Brain based learning | แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง สำหรับเด็กวัย 3-6 ปี

Page 1

Brain-based Learning แนวทางการจัดการเรียนรู้

ตามหลักการพัฒนาสมอง




4 BRAIN - BASED LEARNING

สารบัญ 06

สมองกับ การเรียนรู้

34

• ศักยภาพของสมอง • โครงสร้างและเครือข่ายในสมอง • กระบวนการเรียนรู้ในสมอง

14

22

• รู้จักสมองก่อนออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ • การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูง • ท่วงท�ำนองการเรียนรู้ที่แตกต่าง • ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับสมองของเด็ก • ตัวอย่างขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ทีอ่ อกแบบตามหลักการพัฒนาสมอง

พัฒนาการสมองของ เด็กวัย 3 - 6 ปี • พั ฒ นาการด้ า นโครงสร้ า งและ การท�ำงานของสมอง • ค ว า ม พ ร ้ อ ม ที่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ พัฒนาการโครงสร้างของสมอง • กระบวนการส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการ ของสมอง

44

หลักการเรียนรู้ของสมอง สมองวัยอนุบาล แนวทางจัดการเรียนรูต้ ามพัฒนาการ ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและการมี ส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ • การวัดและการประเมินพัฒนาการ

การจัดการเรียนรู้ ตามหลักการพัฒนาสมอง ด้านการเคลื่อนไหว • พัฒนาการด้านร่างกายและ การเคลื่อนไหว • การจัดประสบการณ์การเคลือ่ นไหว ร่างกาย

การจัดการเรียนรู้ ตามหลักการพัฒนาสมอง ส�ำหรับเด็กวัย 3 - 6 ปี • • • •

การออกแบบ กระบวนการเรียนรู้

52

การจัดการเรียนรู้ ตามหลักการพัฒนาสมอง ด้านภาษา • พัฒนาการด้านภาษา • การจัดประสบการณ์ภาษา


5 BRAIN - BASED LEARNING

60

การจัดการเรียนรู้ ตามหลักการพัฒนาสมอง ด้านศิลปะและการสร้างสรรค์ • พัฒนาการด้านศิลปะและ การสร้างสรรค์ • การจัดประสบการณ์ศิลปะ

68

การจัดการเรียนรู้ ตามหลักการพัฒนาสมอง ด้านอารมณ์และจิตใจ • พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ • การจัดประสบการณ์ด้านอารมณ์ และจิตใจ

74

การจัดการเรียนรู้ ตามหลักการพัฒนาสมอง ด้านการคิด • พัฒนาการด้านการคิด • การจัดประสบการณ์ด้านการคิด

80

การจัดการชั้นเรียนและ สิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ • การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ในสถานศึกษา • สิง่ แวดล้อมทีเ่ หมาะสมต่อการเรียนรู้ • สื่ อ การเรี ย นรู ้ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ พัฒนาการสมองของเด็กอนุบาล

ส่วนร่วม 88 การมี ของผู้ปกครองและชุมชน • การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การสร้างเสริมพัฒนาการของเด็ก วัย 3 - 6 ปี • การมีส่วนร่วมของชุมชน

ดและประเมิน 100 การวั พัฒนาการ • การวัดและประเมินผลพัฒนาการ และการเรียนรู้ของเด็กวัย 3 - 6 ปี • การประเมินพัฒนาการเด็ก


สมองกั บ การเรีย นรู ้


7 BRAIN - BASED LEARNING

สมอง กับการเรียนรู้

ศักยภาพของสมอง อวัยวะมหัศจรรย์

ออกแบบเพื่อ “การเรียนรู้”

ถึงแม้วา่ สมองจะถูกเข้าใจว่าเป็นสิง่ อัศจรรย์ ที่ สุ ด ในร่ า งกายมนุ ษ ย์ ม านานแล้ ว แต่ นักวิทยาศาสตร์เพิง่ เริม่ เข้าใจความมหัศจรรย์ ของสมองมนุษย์อย่างลึกซึ้งเมื่อช่วงปลาย ศตวรรษที่ 20 นีเ้ อง และสามารถให้คำ� อธิบาย อย่างละเอียดว่า สมองมนุษย์ที่น่าทึ่งนี้มี การท�ำงานอย่างไร สมองมีการจัดระบบการท�ำงานทีซ่ บั ซ้อน และ มีความยืดหยุ่นในการพัฒนาปรับเปลี่ยนตัว เองได้ดไี ม่นอ้ ยไปกว่าอวัยวะใดๆในร่างกาย

สมองถู ก ออกแบบมาเพื่ อ การเรี ย นรู ้ เพื่ อ “ความอยูร่ อด” เป็นส�ำคัญ เด็กเล็กๆ เริ่มเรียนรู้ที่จะร้องไห้ ยิ้ม หัวเราะ กินอาหาร คลาน นัง่ เดิน พูด และท�ำกิจกรรม ต่างๆ เป็นผลจากการทีส่ มองรับรู ้ เรียนรู ้ พฒ ั นา และเปลีย่ นแปลงตัวเองเพือ่ จะมีชวี ติ รอด

พัฒนาผ่าน “การเรียนรู้” สมองพัฒนาศักยภาพในการคิด ความจ�ำ ผ่านกระบวนการที่เรียกว่า “การเรียนรู้” ซึ่ง จะด�ำเนินไปตามก�ำหนด “เวลา” ทีเ่ หมาะสม เราจึงให้ความส�ำคัญกับ “พัฒนาการตาม ช่วงวัย”


8 BRAIN - BASED LEARNING

โครงสร้าง และ เครือข่ายในสมอง แอกซอน

ตัวเซลล์

ไมอิลิน

แรกเกิด

สมองประกอบด้วยเซลล์

เดนไดร์ท

6 ปี

สมองมนุ ษ ย์ ป ระกอบด้ ว ยเซลล์ จ� ำ นวน มหาศาล เด็กแรกเกิดมีเซลล์สมองประมาณ หนึ่งแสนล้านเซลล์ (เมื่อเทียบกับลิงมีหนึ่ง หมืน่ ล้านเซลล์ หนูมหี า้ ล้านเซลล์ และแมลง หวี่มีหนึ่งแสนเซลล์) เชื่อมต่อกันด้วยแขนง ที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ โยงใยเป็นเครือข่าย ร่างแหของวงจรขนาดมหึมา

14 ปี

เครือข่ายเซลล์สมอง

สมองเชื่อมโยงซับซ้อนหลายรูปแบบ สมองประกอบด้ ว ยเครื อ ข่ า ยเซลล์ ส มอง และปรับเปลี่ยนได้ ที่เชื่อมโยงกันซึ่งมีความส�ำคัญมากต่อการ เรียนรู้ มีรายงานผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า เด็ก อนุบาลสามารถเรียนรู้ภาษาพร้อมกันได้ถึง 7 ภาษา นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ใ ห้ ข ้ อ สั ง เกตว่ า เด็ ก มี ศักยภาพที่จะพูดได้กว่า 5,000 ภาษาเท่า ที่มีอยู่ในโลก แต่ความสามารถนี้จะค่อยๆ หมดไป เมือ่ เด็กไม่ได้นำ� มาใช้

เมื่อเราอยู่ในกระบวนการเรียนรู้ เซลล์สมอง จะสร้างการเชื่อมโยงที่ซับซ้อน จนเกิดเป็น ร่างแหเครือข่ายเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆจ�ำนวน เซลล์อาจไม่ส�ำคัญเท่ากับการเชื่อมโยงเป็น เครือข่าย ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบได้ ตลอดเวลาที่เรามีชีวิตอยู่ ความยืดหยุ่นใน การปรั บเปลี่ ยนนี้ เ องที่ ท�ำ ให้ สมองมนุ ษ ย์ สามารถเรียนรูไ้ ด้ตลอดชีวติ


9 BRAIN - BASED LEARNING

สมองซีกซ้าย

โดดเด่นในการเรียน รูแ้ ละท�ำความเข้าใจ ภาษา เหตุผล รายละเอียด

สมองซีกขวา โดดเด่นในการเรียนรู้ และท�ำความเข้าใจมิติ ความรูส้ กึ ภาพรวม

สมองซีกซ้าย - สมองซีกขวา สอดประสานกันเป็นองค์รวม ผ่านใยประสาทที่พาดผ่านจากซีกหนึ่งไปยังอีกซีกหนึ่ง เราเรียกกลุ่มใยประสาทนี้ว่า “คอร์ปัส แคลโลซัม” การผสานการรับรูแ้ ละมุมมองของสมองทัง้ สองซีก ท�ำให้เห็นภาพ และเข้าใจความหมายของสิ่งต่างๆ ได้อย่างชัดเจน


10 BRAIN - BASED LEARNING

กระบวนการเรียนรู้ ในสมอง นาทีแห่งการเรียนรู้ เมื่ อ ได้ รั บ การกระตุ ้ น จากสิ่ ง เร้ า ภายนอก เซลล์ ส มองจะส่ ง สั ญ ญาณข้ อ มู ล ในรู ป กระแสไฟฟ้ า ไปตามแขนงใยประสาทที่ เรียกว่า แอกซอน (axon) ส่งต่อให้แขนง ใยประสาทที่ท�ำหน้าที่รับข้อ มูล ที่เรีย กว่า เดนไดรท์ (dendrite) ของอี ก เซลล์ ห นึ่ ง

การเชื่อมต่อกันของแอกซอน และเดนไดรท์ จะมีการแปลงข้อมูลในรูปสัญญาณไฟฟ้า เป็นสารเคมีทเี่ รียกว่า สารสือ่ ประสาท (neurotransmitter) เราเรียกการเชือ่ มต่อในการรับ ส่งสัญญาณข้อมูลนีว้ า่ ซีนแนปส์ (synapse) ซึง่ เป็นจังหวะส�ำคัญทีเ่ กิดการเรียนรู้

เดนไดร์ท สารสื่อ ประสาท ไมอิลิน

แอกซอน

ซีนแนปส์

อารมณ์มีผลต่อกระบวนการเรียนรู้ อารมณ์ทำ� ให้การรับรูบ้ ดิ ผันไป เช่น อาจมองเห็นกระดุม เป็นเหรียญ ขนม หรืออืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่กระดุม อารมณ์มีอิทธิพลต่อความสนใจและความตั้งใจ โดยอาจจะกระตุ้นหรือยับยั้งท�ำให้ความสนใจ และความตัง้ ใจในการเรียนรูเ้ พิม่ ขึน้ หรือลดลงได้ ข้อมูลทีน่ า่ เบือ่ ไม่นา่ สนใจ ไม่มคี วามหมายต่อ ตนเอง หรือสมองไม่เข้าใจความสัมพันธ์ของข้อมูล สมองทีท่ ำ� หน้าทีส่ ว่ นสัญชาตญาณจะเตือนว่า “เลิกคิดได้แล้ว” เสียเวลา เสียพลังงานสมอง


11 BRAIN - BASED LEARNING

อารมณ์มีอิทธิพลต่อการคิด เช่น ในสถานการณ์ท�ำให้เกิด ความกลัว กระบวนการคิด จะมีประสิทธิภาพน้อยลง

อารมณ์มีอิทธิพลต่อการคิด เช่น ในสถานการณ์ท�ำให้เกิดความกลัว กระบวนการคิดจะมีประสิทธิภาพน้อยลง อารมณ์มอี ทิ ธิพลต่อความจ�ำ การผ่านพบสรรพสิง่ หรือเหตุการณ์ทมี่ อี ารมณ์ ประทับอยูด่ ว้ ยจะกลายเป็นความทรงจ�ำทีแ่ จ่มชัดยืนนานอย่างยิง่ อารมณ์เปลีย่ นแปลงได้ดว้ ยการเรียนรู้ สมองส่วนอารมณ์สามารถเรียนรูแ้ ละ ปรับเปลีย่ นได้ เมือ่ มีการบันทึกการตอบสนองอย่างใหม่ตอ่ สิง่ ทีก่ ระตุน้ เร้า ลงในสมองส่วนอารมณ์ อารมณ์และความรูส้ กึ ต่อสิง่ ต่างๆ อาจแตกต่างและเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมได้ เช่น เคยเกลียดภาษาอังกฤษ เพราะอายและเสียใจทีถ่ กู ครูดุ แต่เมือ่ ได้เรียน กับครูทใี่ จดี กลับเปลีย่ นเป็นชอบภาษาอังกฤษ


12 BRAIN - BASED LEARNING

การเรียนรู้ที่สมองสนใจ สมองสนใจการเรี ย นรู ้ ที่ ต อบสนองทั น ที สมองผู้ เรียนสามารถรับรูร้ ะดับความส�ำเร็จของตนเองได้ “ทันที” ที่ลงมือท�ำ สมองสนใจการเรียนรูท้ ตี่ อบสนองชัดเจน สมองผูเ้ รียน รับรูค้ วามส�ำเร็จ หรือผลการตอบสนองอืน่ ๆทีม่ คี วามชัดเจน สมองสนใจการเรียนรูท้ ที่ า้ ทาย สมองพอใจความส�ำเร็จ ทีละขัน้ การไต่ระดับทีส่ งู ขึน้ ตามล�ำดับคือความท้าทายที่ ชวนให้สมองอยากเรียนรูต้ อ่ ไปไม่สนิ้ สุด เกมคอมพิวเตอร์ เป็นภาพตัวอย่างของสิง่ ทีอ่ อกแบบ มาเพื่อตอบสนองความสนใจของสมองอย่างลงตัว เพราะทันทีทนี่ วิ้ สัมผัสแป้นพิมพ์ (keyboard) โปรแกรมจะ ตอบสนอง “ทันที” และแสดงผล “ชัดเจน” บ่งบอก “ระดับ” ความส�ำเร็จของผู้เล่น เปรียบเสมือนรางวัลที่ชี้ชวนให้ ไต่ระดับขึน้ ไปไม่รจู้ บ ไม่นา่ แปลกใจที่ เกมคอมพิวเตอร์จะ ช่วงชิงเด็กไปจากห้องเรียนทีไ่ ม่ได้ออกแบบกระบวนการ เรียนรูใ้ ห้ตอบสนองต่อความสนใจของสมอง



พัฒนาการสมอง ของเด็กวัย 3 - 6 ปี


15 BRAIN - BASED LEARNING

พัฒนาการสมองของเด็ก

วัย 3 - 6 ปี พัฒนาการด้านโครงสร้าง และการท�ำงานของสมอง

สมองส่วนใหญ่ของเด็กวัยนีจ้ ะอยูใ่ นขัน้ ตอนของการพัฒนา สมองส่วนรับความรูส้ กึ มีการพัฒนาเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ ในระยะนี้ ประสาทสัมผัสและการรับรูต้ า่ งๆ พัฒนาชัดเจนขึน้ การกระตุ้นโดยสัมผัสจะช่วยกระตุ้นการท�ำงานประสานกันของ ส่วนรับสัมผัสของอวัยวะต่างๆในร่างกาย เมื่อสถานีรับข้อมูลจากภายนอก (อวัยวะรับสัมผัสจากภายนอก ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย) พัฒนาได้เร็ว ก็จะส่งผ่านข้อมูลไป กระตุน้ การท�ำงานของระบบอืน่ ๆ ในสมอง เช่น ส่วนความทรงจ�ำ ส่วนควบคุมการเคลือ่ นไหว ส่วนทีท่ ำ� งานด้านอารมณ์ สมองมีต�ำแหน่งรับรู้ต่างๆ มากมายเมื่อสมองส่วนหนึ่งท�ำงาน ก็มีผลต่อการท�ำงานของสมองอีกส่วนหนึ่งด้วย การพัฒนาเด็ก ด้านการรับสัมผัส และการเคลือ่ นไหวจึงนับเป็นการพัฒนาสมอง ส่วนต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน และเสริมซึง่ กันและกัน


16 BRAIN - BASED LEARNING

การส่งผ่านข้อมูลภายในสมองได้รบั การพัฒนาให้รวดเร็วขึน้ โดยกระบวนการสร้าง ไมอิลิน (myelination) ซึ่งเกิดจากสารจ�ำพวกไขมันที่มาหุ้มแอกซอน ท�ำให้การ เดินทางของสัญญาณประสาทรวดเร็วขึน้ ระบบรับความรูส้ กึ (sensory) กับระบบ ควบคุมการเคลือ่ นไหว (motor) ท�ำงานประสานกันดีขนึ้

Motor Cortex Frontal Lobe

Auditory Cortex

Somatosensory Cortex Parietal Lope Occipital Lope Visual Cortex

Temporal Lope

กระบวนการสร้างไมอิลิน ช่วยให้การพัฒนาความสามารถของเด็ก มีความพร้อม เช่น กระบวนการสร้างไมอิลนิ ในบริเวณของสมองทีม่ ี หน้าที่จัดความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ตากับการใช้มือของเด็ก จะ พร้อมก็ตอ่ เมือ่ เด็กอายุประมาณ 4 ปี พัฒนาการของสมองทีเ่ ชือ่ มโยง กับการส�ำรวจท�ำความรูจ้ กั โลก น�ำไปสูก่ ารเรียนรูด้ า้ นต่างๆ ของเด็ก จะค่อยๆ ปรากฏตัวขึน้ หลังจากความพร้อมนี้ การให้เด็กได้รบั โภชนาการทีด่ แี ละได้รบั การกระตุน้ จากสภาพแวดล้อม ส่งผลต่อการเติบโตของสมองและกระบวนการสร้างไมอิลนิ การเคลื่อนไหวเป็นกลไกส�ำคัญที่ช่วยให้สมองได้ใช้ประโยชน์จาก เซลล์สมองและซีนแนปส์ ยิง่ เซลล์สง่ ผ่านข้อมูลและเกิดจุดซีนแนปส์ มากขึ้นเท่าใด เครือข่ายการเชื่อมต่อของวงจรกระแสประสาทก็ยิ่ง ประสานกระชับมากขึน้


17 BRAIN - BASED LEARNING

ความพร้อมที่สอดคล้อง กับพัฒนาการโครงสร้างของสมอง 3

4

5

ขวบ

ขวบ

ขวบ

เมื่อเด็กอายุได้ 3 ขวบ เด็กๆจะ เคลือ่ นไหวได้อย่างคล่องแคล่ว ไม่ว่าจะเป็นเดิน วิ่ง กระโดด ปีน โหน ในวัยนีก้ ารเคลือ่ นไหว อย่างคล่องแคล่ว เป็นสิ่งที่เด็ก ชืน่ ชอบและเป็นทีม่ าแห่งความ ภาคภูมิใจ

อายุ 4 ขวบ เป็นต้นไป แม้เด็ก จะพอใจกับกิจกรรมเคลือ่ นไหว แต่เขาต้องการให้มบี รรยากาศ ผจญภัย ดังนั้นท่วงท่าในเชิง ยิมนาสติกจะปรากฏตัวออกมา

พออายุ 5 ขวบขึน้ ไปการเคลือ่ นไหว ยังเต็มไปด้วย พละก�ำลัง และ สนุกสนานยิ่งขึ้น เด็กชอบเล่น การเคลือ่ นไหวแบบงู แบบช้าง ไดโนเสาร์ กบ จิงโจ้ ม้า เป็ด ชอบเล่นขับรถไฟ ขับรถยนต์ เครื่องบิน


18 BRAIN - BASED LEARNING

กระบวนการส่งเสริม พัฒนาการของสมอง

ฝึกให้เด็กตั้งประเด็นค�ำถามและคิดอย่าง เป็นระบบ เพื่อให้สมองฝึกฝนเชื่อมโยงวงจร แห่งความรู้ในสมองหลายๆ ทาง เพื่อสร้าง จุดซีนแนปส์ (synapse) ที่จ�ำเป็นในสมอง ส�ำหรับรองรับกระบวนการคิดทีร่ อบด้าน น�ำเด็กเข้าสูก่ ระบวนการเรียนรูผ้ า่ นสถานการณ์ จ�ำลอง เด็กจะได้เรียนรู้ความหมายของสิ่งที่ ก�ำลังเรียนรู้ อารมณ์ถกู ขับเคลือ่ น ท�ำให้สมอง เรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

ให้ เ ด็ ก ได้ ท� ำ การศึ ก ษา ส� ำ รวจ และแลก เปลีย่ นความคิดเห็นเรือ่ งการเปลีย่ นแปลงของ สิง่ ต่างๆ ดูวา่ สิง่ ต่างๆเปลีย่ นแปลงได้อย่างไร เช่น เปลี่ยนจากร้อนเป็นเย็น จากเปียกเป็น แห้ง หรือจากอ่อนเป็นแข็ง เป็นต้น ให้เด็กได้ฝึกใช้ค�ำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์และ สังคม เช่น ค�ำว่า อ�ำนาจ ทุกข์ ระบาด ซ�้ำ ซ้อน โรค อุณหภูมิ ฯลฯ เป็นการทบทวนชุด ความเข้าใจ ซึ่งเป็นการใช้วงจรร่างแหของ เซลล์สมอง การสร้างความสัมพันธ์ของวงจร ชุดนีก้ บั การท�ำงานของสมองหลายส่วนพร้อม กัน เช่น วงจรภาษาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ความจ� ำ ความจ� ำ เป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น ในการ ก่อรูปความเข้าใจ ความเข้าใจเชิงนามธรรม ขัน้ ต่อไป


19 BRAIN - BASED LEARNING

ให้เด็กได้รบั รูส้ มั ผัสของจริงทีม่ ขี นาด น�ำ้ หนัก ผิว รูปทรงต่างๆ และมุง่ พัฒนาความสามารถในการรับภาพสามมิติ ให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ได้จับต้องของเล่นนานาชนิด ได้สมั ผัสสิง่ แวดล้อมภายในบ้านและรอบๆ บ้าน การรับรูข้ อ้ มูล และสัมผัสจากสิ่งแวดล้อมนี้ จะย้อนเข้าไปพัฒนาสมองเด็ก ความหลากหลายที่ว่านี้ไม่ใช่สิ่งแวดล้อมประเภทโทรทัศน์ หรือวิดโี อเกม ซึง่ ไม่ชว่ ยให้เด็กเกิดการเรียนรูแ้ บบปฏิสมั พันธ์ ให้เด็กมีประสบการณ์สนุกสนานกับการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยใช้ทักษะที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ เช่น การคลาน การกลิ้ง การวิง่ การปีน การโยก การเด้ง การกระโดดหกคะเมนตีลงั กา ให้เด็กมีโอกาสฝึกฝนการเคลื่อนไหวร่างกายพร้อมอุปกรณ์ เช่น การกระโดดเชือก การเลีย้ งลูกบอล

