ชุดความรู้กินได้ | ไก่ประดู่หางดำ

Page 1

ไก่ประดู่หางดา

ผูจ้ ดั ทำ

นำงสำวสิรนิ นั ต์ สุวรรณเลิศ หน่ วยงำน กศน.อำเภอหำงดง


ไก่ประดู่หางดา

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


บทนา - หลักการและเหตุผล จากสภาพปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน ประชาชน ส่วนใหญ่มีรายรับไม่สมดุลกับรายจ่าย กศน.อาเภอหางดง จึง ได้ ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาองค์ ความรู้ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยนาองค์ความรู้ในเรื่องการพัฒนาอาชีพ การ เลี้ยงไก่ประดู่หางดา มาพัฒนาเพื่อให้เกิดประโยชน์ และ การขยายผลอย่างต่อเนื่อง และสามารถนาทุนความรู้จาก การพั ฒ นาไก่ ป ระดู่ ห างด า ไปสู่ ก ารใช้ ป ระโยชน์ ใ ห้ เ ป็ น รูปธรรมสู่เกษตรกร และชุมชน โดยการบูรณาการในทุกภาคส่วน ให้มีส่วนร่วมใน การองค์ ค วามรู้ดั ง กล่ าวไปสร้า งอาชีพ รวมทั้ง การสร้า ง โอกาส การสร้างอาชีพการเลี้ยงไก่พื้นเมือง ให้เป็นอาชีพ ทางเลือกใหม่ท่ีมีความยั่งยืน อาศัยหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย ง ที่เ กษตรกรสามารถผลิ ต พั น ธุ์ไ ด้ เ อง การสร้า ง อาชีพการเลี้ยงไก่พื้นเมืองดังกล่าว สามารถสร้างระบบการ ผลิตที่แตกต่างกันตามบริบทของพื้นที่


บทนา - หลักการและเหตุผล(ต่อ) ใช้อาหาร และวิธีการเลี้ยงแบบท้องถิ่น รวมทั้งเกิดความ เข้มแข็งของชุมชนมากขึ้น ซึ่งในโครงการสนับสนุนการ สร้างอาชีพ มีเกษตรกรที่สนใจเลี้ยงไก่ประดู่หางดาเป็น อาชี พ หลั ก หรื อ อาชี พ เสริ ม ประมาณ จ านวน 100 ครัวเรือน ภายในอาเภอหางดง


บทนา วัตถุประสงค์ของการจัดทาชุดความรู้ทามาหากิน 1. เพื่อสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนกลุ่มผูเ้ ลี้ยงไก่ ประดู่หางดา 2. เพื่อการบูรณาการองค์ความรู้ และปัจจัย แวดล้อมในการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงไก่พื้นเมือง กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในอาเภอหางดง ผู้ท่สี นใจ ขั้นตอนการจัดทาชุดความรู้ทามาหากิน 1. สารวจข้อมูลการเลีย้ งไก่ประดู่หางดา 2. ศึกษา/วิเคราะห์/จัดลาดับข้อมูล 3. วางแผนการจัดทาโครงการ/กิจกรรม 4. ดาเนินการตามแผน/โครงการ 5. ประเมินผลการดาเนินงานระยะก่อนการ ดาเนินการ ระหว่างการดาเนินการ และ หลังการดาเนินการ 6. สรุปและรายงานผลการจัดกิจกรรม


บทนา - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ท่ีสนใจ มีความรู้และทักษะในการ เลี้ยงไก่ประดู่หางดา พร้อมทั้งสามารถประกอบเป็น อาชีพได้อย่างต่อเนื่อง


