ชุดความรู้กินได้ | หมากสันทรายขายอัตลักษณ์

Page 1

หมากสันทรายขายอัตลักษณ์

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


หมากสันทรายขายอัตลักษณ์

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


Mind Map -เพื่อรวมรวมองค์ความรู้ -เพื่อให้ ทราบถึงอัตลักษณ์ของอาเภอสันทราย -เพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้ องถิ่น และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร

1.วัตถุประสงค์

-ประวัติความเป็ นมาของหมาก -ความเป็ นมาในการประกอบอาชีพ -เรื่ องหมาก / ประโยชน์ / การเก็บหมาก

2. ความรู้/ทักษะ

-การลงทุน

วัตถุดิบ

63,000.-/ไร่

3. การเงิน

-การบริ หารจัดการ 4. กาลังคน

6. การลงมือทา

อุปกรณ์

หมาก -เข็มร้ อยไหม , มีด, กรรไกร -ตะแกรงตาก, เตาอบหมาก

การคัดเลือกวัตถุดิบ หมากสด, หมากแห้ ง กระบวนการผลิต

การทาเส้ นปอ / การร้ อยไหม การตาก / การอบแห้ ง / การแปรรูป

7. การตลาด

-ในชุมชนบ้ านป่ าลาน -นอกชุมชน (ตลาดวโรรส, ตลาดเมืองใหม่ ฯลฯ) 8. ปั ญหา/การแก้ ไข

-มีความซื่อสัตย์, รับผิดชอบ, สามัคคี, มีวินยั , ยุติธรรม 9. ปั จจัยความสาเร็จ

83,000.-/ไร่

-ระยะสัน้ เป็ นการประกอบอาชีพในครอบครัว -ระยะยาว จะมีการรวมกลุม่ วิสาหกิจชุมชน วัตถุดิบ

5. เครื่องมือ

ค่าจ้ าง

-สร้ างความเชื่อมัน่ ให้ กบั ลูกค้ า -วัตถุดิบมีในท้ องถิ่น -มีวฒ ั นธรรมพึง่ พาแบบครอบครัว -การตลาดและการจัดจาหน่าย



บทนา • หลักการและเหตุผล หมากในอํา เภอสั น ทราย ของชาวล้า นนาในอดี ต มี ชื่ อ เสี ย งในด้า นการส่ ง ออกผลิ ต ภัณ ฑ์จ ากหมากมาช้า นาน ดังคําขวัญ ประจําอําเภอที่ ว่า “เกษตรดี สตรี สวย รวยหมาก ของฝากข้า วแต๋ น แน่ น แฟ้ นคุ ณ ธรรม” นอกจากนี้ อํา เภอ สันทรายยังมีประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่นที่ เกี่ ยวข้องกับเรื่ องหมาก ในกรณี ของ “พญาปราบสงคราม” ผูน้ าํ ที่ ลุกขึ้ นต่อต้านการ เก็บภาษี หมากที่ ไม่ เป็ นธรรมของเจ้าภาษี นายอากร ในสมัย พระเจ้าอินทร วิชยานนท์ เจ้าหลวงผูค้ รองเมืองเชียงใหม่ องค์ ที่ ๗ ตระหนักถึงความสําคัญของภูมิปัญญาเรื่ องหมาก ซึ่ งเป็ น พืชที่ ใช้บริ โภคทัว่ ไปในอุษาคเนย์ จึ งได้รวบรวมองค์ความรู ้ เรื่ อง “หมาก สันทราย ขายอัตลักษณ์ ของชุ มชน” ซึ่ งจะนํา องค์ค วามรู ้ ดัง กล่ า วเผยแพร่ สู่ ส าธารณะต่ อ ไป นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้เล็งเห็นถึงความสําคัญของหมากในฐานะของเครื่ อง สักการะในพิธีสระเกล้าดําหัว


หมากสั นทรายขายอัตลักษณ์ • หลักการและเหตุผล (ต่อ) จึ งได้จดั ขบวนสระเกล้าดําหัวโดยแต่งกายย้อนยุดใน สมัย รั ช กาลที่ ๗ ซึ่ งเป็ นช่ ว งสํา คัญ ก่ อ นจะมี น โยบายของ รั ฐบาลให้ราษฎรเลิ กเคี้ ยวหมาก นอกจากนี้ ในขบวนจะใช้ เครื่ องสั ก การะของชาวล้ า นนาที่ เ รี ยกว่ า “หมากสุ่ ม” “ หมากเบ็ง ” “ต้น เที ย น” และ “ต้น ผึ้ ง ”เพื่ อ เป็ นการน้อ ม คารวะแด่ผอู ้ าวุโส โดยเครื่ องสักการะแต่ละแต่เดิมเป็ นเครื่ อง สั ก การะสํา หรั บ พระพุท ธรู ป หรื อ เป็ นเครื่ อ งสั ก การะใน พิธีสาํ คัญ เช่นการตั้งธรรมหลวง การอุปสมบท การบรรพชา ซึ่ งเกี่ยวข้องกับศาสนา แต่ปัจจุบนั ปรับมาใช้กบั การสระเกล้า ดํา หั ว และเครื่ องสั ก การะนี้ เป็ นสิ่ ง ที่ ส ามารถนํา ไปใช้ ประโยชน์ในชี วิตประจําวันได้จริ ง ทั้งเทียน ขี้ผ้ ึง หมาก พลู ซึ่ งเป็ น ภูมิปัญญา และความละเอียดอ่อนละเมียดละไมของ ชาวล้านนา


วัตถุประสงค์ ของการจัดทาชุดประมวลความรู้

1. เพื่อรวบรวมความรู ้ที่ได้จากการศึกษาในการคงอยูข่ องอาชีพ การทําหมากจะนําไปสู่ การสื บทอดการทําหมากและรวบรวม ข้อ มู ล ไว้เ ป็ นหลัก ฐานเพื่ อ ใช้ใ นการศึ ก ษาเผยแพร่ เ กี่ ย วกับ หมากต่อไปในอนาคต 2. เพื่อทราบถึงอัตลักษณ์และการประกอบอาชีพการทําหมาก ในอําเภอสันทราย 3.เพื่ อ พัฒ นาเพิ่ ม ทัก ษะการสื่ อ สารและการเผยแพร่ ข้อ มู ล ข่าวสาร ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลป์ วัฒนธรรม โดยวิเคราะห์และ จัดทําชุดประมวลความรู ้ ที่สื่อสารได้ชดั เจนและเข้าใจได้ง่าย


