1
บทที่ 1 บทนํา ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา จากรายงานผลการวิจยั ของกองวิจยั ทางการศึกษา กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ พบว่า นักเรี ยนที่จบการศึกษาในระดับการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน มีทกั ษะด้ านการอ่าน การคิดคํานวณ และ การใช้ เหตุผลได้ ไม่ดีเท่าที่ควร ทังไม่ ้ สามารถใช้ การอ่านเป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู้ได้ และไม่สามารถใช้ ทกั ษะการคิด ทักษะการใช้ เหตุผลได้ อย่างเหมาะสม ตามที่มาตรฐานการศึกษาที่กําหนด ส่วนหนึง่ ที่ทําให้ นกั เรี ยนยังไม่ได้ รับการพัฒนาทักษะด้ านการอ่าน การคิดคํานวณ และการใช้ เหตุผล ให้ เหมาะสมสอดคล้ องกับระดับชัน้ เนื่องจากครูมงุ่ แต่จะให้ ความรู้ทางด้ านเนื ้อหาตามที่หนังสือกําหนดและ ให้ จบตามหลักสูตร นักเรี ยนจึงไม่ได้ รับการพัฒนากระบวนการค้ นคว้ า กระบวนการคิด และการให้ เหตุผล ด้ วยตนเอง จึงไม่เกิดการเรี ยนรู้ที่ลกึ ซึ ้ง เพราะไม่ได้ ใช้ การใคร่ควร ไตร่ตรอง และใช้ เหตุผลด้ วยตนเอง ทําให้ การจัดการเรี ยนการสอน กลุม่ สาระการเรี ยนรู้......................... ไม่ประสบความสําเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากนักเรี ยนขาดทักษะด้ านการอ่าน ส่งผลถึงการสือ่ สารในด้ านการเขียนและสรุปอย่างมีเหตุผล จากผลการสอบ O-NET ปี การศึกษา 2555 กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ .................................. ในระดับชัน............................มี ้ ผลการสอบเฉลี่ยร้ อยละ 43.25 ซึง่ ตํ่ากว่าระดับเขตพื ้นที่การศึกษา ผู้รายงานในฐานะครูผ้ สู อนกลุม่ สาระการเรี ยนรู้......................... ชัน...................................... ้ โรงเรี ยนดาราสมุทร ได้ ประสบปั ญหาด้ านการจัดการเรี ยนการสอน ที่เนื่องจากนักเรี ยนขาดทักษะการอ่าน ไม่สามารถสรุปใจความสําคัญและเขียนสือ่ สารได้ ทําให้ เกิดปั ญหาการจัดกิจกรรมการสอนที่นกั เรี ยน ต้ องอ่าน และค้ นคว้ าได้ ด้วยตนเอง จากสภาพปั ญหาดังกล่าวผู้รายงานจึงได้ พฒ ั นาทักษะการอ่าน การเขียน การคิดคํานวณ และการใช้ เหตุผล ของนักเรี ยนชัน................................ ้ โรงเรี ยนดาราสมุทร โดยการ จัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem based learning : PBL) คําถามวิจยั 1. หลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. นักเรี ยนจะมีความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล สูงกว่าก่อนเรี ยน หรื อไม่ 2. หลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. นักเรี ยนจะมีความรู้ความเข้ าใจ เรื่ อง ……………………………………….. สูงกว่าร้ อยละ 60 หรื อไม่ 3. การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. จะทําให้ นกั เรี ยนมีความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน สูงกว่าร้ อยละ 60 หรื อไม่
2
วัตถุประสงค์ การวิจัย 1. เพื่อสร้ างแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานกลุม่ สาระ…………………………. เรื่ อง ……………………………………….. เพื่อพัฒนาความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และ ด้ านการให้ เหตุผล ของนักเรี ยนชัน……………………………. ้ 2. เพื่อเปรี ยบเทียบความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล ของนักเรี ยน ก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. 3. เพื่อเปรี ยบเทียบความรู้ความเข้ าใจของนักเรี ยน หลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. กับเกณฑ์ร้อยละ 60 4. เพื่อเปรี ยบเทียบความสามารถในการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานของนักเรี ยน หลังการจัด การเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. กับเกณฑ์ร้อยละ 60 ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับ 1. ได้ แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน กลุม่ สาระ……………… เรื่ อง ……………………………………….. เพื่อพัฒนาความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และ ด้ านการให้ เหตุผล ของนักเรี ยนชัน……….……………………… ้ 2. ได้ แบบทดสอบวัดผลประเมินผลด้ านความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล ด้ านผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ……………………………………….. และด้ านความสามารถ ในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน 3. นักเรี ยนได้ พฒ ั นาความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล ความรู้ ความเข้ าใจ และความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน 4. ได้แนวทางในการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็ นฐาน กลุ่มสาระ.................................... ในเรือ่ งอื่นๆ ทีม่ งี านวิจยั รองรับ ตัวแปรที่ศกึ ษา ตัวแปรอิสระ ได้ แก่ การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน กลุม่ สาระ…………………………. เรื่ อง ……………………………………….. ตัวแปรตาม ได้ แก่ 1. ความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล 2. ความรู้ความเข้ าใจ เรื่ อง ……………………………………….. 3. ความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน
3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง ความเป็ นมาของการเรี ยนที่ใช้ ปัญหาเป็ นฐาน การเรี ยนที่ใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เป็ นรูปแบบการเรี ยนการสอนที่เริ่มจากคณะแพทย์ที่มหาวิทยาลัย แมคมาสเตอร์ ประเทศแคนาดา ซึง่ คิดค้ นวิธีที่จะทําให้ ผ้ เู รี ยนมีบทบาทกระตือรื อร้ นต่อการเรี ยนตลอด กระบวนการเรี ยนการสอน มีการเรี ยนรู้ในกลุม่ เล็กในลักษณะการเรี ยนแบบทบทวน โดยให้ มีกระบวน การศึกษาด้ วยการแก้ ปัญหาจากสถานการณ์จริ ง ต่อมาจึงได้ เผยแพร่แนวคิดนี ้ไปยังนานาประเทศทัว่ โลก ความหมายของการเรียนที่ใช้ ปัญหาเป็ นฐาน การใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem Based Learning : PBL) หมายถึง รูปแบบการเรี ยน การสอนทีมีผ้ เู รี ยนเป็ นศูนย์กลาง โดยใช้ สถานการณ์ปัญหาเป็ นตัวกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนแสวงหาความรู้เพื่อนํามา แก้ ปัญหานัน้ แนวคิดของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เป็ นรูปแบบหนึง่ ของการเรี ยนการสอนแบบ “การเรี ยนรู้ร่วมกัน” ซึง่ เป็ นรูปแบบการเรี ยนรู้ภายใต้ ความเชื่อว่า ผู้เรียนจะสามารถเรี ยนรู้ได้ ดีที่สดุ ใน บรรยากาศของการมีปฏิสมั พันธ์ทางสังคม ที่ถกู สร้ างขึ ้นบนข้ อตกลงร่วมกันและการร่วมมือกันมากกว่า การแข่งขันกัน การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เป็ นวิธีการพัฒนาหลักสูตรและวิธีการสอน ในด้ านการพัฒนาหลักสูตร เป็ นวิธีการจัดหลักสูตรให้ มีกิจกรรมการเรี ยนรู้โดยอาศัยปั ญหาที่เป็ นจริ งในการ ปฏิบตั เิ ป็ นตัวแกน ส่วนวิธีการสอนเป็ นการใช้ ปัญหาเป็ นสถานการณ์ ที่จะนําไปสูก่ ารแสวงหาความรู้และ ทักษะด้ วยตนเองโดยผ่านขันตอนการแก้ ้ ปัญหาที่จดั ไว้ ให้ และอาศัยทรัพยากรการเรี ยนรู้และการอํานวยความ สะดวกจากผู้สอน มีหลักสําคัญในการจัดให้ เกิดการเรี ยนรู้โดยใช้ กลไก 3 ประการ คือ การเรี ยนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน(Problem Based Learning) การเรี ยนรู้ด้วยตนเอง (Self directed Learning) และการเรี ยนรู้ในกลุม่ ย่อย (Small Group Learning) (โครงการปฏิรูปการเรี ยนรู้, 2545) มีรายละเอียดดังนี ้ 1. การเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem Based Learning) การใช้ ปัญหามาเป็ นอันดับ หนึง่ ผู้เรี ยนจะได้ รับโจทย์ปัญหาจากนันจะตั ้ งคํ ้ าถามหรื อปั ญหาจากโจทย์ ซึง่ จะเป็ นตัวกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนไป สืบค้ นข้ อมูลความรู้มาเพื่อตอบคําถาม ทังนี ้ ้จะไม่มีการปูพื ้นผู้เรี ยนไม่วา่ จะเป็ นการสอนโดยการบรรยายหรื อ วิธีอื่นใดเกี่ยวกับข้ อมูลความรู้ที่ต้องการนํามาอธิบายปั ญหาหรื อคําถามในโจทย์ ดังนันการจั ้ ดการเรี ยนการ สอนโดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน ผู้เรี ยนจะได้ ความรู้จาการสืบค้ นด้ วยตนเอง และการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ กับเพื่อน โดยมีครูคอยให้ การสนับสนุนการเรี ยน (นภา หลิมรัตน์,2546)
4
2. การเรี ยนรู้ด้วยตนเอง (Self directed Learning) การเรี ยนรู้ด้วยตนเองในการจัดการเรี ยนการ สอนโดยใช้ ปัญหาเป็ นหลักนี ้อาศัยกระบวนการแก้ ปัญหาเพื่อเรี ยนรู้โดยตัวผู้เรี ยนเอง ซึง่ ศาสตราจารย์ นพ. ทองจันทร์ หงศ์ลดารมณ์ ได้ ให้ ความหมายว่า “การเรี ยนรู้โดยการกํากับตนเอง” โดยต้ องมีเวลาให้ ผ้ เู รี ยนได้ ศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง ทังนี ้ ้ทักษะการเรี ยนรู้ด้วยตนเองหมายถึง การที่ผ้ เู รี ยนมีความสามารถดังนี ้ 1) กําหนดความต้ องการในการเรี ยนรู้ของตนเองว่า ยังขาดความรู้อะไรบ้ างที่ต้องการ ในการตอบปั ญหาหรื อโจทย์ที่กําหนดมาให้ 2) รู้และระบุแหล่งที่จะสืบค้ นข้ อมูลนัน้ ๆ ได้ 3) กําหนดวิธีการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมกับตนเองและลงมือศึกษาที่จะศึกษาได้ 4) ประเมินผลการเรี ยนรู้ของตนเองได้ 3. การเรี ยนรู้ในกลุม่ ย่อย (Small Group Learning) การเรี ยนรู้โดยการอภิปรายในกลุม่ ย่อย ผู้เรี ยนจะเรี ยนรู้โดยการอภิปรายถกเถียงในกลุม่ ย่อย ซึง่ เป็ นโอกาสในการทําให้ เกิดการขยายความให้ กระจ่าง ชัดในเนื ้อหาที่ได้ ศกึ ษา พร้ อมได้ มีโอกาสเรี ยนรู้จาการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในกลุม่ ได้ ฝึ กทักษะ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเป็ นโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนได้ ฝึกทักษะการสื่อสารทังในