ชุดความรู้กินได้ | เรือเอกลักษณ์น่านจำลอง

Page 1

เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง

ใส่ ภาพ ผู้จัดทา..... วิทยาลัยชุมชนน่าน 1. นางสาวปวีณา ผาแสง 2. นางขนิษฐา นครประสาท 3. นายสิทธิวัฒน์ สุสมร สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชั้น 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

บทนา หลักการและเหตุผล ประเพณีแข่งเรือจังหวัดน่าน เป็นประเพณีเก่าแก่สบื เนื่องมาแต่โบราณ มีประวัตคิ วามเป็นมา ว่า “เจ้าผู้ครองนครสั่งให้ข้าราชการตัดไม้ตะเคียนคู่ขนาดใหญ่มาก 2 ลา ได้เรือท้ายหล้า และ เรือตาตอง ประชาชนได้ใช้เรือ 2 ลานี้เป็นต้นแบบในการสร้างเรือ เพื่อนาไปใช้ในการแข่งขัน” ชาวน่านมีความผูกพันกับพญานาค โดยเชื่อว่าพญานาคจะปกป้องคุ้มครองโบราณสถาน วัดวาอาราม และสิ่งศักดิ์สทิ ธิ์ท่ีเคารพสักการะ จึงขุดเรือและตกแต่งหัวเรือ หางเรือ และลาเรือให้มี ลักษณะคล้ายพญานาค การแข่งเรือประเพณีจังหวัดน่าน ในสมัยก่อนจัดการแข่งขันในงานประเพณี ถวายทานสลากภัต หรือ ชาวบ้านเรียกว่า “ตานก๋วยสลาก” เมื่อเสร็จพิธีก็จะนาเรือมาแข่งขันกัน อย่างสนุกสนาน เชื่อมความสามัคคีให้เกิดขึ้นกับคนในชุมชน สืบมาจนถึงปัจจุบัน ดังคาขวัญจังหวัดน่าน ว่า “แข่งเรือลือเลื่อง เมืองงาช้างดา จิตรกรรมวัดภูมนิ ทร์ แดนดินส้มสีทอง เรืองรองพระธาตุแช่แห้ง” ปัจจุบันจังหวัดน่านนับว่าเป็นจังหวัดที่จานวนนักท่องเที่ยว เพิ่มขึ้นทุกปี มีอัตราการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 6.75 นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะเที่ยวมาชมความงาม และซึมซับบรรยากาศของธรรมชาติ และกลิ่นอายทางวัฒนธรรมล้านนาน่าน สิ่งหนึ่งที่สามารถตอบสนองกับความต้องการของ นักท่องเที่ยวคือการเลือกซื้อของที่ระลึก นาไปเป็นของฝาก หรือของตกแต่งบ้าน การผลิตของที่ระลึก ของฝาก เพื่อนักท่องเที่ยว ถือว่าเป็นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับ คนในจังหวัดน่านได้ เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง ถือว่าเป็นของฝาก หรือของที่ระลึกซึ่งแสดงถึงความ เป็นน่าน เพราะมีเรื่องราวเกี่ยวกับประเพณีที่มมี าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเอกลักษณ์ที่แสดงถึง ความเป็นจังหวัดน่านได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นการสืบสาน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่ ต่อไป


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

วัตถุประสงค์ของการจัดทาชุดความรู้ทามาหากิน 1. เพื่อนาเสนอเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพสาหรับผู้ที่ต้องการอาชีพหลักและ อาชีพเสริมได้เพิ่มรายได้ 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้และภูมปิ ัญญาการทาเรือเอกลักษณ์น่านจาลอง 3. เพื่ออนุรักษ์สบื สานองค์ความรู้การทาเรือเอกลักษณ์น่านจาลอง