กลุ่มเป้ าหมาย • • • • •

นักศึกษา กศน. เด็กและเยาวชน กลุ่มผูส้ ู งอายุ กลุ่มแม่บา้ น พ่อบ้าน กลุ่มผูส้ นใจทัว่ ไป


ขั้นตอนการจัดทา “ชุดประมวลความรู้ ” • วันที่ 30 มิถุนายน ถึง 5 กรกฎาคม 2556 อบรมเชิงปฏิบตั ิการ หลักสู ตร “ก้าวสู่ การเป็ นนักจัดการความรู ้ ยุคใหม่ โครงการขยายผลศูนย์ความรู ้กินได้ สํานักงานบริ หาร และพัฒนาองค์ความรู้ ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท ปทุมธานี • วิเคราะห์ความต้องการอาชีพ/วิเคราะห์ ระบุแหล่งเรี ยนรู ้ • รวบรวมความรู้ • จัดทําโครงสร้างความรู้ • ประมวลและเรี ยบเรี ยงเนื้อหาความรู ้ • ตรวจสอบความต้องการเพื่อให้ครบถ้วนของเนื้อหาความรู ้ • เผยแพร่ ความรู ้ / จัดกิจกรรมเผยแพร่ ชุดประมวลความรู ้ • แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้/ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน • เรี ย นรู้ / ถอดและรวบรวมความรู้ จ ากผูท้ ี่ นํา ชุ ด ประมวล ความรู้ไปประกอบอาชีพ/ต่อยอด


ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ 1. ได้ความรู ้ที่รวบรวมได้จากการศึกษาในการคงอยูข่ องอาชีพ การทําหมากจะนําไปสู่ การสื บทอดการทําหมากและรวบรวม ข้อ มู ล ไว้เ ป็ นหลัก ฐานเพื่ อ ใช้ใ นการศึ ก ษาเผยแพร่ เ กี่ ย วกับ หมากต่อไปในอนาคต 2. ได้ทราบถึงอัตลักษณ์และการประกอบอาชีพการทําหมาก ในอําเภอสันทราย 3.ได้พ ัฒ นาเพิ่ ม ทัก ษะการสื่ อ สารและการเผยแพร่ ข้อ มู ล ข่าวสาร ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลป์ วัฒนธรรม โดยวิเคราะห์และ จัดทําชุดประมวลความรู ้ ที่สื่อสารได้ชดั เจนและเข้าใจได้ง่าย


ประมวลเนือ้ หา “อัตลักษณ์ หมากสั นทราย” 1.กระบวนการผลิต • ความรู้ และทักษะสาหรับดาเนินการ

“หมาก” มีปลูกในพื้นอําเภอสันทราย ดัง่ คําขวัญ อําเภอสันทราย “เกษตรดี สตรีสวย รวยหมาก ของฝากข้ าวแตน แน่ นแฟ้ นคุณธรรม” • อําเภอสันทราย เป็ นอําเภอที่ ปลูกหมากเป็ นอาชี พหลัก สร้ างรายได้ ครอบครัวและชุ มชนหมากยังเป็ นเครื่ องสักการะในพิธีการต่างๆ ทาง ศาสนา • หมาก คือ สัญลักษณ์ของความปรารถนาดี • หมาก คือ สัญลักษณ์ของความนับถือและมิตรภาพ


ประมวลเนือ้ หา “อัตลักษณ์ หมากสั นทราย” บทสั มภาษณ์ .... ท่ านพระสถิตเิ จติยภักษ์ (เจ้ าอาวาสวัดเจดีย์แม่ ครัว )

จากการบอกเล่ า ของท่ า นพระครู ตามความเชื่ อ เกี่ ยวกับ หมาก มาเกี่ ยวข้องกับ ประเพณี ลา้ นนา อาหารที่ เกี่ยวกับพิธีกรรมโบราณ เกี่ยวกับหมากพลู คือ หมากสุ่ ม หมากเบ็ง หมากสุ่ ม หมายถึง หมากแห้ง หมาก เบ็ง หมายถึง หมากสด มีความเชื่อว่าบังสิ่ งที่ไม่ดี เป็ น เครื่ องสักการะ มีไว้เคี้ยวและเพื่อความสวยงามแทนการใช้ หมากธรรมดา ตามตําราของมหามณี มีการแห่ขบวนมีรูป


ตานานเล่ าขาน ความเป็ นมา “อัตลักษณ์ หมากสั นทราย” บทสั มภาษณ์ ท่านพระสถิติเจติยภักษ์ (เจ้ าอาวาสวัดเจดีย์แม่ ครัว) ต า ม ค รู บ า อ า จ า ร ย์ แ ต่ ล ะ ท่าน มีพลู 24 36 48 ที่ศึกษามา จากครู บาอาจารย์ เป็ นอาหารว่าง สําหรับต้อนรับแขกผูใ้ หญ่เมื่อเคี้ยว หมาก คนเมือง มีประวัติวา่ ดั้งเดิม ตั้ งอยู่ ที่ แ ม่ เ สรี่ ยมสามแยก 700 ปี ในปี 2485 สงครามโลกครั้ง ที่ 2 ทหารยึดที่ดินทางทิศตะวันตก เป็ นที่ ข องหลวงตั้ งเป็ นสถานที่ ราชการทางทหาร ชาวบ้านจึงพากัน อ พ ย พ ย้ า ย ขึ้ น ม า ท า ง ทิ ศ ตะวันออก ประมาณ 60 กว่า หลังคาเรื อน กินนํ้าร่ วมกัน นํ้าแม่ ตะเฮี ย งเป็ นประวัติ เ ก่ า แก่ ด้ ัง เดิ ม ประวัติหมู่บา้ นสันเมือง มาจาก


ตานานเล่ าขาน ความเป็ นมา “อัตลักษณ์ หมากสั นทราย” ตํานานว่า บ้านสันเมื อง สมัย สงครามโลกครั้งที่สองผูเ้ ฒ่าผู ้ แก่กล่าวขานการไหลผ่านของ นํ้าที่สันๆลงมา ในหมู่บา้ นมี นํ้า ไหลผ่า นเป็ นสั น ๆ จึ ง เป็ น ที่มาของชื่ อหมู่บา้ นยอง คือ กลุ่ ม เชื้ อ ชาติ ช นในหมู่ บ ้า นมี นํ้า ไหลผ่า นเป็ นสั น ๆ จึ ง เป็ น ที่มาของชื่ อหมู่บา้ นยอง คือ กลุ่มเชื้ อชาติชนชาติหนึ่ ง มี ภาษาเฉพาะ อยู่ในจังหวัด ลําพูน แต่เดิม ยอง อยูใ่ นนคร เชียงตุง พระยามังราย สร้าง เชียงรายในปี พ.ศ.1805 เข้าตี เมืองเชียงตุง


