ชุดความรู้กินได้ | การปลูกผักอินทรีย์ในตะกร้า

Page 1

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

ผู้จัดทา นางธเนตรศรี บุญหมื่น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรู้ทามาหากิน “การปลูกผักอินทรี ย์ตะกร้ า” บทนา - หลักการและเหตุผล ผักเป็ นพืชที่ทกุ คนต้ องบริโภคเป็ นประจาทุกวันไม่มาก ก็น้อยแตกต่างกันไป เนื่องจากผักประกอบไปด้ วยสารอาหารที่ จาเป็ นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์หลายอย่าง ได้ แก่ วิตามิน และแร่ธาตุตา่ ง ๆ โดยเฉพาะธาตุเหล็กและแคลเซียมแป้งและ น ้าตาลจะเป็ นแหล่งพลังงาน และให้ ความอบอุน่ แก่ร่างกาย เซลลูโลสและไฟเบอร์ ซงึ่ ช่วยในระบบการย่อยอาหาร และ ขับถ่ายของร่างกายช่วยให้ เกิดพลังงาน ให้ มีความต้ านทานต่อ โรคภัยไข้ เจ็บต่าง ๆ ของร่างกายและยังช่วยให้ ร่างกายฟื น้ หาย จากโรคได้ อย่างรวดเร็ว การได้ บริโภคผักต่าง ๆที่ปลอดภัยจาก สารพิษในปริมาณที่เหมาะสมเป็ นประจา จะช่วยให้ ร่างกายมี สุขภาพที่ดีและแข็งแรงไม่เจ็บป่ วยง่าย มีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีขึ ้น ในทางตรงกันข้ ามหากร่างกายขาดอาหารประเภทผัก หรื อ


ชุดความรู้ทามาหากิน “การปลูกผักอินทรี ย์ตะกร้ า” ได้ รับไม่เพียงพอหรื อบริ โภคผักที่มีสารพิษตกค้ าง ในปริ มาณ มากเข้ าไปจะทาให้ ร่างกายอ่อนแอระบบต่า ง ๆ ของร่ างกาย ทางานได้ ไม่ปกติ อาจเกิดอาการผิดปกติขึ ้นทาให้ ความต้ านทาน โรคต่ า งๆของร่ า งกายลดลง (ชิ ณ วงค์ ฟ าร์ ม .online) คนที่ ประกอบอาชี พ ปลู ก ผั ก จึ ง มี ค วามส าคั ญ มากถ้ าปลู ก ผั ก ปลอดภัย หลัก การที่ ส าคัญ ในการปลูก ผัก ปลอดภัย โดยยึ ด หลักการการไม่ใช้ สารเคมี จะยึดหลักการนาเอาวิธีการป้องกัน และก าจั ด ศั ต รู พื ช หลายวิ ธี ม าประยุ ก ต์ ใ ช้ ร่ ว มกั น หรื อวิ ธี ผสมผสานทังนี ้ เ้ พื่อความปลอดภัยของเกษตรกร ของผู้บริ โภค และรักษาสิ่งแวดล้ อมแต่การที่จะป้องกัน และกาจัดศัตรู พืชให้ ได้ ผลนั น้ จะต้ องเลื อ กใช้ วิ ธี ที่ เ หมาะสม ประหยั ด และมี ประสิ ท ธิ ภ าพที่ สุด ประชาชนที่ รั บ ประทานผัก เหล่า นี ก้ ็ จ ะมี ความปลอดภัยด้ วย


ชุดความรู้ทามาหากิน “การปลูกผักอินทรี ย์ตะกร้ า” - วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ คนในชุมชนมีสขุ ภาพที่ดีขึ ้น 2) เพื่อให้ คนในชุมชนมีรายได้ เสริ ม 3) ใช้ พื ้นที่วา่ งให้ เกิดประโยชน์ - กลุ่มเป้าหมาย 1) ประชาชนในเขตตาบลขัวมุง อาเภอสารภี 2) ประชาชนทัว่ ไปที่สนใจ


ชุดความรู้ทามาหากิน “การปลูกผักอินทรี ย์ตะกร้ า” - ประโยชน์ ท่ ีคาดว่ าจะได้ รับ 1) ประชาชนมีผก ั ที่ปราศจากสารเคมีบริโภค 2) ประชาชนมีสขุ ภาพที่ดีขึ ้น 3) ก่อให้ เกิดรายได้ เพิ่ม ลดค่าใช้ จ่ายในครัวเรื อน


