The Knowledge vol.17

Page 1

ปก


CONTENTS

43

8 23 35

03 Word Power

ธุรกิจฮาลาล โอกาสใหม่ของ ผู้ประกอบการไทย

10 the knowledge

เจาะลึกยุทธศาสตร์ ฮาลาลไทย

26 inside okmd

42 nextpert

32 digitonomy

46 5ive

การสร้างสั งคม แห่งการเรียนรู้ ในพื้นทีพ ่ หุวัฒนธรรม ชายแดนใต้

กลยุทธ์ป้ ั นแบรนด์ เจาะเทรนด์ฮ าลาล

รวมมิตรข้อมูลตัวเลข ธุรกิจฮาลาล

5 แอปพลิเคชัน ยอดนิยมของ นักท่องเที่ยวมุสลิม

18 one of a kind

36 DECODE

50 talk to zine

20 next

40 ความรูก ้ ินได้

51 what's going on

A-Z ธุรกิจฮาลาล

มุสลิม มิลเลนเนียลส์ บุกวงการท่องเที่ยวโลก

CrescentRating เคล็ดลับการเป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านฮาลาล

ปั้ นเรื่องกิน ให้กลายเป็น อาชีพท�ำเงิน

สนุกสุดใจ..ไปกับ Halal Tourism โอกาสใหม่กับ การท่องเที่ยวแบบฮาลาล

- Halal World Food 2021 - The 1st Saudi International Halal Expo 2021

Office of Knowledge Management and Development ที่ปรึกษา ดร.อธิปัตย์ บ�ำรุง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ บรรณาธิการบริหาร ดร.อภิชาติ ประเสริฐ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ฝ่ายศิลปกรรมและภาพถ่าย บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด 32 ซอยโชคชัย 4 ซอย 84 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร 10230 โทรศัพท์ 0 2116 9959 และ 087 718 7324 จัดท�ำโดย ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) 69 อาคารวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ชั้น 18-19 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2105 6500 โทรสาร 0 2105 6556 อีเมล theknowledge@okmd.or.th เว็บไซต์ www.okmd.or.th อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้ เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย จัดท�ำขึ้นภายใต้โครงการเผยแพร่กิจกรรมองค์ความรู้โดยส�ำนักงาน บริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจ ในการน�ำองค์ความรูม้ าผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์ เพือ่ ประโยชน์ ด้านการเรียนรู้ ต่อยอดธุรกิจ เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจของประเทศ

ผู้สนใจรับนิตยสารโปรดติดต่อ 0 2105 6520 หรือดาวน์โหลดที่เว็บไซต์ www.okmd.or.th/knowledge/okmd-magazine


word power

สแกน QR Code เพื่อรับชม GIF

ธุรกิจฮาลาล โอกาสใหม่ของผู้ประกอบการไทย ศาสนาอิสลามไม่ได้เป็นเพียงศาสนา แต่เป็นหลักปฏิบัติในการด�ำเนินชีวิตของผู้นับถือ ค�ำว่า ฮาลาล (Halal) เป็นภาษาอารบิก หมายถึง ถูกต้องตามกฎหรือได้รับอนุญาตตามหลักของอิสลาม สิ่งที่ตรงข้ามกับฮาลาลก็คือ ฮะรอม (Haram) ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดกฎหรือเป็นข้อห้ามของอิสลาม ทั้งสองค�ำนี้ถูกน�ำไปใช้กับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติตัว รวมทั้งอาหาร เนื้อสัตว์ เครื่องส�ำอาง สิ่งของที่ใช้กับร่างกาย ผลิตภัณฑ์ยา เครื่องปรุง และ เครื่องใช้ที่สัมผัสกับอาหาร โดยมีข้อก�ำหนดว่าแต่ละกระบวนการต้องไม่ขัดต่อหลักศาสนาอิสลาม โดยทั่วไปแล้วอะไรที่ไม่ได้ถูกห้ามไว้ในพระคัมภีร์กุรอาน (Qur’an) ถือว่าเป็นฮาลาล คือถูกต้องและได้รับ อนุญาตตามหลักศาสนา ยกตัวอย่างเช่น อาหารฮาลาลคืออาหารที่ปราศจากส่วนประกอบที่เป็นข้อห้าม ของอิสลาม ใช้ภาชนะและเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ทผี่ า่ นการท�ำความสะอาดตามหลักศาสนา ส่วนอาหารและเครือ่ งดืม่ ที่ ถือเป็นฮะรอม ได้แก่ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือท�ำให้มึนเมา ไขมันสัตว์ที่ไม่เป็นฮาลาล โปรตีนธรรมชาติที่มี อยู่ในกระดูกหรือหนังสัตว์และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Gelatins) เอนไซม์จากสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ท�ำจากเอนไซม์ หมูและผลิตภัณฑ์จากหมู สัตว์กินเนื้อและผลิตภัณฑ์จากสัตว์กินเนื้อ เป็นต้น

W

3


4

W

word power

โอกาสของธุรกิจฮาลาล ในตลาดโลก ปัจจุบนั ทัว่ โลกมีจำ� นวนประชากร มุสลิมกว่า 1.9 พันล้านคน เฉพาะใน ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ หรื อ อาเซี ย น มี จ� ำ นวนประชากร มุสลิมมากถึง 240 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 42 ของประชากรทั้งหมด ในภูมภิ าค เมือ่ ประกอบกับแนวโน้ม เศรษฐกิจโลกทีเ่ ติบโตท�ำให้ประเทศ มุสลิมและชาวมุสลิมมีกำ� ลังซือ้ เพิม่ สูงขึ้น มีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวมุสลิม เพิ่มขึ้น และความต้องการสินค้า ฮาลาลเพิม่ ขึน้ จึงมีความเป็นไปได้สงู ว่าในอนาคตอั น ใกล้ ต ลาดสิ น ค้ า อุปโภคบริโภคและบริการฮาลาล จะเป็นหนึ่งในตลาดที่ส�ำคัญและ มีมูลค่ามากที่สุดของโลก Pew Research Center ยั ง

คาดการณ์วา่ ในปี พ.ศ. 2573 ทัว่ โลก จะมีประชากรมุสลิมมากถึง 2.2 พัน ล้านคน การเพิ่มขึ้นของประชากร มุสลิมจะส่งผลให้มลู ค่าตลาดสินค้า ฮาลาลเพิม่ ขึน้ เป็น 7.76 แสนล้านบาท ในปี พ.ศ. 2567 ตามการประเมินของ Statista ซึ่งคงไม่ใช่เรื่องเกินจริง เพราะจากการศึ ก ษาของ Imarc Group พบว่า ตลาดอาหารฮาลาล ของโลกในปี พ.ศ. 2562 มีมูลค่า สูงถึง 1.8 หมื่นล้านบาท ซึ่งเป็นผล จากความต้องการทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ทัง้ จาก ผู้บริโภคมุสลิมและไม่ใช่มุสลิม ตัวเลขดังกล่าวแสดงถึงโอกาส ส�ำหรับผูป้ ระกอบการไทยซึง่ มีความ เชี่ยวชาญในการผลิตและส่งออก อาหารและผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป

ต่างๆ ซึ่งแม้ว่าปัจจุบันประเทศไทย เป็นผูส้ ง่ ออกสินค้าฮาลาลอันดับต้น ของโลก รองจากบราซิ ล อิ น เดี ย สหรัฐอเมริกา จีน และออสเตรเลีย แต่ต ลาดฮาลาลยั ง คงเปิ ด กว้ า ง ส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการหน้ า ใหม่ ที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถในการ ผลิ ต สิ น ค้ า คุ ณ ภาพ มี ค วามคิ ด สร้างสรรค์สินค้าและบริการใหม่ๆ มีการให้บริการทีม่ ปี ระสิทธิภาพและ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก ศาสนาอิ ส ลาม สามารถสร้างความน่าเชื่อถือและ การยอมรั บ ในตลาดฮาลาลโลก โดยสินค้าที่ได้รับความนิยม อาทิ เนื้อวัว เนื้อไก่ และอาหารทะเล ผัก และผลไม้ ผลิตภัณฑ์นม ข้าวและ ธัญพืช น�้ำมันและไขมัน ขนมหวาน

1

2

ในจ� ำ นวนนี้ สิ น ค้ า จ� ำ พวก เนื้ อ วั ว เนื้อไก่ และอาหารทะเล ได้รบั ความนิยมสูงสุดทั้งในตลาด ค้าปลีก ตลาดค้าส่ง และตลาด ออนไลน์

นอกเหนื อ จาก สินค้าแปรรูปที่ก�ำลัง เติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น แฮมเบอร์ เ กอร์ พิ ซ ซา ฮอทด็ อ ก แซนวิ ช ครี ม ซุ ป คุ ก กี้ ขนมหวาน อาหารสุขภาพ และอาหาร ออร์แกนิก

3

สินค้าประเภท เครือ่ งส�ำอาง ก็เป็นที่นิยมอย่างสูง โดยจาก การศึกษาของ Statista คาดว่า จะมีมูลค่าตลาดสูงถึง 1.615 แสนล้านบาท ในปี พ.ศ. 2565


word power

ความเชื่อของชาวมุสลิม และสิ่งที่ต้องรู้ในการท�ำธุรกิจฮาลาล เมื่อ “ฮาลาล” ไม่ได้หมายถึงอาหารเพียงอย่างเดียว แต่ยังครอบคลุมกิจการของมุสลิมหรือที่เกี่ยวข้องกับ ชาวมุสลิม ดังนั้นวิถีชีวิตหรือความเชื่อของมุสลิมจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจเรียนรู้ในมิติเชิงเศรษฐกิจ เนื่องจาก การปรับเปลี่ยนธุรกิจหรือการอ�ำนวยความสะดวกให้แก่กลุ่มลูกค้ามุสลิมเพื่อให้สอดรับกับวิถีชีวิตของมุสลิม ดังกล่าว สามารถเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน เกิดการต่อยอด และเพิ่มมูลค่าเชิงธุรกิจได้ รวมทั้งเป็น การขยายฐานลูกค้าให้กว้างขึ้น

ความเชื่อกับ พฤติกรรมของมุสลิม เมื่ อ ศึ ก ษาถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ของมุ ส ลิ ม ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งจาก ความเชื่อทางศาสนาจะพบว่าชาวมุสลิมด�ำเนินชีวิต ภายใต้กฎเกณฑ์ของศาสนาอย่างเคร่งครัด ท�ำให้ชีวิต ประจ�ำวันของมุสลิมทั่วโลกมีรูปแบบและการปฏิบัติ ที่คล้ายคลึงกัน โดยสามารถจ�ำแนกรูปแบบการปฏิบัติ ของมุสลิมทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับหลักความเชือ่ รวมถึงแนวทาง การปรั บ เปลี่ ย นธุ ร กิ จ ให้ ส อดรั บ กั บ วิ ถี แ บบมุ ส ลิ ม ออกเป็น 4 ประเด็น ดังนี้

1 ความเชื่อกับเครื่องประดับ และของใช้ต่างๆ

• ของใช้ที่ท�ำมาจากหนังสัตว์ ตามความเชื่อของ อิสลามสามารถแบ่งได้ ดังนี้ - หนังของสัตว์ทกุ ชนิด ยกเว้นหมูและสุนขั ถือว่า หลั ก อิ ส ลามมี ข ้ อ ห้ า มในเรื่ อ งของเครื่ อ งประดั บ และของใช้ ที่ ท� ำ จากวั ส ดุ ต ้ อ งห้ า มที่ ผู ้ ป ระกอบการ สะอาด สามารถน�ำมาท�ำเป็นเครื่องใช้เครื่องประดับได้ เช่น สายนาฬิกา เข็มขัด กระเป๋าสตางค์ รองเท้า หรือ จ�ำเป็นต้องรู้ อาทิ เครื่องหนังอื่นๆ - หนังของสัตว์ทหี่ า้ มรับประทานเนือ้ เช่น จระเข้ ช้าง เสือ เมื่อมีการฟอกจะถือว่าสะอาดและน�ำมาใช้ได้

• เครื่ อ งประดั บ ทองค� ำ ถือเป็นเครื่องประดับ ส�ำหรับเพศหญิง สตรีมุสลิมสามารถสวมใส่ทองค�ำ • เครื่องรางของขลัง สินค้าประเภทบูชา ให้ ได้เพื่อความสวยงาม แต่ส�ำหรับเพศชายเครื่องประดับ ที่ ท� ำ มาจากทองค� ำ รวมถึ ง ของใช้ แ ละภาชนะที่ โชคลาภ รูปปั้นหรือรูปเคารพ ถือเป็นสิ่งต้องห้าม เนื่องจากขัดกับหลักความเชื่อในศาสนาอิสลาม ท�ำมาจากทองค�ำถือเป็นสิ่งต้องห้าม

W

5


6

W

word power

2 ความเชื่อกับการแต่งกาย มุ ส ลิ ม มี เ อกลั ก ษณ์ ก ารแต่ ง กายที่ แ ตกต่ า งจาก ศาสนาอื่น คือ มีการปกปิดร่างกายมิดชิดในส่วนที่ ศาสนาห้าม ส�ำหรับผู้หญิงจะสามารถเปิดเผยส่วนของ ร่างกายได้แค่ใบหน้ากับฝ่ามือ ในขณะที่ผู้ชายต้อง ปกปิดร่างกายตัง้ แต่สะดือจนถึงเข่า ส่งผลให้มขี อ้ จ�ำกัด ในการใช้บริการธุรกิจบางอย่าง

• ธุ ร กิ จ บริ ก าร เช่ น สปา สระว่ า ยน�้ ำ ฟิ ต เนส ร้านตัดผม รวมทั้งธุรกิจด้านความงามต่างๆ ควรมี การปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการเพื่อให้สามารถ ตอบสนองข้ อ จ� ำ กั ด ของกลุ ่ ม ลู ก ค้ า มุ ส ลิ ม ได้ เช่น การปรับเปลี่ยนพื้นที่เพื่อแยกส่วนบริการระหว่างลูกค้า ชายและหญิงไม่ให้ปะปนกัน หรือการก�ำหนดช่วงเวลา ในการใช้บริการของกลุ่มลูกค้าชาย-หญิง

รู้ ไว้ ได้เปรียบ

ผ้าบางชนิดเป็นสิ่งต้องห้าม ตามหลักความเชื่อของอิสลาม เช่น ผ้าไหม เป็นผ้าที่ห้ามผู้ชายสวมใส่ เสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่มที่ท�ำจาก ผ้าไหม จะไม่ได้รับความนิยม ในกลุ่มมุสลิมเพศชาย แต่ผู้หญิงสามารถใช้ผ้าไหมได้

• ธุรกิจเสือ้ ผ้าเครือ่ งนุง่ ห่ม มุสลิมในแต่ละภูมภิ าค ของโลกอาจแต่งกายแตกต่างกันตามบริบทของพื้นที่ เช่น รูปแบบของเครือ่ งแต่งกาย ลวดลาย สีสนั และชนิด ของผ้าที่สวมใส่ เช่น มุสลิมเพศชายในตะวันออกกลาง นิยมใส่ชุดโต๊ป (Thobe) ซึ่งเป็นชุดยาวคลุมข้อเท้า แขนยาว ส่วนใหญ่เป็นสีขาว ในขณะทีผ่ หู้ ญิง ส่วนใหญ่ สวมชุ ด คลุ ม ยาวสี เ ข้ ม เรี ย กว่า อบายา (Abaya) ซึ่ ง หมายถึ ง ชุ ด ที่ มี ค วามเรี ย บง่ายทั้ ง ด้ า นสี สั น และ รูปแบบ ในขณะที่มุสลิมในแถบประเทศเอเชียหรือ แอฟริกามีการน�ำเอาแฟชั่นตะวันตกมาปรับรูปแบบให้ เหมาะกับหลักศาสนา ผู้หญิงมีการปกปิดเส้นผมและ ศีรษะด้วยผ้าคลุมฮิญาบ (Hijab) ที่มีรูปแบบและสีสัน ที่แตกต่างกัน ดังนั้นเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายของมุสลิม จึงมีววิ ฒ ั นาการของการออกแบบและแฟชัน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง มากมาย มีการน�ำเอาแฟชัน่ ตะวันตกเข้ามา ปรับใช้ทำ� ให้ชดุ ดูแปลกตา สวยงาม น�ำสมัย มีลวดลายและสีสัน หลากหลายมากขึ้น


word power

SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text

3 ความเชื่อกับการบริโภค ศาสนาอิ ส ลามมี ข ้ อ ก� ำ หนด เรื่องการกินดื่มที่เคร่งครัด นั่นคือ มุสลิมต้องบริโภคสิ่งที่เป็นฮาลาล ห้ามแตะต้องสิ่งที่เป็นฮะรอม ทั้งนี้ อาหารที่เป็นฮาลาล-ฮะรอมตามหลัก ศาสนบัญญัติแบ่งออกเป็น 3 เรื่อง หลักๆ ได้แก่

• เนื้อสัตว์ มุสลิมต้องบริโภคแต่สัตว์ที่ถูกเชือด อย่างถูกต้องตามหลักอิสลาม เช่น การไม่ท�ำให้สัตว์ ต้องเครียดหรือทรมานอย่างไม่จ�ำเป็น สัตว์ต้องได้รับ การดูแลอย่างดีก่อนโดนฆ่า สัตว์จะต้องไม่เห็นสัตว์ ตั ว อื่ น ถู ก ฆ่ า ผู ้ ท� ำ การเชื อ ดสั ต ว์ จ ะต้ อ งเป็น มุ ส ลิ ม ต้องเอ่ยพระนามของพระเจ้าก่อนการเชือด และจะต้อง ปล่อยให้เลือดไหลจนหมดก่อนท�ำการแปรรูป เป็นต้น นอกจากนี้ ผูป้ ระกอบการต้องทราบว่ามุสลิมไม่สามารถ รับประทานเนื้อหมู เนื้อสุนัข ส่วนผสมที่ท�ำมาจากหมู เลือดของสัตว์ ซากสัตว์หรือสัตว์ทตี่ ายเองโดยธรรมชาติ รวมถึ ง สั ต ว์ มี พิ ษ สั ต ว์ ที่ เ ป็ น ผู ้ ล ่ า สั ต ว์ ที่ มี ก รงเล็ บ สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ

• เครื่ อ งดื่ ม มุ สลิ มไม่สามารถดื่ มเครื่ อ งดื่ ม ที่ มี ส่วนผสมของแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า เบียร์ ไวน์ ผลิตภัณฑ์ พื้นบ้านที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ รวมถึงเครื่องดื่ม และอาหารที่ท�ำให้เกิดความมึนเมา

ธุรกิจร้านอาหารและธุรกิจอาหารแปรรูป รวมทัง้ สินค้า อุปโภคบริโภคต่างๆ จึงต้องค�ำนึงถึงข้อห้ามดังกล่าว และน�ำมาปรับใช้ในธุรกิจเพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้ามุสลิม เช่น อาหารหรือส่วนผสมในอาหาร จะต้องปราศจากสิง่ ต้องห้ามข้างต้น หรืออาจเขียนแสดง ส่วนประกอบและวัตถุดิบของอาหารให้ชัดเจน รวมถึง การแสดง “เครือ่ งหมายฮาลาล” ไว้ทหี่ น้าร้าน บนเมนู หรือบนบรรจุภัณฑ์ให้เห็นเด่นชัด เพื่อสร้างความมั่นใจ ว่าสินค้าดังกล่าวเป็นสินค้าฮาลาล มุสลิมสามารถ บริโภคได้ ส่วนผู้ประกอบการที่ไม่ใช่มุสลิมจ�ำเป็นต้อง มีการยื่นขอใช้ “เครือ่ งหมายฮาลาล” ซึ่งเป็นเครื่องหมาย แสดงมาตรฐานสากลที่มุสลิมทั่วโลกให้การยอมรับ • สัตว์ทะเล มุสลิมสามารถรับประทานสัตว์ทะเล เพื่อแสดงว่าสินค้าดังกล่าวได้มาตรฐานฮาลาลจริง เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา หรือสัตว์ทะเลอื่นๆ ได้โดยไม่ต้อง สามารถรองรับหรือขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มมุสลิม ผ่านการเชือด รวมทั้งส่งออกไปยังประเทศมุสลิมทั่วโลก

W w

7


8

W

word power

4 กิจวัตรของมุสลิม กฎระเบี ย บที่ เ คร่ ง ครั ด ของศาสนา อิสลามส่งผลให้ความต้องการของลูกค้า มุ ส ลิ ม มี ร ายละเอี ย ดปลี ก ย่อ ยมากมาย แตกต่างจากลูกค้ากลุ่มอื่น อาทิ

• การละหมาด 5 เวลา เป็นกิจวัตรประจ�ำวันที่ ส�ำคัญที่สุดซึ่งมุสลิมทุกคนต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด สถานที่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น สนามบิน ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร หรือสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ จึงควรจัดให้ มี ส ถานที่ แ ละสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกที่ ต อบสนอง ต่อความต้องการของชาวมุสลิม เช่น ห้องละหมาด เครือ่ งหมายบอกทิศในการละหมาดซึง่ หันไปสูก่ ะอ์บะฮ์ ในนครมักกะฮ์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย รวมถึงสถานที่ ช�ำระร่างกายก่อนเข้าละหมาด ซึ่งเป็นบริการที่มอบ ความสะดวกในการปฏิบัติศาสนกิจของมุสลิม และ ส่งผลดีต่อสถานประกอบการ รวมถึงธุรกิจท่องเที่ยว ของประเทศไทยในภาพรวมในการเป็น จุ ด หมาย ปลายทางที่เป็นมิตรกับชาวมุสลิมทั้งในประเทศและ นักเดินทางจากต่างประเทศ

• การถือศีลอดในช่วงเดือนรอมฎอน (Ramadan) เป็ น กิ จ กรรมพิ เ ศษประจ� ำ ปี ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ในเดือนที่ 9 ตามปฏิทนิ อิสลาม เรียกกันว่า “เดือนบวช” หลักศาสนา ก� ำ หนดให้ ช าวมุ ส ลิ ม ต้ อ งถื อ ศี ล อดอย่างเคร่ง ครั ด ยกเว้ น เด็ ก หญิ ง ตั้ งครรภ์ และผู ้ ปว่ ย โดยจะต้ อ ง งดอาหารและน�้ำทุกชนิด ตั้ ง แต่ เ วลาพระอาทิ ต ย์ ขึ้ น จนถึงพระอาทิตย์ตกดิน รวมถึงลดละการกระท�ำบาป ผู ้ ป ระกอบการจึ ง ควรอ� ำ นวยความสะดวกในการ ถือศีลอด งดเว้นการจัดกิจกรรมทีข่ ดั ขวางการถือศีลอด รวมถึ ง จั ด เตรี ย มอาหารฮาลาลให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ในช่วงเวลาก่อนพระอาทิตย์ขึ้น

ปัจจุบันในประเทศไทยมีที่พักฮาลาลหรือโรงแรม ฮาลาลเปิดให้บริการแก่ชาวมุสลิมมากขึ้น โดยเฉพาะ ในกรุงเทพมหานครและหัวเมืองใหญ่ ข้อแตกต่างจาก โรงแรมทั่วไปคือมีบริการเฉพาะส�ำหรับชาวมุสลิม เช่น การจัดบุฟเฟต์อาหารในช่วงละศีลอดหลังพระอาทิตย์ตก การจัดอาหารไว้ให้บริการก่อนพระอาทิตย์ขึ้น

โรงแรมฮาลาลแห่งแรกของประเทศไทย คือ “โรงแรมอัลมีรอซ” (Al Meroz) ตั้งอยู่ ในย่านรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ปัจจุบนั ส� ำ นั ก งานนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (องค์ ก าร มหาชน) และศูนย์อำ� นวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ได้รว่ มกันผลักดัน และสนั บ สนุ น ให้ ผู ้ ป ระกอบการในพื้ น ที่ 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ท� ำ ธุ ร กิ จ การ ท่องเที่ยวฮาลาลมากยิ่งขึ้ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด การลงทุ น ใหม่ ๆ ที่ จ ะส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ท้องถิ่นในอนาคต


word power

ภาครัฐกับการส่งเสริมธุรกิจฮาลาลในประเทศ • การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เปิดตัว แอปพลิ เ คชั น “Thailand Muslim Friendly” เพื่ อ น�ำเสนอสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวส�ำหรับ กลุม่ ตลาดท่อ งเที่ ย วมุ ส ลิ ม โดยรวบรวมข้ อ มู ล แหล่งท่องเที่ยว ร้านอาหารฮาลาล มัสยิด และโรงแรม ที่พักที่ตอบโจทย์การเดินทางของนักท่องเที่ยวมุสลิม จากทั่วประเทศ • คณะกรรมการส่ง เสริ ม และพั ฒ นาศั ก ยภาพ ธุรกิจและสินค้าฮาลาลแห่งชาติ จัดท�ำ “ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพธุรกิจสินค้าและบริการ ฮาลาลปี พ.ศ. 2559-2563” เพื่อใช้เป็นแผนงานในการ ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลในประเทศ • ในปี พ.ศ. 2560 สถาบันมาตรฐานและมาตรวิทยา ประเทศอิสลาม (Standard and Metrology Institute for Islamic Countries: SMIIC) รั บ ประเทศไทย เข้าเป็นสมาชิกองค์การความร่วมมือของกลุ่มประเทศ อิ ส ลาม หรื อ OIC ซึ่ ง เป็ น การสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ในตราสัญลักษณ์มาตรฐานฮาลาลของประเทศไทย

สิ่งส�ำคัญที่สุดในการประกอบ ธุรกิจเพื่อรองรับลูกค้ามุสลิม คือ ผู ้ ป ระกอบการจ� ำ เป็น ต้ อ งศึ ก ษา ปฏิบัติตามหลักของศาสนาอิสลาม ทีม่ ผี ลต่อพฤติกรรมและวิถชี วี ติ ของ ชาวมุสลิม รวมถึงท�ำความเข้าใจ พฤติกรรมแบบฮาลาลอย่างรอบด้าน เพื่อให้สามารถน�ำเสนอสินค้าและ บริ การที่ เ ป็นมิตรต่อลูกค้ามุส ลิม ได้ ต รงจุ ด ท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ สามารถ ขยายกลุ่มเป้าหมายและต่อยอด ในเชิงธุรกิจในวงกว้าง รวมทัง้ สร้าง สภาพแวดล้ อ มให้ ป ระเทศไทย เป็นจุดหมายปลายทางที่มิตรกับ ชาวมุสลิม ตัง้ แต่การเดินทาง ทีพ่ กั ร้านอาหาร สถานพักผ่อนหย่อนใจ กิจกรรมท่องเที่ยว ไปจนถึงสินค้า ฮาลาลอย่างครบวงจร

• กระทรวงพาณิชย์ระบุประเทศไทยเป็นผู้ส่งออก อาหารฮาลาลติดอันดับที่ 10 ของโลก • ภาครัฐจัดท�ำนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก (Thai Kitchen to the World)” พร้อมหนุนอาหารฮาลาล สู่ชาติอาหรับ • หน่ว ยงานพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมฮาลาล (Halal Industry Development Corporation: HDC) ประเทศ มาเลเซีย และสภาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ประเทศไทย ร่ ว มลงนามในบั น ทึ ก ความเข้ า ใจ (MOU) เพื่อส่งเสริมสร้างการค้า การลงทุน พร้อมทั้ง ขยายโอกาสและช่องทางการตลาดระหว่างผูป้ ระกอบการ อุ ต สาหกรรมฮาลาลของทั้ ง สองประเทศ ในงาน การประชุมฮาลาลโลก ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 • OKMD สร้างสรรค์เนือ้ หาผ่านสือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ ในรูปแบบดิจิทัลและออนไลน์ เพื่อกระตุกต่อมคิดและ สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้ประกอบการยุคใหม่มองเห็น ช่องทางและโอกาสในการต่อยอดธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยวฮาลาล

W

9


10

Tt

The Knowledge

เจาะลึกยุทธศาสตร์ฮาลาลไทย แนวโน้มการเพิ่มจ�ำนวนขึ้นของประชากรที่นับถือศาสนาอิสลาม ส่งผลให้ธุรกิจ ฮาลาลมีการขยับขยายและหลากหลายยิ่งขึ้นในปัจจุบัน จึงเป็นที่คาดการณ์กันว่า ตลาดเศรษฐกิจฮาลาลจะเป็นตลาดเกิดใหม่ที่ทรงอิทธิพลและมีอัตราการเติบโต ที่ ร วดเร็ ว ที่ สุ ด และน่ า จะเป็ น หนึ่ ง ในโอกาสใหม่ ที่ น ่ า สนใจมากที่ สุ ด ส� ำ หรั บ ผู้ประกอบการไทย

จับตาตลาดฮาลาลกับโอกาสที่ก�ำลังเติบโต

ปัจจุบนั ชาวมุสลิมทัว่ โลกมีประมาณ 1,800 ล้านคน กระจายอยูต่ ามภูมภิ าคต่างๆ ทัว่ โลก ส�ำหรับ 5 ประเทศทีม่ จี ำ� นวนประชากรมุสลิมมากทีส่ ดุ ได้แก่

1

2

3

4

5

อินโดนีเซีย ร้อยละ

ปากีสถาน ร้อยละ

อินเดีย ร้อยละ

บังกลาเทศ ร้อยละ

อียปิ ต์ ร้อยละ

12.7

11

10.9

9.2

4.9


The Knowledge

เห็นได้ว่า 4 ใน 5 ของประเทศที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุดตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะ อินโดนีเซียเพื่อนบ้านของไทยที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลก ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้นักลงทุน มองเห็นโอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมและธุรกิจฮาลาลในเอเชีย เพื่อตอบสนองความต้องการ ในด้านต่างๆ ของชาวมุสลิม ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยเองทีใ่ นระยะหลังก็มงุ่ พัฒนาขีดความสามารถ ในการรองรับธุรกิจฮาลาลเพื่อสร้างโอกาสใหม่ๆ ทางเศรษฐกิจด้วยเช่นกัน ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เศรษฐกิจฮาลาลเติบโตอย่างรวดเร็วโดยมีชาวมุสลิมเป็นกลุ่มผู้บริโภคหลัก มีดังนี้

01

ประชากรมุสลิมเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น ถือเป็นสัดส่วน 1 ใน 4 ของโลก

สังคมยุคใหม่เปิดโอกาสให้ชาวมุสลิมเข้าท�ำงานในสาขา อาชีพที่หลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา และกลุม่ ประเทศยุโรปมีชาวมุสลิมทีม่ คี วามสามารถเข้าไป เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงขององค์กร

02

03

04

05

ในประเทศมุสลิม เช่น อินโดนีเซีย มาเลเซีย รวมถึงกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง จ�ำนวน ชาวมุ ส ลิ ม ที่ มี ฐ านะร�่ ำ รวยและคนชั้ น กลาง ที่ มี ก� ำ ลั ง ซื้ อ มี จ� ำ นวนเพิ่ ม มากขึ้ น จากความ ก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและสื่อสังคมช่วยให้ชาวมุสลิม สามารถเข้าถึงข้อมูลบนโลกออนไลน์ได้อย่างง่ายดาย ท�ำให้สามารถสืบค้นแหล่งซือ้ สินค้าในต่างประเทศ รวมถึง แหล่งท่องเทีย่ ว ทีพ่ กั และรายละเอียดการเดินทาง เพือ่ น�ำ ไปวางแผนการจับจ่ายเงินและการท่องเทีย่ วได้ดว้ ยตัวเอง

ผู้ป ระกอบการมองเห็ น โอกาสและมี ความตื่ น ตั วในการพั ฒนาสิ่ ง อ� ำ นวย ความสะดวกเพื่อรองรับกลุ่มนักท่องเที่ยวมุสลิม โดยเฉพาะอาหารฮาลาล รวมถึง สินค้า บริการ และสถานที่ท่องเที่ยว ที่เป็นมิตรกับชาวมุสลิม SCAN QR CODE เพื่อรับชม Clip

W t

11


12

t W

The Knowledge

ตัวอย่างธุรกิจฮาลาลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและมีมูลค่ามากที่สุด ได้แก่ 1 อุตสาหกรรม การผลิต อาหาร เครื่องดื่ม เครื่องส�ำอาง เครือ่ งนุง่ ห่ม เครือ่ งหนัง

2 การท่องเที่ยว โรงแรม ที่พัก ภัตตาคาร บริการที่เกี่ยวข้อง

3 การเงิน ธนาคาร ประกันภัย พันธบัตร

5 6 สื่อสิ่งพิมพ์ โครงสร้างพืน้ ฐาน และบันเทิง มาตรฐานฮาลาล หนังสือ นิตยสาร ระบบการผลิตห้อง ภาพยนตร์ ดนตรี ปฏิบัติการ การรับรอง สินค้าฮาลาล

4 การแพทย์ ผลิตภัณฑ์ ทางการแพทย์ ยารักษาโรค สมุนไพร 7 ไอซีที ซอฟต์แวร์ เว็บไซต์

ที่มา: สถาบันฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ประเทศไทยอยู่ตรงไหน ในตลาดฮาลาลโลก

ประเทศไทยมีประชากรที่เป็นชาวมุสลิมประมาณ 5% ของประชากรทั้งประเทศ หรือราว 3.5 ล้านคน นอกจากนี้ จ ากการส� ำ รวจในปี พ.ศ. 2562 พบว่ า ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 2 ของประเทศที่ไม่ใช่ประเทศ มุสลิม (Non-OIC) ทีเ่ ป็นจุดหมายปลายทางการท่องเทีย่ ว ของชาวมุ ส ลิ ม ทั่ ว โลก เป็ น รองเพี ย งแค่ส าธารณรั ฐ สิงคโปร์ ในแง่ข องศั ก ยภาพการผลิ ต ประเทศไทย มีความพร้อมสูงในการผลิตสินค้าฮาลาลเพือ่ ส่งออกไปยัง กลุม่ ประเทศมุสลิม (OIC) โดยในปี พ.ศ. 2561 ประเทศไทย มีการส่งออกสินค้าฮาลาลเป็นอันดับ 9 ของโลก สินค้าฮาลาลส่งออกที่ส�ำคัญของไทย ได้แก่ อาหาร มูลค่า 1.83 แสนล้านบาท แฟชั่น เครื่องนุ่งห่ม มูลค่า 3.22 พันล้านบาท SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text

เครื่องส�ำอาง มูลค่า 1.38 หมื่นล้านบาท ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ


The Knowledge

เพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจ พิชิตตลาดฮาลาล ประเทศไทยมีการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพธุรกิจสินค้าและบริการฮาลาล เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถของผูป้ ระกอบการไทยในการแข่งขันในระดับนานาชาติ โดยเป็นการส�ำรวจและประเมิน จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจ�ำกัดของไทย เพื่อมองหาโอกาสในการพัฒนาและลงทุนในอนาคต