ตานานเล่ าขาน ความเป็ นมา “อัตลักษณ์ หมากสั นทราย” ในปี พ.ศ. 1813 มีชาวยอง ชาวขื่อ ชาวลื้อ สิ บสองปั น นา แล้วเข้ามาตี เมืองเชียงใหม่ในปี ในปี พ.ศ. 1813 มีชาว ยอง ชาวขื่อ ชาวลื้อ สิ บสองปั นนา แล้วเข้ามาตีเมือง เชี ยงใหม่ในปี พ.ศ. 1839 เข้าสู่ สมัยรั ชกาลที่ 1 ตีเมือง เชียงใหม่ พระยาไตรอิว ระดับ เจ้าน่าน ตีข้ ึนเทครัวตั้งแต่ สิ บสองปั นนาจนลงมาถึง ไทลื้อ ไทยอง ไทเขิน แล้วมา ตั้งอยูเ่ ชียงใหม่ ถ้าเป็ นชาวนาจะเป็ นเมืองขอน เมืองลื้อ เมือง วะ เพื่อทํานาเลี้ยงชาวเชียงใหม่ ทางทิศตะวันออก ส่ วน ห้วย ไทร บักเขือแจ้ ป่ าซาง คือ ชาวยอง สําหรับผูท้ ี่มีความรู้ ด้านศิลปะทําสะตวง เพื่อบูชาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ในการทํานา การทํา หมาก สุ่ ม หมากเบ็ง และเป็ นผูท้ ี่นาํ ต้นหมากมาปลูกครั้งแรก ในอําเภอสันทราย ที่บา้ นสันป่ าสัก ตําบลหนองจ๊อม ต่อมาได้ ขยายไป ตําบลสันทรายหลวง


ทาไมจึงสื บสานการทาธุรกิจเกีย่ วกับหมาก นายประเสริฐ เกาะลอย ผู้ใหญ่ บ้านบ้ านป่ าลาน ตาบลสั นทรายหลวง

“อาชี พการทําหมาก” ที่ ทาํ รายได้ให้กบั ครอบครั วและ ชุ ม ชนได้เ ป็ นอย่า งดี ใ นอดี ต เรื่ อ งราวที่ เ กี่ ย วกับ หมาก คื อ เหตุการณ์กบฏผญาปราบสงคราม ในปี พ.ศ 2432 เกิ ดขึ้น เนื่ องจากการต่อต้านการเก็บภาษีหมากไม่เป็ นธรรมของรั ฐ ในสมัย นั้น นาย ชู สิ ท ธิ์ ชู ช าติ ได้ส ร้ า งความเดื อ ดร้ อ น ให้กบั ประชาชนเป็ นอย่างมาก ผญาปราบสงคราม ซึ่ งขนาด นั้นเป็ นผูน้ ําชุ ม ชนชาวอํา เภอสั นทรายในสมัย นั้น จึ ง เป็ น แกนนํา ต่ อ ต้า นการเก็บ ภาษี ห มากที่ ไ ม่ เ ป็ นธรรมนี้ จนเป็ น เหตุการณ์ได้บานปลายเป็ นการกบฎ


ทาไมจึงสื บสานการทาธุรกิจเกีย่ วกับหมาก นายประเสริฐ เกาะลอย ผู้ใหญ่ บ้านบ้ านป่ าลาน ตาบลสั นทรายหลวง

ต่ อ มาในยุค สมัย ของจอมพล ป.พิ บู ล ย์ส งครามเป็ น นายกรัฐมนตรี ในช่วงเวลาปี พ.ศ. 2475 ได้มีนโยบายในการ ส่ งเสริ ม วัฒนธรรมและการพัฒนาประเทศให้ทดั เที ยมกับ ประเทศที่ เ จริ ญ แล้ว เห็ น ว่ า การกิ น หมากนั้น ผูก้ ิ น หมาก มักจะมีฟันสี ดาํ ดูไม่สะอาด รวมทั้งมีพฤติกรรมการบ้วนนํ้า หมาก ทิ้ งจนเลอะเทอะถนนหนทางทัว่ ไปทําให้บา้ นเมื อ ง สกปรก จึ งสั่งการให้ตดั ต้นหมากทิ้งและพลูทิ้ง เพื่อให้คน ไทยเลิกนิ ยมกินหมาก ด้วยเหตุน้ ี ความสําคัญของหมากที่มี ต่อชีวติ ของคนไทยในสมัยก่อนจึงลดน้อยลงและเหลือแต่คน รุ่ นเก่าที่นิยมกินหมากอยู่ ซึ่ งจะมีการปลูกไว้ที่สวนหลังบ้าน ผู ้ใ หญ่ บ ้ า น เล่ า ต่ อ ว่ า ที่ อ ํา เภอสั น ทรายก็ ไ ด้ รั บ นโยบายนี้มา ทําให้ตน้ หมากในอําเภอสันทราย ลดการปลูก ลง คนเริ่ มกิ นหมากน้อยลง มีการส่ งเสริ มให้เกษตรกรปลูก พืชเศรษฐกิจอื่นที่รัฐบาลส่ งเสริ ม แทน การปลูกหมาก เช่น การปลูกข้าว มี ชาวบ้านจํานวนไม่น้อย ที่ หันมี ปลูก ลําไย ลิ้นจี้ ตามอย่างจังหวัดลําพูนจากกาเลียนแบบความสําเร็ จของ เกษตรกรมีรายได้ดีกว่าการทําสวนหมาก


ทาไมจึงสื บสานการทาธุรกิจเกีย่ วกับหมาก นายประเสริฐ เกาะลอย ผู้ใหญ่ บ้านบ้ านป่ าลาน ตาบลสั นทรายหลวง

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้วา่ การกินหมากของคนไทยลด จํานวนลง ส่ งผลทําให้มี การนําหมากไปใช้แ ละปลูกต้น หมากน้อยลงกว่าอดี ต รวมทั้งการประกอบอาชี พการทํา หมากในอํา เภอสั น ทรายลดน้ อ ยลงตามไปด้ว ย แต่ ใ น ปัจจุบนั การประกอบอาชีพการทําหมากในอําเภอสันทราย ยังมีการปลูกหมากอยูแ่ ละมีการปลูกหมากมากใน 3 หมู่ บ้าน คือ บ้านข้าวแท่นหลวง บ้านสันป่ าสัก บ้านป่ าลาน ในตําบลสันทรายหลวง แต่ ในฐานะผูใ้ หญ่ บ ้านเป็ นคนสั นทรายและเป็ น ผูน้ าํ หมู่บา้ นจึงยังคงสื บทอดเจตนารมณ์ของบรรพบุรุษทํา มา 70 ปี มาแล้วในการทําหมากเป็ นหลักในการสร้างรายได้ ให้ครอบครัวและชุมชน


