หนังสือ โรคหลอดเลือดหัวใจ

Page 1

โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอรศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

àÊÃÔÁ¤ÇÒÁÃÙŒ¡Ñºâä

âäËÑÇã¨áÅÐËÅÍ´àÅ×Í´ ÍÒ¡Òà - ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ - ÇÔ¸Õ»‡Í§¡Ñ¹

ภายใตโครงการ ETC เปนหนึ่ง เพื่อเปนที่พึ่งของชุมชน (ETC For All) สงมอบใหแก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบานเขวา ตำบลเขวา อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โดย นิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอรศึกษา


¤Ó¹Ó

โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง

หนังสือ โรคหัวใจและหลอดเลือด ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อใหความรูแกประชาชนและ ผูที่มารับบริการ หนังสือฉบับนี้ไดทำการพัฒนาขึ้น มาจากความรวมมือของทางภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคามและโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตำบลเขวา อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ภายใตรายวิชาหนึ่งหลักสูตร หนึ่งชุมชน ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบและผลิตสื่อใหความ รูแกประชาชนและผูที่มารับบริการ ในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลเขวา หนังสือฉบับนี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งประกอบดวย อาการของโรคหัวใจและหลอดเลือด สาเหตุของหัวใจและหลอดเลือด และ วิธีการปองกัน โรคหัวใจและหลอดเลือด คณะผูจัดทำ หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูที่มารับบริการ และประชาชนทั่วไป ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลเขวา อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เพื่อใหมีความรูความเขาใจ และปฏิบัติตนไดอยางถูกตอง ซึ่งจะนำมาสูการดูแลรักษาสุขภาพ ของตนเองที่ถูกตอง เพื่อใหมีสุขภาพรางกายที่สมบูรณ แข็งแรงยิ่งขึ้น คณะผูจัดทำ


ÊÒúÑÞ

โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง

âäËÑÇã¨áÅÐËÅÍ´àÅ×Í´

1

ÍÒ¡ÒÃ

2

ÊÒà˵Ø

4

ÇÔ¸Õ»‡Í§¡Ñ¹

6


1

โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular diseases) เปนกลุมโรคที่เกิดกับ ระบบหัวใจและหลอดเลือดซึ่งเปนสาเหตุการเสียชีวิตลำดับตนของคนไทย โดยสาม ในสี่ของการเสียชีวิตดวยโรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งหมดเกิดจากโรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจขาดเลือดซึ่งเกิดจากการที่หลอดเลือดตีบตันหรือขาดความยืดหยุน จากการสะสมของไขมัน โปรตีน และแรธาตุที่บริเวณ ผนังหลอดเลือด โดยปจจัยเสี่ยงที่สำคัญและมีหลักฐานทางวิชาการวาสัมพันธกับการเกิด โรคหัวใจและสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท ประเภทแรก คือ ปจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนไมได เชน อายุ เพศ ประวัติครอบครัวและเชื้อชาติ ประเภทที่สอง คือ เปนปจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนได เชน ความดัน โลหิตสูง โคเลสเตอรอลรวมสูง ระดับไขมันชนิด เอชดีแอลต่ำ ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ภาวะอวนและการสูบบุหรี่ อีกทั้งการเปนโรครวม ไดแก โรคไตเรื้อรัง โรคหัวใจ เตนผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation โรคขออักเสบรูมาตอยด และภาวะหัวใจหองลางซายโต ก็เปนปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได

1 โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง


2

sym pt om อาการของโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหัวใจและหลอดเลือด ประกอบดวย โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ อัมพาต) โรคหัวใจขาดเลือด เกิดจากผนังดานในของหลอดเลือดมีไขมันสะสม พอกตัวหนาขึ้น หลอดเลือด จะตีบและแข็งตัว จนการไหลเวียนเลือดตีบตันลงไป เลือดไปเลี้ยงกลามเนื้อหัวใจลดลงเปน ผลทำใหเกิดภาวะกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด อาการของโรคหัวใจขาดเลือด 1. เจ็บแนนหนาอก คลายมีอะไรมากดทับ ระยะเวลาประมาณ 30 วินาทีถึง 15 นาที 2. มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ หายใจไมออก นอนราบไมได 3. เวียนศีรษะ หนามืดจะเปนลม หรือหมดสติเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไมพอ อาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือด 1. เจ็บกลางหนาอก บริเวณเหนือลิ้นปขึ้นมาเล็กนอย เจ็บแบบจุกแนนคลายมีอะไร มาบีบหรือกดทับไว 2. อาการเจ็บมักราวไปที่คอหรือขากรรไกร หรือไหลซายมักเปนมากขณะออกกำลังกาย 3. บางคนอาจมีอาการจุกแนนลิ้นปเหมือนอาหารไมยอย โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง 1