ให้เด็กมีโอกาสใช้ทกั ษะเสถียรภาพ เช่น สมดุล งอ ยืด บิด การพัฒนาให้เด็กได้เล่นเกมกีฬาทีห่ ลากหลายเพียงพอ จะช่วย พัฒนาร่างกายและสมองครบทุกด้าน กิจกรรมที่ครบถ้วนจะ ไปพัฒนาส่วนเชือ่ มต่อกับประสาทต่างๆ ของการรับความรูส้ กึ โดยเฉพาะสมองส่วนเซรีเบลลัมที่รับผิดชอบเรื่องการทรงตัว และการเคลือ่ นไหวให้เรียบลืน่


20 BRAIN - BASED LEARNING

ให้เด็กพัฒนาความเข้าใจเรือ่ งมิติ ให้เด็กพัฒนาความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยน รูปทรงของวัตถุและสิง่ ของ ให้เด็กสร้างและพัฒนามุมมอง โดยใช้ภาพ 2 มิติ เช่น แผนผัง ภาพถ่าย สร้างวัตถุ 3 มิติ เช่น สร้างรูปจ�ำลอง (model) ต่อบล็อก ก่อเจดีย์ ทราย ปัน้ ดินเหนียว พับกระดาษ ให้เด็กได้มีโอกาสมองวัตถุในหลากหลายมิติ รวมทัง้ มีโอกาสลองใช้แว่นขยาย ให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า เพราะสิ่งที่ ก่อรูปเป็นการคิดของเด็ก เริม่ ต้นทีก่ ารจับต้อง สัมผัส และมีประสบการณ์โดยตรง สมองรับรู้ ผ่านประสาทสัมผัสทัง้ ห้า แล้วก่อรูปเป็นวงจร

แห่งการคิดขึน้ มาในสมอง การตอบค�ำถามใน แบบฝึก การท�ำแบบฝึกหัด เป็นกระบวนการ ถัดไปหลังจากวงจรแห่งประสบการณ์ได้สร้าง ขึน้ แล้ว ให้เด็กศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่งต่างๆ ว่า เคลื่อนที่อย่างไร และเพราะอะไรจึงเคลื่อนที่ เช่น การเคลื่อนที่โดยการเป่า ผลัก ดึง กลิ้ง แกว่ ง โยน เด็ ก ควรได้ ล องท� ำ ให้ สิ่ ง ต่ า งๆ เคลือ่ นทีโ่ ดยใช้มอื เท้า เป่าลม ดัน ดึง เป็นต้น ให้เด็กได้ใช้เทคโนโลยีง่ายๆ ในการส�ำรวจ การเคลือ่ นที่ เช่น ล้อ ลูกรอก แม่เหล็ก ชิงช้า เป็นต้น การเรียนรูก้ ารเคลือ่ นทีจ่ ากการฟังเรือ่ ง เล่าและการอ่านเป็นสิง่ ตามมาภายหลัง



การจัดการเรี ยนรู ้

ตามหลักการพัฒนาสมอง ส� ำ หรั บ เด็ ก วั ย 3 - 6 ปี


23 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดการเรียนรู้ ตามหลักการพัฒนาสมองส�ำหรับเด็ก

วัย 3 - 6 ปี วิทย์

แนวทางการจัดการเรียนรูต้ ามหลักการพัฒนาสมอง วางอยูบ่ นฐานคิดทีเ่ ข้าใจการท�ำงานของสมอง

คณิต ภาษา

หลักการเรียนรู้ ของสมอง

สมองเรียนรู้ อย่างไร

ศิลปะ อาหารกาย - โปรตีน - คาร์โบไฮเดรต - ไขมัน - เกลือแร่ - วิตามิน - น�้ำ

เล่น

การ เคลื่อนไหว

ดนตรี อาหารใจ

- สายใยรัก จากพ่อแม่ - กิจกรรมที่สนุก - เพลิดเพลิน - พอใจ สบายใจ - ได้ความรู้

1. สมองเป็นอวัยวะพิเศษของร่างกาย ต้องการทัง้ อาหารกาย และ อาหารใจ ในสัดส่วนทีถ่ กู ต้อง เหมาะสม ตลอดช่วงอายุ ตัง้ แต่อยูใ่ นครรภ์มารดา ถึงวัยชรา สมองต้องการอาหารใจทั้งในการ เจริญเติบโต การเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพ การเรียนรูแ้ ละการท�ำงานให้เต็มที่ อาหารกาย ได้แก่ อาหารหลัก 5 หมู่ และน�้ำดื่มสะอาด อาหารใจ ได้แก่ ความรัก ความอบอุน่ จากพ่อแม่ และผูใ้ กล้ชดิ ความสุข และความพอใจจากการเล่น และกิจกรรมทีเ่ ด็กสนใจและต้องการ


24 BRAIN - BASED LEARNING

2. สมองเรียนรูไ้ ด้ดเี มือ่ มีความพร้อมครบทัง้ 3 ด้าน

1

2

3

อารมณ์ เช่น เด็กเล็กต้องได้รบั กระตุน้ สมองส่วนอารมณ์ให้พร้อม ต่อการเรียนรู้ หรือการเปิด สมองส่วนลิมบิกก่อนทุกครัง้

องค์ความรู้ ความยากง่ า ยของความรู ้ ต้องสอดคล้องกับวัย 3 - 6 ปี

พัฒนาการของสมอง สมองส่ ว นหน้ า ของเด็ ก วั ย 3 - 6 ปี ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ดังนั้นการใช้เหตุและผลใน เด็กช่วงวัยนีจ้ งึ อาจได้ผลน้อย กว่ า การใช้ อ ารมณ์ เ ป็ น ตั ว กระตุ้นการเรียนรู้

3. สมองเรี ย นรู ้ เ ต็ ม ที่ เ มื่ อ สมองส่ ว นอารมณ์ ห รื อ ลิ ม บิ ก เปิ ด วิ ธี ก ารเปิ ด สมองท� ำได้ หลายวิธี เช่น นัง่ สมาธิ เคลือ่ นไหวประกอบบทเพลง ปรบมือเป็นจังหวะ เปิดโอกาสให้ เด็กท�ำกิจกรรมทีช่ อบ สนใจ เพลิดเพลิน สนุกสนาน 4. สมองเรียนรูจ้ ากของจริงไปหาสัญลักษณ์ และสมองเรียนรูจ้ ากง่ายไปหายาก


25 BRAIN - BASED LEARNING

5. สมองเรียนรู้ได้ 2 แบบ คือ แบบตั้งใจ และ ไม่ ตั้ ง ใจ ส� ำ หรั บ ทารกและเด็ ก วั ย 3 - 6 ปี มีการเรียนรู้มีเพียง 1 แบบเท่านั้น คือแบบ ไม่ตงั้ ใจ เพราะสมองส่วนหน้าทีท่ ำ� หน้าทีบ่ งั คับ ให้ ตั้ ง ใจเรีย นรู้ยังเจริญเติบโตไม่เต็ม ที่ เมื่ อ ต้องการให้เด็กเล็กเรียนรู้จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ที่ ต ้ อ งเปิ ด สมองส่ ว นลิ ม บิ ก ก่ อ นเริ่ ม ต้ น เข้าสูบ่ ทเรียนทุกครัง้ 6. สมองเรียนรู้ด้วยความเข้าใจจากการลงมือ ปฏิ บั ติ ม ากกว่ า การจ� ำ สมองของเด็ ก จะรั บ ความรูไ้ ด้ในเวลาเดียวกันจากทัง้ สิน้ 6 ช่องทาง คื อ จากการ ได้ เ ห็ น ได้ ยิ น ได้ สั ม ผั ส ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส และ จากความสุขใจ พอใจ การจัดการเรียนรู้ที่ดีส�ำหรับเด็กต้องให้เรียน รู้ครบจากทั้งหมด 6 ช่องทาง หรืออย่างน้อย จาก 3 ช่องทาง 7. การเรียนรูท้ เี่ ด็กได้มโี อกาสลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง (active learning) การลองผิด ลองถูก ได้พูด ขีดเขียน ปั้น แปะ เคลื่อนไหว สัมผัส ดมกลิ่น ลิ้ ม รส ท� ำ ให้ ส มองเรี ย นได้ ดี ก ว่ า การเรี ย นรู ้ จากการฟังครูบรรยาย (passive learning) เพียงอย่างเดียว 8. การเรี ย นรู ้ ต ามหลั ก การพั ฒ นาสมอง (Brain-based Learning) คื อ การสร้ า ง การฝึ ก สมอง ให้ ส มองเรี ย นรู ้ ก ารแก้ ป ั ญ หาได้ ถู ก ต้ อ ง แม่ น ย� ำ เหมาะสม ทุ ก ช่ ว งวั ย ของการ เรียนรู้ และสามารถน�ำองค์ความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในวิชาชีพได้จริงในอนาคต เด็กเล็กเรียนรู้ การแก้ปัญหาโดยเริ่มจากปัญหาง่ายๆ ที่สามารถท�ำได้ก่อน ทุกครั้งที่เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ ส�ำเร็จ ก็จะมีอาหารใจเกิดขึน้ มีการหลัง่ สารแห่งความสุข (endorphin)ออกมา เด็กก็จะมีพลังจิต พลังปัญญา ทีอ่ ยากจะแก้ปญ ั หาทีย่ าก และซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ ๆ


26 BRAIN - BASED LEARNING

Motor Cortex Frontal Lobe

Auditory Cortex

Somatosensory Cortex Parietal Lope Occipital Lope Visual Cortex

Temporal Lope

สมอง วัยอนุบาล สมองมีระยะพัฒนาการต่างๆ กันในแต่ละวัย หลักสูตรทีเ่ หมาะกับแต่ละวัย ต้องสอดคล้องกับ ความต้องการของสมองระยะนัน้ ส่ ว นรั บ สั ม ผั ส และส่ ว นเคลื่ อ นไหวของ สมองเด็ ก วั ย อนุ บ าลก� ำ ลั ง พั ฒ นาอย่ า ง รวดเร็ว ด้วยเหตุนี้ การจัดการเรียนรู้หรือการ จัดประสบการณ์จงึ เน้นเรือ่ งการพัฒนาระบบ การเคลื่อนไหว และระบบสัมผัส ในตาราง กิจกรรมจึงจัดช่วงเวลาพัฒนาการของร่างกาย ไว้อย่างเต็มทีเ่ พือ่ พัฒนาทัง้ สองระบบนี้

การติดต่อส่งผ่านข้อมูลต่างๆ ในสมองของ เด็กวัยอนุบาลเป็นไปอย่างรวดเร็ว ระหว่าง สมองซี ก ซ้ า ย สมองซี ก ขวา และระหว่ า ง สมองส่วนควบคุมการเคลือ่ นไหว กับส่วนรับ สัมผัส ข้อมูลน�ำเข้าต่างๆ จะกระตุน้ ให้สมอง ใช้ประโยชน์จากความเร็วนี้


27 BRAIN - BASED LEARNING

แนวทางการจัดการเรียนรู้ ตามพัฒนาการ

แนวทางพัฒนาร่างกายและการเคลื่อนไหว เน้นให้เด็กฝึกเคลือ่ นไหวร่างกายโดยใช้ทกั ษะเกีย่ วกับการเคลือ่ นที่ เช่น เดิน วิง่ กระโดด คลาน ปีน โยก เด้ง เน้นให้เด็กฝึกเคลือ่ นไหวร่างกายพร้อมอุปกรณ์ เช่น เชือก ลูกบอล เน้นให้เด็กฝึกการใช้สมดุลของร่างกาย งอตัว ยืดตัว บิดตัว เน้นให้เด็กพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อละเอียด หรือ กล้ามเนือ้ มัดเล็ก (fine motor) เช่น ร้อยลูกปัด เล่นบล็อก และ อุปกรณ์ ของเล่นอืน่ ๆ ทีพ่ ฒ ั นาระบบสัมผัส เน้นให้เด็กได้เล่นเครือ่ งเล่นสนาม และเล่นของเล่นหรืออุปกรณ์ตา่ งๆ ในพืน้ ทีก่ ลางแจ้ง เพือ่ ให้ได้รบั แสงแดดอ่อนตอนเช้าและเย็น เน้นให้เด็กฝึกบรรจุ เท แยกชิน้ ส่วน ประกอบเข้า เล่นน�ำ ้ เช่น เทน�ำ้ ลง ภาชนะรูปทรงต่างๆ


28 BRAIN - BASED LEARNING

แนวทางพัฒนาภาษา พัฒนาผ่านการ เน้นจัดกิจกรรมให้เด็กเล่นกับเรือ่ งราวและภาษา • อ่านให้ฟัง • ต่อค�ำสัมผัสกลอน • อ่านด้วยกัน • ท่องบทร้องเล่น • อ่านเอง • เล่นกับค�ำทีส่ นุก ตลก และไม่จำ� เป็นต้อง มีความหมาย เน้นให้เด็กพัฒนาทักษะการใช้คำ� พูดเพือ่ สือ่ สาร • เล่นละคร • พูดแสดงความรู้สึก เน้นให้เด็กได้ฝกึ เขียนตัวหนังสือและข้อความ • แสดงความคิดเห็น เมื่อเด็กพร้อม • เล่าเรื่องราวที่พบเห็นมา • เขียนอิสระ • เล่าสิ่งที่คิด • เขียนสิ่งที่คิด • เล่านิทาน • เขียนค�ำที่อยากเขียน • เขียนตามนิทานที่ชอบ เน้นใช้บทเพลงและเรื่องเล่าของท้องถิ่น เป็น สิง่ กระตุน้ ให้เด็กสนใจพัฒนาภาษาของตนเอง

แนวทางพัฒนาด้านศิลปะ ศิลปะ คือ การคิดและจินตนาการออกมาเป็นภาพ เปิดโอกาสให้สมองลองจินตนาการว่า ถ้าเอาสิ่งนี้รวมกับสิ่งนั้น หรือสิ่งโน้น จะเกิดอะไรขึ้น หรือ ถ้าท�ำแบบนีผ้ ลจะออกมาเป็นแบบไหน ให้เด็กลองน�ำสิง่ ทีส่ มองคิดอยูข่ า้ งใน ถ่ายทอดออกมาด้วยมือ ให้ตามองเห็นว่านีใ่ ช่สงิ่ ทีค่ ดิ หรือไม่ ถ้า มอื ท�ำงานแบบหนึง่ ผลจะออกมาอย่างไร ผ่านการ • วาด • ปัน้ • เป่าสี • ระบายสี

• ตัด • ปะ • เย็บ • เรียง

• เท • แยกออกไป • ประกอบเข้า • ร้อย

• วาง • ตอก • ถอดออก


29 BRAIN - BASED LEARNING

เน้นให้เด็กได้ท�ำกิจกรรมศิลปะหลากหลายด้วยมือ ของตนเอง • สร้าง จัดวาง สร้างสรรค์ ถ่ายทอดความคิดออกมา โดยใช้สื่อต่างๆ เช่น ทราย น�้ำ แท่งไม้ • เข้าร่วมการแสดง เช่น เต้น ร�ำ เล่นละคร เล่าเรื่อง ท่องบทกวี • จัดประสบการณ์ศลิ ปะจากวัฒนธรรมท้องถิน่ เน้นให้เวลาเพียงพอในการลองท�ำ และการท�ำซ�้ำ เมื่อผ่านการลงมือท�ำจนเพียงพอแล้วสมองจะเริ่ม สร้างความเข้าใจโลกเบื้องต้นขึ้นมาด้วยตัวเอง


30 BRAIN - BASED LEARNING

แนวทางพัฒนาอารมณ์และจิตใจ ส�ำหรับเด็กอนุบาล อารมณ์เป็นปฏิกิริยาที่เด็กแสดงออกมาเมื่อ มีปฏิสัมพันธ์กับโลก การพัฒนาอารมณ์และจิตใจไม่ใช่เรื่องง่ายๆ ที่จะจูงให้เกิดขึ้น การขัดเกลาอารมณ์ตอ้ งอาศัยความประทับใจ ความดีใจ ความเสียใจ และความเห็นอกเห็นใจ ทีเ่ กิดขึน้ มาท่ามกลางเหตุการณ์ เน้นให้เด็กฟังนิทาน เรือ่ งเล่า เรือ่ งจริงทีน่ า่ จดจ�ำและสะเทือนใจ เช่น นิทานอีสป นิทานไทย นิทานจากต�ำนาน นิทานชาดก เรือ่ งตลก เน้นน�ำเด็กเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ในชุมชน เพื่อให้เด็กชื่นชม ประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม และต�ำนานของท้องถิน่

เน้นให้เด็กได้เขียนภาพ ดูงานศิลปะ และท่องเที่ยว หรือชื่นชมและ สร้างสรรค์สิ่งสวยงาม เน้นให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมศาสนา การกุศล ประเพณี วัฒนธรรม ท้องถิ่นที่สวยงาม


31 BRAIN - BASED LEARNING

แนวทางพัฒนากระบวนการคิด เริ่ ม ต้ น ที่ ก ารให้ เ ด็ ก จั บ ต้ อ ง สั ม ผั ส และมี ประสบการณ์ ต รง สมองเรี ย นรู ้ ไ ด้ ดี ผ่ า น ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า ก่อรูปเป็นวงจรการคิด เน้นให้เด็กฝึกคิด การฝึกให้เด็กคิด ไม่ใช่การ ฝึกโดยใช้แบบฝึกหัดบนกระดาษ แต่ต้อง น�ำเด็กเข้าสู่กระบวนการคิดโดยเข้าไปอยู่ใน สถานการณ์จ�ำลองต่างๆ เช่น ให้เด็กแสดง บทบาทสมมติ ให้เด็กท�ำกิจกรรมที่ต้องใช้ ความคิดและตัดสินใจ เน้นการลงมือปฏิบัติผ่านกิจกรรมอันหลาก หลาย เพื่อส�ำรวจและแลกเปลี่ยนความคิด เห็นกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ • สิ่งต่างๆเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร • สิ่งต่างๆเคลื่อนที่อย่างไร เพราะอะไรจึง เคลื่อนที่ • สิ่งต่างๆอาจจ�ำแนกออกเป็นประเภท/กลุ่ม อะไรบ้าง ตามความเข้าใจของตนเอง • พัฒนาความเข้าใจเรื่องมิติโดยลองจัดกลุ่ม รวมเข้า แยกออก มองวัตถุด้วยแว่นขยาย

• พั ฒ นามุ ม มองโดยดู ภ าพ 2 มิ ติ แผนผั ง สร้างวัตถุ 3 มิติ เช่น ต่อบล็อก ปัน้ ดินเหนียว ดินน�้ำมัน • สังเกตความเปลีย่ นแปลงของธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม • ฝึกพูด เขียน โดยใช้ค�ำศัพท์ และค�ำนิยาม เน้นฝึกให้เด็กตั้งประเด็นค�ำถาม และหัดใช้ ความคิ ด รั บ รู ้ ว ่ า การคิ ด น� ำ ไปสู ่ ก ารตอบ ค�ำถามทีส่ มองสงสัย • สิ่งนี้คืออะไร • มีไว้ท�ำไม • ถ้าไม่มีจะใช้อะไรแทนได้บ้าง • สิ่งนี้มาจากไหน • ใครสร้างขึ้นมา • สิ่งนี้ต่างกับสิ่งนั้นอย่างไร


32 BRAIN - BASED LEARNING

ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ • บ้าน ห้องเรียน ชุมชน และธรรมชาติแวดล้อม ถือเป็นสิ่งแวดล้อม ในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญยิ่งในการพัฒนาสมองของเด็ก การประสานกันระหว่าง ครอบครัว โรงเรียน ชุมชน • การจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองให้ความส�ำคัญกับ การประสานกันระหว่าง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เช่น ชุมชน สนับสนุนการพัฒนาแหล่งเรียนรูส้ ำ� หรับเด็กเล็กในชุมชน และร่วม กับครอบครัวและโรงเรียนดูแลป้องกันอุบตั ภิ ยั ทีอ่ าจเกิดขึน้ กับเด็ก วัย 3 - 6 ปี

การวัดและประเมินพัฒนาการ • ประเมินพัฒนาการเด็กอย่างสม�่ำเสมอ • มีแบบบันทึกการประเมินที่มีมาตรฐาน • การประเมินเป็นไปเพื่อกระตุ้นพัฒนาการ



การออกแบบ

กระบวนการเรียนรู้


35 BRAIN - BASED LEARNING

การออกแบบกระบวนการ

เรียนรู้

รู้จักสมองก่อนออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีสิ่งจูงใจ สิ่งจูงใจจะชักน�ำให้สมองผลิตความรู้ และบันทึกข้อมูลใน เรื่องที่ต้องการให้เรียนรู้ เป็นการตะล่อมสร้างกรอบให้กระบวนการเรียนรู้ด�ำเนินไปตามเจตจ�ำนง ของผูจ้ ดั การเรียนรู้ ซึง่ เป็นผูห้ าสิง่ จูงใจต่างๆ นัน้ มาน�ำเสนอ ถ้าสิง่ จูงใจนัน้ ไม่สามารถจูงใจสมอง ได้ สมองจะจัดการบันทึกข้อมูลนัน้ แบบไม่มคี ณ ุ ภาพ หรือไม่ยอมบันทึกไว้ สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อเรื่องนั้นน่าสนใจ สมองจะไม่ท�ำงานกับข้อมูลทุกชิ้น เฉพาะสิ่งน่าสนใจ เท่านัน้ ทีจ่ ะผ่านกระบวนการเลือกคัดกรองเข้าสูก่ ารรับรูข้ องสมอง สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีความมุ่งมั่น ความมุ่งมั่นเป็นกระบวนการของจิตใจ เป็นสิ่งก�ำกับ กระบวนการเรียนรูใ้ ห้ดำ� เนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เมือ่ เราสนใจ เรามักจะมีความมุง่ มัน่ ด้วย ถ้า เด็กมีเหตุผลเพียงพอ หรือมีเป้าหมายของตัวเอง เด็กจะกระตุน้ ตัวเองและขับเคลือ่ นให้เกิดความ ตัง้ ใจมุง่ มัน่ เพือ่ ด�ำเนินกระบวนการให้ไปสูเ่ ป้าหมายนัน้ อย่างรูต้ วั สมองเด็กขับเคลือ่ นโดยเป้าหมาย สมองของเด็กขับเคลือ่ นไปโดยเป้าหมาย แรงบันดาลใจ ความ ทะยานอยาก ความใฝ่ฝนั และการวางแผนของเด็กเอง ทุกๆ เป้าหมายของเขา ทุกๆ ความฝันของเขา ก็มงุ่ สูอ่ นาคตของตัวเขาเอง การเรียนรูท้ มี่ เี ป้าหมายจึงเป็นการเรียนรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุด สมองเลือกเรือ่ งทีจ่ ะเรียน สมองเรียนรูไ้ ด้ดเี มือ่ ตัดสินใจเลือกทีจ่ ะเรียนรู้ เช่น เมือ่ เด็กหัดขีจ่ กั รยาน หัดว่ายน�ำ ้ สมองเรียนรูไ้ ด้ดี มีประสิทธิภาพอย่างน่าอัศจรรย์


