ชุดความรูกินได้ | เครื่องรางจักสานล้านนา

Page 1

ใส่ ภาพ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1.1 ความสาคัญของอาชีพ มนุษย์อาจจะสามารถทาเครื่องจักสานได้ก่อนสมัยประวัติศาสตร์ และท าต่ อ มาในสมั ย ประวั ติ ศ าสตร์ ดั ง ปรากฏรอยภาชนะจั ก สานบนผิ ว ภาชนะเครื่องปั้นดินเผาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ชิ้นหนึ่ง จากแหล่งโบราณคดี สมัยก่อนประวัติศาสตร์บ้านเชียง อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี และ ภาชนะดินเผาทรงกระบอกเล็กๆ อีกชิ้นหนึ่งจาก แหล่งโบราณคดีในจังหวัด ลพบุรี ภาชนะดินเผาทั้งสองชิ้นดังกล่าวมีรอยของภาชนะจักสานขัดปรากฏ บนผิวด้านนอก จึงสันนิษฐานว่าทาขึ้นโดนใช้ดินเหนียวยาไล้ลงไปในภาชนะ จักสาน อาจสันนิษฐานได้ว่า มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย รู้จักทาเครื่องจักสานมาก่อนการทาเครื่องปั้นดินเผา และการทาเครื่องปั้นยุค แรก อาจจะทาโดยการใช้ดินเหนียวยาไล้ลงในแม่แบบ ทิ้งไว้ให้ดินเหนียวแห้ง แล้วจึงนาไปเผา ซึ่งเป็นกรรมวิธีการทาเครื่องปั้นดินเผายุคเริ่มแรก ก่อนที่จะ ทาเครื่องปั้นดินเผาด้วยการตีด้วยไม้และหินดุ และการปั้นโดยใช้แป้นหมุน ในยุคต่อมา การแปรรูปวัตถุดิบที่ใช้ทาเครื่องจักสานเป็นพัฒนาการสาคัญใน การท าเครื่ อ งจั ก สาน เพราะการใช้ วั ส ดุ ที่ เ ป็ น เส้ น เล็ ก เช่ น ตอก หวาย ย่ า นลิ เ ภา ท าให้ ม นุ ษ ย์ ส ามารถประดิ ษ ฐ์ เครื่ อ งจั ก สานให้ มี รู ป ทรงตาม ต้องการ และมีความประณีตงดงามยิ่งขึ้น สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1.1 ความสาคัญของอาชีพ (ต่อ) จากสภาพการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมทาให้ภาคเหนือ เป็นแหล่งผลิตเครื่องมือเครื่องจักสานที่สาคัญ นอกจากนี้ ภาคเหนือยังมี วัตถุดิบหลายชนิดที่นามาทาเครื่องจักสานได้ เช่น กก แหย่ง ใบลาน และ ไม้ ไ ผ่ เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ไม้ ไ ผ่ มี ห ลายชนิ ด ที่ ใ ช้ ท าเครื่ อ งจั ก สานได้ ดี ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และศาสนาของภาคเหนือก็เป็น องค์ ป ระกอบส าคั ญ ที่ท าให้เ ครื่อ งจั กสานภาคเหนื อมี เ อกลัก ษณ์เ ป็ น ของ ตนเอง การท าเครื่ อ งจั ก สานพื้ น บ้ า นภาคเหนื อ หรื อ ล้ า นนาไทยนั้ น ทาสืบต่อกันมาแต่โบราณ ดังมีหลักฐานปรากฏในภาพจิตกรรมฝาผนังหลาย แห่งในวัดของภาคเหนือ เครื่องจักสานของภาคเหนือนั้นมีมากมายหลายชนิด บางชนิดมีความผูกพันกับชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนอย่างยากที่จะแยกจาก กั น ได้ ม าแต่ โ บราณ แม้ ทุ ก วั น นี้ ช าวบ้ า นก็ ยั ง ใช้ ส อยกั น อยู่ ปั จ จุ บั น ใน ภาคเหนือหลายท้องถิ่นก็ยังคงทาเครื่องจักสานกันอยู่ จะเปลี่ยนไปบ้างก็เป็น เครื่องจักสานที่ทาเพื่อการค้า ซึ่งจาเป็นต้องดัดแปลงรูปร่างของเครื่องจัก สานให้เข้ากับความต้องการของผู้บริโภค

