เปิดกล่องความคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์.pdf

Page 1

“ เ ปิ ดก ล่ องความคิ ด เศร ษ ฐ กิ จส ร้ างส รรค์ ” Creative Economy: Thailand’s Context Revealed

ง า น ฝี มื อ แ ล ะ หั ต ถ ก ร ร ม

Craft

งานออกแบบ

Design

ง า น บ ริ ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง สุ ข ภ า พ

Creative Service

ภายใต้ โ ครงการขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ ใ นสาขาที่ ป ระเทศไทยมี ศั ก ยภาพ โดย สานั ก งานบริ ห ารและพั ฒ นาอ งค์ ค วามรู้ (OKMD) ร่ ว มกั บ คณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการบั ญ ชี ม หาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ เขี ย นและเรี ย บเรี ย งโดย ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.การดี เลี ย วไพโรจน์ และคณะ


“ เ ปิ ด ก ล่ อ ง ค ว า ม คิ ด เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ” Creative Economy: Thailand’s Context Revealed ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใ น ส า ข า ที่ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ศั ก ย ภ า พ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) - Office of Knowledge Management and Development (Public Organization)

เ ขี ย น แ ล ะ เ รี ย บ เ รี ย ง โ ด ย : ผู้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ก า ร ดี เ ลี ย ว ไ พ โ ร จ น์ ด ร . ภู มิ พ ร ธ ร ร ม ส ถิ ต ย์ เ ด ช ด ร . อ ร ร ถ วิ ท เ ต ช ะ วิ บู ล ย์ ว ง ศ์ ด ร . วุ ฒิ ไ ก ร ง า ม ศิ ริ จิ ต ต์ ข้ อ มู ล ก า ร จั ด พิ ม พ์ : พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1 เ ดื อ น กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 5 6

จา น ว น 3 5 0 เ ล่ ม

พิ ม พ์ ที่ ห้ า ง หุ้ น ส่ ว น จา กั ด ส า วิ ก า ก า ร พิ ม พ์ เ ล ข ที่ 1 0 / 4 0 เ ซ็ น ต์ ห ลุ ย ส์ 3 ถ น น จั น ท ร์ แ ข ว ง ทุ่ ง วั ด ด อ น เ ข ต ส า ท ร ก รุ ง เ ท พ ฯ พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2 เ ดื อ น กั น ย า ย น 2 5 5 6

จา น ว น 1 , 0 0 0 เ ล่ ม

จั ด ทา โ ด ย สา นั ก ง า น บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ( O K M D ) 6 9 / 1 8 - 1 9 อ า ค า ร มิ ว บิ ล ดิ้ ง ชั้ น 1 8 ถ . วิ ภ า ว ดี รั ง สิ ต แ ข ว ง ส า ม เ ส น ใ น เ ข ต พ ญ า ไ ท ก รุ ง เ ท พ ฯ 1 0 4 0 0 โ ท ร ศั พ ท์ 0 2 1 0 5 6 5 0 0 โ ท ร ส า ร 0 2 1 0 5 6 5 5 6 ISBN 978-974-466-664-2

2


คานา การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็นนโยบายส าคัญที่มีการ ดาเนินงานมาอย่างต่อเนื่องในระยะที่ผ่านมา เพื่อเป็นกลไก ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย และนาไปสู่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจได้อย่าง มั่นคง สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาในกระแสโลกที่หลาย ประเทศให้ความสาคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ส านั ก งานบริ ห ารและพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ (สบร.) และ หน่วยงานภายในของ สบร. ทั้ง 3 แห่ง ในฐานะหน่วยงาน ที่ ด าเนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ แ ละนโยบายที่ เกี่ ยวข้อ งได้ ด าเนินโครงการต่ า งๆที่ส่งเสริมสนับ สนุนการ ขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์มาโดยตลอด จนเกิด เป็นองค์ความรู้ที่มีประโยชน์ อีกทั้งยังมีการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนในการขับเคลื่อนนโยบาย เศรษฐกิจสร้างสรรค์อีกด้วย

สบร. จึงได้จัดทาโครงการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ในสาขาที่ ป ระเทศไทยมี ศั ก ยภาพซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ส่งเสริมการขับเคลื่อนและพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการเชิง สร้างสรรค์ที่ประเทศไทยมีศักยภาพใน 3 สาขา ได้แก่ งาน ฝีมือและหัตถกรรม สาขางานออกแบบและสาขางานบริการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้าง เครื อ ข่า ยความร่ วมมือ ระหว่ างผู้ ป ระกอบการ หน่วยงาน ภาคเอกชนและภาครัฐในการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการ เชิงสร้างสรรค์ทั้ง 3 สาขาตลอดห่วงโซ่อุ ปทานอย่างเป็น รูปธรรม และนาผลการศึกษาเป็นแนวทางในการดาเนินงาน ส่งเสริมผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ต่อไป สบร.หวังเป็นอย่างยิ่งว่า องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากงานวิจัยจะ เป็ น ประ โยชน์ ต่ อสาธารณะ ไม่ ม าก ก็ น้ อ ย ในก าร นี้ ขอขอบคุ ณ คณะวิ จั ย คณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการบั ญ ชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มา ณ ที่นี้

สานั ก งานบริ ห ารและพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ (องค์ ก ารมหาชน) Office of Knowledge Management & Development (Public Organization) (OKMD) 3


4


คานา เนื้ อ หาในหนั ง สื อ เล่ ม นี้ ก ล่ า วถึ ง แนวโน้ ม อุ ต สาหกรรม สร้างสรรค์โลก การวิเคราะห์ศักยภาพของการประกอบการ ในอุต สาหกรรมสร้างสรรค์ ของไทยที่มีศั ก ยภาพ 3 สาขา ประกอบด้วย สาขางานฝีมือและหัตถกรรม งานออกแบบ และงานบริ ก ารสร้ า งสรรค์ ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ แนวทางการพั ฒ นาศั ก ยภาพในระดั บ ธุ ร กิ จ และปั จ จั ย ความส าเร็ จ ในระดั บ ธุ ร กิ จ ของทั้ ง 3 อุ ต สาหกรรม สร้างสรรค์ดังกล่าว

ระ บบ เศร ษ ฐกิ จโล ก ก้ า วเข้ า สู่ เ ศ รษ ฐ กิ จ ส ร้ า งสร ร ค์ เศรษฐกิ จ สร้ างสรรค์ คื อ ทิศ ทางการพั ฒนาเศรษฐกิ จ ที่ สาคัญ โดยใช้ความคิด สร้างสรรค์ ในการสร้างมูลค่าให้กั บ ผลิต ภัณฑ์แ ละบริก าร ซึ่งอาจจะอยู่ บ นพื้นฐานของการต่ อ ยอดจากวัฒนธรรมและการใช้ทักษะเฉพาะด้าน ทั้งในกลุ่ม ประเทศที่พัฒนาแล้วและกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาโดยมี อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อ น เศรษฐกิจในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่าประเทศที่มี ความมั่ ง คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ อย่ า งเช่ น สหราชอาณาจั ก ร สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ จีนและฮ่องกง ล้วนปรับใช้แนวคิด ของเศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ของ ประเทศทั้งสิ้น นอกจากนี้ประเทศที่กาลังพัฒนาในภูมิภาค ส่วนใหญ่ เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ก็ได้ มีก ารเริ่มด าเนินนโยบายการขับ เคลื่อ นเศรษฐกิ จตาม แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ทั้งสิ้น เมื่อกล่าวถึง โครงสร้างพื้นฐานของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ของไทยในปั จ จุ บั น ยั ง ขาดการบู ร ณาการและเป็ น การ ดาเนินงานแบบช่วงขาดความเชื่อมโยง การสร้างโครงสร้าง พื้นฐาน และการกระตุ้นให้เกิดการบริโภคสินค้าสร้างสรรค์ ไปพร้ อ มกั บ การสร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ของการด าเนิ น อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ หนังสือเล่มนี้จึงได้วิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหา โดยสรุป จากการประเมินสถานภาพอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เบื้องต้น พบว่าผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังมีข้อจากัดตั้งแต่กระบวนการ ก่อนการสร้างสรรค์ (Pre-Creation) ในห่วงโซ่สร้างสรรค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการเข้าถึงและเข้าใจตลาดจึงส่งผลให้ ผลิ ต สิ น ค้ า และบ ริ ก ารในรู ป แบ บเดิ มที่ เ ค ยชิ น แล ะ กระบวนการออกแบบสินค้ าและบริการ (Creation) ที่มี ข้อจากัดด้านทุนมนุษย์และองค์ความรู้ และข้อจากัดเหล่านี้ ส่งผลเป็นลูกโซ่เป็นข้อจากัดในศักยภาพการเข้าถึงตลาดและ การขยายอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน

ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ส า เ ร็ จ ลุ ล่ ว ง ไ ด้ ด้ ว ย ก า ร ส นั บ ส นุ น องค์ ค วามรู้ ที่เ กี่ ย วกั บ เศรษฐกิ จ สร้า งสรรค์ ร อบด้ า น จาก สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรือ สบร. องค์กรที่ส่งเสริมด้านองค์ความรู้เพื่อนาไปสู่การ พั ฒ นาประเทศ โดยเฉพาะการมี บ ทบาทส าคั ญ ในการ ขับเคลื่อนและพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ แก่ผู้อ่านทุกท่าน และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพ ให้ กั บ ผู้ ป ระกอบการในธุ ร กิ จ สร้ า งสรรค์ ข องไทยจึ ง ใคร่ ขอขอบคุณทุกแหล่งข้อมูลและผู้สนับสนุนองค์ความรู้ทุกท่าน เป็นอย่างยิ่งไว้ ณ ที่นี้ ผู้เขียนและผู้เรียบเรียงจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาในหนังสือ เล่ มนี้ จะก่ อ ให้เ กิ ด ประโยชน์ สูง สุด กั บ ผู้ ป ระกอบการธุร กิ จ สร้างสรรค์ของไทย...ธุรกิจที่ต้องใช้ความคิดนอก “กล่อง”

ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร .การดี เลี ย วไพโรจน์ และคณะ

5


6


สารบัญ หน้า

เนื้อหา คานา สารบัญ

ส่วนที่ 1 เศรษฐกิจสร้างสรรค์และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์  ความแตกต่างของระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ระบบเศรษฐกิจองค์ความรู้ และระบบเศรษฐกิจ สร้างสรรค์  นิยามเศรษฐกิจสร้างสรรค์และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์  สรุปผลการวิเคราะห์มูลค่าของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศ  การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสร้างสรรค์

19

20

ส่วนที่ 2 อุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม         

10

ความสาคัญทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม ทิศทางอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรมไทยกับตลาดโลก แนวโน้มการเติบโตและความต้องการของอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม สรุปสถานการณ์ปัจจุบันของอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม องค์ประกอบที่สาคัญของอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม ความต้องการการสนับสนุนในอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม ปัญหาและอุปสรรคในอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม การวิเคราะห์กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานฝีมือและหัตถกรรมและปัจจัยแห่งความสาเร็จ การวิเคราะห์ประเด็นวิกฤตในการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์ สาขางานฝีมือและหัตถกรรมและปัจจัยแห่งความสาเร็จ

7

35


8


สารบัญ

(ต่อ)

หน้า

เนื้อหา

36

ส่วนที่ 3 อุตสาหกรรมงานออกแบบ         

ความสาคัญทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมงานออกแบบ ทิศทางอุตสาหกรรมงานออกแบบไทยกับตลาดโลก แนวโน้มการเติบโตและความต้องการของอุตสาหกรรมงานออกแบบ สรุปสถานการณ์ปัจจุบันของอุตสาหกรรมงานออกแบบ องค์ประกอบที่สาคัญของอุตสาหกรรมงานออกแบบ ความต้องการการสนับสนุนในอุตสาหกรรมงานออกแบบ ปัญหาและอุปสรรคในอุตสาหกรรมงานออกแบบ การวิเคราะห์กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานออกแบบและปัจจัยแห่งความสาเร็จ การวิเคราะห์ประเด็นวิกฤตในการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์ สาขางานออกแบบและปัจจัยแห่งความสาเร็จ

ส่วนที่ 4 อุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ดา้ นการท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ  ความสาคัญทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  ทิศทางอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพไทยกับตลาดโลก  แนวโน้มการเติบโตและความต้องการของอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิง สุขภาพ  สรุปสถานการณ์ปัจจุบันของอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  องค์ประกอบที่สาคัญของอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  ความต้องการการสนับสนุนในอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  ปัญหาและอุปสรรคในอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  การวิเคราะห์กลุ่มผู้ประกอบการสาขาบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและปัจจัยแห่ง ความสาเร็จ  การวิเคราะห์ประเด็นวิกฤตในการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและปัจจัยแห่งความสาเร็จ

บรรณานุกรม 9

53

54

72


ส่วนที่ 1 เศรษฐกิจสร้างสรรค์และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์  ความแตกต่างของระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ระบบเศรษฐกิจองค์ความรู้ และระบบเศรษฐกิจ สร้างสรรค์  นิยามเศรษฐกิจสร้างสรรค์และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์  สรุปผลการวิเคราะห์มูลค่าของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศ  การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสร้างสรรค์

10


1

ส่วนที่

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์

โดย ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร .การดี เลี ย วไพโรจน์ คณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการบั ญ ชี ม .ธรรมศาสตร์

11


เศรษฐกิจสร้างสรรค์ และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ อ าศั ย พื้ น ฐาน ทางด้านทุนทางวัฒนธรรมและทุนมนุษย์เป็นหลัก โดยอั ต ราการเติ บ โตของมู ล ค่ า อุ ต สาหกรรม สร้างสรรค์มี ความสัม พันธ์ เชิง บวกกับอั ตราการ เติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ดังนั้น เศรษฐกิจสร้างสรรค์จึงมีบทบาทสาคัญในการ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานรากอย่าง ยั่งยืน

12


จุดยืนของประเทศไทยบนการเปลี่ย นแปลงบริบทเศรษฐกิจ โลก ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาบริบ ท เศรษฐกิจโลกได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และกระแสโลกาภิวัตน์ถือเป็นปัจจัยหลักที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ โครงสร้างการผลิตของ ประเทศต่างๆ ผันตัวเองจากระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (Industrial Economy) ที่เน้นการพึ่งพาการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ และมักมีการแข่งขันด้านผลิตภาพและราคา บริบทต่อมาคือระบบเศรษฐกิจองค์ความรู้ (Knowledge Economy) โดยใช้องค์ความรู้และทุนมนุษย์เป็นตัวขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ และต่อมาคือระบบ เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy) จากการประเมิน Knowledge Economy Index (KEI) 2012 โดยธนาคารโลก ซึ่งพิจารณาจาก 4 ปัจจัย หลักที่สาคัญ คือ การสร้างแรงจูงใจด้านการลงทุน ระบบการศึกษา ระบบนวัตกรรม และระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ จาก 146 ประเทศทั่วโลก จะเห็นได้ว่ากลุ่มประเทศในอาเซียนส่วนใหญ่ เช่น เวียดนาม อินโดนีเซีย สปป.ลาว กัมพูชา และสหภาพเมียนมาร์ ยังจัดอยู่ในระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และพึ่งพาการ ใช้ประโยชน์จากทุนทางธรรมชาติของแต่ละประเทศ ส่วนฟิลิปปินส์และ ประเทศไทยยังถือว่าอยู่ในระบบ เศรษฐกิ จอุต สาหกรรมที่ก าลังเปลี่ยนผ่านสู่ระบบเศรษฐกิจองค์ค วามรู้ ในขณะที่มาเลเซีย และสิงคโปร์ จัดเป็นประเทศที่อยู่ในระบบเศรษฐกิจองค์ความรู้ และกาลังเปลี่ยนผ่านสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ปัจจัยการผลิต

• • •

• •

ส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมหนักจากภายนอก ผลผลิตที่จับต้องได้ แต่มีมูลค่าต่อหน่วยต่า

กลุ่มประเทศ

• • •

ทุนธรรมชาติคือจุดแข็งสาคัญ โดยพึ่งพา ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ ใช้แรงงานไร้ทักษะและค่าแรงต่า พึ่งพาการลงทุนจากภายนอก ผลิตจานวนมากเพื่อให้ได้ราคาถูก (Economy of Scale) แข่งขันด้านผลิตภาพ (Productivity) แรงกระตุ้นภายนอกมาจากเงินทุนและตัวชี้วัดทาง เศรษฐกิจหลัก ระบบการศึกษา พัฒนาทักษะแรงงาน ระบบการส่งเสริมการลงทุน ระบบการลดต้นทุนการผลิต

ระบบธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ

เศรษฐกิจองค์ความรู้

• • •

• • • • •

เวียดนาม

ไทย

สปป.ลาว

อินโดนีเซีย

ฟิลิปปินส์

Source: World Bank 2012

ส่งเสริมร่วมทุนจากภายนอก และส่งเสริมการ เคลื่อนย้ายพรสวรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ และ องค์ความรู้ ผลผลิตจับต้องได้/ไม่ได้ และมีมูลค่าต่อหน่วยสูง

มาเลเซีย สิงคโปร์

13

ประเทศไทย...อยู่ตรงไหน

• ทุนมนุษย์ ความคิดสร้างสรรค์เฉพาะตนคือจุด แข็งสาคัญ • ผลิตจากพื้นฐานแรงบันดาลใจ ความรักและ ความคิดสร้างสรรค์ • ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เน้นที่ความแตกต่าง ลักษณะพิเศษเฉพาะตน และจานวนจากัด • แรงกระตุ้นมาจากจุดแข็งภายในเฉพาะตนและ เฉพาะพื้นที่ • ระบบการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาพรสวรรค์ เฉพาะตน • ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • ระบบนวัตกรรม • ระบบทรัพย์สินทางปัญญา • ระบบการวิจัยและพัฒนาแบบเปิดและสร้างการ มีส่วนร่วมของชุมชน

ส่งเสริมการลงทุนจากภายนอกโดยเน้นการโอนถ่าย • องค์ความรู้ ส่วนใหญ่ผลผลิตที่จับต้องไม่ได้ และมีมูลค่าต่อ หน่วยสูง •

กัมพูชา

ความแตกต่างของระบบ เศรษฐกิจ อุตสาหกรรมระบบเศรษฐกิจ องค์ความรู้ และระบบ เศรษฐกิจสร้างสรรค์