36 BRAIN - BASED LEARNING

สมองไม่เรียนเรือ่ งไร้เป้าหมาย สมองมักจะดูเชือ่ งช้า งุม่ ง่าม เมือ่ สมองรูส้ กึ ว่า เรือ่ งทีเ่ รียนนัน้ ไร้เป้าหมายทีช่ ดั เจน เช่น เมือ่ เรียนเรือ่ งสมการ หรือหัดสะกดค�ำ ตามทีค่ รูสอน ถ้าเด็กขาดความ เข้าใจว่าเรียนเรือ่ งเหล่านีไ้ ปท�ำไม สมองเรียนรูไ้ ด้ดเี มือ่ สมองมีเวลา “สร้างความหมาย” ให้ขอ้ มูล บ่อยครัง้ ทีก่ ารจัดการเรียน การสอน มักป้อนเนือ้ หาจ�ำนวนมหาศาลให้แก่เด็ก ซึง่ เป็นอุปสรรคส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ไม่มเี วลาพอ ส�ำหรับเด็กทีจ่ ะ “สร้างความหมาย” ให้แก่ขอ้ มูลทีร่ บั เข้าไป เมือ่ ข้อมูลไม่มคี วามหมายส�ำหรับ สมอง สมองก็จะไม่บนั ทึกข้อมูลนัน้ หรือบันทึกไว้ในระบบความทรงจ�ำระยะสัน้ สมองสั่งการส่วนหน้า (prefrontal cortex) ที่ควบคุมการใช้เหตุผลและการวางแผน ระยะยาวของเด็กเล็กยังพัฒนาสมบูรณ์ไม่เต็มที่ การทีค่ รูใช้การสัง่ หรือการลงโทษ เพือ่ ให้ เด็กใช้เหตุผล เช่น การให้นักเรียนตั้งใจเรียน อาจจะได้ความตั้งใจในระยะสั้นเท่านั้น เพราะ เด็กอาจเพียงท�ำตามที่ครูสั่งหรือกลัวถูกลงโทษ


37 BRAIN - BASED LEARNING

การเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพสูง การใช้ภาพและเสียงในกระบวนการจัดการเรียนรู้ช่วยสร้างความเข้าใจในระดับนามธรรม ได้ ม าก ดั ง นั้ น การเรี ย นรู ้ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจึ ง ควรใช้ ภ าพและเสี ย งแสดงข้ อ มู ล ที่ ดึ ง ดู ด ให้ เ ข้ า สู ่ ส มองได้ จ� ำ นวนมหาศาลในคราวเดี ย วกั น เพราะสมองเรี ย นรู ้ ไ ด้ ดี เ มื่ อ สมอง รั บ รู ้ ภ าพและเสี ย งพร้ อ มกั น ถ้ า สมองรั บ รู ้ เ สี ย งพร้ อ มกั บ มองเห็ น ภาพที่ ส อดคล้ อ งกั น คลื่ น เสี ย งก็ จ ะไปเปลี่ ย นแปลงหรื อ ท� ำ ให้ เ กิ ด สั ญ ญาณอารมณ์ ซึ่ ง ตามมาด้ ว ยการ เพิ่ ม ขึ้ น ของระดั บ สารเคมี ต ่ า งๆในสมอง สารเคมี เ หล่ า นี้ บ างตั ว เกี่ ย วข้ อ งกั บ ระบบคิ ด ความจ�ำในสมองและมีสว่ นท�ำให้สมองมีประสิทธิภาพมากขึน้ การเรียนรู้จะมีประสิทธิภาพเมื่อสมองสร้างแผนภาพความคิด แผนภาพเป็นการจัดระบบ ความคิ ด ที่ ก ระจั ด กระจายขึ้ น มาเป็ น ระบบมี จุ ด ตั้ ง ต้ น มี บ ทลงท้ า ย มี ก ระบวนการ ชัดเจน การคิดเป็นแบบแผนภาพท�ำให้สิ่งที่เป็นรูปธรรมเป็นนามธรรม เมื่อปรากฏออกมา บนกระดาษจะเป็นสิง่ ทีด่ คู ล้ายรูปธรรมใหม่อกี ครัง้ หนึง่ เป็นการย�ำ้ เสริมเสถียรภาพของวงจร ร่างแหเซลล์สมองทีก่ ำ� ลังท�ำงานคิดอยูใ่ นขณะนัน้ การลงมือปฏิบัติเป็นการใช้ผัสสะรับรู้ข้อมูลทั้งในรูปของภาพ เสียง สัมผัส เมื่อประกอบ ด้วยประสบการณ์ในเหตุการณ์ต่างๆ ที่มีมากยิ่งขึ้น ยิ่งเป็นการใช้วงจรร่างแหเซลล์สมอง พร้อมๆ กัน (หลายผัสสะ) เสถียรภาพความเชือ่ มโยงของวงจรก็เกิดได้เร็วเท่านัน้ และยังใช้ วงจรเชือ่ มโยงความสัมพันธ์ระหว่างผัสสะพร้อมกับวงจรความจ�ำเกีย่ วกับเหตุการณ์ ซึง่ เป็น วงจรความจ�ำหลายมิติ ยิง่ ท�ำให้ความจ�ำในการเรียนรูต้ กผลึกเร็วขึน้ การท่องจ�ำ ท�ำซ�้ำ ฝึกทักษะ ลงมือท�ำซ�้ำๆ เช่น เมื่อเด็กออกเสียงท่องจ�ำ เด็กได้ยิน เสียงตัวเอง และเมือ่ ได้ลงมือท�ำ จะเห็นสิง่ ทีต่ วั เองท�ำ สิง่ ทีป่ รากฏกลายเป็นข้อมูลย้อนกลับ เข้าไปในสมองใหม่ ถือว่าเป็นการลงมือสอนด้วยตัวเอง เป็นการเสริมเส้นทางเดินของวงจร เซลล์สมองทีม่ อี ยูก่ อ่ น ให้มเี สถียรภาพขึน้ อันเป็นเหตุให้จดจ�ำได้และเกิดความช�ำนาญ


38 BRAIN - BASED LEARNING

เมื่อเข้าไปอยู่ในสถานการณ์จ�ำลองสมองจะเรียนรู้ได้ดี • สถานการณ์จ�ำลองผ่านการฟัง ระหว่างที่อ่านนิทานพร้อมชี้ภาพให้เด็กดู เด็กไม่ได้ฟัง ความหมายของนิทาน แต่เด็กจะสร้างจินตนาการไปกับสิ่งที่เห็นและได้ยิน คือเด็กน�ำ ตัวเองเข้าไปอยูใ่ นสถานการณ์จำ� ลองทีต่ นเองสร้างขึน้ • สถานการณ์จำ� ลองผ่านการลงมือท�ำ การจัดฉาก บทบาทสมมติ เล่นละคร การเลียนแบบ ธุรกิจ กิจกรรมที่เป็นกิจวัตรในชีวิต เช่น เปิดบูธขายของ การจัดรายการวิทยุ การท�ำ หนั ง สื อ พิ ม พ์ การทดลองในห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร การใช้ เ ทคโนโลยี ก ลไกตอบสนอง เลียนแบบ เช่น การฝึกขับรถยนต์ ขับเครื่องบินในเครื่องกลจ�ำลอง • สถานการณ์จ�ำลองผ่านการบูรณาการการฟังและการดู น�ำเด็กเข้าสู่สถานการณ์จ�ำลอง ผ่านการชมภาพยนตร์ วีดทิ ศั น์ทดี่ มี คี ณ ุ ภาพ จะท�ำให้สมองเด็กตืน่ ตัวเต็มที่ กระบวนการ เรียนรู้ของสมองจะถูกขับเคลื่อนอย่างมีคุณภาพ ภาพยนตร์เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ ประวัติบุคคล สารคดีวิทยาศาสตร์ สามารถช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดี กระบวนการเรียนรู้ของสมอง ไม่ได้เริ่มต้นจากความว่างเปล่า เด็กมีความคิด มีความรู้ เดิมอยู่แล้วในเกือบทุกสิ่งที่ก�ำลังจะเรียนรู้ แต่ความรู้เดิมอาจมีอยู่แบบกระจัดกระจาย อาจมีน้อยหรือมาก ผิดหรือถูก เราเรียกสิ่งเหล่านี้ที่มีอยู่แล้วในสมองเด็กว่า แบบแผน ความรู้เดิมในสมอง (old schema) ดังนั้นจึงควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเริ่มจาก การจัดระเบียบความรู้เดิมที่เด็กมีอยู่ เช่น เปลี่ยนความเข้าใจผิดให้ถูก หรือท�ำสิ่งที่ผิดที่ ผิดทาง จัดระเบียบใหม่ หรือ เสริมความเข้าใจเดิมให้ลึกซึ้งขึ้น


39 BRAIN - BASED LEARNING

ท่วงท�ำนอง การเรียนที่แตกต่าง เด็กบางคนเรียนรู้เมื่อได้เห็นหรือเมื่อได้ยิน เด็ก บางคนเริ่มเรียนรู้และเข้าใจได้ดีขึ้น เมื่อได้เห็น (Visual learner) หรือเมือ่ ได้ยนิ (Auditory learner) ดังนัน้ ข้อมูล ที่ประกอบด้วยภาพและเสียง จะท�ำให้เขาเรียนรู้ได้ง่าย และเร็วขึน้

เด็กบางคนเรียนรู้เมื่อได้ลงมือปฏิบัติ (Kinesthetic learner) ส�ำหรับเด็กบางคนเพียงแค่เห็นหรือได้ยนิ อาจ จะยังไม่สามารถสร้างเครือข่ายในสมองได้ดขี นึ้ จนกว่า จะได้ลงมือท�ำด้วยตัวเอง เด็กบางคนเรียนรู้เมื่อได้เฝ้าสังเกต (Observational learner) เด็กบางคนเรียนได้โดยการเฝ้าสังเกต หรือ เพียงแต่ฟัง หรือท�ำทั้งสองอย่าง แต่ก็ไม่มีการลงมือท�ำ จนกว่าเขาจะรู้สึกคุ้นกับสิ่งใหม่นั้น ซึ่งอาจเป็นเพราะ กลัวผิดพลาดหรืออะไรสักอย่างหนึ่ง ทั้งที่จริงแล้วการ ลงมือปฏิบัติและแก้ไขความผิดพลาดต่างหาก ที่ท�ำให้ เราฉลาดขึน้

ส�ำหรับเด็กบางคนเพียงแค่เห็นหรือได้ยิน อาจจะยังไม่สามารถสร้างเครือข่ายในสมองได้ดีขึ้น จนกว่าจะได้ลงมือท�ำด้วยตัวเอง


40 BRAIN - BASED LEARNING

ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับสมองของเด็ก

เชือ่ มโยงสิง่ ทีจ่ ะเรียนรูใ้ หม่กบั สิง่ ทีเ่ รียนรูม้ าก่อนแล้ว การทีเ่ ด็กน�ำความรู้ ใหม่ทไี่ ด้รบั เชือ่ มโยงเข้ากับสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นสมองของพวกเขาเอง ซึง่ เป็นสิง่ ทีเ่ กิดจากการมีประสบการณ์มาก่อน เป็นพืน้ ฐานเพือ่ จะให้ได้ความคิด รวบยอด ทักษะ ความรูใ้ หม่ ซึง่ ประมวลกันขึน้ เป็นเรือ่ งใหม่ทจี่ ะเรียนรู้ ศึกษา ทดลอง และลงมือท�ำซ�ำ ้ ท�ำให้สมองรูจ้ กั คุน้ เคยกับความคิดรวบยอด ทักษะ และความรูใ้ หม่ทรี่ บั เข้ามานัน้ ศึกษา ทดลอง และลงมือท�ำซ�้ำ ย�้ำ ทวนให้มากยิ่งขึ้น จะท�ำให้เข้าใจ ความคิดรวบยอด ทักษะ และความรูใ้ หม่ได้ อ่านและฟังบรรยาย ท�ำให้สามารถสะท้อน วิเคราะห์ อธิบาย เปรียบเทียบ ความคิดรวบยอด ทักษะ และความรูข้ องเรือ่ งทีก่ ำ� ลังเรียนรูน้ กี้ บั เรือ่ งอืน่ ๆ ได้ เป็นการเริม่ สูร่ ะดับการคิดสร้างสรรค์ ประยุกต์ความคิดรวบยอด ทักษะ และความรู้ ไปใช้ในเรือ่ งต่างๆ ในชีวติ การผสมผสานสิง่ ทีร่ ู้ เข้ากับเรือ่ งทีไ่ ด้เรียนรูอ้ นื่ ๆ น�ำไปสูก่ ารมีความคิด ระดับสูงขึน้ และมีความคิดสร้างสรรค์ ขัดเกลาและปรับปรุงผลงาน (จากการใคร่ครวญความคิดเห็นของตนเอง และผูอ้ นื่ ) ท�ำให้สามารถเข้าใจความคิดรวบยอด ทักษะ และความรูน้ นั้ ได้ดีเยี่ยมยิ่งขึ้น แต่นี่ก็ยังไม่ใช่จุดสิ้นสุดของการเรียนรู้ หากเป็นเพียง พืน้ ฐานส�ำหรับการเรียนรูร้ ะดับสูงขึน้ ไป


41 BRAIN - BASED LEARNING

ตัวอย่างขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ที่ออกแบบตามหลักการพัฒนาสมอง ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้มีหลากหลายตามวัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชา อย่างไรก็ตามพบว่ามีขั้นตอนหลักๆ อยู่ 3 ขั้น ซึ่งเมื่อน�ำมาเชื่อมโยงกับ การเรียนรูต้ ามหลักการพัฒนาสมอง พบว่าน่าจะเป็นขัน้ ตอนทีอ่ าจเรียกว่า STEP UP ได้ โดยผูส้ อน หรือผูจ้ ดั กระบวนการเรียนรู้ สามารถน�ำไปประยุกต์ ใช้กบั ขัน้ ตอนการจัดการเรียนรูท้ ตี่ นด�ำเนินการอยูแ่ ล้วได้ดงั นี้

Set up

Tie-in

Use Perform Engage

Pack

ขั้นน�ำเข้าสู่บทเรียน เตรียมความพร้อม (Set up) หมายถึง การเตรียมความพร้อมให้เด็ก พร้อมเรียนรู้ เช่น ใช้กจิ กรรมเคลือ่ นไหวประกอบจังหวะ เกมทีส่ นุกสนาน กิจกรรมเปิดสมอง (brain gym) การท�ำสมาธิ ทบทวนความรูเ้ ดิม เชือ่ มโยงความรูใ้ หม่ (Tie-in) หมายถึง การทบทวน ความรูเ้ ดิมของเด็กทีม่ อี ยูแ่ ล้วและเชือ่ มโยงกับความรูใ้ หม่ทเี่ ด็กจะได้รบั เช่น ใช้การตัง้ ค�ำถาม การให้เด็กเล่าประสบการณ์ เล่นเกม


42 BRAIN - BASED LEARNING

ขั้นด�ำเนินการสอน กระตุน้ เร้า (Engage) หมายถึง การกระตุน้ ให้เด็กเกิดความกระหายใคร่รู้ โดย ใช้สถานการณ์จริงหรือจ�ำลอง น�ำสิง่ แปลกใหม่มาแสดง ให้เชือ่ มโยงเข้าสู่ เนือ้ หาทีก่ ำ� ลังจะเรียน รวมทัง้ การกระตุน้ ด้วยค�ำถามให้เด็กคิด และคาดเดา ลงมือปฏิบัติ (Perform) หมายถึง การที่เด็กได้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ จาก การลองผิด ลองถูก เพื่อค้นคว้า แสวงหาค�ำตอบ น�ำเสนอ และอธิบาย สิ่งที่ค้นพบได้ ฝึกปฏิบตั ใิ นบริบทต่างๆ (Use) หมายถึง การให้เด็กได้ทอ่ งจ�ำ ท�ำซ�ำ ้ และ ฝึกทักษะ ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย ท�ำให้เกิดการจดจ�ำและสร้างความ ช�ำนาญในเรือ่ งนัน้ ๆ เช่น เกมการศึกษา แบบฝึก ใบงาน ชิน้ งาน ทัง้ ในรูปแบบ งานกลุม่ และงานเดีย่ ว

ขั้นสรุป สรุป (Pack) หมายถึง การสรุปเป็นความคิดรวบยอด (concept) จากสิง่ ที่ เด็กได้เรียนรูโ้ ดยให้เด็กน�ำเสนอความคิดในรูปแบบต่างๆ เช่น ตาราง กราฟ แผนภูมิ แผนภาพ ภาพวาด รวมถึงการต่อยอดความคิดเพือ่ น�ำไปใช้

ในตอนท้ายของแต่ละขั้นตอน ครูควรมีการสอบทาน ความเข้าใจของเด็ก หากพบว่าเด็กไม่เข้าใจครูจะได้ ทบทวนกระบวนการและช่วยเหลือเพื่อให้เด็ก ประสบความส�ำเร็จและก้าวต่อไปสู่ขั้นตอนใหม่ ได้ วิธีการสอบทานอาจใช้การตั้งค�ำถาม เพื่อให้แต่ละคนตอบ หรือตอบเป็นกลุ่ม หรือ การสังเกตเด็กในขณะท�ำกิจกรรม



การจัดการเรี ยนรู ้ ตามหลักการพัฒนาสมอง

ด้านการเคลื่อนไหว


45 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง

ด้านการเคลื่อนไหว พัฒนาการ ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวของร่างกาย เป็นพัฒนาการด้านโครงสร้างทั้งระบบของร่างกาย ที่ใช้ ในการควบคุมสั่งการตัวเอง และการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม ขอให้สังเกตดูว่าลูกแมวมีการพัฒนา ตัวเองอย่างมากในวัยแรกเกิด มันฝึกฝนท่วงท่าในการเดิน วิ่ง กระโดด ตะปบ กอดรัดฟัดเหวี่ยง จน ในที่สุด ร่างกายก็พร้อมที่จะออกไปสู่โลกภายนอก พัฒนาการทางร่างกาย และการเคลื่อนไหวของเด็ก จ�ำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นอย่างเต็มที่ เพื่อให้ ร่างกายทุกส่วน อันได้แก่ ระบบโครงสร้าง ตัง้ แต่กล้ามเนือ้ มัดใหญ่ และกล้ามเนือ้ มัดเล็ก ท�ำงานอย่าง มีประสิทธิภาพตามวัย กระบวนการพัฒนาในระบบนี้ ต้องเน้นให้เด็กได้ผา่ นขัน้ ตอนการฝึกฝนใช้งาน ร่างกายทุกขัน้ ตอนครบถ้วน และพัฒนาจนมีสมรรถภาพดีทสี่ ดุ เต็มตามศักยภาพของเด็กทีจ่ ะท�ำได้ การที่จะก้าวไปจนถึงระดับนี้ ต้องมั่นใจว่าพัฒนาของเด็ก มีกระบวนการหรือการก�ำหนดขั้นตอน การฝึ ก ฝน ก� ำ หนดแบบแผนกิ จ กรรมที่ ส อดคล้ อ งกั บ จุ ด ประสงค์ ก� ำ หนดชั่ ว โมงการเรี ย นรู ้ และมีแนวทางที่จะประเมินได้เป็นรายบุคคล ว่าเด็กได้บรรลุตามจุดประสงค์ที่วางไว้อย่างแท้จริง


46 BRAIN - BASED LEARNING

สมองกับการเคลื่อนไหวร่างกาย การเคลือ่ นไหวร่างกายเป็นการพัฒนาทีส่ ำ� คัญ การเคลือ่ นไหวร่างกายของเด็ก เป็นการเตรียม สมรรถนะของร่างกาย ทุกส่วนเพือ่ ใช้ประโยชน์ในการมีชวี ติ อยู่ และพร้อมกันนัน้ การเคลือ่ นไหว ร่างกาย ก็พฒ ั นาความสามารถของสมอง อันเป็นเครือ่ งมือของการเรียนรูไ้ ปด้วย สมองเด็กเล็กก�ำลังพัฒนาส่วนควบคุมการเคลือ่ นไหว เป็นช่วงเวลาดีทสี่ ดุ ทีจ่ ะพัฒนาทักษะ เกีย่ วกับการเคลือ่ นไหวต่างๆ ซึง่ จะช่วยพัฒนาระบบความสัมพันธ์ของประสาทสัมผัส เด็กต้อง พัฒนาความสามารถในการใช้ตา มือ เท้า และประสาทรับความรูส้ กึ ต่างๆ ให้สมั พันธ์กนั สมองน้อยคือส่วนทีร่ บั ผิดชอบการจัดสมดุลของร่างกาย สมองส่วนทีร่ บั ผิดชอบหลักเกีย่ วกับ การจัดสมดุลของร่างกายทีจ่ ะพัฒนาคือ สมองน้อย หรือ เซรีเบลลัม การกระตุน้ สมรรถนะของสมอง ส่วนนี้ จะส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถในด้านการรับข้อมูลจากสิง่ แวดล้อมไปด้วยพร้อมๆกัน