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1.1 ความสาคัญของอาชีพ (ต่อ) เครื่ อ งจั ก สานพื้ น บ้ า นที่ ช าวบ้ า นใช้ ส อยในชี วิ ต ประจ าวั น นั้ น ส่วนใหญ่ยังคงรูปแบบเดิมและมีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นโดดเด่น สอดคล้องกับ ความเชื่อที่เป็นส่วนหนึ่งของความเป็นมนุษย์ และเป็นธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับ มนุษย์ทุกคน เป็นเรื่องของความรู้สึกและจิตใจ อาจมีเหตุผลหรือไม่มีเหตุผลก็ ได้ คนล้านนามีความเชื่อ ในเรื่องต่างๆ และยึดถือนามาเป็นแนวทางในการ ประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจาวัน ตั้งแต่ วันเกิดจนถึงวันตาย โดยเชื่อว่าจะ ช่วยให้มีความร่มเป็นสุข มีความเจริญรุ่งเรืองทั้งแก่ตน ครอบครัว และสังคม ส่ ว นรวม ความเชื่ อ ของคนล้ า นนานั้ น นอกจากความเชื่ อ ทางศาสนา โดยเฉพาะศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นศาสนาหลักแล้ว ยังมีความเชื่อในเรื่องไสย ศาสตร์ ผีสาง เทวดา เรื่องโชคลาง สังหรณ์ เรื่องเหนือธรรมชาติ ที่ไม่อาจ พิสูจน์ได้ ความเชื่อเหล่านี้ คนล้านนาได้นามาผสมผสานเข้าด้วยกันอย่างลง ตัว จนทาให้เกิดเป็นประเพณี พิธีกรรมและ วัฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ ล้านนาไปในที่สุด

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1.1 ความสาคัญของอาชีพ (ต่อ) ความเชื่อในด้านต่าง ๆ ที่อยู่คู่กับคนไทยมาเป็นระยะเวลานาน และเครื่ อ งรางของขลั ง เอง ก็ เ ป็ น สิ่ ง ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจในอี ก รู ป แบบหนึ่ ง ของความเชื่อเหล่านั้นแต่ยังไม่มีการประกอบอาชีพผลิตเครื่องรางของขลัง อย่างจริงจัง การที่ชาวบ้านล้านา มีองค์ความรู้เรื่องการจักสานไม้ไผ่อยู่เป็น ทุนเดิม ประกอบกับความเชื่อด้านเครื่องรางของขลังต่าง ๆ ที่ยังอยู่คู่กับวิถี ชีวิตของคนไทยมาเป็นระยะเวลายาวนาน นอกจากนี้ การผลิตเครื่องรางของ ขลังที่เป็นเครื่องจักสานนั้น สามารถทาได้ง่าย และต้นทุนในการผลิตต่า และ ใช้เวลาในการผลิตไม่นาน ทั้งบรรยากาศล้านนาของเมืองเก่านน่าน จะส่งผล ให้เครื่องรางจักสานล้านนานั้น สามารถผลิตออกสู่ผู่ที่สนใจ ทั้งนักท่อองเที่ยว และประชาชนทั่ ว ไป อาชี พ การจั ด ท าเครื่ อ งรางจั ก สานล้ า นนานั้ น จึ ง เหมาะสมที่จะส่งเสริมให้เกิดอาชีพที่ยั่งยืนได้

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1.2 กลุ่ ม เป้ า หมายของชุ ด ความรู้ ทามาหากิน 1.2.1 ชาวบ้านทั่วไป ที่ว่างเว้นจากการ ทาอาชีพหลัก เช่น เมื่อหมดช่วงฤดูทานา เป็นต้น 1.2.2 ผู้เฒ่าผู้แก่ และชาวบ้านทั่วไป ที่ไม่ มีอาชีพหลักใด ๆ สามารถประกอบอาชีพนี้ได้

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1.3 ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น - ประโยชน์ต่อคนในพื้นที/่ ประชาชน เกิดรายได้ต่อคนในพื้นที่ และเกิดการสืบทอดภูมิปัญญาชาวบ้าน

- ประโยชน์ต่อหน่วยงาน วิทยาลัยชุมชนน่าน ได้มีโอกาสได้ส่งเสริมให้ เกิดรายได้ในชุมชน และร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่คน ยุคใหม่ในชุมชน ตามภารกิจของวิทยาลัยชุมชนน่าน

- ประโยชน์ต่อผู้จัดทาองค์ความรู้ ได้รับความรู้ในเรื่องนีเ้ พิม่ มากขึ้น และ เกิดความภาคภูมิใจในการร่วมนาเสนอภูมิปัญญา ท้องถิ่น