จุดแข็ง

ภาคบริการของไทย มีความโดดเด่นและหลากหลาย ประเทศไทยมีภาคบริการที่มีคุณภาพและมีความ หลากหลาย โดยเฉพาะบริการด้านสาธารณสุขและ บริการด้านท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูง มีความพร้อม ในการให้บริการเป็นที่ยอมรับในระดับต้นๆ ของโลก และมี ศั ก ยภาพที่ จ ะพั ฒ นาให้ เ ป็ น บริ ก ารฮาลาล ในระยะต่ อ ไป เช่ น โรงแรมและที่ พั ก ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ ชาวมุสลิม ร้านอาหารถูกสุขลักษณะ ห้องน�้ำสะอาด ได้มาตรฐาน ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนเป็นจุดเด่นที่จะผลักดัน อุตสาหกรรมฮาลาลของประเทศให้เติบโตยิ่งขึ้น ประเทศไทยมีองค์กรสนับสนุน อุตสาหกรรมฮาลาลอย่างชัดเจน ภาครัฐได้กำ� หนดนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลโดยเฉพาะ ทั้งระยะสั้น และระยะยาว อีกทั้งไทยมีความชัดเจนในการพัฒนา มาตรฐานอาหารฮาลาล ทั้ ง ในด้ า นนโยบายและ ด้ า นการตรวจรั บ รองฮาลาลตามหลั ก การศาสนา มีการประกาศใช้มาตรฐานอาหารฮาลาลภายใต้ พรบ. สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มีหน่วยงานหลักอย่าง “คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย” เป็น ผู้ก�ำหนดและประกาศใช้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ฮาลาล ให้ถกู ต้องตามบัญญัตแิ ห่งศาสนาอิสลามและมาตรฐาน สากล รวมทั้งเป็นผู้อนุญาตให้ใช้เครื่องหมายฮาลาล เพื่อขยายโอกาสในการแข่งขันในตลาดสินค้าฮาลาล ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ประเทศไทยมีศักยภาพ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาล ทั้งด้านสินค้าและบริการ ประเทศไทยมี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ด ้ านทรั พ ยากร จนได้ชอื่ ว่าเป็น “ครัวโลก” ถือเป็นแหล่งวัตถุดบิ ในการผลิต และส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมถึงประเทศมุสลิม โดยในปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรและ อาหารฮาลาลล�ำดับที่ 13 ของโลก ทั้งนี้ประเทศไทย มีความพร้อมหลายด้านทีเ่ อือ้ ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม ฮาลาล เช่น วัตถุดิบที่อุดมสมบูรณ์ เครื่องจักรและ เทคโนโลยีในการแปรรูปที่ทันสมัย สามารถสนองตอบ ความต้องการบริโภคสินค้าและบริการฮาลาลในประเทศ และต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกัน กิจกรรม ในภาคบริการของไทย เช่น การท่องเทีย่ วและการบริการ สาธารณสุขก็เป็นที่ยอมรับ และสามารถตอบสนอง ความต้องการของตลาดได้ในระดับโลก ประเทศไทยมีความร่วมมือ ที่เข้มแข็งกับต่างประเทศ หน่วยงานของไทย เช่น ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันมาตรฐานฮาลาล แห่งประเทศไทย ได้มีการลงนามบันทึกความเข้าใจกับ องค์กรมุสลิมในต่างประเทศ เพื่อความร่วมมือในการ พัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ยังมี การสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการ พัฒนาบริเวณพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ด้านตะวันออก แถบชายแดน ไทย-มาเลเซีย ซึง่ ให้ความส�ำคัญกับการขยายความร่วมมือ ด้านธุรกิจและอุตสาหกรรมฮาลาล ทัง้ ส่วนทีเ่ ป็นอาหาร มิ ใ ช่ อ าหาร และการบริ ก าร เพื่ อ ผลั ก ดั น เขตพื้ น ที่ อันดามันให้เป็นศูนย์ธรุ กิจฮาลาลและศูนย์การท่องเทีย่ ว ฮาลาล ขณะเดียวกันก็เร่งขับเคลื่อนให้พื้นที่ภาคใต้ ตอนล่างเข้ า สู่ก ารเป็ น ศู น ย์ อุ ต สาหกรรมฮาลาล เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจฮาลาลในส่วนพื้นที่อ่าวไทย

T

13


14

T

The Knowledge

จุดอ่อน

การพัฒนาบริการฮาลาลของไทย ยังอยู่ในระยะเริ่มต้น ผูป้ ระกอบการ SME ของไทยส่วนหนึง่ ยังขาดความรู้ ความเข้ า ใจในการประกอบธุ ร กิ จ บริ ก ารฮาลาลให้ สอดคล้องกับหลักศาสนาและความต้องการของลูกค้า มุส ลิ ม เนื่ อ งจากยังขาดข้อมูล ด้านเทคโนโลยี และ บุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถเฉพาะด้านทีจ่ ะพัฒนา ธุรกิจบริการฮาลาลให้มปี ระสิทธิภาพ จึงมีความจ�ำเป็น ต้องเร่งพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการตลาด กลุ่มผู้บริโภคฮาลาล รวมถึงนักท่องเที่ยวชาวมุสลิม ที่เพิ่มจ�ำนวนในตลาดท่องเที่ยวโลกอย่างต่อเนื่อง

ประเทศไทยยังขาดบุคลากรที่มี ความช�ำนาญในการตรวจรับรองฮาลาล การรับรองเครือ่ งหมายมาตรฐานฮาลาลในประเทศไทย ไม่ว่าจะส�ำหรับสินค้า อาหาร หรือการบริการจ�ำเป็น ต้ อ งให้ อ งค์ ก รทางศาสนาอิ ส ลามเป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การ โดยมีงานด้านวิทยาศาสตร์ฮาลาลเข้ามาช่วยสนับสนุน เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ แก่ผู ้ บ ริ โ ภค แม้ อ งค์ ก ร ศาสนาจะมี ค วามเข้ ม แข็ ง ในระดั บ หนึ่ ง ในด้ า นการ ตรวจรับรอง แต่ก็ยังจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาบุคลากร ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ฮ าลาลให้ มี ค วามพร้ อ มมากขึ้ น ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ

ระบบคุ้มครองผู้บริโภคฮาลาล โดยรวมยังไม่เข้มแข็ง ในประเทศไทยยังพบปัญหาการปนเปือ้ นสิง่ ต้องห้าม ในอาหารฮาลาลอยูบ่ อ่ ยครัง้ ส่งผลกระทบต่อความเชือ่ มัน่ ของต่างประเทศที่มีต่ออาหารฮาลาลจากประเทศไทย หน่ วยงานที่ เ กี่ ย วข้องจึงมีความจ�ำ เป็นเร่งด่วนที่ จะ ต้ อ งสร้ า งมาตรฐานสิ น ค้ า และบริ ก ารฮาลาลที่ มี ความรัดกุม ชัดเจน รวมถึงมีมาตรฐานการคุ้มครอง ผู้บริโภคที่เข้มแข็ง เพื่อยกระดับคุณภาพสินค้าและ บริการฮาลาลไทยให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก

ประเทศไทยขาดการจัดเก็บข้อมูล อุตสาหกรรมฮาลาลอย่างเป็นระบบ ประเทศไทยยั ง ขาดการจ� ำ แนกชั ด เจนระหว่าง สิ น ค้ า ฮาลาลกั บ สิ น ค้ า อื่ น ๆ ท� ำ ให้ ไม่ส ามารถใช้ ประโยชน์เพื่อประกอบการพิจารณาก�ำหนดทิศทาง การพัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลแบบครบวงจรได้อย่าง เต็มที่ นอกจากนี้ยังส่งผลให้ขาดการบูรณาการและ ความต่อเนื่องในการด�ำเนินงานพัฒนาอุตสาหกรรม ฮาลาลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


The Knowledge

โอกาสของประเทศไทยในตลาดฮาลาล สินค้าและบริการฮาลาลไทยยังมีโอกาสทางการตลาดสูง ผู้บริโภคชาวมุสลิมมีจ�ำนวนมากและส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเชีย อี ก ทั้ ง ยั ง นิ ย มเดิ น ทางมาท่อ งเที่ ย วในประเทศไทย จึ ง เป็น โอกาส ให้ประเทศไทยขยายส่วนแบ่งในตลาดโลกให้สงู ขึน้ ขณะเดียวกันชาวมุสลิม ในกลุ่มประเทศยุโรปและอ่าวอาหรับที่มีก�ำลังซื้อสูง นิยมบริโภคอาหาร นอกบ้านเพิม่ ขึน้ จึงเป็นตลาดทีม่ ศี กั ยภาพสูงอีกแห่งหนึง่ ส�ำหรับการส่งออก สินค้าฮาลาลของไทยในอนาคต วิกฤตการณ์อาหารโลกเป็นโอกาส ส�ำหรับการส่งออกอาหารฮาลาลของไทย ปัญหาโรคระบาด ภัยธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ของโลก สร้างความเสียหายให้แก่พนื้ ทีแ่ ละผลผลิตทางการเกษตรในหลาย ประเทศทั่วโลก ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารในประเทศก�ำลังพัฒนา และประเทศยากจน ส�ำหรับประเทศไทยวิกฤตนี้จัดว่าเป็นโอกาสส�ำหรับ การส่งออกผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร รวมทัง้ อาหารฮาลาลของไทย ซึง่ เป็นแหล่งผลิตวัตถุดบิ ทางการเกษตรและอาหารทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ของโลก ความต้องการบริการฮาลาลในต่างประเทศมีแนวโน้มสูงขึ้น เมือ่ การท่องเทีย่ วฮาลาลเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้ธรุ กิจบริการด้านการ ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพและสามารถอ�ำนวยความสะดวกด้านอาหารและ กิจกรรมทีเ่ ป็นมิตรต่อชาวมุสลิมเป็นทีต่ อ้ งการเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะบริการ ทางการแพทย์และการรักษาพยาบาล บริการครัวฮาลาลในโรงพยาบาล และโรงแรม รวมถึงบริการดูแลผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีการ แพร่ระบาดของโรคโควิด -19 ซึ่งประเทศไทยได้รับการจัดอันดับให้เป็น ประเทศที่ฟื้นตัวจากโรคโควิด -19 เป็นอันดับ 1 จาก 184 ประเทศทั่วโลก ท�ำให้ความต้องการบริการด้านการแพทย์ของไทยเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย ประเทศไทยมีเครือข่ายการค้าที่ดีกับประเทศมุสลิม ประเทศไทยมีความร่วมมือในระดับภูมภิ าค ภายใต้กรอบ ASEAN IMT-GT และ BIMSTEC โดยประชากรมุสลิมภายใต้กรอบความร่วมมือดังกล่าว มีอยูถ่ งึ 578 ล้านคน ซึง่ เปิดโอกาสให้ประเทศไทยสามารถส่งออกผลิตภัณฑ์ อาหารฮาลาลไปยังกลุ่มประเทศมุสลิมทั่วโลก (OIC) และมีแนวโน้ม จะส่งออกเพิ่มอย่างต่อเนื่อง โดยสินค้าที่นิยมส่งออก ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ข้าว และเครือ่ งปรุงรส อาหารทะเลแปรรูป ผักและผลไม้บรรจุกระป๋อง ผลิตภัณฑ์ จากนม เป็นต้น

T

15


16

T

The Knowledge

กรุงเทพมหานครกับเส้นทางท่องเที่ยวของชาวมุสลิม กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงและจุดหมายปลายทางส�ำคัญที่มีความพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยว มุสลิมจากทัว่ โลก ซึง่ มีแนวโน้มจะเติบโตเป็นกลุม่ ผูบ้ ริโภคหลักในอนาคต เนือ่ งจากมีความพร้อมในทุกด้าน ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคมที่อ�ำนวยความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยว บุคลากรที่มีทักษะในการท�ำงาน การบริการ และสามารถสื่อสารภาษาต่างๆ กับชาวต่างชาติ รวมถึงยังมีสินค้า บริการ และแหล่งท่องเที่ยวที่ พร้อมรองรับนักท่องเที่ยวมุสลิมอยู่มากมาย สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ท�ำการศึกษาวิจัยพฤติกรรมและ ความต้องการของกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวมุสลิม จนน�ำไปสู่การออกแบบรูปแบบการบริการฮาลาลที่เหมาะสม โดยได้ร่วมมือกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ผู้เชี่ยวชาญด้านมุสลิม บล็อกเกอร์ (Blogger) สายท่องเที่ยว และตัวแทน ท่องเทีย่ วทัว่ ประเทศกว่า 700 แห่ง เพือ่ สร้างคูม่ อื ท่องเทีย่ วฮาลาล ซึง่ ประกอบด้วยข้อมูลโรงแรม ร้านอาหาร มัสยิด ธุรกิจบริการ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวมุสลิม โดยเส้นทางท่องเที่ยว และกิจกรรมที่น�ำเสนอเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวมุสลิม แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเลือกซื้อสินค้า แหล่งท่องเที่ยวในย่านใจกลางเมือง เดินทางสะดวกด้วยการคมนาคมทีเ่ ชื่อมโยง ผ่านรถไฟฟ้าบีทเี อส (BTS) และรถไฟฟ้าใต้ดนิ เอ็มอาร์ที (MRT) โดยเน้นประสบการณ์ จับจ่ายซื้อของให้นักท่องเที่ยวแบบครบวงจร เช่น ศูนย์การค้าเอ็มบีเค เซ็นเตอร์ ศู น ย์ ก ารค้ า สยามดิ ส คั ฟ เวอรี ศู น ย์ ก ารค้ า สยามพารากอน พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สั ต ว์ น�้ ำ ซี ไลฟ์ โอเชียน เวิลด์ กรุงเทพฯ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การค้าเกษร วิลเลจ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล ชิดลม ศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี เดอะ แพลทินัม แฟชั่น มอลล์ ฯลฯ ซึ่งพื้นที่บริเวณนี้มีร้านอาหารฮาลาลและห้องละหมาดไว้รองรับ นักท่องเที่ยวมุสลิม นอกจากนี้บริเวณใกล้เคียงยังมีสถานที่ท่องเที่ยวเชิงพิพิธภัณฑ์ และศิ ล ปวั ฒ นธรรม เช่น หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานคร พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ บ้ า นจิ ม ทอมป์สั น ชุ ม ชนมุ ส ลิ ม บ้ า นครั ว ซึ่ ง เป็ น แหล่งท่องเที่ ย วที่ ส ะท้ อ น ความเป็นไทยสู่สายตานักท่องเที่ยวต่างชาติ ต่างวัฒนธรรม กลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วบริเวณริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา สามารถ เดิ น ทางด้ ว ยรถไฟฟ้ า บี ที เ อส เชื่ อ มต่ อ กั บ เรื อ ด่ ว น เจ้ า พระยา เพื่ อ เที่ ย วชมสถานที่ ที่ มี ค วามเชื่ อ มโยง ถึงประวัติศาสตร์ มรดกทางวัฒนธรรม และวิถีชุมชน ของไทย เช่น พระบรมมหาราชวัง วัดอรุณราชวราราม พิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน มัสยิดบางหลวง มัสยิดโกชา มิสยิดฮารูณ มัสยิดต้นสน โรงภาษีสไตล์ยุโรป เป็นต้น ขณะเดียวกันก็มีสถานที่ท่องเที่ยวทันสมัย มีสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกครบครันซึ่งนักท่องเที่ยวฮาลาลสามารถ เดิ น ทางท่ อ งเที่ ย วได้ ใ นบริ เ วณริ ม แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา เช่น ศูนย์การค้าไอคอนสยาม ศูนย์การค้าเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟรอนท์ ไปจนถึงกิจกรรมที่นักท่องเที่ยว ชื่นชอบอย่างการล่องเรือชมความสวยงามของแม่น�้ำ เจ้าพระยา และการรับประทานอาหารบนเรือพร้อม ชมวิวแม่น�้ำ เป็นต้น


The Knowledge

กระตุ้นเศรษฐกิจชายแดนใต้ด้วย SME ฮาลาล

ภาคใต้ของประเทศไทยมีประชากรชาวมุสลิมอาศัยอยู่มากที่สุด โดยเฉพาะในพื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ซึ่งหน่วยงานอย่าง ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ ศูนย์อำ� นวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ได้จดั ท�ำโครงการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรม ส�ำหรับผู้ประกอบการ SME เพื่อช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยจัดการอบรม ให้ค�ำปรึกษาในการ ขอทุน และการจัดตั้งธุรกิจ โดยที่ผ่านมามี SME ที่ได้ริเริ่มธุรกิจและประสบความส�ำเร็จมาแล้ว ยกตัวอย่างเช่น Fiin Delivery​แพลตฟอร์มให้บริการรับ-ส่งอาหาร เปิดช่องทางสั่งซื้ออาหารออนไลน์ เบญจเมธา โรงงานเซรามิกจากเนือ้ ดินท้องถิน่ ผสมผสานเอกลักษณ์และกลิน่ อายวัฒนธรรม มุสลิมในพื้นที่ชายแดนใต้ NASREEN ข้าวเกรียบปลาทอดกรอบไอเดียใหม่ ผลิตในรูปแบบแท่งและแบบแผ่นเพื่อให้ สะดวกต่อการรับประทาน

หน่วยงานให้ค�ำปรึกษา ธุรกิจฮาลาล

ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย www.halalscience.org

ส�ำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลาม แห่งประเทศไทย www.cicot.or.th สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย www.halalstandard.or.th ในยุคทีท่ กุ คนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารแบบรอบด้านผ่าน โลกออนไลน์ นักท่องเทีย่ วมุสลิม ซึง่ เป็นกลุม่ นักท่องเทีย่ ว ที่ มี ค วามต้ อ งการพิ เ ศษเฉพาะตั ว ก็ ส ามารถค้ น หา ข้อมูลเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเชิงลึกได้มากขึ้นเช่นกัน ไม่วา่ จะเป็นจุดหมายปลายทางทีใ่ ห้บริการอาหารฮาลาล ที่ พั ก ที่ มี สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกส� ำ หรั บ การปฏิ บั ติ ศาสนกิจของชาวมุสลิม รวมถึงประสบการณ์ท่องเที่ยว และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในลักษณะอื่นที่เป็นมิตร กับนักท่องเทีย่ วมุสลิม แน่นอนว่าประเทศใดที่สามารถ พั ฒ นาศั ก ยภาพ เพื่ อ รองรั บ การท่ อ งเที่ ย วฮาลาล ได้อย่างรอบด้าน สามารถสร้างความเชื่อมั่นต่อสินค้า และบริการฮาลาลในประเทศ มีการสร้างมาตรฐาน สิ น ค้ า ฮาลาลให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ รวมถึ ง มี ก ารส่ง เสริ ม

กรมการท่องเที่ยว www.dot.go.th/home การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย thai.tourismthailand.org/home ผู้ประกอบการธุรกิจฮาลาลอย่างครบวงจร ประเทศนั้น ย่อมได้เปรียบ ในการแข่งขันและช่วงชิงความได้เปรียบ ในตลาดการค้าและการท่องเที่ยวฮาลาล เห็นได้ว่าการเจาะตลาดฮาลาลต้องอาศัยการ วางแผนยุทธศาสตร์อย่างรอบด้าน และไม่มองข้าม รายละเอียดแม้เพียงเล็กน้อย เพราะทุกองค์ประกอบ มีส่วนส�ำคัญในการผลัดกันให้อุตสาหกรรมฮาลาล ในประเทศเติบโต สุดท้ายแล้วผูท้ ไี่ ด้รบั ผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิ จ มากที่ สุ ด ก็ คื อ ประชาชนในชาติ ซึง่ หากไม่เร่งช่วงชิงพืน้ ทีท่ างการตลาด ประเทศไทย เราอาจถูกประเทศที่พัฒนาด้านฮาลาลได้ดีกว่ามา “ดิสรัป” ก็เป็นได้!