สมองต้องการเวลาพัก สมองมีจังหวะหรือ วิถีของมันเองได้แก่ วงจรต�่ำ-สูงของพลังงาน และวงจรการท�ำงาน-การพักผ่อน วงจรทั้ง สองนี้มีผลส�ำคัญต่อการเรียนรู้และการรับรู้ ดังนั้น เมื่อถึงจุดสูงสุดที่สมองต้องการพัก การเรียนรู้ก็จะเริ่มตกลง

เมื่อสมองได้พัก การเรียนรู้จะดีขึ้น เมื่อ มีข้อมูลใหม่ๆ หลั่งไหลเข้ามาสู่โลกของเด็ก เด็กต้องการเปลี่ยนอิริยาบถ มีงานวิจัยชี้ว่า เมื่ อ เด็ ก ได้ พั ก และผ่ อ นคลายความส� ำ เร็ จ ทางวิชาการก็มีผลดีขึ้น ดังนั้นการพักให้เด็ก ได้เล่น และเคลื่อนไหวร่างกายระหว่างช่วง สั้นๆ จึงมีความจ�ำเป็น


47 BRAIN - BASED LEARNING

เมื่อสมองได้จับต้องสัมผัสกับของจริง ของเล่น และวัตถุสามมิติต่างๆรอบตัว อารมณ์จะถูกขับเคลื่อน ให้รู้สึกถึงความหมายของสิ่งที่สมองเข้าไปจับต้อง ขณะที่เด็กคนหนึ่งก�ำลังเล่นอย่างเพลิดเพลิน สมองก�ำลังเข้าไปรับสัมผัส และ เคลื่อนไหวกับรูปทรงสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงรี วงกลม โดยตรง ท�ำให้ความหมาย ของรูปทรงเหล่านี้ ปรากฏเป็นจริงเป็นจังขึ้นในสมอง ท�ำให้รู้จริงถึงความแตกต่าง และในที่สุดค�ำว่า สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม วงรี ก็ปรากฏขึ้นในสมองของเด็ก โดยค�ำชี้แนะของผู้ใหญ่ นี่เองที่กล่าวว่า ภาษาของเด็กเกี่ยวข้องกับการพัฒนา ผัสสะและการเคลื่อนไหว (sensorimotor)

สมองกับการเล่น ปัจจุบันนี้โลกเปลี่ยนแปลงไปมาก เด็กต้องหมกตัวอยู่ในบ้านหรือในห้องเรียน เด็กอยู่ กับทีแ่ ทบทัง้ วัน ไม่วา่ จะเป็นการนัง่ เรียน หรือนัง่ ดูโทรทัศน์ ท�ำให้เด็กไม่คอ่ ยได้เล่นแบบ เคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหวร่ายกายครบทุกส่วน นี่คือปัญหาส�ำคัญ การไม่ได้เล่นเป็นอุปสรรคต่อการเติบโต นักจิตวิทยาการศึกษาวิตกว่า เด็ก ที่ไม่ได้เคลื่อนไหว ไม่ได้เล่นเมื่อวัยเด็ก จะไม่ได้ผ่านพัฒนาการอันจ�ำเป็น ดังนั้น โรงเรียนยุคใหม่ต้องสนใจจัดกิจกรรมให้เด็กออกก�ำลัง เล่นกีฬา เล่นศิลปะป้องกัน ตัว และยิมนาสติก เป็นต้น การเล่ น ช่ ว ยระบายความเครี ย ด การเล่ น เป็ น รู ป แบบหนึ่ ง ที่ เ ด็ ก ใช้ ใ น การปรั บ ตั ว เข้ า กั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม การเล่ น ช่ ว ยให้ เ ด็ ก ๆ คลายความวิ ต กกั ง วล คลีค่ ลายปมขัดแย้งในใจ ความเครียดถูกระบายออก และเด็กๆเริม่ หาวิธกี ารจัดการ กับปัญหาต่างๆได้ จิตใจของเขาสงบลง การเล่นช่วยให้เด็กระบายพลังงานส่วนเกิน


48 BRAIN - BASED LEARNING

การเล่นช่วยพัฒนาการเรียนรู้ นักจิตวิทยาการศึกษาเองก็เชื่อ ว่า การเล่นช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กหลายด้าน ทั้งนี้โครงสร้าง ของภาวะรู้คิดที่เด็กมีอยู่จะต้องถูกน�ำออกมาใช้ในชีวิตจริง โดยผ่าน กิจกรรมต่างๆรวมทั้งการเล่นด้วย การเล่นช่วยพัฒนาการรับรู้ อย่างน้อยที่สุดเด็กจ�ำเป็นต้องการ การเคลื่อนไหวพื้นฐาน เช่น การหมุนตัว กระโดด คลาน กลิ้ง ส่าย วิ่ง กิจกรรมเหล่านี้ช่วยพัฒนาความสามารถในการรับรู้ระยะ มิติ รวมทั้ง มีการพัฒนาสมองสมดุลเป็นปกติ การเล่นท�ำให้เด็กรับรูเ้ อกลักษณ์ของตัวเอง เด็กจะเพิม่ การตระหนัก รู้ของเขาว่า เขาสามารถใช้ร่างกายสื่อสาร แสดงสิ่งที่คิดและรู้สึก โดยเคลื่อนที่ในทางต่างๆ การเล่นเป็นโอกาสของเด็กในการพัฒนา การรั บ รู ้ เ อกลั ก ษณ์ ข องตั ว เอง เมื่ อ เด็ ก เริ่ ม ใช้ ค วามคิ ด ของเขา เพือ่ เคลือ่ นไหว เต้น ร�ำ และเล่นกับผูใ้ หญ่ หรือกับเด็กคนอืน่ เด็กจะเริม่ สนใจในการสร้างสรรค์มากขึน้ การเล่น เป็นการเตรียมสมองให้พร้อมใช้งาน การเล่นของเด็กนัน้ แท้ที่จริงก็คือการซ้อมมือ หรือการซักซ้อม และพัฒนาทักษะที่ก่อรูป ขึ้นมาแล้วในวงจรการเรียนรู้ของสมองนั่นเอง สิ่งที่เด็กพยายามเล่น ในวัยนี้ เช่น การควบคุมท่าทางเดิน การวิ่งแข่ง การเล่นกระบะทราย การเดินบนไม้แผ่นเดียว การร้องเพลงและท�ำจังหวะ การตัดกระดาษ เป็นรูปต่างๆ ล้วนแต่เป็นการท�ำซ�ำ้ ๆ ดัดแปลงท่วงท่าลีลาทีไ่ ม่สมบูรณ์ เพื่อสร้างสมองทุกส่วนให้พร้อมส�ำหรับการใช้งาน ในวัยถัดไปนั่นเอง


49 BRAIN - BASED LEARNING

การเคลื่อนไหวของเด็กวัย 3 - 6 ปี ชื่นชอบการเคลื่อนไหว เมื่ออายุได้ 3 ปี เด็กๆ เคลื่อนไหวได้อย่าง คล่องแคล่ว ไม่วา่ จะเป็นเดิน วิง่ กระโดด ปีน โหน ในวัยนีก้ ารเคลือ่ นไหว อย่างคล่องแคล่ว เป็นสิ่งที่เด็กชื่นชอบ และเป็นที่มาแห่งความภาค ภูมิใจของเขาด้วย ชอบการผจญภัย อายุ 4 ปี เป็นต้นไป แม้เด็กจะพอใจกับกิจกรรม แต่ เขาต้องการให้มบี รรยากาศ ผจญภัย ดังนัน้ ท่วงท่าในเชิงยิมนาสติกจะ ปรากฏตัวออกมา เต็มไปด้วยพละก�ำลัง พออายุ 5 ปี การเคลื่อนไหวก็ยิ่งเต็มไปด้วย พละก�ำลัง และสนุกสนานยิ่ง เด็กชอบเล่น การเคลื่อนไหวแบบงู แบบ ช้าง ไดโนเสาร์ จิงโจ้ ม้า เป็ด ชอบเล่นขับรถไฟ ขับรถยนต์ ขับเครือ่ งบิน ชอบเล่นสัมผัสค�ำ เด็กวัยนี้ชอบเล่นเกมใช้มือวางบนส่วนต่างๆ ของ ร่างกายแล้วทายปัญหา สนุกกับการร้องบทร้องเล่น และกลอนสัมผัส ต่างๆ แนวทางการสอนเด็กเล็ก ต้องสนใจใช้บทคล้องจอง บทร้องเล่น บทเพลงร่วมกับการใช้ทา่ ทางของเด็กเป็นพิเศษ


50 BRAIN - BASED LEARNING

การเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหวร่างกาย การเคลื่อนไหวร่างกายท�ำให้สมองเห็นโลกในมุมมองต่างๆ การบูรณาการของข้อมูลทางประสาทสัมผัส ภาษา และความคิด การเรียนรู้ที่จะใช้พื้นที่ การมีเวลาส�ำรวจและฝึกฝน เป็นปัจจัยส�ำคัญ ในการพัฒนาทางร่างกายของเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก อันได้แก่ การปี น การคลาน การโยก การกระโดด ไม่ ใ ช่ เ พี ย งเรื่ อ งซุ ก ซน แต่เป็นการแสวงหาโอกาสของสมองส�ำหรับการเห็นโลกจากมุมมอง ต่างๆ กัน กระบวนการเรียนรู้ในการเคลื่อนไหว จะช่วยพัฒนาการเรียนรู้ เกี่ยวกับมิติ ระยะ ทิศทาง เวลา ความเร็ว แรง ฯลฯ การรับรู้นี้เป็น ฐานส�ำคัญของการเรียนรูจ้ กั ตนเอง ท�ำให้เด็กเป็นตัวเป็นตน และเป็น พื้นฐานส�ำหรับวิชาการทุกสาขา อย่าหวังว่าจะสอนความรู้เรื่องมิติ ระยะ ทิศทาง เวลา เมื่อถึงชั่วโมงสังคมศึกษา เพราะ “การรับรู้” ต้อง มีมาก่อนในชีวิตจริง เด็กจึงจะพัฒนาความคิดนามธรรมขึ้นมาใน ชั่วโมงเรียนได้


51 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดประสบการณ์ การเคลื​ื่อนไหวร่างกาย ให้เด็กได้พฒ ั นาทักษะการเคลือ่ นไหวอย่างละเอียดทีจ่ ำ� เป็นต่อการใช้ เครือ่ งมือและสือ่ เช่น กรรไกร ทีเ่ จาะกระดาษ ทีเ่ ย็บกระดาษ ให้เด็กได้ท�ำกิจกรรมที่มีการรวมทักษะของการใช้เครื่องมือ รวมถึง การประสานงานของตา มือ เท้า เช่น การขว้าง การจับ การผลัก การดึง การขุด และการวาด ให้เด็กได้ท�ำกิจกรรมการบรรจุ เท และแยกชิ้นส่วน เช่น การเล่น บล็อก เล่นน�้ำ ให้เด็กได้มปี ระสบการณ์สนุกสนานกับการเคลือ่ นไหวร่างกาย โดยใช้ ทักษะทีเ่ กีย่ วกับการเคลือ่ นที่ เช่น การคลาน การกลิง้ ตัว การวิง่ การปีน การโยก การเด้ง และการกระโดด ให้ เ ด็ ก ได้ ฝ ึ ก ประดิ ษ ฐ์ สิ่ ง ต่ า งๆ เช่ น ปั ้ น ดิ น เหนี ย ว ดิ น น�้ ำ มั น ประดิษฐ์เศษวัสดุ ให้เด็กได้ใช้ทกั ษะเสถียรภาพ เช่น สมดุล งอ ยืด บิด ให้เด็กได้บรู ณาการทักษะการเคลือ่ นไหวแบบหยาบและแบบละเอียด กีฬาในร่ม กีฬากลางแจ้ง ให้เด็กได้พฒ ั นาความสามารถทีจ่ ะเล่นเครือ่ งเล่นสนามหลากหลายชนิด ให้เด็กได้เล่นเครือ่ งเล่นสัมผัส เช่น ร้อยลูกปัด ต่อภาพตัดต่อ ให้เด็กได้เขียนภาพและเล่นสี เช่น สีเทียน สีนำ�้ มัน เป่าสี พับสี ให้เด็กได้ฝกึ ฝนการเคลือ่ นไหวร่างกายพร้อมอุปกรณ์ เช่น การเคลือ่ นไหว พร้อมเชือก ลูกบอล


4

b 4

s

f

การจัดการเรี ยนรู ้ 4

ตามหลักการพัฒนาสมอง f

4 ด้านภาษา

b 4

b

s

f 4

b

s

f

s

f s

f

4

s

f

s


53 BRAIN - BASED LEARNING

A Z

การจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง

ด้านภาษา

พัฒนาการด้านภาษา พัฒนาการด้านภาษา เป็นพัฒนาการที่จ�ำเป็นที่สุดส�ำหรับเด็ก เพราะภาษาเป็น เครื่องมือส�ำหรับการสื่อสาร เพื่อจะมีชีวิตอยู่ในสังคม พัฒนาการด้านภาษาของเด็กไม่ใช่เพียงการ ฟัง พูด อ่าน และเขียน ได้ แต่ยงั เชือ่ มโยง กับพัฒนาการด้านการคิดด้วย เมื่อคนเราสื่อสาร สมองต้องพยายามเชื่อมโยง สิ่งที่คิดออกมาเป็นการพูด และการเขียน เมื่อฟัง สมองต้องพยายามคิดเทียบ เคียงสิ่งที่ฟัง กับประสบการณ์ที่รับรู้มา และเมื่อพูด สมองต้องจับคู่ภาษาเข้ากับ ความหมายที่จะถ่ายทอดให้คนอื่นเข้าใจ ดังนั้นกระบวนการพัฒนาภาษา จึง เป็นการพัฒนากระบวนการคิด และการสื่อสารไปพร้อมๆ กัน จุดมุ่งหมายของการส่งเสริมพัฒนาด้านภาษาของเด็ก คือ ต้องส่งเสริมให้เด็ก คิดเป็น และสือ่ สารเป็น ใช้การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็นเครือ่ งมือใน การสือ่ ความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการพัฒนาภาษา เน้นหนักการพูดคุย การสนทนา การเล่าเรือ่ ง การเล่า นิทาน การอ่านให้ฟงั การร้องเพลง การแสดงละคร การเขียน การอ่านเบือ้ งต้น โดย บูรณาการเข้ากับกิจกรรมการเล่น และการบันเทิงทีส่ นุกสนานน่าสนใจ


54 BRAIN - BASED LEARNING

พัฒนาการของสมองในการเรียนรู้ภาษา สมองของเด็กเล็กสามารถเรียนภาษา ได้ทวั่ โลก ในวัยอนุบาล สมองเด็กโตเป็น 9 ใน 10 ของขนาดสมองผู้ใหญ่ การที่ สมองของเด็กโตรวดเร็วยิ่งกว่าส่วนใดๆ ของร่างกาย ก็เนื่องมาจากการขยายตัว ด้านจ�ำนวนและขนาดของปลายประสาท เดนไดร์ท อีกส่วนหนึง่ เนือ่ งมาจากการเพิม่ ขึน้ จากกระบวนการสร้างไมอิลนิ การเกิดซีนแนปส์ ท�ำให้เกิดวงจรข้อมูล ขึน้ จ�ำนวนมาก ซนี แนปส์จำ� นวนมากมาย ท� ำ ให้ ส มองของเด็ ก วั ย นี้ ส ามารถเรี ย น ภาษาต่างๆ ได้ทวั่ โลก การเริ่มอ่านช้าไม่ได้แปลว่าพัฒนาช้า น่าประหลาดทีว่ า่ ไม่มตี ารางทีก่ ำ� หนดเวลา ได้แน่นอนว่าเมื่อไรเด็กจะอ่านได้ ความ พร้อมในการอ่านของเด็กอาจแตกต่างกัน ถึง 3 ปี บางคนพร้อมเมื่ออายุ 4 ปี บาง คนพร้อมเมือ่ อายุ 7 ปี (โดยเฉลีย่ ) บางคน พร้อมเมือ่ อายุ 10 ปี ดังนัน้ เด็กทีเ่ ริม่ อ่าน เมือ่ อายุ 7 ปี จึงไม่ใช่พวกทีพ่ ฒ ั นาช้า ภาษาเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของ เด็กเล็ก เด็กจะพัฒนามนุษยสัมพันธ์ และ ขยายความคิดเรือ่ งการคบค้าสมาคมได้ ก็ ต่อเมือ่ เขาพัฒนาภาษาขึน้ มาจนใช้การได้

b

4

e


55 BRAIN - BASED LEARNING

1

c

ภาษาของเด็กเริ่มจาก 2 ค�ำ ก่อนที่เด็กจะมีพัฒนาการทางภาษา ซับซ้อน ภาษาทีเ่ ขาใช้มกั มี 2 ค�ำ เช่น กินข้าว แม่มา แมวเดิน เป็นต้น การพูดประโยคทีย่ าวกว่า 2 ค�ำของเด็ก เป็นสัญญาณบ่งชีว้ า่ การเข้าใจ ความหมายของภาษา ก�ำลังก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว เด็กเริม่ เรียนภาษาเมือ่ ใด มีการประมาณการไว้วา่ เด็กเริม่ เรียนภาษา จริงจังเมือ่ อายุได้ขวบหนึง่ วันหนึง่ ๆ เขาจะเรียนรูค้ ำ� ใหม่ได้ถงึ 5 - 8 ค�ำ และระหว่างอายุ 1 - 6 ปี เขาสามารถรักษาความเร็วในการเรียนค�ำขนาด นีไ้ ว้ได้ เด็กเรียนค�ำใหม่ได้วนั ละ 22 ค�ำ ยังมีขอ้ มูลทีร่ ะบุไว้วา่ หลังจาก 5 ขวบ เป็นต้นไป เด็กสามารถเรียนค�ำใหม่ได้ถงึ วันละ 22 ค�ำทุกวัน ภาษาพูด ของเด็ก 6 ขวบ นัน้ ประกอบด้วยค�ำราว 8,000 - 14,000 ค�ำ

การเริ่มสอนภาษา ตั้งต้นที่การอ่านให้ฟัง • ความส�ำเร็จในการท�ำให้เด็กสนใจอ่าน อยากอ่าน จนถึงรักการอ่าน ตั้งต้นที่การอ่านให้ฟัง • การอ่านให้ฟังท�ำให้สมองพุ่งความสนใจไปที่การรับเสียง สมอง จินตนาการเรือ่ งราวตามไปได้อย่างเต็มที่ • เลือกหนังสือทีด่ ที สี่ ดุ มาอ่านให้ฟงั เด็กไม่ตอ้ งกังวลว่าจะต้องอ่านตาม จะ ต้องตอบค�ำถามของครู จะต้องจ�ำเรือ่ งให้ได้ เด็กรูส้ กึ สนุกทีจ่ ะฟัง เรียกร้อง ครัง้ แล้วครัง้ เล่าให้คณ ุ ครูหรือผูป้ กครองอ่าน • เมือ่ อ่านให้ฟงั ติดต่อกันยาวนานพอ เด็กเริม่ จดจ�ำเรือ่ งได้เอง ในทีส่ ดุ เด็ก จะหยิบหนังสือมาและเปิดอ่าน บางคนจ�ำเนือ้ หาได้ทงั้ เล่ม การสะกดได้ จะตามมาทีหลัง การสอนอ่านและสอนสะกด ท�ำได้งา่ ยมากเมือ่ เด็กรัก ทีจ่ ะอ่านแล้ว

f

a


56 BRAIN - BASED LEARNING

สอนภาษาจากนิทาน • นิทานเรื่องหนึ่งเสนอค�ำใหม่นับร้อยค�ำ • การเล่านิทาน การอ่านหนังสือให้เด็กฟัง มีความส�ำคัญอย่างยิ่ง เพราะนิทานและ เรื่องราวในหนังสือเด็ก มีเนื้อหาสนุกสนาน น่าทึง่ น่าตืน่ ใจ เร้าความสนใจ จูงใจให้เด็ก พัฒนาความสามารถในการฟังอย่างต่อเนือ่ ง เรือ่ งราวทีซ่ บั ซ้อนในนิทาน น�ำเสนอค�ำและ ภาษาให้เด็กมหาศาล นิทานเรือ่ งหนึง่ ๆ บางที น�ำเสนอค�ำใหม่นับร้อยค�ำและเด็กก็เข้าใจ เพราะมีบริบทของเรือ่ งราวในนิทาน ช่วยสือ่ ความหมาย พร้อมกับภาพ • การฟัง คือทีม่ าส�ำคัญของการพัฒนาภาษา ค�ำ ความหมาย และภาษาทีง่ ดงาม สร้างขึน้ มาได้จากนิทานและเรือ่ งเล่าเหล่านี้ ล�ำพังการ พูดคุยในชีวติ ประจ�ำวัน ไม่เพียงพอทีจ่ ะพัฒนา ภาษาของเด็ก

• สมองเด็กรับข้อมูลเสียงพร้อมกับมองเห็นภาพ เมื่ออ่านหนังสือให้เด็กฟัง สมองของเด็กรับ ข้อมูลเสียง พร้อมกับมองเห็นภาพ เรือ่ งราวที่ น่าสนใจท�ำให้สมองมุง่ ไปทีเ่ นือ้ หาด้วยความ อยากรู้ และติดตามด้วยอารมณ์รว่ มจนจบ • หนังสือต้องมีภาพประกอบ ภาพประกอบ มี ค วามส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ที่ จ ะสื่ อ ความหมาย ให้สมองรับรู้เรื่องราวที่ครูก�ำลังอ่าน แม้มี ค�ำยากปนอยู่บ้าง สมองจะพยายามเชื่อม โยงความหมายของค� ำ นั้ น กั บ เรื่ อ งราวที่ ก�ำลังด�ำเนินอยู่ วิธเี รียนรูแ้ บบนี้ เป็นวิธเี รียน ภาษาทีไ่ ด้ผลสัมฤทธิส์ งู ไม่วา่ ภาษาไทยหรือ ภาษาอังกฤษ