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1.4 ขั้นตอนการจัดทาชุดความรู้ทามาหากิน 1. วิเคราะห์อาชีพ โอกาส ความเป็นไปได้ ในการ ประกอบอาชีพ ในบริเวณพื้นที่ที่รับผิดชอบ ได้แก่ พื้นที่ ตาบลดู่ใต้ อ.เมืองน่าน จ.น่าน 2. คัดเลือกอาชีพที่มีความเป็นไปได้ ที่ประชาชนใน ตาบลดู่ใต้ สามารถทาได้ ซึ่ง ได้แก่อาชีพ การจัดทาเครื่องราง จักสานล้านนา 3. เมื่อได้อาชีพแล้ว ทาการจัดเก็บข้อมูล โดยแยก เป็น 2 ประเด็น คือ ประเด็นเรื่อง เครื่องจักสาน และประเด็น เรื่อง ความเชื่อ เครื่องราง ของภาคเหนือ ของพื้นที่เมืองเก่า น่าน และของตาบลดู่ใต้ 4. นาข้อมูลที่จัดเก็บแล้วนั้น มีเรียบเรียง วิเคราะห์ สังเคราะห์ ถึงแนวทาง รูปแบบ และวิธีการประกอบอาชีพ โดย วิเคราะห์เรื่องเครื่องจักสาน นามาผนวกกับเรื่องความเชื่อ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1.4 ขั้นตอนการจัดทาชุดความรู้ทามาหากิน (ต่อ) 5. นาข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์แล้วนั้น มาจัดทารูปเล่ม 6. ตรวจสอบความถูกต้องของรูปเล่มที่จัดทาขึ้น 7. นาเสนอ ชุดความรู้ทามาหากิน “เครื่องรางจักสาน ล้านนา” ให้แก่หน่วยงานที่รับผิดชอบ 8. ถ่ายทอดองค์ความรู้ทามาหากินเรื่อง “เครื่องราง จักสานล้านนา” ให้แก่ประชาชนทั่วไป หรือผู้ที่สนใจ 9. ปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติม เพื่อให้มีความทันสมัย และถูกต้องอยู่อย่างสม่าเสมอ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1. วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย - ทาไมต้องทา เนื่องจากเป็นอาชีพที่ยังไม่มีคนทาอย่างจริงจัง และสินค้าที่ทา เป็นที่ต้องการของตลาด - ทาแล้วได้อะไร ได้เครื่องรางจักสานล้านนา ทั้งหมด 6 ชนิด จัดจาหน่าย กระจายตามแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ในตาบลดู่ใต้ - ใครได้ประโยชน์ / ใครนาไปใช้ เครื่องรางจักสานล้านนาที่ผลิตออกมานั้น ทั้งนักท่องเที่ยว และ ประชาชนทั่วไป สามารถนาไปใช้ได้

2. ความรู้ / ทักษะสาหรับดาเนินการ - ไม่มีพื้นฐานอาชีพใด ๆ มาก่อนทาได้ไหม สามารถเริ่มทาอาชีพนี้ได้ โดยไม่ต้องมีพื้นฐานอาชีพอื่นมาก่อน - จะทาเรื่องนี้ต้องมีความรู้พื้นฐานอะไร อยู่ที่ไหน รูปแบบใด ต้องมีทักษะความรู้เรื่องการจักสาน ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้จากประชาชนในท้องถิ่น สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


3. เงินลงทุน / การจัดการเงิน - ต้องมีเงินลงทุนเท่าไหร่ ใช้เงินลงทุนน้อยมาก มีเงินทุนตั้งต้นเพียงแค่ ไม่เกิน 1,000 บาท ก็สามารถเริ่มประกอบอาชีพได้ - ใช้เงินลงทุนทาอะไรบ้าง ใช้ซื้ออุปกรณ์ เช่น มีด เลื่อย และวัตถุดิบ เช่น ไม้ไผ่ ด้าย กาว - ใช้เงินทาอะไรในช่วงเวลาต่าง ๆ ใช้เงินลงทุนในช่วงแรก เพื่อซื้ออุปกรณ์และวัตถุดิบเท่านั้น เมื่อ ได้อุปกรณ์และวัตถุดิบมาแล้วนั้น สามารถผลิต และนาออกจาหน่ายได้เลย

4. การจัดการกาลังคน - ทาด้วยตนเองคนเดียวได้ไหม สามารถประกอบอาชีพนี้คนเดียว ด้วยตนเองได้ - ต้องใช้กี่คนในกระบวนการ ตั้งแต่กระบวนการเตรียมการผลิต จนถึงกระบวนการ ออกจาหน่าย สามารถทาได้ด้วยตัวคนเดียว ทุกกระบวนการ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


4. การจัดการกาลังคน (ต่อ) - ต้องใช้กี่คนในแต่ละขั้นตอน แต่ละขั้นตอนต้องรู้อะไร แต่ละขั้นตอน สามารถใช้คนเพียง 1 คน ขั้นตอนแรกการตัดไม้ไผ่ ต้องรู้วิธีการใช้เลื่อย หรือ การใช้มีด ในการตัดไม้ไผ่ ขั้นตอนที่ 2 การจักตอก ต้องรู้วิธีการเหลาไมไผ่ ขั้นตอนที่ 3 การสานตอก ต้องรู้วิธีการสานไม้ไผ่ ขั้นตอนที่ 4 การตกแต่ง ต้องรู้วิธีการเก็บรายละเอียด