Mind Map


Infographic


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

เนือ้ หาชุดความรู้ทามาหากิน 1. กระบวนการผลิต - ความรู้/ทักษะสาหรับดาเนินการ 1) การคัดเลือกชนิดผักสาหรับปลูก - จะต้ องรู้จกั ผักที่ต้องการปลูก เช่น ความต้ องการแสง นา้ ความชืน้ การดูแลรักษาเป็ นพิเศษ ควรเลือกชนิดของผักที่ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อม แยกเป็ นประเภท ผักกินลาต้ นหรื อ ยอดอ่อน ผักกินใบ ผักกินดอก ผักกินผล และผักกินรากเป็ นต้ น - ฤดูกาลที่เหมาะสมต่อการปลูก อุณหภูมิ ความชื น้ แสง ฝน และลม เพื่อให้ ผกั เจริ ญเติบโตได้ ดี แข็งแรง ทนทานต่อ โรค และแมลงศัตรูพืช เช่น ผักที่เหมาะสมสาหรับการปลูกในฤดู หนาวได้ แก่ บร็อคโคลี่ กะหล่าปลี ผักกาดเขียว ปวยเล้ ง แครอท มะเขือเทศ พริ กหวาน เป็ นต้ น ผักที่เหมาะสมสาหรับการปลูก ในฤดู ร้ อน เช่ น แตงกวา ฟั กทอง บวบหอม บวบเหลี่ ย ม ถัว่ ฝั กยาว ข้ าวโพดฝั กอ่อน ผักบุ้ง คะน้ า กวางตุ้ง เป็ นต้ น


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

ส่วนผักที่ปลูกครัง้ เดียวรับประทานได้ ตลอดปี เช่น สะระแหน่ แมงลัก โประพา กะเพราะ ตาลึง ผักบุ้งไทย บัวบก กระชาย ข่า ตะไคร้ พริก เป็ นต้ น


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

2) การเตรี ยมดินปลูก - ดิ น ที่ ใ ช้ ปลูก ผัก ในตะกร้ า ต้ องเตรี ย มให้ ดี และ เหมาะสมกับผักแต่ละชนิ ด การเตรี ย มดิ น สาหรั บ ปลูก ผัก ใน ต ะ ก ร้ า ส า ม า ร ถ ท า ไ ด้ เ อ ง โ ด ย มี ส่ ว น ผ ส ม ดั ง นี ้ ดินปลูก 1 ส่วน ปุ๋ยอินทรี ย์ 1 ส่วน นาทัง้ 2 ส่วน ผสมคลุกเคล้ าให้ เข้ ากันให้ ดี ก่อนนาลงปลูก โดย ใช้ ฟ างข้ า ว หรื อ เศษใบไม้ ร องก้ น ตะกร้ าประมาณ 1/3 ของ ตะกร้ า เพื่อป้องกันไม่ให้ ดินรั่วออกตะกร้ า และช่วยดูดซับน ้าไว้ เป็ นอาหารแก่ต้นผักที่ต้องการปลูก การนาดินลงใส่ในตะกร้ าไม่ ควรลงให้ เต็มตะกร้ า หรื อเสมอขอบ ควรเติมหลังจากปลูกผักไป แล้ ว จึงจะเพิ่มดินให้ อยูใ่ นระดับที่ต้องการ


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

การปลูกผักลงตะกร้ า ขึน้ อยู่กบั ชนิดของผักที่จะปลูก คือ สามารถทาได้ ทงปลู ั ้ กแบบใช้ เมล็ดพันธุ์หว่าน หรื อหยอดลง กระถางเลย หรื อ เพราะต้ นกล้ า ก่ อ นแล้ ว จึ ง น าลงปลูก ใน กระถาง หรื อผักบางชนิดสามารถใช้ วิธีปักชาลงในกระถางได้ เลย