57 BRAIN - BASED LEARNING

การจัด ประสบการณ์ภาษา ให้เด็กฟังบทเพลง บทร้องเล่น บทกล่อมเด็ก ซึง่ มีความหมายกับเด็ก เป็นพิเศษ เพราะเป็นภาษาที่มาพร้อมกับจังหวะและท�ำนอง สมอง เด็กมีความพร้อมสูงที่จะรับการกระตุ้นด้านจังหวะ จังหวะและท�ำนองมีความส�ำคัญ เพราะเป็นเสียงทีผ่ า่ นการเรียบเรียง อย่างดี มีความกลมกลืน มีความไพเราะ เสียงที่ไพเราะกลมกลืน เหล่านี้ ไม่เพียงแต่เข้าไปกระตุ้นการพัฒนาทางภาษา แต่ยังมี บทบาทในการจัดระเบียบการเชื่อมโยงของเซลล์สมอง การอ่าน และการเขียน มีความหมายมาก เพราะเด็กคิดว่าเป็น โลกใหม่อนั น่าทึง่ ดังนัน้ จึงไม่ควรเริม่ ต้นสอนภาษาแบบหลักภาษา ไม่ควรเริม่ ต้นจากเรือ่ งความถูกต้อง หรือการสะกดค�ำ เด็กควรได้รบั การกระตุ้นให้ลองอ่านและลองเขียนดูเมื่อเขาพร้อมแล้ว ผูใ้ หญ่ตอ้ งทุม่ เทเวลาอ่านหนังสือให้เด็กฟังอย่างสม�ำ่ เสมอ สิง่ ทีอ่ า่ นนัน้ ต้องกว้างขวาง ครอบคลุมตัง้ แต่กวี นิทาน สารคดีงา่ ยๆ ครูและผูป้ กครอง เป็นแบบอย่างด้านภาษา จัดกิจกรรมให้เด็กได้ฝึกพูด พัฒนาทักษะการใช้ค�ำพูด ทั้งแบบง่าย และซับซ้อนขึ้นมา เพื่อแสดงความรู้สึก ความคิด ความเห็น พูดคุย เล่าเรื่อง จัดเวลา ให้กิจกรรมนี้สม�่ำเสมอทุกวัน


58 BRAIN - BASED LEARNING

ให้เด็กเรียนรูภ้ าษา บทเพลง เรือ่ งเล่าของหมูบ่ า้ นและชุมชน จากการ ฟังและการอ่าน เพราะวัฒนธรรมและความคิดซึมซ่านอยูใ่ นภาษาถิน่ ก่อนเป็นอันดับแรก ให้เด็กฝึกใช้ภาษาในการสื่อสาร ให้เด็กเรียนรู้ว่า ภาษาสะท้อนและ ช่วยการสื่อสารเกี่ยวกับความเป็นอยู่ ความคิด และการกระท�ำ เมื่อ กิจกรรมทางภาษาสัมพันธ์กบั เรือ่ งราวในบ้าน ครอบครัว และชุมชน ให้เด็กเล่นสนุกและทดลองใช้เสียงและรูปแบบของภาษา เช่น การ สัมผัสอักษร จังหวะ ค�ำ ค�ำพูดที่ไม่มีความหมาย และอารมณ์ขัน หนังสือกลอน หนังสือทีเ่ น้นจังหวะเสียง หนังสือตลกทีใ่ ช้เสียงซ�ำ้ เป็น สิ่งจ�ำเป็น ให้เด็กซึมซับความงดงามของภาษา โดยผ่านบทเพลง สัมผัส อักษร จังหวะ การเล่าเรื่อง บทกวี และการเล่นละคร ฟังและเล่านิทาน ให้เด็กฝึกสร้างภาษาเอง สร้างบทสนทนาและบทแสดงส�ำหรับตนเอง และส�ำหรับการเล่นละครร่วมกันกับผู้อื่น ให้เด็กเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน การ เขียนสิ่งที่คิดจ�ำเป็นมากในวัยนี้ แต่เนื่องจากเด็กยังสะกดค�ำได้ น้อย ดังนัน้ ควรเน้นให้เขียนออกมาก่อน เน้นไวยากรณ์ทหี ลัง ถ้าเน้น ไวยากรณ์ตั้งแต่แรกเริ่มความกล้าเขียนและอยากเขียนจะลดลง ให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารด้วยการแสดงทางศิลปะ เช่น เต้นร�ำ ละคร ดนตรี หุ่นกระบอก ประติมากรรม และภาพวาด เพื่อสื่อสารความ คิดเห็นและความรู้สึก ให้เด็กเรียนรูค้ ำ� ศัพท์และค�ำนิยาม เพือ่ สร้างและสือ่ สารความเข้าใจ ทีเ่ กีย่ วข้องกับแนวคิดทางสังคม กายภาพ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และการสร้างสรรค์



การจัดการเรี ยนรู ้ ตามหลักการพัฒนาสมอง ด้านศิลปะและการสร้างสรรค์


61 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง

ด้านศิลปะและ การสร้างสรรค์ พัฒนาการด้านศิลปะ และการสร้างสรรค์ พัฒนาการด้านศิลปะและการสร้างสรรค์ของเด็กต้องการกระบวนการกระตุ้นให้สมอง คิดและท�ำ การให้ทำ� กิจกรรมศิลปะหลากหลายทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ และเสนอโจทย์ หลากหลาย ซับซ้อน ท้าทาย จะส่งเสริมให้สมองคิดหลายแบบ ในหลายบริบท พั ฒ นาการด้ า นศิ ล ปะและการสร้ า งสรรค์ ข องเด็ ก จะเกิ ด ได้ ดี ห ากเด็ ก รู ้ สึ ก พอใจ และมีความสุขเมื่อได้สัมผัสสุนทรีย์ของโลกตั้งแต่ยังเยาว์ เด็กจะได้มีการเชื่อมโยง ในสมอง คิด จินตนาการอย่างเต็มที่ และรู้สึกเป็นอิสระที่จะได้สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ตามจินตนาการของตน


62 BRAIN - BASED LEARNING

สมองกับศิลปะและการสร้างสรรค์ การแสดงออกทางศิลปะ เปรียบเสมือนการสร้างจินตนาการเป็นรูปร่าง ภายนอก แล้วป้อนกลับเข้าสูส่ มอง ศิลปะจึงเปรียบเสมือนกระดาษทดแห่ง จินตนาการ ท�ำให้สมองได้จดั การกับจินตนาการต่างๆ ชัดเจนยิง่ ขึน้ การท�ำ ศิลปะก็เหมือนการใช้กระดาษทดคิดเลข การท�ำเลขบนกระดาษทดท�ำให้การ คิดเลขแจ่มชัดมากกว่าการคิดในใจ การแสดงออกทางศิลปะ คือ การได้สำ� รวจระบบความคิดของสมอง ทาง หนึง่ ทีส่ มองจะรูไ้ ด้ชดั เจนว่าสมองก�ำลังคิดอะไร คือ การแสดงออกทางใดทาง หนึง่ แล้วรับรูส้ มั ผัสความรูจ้ ากการท�ำนัน้ กลับเข้ามาพิจารณาใหม่ ยิง่ ท�ำ ยิง่ จัด ระบบความคิดได้ดขี น้ึ สิง่ นีจ้ ำ� เป็นส�ำหรับสมองทีก่ ำ� ลังพัฒนา ศิลปะเด็ก เป็นค�ำศัพท์ใหม่ทยี่ อมรับกันอย่างกว้างขวางในหลายทศวรรษที่ ผ่านมา และได้รบั ความสนใจกันมากขึน้ ว่า จิตใจของเด็กย่อมสะท้อนออกมา ในงานศิลปะทีเ่ ขาท�ำ ศิลปะมาจากการท�ำงานของสมอง รูปที่เด็กวาดนั้น มิใช่เพียงเส้นสาย ยุง่ เหยิง หรือเส้นสีอนั เลอะเทอะ หากแต่เป็นจินตนาการมาจากโลกแห่งจิตใจ ของเขาเอง และแน่นอน มันมาจากการท�ำงานของสมองนัน่ แหละ กระบวนการเรียนรูท้ สี่ ำ� คัญด้านศิลปะ คือการสร้างกระบวนแบบ (pattern) จดจ�ำ เปรียบเทียบ และพยายามจะสร้างความสัมพันธ์เชือ่ มโยงสิง่ ทีเ่ ห็น ได้ยนิ สัมผัส ความพยายามเชือ่ มโยงนีเ้ อง เป็นทีม่ าของการสร้างจินตนาการ ซึง่ นับ เป็นพืน้ ฐานส�ำคัญทีเ่ ด็กจะสร้างความรูด้ ว้ ยตนเองต่อไป การเริ่มเรียนศิลปศึกษาในช่วงแรก ควรเริ่มจากการฝึกให้เด็กสังเกต ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สมองจะจัดการประมวลสิ่งที่เห็นและรู้สึก แล้ว จัดการถ่ายทอดความคิดออกมาในรูปแบบต่างๆ สิง่ นีจ้ ะย้อนกลับไปขัดเกลา ตกแต่งจิตใจของเด็ก


63 BRAIN - BASED LEARNING

การสร้างงานศิลปะเป็นการระบายความกดดัน ความอัดอัน้ ใจของเด็กออก มาแทนทีจ่ ะเก็บเอาไว้ หรือเก็บกดจนวันหนึง่ เกิดระเบิดออกมา ศิลปศึกษา มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาวงจรสมองทีท่ ำ� งานด้านอารมณ์ของ เด็ก การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กอย่างถูกต้อง จะช่วยสร้างวงจร เซลล์สมองให้มกี ารพัฒนาความรูส้ กึ ต่างๆของเด็กได้เป็นอย่างดี ศิลปะมีสว่ นคล้ายดนตรี ช่วยผ่อนคลายความเครียด และบรรเลงภาษาทีจ่ บั ใจ การส่งเสริมให้เด็กท�ำงานศิลปะเป็นสิง่ ส�ำคัญ เด็กทุกคนมีกำ� ลังใจเมือ่ รู้ ว่าตัวเขาได้รบั การยอมรับ และรูว้ า่ เขามีความหมาย งานศิลปะเด็กสะท้อน ตัวตนของเด็กเอง ด้วยเส้นหนักหรือเบา สีเข้มหรืออ่อน ซึง่ เป็นผลงานทีไ่ ม่ควร วิพากษ์วจิ ารณ์ แต่ควรมุง่ เน้นไปทีจ่ ติ ใจ หรือจิตวิญญาณของเด็กเป็นส�ำคัญ แม้วา่ เด็กจะมีขอ้ จ�ำกัดในความสามารถทีจ่ ะท�ำงานวาด ปัน้ แกะสลัก แต่สงิ่ ทีค่ วรสนใจมากกว่าก็คอื เด็กก�ำลังสือ่ สารสิง่ ทีค่ ดิ ออกมาด้วยภาษาศิลปะ ที่ ไม่ใช่คำ� พูดหรือภาษาเขียน งานศิลปะเด็กเป็นสิง่ อัศจรรย์ เพราะท�ำให้สงิ่ ทีเ่ ด็กเห็นและสิง่ ทีเ่ ด็กคิดใน สมองผสานกลมกลืนเป็นหนึง่ เดียว เด็กจะก่อรูปความเข้าใจต่อระยะและมิติ ออกมาในภาพทีว่ าด ซึง่ สะท้อนให้รวู้ า่ เขามีประสบการณ์ในรูปแบบ แบบแผน กระบวนการ ของสิง่ ต่างๆรอบตัวอย่างไร การพัฒนาทักษะของกล้ามเนือ้ ละเอียดของเด็กวัย 3-6 ปี ดีขนึ้ ท�ำให้เด็ก วาด ปัน้ พับ ตัด แกะ และอืน่ ๆ เพือ่ สือ่ สารสิง่ ทีค่ ดิ ออกมาได้เป็นเรือ่ งเป็นราวชัดขึน้


64 BRAIN - BASED LEARNING

ศิลปะพัฒนากระบวนการคิด การให้เด็กท�ำงานศิลปะ เป็นการท�ำให้เด็กได้ฝึกกระบวนการคิด เช่น การปั ้ น การเปิ ด โอกาสให้ เ ด็ ก ได้ จั บ ต้ อ งสั ม ผั ส กั บ ดิ น เหนี ย ว หรื อ ดินน�ำ้ มัน เด็กจะเกิดความรูส้ กึ เหนียวนุม่ แล้วพยายามปัน้ ให้เป็นรูปทรง เมือ่ เด็กจะท�ำการปัน้ วงจรทุกวงจรในสมองของเด็กจะเชือ่ มโยงกัน สมอง ส่วนคิดจะท�ำงาน เด็กจะคิดจินตนาการว่าจะปั้นอะไร และแน่นอนคือ ท�ำไมเขาเลือกปั้นสิ่งนั้นหรือปั้นสิ่งนี้ กระบวนการนี้จะท�ำให้เด็กเกิด ปัญญา เกิดความคิดสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ในขณะทีเ่ ด็กปัน้ เด็กจะใช้นวิ้ มือและตาสัมพันธ์กนั สมองส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ขณะนี้คือ ส่วนรับภาพ ส่วนรับสัมผัส และส่วนเคลื่อนไหว

การจัดประสบการณ์ ศิลปะ ท�ำไมเด็กต้องเรียนรู้ศิลปะ บางคนคิดว่า ศิลปะเป็นเรื่องของคนที่มีพรสวรรค์ บางคนคิดว่าเราสอน ศิลปะเพื่อช่วยให้เด็กเบาสมอง แต่ที่จริงศิลปะเป็นผลงานอันเก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์ได้ท�ำมา เช่น ภาพเขียนตามผนังถ�้ำ และการประดิษฐ์ขวาน หม้อ เกวียน เหล่านี้เป็นศิลปะทั้งสิ้น เด็กทุกคนสร้างงานศิลปะได้ และชอบงานศิลปะ การจะพัฒนาศิลปะและการสร้างสรรค์ให้เด็ก ต้องเข้าใจว่า ศิลปะก็คือ กระบวนการที่สมองถอดความคิดออกมาเป็นภาพ และชิ้นงานต่างๆนั่นเอง ถ้าสมองมีอะไรอยู่การ “ถอด” ความคิดออกมาก็เป็นไปได้


65 BRAIN - BASED LEARNING

ให้เด็กมีเวลาเต็มที่ในการวาดภาพ การวาด เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือใช้ทักษะ ในการแก้ปัญหา ใช้เวลาในการคิดเรื่องราว ต่างๆ เพือ่ พัฒนาวิธคี ดิ สร้างสรรค์ เพือ่ อธิบาย ความเข้าใจของเขาทีม่ ตี อ่ เรือ่ งของขนาดและ ปริมาณ (scale) ระยะและมิติ (space) การ เปลี่ยนต�ำแหน่ง (motion) ของสิ่งที่เขาก�ำลัง จะวาดนั้น ให้เด็กมีประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสผ่าน ทางศิลปะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการ สร้างความเพลิดเพลินที่มีคุณค่าแก่เด็ก เด็ก จะได้ส�ำรวจภาพ กลิ่น รสชาติ และลักษณะ เนื้อแท้ของสิ่งต่างๆ เป็นการส่งเสริมความ มั่นใจและความรู้สึกเป็นตัวตนของเด็ก ให้เด็กมีโอกาสทดลองใช้วัสดุหลากหลาย ขณะทีเ่ ด็กทดลองใช้วสั ดุเทคนิคต่างๆ ในการ ท�ำงานศิลปะและค้นหาวิธตี า่ งๆ ซึง่ ท�ำให้เกิด รูปภาพ และรูปทรงสองและสามมิติ เด็กจะ เรียนรูก้ ารใช้ประสบการณ์ในการแสดงความ คิด และตอบสนองต่อโลก

ให้เด็กได้พูดถึงงานของตนเอง ผู้ใหญ่ควรจะ ขยายความสนใจในงานศิลปะของเด็ก โดย การพูดคุย การวิเคราะห์ และการพิจารณา งานศิลปะร่วมกัน ท�ำให้การพูดคุยนั้นเป็น ธรรมชาติ สนุกสนาน อย่าท�ำให้เป็นการวัด และประเมินอันเข้มงวด ให้เด็กวาดอย่างอิสระ ศิลปะเด็กยังไม่ควรเน้น การลอกเลียนแบบ หรือการท�ำให้เหมือนของ จริง สายตาและจินตนาการของเด็กวัยนี้ ยัง ไม่ได้มุ่งไปสู่ความถูกต้องของสัดส่วน แสง หรือเงา เครื่องมือที่จะช่วยให้สมองสื่อสารงานศิลปะ ออกมาได้ก็คือ ดินสอ สี กระดาษ น�้ำ ดิน น�้ำมัน แท่งไม้ กองทราย ใบไม้ เชือก ด้าย กรรไกร และวัสดุต่างๆ ให้เด็กใช้สื่อหลากหลาย เช่น ดินเหนียว สี ทราย น�้ำ แท่งไม้ เครื่องดนตรี วัสดุที่ไม่ใช้ แล้ว และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในการจัดวาง สร้างสรรค์ และถ่ายทอดความคิดออกมา


66 BRAIN - BASED LEARNING

ให้เด็กได้แสดงออกร่วมกันในการส�ำรวจอดีต ปัจจุบนั และจินตนาการอนาคต ผ่านการแสดงออกที่สร้างสรรค์ ได้แก่ การเต้น ร�ำ ละคร เขียนสี วาดภาพ ให้เด็กได้เล่นดนตรีและสร้างสรรค์ดนตรี จังหวะ เต้นร�ำ ละคร เรื่องเล่า และ บทกวี ด้วยตนเองตามล�ำพังและร่วมกับผู้อื่น ให้เด็กได้จัดแสดงผลงานน�ำเสนอความคิด โดยการท�ำงานศิลปะผ่านการ อภิปราย นิทรรศการ การแสดง และการน�ำเสนอวิธีต่างๆ ให้เด็กใช้เครือ่ งมือหลากหลาย เปิดโอกาสให้การคิดและจินตนาการของเด็ก ได้แสดงออกมาอย่างเต็มที่ และเริ่มพัฒนาขึ้นสู่ขั้นคุณภาพ ให้เด็กได้รับประสบการณ์ศิลปะจากวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นการสร้างบุคลิก และตัวตนของเด็ก ท�ำให้ภูมิใจในท้องถิ่น รักชาติ และเข้าถึงศิลปะท้องถิ่น ให้เด็กเรียนรู้ศิลปะสากล เพื่อซึมซับศิลปะของอารยธรรมอื่นในโลก ซึ่งควร ครอบคลุมทั้งโลกตะวันตกและตะวันออก จัดประสบการณ์ให้เด็กได้แสดงความประทับใจในความรูท้ างสุนทรียศาสตร์ รวมถึง สี รูปร่าง พื้นผิว เสียง และศิลปะจากสภาพแวดล้อม



การจัดการเรี ยนรู ้ ตามหลักการพัฒนาสมอง

ด้านอารมณ์และจิตใจ


69 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง

ด้านอารมณ์และจิตใจ พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจของเด็ก เกีย่ วข้องกับการมีความสัมพันธ์กบั ผูอ้ นื่ สัมพันธภาพ ถูกชี้น�ำด้วยเหตุผลของความต้องการอยู่รอด นั่นคือ วงจรสมองเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัว ว่ามีความส�ำเร็จหรือมีประโยชน์บางอย่างเกิดขึน้ โดยอาศัยการร่วมมือกับผูอ้ นื่ เกือบทุกขัน้ ตอน เด็กมีคนอืน่ เป็นส่วนหนึง่ อย่างไรก็ตามในความเป็นจริง สมองถูกออกแบบมาให้พอใจกับการ มีสัมพันธภาพ โดยมีระบบของอารมณ์เป็นตัวกระตุ้นหรือตัวยับยั้ง พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ เป็นกระบวนการทีซ่ บั ซ้อน อารมณ์และจิตใจเป็นผลจากการ ทีเ่ ด็กมีปฏิสมั พันธ์กบั สิง่ แวดล้อม การสะสมของข้อมูลความรูส้ กึ จ�ำนวนมากๆ ในทีส่ ดุ จะก่อรูป เป็นอารมณ์และจิตใจของเด็กเอง พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ มีจุดมุ่งหมายให้เด็กสะสมความรู้สึก ความเข้าใจ ผ่าน เหตุการณ์อันหลากหลาย ซับซ้อนในบ้าน ในโรงเรียน และในชุมชน ดังนั้นการพัฒนาอารมณ์ และจิตใจ จึงไม่ใช่เพียงแต่สนใจท�ำให้เด็กสนุกและมีความสุข ผู้ใหญ่ควรท�ำหน้าที่กระตุ้น แนะน�ำ ช่วยเหลือ ประคับประคอง ให้เด็กได้มีประสบการณ์ และผ่านเหตุการณ์จริง ที่มีทั้ง สมหวัง ผิดหวัง วิตกกังวล เศร้าใจ หวั่นใจ ละอายใจ ยินดี ถูก ผิด ไปได้อย่างปลอดภัย เพื่อให้ เด็กเกิดความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์และจิตใจ (emotional intelligence)