เศรษฐกิจสร้างสรรค์

ทุนมนุษย์คือจุดแข็งสาคัญ โดยพึ่งพาองค์ ความรู้และข้อมูล ผลิตจากพื้นฐานความชานาญและทักษะ ใช้เทคโนโลยี เน้นที่ความเร็วและการสร้าง มูลค่าเพิ่ม แรงกระตุ้นภายนอกมาจากเงินทุนและตัวชี้วัด ทางเศรษฐกิจหลัก

ระบบการศึกษา พัฒนาทักษะแรงงานและ ความสามารถการคิดวิเคราะห์ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบนวัตกรรม ระบบทรัพย์สินทางปัญญา ระบบการวิจัยและพัฒนาแบบปิด

วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจ

อิตาลี

เยอรมนี

ฮ่องกง

อเมริกา

อังกฤษ


นิ

เศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจที่ ได้รับความสนใจของทั้งกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วและกลุ่ม ประเทศที่ ก าลั ง พั ฒ นา แนวคิ ด หลั ก ของเศรษฐกิ จ สร้างสรรค์ คือ การขับเคลื่อนและพัฒนาเศรษฐกิจโดย ใช้ ค วามคิ ด สร้ า งสร รค์ ในการส ร้ า งมู ล ค่ าให้ กั บ ผลิตภัณฑ์ /บริการ ซึ่งอาจจะอยู่ บนพื้นฐานของการต่ อ ยอดจากวัฒนธรรมและการใช้ทักษะเฉพาะด้านในการ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์/บริการนั้นๆ

อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industry) ตามนิยาม ของ UNCTAD คือ วงจรของการสร้างสรรค์ การผลิต และการจาหน่ายสินค้าและบริการที่ใช้ทุนทางปัญญาเป็น ปัจจัยพื้นฐาน อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ถือเป็นกลไกหลักใน การขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ และในบริ บ ทของ ประเทศไทยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ได้จาแนกอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ไทยเป็น 4 กลุ่มอุตสาหกรรมหลักครอบคลุม 15 อุตสาหกรรม ย่อย ดังนี้ (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ, 2552)

สาหรับในบริบทของประเทศไทย เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) หมายถึง “แนวคิด ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใช้ องค์ค วามรู้ การศึก ษา การสร้างสรรค์ งาน และการใช้ ทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม การสั่ ง สมความรู้ ข องสั ง คม และเทคโนโลยี / นวั ต กรรม สมัยใหม่” ซึ่งหมายถึง การนาเอาทุนทางวัฒนธรรมมา ผสมผสานกั บบุคลากรที่มีความคิด สร้างสรรค์ ในการเป็น วัตถุดิบหลักในการสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างเศรษฐกิจขึ้นมา

มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) 1. งานฝีมือและหัตถกรรม (Crafts) 2. การแพทย์แผนไทย (Thai Traditional Medicine) 3. อาหารไทย (Thai Food) 4. บริการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Historical and Cultural Tourism)

ศิลปะ (Art) 1. ศิลปะการแสดง (Performing Arts) 2. ทัศนศิลป (Visual Arts)

สื่อ (Media) 1. ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ (Film and Video) 2. การพิมพ์และสื่อสิ่งพิมพ์ (Publishing) 3. การกระจายเสียง (Broadcast) 4. ดนตรี (Music)

14

1. 2. 3. 4. 5.

สร้างสรรค์ตามลักษณะงาน (Functional Creation) การออกแบบ (Design) แฟชั่น (Fashion) สถาปัตยกรรม (Architecture) การโ ษณา (Advertising) ซอฟต์แวร์ (Software)


6

ศักยภาพ ต้ น ทุ น ข อ ง ไ ท ย สู่ ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สร้างสรรค์

1.1 ทุ น ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ ( Natural Capital) ห ม า ย ถึ ง ทรั พยากรธรรมชาติ ท้อ งถิ่ นที่ สามารถนามาพัฒ นาเป็ น ผลิตภัณฑ์และบริการสร้างสรรค์ 2.2 ทุ น ท า ง ก า ย ภ า พ ( Physical Capital) ห ม า ย ถึ ง โครงสร้างพื้นฐานที่มนุษย์สร้างขึ้นและสามารถสนับสนุน การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการสร้างสรรค์ 3.3 ทุ น ท า ง ก า ร เ งิ น ( Financial Capital) ห ม า ย ถึ ง ทรัพยากรทางการเงิน ทั้งในรูปแบบของการออม และ การเข้ า แหล่ งถึ ง เงิ น ทุ น เพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาธุ ร กิ จ สร้างสรรค์ 4.4 ทุนมนุษย์ (Human Capital) หมายถึง ศักยภาพทั้ง ทางด้านความรู้ ทักษะ และแรงงานของทรัพยากรมนุษย์ ที่มีต่อการดาเนินธุรกิจสร้างสรรค์ 5.5 ทุ น ท า ง สั ง ค ม ( Social Capital) ห ม า ย ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ระหว่ างชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น กั บ ผู้ ประกอบธุ ร กิ จ สร้างสรรค์ และเครือข่ายของแรงงานสร้างสรรค์ 6.6 ทุ นท า ง วั ฒ นธ รร ม ( Culture Capital) ห ม า ย ถึ ง รูปแบบ คุณค่าของการดาเนินชีวิต ประเพณี ความเชื่อ บรรทั ด ฐาน รวมถึ ง ลั ก ษณะของมรดกวั ฒ นธรรมทั้ ง ที่ จับต้องได้และจับต้องไม่ได้

15


Creative Economy Countries of the World

19 230

8%

,726 096 1

2

3

USA4

5

6

2

3

4

5

6

1

2

3

79 470

4

2

3

4

5

6

.8 %

7

81 664 3%

Germany

France

4%102 910

7

7

1

Norway

1 2 3 4 5 6 UK 7

5%

63 333

1

71 912

12%

4%

5

6

1 2 3 4 5 6 7

Italy

Spain

109 302

7

1

5%

56 700

2

5% 3

South Korea

China

4

5

6

Hong Kong

10%

7

27 677

Thailand 6 980

1

2

3

4

5

6

7

1

2

3

4

5

6

7

Singapore

55 000

1

4% 2

3

4

5

6

3% Australia

2.8

1 2 3 4 5 6 7 31 100

:

12%

%GDP) 2

3

4

5

6

7

UNCTAD (2010)

มู ล ค่ า อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ ล ะ สั ด ส่ ว น ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ต่ อ G D P ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ต่ า ง ๆ พ บ ว่ า มี สั ด ส่ ว น อ ยู ่ ร ะ ห ว่ า ง ร้ อ ย ล ะ 3 - 1 2 ส่ ว น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี สั ด ส่ ว น มู ล ค่ า ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ป ร ะ ม า ณ ร้ อ ย ล ะ 1 0 ต่ อ G D P

16

7


อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ส่งผลต่อการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศ ผลกระทบของมูลค่าอุตสาหกรรมต่ อ GDP ของประเทศที่มีก ารก าหนด นโยบายเพื่ อ สนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม จะพบ ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง บวกระหว่ า งอั ต ราการเติ บ โตของมู ล ค่ า อุ ต สาหกรรม สร้างสรรค์กับอัตราการเติบโตของ GDP สามารถสรุ ป ได้ ท างสถิ ติ ว่ า การเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ มี ผ ล โดยตรงต่ อ การเติ บ โตและความมั่ ง คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศอย่ า งมี นัยสาคัญ และแสดงให้เห็นว่า อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ คือ หนึ่งในกลไก สาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว และประเทศที่กาลังพัฒนา

ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูล UNCTAD (2010); สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554); สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (2553)

17

จากข้อ มูล ความสัมพันธ์ร ะหว่างอั ต ราการเติ บ โตของ มูลค่าอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ส่งผลโดยตรงต่ออัตรา การเติ บโตของ GDP ของแต่ ล ะประเทศ ในการ วิเคราะห์เพื่อจัดกลุ่มประเทศตามแนวโน้มการขับเคลื่อน เศรษฐกิ จ ประเทศด้ ว ยอุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ สามารถจาแนกประเทศต่างๆ เป็น 3 กลุ่มได้ดังนี้ กลุ่ ม ที่ 1 อุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ ขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิ จ ประเทศโดยตรง การเติ บ โตของมู ล ค่ า อุตสาหกรรมสร้างสรรค์เป็นสัดส่วนที่ใกล้เคียงกับการ เติบโตของ GDP กลุ่มประเทศเหล่านี้ คือ ประเทศที่ อยู่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ เส้ น อ้ า งอิ ง ซึ่ ง ได้ แ ก่ สหรั ฐ อเมริ ก า เกาหลีใต้ สหราชอาณาจักร และอินเดีย ซึ่งสรุปได้ว่า เศรษฐกิ จ ของประเทศเหล่ า นี้ ถู ก ขั บ เคลื่ อ นจาก อุตสาหกรรมสร้างสรรค์เป็นหลัก กลุ่ มที่ 2 อุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ มี ส่ วนในการ ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ประเทศ การเติ บ ของมู ล ค่ า อุ ต สาหกรรมสร้ างสรรค์ มี ส่ว นในการขั บ เคลื่อ นการ เติบโตของ GDP แต่ในปริมาณที่น้อยกว่ากลุ่มที่ 1 หรื อ อาจสรุ ป ได้ ว่ า ในกลุ่ ม ประเทศเหล่ า นี้ ก าร ขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์มีการผสมผสานระหว่าง อุตสาหกรรมสร้างสรรค์และอุต สาหกรรมอื่นซึ่งได้แ ก่ ประเทศไทย มาเลเซีย ฮ่องกง และอิตาลี กลุ่ ม ที่ 3 เศรษฐกิ จ ประเทศถู ก ขั บ เคลื่ อ นจาก อุตสาหกรรมอื่นๆ มากกว่าอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ซึ่ง ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ สเปน เยอรมนี ญี่ปุ่นและจีน หรื อ อาจกล่ า วได้ ว่ า เศรษฐกิ จ ของประเทศเหล่ า นี้ พึ่งพาอุตสาหกรรมอื่นมากกว่าอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ดังนั้น การวิเคราะห์นี้สะท้อนให้เห็นถึงโอกาสในการ ขับเคลื่อนและพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ในประเทศไทย อั น จะส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความมั่ น คั่ ง ของ ประเทศได้ในอนาคต


ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ส ร้ า ง ส ร ร ค์

ที่มา: คณะผู้วิจัย

การกาหนดแผนยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ต้องให้ความสาคัญกับปัจจัย 2 ประการ คือ ปั จ จั ย ด้ า นการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานสร้ า งสรรค์ (Creative Infrastructure) แ ล ะ ปั จ จั ย ด้ า น วิ ส า ห กิ จ สร้างสรรค์ (Creative Cluster) จากการศึก ษาถึ ง องค์ประกอบที่สาคัญในการพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ การ พัฒนากรอบแนวคิดในการกาหนดยุทธศาสตร์ได้คานึงถึง แนวทางการพัฒนาแรงงานสร้างสรรค์ ธุรกิจ สร้างสรรค์ ต้องการปัจจัยพื้นฐานในการดาเนินธุรกิจ สร้างสรรค์ ทั้ง ในช่วงเริ่มต้นธุรกิจ ดาเนินธุรกิจ และพัฒนาต่อยอดธุรกิจ สร้างสรรค์ โดยแบ่งความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายใต้ แนวคิดโครงสร้างพื้นฐานสร้างสรรค์ออกเป็น 5 ระดับ

การด าเนิ น การสนั บ สนุ น การพั ฒ นา เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ ต้ อ งอาศั ย การ ก าหนดนโยบายสนั บ สนุ น การพั ฒ นา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่มีความชัดเจนและ เชื่ อ มโยงตั้ ง ระดั บ ประเทศจนถึ ง ระดั บ ท้อ งถิ่ น เพื่อ จะสามารถครอบคลุม การ พั ฒ นาศั ก ยภาพในทุ ก ระดั บ และทุ ก มิ ติ พร้อมทั้งยังเป็นการผลักดันให้เกิดอุปสงค์ ในด้านความต้องการของประชาชนที่จะ ดาเนินธุรกิจสร้างสรรค์และสร้างอุปทาน เพื่ อ เป็ น ที่ ร องรั บ ผลผลิ ต ของธุ ร กิ จ สร้างสรรค์ทั้งในและต่างประเทศ

18


การพัฒนาอุต สาหกรรมสร้างสรรค์ส่งผลเชิงบวกต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ สาหรับใน ประเทศไทย อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านมูลค่า ทางอุ ต สาหกรรม ปริ ม าณและมู ล ค่ า การจ้ า งงาน เมื่ อ พิ จ ารณาต้ น ทุ น ทั้ ง ทางด้ า นวั ฒ นธรรม แรงงานสร้างสรรค์ และแนวโน้มของตลาดโลกที่รองรับทั้งผลิตภัณฑ์และบริการสร้างสรรค์ของไทย พบว่า ผลิตภัณฑ์และบริการสร้างสรรค์ของไทย มีแนวโน้มด้านความต้องการอย่างต่อเนื่อง อย่างไร ก็ตามการกาหนดแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ควรจัดลาดับความสาคัญโดยพิจารณา จากมูลค่ าของอุต สาหกรรม อั ตราการจ้างงานและการต่อยอดจากอุ ตสาหกรรมพื้นฐาน ที่ สร้าง รายได้ให้กับประเทศไทย จากการศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ค วามส าคั ญ ของกลุ่ ม อุ ต สาหกรรมสามารถ สรุ ป ได้ ว่ า ในปั จ จุ บั น มี อุ ต สาหกรรมที่ ค วรเร่ ง พั ฒ นาศั ก ยภาพของผู้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ สร้ า งสรรค์ ประกอบไปด้ ว ย อุ ต สาหกรรมงานฝีมื อ และหัต ถกรรม อุ ต สาหกรรมงานออกแบบ และอุ ต สาหกรรมบริก าร สร้างสรรค์ 19


ส่วนที่ 2 อุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม         

ความสาคัญทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม ทิศทางอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรมไทยกับตลาดโลก แนวโน้มการเติบโตและความต้องการของอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม สรุปสถานการณ์ปัจจุบันของอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม องค์ประกอบที่สาคัญของอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม ความต้องการการสนับสนุนในอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม ปัญหาและอุปสรรคในอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม การวิเคราะห์กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานฝีมือและหัตถกรรมและปัจจัยแห่งความสาเร็จ การวิเคราะห์ประเด็นวิกฤตในการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์ สาขางานฝีมือและหัตถกรรมและปัจจัยแห่งความสาเร็จ

20


2

ส่วนที่

ง า น ฝี มื อ แ ล ะ หั ต ถ ก ร ร ม โดย ดร.ภู มิ พ ร ธรรมสถิ ต ย์ เ ดช 21 วิ ท ยาลั ย นวั ต กรรม ม.ธรรมศาสตร์


ความสาคัญทางเศรษฐกิจ

งานฝีมือและหัตถกรรม

มีมูลค่าเพิ่มเฉลีย่ สูงถึง

3.01 แสนล้านบาทต่อปี

4.93

มูลค่าการจ้างงานสูงถึง หมื่นล้านบาท

คิดเป็นร้อยละ 1.97 ของการจ้างงานทั้งประเทศ

22


เปรียบเทียบมูลค่าการนาเข้า ปี 2552-2555 (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) 154%

856.40 2555 337.44 เครื่องไม้

112%

11.53

5.54 ดอกไม้ประดิษฐ์ 79%

2.88

13.84 เครื่องจักรสาน

78%

50%

2555

2552

2555

2552

2552

723.95 2555 482.67 โลหะประดิษฐ์

45%

2552

3,045.08 2555 1,713.10 งานกระดาษ

330.51

227.53 เครื่องหนัง

77%

2552

37%

5,095.00 2555 2,877.50 หัตถกรรมสิ่งทอ

134%

เปรียบเทียบการส่งออกสินค้าปี 2552-2555 (ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

2552

8,830.25 2555 6,442.30 หัตถกรรมสิ่งทอ

25%

160.37 2555

148%

2552

682.95 2555

2,845.70 งานกระดาษ 66%

2552

2552

มูลค่าการส่งออกเป็นดัชนีที่บ่ง บอกถึงรายได้ที่เข้าสู่ป ระเทศ แม้ว่า ข้ อ มู ล นี้ จ ะไม่ ไ ด้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง มู ล ค่ า เพิ่ ม จากการใช้ ค วามคิ ด สร้างสรรค์โดยตรง แต่ชี้ให้เห็นถึงอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องในภาพรวม ในขณะที่มูลค่าการนาเข้าบ่งบอกถึงข้อมูลใน 2 ลักษณะ คือ มูลค่า ความต้ อ งการของสินค้ า ภายในประเทศโดยตรง และมู ล ค่ า ความ ต้องการของวัตถุดิบเพื่อนามาเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมนั้นๆ และ เมื่อ วิเ คราะห์มูล ค่ า การน าเข้า -ส่ งออกของกลุ่ มสาขาอุ ต สาหกรรม ภายใต้อุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม พบว่าอุตสาหกรรมสาขา ย่อยที่มีมูลค่าส่งออกสูงและมีมูลค่านาเข้า สูงใน 5 อันดับแรก ได้แก่ (1) กลุ่มงานอุตสาหกรรมหัตถกรรมสิ่งทอ (Textile and Weaving) (2) กลุ่มงานกระดาษ (Paperwork) (3) กลุ่มงานไม้ (Woodwork) (4) กลุ่มงานโลหะ (Metal Work) และ (5) กลุ่มเครื่องปั้นดินเผา เครื่องกระเบื้อง และงานเซรามิกที่ผลิตด้วยมือ (Pottery)

64%

2552 มูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น ปี 2552-2555 มูลค่าการนาเข้าลดลง ปี 2552-2555

มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ปี 2552-2555

23

มูลค่าการส่งออกลดลง ปี 2552-2555

ที่มา: World Trade Atlas 2012, รายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมปี 2554 และแนวโน้มปี 2555 จากสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

