Smart Farmer
ผู้จัดทํา..นายภัทรดร..คุณยศยิง่ ..หน่ วยงาน...กศน.อําเภอสั นทราย สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
Smart Farmer
สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” บทนํา - หลักการและเหตุผล ภาคการเกษตรของประเทศไทยมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ แต่การผลิตด้านเกษตรยังมีผลิตภาพต่า เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ยค่อนข้างต่า ส่ วน หนึ่ งเนื่ อ งจากเกษตรกรท าการผลิ ต โดยขาดความรู้ ใ นเรื่ อ งที่ ท าข้อ มู ล ข่ า วสารด้า น การตลาดเพื่อประกอบการตัดสิ นใจสาหรับวางแผนการผลิต ตลอดจนการขาดความรู้ใน ด้านการรักษาคุณภาพหรื อพัฒนาผลผลิตให้เป็ นสิ นค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน จึงต้องมีการพัฒนาเพื่อให้เกษตรกรไทยเป็ น Smart Farmer มีความรู้ในเรื่ องที่ทาอยู่ มีขอ้ มูลประกอบการตัดสิ นใจ มีความตระหนักถึงคุณภาพสิ นค้าและความปลอดภัยของ ผูบ้ ริ โภค มีความรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม/สังคมเกี่ยวกับสิ นค้า และมีความภูมิใจในความ เป็ นเกษตรกร จึงมีความจาเป็ นจัดทากล่องความรู้กินได้ Knowledge Box Set ที่มี ข้อมูลทั้งแหล่งผลิต ฤดูกาลที่ผลผลิตออก ปริ มาณผลผลิต สภาพภูมิอากาศ โดยเชื่อมข้อมูล ของเกษตรกรกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ ตาบลสันป่ าเปา เพื่อให้บุคคลทัว่ ไปที่มีความ สนใจนาไปเป็ นข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสิ นใจ โดยสร้างเป็ นเครื อข่ายข้อมูล รวมถึง กระจายข้อมูลถึงเกษตรกรผ่านกล่องความรู้กินได้ Knowledge Box Set เพื่อให้ เกษตรกรได้รับรู้ข่าวสารและข้อมูลด้านการเกษตร การค้นหาผูป้ ระสบความสาเร็ จในการ ทาอาชีพการเกษตรแต่ละด้านในมิติประสิ ทธิภาพ ผลตอบแทน และผลผลิตต่อไร่ เพื่อเป็ น แหล่งเรี ยนรู้จากผูม้ ีประสบการณ์จริ งของเกษตรกรใกล้เคียงและยังมุ่งให้กลุ่มเกษตรกร กลุ่มนี้พฒั นาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” วัตถุประสงค์ ของการจัดทําชุ ดประมวลความรู้ - เพื่อมี ความรู ้ ในเรื่ องการจัดการฟาร์ ม การเลี้ ยงปลาในนา ข้าว - เพื่อมีขอ้ มูลประกอบการตัดสิ นใจ เลี้ยงปลาในนาข้าว - เพื่อมี ความตระหนักถึงคุ ณภาพสิ นค้าและความปลอดภัย ของผูบ้ ริ โภค - เพื่อมีความรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม/สังคม - เพื่อมีความภูมิใจในความเป็ นเกษตรกร
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” - กลุ่มเป้ าหมาย เกษตรกรผูส้ นใจการบริ หารการจัดการฟาร์ ม การเลี้ยง ปลาในนาข้าว
