คู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหาร

Page 1

โครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพ ในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

คู่มือแนวทางและโอกาสการเข้าสู่

ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า อ า ห า ร

ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์

1 . บ ริ ก า ร ส อ น ทา อ า ห า ร 2 . บ ริ ก า ร อ า ห า ร อ อ น ไ ล น์ 3 . บ ริ ก า ร จั ด เ ลี้ ย ง 4 . บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ล ก 5 . นั ก อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร งวดที่ 4 วันที่ 7 มีนาคม 2557


สารบัญ ห น้ า

ธุ ร กิ จ อ า ห า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ กั บ โ อ ก า ส ใ น ก า ร ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้

1-1

5 ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า อ า ห า ร ที่ มี ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ แ ล ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ

2-1

1 . ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร ส อ น ทา อ า ห า ร

2-2

2 . ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร อ า ห า ร อ อ น ไ ล น์

2-29

3 . ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร จั ด เ ลี้ ย ง

2-60

4 . ธุ ร กิ จ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ล ก

2-82

5 . นั ก อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร ภาคผนวก

2-109


ส่วนที่ 1 ธุ ร กิ จ อาหารสร้ า งสรรค์ กั บ โอกาสใน การสร้ า งรายได้ อ า ห า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส ถ า น ก า ร ณ์ แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ต ล า ด ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ห รื อ ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า อ า ห า ร


อาหารสร้างสรรค์ (Creative Foods)

อาหารสร้างสรรค์ (Creative Foods) คือ การสร้างคุณค่าให้กับอาหาร ที่มิใช่การสร้างคุณค่าทางโภชนาการ แต่เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนคุณค่าผลิตภัณฑ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บ ริโภคในมิติที่มากกว่าตัวอาหารที่บริโภค โดยตีความรวมถึง ความสุข รสนิยม ประเพณี วัฒนธรรมของผู้บริโภคอีกด้วย1 รูปแบบอาหารสร้างสรรค์

ที่มา: คณะผู้วิจัย, 25562.

รูปแบบของอาหารสร้างสรรค์แบ่งออกได้ 3 ระดับ3 ดังนี้ 1. การเติมรูปลักษณ์อาหาร (Cosmetic Change) หมายถึง การตกแต่งตัวอาหาร โดยนาไอเดียและ ความคิดสร้างสรรค์มาใช้ในตกแต่งสินค้าอาหารนั้นๆ ให้มีความสวยงาม สะดุดตาหรือดูแปลกใหม่ทันสมัยเพิ่ม มากขึ้น เพื่อกระตุ้นความต้องการในการบริโภคของผู้บริโภคและเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าอาหารนั้นๆ

1

สรุปจากสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, สถาบันอาหาร. ปรับปรุงจากรายงานอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. 3 ปรับปรุงจากโครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ระดับสาขา. 2

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-1


ตัวอย่างการเติมรูปลักษณ์สินค้าอาหาร (คัพเค้ก)

2. การเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหาร (Context Change) หมายถึง การเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหารให้มี บริบทหรือคุณสมบัติที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อสะดวกและง่ายต่อการบริโภค รวมถึงการเพิ่มเติมคุณสมบัติของ อาหาร การเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหารโดยกระบวนการแปรรูป เพื่อความสะดวกต่อการบริโภค เช่น การแปรรูป กะทิผงสาเร็จรูปหรือปลาร้าผงสาเร็จรูป การเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหารโดยกระบวนการแปรรูป เพื่อยืดอายุของ อาหาร เช่น บะจ่ างบรรจุกระป๋องที่มีอายุในการเก็บรักษาอาหารที่ยาวนานขึ้น หรือการเปลี่ยนรูปลักษณ์ อาหารเพื่อความสะดวกต่อบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างการเปลี่ยนรูปลักษณ์อาหาร

กะทิผงสาเร็จรูป กรไทย

บะจ่าง กระป๋อง

มะพร้าวเผาติดฝา โคโค่ อีซี่

3. การเพิ่มกระบวนทัศน์อาหาร (Concept Change) หมายถึง การเพิ่มมูลค่า ให้กับอาหารผ่าน กิจกรรมการให้บริการและการส่งมอบอาหารไปยังกลุ่มลูกค้าในรูปแบบต่างๆ เช่น ธุรกิจบริการร้านอาหารและ ภัตตาคาร การบริการจัดส่งอาหาร การบริการอาหารจัดเลี้ยง การบริการสอนทาอาหาร เป็นต้น โดยมูลค่าเพิ่ม ของสินค้าอาหารจะอยู่ในรูปแบบของการให้บริการมากกว่ามูลค่าเพิ่มจากตัวสินค้า เช่น ธุรกิจข้าวแกงออนไลน์ มายมัมเมด (My mommade)4 ร้านขายอาหารข้าวแกงทั่วไปสู่ร้านข้าวแกงออนไลน์ ให้บริการสั่งซื้อและ จาหน่ายข้าวแกงออนไลน์ เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าได้อย่างสอดคล้องกับพฤติกรรมคนรุ่นใหม่ที่เป็น กลุ่มคนสังคมออนไลน์

4

ข้าวแกงออนไลน์ มายมัมเมด (My mommade) เข้าถึงได้ที่ http://www.mymommade.in.th.

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-2


ตัวอย่างการเพิ่มกระบวนทัศน์ในธุรกิจข้าวแกงออนไลน์ “มายมัมเมด”

ร้านข้าวแกง

ธุรกิจข้าวแกงออนไลน์

หรื อโฮมเฟรชไฮโดรฟาร์ ม 5 ธุร กิจ ร้านอาหารเพื่อสุขภาพและฟาร์มผักสลั ดไฮโดรโพนิคส์ (Hydrofarm) ที่ เริ่มต้นจากธุรกิจปลูกและจาหน่ายผักสดไฮโดรโพนิกส์ และต่อมาได้พัฒนาธุรกิจเข้าสู่บริการร้านอาหารเพื่อ สุขภาพ โดยใช้วัตถุดิบหลักจากผักไฮโดรโพนิคส์ในฟาร์มมาปรุงเป็นอาหารเพื่อให้บริการแก่ลูกค้า เป็นต้น ตัวอย่างการเพิ่มกระบวนทัศน์ในธุรกิจปลูกผักไอโดรโพนิกส์สู่ร้านอาหารโฮมเฟรชไฮโดรฟาร์ม6

อย่างไรก็ตาม นอกจากการเพิ่มกระบวนการให้บริการแล้ว ยังรวมถึงการสร้างมูลค้าเพิ่มให้กับสินค้า อาหาร จากการให้ บ ริ การอาหารในรู ป แบบเดิ มแต่ ส ามารถตอบสนองความต้ องการทางด้ า นสั ง คมและ สุนทรียภาพที่ได้รับจากการบริโภคอาหาร เช่น ธุรกิจ คอมมูนิตี้มอลล์ที่มีการรวบรวมร้านอาหาร ภัตตาคาร คาเฟ่ต์หรือบาร์เข้าไว้ในคอมมูนิตี้มอลล์ เพื่อเพิ่มทางเลือกในการบริโภคของกลุ่มลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น

5 6

โฮมเฟรชไฮโดรฟาร์ม เข้าถึงได้ที่ http://www.homefreshhydrofarm.com. รูปภาพจาก Eat & Travel Diary by ปลาหมึกน้อยกับนายโอเลี้ยง

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-3


ตัวอย่างธุรกิจคอมมูนิตี้มอลล์ “HAKO Town” เมืองอาหารญี่ปุ่น7

ตัวอย่างเช่น Hako Town แหล่งรวมอาหารญี่ปุ่นที่จาลองบรรยากาศเหมือนหมู่บ้านญี่ปุ่นที่เต็มไปด้วย ร้านอาหารหลากหลายชนิด ภายในร้านแบ่งออกเป็นล็อกๆ โดยใช้โครงสร้างของตู้คอนเทนเนอร์ คอนเซ็ปต์ ของที่นี่ จัดทาให้สอดคล้องกับชื่อร้าน ที่แปลว่า กล่อง ซึ่งแต่ละโซนจะขายอาหารเฉพาะอย่าง เช่น ร้านเกี๊ยว ซ่า ร้านราเมน ข้าวหน้าไก่ และร้านซูชิ เป็นต้น

7

Hako Town เข้าถึงได้ที่ https://facebook.com/hakotown.

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-4


สถานการณ์และแนวโน้มการบริโภคอาหาร

สถานการณ์การบริโภคในประเทศ การขยายตัวของสังคมเมืองส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคที่มี ความต้องการบริการด้านอาหารเพิ่มมากขึ้น ส่วนหนึ่งมาจาก รูปแบบการใช้ชีวิตของคนรุ่นใหม่ที่มีความเร่งรีบเพิ่มมากขึ้น ขนาดครอบครัวที่เล็กลง และต้องการความสะดวกสบายใน การบริโภคเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลให้อุตสาหกรรมอาหารในภาค บริ ก ารมี อั ต ราการขนายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว โดยในปี 2554 อุตสาหกรรมบริการอาหารของไทยมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมร้อยละ 26.3 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศ8 โดยแบ่งเป็นสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศจากวิสาหกิจขนาดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 54.2 และ เป็นมูลค่ารวมจากวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) คิดเป็นร้อยละ 45.8 ธุรกิจบริการอาหารของประเทศไทยที่สร้างรายได้ให้กับประเทศมากเป็นอันดับ 1 คือ ธุรกิจบริการโรงแรมและ ภัตตาคาร มีมูลค่ารวม 482,122.60 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 37.9 9 ของมูลค่าการค้าในภาค บริการของประเทศ โดยผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการในกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ปัจจุบันธุรกิจบริการอาหารของไทยมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มมากขึ้น และมีรูปแบบการให้บริการที่หลากหลาย มากขึ้น และหากจะจาแนกธุรกิจบริการอาหารตามลักษณะการให้บริการจะพบว่า ธุรกิจบริการอาหารของไทย สามารถแบ่งออกได้ 6 ประเภท10 คือ 1. ร้านคาเฟ่และบาร์ 11 (Café/Bar) เป็นธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับกาแฟที่มีลักษณะร้านแบบคาเฟ่ โดยทั่วไปจะให้บริการเครื่องดื่มประเภทกาแฟ ชาและช๊อกโกแลต และอาจมีอาหารว่างประเภทซุป แซนวิช ขนมอบและขนมหวาน เช่น เค้กหรือคุ๊กกี้ไว้บริการด้วย ร้านคาเฟ่และบาร์มีรูปแบบการให้บริการ 2 ประเภท

8

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประมวลโดย: สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2554. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อ้างโดยสานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว). 10 อุตสาหกรรมสาร วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ฉบับเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2556. 11 สืบค้นออนไลน์ http://th.wikipedia.org/wiki. 9

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-5


คือ แบบมีโ ต๊ะนั่งและแบบไม่มีโต๊ะนั่ง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับรูปแบบและสไตล์การจัดตกแต่งร้านตามรสนิยมของ ผู้ประกอบการ 2. ร้านบริการจัดส่งอาหารถึงบ้าน (Delivery) เป็นธุรกิจให้บริการจัดส่งอาหารแก่ลูกค้าถึงบ้าน การ ให้บริการส่งอาหารเริ่มเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายตั้งแต่ปี 2550 ซึ่งปัจจุบันสามารถพบเห็นได้ในรูปแบบของ ร้านอาหารปิ่นโต ร้านอาหารตามสั่ง/อาหารจานเดียว หรืออาหารอื่นๆ เช่น อาหารญี่ปุ่น อาหารเวียดนาม ที่ ให้ บริ การส่ งถึงบ้าน และบางส่ วนจะเป็ น ธุรกิจร้านอาหารขนาดใหญ่ ที่มีเครือข่ายการให้บริการส่งอาหาร (Chained Home Delivery) โดยส่วนใหญ่จะมีสาขากระจายอยู่ตามห้างสรรพสินค้าหรือแหล่งชุมชน 3. ร้านอาหารที่ให้บริการเต็มรูปแบบ (Full-Service) หรือภัตตาคาร ปัจจุบันมีผู้ประกอบการเพียง 61,760 รายเท่านั้นที่ขึ้นทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยแบ่งเป็นกลุ่มธุรกิจภัตตาคาร ร้านขายอาหาร และเครื่องดื่ม จานวน 6,933 ราย การจดทะเบียนในรูปแบบบริษัทจากัด 6,002 ราย และเป็นการจดทะเบียน ในรูปแบบอื่นๆ ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลฯลฯ จานวน 931 ราย12 4. ร้านอาหารจานด่วน13 (Fast Food) หมายถึง อาหารจานด่วนที่หาง่าย รวดเร็ว รับประทานได้ ทัน ที เป็ น อาหารที่ ทางาน โดยมี ก ารเตรี ย มส่ ว นประกอบในการปรุ ง ไว้ เรี ย บร้ อ ย ในส่ ว นของคุณ ค่ าทาง โภชนาการอาจจะมีครบหรือไม่ครบขึ้นอยู่กับอาหารแต่ละชนิด ซึ่งอาหารประเภทที่ ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ มากนักคือ อาหารประเภทจังค์ฟู้ด (Junk Food) เช่น เบอร์เกอร์ ไก่ทอด มันฝรั่งทอด ฮอทดอก เป็นต้น 5. ร้านอาหารเล็กๆ ข้างทาง14 (Street Stalls) คือ ร้านอาหารริมทางหรือรถเข็นริมทาง ซึ่งเป็น ร้านอาหารขนาดเล็กหรือขนาดกลาง อาจเป็นแผนร้านหรือรถเข็น ซึ่งมักตั้งอยู่บริเวณแหล่งชิมชน เน้นการ จาหน่ายอาหารปรุงสาเร็จ ราคาไม่แพง และยังเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวที่ต้องการสั มผัสวัฒนธรรมการกิน ของท้องถิ่นนั้นๆ 6. ร้านอาหารแบบบริการตนเอง 15 (Self-Service Cafeterias) คือ ร้านอาหารที่ลูกค้าจะต้อง บริการตนเองส่วนหนึ่งและมีพนักงานบริการอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งลูกค้าจะบริการตนเองในเรื่องของการเดินไปตัก หรือสั่งอาหารเอง เลือกหยิบเครื่องดื่มเอง การเดินไปชาระเงินที่แคชเชียร์เอง ส่วนพนักงานจะมีหน้าที่ในการ

12

อุตสาหกรรมสาร วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ฉบับเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2556. อาหารจานด่วน ฟาสต์ฟู้ด (Fast Food) ภัยใกล้ตัวสาหรับคนรุ่นใหม่, Magazine Trendyday (2012). 14 สืบค้นออนไลน์ http://www.ryt9.com/s/exim/1452109. 15 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการจัดการและควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม, โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฎ สวนดุสิต (2554). 13

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-6


เก็บจานหรือแก้วน้าที่ใช้ไปแล้ว ทาความสะอาดโต๊ะและอานวยความสะดวกเล็กๆ น้อย โดยรูปแบบการบริการ ที่เป็นสากลมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ บริการคาเฟ่เทอเรีย (Cafeteria) และบริการบุฟเฟต์ (Buffet) โดยในปี 2556 ที่ผ่านมาคาดว่าอุตสาหกรรมอาหารในภาคบริการของประเทศไทยน่าจะมีมูล ค่ารวมกว่า 669,000 ล้ า นบาท โดยแบ่ ง เป็ น ตลาดธุ ร กิ จ บริ ก ารด้ า นอาหารทั่ ว ไปที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น เครื อ ข่ า ยธุ ร กิ จ อาหาร (Independent Consumer Foodservice) มูลค่า 488,370 ล้านบาท และเป็นมูลค่าตลาดธุรกิจบริการด้าน อาหารที่เป็นเครือข่ายธุรกิจอาหาร (Food Chain Restaurant) มูลค่า 180,630 ล้านบาท16

แนวโน้มตลาดและผู้บริโภค เมื่อกระแสสังคมโลกและรูปแบบการใช้ชีวิตของคนรุ่นใหม่มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไป ผู้ประกอบการธุรกิจ อาหารต่างต้องปรับตัวและปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ประชาชนส่วนใหญ่ใช้เวลาไปกับภารกิจประจาวันที่มีข้อจากัดทางด้านเวลาไม่ว่าจะ เป็นการเรียนหรือการทางาน การพึ่งพาอาหารนอกบ้านจึงเป็นสิ่งที่หลายครอบครัวหลีกเลี่ยงไม่ได้ รูปแบบการ ให้บริการอาหารประเภทต่างๆ ที่เน้นความสะดวกสบายและประหยัดเวลาจึงเข้ามามีบทบาทกับสังคมไทยเพิ่ม มากขึ้น รวมถึงการบริโภคอาหารนอกบ้ านและการบริโภคอาหารส าเร็จรูป จึงกลายเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง สาหรับสังคมไทยไปโดยปริยาย ซึ่งนับเป็นโอกาสดีสาหรับผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่สนใจจะเข้าสู่อุตสาหกรรม อาหารโดยเฉพาะในส่วนของภาคบริการ อย่างไรก็ตาม สาหรับ ธุรกิจบริการเกี่ยวกับอาหารในประเทศไทย สามารถแบ่งตามกลุ่มผู้ให้บริการได้ 2 กลุ่ม 17 คือ ธุรกิจบริการด้านอาหารทั่วไปที่ไม่ได้เป็นเครือข่ายธุ รกิจ อาหาร (Independent Consumer Foodservice) และธุรกิจบริการด้านอาหารที่เป็นเครือข่ายธุรกิจอาหาร (Chained Consumer Foodservice) มีการคาดการณ์ว่าในปี 2556 ธุรกิจบริการเกี่ยวกับอาหารจะมีมูลค่า สูงถึง 669,000 ล้านบาท เป็นมูลค่าตลาดของธุรกิจบริการด้านอาหารทั่วไป 488,370 ล้านบาท และเป็นมูลค่า ตลาดเครือข่ายธุรกิจอาหารเพียง 180,630 ล้านบาท18 โดยธุรกิจ บริการอาหารทั่วไปที่ไม่ได้เป็นเครือข่ายธุรกิจอาหาร (Chained Consumer Foodservice) จากข้อมูลดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า ธุ ร กิ จ บริ ก ารอาหารของผู้ ป ระกอบการทั่ ว ไปมี ส่ ว นแบ่ ง ทาง การตลาดสูงถึงร้ อยละ 73 ของมูลค่าธุรกิจบริการอาหาร หรือ อาจกล่าวได้ว่าธุรกิจบริการอาหารทั่วไปเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพ และมีโอกาสในการสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการไทยอีกเป็น จานวนมาก 16

เชนร้านอาหารเติบโต ...อาหารสัญชาติเอเชียยังเป็นดาวรุ่ง (2556), ศูนย์วิจยั กสิกรไทย จากัด. ศูนย์วิจยั กสิกรไทย บทวิเคราะห์ “เชนร้านอาหารเติบโต อาหารสัญชาติเอเชียยังคงเป็นดาวรุ่ง”, กรกฎาคม 2556. 18 เชนรานอาหารเติบโต อาหารสัญชาติเอเซียยังเป็นดาวรุ่ง, ศูนยวิจยั กสิกรไทย (2013). 17

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-7


ปัจจุบันความต้องการในการบริโภคอาหารของผู้บริโภคมีความต้องการมากกว่าการเป็น 1 ในปัจจัย 4 ที่มนุษย์ ต้องบริโภคเพื่อความอยู่รอด โดยส่วนใหญ่มักเลือกบริโภคอาหารที่ตามสุนทรียภาพภายใต้ความต้องการด้าน อื่นๆ เช่น เพื่อสุขภาพ เพื่อควบคุมน้าหนักหรือเพื่อ การสร้างอัตลักษณ์เฉพาะตัว ให้กับตนเอง ความต้องการ บริโภคอาหารที่เปลี่ยนแปลงไปส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากระบบเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่าง รวดเร็ว ผู้บริโภคมีรายได้สูงขึ้นส่งผลต่อความต้องการอาหารที่เพิ่มมากขึ้นและมีคุณภาพที่ดีมากขึ้น รวมถึง ความต้องการด้านการบริการในรูปแบบต่างๆ ที่ทันสมัยและสอดรับกับรูปแบบการใช้ชีวิตของแต่ละบุคคลมาก ขึ้น นอกจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคแล้ว การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ผู้บริโภคยังมีสาเหตุมาจากปัจจัยที่สาคัญอื่นๆ อีก อาทิเช่น 1. การก้าวเข้าสู่สังคมคนเมือง (Urbanization) การเป็นสังคมคนเมืองที่มีรูปแบบการใช้ชีวิตแบบ คนทางาน ต้องการความสะดวกรวดเร็วในการใช้ชีวิต เนื่องจากข้อจากัดด้านเวลา ดังนั้น รูปแบบการบริโภค สินค้าอาหารของสังคมคนเมือง มักต้องการความสะดวกสบายและง่ายต่อการเข้าถึงอาหารและบริการอาหาร ในรูปแบบต่างๆ เช่น ความต้องการอาหารสาเร็จรูปหรือบริการอาหารประเภทคอมมูนิตี้มอลล์ เป็นต้น 2. รายได้ (Income) เมือประชากรมีรายได้มากขึ้น ย่อมมีความต้องการบริโภคอาหารที่มากกว่าการ บริโภคเพื่อการดารงชีวิต เช่น ต้องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพหรืออาหารออแกนิกส์ หรือการบริการอาหาร ที่ตรงกับไลฟ์สไตล์ของตัวเอง เป็นต้น 3. สภาพครอบครัวเดี่ยว ขนาดของครอบครัวที่เล็กลงหรือการครองชีวิต โสดที่เพิ่มมากขึ้นของคนยุค ใหม่ ส่งผลต่อการเลือกซื้อและบริโภคสินค้าประเภทอาหารมากขึ้น การออกแบบรูปลักษณ์ ขนาดและปริมาณ ของอาหารให้พอดีกับขนาดของครอบครัวยุคใหม่หรือคนโสด นับเป็นการสร้างโอกาสทางการตลาดที่เข้าถึง ลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. กระแสรักสุขภาพ (Organic Lifestyle) วิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปส่งผลให้ผู้บริโภค หันมาสนใจสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (Wellness) มากขึ้น ดังนั้น อาหารเพื่อสุขภาพจึงเป็นธุรกิจที่มี แนวโน้มเติบโตมากยิ่งขึ้น 5. สังคมคนสูงอายุ (Aging Society) ความก้าวหน้าทางการแพทย์ และการเข้าถึงความรู้ด้าน สุขภาพ ทาให้คนมีอายุยืนขึ้น ส่งผลต่อความต้องการด้านอาหารที่ดีมีคุณภาพและเหมาะกับช่วงวัย ในอนาคต อันใกล้ประเทศไทยจะเข้าสู่ประเทศผู้สูงอายุ ดังนั้น อาหารสาหรับผู้สูงอายุ หรือการบริการด้านอาหารเพื่อ ผู้สูงอายุ จึงเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่มีแนวโน้มเติบโตเพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-8


6. ความเท่าเทียมทางสังคมของผู้หญิง (Gender Equality) การที่ผู้หญิงได้รับการศึกษาสูงขึ้นทา ให้ มีโ อกาสก้าวหน้ าในอาชีพการงานดีขึ้น และรายได้สู งขึ้น ดังนั้น สิ นค้าอาหารและบริการด้านอาหารที่ ตอบสนองไลฟ์สไตล์ของผู้หญิงวัยทางาน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ หญิงที่มีกาลังซื้อจึงมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มมากขึ้น เช่น สินค้าอาหารเพื่อสุขภาพ เป็นต้น 7. การเพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการรายใหม่ ประเทศไทยเป็นแหล่งดึงดูดเครือข่ายธุรกิจอาหารที่เป็น ของต่างชาติให้เข้ามาประกอบธุรกิจอาหาร เนื่องจากผู้บริโภคคนไทยโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นและวัยทางานมี ค่านิ ยมในการบริโ ภคธุร กิจ บริ การอาหารเครือข่ายและอาหารจานด่วน อีกทั้งประเทศยังเป็นประเทศที่มี นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศเป็นจานวนมาก ดังนั้น ผู้ประกอบการต่างชาติจึงนิยมเข้ามา ประกอบธุร กิจเครือข่ายอาหาร เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ บริโ ภคที่เป็นคนไทย และนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยอีกด้วย 8. อิทธิพลเครือข่ายสังคมออนไลน์หรือโซเซียลเน็ตเวิรค์ (Social Media) กระแสความนิยมใน การใช้โซเชียลเน็ตเวิรค์ของคนรุ่นใหม่ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและความสะดวกในการเข้าถึงอาหารและการ ให้บริการอาหารรูปแบบต่างๆ ผู้ผลิตและผู้ให้บริการอาหารสามารถนาเสนอรูปลักษณ์และบริการอาหารของ ตนเองผ่านสังคมออนไลน์ได้อย่างรวดเร็ว การนาเสนอโปรโมชั่นต่างๆ การให้ส่วนลด การแนะนาเมนูใหม่ หรือ สถานที่ตั้งร้านแห่งใหม่ สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็วและในวงกว้าง อีกทั้งโซเซียลเน็ตเวิรค์ยังทา หน้าที่เป็นสื่อทางการตลาดและการประชาสัมพันธ์ให้กับธุรกิจได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในขณะที่ ต้นทุนต่ากว่าการใช้สื่อประเภทอื่นๆ อีกด้วย

การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย PESTLE Analysis จากการวิเคราะห์ PESTLE พบว่า ปั จจั ย ต่างๆ ที่ส่ งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ของไทย สามารถสรุปได้ดังนี้  นโยบายภาครัฐ มีการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์สร้างมูลค่าเพิ่มอุตสาหกรรม อาหารไทยสู่เป้าหมายครัวไทยสู่ครัวโลก 19 โดยตั้งเป้าพัฒนาให้ไทยเป็นศูนย์ กลางอาหารแช่แข็ง ของโลกและเป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปครบวงจร หรือโครงการหุบเขาอาหาร (National Food Valley) เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอย่าง เป็นระบบ20

19 20

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (2556). โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปครบวงจร, กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-9


 เศรษฐกิจในประเทศ ในปี 2556 ธุรกิจบริการอาหารจะมีอัตราการเติบโตสูงกว่าอัตราการเติบโต เฉลี่ย อันเนื่องมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารนอกบ้าน เพิ่มมากขึ้น โดยร้านอาหารที่มีอัตราการเติบโตมากที่สุด คือ ร้านอาหารญี่ปุ่น หรือมีอัตราการ ขยายตัวถึงร้อยละ 2021  เศรษฐกิจโลก เริ่มฟื้นตัว กาลังซื้อจากกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่นเริ่ม กลับมีมากขึ้น  การรวมกลุ่มประชาคมอาเซียน ส่งผลให้อุตสาหกรรมอาหารของไทยมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่ม สูงขึ้น จากการเข้ามาลงทุนของต่างชาติ ทั้งนักลงทุนในและนอกภูมิภาคอาเซียน ประเทศไทยมี ศักยภาพและปัจจัยดึงดูดการลงทุนที่เหนือกว่าประเทศคู่แข่งหลายด้าน อาทิ ทาเลที่ตั้งเหมาะสม ตลาดที่มีขนาดใหญ่ กฎระเบียบรวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานอยู่ในเกณฑ์ดี ปัจจัยการผลิตมีศักยภาพ (แรงงาน วัตถุดิบ อุตสาหกรรมสนับสนุน)  ปัจจัยทางสังคม ประเทศไทยกาลังก้าวเข้ าสู่สังคมผู้สูงอายุ สินค้าอาหารสาหรับคนสูงอายุจะมี บทบาทเพิ่มมากขึ้น  ลูกค้า มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอย่างรวดเร็ว ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายมีรายได้ดีขึ้น มี กาลังซื้อมากขึ้นและนิยมบริโภคอาหารนอกบ้านเพิ่มมากขึ้น  ผู้ผลิต ในอุตสาหกรรมแปรรูปผู้ ประกอบการส่ วนใหญ่เป็นกลุ่ม SME ที่มีความรู้ ทักษะ และ ความช านาญในการแปรรู ป สิ นค้า แต่มักประสบปั ญหาการขาดแคลนแรงงานระดับล่ าง ซึ่ ง ปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารขาดแคลนแรงงานมากกว่า 50,000 คน  คู่แข่ง ประเทศเพื่อนบ้านมีต้นทุนการผลิตที่ต่ากว่า เช่ น CLMV22 มีต้นทุนค่าจ้างแรงงานถูกกว่า และมีวัตถุดิบเพื่อการผลิตมากกว่า เช่น เมียนมาร์ และเวียดนาม เป็นต้น และการมีวัตถุดิบที่ เหมือนกันส่งผลให้การแข่งขันมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น  เทคโนโลยี ผู้ประกอบการไทยยังขาดเทคโนโลยีและเครื่องจักรสมัยใหม่ เนื่องจากการนาเข้า เครือ่ งจักรและเทคโนโลยีต้องใช้เงินลงทุนสูงมาก  กฎหมาย ขั้น ตอนในการขอการรับรองมาตรฐานต่างๆ มีความล่ าช้าต้องใช้ระยะเวลาในการ ดาเนินการนาน อาจก่อให้เกิดการเสียโอกาสในการดาเนินธุรกิจ ประเทศคู่ค้าบางประเทศมีการ ใช้มาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีมากขึ้น เช่น มาเลเซี ยมีข้อจากัดด้านอาหารประเภท อาหารฮาลาล  สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศส่งผลให้ผลิตผลทางการเกษตรซึ่งเป็นวัตถุดิบพื้นฐานมี จานวนลดน้อยลง และอาจส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ 21

สถาบันอาหาร 2556. CLMV คืออักษรย่อของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย C หมายถึงประเทศกัมพูชา L หมายถึงประเทศสปป.ลาว M หมายถึงประเทศ สหภาพเมียนมาร์ และ V หมายถึงประเทศเวียดนาม 22

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-10


การวิเคราะห์ PESTLE อุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์

ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.

จากการวิเคราะห์แนวโน้มการบริโภคในปัจจุบัน ธุรกิจอาหารและให้ธุรกิจบริการอาหารเป็นธุรกิจที่มีแนวโน้ม การเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนหนึ่งมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ และพฤติกรรมการบริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไป รูปแบบของการใช้ชีวิตสังคมเมือง ความเร่งรี บในการใช้ชีวิตประจาวัน และการปรับขึ้น ค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้นส่งผลให้คนไทยมีกาลังการซื้อมากขึ้น และเลือกรับประทานอาหารนอกบ้านเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งผู้บริโภคยังสามารถเข้าถึงธุรกิจอาหารได้มากขึ้น เช่น การขยายตัวของห้างสรรพสินค้าที่เป็นที่ตั้งของ ธุรกิจอาหาร การเกิดขึ้นของคอมมูนิตี้มอลล์หรือศูนย์รวมร้านอาหาร รวมถึงการทาธุรกิจอาหารออนไลน์ที่ สามารถในการเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว การเติบ โตของธุร กิจบริการอาหารส่ วนหนึ่งมาจากการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจและการเปลี่ ยนแปลง พฤติ ก รรมการบริ โ ภคอาหารของผู้ บ ริ โ ภคในปั จ จุ บั น ที่ ซึ ม ซั บ วั ฒ นธรรมทางสั ง คมของชาวเอเซี ย ที่ ใ ห้ ความสาคัญกับอาหารมื้อเย็นและมื้อค่ากับบุคคลในครอบครัว และยังเป็นช่วงเวลาของการพบปะเพื่อนฝูง และ ยั งใช้เป็ น สถานที่ส าหรั บ การเจรจาทางธุ ร กิจบนโต๊ะ อาหารได้อีก ด้ว ย ดังนั้น จะเห็ นได้ว่า พฤติกรรมของ ผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปส่งผลให้ธุรกิจร้านอาหารต่างๆ ต่างปรับตัวและปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างครบครัน ในขณะที่ผู้บริโภคเองก็แสวงหารูปแบบการ ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-11


บริการร้านอาหารแบบใหม่ที่ส ามารถตอบสนองความต้องการของตนเองได้มากกว่าความต้องการในการ บริโภคอาหารแต่ละมื้อเท่านั้น

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพหรือธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหาร

ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพในการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ประกอบไปด้วยปัจจัยหลักที่สาคัญ 6 ปัจจัย ดังนี้23 1. ทักษะผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์นอกจากการมีแนวคิดสร้างสรรค์ ไอเดียแปลกใหม่ที่จะพัฒนา ต่อยอดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสิ นค้าและบริการแล้ว ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมีทักษะด้านการบริหาร จัดการธุรกิจอื่นๆ ด้วย เช่น การบริหารการตลาด การบริหารต้นทุน การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น เนื่องจาก ผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นประกอบธุรกิจโดยคานึงถึงการขายสินค้าและบริการ โดย ไม่ได้คานึงถึงขั้นตอนการทาการตลาดและการทาประชาสัมพันธ์ เพื่อการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า ดังนั้น จะเห็นได้ว่า มีผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์เป็นจานวนมาก ที่มีแนวคิดและไอเดียสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าและบริการ แต่ไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ และส่งผลให้ต้องปิดกิจการไปในที่สุด

2. ทักษะแรงงาน แรงงานในธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหาร ที่ทาหน้าที่ปรุงอาหาร มีความรู้ด้านคุณค่าทางโภชนาการ อาหาร และมีประสบการณ์ในการปรุงหรือประกอบอาหารประเภทต่างๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการ ตกแต่งและจัดวางอาหารและมีใจรักในการให้บริการ สาหรับแรงงานที่ทาหน้าที่ให้บริการอาหาร ควรเป็นผู้มีใจ รักในการให้บริการและมีความสามารถทางด้านภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ จีน หรือญี่ปุ่น เป็นต้น 3. การเลือกใช้วัตถุดิบ การเลือกสรรวัตถุดิบที่นามาผลิตอาหารมีความสดใหม่ มีคุณภาพและได้มาตรฐาน เหมาะสมกับ อาหารประเภทต่างๆ และการเลือกใช้วัตถุดิบภายในประเทศหรือวัตถุดิบตามฤดูกาล เพื่อลดต้นทุนของสินค้า 23

การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร เมื่อวั นที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 09.00–12.00 น. ณ ห้องกรุงเทพ 4 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-12


อาหาร ตลอดจนขีดความสามารถในการประยุกต์ใช้วัตถุดิบต่างๆ เพื่อทดแทนการขาดแคลนวัตถุดิบในบาง ช่วงเวลา 4. การใช้ความคิดสร้างสรรค์ การสร้างความแตกต่างให้กับตัวสินค้า เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในตัวสินค้าและบริการอาหาร ทั้งในแง่ ของการกระตุ้นความต้องการในการบริโภคสินค้าอาหาร และเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค 5. เทคโนโลยี การเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสินค้าและบริการอาหาร ที่สามารถอานวยความสะดวกในการ ผลิตและการให้บริการได้อย่างคุ้มค่า เนื่องจากการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือหรือเครื่องจักรต่างๆ ล้วนส่งผลต่อ ต้นทุนการผลิตและบริการ

6. กลุ่มลูกค้าและตลาด เข้าใจถึงพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีความหลากหลายมากขึ้น กล้าที่จะทดลองบริโภคอาหารและ ใช้บริการที่มีความแปลกใหม่ และยินดีที่จ่ายค่าอาหาร/บริการที่สูงขึ้น หากสินค้าหรือบริการนั้น ๆ สามารถตอบสนองความต้องการได้มากกว่า ผู้บริโภคยุคใหม่นิยมใช้สื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ ซึ่ง ส่งผลต่อการรับรู้ในธุรกิจอาหารสร้างสรรค์ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น สินค้าและบริการอาหารสามารถเข้าถึง กลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้ภายในระยะเวลาอันสั้น และยังช่วยทาหน้าที่ทางการตลาดและประชาสัมพันธ์ ให้กับธุรกิจได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ในขณะที่การใช้สื่อสังคมออนไลน์ยังมีต้นทุนต่ากว่าการประชาสัมพัน ธ์ และทาการตลาดในรูปแบบอื่นๆ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงกระบวนการในการดาเนินธุรกิจ จะเห็นว่าทั้ง 6 ปัจจัยข้างต้นครอบคลุม กระบวนการทางธุรกิจตามห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจ ดังนี้

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-13


ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในอุตสาหรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหาร แยกตามห่วงโซ่คุณค่า

ที่มา: คณะผู้วิจัย, 2556.

ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพในการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมสาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร ทั้ง 6 ปัจจัยจะส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพในระดับที่แตกต่างกันสามารถสรุปได้ ดังนี้24 วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพ หรือธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหาร ปัจจัยที่ส่งผล ปัจจัยบวก (+) ปัจจัยลบ (-) ต่อการประกอบอาชีพ หรือโอกาสทางธุรกิจ หรือข้อจากัดทางธุรกิจ 1. ทักษะผู้ประกอบการ  ผู้ประกอบการรุ่นใหม่มีความคิดสร้างสรรค์  ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังขาดทักษะด้าน และไอเดียในการนาเสนอสินค้าและบริการ การทาการตลาด การบริหารจัดการ ใหม่อย่างต่อเนื่อง ต้นทุน และการสร้างแบรนด์สินค้าของ ตนเอง  ผู้ประกอบการไทยส่วนใหญ่มีความรู้ความ ชานาญในการนาวัตถุดิบต่างๆ มาใช้ในการ ผลิต เพื่อต่อยอดและสร้างมูลค่าเพิ่ม  การสนับสนุนการประกอบธุรกิจจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สสว. สถาบัน อาหาร และสบร. เป็นต้น 2. ทักษะแรงงาน  แรงงานไทยมีความรู้ความชานาญในการ  ธุรกิจขนาดเล็กมีอัตราหมุนเวียนแรงงาน ผลิตอาหารจากวัตถุดิบในประเทศ มีอัตราการเข้า-ออกงานสูง ทาให้ 24

การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาอาหาร เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 09.00–12.00 น. ณ ห้องกรุงเทพ 4 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-14


ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการประกอบอาชีพ  

3. การเลือกใช้วัตถุดิบ

 

4. การใช้ความคิด สร้างสรรค์

 

5. เทคโนโลยี

ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ แรงงานไทยมีใจรักด้านการบริการ ส่งผลดี ต่อธุรกิจในภาคบริการอาหาร เด็กรุ่นใหม่สนใจที่จะเข้าศึกษาต่อใน อุตสาหกรรมอาหารเพิ่มมากขึ้น ส่งผลดีต่อ จานวนแรงงานในอนาคต ประเทศไทยมีวัตถุดิบเพื่อการผลิตอาหาร เป็นจานวนมาก อาทิ เนื้อสัตว์ ผักและ ผลไม้ ฯลฯ วัตถุดิบในท้องถิ่นของไทยยังมีราคาต่ากว่า เมื่อเทียบกับการนาเข้าวัตถุดิบจาก ต่างประเทศ เช่น ผักและผลไม้ไทย ฯลฯ วัตถุดิบของไทยมีความหลากหลาย เช่น ผลไม้ตามฤดูกาล สมุนไพรของไทย ฯลฯ วัตถุดิบเพื่อการผลิตอาหารของไทยได้รับ การยอมรับด้านคุณภาพในระดับสากล

ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ เสียเวลาในการฝึกฝนและสอนงานใหม่  ในภาคการบริการยังขาดแคลนแรงงาน ในประเทศและต้องพึ่งพาแรงงาน ต่างชาติ เช่น พนักงานเสริฟ์อาหาร เป็นต้น

 ความผันผวนทางด้านธรรมชาติทสี่ ่งผล ต่อราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้น เช่น ราคา วัตถุดิบบางชนิดผันผวนตามฤดูกาล (ราคาขึ้น-ลงเป็นบางช่วง) ฯลฯ  ความผันผวนทางด้านเศรษฐกิจที่ส่งผล ต่อราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้น เช่น การขึ้น ค่าจ้างแรงงาน การปรับราคาค่าขนส่ง (ราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง) ฯลฯ  วัตถุดิบในประเทศบางประเภทยังมี คุณภาพด้อยกว่าวัตถุดิบจากต่างประเทศ เช่น เมล็ดกาแฟสด ฯลฯ  วัตถุดิบบางประเภทยังไม่มีในประเทศไทย และจาเป็นต้องนาเข้าจากต่างประเทศ เช่น แบลคเบอรี่ เชอรี่ เป็นต้น เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ  ต้นทุนการสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าและ เพื่อตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภค บริการอาหารที่เพิ่มสูงขึ้น และตอบรับ กับกระแสการบริโภคที่ เปลี่ยนไปในแต่ละช่วงเวลา เป็นการสร้างเอกลักษณ์ให้กับสินค้าหรือ บริการในสภาวะที่มีการแข่งขันทาง การตลาดที่สูง เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ เพื่อเปิดตลาดการบริโภครูปแบบใหม่ การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการปรับตัว หรือรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ทางเศรษฐกิจที่จะส่งผลกระทบต่อความ อยู่รอดของธุรกิจ เทคโนโลยีช่วยให้การผลิตสินค้าและอานวย  เทคโนโลยีในการผลิตอาหารส่วนใหญ่ ความมีความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น ยังคงพึ่งพาการนาเข้าจากต่างประเทศ

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-15


ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการประกอบอาชีพ

ปัจจัยบวก (+) หรือโอกาสทางธุรกิจ

ปัจจัยลบ (-) หรือข้อจากัดทางธุรกิจ ซึ่งส่งผลต่อต้นทุนสินค้าและบริการที่ สูงขึ้น เช่น เครื่องผลิตไอศครีม เป็นต้น  สินค้าและบริการอาหารสร้างสรรค์ มัก ถูกลอกเลียนแบบได้ง่าย จากคู่แข่งทั้งใน และต่างประเทศ  การขยายตลาดไปสู่ต่างประเทศต้องใช้ เงินลงทุนสูง  การขยายตัวอย่างรวดเร็ว อาจส่งผลต่อ กาลังการผลิตของผู้ประกอบการขนาด เล็ก

 จากพฤติกรรมของผู้บริโภคในปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไป กล้าและแสวงหาที่จะ บริโภคสินค้าแปลกใหม่เพิม่ มากขึน้  จากพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีการใช้สื่อ ออนไลน์อย่างแพร่หลาย ซึ่งเป็นผลทาให้ เกิดตลาดการบริโภครูปแบบใหม่จากสื่อ ออนไลน์ ที่ปัจจุบันมีการขยายตัวอย่าง รวดเร็ว เป็นช่องทางในการเข้าถึงผู้บริโภค ได้ง่าย  ผู้บริโภคมีรายได้เพิม่ มากขึ้น ส่งผลต่อ อานาจในการซื้อสินค้ามากขึ้น  โอกาสในทางการค้า จากจานวนประชากร ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว  การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ก่อให้เกิดกลุ่มลูกค้าใหม่ เช่น ผูบ้ ริโภค ชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาทางานใน ประเทศไทย  สินค้าประเภทอาหารของไทยได้รบั การ ยอมรับจากผู้บริโภคในต่างประเทศว่าเป็น สินค้าดีมีคุณภาพ ที่มา: การประมวลข้อมูลจากการจัดสนทนากลุ่มร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สาขา อาหาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) 6. กลุ่มลูกค้าและตลาด

และจากการรวบรวมข้อมูลผลสารวจออนไลน์ของความคิด เห็นของคนรุ่นใหม่ ประกอบกับข้อมูลเพิ่มเติมที่ ได้มาจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่มภายใต้ โครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของ ไทยที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ สาขาอาหาร พบว่า คนรุ่นใหม่มีความ สนใจในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย โดยแต่ละอาชีพมีปัจจัยบวกหรือโอกาสทางธุรกิจ และปัจจัยลบหรือ ข้อจ ากัดทางธุรกิจที่จะสะท้อนให้เห็น ถึงโอกาสในการประกอบอาชีพหรือการดาเนินธุรกิจสร้างสรรค์ที่มี ศักยภาพได้ และจากการวิเคราะห์และประเมินปัจจัย (Factor Rating Analysis) และจัดอันดับอุตสาหกรรม สาขาย่อยหรือธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร พบว่า มีกลุ่มอุตสาหกรรมสาขาย่อยและธุรกิจสร้างสรรค์ในสาขา อาหารที่มีศักยภาพในการเติบโต 5 อันดับแรกประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-16


1. 2. 3. 4. 5.

ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก นักออกแบบอาหาร

ซึ่งในส่วนต่อไปจะกล่าวถึง แนวทางและโอกาสในการเข้าสู่ธุรกิจอาหารที่มีศักยภาพรายธุรกิจ

ส่วนที่ 1 ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์กับโอกาสในการสร้างรายได้

1-17


ส่วนที่ 2 5 ธุ ร กิ จ สร้ า งสรรค์ ส าขาอาหาร ที่ มี ศั ก ยภาพในการสร้ า งรายได้ แ ละ โอกาสในการประกอบอาชี พ 1 . ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร ส อ น ทา อ า ห า ร 2 . ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร อ า ห า ร อ อ น ไ ล น์

3 . ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร จั ด เ ลี้ ย ง 4 . ธุ ร กิ จ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ล ก

5 . นั ก อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร


แผนที่ความคิดหรือ Mind Mapping จะช่วยให้ผู้ประกอบการเห็น ภาพรวมและกระบวนการทั้งหมดของธุรกิจของตนเองได้อย่างชัดเจน แผนที่ความคิด (Mind Mapping) กับการเริ่มต้นธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาอาหาร

ธุรกิจ อาหาร Food


1

ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร หมายถึง ธุรกิจที่ให้บริการสอนทาอาหาร/ปรุงอาหารให้กับบุคคลทั่วไป ที่ สนใจที่จะเรียนรู้วิธีการทาอาหารชนิดใดชนิดหนึ่ง การเรียนการสอนมีกระบวนการสอนที่ไม่ซับซ้อน ผู้สอน เป็นผู้มีความรู้และ/หรือมีประสบการณ์ ด้านการทาอาหาร มีความสามารถในการคิดค้นสูตรการทาอาหาร ใหม่ๆ และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการทาอาหารนั้นๆ ให้ กับผู้ อื่น ได้ โดยการเรียนการสอนจะใช้ ระยะเวลาเพียงครึ่งจนถึง 1 วัน เช่น คัพเค้ก ชีสเค้กและอาหารจานเดียวประเภทต่างๆ ซึ่งการเรียนทาอาหาร ในธุรกิจประเภทนี้จะไม่มีการออกหนังสือรับรองหรือเอกสารรับรองคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนใน หลักสูตรการทาอาหารนั้นๆ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-2


คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ

สาหรับผู้ประกอบการรุ่ นใหม่ที่สนใจจะเข้าสู่ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร นอกจากความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์ในการทาอาหารแล้ว ผู้ประกอบการยังต้องให้ความสาคัญและวิเคราะห์แนวโน้มความเป็นไปได้ ในการเริ่มต้นธุรกิจอย่างรอบด้าน อาทิ กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ทรัพยากรหลัก แหล่งเงินทุนและรายได้หลักของ ธุรกิจ อย่างไรก็ตาม นอกจากความรู้ความสามารถในการประกอบอาหารและความรู้พื้นฐานด้านโภชนาการ แล้ว ผู้ประกอบการในธุรกิจบริการสอนทาอาหารควรมีทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้เป็นอย่าง ดี เนื่ องจากธุร กิจ บริ ก ารสอนทาอาหารมีห น้า ที่ห ลั ก ที่ส าคั ญในการถ่า ยทอดองค์ค วามรู้ในการทาอาหาร ประเภทต่ างๆ ไม่ ว่าจะเป็ น กระบวนการทาอาหาร การเลื อ กใช้วัตถุ ดิบและการเลื อกใช้อุปกรณ์ต่างๆ ที่ เหมาะสมกับอาหาร อีกทั้งต้องมีทักษะในการตอบข้อซักถามและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี และที่ สาคัญควรเป็นผู้มีทักษะความคิดสร้างสรรค์ในการประยุกต์ คิดค้นและดัดแปลงเมนู/สูตรอาหารใหม่ๆ ได้อย่าง เหมาะสมและตรงกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงทักษะความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ เพื่อการบริหารจัดการ องค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุดไม่ว่าจะเป็นด้านการให้บริการลูกค้า การบริหารจัดการด้าน การตลาด ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านบริหารการปฏิบัติการและการบริหารเงินทุนของกิจการ ปัจจุบันกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจบริการสอนทาอาหารมีความหลากหลายมากขึ้น กลุ่มผู้เรียนไม่ได้จากัด อยู่กลุ่มผู้ที่ต้องการเรียนเพื่อนาไปประกอบอาชีพเท่านั้น ปัจจุบันการทาอาหารได้กลายเป็นงานอดิเรกและ กิจกรรมสันทนาการของกลุ่มคนรุ่นใหม่ รวมถึงเป็นกิจกรรมการเสริมทักษะองค์ความรู้ด้านโภชนาการไปแล้ว ดังนั้น การเริ่มต้นธุรกิจใหม่ผู้ประกอบการควรให้ ความสาคัญและกาหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของตนเองให้ ชัดเจน เพื่อใช้เป็นข้อมูลตั้งต้นในการวิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายและรูปแบบการดาเนิน ธุรกิจที่เหมาะสมและสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้อย่างแท้จริง

 ารเริ่มต้นธุรกิจ การเริ่มต้นธุรกิจผู้ประกอบการควรศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจ ซึ่งจะช่วยให้ ผู้ประกอบการสามารถมองเห็นกิจกรรมต่างๆ ที่มีความต่อเนื่องกัน การวางแผนจะช่วยลดความเสี่ยงในการ ดาเนิ น ธุร กิจ ดังนั้ น เพื่อเป็ นการเตรี ย มความพร้อมในการเริ่มต้นเป็นผู้ ประกอบการในธุรกิจบริการสอน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-3


ทาอาหาร ผู้ประกอบการควรศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องในกระบวนการทาธุรกิ จ โดยอาศัย Business Model Canvas ซึ่งประกอบไปด้วยสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่สาคัญ 9 ด้าน ดังนี้ 44444 1. กาหนดกลุ่มลูกค้า (Customer Segments) ระบุกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจบริการสอนทาอาหารทั้งกลุ่มลูกค้าในปัจจุบันและกลุ่มลูกค้าใน อนาคต เพื่อวางแผนและออกแบบธุรกิ จได้อย่างสอดคล้องและสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่ม ลูกค้าเป้าหมายได้อย่างแท้จริง เช่น  กลุ่มลูกค้าที่ชอบทาอาหาร สนใจและติดตามข่าวสารประเภทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร เช่น ชอบเข้าครัวและปรุงอาหารด้วยตนเอง ชอบปรับและเปลี่ยนแปลงเมนูอาหารต่างๆ ให้ ตรงกับความต้องการของตนเอง เป็นต้น  กลุ่มลูกค้าที่ต้องการทาอาหารเนื่องในโอกาสพิเศษ เป็นกลุ่มลูกค้าที่เคยและไม่เคยทาอาหาร แต่สนใจจะทาอาหารประเภทใดประเภทหนึ่งในโอกาสพิเศษต่างๆ เช่น การทาเค้กเนื่องในวัน เกิดของคนพิเศษ การทาอาหารในเมนูพิเศษเนื่องในโอกาสวันวาเลนไทน์ เป็นต้น  กลุ่มลูกค้าที่ทาอาหารเพื่อเป็นกิจกรรมสันทนาการ เป็นกลุ่มลูกค้าที่นากิจกรรมการทาอาหาร มาเป็นส่วนหนึ่งในการดาเนินธุรกิจของตนเอง โดยส่วนใหญ่กลุ่มลูกค้าประเภทนี้จะเป็นกลุ่ม ลูกค้าของบริษัทและหน่วยงานต่างๆ เช่น - กิจกรรมทาอาหารไทยที่บริษัททัวร์จัดให้กับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ - กิจกรรมทาอาหารเพื่อสร้างความสามัคคีให้กับพนักงานในบริษัท - กิจรรมการทาอาหารเพื่อเรียนรู้วัฒนธรรมไทยของนักศึกษาแลกเปลี่ยนชาวต่างชาติ เป็นต้น 2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) การนาเสนอคุณค่าของธุรกิจบริการสอนทาอาหารที่เป็นไปตามความคาดหวังของกลุ่มลูกค้าที่เข้า มาใช้บริการ ซึง่ กระบวนการนาเสนอคุณค่าจะอยู่ในทุกๆ ขั้นตอนของธุรกิจบริการสอนทาอาหาร เช่น  การให้คาแนะนาหลักสูตรการเรียนทาอาหารที่เหมาะสมและตอบสนองความต้องการของ กลุ่มลูกค้า  การเรียนการสอนทาอาหารที่สนุกสนาน จากการลงมือทาอาหารด้วยตนเอง  ความง่ายและสะดวกในการปรุงอาหาร (จากการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ไว้อย่าง เรียบร้อยและเหมาะสม)  การสร้างความประทับใจในชิ้นงาน/อาหารที่ผู้เรียนปรุงเสร็จแล้ว เช่น การเตรียมกล่องบรรจุ อาหารที่มีโลโก้สัญลักษณ์ของธุรกิจ หรือการเตรียมกล่องบรรจุอาหารตามเทศกาล  ความง่ายต่อการเรียนรู้ และสามารถเข้าถึงผู้เรียนได้อย่างทั่วถึงจากการเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-4


 การต่อยอดความคิดสร้างสรรค์อาหารด้วยตนเอง จากการให้อิสระและคาปรึกษาหลังชั่วโมง เรียนหรือทางโซเชียลเน็ตเวิร์ค 3. ระบุช่องทาง (Channels) การติดต่อสื่ อสารและน าเสนอธุรกิ จ บริการสอนทาอาหารไปยังกลุ่ มลู กค้าเป้าหมายได้อย่า ง รวดเร็วและต่อเนื่อง กลุ่มลูกค้าสามารถเข้าถึงและสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ประกอบการได้ง่าย ช่องทางการ เข้าถึงลูกค้าที่สะดวก รวดเร็ว ในทุกช่วงเวลาการส่งมอบคุณค่าย่อมทาให้เกิดความพึงพอใจในการใช้บริการที่ มากกว่า ดังนั้น ช่องทางที่ช่วยอานวยความสะดวกและรวดเร็วของผู้ประกอบการในธุรกิจบริการสอนทาอาหาร ประกอบไปด้วย  โซเชียลมีเดีย (Social Media) เป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้เป็นจานวนมาก สะดวก และสามารถสื่อสารกับกลุ่มลูกค้าได้อย่างรวดเร็วผ่านโซเชียลมีเดียประเภทต่างๆ อาทิ เฟสบุ๊ค อินสตราแกรม หรือไลน์ เป็นต้น  เว๊บไซต์ (Web site) เป็นช่องทางการสื่อสารที่สามารถระบุร ายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจได้อย่างครบถ้วน เช่น หลักสูตรการเรียนการสอนทาอาหาร ค่าใช้จ่ายในการเรียนการ สอน วัน เวลาและสถานที่ในการเรียนการสอนแต่ละหลักสูตร และสถานที่ตั้งของกิจการ เป็น ต้น อีกทั้งเว็บไซต์ยังเป็นสื่อที่เข้าถึงกลุ่มคนได้เป็นจานวนมากโดยไม่จากัดช่วงเวลาอีกด้วย  การบอกต่อ (Word of Mouth) เป็นช่องทางการสื่อสารระหว่างผู้บริโภคหรือกลุ่มลูกค้าด้วย กันเอง จากลูกค้าที่เคยใช้บริการแล้ว และมีการบอกต่อหรือแนะนาธุรกิจไปยังกลุ่มเป้าหมาย หรือผู้ที่สนใจจะเรียนทาอาหารประเภทต่างๆ โดยช่องทางการบอกต่ออาจเกิดขึ้นจากการ บอกต่อผ่านโซเชียลมีเดียประเภทต่างๆ ก็เป็นได้ เช่น การบอกกล่าวรายละเอียดหรือ ประสบการณ์ความประทับใจจากการเรียนการสอนผ่านเฟสบุ๊ค เป็นต้น 4. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) การสร้างความประทับใจให้แก่ลูกค้า ตั้งแต่การให้คาแนะนาตอบข้อซักถาม การให้บริการสอน ทาอาหาร การให้บริการหลังการเรียนการสอนทาอาหาร ตลอดจนการสร้างชุมชนหรือเครือข่ายระหว่างผู้เรียน ทาอาหาร ซึ่งกระบวนการทั้งหมดจะมีความเชื่อมโยงกันตลอดกระบวนการทาธุรกิจ ซึ่งจะนาไปสู่การสร้าง ความสัมพันธ์อันดีระหว่างธุรกิจกับลูกค้า ความประทับใจจะก่อให้เกิดการกลับมาใช้บริการใหม่ เช่น  การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนการสอน เน้นการสร้างบรรยากาศการเป็นกันเอง ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน  การสร้างการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้นาเสนอไอเดีย หรือใช้ความคิดสร้างสรรค์ใน การดัดแปลงรูปร่างหรือตกแต่งหน้าตาอาหารได้ตามใจชอบ โดยมีผู้สอนให้คาแนะนาอย่าง

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-5


เป็นกันเอง เช่น การดัดแปลงการใช้วัตถุดิบต่างๆ หรือการดัดแปลงรูปลักษณ์การตกแต่ง อาหารในรูปแบบที่ลูกค้าต้องการ อาทิ แต่งหน้าเค้กแบบต่างๆ  การสร้ า งทั ศ นคติ ที่ ดี กั บ การท าอาหารให้ ผู้ เ รี ย นรู้ สึ ก สนุ ก สนาน และมี ค วามสุ ข ในการ ทาอาหาร เหมือนการได้มาทากิจกรรมยามว่างกับเพื่อนๆ มากกว่าการมาเรียนทาอาหาร อย่างเคร่งเครียด  การเข้าถึงองค์ความรู้หลัก หรือการสร้างชุมชนกลุ่มลูกค้า (Community) เพื่อก่อให้เกิดการ พูดคุยและรู้จักกันระหว่างลูกค้าและธุรกิจ การแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกันหรือตอบข้อซ้กถาม ต่างๆ ที่ลูกค้ายังสงสัยหลังจากเสร็จสิ้นการเรียนทาอาหารไปแล้ว 5. รายได้ (Revenue Streams) จานวนหรือสัดส่วนรายได้ ของกิจการจะมีความสอดคล้องกลับกลุ่มเป้าหมายและรูปแบบการ ดาเนินธุรกิจ ซึ่งรายได้หลักที่สาคัญของธุรกิจบริการสอนทาอาหารยังคงเป็นรายได้จากการสอนทาอาหารจาก ลูกค้ากลุ่มต่างๆ อาทิ  ลูกค้าทั่วไป คือ ผู้เรียนและผู้ใช้บริการสอนทาอาหารโดยตรง ได้แก่ กลุ่ม ผู้ ที่ชื่นชอบการ ทาอาหารหรือทาอาหารเป็นงานอดิเรก กลุ่มผู้ที่สนใจจะทาอาหารเนื่องในโอกาสพิเศษต่างๆ เป็นต้น  นักท่องเที่ยว เช่น บริการสอนทาอาหารให้แก่นักท่องเที่ยวที่สนใจจะทาอาหารไทยระหว่างที่ เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย เป็นต้น  คู่ค้าทางธุรกิจ เป็นกลุ่มลูกค้าที่ใช้กิจกรรมการทาอาหารเป็นส่ วนหนึ่งของธุรกิจ เช่น บริษัท ทัวร์จัดกิจกรรมการทาอาหารไทยไว้ในแพ็คเก็จทัวร์ บริษัทเอกชนจัดกิจกรรมการทาอาหาร ไว้เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมสันทนาการของบริษัท อาทิ การจัดสัมมนาประจาปี เป็นต้น 6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) ปัจจัยหรือทรัพยากรสาคัญที่ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมี ทรัพยากรที่ดีและมีคุณภาพจะสามารถ สร้างคุณค่าให้กับธุรกิจได้เป็นอย่างดี และได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าผู้ใช้บริการและนามาซึ่งรายได้ ซึ่งใน ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร ผู้ประกอบการควรให้ความสาคัญกับทรัพยากรหลักที่สาคัญในการประกอบธุรกิจ ซึ่งประกอบไปด้วย  เชฟหรื อ บุ ค ลากรผู้ ส อนท าอาหาร หรื อ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นอาหาร ที่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามรู้ ความสามารถและหรือมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักหรือได้รับการยอมรับในธุรกิจสอนทาอาหาร  เมนูอาหารสร้างสรรค์ ที่มีความหลากหลายและมีการปรับเปลี่ยนหมุนเวียนอย่างสม่าเสมอ ทันต่อยุคสมัยและกระแสนิยม

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-6


 อุปกรณ์การทาอาหารที่ ทันสมัย ง่ายต่อการใช้งาน เหมาะสมกับ ประเภทอาหารและกลุ่ม ลูกค้าเป้าหมาย  วัตถุดิบในการสอนทาอาหาร สะอาดและเป็นไปตามาตรฐานเพื่อการบริโภค  ห้องเรียน/สถานที่สอนทาอาหาร ที่ได้รับการออกแบบและตกแต่งไว้อย่างสวยงาม เหมาะสม กับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และดูทันสมัยตามคอนเซ็ปต์การให้บริการของธุรกิจ ผู้ประกอบการสามารถคัดเลือกและจัดหาทรัพยากรต่างๆ ได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ เงินทุน รูปแบบหรือคอนเซ็ปต์ของธุรกิจและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เป็นต้น 7. กิจกรรมหลัก (Key Activities) เป็นกิจกรรมที่สร้างคุ ณค่าและมูลค่าให้กับธุรกิจบริการสอนทาอาหาร โดยมีกิจกรรมหลักๆ ที่ สาคัญ ดังนี้  การสอนทาอาหาร คือ การให้บริการสอนทาอาหารประเภทต่างๆ โดยผู้ประกอบการควรให้ ความสาคัญกับคอนเซ็ปต์หรือกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เพื่อการนาเสนอบริการสอนทาอาหาร ประเภทต่างๆ  การส่งมอบสูตรอาหาร คือ การจัดหาและจัดเตรียมสูตรอาหารต่างๆ ที่สามารถส่งมอบให้กับ ลูกค้าได้ทันที ณ วันเรียนหรือสอนทาอาหาร  การส่ งมอบอาหาร คือ การส่ งมอบอาหารที่ ลู กค้า ทาขึ้น เองให้ แก่ ลู กค้า เพื่อ ให้ ลู ก ค้าได้ ทดลองบริโภคอาหารที่ลูกค้าทาเอง หรือนากลับไปมอบให้ผู้อื่นเพื่อบริโภค  การสร้างเครือข่ายและการให้บริการหลังการขาย คือ การตอบข้อซักถามและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน 8. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) เครือข่ายพันธมิตรในธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับธุรกิจบริการสอนทาอาหาร อาทิ  สถาบันสอนทาอาหาร/โรงเรียนสอนทาอาหาร สถานะความเป็นคู่ค้า คือ การสร้างความ ร่วมมือด้านเชฟ หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการทาอาหาร ซึ่งนับได้เป็นบุคลากรหลักของธุรกิจ  นักเรียน/นักศึกษาสาขาอาหาร สถานะความเป็นคู่ค้า คือ เป็นบุคลากรที่มีความรู้ด้านการ ทาอาหาร ซึ่งนับเป็นบุคลากรหลักของธุรกิจเช่นกัน  หน่วยงาน/องค์กร/บริษัท/สถาบันการศึกษาโรงเรียน/ทั่วไป สถานะความเป็นคู่ค้า คือ การ สร้างความร่วมมือ โดยการเสนอหลักสูตรการทาอาหารเป็นหนึ่งในกิจกรรมขององค์กร เช่น กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน-นักศึกษา เพื่อเป็นการเสริมสร้างทักษะด้านใดด้านหนึ่งหรือ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในกิ จ กรรมการเรี ย นการสอน เช่ น การสอนท าขนมไทยให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา นานาชาติ เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-7


 บริ ษัทจาหน่ายอุป กรณ์ทาอาหาร / สถานะความเป็นคู่ค้า คือ การสร้างความร่วมมือการ จัดหาอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทาอาหาร ซึ่งอาจส่งผลดีต่อ ระบบเครดิตทางการค้า  บริษัทจาหน่ายวัตถุดิบอาหาร สถานะความเป็นคู่ค้า คือ การสร้างความร่วมมือในการจัดหา วัสดุต่างๆ ทั้งวัตถุดิบที่เป็นของสดและของแห้งที่ใช้ในการปรุงอาหาร ซึ่งส่งผลดีต่อระบบ เครดิตทางการค้า และการสนับสนุนสินค้าในรูปแบบสปอนเซอร์ของธุรกิจ เช่น ผู้จาหน่ายไข่ ไก่ยี่ห้อ A สนับสนุนไข่ไก่สดให้แก่ธุรกิจสอนทาอาหารเดือนละ 3 แผง โดยมีข้อแลกเปลี่ยน คือ ผู้สอนต้องช่วยประชาสัมพันธ์ตรายี่ห้อของไข่ไก่ในระหว่างการเรียนการสอนเป็นการตอบ แทน เป็นต้น 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) เป็นการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายที่สาคัญๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเริ่มต้นธุรกิจและขณะดาเนินธุรกิจ โดยธุรกิจบริการสอนอาหารขนาดกลาง ประกอบไปด้วยโครงสร้างต้นทุนที่สาคัญๆ ดังนี้ 1. การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ได้แก่ - ค่าออกแบบและตกแต่งสถานที่/ห้องเรียนทาอาหาร - ค่าวางระบบต่างๆ เช่น ระบบไฟฟ้า น้าประปา โทรศัพท์และระบบบัญชี เป็นต้น - ค่าอุปกรณ์และเครื่องใช้ เช่น ตู้แช่วัตถุดิบและตู้อบ เป็นต้น 2. การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ - ต้นทุนคงที่ (ต่อเดือน) ได้แก่ เงินเดือนพนักงานประจา ค่าเช่าสถานที่ ค่าบริการ อินเตอร์เน็ต ฯลฯ - ต้นทุนผันแปร ได้แก่ ค่าวัตถุดิบอาหาร/วัสดุสิ้นเปลือง ค่าน้า ค่าไฟฟ้าและค่า โทรศัพท์ ฯลฯ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-8