Mind Map


Info graphic


ประมวลเนื้อหา ไก่พื้นเมืองพันธุป์ ระดู่หางดา เป็น ไก่พื้นเมืองที่มีทั่วทุกภาค นิยมเลี้ยงเป็นไก่ชน และกิ น เนื้ อ ปั จ จุ บั น ศู น ย์ วิ จั ย บ ารุ ง พั น ธุ์ สั ต ว์ เชี ย งใหม่ ได้รวบรวมพันธุ์เฉพาะที่มีทางภาคเหนือ และทาการผสมพันธุ์ จนได้ ส ายพั น ธุ์ ท่ี นิ่ ง แล้ ว และเหมาะส าหรั บ เกษตรกร ภาคเหนือ ลักษณะภายนอก เพศผู้ มีสีหน้าแดง, ขนสร้อยคอหลังสีแดงเข้ม, ขนลาตัว ขนหาง แข้ง ปากสีดา, สีผิวหนังขาว อมเหลือง, สีตาเหลือ งอมน้าตาล และ หงอนเป็นหงอนถั่ว ส าหรั บ ในเพศเมี ย ลั ก ษณะทั่ ว ไปคล้ า ยกั บ ไก่ เ พศผู้ มีท่ีแตกต่างกับไก่เพศผู้คือไม่มีขนสร้อยคอ ส่วนเปลือกไข่ มีสีนวล ให้ไข่ 130 – 180 ฟองต่อปี น้าหนักไก่ท่ีจาหน่าย ที่อายุ 3 เดือน เพศผู้ 1.2 – 1.4 กิโลกรัม, เพศเมีย 0.9 – 1.1 กิโลกรัม โตเต็มที่เมื่ออายุ 1 ปี เพศผู้ หนัก 2.8 – 3.5 กิโลกรัม, เพศเมีย หนัก 2.3 – 3 กิโล กรัม


ประมวลเนื้อหา


ประมวลเนื้อหา


ประมวลเนื้อหา การเตรียมสถานที่และคอกไก่ 1. สถานที่ตั้ง การเลือกทาเล การเลี่ยงควรอยูบ่ นที่ดอน น้าท่วมไม่ถึง 2. คอกไก่ มีหลังคากันแดดกันฝน สามารถป้องกัน ศัตรูตา่ งๆได้ 3. พื้นคอก อาจรองพืน้ ด้วยแกลบ ขีเ้ ลื่อย หรือฟางแห้ง 4. ในคอกไก่ควรมีรังไข่ให้เพียงพอ


ประมวลเนื้อหา ตัวอย่าง การสร้างโรงเรือนเลีย้ งไก่ 1. หลังคามุงสังกะสี 2. พืน้ ดิน 3. ฝาผนังบุด้วยตาข่าย 6 หุน 4. ฝาตีไม้ไผ่ ต้นทุนในการสร้างโรงเรือนขาด 4 x 8 เมตร ค่าใช้จ่าย 1. สังกะสี 7,000 บาท 2. ตะปู 200 บาท 3. ตาข่าย 1,200 บาท 4. ระบบน้า,ไฟ 600 บาท ค่าโรงเรือนรวมค่าแรงงาน 12,000 บาท การเตรียมโรงเรือนและอุปกรณ์การเลี้ยง 1. ใช้กล่องกระดาษหย่อนหลอดไฟ ขนาด 60 W 2. น้า 1 ถังต่อไก่ 50 ตัว 3. อาหาร 1 ถัง ต่อไก่ 25 ตัว


ประมวลเนื้อหา พื้นที่โรงเรือนสาหรับเลี้ยงไก่ ขนาดพื้นที่สาหรับเลี้ยงไก่ท่เี หมาะสม โดยพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร สามรถเลี้ยงไก่ได้ 15 ตัว โรงเรือนขนาด 4 X 8 เมตร สามารถเลี้ยงไก่ได้ 500 ตัว


ประมวลเนื้อหา การอนุบาลลูกไก่ ควรมีท่กี กมิดชิด โดยเฉพาะฤดูหนาว เพราะลูกไก่ยังเล็ก ต้องได้รับความอบอุน่ ที่เพียงพอ การสังเกต หากลูกไก่หนาวลูกไก่ จะนอนสุมกันอาจเยอะถึงทับกันตาย แต่ถ้าหากร้อนลูกไก่จะนอน แยกกระจายกัน และไม่ควรกกลูกไก่ให้หนาแน่นจนเกินไป