3,511.20 2555 2552

427.46

2555

2552

297.26 เครื่องหนัง 51%

723.74 2555 480.35 โลหะประดิษฐ์

23%

2552

11.03

2555

8.94 เครื่องจักรสาน 9%

2555

2552

2,110.52 เครื่องไม้

544.34 เครื่องปั้นดินเผาและเซรามิก

374.88 เครื่องปั้นดินเผาและเซรามิก

7,043.51 2555

36.91

40.37 ดอกไม้ประดิษฐ์

2552

2555

2552


2

35,778.63

12%

1

EU

42,801.53

2

28,713.48

1 USA

2 1

37,586.11

9 % 42,942.75

China

2

0%

38,264.49

Thailand

2 1

2554 2554

20,122.49

1

Japan

3,598.25

26%

19,427.74

6%

9,353.58

: : 2552-2554 2552-2554

International Trade Center

ทิศทางอุตสาหกรรมไทยกับตลาดโลก การวิเคราะห์ทิศทางการเติบโตของอุตสาหกรรมสาขางานฝีมือและหัตถกรรมไทยเมื่อเปรียบเทียบกับทิศทางของโลก ใช้ข้อมูลอัตราการเติบโตของมูลค่า การส่งออกของรายสาขาย่อยของไทย และอัตราการเติบโตการส่งออกเฉลี่ยของประเทศส่งออกอุตสาหกรรมสาขางานฝีมือและหัตถกรรมไทยในตลาดโลก จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส่งออกระหว่างปี 2552–2554 ทั้งของไทยและตลาดโลก พบว่า •1 กลุ่มงานไม้ (Woodwork) เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าการส่งออกสูงของไทยและอัตราการเติบโตของมูลค่าส่งออกใกล้เคียงกับอัตราการเติบโต เฉลี่ยของการส่งออกโลก อาจประเมินได้ว่าสินค้าที่ส่งออกเป็นไปตามความต้องการของตลาด ดังนั้น การเพิ่มมูล ค่าสินค้าน่าจะเป็น ทิศทางที่ เหมาะสมของผลิตภัณฑ์ในสาขานี้ •2 กลุ่มงานหัตถกรรมสิ่งทอ (Textile and Weaving) กลุ่มเครื่องปั้นดินเผา เครื่องกระเบื้อง และงานเซรามิกที่ผลิตด้วยมือ (Pottery) และ งานโลหะ (Metal Work) เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าการส่งออกสูง แต่อัตราการเติบโตของมูลค่าส่งออกต่ากว่าอัตราการเติบโตของการ ส่งออกเฉลี่ยโลก เนื่องจากเป็นสาขาอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าสูงและมีการจ้างงานที่สูง อาจเป็นไปได้ว่าการสินค้าที่ส่งออกในปัจจุบันไม่ ตอบสนองกับ ความต้องการของตลาด ดังนั้น การทาความเข้าใจตลาดและแนวโน้มสินค้าที่เติบโตขึ้นจะช่วยผลักดันให้อุตสาหกรรมเติบโตไปได้ •3 กลุ่มงานกระดาษ (Paperwork) เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าการส่งออกสูงและอัตราการเติบโตของมูลค่าส่งออกสูงกว่าอัตราการเติบโตเฉลี่ย ของการส่งออกโลก ทั้งนี้ ข้อมูลของกลุ่มงานนี้เป็นการรวมถึงมูลค่าเพื่อเป็นวัตถุดิบต้นน้าเพื่อป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่อาจไม่ใช่การผลิตแบบ สร้างสรรค์ •4 กลุ่มงานเครื่องจักสาน (Wickerwork & Basketry) และงานประดิษฐ์ดอกไม้ (Artificial Flower) จัดว่าเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าการ ส่งออกของไทยต่า และอัตราการส่งออกมีการหดตัว ในขณะที่การส่งออกของโลกมีอัตราการเติบโตสูงมาก อาจเป็นไปได้ว่าสินค้าที่ส่งออกของไทย ไม่ตอบสนองกับความต้องการของตลาด ดังนั้น การทาความเข้าใจตลาดและแนวโน้มสินค้าที่เติ บโตขึ้น เพื่อการพัฒนากระบวนการผลิตและ 24 สร้างสรรค์จะช่วยผลักดันให้อุตสาหกรรมเติบโตไปได้


สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน ของอุตสาหกรรม งานฝีมือและหัตถกรรม

อุต สาหกรรมงานฝีมือ และหัต ถกรรมเป็นอุ ต สาหกรรมที่อ าศัย มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้อ งถิ่ น ทักษะและวัตถุดิบในประเทศ ซึ่งเป็นสินค้าพื้นฐานของการสร้างอัตลักษณ์ของสินค้าที่ ชัดเจน ผลิตภัณ ฑ์ หัตถกรรมเป็นผลิตภัณฑ์ที่ถูกจัดในกลุ่มสินค้า Premium สาหรับตลาดต่างประเทศ และแนวโน้มของตลาดมี ความต้องการอย่างต่อเนื่อง และตลาดเน้น การผลิตตามสั่ง (Made to Order) มากขึ้น พฤติกรรมของ ผู้บ ริ โ ภคมี ก ารเปลี่ ย นแปลงจากการซื้ อ เพื่ อ การใช้ ง านส่ ว นตั วสู่ ก ารเป็ น สิ น ค้ า Niche มากยิ่ ง ขึ้ น ผู้ประกอบการมีการปรับตัวโดยใช้สื่อออนไลน์ เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์มากขึ้น อย่างไรก็ตามสาหรับ การบริโภคสินค้ า หัต ถกรรมภายในประเทศยั งอยู่ ในระดั บ ต่ า ส่วนใหญ่ผู้บ ริโภคซื้อ เพื่อ เป็นของที่ร ะลึ ก มากกว่าการซื้อเพื่อใช้งานผู้ประกอบการส่วนใหญ่ต้องการการสนับสนุนด้านการตลาด การบริหารจัดการ การบริห ารแรงงาน และการสนับ สนุนด้านการวิจัยและพัฒนา ทั้งในด้านวัต ถุดิบ และกระบวนการผลิต ปัจจุบันภาครัฐมีกลไกสนับสนุนผู้ประกอบการถึงระดับ จังหวัด แต่ขาดการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน เพื่อ เข้าถึงตัวผู้ประกอบการ

แนวโน้มการเติบโตและความต้องการของอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม ตลาด การบริโภคสินค้า ในประเทศ หัตถกรรมของผู้ บริโภคไทยมีแนวโน้ม ค่ อ นข้ างต่ าผู้บ ริโ ภคส่ว นใหญ่ ซื้ อ เ พื่ อ ใ ช้ เ ป็ น ข อ ง ที่ ร ะ ลึ ก มากกว่ า การซื้ อ เพื่ อ ใช้ ง าน ส่ ว นตั ว ผู้ บ ริ โ ภคในประเทศ ส่ ว นใหญ่ ใ ห้ ค วามสนใจกั บ สิ น ค้ า ต่ า งประเทศมากกว่ า เนื่ อ งจากผู้ บ ริ โ ภคในประเทศ ขาดความเข้า ใจถึ งคุ ณค่ า ของ สิ น ค้ า หั ต ถกรรมทั้ ง ในด้ า น ความเข้ า ใจถึ ง วิ ธี ก ารในการ ผลิต และแนวคิ ด ในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ อย่างไรก็ตามสินค้า หัต ถกรรมของไทยในมุ ม มอง ของตลาดต่ า งประเทศยั ง มี แนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ตลาด ในกลุ่มประเทศ สาหรับในตลาด อาเซียน การบริโภคสินค้า หัตถกรรมไทยในอาเซียน มีแนวโน้มความต้องการเพิ่มขึ้น จาก ผู้ บ ริ โ ภ ค ในก ลุ่ มต ล า ด อาเซีย นโดยผู้บ ริโภคส่วนใหญ่ ใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การตบแต่ ง ส ถ า น ที่ โ ด ย เฉ พ า ะ ส ถ า น ที่ พักผ่อนในตลาดระดับกลางและ สูง ผู้บริโภคในอาเซีย นมองว่า สินค้าหัตถกรรมไทยเป็นสินค้า ระดับ Premium ปัจจุบันตลาด สินค้ า หั ต ถกรรมไทยผู้ ซื้อ หลั ก คือ ประเทศญี่ปุ่น 25

ตลาด สาหรับในตลาด ต่างประเทศ โลกสินค้าหัตถกรรมไทยในตลาด โลกได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็ น สินค้าระดับ Premium ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาการอุปโภคสินค้า หัต ถกรรมมีก ารเปลี่ ย นแปลง จากการซื้อ เพื่ อ การบริ โภคใน ค รั ว เ รื อ น สู่ ก า ร ซื้ อ เ พื่ อ ใ ช้ ส าหรั บ การ ตก แ ต่ ง อาค าร สถานที่ การเปลี่ยนแปลงด้าน ความต้อ งการของตลาดส่งผล ใ ห้ สิ น ค้ า หั ต ถ ก ร ร ม ไ ท ย สามารถสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ได้ สู ง ขึ้ น น อ ก จ า ก นี้ ค ว า ม ต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคได้ เ ริ่ ม ปรั บ เปลี่ ย นสู่ ค วามต้ อ งการ ด้านการออกแบบพร้อมสินค้า


อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ สา คั ญ แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ก า ร ส นั บ ส นุ น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ง า น ฝี มื อ แ ล ะ หั ต26ถ ก ร ร ม


o ประเด็นด้านการให้ความสาคัญกับ กลุ่มเป้าหมาย ประเด็นสาคัญสาหรับ ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมหัตถกรรมคือการสร้างความ เข้าใจถึงลักษณะผลิตภัณฑ์ที่ผู้ประกอบการต้องการผลิตกับความเหมาะสมและ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน ผู้ประกอบการจานวนมากประสบกับ ความล้มเหลวเนื่องจากความผิดพลาดในการสร้างความเข้าใจถึงกลุ่มผู้บริโภค ที่ชัดเจนโดยเฉพาะในช่วงเริ่มต้นของการดาเนินธุรกิจ o ประเด็ น ด้ า นศั ก ยภาพในการ ออกแบบ ส าหรั บ ด้ า นการออกแบบ ผู้ประกอบการจาเป็นต้ องสร้างความแตกต่างที่ชัด เจนเพื่อ ที่จะสามารถเจาะ ตลาดได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งการออกแบบผลิต ภัณฑ์ ต้ องอยู่ บ นพื้นฐานของอั ต ลักษณ์ของผู้ประกอบการ ทักษะ และวัตถุดิบที่จะใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เนื่ อ งจากผู้ บ ริโ ภคทั้ง ในตลาดอาเซี ย นและตลาดโลกนั้ น ให้ค วามส าคั ญ กั บ เนื้อหาและที่มาของแนวคิดที่สะท้อนถึงความโดดเด่นและมีอัตลักษณ์เฉพาะของ ตัวผลิตภัณฑ์ o ประเด็นการผลิต ด้านการะบวนการผลิตนั้นต้องคานึงถึงปัจจัยที่ สาคัญ 2 ด้ า นที่ ส าคั ญ คื อ วั ต ถุ ดิ บ และแรงงาน เนื่ อ งจากอุ ต สาหกรรมฝี มื อ และ หัต ถกรรมนั้นอาศั ย วัต ถุ ดิ บ พื้นถิ่ น ดั งนั้น การสร้า งความมั่ นใจด้ า นการหา วัตถุดิบนาเข้าเพื่อผลิตสินค้านั้นนั้นเป็นประเด็นที่สาคัญต่อประสิทธิภาพในการ ผลิ ต สิ น ค้ า ในระยะยาว นอกจากนี้ ใ นกระบวนการผลิ ต ของอุ ต สาหกรรม หัตถกรรมต้องอาศัยแรงงานที่มีทักษะเฉพาะด้านซี่งส่วนใหญ่เป็นความรู้และ ทักษะของชุมชนเฉพาะกลุ่มดังนั้นจึงจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนา ศักยภาพด้านทักษะฝีมืออย่างต่อเนื่อง o ประเด็นการตลาด กิจกรรมด้านการตลาดที่สาคัญสาหรับผู้ประกอบการ ธุ ร กิ จ สร้ า งสรรค์ นั้ น ต้ อ งอาศั ย การเข้ า ร่ ว มงานงานแฟร์ ที่ จั ด ทั้ ง ในและ ต่ า งประเทศซึ่ ง เป็ น ช่ อ งทางหลั ก ในการเปิ ด โอกาสให้ ผู้ ป ระกอบการใน การศึกษาความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งเป็นข้อจากัดด้านผู้มาเข้าร่วมงานซึ่ง อาจไม่ใช้กลุ่มผู้บริโภคที่มีความต้องการผลิตภัณฑ์ o ประเด็นหลังการขาย ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์เมื่อเริ่มดาเนินการด้าน การขายจะมีลักษณะการประชาสัมพันธ์ในลักษณะลูกค้าบอกต่อ สาหรับลูกค้า เดิมลักษณะการบริโภคจะเปลี่ยนไปในทิศทางของการเป็น Customized มาก ยิ่งขึ้น การติดตามข้อมูลและความต้องการของลูกค้าจะเป็นข้อมูลที่สาคัญใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ o ลักษณะของผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ จาเป็นต้องมีทักษะด้านการออกแบบที่มีอัตลักษณ์ที่ชัดเจน เข้าใจถึงความโดด เด่ นในอัต ลัก ษณ์ข องงานและสามารถสื่อ สารความเป็น ลั ก ษณะเฉพาะของ ผลิตภัณฑ์กับผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลทาง 27 การตลาดและปรับตัวตามความต้องการของตลาด

องค์ประกอบที่สาคัญ ของอุตสาหกรรมงาน ฝีมือและหัตถกรรม


ความต้องการ การสนับสนุน ในอุตสาหกรรม งานฝีมือและหัตถกรรม

1• การสนับสนุนด้านการตลาด ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ ต้องการการสนับสนุนด้านเข้าถึงแหล่งข้อมูลทางด้านการตลาด โดยเฉพาะข้อมูลการวิเคราะห์แนวโน้มความต้องการของตลาดทั้ง ตลาดในและต่ า งประเทศเพื่ อ ที่ ผู้ ป ระกอบการจะได้ ส ามารถ กาหนดแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ ส อดคล้อ งกั บ แนวโน้ม ความต้ องก ารของต ล าด ที่ เ ป ลี่ ย นแ ปล งไป นอก จาก นี้ ผู้ ป ระกอบการต้ อ งการข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งานแฟร์ ที่ มี ก าร สนับ สนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ไทยและงานแฟร์ที่มี ก ารจัด ใน ต่างประเทศโดยเฉพาะข้อมูลด้านกลุ่มผู้บริโภคที่แตกต่างกันแต่ละ งานแฟร์ที่มีการจัดขึ้น 2• การสนับสนุนด้านการวิจัยและพัฒนา การวิจัยพัฒนาทางด้าน วั ต ถุ ดิ บ ส าหรั บ การผลิ ต เป็ น ประเด็ น ที่ ส าคั ญ กั บ การพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมหัตถกรรมทั้งในด้าน การวิจัยและพัฒนาด้านวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิตและการพัฒนา ด้านเทคโนโลยี เพื่อใช้สนับสนุนในกระบวนการผลิต ทั้งนี้เพื่อให้ ผู้ป ระกอบการสามารถพัฒนาผลิ ต ภัณ ฑ์ที่มี ค วามโดดเด่ นและ สามารถตอบสนองความต้องการกลุ่มผู้บริโภคเฉพาะกลุ่ม 3• การสนับ สนุนด้านแรงงาน เนื่อ งจากในกระบวนการผลิต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ หั ต ถกรรมนั้ น ต้ อ งอาศั ย แรงงานที่ มี ทั ก ษะ (Skill Based Labor) เฉพาะด้าน ซึ่งแรงงานส่วนใหญ่จะอยู่ในชุมชน ต่ า งจั งหวัด ซึ่ง ขาดวิ นั ย และความรับ ผิด ชอบต่ อ การผลิต ส่ง ผล กระทบทั้งในด้ านคุณภาพและศัก ยภาพในการผลิต ดังนั้นการ สนับ สนุนจากองค์ ภ าครัฐ โดยเฉพาะในระดั บ ท้อ งถิ่ นเพื่อ สร้า ง ความเข้ า ใจกั บ แรงงานชุ ม ชนทั้ ง ทางด้ า นความส าคั ญ ในการ พัฒนาทักษะและโอกาสในการสร้างรายได้เสริมที่จะเกิดกับชุมชน นั้นเป็นปั จจัย ที่ส าคั ญที่ จะสนับ สนุน ให้ผู้ ป ระกอบการสามารถ ดาเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืน 4• การสนับสนุนด้านกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อเป็นการ ป้ อ งกั น และสร้ า งความได้ เ ปรี ย บทางด้ า นการแข่ ง ขั น ให้ กั บ ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ การปลูกฝังและสร้างความเข้าใจ ถึงปัจจัย ด้านทรัพย์สินทางปัญญาเป็นประเด็ นที่ผู้ประกอบการ ต้อ งการได้รับ การสนับสนุนทั้งในด้ านการสร้างความเข้าใจให้ ผู้ประกอบการและผู้บริโภค 28


ปั ญ ห า แ ล ะ อุ ป ส ร ร ค ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ง า น ฝี มื อ แ ล ะ หั ต ถ ก ร ร ม

29


ปัญหาและอุปสรรคในอุตสาหกรรม งานฝีมือและหัตถกรรม สาหรับปัญหาและอุปสรรคของผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมหัตถกรรม มี 4 ประเด็นปัญหาประกอบด้วย

ปัญหาด้าน การตลาด

ผู้ประกอบการต้องการข้อมูลข่าวสารโดยเฉพาะ ข้อมูลที่ได้รับการวิเคราะห์ถึงแนวโน้มและความ ต้องการของผู้บริโภคทั้งในประเทศ อาเซียน และตลาดโลกเพื่อช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์และ ก าหนดแนวทางในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ ความ ต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคทั้ ง ในระยะสั้ น ระยะกลาง และระยะยาว ส าหรั บ การพั ฒ นาตลาดการบริ โ ภคในประเทศผู้ ป ระกอบการ ต้องการการสนับสนุนจากภาครัฐในด้านการสร้างความเข้าใจและ สร้างทัศนคติต่อผู้บริโภคถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทย

ด้านการ พัฒนาฝีมือ แรงงาน

ปัญหาด้านแรงงานนั้นประกอบไปด้วย 2 กลุ่ม แรงงานที่ ส าคั ญ คื อ กลุ่ ม แรงงานที่ มี ทั ก ษะ เฉพาะด้านในการผลิตซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน ชนบทซึ่งแรงงานกลุ่มนี้ต้ องอาศัย การสนับ สนุนจากหน่วยงานใน ท้องถิ่นในการสร้างความเข้าใจถึงการพัฒนาคุณภาพด้านการผลิต การวางแผนการดาเนินงานเพื่อให้สามารถผลิตได้ตามความต้องการ ของผู้ประกอบการและกลุ่มแรงงานที่ทาหน้าที่ในการบริหารจัดการ ในระดับล่างที่ทักษะด้านการบริหารจัดการเบื้องต้น โดยเฉพาะการ สั่งงาน การติดตามงาน และการควบคุมกระบวนการดาเนินงานซึ่ง ปัจจุบันที่แนวโน้มที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง

ด้านการ วิจัยและ พัฒนา

ประเด็นการสนับสนุนด้านการวิจัยและพัฒนา เป็ น อี ก ประเด็ น ที่ ผู้ ป ระกอบการหั ต ถกรรม ต้องการการสนับสนุน โดยเฉพาะการสนับสนุน ในการพัฒนาด้านคุณภาพของวัตถุดิบในประเทศเพื่อช่วยลดปัญหา ด้านการนาเข้าวัตถุดิบเพื่อการผลิตและเพิ่มการพัฒนาคุณภาพของ สินค้าซึ่งส่งผลกระทบต่อการกาหนดราคาของผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ ผู้ประกอบการต้องการการสนับสนุนการพัฒนาด้านเทคโนโลยีการ ผลิตเพื่อสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ มาตรฐานการผลิต และ การลดต้นทุนการผลิตของผลิตภัณฑ์

ด้าน การเงิน

ปั ญ หาด้ า นการเงิ น เป็ น ประเด็ น ปั ญ หา ที่ ผู้ ป ระกอบการหั ต ถกรรม ผู้ ป ระกอบการ ต้องการการสนับสนุนด้านการเงิน โดยเฉพาะด้ านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่การนาเข้าเครื่องจักรเพื่อ การผลิ ต และการพั ฒ นาตลาดโดยเฉพาะการร่ ว มงานแฟร์ ใ น ต่ า งประเทศที่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยทั้ ง ในด้ า นการเดิ น ทางและการดู แ ล ผลิตภัณฑ์ 30


การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายในการส่งเสริม อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขางานฝีมือและหัตถกรรม เป็น อุตสาหกรรมที่เป็นที่ต้องการของตลาด ต่างประเทศ โดยเฉพาะตลาดในอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น และเกาหลี ซึ่งผู้บริโภคส่วนใหญ่มีการใช้สินค้า งานฝีมือและหัตถกรรมที่แตกต่างกัน ทั้งซื้อเพื่อใช้ส่วนตัวและซื้อเพื่อใช้ตกแต่งสถานที่ อย่างไรก็ตาม การบริโภคภายในประเทศยั งอยู่ ในระดั บ ต่ า โดยกลุ่มผู้ บ ริโภคเป็นกลุ่มที่มีร ายได้ ร ะดั บ กลางและ ระดับสูง จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกจากผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม พบว่าแนวคิด ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการนั้น สามารถแบ่งที่มาของแนวคิดได้ 2 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์บนพื้นฐานของการใช้มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Asset) องค์ประกอบที่ 2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์บนพื้นฐานของการใช้ข้อมูลความต้องการจากกลุ่มผู้บริโภค (Market Oriented)

กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานฝีมือและหัตถกรรม และปัจจัยแห่งความสาเร็จ

ระดับการพัฒนาสินค้าโดยใช้ความรู้ทางวัฒนธรรมเป็นพื้นฐาน

สูง

1

• กลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย • ทรัพย์สินทางปัญญา • ทักษะและฝีมือแรงงาน

Cultural ผู้ประกอบการที่พื้นฐานของการใช้พื้นฐาน Intensive มรดกทางวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ Product (CIP) 2 Culture & Market Integrated Product (CMIP)

• ศักยภาพด้านการออกแบบ • การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ • การสื่อสารการตลาด

ผู้ประกอบการผสมพื้นฐานมรดกทางวัฒนธรรม พร้อมทั้งปรับให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด 3 Market Oriented Product (MOP)

ต่า ต่า

ระดับการพัฒนาสินค้าโดยใช้ความต้องการตลาดเป็นตัวผลักดัน

31

• ประสิทธิภาพการผลิตและการจัดการต้นทุน • ช่องทางการจัดจาหน่ายและการกระจายสินค้า • ศักยภาพด้านการออกแบบ

ผู้ประกอบการเน้นการให้ความสาคัญ กับความต้องการของตลาด สูง


กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานฝีมือและหัตถกรรมและปัจจัยแห่งความสาเร็จ ปัจจัยแห่งความสาเร็จสาหรับของผู้ประกอบการ กลุ่มนี้ ประกอบไปด้วย • ความสามารถในระบุและการเข้าถึงกลุ่ม ผู้บริโภคเป้าหมายที่ชัดเจน • การบริหารจัดการด้านทรัพย์สินทางปัญญา • การจัดการทักษะและฝีมอื แรงงาน

กลุ่มที่ 1 Cultural Intensive Product (CIP) หมายถึง กลุ่ม ผู้ประกอบการที่เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์บนพื้นฐานของการใช้มรดกทาง วัฒนธรรม

ปัจจัยแห่งความสาเร็จสาหรับผู้ประกอบการกลุ่มนี้ ประกอบไป ด้วย • การพัฒนาศักยภาพด้านการออกแบบ • การวิจัยและพัฒนาเพื่อนาไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ • การพัฒนาศักยภาพด้านการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication)

กลุ่มที่ 2 Culture & Market Integrated Product (CMIP) คือ ผู้ประกอบการที่ผสมผสานแนวคิดของการใช้พื้นฐานมรดกทางวัฒนธรรม ร่วมกับข้อมูลความต้องการจากผู้บริโภค

กลุ่มที่ 3 Market Oriented Product (MOP) คือ กลุ่มผู้ประกอบการ ที่ใช้ข้อมูลความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นหลัก ซึ่งไม่จาเป็นที่ต้องมีลักษณะจาเพาะ

32

ปัจจัยแห่งความสาเร็จสาหรับผู้ประกอบการกลุ่มนี้ ประกอบไป ด้วย • การบริหารกระบวนการผลิตเพิ่มประสิทธิภาพและการ จัดการต้นทุน • การบริหารช่องทางการจัดจาหน่ายและการกระจายสินค้า • การพัฒนาศักยภาพด้านการออกแบบ


Creativity Skill Enhancement

Market Segmentation

Thinking Skill

Indigenous knowledge

Market Segmentation

Skilled Practitioners

Creative Thinking

เ งื่ อ น ไ ข ปั จ จั ย ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง แ ผ น พั ฒ น า แ ล ะ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า งานฝีมือและหัตถกรรม

ปัจจัย ส าคั ญที่จะช่วยสนับ สนุนการขับ เคลื่อ นอุต สาหกรรมสร้างสรรค์ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม ประกอบไปด้วยปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ ซึ่งประกอบไปด้วย 1)1 ปั จ จั ย ด้ า นการพั ฒ นาทั ก ษะความคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ นการพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ใหม่ (Creative Thinking) 2)2 ปัจจัย ด้านการพัฒนาศั ก ยภาพและความเข้าใจตลาดเฉพาะกลุ่มที่ ตรงลักษณะของผลิตภัณฑ์ (Market Segmentation) 3)3 ปัจจัยด้านการพัฒนาทักษะเฉพาะด้านในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ หัต ถกรรมซึ่ งต้ อ งอาศั ย การโอนถ่ ายความรู้ แ ละการต่ อ ยอดองค์ ความรู้ เ พื่ อ พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพของกระบวนการผลิ ต และการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (Skillful Practitioner) 4)4 ปัจจัยด้านการใช้ความรู้พื้นถิ่นในการสร้างอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ ซึ่ ง เป็ น การเพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ง านฝี มื อ และหั ต ถกรรม (Indigenous Knowledge) 33


Do or Die Craft

สิ่งที่ผู้ประกอบการไทย ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม หัตถกรรมและงานฝีมือ ต้องเร่งพัฒนา...

34


• การพั ฒ นาความรู้ แ ละความเข้ าใจในมุ ม มองและ แนวทางการก าหนดกลยุ ท ธ์ แ ละเทคนิ ค ด้ า น การตลาด • ความเข้าใจด้านนวัตศิลปที่อาศัยการแปรวิถีความ เป็นไทยสู่การออกแบบที่ตอบสนองวิธีการเป็นอยู่ใน ปัจจุบัน • การพั ฒ นาให้ ก้ า วข้ า มข้ อ จ ากั ด ด้ า นการผลิ ต แบบเดิ ม เพื่ อ ให้ ส ามารถตอบสนองการพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ใหม่ • การเพิ่ ม พู น ทั ก ษะและความเข้ า ใจด้ า นการเป็ น ผู้ประกอบการ

• • • •

Do or Die Craft

Market Oriented Approach Innovative Craft Mental Block in Production Process Entrepreneurial Skill

35


ส่วนที่ 3 อุตสาหกรรมงานออกแบบ         

ความสาคัญทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมงานออกแบบ ทิศทางอุตสาหกรรมงานออกแบบไทยกับตลาดโลก แนวโน้มการเติบโตและความต้องการของอุตสาหกรรมงานออกแบบ สรุปสถานการณ์ปัจจุบันของอุตสาหกรรมงานออกแบบ องค์ประกอบที่สาคัญของอุตสาหกรรมงานออกแบบ ความต้องการการสนับสนุนในอุตสาหกรรมงานออกแบบ ปัญหาและอุปสรรคในอุตสาหกรรมงานออกแบบ การวิเคราะห์กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานออกแบบและปัจจัยแห่งความสาเร็จ การวิเคราะห์ประเด็นวิกฤตในการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์ สาขางานออกแบบและปัจจัยแห่งความสาเร็จ

36


3

ส่วนที่

งานออกแบบ

โดย ดร.อรรถวิ ท เตชะวิ บู ล ย์ ว งศ์ อาจารย์ ป ระจาเสริ ม หลั ก สู ต ร วิ ท ยาลั ย นวั ต กรรม ม .ธรรมศาสตร์ 37


ความสาคัญทางเศรษฐกิจ

งานออกแบบ สร้างมูลค่าเพิ่มได้มากถึง

292.15พันล้านบาท ก่อให้เกิดการจ้างงาน อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับมีมูลค่าเพิ่มจาก การออกแบบสูงเป็นอันดับ 1 ของกลุ่มอุตสาหกรรม ออกแบบทั้งหมด

38

99.71 พันล้านบาท


เปรียบเทียบมูลค่าการนาเข้า ปี 2552-2555 (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) 92%

2,061.18

2555

2552 303.13 เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน

40%

32%

27%

15%

53,467.03 2555

5,477.24 2552 อัญมณีและเครื่องประดับ 62%

เปรียบเทียบการส่งออกสินค้าปี 2552-2555 (ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

2,055.58

2555

434.97 เครื่องแก้ว

2552

1,651.12

2555

388.41 แฟชั่น

2552

689.24

2555

2552 170.88 ของเล่นและเกม

มู ล ค่ า การน าเข้ า และส่ ง ออกระหว่ า ง ปี 2552-2555 พบว่า มูลค่าประมาณการใน ปี 2555 อุตสาหกรรมที่มีมูลค่านาเข้าสูง กว่ า ส่ ง ออก ได้ แ ก่ อุ ต สาหกรรมอั ญ มณี โดยมีมูลค่าการนาเข้าคิดเป็น 53,467 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ สูงกว่ามูลค่าการส่งออกที่อยู่ ที่ 13,190 ล้ า น เ ห รี ย ญ ส ห รั ฐ ฯ อุตสาหกรรมเครื่องแก้ว มีมูลค่าการนาเข้า คิดเป็น 2,055 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สูงกว่า มูลค่าการส่งออกที่อยู่ที่ 695 ล้านเหรียญ สหรั ฐ ฯ และอุ ต สาหกรรมเฟอร์ นิ เ จอร์ มี มูลค่า นาเข้าที่อ ยู่ที่ 2,061 ล้านเหรีย ญ สหรัฐฯ สูงกว่าการส่งออกที่มีมูลค่า 1,697 ล้า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ อุ ต สาหกรรมที่ มู ล ค่ า ส่งออกมากกว่านาเข้า ได้แก่ อุตสาหกรรม แฟชั่นมีมูล ค่าการส่งออก 2,205 ล้าน เหรี ย ญสหรัฐ ฯ และนาเข้า คิ ด เป็ น 1,651 ล้านเหรีย ญสหรัฐ ฯ และอุ ต สาหกรรมของ เล่นมีมูลค่าการส่งออก 926 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ สูงกว่านาเข้าซึ่งอยู่ที่ 689 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ

13,190.29 2555

9,762.33 2552 อัญมณีและเครื่องประดับ 6%

18%

2,205.99

2555

1,918.42 แฟชั่น

2552

1,697.86

2555

1,114.87 2552 เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน 12%

926.53

2555

2552 609.42 ของเล่นและเกม

19%

มูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น ปี 2552-2555

มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ปี 2552-2555

มูลค่าการนาเข้าลดลง ปี 2552-2555

มูลค่าการส่งออกลดลง ปี 2552-2555

39

ที่มา:World Trade Atlas 2012, รายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมปี 2554 และแนวโน้มปี 2555 จากสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

695.94

2555

563.86 เครื่องแก้ว

2552


2

93,561.60 12%

1

179,013.01

2 EU

212,474.44

1

20,037.35 China

USA

2 1

77,563.18

6%

2

0%

1

171,307.66 2 1

15,035.36

Japan 17,792.72

24%

50,478.78

Thailand

6%

19,772.32

4 4 2552-2554 2552-2554 International Trade Center

ทิศทางอุตสาหกรรมไทยกับตลาดโลก สาหรับประเทศไทย จากการศึกษาเปรียบเทียบ อุตสาหกรรมงานออกแบบของไทยกับอุตสาหกรรมงานออกแบบของโลก ในช่วงระหว่างปี 2546-2551 พบว่า อุตสาหกรรมที่มีการเติบ โตไปในทิศทางเดี ยวกับ ตลาดโลกได้แ ก่ อุ ตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ อุ ตสาหกรรมแฟชั่น อุ ตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ้าน ส่วนอุตสาหกรรมของเล่นมีขนาดที่เล็กมากและเติบโตต่ากว่าทิศทางของตลาดโลก ส่วนอุตสาหกรรมเครื่องแก้วนั้นการ เติบโตหดตัวและประเทศไทยยังส่งออกได้น้อย จากการศึกษาวิเคราะห์ทิศทางการเติบโตของอุตสาหกรรมงานออกแบบของโลกมีทิศทางที่เติบโตขึ้น โดยมี อัตราการเติบโตสูงขึ้นถึงร้อยละ 92 กลุ่มที่มีอัตราการเติบโตสูงสุด คือ อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และการตกแต่งภายใน มีอัตราการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 87 (จาก 42,525 เป็น 79,632 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) รองลงมา คือ อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับมีอตั ราการเติบโตจากมูลค่า 30,145 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ เป็น 55,195 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 83 ส่วนอุตสาหกรรมของเล่นและแฟชั่นซึ่งรวมถึงเสื้อผ้า เครื่องหนังมีอัตราเติบโต เท่ากันคือร้อยละ 83 40


สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน ของอุตสาหกรรม งานออกแบบ

อุตสาหกรรมงานออกแบบเป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานสาหรับอุตสาหกรรมอื่นๆ อีกหลายประเภท ที่อาศัย ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ ประกอบกับทักษะฝีมือแรงงานในการผลิตสินค้าหรือบริการที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบันมีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่น มรดกทางวัฒนธรรม ผสมผสานเข้ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อสร้าง ให้เกิดงานออกแบบที่คงรูปแบบด้านงานออกแบบแต่สามารถผลิตได้จริงในระดับอุตสาหกรรม

ศัก ยภาพอุตสาหกรรมงานออกแบบในด้านของศั กยภาพของอุ ต สาหกรรมงาน ออกแบบของไทยในปั จ จุบั น นั ก ออกแบบของไทยนั บ ได้ ว่า เป็น นัก ออกแบบที่ มี ศั ก ยภาพในระดั บ โลกทั้ ง ในด้ า นของฝี มื อ ภาษา และความหลากหลายของ วัฒนธรรม ในขณะที่ค่าจ้างค่อนข้างต่า ทั้งนี้ในส่วนของค่าแรงในการออกแบบนั้น ผู้บริโภคในประเทศไทยยังไม่ให้ความสาคัญกับมูลค่าของการออกแบบมากนัก โดย มองว่ าการออกแบบควรเป็นส่ วนหนึ่ งของผลิต ภัณฑ์ ห รือ บริก าร ในขณะที่ฝีมื อ แรงงานคนไทยมีค่ าแรงสูงและระบบทรัพย์ สินทางปัญญาของอุ ต สาหกรรมงาน ออกแบบยังคงไม่เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมงานออกแบบได้เท่าที่ควร ทาให้ สินค้าที่มีการออกแบบเป็นของตนเองมีราคาสูง ทาให้สินค้าที่มีความคิดสร้างสรรค์ ถูกลอกเลียนแบบได้ง่าย โดยผู้เป็นเจ้าของความคิดสร้างสรรค์ไม่ได้รับค่าตอบแทนที่ เหมาะสม สาหรับด้านของการสนับสนุนอุตสาหกรรมงานออกแบบควรมุ่งเน้นที่การ สร้างทัศ นคติ ที่ดี ต่ อการออกแบบ การคุ้ มครองทรัพย์ สินทางปัญญา การสร้าง โครงสร้างพื้นฐานด้านโลจิสติกส์ และการพัฒนาตลาดและตราสินค้าไทยให้เป็นที่ ยอมรับในตลาดทั้งในและต่างประเทศ 41