70 BRAIN - BASED LEARNING

สมองกับอารมณ์และจิตใจ อารมณ์ เป็นภาษาแรกทีเ่ ด็กสือ่ สารออกมา ประสบการณ์ทกุ อย่างที่ เด็กได้รับมีความส�ำคัญมาก ความสนใจและความทรงจ�ำ จะเริ่มก่อตัว เป็นตัวตนของเด็ก อารมณ์ เป็นภาษาแรกทีเ่ ด็กสือ่ สารออกมา สังเกตได้ ว่า อาการยิ้มอย่างมีความหมายปรากฏเมื่อเด็กมีอายุได้ 4 - 6 สัปดาห์ แสดงสีหน้าประหลาดใจเมือ่ 3 - 4 เดือน และคุยเมือ่ 6 - 8 เดือน ความกังวล ต่อคนแปลกหน้ามีมาในราวครึ่งปีหลังของขวบปีแรก เด็กเรียนรู้ผ่านเหตุการณ์ในชีวิตประจ�ำวัน ความเฉลียวฉลาดทาง อารมณ์และจิตใจนัน้ เด็กเรียนรูต้ งั้ แต่ขวบปีแรก ผ่านเหตุการณ์งา่ ยๆ ในชีวติ ประจ�ำวัน การใช้ชวี ติ ในวัยเด็กสอนให้เขารูจ้ กั ความสมหวัง ความผิดหวัง ความวิตกกังวล ความเศร้าใจ ความกลัว ความภูมิใจ ความละอาย ความยินดี กระทัง่ ความรูส้ กึ ผิด ในช่วง 6 ปีแรกของชีวติ เด็กมีความหมายยิง่ นักต่อการพัฒนาสมอง โดยเฉพาะในด้านอารมณ์และจิตใจ เด็กต้องการความรัก ความอบอุ่น ปกป้องให้ปลอดภัย โอบกอด สัมผัส ยิม้ และพูดคุย พ่อแม่และครอบครัว ควรเข้าใจว่าช่วงวัยตัง้ แต่ปฏิสนธิจนถึง 6 ปี เป็นโอกาสทองของชีวติ เด็ก ซึ่งควรเรียนรู้และเข้าใจถึงพัฒนาการของเขา


71 BRAIN - BASED LEARNING

เด็กยังไม่มีความคิดเห็นแก่ตัว ในวัยอนุบาลนี้ เด็กยังคงต้องการความรัก ความอบอุ่น โอบกอด สัมผัส เล่นบทบาทสมมติ ครอบครัวควรท�ำบ้านให้น่าอยู่ อบอุ่นส�ำหรับลูก เริ่ม สอนให้เด็กเข้าใจระเบียบวินัยและกฎเกณฑ์ อย่าใช้อารมณ์กับเด็ก อย่ากล่าวหาเด็ก เพราะเด็กวัยนี้ทดลองท�ำสิ่งต่างๆมากกว่าตั้งใจท�ำความผิด การกระท�ำของเด็กๆในวัยนี้ ไม่มนี ยั ทางศีลธรรมหรือทางคุณค่าแบบโลกในสังคมของผูใ้ หญ่ แม้วา่ เด็กจะมีพนื้ อารมณ์ ต่างกัน แต่เด็กจะไม่มีความคิดเห็นแก่ตัว เอาเปรียบ ชอบลักขโมย ท�ำลาย ฯลฯ เด็กเข้าใจความต้องการของคนอื่น ในช่วงวัยนี้ เด็กๆ พัฒนาความรู้โดยเชื่อมโยงกับ วัตถุและเหตุการณ์ตา่ งๆ เขารูว้ า่ มีคนเห็น ได้ยนิ และก�ำลังมองดูเขาอยู่ เขารูว้ า่ มีคนอืน่ อยู่ และตัวเขามีอยู่ เมื่ออายุได้ 3 ปี เด็กรู้จักคิดในใจ และรู้ว่าคนอื่นก็คิดอะไรอยู่ในใจ เหมือนกัน เด็กแสดงให้เห็นแล้วว่าเขาเข้าใจความต้องการของคนอืน่ และรูว้ า่ ความต้องการ เป็นสิง่ ขับเคลือ่ นการกระท�ำของเรา เด็กรูแ้ ล้วว่า ความคิดเป็นสิง่ ทีส่ มั ผัสจริงๆไม่ได้ แต่มนั ก็ เป็นตัวแทนของบางอย่างในโลกทีเ่ ป็นจริง มันอยูใ่ นใจของเด็กเองและอยูใ่ นใจของคนอืน่ ด้วย การก่อตัวของอารมณ์ คือ ส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพ อารมณ์เป็นปฏิกิริยาที่เด็กสัมพันธ์ กั บ โลกภายนอก การช่ ว ยขั ด เกลาและพั ฒ นาอารมณ์ แ ละจิ ต ใจไม่ ไ ด้ ผ ่ า นเหตุ ผ ล อย่างเดียว แต่ต้องอาศัยแรงบันดาลใจ เช่น ความประทับใจ ความเห็นใจ ความเสียใจ ความกังวล เป็นต้น ผู้ใหญ่ควรน�ำเด็กให้ผ่านเหตุการณ์ร้อนหนาวไป โดยการประคับ ประคอง ไม่ใช่โดยการ “หักดิบ” หรือ “โอ๋” จนเกินเหตุ อารมณ์มีผลต่อการเรียนรู้ เมื่อมีอารมณ์ จะมีการหลั่งสารเคมีเข้าในสมอง และมีผล ต่อซีนแนปส์ และความสามารถในการคิด เรียนรู้ และจ�ำ ดังนั้น การท�ำให้ห้องเรียน มีบรรยากาศในทางที่ดีต่ออารมณ์ โดยเฉพาะเป็นที่ที่ปลอดภัย และให้การยอมรับเด็ก ก็ จะท�ำให้เด็กมีแรงจูงใจและประสบความส�ำเร็จได้ และต้องช่วยหาวิธลี ดหรือขจัดอารมณ์ ทีม่ พี นื้ ฐานจากความกลัว และการขาดความเชือ่ มัน่ เช่น การผ่านคลาย การก�ำหนดลมหายใจ เด็กต้องเรียนรู้ผ่านชีวิตจริง และจ�ำเป็นต้องมีพนื้ ฐานความเข้าใจเรือ่ ง วัฒนธรรมของ บริบทใกล้ตวั โดยผ่านเหตุการณ์ วันเวลา เรือ่ งราวอันซับซ้อนของชีวติ กระบวนการเรียนรูใ้ น ห้องเรียนและในบ้าน ควรเน้นการเรียนรู้ และการรับรูค้ วามเป็นตัวเอง และความเป็นคนอืน่


72 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดประสบการณ์ ด้านอารมณ์และจิตใจ ให้เด็กได้ฝกึ ฝนการริเริม่ และค้นคว้าหาความ ท้าทายใหม่ ฝึกเลือกและฝึกตัดสินใจ และ ช่วยให้เด็กมีความรู้สึกเป็นตัวตนที่เข็มแข็ง ขึ้น เมื่อเด็กอยู่ในเหตุการณ์จริง เช่น เล่น กับเพื่อน ท�ำงานบ้าน ออกไปซื้อของให้แม่ ป้อนข้าวน้อง มีเหตุการณ์จ�ำนวนมากที่เด็ก ต้ อ งตั ด สิ น ใจว่ า เขาควรท� ำ อะไร ควรท� ำ อย่างไร ควรแก้ปัญหาแบบไหน ให้ เ ด็ ก ฝึ ก แสดงความเข้ า ใจในสิ ท ธิ ค วาม รั บ ผิ ด ชอบของตนเองและสิ ท ธิ ข องผู ้ อื่ น ส่งเสริมกิจกรรมแบ่งงานกันท�ำ ให้ เ ด็ ก มี ป ระสบการณ์ ก ารเล่ น และการ ท�ำงานที่ใช้ทักษะการแก้ปัญหา รวมถึงการ ประนีประนอม ไม่ใช้ความรุนแรง ขณะที่เด็ก เกี่ยวข้องกับประสบการณ์การเรียนรู้ของเขา กับเพื่อน เด็กจะพัฒนาการรับรู้คุณค่าของ ตนเอง ซึง่ จะช่วยในเรือ่ งปฏิกริ ยิ าทางอารมณ์ และจะน�ำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต

ให้เด็กได้รจู้ กั แสดงออกอย่างสนุกสนานกับเรือ่ ง ตลก ข�ำขัน เช่น ฟังเรื่องตลก เล่านิทานสนุก เล่นบทบาทสมมติ เรือ่ งตลก และสนุก นอกจาก ท�ำให้ขบขัน สนุก อารมณ์ดแี ล้ว ยังเป็นการน�ำ เอาเรื่องราวต่างๆ มาประกอบขึ้นด้วยภาษา ท่าทางพิสดาร กระตุน้ ให้สมองรูจ้ กั เหตุการณ์ที่ เร้าจินตนาการอย่างยิง่ ให้ เ ด็ ก ได้ ค ้ น หาความสั ม พั น ธ์ แ ละสร้ า ง มิตรภาพกับเพือ่ นและกลุม่ ทีห่ า่ งออกไป โดย การจัดกิจกรรมคละกลุ่ม คละชั้นบ้างตาม ความเหมาะสม การใช้ชีวิตร่วมกัน ท�ำให้ เด็กเรียนรู้ที่จะรักษาความสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น ช่วยเหลือเพื่อน รู้จักขอโทษ ขอบคุณ เอื้ออารี ขณะที่เด็กสัมพันธ์กับผู้อื่น ความ เข้าใจโลกจะเพิ่มขึ้น เด็กจะเข้าใจในเรื่อง ความแตกต่าง ความคล้ายคลึงในเรื่องเพศ เชื้ อ ชาติ และความสั ม พั น ธ์ ท างสั ง คมจะ ชัดเจนมากขึ้น


73 BRAIN - BASED LEARNING

ให้เด็กสะท้อนความเข้าใจในบทบาทและ ความสั ม พั น ธ์ ใ นครอบครั ว พั ฒ นาความ อดทน ความกตั ญ ญู และซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ผ่านการฟังและเล่าเรื่อง การท�ำงานร่วมกับ เพื่อน กิจกรรมร่วมระหว่างบ้านและโรงเรียน ความรู ้ สึ ก เกี่ ย วกั บ ตั ว เองของเด็ ก พั ฒ นา ขึน้ มา โดยเชือ่ มโยงกับกิจกรรมประจ�ำวัน และ เหตุการณ์พเิ ศษของครอบครัว ชุมชนท้องถิน่ และวัฒนธรรม กิจกรรมร่วมระหว่างบ้าน และโรงเรียนมีบทบาทส�ำคัญ ช่วยให้เด็กเกิด ความรูส้ กึ มัน่ ใจทีจ่ ะก้าวต่อไป ให้เด็กได้พัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชน ที่อาศัยอยู่ ชื่นชมประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เรื่องเล่า ต�ำนานของท้องถิ่น โดยผ่านการฟัง และการอ่าน รวมทั้งจัดโครงการตลอดปีเพื่อ เดินทางไปตามสถานทีต่ า่ งๆ เข้าร่วมกิจกรรม ศาสนา การกุศล ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิน่ ต่างๆ เด็กจ�ำเป็นต้องมีพื้นฐานความเข้าใจ เรือ่ งวัฒนธรรมจากชีวติ จริงโดยผ่านเหตุการณ์ วันเวลา เรือ่ งราวอันซับซ้อนของชีวติ ให้ เ ด็ ก ได้ แ สดงความรู ้ สึ ก ของตนเองผ่ า น การพูด การฟัง การแสดงดนตรี การฟ้อน ร�ำ และการเต้น ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ มี บทบาทสะท้อนความคิดของเด็ก และย้อน กลับไปพัฒนาอารมณ์และตัวตนของเด็ก การ พัฒนาผ่านศิลปะไม่ให้ผลทันที แต่เป็นการ วางรากฐานอุปนิสัยและบุคลิกภาพของเด็ก

ให้ เ ด็ ก พั ฒ นาความรู ้ สึ ก เห็ น ใจผู ้ อื่ น ผ่ า น การอ่านและฟังนิทานที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ต่ า งๆ การฟั ง นิ ท าน เรื่ อ งเล่ า เรื่ อ งจริ ง ที่ น่าสะเทือนใจ เป็นการจ�ำลองวิถีชีวิตและ การตัดสินใจในแบบต่างๆ และผลของการ ตัดสินใจนัน้ ท�ำให้เด็กเข้าใจและเอาเป็นแบบ อย่างในการด�ำเนินชีวิต ให้เด็กได้เขียนภาพ ดูงานศิลปะ ท่องเที่ยว เพื่ อพั ฒ นาอารมณ์ ชื่ น ชมและสร้ างสรรค์ สิ่งสวยงาม การก่อตัวของอารมณ์ คือ ส่วน หนึ่งของบุคลิกภาพ อารมณ์เป็นปฏิกิริยาที่ เด็กสัมพันธ์กบั โลกภายนอก การขัดเกลาและ พัฒนาอารมณ์และจิตใจไม่ได้ผ่านเหตุผล อย่างเดียว แต่ต้องอาศัยแรงบันดาลใจ เช่น ความประทับใจ ความเห็นใจ ความเสียใจ ความกังวล เป็นต้น กระบวนการจัดการเรียนรู้ จึงเน้นให้เด็กเข้าไป อยูใ่ นกลุม่ ในสังคม ได้เล่น ได้แข่งขัน ได้วาด ได้ฟงั ได้เล่า ได้แสดง ได้ทดลอง ได้ตดั สิน ได้ เดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ฯลฯ


การจัดการเรี ยนรู ้ ตามหลักการพัฒนาสมอง

ด้านการคิด


75 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง

ด้านการคิด

พัฒนาการด้านการคิด พัฒนาการด้านการคิดของเด็กวัย 3 - 6 ปี คือกระบวนการซึ่งสมองเรียนรู้ที่จะ ให้ความหมายสิ่งที่เห็น สิ่งที่เผชิญ ตีความ และสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง สิ่งต่างๆ ที่รับรู้มา และจะเพิ่มความซับซ้อนตามวัย พัฒนาการด้านการคิดของเด็กจะได้รับการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ตัว เด็ก และค่อยๆ ขยายสู่สิ่งแวดล้อมที่ไกลตัว เด็กจึงมีพัฒนาการการคิดที่เป็น ไปตามวัยทีส่ งู ขึน้ การเรียนรูจ้ งึ เริม่ จากสิง่ ทีเ่ ป็นรูปธรรมไปสูส่ งิ่ ทีเ่ ป็นนามธรรม หรือสัญลักษณ์ กระบวนการพัฒนาการคิดส�ำหรับเด็กวัยนี้จึงมุ่งให้เด็กได้มี ประสบการณ์ที่ต้องใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า เพื่อให้ความหมายและเชื่อมโยง สิ่งต่างๆ จากง่ายไปสู่ยาก


76 BRAIN - BASED LEARNING

สมองกับการคิด งานเบือ้ งต้นของ “หน่วยการคิด” ของสมอง คือสมองจะจัดการให้ความหมาย และจดจ�ำต�ำแหน่งต่างๆ ของคอร์เท็กซ์ที่ถูกกระตุ้นด้วยสัญญาณต่างๆ • การคิด ของสมองจะด�ำเนินการเปรียบเทียบ จัดกลุ่ม ให้ความหมายแก่ กระบวนแบบ (pattern) ของข้อมูลที่ส่งสัญญาณเข้ามาสู่การรับรู้ของสมอง • วงจรร่างแหของเซลล์สมองที่ถูกกระตุ้นด้วยสัญญาณต่างๆ เกิดเป็นข้อมูล ข้อมูลจะเกิดขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก • การคิด จะสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเหล่านั้น • ข้อมูลความสัมพันธ์เหล่านั้นจะกลายเป็นข้อมูลใหม่อีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งซับซ้อน ต่อไปเรื่อยๆ • วงจรร่างแหเซลล์สมองทีเ่ กิดขึน้ บ่อยๆ หรือเกิดขึน้ พร้อมๆ กันกับวงจรร่างแห เซลล์สมองอื่นๆ หลายๆ วงจรเรื่อยๆ จะเกิดความคงตัวในวงจร ซึ่งคือการ พัฒนาเป็นความจ�ำ “การคิด” เป็นนามธรรม และเมื่อพิจารณาถึงที่สุดแล้ว รูป รส กลิ่น เสียง ทั้งหมดนี้ก็กลายเป็นข้อมูลนามธรรม เพราะเป็นเพียงสิ่งที่เกิดอยู่ในสมอง และเป็นเพียงตัวแทนของสิง่ ภายนอก มิใช่ตวั จริง กระบวนการคิด จึงเป็นเรือ่ ง นามธรรมล้วนๆ การคิดต้องอาศัยข้อมูลจากความจ�ำของสมอง ถ้าไม่มีข้อมูลในความ ทรงจ�ำก็ไม่สามารถคิดอะไรออกมาได้ การคิดอาจท�ำให้เกิดข้อมูลใหม่ เกิด การรับรู้ใหม่ ทั้งๆ ที่ไม่ได้รับข้อมูลจากภายนอกเข้ามาเพิ่มเติม สมองได้ จัดความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีอยู่เดิม ท�ำให้เกิดความสัมพันธ์ของข้อมูล แบบใหม่ ข้อมูลใหม่จากการคิดได้นี้ เมื่อเกิดซ�้ำๆจะกลายเป็นความจ�ำ อีกชุดหนึง่ ถ้าไม่มขี อ้ มูลเดิมในความจ�ำ ก็ไม่สามารถสร้างข้อมูลใหม่ทซี่ บั ซ้อน กว่าการรับรู้เดิมๆ ขึ้นมาได้ การคิดต้องอาศัยการรับรู้ข้อมูลจ�ำนวนมาก เช่น การบวกต้องอาศัย ความรูเ้ รือ่ งจ�ำนวน และการเพิม่ ขึน้ การคิดเกีย่ วกับสัตว์และพืชรอบตัว ก็ตอ้ ง อาศัยการรูจ้ กั ชนิด และการจัดจ�ำแนก การคิดเกีย่ วกับท้องฟ้า ดวงดาว ก็ตอ้ ง อาศัยการรับรู้เกี่ยวกับระยะ มิติ ที่ว่าง และการมีอยู่ของสิ่งที่มองเห็น เป็นต้น


77 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดประสบการณ์ ด้านการคิด ให้ เ ด็ ก ได้ มี ป ระสบการณ์ ที่ ต ้ อ งใช้ ป ระสาทสั ม ผั ส ทั้ ง ห้ า สิ่ ง ที่ ก ่ อ รู ป เป็ น การคิดของเด็ก เริม่ ต้นทีก่ ารจับต้อง สัมผัส และมีประสบการณ์โดยตรง สมอง รับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า แล้วก่อรูปเป็นวงจรแห่งการคิดขึ้นมาในสมอง ประสบการณ์ครั้งแรกของเด็กผ่านการสัมผัส การชิม การดมกลิ่น การได้ยิน และการเห็น เป็นพื้นฐานของการสร้างความหมาย ให้เด็กมีเวลาและโอกาสได้เล่นอย่างหลากหลาย เล่นบทบาทสมมติ เล่นตุก๊ ตา เล่นขายของ เล่นขับรถ เล่นเป็นอะไรต่างๆ สารพัด • การเล่น เป็นการที่เด็กน�ำตัวเองเข้าไปอยู่ในสถานการณ์ที่ตนเองสนใจ ท�ำบทบาทหลายอย่างซึ่งอาจมีทั้งเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม เด็กก�ำลังซัก ซ้อมท่าทีต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มาสร้างวงจรแห่งความคิด เพื่อให้แน่ใจว่าตัวเอง คิดอย่างไร กับสิ่งที่ได้เรียนรู้มา • การเล่นเป็นกระบวนการส�ำคัญส�ำหรับการสร้างกระบวนการคิด การสร้าง แรงจูงใจ การเข้าใจความรู้สึกของตนเอง ของผู้อื่น ท�ำให้เข้าใจความเป็น เราและตัวเขาชัดเจนมากขึ้น


78 BRAIN - BASED LEARNING

ให้เด็กได้มีประสบการณ์ในสถานการณ์จ�ำลอง เด็กเล็กสามารถเข้าสู่ กระบวนการเรียนรู้ผ่านสถานการณ์จ�ำลอง โดยการเล่น และการลอง ท�ำสิ่งต่างๆ ที่สมองสนใจ • การเรี ย นรู ้ ท ่ า มกลางการจ� ำ ลองสถานการณ์ นี้ เด็ ก จะเรี ย นรู ้ ความหมาย และอารมณ์ถกู ขับเคลือ่ น เพราะอยูใ่ นสถานการณ์คล้าย จริง ท�ำให้สมองเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ผู้ใหญ่ช่วยเหลือเด็กได้ โดยการจ�ำลองความซับซ้อนของโลกให้เด็ก เข้าใจ โดยผ่านนิทาน ต�ำนาน บทเพลง • ให้เด็กได้ศึกษาสิ่งต่างๆ ว่าเคลื่อนที่อย่างไร และเพราะอะไรจึง เคลื่อนที่ เช่น การเคลื่อนที่โดยการเป่า ผลัก ดึง กลิ้ง แกว่ง โยก และ ให้เด็กได้ใช้เทคโนโลยีในการส�ำรวจการเคลื่อนที่ เช่น ล้อ ลูกรอก แม่เหล็ก ชิงช้า ให้เด็กใช้ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มา ช่วยในการส�ำรวจ ค้นหารูปแบบและความสัมพันธ์ในโลกธรรมชาติ เช่น การรวบรวมข้อมูล การท�ำให้เป็นระบบ การตีความ การสื่อสาร ข้อมูล การใช้ค�ำศัพท์ การชั่ง ตวง วัด การเรียง การจัดหมวดหมู่ ขณะ ที่เด็กสังเกต สืบค้น และพูดออกมา สมองจะจัดการบันทึกรูปแบบ ความเชื่อมโยง และระบบต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ


79 BRAIN - BASED LEARNING

• ให้เด็กพัฒนาความรูเ้ กีย่ วกับสิง่ มีชวี ติ เรือ่ งรูปแบบและความหลากหลาย เช่น สังเกตการเจริญเติบโตของสัตว์และพืช สังเกตว่าสิ่งใดจ�ำเป็น ส�ำหรับการด�ำรงชีวิตของสัตว์และพืช • ให้เด็กพัฒนาความสามารถในการสังเกต สืบค้น วิเคราะห์ ถาม และ อภิปรายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ กับ วงจรชีวิต ฤดูกาล และปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ • ให้เด็กพัฒนาความเข้าใจเรื่องมิติ ขนาด รูปทรง โดยการรวมสิ่งของ เข้าด้วยกัน แยกออกจากกัน จัดกลุ่มวัตถุเสียใหม่ เปลี่ยนรูปทรงของ วัตถุและสิ่งของ มองวัตถุจากหลายๆ มิติ และการใช้แว่นขยาย • ให้ เ ด็ ก มี ป ระสบการณ์ ใ นการใช้ ทั ก ษะทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ คณิ ต ศาสตร์ อ ย่ า งซั บ ซ้ อ นขึ้ น โดยการให้ จั ด เรี ย ง เปรี ย บเที ย บ จัดเข้ากลุ่ม ประมาณการ นับ และวัด สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเด็ก • ให้เด็กศึกษาและแลกเปลี่ยนความเห็นกัน ว่าสิ่งต่างๆเปลี่ยนแปลง ได้อย่างไร เช่น เปลี่ยนจากร้อนเป็นเย็น จากเปียกเป็นแห้ง หรือจาก อ่อนเป็นแข็ง • ให้เด็กฝึกพูด เขียน แสดงออก ฝึกใช้ศัพท์และนิยาม เพื่อยกระดับ ประสบการณ์ขึ้นสู่ระดับนามธรรม • ให้ เด็ กสร้างและพัฒนามุม มอง โดยใช้ภาพ 2 มิ ติ เช่ น แผนผั ง ภาพถ่าย สร้างวัตถุ 3 มิติ เช่น สร้างแบบจ�ำลองจากภาพ ต่อบล็อก ก่อเจดีย์ทราย ปั้นดินเหนียว พับกระดาษ • ให้เด็กมีโอกาสได้ใช้เครือ่ งมือ เช่น ทีเ่ ป่าผม ตูเ้ ย็น เตาปิง้ ขนมปังและ เตาอบ และช่วยให้เด็กเข้าใจการท�ำงานของสิ่งเหล่านี้ • จัดให้เด็กมีประสบการณ์ในสถานการณ์จ�ำลองทุกอย่างที่เป็นไปได้ โดยความช่วยเหลือของผู้ใหญ่ ออกแบบกิจกรรมเพื่อกระตุ้นให้เด็ก ได้ใช้สมองคิดโจทย์ที่ซับซ้อนขึ้นตามล�ำดับ เพื่อให้คุ้นเคย ฝึกคิดที่ มากกว่าความเคยชินขั้นต�่ำ จุดมุ่งหมายส�ำคัญก็คือ ต้องการให้เด็ก รู้จักใช้ความคิดและคิดเป็น


การจัดการชั้นเรียน และสิ่งแวดล้ อ ม เพื่อการเรี ย นรู ้


81 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อม

เพื่อการเรียนรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อการเรียนรูใ้ นสถานศึกษา สถานศึกษาส�ำหรับเด็กวัย 3 - 6 ปี เป็นสถานที่ อุ้มชูดูแล พัฒนาเด็กเล็ก ค�ำว่า อนุบาล ใน พจนานุกรม อธิบายว่า คอยเลี้ยงดู คอยระวัง ทั้งนี้เพราะเด็กยังอยู่ในวัยเยาว์ สมองของเด็กในวัยนี้ อยู่ในระยะที่ก�ำลังรับ และเก็บประสบการณ์จากการเคลื่อนไหว ร่างกายทุกส่วน และพัฒนาระบบสัมผัส คือ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัสแบบต่างๆ เพื่อ ให้ประสบการณ์นั้นฉายภาพมายังต�ำแหน่ง ต่างๆ ในสมอง ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงควรจัด พืน้ ทีใ่ นการเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมและสอดคล้อง กับพัฒนาการสมองวัย 3 - 6 ปี

• ห้องเรียนอบอุ่น • สถานทีก่ ว้างขวาง มีอปุ กรณ์การเล่น เครือ่ ง เล่นพอเพียง • ห้องเก็บเครื่องมือ สื่อกระตุ้นการเรียนรู้ของ สมอง • ห้องดนตรี ศิลปะ • ห้องวิทยาศาสตร์ • ห้องส�ำหรับงานประดิษฐ์ งานช่าง


82 BRAIN - BASED LEARNING

การจัดชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมของสถานศึกษา ต้องสนใจ ว่าจะพาเด็กก้าวไปทางไหน • เด็กมีพัฒนาการอยู่ในระดับไหน • เริ่มจัดประสบการณ์ในพัฒนาการด้านต่างๆ ณ จุดใด • เด็กทุกคนจะก้าวไปตามจังหวะของตนเองได้อย่างไร • สิ่งแวดล้อมแบบไหนจะน�ำเขาก้าวไปถึงได้ • กระบวนการมีกี่ขั้นตอน ใช้เวลาเท่าไร • เด็กแต่ละกลุม่ จะได้รบั กิจกรรมต่างกัน-เหมือนกัน อย่างไร

สิ่งแวดล้อมที่ เหมาะสมต่อการเรียนรู้ อุ ณ หภู มิ เ หมาะสม แสงสว่ า งเพี ย งพอ ปราศจากเสียงรบกวน มี พื้ น ที่ แ ละอุ ป กรณ์ ที่ เ หมาะสมกั บ การท� ำ กิจกรรมที่หลากหลาย ห้องเรียนถูกตกแต่งให้น่าสนใจด้วยข้อมูล ความรู ้ ผลงานเด็ ก มี มุ ม อ่ า น และมุ ม ประสบการณ์ต่างๆ ที่ปรับเปลี่ยนอยู่เสมอ

จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้มีชีวิต อบอุ่น และผ่อนคลาย มีความปลอดภัย สะอาด เป็นระเบียบ มีขอ้ ตกลง กติกา และธรรมเนียมปฏิบตั ริ ว่ มกัน ปฏิสัมพันธ์ของทุกคนในสถานศึกษา ต้องก่อ ให้เกิดความรู้สึกปลอดภัย สมาชิกทุกคนมีความรู้สึกมีส่วนร่วมและเป็น เจ้าของสถานที่


83 BRAIN - BASED LEARNING

แนวทางการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

ควรเป็นสถานทีท่ มี่ สี งิ่ แวดล้อมเป็นธรรมชาติ มีพื้นที่กว้างพอที่เด็กจะเดินวิ่ง เรียนรู้ มีสัตว์และพืชที่เด็กควรรู้จักและสนใจ มีสนามเด็กเล่นที่ปลอดภัย กระตุน้ การเรียนรู้ มีเครื่องเล่นพอเพียง

แนวทางการจัดสิ่งแวดล้อมในห้องเรียน ห้องเรียนก็คือ ห้องท�ำกิจกรรม การที่เด็กไม่ได้อยู่กลางแจ้ง ตลอดเวลา เพราะเมืองไทยเป็นเมืองร้อน และงานบางอย่าง ต้องการพื้นที่ปิด ห้องเรียนสะอาด เป็นระเบียบ น่าสนใจ ถูกสุขลักษณะ ตกแต่งด้วยสีสันกระตุ้นสมอง เก้าอี้วางเป็นกลุ่มๆเพื่อให้พูด คุย แลกเปลี่ยน ท�ำกิจกรรมด้วยกันสะดวก บางครั้งยกเก้าอี้ ออกเพื่อท�ำกิจกรรมเคลื่อนไหว บอร์ด ป้าย ทุกอย่างออกแบบมาสวยงาม มีจดุ มุง่ หมายชัดเจน


84 BRAIN - BASED LEARNING

บรรยากาศของห้องเรียน บรรยากาศไม่ใช่สื่อการสอน แต่กลับท�ำให้ อารมณ์ของเด็กถูกกระตุน้ ให้สนใจทีจ่ ะเรียนรู้ มีผ้า วัสดุเนื้อธรรมชาติ สีธรรมชาติ ตกแต่ง ห้อง โต๊ะ หรือมุมต่างๆ จัดเตรียมอุปกรณ์ของใช้ให้ง่ายแก่การหยิบ หายก็รู้ ดูงามตา จัดมุม โต๊ะ หรือชั้น เพื่อจัดวาง หรือแสดง สิ่งต่างๆ จากสิ่งแวดล้อมตามฤดูกาล หรือ เทศกาล เพื่อให้สอดคล้องกับกาลเวลาที่เด็ก สนใจ ห้องเรียนอาจมีโซฟาสักตัวหนึง่ เพือ่ ให้เด็กนัง่ อย่างสบายๆ

มีการจัดบอร์ดหรือป้ายนิเทศ • โชว์ ภ าพและผลงานของเด็ ก พร้ อ มชื่ อ เจ้าของผลงาน • ติดภาพเรือ่ งทีต่ อ้ งการให้เด็กเรียนรู้ และท�ำ กิจกรรมในสัปดาห์นี้ • ติดภาพกิจกรรม/เหตุการณ์ น่าประทับใจที่ ผ่านมา สัปดาห์ที่แล้ว-เดือนก่อน • ติดภาพทบทวนสิ่งที่เรียนไปสัปดาห์ก่อน • ติดโปสเตอร์เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ต้องการ ให้เด็กท�ำ


85 BRAIN - BASED LEARNING

พื้นที่ใช้งานภายในห้องเรียน

มุมอ่าน

มุมเล่น

• มุ ม อ่ า นเป็ น มุ ม ที่ ต ้ อ งการให้ เ ด็ ก ใช้ เ พื่ อ • มุมเล่น เป็นมุมที่เด็กใช้เวลาเล่นช่วงพักเป็น กิจกรรมการอ่าน เพราะการอ่านเป็นปัจจัย เวลาสั้นๆ เช่น 15 นาทีถึงครึ่งชั่วโมง เป็นการ ส�ำคัญที่สุด ที่จะน�ำเด็กก้าวไปสู่กระบวนการ ใช้เวลาเปลี่ยนผ่านอารมณ์ของเด็กจากช่วง เรียนรู้อื่นๆ ต่อไป เวลาเครียดไปได้เป็นอย่างดี • มุ ม อ่ า นควรอยู ่ ใ นมุ ม ใดมุ ม หนึ่ ง ของห้ อ ง • มุมเล่น มีข้นึ เพราะยอมรับว่า เด็กวัย 3 - 6 ปี ก�ำหนดพื้นที่ไว้ด้วยเสื่อหรือพรม ห้ามเด็กท�ำ ยังต้องการเวลาส�ำหรับการพักหรือเล่นเป็น กิจกรรมอื่นๆ ขณะอยู่ในมุมอ่าน ช่วงสั้นๆ เป็นระยะๆ ไม่ควรให้เรียนทุกวิชา 50 นาที ต่อกันไป • มุมอ่านมีหนังสือหลากหลาย จัดเป็นแถวให้ เห็นปก ไม่จดั เรียงซ้อนชัน้ สูง ยากแก่การหยิบ • มุมเล่นควรมีของเล่นที่เลือกมาเหมาะกับวัย ให้ช่วยส่งเสริมพัฒนารอบด้าน อาจเป็นของ • มุ ม อ่ า น ควรเปลี่ ย นหนั ง สื อ ตามหั ว ข้ อ ที่ เล่นที่เล่นเดี่ยว เล่นเป็นคู่ เล่นเป็นกลุ่มก็ได้ ต้องการให้อ่าน หรือตามความสนใจ หนังสือ ไม่แนะน�ำของเล่นที่ท�ำให้พื้นที่สกปรกง่าย เล่มโปรดของเด็กไม่จำ� เป็นต้องเอาลงจากชัน้ อาจตั้งโชว์ไว้เป็นเดือนๆ จนถึงเป็นปีก็ได้


86 BRAIN - BASED LEARNING

สื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้อง กับพัฒนาการสมอง ของเด็กอนุบาล ลักษณะของสื่อการเรียนรู้

เป็นของจริง จับต้องได้ ใกล้ตัว ท้าทาย กระตุ้นความสนใจ เสริมสร้างจินตนาการและความคิด ปลอดภัย คงทน ขนาด รูปร่าง เรื่องราว เหมาะสมกับวัยของเด็ก

การออกแบบและการใช้สื่อการเรียนรู้ สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย และเนื้อหา ที่เรียน เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็ก ใช้สื่อในธรรมชาติรอบตัวรวมทั้งตัวเด็กเอง กระตุ ้ น อารมณ์ด ้านบวก และความสนใจ ใคร่รู้ของเด็ก ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 จัดล�ำดับการใช้สื่อจากง่ายไปยาก จากของ จริงไปหาสัญลักษณ์

บริหารจัดการสือ่ ให้พอเพียงและทัว่ ถึงเด็กทุกคน สร้างข้อตกลงร่วมกับเด็กก่อนใช้สื่อ เด็กมีสว่ นร่วมในการพัฒนาและทดลองใช้สอื่ ปรับปรุง รูปแบบ วิธีการใช้สื่อ ให้เหมาะสม กับบริบทของเด็ก



P A R T I C I P A T I O N

O F

การมีส ่ ว นร่ ว ม ของผู้ปกครอง และชุมชน P A R E N T S

A N D

C O M M U N I T Y


89 BRAIN - BASED LEARNING

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง

และชุมชน การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการสร้างเสริม พัฒนาการของเด็กวัย 3 - 6 ปี 1

การพัฒนาความฉลาดทางกาย พัฒนาการของเด็กวัยนี้เห็นได้ชัดจากความ กระโดด ปีน ขึ้น-ลงบันไดได้ ถ้าท�ำได้แล้วก็ สามารถในการควบคุม บังคับ สัง่ การร่างกาย แสดงว่าสมองส่วนที่รับรู้สัมผัส และการสั่ง ตัวเองได้ดีขึ้นเรื่อยๆ เช่น สามารถเดิน วิ่ง การร่ายกายได้พฒ ั นามากขึ้นทุกที


90 BRAIN - BASED LEARNING

สาระส�ำคัญที่ผู้ปกครองควรรู้ เมื่ อ เด็ ก เติ บ โตถึ ง วั ย เข้ า เรี ย นในสถาน ศึ ก ษาระดั บ ปฐมวั ย เด็ ก ต้ อ งการการ เคลื่อนไหวร่างกายที่ซับซ้อน เด็กมีความ มั่นใจในความสามารถทางร่างกาย ว่องไว ปราดเปรียวขึ้น เมือ่ เด็กก้าวถึงวัยนี้ เด็กมีความกระตือรือร้น ที่ จ ะส� ำ รวจโลกรอบตั ว เขาอยากลองดู ว่า สิ่งนี้เป็นอย่างไร สิ่งนั้นกับสิ่งนี้ต่างกัน ตรงไหน ถ้าเราท�ำแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้น ทั้งหมดไม่ใช่เพียงการเล่นสนุกๆ แต่เป็น กระบวนการพั ฒ นาความคิ ด และการ จัดระบบความคิดของเด็ก เด็กต้องการพื้นที่และเวลาจ�ำนวนมาก เด็ ก ต้ อ งการส� ำ รวจพื้ น ที่ แ ละสภาพ แวดล้อมอย่างปลอดภัยและมีอิสระ เด็กต้องการโอกาสที่จะฝึกทักษะ ปฏิบัติ ทั ก ษะ และทดลองท� ำ สิ่ ง ต่ า งๆ เมื่ อ เขา เคลื่อนไหว สมองของเขาจะพัฒนา เด็กต้องการการเคลื่อนไหวแบบง่าย ถึง ซับซ้อน ในร่มและกลางแจ้ง เพราะระบบ สมองมีธรรมชาติที่ต้องการพัฒนาตนเอง ให้มีศักยภาพอยู่รอดได้


91 BRAIN - BASED LEARNING

สิ่งที่ผู้ปกครองควรท�ำ ควรกระตุ้นพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวของเด็ก ให้เด็กได้วิ่ง กระโดด ปีน ฯลฯ ควรจัดหาของเล่น เครือ่ งมือ กระตุน้ ให้เด็กลงมือท�ำ ควรให้เด็กได้เต้นตามจังหวะสนุก ฟังดนตรี ฟังเพลง เด็ก และเพลงที่พัฒนาสมอง ควรจัดหาอุปกรณ์หลากหลายที่เด็กจะใช้ในการ ลงมือท�ำกิจกรรมเอง ของเล่น หรืออุปกรณ์ทเี่ หมาะ กับวัย มีทั้งส�ำเร็จรูปและจากธรรมชาติ ควรกระตุน้ ให้เด็กร้องเพลง ตะโกน และออกท่าทาง

สิ่งที่ผู้ปกครองพึงควรระวังหลีกเลี่ยง

อย่าคิดว่าโรงเรียนเท่านั้นเป็นสถานที่ที่เด็กเรียนรู้ อย่าคิดว่าการเรียน คือการเขียน คัด บวก ลบ เท่านั้น อย่าคิดว่าการเรียน คือการอ่านหนังสือออกเท่านั้น อย่าห้ามเด็กไม่ให้เล่น อย่าห้ามเด็กทดลองท�ำสิ่งต่างๆ อย่าจับเด็กมัด หรือขังไว้ในที่แคบๆ อย่าเปิดทีวใี ห้เด็กดูเพือ่ ให้เด็กยุตกิ ารเคลือ่ นไหว อย่าปล่อยให้เด็กเล่นคนเดียวทั้งเดือน ทั้งปี เด็กควรมี เพื่อน ควรได้เล่นกับคนอื่น เล่นในสถานการณ์ต่างๆ อย่าปล่อยให้เด็กเล่นเกมทัง้ ในโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ โดยไม่ควบคุมเวลา อย่าคิดว่าสถานศึกษาเท่านั้นที่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแล เด็ก บ้านไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง


92 BRAIN - BASED LEARNING

2

การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคม ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์และจิตใจนั้น เด็กเรียนรู้ได้ตั้งแต่ขวบแรก ค�ำว่า EQ เป็นค�ำทีใ่ ช้กนั เกลือ่ น ดูคล้ายกับว่า ถ้าเราดูแลเอาใจใส่ให้ดแี ล้ว EQ ของเด็กก็จะดีได้ไม่ยาก แต่ท่ีจริงความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์มี ที่มาชัดเจน

สาระส�ำคัญที่ผู้ปกครองควรรู้ พัฒนาการแห่งอารมณ์และจิตใจของเด็ก เกีย่ วข้องกับการมีความสัมพันธ์ กับผู้อื่น ปมเงื่อนส�ำคัญของการพัฒนาอารมณ์ก็คือ ต้องให้เด็กได้ใช้ชีวิต ในโลก ไม่ใช่เก็บเด็กไว้แต่ในห้องหรือในบ้าน ต้องให้เด็กมีเพื่อน ให้รู้จัก ดีใจ เสียใจ ผิดหวัง สมหวัง ฯลฯ


93 BRAIN - BASED LEARNING

สิ่งที่ผู้ปกครองควรท�ำ ฝึกให้เด็กมีมานะอดทน ให้มนี สิ ยั สูก้ บั ความล�ำบาก โดยให้เด็กได้ลอง ท�ำงานบ้าน ให้เด็กได้รับผิดชอบงานบ้านง่ายๆ สร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ • เปิดเพลงให้ฟัง • อ่านหนังสือให้ฟัง • ชวนกันสวดมนต์ • เล่าเรื่องชีวิตแต่หนหลังของครอบครัว และสังคมในอดีต • เตรียมของเล่นที่เหมาะสม

สิ่งที่ผู้ปกครองพึงระวังหลีกเลี่ยง อย่าตกใจเมื่อลูกพูดค�ำหยาบ เด็กยังไม่รู้ว่า หยาบคืออะไร ถ้าเด็กไม่พดู บ่อยนักก็ปล่อยไป ถ้าบ่อยเกินไปก็สอนได้ แต่อย่าห้ามราวกับว่า เป็นความผิดร้ายแรง อย่าเลี้ยงเด็กให้อยู่แต่กับครอบครัว ให้เด็กมี สังคมกว้างขึน้

อย่าเอาอกเอาใจ ประคบประหงมเกินเหตุ ให้เด็ก รูจ้ กั อยูก่ บั ความจริง อย่ายกย่องเชิดชูเด็กเกินจริง กระตุ้นและให้ ก�ำลังใจ แต่อย่าท�ำให้เหลิง อย่าคิดว่าพ่อแม่สอนลูกได้เองทุกอย่าง บาง อย่างต้องให้ธรรมชาติและสังคมมีส่วนสอน เด็กด้วย


94 BRAIN - BASED LEARNING

3

การพัฒนาสติปัญญา การใช้ประสาทสัมผัสในการส�ำรวจโลกรอบตัว ประสบการณ์สร้างสรรค์ งานศิลปะและดนตรี ตลอดจนการแสดงสิ่งที่ตนเองคิดผ่านภาษากาย ภาษาภาพ ภาษาพูด ภาษาเขียน เปรียบเสมือนเครื่องมือในการพัฒนา สติปญ ั ญาในเด็กเล็ก

สาระส�ำคัญที่ผู้ปกครองควรรู้ การวาดเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือใช้ทักษะในการแก้ปัญหา ใช้เวลาในการคิดเรื่องราวต่างๆ เพื่อพัฒนาวิธีคิดสร้างสรรค์ เพื่อ อธิบายความเข้าใจของเขาทีม่ ตี อ่ เรือ่ งของขนาดและปริมาณ (scale) ระยะและมิติ (space) การเปลีย่ นต�ำแหน่ง (motion) ของสิง่ ทีเ่ ขาก�ำลัง จะวาดนั้น ประสบการณ์ ท างประสาทสั ม ผั ส ผ่ า นทางศิ ล ปะ และความคิ ด สร้างสรรค์ เป็นความเพลิดเพลินที่มีคุณค่าแก่เด็ก เด็กจะได้ส�ำรวจ ภาพ กลิ่ น รสชาติ และลั ก ษณะเนื้ อ แท้ ข องสิ่ ง ต่ า งๆ นี่ เ ป็ น การ ส่งเสริมความมัน่ ใจและความรูส้ กึ เป็นตัวตนของเด็ก ขณะเดียวกันเด็ก ก็พยายาม ตีความโลกรอบตัว ขณะที่เขาออกแบบสร้างสรรค์ แสดง บทบาท ท�ำและทดลอง เด็กจะสร้างสรรค์จินตนาการส่วนตัวขึ้นมา ตามสิ่งที่เขาเห็นและมีประสบการณ์ ความอยากรู้อยากเห็น และจินตนาการของเด็ก สามารถเป็นเครื่อง กระตุ้นอย่างทรงพลัง ส�ำหรับการส�ำรวจศิลปะ ดังนั้น ค�ำพูดที่ว่าเด็ก ไม่ชอบศิลปะ หรือเด็กเกลียดวิชาศิลปะ จึงเป็นค�ำพูดทีส่ ะท้อนปัญหา ของวิธีการจัดการศึกษามากกว่า