ประมวลเนื้อหา การให้อาหาร ควรให้น้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เพื่อกระตุ้นการอยากกินอาหาร เพราะให้เยอะไปไก่จะถ่ายมูลใส่อาหาร เกิดการปนเปื้อน ทาให้ เป็นที่มาของโรคติดต่อในไก่ได้ การให้น้า ควรให้น้าสะอาดผสมจุ ลินทรีย์ ในอัตราส่วน 2 ซี ซี. ต่ อ น้า 1 ลิตร


ประมวลเนื้อหา การทาวัคซีนการถ่ายพยาธิ ควรนาวัคซีน เข็ม ไซริงค์ มาทาการปรับอุณหภูมิ ให้เท่ากัน โดยแช่ในกระติกน้าแข็ง แล้วค่อยดูดตัวทาละลาย ใส่ในเชื้อวัคซีน เขย่าให้เข้ากัน ช่วงอายุ 7 วัน นิวคลาสเซิล หยอดตา 1-2 หยด ช่วงอายุ 14 วัน หลอดลม หยอดจมูก 1-2 หยด ช่วงอายุ 21 วัน ฝีดาษ แทงปีก ช่วงอายุ 3 เดือน อหิวาต์ ฉีดเข้ากล้ามเนือ้ การทาวัคซีนควรทาในเวลาเช้าและที่อากาศเย็น การถ่ายพยาธิ ควรถ่ายพยาธิทุก 3 เดือน สาหรับพ่อแม่พันธุ์ 1 เดือนสาหรับ ลูกไก่ ไก่รุ่น


ประมวลเนื้อหา การทาวัคซีน


ประมวลเนื้อหา การให้อาหาร 1. อาหารไก่แรกเกิดจนถึง อายุ 21 วัน ใช้อาหารไก่เล็ก โปรตีน 19 % 2. อาหารไก่รุ่นอายุ 21 วันขึ้นไป ใช้อาหารไก่รุ่น โปรตีน 17 % ผสมแกลบ 1:1 หมายเหตุ ใช้อาหารไก่เนื้อ อาหารธรรมชาติ ได้แก่ - ปลวก - ฝักข้าวโพด - กล้วยสุก - แมลงทุกชนิด - ข้าวเปลือก - หญ้าอ่อนสด - หนอนแมลงวันจากมูลหมู - มันสาปะหลัง - หยวกหมัก - กากมะพร้าว - กากถั่วเหลือง - ต้นกล้วย - เศษอาหารจากในครัว (ระวังอย่าให้มีถุงพลาสติก) - มันฝรั่ง (ให้ระวังสารเคมี ฆ่าแมลงจากแปลงปลูก)


ประมวลเนื้อหา การทาหยวกหมัก อุปกรณ์ 1. ถังดา และ มีดหั่นหยวก 2. ราแก่ , มะละกอ หรือผลไม้คัดทิง้ ในสวน (หากไม่มี ไม่ต้องใส่ก็ได้) 3. เกลือ และน้าตาล 4. จุลินทรีย์แลคโต วิธีการทาหยวกหมัก หั่นหยวกแล้วสับให้ละเอียด 30 กิโลกรัม , ผลไม้ , ผสมน้าตาล 0.5 กิโลกรัม , เกลือ 0.5 กิโลกรัม , จุลินทรีย์ แลคโต 500 cc. หมักในถังดาปิดทิ้งไว้ 3 – 4 วัน นาไปผสม อาหารให้ไก่กนิ โดยเฉพาะช่วงอากาศร้อนจะช่วยลดความเครียด ให้กับไก่ ประโยชน์ของหยวกหมัก 1. ช่วยลดความเครียด และการจิกกันเองของไก่พื้นเมือง 2. ช่วยให้ระบบย่อยดีข้ึน ไม่เกิดอาการท้องเสีย และลดกลิ่น แก๊สแอมโมเนียจากมูลไก่