ความต้องการของตลาดเปลี่ยนไปในปัจจุบันความ ต้อ งการของตลาดได้ เปลี่ย นจากความต้ อ งการของ ราคาถูก มาเป็นของที่ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภครายบุคคลที่มีความต้องการเฉพาะตัวมากขึ้น (Customization) ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างง่ายๆ เช่น การที่ ผู้ บ ริ โ ภคที่ ใ ช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ นิ ย มซื้ อ กรอบใส่ โทรศัพท์ที่มีก ารออกแบบที่หลายหลายและไม่ซ้ากั บ คนอื่ น ท าให้ ต ลาด ของนั ก ออก แบ บ ก รอบ ใส่ โทรศัพท์มือถือขยายตัวอย่างรวดเร็วและอาจมากกว่า ผู้ออกแบบตัวโทรศัพท์มือถืออีกด้วย ด้วยสภาพความ ต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปนี้ทาให้อุตสาหกรรม งานออกแบบเติบโตอย่างมากทั้งในประเทศไทยและ ตลาดโลก


แนวโน้มการเติบโตและ ความต้องการของ อุตสาหกรรม งานออกแบบ

ภาพรวมด้านความต้องซื้อการของตลาด (Demand) คือ ตลาดของสินค้าที่มีส่วนผสมดีไซน์และไอเดีย ยังเติบโตได้ดี ตลาดของสินค้าความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมสามารถสร้างความต้องการได้ทั้งจาก ฐานลูกค้าเดิมและขยายกว้างออกไปนอกกลุ่มลูกค้าเดิมได้ ตลาดบนอินเตอร์เน็ตก็เปิดโอกาสให้แก่สินค้า ความคิดสร้างสรรค์ให้กว้างยิ่งขึ้น ตลาด แม้ตลาดของสินค้า ในประเทศ ความคิดสร้างสรรค์ จะเริ่มเติบโตในประเทศ ไทย แต่ ผู้ บ ริ โ ภคไทยส่ ว นใหญ่ ยั ง ให้ คุ ณ ค่ า กั บ งานดี ไ ซน์ น้ อ ย เกินไป ซึ่งสะท้อนออกมาจากคน ไทยส่ ว นใหญ่ ยั ง ไม่ ยิ น ดี จ ะจ่ า ย แพงขึ้ น ท าให้ ต้ อ งออกไปสร้ า ง ตลาดต่างประเทศ ตลาด สินค้าที่มีดีไซน์ ในกลุ่มประเทศ อาเซียน หรือมีความคิด สร้างสรรค์ของไทย มี โอกาสเติ บ โตได้ ทั้ง ในประเทศ ใ ก ล้ เ คี ย ง อ า ทิ ส ป ป . ล า ว อิ น โ ด นี เ ซี ย ม า เล เ ซี ย แ ล ะ สิงคโปร์ ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มี การพัฒนาทางเศรษฐกิจพื้นฐาน ประชาชนเริ่มมีกาลังซื้อมากขึ้น

42

ตลาด ในประเทศที่มีกาลังซื้อสูง เช่น ต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น นับว่าเป็น ตลาดที่สาคัญของงานออกแบบของไทย แต่ นั บ ว่ า มี ค วามต้ อ งการที่ ห ลากหลาย และ เฉพาะเจาะจงในแต่ละกลุ่ม ดังนั้นผู้ออกแบบต้องมี การปรับ ตัว และเร่งสร้างสรรค์ผลงานออกแบบ มากขึ้น ส่ ว นปั จ จั ย ด้ า นการผลิ ต พบว่ า เมื่ อ พยายามใส่ ความคิดสร้างสรรค์หรือดีไซน์เข้าไปต้นทุนจะเพิ่ม สูงขึ้นด้ วยอย่ างมีนัย ส าคั ญ นอกจากนี้ก ารผลิ ต สินค้าที่มีดีไซน์ยังจาเป็นต้องใช้แรงงานคนไทยที่ เป็ น แรงงานที่ มี ฝี มื อ เป็ น หลั ก แต่ ใ นปั จ จุ บั น แรงงานฝีมื อคนไทยก าลัง ขาดแคลน เนื่ องจาก ค่านิยมด้ านลบในสังคมไทยต่อการทางานที่เป็น แรงงานระดั บ การผลิ ต ท าให้ ต้ อ งใช้ ค นงาน ต่างชาติแทนแรงงานไทย อันนามาซึ่งปัญหาด้าน คุณภาพและการควบคุมการผลิต บางโรงงานจึง ตัดสินใจใช้คนงานไทยทั้งหมด ทาให้ต้นทุนในการ ผลิ ต สู ง ขึ้ น และสามารถแข่ ง ขั น กั บ สิ น ค้ า จาก ประเทศอื่นลดลงในด้านราคา


อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ สา คั ญ แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ก า ร ส นั บ ส นุ น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ง า น อ อ ก แ บ บ 43


องค์ประกอบที่สาคัญของ อุตสาหกรรม งานออกแบบ

o ประเด็ น ด้ านแรงงาน ผู้ ป ระกอบการประสบปัญ หาขาดแคลนแรงงานที่ มี ทัก ษะฝี มื อ ไม่ ส ามารถใช้ แ รงงานต่ างชาติ ไ ด้ ดั ง นั้ น สิ่ ง ที่ จ ะท าให้ ป ระสบ ความสาเร็จ คือ ต้องมีนโยบายทาให้คนอยู่กับองค์กรไม่ไปทางานอื่น ขณะนี้ ผู้ป ระกอบการบางรายสร้างความร่วมมือ กั บ สถาบั นอาชี วศึ ก ษา เพื่ อ ป้อ น แรงงานให้กับภาคธุรกิจของตนเอง o ประเด็ น ด้ านเทคโนโลยีแ ละนวัต กรรม ผู้ป ระกอบการประสบปัญ หาการ ลอกเลียนแบบสินค้า ทั้งจากในประเทศและต่างประเทศ ดังนั้นอีกปัจจัยหนึ่งที่ จาเป็นคือต้องไม่หยุดพัฒนาคิดใหม่สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ตลอดเวลาให้กับสินค้า ตัวเดิมเพื่อไปแข่งขันในตลาด เพราะไม่สามารถห้ามคนลอกเลียนแบบได้ o ประเด็นด้านการประชาสัมพันธ์ ผู้ประกอบการมีความเห็นว่าเวทีแข่งขันและ แสดงผลงานที่สามารถสร้างรายได้ให้กับธุรกิจไทยยังมีไม่มาก ดังนั้นธุรกิจต้อง หาเวทีแ สดงความคิ ด สร้ างสรรค์ แ สดงผลงานเพื่อ สร้ างความน่ าสนใจและ ประชาสัมพันธ์สินค้าไทย o ปัจจัยด้านค่านิยมและคุณค่าในงานสร้างสรรค์ ผู้ประกอบการประสบปัญหา ด้ า นทั ศ นคติ ล บของผู้บ ริโ ภคต่ อ อุ ต สาหกรรมงานออกแบบในประเทศไทย รวมถึงปัญหาการสร้างค่านิยมให้คนไทยใช้ของไทยและสร้างความต้ องการ สินค้าด้านการออกแบบของตลาดภายในประเทศ o ประเด็ น ด้ า นความสามารถของผู้ ป ระกอบการ ความสามารถของ ผู้ป ระกอบการในการบริ ห ารจัด การและสร้ างรูป แบบของธุร กิ จ ที่ ส ามารถ แข่งขันได้ทั่วโลกไม่เฉพาะแต่ในประเทศเท่านั้น ซึ่งรวมถึงความสามารถของ ผู้ประกอบการในการแสวงหาตลาดในต่างประเทศ การสร้างเครือข่ายกั บ พันธมิตรในต่างประเทศ 44

องค์ ป ระกอบที่ จ าเป็น ส าหรั บ การ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมงาน ออกแบบ ได้ อ ย่ างมีป ระสิ ท ธิ ภ าพ และยั่งยืนในระยะยาว จาเป็นต้อง อาศั ย การสร้ า งอั ต ลั ก ษณ์ ใ ห้ กั บ ผลิตภัณฑ์ รวมถึงการมีเทคโนโลยี และโครงสร้างพื้นฐานในการดาเนิน ธุ ร กิ จ รวมถึ ง การประชาสั ม พั น ธ์ แ ล ะ ช่ อ ง ท า ง ก า ร ต ล า ด ที่ มี ประสิทธิภาพ


ความต้องการ การสนับสนุน ในอุตสาหกรรม งานออกแบบ

1• ประเด็นด้านการสนับสนุนในด้านกิจกรรมส่งเสริมการตลาดและการขาย งานแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ ที่จัดขึ้นส่วนใหญ่ไม่มีประสิทธิภาพโดยเรียกร้องให้มีการจัด Road Show ที่มีหน่วยงานสนับสนุนที่ทาหน้าที่ การตลาดโดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ต้องมีความรู้ รูปแบบลักษณะการจัดแสดงสินค้าควรมีความเฉพาะเจาะจงไปที่ กลุ่ ม เป้ า หมายมากกว่ า การรวบรวมหลายๆ อุ ต สาหกรรมเอาไว้ ด้ ว ยกั น ท าให้ ไ ม่ เ กิ ด ผลลั พ ธ์ ที่ ดี ทั้ ง นี้ ผู้ประกอบการได้ยกตัวอย่างการจัดแสดงสินค้าของประเทศเกาหลีใต้ว่ามีการวิจัย การออกแบบดีไซน์และวาง แผนการจัดแสดงที่ดี นาเสนอผลิตภัณฑ์ได้น่าสนใจ ซึ่งช่วยเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าที่มีมูลค่าต่อชิ้นไม่สูงมากนัก ได้ และเกิดผลลัพธ์ที่ดีกว่า ผู้ประกอบการเสนอให้มี Strategic Marketing of Thailand ซึ่งต้องการผู้ที่รู้ ตลาด บอกได้ ถึ งโลเคชั่นหรือ ประเทศเป้าหมาย ความต้ อ งการของลูก ค้ า และกลุ่มลูก ค้ าที่สินค้ าไทยมี ศักยภาพอย่างแท้จริง 2• ประเด็นด้านการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ภาครัฐควรให้ความช่วยเหลือในการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ สาหรับสินค้าที่มูลค่าต่อหน่วยไม่สูง เช่น มีหน่วยวิจัยให้คาปรึกษาเพื่อช่วยพัฒนาให้มีรูปแบบน่าสนใจและ ผลั ก ดั นทั้ ง อุ ต สาหกรรมให้ ส ามารถแข่ ง ขั นในระดั บ โลก ผู้ ป ระกอบการได้ ย กตั ว อย่ างความส าเร็ จ ของ อุตสาหกรรมหนังสือการ์ตูนของญี่ปุ่นและเกาหลี • 3 ประเด็นด้านทรัพย์สินทางปัญญา ระบบทรัพย์สินทางปัญญาของไทยยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เพราะ บุคคลากรของรัฐไม่เห็นความสาคัญ ไม่มีความรู้ในการตรวจสอบประเมิน ใช้เวลานานมากเกินไปในการขึ้น ทะเบียนเพื่อขอรับความคุ้มครองและระบบการตรวจสอบขาดความต่อเนื่อง ทาให้ผู้ประกอบการไม่สามารถ รอสิทธิบัต รได้ ต้อ งตั ดสินใจนาสินค้ าออกสู่ต ลาดก่ อนจะได้ ก ารคุ้ มครองเพราะความต้อ งการของตลาด เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นปัญหาของการสนับสนุนส่วนนี้อยู่ที่บุคลากรของ รัฐต้องพัฒนาบุคคลากรที่มี ความรู้ทางานได้จริงและมีทัศนคติที่ดี ทั้งนี้ผู้ประกอบการได้ยกตัวอย่าง ระบบการขอสิทธิบัตรของสหรัฐว่ามี การด าเนินงานที่เป็นระบบ ก าหนดระยะเวลาตอบกลับ ที่ แ น่นอนปัจจุบัน สินค้ าสร้างสรรค์ ของไทยบาง รายการถู กต่างประเทศลอกเลีย นแบบ ซึ่งต้อ งการความช่วยเหลือจากรัฐในการฟ้องร้อ งกั บต่างประเทศ รวมทั้งต้องสร้างระบบป้องกันการลอกเลียนแบบให้กับการจัดงานแสดงสินค้าด้วย เช่นการแสดงสินค้าใน ต่างประเทศบางแห่งจะรับประกันความคุ้มครองนวัตกรรมให้สองปีหลังจากการร่วมงานแสดงสินค้า 4• ประเด็นด้านกิจกรรมประชาสัมพันธ์และการสร้างตราสินค้า เวทีประกวดของไทยมีมากแต่ไม่ค่อยเกิดผล กระทบเชิงบวกอย่างเป็นรูปธรรมผู้ประกอบการจึงต้องการให้มีเวทีประกวดที่น่าเชื่อถือสาหรับคนไทย เพราะ ปัจจุบันต้องไปแข่งขันระดับสากลจึงจะน่าเชื่อถือ ด้านกิจกรรมบ่มเพาะให้เกิดผู้ประกอบการรายใหม่ในตลาด ผู้ประกอบการเสนอให้มีสื่อรายการที่ช่วยผู้ประกอบการที่มีไอเดียความคิดเกิดขึ้นเป็นจริงได้ และควรติดตาม ผลลัพธ์อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีหน่วยงานภาครัฐที่เปิดโอกาสให้มาขอคาปรึกษาทาให้ไอเดียเกิดขึ้นจริง 5• ประเด็นด้านการสนับสนุนสิทธิพิเศษภาษีและการลงทุน ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ประสบปัญหาด้าน ความน่าเชื่อถือในสายตาหน่วยงานภาครัฐเมื่อต้องการขอสิทธิพิเศษ ตัวอย่างเช่น ผู้ประกอบการที่มุ่งเน้น การดาเนินกิ จกรรมการออกแบบซึ่งมีความชานาญเอาไว้ภ ายในบริษัท แต่ กิจกรรมส่วนอื่นๆ ได้ กระจาย ออกไปโดยใช้ระบบการว่างจ้างให้บริษัทภายนอกผลิตแทน กลับกลายเป็นไม่ได้รับการสนับสนุนจาก BOI สาหรับกิจกรรมการจัดซื้อปัจจัยการผลิต ผู้ประกอบการพบว่าปัจจุบันวัตถุดิบบางประเทศถูกกว้านซื้อโดย พ่อค้าต่างชาติ ทาให้ประสบปัญหาวัตถุดิบแพง อาทิ ราคาไม้ยางในอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ จึงอยากขอให้ รัฐช่วยออกมาตรการป้องกัน 45


ปั ญ ห า แ ล ะ อุ ป ส ร ร ค ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม งานออกแบบ

46


ปัญหาและอุปสรรคในอุตสาหกรรม งานออกแบบ ปัญหาและอุป สรรคของผู้ป ระกอบการธุร กิจสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมงานออกแบบ มี 6 ประเด็ นปัญหา ประกอบด้วย ทัศนคติของคน ไทยต่อการ บริโภคสินค้า ออกแบบ

ผู้ บ ริ โ ภคในประเทศส่ ว นใหญ่ ยั ง ไม่ นิ ย มจั บ จ่ า ย สิน ค้ า ออกแบบที่ มี ร าคาแพงกว่ า ท าให้ ต้ อ งออกไป สู่ตลาดสากล ทาให้เกิดปัญหาตามมาว่าต้องผลิตให้ได้ ตามกฎเกณฑ์มาตรฐานสากล ซึ่งต้องใช้เงินทุนอีกมาก อย่างไรก็ดีผู้บริโภค ยุคใหม่ที่ชอบความโดดเด่นของการออกแบบเริ่มมีมากขึ้น แต่ก็ยังนับว่าอยู่ ในปริมาณน้อยมาก

การถูก ลอกเลียนแบบ

ปัญหาด้านการถูกลอกเลียนแบบจากผู้ประกอบการ คนไทยด้วยกันเอง

การขาด แรงงานฝีมือ

โดยเป็ น เรื่ อ งทั ศ นคติ ของแรงงานไทยต่ อ งานใช้ แรงงาน โรงงานไทยจึงหันมาใช้แรงงานต่างชาติ ทาให้คุณภาพลดลง หากใช้แรงงานฝีมือคนไทยก็ จะทาให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น

การแฝงตัวเข้ามา ของแรงงาน ทักษะความรู้ ระดับสูง

แผนงานส่งเสริม ธุรกิจสร้างสรรค์ ของภาครัฐ ไม่ต่อเนื่อง

ทัศนคติของ ชาวต่างชาติต่อ สินค้าไทย

47

เข้ า มาแข่ ง กั บ แรงงานระดั บ สู ง ของไทย อาทิ คนยุโรปสัญชาติสิงคโปร์ ซึ่งแฝงมา กับการเปิด AEC ผู้ประกอบการจึงเสนอ ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยป้องกัน

ปัญหาแผนงานส่งเสริมธุร กิ จสร้างสรรค์ ของภาครัฐ ไม่ ต่ อ เนื่ อง มั ก เปลี่ ยนแปลง ตามขั้วการเมือง

ชาวต่างชาติ คิ ด ว่าสินค้านวัตกรรมที่เป็น ของไทยไม่น่า เชื่อ ถื อ และเปลี่ย นใจไม่ซื้ อ เมื่อรู้ว่าเป็นสินค้านวัตกรรมที่ผลิตโดยคน ไทย


วิเคราะห์กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานออกแบบ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขางานออกแบบ เป็นอุตสาหกรรมที่เริ่มมีการเติบโตและมีมูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการวิเคราะห์ข้อมูล เชิงลึกพบว่าคุณลักษณะและจุดเด่นของธุรกิจ (Business Attribute & Positioning) นั้นมีความหลากหลายและมีปัจจัยแห่งความสาเร็จที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดีจากการประมวลข้อมูลเชิงลึกของผลผลิตอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขางานออกแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มงานออกแบบอัญมณีและ เครื่องประดับ แฟชั่น ของเล่น และเฟอร์นิเจอร์ สามารถสังเคราะห์เป็นองค์ประกอบที่เป็นจุด ร่วมได้เป็น 3 องค์ประกอบหลัก

องค์ประกอบที่ 3 การนาเสนออัตลักษณ์เฉพาะของนัก ออกแบบ (Identity: I)

องค์ประกอบที่ 2 การตอบสนองสุนทรียภาพในการใช้ สินค้า (Aesthetic: A) องค์ประกอบที่ 1 การตอบสนองด้านหน้าที่การใช้งาน (Function: F)

48


กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานออกแบบและปัจจัยแห่งความสาเร็จ

การใช้งาน (Function)