วิธีหว่านหรื อหยอดเมล็ด โดยหว่านเมล็ดลงในตะกร้ า โดยกะระยะห่างของเมล็ด หรื อหลุมที่ หยอดให้ เหมาะสมกับ ชนิดของผัก ผักที่นิยมปลูก โดยใช้ เมล็ดได้ แก่ ผักชี , ผักบุ้งจีน, ตังโอ๋ ้ , ขึ ้นฉ่าย เป็ นต้ น วิ ธี เ พาะต้ น กล้ า ผัก ก่ อ นปลูก น าต้ น กล้ า ผัก ที่ เ พาะ เมล็ดได้ ระยะเวลาที่พอเหมาะ โดยสังเกตจากลักษณะของลา ต้ น และระบบรากฝอย ถ้ าสมบูรณ์ ก็สามารถย้ ายต้ นกล้ าผักลง ปลูกได้ เลย ผักที่ นิย มปลูกวิ ธี นีไ้ ด้ แ ก่ ผัก คะน้ า , ผักกาดขาว, ผักกาดเขียวเป็ นต้ น


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

วิธีนาส่วนของผักมาปั กชา ผักที่สามารถนามาลงปลูก แบบปั กชาในตะกร้ าได้ เลย เช่น สะระแหน่, ชะพลู, หอมแบ่ง, ตะไคร้ ฯลฯ การปั กชาต้ องดูวา่ ผัก แต่ละชนิดใช้ สว่ นใดในการ ปั กชาได้ ผักบางชนิดมีรากลึกตะกร้ าที่ใช้ ปักชาควรมีความลึกที่ เหมาะสมต่อผักด้ วย หรื อผักบางชนิดต้ องใช้ ไม้ ปัก เพื่อพยุงลา ต้ นผักให้ ตงตรงและป ั้ ้ องกันการกระทบกระเทือนเวลารดน ้า ในช่วงแรกๆของการปั กชาด้ วย การดูแลรักษาผักในตะกร้ า ผักที่ปลูกในตะกร้ า สามารถทาการดูแลรักษาได้ ง่าย โดยคอยรดน ้าให้ ดินในกระถาง ในมีความชุ่มชื ้นสม่าเสมอ กาจัดวัชพืช พรวนดิน และใส่ป๋ ยุ หากผักมีเจริญเติบโตไม่ดี และควรเปลี่ยนดินเมื่อมีการปลูกผัก ในครัง้ ต่อไป หรื อปลูกผักชนิดใหม่ในตะกร้ าเดิม ถ้ าหากที่ที่วาง ตะกร้ าอยูผ่ กั ที่ปลูกได้ รับแสงไม่เพียงพอ สามารถย้ ายตะกร้ าไป วางไว้ ในที่มีแสงเพียงพอได้


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

การเก็บเกี่ยว สาหรับผักที่ปลูกในตะกร้ า หากเป็ นผักที่ บริ โภคในส่วนของใบ ให้ เก็บใบล่างไปก่อน เหลือยอดบนไว้ ให้ เจริญต่อไป เช่น ผักกาด คะน้ า ปูเล่ ถ้ าเป็ นผักที่ใช้ สว่ นยอดอ่อน บริ โภค ควรเลือกเก็บเฉพาะยอดเท่านัน้ จะทาให้ ผกั มีการแตก ยอดอ่อ นเจริ ญ เติ บ โตให้ เ ราได้ ใ ช้ บ ริ โ ภคอี ก เช่ น สะระแหน่ , กะเพรา, โหระพา ฯลฯ 3) การทาปุ๋ยอินทรี ย์ไว้ ใช้ เอง 1. นาฟางข้ าว 4 เข่ง วางเป็ นชันบาง ้ ๆ สูงไม่ เกิน 10 เซนติเมตร ฐานกว้ าง 2.5 เมตร โปรยทับด้ วยมูลสัตว์ 1 เข่ง แล้ วรดน ้า ทาเช่นนี ้ 15-17 ชัน้ รดน ้าแต่ละชันให้ ้ มีความชื ้น ขึ ้นกองเป็ นรู ปสามเหลี่ยมที่มีความสูง 1.50 เมตร กองปุ๋ยจะมี ความยาวเท่าไรก็ได้ ขึน้ อยู่กับปริ มาณเศษพืช และมูลสัตว์ที่มี ความสาคัญของการที่ต้องทาเป็ นชันบาง ้ ๆ 15-17 ชันก็ ้ เพื่อให้ จุลินทรี ย์ที่มีอยู่ในมูลสัตว์ได้ ใช้ ทงธาตุ ั ้ คาร์ บอนที่มีอยู่ในเศษพืช และธาตุไนโตรเจนที่มีในมูลสัตว์ในการเจริ ญเติบโต และสร้ าง เซลล์ ซึง่ จะทาให้ การย่อยสลายวัตถุดิบเป็ นไปได้ อย่างรวดเร็ว