ประมวลเนื้อหา อาหารไก่เล็ก 0-6 สัปดาห์ 1. ข้าวโพดบด 58.2 2. ราละเอียด 15 3. กากถั่วเหลือง 18.4 4. ปลาป่น 6 5. เปลือกหอย 0.4 6. ไดแคลเซียม 1 7. เกลือ 0.5 8. พรีมิกซ์ 0.5

กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม


ประมวลเนื้อหา สูตร1 อาหารไก่รนุ่ 6-23 สัปดาห์ 1. อาหารไก่รุ่น 2. รา 3. ปลายข้าวหรือข้าวโพดบด 4. เปลือกหอย และแร่ธาตุ

60 60 100 5

กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม


ประมวลเนื้อหา สูตร2 อาหารไก่รุ่น 6-23 สัปดาห์ 1. ข้าวโพดบด 53.7 2. ราละเอียด 25 3. ใบกระถิน 4 4. กากถั่วเหลือง 10.2 5. ปลาป่น 5 6. เปลือกหอย 0.6 7. ไดแคลเซียมฟอสเฟต 0.5 8. เกลือ 0.5 9. พรีมิกซ์ 0.5

กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม


ประมวลเนื้อหา สูตรอาหารไก่ใหญ่ สาหรับพ่อแม่พันธุ์ 23 สัปดาห์ขึ้นไป 1. ข้าวโพดบด 51 กิโลกรัม 2. ราละเอียด 20 กิโลกรัม 3. ใบกระถิน 5 กิโลกรัม 4. กากถั่วเหลือง 9.4 กิโลกรัม 5. ปลาป่น 6 กิโลกรัม 6. น้ามันพืช 1 กิโลกรัม 7. เปลือกหอย 6.8 กิโลกรัม 8. ดีแอล – เมทโธไซมิน 0.05 กิโลกรัม 9. เกลือ 0.5 กิโลกรัม 10. พรีมิกซ์ 0.25 กิโลกรัม


ประมวลเนื้อหา ข้อดีของการผลิตอาหารใช้เอง 1. ต้นทุนต่ากว่าอาหารสาเร็จรูปมาก 2. สามารถดัดแปลงหรือประยุกต์ใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น ได้หลากหลาย


ประมวลเนื้อหา ตารางการให้วัคซีนนิวคาสเซิล ชนิด

อายุ (วัน)

ปริมาตร

หยอดจมูก

1-7

1 – 2 หยด

ระยะคุ้มครอง (วัน) 21

หยอดจมูก

21

1 – 2 หยด

70

แทงปีก

90

1 ครั้ง

180


ประมวลเนื้อหา โรคที่สาคัญในไก่พื้นเมือง 1. โรคนิวคาสเซิล สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส ส่วนมากไก่ติดโรคทางการการ หายใจ น้า และอาหาร อาการ ถ้าเป็นชนิดรุนแรงไก่ตายทันทีเป็นจานวนมาก หาก เป็นเรื้อรังมักจะแสดงอาการทางระบบหายใจ ไอ จาม ซึม เบื่ออาหาร อุจจาระเหลวสีขาว-เขียว ไก่ที่หายป่วยแสดงอาการทางประสาท อัตรา การเป็นคอบิดเบี้ยว จะเป็นตัวอมโรคแพร่กระจาย โรคในฝูงได้ การรักษา ไม่มี การป้องกัน ทาวัคซีนป้องกันโรคตามกาหนด กาจัดสัตว์ปว่ ย และสัตว์ตาย โดยการเผาหรือฝัง