กลุ่มที่ 1 Function-Aesthetic-Identity (F-A-I) หมายถึง กลุ่มผู้ประกอบการที่พัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่ให้ความสาคัญทั้งทางด้านหน้าที่การใช้งาน โดยผสมผสานสุนทรียภาพในการใช้สินค้า ผ่านการออกแบบที่ส วยงามและนาเสนออั ต ลัก ษณ์เ ฉพาะตั วผ่ านสินค้ านั้ นๆ นับ ว่า เป็นกลุ่มที่ มี ศักยภาพสูงสุดในอุตสาหกรรมการออกแบบ กล่าวคือผู้ประกอบการสามารถนาความเป็นตัวตนของ นักออกแบบเพื่อสร้างให้เกิดผลงานที่ใช้งานได้จริงและมีความสวยงามตามที่ตลาดมีความต้องการ

สุนทรียะ (Aesthetic)

กลุ่มผู้ประกอบการ

กลุ่มผู้ประกอบการ

• • • • •

อัตลักษณ์สินค้า การหาตลาดเฉพาะตัว บุคลากรที่มีทักษะฝีมือ การพัฒนาสินค้าใหม่ ทรัพย์สินทางปัญญา

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ

Aesthetic–Identity (A-I) พัฒนาผลิตภัณฑ์โดยให้ความสาคัญกับองค์ประกอบ ของสุนทรียภาพสินค้าและนาเสนออัตลักษณ์ เฉพาะตัวผ่านสินค้านั้นๆ การใช้งาน (Function)

สุนทรียะ (Aesthetic)

อัตลักษณ์ (Identity)

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ

Function-Aesthetic-Identity (F-A-I) พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ให้ความสาคัญทั้ง 3 องค์ประกอบ

2

1

• • • •

อัตลักษณ์สินค้า การหาตลาดเฉพาะตัวและมีกาลังซื้อ การสื่อสารการตลาด ทรัพย์สินทางปัญญา

กลุ่มที่ 2 Aesthetic–Identity (A-I) คือ กลุ่มผู้ประกอบการที่พัฒนาผลิตภัณฑ์โดยให้ความสาคัญ กับองค์ประกอบของสุนทรียภาพและความสวยงามของสินค้าและนาเสนออัตลักษณ์เฉพาะตัวผ่าน สินค้านั้นๆ งานออกแบบของนักออกแบบในกลุ่มนี้จะมีความสวยงาม โดดเด่น ผสมผสานกับความ มี อั ต ลั ก ษณ์ ข องนั ก ออกแบบที่ ชั ด เจน อย่ า งไรก็ ต ามงานออกแบบของกลุ่ ม นี้ อ าจไม่ ส ามารถ ตอบสนองการใช้งานได้เท่าที่ควร ทั้งอาจจะเป็นด้านความเหมาะสมในการออกแบบแต่ไม่สามารถ ขนส่งได้สะดวก หรือการออกแบบที่ผู้บริโภคผลงานการออกแบบเพราะความสวยงามแต่ไม่ได้อาจ นาไปใช้งานจริง 49 อัตลักษณ์ (Identity)


กลุ่มที่ 3 Function–Aesthetic (F-A) คือ กลุ่มผู้ประกอบการที่ออกแบบผลิตภัณฑ์โดยให้ความสาคัญ กับหน้าที่การใช้งานให้ได้ตามวัตถุประสงค์และมีความสวยงามสุนทรียภาพในการใช้งาน การออกแบบ สามารถเปลี่ยนไปตามความต้องการของตลาด โดยที่ไม่จาเป็นต้องยึดติดกับรูปแบบจาเพาะเจาะจง กลุ่ม งานออกแบบนี้จะเน้นการออกแบบเพื่อ ตอบสนองรูป แบบการนาไปใช้ งานของผู้บ ริโภคได้ จริ ง เน้ น ประโยชน์ใช้สอย และความสวยงามน่าบริโภค ผลิตภัณฑ์จะมีความซ้า ทาให้สามารถเข้าถึงตลาดในกลุ่ม ใหญ่ได้ แต่อย่างไรก็ตามงานออกแบบในกลุ่มนี้จะไม่ได้ความเป็นตัวตนของนักออกแบบเท่าที่ควร เนื่อง ด้วยเงื่อนไขในการดาเนินธุรกิจ ทาให้ผู้บริโภคหรือผู้พบเห็นไม่ได้ความสาคัญกับตราสินค้า

การใช้งาน (Function)

สุนทรียะ (Aesthetic)

กลุ่มผู้ประกอบการ

• การเข้าใจแนวโน้มตลาด • การบริหารต้นทุนการผลิต • ช่องทางการจาหน่ายและการกระจายสินค้า

กลุ่มผู้ประกอบการ

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ • • • •

Function Centric (F) ให้ความสาคัญกับการใช้งานเป็นหลัก

4

สุนทรียะ (Aesthetic)

อัตลักษณ์ (Identity)

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ

Function–Aesthetic (F-A) ให้ความสาคัญกับหน้าที่การใช้งานและมี ความสวยงามสุนทรียภาพในการใช้งาน

การใช้งาน (Function)

3

เทคโนโลยีการออกแบบและการผลิต ความยืดหยุ่นในภาคการผลิต การบริหารจัดการต้นทุน การพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ ด้านวัสดุศาสตร์ และด้านกระบวนการผลิต

กลุ่มที่ 4 Function Centric (F) กลุ่มผู้ประกอบการที่พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เน้นการให้ความสาคัญ กับการใช้งานเป็นหลัก นักออกแบบจะมุ่งเน้นด้านประโยชน์ใช้สอย แต่ยังคงขาดเรื่องความสวยงาม ในการเลือกซื้อของผู้บริโภค

อัตลักษณ์ (Identity)

50


Professional Body Business Networking

Market Channel

Global Recognition

Business Internationalization

International Standard

เ งื่ อ น ไ ข ปั จ จั ย ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง แ ผ น พั ฒ น า แ ล ะ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า งานออกแบบ

Thinking Skill

Design Solution Approach

ปัจจัย ส าคั ญที่จะช่วยสนับ สนุนการขับ เคลื่อ นอุ ต สาหกรรมสร้างสรรค์ สาขางานออกแบบ ประกอบไปด้ ว ยปั จ จั ย พื้ น ฐาน 4 ประการของ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขางานออกแบบ ซึ่งประกอบไปด้วย 1)1 ปัจจัยด้านมาตรฐานด้านวิชาชีพ (Professional Body) 2)2 ปัจจัยด้านการพัฒนาเครือข่าย เพื่อสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ ทักษะแรงงานในภาคอุตสาหกรรม (Business Capability) 3)3 ปัจจัยด้ านการพัฒนาศักยภาพทางการตลาดกั บกลุ่มผู้บริโภคและ กลุ่มผู้ดาเนินธุรกิจทั้งที่อยู่ในอุตสาหกรรมการผลิตและอุตสาหกรรม การบริการ (Global Recognition) 4)4 ปั จ จั ย ด้ า นการพั ฒ นาทั ก ษะทั้ ง ในด้ า นกระบวนการคิ ด และการ ออกแบบ ซึ่งต้ องได้ รับการสนับสนุนจากภาคการศึกษา (Design Thinking Approach)

51


Do or Die Design

สิ่งที่ผู้ประกอบการไทย ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม อ อ ก แ บ บ ต้ อ ง เ ร่ ง พัฒนา...


• การผสมผสานระหว่างวัฒนธรรม และการออกแบบ เพื่อตอบสนองผู้บริโภคสมัยใหม่ • ทักษะด้านการพัฒนาธุรกิจการออกแบบ และทักษะ การเป็นผู้ประกอบการใหม่ • การบูรณาการด้านห่วงโซ่อุปทานกับการออกแบบ • การออกแบบนี้คานึงถึงวิธีการผลิตที่คุ้มค่า • การออกแบบที่สามารถตอบสนองการใช้งานอย่างมี รสนิยม

• • • • •

Do or Die Design

Culture Interpretation Designpreneur Supply Chain integrated Affordable Design Functional Design

53


ส่วนที่ 4 อุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ดา้ นการท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ  ความสาคัญทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  ทิศทางอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพไทยกับตลาดโลก  แนวโน้มการเติบโตและความต้องการของอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ  สรุปสถานการณ์ปัจจุบันของอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  องค์ประกอบที่สาคัญของอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  ความต้องการการสนับสนุนในอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  ปัญหาและอุปสรรคในอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  การวิเคราะห์กลุ่มผู้ประกอบการสาขาบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและปัจจัยแห่ง ความสาเร็จ  การวิเคราะห์ประเด็นวิกฤตในการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจสร้างสรรค์ สาขาบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและปัจจัยแห่งความสาเร็จ

54


4

ส่วนที่

ง า น บ ริ ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง สุ ข ภ า พ โดย ดร.วุ ฒิ ไ กร งามศิ ริ จิ ต ต์ คณะพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ 55


ความสาคัญทางเศรษฐกิจ

งานบริการสร้างสรรค์ ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ส่งเสริมภาคธุรกิจอื่นๆ ในปี 2554 อุตสาหกรรมบริการมีสัดส่วนต่อ GDP ประมาณร้อยละ

49

ก่อให้เกิดการจ้างงานถึงร้อยละ

การสนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม บริ ก ารในอุ ต สาหกรรม ท่ อ งเที่ ย วไ ปสู่ ก ารบ ริ ก ารสร้ า งสรรค์ (Creative services) บทบาทส าคั ญ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ โดยรวมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย 56

39.6


25

มูลค่าและอัตราการเติบโต ของอุตสาหกรรมบริการ สร้างสรรค์ในปี 2553

20 15 10 5 0

-15

-10

-5

0

5

10

15

ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า, สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ กรมการท่องเที่ยวกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

บริการสร้างสรรค์เป็นการนาความคิด สร้ า งสรรค์ ม าเสนอในรู ป แบบการ ใ ห้ บ ริ ก า ร โ ด ย ถื อ ว่ า ค ว า ม คิ ด สร้างสรรค์เป็นต้นทุนทางปัญญาอย่าง ห นึ่ ง เ ช่ น เ ดี ย ว กั น กั บ ค ว า ม รู้ ความสามารถอย่างอื่น เช่น กฎหมาย บั ญ ชี เป็ น ต้ น ถ้ า มองในมุ ม มองของ หน่วยงาน บริการสร้างสรรค์จะปรากฏ อยู่ ใ นลั ก ษณะขององค์ ก รทางธุ ร กิ จ ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารสร้ า งสรรค์ โดยตรงหรือเป็นแผนกหนึ่งในบริษัทที่มี หน้าที่ส ร้างความคิดใหม่ๆให้กับบริษัท นั้ น ๆ เช่ น ในแผนกวิ จั ย และพั ฒ นา แผนกออกแบบ เป็ น ต้ น ดั ง ตาราง เปรีย บเทีย บลัก ษณะของบริก ารทั่วไป และบริการสร้างสรรค์

ธุรกิจบริการ สร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความ ต้องการที่มีอยู่ มองลูกค้าเป็นหน่วย (Unit) ในระบบบริการ ลูกค้ากลุ่มใหญ่/ลูกค้าทั่วไป กระบวนการให้บริการเน้น มาตรฐาน กระบวนการสร้างสรรค์แบ่ง ตามบทบาทและหน้าที่งาน ผู้ให้บริการมีบทบาทเป็นผู้ส่ง มอบบริการเท่านั้น

ธุรกิจบริการสร้างสรรค์ สร้างขึ้นเพื่อสร้าง ประสบการณ์ใหม่ มองลูกค้าเป็นบุคคล (Individual) ลูกค้าเฉพาะกลุ่ม กระบวนการให้บริการเน้น เอกลักษณ์และความ เฉพาะตัว กระบวนการสร้างสรรค์ ร่วมกัน (Co-Creation) ผู้ให้บริการมีบทบาทเป็นผู้ อานวย (Facilitator) ระหว่างการส่งมอบบริการ

ที่มา: World Trade Atlas 2012, รายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมปี 2554 และแนวโน้มปี 2555 จากสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

57


22 11

22 11

2

2198.27

2198.27 3951.22

1 1021.49

2607.77

-

% 22 2607.77 11

-

2 634.90

11021.49 1016.00 1021.49

Canada

1 Norway

USA

2

11

1

2021.292021.29 3951.22

331.87 -

2

% Italy 1

%

1016.00 1765.48

Egypt

2

98.80 -

1

82.10

2 %1

%

2 1

218.63

22 11

: : 2549-2553 2549-2553

% 1016.00

% 122.92 370.82

2 South Korea1

China

334.63 India 466.94 %

2 1

2553 2553

634.90

1

743.15

3730.08 3730.08

1021.49

14563.90

634.90

France

%

395.01

UK

22

2

% 3951.22 2 3951.22 397.64 -

% Japan

2 121.2 2 Thailand 1 19.6 Philippines 1

- % 462.02 634.90 645.75

59.00

Malaysia Singapore 2 Indonesia

104.22

1

-

%

%

41.00

(Thailand, International Trade Centre (ITC), 2010)

%

132.92 Australia

1176.53 1016.00 2 1

634.90 % 671.20 1240.45 1016.00

http://unctadstat.unctad.org

ทิศทางอุตสาหกรรมไทยกับตลาดโลก มูลค่าการนาเข้าและส่งออกของบริการสร้างสรรค์ของประเทศต่างๆ ในกลุ่มบริการด้านวัฒนธรรมและสันทนาการ ในปี 2553 จากข้อมูลของ พบว่า มูลค่าการส่งออกมากที่สุด คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา ตามด้วยอังกฤษ แคนาดา และฝรั่งเศส ส่วนประเทศอื่นๆ เช่น จีน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น อิตาลี มาเลเซีย เกาหลีใต้ และไทย (มูลค่าส่งออก 121.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ต่างมีมูลค่าอยู่ในระดับใกล้เคียงกันระหว่าง 100-600 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ประเทศที่มีอัตราการเติบโตสูงที่สุดในกลุ่มนี้ คือ ประเทศเกาหลีใต้ (มูลค่าส่งออก 634.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ)อยู่ที่ร้อยละ 13.24 นอกจากนี้ประเทศที่มีอัตราการเติบโตสูงเช่นกัน ได้แก่ ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ร้อยละ 13.55 และ 10.55 ตามลาดับ ประเทศที่มี มูลค่าการนาเข้ามากที่สุด ได้แก่ ฝรั่งเศส แคนาดา โดยอัตราการเติบโตเฉลี่ยของโลกอยู่ที่ร้อยละ 2.8 เท่านั้น ถ้าพิจารณาคู่แข่งของประเทศไทย เฉพาะในภูมิภาคอาเซียน ประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซียถือเป็นคู่แข่งในอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ที่ สาคัญ 58


สรุปสถานการณ์ปัจจุบันของ อุตสาหกรรม งานบริการสร้างสรรค์ ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

อุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์สาขาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพมีแนวโน้มการเติบโตในอนาคต อันเนื่องมาจากความต้องการของตลาดโลก การเพิ่มจานวนของประชากรวัยสูงอายุ และความ ต้องการการเดินทางท่องเที่ยวและการสัมผัสประสบการณ์เฉพาะพื้นที่ เมื่อพิจารณาสถานการณ์ ของกลุ่มอุตสาหกรรมนี้พบว่ากลุ่มการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์จะมีความพร้อมและการสนับสนุน จากภาครัฐ ที่มากและเป็นรูปธรรมกว่า ทั้งนี้อาจเนื่องด้วยลักษณะการพัฒนากลุ่มคลัส เตอร์ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์มีความชัดเจนกว่ากลุ่มการท่องเที่ยวเชิงการส่งเสริม สุขภาพ ซึ่งเผชิญแรงผลัก ปัญหาและอุปสรรคที่มากกว่า เช่น อัตราการเพิ่มจานวนขึ้นของ ผู้ประกอบการ โดยเฉพาะผู้ป ระกอบการธุรกิจสปา ในขณะที่จานวนศู นย์ส่งเสริมสุขภาพที่มี มาตรฐานและมีศักยภาพในการเติบโตก็ยังมีอยู่น้อย ทาให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และ อุป ทาน ความไม่ชัด เจนในรูป แบบการท าธุร กิจ และการขาดภาพนโยบายการส่งเสริมจาก ภาครัฐที่ชัดเจน ในการที่จะยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่การบริการสร้างสรรค์

59


แนวโน้มการเติบโตและความ ต้องการของอุตสาหกรรม งานบริการสร้างสรรค์ ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความต้ อ งการด้ า นการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพใน ตลาดโลกนั้ น มี แ นวโน้ ม สู ง ขึ้ น เนื่ อ งจากระบบ รักษาพยาบาลภายในประเทศของหลายๆ ประเทศ ขาดแคลนบุคลากร และมีอัต ราค่ ารัก ษาพยาบาลและค่ าใช้จ่ายทางการ แพทย์ค่อนข้างสูง ซึ่งประเทศเหล่านี้ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และใน บางประเทศยังมีระบบการรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพไม่มากพอ เช่น ประเทศสหรั ฐ อาหรั บ เอมิ เรต และอิ น โดนี เซี ย เป็ นต้ น และยั ง รวมถึ ง ผลประโยชน์ ต่ า งๆ ที่ จ ะได้ รั บ จากการเดิ น ทางมารั ก ษาพยาบาลยั ง ต่างประเทศ เช่น ประเทศในกลุ่มตะวันออกกลางและในประเทศมุส ลิม รัฐบาลมีการออกเงินสนับสนุนให้ประชากรของตนเดินทางรักษาพยาบาลยัง ต่ างประเทศ จึ งนับ เป็นโอกาสที่ดี ข องประเทศไทย ในขณะที่แ รงงานผู้ ให้บ ริก ารของไทยยังเป็นที่ยอมรับ ในตลาดต่ างประเทศ โดยเฉพาะกลุ่ม แรงงานด้านสปา ซึ่งเป็นตลาดใหญ่ด้านบริการสุขภาพ ในหลายประเทศจึง มี ค วามต้ อ งการแรงงานผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารของไทย เช่ น เกาหลี ญี่ ปุ่ น จี น อินเดียและสหรัฐอเมริกา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความต้องการภายในประเทศ เหล่านี้ ที่ยังมีปรากฏอยู่และมีแนวโน้มความต้องการในอนาคต