กลุ่มเป้าหมาย 1. ผู้ว่างงานที่ต้องการมีอาชีพอิสระทางานที่บ้าน 2.บุคคลทั่วไปที่ต้องการมีอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ 3.กลุ่มช่างไม้ หรือสล่าทาเรือ


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

ขั้นตอนการจัดทาชุดความรู้ทามาหากิน จุดอ่อนของอาชีพ

จุดแข็งอาชีพ 1. เป็นอาชีพอิสระสามารถทางานที่บ้านของ ตนเองได้ 2. ลงทุนครั้งเดียว กาไรมาก 3. สามารถประกอบอาชีพโดยใช้แรงงานเพียงคน เดียว 4. สร้างคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม 5. มีผู้รู้ในอาชีพ

1. ต้องมีทักษะเกี่ยวกับงานศิลปะ และการใช้ เครื่องมือ 2. กระบวนการผลิตค่อนข้างประณีต 3. ต้องมีใจรักในอาชีพ 4. การผลิตชิ้นงานต่อชิ้นใช้เวลานาน

SWOT โอกาสอาชีพ 1. ปัจจุบันมีการอนุรักษ์สบื สานเรือ เอกลักษณ์น่าน 2. ทามาหากินโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรม 3. ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวในจังหวัดน่าน เพิ่มขึ้นทุกปี 4. ร้านค้าที่จาหน่ายของที่ระลึกมีความ ต้องการสินค้าเพิ่มขึ้น

อุปสรรคอาชีพ 1. เป็นอาชีพที่ต้องใช้ทักษะและความชานาญใน การผลิตชิ้นงาน 2. จะขายสินค้าได้น้อยลงในช่วง low season


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. ผู้ท่ีสนใจนาไปประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริมมี รายได้เพิ่มขึ้น มีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตดีข้ึน 2. สามารถเผยแพร่ความรู้และภูมปิ ัญญาการทาเรือ เอกลักษณ์น่านจาลอง 3. เป็นการอนุรักษ์สบื สาน องค์ความรู้การทาเรือ เอกลักษณ์น่านจาลอง ให้คงอยู่คู่จังหวัดน่าน


