ ค วรเป็ น ชื่อ ที่ ช่วยสร้ า ง ภาพลักษณ์ของสินค้า เรียกง่าย ส่วนการตั้งราคาต้องสอดคล้องกับตลาดเป้าหมายและ คุณภาพของสินค้าและบริการ 2) การหาที่ตั้งหน้าร้านและ ใช้การขายผ่านออนไลน์และระบบฝากขายก่อนในระยะแรก หากตัดสินใจมีหน้าร้านของ ตัวเอง ควรคานึงถึงปริ มาณการขายที่น่ าจะเกิ ดขึ้น กับ การลงทุนตกแต่ งหน้าร้ าน และ ตกแต่งสถานที่ ค่าใช้จ่ายประจาที่จะเกิดขึ้นในแต่ละเดือน เช่น ค่าเช่า ค่าน้าและค่าไฟ หากไม่มีหน้าร้าน อาจเปลี่ยนเป็นการฝากขายซึ่งจะเสียค่าคอมมิชชั่นประมาณร้อยละ 5-3 ของยอดขาย 3) ช่องทางการชาระเงิน กรณีการขายออนไลน์ ต้องหาช่องทางการชาระเงินที่ลูกสามารถไว้ใจได้ เช่น Payment Gateway, PayPal, Internet Banking หากเป็นการฝากขายต้องคานึงถึงระยะเวลาที่จะได้ เงินสดกลับเข้ามาในกิจการด้วย

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-13


กิจกรรมด้านการตลาด และสร้างแบรนด์ 4) กิจกรรมทางการตลาด และการขาย

คาอธิบาย การมีช่องทางการขายแบบออนไลน์ ผู้ประกอบการต้องพร้ อมตอบสนองข้อซักถามของ ลูกค้าด้วยความรวดเร็วและมีหลายช่องทางในการสื่อสาร การจัดแสดงสินค้า กิจกรรม พบปะลูกค้าทาให้ลูกค้ามีโอกาสได้เห็นสินค้าจริงและตัดสินใจซื้อง่ายขึ้น

กิจกรรมด้านการบริหาร คาอธิบาย จัดการ 1) การวางแผนการผลิต เป็นการวางแผนว่าจะผลิตสินค้าประเภทไหนบ้าง จานวนเท่าไหร่ และมีการคานวณวัตถุดิบ และการบริหารการ ที่ใช้ เพื่อให้สามารถจัดซื้อได้อย่างพอดีกับการผลิต นอกจากนั้นยังเป็นการวางแผนการผลิต สั่งซื้อและสารองวัตถุดิบ ว่าจะเริ่มสั่งซื้อวัตถุดิบและผลิตเมื่อไหร่ จึงจะทันกั บกาหนดการนาสินค้าออกสู่ตลาด เป็น การคิดย้อนจากปลายทางที่สินค้าออกสู่ตลาด ไปถึงการผลิตนั้นเอง 2) การบริหารหน่วยสินค้า มีการเก็บข้อมูลสถิติสินค้าที่ขายดีและสินค้าที่อยู่ในสต็อค รวมถึงวัตถุดิบและสินค้าระหว่าง และการจัดการสินค้าคง ผลิต เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถคานวณการผลิตและลดปริมาณสต็อคสินค้าได้ คลัง 3) การขนส่งสินค้า โดยทั่วไปมักใช้บริการไปรษณีย์ไทยในการขนส่ง กรณีส่งสินค้าจานวนมาก สามารถร้อง ขอให้รถขนพัสดุมารับสินค้าที่ร้านได้และผู้ประกอบการตามไปชาระเงินสานักงานไปรษณีย์ นั้นๆ 4) การทาบัญชีและยื่นภาษี สามารถให้พนักงานช่วยลงบันทึกรายการสินค้าที่ขายในแต่ละวันได้ โดยเจ้าของกิจการต้อง ตรวจสอบเสมอว่าควบคุมรายรับและรายจ่าย

8. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) คู่ค้าหลั กทางธุร กิจ หมายถึง เครือข่ายและคู่ค้าหลั กที่ส นับสนุนการดาเนินธุรกิจ ตามห่ ว งโซ่ อุปทาน ผู้ประกอบการต้องอาศัยคู่ค้าหลักทางธุรกิจด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น เพื่อลดความเสี่ยงจากการ ทางานที่ไม่ถนัด เพื่อจ้างผลิตลดภาระต้นทุนจากการผลิตเองทุกขั้นตอน เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บสินค้า และขนส่ ง หรื อ อาศั ย ทรั พ ยากรในการสนั บ สนุ น การด าเนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ ร่ ว มกั น ออกตลาด ซึ่ ง ลั ก ษณะ ความสัมพันธ์ของคู่ค้าหลั กทางธุร กิจอาจจะเป็นในรูปแบบของ การเป็นพันธมิตรกับธุรกิจที่สนับสนุ นการ ดาเนินธุรกิจตามห่วงโซ่อุปทาน การมีความร่วมมือกับคู่แข่ง เพื่อร่วมกันจัดแสดงสินค้าหรือแลกเปลี่ยนสินค้า การดาเนินธุรกิจร่วมกันเพื่อทาธุรกิจใหม่หรือการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและซัพพลายเออร์ เพื่อสร้าง ความมั่นใจด้านวัตถุดิบในการผลิต คู่ค้าหรือพันธมิตรทางธุรกิจที่สาคัญและผู้เริ่มธุรกิจควรมองหาไว้ อาทิ

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-14


 พั น ธมิ ต รในห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน เช่ น ร้ า น จ าหน่ ายวัต ถุดิ บ และวั ส ดุ อุป กรณ์ บริ ษั ท ขนส่ง นักทาแพทเทิร์น ช่างทาหุ่นต้นแบบ ช่างตัดเย็ บตกแต่ง โรงงานฟอกย้อมพิมพ์ ลายหนั ง โรงงานรับจ้างผลิต และโรงงาน บรรจุภัณฑ์ บริษัท แทนสิน จากัด  พันธมิตรที่ไม่ใช่คู่แข่ง แต่มีวิธีคิดหรือขาย บริการรับฟอกหนังและตัดเย็บหนังตามแบบและ สินค้าใกล้เคียงกัน เช่น ร้านขายเสื้อผ้า ร้าน ออเดอร์ ขายปลี ก -ส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องบริ ษั ท รองเท้า ร้านเครื่องประดับแฟชั่น ร้านขาย (กระเป๋าหนังจระเข้,งู,นกกระจอกเทศและอื่นๆ) ของที่ระลึก ห้องเสื้อ และร้านเครื่องสาอาง บริษัทแทนสิน สามารถออกเอกสารของราชการ เพื่อใช้ในการเคลื่อนย้ายซากสัตว์และยืนยันว่า เป็นต้น สินค้าทุกชื้นถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อลูกค้าร้อง  คู่แข่งที่ใช้กลยุ ทธ์ร่ ว มกัน บ่อยๆ เช่น การ ขอหรือต้องการ ออกร้านร่วมกับแบรนด์กระเป๋าและรองเท้า (ที่มา www.tansin-store.com) อื่นๆ  พันธมิตรที่รวมกันทาให้เกิดธุรกิจใหม่ เช่น ธุรกิจกระเป๋าแฟชั่นกับผ้าทอมือ ธุรกิจรองเท้า ผ้าขาวม้า ธุรกิจกระเป๋าของที่ระลึกกับธุรกิจท่องเที่ยวโรงแรมและสปา เป็นต้น 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) โครงสร้างต้นทุนหมายถึง ต้นทุนที่เกิดระหว่างการดาเนินธุรกิจ ประกอบไปด้วยต้นทุนที่สาคัญ 2 ส่วนคือ เงินลงทุนในการจัดตั้งกิจการ (Investment) และเงินทุนในการดาเนินธุรกิจ (Operating cost)  เงินลงทุนในทรัพย์สินถาวร คือ เงินทุนที่ลงไปเพื่อจัดตั้งกิจการ เช่น ที่ดิน เครื่องจักร และ อุปกรณ์สานักงานที่ใช้เพื่อเริ่มต้นธุรกิจ  เงินทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน คือ ต้นทุนในการผลิตและส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้า ใช้เป็น แนวทางในการคิดเรื่องกาไร-ขาดทุน ต้นทุนในส่วนนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ - ต้นทุนคงที่ หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นประจาในกิจการไม่ว่าจะเกิดกิจกรรมการผลิตขึ้น หรือไม่ก็ตาม เช่น ค่าเช่า ค่าเช่าหน้าร้านและค่าเช่าโกดังสินค้า เป็นต้น - ต้ น ทุน ผัน แปร หมายถึง ต้น ทุนที่เกิด ขึ้น โดยมี ค่าผั นแปรไปตามยอดขายสิ นค้าหรื อ บริการ เช่น ค่าจ้างผลิตต่อชิ้นงาน ค่าวัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น กรณีลงทุนน้อยที่สุด คือ การจ้างผลิตที่ไม่มีหน้าร้านและไม่มีผู้ช่วย โดยใช้พื้นที่บ้านเป็นออฟฟิศ และขายผ่าน สื่อสังคมออนไลน์ ใช้เงินลงทุนที่ประมาณ 150,000-200,000 บาท หากมีร้านค้า มีผู้ช่วยและทาเว็บไซต์ อาจ ใช้เงินลงทุนประมาณ 240,000–500,000 บาท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับขนาดธุรกิจ ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-15


ตัวอย่างโครงสร้างการลงทุน ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า (แบบมีหน้าร้าน) ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า

ต้นทุนคงที่

ต้นทุนผันแปร

หมายเหตุ: ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการในระยะเริ่มต้น การลงทุน

คาอธิบาย

ค่าใช้จ่าย

ประมาณการจากการซื้ อ อุ ปกรณ์ ไปจนถึ ง การจ้ า งออกแบบติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ส าเร็ จ ส าหรั บ พื้ น ที่ ใ ช้ ส อยขั้ น ต่ าประมาณ 15 ตารางเมตร มีต้นทุนค่าตกแต่งขั้นต่าตาราง เมตรละประมาณ 5,000 บาท หากพื้นที่ใช้ สอยเกิน 30 ตารางเมตรค่าตกแต่งเริ่มต้ น ประมาณ 500,000 บาท ความแตกต่างของ

45,000500,000 บาท

มี ไม่มี หน้าร้าน หน้าร้าน

สินทรัพย์ถาวร ค่าออกแบบ ตกแต่งหน้าร้าน/ รวมอุปกรณ์ชั้นวางในร้าน

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-16


การลงทุน

ค่าเช่าสานักงาน

ค่าอุปกรณ์สานักงาน

ค่าจัดทาเว็บไซต์ และค่าเช่า โดเมนต่อปี

คาอธิบาย ราคาขึ้ น อยู่ รู ป แบบการตกแต่ ง และการ เลือกใช้วัสดุตกแต่ง สาหรับการทางานออกแบบ การบรรจุสินค้า และเก็บวัตถุดิบตลอดจนสินค้าคงคลัง อาจ แบ่งพื้นที่บางส่วนในบ้านมาใช้ หรือเช่าห้อง คอนโดขนาดเล็ ก เพื่ อ ความสะดวกในการ ทางาน โต๊ ะ ท างาน อุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ กล้ อ ง ถ่ายรูป โทรศัพท์มือถือ External Hard Disk ปากกาดิจิต อลวาดแบบ ปริ้นเตอร์ หมึ ก กระดาษ จั ก รอุ ต สาหกรรมและ อุปกรณ์ทาโมเดล เป็นต้น ประเมินราคาจากเว็บไซต์สาเร็จรูปพร้อมจด ทะเบียน Domain สาหรับ E-Commerce ราคาแตกต่างกันตามแพ็ กเกจและการจ้าง ตกแต่งเพิ่มเติม

ค่าใช้จ่าย

มี ไม่มี หน้าร้าน หน้าร้าน

0-8,000 บาท

40,000100,000 บาท

0-5,000 บาท

15,000 บาท/เดือน 6,000-13,000 บาท/เดือน 4,000-6,000 บาท/เดือน 50,000100,000 บาท/ เดือน

สินทรัพย์หมุนเวียน ค่าจ้างพนักงานประจา

ประมาณการจากอัตราการแรงขั้นต่า วุฒิปริญญาตรี จานวน 1 คน ค่าเช่าที่หน้าร้าน ประมาณการจากพื้นที่ 15-20 ตร.ม. ในย่าน ธุรกิจแฟชั่นและห้างสรรพสินค้ากรุงเทพ ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าอินเตอร์เน็ต ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม ค่าโทรศัพท์ ค่าสินค้า ขึ้ น อยู่ กั บ ประเภทความหลากหลายของ สินค้าและคุณภาพของวัตถุดิบ สินค้าชิ้นเล็ก หรือคุณภาพทั่วไปลงทุน ประมาณ 50,000 บาท แต่กระเป๋าและรองเท้าคุณภาพดีลงทุน ขั้นต่า 100,000 บาท ค่าบรรจุภัณฑ์และวัสดุ ได้ แก่ วัส ดุหี บห่ อ ซองพลาสติ ก ถุง ช้อ ปปิ้ ง สิ้นเปลือง ถุงผ้าหุ้มกระเป๋า/รองเท้า กล่องบรรจุภัณฑ์ ป้ายห้อยสินค้า วัสดุตกแต่งและวัสดุใช้สอย อื่นๆ ค่าน้ามัน/ค่าขนส่ง ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

 

3,000-10,000 บาท/เดือน

4,000-10,000 บาท/เดือน

2-17


การลงทุน

คาอธิบาย

ค่ากิจกรรมการตลาด

ขึ้นอยู่กับประเภทกิจกรรมและการตัดสินใจ ของผู้ประกอบการว่าจะทาเองหรือไม่ เช่น การถ่ ายแบบสิ นค้ าเอง เพื่ อลดต้ นทุ นหรื อ จ้างช่างกล้อง เพื่อให้ได้ภาพลักษณ์สินค้าที่ดี การรีวิวสินค้า การจัดกิจกรรมส่งเสริมการ ขาย และการซื้อพื้นที่โฆษณาบนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น หมายเหตุ: ประมาณจากผู้ประกอบการขนาดเล็กถึงกลาง

ค่าใช้จ่าย 3,000-10,000 บาท/เดือน

มี ไม่มี หน้าร้าน หน้าร้าน  

สาหรับผู้ประกอบการใหม่การหลีกเลี่ยงต้นทุนคงที่ ถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ช่วยลดภาระของธุรกิจลงได้ การใช้ ระบบจ้างเหมา (Outsource) สาหรับผู้เริ่มธุรกิจใหม่เป็นทางออกที่ดีในการลดต้นทุนจาพวกเงินเดือนประจา ของพนักงาน และตัดทอนงานที่ไม่ถนัดออกไป ทาให้ผู้ประกอบการสามารถทางานได้เร็วขึ้น คานวณต้นทุนต่อ ชิ้นของผลิตภัณฑ์ได้ง่ายขึ้น สะดวกในการคานวณหาจุดคุ้มทุน ในการดาเนินธุรกิจ ผู้ประกอบการต้องคานึงถึง จุดคุ้มทุน (Break-even Point) ซึ่งหมายถึง ระดับของรายได้ จากการขายสินค้าหรือบริการที่เท่ากับต้นทุนที่ธุรกิจได้จ่ายออกไป หรือจุดหรือระดับของรายได้ที่ธุรกิจ “เท่า ทุน” โดยส่วนที่เลยจุดหรือระดับของรายได้ดังกล่าวคือผลกาไรที่ ธุรกิจจะได้ ผู้ประกอบการจะรู้จุดคุ้มทุนเมื่อรู้ ว่าต้นทุนคงที่และผันแปรของกิจการเป็นเท่าไหร่ การคานวณจุดคุ้มทุนทาได้โดย (1) จุดคุ้มทุน (หน่วยขายที่คุ้มทุน) =

ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย

หรือ (2) จุดคุ้มทุน (ยอดขายที่คุ้มทุน) = หน่วยขายที่คุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย ตัวอย่างเช่น ธุรกิจขนาดเล็กแห่งหนึ่งผลิตกระเป๋า และรองเท้ามีค่าใช้จ่ายคงที่ในการดาเนินกิจการเดือนละ 100,000 บาท กระเป๋าและรองเท้าไว้ใบละ 500 บาท เป็นต้นทุนการผลิต ชิ้นละ 300 บาท ค่า Commission พนักงานขายใบละ 100 บาท เหลือกาไรสุทธิ 100 บาท ดังนั้น จานวนสินค้าที่ธุรกิจนี้ต้องขายให้ได้ในแต่ละ เดือน เพื่อให้ถึงจุดคุ้มทุนคือเดือนละ 1,000 ชิ้น ถ้าธุรกิจมีรายได้หรือจานวนสินค้าที่ขายได้น้อยกว่าระดับ จุดคุ้มทุน ธุรกิจจะประสบกับสภาวะขาดทุน การทราบถึงจุดคุ้มทุนของธุรกิจเป็นสิ่งสาคัญเพื่อให้กระบวนการ ในการวางแนวทางการเงิน และการวางแผนทางการตลาดเกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุด

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-18


ตั

 วอย่าง การวิเคราะห์ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า ตามกรอบแนวคิด Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships)  พันธมิตรในห่วงโซ่อุปทาน เช่น - ร้านจาหน่ายวัตถุดิบและวัสดุอุปกรณ์ - บริษัทขนส่ง/ธุรกิจจัดส่งสินค้า/ไปรษณีย์ - ช่างทาแพทเทิร์นและหุ่นต้นแบบ

-

ช่างผลิตและตัดเย็บตกแต่งรายย่อย โรงงานฟอกย้อมพิมพ์ลายหนัง โรงงานรับจ้างผลิต

โรงงานบรรจุภัณฑ์  ธุรกิจเกื้อหนุน เช่น ผู้ประกอบการเสื้อผ้าแฟชั่น เครื่องประดับ เครื่องสาอาง และสถานเสริมความ งาม เป็นต้น  ธุรกิจคู่ค้า เช่น โรงแรม บริษัทเอกชนและหน่วยงาน ราชการ เป็นต้น

กิจกรรมหลัก (Key Activities)  การออกแบบ  การจัดหาวัตถุดิบและแหล่งผลิต  การผลิตและตรวจสอบคุณภาพ  การบรรจุหีบห่อและการจัดเก็บ  การจัดจาหน่ายและการขนส่งสินค้า  การบริหารจัดการองค์กร ทรัพยากรหลัก (Key Resources)

 บุคลากร ได้แก่ นักออกแบบ (อย่างน้อย เจ้าของธุรกิจต้องมีความรู้) ผู้ช่วยเจ้าของ ร้าน (ช่วยงานจัดซื้อ ดูแลหน้าร้าน ช่วยงาน บัญชี ช่วยงานแพ็คของและจัดสต็อกดสินค้า เพื่อให้เจ้าของมีเวลาดูแลการออกแบบและ การหาตลาดมากยิ่งขึ้น)  เครื่องจักรและอุปกรณ์ ได้แก่ อุปกรณ์การ ออกแบบและอุปกรณ์ในการผลิตกระเป๋า เช่น อุปกรณ์การทาแพทเทิรน์ อุปกรณ์การ สร้างต้นแบบ  วัสดุสิ้นเปลือง ได้แก่ วัสดุตกแต่งกระเป๋า ต่างๆ เช่น ซิป ตะขอและตาไก่ เป็นต้น

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions)  ราคาสินค้าเหมาะสมกับ รูปแบบและคุณภาพ  สินค้าคุณภาพดีและมี เอกลักษณ์เฉพาะแบรนด์  การรับประกันสินค้าและ ความพึงพอใจ  การให้บริการ ให้คาแนะนา และให้ความช่วยเหลือลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าได้รับสินค้าที่ดี ที่สุด

โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure)  สินทรัพย์ถาวร ได้แก่ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องจักรในการผลิตกระเป๋า อุปกรณ์สานักงานและค่าจัดทาเว็บไซต์ เป็นต้น  สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ (1) ต้นทุนคงที่ต่อเดือน เช่น ค่าเช่าสานักงาน/สถานที่ ค่าบริการอินเตอร์เน็ต และเงินเดือนพนักงานประจา เป็นต้น และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ค่าวัสดุสิ้นเปลือง ค่าบริการจ้างเหมา ค่าบรรจุภัณฑ์ และค่าจัดส่งสินค้า เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships)  การอานวยความสะดวกในการเลือก ซื้อสินค้า  ความปลอดภัยในเก็บรักษาสินค้า  การบริการหลังการขาย  การสร้างชุมชน (Community) ช่องทาง (Channels)  ร้านค้า (Shop) ของตนเอง  เว็บไซต์และสื่อสังคมออนไลน์  การขายฝาก  คู่ค้าทางธุรกิจ เช่น ห้างสรรพสินค้า/ ตัวแทนจาหน่าย เป็นต้น

กลุ่มลูกค้า (Customer Segments)  ลูกค้าอัลตร้าไฮเอนด์ กาลังซื้อสูง ต้องการสินค้าดีมีคุณภาพ หรูหราและ บ่งบอกถึงฐานะครอบครัว การเงินและ สังคม  กลุ่มแฟชั่นไฮเอนด์ มีกาลังซื้อสูง ต้องการสินค้าที่บ่งบอกถึงไลฟ์สไตล์ และฐานะทางสังคม  กลุ่มแฟชั่นแบรนด์ ลูกค้าที่มีรายได้สูง มีอานาจซื้อปานกลาง ต้องการสินค้าดี มีคุณภาพ ราคามีผลต่อการตัดสินใจ นิยมบ่งบอกถึงไลฟ์ไสตล์หรือเอกลักษณ์ ของตนเอง  กลุ่มสตรีทแฟชั่น กลุ่มนักเรียนและวัย ทางานตอนต้น มีกาลังซื้อปานกลางถึง น้อย ให้ความสาคัญกับสินค้าแฟชั่น ติดตามข่าวสารแฟชั่น และมีความถี่ใน การซื้อสูง  กลุ่มนักท่องเที่ยว นิยมบริโภคสินค้า แฟชั่นที่บ่งบอกถึงความเป็นไทยหรือ สะท้อนถึงเอกลักษณ์ของแหล่ง ท่องเที่ยว

รายได้ (Revenue Streams)  รายได้จากการขายปลีกและขายส่ง

2-19


ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า ขนาดเล็ก (S) ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ทุนเริ่มกิจการน้อย อาจเริ่มต้นธุรกิจใน ลักษณะการ Pre-Order กระเป๋าและรองเท้าแบรนด์ตนเอง กล่าวคือ ผู้ประกอบการเป็นผู้ออกแบบดีไซน์ และมีแบรนด์ เป็ น ของตนเอง แต่ ใ นกระบวนการผลิ ต และขายกระเป๋ า รองเท้า จะเป็นการรอคาสั่งซื้อสินค้า เมื่อได้รับคาสั่งซื้อแล้ว จึงด าเนิ น การผลิ ต เพื่ อ ส่ งมอบสิ น ค้ า ให้กั บ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ลักษณะนี้จะไม่มีหน้าร้านหรือร้านค้า (Shop) ขายกระเป๋า และรองเท้า โดยมีกระบวนการทาธุรกิจ ดังนี้ 1. การตั้งชื่อแบรนด์กระเป๋าและรองเท้า 2. การบริหารจัดการ/การผลิตสินค้า

 ออกแบบกระเป๋า/รองเท้าที่มีเอกลักษณ์และ ดีไซน์เป็นของตนเองและองค์ประกอบต่างๆ ของ กระเป๋า เช่น วัตถุดิบ สี ขนาดและส่วนประกอบ ต่างๆ เช่น ซิป กระดุม หูกระเป๋าหรือสายสะพาย เป็น

 ติดต่อ/หาแหล่งผลิตกระเป๋าและรองเท้าตาม รูปแบบที่ได้กาหนดไว้

 ผลิตสินค้าต้นแบบ/สินค้าตัวอย่าง เพื่อนาสินค้า นัน้ ๆ มาขายผ่านเว็บไซด์หรือสื่อสังคมออนไลน์ 3. การตลาด โฆษณาและประชาสั ม พั น ธ์ โดยผ่ า น เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในรูปแบบเว็ บไซต์ของตนเอง หรือขายสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็นสื่อ ที่มีต้นทุนต่าและสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง รวดเร็ว และเป็นวงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณาผ่าน สื่ออินเทอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศซื้อขายฟรี (E-Classified)

ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า ขนาดกลาง (M) ผู้ ป ระกอบการรุ่ น ใหม่ ที่ มี ศั ก ยภาพทางด้ า นการเงิ น อาจ เริ่มต้นธุรกิจแบบมีร้านค้า (Shop) กล่าวคือ ผู้ประกอบการ เป็ น ผู้ อ อกแบบดี ไ ซน์ และมี แ บรนด์ เ ป็ น ของตนเอง แต่ ใ น กระบวนการผลิตและขายกระเป๋า รองเท้า จะใช้รูปแบบการ จ้างโรงงานผลิตกระเป๋าและรองเท้าเป็นผู้ผลิตสินค้าตามแบบ ที่ ไ ด้ อ อกแบบไว้ โดยติ ด แบรนด์ ก ระเป๋ า และรองเท้ า ของ ผู้ประกอบการ โดยมีกระบวนการทาธุรกิจ ดังนี้ 1. การตั้งชื่อแบรนด์กระเป๋าและรองเท้า 2. การบริหารจัดการ/การผลิตสินค้า

 ออกแบบกระเป๋าและรองเท้าที่มเี อกลักษณ์และ ดีไซน์เป็นของตนเองและองค์ประกอบต่างๆ ของ กระเป๋า เช่น วัตถุดิบ สี ขนาดและส่วนประกอบ ต่างๆ เช่น ซิป กระดุม หูกระเป๋าหรือสายสะพาย เป็น

 ติดต่อ/หาแหล่งผลิตกระเป๋าและรองเท้าตาม รูปแบบที่ได้กาหนดไว้

 ผลิตสินค้าต้นแบบ/สินค้าตัวอย่าง เพื่อนาสินค้า มาวางจาหน่ายในร้านค้าของตนเอง 4. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ โดยผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในรูปแบบเว็บไซต์ของตนเอง หรือขายสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็นสื่อ ที่มีต้นทุนต่าและสามารถเข้าถึงกลุม่ เป้าหมายได้อย่าง รวดเร็ว และเป็นวงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณาผ่านสื่อ อินเทอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศซื้อขายฟรี (E-Classified)

หมายเหตุ: แนวคิดและแนวทางในการเริม่ ต้นธุรกิจ สามารถปรับรูปแบบได้ตามศักยภาพด้านเงินทุนและขีดความสามารถใน การบริหารจัดการของผู้ประกอบการแต่ละท่าน


 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ แบรนด์กระเป๋า รองเท้า มีวิธีการที่สามารถทาได้อย่างหลากหลายจากใน รูปแบบที่แตกต่างกันไปตามแนวคิดของผู้ประกอบการแต่ละยุคสมัย ในคู่มือฉบับนี้จะขอนาเสนอวิธี การ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ ดังนี้ 1. การสร้างอัตลักษณ์ของแบรนด์ หาจุดการออกแบบที่มีอัตลักษณ์ ของตัวเอง ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์แบรนด์คณิตาที่ใช้ไอเดีย ขนมไทยเข้ามาผสมผสานในรูปทรงการออกแบบ หรือผลิตภัณฑ์แบรนด์บุษบาที่มีแนวคิดนาผ้าข้าวม้าไทย แท้มาออกแบบและผลิตเป็นกระเป๋าและรองเท้าในรูปแบบต่างๆ 2. บูรณาการบริการเพิ่มมูลค่า การเพิ่มงานบริการเข้าไปในสินค้า ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าได้ เช่น การให้ลูกค้าได้เข้ามามี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด เปิ ด ตั ว คอลเลคชั่ น ใหม่ เพื่ อ สร้า งความภู มิ ใ จให้ กั บ แบรนด์ สิ น ค้ า การจั ด กิ จ กรรม Workshop สาหรับให้ลูกค้าตกแต่งสินค้าด้วยตัวเอง เป็นต้น 3. การต่อยอดบริการสู่ B2B ธุ ร กิ จ แฟชั่ น ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งการขายสิ น ค้ า ให้ กั บ ผู้ บ ริ โ ภคปลายทางเท่ า นั้ น เนื่ อ งจากใน อุตสาหกรรมมีห่วงโซ่อุปทานหรือธุรกิจจาหน่ายสินค้าแฟชั่นที่มีความเชื่อมโยงกันเป็นจานวนมาก ยังมีงาน บริการอีกหลากหลายที่สามารถต่อยอดให้กับธุรกิจปัจจุบันได้ เช่น ที่ปรึกษาด้านการตกแต่งหน้าร้าน การ รับจ้างทาแพทเทิร์น การออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้กับบริษัทคู่ค้า และธุรกิจทาความสะอาดกระเป๋าและเครื่อง หนัง เป็นต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นงานระดับธุรกิจต่อธุรกิจที่ไม่ต้องการการลงทุนมากนัก

 ารขยายธุรกิจ..อีกระดับกับการพัฒนาธุรกิจ การขยายธุร กิ จ มีห ลากหลายวิ ธี ทั้ง ขยายอย่ างรวดเร็ ว และเป็น การเติ บ โตแบบก้ า วกระโดด เรี ย กว่ า Extensive Growth เช่น การเข้าไปซื้อกิจการของบริษัทคู่แข่งที่ทาธุรกิจใกล้เคียงกัน เพื่อเพิ่มกาลังผลิต ขยายตลาด และตัดกาลั งคู่แข่งสาคัญออกไป และมีวิธีการขยายธุรกิจอย่างช้าๆ แต่มั่นคงไปทีล ะขั้น ที่ เรียกว่า Intensive Growth อย่างไรก็ตาม ในธุรกิจแบรนด์กระเป๋าและรองเท้าผู้ประกอบการที่ต้องการ ขยายธุรกิจสามารถพัฒนาหรือขยายตัวไปสู่ธุรกิจในอนาคตได้โดยพัฒนาธุรกิจไปสู่ “ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า และรองเท้า” ที่ให้บริการออกแบบและดีไซน์กระเป๋า และรองเท้าเฉพาะรายบุคคล ตามบุคลิกลักษณะหรือ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-21


ไลฟ์สไตล์ของลูกค้า เพื่อตอบสนองความต้อ งการของกลุ่มลูกค้าที่ต้องการกระเป๋าที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ของตนเอง หรือเรียกได้ว่าเป็น “กระเป๋ารองเท้าคอลเลคชั่นส่วนตัว” หรือมีเพียงใบเดียวและคู่เดียวในโลก ภายใต้แบรนด์สินค้าของผู้ประกอบการเอง

ปั

 จจัยความสาเร็จในการทาธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5. องค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ ธุรกิจและการจ้างเหมา

1. ความคิดสร้างสรรค์

2. ความสามารถทางการตลาดในการ สร้าง Strategic Positioning

4.

การปรับตัวด้านการออกแบบให้ ทันกับตลาดสินค้าแฟชั่นอื่นๆ

3. องค์ความรู้ด้านการออกแบบและ ผลิตสินค้า

ปัจจัยแห่งความสาเร็จในธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้าประกอบด้วย 5 ปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. ความคิด สร้ า งสรรค์ ในการออกแบบสร้างอัตลั ก ษณ์ให้ แก่ผ ลิ ตภัณฑ์ บริการและแบรนด์ ความคิดสร้างสรรค์ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างความแตกต่างให้แก่ผลิตภัณฑ์ได้ ความคิด สร้างสรรค์จ ะช่วยเปิดทางให้ ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า และรองเท้า มีตาแหน่งของผลิตภัณฑ์ใน ตลาดที่ชัดเจน เช่น แบรนด์หรูหรา แบรนด์สปอร์ต (กีฬา) หรือแบรนด์วัยรุ่นสุดชิค (Chic) เป็นต้น การออกแบบสร้างสรรค์ที่ส ร้างอัตลั กษณ์ห รือตอบโจทย์การใช้งานเฉพาะ ช่วยให้ ผลิตภัณฑ์มีจุดขายที่ชัดเจน ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-22


2. ความสามารถทางการตลาดในการสร้าง Strategic Positioning ให้ตรงตามเป้าหมาย การสร้างตาแหน่งทางการแข่งขันในตลาด เริ่มต้นจากการหาส่วนตลาดที่มีศักยภาพ การเข้าใจ ลูกค้า การรู้ศักยภาพและการหาส่วนตลาดเฉพาะที่มีศักยภาพได้ หมายถึงธุรกิจนั้นเข้าใจลูกค้า ของตัวเองชัดเจน รู้แหล่งที่เข้าถึงลู กค้าและพฤติกรรมของลูกค้า สิ่งนี้จะส่งผลต่อ การส่งมอบ คุณค่าที่ลูกค้าต้องการ การสร้างตาแหน่ งทางการแข่งขันที่ชัดเจนแตกต่างจากคู่แข่ง ความถี่ และวิธีการสื่อสารให้ลูกค้าจดจาตัวตนของธุรกิจได้ นาไปสู่ธุรกิจที่ยั่งยืนในอนาคต 3. องค์ความรู้ด้านการออกแบบและผลิตสินค้า ไม่ใช่เพียงการสเก็ตรูป นักออกแบบที่คิดจะผัน ตัวมาเป็นผู้ประกอบการต้องมี องค์ความรู้ด้านเทรนด์ แฟชั่น สีสัน การออกแบบ ความเข้าใจ ข้อดีและข้อจากัดของวัสดุประเภทต่างๆ และกระบวนการผลิตต่างๆ เช่น ฟอกย้อม พิมพ์ลาย และขึ้นรูปตัดเย็บกระเป๋าและรองเท้า เพื่อให้สามารถสื่อสารกับช่างที่เข้ามาช่วยในส่วนงานตัด เย็บได้ 4. การปรับตัวด้านการออกแบบให้ทันกับตลาดสินค้าแฟชั่นอื่นๆ เนื่องจากกระเป๋าและรองเท้า แฟชั่นเป็นสินค้าที่ต้องเข้าคู่กับเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายทั้งหมดตั้งแต่หัวจรดเท้า เช่น ผ้าพันคอ เข็มขัด หมวกและเครื่ องประดับ เป็นต้น ดังนั้น การปรับตัว ให้ทันตามตลาดแฟชั่นอื่นๆมี ความสาคัญเพราะเป็นสินค้าที่สนับสนุนกันและกันให้เกิดยอดขายเพิ่มขึ้น 5. องค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจและการจ้างเหมา เฉพาะความสามารถในการ ออกแบบไม่สามารถรับประกันได้ว่าธุรกิจจะสามารถเติบโตต่อไปได้อย่างยั่งยืน ความแปลก แหวกแนวอาจดึงความสนใจของลูกค้าเป้าหมาย เป็นการเปิดทางธุรกิจ แต่การที่ธุรกิจจะอยู่ รอดขึ้น อยู่กับ การบริ ห ารจั ดการ การวางแผน ออกแบบกระบวนการทางธุรกิจ และการ บริหารระบบซัพพลายเชน เป็นการตัดสินใจของนักบริหารและส่งผลถึงต้นทุนและกาไรของ ธุรกิจทั้งสิ้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-23


ข้

 อท้าทายในการทาธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้า 1. การตีโจทย์ตัวเองไม่แตก

6. การขาดแคลนเงินทุน

4. การควบคุมคุณภาพการผลิต

2. การถูกลอกเลียนแบบ

3. การขาดแคลนช่างฝีมือ

5. การวางแผนการผลิต และบริหารสินค้าคงคลัง

ธุรกิจแบรนด์กระเป๋าและรองเท้าเป็นหนึ่งในธุรกิจแฟชั่นที่สามารถเข้าสู่ตลาดได้ง่ายและโอกาสที่จะออกจาก ธุรกิจก็ง่ายเช่นเดียวกัน เนื่องจากธุรกิจแฟชั่นใช้ความชอบเป็นตัวตัดสินใจซื้อ เมื่อลูกค้าเห็นสินค้าแล้วเกิด ความรู้สึกอยากได้แต่ไม่ยอมตัดสินใจซื้อในครั้งแรก หากกลับมาครั้งที่ 2 แล้วลูกค้ายังไม่ตัดสินใจซื้ออีก ถือ ว่าสินค้านั้นมีความเสี่ยงที่จะขายไม่ได้ เนื่องจากลูกค้าจะลดความอยากซื้อลงไปทุกครั้งที่เห็นสินค้าชิ้นเดิม ยังวางอยู่ที่เดิม สิ่งที่ตามมาคือ ความรู้สึกของลูกค้าที่มีต่อแบรนด์ว่าเมื่อเห็นสินค้าเดิมๆตั้งอยู่ คือ แบรนด์ นั้นเก่า สถานการณ์จะบีบให้ผู้ประกอบการจาเป็นต้องออกสินค้าใหม่ออกมาทั้งที่สินค้าเก่ายังไม่สามารถ ระบายได้ เกิดภาวะทุนจม และเร่งให้ผู้ประกอบการต้องขายลดราคามากๆ เพื่อนากระแสเงินสดเข้าสู่ธุรกิจ ซึ่งการขายในลักษณะนี้ย่อมฉุดภาพลักษณ์ของแบรนด์ให้ตกต่าลง และรายได้จากการขายลดอาจไม่เพียงพอ กับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจนในที่สุดต้องออกจากอุตสาหกรรมไป ดังนั้น การเรียนรู้ผ่านข้อ ท้าทายหรือข้อจากัด อย่างรอบคอบ ก็จะสามารถลดความเสี่ยงทางธุรกิจ หรืออาจจะไม่ต้องเผชิญกับความเสี่ยงดังกล่าวก็เป็นได้ ข้อท้าทายในการทาธุรกิจแบรนด์กระเป๋าและรองเท้าสรุปได้ ดังนี้ 1. การตีโจทย์ตัวเองไม่แตก เกิดจากการที่ผู้ประกอบการตีโจทย์ในเรื่อง Strategic Positioning ของตัวเองไม่แตก ทาธุรกิจโดยมองศักยภาพของตนเองด้านเดียวโดยไม่ได้มองความต้องการ ของตลาดควบคู่ไปด้วย ทาให้เกิดภาวะ “คิดได้ ผลิตได้ ขายไม่ได้ ” สิ่งที่ผู้ประกอบการควร ปรับตัวคือ การพูดคุยกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย การเข้าไปหาเครือข่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น เครือข่ายผู้ประกอบการ ชมรม สถาบันที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อหาช่องทางการเจาะ ตลาดและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-24


2. การถูกลอกเลียนแบบ การถู กลอกเลี ยนแบบตั ว สิ น ค้า หรื อรูป แบบการบริก าร เป็น การ ลอกเลียนแบบความคิดสร้างสรรค์ที่ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบ กับการขายตัดราคาและภาพลักษณ์ของแบรนด์ได้รับผลกระทบ สิ่งที่ผู้ประกอบการควรทาคือ การสร้างอัตลักษณ์ของแบรนด์ให้เกิดขึ้น การสร้างความผูกพันกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อรักษาฐาน ลูกค้าไว้และการพัฒนาทีไ่ ม่หยุดนิ่ง 3. การขาดแคลนช่างฝีมือ เนื่องจากเป็นธุรกิจที่พึงพาระบบการจ้างเหมา (Outsource) ช่างฝีมือ ในงานตัดเย็บวัสดุต่างๆ มีความหลากหลาย ดังนั้น ผู้ประกอบการต้องหาแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้ มากกว่า 1 แห่ง เพื่อป้องกันการขาดแคลนแรงงานในการผลิต หรือเพื่อสถานการณ์ฉุกเฉินที่ไม่ สามารถผลิ ต สิ น ค้ า ณ โรงงานใดโรงงานหนึ่ ง ได้ เช่ น สถานการณ์ ท างการเมื อ ง หรื อ สถานการณ์ภัยธรรมชาติต่างๆ ฯลฯ เพื่อไม่ให้กระบวนการผลิตชะงัก ส่งผลต่อการดาเนิน ธุรกิจทั้งระบบ 4. การควบคุมคุณภาพการผลิต เนื่องด้วยวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตกระเป๋า และรองเท้าอย่างดีมี ต้นทุนสูง เสียหายง่าย ความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยเช่นเก็บตะเข็บไม่เรียบ ก็อาจเป็นสาเหตุให้ สินค้ามีตาหนิ ขายไม่ได้ ยิ่งเป็นการจ้างเหมาผลิตการเข้าควบคุมในกระบวนการตัดเย็บของ โรงงานทีจ่ ้างผลิตยิ่งยุ่งยาก เพราะโรงงานขนาดใหญ่จะไม่ยินยอมให้แทรกแซงระหว่างขั้นตอน การทางาน วิธีการป้องกัน คือ หาผู้รับจ้างผลิตที่มีกาลังการผลิตใกล้เคียงกับขนาดของธุรกิจ หรือ เจรจาหาโรงงานที่ยืดหยุ่นสูง กาหนดรายละเอียดให้ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรรวมถึง กาหนดความรับผิดชอบกรณีสินค้าเสียหายล่าช้าไว้ด้วย 5. การวางแผนการผลิตและบริ หารสินค้าคงคลัง เนื่องจากกระเป๋า และรองเท้า เป็นสินค้า แฟชั่นที่ต้องการหมุนให้ไว ยิ่งตั้งโชว์ไว้นานยิ่งมีความเสี่ ยงที่สินค้าจะขายไม่ออก โดยเฉพาะ สิ น ค้า ประเภทรองเท้า ซึ่ งต้ อ งมี สิ น ค้า หลายไซส์ แ ละสี ดัง นั้ น การผลิ ตและจัด เก็บ สิ น ค้ า จาเป็ น ต้องมีความหลากหลาย ธุรกิจจึงต้องมีการประเมินการหมุนของสิ นค้าเพื่อกาหนด ปริมาณการผลิต ไม่ให้ผลิตมากเกินไปและลดการสต็อ กสินค้า การวางแผนการผลิตจะช่วย ธุรกิจประหยัดต้นทุนในการสารองวัตถุดิบในการผลิตด้วย 6. การขาดแคลนเงินทุน เนื่องสินค้าแฟชั่นมีอายุสั้น และจาเป็นต้องหมุนสินค้าให้ไว ธรรมชาติ ของธุรกิจแฟชั่นจึงเสี่ยงต่อเงินทุนหมุนเวียน เนื่องจากขายสินค้าได้ช้า การทาธุรกิจ ต้องมีการ วางแผนหาแหล่งเงินทุนสารองและกันเงินสารองบางส่วนเผื่อกรณีฉุกเฉิน นอกจากนี้ การเป็น ผู้ประกอบการรายย่อยเงินทุนน้ อย หลักทรัพย์ค้าประกันน้อยทาให้เป็นอุปสรรคต่อการขอ สินเชื่อ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-25


 รณีศึกษาธุรกิจแบรนด์กระเป๋า รองเท้าต้นแบบ 3 ตัวอย่างธุรกิจแบรนด์กระเป๋าและรองเท้า เพื่อเปิดมุมมองและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้ประกอบการรุ่น ใหม่ ได้ศึกษาแนวคิดและรูปแบบการทาธุรกิจที่สามารถทาได้หลากหลายรูปแบบ ดังนี้ 1. Kanita

2. Ruchitta

3. PER SEMPRE

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-26


ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-27


K

 anita “เริ่มจากสิ่งที่ชอบ ให้เวลากับสิ่งที่ทา คิดอะไรออกต้องรีบทา ความสาเร็จไม่ได้มาจากสิ่งแรกที่เริ่มทา” “ฉัตรจะเริ่มจากจุดเล็กๆ ไม่ได้ใช้เงินลงทุนมากนัก เบื้องต้นแค่ประมาณ 5,000 บาท เริ่ มจากทาเองทุก อย่างคนเดียว ตั้งแต่ไปหาซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตัดเย็บหนัง ตอกหมุด ตัดกระดาษ ฯลฯ ทาให้เราเรียนรู้ ขั้นตอนต่างๆ อย่างละเอียด นอกจากนั้นยังไปขายด้วยตัวเองเพื่อรับฟังข้อติชมจากลูกค้านามาปรับปรุง แก้ไขตลอดเวลา” - คณิตา คณิยมเวคิน -

Kanita จับขนมไทยมาเป็นแฟชั่นกระเป๋าหนัง "หัวใจสาคัญของการออกแบบ คือ การสร้างกิมมิคหรือลูกเล่นให้สินค้า เพื่อให้ผู้ใช้เกิดความสนุกสนาน และจินตนาการกับผลิตภัณฑ์" - คณิตา คณิยมเวคิน -

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ  การใช้ระบบ Outsource หาคู่ค้ามาช่วยลดภาระต้นทุนและลดงานที่ไม่ถนัดลง  การสร้าง Strategic Positioning ที่ตรงกับกลุ่มตลาดเป้าหมาย  ความมุ่งมั่นไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค คุณคณิตา คณิยมเวคิน นั กออกแบบเลื อดใหม่ที่มีความคิดสร้างสรรค์แหวกแนวกว่าใคร นาสิ่ งที่ไม่น่า เชื่อมโยงกันอย่างขนมและกระเป๋ามาเชื่อมโยงกั น เธอมองว่าการพับใบตองเป็นห่อขนม ไทยต่างๆ เป็นภูมิ ปัญญาไทยที่น่ายกย่อง และเด็กรุ่นใหม่หลายคนแทบไม่รู้จักแล้ว เธอจึงนาจุดเด่นของห่อขนมแต่ละชนิด ทั้ง รูปทรงภายนอก และสี มาผลิตเป็นกระเป๋าแฟชั่นเก๋ๆ โดยพยายามให้ทาออกแล้วใกล้เคียงกับของจริงมาก ที่สุดพร้อมกับคานึงถึงข้อจากัดเรื่องวัสดุหนัง และการผลิตจริงด้วย ผลงานขนมใส่ไส้ของ Kanita ยังได้รับ รางวัล DE mark (Design Excellence Award 2011) สาขาแฟชั่น เส้นทางการก่อตั้งธุรกิจของเธอคือ บทเรียนที่ดีของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการมีแบรนด์สินค้าเป็นของตัวเอง ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-28


ก้าวออกจากชีวิตมนุษย์เงินเดือนเพื่อค้นหาตัวเอง คุณคณิตา จบการศึกษาจาก สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ทาให้เธอมีพื้นฐานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ สามารถออกแบบและวางแพทเทิร์นได้ด้วย ตัวเอง เธอเริ่มต้นชีวิตทางานโดยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้กับบริษัทแห่งหนึ่งย่านถนนเสือป่า ทุกวันที่ไป ทางานเธอจะผ่านย่านที่ขายพวกแผ่นหนังวัสดุเครื่องหนังบ่อยๆจึงซื้อมาลองทาเครื่องหนังใช้เองบ้าง มอบ แด่คนใกล้ชิดบ้าง จนพอมีความรู้เรื่องเครื่องหนังอยู่บ้าง คนส่วนใหญ่ที่พบเห็นผลงานต่างชื่นชมในความ สวยงามและขอซื้อต่อ ก่อให้เกิดแรงบั นดาลใจเริ่มทาขายคนรอบตัว คุณคณิตา ผันตัวเองมาเป็นกราฟฟิค ดีไซเนอร์ให้กับผู้ผลิตรายการโทรทัศน์แห่งหนึ่งซึ่งได้รับเลือกให้เข้าทางานเพราะบริษัทเห็นปกพอร์ทโฟลิโอ ที่เธอออกแบบเองแล้วเกิดสะดุดใจจึงให้โอกาสเธอเข้าสัมภาษณ์จนได้งานนี้มา นี่คือจุดเริ่มต้นที่ทาให้คุ ณ ฉัตรเห็นจุดแข็งของตนเองชัดเจนขึ้น ระหว่างทางานประจาในฐานะกราฟฟิคดีไซเนอร์อยู่ 2 ปี คุณคณิตา ใช้เวลาว่างจากงานประจาไปเปิดร้านขายสมุดปกหนังตอกชื่อหรือข้อความตามต้องการขายที่สวนลุมไนท์ บาซาร์ ซึ่งลูกค้าตอบรับดี ขายได้หมด ลูกค้ากว่าร้อยละ 90 เป็นชาวต่ างชาติ จากงานอดิเรกกลายเป็น รายได้ที่มากกว่าเงินเดือน เธอจึงตัดสินใจหันหลังให้ชีวิตมนุษย์เงินเดือนมาเริ่มต้นธุรกิจเองด้วยงานที่ชอบ และมีความสุข อุปสรรคมีไว้ข้ามผ่าน "ทุกธุรกิจล้วนมีปัญหารออยู่แทบทั้งสิ้น สิ่งสาคัญคือเราจะแก้ปัญหาและผ่านมันไปได้อย่างไร คนที่สู้ และแก้ปัญหาได้ จะยิ่งมีประสบการณ์สั่งสมและมีความสามารถในการบริหารจัดการธุรกิจได้ดียิ่งขึ้น แต่คนที่ไม่ลองแม้จะคิดสู้ ไม่ว่ามีเงินลงทุนมากแค่ไหนยังไงก็ไปไม่รอด" - คณิตา คณิยมเวคิน -

หลังจากออกจากงานประจา คุณคณิตา ก็เผชิญปัญหาใหญ่เนื่องจากสวนลุมไนต์บาซ่าปิดตั วลง ไม่มีที่ขาย ของ ทาให้แผนชีวิตที่วางไว้พลิกผัน จังหวะนั้นเอง คุณคณิตา มีโอกาสเข้าร่วมโครงการจับคู่ธุรกิจของศูนย์ สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ด้วยความที่ไม่มีพอร์ทโฟลิโอผลงานออกแบบสินค้าอย่างเต็มตัว ไม่เคย ผลิตกระเป๋าหรือรองเท้าเหมือนนักออกแบบคนอื่นๆ เธอจึงตั้งใจคิดผลงานของตัวเองออกมาชุดหนึ่งเพื่อเข้า ร่วมโครงการครั้งนี้ โดยอาศัยความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์กลายมาเป็นผลงานชุดขนมไทย ซึ่งต่อมา กลายเป็นจุดขายประจาแบรนด์ Kanita แม้ Kanita ไม่ได้รับเลือกให้เข้าจับคู่ธุรกิจในโครงการครั้งนั้นแต่ก็ ได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการเป็นจานวนมาก มีการนาผลงานออกฝากขายที่ TCDC Shop และจด สิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญาไม่ให้ผลงานถูกลอกเลียนแบบ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-29


ก้าวเล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่สู่การเป็นผู้ประกอบการใหม่ "ความยากของการทาธุรกิจ คือ การลงมือทาและสร้างแบรนด์ให้เป็นที่รู้จัก โดยเฉพาะสิ นค้าที่เป็น แบรนด์น้องใหม่ จะต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบรับความต้องการของผู้บริโภค มีความแปลก ใหม่ ใช้ประโยชน์ได้จริงรวมถึงมีตลาดเป้าหมายรองรับและอยู่รอดได้ จึงจะถือว่าประสบความสาเร็จ อย่างแท้จริง" - คณิตา คณิยมเวคิน -