ประมวลเนื้อหา 2. โรคฝีดาษไก่ สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส โดยมียุงเป็นพาหะนาโรคนี้ อาการ ชนิดแห้ง เกิดตุ่มฝี ใบหน้า หงอน และที่ขา ชนิดเปียก จะพบตุ่มฝีบริเวณหลอดอาหาร เพดานปาก ริมฝีปาก ด้านใน ทาให้กนิ อาหารลาบาก การป้องกัน 1. ป้องกันยุงกัดลูกไก่ โดยนาไปขังในกรงกันมุ้งตาข่ายกันยุง จุดยากันยุง หรือเปิดไปตอนกลางคืน 2. ตัดตุ่มฝีออก ทายาทิงเจอร์ไอโอดีน 3. ทาวัคซีนป้องกันโรคฝีดาษไก่ โดยการปลูกฝีที่ปีกไก่ เมื่ออายุ 14วัน


ประมวลเนื้อหา 3. โรคหลอดลมอักเสบติดต่อ สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส สภาพที่อากาศเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ร่างกายสัตว์จะอ่อนแอแล้วเป็นโรค เช่น อากาศหนาวจัด ร้อนจัด หรือการเปลี่ยนฤดู กลิ่นมูล ไก่ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ทาให้ไก่เป็นโรคนีง้ ่าย อาการ ไก่ป่วยจะแสดงอาการเป็นหวัด อ้าปากหายใจ และ มีเสียงดัง กินอาหารน้อยลง ขนยุ่ง ในไก่ไข่ พบว่า ลักษณะของเปลือกไข่จะผิดปกติ โดยมีผิวขรุขระ การป้องกัน โรงเรือนควรมีผ้าใบสาหรับป้องกันลมโกรกและ ละอองฝน แต่ต้องระบายอากาศได้ดี เปลี่ยน วัสดุรองพื้นพร้อมพ่นยาฆ่าเชื้อ การทาวัคซีน ป้องกันโรคหลอดลมอักเสบ เมื่อลูกไก่อายุ 7-14 วัน และซ้าทุก 3เดือน


ประมวลเนื้อหา 4.โรคอหิวาต์ สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย พบในไก่และเป็ด อาการ ชนิดรุนแรง ไก่ปว่ ยและตายอย่างรวดเร็ว ชนิดเรื้อรัง ไก่จะแสดงอาการนอนหมอบ น้าไหลออกปาก หน้าคล้าท้องร่วงสีขาวเหลือง สามารถรักษาให้หายได้ ไก่ที่ตายเมื่อผ่าซากจะพบว่าผิวตับมีสีขาวซีด การป้องกัน 1. ทาความสะอาดภายในเล้าเป็นประจา 2. ละลายยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อในน้า ให้กนิ 3-5 วัน 3.ฉีดวัคซีนป้องกันโรคเมื่ออายุ 1 เดือนครึ่ง และซ้าทุก 3 เดือน การรักษา ให้ยาปฏิชวี นะเช่น ซัลฟาเมท แกลิโอมัยซิน คลอเตตร้าไซคลิน ละลายน้าให้กิน หรือฉีดยา ออกซี่เตตร้าไซคลินเข้ากล้ามเนือ้ ตัวละ 1-2 ซีซ.ี ติดต่อกัน 3 เดือน


ประมวลเนื้อหา ตารางการให้วัคซีนป้องกันโรคระบาดของไก่


ประมวลเนื้อหา ข้อเสนอแนะ ช่ ว ง เว ลาที่ ขา ยไ ก่ ไ ด้ รา คาสู ง คือ ช่ ว งเ ดื อ น พฤศจิ ก ายน – กรกฎาคม ฉะนั้ น เกษตรกรก็ ต้ อ งตั้ ง ใจ วางแผนเลี้ยงให้ขายไก่ในช่วงดังกล่าว ประโยชน์ที่ได้จากการเลี้ยงไก่ประดู่หางดา 1. ไก่เป็นอาหารโปรตีนในครัวเรือนตลอดปี 2. มูลไก่น้ามาทาปุย๋ ชีวภาพได้ดี 3. มูลไก่ใช้ผสมเป็นอาหารข้นให้วัวกินได้ 4. ไก่ชว่ ยกาจัดหญ้าและแมลงในดิน เช่นปลวก.,มด ,ตัวอ่อน แมลงศัตรูพืชในสวนได้ดี 5. ให้ความสุขทางใจ ผ่อนคลายแก่ผเู้ ลี้ยง (ผู้สูงอายุ จะมีความสุขมากขึน้ ถ้าได้ดูแลไก่ จะไม่เหงา และ ได้ออกกาลังกาย) 6. เลี้ยงไก่เป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้เสริมให้ครอบครัว