ตัวอย่างโครงสร้างการลงทุน ธุรกิจบริการสอนทาอาหารสาหรับเด็ก

หมายเหตุ: องค์ประกอบจะเปลี่ยนไปตามบริบทของขนาดและคอนเซ็ปต์ในการทาธุรกิจ

อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการควรให้ความสาคัญกับการวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน (Break-even-Point) ของธุรกิจ จุดคุ้มทุน หมายถึง จุดหรือระดับของรายได้จากการขายสินค้าหรือบริการ ที่เท่ากับต้นทุนที่ธุรกิจได้จ่ายออกไป หรือจุดหรือระดับของรายได้ที่ธุรกิจ “เท่าทุน” โดยส่วนที่เลยจุดหรือระดับของรายได้ดังกล่าวคือผลกาไรที่ ธุรกิจจะได้ ผู้ประกอบการจะรู้จุดคุ้มทุนเมื่อรู่ว่าต้นทุนคงที่และผันแปรของกิจการเป็นเท่าไหร่ การคานวน จุดคุ้มทุนทาได้โดย (1) จุดคุ้มทุน (หน่วยขายที่คุ้มทุน) = ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย หรือ (2) จุดคุ้มทุน (ยอดขายที่คุ้มทุน) = หน่วยขายที่คุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-9


ซึ่งโดยเฉลี่ ย ธุร กิจ บริ การสอนทาอาหารมักจัดหลั กสู ตรการเรียนการสอนหลั ก สู ตรละ 4-5 คน โดยเฉลี่ ย ค่าบริการหลักสูตรละ 1,000-2,500 บาทต่อการเรียนการสอน 3 ชั่วโมง หรือเป็นการสอนรายบุคคล (ตัวต่อ ตัว) จะมีค่าบริการหลักสูตรละประมาณ 3,000-4,500 บาท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับประเภทของอาหารซึ่งต้องพิจารณา จากวัตถุดิบและความยากง่ายในการเรียนในแต่ละหลักสูตร โดยการลงทุนในธุรกิจบริการสอนทาอาหารขนาด กลางจะใช้เงินลงทุนประมาณ 1 ล้านบาท และมีระยะเวลาในการคืนทุนประมาณ 3 ปี องค์ประกอบในการลงทุนเริ่มต้น องค์ประกอบ การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร การออกแบบ/ตกแต่ง

ประมาณการลงทุน 800,000-1,200,000 บาท

อุปกรณ์และเครื่องมือทาอาหาร

100,000-300,000 บาท

ค่าวางระบบสาธารณูปโภค และ จัดทาเว๊บไซด์

20,000-70,000 บาท

ค่าอุปกรณ์สานักงาน

30,000-50,000 บาท

การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ค่าเช่าสานักงาน 30,000-40,000 บาท/เดือน ค่าจ้างพนักงานประจา 1 คน 15,000 บาท/เดือน ค่าวัสดุสิ้นเปลือง/วัตถุดิบ 30,000-40,000 บาท/เดือน ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้าค่า 7,000-10,000 บาท/เดือน ไฟฟ้าและค่าโทรศัพท์) ค่าเหมาบริการสอนทาอาหาร 50,000-70,000 บาท/เดือน (เชฟ/ผู้เชี่ยวชาญ) หมายเหตุ: ประมาณจากผู้ประกอบการขนาดกลาง

หมายเหตุ พื้ น ที่ ใ ช้ ส อ ย ป ร ะ ม า ณ 1 0 0 ต า ร า ง เ ม ต ร ใ น กรุ ง เทพมหานคร ความแตกต่ า งของราคาขึ้ น อยู่ รูปแบบการตกแต่งและการเลือกใช้วัสดุในการตกแต่ง ขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการ หลักสูตรการเรียนการสอน จานวนห้องเรียน และคุณภาพของอุปกรณ์/เครื่องมือ ขึ้ น อยู่ กั บ ขนาดของกิ จ การ จ านวนห้ อ งเรี ย น และ ปริมาณเครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ เช่น จานวนจุด ของปลั๊กไฟ เครื่องดูดควัน ก๊อกประปา ฯลฯ อาทิ คอมพิวเตอร์ โต๊ะสานักงาน ชุดรั บแขก เครื่อ ง ปริ๊นเอกสาร โทรศัพท์ เป็นต้น ประมาณการจากพื้นที่ใช้สอย 100 ตรม. ในกทม. หรือ อาคารพาณิชย์ 1 คูหา/ห้อง ประมาณการค่าแรงขั้นต่า วุฒิปริญญาตรี ขึ้นอยู่กับจานวนหลักสูตร/ประเภทของอาหาร ขึ้นอยู่กับจานวนหลักสูตร/ประเภทของอาหาร และ จานวนอุปกรณ์เครื่องใช้ ความถี่ของการเรียนการสอน ขึ้นอยู่กับจานวนหลักสูตร/ประเภทของอาหาร และ ความถี่ของการเรียนการสอนในแต่ละเดือน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-10


อย่างไรก็ตาม หากผู้ประกอบการบางรายมีความพร้อมด้านสินทรัพย์ถาวรบางรายการ หรือคาดว่าจะสร้าง รายได้เข้ามาไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในช่วงแรกของการเริ่มต้นธุรกิจ ผู้ประกอบการสามารถปรับลด สัดส่วนของสินทรัพย์ถาวรหรือเงินทุนหมุนเวียนที่จะนามาเป็นค่าใช้จ่ายเริ่มต้นลงได้ ดังนั้น สัดส่วนโครงสร้าง การลงทุนจึงขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของผู้ประกอบการด้วย โดยมีองค์ประกอบหลักในการลงทุนเริ่มต้น ดังนี้ 1) สถานที่ตั้ง ผู้ประกอบการใหม่ควรเลือกใช้บริการเช่าสถานที่ประกอบธุรกิจ เพื่อหลีกเลี่ยงการ ลงทุนในสินทรัพย์ประเภทอาคารและที่ดิน การเลือกสถานที่ตั้ง เนื่ องจากเป็ น การลงทุน ที่ต้องใช้เงินทุนสู ง ธุรกิจบริการสอนทาอาหารขนาดพื้นที่ประมาณ ซึ่งการเลือกทาเลที่ตั้งควรคานึงถึงขนาดของ 100 ตารางเมตร แบ่งเป็นห้องเรียน 3 ห้องคือ ธุรกิจ กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และค่าใช้จ่ายใน ขนาด 20 ตร.ม. ขนาด 20 ตร.ม. และขนาด 30 การเช่ า สถานที่ ส าหรั บ ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก - ตร.ม เป็นพื้นที่สาหรับติดต่อประสานงานและ งานธุ ร การ 20 ตร.ม. และเป็ น ห้ อ งส าหรั บ กลางอาจใช้พื้นที่สาหรับการประกอบธุรกิจ จัดเก็บอุปกรณ์ เครื่องมือและวัตถุดิบต่างๆ และ ประมาณ 100 ตารางเมตร พื้นที่เอนกประสงค์ประมาณ 10 ตร.ม. 2) การออกแบบและตกแต่ ง ผู้ ป ระกอบการ การออกแบบตกแต่งภายใน สามารถเลื อกออกแบบและตกแต่งภายใน ธุรกิจสอนทาอาหารที่มีกลุ่มเป้าหมาย คือ เด็ก สถานที่ภายใต้งบประมาณที่กาหนดไว้ หรือ ผู้ประกอบการอาจเลือกตกแต่งห้องเรียนด้วย ตกแต่ ง สถานที่ ต ามคอนเซ็ ป ต์ ข องธุ ร กิ จ ตนเอง โดยอาศัยสติ๊กเกอร์ตกแต่งห้องซึ่งมีราคา ให้ บ ริ ก ารสอนท าอาหาร ซึ่ ง การตกแต่ ง ไม่ แ พง โดยเลื อ กใช้ ส ติ๊ ก เกอร์ ล ายอุ ป กรณ์ สถานที่อาจเกิดจากแนวคิดหรือไอเดี ยของ เครื่ องใช้ต่ างๆ เช่น แป้ง ไข่ไ ก่ เนย จานชาม ผู้ประกอบการเอง หรือใช้บริการจากบริษัท ช้อนส้อม และแก้วน้า ฯลฯ เฟอร์นิเจอร์ภายใน ห้องเรียนมีขนาดและระดับเหมาะสมกับความสูง ออกแบบและตกแต่ ง ภายใน ซึ่ ง โดยเฉลี่ ย ของเด็ก เน้นสัสันสดใส เป็นต้น บริ ษั ท ออกแบบและตกแต่ ง ภายในจะมี ค่าบริการและออกแบบตกแต่งประมาณตารางเมตรละ 15,000 บาท (ราคารวม เฟอร์นิเจอร์ วอลล์เปเปอร์และม่าน) 3) อุป กรณ์และเครื่ อ งมือ ผู้ ประกอบการควร เลือกอุปกรณ์แ ละเครื่องมือต่างๆ ตามคอน เซ็ ป ต์ แ ละกลุ่ ม เป้ า หมายของธุ ร กิ จ 1 โดย พิจารณาจากเงินลงทุน เป็นหลัก และเลือก ซื้ อ ชิ้ น ที่ จ าเป็ น และสามารถใช้ ง านได้ หลากหลายหรือเอนกประสงค์ เช่น เตาอบ 1

อุปกรณ์และเครื่องมือ เช่ น ธุ ร กิ จ สอนท าอาหารส าหรั บ เด็ ก ควร เลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสาหรับช่วงวัย มีสีสัน สดใส อุ ป กรณ์ ไ ซส์ ข นาดเล็ ก พอดี มื อ การ เลื อ กสรรอุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งใช้ ต่ า งๆ ต้ อ งให้ ความส าคั ญ กั บ ความปลอดภั ย ในการใช้ ง าน สาหรับเด็ก

อ้างอิงราคาจาก หจก. สหตั้งง่วนเฮง 24-26 ถ.อนุวงศ์ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธ์วงศ์ กรุงเทพ 10100

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-11


ขนาดใหญ่ ชุดบด/สับ/ผสม/ตี/สกัดน้าผลไม้ และอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ชุดอุปกรณ์ทาครัว ชุดไม้ พายปาดหน้ าเค้ก ช้ อนตวง ที่ร่อนแป้ง อลู มินียม ชั้ นวาง เป็นต้น อุ ปกรณ์และเครื่ องมื อ สาหรับทาอาหารในปัจจุบันมีความหลากหลาย ผู้ประกอบการควรเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับ ขนาดของกิจการและกลุ่มเป้าหมายและสะดวกต่อการใช้งานของผู้เรียนในแต่ละหลักสูตร และการเลือกใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่สามารถหาซื้อได้ง่ายสะดวกต่อการใช้ งานและราคา ไม่สูงมากนัก ซึ่งจะส่งผลต่อความต้องการเรียนทาอาหารมากขึ้น เนื่องจากผู้เรียนจะรู้สึกว่า การจัดหาอุปกรณ์ต่างๆ สามารถหาซื้อง่าย ราคาไม่แพง และผู้เรียนสามารถหาซื้ออุปกรณ์ ต่างๆ กลับมาทาอาหารเองที่บ้านได้และคุ้มค่าต่อการไปเรียนทาอาหาร 4) วั ส ดุ แ ละวั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ ใช้ ใ นการเรี ย น ทาอาหาร ประกอบไปด้ว ยวั ส ดุสิ้ นเปลื อ ง ต่ า งๆ ที่ ใ ช้ แ ล้ ว หมดไปหรื อ ไม่ ส ามารถน า กลับมาใช้ใหม่ได้ 2 เช่น ถ้วยกระดาษบรรจุ ขนมที่ สามารถเข้าอบได้เลยไม่ต้องใช้พิมพ์ รอง ถุงพลาสติกแต่งหน้าเค้ก ชุดแต่งหน้า เค้ก ถาดฟอยล์บรรจุอาหารพร้อมฝาปิดใส เป็นต้น ในส่วนของวัตถุดิบต่างๆ ที่นามาใช้ ประกอบอาหาร จะขึ้น อยู่กับ ประเภทของ อาหารที่ให้บริการสอน หรือ คอนเซ็ปต์ของ กิจการ เช่น3 ผักสด ผลไม้สด เนื้อสัตว์ เป็นต้น 5) ค่าจ้างแรงงาน ค่าจ้างแรงงานเป็นส่วนหนึ่ง ในค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ซึ่งประกอบ ไปด้วยค่าจ้างบุคลากรหลัก เช่น เชฟหรือพ่อ ครั ว และพนั ก งานประจ าซึ่ ง ท าหน้ า ที่ ให้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ในเบื้ อ งต้ น ประสานงาน ติ ด ต่ อ และตอบข้ อ ซั ก ถามต่ า งๆ กั บ กลุ่ ม ลูกค้า ซึ่งในธุรกิจให้บริการสอนทาอาหารจะ มีการจ้างงานทั้งในรูปแบบของการจ้างงาน ประจาและการจ้างเหมาบริการ

วัสดุและวัตถุดิบ เช่น ธุรกิจสอนทาอาหารเด็ก ควรเลือกใช้วัสดุที่ สอดแทรกความรู้ระหว่างการเรียนการสอน เช่น ถ้ ว ยกระดาษลดโลกร้ อ น เพื่ อ ช่ ว ยลดปั ญ หา มลภาวะเป็นพิษ หรือการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่ เหมาะสมกั บอาหารทั้งในแง่ก ารผลิ ต และการ เก็ บ รั ก ษา เป็ น ต้ น หรื อ การเลื อ กใช้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ สะอาด มีมาตรฐานและปลอดภัย เน้นวัตถุดิบ ธรรมชาติ แ ละปลอดสารพิ ษ เพื่ อ เป็ น การ เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านโภชนาการ

แรงงาน เช่น ธุรกิจสอนทาอาหารเด็ก พนักงานประจา ควรเป็นบุคลากรที่มีใจรักในการให้บริการและมี ความรู้ความเข้าใจในธุรกิจ และสามารถตอบข้อ ซักถามของลูกค้าที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจ ได้ เช่น สามารถนาเสนอถึงประโยชน์ที่จะได้รับ จากการเรียนทาอาหาร เป็นต้น

2

อ้างอิงราคาจาก หจก. สหตั้งง่วนเฮง 24-26 ถ.อนุวงศ์ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธ์วงศ์ กรุงเทพ 10100 อ้างอิงราคาจาก ร้าน 1 Stop Bakery.Com The Best Kitchen Start Here ที่อยู่ 1448/14-15 ถ.พหลโยธิน แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900. 3

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-12


 พนั กงานประจ าส านั กงานหรือธุรการ แรงงาน ท าหน้ า ที่ ป ระสานงานกั บ ลู ก ค้ า ควร เช่น ธุรกิจสอนทาอาหารเด็ก หากอยู่ในรูปแบบ เป็นการจ้างประจาเป็นรายเดือน เพื่อ ของส านั ก งาน ควรมี พ นั ก งานประจ า เพื่ อ ความต่ อ เนื่ อ งในการปฏิ บั ติง าน และ ให้ บ ริ ก ารตอบข้ อ ซั ก ถ ามและดู แ ลความ ควรอยู่ ป ระจ าส านั ก งาน เพื่ อ ติ ด ต่ อ เรียบร้อยของสานักงาน ประสานงานและดูแลความเรียบร้อ ย สาหรับเชฟหรือผู้เชี่ยวชาญด้านอาหาร ควรจ้าง ของสานักงาน ในลั ก ษณะจ้ า งเหมาบริ ก ารเป็ น รายครั้ ง /  เชฟหรือผู้เชี่ยวชาญด้านการทาอาหาร หลักสูตร อาทิ ผู้สอนทาอาหารสาหรับเด็ก ควร เนื่ อ งจากธุ ร กิ จ บริ ก ารสอนท างาน มี มี ทั ก ษะในการถ่ า ยทอดความรู้ แ ละสามารถ สอดแทรกองค์ความรู้ต่างๆ ระหว่างการเรียน ลักษณะการให้บริการที่หลากหลายเมื่อ การสอนได้ เช่น ความรู้ทางโภชนาการ การเก็บ พิจารณาจากประเภทของอาหาร ดังนั้น รั ก ษาอาหาร หรื อ การสอดแทรกความรู้ เชฟและบุ ค ลากรหรื อ วิ ท ยากรผู้ ส อน ภาษาอังกฤษ จากคาศัพท์ภ าษาอังกฤษ หรื อ ทาอาหาร ควรมี ลั ก ษณะเป็น การจ้า ง สอดแทรกความรู้ ด้ า นคณิ ต ศาสตร์ จ ากการ เหมาบริการ ซึ่งจะทาให้มีบุคลากรหรือ คานวนส่ วนผสมต่ างๆ เป็น ต้ น ซึ่ งทั กษะการ วิ ท ยากรผู้ ส อนที่ ห ลากหลายกว่ า สอดแทรกองค์ความรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้ เนื่องจากสูตรอาหารหรือความต้องการ ให้กับเด็ก นับเป็นข้อท้าทายสาหรับการจัดหา บุคลากรที่จะมาทาหน้าทีส่ อนทาอาหาร ในการเรี ย นรู้ ที่ จ ะท าอาหารของกลุ่ ม ลูกค้าเป้าหมายมีความหลากหลาย โดยมีการจ่ายค่าตอบแทนเป็นรายครั้ง สาหรับผู้ประกอบการมือใหม่เป็นจานวนมาก เมื่อวางแผนธุรกิจเรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่เริ่มจากการหาลูกค้า จน มาถึงกระบวนการโครงสร้างต้นทุนแล้วพบว่า ต้นทุนสูงเกินศักยภาพที่มีอยู่ก็ควรดาเนิ นการปรับขนาดธุรกิจให้ เหมาะสมกับศักยภาพของตนเอง เช่น การปรับเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมาย ลดขนาดกิจการ หรือปรับเปลี่ยนสถานที่ เพื่อความเหมาะสมของโครงสร้างต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-13


ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจบริการสอนทาอาหาร ธุรกิจบริการสอนทาอาหารขนาดเล็ก (S) ธุรกิจบริการสอนทาอาหารขนาดกลาง (M) เริ่มต้นจากธุรกิจเล็กๆ หรือธุรกิจในครอบครัว เริ่มต้นจากธุรกิจขนาดกลางหรือมีหนุ้ ส่วน 1. เลือกใช้สถานที่ที่มีอยู่แล้ว เช่น บ้าน/ที่พักอาศัย โดย 1. เลือกเช่าสถานที่ โดยยึดความเหมาะสมของธุรกิจ เช่น เริ่มต้นจากการปรับพื้นทีภ่ ายในบ้านเพื่อจัดทาเป็น ใกล้ตลาดสด ใกล้สถานีรถไฟฟ้า ราคาถูกย่านชาน ห้องเรียนจานวน 1-2 ห้อง เมือง ฯลฯ จานวน 2-3 ห้องเรียน โดยแบ่งเป็น 2. ตกแต่งสถานทีด่ ้วยตนเอง ประยุกต์ใช้สิ่งของที่มีอยู่ ห้องเรียนขนาดเล็ก 2 ห้องและขนาดใหญ่(กว่า) 1 เช่น ทาสีห้องเรียนทาอาหาร ใช้สติ๊กเกอร์สาเร็จรูป ห้อง ตกแต่งห้องเรียน 2. ตกแต่งสถานที่ โดยออกแบบสถานที่ตามความแนวคิด 3. วัสดุและอุปกรณ์ เลือกใช้สิ่งที่มีอยูแ่ ล้วและจัดหา ของตนเอง เพื่อความเป็นอัตลักษณ์ จัดหาวัสดุและ เพิ่มเติมในสิ่งที่จาเป็น เน้นวัสดุและอุปกรณ์ที่หาซื้อ อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อตกแต่งเอง ง่าย ราคาไม่แพง และสามารถใช้งานง่าย 3. วัสดุและอุปกรณ์ จัดหาตามขนาดของธุรกิจให้เพียงพอ 4. แรงงาน ผู้ประกอบการสามารถควบคุมและดูแลธุรกิจ ต่อการใช้งาน เลือกใช้สินค้าที่มีราคาไม่แพง สามารถ ได้ด้วยตนเองจากที่พักอาศัย ใช้งานง่าย 4. แรงงาน ประกอบไปด้วยพนักงานประจาสานักงาน 1  หากผู้ประกอบการมีความรู้ความสามารถในการ คนและจ้างเหมาบริการผูส้ อนหรือเชฟ เป็นรายครั้ง ประกอบอาหาร หรือมีพื้นฐานองค์ความรู้ในธุรกิจ หรือจ้างเหมาตามหลักสูตรการเรียนการสอน ดังนั้น อาหาร จะช่วยลดต้นทุนในการจ้างงาน ผู้ประกอบการควรมีการวางแผนจัดการเรียนการสอน  หากต้องเพิ่มจานวนบุคลากรสอนทาอาหารควรใช้ ล่วงหน้า เพื่อความสะดวกต่อการบริหารจัดการและ รูปแบบการจ้างเหมาบริการ จัดหาผูส้ อนในแต่ละช่วงเวลา 5. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ในระยะเริม่ ต้น 5. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ผู้ประกอบการ ควรเลือกใช้ช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็น ควรเลือกใช้สื่ออินเทอร์เน็ต โดยการจัดทาเว็บไซด์ของ สื่อที่มีต้นทุนต่าและสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ ธุรกิจ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ รวมถึงการ อย่างรวดเร็ว และเป็นวงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็นสื่อ ผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศ ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและเป็น ซื้อ-ขายฟรี (E-Classified) วงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณาผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตใน รูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศซือ้ -ขายฟรี (E-Classified) เพื่อความหลากหลายของช่องทาง การตลาด หมายเหตุ: แนวคิดและแนวทางในการเริม่ ต้นธุรกิจ สามารถปรับรูปแบบได้ตามศักยภาพด้านเงินทุนและขีดความสามารถใน การบริหารจัดการของผู้ประกอบการแต่ละท่าน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-14


ตั

 วอย่าง การวิเคราะห์ธุรกิจบริการสอนทาอาหารตามกรอบแนวคิด Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) - สถาบันสอนทาอาหาร - นักเรียน/นักศึกษาสาขาอาหาร - หน่วยงาน/องค์กร/บริษัท/ สถาบันการศึกษา - บริษัทจาหน่ายอุปกรณ์ทาอาหาร - บริษัทจาหน่ายวัตถุดิบอาหาร

กิจกรรมหลัก (Key Activities) - การสอนทาอาหาร - การส่งมอบสูตรอาหาร - การส่งมอบอาหารจากฝีมือของผู้เรียนเอง - การสร้างเครือข่ายและการให้บริการหลังการ ขาย

ทรัพยากรหลัก (Key Resources) - เชฟ/ผู้เชี่ยวชาญด้านการทาอาหาร - เมนูอาหารสร้างสรรค์ - อุปกรณ์การทาอาหาร - วัตถุดิบในการทาอาหาร - ห้องเรียน/สถานที่เรียนทาอาหาร

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) - ความสนุกในลงมือทาอาหาร - ความง่ายและสะดวกในการปรุงอาหาร (จากการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ไว้ อย่างเรียบร้อยและเหมาะสม) - การสร้างความประทับใจในชิ้นงาน/ อาหารที่ผู้เรียนปรุงเสร็จ เช่น ใส่กล่อง เป็นของขวัญตามีมเทศกาล - ความง่ายต่อการเรียนรู้ และสามารถ เข้าถึงผู้เรียนได้อย่างทั่วถึงจากการเรียนรู้ เป็นกลุ่มย่อย - การต่อยอดความคิดสร้างสรรค์อาหารด้วย ตนเอง จากการให้อิสระและคาปรึกษา หลังชั่วโมงเรียนหรือทางโซเชียลเน็ตเวิร์ค

โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure)

-

สินทรัพย์ถาวร ได้แก่ ค่าออกแบบและตกแต่งสถานที่ ค่าวางระบบต่างๆ ค่าอุปกรณ์เครื่องครัว เป็นต้น สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ (1) ต้นทุนคงที่ต่อเดือน เช่น เงินเดือนพนักงานประจา ค่าเช่าสถานที่ ค่าอินเตอร์เน็ต ฯลฯ และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าวัตถุดิบอาหาร/วัสดุสิ้นเปลือง ค่าน้า-ไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ฯลฯ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) - การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเรียน และความ เป็นกันเองจากการเรียนกลุ่มย่อย - การสร้างการมีส่วนร่วม โดยผู้เรียนสามารถ สร้างสรรค์รูปลักษณ์ของอาหารได้ตามความคิด สร้างสรรค์ของผู้เรียน - การสร้างทัศนคติที่ดีกับการทาอาหารให้ผู้เรียน รู้สึกถึงความง่ายกับการทาอาหารในแต่ละเมนู - การบริการหลังการขาย(สอนทาอาหาร)และ การสร้างชุมชนกลุ่มลูกค้า (Community)

กลุ่มลูกค้า (Customer Segments) - กลุ่มลูกค้าที่ชอบทาอาหาร - กลุ่มลูกค้าที่ต้องการทาอาหารเนื่อง ในโอกาสพิเศษ - กลุ่มลูกค้าที่ทาอาหารเพือ่ เป็น กิจกรรมสันทนาการ

ช่องทาง (Channels) - การบอกต่อ - เว็บไซต์ - โซเชียลมีเดีย/สื่อสังคมออนไลน์ อาทิ เฟสบุ๊ค อินสตราแกรมหรือไลน์

รายได้ (Revenue Streams) - ลูกค้าทั่วไป เช่น ผู้เรียนในแต่ละหลักสูตรหรือเมนู - นักท่องเที่ยว เช่น บริการสอนทาขนมไทยให้กับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ - คู่ค้าทางธุรกิจ เช่น บริษัทจัดท่องเที่ยว บริษัทที่มีกิจกรรมรับรองแขกต่างชาติ

2-15


 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจบริการสอนทาอาหาร สามารถทาได้หลากหลายรูปแบบตามแนวคิดและคอน เซ็ปต์ของธุรกิจและทัศนคติของผู้ประกอบการแต่ละยุคสมัย ทั้งนี้ คู่มือฉบับนี้จะยกตัวอย่างการนาสนอวิธีการ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจบริการสอนทาอาหาร ดังนี้ 1. การสร้างเอกลักษณ์ให้กับธุรกิจ การสร้างเอกลักษณ์หรือรูปแบบวิธีการสอนทาอาหารที่แตกต่าง เน้นการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ผู้ประกอบการต้องเข้าใจถึงไลฟ์สไตล์ของผู้เรียนหรือผู้บริโภคยุคใหม่ ที่ต้องการความสะดวกสบาย ความรวดเร็วในการปรุงอาหารอันเนื่องมาจากข้อจากัดกันเวลาของสังคมยุคใหม่ ดังนั้น การเรียนการสอนควร เน้น อาหารที่ง่ายต่อการปรุ ง ใช้ระยะเวลาในการปรุงน้อย รูปลักษณ์อาหารสวยงาม มีการแนะนาหรือให้ ข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้วัตถุดิบทดแทน เพื่อให้ผู้บริโภครู้สึกถึงความสะดวกสบาย และได้ใช้ความคิด สร้างสรรค์ร่วมกับผู้สอนหรือธุรกิจ 2. การสร้างวัฒนธรรม/พฤติกรรมการเรียนรู้แบบใหม่ สร้างบรรยากาศการเรียนการสอนทาอาหารที่ทาให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกสนานกับการทาอาหาร สร้าง บรรยากาศที่เป็นกันเองเหมือนทาอาหารอยู่ในห้องครัวของผู้ เรียน การจัดสถานที่ หรือห้องครัว แบบง่ายๆ สะดวกต่อการหยิบฉวยอุปกรณ์หรือเน้นการเป็นห้องครัวเพื่อทาอาหารมากกว่าการจัดห้องแบบห้องเรี ยน เช่น การจัดวางอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการหยิบใช้ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์รูปลักษณ์อาหาร ในแบบของตนเอง เน้นการทาอาหารที่สะดวกสบาย สนุกและสามารถทาได้จริง รวมถึงการใช้ภาษาในการสอน แบบเป็นกันเอง การสร้างคาถามคาตอบตลอดเวลาขณะทาการสอนหรือนาเสนอประเด็นเทคนิคต่างๆ เพื่อให้ ผู้เรียนสนใจและอยากทดลองทาในรูปแบบของตนเอง 3. การพัฒนาสูตรอาหารอย่างต่อเนื่อง การพัฒ นาสู ตรอาหารหรื อเมนูอ าหารใหม่ ๆ อย่า งต่ อเนื่อง เพื่อเพิ่ม มูล ค่าของสิ น ค้า/บริ การ เนื่องจากพฤติกรรมผู้บริโภคที่สนใจอาหารสร้างสรรค์ จะเป็นกลุ่มที่ ต้องการสินค้าและบริการอาหารที่แปลก ใหม่ ซึ่งรวมถึงสูตรอาหาร เทคนิคการทาอาหารหรือเมนูอาหารใหม่ๆ ตามกระแสนิยมหรือเทศกาลต่างๆ และ ที่สาคัญ คือ ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหารสร้างสรรค์ต้องไม่กลัวกับการลอกเลียนแบบสูตรอาหาร เพราะเป็น สิ่งที่ผู้ประกอบการต้องประสบและพบเจอการลอกเลียนแบบสูตรอาหาร

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-16


ดังนั้น ผู้ประกอบการต้องสามารถนาเสนอเมนูอาหารได้อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพื่อใช้เป็นจุด แข็งและเอกลักษณ์ของธุรกิจของตนเอง มากกว่าการระแวงการลอกเลียนแบบหรือการคิดค้นเมนูใหม่เมื่อเจอ เหตุการลอกเลียนแบบเท่านั้น

 ารขยายธุรกิจ...อีกระดับกับการพัฒนาธุรกิจ การขยายธุรกิจมีหลากหลายวิธี ทั้งขยายอย่างรวดเร็วและเป็นการเติบโตแบบก้าวกระโดด เรียกว่า Extensive Growth เช่น การเข้าไปซื้อกิจการ ของบริษัทคู่แข่งที่ทาธุรกิจใกล้เคียงกันเพื่อเพิ่มกาลังผลิต ขยายตลาด และ ตัดกาลั งคู่แข่งส าคัญออกไป และมีวิธีการขยายธุรกิจอย่างช้าๆ แต่มั่นคงไปทีล ะขั้น ที่เรียกว่า Intensive Growth สาหรับในธุรกิจบริการสอนทาอาหาร โอกาสและความเป็นไปได้ในการขยายธุรกิจในอนาคต คือ  การขยายธุรกิจสู่ธุรกิจ บริการสอนทาอาหารแบบแฟรนไชส์ (Franchise) เพื่อตอบสนองความ ต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายในภูมิภาคต่างๆ โดยผู้ประกอบการไม่ต้องลงทุนเปิดธุรกิจ เพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลต่อเงินลงทุน แต่การขยายธุรกิจไปสู่ธุรกิจแฟรนไชส์ ผู้ประกอบการจาเป็นต้องควบคุม เรื่องคุณภาพและมาตรฐานอย่างสม่าเสมอ เช่น คุณภาพของวัตถุดิบและการให้บริการ ซึ่งต้อง เป็นไปตามมาตรฐานเดี ยวกัน เมนูสร้างสรรค์ใหม่ๆ ควรนาเสนอและให้บริการสอนในช่วงเวลา เดียวกัน เป็นต้น  การขยายธุรกิจ โดยเพิ่มพื้นที่หรือขนาดของธุรกิจใหญ่มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อสามารถรองรับและ ให้ บ ริ การกลุ่ ม ลู ก ค้า เป้ าหมายได้เ พิ่ม มากขึ้ น มีรู ปแบบอาหารที่ ให้ บริ การสอนมากขึ้ น หรื อ พัฒ นาการเรี ย นการสอนท าอาหารเป็น การสอนในหลั ก สู ต รภาษาอัง กฤษ เพื่อ ให้ บริ การแก่ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-17


ปั

 จจัยแห่งความสาเร็จในการทาธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 6. คุณภาพและ มาตรฐาน 1. อัตลักษณ์ของ ธุรกิจ

5. การตลาดและ ประชาสัมพันธ์

4. เมนูสร้างสรรค์

2. บุคลากร สร้างสรรค์

3. เข้าใจความต้องการของลูกค้า

ปัจจัยแห่งความสาเร็จในธุรกิจบริการสอนทาอาหารประกอบด้วย 6 ปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. อัตลักษณ์ของธุรกิจ ผู้ประกอบการควรสร้างอัตลักษณ์ของธุรกิจ และการให้บริการให้มีความ ชัดเจน บ่งบอกความเป็นตัวตนของธุรกิจ มีรูปแบบและการให้บริการที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และมีความโดดเด่น เพื่อตอบสนองความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างแท้จริง เช่น ธุร กิจสอน ทาอาหารเด็ก ที่โดดเด่นเรื่องการให้ความรู้ทางด้านโภชนาการกับเด็ก เพื่อส่งเสริมให้เด็กสามารถ เลือกบริโภคอาหารได้อย่างเหมาะสม เป็นต้น 2. บุค ลากรสร้ า งสรรค์ ความคิด สร้ า งสรรค์ ถือ เป็ น ทุน ตั้ง ต้ นที่ ส าคัญ ส าหรับ ธุ รกิ จบริ การสอน ทาอาหารทั้งตัวผู้ประกอบการเองและผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจนี้ บุคลากรผู้สอนทาอาหารหรือเชฟควร เป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการทาอาหารอย่างแท้จริง หรือเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงใน ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-18


ธุรกิจอาหาร หรือมีพื้นฐานองค์ความรู้ด้านอาหารจากสถาบันที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล และควรเป็นบุคลากรที่มี ความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพื่อสร้างความโดดเด่น ให้กับธุรกิจ 3. เข้าใจความต้องการของลูกค้า การนาเสนอความคิดสร้างสรรค์ ในธุรกิจบริการสอนทาอาหาร แนวใหม่ให้ได้รับการตอบรับ ต้องไม่ลืมคานึงถึงพฤติกรรมของลูกค้า เนื่องจากลูกค้าส่วนใหญ่ของ ธุรกิจนี้จะเป็นกลุ่มที่เรียนเพื่อกลับไปทาอาหารเองที่บ้านหรือทาเพื่อเป็นงานอดิเรกมากกว่าการ เรียนเพื่อไปประกอบเป็นอาชีพ (เนื่องจากเป็นการสอนทาอาหารที่ไม่มีการรับรองคุณวุฒิหรือการ รับรองมาตรฐานการเรียนทาอาหาร) ในขณะเดียวกัน ไลฟ์สไตล์ของกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มี ข้อจากัดด้านเวลา สถานที่หรือห้องครัวคับแคบ อุปกรณ์เครื่องครัวจากัด ดังนั้น การออกแบบ สูตรอาหาร การเลือกใช้อุปกรณ์และการสอนทาอาหารต้องสามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าเป้าหมายได้อย่างแท้จริง 4. เมนูสร้างสรรค์ การนาเสนอเมนูอาหารใหม่ๆ อย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง ตามสมัยนิยมและ เทศกาลต่าง และนาส่งข้อมูลข่าวสารใหม่ๆ ถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง 5. การตลาดและประชาสัมพันธ์ ผู้ประกอบการนอกจากจะมีความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ แล้ว ยังจาเป็นต้องมีความรู้ความสามารถในการทาตลาด เพื่อนาเสนอสินค้าและบริการไปยังกลุ่ม ลูกค้าเป้าหมายได้อย่างตรงกลุ่ม เพื่อสร้างยอดขายและรายได้ให้กับธุรกิจ การวางแผนและทาการ ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้ ความน่าเชื่อถือและยอมรับ และสร้างความต้องการให้กลุ่ ม ลูกค้าสนใจและอยากเข้ามาใช้บริการสอนอาหาร 6. คุณภาพและมาตรฐาน ความคิดสร้างสรรค์ที่สอดแทรกเข้าไปในเมนูอาหาร ผู้ประกอบการต้อง คานึงถึงคุณภาพและมาตรฐานของส่วนประกอบต่างๆ อาทิ วัตถุดิบ เครื่องปรุงต่างๆ เพื่อความ ปลอดภัยในการบริโภค ดังนั้น หากผู้ประกอบการมีองค์ความรู้หรือจบการศึกษาด้านอาหารมา โดยตรง จะมีข้อได้เปรียบในการจัดหาวัตถุดิบที่หลากหลาย ซึ่งข้อได้เปรียบดังกล่าวยังส่ง ผลดีต่อ ต้นทุนธุรกิจบริการสอนทาอาหารอีกด้วย และสาหรับผู้ประกอบการที่ไม่มีองค์ความรู้ด้านอาหาร แต่มีใจรักและชอบทาอาหาร ควรเลือกใช้ วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานมา เรียบร้อยแล้ว เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคและสร้างมาตรฐานให้กับธุรกิจ ของตนเอง เช่น การเลือกใช้บูลเบอรี่กระป๋อง ผลไม้รวมกระป๋อง นอกจากความมีมาตรฐานของผลิตภัณฑ์แล้ว ยัง สามารถเก็บไว้ได้นานหรือประยุกต์ใช้แทนผลไม้สดได้

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-19


ข้

 อท้าทายในการทาธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 6. การเกิดใหม่ของคู่แข่งขัน 1. การถูกลอกเลียนแบบ 4. คุณภาพและมาตรฐาน ของธุรกิจ

5. ต้นทุนจากการใช้ 2. การรักษาฐานลูกค้า

3. ต้นทุนแรงงาน

เทคโนโลยี

ข้อท้าทายหรือข้อจากัดที่นาไปสู่ความล้มเหลวในการทาธุรกิ จนับเป็นความเสี่ยงที่ทุกธุรกิจต้องเผชิญ และเป็น เรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการดาเนินธุรกิจ ซึ่ง ส่งผลต่อความยั่งยืนทางธุรกิจ ทั้งด้านรายได้ ภาพลักษณ์ และ กระบวนการดาเนินงาน ดังนั้น การเรียนรู้ผ่านข้อท้าทายหรือข้อจากัดอย่างรอบด้านจะช่วยลดความเสี่ยงทาง ธุรกิจหรืออาจจะไม่ต้องเผชิญกับความเสี่ ยงดังกล่าวก็เป็นได้ ซึ่งในการทาธุรกิจบริการสอนทาอาหารประกอบ ไปด้วยข้อท้าทายในการดาเนินธุรกิจ ดังนี้ 1. การถู ก ลอกเลี ย นแบบ การถู ก ลอกเลี ย นแบบตั ว สิ น ค้ า หรื อ รู ป แบบการบริ ก าร เป็ น การ ลอกเลียนแบบความคิดสร้างสรรค์ที่ผู้ประกอบการธุรกิจสร้ างสรรค์ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบ ซึ่ง ผู้ ป ระกอบการส่ ว นใหญ่ ก็ มั ก จะล้ ม เหลว หรื อ ท าธุ ร กิ จ ไม่ ป ระสบความส าเร็ จ เพราะถู ก ผู้ประกอบการรายอื่นลอกเลียนแบบสินค้า/บริการ 2. การรักษาฐานลูกค้า ลูกค้ากลุ่มผู้เรียนทาอาหารมักเป็นกลุ่มที่ตัดสินใจเรียนตามแฟชั่น เป็นกลุ่ม ลูกค้าที่ไม่ยั่งยืน นับเป็นข้อท้าทายสาคัญสาหรับเจ้าของธุรกิจจะต้องคิดหากลยุทธ์เพื่อรักษาลูกค้า และขยายฐานลูกค้าให้กับธุรกิจ 3. ต้นทุนแรงงาน การทาธุรกิจด้วยการจ้างแรงงานแบบพาร์ทไทม์ หรือไม่ประจา เป็นอีกปัญหาของ ธุรกิจบริการสอนทาอาหารที่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ชานาญการทาอาหาร ซึ่งมีต้นทุนค่าจ้างที่ ค่อนข้างสูง วิธีการจ้างงานแบบพาร์ทไทม์หรือไม่ประจา จึงเป็นวิธีการที่เจ้าของธุรกิจเลือกใช้ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-20


ดังนั้น การบริหารจัดการแรงงาน คุณภาพของแรงงาน และมาตรฐานของแรงงาน จึงเป็นประเด็น ปัญหาส าคัญที่ส ามารถทาให้ การดาเนินธุรกิจไปไม่รอดหรือประสบความล้ มเหลวได้ในทันที สาหรับธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 4. คุณภาพและมาตรฐานของธุรกิจ ทั้งการรักษาคุณภาพและมาตรฐานของผู้สอน วัตถุดิบในการ ปรุงอาหาร อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ และมาตรฐานในการให้บริการ ซึง่ ล้วนเป็นองค์ประกอบ สาคัญและมีความเชื่อมโยงกันในธุรกิจบริการสอนทาอาหาร อาทิ  ผู้สอนหรือเชฟ ต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้และสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่าง ดี เนื่องจากในแต่ล ะหลักสูตรการเรียนการสอน ผู้เรียนจะมีความหลากหลาย ดังนั้น ความสามารถในการตอบข้อคาถามและการให้คาแนะนาที่เกี่ยวข้องกับการทาอาหาร นับเป็นตัวชี้วัดคุณภาพที่สาคัญของธุรกิจสอนทาอาหารที่มีความน่าเชื่อถือ  วั ต ถุ ดิ บ ต้ อ งเป็ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี คุ ณ ภาพและได้ ม าตรฐานเป็ น ไปตามกฎ ระเบี ย บและ ข้อบังคับต่างๆ เนื่องจากเมื่อผู้เรียนประกอบอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้เรียนจะนา อาหารดังกล่าวนั้นกลับไปบริโภคด้วย ดังนั้น คุณภาพและมาตรฐานของวัตถุดิบจึงเป็นสิ่ง สาคัญที่ผู้ประกอบการและผู้สอนต้องตระหนักถึง  อุปกรณ์เครื่องมือและเครื่องใช้ต่างๆ ต้องมีคุณภาพและได้มาตรฐาน หรือมีคุณสมบัติเพื่อ ใช้กับอาหารเท่านั้น 5. ต้ น ทุ น จากการใช้ เ ทคโนโลยี อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งครั ว ที่ ต้ อ งพึ่ ง พา เทคโนโลยี บ างประเภทมี ร าคาสู ง อาทิ ตู้ อ บเบเกอรี่ ซึ่ ง เป็ น ประเด็นปัญหาที่แก้ไขไม่ยากนักสาหรับผู้ประกอบการที่มีทุนสูง แต่ ส าหรั บ ผู้ ป ระกอบการที่มี ข้ อ จ ากัด ด้ า นการเงิ น และมี ค วาม จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือดังกล่าวก็นับเป็นข้อท้าทายที่ ต้องจัดการตั้งแต่เริ่มต้นคิดธุรกิจ 6. การเกิดใหม่ของคู่แ ข่ งขัน การเปลี่ ยนใจไปเรียนที่ธุรกิจบริการสอนทาอาหารอื่น เนื่องจาก แนวโน้มการเกิดใหม่ของคู่แข่งขัน ซึ่งเป็นข้อท้าทายที่เจ้าของธุรกิจต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และในที่สุดหากไม่ปรับตัวรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงดังกล่าว ธุรกิจก็มักจะต้องปิดกิจการ ดังนั้น การติดตามสถานการณ์และแนวโน้มตลาดจึงเป็นเรื่องสาคัญพื้นฐานของการทาธุรกิจในยุค ปัจจุบันที่คู่แข่งมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งที่เกิดจากแนวโน้มของคนรุ่นใหม่ส่วน ใหญ่ที่ต้องการเป็นเจ้าของกิจการ และการเปลี่ยนแปลงทางระบบเศรษฐกิจของภูมิภาคอาเซียนที่ จะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-21


กรณีศึกษาธุรกิจบริการสอนทาอาหารต้นแบบ

ตัวอย่างธุรกิจบริการสอนทาอาหาร เพื่อเปิดมุมมองและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ได้ ศึกษาแนวคิดและรูปแบบการทาธุรกิจที่สามารถทาได้หลากหลายรูปแบบ อาทิเช่น 1. Creative Kitchen “สนุกที่ได้ทา”

2. Ge'nie Chef “Be Ge'nie Chef Be Clever!”

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-22


C

 reative Kitchen “สนุกที่ได้ทา” เราสร้าง Trend Center เพื่อให้เหมาะสมกับไลฟ์สไตล์ ของคนในยุคปัจจุบันให้สามารถใช้เวลากับ ตนเอง ครอบครัว เพื่อน หรือ คนที่รัก รวมถึงยังเป็นกิจกรรมทางเลือกที่มีแบบแผน การเรียนการสอนที่เป็นมาตรฐาน ทั้งยังสามารถถ่ายทอดให้เข้าใจง่าย และสามารถนาไปปฏิบัติได้จริง Creative Kitchen ทาธุรกิจบนแนวคิดที่ท้าทายของกลุ่มคนรุ่นใหม่ในสาขาอาชีพเชฟ ด้วยแนวคิดที่กล้าจะ เปลี่ยนทัศนคติของคนไทยที่เดิมต้องการเรียนทาอาหารเฉพาะในโรงเรียนหรือสถาบันชื่อดังกับเชฟที่มีชื่อเสียง ให้ปรับทัศนคติมายอมรับกับการเรียนทาอาหารในโรงเรียนหรือสถาบันเล็กที่มีศักยภาพไม่แพ้กันและโดดเด่น ในการสร้างสรรค์เมนูอาหาร และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อย่างเช่น Creative Kitchen ทุกวันนี้

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-23


ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในองค์ ค วามรู้ ที่ ถ่ า ยทอดให้ กั บ ผู้เรียน  ให้ ค วามส าคั ญ กั บ เป้ า หมายของผู้ เ รี ย นทุ ก คนทุ ก ระดับ  ให้ความสาคัญกับงานสร้างสรรค์วิธีการสอน  ให้ ค วามส าคั ญ กั บ งานสร้ า งสรรค์ แ ละพั ฒ นาสู ต ร อาหาร  ให้ความสาคัญกับการเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ  ให้ความสาคัญกับการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ เน้ น ความสนุ กสนาน สร้ างบรรยากาศที่ผ่ อนคลาย แบบเป็นกันเอง  ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว รั บ กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ที่ มี ก า ร เปลี่ยนแปลงได้  มีใจรักและมุ่งมั่นพยายาม

คุณพีช ศุภธนิศร์ ศิวะพรพันธ์ ผู้ก่อตั้ง เป็นผู้ที่ได้รับ Certificate of Basic and Intermediate Cuisine, Le cordon bleu dusit, Bangkok, Thailand 2009 และ Certificate of Le cordon bleu of Patisserie, Le cordon bleu dusit , Bangkok, Thailand เมื่อเดือนมีนาคม 2555 มีหุ้นส่วนที่ประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาต่างๆ ทั้งด้านสายอาหาร สายวิชาการ และสายบริหาร ที่มีความชานาญในแต่ละสาขากว่าสิบปี รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (Workshop Style) ของ Creative Kitchen  Kids Class เพื่อให้เด็กที่มาเรียนได้เรียนรู้ และมีพัฒนาการทั้งทางสมองและร่างกาย การเรียนรู้ การอยู่ร่วมกับผู้อื่น และยังได้เรียนรู้คุณค่าทางโภชนาการของสารอาหารต่างๆ  Professional Class สาหรั บ ผู้ที่ ต้องการเรีย นรู้ก ารทาอาหารอย่ า งจริง จั ง เพื่ อน าไปใช้ ใ น ชีวิตประจาวันอันเร่งรีบ โดยใช้อุปกรณ์ที่มีในครัวที่บ้าน ก็สามารถทาอาหารฝีมือระดับ Chef ร้านอาหารดังได้ สามารถนาไปทาได้จริง  Foreigners Class สาหรับลูกค้าที่ต้องการเรียนรู้การทาอาหารไทย มีทั้งการเรียนระยะสั้น เพียง 3 ชั่วโมง ก็สามารถนากลับไปทาอาหารไทย โดยเรียนรู้วัฒนธรรมไทยไปพร้อมๆ กัน หรือ ครอบครัว Expat ที่ภรรยามีเวลาว่างช่วงกลางวัน สามารถมาฝึกฝนฝีมือการทาอาหารกับกลุ่ม เพื่อน เพื่อสังสรรค์ และเรียนรู้การทาอาหารนานาชาติ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-24


Signature Class เพื่อเปิดสอนการทาอาหารที่เป็นอาหาร Signature ของโรงเรียน เหมาะ สาหรับคนที่สนใจความแปลกใหม่ของวิธีการทาอาหารและวัตถุดิบ เพื่อนามารังสรรค์เป็นเมนูที่ไม่ เหมือนใคร ทั้งคาวและหวาน Private class เป็นกิจกรรมพิเศษ Private Class ที่สามารถ Customize ได้ตามต้องการ จะ เรียนคนเดียว สองคนหรือเป็นกลุ่มก็สามารถวางแผนการทาอาหาร สามารถเลือกเมนูที่ต้องการ ทาได้เองเป็น Set สามารถสร้างเป็นกิจกรรมกับกลุ่มเพื่อนสนิท สังสรรค์ ปาร์ตี้ หรือรวมกลุ่มทา กิจกรรมวันหยุด ทางโรงเรียนจะมี Chef คอยดูแลการสอนเป็นกรณีพิเศษ รวมถึงการไปสอนนอก สถานที่

Creative Kitchen มีแนวคิดในการสร้างกิจกรรมยามว่างให้กับทุกคนในครอบครัว เพื่อน คนรัก โดยจัดให้ มีห้องเรียนที่หลากหลายทั้งอาหารและขนม มีบรรยากาศการสอนแบบเป็นกันเอง พร้อมด้วยอุปกรณ์ที่ครบ ครัน ทันสมัย อีกทั้งผู้เรียนก็สามารถกาหนดเวลาเรียนได้ด้วยตัวเอง และ Creative Kitchen ได้มีการกาหนด หลักการดาเนินธุรกิจสาคัญไว้แบ่งเป็น ด้านหลัก ดังนี้ 3 1) ด้านคุณภาพ (Quality) - คัดสรรวัตถุดิบคุณภาพสูงจากทั่วทุกมุมโลก - อุปกรณ์ทันสมัย ปลอดภัย ครบคัน แต่สามารถหาใช้ได้ในชีวิตจริง - เมนูอาหารมีการปรับปรุงสูตรให้ถูกปากกับคนไทย และสามารถหาซื้อวัตถุดิบไปทาได้จริง - ลงมือปฏิบัติเองในทุกขั้นตอน 2) ด้านความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) - เปิดจินตนาการทางความคิด ให้สร้างสรรค์ผลงานของแต่ละบุคคล - ตารางเรียนมีความหลากหลาย และสามารถปรับได้ตามความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า - พร้อมให้คาปรึกษา และตอบคาถามทุกข้อสงสัยหลังจบการเรียนหรือตลอดเวลาที่พบปัญหา - สาหรับการเรียนการสอนของเด็ก ทุกเมนูอาหาร และขนม ได้วางหลักสูตรให้สัมพันธ์และ สอดคล้ องกับ พัฒ นาการของเด็กในแต่ล ะช่ว งวัย พร้อมทั้ง เปิดโอกาสทางความคิด และ จินตนาการอย่างไร้ขีดจากัด 3) ด้านความปลอดภัย (Safety) - ด้านความปลอดภัยในการเรียนการสอนของเด็ก เราสามารถรับผิดชอบ บุตรหลานของท่าน ให้ได้รับความปลอดภัยสูงสุด จากคณะผู้สอน และพนักงานรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง - มีประกันอุบัติเหตุให้กับนักเรียนที่มาเรียนทุกท่าน โดยทาประกันภัยกับบริ ษัทชั้นนา บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต คุ้มครอง เข้าถึงข้อมูลได้ที่ Creative Kitchen / Facebook: https://www.facebook.com/creativekitchenschool ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-25


Ge'nie Chef “Be Ge'nie Chef Be Clever!”

เราให้มากกว่าการทาอาหาร เรียนรู้ทักษะชีวิต ส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการ ทั้งคณิตศาสตร์, ภาษาศาสตร์, วิทยาศาสตร์, สังคมศึกษา, สุขศึกษา, โภชนาการ, ประเพณี วัฒนธรรม ผ่านการทาอาหารนานาชาติเป็นภาษาอังกฤษ Ge’nie Chef เติบโตได้จากวิกฤตที่เปลี่ยนมาเป็นโอกาส และเจตนาที่ดีที่ต้องการเห็นเด็กน้อยมีคุณภาพชีวิต ที่ดีได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน ด้วยประสบการณ์ตรงของครอบครัว และความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ที่นามา ปรับใช้กับการประกอบธุรกิ จที่ให้ความสาคัญกับพัฒนาการของเด็ก จะเห็นได้กลุ่ มลูกค้าและตลาดเป็นก้าว สาคัญก้าวแรกของการคิดทาธุรกิจของ Ge’nie Chef ที่ประสบความสาเร็จมาได้ในทุกวันนี้ และเป้าหมาย สูงสุด ของ Ge’nie Chef ก็คือการขยายธุรกิจในลักษณะแฟรนไชส์มากกว่าที่จะขยายเอง เนื่องจากมีหลายคน แสดงความสนใจมา ไม่ว่าจะเป็น ที่ลาปาง หาดใหญ่และกรุงเทพฯ ซึ่งอีกไม่นานคงจะพร้อม เพราะเริ่มทา ระบบแฟรนไชส์ไว้แล้ว ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-26


ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  คิดสร้างสรรค์กิจกรรมแปลกใหม่สาหรับเด็ก  หลักสูตรตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมาย ที่ทาให้เด็กกินอาหารได้มากขึ้น  หลักสูตรสามารถช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางสมองที่ดีขึ้น มีสมาธิดีขึ้น  การให้ข้อมูลและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายสาคัญของสถาบัน กับกลุ่มเป้าหมายอย่าง ต่อเนื่อง  มีใจรักและมุ่งมั่นพยายาม

เป้าหมายสูงสุด คือ การขยายธุรกิจในลักษณะแฟรนไชส์มากกว่าที่ จะขยายเอง เนื่องจากมีหลายคนแสดงความสนใจ มา ไม่ว่าจะเป็น ที่ลาปาง หาดใหญ่และกรุงเทพฯ ซึ่งอีกไม่นานคงจะพร้อม เพราะเริ่มทาระบบแฟรน ไชส์ไว้แล้ว

Ge’nie Chef เป็นสถาบันที่ให้ “มากกว่าการทาอาหาร” โดย คุณรดา อดุลตระกูล ผู้ก่อตั้งสถาบันเสริม ทักษะ และพัฒนาการของเด็กผ่านการทาอาหารแห่งแรกในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นคนรุ่นใหม่ที่เห็นโอกาสการทา ธุรกิจจากปัญหาการเลือกกินอาหารของลูกน้อยวัยขวบเศษ ประสบการณ์นี้จุดประกายให้รดาสร้างสถาบันสอน ทาอาหารสาหรับเด็กในชื่อ Genie Chef School ขึ้นมาเพราะรอบตัวเธอต่างมีพ่อแม่ที่เผชิญปัญหาเดียวกับ เธอ ด้ว ยการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน 2 ภาษา คือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และถูกออกแบบให้ เหมาะสมกับเด็กๆ ตั้งแต่อายุ 3 ขวบ จนถึง 12 ปี โดยมีแนวความคิด คือ “Be Ge’nie Chef…Be Clever” Ge’nie Chef มีแนวคิดในการทาธุรกิจด้วยการเชื่อมโยงความรู้และทักษะที่สาคัญสาหรับเด็กๆ ในด้านต่างๆ เป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและพัฒนาสมองสาหรับเด็กๆ ซึ่งสรุปได้ดังต่อไปนี้ การเชื่อมโยงสู่ความรู้สาขาในต่างๆ ให้กับเด็ก 1) คณิตศาสตร์ : ไม่ว่าจะเป็นการนับจานวน (Counting) เศษส่วน (Fractions) การแยกประเภท (Sorting) การชั่งตวงวัด (Measuring) น้าหนัก (Weighing) รูปร่าง สี (Shapes & Colors) ลาดับ (Sequencing) การเงิน (Money) และการแก้ปัญหา (Problem Solving) 2) วิทยาศาสตร์และเคมี : รู้จักและเข้าใจรู้ถึงที่มาว่าอาหารมีหลายประเภทหลายกลุ่ ม ทั้งโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เป็นต้น ทั้งรู้จักรสชาติ เปรี้ยว หวาน ขม เค็ม เผ็ด และอื่นๆ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-27


3) ได้ทาการทดลอง การทานาย ผ่านห้องครัว เช่น รู้จักสังเกตการเปลี่ยนแปลงของอาหาร ก่อนปรุง ขณะปรุงและหลังการปรุง ทั้งรูป สีกลิ่น รสชาติ รู้จักความร้อน การต้ม การเดือด การเปลี่ยน สถานะ เป็นต้น 4) ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าอย่างเต็มที่ ทั้งการดู การฟัง การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น 5) ได้ความรู้เรื่องการปลูกและเติบโตมาของอาหารแต่ละอย่าง  ภาษาศาสตร์ : เด็ก จะได้รั บความสนุก สนานผ่ านหลั ก สู ต รสองภาษา ที่ จะสอนเน้น เป็ น ภาษาอังกฤษเป็นหลัก  ภูมิศาสตร์ : เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมเครื่องปรุงอาหารในแต่ละภูมิภาค แต่ละประเทศของ โลก ได้ความรู้เรื่องว่าอาหารแต่ละอย่าง ปลูกและเติบโตกันที่ไหนบ้างในโลก  ประวัติศาสตร์ : เรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาของ อาหาร ผัก ผลไม้ รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น อาหารประจาชาติ อาหารประจาครอบครัว (สูตรเด็ดของครอบครัวตัวเอง) และ ความเป็นมา การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ ให้กับเด็ก 1) ศิล ปะ : ได้พัฒ นาทักษะความคิ ดสร้างสรรค์ จิ นตนาการ สู ตรใหม่ๆ อาหารของตัว เอง การ ออกแบบ การประดิษฐ์ ไม่ว่าจะเป็นการปั้น การแกะสลัก ตกแต่ง ใช้สี จัดวางอาหาร หรือ จัดวาง อุปกรณ์ต่างๆ 2) ความปลอดภัย : เด็กได้เรียนรู้การใช้เครื่องครัวและอุปกรณ์ต่างๆ แก๊ส ไฟฟ้า ความร้อน อะไรที่ ปลอดภัย และอะไรที่ทาให้ เกิดอันตรายได้บ้าง เด็กจะได้เรียนรู้ และรู้จักระมัดระวังทุกครั้งที่ใช้ เครื่องครัวต่างๆ และ เข้าครัวทาอาหารได้ ด้วยความปลอดภั ย และการเรียนรู้ในเรื่องส่วนผสม จากการอ่านฉลากและดูวันหมดอายุ 3) ด้านพัฒนาการทางสมอง สังคม และอารมณ์ (EQ) : การเรียนทาอาหารที่ส่งเสริมพัฒนาการด้าน ต่างๆ อีกทั้งทางสมอง สังคม และอารณ์แก่เด็กๆ อีกด้วยทั้งทักษะต่างๆ ในการทาอาหาร ทัศนคติที่ดี เด็กๆ จะได้เรียนรู้โภชนาการและสุขอนามัย เป็นการปลูกฝังเรื่องการกินอาหารที่ดีมีประโยชน์ และรู้ว่าอะไร เป็นโทษไม่ควรกิน หรืออาหารอะไรที่เราแพ้บ้างและมีอาการอย่างไร และเรียนรู้เรื่องการรักษาความสะอาด เพื่อสุขอนามัยที่ดี เช่น การล้างมือก่อนทาอาหาร การล้างผัก ผลไม้ และการทาความสะอาดภาชนะต่างๆ โต๊ะ จานถ้วย แก้ว เป็นต้น เข้าถึงข้อมูลได้ที่ Ge’nie Chef Website: http://www.geniechefschool.com

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการสอนทาอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-28


2

ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ (Online food Service)

ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ หมายถึง การดาเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายและบริการอาหาร โดยอาศัยช่องทางอินเทอร์เน็ตในการประกอบธุรกิจ เช่น การติดต่อลูกค้า การประชาสัมพันธ์ การขายสินค้า การรับชาระเงิน ฯลฯ ในรูปแบบของการจัดทาเว็บไซด์เป็นของตนเองหรือร้านค้าออนไลน์ การทาธุรกิจผ่าน เว็บไซด์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบของการประกาศซื้อ-ขาย (E-Classified) การทาธุรกิจผ่านตลาดกลาง อิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketing) หรือการทาธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ผ่านสื่ อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ อาทิ เฟสบุ๊ค (Facebook) หรืออินสตราแกรม (Instagram) เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-29


ปัจจุบันมีผู้ประกอบการในธุรกิจอาหารเป็นจานวนมาก ที่มีไอเดียและความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้า และบริ การอาหาร แต่มีข้อจ ากัดด้านเงิน ทุนโดยเฉพาะการลงทุนเรื่องการจัดหาสถานที่ห รือร้านค้าเพื่อ จ าหน่ า ยสิ น ค้ า ดั ง นั้ น ช่ อ งทางการจ าหน่ า ยสิ น ค้ า อาหารออนไลน์ จึ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ กที่ จ ะท าให้ ผู้ประกอบการหน้าใหม่ สามารถก้าวเข้าสู่ธุรกิจอาหารสร้างสรรค์ได้ เพียงยกร้านค้าหรือหน้าร้านไปไว้บนสื่อ ออนไลน์ต่างๆ หรือเรียกได้ว่าเป็นการยกร้านขายอาหารสร้างสรรค์มาไว้บนโลกออนไลน์ เพื่อช่วยลดต้นทุนใน การจาหน่าย และเปิดโอกาสให้ค้าขายง่ายและสะดวกมากขึ้น

ยุคทองของร้านค้าออนไลน์ ยุคนี้ถือได้ว่าเป็นยุคทองของธุรกิจออนไลน์ ซึ่งจะสังเกตได้ว่าปัจจุบันไม่ว่าธุรกิจขนาดเล็กขนาดใหญ่ไปจนถึง ผู้ประกอบการหน้าใหม่และนักธุรกิจมือสมัครเล่นต่างให้ความสนใจและเริ่มต้นทาธุรกิจในระยะแยกด้วยการใช้ สื่อออนไลน์ที่มีอยู่มากมายหลายประเภท ไม่ว่าจะเริ่มต้นจากการทาเว็บไซด์เป็นของตัวเอง การใช้สื่อสังคม ออนไลน์ที่มีอยู่ หรือแม้แต่การเปิดร้านค้าออนไลน์กับ เว็บไซด์ขายสินค้าต่างๆ ที่มีอยู่เป็นจานวนมาก ในปี 2555 มีคนไทยใช้อินเทอร์เน็ตมากกว่า 25 ล้านคน และพฤติกรรมการหาข้อมูลข่าวสารทางอินเทอร์เน็ตมาก เป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค มีสินค้าผู้ประกอบการไทยที่ข ายอยู่ในโลกออนไลน์มากกว่า 10 ล้าน รายการแล้ว1 และยังคงมีแนวโน้มเติบโตเพิ่มมากขึ้น โดยในภาพรวมของตลาดของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-Commerce ของประเทศไทยคิดเป็นมูลค่ากว่า 14,700 ล้านบาทในปี 25552 อย่างไรก็ตาม แม้กระบวนการเริ่มต้นทางธุรกิจออนไลน์จะเป็นกระบวนการที่ไม่ยุ่งยาก ใช้เงิ นลงทุนไม่มาก อยากเริ่มเมื่อไหร่ก็ได้ แต่ด้วยความง่ายในการเริ่มต้นธุรกิจไม่ได้หมายความว่า “จะประสบความสาเร็จ ” ได้ อย่างง่ายๆ เช่นเดียวกับการเริ่มต้นธุรกิจออนไลน์ ซึ่งในปัจจุบันการดาเนินธุรกิจออนไลน์หรือเว็บไซต์พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์สามารถแยกได้ 5 ประเภทดังนี้3 1. เว็บไซต์แคตตาล็อกสินค้าออนไลน์ (Online Catalog Web Site) โดยภายในเว็บไซต์ได้ รวบรวมทั้งรูปภาพและรายละเอียดของสินค้าเพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกซื้อสินค้า พร้อมระบุที่อยู่สาหรับการติดต่อกลับลูกค้า จะไม่มีระบบการชาระเงินผ่านเว็บไซต์และตะกร้า สินค้า (Shopping Cart) โดยผู้ที่สนใจจะซื้อสินค้าต้องทาการติดต่อกับเจ้าของร้านค้าออนไลน์นั้น โดยตรง 2. ร้านค้าออนไลน์ (E-Shop Web Site) เป็นรูปแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่สมบูรณ์โดย ภายในเว็บไซต์ได้รวมไว้ทั้งระบบการจัดการสินค้า ตะกร้าสินค้า (Shopping Cart) ระบบการ

1

บทความ 9 แนวโน้มการค้าออนไลน์ไทยปี 2556, สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.). บทความเตือนซื้อสินค้า Online กับเว็บไซต์ที่ได้มาตรฐานเท่านั้น, สานักพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เมษายน 2556. 3 โครงการพัฒนาธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทยสู่มาตรฐานสากล, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2556. 2

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-30


3. 4.