T

17


18

o

one OF a kind

AL MEROZ

อัลมีรอซ คือโรงแรมฮาลาลแห่งแรก ของไทย มีสถานที่ประกอบศาสนกิจ และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกทีเ่ หมาะกับ ชาวมุสลิม

ธุรกิจฮาลาล BLEISURE

CRESCENT

DR. AHMAD

TRAVEL

RATING

ELNAGGAR

EGYPT

บริษทั ชัน้ น�ำสัญชาติสงิ คโปร์ ทีใ่ ห้บริการข้อมูลข่าวสารที่ เป็นประโยชน์ตอ่ นักท่องเทีย่ ว และผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ ฮาลาล

นักเศรษฐศาสตร์ชาวอียปิ ต์ ผูก้ อ่ ตัง้ ธนาคาร Mit Ghamr Savings Bank ซึง่ ปราศจาก ดอกเบี้ ย ตามหลักศาสนา อิสลาม

ประเทศทีใ่ ห้กำ� เนิดธนาคาร อิ ส ลามครั้ ง แรกของโลก ซึ่งกลายเป็นรากฐานของ ธนาคารอิ ส ลามทั่ ว โลก ในเวลาต่อมา

การเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย วรู ป แบบใหม่ที่ ผ สมระหว่ าง ค�ำว่า Business และ Leisure หมายถึงการพักผ่อนหย่อนใจ ระหว่างไปท�ำงานต่างถิน่

GLOBAL MUSLIM FRIENDLY TRAVEL

TRAVEL INDEX

HALAL

INDONESIA

การท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม เมือ่ ใช้ในบริบท ของการท่องเที่ยวฮาลาล จะหมายถึงที่ท่องเที่ยวซึ่ง รองรับชาวมุสลิม

ผลส�ำรวจดัชนีการท่องเทีย่ ว ของชาวมุสลิมทัว่ โลก เพือ่ ให้ เห็นทิศทางการพัฒนาและ การลงทุนในธุรกิจฮาลาลใน ประเทศต่างๆ

ในภาษาอาหรั บ แปลว่ า อนุมตั ิ เมือ่ ใช้ในบริบททาง ศาสนาอิสลามจะหมายถึง สิง่ ทีศ่ าสนาอนุมตั ใิ ห้กนิ ดืม่ และปฏิบตั ิ

อินโดนีเซียมีประชากรทีน่ บั ถือ ศาสนาอิสลามร้อยละ 87 ของ ประเทศ ถือเป็นประเทศทีม่ ี ชาวมุสลิมมากทีส่ ดุ ในโลก

PA SS PO RT

MUSLIM-FRIENDLY JOURNEY.CLOUD

KEBAB

LOW SEASON

HOTEL

แอปพลิเคชันส�ำหรับเขียน บันทึกประจ�ำวันออนไลน์ เป็ น ชุ ม ชนที่ เ น้ น แบ่ ง ปั น เรื่องราวน่าสนใจระหว่าง การเดินทางท่องเทีย่ ว

อาหารอาหรับทีไ่ ด้รบั ความ นิยมจากนักท่องเทีย่ วมุสลิม มีลกั ษณะคล้ายกับบาร์บคี วิ ทีน่ ำ� เนือ้ วัว ไก่ แพะ แกะ และ ผักมาเสียบไม้ยา่ ง

ช่ ว งเวลาที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว เดิ น ทางมาน้ อ ยเพราะ ไม่ใ ช่ ฤ ดู ก าลท่อ งเที่ ย ว ของพื้ น ที่ นั้ น ๆ ข้ อ ดี คื อ คนไม่เยอะ ตัว๋ เดินทางและ ที่พักราคาไม่สูง

โรงแรมที่จัดเตรียมสภาพ แวดล้ อ มและสิ่ ง อ� ำ นวย ความสะดวกให้เหมาะสม กับนักท่องเทีย่ วมุสลิม เช่น ห้องละหมาด อาหารฮาลาล


one Of a kind

NON-OIC

กลุม่ ประเทศทีไ่ ม่ใช่ประเทศมุสลิม ประเทศไทยจัดเป็นประเทศ Non-OIC ที่มีนักท่องเที่ยวมุสลิมมาเยือนมากเป็นอันดับ 2 รองจากสิงคโปร์

ORGANIZATION OF ISLAMIC

PRAYER MAT

COOPERATION: OIC

ผ้าปูส�ำหรับละหมาด เป็น ผ้าสะอาดขนาดประมาณ 3 x 5 ฟุ ต นิ ย มใช้ ผ ้ า ก� ำ มะหยี่ ที่ มี สั ญ ลั ก ษณ์ แสดงถึ ง ความภั ก ดี ต่อ พระเจ้า

องค์การความร่วมมืออิสลาม ตั้ ง ขึ้ น ในปี 2512 เพื่ อ ความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิ จ สั ง คมระหว่าง ประเทศมุสลิม 57 ประเทศ

QURAN

อั ล กุ ร อ า น คื อ คั ม ภี ร ์ ศักดิส์ ทิ ธิข์ องศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมเชื่อว่าเป็นคัมภีร์ สุดท้ายทีอ่ ลั ลอฮ์มอบให้แก่ มนุษยชาติ

RAMADAN

ชื่ อ เรี ย กเดื อ นแห่ งการ ถื อ ศี ล อดของชาวมุ ส ลิ ม คนไทยเรียกว่าเดือนรอมฎอน ซึ่ ง ห้ า มชาวมุ ส ลิ ม บริ โ ภค อาหารตัง้ แต่พระอาทิตย์ขนึ้ จนถึงตกดิน

THE CENTRAL ISLAM SALAH

COUNCIL OF THAILAND

UMRAH

VISA

การละหมาดเป็นการแสดง ความเคารพต่อ อั ล ลอฮ์ วันละ 5 เวลา ทุกครัง้ จะต้อง หันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของนครมักกะฮ์

ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ กลางอิสลามแห่งประเทศไทย (กอท.) ให้คำ� ปรึกษาเรือ่ งที่ เกีย่ วกับศาสนาอิสลาม และ ออกใบรั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหารฮาลาล

อุมเราะห์ คือการเดินทาง ไปแสวงบุ ญ และปฏิ บั ติ ศาสนากิ จ ที่ น ครมั ก กะฮ์ ซึง่ ถือเป็นการแสวงบุญเล็ก ก่อนเข้าสูเ่ ทศกาลฮัจญ์

ชาวมุ ส ลิ ม จะต้ อ งยื่ น ขอ วีซ่าส�ำหรับแสวงบุญ หรือ Hajj Visa จากทางการ ซาอุดีอาระเบีย ก่อนที่จะ เดิ น ทางไปร่ว มพิ ธี ฮั จ ญ์ ณ นครมักกะฮ์

WORLD HALAL FEST

XE CURRENCY

YANA RESTAURANT

ZAKAT

มหกรรมสินค้าและบริการ ฮาลาลระดับนานาชาติ เพือ่ ส่งเสริมและยกระดับธุรกิจ ฮาลาลของไทยให้แข่งขันได้ ในระดับโลก

แอปพลิ เ คชั น เช็ ค อั ต รา แลกเปลีย่ นเงินตรา เหมาะ ส�ำหรับผู้ที่เดินทางระหว่าง ประเทศ สามารถแปลงค่า ของหลายสกุลเงินได้ภายใน ครัง้ เดียว

ร้านอาหารฮาลาลใน ศูนย์การค้าเอ็มบีเค เซ็นเตอร์ ให้บริการอาหารไทยและ อาหารฮาลาลเพื่ อ รองรั บ นักท่องเทีย่ วมุสลิม

ซะกาต คื อ การท� ำ ทาน ประจ� ำ ปี โดยชาวมุ ส ลิ ม ต้องน�ำอาหารหรือทรัพย์สนิ ส่ว นหนึ่ ง มอบให้ แ ก่ ผู ้ อื่ น ในเดื อ นรอมฎอนเพื่ อ ลด ความตระหนี่

O

19


20

N W

next

SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text

มุสลิม มิลเลนเนียลส์ บุกวงการท่องเที่ยวโลก

เมื่อชาวมุสลิมกลายเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวหลักของโลกที่ไม่จ�ำกัดการเดินทางเฉพาะในกลุ่มประเทศมุสลิม ด้วยกันอีกต่อไป เมืองท่องเทีย่ วหรือแหล่งท่องเทีย่ วแห่งใดทีม่ สี งิ่ อ�ำนวยความสะดวกตรงตามหลักศาสนาอิสลาม มากทีส่ ุดย่อมกลายเป็นจุดหมายปลายทางยอดนิยมของนักท่องเที่ยวมุสลิมรุ่นใหม่ได้ไม่ยาก สิ่งที่เติบโตตามมาคือ “การท่องเที่ยวฮาลาล” (Halal Tourism) ซึ่งเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่ตอบสนอง ความต้องการของชาวมุสลิมที่มีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างจากนักท่องเที่ยวกลุ่มอื่น ตั้งแต่โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร การคมนาคมขนส่ง กิจกรรมการท่องเที่ยว สถานพักผ่อนหย่อนใจ และที่ส�ำคัญคือ การมีสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกต่อการปฏิบตั ศิ าสนกิจประจ�ำวันของชาวมุสลิม น�ำไปสูเ่ ทรนด์ทเี่ รียกว่า “Muslim-Friendly Tourism” หรือการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อนักท่องเที่ยวมุสลิม ซึ่งผู้ประกอบการควรเตรียมความพร้อมส�ำหรับขยายโอกาส ทางธุรกิจ เพื่อให้สามารถรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


next

“Millennials” ผู้บริโภคหลักที่มีอิทธิพลต่อตลาด การแยกกลุ ่ ม คนตามช่ ว งวั ย และอายุ จ ะท� ำ ให้ เ ข้ า ใจพฤติ ก รรมและแรงขั บ เคลื่ อ นทางความคิ ด ของคนในแต่ละรุน่ หรือเจเนอเรชันได้ดยี งิ่ ขึน้ ในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมามีคำ� หนึง่ ทีใ่ ช้กนั แพร่หลายในวงการสือ่ และการตลาดนั่นคือ “มิลเลนเนียลส์” (Millennials) หรือเรียกอีกชื่อว่า “เจเนอเรชันมี” (Generation Me) หมายถึงกลุม่ คนทีเ่ กิดระหว่างปี พ.ศ. 2524 ถึง 2539 หรือมีอายุประมาณ 24-39 ปี ณ ปี พ.ศ. 2563 อย่างไรก็ดี การให้ค�ำนิยามคนกลุ่มมิลเลนเนียลส์จะเน้นที่อุปนิสัยมากกว่าอายุ ลักษณะเด่นของคนกลุ่มนี้ คือมีความเป็นตัวของตัวเองสูง บางครั้งอาจถือตัวเองเป็นศูนย์กลาง มีการศึกษาดี ใช้เทคโนโลยีเก่ง ท�ำงานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกัน ให้ความส�ำคัญกับคุณค่ามากกว่า ปริมาณ แสวงหาความส�ำเร็จ เปลี่ยนงานบ่อย วิถีชีวิตและความชอบของคนกลุ่มมิลเลนเนียลส์มีอิทธิพล ค่อนข้างสูงต่อทิศทางตลาดในปัจจุบนั โดยเฉพาะแนวคิดทีเ่ น้นความสมดุลระหว่างการท�ำงานและการใช้ ชีวิต (Work-Life Balance) ชาวมิลเลนเนียลส์จึงนิยมใช้วันหยุดหรือเวลาว่างในการออกเดินทางท่องเที่ยว เพื่อแสวงหาประสบการณ์ใหม่ และน�ำแบ่งปันพร้อมแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อสังคมอยู่เสมอ เมื่ อ ชาวมิ ล เลนเนี ย ลส์ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนวัย ท� ำ งานจึ ง มี ก� ำ ลั ง ซื้ อ บวกกั บ ความเชี่ ย วชาญ ด้านเทคโนโลยีและวิธีคิดที่ส่งเสริมให้ออกไปใช้ชีวิต ท�ำให้ “การท่องเที่ยว” กลายเป็นกิจกรรมที่ตอบโจทย์ คนกลุม่ นีไ้ ด้มาก ไม่วา่ จะเป็นการท่องเทีย่ วภายในประเทศหรือต่างประเทศ โดยอาศัยเทคโนโลยีและข้อมูล ข่าวสารที่มีอยู่เป็นจ�ำนวนมากช่วยในการวางแผนและจัดการการเดินทาง

N

21


22

N

next

ท�ำความรู้จัก มุสลิม มิลเลนเนียลส์ (MMT) ปัจจุบันกลุ่มนักท่องเที่ยวมุสลิมกลายเป็น ผู ้ บ ริ โ ภคหลั ก ที่ เ ข้ า มากระตุ ้ น เศรษฐกิ จ และ อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วทัว่ โลก ผ่านการเดินทาง และการใช้ บ ริ ก ารสถานประกอบการต่ า งๆ ที่ยึดโยงกับหลักปฏิบัติทางศาสนา ทั้งนี้ชาวมุสลิม ที่ เ ดิ น ทางท่อ งเที่ ย วมากที่ สุ ด คื อ คนกลุ่ม มุ ส ลิ ม มิ ล เลนเนี ย ลส์ หรื อ “Muslim Millennials Travelers: MMT” โดยคาดว่าในอีก 2-3 ปีขา้ งหน้า ตลาดท่ อ งเที่ ย วมุ ส ลิ ม มี แ นวโน้ ม จะขั บ เคลื่ อ น ด้วยคนกลุ่มนี้อย่างเต็มรูปแบบ ผู้ประกอบการ จึงควรท�ำความเข้าใจความต้องการของคนกลุ่ม มุสลิมมิลเลนเนียลส์ให้ถ่องแท้ เพื่อโอกาสในการ สร้างหรือปรับเปลี่ยนธุรกิจให้สอดรับกับเทรนด์ การท่องเที่ยวฮาลาลในอนาคต


next

เข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภค กลุ่ม MMT

ร้อยละ 40 ของนักท่องเที่ยวมุสลิม คือ คนกลุ่ม MMT

ท่องเที่ยวเพื่อ การพักผ่อนและการพัฒนาตนเอง

อายุประมาณ 24-39 ปี (ในปี พ.ศ. 2563)

เดินทางท่องเที่ยวปีละ 2-5 ครั้ง ครั้งละประมาณ 5-6 วัน

ส่วนใหญ่เดินทางมาจาก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน)

ใช้จ่ายในการ ท่องเที่ยวทริปละ 16,000 - 63,000 บาท

นิยมไปเที่ยวกับ เพื่อนและครอบครัว ใช้บริการขนส่งสาธารณะ เน้นสถานที่ที่ไปถึงง่าย เดินทางสะดวก

วางแผนล่วงหน้า ก่อนเดินทางราว 1-6 เดือน ใช้อินเทอร์เน็ต ในการติดต่อสื่อสารเป็นหลัก

ที่มา: งานวิจัย Global Muslim Travel Index

N

23


24

D W

next

มุสลิมมิลเลนเนียลส์กับ การเลือกจุดหมายปลายทางท่องเที่ยว การที่นักท่องเที่ยวกลุ่ม MMT จะเลือกประเทศ เมือง หรือแหล่งท่องเที่ยวใดเป็นจุดหมายปลายทาง การท่องเที่ยวในแต่ละทริปอาศัยปัจจัยต่อไปนี้ในการประกอบการตัดสินใจ โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุม่ หลักๆ ซึง่ ช่วยให้ผปู้ ระกอบการใช้เป็นเครือ่ งมือในการพัฒนาสินค้าและบริการทีต่ อบโจทย์นกั ท่องเทีย่ ว กลุ่มนี้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความเป็นของแท้ (Authentic)

ราคาเหมาะสม (Affordable)

เข้าถึงง่าย (Accessible)

ที่มา: TAT Review Magazine

จุดหมายปลายทาง มีเอกลักษณ์ที่เป็น ของแท้

อาหารท้องถิ่น รองรับ ความเป็นฮาลาล

แผนการเดินทาง ยืดหยุ่น สามารถปรับ ให้เข้ากับวิถีมุสลิม

โรงแรมและที่พัก ราคาคุ้มค่า

บริการขนส่ง สาธารณะสะดวก

การสัมผัส ประสบการณ์ แปลกใหม่ในราคา สมเหตุสมผล

เทคโนโลยี ทันสมัย รองรับ การออนไลน์และ การติดต่อทางไกล

การเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร บริการ ด้านการท่องเที่ยว ได้ง่าย

การแบ่งปัน ประสบการณ์ ได้ทันที


next

โอกาสในการดึงดูด นักท่องเที่ยว MMT ผ่านโลกออนไลน์ จากประชากรมุสลิมทั่วโลกที่มีเกือบ 2 พันล้านคน ในจ�ำนวนนี้ร้อยละ 60 คือชาวมุสลิมที่มีอายุ ต�ำ่ กว่า 30 ปี ซึง่ ก็คอื คนกลุม่ MMT ทีส่ ามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างช�ำนาญ ก่อนทีจ่ ะตัดสินใจเดินทางท่องเทีย่ ว มักใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลและวางแผนทริปท่องเที่ยว โดยจากผลส�ำรวจดัชนีการท่องเที่ยวของ ชาวมุสลิมทั่วโลกประจ�ำปี พ.ศ. 2561 (Global Muslim Travel Index: GMTI 2018) ระบุว่าคนกลุ่ม MMT มักศึกษาข้อมูลผ่านโลกออนไลน์ด้วยวิธีการต่อไปนี้