การฝากขายผลงานไว้ที่ TCDC นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ยิ่งใหญ่ที่ทาให้ คุณคณิตา ต้องคิดอย่างผู้ประกอบการ ขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบธุรกิจ การหาแหล่งซื้อวัตถุดิบ การหาแหล่งขึ้นรูปหนัง แหล่งรับจ้างตัดเย็บเครื่อง หนัง คานวณปริมาณที่ควรสั่งผลิต วิธีขาย ได้ลองผิดลองถูกจนรู้ซึ้งว่าสาหรับผู้ประกอบการรายเล็กๆ ที่เพิ่ง เริ่มต้นการหาคู่ค้าที่ช่วยสนับสนุนกันในห่วงโซ่อุปทานเป็นเรื่องจาเป็น การจ้างผลิตช่วยลดภาระผู้เริ่มต้น ธุรกิจไม่ต้องลงทุนสูงทั้งเรื่องการจ้างคนงาน เครื่องจักรอุปกรณ์ แต่การหาผู้รับจ้างผลิตในประเทศที่ทีความ รับผิดชอบหาได้ยากมาก การผลิตปริมาณน้อยๆ ควรหาโรงงานเล็กๆ หรือช่างที่รับงานตามบ้านสามารถให้ ความร่วมมือได้มากกว่าโรงงานขนาดใหญ่ หากสั่งผลิตสินค้าปริมาณน้อยๆ ก็ยอมทาให้หรือหากสั่งปริมาณ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-30


มากๆ ก็สามารถใช้เครือข่ายของผู้ผลิตรายเล็กๆ ตามบ้านมาช่วยกันทาให้สามารถรับคาสั่งซื้อปริมาณมากๆ ได้ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้คนนอกวงการจะไม่ทราบเลยหากไม่เข้าไปคลุกคลีพูดคุยกับร้านวัตถุดิบเครื่องหนังต่างๆ คุณคณิตา เริ่มต้นโดยเงินลงทุนเพียง 5,000 บาท ซื้อแผ่นหนังไปว่าจ้างให้ช่างเครื่องหนังช่วยผลิตตามแบบ โดยผลิตเพียงแบบละ 24 ชิ้นเพื่อวางขายใน TCDC shop ผ่านประสบการณ์โดนเบี้ ยวงานจนเกือบเสี ย โอกาสส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าไม่ทันหากไม่ตัดสินใจยอมควักเนื้อลงทุนอีกก้อนเพื่อไปหาผู้รับจ้างผลิตเจ้าใหม่ จนทุกวันนี้เธอยืนหยัดอย่างเข้มแข็งด้วยโดยมีทีมช่างฝีมือที่ช่วยรับ Outsource งานไปทา และพนักงาน ผู้ช่วยอีก 1 คนที่คอยแบ่งเบาภาระเพื่อให้เธอมีเวลาให้กับการออกแบบชิ้นงานใหม่ๆ มากขึ้น ผลิตภัณฑ์ร้าน Kanita มีหลากหลายตั้งแต่สินค้าชิ้นเล็กราคาไม่ถึงร้อยบาทไปจนถึงกระเป๋าหนังแท้ราคาสามถึงสี่พันบาท ตัวอย่างเช่น  กระเป๋าหนังชุดขนมไทย มีสีสันที่เหมือนใบตองจริง ทั้งใบตองสด ใบตองนึ่ง เช่น กระเป๋าใส่ พวงกุญแจรูปข้าวต้มมัด กระเป๋าเครื่องเขียนขนมจาก กระเป๋าสตางค์ทรงขนมเทียน ทรงขนม ใส่ไส้ ทรงข้าวต้มน้าวุ้น กระทงใบตองใส่คลิปหนีบกระดาษ  สินค้าหนังทั่วไป เช่น กระเป๋าถือ กระเป๋าผ้าผสมหนัง ปกสมุด ซองนามบัตร แฟ้มเอกสาร เป็นต้น ปัจจุบันคุณคณิตามีหน้าร้านอยู่ที่เอเชียทิค ลูกค้าที่หน้าร้านส่วนมากจะเป็นนักท่องเที่ยว กลุ่มวัยรุ่นจนถึง วัยทางานที่ชื่นชอบงานดีไซน์ ชอบเครื่องหนัง นิยมซื้อไปใช้เองหรือเป็นของฝาก ของที่ระลึก สินค้ามีการติด ป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับขนมชนิดนั้นๆ ไว้ ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ โดยสินค้าที่ขายดีที่หน้าร้ านคือ กระเป๋า ขนมจาก ส่วนรายได้หลักมาจากลูกค้าที่รายบริษัทและโรงแรมที่ คุณคณิตา ได้พบเวลาไปออกงานแสดง สินค้า ซึ่งเป็นกลุ่มที่สั่งซื้อเพื่อแจกของเป็นของที่ระลึกและวางขายตามสถานที่ท่องเที่ยวโดยสินค้าที่ขายดี คือ กระเป๋าทรงขนมใส่ไส้ เข้าถึงข้อมูลได้ที่ KANITA Shop @ Asiatique The River Front (เจริญกรุง74) https://www.facebook.com/KanitaLeather

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-31


R

 uchitta Ruchitta เป็นอีกหนึ่งในแบรนด์กระเป๋าหนังแท้ฝีมือคนไทยที่ได้รับความนิยมแพร่หลายในสั งคมออนไลน์ ด้วยดีไซน์เรียบหรู สีสันสดใสจัดจ้าน ใช้วัสดุหนังแท้ การตัดเย็บเรียบร้อยทนทาน ใช้ได้ทุกวัน แม้ไม่มีหน้า ร้าน ใช้ช่องทางขายทาง Facebook Line และ Instragram ก็ขายดี ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  สร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าในเรื่องคุณภาพและการส่งมอบ  การออกแบบสินค้าและบริการจากมุมมองของลูกค้า  ความรวดเร็วและความใส่ใจในการตอบสนองต่อลูกค้า  รักษาความสัมพันธ์กับคู่ค้าให้เติบโตไปด้วยกัน  ใช้เครือข่ายให้เป็นประโยชน์ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-32


คุณค่าของแบรนด์ คือ คุณภาพและความใส่ใจ หัวใจสาคัญที่ทาให้ลูกค้าประทับใจเป็นแฟนเหนียวแน่นของ Ruchitta และบอกต่อคือการสร้างความ เชื่อมั่นในคุณภาพสินค้าและการให้บริการ คุณหญิงจะตรวจคุณภาพสินค้าอย่างละเอียดทั้งสีสันและฝีเข็ม การบริการตั้งแต่ก่อนการขายจนถึงหลังการขาย ล้ ว นบ่ ง บอกถึ ง ความใส่ ใ จในตั ว ลู ก ค้ า และคิ ด อย่างละเอียด เช่น มีการส่งการ์ดขอบคุณมาให้ ลู ก ค้ า พร้ อ มกระเป๋ า มี ถุ ง ผ้ า อย่ า งดี ส าหรั บ ให้ ลูกค้าเก็บกระเป๋าเวลาที่ไม่ ได้ใช้งาน ให้ลูกค้าสั่ง สกรี น ป้ ายโลหะห้ อ ยกระเป๋ า ได้ ต ามชอบ การ ตอบคาถามลู กค้ า แต่ ล ะรายด้ ว ยอั ธ ยาศั ยอั น ดี และบริการหลังการขายในการรับเปลี่ยนคืนกรณี อะไหล่ ห ลุ ด โซ่ ห ลุ ด แม้ ก ระทั่ ง พบฝี เ ย็ บ ไม่ เรียบร้อยหรือมีเพียงรอยขนแมว เริ่มต้นธุรกิจด้วยความรู้เท่ากับศูนย์ เบื้องหลังความสาเร็จของแบรนด์กระเป๋ารายนี้ คือ คุณหญิง-จุฑาทิพย์ หรูจิตตวิวัฒน์ เธอเรียนจบด้านการ บัญชี จากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และทางานสายธุรกิจบริการในฐานะแอร์โฮสเตส สายการบินอีวา (EVA) ด้วยความที่มีโอกาสหิ้วกระเป๋าแบรนด์เนมต่างๆ จากต่างประเทศเข้ามาขายและช่าง สังเกต ว่ามีการตัดเย็บแบบไหน และใช้วัสดุอะไร ทาให้เธอมีความคุ้นเคยกับแฟชั่นกระเป๋าเป็นอย่างดี เมื่อ ถึงคราวตัดสินใจสร้างธุรกิจของตนเอง เธอจึงเลือกทาธุรกิจแบรนด์กระเป๋าของตนเองขึ้นมา โดยมองว่ากลุ่ม สาววัยทางานอายุ 25-50 ปีเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ มักมีกระเป๋าคนละไม่ต่ากว่า 2-3ใบ และการมีกระเป๋าดีๆ สัก 1 ใบเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับชีวิตที่ต้องพบปะผู้คน แต่การจะซื้อกระเป๋าหนังแท้แบรนด์เนมต่างประเทศก็ ราคาสูงเกินกาลั งมนุ ษย์ เงิน เดือนทั่ว ไป Ruchitta จึงเป็นทางเลือกให้กับสาวออฟฟิศรุ่นใหม่ที่อยากได้ กระเป๋าหนังแท้สวยๆ ไว้ใช้ในราคาที่เอื้อมถึง ก้าวแรกในการตัดสินใจเริ่มธุรกิจยากที่สุด หลังจากตัดสินใจหันหลังให้กับอาชีพแอร์โฮสเตส คุณหญิงใช้เวลาถึง 6 เดือนในการศึกษาข้อมูลอย่างจริงจัง ก่อนเริ่มต้นธุรกิจ จนสามารถออกแบบและทาโมเดลกระเป๋าจากกระดาษได้ด้วยตัวเอง ในระหว่า ง 6 เดือน นี้ต้องทาใจว่าจะไม่มีรายได้เข้ามาและต้องพยายามจัดสรรเงินออมมาลงทุนเพื่อให้มีภาระหนี้สินน้อยที่สุด คุณหญิงทุ่มเทเวลาเต็มที่ในการหาข้อมูล เดินสารวจวัตถุดิบจากแหล่งต่างๆ และขอความรู้จากร้านค้า โรง ฟอกหนัง และพูดคุยกับโรงงานรับจ้างผลิตหลายแห่งจนได้รายที่คุยกันรู้เรื่อง

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-33


"ทุกวันนี้เป็นตั้งแต่ดีไซเนอร์ยันเมสเซนเจอร์ เริ่มจากสเก็ตภาพด้วยการดูหนังสือแฟชั่น ดูเทรนด์ในแต่ ละปีว่าปีไหนสีอะไรมา ได้แบบแล้วก็ต้องไปคุยกับช่างที่โรงงาน คุยอยู่หลายโรงงานกว่าจะได้รายที่คุย กันรู้เรื่อง ความยากอยู่ที่การสื่อสารกับช่างให้รู้ถึงความต้องการของเรา อะไหล่ หนัง แมททีเรียลทุก อย่างต้องไปหาซื้อเอง หนังวัวมีหลายชนิดเราก็ต้องศึกษาว่าแต่ละชนิดมีข้อดีข้อเสียอย่างไร เหมาะกับ กระเป๋าประเภทไหน อย่างสายโซ่สะพาย ถ้ายาวมากเกินไปมันก็รุ่มร่าม ไม่คล่องตัว ไม่ได้ทาออกมาครั้ง เดียวถูกใจเลย บางทีต้องสั่งแก้ถึงสามรอบ"3 อุปสรรค คือ บทพิสูจน์ความสาเร็จ ในการจ้างผลิตปัญหาที่หลีกเลี่ยงไม่ได้มี 2 ด้าน คือ เรื่องคน และเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา (1) ปัญหาด้าน คน ผู้ประกอบการอาจต้องเจอปัญหาที่ช่างหรือโรงงานรับจ้างผลิตส่งงานไม่ตรงเวลา ต้องรอคิวการผลิตต่อ จากผู้ว่าจ้างรายอื่น ความประมาททาให้สิ นค้าเกิด ต าหนิ เปลี่ ย นสเปคสิ น ค้ า เองโดยไม่ ถ ามผู้ ว่ า จ้ า ง สิ น ค้ า ที่ ไ ม่ ผ ลิ ต ไม่ ไ ด้ ม าตรฐาน ทั้ ง หมดต้ น ทุ น ที่ ผู้ประกอบการต้องแบกรับ การขายลดสินค้ามีตาหนิ การแจก การแถมล้วนสร้างผลกระทบกับภาพลักษณ์ แบรนด์ ที่ พ ยายามสร้ า งมาทั้ ง สิ้ น (2) ปั ญ หาด้ า น ทรัพย์สินทางปัญญา อาจพบการนาแบบของผู้ว่าจ้าง ไปดั ด แปลงผลิ ต ให้ ผู้ ป ระกอบการรายอื่ น แนว ทางการป้องกันปัญหาทั้ง 2 ด้านนี้ ได้แก่ การหาผู้รับ จ้ า งผลิ ต ที่ ว างใจได้ ไ ว้ เ ป็ น ทางเลื อ ก 2-3 รายเพื่ อ กระจายความเสี่ยง ดาเนินการออกแบบและจัดซื้อ วัตถุดิบเอง และควรตกลงรายละเอียดกับผู้รับจ้าง ผลิตเป็นลายลักษณ์อักษรใช้ชัดเจน เช่น สเปคสินค้า วันส่งมอบ การเปลี่ยนคืน การชดเชยค่าเสียหาย การ รักษาความลับงานต้นแบบเป็นต้น เข้าถึงข้อมูลได้ที่ Ruchitta Website: http://www.facebook.com/Ruchittabrand

3

ที่มา: http://women.sanook.com/14489/ruchitta

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-34


PER SEMPRE แบรนด์กระเป๋าและรองเท้าหนังสัญชาติไทยที่มีเอกลักษณ์อยู่ที่ความเนี๊ยบของคัตติ้งและ หนังคุณภาพดีไม่แพ้แบรนด์ดังระดับโลก มาพร้อมกับคอนเซปต์สั้นๆ ว่า “ REAL เพราะความจริง คือ สิ่งที่สวยงามที่สุด”

PER SAMPRE คือ งานศิลปะที่เป็นความจริงทั้งหมด รวมถึงงานดีไซน์ รองเท้าและกระเป๋า ด้วย เป็นแฟชั่น ที่ใส่ได้จริง วัตถุดิบที่เราใช้ก็คือสิ่งที่มีคุณภาพจริงๆ เพราะความจริงคือสิ่งที่สวยงามที่สุดแล้ว ” สินค้าทุกชิ้น ในร้ านเป็ น แฟชั่น ที่ใส่ ได้จ ริ ง และความรู้สึ กที่ทาออกมาก็เป็นความใส่ ใจจริงๆ ซึ่งไม่ว่าจะเป็นรองเท้า กระเป๋า หรือสินค้าทุกชิ้นที่ปล่อยออกมา PER SEMPRE ไม่ได้ทาให้แค่จบ ไม่ได้ทาให้เสร็จ แต่ทุกชิ้นที่ ออกมาต้องทาให้ดีในทุกๆรายละเอียด

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-35


คุณณัฐธีร์ ภูวเลิศนิธิเมธี เจ้าของแบรนด์ เพอร์ แซมพรี (Per Sempre)4 กล่าวว่า เพอร์ แซมพรี เป็นแบรนด์ ที่2 ที่ทาขึ้น หลังจากเคยร่วมกับเพื่อนสมัยเรียนมหาวิทยาลัยด้วยกันทาแบ รนด์ ก ระเป๋ า มาก่ อ นในปี 2544 "ตอนนั้ น เราถื อ เงิ น ไปซื้ อ กระเป๋าสตางค์แบรนด์เนมราคาเกือบหมื่นบาท และต้องต่อคิว รอ ก็ฉุกคิดว่า ทาไมกระเป๋าดีไซน์ สวยๆ มีแต่แบรนด์เนม ถ้าไม่ มีแบรนด์ก็จะมีแต่แบรนด์ประตูน้า ก็เลยคุยกับเพื่อนและคิดทา แบรนด์ตัวเองขึ้นมา” เพอร์ แซมพรี จึงเกิดขึ้นโดยตั้งชื่อแบรนด์ เป็นภาษาอิตาลี ซึ่งแปลว่า To be always ความหมายตรงกับ ชื่ อ ของลู ก สาว คื อ นั ท ธนิ ช า พร้ อ มกั บ วางคอนเซปต์ ใ ห้ ดู คลาสสิคผสมความเป็นเมโทร ให้ภาพของความเรียบเก๋ แต่ดู สนุกสนาน

หากเราอยู่ ใ นวงการแฟชั่ น ก็ ต้ อ งเป็ น ไปตามกระแสของ เทรนด์แฟชั่น แต่สิ่งที่สาคัญ คือ การคงความเป็นเอกลักษณ์ ของ “เพอร์ แซมพรี” เอาไว้

ณัฐธีร์เผยว่า เขาออกแบบสินค้าเองทุกแบบ ทั้งยังมีโรงงานขนาดเล็กสาหรับการผลิต ทาให้ 6 ปีของเพอร์ แซมพรี มีสินค้าออกมาเป็นพันๆ แบบ โดยสินค้าหลักคือ กระเป๋า รองเท้า แอคเซสซารีต่างๆ เช่น เข็มขัด กระเป๋าเงิน ซองใส่นามบัตร รองรับลูกค้าทั้งหญิงและชาย “เราเริ่มจากกระเป๋าผู้หญิงและรองเท้าผู้ชาย ก่อนที่จะขยายให้ครอบคลุม ซึ่งอาจจะเป็นจุดด้อยหนึ่งของแบรนด์เราที่ไม่ชัดเจนนักกับกลุ่ มเป้าหมาย แต่ มองว่า สามารถพลิกจุดด้อยนี้ให้กลายเป็นจุดเด่นได้ เนื่องจากสามารถดึงกลุ่มลูกค้าที่เป็นแฟนกันมาช้อปปิ้ง ด้วยกันได้ ผู้หญิงก็ดูสินค้าของผู้หญิง ระหว่างที่รอ ผู้ชายก็สามารถเลือกดูสินค้าของตนเองได้เหมือนกัน หรื อ จะซื้ อ เข้ า คู่ กั น ก็ ไ ด้ ” ปั จ จุ บั น ลู ก ค้ า เป็ น คนไทยร้ อ ยละ 80 และชาวต่ า งชาติ ร้ อ ยละ 20 โดย กลุ่มเป้าหมายคือ ตั้งแต่เด็กวัยเริ่มแต่งตัวไปจนถึงวัยทางาน ซึ่งจะเป็นกลุ่มคนที่ชอบแฟชั่น ชอบแต่งตัว แต่ ก็จะเป็นกลุ่มซี+ เนื่องจากสินค้ามีหลายราคาให้เลือกตามแต่วัสดุที่ใช้ เช่น หากเป็นหนัง PU ราคาไม่สูงมาก แต่หากเป็นหนังแท้ก็จะมีราคาเพิ่มขึ้นอีก 4

สืบค้นออนไลน์ http://eureka.bangkokbiznews.com/detail/481857#sthash.g3e99hqR.dpuf

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-36


ปั จ จุ บั น เพอร์ แซมพรี เริ่ ม เดิ น หน้ า สู่ ต ลาดสิ งคโปร์ โดยมี ช าว สิงคโปร์ติดต่อมาเพื่อเป็นพันธมิตรเพื่อทาตลาดในสิงคโปร์ ซึ่งใช้ เวลาพูดคุยรายละเอียดกันนานกว่า 6 เดือน ก่อนที่สัญญาจะลงตัว และเริ่มเปิดตลาดในสิงคโปร์เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2555 ที่ผ่านมา และในเดือนมกราคม 2556 จะเปิดตัวอีก 1 แบรนด์ภายใต้ เพอร์ แซมพรีที่สิ งคโปร์จ ากเดิมที่เพอร์แซมพรีมีวางขายอยู่ในร้านแถว ถนนออชาร์ดที่สิงคโปร์อยู่แล้ว

แผนระยะยาวจากการเริ่มเปิดตลาดต่างประเทศในสิงคโปร์ ณัฐธีร์ก็มองตลาดต่างชาติอื่น ๆ ด้วย เพราะมี ลูกค้าต่างชาติที่ชอบสินค้าของเรา เช่น ฮ่องกงที่มีความเป็นแฟชั่นนิสต้าสูง โดยตั้งเป้าระยะเวลา 3 ปี เปิด ตลาด 5 ประเทศในเอเชีย และเข้าสู่ ตลาดยุโรปใน 7 ปี แต่ก็จะเน้นทาตลาดแบบค่อยเป็นค่อยไป หา พันธมิตรที่เหมาะสมเพื่อขยายไปในแต่ละประเทศต่อไป อนาคตของงานดี ไซน์พยายามให้แบรนด์นาเสนอความคลาสสิคมากขึ้น เนื่องจากบางครั้งเราก็มองเป็น แฟชั่นมากเกิน ไป แต่ในแง่ของการดีไซน์ ก็คงจะไม่แก้ แต่สิ่ งที่จะทาคือ การคงอยู่ให้ ได้ในแบบของเรา คลาสสิคแบบที่เป็นเพอร์ แซมพรีซึ่งก็คงไม่ทิ้งแฟชั่น “หากถามถึงความสาเร็จของแบรนด์ถือเป็นก้าวที่ 2 แล้วสาหรับเพอร์ แซมพรี เพราะเราสามารถผ่านก้าว แรกคือการอยู่รอดมา 5 ปี ที่หลายคนทาไม่ได้ สาหรับก้าวที่ 2 นี้คือ การทาให้แบรนด์ แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จัก ขายได้และอยู่รอดอีก 5 ปีต่อไป ซึ่งการจะผ่านก้าวนี้ไปได้ เชื่อว่าเป็นเพราะคุณภาพ ดีไซน์แ ละราคาที่เราใส่ ใจทุกขั้นตอน” เข้าถึงข้อมูลได้ที่ PER SEMPRE https://www.facebook.com/mypersempre

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-37


2

ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น

ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น หมายถึง ผู้ประกอบการในธุรกิจเสื้อผ้าแฟชั่นที่ทาหน้าที่ออกแบบ คัดเลือก วัตถุดิบ ควบคุมการผลิตและจาหน่ายเสื้อผ้าแฟชั่นประเภทต่างๆ ภายใต้ตรายี่ห้อสินค้าหรือแบรนด์ของตนเอง ทั้งนี้ ผู้ประกอบการสามารถทาการผลิต ออกแบบและจาหน่ายสินค้าอื่นๆ ที่มีความสอดคล้องหรือเหมาะสม กับการสวมใส่เสื้อผ้าแฟชั่นนั้นๆ เช่น ผ้าพันคอ เข็มขัดหรือหมวก ฯลฯ ได้ด้วย โดยสินค้าทั้งหมดจะอยู่ภายใต้ ยี่ห้อตราสินค้าหรือแบรนด์เดียวกัน ซึ่งผู้ประกอบการสามารถทาการตลาดในรูปแบบของสิน ค้าคอลเลคชั่น (Collection) ได้ เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าให้กับแบรนด์สินค้าของตนเอง

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-38


ทั้ ง นี้ ในคู่ มื อ ฉบั บ นี้ จ ะขอกล่ า วถึ ง ธุ ร กิ จ ที่ ผู้ ป ระกอบการ สามารถออกแบบเองได้ แ ละใช้ วิ ธี ก ารจ้ า งผลิ ต เพื่ อ เป็ น ช่องทางให้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่สามารถแข่งขันในตลาดได้ โดยไม่ต้องลงทุนสู ง ผู้ประกอบการควรมีความรู้ด้านแฟชั่น และการออกแบบ หั ว ใจส าคั ญ คื อ มี ก ารออกแบบภายใน แบรนด์เอง มีนักออกแบบหรือดีไซเนอร์ผู้ก่อตั้งแบรนด์ และ สามารถสร้ างสิน ค้าที่มีเอกลั กษณ์เฉพาะตัว หรือมีบริการที่ สร้างจุดขายให้กับสินค้า ภาพรวมของธุรกิจแฟชั่นของประเทศไทยในปีที่ผ่านมาถือว่ามี การเติบโตอย่างต่อเนื่อง ด้วยกลุ่มเป้าหมายแต่ละแบรนด์อยู่ที่ วัยทางาน ที่มีอานาจในการจับจ่ายสูง และมีจานวนคนมากขึ้น ท าให้ แ ฟชั่ น ไทยได้ รั บ ความนิ ย มมาก ประกอบกั บ คนไทย เปลี่ยนจากการนิยมแบรนด์นอกหันมาสวมใส่เสื้อผ้าแบรนด์ ไทยมากขึ้น ทาให้ตลาดแฟชั่น ไทยเติบ โตอย่างก้าวกระโดด และต่ อ เนื่ อ ง ในขณะที่ แ บรนด์ แ ฟชั่ น ไทยก็ จ ะมี เ อกลั ก ษณ์ เฉพาะตัว และตอบโจทย์ กลุ่ ม ลู กค้าคนไทยได้ และทาให้ เกิ ด ความได้เ ปรี ย บในสากล ปั จ จุ บั น แฟชั่ น ไทยมี ภ าพลั ก ษณ์ ที่ ชัดเจน ทั้งนี้ ถ้าแบรนด์ไทยมีความแข็งแกร่งจะสามารถสร้าง กระแสเทรนด์ไทยได้ เหมือนกั บเทรนด์ยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่น เกาหลี ฯลฯ ที่ได้รับความนิยมไปทั่วโลก1

ประเภทของสินค้าแฟชั่น 1. High Fashion เป็นสินค้านาสมัย ราคาสูง และเป็นระยะเริ่มต้นของวงจรธุรกิจแฟชั่น สินค้า High Fashion จะเป็นสินค้าที่สะดุด ตาแก่ลูกค้าทั่วไปเมื่ อนาโฆษณาหรือนามา โชว์หน้าร้าน 2. Model Style สินค้าเป็นที่นิยมปานกลาง ต้องการเข้ากับสังคมนั้นหรืออย่างน้อยเพื่อ ความต้ อ งการในแง่ ข องสิ น ค้ า แปลกใหม่ หรือต้องการเปลี่ยนสินค้าบ่อยๆ 3. Basic Style เป็นสินค้าแบบนิยม อาจจะ เป็นที่ยอมรับทั่วไป มีอายุสินค้ายาวนานกว่า โดยทั่วไป สินค้าประเภท Basic Style จะมี ยอดขายสูงกว่าสินค้าประเภท High Fashion และ Model Style สินค้า High Fashion เป็น สินค้าที่กระตุ้นความสนใจมากกว่ากระตุ้นการ ซื้อสิ นค้ า เนื่ องจากสิ นค้ า High Fashion เป็ น สินค้าที่ดูดเปรี้ยวและเด่นเกินไป ลูกค้าส่วนใหญ่ จึงนิยมสินค้า Basic Style ที่ดูดี เรียบหรู ดูดี และสามารถใช้งานได้บ่อยครั้ง มากกว่าสินค้าที่ มีลักษณะเด่นและหวือหวา (ที่มา: www.marketeer.co.th)

การมีแบรนด์สินค้าแฟชั่นเป็นของตนเองอาจเป็นความฝันของใครหลายๆ คนที่หลงใหลในแฟชั่น ความสวย ความงาม การออกแบบและอยากทาธุรกิจที่ตนเองชอบ จากการสารวจความคิดเห็นนิสิตนักศึกษา บัณฑิตใหม่ และกลุ่มคนทางานที่ต้องการหาอาชีพใหม่ทางออนไลน์ จานวน 245 ตัวอย่าง พบว่าการมีแบรนด์เสื้อผ้า เป็น ของตัวเองคือธุรกิจในฝันอันดับต้นๆ ของคนรุ่นใหม่ ทั้งนี้มีปัจจัยบวกที่ช่วยเกื้อหนุนผู้ประกอบการหน้าใหม่ที่ ต้องการมีแบรนด์เสื้อผ้าเป็นของตนเอง ดังนี้  ประเทศไทยมีอุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มที่แข็งแรง มีผู้ประกอบการตามห่วงโซ่อุปทาน  กระแส Local Chic เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการรายเล็กมีพื้นที่แข่งขันในตลาด เนื่องจาก ผู้บริโภคเปิดใจยอมรับแบรนด์ในประเทศมากขึ้น และยินดีสนับสนุนสินค้าที่มีคุณภาพและการ ออกแบบดี 1

สืบค้นออนไลน์ http://www.gotomanager.com/content/asva-หวังดันแฟชั่น-สวนกระแสเศรษฐกิจ (กุมภาพันธุ์ 2557). ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-39


 กระแส Gen Me ทีผ่ ู้บริโภคนิยมสินค้าช่วยสร้าง ตัวตนของผู้สวมใส่ทาให้มีส่วนตลาดหลากหลาย ผู้ประกอบการสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้า ได้ ม ากจากการออกแบบและการบริ ก าร ไม่ จ าเป็ น ต้ องแข่ งขั น กัน ขายในปริ ม าณมากหรื อ ขายราคาต่าแข่งกับสินค้าโหลจากโรงงาน กระบวนการคิดตามหลักการออกแบบสินค้า  สามารถขายทางอินเตอร์เน็ต ได้ ไม่จาเป็นต้องมี โดยแบ่งประเด็นเป็น 3 หมวดใหญ่ คือ หน้าร้านหลายแห่งทาให้เงินลงทุนตั้งต้นไม่สูงนัก 1. ความเป็นไปได้ ด้านการขาย เพราะถ้าขาย  มีแหล่ งวั ตถุดิบ ในประเทศจ านวนมาก รวมถึ ง ไม่ได้จะเป็นสินค้าตกค้าง เครื อ ข่า ยช่ างฝี มื อ และคลั ส เตอร์อุ ตสาหกรรม 2. ความเป็นไปได้ด้านการตัดเย็บและการผลิต เพราะถ้าผลิตหรือจัดทาไม่ได้ การออกแบบ ตั้ ง แต่ ต้ น น้ าจนถึ ง ปลายน้ ารองรั บ การท า ก็เปล่าประโยชน์ Outsourcing ลดความยุ่ ง ยากในการเริ่ ม ต้ น 3. ความเป็นไปได้ด้านต้นทุน เพราะถ้ามีต้นทุน ธุรกิจสาหรับผู้ประกอบการใหม่ สูงเกินไป จะขายไม่ได้กาไร  สามารถต่ อ ยอดไปสู่ ธุ ร กิ จ อื่ น ๆหรื อ ขยายไปสู่ (ที่มา www.thaipattern.com) สินค้าแฟชั่นอื่นๆ ได้  ไม่จาเป็นต้องเรียนมาโดยตรง ขอเพียงมีใจรัก มีความคิดสร้างสรรค์ และเข้าใจผู้บริโภค ส่วนที่ เหลือสามารถเข้าอบรมเพิ่มพูนองค์ความรู้และทักษะฝีมือตามสถาบันและสมาคมที่เกี่ยวข้อง

คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ

ผู้ประกอบในธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น ควรมีคุณสมบัติหลักดังนี้ 1. มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ และมี ใ จรั ก ในแฟชั่ น เป็ น คุ ณ สมบั ติ ที่ ส าคั ญ ยิ่ ง ส าหรั บ ธุ ร กิ จ แฟชั่ น เนื่องจากสินค้าแฟชั่นใช้ความคิดสร้างสรรค์และการออกแบบเป็นตัวนาในการสร้างอัตลักษณ์ ภาพลักษณ์และแบรนด์ของสินค้า ความคิดสร้างสรรค์คือการสร้างมูลค่าของสินค้าแฟชั่น ในราย ธุรกิจขนาดเล็ก หรือผู้เริ่มต้นธุรกิจใหม่ ผู้ประกอบการมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่แสวงหาจุดแข็งที่ สามารถทาได้ด้วยตัวเอง เช่น ความสามารถในการออกแบบ การสร้างสรรค์โมเดลธุรกิจใหม่ๆ การพึ่งพาความสามารถของคนอื่นทั้งหมดในการดาเนินธุรกิจ จะลดโอกาสการเติบโตอย่างยั่งยืน ในอนาคต ความรั ก ในแฟชั่ น ท าให้ ผู้ ป ระกอบการไม่ เ หนื่ อ ยหน่ า ยในการเฝ้ า ติ ด ตามความ เคลื่อนไหวในแวดวงแฟชั่นและมีแรงบันดาลในการค้นหาสิ่งใหม่ๆ เพื่อปรับปรุงสินค้าและบริการ สม่าเสมอ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-40


2. มีความรู้ในกระบวนการและขั้นตอนการผลิต ออกแบบเองพอได้ ตัดเย็บไม่เป็น ทาธุรกิจนี้ เ สื้ อ ผ้ า แ ฟ ชั่ น ใ น ก า ร ด า เ นิ น ธุ ร กิ จ จ ริ ง ได้ไหม ? ผู้ ป ระกอบการไม่ จ าเป็ น ต้ อ งลงมื อ ท าเองทุ ก ขั้นตอน แต่ต้องมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และ สาหรับธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแล้ว ความสามารถ ธุร กิจ ที่ก าลั งจะท าว่ าประกอบด้ ว ยปัจ จัย และ ทางด้านการออกแบบเป็นเรื่องจาเป็นสาหรับผู้มี ขั้น ตอนใดบ้ าง เพื่อให้ ส ามารถออกแบบธุรกิจ ทุนน้อยและเพิ่งเริ่มต้น แม้จะสามารถจ้างผลิต วางแผนกระบวนการผลิต วางแผนการขายได้ ได้ แต่จาเป็นต้องมีองค์ความรู้ทั้งการออกแบบ อย่างเหมาะสม ตามแนวทาง “คิดได้ ทาได้ ขาย วั ส ดุ และการตั ด เย็ บ เพื่ อ ให้ เ ลื อ กใช้ วั ส ดุ ไ ด้ ได้” โดยสามารถสรุปองค์ความรู้ที่จาเป็นสาหรับ เหมาะสมกั บ การออกแบบ หากไม่ มี ค วามรู้ พื้นฐานเลย ควรเปลี่ยนไปทาธุรกิจอื่นๆ หรือ หา ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าได้ดังนี้  ความรู้ ด้ า น แ ฟชั่ น วั ส ดุ ศ าสตร์ การ ความรู้ก่อนตัดสินใจลงทุน ออกแบบ การทาแพทเทิร์น และการตัดเย็บ การควบคุมคุณภาพสินค้าที่ปลายทางเริ่มต้น ตั้งแต่ต้นทาง เพื่อให้ออกแบบสินค้าได้ตรงตามเป้าหมาย ทราบคุณสมบัติและข้อจากัดของ วัสดุที่นามาใช้ คุณค่าของสินค้าที่จะนาเสนอ เหมาะสมกับวัสดุและการใช้งาน ผลิตเสื้อผ้าให้ สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และรู้แหล่งในการแสวงหาวัตถุดิบแต่ละชนิด  ความรู้ ด้ า นกระบวนการผลิต และการบริ ห ารจัด การ ผู้ ป ระกอบการจาเป็ นต้ องทราบ ขั้นตอนการทางาน เพื่อให้สามารถสื่อสารกับช่างตัดเย็บได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถ ประเมินอุปกรณ์ที่ต้องใช้ ระยะเวลา ความยากง่ายของงานแต่ละอย่าง ข้อมูลส่วนนี้จะช่วย ผู้ประกอบการในการวางแผนการผลิต การหาวัตถุดิบ การจ้างแรงงาน การควบคุมต้นทุน และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างการผลิตที่ต้องอาศัยความรู้เฉพาะ ทางที่จะนาไปสู่การตัดสินใจเลือกทางออกของปัญหาได้ทันเวลา  ความรู้ด้านธุรกิจ ตลาดและลูกค้า เมื่อทราบแล้วว่าจะผลิตอย่างไร ก็ต้องเข้าใจพฤติกรรม และความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้อย่างแท้จริง สามารถกาหนดรูปแบบและขนาด ของธุรกิจได้อย่างเหมาะสม สามารถนาข้อมูลด้านลูกค้ามาแปรเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ สามารถออกแบบกิจกรรมส่งเสริมการขายตามโอกาสและเทศกาลสาคัญตามกลุ่มเป้าหมาย และนาไปสู่การสร้างความประทับใจและสร้างโอกาสในการซื้อซ้า

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-41


ศูนย์ต้นคิด สร้างสรรค์โอกาสใหม่ให้ผู้ประกอบการธุรกิจแฟชั่น สาหรับผู้ประกอบการใหม่ในธุรกิจแฟชั่น การได้โอกาสเรียนรู้การออกแบบ ได้ทดลองพัฒนาผลิ ตภัณฑ์ด้วยตนเอง หรือมีพี่เลี้ยงรอยให้คาปรึกษาในการทาธุรกิจย่อมเป็นโอกาสที่ดียงิ่ ในประคับประคองธุรกิจในช่วงเริ่มต้นให้ก้าวต่อไป ได้ ศู น ย์ ต้ น คิ ด จั ด ตั้ งขึ้ น เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งนุ่ งห่ ม ไทยทุ ก ภาคส่ ว น ทั้ งธุ ร กิ จ สิ่ งทอ เครื่องนุ่งห่ม เครื่องจักรสิ่งทอ อุปกรณ์เครื่องนุ่มและสินค้าไลฟ์สไตล์อื่นๆ เช่น เครื่องหนัง กระเป๋า และรองเท้า โดย มีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาต้นแบบผลิตภั ณฑ์ร่วมกับผู้ประกอบการ สร้างมู ลค่าเพิ่ม ลดต้นทุน และสร้าง เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในธุรกิจแฟชั่น ศูนย์ต้นคิดเน้นการให้คาปรึกษาและสอนให้ผู้ประกอบการเข้าใจกระบวนการ และสามารถทาได้ด้วยตนเอง ตั้งแต่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การผลิตไปจนถึงการนาเสนอสินค้า โดยมีบริการดังต่อไปนี้

สถานที่ติดต่อ ศูนย์ต้นคิด 127/36 อาคารปัญจธานี ชัน้ 31 ถนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กทม 10120. โทร 02-6281-2559 โทรสาร 02-681-2221 www.fashion FEDC.org เวลาทาการ จันทร์ – เสาร์ 10.00- 17.30 น.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-42


 ารเริ่มต้นธุรกิจ การเริ่มต้นธุรกิจใหม่ต้องคานึงถึงปัจจัยที่สาคัญหลายประการ เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเห็นภาพรวมและ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ การจาลองภาพของการดาเนินธุรกิจเป็นแนวคิดที่ช่วยให้ผู้ประกอบการ เห็นภาพของการดาเนินธุรกิจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น Business Model Canvas2 เป็นเครื่องมือที่ทาให้ผู้ประกอบการ สามารถเข้าใจถึงแบบจาลองธุรกิจที่ผู้ประกอบการต้องที่จะเริ่มลงทุน (Start Up) ให้มีประสิทธิภาพ3 Business Model Canvas มีลักษณะเป็น Template ที่ช่วยให้ผู้ประกอบการเห็นภาพความสัมพันธ์ของกิจกรรมหลักใน การดาเนินธุรกิจ ซึ่ งผู้ประกอบการสามารถดาเนินการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของกิจกรรมพร้อมทั้งใช้เป็น เครื่องมือในการระดมสมองเพื่อปรับปรุงองค์ประกอบด้านต่างๆ ในการดาเนินธุรกิจ4 1. กาหนดกลุ่มลูกค้า (Customer Segments) เนื่องจากตลาดเสื้อผ้าแฟชั่นเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายอาทิ เสื้อ กางเกง กระโปรงและเดรส ที่มีทั้งรู ป แบบแฟชั่น เครื่องแต่งกายแบบเป็นทางการและแบบล าลอง โดยกลุ่ มลู กค้า เป้าหมายส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มผู้บริโภคที่ชื่นชอบสินค้าทันสมัย ตามสมัยนิยม มีเอกลักษณ์และมีรสนิยมในการ แต่งตัวที่บ่งบอกคาแรคเตอร์ของตนเองได้อย่างชัดเจน เป็ นกลุ่มที่มีพฤติกรรมในการเสาะแสวงหาสินค้าที่ สามารถตอบสนองความต้องการของตนเองได้อย่างถึงที่สุด (ใช้ความพยายามในการค้นหาสินค้าที่เหมาะสมกับ ตนเอง) ดังนั้น ผู้ประกอบการควรกาหนดกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ซื้อสินค้าของธุรกิจให้ชัดเจนก่อนเริ่มดาเนินธุรกิจ หรือผลิตสินค้า เช่น  กลุม่ ลูกค้าอัลตร้าไฮเอนด์ (Ultra High-End) คือ เป็นกลุ่มที่มีรายได้สูง มีอานาจการซื้อ สูง ต้องการสินค้าดีมีคุณภาพ ราคาสินค้าไม่ใช่ปัจจัยสาคัญในการเลือกซื้อสินค้ากลุ่มลูกค้า ระดับนี้ เช่น กลุ่มนักธุรกิจและผู้บริหารระดับสูง ลูกค้ากลุ่มนี้มีความต้องการเสื้อผ้าคุณภาพดี หรู หราและสามารถบ่งบอกถึงฐานะของตนเองได้ โดยส่ วนใหญ่ลูกค้ากลุ่มนี้มัก นิยมและ เลือกใช้สินค้าแบรนด์เนมหรูจากต่างประเทศ หากเป็นสินค้าแบรนด์ไทยสินค้านั้นๆ ต้องเป็น สินค้าระดับอัลตร้าไฮเอนที่บ่งบอกถึงรสนิยม ฐานะทางครอบครัวและสังคมที่โดดเด่นได้อย่าง ชัดเจน

2

Osterwalder, A. and Pigner, Y. (2010), Business Model Generation, John Wiley and Sons. Sectoral Technology Board ของประเทศอังกฤษได้เสนอแนวทางการใช้ Business Model Canvas ให้กับผู้ประกอบการต้องการเริ่มดาเนิน กิจการใหม่. 4 www.businessmodelgeneration.com. 3

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-33


 กลุ่มลูกค้าแฟชั่นไฮเอนด์ (High-End Fashion) คือ กลุ่มลูกค้าที่ชื่นชอบสินค้าแฟชั่น เป็นกลุ่มที่มีรายได้สูง มีฐานะทางการเงินดี มีกาลังซื้อสูง กลุ่มลูกค้าระดับนี้ มักจะเปรียบเทียบระหว่างราคากับคุณภาพ เนื่องจาก มีโอกาสในการเลือกซื้อสินค้าที่ดีกว่าและถูกใจกว่าแม้ สิ น ค้ า นั้ น ๆ จะมี ร าคาสู ง กว่ า ลู ก ค้ า กลุ่ ม นี้ มี ค วาม ต้อ งการสิ น ค้ า ดี มี คุ ณ ภาพ ทั น สมั ย น าแฟชั่ น และ เหมาะสมกั บ ราคา โดยสิ น ค้ า นั้ น ๆ ต้ อ งบ่ ง บอกถึ ง รสนิยมและฐานะทางสังคมของกลุ่มลูกค้าได้  กลุ่มลูกค้าแฟชั่นแบรนด์ (Fashion Brand) คือ กลุ่มลูกค้าที่ชื่นชอบสินค้าแฟชั่น กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ สูงถึงปานกลาง มีอานาจการปานกลางถึงสูง ต้องการ สิ น ค้ า ดี มี คุ ณ ภาพ มี เ อกลั ก ษณ์ แ ละบ่ ง บอกถึ ง ไลฟ์ สไตล์ ข องตนเอง ชอบสิ น ค้ า เรี ย บหรู แ ละดู ดี แ ละมี รสนิยม  กลุ่มลูกค้าสตรีทแฟชั่น (Street Fashion) คือ กลุ่มลูกค้าที่เป็นนักเรียน นักศึกษา และกลุ่มวัยทางาน ที่พึ่ง จะเริ่ ม ต้น ท างานใหม่ๆ กลุ่ มนี้ จะเป็น กลุ่ ม ที่ใ ห้ ความสาคัญกับสินค้าแฟชั่นมากที่สุด สนใจและเสาะ แสวงหาสิ น ค้ า ที่ ใ หม่ ที่ ก าลั ง เป็ น ที่ นิ ย ม ติ ด ตาม ข่าวสารแฟชั่น และมีความถี่ในการซื้อสินค้าแฟชั่นสูง กว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้น สินค้าแฟชั่นของกลุ่มลูกค้าวั ยรุ่น จะเป็นสินค้าที่มีราคาไม่สูงมากนัก มีความถี่ในการซื้อ สูงตามกระแสนิยม  กลุ่มนักท่องเที่ยว (Tourist) คือ กลุ่มลูกค้าที่เป็นนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ มั ก เป็ น การเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า เพื่ อ เป็ น ของที่ ร ะลึ ก หรื อ ของฝากที่ แ สดงถึ ง อั ต ลั ก ษณ์ แ ละ เอกลักษณ์ของประเทศไทยหรือประเทศที่เดินทางมาท่องเที่ยว การดีไซน์เน้นความสวยงาม และมีอัตลักษณ์ที่ผสมผสานระหว่างแฟชั่นกับความไทย โดยส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าที่จาหน่าย ตามแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญๆ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-34


2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) คุณค่าที่นาเสนอ หมายถึง จุดขายของสินค้าและ บริการที่จะทาให้ลูกค้ากลับมาซื้อผลิตภัณฑ์ อย่างต่อเนื่อง การสร้างจุดขายต้องมาจากความเข้าใจความ ต้องการของลูกค้าเป้าหมายและจุดแข็งของผู้ประกอบการที่สามารถนาไปใช้ในธุรกิจได้ อาทิเช่น  ราคาที่ เ หมาะสมกั บ รู ป แบบ และคุ ณ ภาพของ คุณภาพสินค้า ไม่ตั้งราคาสูงเกินไปหรือตั้งราคาที่ เอาเปรียบผู้บริโภคมากเกินไป หรือผู้บริโภคอาจ ไม่ให้ความสนใจสินค้าแบรนด์นั้นไปเลย เนื่องจาก เข้ า ใจว่ า เป็ น สิ น ค้ า ราคาแพงเกิ น ไป เนื่ อ งจาก เสื้ อ ผ้ า แฟชั่ น มี แ นวโน้ ม การเปลี่ ย นแปลงอย่ า ง รวดเร็ว  สินค้าดีมีคุณภาพและมีเอกลักษณ์เฉพาะแบรนด์ ที่บ่งบอกถึงไลฟ์สไตล์และตัวตนของกลุ่มลูกค้าได้ อย่ า งแท้ จ ริ ง เนื่ อ งจากเสื้ อ ผ้ า เครื่ อ งแต่ ง กาย เปรียบเสมือนกระจกที่สะท้อนตัวตนของผู้สวมใส่ ดังนั้น เอกลักษณ์ของแบรนด์สินค้าต้องสามารถ สะท้อนตัว ตนของกลุ่ มลู กค้าเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้อย่างแท้จริง เช่น แบรนด์กางเกงยีนส์ ที่ สามารถใส่ไปทางานได้ มีรูปแบบการดีไซน์และตัดเย็บกึ่งสไตล์ชุดทางานและลาลอง สามารถ สะท้อนตัวตนของลูกค้าที่เป็นคนรุ่นใหม่ วัยทางานที่มีไลฟ์สไตล์คล่องแคล่วและสมาร์ท เป็น ต้น  การรับประกันสินค้าและความพึงพอใจ จากการสร้างความเชื่อมั่นในการใช้สินค้าว่าลูกค้าจะ ได้ ใ ช้ สิ น ค้ า ดี มี ก ารรั บ ประกั น คุ ณ ภาพของสิ น ค้ า หรื อ รั บ เปลี่ ย นสิ น ค้ า ให้ ใ หม่ ห ากพบ ข้อผิดพลาดจากการตัดเย็บหรือคุณภาพของวัสดุประกอบเสื้อผ้า  การให้บริการ ให้คาแนะนาและให้ความช่วยเหลือลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าได้รับสินค้าที่ดีที่สุด ให้ คาแนะนาและคัดเลือกเสื้อผ้าที่เหมาะสมกับไลฟ์สไตล์และการใช้งานของลูกค้าอย่างจริงใจ ให้คาแนะในการเก็บรักษาเสื้อผ้าอย่างถูกวิธี เช่น การเก็บรักษา การซักล้างและการทาความ สะอาดในกรณีเลอะสิ่งสกปรกประเภทต่างๆ 3. ระบุช่องทาง (Channels) ช่องทางการจาหน่ายสินค้า ช่องทางการสื่อสารกับลูกค้า ล้วนสะท้อนภาพลักษณ์ของแบรนด์ ทั้งสิ้น บ่อยครั้งที่การสื่อสารหรือนาเสนอสินค้าและบริการของธุรกิจ ไม่ตรงกลุ่มเป้าหมาย ใช้ช่องทางหรือ วิธีการที่ไม่เหมาะสม ทาให้แบรนด์เสียคุณค่าไป การสร้างความต้องการในผลิตภัณฑ์และบริการของธุรกิจ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-35


การส่งมอบไอเดียและความสร้างสรรค์ ควรใช้ช่องทางที่บ่งบอกถึงตาแหน่งและภาพลักษณ์ของสินค้าและ บริการได้อย่างชัดเจน การระบุช่องทางจัดจาหน่ายต้องสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น  ร้านค้า/หน้าร้านของตนเอง (Shop) การเลือกทาเลที่ตั้งร้านค้าเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผล ต่อยอดขายและรายได้ของธุรกิจ และการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้อย่างตรงกลุ่มและ เหมาะสมกับสินค้า ผู้ประกอบการควรเลือกทาเลที่เป็นแหล่งช้อปปิ้งของกลุ่มลูกค้า เป้าหมาย เช่น สยามเซ็นเตอร์ เอเชียทิค ตลาดนัดจตุจักร หรือแหล่งช้อปปิ้งมอลล์ต่างๆ เป็นต้น  เว็บไซต์หรือสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็นสื่อที่เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและ สามารถเข้าถึงได้ในวงกว้างและมีต้นทุนต่า  เครือข่ายธุรกิจในรูปแบบของการขายฝาก เป็นการวางขายสินค้าผ่านร้านค้าที่จาหน่าย สินค้าแฟชั่นในกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน เช่น การฝากขายเสื้อผ้าแฟชั่นกับร้านขายกระเป๋า หรือรองเท้าแฟชั่นของกลุ่มวัยรุ่น เป็นต้น  คู่ค้าทางธุรกิจ เช่น ห้างสรรพสินค้า โรงแรมและสปา 4. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) คือ การสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้าเป้าหมาย ตั้งแต่การหาลูกค้า การให้บริการลูกค้า และติดตามหลังการใช้บริการ ซึ่งกระบวนการทั้งหมดจะมีความเชื่อมโยงกันตั้งแต่กระบวนการวิเคราะห์กลุ่ม ลูกค้า เพื่อนาเสนอคุณค่า ผ่านช่องทางการเข้าถึงลูกค้า จนมาสู่การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้าและการ วนกลับมาใช้บริการใหม่ ในรายแบรนด์เสื้อผ้าขนาดเล็ก การรักษาฐานแฟนคลับไว้ถือเป็นเรื่องจาเป็น ซึ่ง ผู้ประกอบการอาจเลื อกกิจกรรมที่สามารถทาร่วมกับลูกค้าตามกลยุทธ์ธุรกิจ เช่น การจัดกิจกรรมเปิดตัว คอลเลคชั่นสินค้าใหม่โดยเชิญลูกค้าเก่าหรือลูกค้าประจามาร่วมงานด้วย เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในตัวสินค้า การ กิจกรรมร่วมสนุกกับแบรนด์ แจกของที่ระลึก คุยกันทางสื่อสังคมออนไลน์บ่อยๆ กิจกรรมที่เกี่ยวกับการ ขายเช่น การสะสมแต้ม การแชร์ภาพเพื่อรับส่วนลดในการแนะนาลูกค้าใหม่ การให้คาแนะนาการแต่งตัวที่ เหมาะกับบุคลิก เป็นต้น 5. รายได้ (Revenue Streams) รายได้หลักของธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น คือ รายได้จากการขายเสื้อผ้า อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไป ในธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มักจะให้ความสาคัญกับการผลิตสินค้าที่เกี่ยวข้องหรือ ช่วยเสริมภาพลักษณ์ให้กับเสื้อผ้าดูดีขึ้น เช่น กระเป๋า รองเท้า หรือผ้าพันคอ ส่วนหนึ่งเพื่อความหลากหลายใน ตัวสินค้าและเพื่อความสวยงามในการแนะนาสินค้าในรูปแบบคอลเลคชั่น ซึ่งหากผู้ประกอบการรายใหม่มี ศักยภาพในการออกแบบและผลิตสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเสื้อผ้าแฟชั่น ก็จะช่วยให้ธุรกิจมีรายได้เพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-36