Mind Map



ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

ประมวลเนื้อหา ความรู้ด้าน ทฤษฎี

วัสดุดบิ วัสดุ อุปกรณ์ กระบวนกา รผลิต

การจัดการ กาลังคน

ประมวล เนื้อหา

ปัญหา/ วิธี แก้

การตลาด

เงินทุน ปัจจัยสู่ ความสาเร็จ

แนวคิดการ พัฒนาอาชีพ


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

ความรู้ด้านทฤษฎี ประวัติความเป็นมา การแข่งเรือเมืองน่านเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อไร ไม่ปรากฏหลักฐานบอกไว้ มีแต่คาบอกเล่าสืบต่อกันมา และร่องรอยจากซากเรือแข่งเก่าแก่ที่ชารุด แต่ก็มีเรือบางลาอายุร่วม ๒๐๐ ปี ยังมีสภาพดีสามารถนาลง แข่งขันได้ เช่น เรือเสือเฒ่าท่าล้อ บ้านท่าล้อ อาเภอภูเพียง ขุดเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๙, เรือเสือเฒ่าบุญเรือง บ้าน บุญเรือง อาเภอเวียงสา ขุดเมื่อ พ.ศ.๒๓๘๐ และ เรือคาแดงเทวี ( นางดู่งาม ) บ้านนาเตา อาเภอท่าวัง ผา ขุดเมื่อ พ.ศ.๒๓๙๐ จึ​ึงเป็นข้อมูลเชื่อได้ว่าเรือแข่งเมืองน่านเกิดมาพร้อมกับความเป็นเมืองน่าน ผู้คนที่ มีวิถีชีวิตผูกพันกับแม่น้าน่าน สารธารแห่งชีวิตและจิตวิญญาณของชาวเมืองน่าน การแข่งเรือประเพณีเมืองน่านในสมัยก่อน จะดัดการแข่งขันในงานประเพณี ถวายทานสลากภัต หรือชาวน่านเรียกว่า “ตานก๋วยสลาก” ถ้าวัดของชุมชน-หมู่บ้านใดที่มีเรือแข่งมีการจัดงานประเพณี ตานก๋วยสลาก คณะศรัทธาหมู่บ้าน-ชุมชนต่างๆ ที่มีเรือแข่ง ก็จะนาเรือแข่งบรรทุกก๋วยสลากพร้อม ชาวบ้านและพระภิกษุ สามเณร ที่รับกิจนิมนต์เดินทางไปยังวัดที่มีงานประเพณีตานก๋วยสลาก เนื่องจากการคมนาคมในสมัยนั้นยังไม่สะดวกสบายเหมือนปัจจุบันอีกทั้งชุมชนหมู่บ้านก็ตั้งไม่ห่างไกลกัน มาก และมักจะตั้งชุมชน-หมู่บ้านอยู่ติดกับลาน้าน่านในขณะที่พายเรือไปก็จะตีฆ้อง กลอง ฉิ่ง ฉาบ ปาน และ เป่าแน เป็นทานองเพลงล่องน่าน และผู้เฒ่าผู้แก่ก็จะลุกขึ้นฟ้อนซึ่งเป็นที่มาของท่าฟ้อน “ล่อง น่าน” ที่มีเอกลักษณ์รูปแบบการฟ้อนเฉพาะตัว เมื่อเสร็จพิธีในช่วงบ่ายก็จะนาเรือแข่งมาแข่งกันอย่าง สนุกสนาน รางวัลที่ได้ก็จะเป็นเหล้าขาวใส่กระบอกไม้ไผ่ ระยะหลังก็จะเปลี่ยนเป็นตะเกียงเจ้าพายุและ น้ามันก๊าด เพื่อนาไปจุดให้แสงสว่างในชุมชน-หมู่บ้านเนื่องจากในสมัยนั้นยังไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้ รวมถึง ธงปักหัวเรือและเริ่มวิวัฒนาการเป็นถ้วยรางวัลในปัจจุบัน


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

ความรู้ด้านทฤษฎี ส่วนประกอบเรือเอกลักษณ์น่าน หัวเรือเอกลักษณ์น่าน เป็นรูปร่างลักษณะคล้ายหัวพญานาค เจาะด้วยไม้ท่อนเดียวและแกะสลักลวดลาย ทาสีให้สวยงามตามลักษณะเรือเมืองน่าน โดยมีส่วนประกอบดังนี้ ๑. เขี้ยวฟอง จะมีสองแบบ คือ เป็น เขี้ยวสิบซี่ และเขี้ยวสิบสี่ซี่ โค้งงอ เหมือนปากนกแล (นกแก้ว) ก้มกินน้า ๒. เขี้ยวแต คือเขี้ยวซี่เล็กที่เรียง ติดกัน อยู่ระหว่างเขี้ยวฟอง ต้องหึก (หนา) บ่งบอกความแข็งแรง ๓. เขี้ยวหนาย เป็นเขี้ยวฟองซี่ในสุด จะโค้งงอขึ้นหรือลงก็ได้