ขัน้ ตอนการจัดทา “ชุดประมวลความรู้ ” • วันที่ 30 มิถุนายน ถึง 5 กรกฎาคม 2556 อบรมเชิงปฏิบตั ิการ หลักสู ตร “ก้าวสู่ การเป็ นนักจัดการความรู ้ ยุคใหม่ โครงการขยายผลศูนย์ความรู ้กินได้ สานักงานบริ หาร และพัฒนาองค์ความรู้ ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท ปทุมธานี • วิเคราะห์ความต้องการอาชีพ/วิเคราะห์ ระบุแหล่งเรี ยนรู ้ • รวบรวมความรู้ • จัดทาโครงสร้างความรู้ • ประมวลและเรี ยบเรี ยงเนื้อหาความรู ้ • ตรวจสอบความต้องการเพื่อให้ครบถ้วนของเนื้อหาความรู ้ • เผยแพร่ ความรู ้ / จัดกิจกรรมเผยแพร่ ชุดประมวลความรู ้ • แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้/ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน • เรี ย นรู้ / ถอดและรวบรวมความรู้ จ ากผูท้ ี่ น าชุ ด ประมวล ความรู้ไปประกอบอาชีพ/ต่อยอด
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” - ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ - มีความรู้ในเรื่ องการจัดการฟาร์ม - มีขอ้ มูลประกอบการตัดสิ นใจ - มีความตระหนักถึงคุณภาพสิ นค้าและความปลอดภัยของ ผูบ้ ริ โภค - มีความรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม/สังคม - มีความภูมิใจในความเป็ นเกษตรกร
Mind Map
Infographic
ประมวลเนือ้ หา
ความเป็ นมา
ประเทศไทยเป็ นประเทศที่อดุ มสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรนานาชนิด สมดังคา กล่าวของพ่อขุนรามคา แหงมหาราชที่วา่ “ในน ้ามีปลาใน นามีข้าว” แต่ปัจจุบนั คา กล่าวนี ้กา ลังจะสูญสิ ้นความหมายไป ทังนี ้ ้ เพราะสภาพบ้ านเมืองได้ พฒ ั นาขึ ้นตามกาลสมัย ทา ให้ สภาพของ แหล่งน ้าธรรมชาติ เช่น แม่น ้า ลา คลอง หนอง บึง ซึง่ เป็ นที่อยูอ่ าศัย และเป็ นแหล่งขยายพันธุ์ของปลาและสัตว์น ้าเปลี่ยนสภาพเสื่อม โทรมและตื ้นเขินยิ่งขึ ้นทุกวัน อันเป็ นสาเหตุหนึง่ ทา ให้ ปริมาณปลา ลดน้ อยลงไม่เพียงพอแก่ความต้ องการของพลเมืองที่เพิ่มจานวนขึ ้น อย่างรวดเร็ว นอกจากนี ้ปลายังเป็ นอาหารจา พวกเนื ้อที่สาคัญ ประจา มื ้อประจา วันของคนไทยควบคูไ่ ปกับข้ าวทังยั ้ งเป็ นอาหาร โปรตีนจา พวกเดียวเท่านันที ้ ่พี่น้องชาวไทยได้ พงึ่ พาอาศัยเป็ น อาหารหลักอยู่ เพราะอาหารประเภทเนื ้อสัตว์อื่นๆ เช่น เนื ้อหมู เนื ้อ วัวและเป็ ด ไก่ นับวันจะหายากและทังราคาแพงยิ ้ ่งขึ ้น หาก เปรี ยบเทียบในด้ านคุณค่าของอาหารประเภทเนื ้อสัตว์แล้ ว เนื ้อปลา มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง อีกทังเป็ ้ นอาหารที่ยอ่ ยง่ายที่สดุ นอกจากนี ้ยังมีสว่ นประกอบบางอย่าง เช่น กรดอะมิโน ซึง่ จา เป็ น ต่อการเจริญเติบโตของร่างกายสูงกว่าอาหารในจา พวกโปรตีนชนิด อื่นอีกด้ วย
ประมวลเนือ้ หา