6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) ข้อแนะนาสาหรับทรัพยากรตั้งต้นที่ใช้ในการดาเนินธุรกิจ มีดังนี้  ร้านค้า/หน้าร้าน สาหรับธุรกิจเสื้อผ้าแล้ว คน การเลือกสถานที่ตั้ง ไทยนิยมทดลองใส่ก่อนตัดสินใจซื้อ การขาย ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ควรทาคู่กัน แม้ไม่มี อาจใช้ วิ ธี มี ห น้ า ร้ า นในย่ า นการค้ า หรื อ ย่ า น ตลาดนัดออฟฟิศ พื้นที่ประมาณ 20-60 ตาราง หน้าร้าน แต่ควรมีจุดวางขายสินค้าที่ให้ลูกค้า เมตร โดยแบ่งพื้นที่ ครึ่งหนึ่งสาหรับแสดงสินค้ า ได้ทดลองได้ หรือ มีออฟฟิศสาหรับทางาน ติด ต่ อลูกค้า ส่วนอีกครึ่ งหนึ่งใช้เ ก็บสต็ อ ก ใช้ และจั ด สรรเป็ น สตู ดิ โ อลองเสื้ อ ส าหรั บ พื้นที่บรรจุสินค้าเตรียมจัดส่งแก่ลูกค้าและเป็นที่ ผู้ ป ระกอบการบางรายมี ห น้ า ร้ านออนไลน์ นั่งทางาน เท่านัน้ สามารถแก้ปัญหานี้ได้โดยจัดสรรพื้นที่ อยู่อาศัยให้เป็นสตูดิโอได้  อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ ได้ แ ก่ อุ ป กรณ์ ที่ จาเป็ น ส าหรั บ การออกแบบ เช่น อุปกรณ์ เครื่ องเขีย น อุป กรณ์ ตัด ต่อ และเย็บ สิ นค้ า คอมพิวเตอร์ ปริ้นเตอร์ โต๊ะเขียนแบบ และ อุปกรณ์ในการตัดเย็บ เช่น จักรอุตสาหกรรม จักรปักคอม จักรแพทเทิร์น และเครื่องตัดผ้า เป็นต้น  วัตถุดิบและวัสดุ เพื่อการผลิต มีหลายหลาย ชนิดในกรุงเทพมหานคร แหล่งที่สามารถหา ซื้ อ ผ้ า ผื น ได้ ห ลากหลายได้ แ ก่ ย่ า นพาหุ รั ด และส าเพ็ ง เป็ น ต้ น หาข้ อมู ล นวั ตกรรมผ้ า แบบใหม่ๆ ได้ที่สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรม สิ่งทอ ศูนย์ต้นคิด มูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรม เครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น  พนักงานแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ - พนักงานประจาสานักงาน ทาหน้าที่เป็น ผู้ ช่ ว ยในการดู แ ลหน้ า ร้ า น หี บ ห่ อ พั ส ดุ จั ด ส่ ง ของและจดบั น ทึ ก บั ญ ชี เป็ น ต้ น

ทวีการจักร จาหน่ายจักรเย็บอุตสาหกรรมทุกชนิด อาทิ จักร เย็บ SHUNFA, JUKI จักรพ้ง จักรลา จักรเย็บ คอมพิวเตอร์ จักรปักคอม จักรเย็บมอเตอร์ จักร แพทเทิ ร์น จัก รเข็ม คู่ลู กโซ่ จั กรเย็บ หนั ง จัก ร แท็กกิ้ง เครื่องกรอด้าย เครื่องตัดผ้า เตารีดไอน้า เป็นต้น พร้อมทั้งจาหน่ายอะไหล่จักรและอะไหล่ เตารีดทุกชนิด เส้นด้ายและอุปกรณ์เย็บผ้าต่างๆ ในราคาที่ย่อมเยาและเป็นกันเอง (ที่มา: http://www.taweejak.com)

Ricardo ตัวแทนจาหน่ายผ้า ขายส่งผ้าทุกชนิด ผ้าตัดสูท ผ้าคอทตอทและผ้าตัดชุดยูนิฟอร์มอื่นๆ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

(ที่มา: www.ricardothailand.com)

2-37


เพื่อให้เจ้าของกิจการมีเวลาในการดูแลการออกแบบด้วย กรณีนี้หากมีหุ้นส่วนช่วยทางาน หรือมีสมาชิกในครอบครัวช่วยสนับสนุนก็จะประหยัดค่าจ้างในส่วนนี้ไป - โรงงานรับจ้างผลิต หรือช่างฝีมือไม่ว่าจะ เป็นช่างทาแพทเทิร์น ช่างตัดเย็บ ซึ่งควร ใช้ระบบจ้างเหมา Outsource เพื่อไม่ให้ กิ จ การต้ อ งรั บ ภาระต้ น ทุ น ค่ า แรงมาก เกิน ไป การ Outsource ทาให้ สามารถ คานวณต้นทุนต่อชิ้นผลิตภัณฑ์ได้ง่าย แต่ NOOZ SHOP มี ค ว า ม เ สี่ ย ง ใ น เ รื่ อ ง คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ให้ บ ริ การ ตั ด เ ย็ บ เ สื้ อผ้ า ตาม ที่ อ อกแบ บ ระยะเวลาการส่ งมอบที่เจ้าของกิจการ ให้ บ ริ ก ารท าแพทเทิ ร์ น ตั ด เย็ บ ตกแต่ ง ต้องควบคุมดูแล ตรวจสอบคุณภาพและแพ็คกิ้งสินค้า (ที่มา www.nooz-shop.com)

7. กิจกรรมหลัก (Key Activities) คือ กิจกรรมที่สร้างคุณค่าและส่งมอบให้กับลูกค้า และจะต้องตรงตามวัตถุประสงค์หรือความ คาดหวังของลูกค้าตามประเภทของธุรกิจด้วย  การออกแบบ คือ เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างตัวตนให้กับแบรนด์ งานออกแบบที่สามารถขาย ได้ต้องชูลักษณะเด่น เช่น มีอัตลักษณ์เป็น ของตนเอง หรือมีการดีไซน์ที่ช่วยแก้ปัญหาของ ผู้ใช้งาน การออกแบบที่ดีผู้ ประกอบการต้องเข้าใจคุณสมบัติข องวัสดุที่นามาใช้ในการผลิต สินค้าด้ว ย การแปลงแบบไปสู่ สินค้าจริงต้องอาศัยช่างแพทเทิร์นที่ช านาญและควรมีการ ทดลองตลาดก่อนออกขายจริง เช่น สอบถามความเห็นลูกค้าเดิม คนรอบข้าง เพื่อให้มั่นใจว่า การออกแบบในคอลเลคชั่นนั้นๆ ได้ส่งมอบคุณค่าที่ตรงใจกลุ่มตลาดเป้าหมาย  การจ้างผลิต สิ่งที่ควรคานึงถึงเป็นอย่างมาก คือ การควบคุมคุณภาพและใส่ใจในรายละเอียด การตัดเย็ บ เพื่อให้ ได้สิ น ค้าตามแบบที่ว างไว้ นอกจากนั้นยังต้องตกลงกับผู้ รับจ้างอย่าง ละเอียดรอบคอบ เพื่อไม่ให้งานออกแบบที่ทาไว้รั่วไหลก่อนที่สินค้าจะออกสู่ตลาด  การตลาดและการขาย เป็นเรื่องใหญ่ ที่สุดของการสร้างแบรนด์เสื้อผ้าให้เป็นที่จดจา เริ่ม ตั้งแต่การหาตลาดเป้าหมาย หาทางเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และมีการสื่อสารระหว่างกัน สร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้าได้มีโอกาสทดลองซื้อ การกาหนดวิธีการสื่อสารและช่องทางการ สื่อสารเป็นเรื่องสาคัญ เช่น การหาหน้าร้านในย่านที่กลุ่มเป้าหมายอยู่ บางครั้งไม่จาเป็นต้อง เป็นย่านแฟชั่นที่มีสินค้าประเภทเดียวกันวางขาย แต่เป็นอีเวนต์ที่รวมกลุ่มลูกค้าเป้าหมายอยู่ ด้วยกันก็เป็นเทคนิคที่ได้ผล การสื่อสารออนไลน์ ต้องเข้าถึงชุมชนที่มีกลุ่มเป้าหมายรวมตัว แลกเปลี่ยนความเห็นกันประจา เพื่อให้เกิดกระแสบอกต่อกัน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-38


8. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) คู่ค้าหลักทางธุรกิจ หมายถึง เครือข่ายของซัพพลายเออร์ และคู่ค้าหลักที่สนับสนุนการดาเนิน ธุรกิจตามห่วงโซ่อุปทาน ผู้ประกอบการต้องอาศัยคู่ค้าหลักทางธุ รกิจด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น เพื่อลด ความเสี่ยงจากการทางานที่ไม่ถนัด เพื่อจ้างผลิตลดภาระต้นทุนจากการผลิตเองทุกขั้นตอน เพื่อความสะดวก ในการจัดเก็บสินค้าและขนส่งหรืออาศัยทรัพยากรในการสนับสนุนการดาเนินธุรกิจเพื่อร่วมกันออกตลาด ซึ่ง ลักษณะความสัมพันธ์ของคู่ค้าหลักทางธุรกิจอาจจะเป็นในรูปแบบของ การเป็นพันธมิตรกั บธุรกิจที่สนับสนุน การดาเนินธุรกิจตามห่วงโซ่อุปทาน การมีความร่วมมือกับคู่แข่งเพื่อร่วมกันออกงานแสดงสินค้า หรือหยิบยืม แลกเปลี่ ยนสิ นค้า การดาเนินธุรกิ จ ร่วมกัน เพื่อทาธุรกิจใหม่หรือ การสร้างความสั มพันธ์ระหว่าง ผู้ซื้อและ ซัพพลายเออร์เพื่อสร้างความมั่นใจด้านวัตถุดิบในการผลิต คู่ค้าหรือพันธมิตรทางธุรกิจที่สาคัญและผู้เริ่มธุรกิจ ควรมองหาไว้ได้แก่  พันธมิตรในห่วงโซ่อุปทาน เช่น ร้านจาหน่าย วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ อุ ป กรณ์ บริ ษั ท ขนส่ ง นักทาแพทเทิร์น ช่างตัดเย็บตกแต่ง โรงงาน รับจ้างผลิต และโรงงานบรรจุภัณฑ์ เป็นต้น Siampro  พัน ธมิ ตรที่ ไ ม่ใ ช่คู่ แข่ ง แต่ มีวิ ธีคิ ดหรือ ขาย ผู้ผลิตกระดุม กระดุมสแน๊ป กระดุมยีนส์ ผู้ผลิต สิ น ค้ า ใกล้ เ คี ย งกั น เช่ น ร้ า นรองเท้ า ร้ า น อุปกรณ์ตกแต่งเสื้อผ้า ผู้ผลิตหมุดตอกหนัง หรือ เครื่องประดับแฟชั่น แบรนด์เครื่องสาอาง ตาไก่ทุกชนิด ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น ธุรกิจถ่ายแบบแฟชั่น (ที่มา www.siampro.co.th) ธุรกิจบันเทิง และธุรกิจแมกกาซีน เป็นต้น  คู่แข่งที่ใช้กลยุทธ์ร่วมกันบ่อยๆ เช่น การออกร้านร่ วมกับแบรนด์เสื้อผ้าอื่นๆ การออกงาน แสดงสินค้าตามสถานที่ต่างๆ  พันธมิตรที่รวมกันทาให้เกิดธุรกิจใหม่ เช่น ธุรกิจแฟชั่นเสื้อผ้ากับเทคนิคการแพทย์ ธุรกิจ เสื้อผ้ากับธุรกิจท่องเที่ยวโรงแรมและสปา เป็นต้น 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) โครงสร้างต้นทุนหมายถึง ต้นทุนที่เกิดระหว่างการดาเนินธุรกิจ ประกอบ ไปด้วยต้นทุนที่สาคัญ 2 ส่วน คือ เงินลงทุนในการจัดตั้งกิจการ (Investment) และ เงินทุนในการดาเนินธุรกิจ (Operating cost)  เงินลงทุนในทรัพย์สินถาวร คือ เงินทุนที่ลงไปเพื่อจัดตั้งกิจการ เช่น ที่ดิน เครื่องจักร อุปกรณ์สานักงานที่ใช้เพื่อเริ่มต้นธุรกิจ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-39


 เงินทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน คือ ต้นทุนในการผลิตและส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้า ใช้เป็น แนวทางในการคิดเรื่องกาไร-ขาดทุน ต้นทุนในส่วนนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ - ต้นทุนคงที่ หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นประจาในกิจการไม่ว่าจะเกิดกิจกรรมการผลิตขึ้น หรือไม่ก็ตามประกอบไปด้วยค่าเช่าหน้าร้าน ค่าเช่าโกดังสินค้า เป็นต้น - ต้น ทุน ผัน แปร หมายถึง ต้นทุนที่เกิดขึ้น โดยมีค่าผันแปรไปตามยอดขายสิ นค้าหรือ บริ ก าร เช่ น ค่ า จ้ า งผลิ ต ต่ อ ชิ้ น งาน ค่ า วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ สิ้ น เปลื อ ง ค่ า บรรจุ ภั ณ ฑ์ ค่าขนส่งและค่าไปรษณีย์ ค่าสาธารณูปโภค อาทิ ค่าน้าค่าไฟและค่าโทรศัพท์ เป็นต้น โครงสร้างการลงทุน ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น

ค่าสาธารณูปโภค ค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์

หมายเหตุ: ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดเริ่มต้นของกิจการ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-40


การลงทุน สินทรัพย์ถาวร ค่าออกแบบ/ตกแต่งหน้าร้าน รวมอุปกรณ์ชั้นวางในร้าน

ค่าเช่าสานักงาน

ค่าอุปกรณ์สานักงาน

ค่าจัดทาเว็บไซต์ และค่าเช่า โดเมนต่อปี

สินทรัพย์หมุนเวียน ค่าจ้างพนักงานประจา ค่าเช่าที่หน้าร้าน ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าโทรศัพท์ ค่าสินค้า

คาอธิบาย

ค่าใช้จ่าย

ประมาณการจากการซื้ อ อุ ป กรณ์ ไ ปจนถึ ง การจ้ า ง ออกแบบติดตั้งอุปกรณ์สาเร็จ สาหรับพื้นที่ใช้สอยขั้นต่า ประมาณ 15 ตารางเมตรมีต้นทุนค่าตกแต่งขั้นต่าตาราง เมตรละประมาณ 5,000 บาท หากพื้นที่ใช้สอยเกิน 30 ตารางเมตรค่า ตกแต่งเริ่ มต้ น ประมาณ 500,000 บาท ส่วนความแตกต่างของราคาขึ้นอยู่กับรูปแบบการตกแต่ง และการเลือกใช้วัสดุตกแต่ง สาหรับหารทางานออกแบบ การบรรจุสินค้า และเก็ บ วัตถุดิบตลอดจนสินค้าคงคลัง อาจแบ่งพื้นที่บางส่วนใน บ้ า นมาใช้ หรื อ เช่ า ห้ อ งคอนโดขนาดเล็ ก เพื่ อ ความ สะดวกในการทางาน โต๊ ะ ท างาน อุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ กล้ อ งถ่ า ยรู ป โทรศัพท์มือถือ External Hard disk หมึก ปริ้นเตอร์ กระดาษ ปากกาดิจิตอลวาดแบบ จักรอุตสาหกรรม และ อุปกรณ์ทาโมเดล เป็นต้น ประเมินราคาจากเว็ บไซต์สาเร็ จรูปพร้อมจดทะเบีย น Domain สาหรับ E-commerce ราคาแตกต่างกันตาม แพ็ ก เกจและการจ้ า งตกแต่ งเพิ่ ม เติ ม หากใช้ โ ซเซี ย ล มีเดีย อาจไม่มีค่าใช้จ่าย

45,000-500,000 บาท

ประมาณการจากอัตราการแรงขั้นต่า วุฒิปริญญาตรี จานวน 1 คน ประมาณการจากพื้นที่ 15-20 ตร.ม. ในย่านธุรกิจแฟชั่น และห้างสรรพสินค้ากรุงเทพมหานคร ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม

15,000 บาท/เดือน 6,000-13,000 บาท/เดือน 4,000-6,000 บาท/เดือน 100,000 บาท/เดือน

ขึ้นอยู่กับประเภทความหลากหลายของสินค้า และ คุณภาพโดยทั่วไปการรับจ้างผลิตจะรับขั้นต่า 100,000 บาท ในการจ้างผลิต ค่าบรรจุภัณฑ์และวัสดุสิ้นเปลือง ได้แก่หีบห่อ ซองพลาสติก ถุงช้อปปิ้ง ถุงผ้าหุ้มกระเป๋า กล่องบรรจุภัณฑ์ ป้ายห้อยสินค้า อุปกรณ์เย็บปัก และ วัสดุใช้สอยอื่นๆ ค่าน้ามัน/ค่าขนส่ง ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

0-8,000 บาท

40,000-100,000 บาท

0-5,000 บาท

3,000-10,000 บาท/เดือน 4,000-10,000 บาท/เดือน

2-41


การลงทุน ค่ากิจกรรมการตลาด

คาอธิบาย ขึ้ น อยู่ กั บ ประเภทกิ จ กรรมและการตั ด สิ น ใจของ ผู้ป ระกอบการว่ า จะท าเองหรื อไม่ เช่ น การถ่ ายแบบ สิ น ค้ า อาจตั ด สิ น ใจท าเองเพื่ อ ลดต้ น ทุ น หรื อ จ้ า งช่ า ง กล้อง เพื่อให้ได้ภาพลักษณ์สินค้าที่ดี การเขียนรีวิวสินค้า การจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย การซื้อพื้นที่โฆษณาบน อินเตอร์เน็ต เป็นต้น หมายเหตุ: ประมาณจากผู้ประกอบการขนาดเล็ก

ค่าใช้จ่าย 3,000-10,000 บาท/เดือน

สาหรับผู้ประกอบการใหม่การหลีกเลี่ยงต้นทุนคงที่ ถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ช่วยลดภาระของธุรกิจลงได้ การใช้ ระบบ Outsource ส าหรับผู้ เริ่ มธุร กิจ ใหม่เป็นทางออกที่ดีในการลดต้นทุนจาพวกเงินเดือนประจาของ พนักงาน และตัดทอนงานที่ไม่ถนัดออกไป ทาให้ผู้ประกอบการสามารถทางานได้เร็วขึ้น คานวณต้นทุนต่อชิ้น ของผลิตภัณฑ์ได้ง่ายขึ้น สะดวกในการคานวณหาจุดคุ้มทุน ในการดาเนินธุรกิจ ผู้ประกอบการต้องคานึงถึง จุดคุ้มทุน (Break-even Point) ซึ่งหมายถึง ระดับของรายได้ จากการขายสิ น ค้าหรื อบริ การที่ เท่ากับ ต้น ทุนที่ธุรกิจ ได้จ่ายออกไป หรือ จุดหรือระดับของรายได้ที่ธุรกิ จ “เท่าทุน” โดยส่วนที่เลยจุดหรือระดับของรายได้ดังกล่าวคือผลกาไรที่ธุรกิจจะได้ ผู้ประกอบการจะรู้จุดคุ้มทุน เมื่อรู่ว่าต้นทุนคงที่และผันแปรของกิจการเป็นเท่าไหร่ การคานวณจุดคุ้มทุนทาได้โดย (1) จุดคุ้มทุน (หน่วยขายที่คุ้มทุน) =

ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย

หรือ (2) จุดคุ้มทุน (ยอดขายที่คุ้มทุน) = หน่วยขายที่คุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย ตัวอย่างเช่น ธุรกิจหนึ่งมีค่าใช้จ่ายคงที่ในการดาเนินกิจการเดือนละ 100,000 บาท ตั้งราคาเดรสขายเดรสชุด ละ 1,200 บาท เป็นต้นทุนการผลิตใบละ 800 บาท เหลือกาไรสุทธิ 400 บาท ดังนั้น จานวนเดรสที่ธุรกิจนี้ ต้องขายให้ได้ในแต่ละเดือน เพื่อให้ถึงจุดคุ้มทุนคือเดือนละ 250 ชุด ถ้าธุรกิจมีรายได้หรือจานวนสินค้าที่ ขาย ได้น้อยกว่าระดับจุดคุ้มทุน ธุรกิจจะประสบกับสภาวะขาดทุน การทราบถึงจุดคุ้มทุนของธุรกิจเป็นสิ่งสาคัญ เพื่อให้กระบวนการในการวางแนวทางการเงิน และการวางแผนทางการตลาดเกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุด ส่วนระยะเวลาการคืนทุน (Payback Period) หมายถึง ระยะเวลาที่ต้องดาเนินธุรกิจนั้นไปจนกว่ากาไรที่ได้รับ มาจะคุ้มกับเงินที่ลงทุนไป สามารถคานวณได้จากกาไรสะสมที่ได้ตั้งแต่เริ่มต้นกิจการไปจนถึงปีที่ได้กาไรสะสม รวมเท่ากับเงินที่ลงทุน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-42


ตั

 วอย่าง การวิเคราะห์ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น ตามกรอบแนวคิด Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) 

พันธมิตรในห่วงโซ่อุปทาน เช่น

-

นักทาแพทเทิร์น โรงงานรับจ้างตัดเย็บ โรงงานบรรจุภัณฑ์

โรงเรียนสอนการออกแบบ พันธมิตรที่ไม่ใช่คู่แข่ง แต่มีวิธีคิด หรือ ขายสินค้าใกล้เคียงกัน เช่น เครื่องประดับแฟชั่น ร้านขายของที่ ระลึก ห้องเสื้อ สตูดิโอเสริมความงาม ร้านเครื่องสาอาง ธุรกิจรีวิวสินค้า ร้านค้าออนไลน์ คู่แข่งที่ใช้กลยุทธ์ร่วมกันบ่อยๆ เช่น การออกร้านร่วมกับแบรนด์อื่นๆ การ ออก Roadshow ตามสถานที่ต่างๆ

กิจกรรมหลัก (Key Activities)         

การออกแบบ การจัดหาวัตถุดิบ การตัดเย็บการตรวจสอบคุณภาพ การจัดหาบรรจุภัณฑ์ การสื่อสารการตลาดและการขาย กระบวนการจัดเก็บและขนส่งสินค้า การหาแหล่งเงินทุนหมุนเวียนและเงินทุน สารอง การจัดการบัญชีและภาษี การบริหารทรัพยากรบุคคล

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions)

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships)

 

 

การออกแบบสินค้าที่มี อัตลักษณ์ของตนเอง การออกแบบสินค้าให้เพือ่ แก้ปัญหาการใช้งาน ระบบซัพพลายเชนที่ทาให้ สินค้าถึงตลาดอย่างรวดเร็ว

 

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ช่องทาง (Channels)    

ทรัพยากรมนุษย์ ประกอบไปด้วย นัก ออกแบบผู้ช่วยเจ้าของร้าน เครื่องจักรอุปกรณ์สานักงานและการออกแบบ หน้าร้าน อุปกรณ์ตกแต่งหน้าร้าน / เว็บไซต์

โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure)  สินทรัพย์ถาวร ได้แก่ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องจักรในการผลิตเสื้อผ้า อุปกรณ์สานักงานและค่าจัดทาเว็บไซต์ เป็นต้น  สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ (1) ต้นทุนคงที่ต่อเดือน เช่น ค่าเช่าสานักงาน/สถานที่ ค่าบริการอินเตอร์เน็ต และเงินเดือนพนักงาน ประจา เป็นต้น และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าบริการจ้างเหมา ค่าบรรจุภัณฑ์ และค่าจัดส่งสินค้า เป็นต้น

(Customer Segments)

ทรัพยากรหลัก (Key Resources) 

 

การอานวยความสะดวกให้ลูกค้า การสร้างความรู้สึกปลอดภัย ให้กับลูกค้า การบริการหลังการขาย การสร้างชุมชน (Community) เพื่อสื่อสารแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ ซื้อและผู้ขาย

กลุ่มลูกค้า

การมีหน้าร้าน/การฝากขาย เว็บไซต์และสื่อสังคมออนไลน์ สื่อนิตยสาร/การบอกต่อ ห้างสรรพสินค้า

ลูกค้าอัลตร้าไฮเอนด์ กาลังซื้อสูง ต้องการ สินค้าดีมีคุณภาพ หรูหราและบ่งบอกถึงฐานะ ครอบครัว การเงินและสังคม กลุ่มแฟชั่นไฮเอนด์ มีกาลังซื้อสูง ต้องการ สินค้าที่บ่งบอกถึงไลฟ์สไตล์และฐานะทาง สังคม กลุ่มแฟชั่นแบรนด์ ลูกค้าที่มีรายได้สูง มี อานาจซื้อปานกลาง ต้องการสินค้าดีมี คุณภาพ ราคามีผลต่อการตัดสินใจ นิยมบ่ง บอกถึงไลฟ์ไสตล์หรือเอกลักษณ์ของตนเอง กลุ่มสตรีทแฟชั่น กลุ่มนักเรียนและวัยทางาน ตอนต้น มีกาลังซื้อปานกลางถึงน้อย ให้ ความสาคัญกับสินค้าแฟชั่น ติดตามข่าวสาร แฟชั่น และมีความถี่ในการซื้อสูง กลุ่มนักท่องเที่ยว นิยมบริโภคสินค้าแฟชั่นที่ บ่งบอกถึงความเป็นไทยหรือสะท้อนถึง เอกลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยว

รายได้ (Revenue Streams)  

รายได้จากการขายปลีกและขายส่ง รายได้จากการขายสินค้าอื่นเสริม

2-43


ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจแบรนด์เสือ้ ผ้าแฟชั่น ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น( S)

ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น( M)

ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ทุนเริ่มกิจการน้อย อาจเริ่มต้นธุรกิจใน ผู้ ป ระกอบการรุ่ น ใหม่ ที่ มี ศั ก ยภาพทางด้ า นการเงิ น อาจ ลักษณะการ Pre-Order เสื้อผ้าแบรนด์ตนเอง กล่าวคือ เริ่มต้นธุรกิจแบบมีร้านค้า (Shop) กล่าวคือ ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการเป็นผู้ออกแบบดีไซน์ และมีแบรนด์เป็นของ เป็ น ผู้ อ อกแบบดี ไ ซน์ แ ละมี แ บรนด์ เ ป็ น ของตนเอง แต่ ใ น ตนเอง แต่ในกระบวนการผลิตและขายเสื้อผ้า จะเป็นการรอ กระบวนการผลิตและขายเสื้อผ้า อาจจะเลือกใช้รูปแบบการ คาสั่งซื้อสินค้า เมื่อได้รับคาสั่งซื้อแล้วจึงดาเนินการผลิตเพื่อ จ้างโรงงานตั ดเย็ บเสื้อ ผ้า ตามแบบที่ ได้ ออกแบบไว้ โดยมี ส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า ธุรกิจลักษณะนี้จะไม่มีหน้าร้านหรือ กระบวนการทาธุรกิจ ดังนี้ ร้านค้า (Shop) ขายเสื้อผ้า โดยมีกระบวนการทาธุรกิจ ดังนี้ 1. การตั้งชื่อแบรนด์เสื้อผ้า 2. กาหนดกลุ่มเป้าหมายและประเภทของเสื้อผ้าที่ ต้องการจะขายและสินค้าอื่นๆ ที่เป็นคอลเลคชั่น เช่น ผ้าเช็ดหน้า กระเป๋าผ้าใส่เครื่องสาอาง เป็นต้น 3. การบริหารจัดการและการผลิตสินค้า

 ออกแบบเสื้อผ้าที่มเี อกลักษณ์และดีไซน์เป็นของ ตนเองและองค์ประกอบต่างๆ ของเสื้อผ้า เช่น วัตถุดิบ สี ขนาดและส่วนประกอบต่างๆ เช่น ซิป กระดุม และลูกไม้ เป็นต้น

 ติดต่อหรือหาโรงงานผลิตเสื้อผ้าแฟชั่น ตาม

1. การตั้งชื่อแบรนด์เสื้อผ้า 2. กาหนดกลุ่มเป้าหมายและประเภทของเสื้อผ้าที่ต้องการ จะขายและสินค้าอื่นๆ ที่เป็นคอลเลคชั่น เช่น ผ้าเช็ดหน้า กระเป๋าผ้าใส่เครื่องสาอาง เป็นต้น 3. การบริหารจัดการและการผลิตสินค้า

 ออกแบบเสื้อผ้าที่มเี อกลักษณ์และดีไซน์เป็นของ ตนเองและองค์ประกอบต่างๆ ของเสื้อผ้า เช่น วัตถุดิบ สี ขนาดไซส์ และวัสดุประกอบ เช่น ซิป กระดุม หรือลูกไม้ เป็นต้น

 ติดต่อหรือหาโรงงานผลิตเสื้อผ้าแฟชั่น ตาม รูปแบบที่ได้กาหนดไว้ หรือลงมือผลิตสินค้าด้วย ตนเอง

รูปแบบที่กาหนดไว้

 ผลิตสินค้าต้นแบบหรือสินค้าตัวอย่าง เพื่อ

 ผลิตสินค้าต้นแบบหรือสินค้าตัวอย่าง เพื่อนา

วางขายบนหน้าเว็บไซต์ 4. การตลาด โฆษณาและประชาสั ม พั น ธ์ โดยผ่ า น เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในรูปแบบเว็บไซต์ของตนเอง หรือขายสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็นสื่อ ที่มีต้นทุนต่าและสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง รวดเร็ว และเป็นวงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณาผ่าน สื่ออินเทอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศซื้อขายฟรี (E-Classified)

สินค้านั้นๆ มาวางจาหน่ายที่รา้ นค้าหรือบนหน้า เว็บไซต์ 4. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ โดยผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในรูปแบบเว็บไซต์ของตนเอง หรือขายสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็นสื่อที่ มีต้นทุนต่าและสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง รวดเร็ว และเป็นวงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณาผ่านสื่อ อินเทอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศซื้อ-ขาย ฟรี (E-Classified) หมายเหตุ: แนวคิดและแนวทางในการเริม่ ต้นธุรกิจ สามารถปรับรูปแบบได้ตามศักยภาพด้านเงินทุนและขีดความสามารถใน การบริหารจัดการของผู้ประกอบการแต่ละท่าน ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-44


 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ธุ ร กิ จ สามารถท าได้ ห ลากหลายรู ป แบบที่ แ ตกต่ า งกั น ไป ตามแนวคิ ด ของ ผู้ประกอบการแต่ละยุคสมัย ในคู่มือฉบับนี้จะขอนาเสนอวิธีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ ดังนี้ 1. งานบริการเพิ่มมูลค่า แม้สินค้าหลักจะเป็นแบรนด์เสื้อผ้าของตนเอง แต่ผู้ประกอบการสามารถสร้างความประทับใจ ให้กับลูกค้าโดยการอานวยความสะดวก เช่น มีสินค้าที่เข้าคู่ กับเสื้อผ้าของแบรนด์ตนเองมาขายแบบ Onestop Service บริการแนะนาเสื้อผ้าที่เข้ากับบุคลิกของลูกค้า และการบริการสั่งสินค้าเฉพาะให้ลูกค้า เป็นต้น 2. เดินหน้าธุรกิจออนไลน์และออฟไลน์คู่ขนานกัน ต้องยอมรับว่าปัจจุบันการตลาดออนไลน์มีบทบาทสาคัญทั้งกับผู้บริโภคและตัวผู้ประกอบการเอง สื่อสังคมออนไลน์ช่วยทาหน้าที่โฆษณาและประชาสัมพันธ์สินค้าและกิจการ ทาให้ผู้บริโภครับรู้ถึงตัวสินค้า และ สถานที่ตั้งร้านค้า เพื่อสร้างความมั่นใจต่อการตัดสินใจซื้อสินค้านั้นๆ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์มีมากมายที่ ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายการมีหน้าร้าน และมีเทคนิคที่ควรทดลองใช้ เช่น  ใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการประชาสัมพันธ์ พยายามติดตามหรือขอเป็นเพื่อนกับบุคคลหรือ ดาราผู้ที่มีบทบาทในการแต่งตัวหรือของกลุ่มวัยรุ่น ซึ่งคนกลุ่มนี้จะมีเครือข่ายเพื่อนเยอะ การ อัพเดทข้อมูลแต่ละครั้งจะมีผู้รับข้อมูลในวงกว้าง พยายามอัพเดทข้อมูลบ่อยๆ เพื่อแบรนด์มี ความเคลื่อนไหว  สร้างหน้าร้านค้าออนไลน์ ซึ่งมีเว็บสาเร็จรูปให้เลือกใช้บริการ  ใช้ ร ะบบ Dropship เพื่ อ ให้ ธุ ร กิ จ มี สิ น ค้ า Dropship อื่นๆ เข้ามาขายโดยไม่ต้องสต็อคสินค้าเอง คื อ การน าสิ น ค้ า ของคนอื่ น มาขาย โดยเรา หากขายสิน ค้าได้ก็จะได้ส่วนแบ่งกาไรจาก สามารถบวกกาไรเข้าไปอยู่ในสินค้านั้น ๆ โดยที่ สินค้านั้นๆ ในขณะเดียวกันหากลงทะเบียน เราไม่จาเป็นต้องส่งสินค้าหรือประกันสินค้าใด ๆ เป็นคู่ค้าใน Dropship เพื่อให้สมาชิกราย ว่าง่ายๆ คือ เราไปเป็นตั วกลาง โดยนาสินค้า อื่นๆ ดึงข้อมูลสินค้าไปช่วยประชาสัมพันธ์ ของเจ้าของโรงงานไปขายนั่นเอง (ที่มา www.thebiz.in.th) ก็เสมือนได้พนักงานขายช่วยอีกทางหนึ่ง

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-45


 ารขยายธุรกิจ...อีกระดับกับการพัฒนาธุรกิจ การขยายธุรกิจมีหลากหลายวิธี ทั้งขยายอย่างรวดเร็วและเป็นการเติบโตแบบก้าวกระโดด เรียกว่า Extensive Growth เช่น การเข้าไปซื้อกิจการของบริษัทคู่แข่งที่ทาธุรกิจใกล้เคียงกัน เพื่อเพิ่มกาลังผลิต ขยายตลาด และ ตัดกาลั งคู่แข่งส าคัญออกไป และมีวิธีการขยายธุรกิจอย่างช้าๆ แต่มั่นคงไปทีล ะขั้น ที่เรียกว่า Intensive Growth อย่างไรก็ตาม ในธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าผู้ประกอบการที่ต้องการขยายธุรกิจสามารถพัฒนาหรือขยายตัว ไปสู่ธุรกิจ ในอนาคต โดยให้บ ริการออกแบบและดีไซน์ เสื้อผ้าเฉพาะรายบุคคล (Custom Bags) ตาม บุคลิกลักษณะหรือไลฟ์สไตล์ของลูกค้าภายใต้ตราสินค้าหรือแบรด์ของผู้ประกอบการ โดยเสื้อผ้านั้นๆ อาจเน้น การออกแบบเป็นคอลเลคชั่นพร้อมกับสินค้าเชื่อมโยงอื่นๆ เช่น เสื้อ กระโปรง กางเกง รองเท้าและกระเป๋า ที่ เข้าชุกัน เพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าที่ต้องการกระเป๋าที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของตนเอง

ปั

 จจัยความสาเร็จในการทาธุรกิจแบรนด์เสือ้ ผ้าแฟชั่น 1. ความคิดสร้างสรรค์ในการ ออกแบบสร้างอัตลักษณ์ตัวตนให้แก่ ผลิตภัณฑ์ 3. การสร้างเครือข่ายหรือชุมชน ผู้ประกอบการเพือ่ เผยแพร่องค์ความรู้ 2. ความสามารถทางการตลาดในการ สร้าง Strategic Positioning

ปัจจัยแห่งความสาเร็จในธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่นประกอบด้วย 3 ปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบสร้างอัตลักษณ์ตัวตนให้แก่ ผลิตภัณฑ์ ลักษณะเฉพาะตัว สามารถช่วยให้แบรนด์เสื้อผ้าเป็นที่จดจาในตลาดได้รวดเร็วยิ่งขึ้น และช่วยให้มีความแตกต่างจาก คู่แข่งตามระดับของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย การจะสร้างอัตลักษณ์นี้ได้ นักออกแบบต้องมีความ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-46


เข้าใจในพฤติกรรม รสนิยมของกลุ่มเป้าหมายเสียก่อน มิเช่นนั้นอาจเกิดผลงานที่ลูกค้าถูกใจแต่ไม่ กล้าซื้อไปใส่ก็เป็นได้ 2. ความสามารถทางการตลาดในการสร้างตาแหน่งของเสื้อผ้า สร้างตาแหน่งทางการแข่งขันใน ตลาด เริ่มต้นจากการหาส่วนตลาดที่มีศักยภาพ การเข้าใจลูกค้า และรู้ศักยภาพของผลิตภัณฑ์ การหาส่วนตลาดเฉพาะที่มีศักยภาพได้ หมายความว่าธุรกิจนั้นเข้าใจลูกค้าของตัวเองชัดเจน รู้ แหล่งที่เข้าถึงลูกค้าและพฤติกรรมของลูกค้า สิ่งนี้จะส่งผลต่อ การส่งมอบคุณค่าที่ลูกค้าต้องการ การสร้างตาแหน่งทางการแข่งขันที่ชัดเจนแตกต่างจากคู่แข่ง ความถี่และวิธีการสื่อสารให้ลูกค้า จดจาตัวตนของธุรกิจได้และนาไปสู่ธุรกิจที่ยั่งยืนในอนาคต 3. การสร้า งเครือข่ายหรือชุ มชนผู้ประกอบการเพื่อเผยแพร่องค์ค วามรู้ เป็นวิถีทางที่ดีที่สุดที่ ผู้ประกอบการจะได้แลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ระหว่างกัน ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาและ เงินทุนในการลองผิดลองถูกด้วยตัวเอง นอกจากจะได้องค์ความรู้แล้ว การสร้างเครือ ข่ายยังเป็น การสร้างพันธมิตรทางธุร กิจ ไม่ว่าจะเป็นพันธมิตรทางการค้าเกิดการเกื้อหนุนว่าจ้างซื้อขาย ระหว่างกัน ลดภาระของผู้ประกอบการในการทางานที่ไม่ชานาญ นอกจากนั้นยังสามารถสร้าง พันธมิตรในการเปิดตลาดใหม่ เติบโตไปด้วยกัน การรวมกลุ่มผู้ค้าทาให้สินค้ามีความหลากหลาย เป็นตัวเลือกที่น่าสนใจสาหรับผู้บริโภคและเกิดนวัตกรรมสินค้าใหม่ๆ ช่องทางที่สามารถเข้าร่วม เป็ น เครือข่ายผู้ป ระกอบการได้แก่ การเข้าเป็นสมาชิกในศูนย์ต้นคิด , มูล นิธิ สมาคม องค์กร เครือข่ายผู้ประกอบการต่างๆ การเข้าร่วมเวทีการประกวดต่างๆ แม้ไม่ชนะแต่ทาให้รู้จักเครือข่าย มากขึ้น

ข้

 อท้าทายในการทาธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 1. ติดกับดักธุรกิจแฟชั่น 3. การบริหารระบบสินค้าคงคลัง

2. การควบคุมมาตรฐานสินค้า

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-47


1. ติดกับดักธุรกิจแฟชั่น การออกแบบเสื้อผ้าที่หลากหลายมากเกินไป จนขาดความเป็นอัตลักษณ์ หรือตัวตนของแบรนด์ ก็จะส่งผลลบต่อภาพลักษณ์ของสินค้าและแบรนด์ของธุรกิจ เช่น การ ออกแบบเสื้อผ้าที่มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง อาทิ อัตลักษณ์แบรนด์ “เรียบ หรู มี สไตล์ หลากหลายการใช้งาน” โดยมีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายคือกลุ่มลูกค้าไฮเอนด์ซึ่งเป็น กลุ่มที่มี รายได้สูง ต้องการสินค้าดีมีคุณภาพ มีเอกลักษณ์และบ่งบอกถึงไลฟ์สไตล์ของตนเอง เน้นสินค้า หรู ดูดี และเป็ น แฟชั่น ตามสมัยนิยม หากผู้ ประกอบการออกแบบเสื้ อผ้ าคอลเลคชั่นออกมา ขัดแย้งกับภาพลักษณ์ที่ได้ตั้งไว้ อาจส่งผลให้ลูกค้าเปลี่ยนใจและหันไปใช้แบรนด์อื่นทดแทนได้ 2. การควบคุมมาตรฐานสินค้า เนื่องด้วยเป็นธุรกิจ ขนาดเล็กที่พึ่งพาระบบ Outsource การเข้า ควบคุมในกระบวนการตัดเย็บของโรงงานที่จ้างผลิตจึงมีความยุ่งยาก เพราะโรงงานขนาดใหญ่จะ ไม่ยินยอมให้แทรกแซงระหว่างขั้นตอนการทางาน ปัญหาที่พบบ่อย คือ การทาแพทเทิร์นไม่ดี การตั ด เย็ บ ไม่ เ รี ย บร้ อ ย วั ต ถุ ดิ บ ไม่ ไ ด้ ต ามสเปค การผลิ ต เกิ น ค าสั่ ง การส่ ง งานล่ า ช้ า ผู้ประกอบการจะรับรู้ความเสียหายก็ต่อเมื่อชิ้นงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทาให้เสียทั้งเงินทุนและ เวลา การหาคู่ค้าที่สามารถผลิตได้ตามข้อกาหนดและส่งงานตรงเวลาจึงหายาก วิธีการป้องกัน คือ ทาข้อตกลงรายละเอียดให้ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรรวมถึงกาหนดความรับผิดชอบกรณี สินค้า เสียหายล่าช้าไว้ด้วย 3. การบริหารระบบสินค้าคงคลัง เนื่องสินค้าแฟชั่นมีอายุสั้น และจาเป็นต้องหมุนสินค้าให้ไวธุรกิจ ธรรมชาติของธุรกิจแฟชั่นจึงเสี่ยงต่อการที่ทุนจม การทาธุรกิจจึงต้องมีการประเมินการหมุนของ สินค้า ไม่ให้สต็อกสินค้ามากเกินไป และหมุนเวียนกระแสเงินสดเข้าธุรกิจได้ทันเวลา

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-48


 รณีศึกษา ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่นต้นแบบ 2 ตัวอย่างธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น เพื่อเปิดมุมมองและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้ประกอบการ รุ่นใหม่ ได้ศึกษาแนวคิดและรูปแบบการทาธุรกิจที่สามารถทาได้หลากหลายรูปแบบ ดังนี้ 1. Hempthai

2. เฮียสด

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-49


Hempthai Hempthai ภู มิ ปั ญ ญาไทยบวกนวั ต กรรมสู่ ต ลาดแฟชั่ น สี เขียว “ท า ใ น สิ่ ง ที่ ใ ก ล้ ตั ว แ ล ะ ตั ว เ อ ง รั ก อ ย่ า เปรียบเทียบตัวเองกับใคร และสร้างความสุข ให้เกิดขึ้นในสถานที่ทางาน”

สาหรับตลาดในประเทศ คนส่วนใหญ่ยังไม่รู้จักผ้าใยกัญชงมากนัก แต่สาหรับตลาดต่างประเทศแล้วแบรนด์ Hempthai ถือเป็นแบรนด์ของไทยอันดับต้นๆ ที่ลูกค้าในตลาดรักษ์สิ่งแวดล้อมยินดีจองสินค้าข้ามปี แต่ ทว่า ธุรกิจของ Hempthai ไม่ใช่เพื่อการแข่งขันแต่เน้นการอยู่รอดร่วมกันได้ทั้งระบบห่วงโซ่อุปทาน ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างจุดขายที่ชัดเจนด้านนวัตกรรมและรักษ์ธรรมชาติ  การพัฒนาธุรกิจโดยมองทั้งห่วงโซ่อุปทาน  การสร้าง Strategic Positioning ที่ชัดเจน  ความรับผิดชอบต่อลูกค้า พนักงาน และชุมชน คุณดวงฤทัย ภูมิพิเชฐ ผู้จัดการฝ่ายผลิต บริษัท ดีดีเนเจอร์ คราฟต์ เล่าว่า Hempthai คือผลิตภัณฑ์แฟชั่นที่ ทาจากใยกัญชง ซึ่งมีการวิจั ย ออกมาแล้ว ว่าเป็นเส้ นใยที่คุณสมบัติพิเศษ ทนทาน ยิ่งใช้นานยิ่งนุ่มเหนียว ระบายความร้อนได้ดีเมื่ออยู่ ในอากาศร้อนและรักษาความอบอุ่นได้ดีในฤดูหนาว มีหน่วยงานภาครัฐร่วมวิจัย พัฒนาจนทาให้ผ้าใยกัญชงมีเนื้อสัมผัสที่นุ่มกว่าปกติ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ร้าน Hempthai แบ่งได้ 2 รูปแบบ หลักๆ คือ 1) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย หมวก กระเป๋า รองเท้า ผ้าพันคอ 2) กลุ่มเคหะสิ่งทอ เช่น ผ้าม่าน ผ้าบุเฟอร์นิเจอร์ ปลอกหมอนและผ้าปูเตียง ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-50


ซึ่งเป็นวัสดุธรรมชาติเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ใช้เทคโนโลยีการวิจัยปรับปรุงคุ ณภาพเส้นใยให้มีน่าใช้มากขึ้น ส่วนการออกแบบยั งมีกลิ่นอายศิลปะพื้นบ้านของชาวม้งอยู่ แต่ปรับให้มีความทันสมัยดูเป็นสากลมากขึ้น กระบวนการผลิตของแบรนด์ Hempthai เริ่มต้นที่ภูมิปัญญาชาวบ้าน ในการปลูกต้นกัญชงซึ่งมีอยู่ตาม ภาคเหนือ การออกแบบที่ผสานศิลปะชาวม้ง ผสานกั บวิทยาการพัฒนาเส้นใยและองค์ความรู้ในกระบวนการ ผลิตตลอดห่วงโซ่อุปทานทาให้ธุรกิจและชุมชนเติบโตไปด้วยกัน Hempthai มีเป้าหมาย สร้างความยั่งยืนใน การดาเนินธุรกิจโดยการเกื้อกูลกับชุมชนชาวม้งซึ่งเป็นกาลังสาคัญในการผลิ ตวัตถุดิบ พยายามรักษาวิถีชีวิต ของชาวบ้านท้องถิ่นในการใช้ลายจักสานของชาวม้งเป็นลายหลักของสินค้าแบรนด์ HEMPTHAI ส่งเสริมอาชีพ ให้แก่ชาวบ้านในการดูแลไร่กัญชง ส่งเสริมการฝึกสอนวิชาชีพการผลิตเสื้อผ้าจากใยกันชงในโรงเรียนชุมชนโดย ให้ผู้เฒ่าในชุมชนเป็น ครูสอนลูกหลานในโรงเรียนของชุมชน ทาให้เด็กๆมีรายได้และมีอาชีพที่ สามารถทา ร่วมกับครอบครัวได้ ส่งผลให้เกิดความสุขในการทางาน ทาให้ Hempthai ไม่มีปัญหาขาดแคลนแรงงานคนใน การผลิต

“ทาในสิ่งที่ใกล้ตัวและตัวเองรัก อย่าเปรียบเทียบตัวเองกับใคร และสร้างความสุขให้เกิดขึ้นใน สถานที่ทางาน” คือ หัวใจสาคัญในการดาเนินธุรกิจ คุณดวงฤทัยมองว่าผลกาไรไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด ขอให้ ธุรกิจพออยู่ได้ก็พอ แต่ถ้าชุมชมทางานร่วมกับบริษัทอย่างมีความสุข พนักงานทางานอย่างมีความสุขในสถานที่ ทางาน ผลิตผลที่ได้จะมีคุณภาพที่ดีและขายได้ด้วยตัวเอง Hempthai มีการทางานกับชุมชนใกล้ชิดและนา วัฒนธรรมการจัดการคนแบบครอบครั ว เคารพระบบอาวุโส มาใช้ แต่ไม่ใช่ระบบการบริหารธุรกิจครอบครัว คือ ข้อคิดดีๆ จากคุณดวงฤทัยในการดาเนินธุรกิจ Hempthai มีคาแรคเตอร์เหมือนศิลปิน ถึงมีเงินแต่ก็ซื้อไม่ได้ หากอยากได้ต้องรอแต่ ไม่เคยทาให้รอเก้อ นี่เป็น เสน่ห์อย่างหนึ่งที่ลูกค้าประจาตั้งตารอด้วยความเชื่อมั่น สินค้ามีราคา สินค้าทุกชิ้นจะถูกเย็บเป็นแบบ Zero Waste Concept คือ พยายามเย็บให้มีตะเข็บน้อยที่สุด และลดการตัดทิ้งของเศษผ้า หากมองในตลาด สิ่งแวดล้อมแล้วแบรนด์ Hempthai แทบไม่มีคู่แข่งในประเทศ ส่วนคู่แข่งในต่างประเทศก็มีไม่มาก การตลาด จึงใจวิธีเจาะกลุ่มลูกค้าตลาดรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การออกงานแสดงสินค้า การไปแสดงสินค้าในประเทศต่างๆ การขายทางเว็บไซต์ การออกแสดงสินค้าในส่วนตลาดที่ถูกต้อง ทาให้ Hempthai ได้รับคาสั่งซื้อกลับมาทุก ครั้ง กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย คือ กลุ่มประเทศในยุโรป เยอรมัน เดนมาร์ก อเมริกาและญี่ปุ่น ปัจจุบันกลุ่มคนไทย เริ่มหันมาใช้สินค้าที่ทาจากวัสดุจากธรรมชาติมากขึ้นใน ช่วง 2 ปีที่ผ่านมาทาให้สัดส่วนการขายในประเทศไทย เพิ่มขึ้นส่งผลให้ยอดขายในประเทศมีสัดส่วนเป็น ร้อยละ 20 และส่งออกต่างประเทศร้อยละ 80 ของยอดขาย ทั้งหมด เข้าถึงข้อมูลได้ที่ Hempthai Shop http://www.hempthai.com ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-51


 ฮียสด

เฮียสด (Here! Sod) ชื่อแบรนด์สุดกวนที่วัยรุ่นเด็กแนวรู้จักกันดี หน้าตาเหมือนอาหารสดตามซุปเปอร์มาเก็ต แต่เมื่อแกะออกมากลับเป็นเสื้อยืดเก๋ๆ แบรนด์นี้ได้รับรางวัล GOLD AWARD บรรจุภัณฑ์ประเภท Body ของ PENTAWARDS ปี 2010 เซียงไฮ้เวิลด์เอ็กซ์โป นี่คือการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วยบรรจุภัณฑ์ (Packaging) เป็น บรรจุภัณฑ์ที่เรียบง่าย จดจาได้ง่ายและสื่อสารสินค้ากับแบรนด์ได้อย่างตรงประเด็น คือ การขายไอเดียสดใหม่ ชื่อเฮียสดมีที่มาจากความคิด ที่นาคา“อาเฮีย”จากร้านโชห่วยขายของสดมาผสมกับภาษาอังกฤษกลายเป็น Here! Sod ที่นี่ขายของสด เป้าหมายแรกของแบรนด์เฮียสด คือ การทาเสื้อยืดขายในงาน Fat Radio ซึ่งกลุ่มลูกค้าแนวศิลปิน และวัยรุ่น ที่ แ สวงหาตั ว ตนของตนเอง การออกแบบจึ ง ต้ อ งฉี ก ตลาดแหวกแนว จึ ง กลายเป็ น แนวคิ ด เรื่ อ งของ ซูเปอร์มาร์เก็ตผสมกับเสื้อยืด จนกลายเป็นเสื้อยืดเฮียสด (Here! Sod) มีราคาจาหน่ายหลักร้อยซึ่ง วัยรุ่น สามารถซื้อไหว แต่ไม่ได้วางขายเกลื่อนกลาดเหมือนเสื้อยืดทั่วไป แบรนด์เฮียสดมีจาหน่ายทาง Facebook และงานอีเวนต์ที่เหมาะกับภาพลักษณ์ของแบรนด์และอยู่ในกลุ่มวัยรุ่นเด็กแนว เช่น K Village Artist Market Sappe Idea Exposure, Fat Radio เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-52


แบรนด์นี้ ออกแบบโดย Prompt Design Team นาโดยคุณสมชนะ กังวารจิตต์ ซึ่งจบการศึกษาด้านการ ออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ จ าก สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และชนะรางวัล การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ระดับโลกถึง 3 ปีซ้อน จนคณะกรรมการจาก PENTAWARDS เชิญไปเป็นกรรมการตัดสิน บรรจุภัณฑ์ระดับโลกในปี 2013 เมืองบาร์เซโลน่า ประเทศสเปน ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  การออกแบบและความคิดสร้างสรรค์  ความเข้าใจกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย รสนิยม และช่องทางการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า  การเลือกใช้สื่อออนไลน์และช่องทางการขายเข้าถึงลูกค้าเป้าหมายตรงจุด  ใช้เวทีการประกวดเป็นใบเบิกทาง เข้าถึงข้อมูลได้ที่ ร้านเฮียสด https://www.facebook.com/heresod

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาแฟชั่นที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-53


3

ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น สินค้าแฟชั่น ร้านค้าเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า สาอาง สถานบริการความงาม

กลุ่มเป้าหมาย ผู้อ่านรีวิว และกลุ่มผู้ใช้สินค้า

อาหาร และโรงแรม ฯลฯ

ธุรกิจรีวิวสินค้า นักรีวิว

ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น หมายถึง ธุรกิจที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดประสบการณ์การใช้สินค้า แฟชั่นให้ผู้บริโภค รายอื่นๆ ได้ทราบถึงคุณสมบัติ ข้อดี ข้อเสียของสินค้าหรือบริการนั้นๆ ตามจริง โดยมีการบรรยายลักษณะของ สินค้า วิธีการใช้งานหรือขั้นตอนการรับบริการพร้อมภาพประกอบ หรือที่เรียกทั่วไปว่า “การรีวิว” สินค้าและ บริการ โดยทั่วไปนักรีวิวสินค้าแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ นักรีวิวมืออาชีพ (Professional Reviewer) และ นักรีวิวมือสมัครเล่น (Amateur)

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-54


ผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่นประกอบไปด้วยบุคคล 3 ฝ่าย คือ 1. นักรีวิวสินค้า คือ บุคคลที่ทาหน้าที่ผลิตเนื้อหารีวิวสินค้า (Content) ถ่ายทอดทางโซเซียลมีเดีย เว็บ ไซต์ เว็บ บล็อกและชุมชนออนไลน์ต่างๆ อาจมีการศึกษาเปรียบเทียบกับผลิ ตภัณฑ์อื่นๆ เพื่ อ ให้ ผู้ อ่า นเข้ า ใจง่ า ยขึ้ น ก่ อ นตัด สิ นใจซื้อ สิ น ค้า และบริก าร นั ก รีวิ ว สิ น ค้ า แบ่ ง ออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ1  นักรีวิวมืออาชีพ (Professional Reviewer) ที่จะเขียนรีวิวในเรื่องที่ตนเองถนัดและมี ความเชี่ยวชาญและยึดเป็นอาชีพ มักจะนาเสนอไว้ในเว็บไซต์ หรือสื่อที่ตนเองสังกัดเพื่อใช้ ประโยชน์ในเชิงธุรกิจ  นักรีวิวมือสมัครเล่น (Amateur) เป็นผู้ที่เขียนรีวิวขึ้นเพียงเพื่อแบ่งปัน และถ่ายทอด ประสบการณ์ของตนเองในการใช้สินค้าและบริการเพื่อเป็นการแบ่งปันให้กับผู้อื่น ไม่ได้มี ผลประโยชน์หรือหารายได้จากการเขียนรีวิวของตนเองแต่อย่างใด 2. ผู้อ่านรีวิว คือ กลุ่มผู้บริโภคทั่วไปที่สนใจหาข้อมูลเกี่ ยวกับสินค้าหรือบริการประเภทนั้นๆ และ เป็นกลุ่มเป้าหมายทางการตลาดของผู้ผลิตสินค้าและบริการแบรนด์ต่างๆต้องการสื่อสารนาเสนอ ผลิตภัณฑ์ เนื่องจากผู้บริโภคปัจจุบันเชื่อคาโฆษณาน้อยลงและเชื่อคาบอกเล่าจากประสบการณ์ ผู้ใช้รายอื่นมากกว่า จึงทาให้มีผู้อ่านรีวิวจานวนมาก และเกิดกลุ่มแฟนคลับนักรีวิวดังๆ มากขึ้น 3. สปอนเซอร์ ได้แก่ กลุ่มเจ้าของแบรนด์ เจ้าของสินค้าและบริการ ร้านค้า สถานบริการความงาม เอเจนซี่โฆษณา เว็บไซต์ขายสินค้าและคูปองส่วนลดต่างๆ การสร้างรายได้จากธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น การสร้างรายได้เกิดจากการผลิตเนื้อหาสินค้าแฟชั่นบ่อยๆ จนมีผู้อ่านมี ความเชื่ อ ถื อ และติ ดตามข้ อมู ล การรี วิ ว เป็ น ประจ า จึง มี ผ ลให้ ผู้ อ่ า น ตัดสิน ใจซื้อ สิน ค้าหรือบริการตามที่ผู้รี วิว น าเสนอ เพราะคาดหวังจะ ได้รั บประสบการณ์แบบเดีย วกัน เจ้าของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการสื่อสาร การตลาดไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมายโดยตรง ก็จะจ้างให้นักรีวิวได้ทดลอง สินค้าและทารีวิวให้ เพื่อหวังให้กลุ่มเป้ าหมายตัดสินใจซื้อสินค้าตามที่ รี วิ ว และเจ้ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ยั ง ได้ ค วามเห็ น จากนั ก รี วิ ว ไปใช้ ใ นการ ปรับปรุงสินค้าและบริการอีกด้วย นักรีวิวที่ยิ่งที่มีผู้ติดตามมาก มีผลงาน ออกบ่อย ก็จะยิ่งได้ค่าจ้างในการรีวิวสูงขึ้น 1

ปรับปรุงจากบทความสร้างชื่อเสียงโรงแรมด้วยนักเขียนรีววิ สมัครเล่น, เข้าถึงได้ที่ http://www.ihotelmarketer.com.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-55


ปัจจุบันธุรกิจที่มีผู้นิยมบริโภคข้อมูลจากการรีวิวมากกว่าการโฆษณาโดยเฉพาะสินค้าประเภทแฟชั่น เช่น สินค้าประเภทเครื่องสาอาง ครีมบารุงผิว กระเป๋า เสื้อผ้า รองเท้า อุปกรณ์เสริมสวย ร้านทาผม ร้านแต่งเล็บ และสปา เป็นต้น

คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ

ผู้ประกอบธุรกิจ ควรมีคุณสมบัติหลักดังนี้ 1. มีใจรักและมีความรู้ในสินค้าแฟชั่น ทาให้ผู้ประกอบการไม่เหนื่อยหน่ายในการเฝ้าติดตามความ เคลื่อนไหวในแวดวงแฟชั่น และมีแรงบันดาลในการค้นหาสิ่งใหม่ๆ เพื่อติดตามและหาข่าวสาร ข้อมูลสินค้าต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม เพื่อประโยชน์ในการเปรียบเทียบและแนะนาสินค้า และรัก ที่จะทดลองสินค้าและบริการใหม่ๆ เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมให้กับตนเองอย่างสม่าเสมอ 2. ชอบสังคม มีปฏิสัมพันธ์ในโลกออนไลน์บ่อยๆ สามารถอัพเดทความเคลื่อนไหวข้อมูลข่าวสาร มี ความสามารถในการถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวต่ า งๆ ได้ ดี ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ลู ก ค้ า ติ ด ตามข้ อ มู ล และ รายละเอียดการรีวิวสินค้าอย่างสม่าเสมอ เพราะเชื่อว่า ผู้รีวิวจะนาสินค้าใหม่และดีมาแนะนา อย่างสม่าเสมอ 3. มีค วามรู้ ด้ า นคอนเทนต์ เ ว็บไซต์ สามารถผลิ ต คอนเทนต์ บนเว็บ ไซต์ ด้ว ยตั ว เอง เช่น เขีย น บทความ ถ่ายรูป ตกแต่งรูป ทาคลิปวิดิโออย่างสั้นและเพิ่มไฟล์เสียง เป็นต้น 4. กล้าเสี่ยงเป็นนักสร้างกระแส บ่อยครั้งที่ผู้ประกอบการในธุรกิจนี้ไม่สามารถอยู่เฉยๆแล้วรอคอย ให้เจ้าของสินค้ามาจ้าง แต่นักรีวิวต้องมีผลงานของตัวเอง เพื่อช่วยสร้างกระแสและสร้างฐานแฟน คลับ นักรีวิวที่มีรายได้สูงๆ จะมีผลงานรีวิวออกมาบ่อยๆ ไม่ว่าการรีวิวนั้นๆ จะเป็นการจ้างรีวิว สินค้าหรือรีวิวด้วยความสมัครใจ โดยแบ่งปันข้อมูลบนชุมชนออนไลน์ สร้างล็อกอินของตนเองให้ มีตัวตนในโลกไซเบอร์เป็นที่จดจาและมีเว็บไซต์หรือบล็ อกของตนเอง เพื่อให้ผู้อ่านได้ติดตาม ข้อมูลต่อ เป็นการสร้างโปรไฟล์ของตนเอง นอกจากนั้นนักรีวิวต้องกล้าเดินเข้าไปหาสปอนเซอร์ รายต่างๆ เพื่อให้ได้โอกาสในการรีวิวสินค้าและบริการแฟชั่นแบรนด์นั้นๆ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-56


 ารเริ่มต้นธุรกิจ การเริ่มต้นธุรกิจใหม่ต้องคานึงถึงปัจจัย ที่สาคัญหลายประการ เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเห็นภาพรวมและความสัมพันธ์ ขององค์ประกอบต่างๆ การจาลองภาพของการดาเนินธุรกิจ เป็ นแนวคิดที่ช่วยให้ ผู้ป ระกอบการเห็ นภาพของการดาเนิน ธุร กิจ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น Business Model Canvas2 เป็น เครื่องมือที่ช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าใจถึงแบบจาลอง ธุรกิจที่ผู้ประกอบการต้องที่จะเริ่มลงทุน (Start Up) ให้มี ประสิทธิภาพ3 Business Model Canvas มีลักษณะเป็น Template ที่ช่วยให้ผู้ประกอบการเห็นภาพความสัมพันธ์ของ กิจกรรมหลั กในการดาเนินธุรกิจ ซึ่ง ผู้ ประกอบการสามารถ ดาเนินการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของกิจ กรรมพร้อมทั้งใช้ เป็นเครื่องมือในการระดมสมองเพื่อปรับปรุงองค์ประกอบด้าน ต่างๆ ในการดาเนินธุรกิจ4 1. กาหนดกลุ่มลูกค้า (Customer Segments) กลุ่ ม ลู ก ค้ า ของผู้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค้ า แฟชั่น คือ เจ้าของสินค้าแฟชั่นประเภทต่างๆ อาทิ เสื้อผ้า แฟชั่น กระเป๋า รองเท้าและเครื่องสาอาง เป็นต้น ปัจจุบัน นักรีวิวสินค้าถือเป็นบุคคลที่ทาหน้าที่ทางการตลาดให้กับ สินค้า ให้คาแนะนา ทดสอบสินค้าและทาหน้าที่ขายสินค้า ให้กับเจ้าของสินค้า ปัจจุบันธุรกิจสินค้าประเภทแฟชั่นให้ความสาคัญ กับ “นักรีวิวสินค้า ” เนื่องจากการรีวิวนอกจากทาหน้า ขายสินค้าแล้ว ยังเป็นช่องทางการรับข้อมูลข่าวสารหรือ ปฏิกิริยาตอบกลับ (Feedback) ที่มีต่อสินค้าได้เป็นอย่าง

บทความและการรีวิวต่างกันอย่างไร ?? บทความ คือ รูปแบบการเขียนประเภทหนึ่ง ที่ ผู้ เ ขี ย นต้ อ งการสื่ อ สาร ข้ อ เท็ จ จริ ง และหรื อ ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งแก่ผู้อ่าน โดยเนื้ อหานาเสนอจากข้อ เท็จ จริ ง ไม่ใ ช่เ รื่อ ง แต่งหรือคิดขึ้นเองจากจินตนาการ การรีวิวสินค้า คือ การแนะนาสินค้าทาให้ลูกค้า เข้าใจว่าสิ นค้าชิ้นนี้มีคุณสมบัติอย่างไร ใช้งาน ยากง่าย หรือว่าดีแค่ไหน ซึ่งจะทาให้เกิดความ อยากที่จะซื้อสินค้ามากขึ้น (ที่มา Blog.lnw.co.th)

The 1 Review Touch the power of review ให้บริการรีวิวสินค้าและบริการด้านการตลาดบน โลกออนไลน์แบบครบวงจร เรามีความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้ า นในการสร้ า งแบรนด์ เพิ่ ม ความ น่าเชื่อถือให้สินค้าและบริการ (ที่มา http://the1reviews.com/)

2

Osterwalder, A. and Pigner, Y. (2010), Business Model Generation, John Wiley and Sons. Sectoral Technology Board ของประเทศอังกฤษได้เสนอแนวทางการใช้ Business Model Canvas ให้กับผู้ประกอบการต้องการเริ่มดาเนิน ธุรกิจใหม่. 4 www.businessmodelgeneration.com. 3

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-57


ดีและตรงกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ใช้สินค้าโดยตรง 2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions)  ข้ อ มู ล ตรงตามจริ ง การรี วิ ว สิ น ค้ า เป็ น วิธีวางรูปแบบการรีวิวผลิตภัณฑ์ เค้าร่างของ กระบอกเสียงของทั้งร้านค้าและลูกค้า ผู้อ่าน วิธีการวางออกบทความรีวิวสินค้า … คาดหวั ง การรี วิ ว ที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล ในมุ ม มองของ  ชื่อ URL, ชื่อ, และการแนะนาของคุณควรมี ลูกค้าผู้ใช้งานจริงมากกว่าการเชียร์ร้านค้า ชื่ อ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ คุ ณ ก าลั งทดสอบ การ เปิดตัวเบา ๆ ควรแนะนา ชื่อผลิตภัณฑ์และ เพราะอยากรู้ คุ ณ ภาพที่ แ ท้ จ ริ ง ของสิ น ค้ า ให้ผู้อ่ านเห็นภาพรวมของบทความรวมทั้ ง และบริ ก าร การให้ ข้ อ มู ล อย่ า งละเอี ย ด การเชื่อมโยงไปซื้อสินค้าที่ไหน ตรงไปตรงมา  ในวรรคแรก บอกว่ า ท าไมคุ ณ ได้ เ ลื อ ก  เนื้ อ หาเข้ า ใจง่ า ยน่ า อ่ า น การเรี ย บเรี ย ง ผลิตภัณฑ์นี้เพื่อการใช้งานหรือเพื่อการรีวิว เนื้อหา ภาพประกอบที่เข้าใจง่าย น่าสนใจ  ในย่อหน้าที่สอง อธิบายถึงผลิตภัณฑ์และ จะสามารถดึงให้ผู้อ่านสามารถรับข้อมูลของ คุณสมบัติของมัน ผู้รีวิวได้ตั้งแต่ต้นจนจบ  ในวรรคที่สาม อธิบายสิ่ งที่คุณชอบและไม่ ชอบเกี่ ยวกั บผลิต ภัณฑ์ และคุ ณสมบัติ ของ  ปฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อ่ า น การสร้ า งฐานแฟน สินค้า คลับ คือหัว ใจส าคัญ ที่ทาให้ธุรกิจรีวิวสิ นค้า อยู่ ร อด การตอบค าถามด้ ว ยความสุ ภ าพ  ในวรรคสุดท้ายที่ให้ผู้อ่านทราบว่าทาไมจึง ขอแนะน าให้ ค นอ่ า นซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล่ า นี้ เต็ ม ใจ ความเป็ น กั น เอง การมี กิ จ กรรม และให้พวกเรียนรู้มากขึ้นโดยการ เชื่อมโยง สังสรรค์กันในโลกความเป็นจริง การเปิดเผย ไปสู่บทความที่ละเอียดมากขึ้น ตั ว ตนให้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก ท าให้ ผู้ ท ารี วิ ว เป็ น ที่ (ที่มา www.vvoody.com) ยอมรั บ ส าหรั บ ผู้ อ่ า น ฐานแฟนคลั บ คื อ กาลังสาคัญทีท่ าให้ผู้รีวิวมีอานาจต่อรองในการหาร้านค้า หรือเจ้าของแบรนด์ 3. ระบุช่องทาง (Channels) ช่องทางการรีวิวมีหลายหลายการทาเว็บไซต์เป็นของตนเองหรือการรีวิวผ่านเว็บบล็อกต่างๆ หรือ การรีวิวสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ เช่น Instagram, Facebook, เว็บไซต์ คอมมูนิตี้ดังๆ, Pantip, เว็บไซต์ที่ขายสินค้าและบริการนั้น เทคนิคที่ทาให้ข้อมูลกระจายอย่างทั่วถึง คือ การแชร์ข้อมูล การ Follow คนดัง สร้างความ สม่าเสมอในการกระจายข้อมูล การตอบคาถาม จุดประเด็นพูดคุยในหัวข้อนั้นๆ เพื่อให้ มีความเคลื่อนไหว ตลอดเวลา

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-58


4. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้ามี 2 กลุ่ม คือ  แฟนคลับหรือผู้ติดตามข่าวสารการรีวิว การรักษาฐานแฟนคลับ ซึ่งผู้ประกอบการอาจเลือก กิจกรรมที่สามารถทาร่วมกับแฟนคลับได้ เช่น นัดเจอทากิจกรรมร่วมกัน แจกของที่ระลึก คุย กันทาง Social Media บ่อยๆ การแชร์ภาพ การให้คาแนะนา  ผู้ว่าจ้างรีวิวสินค้า ผู้ประกอบการควรการหาลูกค้าที่เป็นร้านค้าและแบรนด์ต่างๆ สิ่งที่ผู้ทา รีวิวต้องเตรียมให้พร้อม คือ การเตรียม Port Folio ผลงานของตนเอง ว่าเคยทารีวิวเรื่อง อะไร มีคนอ่านขนาดไหน หลังรีวิวไปแล้วสินค้านั้นๆ ขายดีขึ้นหรือไม่ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ ทารีวิว ต้องติดตามผลหลังทารีวิวไปแล้ว แล้วจึงติดต่อเจ้าของสินค้าและบริการ 5. รายได้ (Revenue Streams) รายได้ของการรีวิวมีหลายช่องทาง และอัตรารายได้ต่างกันตามความโด่งดังของผู้ทารีวิว เช่น  รายได้จากการเขียนบทความรีวิว อยู่ที่ประมาณครั้งละ 1,000-3,000 บาท  รายได้จากการทาวิดีโอรีวิว อยู่ที่ประมาณครั้งละ 2,000-10,000 บาท  รายได้การทารีวิวสินค้าทั้งแคมเปญ อาจสูงถึงครั้งละ 100,000 บาท  ค่าจ้างบล็อกเกอร์ออกงานเปิดตัวสินค้า อยู่ที่ประมาณครั้งละ 3,000-8,000 บาท  การขายโฆษณาบนหน้าเว็บไซด์รีวิวของตนเอง  ค่าคอมมิชชั่นจากสินค้าที่ได้รีวิวไป (กรณีที่ได้ตกลงกับเจ้าของสินค้า) นอกจากนี้ยังมีรายได้เสริมที่ อาจได้จากการเปิด Workshop การเป็นผู้แทนจาหน่ายสินค้า การขาย พื้นที่โฆษณาบนแบนเนอร์ในหน้าเว็บไซต์ของตนเอง การผลิตคอนเทนต์ให้กับเว็บไซต์อื่นๆ 6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) สาหรับธุรกิจรีวิวสินค้า ทรัพยากรหลักที่ใช้มีไม่มาก โดยตัวอย่างดังนี้  อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มือถือ กล้อง อินเตอร์เน็ต เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารและการทารีวิว สินค้า  เว็บไซต์หรือบล็อกของตนเอง  ข้อมูลของสินค้า ภาพถ่าย ข้อมูลเปรียบเทียบ  เงินทุนเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และค่าซื้อสินค้าและบริการ  บัญชีเงินฝากสาหรับให้ลูกค้าโอนเงิน ผู้ประกอบการจะต้องเปิดบัญชีเงินฝากกับทางธนาคาร ไว้สาหรับให้ลูกค้าโอนเงิน ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-59


7. กิจกรรมหลัก (Key Activities) คือ กิจกรรมที่สร้างคุณค่าและส่งมอบให้กับลูกค้า และจะต้องตรงตามวัตถุประสงค์หรือความ คาดหวังของลูกค้าตามประเภทของธุรกิจด้วย ประกอบด้วย  การอัพเดทเนื้อหา การอัพเดทข้อมูล ใหม่ทุกสัปดาห์ การหาบทความที่เกี่ยวข้องกับสินค้า การรีวิวผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันซ้าๆ ทาให้ เกิดภาพจาว่าผู้รีวิวมีความเชี่ยวชาญในสินค้า ประเภทนั้นๆ  การจัดหากิจกรรมร่วมสนุกกับแฟนคลับ การสอดแทรกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้รีวิวเอง ไลฟ์ สไตล์ งานอดิเรก เป็นเทคนิคที่ทาให้แฟนคลับรู้สึกใกล้ชิดกับผู้รีวิว และไม่มองผู้รีวิวสินค้าใน ฐานะคนขายโฆษณา กิจกรรมมีตติ้งต่างๆ และเกมส์ร่วมสนุกจะช่วยกระชับความสัมพันธ์ ให้ ฐานแฟนคลับเหนียวแน่นขึ้น  การตลาดและการขาย เป็นเรื่องใหญ่ที่สุด เหมือนเอเจนซี่โฆษณา ในรายผู้ประกอบการขนาด เล็ก อาจเริ่มต้นด้วยการสร้างพอร์ทโฟลิโอของตนเอง การแนะนาตัวให้ร้านค้าหรือแบรนด์ สินค้าในสาขาที่ตนเองถนัดรู้จัก เช่น ช่วยทดลองสินค้าใหม่ การให้ feedback อย่างสุภาพ เกี่ยวกับสินค้าที่ได้ใช้ เป็นต้น 8. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) คู่ค้าหรือพันธมิตรทางธุรกิจที่สาคัญและผู้เริ่มธุรกิจควรมอง หาไว้ ได้แก่  กลุ่ ม เอเจนซี่โ ฆษณา ซึ่ ง มีภ ารกิ จ หาพื้ นที่ สื่ อออนไลน์ ให้กับแบรนด์ขนาดใหญ่  กลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการปั จ จุ บั น ผู้ ป ระกอบการใหม่ และ ผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์ ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์ ในช่วงเริ่มต้นธุรกิจ  กลุ่มผู้บริโภคสินค้าแฟชั่น ซึ่งมักมีคาแนะนาอยากเห็น รีวิวสินค้าประเภทต่างๆ ทาให้ผู้รีวิวสามารถเกาะกระแส ได้ทัน 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) โครงสร้างต้นทุน หมายถึง ต้นทุนที่เกิดระหว่างการดาเนินธุรกิจ มี 2 ส่วนหลักคือ สินทรัพย์ถาวร ซึ่งเป็นเงินลงทุนในการจัดตั้งกิจการ (Investment) และสินทรัพย์หมุนเวียน คือ เงินทุนในการดาเนินธุรกิจ (Operating cost) ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-60


 สินทรัพย์ถาวร คือ เงินทุนที่ลงไปเพื่อจัดตั้งกิจการ เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายรูป โทรศัพท์มือถือ External Hard disks หรือ Cloud office สาหรับการจัดเก็บข้อมูล ค่า จัดทาเว็บไซต์ถาวร ค่าตกแต่งเว็บไซต์ อุปกรณ์สานักงานที่ใช้เพื่อเริ่มต้นธุรกิจ ผู้ประกอบการ อาจต้องมองระยะยาวว่าผลกาไรที่ได้จากธุรกิจแต่ละปีรวมกันต้องใช้เวลากี่ปีจึงจะสามารถ คืนทุนได้  สินทรัพย์หมุนเวียน คือ ต้นทุนในการผลิตและส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้า ใช้เป็นแนวทางใน การคิดเรื่องกาไร-ขาดทุน ต้นทุนในส่วนนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ต้นทุนคงที่ ต่อเดือน เช่น ค่าสาธารณูป โภค ค่าน้า ค่าไฟ ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าโทรศัพท์ ส่ วนต้นทุนผั นแปรคือ ค่าใช้จ่ายที่แปรผันตามกิจกรรม เช่น ค่าพาหนะ ค่าใช้จ่ายทางการตลาด จาพวก ค่าสินค้า ที่มารีวิวเพื่อผู้อ่านโดยไม่มีสปอนเซอร์ ของแจกของแถม จัดกิจกรรม Meeting เป็นต้น โครงสร้างการลงทุน ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น

หมายเหตุ: ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของธุรกิจ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-61


การลงทุน สินทรัพย์ถาวร ค่าอุปกรณ์สานักงาน ค่าจัดทาเว็บไซต์ และค่าเช่า โดเมนต่อปี สินทรัพย์หมุนเวียน ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าโทรศัพท์ ค่าน้ามัน/ค่าพาหนะ ค่ากิจกรรมการตลาด

คาอธิบาย

ค่าใช้จ่าย

โต๊ะทางาน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายรูป โทรศัพท์มือถือ External Hard disk ปริ้นเตอร์ หมึก กระดาษ ประเมิ น ราคาจากเว็ บ ไซต์ ส าเร็ จ รู ป พร้ อ มจดทะเบี ย น Domain สาหรับ E-Commerce ราคาแตกต่างกันตาม แพ็กเกจและการจ้างตกแต่งเพิ่มเติม

30,000-50,000 บาท

ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม ค่าสินค้าที่มารีวิวเพื่อผู้อ่านโดยไม่มีสปอนเซอร์ ของแจกของ แถม และการจัดกิจกรรม Meeting

5,000-30,000 บาท

2,000-4,000 บาท/เดือน 2,000-5,000 บาท/เดือน 3,000-10,000 บาท/เดือน

ในการดาเนิน ธุรกิจ นี้ เริ่ มแรกผู้ป ระกอบการอาจต้องใช้เวลาในการสร้างโปรไฟล์ของตนเองผ่ านช่องทาง ออนไลน์ประเภทต่างๆ ก่อน เพื่อสะสมชื่อเสียงในการรีวิวสินค้าประเภทต่างๆ และเพื่อให้เป็นที่รู้จักของกลุ่ม นักอ่านรีวิวสินค้า

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-62


ตั

 วอย่าง การวิเคราะห์ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น ตามกรอบแนวคิด Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships)  เอเจนซี่โฆษณา  ผู้ประกอบการใหม่และ ร้านค้าออนไลน์  ธุรกิจขาย Deal คูปอง ส่วนลด  ผู้บริโภคสินค้าแฟชั่น

กิจกรรมหลัก (Key Activities)  การอัพเดทเนื้อหา  การจัดหากิจกรรมร่วมสนุกกับ แฟน  การตลาดและการขาย

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions)  ข้อมูลตรงตามจริง  เนื้อหาเข้าใจง่ายน่าอ่าน  ปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่าน

ทรัพยากรหลัก (Key Resources)  อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มือถือ กล้อง อินเตอร์เน็ต เพื่อใช้ในการ ติดต่อสื่อสาร การทารีวิวสินค้า  เว็บไซต์  บัญชีเงินสาหรับให้ลูกค้าโอนเงิน  ข้อมูลของสินค้า

โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure)  สินทรัพย์ถาวร ได้แก่ อุปกรณ์ เครื่องมือ อุปกรณ์สานักงานและค่าจัดทาเว็บไซต์ เป็นต้น  สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ (1) ต้นทุนคงที่ต่อเดือน เช่น ค่าเช่าสานักงาน/สถานที่ ค่าบริการ อินเตอร์เน็ต และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าน้า ค่าไฟฟ้า และค่าพาหนะเดินทาง เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships)  เน้นการสร้างความสัมพันธ์มี กิจกรรมระหว่างกัน  สื่อสารสม่าเสมอ

กลุ่มลูกค้า (Customer Segments) ได้แก่ เจ้าของสินค้าแฟชั่นประเภท ต่างๆ อาทิ เสื้อผ้าแฟชั่น รองเท้า กระเป๋า เครื่องสาอาง เป็นต้น

ช่องทาง (Channels)  เว็บไซต์และเว็บบล็อก  IG หรือ Facebook สื่อ สังคมออนไลน์

รายได้ (Revenue Streams)

 รายได้จากการรับจ้างผลิตคอนเทนต์  รายได้จากขายโฆษณาบนเว็บไซต์  รายได้เสริมจากกิจกรรมอื่นๆ เช่น Workshop และงานอีเวนต์ เป็นต้น 2-63


ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น ผู้ประกอบการในธุรกิจรีวิวสินค้าในระยะเริ่มต้น ผู้ประกอบการอาจเริ่มต้นจากการรีวิวสินค้าผ่านเว็บบล็อกและ สื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ โดยเริ่มสร้างโปรไฟล์หรือประวัติการรีวิวสินค้า โดยมีลาดับในการดาเนินธุรกิจ ดังนี้ 1. ศึกษาหาข้อมูลสินค้าแฟชั่นที่สนใจและต้องการจะเป็นนักรีวิวสินค้านั้นๆ 2. เขียนรีวิวสินค้าแฟชั่นเผยแพร่ผ่านสื่อสังคมออนไลน์และเว็บบล็อกของตนเอง 3. ข้อมูลการรีวิวสินค้าแฟชั่นอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างฐานแฟนคลับ 4. ดาเนินการจัดทาเว็บไซด์เป็นของตนเอง เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ 5. นาเสนอโปรไฟล์และประวัติการรีวิวสินค้าแฟชั่นไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เพื่อให้บริการรับ รีวิวสินค้า 6. จัดกิจกรรมทางการตลาดกับสมาชิกอย่างต่อเนื่อง เช่น การชิงของรางวัล การนัดทานอาหาร เย็นร่วมกันในกลุ่มสมาชิก เป็นต้น

 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ธุ ร กิ จ สามารถท าได้ ห ลากหลายรู ป แบบที่ แ ตกต่ า งกั น ไป ตามแนวคิ ด ของ ผู้ประกอบการแต่ละยุคสมัย ในคู่มือฉบับนี้จะขอนาเสนอวิธีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ ดังนี้ 1. งานบริการให้คาแนะนา เนื่องจากผู้ทารีวิวจะมีประสบการณ์กับสินค้าและบริการประเภทเดียวกันจานวนมาก มีข้อมูล เปรียบเทียบของสินค้าและบริการจากแหล่งต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์สาหรับผู้ผลิตในการปรับปรุง สินค้าและบริการและเป็นข้อมูลที่ผู้ผลิตต้องการได้ 2. สร้างความสนุกให้กับแฟนคลับ การจัดกิจกรรมร่วมกับสปอนเซอร์ มีผลิตภัณฑ์มาให้ทดลองใช้ การประกวดภาพถ่าย กิจกรรม makeover Workshop ต่างๆ ช่วยให้แฟนคลับสนุกสนานและ บอกต่อให้เข้ามาร่วมเป็นแฟนคลับมากขึ้น ทาให้ผู้ประกอบการมีโอกาสในการได้งานรีวิวสินค้า เพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-64


ปั

 จจัยความสาเร็จในการทาธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น

1. ความคิดสร้างสรรค์ในการ นาเสนอเนื้อหาการรีวิว

2. ความสามารถในการ รักษาฐานแฟนคลับ

3. ความกระตือรือล้นในการหาแหล่งรีวิว และสปอนเซอร์

ปัจจัยแห่งความสาเร็จในดาเนินธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น ประกอบด้วย 3 ปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. ความคิดสร้างสรรค์ในการนาเสนอเนื้อหาการรีวิว สาหรับธุรกิจออนไลน์ สิ่งแรกที่สร้างความ ประทับใจแก่ผู้พบเห็นคือ เนื้อหา การออกแบบการนาเสนอเนื้อหาให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย อัพเดท สม่าเสมอ ทาให้ลูกค้าจดจาตัวตนของธุรกิจได้ นาไปสู่ธุรกิจที่ยั่งยืนในอนาคต 2. ความสามารถในการรักษาฐานแฟนคลับ ฐานแฟนคลับคือปัจจัยหลักที่จะตัดสินรายได้ของผู้ทา รีวิว ยิ่งล็อกอินโด่งดังมีแฟนคลับมากโอกาสทางธุรกิจและรายได้ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น 3. ความกระตือรือล้นในการหาแหล่งรีวิวและสปอนเซอร์ สปอนเซอร์ ร้านค้า เอเจนซี่โฆษณา เว็บไซต์ขายสินค้า บริการ ส่วนลด คือแหล่งรายได้ของนักรีวิว เพราะเป็นกลุ่มที่ต้องการคอน เทนต์ที่มีคุณภาพ นักรีวิวจึงต้องมีความกล้าในการนาเสนอผลงานตนเอง

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-65


ข้อท้าทายในการทาธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่น 1. ถูกลอกเลียนแบบข้อมูลและภาพถ่าย

2. การสร้างสมดุลระหว่างรีวิวเพื่อเอา ใจผู้อ่านและรีวิวเพื่อสปอนเซอร์

1. ถูกลอกเลียนแบบข้อมูลและภาพถ่าย การลอกเลียนแบบเป็นไปได้เสมอในธุรกิจออนไลน์ ผู้ทา รีวิวจึงควรมีการทาสัญลักษณ์ตามภาพ หรือป้องกันการคัดลอกข้อความ หรือ ยอมให้คัดลอกโดย ให้เครดิตผู้ทารีวิว แม้จะเป็นปัญหาทรัพย์สิ นทางปัญญา แต่ถ้ามองอีกแง่การคั ดลอกคือตัวชี้วัด คุณภาพข้อมูลอย่างหนึ่งที่มีผู้นาไปอ้างถึงซ้าๆ 2. การสร้างสมดุล ระหว่างรีวิวเพื่อเอาใจผู้อ่านและรีวิวเพื่อสปอนเซอร์ การสร้างความผูกพัน ระหว่างผู้อ่านและผู้ทารีวิวเป็นเรื่องสาคัญ การทารีวิวที่มีผู้จ่ายสปอนเซอร์เพียงอย่างเดียวอาจทา ให้ผู้อ่านรู้สึกเหมือนถูกยัดเยียดขายสินค้า หมดความเชื่อใจ และถอยห่างไป ผลงานรีวิว ก็จะไม่มี อิทธิพลทางการตลาดอีกต่อไป การสร้างสมดุลระหว่างงานที่รี วิว เพื่อผู้อ่านกับงานรีวิวรับจ้างจึง สาคัญ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-66


กรณีศึกษา ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่นต้นแบบ

Jeban.com เจ้าแม่รีวิวแห่งวงการแฟชั่น จากงานอดิเรกส่วนตัว สู่การรีวิวสินค้าแฟชั่นแบบมืออาชีพ นั่นคือเรื่องราวของเจ้าแม่ด้านความสวยความงาม จีราภัสร์ อริยบุรุษ เจ้าของและผู้บุกเบิกจีบันดอทคอมชุมชนออนไลน์สาหรับสาวๆ รักสวยรักงามที่ถือว่า ประสบความสาเร็จมากที่สุดเว็บไซต์หนึ่ง www.jeban.com บริหารโดยบริษัท ทูมังกี้ส์ สตูดิโอ เป็นแหล่ง แลกเปลี่ยนเคล็ดลับการแต่งหน้า แต่งตัว สไตล์ ความสวยงาม ตลอดจนพูดคุยเรื่องราวต่างๆ ที่อยู่ในความ สนใจของผู้หญิงมีสมาชิกกว่า 1.3 แสนคน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-67


ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  การหาข้อมูลมาตอบโจทย์ที่กลุ่มเป้าหมายสงสัย  ความสม่าเสมอในการผลิตคอนเทนต์  การรักษาสายสัมพันธ์กับฐานแฟนคลับ  การให้ข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา ที่มาของ Jeban ชื่อ Jeban มาจากชื่อล็อกอินที่คุณจีราภัสร์ใช้ในการเขียนบล็อก ซึ่งขณะนั้นเป็นที่ฮือฮาในกลุ่มสาวๆ เพราะ แนะนาวิธีการแต่งหน้าแบบฮาวทู เปิดเผยหน้าตาจริงทั้งก่อนแจ้ งหน้าและหลังแต่งหน้า กรรมวิธีทุกขั้นตอน จนเป็นที่อัศจรรย์ใจที่การแต่งหน้าสามารถเปลี่ยนบุคลิกคนได้ ความนิยมในกระทู้ความงาม และวิธีแต่งหน้าใน บล็อก มีผู้ติดตามมากขึ้นเรื่อยๆ จน ในปี 2550 คุณจิราภัส ร์และเพื่อนๆ จึงรวมตัว กันเปิดบริษั ทก่อตั้ง www.jeban.com

ช่วงเริ่มต้นไม่ง่าย ความยากลาบากมีตั้งแต่การไม่เป็นที่รู้จัก การบุกเบิกธุรกิจเว็บไซต์ ซึ่งในขณะนั้นยังใหม่มาก รวมถึงปัญหาเงินสดหมุนเวียนจากัด ปัญหาที่เว็บคอมมูนิตี้ด้านความสวยความงามจะต้องเจอในช่วงแรก คือ การทาให้สปอร์นเซอร์หรือแบรนด์ต่างๆ เข้าใจลักษณะการทางานของเว็บไซต์ เนื่องจากการทาเว็บคอมมูนิตี้ใน เมืองไทยค่อนข้างใหม่แบรนด์ต่างๆ จะไม่เข้าใจว่าจีบันไม่ได้รับจ้างรีวิวหรือรับจ้างแต่งหน้า การหาผู้สนับสนุน เว็บไซต์จึงเป็นเรื่องที่ยากพอสมควร จากจุดเล็กๆ ทุกวันนี้จีบันเติบโตมีทีมนักเขียนบล็อกซึ่งมีความชานาญ หลากหลายรวมกันอยู่ที่เว็บไซต์นี้ มีทีมดูแลลูกค้า ทีมงานดูแลสมาชิก และทีมไอที

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-68


จุดสาคัญที่ทาให้ Jeban.com ประสบความสาเร็จ คื อ คอนเทนต์ และแฟนคลั บ การที่ มี ข้ อ มู ล ใหม่ ๆ เว็ บ ไซต์ เคลื่อนไหวตลอด และเปิดพื้นที่ให้สมาชิกช่วยกันแชร์คอนเทนต์บน เว็บไซต์ได้ทาให้มีผู้ติดตามขาประจาและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนั้น คื อ การสร้ า งชุ ม ชนขึ้ น ในโลกจริ ง ๆ ไม่ ใ ช่ เ พี ย งโลกออนไลน์ Jeban.com มักจะจัดกิจกรรมสม่าเสมอที่ทาให้สมาชิกได้มีโอกาส พบปะสังสรรค์ สนุกร่วมกัน เช่น How-to contest, Workshop ต่างๆ, Harem ที่คัดเลือกสาวๆ ผู้โชคดีไปทากิจกรรมนอกสถานที่ ด้วยกันทั้งท่องเที่ยว เปลี่ยนลุ กและกิจกรรม Swop แลกเปลี่ยน เครื่องสาอางและเครื่องประดับที่ซื้อมาแล้วไม่ได้ใช้ ระหว่างเพื่อน สมาชิกด้วยกัน เป็นความสนุกของสาวๆ ที่ได้พบปะพูดคุยคนที่มี ความสนใจแบบเดียวกัน ธุรกิจรีวิวสินค้าเติบโตได้เพราะผู้บริโภคกระหายอยากรู้ข้อมูลก่อนการตัดสินใจ ปัจจุบันในอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น โรงแรม ร้านอาหาร สปา ซาลอน มีการจ้างบล็อกเกอร์ หรือ ล็อกอินดังๆ ในเว็บคอมมูนิตี้ขนาดใหญ่ที่มี แฟนคลั บ ติ ด ตามมาก ช่ ว ยท ารี วิ ว สิ น ค้ า และบริ ก ารให้ ในแวดวงแฟชั่ น ก็ เ ช่ น กั น โดยเฉพาะผลิ ต ภั ณ ฑ์ เครื่องสาอางค์และเครื่องประทินผิว ค่าตอบแทนในการทาวิดีโอรีวิวสินค้า 1 ชนิดอาจอยู่ในระดับหลักหมื่น หากทาเป็นซีรีส์เคมเปญอาจสูงถึงหลักแสน และยังมีกิจกรรมเปิดตัวสินค้าอีก ธุรกิจรีวิวสินค้าแฟชั่นคือโอกาส ที่ได้ทาในสิ่งที่รักเป็นอาชีพอย่างจริงจัง แต่ทุกอย่างต้องใช้เวลาและความทุ่มเทเช่นกัน เข้าถึงข้อมูลได้ที่ Jaban.com Website : http://www.jeban.com

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจรีววิ สินค้าแฟชั่น 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-69


4

ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่น ออนไลน์

ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ หมายถึง การดาเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายและบริการสินค้า แฟชั่น โดยอาศัยช่องทางอินเทอร์เน็ตในการประกอบธุรกิจ เช่น การติดต่อลูกค้า การประชาสัมพันธ์ การขาย สินค้า การรับชาระเงิน ฯลฯ ในรูปแบบของการจัดทาเว็บไซด์เป็นของตนเองหรือร้านค้าออนไลน์ การทาธุรกิจ ผ่านเว็บไซด์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบของการประกาศซื้อ -ขาย (E-Classified) การทาธุรกิจผ่านตลาด กลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketing) หรือการทาธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ประเภท ต่างๆ อาทิ เฟสบุ๊ค (Facebook) หรืออินสตราแกรม (Instagram) เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-70


ยุคทองของร้านค้าออนไลน์ ยุคนี้ถือได้ว่าเป็นยุคทองของธุรกิจออนไลน์ ซึ่งจะสังเกตได้ว่าปัจจุบันไม่ว่าธุรกิจขนาดเล็กขนาดใหญ่ไปจนถึง ผู้ประกอบการหน้าใหม่และนักธุรกิจมือสมัครเล่นต่างให้ความสนใจและเริ่มต้นทาธุรกิจในระยะแรกด้วยการใช้ สื่อออนไลน์ที่มีอยู่มากมายหลายประเภท ไม่ว่าจะเริ่มต้นจากการทาเว็บไซด์เป็นของตัวเอง การใช้สื่อสังคม ออนไลน์ที่มีอยู่ หรือแม้แต่การเปิดร้านค้าออนไลน์กั บเว็บไซด์ขายสินค้าต่างๆ ที่มีอยู่เป็นจานวนมาก ในปี 2555 มีคนไทยใช้อินเทอร์เน็ตมากกว่า 25 ล้านคน และพฤติกรรมการหาข้อมูลข่าวสารทางอินเทอร์เน็ตมาก เป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิ ก มีสินค้าผู้ประกอบการไทยที่ขายอยู่ในโลกออนไลน์มากกว่า 10 ล้าน รายการแล้ว1 และยังคงมีแนวโน้มเติบโตเพิ่มมากขึ้น โดยในภาพรวมของตลาดของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-Commerce ของประเทศไทยคิดเป็นมูลค่ากว่า 14,700 ล้านบาทในปี 25552 อย่างไรก็ตาม แม้กระบวนการเริ่มต้นทางธุรกิจออนไลน์จะเป็นกระบวนการที่ไม่ยุ่งยาก ใช้เงินลงทุนไม่มาก อยากเริ่มเมื่อไหร่ก็ได้ แต่ด้วยความง่ายในการเริ่มต้นธุรกิจไม่ได้หมายความว่า “จะประสบความสาเร็จ ” ได้ อย่างง่ายๆ เช่นเดียวกับการเริ่มต้นธุรกิจออนไลน์ ซึ่งในปัจจุบันการดาเนินธุรกิจออนไลน์หรือเว็บไซต์พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์สามารถแยกได้ 5 ประเภทดังนี้3 1. เว็บไซต์แคตตาล็อกสินค้าออนไลน์ (Online Catalog Web Site) โดยภายในเว็บไซต์ได้ รวบรวมทั้งรูปภาพและรายละเอียดของสินค้าเพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกซื้อสินค้า พร้อมระบุที่อยู่สาหรับการติดต่อกลับลูกค้า จะไม่มีระบบการชาระเงินผ่านเว็บไซต์และตะกร้า สินค้า (Shopping Cart) โดยผู้ที่สนใจจะซื้อสินค้าต้องทาการติดต่อกับเจ้าของร้านค้าออนไลน์นั้น โดยตรง 2. ร้านค้าออนไลน์ (E-Shop Web Site) เป็นรูปแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่สมบูรณ์โดย ภายในเว็บไซต์ได้รวมไว้ทั้งระบบการจัดการสินค้า ตะกร้าสินค้า (Shopping Cart) ระบบการ ชาระเงินรวมถึงการขนส่งไว้ครบ โดยผู้ที่สนใจจะซื้อสินค้าสามารถสั่งซื้อและทาการชาระเงินผ่าน เว็บไซต์ได้ทันที 3. การประมูลสินค้า (Auction) เป็นรูปแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่นาเสนอการประมูล สินค้าโดยเป็นการแข่งขันกันระหว่างผู้ที่ต้องการสินค้าที่จัดไว้สาหรับการประมูล 4. การประกาศซื้อ-ขาย (E-Classified) เป็นรูปแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เปิดโอกาสให้ ผู้ ที่ส นใจลงประกาศความต้องการซื้อ -ขายสิ นค้าของตน โดยเว็บ ไซต์จะทาหน้ าที่เหมือนกั บ กระดานข่าวและตัวกลางในการแสดงข้อมูลของสินค้าต่างๆ หากมีผู้สนใจจะซื้อสินค้าต้องทาการ ติดต่อโดยตรงไปยังผู้ที่ลงประกาศได้ทันทีตามข้อมูลที่ประกาศไว้ 1

บทความ 9 แนวโน้มการค้าออนไลน์ไทยปี 2556, สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.). บทความเตือนซื้อสินค้า Online กับเว็บไซต์ที่ได้มาตรฐานเท่านั้น, สานักพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เมษายน 2556. 3 โครงการพัฒนาธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทยสู่มาตรฐานสากล, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2556. 2

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-71


5. ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketing) เป็นรูปแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ทาหน้าที่ เป็นตลาดนัดขนาดใหญ่ โดยภายในเว็บไซต์จะมีการรวบรวมเว็บไซต์ของร้านค้าและบริษัทต่างๆ มากมายโดยมีการแบ่งหมวดหมู่ของสินค้าเอาไว้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปดูสินค้าภายในร้านค้า ต่างๆ ภายในตลาดได้อย่างง่ายดายและสะดวก เช่น ตลาดสินค้าทั่วไป www.TARAD.com และ เว็บไซต์ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ของสินค้า OTOP อย่าง www.thaitambon.com เป็นต้น 6. การสร้างเว็บไซด์ของตนเอง เหมาะสาหรับธุรกิจที่มีเงินลงทุ น และมีเครื่องหมายการค้าของ ตัวเอง ถึงแม้ว่าจะเสียค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าและต้องอัพเดทข้อมูลต่างๆ อยู่ตลอดเวลา แต่สามารถจัด หน้ า ร้ า น และให้ ร ายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ตั ว สิ น ค้ า เพื่ อ การช่ ว ยตั ด สิ น ใจของผู้ ซื้ อ ได้ ม ากกว่ า นอกจากนี้ยังสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นจากการคิดค่าบริการในการลงโฆษณาสินค้า นอกจากเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวแล้ว ปัจจุบันยังมีผู้ประกอบการเป็นจานวนมากหันมาทาธุรกิจ ออนไลน์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่กาลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเป็นจานวนมากในปัจจุบัน และสื่อสังคม ออนไลน์เหล่านี้ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของประชาชนทั่วไปเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นสื่อที่สามารถ เข้าถึงง่าย สะดวกและรวดเร็ว ทั้งนี้ ส่วนหนึ่งมาจากสมาร์ทโฟนในปัจจุบันมีราคาถูกลง มีการเข้าถึงระบบ สัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลให้ สังคมคนรุ่นใหม่ในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกั บโลก ออนไลน์อยู่ตลอดเวลาและเกือบร้อยละ 40 ของผู้ใช้สมาร์โฟนทั่วโลกเข้าสู่โลกออนไลน์ก่อนที่จะลุกจากเตียง ด้วยซ้าไป และการเติบโตอย่างก้าวกระโดของเทคโนโลยีต่างๆ ของโทรศัพท์จึงส่งผลให้พฤติกรรมของผู้บริโภค ในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว รวมถึงพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าหรือการช้ อปปิ้งสินค้าผ่านโลก ออนไลน์ จึงส่งผลต่อการทาธุรกิจหรือการขายสินค้าผ่านสังคมออนไลน์ จากการส ารวจพฤติ ก รรมการใช้ อิ น เตอร์ ใ นประเทศไทย ในปี 2556 พบว่ า คนไทยมี พ ฤติ ก รรมการใช้ อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 32 ชั่วโมง/สัปดาห์ โดยคนส่วนใหญ่ที่ใช้อินเตอร์เน็ตร้อยละ 93.8 นิยมใช้โซเชียลมีเดีย โดย ร้อยละ 92.2 ใช้ Facebook ร้อยละ 63.7 ใช้ Google+ และร้อยละ 61.1 ใช้โปรแกรมไลน์ (Line)4 และเมื่อสารวจพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย พบว่า คนไทยที่ใช้โซเชียลมีเดีย ร้อยละ 49.7 เคยซื้อสินค้าผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย โดยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงถึงร้อยละ 55.9 โดยมีสาเหตุมาจาก ความสะดวกสบายในการซื้อ สิ น ค้ าถึ งร้ อ ยละ 76.0 5 และเมื่ อเที ยบย้ อนหลั ง ไป 12 ปี ยังพบว่า คนไทยมี พฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 76.3 โดยพฤติกรรมที่คนไทยใช้มากที่สุดคือ การซื้อสินค้า และบริการผ่านโซเชียลมีเดีย6 โดยเฉพาะผู้คนในเมืองใหญ่นิยมใช้อินเทอร์เน็ตทุกที่ทุกเวลา จึงผลักดันให้ตลาด

4

สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 (สพธอ.). 6 พฤติกรรมคนไทยใช้อินเตอร์เน็ตซื้อสินค้าสูงขึ้น, สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. 5

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-72


ออนไลน์ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น และคาดการณ์ว่าในปี 2561 จะมีผู้ใช้สมาร์ทโฟนมากถึง 3,300 ล้านคนเลย ทีเดียว7 ผลการสารวจการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ต

ที่มา: สพธอ8.

จากการขยายตัวของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่เพิ่มมากขึ้น จะเห็นได้ว่าปัจจุบันมีผู้ประกอบการออนไลน์หน้า ใหม่ เ กิ ด ขึ้ น มากมาย โดยเฉพาะผู้ ป ระกอบการหน้ า ใหม่ ใ นสั ง คมออนไลน์ ป ระเภทต่ า งๆ อาทิ เฟสบุ๊ ค (Facebook) บล็อกเกอร์ (Blogger) หรืออินสตราแกรม (Instagram) เป็นต้น ซึ่งการทาธุรกิจออนไลน์ก็มีทั้ง ข้อดีและข้อเสีย เช่น 1.

2.

3. 4. 5.

7 8

ข้อดี การค้าออนไลน์มีความอิสระ ไร้พรมแดน สามารถ เริ่มต้นธุรกิจคนเดียวได้ ลูกค้าสามารถเข้าถึงข้อมูล สินค้าของเราได้ทุกที่ทุกเวลาและสามารถเข้าถึงกลุ่ม ลูกค้าเป้าหมายได้อย่างขัดเจน มีต้นทุนในดาเนินงานต่า ไม่จาเป็นต้องมีหน้าร้านหรือ เช่าพื้นที่ขายเพื่อสต๊อกสินค้า การดูแลและบริหาร จัดการง่าย ไม่จาเป็นที่จะต้องมีพนักงานขายก็ได้ และ มีความยืดหยุ่นในการปรับปรุงและเพิ่มความ หลากหลายของสินค้าได้ง่าย สามารถสื่อสารกับลูกค้าได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม การชาระเงินมีความสะดวก สบาย และทันสมัยโดย ผ่านระบบออนไลน์,บัตรเครดิต ลดความเสียง ต่อการถูกโจรกรรม และจากภัย ธรรมชาติ มีการสนับสนุนจากทางภาครัฐและเอกชน กันมากขึ้น

1. 2. 3. 4.

ข้อเสีย มีการแข่งขันสูง ใครๆ ก็สามารถทาได้ เนื่องจากการ เริ่มต้นธุรกิจใช้เงินลงทุนไม่สูงมากนัก พ่อค้าแม่ขายไม่มีมาตรฐานการกาหนดราคา จึงมีการ ตัดราคากันเกิดขึ้น สินค้าไม่สามารถจับต้องได้ จนกว่าจะถูกส่งถึงมือ ลูกค้า ลูกค้าบางท่านยังไม่เชื่อมั่นกล้าที่จะตัดสินใจซื้อ ถ้าไม่มีความรู้เกีย่ วกับการดูเว็บไซต์ที่ดีพอเสี่ยงต่อการ ติดไวรัส และอาจถูกเจาะระบบได้

สืบค้นออนไลน์กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ http://www.uni.net.th/backend/uninews/news.php?name=2013022438. รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2556.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-73


ความเสี่ยงกับธุรกิจออนไลน์9 เมื่อเปรียบเทียบข้อดีกับข้อเสียแล้ว ยังพบว่าการทาธุรกิจประเภทออนไลน์ยังมีข้อได้เปรียบกว่าการทาธุรกิจใน รูปแบบอื่นๆ แต่หากพิจารณาในด้านความเสี่ยงของการประกอบธุรกิจยังพบว่า ความเสี่ยงในการประกอบ ธุรกิจออนไลน์ประกอบไปด้วยปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. ผู้ประกอบการขาดความรู้ด้านเว็บไซต์ ไม่สามารถพัฒนาหรือไม่อัพเดทข้อมูลใหม่ๆ ของตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง 2. ผู้ประกอบการขาดการโปรโมทสินค้าและเว็บไซต์ เนื่องจากการธุรกิจหรือขายสินค้าออนไลน์ จาเป็นต้องอาศัยการโปรโมทสินค้า 3. การบริหารจัดการต้นทุนของสินค้า หากสินค้ามีราคาแพงและต้องมีการสต๊อกสินค้า ก็จะเป็น ความเสี่ยงของผู้ประกอบการในการจาหน่ายสินค้าที่มีราคาเพิ่มสูงขึ้น 4. การให้บริการลูกค้า ต้องสามารถอานวยความสะดวกและให้บริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากกลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการร้านค้าออนไลน์ เป็นกลุ่มที่ต้องการความสะดวกและรวดเร็ว และ ลูกค้ากลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีทางเลือกในการจับจ่ายสินค้าบนโลกออนไลน์มาก ทาให้เปลี่ยนใจและไป เลือกซื้อสินค้าจากร้านค้าออนไลน์อื่นๆ ได้ง่าย หากไม่ประทับใจกับการให้บริการ กิจกรรมหลักๆ ของธุรกิจบริการอาหารออนไลน์จะประกอบไปด้วย  การขายสินค้า ซึ่งประกอบไปด้วยการโฆษณา การแสดงสินค้า การนาเสนอราคา การสั่งซื้อ การคานวณราคาสินค้า หรือแม้แต่การส่งเสริมการขายในรูปแบบต่างๆ เช่น การให้ส่วนลด การบริการจัดส่งฟรี เป็นต้น ซึ่งกระบวนการต่างๆ เหล่านี้ลูกค้าต้องสามารถพบเห็นสินค้า สอบถาม และดาเนินการสั่งซื้อผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้  การชาระเงิน การตกลงวิธีชาระเงิน สั่งโอนเงิน ให้ข้อมูลบัญชีธนาคารที่ใช้ตัดบัญชี หรือตัด บัตรเครดิต ตลอดจนเงินดิจิตอลรูปแบบใหม่ๆ ต้องมีการแสดงรายละเอียดที่ชัดเจน เพื่อสร้าง ความมั่นใจให้กับลูกค้าที่ต้องการซื้อสินค้า  การขนส่ง แจ้งวิธีการส่งมอบของ ค่าขนส่ง และสถานที่ติดต่อและระบบติดตามสินค้าที่จัดส่ง ไปให้ลูกค้า  บริการหลังการขาย การติดต่อสอบถามหรือให้ข้อเสนอแนะ คาติชมต่างๆ ตลอดจนการตอบ ข้อซักถามและแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าให้แก่ลูกค้า เมื่อลูกค้ามีข้อสงสัยหรือ ต้องการข้อเสนอแนะ

9

เว็บไซด์ไทยอาชีพ © 2012 thaiarcheep.com.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-74


คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ

คุ ณ สมบั ติ ข องผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ขายสิ น ค้ า แฟชั่ น ออนไลน์ องค์ ป ระกอบของธุ ร กิ จ ขายสิ น ค้ า แฟชั่ น นอกจากจะมีสินค้าแฟชั่นที่ทันสมัย สวยงามและหลากหลาย ออนไลน์ ประกอบไปด้วย แล้ว ผู้ประกอบการที่ต้องการจะขายสินค้าออนไลน์ ควรเป็น  กลุ่มลูกค้าเป้าหมายชัดเจน บุ ค คลมี ค วามรู้ ด้ า นเทคโนโลยี ห รื อ การใช้ สื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต  สินค้ามีจุดขาย ประเภทต่างๆ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการทางธุรกิจ  หน้ า ร้ า นออนไลน์ ซึ่ ง อาจใช้ เ ว็ บ ไซต์ ของตนเอง และก่ อ ให้ เกิ ดประโยชน์ ท างการค้า ผ่ านระบบ ส าเร็ จ รู ป เว็ บ ไซต์ ส ร้ า งเองหรื อ โซเซี ย ล ออนไลน์ โดยเฉพาะผู้ประกอบการที่มีเว็บไซด์เป็นของตนเอง มีเดียอื่นๆ ที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายก็ได้ ซึ่ ง จะช่ ว ยลดค่ า ใช้ จ่ า ยในการจ้ า งผู้ ดู แ ลระบบต่ า งๆ ของ  เนื้อหาน่าสนใจ กิ จ การที่ ต้ อ งมี ค วามเคลื่ อ นไหวและอั พ เดทข้ อ มู ล อย่ า ง  การประชาสัมพันธ์ใช้เครือข่ายออนไลน์ให้ เป็นประโยชน์ สม่าเสมอ การบริหารจัดการเว็บไซด์หรือการออกแบบหน้าตา ของเว็บไซด์ ต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และ  ช่องทางการชาระเงินน่าเชื่อถือ มีความสอดคล้องกับสินค้าแฟชั่นที่นาเสนอขายให้แก่กลุ่มลุก  ระบบการขนส่งสินค้าตรงเวลา ติดตามได้ ค้า เช่น สินค้าแฟชั่นสาหรับ กลุ่มลูกค้าวัยรุ่น วัยทางานหรือ  ผู้ดูแลหน้าร้านออนไลน์ หรือเจ้าของธุรกิจ ต้องใส่ใจอัพเดทเนื้อหา และตอบข้อซักถาม แม้แต่สินค้าเด็ก เนื่องจากผู้บริโภคกลุ่มนี้มีลักษณะแตกต่าง ของลูกค้าอย่างรวดเร็ว จากผู้บริโภคทั่วไป หรือเรียกง่ายๆ ว่า “เป็นกลุ่มผู้บริโภคที่ สามารถเสาะหาข้อมูลต่างๆ” ได้อย่างรวดเร็วและรอบคอบ เนื่องจากเป็นกลุ่มที่ใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเป็นหลัก นั่นแสดงว่ากลุ่มลูกค้ากลุ่มนี้สามารถเข้าถึงธุรกิจ สินค้าแฟชั่นได้ อย่างรวดเร็ว และสามารถเข้าถึงร้านค้าของผู้ประกอบการรายอื่นๆ ได้อย่างง่ายดายด้วยเช่นกัน

 ารเริ่มต้นธุรกิจ การเริ่มต้นธุรกิจใหม่ต้องคานึงถึงปัจจัยที่สาคัญหลายประการ เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเห็นภาพรวมและ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ การจาลองภาพของการดาเนินธุรกิจเป็นแนวคิดที่ช่วยให้ผู้ประกอบการ เห็ น ภาพของการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ได้ชัด เจนยิ่ ง ขึ้น Business Model Canvas10 เป็น เครื่ องมือที่ ช่ว ยให้ 10

Osterwalder, A. and Pigner, Y. (2010), Business Model Generation, John Wiley and Sons.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-75


ผู้ประกอบการสามารถเข้าใจถึงแบบจาลองธุรกิจที่ผู้ประกอบการต้องที่จะเริ่มลงทุน (Start Up) ให้ มี ประสิทธิภาพ11 Business Model Canvas มีลักษณะเป็น Template ที่ช่วยให้ผู้ประกอบการเห็นภาพ ความสั ม พั น ธ์ ข องกิ จ กรรมหลั ก ในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ผู้ ป ระกอบการสามารถด าเนิ น การเปลี่ ย นแปลง รายละเอียดของกิจกรรมพร้อมทั้งใช้เป็นเครื่องมือในการระดมสมองเพื่อปรับปรุงองค์ประกอบด้านต่างๆ ใน การดาเนินธุรกิจ12 1. กาหนดกลุ่มลูกค้า (Customer Segments) ระบุกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะเข้ามาใช้บริการทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตได้อย่างชัดเจน เพื่อสามารถวางแผนในการดาเนินธุรกิจได้อย่างตรงกลุ่มเป้าหมาย กรณีของธุรกิจออนไลน์การนาเสนอสินค้า หรือนวัตกรรมใหม่ๆ ถือได้ว่าเป็นช่องทางการลงทุนที่ใช้เงินลงทุนน้อยกว่าการดาเนินธุรกิจในรูปแบบอื่นๆ และสามารถสร้างฐานลูกค้าประจาได้ง่าย เพราะลูกค้าออนไลน์นิยมหาข้อมูลสินค้าก่อนตัดสินใจซื้อ เช่น  กลุ่มเพศชาย อายุตั้งแต่ 18-35 ปี เป็นกลุ่มที่ ชื่ น ชอบสิ น ค้ า แฟชั่ น และใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ใน ชีวิตประจาวัน  กลุ่มเพศหญิง อายุตั้งแต่ 18-35 ปี เป็นกลุ่มที่ ชื่ น ชอบสิ น ค้ า แฟชั่ น และใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ใน ชีวิตประจาวัน 2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) คุณค่าที่นาเสนอลูกค้าเป็นกระบวนการที่เริ่มต้นตั้งแต่การเชิญชวนลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เข้ามาเยี่ยมชมหรือเลือกดูสินค้าและบริการในร้านค้าออนไลน์ โดยอาจเลือกใช้วิธีการทาป้ายโฆษณา (Banner) ตามสื่อต่างๆ การโพสต์ตามแหล่งโพสต์ฟรีต่างๆ หรือการเลือกใช้บริการโฆษณาเว็บไซต์จากผู้ให้บริการที่มี ประสบการณ์ เป็นต้น โดยคุณค่าที่ลูกค้าจะได้รับจาการใช้บริการธุรกิจ ขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ ประกอบไป ด้วย  คุณภาพสินค้าตรงกับ ข้อมูลที่ให้ลูกค้า การให้ข้อมูลละเอียดตรงไปตรงมา มีข้อแนะนาให้ ลูกค้าได้พิจารณาตัดสิ น ใจเองและมีการอัพเดทข้อมูลเสมอ เนื่องจากลู กค้าไม่มีโอกาสได้ สัมผัสสินค้าก่อนตัดสินใจซื้อ จึงต้อ งให้ข้อมูลอย่างละเอียด เช่น มี ข้อมูลการรีวิวสินค้าสั้นๆ ภาพประกอบชัดเจน ละเอียดสวยงาม การส่งมอบสินค้ามีคุณภาพตรงกับที่โฆษณาทั้งสีสัน

11

Sectoral Technology Board ของประเทศอังกฤษได้เสนอแนวทางการใช้ Business Model Canvas ให้กับผู้ประกอบการต้องการเริ่มดาเนิน ธุรกิจใหม่. 12 www.businessmodelgeneration.com. ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-76


ขนาด สรรพคุณ และลูกค้าต้องเห็นความเคลื่อนไหวของเว็บไซต์เป็นประจา เพื่อก่อให้เกิด ความเชื่อมั่นกับลูกค้าว่าร้านค้าออนไลน์นั้นๆ ยังเปิดกิจการอยู่และมีตัวตนจริง  ความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า การค้าออนไลน์ต้องอาศัยความเชื่อใจเป็นหลักเพราะลูกค้าไม่ได้เห็น สินค้าจริงหรือเป็นการซื้อสินค้าจากภาพถ่ายหรือคาบอกเล่าของผู้ชาย และลูกค้าต้องชาระ เงินให้ผู้ขายก่อน ดังนั้น การแสดงความซื่อสัตย์ของผู้ประกอบการจึงสาคัญมาก สิ่งที่ควรทา คือ การให้ข้อมูลติดต่อชัดเจน การอัพเดทรหัสพัสดุข้อมูลการส่งสินค้าให้ลูกค้า ตรวจสอบได้ การส่งสินค้าภายในเวลาที่แจ้งไว้กับลูกค้า  การบริการ คือหัวใจสาคัญของร้านค้าออนไลน์ ความประทับใจต่อตัวผู้ค้า คือ ก้าวแรกที่ทา ให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อขายกับกิจการนั้นๆ การตอบคาถามด้วยความสุภาพเต็มใจ บริการหลัง การขายติดตามความพึงพอใจเมื่อลูกค้ารับสินค้าไปแล้ว เงื่อนไขการรับเปลี่ยนสินค้าต้องมี ความชัดเจนตั้งแต่ต้นว่าเปลี่ยนได้หรือเปลี่ยนไม่ได้ ระบบติดตามการชาระเงินที่สุภาพเพราะ การขายสินค้าออนไลน์ลูกค้าสามารถผัดผ่อนระยะเวลาชาระเงินออกไปเรื่อยๆ ได้ 3. ระบุช่องทาง (Channels) การเลือกใช้ช่องทางในการนาเสนอหรือเปิดร้านค้าออนไลน์ มีให้เลือกหลายรูปแบบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ศักยภาพและขีดความสามารถของผู้ประกอบการ ซึ่งมีทั้งแบบให้บริการฟรีและเสียค่าใช้จ่าย เช่น  เว็บไซต์มี 2 แบบ คือ (1) การเปิดร้านค้าออนไลน์ แบบเว็บ ไซต์ที่สร้ างขึ้นมาจากชุดโปรแกรมสาหรับ สร้ างเว็บ ไซต์ ซึ่งแบบนี้ ค่อนข้างยุ่งยากและต้องใช้ เงิน ลงทุ น ค่อ นข้า งเยอะหากต้องจ้างคนอื่ นในการ เขีย นโปรแกรม และ (2) การเปิด ร้านออนไลน์กับ เ ว็ บ ไ ซ ต์ ส า ห รั บ ส ร้ า ง ร้ า น ค้ า อ อ น ไ ล น์ เ ช่ น www.lnwshop.com เป็นต้น  โซเชียลมีเดีย (Social Media) เช่น เฟสบุ๊ค อินสตรา แกรม หรือไลน์ ซึ่งข้อดีของการใช้สื่อประเภทนี้คือ ผู้ ป ระกอบการสามารถติ ด ต่ อ สื่ อ สารและตอบข้ อ ซักถามต่างๆ ของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว และยังช่วย สร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าได้ดีกว่าเว็บไซต์อีกด้วย และจากการสารวจของ Nielsen ยังพบว่า ปัจจุบัน ผู้บริโภคให้ความเชื่อถือกับคาแนะนาจากผู้ บริโภค ด้ว ยกัน เองมากกว่าสิ่ งที่เจ้าของแบรด์พูดถึงสิ นค้า ตัวเอง อย่างไรก็ตาม สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) ยังเป็นสื่อที่ช่วยประชาสัมพันธ์ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-77


สินค้าได้เป็นอย่างดี การบอกต่อหรือพฤติกรรมการกด Like หรือกด share ของผู้บริโภค ยัง ช่วยให้การโฆษณาของร้านค้าเผยแพร่ไปได้อย่างรวดเร็ว  เว็บไซต์ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นเว็บไซต์ประเภทศูนย์รวมสินค้าประเภทต่างๆ ที่มี รูปแบบการจาหน่ายออนไลน์ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่มีความ หลากหลาย  เว็บไซต์ประการซื้อขาย (E-Classified) หรือเว็บบอร์ดแหล่งโพสต์ขายสินค้าฟรี เป็นสื่อที่ไม่ เสียค่าใช้จ่าย ผู้ประกอบการสามารถลงประกาศซื้อขายได้ฟรี สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ใน วงกว้าง ควรเน้นในลักษณะการประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างการรับรู้  Dropship คือ ระบบการขายแบบที่เราทาหน้าที่ เป็นผู้ขายนาข้อมูลจากเจ้าของสินค้ามาโฆษณา โดย ไม่ ต้ อ งลงทุ น สั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า เข้ า มาก่ อ น แต่ เ จ้ า ของ สิ น ค้ า หรื อ ยี่ ปั๊ ว ในโลกออนไลน์ จ ะเป็ น คนสต็ อ ก สินค้าและจัดส่งให้ลูกค้าในนามของเราให้เมื่อขาย สินค้าได้ เป็นวิธีที่นิยมทากันเพราะสะดวก ข้อมูล สินค้ามียี่ปั๊วเตรียมไว้ให้ เรามีหน้าที่นาข้อมูลไปวาง ไว้ในช่องทางของตัวเองเท่านั้น เมื่อขายได้รับเงิน จากลู กค้าแล้ ว ค่อยโอนเงินค่าสิ นค้าไปให้ ยี่ปั๊ว ใน ราคาส่ง และเราจะได้รับส่วนแบ่งกาไรตามที่ตกลง กันไว้ มีเว็บไซต์หลายแห่งที่เปิดรับระบบ Dropship เช่น www.dropshoppingthai.com เป็นต้น 4. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) คือ การสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้าเป้าหมาย ตั้งแต่การหาลูกค้า การให้บริการลูกค้า และติดตามหลังการใช้บริการ ซึ่งกระบวนการทั้งหมดจะมีความเชื่อมโยงกันตั้งแต่กระบวนการวิเคราะห์กลุ่ม ลูกค้า เพื่อนาเสนอคุณค่า ผ่านช่องทางการเข้าถึงลูกค้า จนมาสู่การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้าและการ วนกลับมาใช้บริการใหม่ การรักษาฐานแฟนคลับไว้ถือเป็นเรื่องจาเป็ น ซึ่งผู้ประกอบการอาจเลือกกิจกรรมที่ สามารถทาร่วมกับลูกค้าตามกลยุทธ์ธุรกิจ เช่น นัดเจอทากิจกรรมร่วมกัน กิจกรรมร่วมสนุกกับแบรนด์ แจก ของที่ระลึก คุยกันทาง Social Media บ่อยๆ กิจกรรมที่เกี่ยวกับการขายเช่น การสะสมแต้ม การแชร์ภาพเพื่อ รับส่วนลดการแนะนาลูกค้า (Member get member) หรือการให้คาแนะนาการแต่งกายที่เหมาะกับบุคลิก เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-78


5. รายได้ (Revenue Streams) รายได้ หมายถึง กระแสเงินสดที่ได้จากลูกค้า รายได้ในลักษณะของกระแสเงินสด อาจจะมาจาก แนวทางการกาหนดราคาผลิตภัณฑ์ บริการที่แตกต่างกัน/อาจมีหลายผลิตภัณฑ์หรือหลายวิธีการในการได้เงิน สด หัวใจสาคัญคือทาอย่างไรให้ได้เงินสดเข้ามาหมุนเวียนทั นกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทุกวัน โดยธุรกิจขายสินค้า แฟชั่นออนไลน์ รายได้หลักที่สาคัญ คือ รายได้จากการขายสินค้าแฟชั่นประเภทต่างๆ ที่ร้านนามาจาหน่ายบน อินเตอร์เน็ต 6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) สาหรับธุรกิจออนไลน์ประกอบไปด้วยทรัพยากรหลักที่สาคัญ ดังนี้  อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มือถือ กล้อง อินเตอร์เน็ต เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารและการทารีวิว สินค้า เป็นต้น  เว็บไซต์หรือหน้าร้านสาหรับขายสินค้าออนไลน์  การตั้งชื่อโดเมนของร้านค้า หลังจากเลือกเว็บไซต์ที่จะทาการเปิดธุรกิจออนไลน์ได้แล้ว การ ตั้งชื่อร้านค้านับเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้ลูกค้ารู้จัก และเกิดการจดจาการตั้งชื่อและจดโดน เมนร้านค้า ควรเลือกชื่อที่โดดเด่น และจดจาได้ง่าย หรืออาจจะเป็นชื่อที่แสดงความเป็น ตัวตนของธุรกิจ เพื่อที่จะทาให้ลูกค้าเข้ามาเลือกดูสินค้าได้ง่ายขึ้นในครั้งต่อๆ ไป  การจดทะเบียนการค้ากับกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ให้กับผู้ประกอบการและเสริมสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคในการซื้อขายสินค้าผ่านทาง อินเทอร์เน็ต ผู้ประกอบการสามารถขอเครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือได้ที่เว็บไซต์ www.trustmarkthai.com โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย  บัญชีเงินฝากสาหรับให้ลูกค้าโอนเงิน ผู้ประกอบการจะต้องเปิดบัญชีเงินฝากกับทางธนาคาร ไว้สาหรับให้ลูกค้าโอนเงินชาระค่าสินค้า ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกกับทั้งผู้ประกอบการ และลูกค้า และเหมาะกับสินค้าที่มีราคาไม่สูงนักอย่างเสื้อผ้า นอกจากนี้ ผู้ประกอบการ อาจจะสมัครใช้บริการธนาคารบนอินเทอร์เน็ต (E-Banking) หรือบนมือถือไว้ด้วย ซึ่งจะช่วย ให้สามารถตรวจสอบยอดเงินได้อย่างสะดวกมากขึ้น นอกจากนั้น  ข้อมูลของสินค้า ผู้ประกอบการและรายละเอียดที่ สาคัญอื่นๆ บนเว็บไซต์ ผู้ประกอบการ ธุรกิจควรที่จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติหรือรายละเอียดอื่นๆที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจบนเว็บไซต์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้ามากขึ้น อาทิ ชื่อ-นามสกุลของผู้ประกอบการ เบอร์โทร ติดต่อ อีเมล์ร้าน หรือแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าที่ขาย แหล่งนาเข้าสินค้า เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-79


7. กิจกรรมหลัก (Key Activities) คื อ กิ จ กรรมที่ ส ร้ า งคุ ณ ค่ า และส่ ง มอบให้ กั บ เทคนิคง่ายๆ กับร้านค้าออนไลน์ ลูกค้า และจะต้องตรงตามวัตถุป ระสงค์ห รือความคาดหวัง 1. ติดต่อ ผู้ข ายได้ร วดเร็ ว เพราะนอกจากจะ ของลูกค้าตามประเภทของธุรกิจด้วย ประกอบด้วย ช่ว ยให้ ก ารขายด าเนิ น ไปได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว แล้ ว  การอั พ เดทเนื้ อ หาบนเว็ บ ไซต์ คื อ การ การท าตั ว ให้ ติ ด ต่ อ ได้ ง่ า ยยั ง ช่ ว ยในเรื่ อ งของ อั พ เดทสิ น ค้ า ใหม่ อ ย่ า งน้ อ ยสั ป ดาห์ เ ว้ น ความน่าเชื่อถือ ทาให้ลูกค้ารู้สึกว่าพ่อค้าแม่ค้า ร้านนี้มีตัวตนจริงๆ สั ป ดาห์ การหาบทความที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ 2. ช่องทางโอนเงิน ผู้ประกอบการควรมีบัญ ชี สินค้า การรีวิวผลิตภัณฑ์ ถือเป็นเนื้อหาที่ ธนาคารไว้หลายๆ แห่งเพื่อรองรับการชาระเงิน จะช่ ว ยให้ เว็ บ ไซต์มี ความน่า สนใจติด ตาม และหากมีการรับชาระผ่านบัตรเครดิตเพิ่มเข้า มากขึ้น มาด้ ว ยก็ จ ะยิ่ งช่ ว ยให้ ลูก ค้ า ตั ด สิ น ใจได้ เ ร็ ว ขึ้ น  การจัดหาสินค้า มีทั้งการออกสารวจตลาด กว่าเดิมด้วย ซื้อสินค้าจากแหล่ง ผลิ ต การสั่งนาเข้าจาก 3. การส่งของรวดเร็ว เป็นเรื่องปกติที่เมื่อลูกค้า จ่ายเงินแล้วก็มักจะต้องการของให้เร็วที่สุดเท่าที่ ต่างประเทศ การใช้ระบบ Dropship ไม่ว่า จะเร็วได้ ดังนั้นหากผู้ประกอบการส่งสินค้าให้ จะใช้วิธีไหน การเลือกขายสินค้าผ่านร้านค้า ลูกค้าได้เร็วเท่าไหร่ ก็จะยิ่งสร้างความประทับใจ ออนไลน์ควรเป็นสินค้าที่มีความเชื่อมโยงกัน ให้ลูกค้าได้มากเท่านั้น หรือใช้งานร่วมกัน เช่น กลุ่มเครื่องแต่งกาย 4. หีบห่อดูดี และควรบรรจุสินค้าลงหีบห่ออย่าง กลุ่ ม เครื่ อ งส าอาง และกลุ่ ม ครี ม บ ารุ ง ผิ ว ระมั ด ระวั ง มี ก ารห่ อ พลาสติ ก กั น กระแทก สาหรับสินค้าที่อาจแตกได้ ห่อพลาสติกหรือนา เป็นต้น  การตลาดและการขาย เป็นเรื่องใหญ่ที่สุ ด สินค้าใส่ถุงซิปล็อกอีกชั้นเพื่อกันการเปียกน้า และที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด คื อ พ่ อ ค้ า แม่ ค้ า ต้ อ งปิ ด ผนึ ก เริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ารหาตลาดเป้ า หมาย หาทาง กล่องพัสดุให้แน่นหนาที่สุด ไม่ให้เกิดการฉีกขาด เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และมีการสื่อสาร ระหว่างทาง ระหว่างกันสร้างความเชื่อมั่นให้ลู กค้าได้มี โอกาสทดลองซื้อ การกาหนดวิธีการสื่อสาร และช่องทางการสื่อสารเป็นเรื่องสาคัญ กลวิธี การตลาดออนไลน์มีหลายแบบ เช่น - ใช้บล็อกเกอร์ หรือนักรีวิวสินค้ามืออาชีพที่มีฐานแฟนคลับประจาในการสร้างความ น่าเชื่อถือให้แบรนด์ร้านค้า - ฝากลิงค์ไว้ตามเว็บต่างๆ - ซื้อโฆษณา Google Adwords - ซื้อแบนเนอร์เว็บไซต์อื่นๆ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-80


8. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) คู่ค้าหลักทางธุรกิจ หมายถึง เครือข่ายของซั พพลายเออร์ และคู่ค้าหลักที่สนับสนุนการดาเนิน ธุรกิจตามห่วงโซ่อุปทาน ผู้ประกอบการต้องอาศัยคู่ค้าหลักทางธุรกิจด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น เพื่อลด ความเสี่ยงจากการทางานที่ไม่ถนัด คู่ค้าหรือพันธมิตรทางธุรกิจที่สาคัญและผู้เริ่มธุรกิจควรมองหาไว้ได้แก่  กลุ่มผู้ค้าส่ง ซึ่งกิจการไปรับสินค้ามาขาย ย่านผู้ค้าส่งสินค้าแฟชั่นสาคัญ ได้แก่ - ตลาดโบ๊เบ๊ รอบกลางคืนเริ่มขายตั้งแต่เวลา 02.00 น. เป็นต้นไป ส่วนรอบกลางวันเริ่ม ขาย 07.00 น. แผงลอยและอาคารพาณิชย์ก็จะเปิดขายสินค้าตลอดทั้งวัน สินค้าเป็น เสื้อผ้าสาเร็จรูปที่ราคาประหยัด - แพลตตินั่ม ประตูน้า ก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกของพ่อค้าแม่ค้า ที่กาลังมองหาเสื้อผ้า แฟชั่น ชุดเดรส กางเกงยีนส์ รองเท้าและสินค้าแฟชั่นอื่นๆ อีกมากมายที่ทันสมัยและ คุณภาพดีมาจาหน่าย เพราะเสื้อผ้าในย่านนี้ มีราคาขายส่งค่อนข้างสูงกว่าที่อื่นเมื่อ เทียบกับราคาสินค้ากับตลาดค้าส่งที่แห่งอื่น แต่คุณภาพดีกว่า - ตลาดนัดจตุจักร มีสินค้าแนวอาร์ทขาย เปิดทุกเสาร์อาทิตย์ - ตลาดสาเพ็ง เปิดให้บริการ 2 เวลา คือ ตลาดสาเพ็งเช้า จะเปิดให้บริการ เริ่มเวลา ประมาณตี 3–7 โมงเช้า ซึ่งเวลาทาการปกติของตลาดสาเพ็งนั้นจะเปิดเวลา 08.0017.00 น. สิน ค้าที่มีว างจาหน่ายส่ ว นใหญ่จะเป็นสิ นค้ากิ๊ฟช๊อป อาทิเช่น กิ๊บติดผม เครื่องประดับ ต่างหู สร้อยคอสไตล์เกาหลี สร้อยคอลูกปัด วิกผม ตุ๊กตาโมเดลญี่ปุ่น เครื่องสาอาง กระเป๋า รองเท้า เสื้อผ้าและอุปกรณ์ของใช้ในบ้าน เป็นต้น - สิน ค้านาเข้าจากประเทศจีน ญี่ปุ่น เกาหลี ใต้ ไต้ห วัน ฮ่องกง เป็นที่นิยมกันมากใน ปัจจุบัน เพราะมีคุณภาพดีบวกกับรสนิยมสมัยใหม่ ทาให้สามารถตั้งราคาในระดับ เกรดพรีเมี่ยมได้ไม่ยาก วิธีการนาเข้ามีทั้งทัวร์ที่พาไปดูสินค้าถึงแหล่ง การนาเข้าผ่าน ระบบออนไลน์ส่งสินค้าแล้วใช้บริการบริษัทชิปปิ้ง ซึ่งเป็นตัวแทนผู้นาเข้าและส่งออก โดยที่เราไม่ต้องออกเดินทางไปเองบริษัท ชิปปิ้งจะจัดการให้เราทุกสิ่งอย่าง และการใช้ บริการ Taobao Dropship ส่งสินค้าถึงประตูบ้านลูกค้า ข้อควรระวังคือเรื่องไซส์ของ แต่ละประเทศมีการกาหนดขาดไม่เท่ากัน โดยเฉพาะสินค้าจากประเทศจีนที่ไซส์ต่าง จากมาตรฐานที่ใช้ในเมืองไทย ต้องศึกษาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจซื้อ  ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารจั ด ส่ ง สิ น ค้ า การจั ด ส่ ง สิ น ค้ า ทุ ก วั น นี้ มี ก ารพั ฒ นาบริ ก ารรั บ ส่ ง สิ น ค้ า ที่ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น มีผู้ให้บริการอยู่หลายเจ้าแต่ส่ว นใหญ่ที่นิยมเลือกใช้กันมากที่สุ ด คือ ไปรษณีย์ไทย เพราะมีความสะดวกและรวดเร็วครอบคลุมทั่วประเทศ หากเป็นสินค้าที่มี ความใหญ่โตคงต้องพึ่งพาบริการอย่างของ DHL หรือ FedEx เพราะมีความรวดเร็ว ควรมี การติดตั้งระบบ Track & Trace ให้ลูกค้าได้เช็คการจัดส่งพัสดุด้วย ถ้าเป็นจังหวัดที่อยู่ติดๆ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-81


กัน สามารถส่งสินค้าผ่านทางขนส่งกับรถประจาทางซึ่งเป็นที่นิยมกันพอสมควร เพราะส่ง สินค้าไม่เกิน 1 วันนับจากวันที่ส่ง  พันธมิตรที่ไม่ใช่คู่แข่ง แต่มีวิธีคิดหรือขายสินค้าใกล้เคียงกัน เช่น ร้านรองเท้า ร้าน เครื่องประดับแฟชั่น ร้านขายของที่ระลึก ห้องเสื้อหรือร้านเครื่องสาอาง เป็นต้น 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) โครงสร้างต้นทุน หมายถึง ต้นทุนที่เกิดระหว่างการดาเนินธุรกิจ ประกอบไปด้วยต้นทุนที่สาคัญ 2 ส่วน คือ เงินลงทุนในการจัดตั้งกิจการ (Investment) และเงินทุนในการดาเนินธุรกิจ (Operating cost)  เงินลงทุนในทรัพย์สินถาวร (Investment) คือ เงินทุนที่ลงไปเพื่อจัดตั้งกิจการ เช่น ที่ดิน เครื่องจักร อุปกรณ์สานักงานที่ใช้เพื่อเริ่มต้นธุรกิจ  เงินทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน (Operating cost) คือ ต้นทุนในการผลิตและส่งมอบสินค้า ให้ แก่ลู กค้า ใช้เป็ น แนวทางในการคิดเรื่องกาไร-ขาดทุน ต้นทุนในส่ ว นนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ - ต้นทุนคงที่ หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นประจาในกิจการไม่ว่าจะเกิดกิจกรรมการผลิตขึ้น หรือไม่ก็ตามประกอบไปด้วย เช่น ค่าเช่าหน้าร้าน ค่าเช่าสานักงานและค่าเช่าโกดังสินค้า เป็นต้น - ต้น ทุน ผัน แปร หมายถึง ต้นทุนที่เกิดขึ้น โดยมีค่าผันแปรไปตามยอดขายสิ นค้าหรือ บริการ เช่น ค่าจ้างผลิตต่อชิ้นงาน ค่าวัตถุดิบและวัสดุสิ้ นเปลือง ค่าบรรจุภัณฑ์ ค่า ขนส่งและค่าส่งไปรษณีย์ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-82


โครงสร้างการลงทุน ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์

หมายเหตุ: ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของธุรกิจและปริมาณของสินค้าที่จาหน่ายบนร้านค้าออนไลน์ การลงทุน สินทรัพย์ถาวร ค่าอุปกรณ์สานักงาน

คาอธิบาย

โ ต๊ ะ ท า ง า น อุ ป ก ร ณ์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ก ล้ อ ง ถ่ า ย รู ป โทรศัพท์มือถือ External Hard disk ปากกาดิจิตอลวาด แบบ ปริ้นเตอร์ หมึก และกระดาษ เป็นต้น ค่าจัดทาเว็บไซต์ และค่าเช่า ประเมิ น ราคาจากเว็ บ ไซต์ ส าเร็ จ รู ป พร้ อ มจดทะเบี ย น โดเมนต่อปี Domain สาหรับ E-commerce ราคาแตกต่างกันตาม แพ็กเกจและการจ้างตกแต่งเพิ่มเติม

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ค่าใช้จ่าย 40,000-100,000 บาท

5,000-30,000 บาท

2-83


การลงทุน สินทรัพย์หมุนเวียน ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่า อินเตอร์เน็ต ค่าโทรศัพท์ ค่าสินค้า

คาอธิบาย ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม

ค่าบรรจุภัณฑ์และวัสดุ สิ้นเปลือง ค่าน้ามัน/ ค่าขนส่ง

ได้แก่ หีบห่อ ซองพลาสติก ถุงช้อปปิ้ง กล่องบรรจุภัณฑ์ ป้าย ห้อยสินค้า อุปกรณ์เย็บปัก และวัสดุใช้สอยอื่นๆ ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม

ค่ากิจกรรมการตลาด

ขึ้ น อยู่ กั บ ป ร ะ เ ภ ท กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ กา ร ตั ด สิ น ใ จ ข อ ง ผู้ประกอบการว่าจะทาเองหรือไม่ เช่น การถ่ายแบบสินค้า อาจตัดสินใจทาเองเพื่อลดต้นทุน หรือจ้างช่างกล้อง เพื่อให้ ได้ภาพลักษณ์สินค้าที่ดี การเขียนรีวิวสินค้า การจัดกิจกรรม ส่งเสริมการขาย การซื้อพื้นที่โฆษณาบนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น

ขึ้นอยู่กับประเภทกิจการ ความหลากหลายของสินค้า และ คุณ ภาพวั ต ถุ ดิ บ ส าหรั บ ธุ ร กิ จซื้ อ มาขายไปอาจเริ่ ม ลงทุ น ประมาณ 50,000 บาท

ค่าใช้จ่าย 4,000-6,000 บาท/เดือน 50,000-100,000 บาท/เดือน 3,000-5,000 บาท/เดือน 4,000-10,000 บาท/เดือน 3,000-10,000 บาท/เดือน

ในการดาเนินธุรกิจ ผู้ประกอบการต้องคานึงถึง จุดคุ้มทุน (Break-even Point) ซึ่งหมายถึง ระดับของรายได้ จากการขายสินค้าหรือบริการที่เท่ากับต้นทุนที่ธุรกิจได้จ่ายออกไป หรือจุดหรือระดับของรายได้ที่ธุรกิจ “เท่า ทุน” โดยส่วนที่เลยจุดหรือระดับของรายได้ดังกล่าวคือผลกาไรที่ธุรกิจจะได้ ผู้ประกอบการจะรู้จุดคุ้มทุนเมื่อรู้ ว่าต้นทุนคงที่และผันแปรของกิจการเป็นเท่าไหร่ การคานวณจุดคุ้มทุนทาได้โดย (1) จุดคุ้มทุน (หน่วยขายที่คุ้มทุน) =

ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย

หรือ (2) จุดคุ้มทุน (ยอดขายที่คุ้มทุน) = หน่วยขายที่คุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย ส่วนระยะเวลาการคืนทุน (Payback Period) หมายถึง ระยะเวลาที่ต้อง ดาเนินธุรกิจนั้นไปจนกว่ากาไรที่ ได้รับมาจะคุ้มกับเงินที่ลงทุนไป สามารถ คานวณได้จ ากกาไรสะสมที่ไ ด้ตั้งแต่เริ่ มต้ นกิจการไปจนถึงปีที่ไ ด้กาไร สะสมรวมเท่ากับเงินที่ลงทุน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-84


ตั

 วอย่าง การวิเคราะห์ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ ตามกรอบแนวคิด Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships)  ผู้จาหน่ายสินค้าส่ง  ผู้ให้บริการขนส่ง  ร้านค้าออนไลน์อื่นๆ

กิจกรรมหลัก (Key Activities)  การอัพเดทเนื้อหาสินค้าบนเว็บไซต์/ร้านค้า  การจัดการสินค้า  การตลาดและการขาย

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions)  คุณภาพสินค้า  ความซื่อสัตย์  การบริการ

ทรัพยากรหลัก (Key Resources)  อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มือถือ กล้อง อินเตอร์เน็ต เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร การ ทารีวิวสินค้า  เว็บไซต์/การตั้งชื่อโดเมนของร้านค้า  การจดทะเบียนการค้ากับกรมพัฒนาธุรกิจ การค้ากระทรวงพาณิชย์  บัญชีเงินสาหรับให้ลูกค้าโอนเงิน  ข้อมูลของสินค้า โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure)  สินทรัพย์ถาวร ได้แก่ ค่าทาเว็บไซด์ และค่าโดเมน(รายปี) เป็นต้น  สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ (1) ต้นทุนคงที่ต่อเดือน เช่น ค่าเช่าสานักงาน/สถานที่ ค่าบริการอินเตอร์เน็ต เป็นต้น และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าบรรจุภัณฑ์ และค่าจัดส่งสินค้า เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships)  เน้นการสร้างความสัมพันธ์มีกิจกรรม ระหว่างกัน  สื่อสารสม่าเสมอ  บริการหลังการขาย ช่องทาง (Channels)  เว็บไซต์/ร้านค้าของตนเอง  สื่อสังคมออนไลน์  เว็บขายสินค้าฟรี  Dropship

กลุ่มลูกค้า (Customer Segments)  เพศชาย อายุตั้งแต่ 18-35 ปี เป็นกลุ่มที่ชื่นชอบสินค้า แฟชั่น และใช้อินเทอร์เน็ต ในชีวิตประจาวัน  เพศหญิง อายุตั้งแต่ 18-35 ปี เป็นกลุ่มที่ชื่นชอบสินค้า แฟชั่น และใช้อินเทอร์เน็ต ในชีวิตประจาวัน

รายได้ (Revenue Streams)  รายได้จากการขายปลีกและขายส่ง  รายได้จากการขายสินค้าอื่นเสริม

2-85


ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ ในระยะเริ่ ม ต้ น หากผู้ ป ระกอบการมี สิ น ค้ า แฟชั่ น อยู่ แ ล้ ว และต้ อ งการจ าหน่ า ยสิ น ค้ า แฟชั่ น ออนไลน์ ผู้ประกอบการอาจเลือกใช้บริการเว็บไซต์ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ประกาศซื้อขายฟรี และการใช้สื่อ สังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ เพื่อเป็นการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการจัดทาเว็บไซด์ และแนวโน้มในอนาคตหาก ผู้ประกอบการจะจัดทาเว็บไซด์ร้านค้า เพื่อเป็นการสร้างความน่าเชื่อถื อให้กับร้านค้าออนไลน์ก็สามารถทาได้ ในอนาคต และหากผู้ประกอบการยังไม่มีสินค้ าแฟชั่นที่จะวางจาหน่ายบนหน้าเว็ บไซด์หรือสื่อสังคมออนไลน์ประเภท ต่างๆ แต่มีความสนใจที่จะทาธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ ผู้ประกอบการสามารถเริ่มต้นธุรกิจได้ในรูปแบบ ของ Dropship ซึ่งเป็นการทาธุรกิจในรูปแบบการนาสินค้าของคนอื่นมาขาย โดยผู้ประกอบการสามารถบวก กาไรเข้าไปอยู่ในสินค้านั้นๆ โดยที่ไม่จาเป็นต้องส่งสินค้าหรือประกันสินค้าใดๆ กล่าวคือ ผู้ประกอบการไปเป็น ตัวกลางโดยนาสินค้าของเจ้าของโรงงานไปขายนั่นเอง

 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจมีวิธีการที่สามารถทาได้อย่างหลากหลายจากในรูปแบบที่แตกต่างกันไปตาม แนวคิดของผู้ประกอบการแต่ละยุคสมัย ในคู่มือฉบับนี้จะขอนาเสนอวิธีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ ดังนี้ 1. งานบริการเพิ่มมูลค่า ผู้ประกอบการสามารถสร้างความประทับใจให้กับลูกค้าโดยการอานวยความสะดวก เช่น มีสินค้า ที่เข้าคู่กับเสื้อผ้าของแบรนด์ตนเองมาขายแบบ One-stop Service บริการแนะนาเสื้อผ้าที่เข้า กับบุคลิกของลูกค้า บริการสั่งสินค้าเฉพาะให้ลูกค้าและบริการเปลี่ยนสินค้า เป็นต้น 2. สร้างความสนุกให้กับร้านค้าออนไลน์ เช่น การจัดกิจกรรมร่วมกับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ออกร้านตาม โอกาสต่างๆ การประกวดภาพถ่าย กิจกรรม makeover ช่วยให้ลูกค้าสนุกและเข้ามามีส่วน ร่วมกับร้านค้ามากกว่าจะแวะดูข้อมูลเท่านั้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-86


ปั

 จจัยความสาเร็จในการทาธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 4. ระบบการเรียกเก็บ เงินที่น่าเชื่อถือ

1. ความคิดสร้างสรรค์ใน การนาเสนอเนื้อหา

2. ความรวดเร็วในการ ให้บริการและตอบ คาถามแบบ Real time

3. ระบบการเปลีย่ นคืนสินค้าที่ดี

ปัจจัยแห่งความสาเร็จในธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ ประกอบด้วย 4 ปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. ความคิดสร้างสรรค์ในการนาเสนอเนื้อหา สาหรับธุรกิจออนไลน์ สิ่งแรกที่สร้างความประทับใจ แก่ผู้พบเห็นคือ เนื้อหา การออกแบบการนาเสนอเนื้อหาให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย อัพเดทสม่าเสมอ ทาให้ลูกค้าจดจาตัวตนของธุรกิจได้ นาไปสู่ธุรกิจที่ยั่งยืนในอนาคต 2. ความรวดเร็วในการให้บริการและตอบคาถามแบบ Real time การค้าขายบนอินเตอร์เน็ตเปิด โอกาสให้ผู้ค้าสามารถขายของได้ตลอด 24 ชั่วโมง และผู้ซื้อย่อมต้องการความสะดวกรวดเร็วเป็น อันดับแรก ความยืดหยุ่นในการให้บริการของผู้ขาย และการบริหารความคาดหวังของลูกค้าเป็น ปัจจัยหนึ่งที่สร้างความเชื่อใจในหมู่ลูกค้า 3. ระบบการเปลี่ยนคืนสินค้าที่ดี การค้าออนไลน์ต้องอาศัยความเชื่อใจเป็นหลักเพราะลูกค้าไม่มี โอกาสได้สัมผัสสินค้าก่อนชาระเงิน ดังนั้น ผู้ประกอบการต้องสร้างความไว้วางใจให้เกิดขึ้นโดย การดูแลคุณภาพสิ นค้าให้ตรงกับคาโฆษณา การส่ งมอบสิ นค้าตรงเวลา การให้ข้อมูล ติดต่อที่ สามารถติดตามตัวได้ การอัพเดทรหัส พัสดุข้อมูลการส่ งสิ นค้าให้ลู กค้าตรวจสอบได้ หากเกิด ปัญหา เช่น สินค้าขาดตลาด สินค้ามีตาหนิ จะต้องมีมาตรการการแจ้งเตือนและการรับเปลี่ยนคืน ที่รวดเร็ว

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-87


4. ระบบการเรี ยกเก็บเงิน ที่น่า เชื่อถือ การทาธุรกรรมออนไลน์ส าหรับคนไทยหลายคนยังเป็น ช่องทางที่ไม่น่าเชื่อถือ ดังนั้นผู้ประกอบการต้องมีทางเลือกในการรับชาระเงินหลายช่องทาง การ ใช้ Payment Gateway ของธนาคารต่างๆก็เป็นวิธีหนึ่งที่ลูกค้ามั่นใจในระบบการรักษาความ ปลอดภัยของธนาคารได้แต่มีค่าธรรมเนียมการบริ การประมาณร้อยละ 3 ของมูลค่าสิ นค้าซึ่ง ผู้ประกอบการต้องคานวณไว้ หรือแจ้งลูกค้าล่วงหน้า อีกวิธีที่สะดวกคือ internet banking ลูกค้าจะจัดการโอนเงินตามหมายเลขบัญชีธนาคารที่แจ้งไว้ส่วนผู้ประกอบการมีหน้าที่เพียงตาม เช็คยอดจาก SMS Alert หรือบนเว็บไซต์

ข้

 อท้าทายในการทาธุรกิจขายสินค้าออนไลน์ 1. การจัดการเรื่องลิขสิทธิ์ 3. การบริหารสินค้าคงคลัง 2. การเข้าไม่ถึงกลุ่มลูกค้า เป้าหมาย

1. การจัดการเรื่องลิขสิทธิ์ ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตสามารถลอกเลียนแบบได้ง่าย การลอกเลียนแบบ สินค้าและการตัดราคาเป็นไปได้เสมอ สิ่งที่ดึงให้ลูกค้ากลับมาซื้อซ้าได้คือความซื่อสัตย์ของร้านค้า และการบริการที่ดีจะสร้างความไว้วางใจและกลับมาเป็นลูกค้าประจา นอกจากนั้นการเผยแพร่ ข้อมูลใดๆ บนอินเตอร์เน็ตผู้ประกอบการควรใส่แหล่งที่มาเสมอ เพื่อเป็นการเคารพทรัพย์สินทาง ปัญญา 2. การเข้าไม่ถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อาจเกิดจากผู้ประกอบการเลือกช่องทางไม่เหมาะสม ขาด ความถี่ในการสื่อสาร เนื้อหาไม่น่าสนใจ ต้องมีการปรับปรุงกระบวนการเหล่านี้ อาจต้องลงทุนใน การจ้างนักถ่ายภาพสินค้ามือดี จ้างนักรีวิวสินค้าช่วยเขียน เปลี่ยนวิธีการสื่อสารลูก ค้าใหม่ หา ช่องทางเพิ่มเติม ปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-88