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

2. รักษาความชืน้ ภายในกองปุ๋ยให้ มีความ เหมาะสมอยู่เสมอตลอดเวลา (มี ค่าประมาณร้ อยละ 60-70 โดยมี 2 ขันตอนดั ้ งนี ้ ขัน้ ตอนที่ 1 รดน า้ ภายนอกกองปุ๋ยทุกวัน ๆ ละครั ง้ โดยไม่ให้ มีน ้าไหลนองออกมาจากกองปุ๋ย ขันตอนที ้ ่ 2 เมื่อครบวันที่ 10 ใช้ ไม้ แทงกองปุ๋ยให้ เป็ นรู ลึกถึงข้ างล่างแล้ วกรอกนา้ ลงไป ระยะห่างของรู ประมาณ 40 เซนติเมตร ทาขันตอนที ้ ่สองนี ้ 5 ครัง้ ระยะเวลาห่างกัน 10 วัน เมื่อเติมนา้ เสร็ จแล้ วให้ ปิดรู เพื่อไม่ให้ สญ ู เสียความร้ อนภายใน กองปุ๋ย ขันตอนนี ้ ้แม้ วา่ อยูใ่ นช่วงของฤดูฝนก็ยงั ต้ องทา เพราะ


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

น ้าฝนไม่สามารถไหลซึมเข้ าไปในกองปุ๋ยได้ จากข้ อดีที่น ้าฝนไม่ สามารถชะล้ างเข้ าไปในกองปุ๋ยได้ เกษตรกรจึงสามารถผลิตปุ๋ย อินทรี ย์ด้วยวิธีนี ้ในฤดูฝนได้ ด้วย ภายในเวลา 5 วันแรก กองปุ๋ยจะมีค่าอุณหภูมิ สูงขึน้ มาก บางครัง้ สูงถึง 70 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็ นเรื่ องปกติ สาหรับกองปุ๋ยที่ทาได้ ถกู วิธี ความร้ อนสูงนี ้เกิดจากกิจกรรมการ ย่อยสลายของจุลินทรี ย์ (จุลินทรี ย์มีมากมายและหลากหลายใน มูลสัตว์ อ ยู่แล้ ว ) และความร้ อนสูงนี ย้ ังเป็ นสภาวะแวดล้ อมที่ เหมาะสมกั บ การท างานของจุ ลิ น ทรี ย์ ใ นกองปุ๋ ยอี ก ด้ วย (จุลินทรี ย์กลุม่ Thermophiles และ Mesophiles) หลังจากนัน้ อุณหภูมิจะค่อย ๆ ลดลงจนมีคา่ อุณหภูมิปกติที่อายุ 60 วัน 3. เมื่ อกองปุ๋ยมีอายุครบ 60 วัน ก็หยุดให้ ความชื น้ กองปุ๋ยจะมี ความสูงเหลือเพียง 1 เมตร แล้ วทาปุ๋ย อินทรี ย์ให้ แห้ งเพื่อให้ จลุ ินทรี ย์สงบตัว (StabiliZation Period) และไม่ให้ เป็ นอันตรายต่อรากพืช วิธีการทาปุ๋ยอินทรี ย์ให้ แห้ ง อาจทาโดยทิง้ ไว้ ในกองเฉย ๆ ประมาณ 1 เดือน หรื ออาจแผ่ กระจายให้ มีความหนาประมาณ 20-30 ซม. ซึง่ จะแห้ งภายใน


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

เวลา 3-4 วัน สาหรับผู้ที่ต้องการจาหน่ายปุ๋ยอินทรี ย์ก็อาจนาปุ๋ย อินทรี ย์ที่แห้ งแล้ ว ไปตีป่นให้ มีขนาดเล็กสม่าเสมอ ซึง่ จะมีราคา ประมาณกิโลกรัมละ 5 - 7บาท สามารถเก็บได้ นานหลายปี

กองปุ๋ยที่สงู 1.5 เมตร จะสามารถเก็บกักความร้ อนที่ เกิดจากปฏิกิริยา การย่อยสลายของจุลินทรี ย์เอา ไว้ ในกองปุ๋ย ความร้ อนนี ้นอกจากจะเป็ นสภาพแวดล้ อม ที่เหมาะกับจุลินทรี ย์ ชนิดชอบความร้ อนสูงที่มีในมูลสัตว์ แล้ วเมื่อความร้ อนนี ้ลอยตัว สูง ขึ น้ จะท าให้ อ ากาศภายนอกที่ เ ย็ น กว่ า ไหลเวี ย นเข้ า ไปใน ภายในกองปุ๋ย ซึ่งเกิดจากผลของการพาความร้ อน (Chimney Convection) อากาศภายนอกที่ไหลหมุนเวียนเข้ ากองปุ๋ยนี ้ช่วย ทาให้ เกิดสภาวะการย่อยสลายของจุลินทรี ย์ แบบใช้ อากาศ