ความเป็ นมา
ปกติระหว่างฤดูทา นาในระยะที่น ้าเอ่อนองเข้ าผืนนา ปลาจาก แหล่งน ้าธรรมชาติจะแพร่ กระจายจากแม่น ้า ลา คลอง เข้ าไปอาศัย เลี ้ยงตัวและเจริ ญเติบโตในแปลงนาปี หนึ่งๆ เฉลี่ยแล้ วประมาณ 4 กิโลกรัมเศษต่อไร่ ด้ งนันหากชาวนาจะคิ ้ ดดัดแปลงผืนนาของตนที่ ใช้ ปลูกข้ าวอยู่ให้ มีการเลี ้ยงปลาในผืนนาควบคู่ไปด้ วยแล้ ว นาข้ าว ซึ่งเคยได้ ปลาเป็ นผลพลอยได้ พิเศษอยู่ก่อนเพียงเล็กน้ อย ก็จะให้ ผลผลิตปลาเพิ่มขึ ้นเป็ น 20 กิโลกรัมต่อไร่ หรื อกว่านัน้ โดยที่ประเทศ ไทยมีเนื ้อที่นาทัว่ ทังประเทศประมาณ ้ 43 ล้ านไร่ หากสามารถคิดใช้ ผืนนาให้ เป็ นประโยชน์ นอกเหนื อจากการปลูกข้ าวแต่อย่างเดี ยว เพียงแค่ 1 ใน100 ของเนือ้ ที่นาทัว่ ประเทศ โดยคัดเลือกแปลงนาที่ เหมาะสม ดัดแปลงและปรับปรุงเพื่อใช้ เลี ้ยงปลาควบคู่ไปกับการทา นา โดยปฏิบตั ิให้ ถกู ต้ องตามหลักวิชาแล้ วในปี หนึ่งๆ จะได้ ผลผลิต จากปลาเพิ่ ม ขึ น้ เป็ นจ านวนหมื่ น ๆ ตัน ซึ่ ง วิ ธี ก ารนี เ้ ป็ นการเพิ่ ม อาหารและรายได้ บนผืนนาเดิมของพี่น้องชาวไทยนั่นเองและจาก วิธีการดังกล่าวนีก้ ็จะเป็ นการเพิ่มปริ มาณสัตว์นา้ ให้ ได้ มากพอกับ ความต้ องการของประเทศอีกด้ วย
ประมวลเนือ้ หา
ความเป็ นมา
การเลี ้ยงปลาในนานันมิ ้ ใช่เป็ นของใหม่ ประเทศต่างๆ ใน ภูมิภาคเอเชียเลี ้ยงปลาในนาข้ าวได้ ผลดีกนั มาเป็ นเวลานานแล้ ว เช่นที่ประเทศญี่ปนุ่ ไต้ หวัน และอินโดนีเซีย ในประเทศเราได้ เริ่มทา กันมาตังแต่ ้ พ.ศ. 2491 แต่เพิ่งจะสนใจเลี ้ยงกันอย่างแพร่หลาย เพียงไม่กี่ปีมานี ้เอง
ประโยชน์ จาก การเลีย้ งปลาในนาข้ าว 1. ชาวนาสามารถใช้ ประโยชน์จากผืนนาได้ เต็มที่ 2. ปลาช่วยกา จัดวัชพืช หากมีการเลี ้ยงปลาในนา ข้ าวแล้ ว ปลาจะช่วยกาจัดโดยกินวัชพืชนานาชนิดในแปลงนาเป็ นอาหาร 3. ปลาช่วยกาจัดศัตรูของต้ นข้ าว หนอนและตัวอ่อนของแมลงชนิดที่อยู่ในน ้า และที่ร่วงหล่นลงไปในนาอันเป็ นศัตรูร้ายแรงของต้ นข้ าว จะกลับเป็ นอาหาร วิเศษสุดของปลา 4. ปลาช่วยพรวนดินในนา จากการที่ปลาว่ายวนเวียนในน ้ารอบๆ กอข้ าวบนผืน นา การเคลื่อนไหวของครี บและหางปลาจะช่วยพัดโบกมวลดินในผืนนามิให้ ทบั อัดกันแน่น อันเป็ นเสมือนการพรวนดินให้ แก่ต้นข้ าว ซึง่ จะช่วยทา ให้ ต้นข้ าว เจริ ญงอกงามขึ ้นกว่าปกติ 5. ปลาช่วยเพิ่มปุ๋ย มูลและสิ่งขับถ่ายจากปลาซึง่ ประกอบด้ วยธาตุไนโตรเจน และอื่นๆจะเป็ นปุ๋ยโดยตรงสาหรับต้ นข้ าว 6. การเลี ้ยงปลาในนา ข้ าวช่วยเพิ่มผลผลิต ข้ าวให้ สงู ขึ ้นกว่าการ ปลูกข้ าวแต่เพียงอย่างเดียว