3. การบริหารสินค้าคงคลัง ช่องทางการหาสินค้าเข้ามาขายมีทั้งที่ต้องสต็อคสินค้าและสั่งตรงจาก ผู้ ผ ลิ ต มาถึ ง มื อ ผู้ ซื้ อ โดยไม่ ต้ อ งสต็ อ คสิ น ค้ า แต่ ล ะรู ป แบบมี ข้ อ ดี ข้ อ เสี ย ต่ า งกั น วิ ธี แ รก ผู้ประกอบการมีโอกาสได้เห็นสินค้าก่อนถึง มือลูกค้า สามารถป้องกันปัญหาสินค้าไม่ได้มาตรฐาน แล้วลูกค้าขอคืนได้ แต่ผู้ประกอบการก็ต้องลงทุนล่วงหน้า ส่วนวิธีหลังผู้ประกอบไม่ต้องสต๊อค สินค้าแต่มีความเสี่ยงสูงที่สินค้าไม่ได้คุณภาพไปถึงมือลูกค้าแล้วทาให้ชื่อเสียงของกิจการเสีย หาย ดังนั้นธุรกิจไม่ควรเลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งเพียงอย่ างเดียว ควรมีสินค้าในมือบางส่วนและสั่งตรงจาก คู่ค้าบางส่วน การมีคู่ค้าที่ดี สามารถส่งสินค้าได้รวดเร็ว สินค้ามีคุณภาพ ช่วยเพิ่มโอกาสในการทา ธุรกิจให้กับร้านค้าออนไลน์เนื่องจากลดภาระการรับเปลี่ยนคืนสินค้า ลดการสต็อคสินค้าลง ซึ่งวิธี นี้ช่วยจานวนเงินลงทุนให้น้อยลง

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-89


 รณีศึกษา ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ต้นแบบ Merrygoroundcloset “Dropship เครื่องมือธุรกิจออนไลน์แบบไม่มีสต็อค” การที่คนรุ่นใหม่ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทางานอยู่คอมพิวเตอร์ ใช้เวลาว่างในโลกออนไลน์ ทาให้พฤติกรรมการช้ อปปิ้ง ของคนเปลี่ยนไป คุณชญานี เจริญสวัสดิ์ศิริ เจ้าของ https://www.facebook.com/merrygoroundcloset เป็นตัวอย่างหนึ่งของนักธุรกิจสาวรุ่นใหม่ที่รักความเป็นอิสระ และใช้ช่องทางออนไลน์ในการขายสินค้าแฟชั่น ควบคู่กับงานประจาที่มี ด้วยเป็นธุรกิจขายเสื้อผ้าแฟชั่นบนอินเตอร์เน็ท ความสวยงามในการนาเสนอข้อมูล การอัพเดทข้อมูล การให้ข้อมูลแก่ผู้ซื้อจึงเป็นเรื่องสาคัญ โดยปรกติแล้วผู้ค้าออนไลน์จะถ่ายภาพและตกแต่ง ภาพสินค้า ตลอดจนทารีวิวสินค้าสม่าเสมอ เพื่อให้ผู้เยี่ยมชมรู้ว่ากิจการนี้ยั งดาเนินการอยู่ ในแต่ละวันเจ้าของ ร้านค้าออนไลน์จะต้องอัพเดทสินค้า แชร์ หน้าแฟนเพจไปยังเว็บต่างๆ ลงโฆษณาตามเว็บไซต์ โทรติดต่อตอบ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-90


คาถามลูกค้า คอยเช็คการโอนเงิน และดูส ต็อคสิ นค้า การเลือกสิ นค้ามาขายและการตั้งราคา ถือเป็นเรื่อง ตัดสินใจยากเรื่องหนึ่ง เพราะหมายถึงต้นทุนและรายได้ที่จะเกิดขึ้น บ่อยครั้งที่ร้านค้าออนไลน์เกิดภาวะทุนจม แต่มีเครื่องมือการตลาดออนไลน์แบบใหม่ที่ช่วยผ่อนแรงผู้ค้าออนไลน์ในการทาคอนเทนต์ สามารถหาสินค้า หลากหลายมาขายเสริมกับสิ นค้าหลักโดยไม่ต้องลงทุนสต็อคของและผู้ค้าได้รับส่วนแบ่งกาไรนั่ นคือ ระบบ Dropship

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  ความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า ส่งมอบสินค้าตรงที่โฆษณา  การบริหารจัดการสินค้าคงคลังและการส่งมอบสินค้าตรงเวลา  ความรวดเร็วในการให้บริการ Dropship คือ รูปแบบการตลาดแบบหนึ่งที่ประกอบด้วย  ผู้ผลิตสินค้าหรือโรงงาน  Dropshipper เป็นคนกลางหรือยี่ปั๊วทาหน้าสต็อค สินค้า เตรียมภาพ ข้อมูลสินค้า ตั้งราคาและ จัดส่งสินค้าไปยังผู้ขาย  Merchant ผู้ขาย ทาหน้าที่เป็นเหมือนตัวแทนจาหน่ายให้กับ Dropshipper โดยนาข้อมูลจาก Dropshipper ไปเผยแพร่ นาเสนอขายผ่าน Face book, IG, website ของตัวเอง ซึ่งในกรณีนี้ www.facebook.com/merrygoroundcloset ทาหน้าที่เป็น Merchant นั่นเอง ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-91


 ผู้ซื้อ ผู้บริโภคสินค้าปลายทาง กระบวนการทางาน 1. Dropshipper จะมีสินค้าอยู่ในมือหรือรับซื้อสินค้าจากผู้ผลิตมา แล้วรับสมัครผู้ขายโดยให้ข้อมูล สินค้า ภาพประกอบ ราคา ส่ วนลดสินค้า/หรือแต้มสะสม Dropshipper มีการเก็บค่าสมาชิก หรือ กาหนดยอดขายในช่วง 1-3 เดือนแรกเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ขายจะทาหน้าที่ตามข้อตกลง ใน ขณะเดียวกันก็รับสมัครผู้ผลิตมาเป็นเครือข่ายเพื่อให้ตนเองมีเครือข่ายสินค้าหลากหลาย 2. ผู้ขายนาข้อมูลสินค้าไปประชาสัมพันธ์เมื่อมีลูกค้าสั่งซื้อเข้ามาและโอนเงินเรียบร้อยแล้ว ผู้ขายจะ สั่งซื้อไปยัง Dropshipper ให้ดาเนินการจัดส่งสินค้าไปยังผู้ซื้อ โดยอาจใช้ชื่อของผู้ขายหรือชื่อ ของ Dropshipper ในการจัดส่ง แล้วแต่ข้อตกลง 3. Dropshipper จัดส่งสินค้าให้ผู้ซื้อและแบ่งกาไรให้กับผู้ขายตามแต่วิธีที่ตกลง เช่น ส่วนลดสินค้า สะสมแต้มแล้วจ่ายเป็นเดือน คิดเป็นค่าคอมมิชชั่นแต่ละครั้ง ในทัศนะของเจ้าของร้านค้าออนไลน์ เห็นว่า Dropship ไม่ควรเป็นช่องทางรายได้หลักแต่เหมาะเป็นวิธีทาง การตลาดเสริมส าหรับผู้ค้าออนไลน์ที่มี สิน ค้าหลักของตัวเองที่สามารถกาหนดราคาเองได้ เพื่อให้ มีรายได้ เพิ่มขึ้น ตรงข้าม Dropship เป็นเครื่องมือการตลาดทรงพลังสาหรับธุรกิจที่มีแบรนด์ของตัวเอง หรือผลิตสินค้า ของตัวเอง ด้วยข้อดีข้อเสียดังต่อไปนี้

    

ข้อดี สะดวก ไม่ต้องผลิตคอนเทนต์เอง ไม่ต้องลงทุนมาก มีสินค้าหลากหลายเพิ่มความน่าสนใจให้กับหน้า ร้านของตนเอง มีรายได้เพิ่มโดยไม่ลงแรงมาก ในแง่ที่ธุรกิจมีสินค้าเป็นของตัวเองสามารถใช้ ระบบ Dropship ช่วยในการประชาสัมพันธ์

  

ข้อเสีย สัดส่วนกาไรที่ได้จาก Dropship มีน้อย เนื่องจากไม่มีสิทธิ์ในการตั้งราคาเอง ข้อมูลสินค้าจะซ้ากับเว็บอื่นๆ ผู้ค้าไม่เห็นสินค้าจริง อาจเกิดปัญหาสินค้าไม่ ตรงกับโฆษณาและกระบวนการคืนสินค้า ยุ่งยาก

เข้าถึงข้อมูลได้ที่ Merrygoroundcloset https://www.facebook.com/merrygoroundcloset

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-92


5

ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์

ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ หรือเสื้อผ้าคนอ้วน หมายถึง การดาเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การ จาหน่าย การขายเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายที่มีขนาดใหญ่กว่าขนาดมาตรฐาน S M L หรือ เสื้อผ้าที่มีรอบอกใหญ่ กว่า 38 นิ้วขึ้นไป เพื่อกลุ่มลูกค้าคนอ้วน รูปแบบธุรกิจแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ (1) มีแบรนด์ของตนเอง เช่น การผลิตเอง การออกแบบเองแล้วจ้างผลิต ซื้อสินค้ามาติดแบรนด์ของตนเอง (2) ไม่มีแบรนด์ของตนเอง เป็นธุรกิจซื้อมาขายไปหรือรับนาเข้าสินค้าตามสั่ง (Pre-order) (3) มีสินค้าแบรนด์ของตนเองและรับจากแหล่ง อื่นมาขาย เพื่อเพิ่มความหลากหลายของสินค้าและลดภาระต้นทุนในการผลิต ด้านการจาหน่ายสินค้าอาจมี หน้าร้านของตนเองควบคู่กับหน้าร้านออนไลน์เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงลูกค้า

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-93


จากยุคที่นิยมความสวยงามของนางแบบหุ่นเพรียวบางแบบ “Skinny” วงการแฟชั่นปัจจุบันได้ปฏิวัติมองเห็น ความงามของหญิงสาวในโลกความเป็นจริง โดยมองว่าผู้หญิงทุกคนมีความสวยกันคนละมมุม จนเกิดพื้นที่ใน ตลาดแฟชั่นสาหรับสาวอวบ (Full-Figure) บนเวทีแฟชั่นระดับโลก เห็นได้จากนิตยสาร “V Magazine” ของ สหรัฐฉบับเดือนมกราคม 2557 ที่ นางแบบทุกคนล้วนมีต้นขาใหญ่ หน้าท้องที่ไม่แบนราบเหมือนนางแบบ ทั่วไป แต่ก็สื่อสารถึงความสวยงามและเซ็กซี่ได้เช่นกัน สาหรับประเทศไทย ในฐานะที่มีอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มขนาดใหญ่ ตลาดเสื้อผ้าพลัสไซส์ หรือ เสื้อผ้าคนอ้วน ถือเป็นส่วนตลาดหนึ่งที่ทากาไรมาช้านานโดยเฉพาะการส่งออกไปยังตลาดแอฟริกา ก่อนปี 2550 เสื้อผ้าพลัส ไซส์ถือเป็นสินค้าหายาก มักมีแต่เสื้อผ้ากางเกงผู้ชายและมีผู้ขายจานวนน้อยราย แต่ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ส่วน ตลาดเสื้อผ้าพลัสไซส์มีการขยายตัวขึ้น ตัวชี้วัดที่เห็นได้ชัดคือสินค้าในตลาดแฟชั่น พลัสไซส์ของไทยมีปริมาณ และความหลากหลายมากขึ้น จานวนผู้ค้ามากขึ้น โดยปัจจัยที่ทาให้ตลาดเสื้อผ้าพลัสไซส์เติบโตส่วนหนึ่งมา จากการเปลี่ยนแปลงของประชากรไทยที่มีคนอ้วนเพิ่มขึ้นปีละ 4 ล้านคน ถือเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน หากมองไปที่กลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มวัยเริ่มทางานที่มีความต้องการสินค้าแฟชั่ นมากกว่าประชากรช่วงวัยอื่นๆจะ เห็นว่า จานวนประชากรไทยในช่วงอายุ 18 ปีที่มีภาวะอ้วน (ดัชนีมวลกาย BMI >= 30 กก./ม.2 ) มีเพิ่มขึ้น เกือบ 3 เท่า จากร้อยละ 3.5 ของจานวนประชากรในปี 2534 มาเป็นร้อยละ 9 ของจานวนประชากรในปี 2552 นั่นหมายถึงความต้องการสินค้าเสื้อผ้าพลัสไซส์สาหรับวัยรุ่นและวัยทางานจะมีมากขึ้นนั่นเอง

ที่มา: WHO Report 20111

1

สืบค้นออนไลน์ http://sea-globe.com/fat-under-fire/.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-94


ปัจจุบันตลาดสินค้าแฟชั่นเสื้อผ้าสาหรับสาวอวบในประเทศไทยจะมีคนขายมากยิ่งขึ้นแต่ยังมีโอกาสให้เติบโต อันเนื่องมาจาก  ขาดแคลนเสื้อผ้าคุณภาพดีสาหรับตลาด B+ สินค้าตลาดในประเทศส่วนใหญ่มีเสื้อผ้าพลัสไซส์ แบบราคาประหยัดและคุณภาพไม่ดีนัก หากอยากได้สินค้ าคุณภาพดีต้องสั่งจากต่างประเทศโดย แบรนด์ที่ทาเสื้อผ้าพลัสไซส์ของต่างประเทศ เช่น Mark & Spencer, Catherine, Women Plus size, Old Navy เป็นต้น  การออกแบบเสื้อผ้ายังไม่เหมาะสรีระของสาวอวบมากนัก แบรนด์เสื้อผ้าพลัสไซส์ในประเทศไทย มีน้อย ส่วนใหญ่เป็นการขยายขนาดจากแพทเทิร์นเสื้อผ้าสาวไซส์เล็ก บางส่วนเป็นสินค้าที่นาเข้า มาจากจีนและเกาหลี ซึ่งไม่มีมาตรฐานขนาดที่ชัดเจนแตกต่างจากทางยุโรป

คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ

ผู้ประกอบการในธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ควรมีคุณสมบัติหลัก ดังนี้  เข้าใจข้อจากัดด้านสรีระของคนอ้วน คนอ้วนมีหลายประเภททั้งกลุ่มที่อ้วนสมส่วนทั้งตัว กลุ่ม อ้วนเฉพาะส่วน อ้วนน้อย อ้วนมาก แต่ละกลุ่มมีความต้องการเสื้อผ้าที่แตกต่างกัน  มีทักษะในการสื่อสารที่ดีและตระหนักเสมอว่า “ความอ้วน” เป็นประเด็นอ่อนไหวสาหรับกลุ่ม ลูกค้าเป้าหมาย การสื่อสารกับลูกค้าต้องระมัดระวัง การแสดงความห่วงใยในสุขภาพ การแนะนา วิธีลดน้าหนักอาจถูกเข้าใจเจตนาเป็นเชิงลบได้ การแนะนาแฟชั่นสีสันหรือวิธีการแต่งตัวที่เหมาะ กับบุคลิกภาพของลูกค้าแต่ละรายต้องรอบคอบในการใช้คาพูด  มีความรู้ด้านแฟชั่นและการออกแบบที่เหมาะสมกับคนอ้วน ความสวยงามของแฟชั่นพลัสไซส์ แตกต่างจากความสวยงามของเสื้ อผ้าแฟชั่นสาวหุ่นดี แม้เสื้อผ้ าพลัส ไซส์อาจต้องตามกระแส แฟชั่นหลัก เช่น การเล่นสีสันอ่อนหวานสดใส ลวดลาย ระบายลูกไม้เป็นชั้ นๆ จัมป์สะโพก แขน ทรงปี ก ผี เ สื้ อ ฯลฯ แต่ ก็ มี เ ทคนิ ค วิ ธี ก ารตั ด เย็ บ การใช้ เ ส้ น สาย สี สั น รู ป ทรง ความยาว เครื่องประดับ ที่สามารถให้แฟชั่นสาวหุ่นดี เหมาะกับบุคลิกคนอ้วนได้ เพราะประเด็นสาคัญคือ การเสริมจุดเด่นให้ดึงสายตามากกว่าจุดด้อย  ช่างสังเกตและมีความคิดสร้างสรรค์ ผู้ประกอบการควรช่างสังเกตว่ากลุ่มลูกค้าเป้าหมายส่วน ใหญ่นิยมเสื้อผ้าแบบไหน มีคาแรกเตอร์อย่างไร และการแต่งตัวแบบไหนจะช่วยเสริมบุคลิกภาพ เด่น ของลู กค้าขึ้น ได้ ทักษะนี้ จะช่ว ยให้ ผู้ ประกอบการสามารถออกแบบหรือ เลื อกสิ นค้าและ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-95


แนะนาสินค้าให้ลูกค้าตัดสินใจได้เร็วขึ้น ความคิดสร้างสรรค์จะช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถ Mix & Match สินค้า สามารถจัดหุ่นโชว์นาเสนอแนวการแต่งตัวเป็นทางเลือกแก่ลูกค้าได้

 ารเริ่มต้นธุรกิจ การเริ่มต้นธุรกิจใหม่ต้องคานึงถึงปัจจัยที่สาคัญหลายประการ เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเห็นภาพรวมและ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ การจาลองภาพของการดาเนินธุรกิจเป็นแนวคิดที่ช่วยให้ผู้ประกอบการ เห็นภาพการดาเนินธุรกิจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น Business Model Canvas2 เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้ประกอบการ สามารถเข้าใจถึงแบบจาลองธุรกิจที่ผู้ประกอบการต้องที่จะเริ่มลงทุน (Start Up) ให้มีประสิทธิภาพ3 Business Model Canvas มีลักษณะเป็น Template ที่ช่วยให้ผู้ประกอบการเห็นภาพความสัมพันธ์ของกิจกรรมหลักใน การดาเนินธุรกิจ ซึ่งผู้ประกอบการสามารถดาเนินการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของกิจกรรมพร้อมทั้งใช้เป็น เครื่องมือในการระดมสมองเพื่อปรับปรุงองค์ประกอบด้านต่างๆ ในการดาเนินธุรกิจ4

1. กาหนดกลุม่ ลูกค้า (Customer Segments) ระบุกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะเข้ามาใช้บริการทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตได้อย่างชัดเจน เพื่อสามารถวางแผนในการดาเนินธุรกิจได้อย่างตรงกลุ่มเป้าหมาย ข้อแนะนา คือ ยังมีช่องว่างในตลาดพลัส ไซส์ ร ะดับ กลางและระดับ บนที่ต้ องการสิ นค้า คุ ณภาพดี แต่ ผู้ ประกอบการรายเล็ กต้ องเข้า ใจกลุ่ มลู กค้ า เป้ าหมายว่ามีห ลายไซส์ มีทั้ งอ้ว นสมส่ว นและอ้วนเป็นบางส่ ว น สิ นค้าจึง มีความหลากหลายสู ง การหา สินค้าเข้าร้านหรือการสั่งผลิตต้องเข้าใจประชากรส่วนใหญ่ของลูกค้ากลุ่มนี้ สามารถแบ่งออกเป็น  กลุ่ มเสื้ อผ้ าพลั ส ไซส์ ทั่ว ไป กลุ่ มผู้ ห ญิงรูปร่างอวบอ้ว นที่ส นใจและให้ ความส าคัญกับ เสื้อผ้าพลัสไซส์ทั่วไป เลือกซื้อเสื้อผ้าพลัสไซส์โดยให้ความสาคัญกับราคาของสินค้า เน้น สินค้าราคาไม่แพง ให้ความสาคัญกับการดีไซน์และออกแบบ เสื้อผ้าพลัสไซส์ประเภทนี้ จะเป็นสินค้าแบบซื้อมา-ขายไป  กลุ่ ม เสื้ อ ผ้ า พลั ส ไซส์ แ บรนด์ แ ฟชั่ น คื อ กลุ่ ม ผู้ ห ญิ ง รู ป ร่ า งอวบอ้ ว นที่ ส นใจและให้ ความสาคัญกับเสื้อผ้าพลัสไซส์แบรนด์แฟชั่น เลือกซื้อเสื้อผ้าพลัสไซส์โดยให้ความสาคัญ 2

Osterwalder, A. and Pigner, Y. (2010), Business Model Generation, John Wiley and Sons. Sectoral Technology Board ของประเทศอังกฤษได้เสนอแนวทางการใช้ Business Model Canvas ให้กับผู้ประกอบการต้องการเริ่มดาเนิน ธุรกิจใหม่. 4 www.businessmodelgeneration.com. 3

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-96


กับคุณภาพของสินค้า เน้นสินค้าดี มีคุณภาพ มีการออกแบบและตัดเย็บ อย่างพิถีพิถัน เมื่อสวมใส่ แล้ วช่วยส่งเสริมภาพลั กษณ์ห รือไลฟสไตล์ ให้ แก่ผู้ส วมใส่ เสื้อผ้าพลั สไซส์ ประเภทแบรนด์เสื้อผ้าของผู้ประกอบการเอง ตัวอย่างธุรกิจเช่น เสื้อผ้าแบรนด์ Suri by Surivipa, Women Plus  กลุ่มเสื้อผ้าพลัสไซส์นาเข้า คือ กลุ่มผู้หญิงรูปร่างอวบอ้วนที่สนใจและให้ความสาคัญกับ การเลือกซื้อเสื้อผ้าพลัสไซส์นาเข้าจากต่างประเทศแบรนด์ต่างๆ เช่น Mark & Spencer, Yaccomaricard และ Zara เป็นต้น 2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) การนาเสนอคุณค่าไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย โดยเริ่มตั้งแต่การให้คาแนะนา ขายเสื้อผ้าพลัสไซส์ และส่งมอบเสื้อผ้าพลัสไซส์ให้กับลูกค้า  การน าเสนอสิ น ค้ า เสื้ อ ผ้ า พลั ส ไซส์ ที่ ต รงกั บ เสื้อผ้าแบบไหนถึงเหมาะกับคนอ้วน กลุ่มเป้าหมาย ด้วยรูปแบบต่างๆ เช่น การขาย สินค้าผ่านร้านค้าหรือห้องเสื้อ การขายสินค้า 1. เส้นสายลวดลายยุ่งๆ เข้าไว้ เน้นเสื้อคอลึก ละเว้นการใส่ระบายเป็นชั้นๆ หากมีแฟชั่น ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต ลายขวาง อย่าลืมหาเส้นแนวตั้งเพือ่ ตัดลาย  การให้ คาแนะน าตัว สิ นค้าและการให้ บริการ ขวาง เช่น จับคู่กับเสื้อคลุม เครื่องประดับ เสื้ อ ผ้ า พลั ส ไซส์ ที่ เ หมาะสมและตรงความ ผ้าพันคอ ต้องการของกลุ่ มเป้ าหมาย เช่น เสื้อผ้ าพลั ส 2. อย่าให้มีเส้นขวางในส่วนกว้างของร่างกาย เช่น ตามสะโพก น่อง ต้นแขน ไซส์ ทั่ว ไป เสื้ อผ้ าพลัสไซส์ แบรนด์ผู้ประกอบ การหรือเสื้อผ้าพลัสไซส์นาเข้าจากต่างประเทศ 3. อย่าใช้ชุดสีดามากไป เพราะสีดาดูดกลืนทุก แสงสี ตัดกับสภาพแวดล้อมภายนอกมาก เช่น ยิ่งทาให้ตัวใหญ่ ควรเลือกใช้สีเข้มอื่นๆ - ให้ ค าแนะน าการแต่ ง ตั ว ที่ ช่ ว ยเสริ ม ศึกษาข้อมูลวัสดุสสี ันได้ที่ TCDC, สถาบัน บุ ค ลิ ก ภาพ ลุ ก ค้ า กลุ่ ม นี้ มี จุ ด ด้ อ ยด้ า น พัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ, Chic Ministry บุคลิ กภาพทุกคน การแต่งการเพื่อแก้ไข และ globalfashionreport.com เป็นต้น บุคลิกภาพจึงเป็นไปไม่ได้ แต่การแต่งการ เพื่อส่งเสริมบุคลิกภาพ หาจุดเด่นเหนือจุดด้อย จึงเป็นเรื่องที่ง่ายกว่า การบริการแนะนา สินค้าด้วยความจริงใจเหมือน Stylist ส่วนตัว ทาให้ลูกค้าเกิดความมั่นใจที่ซื้อ ไว้ใจ และ กลับมาซื้อซ้าบ่อยๆ - บริการลองเสื้อผ้า บริการหลังการขายติดตามความพึง พอใจเมื่อลูกค้ารับสินค้าไปแล้ว และการรับเปลี่ยนสินค้า จะช่วยสร้างความพึงพอใจของลูกค้า แต่ผู้ประกอบการต้อง ระวังว่าการลองเสื้อผ้ามีโอกาสทาให้สินค้าเสียหายได้ การตั้งราคาต้องคานึงถึงความ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-97


เสี่ยงในจุดนี้ สาหรับร้านค้าที่มีการขายออนไลน์ด้วยต้องกาหนดเงื่อนไขการรับเปลี่ยนคืน สินค้าให้ชัดเจน - บริการสั่ง ตัดเฉพาะ ผู้ประกอบการต้องเตรียมรับสถานการณ์ที่ลู กค้าขอสั่งตัดเฉพาะ หรื อ ผู้ ป ระกอบการมี แ บบที่ อ ยากสั่ ง ผลิ ต เป็ น สิ น ค้ า เฉพาะที่ ร้ า น ไว้ ล่ ว งหน้ า ผู้ประกอบการควรหาคู่ค้าที่ช่วยรับ Outsource การตัดตามออเดอร์เล็กได้และควรเป็น ผู้ผลิตที่รับผลิตเสื้อผ้าพลัสไซส์อยู่แล้ว เพราะการทาแพทเทิร์นยากกว่าเสื้อผ้าขนาดปกติ  การส่งมอบสินค้าเสื้อผ้าพลัสไซส์ให้กับลูกค้า เช่น การส่งมอบสินค้าทางไปรษณีย์ การส่งมอบ สินค้า ณ ร้านค้าด้วยบรรจุภัณฑ์ที่สวยงาม  การให้บริการหลังการขาย อาทิ ให้คาแนะนาในการดูแลรักษาเสื้อผ้าพลัสไซส์ ให้บริการจัด เปลี่ยนสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพหรือชารุดเสียหาย เป็นต้น 3. ระบุช่องทาง (Channels) ช่องทางการจาหน่ายสินค้า ช่องทางการสื่อสารกับลูกค้า กลุ่มนี้ควรทาคู่กันทั้งหน้าร้านจริงและ ออนไลน์  การมีหน้าร้าน เป็ นสิ่งจาเป็นประการหนึ่งในธุรกิจนี้ เนื่องจากลูกค้ากลุ่มนี้ มีจุดอ่อนเรื่อง รูปร่างการได้ลองก่อนตัดสินใจซื้อจึงมีความจาเป็น แต่หน้าร้านไม่จาเป็นต้องอยู่ในย่านแฟชั่น หรื อย่ านชอปปิ้ งขนาดใหญ่ เท่านั้น เพราะลู กค้ากลุ่ มนี้อยู่อย่างกระจายตัว และมักเสาะ แสวงหาแหล่งที่มีสินค้าเฉพาะอยู่แล้ว จึงจาเป็นต้องมีหน้าร้านออนไลน์ควบคู่เพื่อชี้พิ กัดและ ให้ข้อมูลสินค้า ในการมีหน้าร้านจริง ผู้ประกอบการจาเป็นต้องออกแบบกระบวนการรับ บริการภายในร้านมากกว่าร้านค้าปกติ เช่น มีพื้นที่ทางเดินภายในร้านกว้างกว่าร้านทั่วไป มี มุมลองชุดที่กว้าง เก้าอี้บริการ กระจกขนาดใหญ่เป็นต้น  ร้านค้าออนไลน์จะทาให้เกิดการรับรู้ ในวงกว้าง และลูกค้าสามารถหาที่ตั้งของร้านได้ ช่อง ทางการเข้าถึงลู กค้า มีห ลากหลาย เช่น สื่ อสั งคมออนไลน์ เว็บไซต์ ร้านค้าของตนเอง Dropship ซึง่ แต่ละวิธมี เี ทคนิคการใช้ให้ประสบความสาเร็จแตกต่างกัน อาทิ - Facebook มีทั้งการขายผ่านหน้า Profile ของตัวเอง เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ หรือ สร้าง Fanpage เพื่อให้สามารถซื้อ Facebook ads ให้ลูกค้าเป้าหมายมีโอกาสเห็น สินค้ามากขึ้น การสื่อสารระหว่าง Page กับลูกค้าควรมีสม่าเสมอ รวมถึงมีการอัพเดท สินค้าให้ลูกค้าติดตาม - Instagram ควรมีการอัพเดทสินค้าใหม่ หรือ การถ่ายแฟชั่นด้วยนางแบบไซส์ใหญ่เพื่อให้ ลูกค้าได้เห็นภาพชัดเจน - เว็บ ไซต์มี 2 แบบ คือ (1) การเปิดร้านค้าออนไลน์แบบเว็บไซต์ที่ส ร้างขึ้นมาจากชุด โปรแกรมสาหรับสร้างเว็บไซต์ ซึ่งแบบนี้ค่อนข้างยุ่งยากและต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้าง ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-98


เยอะหากต้องจ้างคนอื่นในการเขียนโปรแกรม และ (2) การเปิดร้านออนไลน์กับเว็บไซต์ สาหรับสร้างร้านค้าออนไลน์ เช่น www.lnwshop.com เป็นต้น - Dropship คือ ระบบการขายแบบที่ผู้ประกอบการทาหน้าที่เป็นผู้ขาย นาข้อมูลจาก เจ้าของสินค้ามาโฆษณา โดยไม่ต้องลงทุนสั่งซื้อสินค้าเข้ามาก่อน แต่เจ้าของสินค้าหรือ ยี่ปั๊วในโลกออนไลน์จะเป็นคนสต็อคสิ นค้าและจัดส่งให้ลูกค้าในนามของผู้ประกอบการ ให้เมื่อขายสินค้าได้ เป็นวิธีที่นิยมทากันเพราะสะดวก เจ้าของสินค้าเตรียมข้อมูลสินค้าไว้ ให้แล้ว เมื่อได้รับเงินจากลูกค้าแล้ว จึงค่อยโอนเงินค่าสินค้าไปให้ เจ้าของสินค้าในราคา ส่ง และผู้ป ระกอบการจะได้รับส่ว นแบ่งกาไรตามที่ ตกลงกันไว้ เสื้ อผ้าพลัส ไซส์ แบบ Dropship ที่นิยมนาเข้ามาขายส่วนใหญ่มาจากประเทศจีน ไต้หวัน เกาหลี ข้อดีคือมี สินค้าดีไซน์ใหม่ๆออกสู่ ตลาดสม่าเสมอ ช่วยให้ หน้าร้านออนไลน์มีสิ นค้าเต็มชั้นและ อัพเดท โดยไม่ต้องสต็อคของจริง แต่ผู้ประกอบการจะไม่มีโอกาสได้เห็นสินค้าก่ อนส่งให้ ลูกค้า 4. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) การสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้าเป้าหมายกลุ่มนี้มีความพิเศษ เนื่องจากประเด็นอ่อนไหว เรื่องความอ้วน ลูกค้าส่วนใหญ่จึงขี้อาย ไม่ค่อยกล้าแสดงออกและมักซื้อสินค้าจากเจ้าประจาที่เข้าใจข้ อจากัด ของลูกค้าแต่ละราย มีส่วนน้อยที่มั่นใจ แต่งตัวเก่ง กล้าแสดงออก ดังนั้น วิธีการเข้าหาลูกค้าจึงต้องการอาศัย เทคนิคการสื่อสาร และการสร้างสภาพแวดล้อมที่ช่วยเสริมความมั่นใจ ยิ่งลูกค้ามีความมั่นใจที่จะแต่งตัว ก็จะ ยิ่งซื้อสินค้าถี่ขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการอาจเลือกกิจกรรมที่สามารถทาร่วมกับลูกค้าตามกลยุทธ์ธุรกิจ เช่น คุยกัน ทาง Social Media บ่อยๆ นัดเจอทากิจกรรมร่วมกัน การสะสมแต้ม การแชร์ภาพเพื่อรับส่วนลด ปฏิบัติการ Makeover ประกวดภาพถ่าย เป็นต้น 5. รายได้ (Revenue Streams) รายได้ หมายถึง กระแสเงินสดที่ได้จากลูกค้า รายได้ ในลักษณะของกระแสเงินสดนั้นอาจจะมาจากแนวทางการกาหนด ราคาผลิตภัณฑ์ บริการที่แตกต่างกัน / อาจมีหลายผลิตภัณฑ์หรือ หลายวิ ธี ก ารในการได้ เ งิ น สด ในธุ ร กิ จ เสื้ อ ผ้ า พลั ส ไซส์ ผู้ ป ระกอบการจะมีร ายได้จ ากการขายเสื้ อ ผ้ าพลั ส ไซส์ และการ ออกแบบและดีไซส์เสื้อผ้าพลัสไซส์

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-99


6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) ทรัพยากรหลัก หมายถึง สินทรัพย์และเงินลงทุนที่สาคัญที่ใช้ในการดาเนินธุรกิจ  เสื้อผ้าพลัสไซส์ การจัดหาและเตรียมเสื้อผ้าพลัสไซส์สาหรับจาหน่ายให้กับกลุ่มลูกค้า ทั้งใน รู ป แบบการซื้ อ มาขายไป การออกแบบและตัด เย็ บ หรื อ การน าเข้า เสื้ อ ผ้ า พลั ส ไซส์ ซึ่ ง ผู้ประกอบการสามารถนาสินค้าที่เกี่ยวข้องอื่นๆ มาจาหน่ายร่วมกันได้ เช่น รองเท้าพลัสไซส์ กระเป๋า เข็มขัดและเครื่องประดับ เป็นต้น เพื่อช่วยเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจ  ทรัพยากรบุคคล ในกรณีที่ผู้ประกอบการต้องการสร้างแบรนด์ของตนเอง ทรัพยากรบุคคลจึง เป็นปัจจัยที่สาคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจ อาทิ นักออกแบบ ช่างทาแพทเทิรน์ ช่างตัด และ พนักงานประจาในกรณีมีร้านค้าเป็นของตนเอง  ร้านค้าหรือสถานที่จาหน่ายเสื้อผ้าพลัสไซส์ ซึ่งประกอบไปด้วยหน้าร้านแบบออนไลน์และ หน้าร้านแบบมีทาเลที่ตั้ง  แหล่งผลิตและนาเข้าเสื้อผ้าพลัสไซส์ ในกรณีที่ผู้ประกอบการต้องทาหน้าที่ตัดเย็บจาเป็นต้อง มี อุ ป กรณ์ ใ นการตั ด เย็ บ อย่ า งไรก็ ต าม หากเป็ น ผลิ ต ในปริ ม าณที่ ม ากขอแนะน าให้ ผู้ประกอบการใช้บริการจ้างจัดเย็บจากแหล่งที่ไว้ใจได้ เพื่อเป็นการลดต้นทุนในการลงทุน เครื่องจักรและอุปกรณ์ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ต้องใช้เงินลงทุนเป็นจานวนมาก ทั้งนี้ ผู้ประกอบการแต่ละรายสามารถเลือกใช้ทรัพยากรหลักไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับลักษณะธุรกิจ ดังนี้ ทรัพยากร

คาอธิบาย

1) นักออกแบบ

เจ้าของกิจการอาจเป็นนักออกแบบประจาแบรนด์หรือ จ้างนักออกแบบช่วย จุดต่างจากแบรนด์เสื้อผ้าทั่วไปคือ เจ้าของกิจการต้องควบคุม การออกแบบให้สอดคล้องกับ สรีระของคนอ้วนด้วย 2) ช่างทาแพทเทิร์น ช่างตัด เป็ น ก าลั ง ส าคั ญ ในการผลิ ต สิ น ค้ า ต้ อ งหาช่ า งที่ มี เย็บ ประสบการณ์ ใ นการท าแพทเทิ ร์ น เสื้ อ ผ้ า พลั ส ไซส์ เนื่องจากมีรายละเอียดที่ยากกว่าการทาแพทเทิร์นเสื้อผ้า มาตรฐาน อาจใช้ วิ ธี จ้ า งผลิ ต เพื่ อ ลดต้ น ทุ น การจ้ า ง พนักงานประจาในระยะแรก 3) หน้าร้าน ควรอยู่ ใ นย่ า นออฟฟิ ศ ย่ า นไลฟ์ ส ไตล์ ม อลล์ ย่ า น ร้านอาหาร ใกล้ซุปเปอร์มาร์เก็ต ย่านสินค้าแฟชั่น มีการ จัดสรรพื้นที่ในร้านให้สะดวกและปลอดภัยสาหรับลูกค้า เช่น มีพื้นที่เดินสะดวก ใกล้ทางเข้าออก ใกล้ ลิฟต์ หรือ บันไดเลื่อน เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ออกแบบเอง

ซื้อมาขาย ไป

2-100


ทรัพยากร

คาอธิบาย

4) อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ ได้แก่ตู้เก็บของ ชั้นวาง แผงโชว์ติดผนัง ราวแขวนเสื้อ ไม้ ตกแต่งร้าน แขวนเสื้อ หุ่นไซส์ใหญ่ สายวัด เก้าอี้รับรอง ห้องลองเสื้อ/ ม่าน กระจกขนาดใหญ่ เคาน์เตอร์ชาระเงิน บรรจุภัณฑ์ แบบต่ างๆ กล่อ ง ซองบรรจุเ สื้ อ ผ้า ถุ งช้ อ ปปิ้ ง รถเข็ น ของตกแต่งร้านเพิ่มความสวยงาม เป็นต้น 5) สินค้า มีแหล่งค้าส่งแฟชั่นพลัสไซส์หลายแหล่งในประเทศไทย ที่ แฝงตัวตามย่านค้าส่งเสื้อผ้าแฟชั่นมีทั้งผู้รับนาเข้า และ ผู้รับจ้างผลิต ทั้งกลุ่มรองเท้า เข็มขัด เครื่องประดับ ผ้า คลุมไหล่ ที่จะช่วยเสริมกับเสื้อผ้าซึ่งเป็นสินค้าหลักได้ 6) เว็บไซต์ เป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ล สิ น ค้ า ที่ ตั้ ง ร้ า นค้ า และช่ อ งทางขาย สาหรับลูกค้าที่ไม่สะดวกเดินทาง หรือลูกค้าประจาที่เคย ซื้อทางหน้าร้านแล้วกลับมาซื้อซ้า 7) พนักงานผู้ช่วย 1 คน ทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยในงานธุรการต่างๆ เช่น การเช็คสต็อค การบรรจุ ข องส่ งลู ก ค้ า การดู แ ลหน้ า ร้ า น งานยกย้ า ย สิ น ค้ า งานจดบั ญ ชี ข ายประจ าวั น เพื่ อ ลดภาระ ผู้ประกอบการทาให้สามารถมีเวลาดูแลการออกแบบและ การตลาดได้อย่างเต็มที่

ออกแบบเอง 

ซื้อมาขาย ไป 

7. กิจกรรมหลัก (Key Activities) คือ กิจกรรมที่สร้างคุณค่าและส่งมอบให้กับลูกค้า และจะต้องตรงตามวัตถุประสงค์หรือความ คาดหวังของลูกค้าตามประเภทของธุรกิจด้วย  การออกแบบและผลิตสินค้า สาหรับธุรกิจที่ตั้งใจออกแบบเสื้อผ้าด้วยตนเองแล้ว ขั้นตอนนี้ เป็นหัวใจหลักในการสร้างสินค้าที่มีคุณภาพ เพราะนักออกแบบต้องอาศัยความรู้ด้านแฟชั่น และความเข้าใจในปัญหาสรีระคนอ้วนเป็นอย่างดี จึงสามารถปรับรูปแบบแฟชั่นปกติให้เข้า กับแฟชั่นพลัสไซส์ได้  การเลือกสรรสินค้า มาจาหน่าย เป็นกระบวนการที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ด้าน แฟชั่น และความเข้าใจตลาดเป็นอย่างมาก ผู้ประกอบการสามารถตัดสินใจได้ว่าจะใช้วิธีซื้อ สินค้าเข้าร้านเพียงอย่างเดียว การจ้างผลิตสินค้าเฉพาะที่ร้านหรือนาเข้าจากต่างประเทศ  การบริหารสต็อคสินค้า เป็นหัวใจสาคัญของร้านค้าที่มีหน้าร้านจริง เงินส่วนใหญ่ของกิจการ หมุนเวียนอยู่ในสต็อคสินค้า การเก็บข้อมูล การสารวจสต็อคสม่าเสมอ การขายลดสินค้าค้าง สต็อค (Cut lost) จะช่วยลดภาระการลงทุนของผู้ประกอบการได้

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-101


 การตลาดและการขาย การนาเสนอสินค้า การให้ข้อมูล การประชาสัมพันธ์ การถ่ายแบบ การทารีวิวสินค้า เป็นเรื่องใหญ่ที่ทาให้ร้านค้าเป็นที่จดจา เริ่มตั้งแต่การหาตลาดเป้าหมาย หาทางเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย มีการสื่ อสารระหว่างกัน สร้างโอกาสทดลองซื้อ การ สื่อสารทางออนไลน์และออฟไลน์ต้องดาเนินคู่กัน การสื่อสารออนไลน์ที่มีประสิทธิภาพเช่น - ใช้บล็อกเกอร์ หรือนักรีวิวสินค้ามืออาชีพที่มีฐานแฟนคลับประจาในการสร้างความ น่าเชื่อถือให้แบรนด์ร้านค้า - การตอบคาถาม นาเสนอตัวอย่างสินค้าตามชุมชนออนไลน์ใหญ่ๆ เช่น พันธุ์ทิพย์ดอทคอม - การทาเว็บไซต์ปรากฏอยู่ในอันดับต้นๆ ของ Search Engine ทุกชนิด (Search Engine Optimization: SEO) เป็นการโปรโมทเว็บไซต์รูปแบบหนึ่ง วิธีนี้ทาให้เวลาลูกค้า เป้าหมายค้นหาสินค้าที่มีคีย์เวิร์ดเกี่ยวข้องกับเสื้อผ้าพลัสไซส์ก็จะเจอข้อมูลของกิจการ เราเป็นอันดับต้นๆ มีวิธีการที่ทาด้วยตัวเองได้ คือ (1) เลือก Domain Name หรือ ชื่อเว็บที่เกี่ยวกับเนื้อหาของเว็บไซต์ (2) ตั้งชื่อที่บอกชื่อหน้าของเว็บเพจ (Title tags) ให้สอดคล้องกับเนื้อหาในเว็บ Title tags จะแสดงผลอยู่ด้านบนสุดของ web browser เป็นส่วนที่ถือว่าสาคัญมากใน การทา SEO เพราะผลลัพธ์ในการค้นหาที่ได้นั้นจะแสดงผลเนื้อหาที่อยู่ใน Title tags ก่อน (3) การอัพเดทเนื้อหาที่สม่าเสมอ จะทาให้ Search Engine ได้รับข้อมูลใหม่ของ เว็บไซต์เราบ่อยๆ (4) แลกลิงค์กับเว็บไซต์อื่นๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน มิเช่นนั้น Search Engine จะ มองว่าเว็บไซต์ที่เราลิงค์ไปนั้นไม่มีคุณภาพ หรือไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา (5) ออกแบบเว็บไซต์ให้น่าใช้ มีฟังก์ชั่นใช้งานง่าย รูปภาพ วิดโี อประกอบ - ซื้อโฆษณา Google Adsword เพื่อให้เว็บไซต์ของเราปรากฏด้านบนของหน้าแรกทุก ครั้งที่มีการค้นหาด้วยคีย์เวิร์ดที่เกี่ยวข้องกับเสื้อผ้าพลัสไซส์ - ซื้อแบนเนอร์เว็บไซต์อื่นๆ เป็นต้น 8. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) คู่ค้าหลักทางธุรกิจ หมายถึ ง เครือข่ายของซัพพลายเออร์ และคู่ค้าหลักที่สนับสนุนการดาเนิน ธุรกิจตามห่วงโซ่อุปทาน ผู้ประกอบการต้องอาศัยคู่ค้าหลักทางธุร กิจด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น เพื่อลด ความเสี่ยงจากการทางานที่ไม่ถนัด เป็นแหล่งซื้อสินค้า เป็นผู้ให้บริการ คู่ค้าหรือพันธมิตรทางธุรกิจที่สาคัญ และผู้เริ่มธุรกิจควรมองหาไว้ ได้แก่

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-102


 กลุ่มผู้ค้าส่งเสื้อผ้าพลัสไซส์ ซึ่งกิจการไปรับสินค้ามาขาย ย่านผู้ค้าส่งสินค้าแฟชั่นสาคัญได้แก่ - แพลตตินั่ม ประตูน้า มีแหล่งขายส่งและรับผลิตตามออเดอร์อยู่ เช่น กลุ่มร้านเสื้อผ้าไซส์ ใหญ่บนชั้น 3 ของห้างกรุงทองพลาซ่า และกลุ่มร้านเสื้อผ้าไซส์ใหญ่ในชั้นใต้ดินของห้าง แพลทตินั่ม สินค้าที่จาหน่ายถือชุดทางาน เดรส เสื้อยืด เสื้อชีฟอง กางเกง กระโปรง ชุด ราตรี เข็มขัด ส่วนกลุ่มรองเท้าไซส์ใหญ่จะอยู่ชั้น 5 ของฝั่งโรงแรมโนโวเทลแพลตินั่ม - ตลาดโบ๊เบ๊ เสื้อผ้าพลั สไซส์ที่มีจาหน่ายเป็นกลุ่มเสื้อผ้าผู้ชาย เช่น เสื้อเชิ้ต เสื้อยืด กางเกงสแล็ค กางเกงยีนส์ และกลุ่มเสื้อผ้าผู้หญิงแบบลาลอง เช่น กางเกงผ้ายืด ชุด นอน เสื้อผ้าชีฟอง - ตลาดนัดจตุจักรและเจ เจมอลล์ - Dropship สินค้านาเข้าจากประเทศจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง เป็นที่นิยมกัน มากในปัจจุบัน เพราะมีคุณภาพดีบวกกับรสนิยมสมัยใหม่ ทาให้สามารถตั้งราคาใน ระดับเกรดพรีเมี่ยมได้ไม่ยาก วิธีการนาเข้ามีทั้งทัวร์ที่พ าไปดูสินค้าถึงแหล่ง การนาเข้า ผ่านระบบออนไลน์ส่งสินค้าแล้วใช้บริการบริษัทชิปปิ้ง ซึ่งเป็นตัวแทนผู้นาเข้าและส่งออก โดยที่เราไม่ต้องออกเดินทางไปเองบริษัท ชิ้ปปิ้งจะจัดการให้เราทุกสิ่งอย่าง และการใช้ บริการ Taobao Dropship ส่งสินค้าถึงประตูบ้านลูกค้า ข้อควรระวังคือเรื่องไซส์ของแต่ ละประเทศมีการกาหนดขาดไม่เท่ากัน โดยเฉพาะสินค้าจากประเทศจีนที่ไซส์ต่างจาก มาตรฐานที่ใช้ในเมืองไทย ต้องศึกษาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจซื้อ ตัวอย่างเว็บที่ขาย สินค้าแบบ Dropship เช่น 1) http://xmjdm.taobao.com เสื้อผ้าพลัสไซส์สไตล์วัยรุ่น 2) http://shop63779984.taobao.com เดรสพลัสไซส์ 3) http://icdb.taobao.com/ ชุดทางานชุดราตรี-พลัสไซส์ 4) http://cup9099.taobao.com ดีไซน์แนวเกาหลี พลัสไซส์ ราคาถูก 5) http://huazhiminjt.tmall.com กางเกงยีนส์กระโปรงยีนส์พลัสไซส์ 6) http://shop64336039.taobao.com ดีไซน์เกาหลี เสื้อคลุมติดฮู้ดตัวใหญ่  ผู้รับจ้างผลิตเสื้อผ้าพลัสไซส์ สาหรับผู้ประกอบการที่มีการออกแบบสินค้าเองการหาผู้รับจ้าง ผลิตที่มีความชานาญด้านเสื้อผ้าพลัสไซส์เป็นเรื่องสาคัญ แต่ควรมีการตกลงรายละเอียดเป็น ลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน เพื่อป้องกันการผลิตผิดคาสั่ง การลอกแบบ การคืนสินค้ามีตาหนิ ส่วนผู้ประกอบการที่ทาธุรกิจซื้อมาขายไป ควรมองหาผู้รับจ้างผลิตที่ยอมรับออเดอร์คราวละ น้อยๆ เพื่อเป็นการต่อยอดบริการสั่งตัดให้ลูกค้า  ผู้ให้บริการจัดส่งสินค้า การจัดส่งสินค้าทุกวันนี้มีการพัฒนาบริการรับส่งสินค้าที่มี ประสิทธิภาพมาก ขึ้น มีผู้ให้บริการอยู่หลายเจ้าแต่ส่วนใหญ่ที่นิยมเลือกใช้กันมากที่สุด คือ ไปรษณีย์ไทย เพราะมีความสะดวกและรวดเร็วครอบคลุมทั่วประเทศและสามารถนัด ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-103


พนักงานหรือรถขนพัสดุมารับสินค้าถึงหน้าร้านได้ในกรณีพัสดุขนาดใหญ่หรือมีจานวนหลาย ชิ้น ควรมีการติดตั้งระบบ Track & Trace ให้ลูกค้าตรวจสอบการจัดส่งพัสดุด้วย  พันธมิตรที่ไม่ใช่คู่แข่ง แต่มีกิจกรรมสนับสนุนกัน เช่น ร้านรองเท้า ร้านเครื่องประดับแฟชั่น ร้านขายของที่ระลึก ห้องเสื้อ ร้านเครื่องสาอางค์ ร้านค้าออนไลน์อื่นๆ ผู้ใมห้บริการเว็บไซต์ นักทารีวิวสินค้า 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) โครงสร้างต้นทุนหมายถึง ต้นทุนที่เกิดระหว่างการดาเนินธุรกิจ ประกอบไปด้วยต้นทุนที่สาคัญ 2 ส่วน คือ เงินลงทุนในการจัดตั้งกิจการ (Investment) และเงินทุนในการดาเนินธุรกิจ (Operating cost)  เงินลงทุนในทรัพย์สินถาวร (Investment) คือ เงินทุนที่ลงไปเพื่อจัดตั้งกิจการ เช่น ที่ดิน เครื่องจักร อุปกรณ์สานักงานที่ใช้เพื่อเริ่มต้นธุรกิจ  เงินทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน (Operating cost) คือ ต้นทุนในการผลิตและส่งมอบสินค้า ให้ แก่ลู กค้า ใช้เป็ น แนวทางในการคิดเรื่องกาไร-ขาดทุน ต้นทุนในส่ ว นนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ - ต้นทุนคงที่ หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นประจาในกิจการไม่ว่าจะเกิดกิจกรรมการผลิตขึ้น หรือไม่ก็ตามประกอบไปด้วยค่าเช่าหน้าร้าน ค่าเช่าโกดังสินค้า เป็นต้น - ต้น ทุน ผัน แปร หมายถึง ต้นทุนที่เกิดขึ้น โดยมีค่าผันแปรไปตามยอดขายสิ นค้าหรือ บริการ เช่น ค่าจ้างผลิตต่อชิ้นงาน ค่าวัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลือง ค่าบรรจุภัณฑ์ และค่า ขนส่ง เป็นต้น ส าหรั บ ธุ ร กิ จ ซื้ อ มาขายไปจะใช้ เ งิ น ทุ น เริ่ ม ต้ น อยู่ มี่ ป ระมาณ 172,000-200,000 บาท ส่วนธุรกิจที่มีการออกแบบและจ้างผลิต จะใช้เงินทุนตั้งต้นอยู่ที่ประมาณ 240,000 บาทขึ้นไป