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

(Aerobic Decomposition) ทาให้ ไม่ต้องมีการพลิกกลับกอง และช่วยให้ กองปุ๋ยไม่มีกลิน่ หรื อน ้าเสียใด ๆ วิธีการทาน ้าหมักชีวภาพ วัสดุและอุปกรณ์ 1. เศษพืชผัก ผลไม้ หรื อเศษอาหารที่ยงั ไม่บดู เน่า 2. กากน ้าตาลหรื อน ้าตาลทรายแดง 3. ถังสาหรับหมัก 4. มีด วิธีการ 1. นาวัตถุดิบมาสับ บด โขลก หรื อหัน่ เป็ นชิ ้นเล็ก ๆ 2. บรรจุลงในภาชนะ 3. เติมกากน ้าตาล หรื อน ้าตาลทรายแดง และ ส่วนผสมอื่น ๆ ลงไป ตามอัตราส่วน


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

4. คนหรื อคลุกเคล้ าให้ เข้ ากัน ปิ ดฝาภาชนะ หมักไว้ 7-15วัน 5. ครบรอบตามกาหนดปุ๋ยหมักนา้ ชีวภาพจะมีกลิ่น หอม 6. สาหรับปุ๋ยหมักน ้าชีวภาพถัว่ เหลือง และปุ๋ยหมักน ้า ชีวภาพปลาสดหรื อหอยเซลรี่ ควรหมักอย่างน้ อย 1 เดือน จึง นาไปใช้ ได้ และระหว่างหมักให้ หมัน่ คนส่วนผสมทุกวัน 7. หากมีกลิ่นเหม็นหรื อบูดเน่าให้ เติมกากน ้าตาลหรื อ น ้าตาลทราย แล้ วคนให้ เข้ ากันทิ ้งไว้ 3-7 วัน กลิ่นเหม็นหรื อกลิ่น บูดเน่าจะหายไป 8. การแยกกากและนา้ ชีวภาพ โดยใช้ ถุงอาหารสัตว์ ถุงปุ๋ยเคมี หรื อมุ้งเขี ยว รองรั บกากและนา้ ชี ว ภาพจะไหลลง ภาชนะที่เตรี ยมไว้ และกากที่เหลือนาไปคลุมโคนพืช หรื อคลุม แปลงต่อไปได้ อีก


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

เคล็ดลับในการทานา้ หมักให้ ได้ ผลดี 1. ควรเลื อ กใช้ เศษพื ช ผั ก ผลไม้ หรื อ เศษ อาหารที่ยงั ไม่บูดเน่า สับหรื อบดให้ เป็ นชิ ้นเล็ก ๆ ใส่ใน ภาชนะที่มีปากกว้ าง เช่นถังพลาสติกหรื อโอ่ง หากมีน ้า หมัก ชี ว ภาพอยู่แ ล้ ว ให้ เ ทผสมลงไปแล้ ว ลดปริ ม าณ กากน า้ ตาลลง ปิ ดฝาภาชนะทิ ง้ ไว้ จ นได้ เ ป็ นน า้ หมัก ชีวภาพจากนันกรอกใส่ ้ ขวดปิ ดฝาให้ สนิทรอการใช้ งาน ต่อไป 2. ในระหว่างการหมัก ห้ ามปิ ดฝาภาชนะจน แน่นสนิทเพราะอาจทาให้ ระเบิดได้ เนื่ องจากระหว่าง การหมัก จะเกิ ด ก๊ า ชต่า งๆขึน้ เช่ น ก๊ า ซคาร์ บ อนได ออกไซด์ ก๊ าซมีเทน เป็ นต้ น 3. ไม่ควรเลือกพืชจาพวกเปลือกส้ ม ใช้ ทานา้ หมัก เพราะมีน ้ามันที่ผิวเปลือกจะทาให้ จลุ ินทรี ย์ไม่ย่อย สลายการทาน ้าหมักชีวภาพ ไม่ใช่เรื่ องยาก แต่ต้อง