๔. แก้ม จะต้องมีลักษณ์อวบอูม เหมาะสมกับหัวเรือ ให้มีเกล็ดเป็นร่อง หรือซ้อนกันเหมือนเกล็ดปลา ๕. หมกขี้หมา (จมูก) ขนาดใหญ่สูง มีร่องวนเป็นก้นหอย ปุ้มมน มีรูเสียบดอกไม้พ้นื เมือง รูปทรงมองจากด้านหน้าแบะ ออก เล็กน้อย ๖. หงอน อยู่ระหว่างหมกขี้หมา มีความสูงเสมอกับหมกขี้หมา ต้องแกะสลักจากไม้และต้องถอดประกอบได้ ๗.กาบรอง กาบจว้า หรือหางแมงดา จะอยู่บริเวณใต้หงอนเพื่อล๊อคหัวเรือไม่ให้สั่นคลอน ๘. เดียกาง (เดือยคาง) จะอยู่ด้านล่างตรงข้ามกับ กาบจว้า ทาหน้าที่ล๊อคหัวเรือไม่ให้สั่นคลอน ๙. มะเดง (กระดิ่ง) แขวนไว้ในปาก ๑๐. กระจกคาง จะมีลักษณะกลมหรือเหลี่ยมพร้อมพู่ ติดแขวนไว้ใต้คาง ๑๑. มะต๋า (ดวงตา) จะเป็นกระจกติด หรือแต้มสีเป็นดวงตาดา ๑๒. หมกต๋า (ขอบตา) จะมีลักษณะคว่า หรือ หงายก็ได้


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

ความรู้ด้านทฤษฎี กันยาเรือ (โขนเรือ) คือส่วนที่ต่อจากลาเรือไปหาหัวเรือและหางวัลย์ (กันยาหาง โงนหาง) ๑. กันยาเรือ (คอต่อหัว โงนหัว) มีลักษณะโค้ง งอสมส่วนกับตัวเรือ ไม่มีผ้าแพรสีและผ้าสีอ่นื ผูกมัด ยกเว้นด้ายหมาย ขวัญ และกระสวย ดอกไม้ ธูปเทียน ๒. คันจ่อ (คันธงประจาเรือ) มีความยาว ๑.๕๒ เมตร ต้องมีก๋วยสลากผูกติดคันจ่อ ตามความ เหมาะสมของเรือ ๓. แซ่ หรือ ต่อนต้อ (สลักคอต่อเรือ) สาหรับ เสียบยึดกันยากับตัวเรือให้แน่น มีลักษณะเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัวตามแต่ละหมู่บ้าน (รูปสัตว์ ในวรรณคดี เช่น ลิง ไก่ สิงห์ ฯลฯ) ๔. หางวัลย์ คือ หางของเรือที่มีลักษณะคล้าย หางพญานาค เพื่อต่อกับกันยาท้าย จะต้องสูงกว่า หัวเรือโดยแกะสลักหรือฉลุลวดลาย ทาสีให้ สวยงาม มีกระดิ่ง สายสนุก (หรือพู่หาง) ห้อย ความยาวพอสมควร

ลาเรือ ขุดจากไม้ซุงท่อนเดียวยาวตลอดข้างลาเรือวาดลายไทยทาสีให้สวยงามตลอดลาเรือ เช่นลายกนก ใบเทศ ลายกอด ลายเกี้ยว ลายเกาะหรือดอกโดด ยาวต่อเนื่องตลอดลาเรือ หมายเหตุ ๑. สีที่ใช้ สีดา สีแดง สีหมากสุก (ส้ม) สีเขียว สีเหลือง และสีขาว ๒. การทาสีต้องเป็นการระบายเอกลักษณ์ของสีนั้นๆ ตาม ลักษณะเรือเมืองน่าน ๓. เรือทุกลาต้องมีช่อื เรือ เขียนไว้ที่กันยาหัว และชื่อหมู่บ้านเขียน ไว้ที่กันยาหาง สามารถอ่านได้ชัดเจน


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

วัสดุดบิ ‟วัสดุ-อุปกรณ์ วัตถุดิบ

อุปกรณ์

วัสดุ

ไม้สัก

สิ่วขนาดต่าง ๆ

พู่กัน

ไม้ยางพารา

เลื่อยฉลุ

กาว

ไม้มูกมัน

เลื่อยบังตอ ค้อน หัวหมู สว่านไฟฟ้า คีมจับปากกา

ตลับเมตร คีมขนาดต่าง ๆ เต้าดีดเส้น กรรไกร มีดคัตเตอร์ ไม้บรรทัด

แลกเกอร์ สีโปสเตอร์ ดินสอ กาวร้อน


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

กระบวนการผลิต วิธีการ การสร้างลาเรือ

1.