5.

6.

ชาระเงินรวมถึงการขนส่งไว้ครบ โดยผู้ที่สนใจจะซื้อสินค้าสามารถสั่ งซื้อและทาการชาระเงินผ่าน เว็บไซต์ได้ทันที การประมูลสินค้า (Auction) เป็นรูปแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่นาเสนอการประมูล สินค้าโดยเป็นการแข่งขันกันระหว่างผู้ที่ต้องการสินค้าที่จัดไว้สาหรับการประมูล การประกาศซื้อ-ขาย (E-Classified) เป็นรูปแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เปิดโอกาสให้ ผู้ ที่ส นใจลงประกาศความต้องการซื้อ -ขายสิ นค้าของตน โดยเว็บ ไซต์จะทาหน้ าที่เหมือนกั บ กระดานข่าวและตัวกลางในการแสดงข้อมูลของสินค้าต่างๆ หากมีผู้สนใจจะซื้อสินค้าต้องทาการ ติดต่อโดยตรงไปยังผู้ที่ลงประกาศได้ทันทีตามข้อมูลที่ประกาศไว้ ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketing) เป็นรูปแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ทาหน้าที่ เป็นตลาดนัดขนาดใหญ่ โดยภายในเว็บไซต์จะมีการรวบรวมเว็บไซต์ของร้านค้าและบริษัทต่างๆ มากมายโดยมีการแบ่งหมวดหมู่ของสินค้าเอาไว้เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้า ไปดูสินค้าภายในร้านค้า ต่างๆ ภายในตลาดได้อย่างง่ายดายและสะดวก เช่น ตลาดสินค้าทั่วไป www.TARAD.com และ เว็บไซต์ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ของสินค้า OTOP อย่าง www.thaitambon.com เป็นต้น การสร้างเว็บไซด์ของตนเอง เหมาะสาหรับธุรกิจที่มีเงินลงทุน และมีเครื่องหมายการค้าของ ตัวเอง ถึงแม้ว่าจะเสียค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าและต้องอัพเดทข้อมูลต่างๆ อยู่ตลอดเวลา แต่สามารถจัด หน้ า ร้ า น และให้ ร ายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ตั ว สิ น ค้ า เพื่ อ การช่ ว ยตั ด สิ น ใจของผู้ ซื้ อ ได้ ม ากกว่ า นอกจากนี้ยังสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นจากการคิดค่าบริการในการลงโฆษณาสินค้า

นอกจากเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวแล้ว ปัจจุบันยังมีผู้ประกอบการเป็นจานวนมากหันมาทาธุรกิจ ออนไลน์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่กาลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเป็นจานวนมากในปัจจุบัน และสื่อสังคม ออนไลน์เหล่านี้ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของประชาชนทั่วไปเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นสื่อที่สามารถ เข้าถึงง่าย สะดวกและรวดเร็ว ทั้งนี้ ส่วนหนึ่งมาจากสมาร์ทโฟนในปัจจุบันมีราคาถูกลง มีการเข้าถึงระบบ สัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลให้ สังคมคนรุ่นใหม่ในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้ องกับโลก ออนไลน์อยู่ตลอดเวลาและเกือบร้อยละ 40 ของผู้ใช้สมาร์โฟนทั่วโลกเข้าสู่โลกออนไลน์ก่อนที่จะลุกจากเตียง ด้วยซ้าไป และการเติบโตอย่างก้าวกระโดของเทคโนโลยีต่างๆ ของโทรศัพท์จึงส่งผลให้พฤติกรรมของผู้บริโภค ในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว รวมถึงพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าหรือการช๊อปปิ้งสินค้าผ่านโลก ออนไลน์ จึงส่งผลต่อการทาธุรกิจหรือการขายสินค้าผ่านสังคมออนไลน์ จากการส ารวจพฤติ ก รรมการใช้ อิ น เตอร์ ใ นประเทศไทย ในปี 2556 พบว่ า คนไทยมี พ ฤติ ก รรมการใช้ อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 32 ชั่วโมง/สัปดาห์ โดยคนส่วนใหญ่ที่ใช้อินเตอร์เน็ตร้อยละ 93.8 นิยมใช้โซเชียลมีเดีย โดย ร้อยละ 92.2 ใช้ Facebook ร้อยละ 63.7 ใช้ Google+ และร้อยละ 61.1 ใช้โปรแกรมไลน์ (Line)4

4

สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ .หรือ สพธอ (องค์การมหาชน)

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-31


และเมื่อสารวจพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริ การผ่านโซเชียลมีเดีย พบว่า คนไทยที่ใช้โซเชียลมีเดีย ร้อยละ 49.7 เคยซื้อสินค้าผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย โดยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงถึงร้อยละ 55.9 โดยมีสาเหตุมาจาก ความสะดวกสบายในการซื้อ สิ น ค้ าถึ งร้ อ ยละ 76.0 5 และเมื่ อเที ยบย้ อนหลั ง ไป 12 ปี ยังพบว่า คนไทยมี พฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 76.3 โดยพฤติกรรมที่คนไทยใช้มากที่สุดคือ การซื้อสินค้า และบริการผ่านโซเชียลมีเดีย6 โดยเฉพาะผู้คนในเมืองใหญ่นิยมใช้อินเทอร์เน็ตทุกที่ทุกเวลา จึงผลักดันให้ตลาด ออนไลน์ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น และคาดการณ์ว่าในปี 2561 จะมีผู้ใช้สมาร์ทโฟนมากถึง 3,300 ล้านคนเลย ทีเดียว7 ผลการสารวจการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ต

ที่มา: สพธอ8.

จากการขยายตัวของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่เพิ่มมากขึ้น จะเห็นได้ว่าปัจจุบันมีผู้ประกอบการออนไลน์หน้า ใหม่ เ กิ ด ขึ้ น มากมาย โดยเฉพาะผู้ ป ระกอบการหน้ า ใหม่ ใ นสั ง คมออนไลน์ ป ระเภทต่ า งๆ อาทิ เฟสบุ๊ ค (Facebook) บล็อกเกอร์ (Blogger) หรืออินสตราแกรม (Instagram) เป็นต้น ซึ่งการทาธุรกิจออนไลน์ก็มีทั้ง ข้อดีและข้อเสีย เช่น ข้อดี 1. การค้าออนไลน์มีความอิสระ ไร้พรมแดน สามารถ เริ่มต้นธุรกิจคนเดียวได้ ลูกค้าสามารถเข้าถึงข้อมูล สินค้าของเราได้ทุกที่ทุกเวลาและสามารถเข้าถึงกลุ่ม ลูกค้าเป้าหมายได้อย่างขัดเจน 2. มีต้นทุนในดาเนินงานต่า ไม่จาเป็นต้องมีหน้าร้านหรือ เช่าพื้นที่ขายเพื่อสต๊อกสินค้า การดูแลและบริหาร

ข้อเสีย 1. มีการแข่งขันสูง ใครๆ ก็สามารถทาได้ เนื่องจากการ เริ่มต้นธุรกิจใช้เงินลงทุนไม่สูงมากนัก 2. พ่อค้าแม่ขายไม่มีมาตรฐานการกาหนดราคา จึงมีการ ตัดราคากันเกิดขึ้น 3. สินค้าไม่สามารถจับต้องได้ จนกว่าจะถูกส่งถึงมือ ลูกค้า ลูกค้าบางท่านยังไม่เชื่อมั่นกล้าที่จะตัดสินใจซื้อ

5

รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 (สพธอ.). พฤติกรรมคนไทยใช้อินเตอร์เน็ตซื้อสินค้าสูงขึ้น, สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. 7 สืบค้นออนไลน์กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ http://www.uni.net.th/backend/uninews/news.php?name=2013022438. 8 รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2556. 6

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-32


ข้อดี จัดการง่าย ไม่จาเป็นที่จะต้องมีพนักงานขายก็ได้ และ มีความยืดหยุ่นในการปรับปรุงและเพิ่มความ หลากหลายของสินค้าได้ง่าย 3. สามารถสื่อสารกับลูกค้าได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม 4. การชาระเงินมีความสะดวก สบาย และทันสมัยโดย ผ่านระบบออนไลน์,บัตรเครดิต 5. ลดความเสียง ต่อการถูกโจรกรรม และจากภัย ธรรมชาติ มีการสนับสนุนจากทางภาครัฐและเอกชน กันมากขึ้น

ข้อเสีย 4. ถ้าไม่มีความรู้เกีย่ วกับการดูเว็บไซต์ที่ดีพอเสี่ยงต่อการ ติดไวรัส และอาจถูกเจาะระบบได้

ความเสี่ยงกับธุรกิจออนไลน์9 เมื่อเปรียบเทียบข้อดีกับข้อเสียแล้ว ยังพบว่าการทาธุรกิจประเภทออนไลน์ยังมีข้อได้เปรียบกว่าการทาธุรกิจใน รูปแบบอื่นๆ แต่หากพิจารณาในด้านความเสี่ยงของการประกอบธุรกิจยังพบว่า ความเสี่ยงในการประกอบ ธุรกิจออน์ไลน์ประกอบไปด้วยปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. ผู้ประกอบการขาดความรู้ด้านเว็บไซต์ ไม่สามารถพัฒนาหรือไม่อัพเดทข้อมูลใหม่ๆ ของตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง 2. ผู้ประกอบการขาดการโปรโมทสินค้าและเว็บไซต์ เนื่องจากการธุรกิจหรือขายสินค้าออนไลน์ จาเป็นต้องอาศัยการโปรโมทสินค้า 3. การบริหารจัดการต้นทุนของสินค้า หากสินค้ามีราคาแพงและต้องมีการสต๊อกสินค้า ก็จะเป็น ความเสี่ยงของผู้ประกอบการในการจาหน่ายสินค้าที่มีราคาเพิ่มสูงขึ้น 4. การให้บริการลูกค้า ต้องสามารถอานวยความสะดวกและให้บริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากกลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการร้านค้าออนไลน์ เป็นกลุ่มที่ต้องการความสะดวกและรวดเร็ว และ ลูกค้ากลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีทางเลือกในการจับจ่ายสินค้าบนโลกออนไลน์มาก ทาให้เปลี่ยนใจและไป เลือกซื้อสินค้าจากร้านค้าออนไลน์อื่นๆ ได้ง่าย หากไม่ประทับใจกับการให้บริการ กิจกรรมหลักๆ ของธุรกิจบริการอาหารออนไลน์จะประกอบไปด้วย  การขายสินค้า ซึ่งประกอบไปด้วยการโฆษณา การแสดงสินค้า การนาเสนอราคา การสั่งซื้อ การคานวณราคาสินค้า หรือแม้แต่การส่งเสริมการขายในรูปแบบต่างๆ เช่น การให้ส่วนลด การบริการจัดส่งฟรี เป็นต้น ซึ่งกระบวนการต่างๆ เหล่านี้ลูกค้าต้องสามารถพบเห็นสินค้า สอบถาม และดาเนินการสั่งซื้อผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้ 9

เว็บไซด์ไทยอาชีพ © 2012 thaiarcheep.com.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-33


 การชาระเงิน การตกลงวิธีชาระเงิ น สั่งโอนเงิน ให้ข้อมูลบัญชีธนาคารที่ใช้ตัดบัญชี หรือตัด บัตรเครดิต ตลอดจนเงินดิจิทัลรูปแบบใหม่ๆ ต้องมีการแสดงรายละเอียดที่ชัดเจน เพื่อสร้าง ความมั่นใจให้กับลูกค้าที่ต้องการซื้อสินค้า  การขนส่ง แจ้งวิธีการส่งมอบของ ค่าขนส่ง และสถานที่ติดต่อและระบบติดตามสินค้า ที่จัดส่ง ไปให้ลูกค้า  บริการหลังการขาย การติดต่อสอบถามหรือให้ข้อเสนอแนะ คาติชมต่างๆ ตลอดจนการตอบ ข้อซักถามและแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าให้แก่ลูกค้า เมื่อลูกค้ามีข้อสงสัยหรือ ต้องการข้อเสนอแนะ หากวันนี้จะพูดถึง “ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์” เราสามารถพบเห็นได้ทั่วไปตามเว็บไซด์ต่างๆ ซึ่งหากแยก รูปแบบของการบริการออนไลน์ตามลักษณะของสินค้า สามารถแยกได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ธุรกิจอาหาร ออนไลน์แบบซื้อมา-ขายไป และธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ในลักษณะของผู้ผลิต –จาหน่าย–บริการ ดังนั้น สาหรับธุรกิจบริการอาหารออนไลน์แบบซื้อมาขายไป การดาเนินธุรกิจต่างๆ จะคล้ายคลึงกับการซื้อขายสินค้า ทั่วไป ซึ่งธุรกิจประเภทนี้สามารถใช้การแข่ งขันด้วยราคาได้ เนื่องจากส่วนใหญ่ จะเป็นสินค้าที่เหมือนหรือ คล้ายคลึงกัน สินค้านั้นๆ เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคอยู่แล้ว แต่ผู้บริโภคเปลี่ยนไลฟ์สไตล์การซื้อสินค้าจากการตาม สถานที่ต่างๆ เป็นการซื้อสินค้าบนสื่อออนไลน์เท่านั้น ซึ่งธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ประเภทนี้การแข่งขันด้าน ราคาเป็นสิ่งสาคัญ ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์แบบซื้อมา-ขายไป

ที่มา: http://namnuntawan.com.

สาหรับ “ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ” ในคู่มือฉบับนี้จะให้ความสาคัญกับธุรกิจ ออนไลน์จากสินค้าอาหาร สร้างสรรค์ โดยอาศัยช่องทางการจัดจาหน่ายผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายในการลงทุน การแข่งขันใน ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ให้ความสาคัญและเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัวสินค้าอาหารสร้างสรรค์ เพื่ อ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-34


สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการ ที่มิใช่เพียงการซื้อมาและขายไปซึ่งเป็นธุรกิจที่เน้นการแข่งขันทางด้านราคา เป็นสาคัญ

คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ

คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ นอกจากจะมีความรู้ด้านอาหารแล้ว ผู้ประกอบการควร มีความรู้ด้านเทคโนโลยีหรือการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต ประเภทต่างๆ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการทาง ธุรกิจของตนเอง เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ทางการค้าผ่านระบบออนไลน์ โดยเฉพาะผู้ประกอบการที่มีเว็บไซด์ เป็นของตนเอง เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการดูแลระบบต่างๆ ของกิจการซึ่งเปรียบเสมือนหน้าร้านหรือภาพลักษณ์ ของกิจการ การบริหารจัดการเว็บไซด์หรือการออกแบบหน้าตาของเว็บไซด์ ต้องมีการปรับปรุงและพัฒนา อย่างต่อเนื่อง และมีความสอดคล้องกับสินค้าและบริการอาหารที่นาเสนอลูกค้า ได้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายและ ตัวสินค้าที่นาเสนอ เช่น กลุ่มลูกค้าวัยรุ่น วัยทางาน หรือวัยเด็ก เนื่องจากผู้บริโภคกลุ่มนี้มีลักษณะแตกต่างจาก ผู้บริโภคทั่วไป หรือเรียกง่ายๆ ว่า “เป็นกลุ่มผู้บริโภคที่สามารถเสาะหาข้อมูลต่างๆ” ได้อย่างรวดเร็วและ รอบคอบ เนื่องจากเป็นกลุ่มที่ใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเป็นหลัก นั่นแสดงว่ากลุ่มลูกค้ากลุ่ มนี้สามารถเข้าถึงธุรกิจ บริการอาหารออนไลน์ของผู้ประกอบการรายอื่นๆ ได้อย่างง่ายดายด้วยเช่นกัน

 ารเริ่มต้นธุรกิจ การเริ่มต้นธุรกิจผู้ประกอบการควรศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจ ซึ่งจะช่วยให้ ผู้ประกอบการสามารถมองเห็นกิจกรรมต่างๆ ที่มีความต่อเนื่องกัน การวางแผนจะช่วยลดความเสี่ยงในการ ดาเนินธุรกิจ ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการเริ่มต้นเป็นผู้ประกอบการในธุรกิจบริการอาหาร ออนไลน์ ผู้ประกอบการควรศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องในกระบวนการทาธุรกิจ โดยอาศัย Business Model Canvas ซึ่งประกอบไปด้วยสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่สาคัญ 9 ด้าน ดังนี้ 1. กาหนดกลุ่มลูกค้า (Customer Segments) ตลาดสินค้าออนไลน์เกือบทุกประเภท กลุ่มลูกค้าเป้าหมายส่วนใหญ่จะคนรุ่นใหม่ มีไลฟ์สไตล์และ มีรูปแบบในการดาเนินชีวิตบนโลกอินเทอร์เน็ต ชอบและใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นกิจวัตร และเป็นกลุ่มคนที่ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-35


ชอบแสวงหาสิ่งใหม่ๆ ดังนั้น ผู้ประกอบการควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะเข้ามาใช้บริการทั้งในปัจจุบันและ แนวโน้มในอนาคต เพื่อสามารถวางแผนในการดาเนินธุรกิจได้อย่างตรงกลุ่มเป้าหมาย เช่น  กลุ่มลูกค้าช่างเลือก (ตั้งใจและมีเป้าหมายที่จะซื้อ ชัดเจน) เป็นกลุ่มลูกค้าที่เน้นสินค้าและ บริการอาหารที่สามารถตอบสนองความต้องการของตนเองได้อย่างแท้จริง ให้ความสาคัญกับ การเสาะหาข้ อ มู ล ของสิ น ค้ า และบริ ก ารอาหารนั้ น ๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น การหาข้ อ มู ล จากผู้ มี ประสบการณ์หรื อหาข้อมูล จากสื่ออินเทอร์เน็ต พฤติกรรมของลูกค้ากลุ่ มนี้มักจะรู้ความ ต้องการของตนเอง แต่จะเลือกสรรสิ่งที่ดีที่สุดให้กับตนเอง เช่น บริการเค้กออนไลน์ ลูกค้ามี เป้าหมายที่ชัดเจนว่าต้องการเค้กไขมันต่า ซึ่งลูกค้ามีเป้าหมายชัดเจน เพียงแต่ต้องการเค้ก ไขมันต่าที่มีส่วนผสมหรือรูปลักษณ์ที่ตรงกับที่ตนเองต้องการ ดังนั้น สินค้าและบริการอาหาร ที่ผู้ประกอบการนาเสนอผ่านสื่อออนไลน์ ควรมีอัตลักษณ์ที่ชัดเจน  กลุ่มลูกค้านักแสวงหา (ตั้งใจแต่ยังไม่มีเป้าหมายทีช่ ัดเจน) เป็นกลุ่มลูกค้าที่ต้องการสินค้าและ บริการอาหารที่มีความแปลกใหม่ไม่เหมือนใคร การเลือกซื้อสินค้าโดยส่วนใหญ่เกิดจากการ ตัดสินใจซื้อโดยลาพัง การหาข้อมูลในตัวสินค้าและบริการอาหารน้อยกว่ากลุ่มลูกค้ากลุ่มแรก เช่น บริการเค้กออนไลน์ ลูกค้าต้องการซื้อเค้ก 1 ชิ้น และเมื่อลูกค้าพบว่าการออกแบบและ ตกแต่งเค้กในแบบใดแบบหนึ่ง มีความสวยงามและบ่งบอกถึ งเอกลักษณ์ของผู้รับ เช่น เค้กที่ ผลิตเป็นรูปกระเป๋าหลุยส์วิกตอง เป็นต้น ดังนั้น สินค้าและบริการอาหารที่ผู้ประกอบการ นาเสนอผ่านสื่อออนไลน์ ควรมีความหลากหลายและสร้างสรรค์ การออกแบบสินค้าและ บริการอาหารมักจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาเป็นไปตามยุคสมัยหรือกระแสนิ ยมอย่าง ต่อเนื่ อ ง และผู้ ป ระกอบการต้อ งเป็น ที่ป รึก ษาที่ดี ให้ กับ ลู กค้ า สามารถปรั บเปลี่ ยนหรื อ ดัดแปลงสินค้าและบริการอาหารให้แก่ลูกค้าได้ตามความต้องการของลูกค้า  กลุ่มลูกค้าที่รอการตัดสินใจ เป็นกลุ่มลูกค้าที่มีความท้าทายสาหรับผู้ประกอบการหน้าใหม่ เนื่องจากลูกค้ากลุ่มนี้ เป็นกลุ่มลูกค้าที่สนใจในตัวสินค้า แต่ไม่มั่นใจในตัวสินค้าและบริการ อาหารออนไลน์ ดังนั้น การใช้ช่องทางสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ เพื่อสร้างความมั่นใจและ ช่วยประชาสัมพันธ์สินค้า การสร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า จะช่วยให้ลูกค้าเกิดความมั่นใจและ หัน มาเป็น ลู กค้าในอนาคต เช่น การใช้สื่ อสั งคมออนไลน์ประเภทเฟสบุ๊ค ในการตอบข้อ ซั ก ถามต่ า งๆ ทั้ ง กั บ ตั ว ลู ก ค้ า ใหม่ ที่ ส นใจในตั ว สิ น ค้ า และบริ ก ารอาหาร เมื่ อ ลู ก ค้ า ใหม่ ตรวจสอบข้อมูลการให้คาแนะนาและตอบข้อซักถามกับผู้ซื้อสินค้าในอดีตแล้วพบว่า ผู้ขายมี ความจริงใจ และให้คาแนะนาตอบข้อซักถามอย่างสม่าเสมอ และได้รับการชื่นชมจากลูกค้า รายนั้นๆ ก็จะส่งผลให้ลูกค้ารายใหม่มีความมั่นใจในสินค้าและบริการมากขึ้น และตัดสินใจ ซื้อสินค้าและบริการอาหารนั้นๆ ได้

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-36


2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) คุณค่าที่นาเสนอลูกค้าเป็นกระบวนการที่เริ่มต้นตั้งแต่การเชิญชวนลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เข้ามาเยี่ยมชมหรือเลือกดูสินค้าและบริการในร้านค้าออนไลน์ โดยอาจเลือกใช้วิธีการทาป้ายโฆษณา (Banner) ตามสื่ อต่างๆ การโพสตามแหล่ งโพสฟรี ต่างๆ หรือการเลื อกใช้บริการโฆษณาเว็บ ไซต์จากผู้ ให้บริการที่มี ประสบการณ์ เป็นต้น โดยคุณค่าที่ลูกค้าจะได้รับจาการใช้บริการธุรกิจอาหารออนไลน์ประกอบไปด้วย  สินค้าและบริการ มีรายละเอียดสินค้าและบริการอย่างครบถ้วน เช่น มีสินค้าให้เลือกหลาย ขนาด มีหลายรสชาติ เป็นต้น  ความสะดวกและรวดเร็วในการสั่งซื้อสินค้า หากผู้ประกอบการมีเว็บไซต์เป็นของตนเอง ต้อง เลือกใช้บริการ Web Hosting ที่มีคุณภาพสูง ปลอดภัยและเสถียรภาพ  ความน่าเชื่อถือในระบบการสั่งซื้อและขั้นตอนชาระเงิน เช่น การตอบรับคาสั่งซื้อหรือตอบรับ การรับชาระเงินผ่านอีเมล์หรือ SMS ของลูกค้า  มาตรฐานและบริการจัดส่งสินค้า เช่น การแจ้งกลับไปยังลูกค้าเมื่อได้ดาเนินการจัดส่งสินค้า ให้เรียบร้อยแล้ว  การส่งมอบสินค้าที่ครบถ้วนเป็นไปตามเงื่อนไขและข้อตกลง สินค้าที่ได้รับมีความสมบูรณ์ไม่ ชารุดเสียหาย  ความตรงต่อเวลาในการส่งมอบสินค้า ควรเป็นไปตามกาหนดระยะเวลาที่ไ ด้กาหนดไว้ ณ วันที่ลูกค้าทาการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ 3. ระบุช่องทาง (Channels) การเลือกใช้ช่องทางในการนาเสนอหรือเปิดร้านค้าออนไลน์ มีให้เลือกหลายรูปแบบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ศักยภาพและขีดความสามารถของผู้ประกอบการ ซึ่งมีทั้งแบบให้บริการฟรีและเสียค่าใช้จ่าย เช่น  เว็บไซต์ (Website) ของตนเอง ซึ่งการเลือกทาธุรกิจออนไลน์ประเภทนี้จะมีค่าใช้ จ่ายในการ ทาเว็บไซต์ ค่าใช้จ่ายขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของเนื้อหาและข้อมูลที่ต้องการนาเสนอผ่านหน้า เว็บไซต์  โซเชียลมีเดีย (Social Media) เช่น เฟสบุ๊ค อินสตราแกรม หรือไลน์ ซึ่งข้อดีของการใช้สื่อ ประเภทนี้คือ ผู้ประกอบการสามารถติดต่อสื่อสารและตอบข้อซักถามต่างๆ ของลูกค้าได้ อย่างรวดเร็ว และยังช่วยสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าได้ดีกว่า เว็บไซต์อีกด้วย และจากการ สารวจของ Nielsen10 ยังพบว่า ปัจจุบันผู้บริโภคให้ความเชื่อถือกับคาแนะนาจากผู้บริโภค ด้วยกันเองมากกว่าสิ่งที่เจ้าของแบรด์พูดถึงสินค้าตัวเอง อย่างไรก็ตาม สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) ยังเป็นสื่อที่ช่วยประชาสัมพันธ์สินค้าได้เป็นอย่างดี การบอกต่อหรือ

10

คู่มือกลยุทธ์ทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้าร่วมกับสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน).

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-37


พฤติกรรมการกด Like หรือกด share ของผู้บริโภค ยังช่วยให้การโฆษณาของร้านค้า เผยแพร่ไปได้อย่างรวดเร็ว  เว็บไซต์ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็น เว็บไซต์ประเภทศูนย์รวมสินค้าประเภทต่างๆ ที่มี รูปแบบการจาหน่ายออนไลน์ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่มีความ หลากหลาย  เว็บไซต์ประการซื้อขาย (E-Classified) หรือเว็บบอร์ดแหล่งโพสต์ขายสินค้าฟรี เป็นสื่อที่ไม่ เสียค่าใช้จ่าย ผู้ประกอบการสามารถลงประกาศซื้อขายได้ฟรี สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ใน วงกว้าง ควรเน้นในลักษณะการประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างการรับรู้ 4. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) ธุรกิจออนไลน์มีข้อได้เปรียบด้านการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ที่สามารถกระทาได้แบบไม่ จากัดเวลาและสถานที่ และสามารถเข้าถึงลูกค้าได้เป็นรายบุคคลได้อย่างรวดเร็ว การสร้างความสัมพันธ์และ ความประทับใจให้แก่ลูกค้า สามารถกระทาได้ทั้งในขั้นตอนการขายสินค้า ส่งมอบสินค้าและการให้บริการหลัง การขาย อาทิ  การสร้างความสัมพันธ์ผ่านกระบวนการสื่อสาร เพื่อให้ข้อมูลและตอบข้อซักถามต่างๆ ผ่าน ช่องทางการสนทนาออนไลน์ เช่น ช่องทาง Live Chat ซึ่งเป็นช่องทางสาหรับการซักถาม หรือสอบถามข้อมูล เพิ่มเติม ณ ขณะนั้น หรือการสนทนาผ่านโปรแกรม Line หรือเฟสบุ๊ค เป็นต้น  การสร้างความสัมพันธ์ผ่านระบบการให้บริการในรูปแบบของ Call Center ซึ่งเป็นการ ให้บริการข้อมูลแก่ลูกค้าตลอด 24 ชม. ซึ่งวิธีนี้เหมาะสาหรับธุรกิจขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ซึ่งอาจมีค่าใช้จ่ายในการให้บริการ Call Center  การให้บริการแก้ไขปัญหาหรือรับฟังข้อร้องเรียนของลูกค้าอย่างเป็นระบบ และมีการจัดเก็บ ข้อมูลดังกล่าว เพื่อนาไปสู่การแก้ไขและพัฒนารูปแบบการให้บริการ  การให้บริการหลังการขาย เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างลูกค้าและผู้ประกอบการ อาทิ การติดต่อสอบถามถึงความพึงพอใจในตัวสินค้าอาหารและการบริการ 5. รายได้ (Revenue Streams) รายได้หลักของผู้ประกอบการมาจากการขายสินค้า อาหารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือระบบ ออนไลน์ เช่น ธุรกิจจาหน่ายเบเกอรี่ออนไลน์ ผู้ประกอบการจะมีรายได้จากการสั่งซื้อเบเกอรี่และคุ๊กกี้ของกลุ่ม ลูกค้า ซึ่งโดยทั่วไปค่าบริการขนส่งจะเป็นหน้าที่ของลูกค้าซึ่งมีทั้งรูปแบบการชาระเงินกับร้านค้าหรือใช้บริการ ส่งโดยพนักงานส่งสินค้า และบริการเก็บเงินปลายทาง เช่น การส่งทางไปรษณีย์ไทย (คุกกี้) หรือการใช้บริการ ของบริษัทขนส่งเอกชน หรือแมสเซนเจอร์ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-38


6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) นอกจากสินค้าและบริการอาหารที่ดีมีคุณภาพแล้ว ทักษะองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการการ ขายสินค้าและบริการบนโลกออนไลน์เป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นที่ผู้ประกอบการต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ ตลอดเวลา อุปกรณ์หลักที่สาคัญสาหรับผู้ประกอบการธุรกิจก็คือ  อาหารและบริการที่นาเสนอขายผ่านสื่อออนไลน์  เครื่องมือและอุปกรณ์สารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์พีซี โน๊ตบุ๊ค แท๊ปเล็ต เป็นต้น  เครือข่ายและสัญญาณอินเทอร์เน็ต  แรงงาน เช่น พนั กงานผู้ ติดต่อ ประสานงานรับ ข้อมูล จากการสั่ งซื้อออนไลน์ พนักงานผู้ ทาอาหาร/เชฟ ผู้ทาอาหารตามคาสั่งซื้อ  บรรจุ ภัณฑ์ที่ใช้บรรจุสิน ค้าอาหาร ต้องมีความเหมาะสม มีคุณภาพและได้มาตรฐานการ บรรจุอาหาร 7. กิจกรรมหลัก (Key Activities) เริ่มตั้งแต่กระบวนการรับคาสั่งซื้อจนถึงกระบวนการส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า ซึ่งประกอบไปด้วย กิจกรรมหลักที่สาคัญ ดังนี้  การนาเสนอและการขายสินค้าผ่านสื่อออนไลน์ประเภทต่างๆ เช่น เว็บไซต์และสื่อสังคม ออนไลน์ประเภทต่างๆ  การโฆษณา ประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายในรูปแบบต่างๆ ผ่านสื่อออนไลน์ เช่น การนาเสนออาหารชนิดใหม่ๆ การให้บริการส่งสินค้าฟรี เป็นต้น  การรับคาสั่งซื้อและตรวจสอบการชาระเงิน ที่ลูกค้าทาการชาระเงินผ่านช่องทางต่างๆ ตาม เงื่อนไขของกิจการ  การผลิตสินค้าและให้บริการตามคาสั่งซื้อ  การส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้าภายในระยะเวลาและเงื่อนไขที่กาหนด  การให้บริการหลังการขาย การติดต่อสอบถามหรือให้ข้อเสนอแนะ คาติชมต่างๆ ตลอดจน การตอบข้อซักถามและแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้แก่ลูกค้า 8. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) คือ เครือข่ายพันธมิตรในธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับธุรกิจของผู้ประกอบการใน ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์  ผู้ประกอบการในธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ด้วยกัน เพื่อสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการให้มี ความเข้มแข็งเพิ่มมากขึ้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-39


 ผู้ประกอบการในธุรกิจบริการออนไลน์ประเภทอื่นๆ ที่มีความเชื่อมโยงหรือเกี่ยวข้องกับธุรกิจ อาหารออนไลน์ของผู้ประกอบการเอง เช่น ธุรกิจบริการอาหารสดออนไลน์ ธุรกิจบริการจัด ดอกไม้ หรือธุรกิจบริการจัดเลี้ยงต่างๆ เป็นต้น  ผู้ประกอบการธุรกิจจัดส่งสินค้า, ไปรษณีย์ไทย หรือแม้แต่บริการส่งสินค้าเอกชนต่างๆ เช่น บริษัทขนส่งสินค้า และแมสเซนเจอร์ เป็นต้น  ผู้ประกอบการวัตถุดิบอาหาร เพื่อป้องกันการขาดแคลนวัตถุดิบในบางช่วงเวลา 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) เป็นการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายที่สาคัญๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเริ่มต้นธุรกิจและขณะดาเนินธุรกิจ โดยธุรกิจบริการอาหารออนไลน์จะประกอบไปด้วยโครงสร้างต้นทุนที่สาคัญๆ ดังนี้  การลงทุนในสินทรัพย์ ได้แก่ เครื่องมือและอุปกรณ์สารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์พีซี โน๊ตบุ๊ค เป็นต้น และค่าจ้างทาเว็บไซด์และค่าจดโดเมน (รายปี) เป็นต้น  การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน - ต้นทุนคงที่ (ต่อเดือน) ได้แก่ ค่าเช่าพื้นที่ประกอบอาหาร ค่าจ้างพนักงานประจา ค่าบริการอินเตอร์เน็ต เป็นต้น - ต้นทุนผันแปร ได้แก่ ค่าวัตถุดิบอาหาร/วัสดุสิ้นเปลือง ค่าบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุ สินค้าอาหารเพื่อการส่งมอบ ค่าน้า-ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ ค่าไปรษณีย์ และค่า พนักงานส่งของ เป็นต้น ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์จะมีงบประมาณเริ่มแรกประมาณ 70,000–200,000 บาท ซึ่งโครงสร้างต้นทุน ของธุรกิจบริการอาหารออนไลน์จะขึ้นอยู่กับลักษณะของธุรกิจ และขนาดของธุรกิจ ซึ่งต้นทุนหลักที่สาคัญใน การเริ่มต้นประกอบธุรกิจประกอบไปด้วย

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-40


ตัวอย่างโครงสร้างการลงทุน ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์

หมายเหตุ: องค์ประกอบจะเปลี่ยนไปตามขนาดของกิจการ

อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการต้องให้ความสาคัญกับการวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน (Break-even-Point) ของธุรกิจ จุดคุ้มทุน หมายถึง จุดหรือระดับของรายได้จากการขายสินค้าหรือบริการ ที่เท่ากับต้นทุนที่ธุรกิจได้จ่ายออกไป หรือจุดหรือระดับของรายได้ที่ธุรกิจ “เท่าทุน” โดยส่วนที่เลยจุดหรือระดับของรายได้ดังกล่าวคือผลกาไรที่ ธุรกิจจะได้ ผู้ประกอบการจะรู้จุดคุ้มทุนเมื่อรู่ว่าต้นทุนคงที่และผันแปรของกิจการเป็นเท่าไหร่ การคานวน จุดคุ้มทุนทาได้โดย (1) จุดคุ้มทุน (หน่วยขายที่คุ้มทุน) = ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย หรือ (2) จุดคุ้มทุน (ยอดขายที่คุ้มทุน) = หน่วยขายที่คุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-41


ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์มีความได้เปรียบกว่าธุรกิจอาหารประเภทอื่นๆ เนื่องจากการทาธุรกิจออนไลน์ช่วย ลดต้น ทุนที่สาคัญๆ หลายประเภท เช่น ค่าเช่าส านักงาน ค่าตกแต่งสถานที่ ค่าจ้างพนักงาน ซึ่งล้ ว นเป็น ค่าใช้จ่ายที่มีต้นทุนสูง ดังนั้น หากผู้ประกอบการรายใหม่ที่ต้องการเข้าสู่ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ที่เลือกใช้ รูปแบบการขายผ่านสื่อสังคมออนไลน์ซึ่งเป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงได้ดีกว่าและไม่มีค่าใช้จ่ายในการสร้างสังคม ออนไลน์ ยิ่งส่งผลให้ต้นทุนในการเริ่มต้นธุรกิจลดน้อยลงกว่า การบริการอาหารออนไลน์ผ่านหน้า เว็บไซด์ของ ตนเอง แต่อย่างไรก็ตามข้อเสียของการใช้สื่อสังคมออนไลน์อาจส่งผลต่อความน่าเชื่อถือจากผู้บริโภคได้เช่นกัน ดังจะยกตัวอย่างสาหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหารออนไลน์ที่จัดทาเว็บไซด์เป็นของตนเอง องค์ประกอบในการลงทุนเริ่มต้น องค์ประกอบ การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร อุปกรณ์และเครื่องมือ

ค่าจัดทาเว็บไซด์และวางระบบ ค่าโดเมน (รายปี) ค่าอุปกรณ์สานักงาน

การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ค่าจ้างพนักงานประจา (ธุรการ) ค่าวัสดุสิ้นเปลือง/วัตถุดิบ/ภาชนะ บรรจุเพื่อการส่งสินค้า(บรรจุภณ ั ฑ์)

ประมาณการลงทุน 15,000-50,000 บาท

20,000-45,000 บาท 15,000-30,000 บาท

15,000 บาท/เดือน 7,000-10,000 บาท/เดือน

หมายเหตุ ขึ้นอยู่กั บประเภทอาหารที่ จาหน่า ยออนไลน์ เช่น อุปกรณ์ทาครัว อุปกรณ์ทาเบเกอรี่ เป็น ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดจานวนและประเภทของอาหาร และข้อมูลที่ต้องการให้ปรากฏบนหน้าเว็บไซต์ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ข นา ด ขอ ง ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ไ ด้ แ ก่ ค่ า คอมพิ ว เตอร์ พี ซี ค่ า เครื่ อ งพิ ม พ์ เ อกสารและ โทรศัพท์ เป็นต้น ประมาณการจากอั ต ราการแรงขั้ น ต่ า วุ ฒิ ปริญญาตรี จานวน 1 คน ขึ้นอยู่กับจานวน/ประเภทของอาหาร/ประเภท ของบรรจุภัณฑ์

ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้าค่าไฟฟ้า 5,000-10,000 บาท/เดือน ขึ้ น อยู่ กั บ จ านวน/ประเภทของอาหาร และ และค่าโทรศัพท์) จานวนอุปกรณ์เครื่องใช้สานักงาน ค่าจ้างเชฟ/ผู้ช่วยทาอาหาร 15,000-30,000 บาท ขึ้นอยู่กับจานวน/ประเภทของอาหาร หมายเหตุ: ประมาณการจากผู้ประกอบการที่ประกอบธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ผ่านเว็บไซด์

การลงทุนธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ หากผู้ประกอบการบางรายมีความพร้อมด้านสถานประกอบการ และ อุปกรณ์ต่างๆ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการได้เป็นอย่างดี สาหรับผู้ประกอบการ มือใหม่ ที่ยังไม่มีประสบการณ์ในธุรกิจอาหารหรือเริ่มต้นทดลองประกอบธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ขอ แนะนาให้ผู้ประกอบการเริ่มประกอบธุรกิจผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนในการจัดทาเว็บไซด์

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-42


และลดขั้นตอนในการบริหารจัดการเว็บไซด์อีกด้ว ย ดังนั้น สั ดส่วนโครงสร้างการลงทุนจึงขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของผู้ประกอบการด้วย โดยมีองค์ประกอบหลักในการลงทุนเริ่มต้น (Initial Investment) ดังนี้ 1) สถานที่ตั้ง ผู้ประกอบการสามารถเลือกสถาน การเลือกสถานที่ตั้ง ที่ตั้งโดยคานึงถึงความสะดวกในการประกอบ เช่ น ธุ ร กิ จ เบเกอรี่ อ อนไลน์ ที่ มี รู ป แบบการ ธุรกิจ เช่น ใกล้ตลาดสด ใกล้ไปรษณีย์ ใกล้ จาหน่ายออนไลน์เท่านั้น จึงเลือกใช้สถานที่คือ บริการขนส่ งสิ นค้า และควรให้ ความส าคัญ บ้านพักหรือที่อยู่อาศัยของตนเอง เพื่อเป็นการ กั บ แหล่ ง ที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง และใช้ บ ริ ก าร ลดต้นทุนด้านสถานที่ หรือหากจาเป็นต้องจัดหา เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี เนื่องจาก สถานที่เ พื่อความเป็นสัด ส่วนในการประกอบ ธุ ร กิ จ ผู้ ป ระกอบการสามารถเลื อ กท าเลที่ ตั้ ง การทาธุรกิจประเภทบริการอาหารออนไลน์ ค านึ ง ถึ ง ความประหยั ด ต่ อ ต้ น ทุ น ในการ จ าเป็ น ต้ อ งพึ่ ง พาระบบสารสนเทศ ดั ง นั้ น ดาเนินงานเป็นอันดับต้นๆ เครือข่ายสารสนเทศจึงเป็นปัจจัยที่สาคัญ 2) อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ ผู้ ป ระกอบการ อุปกรณ์และเครื่องมือ สามารถเลื อ กอุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ เช่น ธุรกิจเบเกอรี่ออนไลน์ เริ่มต้นดาเนินธุรกิจ โดยค านึ ง ถึ ง ประเภทและรู ป แบบการ โดยให้บริการขายสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ให้ บ ริ การสิ น ค้าอาหาร โดยผู้ ประกอบการ เ ช่ น เ ฟ ส บุ๊ ค ห รื อ อิ น ส ต ร า แ ก ร ม โ ด ย อาจเริ่ ม ต้ น กิ จ การจากการขายอาหาร ผู้ประกอบการอาจใช้อุปกรณ์ส านักงานเพีย ง ออนไลน์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ซึ่งจะช่วยลด คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค 1 เครื่อง เพื่อนาเสนอและ ต้นทุนในการจัดทาเว็บไซด์และการดูแลเว็บ แสดงสินค้าหรือโชว์ภาพของผลิตภัณฑ์ รูปแบบ แ ล ะ ร ส ชา ติ ป ร ะ เ ภ ทต่ า งๆ พร้ อม ชี้ แ จ ง ไซด์ ซึ่ ง ช่ ว ยลดค่ า ใช้ จ่ า ยได้ ป ระมาณ รายละเอี ย ดของสิ น ค้ า สถานที่ ติ ด ต่ อ และ 20,000–45,000 บาท ซึ่ ง นั บ เป็ น อี ก 1 เงื่อนไขการจัดจาหน่าย ช่ อ งทางในการลดค่ า ใช้ จ่ า ยในการเริ่ ม ต้ น ลงทุนของผู้ประกอบการรายใหม่ ซึ่งการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในปัจจุบันกาลังได้รับความนิยม เป็นจานวนมาก เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้ง่าย และลูกค้าช่วยบอกต่อได้อย่างรวดเร็วอีก ด้วย 3) วัสดุและวัตถุดิบ นับเป็นข้อดีของการประกอบธุรกิจออนไลน์ซึ่งส่วนใหญ่การจาหน่ายสินค้า ผู้ประกอบการมักจะได้รับ การชาระค่าสินค้าล่วงหน้าก่อนแล้ว หรือไม่ก็จะได้รับค่ามัดจา (โดยส่วนใหญ่จะได้รับชาระค่าอาหารและบริการล่วงหน้าก่อน) ดังนั้น ปัจจัยด้านวัสดุและ วัตถุดิบในการผลิต จะให้ความสาคัญกับ แหล่งวัตถุดิบเป็นสาคัญ หรือหากจาเป็นต้องมีการ เก็บสต๊อกสินค้า ผู้ประกอบการจะสามารถเลือกเก็บสต๊อกสินค้าบางประเภทที่จาเป็นหรือ วัตถุดิบหายาก ซึ่งสามารถควบคุมได้จากเมนูและรายการอาหารที่จาหน่ายผ่านสื่อออนไลน์

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-43


4) ค่าจ้างแรงงาน ในธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ขึ้นอยู่กับรูปแบบและขนาดของกิจการ อาทิ  ธุร กิ จ บริ ก ารอาหารออนไลน์ข นาดเล็ ก โดยส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น ผู้ ประกอบการธุ ร กิ จ เจ้าของคนเดียว ทาหน้าที่รับคาสั่งซื้อ ผลิตสินค้าอาหาร ให้บริการจัดส่งสินค้าพร้อม ทั้งให้บริการหลังการขายเบ็ดเสร็จในตัวผู้ประกอบการคนเดียว  ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ขนาดกลาง โดยส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจที่มีคาสั่งซื้อเป็น จานวนมากและต่อเนื่อง แรงงานที่จาเป็นสาหรับธุรกิจขนาดกลาง ประกอบไปด้วย พนักงานประจ า/เจ้าหน้าที่ประสานการซื้อ-ขายสิ นค้าออนไลน์ พนักงานประกอบ อาหาร/เชฟ เพื่อขีดความสามารถในการผลิตอาหารตามคาสั่งซื้อของลูกค้า สาหรับผู้ประกอบการมือใหม่เป็นจานวนมาก เมื่อวางแผนธุรกิจเรียบร้อยแล้ว พบว่า ต้นทุนสูงเกินศักยภาพที่มี อยู่ ควรดาเนิ น การปรั บ ลดขนาดธุร กิจ ให้ เหมาะสมกับศักยภาพของตนเอง เช่น ลดประเภทของอาหารที่ จาหน่ายออนไลน์ หรือปรับใช้สถานที่ในการประกอบอาหารจากที่พักอาศัยแทนการเช่าสถานที่ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-44


ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ธุรกิจบริการสอนทาอาหารขนาดเล็ก (S) ในกรณีที่ผู้ประกอบการสามารถประกอบอาหารสร้างสรรค์ได้ ด้ ว ยตนเอง สามารถเริ่ ม ต้ น จากธุ ร กิ จ เล็ ก ๆ หรื อ ธุ ร กิ จ ใน ครอบครัว ได้ดังนี้ 1. ใช้สถานที่ที่มีอยู่แล้ว เพื่อใช้เป็นสถานที่ปรุงอาหาร เช่น ห้องครัวที่บ้านหรือปรับพื้นที่ภายในบ้าน เพื่อความเป็น สัดส่วนในการประกอบอาหารและส่งมอบให้กับลูกค้า 2. วัสดุและอุปกรณ์ เลือกใช้สิ่งที่มีอยูแ่ ล้วและจัดหาเพิ่มเติม ในสิ่งที่จาเป็น เพื่อรองรับการผลิตอาหาร โดยเน้นวัสดุ และอุปกรณ์ที่หาซื้อง่าย ราคาไม่แพง และสามารถใช้งาน ได้เอนกประสงค์ 3. แรงงาน ผู้ประกอบการสามารถควบคุมและดูแลธุรกิจได้ ด้วยตนเองจากที่พักอาศัย และ  หากผู้ประกอบการมีความรูค้ วามสามารถในการ ประกอบอาหาร จะช่วยลดต้นทุนในการจ้างงาน  หากต้องเพิ่มจานวนบุคลากรพ่อครัวหรือเชฟ ใน กรณีทผี่ ู้ประกอบการมียอดจาหน่ายสินค้าออนไลน์ เป็นจานวนมากและต่อเนื่องควรใช้รูปแบบการจ้าง เป็นพนักงานประจา เพื่อควบคุมมาตรฐานในการ ผลิตอาหาร 4. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ในระยะเริม่ ต้นควร เลือกใช้ช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็นสื่อที่มี ต้นทุนต่าและสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว และเป็นวงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณาผ่านสื่อ อินเทอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศซื้อ-ขายฟรี 5. บรรจุภัณฑ์ ที่ใช้บรรจุสินค้าอาหารควรมีความเหมาะสม กับชนิดและประเภทของสินค้าอาหาร ทั้งด้านความ แข็งแรงทนทานและมาตรฐานความปลอดภัยในการบรรจุ อาหาร และควรเป็นบรรจุภัณฑ์ทสี่ ่งเสริมภาพลักษณ์ สินค้าอาหารนั้นๆ ด้วย

ธุรกิจบริการสอนทาอาหารขนาดกลาง (M) ในกรณีที่ผู้ประกอบการต้องการเริ่มต้นธุรกิจ ขนาดกลาง อย่างเป็นทางการ และให้บริการอาหารออนไลน์ที่มีความ หลากหลายหรื อ มี หุ้ น ส่ ว นทางธุ ร กิ จ ผู้ ป ระกอบการ สามารถเริ่มต้นทาธุรกิจได้ ดังนี้ 1. เช่าสถานที่ โดยยึดความเหมาะสมของธุรกิจ เช่น ใกล้ ตลาดสด ใกล้แหล่งลูกค้าเป้าหมาย เพื่อลดต้นทุนค่า ส่งสินค้า ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับประเภทของอาหารที่จาหน่าย เนื่องจากสินค้าบางประเภทอาจจาเป็นต้องส่งมอบ โดยรถจักรยานยนต์ ซึ่งสถานที่ตั้งกับกลุ่มเป้าหมาย ควรมีความสอดคล้องกัน 2. วัสดุและอุปกรณ์ จัดหาตามขนาดของธุรกิจให้ เพียงพอต่อการใช้งาน เลือกใช้สินค้าที่มีราคาไม่แพง สามารถใช้งานง่าย 3. แรงงาน ประกอบไปด้วยพนักงานประจาสานักงาน 1 คนและพ่อครัวหรือเชฟ 1-2 คน หากธุรกิจมียอดขาย ที่สม่าเสมอและมีเป็นจานวนมาก ผู้ประกอบการควร เลือกใช้การจ้างเป็นรายเดือน เพื่อควบคุมมาตรฐาน การผลิตอาหาร 4. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ผู้ประกอบการ ควรเลือกใช้สื่ออินเทอร์เน็ต โดยการจัดทาเว็บไซด์ของ ธุรกิจ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ รวมถึงการ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็นสื่อ ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและ เป็นวงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณาผ่านสื่ออินเทอร์เน็ต ในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศซื้อ-ขายฟรี เพือ่ ความหลากหลายของช่องทางการตลาด 5. บรรจุภัณฑ์ ที่ใช้ในการบรรจุสินค้าอาหารควรมีความ เหมาะสมกับชนิดและประเภทของสินค้าอาหาร ทั้ง ด้านความแข็งแรงทนทานและมาตรฐานความ ปลอดภัยในการบรรจุอาหาร อีกทั้งควรเป็นบรรจุ ภัณฑ์ทสี่ ่งเสริมภาพลักษณ์ของสินค้าอาหารนั้นๆ ด้วย หมายเหตุ: แนวคิดและแนวทางในการเริม่ ต้นธุรกิจ สามารถปรับรูปแบบได้ตามศักยภาพด้านเงินทุนและขีดความสามารถใน การบริหารจัดการของผู้ประกอบการแต่ละท่าน ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-45


ตั

 วอย่าง การวิเคราะห์ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ตามกรอบแนวคิด Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships)

กิจกรรมหลัก (Key Activities)

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions)

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships)

กลุ่มลูกค้า (Customer Segments)

-

ผู้ประกอบการในธุรกิจบริการอาหาร ออนไลน์

-

ความสะดวกสบายในการเข้าถึงสินค้าและ บริการอาหารผ่านสือ่ อินเทอร์เน็ต

-

ผู้ประกอบการในธุรกิจออนไลน์ ประเภทอืน่ ๆ เช่น ธุรกิจบริการจัด เลี้ยงออนไลน์ ธุรกิจบริการจัดส่ง ดอกไม้ เป็นต้น

-

ความง่ายและรวดเร็วในขั้นตอนการเลือก ซื้อสินค้า สั่งซือ้ สินค้า ชาระเงิน และการ จัดส่งสินค้า

เพิ่มช่องทางในการติดต่อลูกค้าให้มีความหลากหลาย เพิ่มมากขึน้ เช่น ช่องทาง Live Chat การใช้ไลน์ (Line) หรือการตอบข้อซักถามผ่านเฟสบุ๊ค เป็นต้น

-

-

-

-

การให้บริการแก้ไขปํญหาหรือรับฟังข้อร้องเรียน ของลูกค้าพร้อมดาเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง

กลุ่มลูกค้าช่างเลือก (ตั้งใจและมี เป้าหมายที่จะซือ้ ชัดเจน) เสาะหาสินค้า เป้าหมายที่ตนเองต้องการซื้อผ่าน อินเทอร์เน็ต

-

-

การให้บริการหลังการขาย อาทิ การติดต่อสอบถาม ถึงความพึงพอใจในตัวสินค้าอาหารผ่านการบริการ ออนไลน์

กลุ่มลูกค้านักแสวงหา (ตั้งใจแต่ยังไม่มี เป้าหมายที่ชัดจน) เสาะแสวงหาสินค้า ผ่านอินเทอร์เน็ตไปเรื่อยๆ จนกว่าจะ เจอสินค้าทีต่ นเองพอใจ

-

กลุ่มลูกค้าทีร่ อการตัดสินใจ อยู่ใน ระหว่างการหาข้อมูล สนใจที่จะซือ้ แต่ ยังลังเล

-

กระบวนการรับคาสั่งซื้อ กระบวนการรับชาระเงิน กระบวนการผลิตอาหารตามคาสั่งซื้อ กระบวนการจัดส่งสินค้า บริการหลังการขาย

ผู้ประกอบการธุรกิจจัดส่งสินค้า

-

ผู้ประกอบการวัตถุดิบอาหาร ทรัพยากรหลัก (Key Resources)

-

อาหารสร้างสรรค์

-

เครือข่ายและสัญญาณอินเทอร์เน็ต

-

บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุสินค้าอาหารที่เหมาะสมและ ได้มาตรฐาน

-

การส่งมอบสินค้าเป็นไปตามเงือ่ นไขและ ข้อตกลง สินค้าที่ได้รับมีความสมบูรณ์ไม่ ชารุดเสียหาย ระยะเวลาในการส่งมอบเป็นตามทีก่ าหนด ไว้

เครื่องมือและอุปกรณ์สารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ พีซี โน้ตบุ๊ค เป็นต้น แรงงาน เช่น พ่อครัว/เชฟ พนักงานประจาทา หน้าที่ประสานงานการซื้อขายออนไลน์ เป็นต้น

โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure)

รายได้ (Revenue Streams)

-

สินทรัพย์ถาวร ได้แก่ ค่าคอมพิวเตอร์พีซี/โน๊ตบุ๊ค ค่าอุปกรณ์และเครือ่ งมือในการทาอาหาร ค่าออกแบบและพัฒนา เว็บไซต์ ค่าโดเมนเนม ค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนร้านค้าอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น

-

-

สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ (1) ต้นทุนคงที่ตอ่ เดือน เช่น ค่าจ้างพ่อครัวแบบประจา ค่าอินเตอร์เน็ตรายเดือน ฯลฯ และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่าสาธารณูปโภค ค่าธรรมเนียมในการโอนเงินและตัดบัตรเครดิต ฯลฯ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ช่องทาง (Channels) - เว็บไซต์ของตนเอง - สื่อสังคมออนไลน์ เช่น อินสตราแกรม เฟสบุ๊ค ไลน์ บล็อกเกอร์ เป็นต้น - เว็บไซต์ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ - เว็บไซต์ประกาศซื้อขาย (E-Classified) - เว็บบอร์ดหรือแหล่งโพสต์ขายสินค้าฟรี

จากการบริการอาหารออนไลน์

2-46


 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ สามารถทาได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับประเภทของอาหาร ที่ผู้ประกอบการต้องการส่งมอบให้กับผู้บริโภคผ่านช่องทางออนไลน์ โดยในคู่มือฉบับนี้จะนาเสนอวิธีการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ดังนี้ 1. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัวสินค้าอาหารสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มในธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ตัวสินค้าอาหาร เป็นปัจจัยสาคัญที่ก่อให้เกิดกิจกรรมการซื้อขายสินค้าและบริการอาหารออนไลน์ ดังนั้น ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหารสร้างสรรค์ประเภทธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ จาเป็นต้องให้ความสาคัญ กับตัวสินค้าอาหารเทียบเท่ากับคุณภาพการให้บริการ เนื่องจากพฤติกรรมการเลือกบริโภคอาหารจากธุรกิจ ออนไลน์ เป็นกลุ่มลูกค้ามีความต้องการที่เฉพาะเจาะจงและต้องการสินค้าที่สามารถตอบสนองความต้องการ ของตนเองได้อย่างแท้จริง ซึ่งจากพฤติกรรมการแสวงหาสินค้าเพื่อการ บริ โ ภคผ่ า นเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต ย่ อ มแสดงให้ เ ห็ น ว่ า ผู้บริโภคต้องการสินค้าอาหารที่มีความพิเศษ หรืออาหารที่ The Oven Farm มี ลั ก ษณะเฉพาะเจาะจงยากล าบากต่ อ การหาซื้ อ ตาม ขนมปังโฮมเมดเพื่อสุขภาพ “ไม่ใส่นม เนย ไข่และ ร้านค้าทั่วไป ลักษณะหรือความพิเศษของสินค้าอาหารอาจ สารเสริมคุณภาพ” ... กับกว่า 30 เมนูกับ 4 ชนิด อยู่ ใ นรู ป แบบของภาพลั ก ษณ์ ข องสิ น ค้ า ที่ มี ค วามแปลก ขนมปัง แตกต่ า งและไม่ เ หมื อ นใคร ความแตกต่ า งของรสชาติ ขนมปังเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสาหรับคนชอบทานเบ อาหาร หรือความแตกต่างในกระบวนการผลิ ตที่มีความ เกอรี่แต่ก็รักการดูแลสุขภาพด้วย เหมาะกับคนที่รัก หลากหลายสามารถปรั บ และเปลี่ ย นแปลงได้ตามความ สุขภาพและต้องการควบคุม อาหารไปพร้ อมๆกัน ต้องการของลู กค้าแบบเฉพาะเจาะจง เป็ นต้น หรืออาจ โดยขนมปังทุกชนิดของ The Oven Farm ผลิตจาก วัตถุดิบสดจากธรรมชาติที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุและ กล่าวได้ว่าหากต้องการบริโภคอาหารประเภทนี้ ต้องสั่งซื้อ วิตามินที่มีประโยชน์ต่อร่างกายของเรา และที่สาคัญ สินค้าจากร้านค้าออนไลน์นี้เท่านั้น ไม่สามารถหาซื้อสินค้า เราไม่ใส่สารปรับคุณภาพ ไม่ใส่วัตถุกันเสีย ไม่แต่งสี แบบนี้ ไ ด้ ที่ ไ หน เช่ น เค้ ก หรื อ เบเกอรี่ ที่ ลู ก ค้ า สามารถ หรื อ แต่ ง กลิ่ น เพื่ อให้ ผู้ บริ โ ภคปลอดภั ย จากวั ต ถุ ออกแบบได้เองตามความต้องการ สังเคราะห์ที่พบได้จากเบเกอรี่ทั่วไป 2. ความหลากหลายของสินค้าอาหาร รูปแบบและความหลากหลายของอาหารสร้างสรรค์ที่ให้บนร้านค้าออนไลน์เป็นปัจจัยที่สาคัญต่อ การซื้ อ ซ้าหรื อ การกลั บ มาใช้ บ ริ ก ารใหม่ เนื่ อ งจากกลุ่ มผู้ บ ริ โ ภคที่ ใ ช้ บ ริก ารธุ รกิ จ ออนไลน์ เป็น กลุ่ ม ที่ มี พฤติกรรมการเสาะแสวงหาสินค้าที่มีลักษณะเฉพาะและมีความโดดเด่นเป็นของตัวเอง หรือต้องการสินค้าที่มี ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-47


ความแตกต่างจากสินค้าที่มี จาหน่ายอยู่ทั่วไป การนาเสนอรายการอาหารสร้างสรรค์ที่หลากหลายและการ นาเสนอสินค้าใหม่อย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ลูกค้าวนเวียนกลับมายังร้านค้าออนไลน์ของผู้ประกอบการอย่าง ต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพื่อแสวงหาสินค้าอาหารในรูปแบบใหม่ตามพฤติกรรมการบริโภค 3. การใช้งานร้านค้าออนไลน์ง่าย สะดวก รวดเร็ว รูปแบบและการให้ บริการต้องมีความสะดวกและรวดเร็วต่อการใช้บริการ การใช้บริการของ ร้านค้าไม่ควรมีความซับซ้อนมากเกินไป หรือมีขั้นตอนต่างๆ มากเกินไป เช่น การกรอกข้อมูลการสั่งซื้อซ้าไป ซ้ามา หรือการกระบวนการเลือกหาสินค้ามีความยากลาบากไม่มีระบบการค้นหาแบบง่าย เป็นต้ น ซึ่งเป็นที่ ทราบกันดีว่าพฤติกรรมของกลุ่มผู้บริโภคสินค้าออนไลน์เป็นกลุ่มที่ต้องการความสะดวกและรวดเร็ว 4. คุณภาพและมาตรฐานอาหารที่ส่งมอบ การส่งมอบอาหารสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพและ ได้มาตรฐานตามที่ได้นาเสนอไว้บนเว็บไซต์หรือสื่อออนไลน์ ต่างๆ ทั้งรูปลักษณ์ วัตถุดิบที่ใช้ตกแต่ง และภาชนะบรรจุ อาหาร กล่าวคือ อาหารที่ส่งมอบต้องเป็นสินค้าที่นาเสนอ ลูกค้าผ่านหน้าร้าน ทั้งนี้ เพื่อความเชื่อมั่นและไว้ใจในการ กลั บ มาใช้บ ริการของร้านค้าใหม่ หากสิ นค้าที่ส่ งมอบไม่ ตรงกับรู ปลั กษณ์ที่นาเสนอไว้ อาจส่ งผลให้ลู กค้ารู้สึกไม่ มั่นใจและไม่ประทับใจในสินค้าและบริการอีกต่อไป

Birthday Cup Cake by Fay Fay Homemade Bakery การส่ ง มอบอาหารที่ มี คุ ณ ภาพและได้ ม าตรฐาน อาหารที่ ส่งมอบให้ลู กค้ า ต้อ งอยู่ใ นสภาพสมบู ร ณ์ ไม่ชารุดและเสียหายระหว่างการส่งมอบ

 ารขยายธุรกิจ...อีกระดับกับการพัฒนาธุรกิจ การขยายธุรกิจมีหลากหลายวิธี ทั้งขยายอย่างรวดเร็วและเป็นการเติบโตแบบก้าวกระโดด เรียกว่า Extensive Growth เช่น การเข้าไปซื้อกิจการ ของบริษัทคู่แข่งที่ทาธุรกิจใกล้เคียงกันเพื่อเพิ่มกาลังผลิต ขยายตลาด และ ตัดกาลั งคู่แข่ งส าคัญออกไป และมีวิธีการขยายธุรกิจอย่างช้าๆ แต่มั่นคงไปทีล ะขั้น ที่เรียกว่า Intensive Growth การขยายธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ ผู้ประกอบการที่มีความพร้อมที่จะขยายธุรกิจของตนเอง อาจใช้เริ่มต้น จากการเพิ่มกระบวนการบริการที่เพิ่มขึ้น อาทิ

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-48


 

การเพิ่มผลิตภัณฑ์ให้ มีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น เพิ่มช่องทางการให้บริการที่มากขึ้น เช่น จากการจ าหน่ า ยสิ น ค้ า ผ่ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน์ และเมื่ อ ธุ ร กิ จ มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะขยายตั ว ผู้ประกอบการควรจัดทาเว็บไซด์เป็นของตนเอง เพื่อการจาหน่ายสินค้าอย่างเป็นระบบ ลูกค้า สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ด้วยตนเองผ่านระบบที่เชื่อถือได้ การให้บริการเพิ่มช่องทางการชาระเงิน ที่มากขึ้น เช่น ระบบชาระเงินด้วยบัตรเครดิต การชาระเงินด้วยระบบตัดบัญชีออนไลน์ เป็นต้น การลงทุน เปิ ดร้ านค้า /หน้ าร้านขนาดเล็ ก เพื่อเพิ่มช่องทางการจาหน่ายสิ นค้า ให้ ลู กค้าได้ สามารถซื้อสินค้าไปบริโภคได้ทันที สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ประกอบการอาหารออนไลน์ประเภทอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้อง หรือเชื่อมโยงกับธุรกิจของตนเอง เพื่อสร้างเครือข่ายการจาหน่ายสินค้าออนไลน์ร่วมกัน หรือ การเป็นตัวแทนผู้จาหน่ายอาหารออนไลน์ประเภทต่างๆ โดยเน้นกระบวนการให้บริการอาหาร มากกว่าการเป็นผู้ผลิตอาหารเพื่อให้บริการออนไลน์ เช่น ให้บริการอาหารออนไลน์ในรูปแบบ ของธุรกิจ Call Center กล่าวคือ ให้บริการจัดหาอาหารประเภทต่างๆ ตามที่ลูกค้าต้องการ โดยผู้ประกอบการทาหน้าที่ประสานงานจัดหา และจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-49


ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการทาธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 4. การบริหารจัดการ เว็บไซต์

3. ข้อมูลสินค้าและ บริการบนเว็บไซต์ ครบถ้วน

5. สินค้าอาหารที่ส่งมอบ ไม่ชารุดเสียหาย

2. คุณภาพสินค้าอาหาร เป็นไปตามที่คาดหวัง

6. การบริการหลังการขาย 1. ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน

ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการประกอบธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ประกอบด้วย 6 ปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. ความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน การสั่งซื้อสินค้าอาหารผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตหรือเว็บไซด์ของ ร้านค้ามีความสะดวกและง่ายต่อการสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์ กระบวนการสั่งซื้อไม่ซับซ้อน หลีกเลี่ยงขั้นตอนที่ไม่เกิดประโยชน์ เช่น การกรอกข้อมูลหรือรายละเอียดการจัดส่งซ้าๆ กับการ ออกใบเสร็จ การจดจาข้อมูลของลูกค้า เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในขั้นตอนของการวางระบบ ร้านค้าออนไลน์ที่มีเว็บไซต์เป็นของตนเอง โดยเฉพาะระบบการชาระเงินควรมีความหลากหลาย และเชื่อถือได้ เช่น ระบบการชาระเงินด้วยบัตรเครดิต หรือระบบการตัดบัญชี เป็นต้น 2. คุณภาพสินค้าอาหารเป็นไปตามที่คาดหวัง การจาหน่ายและซื้อสินค้าออนไลน์เป็นการซื้อขาย สินค้าผ่านรูปภาพ ดังนั้น คุณภาพของสินค้าอาหาร อาทิ ภาพลักษณ์ รสชาติ คุณภาพของวัตถุดิบ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-50


และบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้บรรจุสินค้าอาหารที่ส่งมอบไปยังลูกค้า ต้องเป็นไปตามมาตรฐานตามที่ได้ กาหนดไว้ ซึ่งคุณภาพของสินค้าอาหารเป็นปัจจัยสาคัญที่จะส่งผลต่อการ รักษาฐานลูกค้าให้เป็น ลูกค้าต่อไปในอนาคต 3. รายละเอียดข้อมูลสินค้าและบริการบนเว๊บไซต์ครบถ้วน การให้บริการข้อมูลต่างๆ ที่จาเป็นต่อ การตัดสินใจซื้อสินค้าอาหารนั้นๆ อาทิ รายละเอียดข้อมูลของตัวสินค้าอาหารที่มีความครบถ้วน ตามลักษณะของสินค้าอาหาร ระบบการชาระเงิน การรับประกันคุณภาพสินค้า การเปลี่ยนหรือ คืนสินค้า และการตรวจสอบข้อมูลการจัดส่งสินค้า เป็นต้น ซึ่งข้อมูลต่างๆ ล้วนเป็นองค์ประกอบ ที่สาคัญต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์ เนื่องจากพฤติกรรมกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของ ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ส่วนใหญ่ มักเป็นกลุ่มที่ชอบแสวงหาข้อมูลต่างๆ อย่างละเอียดถี่ถ้วน ก่อนการตัดสินใจซื้อ ดังนั้น ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฏบนสื่อออนไลน์ประเภทต่างๆ จึงเป็นสิ่งที่จาเป็น ที่ช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของสินค้าและสร้างความน่าเชื่อถือให้กับธุรกิจอีกด้วย 4. การบริ หารจั ด การเว็บ ไซต์ หรื อสื่ อออนไลน์ การท าธุ รกิจ บริ การอาหารออนไลน์ นอกจาก ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมีองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการแล้ว ผู้ประกอบการควรมีทักษะและ องค์ความรู้ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขั้นพื้นฐาน หากผู้ประกอบการเปิด เว็บไซด์ร้านค้าเป็น ของตนเอง เว็บไซด์ที่นิ่งสนิทไม่มีการเคลื่อนไหว ไม่ต่างอะไรจากร้านค้าที่ปิดกิจการ .. ดังนั้น ผู้ ป ระกอบการที่ เ ปิ ด ร้ า นค้ า ออนไลน์ แ บบมี เ ว็ บ ไซด์ เ ป็ น ของตั ว เอง จ าเป็ น ต้ อ งค านึ ก ถึ ง ขี ด ความสามารถในการพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซด์ของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง 5. สินค้าอาหารที่ส่งมอบไม่ชารุดเสียหาย ผู้ประกอบการควรให้ความสาคัญกับรูปแบบการจัดส่ง สินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุสินค้าอาหารที่มีความเหมาะสม การจัดส่งและบรรจุภัณฑ์ต้อง สามารถปกป้องสินค้านั้นๆ ได้เป็นอย่างดี ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อตัวสินค้าอาหารระหว่าง การจัดส่ง 6. การให้บริการก่อนและหลังการขาย การให้บริการและแก้ไขปัญหาต่างๆ แก่ลูกค้าผ่านช่องทาง สื่อสารต่างๆ ตลอด 24 ชั่วโมง หรือการให้บริการในลักษณะ Call Center เพื่อให้บริการตอบข้อ ซักถามถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากกระบวนขายและส่งมอบสินค้าอาหาร เช่น การสอบถามถึง ส่วนผสมหรือรายละเอียดตัวสินค้าอาหาร ติดตามและสอบถามการจัดส่งสินค้า เป็นต้น ซึ่งในทุก กระบวนการผู้ประกอบการต้องให้ข้อมูลต่างๆ ได้อย่างชัดเจนและควรมีมาตรการแสดงความ รับผิดชอบในแต่ละปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น การส่งสินค้าที่ไม่ตรงกับคาสั่งซื้อ สินค้าที่ส่งมอบชารุด เสียหาย การส่งมอบสินค้ามีความล่าช้า เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-51


ข้อท้าทายในการทาธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 1. เทคโนโยลีและเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 4. คู่แข่งขันรายใหม่

2. การถูกลอกเลียนแบบ

3. คุณภาพของอาหารและบริการ

ข้อท้าทายหรือข้อจากัดที่นาไปสู่ความล้มเหลวในการทาธุรกิจนับเป็นความเสี่ยงที่ทุกธุรกิจต้องเผชิญ และเป็น เรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการดาเนินธุรกิจ ซึ่งส่งผลต่อความยั่งยืนทางธุรกิจ ทั้งด้านรายได้ ภาพลักษณ์ และ กระบวนการดาเนินงาน ดังนั้น การเรียนรู้ผ่านข้อท้าทายหรือข้อจากัดอย่างรอบด้านจะช่วยลดความเสี่ยงทาง ธุรกิจหรืออาจจะไม่ต้องเผชิญกับความเสี่ยงดังกล่าวก็เป็นได้ ซึ่งในการทาธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ประกอบ ไปด้วยข้อท้าทายในการดาเนินธุรกิจ ดังนี้ 1. เทคโนโลยีและเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ธุรกิจให้บริการอาหารออนไลน์กระบวนการส่วนใหญ่ใน การดาเนินธุรกิจอยู่ในรูปแบบการให้บริการผ่านสื่ออินเทอร์เน็ต ดังนั้น หากระบบการให้บริการ หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร อาจส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการได้ เช่น ระบบร้ านค้ าออนไลน์ ไ ม่เสถี ยร ถู กลั กลอบเจาะข้อ มูล การถูก ไวรัส รบกวน หรื อระบบ อินเทอร์เน็ตมีความล่าช้า ซึ่งปัจจัยดังกล่าวล้วนส่งผลต่อการให้บริการที่ล่าช้าและอาจส่งผลให้ ลูกค้าเบื่อหน่าย และหันไปใช้บริการผู้ประกอบการรายอื่นแทน 2. การถูกลอกเลียนแบบ การถูกลอกเลียนแบบตัวสินค้าและบริการ อาหาร เนื่ อ งจากการบริ ก ารอาหารออนไลน์ เนื่ อ งจากสื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น สื่ อ ที่ มี ก ารเข้ า ถึ ง อย่ า งรวดเร็ ว ส่ ง ผลให้ ผู้ ป ระกอบการรายใหม่ ที่ จ ะเข้ า สู่ ธุ ร กิ จ บริ ก ารอาหารออนไลน์ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-52


สามารถลอกเลียนแบบได้ง่ าย อีกทั้งในการเริ่มต้นธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ยังมีต้นทุนในการ ลงทุนไม่สูงมากนัก จึงส่งผลให้ผู้ประกอบการใหม่สามารถเข้าสู่ธุรกิจได้ง่าย 3. คุณภาพของอาหารและบริการ อาหารเป็นสินค้าที่มีความเกี่ยวข้องกับสุขภาพและร่างกายของ ผู้บริโภค นอกจากความคิดสร้างสรรค์และไอเดียที่จะนาเสนอในอาหารแล้ว คุณภาพของวัตถุดิบ ต้ อ งเป็ น ที่ น่ า เชื่ อ ถื อ และไว้ ใ จส าหรั บ ผู้ บ ริ โ ภคด้ ว ย การขายสิ น ค้ า ออนไลน์ ค วรมี ก ารชี้ แ จง รายละเอี ย ดของส่ ว นประกอบที่ส าคัญ (ส่ ว นประกอบเพิ่ม เติ มที่ใ ส่ ใ นอาหารเพื่อ สร้า งความ แตกต่างให้กับสินค้าอาหารที่จาหน่าย) ผู้ประกอบการพึ่งระลึกไว้เสมอว่า “การซื้อสินค้าออนไลน์ เป็นการซื้อสินค้าจากภาพลักษณ์หรือรูปถ่าย” ที่มีการโฆษณาบนร้านค้าออนไลน์ ดังนั้น หาก ข้อมูลหรือรายละเอียดต่างๆ ไม่ชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้น อาจทาให้ผู้บริโภคไม่สนใจและไม่สั่งซื้อสินค้า อาหารจากร้ า นค้ าได้ หรื อ การเพิ่ ม ช่อ งทางการซั กถามหรือ ตอบปัญ หาข้ อสงสั ย ที่มี ลั กษณะ ออนไลน์สามารถสอบถามได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งการให้บริการข้อมูลในลักษณะนี้จะส่งผลดีต่อการ ตัดสินใจซื้อสินค้าอาหารของผู้บริโภค 4. คู่แข่งขันรายใหม่ ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์เป็นธุรกิจที่เริ่มต้นได้ง่าย ใช้เงินลงทุนต่าเมื่อเทียบ กับการลงทุนในธุรกิจอาหารประเภทอื่นๆ เนื่องจากไม่จาเป็นต้องมีหน้าร้านหรือลงทุนกับสถานที่ ดังนั้น ผู้ประกอบการรายใหม่จึงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ประกอบพฤติกรรมการใช้ชีวิตอยู่บนโซเชียล มีเดียหรือโลกออนไลน์ ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ทาให้ผู้ บริโภคมีโอกาสในการแสวงหาสินค้าและ บริการที่ตรงกับความต้องการของตนเองมากขึ้น และค่านิยมของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการเป็นเจ้าของ ธุรกิจมากกว่าการเป็นลูกจ้าง ซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ล้วนให้เกิดทั้งโอกาสและคู่แข่งขันทางธุรกิจ สาหรับผู้ประกอบการในธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ทั้งสิ้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-53


 รณีศึกษาธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ต้นแบบ ตัวอย่างธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ เพื่อเปิดมุมมองและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ได้ ศึกษาแนวคิดและรูปแบบการทาธุรกิจที่สามารถทาได้หลากหลายรูปแบบ ดังตัวอย่างเช่น 1. Fay Fay Homemade Bakery

2. ร้านชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette)

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-54


F

 ay Fay Homemade Bakery คัพเค้กออนไลน์ “เน้นความอร่อยไปพร้อมกับรูปร่างหน้าตาที่สวยงาม จากความสามารถด้านศิลปะเฉพาะตัว” Fay Fay Homemade Bakery โดดเด่นทั้งความอร่อยและศิลปะการเพ้นลายบนคัพเค้กนมสดที่เป็น ความสามารถเฉพาะตัว ซึ่งตอนนี้เราถือว่าเป็นรายเดียวที่ใช้การเพนต์ลายลงบนเค้กนมสด และการออกแบบ สร้ า งสรรค์ รู ป ร่ า งหน้ า ตาให้ รั บ กั บ เทศกาลส าคั ญ ๆ ต่ า งๆ เป็ น อี ก กลยุ ท ธ์ ที่ ท าให้ ย อดขายสู ง ขึ้ น ในทุ ก ปี “ความคิดสร้างสร้างสรรค์” จึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับการปรับตัวของผู้ประกอบการในวงการอาหารปัจจุบัน ซึ่ง Fay Fay Homemade Bakery ให้ความสาคัญและเราก็ประสบความสาเร็จมาได้ในทุกวันนี้

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-55


ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  การรักษาคุณภาพความอร่อย  ศิลปะการตกแต่งรูปร่างหน้าตาที่สร้างสรรค์และแตกต่าง  การตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าในโอกาสพิเศษต่างๆ  การใส่ใจวัตถุดิบที่สดและใหม่เสมอ  การปรับตัวรับกับการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ต่างๆ ได้ดี  ประสบการณ์ด้านการทาเบเกอรี่ที่มีมากว่า 15 ปี Fay Fay Homemade Bakery โดย คุณประไพพร สิริอัฉรานนท์ เจ้าของกิจการที่มีประสบการณ์ทาเบเกอรี่ มานานกว่า 15 ปี Fay Fay Homemade Bakery ถือกาเนิดมาจากการทาเค้กนมสดส่งขายให้ร้านเบเกอรี่ ใน ย่านธุรกิจในกรุงเทพฯ หลายแห่ง ร้านเบเกอรี่ ดังๆ กระทั่งเกิดรูปแบบการตลาดใหม่ที่มีช่องทางการขายผ่าน ออนไลน์เกิดขึ้นทาให้การแข่งขันในอาชีพนี้มีสูงขึ้นตามด้วยเช่นกัน เมื่อลูกค้ามีทางเลือกเพิ่มขึ้นสะดวกขึ้นก็ ส่งผลให้ยอดขายเราลดลง ดังนั้นร้านจึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการขายมาเป็นการขายผ่านออนไลน์ ด้วยเช่นกัน อีกทั้งการปรับตัวกับเวลาที่มีมากขึ้นจึงทาให้ตัดสินใจเปิดสอนทาเบเกอรี่ร่วมด้วย Fay Fay Homemade Bakery เน้นการทาขนมตามเทศกาลสาคัญๆ และในโอกาสพิเศษๆ อาทิ ครบรอบวัน เกิด ครบรอบวันสาคัญ ๆ หรือฉลองในโอกาสพิเศษต่างๆ ด้วยการสร้างสรรค์รูปร่างหน้าต่างเค้กด้วยศิลปะที่ โดนใจลูกค้า อีกทั้งช่วงเทศกาลจะเป็นช่วงเวลาที่เป็นโอกาสในการสร้างรายได้ที่เพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ปี จึงเป็น ทาให้ร้านต้องเตรียมความพร้อมและให้ความใส่ใจกับการคิดสร้างสรรค์รูปแบบสินค้าในช่วงเทศกาลเป็นสาคัญ ด้วย ซึ่งในแต่ละปีพบว่าลูกค้านิยมซื้อเค้กมอบให้กันเป็นส่วนใหญ่ ร้านจึงคิดออกแบบเค้กให้ เข้ากับธีมของ เทศกาลนั้นๆ เสมอๆ ซึ่งผลตอบรับดีมาก ในปีที่ผ่านมาคัพเค้กจะได้รับความนิยมอย่างมากด้วยรูปร่างหน้าตาที่ สามารถตกแต่งได้หลากหลายและขนาดรูปแบบที่ง่ายต่อการรับประทาน สาหรับการนาเสนอราคาสินค้าของร้าน Fay Fay Homemade Bakery จัดได้ว่าเป็นราคาที่ไม่สูงมากเมื่อ เทียบกับกลุ่มสินค้าและบริการประเภทเดียวกัน ร้านเน้นกาหนดราคาขายเป็นเซทโดยบังคับด้วยขนาดของ กล่อง รูปแบบการสั่งซื้อออนไลน์ เข้าถึงข้อมูลได้ที่ Fay Fay Homemade Bakery Website : www.faycake.com Facebook : https://www.facebook.com/FayFayHome

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-56


ร้

 านชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette) “เมื่อคิดถึงชีสเค้กอยากให้นึกถึงแบรนด์ชีสเค้ก พาเลท” ชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette) เป็นร้านชีสเค้กคุณภาพออนไลน์แห่งแรกในไทย สร้างสรรค์เมนูชีส เค้กใหม่ๆ ให้หลากหลายควบคู่กับรักษาคุณภาพและบริการให้เป็นที่พึงพอใจของลูกค้าเสมอ ชีสเค้กพาเลท เติบโตได้ด้วยใจรักและการเห็นโอกาสทางการตลาดในประเทศที่ยังไม่มีร้านชีสเค้กแบบร้อยเปอร์เซ็นต์ จึงเป็น บันไดมาสู่ความสาเร็จกับธุรกิจร้านขายอาหารออนไลน์ที่มุ่งมั่นสร้างสรรค์ชีสเค้กที่เข้มข้นด้วยรสชาติความ อร่อยที่มากกว่า 25 รายการ รวมถึงการนาเสนอรสชาติความอร่อยของชีสเค้กได้เช่นเดียวกับต้นตารับสไตล์ นิวยอร์กที่ขึ้นชื่อเรื่องชีสเค้กได้อย่างครบสูตร พร้อมด้วยบริการส่งถึงบ้านที่เหมาะกับยุคสมัยและรูปแบบการใช้ ชีวิตของคนในปัจจุบันที่ต้องการความสะดวกสบายและคงคุณภาพความอร่อยได้เหมือนกับซื้อรับประทานเองที่ ร้าน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-57


ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  คุณภาพและความอร่อยของชีสเค้ก  วัตถุดิบนาเข้าสาหรับผลิตชีสเค้กให้ได้คุณภาพ  ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบชีสเค้กที่หลากหลายเมนู และตอบโจทย์ความต้องการของ กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย  ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า  รูปแบบการให้บริการ  มีใจรักและชอบทาขนม คุณเบญจรงค์ เตชะมวลไววิทย์ เจ้าของร้านเป็นคนรุ่นใหม่ที่มี แรงบันดาลใจในการทาธุรกิจอาหารสร้างสรรค์ จากความชอบส่ว นตัว ชอบทาขนมมาตั้งแต่เด็กทั้งหัดทาเองและเรียนจากสถาบันสอนทาขนมทั้งในและ ต่างประเทศ กระทั่งมีงานประจาทาแล้วการทาขนมก็ทาเป็นอาชีพเสริม อาศัยเวลาว่างทาเค้กส่งร้านกาแฟ หลายแห่งในกรุงเทพฯ และเมื่อปี 2554 ได้มีโอกาสเดินทางไปนิวยอร์ก และสหรัฐอเมริกา ได้ไปชิมชีสเค้ก สไตล์นิวยอร์กแท้ๆ และเกิดประทับใจกับรสชาติความอร่อย จึงย้อนคิดถึงชีสเค้กที่ขายในเมืองไทยที่ตนเห็นว่า ยังขาดความหลากหลาย ส่วนใหญ่มีแค่ชีสเค้กสตรอว์เบอร์รี กับบลูเบอร์รี อี กทั้งร้านเค้กต่างๆ ก็จะเน้นทาเค้ก นานาชนิดโดยมีเมนูชีสเค้กเป็นเพียงแค่หนึ่งในเมนูของร้านเท่านั้น แต่ยังไม่มีร้านใดเลยที่นาเสนอชีสเค้กเป็น เมนูหลักประจาแบรนด์ ทาให้มองเห็นว่ายังมีโอกาสในช่องทางตลาดที่เราจะมาเต็มเติมในจุดนี้ได้

ชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette) เปิดหน้าร้านขนาดกะทัดรัดอยู่ที่ซอยสุขุมวิท 36 ตกแต่ง บรรยากาศสบายๆ นั่งได้ประมาณ 15 คน รองรับลูกค้าเดินเข้ามาเลือกซื้อได้ทันที และใช้เป็นจุดที่ลูกค้าสั่ง และรับสินค้าได้เอง ซึ่งภายในร้านยังเสริมเมนูอื่นๆ ด้วย เช่น เครื่องดื่ม คุกกี้ และไอศกรีม เป็นต้น สาหรั บชีส เค้ ก ได้ เ จาะจงสร้ า งรสชาติ เ ป็ น สไตล์ นิ ว ยอร์ ก ที่ ขึ้ น ชื่ อ เรื่ อ งชี ส เค้ ก มี จุ ด เด่ น เนื้ อ แน่ น และรสเข้ ม ข้ น ขณะเดียวกันก็เพิ่มความหลากหลายคิดค้นรสใหม่ขึ้นเอง ถึงปัจจุบันมีกว่า 25 รายการ เช่น ชาไทย เอสเพรสโซ ไวต์ช็อกโกแลต แมนฮัตตันวานิลลา เป็นต้น และสร้างสรรค์รูปแบบให้สวยงามตื่นตาตื่นใจอย่างหลากหลาย เช่น ทาเป็นแท่งคล้ายไอศกรีม หรือใส่ในถ้วยแบบคัพเค้ก เป็นต้น สูตรเด็ดเคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่การเลือกใช้ วัตถุดิบ คุณภาพเยี่ ย มน าเข้ าจากต่างประเทศ เช่น ครีม ชีส จากฟิล าเดลเฟี ย วิป ปิ้งครีม จากฝรั่งเศส และ ช็อกโกแลตยุโรป เป็นต้น ส่วนผสมทั้งหมดมาจากธรรมชาติไม่ใส่สีผสมอาหาร หรือสารกันเสียใดๆ ทั้งสิ้น และ ทั้งหมดผลิตแบบโฮมเมด เฉลี่ยทาเค้กได้ประมาณ 50 ก้อนต่อวัน ในกรณีที่ลูกค้าต้องการปริมาณมากๆ จึง จาเป็นต้องสั่งล่วงหน้า ซึ่งราคาขายก็ยังอยู่ระดับปานกลางเฉลี่ยชิ้นละ 100 บาท และเพิ่มมูลค่าเค้กด้วยแพกเก จจิ้งที่สวยงามเหมาะสมทั้งสามารถซื้อฝากมอบเป็นของขวัญในเทศกาลต่างๆ ได้ กลุ่มลูกค้าหลัก คือ กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มหนุ่มสาวออฟฟิศ และกลุ่มคนที่ต้องการสั่งเป็นของขวัญมอบให้กับคน สาคัญในเทศกาลต่างๆ นอกจากนั้นด้วยรูปแบบเค้กที่สวยงามหลากหลาย จึงมีกลุ่มลูกค้าองค์กรหรือกลุ่มคนที่ สั่งไปใช้ในงานจัดเลี้ยงและอีเวนต์ต่างๆ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-58


ช่องทางขาย ทางร้านได้เลือกวางระบบรูปแบบบริการดีลิเวอรี โดยสั่งผ่านเว็บไซต์ด้วยระบบออนไลน์ หรือ โทรศัพท์ หลังรับออเดอร์ 2 วัน ลูกค้าจะได้รับสินค้าจากการบริการจัดส่งถึงที่ ทางร้านจะให้บริการส่ง สินค้าใน กรุงเทพฯและปริมณฑล ต่อมาภายหลังได้มีการปรับปรุงระบบบริการ โดยจัดให้มีบริการเสริมส่งด่วนส่งด่วน ภายใน 90 นาที ในพื้นที่สุขุมวิท วิทยุ สีลม และสาทร เป็นต้น ซึ่งบริการดีลิเวอรี่ชีสเค้กของร้านชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette) เป็นบริการร้านชีสเค้กออนไลน์รายแรกของเมืองไทย และการออกแบบบริการของ ทางร้านที่สามารถให้บริการออนไลน์และจัดส่งสินค้าได้ในระยะทางที่ค่อนข้างไกลครอบคลุมถึงเขตปริมณฑล จากหน้าร้านที่มีเพียงแห่งเดียวได้นั้น ส่วนหนึ่งสามารถทาได้เนื่องจากชีสเค้กมีข้อดี คือ อายุการเก็ บรักษาจะ นานกว่าเค้กทั่วไป หากแช่เย็นก็จะเก็บไว้ได้นานถึง 1 เดือน รวมถึงคงรูปทรงได้ดีกว่าเค้กทั่วไป จึงทาให้ สามารถจัดส่งในรูปแบบดีลิเวอรีได้โดยไม่ติดปัญหาในการรักษาคุณภาพความอร่อยและการคงรูปลักษณ์เดิม เหมือนกับเค้กทั่วไป และทางร้านก็ประสบความสาเร็จจากช่องทางการขายแบบออนไลน์นี้ไม่ยากนัก ซึ่งลูกค้า ส่วนใหญ่ก็จะมาจากการบอกปากต่อปาก การแชร์รูป รวมถึงการแชร์ลิงก์ข่าวที่มีการประชาสัมพันธ์หรือทา โฆษณาไว้ ทาให้ผลตอบรับดีขึ้นเรื่อยมาเป็นลาดับ เข้าถึงข้อมูลได้ที่ ร้านชีสเค้กพาเลท (Cheesecake Palette) Website : www.cheesecakepalette.com

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการอาหารออนไลน์ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-59


3

ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง (Catering Service)

ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง

หมายถึง ธุรกิจให้บริการเฉพาะอาหารและเครื่องดื่มมีลักษณะพิเศษด้านการ ให้ บ ริ ก าร กล่ าวคือ เป็ น การให้ บ ริ การที่ ไม่ เฉพาะเจาะจงอยู่ใ นพื้ นที่ ใดพื้นที่ ห นึ่ ง การให้ บริ การสามารถ เคลื่อนย้ายการบริการอาหารและเครื่องดื่มไปยังสถานที่ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้าหรือผู้ซื้อ โดยมี รูปแบบและขนาดของงานที่หลากหลายตามคอนเซ็ปต์หรือรูปแบบของงานตามที่ผู้ว่าจ้างหรือผู้ซื้อกาหนด เช่น การจัดเลี้ยงอาหารไทย การจัดเลี้ยงอาหารแบบบุฟเฟ่ต์ การจัดเลี้ยงอาหารแบบค็อกเทล หรือการจัดเลี้ยง อาหารว่างและการเลี้ยงน้าชา เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-60


สาหรับในธุรกิจอาหารสร้างสรรค์ในรูปแบบของธุรกิจ การบริการจัดเลี้ยง เป็นการดาเนินธุรกิจที่ต้อ งอาศัย ความคิดสร้างสรรค์เข้ามามีส่วนช่วยในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัวสินค้าอาหารและการบริการในทุกขั้นตอน สาหรับผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่สนใจจะเข้าสู่ ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงหรือธุรกิจเคเทอริ่ง (Catering) นอกจากจะมี ความตั้งใจ รักงานบริการและมีความอดทนสูงแล้ว ในธุรกิจบริการจัดเลี้ยงหรือเคเทอริ่งในที่นี้ผู้ประกอบการยัง ต้องมีไอเดียและความคิดสร้างสรรค์ที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ทั้งในกระบวนการผลิตอาหารและการให้บริการ อีก ดังนั้น ก่อนการเริ่มต้นธุรกิจผู้ประกอบการจาเป็นต้องวิเคราะห์แนวโน้ม โอกาส ความเป็นไปได้ในการ ดาเนินธุรกิจ และศักยภาพในการดาเนินธุรกิจในแต่ละขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบและกลยุทธ์การให้บริการ การทาการตลาด กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ทรัพยากรหลัก แรงงานและแหล่งเงินทุน โดยเฉพาะอย่างแหล่งรายได้ที่ มีเข้ามาหมุนเวียนในธุรกิจ

คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ

ผู้ประกอบธุรกิจบริการจัดเลี้ยงหรือเคเทอริ่ง ควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1. มีความรู้พื้นฐานด้านการประกอบอาหาร เนื่องจากในธุรกิจบริการจัดเลี้ยงเป็นธุรกิจที่ให้บริการ อาหารและบริการ ดังนั้น ในส่วนของการบริการสินค้าอาหาร จะประกอบไปด้วยอาหารประเภท ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอาหารคาว-หวาน อาหารไทยและอาหารนานาชาติ ทั้งในรูปแบบอาหารหลัก และอาหารว่าง ดังนั้น ผู้ประกอบการในธุรกิจบริการประเภทนี้ จึงจาเป็นต้องมีความรู้ด้านอาหาร ที่ครอบคลุมทั้งทางด้านผลิต การเก็บรักษาคุณภาพอาหาร การเลือกใช้วัตถุดิบประเภทต่างๆ รวมทั้งส่วนประกอบและเครื่องปรุงต่างๆ ตลอดจนการเลือกใช้อุปกรณ์และวัสดุเครื่องใช้ต่างๆ ที่ เหมาะสมกับประเภทและชนิดของอาหาร นอกจากองค์ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตอาหารแล้ว การเลือกสรรเมนูที่มีความสอดคล้องกันใน การจัดเลี้ยงอาหาร ยังเป็นปัจจัยที่สาคัญของธุรกิจ โดยเฉพาะการสร้างความแตกต่างในตัวสินค้า อาหารให้มีเอกลักษณ์และเหมาะสมกับการจัดเลี้ยงของลูกค้า 2. มีความคิดสร้างสรรค์ การบริการจัดเลี้ยงในธุรกิจสร้างสรรค์ ผู้ประกอบการควรมีไอเดียและ ความคิดสร้างสรรค์ทั้งในกระบวนการผลิตอาหารและการให้บริการอาหาร อาทิ การออกแบบ เมนูอาหาร การออกแบบอาหารหรือปรับภาพลักษณ์ของสินค้าอาหารให้เหมาะกับงาน ทั้งนี้ การ สร้างความแตกต่างจากไอเดียและความคิด สร้างสรรค์ จะก่อให้เกิดความประทับใจให้แก่ลูกค้า และยังเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการของธุรกิจอีกด้วย

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-61


3. เงินลงทุน ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงเป็นธุรกิจที่ต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง เนื่องจากธุรกิจดังกล่าว เป็นธุรกิจที่ต้องพึ่งพาแรงงานทั้งในกระบวนการผลิตและการให้บริการ อุป กรณ์การผลิต และ อุปกรณ์สาหรับจัดเลี้ยง 4. มีทักษะด้านการสื่อสารและประสานความร่วมมือ สามารถสร้างความร่วมมือ หุ้นส่วนร่วมกับ ผู้เชี่ย วชาญด้านการทาอาหาร ทั้งการสร้างเครือข่ายความร่ว มมือกับกลุ่ มแรงงาน เช่น เชฟ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหาร และผู้มีประสบการณ์ด้านการทาอาหาร จะช่วยเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจ และสามารถแข่งขันได้ในสภาวการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น 5. การให้บริการที่เข้าใจลูกค้า สามารถเข้าใจพฤติกรรมและความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ได้อย่างแท้จริง สามารถกาหนดรูปแบบสินค้าอาหารและการให้บริการได้อย่างเหมาะสม และ เป็นไปตามความคาดหวังของผู้บริโภค 6. มีความรู้และเข้าใจในระบบธุรกิจ มีความรู้ความเข้าใจในภาพรวมของการทาธุรกิจ เนื่องจาก ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงอาหารเป็นธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องตั้งแต่กระบวนการผลิตและการให้บริการ ดังนั้น ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมีทักษะด้านการบริหาร เพื่อการจัดการทรัพยากรต่างๆ ได้อย่าง เหมาะสมและเป็นระบบ อาทิ ด้านลูกค้า ด้านการตลาด ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้าน บริหารการปฏิบัติการและห่วงโซ่อุปทาน

 ารเริ่มต้นธุรกิจ การเริ่มต้นธุรกิจผู้ประกอบการควรศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจ ซึ่งจะช่วยให้ ผู้ประกอบการสามารถมองเห็นกิจกรรมต่างๆ ที่มีความต่อเนื่องกัน การวางแผนจะช่วยลดความเสี่ยงในการ ดาเนินธุรกิจ ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการเริ่มต้นเป็นผู้ประกอบการในธุรกิจบริการจัดเลี้ยง ผู้ประกอบการควรศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องในกระบวนการทาธุรกิจ โดยอาศัย Business Model Canvas ซึ่งประกอบไปด้วยสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่สาคัญ 9 ด้าน ดังนี้ 1. กาหนดกลุ่มลูกค้า (Customer Segments) ระบุกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะเป็นผู้ใช้บริการทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตได้อย่างชัดเจน เพื่อวางแผนในการดาเนินธุรกิจได้อย่างตรงกลุ่มเป้าหมาย เช่น  หน่วยงานภาครัฐ ที่ใช้บริการจัดเลี้ยงสาหรับกิจกรรมต่างๆ เช่น การการจัดประชุม และการ จัดสัมมนา เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-62


 หน่วยงานภาคเอกชน ที่ใช้บริการจัดเลี้ยงสาหรับกิจกรรมต่างๆ ภายในองค์กร เช่น การจัด งานเปิดตัวสินค้าใหม่ งานเลี้ยงแสดงความยินดี งานเลี้ยงประจาปี และวันครบรอบกิจการ เป็นต้น  บุคคลทั่วไป ที่ต้องการจัดเลี้ยงเนื่องในโอกาสต่างๆ เช่น งานเลี้ยงวันเกิด งานเลี้ยงครบรอบ วันแต่งงาน และงานเลี้ยงฉลองสาเร็จการศึกษา เป็นต้น 2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) การส่งมอบสินค้าและบริการให้แก่ลูกค้า ซึ่งประกอบไปด้วย  อาหารที่มีรสชาติอร่อย ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน  อาหารทีม่ ีเอกลักษณ์เฉพาะตัวตามรูปแบบการจัดงาน โดย ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารสามารถถ่ า ยทอดออกมาในรู ป แบบของตั ว อาหารและบรรยากาศภายในงานจัดเลี้ยง  การสร้างความประทับใจให้แก่แขกที่มาร่วมงานจัดเลี้ยง กล่าวคือ การสร้างความประทับไปยังบุคคลที่ 3 ซึ่งความ ประทับใจดังกล่าวจะสะท้อนมายังผู้จัดงานดังกล่าวด้วย 3. ระบุช่องทาง (Channels) การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ธุรกิจไปยังกลุ่มเป้าหมาย (ในปัจจุบันและอนาคต) ได้อย่างรวดเร็ว และตรงกลุ่มเป้าหมาย โดยอาศัยช่องทางต่างๆ อาทิ  เว็บ ไซต์ของกิจ การ โดยนาเสนอข้อมูล ต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับกิจการ เช่น รูป ภาพอาหาร รูปภาพกิจกรรมการจัดเลี้ยง รายละเอียดและรูปแบบการให้บริการ ประสบการณ์ในการ ให้บริการ และขีดความสามารถในการให้บริการ เช่น ปริมาณการจัดเลี้ยงสามารถรองรับ ลูกค้าได้จานวนกี่ท่าน เป็นต้น  สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็นการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้อย่าง รวดเร็ว จากการถ่ายรูป อั พโหลดและแชร์ภาพ เช่น การใช้เฟสบุ๊ค หรืออินสตราแกรม เป็น ต้น  ช่องทางการบอกต่อ เป็นช่องทางที่มีประสิทธิภาพและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคได้ เป็นอย่างดี การบอกต่อจะช่วยถ่ายทอดประสบการณ์การใช้บริการจากลูกค้าคนที่ 1 ไปยัง ลูกค้าคนต่อๆ ไปจนกลายเป็นเครือข่ายในวงกว้าง

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-63


4. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) การสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้าเป้าหมาย ตั้งแต่การหาลูกค้า การให้บริการลูกค้า และ ติดตามหลังการใช้บริการ ซึ่งกระบวนการทั้งหมดจะมีความเชื่อมโยงกันตั้งแต่กระบวนการวิเคราะห์กลุ่ม ลูกค้า เพื่อนาเสนอคุณค่าสินค้าและบริการผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ จนมาสู่การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า และการกลับมาใช้บริการใหม่ เช่น  ให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษาแก่ลูกค้าทั่วไปและให้คาแนะนาถึงปัญหาและข้อจากัดของ ลูกค้า เช่น งบประมาณและสถานที่ เป็นต้น  ให้คาแนะนารูปแบบการจัดงานเลี้ยงที่เหมาะสมให้แก่ลูกค้าแต่ละราย  การให้คาแนะนาด้านอาหาร รูปแบบและประเภทของอาหารที่เหมาะสมกับความต้องการ ของลูกค้า  ให้คาปรึกษาและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินการจัดเลี้ยง 5. รายได้ (Revenue Streams) รายได้หลักของธุรกิจ คือ การให้บริการจัดเลี้ยงอาหาร จานวนของรายได้ ขึ้นอยู่กับขนาดของ กิจการและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เช่น ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงอาหารคาวหวาน หรือธุรกิจให้บริการจัดเลี้ยงอาหาร ว่าง หรือธุรกิจบริการจัดเลี้ยงสังสรรค์ โดยรายได้หลักของธุรกิจจะมาจากการให้บริการจัดเลี้ยงอาหาร ณ สถานที่ต่างๆ ตามที่ลูกค้ากาหนด 6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) ปัจจัยหรือทรัพยากรสาคัญที่ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมี ทรัพยากรที่ดีและมีคุณภาพจะสามารถ สร้างคุณค่าให้กับธุรกิจได้เป็นอย่างดี และได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าผู้ใช้บริการและนามาซึ่งรายได้ ในธุรกิจ บริการจัดเลี้ยงค่อนข้างมีองค์ประกอบของทรัพยากรหลักมากกว่าธุรกิจบริการประเภทอื่นๆ เนื่องจากเป็น ธุรกิจที่ให้บริการทั้งในกระบวนภาคการผลิตสินค้าอาหารและบริการ ดังนั้น นอกจากองค์ความรู้ด้านอาหาร และโภชนาการ ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบสินค้าอาหารให้ตรงกั บความตรงการของลูกค้า ทรัพยากร หลักที่จาเป็นประกอบไปด้วย  แรงงานหรือบุคลากรในธุรกิจบริการจัดเลี้ยง สามารถแบ่งตามกิจกรรมการให้บริการได้ 2 ประเภท คือ - ผู้ผลิตอาหาร เช่น นักออกแบบอาหารและผู้ผลิตอาหาร อาทิ เชฟและพ่อครัว เป็นต้น ทาหน้าที่ออกแบบและผลิตอาหาร เพื่อนาไปจัดเลี้ยงยังสถานที่ต่างๆ - ผู้ให้ บริ การหรื อ พนั กงานบริการ พนักงานเดินอาหาร พนักงานบริการเครื่องดื่ม ทา หน้าที่ให้บริการลูกค้า ณ สถานที่จัดงาน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-64


 เมนูอาหารสร้างสรรค์ เช่น คัพเค้กแฟนซี และโรลแฟนซี เป็นต้น  อุปกรณ์และวัตถุดิบในการผลิตอาหาร คือ อุปกรณ์และเครื่องมือสาหรับใช้ในการออกแบบ และผลิตอาหาร เช่น อุปกรณ์ทาครัว เครื่องมือและอุปกรณ์ทาอาหาร เป็นต้น  วัตถุดิบและอุปกรณ์สาหรับการให้บริการจัดเลี้ยง คือ อุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ สาหรับใช้ ภายในงานจัดเลี้ยง เช่น ภาชนะ อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เป็นต้น 7. กิจกรรมหลัก (Key Activities) กิจกรรมที่สร้างคุณค่าและส่งมอบให้กับลูกค้า และจะต้องตรงตามวัตถุประสงค์หรือความคาดหวัง ของลูกค้าตามประเภทของธุรกิจด้วย  การแนะนารายการอาหารและเครื่องดื่มที่เหมาะสมกับรูปแบบการจัดงาน  การจัดตกแต่งสถานที่จัดงาน เช่น การวางอุปกรณ์เครื่องใช้ จาน ช้อน ส้อม ฯลฯ  จัดทาอาหาร/ปรุงอาหาร ตามรูปแบบที่ลูกค้าต้องการ  จัดตกแต่งอาหารภายในสถานที่จัดเลี้ยงตามรูปแบบและวัตถุประสงค์ของการจัดเลี้ยง  การให้บริการหลังการขาย รับฟังคาติชมและข้อเสนอแนะต่างๆ 8. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) เครือข่ายพันธมิตรในธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับธุรกิจของผู้ประกอบการในธุรกิจ บริการจัดเลี้ยง ทั้งนี้ จานวนและประเภทคู่ค้าหลักทางธุรกิจจะขึ้นอยู่กับประเภทการให้บริการและขนาดของ ธุรกิจด้วย อาทิ  นักศึกษาสาขาคหกรรมศาสตร์/นักศึกษาสาขาอาหาร สถานะความเป็นคู่ค้า คือ การเป็น แรงงานทั ก ษะที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถด้ า นอาหาร จะช่ ว ยให้ ล ดปั ญ หาการขาดแคลน บุคลากรในการปรุงอาหาร  บริ ษั ท จ าหน่ า ยอุ ป กรณ์ ก ารท าอาหารและเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ใ นการรั บ ประทานอาหาร สถานะความเป็นคู่ค้า คือ การสร้างความร่วมมือในการจัดหาอุปกรณ์ต่างๆ สาหรับทาอาหาร และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องใช้ในการจัดเลี้ยงประเภทต่างๆ  บริษัทให้บริการเช่าสินค้าและอุปกรณ์ในการจัดเลี้ยง สถานะความเป็นคู่ค้า คือ การสร้าง ความร่วมมือในการจัดหาและเช่ายืมอุปกรณ์ต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้ใ นการจัดเลี้ยง เนื่องจาก การให้บริการจั ดเลี้ยงของธุรกิจประเภทค่อนข้างมีความหลากหลาย ดังนั้น การลงทุนใน อุปกรณ์ชนิดและทุกประเภท อาจส่งผลต่อเงินลงทุนของกิจการ ดังนั้น หากสามารถหาคู่ค้าที่ ให้บริการเช่าอุปกรณ์จัดเลี้ยงได้ จะช่วยลดต้นทุนในการเริ่มต้นกิจการได้

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-65


ตัวอย่างสถานประกอบการให้เช่าสินค้าและอุปกรณ์จัดเลี้ยง

 บริษัทจาหน่ายวัตถุดิบอาหาร สถานะความเป็นคู่ค้า คือ การสร้างความร่วมมือในการจัดหา วัสดุต่างๆ ทั้งวัตถุดิบที่เป็นของสดและของแห้งที่ใช้ในการปรุงอาหาร เพื่อป้องกันภาวะการ ขาดแคลนสินค้าที่ใช้ผลิตอาหาร  สถานประกอบการต่างๆ เช่น โรงแรม ร้านอาหาร สโมสรและสมาคม เป็นต้น สถานะความ เป็นคู่ค้า คือ การสร้างความร่วมมือในการเป็นผู้ดาเนินการจัดอาหารสาหรับงานเลี้ยงต่างๆ หรือการเป็นบริการจ้างเหมาจัดเลี้ยงให้กับสถานประกอบการต่างๆ 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) เป็นการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายที่สาคัญๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเริ่มต้นธุรกิจและขณะดาเนินธุรกิจ โดยธุรกิจบริการจัดเลี้ยงขนาดกลาง ประกอบไปด้วยโครงสร้างต้นทุนที่สาคัญๆ ดังนี้  การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ได้แก่ ค่าอุปกรณ์และเครื่องมือในการประกอบอาหาร ค่าวาง ระบบต่างๆ เช่น ระบบไฟฟ้า-ประปา โทรศัพท์และระบบบัญชี ค่าอุปกรณ์สานักงาน เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์และโทรศัพท์ เป็นต้น  การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน - ต้นทุนคงที่ (ต่อเดือน) ได้แก่ เงินเดือนพนักงานประจา ค่าเช่าสถานที่ ค่าบริการ อินเตอร์เน็ต ฯลฯ - ต้นทุนผันแปร ได้แก่ ค่าวัตถุดิบอาหาร วัสดุสิ้นเปลือง ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าจ้างแรงงาน รายวัน/จ้างบริการเหมา อาทิ พ่อครัว พนักงานเสริฟ์และพนักงานจัดเรียงอาหาร เป็น ต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-66


ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงขนาดกลางจะใช้เงินลงทุนเริ่มแรกประมาณ 2 แสนบาท ซึ่งโครงสร้างต้นทุนประกอบไป ด้วย ตัวอย่างโครงสร้างการลงทุน ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง

หมายเหตุ: องค์ประกอบจะเปลี่ยนไปตามบริบทของขนาดและรูปแบบของธุรกิจ

อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการต้องให้ความสาคัญกับการวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน (Break-even-Point) ของธุรกิจ จุดคุ้มทุน หมายถึง จุดหรือระดับของรายได้จากการขายสินค้าหรือบริการ ที่เท่ากับต้นทุนที่ธุรกิจได้จ่ายออกไป หรือจุดหรือระดับของรายได้ที่ธุรกิจ “เท่าทุน” โดยส่วนที่เลยจุดหรือระดับของรายได้ดังกล่าวคือผลกาไรที่ ธุรกิจจะได้ ผู้ประกอบการจะรู้จุดคุ้มทุนเมื่อรู่ว่าต้นทุนคงที่และผันแปรของกิจการเป็นเท่าไหร่ การคานวน จุดคุ้มทุนทาได้โดย (1) จุดคุ้มทุน (หน่วยขายที่คุ้มทุน) = ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย หรือ (2) จุดคุ้มทุน (ยอดขายที่คุ้มทุน) = หน่วยขายที่คุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-67


ซึ่งโดยเฉลี่ยธุรกิจบริการจัดเลี้ยงมักจะเริ่มต้นให้บริการที่จานวนลูกค้าขั้นต่า 50 คน โดยคิดค่าบริการเป็นราย คน/หัว ราคาค่าบริการขึ้นอยู่กับรูปแบบการจัดเลี้ยงและอาหาร เช่น การจัดเลี้ยงอาหารบุ๊ฟเฟต์ หรือการจัด เลี้ยงอาหารว่าง เป็นต้น โดยใช้จ่ายในการจั ดเลี้ยงโดยเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 450–650 บาทต่อคน/หัว ทั้งนี้ จาก การสัมภาษณ์ผู้ประกอบการในธุรกิจบริการจัดเลี้ยงขนาดกลางพบว่า การลงทุนในธุรกิจบริการจัดเลี้ยงอาหาร เริ่มต้นประมาณ 1 ล้านบาท จะมีระยะเวลาในการคืนทุนประมาณ 2 ปี องค์ประกอบในการลงทุนเริ่มต้น องค์ประกอบ การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร อุปกรณ์และเครื่องมือ

ประมาณการลงทุน 60,000-100,000 บาท

ค่าวางระบบสาธารณูปโภค

30,000-40,000 บาท

ค่าอุปกรณ์สานักงาน

20,000-35,000 บาท

การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ค่าจ้างพนักงานประจา

15,000 บาท/เดือน

ค่าเช่าสถานที่ประกอบอาหาร/ สานักงาน

20,000-25,000 บาท/เดือน

ค่าวัสดุสิ้นเปลือง/วัตถุดิบ 10,000-20,000 บาท/เดือน ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้าค่าไฟฟ้า 10,000-15,000 บาท/เดือน และค่าโทรศัพท์) ค่าเชฟและพ่อครัว 30,000-50,000 บาท/เดือน ค่าจ้างพนักงานบริการ 25,000-50,000 บาท/เดือน หมายเหตุ: ประมาณจากผู้ประกอบการขนาดกลาง

หมายเหตุ ขึ้น อยู่กั บ ขนาดของธุ ร กิจ และประเภทของธุร กิ จ บริการจัดเลี้ยง ขึ้นอยู่กับ ขนาดของกิจการ และเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ เช่น จานวนจุดของปลั๊กไฟ เครื่องดูด ควัน ก๊อกประปา ฯลฯ ขึ้ น อยู่ กั บ ขนาดของกิ จ การ ซึ่ งอุ ป กรณ์ ส านั ก งาน เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องปริ๊นเอกสาร โทรศัพท์ เป็น ต้น ประมาณการจากอัตราการแรงขั้นต่า วุฒิปริญญาตรี จานวน 1 คน สถานที่ในแถบปริมณฑลขนาดพื้นที่ 80 ตรม. โดย ใช้สถานที่ประกอบอาหารกับสานักงานที่เดียวกัน หรื อ อาจเลื อ กใช้ ส ถานประกอบการในรู ป แบบ อาคารพาณิ ช ย์ เนื่ อ งจากต้ อ งใช้ อุ ป กรณ์ ท าครั ว ประเภทเตาแก๊สและบริเวณทาความสะอาดอุปกรณ์ ค่อนข้างเยอะ ขึ้นอยู่กับขนาดและรูปแบบการให้บริการ ขึ้ น อยู่ กั บ ขนาดและรู ป แบบการให้ บ ริ ก ารและ อุปกรณ์การประกอบอาหาร ขึ้นอยู่กับขนาดและรูปแบบการให้บริการ ขึ้นอยู่กับขนาดและรูปแบบการให้บริการ

อย่างไรก็ตาม การลงทุนในธุรกิจบริการจัดเลี้ยง หากผู้ประกอบการมีความพร้อมทางด้านสินทรัพย์ถาวรบาง รายการแล้ ว หรื อ คาดว่ า จะสร้ า งรายได้ เ ข้ า มาไม่ เ พี ย งพอกั บ ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในช่ ว งเริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-68


ผู้ประกอบการสามารถปรับลดสัดส่วนของสินทรัพย์ถาวรหรืออุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งเงินสดหมุนเวียนของธุรกิจ เพื่อเป็นการลดต้นทุนหรือเงินลงทุนในธุรกิจ หรือหากผู้ประกอบการสามารถใช้บริการคู่ค้าทางธุรกิจในการ จัดหาอุปกรณ์สาหรับการจัดเลี้ยง ก็จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการลงทุนด้านอุปกรณ์การจัดเลี้ยงต่างๆ ดังนั้น สัดส่วนโครงสร้างการลงทุนจึงขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของผู้ประกอบการด้วย โดยมีอ งค์ประกอบหลักในการ ลงทุนเริ่มต้น ดังนี้

1) สถานที่ตั้ง ผู้ประกอบการสามารถเลือกสถาน

ที่ตั้งโดยคานึงถึงความสะดวกในการเดินทาง เพื่อไปจัดเลี้ ยงยังสถานที่ต่างๆ โดยมีขนาด พื้น ที่เพียงพอต่อการปรุงอาหาร โดยขนาด ของพื้นที่ขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจจัดเลี้ยง เช่น ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงอาหารคาว-หวาน อาจจะต้องใช้พื้นที่มากกว่า บริการจัดเลี้ยง อาหารว่ า ง เป็ น ต้ น โดยเฉลี่ ยพื้ น ที่ ส าหรั บ ประกอบธุรกิจประมาณ 50-80 ตารางเมตร (เฉพาะพื้นที่ประกอบอาหาร และจัดเตรียม อาหาร)

การเลือกสถานที่ตั้ง เช่ น ธุ ร กิ จ บริ ก ารจั ด เลี้ ย งอาหารว่ า งและชา กาแฟ จ าเป็น ต้อ งมี พื้ นที่ สาหรั บการประกอบ อาหาร และจั ด เก็ บ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งครั ว ต่ า งๆ ประมาณ 80 ตรม. ผู้ประกอบการอาจใช้พื้นที่ที่ มี อ ยู่ คื อ ที่ พั ก อาศั ย หรื อ หากจ าเป็ น ต้ อ งเช่ า สถานที่ ก็สามารถเลือกตาแหน่งที่ตั้งที่สะดวก ต่อการเดินทาง โดยไม่จาเป็นต้องเป็นทาเลติด ถนน เ นื่ อ งจ า กธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร จั ด เ ลี้ ย งไ ม่ จ าเป็ น ต้ อ งมี ห น้ า ร้ า นเพื่ อ แสดงสิ น ค้ า หรื อ ต้อนรับแขก

2) อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ ผู้ ป ระกอบการ อุปกรณ์และเครื่องมือ สามารถเลือกอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ได้ เช่ น ธุ ร กิ จ บริ ก ารจั ด เลี้ ย ง ขนาดกลาง รั บ ตามรู ป แบบ การให้ บ ริ ก ารและขนาดของ ออกแบบและให้บริการจัดงานเลี้ยงตามความ ธุ ร กิ จ ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจาก ธุ ร กิ จ การบริ ก ารจั ด ต้ อ งการของลู ก ค้ า อาจให้ วิ ธี ก ารลงทุ น ใน เลี้ยง เป็นธุรกิจที่มีความหลากหลายในการ อุปกรณ์และเครื่องมือในการผลิตอาหารเพื่อจัด ผลิ ตสิ น ค้าอาหาร ตลอดจนรูปแบบการจัด เลี้ยง แต่ในขั้นตอนของอุปกรณ์ในการจัดเลี้ยง เลี้ยงที่หลากหลาย ดังนั้น การเลือกใช้บริการ นอกสถานที่ ผู้ประกอบการอาจเลือกใช้บริการ เช่าอุปกรณ์จัดเลี้ยงจากบริษัท ต่างๆ ซึ่งจะช่วย เช่าอุ ป กรณ์ต่า งๆ เพื่อใช้ในการจั ดเลี้ ยงจึ ง ลดค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์ต่างๆ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้ประกอบการ ซึ่ง ช่ว ยลดค่ าใช้ จ่ า ยในการลงทุน เริ่ม ต้ น และ การเลือกใช้บริการเช่าอุปกรณ์ ยังมีข้อดีคือ ผู้ประกอบการสามารถเลือกเช่าอุปกรณ์ได้ตาม รูปแบบของการจัดงานได้ เช่น งานเลี้ยง น้าชา งานปาร์ตี้วันเกิดหรืองานเลี้ยงเปิดตัวสินค้า เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-69


3) วัส ดุและวัตถุดิบ ส าหรั บ ให้ บริการจัดเลี้ ย ง ผู้ประกอบการสามารถเลือกใช้วัตถุดิบต่างๆ ตามรูปแบบของการจัดเลี้ยงได้ โดยคานึงถึง ความปลอดภัย ของผู้ บ ริ โ ภคเป็นหลั ก และ สามารถเลื อ กใช้ วั ส ดุ ต่ า งๆ ได้ ต ามความ เหมาะสมของรู ป แบบของการจั ด เลี้ ย ง ใน ธุร กิ จ อาหารสร้ า งสรรค์ โดยส่ ว นใหญ่ จะมี การปรับรูปลักษณ์อาหาร ด้วยกระบวนการ ออกแบบ จัดและตกแต่งอาหาร มักมีรูปแบบ ของอาหารขนาดพอดีคา หรือขนาดที่สะดวก ต่ อ การรั บ ประทาน อี ก ทั้ ง วั ส ดุ ต่ า งๆ ที่ น ามาใช้ ใ นธุ ร กิ จ บริ ก ารจั ด เลี้ ย ง ยั ง ช่ ว ย อานวยความสะดวกในการขนย้ายและจัดเลี้ยง อาหารนอกสถานที่อีกด้วย

วัสดุ เช่น ธุรกิ จบริ การจัดเลี้ยง แบบคอกเทล มัก มี รู ป แบบการจั ด แต่ ง อาหารแบบพอดี ค า เพื่ อ ความสะดวกในการบริโภค โดยใช้วัสดุประเภท ถ้ ว ยพลาสติ ก หรื อ ถ้ ว ยที่ ผ ลิ ต จากกระดาษฟ ลอยด์เพื่อบรรจุอาหาร หรือใช้ไม้เสียบอาหาร เพื่ อ จั ด วางอาหารแบบพอดี ค า และจั ด วาง อาหารให้ดูน่ารับประทานมากยิ่งขึ้น วัตถุดิบ ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง สามารถเลือกใช้วัตถุดิบที่ เหมาะสมกับประเภทของอาหาร โดยคานึงถึง ความปลอดภัยในการบริโภคเป็นหลัก

4) ค่าจ้างแรงงาน ค่าจ้างแรงงานเป็นส่วนหนึ่ง แรงงาน ในค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน สาหรับธุรกิจ ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง หัวใจสาคัญของธุรกิจคือ บริการจัดเลี้ยงค่าจ้างแรงงานจะประกอบไป รสชาติ อ าหาร ดั ง นั้ น การจ้ า งแรงงานผู้ ป รุ ง ด้วยค่าจ้างเชฟหรือพ่อครัว ค่าจ้างพนักงาน อาหารหรือพ่อครัว นับเป็นเรื่องที่ผู้ประกอบการ บริการหรือบริกรเสริฟอาหาร อย่างไรก็ตาม ต้องให้ความสาคัญ โดยพิจารณาถึงรูปแบบและ ค่ า ใช้ จ่ า ยเรื่ อ งบุ ค ลากร นั บ เป็ น เรื่ อ งที่ ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง อ า ห า ร ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร ห า ก ผู้ ป ระกอบการไม่ ส ามารถประกอบอาหาร ผู้ ป ระกอบการต้ อ งให้ ค วามส าคั ญ และ ประเภทนั้นๆ เองได้ ผู้ประกอบการจาเป็นต้อง วิ เ คราะห์ ถึ ง ศั ก ยภาพในการหาลู ก ค้ า มี เ ชฟหรื อ พ่ อ ครั ว ประจ าร้ า น เพื่ อ ความเป็ น เนื่องจากการจ้างลูกจ้างประจาจะส่งผลต่อ มาตรฐานของรสชาติ อ าหาร ในขณะที่ ผู้ช่ ว ย ต้นทุนค่าใช้จ่าย ดังนั้น ในระยะเริ่มต้นธุรกิจ สามารถเลือกจ้างเป็นการจ้างเหมาเป็นรายครั้ง ผู้ประกอบการอาจเลือกใช้รูปแบบการจ้างงานในลักษณะจ้างเหมา เพื่อลดความเสี่ยงด้าน ต้นทุนในการดาเนินงาน โดยเฉพาะตาแหน่งของพนักงานบริการซึ่งควรเลือกใช้บริการเป็น การจ้างรายครั้ง สาหรับผู้ประกอบการมือใหม่เป็นจานวนมาก เมื่อวางแผนธุรกิจเรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่เริ่มจากการหาลูกค้าจน มาถึงกระบวนการโครงสร้างต้นทุน แล้วพบว่าต้นทุนสูงเกินศักยภาพที่มีอยู่ ผู้ประกอบการควรปรับลดขนาด ธุรกิจลงให้เหมาะสมกับศักยภาพของตนเอง เช่น ลดขนาดและปริมาณที่จะรองรับจัดเลี้ยงแต่ครั้ง หรือปรับ ลด/เปลี่ยนสถานทีป่ ระกอบอาหาร เพื่อความเหมาะสมของโครงสร้างต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-70


ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจบริการจัดเลีย้ ง ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง (S) เริ่มต้นจากธุรกิจเล็กๆ หรือธุรกิจในครอบครัว ธุรกิจจัดเลี้ยง เริ่มต้นทีเ่ ป็นที่นิยม คือ บริการเคเทอริ่งประเภทอาหารว่าง ชา/กาแฟ 1. ใช้สถานที่มีอยู่แล้ว เช่น บ้าน/ที่พกั อาศัย โดยปรับปรุง พื้นที่ให้มีขนาดเหมาะสมกับขนาดของธุรกิจ 2. เครื่องมือและอุปกรณ์  เลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับประเภทของ อาหารที่จัดเลี้ยง เน้นเครื่องมือเอนกประสงค์ที่ สามารถใช้งานได้กับอาหารหลายประเภท  อุปกรณ์สาหรับจัดเลี้ยง เลือกใช้ตามประเภทของ อาหารและขนาดของธุรกิจ 3. แรงงาน ผู้ประกอบการสามารถควบคุมและดูแลธุรกิจได้ ด้วยตนเองจากที่พักอาศัย และ  ผู้ปรุงอาหาร/เชฟ หากผู้ประกอบการมีความรู้ ความสามารถในการประกอบอาหาร หรือมีพื้นฐาน องค์ความรู้ในธุรกิจอาหาร จะช่วยลดต้นทุนในการ จ้างงาน หากจาเป็นต้องจ้างเชฟ ในระยะเริ่มต้น ควรใช้บริการจ้างเหมา  พนักงานบริการ ผู้ประกอบการใหม่ควรเลือกใช้ บริการจ้างเหมา เพื่อลดค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนในการ ดาเนินงาน 4. ช่องทางการตลาดที่สาคัญของธุรกิจบริการ คือ การบอก ต่อ คาแนะนาจากลูกค้าถึงลูกค้าเป็นช่องทางการตลาด ที่ ดี สุ ด และการโฆษณาและประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นสื่ อ อินเทอร์เน็ต และสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ เนื่องจาก เป็นสื่อที่มีต้นทุนต่าและสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ อย่างรวดเร็ว และเป็ นวงกว้าง รวมถึงทาการโฆษณา ผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศ ซื้อ-ขายฟรี

ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง (M) เริ่มต้นจากธุรกิจขนาดกลางหรือมีหุ้นส่วน ธุรกิจเริ่มต้นขนาด กลางที่เป็นที่นิยม คือ บริการเคเทอริ่งประเภทจัดเลี้ยง อาหารบุฟเฟต์หรือคอกเทล และอาหารว่างชา/กาแฟ 1. เลือกเช่าสถานที่ โดยยึดความเหมาะสมของธุรกิจ อาทิ ใกล้แหล่งวัตถุดิบประเภทต่างๆ เช่น ตลาดสด แหล่ง จาหน่ายวัตถุดบิ เบเกอรี่ เป็นต้น 2. ตกแต่ง/ปรับแต่งสถานที่ โดยเน้นพื้นทีใ่ ช้สอยต่างๆ เช่น เตา ตู้อบ ตู้แช่ และพื้นที่จดั เรียงอาหาร เป็นต้น การ ตกแต่งสถานที่เน้นความสะดวก สะอาดและถูก สุขลักษณะ 3. เครื่องมือและอุปกรณ์  เลือกใช้เครื่องมือ/เครื่องครัวที่เหมาะสมกับประเภท ของอาหารที่จัดเลีย้ ง เน้นเครื่องมือเอนกประสงค์ สามารถใช้งานได้กับอาหารหลายประเภท  อุปกรณ์สาหรับจัดเลี้ยง เลือกใช้ตามประเภทของ อาหารและขนาดของธุรกิจ ในกรณีที่ต้องมีการจัด เลี้ยงขนาดใหญ่ ควรเลือกใช้บริการเช่าอุปกรณ์ เพื่อ ลดต้นทุนในการลงทุนด้านวัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ 5. แรงงาน ในธุรกิจขนาดกลางที่มีการให้บริการจัดเลี้ยง อาหารที่มีความหลากหลาย ผู้ประกอบการจาเป็นต้อง อาศัยผู้ปรุงอาหารและเชฟที่มีความหลากหลาย ดังนั้น  ผู้ปรุงอาหาร/เชฟ ควรใช้การจ้างเหมาบริการ ทั้งนี้ เพื่อลดต้นทุนในการจ้างแรงงาน และเพื่อความ หลากหลายในประเภทของอาหารที่จัดเลีย้ ง  พนักงานบริการ ควรเลือกใช้บริการจ้างเหมา เพื่อลด ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนในการดาเนินงาน 6. ช่องทางการตลาดที่สาคัญของธุรกิจบริการ คือ การบอก ต่อ คาแนะนาจากลูกค้าถึงลูกค้าเป็นช่องทางการตลาดที่ ดีสุด และการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ อินเทอร์เน็ต และสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ หมายเหตุ: แนวคิดและแนวทางในการเริม่ ต้นธุรกิจ สามารถปรับรูปแบบได้ตามศักยภาพด้านเงินทุนและขีดความสามารถใน การบริหารจัดการของผู้ประกอบการแต่ละท่าน ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-71


ตั

 วอย่าง การวิเคราะห์ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง ตามแนวคิด Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships)

-

นักศึกษาสาขาคหกรรมศาสตร์/ สาขาอาหาร

-

บริษัทจาหน่ายอุปกรณ์และ เครื่องมือในการทาอาหาร

-

บริษัทจาหน่ายอุปกรณ์และ เครื่องใช้ในการรับประทานอาหาร

-

บริษัทให้บริการเช่าสินค้าและ อุปกรณ์จัดเลี้ยง บริษัทจาหน่ายวัตถุดิบอาหาร/ เครื่องปรุงและวัตถุดิบตกแต่ง อาหาร สถานประกอบการที่ให้บริการเช่า สถานที่ เช่น สโมสร สมาคม โรงแรม เป็นต้น

กิจกรรมหลัก (Key Activities) - การแนะนารายการอาหารและเครื่องดื่มที่ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดงาน - จัดตกแต่งสถานที่จัดงาน เช่น การวางอุปกรณ์ เครื่องใช้ จาน ช้อน ส้อม - จัดทาอาหาร/ปรุงอาหาร ตามที่ลกู ค้าต้องการ - จัดตกแต่งอาหารภายในสถานที่จัดเลี้ยงตาม รูปแบบและวัตถุประสงค์ของการจัดเลี้ยง - การให้บริการหลังการขาย รับฟังคาติชมและ ข้อเสนอแนะต่างๆ

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions)

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships)

กลุ่มลูกค้า (Customer Segments)