5. เครื่องมือ / อุปกรณ์ / วัตถุดิบ - ใช้เครื่องจักร/เครื่องมือ/อุปกรณ์/วัตถุดิบอะไร เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ มีดพร้า เลื่อย กรรไกร วัตถุดิบที่ใช้ ได้แก่ ไม้ไผ่ ด้าย ฝ้าย เชือก กาว ส้มป่อย - เครื่องมือ/อุปกรณ์/วัตถุดิบอะไรใช้ในขั้นตอนใด มีดพร้า เลื่อย ไม้ไผ่ ใช้ในขั้นตอน การตัดไม้ไผ่ การจักตอก การ สานตอก กรรไกร ด้าย ฝ้าย เชือก กาว ส้มป่อย ใช้ในขั้นตอนการตกแต่ง สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


5. เครื่องมือ / อุปกรณ์ / วัตถุดิบ (ต่อ) - อัตรา/ความถี่ในการใช้งาน (utilisation) เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ซื้อมาในครั้งแรก สามารถใช้ได้ตลอดไป หรือ จนกว่าจะพัง วัตถุดิบ ซื้อมาครั้งแรก สามารถผลิตเครื่องรางจักสานล้านนาได้ เป็นจานวนมาก

6. การลงมือทา - การบวนการ / ขั้นตอนในการทา 1. ตัดต้นไผ่ที่ได้ขนาดให้ได้ความยาวตามต้องการ 2. นาต้นไผ่ที่ตัดแล้วนั้น มาผ่าตามแนวยาว เหลาไผ่ให้มีความบางตามรูปแบบ เครื่องจักสานที่จะนาไปทา 3. นาไม้ไผ่ ที่เหลาให้ได้ขนาดตามต้องการแล้วนั้น ไปตากแดดให้แห้ง 4. นาไม้ไผ่ที่ตากแห้งแล้วนั้น มาจักสานขึ้นรูป ตามแบบเครื่องรางจักสานชนิด ต่าง ๆ (ตะแหล๋ว มะเต้า วี วัวธนูตอก ตะข้อง มะกวัก) 5. นาเครื่องรางจักสาน ที่สานเรียบร้อยแล้วนั้น มาตกแต่งรายละเอียดเพิ่มเติม เพื่อความสวยงาม 6. นาเครื่องรางจักสาน เข้าทาพิธีปลุกเสกโดยผู้เฒ่าผู้แก่ หรือพระที่วัด เพื่อ เพิ่มความขลังมากขึ้น สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


6. การลงมือทา (ต่อ) - ต้องทาอะไรช่วงไหน / ต้องทาอะไรก่อน-หลัง ตัดไม้ไผ่ในเดือน 6 ตามความเชื่อของทางล้านนา (เดือนมีนาคม) จะได้ไม้ไผ่คุณภาพดี ไม่เป็นมอด ใช้ส้มป่อย เดือน 5 ตามความเชื่อของทางล้านนา (เดือนกุมภาพันธ์) จะได้ส้มป่อยที่มีความศักดิ์สิทธิ์มากขึ้น ไม้ไผ่ที่จักตอกแล้วนั้น นามาแช่ในน้าแช่ข้าว จะทาให้ มีความเหนียวมากยิ่งขึ้น

7. การตลาด - รูปแบบการขายที่เป็นไปได้ จัดจาหน่ายตามต่าง ๆ ที่อยู่ในเส้นทางการท่องเที่ยวในตาบล ดู่ใต้ กระจายเครื่องรางแต่ละชนิด ออกไปตามวัดต่าง ๆ - ขายให้ใคร อยู่ที่ไหน ขายให้แก่ประชาชนทั่วไป ที่นิยมเครื่องรางของขลัง ขายให้แก่นักท่องเที่ยว ที่เดินทางท่องเที่ยวในเส้นทาง ท่องเที่ยว ตาบลดู่ใต้ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


7. การตลาด (ต่อ) - ขายเท่าไหร่/แต่ละกลุ่มราคาเท่ากันหรือไม่ ทาไม วี 20 บาท วัวธนู 4 ตัว 20 บาท ตะข้อง 50 บาท มะเต้า 200 บาท ตะแหล๋ว 20 บาท มะกวัก 30 บาท ราคาเท่ากันทั้งนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