การเลือกสถานที่ ผืนนาทุกแห่งมิใช่จะเหมาะสมต่อการเลี ้ยงปลาในนาเสมอไป การเลี ้ยงปลาในนาข้ าวจึงมักจะมีอปุ สรรคอยู่เสมอ โดยเฉพาะในเรื่ อง น ้า เช่นในบางท้ องที่อาศัยเฉพาะน ้าฝน หรื อบางที่ชาวนาไม่สามารถ รักษาระดับนา้ ในผืนนาไว้ ได้ ตลอดระยะเวลาที่ต้องการ ดังนัน้ หาก เพียงแต่นาที่จะเลี ้ยงปลา สามารถเก็บกักน ้าในผืนนาไว้ ให้ ได้ มากกว่า ปกติเพียงประมาณ 1-2 คืบ (30 เซนติเมตร) เป็ นอย่างน้ อย ตลอด ฤดูกาลทานาและทังสามารถที ้ ่จะเลี ้ยงปลาในนาได้ ผลดี จึงควรที่จะ ยึดหลักในการเลือกผืนนาให้ มีสภาพดังนี ้ 1. อยู่ใกล้ แหล่งน ้าหนอง บึง ลาธาร ทางน ้าไหลที่สามารถนา น ้าเข้ าแปลง นาได้ แปลงนาที่อาศัยน ้าฝนทา นาแต่เพียงอย่างเดียวควรเก็บกักน ้าได้ ไม่ น้ อยกว่า 90 วัน 2. ไม่เป็ นที่ลมุ่ จนน ้าท่วมหรื อที่ดอน เกินไปจนไม่สามารถเก็บกักน ้าได้ 3. สะดวกต่อการดูแลรักษา 4. พื ้นที่ที่ปลูกข้ าวได้ ผลดีจะ สามารถดัดแปลงมาทา การเลี ้ยง ปลาควบคูก่ บั การปลูกข้ าวได้ ดี
ขนาดของแปลงนาข้ าว
แปลงนาที่เลี ้ยงปลาในนาข้ าว จะมีขนาดและรูปร่าง อย่างไรก็ได้ แล้ วแต่ความเหมาะสมของพื ้นที่และความ พร้ อมของผู้เลี ้ยง แต่แปลงนาขนาดตังแต่ ้ 5 ไร่ขึ ้นไปจะมี ความเหมาะสมและให้ ผลตอบแทนที่ค้ มุ ค่า
การเตรียมแปลงนาข้ าว การเตรี ยมแปลงนาเพื่อใช้ เลี ้ยงปลาในผืนนาไปด้ วยนัน้ ควรเตรี ยมให้ เสร็จก่อนระยะเตรี ยมดินและไถคราด โดยปฏิบตั ิตามขันตอน ้ ดังนี ้ 1.แปลงนาที่เป็ นที่ลมุ่ และสามารถเก็บกักน ้าได้ ลกึ อย่างน้ อย 1 ศอก (50เซนติเมตร) ตลอดฤดูทา นา ควรเสริ มคันนาให้ สงู ขึ ้นจากระดับพื ้นนาเดิม ประมาณ 3 คืบ (80 เซนติเมตร) และมีความมัน่ คงแข็งแรงเพียงพอ เพื่อ ป้องกันน ้าท่วมและการพังทลายของคันนา 2. แปลงนาซึง่ เป็ นที่ลมุ่ และพื ้นนาลาดเอียงบางด้ าน ก็ให้ ใช้ ด้านต่าเป็ น ที่พกั ปลาโดยขุดดินด้ านนี ้มาเสริ มคันนาให้ สงู ขึ ้นมากพอที่จะเก็บกักน ้าให้ ท่วม ที่ดอนได้ ประมาณ 1-2 คืบ(30 เซนติเมตร)
บ่อรวมปลาในระยะเริ่ มแรกของ การเลี ้ยงปลาสามารถใช้ เป็ นบ่ออนุบาลได้
การเตรียมแปลงนาข้ าว 3. แปลงนาที่อยู่ในพื ้นที่ราบและไม่เป็ นที่ลม ุ่ เกินไป ควรขุดร่องรอบผืนนาให้ มี
ความกว้ าง 2 ศอก (1 เมตร) ลึก 3-4 คืบ (80 เซนติเมตร – 1 เมตร) แล้ วนา ดินที่ขดุ ขึ ้นเสริ มคันนาให้ สงู จากระดับผืนนาเดิมประมาณ 1 ศอก (50 เซนติเมตร) เพื่อเก็บกักน ้าให้ ท่วมแปลงนาได้ ลกึ 1-2 คืบ (30เซนติเมตร) 4. แปลงนาที่มีบอ่ ล่อปลาอยู่แล้ ว ก็ให้ ดดั แปลงโดยเสริ มคันนาให้ แข็งแรง สามารถเก็บกักน ้าได้ ลกึ อย่างต่า 1-2 คืบ (30 เซนติเมตร) โดยให้ พื ้นที่ของ แปลงนามีขนาดประมาณ 10 เท่าของพื ้นที่บอ่ ล่อปลา เพื่อความสะดวกในการจับปลา ควรขุดบ่อรวมปลาบริ เวณที่ลึกที่สุด ของแปลงนา เพื่อให้ ปลามารวมกันในขณะที่ลดระดับน ้าในแปลงนาข้ าว โดยมี