2.

3. 4. 5. 6. 7. 8.

การเตรียมเครื่องมือและ อุปกรณ์ การสร้างแบบลาเรือ (แบบ โป้งมะหลอด, แบบปลาช่อน) การสร้างลาเรือ การสร้างม้านั่ง การสร้างสร้อยเรือ การตกแต่ง ขัด เกลา การตรวจสอบ การทาความสะอาดและการ เก็บเครื่องมือและอุปกรณ์

ภาพประกอบ


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

กระบวนการผลิต วิธีการ

การสร้าง หัวเรือ

1.

2.

3. 4. 5. 6.

7. 8.

การเตรียมเครื่องมือและ อุปกรณ์ การสร้างแบบหัวเรือ (แบบ เจาะ, แบบประกบ) การสร้างหัวเรือ การสร้างหงอนหัวเรือ การตกแต่ง ขัด เกลา การประกอบหัวเรือกับหงอน หัวเรือ การตรวจสอบ การทาความสะอาดและการ เก็บเครื่องมือและอุปกรณ์

ภาพประกอบ


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

กระบวนการผลิต วิธีการ

การสร้าง กันยาเรือ

1. การเตรียมเครื่องมือ วัสดุและ อุปกรณ์ 2. การสร้างแบบกันยาเรือ (กันยา หัวเรือ, กันยาหางเรือ) 3. เกลาไม้ตามแบบ 4. การตกแต่ง ขัด เกลา กันยาเรือ 5. การตรวจสอบ 6. การทาความสะอาดและการเก็บ เครื่องมือและอุปกรณ์

ภาพประกอบ


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

กระบวนการผลิต วิธีการ

การสร้าง หางวัลย์

1. การเตรียมเครื่องมือ วัสดุและ อุปกรณ์ 2. การสร้างแบบหางวัลย์ 3. การเตรียมไม้ 4. การแปะแบบหางวัลย์กับไม้ที่ เตรียมไว้ 5. การตัดแบบหางวัลย์ด้วยเลื่อย ฉลุ หรือเครื่องมือแกะสลัก 6. การตกแต่ง ขัด เกลา หางวัลย์ 7. การตรวจสอบ 8. การทาความสะอาดและการเก็บ เครื่องมือและอุปกรณ์

ภาพประกอบ


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

เงินทุน • ไม้สักท่อน ศอกละ 65 บาท • ค่าวัสดุ -อุปกรณ์ (สิ่ว, เลื่อยฉลุ, พู่กัน, สีโปสเตอร์, กาวร้อน,ค้อน, กาวลาเท็กซ์, กระดาษทราย, แลกเกอร์, คีมจับปากกา, หัวหมู, สว่านไฟฟ้า, ไม้บรรทัด, ดินสอ, เต้า ตีเส้นสลับเมตร, กรรไกร, มีดคัตเตอร์, คีม, เลื่อยปังตอ) รวมเป็นเงิน 20,000 บาท

ตารางแสดงราคาขายต่อชิ้น ขนาด

ต้นทุน (ไม้)

วัสดุ

แรง

ราคา

50 cm.

130

470

900 (3วัน)

1,500

90 cm.

260

740

1,500 (5วัน)

2,500

150 cm.

390

1,010

2,100 (7วัน)

3,500

200 cm.