มารู้จัก “หมาก” กันเถอะ ผลหมาก มี ลัก ษณะกลม หรื อกลมรี เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 – 2.5 โดยเฉลี่ยผลรวมกันเป็ นทะลาย ใน 1 ทะลายจะมีผลอยู่ประมาณ 10 – 150 ผล ผลอ่อนสี เขียวเข้ม เรี ยกหมากดิ บ ผลแก่จะผิวเปลือก จะเปลี่ยนเป็ นสี เหลืองอมส้มทั้งผล เรี ยกหมากสุ ก หรื อหมากสง ผล ประกอบด้วย 4 ส่ วน คื อเปลือก ชั้นนอก ส่ วนเปลือกเป็ นเยื่อบาง ๆ สี เขียว เนื้ อเปลือกมีเส้นใยละเอียด เหนี ยว เปลือกชั้นกลางเป็ นเส้นใย หนามากมองเห็ นชัด เมื่ อผลอ่อ น เส้ น ใยอ่ อ น แก่ จ ะเหนี ยวแข็ ง เ ป ลื อ ก ชั้ น ใ น เ ป็ น เ ยื่ อ บ า ง ๆ ละเอี ย ดติ ดอยู่ก ับเนื้ อหมาก ส่ ว น ของเมล็ดหรื อเนื้ อหมากถัดจากเยื่อ บาง ๆ เข้า ไปเป็ นส่ ว นของเนื้ อ หมาก เมื่ออ่อนจะนิ่ ม เนื้ อส่ วนผิว จะมี ล ายเส้ น สี เ หลื อ งถึ ง สี น้ ํา ตาล เนื้ อจะมี สี เหลื อ งอ่ อ น ๆ ถึ ง สี เหลืองเข้มอมแดง


การเก็บ “หมาก” หมากอ่ อน เก็บเมื่ออายุประมาณ 1.5 เดือน หลังดอกบาน (200 ผล/1 กก.) ซึ่งมีตลาดเฉพาะ เช่น ไต้หวัน หมากสด เก็บเมื่ออายุ 3-6 เดือน เปลือกผลมีสีเขียว หมากแก่ (หมากสง) เก็บเมื่ออายุ 7-9 เดือน เปลือกมีสีเหลือง

วิธีดูหมากว่ าอ่ อนหรือแก่

ต้องดูที่หวั ขั้ว ถ้ายังอ่อนอยูข่ ้ วั จะเป็ น สี ขาว ถ้าเริ่ มแก่จะมีสีเขียว และจะต้องปี นขึ้นไปใช้มีดผ่าผลหมากดู ถ้า หน้ายังไม่เต็ม เป็ นหลุม แสดงว่ายังใช้ไม่ได้ ถ้าหน้าเต็มจะไม่มีหลุมเลย เนื้อจะติดแน่น ต้น หมากที่ ใ ห้ผ ลเต็ม ที่ จะให้ผลประมาณ 3 – 4 ทะลาย ทะลายหนึ่ ง ประมาณ 100 – 200 ผล ต้นที่ดกมากๆ ให้ถึงก็ 200 กว่าผลขึ้นไป หมากที่ ให้ผลเป็ นครั้ งแรกจะ ไม่ค่อยดกนักคือราว 100 ผล


ประโยชน์ ของ...หมาก 1. ใช้ ในท้ องถิน่ ผล (เมล็ด) - ใช้เป็ นยากําจัดหนอน ในเวลาที่ววั ควายเป็ นแผลและมีหนอน ใช้เมล็ดหมากปิ ดที่แผล หนอนก็จะตายหมด - ใช้เป็ นยาสมานแผล ในเวลาหัน่ หมาก แล้วมีดบาดมือ ก็จะใช้เมล็ด ( เนื้อ ) หมากมา ปิ ด ทําให้เลือดหยุดไหล และแผลจะหายเร็ว - ใช้เป็ นยาถ่ายพยาธิในสัตว์ เช่น พยาธิตวั แบน ตัวกลม และตัวตืด ( โดยเฉพาะผูเ้ ลี้ยง ไก่ชนจะนําผลแก่มาบดให้ไก่กิน ) - ใช้ขบเคี้ยว เพื่อรักษาเหงือก และฟันให้คงทน ซึ่งก็จะเห็นได้วา่ คนแก่ที่กินหมากฟัน จะไม่ค่อยเสี ย - ใช้รักษาอาการท้องเดิน ท้องเสี ย - ในยุโรป ใช้เป็ นส่วนผสมของยาสี ฟัน เชื่อว่าทําให้ฟันขาว ราก นํามาต้มกิน แก้ปากเปื่ อย ขับปัสสาวะ และโรคบิด ใบ นํามาต้มกิน เป็ นยาขับพิษ นํามาทาแก้คนั 2. ใช้ ในอุตสาหกรรม เมล็ดหมาก เมื่อนํามาสกัดจะได้ไขมัน เมือก ยางและสารอัลคาลอยด์ ชื่อ Arecoline มี แทนนิน (Tannin) สูง จึงสามารถใช้ในทางอุตสาหกรรมและยารักษาโรคได้หลายชนิด เช่น - ใช้ทาํ สี ต่าง ๆ - ใช้ยอ้ มแห อวน ทําให้แห และอวนนิ่ม และอ่อนตัว ยืดอายุการใช้งานได้นาน เส้นด้าย ไม่เปื่ อยเร็ว - ใช้สกัดทํายารักษาโรค เช่น ยาสมานแผล ยาขับพยาธิในสัตว์ ยาแก้ทอ้ งเดิน ท้องเสี ย ยา ขับพิษ ยาทาแก้คนั นํ้ามันนวด ยาขับปัสสาวะ และยาแก้ปากเปื่ อย เป็ นต้น - ใช้สกัดเป็ นนํ้ายาฟอกหนัง จะทําให้หนังนิ่ม และมีสีสวย


การจัดการการเงิน วันที่ 1

รายการ

เงินลงทุน

ซื้อหมาก 1 ไร่

ขาย

60,000.-

ค่ าจ้ างขึน้ – ขนส่ ง (ต่ อไร่ )

1,000.-

ค่ าซื้อปอ

2,000.-

2-3

ค่ างจ้ างผ่ าหมาก / ร้ อยไหม เส้ นละ 70 สตางค์

5,000.-

5-6

ค่ าจ้ างตาก / อบ / เข้ าหัว /แพคถุง

3,000.-

รวม

70,000.-

การจาหน่ ายหมาก

ได้ กาไร 50,000 บาท / เดือน

120,000.-


ราคาจาหน่ าย หมากสด รูปแบบ

ราคา(บาท)