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

อาศัยเวลาและความอดทน ที่สาคัญน ้าหมักชีวภาพไม่ มี สู ต รที่ ต ายตัว เราสามารถทดลองท าปรั บ เปลี่ ย น วัต ถุดิ บ ให้ เหมาะสมกับ ต้ น ไม้ ข องเรา เพราะสภาพ แวดล้ อมแต่ละท้ องถิ่นมีความแตกต่างกัน ต้ นไม้ แต่และ ถิ่นก็ต้องการการดูแลที่แตกต่างกัน นา้ หมักชีวภาพจึง จาเป็ นต้ องมีความแตกต่างกันตามท้ องถิ่น


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

เงินลงทุน ในการที่จะปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า เพื่อลดค่าใช้ จ่าย ในครัวเรื อน ต้ นทุน หรื อเงินลงทุนต่อตะกร้ าจะประมาณตะกร้ า ละ 28 บาท ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้ 1. ดินปลูก 1 กระสอบ 35 บาท 2. ปุ๋ยอินทรี ย์ 1 กระสอบ 95 บาท 3. ตะกร้ าส้ มเล็ก 10 ตะกร้ า 100 บาท 4. เมล็ดพันธุ์ผกั 200 กรัม 50 บาท 5. เศษใบไม้ และฟางข้ าว ในชุมชน จากวัตถุดิบทังหมดนี ้ ้จะสามารถปลูกได้ ทงหมด ั้ 10 ตะกร้ า ซึ่ง สามารถทาเองได้ ง่าย ๆ ที่บ้าน กับเนื ้อที่ๆไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ ใน ขันตอนการปลู ้ กเราจะต้ องนาดินกับปุ๋ยมาคลุกกันแล้ วหมักทิ ้ง ไว้ อย่างน้ อย 1 คืน จากนัน้ นาเศษใบไม้ หรื อฟางข้ าว รองก้ น ตะกร้ า 1 ใน 3 ส่วนของตะกร้ า แล้ วรดน ้าพอชุ่มตามด้ วยนาดิน


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

ดินปลูกที่หมักไว้ มาลงตะกร้ าเกลี่ยให้ ทวั่ อย่าให้ เต็มตะกร้ าให้ พอเหลือเนื ้อที่ประมาณ 3 นิ ้วจากขอบตะกร้ า จากนันน ้ าเมล็ด ที่ซือ้ จากกลุ่มเกษตรอินทรี ย์ในชุมชน หรื อจาก มหาวิทยาลัย แม่โจ้ มาหยอดลงหลุมซึ่งเว้ นช่องว่างระหว่างหลุมพอสมควร เพื่อให้ ต้นผักงอกขึน้ มาโดยไม่เบียดกันมากเกินไป จากนัน้ นา ตะกร้ าไปวางไว้ ในพื ้นที่ ที่ว่างซึง่ ได้ รับแสงและน ้าอย่างเพียงพอ รอบระยะเวลาในการเก็ บ เกี่ ย วครั ง้ แรกประมาณ 35-40 วัน ขึน้ อยู่กับชนิ ดของผักที่ ปลูก และรอบต่อไปอี กประมาณ 1-2 อาทิตย์ ซึ่งในแต่ละตะกร้ าสามารถเก็บเกี่ยวได้ อย่างน้ อย ๆ 3 รอบการเก็บเกี่ยว หากคิดเป็ นมูลค่าตามราคาท้ องตลาดโดย ทัว่ ๆ ไปอย่างน้ อย ๆ กิโลกรัมละ 20 บาท รอบการเก็บเกี่ยวได้ ประมาณอย่างน้ อย 2 กิโลกรัมต่อรอบ ถ้ าคิดประมาณการเก็บ เกี่ยว 3 รอบ จะได้ ประมาณ 6 กิโลกรัมต่อตะกร้ า คิดเป็ นมูลค่า 120 บาท ซึง่ ต้ นทุนต่อตะกร้ าประมาณ 28 บาท คิดเป็ นผลกาไร หรื อลดค่าใช้ จ่ายในครัวเรื อนได้ ประมาณ 92 บาทต่อตะกร้ า