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-104


โครงสร้างการลงทุน ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์

การลงทุน สินทรัพย์ถาวร ค่าออกแบบ/ตกแต่งหน้า ร้าน รวมอุปกรณ์ชั้นวาง ในร้าน

ค่าอุปกรณ์สานักงาน

5

คาอธิบาย

ค่าใช้จ่าย

ประมาณการจากการซื้ออุปกรณ์ไปจนถึง 45,000-500,000 การจ้ า งออกแบบติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ส าเร็ จ บาท ส าหรั บ พื้ น ที่ ใ ช้ ส อยขั้ น ต่ าประมาณ 15 ตารางเมตรมีต้นทุนค่าตกแต่งขั้นต่าตาราง เมตรละประมาณ 5,000 บาทหากพื้นที่ใช้ สอยเกิน 50 ตารางเมตรค่าตกแต่งเริ่มต้น ประมาณ 500,000 บาท ส่ ว น ความ แตกต่างของราคาขึ้นอยู่รูปแบบการตกแต่ง และการเลือกใช้วัสดุตกแต่ง5 โต๊ ะ ท างาน อุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ กล้ อ ง 40,000-100,000 ถ่ายรูป โทรศัพท์มือถือ External Hard บาท Disk ปากกาดิ จิ ต อลวาดแบบ ปริ้ น เตอร์

ออกแบบเอง ซื้อมาขาย ไป 

ข้อมูลการตกแต่งร้าน www.servicebangkok.com/kpop-style.html

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-105


การลงทุน

ค่าจัดทาเว็บไซต์ และค่า เช่าโดเมนต่อปี

สินทรัพย์หมุนเวียน ค่าจ้างพนักงานประจา

คาอธิบาย หมึก กระดาษ ประเมินราคาจากเว็บไซต์สาเร็จรูปพร้อมจด ทะเบียน Domain สาหรับ E-Commerce ราคาแตกต่างกันตามแพ็ กเกจและการจ้าง ตกแต่งเพิ่มเติม

ค่าใช้จ่าย

5,000-30,000 บาท

15,000 บาท/เดือน ค่าเช่าที่หน้าร้าน 6,000-13,000 บาท/เดือน ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่า 4,000-6,000 อินเตอร์เน็ต ค่าโทรศัพท์ บาท/เดือน ค่าสินค้า ขึ้นอยู่กับประเภทกิจการ ความหลากหลาย 50,000-100,000 ของสิ น ค้ า และคุ ณ ภาพวั ต ถุ ดิ บ ส าหรั บ บาท/เดือน ธุรกิจซื้อมาขายไปอาจเริ่มลงทุนประมาณ 50,000 บาท แต่การจ้างผลิตอาจลงทุนขั้น ต่าถึง 100,000 บาท ค่าบรรจุภัณฑ์และวัสดุ ได้แก่หีบห่อ ซองพลาสติก ถุงช้อปปิ้ง กล่อง 3,000-5,000 สิ้นเปลือง บรรจุภัณฑ์ ป้ายห้อยสินค้า อุปกรณ์เย็บปัก บาท/เดือน และวัสดุใช้สอยอื่นๆ ค่าน้ามัน/ ค่าขนส่ง ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม 4,000-10,000 บาท/เดือน ค่ากิจกรรมการตลาด ขึ้นอยู่กับประเภทกิจกรรมและการตัดสินใจ 3,000-10,000 ของผู้ประกอบการว่าจะทาเองหรือไม่ เช่น บาท/เดือน การถ่ายแบบสินค้าอาจตัดสินใจทาเองเพื่อ ลดต้ น ทุ น หรื อ จ้ า งช่ า งกล้ อ ง เพื่ อ ให้ ไ ด้ ภาพลักษณ์สินค้าที่ดี การเขียนรีวิวสินค้า การจั ด กิ จ กรรมส่ งเสริ ม การขาย การซื้ อ พื้นที่โฆษณาบนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น หมายเหตุ: ประมาณจากผู้ประกอบการขนาดเล็กถึงกลาง

6

ประมาณการจากอัตราการแรงขั้น ต่า วุฒิ ปริญญาตรี จานวน 1 คน ประมาณการจากพื้นที่ 15-20 ตรม. ในย่าน ธุรกิจแฟชั่นและห้างสรรพสินค้าในกรุงเทพ6 ขึ้นอยู่กับปริมาณกิจกรรม

ออกแบบเอง ซื้อมาขาย ไป 

 

ข้อมูลจาก www.ทาเลขายของ.com

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-106


หากมีการจ้างทีมช่างแพทเทิร์นและช่างตัดเย็บประจาอีก 2-3 คนก็จะทาให้มีค่าใช้จ่ายคงที่เพิ่มขึ้นอีกเดือนละ ประมาณ 100,000 บาท ยังไม่รวมเงินลงทุนด้านโรงงานและอุปกรณ์ตัดเย็บ ในการดาเนินธุรกิจ ผู้ประกอบการต้องคานึงถึงจุดคุ้มทุน (Break-even Point) ซึ่งหมายถึง ระดับของรายได้ จากการขายสิ น ค้าหรื อบริ การที่ เท่ากับ ต้น ทุนที่ธุรกิจ ได้จ่ายออกไป หรือ จุดหรือระดับของรายได้ที่ธุรกิ จ “เท่าทุน” โดยส่วนที่เลยจุดหรือระดับของรายได้ดังกล่าวคือผลกาไรที่ธุรกิจจะได้ ผู้ประกอบการจะรู้จุดคุ้มทุน เมื่อรู้ว่าต้นทุนคงที่และผันแปรของกิจการเป็นเท่าไหร่ การคานวนจุดคุ้มทุนทาได้โดย (1) จุดคุ้มทุน (หน่วยขายที่คุ้มทุน) =

ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย

หรือ (2) จุดคุ้มทุน (ยอดขายที่คุ้มทุน) = หน่วยขายที่คุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย ส่วนระยะเวลาการคืนทุน (Payback Period) หมายถึง ระยะเวลาที่ต้องดาเนินธุรกิจนั้นไปจนกว่ากาไรที่ ได้รับมาจะคุ้มกับเงินที่ลงทุนไป สามารถคานวนได้จากกาไรสะสมที่ได้ตั้งแต่เริ่มต้นกิจการไปจนถึงปีที่ไ ด้กาไร สะสมรวมเท่ากับเงินที่ลงทุน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-107


ตั

 วอย่าง การวิเคราะห์ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ ตามกรอบแนวคิด Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships)  ผู้จาหน่ายสินค้าส่ง  ผู้รับจ้างผลิต  ผู้ให้บริการขนส่ง  ร้านค้าออนไลน์อื่นๆ  ผู้ให้บริการเว็บสาเร็จรูป  นักทารีววิ สินค้า

กิจกรรมหลัก (Key Activities)  การจัดหาสินค้าและบรรจุภัณฑ์  การบริหารสินค้าคงคลัง  การสื่อสารการตลาดและการขาย  การจัดการบัญชีและภาษี

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions)  คุณภาพสินค้าตรงกับข้อมูลสินค้า  การบริการ เช่น คาแนะนาในการ เลือกเสื้อผ้า บริการลองสินค้า บริการรับสั่งตัดเฉพาะ

ทรัพยากรหลัก (Key Resources)  นักออกแบบ  ช่างทาแพทเทิร์นช่างตัดเย็บ  หน้าร้าน  อุปกรณ์เครื่องมือตกแต่งหน้าร้าน และอุปกรณ์ สานักงาน เช่น คอมพิวเตอร์ มือถือ กล้อง อินเตอร์เน็ต เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร  เว็บไซต์  สินค้าและข้อมูลของสินค้า  พนักงาน 1 คน

โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure)  สินทรัพย์ถาวร ได้แก่ ค่าทาเว็บไซด์ และค่าโดเมน(รายปี) เป็นต้น  สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ (1) ต้นทุนคงที่ต่อเดือน เช่น ค่าเช่าสานักงาน/สถานที่ ค่าบริการอินเตอร์เน็ต เป็นต้น และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าบรรจุภัณฑ์และค่าจัดส่งสินค้า เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships)  เน้นการสร้างความสัมพันธ์มกิ ิจกรรมระหว่าง กัน  สื่อสารสม่าเสมอ  บริการหลังการขาย ช่องทาง (Channels)  มีหน้าร้าน  Dropship  เว็บไซต์  IG หรือ Facebook สื่อสังคมออนไลน์

กลุ่มลูกค้า (Customer Segments)  กลุ่ ม เสื้ อ ผ้ า พลั สไซส์ ทั่ ว ไป กลุ่ ม ลูก ค้ า ที่ ต้ อ งการเสื้ อ ผ้า พลั ส ไซส์ ทั่ว ไป ราคาไม่ แ พง เสื้ อ ผ้ า พลั ส ไซส์ป ระเภทนี้จ ะเป็ นสินค้า แบบ ซื้อมา-ขายไป  กลุ่มเสื้อผ้าพลัสไซส์แบรนด์แฟชั่น กลุ่มลูก ค้า ที่ต้อ งการเสื้อ ผ้า พลั ส ไซ ส์ คุ ณภ า พ ดี มี เ อ ก ลั ก ษ ณ์ เสื้ อ ผ้ า พลั ส ไซส์ ป ระเภทนี้ จ ะมี ราคาสูงกว่าเสื้อผ้าพลัสไซส์ทั่วไป โดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเสื้อผ้าพลัส ไซส์ ป ระเภทแบรนด์ เ สื้ อ ผ้ า ของ ผู้ประกอบการเอง  กลุ่มเสื้อผ้า พลั สไซส์นาเข้ า กลุ่ม ลูกค้าที่นิยมเสื้อผ้าพลัสไซส์นาเข้า จากต่างประเทศ

รายได้ (Revenue Streams)  รายได้จากการขายเสื้อผ้าพลัสไซส์  รายได้จากการออกแบบและขายเสื้อผ้าพลัสไซส์  รายได้จากการขายสินค้าอื่นเสริม เช่น กระเป๋า รองเท้า เครื่องประดับ เป็นต้น

2-108


ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ เสื้อผ้าพลัสไซส์แบบซื้อมา-ขายไปและนาเข้าเสื้อผ้าพลัสไซส์ ในระยะเริ่มต้นหากผู้ประกอบการมีแหล่งจัดหาเสื้อผ้าพลัสไซส์แล้ว และต้องการจาหน่ายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ ผู้ประกอบการอาจเลือกใช้บริการเว็บไซต์ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ประกาศซื้อขายฟรี และการใช้สื่อ สังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ เพื่อเป็นการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการจัดทาเว็บไซด์ และแนวโน้มในอนาคตหาก ผู้ประกอบการจะจัดทาเว็บไซด์ร้านค้า เพื่อเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับร้านค้าออนไลน์ก็สามารถทาได้ ในอนาคต และหากผู้ประกอบการยังไม่มีสินค้าแฟชั่นที่จะวางจาหน่ายบนหน้าเว็บไซด์หรือสื่อสังคมออนไลน์ประเภท ต่างๆ แต่มีความสนใจที่จะทาธุรกิจขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์ ผู้ประกอบการสามารถเริ่มต้นธุรกิจได้ในรูปแบบ ของ Dropship ซึ่งเป็นการทาธุรกิจในรูปแบบการนาสินค้าของคนอื่นมาขาย โดยผู้ประกอบการสามารถบวก กาไรเข้าไปอยู่ในสินค้านั้น ๆ โดยที่ไม่จาเป็นต้องส่งสินค้าหรือประกันสินค้าใดๆ ว่าง่ายๆ คือ ผู้ประกอบการไป เป็นตัวกลางโดยนาสินค้าของเจ้าของโรงงานไปขายนั่นเอง เสื้อผ้าพลัสไซส์แบรนด์แฟชั่น หากผู้ ป ระกอบการต้องการเริ่ มต้น ธุร กิจ ด้ว ยการเป็นเจ้าของแบรนด์สิ นค้า อาจมีรูปแบบเริ่มต้นธุรกิจใน ลักษณะการ Pre-Order เสื้อผ้าพลัสไซส์แบรนด์ตนเอง กล่าวคือ ผู้ประกอบการเป็นผู้ออกแบบดีไซน์ และมีแบ รนด์เป็นของตนเอง แต่ในกระบวนการผลิตตัดเย็บจะอยู่ในรูปแบบ “การรอคาสั่งซื้อสินค้า” เมื่อได้รับคาสั่งซื้อ แล้วจึงดาเนินการผลิตเพื่อส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า ธุรกิจลักษณะนี้จะไม่มีหน้าร้านหรือร้านค้า (Shop) ขาย เสื้อผ้าพลัสไซส์ โดยมีกระบวนการทาธุรกิจ ดังนี้ 1. การตั้งชื่อแบรนด์เสื้อผ้าพลัสไซส์ 2. การบริหารจัดการ/การผลิตสินค้า  ออกแบบเสื้อผ้าพลัสไซส์ที่มีเอกลักษณ์และดีไซน์เป็นของตนเองและองค์ประกอบต่างๆ เช่น ไซส์เสื้อผ้า สีและประเภทของเสื้อผ้า และประกอบต่างๆ เช่น ซิป กระดุม หูกระเป๋าหรือ สายสะพาย เป็นต้น  ติดต่อ/หาแหล่งตัดเย็บเสื้อผ้าพลัสไซส์ตามรูปแบบที่ได้กาหนดไว้  ผลิตสินค้าต้นแบบ/สินค้าตัวอย่าง เพื่อนาสินค้านั้นๆ มาขายผ่านเว็บไซด์หรือสื่อสังคม ออนไลน์

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-109


3. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในรูปแบบเว็บไซต์ของ ตนเอง หรือขายสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็นสื่อที่มีต้นทุนต่าและสามารถเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว และเป็นวงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณาผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตใน รูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศซื้อ-ขายฟรี (E-Classified)

 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจเสื้อผ้ าพลัสไซส์สามารถทาได้อย่างหลากหลายจากในรูปแบบที่แตกต่างกันไป ตามแนวคิดของผู้ประกอบการแต่ละยุคสมัย ในคู่มือฉบับนี้จะขอนาเสนอวิธีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/ บริการ ดังนี้ 1. อานวยความสะดวกสินค้าครบวงจร แม้สินค้าหลักจะเป็น เสื้อผ้าพลัสไซส์ ของตนเอง แต่ผู้ประกอบการสามารถสร้างความประทับใจ ให้กับลูกค้าโดยการอานวยความสะดวก เช่น มีสินค้าที่เข้าคู่ กับเสื้อผ้ามาขายแบบ One-stop service มีสินค้าเฉพาะของทางร้าน บริการแนะนาเสื้อผ้าที่เข้ากับบุคลิกของลูกค้า บริการสั่ง ตัด เป็นต้น 2. เดินหน้าธุรกิจออนไลน์และออฟไลน์คู่ขนานกัน ต้องยอมรับว่าปัจจุบันการตลาดออนไลน์มีบทบาทมาก ที่ทาให้ผู้ซื้อรู้ว่าแบรนด์นั้นๆขายอยู่ที่ไหน และรับทราบข้อมูลก่อนตัดสินใจซื้อ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์มีมากมายที่ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายการมีหน้า ร้าน และมีเทคนิคที่ควรทดลองใช้ เช่น  ใช้สื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ ในการประชาสัมพันธ์สินค้าเสื้อผ้าพลัสไซส์  สร้างหน้าร้านค้าออนไลน์ ซึ่งมีเว็บสาเร็จรูปให้เลือกใช้บริการ  ใช้ระบบ Dropship เพื่อให้ธุรกิจมีสินค้าอื่นๆเข้ามาขายโดยไม่ต้องสต็อคสินค้าเอง หากขาย สินค้าได้ก็จะได้ส่วนแบ่งกาไรจากสินค้านั้นๆ ในขณะเดียวกันหากลงทะเบี ยนเป็นคู่ค้าใน Dropship เพื่อให้สมาชิกรายอื่นๆดึงข้อมูลสินค้าไปช่วยประชาสัมพันธ์ ก็เสมือนได้พนักงาน ขายช่วยอีกทางหนึ่ง  การทารีวิวสินค้าสม่าเสมอเพื่อให้เกิดภาพจา

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-110


 ารขยายธุรกิจ..อีกระดับกับการพัฒนาธุรกิจ การขยายธุรกิจมีหลากหลายวิธี ทั้งขยายอย่างรวดเร็วและเป็นการเติบโตแบบก้าวกระโดด เรียกว่า Extensive Growth เช่น การเข้าไปซื้อกิจการ ของบริษัทคู่แข่งที่ทาธุรกิจใกล้เคียงกันเพื่อเพิ่มกาลังผลิต ขยายตลาด และ ตัดกาลั งคู่แข่งส าคัญออกไป และมีวิธีการขยายธุรกิจอย่างช้าๆ แต่มั่นคงไปทีล ะขั้น ที่เรียกว่า Intensive Growth อย่างไรก็ตาม โอกาสในการขยายธุรกิจ เสื้อผ้าพลัสไซส์ สามารถพัฒนาหรือขยายตัวไปสู่ธุรกิจใน อนาคตได้หลากหลายวิธี เช่น  การสร้างแบรนด์เสื้อผ้าพลัสไซส์ เพื่อ สร้างเอกลักษณ์และโอกาสทางธุรกิจให้กับตนเองเพิ่มมาก ขึ้น และเป็นโอกาสในการเข้าสู่ตลาดแฟชั่นเสื้อผ้าพลัสไซส์ในระดับสากล  การเพิ่มสายการผลิต สินค้าแฟชั่นพลัสไซส์สาหรับคนอ้วนที่ครอบคลุมทั้งเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย รองเท้า เครื่องประดับและสินค้าแฟชั่นอื่นๆ เช่น เข็มขัด และผ้าพันคอ เป็นต้น เพื่อเป็นอีกหนึ่ง ทางเลือกสาหรับกลุ่มคนอ้วนที่ชื่นชอบสินค้าแฟชั่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว  การขยายตลาดสินค้าเข้าสู่ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ในระบบแฟรนไชส์ เพื่อโอกาสในการขายสินค้า มากขึ้น

ปั

 จจัยความสาเร็จในการทาธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 1. การออกแบบที่เข้าใจรายละเอียด และข้อจากัดของคนอ้วน

2. การรักษาคามั่นสัญญา ที่ให้ต่อลูกค้า

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

4. การมีหน้าร้านและ การบริการ

3. การบริหารสต็อคสินค้า และการจัดการ ระบบซัพพลายเชน

2-111


ปัจจัยแห่งความสาเร็จในธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ ประกอบด้วย 4 ปัจจัยที่สาคัญ ดังนี้ 1. การออกแบบที่เข้าใจรายละเอียดและข้อจากัดของคนอ้วน สามารถผสมผสานแฟชั่นสมัยใหม่ เข้ากับข้อจากัดของคนอ้วน พึงระลึกเสมอว่าการส่งเสริมจุดเด่นง่ายกว่าการแก้ไขจุดด้อย การ ออกแบบเสื้อผ้าให้คนอ้วนจึงควรใช้วิธีเสริมจุดเด่นที่เป็นบวกเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้สวมใส่ และสร้ างสรรค์วิธีการนาเสนอสินค้าให้มากกว่าการแขวนโชว์ เพื่อช่ว ยจุดประกายและสร้าง แรงจูงใจให้กลุ่มลูกค้าเป้าหมายอยากได้สินค้าและตัดสินใจซื้อ 2. การรักษาคามั่นสัญญาที่ให้ต่อลูกค้า เริ่มตั้งแต่ความซื่อสัตย์ในการให้ข้อมูลสินค้า การรักษา คุณภาพสินค้าให้ได้ตามที่โฆษณา การส่งมอบสินค้าที่ตรงเวลา นาไปซื้อการสร้างความไว้เนื้อเชื่อ ใจ และการกลับมาซื้อซ้า 3. การบริหารสต็อคสินค้า และการจัดการระบบซัพพลายเชน เนื่องจากเสื้อผ้าพลัสไซส์สาเร็จรูปมี การผลิตไม่มากนั กเมื่อเทียบกับเสื้อผ้าไซส์ปกติและมีหลายขนาด ผู้ประกอบการจึงมีภาระใน การสต็อคสินค้า การเก็บข้อมูลสถิติจะช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถคาดการณ์ปริมาณการขาย สินค้าแต่ละรายการได้ การหาสินค้าจากช่องทางอื่นๆ มาเสริม เช่น Dropship จะช่วยลดภาระ การลงทุนในสต็อคสินค้าของผู้ประกอบการลงไปได้ ในระยะเริ่มต้นผู้ประกอบการอาจต้องเลือก แหล่งรับสินค้าจากผู้ค้าส่งหลายๆเจ้า เพื่อกระจายความเสี่ยง 4. การมีหน้า ร้า นและการบริ การ เนื่องจากคนอ้ว นจะมีปัญหาในการเลื อกเสื้ อผ้ าให้ เหมาะกับ บุคลิกภาพ ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตจึงเป็นใบเบิกทางเบื้องต้นให้ลูกค้าตัดสินใจจะไปใช้บริการที่ ร้าน การตัดสินใจซื้อโดยไม่ลองก่อนจึงเป็นไปได้น้อย เว้นแต่เป็น ร้านค้าที่ลูกค้าเคยซื้อมาก่อน หรื อสั่ งซื้ อ จากต่ างประเทศและเชื่อ มั่ นในผู้ ผ ลิ ต ดั งนั้ น ร้า นค้ าจึ ง ควรออกแบบกระบวนการ ให้บริการที่เข้าใจข้อจากัดของลูกค้า เช่น การจัดการสถานที่ที่มีทางเดินกว้าง มีจุดนั่งพัก มีห้อง ลองเสื้อที่กว้างกว่าปกติ กระจกส่องบานใหญ่ บริการครบวงจร เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-112


ข้

 อท้าทายในการทาธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 1. สื่อสารโดยขาดความเข้าใจว่าความ อ้วนเป็นประเด็นอ่อนไหว 3. การขาดแคลนคูค่ ้าที่สามารถ ส่งมอบงานได้ถูกต้อง ตรงเวลา 2. ขาดความเข้าใจตลาดและทักษะ ในการให้บริการกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

1. สื่อสารโดยขาดความเข้าใจว่าความอ้วนเป็นประเด็นอ่อนไหว ผู้ประกอบการหลายรายสูญเสีย ลูกค้าประจาเพราะขาดความระมัดระวังในการสื่อสารกับลูกค้าในประเด็นความอ้วน 2. ขาดความเข้าใจตลาดและทักษะในการให้บริการกลุ่มลูกค้า หากผู้ประกอบการขาดความเข้าใจ และทักษะในการให้บริการ ซึ่งกลุ่มลูก ค้าเสื้อผ้าแฟชั่นพลัสไซส์ เป็นกลุ่มที่มีข้อจากัดของสรีระ ดังนั้น การนาเสนอขายสินค้าที่ไม่เป็นที่ต้องการของตลาดอาจส่งผลต่อยอดขายและกาไรของ ธุรกิจ รวมถึงรูปแบบการให้บริการที่ต้องมีความพิถีพิถันและความจริงใจในการให้บริการข้อมูล ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเสื้อผ้าพลัสไซส์ เช่น สีที่เหมาะสม รูปแบบและลวดลายที่เหมาะสมกับสรีระ เป็นต้น โดยเฉพาะกลุ่มลูกค้าแบรนด์เสื้อผ้าพลัสไซส์ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความต้องการเสื้อผ้าพลัสไซส์ ที่มีคุณภาพและการให้บริการที่มากกว่ากลุ่มลูกค้าเสื้อผ้าพัสลไซส์ทั่วไป ดังนั้น มาตรฐานและ ความต้องการที่คาดหวัง คือ หัวใจสาคัญของการให้บริการลูกค้าในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย 3. การขาดแคลนคู่ค้าที่สามารถส่งมอบงานได้ถูกต้อง ตรงเวลา เนื่องด้วยเป็นธุรกิจที่พึ่งพาระบบ การจัดหาสินค้าจากภายนอก และการ Outsource จึงมีโอกาสเผชิญปัญหาคุณภาพสินค้าไม่ สม่าเสมอ หรือส่งสินค้าล่าช้า ซึ่งเป็นปัจจัยที่ควบคุมได้ยาก ผู้ประกอบการสามารถป้องกันได้โดย สรรหาคู่ค้าไว้หลายๆ รายและมีการตกลงเรื่องการคืนสินค้าที่มีปัญหา

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-113


 รณีศึกษา ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ต้นแบบ Jumbo Design ตัวอย่างธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ เพื่อเปิดมุมมองและสร้างแรงบันดาลใจให้แ ก่ผู้ประกอบการรุ่น ใหม่ ได้ศึกษาแนวคิดและรูปแบบการทาธุรกิจที่สามารถทาได้หลากหลายรูปแบบ

J

 umbo Design Jumbo Design แฟชั่นเฉพาะสาว Plus size Jumbo design เริ่มต้นธุรกิจเมื่อปี 2549 โดยคุณดุจดาว รุ่งธนวงศ์ผัน อดีตรองอันดับ 1 เวทีประกวดธิดาช้าง ปี 2542 เดิมทีเสื้อผ้าสาหรับสาวไซส์ใหญ่หายากมาก คุณภาพผ้าไม่ดี ส่วนใหญ่มักเป็นเสื้อผ้าผู้ชาย จึงเห็น โอกาสในการจับตลาดเสื้อผ้าผู้หญิงไซส์ใหญ่บ้าง ในช่วงแรกได้เปิดกิจการเป็นหน้าร้านอย่างเดียว ซึ่งยอดขาย ไม่ค่อยดีนัก เนื่องจากเป็นสินค้าเฉพาะกลุ่ม แต่เติบโตมาได้ด้วยการที่ลูกค้าบอกต่อๆกัน ต่อมาจึงได้ตัดสินใจทา เว็บไซต์เปิดร้านค้าออนไลน์ซึ่งทาให้ลูกค้ารู้จัก Jumbo design มากขึ้น มีลูกค้ากระจายออกไปทั้งต่างจังหวัด และต่างประเทศ ลูกค้าเสื้อผ้าไซส์ใหญ่เป็นกลุ่มที่มีกาลังซื้อ และส่วนใหญ่ถูกใจร้านไหนจะซื้อร้านนั้นประจา บางรายยอมดั้นด้น จากต่างจังหวัดมาถึงร้านเพื่อซื้อสินค้ากลับไป ลูกค้าที่มาที่ร้านอยากลองสินค้าก่อนตัดสินใจซื้อ ส่วนลูกค้า ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-114


ประจาที่เชื่อใจกันแล้วสามารถตัดสินใจซื้อได้ทันทีทางอินเตอร์เน็ต ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ร้าน Jumbo design แบ่งได้ 3 รูปแบบหลักๆ คือ  เสื้อผ้าประเภทต่างๆ ตั้งแต่ เสื้อลาลอง ชุดทางาน เดรส กระโปรง กางเกง ชุดราตรี ชุดชั้นใน ชุดว่ายน้า  รองเท้า เข็มขัดไซส์ใหญ่ที่เลือกมาให้เข้ากับสไตล์เสื้อผ้าในร้าน  เครื่องประดับ ความยากของธุรกิจเสื้อผ้าสาวไซส์ใหญ่คือสรีระของลูกค้าแต่ละรายไม่เหมือนกันบางคนอ้วนสมส่วน บางคน อ้วนเป็นบางส่วน บางคนอ้วนมากบางคนอ้วนน้อยทาให้ต้องลงรายละเอียดในเรื่องขนาดสินค้าและการสต็อก ของ การเก็บข้อมูลว่าลูกค้าเลือกซื้อไซส์ไหนจึงเป็นเรื่องสาคัญในการเลือกสินค้าเข้ามาขาย สิ่งที่ทาให้ Jumbo design มีฐานลูกค้าประจาเหนียวแน่นไม่ใช่เพียงเรื่องของผลิตภัณฑ์แต่เป็นความซื่ อสัตย์ จริงใจต่อลูกค้า ต้องให้ข้อมูลตรงกับสภาพสินค้าจริงเรื่องขนาด ให้ความรู้ในการวัดสรีระ การเอาใจเขามาใส่ใจ เรา แบบไหนที่ใส่ไม่ได้ใส่แล้วไม่เหมาะก็จะแนะนาลูกค้าโดยตรง จะไม่ฝื นเชียร์ว่า “ใส่ได้ค่ะเดี๋ยวผ้ามันยืดอีก” เหมือนร้านเสื้อผ้าไซส์ใหญ่อีกหลายๆร้านที่ผู้ขายไม่ได้ใส่ใจประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับอย่างแท้จริง แม้แข่งขันใน ตลาดนี้เริ่มสูงขึ้นตามลาดับ เห็นได้จากจานวนเว็บไซต์ที่ขายเสื้อผ้าไซส์ใหญ่มีเพิ่มขึ้นจานวนมาก มีการนาเข้า เสื้อผ้าไซส์ใหญ่จากจีนและเกาหลีเพิ่มขึ้น แต่ ทว่าJumbo design ยังคงยืนหยัดได้ ความซื่อสัตย์ ความ น่าเชื่อถือและการส่งมอบทีต่ รงเวลา ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  ความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า  การทาธุรกิจออฟไลน์คู่กับออนไลน์  การบริหารจัดการสินค้าคงคลังและการส่งมอบสินค้าตรงเวลา  การบริการด้วยความเข้าใจ เข้าถึงข้อมูลได้ที่ Jumbo Design http://www.jumbodesign.net

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-115


ภาคผนวก 1 . แ ห ล่ ง อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ วั ต ถุ ดิ บ พ ร้ อ ม ตั ว อ ย่ า ง 2 . ก ฎ ห ม า ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง 3 . ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง 4 . ตั ว อ ย่ า ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร เ ขี ย น แ ผ น ธุ ร กิ จ ใ ห้ ไ ด้ เ งิ น กู้


แหล่งอุปกรณ์และ วัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง ภาคผนวก


แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง ค

 วามรู้เรื่องเทรนด์ สีสัน ก่อนเข้าสู่ธุรกิจแฟชั่น TCDC แหล่ ง ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง เทรนด์ แ ฟชั่ น สี สั น ประจ ำฤดู มี ebook http://tcdc.or.th

เกี่ ย วกั บ แฟชั่ น เทรนด์

Vogue ตำมเทรนด์ให้ทันก่อนตกขบวน www.vogue.co.uk/fashion

ภาคผนวกธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 1


Elle Trend report เทรนด์แฟชั่นเสื้อผ้ำที่ใส่ได้จริงในชีวิตประจำวัน http://www.elle.com/runway/ready-to-wear/spring-2014-rtw

Global Fashion Report ควำมเคลื่อนไหวแวดวงแฟชั่น คอลเล็กชั่นใหม่จำกรันเวย์ http://www.globalfashionreport.com

ภาคผนวกธุรกิจแบรนด์กระเป๋า 2


ความรู้เรื่องสินค้าแฟชั่นรอบตัว

Chic Ministry ข่ำวสำรสินค้ำแฟชั่นทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ http://www.chicministry.com

Jeban.com มุมแฟชั่น อ่ำนรีวิว ทำให้รู้ว่ำตอนนี้คอแฟชั่นฮิตอะไร www.jeban.com

ภำคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่ำง - 3


สถาบันการออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมกำรค้ำระหว่ำงประเทศ ให้คำแนะนำปรึกษำด้ำน กำรออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และข้อมูลแนวโน้มกำรออกแบบ http://112.121.130.219/design_center

Wardrobe Ministry แฟชั่นสำหรับสุภำพบุรุษ http://wardrobeministry.com

ภำคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่ำง - 4


อบรมความรู้เกี่ยวกับการออกแบบและตัดเย็บกระเป๋า

LaGom Art สอนออกแบบกระเป๋ำและทำแพทเทิร์นสำหรับผู้ไม่มีพื้นฐำน http://www.schnauzerbkk.com/LaGom_art/LaGom.html

Craftmangus สอนออกแบบกระเป๋ำและทำแพทเทิร์นสำหรับผู้ไม่มีพื้นฐำน http://www.craftsmangus.com

ภำคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่ำง - 5


ส่วนพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องหนัง กรมส่งเสริมอุตสำหกรรม บริกำรให้คำปรึกษำ และพัฒนำบุคลำกรกรใน ภำคอุตสำหกรรมเครื่องหนังของไทย http://bisd.dip.go.th

ภำคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่ำง - 6


แหล่งวัตถุดิบเครื่องหนังและอุปกรณ์กำรผลิต

Mindbyhand แหล่งวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือกำรผลิต http://www.mindbyhand.net

วงเวียนใหญ่.com ศูนย์รวมวัตถุดิบและอุปกรณ์สำหรับอุตสำหกรรมเครื่องหนัง หนังเทียม http://www.wongwienyai.com

ภำคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่ำง - 7


เฮงหลีอุปกรณ์ แหล่งอุปกรณ์เครื่องมือทำกระเป๋ำ https://www.facebook.com/Thai-Heng-Lee

khanittaleather.com ร้ำนจำหน่ำยหนังแท้ชนิดต่ำงๆ และรับผลิตสินค้ำจำกหนังแท้ http://www.khanittaleather.com/?lang=th

ภำคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่ำง - 8


Pantip.com <Review Shopping> รีวิวย่ำนวัตถุดิบทำกระเป๋ำ http://topicstock.pantip.com/jatujak/topicstock/2008/11/J7192484/J7192484.html

สมาคมอุตสาหกรรมฟอกหนังไทย ข้อมูลโรงงำนผลิตหนังฟอกในประเทศไทย http://www.thaitanning.org

ภำคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่ำง - 9


ตัวอย่ำงผู้รับจ้ำงผลิต

BAG & LEATHER design and made to order รับสั่งตัด สั่งทำกระเป๋ำทุกชนิด https://www.facebook.com/DesignAndOrderEveryKindBags

Me-Idea Shop รับสั่งทำ ของพรีเมี่ยม ของที่ระลึก ของชำร่วย จำกหนังแท้ http://www.me-idea.com

ภำคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่ำง - 10


บริษัท คิงส์ครอส เลเธอร์ โปรดักส์ จากัด ผู้ผลิตเครื่องหนังจำพวกกระเป๋ำและเข็มขัด http://www.kingofleather.com/faq.php

ภำคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่ำง - 11


กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ภาคผนวก


กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ก

 ารจดทะเบียนธุรกิจ1 การประกอบธุรกิจการค้าอาจดาเนินการได้หลายรูปแบบ ทั้งโดยบุคคลคนเดียวเป็นเจ้าของกิจการโดยลาพัง หรืออาจดาเนินการโดยร่วมลงทุนกับบุคคลอื่นเป็นกลุ่มคณะก็ได้ การที่จะตัดสินใจเลือกดาเนินธุรกิจการค้าใน รูปแบบใดนั้น ผู้ประกอบการจะต้องคานึงถึงองค์ประกอบที่สาคัญหลายประการด้วยกัน เช่น ลักษณะของ กิจการค้า เงินทุน ความรู้ความสามารถในการดาเนินธุรกิจ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้การประกอบธุรกิจนั้นประสบ ผลสาเร็จนามาซึ่งผล ประโยชน์และกาไรสูงสุด

กิจการค้าที่เป็นพาณิชยกิจที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ 1. บุคคลธรรมดา (กิจการเจ้าของคนเดียว) ห้างหุ้นส่วนสามัญ และนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ต่างประเทศที่มาตั้งสานักงานสาขาในประเทศไทย ตาม 1.1-1.3 ซึ่งประกอบกิจการดังต่อไปนี้ ต้องจดทะเบียน พาณิชย์ (1) ผู้ประกอบกิจการโรงสีข้าวและโรงเลื่อยที่ใช้เครื่องจักร (2) ผู้ประกอบกิจการขายสินค้าไม่ว่าอย่างใดๆ อย่างเดียวหรือหลายอย่าง คิดรวมทั้งสิ้นในวันหนึ่งขาย ได้เป็นเงินตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป หรือมีสินค้าดังกล่าวไว้เพื่อขายมีค่ารวมทั้งสิ้นเป็นเงินตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป (3) นายหน้าหรือตัวแทนค้าต่างซึ่งทาการเกี่ยวกับสินค้าไม่ว่าอย่างใดๆ อย่างเดียวหรือหลายอย่างก็ ตาม และสินค้านั้นมีค่ารวมทั้งสิ้นในวันหนึ่งวันใดเป็นเงินตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป (4) ผู้ประกอบกิจการหัตถกรรมหรืออุตสาหกรรมไม่ว่าอย่างใดๆ อย่างเดียวหรือหลายอย่างก็ตาม และ ขายสินค้าที่ผลิตได้ คิดราคารวมทั้งสิ้นในวันหนึ่งวันใดเป็นเงินตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไปหรือในวันหนึ่งวันใดมีสินค้า ที่ผลิตได้มีราคารวมทั้งสิ้นตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป (5) ผู้ประกอบกิจการขนส่งทางทะเล การขนส่งโดยเรือกลไฟหรือเรือยนต์ประจาทาง การขนส่งโดย รถไฟ การขนส่งโดยรถราง การขนส่งโดยรถยนต์ประจาทาง การขายทอดตลาด การรับซื้อขายที่ดิน การให้ กู้ยืมเงิน การรับแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ การซื้ อหรือขายตั๋วเงิน การธนาคาร การโพยก๊วน การทาโรงรับ จานา และการทาโรงแรม (6) ขาย ให้เช่า ผลิต หรือรับจ้างผลิต แผ่นซีดี แถบบันทึก วีดีทัศน์ แผ่นวีดีทัศน์ ดีวีดี หรือแผ่นวีดีทัศน์ ระบบดิจิทัล เฉพาะที่เกี่ยวกับการบันเทิง (7) ขายอัญมณี หรือเครื่องประดับซึ่งประดับด้วยอัญมณี (8) ซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (9) บริการอินเทอร์เน็ต (10) ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย

1

กรมพัฒนาธุรกิจการ กระทรวงพาณิชย์, “บริการข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ”, <http://www.dbd.go.th/more_news.php?cid=36>, เข้าถึง 19 ธันวาคม 2556.

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 1


(11) บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (13) การให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้อินเทอร์เน็ต (14) การให้บริการฟังเพลงและร้องเพลงโดยคาราโอเกะ (15) การให้บริการเครื่องเล่นเกมส์ (16) การให้บริการตู้เพลง (17) โรงงานแปรสภาพ แกะสลัก และการหัตถกรรมจากงาช้าง การค้าปลีก การค้าส่งงาช้างและ ผลิตภัณฑ์จากงาช้าง 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจากัด บริษัทจากัด และบริษัทมหาชนจากัด ตาม 1.41.5 ซึ่งประกอบกิจการดังต่อไปนี้ ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ (1) ขาย ให้เช่า ผลิต หรือรับจ้างผลิต แผ่นซีดี แถบบันทึก วีดีทัศน์ แผ่นวีดีทัศน์ ดีวีดี หรือแผ่นวีดีทัศน์ ระบบดิจิทัล เฉพาะที่เกี่ยวกับการบันเทิง (2) ขายอัญมณี หรือเครื่องประดับซึ่งประดับด้วยอัญมณี (3) ซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครื่องข่ายอินเทอร์เน็ต (4) บริการอินเทอร์เน็ต (5) ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (6)บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (7) การให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้อินเทอร์เน็ต (8) การให้บริการฟังเพลงและร้องเพลงโดยคาราโอเกะ (9) การให้บริการเครื่องเล่นเกมส์ (10) การให้บริการตู้เพลง (11) โรงงานแปรสภาพ แกะสลัก และการทาหัตถกรรมจากงาช้าง การค้าปลีกการค้าส่งงาช้าง และ ผลิตภัณฑ์จากงาช้าง ***กรณี ที่ผู้ ป ระกอบพาณิช ยกิจ เป็ น คนต่างด้า ว หรือ นิติบุ คคลที่ตั้ งขึ้ นตามกฎหมายต่ างประเทศที่ม าตั้ ง สานักงานสาขาในประเทศไทย จะต้องตรวจสอบดูด้วยว่ากิจการค้าที่ดาเนินการนั้นต้องได้รับอนุญาตตาม พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.2542 หรือไม่ หากเป็นกิจการค้าที่ต้องได้รับอนุญาต ผู้ประกอบพาณิชยกิจจะต้องได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการค้าก่อนยื่นจดทะเบียนพาณิชย์***

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 2


ขั้นตอนการจดทะเบียนธุรกิจ บุคคลธรรมดา (กิจการเจ้าของคนเดียว) ธุรกิจที่มีบุคคลคนเดีย วเป็นผู้ลงทุนและเป็นเจ้าของกิจการโดยลาพัง กิจการในลักษณะนี้หากเข้าข่ายเป็น กิจการตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ.2499 กาหนดให้ต้องจดทะเบียน เจ้าของกิจการต้องยื่นขอจด ทะเบียนพาณิชย์ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้เริ่มประกอบกิจการ 

เอกสารและหลักฐานที่ต้องใช้ในการจดทะเบียน ในการขอจดทะเบียนต้องเตรียมเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ 1. คาขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน (แบบ ทพ.) 2. สาเนาบัตรประจาตัวของผู้ประกอบการพาณิชยกิจ 3. สาเนาทะเบียนบ้านของผู้ประกอบการพาณิชยกิจ 4. กรณีผู้ประกอบการพาณิชยกิจมิได้เป็นเจ้าบ้าน ต้องแนบเอกสารเพิ่มเติม ดังนี้ 4.1 หนังสือให้ความยินยอมให้ใช้สถานที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่ 4.2 สาเนาทะเบียนบ้านที่แสดงให้เห็นว่าผู้ให้ความยินยอมเป็นเจ้าบ้านหรือสาเนาสัญญาเช่า โดยมีผู้ให้ความยินยอมเป็นผู้เช่า หรือเอกสารสิทธิ์อย่างอื่นที่ผู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์เป็น ผู้ให้ความยินยอม 4.3 แผนที่ แ สดงสถานที่ ซึ่ ง ใช้ ป ระกอบพาณิ ช ยกิ จ และสถานที่ ส าคั ญ บริ เ วณใกล้ เ คี ย ง โดยสังเขป 5. หนังสือมอบอานาจ (ถ้ามี) 6. สาเนาบัตรประจาตัวของผู้รับมอบอานาจ (ถ้ามี) 7. กรณีประกอบพาณิชยกิจการขาย หรือให้เช่า แผ่นซีดี แถบบันทึก วีดีทัศน์ แผ่นวีดีทัศน์ ดีวีดี หรือแผ่นวีดีทัศน์ระบบดิจิทัล เฉพาะที่เกี่ยวกับบันเทิง ให้ส่งสาเนาหนังสืออนุญาตหรือ หนังสือ รับรองให้เป็นผู้จาหน่ายหรือให้เช่าสินค้าดังกล่าวจากเจ้าของลิขสิทธิ์ของสินค้าที่ขายหรือให้เช่า หรือ สาเนาใบเสร็จรับเงินตามประมวลรัษฎากร หรือหลักฐานการซื้อขายจากต่างประเทศ 8. กรณี ป ระกอบพาณิ ช ยกิ จ การการค้า อั ญ มณี หรือ เครื่ อ งประดั บ ซึ่ งประดั บ ด้ ว ยอั ญ มณี ให้ ตรวจสอบและเรียกหลักฐานแสดงจานวนเงินทุน โดยเชิญผู้ประกอบพาณิชยกิจมาให้ข้อเท็จจริง ของแหล่งที่มาของเงินทุน หรือชี้แจงเป็นหนังสือพร้อมแนบหลักฐานดังกล่าวแทนก็ได้ อัตราค่าธรรมเนียม การจดทะเบียนพาณิชย์ตั้งใหม่ ให้เรียกเก็บ 50 บาท ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนนั้น เกิดจากการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงที่จะทาการค้าร่วมกัน โดยมุ่งหวังที่จะ แบ่งผลกาไรจากการดาเนินกิจการค้านั้น 

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 3


การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจากัด แบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. หุ้นส่วนตกลงกัน

2. จองชื่อ

3. จัดทาตรา จัดเตรียมคาขอ

4. ยื่นขอจดทะเบียน

ขั้นตอนที่ 1 ทาความตกลงระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนในเรื่องสาคัญๆ ห้างหุ้นส่วนจากัดเป็นรูปแบบการประกอบกิจการค้าที่มีคนหลายคนเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นเพื่อป้องกันปัญหา ความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการประกอบการค้า ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนจึงควรทาความตกลงกันในเรื่อง สาคัญๆ ดังต่อไปนี้ไว้ก่อนให้ชัดเจน 1. จานวนเงินทุนหรือสิ่งที่ผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนจะนามาลงทุน โดยผู้เป็นหุ้นส่วน สามารถลงทุนด้วย เงิน ทรัพย์สิน หรือแรงงานก็ได้ (ยกเว้นหุ้นส่วนจากัดความรับผิดจะลงทุนด้วย แรงงานไม่ได้) แต่ การลงทุนด้วย ทรัพย์สินหรือแรงงาน ต้องตีราคาเป็นจานวนเงินและกาหนดระยะเวลาชาระเงิน หรือสิ่งที่ผู้เป็นหุ้นส่วนจะนามาลงทุน ซึ่งควรชาระให้ครบก่อนการจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน 2. กาหนดขอบเขตหรือกรอบของกิจการค้า ที่ห้างหุ้นส่วนจากัดจะประกอบกิจการ หรือที่เรียกว่า “วัตถุประสงค์” ในปัจจุบันส่วนมากจะกาหนดวัตถุประสงค์ไว้หลายๆ กิจการ เพื่อความคล่องตัว ในการเพิ่มหรือปรับเปลี่ยนกิจการค้า จะได้ไม่ต้องเสียเวลาในการดาเนินการจดทะเบียนเพิ่ม หรือ เปลี่ยนวัตถุประสงค์ แต่การจดทะเบียนวัตถุประสงค์ไว้เป็นหลายๆ กิจการนั้นอาจไม่เป็นผลดี เนื่องจากเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้บริหารประกอบกิจการค้าที่ไม่เป็นไปตามแนวทางที่ตนถนัด และ ให้อานาจกว้างขวางมากเกินไป 3. แต่งตั้งหุ้นส่วนผู้จัดการ (หุ้นส่วนผู้จัดการคือ ผู้ ที่จะมีอานาจกระทาการแทนห้างหุ้นส่วนจากัด ซึ่ง ต้องแต่งตั้งจากหุ้นส่วนจาพวกไม่จากัดความรับผิดเท่านั้น) 4. การแบ่งส่วนผลกาไรและขาดทุน 5. เรื่องอื่นๆ เช่น หลักเกณฑ์และวิธีการเปลี่ยนแปลงข้อสัญญาจัดตั้งห้างเดิม สถานที่ที่จะใช้เป็นที่ตั้ง สานักงานแห่งใหญ่ ข้อจากัดในการใช้อานาจของหุ้นส่วนผู้จัดการ และการตั้งผู้ชาระบัญชี เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 ขอตรวจสอบและจองชื่อห้างหุ้นส่วนจากัด ในปัจจุบันมีการประกอบกิจการในรูปแบบของห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจากัด บริษัทจากัด และบริษัทมหาชนจากัดเป็นจานวนมาก ดัง นั้นเพื่อมิให้เกิดความสับสนเกี่ยวกับชื่อ ที่คล้ายหรือซ้ากัน ให้ผู้ที่ ประสงค์จะจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนขึ้น ให้มีตรวจสอบชื่อที่ต้องการจองว่า ชื่อดังกล่าวต้องไม่เหมือนหรือ มีเสี ย งเรี ย กขานตรงกัน หรื อคล้ ายคลึ งกั น กับชื่อที่ได้จองหรือได้จดทะเบียนไว้ก่อนแล้ ว หรือขัดระเบีย บ สานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลางว่าด้วยการจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนบริษัท (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2555 ข้อ 38 (1) - (11) ด้วยตนเองและนาใบแจ้งผลการจองชื่อไป ประกอบการขอจดทะเบียนต่อไป ขั้นตอนที่ 3 จัดทาคาขอจดทะเบียนและเอกสารประกอบ เมื่อได้จองชื่อแล้ว ให้ผู้ขอจดทะเบียนต้องจัดทาตราสาคัญของห้างหุ้นส่วน กรอกรายละเอียด (โดยวิธีการพิมพ์ ด้วยเครื่องพิมพ์ดีดหรือคอมพิวเตอร์) ในแบบพิมพ์คาขอจดทะเบียนให้ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง ในแบบพิมพ์คาขอจดทะเบียน ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 4


ขั้นตอนที่ 4 การยื่นขอจดทะเบียน การยื่นขอจดทะเบียนทาได้ 2 วิธี คือ 1. ยื่นคาขอจดทะเบียนพร้องเอกสารประกอบต่อนายทะเบียน กรณีนี้หุ้นส่วนผู้จัดการจะไปยื่นขอจด ทะเบียนด้วยตนเองหรือมอบอานาจให้ผู้อื่นไปดาเนินการแทนได้ 2. ยื่นขอจดทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตที่เว็บไซต์ www.dbd.go.th เพื่อให้นายทะเบียนตรวจพิจารณา คาขอจดทะเบียนก่อน และเมื่อผ่านการตรวจและตอบรับว่าคาขอจดทะเบียนถูกต้องแล้วให้ผู้ขอ จดทะเบียนสั่งพิมพ์ (Print out) เอกสารคาขอจดทะเบียนดัง กล่าวให้ผู้เป็นหุ้นส่วนลงลายมือชื่อ และประทับตราสาคัญของห้างหุ้นส่วน หลังจากนั้นก็นาไปยื่นขอจดทะเบียนที่สานักงานทะเบียน หุ้นส่วนบริษัทหรือส่งทางไปรษณีย์ ซึ่งขั้นตอนนี้จะมีความรวดเร็วกว่ากรณีการยื่นขอจดทะเบียน ตาม วิธีที่ 1 มาก เนื่อ งจากนายทะเบียนจะตรวจเอกสารคาขอจดทะเบียนที่นามายื่นนั้นว่ามี ข้อความถูกต้องตรงกับที่ยื่นไว้ทางอินเทอร์เน็ตหรือไม่เท่านั้น ข้อมูลทีใ่ ช้ 1. 2. 3. 4. 5.