520

1,880

2,100 (7วัน)

4,500


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

การจัดการกาลังคน การทาเรือเอกลักษณ์น่านจาลอง สามารถดาเนินการเพียงคนเดียวได้ โดยจะต้องมีความรู้สองด้าน คือ ความรู้ ทักษะด้านช่างไม้ และความรู้ ทักษะด้าน งานศิลปะเล็กน้อย

ความรู้และทักษะ ด้านช่างไม้

ความรู้และทักษะ ด้านงานศิลปะ


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

การตลาด

กลุ่มเป้าหมาย

„ นักท่องเทียว „ กลุ่มองค์กร „ กลุ่มคนทั่วไป

สถานที่จาหน่าย „ ร้านกาแฟ „ ศูนย์อาหาร „ ศูนย์ OTOP „ สนามบิน „ โรงแรม „ ถนนคนเดิน „ Social Network

การส่งเสริมการ ขาย „ Packaging „ การ์ด

ราคา ความสวยงาม ขนาดของเรือ


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

ปัญหา/วิธีการตัดสินใจ/กระบวนการแก้ปัญหา ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 1.ปัญหาเรื่องการตลาด การประชาสัมพันธ์ (ไม่รู้จักธุรกิจการ บอกต่อ, ไม่มีแผนการทา Social Media) 2. ไม่มีการวางแผนระยะยาว

แนวทาง/วิธีแก้ปัญหา 1. แนวทางการแก้ปัญหาเรื่องการตลาด การประชาสัมพันธ์สร้างเครือข่ายจากธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของเรา เพื่อให้มีคนรู้จักเราในวงกว้างมากขึ้น และลองเริ่มต้นใหม่จากการลิสต์ส่ิงที่เราต้องการ จากการทา Social Media มาก่อนว่าต้องการอะไร อยากให้มีคนรู้จักเรามากๆ หรืออยากสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดี จากนั้นดูต่อว่า Social Media ไหนที่เหมาะ และควรให้ความสาคัญในเรื่องของ คุณภาพมากกว่าปริมาณคนเข้าชมเสมอ 2. แนวทางการแก้ปัญหาเรื่องไม่มีการวางแผนระยะยาว ควรมีการประเมินสภาพร้านอยู่บ่อย ๆ ว่า ตอนนี้ได้กาไร ขาดทุน หรือมีสภาพคล่องทางการเงินเป็นอย่างไร มีการกาหนดเป้าหมายของการ ทางานให้แน่ชัด และต้องนามาวิเคราะห์ใหม่อยู่ตลอด เริ่มต้นจากการวาดภาพรวมคร่าว ๆ ในหัว ตั้งแต่ต้นจนจบว่าจะดาเนินไปในทางใด ก่อนที่จะลงรายละเอียดในเวลาต่อมาวางแผน ต่อ ๆ ไป และพยายามทาให้ได้ตามแผนนั้น


ชุดความรูท ้ ามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

ปัจจัยสู่ความสาเร็จ

มีความซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบ

มีใจรัก

ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์

ปัจจัยสู่ ความสาเร็จ

กระตือรือร้นไม่ หยุดนิ่ง

เชื่อมั่น ในตนเอง


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

แนวคิดใหม่ในการพัฒนาอาชีพ การทาเรือเอกลักษณ์น่านจาลองสามารถต่อยอดอาชีพ และพัฒนาอาชีพอื่น ๆ ได้อีก

วิทยากรถ่ายทอดความรู้

ต่อยอดผลิตภัณฑ์

แม่เหล็กติดตู้เย็น

พวงกุญแจ

ชุดระบายสี อุปกรณ์ตดิ เสาอากาศรถยนต์ ที่คั้นหนังสือ


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

6

7

22

22 สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง” ประเพณีแข่ งเรือจังหวัดน่ าน โดย ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดน่ าน

ตานานเรือแข่งเมืองน่าน โดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดน่าน ประวัติของเรือแข่งไม่มีในพงศาวดาร และหลักฐานอื่น คงมีแต่ในรูปกิจกรรมฝาผนังของวัด ซึ่งมาการเล่าต่อกันมา โดยถือเอาเรือท้ายหล้า กับตาตองเป็นปฐมบทของเรือแข่งเมืองน่าน