ติดตามอินฟลูเอนเซอร์ สายท่องเที่ยว

ชมคลิปวิดีโอ เพื่อดูบรรยากาศจริง

แบ่งปันประสบการณ์ ได้ทันที

มองหาอะไร? ร้านอาหารฮาลาล

โรงแรม/ที่พักที่เป็นมิตร กับชาวมุสลิม

มัสยิดหรือสถานที่ ละหมาดที่อยู่ใกล้ๆ กิจกรรมท่องเที่ยวที่มอบ ประสบการณ์แปลกใหม่

เห็นได้ชัดว่ากลุ่ม MMT มีแนวโน้มที่จะเลือกจุดหมายปลายทางที่สามารถตอบโจทย์ความต้องการ ได้ดีที่สุด โดยข้อมูลออนไลน์และสื่อสังคมมีผลอย่างมากต่อการตัดสินใจเลือกจุดหมายปลายทาง รวมถึ ง ซื้ อสินค้าและบริการ ดังนั้นหน้าที่ของผู้ประกอบการจึงไม่เพียงที่จะต้องพัฒนาสินค้าและบริการที่ ตอบโจทย์นักท่องเที่ยวกลุ่มมุสลิมมิลเลนเนียลส์ แต่ยังต้องเข้าใจทิศทางของการท่องเที่ยวฮาลาล รวมถึง รู้เท่าทันพฤติกรรมของคนกลุ่ม MMT พร้อมคิดหากลยุทธ์ทางการตลาดที่จะมัดใจนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ให้ได้ ใครเคลื่อนไหวก่อน ย่อมได้เปรียบ

N

25


26

WI

INSIDE Okmd

การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ในพื้นที่พหุวัฒนธรรมชายแดนใต้ โลกยุคข้อมูลข่าวสารท�ำให้ทุกคนสามารถเข้าถึงชุดความรู้ต่างๆ ได้อย่างง่ายดาย ยิ่งมีความรู้และ มุมมองที่กว้างไกลมากเท่าไรก็ยิ่งมีโอกาสในการพัฒนาและสร้างอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการ ในตลาดปัจจุบันมากขึ้นเท่านั้น ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรือ OKMD เป็นหน่วยงานที่ให้ความส�ำคัญกับ การจัดการ พัฒนา และส่งต่อองค์ความรู้ให้แก่ประชาชน ภายใต้แนวคิด “Knowledge is Opportunity” หรือ ความรู้เปรียบดังประตูน�ำไปสู่โอกาสใหม่ในชีวิต โดยเฉพาะความรู้ที่เกี่ยวข้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ของโลก สามารถสร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้คนรุ่นใหม่เห็นโอกาสและการเตรียมพร้อมในการพัฒนาทักษะ ที่จ�ำเป็นในศตวรรษที่ 21 สถาบั น อุ ท ยานการเรี ย นรู ้ เป็น หน่ ว ยงานในสั ง กั ด OKMD จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็น แหล่ง เรี ย นรู ้ ที่ มุ่ง เน้ น การปลูกฝังและส่งเสริมนิสัยรักการอ่านการเรียนรู้ และการแสวงหาความรู้อย่างสร้างสรรค์ต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมถึงการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ หลากหลายรูป แบบ อั น เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการส่ง เสริ ม และต่อ ยอดให้ เ กิ ด การเรี ย นรู ้ ยิ่ ง ขึ้ น โดยร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรที่สนใจและมีความพร้อมในการพัฒนาอุทยานการเรียนรู้ ขึ้นในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ


INSIDE Okmd

I

ปัจจุบันมีอุทยานการเรียนรู้เครือข่ายที่เปิดให้บริการแล้วในระดับจังหวัด รวม 29 แห่ง ใน 22 จังหวัด และ พื้นที่เรียนรู้ขนาดเล็ก 20 แห่ง รวมทั้งพื้นที่ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างหรือปรับปรุง อีก 7 แห่ง โดยในภาคใต้ มีอุทยานการเรียนรู้เครือข่ายมากที่สุด รวม 10 แห่ง ได้แก่ 6 อุทยานการเรียนรู้บ้านพรุ 1 อุทยานการเรียนรู้ยะลา 7 อุทยานการเรียนรู้สตูล 2 อุทยานการเรียนรู้ปัตตานี 8 อุทยานการเรียนรู้นครภูเก็ต 3 อุทยานการเรียนรู้นราธิวาส 9 อุทยานการเรียนรู้สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 4 อุทยานการเรียนรู้นครหาดใหญ่ เคหะรัษฎา จังหวัดภูเก็ต 5 อุทยานการเรียนรู้สงขลา 10 อุทยานการเรียนรู้นครศรีธรรมราช

แผนที่เครือข่าย TK Park Network วชช.น่าน อบจ.เชียงราย อบจ.พะเยา ทน.พะเยา

ทน.อุดรธานี รพ.ค่ายประจักษ์ศิลปาคม จ.อุดรธานี

ทม.แม่ฮ่องสอน

กรมทหารราบที่ 16 จ.ยโสธร

ทน.ล�ำปาง มูลนิธินิยมปัทมะเสวี จ.ล�ำปาง พิพิธภัณฑ์เมืองล�ำปาง ทน.ล�ำปาง

อบจ.ร้อยเอ็ด กองพลทหารราบที่ 6 จ.ร้อยเอ็ด

ทน.แม่สอด จ.ตาก ทน.พิษณุโลก

ทน.นครราชสีมา กองทัพภาคที่ 2 จ.นครราชสีมา กรมทหารราบที่ 23 จ.นครราชสีมา

ศูนย์การบินทหารบก จ.ลพบุรี ทม.อ่างทอง

กรมทหารราบที่ 6 จ.อุบลราชธานี

โรงเรียนทหารขนส่ง จ.นนทบุรี กรมการทหารช่าง จ.ราชบุรี อุทยานการเรียนรู้ VR park กทม.

อบจ.ปราจีนบุรี

กองพลที่ 1 รักษาพระองค์ กทม.

อบจ.ศรีสะเกษ จังหวัดบุรีรัมย์

กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ จ.ปราจีนบุรี

กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ กทม.

อบจ.สมุทรสาคร

หน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก กทม.

ทน.สมุทรสาคร

สโมสรทหารบก กรมสวัสดิการทหารบก กทม.

กองพันทหารสื่อสารที่ 101 จ.สมุทรสาคร

กองบัญชาการกองทัพบก กทม.

ทม.ฉะเชิงเทรา อบจ.ระยอง ทน.ระยอง ทน.หาดใหญ่ จ.สงขลา ทน.สงขลา ทม.บ้านพรุ จ.สงขลา กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15 จ.สงขลา ทน.นครศรีธรรมราช

อบจ.สุราษฎร์ธานี อบจ.กระบี่ ทน.ภูเก็ต สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน เคหะรัษฎาภูเก็ต ทน.ยะลา

อบจ.ตราด

ทม.ปัตตานี

ทม.สตูล

กรมทหารราบที่ 152 จ.ปัตตานี

ทม.เบตง จ.ยะลา

ทม.นราธิวาส

อุทยานการเรียนรู้สี่มุมเมือง ทน.ยะลา

อุทยานการเรียนรู้ระดับจังหวัด

กรมทหารราบที่ 151 จ.นราธิวาส

อยู่ระหว่างการปรับปรุง/ก่อสร้าง

ห้องสมุดมีชีวิตในค่ายทหาร / Mini TK

27


28

I

INSIDE Okmd

สถาบันอุทยานการเรียนรู้ยังได้ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในระดับโรงเรียนและ ชุมชน ได้แก่

แหล่งเรียนรู้

ภาคีเครือข่าย

ห้องสมุดมีชีวิตในรูปแบบตู้คอนเทนเนอร์ ในโรงเรียนในพืน้ ทีห่ า่ งไกล 76 แห่ง ใน 76 จังหวัด

กรมโยธาธิการและผังเมือง

แหล่งเรียนรู้มีชีวิตระดับต�ำบล

ภาคีเครือข่ายที่มีศูนย์เรียนรู้ - ส�ำนักงานคณะกรรมการดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย - กรมการพัฒนาชุมชน - ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ

E-Library ในห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี 103 แห่งทั่วประเทศ

ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย

อุท ยานการเรีย นรู ้ ย ะลากั บ การสร้ า งความเท่ า เที ย ม ทางการเรียนรู้ ในพื้นที่ชายแดนใต้

อุ ท ยานการเรี ย นรู ้ ย ะลา บริ ห ารงานโดยเทศบาลนครยะลา นับเป็นอุทยานการเรียนรู้ในระดับภูมิภาคแห่งแรกของสถาบันอุทยาน การเรี ย นรู ้ เปิ ด ให้ บ ริ ก ารเมื่ อ เดื อ นมกราคม พ.ศ. 2550 โดยมี ก าร จัดการเรียนรู้ภายใต้บริบทวัฒนธรรมท้องถิ่นชายแดนใต้ผสมผสานกับ เทคโนโลยีที่ทันสมัย น�ำเสนอสาระความรู้ผ่านหนังสือ ดนตรี กิจกรรม และสื่อมัลติมีเดีย ให้ประชาชนทุกเชื้อชาติและศาสนาได้เรียนรู้ร่วมกัน อั น เป็ น ยุ ท ธศาสตร์ ห นึ่ ง ในกระบวนการพั ฒ นา การสร้ า งสั น ติ สุ ข ความเข้าใจ ความสามัคคี และความเท่าเทียมกันให้เกิดขึ้นในสังคม พหุวัฒนธรรมแห่งนี้ ผ่าน 4 กลุ่มกิจกรรมหลัก ประกอบด้วย

1.

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

เพื่อปลูกฝังและสร้างนิสัยรักการอ่านผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การเล่านิทาน โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ TK Mobile Library โครงการ Reading Power ปล่อยพลังรักการอ่าน การประกวดการอาซาน หรือเสียงเรียกสู่การละหมาด โครงการครอบครัวอัจฉริยะ...ด้วยการอ่าน

TK Mobile Library


INSIDE Okmd

โครงการ Reading Power

2

โครงการครอบครัวอัจฉริยะ...ด้วยการอ่าน

การส่งเสริมทักษะชีวิต

เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและสร้างจิตส�ำนึกรักบ้านเกิดให้แก่เด็กและเยาวชน อันจะน�ำไปสู่ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการเยาวชนจิตอาสาพัฒนาทีเค ปลูกฝังจิตส�ำนึกด้านจิตสาธารณะ ต่อการท�ำงานเพื่อชุมชน โครงการอบรมการท�ำอาหาร บูดู มากกว่าทรงเครื่อง โครงการอบรมภาษามาลายู แกแจะนายู โครงการเลี้ยงลูกอย่างไรไม่ให้ถูกบูลลี่ โครงการอบรมท�ำอาหาร สูตรอร่อยกับอินทผาลัม

อบรมการท�ำอาหาร บูดู มากกว่าทรงเครื่อง

โครงการเลี้ยงลูกอย่างไรไม่ให้ถูกบูลลี่

อบรมภาษามาลายู แกแจะนายู

I

29


30

I

INSIDE Okmd

3

การส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม

เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการสร้างจินตนาการ ผ่านการใช้สื่อศิลปะและกิจกรรมทางวัฒนธรรม เช่น โครงการเรียนรู้ทักษะทางศิลปะ โครงการอักษรศิลป์ภาษาอาหรับ/ภาษาจีน โครงการลุย ล่อง เล่าเรื่อง เมืองยะลา โครงการ Creative Food หมี่เบตง สร้างสรรค์จัดจาน สร้างศิลป์

โครงการ Creative Food

โครงการอักษรศิลป์ภาษาอาหรับ/ภาษาจีน

โครงการลุย ล่อง เล่าเรื่อง เมืองยะลา

4

การส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เพื่อให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการแสวงหา ความรู ้ แ ละเรี ย นรู ้ ต ลอดชี วิ ต สามารถน� ำ ความรู ้ ด ้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละไอที ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น โครงการแล็บวิทย์ โครงการ Brain เกมคณิต วิทย์สนุก โครงการ Smart App สมาร์ตแอปผู้สูงอายุ โครงการ Go Green โก กรีน เพื่อการแยกขยะ ในครัวเรือน โครงการแล็บวิทย์


INSIDE Okmd

โครงการ Brain เกมคณิต วิทย์สนุก

โครงการ Go Green

โครงการ Smart App สมาร์ตแอปผู้สูงอายุ

ความรู้ ไม่ ได้อยู่แค่ในห้อง

ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด -19 อุทยานการเรียนรู้ยะลาและห้องสมุดมีชีวิตไม่อาจท�ำหน้าที่เป็น พื้นที่ส�ำหรับการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้กันได้ แพลตฟอร์มออนไลน์และอินเทอร์เน็ตจึงเข้ามามีบทบาท ในการสร้างห้องเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อให้ประชาชนยังสามารถเรียนรู้ได้ แม้ไม่สามารถ เดินทางมาที่อุทยานการเรียนรู้ยะลา เช่น โครงการสอนภาษาออนไลน์ โครงการสอนศิลปะออนไลน์ โครงการรู้และเข้าใจ Food Loss, Food Waste ตอน Save Food Good Life บุกบ้านคนรักษ์โลก เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และน�ำไปสู่การเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ฟมุ่ เฟือย

กิจกรรมอื่นๆ ของ OKMD เพื่อการส่งเสริมธุรกิจฮาลาล ศู น ย์ ค วามรู ้ กิ น ได้ ข อง OKMD ร่ ว มกั บ วิ ท ยาลั ย ชุมชนยะลา จัดกิจกรรม กล่องความรู้กินได้ วิเคราะห์ ทรัพยากรและอาชีพในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มโอกาสในการ พัฒนาต่อยอดและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เช่น อาชีพช่างตัดเย็บฮิญาบสตรีมุสลิม อาชีพช่างตัดเย็บ ชุดโต๊ป (มุสลิมชาย)

รายการ Knowledge Box จั ด กิ จ กรรมไลฟ์ ส ด ผ่านสือ่ สังคม เรือ่ ง Halal Tourism โอกาสใหม่สำ� หรับ การท่องเที่ยวแบบฮาลาล เพื่อช่วยให้ผู้ประกอบการ และผู ้ ส นใจสามารถมองเห็ น ช่ อ งทางและโอกาส ในการต่อยอดธุรกิจ และเพิม่ ศักยภาพด้านการท่องเทีย่ ว ที่เป็นมิตรกับชาวมุสลิมมากยิ่งขึ้น

I

31


32

D

Digitonomy

รวมมิตรข้อมูลตัวเลข ธุรกิจฮาลาล (HALAL BUSINESS) คาดการณ์ปี

ผู้บริโภคมุสลิมทั่วโลก

1,900

พ.ศ. 2603 ประชากรมุสลิมทั่วโลก จะมีมากกว่า

ล้านคน

คิดเป็น

3 พันล้านคน

24.36%

คิดเป็น

ของประชากรโลก

31.1% ของประชากรโลก

ที่มา: ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว (CTRD) สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ที่มา: World Population Review

มูลค่าตลาดอาหารฮาลาลทั่วโลก ปี พ.ศ. 2562 ประมาณ

35

ล้านล้าน บาท

พ.ศ. 2562

34,366 ล้านล้านบาท

1.11%

พ.ศ. 2561

34,754 ล้านล้านบาท

3.55%

พ.ศ. 2560

33,561 ล้านล้านบาท

8.27%

พ.ศ. 2559

30,995 ล้านล้านบาท ที่มา: กระทรวงพาณิชย์

อันดับประเทศผู้ส่งออกอาหารฮาลาล พ.ศ. 2562 อันดับ 1 สหรัฐอเมริกา อันดับ 2 เนเธอร์แลนด์ อันดับ 3 บราซิล

อันดับ 4 เยอรมนี

อันดับ 5 จีน

อันดับ 6 สเปน

อันดับ 7 ฝรั่งเศส

อันดับ 8 แคนาดา

อันดับ 9 อิตาลี

อันดับ 10 เบลเยียม

อันดับ 11 อินเดีย

อันดับ 12 ไทย

ที่มา: กระทรวงพาณิชย์


Digitonomy

D W

มูลค่าการส่งออก อาหารฮาลาลของไทย พ.ศ. 2562 อันดับ 12

ของโลก

อันดับ 3

ของเอเชีย (รองจากจีนและอินเดีย)

อันดับ 1

ในอาเซียน ที่มา: กระทรวงพาณิชย์

มูลค่าการส่งออก อาหารฮาลาลของไทย

พ.ศ. 2559-2562

3

อันดับตลาดส่งออก อาหารฮาลาลของไทย พ.ศ. 2562

พ.ศ. 2562

8.75 แสนล้านบาท

2.23%

พ.ศ. 2561

8.95 แสนล้านบาท

6.17%

พ.ศ. 2560

8.43 แสนล้านบาท

11.21%

พ.ศ. 2559

7.58 แสนล้านบาท ที่มา: กระทรวงพาณิชย์

จีน

สหรัฐอเมริกา/กลุ่มประเทศ องค์การความร่วมมืออิสลาม

ญี่ปุ่น ที่มา: กระทรวงพาณิชย์

ผลิตภัณฑ์

152,636 ผลิตภัณฑ์

เครื่องหมายการค้า

12,517 รายการ

ที่มา: ส�ำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย

โรงงาน

3,386 4,703 6,955 โรงงาน

ผู้ท�ำธุรกิจฮาลาลไทย

ราย

ใบรับรอง

รายการ

SCAN QR CODE เพื่อรับชม GIF

33


34

D

Digitonomy

COVID-19 และผลกระทบต่อ การใช้จ่ายของผู้บริโภคมุสลิม มูลค่าการบริโภคสินค้าฮาลาล ของชาวมุสลิมทั่วโลก

60.26 มากกว่า

ล้านล้านบาท

เครื่องส�ำอาง และความงาม

1.97 พันล้านบาท

2.5%

ยาและเวชภัณฑ์

2.8

อาหารฮาลาล

34.9

พันล้านบาท

6.9%

ล้านล้านบาท

0.2%

ภาคการเดินทาง และท่องเที่ยว

เครื่องแต่งกาย และแฟชั่น

8.36

5.79 พันล้านบาท

สื่อและความบันเทิง

6.62

พันล้านบาท

2.9%

70%

พันล้านบาท

3.7%

ที่มา: State of the Global Islamic Economy Report, 2563-2564

ตลาดสินค้าฮาลาลท่ี ไทยส่งออกมากที่สุด 5 อันดับแรก

1

2

3

จีน

กลุ่มประเทศ มุสลิม (OIC) 57 ประเทศ

(ประชากรมุสลิม 6.8 ล้านคน)

(ประชากรมุสลิม 137.8 ล้านคน)

ที่มา: State of the Global Islamic Economy Report, 2563-2564

สหรัฐฯ

4 อินเดีย

(265.8 ล้านคน)