-

อาหารที่มีรสชาติอร่อย ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน

-

-

หน่วยงานภาครัฐ อาทิ การจัด ประชุม การจัดงานสัมมนา เป็นต้น

-

เอกลักษณ์เฉพาะตัวของลูกค้าทีถ่ ่ายถอด ออกมาเป็นรูปแบบและบรรยากาศของ งานจัดเลี้ยง

-

-

ความประทับใจของแขกหรือบุคคลที่ 3 ที่มาร่วมงานเลี้ยง

หน่วยงานภาคเอกชน อาทิ การจัด งานเปิดตัวสินค้าใหม่ งานเลี้ยงแสดง ความยินดี การจัดงานเลี้ยงปีใหม่ หรือวันครบรอบกิจการ เป็นต้น

-

บุคคลทั่วไป เช่น งานเลี้ยงวันเกิด งานเลี้ยงครบรอบวันแต่งงาน งาน เลี้ยงฉลองการสาเร็จการศึกษา เป็น ต้น

ทรัพยากรหลัก (Key Resources) - เชพ/ผู้ปรุงอาหาร/พ่อครัว - เมนูอาหารสร้างสรรค์ - อุปกรณ์และวัตถุดบิ ในการผลิตอาหาร - วัตถุดิบและอุปกรณ์สาหรับการจัดเลี้ยง - พนักงานบริการ/เสริฟ์อาหาร

โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) - สินทรัพย์ถาวร เช่น ค่าวัสดุเครื่องใช้ในการทาอาหาร ค่าอุปกรณ์การทาอาหาร ค่าวัตถุดิบสาหรับปรุงอาหาร เป็นต้น - สินทรัพย์หมุนเวียน ประกอบไปด้วย (1) ต้นทุนคงที่ต่อเดือน เช่น เงินเดือนพนักงานประจา ค่าอินเตอร์เน็ต ฯลฯ และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าจ้างเชฟ ค่าจ้างพนักงานบริการ ค่าน้า ค่าไฟ ค่าแก๊ส ค่าเช่าอุปกรณ์จัดเลี้ยงและค่าเดินทาง เป็นต้น

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

-

ให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษาแก่ลกู ค้าทั่วไป และให้คาแนะนาถึงปัญหาและข้อจากัดของ ลูกค้า เช่น งบประมาณ สถานที่ เป็นต้น ให้คาแนะนารูปแบบการจัดงานเลี้ยงที่เหมาะสม กับลูกค้าแต่ละราย การให้คาแนะนาด้านอาหาร รูปแบบและ ประเภทของอาหารที่เหมาะสมกับความต้องการ ของลูกค้า ให้คาปรึกษาและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่ เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินการจัดเลี้ยง ช่องทาง (Channels) - การบอกต่อ - เว็บไซต์ - IG หรือ Facebook สื่อสังคมออนไลน์ และ พันธมิตรทางธุรกิจ

รายได้ (Revenue Streams) - รายได้จากการบริการจัดเลี้ยง

2-72


 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ บริการจัดเลี้ยง สามารถทาได้หลายจากรูปแบบทั้งการสร้างมูลค่าเพิ่มจากตัว สินค้าอาหารและการบริการที่แตกต่าง ทั้งนี้ ผู้ประกอบการสามารถนาความคิดสร้างสรรค์มาประยุกต์ใช้ทั้งใน รูปแบบการผลิตอาหารสร้างสรรค์เพื่อจัดเลี้ยง หรือการให้บริการที่แตกต่างและสร้างสรรค์ โดยคู่มือฉบับนี้จะ ขอนาเสนอวิธีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าอาหารและบริการจากการจัดเลี้ยง ดังนี้ 1. การสร้างเอกลักษณ์หรือสร้างสรรค์รูปแบบการจัดเลี้ยงและรูปแบบอาหาร ผู้ประกอบการควรนาความคิดสร้างสรรค์ในการ ผลิตอาหารหรือตกแต่งสินค้าอาหารให้มีความแตกต่าง รวมถึง การเปิ ด โอกาสให้ ลู ก ค้ า หรื อ ผู้ จั ด งานได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการ ออกแบบรูป แบบของการจั ดการ โดยผู้ป ระกอบการควรให้ คาแนะนารูปแบบอาหาร ประเภทอาหารและรูปแบบการจัด คอนเซ็ปต์ “คนรักแมว” งาน ให้มีความเป็นเอกลักษณ์และเฉพาะเจาะจง ซึ่งจะทาให้ การจัดงานวันเกิด หากผู้จัดงานเป็นผู้มีรสนิยม ลูกค้ารู้สึกถึงความประทับใจในการจั ดงาน เช่น งานเปิดตัว ในการเลี้ยงแมว ผู้ประกอบการอาจนาเสนอคอน เซ็ ป ต์ โ ดยให้ ก ารจั ด แต่ ง อาหารส่ ว นใหญ่ จ ะมี สิ น ค้าใหม่ ผู้ ป ระกอบการอาจน าเสนอรู ป แบบการจัดเลี้ ย ง สัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงรสนิยมการเลี้ยงแมว เช่น โดยออกแบบและตกแต่งอาหารที่ใช้จัดเลี้ยงให้มีหน้าตาหรือ คัพเค้กที่เป็นรูปหน้าแมว หรือเลือกใช้ ภาชนะ การตกแต่งเหมือนสินค้าที่จะมีการนาเสนอในวันนั้น เช่น งาน บรรจุอาหารที่มีสัญลักษณ์รูปแมว เป็นต้น เปิดตัวคอนโดมิเนียมใหม่ ผู้ประกอบการอาจจัดเลี้ยงอาหาร ด้วยการทาแซนวิส โดยมีการตัดและตกแต่งชิ้นแซนวิสให้มีรูปร่างและหน้าตาคล้ายคอนโดมีเนียม หรือเมนูพุด ดิ้งใส่ถ้วยแก้วทรงสี่เหลี่ยมสูงคล้ายคอนโด เป็นต้น 2. การพัฒนางานบริการที่ปรึกษา การให้บริการคาปรึกษาและให้คาแนะนาในการจัดเลี้ยงแก่ลูกค้า โดยเริ่มต้นจากการรับฟังความ ต้องการของลูกค้า เพื่อออกแบบและนาเสนอรูปแบบการจัดงานที่เหมาะสมและสร้างสรรค์ ตั้งแต่รูปแบบ อาหารชนิดและประเภทของอาหารที่จะใช้จัดเลี้ยง เพื่อให้การบริการจัดเลี้ยงดังกล่าวมีเอกลักษณ์และมีความ แตกต่างจากการบริการจัดเลี้ยงทั่วไป

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-73


 ารขยายธุรกิจ..อีกระดับกับการพัฒนาธุรกิจ  การให้บริการจัดเลี้ยงครบวงจร เพื่อสร้างโอกาส ให้กับธุรกิจ สร้างความร่วมมือกับผู้ประกอบการที่ มี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ ธุ ร กิ จ บริ ก ารจั ด เลี้ ย ง อาทิ โรงแรม สมาคม สโมสรจัดเลี้ยงต่างๆ เพื่ออานวย ความสะดวกให้ แก่ ลู กค้ าในการจัด หาสถานที่ ที่ เหมาะสม พร้อมทั้งให้บริการจัดเลี้ยงอาหารด้วย  การทาธุรกิจบริการจัดเลี้ยงแฟรนไซน์ ให้บริการ จัดเลี้ยงในรูปแบบแฟรนไซน์ ที่มีรูปแบบหรือคอน เซ็ป ต์ การให้ บ ริ ก ารที่มี ความเป็นอั ตลั กษณ์ของ ธุรกิจ

Anna & Charlie’s Catering รับจัดเลี้ยงนอกสถานที่สาหรับเพื่อนๆที่ชื่นชอบ และรักการจัด Party ทุกรูปแบบที่เน้นความ เรียบหรู สะดวกสบาย พร้อมความสดอร่อยของ อาหารและขนมที่ ห ลากหลาย โดยที ม งาน ผู้เชี่ยวชาญในด้านการจัดเลี้ยงที่มีคุณภาพและ เป็นมืออาชีพพร้อ มให้บริก ารคุณประดุจ “คน พิเศษ” ตลอดงานเลี้ยงของคุณ

ปั

 จจัยแห่งความสาเร็จในการทาธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5. การบริหารจัดการทีมงาน/ แรงงาน

1. คิดสร้างสรรค์

2. เข้าใจพฤติกรรมลูกค้า

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

4. ต้องควบคุมมาตรฐาน วัตถุดิบ

3. มีทักษะการบริหารจัดการ การตลาด และการคิดกลยุทธ์

2-74


ปัจจัยแห่งความสาเร็จในธุรกิจบริการจัดเลี้ยงประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. ความหลากหลายของอาหารและคิดสร้างสรรค์ ในการจัดและคัดเลือกเมนูอาหารและเครื่องดื่ม ให้ แก่ลู กค้า การน าความคิดสร้างสรรค์ มาใช้ ในการออกแบบเมนูและสร้างความแตกต่างใน บรรยากาศการจัดเลี้ยง จะช่วยก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มทั้งในตัวสินค้าและบริการ การสร้างความ ประทับใจให้แก่ลูกค้าจะส่งผลดีต่อการกลับมาใช้บริการใหม่ในโอกาสต่อไป 2. เข้าใจพฤติกรรมลูกค้า เปิดโอกาสให้ลูกค้าได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการออกแบบรูปแบบการจัด เลี้ยง มากกว่าการทาหน้าที่ เพียงเลือกเมนูอาหารที่ใช้จัดเลี้ยงเท่านั้น เพื่อให้ลูกค้ารู้สึกถึงการมี ส่วนร่วมในการจัดงานและมีความประทับใจต่อการจัดงานเลี้ ยงที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง นอกจากจะสร้ างความประทับใจให้กับผู้ ที่มางานเลี้ยงดังกล่ าว ผู้ ประกอบการควรส่งมอบ ความรู้สึกประทับใจในการมางานเลี้ยงของแขกผู้ร่วมงานด้วย เนื่องจากความประทับใจของแขก ผู้ร่วมงานย่อมเป็นที่ต้องการของผู้จัดงานดังกล่าวด้วย 3. มี ทั ก ษะการบริ ห ารจั ด การ การตลาด และการคิ ด กลยุ ท ธ์ นอกจากต้ น ทุ น ด้ า นความคิ ด สร้างสรรค์ ความมีใจรักในการทาอาหารแล้ว การทาธุรกิจผู้ประกอบการจาเป็นต้องมีองค์ความรู้ ด้านการบริหารจัดการ การบริหารเงินทุน การทาการตลาดและการส่งเสริมการขาย 4. ต้องควบคุมมาตรฐานวัตถุดิบ ความคิดสร้างสรรค์ที่สอดแทรกเข้าไปในเมนูอาหารผู้ประกอบการ ต้องคานึงถึงคุณภาพและมาตราฐานของส่วนประกอบ เพื่อความปลอดภัยของลูกค้าและผู้บริโภค ดังนั้น หากผู้ประกอบการมีองค์ความรู้หรือจบการศึกษาด้านอาหารมาโดยตรง จะมีข้อได้เปรียบ ในการจัดหาวัตถุดิบที่หลากหลาย ซึ่งข้อได้เปรียบดังกล่าวยังส่งผลดีต่อต้นทุนธุรกิจบริการสอน ทาอาหารแนวใหม่ด้วย 5. การบริหารจัดการทีมงาน/แรงงาน ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงเป็น ธุรกิจที่ต้องพึ่งพาแรงงานเป็น จานวนมาก ทั้งแรงงานทักษะ อาทิ เชฟ และพ่ อ ครั ว และแรงงานในภาคบริ ก าร คื อ ผู้ ให้ บ ริ ก ารแก่ ลู ก ค้ า ณ สถานที่ จั ด งาน อาทิ พนั ก งานเสริ ฟ์ พนักงานจัดอาหาร ดังนั้น การบริหารจัดการทีมงาน/แรงงาน จึงเป็นหัวใจสาคัญที่จะก่อให้เกิดความประทับใจในตัวอาหาร และบริการที่แตกต่างได้มาตรฐาน และมีเอกลักษณ์หรือสไตล์ ในการให้บริการจัดเลี้ยงที่เป็นของตนเองและเป็นที่จดจาของ ลูกค้า เพื่อก่อให้เกิดการกลับมาใช้บริการใหม่ในอนาคต ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-75


ข้

 อท้าทายในการทาธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 7. คู่แข่งขันจาก ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหาร

1. ถูกลอกเลียนแบบ

6. การพึ่งพาเทคโนโลยี

2. ลูกค้าบางกลุ่มยังให้ ความสาคัญกับราคา

4. การควบคุมคุณภาพแรงงาน และการให้บริการ

3. ขาดแคลนพนักงานบริการ

5. ควบคุมคุณภาพและ รสชาติอาหาร

ข้อท้าทายหรือข้อจากัดที่นาไปสู่ความล้มเหลวในการทาธุรกิจนับเป็นความเสี่ยงที่ต้องเผชิญ นับเป็นเรื่องที่ หลี กเลี่ ย งไม่ไ ด้ในการดาเนิ น ธุร กิจ ซึ่ง จะส่ ง ผลต่อความยั่ง ยืนทางธุรกิจ ทั้งด้ านรายได้ ภาพลั กษณ์ และ กระบวนการดาเนินงาน ดังนั้น การเรียนรู้ผ่านข้อท้าทายหรือข้อจากัดอย่างรอบคอบ ก็จะสามารถลดความ เสี่ยงทางธุรกิจ หรืออาจจะไม่ต้องเผชิญกับความเสี่ยงดังกล่าวก็เป็นได้ ข้อท้าทายในการทาธุรกิจบริการจัดเลี้ยง สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ถูกลอกเลียนแบบ การถูกลอกเลียนแบบตัวสินค้าหรือรูปแบบการบริการ เป็นการลอกเลียนแบบ ความคิดสร้างสรรค์ทั้งในรูปแบบของอาหารและรูปแบบการให้บริการ 2. ลูกค้ากลุ่มบางกลุ่มยังคงให้ความสาคัญกับราคา ยังคงเห็นว่าการจัดเลี้ยงเป็นกิจกรรมที่จัด ต่อเนื่องและบ่ อยครั้ง ลูกค้าบางกลุ่ มอาจไม่เห็นความสาคัญต่อการจัดเลี้ยงอาหารประเภทนี้ เนื่องจากเป็นการบริการที่มีราคาสูงกว่าการบริการจัดเลี้ยงแบบเดิมๆ ที่มีราคาถูกกว่า 3. ขาดแคลนพนักงานบริการ ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงเป็นธุรกิจที่ต้องพึ่งพาแรงงานทั้งในภาคการผลิต และการบริการ ดังนั้น ปัญหาการขาดแคลนแรงงานทั้งในภาคการผลิตและการบริการนับเป็นข้อ ท้าทายที่หลายธุรกิจต้องเผชิญ โดยเฉพาะในภาคการบริการซึ่งได้แก่ พนักงานจัดส่งสินค้าอาหาร พนักงานบริการ/บริกร เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นการจ้างแรงงานแบบจ้างเหมาหรือเป็น การจ้างแบบรายวัน ซึ่งธุรกิจที่มีการจ้างงานแบบนี้มักประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงานซึ่ง ส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-76


4. การควบคุมคุณภาพแรงงานและการให้บริการ เนื่องจากธุรกิจบริการจัดเลี้ยงเป็นธุรกิจที่ต้อง พึ่งพาแรงงานทั้งกระบวนการผลิตและการให้บริการ ดั งนั้น การเลือกใช้บริการจ้างเหมาย่อม ส่งผลต่อการควบคุมคุณภาพของอาหารและการให้บริการ 5. ควบคุมคุณภาพและรสชาติอาหาร วัตถุดิบในการปรุงอาหารเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่ส่งผล ต่อรสชาติของอาหาร ซึ่งในทุกธุรกิจที่เกี่ยวข้องอาหาร “รสชาติและความอร่อย” เป็นสิ่งที่สาคัญ ที่สุด ดังนั้น ผู้ประกอบจึงควรให้ความสาคัญกับการเลือกใช้วัตถุดิบและการรักษามาตรฐานในการ ผลิตอาหารสาหรับจัดเลี้ยงที่ต้องคงคุณภาพและรสชาติของอาหาร เนื่องจากธุรกิจบริการจัดเลี้ยง เป็ น ธุร กิจ ที่ป รุ งอาหารที่ส ถานที่แห่ งหนึ่ง เพื่อ นาไปจัดเลี้ ยงอีกแห่ งหนึ่ง ดังนั้น การเลื อกใช้ วัตถุดิบต้องคานึงถึงคุณภาพของอาหารภายหลังจากปรุงเสร็จแล้ว และต้องมีการขนส่งอาหารไป ยังสถานที่ที่จัดงานเลี้ยงด้วย 6. การพึ่งพาเทคโนโลยี อุปกรณ์เครื่องครัวที่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีบางประเภทมีราคาสูงในบางธุรกิจ จัดเลี้ยง อาทิ ธุรกิจจัดเลี้ยงอาหารคาว-หวาน อาจจาเป็นต้องลงทุนในเทคโนโลยีเพื่อการผลิต อาหาร เช่น ตู้อบขนาดใหญ่ หรือเตาไฟฟ้า เพื่อใช้ประกอบอาหารในปริมาณมากๆ เพื่อสาหรับ การจัดเลี้ยง ซึ่งส่งผลต่อเงินลงทุนของกิจการ 7. คู่ แ ข่ ง ขั น จากผู้ ป ระกอบการในธุ ร กิ จ อาหาร หรื อ การเกิ ด ขึ้ น ของคู่ แ ข่ ง ขั น รายใหม่ จ าก ผู้ประกอบการที่อยู่ในธุรกิจอาหารที่เพิ่มการให้บริการจัดเลี้ยง เช่น ธุรกิจร้านเบเกอรี่และกาแฟ สามารถผันตัวเองเข้าสู่ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงอาหารวางประเภทชา/กาแฟได้ง่ายกว่า หรือธุรกิจ บริการร้านอาหาร สามารถผันตัวเองเข้าสู่ธุ รกิจบริการจัดเลี้ยงอาหารได้ง่ายกว่า เป็นต้น ซึ่งการ ผันตัวเองเข้าสู่ธุรกิจบริการจัดเลี้ยงของผู้ประกอบการเดิมในธุรกิจอาหาร คือ คู่แข่งสาคัญของ ผู้ประกอบการมือใหม่

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-77


 รณีศึกษาธุรกิจบริการจัดเลี้ยงต้นแบบ

DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) เราเป็นผู้ช่วยในการทาให้งานเลี้ยงสมบูรณ์แบบ สร้างรอยยิ้มให้กับเจ้าภาพและแขกที่มาร่วมงาน

DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) อาศัยความชานาญที่สั่งสม และความใส่ใจทั้งคุณภาพความอร่อยของอาหาร และความต้องการของลูกค้า เห็นได้จากการใส่ใจรักษาเมนูดั่งเดิมของร้านดีพร้อมไปพร้อม ๆ กับการพัฒนา สร้างสรรค์เมนูที่หลากหลายใหม่ ๆ ให้ตอบโจทย์กับความต้องการของลูกค้าในแต่ละยุคสมัย รวมถึงรูปแบบ การบริการที่หลากหลายโดนใจ กระทั่ง DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) ประสบความสาเร็จเช่นทุกวันนี้ ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  รสชาติของอาหาร  ความรู้และความเชี่ยวชาญในวิชาชีพเชฟ  การสร้างสรรค์เมนูอาหารที่มีความหลากหลาย  การออกแบบรูปลักษณ์อาหารที่หลากหลาย  รูปแบบการบริการที่เป็นเลิศ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-78


บริการของ DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง)  Catering service - บุฟเฟต์มาตรฐาน (Thai Buffet: Standard Menu) - บุฟเฟต์ดีพร้อม (Thai Buffet: Dee Prom Signature) - บุฟเฟต์อาหารตะวันตก (Western Buffet) - ค็อกเทล (Cocktail) - คอฟฟี่เบรค (Coffee Break) - ออกร้าน (Food Stall) - โต๊ะไทยมาตรฐาน (Thai Table: Standard Menu) - โต๊ะไทยดีพร้อม (Thai Table: Dee Prom Signature) - เซ็ทเมนูอาหารไทย (Thai Set Menu) - อาหารกล่อง (Meal Box) - อาหารว่าง (Snack Box)

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-79


 

Food & Beverage solution outsourcing บริการบริหาร Canteen ร้านอาหารของโรงแรม Catering Expert คอยช่วยดูแลและให้คาแนะนาผู้ที่ต้องการจัดงานแต่งงานเก๋ๆ ในแบบของคุณ เอง

กลุ่มลูกค้า กลุ่มลูกค้าของ DEE CATERING ประกอบด้วย 2 กลุ่มหลัก คือ 1. กลุ่มบุคคลทั่วไป บริการจัดงานขึ้นบ้านใหม่ งานแต่งงาน งานปาร์ตี้ในโอกาสต่าง ๆ หรือในโอกาส ที่อยากกินของอร่อยแบบไม่ต้องออกจากบ้าน 2. กลุ่มลูกค้าประเภทองค์กรหรือบริษัท ให้บริการจัดงานประชุมสัมมนา งานเลี้ยงส่ง งานเปิดตัว สินค้า และจัดเลี้ยงอาหารสาหรับพนักงานในองค์กรหรือบริษัท DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) เป็นบริการจัดเลี้ยงที่เติบโตมาจากร้านอาหารดีพร้อม ร้านอาหารไทย จากบางแสนซึ่งเริ่มเปิดทาการขึ้นที่ชายหาดบางแสนเมื่อปี 2497 โดย คุณยายฝอย ดีพร้อม และคุณก๋งเหลียง ดีพร้อม โดยเริ่มแรกจากร้าน กาแฟและค่อยขยายเป็นร้านอาหารในเวลาต่อมา จากตึกแถวสามคูหา ในปี 2497 ชื่ อ เสี ย งของร้ า นดี พ ร้ อ มเริ่ ม เป็ น ที่ รู้ จั ก มากขึ้ น นั บ แต่ ปี 2510 และเมื่อขยายเปิดสาขาที่พัทยา ร้านอาหารดีพร้อมก็มีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักอย่างมาก และเป็นร้านอาหารชื่อดังของภาคตะวันออก อาทิ น้าพริกไข่ปูที่นาสูตรมาจากจันทบุรี และปรับปรุงเป็นอาหารจานเด่น แกงป่ า ปลาเห็ ด โคนที่ น้ าเข้ ม ข้ น จนโรงแรมห้ า ดาวในพั ท ยา ต่ า ง พยายามหาสูตรกันใหญ่ ห่อหมกทะเลที่ไม่ได้ใช้วิธีการนึ่ง แต่เป็นการ ผัดด้วยกะทิในกระทะใหญ่ DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง) ในตอนเริ่มต้นก็จัดเลี้ยงให้กับลูกค้าที่ ร้านและมีการบอกต่อกันมาเรื่อย ๆ ผ่านมาได้ 6 ปี ทั้งฐานลูกค้าใหม่ และลูกค้าเก่าที่ยังอยู่ด้วยกันเสมอมา และยังคงรักษาเมนูขึ้นชื่อของ ร้านดีพร้อมหลาย ๆ ตัวเอาไว้ให้ลูกค้าได้รับประทาน พร้อมกับพัฒนา เมนูอาหารไทยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะรายการอาหารแบบค็อกเทล ของดีเคเทอริ่ง ที่มีจุดเด่นไม่เหมือนใคร เน้นการนาอาหารไทยมาปรับรูปแบบการนาเสนอ ให้เหมาะกับงานที่ไม่เป็นทางการ แต่ยังคงความอร่อยแบบ ไทย ๆ เอาไว้ได้ ซึ่งให้บริการจัดเลี้ยงในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-80


รูปแบบบริการ รูปแบบการให้บริการที่โดดเด่นแตกต่างของ ดี เคเทอริ่ง คือ Catering Expert บริการคอยช่วยดูแลและให้ คาแนะนาผู้ที่ต้องการจัดงานแต่งงานแบบมีสไตล์เป็นของตนเอง นับเป็นบริการจัดเลี้ยงที่ทาให้ลูกค้าไว้วางใจ ในบริการได้มากกว่า เพื่อลดปัญหาความยุ่งยากให้กับคู่แต่งงานที่มักจะไม่ค่อยมีเวลาในการจัดการที่จะเตรียม ความพร้อมในอีกมากมายหลายเรื่องขณะนั้น เข้าถึงข้อมูลได้ที่ บริษัท ดี เคเทอริ่ง จากัด เว็บไซต์ www.deecatering.com

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบริการจัดเลี้ยง 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-81


4

ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Green Packaging)

ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก คือ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและผลิตภาชนะบรรจุที่ทาหน้าที่รองรับ หรือหุ้มสินค้าและผลิตภัณฑ์อาหารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยบรรจุภัณฑ์นั้นๆ ยังคงทาหน้าที่ป้องกันสินค้า ระหว่างการจัดเก็บ ขนส่งและการจัดจาหน่าย ไปจนถึงการให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า อานวยความสะดวกในการ ใช้งานให้กับผู้บริโภค และเมื่ อเลิกใช้งานแล้วสามารถรีไซเคิลเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้ หรือ สามารถย่อยสลาย ตามธรรมชาติได้ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-82


สาหรับผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่เห็นโอกาสจากการนาแนวคิด และไอเดียสร้างสรรค์ที่มีอยู่มาใช้ในพัฒนาบรรจุภัณฑ์อาหาร ในรู ป แบบต่า งๆ ไม่ ว่าจะเป็ น การเลื อ กใช้วัต ถุดิบที่ ล ดการ ทาลายมลพิษ การใช้วัตถุดิบ รีไซเคิล เพื่อน ากลั บมาใช้ใหม่ หรือการลดขนาดของบรรจุภัณฑ์ โดยบรรจุภัณฑ์นั้นๆ ต้อง ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า สร้างยอดขายและสามารถใช้ บรรจุอาหารได้อย่างปลอดภัย ประเภทของบรรจุภัณฑ์ ปัจจุบันบรรจุภัณฑ์หรือการบรรจุหีบห่อได้เข้ามามีบทบาท ด้านการตลาดเพิ่มมากขึ้น รูปลักษณ์และความสวยงามของ บรรจุภัณฑ์ ส่งผลต่อคุณค่าและภาพลักษณ์ของสินค้าที่บรรจุ อยู่ภายในบรรจุภัณฑ์ชิ้นนั้นๆ หากพิจารณาตามหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์สามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท1 คือ 1. บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย (Individual Package) คือบรรจุ ภัณฑ์ที่สั มผั ส อยู่ กับ ผลิ ตภัณฑ์ชั้นแรก เป็นสิ่งที่บรรจุผลิตภัณฑ์เอาไว้เฉพาะหน่วย เพื่อ เพิ่มคุณค่าในเชิงพาณิชย์ 2. บรรจุภัณฑ์ชั้นใน (Inner Package) คือ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ อ ยู่ ถั ด ออกมาเป็ น ชั้ น ที่ ส อง มี ห น้ า ที่ รวบรวมบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกเข้าไว้ด้วยกันเป็นชุด เพื่อการจาหน่ายสินค้าตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป 3. บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด (Out Package) คือ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นหน่วยรวมขนาดใหญ่ที่ใช้ในการ ขนส่ง เช่น กล่องขนาดใหญ่ หีบ ไม้หรือลัง เป็น ต้น

1

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ หมายถึง กระบวนการคิดประดิษฐ์สิ่ง ต่างๆ ให้ แปลกใหม่ สะดวกสบายและสอดคล้ อ งกั บ ลั ก ษณะ รู ป แบบ คุ ณ สมบั ติ ข องวั ส ดุ เพื่ อ ใช้ ห่อหุ้ม ป้องกันและรักษาคุณภาพและลักษณะ สินค้าให้คงสภาพเดิมหรือใกล้เคียงกับแรกผลิต มากที่สุด (ที่มา: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม)

ในต่ า งประเทศการตลาดสี เ ขี ย วที่ แ ข่ ง ขั น กั น รุนแรงมาก โดยเฉพาะเรื่องของ “บรรจุภัณฑ์ (Packaging)” โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่ม เพราะภาชนะเหล่ า นี้ เ มื่ อ ใช้ แ ล้ ว น าไปทิ้ ง ธรรมชาติจะย่อยสลายได้ในเวลาต่างๆ กัน เช่น แก้วจะย่อยสลายในเวลากว่าพันปี ถุงพลาสติก ใช้เวลาหลายพันปี ส่วนโลหะใช้เวลาเพียงร้อยปี และกระดาษเพียงสิบปีเท่านั้น (สืบค้นออนไลน์ www.environnet.in.th)

บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม อาจทาได้โดย  Recycle เป็นการแปรสภาพของบรรจุ ภัณฑ์ที่ใช้เสียใหม่  Refill เป็นบรรจุภณ ั ฑ์ชนิดเติม ช่วย ประหยัดพลังงานและลดปริมาณขยะได้ เป็นอย่างดี  Reuse เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ซ้าได้อกี  Reject เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ทาจากวัสดุที่ไม่ ก่อให้เกิดมลภาวะ  Repair เป็นบรรจุภณ ั ฑ์ที่เมื่อชารุดแล้ว สามารถไว้ใช้ใหม่ได้อีก (สืบค้นออนไลน์ www.stou.ac.th)

การจัดทาเนื้อหาองค์ความรู้ SMEs ภายใต้การพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs Knowledge Center ปี 2556.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-83


และหากชนิดของบรรจุภัณฑ์ตามคุณสมบัติทางกายภาพของบรรจุภัณฑ์ สามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ 1. บรรจุภัณฑ์แข็งตัว (Rigid Packaging) เช่น แก้ว กระป๋องโลหะ และขวด บรรจุภัณฑ์ชนิดนี้มี ความแข็งแรง คงรูปได้ดี ลาเลียงบนสายพานได้สะดวก เหมาะสาหรับการบรรจุของเหลวด้วย สุญญากาศ และระบบที่ใช้ความดันได้ 2. บรรจุภัณฑ์กึ่งแข็ง (Semi-Rigid Packaging) เช่น ขวดพลาสติกแบบขึ้นรูปด้วยการเป่า ถาด โฟม ถ้วยไอศกรีม เป็นบรรจุภัณฑ์ด้วยการขึ้นรูปด้วยความร้อนและสุญญากาศ บรรจุภัณฑ์ชนิดนี้ มีข้อจากัดในการรับแรงอัดและแรงดันจึงบรรจุแบบกระบอกสูบอัดใส่ในถุงบรรจุภัณฑ์ 3. บรรจุภัณฑ์หีบห่อ (Flexible Packaging) เช่น ซองและถุง ซึ่งบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ไม่สามารถ รักษามิติหรือรูปทรงได้ จึงต้องมีอุปกรณ์ช่วยในระหว่างทาการบรรจุของเหลว และมักใช้ระบบ การบรรจุแบบกระบอกสูบอัดใส่ถุงบรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษของประเทศไทยมีแนวโน้มการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากความต้องการใช้ บรรจุภัณฑ์กระดาษที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารที่มีความต้องการใช้บรรจุภัณฑ์ประเภท กระดาษเป็นจานวนมากหรือคิดเป็นร้อยละ 40 ของปริมาณการใช้กระดาษในอุต สาหกรรม2 โดยบรรจุภัณฑ์ กระดาษส่วนใหญ่จะใช้ในธุรกิจอาหารสาเร็จรูป อาหารสดและเครื่องดื่ม ประมาณการสัดส่วนการใช้บรรจุภัณฑ์กระดาษเบื้องต้น

ที่มา: รวบรวมโดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย (2556).

จุดเด่นของบรรจุภัณฑ์กระดาษ ส่วนหนึ่งมาจากกระแสการลดปัญหาโลกร้อนและเทรนด์รักสุขภาพ ดังนั้น กระดาษที่ ผ ลิ ต จากวั ส ดุ ธ รรมชาติ ง่ า ยต่ อ การย่ อ ยสลาย สามารถน ากลั บ มาใช้ ใ หม่ ไ ด้ แ ละเป็ น มิ ต รกั บ 2

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ อ้างอิงบทความลดโลกร้อนหนุนธุรกิจบรรจุภัณฑ์กระดาษ.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-84


สิ่งแวดล้อมจึงได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งบรรจุภัณฑ์กระดาษยังมีราคาถูก น้าหนักเบา ง่ายต่อการปรับ รูปร่าง/รูปทรงให้เหมาะสมกับขนาดของสินค้าที่ บรรจุ สลายตัวได้ง่ายและสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ จึง จัดเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด หลักของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ โดยให้ความสาคัญกับการ ออกแบบโครงสร้างบรรจุภั ณฑ์และการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ โดยมีข้อกาหนดในการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ ดังนี้

-

การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ ชนิดของวัสดุมีความเหมาะสม ป้องกันสินค้า ได้ตลอดอายุการวางขาย รูปแบบกลมกลืนสอดคล้องกับสินค้า ขนาดพอดีและสามารถรับน้าหนักสินค้าได้ การขึ้นรูป การบรรจุ การเปิด-เปิดสะดวก ไม่ ยุ่งยาก

-

การออกแบบกราฟิ ก บนบรรจุ ภั ณ ฑ์ ค วรมี ค วามประสาน กลมกลืนกันอย่างสวยงามและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้ วางไว้ ซึ่ งข้อมูล ประกอบการออกแบบบรรจุภัณ ฑ์ควรจะมี ได้แก่ ข้อมูลด้านการตลาด เช่น สถานที่จัดจาหน่าย ฤดูกาล รู ป แบบการกระจายสิ น ค้ า (ปลี ก /ส่ ง ) พฤติ ก รรมผู้ บ ริ โ ภค ปริมาณและมูลค่าของสินค้าในตลาด (ส่วนแบ่งทางการตลาด ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ได้ แ ก่ ป ระวั ติ ค วามเป็ น มา และ คาอธิ บ ายจุ ด เด่น ประโยชน์ ขนาดปริ มาณบรรจุ ความถี่ / ปริมาณการใช้ที่ใช้ต่อครั้งและข้อควรระวัง เป็นต้น

การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ การออกแบบและจั ด วางรู ป แบบตั ว อั ก ษร ลวดลาย การใช้ถ้อยคา/เนื้อหา การใช้ เ ครื่ อ งหมายหรื อ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ ท าง การค้า การจัดภาพองค์ประกอบศิลป์ หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ดี  สะดวกในการนาไปใช้ และเก็บรักษา  ช่วยรักษาคุณภาพของสินค้า  มีความสวยงาม โดดเด่น  สอดคล้องกับตาแหน่งของผลิตภัณฑ์  ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม (ที่มา: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม)

ขั้นตอนการวางแผนออกแบบบรรจุภัณฑ์ การวางแผนเริ่มต้นด้วยจุดประสงค์ของการพัฒนา พร้อมด้วยข้อจากัดต่างๆ รายละเอียดการวางแผนต้อง ประกอบด้วยองค์ประกอบต่อไปนี้ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-85


ขั้นตอนที่ 1 : การวางแผน ประกอบไปด้วยขั้นตอนการกาหนดเวลาและผลงานที่จะได้รับในแต่ละ ขั้นตอนการทางาน รายละเอียดของตราสินค้า (Branding) และผู้รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนที่ 2 : การรวบรวมข้อมูล ประกอบไปด้วยข้อมูลการตลาด อาทิ จุดแข็ง จุ ดอ่อน โอกาส ข้อจากัด (SWOT: Strength, Weakness, Opportunity, Treat) ข้อมูลจากจุดขายความต้องการของ กลุ่ มเป้ าหมาย/พฤติกรรมผู้ บ ริ โ ภคและเทคโนโลยีใหม่ๆ ทางด้านวั ส ดุบรรจุภัณ ฑ์ ระบบบรรจุภัณฑ์และ เครื่องจักร ขั้นตอนที่ 3 : การออกแบบร่า ง ประกอบไปด้วยการพัฒนาความคิดริ เริ่มต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่าง ต้นแบบประมาณ 3-5 แบบ และการทาต้นแบบประมาณ 2-3 แบบ ขั้นตอนที่ 4 : การประชุมวิเคราะห์ปรับต้นแบบ ประกอบไปด้วยการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทาง เทคนิค วิเคราะห์การสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและเลือกต้นแบบที่ยอมรับได้ ขั้น ตอนที่ 5 : การทาแบบเหมือนร่ า ง ประกอบไปด้ว ยกระบวนการเลื อกวัส ดุที่จะทาแบบ และ ออกแบบกราฟิกเหมือนจริง พร้อมตราสินค้าและสัญลักษณ์ทางการค้าขึ้นแบบ ขั้นตอนที่ 6 : การบริหารการออกแบบ เริ่มจากการติดต่อโรงงานผู้ผลิตวัสดุบรรจุภัณฑ์จนถึงการ ควบคุมงานผลิตให้ได้ตามแบบที่ต้องการ พร้ อมทั้งจัดเตรียมรายละเอียด การสั่งซื้อ (Specification) เพื่อให้ บรรจุ ภัณ ฑ์ที่ ออกแบบสามารถผลิ ตได้ต ามต้อ งการ ขั้น ตอนสุ ดท้ ายเป็ นการติด ตามผลของบรรจุ ภัณ ฑ์ ที่ ออกแบบไปแล้ ว ว่าสามารถสนองตามจุ ดมุ่งหมายของการออกแบบและบรรลุ ถึงวัตถุประสงค์ขององค์กร เพียงใด คู่มือธุร กิจ บรรจุ ภัณฑ์รั กษ์โ ลกฉบั บ นี้ มุ่งส่ งเสริมให้ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่ส นใจจะเริ่มต้นธุรกิจที่เน้นใช้ ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในธุรกิจอาหารสร้างสรรค์ บรรจุภัณฑ์นับเป็น องค์ ป ระกอบที่ ส าคั ญ ในอุ ต สาหกรรมอาหาร ซึ่ ง ท าหน้ า ที่ ปกป้ อ งสิ น ค้ า อาหารและรั ก ษาคุ ณ ค่ า ทางอาหารและ โภชนาการที่ผู้บริโภคควรจะได้รับจากการบริโภคอาหารนั้นๆ ซึ่งปัจจุบันได้มีผู้ประกอบการจานวนหลายรายที่พัฒนาและ ออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและยั ง ช่ ว ยสร้ า ง มูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าอาหารด้วย เช่น ธุรกิจผลิตถุงกระดาษ เก็บความเย็น ที่นามาใช้ในธุรกิจเครื่องดื่มประเภทต่างๆ โดย ถุงกระดาษเก็บความเย็นดังกล่าวมีคุณสมบัติในการเก็บรักษา ถุงกระดาษเก็บความเย็น ถุ ง กระดาษส าหรั บ บรรจุ เ ครื่ อ งดื่ ม เย็ น ที่ มี ความเย็นและยืดระยะเวลาในการบริโภคอาหารให้ยาวนาน คุ ณ สมบั ติ ช่ ว ยรั ก ษาความเย็ น ไว้ ไ ด้ น านกว่ า ขึ้น กล่าวคือ ถุงกระดาษดังกล่าวไม่ได้คิดค้นขึ้นมาเพื่อบรรจุ เครื่องดื่มที่ใส่แก้วปกติธรรมดา ทาให้เครื่องดื่ม อาหาร (เครื่องดื่ม) โดยตรง แต่ทาหน้าที่เป็นบรรจุภัณฑ์เพื่อ ไม่เสียรสชาติและสามารถบริโภคได้นานกว่าเดิม รั ก ษาคุ ณ ภาพของสิ น ค้ า และยั ง ช่ ว ยสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สินค้าอาหารอีกด้วย ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-86


คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ

ผู้ประกอบในธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. มีความรู้ในเรื่องวัสดุและวัตถุดิบต่างๆ ที่ใช้ใน การผลิตบรรจุภัณฑ์อาหาร รู้จักชนิดของวัสดุที่ ใช้ ท าบรรจุ ภั ณฑ์ คุณ สมบั ติ ทางกายภาพ เช่ น ความแข็งแรงทนทาน ความปลอดภัยของวัสดุที่ ใช้ ทาบรรจุ ภัณ ฑ์ คุ ณ สมบั ติ ท างเคมี เช่ น การ ก่ อ ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงในตั ว สิ น ค้ า อาหาร เนื่ องจากบรรจุ ภัณฑ์ดังกล่ าวจะถูกนามาใช้กับ สินค้าประเภทอาหาร โดยเฉพาะการผลิตบรรจุ ภั ณ ฑ์ ป ร ะ เ ภ ท เ ฉ พ า ะ ห น่ ว ย ( Individual Package) หรือบรรจุภัณฑ์ที่สัมผัสกับตัวอาหาร โดยตรงซึ่ ง บรรจุ ภั ณ ฑ์ ช นิ ด นั้ น ๆ ต้ อ งมี ค วาม ปลอดภัยต่อผู้บริโภคอย่างแท้จริงและบรรจุภัณฑ์ นั้นๆ ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนไปของคุณภาพหรือ การเก็บรักษาอาหารนั้นๆ และการเลือกใช้วัสดุที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ ซึ่ ง นั บ เป็ น ทุ น ตั้ ง ต้ น ที่ สาคัญสาหรับผู้ประกอบการรายใหม่บางราย ที่ อาจจะไม่ใช่นักออกแบบหรือ ไม่ได้มีพื้นฐานองค์ ความรู้ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการผลิต บรรจุ ภั ณฑ์ต่ างๆ ซึ่งการมีไอเดี ยหรือความคิ ด สร้ า งสรรค์ จ ะสามารถช่ ว ยให้ ผู้ ป ระกอบการ สามารถน าความคิ ด สร้ า งสรรค์ ม าพั ฒ นาต่ อ ยอดจากสิ น ค้ า หรื อ บรรจุ ภั ณ ฑ์ เ ดิ ม ที่ มี อ ยู่ ใ น ท้องตลาดได้ ที่สามารถสร้างจุดขายให้กับสินค้ า

แอพพลิ เ คชั่ น ที่ ชื่ อ ว่า “เมคกิ้ ง (Making)” เป็ น แอพพิ เ คชั่ น ที่ เ หมาะส าหรั บ นั ก พั ฒ นา สินค้า เพื่อ เช็คว่าวัสดุ อะไรใช้แล้ วจะมีผลต่ อ สิ่งแวดล้อมอย่างไร (สืบค้นออนไลน์ http://plastic.oie.go.th)

SEPE (Simple Environment Program for Enterprise) โปรแกรมสาเร็จรูปอย่างง่าย ที่ จั ด ท าขึ้ น เพื่ อ ใช้ ป ระเมิ น ค่ า ผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ที่จัดทา ขึ้ น เพื่ อ ช่ ว ยนั ก ออกแบบในการประเมิ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ บื้ อ งต้ น ในขั้ น การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ เพื่อเปลี่ยนทิศทางการผลิตสินค้าให้ มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้น เพื่อ รองรับตลาดใหม่ซึ่งเป็นตลาดของสินค้าสีเขียว (Green product) หรือสินค้าที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม (Eco Product) (สืบค้นออนไลน์ www2.mtec.or.th)

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-87


ได้ ภายใต้ข้อกาหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์3 3. มีความเข้าใจตลาดและลูกค้าเป้าหมาย มีความ เข้าใจถึง พฤติกรรม รสนิ ย มและความต้องการ ของกลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมายอย่ า งแท้ จ ริ ง เพื่ อ น าเสนอไอเดี ย และความคิ ดสร้า งสรรค์ ใ นการ ออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกที่มีรูปทาง ขนาด สี สั น กราฟิกและรายละเอียดต่างๆ บน บรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ด้ อ ย่ า งเหมาะสม และส่ ง สร้ า ง ภาพลั กษณ์ที่ดีและสร้ างมูล ค่า เพิ่มให้กับสิ นค้า อาหาร 4. มี ค วามรู้ แ ละเข้ า ใจในระบบธุ ร กิ จ มี ค วามรู้ ความเข้าใจในภาพรวมของการทาธุรกิจ เพื่อการ จั ดการทรั พยากรต่างๆ ได้อย่ า งเหมาะสมและ เป็นระบบ อาทิ ด้านลูกค้า ด้านการตลาด ด้าน การบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล ด้ า นบริ ห ารการ ปฏิบัติการและห่วงโซ่อุปทาน

เทคนิคการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 1) การออกแบบเป็นชุด (Package Uniform) 2) การออกแบบเรียงต่อเป็นภาพ วิธนี ี้ยึดหลัก ในการสร้างภาพ ณ จุดขายให้เป็นภาพใหญ่ ดูเป็นภาพที่ปะติปะต่อ เพือ่ ดึงดูดความสนใจ ของผู้บริโภคในระยะไกล 3) การออกแบบแสดงศิลปะท้องถิ่น เป็นการ ส่งเสริมสินค้าที่ผลิตภายในท้องถิ่นเพื่อเสนอ แก่นักท่องเที่ยว 4) การออกแบบของขวัญ นับเป็นบรรจุภณ ั ฑ์ที่ มีบทบาทสาคัญต่อความสาเร็จของการขาย สินค้า โดยเฉพาะในช่วงเทศกาล (ที่มา: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม)

 ารเริ่มต้นธุรกิจ การเริ่มต้นธุรกิจผู้ประกอบการควรศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจ ซึ่งจะช่วยให้ ผู้ประกอบการสามารถมองเห็นกิจกรรมต่างๆ ที่มีความต่อเนื่องกัน การวางแผนจะช่วยลดความเสี่ยงในการ ดาเนินธุรกิจ ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการเริ่มต้นเป็นผู้ประกอบการในธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ผู้ประกอบการควรศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องในกระบวนการทาธุรกิจ โดยอาศัย Business Model Canvas ซึ่งประกอบไปด้วยสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่สาคัญ 9 ด้าน ดังนี้

3

กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ เช่น พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. 2466, พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522, พระราชบัญญัติคุ้มครอง ผู้บริโภค พ.ศ. 2522, พระราชบัญญัติมาตรฐานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-88


1. กาหนดกลุ่มลูกค้า (Customer Segments) ระบุกลุ่มเป้าหมายหลักที่มีความต้องการใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก เพื่อวางแผนในการดาเนินธุรกิจได้ อย่างตรงกลุ่มเป้าหมาย เช่น  ผู้ประกอบการธุรกิจอาหารขนาดเล็ก เป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีการเลือกใช้ บรรจุภัณฑ์ เพื่อ บรรจุสินค้าและอาหาร เพื่อส่งมอบให้แก่ลูกค้า/ผู้บริโภคคนสุดท้าย ซึ่งผู้ประกอบการอาจ เป็นทั้งผู้ออกแบบและผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก  ผู้ผลิตอาหาร เป็นกลุ่มเป้ าหมายที่มีการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ เพื่อบรรจุสินค้าอาหาร เพื่อ ขนส่งและส่งมอบให้กับตัวแทนจาหน่ายหรือผู้ค้า ที่จะนาสินค้าที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์นั้นๆ ไป จาหน่ายต่อ ซึ่งผู้ประกอบการอาจเป็นทั้งผู้ออกแบบและผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก  ผู้ประกอบการธุรกิจแฟรนไชส์อาหาร เป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็น เอกลั ก ษณ์ สวยงาม มีคุ ณ ภาพ ได้ม าตรฐาน เหมาะกั บ สิ น ค้า อาหารและสามารถสร้ า ง มูลค่าเพิ่มให้ กับสิ นค้าของกิจการได้ ซึ่งผู้ ประกอบการอาจทาหน้าที่เป็นผู้ออกแบบบรรจุ ภัณฑ์รักษ์โลก เพื่อส่งต่อให้บริษัทที่มีศักยภาพในการผลิตในปริมาณมากๆ ทาการผลิต เพื่อ ลดปัญหาด้านเงินลงทุนในเครื่องจักรขนาดใหญ่ 2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) การออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากวัสดุที่มีคุณภาพและได้ มาตรฐานเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร โดยบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกนั้นๆ ประกอบไปด้วยคุณสมบัติที่สาคัญ ดังนี้  คุณภาพของวัสดุทมี่ ีคุณภาพตรงกับคุณสมบัติการนาไปใช้งาน  สามารถคุ้มครองและปกป้องสินค้าอาหารนั้นๆ ได้อย่างปลอดภัยจนกระทั่งถึงมือผู้บริโภค  สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า  การสร้างภาพลักษณ์ สร้างความจดจาและสร้างทัศนคติที่ดีให้กับสินค้าและองค์กร  สามารถเพิ่มยอดขายให้กับลูกค้าได้ 3. ระบุช่องทาง (Channels) การสื่ อสารหรื อน าเสนอสิน ค้าและบริการของธุรกิจ ได้ตรงลุ่ มลูกค้าเป้าหมายทั้งกลุ่มลูกค้า ใน ปัจจุบันและอนาคต การเลือกใช้ช่องทางการสื่อสารที่ถูกต้อง จะช่วยกระตุ้นหรือสร้างความต้องการในใช้บรรจุ ภัณฑ์รักษโลกเพิ่มมากขึ้น ช่องทางการสื่อสารที่สาคัญของธุรกิจประเภทนี้ ประกอบไปด้วย  การบอกต่อ เนื่องจากบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกเป็นสินค้าที่มีความอ่อนไหวในการเลือกใช้ การ โฆษณาชวนเชื่อไม่สามารถโน้มน้ าวจิตใจกลุ่มลูกค้าได้ ซึ่งต้องอาศัยการบอกต่อถึงคุณภาพที่ ดีกว่า หรือเรียกง่ายๆ ว่า “ช่องทางการบอกต่อถึงประโยชน์ในการสร้างรายได้ที่มากกว่าการ ใช้บรรจุภัณฑ์ธรรมดา” จะได้ผลดีกว่าการโฆษณาชวนเชื่อ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-89


 เว็บไซต์หรือเปิดร้านค้าออนไลน์  สื่อสังคมออนไลน์ เช่น เฟสบุ๊ค เป็นต้น 4. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) คือ การสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้าเป้าหมาย ตั้งแต่การหาลูกค้า การให้บริการลูกค้า และติดตามหลังการใช้บริการ ซึ่งกระบวนการทั้งหมดจะมีความเชื่อมโยงกันตั้งแต่กระบวนการวิเคราะห์กลุ่ม ลูกค้า เพื่อนาเสนอคุณค่าผ่านช่องทางการเข้าถึงลูกค้า จนมาสู่การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้าและการวน กลับมาใช้บริการใหม่ เช่น  การให้ บ ริ การก่อนการขาย การให้ คาปรึก ษาและคาแนะนาในการเลื อ กใช้บรรจุภัณฑ์ ที่ เหมาะสมกับสินค้าของลูกค้า  การเปิดโอกาสให้ลูกค้าได้มีส่วนร่วมในการออกแบบภาพลักษณ์บรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ตรงกับ ความต้องการของลูกค้าที่จะนาไปใช้สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของตนเองต่อไป  การสร้างทัศนคติที่ดีต่อการใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ส่งมอบคุณประโยชน์ที่จะได้รับจากการใช้ บรรจุภัณฑ์ป ระเภทนี้ อาทิ การสร้างมูล ค่าเพิ่มให้ กับสิ นค้า การสร้างภาพลั กษณ์ที่ดีกว่า ให้กับสินค้า เป็นต้น  การให้ บ ริการหลั งการขาย รับฟังคาติชมและข้อเสนอแนะของลู กค้า รวมถึงการมีความ รับผิดชอบต่อสินค้าที่ส่งมอบให้แก่ลูกค้า เช่น ให้บริการแก้ไขในจุดที่บกพร่อง การเปลี่ยน สินค้าที่ชารุดเสียหายระหว่างขนส่ง เป็นต้น 5. รายได้ (Revenue Streams) รายได้หลักของธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก คือ การออกแบบและการผลิตบรรจุภัณฑ์ ซึ่งโดยทั่วไป การออกแบบมักจะถูกรวมอยู่ในกระบวนการผลิตและการจาหน่ายอยู่แล้ว ยกเว้นหากการผลิตบรรจุภัณฑ์ รักษ์ โลกนั้นๆ มีความเฉพาะเจาะจงหรือเน้นกระบวนการออกแบบเป็นพิเศษ ผู้ ประกอบการจะมีรายได้จากการ บริการออกแบบบรรจุภัณฑ์นั้นๆ เช่น การให้บริการจ้างออกแบบสินค้าที่ลูกค้าต้องการความเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว และจะนารูปแบบบรรจุภัณฑ์นั้นๆ ไปจดลิขสิทธิ์เป็นบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง 6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) คือ องค์ประกอบหลักที่สาคัญในการดาเนินธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ประกอบไปด้วย  ผู้เชี่ยวชาญด้านวัสดุศาสตร์  ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์  เทคโนโลยีและเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต  แรงงานผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-90


 วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต 7. กิจกรรมหลัก (Key Activities) คือ กิจกรรมที่สร้างคุณค่าและส่งมอบให้กับลูกค้า และจะต้องตรงตามวัตถุประสงค์หรือความ คาดหวังของลูกค้าตามประเภทของธุรกิจด้วย  การให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาในการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับสินค้า เช่น ขนาด ของบรรจุภัณฑ์ วัสดุและรูปแบบบรรจุภัณฑ์ เป็นต้น  การบริการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับประเภทของสินค้าของลูกค้า เช่น การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีรายละเอียดต่างๆ ของสินค้าและคุณประโยชน์ของสินค้าปรากฏบน บรรจุภัณฑ์ การให้ข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการที่เป็นประโยชน์ เป็นต้น  การส่งมอบสินค้า คือ บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ที่มีคุณสมบัติตามที่ได้ตกลงกันไว้ ให้แก่ลูกค้าตาม ระยะเวลาที่กาหนด  การให้บริการหลังการขาย การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากตัวสินค้าที่ส่งมอบ เช่น การรับคืนและ เปลี่ยนสินค้าที่ชารุดเสียหาย การให้ข้อแนะนาในการเก็บรักษาดูแลสินค้าที่ส่งมอบ เป็นต้น 8. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) คือ เครือข่ายพันธมิตรในธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับธุรกิจของผู้ประกอบการใน ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ประกอบไปด้วย  ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหาร อาทิ ธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพ ธุรกิจอาหารสาหรับผู้สูงอายุ ธุรกิจขายสินค้า (อาหาร) ที่ระลึกหรือสินค้า OTOP เช่น กล้วยกวน คุ๊กกี้ธัญพืช เป็นต้น  นักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม พาณิชย์ศิลป์และกลุ่มนักศึกษาสาขาออกแบบ เป็น ต้น เพื่อสร้างความร่วมมือในการจ้างเหมาบริการ  ตัวแทนผู้จาหน่ายวัสดุและวัตถุดิบเพื่อการผลิต อาทิ กระดาษ ผ้า วัสดุธรรมชาติต่างๆ  ตัวแทนผู้จาหน่ายบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก  โรงงานผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ประเภทต่างๆ  กลุ่มแม่บ้านวิชาชีพ เนื่องจากในการผลิตบรรจุภัณฑ์บางประเภทอาจจาเป็นต้องใช้ แรงงานคนเพื่อผลิตสินค้า เช่น การพับ การสกรีน เป็นต้น 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) การลงทุนในธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกประมาณ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ  นักออกแบบบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-91


โครงสร้างต้นทุนของนักออกแบบบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ประกอบไปด้วยค่าใช้จ่ายในการลงทุน ประมาณ 50,000-70,000 บาท ซึ่งเป็นการลงทุนในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถรองรับการใช้งานโปรแกรม ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องการออกแบบ โดยในขั้นตอนการนาเสนอผลงานเป็นการใช้ไอเดียและความคิดสร้างสรรค์ ของ ผู้ประกอบการ ในการนาเสนอผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้กับลูกค้าและกลุ่มลูกค้า เป้าหมาย  ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก โครงสร้างต้นทุนของผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ประกอบไปด้วยค่าใช้จ่ายในการลงทุน ประมาณ 0.5-2 ล้านบาท ขึ้นอยู่กับประเภทของบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตและขนาดของธุรกิจ การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ได้แก่ - ค่าก่อสร้าง/อาคารสถานที่ เครื่องจักรและเครื่องมือ เช่น เครื่องบรรจุเติม เครื่องบรรจุสุญญากาศ เครื่องห่อ เครื่องหดรัดรูป เครื่องเปิดฝา เครื่องปิดผนึก แบบร้อนและเย็น เครื่องเปิดกระป๋อง เครื่องปิดกระป๋อง และเครื่องปิดฉลาก เป็นต้น - ค่าจัดทาเว็บไซด์และค่าวางระบบต่างๆ เช่น ระบบไฟฟ้า น้าประปา โทรศัพท์ และระบบบัญชี เป็นต้น - ค่าอุปกรณ์และเครื่องใช้สานักงาน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรสาร และโทรศัพท์ เป็นต้น  การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ซึ่งประกอบไปด้วย - ต้นทุนคงที่ (ต่อเดือน) เช่น เงินเดือนพนักงานประจา ค่าเช่าสานักงาน และ ค่าบริการอินเตอร์เน็ต เป็นต้น - ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าน้าและค่าไฟ ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริการ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-92


ตัวอย่างโครงสร้างการลงทุน ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (ออกแบบและผลิต)

หมายเหตุ: องค์ประกอบจะเปลี่ยนไปตามบริบทของขนาดธุรกิจ

อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการต้องให้ความสาคัญกับการวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน (Break-even-Point) ของธุรกิจ จุดคุ้มทุน หมายถึง จุดหรือระดับของรายได้จากการขายสินค้าหรือบริการ ที่เท่ากับต้นทุนที่ธุรกิจได้จ่ายออกไป หรือจุดหรือระดับของรายได้ที่ธุรกิจ “เท่าทุน” โดยส่วนที่เลยจุดหรือระดับของรายได้ดังกล่าวคือ ผลกาไรที่ ธุรกิจจะได้ ผู้ประกอบการจะรู้จุดคุ้มทุนเมื่อรู่ว่าต้นทุนคงที่และผันแปรของกิจการเป็นเท่าไหร่ การคานวน จุดคุ้มทุนทาได้โดย (1) จุดคุ้มทุน (หน่วยขายที่คุ้มทุน)

=

ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย

หรือ (2) จุดคุ้มทุน (ยอดขายที่คุ้มทุน)

=

หน่วยขายที่คุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย

ซึ่งโดยเฉลี่ยธุรกิจ บรรจุภัณฑ์รักษ์โลกจะมีรายได้หลักจากการขายบรรจุภัณฑ์ให้แก่ผู้ประกอบการในธุรกิจ อาหารประเภทต่างๆ ทั้งนี้ ราคาของบรรจุภัณฑ์ขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่นามาผลิต และรูปแบบของบรรจุภัณฑ์โดย ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-93


ยกตัวอย่างของธุรกิจผลิตถุงกระดาษเก็บความเย็น แบบธรรมดาสี ธรรมชาติที่มีราคาจาหน่ายใบละ 1.80 บาท ถุงกระดาษแบบสีราคาใบละ 2.50 บาท (ไม่รวมหูหิ้ว) ไม่รวมค่าบล๊อกพิมพ์ จานวนผลิตขั้นต่า 5,000 ใบต่อ การผลิต 1 ครั้ง (บริการออกแบบฟรี) ประมาณการลงทุนขั้นต่า 3-5 แสนบาท องค์ประกอบในการลงทุนเริ่มต้น องค์ประกอบ การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร อุปกรณ์และเครื่องมือ (ขนาดเล็ก-กลาง) ค่าวางระบบสาธารณูปโภค ค่าอุปกรณ์สานักงาน

การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ค่าเช่าสถานที่ตั้งโกดัง

ประมาณการลงทุน 300,000-1,000,000 บาท 15,000-30,000 บาท 20,000-40,000 บาท

หมายเหตุ ขึ้นอยู่กับประเภทบรรจุภัณฑ์ที่ผลิต เช่น เครื่องขึ้น รูปกล่อง เครื่องพับและติดกาว เป็นต้น ขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการและประเภทบรรจุภัณฑ์ ขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการ ซึ่งอุปกรณ์สานักงาน เช่น คอมพิวเตอร์ โต๊ะสานักงาน ชุดรับแขก เครื่องปริ๊น เอกสาร โทรศัพท์ เป็นต้น

40,000-45,000 บาท

ประมาณการจากการเช่าสถานที่ขนาดพื้นที่ใช้สอย ขั้นต่าประมาณ 300 ตร.ม. ในจังหวัดปทุมธานี ค่าจ้างพนักงานประจา (ธุรการ) 15,000 บาท/เดือน ประมาณการจากอัตราการแรงขั้นต่า วุฒิปริญญาตรี จานวน 1 คน ค่าจ้างพนักงานขาย 15,000 บาท/เดือน ประมาณการจากอัตราค่าแรงขั้นต่า วุฒิปริญญาตรี จานวน 1 คน (ไม่รวมค่าคอมมิชชั่น) ค่าวัสดุสิ้นเปลือง/วัตถุดิบ 30,000-40,000 บาท/เดือน ขึ้นอยู่กับประเภทของบรรจุภัณฑ์ ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้าค่าไฟฟ้า 7,000-10,000 บาท/เดือน ขึ้ น อยู่ กั บ จ านวนอุ ป กรณ์ เครื่ อ งมื อ และเครื่ อ งใช้ และค่าโทรศัพท์) สานักงานและจานวนวันทาการของธุรกิจ ค่าเหมาบริการ(รายชิ้น) 50,000-70,000 บาท ขึ้นอยู่กับปริมาณการสั่งผลิต หมายเหตุ: ประมาณจากผู้ประกอบการขนาดกลาง ลงทุนในเครื่องจักรขนาดเล็ก

อย่างไรก็ตาม การลงทุนธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก หากผู้ประกอบการบางรายมีความพร้อมด้านสินทรัพย์ถาวร บางรายการ หรือคาดว่าจะสร้างรายได้เข้ามาไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในช่วงแรกของการเริ่มต้น ธุรกิจ ผู้ประกอบการสามารถปรับลดสัดส่วนของสินทรัพย์ถาวรหรือเงินทุนหมุนเวียนที่จะนามาเป็นค่าใช้จ่าย เริ่มต้นลงได้ ในกระบวนการผลิตหากเป็นการผลิตในจานวนมาก หรือการผลิตที่จาเป็นต้ องใช้เครื่องจักรขนาด ใหญ่ ผู้ประกอบการควรเลือกใช้บริการบริษัทรับจ้างผลิตจะมีความคุ้มค่ากว่าการลงทุนในเครื่องจักรขนาดใหญ่ ดังนั้น สัดส่วนโครงสร้างการลงทุนจึงขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของผู้ประกอบการด้วย โดยมีองค์ประกอบหลัก ในการลงทุนเริ่มต้น ดังนี้

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-94


1) สถานที่ตั้ ง ขึ้ นอยู่ กั บ รูป แบบการให้บ ริ ก าร

ของผู้ประกอบการ  บริ ก ารออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลก ผู้ประกอบการไม่จาเป็นต้องลงทุนด้าน สถานที่ อาจเลื อ กใช้ วิ ธี เ ช่ า ส านั ก งาน ขนาดเล็กหรือสามารถใช้ที่พักอาศัยเป็น สถานที่ทางานได้  บริการผลิตบรรจุภัณฑ์ ผู้ ประกอบการ การเลือกสถานที่ควรพิจารณาจากปัจจัย ด้านอื่น ๆ ประกอบ เช่น ต้นทุนค่าเช่า โกดั ง หรื อ โรงงาน แหล่ ง วั ต ถุ ดิ บ การ ขนส่ง เป็นต้น

การเลือกสถานที่ตั้ง เช่น ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกผลิตถุงกาแฟเก็บ ความเย็ น เลื อ กใช้ ส ถานประกอบการคื อ บ้านพัก/ที่อยู่อาศัย โดยพื้นที่ส่วนใหญ่ใช้สาหรับ จั ด เ ต รี ย ม แ ล ะ จั ด เ ก็ บ สิ น ค้ า เ นื่ อ ง จ า ก ผู้ประกอบการเลือกใช้วิธีการผลิตแบบจ้างเหมา ดังนั้น ผู้รับจ้างจึงสามารถนาผลิตภัณฑ์ไปผลิตที่ บ้ า นของตนเองได้ ซึ่ งกิ จ กรรมการผลิ ต ด้ ว ย กระบวนการพับถุง ติดกาวและถุงบางประเภท ติดหูหิ้ว ซึ่งผู้รับจ้างสามารถนากลับไปที่บ้านพัก ได้

2) เครื่องจักรและเครื่องมือ เครื่องจักรที่ดีควร เครื่องมือและเครื่องจักร เป็นเครื่องที่สามารถทางานร่วมกับวัสดุบรรจุ เช่น ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ในระยะเริ่มต้น ภัณฑ์ได้เป็นอย่างดี4 ทางานได้อย่างรวดเร็ว ควรเลื อกที่จ ะลงทุน ในเครื่ องมื อ เครื่ อ งจักรที่ แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ส า ห รั บ จาเป็น อาทิ เครื่องห่อ เครื่องปิดผนึก เป็นต้น ผู้ ป ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ ก เพื่ออานวยความสะดวกในกระบวนการผลิตบาง สามารถเลือกใช้ เครื่องมือและเครื่องจักรใน ขั้นตอน ซึ่งปัจจุบันเครื่องมือเหล่านี้สามารถหา การผลิตตามศักยภาพและขีดความสามารถ ซื้อได้ง่ายและมีราคาไม่แพง ซึ่งเหมาะสาหรับผู้ เริ่มต้นทาธุรกิจ ข อ ง เ งิ น ล ง ทุ น ห รื อ ใ น ร ะ ย ะ เ ริ่ ม ต้ น ผู้ประกอบการควรใช้วิธีสร้างความร่วมมือกับผู้แทนจาหน่ายวัตถุดิบ เพื่อลดความเสี่ยงในการ ลงทุนเครื่องมือและเครื่องจักรซึ่งต้องใช้เงินลงทุนเป็นจานวนมาก เพื่อป้องกันความเสี่ยงใน การลงทุนด้านสินทรัพย์ และเลือกลงทุนในเครื่องมือที่จาเป็นและช่วยอานวยความสะดวกใน การผลิตบางขั้นตอน

4

การจัดทาเนื้อหาองค์ความรู้ SMEs ภายใต้งานพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs Knowledge Center ปี 2556.