พืน้ ที่ประมาณ 5-10 ตารางวา ( 20-40 ตารางเมตร) แล้ วแต่ปล่อยเลีย้ งใน ขนาดของแปลงนาและลึกกว่าร่อนนาประมาณ 1 ศอก (50 เซนติเมตร)บ่อรวม ปลานี ้ยังใช้ เป็ นบ่ออนุบาลลูก ปลาที่มีขนาดเล็กให้ มีขนาด ใหญ่ คือ มีความยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร ซึง่ เหมาะที่จะ แปลงนาได้ ดี โดยการอนุบาล ลูกปลาไว้ ลว่ งหน้ าประมาณ1 เดือนก่อนถึงฤดูทา นา สภาพทัว่ ไปของแปลงนาเลี ้ยงปลาในนาข้ าว
พันธุ์ข้าว
พันธุ์ข้าว ใช้ พนั ธุ์ข้าวที่กรมส่งเสริม การเกษตรแนะนา ในแต่ละท้ องถิ่น หากเป็ นไปได้ ควรเลือกใช้ ข้าวพันธุ์หนักที่สามารถอยูใ่ นนาได้ นานวัน
การจัดแปลงนาข้ าว
พันธุ์ปลาทีค่ วรเลีย้ งในนาข้ าว
พันธุ์ปลาที่เหมาะสมต่อการเลี ้ยงในนาข้ าว ควรมีคณ ุ สมบัติดงั นี ้ 1. เลี ้ยงง่าย 2. เติบโตเร็ว 3. อดทน 4. หาพันธุ์ได้ ง่าย 5. ไม่ทา ลายต้ นข้ าว 6. เนื ้อมีรสดีเป็ นที่นิยมของท้ องถิ่น
พันธุ์ปลาทีค่ วรเลีย้ งในนาข้ าว
พันธุ์ปลาดังกล่าวได้ แก่ ปลาใน ปลาตะเพียนขาว ปลานิล ปลานวลจันทร์ เทศและปลาหัวโตหรื อปลาซ่ง ซึง่ ปลาต่างๆ เหล่านี ้กินอาหารธรรมชาติที่เกิดขึ ้นในแปลงนา ประเภทพืชและ สัตว์เล็กๆ ได้ ดีจงึ โตเร็ว และนอกจากนี ้ยังกินอาหารเสริมต่างๆ ที่หาได้ ในท้ องถิ่นอีกด้ วย
ช่ วงเวลาการปล่ อยปลา
หลังจากไถคราดและปั กดา เสร็จเรี ยบร้ อยแล้ วประมาณ 1520 วัน เมื่อเห็นว่าต้ นข้ าวแข็งแรงและรากยึดติดดินดีแล้ ว จึงนาปลา ไปปล่อยลงเลี ้ยง
ขนาดและจํานวนพันธุ์ปลา
ขนาดและจานวนปลาที่จะปล่อยลงเลี ้ยงในนาแปลงหนึง่ ๆ นัน้ ควรใช้ ปลาขนาดความยาว 5 -10 เซนติเมตร เพราะเป็ นปลา ขนาดที่เติบโตได้ รวดเร็ว และพอที่จะเลี ้ยงตัวหลบหลีกศัตรูได้ ดี
การปล่อยปลาควรลอยถุงปลาในบ่อ เพื่อเป็ นการปรับอุณหภูมิน ้าในถงุ ใหใกล้ เคียงกับน ้าในบ่อ
ขนาดและจํานวนพันธุ์ปลา
จานวนปลาที่จะปล่อยลงเลี ้ยงนัน้ ควรปล่อยให้ อตั ราที่ เหมาะสมต่อเนื ้อที่นาอย่าให้ มากหรื อน้ อยไป หากมากเกินไปแล้ ว ปลาจะเจริญเติบโตช้ า เพราะปลาจะแย่งที่อยูอ่ าศัยและแย่ง อาหารกันเอง ในเนื ้อที่นา 1 ไร่ ควรปล่อยปลาลงเลี ้ยงประมาณ 400800 ตัว แล้ วแต่ขนาดของปลา หลังจากปล่อยพันธุ์ปลาลงใน แปลงนาแล้ วในสัปดาห์ที่ 1-2 ควรให้ อาหารสมทบแก่ลกู ปลา ขนาดเล็ก พวกรา ละเอียดโปรยให้ บริเวณที่ปล่อยปลาหลังจาก นันจึ ้ งปล่อยให้ ปลาหาอาหารกินเองในแปลงนา
การให้ ราละเอียดเป็ นอาหารแก่ลกู ปลา ในระยะ 1-2 สัปดาห์แรก
อาหารและการให้ อาหาร