ประมวลเนื้อหา ตัวอย่าง การคานวณต้นทุนการขุนไก่พื้นเมืองประดู่หางดา ต้นทุนการผลิตต่อลูกไก่ 1 ตัว (ควรเลี้ยงอย่างน้อย 100 ตัว จึงจะคุม้ ค่าการลงทุนดูแล) ค่าลูกไก่ 35 บาท/ตัว ค่าอาหาร 50 บาท/ตัว (เทียบเท่าอาหารสาเร็จรูปทางการค้า น้าหนัก 1,300 กรัม) ค่าแรงงาน 2.34 บาท/ตัว ค่าน้า + ค่าไฟ 0.58 บาท/ตัว ค่าวัสดุอุปกรณ์ โรงเรือน 1.08 บาท/ตัว รวมต้นทุน = 89 บาทต่อตัว ที่น้าหนัก 1,300 กรัม ราคาขายไก่เป็นกิโลกรัมละ 120 บาท x 1.3 กิโลกรัม (ราคาท้องถิ่นทั่วไป) = 156 บาท ดังนั้น จะมีกาไร ตัวละ 156 – 89 = 67 บาท


ประมวลเนื้อหา

กรมเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ- http://www.dtn.go.th

มีบริการศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจประชาคมอาเซียนให้ ข้อมูลและคาปรึกษาแบบตัวต่อตัวเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนและ FTA ต่างๆ ของประเทศไทย

1. http://bitproject.phrae.mju.ac.th 2.http://welovethaiking.com 3. http://www.gotoknow.org/posts/469419 4. http://pvlo-lpg.dld.go.th/th/index.php 5. http://www.chiangraifocus.com 6.http://www.hongkhrai.com/highlight08.php 7. http://www.thainativechicken.com สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แหล่งอ้างอิง 1. http://bitproject.phrae.mju.ac.th 2. http://praduhangdumchiangmai1.blogspot.com/

3. http://pvlo-lpg.dld.go.th/th/index.php 4. http://welovethaiking.com 5. http://www.chiangraifocus.com 6. https://www.facebook.com/auttawit.j 7. http://www.gotoknow.org/posts/469419 8. http://www.hongkhrai.com/highlight08.php 9. http://www.kaisiam.com/index.php?mo=3&art=334841 10. http://www.thainativechicken.com


ลูกไก่

ยา/วัคซีน

อาหารสาเร็จรูป

เศษผัก/ผลไม้

หลอดไฟ

น้า


ไม้กวาด

ตู้ฟักแบบพอเพียง

ฟางข้าว

รางน้า/รางอาหารไก่

โรงเรือนไก่

ตระแกรง


แผนการถ่ายทอดองค์ความรู้ และรูปแบบกิจกรรมหรือนิทรรศการ 1) 2) 3) 4) 5)

จัดมุมส่งเสริมองค์ความรู้ ภายในกศน.ตาบล เผยแพร่บน Face Book ในกศน.อาเภอหางดง เผยแพร่บน Face Book กศน.ตาบลหนองแก๋ว ทา CD แจกให้กับผู้นาชุมชน และผู้ท่สี นใจ จัดอบรมโครงการการเลี้ยงไก่ประดู่หางดา และ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 6) จัดศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในสถานที่จริงและ สถานที่ท่ปี ระสบความสาเร็จอย่างต่อเนื่อง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.