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-95


 วั ส ดุ แ ละวั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ ใช้ ใ นการผลิ ต บรรจุ ภัณฑ์ต่างๆ ผู้ประกอบการควรใช้บริการวัสดุ หรื อวั ตถุ ดิบ จากผู้ แทนจ าหน่ า ยจากแหล่ ง ต่า งๆ เพื่ อป้ อ งกั น การขาดแคลนสิ น ค้ า ใน บางช่วงเวลา และการใช้บริการจากตัวแทน จาหน่ายยังช่วยลดภาระในการจัดเก็บสินค้า หรือสต๊อกสินค้า อีกทั้งยังลดภาระค่าใช้จ่าย ในการลงทุนอีกด้วย การเลือกแหละวัตถุดิบ เ ป็ น หั ว ใ จ ส า คั ญ ใ น ก า ร ผ ลิ ต ดั ง นั้ น ผู้ ป ระกอบการจ าเป็ น ต้ อ งศึ ก ษาถึ ง แหล่ ง วัตถุดิบเพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น จากการผลิตสินค้าส่งมอบให้ลูกค้า  ค่าจ้างแรงงาน ค่าจ้างแรงงานเป็นส่วนหนึ่ง ในค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ซึ่งประกอบ ไปด้ ว ยค่ า จ้ า งบุ ค ลากรและพนั ก งาน ทั้ ง แรงงานทักษะและแรงงานในภาคการผลิต อย่ า งไรก็ ต ามหากผู้ ป ระกอบการในธุ ร กิ จ บรรจุภัณฑ์รักษ์โ ลกไม่มีป ระสบการณ์หรือ ทั ก ษะที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์ ผู้ประกอบการจาเป็นต้องพึ่งพาการจ้างงาน ในบางตาแหน่ง ที่จาเป็น เช่น พนักงานที่มี ความรู้ แ ละเชี่ย วชาญด้า นวัส ดุศาสตร์ นั ก ออกแบบ เป็นต้น รวมถึงแรงงานในภาคการ ผลิ ต ซึ่ ง อาจอยู่ ใ นรู ป แบบการบริ ก ารจ้ า ง เหมา ซึ่งอาจใช้รู ป แบบการจ้า งเหมาการ ผลิตเป็นรายชิ้นหรือจ่ายค่าจ้างตามสัดส่วน การผลิต (กรณีที่มีกระบวนการผลิตหลาย ชั้นตอน)

วัสดุและวัตถุดิบ เช่น ธุรกิจ บรรจุ ภัณฑ์รั กษ์โลกเลือ กที่จะสร้า ง ความร่วมมือกับผู้แทนจาหน่ายวัสดุและวัตถุดิบ ต่างๆ ประมาณ 2-3 ราย ที่ผ่า นการพิจ ารณา และตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบเรียบร้อยแล้ว เพื่ อ ควบคุ ม คุ ณ ภาพของวั ต ถุ ดิ บ และป้ อ งกั น สินค้าขาดแคลนในบางช่วงเวลา โดยเฉพาะวัสดุ ที่ทาจากธรรมชาติซึ่งนับเป็นวัตถุดิบที่ควบคุม ปริ ม าณสิ น ค้ า ได้ ย าก เนื่ อ งจากต้ อ งพึ่ ง พา ธรรมชาติที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เช่น เยื่อกระดาษ หรือกระดาษสา เป็นต้น

การจ้างแรงงาน เช่ น ธุ ร กิ จ บรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลกจ าเป็ น ต้ อ งมี บุค ลากรที่ มีค วามเชี่ ย วชาญด้ านการวัส ดุที่ จ ะ น ามาใช้ ใ นการผลิ ต พนั ก งานออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ อ อ ก แ บ บ ต ร า สิ น ค้ า ซึ่ ง อ า จ ใ ช้ กระบวนการจ้างงานในลักษณะบริการจ้างเหมา หรือ Outsource สาหรับการจ้างงานเพื่อผลิต ชิ้น งานหรือ บรรจุ ภัณ ฑ์ รัก ษ์ โลก หากเป็ นการ ผลิ ต ที่ ต้ อ งพึ่ ง พาแรงงานค เพื่ อ ผลิ ต ชิ้ น งาน ผู้ประกอบการควรเลือกใช้รูปแบบการจ้า งงาน แบบบริการจ้างเหมาโดยจ่ายค่าตอบแทนตาม ปริมาณการผลิต เช่น จ้างกลุ่มแม่บ้านชุมชนพับ ขึ้นรูปกล่องกระดาษ โดยจ่ายค่าตอบแทน 100 ชิ้น 50 บาท เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-96


การจ้างแรงงานผู้ประกอบการควรคานึงถึงขนาดและประเภทของสินค้า ที่จะดาเนินการผลิต ปริมาณการผลิต ความถี่และความยากง่ายในการออกแบบบรรจุภัณฑ์แต่ละครั้ง เพื่อประกอบการตัดสินใจในการจ้างแรงงาน ด้วย อย่างไรก็ตาม สาหรับผู้ประกอบการมือใหม่เมื่อมีวางแผนธุรกิจเรียบร้อยแล้วและพบว่า โครงสร้างต้นทุน ยังอยู่ในเกณฑ์สูงเกินศักยภาพที่มีอยู่ ควรดาเนินการปรับขนาดธุรกิจให้เหมาะสมกับศักยภาพของตนเอง เช่น การปรับเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมาย ลดขนาดกิจการ ปรับลดการจ้างงาน ทั้งนี้ เพื่อความเหมาะสมของโครงสร้าง ต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจบรรจุภัณฑ์รกั ษ์โลก ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกขนาดเล็ก (S) ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกขนาดกลาง (M) เริ่มต้นจากธุรกิจเล็กๆ หรือธุรกิจในครอบครัว เป็นธุรกิจที่ เริ่มต้นจากธุรกิจขนาดกลางหรือมีหุ้นส่วน เป็นธุรกิจที่เน้น เน้นการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ขนาดเล็ก กระบวนการ กระบวนการผลิตโดยอาศัยเครื่องจักรขนาดเล็ก บรรจุภณ ั ฑ์มี ผลิตไม่ซับซ้อน กระบวนการผลิตที่ซับซ้อนมากขึ้น 1. เลือกใช้สถานที่ที่มีอยู่แล้ว เช่น บ้าน/ที่พักอาศัย 1. เลือกเช่าสถานที่ โดยยึดความเหมาะสมของธุรกิจ เช่น 2. เครื่องมือและอุปกรณ์ขนาดเล็กเช่น เครื่องห่อ อัตราค่าเช่าสถานที่ สถานที่ตั้งใกล้แหล่งวัตถุดิบในการ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีกระบวนการ ผลิต เป็นต้น ใช้งานไม่ซับซ้อน 2. เครื่องมือและอุปกรณ์ โดยเลือกขนาดและรูปแบบการ 3. แรงงาน ขึ้ น อยู่ กั บ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการท าธุ ร กิ จ ซึ่ ง ใช้งานทีเ่ หมาะสมกับการผลิตบรรจุภัณฑ์และสามารถใช้ ผู้ ป ระกอบการอาจจะมี จุ ด เริ่ ม ต้ น จากการเป็ น ผู้ งานได้เอนกประสงค์ เช่น เครื่องห่อ เครื่องปิดผนึก และ มี ไ อเดี ย สร้ า งสรรค์ หรื อ เป็ น ผู้ มี ค วามรู้ ค วาม เครื่องพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์ เป็นต้น ซึ่งในกระบวนการผลิตที่ สามารถทางด้านวัสดุศาสตร์ ดังนั้น การจ้างงานควร ต้องพึ่งพาเครือ่ งจักรขนาดใหญ่ ผูป้ ระกอบการควรเลือก พิจารณาจากบุคลากรที่กาลังขาดแคลนอยู่ เช่น วิธีการจ้างโรงงานผูผ้ ลิตขนาดใหญ่มากกว่าการลงทุนใน เครื่องจักรขนาดใหญ่  นักออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ หากเป็นการจ้างงาน 3. แรงงาน ประกอบไปด้วย ในระยะเริ่มต้น ควรจ้างเหมาบริการ เพื่อลด ต้นทุนในการจ้างงาน  นักออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ หากเป็นการจ้างงานใน ระยะเริ่มต้น ควรจ้างเหมาบริการ เพื่อลดต้นทุนใน  แรงงานในกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์ ควร การจ้างงาน เพื่อวางแผนการจ้างงานในระยะต่อไป พิจารณาถึงความเหมาะสมของปริมาณการ ซึ่งอาจจาเป็นต้องจ้างในลักษณะพนักงานประจา ผลิตและเครื่องจักรทีม่ ีอยู่ หรือการผลิตที่ เพื่อความเป็นมาตรฐานในการให้บริการ เน้นใช้แรงงานคน ควรเลือกใช้การบริการ จ้างเหมา หรือการจ้างงานตามจานวนชิ้นงาน  แรงงานในกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์ควร ที่ผลิตเสร็จ พิจารณาตามความเหมาะสมของปริมาณการผลิต 4. การตลาด โฆษณาและประชาสั ม พั น ธ์ ในระยะ และเครื่องจักรที่มีอยู่ หากมีการลงทุนใน เริ่ ม ต้ น ควรเลื อ กใช้ ช่ อ งทางสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เครื่องจักรที่มีความซับซ้อน ผู้ประกอบการ เนื่ อ งจากเป็ น สื่ อ ที่ มี ต้ น ทุ น ต่ าและสามารถเข้ า ถึ ง จาเป็นต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติของบุคลากรด้วย ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-97


ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกขนาดเล็ก (S) กลุ่ ม เป้ า หมายได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และเป็ น วงกว้ า ง รวมถึงทาการโฆษณาผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตในรูปแบบ ต่างๆ เช่น การประกาศซื้อ-ขายฟรี (EClassified)

ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกขนาดกลาง (M)

 พนักงานขาย ทาหน้าที่นาเสนอขายสินค้าบรรจุ ภัณฑ์ให้แก่ลูกค้า โดยจ้างเป็นพนักงานประจาและ เงินพิเศษจากยอดขาย 4. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ผ่านเว็บไซด์ของ ตนเอง เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ นาเสนอผลงานและ บรรจุภัณฑ์ตัวอย่าง รวมถึงการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ สังคมออนไลน์ หมายเหตุ: แนวคิดและแนวทางในการเริม่ ต้นธุรกิจ สามารถปรับรูปแบบได้ตามศักยภาพด้านเงินทุนและขีดความสามารถใน การบริหารจัดการของผู้ประกอบการแต่ละท่าน

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-98


ตั

 วอย่างการวิเคราะห์ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รกั ษ์โลก ตามแนวคิด Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) - ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหาร - นักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม พาณิชย์ศิลป์และกลุ่ม นักศึกษาสาขาออกแบบ - บริษัทผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ - ตัวแทนจาหน่ายบรรจุภัณฑ์รักษ์ โลก - ผู้แทนบริษัทจาหน่ายวัสดุต่างๆ - กลุ่มแม่บ้าน/กลุ่มชุมชนหมู่บ้าน

กิจกรรมหลัก (Key Activities) - การให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาในการ เลือกใช้บรรจุภัณฑ์ - การบริการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่คุ้มค่าและ เหมาะสมกับสินค้าอาหาร - การส่งมอบสินค้าที่ถูกต้องตามที่ได้ตกลงไว้ใน เวลาที่กาหนด - การให้บริการหลังการขาย การแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นหลังจากการส่งมอบสินค้า การรับ เปลี่ยนและรับคืนสินค้า เป็นต้น

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) - มีคุ ณ สมบั ติ แ ละประโยชน์ใ ช้ ส อยตาม หน้าที่ สามารถคุ้มครองสินค้าอาหารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ - การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าจากบรรจุ ภัณฑ์รักษ์โลก - การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสินค้าและ องค์กร - การเพิ่มยอดขายให้กับลูกค้าจากบรรจุ ภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์และโดดเด่น

ทรัพยากรหลัก (Key Resources) - ผู้เชียวชาญด้านวัสดุศาสตร์ - ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ - พนักงานประจา เช่น ธุรการและพนักงานขาย - แรงงานผู้ผลิตสินค้า เช่น กลุ่มแม่บ้าน - วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure)

-

สินทรัพย์ถาวร ได้แก่ ค่าอาคารสถานที่ ค่าเครื่องมือและเครื่องจักร ค่าใช้จ่ายในการวางระบบและอุปกรณ์สานักงานต่างๆ สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ (1) ต้นทุนคงที่ต่อเดือน เช่น เงินเดือนพนักงานประจา ค่าเช่าสานักงาน และค่าอินเตอร์เน็ต เป็นต้น และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่าจ้างพนักงานประจา ค่าใช้จา่ ยด้านสาธารณูปโภคและค่าจ้างบริการจ้างเหมา เป็นต้น

ส่วนที่ 2 – ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) - การให้บริการก่อนการขาย ให้คาปรึกษาและ คาแนะนาในการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม - เปิดโอกาสให้ลูกค้าได้มีส่วนร่วมในการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ และความเป็นตัวตนของสินค้าและกิจการ - การสร้างทัศนคติที่ดีต่อการใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์ โลก - การให้บริการหลังการขาย มีความรับผิดชอบ ต่อสินค้าที่ส่งมอบให้แก่ลูกค้า เช่น การรับ เปลี่ยนสินค้าที่ชารุดเสียหาย เป็นต้น

กลุ่มลูกค้า (Customer Segments) - ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหาร (พ่อค้าและแม่คา้ ทั่วไป) - ตัวแทนจาหน่ายสินค้าอาหาร (ผู้ผลิตสินค้าอาหาร) - ผู้ประกอบการธุรกิจแฟรนไชส์ อาหาร

ช่องทาง (Channels) - การบอกต่อ - เว็บไซต์ - IG หรือ Facebook สื่อสังคมออนไลน์ สถาน ประกอบการ/ธุรกิจพันธมิตร

รายได้ (Revenue Streams) - การออกแบบบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก - การผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก

2-99


 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้างมูลค่ าเพิ่มให้กับธุรกิจ บรรจุภัณฑ์รักษ์โลกสามารถทาได้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ แนวคิดและ ไอเดียสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการ ในคู่มือฉบับนี้จะขอนาเสนอวิธีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ บรรจุภัณฑ์รักษ์ โลกสาหรับผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่สนใจจะเข้าสู่ธุรกิจ ดังนี้ 1. การสร้างเอกลักษณ์หรือรูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความแตกต่าง การน าเสนอรู ป แบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ช่ ว ยสร้ า ง มูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าที่บรรจุอยู่ในบรรจุภัณฑ์ สามารถสะท้อน เอกลักษณ์และสร้างความโดดเด่นให้กับสินค้าได้ บรรจุภัณฑ์มี ความปลอดภัย กับ ตัว สิ น ค้ า ลั กษณะและรู ป แบบของบรรจุ ภัณ ฑ์ ส ามารถตอบสนองความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคได้ ต รง กลุ่มเป้าหมายของผู้บริโภคสินค้า และตัวบรรจุภัณฑ์ต้องผลิต บรรจุภัณฑ์กล่องขนมเค้กจาก B-Speak มาจากวัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง

(ที่มา:www.bunjupun.com)

2. การสร้างประสบการณ์ใหม่ในการใช้บรรจุภัณฑ์ เป็นกระบวนการของการออกแบบสร้างสรรค์ตัว บรรจุ ภั ณฑ์ ให้ มีคุณ ประโยชน์ มากกว่า การเป็ นวั ส ดุ ที่ห่ อหุ้ ม สินค้า โดยอาศัยการเลือกใช้วัตถุดิบในการผลิตที่สามารถสร้าง ประโยชน์ ให้ แก่กลุ่ ม ลู กค้าเป้ าหมายได้ เช่น บรรจุภัณฑ์ที่ มี คุณสมบัติถนอมอาหารหรือสามารถยืดอายุการบริโภคอาหาร หรือบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุอาหารเมื่อบริโภคเสร็จแล้วสามารถ พับตามรอยปรุ หรือพับกล่องกระดาษกลับด้าน หรือนาส่วนใด ส่ ว นหนึ่ ง ของบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ปประโยชน์ ต่ อ ได้ โดยเน้ น การ ออกแบบลวดลายที่สวยงาม

บรรจุภัณฑ์กระป๋องกระดาษจากผลิตภัณฑ์ ชา Teatul ออกแบบโดย Khadia Ulumbekova (ที่มา:www.bunjupun.com)

3. การให้บริการก่อนและหลังการขาย เป็นกระบวนการสร้างความแตกต่างด้านการบริการทั้งก่อนการขายและหลังการขาย เริ่มตั้งแต่ กระบวนการให้คาปรึกษาและข้อแนะนาในการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลกที่เหมาะสมกับตัวสินค้าของลูกค้า ให้บริการออกแบบบรรจุภัณฑ์โดยคานึงถึงประโยชน์และมูลค่าเพิ่มในตัวสินค้าของลูกค้า การให้บริการหลัง

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-99


การขาย กล่าวคือ มีความรับผิดชอบต่อสินค้าที่ส่งมอบให้แก่ลูกค้า เช่น บริการรับ เปลี่ยนหรือคืนสินค้าที่เกิด ความเสียหายจากการผลิตและการส่งมอบ

 ารขยายธุรกิจ...อีกระดับกับการพัฒนาธุรกิจ การขยายธุรกิจมีหลากหลายวิธี ทั้งขยายอย่างรวดเร็วและเป็นการเติบโตแบบก้าวกระโดด เรียกว่า Extensive Growth เช่น การเข้าไปซื้อกิจการ ของบริษัทคู่แข่งที่ทาธุรกิจใกล้เคียงกันเพื่อเพิ่มกาลังผลิต ขยายตลาด และ ตัดกาลั งคู่แข่งส าคัญออกไป และมีวิธีการขยายธุรกิจอย่างช้าๆ แต่มั่นคงไปทีล ะขั้น ที่เรียกว่า Intensive Growth การขยายธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก สาหรับผู้ประกอบการที่มี โอกาสและศักยภาพในการขยายธุรกิจ อาจทาได้ในรูปแบบ 1. นักออกแบบบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ขยายธุรกิจไปสู่ ธุ ร กิ จกา รผลิ ตแ ละจ าหน่ าย คื อ เป็ น ทั้ ง ผู้ออกแบบ ผู้ผลิต และผู้จัดจาหน่าย ลดการพึ่ง การธุรกิจเครือข่าย เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับ ธุรกิจของตนเอง 2. การขยายธุ ร กิ จ ไปสู่ ผู้ ผ ลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลก ครบวงจร ลงทุ น ทางด้ า นเทคโนโลยี เพื่ อ เพิ่ ม ศักยภาพในการผลิตสินค้าที่หลากหลายเพิ่มมาก ขึ้น รวดเร็ ว ขึ้ น และสามารถผลิ ต สิ น ค้า ได้เ พิ่ ม มากขึ้ น เพื่ อรองรั บ ตลาดที่ มีแ นวโน้ม ขยายตั ว เพิ่มมากขึ้น

59PACKPRINT by nuntapun ให้ บ ริ ก า รออกแ บบ พร้ อมให้ ค าปรึ ก ษา ออกแบบ กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ สติ๊ ก เกอร์ ฉ ลาก สินค้าทุกชนิดแบบครบวงจร

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ที่มา): www.59packprint.com)

2-100


ปั

 จจัยแห่งความสาเร็จในการทาธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก

5. คุณภาพและมาตรฐาน

1. สร้างเอกลักษณ์และ มูลค่าเพิม่ ให้กับสินค้า

2. เข้าใจความต้องการของลูกค้า

4. มีทักษะการบริหาร

3. สร้างความแตกต่างและสร้างยอดขาย ให้กับลูกค้า

ปัจจัยแห่งความสาเร็จในธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกประกอบด้วย 5 ปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. สร้างเอกลักษณ์ และมูลค่า เพิ่มให้กับสินค้า การนาความคิดสร้างสรรค์มาประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีคุณสมบัตสิ ะท้อนตัวตนของสินค้า และทาหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ที่ ดีได้อย่างครบถ้วนและสร้างมูลค่าค่าเพิ่มให้กับสินค้า 2. เข้าใจความต้องการของลูกค้า ผู้ประกอบการที่เป็นนักออกแบบหรือผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ต้องเข้า ใจความต้องการของลูกค้า เป้าหมายอย่างแท้จริงเป็น สามารถออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ได้ ตามคาดหวังของลูกค้าและตรงกลุ่มเป้าหมายทั้งผู้ซื้อและผู้ใช้สินค้า เช่น สินค้าบางประเภทผลิต ขึ้นมาเพื่อบริโภคกลุ่มหนึ่งแต่ผู้ซื้อคือผู้บริโภคอีกกลุ่มหนึ่ง อาทิ สินค้าของเด็ก เป็นต้น ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-101


Swear Words, Green Eggs.

3. สร้างความแตกต่างและสร้างยอดขายให้กับลูกค้า บรรจุภัณฑ์ช่วยสร้างความโดดเด่นให้กับตัว สินค้าให้แตกต่าง และช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสินค้า สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัวสินค้า ได้ และสร้างยอดขายได้เพิ่มมากขึ้น 4. มีทักษะการบริหาร นอกจากทักษะในการใช้ความคิด สร้างสรรค์ การออกแบบและการพัฒนา ผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลกแล้ ว การท าธุ ร กิ จ ผู้ ป ระกอบการจ าเป็ น ต้ อ งมี อ งค์ ค วามรู้ ด้ า นการ บริหารธุรกิจด้วย อาทิ การบริหารจัดการองค์กร การบริหารเงินทุน การทาการตลาดและการ ส่งเสริมการขาย เป็นต้น 5. คุณภาพและมาตรฐาน ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกเป็นการผลิตบรรจุภัณฑ์เพื่อการบรรจุอาหาร ดังนั้น ผู้ประกอบการต้องให้ความสาคัญต่อการเลือกใช้วั ตถุดิบที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย ต่อ ผู้บริโภคและไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นไปตามกฎ ระเบียบและข้อบังคับจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-102


ข้

 อท้าทายในการทาธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 6. คู่แข่งขันรายใหญ่

1. ต้นทุนการผลิต

5. การลงทุนในเทคโนโลยี 4. มาตรฐานและความปลอดภัย

2. ลูกค้ายังไม่ให้ความสาคัญ 3. การขาดแคลนแรงงาน

ข้อท้าทายหรือข้อจากัดที่นาไปสู่ความล้มเหลวในการทาธุ รกิจนับเป็นความเสี่ยงที่หลายธุรกิจต้องเผชิญ และ เป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการดาเนินธุรกิจ ซึ่ง ข้อจากัดดังกล่าวจะส่งผลต่อความยั่งยืนทางธุรกิจ ทั้งด้าน รายได้ ภาพลักษณ์และกระบวนการดาเนินงาน ดังนั้น การเรียนรู้ข้อท้าทายหรือข้อจากัดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในระหว่างการดาเนินธุรกิจ จะช่วยลดความเสี่ยง และอาจแนวทางในการเตรียมตัวพร้อมรับ ความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ซึ่ง ข้อท้าทายในการทาธุรกิจ บรรจุภัณฑ์รักษ์โลกประกอบไปด้วย 1. ต้นทุนการผลิต วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกเป็นวัตถุดิบที่มีต้นทุนสูง 2. ลูกค้ายังไม่ให้ความสาคัญ เป็นที่ทราบกันดีกว่าบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกเป็นสินค้าที่มีต้นทุนสูงกว่า บรรจุ ภัณฑ์ทั่ว ไปที่มีจาหน่ายอยู่ในท้องตลาด ดังนั้น กลุ่ มลูกค้า ที่เป็นผู้ ประกอบการในธุรกิจ อาหารส่วนใหญ่ จึงไม่เห็นถึงความสาคัญของการใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ถึงแม้จะเข้ าใจว่าเป็น บรรจุ ภัณฑ์ที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม แต่เมื่อพบว่าการหันมาใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลกจะส่งผลต่อ ต้นทุนสินค้าที่เพิ่มสูงขึ้น ก็จะทาให้กลุ่มลูกค้าเป้าหมายปฏิเสธการใช้บรรจุภัณฑ์ดังกล่าว

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-103


3. การขาดแคลนแรงงาน การผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกในบางธุรกิจและบางประเภท ยังจาเป็ นต้อง พึ่งพาแรงงานจากคนเป็นหลัก เช่น การพับ การประดับหรือตกแต่งบรรจุภัณฑ์ ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่ เมื่อมีการผลิตเป็นจานวนมากมักประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต 4. มาตรฐานและความปลอดภัย การควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบที่ นามาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์รักษ์ โลกเป็นปัจจัยที่สาคัญที่ผู้ประกอบการต้องให้ความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ทั้งในด้านความปลอดภัย ของวัตถุดิบ ที่จ ะน ามาใช้ผ ลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ส าหรับการบรรจุอาหารเพื่อการบริโ ภค ซึ่งต้อง เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยในการบรรจุอาหาร รวมทั้งการเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ เหมาะกับตัวสินค้าอาหารทั้งในด้านความคงทน สามารถรักษาสภาพสินค้าอาหารไม่ให้ชารุด เสียหายก่อนถึงมือผู้บริโภค 5. การลงทุนในเทคโนโลยี การผลิตบรรจุภัณฑ์บางประเภทจาเป็นต้องพึ่งพาเทคโนโลยีเพื่อการผลิต ซึ่งส่งผลต่อเงินลงทุนในการประกอบกิจการ ดังนั้น การลงทุนในเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมอาจ ส่งผลต่องบประมาณในการลงทุนที่ไม่สอดคล้ องกับผลตอบแทนที่จะได้รับจากการผลิตบรรจุ ภัณฑ์ 6. คู่แ ข่ ง ขัน รายใหญ่ ปั ญหาส่ ว นใหญ่ ที่เ กิ ด ขึ้ นในธุ รกิ จ สร้ างสรรค์ คื อ การลอกเลี ย นแบบตั ว ผลิ ตภัณฑ์ (บรรจุภัณฑ์) จากคู่แข่งขัน ซึ่งการลอกเลี ยนแบบหรือการทาซ้าอาจส่ งผลต่อการ แข่ ง ขั น ทางด้ า นราคา โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง หากคู่ แ ข่ ง ขั น มี ศั ก ยภาพในการผลิ ต ที่ ม ากกว่ า ผู้ประกอบการอาจจะได้รับผลกระทบจากการแข่งขันทางด้านราคาที่ต่ากว่าและช่วงชิงลูกค้าไปใน ที่สุด

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-104


กรณีศึกษา ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกต้นแบบ

ยอด คอร์ปอเรชั่น นักสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ด้วยงานกราฟิก ที่ช่วยให้สินค้าหลายตัวกลับมา โดดเด่นในตลาดได้

"คิดให้มากกว่าโจทย์" คุณฉัตรชัย มีแนวความคิดที่จะขยายฐานกาลังที่เป็นกลุ่มฟรีแลนซ์ให้มาก ขึ้น เพื่อให้ สามารถรั บงานใหญ่ๆ ได้เพิ่มขึ้น โดยมุ่งพัฒ นา “ดีไซเนอร์ เฉพาะทาง” ภายใต้เครือข่ายที่มีอยู่ เดิม รวมถึงการขยายโอกาสไปใน ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-105


ตลาดต่างประเทศ โดยเริ่มจากกลุ่มอาเซียน ที่งานด้านครีเอทีฟของไทยยังคงเป็นพี่ใหญ่ในภูมิภาคนี้ ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  การบริการที่มีคุณภาพ  ความคิดสร้างสรรค์  การกาหนดราคาที่เหมาะสม  การทางานเชิงลึก เข้าถึงข้อมูลลูกค้า  ให้ความสาคัญกับงานทุกชิ้น  คิดต่อยอดธุรกิจจากช่องว่างที่มีอยู่ ด้วยบริการครบ วงจร  สร้างดีไซเนอร์เฉพาะทาง รองรับการเติบโตของ ธุรกิจ คุณฉัตรชัย ระเบียบธรรม เจ้าของบริษัท ยอด คอร์ปอเรชั่น จากัด (Yod Corporation) เปิดตัวทาธุรกิจรับออกแบบครบ วงจร รวมถึงการออกแบบบรรจุภัณฑ์รั กษ์โลกในนาม บริษัท ยอด คอร์ปอเรชั่น จากัด (Yod Corporation) ขึ้นเมื่อปี 2554

ภาพปรกอบจาก: http://www.bangkokbiznews.com/

คิดแบบ “ยอดคอร์ ป ” ในการทาบรรจุ ภัณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลกให้ กั บ ส้ ม โอขาวแตงกวา “Thai pomelo of Chainat province” จาก คาถามที่ว่า “ส้มโอเราไม่มีทางแยกแยะออก เลยว่ า มาจากที่ ไ หน ฉะนั้ น เราเลยต้ อ งสร้ า ง คาแรคเตอร์ขึ้นมา ก่อนหน้านี้จะเห็นใครก็จับ ใส่กล่อง แต่เคยรู้มั้ยว่าค่ากล่องมันตั้ง 30 บาท ส้มโอแข่งกันจะตายอยู่แล้ว ค่ากล่องยังจะแพง กว่าส้มโออีก ดังนั้นจึงได้ไปคุยกับชาวบ้านจน ได้รู้ว่าเขามีทักษะเรื่องการสานผักตบชวาที่ดี มาก ก็กลับมาคิดออกแบบให้เป็นบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ชาวบ้านเป็นคนทาเอง ใช้วัสดุที่หาได้ใน บ้านเขา ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้”

ยอด คอร์ปอเรชั่น ดาเนินธุรกิจด้วยจุดขายสาคัญในการสร้าง ฐานลูกค้าคือ การบริการที่มีคุณภาพ ทุ่มเทกับทุกโปรเจคที่ทา และในราคาที่ไม่แพง จนทาให้ลูกค้าเกิดความประทับใจแล้ว บอกต่ อ กั น ไป กระทั่ ง ได้ มี ก ารขยายบริ ก ารอย่ า งครบวงจร เรียกว่าไม่ใช่แค่งานออกแบบ แต่รวมไปถึงการจัดอบรมสัมมนา ด้านการออกแบบให้กับหน่วยงานรัฐและเอกชน รวมถึงบริการ รับ สร้ างธุร กิจ ให้ นั กลงทุน ตั้งแต่ต้น จนจบแบบครบวงจร ซึ่ง ลูกค้าในบริการนี้เพียงแค่ มีฝัน มีเงิน ก็มาใช้บริการได้ ผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกที่สร้างชื่อเสียงให้กับ ผักตบไม่ ไ ด้เ ป็นเพียงวัส ดุ ธรรมชาติ แต่ นี่คือ ยอด คอร์ปอเรชั่น ก็คือ บรรจุภัณฑ์รักษ์โลกสาหรับส้มโอขาว มลภาวะของโลก การน าผั ก ตบขึ้ น มาใช้ ก็ แตงกวา จ.ชัยนาท “Thai pomelo of Chainat province” เท่ากับช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นด้วย..นี่ บนแนวคิด เป็นความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบแพ็กเกจจิ้ง เป็นการคิดแบบ 360 องศา คิดแบบ “ยอด” แก้โจทย์ให้สุดๆ จนนามาสู่รางวัล “สุดยอด” สาหรับพืชผลทางการเกษตรจากวัชพืชที่ไม่มีใครต้อ งการ โดย ในวันนี้ ได้ รั บ แรงบั น ดาลใจจากปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่ หัว น ามาประยุกต์รวมเข้ากับภูมิ ปัญญาชาวบ้าน จนได้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งยังช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-106


สินค้าอีกด้วย ได้รับรางวัลที่ 3 - Eco & Sustainable Thai Pomelo Package ในงาน The Dieline Package Design 2012 โดย The Dieline เป็นชื่อเว็บไซต์จัดการประกวดการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ได้รับการ ยอมรับทั่วโลก ในปี 2012 นั้นได้จัดขึ้นภายใต้แนวความคิดที่ว่า Creativity, Marketability และ Innovation โดยแบ่งประเภทของรางวัลออกเป็น 12 ประเภท ประกอบด้วย บรรจุภัณฑ์อาหาร, เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์, เครื่องดื่มแอลกอฮอล์, เบียร์-ค็อกเทล-ยาสูบ, ไวน์-แชมเปญ, ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดร่างกาย, สินค้าตกแต่ง บ้านและสัตว์, ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้สานักงาน, คอมพิวเตอร์-เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ และบรรจุภัณฑ์ที่สร้างสรรค์ จากนักเรียน นักศึกษา โดยมีผู้สนใจส่งผลงานเข้าร่วมการประกวดจากทั่วโลก บรรจุภัณฑ์จากผักตบชวานี้ ได้รับการตอบรับอย่างเกินความคาดหมาย สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับส้มโอได้อย่าง น่ามหัศจรรย์ ทั้งยังได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากกรมส่งเสริมการส่ง ออกนาไปแสดง ทั้งงานใหญ่ในประเทศ อย่าง Thai Fex 2011 และงานระดับนานาชาติ Food Expo 2011 ที่ฮ่องกง มีผลทาให้ส้มโอขาวแตงกวาของ ไทย มียอดสั่งซื้อเป็นจานวนมาก ขณะเดียวกันชื่อเสียงทางด้านหัตถกรรมของไทยก็ได้รับความสนใจอย่างสูง เช่นกัน ตัวอย่างบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก บรรจุภัณฑ์ของฝากมะขามหวานเพชรบูรณ์ หัวใจสาคัญของการออกแบบบรรจุภัณฑ์โครงการนี้ 1.ต้องการยกระดับ และ เพิ่มมูลค่าสินค้างทางการเกษตร 2.สร้างเอกลักษณ์ที่โดดเด่นแก่ผลิตภัณฑ์ GI โดยรวมของชุ มชน เพื่อ สร้า งกระบวนการจดจาแก่ผู้ ซื้อ และต้ องสามารถ กระจายใช้ต่อภายใต้เกษตรกรไร่ต่างๆได้ 3.ใช้งบการผลิตอย่างเหมาะสมกับ ความเป็นจริง 4.เข้าใจความต้องการที่แท้จริงของโจทย์(ความต้องการการ ปกป้องของสินค้าเกษตร ที่ไม่เหมือนสินค้าทั่วไป) 5.พึ่งพาตนเอง หรือกลุ่ม ชุมชนให้ได้มากที่สุด โดยพึ่งพาระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรมให้น้อยที่สุด ชุดเพาะปลูกสาเร็จรูป ชุดเพาะปลูกสาร็จรูปสาหรับผุ้ที่รักสุขภาพที่ต้องการดูแลตนเองเลือกคัดสรร สิ่งดีๆ ให้แก่ร่างกาย โดยนาข้อมูลวิธีการปลูกรวมถึงวัตถุดิบนามากลั่นกรอง คัดสรรให้การปลูกพืชผักที่ดูเหมือนจะยุ่งยากออกมาดูเรียบง่ายและสะดวกต่อ ความเข้าใจ ลบภาพเดิมๆ ของการปลูกผักที่ดูแสนยุ่งยากและเลอะเทอะออก ไป ให้มีความร่วมสมัยดูน่าสนใจ เหมาะแก่การซื้อเพาะปลูกเองหรือเป็นของ ฝากได้อย่างลงตัว

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-107


คุณฉัตรชัย กล่าวว่า “ปัจจุบันผู้ประกอบการตื่นตัวขึ้นว่าเรื่องของ การออกแบบสามารถช่วยเขาได้ แต่ปัญหาก็คือเรื่องงบประมาณ และการลงทุ น โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายเล็กๆ รวมถึงควรมี มุมมองที่เปิดกว้าง ศึกษาคู่แข่งเพื่อเข้าใจธุรกิจและยอมรับพร้อมที่ จะปรับตัวให้เท่าทัน”

ที่มา: http://www.bangkokbiznews.com/

เข้าถึงข้อมูลได้ที่ บริษัท ยอด คอร์ปอเรชั่น จากัด Website : www.yodcorporation.com

ส่วนที่ 2 - ธุรกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-108


5

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

นักออกแบบอาหาร หมายถึง บุคคลที่ทาหน้าที่ออกแบบและตกแต่งอาหาร และจัดวางองค์ประกอบของ อาหารให้ดูน่ารับประทานมากที่สุด นักออกแบบอาหารเป็นอาชีพที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ตั้งแต่กระบวนการคัด สรรวัตถุดิบ เพื่อนามาใช้กับอาหารที่คิดค้นขึ้น รสชาติและหน้าตาของอาหาร วิธีการบริโภค ตลอดจนถึงการ จัดวางองค์ประกอบของอาหารในจานให้ออกมามีหน้าตาสวยงามน่ารับประทาน ซึ่งต้องอาศัยมุมมองทางด้าน ศิลปะพร้อมกับความรู้เรื่องอาหาร

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-109


การออกแบบตกแต่งอาหารเป็นส่วนร่วมของงานศิลปะและอาหาร เพื่อกิจการเชิงพาณิชย์ต่างๆ หรือสรุปได้ว่า การออกแบบตกแต่งอาหาร1 คือ การสร้างสรรค์และพัฒนารูปแบบของอาหารต่างๆ รวมถึงอุปกรณ์ประกอบ ภาชนะและการจั ดวาง เพื่ อการถ่ ายภาพเชิ งพาณิช ย์ การถ่า ยท าวีดี ทัศ น์ การจัด งานเลี้ ยง เป็นต้ น งาน ออกแบบตกแต่งอาหารสามารถแบ่งตามลั กษณะของงานที่ปรากฏในธุรกิจอาหารได้ 4 ประเภท คือ การ ออกแบบตกแต่งอาหารสาหรับการบริหาร การออกแบบตกแต่งอาหารสาหรับการถ่ายภาพ การออกแบบ ตกแต่ ง อาหารส าหรั บ โฆษณาและแฟชั่ น และการออกแบบตกแต่ ง อาหารส าหรั บ อุ ต สาหกรรมอาหาร นอกจากนี้ การออกแบบตกแต่งอาหารยังเป็นกิจกรรมที่มีความครอบคลุมระหว่างศิลปะการออกแบบและ อาหาร ประกอบไปด้วยขอบข่ายขอบข่ายงาน2 ดังนี้ 1. งานจัดเตรียมวัตถุดิบ วัสดุและอุปกรณ์ทาอาหาร โดยนักออกแบบต้องให้ความสาคัญกับวัตถุดิบ และวัสดุต่างๆ ที่มีสีสั น รูปทรงและรสชาติที่จะมาประกอบเป็นอาหาร รวมถึงการปรับเปลี่ยน รูปร่าง รูปทรงและสีสันเดิมของวัตถุดิบให้เกิดความแปลกใหม่น่าสนใจก่อนนาไปปรุง นอกจากนี้ ยังต้องคานึงถึงภาชนะต่างๆ ที่จะใช้ 2. การประกอบและตกแต่งอาหาร เป็นขั้นตอนหรือขอบข่ายในการประกอบอาหารรับประทานหรือ งานเลี้ยง ซึ่งจะมีความแตกต่างจากการประกอบอาหารเพื่อการถ่ายภาพ เพราะมีองค์ประกอบ ทางศิล ปะและรสชาติที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่นักออกแบบตกแต่งอาหารจะต้อง คานึงถึงองค์ประกอบต่างๆ และอาหารที่จะนาไปใช้ในกิจการต่างๆ 3. การถ่ายภาพนิ่ง ภาพยนตร์หรือ วีดีทัศน์อาหาร เป็นส่วนสาคัญที่นักออกแบบจะต้องมีทักษะการ เล็งเห็นภาพที่จะปรากฏในภาพถ่ายหรือวิดีทัศน์ที่จะเกิดขึ้น รูปที่มีสีสัน ควันสาหรับอาหารร้อน ไอหรือหยดน้าสาหรับอาหารเย็น 4. การน าอาหารหรื อภาพต่างๆ เหล่ านั้นไปออกแบบเป็นสิ่ งต่างๆ งานออกแบบตกแต่งอาหาร จะต้องมีการนาอาหารไปใช้บริการในงานต่างๆ เช่น งานจัดเลี้ยงงานนิทรรศการหรืองานเปิดตัว สินค้าต่างๆ นอกจากนี้ต้องนาภาพไปใช้ในการออกแบบงานต่างๆ เช่น เมนูอาหาร การตกแต่ง ร้าน จัดทาเว็บไซด์และบรรจุภัณฑ์อาหารต่างๆ

1

การพัฒนาหลักสูตรการออกแบบตกแต่งอาหารเชิงสร้างสรรค์สาหรับบุคลากรธุรกิจอาหาร, มหาวิทยาลัยศิลปากร (วิทยานิพนธ์). ประวิตร เปรืองอักษร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฟู้ดสไตลลิสท์ จากัด (2554) อ้างถึง วิทยานิพนธ์การพัฒนาหลักสูตรการออกแบบตกแต่ง อาหารเชิงสร้างสรรค์สาหรับบุคลากรธุรกิจอาหาร, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-110


คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ

ผู้ประกอบธุรกิจหรือนักออกแบบอาหารควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ทักษะและองค์ความรู้ด้านอาหาร มีความรู้ขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบอาหาร อาทิ คุ ณ สมบั ติ ข องวั ต ถุ ดิ บ ที่ จ ะน ามาผลิ ต เป็ น อาหาร ส่ ว นผสมและ เครื่ อ งปรุ ง ต่ า งๆ ที่ ส ามารถบริ โ ภคร่ ว มกั น ได้ คุ ณ ค่ า ทางอาหารและโภชนาการของอาหาร วัฒนธรรมการบริโภคอาหารประเภทต่างๆ ความสามารถในการเลือกใช้ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประเภทต่างๆ มาบรรจุอาหารได้อย่างเหมาะสมกับประเภท ชนิดและขนาดของอาหาร เป็นต้น 2. ความคิดสร้างสรรค์ มีไอเดียและความคิดริเริ่มสู่การสร้างผลิตภาพใหม่ๆ ให้กับสินค้าอาหาร ได้ อย่างสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการออกแบบอาหาร เช่น การออกแบบอาหารเพื่อบริโภค การออกแบบอาหารเพื่ อ ถ่า ยภาพหรื อ การออกแบบเพื่ อ จั ดแสดงอาหาร เป็ น ต้น เนื่อ งจาก กระบวนการออกแบบอาหารในแต่ ล ะวั ต ถุ ป ระสงค์ ล้ ว นมี ค วามแตกต่ า งกั น ในการน าเสนอ ความคิดสร้างสรรค์ อาทิ อาหารสวยงามและรสชาติอร่อย (เพื่อบริโภค) หรืออาหารสวยงามดูมี ชีวิตชีวา (เพื่อการถ่ายภาพ) เป็นต้น 3. เข้ า ใจอั ต ลั ก ษณ์ ข องอาหาร การออกแบบและตกแต่ ง อาหารจะมี ค วามสวยงามและน่ า รั บ ประทานเพีย งใด “รสชาติ ของอาหาร” ยั งคงเป็ นสิ่ งที่ส าคัญที่สุ ด ที่ผู้ ประกอบการไม่ควร มองข้าม เช่น อาหารไทย แม้จะมีการออกแบบและตกแต่งภาพลักษณ์ให้ ดูน่ารับประทาน แต่ รากฐานและรสชาติของอาหาร ยังต้องคงความเป็นตัวตนของอาหารไทยคงเดิม 4. เข้าใจตลาดและลูกค้า เข้าใจวัตถุประสงค์และความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และตลาด เป้าหมายของกลุ่มลูกค้าได้อ ย่างชัดเจน

 ารเริ่มต้นธุรกิจ ปั จ จุ บั น พฤติก รรมการบริ โ ภคของผู้ บ ริ โ ภคเปลี่ ย นแปลงไป ภาพลั ก ษณ์และหน้า ของอาหารถือได้ ว่า เป็ น ตัวกระตุ้นให้เกิดความต้องการในการบริโภคอาหาร ในขณะเดียวกันผู้ประกอบการในธุรกิจอาหารขนาดใหญ่ และขนาดกลางต่ า งให้ ค วามส าคั ญ ต่ อ การออกแบบหน้ า ตา ภาพลั ก ษณ์ แ ล ะรสชาติ ข องอาหารทั้ ง ใน กระบวนการผลิ ต เพื่ อ จ าหน่ า ยและการโฆษณาเพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ สิ น ค้ า อาหารของตนเอง ดั ง นั้ น ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่สนใจจะเข้าสู่ธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบอาหาร ควรมีความเข้าใจและศึกษาถึงปัจจัย ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-111


ในการเริ่มต้นทาธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบอาหาร โดยอาศัย Business Model Canvas ซึ่งประกอบไปด้วย สภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่สาคัญ 9 ด้าน ดังนี้ 1. กาหนดกลุ่มลูกค้า (Customer Segments) กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของนักออกแบบอาหาร คือ ผู้ประกอบการอยู่ในธุรกิจอาหาร โดยส่วนใหญ่ จะเป็นกลุ่มผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีการแข่งขันในธุรกิจอาหารค่อนข้างสูง โดยกลุ่มลูกค้าอาจแบ่งได้จาก รูปแบบความต้องการรับบริการออกแบบอาหาร 3 เช่น การออกแบบอาหาร ตกแต่งอาหารสาหรั บการบริโ ภค การออกแบบตกแต่งอาหารส าหรับการถ่ายภาพ การออกแบบตกแต่ง สาหรับโฆษณาและแฟชั่น และการออกแบบตกแต่งอาหารสาหรับอุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น 2. คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions) คุ ณ ค่ า ที่ น าเสนอจากนั ก ออกแบบอาหาร ประกอบไปด้วย  อ า ห า ร ที่ มี ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ส ว ย ง า ม น่ า รั บ ประทาน ถูกสุ ขลั กษณะ รสชาติอร่อ ย และคงความเป็นตัวตนของอาหารชนิดนั้นๆ  การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ อาหารในเชิ ง พาณิชย์ (Commercial Art)  รู ป ภาพอาหารมี ค วามสวยงามและน่ า รับประทาน จากการออกแบบอาหารเพื่อ การถ่ายภาพ  การให้คาปรึกษาด้านการออกแบบอาหาร

บริษัท ขาบสไตล์ จากัด บริษัท ขาบสไตล์ จากัด ผู้สร้างคอนเซ็ปต์งานใน รูปแบบที่นาเรื่องของสไตล์มาผสมผสานระหว่าง อาหารกับงานศิลปะได้อย่างลงตัว คลุกคลีอยู่ใน วงการอาหาร มีผลงานออกเผยแพร่สู่สาธารณะ มาเป็ น ระยะเวลายาวนาน ได้ เ ปิ ด ธุ ร กิ จ เพื่ อ รองรับงานออกแบบ สร้างภาพลักษณ์อาหารสู่ สากลอย่างครบวงจรแบบมืออาชีพ ภายใต้ชื่อ KARB STUDIO ( Kitchen&Food Concept ) (ที่มา: www.karbstyle.com)

3. ระบุช่องทาง (Channels) ช่องทางการสื่อสารและการนาเสนอรูปแบบการบริการของนักออกแบบอาหาร โดยส่วนใหญ่ใช้ ช่องทางการสื่อสารผ่านการนาเสนอผลงานการออกแบบและตกแต่ง อาหารในรูปแบบต่างๆ เช่น การแสดง ภาพถ่ายหรือการนาเสนอวีดีโอบันทึกภาพหรือยูทูป (You Tube) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประเภทต่างๆ เช่น การจัดทาเว็บไซด์ส่วนตัว (Website) บล็อกเกอร์ (Blogger) ส่วนตัว การสร้างเพจหรือแฟนเพจ (Fan Page) รวมถึงการสร้างเฟสบุ๊ คเป็ นของตัวเอง เพื่อนาเสนอผลงานของตนเองให้ เป็นที่รู้จักของกลุ่มลู กค้า เป้าหมายและบุคคลทั่วไป 3

ปรับปรุงจากการพัฒนาหลักสูตรการออกแบบตกแต่งอาหารเชิงสร้างสรรค์สาหรับบุคลากรธุรกิจอาหาร ผู้เขียนนายปฤณัต นัจนฤตย์, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-112


สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) กระบวนการให้บริการลูกค้าตลอดกระบวนการ อาทิ  การให้คาปรึกษาทั้งก่อนและหลังการออกแบบอาหาร  การให้บริการออกแบบ จัดและตกแต่งอาหาร  การส่งมอบชิ้นงานการออกแบบอาหาร อาทิ ตัวอาหาร รูปภาพ หรือวีดีโอ เป็นต้น 4. รายได้ (Revenue Streams) รายได้ส่วนใหญ่ของธุรกิจออกแบบอาหารประกอบไปด้วย  การให้คาปรึกษาและแนะนาด้านภาพลักษณ์อาหาร  การออกแบบอาหาร ตามวัตถุประสงค์ของลูกค้า ทั้งในรูปแบบของชิ้นงานที่เป็นภาพนิ่งและ และภาพเคลื่อนไหวประเภทต่างๆ เช่น วีดีโอคลิป หรือเทปบันทึกภาพ เป็นต้น  การให้ บ ริ ก ารแสดงการออกแบบอาหาร (โชว์ อ อกแบบอาหาร) ซึ่ ง เป็ น กิ จ กรรมที่ ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหารเริ่มให้ความสาคัญกับการประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์อาหารโดย อาศัยชื่อเสียงของนักออกแบบอาหาร ผ่านกิจกรรมการออกแบบและจัดอาหารในรูปแบบ การแสดง ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวถือเป็นการมูลค่าเพิ่มให้ กับสินค้าอาหารในอีกรูปแบบหนึ่ง เช่นกัน 5. ทรัพยากรหลัก (Key Resources) ทรัพยากรหลักของธุรกิจออกแบบอาหารต้องให้ ความสาคัญ ประกอบไปด้วย  นักออกแบบอาหาร ที่มีทักษะและความรู้ ความสามารถในการออกแบบอาหาร  อุปกรณ์และเครื่องมือ (อุปกรณ์ทาครัว) ที่ ใช้สาหรับการตกแต่งและจัดอาหาร

FOOD PACKSHOT บริการถ่ายภาพอาหาร ถ่ายรูปอาหาร ช่างภาพ อาหาร ขนม เบเกอรี่ เพื่ อ ใช้ ท าเมนู อ าหาร ถ่า ยรู ป อาหาร เครื่ อ งดื่ ม ตกแต่ งร้ าน บริ ก าร ถ่ า ยภาพ โปรโมทสิ น ค้ า หรื อ ลงโฆษณาใน นิตยสาร, เว็บไซต์

(ที่มา: ww.facebook.com/FoodPackshot) 6. กิจกรรมหลัก (Key Activities) การสร้างอัตลักษณ์ในการออกแบบอาหารให้กับตนเอง เพื่อนาไปสู่การสร้างภาพลักษณ์ให้กับ อาหารผ่านการออกแบบอาหารและส่งมอบคุณค่าให้กับลูกค้าตรงตามวัตถุประสงค์ และเป็นไปตามความ คาดหวังของลูกค้า เช่น การส่งมอบอาหารเมนูใหม่ ๆ จากการออกแบบอาหาร การเพิ่มองค์ประกอบหรือการ จัดวางอาหารในรูปแบบต่างๆ เป็นต้น รวมถึงการให้คาปรึกษาและข้อแนะนาต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อเจ้าของ สินค้าอาหาร

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-113


7. คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) คือ เครือข่ายพันธมิตรในธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับธุรกิจของผู้ประกอบการใน ธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบอาหาร  สถาบันสอนทาอาหาร/โรงเรียนสอน ทาอาหาร สถานะความเป็นคู่ค้า คือ เป็นผู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการออกแบบ อาหาร  สถานประกอบการต่ า งๆ อาทิ โรงแรม ภัตตาคาร ธุร กิจแฟรนไชส์ สถานะความ Food Photography Studio เป็ น คู่ ค้ า คื อ ให้ บ ริ ก ารออกแบบอาหาร สตูดิโอสาหรับงานถ่ายภาพอาหารทุกประเภท ประเภทต่างๆ โดยช่ า งภาพถ่ า ยอาหารมื อ อาชี พ Specialist  ธุ ร กิ จ สื่ อ สารมวลชน อาทิ ผู้ ผ ลิ ต สื่ อ Food Photographer ที่สามารถถ่ายทอด รายการอาหาร รายการอาหาร(โทรทัศน์) รายละเอียดของงานอาหาร สู่ภาพถ่ายได้อย่าง สถานะความเป็นคู่ค้า คือ ให้บริการแสดง ลงตัว (ที่มา: www.dcupfoodstudio.com) เทคนิ ค หรื อ รู ป แบบการออกแบบอาหาร หรื อ การถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ใ นการ ออกแบบอาหารผ่านธุรกิจสื่อสารมวลชน  ผู้ แ ทน บริ ษั ท จ าหน่ า ยวั ต ถุ ดิ บ อาหาร / สถานะความเป็ น คู่ ค้ า คื อ การจั ด หา วัตถุดิบที่น ามาใช้ในการออกแบบอาหาร (ผู้ ซื้ อ ) และการรั บ จ้ า งเป็ น พรี เ ซ็ น เตอร์ Chang Mai Food Stylist Photography บริการถ่ายภาพอาหารและเครื่องดื่ม ให้บริการ วัตถุดิบอาหาร (ผู้ให้บริการ) ณ สถานที่จริ ง รับพิ มพ์ภ าพอาหาร-เครื่อ งดื่ ม  ผู้ แ ทนบริ ษั ท จ าหน่ า ยวั ส ดุ แ ละอุ ป กรณ์ สาหรับเมนู-ตกแต่งร้าน ประกอบการทาอาหาร อาทิ อุปกรณ์ท า (ที่มา:www.facebook.com/chiangmai.foodstylist) ครั ว เช่ น มี ด ช้ อ นส้ อ ม เป็ น ต้ น รวมถึ ง อุปกรณ์และภาชนะบรรจุอาหาร เช่น จาน ชาม ถ้วย เป็นต้น  สตูดิโอหรือธุรกิจบริการถ่ายภาพ สถาน ความเป็นคู่ค้า คือ สาหรับการออกแบบ อาหารที่มีการส่งมอบให้แก่ลูกค้าใน Food Ads บริการถ่ายรูป จัดตกแต่งอาหาร เพื่องานโฆษณา นอกสถานที่และในสตูดโิ อ รูปแบบไฟล์ภาพประเภทต่างๆ

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-114


8. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) ธุรกิจนักออกแบบอาหารอิสระ จะมีงบประมาณในการลงทุนเริ่มแรกค่อนน้อยประมาณ 30,00050,000 บาท ในขณะที่ธุรกิจนักออกแบบอาหารที่จัดตั้งเป็นสานักงาน (ขนาดกลาง) จะมีงบประมาณเริ่มแรก ประมาณ 100,000–350,000 บาท ซึ่งโครงสร้างต้นทุนของธุรกิจจะขึ้นอยู่กับรูปแบบ ขอบเขตการให้บริการ และขนาดของธุรกิจ ต้นทุนหลักที่สาคัญในการเริ่มต้นประกอบธุรกิจประกอบไปด้วย  การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร เช่น ค่าอุปกรณ์และเครื่องมือในการทาครัว อุปกรณ์สานักงาน และการวางระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เป็นต้น  การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน - ต้นทุนคงที่ (ต่อเดือน) เช่น ค่าเช่าสถานที่/สานักงาน ค่าจ้างพนักงานประจา - ต้นทุนผันแปร ได้แก่ ค่าวัตถุดิบอาหาร วัสดุสิ้นเปลือง ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าจ้างแรงงาน รายวัน/จ้างบริการเหมา เช่น ช่างภาพ เป็นต้น ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายต่างๆ จะมีความยืดหยุ่นขึ้นอยู่กับรูปแบบและขอบเขตการให้บริการ ตัวอย่างโครงสร้างการลงทุน ธุรกิจนักออกแบบอาหาร (แบบมีสานักงาน)

ต้นทุนคงที่

ต้นทุนผันแปร

หมายเหตุ: องค์ประกอบจะเปลี่ยนไปตามบริบทของการให้บริการและขนาดของกิจการ ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-115


กรณีที่ผู้ประกอบการในธุรกิจออกแบบอาหาร มีรูปแบบการให้บริการที่หลากหลายหรือมี การดาเนินธุรกิจใน รูปแบบบริษัทจากัด ผู้ประกอบการต้องให้ความสาคัญกับการวิเคราะห์ การลงทุนและจุดคุ้มทุน (Break-evenPoint) ของธุรกิจ จุดคุ้มทุน หมายถึง จุดหรือระดับของรายได้จากการให้บริการที่เท่ากับต้นทุนที่ธุรกิจได้จ่าย ออกไป หรือจุดหรือระดับของรายได้ที่ธุรกิจ “เท่าทุน” โดยส่วนที่เลยจุดหรือระดับของรายได้ดังกล่าวคือผล กาไรที่ธุรกิจจะได้ ผู้ประกอบการจะรู้จุดคุ้มทุนเมื่อรู่ว่าต้นทุนคงที่และผันแปรของกิจการเป็นเท่าไหร่ การ คานวนจุดคุ้มทุนทาได้โดย (1) จุดคุ้มทุน (หน่วยขายที่คุ้มทุน) = ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย หรือ (2) จุดคุ้มทุน (ยอดขายที่คุ้มทุน) = หน่วยขายที่คุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย ซึ่งโดยเฉลี่ยธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบอาหารจะมีรายได้จากการบริการจ้างเหมา คือ จ้างออกแบบสินค้า อาหาร โดยนักออกแบบทั่วไปจะมีรายได้เฉลี่ย 8,000-15,000 บาท/งาน/วัน4 ทั้งนี้ รายได้ขึ้นอยู่กับองค์ความรู้ ประสบการณ์และชื่อเสียงของนักออกแบบ

องค์ประกอบในการลงทุนเริ่มต้น องค์ประกอบ การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ค่าอุปกรณ์และเครื่องมือ

4

ประมาณการลงทุน 20,000-50,000 บาท

ค่าวางระบบสาธารณูปโภค

10,000-20,000 บาท

ค่าอุปกรณ์สานักงาน

20,000-50,000 บาท

การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ค่าจ้างพนักงานประจา

15,000 บาท/เดือน

ค่าเช่าสานักงาน

15,000-30,000 บาท/เดือน

ค่าวัสดุสิ้นเปลือง/วัตถุดิบ

10,000-20,000 บาท/เดือน

หมายเหตุ ค่ า อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ ในออกแบบและ ทาอาหาร เช่น ชุดมีด ภาชนะใส่อาหาร เป็น ต้ น ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ ขนาดของกิ จ การและ รูปแบบการให้บริการ เช่ น จ านวนจุ ด ของปลั๊ ก ไฟ เครื่ อ งดู ด ควั น ก๊อกประปา ฯลฯ ขึ้ น อยู่ กั บ ขนาดของกิ จ การ ซึ่ ง อุ ป กรณ์ สานักงาน เช่น คอมพิวเตอร์ โต๊ะสานักงาน ชุดรับแขก เครื่องปริ๊นเอกสาร โทรศัพท์ เป็น ต้น ประมาณการจากอั ต ราการแรงขั้ น ต่ า วุ ฒิ ปริญญาตรี จานวน 1 คน ประมาณการจากพื้น ที่ 50 ตรม. (โฮมออฟ ฟิต) ขึ้นอยู่กับรูปแบบและขอบเขตการให้บริการ

จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการและข้อมูลจากธุรกิจให้บริการออกแบบและถ่ายภาพ dcupfoodstudio.

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-116


องค์ประกอบ ประมาณการลงทุน หมายเหตุ ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้าค่าไฟฟ้า 5,000-8,000 บาท/เดือน ขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการ และค่าโทรศัพท์) ค่าเหมาบริการอื่นๆ เช่น การ 10,000-25,000 บาท/งาน/วัน ขึ้นอยูจ่ านวนการว่าจ้างของผู้ว่าจ้าง ถ่ายภาพ การจัดทาวีดีโอ ฯลฯ ค่าเช่าสตูดิโอถ่ายภาพ 4,000-6,000 บาท/วัน ขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่ใช้สอย ค่าห้องครัวสาเร็จรูปสาหรับถ่าย 15,000-18,000 บาท/วัน ขึ้นอยู่กับขนาดพื้นที่ จานวน/ชิ้นอุปกรณ์ ทารายการ (พร้อมอุปกรณ์) ประกอบการถ่ายภาพ หมายเหตุ: ประมาณจากผู้ประกอบการขนาดกลางแบบมีสานักงาน การเช่าสานักงานไม่ควรใช้สานักงานสาเร็จรูปเนื่องอาจมี ข้อจากัดด้านการประกอบอาหารหรือปรุงอาหาร เพื่อจัดวางและตกแต่งอาหาร แต่ในกรณีที่จาเป็นต้องใช้ห้องครัวในการ ประกอบอาหาร ควรใช้บริการเช่าสถานที่จะลดปัญหาเรื่องการลงทุนด้านสถานที่และอุปกรณ์

การลงทุนในธุรกิจออกแบบอาหาร หากเป็นการเริ่มต้นธุรกิจใหม่ ผู้ประกอบการควรหลีกเลี่ยงเรื่องการลงทุน ในสินทรัพย์ถาวรประเภทสถานที่ตั้งและที่ดิน เนื่องจากจะส่งผลต่อเงินลงทุนของผู้ประกอบการ ซึ่งการใช้ สานักงานเช่า (พร้อมอุปกรณ์สานักงาน) จะช่วยลดต้นทุนและเหมาะสมสาหรับผู้ประกอบการมือใหม่มากกว่า อย่ างไรก็ตาม การเลื อกใช้ส ถานที่แบบเช่า ผู้ ประกอบการจาเป็นต้องคานึงถึงการใช้ส อยที่ครอบคลุ มต่อ รูปแบบการให้บริการด้วย 1) สถานที่ตั้ง/สานักงาน ผู้ประกอบการหรือนัก การเลือกสถานที่ตั้ง ออกแบบอาหารอิสระอาจจะไม่จาเป็นต้องมี ธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบอาหารที่เริ่มเข้าสู่ สานักงานเป็นของตัวเอง แต่ในธุรกิจขนาด ธุรกิจ โดยใช้รูปแบบการเช่าสานักงานสาเร็จรูป กลางที่อยู่ในรูปแบบบริษัทอาจจาเป็นต้องมี ขนาด 50 ตรม. ส าหรั บจัด ตั้ งส านักงาน โดย สานักงาน ซึ่งผู้ ประกอบการสามารถเลื อก กิ จ กรรมการออกแบบอื่ น ๆ ที่ จ าเป็ น ต้ อ งใช้ สถานที่ตั้งโดยคานึงถึงขนาดของธุรกิจ และ สถานที่หรื ออุปกรณ์ต่ า งๆ จากแหล่งอื่น เช่ น Sangdad cooking Studio ที่ให้บริการเช่า กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งอัตราค่าใช้จ่ายขึ้นอยู่กับ สถานที่ ท าอาหารพร้ อ มอุ ป กรณ์ ต่ า งๆ หาก ขนาด ทาเลที่ตั้ง และเงื่อนไขการเช่าสถานที่ ผู้ประกอบการจาเป็นต้องใช้สถานที่ ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก -กลางอาจใช้ พื้ น ที่ ส าหรั บ ประกอบธุรกิจประมาณ 50-70 ตารางเมตร 2) อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ ผู้ ป ระกอบการ สามารถเลือกอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ได้ ตามคอนเซ็ปต์และกลุ่มเป้าหมายของธุรกิจ 5 อาทิ อุปกรณ์สาหรับทาครัว เช่น ชุดมีดทา ครัว ภาชนะบรรจุอาหาร ฯลฯ ซึ่งอุปกรณ์ 5

อุปกรณ์และเครื่องมือ ธุรกิจออกแบบอาหารขนาดเล็กหรือธุรกิจใหม่ จาเป็นต้องมีอุปกรณ์ขั้นพื้นฐานที่จาเป็นต้องใช้ สาหรับการออกแบบอาหาร เช่น ชุดมีดทาครัวที่ มีคุณภาพ ภาชนะบรรจุประเภทจาน ชาม ถ้วย ซุป แก้วไวน์ เป็นต้น เพื่อใช้สาหรับประกอบการ ออกแบบและตกแต่งอาหาร

อ้างอิงราคาจากห้างหุ้นส่วนจากัดสหตัง้ ง่วนเฮง.