ตลาด ต่างประเทศ

ตลาด ในกลุ่มประเทศ ส า ห รั บ ต ล า ด ใน ภู มิ ภ า ค นั้ น นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว อาเซียน จากประเทศอาเซี ย นให้ ค วามสนใจในบริ ก าร สุขภาพของไทย โดยรวมเป็นส่วนหนึ่งของแผนการ เดินทางหรือมาเพื่อเข้ารับการบาบัดรักษาโดยตรง ประเทศที่ให้ความนิยม ในสปาและนวดไทย เช่น จีน ฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์ เป็นต้น ซึ่งความ ต้องการในปัจจุบันของลูกค้าตลาดภูมิภาคอยู่ที่ Day spa เป็นหลัก เนื่องจากราคาและความสะดวกสบายในการเข้าถึงสถานที่ผู้ให้บริการ ซึ่ง ลูกค้ากลุ่มที่เน้นการบริการด้านการแพทย์ของไทยยังมีสัดส่วนที่น้อยอยู่เมื่อ เปรียบเทียบกับบริการด้านส่งเสริมสุขภาพ 60

ในด้ านการเติ บ โตของการท่อ งเที่ย ว เชิ ง สุ ข ภาพของประเทศ กล่ า วได้ ว่ า การเติบโตอยู่ในระดับที่ไม่มากนัก ภาพรวมของธุรกิจสปาซึ่งเป็นธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ ส าคั ญ ของประเทศนั้ น ยั ง นิ่ ง อยู่ แม้ ว่ า จะมี จ านวนสถาน ประกอบการเพิ่มขึ้นจานวนมาก แต่ส่วนใหญ่ไม่สามารถอยู่รอด ได้ และปิด ตั วลงเป็นจานวนมาก มีเพีย งผู้ป ระกอบการราย ใหญ่ หรื อ ผู้ ป ระกอบการที่ มี ธุ ร กิ จ อื่ น เป็ น ตั ว หลั ก เช่ น โรงแรมหรื อ รี ส อร์ ท เท่ า นั้ น ที่ ส ามารถอยู่ ร อดได้ รวมถึ ง แรงผลักดันและข้อจากัดมากมายในการดาเนินธุรกิจ ได้แก่ ตลาด ในประเทศ

• รัฐบาลยั งไม่มีก ารสนับสนุนภาคธุรกิจอย่ างต่อเนื่องและ ชัดเจนทาให้การดาเนินธุรกิจขาดทิศทางและไม่ส่งผลต่อ การเติบโตของอุตสาหกรรม • ขาดการร่ ว มมื อ ประสานงานกั น ของผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ภายในคลั ส เตอร์ โดยการท าธุ ร กิ จ บริ ก ารเชิ ง สุ ข ภาพ ปัจจุบัน ส่วนใหญ่เล็งเห็นประเด็นการแข่งขันเพื่อการอยู่ รอดเป็น ส าคั ญ โดยผู้ป ระกอบการต่ า งมุ่ งเน้น ผลก าไร สูงสุดโดยไม่คานึงถึงความเป็นไปของธุรกิจในระยะยาว • การมีอยู่และเพิ่มจานวนขึ้นของผู้ให้บริการในลักษณะแอบ แฝง ปัจจุบันยังไม่มีกฎหมายรองรับเพื่อป้องกัน สปาที่ไม่ มีมาตรฐานและสปาแอบแฝงอย่างเหมาะสม เป็นอุปสรรค ต่อการเติบโตของอุตสาหกรรม • ผู้ประกอบการภาคเอกชนส่วนใหญ่ยังยึดตามกระแสสากล เช่น การนาเข้าผลิตภัณฑ์ราคาแพงจากต่างประเทศมาก เกินความจาเป็น การกาหนดท่านวดอิงแบบตะวันตกมาก เกินไป เช่น การนวดแบบสวีดิชมาสสาจ ซึ่งไม่ได้มุ่งสร้าง เอกลักษณ์ของตนเอง จึงทาให้ขาดกลยุทธ์ในการดาเนิน ธุรกิ จ การท าตลาดที่มีจุด เด่น การสร้างความแตกต่าง ของธุรกิจ เพื่อแข่งขันทั้งในระดับประเทศและต่างประเทศ


อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ สา คั ญ แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ก า ร ส นั บ ส นุ น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ง า น บ ริ ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง สุ ข ภ า พ

61


o การประสานความร่วมมือ การประสานความร่วมมือกันระหว่างแต่ละฝ่ายทั้ง ผู้ป ระกอบการด้ ว ยกั นเองและหน่ว ยงานที่เกี่ ย วข้อ งเพื่ อ ผลประโยชน์สู งสุ ด ร่วมกันของทุกฝ่ายในเชิงของการพัฒนาองค์ความรู้ การพัฒนาอุตสาหกรรม และการพั ฒ นาตลาด โดยเฉพาะการส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น บทบาทของ หน่ ว ยงานหลั ก ที่ ขั บ เคลื่ อ นนโยบายสู่ ก ารปฏิ บั ติ เช่ น สมาคมสปาไทย สมาพันธ์สปาไทย ทั้งนี้เพื่อการขยายและพัฒนาตลาดบริการเชิงสุขภาพให้มี ฐานกว้างขึ้น o ฐานลูกค้าในประเทศ อุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ควรเล็งเห็นถึงศักยภาพ ของตลาดในประเทศและเน้นการบริการลูกค้าในประเทศด้วย โดยการส่งเสริม และปรับเปลี่ยนมุมมองของตลาดให้บริการด้านสุขภาพต่างๆ เป็นการรักษา สุขภาพหรือ Well-being เช่น ให้การนวดเป็นการบาบัดรักษา ไม่ใช่เพียงการ ผ่อนคลาย o การพั ฒ นาบุ ค ลากร อุ ต สาหกรรมบริ ก ารสร้ า งสรรค์ ใ ช้ ทั้ ง ความรู้ ด้ า น วิท ยาศาสตร์และศิ ลปวัฒนธรรม บุค ลากรที่จะรองรับอุ ตสาหกรรมบริก าร สร้างสรรค์ต้องมีทักษะและความเชี่ยวชาญมากขึ้น รวมถึงมีทัศนคติที่ดีในงาน บริการที่ทาด้วย o อัตลักษณ์ความเป็นไทย ธุรกิจต้องทาการค้นหาตัวตนที่แท้จริงของบริการที่ นาเสนอ เช่น อัตลักษณ์ของนวดแผนไทย สปาไทย เนื่องจากในปัจจุบันจะ สามารถพบเห็น บริก ารนวดไทยหรื อ สปาไทยในสปาต่ างชาติ รวมถึ ง การ ให้บริการสปาแบบต่างชาติในสปาไทย ซึ่งจาเป็นต้องพัฒนาให้บริการของไทย มีอัตลักษณ์ที่ชัดเจนมากขึ้น o องค์ความรู้และนวัตกรรม บริการสร้างสรรค์ควรพัฒนาต่อยอดบนพื้นฐาน ขององค์ความรู้ของไทย ซึ่งปัจจุบันสปาไทยหลายแห่งได้มีการริเริ่ม พัฒนา และนาเสนอสินค้าและบริการโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ของตน เช่น สูตรสมุนไพรไทยที่มีสรรพคุณการรักษาจริง ท่าบริหารร่างกายแบบฤาษีดัดตน เทคนิคและวิธีการบาบัดรักษาที่เป็นภูมิปัญญาไทย o บริก ารที่เป็นจุด ขาย เนื่อ งจากธุรกิจบริก ารสุขภาพเป็นธุร กิจที่มีสินค้าและ บริการหลักที่ไม่แตกต่างกันนัก ผู้ประกอบการจึงต้องหันมาใส่ใจกับการพัฒนา บริการที่สร้างสรรค์ให้มากขึ้น โดยเน้นการพัฒนาจุดขายที่เป็นเอกลักษณ์ และ สอดคล้องกับแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยว 62

องค์ประกอบที่สาคัญของ อุตสาหกรรม งานบริการสร้างสรรค์ ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพในลั ก ษณะของ บริ ก ารสร้ า งสรรค์ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ มุ่ ง สร้ า ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ ห้ แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร โ ด ย ประสบการณ์ใหม่นี้สามารถอยู่ในรูปแบบของ ประสบการณ์ทั่วไป เช่น ความเชื่อ มั่นและ ความพึ ง พอใจของผู้ รั บ บริ ก ารผ่ า นความมี มาตรฐาน ความทั น สมั ย กระบวนการ ให้บริการที่มีป ระสิทธิภาพ และสามารถอยู่ ในรูปแบบของประสบการณ์เชิงสัมผัส เช่น ความสุ น ทรี จ ากวั ฒ นธรรมและบริ ก ารที่ น า เ ส น อ ดั ง นั้ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม บ ริ ก า ร สร้ า งสรรค์ จึ ง ต้ อ งพั ฒ นาองค์ ป ระกอบใน ระดั บ อุ ต สาหกรรมและระดั บ ธุ ร กิ จ เพื่ อ สามารถสร้างประสบการณ์ให้แก่ผู้รับบริการ ได้ทั้งสองด้าน


ความต้องการการสนับสนุน ในอุตสาหกรรม งานบริการสร้างสรรค์ ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

1• การสนั บ สนุ น ด้ า นทิ ศ ทางนโยบาย ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ต้องการการสนับสนุนจากภาครัฐในการขับเคลื่อนตลาดการ ท่อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ขภาพไปสู่ ทิ ศ ทางใหม่ โดยเริ่ ม จากการ ส่ง เสริ ม ภาพลั ก ษณ์ ใ หม่ ให้ มีก ารเผยแพร่ แ ละให้ ค วามรู้ ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ งแก่ ผู้ บ ริ โ ภค สร้ า งองค์ ค วามรู้ แ ละ ภาพพจน์ที่ดีของบริการด้านสุขภาพไทยโดยเฉพาะ สปาไทย ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วยอมรั บ ว่ า สปาและนวดไทยเป็ น อาชี พ ที่ สร้างสรรค์ มีความน่าเชื่อถือ และมีความสาคัญ และสร้าง ความตระหนั ก ว่ า การแพทย์ แ ผนไทยนั้ น มี ค วามส าคั ญ สามารถบาบัดรักษาสุขภาพได้ มิใช่เป็นเพียงกิจกรรมเพื่อ การพักผ่อนหย่อนใจหรือผ่อนคลายเพียงอย่างเดียว จากนั้น ค่ อ ยผลัก ดั นต่ อ ยอดไปสู่ก ารขยายตลาด การสร้างความ เข้มแข็งของอุตสาหกรรมและการพัฒนาบริการสร้างสรรค์ ให้เป็นรูปธรรม 2• การสนับสนุนด้านการเงิน ผู้ประกอบธุรกิจต้องการ การ ให้เงินทุนช่วยเหลือสาหรับการเริ่มต้นดาเนินธุรกิจและการ ต่อยอดธุรกิจจากทางภาครัฐหรือหน่วยงานสนับสนุนต่างๆ เนื่อ งจากธุ ร กิ จ บริก ารด้ า นสุขภาพไม่ส ามารถท าก าไรได้ ตลอดปี และมี ก ารแข่ งขั นสู ง ในด้ า นราคาและอั ต ราการ ให้บริการ 3• ก าร ส นั บ ส นุ น ด้ านมาต ร ฐ านก าร ป ร ะ ก อบ ธุ ร กิ จ ผู้ประกอบการต้องการลดอุป สรรคการทาธุรกิจที่เกิดจาก ผู้ประกอบการแฝง การกาหนดมาตรการในการคุ้มครอง และควบคุมผู้ประกอบการให้การดาเนินการเป็นไปอย่างเป็น มาตรฐานเดีย วกั นจึงมีค วามส าคั ญสาหรับการเติบ โตของ อุตสาหกรรมต่อไป 4• การสนับสนุนด้านการพัฒนาองค์ ความรู้ ผู้ประกอบการ ส่วนใหญ่เล็งเห็นความสาคั ญของการพัฒนาธุร กิจบริก าร โดยอาศัยองค์ค วามรู้และนวัตกรรม แต่เป็นการศึก ษาหา ความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงแรงงานที่ภาครัฐผลิตมายังไม่มี ความรู้ที่เหมาะสมเพียงพอต่อการพัฒนาบริการสร้างสรรค์ ข้อ เสนอแนะด้ านการสนับ สนุนจากภาคการศึ ก ษาจึงเป็ น เรื่องที่สาคัญ โดยต้องการให้ภาคการศึกษาพัฒนาหลักสูตร และสร้างบุคลากรที่มีความรู้เชิงนวัตกรรมให้มากขึ้น 63


ปั ญ ห า แ ล ะ อุ ป ส ร ร ค ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ง า น บ ริ ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง สุ ข ภ า พ

64


ปัญหาและอุปสรรคในอุตสาหกรรม งานบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคของผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมงานบริการสร้างสรรค์ ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มี 6 ประเด็นปัญหา ประกอบด้วย ความไม่สมดุล ระหว่างตลาดและ ปั จ จุ บั น มี จ านวนสถานประกอบการมากเกิ น ไป ผู้ประกอบการ และเป็ น สถานประกอบการณ์ ที่ ไ ม่ เ น้ น คุ ณ ภาพ

การขาดแคลน แรงงาน

ปัญหาด้ านการบริหารทรัพยากรแรงงาน โด ยเฉ พาะ ใ นเขต ต่ างจั งห วั ด ที่ ไม่ ใ ช่ เมืองท่องเที่ยวหลัก พบว่ามีการขาดแคลน แรงงานเป็ นผลสื บ เนื่อ งมาจากรายได้ แ ละจานวนลู ก ค้ าที่ ไ ม่ แน่ น อนท าให้ แ รงงานไม่ ส ามารถยึ ด เป็ น อาชี พ หลั ก ได้ นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า มี ก ารหลั่ ง ไหลไปท างานต่ า งประเทศ เนื่องจากได้รายได้ที่ดีกว่าหลายเท่า

สถานบริการที่แอบแฝง ซึ่งมีราคาที่ถูกกว่าหรือมี ข้อเสนอมากกว่า เกิ ด การแย่ งรายได้ จากสถานประกอบการณ์ที่เน้ น คุณภาพและทาให้ภาพลักษณ์ของสปาไทยในสายตาของนักท่องเที่ยวไม่ดี นั ก ส่ ง ผลให้ ธุ ร กิ จ นี้ ใ นภาพรวมไม่ ส ามารถเติ บ โตไปในทิ ศ ทางที่ สร้างสรรค์ แต่กลับเป็นการเติบโตที่จะส่งผลให้เกิดความเสื่อมในระยะ ยาว ทาให้ผู้ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไม่สามารถแข่งขัน และอยู่ ร อดในตลาดได้ เนื่ อ งจากเงิ น ทุ น ไม่ เ พี ย งพอและขาดการ สนับสนุนอย่างถูกต้อง

ขาดการร่วมมือกัน ของผู้ประกอบการ เค รื อ ข่ า ย ขอ งค ว าม ร่ ว มมื อ แ ล ะ ก า ร ประสานงานระหว่ า งหน่ ว ยงานภาครั ฐ และภาครัฐ

และผู้ประกอบการยังไม่เข้มแข็งและชัดเจน รวมถึ ง การก าหนดบทบาทการท างานของแต่ ล ะหน่วยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบที่ ยั ง มี ค วามทั บ ซ้ อ นกั น อยู่ ท าให้ ก ารผลั ก ดั น อุตสาหกรรมทาได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ

เอกลักษณ์ ของไทย

การสร้างเอกลักษณ์ของบริการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ไทยให้ มี อั ต ลั ก ษณ์ แ ละเอกลั ก ษณ์ จ ะส่ ง เสริ ม ให้ การพัฒนาอุตสาหกรรมสามารถบรรลุเป้าหมายใน การแข่งขันได้ ซึ่งต้องพัฒนาให้มีความสอดคล้องกับภาพนโยบายการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย

ทัศนคติต่อผู้ ประกอบอาชีพ

ทั ศ นคติ ที่ น ายจ้ า งและบุ ค คลทั่ ว ไปมี ต่ อ แรงงานภาคบริ ก ารว่ า เป็ น บุ ค คลระดั บ ล่างไม่ได้เป็นบุคคลที่มีความรู้ความชานาญ เทียบเท่ากับอาชีพอื่น ส่งผลต่อความเป็นธรรมด้านรายได้ และ ความรู้สึกตระหนักคุณค่าในงานที่ทา

การส่งเสริม นวัตกรรมและการ นวัตกรรมและภูมิปั ญญาท้ องถิ่น ขาดโอกาสในการ ยอมรับภูมิปัญญา ได้ รั บ การเผยแพร่ แ ละยอมรั บ เช่ น การ ผสม ท้องถิ่น

สูตรน้ามันหอมระเหยเพื่อบาบัดรักษาอาการต่างๆ มีการพบเห็นอยู่ทั่วไปแต่ไม่ได้รับการสนับสนุนและเผยแพร่เพื่อให้ได้รับ การยอมรับอย่างจริงจัง ศักยภาพที่คนไทยมีจึงไม่สามารถถูกนาไปใช้ได้ อย่างเต็มที่

65


วิเคราะห์กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

อุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์สาขาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เป็นอุตสาหกรรมที่มีความหลากหลายและลักษณะเฉพาะแตกต่างกัน การส่งเสริม อุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์สาขาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จาเป็นต้องเร่งเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มคลัสเตอร์แต่ละกลุ่มของ อุตสาหกรรม โดยที่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันต้องสามารถนาไปสู่การเติบโตของอุตสาหกรรมบริการสร้างสรรค์ในภาพรวมได้ จาก การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกจากผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาบริการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ พบว่าแนวคิดในการพัฒนาบริการของ ผู้ประกอบการสามารถแบ่งที่มาของแนวคิดได้ 3 องค์ประกอบ

องค์ประกอบที่ 3 การพัฒนาบริการบนพื้นฐานของ การมุ่งเน้นความเป็นเลิศในการบริการแก่ลูกค้าและ นักท่องเที่ยว (Service Excellence – S) องค์ประกอบที่ 2 การพัฒนาบริการบนพื้นฐานของ การใช้มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Asset – C)

องค์ประกอบที่ 1 การพัฒนาบริการบนพื้นฐานของ ความเป็นเอกลักษณ์และความโดดเด่นทางพื้นที่ (Destination Oriented – D)

66


กลุ่มผู้ประกอบการสาขางานบริการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและ ปัจจัยแห่งความสาเร็จ

ก ลุ่ ม ที่ 1 Destination-Cultural-Service (D-C-S) ห ม า ย ถึ ง ก ลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการที่ เ น้ น การพั ฒ นาบริ ก ารบนพื้ น ฐานของการใช้ ค วามเป็ น เอกลักษณ์ความโดดเด่นทางพื้นที่ ผสมผสานกับมรดกทางวัฒนธรรม และ ให้ความสาคัญกับกระบวนการบริการที่เป็นเลิศ