ชื่อของห้างหุ้นส่วน วัตถุประสงค์ของห้างหุ้นส่วน ที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่และ/หรือสาขา ชื่อ ที่อยู่ อายุ สัญชาติ และสิ่งที่นามาลงหุน ชื่อผู้เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ (ต้องเป็นหุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด) กรณีเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ บุคคล ผู้เป็นหุ้นส่วนสามารถเข้าเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้ทุกคน 6. ข้อจากัดอานาจหุ้นส่วนผู้จัดการ (ถ้ามี) 7. ตราสาคัญของห้างหุ้นส่วน 8. รายการอื่นๆ ที่เห็นสมควรให้ประชาชนทราบ (ถ้ามี)

เอกสารและหลักฐานที่ต้องใช้ในการจดทะเบียน ในการขอจดทะเบียนต้องเตรียมเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ 1. คาขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน (แบบ หส. 1) 2. แบบคารับรองการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน 3. รายการจดทะเบียน (แบบ หส.2)/ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ใช้เฉพาะหน้า 1 และ 3 4. วัตถุประสงค์ (แบบ ว.) 5. แบบ สสช. 1 จานวน 1 ฉบับ 6. ใบแจ้งผลการจองชื่อนิติบุคคล 7. แผนที่แสดงที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่ และสถานที่สาคัญบริเวณใกล้เคียงโดยสังเขป 8. สาเนาหลักฐานการรับชาระเงินลงหุ้นที่ห้างหุ้นส่วนได้ออกให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วน 9. กรณีห้างหุ้นส่วนมีผู้เป็นหุ้นส่ วนที่เป็นคนต่างด้าวลงหุ้นในห้างหุ้นส่วนไม่ถึงร้อยละ 50 ของเงิน ลงหุ้ น ให้ ส่ งเอกสารหลั กฐานที่ธ นาคารออกให้ เพื่อรับรองหรือแสดงฐานะการเงินของผู้ เป็ น หุ้นส่วนที่มีสัญชาติไทยแต่ละรายประกอบคาขอจดทะเบียน โดยเอกสารดังกล่าวต้องแสดงจานวน เงินที่สอดคล้องกับจานวนเงินที่นามาลงหุ้นของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละราย 10. สาเนาบัตรประจาตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคน *ดูหลักเกณฑ์เรื่องบัตรประจาตัว* ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 5


11. สาเนาหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ (ถ้ามี) 12. หนังสือมอบอานาจ (กรณีที่ผู้ขอจดทะเบียนไม่สามารถยื่นขอจดทะเบียนได้ด้ว ยตนเองก็มอบ อานาจให้บุคคลอื่นดาเนินการแทนโดยทาหนังสือมอบอานาจและปิดอากรแสตมป์ด้วย) สาเนาเอกสารประกอบคาขอจดทะเบียนทุกฉบับ ต้องให้ผู้ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนรับรองความถูกต้อง ยกเว้นสาเนาบัตรประจาตัวหรือหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อผู้ขอจดทะเบียน ให้เป็นเจ้าของบัตรหรือผู้ ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนเป็นผู้ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง แบบพิมพ์จดทะเบียนสามารถขอและซื้อได้จากหน่วยงานของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าหรือ Download ได้จาก เว็บไซต์ www.dbd.go.th อัตราค่าธรรมเนียม 1. การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนทุกจานวนเงินไม่เกิน 100,000 บาท แห่งทุนที่กาหนดไว้ เศษของ 100,000 บาท ให้คิดเป็น 100,000 บาท ทั้งนี้ รวมกันไม่ให้ตากว่ ่ า และไม่ให้เกิน 2. หนังสือรับรอง ฉบับละ 3. ใบสาคัญแสดงการจดทะเบียน ฉบับละ 4. กรณีขอให้นายทะเบียนรับรองเอกสารคาขอจดทะเบียน หน้าละ

100 1,000 5,000 200 100 50

บาท บาท บาท บาท บาท บาท

บริษัทจากัด ขั้นตอนการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจากัด 

1. เมื่อได้จดทะเบียน หนังสือบริคณห์ สนธิไว้แล้ว

2. ผู้เริ่มก่อการจัดให้ มีการจองซื้อหุ้น ทั้งหมด

5. คณะกรรมการเรียกให้ชาระค่าหุ้นตามทีท่ ี่ ประชุมจัดตั้งบริษัทกาหนด ซึ่งต้องไม่น้อย กว่าหุ้นละ 25%

3. ผู้เริ่มก่อการออก หนังสือนัดประชุม จัดตั้งบริษัท

4. ประชุมตั้งบริษัท

6. จัดทาคาขอจดทะเบียน/ ยื่นจดทะเบียนจัดตั้ง บริษัท

7. นายทะเบียนรับ จดทะเบียน

เมื่อจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิแล้ว ก็ให้ดาเนินการดังนี้ 1. ผู้เริ่มก่อการจัดให้มีการจองซื้อหุ้นทั้งหมด 2. เมื่อมีการจองซื้อหุ้นหมดแล้ว ก็ให้ผู้เริ่มก่อการออกหนังสือนัดประชุมผู้เข้าซื้อหุ้นเพื่อประชุมจัดตั้ง บริษัท การออกหนังสือนัดประชุมจะต้องห่างจากวันประชุมอย่างน้อย 7 วัน 3. จัดประชุมผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นเพื่อจัดตั้งบริษัท 3.1 องค์ประชุมจะต้องมีผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ ากึ่งหนึ่งของจานวนผู้เข้าชื่อซื้อ หุ้นทั้งหมดและนับจานวนหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของทั้งหมด (จะมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้า ประชุมแทนก็ได้) ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 6


3.2 วาระการประชุม (1) ทาความตกลงตั้งข้อบังคับของบริษัท (2) ให้สัตยาบันแก่บรรดาสัญญาซึ่งผู้เริ่มก่อการได้ทาไว้ และค่าใช้จ่ายที่ผู้เริ่มก่อการต้องจ่าย ในการเริ่มก่อตั้งบริษัท (3) กาหนดจานวนเงินซึ่งจะให้แก่ผู้เริ่มก่อการ (ถ้ามี) (4) ในกรณีที่บ ริ ษัทจะออกหุ้ น บุริมสิ ทธิ ให้ กาหนดจานวนหุ้ น บุริมสิ ทธิ พร้อมทั้งกาหนด สภาพและบุริมสิทธิของหุ้นบุริมสิทธิว่ามีสภาพหรือสิทธิอย่างไร (5) ในกรณีที่บริษัทจะออกหุ้นเพื่อเป็นการตอบแทนการลงทุนด้วยทรัพย์สิน หรือแรงงาน จะต้องกาหนดจานวนหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิซึ่งออกให้เหมือนหนึ่งว่าได้ใช้เต็มค่าแล้ว หรือได้ ใช้แต่บางส่ วนเพราะได้ใช้ค่าหุ้ นด้วยอย่างอื่นนอกจากตัว เงิน โดยจะต้องระบุ รายละเอียดให้ชัดเจนทั้งในหนังสือนัดประชุมและมติที่ประชุม แรงงานที่จะนามาตีราคา เป็นค่าหุ้นของบริษัทต้องเป็นแรงงานที่ได้กระทาไปแล้ว (6) การเรียกชาระค่าหุ้น (7) เลือกตั้งกรรมการและกาหนดอานาจกรรมการ (8) เลือกผู้สอบบัญชีรับอนุญาตพร้อมทั้งกาหนดค่าสินจ้าง การตั้งผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเพื่อ ตรวจสอบและรับรองงบการเงินต้องแต่งตั้งบุคคลธรรมดาเท่านั้น จะแต่งตั้งสานักงาน ตรวจสอบบัญชีไม่ได้ 4. ผู้เริ่มก่อการมอบหมายกิจการงานทั้งหมดให้แก่คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุม 5. คณะกรรมการเรียกเก็บค่าหุ้นจากผู้เข้าชื่อซื้อหุ้น อย่างน้อยร้อยละ 25 ของมูลค่าหุ้น 6. เมื่ อ เก็ บ ค่ า หุ้ น ได้ ค รบแล้ ว ให้ ก รรมการผู้ มี อ านาจจั ด ท าค าขอจดทะเบี ย นตั้ ง บริ ษั ท แล้ ว ยื่ น จดทะเบียนต่อนายทะเบียน การยื่นจดทะเบียนจะต้องให้กรรมการผู้มีอานาจเป็นผู้ลงลายมือชื่อในคาขอจดทะเบียนและต้องยื่นจดทะเบียน ภายใน 3 เดือนนับแตวันที่ที่ประชุมจัดตั้งบริษัท ถ้าไม่จดทะเบียนภายในกาหนดเวลาดังกลาวจะทาให้การ ประชุมตั้งบริษัทเสียไป หากต่อไปต้องการจดทะเบียนตั้งบริษัทก็ต้องดาเนินการจัดประชุมผู้จองซื้อหุ้นใหม่ ข้อมูลทีต่ ้องใช้ในการจัดตั้งบริษัทจากัด 1. ข้อบังคับ (ถ้ามี) 2. จานวนทุน (ค่าหุ้น) ที่เรียกชาระแล้ว อย่าน้อยร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน 3. ชื่อ ที่อยู่ อายุของกรรมการ 4. รายชื่อหรือจานวนกรรมการที่มีอานาจลงชื่อแทนบริษัท (อานาจกรรมการ) 5. ที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่/สาขา (ตั้งอยู่ ณ จังหวัดใด) พร้อมเลขรหัสประจาบ้านของที่ตั้งสานักงาน, E-mail และหมายเลขโทรศัพท์ของบริษัทหรือกรรมการ 6. ชื่อ เลขทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาตพร้อมค่าตอบแทน 7. ชื่อ ที่อยู่ สัญชาติ และจานวนหุ้นของผู้ถือหุ้นแต่ละคน 8. ตราสาคัญ บริษัทจะไม่จดทะเบียนตราสาคัญของบริษัทก็ได้ หากว่าอานาจกรรมการไม่ได้กาหนดให้ต้องประทับตราสาคัญ ด้วย ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 7


เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจากัด 1. คาขอจดทะเบียนบริษัทจากัด (แบบ บอจ.1) 2. แบบคารับรองการจดทะเบียนบริษัทจากัด 3. รายการจดทะเบียนจัดตั้ง (แบบ บอจ.3) 4. รายละเอียดกรรมการ (แบบ ก.) 5. บัญชีรายชื่อผูถือหุ้น (แบบ บอจ.5) 6. สาเนาหนังสือนัดประชุมตั้งบริษัท 7. สาเนารายงานการประชุมตั้งบริษัท 8. สาเนาข้อบังคับ ผนึกอากร 200 บาท (ถ้ามี) 9. หลักฐานการชาระค่าหุ้นที่บริษัทออกให้แก่ผู้ถือหุ้น 10. กรณี บ ริ ษั ท จ ากั ด มี ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น คนต่ า งด้ า วถื อ หุ้ น ในบริ ษั ท จ ากั ด ไม่ ถึ ง ร้ อ ยละ 50 ของทุ น จดทะเบียน หรือกรณีบริษัทจากัดไม่มีคนต่างด้าวเป็นผู้ถือหุ้น แต่คนต่างด้าวเป็นกรรมการผู้มี อานาจลงนาม หรือร่วมลงนามผูกพันบริษัท ให้ส่งเอกสารหลักฐานที่ธนาคารออกให้ เพื่อรับรอง หรือแสดงฐานะการเงินของผู้ถือหุ้นที่มีสัญชาติไทยแต่ล ะรายประกอบคาขอจดทะเบียน โดย เอกสารดังกล่าวต้องแสดงจานวนเงินที่สอดคล้องกับจานวนเงินที่นามาลงหุ้นของผู้ถือหุ้นแต่ละ ราย 11. แบบ สสช.1 จานวน 1 ฉบับ 12. แผนที่แสดงที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่และสถานที่สาคัญบริเวณใกล้เคียงโดยสังเขป 13. สาเนาบัตรประจาตัวของกรรมการทุกคน 14. สาเนาหลักการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ (ถ้ามี) 15. หนังสือมอบอานาจ (กรณีที่ ผู้ขอจดทะเบียนไม่สามารถยื่นขอจดทะเบียนได้ด้วยตนเองก็มอบ อานาจให้บุคคลอื่นดาเนินการแทนโดยทาหนังสือมอบอานาจและผนึกอากรแสตมป์ดวย สาเนาเอกสารประกอบคาขอจดทะเบียนทุกฉบับ ต้องให้ผู้ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนรับรองความถูกต้อง ยกเว้นสาเนาบัตรประจาตัวหรือหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อผู้ขอจดทะเบียน ให้ผู้เป็นเจ้าของบัตรหรือ ผู้ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนเป็นผู้ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง แบบพิมพ์จดทะเบียนสามารถขอและซื้อ ได้จากหนวยงานของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าหรือ Download จาก เว็บไซต์ www.dbd.go.th ค่าธรรมเนียม 1. คิดตามทุนจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ทุกจานวนเงินไม่เกิน 100,000 บาท แห่งทุนที่กาหนดไว้ เศษของ 100,000 บาท ให้คิดเป็น 100,000 บาท ทั้งนี้ รวมกันไม่ให้เกิน 2. หนังสือรับรอง ฉบับละ 3. ใบสาคัญแสดงการจดทะเบียน ฉบับละ 4. รับรองสาเนาเอกสารคาขอจดทะเบียน หน้าละ

500 บาท 250,000 บาท 200 บาท 100 บาท 50 บาท

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 8


สถานที่จดทะเบียน 1. สานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ยื่นจดทะเบียนได้ที่ ส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลาง กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า ชั้ น 4 ถนนนนทบุ รี 1 จั ง หวัด นนทบุ รี หรื อ ส านั ก งานพัฒ นาธุ ร กิ จ การค้าทั้ง 6 เขต 2. สานักงานแห่งใหญ่ ตั้งอยู่จังหวัดอื่น ยื่นจดทะเบียนได้ที่สานักงานพัฒนาธุรกิจ การค้าจังหวัดที่ บริษัทมีสานักงานแห่งใหญ่ตง้ั อยู่ 3. ยื่นจดทะเบียนทางอินเทอร์เน็ต ที่เว็บไซต์ www.dbd.go.th สรุปข้อแตกต่างระหว่างการจดทะเบียนธุรกิจแบบนิติบุคคล กับ บุคคลธรรมดา รายการ

นิติบุคคล เป็นการเข้าร่วมกันประกอบธุรกิจตั้งแต่ 2 คน สาหรับห้างหุ้นส่วนจากัด การระดมเงินทุน มีการระดมทุนหุ้นส่วน ทาให้สามารถมีเงินทุน หมุนเวียนในกิจการ การระดมความคิด มีการระดมความคิดเห็นระหว่างหุ้นส่วน เพื่อ ดาเนินกิจการให้ประสบความสาเร็จและเกิด ปัญหาน้อยที่สุด ทาให้มคี วามหลากหลายทาง ความคิดและมุมมอง แต่ก็เป็นสาเหตุของความ ล่าช้าและปัญหาในการบริหารจัดการ การตัดสินใจในการบริหารงาน มีรูปแบบคณะกรรมการบริหาร ต้องขอมติจาก ที่ประชุม ผู้ถือหุ้น การแบ่งจ่ายผลกาไรขาดทุน แบ่งตามสัดส่วนการเป็นหุ้นส่วน ตามจานวน หุ้นของผู้ถือหุ้นแต่ละคน การเสียภาษี เป็นการเสียภาษีจากยอดกาไรของกิจการ หาก ในการดาเนินการมีกาไร ก็จะต้องเสียภาษีตาม ข้อกฎหมายที่กาหนด อัตราภาษี  สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง (ข้อมูลจาก กรมสรรพากร ออนไลน์ วันที่ 1 มกราคม 2555 แต่ไม่เกินวันที่ 31 http://www.rd.go.th/publish/47734.0.html) ธันวาคม 2555 อัตราภาษีร้อยละ 23  สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2556 แต่ไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2557 อัตราภาษีร้อยละ 20 จานวนหุ้นส่วน

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนจด ทะเบียนไม่เกิน 5,000,000 บาท และมี รายได้จากการขายสินค้าและให้บริการไม่ เกิน 30,000,000 บาท สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2555 แต่ไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2555  กาไรสุทธิส่วนที่ไม่เกิน 150,000 บาท ได้รับ ยกเว้นภาษี  กาไรสุทธิส่วนที่เกิน 150,000 บาท แต่ไม่ เกิน 1,000,000 บาท อัตราภาษีร้อยละ 15  กาไรสุทธิส่วนที่เกิน 1,000,000 บาท อัตรา ภาษีร้อยละ 23

บุคคลธรรมดา เป็นการดาเนินการโดยบุคคลคนเดียว มีเงินทุนเพียงเท่าที่ตนเองลงไป คิดเอง ทาเอง ตัดสินใจได้รวดเร็ว ทาให้ สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการ ตามสถานการณ์และแก้ไขปัญหาได้ทันที ตัดสินใจด้วยตนเอง รับผลกาไรขาดทุนแต่เพียงผู้เดียว เป็นการเสียภาษีแบบเหมาจ่าย โดยการนา รายได้ของปีนั้นๆ มาคานวณ   

เงินได้สุทธิไม่เกิน 150,000 บาท ได้รับ ยกเว้นภาษี เงินได้สุทธิตั้งแต่ 150,001 บาท ถึง 300,000 บาท เสียภาษีอตั ราร้อยละ 5 เงินได้สุทธิเกินกว่า 300,000 บาท แต่ ไม่เกิน 500,000 บาท เสียภาษีอัตรา ร้อยละ 10 เงินได้สุทธิเกินกว่า 500,000 บาท แต่ ไม่เกิน 750,000 บาท เสียภาษีอัตรา ร้อยละ 15 เงินได้สุทธิเกินกว่า 750,000 บาท แต่ ไม่เกิน 1,000,000 บาท เสียภาษีอัตรา ร้อยละ 20 เงินได้สุทธิเกินกว่า 1,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท เสียภาษี อัตราร้อยละ 25 เงินได้สุทธิเกินกว่า 2,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 4,000,000 บาท เสียภาษี อัตราร้อยละ 30 เงินได้สทุ ธิเกินกว่า 4,000,000 บาท ขึ้นไป เสียภาษีอัตราร้อยละ 35

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 9


รายการ

การบันทึกบัญชี ความรับผิดชอบของกิจการ ความน่าเชื่อถือที่มีต่อบุคคลภายนอก

นิติบุคคล สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป  กาไรสุทธิส่วนที่ไม่เกิน 150,000 บาท ได้รับ ยกเว้นภาษี  กาไรสุทธิส่วนที่เกิน 150,000 บาท แต่ไม่ เกิน 1,000,000 บาท อัตราภาษีร้อยละ 15  กาไรสุทธิส่วนที่เกิน 1,000,000 บาท อัตรา ภาษีร้อยละ 20 ต้องจัดให้มีการทาบัญชีและการสอบบัญชีโดย ผู้ที่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงพาณิชย์ (มี ค่าใช้จ่ายในการทาบัญชีและการสอบบัญชี) หากเป็นบริษัทผู้ถอื หุ้นจะรับผิดชอบเท่าที่หุ้นที่ ถืออยู่ หากเป็นห้างหุ้นส่วนจากัด หุ้นส่วนจะ รับผิดชอบเท่าที่ลงเงินไป มีความน่าเชื่อถือ

บุคคลธรรมดา

หากเป็นการคิดค่าใช้จ่ายแบบเหมาจ่ายไม่ ต้องมีการจัดทาบัญชี แต่หากเป็นการคิด ค่าใช้จ่ายตามจริงก็ต้องจัดให้มีการทาบัญชี ผู้เป็นเจ้าของกิจการต้องรับผิดชอบไม่ จากัดวงเงิน อาจจะมองดูว่าไม่มีความมั่นคง ไม่ใช่มือ อาชีพ

ที่มา: ปรับปรุงข้อมูลจาก ธุรกิจส่วนตัวเริ่มไม่ยาก โดย แจ๊ค ธนกฤต, 2556. 

พาณิชยกิจที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ ได้แก่ 1. การค้าเร่ การค้าแผงลอย 2. พาณิชยกิจเพื่อการบารุงศาสนาหรือเพื่อการกุศล 3. พาณิชยกิจของนิติบุคคลซึ่งได้มีพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งขึ้น 4. พาณิชยกิจของกระทรวง ทบวง กรม 5. พาณิชยกิจของมูลนิธิ สมาคม สหกรณ์ 6. พาณิชยกิจของกลุ่มเกษตรกรที่ได้จดทะเบียนตาม ปว.141 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2515

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 10


 ารจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์2 พ.ร.บ.ทะเบี ยนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 และ ประกาศกระทรวงพาณิช ย์ เรื่อง ให้ ผู้ประกอบพาณิชยกิจต้อง จดทะเบียนพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2553 ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจ ดังต่อไปนี้ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ 1. การซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. การบริการอินเทอร์เน็ต 3. การให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 4. การบริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้ างหุ้น ส่ว นสามัญที่มิใช่นิติบุคคล ห้ างหุ้นส่ว นจดทะเบียน ห้างหุ้ นส่ วนจากัด บริษัทจากัด บริษัทมหาชนจากัด และนิติบุคคลต่างประเทศ ที่มาตั้งสานักงานสาขาในประเทศไทย ซึ่งประกอบ กิจการอันเป็นพาณิชยกิจ ทั้ง 4 ข้อ ดังนี้ 1. การซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. การบริการอินเทอร์เน็ต 3. การให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 4. การบริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ** บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ได้จดทะเบียนพาณิชย์ฯ ย่อมมี ความผิดตาม พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 ซึ่งมีโทษปรับเป็นรายวันจนกวาจะปฏิบัติให้ถูกต้อง สถานที่การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. ผู้ประกอบการที่มีสานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขต กทม. ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนพาณิชย์ ณ ฝ่าย ปกครอง สานักงานเขต 50 เขต (รับบริการจดทะเบียนพาณิชย์เฉพาะสถานประกอบการที่มี ส านั ก งานเขตตั้ ง อยู่ ใ นท้ อ งที่ ข องตน) หรื อ ส านั ก งานเศรษฐกิ จ การคลั ง ส านั ก การคลั ง ศาลาว่าการ กทม. (ครอบคลุมทั้ง 50 เขตของ กทม.) 2. ผู้ประกอบการที่มีสานักงานแห่ง ใหญ่ตั้งอยู่จังหวัดอื่น นอกจาก กทม. ให้ยื่นคาขอจดทะเบียน พาณิชย์ ณ เมืองพัทยา เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล ที่สานักงานแห่ง ใหญ่ตั้งอยู่ในเขต ท้องที่ หรือองค์การบริหารส่วนจังหวัดเฉพาะในท้องที่นอกเขตเทศบาล และองค์การบริหารส่วน ตาบล

2

กรมพัฒนาธุรกิจ การค้า กระทรวงพาณิชย์ โปรดดูรายละเอี ย ดเพิ่มเติมที่ www.trustmarkthai.com เนื่อ งจากข้ อ มูลเบื้ อ งต้นอาจมีก าร เปลี่ยนแปลงได้เสมอ

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 11


ขั้นตอนการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. ทาเว็บไซต์ให้เสร็จเรียบร้อยพร้อมออนไลน์โดยมีเวลายื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้ แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันเริ่มประกอบการ 2. ยื่นจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สถานที่การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ - เขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์ ณ ฝ่า ยปกครอง สานักงานเขต 50 เขต (ตามที่ ตั้งของสถานประกอบการ) หรือส านักงานเศรษฐกิจ การคลั ง ศาลาวาการ กทม. (ครอบคลุมทั้ง 50 เขต) - จังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ ยื่นขอจดทะเบียนพาณิช ย์ ณ เทศบาลองค์การ บริหารส่วนตาบล (ตามที่ตั้งของสถานประกอบการ) เอกสารที่ใช้จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน และสาเนาทะเบียนบ้านของผู้ประกอบพาณิชยกิจ 2. แบบคาขอจดทะเบียนพาณิชย์ (แบบ ทพ.) 3. รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ (เอกสารแนบ แบบ ทพ.) กรอก 1 ใบต่อ 1 เว็บไซต์ (ตัวอย่างการ กรอกเอกสารแนบ แบบ ทพ.) 4. เอกสารการจดโดเมนเนม (ชื่อผู้จดทะเบียนโดเมนเนม ต้องเป็นชื่อผู้ประกอบการที่จดทะเบียน พาณิชย์) 5. พิมพ์หน้าแรกของเว็บไซต์ 6. วาดแผนที่ตั้งการประกอบพาณิชยกิจ 7. หนังสือรับรองการจดทะเบียนของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท (กรณีจดในนามนิติบุคคล) 8. หนังสือมอบอานาจพร้อมติดอากรแสตมป์ 10 บาท และสาเนาบัตรประชาชนของผู้รับมอบ อานาจ (กรณีมอบอานาจ) กรณีผู้ประกอบพาณิชยกิจมิได้เจ้าบ้าน (เอกสารเพิ่มเติม) 1. หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่หรือสัญญาเช่า 2. สาเนาบัตรประชาชนเจ้าของสถานที่ พร้อมสาเนาทะเบียนบ้าน หรือเอกสารสิทธิ์ที่แสดงว่าเป็น เจ้าของกรรมสิทธิ์ กรณีนิติบุคคลต่างประเทศ เข้ามาตั้งสาขาดาเนินกิจการในประเทศไทย ให้แนบเอกสารเพิ่มเติม 1. สาเนาเอกสารแสดงการจดทะเบียนนิติบุคคล 2. หนังสือแต่งตั้งผู้ดาเนินกิจการในประเทศไทย  ใบอนุญาตทางาน (กรณีผู้ดาเนินกิจการเป็นคนต่างด้าว)  ใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว หรือหนังสือรับรองการใช้สิทธิ (ถ้ามี) ประโยชน์ของการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. สร้างความน่าเชื่อถือ ความมีตัวตนของผู้ประกอบการ 2. ผู้ประกอบการสามารถขอรับเครื่องหมายรับรองการจดทะเบียน DBD Registered จากกรม พัฒนาธุรกิจการค้า (ดูร ายละเอียดการออกเครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนพาณิชย์) และ ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 12


เครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือ DBD Verified ซึ่งได้รับการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ดูรายละเอียดการออกเครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือ) 3. ได้รับสิทธิ์ในการเข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตรที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากาหนด หมายเหตุ: สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.trustmarkthai.com หรือ http://www.dbd.go.th

 ฎ ระเบียบธุรกรรมทางออนไลน์ กฎ ระเบียบธุรกรรมทางออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ประกอบการควร ให้ความสาคัญประกอบไปด้วย  กฎหมายทะเบียนพาณิชย์ กาหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจออนไลน์ทุกท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ทั้ง บุ ค คลและนิ ติบุ ค คล ต้ อ งจดทะเบี ย นพาณิ ช ย์ พ าณิ ช ยกิ จ พาณิ ช ย์ อิเ ล็ ก ทรอนิ กส์ ณ องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตที่ตั้งของสานักงานใหญ่ (ที่ว่าการเขตกทม./อบต./เทศบาล/เมือง พัทยา)  กฎหมายขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 กาหนดให้ผู้ ประกอบธุรกิจขายสินค้าทาง ออนไลน์ ที่ เ ข้ า ข่ า ยการตลาดแบบตรง ต้ อ งจดทะเบี ย นการประกอบธุ ร กิ จ กั บ สานั ก งาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคก่อนทาการค้า  กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ห้ามมิให้ปฏิเสธในการมีผลผูกพันและการ บังคับใช้กฎหมายของข้อความที่อยู่ในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์  กฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ครอบคลุมถึงระบบ คอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการ หรือแม้แต่ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมู ลคอมพิวเตอร์อัน เป็ น เท็ จ เข้ า สู่ ร ะบบคอมพิ ว เตอร์ เพื่ อจะให้ เ กิ ดความเสี ย หายแก่ ผู้ อื่ น หรื อ ประชาชน และผู้ ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน  กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นกฎหมายที่มีหลักการเพื่อคุ้มครองสิทธิความเป็นส่วนตัว อันเป็นสิทธิที่รัฐธรรมนูญรับรอง และกาหนดหลักการพื้นฐานในการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคลให้เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรม

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 13


กฎ ระเบียบการประกอบธุรกิจทั่วไป  ประมวลกฎหมายอาญา กากับดูแลการประกอบการที่มีเจตนาทุจริต ฉ้อโกง หลอกลวงผู้อื่นด้วย การแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริง ที่หลอกลวงเอาทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวง หรือบุคคลที่สาม  กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กากับดูแลการโฆษณาต้องไม่ใช้ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อ ผู้ บ ริ โ ภค มี เ จตนาก่ อ ให้ เ กิ ดการเข้ าใจผิ ด ไม่ว่ า ข้ อ ความดั ง กล่ า วจะเป็ นข้ อ ความที่ เ กี่ ย วกั บ แหล่งกาเนิด สภาพ คุณภาพหรือลักษณะของสินค้าหรือบริการ ตลอดจนการส่งมอบ การจัดหา หรือการใช้สินค้าหรือบริการ  กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา คุ้มครองการละเมิดลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรของผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นการ ลอกเลียน การทาซ้า เพื่อนาไปขาย เผยแพร่ต่อสาธารณะชนหรือแจกจ่าย  กฎหมายกากับดูแลอาหารและยา กาหนดมาตรฐานอาหาร/ยา การแสดงฉลากและโฆษณา รวมทั้งสถานที่ผ ลิ ต น าเข้า จ าหน่าย กากับดูแลให้ มีการขึ้นทะเบียน การขออนุญาตโฆษณา อาหาร/ยา ตามที่กาหนด  กฎหมายศุลกากร กากับดูแลการจาหน่าย ซื้อ ซ่อนเร้น รับจานาหรือรับไว้ซึ่งของที่รู้ว่ายังมิได้เสีย ค่าภาษีหรือที่เข้ามาในราชอาณาจักร โดยยังไม่ผ่านศุลกากรโดยถูกต้อง  กฎหมายภาษีอากร ผู้มีเงินได้พึงประเมินมีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการชาระภาษีประจาปี  ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล ต้องนาเงินได้พึงประเมินตลอดปีภาษี มาคานวณภาษี เพื่อยื่นแบบแสดงรายการภาษีประจาปี  ภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่ บริษัทจากัด ห้างหุ้นส่วนจากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ต้องนา กาไรสุทธิของกิจการมาคานวณภาษี เพื่อยื่นแบบแสดงรายการภาษีประจาปี  ภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ ผู้ประกอบการไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือ นิติบุคคลที่ขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพในประเทศไทย หรือผู้นาเข้าสินค้า โดยมี ร ายรั บ เกิ น กว่ า 1.8 ล้ า นบาท/ปี จะต้ อ งจดทะเบี ย นเป็ น ผู้ ป ระกอบการจดทะเบี ย น ภาษีมูลค่าเพิ่ม นอกจากนี้ยังมีกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับประเภทธุรกิจที่ขาย/บริการโดยเฉพาะที่ต้องศึกษา ทาความเข้าใจ และปฏิบัติให้ถูกต้องเช่นเดียวกับการประกอบธุรกิจช่องทางปกติ ข้อห้ามการขายสินค้าและการเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต 1. ห้ามประกาศขายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์/สินค้าที่มีตัวแทนจาหน่ายอย่างถูกต้อง เช่น ซีรีย์เกาหลี DVD ภาพยนตร์ กระเป๋าแบรนด์เนม นาฬิกาแบรนด์เนม 2. ห้ามประกาศขายสินค้าที่ไม่ได้รับอนุญาตจาก อ.ย. เช่น ยารักษาโรค ครีมหมอจุฬา ครีมหน้าขาว ยาลดน้าหนัก เครื่องมือแพทย์ อาหารเสริม 3. ห้ามประกาศขายสินค้าที่เป็นอาหารหรือยาที่ไม่มีใบอนุญาตให้โฆษณา 4. ห้ามประกาศขายสินค้าที่มีการอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง เช่น โฆษณาว่าสามารถป้องกัน/รักษาได้ อย่างศักดิ์สิทธิ์/หายขาด หรือยกย่องสรรพคุณยาโดยบุคคลอื่น บรรเทา/รักษา/ป้องกันโรคมะเร็ง อัมพาต เป็นต้น ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 14


5. 6. 7. 8.

ห้ามประกาศขายสินค้าลามก อนาจาร ซีดีรูปภาพลามกอนาจาร ห้ามประกาศขายอาวุธและสินค้าผิดกฎหมาย เช่น ปืน บารากุ บุหรี่อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ห้ามประกาศขายสินค้าหรือรูปสัญลักษณ์ของ เหล้า หรือ เบียร์ ทุกชนิด ห้ามใช้รูปภาพที่เป็นลิขสิทธิ์ของผู้อื่น

 ารจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร การจดสิทธิบัตรถือเป็นสิ่งแรกที่ต้องทาเมื่อเกิดการคิดค้นผลิตภัณฑ์ชนิด ใหม่ๆ ที่จะนามาใช้ประกอบธุรกิจใน เชิงพาณิชย์ เพราะการมีสิทธิบัตรจะช่วยทาให้ผลิตภัณฑ์ของทางบริษัทผู้ประกอบการได้รับความคุ้มครองทาง กฎหมายและไม่ถูกละเมิดในเรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการทาซ้าหรือทาของปลอมลอกเลียนแบบออกมาขายไม่ว่า จะเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของผลิตภัณฑ์ สิทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด เป็นสิทธิพิเศษ ที่ให้ผู้ประดิษฐ์ คิดค้นหรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิที่จะผลิตสินค้า จาหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียว ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง การประดิษฐ์ (Invention) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้าง หรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น หรือ ทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้น ใหม่ ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น กลไกของเครื่อ งยนต์ ยารักษาโรค วิธีการในการเก็บ รักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้เน่าเสียเร็วเกินไป เป็นต้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์วเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะ ภายนอกของผลิตภัณฑ์ ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น การออกแบบแก้วน้าให้มีรูปร่างเหมือนรองเท้า เป็นต้น อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) คือ หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์จะมีลักษณะคล้ายกัน กับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์ คิดค้นเพียงเล็กน้อย และมีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น

ขั้นตอนการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ขั้นตอนที่ 1 การยื่นเอกสารขอจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร การยื่นเอกสารคาขอจดสิทธิบัตรของผลิตภัณฑ์จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเป็นจานวนเงิน 250 บาท โดยเอกสาร ต่างๆ ที่ต้องเตรียมเพื่อเข้าขอรับการจดสิทธิบัตรของผลิตภัณฑ์มีดังต่อไปนี้ 1. แบบฟอร์มคาขอจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ โดยแบบฟอร์มคาขอนี้สามารถไปขอรับได้ที่กรมทรัพย์สินทางปัญญาในวันที่ไปทาการจดทะเบียน ขอรับสิทธิบัตร แบบฟอร์มดังกล่าวมีชื่อว่า “แบบพิมพ์คาขอรับสิทธิบัตร สป/สผ/อสป/001-ก” ซึ่งจะมี ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 15


รายละเอียดที่สาคัญในการขอขึ้นทะเบียนเพื่อให้กรอกรายละเอียดเป็นจานวน 2 หน้าด้วยกัน การขอเอกสาร ดังกล่าวจะไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ที่สาคัญมากที่สุดในการกรอกรายละเอียดแต่ละช่องรายการควรทาด้วย ความละเอียดรอบคอบถ้ามีข้อสงสัยในจุดไหนควรสอบถามเจ้าหน้าที่ทันที เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการขอ จดสิทธิบัตรและจะทาให้ช่วยประหยัดเวลาไม่ต้องมาแก้ไขอีกในภายหลัง ซึ่งจะกินเวลาไปอีกอย่างน้อย 60-90 วันเลยทีเดียว 2. คาอธิบายหรือข้อพรรณนาถึงผลิตภัณฑ์ที่ทาการขอจดสิทธิบัตร เอกสารในส่วนนี้เป็นเอกสารที่ตัวผู้ประกอบการจะต้องเป็นผู้เตรียมมาด้วยตนเอง โดยเอกสารดังกล่าว จะประกอบด้วยข้อมูลในด้านต่างๆ ทั้งข้อมูลและวิธีการผลิต วัสดุส่วนผสม สรรพคุณและประโยชน์ รวมถึง ข้อจากัดของผลิตภัณฑ์ เช่นวันหมดอายุ ห้ามใช้เกินวันละเท่าไร เป็นต้น ซึ่งวิธีการที่สะดวกรวดเร็วที่สุดในการ เตรียมเอกสารประเภทนี้ขอแนะนาให้นาเอกสารดังกล่าวทั้งหมดมาเย็บเล่มเข้าด้วยกันลักษณะเหมือนการ ทางานวิจัยโดยสามารถเลือกวิธีเย็บเล่มแบบกระดูกงูหรือไสสันทากาวและวิธีอื่นก็ได้ แต่ไม่ควรจะนาเอกสารใน ส่วนนี้ไปนาเสนอแบบเป็นแผ่นๆ อย่างเด็ดขาดเพราะนอกจากจะไม่เรียบร้อยแล้วยังอาจทาให้เอกสารบางส่วน สูญหาย 3. ข้อถือสิทธิ ส่วนที่สาคัญมากเพราะเป็นการระบุลงไปถึงขอบเขตที่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวต้องการได้รับความคุ้มครอง จากการจดสิทธิบัตรและไม่ต้องการให้ผู้อื่นมาแสวงหาประโยชน์จากคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถหา รายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนนี้ได้จากเว็บไซต์ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา 4. รูปเขียน รูปที่ช่วยอธิบายเพิ่มเติมในส่วนของผลิตภัณฑ์ที่นามาขอยื่นขอจดทะเบียน โดยเป็นรูปที่แสดงให้เห็น ถึงลักษณะบรรจุภัณฑ์ วิธีการใช้งาน เป็นต้น ซึ่งในกรณีของผลิตภัณฑ์สามารถใช้รูปถ่ายแทนรูปเขียนได้ 5. เอกสารอื่นๆ หมายถึงเอกสารต่างๆ ที่น อกเหนือจากที่กาหนดมาข้างต้น เช่น หนังสือการโอนสิ ทธิ สัญญาการ ว่าจ้าง หนังสือมอบอานาจ หนังสือรับรองนิติบุคคล ฯลฯ เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบความถูกต้องตามขั้นตอน เมื่ อยื่ น ค าขอและเอกสารทั้ งหมดตามขั้ น ตอนที่ 1 แล้ ว ถ้ าเกิ ดพบข้ อบกพร่อ งที่ จะต้ องดาเนิ นการแก้ ไ ข เจ้าหน้าที่นายทะเบียนจะดาเนินการแจ้งให้ผู้ขอสิทธิบัตรทราบเพื่อมาทาการแก้ไขในสิ่งที่ผิดพลาดให้ถูกต้อง ภายในระยะเวลา 90 วันเท่านั้น โดยเริ่มนับจากวันที่ได้รับแจ้งเป็นต้นไป ซึ่งสามารถที่จะยื่นเรื่องขอผ่อนผัน เวลาออกไปได้ ก่ อ นในกรณี ที่ ไ ม่ ส ามารถด าเนิ นการให้ แ ล้ ว เสร็ จ ได้ ต ามกรอบระยะเวลาที่ ก าหนดให้ ถ้ า ดาเนิ นการเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตามและไม่มายื่นเรื่องผ่อนผั นจะถือว่าผู้ มาขอยื่นจดสิทธิบัตรทาการสละสิทธิ์ ดังกล่าว ค่าธรรมเนียมในการแก้ไขเพิ่มเติมจะต้องเสียเพิ่มอีก 100 บาท ขั้นตอนที่ 3 การประกาศโฆษณา หลังจากทาการยื่นเรื่องขอจดสิทธิบัตรและทาการแก้ไขข้อผิดพลาดทั้งหมดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่ของ กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะแจ้งให้มาชาระเงินค่าประกาศโฆษณาเป็นจานวนเงิน 250 บาท โดยจะแจ้ง 2 ครั้ง ครั้ งละ 60 วัน ถ้าไม่มาช าระและดาเนิ น การตามกาหนดจะถือว่าทาการละทิ้งคาขอดังกล่ าว โดยในการ ประกาศโฆษณาจะทาการประกาศโฆษณาลงในหนังสือประกาศโฆษณาคาขอมีสิทธิบัตรเป็นเวลา 90 วัน ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 16


เหตุผลก็เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้ทาการคัดค้านในกรณีที่การยื่นคาขอสิทธิบัตรดังกล่าวไม่เป็นไปตามกฎหมาย หรือมีการแอบอ้างเอาผลิตภัณฑ์ของผู้อื่นมาทาการจดทะเบียน ขั้นตอนที่ 4 การออกสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ส่วนนี้จะเป็นขั้นตอนของเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบโดยภายหลังจากลงประกาศโฆษณาครบ 90 วันแล้วเจ้าหน้าที่ จะทาการตรวจสอบดูว่าก่อนหน้านี้เคยมีแบบผลิตภัณฑ์ที่มีความเหมือนหรือคล้ายกันออกมาก่อนหน้านี้หรือไม่ ถ้าไม่มีอีกทั้งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวก็ไม่ได้ขัดต่อกฎหมายอีกทั้งยังผ่านการดาเนินการตามขั้นตอนต่างๆ ก่อนหน้านี้ เจ้าหน้าที่ก็จะดาเนินการออกสิทธิบัตรให้ตามคาขอ และเรียกมาเสียค่าธรรมเนียมการดาเนินการเพิ่มอีก 500 บาท และรับสิทธิบัตรกลับไปในที่สุด แต่ถ้าพบจากการตรวจสอบว่าไม่ตรงตามเกณฑ์ที่ระบุไว้ก่อนหน้านี้คาขอ ยื่นจดสิทธิบัตรก็จะถูกยกเลิกเช่นกัน ข้อมูลการจดสิทธิบัตรและแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องได้ที่เว็บไซต์ของ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ที่ http://www.ipthailand.go.th/

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 17


หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภาคผนวก


หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ห

 น่วยงานที่ให้ข้อมูล/คาแนะนาสาหรับผู้ประกอบการ SME ชื่อหน่วยงาน จดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจ

การให้บริการ

เว็บไซต์

เบอร์โทร

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์  สานักทะเบียนธุรกิจ

บริการจดทะเบียน และข้อมูลธุรกิจ และพัฒนา ธุรกิจไทยให้เข้มแข็งแข่งขันได้ ส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลาง และวิเคราะห์การ จดทะเบียน

www.dbd.go.th

02-5474441 02-5474441 02-5475952 02-5475963-4

 สานักส่งเสริมพัฒนาธุรกิจ  สานักพัฒนาผู้ประกอบธุรกิจ

จดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวง พาณิชย์ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

- ขั้นตอนการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร

www.ipthailand.go.th

02-5474621-25

- ส่งเสริมการส่งออก ขยายตลาดสินค้าและบ www.ditp.go.th ริกาารของไทย - พัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าและ บริการส่งออก - เพิ่มศักยภาพการแข่งขันของผู้ส่งออกไทยใน ตลาดโลก เพื่อเพิ่มมูลค่าและปริมาณการ ส่งออกไทย และ - ให้บริการข้อมูลทางการค้า

02-5077999, 02-5130909

ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมของประเทศ - พัฒนา ผู้ประกอบการรายเดิม - สร้าง ผู้ประกอบการรายใหม่ ส่งเสริมพัฒนาการประกอบธุรกิจการค้าใน ประเทศให้มีการแข่งขัน และมีการค้าที่เป็นธรรม เกี่ยวกับธุรกิจ SME ที่ต้องการคาปรึกษา เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ พัฒนาสถาบันธุรกิจภาคเอกชน ของไทยให้ แข็งแกร่ง ทาหน้าที่เป็นตัวแทนของผู้ประกอบ อตสากรรมภาคเอกชนในการประสานนโยบาย และดาเนินการกับรัฐ พัฒนาศักยภาพกาลังแรงงานและผู้ประกอบ กิจการ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมและสร้าง เครือข่ายการพัฒนาฝีมือแรงงาน - บริการค้นหาหลักสูตรที่เปิดฝึกอบรม ฝีมือแรงงาน - ค้นหาสาขาอาชีพที่เปิดทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน

www.sme.go.th

02-2788800

www.ismed.or.th

02-5644000

www.dit.go.th

02-5076111

www.dip.go.th

02-2024414

www.fti.or.th

02-3451000

www.dsd.go.th

02-2451707, 02-2454035

ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ธุรกิจ สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (สสว.) สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม กระทรวงอุตสาหกรรม กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวง แรงงาน

ภาคผนวก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - 1


ชื่อหน่วยงาน

การให้บริการ

เว็บไซต์

เบอร์โทร

สานักพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กรม พัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์

เพื่อเป็นศูนย์สร้างสรรค์การประกอบธุรกิจ eCommerce Start-Up

http://www.dbdmart.c om/

0-25475959-60

นาเสนอกรอบยุทธศาสตร์ทางธุรกิจ เพือ่ การ ขับเคลื่อนศักยภาพการแข่งขันของประเทศ สนับสนุนเครือข่ายผู้ประกอบการในการจัด แสดงสินค้า การเปิดตลาดใหม่ จัดอบรมสัมมนา แก่สมาชิก สร้างเครือข่ายนักออกแบบสินค้าแฟชั่น สนับสนุนกิจกรรมจัดแสดงแฟชั่น และการขาย

www.thaichamber.org

02-6621860-75

เครือข่ายทางธุรกิจ หอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย สมาคมเครื่องหนังไทย สมาคมแฟชั่นดีไซเนอร์กรุงเทพ ศูนย์ต้นคิด สมาพันธ์ผลอตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ไทย สมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ไทย

สร้างเครือข่ายการแลกเปลีย่ นองค์ความรู้ การ ให้คาปรึกษา และช่วยเหลือผู้ประกอบารใน พัฒนาผลิตคภัณฑ์ ส่งเสริมกิจกรรมการตลาดผู้ประกอบการสินค้า ไลฟ์สไลต์ - ส่งเสริมการรวมกลุ่มธุรกิจ (Cluster) ของ ผู้ประกอบการ - เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ด้าน Ecommerce และเป็นศูนย์กลางในการ เผยแพร่เทคโนโลยีด้าน E-commerce - เสริมสร้างมาตรฐานการประกอบธุรกรรม ด้าน E-commerce

http://www.thaileather 02-6453505-6 goods.net/member.ph p https://www.facebook. 02- 5309300 ต่อ com/bangkokfashionso 15, 14 ciety www.fashionFPDC.org 02-6812559 https://www.facebook. com/tlpf.org http://www.thaiecom merce.org

084-5220950

www.smebank.co.th

02-2653000

02-2577173

สนับสนุนเงินทุนสาหรับ SME ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย หรือ SME BANK

ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและย่อม ควบคู่กับการสนับสนุนเงินทุน

สนับสนุนข้อมูลการวิจัยและพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้(องค์การมหาชน)

เป็นองค์กรในการผลักดันสังคมไทยให้เป็นสังคม www.okmd.or.th แห่งการเรียนรู้ และใช้ความคิดสร้างสรรค์ใน การนาเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ เพือ่ ยกระดับประเทศให้เป็นประเทศชั้นนาทัง้ ใน ภาคเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และสังคม

02-1056500

ภาคผนวก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - 2


ตัวอย่าง โครงสร้างการเขียน แผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ ภาคผนวก


ตัวอย่างโครงสร้าง การเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ วิ

 ธีการเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ วิธีการเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้1สามารถทาได้ดังนี้ สาหรับหัวข้อที่ใช้ในการเขียนโครงการขอกู้เงิน ต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ 1. หนังสือเสนอขอกู้เงินกับสถาบันการเงิน 2. บทสรุปผู้บริหาร เป็นการสรุปจากแผนต่างๆ ทั้งด้านการตลาด การจัดการ การผลิต และการเงิน เพื่อให้ทราบถึงพันธ กิจขององค์กร วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร พร้อมทั้งแผนที่จะไปสู่เป้าหมายอย่างย่อๆ ควรจะเขียน เป็นลาดับสุดท้ายโดยสรุปย่อ มีเนื้หาที่กระชับ มีประเด็นสาคัญครบถ้วน 3. ภาพรวมของกิจการ - ประวัติความเป็นมาของกิจการ กล่าวถึงแนวคิดและความเป็นมาของกิจการว่าเกิดได้ อย่างไร อะไรคือเป้าหมายในการดาเนินธุรกิจ - สถานที่ ตั้ง เป็ น ที่ ตั้งของกิจการ หรือโรงงาน พร้ อมหมายเลขโทรศัพท์เ พื่อติด ต่อได้ สะดวก - ผู้ถือหุ้นและผู้บริหาร / ประสบการณ์ผู้บริหาร มีใครบ้างเป็นผู้ร่วมทุน จานวนเงินลงทุน ความสามารถและความชานาญงานของแต่ละคน - การแสดงโครงสร้างองค์กรและผังบริหารองค์กร (ถ้ามี) - ผลการดาเนินงานในอดีต (ถ้ามี) 4. วัตถุประสงค์ที่จะขอสินเชื่อ - วงเงินสินเชื่อที่ต้องการ โดยแยกเป็นประเภทของสินเชื่อ เช่น เงินกู้ เงินทุนหมุนเวียน (O/D) - จะนาสินเชื่อที่ขอครั้งนี้ไปทาอะไร เช่น เพื่อซื้อที่ดิน ปรับปรุงอาคาร สถานที่ ก่อสร้าง อาคาร ซื้อเครื่องจักร - เงื่อนไขที่ต้องการมีอะไรบ้าง เช่น ระยะเวบาการชาระคืน อัตราดอกเบี้ย - หลักประกันที่เสนอ รายละเอียดหลักประกัน มูลค่าหลักประกัน 5. ลักษณะและโครงสร้างธุรกิจ - สินค้าและบริการมีอะไรบ้าง 1

ปรับปรุงข้อมูลจาก แจ๊ค ธนกฤต, (2556) ธุรกิจส่วนตัวเริ่มไม่ยาก, ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ภาคผนวก ตัวอย่างโครงสร้างการเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ - 1


- การตลาด การจั ดจ าหน่ายในประเทศ ต่างจังหวัดหรือกรุงเทพฯ เป็นสั ดส่ ว นเท่าใด ระยะเวลาการให้เครดิตกี่วัน หรือถ้าเป็นการจาหน่ายต่างประเทศ กลุ่มประเทศแถบใด วิธีการจาหน่ายโดยให้ลูกค้าเปิด L/C หรือ Open Account ระยะเวลาการให้เครดิตกี่ วัน - ตลาดเป้ า หมายที่ ต้ อ งการขยายเพิ่ มขึ้ น กลุ่ ม ลู กค้ า ขนาดของตลาด ความต้ องการ ภาวะการผลิต ตาแหน่งทางการตลาด กลยุทธ์และแผนการตลาด - การวิเคราะห์อุตสาหกรรม - คู่แข่ง 6. ลักษณะของโรงงานและแผนการผลิต - ที่ตั้ง เนื้อที่ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ - การวางผังโรงงาน นอกอาคาร / ในอาคาร - เครื่องจักรอุปกรณ์การผลิต ประสิทธิภาพเครื่องจักร เก่า-ใหม่ แหล่งผลิต - อาคาร สิ่งก่อสร้างและสานักงาน เนื้อที่ถาวรชั่วคราว เก่า? ใหม่? - ผังการบริหารในการผลิต - แผนการดาเนินงาน - กาลังการผลิต ปัจจุบันผลิตเจ็มกาลังแล้วหรือยัง - เทคนิคการผลิตได้มาจากไหน / กรรมวิธีในการผลิต - แรงงานมีจานวนเท่าใด โครงสร้างแรงงานมีสหภาพแรงงานหรือไม่

ภาคผนวก ตัวอย่างโครงสร้างการเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ - 2








ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.การดี เลียวไพโรจน์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณะผู้วิจัย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.