การเลี ้ยงปลาในนาเป็ นการใช้ อาหารธรรมชาติในผืนนาที่มีอยู่ให้ เกิด ประโยชน์ แต่อาหารธรรมชาตินี ้ไม่เพียงพอต่อความต้ องการของปลา จา เป็ นต้ องเร่งให้ เกิดอาหารธรรมชาติ โดยการใส่ป๋ ยและให้ ุ อาหารสมทบ ปุ๋ย ปุ๋ยที่เหมาะสม ได้ แก่ มูลสัตว์ที่หาได้ ในท้ องถิ่นใส่ในอัตราเดือนละ 5080 กิโลกรัมต่อไร่โดยการหว่านในร่องนาหรื อกองไว้ ที่มมุ แปลงนาด้ านใด ด้ านหนึง่ แล้ วแต่ความสะดวก หรื อผสมใช้ ทา เป็ นปุ๋ยหมักก็ได้ ส่วนการใส่ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ นนสามารถใส่ ั้ ได้ ตามที่กรมส่งเสริ มการเกษตรแนะนา อาหารสมทบ ได้ แก่ รา ปลายข้ าวต้ มผสมรา ปลวก แมลง ผัก และหญ้ า ชนิดที่ปลากินได้ จะทาให้ ผลผลิตเพิ่มขึ ้น
ปลวกเป็ นอาหารสมทบ
การให้ รา ละเอียดเป็ นอาหารแก่ ลูกปลาในระยะ 1-2 สัปดาห์แรก
การดูแลรักษา
1. ศัตรู โดยทัว่ ไปได้ แก่ ปลาช่อน งู กบ เขียด หนู และนกกินปลาก่อน ปล่อยปลาจึงควรกา จัดศัตรูภายในผืนนาออกให้ หมดเสียก่อน และควร ระมัดระวังโดยพยายามหาทางป้องกันศัตรูที่จะมาภายหลังอีกด้ วย 2. ระดับน ้า ควรจะรักษาระดับน ้าให้ ท่วมผืนนาหลังจากปล่อยปลาแล้ ว จนถึงระยะเก็บเกี่ยวอย่างน้ อยประมาณ 1-2 คืบ (30 เซนติเมตร) เพื่อปลา จะได้ หากินบนผืนนาได้ ทวั่ ถึง 3. หมัน่ ตรวจสอบคันนาอย่างสม่าเสมอ เพื่อป้องกันคันนารั่วซึมและ พังทลาย สาเหตุมกั เกิดจากการเจาะทา ลายของปูนา และฝนตกหนัก 4. ยาปราบศัตรูพืช ไม่ควรใช้ ยาปราบศัตรูพืชในแปลงนาที่มีการเลี ้ยงปลา ร่วมอยู่ด้วย เพราะยาฆ่าแมลงหรื อยาปราบศัตรูพืชส่วนใหญ่เป็ นอันตราย ต่อปลา แม้ ใช้ เพียงเล็กน้ อยก็อาจทา ให้ ปลาถึงตายได้ แต่ในกรณีที่ต้นข้ าว เกิดโรคระบาด จา เป็ นจะต้ องฉีดยาฆ่าแมลง ควรจับปลาออกให้ หมด เสียก่อน 5. การใส่ป๋ ยวิ ุ ทยาศาสตร์ ชนิดเม็ดที่ละลายได้ ยากจะต้ องระมัดระวังให้ มาก เพราะปลาอาจจะกินปุ๋ยทา ให้ ตายได้ ควรละลายน ้าแล้ วสาดให้ ทวั่ ผืนนา
ผลผลิตทีไ่ ด้ การเลี ้ยงปลาในนาข้ าวนอกจากจะได้ ข้าวตามปกติแล้ ว จากผลการทดลอง พบว่าแปลงนาที่มีการเลี ้ยงปลาควบคู่กบั การปลูกข้ าว จะได้ ข้าวเพิ่มขึ ้นจากเดิมประมาณไร่ละ 5 ถัง นอกจากนี ้ยังได้ ปลาอีกอย่างน้ อยประมาณไร่ละ 20 กิโลกรัม ซึง่ ถ้ าหากมีการใส่ป๋ ยและให้ ุ อาหารสมทบด้ วยแล้ วจะ ได้ ผลผลิตปลาเพิ่มขึ ้นอีกประมาณ 5 เท่า
ผลผลิตทีไ่ ด้ การเลี ้ยงปลาในนาข้ าวเป็ นอาชีพที่ชาวนาสามารถปฏิบตั ิ ได้ เกือบตลอดปี เพราะนอกจากจะเลี ้ยงปลาในนาในระยะที่ทา นาตามปกติแล้ วหลังจากที่เก็บเกี่ยวข้ าวในนาเสร็จ ชาวนายัง สามารถใช้ ผืนนาเดิมเลี ้ยงปลาในระยะหลังการเก็บเกี่ยวได้ อีก ในกรณีที่มีน ้าอุดมสมบูรณ์ โดยเพิ่มระดับน ้าให้ ทว่ มผืนนาอย่าง น้ อยประมาณ 1-2 คืบ (30 เซนติเมตร) ตลอดระยะเวลาที่เลี ้ยง ปลา ผืนนาที่เคยถูกทอดทิ ้งให้ แห้ งแล้ งปราศจากประโยชน์จะ กลับกลายสภาพเป็ นบ่อเลี ้ยงปลา ซังข้ าวและวัชพืชบนผืนนาจะ เน่าสลายกลายเป็ นอาหารอย่างอุดมสมบูรณ์แก่ปลา เป็ นการใช้ ประโยชน์จากผืนนาอีกครัง้ หนึง่ จนกว่าจะถึงฤดูทานาตามปกติ