3

sym pt om โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดสมองหรือโรคอัมพฤกษ อัมพาต คือ ภาวะที่ สมองขาดเลือดไปเลี้ยง ซึ่งเกิดจากหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง ตีบตัน หรือแตก จนเกิดการทำลาย หรือตายของเนื้อสมอง อาการของโรคหลอดเลือดสมอง อาการขึ้นอยูกับตำแหนงที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยงอาการที่พบบอยคือการออนแรง บริเวณใบหนา แขนขา สวนมากเปนขางเดียว และเกิดขึ้นโดยเฉียบพลันอาการอื่นที่อาจ เกิดรวม ไดแก ชาบริเวณใบหนา แขนขา มองเห็นไมชัด เห็นภาพซอนการคิดสับสน พูดลำบาก หรือฟงคนอื่นเขาใจยาก ปวดศีรษะรุนแรง เดินลำบาก งุนงงทรงตัวไมได เหมือนปกติ เปนลมหมดสติ อาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง 1. F = Face เวลายิ้มพบวามุมปากขางหนึ่งตก 2. A = Arms ยกแขนไมขึ้น 1 ขาง 3. S = Speech มีปญหาดานการพูดแมประโยคงายๆ พูดแลวคนฟง ฟงไมรูเรื่อง 4. T = Time ถามีอาการเหลานี้ ใหรีบไปโรงพยาบาล โดยดวน ภายใน 4 ชั่วโมงจะไดชวย รักษาชีวิตและสามารถฟนฟูกลับมาไดเปนปกติหรือใกลเคียงคนปกติมากที่สุด 1 โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง


4

cau s e s

“WE WANT YOU TO TAKE CARE OF YOUR HEALTH.”

สาเหตุของโรคหัวใจและหลอดเลือด

1 ปจจัยเสี่ยงที่ไมสามารถปรับเปลี่ยนได กรณีที่มีปจจัยเสี่ยงนี้รวมดวยยิ่งตองพึงระวัง และใสใจการดำเนินชีวิตเพื่อลดความเสี่ยง 1. อายุที่เพิ่มขึ้น 2. พันธุกรรม 3. เพศชายเสี่ยงกวาเพศหญิง 4. ผูหญิงอายุเกิน 55 ป 5. ผูชายอายุเกิน 45 ป

โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง 1


5

“WE WANT YOU TO TAKE CARE OF YOUR HEALTH.”

cau s e s 2

ปจจัยเสี่ยงซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได ปจจัยนี้เปนปจจัยที่สงเสริมใหคนไทยเปนโรคนี้กันมากขึ้นและเกิดใน อายุที่นอยลง เนื่องจากรูปแบบการดำเนินชีวิตในสังคมปจจุบันเปลี่ยนแปลง ไปจากอดีตมีความไมสมดุลระหวางการกินและการออกแรง ซึ่งปจจัยดาน พฤติกรรมดังกลาวสงเสริมใหเกิดภาวะน้ำหนักเกิน อวน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และสงผลใหเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดตามมา ปจจัยเสี่ยงซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได 1.การกินมากเกินพอดีไมถูกสัดสวน 2. กินอาหารรสเค็ม หวาน และมันสูง 3. ใชเครื่องอำนวยความสะดวกมากขึ้น 4. เคลื่อนไหวรางกายนอยลง 5. สูบบุหรี่ 6. เครื่องดื่มแอลกอฮอล 7. กินผักผลไมนอย

1 โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง


6

pro p h yl a x i s วิธีการปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด คำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การปองกันการเกิดหัวใจและหลอดเลือดหลังการประเมินโอกาสเสี่ยง โดยยึด หลัก 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ) และ 2 ส. (ไมสูบบุหรี่ และลดการดื่มสุรา)

อ.อาหาร 1. ลดอาหารไขมันสูง ลดการกินไขมันที่มาจากสัตวและผลิตภัณฑจากสัตว เชน เนื้อ นม เนย ผูปวยเบาหวานหรือผูที่กินยาลดไขมันอยูสามารถกินไขทั้งฟอง 2 ถึง 3 ฟองตอสัปดาห ลดกินของมันของทอดอาหาร งดกินขนมปง เคก หรือของทอดซ้ำซึ่งมีกรดไขมันทรานส มาก ควรใชนํ้ามันมะกอก นํ้ามันรำขาวหรือกินไขมันจากปลาทะเลและปลานํ้าจืด

โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง 1


7

pro p h yl a x i s

2. ลดอาหารเค็มหรือมีเกลือโซเดียมสูง กินอาหารที่มีรสเค็มลดลงครึ่งหนึ่งและลดเครื่องดื่มที่มีรสเค็มลง เชน เครื่องดื่มผสมเกลือแร ไมเติมนํ้าปลา ซีอิ๋ว เตาเจี้ยว กะป ผงชูรสในอาหาร 3. ลดอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานหรือนํ้าตาลสูง หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เชน นํ้าอัดลม นํ้าหวาน เครื่องดื่มชูกำลัง นํ้าผลไม ลดกินนํ้าตาลไมเกินวันละ 6 ถึง 8 ชอนชา 4. เพิ่มผักสดและผลไมที่ไมหวานจัด รับประทานผักสดมื้อละ 2 ฝามือพูนหรือผักสุกมื้อละ 1 ฝามือพูน ผลไมไมหวานจัด 15 คำตอวันหรือรับประทานผักผลไมอยางนอยครึ่งกิโลกรัมตอวัน

1 โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง


8

pro p h yl a x i s วิธีการปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด อ.ออกกำลังกาย เพิ่มการเคลื่อนไหวรางกาย เชน เดินเร็ว อยางนอย 30 นาทีตอวัน 5 ครั้งตอสัปดาห หรือมีการเคลื่อนไหวรางกายในชีวิตประจำวัน เวลาวาง หนาทีวี และการทำงาน การออกกำลังที่จะปองกันโรค เชน การออกกกำลังกาย แบบแอโรบิค จะทำใหหัวใจแข็งแรงและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ควรออกสม่ำเสมอ มากกวา 30 นาทีตอวัน วิธีออกกำลังกายแบบแอโรบิค เชน การเดิน การวิ่ง การวิ่งบนสายพาน การขึ้นบันได การวายน้ำ การขี่จักรยาน

โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง 1


9

pro p h yl a x i s วิธีการปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด pro p h yl a x i s

“HAPPYcare” pro p h yl a x i s HAPPY CARE

HAPPYcare

อ.อารมณ เมื่อรูสึกเครียด คนเราจะมีวิธีผอนคลายความเครียดที่แตกตางกัน ซึ่งวิธีคลายเครียด โดยทั่วไปมีหลากหลายรูปแบบ เชน นอนหลับพักผอน พูดคุยพบปะเพื่อนฝูง ออกกำลังกาย ยืดเสนยืดสาย เตนแอโรบิค โยคะ ฟงเพลง รองเพลง เลนดนตรี ดูโทรทัศน ดูภาพยนตร อานหนังสือ แตงกลอน ทองเที่ยว เปนตน

1 โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง


10

pro p h yl a x i s วิธีการปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ส.ไมสูบบุหรี่ ผูที่ไมเคยสูบบุหรี่ก็ไมควรเริ่มสูบ สวนผูที่สูบอยูแลวควรหยุดสูบบุหรี่ (ยาเสน บุหรี่ไฟฟา) รวมถึงไมสูดดมควันบุหรี่หรือหลีกเลี่ยงการอยูใกลบุคคลที่สูบบุหรี่ และถาตองการเลิกบุหรี่สามารถขอรับคำปรึกษาไดที่สถานบริการสาธารณสุขใกลบาน หรือสามารถโทรปรึกษาไดที่ศูนยบริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท 1600

ส.ลดดื่มสุรา หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอลหรือจำกัดปริมาณแอลกอฮอลที่ดื่ม ลดการบริโภค เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล โดย ชายไมควรดื่มเกิน 2 หนวย มาตรฐานตอวัน และ หญิงไมควรดื่มเกิน 1 หนวยมาตรฐานตอวัน หนึ่งดื่มมาตรฐาน คือเครื่องดื่มที่มี ปริมาณของแอลกอฮอลบริสุทธิ์ 10 กรัม โดยใชปริมาณที่เทากันของแอลกอฮอล ในเครื่องดื่มเปนมาตรฐานการวัด

โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง 1


บรรณานุกรม สำนักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การประเมินโอกาสเสี่ยง ตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูง. โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด, 2558. สำนักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. คูมือการประเมินโอกาส เสี่ยงตอการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.). กรุงเทพฯ : สำนักงานกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก, 2559. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คูมือ อสม.นักจัดการสุขภาพ ชุมชน โรคไมติดตอเรื้อรัง 5 โรค. พิมพครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมชน สหกรณการ เกษตiแหงประเทศไทย จำกัด, 2555.

1 โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง


โครงการอนามัยนำพา ชราสุขใจ ทุกวัยเขมแข็ง 1



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.