ขายปลีก

ลูกละ 1 -1.50 บาท

ขายส่ ง

กิโลกรัมละ 50 บาท

หมากแห้ ง รู ปแบบ

ราคา(บาท)

ร้ อยไหม

10 เส้น (1 หัว) 100 บาท

หมากซอย

กิโลกรัมละ 5 บาท

แกะออก

กิโลกรัมละ 5 บาท


รายได้ จากนามาจัดทาทางพิธีกรรม

นํามาสื บชะตาชุดเล็ก ชุดละ ราคา 200 - 300 บาท

เครื่ องสื บชะตาชุดใหญ่ ชุดละ 3,000 – 3,500 บาท


รายได้ จากนามาจัดทาทางพิธีกรรม

หมากสุ่ ม หมากเม็ง

ราคา ชุ ดละ 2,000 – 2,500 บาท


การจัดการกาลังคน

เราล้วนเป็ นลูกหลานของคนกินหมาก คนปลูกหมาก และคนมีสวน หมากในหมู่บา้ นทั้งสิ้ น ประโยชน์ของหมากในสวนถูกใช้งานมากกว่า การกินผลและขายผล ชาวบ้านในยุคนั้นแทบทุกคน ในทุกภาคกินหมาก ไม่ว่าจะเป็ นชาวบ้านร้านถิ่นในเมืองจนถึงชาวนาชาวไร่ ไพร่ นาย บ่าว ล้ว นกิ นหมาก กระทั่งทางการยุค นั้นใช้เ ป็ นข้อ อ้า งว่า ทํา ให้บ้า นเรื อ น เปรอะเปื้ อนสกปรก ทําให้ปากและฟั นเปลี่ ยนสี ไม่สวย ไม่ขาวเหมื อน ชาติตะวันตก หมากพื้นเมืองสูงชะลูด เส้นใยภายในลําต้นแข็งแรงยืดหยุน่ เหมือนเกลียวลวดนับร้อยนับพันยึดแน่นเหนี ยวจากโคนถึงปลายยอด ต้น หมากจึงไม่ค่อยหักโค่นได้ง่าย การโอนเอนไปมาตามลมโยกช่ วยให้ยืน ต้นอยูไ่ ด้หลายสิ บปี กระทัง่ ยาวนานเกือบถึงชัว่ อายุคนเลยทีเดียว


การจัดการกาลังคน ชาวบ้านทีทาํ งานอาชีพนี้มี แรงจูงใจ ของการปลูกหมากในบางสวน คือ ราคา ของหมากอ่อนในบางฤดูกาลมีราคาแพง ราคา ๒ - ๓ ลูก ๑๐ บาท แพงกว่ามะนาว หน้า แล้งหลายเท่ า !!! จึ งมี ชาวสวนบาง คนมีความสามารถทําให้หมากออกดอก ติ ด ผล และขายได้น อกฤดู ก าล หมาก อ่ อ นราคาดี จ นสามารถถัว เฉลี่ ย ให้ กับ รายจ่ายในการดูแลผลิตผลอื่น ๆ ในสวน ได้พอสมควร หากราคาในการขายทั้งผล ไม่ดีนกั ชาวบ้านบางคนใช้วิธีฝานหมาก อ่ อ นตาก จนแห้งขายส่ ง เป็ นหมากเพื่ อ การบริ โภคอี กทางหนึ่ ง นอกเหนื อ จาก รายรับอันมาจากหมากอ่อนคือหมากสุ ก ตากแห้ง โดยชาวสวนจะต้องตากให้เนื้ อ ในแห้ ง สนิ ทแล้ ว ส่ งขายร้ า นรั บ ซื้ อ ผลผลิ ต ทางการเกษตร ซึ่ งมี ก ารรั บ ซื้ อ เป็ นกํา หนึ่ งกํา เท่ากับ 100 เส้น ราคา 400 บาท ซึ่ งเมื่อผ่าออกแล้ว ตากแห้ง แล้ว หน้า หมากต้อ งสวยเหมื อ นเพิ่ ง ผ่า ไม่มีเชื้อรา หรื อสี อื่นเจือปน


การจัดการกาลังคน * ระยะสั้ น เป็ นการทําในครอบครัว

* ระยะยาว จะมีรวมกลุ่มอาชีพในการปลูก ผลิต

และแปรรู ปภายในชุ มชนและส่ งจํา หน่ า ยใน ชุมชนและท้องตลาด


หมากสั นทราย ขายอัตลักษณ์ ผลหมาก

ต้ นปอ

เชือกปอ

อุปกรณ์ ทาเชือกปอ

ตะแกรงตากหมาก

เตาอบหมาก

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


กระบวนการผลิต เชือกปอสาหรับร้ อย..หมาก การแกะเปลือกปอ

การฉีกเปลือกปอ ให้ เป็ นเส้ น

การมัดเส้ นปอ กาละ100 เส้ น ขาย…40…บาท


กระบวนการผลิต การขนส่ งผลผลิตจากสวนสู่ กลุ่มสมาชิก


ขั้นตอนการแปรรู ป

กระบวนการผลิต

การเสี ย บหรื อ ร้ อ ยหมาก โดยเข็ม ขนาด ใหญ่ที่มีความกว้างประมาณ 3-5 มิลลิเมตร ยาว ประมาณ 1 ไม้บรรทัด แล้วใช้เชื อกป๋ อแช่ น้ าํ จนนิ่มร้อยตรงกลางให้เชือกผ่านเนื้อหมากและ เปลือก เสี ยบหรื อร้อยเป็ นแถวคล้ายร้อยลูกปั ด โดยใช้หมากเสี ยบให้ยาวจนหมดความยาวของ เข็ม จากนั้นใช้เชือกปอสอดตรงก้นเข็มที่มีรู ดึง หมากที่อยู่ในเข็มให้ลงไปอยู่ในเชื อกปอแทน จากนั้นจัดหมากให้อยูใ่ นทิศทางเดียวกัน นํามา กองรวมกันก่ อนจะนับจํานวนและนําไปตาก ความยาวของหมากที่ เ สี ย บแล้ว ประมาณ 1 ศอก เรี ยกว่า ไหม หรื อไจ จากนั้นนําไปตาก แดดให้แ ห้ง ในวัน รุ่ ง ขึ้ น โดยใช้ต ากบนแตะ (ไม้ไผ่สานขัดแตะใส่ เป็ นที่ตากสิ่ งของให้แห้ง เช่ น ข้า วควบ ยาขื่ น เป็ นต้น ) เมื่ อ หมากแห้ง แล้วนํา มามัดรวมกัน ชาวบ้านมักเรี ยกหมาก ตากแห้งว่า ไหมหมากหรื อหมากตากแห้ง มี การนับจํานวนหมากที่ เสี ยบแล้ว ดังนี้ 10 ไจ เป็ น 1 หมื่น 10 หมื่น เป็ น 1 แสน

หมากที่เสี ยบเรียบร้ อยแล้ว


กระบวนการผลิต

ตากให้แห้ง

เตรี ยมเข้าอบ

เตาอบ


กระบวนการผลิต การเข้าหัวหมาก

หมากพร้อมส่ ง


การแปรรู ป..หมาก การทาหมากแห้ ง ผลผลิตหมากนอกจากจําหน่ายเป็ นหมากสดหรื อหมากดิบก็จะหน่ายเป็ นหมากแห้ง การทําหมากแห้งทําได้หลายวิธี 1. หมากแห้งที่ทาํ จากหมากดิบ มี 5 ชนิด - หมากซอย - หมากกลีบสับ - หมากเสี้ ยว หรื อหมากเจียน - หมากจุก - หมากป่ น 2. หมากแห้งที่ทาํ จากหมากแก่หรื อหมากส่ง มี 4 ชนิด - หมากหัน่ หรื อหมากอีแปะ - หมากผ่าสองหรื อหมากผ่าซีก - หมากผ่าสี่ - หมากแห้งทั้งเมล็ด

อัตราส่ วนหมากดิบทาเป็ นหมากแห้ ง - หมากสด 1,000 ผล ทําหมากแห้งได้ 5 กิโลกรัม - หมากสง 1,000 ผล ทําหมากแห้งได้ 14 – 15 กิโลกรัม


การคัดวัตถุดบิ และ การจาหน่ าย..หมาก  หมากสดหรื อหมากดิบ ส่ วนมากชาวสวนจะนําหมากไปขายในท้องตลาดใน ลัก ษณะของการขายปลี ก โดยการนับ จํา นวนผลขาย ชาวสวนบางรายจํา หน่ า ย ผลผลิตในรู ปขายส่ งให้กบั พ่อค้าที่มารับซื้ ออีกต่อหนึ่ ง มีท้ งั การนับจํานวนขายเป็ น ร้อยผล และการชั่งขายเป็ นกิ โลกรัม นอกจากนี้ ชาวสวนบางรายขายเหมาผลผลิ ต ให้กบั พ่อค้า โดยพ่อค้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการเก็บเกี่ ยวเองทั้ง หมด ทั้งนี้ ล กั ษณะ หมากสดหรื อหมากดิบที่ตลาดต้องการ คือ ผลใหญ่ ฝาด เนื้ อดี และหน้าเต็ม การรับ ซื้อจะไม่แบ่งพันธุ์ แต่จะคละกันทั้งผลกลมแป้ นและผลรี หมากสง ในกรณี ที่หมากดิบหรื อหมากสดมีจาํ นวนมากเกินไปจนเก็บไม่ทนั หรื อ ราคาถูกมาก ๆ ชาวสวนบางรายจะปล่อยให้หมากในสวนแก่และเอาไว้ขายในรู ปของ หมากสง โดยมีการจําหน่ ายในลักษณะเช่ นเดี ยวกับหมากสดหรื อหมากดิ บ แต่การ จําหน่ายในรู ปของหมากสงนี้ ราคาจะไม่ค่อยดีเหมือนกับหมากสดหรื อหมากดิบ  หมากแห้ ง ชาวสวนบางรายอาจทําหมากแห้งจําหน่ายให้กบั พ่อค้าเป็ นกิโลกรัม ทั้งนี้ หมากแห้งจากหมากดิบเกือบทั้งหมดจะใช้บริ โภคในประเทศ ในขณะที่หมาก แห้งจากหมากสง ส่วนใหญ่ส่งออกจําหน่ายต่างประเทศ


การแปรรู ป..หมาก


หมากสั นทราย ขายอัตลักษณ์

2. การตลาด...

ตลาดในหมู่บ้าน

ตลาดวโรรส

ตลาดสันกาแพง

ทาพิธีกรรม ทางศาสนา

การจําหน่ายในประเทศ พ่อค้าคนกลางในท้องถิ่นจะทํา หน้าที่ รวบรวมหมากจากเกษตรกร เพื่อนําไปจําหน่ ายแก่ พ่อ ค้า ส่ ง ทั้ง ในต่ า งจัง หวัด และในกรุ ง เทพ ฯ นอกจากนั้น พ่ อ ค้า คนกลางในท้อ งถิ่ น บางรายยัง ทํา หน้ า ที่ รวบรวม ผลผลิตให้แก่ผสู ้ ่ งออกด้วย


วิถีการตลาด...

ตลาดในชุ มชน


3. ปัญหา/ วิธีการตัดสิ นใจ / กระบวนการแก้ปัญหา

1. ความซื่ อสัตย์ ยึดหลักความจริ ง เปิ ดเผยข้อมูล ไม่ ขโมยผลงานหรื อลิขสิ ทธิ์ ยึดหลักกฎระเบียบ ความถูกต้อง ปฏิบตั ิ ตามคํามัน่ สัญญา ไม่หลอกลวงฉ้อฉล 2. ความรับผิดชอบ ให้ความร่ วมมือกับกลุ่ม เช่น การ เข้าร่ วมประชุ ม การแสดงความคิ ดเห็นข้อเสนอต่อการบริ หารงาน กลุ่มก็ควรเป็ นความรับผิดชอบที่สาํ คัญของสมาชิกกลุ่มด้วย 3. ความสามัคคี ให้ความร่ วมมือร่ วมใจกันทํางานเพื่อ ก่อให้เกิดความสําเร็จในกิจการต่างๆความสามัคคีก่อให้เกิดพลัง การ แก้ไขปั ญหาต่าง ๆ ของชุ มชนให้สําเร็ จจะต้องอาศัยพลังอันเกิ ดมา จากความสามัคคี 4.ความมี วินัย การอยู่ร่วมกันจําเป็ นต้องมี การกําหนด กติกาซึ่ งจากสมาชิ กเอง ความมี วินัยการปฏิ บตั ิ ตามกติ กาที่ ร่วมกัน วางไว้อ ย่า งเคร่ ง คัด จึ ง จะเรี ย กได้ว่า มี วิ นัย อัน เป็ นปั จ จัย สํา คัญ ประการหนึ่งที่จะทําให้กลุ่มก้าวไปสู่ความสําเร็ จ 5. ความยุติธรรม คํานึงถึงความเสมอภาคไม่เอารัดเอา เปรี ยบ ไม่ฉวยโอกาส ตรงไปตรงมา