95 BRAIN - BASED LEARNING

สิ่งที่ผู้ปกครองควรท�ำ จัดหาอุปกรณ์ เครือ่ งมือ มาให้เด็กท�ำงานศิลปะ เช่น ดินสอสี สีเทียน กระดาษวาด พูก่ นั จานสี ดินน�ำ้ มัน กาว กรรไกร ดินเหนียว กะละมัง ฯลฯ ลองหาเวลาท�ำงานศิลปะกับลูกบ้าง แม้คุณจะไม่ชอบท�ำ ท�ำไม่เป็น แต่เด็กอยากให้ผู้ใหญ่อยู่ข้างๆ ท�ำด้วยกัน โดยเฉพาะครอบครัวที่เด็ก ไม่มีเพื่อน มีพี่น้องเพียง 2 คน เปิดเพลงหลากหลายให้ลูกฟัง เช่น เพลงเด็ก เพลงไทยเดิม เพลงไทย สากล เพลงสากล สังเกตดูวา่ เด็กชอบเพลงแบบไหน เพลงเอะอะอึกทึก เกินไปไม่เหมาะกับสมองเด็ก ฝึกเด็กให้รจู้ กั วิธที ำ� ใจให้สงบ โดยเฉพาะการนัง่ สมาธิ ก่อนทีจ่ ะเริม่ ท�ำ กิจกรรมต่างๆ

สิ่งที่ผู้ปกครองพึงระวังหลีกเลี่ยง อย่าสนใจแต่จะพาลูกไปโรงเรียนศิลปะ ควรสนใจจัดสิ่งแวดล้อมที่ บ้านให้เด็กได้ท�ำงานศิลปะ อย่าคิดว่างานศิลปะที่เด็กท�ำต้องสวยงาม เหมือนจริง งานศิลปะเด็ก เป็นความพยายามทีจ่ ะถ่ายทอดจินตนาการในสมองออกมาเป็นภาพ อย่าคิดว่าการสั่ง การบ่นว่า จะช่วยให้เด็กวัยนี้มีพฤติกรรมที่ต้องการ ตรงกันข้ามกลับเป็นการท�ำลายความเชื่อมั่นในตนเองของเด็ก


96 BRAIN - BASED LEARNING

ผู้ปกครองกับโรงเรียน ก่อนพ่อแม่ผปู้ กครองเข้าร่วมในกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรูข้ องเด็กวัย 3 - 6 ปี พ่อแม่ผปู้ กครองควรพิจารณาเพือ่ ตอบค�ำถามต่อไปนี้ เพือ่ เป็นการช่วยเหลือ ในการก�ำหนดบทบาทหน้าทีใ่ นการมีสว่ นร่วมของตนเอง

ผู้ปกครองอาจช่วยเหลือโรงเรียนได้ด้วยวิธีใดบ้าง มีผู้ปกครองที่ช�ำนาญบางเรื่องและพอใจจะสอนเด็กในชั่วโมงพิเศษบ้างหรือไม่ จัดตารางเวลาให้ผปู้ กครองมาท�ำกิจกรรมพิเศษในห้องเรียนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง้ ผู้ปกครองอาจเป็นเจ้าของสถานที่ พื้นที่ที่คุณครูอยากจะให้เด็กได้เรียนรู้ คุณครู มีรายการสถานที่เหล่านี้แล้วหรือยัง ผู้ปกครองเคยมาอ่านหนังสือให้นักเรียนฟังหรือยัง ผู้ปกครองเคยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพห้องเรียน และเสนอแนะวิธี ปรับปรุงหรือไม่ ผู้ปกครองกับคุณครูมีจดหมายสื่อสารถึงกันบ้างหรือไม่ คุณครูแนะแนวทางการเขียนอธิบายเกี่ยวกับตัวเด็กให้ผู้ปกครองทราบหรือไม่ ผูป้ กครองเคยบอกคุณครูหรือไม่วา่ ลูกหลานของเขามีอะไรเป็นจุดเด่นหรือจุดอ่อน ผู้ปกครองร่วมมือกันจัดกิจกรรมเพื่อเด็กในชั้นบ้างหรือไม่


97 BRAIN - BASED LEARNING

ความร่วมมือของบ้านและโรงเรียน ตัวอย่างกิจกรรมที่โรงเรียนและครอบครัวสามารถร่วมกันจัดได้ เช่น วันสนุกส�ำหรับ ครอบครัว ซึง่ เป็นการให้เวลาและพืน้ ทีท่ สี่ มาชิกในครอบครัวของเด็กและผูเ้ กีย่ วข้อง ของสถานศึกษาได้มาร่วมสังสรรค์กนั รวมทัง้ เป็นการเปิดโอกาสส�ำหรับการสร้างความ สัมพันธ์ระหว่างครอบครัว และระหว่างผูใ้ หญ่กบั เด็ก ความสัมพันธ์นจี้ ะท�ำให้เกิดความ ผูกพันทีก่ อ่ ให้เกิดบรรยากาศแห่งความเชือ่ มัน่ และความไว้วางใจอย่างลึกซึง้ พ่อแม่ ผูป้ กครองสามารถแสดงบทบาทได้ดงั ต่อไปนี้ ผู้ปกครองท�ำอาหารมาคนละ 1 อย่าง อาจเป็นผลไม้ ไอศกรีม ขนมครก วอฟเฟิล จัดไว้กลางสนาม ผู้ปกครองบางคนอาจมายืนท�ำอาหารบริการด้วยตนเอง เช่น ก๋วยเตี๋ยว ทอดมัน ขนมครก กล้วยทอด โรงเรียนจัดหาถ้วย แก้ว ชาม ช้อน ไว้บริการ สถานศึกษาจัดท�ำคูปองซื้อของในราคาถูก ผู้ร่วมงานน�ำคูปองมาแลกซื้ออาหาร รายได้จากคูปองน�ำไปจัดทัศนศึกษา ท�ำบุญ หรือซื้อหนังสืออ่านให้เด็กอ่าน มีเกมสนุกให้เล่นร่วมกัน เช่น โยนห่วง ปาเป้า จัดหาสวนสนุกเล็กๆ หรือเครื่องเล่นมาให้เด็กเล่น บนเวทีมกี ารแสดงสนุกๆ ของเด็ก และผูป้ กครอง อย่าท�ำให้เป็นการแข่งขันจริงจัง เน้นให้สนุกสนาน สบายใจ น�ำการแสดงมายากลมาแสดงให้เด็กดู การจัด วันสนุกส�ำหรับครอบครัว ไม่ควรจัดพร้อมกันทัง้ สถานศึกษา เพราะจ�ำนวน คนมากเกินไป ท�ำให้การจัดงานท�ำได้ยาก อาจจัดทีละ 10 ห้อง ทีละชั้น เป็นต้น


98 BRAIN - BASED LEARNING

การมีส่วนร่วม ของชุมชน ชุมชน คือ แหล่งรวมองค์ความรูน้ านา ในชุมชนมีแปลงผัก ร้านค้า บริษทั สถานทีท่ ำ� การต่างๆ โบราณสถาน โบราณวัตถุ เด็กๆ ต้อง เรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ ชุ ม ชน ผ่ า นกิ จ กรรมที่ ไ ด้ ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ชุ ม ชน ด้วยตนเอง

ชุมชนกับโรงเรียน

ชุมชนกับโรงเรียนมีการร่วมมือกันท�ำงานบางอย่างบ้างหรือไม่ ชุมชนมีปฏิทินกิจกรรมอะไรบ้างในแต่ละปี เด็กสามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมตามปฏิทินนั้นได้บ้างไหม สถานที่ในชุมชนที่ยินดีเปิดรับเด็กเข้าไปทัศนศึกษามีที่ใดบ้าง กิจกรรมใดในชุมชนที่เด็กควรลงไปร่วมท�ำงานด้วย พื้นที่ตรงไหนในชุมชนที่เด็กอาจไปศึกษาได้ในแต่ละเดือนของปี บุคคล สถานที่ส�ำคัญในชุมชนอยู่ที่ไหน ท่านเคยแจ้งข่าวสาร เรื่องราวที่ส�ำคัญและมีประโยชน์ต่อเด็กให้คุณครูทราบบ้างไหม



E V A L U A T I O N

O F

การวัด และประเมิ น พัฒนาการ T H E

D E V E L O P M E N T


101 BRAIN - BASED LEARNING

การวัดและประเมิน

พัฒนาการ

การวัดและประเมินผลพัฒนาการ และการเรียนรู้ของเด็กวัย 3 - 6 ปี พัฒนาการ ครอบคลุมด้านจิตใจ สังคม และปัญญา ของเด็กวัย 3 - 6 ปี การเรียนรู้ เป็นประสบการณ์ตรงที่กระตุ้นการท�ำงานของสมองเด็กโดยตรง การประเมิน เป็นการพยายามวัดผลการพัฒนา/การเรียนรู้ในเวลาที่ก�ำหนด


102 BRAIN - BASED LEARNING

การประเมินผล เป็นกระบวนการทีผ่ สู้ อนต้องการวัดผลดูวา่ เด็กมีพฒ ั นาการเพียงใด หลัง จากครูจดั กิจกรรมและประสบการณ์ตา่ งๆ ให้ การประเมินผลทีด่ ตี อ้ งติดตาม ดูกระบวนการเรียนรู้มากกว่าการตัดสินว่าเด็กท�ำได้หรือไม่ได้ ต้องเน้น กระบวนการและการพัฒนาก้าวหน้าของตัวเด็ก มากกว่าจะตัดสินออกมา ว่าเด็กมีคะแนนเท่าไร จากการสอบหรือการประเมินในครัง้ นัน้

คุณคือนักประเมินผล คุณรู้ว่าการประเมินพัฒนาการเด็กจะท�ำได้โดยการจดบันทึกพฤติกรรมต่อเนื่อง กันหลายครั้ง แล้วดูว่าแนวโน้มเด็กเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร คุณรูว้ า่ การก�ำหนดวันสอบจะวัดผลเด็กเพียงครัง้ เดียว วันเดียว ไม่ใช่วธิ ที ถี่ กู ต้อง ในการประเมิน คุณได้จดบันทึกไว้ล่วงหน้าตั้งแต่ต้นเทอมว่าเด็กๆ มีพัฒนาการแต่ละด้านมาก น้อยแค่ไหน ท�ำสิ่งนั้นๆ ได้เมื่ออายุเท่าไร คุณน�ำพัฒนาการของเด็ก ณ วันประเมินมาเปรียบเทียบกับพัฒนาการของเด็ก ที่บันทึกไว้ครั้งแรก คุณสามารถเขียนรายงานเปรียบเทียบพัฒนาการนั้นให้ ผู้ปกครองเข้าใจพัฒนาการ และจุดอ่อนจุดแข็งของเด็ก คุณตรวจสอบดูจุดอ่อนต่างๆ ของเด็ก วางจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาเขาอย่างเป็น ขั้นเป็นตอน โดยใช้แบบประเมินเป็นข้อมูลส�ำคัญ คุณได้ใช้ข้อมูลทฤษฎีพัฒนาการเด็กมาเป็นตัวตั้ง แล้วพัฒนาเปรียบเทียบกับ พัฒนาการของเด็ก ดูว่าเด็กอยู่ในมาตรฐาน ต�่ำกว่ามาตรฐาน หรือว่า ก้าวหน้า กว่ามาตรฐาน


103 BRAIN - BASED LEARNING

คุณออกแบบประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดทุกด้าน และค่อยๆ ท�ำการประเมิน ตามสภาพการณ์ จ ริ ง โดยไม่ เ น้ น การเรี ย กเด็ ก มาสอบอย่ า งเป็ น ทางการ แบบประเมินของคุณอ้างอิงอยู่กับหลักสูตรและกิจกรรมที่ท�ำงานตลอดปี คุณเน้นการประเมินผ่านกระบวนการปฏิบัติการของร่างกาย การลงมือท�ำของ เด็ก ไม่เน้นการประเมินโดยใช้เอกสารและข้อสอบ คุณรูด้ วี า่ เด็กท�ำไม่ได้ ตอบไม่ได้ ไม่ตอบ เพราะอะไร ท�ำไมเขาท�ำไม่ได้ คุณตัดสิน ใจว่า เด็กต้องการเรียนรู้อะไร เพื่อจะพัฒนาก้าวหน้าขึ้น คุณได้ให้โอกาสเด็กอธิบายว่า ท�ำไมเขาท�ำสิ่งนี้ เขาคิดอะไรอยู่ เขาต้องการบอก อะไร ถัดไปจากนี้ เขาจะก้าวไปสู่อะไร คุณร่วมพูดคุยกับเด็กอย่างดี เป็นผู้รับฟัง ที่ดี ไม่เป็นฝ่ายพูดทุกอย่างเสียเองและท�ำตัวเป็นผู้ตัดสินตลอดเวลา คุณได้ยกตัวอย่างให้เด็กเห็นว่า พัฒนาการด้านต่างๆ นัน้ เราก้าวไปถึงได้ มีวธิ กี าร ที่จะก้าวไปถึงแน่นอน คุณให้ก�ำลังใจเด็กเสมอ คุณวิเคราะห์เด็กได้จากพฤติกรรมของเด็กที่แสดงออกมา และคุณได้ใช้ข้อมูล จากพฤติกรรมนั้นมาวางแผนการเรียนขั้นต่อไปของเด็ก คุณสนใจทีจ่ ะประเมินเด็กในกลุม่ เล็กๆ จัดเวลาสนทนากับเด็กเป็นกลุม่ และรายบุคคล เด็กแต่ละคนมีโอกาสพูดอธิบาย แสดงสิง่ ทีเ่ ขารูใ้ ห้คณ ุ ทราบในกลุม่ ทีเ่ ล็กลง แทนทีจ่ ะ มีแต่การประเมินทัง้ ห้องพร้อมกัน คุณช่วยเหลือเด็กให้เข้าใจว่า คุณต้องการรู้อะไร คุณถามเรื่องนั้นท�ำไม คุณไม่เคยท�ำให้เด็กรู้สึกแย่ คุณท�ำให้เด็กรู้สึกไม่หมดหวัง สิ้นก�ำลังใจ ตรงข้าม เด็กมีความหวังว่าเขามีทางทีจ่ ะพัฒนาตัวเองได้ เกิดความเชือ่ มัน่ ว่าเขาจะก้าวต่อไป คุณท�ำการประเมินการเรียนรู้ของเด็ก โดยพิจารณาดูความก้าวหน้าของตัวเขา เทียบกับกับจุดหมายที่แผนการสอนก�ำหนด ไม่ใช่เอาเด็กเก่งที่สุดเป็นตัวตั้ง


104 BRAIN - BASED LEARNING

ค�ำถามที่ใช้ในการประเมินเพื่อพัฒนา ใช้ค�ำถามต่อไปนี้อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อตรวจสอบและกระตุ้นการคิดของเด็ก สิ่งเหล่านี้เหมือนกันอย่างไร สิ่งเหล่านี้ต่างกันอย่างไร เราจะแบ่งกลุ่ม หรือจัดกลุ่มสิ่งเหล่านี้ได้อย่างไร มีกี่วิธีที่จะจัดได้ ลองจัดดู ท�ำไมหนูจึงแบ่งหรือจัดกลุ่มด้วยวิธีนี้ ลองอธิบายซิ ลองท�ำวิธีอื่นดู หนูรู้ได้อย่างไรว่าถูก/ผิด ลองอธิบาย หนูสังเกตเห็นไหมว่า สิ่งนี้มีอะไรผิดปกติบ้าง หนูคิดอย่างไร ท�ำไมถึงคิดอย่างนี้ ที่เห็นอยู่นี้ หรือที่ท�ำอยู่นี้ หนูคิดว่าอันไหนดีที่สุด แย่ที่สุด ลองอธิบาย สิ่งนี้เกิดมาจากไหน ใครท�ำมันขึ้นมา มันเกิดขึ้นได้อย่างไร อะไรจะเกิดขึ้น ถ้าเรา .... เราจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ท�ำอย่างไรจะเสร็จลงได้ หนูก�ำลังท�ำอะไรอยู่ หนูต้องการผลแบบไหน คิดว่าผลจะเป็นอย่างไร ถ้า เราเปลี่ยนจาก .... เป็น .... อะไรจะเกิดขึ้น หนูเห็นด้วยไหมว่า .....ท�ำไม ลองเล่าให้ฟังดูซิว่า .....


105 BRAIN - BASED LEARNING

การประเมิน พัฒนาการเด็ก การประเมินพัฒนาการด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ตรวจสอบว่า ... • เด็กท�ำอะไรได้แล้วบ้าง • เด็กท�ำสิ่งนี้ได้หรือยัง (เช่น วิ่งสลับขา วิ่งพร้อมอุปกรณ์) • เด็กท�ำได้ดีระดับไหน • เด็กท�ำได้นานเท่าไหร่ • ท�ำไมเด็กยังท�ำสิ่งนี้ไม่ได้ (เช่น เล่นภาพต่อ 50 ภาพ) • พั ฒ นาการของเด็ ก แตกต่ า งไปอย่ า งไรเปรี ย บเที ย บกั บ การ ประเมินครั้งก่อน • ขั้นตอนใดที่เด็กข้ามไปและไม่ได้ท�ำ • เด็กมีสมาธิดีแค่ไหนในการท�ำสิ่งนั้น • พัฒนาการขั้นต่อไปที่เด็กควรได้ลงมือท�ำคืออะไร


106 BRAIN - BASED LEARNING

การประเมินพัฒนาการด้านภาษา ตรวจสอบว่า ... • เด็กฟังเป็นหรือยัง ฟังเรื่องนี้ .... เข้าใจหรือไม่ • เด็กฟังเรื่องที่อ่านให้ฟังได้นานแค่ไหน (กี่นาที) มีสมาธิในการฟังหรือไม่ • เด็กชอบฟังหรือไม่ ชอบฟังการอ่านหนังสือประเภทใด • เด็กพูดสื่อสารสิ่งที่คิดออกมาได้ไหม สื่อสารได้ดีเพียงใด • เด็กอ่านหรือจดจ�ำเรือ่ งราวในหนังสือจนอ่านได้ ทัง้ ๆ ทีส่ ะกดยังไม่ได้ แล้ว หรือยัง ถ้าท�ำได้ ได้แค่ไหน • เด็กชอบเข้ามุมอ่านหนังสือหรือเปล่า เมือ่ เข้ามุมอ่าน หนูอา่ นหนังสืออะไร บ้าง อ่านประเภทไหน • เด็กชอบเขียนหรือไม่ • ในทุกข้อข้างต้น พัฒนาการของเด็กเปลี่ยนแปลงไปเพียงใด เปรียบเทียบกับการประเมินครั้งก่อน

การประเมินพัฒนาการด้านศิลปะและการสร้างสรรค์ ตรวจสอบว่า ... • เด็กท�ำกิจกรรม วาด ปั้น ตัด เย็บ ได้หรือยัง ได้แค่ไหน • เด็กใช้เครื่องมือท�ำงานศิลปะเป็นหรือยัง • เด็กท�ำงานศิลปะด้วยความตั้งใจและอดทนแค่ไหน • เด็กรู้จักชื่นชมงานศิลปะหรือไม่ รู้แค่ไหน • เด็กสื่อสารความหมายออกมาในงานศิลปะได้แค่ไหน เพียงใด • เด็กกล้าริเริม่ ท�ำงานศิลปะตามความคิดของตัวเองไหม ท�ำแบบไหน


107 BRAIN - BASED LEARNING

การประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ตรวจสอบว่า ... • เด็กรู้จักจัดการเวลาของตัวเองหรือยัง • เด็กรู้จักควบคุมอารมณ์ได้เพียงใดขณะเจอเหตุการณ์ เรื่องราวที่ผันแปรไป พอใจ/ไม่พอใจ เสียใจ/โมโห • เด็กรู้จักการรอหรือยัง • เด็กรู้จักขอบคุณ ขอโทษหรือยัง ใช้ค�ำในสถานการณ์ที่ควรใช้หรือยัง • เด็กรู้จักแบ่งปันและเก็บรักษาสิ่งของหรือไม่ รู้แค่ไหน • เด็กรู้จักการอยู่กับคนอื่น และอยู่ได้อย่างดีหรือไม่ • เด็กท�ำงานร่วมกับคนอืน่ จนส�ำเร็จลุลว่ งได้หรือไม่ มีปญ ั หาอะไรบ้าง เด็กรู้จักหัวเราะขบขัน เศร้าใจในเรื่องน่าเศร้าหรือไม่

การประเมินพัฒนาการด้านการคิด ตรวจสอบว่า ... • เด็กสื่อสารสิ่งที่คิดออกมาได้หรือไม่ สื่อสารได้ดีแค่ไหน • เด็กอธิบายเหตุผลของสิ่งที่ท�ำได้หรือไม่ • เด็กอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ที่พบได้หรือไม่ • เด็กตัดสินใจได้ไหมว่าสิ่งนั้นดี สิ่งนี้ไม่ดี สิ่งนั้นชอบ สิ่งนี้ไม่ชอบ • เด็กให้เหตุผลได้ไหมว่า สิ่งนั้นดี สิ่งนี้ดี เพราะอะไร • เด็กเล่นของเล่นต่างๆ แบบซับซ้อนขึน้ หรือไม่ พัฒนาจากง่ายไปยากหรือไม่ • เมื่อก�ำหนดเกมต่างๆ ให้เล่น เด็กสามารถเล่นได้และแก้ปัญหาได้หรือไม่ • เด็กจ�ำแนก จัดกลุ่ม วัตถุสิ่งของต่างๆ ได้หรือไม่




ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) กลุ่มงานพัฒนาสมองเพื่อการเรียนรู้

69 อาคารวิทยาลัยการจัดการมหาวิทยาลัยมหิดล ชั้น 19 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0 2105 6500 โทรสาร : 0 2105 6556 ผู้เขียน : งานพัฒนาสมองเพื่อการเรียนรู้ เจ้าของ : ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)

ISBN 978-974-326-426-1


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.