ผลผลิตทีไ่ ด้ การเลี ้ยงปลาในนาข้ าวเป็ นการเพิ่มผลผลิตแก่พี่น้องชาวนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะสามารถช่วยแก้ ปัญหาการขาดแคลนอาหารได้ เป็ นอย่างดีหรื ออย่างน้ อยที่สดุ ก็ จะช่วยให้ ชาวนามีการกินดีอยู่ ดี กับทัง้ จะเป็ นการเสริ มสร้ าง รายได้ ของครอบครัวเพิ่มขึ ้นอีก ด้ วยยิ่งกว่านัน้ ยังทา ให้ ชาวนา ใช้ ผื น นาในฤดู ท านาให้ เกิ ด ประโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ และ แม้ แต่ ห ลั ง ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย วแล้ ว ชาวนายังสามารถใช้ ผืนนาให้ เป็ นประโยชน์ ด้ วย การเลี ย้ ง ปลา ไ ด้ อี ก จึ ง ค ว รที่ พี่ น้ อ ง ชาวนาจะได้ ริเริ่มดัดแปลงผืน นาของตนให้ เกิดประโยชน์แก่ ครอบครัว อันจะเป็ นการช่วย เสริมสร้ างเศรษฐกิจของประเทศให้ พฒ ั นายิ่งๆ ขึ ้นไป
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer”
23 3
9 สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” การเลีย้ งปลาในนาข้ าว โดยกรมประมง รู้ จักกับการเลีย้ งปลาในนาข้ าว พันธุ์ปลาทีค่ วรเลีย้ งในนาข้ าวและอาหารและการให้ อาหาร โดย สามารถเรียนรู้ ผ่าน E-book http://agebook.lib.ku.ac.th/ebooks/2011-0150001/index.html#/4/
การเลีย้ งปลาในนาข้ าว: http://ilovelibrary.nstru.ac.th
การเลีย้ งปลาสลับกับการทํานาข้ าว: โดยวิทย์ ธารชลานุกิจ
การเลีย้ งปลาในนาข้ าว สารานุกรมไทยสํ าหรับเยาวชนฯ เล่ มที่ 7 โดย นายเมฆ บุญพราหมณ์
รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาบทบาทของการใช้ ทดี่ ินสํ าหรับการเลีย้ งปลาในนาข้ าวทีม่ ีต่อ การอนุกรักษ์ ทรัพยากรประมงในพืน้ ทีช่ ่ ุ มนํา้ อย่ างยัง่ ยืน : เขตห้ ามล่าสั ตว์ป่าบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ :วิรัช จิ๋วแหยม ปี ทีพ่ มิ พ์ : 2554 การเลีย้ งปลาในนาข้ าว :เอกสารคําแนะนํากรมประมงพ.ศ. 2540
สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” การเลีย้ งปลานิลในนาข้ าว :อ.วิเชียร หวัดสนิท
การเลีย้ งปลานํา้ จืด :สุ นทร โคตรบรรเทา
การเพาะเลีย้ งปลานิล : www.facebook.com/pages/น้ าอ้วนบ้ านเกษตร พอเพียง การเลีย้ งปลากินพืช: ชื่ อผู้แต่ ง :เดชา รอดระรัง
การเพาะเลีย้ งสั ตว์นํา้ : ชื่ อผู้แต่ ง รศ. สุ ภาพร สุ กสี เหลือง
การเลือกสถานทีแ่ ละขุดบ่ อเลีย้ งปลา:สํ านักพัฒนาและถ่ ายทอดเทคโนโลยีการประมง กรมประมง
คู่มือการเพาะเลีย้ ง ปลานํา้ จืดเศรษฐกิจ เล่ ม 1 :http://www.nakaintermedia.com