4. ปัจจัยสู่ ความสาเร็จ 1.ปัจจัยที่ทาํ ให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยัง่ ยืนทั้งภายในและภายนอก “เศรษฐกิจชุมชน” ผ่าน “ธุรกิจชุมชน” พยายามสร้างความเชื่อถือ ความซื่ อสัตย์ และ ความรับผิดชอบให้มีมาก ๆ จะช่ วยสร้ างศรัทธาของลูกค้าเป็ นอย่างดี ต้องรู้จกั วิธีการ สร้างสัมพันธภาพอันดีในการทํางานร่ วมกัน โดยการให้ทุกคนมีส่วนร่ วมรับรู้ ออกความ คิดเห็น และมีส่วนร่ วมรับผิดชอบต้องรู้จกั การยอมรับ การให้อภัยและการให้เกียรติซ่ ึ ง กันและกัน โดยเฉพาะผูบ้ ริ หารการตลาดต้องสร้างสัมพันธภาพที่ดีอยูเ่ สมอ ระมัดระวัง เรื่ องการวางแผนการลงทุน ต้องดูความต้องการของผูบ้ ริ โภค 2.วัตถุดิบท้องถิ่น ทุนราคาถูก ลักษณะทางทรัพยากรท้องถิ่นในหมู่บา้ น สันทรายหลวง สันป่ าสัก ที่มีอายุต้งั แต่หลายสิ บปี ถึงร้อยปี อาทิเช่น หมาก พลู คนในชุมชนส่ วนใหญ่ จึงเป็ นชาวสวน ชาวนา ซึ่ งเป็ นแบบพึ่งพิงธรรมชาติ อี กทั้งสภาพทางภูมิอากาศ ยัง เหมาะสมต่ อ การพัฒ นาสวนหมาก และพัฒ นาปลู ก เพิ่ ม ขึ้ น ทํา ให้มี มากเพี ย งพอ สามารถนํามาใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์ได้อย่างเต็มที่ ชาวบ้านบางคนในกลุ่ม ได้พูดว่า “วัตถุดิบที่ ถูกที่ สุด มี ให้เห็นอยู่ใกล้ๆ รอบตัววัตถุดิบท้องถิ่ น ทุนราคาถูก ลักษณะทางทรัพยากรท้องถิ่นในหมู่บา้ น 3.วัฒนธรรมการพึ่งพาแบบครอบครัว กลุ่มมีการรวมตัวกันโดยอาศัยการพึ่งพิงอาศัย การพึ่งพาอาศัยกันเป็ นครอบครั ว 4.การตลาดและการจัดจําหน่ ายผลิตภัณฑ์ จากประสบการทางการตลาด และการจัด จําหน่ายมาก่อนผูอ้ ื่น “ถ้าไม่ลองทําเองก็ไม่รู้ และไม่เก่งสักที” เมื่อมีเพื่อนบ้านผลิต สิ นค้าออกมาจํานวนหนึ่ ง ต้องการทําการตลาด จะพาเพื่อนบ้านรายนั้นไปด้วย เพื่อ เป็ นการศึ ก ษาไปในตัว พร้ อ ม ๆ กัน ทั้ง นี้ นอกจากการออกตลาด เพื่ อ ศึ กษาในตัว ผลิตภัณฑ์เพื่อนํากลับมาพัฒนาให้ตรงตามความพอใจของลูกค้าแล้ว มีการศึกษาถึงความ ต้องการผลิตภัณฑ์อื่นๆ ด้วย และถ้าในชุมชนมีฐานสามารถดําเนิ นการผลิตได้ มีการ ถ่ายทอดสู่เพื่อนบ้านครอบครัวอื่นๆ ต่อไป


5. แนวคิดในการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ กระดาษจากเปลือก..หมาก


การทาหมากสุ่ ม..หมากเบ็ง หมากสุ่ ม มี โครงสร้ างลักษณะรู ปทรงพุ่ม แบบง่ า ยๆ โดยใช้ ว ัต ถุ ดิ บ ที่ ห าได้ ใ นท้ อ งถิ่ น โครงสร้ างทําจากไม้ไผ่ผ่า ซี ก มาเหลาให้มีขนาด เล็กแล้วนําไปแช่น้ าํ ก่อนเพื่อให้ ไม้ไผ่สามารถ ดัด ให้โค้งงอได้ จากนั้นจึงนํามาขัดหรื อสานและมัด ต่อกันจนได้ลกั ษณะโครงสร้างตามต้องการ ส่ วน ฐานรองรับโครงสร้างนี้ จะทําจากต้นกล้วย ต้นคาที่ ตากแห้งสนิ ทหรื อฟางข้าว เมื่อทําโครงสร้างเสร็ จ แล้วก็จะนําหมากแห้งที่ ร้อยเป็ นสายด้วยเชื อกปอ มาเรี ยงซ้อนกันบนโครงสร้างให้สวยงาม จากนั้น จึงตกแต่งด้วยข้าวตอกดอกไม้และบุหรี่ ยาสู บของ ชาวล้านนา

หมากเบ็ง มีโครงสร้างลักษณะรู ปทรงพุ่มคล้ายรู ป

วงรี โดยโครงสร้างของหมากเบ็งจะทําจากต้นกล้วยทั้งใน ส่ ว นที่ เ ป็ นฐานรองรั บ และแกนกลาง จากนั้น นํา เอาผล หมากดิ บที่ มีสีเขียว หรื อผลหมากสุ กที่ มีสีส้ม จํานวน 24 ผลมาประกอบลงบนโครงสร้าง ซึ่ งในการทําหมากเบ็งนั้น จะต้องมีการนําทางมะพร้าวมาสานเป็ นฐานรองรับ เรี ยกว่า “จัน๋ แปดกลีบ” ขั้นตอนการประกอบหมากเบ็งคือ นําเอา ไม้ไผ่ที่เหลาจนมีขนาดเล็กเท่ากับไม้ปลายแหลมเสี ยบผล หมากเข้ากับจัน๋ แปดกลีบ แล้วปักลงบนแกนกลางต้นกล้วย ให้ เ ป็ นรู ป ทรงพุ่ ม โดยแบ่ ง จัง หวะการปั ก ผลหมากให้ เท่ า กัน จากนั้ นจึ ง ตกแต่ ง ด้ว ยใบพลู ที่ ท าปู น แดงและ ดอกไม้สดที่หาได้ในหมู่บา้ น