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-117


เครื่องมือมีคุณภาพและราคาที่หลากหลาย 3) วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช้ ป ร ะ ก อ บ เ ป็ น อ า ห า ร ผู้ ป ระกอบการหรื อ นั ก ออกแบบอาหาร สามารถจัดหาวัตถุดิบ ให้เพียงพอต่อการใช้ งานเป็นรายครั้ง

วัสดุและวัตถุดิบ ธุรกิ จหรือ อาชี พนั กออกแบบอาหารอาจจะไม่ จาเป็นต้องลงทุนสต๊อกวัตถุดิบเหล่านี้ เนื่องจาก การให้บริการลู กค้าจะมีรูปแบบการให้บริการ จ้างเหมา และสามารถเลือกซื้อวัสดุและวัตถุดิบ ต่างๆ ตามรูปแบบที่ได้ออกแบบไว้

4) ค่าจ้างแรงงาน ค่าจ้างแรงงานเป็นส่วนหนึ่งในค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ซึ่งประกอบไปด้วย การจ้างแรงงาน 2 รูปแบบ คือ ลูกจ้างประจาและการจ้างบริการจ้างเหมา  พนักงานประจา - พนักงานประจาสานักงาน ที่ทาหน้าที่ประจาสานักงาน ติดต่อประสานงานกับลูกค้า ควรเป็นบุคลากรจ้างประจาเป็นรายเดือน เพื่อความต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน  พนักงานบริการจ้างเหมา - นักออกแบบอาหาร ผู้ประกอบการควรใช้รูปแบบการบริการจ้างเหมาเป็นรายครั้ง เพื่อลดต้นทุนในการดาเนินงาน - พนักงานถ่ายภาพ/ถ่ายทาวีดีโอ ผู้ประกอบการอาจเลือกใช้วิธีการจ้างเหมาะบริการ เป็นรายครั้ง เพื่อลดต้นทุนค่าจ้างแรงงาน เนื่องจากธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบ อาหารก็มีรูปแบบในการบริการจ้ างเหมาเช่นกัน ดังนั้น เพื่อความยืดหยุ่นในการ ดาเนินงาน จึงควรใช้วิธีการจ้างเหมาบริการ สาหรับผู้ประกอบการมือใหม่ เมื่อวางแผนธุรกิจเรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่เริ่มจากการหาลูกค้าจนมาถึงกระบวนการ โครงสร้างต้นทุน แล้วพบว่าต้นทุนสูงเกินศักยภาพที่มีอยู่ ก็ควรดาเนินการปรับขนาดธุรกิจให้เหมาะสมกับ ศักยภาพของตนเอง เช่น การปรับเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมาย ลดขนาดกิจการ หรือปรับเปลี่ยนสถานที่ เพื่อความ เหมาะสมของโครงสร้างต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-118


ตั

 วอย่าง ไอเดียเริม่ ต้นธุรกิจนักออกแบบอาหาร ธุรกิจนักออกแบบอาหารขนาดเล็ก (S) ธุรกิจนักออกแบบอาหารขนาดกลาง (M) เริ่มต้นจากการเป็นนักออกแบบอาหารอิสระ (Freelance) ธุรกิจขนาดกลางหรือมีหุ้นส่วน และมีสานักงานในการดาเนิน 1. เลือกใช้สถานที่ที่มีอยู่แล้ว เช่น บ้าน/ที่พักอาศัย โดย ธุรกิจ จัดเป็นห้องทางานเล็กๆ แบบเป็นสัดส่วน 1. เลือกเช่าสถานที่ โดยยึดความเหมาะสมของรูปแบบ 2. วัสดุและอุปกรณ์ ผู้ประกอบการสามารถเลือกใช้ได้ การให้บริการและขอบเขตการให้บริการ โดยระยะ ตามศักยภาพและความเหมาะสมของเงินทุน วัสดุและ เริ่มต้นธุรกิจขนาดกลางอาจใช้พื้นที่ประมาณ 50-70 เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการออกแบบตกแต่งอาหาร ตรม. สามารถเลือกใช้สิ่งที่มีอยู่แล้วและจัดหาเพิ่มเติมในสิ่ง 2. ตกแต่งสถานที่ เน้นการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยเพื่อการจัด ที่จาเป็น เน้นวัสดุและอุปกรณ์ทตี่ นเองถนัดและ วางและตกแต่งอาหาร โดยแบ่งพื้นที่เป็นสัดส่วน สะดวกต่อการใช้งาน 5. วัสดุและอุปกรณ์ ผู้ประกอบการสามารถเลือกใช้ได้ 3. แรงงาน ได้แก่ การจ้างเหมาบริการในกิจกรรมอื่นๆ ตามศักยภาพและความเหมาะสมของเงินทุน วัสดุและ เช่น การถ่ายภาพนิ่งและภาพเคลือ่ นไหว เป็นต้น เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการออกแบบตกแต่งอาหาร 4. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ควรเลือกใช้ สามารถเลือกใช้สิ่งที่มีอยู่แล้วและจัดหาเพิ่มเติมในสิ่ง ช่องทางสื่ออินเทอร์เน็ต ในระยะเริ่มต้นอาจทาใน ที่จาเป็น เน้นวัสดุและอุปกรณ์ทตี่ นเองถนัดและ รูปแบบของการนาเสนอผลงานผ่านบล็อกเกอร์ และ สะดวกต่อการใช้งาน สังคมออนไลน์ เพื่อสร้างความจดจาให้กับลูกค้า และ 3. แรงงาน ประกอบไปด้วย ยังเป็นการเผยแพร่ผลงานให้เป็นที่รู้จักได้ในวงกว้าง  พนักงานประจาสานักงาน 1 คน  พนักงานบริการจ้างเหมา อาทิ ช่างภาพ ควรใช้ รูปแบบการจ้างเหมาบริการ เพื่อลดต้นทุนในการ จ้างงาน 4. การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ผู้ประกอบการ ควรเลือกใช้สื่ออินเทอร์เน็ต โดยการจัดทาเว็บไซด์ของ ธุรกิจ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ มีการนาเสนอ ประสบการณ์การออกแบบอาหาร รวมถึงการ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องจากเป็นสื่อ ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว และ สร้างการจดจาได้เป็นอย่างดี หมายเหตุ: แนวคิดและแนวทางในการเริม่ ต้นธุรกิจ สามารถปรับรูปแบบได้ตามศักยภาพด้านเงินทุนและขีดความสามารถใน การบริหารจัดการของผู้ประกอบการแต่ละท่าน

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-119


ตั

 วอย่าง การวิเคราะห์ธุรกิจนักออกแบบอาหาร ตามกรอบแนวคิดของ Business Model Canvas คู่ค้าหลักทางธุรกิจ (Key Partnerships) - สถาบันสอนทาอาหาร/โรงเรียน สอนทาอาหาร - สถานประกอบการต่างๆ - ธุรกิจสื่อสารมวลชน - ผู้แทนบริษัทจาหน่ายวัตถุดิบ อาหาร - ผู้แทนบริษัทจาหน่ายวัสดุและ อุปกรณ์การทาอาหาร - ผู้ให้บริการสตูดิโอถ่ายภาพ/ถ่ายทา วิดีโอ

กิจกรรมหลัก (Key Activities) - การสร้างอัตลักษณ์ในการออกแบบอาหาร - สร้างภาพลักษณ์ของอาหาร - เป็นที่ปรึกษาให้กบั ผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร

ทรัพยากรหลัก (Key Resources) - นักออกแบบอาหาร - อุปกรณ์และเครื่องมือ (อุปกรณ์ทาครัว) ในการ ออกแบบอาหาร

คุณค่าที่นาเสนอ (Value Propositions)

-

อาหารที่ มี ภ าพลั ก ษณ์ ส วยงาม น่ า รั บ ประทาน ถู ก สุ ข ลั ก ษณะ รสชาติ อร่ อ ย และคงความเป็ น ตั ว ตนของ อาหารนั้นๆ

-

การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอาหารในเชิง พาณิชย์ (Commercial Art)

-

รูปภาพอาหารที่สวยงามน่ารักประทาน จากการออกแบบอาหารเพื่ อ การ ถ่ายภาพ

-

การให้ ค าปรึ ก ษาด้ า นการออกแบบ อาหารที่เหมาะสมกับอาหารที่นาเสนอ

โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) - สินทรัพย์ถาวร ได้แก่ ค่าออกแบบตกแต่งสถานที่ ค่าวางระบบสาธารณูปโภค ค่าอุปกรณ์สานักงาน ค่าอุปกรณ์ เครื่องใช้/ทาครัว เป็นต้น - สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ (1) ต้นทุนคงที่ต่อเดือน เช่น เงินเดือนพนักงานประจา และค่าอินเทอร์เน็ต เป็นต้น และ (2) ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าวัสดุสิ้นเปลือง ค่าน้าค่าไฟ ค่าจ้างเหมาบริการและค่าเช่าสถานที่ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 – นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) - การให้คาปรึกษาทั้งก่อนและหลังการออกแบบ อาหาร - การให้บริการออกแบบ จัดและตกแต่งอาหาร - การส่งมอบชิ้นงานการอกแบบอาหาร อาทิ ตัว อาหาร รูปถ่ายและวีดีโอ เป็นต้น

กลุ่มลูกค้า (Customer Segments) - ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหาร - ผู้ประกอบการในธุรกิจนิตยสาร อาหาร - ผู้ผลิตรายการอาหาร

ช่องทาง (Channels) - การบอกต่อ - เว็บไซต์ - IG หรือ Facebook สื่อสังคมออนไลน์ (สถานประกอบการ/ธุรกิจพันธมิตร)

รายได้ (Revenue Streams) - การให้คาปรึกษาและแนะนาด้านภาพลักษณ์อาหาร - การออกแบบอาหาร - การให้บริการจัดแสดงการออกแบบอาหาร (โชว์ออกแบบอาหาร) - การให้บริการสอนออกแบบอาหาร

2-120


 ารสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า/บริการ การสร้ างมูล ค่าเพิ่มให้ กับ ธุร กิจ ออกแบบอาหาร มีวิธีการที่ สามารถทาได้อย่างหลากหลายจากรูปแบบที่แตกต่างกันไป ตามแนวคิดของผู้ประกอบการแต่ละยุคสมัย ในคู่มือฉบับนี้จะ ขอน าเสนอการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ธุรกิจออกแบบอาหาร ดังนี้  ผู้ป ระกอบการในธุร กิจหรื ออาชีพนักออกแบบ อาหาร ต้องสร้างอัตลักษณ์หรือความเป็นตัวตน ของนักออกแบบอาหารให้มีความเด่นชัด สร้าง ความจดจ าในเอกลั ก ษณ์ ที่ ถ่ า ยทอดผ่ า นการ ออกแบบอาหาร  การสร้ างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ อาหาร สวยงาม น่ารับประทาน และก่อให้เกิดมูลค่าเชิงพาณิชย์ ได้ (Commercial Art)

IceDea : Idea in Ice Cream ปรัชญาหลัก คือ การเอาไอเดียไปใส่ในไอศครีม เพื่อให้คนกินได้เซอร์ไพรส์และอมยิ้ม จากนัก ออกแบบไอศกรี ม สู่ ธุร กิ จ ร้า นไอศครี ม “ไอซ์ เ ดี ย ร้ า นไอศกรี ม แบบมี ดี ไ ซน์ ” เป็ น ไอศครีมเจ้าแรกและเจ้ าเดียวในเมืองไทยที่จับ ไอศครีมมาใส่ศิลปะ เพื่อเอาใจทั้งคนรักไอศกรีม และคนรักด้านครีเอทีฟอีกด้วย (ที่มา: http://www.facebook.com/icedea)

 ารขยายธุรกิจ...อีกระดับกับการพัฒนาธุรกิจ การขยายธุรกิจออกแบบอาหารสามารถพัฒนาหรือขยายตัวไปสู่ธุรกิจในอนาคตได้หลากหลายวิธี เช่น  การให้ บ ริ ก ารออกแบบอาหารแบบครบวงจร กล่ า วคื อ นอกจากการให้ ค าแนะน าและให้ คาปรึกษาด้านการสร้างภาพลักษณ์อาหารแล้ว ยังสามารถขยายตัวไปสู่ธุรกิจการให้บริการอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น การออกแบบเมนูอาหาร การออกแบบและจัดทาสิ่งพิมพ์อาหาร การออกแบบ และตกแต่งร้านอาหาร  การให้บ ริ การถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น บริการสอนออกแบบอาหาร บริการสอน ถ่ายภาพอาหาร เป็นต้น

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-121


ปั

 จจัยแห่งความสาเร็จในการทาธุรกิจนักออกแบบอาหาร

6. เป็นทีป่ รึกษาที่ดี

1. การสร้างอัตลักษณ์ ให้กับตนเอง

5. ออกแบบอาหารได้ ตามวัตถุประสงค์

4. เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค คนสุดท้าย

2. ความคิดสร้างสรรค์ ในการออกแบบอาหาร

3. รสชาติของอาหาร

ปัจจัยแห่งความสาเร็จในธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบอาหารประกอบด้วย 6 ปัจจัยหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. การสร้างอัตลักษณ์ให้กับตนเอง นักออกแบบต้องสร้างอัตลักษณ์ในการออกแบบอาหารให้กับ ตนเอง มีสไตล์การออกแบบที่บ่งบอกถึงตัวตนความเป็นนักออกแบบอาหาร เพื่อสร้างการจดจา และสร้างความแตกต่างจากนักออกแบบอาหารรายอื่นๆ 2. ความคิด สร้างสรรค์ในการออกแบบอาหาร การใช้ความคิดสร้างสรรค์มาประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบและน าเสนออาหารให้ มีความโดดเด่ นน่าสนใจ ตามอัต ลั กษณ์ของตนเอง โดยการ ออกแบบและจั ดวางอาหารต้องสามารถสะท้อนถึงรสชาติ คุณภาพ และคุณค่าของอาหารที่ ผู้บริโภคจะได้รับและต้องการที่จะบริโภคอาหารนั้นๆ ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-122


3. รสชาติของอาหาร สิ่งสาคัญของการบริโภคอาหาร คือ ความอร่อย ดังนั้น นอกจากออกแบบ อาหารให้มีรูปลักษณ์สวยงามแล้ว อาหารนั้นๆ ยังต้องเป็นอาหารที่มีรสชาติดี อร่อยและมีคุณค่า ทางโภชนาการด้วย 4. เข้าใจพฤติกรรมและความต้องการของลูกค้า นอกจากความสามารถในการออกแบบอาหาร แล้ว นักออกแบบอาหารต้องมีความเข้าใจในพฤติกรรมของผู้บริโภคเป้าหมายหรือผู้บริโภคอาหาร นั้นๆ ด้วย 5. ออกแบบอาหารได้ตามวัตถุประสงค์ การออกแบบและนาเสนอภาพลักษณ์อาหารได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ของการออกแบบอาหารนั้นๆ เช่น  การออกแบบอาหาร เพื่อการบริโภคหรือเพื่อเป็นเมนูอาหารใหม่ การออกแบบอาหารต้อง ให้ความสาคัญกับภาพลักษณ์และรสชาติของอาหารอย่างเท่าเทียมกัน เนื่องจากอาหารนั้นๆ จะนาไปสู่ขั้นตอนการผลิตและจาหน่ายให้แก่ผู้บริโภค  การออกแบบอาหาร เพื่ อ การน าเสนอ ภ า พ ลั ก ษ ณ์ เ ช่ น ก า ร ถ่ า ย ภ า พ นิ่ ง ภาพยนตร์ ห รื อ วี ดิ ทั ศ น์ อ าหาร การ ออกแบบอาหารนักออกแบบอาหารต้องให้ ความส าคั ญ องค์ ป ระกอบของอาหาร มากกว่ารสชาติของอาหาร เช่น ขนาดของ อาหาร รูปลักษณ์ สีสัน การจัดวางอาหาร Ying Ying Food Stylist และองค์ประกอบอื่นๆ ที่ทาให้อาหารนั้น ๆ การถ่ า ยภาพน้ าผลไม้ ปั่ น เพื่ อ ประกอบการ โฆษณาสินค้า ดูมีชีวิตชีวา อาทิ ควันสาหรับอาหารร้อน ที่มา( : facebook.com/pages/ying-ying-FoOd-sTylist)

6. เป็นที่ปรึกษาที่ดี นักออกแบบอาหารต้องทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้กับผู้ประกอบการในธุรกิจ อาหาร มากกว่าการทาหน้าที่เป็นผู้รับสาร

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-123


ข้

 อท้าทายในการทาธุรกิจนักออกแบบอาหาร ข้อท้าทายหรือข้อจากัดที่นาไปสู่ความล้มเหลวในการทาธุรกิจนับเป็นความ เสี่ยงที่ต้องเผชิญ นับเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการดาเนินธุรกิจ ซึ่งจะส่งผล ต่ อ ความยั่ ง ยื น ทางธุ ร กิ จ ทั้ ง ด้ า นรายได้ ภาพลั ก ษณ์ และกระบวนการ ดาเนินงาน ดังนั้น การเรียนรู้ผ่านข้อท้าทายหรือข้อ จากัดอย่างรอบคอบ ก็จะ สามารถลดความเสี่ยงทางธุรกิจ หรืออาจจะไม่ต้องเผชิญกับความเสี่ยงดังกล่าว ก็เป็นได้ ข้อท้าทายหลักที่สาคัญของผู้ประกอบการในธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบอาหาร คือ  การออกแบบอาหารที่มุ่งเน้นแต่ความสวยงาม โดยไม่คานึงถึงรสชาติอาหาร  ระยะเวลาในการได้ รับการยอมรับหรือมีชื่อเสียงเป็นเรื่องที่ต้องใช้ระยะเวลา อาจส่งผลให้นัก ออกแบบหน้าใหม่เกิดความท้อแท้และหันไปประกอบอาชีพอื่นในที่สุด  การสร้างการยอมรับและสร้างความต้องการด้านการออกแบบอาหารของกลุ่มผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อมมีอยู่อย่างจากัด เนื่องจากกลุ่มผู้ประกอบการกลุ่มนี้ยังคงมีความเห็นว่า การออกแบบอาหารเป็นเรื่องปกติที่ผู้ประกอบการก็สามารถออกแบบอาหารในรูปแบบต่างๆ ได้ และไม่เห็นถึงความสาคัญในการออกแบบอาหารจากนักออกแบบอาหาร ดังนั้น จึงดูเหมือนว่ากลุ่มลูกค้าเป้าหมายของนักออกแบบอาหารค่อนข้างมีจากัด หรือมีกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย น้อยราย มีขนาดตลาดเล็กเกินไป กล่าวคือ ผู้ที่จะใช้บริการออกแบบอาหาร คือ กลุ่มผู้ประกอบการรายใหญ่ เท่านั้น จึงส่งผลต่อความมั่นใจในการเข้าสู่ธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบอาหารของผู้ประกอบการรุ่นใหม่

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-124


กรณีศึกษา ธุรกิจนักออกแบบอาหารต้นแบบ

2 ตัวอย่างธุรกิจหรืออาชีพนักออกแบบอาหาร เพื่อเปิดมุมมองและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้ประกอบการรุ่น ใหม่ ได้ศึกษาแนวคิดและรูปแบบการทาธุรกิจที่สามารถทาได้หลากหลายรูปแบบ ดังนี้ 1. ขาบสตูดิโอ

2. Freelance Food Stylist ... คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-125


 าบสตูดิโอ "ให้เข้าถึงแก่นแท้ความเป็นธรรมชาติ เน้นความเรียบง่าย คือ ความงดงามที่แท้จริง"

ไม่ว่าจะเป็นอาหารประเภทไหน ถ้าใช้วิธีคิดของฟู้ดสไตลิสต์ คือ ให้ เข้าถึงแก่นแท้ความเป็นธรรมชาติ เน้นความเรียบง่ายคือความงดงามที่ แท้จริง หลักในการทางานของ ขาบสตูดิโอ ของคุณขาบ อยู่ที่ความ เข้าใจในเรื่องวัตถุดิบอย่างลึกซึ้ง รวมทั้งยังนาเอา commercial art มา ปรับใช้กับการตกแต่งหน้าตาอาหาร เน้นเชิงการค้าแต่อาหารก็สวยงาม ได้ โดยตอกย้าที่กระบวนการคิดอย่างมีระบบ สร้างสไตล์และรสนิยมที่ เป็นเอกลักษณ์ ตลอดจนมีความตั้งใจที่จะสร้างผลงานให้เป็นที่ยอมรับ ในระดับสากล และอย่าลืมว่าศิลปะเป็นเรื่องที่อยู่ในตัวของทุกคนอยู่ แล้ว แต่เรามองข้ามไปว่ามันคืออาหารที่จะทาให้เรารู้สึกอิ่มท้อง แต่ ความจริงการอิ่มท้องคือการทาให้ชีวิตมี คุณภาพควบคู่กันไปด้วย การ นาเสนอรูปลักษณ์ของอาหารให้น่าสนใจน่ารับประทาน การจะหยิบยก ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-126


อะไรมาใส่กับอะไร ต้องอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติของอาหาร โดยใช้การเรียนรู้คือนาวัตถุดิบส่วนประกอบทั้งหมด ที่จะทาเมนูนั้นมาวางบนโต๊ะ แล้วจะดูภาพรวมจากนั้นค่อย มาคัดสรรว่าสีอะไรคู่กับ สีอะไร แล้วหั่นอย่างไร สวยและควรเลือกวัตถุดิบอย่างไร ส่วนภาชนะก็จะเป็นสิ่งที่มารองรับให้ของที่ทาสวยขึ้นมาอีกเพื่อให้เป็นความ สวยแบบเบ็ดเสร็จและครบวงจร สิ่งเหล่านี้คือความต่อเนื่องของชิ้นงาน ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  ความคิดสร้างสรรค์ เน้นความเรียบง่ายคือความงดงาม ที่แท้จริง Simply the Best  ความรู้และประสบการณ์ที่ยาวนานด้าน Food Stylist  ทักษะและความรู้ด้านบริหารธุรกิจ ที่ผสมผสานงาน ศิลปะอย่างลงตัว  คุณภาพงานที่น าเสนอตามโจทย์ค วามต้อ งการของ ลูกค้า  จุ ด ประเด็ น สร้ า งความแปลกใหม่ เ พื่ อ ให้ ลู ก ค้ า เห็ น โอกาสใหม่ทางธุรกิจ  รู ป แบบบริ ก ารในการน าเสนอความน่ า สนใจของ อาหารแบบครบวงจร

คุณสุทธิพงษ์ สุริยะ (ขาบ) ฟู้ดสไตลิสต์ผู้คร่าหวอดในวงการศิลปะและอาหารมากว่า 17 ปี ปัจจุบันดารง ตาแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท ขาบสไตล์ จากัด องค์กรที่ให้บริการด้านการสร้างภาพลักษณ์และแบรนดิ้ง รวมทั้งงานออกแบบแนวคิดคอนเซ็ป (Concept Designer) ให้กับธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร ผลงานการ ออกแบบของคุณขาบเป็นที่ยอมรับเรื่องของมาตรฐานสากล ทั้งสไตล์การคิดงาน และมององค์ประกอบอย่าง รอบด้านด้วยความเข้าใจและเข้าถึงแก่น เพราะเคยผ่านงานหลากหลายบทบาท ทั้งงานเบื้องหน้าและเบื้องหลัง อาทิ เคยทางานบริษัทโฆษณา ทางานสิ่งพิมพ์แมกกาซีน เป็นนักเขียน นักการตลาด นักสร้างแบรนด์อาหาร กรรมการตัดสินการประกวดอาหารและบรรจุภัณฑ์อาหาร นั กปรุงอาหาร และส่วนตัวชื่นชอบศิลปะแนวไลฟ์ สไตล์ ฯลฯ โดยเปิดให้บริการงานที่ปรึกษาด้านธุรกิจอาหาร อย่างเต็มรูปแบบและครบวงจรเกี่ยวธุรกิจสื่อ โฆษณาและการประชาสัมพันธ์ “ทาอาหารได้จริง รสชาติอร่อย ถูกสุขลักษณะมีคุณค่าทางโภชนาการ และหัวศิลป์" ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-127


ขาบสตูดิโ อ มีจุ ดมุ่งหมายเพื่อสร้างมาตรฐานสากลให้ กับวงการ อาหารไทย โดยเน้นการนาเสนอแนวคิดที่เรียบง่าย สวยนาน เป็น ความสวยแบบมีชีวิตชีวา ในกระบวนการทางานด้วยการมองโจทย์ รอบด้านเพื่อไปสู่เป้าหมายของงาน และมีกระบวนการคิด ศิลปะใน การปรุ งอาหารบนกฎที่ตั้งไว้อยู่ข้อหนึ่งคือ ความอร่ อยต้องมา ก่อนและอาหารนั้นจะต้องอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติของการกิน เช่น อาหารร้ อ นก็ ต้ อ งกิ น แบบร้ อ น อาหารเย็ น ก็ ต้ อ งกิ น แบบเย็ น ธรรมชาติของอาหารเป็นอย่างไรก็ต้องกินแบบนั้น การหยิบยกอะไร มาใส่กับอะไร ต้องอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติของอาหาร โดยใช้การ เรียนรู้คือว่า นาวัตถุดิบส่วนประกอบทั้งหมดที่จะทาเมนูนั้นมาวาง บนโต๊ะ แล้วจะดูภาพรวมจากนั้ นค่อย มาคัดสรรว่าสีอะไรคู่กับสี อะไร แล้วหั่นอย่างไรสวยและควรเลือกวัตถุดิบอย่างไร ส่วนภาชนะ ก็จะเป็นสิ่ งที่มารองรับ ให้ของที่ทาสวยขึ้น อีก สิ่งเหล่านี้คือความ ต่อเนื่องของชิ้นงาน อย่า ลืมว่าศิลปะเป็ น เรื่องที่อยู่ในตัวของทุกคนอยู่แล้ว แต่เ รามองข้า มไปว่ามันคือ อาหารที่จะทาให้เรารู้สึกอิ่มท้อง แต่ ความจริ งการอิ่มท้องคือการทาให้ชีวิตมีคุณภาพควบคู่กันไปด้วย สังเกตง่ายๆ คือ เทศกาลอาหารหรืออะไรก็ตาม ถ้าคนไทยลุกขึ้นมาทางานคนไทยก็ทาให้มันสวยวิจิตรพิศดาร มาก ทาให้อารมณ์เข้าถึงได้ยาก เพราะว่ามันเป็นความสวยที่เกินความเป็นจริง ซึ่งในชีวิตประจาวันแทบจะไม่ ค่อยได้สัมผัส แต่ถ้าเราทาอาหารออกมาให้คุ้นเคยกับชีวิตประจาวัน ไม่ต้องสวยมากแต่ว่าการสัมผัสเข้าถึงรับรู้ ได้ นั่นแปลว่า ชีวิตเราจะค่อยๆ ซึมธรรมชาติของความสวยงามเข้าไป สุดท้ายเราจะตกผลึกเรื่องความคิดว่า เราจะได้ค วามสวยด้ว ยธรรมชาติ นั่ น ก็ แปลว่ า ถ้า เราทาอาหารออกมาสวยมากจะไม่กล้ ากิน แต่ถ้ าเรา ทาอาหารออกมาแล้วไม่ไปพลิกแพลงจากธรรมชาติของวัตถุดิบ เราจะเข้าใจและเราก็จะแปลงโจทย์ได้ง่ายขึ้น หมายความว่า ไม่ว่า จะทาอะไรก็ต ามเราต้องเอารากเหง้ามาเป็นกระบวนการคิดเสมอในกระบวนการ ทางาน สรุปหลักการง่ายๆ ในการทาให้คนรู้สึกและสัมผัสได้ว่าอาหารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ คืออย่าไปใช้ กระบวนการคิดที่ซับซ้อนหรือว่ามากเกินไป คือมองอาหารว่าเป็นเรื่องของง่ายๆ ยกตัวอย่างคือ พยายามเข้าถึง ธรรมชาติของอาหาร อย่าให้อาหารผ่านกระบวนการแปร กระบวนการปรุงที่มีขั้นตอนยุ่งยาก พยายามกิน อาหารที่เป็นวัตถุดิบให้ได้มากที่สุด คือไม่ผ่านกระบวนการปรุงมาก จะทาให้ได้เรื่องของสุขภาพกลับคืนมา อาหารที่ไม่ผ่านการปรุงมากความสวยก็จะคงอยู่ ที่สาคัญคุณค่าของสารอาหารในวัตถุดิบก็จะไม่สูญเสียด้วย กลุ่มลูกค้าของขาบสตูดิโอ คือ บริษัทอุตสาหกรรมธุรกิจอาหารในเมืองไทย ร้านอาหาร โรงแรม และธุรกิจ บริการด้านต่างๆ คุณขาบได้ให้หลักสาคัญที่เป็นกฎของฟู้ดสไตลิสต์ คือ อาหารต่างจากงานศิลปะอย่างอื่นตรงที่อาหารเราต้อง กินเข้าไป ดังนั้ น กระบวนการแรกที่ต้องคานึงถึงคือ รสชาติต้องอร่อย ถัดมาคือ โภชนาการที่ต้องได้และ ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-128


สุดท้ายคือเรื่ องความสะอาด หลั กสุ ขอนามัยต้องมี อันนี้เป็นกฎตายตัว ของฟู้ดสไตลิ ส ต์ที่จะต้องคานึกถึง ตลอดเวลา ส่วนความสวยงามด้านฟู้ดสไตลิสต์ จะเป็นเรื่องอันดับสุดท้ายเท่านั้นที่จะเอามาเป็นประเด็นในการ คิดงาน ปัญหาของคนทาธุรกิจอาหารที่มักประสบคือ การนาเสนอให้มีความน่าสนใจ ซึ่งปัจจุบันการแก้ไขปัญหาของ บ้านเรา มักแก้ไขปัญหาให้กับธุรกิจด้วยนักโฆษณาหรือนาฟู้ดสไตลิสต์ที่ไม่มีทักษะเรื่องอาหารมาแก้ปัญหา ไม่ได้นาฟู้ดสไตลิสต์ที่มีประสบการณ์เติบโตมาจากสิ่งแวดล้อมที่คุ้นเคยในอดีตรวมถึงการคิดงานในเชิงของ ธุรกิจมาเป็นที่ปรึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงโจทย์อย่างแท้จริง เข้าถึงข้อมูลได้ที่ บริษัท ขาบสไตล์ จากัด Website : www.karbstyle.com

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-129


F

 reelance Food Stylist ... คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ "การได้ลงมือทาในสิ่งที่ตนรักและรักในสิ่งที่ตนทานั้น คุณค่าของผลงานจะทาให้ผู้คนที่ได้เห็นได้ชื่นชม สัมผัสได้ แต่คุณค่าที่เด่นชัดกว่านั้นคือ การที่เราสามารถหยิบจับของที่ทุกคนมองข้าม ดูไร้ราคา มา ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้กลายเป็นของที่ทุกคนต้องเหลียวมองนั้น" คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Freelance Food Stylist บอกถึงคนรุ่นใหม่หากสนใจ ในอาชีพ Food Stylist สามารถทาได้ไม่ยากมองโลกใน แง่ดี เห็นมุมมองที่สวยงามในทุกสรรพสิ่ง “มองให้เห็น ความสวยแม้ในความไม่สวย” ข้อนี้สาคัญมาก ขอให้ ” รัก” ในงาน เพราะพอรักแล้วเราจะมีวิธีทาให้งานของ เราออกมาดี เ อง อย่ า ฝื น ความรู้ สึ ก เพราะถ้ า ฝื น ท า อย่างไรงานก็จะออกมาไม่สวยแน่นอน

รักในงานที่ทา สนุกในงานที่ทา คิดอยู่เสมอว่า “เวลาทางานเหมือนได้เล่นในอยู่ในสวนสนุก ฉันมีความสุขที่สุดเวลาทางาน”

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ  ความคิดสร้างสรรค์  ความรู้ด้านศิลปะ  มีใจรักในงานศิลปะ  มีใจรักในการทาอาหาร  ความรู้และประสบการณ์งานเขียนคอลัมน์อาหาร และจัด styling อาหาร  มีความมุ่งมั่นและการฝึกฝนที่ดี คุ ณ ดวงฤทธิ์ แคล้ ว ปลอดทุ ก ข์ จบปริ ญ ญาโทด้ า น Cultural Heritage and Contemporary Arts Management วิทยาลัย นวั ต กรรม มหาวิ ทยาลั ย ธรรมศาสตร์ และปริ ญ ญาตรีจ ากคณะ โบราณคดี ม หาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร เคยเป็ น นั ก โบราณคดี แ ละ ภัณฑารักษ์ของกรมศิลปากร ก่อนออกมาเป็นนักออกแบบเรื่องราว ให้พิพิธภัณฑ์และนิทรรศการทั้งในและต่างประเทศ ผลงานที่สร้าง ชื่อคือ “มิวเซียมสยาม” และจากความประทับใจในเรื่องราวของ อาหาร ที่ ไ ด้ ล งมื อ เข้ า ครั ว กั บ คุ ณ ย่ า มาตั้ ง แต่ วั ย เยาว์ จึ ง ค่ อ ยๆ ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

ที่มา: http://www.artbangkok.com/

2-130


กลายเป็ น ความรั ก ความผู ก พั น ประกอบกั บ ได้ เ รี ย นรู้ ก ารท าอาหารจากผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นอาหารชาววั ง ระดับประเทศ อย่างหม่อมหลวงเนื่อง นิลรัตน์ หม่อมหลวงต่อ กฤดากร และท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ จึงได้ หันมาสนใจด้านการออกแบบอาหาร กระทั่งในที่สุดก็กลายเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอาหาร และ Food Stylist ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบอาหารระดับประเทศในทุกวันนี้ที่สามารถทาให้อาหารที่แสนธรรมดาๆ สามารถ กลายเป็นอาหารจานสวยรสชาติระดับชาววังในทันที ปัจจุบัน คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ มีงานเขียนคอลัมน์อาหาร และจัด styling อาหาร ให้กับนิตยสาร Health & Cuisine และ Harper’s Bazaar (Thailand( เป็น Guru ด้านอาหารในรายการ Food & Health Gang ช่อง True Vision 67 รวมถึงเป็นเจ้าของร้านอาหาร Tempi Felici ที่ Palio เขาใหญ่ ตลอดจนเป็น Freelance Food Stylist โดยงานที่ผ่านมาได้ออกแบบอาหารให้กับแผ่นพับ สิ่งพิมพ์ให้กับ Central Food Hall และ S&P เป็นต้น การสร้างสรรค์ผลงานของ คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ ทุกครั้งมา จากแรงบันดาลใจในการสร้างงานบนแนวคิดที่ว่า “การมองให้เห็น ความงามของสิ่งที่เรากาลังทาอยู่” ว่าจะนาเสนอในมุมมองไหนให้ ออกมาโดดเด่นและสวยงามที่สุด และดึงเสน่ห์ของอาหารออกมาให้ ได้มากที่สุด และที่สาคัญที่สุดคือ “การมองให้เห็นความสวยแม้ใน ความไม่สวย” ให้ได้ ด้วยแนวคิดเช่นนี้จึงเกิดการฝึกฝนตัวเองและ ศึกษาเชิงลึกในการพิจารณาความงามในทุกแง่มุมของวัตถุดิบที่ จะ ทาออกมาเป็นชิ้นงาน สารวจข้อผิดพลาด นามาแก้ไข ปรับปรุง เปิด ใจให้กว้าง เปิดโลกทัศน์ให้กว้าง ดูงานทั้งของเมืองไทยเราเองและ ของต่ า งประเทศให้ ม ากที่สุ ด แล้ ว น ามาปรั บ ปรุ ง ต่ อยอด จะเป็ น เครื่องมือสาคัญสาหรับอาชีพการออกแบบอาหารหรือ Food Stylist การทาให้อาหารน่ากิน จึงไม่ได้อยู่ที่ฝีมือการประดิดประดอยอาหาร แต่สาคัญที่การเข้า ใจอาหาร วัตถุดิบหลัก ของเมนูนั้นๆ และดึงเอาจุดเด่นของเมนูนั้นออกมานาเสนอให้น่าสนใจ … แต่ไม่ว่าอาหารจะถูกจัดวางให้เย้า ยวนสักเพียงใด ความอร่อยก็ยังเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้อยู่ดี เข้าถึงข้อมูลได้ที่ คุณดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Freelance Food Stylist https://www.facebook.com/duangrithi.claewplodtook

ส่วนที่ 2 - นักออกแบบอาหาร 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหารที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ

2-131


ภาคผนวก 1 . แ ห ล่ ง อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ วั ต ถุ ดิ บ พ ร้ อ ม ตั ว อ ย่ า ง 2 . ก ฎ ห ม า ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง 3 . ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง 4 . ตั ว อ ย่ า ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร เ ขี ย น แ ผ น ธุ ร กิ จ ใ ห้ ไ ด้ เ งิ น กู้


แหล่งอุปกรณ์และ วัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง ภาคผนวก


แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง ธุ

 รกิจบริการสอนทาอาหาร จัดหาและเตรียมอุปกรณ์…. SEVENFIVE DISTRIBUTOR Co.,Ltd. บริษัทจาหน่ายอุปกรณ์เครื่องครัวทุกชนิด http://www.sevenfive.co.th/

BESTCUP ร้านจาหน่ายวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ในร้านอาหาร เครื่องดื่ม และเบเกอร์รี่ รวมถึงบริการออกบูธ http://www.bestcup2112.com/?lang=th

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 1


ร้านเล็มมี่ จาหน่ายอุปกรณ์และวัตถุดิบทาเบเกอรี่ http://www.lemmemore.com/

บริษัท หยกอินเตอร์เทรด (เชียงใหม่) จากัด จาหน่าย อุปกรณ์, วัตถุดิบ, บรรจุภัณฑ์, เครื่องจักรอุตสาหกรรมขนาดเล็กและใหญ่ สาหรับทาเบเกอรี่ อาหาร และเครื่องดื่ม http://www.yokinter.com/

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 2


บริษัท วีเจซัพพลาย ยูโรเนชั่น จากัด ผู้นาเข้า ผู้ผลิต และตัวแทนจาหน่ายในประเทศไทยอย่างเป็นทางการสาหรับอุปกรณ์เบเกอรี่แบรนด์คุณภาพ, วัตถุดิบเบเกอรี่ สินค้าในประเภทอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ต่างๆ http://www.1stopbakery.com/

ห้างหุ้นส่วนจากัด แสงสง่า ดาเนินธุรกิจนาเข้าและจัดจาหน่ายเครื่องทาอาหารคุณภาพและอุปกรณ์เบเกอรี่ เครื่องทาขนมต่างๆที่ใช้ใน อุตสาหกรรมอาหาร “ศูนย์รวมเครื่องทาอาหารคุณภาพ” http://www.ssfoodmachine.com/

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 3


ร้านเกียรติโชคชัย เบเกอร์มาร์ท เป็นร้านจาหน่ายอุปกรณ์เบเกอรี่ และเครื่องดื่มครบวงจร http://www.kccbakermart.com/index.htm

สลันดาออแกนิค ฟาร์ม รับปลูกผักไทยพื้นบ้าน โดยรับปลูกผักตามออเดอร์เท่านั้น จุดเด่นอยู่ที่ “ผักอินทรีย์ไร้สารพิษ“ รับปลูกผักไทยพื้นบ้าน และปลูกผักตามออเดอร์เท่านั้น อาทิเช่น ดอกชมจันทร์, มะเขือเทศราชินี, ถั่วฝักยาว, กวางตุ้ง, กวางตุ้งไต้หวัน, ผักบุ้งจีน, แตงกวา, กหวาน, ชะอม, ดอกแค, บวบ, แตงกวา, ดอกสลิด, ผักกาดหอม, ผักสลัดใบแดง, ดอกขจร, กระเพรา, โหระพาฯลฯ มากกว่า 30 ชนิด http://www.salandaorganicfarm.com

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 4


ตั วอย่างเครื่องใช้และอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่จาเป็นสาหรับธุรกิจบริการสอนทาอาหาร ประเภทเครื่องมือเครื่องใช้ขนาดใหญ่ มีอายุ การใช้งานคงทน ตัวอย่างเช่น

เตาอบเบเกอรี่ไฟฟ้า ขนาด 34 ลิตร ราคา 5,200 บาท

ตู้แช่อาหาร 4 ประตู ราคา 45,000 บาท

เตาอบไมโครเวฟ ราคา 5,900 บาท

เตาไฟฟ้า ราคา 2,290 บาท

ชั้นวางของสแตนเลส 4 ชั้น ราคา 17,000 บาท

อ่างล้างจานสแตนเลส 2 ช่อง ราคา 14,000 บาท

เครื่องผสมอาหาร (5 ลิตร) ราคา 25,000 บาท

โต๊ะปรุงอาหารสแตนเลส ขนาด 1 x 2 เมตร ราคา 6,500 บาท

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 5


เครื่องตีไข่ ราคา 1,560 บาท

ชุดอุปกรณ์ทาครัว 12,500 บาท

เครื่องชั่งส่วนผสมดิจิตอล ราคา 1,305 บาท

พิมพ์เค้ก 295 บาท

ชุดมีด 14 ชิ้น 2,990 บาท

อุปกรณ์แต่งหน้าเค้ก 26 ชิ้นราคา 850 บาท

กระบวย 4 นิ้ว ราคา 149 บาท

อ่างผสมอาหาร 1 ชุด ราคา 2,000 บาท

หม้ออัดแรงดัน ราคา 2,169 บาท

หม้อต้มทรงสูง ราคา 659 บาท ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 6


การเลือกใช้เครื่องมือเครื่องใช้ทตี่ รงกับกลุ่มเป้าหมาย อาทิ กลุ่มเป้าหมาย คือ วัยเด็ก ดังนั้น เครื่องมือและ เครื่องใช้ต่างๆ ควรมีสีสันสดใสและปลอดภัยต่อการใช้งาน ตัวอย่างเช่น

พายผสมอาหาร ราคา 160 บาท

อุปกรณ์แต่งหน้าเค้ก ราคา 230 บาท

ช้อน-ส้อม-มีด ราคา 120 บาท

ผ้ากันเปื้อน ราคา 250 บาท

วัสดุและอุปกรณ์สิ้นเปลืองที่จาเป็นสาหรับธุรกิจบริการสอนทาอาหาร ส่วนใหญ่เป็นวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ แล้วหมดไป อาทิ

ถ้วยคัพเค้ก 100 ใบ ราคา 180 บาท

ถ้วยฟอลย์ 10 ใบ ราคา 39 บาท

ถาดฟอยล์กลม 20 ใบ ราคา 52 บาท

พลาสติกถนอมอาหาร ราคา 85 บาท ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 7


ธุ

 รกิจบริการอาหารออนไลน์ บริษัท สยามไอทีคูล จากัด บริษัทรับออกแบบเว็บไซต์ ค่าบริการประมาณ 15,000–45,000 บาท รายละเอียด http://www.rightnowsoft.com

Gz-BanneR บริษัทรับตกแต่งร้านค้าออนไลน์ ค่าบริการประมาณ 1,500-3,500 บาท รายละเอียด http://www.star2bag.com/

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 8


บริษัท ตลาด ดอท คอม จากัด ฟรีช้อปปิ้งมอลล์ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ลงทะเบียนเปิดร้านค้าได้ที่ www.TARAD.com

บริษัท ดีเอฟ มาร์เก็ตเพลส จากัด บริการลงโฆษณาซื้อ-ขายสินค้าฟรี ลงทะเบียนเปิดร้านค้าออนไลน์ได้ที่ http://www.dealfish.co.th/

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 9


การเปิด Fan Page บน Facebook ขายสินค้าออนไลน์บนเฟสบุ๊ค ลงทะเบียนเปิดร้านค้าออนไลน์ได้ที่ http://www.facebook.com/pages/create.php

การเปิดร้านค้าออนไลน์บน Instagram ร้านค้าออนไลน์บนอินสตราแกรม สมัครเปิดร้านค้าได้ที่ https://instagram.com/accounts/login/

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 10


ตั วอย่างเครื่องใช้และอุปกรณ์ “บ้านขนมลุง ส่งตรงถึงบ้านคุณ เพียงทาการสั่งซื้อออนไลน์เท่านั้น!” จาหน่ายขนมประเภทเบเกอรี่ผ่านเว๊บไซต์ของตนเอง http://www.ban-lung.com/

Cake Decorate จาหน่ายเค้กผ่านเฟสบุ๊กและอินสตราแกรม http://www.facebook.com/CakeDecorate E-mail : CakeDecorate@outlook.com

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 11


ธุ

 รกิจบริการจัดเลี้ยง แหล่งอุปกรณ์ วัตถุดบิ และของใช้ที่จาเป็น !!! SEVENFIVE DISTRIBUTOR Co.,Ltd. บริษัทจาหน่ายอุปกรณ์เครื่องครัวทุกชนิด http://www.sevenfive.co.th/

BESTCUP ร้านจาหน่ายวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ใน ร้านอาหาร เครื่องดื่ม และเบเกอร์รี่ รวมถึงบริการออกบูธ http://www.bestcup2112.com/?lang=th

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 12


ร้านเล็มมี่ จาหน่ายอุปกรณ์และวัตถุดิบทาเบเกอรี่ http://www.lemmemore.com/

บริษัท หยกอินเตอร์เทรด (เชียงใหม่) จากัด จาหน่าย อุปกรณ์, วัตถุดิบ, บรรจุภัณฑ์, เครื่องจักรอุตสาหกรรมขนาดเล็กและใหญ่ สาหรับทาเบเกอรี่ อาหาร และเครื่องดื่ม http://www.yokinter.com/

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 13


บริษัท วีเจซัพพลาย ยูโรเนชั่น จากัด ผู้นาเข้า ผู้ผลิต และตัวแทนจาหน่ายในประเทศไทยอย่างเป็นทางการสาหรับอุปกรณ์เบเกอรี่แบรนด์คุณภาพ, วัตถุดิบเบเกอรี่ สินค้าในประเภทอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ต่างๆ http://www.1stopbakery.com/

ห้างหุ้นส่วนจากัด แสงสง่า ดาเนินธุรกิจนาเข้าและจัดจาหน่ายเครื่องทาอาหารคุณภาพและอุปกรณ์เบเกอรี่ เครื่องทาขนมต่างๆที่ใช้ใน อุตสาหกรรมอาหาร “ศูนย์รวมเครื่องทาอาหารคุณภาพ” http://www.ssfoodmachine.com/

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 14


ร้านเกียรติโชคชัย เบเกอร์มาร์ท เป็นร้านจาหน่ายอุปกรณ์เบเกอรี่ และเครื่องดื่มครบวงจร http://www.kccbakermart.com/index.htm

สลันดาออแกนิค ฟาร์ม รับปลูกผักไทยพื้นบ้าน โดยรับปลูกผักตามออเดอร์เท่านั้น จุดเด่นอยู่ที่ “ผักอินทรีย์ไร้สารพิษ” รับปลูกผักไทยพื้นบ้าน และปลูกผักตามออเดอร์เท่านั้น อาทิเช่น ดอกชมจันทร์ มะเขือเทศราชินี ถั่วฝักยาว กวางตุ้ง กวางตุ้งไต้หวัน ผักบุ้งจีน แตงกวา กหวาน ชะอม ดอกแค บวบ แตงกวา ดอกสลิด ผักกาดหอม ผัก สลัดใบแดง ดอกขจร กระเพรา โหระพา ฯลฯ มากกว่า 30 ชนิด http://www.salandaorganicfarm.com

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 15


ตั วอย่างเครื่องใช้และอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่จาเป็นสาหรับธุรกิจบริการจัดเลี้ยง ประเภทเครื่องมือเครื่องใช้ขนาดใหญ่ สาหรับการ ประกอบอาหาร เพื่อนาไปจัดเลี้ยงนอกสถานที่ ยกตัวอย่างเช่น

เตาแรงดันสูง ราคา 1,050 บาท

ตู้แช่อาหาร 4 ประตู ราคา 45,000 บาท

หม้อหุงข้าว 10 ลิตร ราคา 5,800 บาท

กระทะอลูมิเนียม ราคา 1,350 บาท

ชั้นวางของสแตนเลส 4 ชั้น ราคา 17,000 บาท

เตาอบไฟฟ้า (40 ก.ก.) ราคา 32,500 บาท

อ่างล้างจานสแตนเลส 2 ช่อง ราคา 14,000 บาท

โต๊ะปรุงอาหารสแตนเลส ขนาด 1 x 2 เมตร ราคา 6,500 บาท

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 16


รถเข็นสแตนเลส 3 ชั้น ราคา 4,800 บาท

ถังต้มน้าร้อนไฟฟ้า 14 ลิตร ราคา 9,500 บาท

ชุดอุปกรณ์ทาครัว 12,500 บาท

ชุดมีด 14 ชิ้น 2,990 บาท

นอกจากนี้ ในธุรกิจบริการจัดเลี้ยงยังประกอบไปด้วย เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดเลี้ยงนอกสถานที่ อีกด้วย ยกตัวอยางเช่น

เครื่องจ่ายน้าหวาน ราคา 7,000 บาท

ที่อุ่นอาหาร ราคา 10,500 บาท

ถาดเสริฟ์ 1 ชุด ราคา 3,200 บาท

หม้ออุ่นซุป ราคา 2,500 บาท ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 17


ทัพพีตักซุป ราคา 330 บาท

ที่คีบอาหาร ราคา 1,200 บาท

ช้อนข้าว ราคา 60 บาท

ที่ตักไอศกรีม ราคา 380 บาท

นอกจากอุปกรณ์เครื่องใช้แล้ว ในธุรกิจบริการจัดเลี้ยงยังประกอบไปด้วยวัสดุและอุปกรณ์สิ้นเปลืองที่ ใช้ สาหรับบรรจุอาหารในการจัดเลี้ยงประเภทต่างๆ อีกด้วย ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้แล้วหมด ไป ตัวอย่างเช่น

ถ้วยคัพเค้ก 100 ใบ ราคา 180 บาท

ถ้วยกระดา 100 ใบ ราคา 150-200 บาท

ถ้วยพลาสติกใส 1 ใบ ราคา 12 บาท

พลาสติกถนอมอาหาร ราคา 85 บาท ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 18


ธุ

 รกิจบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก นักออกแบบบรรจุภัณฑ์อิสระ (Freelance) โปรแกรมสาเร็จรูป Adobe Illustrator เป็นโปรแกรมวาดภาพ (Vector) งานออกแบบผลิตภัณฑ์ งานออกแบบป้ายโฆษณาแผ่นพับ รายละเอียดซอฟต์แวร์ http://www.adobe.com/products/illustrator.html

โปรแกรมสาเร็จรูป RealVue 3D โปรแกรมออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3 มิติ รายละเอียดซอฟต์แวร์ http://www.realvue3dpackager.com

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 19


โปรแกรมสาเร็จรูป CAD Packmage ซอฟต์แวร์การออกแบบบรรจุภัณฑ์สาหรับกล่องกระดาษลูกฟูกและ กล่องกระดาษพับ รายละเอียดซอฟต์แวร์ http://www.packmage.com/

ตัวอย่างเครื่องจักรและเทคโนโลยี ตัวอย่างการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ตัวอย่างเครื่องจักรในการผลิตบรรจุภัณฑ์ ประเภทต่างๆ ตัวอย่างเช่น

เครื่องตัดกระดาษไฟฟ้าระบบดิจิตอล ALFHA CUT ราคา 55,000 บาท

เครื่องขึ้นรูปกล่องอัตโนมัติ, เครื่องพับกล่อง อัตโนมัติ รุ่น RPK-0320 ราคา 644,000 บาท

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 20


นักออกแบบอาหาร

นักออกแบบอาหารที่ดาเนินธุรกิจในรูปแบบของบบริษัทหรือหุ้นส่วน โดยส่วนใหญ่จะมีความ พร้อมด้านอุปกรณ์และสถานที่ในการให้บริการลูกค้าได้ดีกว่า โดยวัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ จะ ประกอบไปอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการออกแบบอาหาร ตัวอย่างเช่น

ชุดจาน-ชาม ราคา 560 บาท

อุปกรณ์ทาครัว 2,500 บาท

อุปกรณ์ช่วยเสริมภาพลักษณ์ อาหาร 3,800 บาท

ชุดเครื่องครัว 3,600 บาท

ภาคผนวก แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ พร้อมตัวอย่าง - 21


กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ภาคผนวก


กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ก

 ารจดทะเบียนธุรกิจ1 การประกอบธุรกิจการค้าอาจดาเนินการได้หลายรูปแบบ ทั้งโดยบุคคลคนเดียวเป็นเจ้าของกิจการโดยลาพัง หรืออาจดาเนินการโดยร่วมลงทุนกับบุคคลอื่นเป็นกลุ่มคณะก็ได้ การที่จะตัดสินใจเลือกดาเนินธุรกิจการค้าใน รูปแบบใดนั้น ผู้ประกอบการจะต้องคานึงถึงองค์ประกอบที่สาคัญหลายประการด้วยกัน เช่น ลักษณะของ กิจการค้า เงินทุน ความรู้ความสามารถในการดาเนินธุรกิจ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้การประกอบธุรกิจนั้นประสบ ผลสาเร็จนามาซึ่งผล ประโยชน์และกาไรสูงสุด

กิจการค้าที่เป็นพาณิชยกิจที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ 1. บุคคลธรรมดา (กิจการเจ้าของคนเดียว) ห้างหุ้นส่วนสามัญ และนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ต่างประเทศที่มาตั้งสานักงานสาขาในประเทศไทย ตาม 1.1-1.3 ซึ่งประกอบกิจการดังต่อไปนี้ ต้องจดทะเบียน พาณิชย์ (1) ผู้ประกอบกิจการโรงสีข้าวและโรงเลื่อยที่ใช้เครื่องจักร (2) ผู้ประกอบกิจการขายสินค้าไม่ว่าอย่างใดๆ อย่างเดียวหรือหลายอย่าง คิดรวมทั้งสิ้นในวันหนึ่งขาย ได้เป็นเงินตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป หรือมีสินค้าดังกล่าวไว้เพื่อขายมีค่ารวมทั้งสิ้นเป็นเงินตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป (3) นายหน้าหรือตัวแทนค้ าต่างซึ่งทาการเกี่ยวกับสินค้าไม่ว่าอย่างใดๆ อย่างเดียวหรือหลายอย่างก็ ตาม และสินค้านั้นมีค่ารวมทั้งสิ้นในวันหนึ่งวันใดเป็นเงินตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป (4) ผู้ประกอบกิจการหัตถกรรมหรืออุตสาหกรรมไม่ว่าอย่างใดๆ อย่างเดียวหรือหลายอย่างก็ตาม และ ขายสินค้าทีผ่ ลิตได้ คิดราคารวมทั้งสิ้นในวันหนึ่งวันใดเป็นเงินตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไปหรือในวันหนึ่งวันใดมีสินค้า ที่ผลิตได้มีราคารวมทั้งสิ้นตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป (5) ผู้ประกอบกิจการขนส่งทางทะเล การขนส่งโดยเรือกลไฟหรือเรือยนต์ประจาทาง การขนส่งโดย รถไฟ การขนส่งโดยรถราง การขนส่งโดยรถยนต์ประจาทาง การขายทอดตลาด การรับซื้อขายที่ดิน การให้ กู้ยืมเงิน การรับแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ การซื้อหรือขายตั๋วเงิน การธนาคาร การโพยก๊วน การทาโรงรับ จานา และการทาโรงแรม (6) ขาย ให้เช่า ผลิต หรือรับจ้างผลิต แผ่นซีดี แถบบันทึก วีดีทัศน์ แผ่นวีดีทัศน์ ดีวีดี หรือแผ่นวีดีทัศน์ ระบบดิจิทัล เฉพาะที่เกี่ยวกับการบันเทิง (7) ขายอัญมณี หรือเครื่องประดับซึ่งประดับด้วยอัญมณี (8) ซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (9) บริการอินเทอร์เน็ต (10) ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย

1

กรมพัฒนาธุรกิจการ กระทรวงพาณิชย์, “บริการข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ”, <http://www.dbd.go.th/more_news.php?cid=36>, เข้าถึง 19 ธันวาคม 2556.

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 1


(11) บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (13) การให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้อินเทอร์เน็ต (14) การให้บริการฟังเพลงและร้องเพลงโดยคาราโอเกะ (15) การให้บริการเครื่องเล่นเกมส์ (16) การให้บริการตู้เพลง (17) โรงงานแปรสภาพ แกะสลัก และการหัตถกรรมจากงาช้าง การค้าปลีก การค้า ส่งงาช้างและ ผลิตภัณฑ์จากงาช้าง 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจากัด บริษัทจากัด และบริษัทมหาชนจากัด ตาม 1.41.5 ซึ่งประกอบกิจการดังต่อไปนี้ ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ (1) ขาย ให้เช่า ผลิต หรือรับจ้างผลิต แผ่นซีดี แถบบันทึก วีดีทัศน์ แผ่นวีดีทัศน์ ดีวีดี หรือแผ่นวีดีทัศน์ ระบบดิจิทัล เฉพาะที่เกี่ยวกับการบันเทิง (2) ขายอัญมณี หรือเครื่องประดับซึ่งประดับด้วยอัญมณี (3) ซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครื่องข่ายอินเทอร์เน็ต (4) บริการอินเทอร์เน็ต (5) ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (6)บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (7) การให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้อินเทอร์เน็ต (8) การให้บริการฟังเพลงและร้องเพลงโดยคาราโอเกะ (9) การให้บริการเครื่องเล่นเกมส์ (10) การให้บริการตู้เพลง (11) โรงงานแปรสภาพ แกะสลัก และการทาหัตถกรรมจากงาช้าง การค้าปลีกการค้าส่งงาช้าง และ ผลิตภัณฑ์จากงาช้าง ***กรณี ที่ผู้ ป ระกอบพาณิช ยกิจ เป็ น คนต่างด้า ว หรือ นิติบุ คคลที่ตั้ งขึ้ นตามกฎหมายต่ างประเทศที่ม าตั้ ง สานักงานสาขาในประเทศไทย จะต้องตรวจสอบดูด้วยว่ากิจการค้าที่ดาเนินการนั้นต้องได้รับอนุญาตตาม พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.2542 หรือไม่ หากเป็นกิจการค้าที่ต้องได้รับอนุญาต ผู้ประกอบพาณิชยกิจจะต้องได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการค้าก่อนยื่นจดทะเบียนพาณิชย์***

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 2


ขั้นตอนการจดทะเบียนธุรกิจ บุคคลธรรมดา (กิจการเจ้าของคนเดียว) ธุรกิจที่มีบุคคลคนเดีย วเป็นผู้ลงทุนและเป็นเจ้าของกิจการโดยลาพัง กิจการในลักษณะนี้หากเข้าข่ายเป็น กิจการตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ.2499 กาหนดให้ต้องจดทะเบียน เจ้าของกิจการต้องยื่นขอจด ทะเบียนพาณิชย์ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้เริ่มประกอบกิจการ 

เอกสารและหลักฐานที่ต้องใช้ในการจดทะเบียน ในการขอจดทะเบียนต้องเตรียมเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ 1. คาขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน (แบบ ทพ.) 2. สาเนาบัตรประจาตัวของผู้ประกอบการพาณิชยกิจ 3. สาเนาทะเบียนบ้านของผู้ประกอบการพาณิชยกิจ 4. กรณีผู้ประกอบการพาณิชยกิจมิได้เป็นเจ้าบ้าน ต้องแนบเอกสารเพิ่มเติม ดังนี้ 4.1 หนังสือให้ความยินยอมให้ใช้สถานที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่ 4.2 สาเนาทะเบียนบ้านที่แสดงให้เห็นว่าผู้ให้ความยินยอมเป็นเจ้าบ้านหรือสาเนาสัญญาเช่า โดยมีผู้ให้ความยินยอมเป็นผู้เช่า หรือเอกสารสิทธิ์อย่างอื่นที่ผู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์เป็น ผู้ให้ความยินยอม 4.3 แผนที่ แ สดงสถานที่ ซึ่ ง ใช้ ป ระกอบพาณิ ช ยกิ จ และสถานที่ ส าคั ญ บริ เ วณใกล้ เคี ย ง โดยสังเขป 5. หนังสือมอบอานาจ (ถ้ามี) 6. สาเนาบัตรประจาตัวของผู้รับมอบอานาจ (ถ้ามี) 7. กรณีประกอบพาณิชยกิจการขาย หรือให้เช่า แผ่นซีดี แถบบันทึก วีดีทัศน์ แผ่นวีดีทัศน์ ดีวีดี หรือแผ่นวีดีทัศน์ระบบดิจิทัล เฉพาะที่เกี่ยวกับบันเทิง ให้ส่งสาเนาหนังสืออนุญาตหรือ หนั งสือ รับรองให้เป็นผู้จาหน่ายหรือให้เช่าสินค้าดังกล่าวจากเจ้าของลิขสิทธิ์ของสินค้าที่ขายหรือให้เช่า หรือ สาเนาใบเสร็จรับเงินตามประมวลรัษฎากร หรือหลักฐานการซื้อขายจากต่างประเทศ 8. กรณี ป ระกอบพาณิ ช ยกิ จ การการค้า อั ญ มณี หรือ เครื่ อ งประดั บ ซึ่ งประดั บ ด้ ว ยอั ญ มณี ให้ ตรวจสอบและเรียกหลักฐานแสดงจานวนเงินทุน โดยเชิญผู้ประกอบพาณิชยกิจมาให้ข้อเท็จจริง ของแหล่งที่มาของเงินทุน หรือชี้แจงเป็นหนังสือพร้อมแนบหลักฐานดังกล่าวแทนก็ได้ อัตราค่าธรรมเนียม การจดทะเบียนพาณิชย์ตั้งใหม่ ให้เรียกเก็บ 50 บาท ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนนั้น เกิดจากการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงที่จะทาการค้าร่วมกัน โดยมุ่งหวังที่จะ แบ่งผลกาไรจากการดาเนินกิจการค้านั้น 

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 3


การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจากัด แบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. หุ้นส่วนตกลงกัน

2. จองชื่อ

3. จัดทาตรา จัดเตรียมคาขอ

4. ยื่นขอจดทะเบียน

ขั้นตอนที่ 1 ทาความตกลงระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนในเรื่องสาคัญ ห้างหุ้นส่วนจากัดเป็นรูปแบบการประกอบกิจการค้าที่มีคนหลายคนเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นเพื่อป้องกันปัญหา ความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการประกอบการค้า ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนจึงควรทาความตกลงกันในเรื่อง สาคัญๆ ดังต่อไปนี้ไว้ก่อนให้ชัดเจน 1. จานวนเงินทุนหรือสิ่งที่ผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนจะนามาลงทุน โดยผู้เป็นหุ้นส่วน สามารถลงทุนด้วย เงิน ทรัพย์สิน หรือแรงงานก็ได้ (ยกเว้นหุ้นส่วนจากัดความรับผิดจะลงทุนด้วย แรงงานไม่ได้) แต่ การลงทุนด้วย ทรัพย์สินหรือแรงงาน ต้องตีราคาเป็นจานวนเงินและกาหนดระยะเวลาชาระเงิน หรือสิ่งทีผ่ ู้เป็นหุ้นส่วนจะนามาลงทุน ซึ่งควรชาระให้ครบก่อนการจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน 2. กาหนดขอบเขตหรือกรอบของกิจการค้า ที่ห้างหุ้นส่วนจากัดจะประกอบกิจการ หรือที่เรียกว่า “วัตถุประสงค์” ในปัจจุบันส่วนมากจะกาหนดวัตถุประสงค์ไว้หลายๆ กิจการ เพื่อความคล่องตัว ในการเพิ่มหรือปรับเปลี่ยนกิจการค้า จะได้ไม่ต้องเสียเวลาในการดาเนินการจดทะเบียนเพิ่ม หรือ เปลี่ยนวัตถุประสงค์ แต่การจดทะเบียนวัตถุประสงค์ไว้เป็นหลายๆ กิจการนั้นอาจไม่เป็นผลดี เนื่องจากเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้บริหารประกอบกิจการค้าที่ไม่เป็นไปตามแนวทางที่ตนถนัด และ ให้อานาจกว้างขวางมากเกินไป 3. แต่งตั้งหุ้นส่วนผู้จัดการ (หุ้นส่วนผู้จัดการคือ ผู้ที่จะมีอานาจกระทาการแทนห้างหุ้นส่วนจากัด ซึ่ง ต้องแต่งตั้งจากหุ้นส่วนจาพวกไม่จากัดความรับผิดเท่านั้น) 4. การแบ่งส่วนผลกาไรและขาดทุน 5. เรื่องอื่นๆ เช่น หลักเกณฑ์และวิธีการเปลี่ยนแปลงข้อสัญญาจัดตั้งห้างเดิม สถานที่ที่จะใช้เป็นที่ตั้ง สานักงานแห่งใหญ่ ข้อจากัดในการใช้อานาจของหุ้นส่วนผู้จัดการ และการตั้งผู้ชาระบัญชี เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 ขอตรวจสอบและจองชื่อห้างหุ้นส่วนจากัด ในปัจจุบันมีการประกอบกิจการในรูปแบบของห้างหุ้นส่วนสามั ญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจากัด บริษัทจากัด และบริษัทมหาชนจากัดเป็นจานวนมาก ดังนั้นเพื่อมิให้เกิดความสับสนเกี่ยวกับชื่อ ที่คล้ายหรือซ้ากัน ให้ผู้ที่ ประสงค์จะจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนขึ้น ให้มีตรวจสอบชื่อที่ต้องการจองว่า ชื่อดังกล่าวต้องไม่เหมือนหรือ มีเสี ย งเรี ย กขานตรงกัน หรื อคล้ ายคลึ งกั น กับชื่อที่ได้จองหรือได้จดทะเบียนไว้ก่อนแล้ ว หรือขัดระเบีย บ สานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลางว่าด้วยการจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนบริษัท (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2555 ข้อ 38 (1) - (11) ด้วยตนเองและนาใบแจ้งผลการจองชื่อไป ประกอบการขอจดทะเบียนต่อไป ขั้นตอนที่ 3 จัดทาคาขอจดทะเบียนและเอกสารประกอบ เมื่อได้จองชื่อแล้ว ให้ผู้ขอจดทะเบียนต้องจัดทาตราสาคัญของห้างหุ้นส่วน กรอกรายละเอียด (โดยวิธีการพิมพ์ ด้วยเครื่องพิมพ์ดีดหรือคอมพิวเตอร์) ในแบบพิมพ์คาขอจดทะเบียนให้ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง ในแบบพิมพ์คาขอจดทะเบียน ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 4


ขั้นตอนที่ 4 การยื่นขอจดทะเบียน การยื่นขอจดทะเบียนทาได้ 2 วิธี คือ 1. ยื่นคาขอจดทะเบียนพร้องเอกสารประกอบต่อนายทะเบียน กรณีนี้หุ้นส่วนผู้จัดการจะไปยื่นขอจด ทะเบียนด้วยตนเองหรือมอบอานาจให้ผู้อื่นไปดาเนินการแทนได้ 2. ยื่นขอจดทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตที่เว็บไซต์ www.dbd.go.th เพื่อให้นายทะเบียนตรวจพิจารณา คาขอจดทะเบียนก่อน และเมื่อผ่านการตรวจและตอบรับว่าคาขอจดทะเบียนถูกต้องแล้วให้ผู้ขอ จดทะเบียนสั่งพิมพ์ (Print out) เอกสารคาขอจดทะเบียนดัง กล่าวให้ผู้เป็นหุ้นส่วนลงลายมือชื่อ และประทับตราสาคัญของห้างหุ้นส่วน หลังจากนั้นก็นาไปยื่นขอจดทะเบียนที่สานักงานทะเบียน หุ้นส่วนบริษัทหรือส่งทางไปรษณีย์ ซึ่งขั้นตอนนี้จะมีความรวดเร็วกว่ากรณีการยื่นขอจดทะเบียน ตาม วิธีที่ 1 มาก เนื่อ งจากนายทะเบียนจะตรวจเอกสารคาขอจดทะเบียนที่นามายื่นนั้นว่ามี ข้อความถูกต้องตรงกับที่ยื่นไว้ทางอินเทอร์เน็ตหรือไม่เท่านั้น ข้อมูลทีใ่ ช้ 1. 2. 3. 4. 5.