ความโดดเด่นทางพื้นที่ (Destination Oriented)

มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Asset)

กลุ่มผู้ประกอบการ

ความเป็นเลิศทางบริการ (Service Excellence)

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ

Destination-Cultural-Service (D-C-S) เน้นการพัฒนาบริการบนพื้นฐานของการใช้ ความเป็นเอกลักษณ์ทางพื้นที่ ผสมผสานกับ มรดกทางวัฒนธรรม และกระบวนการ บริการที่เป็นเลิศ

• การประยุกต์อัตลักษณ์และการบริการ • การบริหารจัดการบริการ • ทรัพย์สินทางปัญญา

67

1


ความโดดเด่นทางพื้นที่ (Destination Oriented)

2

กลุ่มที่ 2 Destination-Service (D-S) หมายถึง กลุ่มผู้ประกอบการที่เน้นการพัฒนาบริการ โดยอาศัยความจาเพาะโดดเด่นของพื้นที่และการบริการที่ดี เป็นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรใน พื้นที่นั้นๆ เป็นหลัก มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Asset)

กลุ่มผู้ประกอบการ

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ • มาตรฐานธุรกิจและรูปแบบธุรกิจ • การสื่อสารการตลาด • เครือข่ายการท่องเที่ยว

Destination-Service (D-S) เน้นการพัฒนาบริการโดยอาศัยความจาเพาะโดดเด่น ของพื้นที่และการบริการที่ดี

กลุ่มผู้ประกอบการ

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ • • • •

Cultural-Service (C-S) เน้นการพัฒนาบริการบนพื้นฐานของ มรดกทางวัฒนธรรม

ความโดดเด่นทางพื้นที่ (Destination Oriented)

3

มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Asset)

ความเป็นเลิศทางบริการ (Service Excellence)

การประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการบริการ การบริหารโซ่อุปทานและการจัดการต้นทุน การวิจัยและพัฒนา การสื่อสารการตลาด

กลุ่มที่ 3 Cultural-Service (C-S) หมายถึง กลุ่มผู้ประกอบการที่เน้นการพัฒนาบริการบน พื้นฐานของมรดกทางวัฒนธรรมที่มีการนามาใช้นอกพื้นที่ของมรดกวัฒนธรรมนั้นหรือ การนา มรดกวัฒนธรรมของชาติมาเป็นจุดเด่นของธุรกิจ

ความเป็นเลิศทางบริการ (Service Excellence)

68


Destination Oriented)

4

กลุ่มที่ 4 Destination Oriented (D) หมายถึง กลุ่มผู้ประกอบการที่เน้นการพัฒนาบริการบนพื้นฐาน ของความเป็นเอกลักษณ์ความโดดเด่นทางพื้นที่และทรัพยากรในพื้นที่เป็นหลัก ฒ ธ (Cultural Asset)

กลุ่มผู้ประกอบการ

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ • • • •

Destination Oriented (D) เน้นการพัฒนาบริการบนพื้นฐานของความเป็น เอกลักษณ์ความโดดเด่นทางพื้นที่และทรัพยากร ในพื้นที่เป็นหลัก

กลุ่มผู้ประกอบการ

ความโดดเด่นทางพื้นที่ (Destination Oriented)

มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Asset)

การบริหารจัดการบริการ การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยว การจัดการต้นทุน การสื่อสารการตลาด

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ • • • •

Service Oriented (S) เน้นการพัฒนากระบวนการบริการที่เป็นเลิศ

3

็ (Service Excellence)

การบริหารจัดการบริการ เครือข่ายการท่องเที่ยว การจัดการต้นทุน การสื่อสารการตลาด

กลุ่มที่ 5 Service Oriented (S) หมายถึง กลุ่มผู้ประกอบการที่เน้นการพัฒนากระบวนการ บริการที่เป็นเลิศ ให้บริการทางสุขภาพพื้นฐานและเป็นมาตรฐาน

ความเป็นเลิศทางบริการ (Service Excellence)

69


Experience Service Dominant Market

Service Standardization Local Assets

Design Solution Approach

Service Design Dominance

Service Standardization

Experience Base Design

เ งื่ อ น ไ ข ปั จ จั ย ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง แ ผ น พั ฒ น า แ ล ะ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า บ ริ ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เชิงสุขภาพ

ปัจจัยสาคัญที่สนับ สนุนการขับเคลื่อ นอุต สาหกรรมสร้างสรรค์ สาขาบริการ สร้า งสรรค์ ด้ านการท่ อ งเที่ย วเชิง สุขภาพ คื อ การสร้า งความร่ วมมื อ ของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการผลักดันกลไกและติดตามความสาเร็จของโครงการ ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการประกอบไปด้วย 1)1 ปัจจัยด้านการออกแบบธุรกิจบริการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ให้ความสาคัญ กับการสร้างประสบการณ์ใหม่ให้กับ ผู้บ ริโภค (Experience Based Design) 2)2 ปัจจัยด้านการบริหารการตลาดที่มุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจและความรู้ ให้กับกลุ่มผู้บริโภคเพื่อชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างและประโยชน์ที่ผู้บริโภค จะได้รับ (Service Dominant Market) 3)3 ปัจจัยด้านการใช้วัตถุดิ บเพื่อใช้เป็นผลิตภัณฑ์ในกระบวนการให้บริการ ของผู้ประกอบการ (Local Materials in Service Delivery) 4)4 ปัจจัยด้านการควบคุมมาตรฐานและคุณภาพการบริการเพื่อสร้างความ พึงพอใจให้กับผู้บริโภค (Service Standardization) 70


Do or Die Creative Service

สิ่งที่ผู้ประกอบการไทย ในอุตสาหกรรมบริการ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เชิ ง สุ ข ภาพ ต้ อ งเร่ ง พัฒนา...

71


• การกระตุ้นตลาดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และการ สร้างความรู้ความเข้าใจต่อตลาดการท่องเที่ยวและ การบริการด้านสุขภาพ • การออกแบบบริการอย่างสร้างสรรค์ทั้งคุณค่าใหม่ ต่อตัวธุรกิจและอุตสาหกรรม • มาตรฐานการบริ ก ารและแรงงานในด้ านศาสตร์ การบาบัดรักษาและกระบวนการบริการ • การบริ ห ารจั ด การโซ่ อุ ป ทานของวั ต ถุ ดิ บ และ ผลิตภัณฑ์สาหรับการบริการสุขภาพ

• • • •

Do or Die Creative Service

Market Stimulation Creative service design Labor & Service Standardization Efficient Supply chain management

72


บรรณานุกรม (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Fiscal Policy Research Institute Foundation: http://www.fpri.or.th/ (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก สานักพัฒนาอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรม: http://www.thaiorc.com/webindex/preview.php?no=0047851 (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก OTOP: http://www.thaitambon.com/OTOP/ProvincialOTOP/Provinces.htm (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก The Thai Weaving Industry Association สมาคมอุตสาหกรรมทอผ้าไทย: http://www.thaiweaving.org/ (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก สถาบันวิทยาการเศรษฐกิจและการคลัง Economics and Finance Academy: http://www.efa.or.th/ (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ: http://www.thaitextile.org/th/ (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Global Trade Information Services: http://www.gtis.com/ (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก TDRI: Thailand Development Research Institute: http://www.tdri.or.th/th/php/app_cv.php (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก SACICT : ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน): http://www.sacict.net/th/ 3 พันธมิตรเจาะลึก AEC ชี้หลายสิ่งที่ SMEs ยังไม่รู้. (2555). เข้าถึงได้จาก SMEs - Manager Online: http://www.manager.co.th/smes/viewnews.aspx?NewsID=9550000071639 บัญชีประชาชาติ (National Accounts) > Quarterly Gross Domestic Product. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ: http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=95 A. Pratt. (1997). The cultural industries production system: a case study of employment change in Britain. Environment and Planning, Vol.29 , 1953-1974. C. and Comunian, R. Chapain. (2009). Enabling and inhibiting the creative economy: the role of the local and regional dimensions in England. Regional Studies. Ceramic Industry. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://ceramiccenter.dip.go.th/LinkClick.aspx?fileticket=CoPYh6B%2bn0c%3d&tabid=36 Commodity Trade Statistics Database (COMTRADE). (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก United Nations Statistics Division : http://comtrade.un.org/db/dqBasicQueryResults.aspx?cc=TOTAL&p=0&rg=2&px=H3&r=704&y=2010

73


บรรณานุกรม creative industries economic estimates. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Department for Culture Media and Sport: http://www.culture.gov.uk/what_we_do/research_and_statistics/4848.aspx Creative-Industries-Economic-Estimates-Report-2011-update. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.culture.gov.uk/images/research/Creative-Industries-Economic-Estimates-Report-2011-update.pdf Culture and Recreation & British Council. (2008). Gauteng’s Creative Industries : An Analysis. Department of Sports, Arts. CURDS. (2001). Culture Cluster Mapping and Analysis. Center of Urban and Regional Development Studies. D. and Wilson,N. Stokes. (2006). Small Business Management and Entrepreneurship. London: Thomson Learning. Import Export, Trade, International Business Help - Official Sources. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.sbdcnet.org/smallbusiness-information-center/import-export-help Investment applications in Thailand grew 106% in Q1 2012 (BOI). (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Investment - Thailand Business News: http://thailand-business-news.com/investment/37796-investment-applications-in-thailand-grew-106-in-q1-2012boi J. O’Connor. (1999). Definition of Cultural Industries. Manchester Metropolitan University, Manchester: Manchester Institute for Popular Culture. K. Oakley. (2006). Include us out – economic development and social policy in the creative industries. Cultural Trends, Vol.15. M. Jayne. (2005). Creative industries: the regional dimension? Environment and Planning, Government and Policy, Vol.23. MTEC : National Metal and Materials Technology Center,Thailand : ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.mtec.or.th/index.php N. Granham. (2005). From cultural to creative industries, Vol.11. International Journal of Cultural Policy. National Studies on Assessing the Economic Contribution of the Copyright-Based Industries. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.wipo.int/sme/en/documents/guides/copyright_industries.htm P. and Pratt, A. Jeffcutt. (2002). Managing creativity in the cultural industries. Creativity and Innovation Management, Vol.11 , pp.67-82. PATTERN IT. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก แพทเทิร์น ไอที สถาบันพัฒนาแพทเทิร์นอุตสาหกรรมและการออกแบบเสื้อผ้าสาเร็จรูป : http://www.thaipattern.com/ Sasin . (2011). Creative ASEAN. Bangkok: Department of Intellectual Property. STRATEGIES-AND-MASTER-PLAN-FOR-FASHION-INDUSTRY-IN-CREATIVE-ECONOMY. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/study_report/STRATEGIES-AND-MASTER-PLAN-FOR-FASHIONINDUSTRY-IN-CREATIVE-ECONOMY StudyCeramicsIndustryStrategy-Sep2553. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/study_report/StudyCeramicsIndustryStrategy-Sep2553.rar Thai_Industry_and_AEC. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.med.cmu.ac.th/library/asean-web/aseanpillars/Thai_Industry_and_AEC.pdf

74


บรรณานุกรม

(ต่อ)

Thailand International Porcelain Painting Convention 2012 (TIPP 2012). (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://thailandporcelainconvention.com/about-tipp2012/ Trade Map. (2011). เข้าถึงได้จาก Trade statistics for international business development: http://www.trademap.org/tradestat/index.aspx?proceed=true&outputoption=byservice&tradetype=E&reporter=764 WIPO. (ม.ป.ป.). Creative Industries. เข้าถึงได้จาก http://www.wipo.int/ip-development/en/creative_industry/ World Economic Outlook database. (April 2011). เข้าถึงได้จาก http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2011/01/weodata/download.aspx การปรับตัวให้อยู่รอดในอุตสาหกรรมสิ่งทอ. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Thai-AEC.com: http://www.thai-aec.com/330#more-330 ข้อมูลรายงานวิเคราะห์อุตสาหกรรมสิ่งทอเชิงลึ. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.thaitextile.org/th/textile%5Fintel/description.asp?id=825 ข้อมูลสินค้าหัตถกรรม. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.tisccm.moc.go.th/group2_list.php?mtype_id=2-010 เครื่องจักสาน « souvenir. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://souvenirbuu.wordpress.com/about/ โครงสร้างประชากรและตลาดแรงงานไทย. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Thaihealth.or.th: https://Dropbox/Asean%20Business%20Intelligence/OKMD/RAW%20DATA/Employment/ เซรามิกส์ไทย ศูนย์กลาง ความรู้ ผลิต เซรามิก. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Thai Ceramic Society: http://www.thaiceramicsociety.com/download.php เซรามิกส์ไทย ศูนย์กลาง ความรู้ ผลิต เซรามิก. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก Thai Ceramic Society: http://www.thaiceramicsociety.com/# ฐานข้อมูลภูมิปัญญา จังหวัดลาปาง. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.wisdom.lpru.ac.th/ ตรานกยูงพระราชทาน ยกระดับไหมไทย. (2554). เข้าถึงได้จาก www.ttistextiledigest.com: http://www.ttistextiledigest.com/articles/textile-insighttrend/item/455ตลาดส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มที่สาคัญของไท. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก The Thai Weaving Industry Association สมาคมอุตสาหกรรม ทอผ้าไทย: http://www.thaiweaving.org/all-information-ordinary.aspx#1 บทความเรื่องศิลปหัตถกรรมเครื่องจักสานในภาคเหนือ. (2554). เข้าถึงได้จาก http://patchareezom.wordpress.com/2012/05/24/35/ ประวัติสมาคมเครื่องปั้น. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.ceramiclampang.org/index.php?option=com_content&view=article&id=58&Itemid=60&lang=th แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574. (2555). เข้าถึงได้จาก http://www.industry.go.th แผนแม่บทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแก้ว). (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.oie.go.th/en/academic ภูมิปัญญาไทยด้านศิลปกรรม: แหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผา. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://ninewnanagi14.blogspot.com/2011/09/blogpost_9740.html ภูมิปัญญาโอท็อป. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.otoptoday.com/wisdom/types/appliance ยุทธศาสตร์การค้าของไทย ปี 2553 - 2558. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www2.moc.go.th/more_news.php?cid=234 ระบบฐานข้อมูลการค้าการลงทุนจังหวัดเชียงใหม่. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.tisccm.moc.go.th/ ระบบฐานข้อมูลคลัสเตอร์ (Cluster Mapping). (2552). เข้าถึงได้จาก http://cm.nesdb.go.th/default20.asp

75


บรรณานุกรม รายงานการศึกษา โครงการพัฒนาฐานข้อมูลอุตสาหกรรมเชิงเปรียบเทียบเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สาขาอุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่องประดับ. ( กันยายน 2553). เข้าถึงได้จาก http://www.oie.go.th/academic/ รายงานการศึกษา โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือนภายใต้กฎเกณฑ์ด้านสิ่งแวดล้อมโล. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.oie.go.th/academic รายงานประจาปี 2554 อุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือน. (2554). เข้าถึงได้จาก กลุ่มงานพัฒนาอุตสาหกรรมไม้: http://forprod.forest.go.th/forprod/wood_industries/ รายงานสถานการณ์ส่งออก ม.ค.54. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://www.thaitextile.org/th/textile_intel/downloads/Q1_54 วิสาหกิจนาร่อง. (2554). เข้าถึงได้จาก Chiang Mai Digital Crafts Project: http://cmdigitalcrafts.info/?page_id=216&lang=th เว็บสาหรับคนรักในงานไม้และอยากเป็นช่างไม้สมัครเล่น. (2555). เข้าถึงได้จาก http://www.thaicarpenter.com/ ศูนย์ต้นแบบผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบอุตสาหกรรมเซรามิค จ.ราชบุรี. (2554). เข้าถึงได้จาก MTEC: http://www2.mtec.or.th/th/special/cdm/LawMaterial.html สถาบันสิ่งทอเตรียมแผนไทยแลนด์แดนแฟชั่นดึง “ยิ่งลักษณ์” เป็นพรีเซนเตอร์. (2012). เข้าถึงได้จาก MCOT: http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/344730.html สถิติมูลค่าและปริมาณการนาเข้าและส่งออกของผลิตภัณฑ์ป่าไม้ปี53. (2553). เข้าถึงได้จาก http://forprod.forest.go.th/forprod/wood_industrie สมาคมที่เกี่ยวข้องหัตถกรรมไม้และไม้แกะสลัก ระดับจังหวัดและประเทศ. (ธันวาคม 2554). เข้าถึงได้จาก TIS-C: http://tisccm.moc.go.th/tisc/content.aspx?file_upload_id=2379&page_num=1 สมาคมธุรกิจไม้ : Thai Timber Association. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://thaitimber.org/agenda/agenda.html สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย. (2555). เข้าถึงได้จาก http://www.aseanthailand.org/index.php สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. ( 2553). รายงานการศึกษา โครงการจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิก. สานักช่างสิบหมู่. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก กลุ่มงานช่างแกะสลักและช่างไม้ประณีต | FineArts Department: http://www.finearts.go.th/en/node/2912 หัตถกรรมไทยในวิถีชาวไทย « หัตถกรรมไทย. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://thailandhandmadebuu.wordpress.com แหล่งผลิต แหล่งจาหน่าย และแหล่งเรียนรู้ งานเครื่องปั้นดินเผา. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://wikimapia.org อุตสาหกรรมและหัตถกรรมไม้และแกะสลักไม้. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก TIS-C: http://tisccm.moc.go.th/tisc/content.aspx?file_upload_id=2375&page_num=1

76

(ต่อ)


เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ เ ป็ น ทิ ศ ท า ง ก า ร พ ั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ ที ่ ส า ค ั ญ โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใ น ก า ร ส ร้ า ง มู ล ค่ า ใ ห้ กั บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ บ ริ ก า ร ซึ ่ ง อ า จ จ ะ อ ยู ่ บ น พื ้ น ฐ า น ข อ ง ก า ร ต ่ อ ย อ ด จ า ก วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ทั ก ษ ะ เ ฉ พ า ะ ด้ า น ใ น ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ บ ริ ก า ร

อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ขั บ เ ค ลื่ อ น ค ว า ม มั่ ง คั่ ง ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ

77



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.