8. ปัญหา/กระบวนการแก้ไขปัญหา - ปัญหาที่จะเกิดขึ้นมีอะไรบ้าง/เกิดขึ้นตอนใด ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในขั้นตอนเตรียมการผลิต คือ การขาด แคลนวัตถุดิบ เช่น มะเต้า ส้มป่อย เมื่ออยู่นอกฤดู ปัญหาที่จะเกิดขึ้น ในขั้นตอนการจัดจาหน่าย คือ นอกฤดูกาล ท่องเที่ยว จะมีจานวนนักท่องเที่ยวน้อยกว่าปกติ - แนวทางการแก้ไขปัญหามีกี่แนวทาง แต่ละแนวทางมีกี่วิธี ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ แก้ไขปัญหา 2 ทาง คือ 1. จัดเตรียมวัตถุดิบไว้ เพื่อให้พอใช้ตลอดปี 2. การจัดหาวัตถุดิบ จากพื้นที่อื่น ๆ ปัญหาจานวนนักท่องเที่ยวมีน้อยกว่าปกติ แก้ไขปัญหาโดยการ เน้นการจัดจาหน่ายให้แก่ประชาชนทั่วไป หรือ ส่งออกเครื่องรางจักสานล้านนาออกจาหน่ายนอกพื้นที่

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


9. ปัจจัยสู่ความสาเร็จ - ปัจจัยใดที่สาคัญที่สุดที่จะทาให้งานสาเร็จ 1. การสร้างเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อในเรื่องของ เครื่องรางนั้น ๆ เพื่อเพิ่มความขลัง และความน่าเชื่อมากขึ้น 2. การให้นักท่องเที่ยวได้นาเครื่องรางนั้น ๆ เข้าทาพิธีด้วย ตนเอง เพื่อเพิ่มความศักดิ์สิทธิ์ให้แก่เครื่องรางนั้นมากขึ้น 3. เครื่องรางที่ผลิตออกมานั้น ต้องมีคุณภาพ และสวยงาม - ปัจจัยแต่ละตัวต้องควบคุมหรือบริหารอย่างไร 1. ให้ปราชญ์ชาวบ้าน อธิบายถึงเครื่องรางชนิดต่าง ๆ และ สร้างบรรยากาศ โดยชุมชน หรือ ประชาชนเอง ต้องมีการพกเครื่องรางชนิด นั้น ๆ ไว้ด้วย 2. นานักท่องเที่ยว เข้าร่วมทาพิธีที่มีเครื่องรางชนิดต่าง ๆ อยู่ ด้วย เพื่อเพิ่มความศักดิ์สิทธิ์ให้แก่เครื่องรางชนิดนั้น ๆ 3. ผู้ผลิต หรือจัดทาเครื่องราง ต้องควบคุมคุณภาพของ เครื่องราง ให้มีความแข็งแรง สวยงาม ตรวจคุณภาพก่อนนาออกจาหน่าย - ปัจจัยแต่ละตัวคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของความสาเร็จ 1. 50 % 2. 30 % 3. 20%

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


1. การตัดต้นไผ่ วิธีตัด : โดยทั่วไปมี 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ 1. ตัดหมด : วิธีนี้ตัดลาไม้ไผ่ออกหมดทั้งกอ โดยไม่เหลือลาไว้ในกอเลย 2. แบบเลือกตัด : วิธีนี้จะเลือกตัดเฉพาะลาที่ต้องการเท่านั้น และคาดว่าเหมาะอย่างยิ่งที่จะนามาใช้กับชนิดพันธุ์ไม้ไผ่ ในประเทศไทยทั้งหมด เพราะวิธีตัดแบบแรกนั้นทาให้ต้องใช้ รอบหมุนเวียนในการตัดฟันยาวนานมาก อย่างน้อย ๆ ไม่ต่ากว่า 10 ปี จึงจะทาการตัดได้ใหม่ และข้อสาคัญที่สุดคือ กอที่ได้ทาการตัดลาออกหมดแล้ว เหลือเพียงตอนั้น มักจะตายเสียส่วนมากในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งเคยทดลองมาแล้ว ปรากฎว่าไม่ประสบผลดีแต่อย่างใด สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


2. การจักตอก วิธีการจักตอก 1. การจักตอกปื้น แบ่งไม้ไผ่ออกเป็นชิ้นๆตามขนาดที่ต้องการ ใช้มีดจักตอกเอาส่วนในออก (ขี้ตอก)จักในส่วนที่เหลือ ออกเป็นเส้นบางๆ แล้วหลาวให้เรียบร้อยตากแดดให้แห้ง 2. การจักตอกตะแคง ใช้วิธีเดียวกันกับการจักตอกปื้นเบื้องต้น แต่การจักให้เป็นเส้นตอกจะทาการจักทางผิวเป็นเส้นเล็ก กว่าตอกปื้น ทาการหลาวให้เรียบร้อย แล้วนาออกตาก

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


3. การสานตอก

การสาน เป็นขั้นตอนที่ยาก และต้องใช้ความละเอียดมากที่สุด เริ่มจากการก่อฐานด้านล่างด้วยเส้นตอกสองชนิด คือ ตอกยืน (ตอก-ตั้ง) หลังจากนั้น จึงสานขึ้นรูป เป็นเครื่องรางชนิดต่าง ๆ ตามต้องการ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