5

รัฐเซีย

(24.7 ล้านคน)


Digitonomy

D W

หน่วยงานอนุญาตใช้เครือ่ งหมายฮาลาลและหนังสือรับรอง การผลิ ต อาหารฮาลาลในประเทศไทย คื อ ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย (สกอท)

ประเภทการรับรองฮาลาลในประเทศไทย สถานประกอบการ ผลิตอาหาร

สถาน ประกอบการเชือด

สินค้าน�ำเข้า (สารปรุงแต่ง อาหารส�ำเร็จรูป เนื้อสัตว์)

การบริการ (ร้านอาหาร โรงแรม สปา โรงพยาบาล) ที่มา: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

ถอดรหัสเลขรับรองฮาลาลไทย

สนง.คณะกรรมการกลาง อิสลามแห่งประเทศไทย

ฮาลาล เป็นภาษาอาหรับอยู่ สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมีพื้นหลังเป็น แถบเส้นตรงแนวตั้ง

เดือน ปี ที่อนุมัติ/ เดือน ปี ที่ออกรหัส ผลิตภัณฑ์

รหัสผลิตภัณฑ์/ กลุ่มประเภทสินค้า รหัสบริษัท/ เลขทะเบียน

รหัสสินค้าผลิตภัณฑ์บริษัท/ เลขตามล�ำดับรายการ ที่มา: ส�ำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย

35


36

D

DECODE

เคล็ดลับการเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านฮาลาล ประชากรมุสลิมเป็นกลุ่มที่มีอัตราการเติบโตรวดเร็วที่สุด ส่งผลให้ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับฮาลาลขยายตัวอย่าง ต่อเนื่อง ไม่วา่ จะเป็นธุรกิจการท่องเที่ยว โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร ตลอดจนสินค้าอุปโภคบริโภคต่างๆ ประเทศที่ นับถือศาสนาอิสลามอาจจะคุน้ เคยกับการรองรับผูบ้ ริโภคและนักท่องเทีย่ วกลุม่ นี้ ตรงข้ามกับประเทศทีไ่ ม่ใช่ประเทศ มุสลิมทีต่ อ้ งท�ำความเข้าใจกลุม่ เป้าหมายเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบบริการให้เหมาะสม เครสเซนต์เรตติ้ง (CrescentRating) บริษัทสัญชาติสิงคโปร์ ซึ่งถือก�ำเนิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2551 กลายเป็นบริษัท ระดับโลกที่ประสบความส�ำเร็จในการเป็นผู้น�ำด้านการท่องเที่ยวแบบฮาลาล หลังหันมาเจาะตลาดเกี่ยวกับธุรกิจ การท่องเที่ยวแบบฮาลาลเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 ปัจจุบันบริษัทกลายเป็นผู้ให้บริการด้านข้อมูลเกี่ยวกับ การท่องเที่ยวฮาลาล มีการท�ำแบบส�ำรวจและเก็บสถิติที่น่าเชื่อถือที่หลายหน่วยงานน�ำไปใช้อ้างอิง รวมถึง ให้บริการให้ค�ำปรึกษาแก่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วโลกในการส่งเสริมธุรกิจฮาลาลแบบครบวงจร ความส�ำเร็จและการเติบโตแบบก้าวกระโดดของเครสเซนต์เรตติง้ จึงเป็นกรณีศกึ ษาทีน่ า่ สนใจส�ำหรับผูป้ ระกอบการ ที่สนใจธุรกิจที่เกี่ยวกับฮาลาลทุกประเภท

สร้างธุรกิจจากการวิเคราะห์พฤติกรรม

ในการเริ่มท�ำธุรกิจ สิ่งส�ำคัญคือต้องรู้จักและเข้าใจ กลุม่ เป้าหมายเป็นอันดับแรก ทว่าในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา แม้ อุ ต สาหกรรมท่อ งเที่ ย วทั่ ว โลกจะเริ่ ม ตื่ น ตั ว กั บ การเพิ่มขึ้นของกลุ่มนักท่องเที่ยวมุสลิมที่มีการเดินทาง และการใช้ จา่ ยเงิ น นอกประเทศมากขึ้ น แต่ก ลั บ ไม่มีการเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบเพื่อน�ำมาอธิบาย ปรากฏการณ์ท่องเที่ยวที่ไม่ขัดต่อหลักศาสนบัญญัติ ของอิสลาม ขณะที่ประเทศสิงคโปร์มีประชากรมุสลิม คิดเป็นร้อยละ 16 ของประเทศ และพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ ถู ก แวดล้ อ มด้ ว ยประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ มี ป ระชากร ส่วนใหญ่เป็นมุสลิม ได้แก่ มาเลเซีย ซึง่ มีประชากรมุสลิม ร้อยละ 66 บรูไนดารุสซาลาม ร้อยละ 75 และอินโดนีเซีย ร้อยละ 87 เมื่อเล็งเห็นโอกาสจากสถานการณ์ทั้งสอง ประการนี้ บริษทั เครสเซนต์เรตติง้ จ�ำกัด จึงพลิกโฉมธุรกิจ ด้วยการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการเก็บรวบรวม จัดการ และสร้างฐานข้อมูลเชิงลึกจากข้อมูลผู้บริโภคที่เป็น ชาวมุสลิมจ�ำนวนมาก ซึง่ ท�ำให้บริษทั สามารถก้าวขึน้ มา เป็นผู้น�ำในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวฮาลาลระดับโลก ในปัจจุบัน

ท�ำความ รู้จักกลุ่ม เป้าหมาย

ส�ำรวจ เก็บข้อมูล เชิงสถิติ

งานของเครสเซนต์ เ รตติ้ ง คื อ การส� ำ รวจและ เก็บข้อมูลเชิงสถิติ ทั้งเรื่องการเดินทาง การจับจ่าย ใช้ ส อย และการท่อ งเที่ ย วของชาวมุ ส ลิ ม เพื่ อ ช่ ว ย ในการท�ำความเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคเชิงลึกผ่าน การวิเคราะห์ข้อมูล (Big Data) และสรุปออกมาเป็น ชุดข้อมูลที่สามารถช่วยอธิบายพฤติกรรมการท่องเที่ยว ของนักท่องเทีย่ วมุสลิมได้อย่างแม่นย�ำ ก่อนจะน�ำข้อมูล เหล่ า นั้ น มาบู ร ณาการเป็ น แผนงานภาคปฏิ บั ติ แ ละ ส่งมอบให้หน่วยงานรัฐและเอกชน รวมถึงผูป้ ระกอบการ ธุ ร กิ จ ประเภทต่างๆ น� ำ ไปปรั บ ใช้ จ ริ ง เพื่ อ รองรั บ การเติบโตอย่างรวดเร็วของตลาดการท่องเที่ยวฮาลาล โดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วมุสลิมเดินทางไปยัง สถานทีต่ ่างๆ ทั่วโลกได้อย่างถูกต้องตามหลักบัญญัติ ของศาสนาอิ ส ลาม ส่ ว นผู ้ ป ระกอบการก็ ส ามารถ พัฒนาและน�ำเสนอสินค้าและบริการทางการท่องเทีย่ ว ที่ ต อบสนองความต้ อ งการของชาวมุ ส ลิ ม ได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ

วิเคราะห์ พฤติกรรม

สร้าง นวัตกรรม


DECODE

สร้างนวัตกรรมที่ส่งเสริมตลาดฮาลาลให้เติบโต นอกเหนือจากการบริการให้ขอ้ มูลและค�ำแนะน�ำแก่องค์กร หน่วยงาน และผูป้ ระกอบการทีต่ อ้ งการเข้ามาเป็น ส่วนหนึง่ ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวฮาลาล เครสเซนต์เรตติ้งยังได้สร้างนวัตกรรมของตนเองเพื่อสนับสนุนธุรกิจ ในอุตสาหกรรมฮาลาลให้เติบโตมากยิ่งขึ้นผ่านรูปแบบการสร้างนวัตกรรมที่พัฒนามาจากชุดข้อมูล ดังต่อไปนี้

จัดท�ำแผนที่ระบุพิกัดธุรกิจฮาลาลทั่วโลก

มีการรวบรวมข้อมูลและระบุพิกัดที่ตั้งของธุรกิจฮาลาลในพื้นที่ต่างๆ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการทราบว่าในแต่ละพืน้ ทีม่ ธี รุ กิจฮาลาลประเภทใดอยูบ่ า้ ง ขณะทีน่ กั ท่องเทีย่ วมุสลิมเองก็มคี มู่ อื ช่วยเลือกทีพ่ กั ร้านอาหาร และบริการ ที่ตอบสนองความต้องการของชาวมุสลิม ท�ำให้การวางแผนการท่องเที่ยว ท�ำได้ง่ายและมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

ท�ำการส�ำรวจเทรนด์ท่องเที่ยวของชาวมุสลิมทั่วโลก

มีการร่วมมือกับผู้ให้บริการเครือข่ายช�ำระเงินผ่านบัตรรายใหญ่อย่าง มาสเตอร์ ก าร์ ด (Mastercard) ท� ำ การส� ำ รวจดั ช นี ก ารท่ อ งเที่ ย วของ ชาวมุสลิมทั่วโลก และจัดท�ำเป็นรายงานประจ�ำปีที่ช่วยชี้แนะทิศทาง การพัฒนาและการลงทุนส�ำหรับการท�ำธุรกิจฮาลาลในประเทศต่างๆ

น�ำเสนอรายงานความเคลื่อนไหวของ ตลาดฮาลาลในปัจจุบัน

มีการอัปเดตเทรนด์ตลาด ผลิตและเผยแพร่ชดุ ข้อมูลทีเ่ ท่าทันสถานการณ์ ออกมาสูส่ งั คม เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการได้ทำ� ความเข้าใจความเคลือ่ นไหวและ การเติบโตของตลาดฮาลาลอย่างทันสถานการณ์

มองหานวัตกรรมส�ำหรับอนาคต

มีการแนะน�ำกลยุทธ์เฉพาะทางทีเ่ หมาะสมกับการประกอบธุรกิจฮาลาล สมัยใหม่ ช่วยมองหาทางเลือกและแนวทางแก้ปัญหาให้แก่ผู้ประกอบการ ฮาลาล เพื่อเพิ่มศักยภาพและยกระดับความสามารถให้สามารถแข่งขัน ได้ในตลาดในระยะยาว ท�ำการส�ำรวจเทรนด์ท่องเที่ยวของชาวมุสลิม ทั่วโลก มีการร่วมมือกับผู้ให้บริการเครือข่ายช�ำระเงินผ่านบัตรรายใหญ่ อย่าง มาสเตอร์การ์ด (Mastercard) ท�ำการส�ำรวจดัชนีการท่องเที่ยวของ ชาวมุสลิมทั่วโลก (Global Muslim Travel Index: GMTI) และจัดท�ำเป็น รายงานประจ�ำปีที่ช่วยชี้แนะทิศทางการพัฒนาและการลงทุนส�ำหรับ การท�ำธุรกิจฮาลาลในประเทศต่างๆ

ที่มา: www.crescentrating.com/reports/global-muslim-travel-index-2019.html

WD

37 37


38

W

DECODE

บริการครบวงจร คือกลยุทธ์แห่งความส�ำเร็จ เคล็ดลับส�ำคัญทีช่ ว่ ยผลักดันให้เครสเซนต์เรตติง้ เติบโตเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญและผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วแบบ ฮาลาลคือ การให้บริการครบวงจร (One-Stop Service) ที่ครอบคลุมทุกความต้องการ รวมถึงการคาดการณ์และ จัดเตรียมสินค้าและบริการที่เหนือความคาดหมายไว้ตอบสนองความจ�ำเป็นในอนาคตของลูกค้าอีกด้วย

1

2

3

Training Academy Halal-in-Travel การก่อตัง้ สถาบัน ซีอาร์ อะคาเดมี Consultancy Conference (CR Academy) เปิดสอนหลักสูตร ก า ร จั ด ป ร ะ ชุ ม แ ล ะ เ ส ว น า การตลาดและการบริหารทั้งแบบ ทั้ ง ในประเทศและต่างประเทศ ออฟไลน์ แ ละออนไลน์ เพื่ อ ผลิ ต เพื่ อ แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ข่าวสาร บุคลากรออกมารองรับการเติบโต ในแวดวงธุรกิจการท่องเทีย่ วฮาลาล ของธุรกิจฮาลาล

Reports การจัดท�ำและเผยแพร่รายงาน และผลส�ำรวจด้านต่างๆ ที่มีสว่ น ช่ว ยชี้ แ นะและส่ ง เสริ ม ธุ ร กิ จ และ การลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมสิ น ค้ า บริ ก าร และการท่อ งเที่ ย วฮาลาล โดยสามารถติ ด ตามอ่านได้ ผ่าน เว็บไซต์ www.crescentrating.com

6

5

4

Rating Service การเป็ น สถาบั น จั ด อั น ดั บ ความน่าเชื่อถือที่ได้รับการยอมรับ ในระดับเอเชียและระดับโลก โดยเน้น การส�ำรวจ เก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย วแบบฮาลาล เป็นหลัก

Consultancy การให้บริการให้ค�ำปรึกษาด้าน ธุ ร กิ จ การหาแนวทางในการแก้ ปัญหา การปรับทิศทางการพัฒนา และการลงทุ น ส� ำ หรั บ หน่ ว ยงาน ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ผูป้ ระกอบการ ฮาลาล รวมถึงนักลงทุนทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศ

Business Intelligence (BI) ก า ร น� ำ เ ส น อ เ ท ค โ น โ ล ยี ซอฟต์ แ วร์ ที่ ชว่ ยสรุ ป ภาพรวม ในเชิ ง ธุ ร กิ จ การท่อ งเที่ ย วฮาลาล ผ่านรู ป ภาพ กราฟ สถิ ติ เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ตั ด สิ น ใจวางแผนธุ ร กิ จ ได้ ง่ายขึ้น

ผลตอบรับจากการใช้กลยุทธ์ด้านต่างๆ ในการบริหารจัดการ ส่งผลให้เครสเซนต์เรตติ้งเป็น องค์กรทีม่ ชี อื่ เสียงระดับสากล ได้รว่ มงานกับหน่วยงานรัฐ ส�ำนักข่าว และองค์กรระดับโลกมากมาย พร้อมทั้งขยายฐานลูกค้าครอบคลุมธุรกิจหลากหลายแขนงที่ต้องการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบ ฮาลาล ยกตัวอย่างเช่น

โรงแรม

ร้านอาหาร

สปา

สายการบิน

เรือเฟอร์รี่

ที่มา: Mastercard-Crescentrating Global Muslim Travel Index (GMTI)

ห้างสรรพสินค้า

โรงพยาบาล


DECODE

GMTI หรือ Mastercard - Crescentrating Global Muslim Travel Index เป็นหนึง่ ในผลส�ำรวจ ที่ทรงอิทธิพลที่สุดในแวดวงอุตสาหกรรมฮาลาล เนื่องจากมีข้อมูลที่ส�ำคัญและเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ประกอบการธุรกิจฮาลาลในหลากหลายมิติ อาทิ การจัดอันดับรายชื่อประเทศยอดนิยมของ กลุ่มนักท่องเที่ยวมุสลิม การวิเคราะห์พฤติกรรมการท่องเที่ยวและใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิต การรายงานข้อมูลเชิงลึกถึงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว ซึ่งท�ำให้ทราบว่าธุรกิจ หรือสินค้าฮาลาลประเภทใดก�ำลังได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมุสลิมช่วยผู้ประกอบการ มีความเข้าใจในการท�ำธุรกิจฮาลาลมากยิ่งขึ้น รวมถึงยังเป็นแหล่งอ้างอิงส�ำคัญที่ช่วยให้รัฐบาล ประเทศต่างๆ น�ำมาใช้ส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อจะได้ลงทุนและพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ขั้นพื้นฐานให้พร้อมรองรับกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวมุสลิมยิ่งขึ้น

ปัจจัยพื้นฐานที่ GMTI ให้ความส�ำคัญ รายชื่อประเทศที่เป็นจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยวมุสลิมและ ประเภทธุรกิจฮาลาลที่ปรากฏในผลส�ำรวจ GMTI กลายเป็นที่สนใจ ของบรรดานักลงทุนที่ต้องการเข้ามากระตุ้นเศรษฐกิจในธุรกิจฮาลาล ซึ่งประเทศหรือธุรกิจที่จะติดอันดับของ GMTI ได้นั้น จะต้องผ่านเกณฑ์ พืน้ ฐาน 4 ประการซึง่ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง ทัง้ ภาครัฐ เอกชน และผูป้ ระกอบการ สามารถน�ำไปพัฒนาต่อยอดในประเทศหรือธุรกิจของตนเอง เพื่อดึงดูด นักท่องเที่ยวมุสลิมให้มากขึ้น การเข้าถึง (ACCESS) • การขอวีซ่าง่ายหรือไม่ • การคมนาคมพื้นฐานเพียงพอหรือไม่ การสื่อสาร (COMMUNICATIONS) • การสื่อสารต้นทางและปลายทางสะดวกและมีประสิทธิภาพหรือไม่ • ความเข้าใจเอกลักษณ์และลักษณะเฉพาะของความเป็นฮาลาลหรือไม่ การบริการ (SERVICES) • บริการอาหารฮาลาลและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับชาวมุสลิมหรือไม่ • สนามบินและสถานประกอบการเป็นมิตรต่อชาวมุสลิมหรือไม่ สภาพแวดล้อม (ENVIRONMENT) • สภาพอากาศเหมาะสมกับการเดินทางท่องเที่ยวหรือไม่ • จุดหมายปลายทาง สถานที่ เทคโนโลยี รองรับนักท่องเที่ยวมุสลิมหรือไม่

SCAN QR CODE เพื่อรับชม Clip

D

39


40

ค W

ความรู้กินได้

ปั้นเรื่องกิน ให้กลายเป็นอาชีพท�ำเงิน อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานในชีวิต ประจ�ำวันทีข่ าดไม่ได้ ในมุมมองของ ผูบ้ ริโภคล้วนต้องการเข้าถึงอาหาร ที่มีความหลากหลาย รสชาติอร่อย และราคาไม่แพง ส่วนผูป้ ระกอบการ ก็ ต ้ อ งติ ด ตามทิ ศ ทางเทรนด์ โ ลก เพือ่ ให้จบั กระแสความนิยมได้อย่าง ทันท่วงที โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ ผู ้ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลามทั่ ว โลกมี จ�ำนวนเพิม่ ขึน้ รวมถึงมีนกั ท่องเทีย่ ว มุสลิมเดินทางเข้ามายังประเทศไทย