“จ้ อยหมากสั นทราย” โดยพ่อบุญศรี รัตนัง ศิลปิ นแห่งล้านนาและศิลปิ นแห่งชาติ

สันทรายแว่นแคว้น ปู่ ย่าต๋ ายาย อําเภอสันทราย อุดมพรั่งพร้อม ขึ้นจือลือชา ทํากั้นมานาน ก๋ านทําหมากนั้น หมากเกี้ยวหมากตัว๋ จ่องใจ้ของมัน เอาแป๋ งนํ้าหมึก หมากเสี ยบนั้นกา หมากหมื่นหมากไหม เอาใส่ ขนั ครู ยกครู ยกมา อําเภอสันทราย ขึ้นจื่อว่าหมาก

ดินแดนเขตขาม สันทรายเมืองงาม สมกําเล่าอ้าง ได้แป๋ งได้สร้าง บุกเบิกแนวทาง เอาไว้ ถิ่นฐานนี้ไชร้ ผืนดินแผ่นใต้ ไร่ นา ไปด้วยข้าวปล๋ า มีไร่ มีนา มีหมากมีขา้ ว ไร่ นาหมากข้าว หมากสันทรายเฮา ปี้ น้อง เลี้ยงใส้ใส่ ต๊อง หมากโขงเขตห้อง สันทราย วิธีมีหลาย จักขอบรรยาย เอาไว้เป็ นถ้อย หมากแก่นใหญ่นอ้ ย หมากเสี ยบหมากซอย มีพร้อม เอาแป๋ งนํ้าย้อม เอาย้อมเสื้ อผ้า ทอมือ ไว้เขียนหนังสื อ ไว้เต๊กลายมือ เอาเกี้ยวก็ได้ ยาวอาเหนือใต้ จ่องใจ้เนอนาย มีนกั เอาใส่ สาํ หรับ ใส่ ขนั ไหว้เจ้า ครู บา ยอยกไหว้สา พิธีกรรมล้านนา สื บมาเก้าเหง้า บูชาศาลเจ้า ไจ้หมากเนอเฮา ปี้ น้อง โขงเขตเต้กต้อง จื่อเสี ยงอยูก่ อ้ ง ล้านนา ปี้ น้องวงศสา สันทรายนี้กา ไผ่บ่เทียบได้


หมากสั นทราย ขายอัตลักษณ์

3

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


หมาก ศูนย์ ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม - http://www.m-culture.in.th อนาคตหมากจะเป็ นอย่ างไร กรมส่ งเสริมการเกษตร- http://www.doae.go.th หมาก ไม้ มงคลคู่ชีวติ คนล้ านนา-http://www.openbase.in.th

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


บุคคลเจ้าของอาชีพ

บุคคลอ้ างอิง ภูมปิ ัญญาเรื่องการทาหมาก นายประเสริ ฐ เกาะลอย ผูใ้ หญ่บา้ น

ภูมปิ ัญญาเรื่องการทาเชือกปอ นาย...บุญธรรม ทองงาม

ภูมปิ ัญญาเรื่องการทาร้ อยหมาก นาง...ขันแก้ว สะหรี

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ปราชญ์ ผู้รู้ ในชุมชน ถ่ ายทอดความเป็ นมาของหมากและ เป็ นผู้สืบสานการทาเครื่องสั กการะ ล้ านนา

ท่ านพระครู สถิตเจติยารักษ์ เจ้ าอาวาสวัดเจดีย์ แม่ ครัว

ถ่ ายทอดความเป็ นมาของหมาก และเป็ นผู้อนุรักษ์ พธิ ีกรรม พิธีการทาหมาก นายบุญศรี รัตนัง ครู ภูมิปัญญาไทย

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แผนการถ่ ายทอดองค์ ความรู้ และรูปแบบกิจกรรมหรือนิทรรศการ • กิจกรรมเวทีเสวนา “อัตลักษณ์หมากสันทราย” • วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบถึงความเป็ นมาของ การประกอบอาชีพหมาก ในพื้นที่ ซึ่งเป็ นอัตลักษณ์ของอําเภอสันทราย 2. เพื่อส่งเสริ มและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน 3. เพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้กนั ในกลุ่มผูป้ ระกอบอาชีพทําหมาก

• กลุ่มเป้ าหมาย 1. 2. 3. 4.

ภูมิปัญญาในพื้นที่ ผูป้ ระกอบอาชีพทําหมาก นักศึกษา กศน. กลุ่มผูส้ ูงอายุ

• ระยะเวลา ระหว่างเดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2557

• ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ/ความรู้ 1. ทราบถึงความเป็ นมาของหมากในอําเภอสันทราย 2. ส่งเสริ มและอนุรักษ์ภูมิปัญญาในชุมชน 3. ได้มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ในกลุ่มผูป้ ระกอบอาชีพทําหมาก


แผนการถ่ ายทอดองค์ ความรู้ และรูปแบบกิจกรรมหรือนิทรรศการ • กิจกรรมแรลลี่ “อัตลักษณ์หมากสันทราย” • วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบวิถีความเป็ นมาของ “อัตลักษณ์หมากสันทราย” 2. เพื่อให้ทราบถึงวงจรชีวิตของหมาก 3. เพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ระหว่างภูมิปัญญากับนักศึกษา กศน.

• กลุ่มเป้ าหมาย 1. ผูป้ ระกอบอาชีพทําหมาก 2. นักศึกษา กศน.

• ระยะเวลา ระหว่างเดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2557

• ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ/ความรู้ 1. ส่งเสริ มและอนุรักษ์ภูมิปัญญาในชุมชน 2. ทราบถึงวงจรชีวิตของหมาก 3. ได้มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ระหว่างกลุ่มผูป้ ระกอบอาชีพทําหมากกับ นักศึกษา กศน.


ประวัตผิ ู้จัดทาชุดประมวลความรู้ “หมากสั นทรายขายอัตลักษณ์ ”

• ชื่อ – สกุล นางสาวพัชวรรณ อาพันธ์ สี • ตาแหน่ ง ครู กศน.ตาบลหนองจ๊ อม ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสั นทราย จังหวัดเชียงใหม่ • ทีอ่ ยู่ 458 หมู่ 4 ตาบลสั นทรายหลวง อาเภอสั นทราย จังหวัด เชียงใหม่ 50210 • พืน้ ทีท่ ใี่ ช้ ในการจัดทาชุ ดประมวลความรู้ บ้ านป่ าลาน หมู่ที่ 2 ตาบลสั นทรายหลวง อาเภอสั นทราย จังหวัดเชียงใหม่ • เบอร์ โทรศัพท์ 081 - 9520612


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.