4. การตกแต่ง นาเครื่องรางชนิดต่างๆ ที่สานเรียบร้อยแล้วนั้น มาตกแต่ง เช่น มาร้อยเชือก ผู้ด้าย ติดกาว อาจทาการตกแต่งด้วยเชือกสี เพิ่มเติม ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับเครื่องรางชนิดนั้น ๆ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


5. ทาพิธีเพื่อเพิ่มความขลัง การจัดจาหน่ายเครื่องรางจักสาน ในแต่ละสถานที่ เช่นในวัด ต่าง ๆ ผู้ซื้อ สามารถนาเครื่องรางนั้น ๆ เข้าร่วมทาพิธิ เช่น พิธีสืบชะตา เพื่อเพิ่มความขลังได้มากยิ่งขึ้น

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


3.1 กระบวนการผลิต 3.1.1 เลือกต้นไผ่ที่ได้ขนาดพอเหมาะ ตัดต้นไผ่ที่ได้ขนาดให้ได้ความยาวตามต้องการ (มีความเชื่อว่า ถ้าตัดไม้ไผ่ในเดือน 6 ตามความเชื่อล้านนา คือ เดือนมีนาคม จะได้ไม้ไผ่ที่มีคุณภาพดี ไม่เป็นมอด) 3.1.2 นาไม้ไผ่ที่ตัดแล้วนั้น มาผ่าตามแนวยาว เหลา ไผ่ให้มีความบางตามรูปแบบเครื่องจักสานที่จะนาไปทา 3.1.3 นาไม้ไผ่ ที่เหลาให้ได้ขนาดตามต้องการแล้วนั้น ไปตากแดดให้แห้ง (ในขั้นตอนนี้ มีเคล็ดลับคือ ถ้าอยากให้ไม้ไผ่ มีความเหนียว สานขึ้นรูปได้ง่าย ต้องนาไม้ไผ่ที่จักตอก หรือ เหลาเรียบร้อยแล้วนั้น ไปแช่ในน้าแช่ข้าว เป็นเวลา 1 คืน จะ เพิ่มความเหนียวให้ไม้ไผ่ได้ดียิ่งขึ้น)

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


3.1 กระบวนการผลิต (ต่อ) 3.1.4 นาไม้ไผ่ที่ตากแห้งแล้วนั้น มาจักสานขึ้นรูป ตามแบบเครื่องรางจักสานชนิดต่าง ๆ (ตะแหล๋ว มะเต้า วี วัวธนูตอก ตะข้อง มะกวัก) 3.1.5 นาเครื่องรางจักสาน ที่สานเรียบร้อยแล้วนั้น มาตกแต่งรายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อความสวยงาม ผูกเชือก ร้อย ด้าย ติดกาว ตกแต่งให้เรียบร้อย 3.1.6 นาเครื่องรางจักสาน เข้าทาพิธีปลุกเสกโดยผู้ เฒ่าผู้แก่ หรือพระที่วัด เพื่อเพิ่มความขลังมากขึ้น

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


- วัตถุดิบ

ไม้ ไผ่

ด้ าย

ฝ้ าย

เชือก

กาว

ส้ มป่ อย

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


- เครื่องมือ/อุปกรณ์

มีด

เลื่อย

กรรไกร

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


- การจัดการกาลังคน การจัดทาผลิตภัณฑ์เครื่องรางของขลังล้านนานั้น สามารถทาได้ทั้งกระบวนการ ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ เตรียมอุปกรณ์ ทาการผลิต ตลอดจนผ่านการปลุกเสก โดยคน เพียงคนเดียวได้ หรือนอกจากนั้น ยังสามารถทาเป็น อุตสาหกรรมในครัวเรือน หรือ รวมกลุ่มสมาชิกกันได้อีกทาง หนึ่งด้วย

- เคล็ดลับในกระบวนการผลิต ตัดไม้ไผ่ในเดือน 6 ตามความเชื่อของทางล้านนา (เดือนมีนาคม) จะได้ไม้ไผ่คุณภาพดี ไม่เป็นมอด ใช้ส้มป่อย เดือน 5 ตามความเชื่อของทางล้านนา (เดือนกุมภาพันธ์) จะได้ส้มป่อยที่มีความศักดิ์สิทธิ์มากขึ้น ไม้ไผ่ที่จักตอกแล้วนั้น นามาแช่ในน้าแช่ข้าว จะทา ให้มีความเหนียวมากยิ่งขึ้น สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