เพิ่มขึ้น ท�ำให้ธุรกิจอาหารฮาลาล เติ บ โตรวดเร็ ว กลายเป็น ธุ ร กิ จ ที่ น่าส่งเสริมทั้งในแง่ของการบริโภค ภายในประเทศ และการส่งออกไป ยังต่างประเทศ ข้อได้เปรียบของประเทศไทยคือ มีความพร้อมด้านวัตถุดบิ การเกษตร อี ก ทั้ ง วิ ถี ชี วิ ต ของคนไทยยั ง ให้ ความส� ำ คั ญ กั บ การกิ น ท� ำ ให้ มี ร้ า นอาหารและธุ ร กิ จ SME ที่ เกี่ยวข้องกับอาหารเกิดขึ้นมากมาย

รวมถึ ง มี บ ริ ก ารเดลิ เ วอรี ที่ เ ข้ า มา เสริมให้ธรุ กิจเกีย่ วกับอาหารการกิน ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับผู้ที่มี ความสนใจเรื่ อ งอาหาร ไม่ว่าจะ ชอบกิน ชอบดื่ม ชอบท�ำ หรือชอบ ถ่ายรูปอาหาร ก็สามารถผันตัวเป็น ผู้ประกอบการรายใหม่ได้หากมอง เห็นช่องทางในการสร้างอาชีพผ่าน วัฒนธรรมการกิน

1

ห้ามกินเนื้อสัตว์ที่ตายเอง สั ต ว์ ที่ ต ายเองอาจตายด้ ว ยโรคระบาดซึ่ ง เป็ น อันตรายต่อสุขภาพ ดังนัน้ ศาสนาอิสลามจึงบัญญัติ ให้กินแต่สัตว์ที่เชือดอย่างถูกต้องตามกรรมวิธีของ ศาสนา โดยผู้เชือดต้องเป็นมุสลิมที่เปล่งพระนาม ของอัลลอฮ์ก่อนลงมือ

2

ห้ามกินเนื้อสัตว์ต้องห้าม หมูเป็นสัตว์ที่กินสิ่งปฏิกูลและสิ่งสกปรก ศาสนา อิ ส ลามจึ ง ห้ า มบริ โ ภคเนื้ อ หมู รวมถึ ง เนื้ อ สั ต ว์ ต้องห้ามอืน่ ๆ เช่น สุนขั เสือ งู ฯลฯ รวมถึงห้ามบริโภค เลือดสัตว์เนื่องจากอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ

3

ห้ามใช้ภาชนะปะปนกัน ศาสนาอิสลามไม่อนุญาตให้น�ำภาชนะประกอบ อาหารไปใช้ ป ะปนกั บ ภาชนะที่ ใส่เ นื้ อ หมู ห รื อ สิ่งต้องห้ามทางศาสนา เช่น ห้ามน�ำจานที่เคยใส่ เนื้อหมูมาใช้ท�ำอาหารหรือใส่อาหาร เป็นต้น

4

ห้ามใส่ส่วนผสมของแอลกอฮอล์ อาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดต้องไม่มีส่วนผสมของ แอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบ เนื่องจากเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เป็นสิ่งที่ขัดต่อหลักศาสนบัญญัติของ อิสลามอย่างร้ายแรง

ลักษณะเฉพาะของ อาหารฮาลาล สถาบั น ฮาลาล มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ ระบุวา่ “อาหารฮาลาล” หมายถึง อาหารที่ผ่านกรรมวิธีในการท�ำ ผสม ปรุง ประกอบ หรือแปรสภาพตามบัญญัตอิ สิ ลาม และต้องได้รบั การเครือ่ งหมายรับรองฮาลาล ตามกฎหมาย เพื่อรับประกันว่าชาวมุสลิม โดยทั่ ว ไปสามารถกิ น อาหาร ใช้ สิ น ค้ า หรือใช้บริการต่างๆ ได้โดยไม่ขัดต่อหลัก ศาสนบัญญัตขิ องอิสลาม ไม่วา่ ผูผ้ ลิตอาหาร ฮาลาลจะเป็นมุสลิมหรือไม่กต็ าม ผู้ประกอบการที่สนใจจะต้องให้ความ ส�ำคัญกับเครื่องหมายฮาลาลอย่างจริงจัง ต้องศึกษาเรียนรู้และท�ำความเข้าใจอย่าง ถ่ อ งแท้ เ กี่ ย วกั บ หลั ก ปฏิ บั ติ ข องศาสนา อิสลาม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องแหล่งที่มาของ อาหาร วิธกี ารฆ่าสัตว์ การแปรรูป การขนส่ง และการเก็บรักษาอาหาร อาทิ

สแกน QR Code เพื่อรับชม Clip


ค ความรู้กินได้ W n

จากข้อก�ำหนดที่มีรายละเอียดปลีกย่อยมากมาย ที่ แ ตกต่างจากศาสนาอื่ น การได้ รั บ การรั บ รอง เครื่ อ งหมายฮาลาล จึ ง ถื อ เป็ น เครื่ อ งรั บ ประกั น ให้ ชาวมุ ส ลิ ม มั่ นใจได้ว่าจะได้กินอาหารที่ถูกต้ อ งตาม บัญญัตศิ าสนา ซึง่ การจะได้รบั เครือ่ งหมายฮาลาลจะต้อง ผ่านการตรวจสอบและได้รับอนุญาตจาก ส�ำนักงาน คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย (ฝ่ายกิจการ ฮาลาล) หรือคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด

อักษรภาษาอาหรับอยู่ภายในกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใต้กรอบมีค�ำว่า “ส�ำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย” เป็นองค์กรรับรอง ป้ายกิจการและฉลากผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับฮาลาลจะต้องประทับหรือแสดงเครื่องหมายนี้

ขั้นตอนการขอเครื่องหมายฮาลาล

ในประเทศไทยจะต้องขออนุญาตใช้เครื่องหมายฮาลาลและขอหนังสือรับรองการผลิตอาหารฮาลได้ที่ ฝ่ายกิจการฮาลาล ส�ำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด หากจังหวัดที่พักอาศัยไม่มีหน่วยงานดังกล่าว จะต้องติดต่อส�ำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยเท่านั้น โดยสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์ม ค�ำขอใช้เครื่องหมายฮาลาล ผ่านเว็บไซต์ www.cicot.or.th โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้

1

2

3

4

5

ปรึกษา เจ้าหน้าที่โครงการ ตรวจประเมิน

เตรียมเอกสาร ให้ครบถ้วน ตามที่ก�ำหนด

ยื่นเอกสาร ณ องค์กรหรือ หน่วยงานที่ รับรอง

รอเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบ ความถูกต้อง

ช�ำระ ค่าธรรมเนียม ตรวจสอบ สถานประกอบการ

6

7

8

9

10

รีบนัดหมาย ตรวจโรงงาน หรือกิจการ ในทุกขั้นตอน

ได้รับแจ้งผ่าน การตรวจสอบ

อนุมัติให้ใช้ เครื่องหมาย ฮาลาล

ช�ำระ ค่าธรรมเนียม เพื่อรับหนังสือ รับรองฮาลาล

น�ำเครื่องหมาย ประทับหรือ แสดงบนสลาก

SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text

ธุรกิจอาหารฮาลาลที่น่าลงทุน ร้านน�้ำชา โรตี-ชาชัก

บุปเฟต์เนื้อโคขุนย่าง

อาหารส�ำเร็จรูปพร้อมทาน

อาหารออร์แกนิก

อาหารฮาลาลส�ำหรับผู้สูงอายุ

อาหารฮาลาลเดลิเวอรี

ผู้ประกอบการอาหารฮาลาลที่ประสบความส�ำเร็จและได้รับความนิยมยังสามารถต่อยอดสู่ธุรกิจในรูปแบบ แฟรนไชส์และการส่งออก ยิ่งหากมีการท�ำประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์ต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ก็จะยิ่งเพิ่มโอกาสที่จะเข้าถึงกลุ่มนักท่องเที่ยวมุสลิมที่มีก�ำลังซื้อสูง ซึ่งช่วยให้กิจการเติบโตได้อย่างรวดเร็วและ เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ที่มา: ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ www.acfs.go.th Thai SMEs Center www.thaismescenter.com

41


42

N W

nextpert

SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text

กลยุทธ์ปั้นแบรนด์ เจาะเทรนด์ฮาลาล ศูนย์วิจัยพิว (Pew Research Center) แห่งสหรัฐอเมริกา ตีพิมพ์รายงานที่ระบุว่า ภายในปี พ.ศ. 2613 จ�ำนวนประชากรมุสลิมมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีจ�ำนวนมากกว่าผู้นับถือศาสนาคริสต์ โดยคาดว่า ร้อยละ 62 จะอาศัยอยู่ในเอเชียแปซิฟิก สะท้อนให้เห็นว่าชาวมุสลิมคือกลุ่มผู้บริโภคหลักที่ก�ำลังเติบโตและ มีอิทธิพลต่อทิศทางเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดเวลาที่ผ่านมา แบรนด์ระดับโลกรับรู้ถึงแนวโน้มนี้ จึงมีการทดลองผลิตสินค้าและบริการรูปแบบต่างๆ ออกมาตอบโจทย์ผบู้ ริโภคชาวมุสลิม รวมถึงการหมัน่ สร้างการรับรู้ (Brand Awareness) โดยสือ่ สารไปยังผูบ้ ริโภค กลุ่มนี้ว่าทางแบรนด์ใส่ใจในความต้องการของชาวมุสลิมและค�ำนึกถึงความเป็นฮาลาล เพื่อให้แบรนด์สามารถ ก้าวเข้าไปอยู่ในใจของผู้บริโภคมุสลิมซึ่งเป็นกลุ่มที่มีก�ำลังซื้อสูงในปัจจุบัน ดั ง ที่ ท ราบกั น ดี ว ่ า ความเป็น ฮาลาลจะต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ หลั ก การปฏิ บั ติ ต นตามหลั ก ศาสนาอิ ส ลาม ซึง่ ไม่เพียงเกีย่ วข้องกับอาหาร แต่ยงั ครอบคลุมอุตสาหกรรมทีห่ ลากหลาย ตัง้ แต่การผลิต การบริการ การท่องเทีย่ ว รวมถึงธุรกิจทีร่ องรับการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันของชาวมุสลิม โดยเฉพาะธุรกิจเสือ้ ผ้าแฟชัน่ ทีผ่ ผู้ ลิตพยายามตอบสนอง ความต้องการของชาวมุสลิมในด้านการแต่งกายให้สวยงาม แต่ยังคงความถูกต้องตามบัญญัติศาสนาอิสลาม และยังเป็นการแสดงเอกลักษณ์อันน่าภาคภูมิใจของชาวมุสลิม


nextpert

เห็ น ได้ ว ่ า อุ ต สาหกรรมฮาลาล มีความกว้างขวางและหลากหลาย ทั้งยังคงมีโอกาสและความท้าทาย ที่รออยู่อีกมาก จึงกลายเป็นตลาดที่ ดึงดูดนักลงทุนและผู้ประกอบการ ให้ หั น มาพั ฒ นาสิ น ค้ า และ การบริการทีร่ องรับความต้องการ ของผู ้ บ ริ โ ภคชาวมุ ส ลิ ม ซึ่ ง การจะเริ่มต้นท�ำธุรกิจฮาลาล หรือปรับแบรนด์ให้เป็นมิตร กั บ ผู ้ บ ริ โ ภคมุ ส ลิ ม มากขึ้ น ควรเริ่มจาก 4 ขัน้ ตอน ต่อไปนี้

1

ประเมินขนาดตลาด

ศึกษาข้อมูลและส�ำรวจตลาดฮาลาลในพื้นที่ของตนเองว่ามีศักยภาพ เหมาะแก่การลงทุนหรือไม่ รวมทัง้ พิจารณาสิง่ อ�ำนวยความสะดวกตามหลัก ศาสนาว่ามีความพร้อมรองรับผู้บริโภคและนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ได้หรือไม่

เลือกประเภทของสินค้าและบริการ

วางแผนว่าจะด�ำเนินธุรกิจประเภทใด มีกลุม่ เป้าหมายเป็นคนกลุม่ ใด และ เน้นชูจุดเด่นอะไรเพื่อดึงดูดกลุ่มเป้าหมาย โดยควรค�ำนึงถึงความต้องการ พื้นฐานควบคู่ไปกับการน�ำเสนอความแปลกใหม่ที่แตกต่างจากคู่แข่ง

3

2

สื่อสารให้ตรงใจกลุ่มผู้บริโภค

ศึกษาความต้องการของผู้บริโภคเฉพาะกลุ่มแบบเจาะลึก และใช้หลัก การตลาดเพือ่ สร้างปฏิสมั พันธ์กบั กลุม่ เป้าหมายอย่างตรงจุดและสอดคล้อง กับพฤติกรรมในชีวติ ประจ�ำวัน รวมถึงการสร้างสือ่ โฆษณาประชาสัมพันธ์ที่ โดนใจเพื่อสร้างการรับรู้และจดจ�ำแบรนด์

สร้างกลยุทธ์และจุดยืนทางการตลาด

สร้ า งจุ ด ยื น ของแบรนด์ ที่ มี ต ่ อ ผู ้ บ ริ โ ภคมุ ส ลิ ม โดยเน้ น ที่ ก ารสร้ า ง ความพึ ง พอใจ มอบประสบการณ์ ที่ แ ปลกใหม่ รวมถึ ง มุ ่ ง ตอบสนอง ความต้องการและวิถีชีวิตของชาวมุสลิมโดยค�ำนึงถึงความถูกต้องตาม บัญญัติศาสนาอิสลาม

4

ที่มา: www.dinarstandard.com/4-step-muslim-market-strategy

N W

43


44

N W

nextpert

กรณีศึกษา: การปรับตัวของแบรนด์ระดับโลก เพื่อช่วงชิงพื้นที่ในตลาดฮาลาล

โมดานิซา (Modanisa)

ไนกี้ (Nike) เอชแอนด์เอ็ม (H&M) และยูนิโคล่ (Uniqlo)

แบรนด์ เ สื้ อ ผ้ า แฟชั่ น มุ ส ลิ ม ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2554 เพื่อมอบทางเลือกให้ผู้หญิงมุสลิมได้ สวมใส่เ สื้ อ ผ้ า และฮิ ญ าบที่ ส วยงามและมี ดี ไ ซน์ หลากหลายมากขึ้น โดยยังค�ำนึงถึงหลักอิสลามที่ ก�ำหนดให้ผู้หญิงต้องแต่งกายมิดชิด ขณะที่ผู้ชาย ก็สามารถเลือกชุดโต๊ปที่เหมาะกับบุคลิกภาพและ รสนิ ย มส่ ว นตั ว ได้ ธุ ร กิ จ นี้ ต อบโจทย์ ช าวมุ ส ลิ ม อย่างมาก จนท�ำให้มลี กู ค้าใน 120 ประเทศทัว่ โลกและ มีผเู้ ข้ามาชมเว็บไซต์ปลี ะอย่างน้อย 100 ล้านคน/ครัง้

ไนกี้ผลิตชุดว่ายน�้ำคอลเลกชันพิเศษส�ำหรับสตรี มุสลิม โดยค�ำนึงถึงหลักปฏิบัติทางศาสนาอิสลามที่ ห้ามผู้หญิงแต่งตัวด้วยเสื้อผ้ารัดรูป หรือเผยให้เห็น เรือนร่างภายใน ส่วนแบรนด์ เ สื้ อ ผ้ า แฟชั่ น อย่ า ง เอชแอนด์เอ็มและยูนโิ คล่กห็ นั มาผลิตเครื่องแต่งกาย ส�ำหรับสตรีมุสลิม โดยมีสินค้าอย่างฮิญาบหรือผ้า คลุมศีรษะออกมาวางจ�ำหน่ายเช่นกัน

เคเอฟซี (KFC) ซับเวย์ (Subway) และแมคโดนัลด์ (McDonald’s)

เป๊ปซี่ (Pepsi) และโคคา-โคลา (Coca-Cola)

แฟรนไชส์ อ าหารฟาสต์ ฟู ้ ด อย่ า งเคเอฟซี แ ละ ซั บ เวย์ ใ นบางประเทศมี ก ารจ� ำ หน่ า ยเมนู อ าหาร ฮาลาลเพื่อรองรับความต้องการของกลุ่มผู้บริโภค ชาวมุสลิม ขณะที่แมคโดนัลด์เห็นว่าเดือนรอมฎอน ถื อ เป็น ช่ ว งเวลาศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ช าวมุ ส ลิ ม ทั่ ว โลกต้ อ ง งดรั บ ประทานอาหารตั้ ง แต่ พ ระอาทิ ต ย์ ขึ้ น จนถึ ง พระอาทิ ต ย์ ต กดิ น จึ ง ริ เ ริ่ ม แคมเปญโฆษณา ิ ในประเทศมุสลิมโดยท�ำเป็นรูปนาฬกาทราย และ ไม่น�ำเสนอภาพอาหารในช่วงเวลาดังกล่าว

ผู้ผลิตเครื่องดื่มยักษ์ใหญ่อย่างเป๊บซี่ผลิตสินค้า ในรู ปแบบกระป๋ อ งที่ มี ตัวอั ก ษรภาษาอาหรั บและ กราฟิ ก อาร์ ต ที่ สื่ อ ถึ ง กลุ ่ ม ชาวมุ ส ลิ ม ในช่ ว งเดื อ น รอมฎอน ส่วนโคคา-โคลาก็เคยท�ำโฆษณาน�ำเสนอ เนือ้ หาทีเ่ กีย่ วกับการแบ่งปัน โดยน�ำเสนอเรือ่ งราวของ สตรีมุสลิมที่ก�ำลังรอพระอาทิตย์ตกดินในระหว่าง ช่วงถือศีลอด


nextpert

5 คุณค่าต้องใส่ใจ

หากคิดทำ�ธุรกิจฮาลาล

เป้าหมายของการท�ำธุรกิจคือการสร้างรายได้มาก ที่สุด แต่ขณะเดียวกันควรค�ำนึงถึงคุณค่า (Value) ที่ จะมอบกลับคืนให้แก่ผู้บริโภคและสังคมด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในธุรกิจและอุตสาหกรรมฮาลาล ที่มีความเกี่ยวพันกับศาสนาอย่างไม่สามารถแยก ออกจากกันได้ ผู้ประกอบการยิ่งควรค�ำนึงถึงปัจจัยที่ ควรน�ำมาเสริมเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุณค่าให้แก่ธุรกิจ ฮาลาล ได้แก่ next pert