ประมวลเนือ้ หา

การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

ปั จจัยสู่ความสาเร็จ 1. ต้ นทุนต่า 2. สามารถทาเองได้ โดยอุปกรณ์และวัตถุดิบหาได้ ง่าย 3. ใช้ พื ้นที่ไม่มาก แนวคิดใหม่ ในการพัฒนาอาชีพ จากการปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ าเพื่อลดค่าใช้ จ่ายใน ครั ว เรื อ นแล้ ว ด้ ว ยต้ น ทุน ที่ ค่อ นข้ า งต่ า วัต ถุดิ บ หาได้ ง่ า ยใน ชุมชน สามารถพัฒนาขยายการปลูกผักชนิดต่าง ๆ และจานวน ตะกร้ าเพื่อนาเข้ าสู่ตลาดผักอินทรี ย์ ซึ่งในปั จจุบันกระแสการ บริ โภคเพื่อสุขภาพกาลังเป็ นที่นิยม ถ้ ามีการนาผลผลิตส่งให้ สาธารณสุข ตรวจสอบแล้ วออกใบรั บ รองให้ ไ ด้ แ ล้ ว สามารถ พัฒ นาผลิ ต ผลทางการเกษตรบรรจุหี บ ห่ อ เพื่ อ น าส่ง ตลาด ใหญ่ ๆ ต่อ ไปเพื่ อการสร้ างรายได้ ให้ กับตนเอง ชุมชน อย่า ง ยัง่ ยืนต่อไป


การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

5

6

2

5 สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

การปลูกผักระบบเกษตรอินทรีย์โดย กรมส่ งเสริมการเกษตร ความสมดุลของธรรมชาติ การหลีกเลี่ยงสารเคมี การปรับปรุงดินและการพัฒนาดิน เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้ ได้ มากขึ ้น และปลอดภัยต่อผู้บริโภค

ปลูกผัก โดย มิซุงชุ ิ ฟุมิโอะ วิธีการปลูกผักตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

เทคนิคการปลูกผักสวนครั ว ผักปลอดสารพิษ โดย เกริก ท่ วมกลาง ผักปลอดสารพิษให้ สารอาหารดีเยี่ยม

การปลูกพืชผักสวนครั ว โดย อ.วิเชษฐ ค้ าสุวรรณ เคล็ดลับการปลูกจนถึงการวิธีการเก็บเกี่ยวผลผลิต

พาเหรดสวนผัก โดย สุมิตรา จันทร์ เงา ได้ กล่าวถึงคุณประโยชน์ของพืชผักและสารอาหารที่เป็ นประโยชน์ตอ่ สุขภาพ

ปลูกผักไทย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วีณา เชิดบุญชาติ วิธีการปลูกผักกินเองอย่างง่าย

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า

การทาน ้าหมักชีวภาพไว้ ใช้ เอง http://www.oknation.net/blog/sonorwut/2013/11/02/entry-2

ไทยเกษตรศาสตร์ เว็บรวบรวมวิชาความรู้ด้านการเกษตรของไทย http://www.thaikasetsart.com/

ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://www.natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-111web/index.htm

ขั ้นตอนการปลูกผักระบบเกษตรอินทรี ย์ http://vegetablethai.6te.net/p5.html

การจัดการดินด้ วยปุ๋ยอินทรี ย์เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชผัก http://www.ku.ac.th/e-magazine/march48/agri/ancestors.html

บ้ านมหา ดอทคอม วิธีการปลูกผักในกระถาง http://www.ku.ac.th/e-magazine/march48/agri/ancestors.html

เกษตรอินทรี ย์ แม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ http://www.e-manage.mju.ac.th/organic.aspx?id=151 สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แหล่ งอ้ างอิง

• เจ้ าของความรู้

ปราชญ์ชมุ ชน นายสวัสดิ์ อินต๊ ะโพก ประธานกลุม่ ผู้ปลูกผักอินทรี ย์ตาบลขัวมุง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


การปลูกผักอินทรี ย์ในตะกร้ า เมล็ดพันธุ์ผกั

ตะกร้ าส้ มเล็ก

ปุ๋ยอินทรี ย์

ดินปลูก

เศษใบไม้ /ฟางข้ าว

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แผนการถ่ ายทอดองค์ ความรู้ และรูปแบบกิจกรรมหรือนิทรรศการ จัดการสาธิตการปลูกผักอินทรี ย์ตะกร้ าให้ กบั ชุมชน เพื่อให้ ชมุ ชนเกิดความตระหนักถึงปั ญหาสุขภาพ และสามารถ เพิ่มรายได้ ลดค่าใช้ จ่ายให้ กบั ครอบครัว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.