3.2 การบริหารจัดการ - การเงิน/การลงทุน ตะแหล๋ว ต้นทุนอันละ 5 บาท ขาย 20 บาท กาไร15 บาท วัวธนูตอก ต้นทุนตัวละ 1 บาท ขายตัวละ 5 บาท กาไร 4 บาท ต่อ 1 ตัว ซึ่ง วัวธนูตอก จะขายเป็นชุด ชุดละ 4 ตัว เพราะฉะนั้น กาไรชุดละ 16 บาท ตะข้อง ต้นทุน 20 บาท ขาย 50 บาท กาไร 30 บาท วี หรือพัด ต้นทุน 5 บาท ขาย 20 บาท กาไร15 บาท มะเต้า หรือ น้าเต้าทิพย์ ต้นทุน60 บาท ขาย 200 บาท กาไร 140 บาท มะกวัก ต้นทุน 10 บาท ขาย 30 บาท กาไร 20 บาท

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


3.2 การบริหารจัดการ - การเงิน/การลงทุน (ต่อ)

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


3.2 การบริหารจัดการ - การตลาด 1. จาหน่ายในวัดที่เป็นเส้นทางท่องเที่ยวเพื่อเพิ่ม ความน่าเชื่อถือ 2. ให้ผู้สูงอายุในชุมชน เป็นผู้จาหน่าย ตามจุดต่าง ๆ 3. นานักท่องเที่ยวเข้าร่วมพิธีที่เกี่ยวข้องกับเครื่องราง นั้นตามวัดต่าง ๆ ในเส้นทางท่องเที่ยว

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


3.2 การบริหารจัดการ - การตลาด (ต่อ) จุดจัดจาหน่าย ตามเส้นทางการท่องเที่ยว

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


4.1 ปัญหาและแนวทางแก้ไข วัตถุดิบบางชนิด ไม่มีตลอดทั้งปี เช่น มะเต้า จึงควรมี การเก็บไว้ใช้ให้ได้ตลอดทั้งปี

4.2 ปัจจัยสู่ความสาเร็จ สร้างบรรยากาศให้กับนักท่องเที่ยวที่เดินทาง ท่องเที่ยวในวัดต่าง ๆ ตามเส้นทางท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มความ น่าเชื่อถือของเครื่องรางจักสานที่จาหน่ายในวัดนั้น ๆ

4.3 แนวคิดใหม่ในการพัฒนาอาชีพ สามารถต่อยอดอาชีพนี้ได้ เช่น การรวบรวม เครื่องรางจักสานล้านนาทั้ง 6 ชนิด มาไว้รวมกัน จัดทาเป็น แพคเก็ต เพื่อจาหน่ายเป็นของที่ระลึก ให้แก่ผู้มาเยือนจ.น่านได้ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


4.3 แนวคิดใหม่ในการพัฒนาอาชีพ (ต่อ) ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ที่สามารถนาไปพัฒนาอาชีพได้

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


• เจ้าของความรู้ องค์ความรู้................ ชื่อ ที่อยู่ โทรศัพท์

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


6 7

3 1 สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


อมตะเครื่องราง แดนล้านนา โดย วรเชนท์ คาภีระ รู้จักกับอมตะเครื่องราง แดนล้านนาอันหลากหลายในดินแดนล้านนา เริ่ม ตั้งแต่ทาความรู้จักกับประวัติศาสตร์ล้านนา เครื่องลางของขลังชนิดต่างๆ พร้อมข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้ามาอย่างละเอียด วิธีการสร้างเครื่องลางในแต่ละ แบบ แยกแยะให้เห็นอย่างชัดเจนว่าเครื่องลางชิ้นใดเป็นของคณาจารย์ท่านใด

คง เข้ม ข่าม ขลัง เครื่องรางล้านนา โดย พ่อครูวิลักษณ์ ศรีป่าซาง เรื่องราวประวัติศาสตร์ความเป็นมาแห่งเครื่องรางล้านนา ประเภทคุณค่า คาถา วิธีใช้ แบบสมบูรณ์เจาะลึก เวอร์ชั่นสองภาษา ไทย-อังกฤษ

เครื่องรางยอดนิยม โดย ศุภชัย เรืองสรรงามสิริ การคัดเลือกภาพเครื่องรางยอดนิยม ที่ล้วนเป็นของแท้ และเป็นที่นิยมกันโดยทั่วไป โดยเน้นความสวยสมบูรณ์ทุกชิ้น ดูง่าย มีข้อยุติ ทั้งนี้เพื่อจะได้เป็นหนังสือคู่มือที่ได้มาตรฐานในการพิจารณาของนักสะสม เครื่องรางอย่างแท้จริง

เครื่องจักรสานในประเทศไทย โดย วิบูลย์ ลี้สุวรรณ ประวัติความเป็นมาของเครื่องจักสาน การสร้างเครื่องจักสานในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสานและภาคใต้ การศึกษา วิเคราะห์เครื่องจักสาน คุณค่าของเครื่องจักสาน สภาพการส่งเสริมและการพัฒนาเครื่องจักสานในปัจจุบัน