บูรณาการความศรัทธา เข้ากับความหลากหลาย

สินค้าฮาลาลอาจดูเหมือนเป็นสินค้าเฉพาะกลุ่ม ชาวมุสลิมเท่านัน้ แต่ผปู้ ระกอบการยังสามารถเพิม่ เติม ความหลากหลายเพือ่ จับใจลูกค้ากลุม่ อืน่ ได้ดว้ ยเช่นกัน ตัวอย่าง: ร้านอาหารฟิวชั่นที่ผสมผสานวัตถุดิบ พื้นเมืองเข้ากับอาหารฮาลาล

เชื่อมต่ออัตลักษณ์ และมรดกทางวัฒนธรรม

ธุรกิจและการท่องเที่ยวฮาลาลสามารถเชื่อมโยง นักท่องเทีย่ วมุสลิมเข้ากับชุมชนท้องถิน่ ทีม่ ปี ระวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมที่น่าสนใจ ช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจและ วัฒนธรรมท้องถิ่น ตัวอย่าง: บริการนวดแผนไทยที่มีห้องนวดแยก ชาย-หญิง

ศึกษาข้อมูลเชิงลึก เสริมความเข้าใจในชุมชน

นักท่องเที่ยวมุสลิมมีข้อจ�ำกัดปลีกย่อยมากมายที่ แตกต่างจากนักท่องเที่ยวกลุ่มอื่นๆ ชุมชนและธุรกิจ ที่รองรับการท่องเที่ยวฮาลาลจึงควรเพิ่มพูนความรู้ เพื่อน�ำมาปรับใช้กับธุรกิจและสร้างชุมชนเป็นมิตร กับชาวมุสลิม ตัวอย่าง: การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วให้มสี งิ่ อ�ำนวย ความสะดวกส�ำหรับนักท่องเทีย่ วมุสลิม เช่น ห้องละหมาด สายฉีดช�ำระในห้องน�้ำ ป้ายบอกทางไปห้องละหมาด และไกด์ท้องถิ่นที่สามารถพูดภาษาอาหรับได้

พัฒนานวัตกรรม

การสร้างและพัฒนาธุรกิจฮาลาลให้ก้าวหน้าควร ค�ำนึงถึงการพัฒนานวัตกรรมควบคูไ่ ปด้วย ไม่วา่ จะเป็น การคิดค้นสินค้าใหม่ๆ การออกแบบอุปกรณ์ที่ช่วย แก้ ป ั ญ หาในชี วิ ต ประจ� ำ วั น หรื อ การสร้ า งสรรค์ เครื่องมือที่ช่วยให้การผลิตสินค้าฮาลาลมีคุณภาพ และประสิทธิภาพดีขนึ้ ซึง่ เป็นปัจจัยหนึง่ ทีช่ ว่ ยผลักดัน ให้ธุรกิจฮาลาลเติบโตก้าวหน้า ตัวอย่าง: การสร้างนวัตกรรมระบบค้นหาวัตถุ เจือปนในอาหารฮาลาล

รับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน

ผู ้ ป ระกอบการจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งตระหนั ก ถึ ง ความรับผิดชอบที่พึงมีต่อสังคม ควรด�ำเนินธุรกิจที่ สร้างผลกระทบต่อชุมชนส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม น้อยที่สุด รวมถึงสร้างประโยชน์ให้แก่ท้องถิ่นตาม สมควร เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ตัวอย่าง: การจัดให้มีบ่อบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงงาน ก่อนปล่อยสู่แหล่งน�้ำธรรมชาติ

N

45


46

5

5ive

5

แอปพลิเคชันยอดนิยม ของนักท่องเทีย่ วมุสลิม

ปัจจุบันเทคโนโลยี มีบทบาทส� ำ คั ญต่ อทุ กกิ จ กรรมในชี วิต แอปพลิ เคชั น บน สมาร์ตโฟนกลายเป็นผู้ช่วยส่วนตัวที่ช่วยให้การท�ำงานและการใช้ชีวิตสะดวกสบาย และง่ายขึ้น โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวมุสลิมที่สามารถใช้ประโยชน์จากแอปพลิเคชัน เพื่อให้การท่องเที่ยวราบรื่นไม่สะดุด ไม่ว่าจะเป็นการแจ้งเตือนเวลาปฏิบัติศาสนกิจ การค้นหาที่พักและร้านอาหารฮาลาลระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว ขอแนะน�ำ 5 แอปพลิเคชันส�ำหรับชาวมุสลิมที่ควรมีติดเครือ่ งไว้ ในระหว่าง การเดินทาง ได้แก่

SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text


5ive

1. Muslim Pro

แอปพลิเคชันบอกเวลาละหมาดแม่นย�ำที่สุดและ ได้รับความนิยมจากชาวมุสลิมกว่า 80 ล้านคนทั่วโลก จากรูปแบบการใช้งานทีเ่ ข้าใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน มีไอคอน ประกอบแต่ละหัวข้อทีเ่ ห็นได้ชดั เจน เช่น เวลาละหมาด เครื่องหมายบอกทิศในการละหมาด แผนที่มัสยิดและ ร้านอาหารฮาลาล รวมถึงพระคัมภีรอ์ ลั กุรอานออนไลน์ ฉบับสมบูรณ์ พร้อมค�ำแปลกว่า 40 ภาษา รวมถึงภาษา ไทยในรูปแบบของเสียงอ่าน ค�ำแปล และเสียงสวด จุดเด่นของ Muslim Pro บอกเวลาละหมาดอย่างถู ก ต้ อ งแม่น ย� ำ ตาม ต�ำแหน่งที่อยู่ แจ้งเตือนทั้งภาพและเสียง เสียงเรียกละหมาด มีความหลากหลาย เปิด อ่ า นและฟั ง อั ล กุ ร อานได้ พร้ อ มหมวด แปลความหมาย แนะน� ำ ร้ า นอาหารฮาลาลและต� ำ แหน่ ง มั ส ยิ ด ที่อยู่ใกล้เคียง ปฏิทินบอกวันส�ำคัญทางศาสนาอิสลาม

2. Halal Trip

ตอบโจทย์ทุกเรื่องการเดินทางส�ำหรับนักท่องเที่ยว มุ ส ลิ ม เพิ่ ม ความสะดวกสบายเมื่ อ ต้ อ งเดิ น ทางไป ต่างประเทศด้วยบริการค้นหาสถานที่ท่องเที่ยวและ ที่ พั ก ที่ เป็น มิ ต รกั บ ชาวมุ ส ลิ ม ร้ า นอาหารฮาลาล สถานที่ ล ะหมาด และสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วน่ า สนใจที่ ผู้ใช้งานรายอื่นแนะน�ำ จุดเด่นของ Halal Trip เริ่มต้นวันใหม่ด้วยค�ำพูดสร้างแรงบันดาลใจของ ชาวมุสลิม แจ้ ง เตื อ นเวลาละหมาดและระบุ ทิ ศ ในการ ละหมาดได้ทุกที่แม้อยู่บนเครื่องบิน ค้นหาทีพ่ กั และร้านอาหารได้จากต�ำแหน่งปัจจุบนั พร้อมรีวิวจากผู้ใช้งานรายอื่น ค้ น หาสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ น ่ า สนใจ รวมถึ ง ที่ ท่องเที่ยวที่ให้บริการชาวมุสลิมโดยเฉพาะ มีโปรโมชันและสิทธิพิเศษส�ำหรับนักเดินทาง

5

47


48

5

5ive

3. Pinsouq

อาลีบาบาฉบับอิสลาม คือนิยามของแอปพลิเคชัน จากฝี มื อ ของสตาร์ ต อั ป ชาวมุ ส ลิ ม ที่ รู ้ ทั น เทคโนโลยี และสามารถปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ โลกยุ ค ดิ จิ ทั ล จนเป็ น ที่มาของ Pinsouq (พินซูก) ตลาดกลางซื้อขายสินค้า ฮาลาลที่รวมสินค้าทั่วไทยมาไว้ในที่เดียว ผู้บริโภค สามารถเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ออนไลน์ ผ่านแอปพลิ เ คชั น หรือ www.pinsouq.com ตลอด 24 ชั่วโมงโดยสินค้า ทุกชิ้นบนแพลตฟอร์ม Pinsouq จะได้รับการตรวจสอบ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า ผู ้ ซื้ อ จะได้ รั บ สิ น ค้ า ที่ ดี ที่ สุ ด ภายใต้ หลักการของศาสนาอิสลาม จุดเด่นของ Pinsouq รวบรวมสินค้าฮาลาลทุกประเภทไว้ในทีเ่ ดียว ตัง้ แต่ เสื้อผ้าแฟชั่นสตรี หนังสือศาสนา แบบเรียนภาษา อาหรับ มีสินค้าพรีเมียมจากสถานีโทรทัศน์มุสลิมชั้นน�ำ เช่น White Channel, Yateem TV, TV Muslim, TMTV มัน่ ใจในคุณภาพ สินค้าทุกชิน้ จ�ำหน่ายโดยร้านค้า แบรนด์ชื่อดัง หรือผู้ผลิตโดยตรง มัน่ ใจได้วา่ สินค้าทุกชิน้ ถูกต้องตามบัญญัตศิ าสนา อิสลาม ด้วยมาตรฐานการตรวจสอบจาก Pinsouq

4. Makan - Thailand Halal Restaurant guide

ค้นหาร้านอาหารฮาลาลทัว่ ไทยได้งา่ ยเพียงปลายนิว้ ตั้งแต่ร ้ า นรถเข็ น ไปจนถึ ง ร้ า นอาหารในโรงแรม มีบทความแนะน�ำร้านอาหาร รีวิวจากชาวมุสลิมที่เคย ใช้บริการ รวมถึงเครื่องมือค้นหาร้านอาหารฮาลาล จากพิกัดที่อยู่ ซึ่งช่วยให้การเลือกร้านอาหารง่ายขึ้น หมดกังวลเรือ่ งการหาร้านอาหารฮาลาลเมือ่ ต้องเดินทาง ไปต่างจังหวัดหรือพื้นที่อื่น จุดเด่นของ Makan -Thailand Halal Restaurant guide ค้นหาร้านอาหารฮาลาลได้ทั่วประเทศ บอกข้อมูลร้านอาหารฮาลาลอย่างละเอียด แนะน�ำร้านอาหารฮาลาลหลากหลายประเภท มีภาพประกอบชัดเจน ช่วยให้ตัดสินใจได้ง่ายขึ้น มีรีวิวประสบการณ์การใช้บริการจริงจากผู้ใช้งาน รายอื่น


5ive

5. Halal Thai

แอปพลิ เ คชั น ที่ ร วบรวมสิ น ค้ า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ผ่านการรับรองฮาลาลจากส�ำนักงานคณะกรรมการ กลางอิสลามแห่งประเทศไทย โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกในการค้นหา เช่น อาหาร เครื่องดื่ม สุขภาพ ยารักษาโรค นอกจากนี้ยังสามารถตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์ฮาลาลไทยหรือผูป้ ระกอบการฮาลาลด้วยการ ป้อนหมายเลขรับรองฮาลาล เลข อย. สแกนบาร์โค้ด หรือสแกนคิวอาร์โค้ดที่อยู่บนผลิตภัณฑ์ จุดเด่นของ Halal Thai ตรวจสอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ ผู ้ ป ระกอบการที่ ผ ่ า น การรับรองฮาลาลได้ทันที แบ่งประเภทของสินค้าและบริการไว้อย่างชัดเจน ใช้งานง่าย ติดต่อผู้ประกอบการผ่านแอปพลิเคชันได้โดยตรง มี ร ายละเอี ย ดสิ น ค้ า ข้ อ มู ล ใบรั บ รอง ข้ อ มู ล ผู้ประกอบการครบถ้วน มีความน่าเชื่อถือ เพิ่มความมั่นใจให้ชาวมุสลิม

แนะน�ำแอปพลิเคชันที่ช่วยขยายโอกาสทาง ธุรกิจอาหารฮาลาลแก่ผู้ประกอบการ SME

Halal UFU HAL Plus แพลตฟอร์มอาหารฮาลาลเดลิเวอรีที่ช่วย แพลตฟอร์ ม ตั ว กลางให้ ผู ้ ป ระกอบการ เพิ่มช่องทางการขายให้กว้างขึ้น โดยสามารถ ฮาลาลใช้ ติ ด ต่ อ สื่ อ สาร จั บ คู่ธุ ร กิ จ และ ใช้รบั ค�ำสัง่ ซือ้ ก�ำหนดเวลาเปิดร้าน ก�ำหนดราคา หาพั น ธมิ ต รทางการค้ า รวมถึ ง รั บ ชมข้ อ มู ล สินค้าและค่าจัดส่งสินค้าได้บนแอปพลิเคชันเดียว ข่ า วสารองค์ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ ฮาลาล ข้ อ มู ล กิจกรรมต่างๆ และสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ

5

49


50

T

TALK TO ZINE

สนุกสุดใจ..ไปกับ “Halal Tourism” Halal Tourism โอกาสใหม่กบ ั การท่องเทีย ่ วแบบฮาลาล

ปัจจุบันธุรกิจฮาลาลก�ำลังเป็นตลาดใหม่ที่ผู้ประกอบการ ให้ความสนใจ ด้วยเล็งเห็นโอกาสจากจ�ำนวนประชากรมุสลิม ที่เพิ่มขึ้น คุณรัดใจ เปียแก้ว และคุณกนกวรรณ ยีหวังเจริญ ชวนทุกคนมาท�ำความเข้าใจวิถชี วี ติ แบบมุสลิม เพือ่ ไขความลับ สูเ่ ส้นทางอาชีพที่ตอบโจทย์ในการสร้างสินค้าและบริการ ส�ำหรับชาวมุสลิมในรายการ KnowledgeBox ช่วง สนุกสุดใจ… ไปกับ “Halal Tourism” “ตั้งแต่ต้นปีเรามีภัยคุกคามในเรื่องของโรคระบาด ท�ำให้ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวฮาลาลอาจได้รับผลกระทบ แต่ตลาดอีคอมเมิร์ซหรือตลาดออนไลน์ยังคงมีศักยภาพสูงที่ จะรองรับสินค้าและบริการฮาลาล ซึ่งผู้ประกอบการควรต้อง ปรับตัวและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการสร้างอาชีพ สร้างรายได้จากธุรกิจฮาลาล”

พร้อมประเด็นอื่นๆ ที่น่าสนใจ อาทิ

สิ่งที่ควรรู้ก่อนสร้างบริการที่ดี ตอบโจทย์นักท่องเที่ยวมุสลิม

ความเข้าใจผิดเรื่องอาหารอินเดีย และอาหารฮาลาล

สิ่งของต้องห้ามของชาวมุสลิม เดินเกมดีมีชัยไปกว่าครึ่ง

มู ลค่ า การท่ องเที่ยวของชาวมุส ลิม โดยเฉพาะสตรี มุสลิ มซึ่ ง เป็ น กลุ ่ มนั ก ท่ อ งเที่ ย วหลั ก เพิ่ มสู ง ขึ้ น ทุ ก ปี คุณมองเห็นโอกาสจากธุรกิจฮาลาลหรือไม่ อย่ารอช้ารีบดูรายการนี้ แล้วออกไปคว้าโอกาสมาเป็นของคุณ อ้างอิง: www.facebook.com/OKMDInspire/videos/647366292550887

SCAN QR CODE

ดูเพิ่มเติม สแกนเลย!


GOiNG ON WHAT's GOiING ON

WHAT'S GOING ON 21 - 25 Feb 2021

Halal World Food 2021 ดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

Halal World Food จัดภายใต้แนวคิด “มหกรรมแสดงสินค้าอาหาร ฮาลาลใหญ่ ที่ สุ ด ในโลก” เปิ ด กว้ า งให้ ทุ ก คนเข้ า ร่ ว มงาน ไม่ว่าจะ เป็ น ผู ้ ป ระกอบการในแวดวงธุ ร กิ จ อาหารฮาลาล ผู ้ ที่ ก� ำ ลั ง จะสร้ า ง ธุรกิจ ไปจนถึงบุคคลทัว่ ไปทีม่ คี วามสนใจได้เปิดโลกแห่งอาหารฮาลาลทีม่ ี ความหลากหลายอาทิ อาหารเจและมั ง สวิ รั ติ อาหารจากเนื้ อ สั ต ว์ อาหารกระป๋ อ ง และอื่ น ๆ รวมถึ ง เป็น โอกาสในการสร้ า งเครื อ ข่ า ย และมองหาผู้ลงทุนจากต่างประเทศ www.gulfood.com/show-features/halal-world-food

29 Nov - 1 Dec 2021

The 1st Saudi International Halal Expo 2021 ริยาด ซาอุดีอาระเบีย

มหกรรมธุรกิจฮาลาลนานาชาติครั้งส�ำคัญ จัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสทาง ธุรกิจให้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจฮาลาลและผู้ที่สนใจได้แลกเปลีย่ นเรียนรู้ เกีย่ วกับสินค้าฮาลาล การเจาะตลาดสินค้าและบริการฮาลาล การเยีย่ มชม บูธสินค้าและบริการฮาลาลของผู้ประกอบการจากนานาประเทศ รวมถึง การน�ำสินค้าฮาลาลของไทยไปเปิดตัวในตลาดต่างประเทศ saudihalalexpo.com

W

51


ZAKAT

KEBAB

QURAN

THE CENTRA ISLAM COUNCL OF THAILAND IL

M MUSLNI IALS MILLEN

PRAYER MAT

HALAL FRIENDLY TRAVEL MUSLIM FRIENDLY HOTEL

SCAN

สำนักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) The Office of Knowledge Management & Development


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.