ชื่อของห้างหุ้นส่วน วัตถุประสงค์ของห้างหุ้นส่วน ที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่และ/หรือสาขา ชื่อ ที่อยู่ อายุ สัญชาติ และสิ่งที่นามาลงหุน ชื่อผู้เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ (ต้องเป็นหุ้ นส่วนไม่จากัดความรับผิด) กรณีเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ บุคคล ผู้เป็นหุ้นส่วนสามารถเข้าเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้ทุกคน 6. ข้อจากัดอานาจหุ้นส่วนผู้จัดการ (ถ้ามี) 7. ตราสาคัญของห้างหุ้นส่วน 8. รายการอื่นๆ ที่เห็นสมควรให้ประชาชนทราบ (ถ้ามี)

เอกสารและหลักฐานที่ต้องใช้ในการจดทะเบียน ในการขอจดทะเบียนต้องเตรียมเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ 1. คาขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน (แบบ หส. 1) 2. แบบคารับรองการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน 3. รายการจดทะเบียน (แบบ หส.2)/ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ใช้เฉพาะหน้า 1 และ 3 4. วัตถุประสงค์ (แบบ ว.) 5. แบบ สสช. 1 จานวน 1 ฉบับ 6. ใบแจ้งผลการจองชื่อนิติบุคคล 7. แผนที่แสดงที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่ และสถานที่สาคัญบริเวณใกล้เคียงโดยสังเขป 8. สาเนาหลักฐานการรับชาระเงินลงหุ้นที่ห้างหุ้นส่วนได้ออกให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วน 9. กรณีห้างหุ้นส่วนมีผู้เป็นหุ้นส่วนที่เป็นคนต่างด้าวลงหุ้นในห้างหุ้นส่วนไม่ถึงร้อยละ 50 ของเงิน ลงหุ้ น ให้ ส่ งเอกสารหลั กฐานที่ธ นาคารออกให้ เพื่อรับรองหรือแสดงฐานะการเงินของผู้ เป็ น หุ้นส่วนที่มีสัญชาติไทยแต่ละรายประกอบคาขอจดทะเบียน โดยเอกสารดังกล่าวต้องแสดงจานวน เงินที่สอดคล้องกับจานวนเงินที่นามาลงหุ้นของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละราย 10. สาเนาบัตรประจาตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคน *ดูหลักเกณฑ์เรื่องบัตรประจาตัว* ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 5


11. สาเนาหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ (ถ้ามี) 12. หนังสือมอบอานาจ (กรณีที่ ผู้ขอจดทะเบียนไม่สามารถยื่นขอจดทะเบียนได้ด้ว ยตนเองก็มอบ อานาจให้บุคคลอื่นดาเนินการแทนโดยทาหนังสือมอบอานาจและปิดอากรแสตมป์ด้วย) สาเนาเอกสารประกอบคาขอจดทะเบียนทุกฉบับ ต้องให้ผู้ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนรับรองความถูกต้อง ยกเว้นสาเนาบัตรประจาตัวหรือหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อผู้ ขอจดทะเบียน ให้เป็นเจ้าของบัตรหรือผู้ ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนเป็นผู้ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง แบบพิมพ์จดทะเบียนสามารถขอและซื้อได้จากหน่วยงานของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าหรือ Download ได้จาก เว็บไซต์ www.dbd.go.th อัตราค่าธรรมเนียม 1. การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนทุกจานวนเงินไม่เกิน 100,000 บาท แห่งทุนที่กาหนดไว้ เศษของ 100,000 บาท ให้คิดเป็น 100,000 บาท ทั้งนี้ รวมกันไม่ให้ตากว่ ่ า และไม่ให้เกิน 2. หนังสือรับรอง ฉบับละ 3. ใบสาคัญแสดงการจดทะเบียน ฉบับละ 4. กรณีขอให้นายทะเบียนรับรองเอกสารคาขอจดทะเบียน หน้าละ

100 1,000 5,000 200 100 50

บาท บาท บาท บาท บาท บาท

บริษัทจากัด ขั้นตอนการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจากัด 

1. เมื่อได้จดทะเบียน หนังสือบริคณห์ สนธิไว้แล้ว

2. ผู้เริ่มก่อการจัดให้ มีการจองซื้อหุ้น ทั้งหมด

5. คณะกรรมการเรียกให้ชาระค่าหุ้นตามทีท่ ี่ ประชุมจัดตั้งบริษัทกาหนด ซึ่งต้องไม่น้อย กว่าหุ้นละ 25%

3. ผู้เริ่มก่อการออก หนังสือนัดประชุม จัดตั้งบริษัท

4. ประชุมตั้งบริษัท

6. จัดทาคาขอจดทะเบียน/ ยื่นจดทะเบียนจัดตั้ง บริษัท

7. นายทะเบียนรับ จดทะเบียน

เมื่อจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิแล้ว ก็ให้ดาเนินการดังนี้ 1. ผู้เริ่มก่อการจัดให้มีการจองซื้อหุ้นทั้งหมด 2. เมื่อมีการจองซื้อหุ้นหมดแล้ว ก็ให้ผู้เริ่มก่อการออกหนังสือนัดประชุมผู้เข้าซื้อหุ้นเพื่อประชุมจัดตั้ง บริษัท การออกหนังสือนัดประชุมจะต้องห่างจากวันประชุมอย่างน้อย 7 วัน 3. จัดประชุมผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นเพื่อจัดตั้งบริษัท 3.1 องค์ประชุมจะต้องมีผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นเข้ าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนผู้เข้าชื่อซื้อ หุ้นทั้งหมดและนับจานวนหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของทั้งหมด (จะมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้า ประชุมแทนก็ได้) ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 6


3.2 วาระการประชุม (1) ทาความตกลงตั้งข้อบังคับของบริษัท (2) ให้สัตยาบันแก่บรรดาสัญญาซึ่งผู้เริ่มก่อการได้ทาไว้ และค่าใช้จ่ายที่ผู้เริ่มก่อการต้องจ่าย ในการเริ่มก่อตั้งบริษัท (3) กาหนดจานวนเงินซึ่งจะให้แก่ผู้เริ่มก่อการ (ถ้ามี) (4) ในกรณีที่บ ริ ษัทจะออกหุ้ น บุริมสิ ทธิ ให้ กาหนดจานวนหุ้ น บุริมสิ ทธิ พร้อมทั้งกาหนด สภาพและบุริมสิทธิของหุ้นบุริมสิทธิว่ามีสภาพหรือสิทธิอย่างไร (5) ในกรณีที่บริษัทจะออกหุ้นเพื่อเป็นการตอบแทนการลงทุนด้วยทรัพย์สิน หรือแรงงาน จะต้องกาหนดจานวนหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิซึ่งออกให้เหมือนหนึ่งว่าได้ใช้เต็มค่าแล้ว หรือได้ ใช้แต่บางส่ วนเพราะได้ใช้ค่าหุ้ นด้วยอย่างอื่นนอกจากตัว เงิน โดยจะต้องระบุ รายละเอียดให้ชัดเจนทั้งในหนังสือนัดประชุมและมติที่ประชุม แรงงานที่จะนามาตีราคา เป็นค่าหุ้นของบริษัทต้องเป็นแรงงานที่ได้กระทาไปแล้ว (6) การเรียกชาระค่าหุ้น (7) เลือกตั้งกรรมการและกาหนดอานาจกรรมการ (8) เลือกผู้สอบบัญชีรับอนุญาตพร้อมทั้งกาหนดค่าสินจ้าง การตั้งผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเพื่อ ตรวจสอบและรับรองงบการเงินต้องแต่งตั้งบุคคลธรรมดาเท่านั้น จะแต่งตั้งสานักงาน ตรวจสอบบัญชีไม่ได้ 4. ผู้เริ่มก่อการมอบหมายกิจการงานทั้งหมดให้แก่คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุม 5. คณะกรรมการเรียกเก็บค่าหุ้นจากผู้เข้าชื่อซื้อหุ้น อย่างน้อยร้อยละ 25 ของมูลค่าหุ้น 6. เมื่ อ เก็ บ ค่ า หุ้ น ได้ ค รบแล้ ว ให้ ก รรมการผู้ มี อ านาจจั ด ท าค าขอจดทะเบี ย นตั้ ง บริ ษั ท แล้ ว ยื่ น จดทะเบียนต่อนายทะเบียน การยื่นจดทะเบียนจะต้องให้กรรมการผู้มีอานาจเป็นผู้ลงลายมือชื่อในคาขอจดทะเบียนและต้องยื่นจดทะเบียน ภายใน 3 เดือนนับแตวันที่ที่ประชุมจัดตั้งบริษัท ถ้าไม่จดทะเบียนภายในกาหนดเวลาดังกลาวจะทาให้การ ประชุมตั้งบริษัทเสียไป หากต่อไปต้องการจดทะเบียนตั้งบริษัทก็ต้องดาเนินการจัดประชุมผู้จองซื้อหุ้นใหม่ ข้อมูลที่ต้องใช้ในการจัดตั้งบริษัทจากัด 1. ข้อบังคับ (ถ้ามี) 2. จานวนทุน (ค่าหุ้น) ที่เรียกชาระแล้ว อย่าน้อยร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน 3. ชื่อ ที่อยู่ อายุของกรรมการ 4. รายชื่อหรือจานวนกรรมการที่มีอานาจลงชื่อแทนบริษัท (อานาจกรรมการ) 5. ที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่ สาขา (ตั้งอยู่ ณ จังหวัดใด) พร้อมเลขรหัสประจาบ้านของที่ตั้งสานักงาน, E-mail และหมายเลขโทรศัพท์ของบริษัทหรือกรรมการ 6. ชื่อ เลขทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาตพร้อมค่าตอบแทน 7. ชื่อ ที่อยู่ สัญชาติ และจานวนหุ้นของผู้ถือหุ้นแต่ละคน 8. ตราสาคัญ บริษัทจะไม่จดทะเบียนตราสาคัญของบริษัทก็ได้ หากว่าอานาจกรรมการไม่ได้กาหนดให้ต้องประทับตราสาคัญ ด้วย ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 7


เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจากัด 1. คาขอจดทะเบียนบริษัทจากัด (แบบ บอจ.1) 2. แบบคารับรองการจดทะเบียนบริษัทจากัด 3. รายการจดทะเบียนจัดตั้ง (แบบ บอจ.3) 4. รายละเอียดกรรมการ (แบบ ก.) 5. บัญชีรายชื่อผูถือหุ้น (แบบ บอจ.5) 6. สาเนาหนังสือนัดประชุมตั้งบริษัท 7. สาเนารายงานการประชุมตั้งบริษัท 8. สาเนาข้อบังคับ ผนึกอากร 200 บาท (ถ้ามี) 9. หลักฐานการชาระค่าหุ้นที่บริษัทออกให้แก่ผู้ถือหุ้น 10. กรณี บ ริ ษั ท จ ากั ด มี ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น คนต่ า งด้ า วถื อ หุ้ น ในบริ ษั ท จ ากั ด ไม่ ถึ ง ร้ อ ยละ 50 ของทุ น จดทะเบียน หรือกรณีบริษัทจากัดไม่มีคนต่างด้าวเป็นผู้ถือหุ้น แต่คนต่างด้าวเป็นกรรมการผู้มี อานาจลงนาม หรือร่วมลงนามผูกพันบริษัท ให้ส่งเอกสารหลักฐานที่ธนาคารออกให้ เพื่อรับรอง หรือแสดงฐานะการเงินของผู้ถือหุ้นที่มีสัญชาติไทยแต่ล ะรายประกอบคาขอจดทะเบียน โดย เอกสารดังกล่าวต้องแสดงจานวนเงินที่สอดคล้องกับจานวนเงินที่นามาลงหุ้นของผู้ถือหุ้นแต่ละ ราย 11. แบบ สสช.1 จานวน 1 ฉบับ 12. แผนที่แสดงที่ตั้งสานักงานแห่งใหญ่และสถานที่สาคัญบริเวณใกล้เคียงโดยสังเขป 13. สาเนาบัตรประจาตัวของกรรมการทุกคน 14. สาเนาหลักการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ (ถ้ามี) 15. หนังสือมอบอานาจ (กรณีที่ ผู้ขอจดทะเบียนไม่สามารถยื่นขอจดทะเบียนได้ด้วยตนเองก็มอบ อานาจให้บุคคลอื่นดาเนินการแทนโดยทาหนังสือมอบอานาจและผนึกอากรแสตมป์ดวย สาเนาเอกสารประกอบคาขอจดทะเบียนทุกฉบับ ต้องให้ผู้ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนรับรองความถูกต้อง ยกเว้นสาเนาบัตรประจาตัวหรือหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อผู้ขอจดทะเบียน ให้ผู้เป็นเจ้าของบัตรหรือ ผู้ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนเป็นผู้ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง แบบพิมพ์จดทะเบียนสามารถขอและซื้อ ได้จากหนวยงานของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าหรือ Download จาก เว็บไซต์ www.dbd.go.th ค่าธรรมเนียม 1. คิดตามทุนจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ทุกจานวนเงินไม่เกิน 100,000 บาท แห่งทุนทีก่ าหนดไว้ เศษของ 100,000 บาท ให้คิดเป็น 100,000 บาท ทั้งนี้ รวมกันไม่ให้เกิน 2. หนังสือรับรอง ฉบับละ 3. ใบสาคัญแสดงการจดทะเบียน ฉบับละ 4. รับรองสาเนาเอกสารคาขอจดทะเบียน หน้าละ

500 บาท 250,000 บาท 200 บาท 100 บาท 50 บาท

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 8


สถานที่จดทะเบียน 1. สานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ยื่นจดทะเบียนได้ที่ ส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลาง กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า ชั้ น 4 ถนนนนทบุ รี 1 จั ง หวัด นนทบุ รี หรื อ ส านั ก งานพัฒ นาธุ ร กิ จ การค้าทั้ง 6 เขต 2. สานักงานแห่งใหญ่ ตั้งอยู่จังหวัดอื่น ยื่นจดทะเบีย นได้ที่สานักงานพัฒนาธุรกิจ การค้าจังหวัดที่ บริษัทมีสานักงานแห่งใหญ่ตง้ั อยู่ 3. ยื่นจดทะเบียนทางอินเทอร์เน็ต ที่เว็บไซต์ www.dbd.go.th สรุปข้อแตกต่างระหว่างการจดทะเบียนธุรกิจแบบนิติบุคคล กับ บุคคลธรรมดา รายการ

นิติบุคคล เป็นการเข้าร่วมกันประกอบธุรกิจตั้งแต่ 2 คน สาหรับห้างหุ้นส่วนจากัด การระดมเงินทุน มีการระดมทุนหุ้นส่วน ทาให้สามารถมีเงินทุน หมุนเวียนในกิจการ การระดมความคิด มีการระดมความคิดเห็นระหว่างหุ้นส่วน เพื่อ ดาเนินกิจการให้ประสบความสาเร็จและเกิด ปัญหาน้อยที่สุด ทาให้มคี วามหลากหลายทาง ความคิดและมุมมอง แต่ก็เป็นสาเหตุของความ ล่าช้าและปัญหาในการบริหารจัดการ การตัดสินใจในการบริหารงาน มีรูปแบบคณะกรรมการบริหาร ต้องขอมติจาก ที่ประชุม ผู้ถือหุ้น การแบ่งจ่ายผลกาไรขาดทุน แบ่งตามสัดส่วนการเป็นหุ้นส่วน ตามจานวน หุ้นของผู้ถือหุ้นแต่ละคน การเสียภาษี เป็นการเสียภาษีจากยอดกาไรของกิจการ หาก ในการดาเนินการมีกาไร ก็จะต้องเสียภาษีตาม ข้อกฎหมายที่กาหนด อัตราภาษี  สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง (ข้อมูลจาก กรมสรรพากร ออนไลน์ วันที่ 1 มกราคม 2555 แต่ไม่เกินวันที่ 31 http://www.rd.go.th/publish/47734.0.html) ธันวาคม 2555 อัตราภาษีร้อยละ 23  สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2556 แต่ไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2557 อัตราภาษีร้อยละ 20 จานวนหุ้นส่วน

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนจด ทะเบียนไม่เกิน 5,000,000 บาท และมี รายได้จากการขายสินค้าและให้บริการไม่ เกิน 30,000,000 บาท สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2555 แต่ไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2555  กาไรสุทธิส่วนที่ไม่เกิน 150,000 บาท ได้รับ ยกเว้นภาษี  กาไรสุทธิส่วนที่เกิน 150,000 บาท แต่ไม่ เกิน 1,000,000 บาท อัตราภาษีร้อยละ 15  กาไรสุทธิส่วนที่เกิน 1,000,000 บาท อัตรา ภาษีร้อยละ 23

บุคคลธรรมดา เป็นการดาเนินการโดยบุคคลคนเดียว มีเงินทุนเพียงเท่าที่ตนเองลงไป คิดเอง ทาเอง ตัดสินใจได้รวดเร็ว ทาให้ สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการ ตามสถานการณ์และแก้ไขปัญหาได้ทันที ตัดสินใจด้วยตนเอง รับผลกาไรขาดทุนแต่เพียงผู้เดียว เป็นการเสียภาษีแบบเหมาจ่าย โดยการนา รายได้ของปีนั้นๆ มาคานวณ   

เงินได้สุทธิไม่เกิน 150,000 บาท ได้รับ ยกเว้นภาษี เงินได้สุทธิตั้งแต่ 150,001 บาท ถึง 300,000 บาท เสียภาษีอตั ราร้อยละ 5 เงินได้สุทธิเกินกว่า 300,000 บาท แต่ ไม่เกิน 500,000 บาท เสียภาษีอัตรา ร้อยละ 10 เงินได้สุทธิเกินกว่า 500,000 บาท แต่ ไม่เกิน 750,000 บาท เสียภาษีอัตรา ร้อยละ 15 เงินได้สุทธิเกินกว่า 750,000 บาท แต่ ไม่เกิน 1,000,000 บาท เสียภาษีอัตรา ร้อยละ 20 เงินได้สุทธิเกินกว่า 1,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท เสียภาษี อัตราร้อยละ 25 เงินได้สุทธิเกินกว่า 2,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 4,000,000 บาท เสียภาษี อัตราร้อยละ 30 เงินได้สุทธิเกินกว่า 4,000,000 บาท ขึ้นไป เสียภาษีอัตราร้อยละ 35

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 9


รายการ

การบันทึกบัญชี ความรับผิดชอบของกิจการ ความน่าเชื่อถือที่มีต่อบุคคลภายนอก

นิติบุคคล สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป  กาไรสุทธิส่วนที่ไม่เกิน 150,000 บาท ได้รับ ยกเว้นภาษี  กาไรสุทธิส่วนที่เกิน 150,000 บาท แต่ไม่ เกิน 1,000,000 บาท อัตราภาษีร้อยละ 15  กาไรสุทธิส่วนที่เกิน 1,000,000 บาท อัตรา ภาษีร้อยละ 20 ต้องจัดให้มีการทาบัญชีและการสอบบัญชีโดย ผู้ที่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงพาณิชย์ (มี ค่าใช้จ่ายในการทาบัญชีและการสอบบัญชี) หากเป็นบริษัทผู้ถอื หุ้นจะรับผิดชอบเท่าที่หุ้นที่ ถืออยู่ หากเป็นห้างหุ้นส่วนจากัด หุ้นส่วนจะ รับผิดชอบเท่าที่ลงเงินไป มีความน่าเชื่อถือ

บุคคลธรรมดา

หากเป็นการคิดค่าใช้จ่ายแบบเหมาจ่ายไม่ ต้องมีการจัดทาบัญชี แต่หากเป็นการคิด ค่าใช้จ่ายตามจริงก็ต้องจัดให้มีการทาบัญชี ผู้เป็นเจ้าของกิจการต้องรับผิดชอบไม่ จากัดวงเงิน อาจจะมองดูว่าไม่มีความมั่นคง ไม่ใช่มือ อาชีพ

ที่มา: ปรับปรุงข้อมูลจาก ธุรกิจส่วนตัวเริ่มไม่ยาก โดย แจ๊ค ธนกฤต, 2556. 

พาณิชยกิจที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ ได้แก่ 1. การค้าเร่ การค้าแผงลอย 2. พาณิชยกิจเพื่อการบารุงศาสนาหรือเพื่อการกุศล 3. พาณิชยกิจของนิติบุคคลซึ่งได้มีพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งขึ้น 4. พาณิชยกิจของกระทรวง ทบวง กรม 5. พาณิชยกิจของมูลนิธิ สมาคม สหกรณ์ 6. พาณิชยกิจของกลุ่มเกษตรกรที่ได้จดทะเบียนตาม ปว.141 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2515

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 10


 ารจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์2 พ.ร.บ.ทะเบี ยนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 และ ประกาศกระทรวงพาณิช ย์ เรื่อง ให้ ผู้ประกอบพาณิชยกิจต้อง จดทะเบียนพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2553 ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจ ดังต่อไปนี้ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ 1. การซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. การบริการอินเทอร์เน็ต 3. การให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 4. การบริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้ างหุ้น ส่ว นสามัญที่มิใช่นิติบุคคล ห้ างหุ้นส่ว นจดทะเบียน ห้างหุ้ นส่ วนจากัด บริษัทจากัด บริษัทมหาชนจากัด และนิติบุคคลต่างประเทศ ที่มาตั้งสานักงานสาขาในประเทศไทย ซึ่งประกอบ กิจการอันเป็นพาณิชยกิจ ทั้ง 4 ข้อ ดังนี้ 1. การซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. การบริการอินเทอร์เน็ต 3. การให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 4. การบริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ** บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ได้จดทะเบียนพาณิชย์ฯ ย่อมมี ความผิดตาม พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 ซึ่งมีโทษปรับเป็นรายวันจนกวาจะปฏิบัติให้ถูกต้อง สถานที่การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. ผู้ประกอบการที่มีสานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขต กทม. ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนพาณิชย์ ณ ฝ่าย ปกครอง สานักงานเขต 50 เขต (รับบริการจดทะเบียนพาณิชย์เฉพาะสถานประกอบการที่มี ส านั ก งานเขตตั้ ง อยู่ ใ นท้ อ งที่ ข องตน) หรื อ ส านั ก งานเศรษฐกิ จ การคลั ง ส านั ก การคลั ง ศาลาว่าการ กทม. (ครอบคลุมทั้ง 50 เขตของ กทม.) 2. ผู้ประกอบการที่มีสานักงานแห่ง ใหญ่ตั้งอยู่จังหวัดอื่น นอกจาก กทม. ให้ยื่นคาขอจดทะเบียน พาณิชย์ ณ เมืองพัทยา เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล ที่สานักงานแห่ง ใหญ่ตั้งอยู่ในเขต ท้องที่ หรือองค์การบริหารส่วนจังหวัดเฉพาะในท้องที่นอกเขตเทศบาล และองค์การบริหารส่วน ตาบล

2

กรมพัฒนาธุรกิจ การค้า กระทรวงพาณิชย์ โปรดดูรายละเอี ย ดเพิ่มเติมที่ www.trustmarkthai.com เนื่อ งจากข้ อ มูลเบื้ อ งต้นอาจมีก าร เปลี่ยนแปลงได้เสมอ

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 11


ขั้นตอนการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. ทาเว็บไซต์ให้เสร็จเรียบร้อยพร้อมออนไลน์โดยมีเวลายื่ นขอจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้ แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันเริ่มประกอบการ 2. ยื่นจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สถานที่การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ - เขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์ ณ ฝ่ายปกครอง สานักงานเขต 50 เขต (ตามที่ ตั้งของสถานประกอบการ) หรือส านักงานเศรษฐกิจ การคลั ง ศาลาวาการ กทม. (ครอบคลุมทั้ง 50 เขต) - จังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ ยื่นขอจดทะเบียนพาณิช ย์ ณ เทศบาลองค์การ บริหารส่วนตาบล (ตามที่ตั้งของสถานประกอบการ) เอกสารที่ใช้จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน และสาเนาทะเบียนบ้านของผู้ประกอบพาณิชยกิจ 2. แบบคาขอจดทะเบียนพาณิชย์ (แบบ ทพ.) 3. รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ (เอกสารแนบ แบบ ทพ.) กรอก 1 ใบต่อ 1 เว็บไซต์ (ตัวอย่างการ กรอกเอกสารแนบ แบบ ทพ.) 4. เอกสารการจดโดเมนเนม (ชื่อผู้จดทะเบียนโดเมนเนม ต้องเป็นชื่อผู้ประกอบการที่จดทะเบียน พาณิชย์) 5. พิมพ์หน้าแรกของเว็บไซต์ 6. วาดแผนที่ตั้งการประกอบพาณิชยกิจ 7. หนังสือรับรองการจดทะเบียนของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท (กรณีจดในนามนิติบุคคล) 8. หนังสือมอบอานาจพร้อมติดอากรแสตมป์ 10 บาท และสาเนาบัตรประชาชนของผู้รับมอบ อานาจ (กรณีมอบอานาจ) กรณีผู้ประกอบพาณิชยกิจมิได้เจ้าบ้าน (เอกสารเพิ่มเติม) 1. หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่หรือสัญญาเช่า 2. สาเนาบัตรประชาชนเจ้าของสถานที่ พร้อมสาเนาทะเบียนบ้าน หรือเอกสารสิทธิ์ที่แสดงว่าเป็น เจ้าของกรรมสิทธิ์ กรณีนิติบุคคลต่างประเทศ เข้ามาตั้งสาขาดาเนินกิจการในประเทศไทย ให้แนบเอกสารเพิ่มเติม 1. สาเนาเอกสารแสดงการจดทะเบียนนิติบุคคล 2. หนังสือแต่งตั้งผู้ดาเนินกิจการในประเทศไทย  ใบอนุญาตทางาน (กรณีผู้ดาเนินกิจการเป็นคนต่างด้าว)  ใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว หรือหนังสือรับรองการใช้สิทธิ (ถ้ามี) ประโยชน์ของการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. สร้างความน่าเชื่อถือ ความมีตัวตนของผู้ประกอบการ 2. ผู้ประกอบการสามารถขอรับเครื่องหมายรับรองการจดทะเบียน DBD Registered จากกรม พัฒนาธุรกิจการค้า (ดูร ายละเอียดการออกเครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนพาณิชย์) และ ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 12


เครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือ DBD Verified ซึ่งได้รับการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ดูรายละเอียดการออกเครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือ) 3. ได้รับสิทธิ์ในการเข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตรที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากาหนด หมายเหตุ: สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.trustmarkthai.com หรือ http://www.dbd.go.th

 ฎ ระเบียบธุรกรรมทางออนไลน์ กฎ ระเบียบธุรกรรมทางออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ประกอบการควร ให้ความสาคัญประกอบไปด้วย  กฎหมายทะเบียนพาณิชย์ กาหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจออนไลน์ทุกท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ทั้ง บุ ค คลและนิ ติบุ ค คล ต้ อ งจดทะเบี ย นพาณิ ช ย์ พ าณิ ช ยกิ จ พาณิ ช ย์ อิเ ล็ ก ทรอนิ กส์ ณ องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตที่ตั้งของสานักงานใหญ่ (ที่ว่าการเขตกทม./อบต./เทศบาล/เมือง พัทยา)  กฎหมายขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 กาหนดให้ผู้ ประกอบธุรกิจขายสินค้าทาง ออนไลน์ ที่ เ ข้ า ข่ า ยการตลาดแบบตรง ต้ อ งจดทะเบี ย นการประกอบธุ ร กิ จ กั บ สานั ก งาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคก่อนทาการค้า  กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ห้ามมิให้ปฏิเสธในการมี ผลผูกพันและการ บังคับใช้กฎหมายของข้อความที่อยู่ในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์  กฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ครอบคลุมถึงระบบ คอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการ หรือแม้แต่ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อัน เป็ น เท็ จ เข้ า สู่ ร ะบบคอมพิ ว เตอร์ เพื่ อจะให้ เ กิ ดความเสี ย หายแก่ ผู้ อื่ น หรื อ ประชาชน และผู้ ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน  กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นกฎหมายที่มีหลักการเพื่อคุ้มครองสิทธิความเป็นส่วนตัว อันเป็นสิทธิที่รัฐธรรมนูญรับรอง และกาหนดหลักการพื้นฐานในการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคลให้เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรม

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 13


กฎ ระเบียบการประกอบธุรกิจทั่วไป  ประมวลกฎหมายอาญา กากับดูแลการประกอบการที่มีเจตนาทุจริต ฉ้อโกง หลอกลวงผู้อื่นด้วย การแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริง ที่หลอกลวงเอาทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวง หรือบุคคลที่สาม  กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กากับดูแลการโฆษณาต้องไม่ใช้ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อ ผู้ บ ริ โ ภค มี เ จตนาก่ อ ให้ เ กิ ดการเข้ าใจผิ ด ไม่ว่ า ข้ อ ความดั ง กล่ า วจะเป็ นข้ อ ความที่ เ กี่ ย วกั บ แหล่งกาเนิด สภาพ คุณภาพหรือลักษณะของสินค้าหรือบริการ ตลอดจนการส่งมอบ การจัดหา หรือการใช้สินค้าหรือบริการ  กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา คุ้มครองการละเมิดลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรของผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นการ ลอกเลียน การทาซ้า เพื่อนาไปขาย เผยแพร่ต่อสาธารณะชนหรือแจกจ่าย  กฎหมายกากับดูแลอาหารและยา กาหนดมาตรฐานอาหาร/ยา การแสดงฉลากและโฆษณา รวมทั้งสถานที่ผ ลิ ต น าเข้า จ าหน่าย กากับดูแลให้ มีการขึ้นทะเบียน การขออนุญาตโฆษณา อาหาร/ยา ตามที่กาหนด  กฎหมายศุลกากร กากับดูแลการจาหน่าย ซื้อ ซ่อนเร้น รับจานาหรือรับไว้ซึ่งของที่รู้ว่ายังมิได้เสีย ค่าภาษีหรือที่เข้ามาในราชอาณาจักร โดยยังไม่ผ่านศุลกากรโดยถูกต้อง  กฎหมายภาษีอากร ผู้มีเงินได้พึงประเมินมีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการชาระภาษีประจาปี  ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล ต้องนาเงินได้พึงประเมินตลอดปีภาษี มาคานวณภาษี เพื่อยื่นแบบแสดงรายการภาษีประจาปี  ภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่ บริษัทจากัด ห้างหุ้นส่วนจากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ต้องนา กาไรสุทธิของกิจการมาคานวณภาษี เพื่อยื่นแบบแสดงรายการภาษีประจาปี  ภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ ผู้ประกอบการไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือ นิติบุคคลที่ขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพในประเทศไทย หรือผู้นาเข้าสินค้า โดยมี ร ายรั บ เกิ น กว่ า 1.8 ล้ า นบาท/ปี จะต้ อ งจดทะเบี ย นเป็ น ผู้ ป ระกอบการจดทะเบี ย น ภาษีมูลค่าเพิ่ม นอกจากนี้ยังมีกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับประเภทธุรกิจที่ขาย/บริการโดยเฉพาะที่ต้องศึกษา ทาความเข้า ใจ และปฏิบัติให้ถูกต้องเช่นเดียวกับการประกอบธุรกิจช่องทางปกติ ข้อห้ามการขายสินค้าและการเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต 1. ห้ามประกาศขายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์/สินค้าที่มีตัวแทนจาหน่ายอย่างถูกต้อง เช่น ซีรีย์เกาหลี DVD ภาพยนตร์ กระเป๋าแบรนด์เนม นาฬิกาแบรนด์เนม 2. ห้ามประกาศขายสินค้าที่ไม่ได้รับอนุญาตจาก อ.ย. เช่น ยารักษาโรค ครีมหมอจุฬา ครีมหน้าขาว ยาลดน้าหนัก เครื่องมือแพทย์ อาหารเสริม 3. ห้ามประกาศขายสินค้าที่เป็นอาหารหรือยาที่ไม่มีใบอนุญาตให้โฆษณา 4. ห้ามประกาศขายสินค้าที่มีการอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง เช่น โฆษณาว่าสามารถป้องกัน/รั กษาได้ อย่างศักดิ์สิทธิ์/หายขาด หรือยกย่องสรรพคุณยาโดยบุคคลอื่น บรรเทา/รักษา/ป้องกันโรคมะเร็ง อัมพาต เป็นต้น ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 14


5. 6. 7. 8.

ห้ามประกาศขายสินค้าลามก อนาจาร ซีดีรูปภาพลามกอนาจาร ห้ามประกาศขายอาวุธและสินค้าผิดกฎหมาย เช่น ปืน บารากุ บุหรี่อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ห้ามประกาศขายสินค้าหรือรูปสัญลักษณ์ของ เหล้า หรือ เบียร์ ทุกชนิด ห้ามใช้รูปภาพที่เป็นลิขสิทธิ์ของผู้อื่น

 ฎหมายบรรจุภัณฑ์ที่ควรรู้ 1. พระราชบัญญัติมาตราชั่งวัดตวง พ.ร.บ. ฉบับนี้ร่างขึ้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ให้ได้บริโภคสินค้าตามปริมาณที่กาหนด ซึ่งจะได้ผลดีเพียงใดขึ้ นอยู่ กับความร่วมมือของผู้ประกอบการ ในการดูแลเอาใจใส่ในการบรรจุสินค้าของตนเองให้ถูกต้องตามกฎหมาย หน่วยที่แสดงปริมาณสินค้าตามมาตรา ช่วง วัด ตวง ควรใช้ระบบเมตริก และตัวเลขที่ใช้สามารถใช้ตัวเลข อารบิคหรือตัวเลขไทยได้ขนาดของตัวเลขและตัวอักษรที่ใช้ต้องไม่เล็กกว่า 2 มิลลิเมตร 2. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 แบ่งเป็น 2 ส่วนคือการขอขึ้นทะเบียนตารับอาหารและฉลาก  การขอขึ้นทะเบียนตารับอาหาร ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 กาหนดให้ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้า ซึ่งอาหารควบคุมเฉพาะ ต้องนา อาหารนั้นมาขอขึ้นทะเบียนตารับอาหารก่อน เมื่อได้รับใบสาคัญการขึ้นทะเบียนอาหารแล้ว จึงผลิตหรือนาเข้า เพื่อจาหน่ายได้ หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งปรับทั้งจา ประเภทอาหารที่ต้องขอขึ้นทะเบียนตารับอาหาร แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1) อาหารควบคุมเฉพาะ มี 39 ประเภท 2) อาหารกาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานมี 9 ประเภท 3) อาหารที่กาหนดให้เป็นอาหารที่ต้องมีฉลากมี 2 กลุ่มคือ 3.1 กลุ่มอาหารที่ต้องส่งมอบฉลากให้คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) พิจารณาก่อนใช้ 3.2 กลุ่มอาหารที่ไม่ต้องส่งมอบให้คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) พิจารณา  การขอขึน้ ทะเบียนฉลากอาหาร อาหารควบคุมเฉพาะที่กาหนดคุณภาพ และที่กาหนดให้มีฉลากต้องขอขึ้นทะเบียนอาหาร และ ขอนุญาตใช้ฉลาก เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงทาการผลิต อาหารที่ต้องขออนุญาตใช้ฉลากมีอาหาร 4 กลุ่ม คือ 2.1 อาหารควบคุมเฉพาะ ที่ผลิตจากสถานที่ผลิตที่ไม่เข้าข่ายเป็นโรงงานอคือ มีเครื่องจักรตั้งแต่ 5 แรงม้าหรือคนงาน 7 คนขึ้นไปฉลาก อาหารที่ใช้ของกลุ่มนี้จะเริ่มต้นด้วยตัวอักษร “ผ” โดยที่ “นป” ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 15


หมายถึง น้าปลา และ “ช” หมายถึงน้าส้มสายชู ซึ่งเป็นอาหารควบคุมเฉพาะใน 39 ประเภท ในกรณีที่ผลิต จากผู้ผลิตในประเทศที่ไม่เข้าข่ายโรงงานอุตสาหกรรม จะใช้อักษรย่อ “ฉผ” หมายถึงฉลากผลิต ดังนั้น บนทะเบียนฉลากอาหารจะกลายเป็น “ฉผนป” และ “ฉผช” ตามลาดับ ส่วนหมายเลขที่ตามคือ หมายเลขที่และปีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนฉลากอาหารนั้นๆ อาหารที่นาเข้าจะใช้อักษร “ส” แทน “ผ” และ “ฉผ” ในปี พ.ศ. 2536 กระทรวงสาธารณสุ ขอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนที่สานักสาธารณสุขจังหวัดของแต่ละที่ได้ ดังนั้นจึงเกิดตัวอักษรตัวย่อของจังหวัดนาหน้าอักษรรหัส เช่น การขอขึ้นทะเบียนฉลากอาหารที่นครปฐมจะมี ตัวอักษรย่อ นฐ. ระบุไว้ในเครื่องหมาย อย. ด้วย 2.2 อาหารที่ถูกกาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน 2.3 อาหารที่ถูกนาเข้าประเทศ เพื่อจาหน่ายซึ่งไม่ใช่อาหารควบคุมเฉพาะ  อาหารอื่น ที่มีการจาหน่ายและรัฐมนตรีออกประกาศ กาหนดให้เป็นอาหารที่ต้องมีฉลากคือ อาหารประเภท ที่ 1 ที่ 2 และบางส่วนของประเภทที่ 4 ตามที่ประกาศกาหนด ต้องมีฉลากที่ได้รับอนุญาตจากสานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งต้องมีข้อมูลดังต่อไปนี้ 1) เครื่องหมายเลขทะเบียนหรือเลขอนุญาต 2) น้าหนักสุทธิหรือปริมาณสุทธิ 3) ชื่อภาษาไทย 4) ส่วนประกอบที่สาคัญโดยประมาณ 5) การระบุส่วนประกอบหรือวัตถุปรุงแต่งรสอาหาร 6) ระบุวันที่ผลิตหรือวันที่หมดอายุ 7) ชื่อผู้ผลิต ผู้จาหน่าย หรือผู้นาเข้าพร้อมที่อยู่ 8) คาแนะนาในการเก็บรักษาและในการปรุงอาหาร หรือการเตรียมเพื่อบริโภค 9) ข้อควรระวังหรือคาเตือนและวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น 10) สัญลักษณ์รหัสแท่ง 3. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ถือได้ว่าเป็นกฎหมายฉบับแรกของประเทศไทย ที่มีการจัดตั้ง หน่วยงานของรัฐที่จัดขึ้น เพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคโดยตรง เนื่องจากกฎหมายอื่นๆ ที่บัญญัติขึ้นควบคุม ผู้ประกอบธุรกิจนั้น เป็นการคุ้มครองผู้บริโภคทางอ้อม ผู้บริโภคจึงไม่อาจใช้สิทธิในการฟ้องร้องผู้ประกอบ ธุรกิจต่อศาลอาญาได้ ส่วนการดาเนินการทางแพ่งก็เป็นภาระและเสียค่าใช้จายมาก ทั้งผู้บริโภคส่วนใหญ่ยังไม่ อยู่ในฐานะที่จากดาเนินคดีด้วยตัวเองได้ วิธีการดาเนินงานตามพระราชบีญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 ได้บัญญัติให้องค์กรของรัฐมีอานาจหน้าที่ใน การควบคุมกากับ ดูแล และประสานการปฏิ บัติงานของส่ วนราชการต่างๆ เพื่อให้ ความคุ้ มครองผู้ บ ริโ ภค รวมทั้งเป็นหน่วยงานที่ให้ผู้บริโภคได้ใช้สิทธิร้องเรียน เพื่อขอให้ได้รับการพิจารณาและชดเชย ความเสียหาย เมื่อถูกผู้ประกอบธุรกิจละเมิดสิทธิของผู้บริโภค ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 16


1) สิทธิของผู้บริโภค ผู้บริโภคมีสิทธิจะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย 4 ข้อดังนี้ - สิทธิที่ได้รับข่าวสาร รวมทั้งคาพรรณคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าและบริการ - สิทธิที่จะมีอิสระ ในการเลอกหาสินคาและบริการโดยปราศจากการผูกขาด - สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัย จาการใช้สินค้า หรือ บริการ - สิทธิที่จะได้ชดเชย ความเสียหายจากการให้สินค่เหรือบริการ 2) องค์กรของรัฐ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผ็บริโภค (สคบ.) มีการแบ่งการคุ้มครองผู้บริโภค - การโฆษณา (มีคณธกรรมการว่าด้วยการโฆษณา) - ด้านฉลาก (มีคณะกรรมการว่าด้วยฉลาก) 3) การคุ้มครองผู้บริโภคด้วยฉลากสินค้า ฉลากตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พศ.2522 กาหนดให้หมายความถึง “รูป รอยประดิษฐ์กระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทาให้ปรากฏข้อความเกี่ยวกับสินค้า ซึ่งแสดงไว้ที่สินค้าหรือภาชนะบรรจุ หีบห่อ บรรจุสินค้า หรือสอดแทรกไว้รวมกับสินค้าหรือภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อบรรจุสินค้า ” รวมถึงเอกสาร หรือคู่มือสาหรับใช้ประกอบสินค้า พร้อมทั้งป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่สินค้า หรือภาชนะบรรจุหีบห่อที่บรรจุ สินค้านั้น สินค้าควบคุมฉลากจากต่างประเทศที่นาเข้ามาขายในประเทศไทย ต้องทาฉลากเป็นข้อความภาษาไทยมี ความหมายตรงกั บ ข้ อ ความในภาษาต่ า งประเทศ โดยระบุ ชื่ อ พร้ อ มสถานที่ ป ระกอบการของผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ใบอนุญาตให้นาเข้าสินค้านั้น และต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าตามประกาศที่คณะกรรมการว่าด้วยฉลาก กาหนดไว้ในแต่ละประเภทของสินค้า สินค้าที่กาหนดให้เป็นสินค้าควบคุมฉลาก มีดังนี้ 1) สิทธิที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพร่างกายหรือจิตใจ 2) สิทธิที่ประชาชนทั่วไปใช้เป็นประจา 3) สินค้าที่ยังไม่มีกฎหมายควบคุม 4. พระราชบัญญัติมาตรฐานอุตสาหกรรม พ.ศ.2511 สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือ “สมอ.” เป็นหน่วยงานระดับกรมสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม ทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานผลิตอุตสาหกรรม (มอก.) การรับรองระบบคุณภาพ และรับรองความสามารถของ ห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบ นอกจากนี้ ยังทาหน้ าที่เป็ น สื่ อกลางกับ องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งโลก เช่น องค์การค้าระหว่างประเทศว่าด้ว ย มาตรฐาน (International Organization for Standardization หรือ ISO) องค์การโลก (World Trade Organization หรือ WTO) และองค์กรอื่นๆ ทาการจัดระบบการจัดหมวดหมู่เป็นไปตามที่ ISO และประกาศใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 โดยแยกหมวดหมู่ สาขาวิชาออกเป็น 40 สาขา แต่หมายเลขไม่ได้เรียงกัน โดยมีสาขาวิชาการบรรจุหีบห่อ และการแจกจ่ายสินค้า อยู่สาขาที่ 55 ส่วนเทคโนโลยีอาหารอยู่ในสาขาที่ 67 ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 17


มาตรฐานอุตสาหกรรม มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คือ ข้อกาหนดทางวิชาการ ที่สานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้จัดทาขึ้น เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ประกอบธุรกิจในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพ ในระดับ ที่เหมาะสมกับการใช้งานมากที่สุด

 ารจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร การจดสิทธิบัตรถือเป็นสิ่งแรกที่ต้องทาเมื่อเกิดการคิดค้นผลิตภัณฑ์ชนิด ใหม่ๆ ที่จะนามาใช้ประกอบธุรกิจใน เชิงพาณิชย์ เพราะการมีสิทธิบัตรจะช่วยทาให้ผลิตภัณฑ์ของทางบริษัทผู้ประกอบการได้รับความคุ้มครองทาง กฎหมายและไม่ถูกละเมิดในเรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการทาซ้าหรือทาของปลอมลอกเลียนแบบออกมาขายไม่ว่า จะเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของผลิตภัณฑ์ สิทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด เป็นสิทธิ พิเศษ ที่ให้ผู้ประดิษฐ์ คิดค้นหรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิที่จะผลิตสินค้า จาหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียว ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง การประดิษฐ์ (Invention) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้าง หรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น หรือ ทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้น ใหม่ ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น กลไกของเครื่องยนต์ ยารักษาโรค วิธีการในการเก็บ รักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้เน่าเสียเร็วเกินไป เป็นต้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์วเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะ ภายนอกของผลิตภัณฑ์ ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น การออกแบบแก้วน้าให้มีรูปร่างเหมือนรองเท้า เป็นต้น อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) คือ หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์จะมีลักษณะคล้ายกัน กับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์ คิดค้นเพียงเล็กน้อย และมีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น

ขั้นตอนการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ขั้นตอนที่ 1 การยื่นเอกสารขอจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร การยื่นเอกสารคาขอจดสิทธิบัตรของผลิตภัณฑ์จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเป็นจานวนเงิน 250 บาท โดยเอกสาร ต่างๆ ที่ต้องเตรียมเพื่อเข้าขอรับการจดสิทธิบัตรของผลิตภัณฑ์มีดังต่อไปนี้ 1. แบบฟอร์มคาขอจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ โดยแบบฟอร์มคาขอนี้สามารถไปขอรับได้ที่กรมทรัพย์สินทางปัญญาในวันที่ไปทาการจดทะเบียน ขอรับสิทธิบัตร แบบฟอร์มดังกล่า วมีชื่อว่า “แบบพิมพ์คาขอรับสิทธิบัตร สป/สผ/อสป/001-ก” ซึ่งจะมี รายละเอียดที่สาคัญในการขอขึ้นทะเบียนเพื่อให้กรอกรายละเอียดเป็นจานวน 2 หน้าด้วยกัน การขอเอกสาร ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 18


ดังกล่าวจะไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ที่สาคัญมากที่สุดในการกรอกรายละเอียดแต่ละช่องรายการควรทาด้วย ความละเอียดรอบคอบถ้ามีข้อสงสัยในจุดไหนควรสอบถามเจ้าหน้าที่ทันทีเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการขอ จดสิทธิบัตรและจะทาให้ช่วยประหยัดเวลาไม่ต้องมาแก้ไขอีกในภายหลัง ซึ่งจะกินเวลาไปอีกอย่างน้อย 60-90 วันเลยทีเดียว 2. คาอธิบายหรือข้อพรรณนาถึงผลิตภัณฑ์ที่ทาการขอจดสิทธิบัตร เอกสารในส่วนนี้เป็นเอกสารที่ตัวผู้ประกอบการจะต้องเป็นผู้เตรียมมาด้วยตนเอง โดยเอกสารดังกล่าว จะประกอบด้วยข้อมูลในด้านต่างๆ ทั้งข้อมูลและวิธีการผลิต วัสดุส่วนผสม สรรพคุณและประโยชน์ รวมถึง ข้อจากัดของผลิตภัณฑ์ เช่นวันหมดอายุ ห้ามใช้เกินวันละเท่าไร เป็นต้น ซึ่งวิธีการที่สะดวกรวดเร็วที่สุดในการ เตรียมเอกสารประเภทนี้ขอแนะนาให้นาเอกสารดังกล่าวทั้งหมดมาเย็บเล่มเข้าด้วยกันลักษณะเหมือนการ ทางานวิจัยโดยสามารถเลือกวิธีเย็บเล่มแบบกระดูกงูหรือไสสันทากาวและวิธีอื่นก็ได้ แต่ไม่ควรจะนาเอกสารใน ส่วนนี้ไปนาเสนอแบบเป็นแผ่นๆ อย่างเด็ดขาดเพราะนอกจากจะไม่เรียบร้อยแล้วยังอาจทาให้เอกสารบางส่วน สูญหาย 3. ข้อถือสิทธิ ส่วนที่สาคัญมากเพราะเป็นการระบุลงไปถึงขอบเขตที่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวต้องการได้รับความคุ้มครอง จากการจดสิทธิบัตรและไม่ต้องการให้ผู้อื่นมาแสวงหาประโยชน์จากคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ซึ่ งสามารถหา รายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนนี้ได้จากเว็บไซต์ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา 4. รูปเขียน รูปที่ช่วยอธิบายเพิ่มเติมในส่วนของผลิตภัณฑ์ที่นามาขอยื่นขอจดทะเบียน โดยเป็นรูปที่แสดงให้เห็น ถึงลักษณะบรรจุภัณฑ์ วิธีการใช้งาน เป็นต้น ซึ่งในกรณีของผลิตภัณฑ์สามารถใช้รูปถ่ายแทนรูปเขียนได้ 5. เอกสารอื่น หมายถึงเอกสารต่างๆ ที่น อกเหนือจากที่กาหนดมาข้างต้น เช่น หนังสือการโอนสิ ทธิ สัญญาการ ว่าจ้าง หนังสือมอบอานาจ หนังสือรับรองนิติบุคคล ฯลฯ เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบความถูกต้องตามขั้นตอน เมื่ อยื่ น ค าขอและเอกสารทั้ งหมดตามขั้ น ตอนที่ 1 แล้ ว ถ้ าเกิ ดพบข้ อบกพร่อ งที่ จะต้ องดาเนิ นการแก้ ไ ข เจ้าหน้าที่นายทะเบียนจะดาเนินการแจ้งให้ผู้ขอสิทธิบัตรทราบเพื่อมาทาการแก้ไขในสิ่งที่ผิดพลาดให้ถูกต้อง ภายในระยะเวลา 90 วันเท่านั้น โดยเริ่มนับจากวันที่ได้รับแจ้งเป็นต้นไป ซึ่งสามารถที่จะยื่นเรื่ องขอผ่อนผัน เวลาออกไปได้ ก่ อ นในกรณี ที่ ไ ม่ ส ามารถด าเนิ นการให้ แ ล้ ว เสร็ จ ได้ ต ามกรอบระยะเวลาที่ ก าหนดให้ ถ้ า ดาเนิ นการเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตามและไม่มายื่นเรื่องผ่อนผั นจะถือว่าผู้ มาขอยื่นจดสิทธิบัตรทาการสละสิทธิ์ ดังกล่าว ค่าธรรมเนียมในการแก้ไขเพิ่มเติมจะต้องเสียเพิ่มอีก 100 บาท ขั้นตอนที่ 3 การประกาศโฆษณา หลังจากทาการยื่นเรื่องขอจดสิทธิบัตรและทาการแก้ไขข้อผิดพลาดทั้งหมดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่ของ กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะแจ้งให้มาชาระเงินค่าประกาศโฆษณาเป็นจานวนเงิน 250 บาท โดยจะแจ้ง 2 ครั้ง ครั้ งละ 60 วัน ถ้าไม่มาช าระและดาเนิ น การตามกาหนดจะถือว่าทาการละทิ้งคาขอดังกล่ าว โดยในการ ประกาศโฆษณาจะทาการประกาศโฆษณาลงในหนังสือประกาศโฆษณาคาขอมีสิทธิบัตรเป็นเวลา 90 วัน เหตุผลก็เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้ทาการคัดค้านในกรณีที่การยื่นคาขอสิทธิบัตรดังกล่าวไม่เป็นไปตามกฎหมาย หรือมีการแอบอ้างเอาผลิตภัณฑ์ของผู้อื่นมาทาการจดทะเบียน ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 19


ขั้นตอนที่ 4 การออกสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ส่วนนี้จะเป็นขั้นตอนของเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบโดยภายหลังจากลงประกาศโฆษณาครบ 90 วันแล้วเจ้าหน้าที่ จะทาการตรวจสอบดูว่าก่อนหน้านี้เคยมีแบบผลิตภัณฑ์ที่มีความเหมือนหรือคล้ายกันออกมาก่อนหน้านี้หรือไม่ ถ้าไม่มีอีกทั้งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวก็ไม่ได้ขัดต่อกฎหมายอีกทั้งยังผ่านการดาเนินการตามขั้นตอนต่างๆ ก่อนหน้านี้ เจ้าหน้าที่ก็จะดาเนินการออกสิทธิบัตรให้ตามคาขอ และเรียกมาเสียค่าธรรมเนียมการดาเนินการเพิ่มอีก 500 บาท และรับสิทธิบัตรกลับไปในที่สุด แต่ถ้าพบจากการตรวจสอบว่าไม่ตรงตามเกณฑ์ที่ระบุไว้ก่อนหน้านี้คาขอ ยื่นจดสิทธิบัตรก็จะถูกยกเลิกเช่นกัน ข้อมูลการจดสิทธิบัตรและแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องได้ที่เว็บไซต์ของ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ที่ http://www.ipthailand.go.th/

ภาคผนวก กฎหมายที่เกีย่ วข้อง - 20


หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภาคผนวก


หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ห

 น่วยงานที่ให้ข้อมูล/คาแนะนาสาหรับผู้ประกอบการ SME ชื่อหน่วยงาน จดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจ

การให้บริการ

เว็บไซต์

เบอร์โทร

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์  สานักทะเบียนธุรกิจ

บริการจดทะเบียน และข้อมูลธุรกิจ และ พัฒนาธุรกิจไทยให้เข้มแข็งแข่งขันได้ ส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลาง และวิเคราะห์การ จดทะเบียน

www.dbd.go.th

02-5474441 02-5474441 02-5475952 02-5475963-4

 สานักส่งเสริมพัฒนาธุรกิจ  สานักพัฒนาผู้ประกอบธุรกิจ

จดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวง พาณิชย์ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

- ขั้นตอนการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร

www.ipthailand.go.th

02-5474621-25

- ส่งเสริมการส่งออก ขยายตลาดสินค้า และบริกาารของไทย - พัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าและ บริการส่งออก - เพิ่มศักยภาพการแข่งขันของผู้ส่งออกไทย ในตลาดโลก เพื่อเพิ่มมูลค่าและปริมาณ การส่งออกไทย และ - ให้บริการข้อมูลทางการค้า

www.ditp.go.th

02-5077999, 02-5130909

ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมของประเทศ - พัฒนา ผู้ประกอบการรายเดิม - สร้าง ผู้ประกอบการรายใหม่ ส่งเสริมพัฒนาการประกอบธุรกิจการค้าใน ประเทศให้มีการแข่งขัน และมีการค้าที่เป็น ธรรม เกี่ยวกับธุรกิจ SME ที่ต้องการคาปรึกษา เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ พัฒนาสถาบันธุรกิจภาคเอกชน ของไทยให้ แข็งแกร่ง ทาหน้าที่เป็นตัวแทนของผู้ประกอบ อตสากรรมภาคเอกชนในการประสานนโยบาย และดาเนินการกับรัฐ พัฒนาศักยภาพกาลังแรงงานและผู้ประกอบ กิจการ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมและสร้าง เครือข่ายการพัฒนาฝีมือแรงงาน - บริการค้นหาหลักสูตรที่เปิดฝึกอบรม ฝีมือแรงงาน - ค้นหาสาขาอาชีพที่เปิดทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงาน

www.sme.go.th

02-2788800

www.ismed.or.th

02-5644000

www.dit.go.th

02-5076111

www.dip.go.th

02-2024414

www.fti.or.th

02-3451000

www.dsd.go.th

02-2451707, 02-2454035

ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพธุรกิจ สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (สสว.) สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม กระทรวงอุตสาหกรรม กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวง แรงงาน

ภาคผนวก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - 1


ชื่อหน่วยงาน สานักพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กรม พัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์

การให้บริการ เพื่อเป็นศูนย์สร้างสรรค์การประกอบ ธุรกิจ e-Commerce Start-Up

เว็บไซต์

เบอร์โทร

http://www.dbdmart.com/

0-25475959-60

เครือข่ายทางธุรกิจ หอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย สถาบันอาหาร สมาคมผู้ประกอบการอาหาร สมาคมผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและ ธุรกิจครัวไทย

สมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ไทย

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย

นาเสนอกรอบยุทธศาสตร์ทางธุรกิจ เพือ่ การ ขับเคลื่อนศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการด้าน อุตสาหกรรมอาหารแก่ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมอาหาร ศูนย์รวมข้อมูลข่าวสารสาหรับผู้ประกอบการ ด้านอาหารทั่วประเทศ

www.thaichamber.org

02-6621860-75

www.nfi.or.th

02-8868088 ต่อ 3121, 3118

www.thaiatr.com, www.facebook.com/ สมาคมผู้ประกอบการอาหาร www.smethaifood.com

034-411560, 034-432788

www.smebank.co.th

02-2653000

www.okmd.or.th

02-1056500

- ส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจประเภทที่ 02-2799844-5, เกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหารทั้งภายในและ 02-2798018 ภายนอกประเทศ - ให้คาปรึกษาและคาแนะนาด้าน อุตสาหกรรมอาหารทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ แก่ผู้ประกอบการที่สนใจ ในธุรกิจนี้ - เป็นศูนย์บริการข้อมูล ข่าวสารการค้า - เป็นสมาคมที่จัดตั้งขึ้นจากการ http://www.thaiecommerce.org/ 080-5816019 รวมตัวของกลุ่มผู้ประกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (eCommerce) ซึ่งอยู่ภายใต้ โครงการ ICT Alliance กลุ่ม eCommerce ที่จัดขึ้นโดยกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร - ส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจประเภทที่ http://www.thaipack.or.th/ 02-7121995 เกี่ยวกับหรือเกีย่ วเนื่องกับการบรรจุภัณฑ์

สนับสนุนเงินทุนสาหรับ SME ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย หรือ SME BANK

ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและย่อม ควบคู่กับการสนับสนุนเงินทุน

สนับสนุนข้อมูลการวิจัยและพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)

เป็นองค์กรในการผลักดันสังคมไทยให้เป็น สังคมแห่งการเรียนรู้ และใช้ความคิด สร้างสรรค์ในการนาเสนอผลงานในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อยกระดับประเทศให้เป็นประเทศชั้น นาทั้งในภาคเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และ สังคม

ภาคผนวก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - 2


ตัวอย่าง โครงสร้างการเขียน แผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ ภาคผนวก


ตัวอย่างโครงสร้าง การเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ วิ

 ธีการเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ วิธีการเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้1สามารถทาได้ดังนี้ สาหรับหัวข้อที่ใช้ในการเขียนโครงการขอกู้เงิน ต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ 1. หนังสือเสนอขอกู้เงินกับสถาบันการเงิน 2. บทสรุปผู้บริหาร เป็นการสรุปจากแผนต่างๆ ทั้งด้านการตลาด การจัดการ การผลิต และการเงิน เพื่อให้ทราบถึงพันธ กิจขององค์กร วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร พร้อมทั้งแผนที่จะไปสู่เป้าหมายอย่างย่อๆ ควรจะเขียน เป็นลาดับสุดท้ายโดยสรุปย่อ มีเนื้หาที่กระชับ มีประเด็นสาคัญครบถ้วน 3. ภาพรวมของกิจการ - ประวัติความเป็นมาของกิจการ กล่าวถึงแนวคิดและความเป็นมาของกิจการว่าเกิดได้ อย่างไร อะไรคือเป้าหมายในการดาเนินธุรกิจ - สถานที่ ตั้ง เป็ น ที่ ตั้งของกิจการ หรือโรงงาน พร้ อมหมายเลขโทรศัพท์เ พื่อติด ต่อได้ สะดวก - ผู้ถือหุ้นและผู้บริหาร/ประสบการณ์ผู้บริหาร มีใครบ้างเป็นผู้ร่วมทุน จานวนเงินลงทุน ความสามารถและความชานาญงานของแต่ละคน - การแสดงโครงสร้างองค์กรและผังบริหารองค์กร (ถ้ามี) - ผลการดาเนินงานในอดีต (ถ้ามี) 4. วัตถุประสงค์ที่จะขอสินเชื่อ - วงเงินสินเชื่อที่ต้องการ โดยแยกเป็นประเภทของสินเชื่อ เช่น เงินกู้ เงินทุนหมุนเวียน (O/D) - จะนาสินเชื่อที่ขอครั้งนี้ไปทาอะไร เช่น เพื่อซื้อที่ดิน ปรับปรุงอาคาร สถานที่ ก่อสร้าง อาคาร ซื้อเครื่องจักร - เงื่อนไขที่ต้องการมีอะไรบ้าง เช่น ระยะเวบาการชาระคืน อัตราดอกเบี้ย - หลักประกันที่เสนอ รายละเอียดหลักประกัน มูลค่าหลักประกัน 5. ลักษณะและโครงสร้างธุรกิจ - สินค้าและบริการมีอะไรบ้าง

1

ปรับปรุงข้อมูลจาก แจ๊ค ธนกฤต, (2556) ธุรกิจส่วนตัวเริ่มไม่ยาก, ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ภาคผนวก ตัวอย่างโครงสร้างการเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ - 1


- การตลาด การจั ดจ าหน่ายในประเทศ ต่างจังหวัดหรือกรุงเทพฯ เป็นสั ดส่ ว นเท่าใด ระยะเวลาการให้เครดิตกี่วัน หรือถ้าเป็นการจาหน่ายต่างประเทศ กลุ่มประเทศแถบใด วิธีการจาหน่ายโดยให้ลูกค้าเปิด L/C หรือ Open Account ระยะเวลาการให้เครดิต กี่วัน - ตลาดเป้ า หมายที่ ต้ อ งการขยายเพิ่ มขึ้ น กลุ่ ม ลู กค้ า ขนาดของตลาด ความต้ องการ ภาวะการผลิต ตาแหน่งทางการตลาด กลยุทธ์และแผนการตลาด - การวิเคราะห์อุตสาหกรรม - คู่แข่ง 6. ลักษณะของโรงงานและแผนการผลิต - ที่ตั้ง เนื้อที่ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ - การวางผังโรงงาน นอกอาคาร/ในอาคาร - เครื่องจักรอุปกรณ์การผลิต ประสิทธิภาพเครื่องจักร เก่า-ใหม่ แหล่งผลิต - อาคาร สิ่งก่อสร้างและสานักงาน เนื้อที่ถาวรชั่วคราว เก่า? ใหม่? - ผังการบริหารในการผลิต - แผนการดาเนินงาน - กาลังการผลิต ปัจจุบันผลิตเจ็มกาลังแล้วหรือยัง - เทคนิคการผลิตได้มาจากไหน/กรรมวิธีในการผลิต - แรงงานมีจานวนเท่าใด โครงสร้างแรงงานมีสหภาพแรงงานหรือไม่

ภาคผนวก ตัวอย่างโครงสร้างการเขียนแผนธุรกิจให้ได้เงินกู้ - 2








ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.การดี เลียวไพโรจน์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณะผู้วิจัย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.