เกษตรแก้จน ชื่อผู้แต่ ง: มนตรี แสนสุ ข สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” คนทํานา : http://202.143.137.99/ebookzzzzz/ricezzz/ ข้ าวอินทรีย์และเทคนิดการปลูกข้ าวแบบปักเดี่ยว คู่มือการปลูกข้ าวอินทรีย์ & ข้ าวต้ นทุนตํ่า : ศุภวรรณ์ ใจแสน
ดินทีใ่ ช้ ปลูกข้ าว : ทัศนีย์ อัตตะนันทน์
ข้ าวหอมมะลิอนิ ทรีย์ : ดร.รสสุ คนธ์ พุ่มพันธุ์วงค์
ภูมิใจไทย-ข้ าวไทย : สุ วฒ ั น์ อัศวไชยชาญ
หนังสื อข้ าวเมืองไทย : อาจารย์สวัสดิ์ วีระเดช
สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” VDO: การเลีย้ งปลาในนาข้ าว ตําบลนาบัว อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก http://www.youtube.com/watch?v=LdAOwiLcK_Y VDO: การเลีย้ งปลานิลในนาข้ าว โดยศักดิ์ทนน อุดมเดช http://www.youtube.com/watch?v=haTNm61dBkc VDO: การเลีย้ งปลานิลในนาข้ าว 2 โดยศักดิ์ทนน อุดมเดช http://www.youtube.com/watch?v=mqOlN_AglrI VDO:โครงการ 1ไร่ 1แสน ตอนที่ 1 http://www.youtube.com/watch?v=ltOMisnlrlQ VDO:โครงการ 1ไร่ 1แสน ตอนที่ 2 http://www.youtube.com/watch?v=ApgUnt25JzE
VDO: ปลาดุกกับนาข้ าว โดยตาสาย ตาดี http://www.youtube.com/watch?v=i2F7zSjIcqE VDO: การจับปลาช่ อนในนาข้ าวทีท่ ่ งุ นาบ้ านป่ าขีย้ าง ต.บุ่งค้ า อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร โดยด.ต.ไพโรจน์ ทรงจอหอ http://www.youtube.com/watch?v=_bkqnNUIWME
สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” นางสาวลาวัล เบีย้ ไธสง ประธานกลุ่มเกษตรอินทรีย์ ตําบลสั นป่ าเปา ความรู้เรื่อง การปลูกข้ าวสิ นเหล็กและ ข้ าวหอมมะลิอนิ ทรีย์และ การเลีย้ งปลาในนาข้ าว นายจํารัส กันธิยะ ผู้ประสานงาน หมู่ 1 ตําบลสั นป่ าเปา ความรู้เรื่อง การเลีย้ งปลาและการผสม พันธุ์ปลาพืน้ บ้ าน
นางรําไพ สมพมิตร ผู้ประสานงาน หมู่ที่ 4 ตําบลสั นป่ าเปา ความรู้ เรื่องการ ปลูกข้ าว กข 6 และข้ าวสั นป่ าตอง สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” ที่ดนิ ในการใช้ ทานา
ชนิดพันธุ์ข้าว
ครกกระเดื่อง
คราด
เครื่องสี ข้าว
เคียว
สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” ด้ วงหนู
ไถ
ครกไม้
รถไถนา
รถเกีย่ วข้ าวและนวดข้ าว
เครื่องสี ข้าว
สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
ชุดประมวลความรู้ “Smart Farmer” แกลบ/รํา
มูลสัตว์
ปลวก
สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
แผนการถ่ ายทอดองค์ ความรู้ และรูปแบบกิจกรรมหรือนิทรรศการ
รู ปแบบกิจกรรมหรือนิทรรศการ จัดนิทรรศการ เผยแพร่ ให้ ความรู้ ทีห่ ้ องสมุดประชาชนอําเภอสั นทราย และ กศน.ตําบลสั นป่ าเปา