เครื่องจักสานภาคเหนือ โดย สมปอง เพ็งจันทร์ การได้เดินทางไปตามชนบทหลายพื้นที่ ผู้เขียน จึงให้ความสนใจในงานเครื่องจักสาน จึงเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ เครื่องจักสารในภาคเหนือไว้ในหนังสือเล่มนี้

เครื่องจักสาน โดย วินัย วิริยะปานนท์ การทาเครื่องจักสานเป็นทั้งเครื่องใช้ภายในบ้าน เครื่องมือกสิกรรม เครืองมือดักจับสัตว์น้า สิ่งของเบ็ดเตล็ด นอกจากนี้ ยังกล่าวถึงอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในงานจักสาน ลวดลายของงานจักสาน แหล่งผลิตและการจาหน่าย สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


พระครูธรรมธร จิรพงศ์ ชยลงฺกาโร วัดกู่เสี้ยว บ้านเชียงราย หมู่ 8ต.ดู่ใต้ อ.เมืองน่าน จ.น่าน ท่านเป็นผู้ศึกษาข้อมูลเรื่อง เครื่องรางของขลังล้านนาไว้อย่างเพียบพร้อม อีกทั้งยังมีชื่อเสียงทางด้าน เครื่องรางของขลังต่าง ๆ อีกด้วย

เวปไซต์เครื่องรางไทย http://www.kruengrangthai.com ศูนย์รวมพระเครื่อง เครื่องรางของขลังไทย http://www.siammongkol.com ชมรมพระเครื่องพะเยา http://www.praphayao.com มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม http://ich.culture.go.th พระล้านนา.คอม http://http://www.pralanna.com/index.php ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม http://www.m-culture.in.th สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แหล่งจาหน่าย วัตถุดิบและอุปกรณ์ สินค้า มีด กรรไกร เลื่อย กาว ด้าย ฝ้าย เชือก ชื่อร้าน นราดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ ข้อมูลติดต่อ โทร.0-5471-0041 สินค้า ไม้ไผ่ ชื่อร้าน ตามบ้านเรือนทั่วไป ข้อมูลติดต่อ -

สินค้า ส้มป่อย มะเต้า ชื่อร้าน ตามบ้านเรือนทั่วไป ข้อมูลติดต่อ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ครั้งที่ 1 ชื่อกิจกรรม : การแลกเปลี่ยนข้อมูล การจัดทาเครื่องราง จักสานล้านนา กับชาวบ้านในตาบลดู่ใต้

รูปแบบกิจกรรม : จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการจัก ทาเครื่องรางจักสานล้านนา กับชาวบ้าน ตาบลดู่ใต้ เพื่อนาเสนอ เครื่องรางจักสาน ที่จะจาหน่ายในวัดต่าง ๆ รวมถึงวิธีการทา ต้นทุน และ ราคาการจัดจาหน่าย และเปลี่ยนเรียนรู้ถึงความเป็นไปได้ของอาชีพการ จัดทาเครื่องรางจักสานล้านนา ในตาบลดู่ใต้

ระยะเวลาดาเนินการ : ระยะเวลา ครึ่งวัน ในวันที่ 13 สิงหาคม 2558

สถานที่จัดกิจกรรม : ห้องประชุมสิริเบญญา วิทยาลัย ชุมชนน่าน

กลุ่มเป้าหมาย : ชาวบ้านใน 5 หมู่บ้านในตาบลดู่ใต้ คือ 1. บ้านเขาน้อย 2.บ้านพญาวัด 3. บ้านเจดีย์ 4. บ้านดอนมูล 5. บ้านเชียงราย สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


รูปการจัดกิจกรรม ครั้งที่ 1 กิจกรรม : การแลกเปลี่ยนข้อมูล การจัดทาเครื่องรางจักสานล้านนา กับชาวบ้านในตาบลดู่ใต้

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ครั้งที่ 2 ชื่อกิจกรรม : การถ่ายทอดความรู้ เรื่องการจัดทาเครื่องราง จักสานล้านนา กับชาวบ้านในตาบลดู่ใต้

รูปแบบกิจกรรม : เข้าร่วมประชุมกับการประชุมหมู่บ้าน ของแต่ละหมู่บ้าน เพื่อนาเสนอการจัดทาเครื่องรางจักสานล้านนา ให้กับ ชาวบ้านในแต่ละหมู่บ้านได้รับทราบ

ระยะเวลาดาเนินการ : หมู่บ้านละประมาณ 1 ชั่วโมง สถานที่จัดกิจกรรม : สถานที่จัดประชุมหมู่บ้าน ของทั้ง 5 หมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย : ชาวบ้านใน 5 หมู่บ้านในตาบลดู่ใต้ คือ 1. บ้านเขาน้อย 2.บ้านพญาวัด 3. บ้านเจดีย์ 4. บ้านดอนมูล 5. บ้านเชียงราย

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.