เรือแข่งเมืองน่าน มรดกล้าค่า เรือแข่งเมืองน่าน มรดกล้าค่า เป็นหนังสือที่อาจารย์ราเชนทร์ กาบคา ได้ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลมาตั้งแต่สมัยเป็นเด็ก จนถึง ปัจจุบัน ได้กล่าวถึงประวัติเรือแข่งเมืองน่าน ลักษณะรูปลักษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ฝึกระบายสีโปสเตอร์ การฝึกระบายสีด้วยโปสเตอร์ มีความสาคัญยิ่ง เป็นพื้นฐานในการระบายสี เพราะวิธกี ารระบายสีจะกระทากับสีชนิดอื่น

การร่างภาพลายไทย เป็นการกาหนดลายไทย ลายกนก ก่อนจะนาไปใช้ในภาพสี หรือการลงสี การเขียนลายไทยเบื้องต้น ลายไทยถือเป็นศิลปะประจาชาติ และเป็นความภาคภูมิใจของเราทุกคน เนื่องจากลายไทยเป็นศิลปะชั้นยอดเยี่ยมของช่างศิลป์ไทยโบราณ ในการคิดสร้างสรรค์ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

บ้านเลขที่ 96/6 ถ.มหายศ ต.ในเวียง อ.เมืองน่าน จ.น่าน มีบริการข้อมูลเกี่ยวกับเรือเอกลักษณ์น่านจาลอง ตั้งแต่กระบวนการเริ่มต้นผลิต จนถึงจาหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือแข่งเอกลักษณ์น่านจาลอง

http://www.dasta.or.th/th/ สถาบันการเรียนรู้ท้องถิ่นจังหวัดน่าน วัดพระธาตุแช่แห้ง ตาบลม่วงตึ๊ด กิ่งอาเภอภูเพียง จังหวัดน่าน 55000 โทร. (054) 775636 ต่อ 22 , 23 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)

http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/14284-026520/

http://www.nanlongboat.com/ เทศบาลเมืองน่าน สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แหล่งอ้างอิง บุคคลเจ้าของอาชีพ อาจารย์วโิ รจน์ พรหมอารีย์ บ้านเลขที่ 96/6 ถ.มหายศ ต.ในเวียง อ.เมืองน่าน จ.น่าน เบอร์โทร 085-6175487 เริ่มทาเมื่อปี พ.ศ.2547 - ปัจจุบัน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

สิ่วแกะสลักไม้

เลื่อยฉลุ

พู่กัน

สีน้า หรือสีโปสเตอร์

ค้อน

กาว

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

แลกเกอร์

คีมจับปากกา

หัวหมู

กระดาษทราย

ไม้สัก

สว่านไฟฟ้า

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

ไม้บรรทัด

ดินสอ

สก็อตเทป

เต้าตีเส้น

ตลับเมตร

กรรไกร

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรู้ทามาหากิน “เรือเอกลักษณ์น่านจาลอง”

กาวร้อน

คีม

เลื่อยบังตอ

มีดคัตเตอร์

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แผนการถ่ายทอดองค์ความรู้ และรูปแบบกิจกรรมหรือนิทรรศการ

ผู้จัดทาขอนาเสนอแผนการถ่ายทอดองค์ความรู้และรูปแบบกิจกรรมหรือ นิทรรศการ ดังนี้ 1.เผยแพร่บน เว็ปไซด์ ของวิทยาลัยชุมชนน่าน 2.เผยแพร่บน Facebook วิทยาลัยชุมชนน่าน 3.เผยแพร่กับผู้อบรมหลักสูตรเรือแข่งเมืองน่าน ของวิทยาลัยชุมชนน่าน 4.จัดทาเป็นองค์ความรู้ในเรื่องเรือเอกลักษณ์น่านจาลอง 5.เผยแพร่ให้ผู้สนใจอาชีพทาเรือเอกลักษณ์น่านจาลอง 6.เผยแพร่ภายในองค์กรในกิจกรรม Knowledge sharing เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ของเรือเอกลักษณ์น่านจาลอง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.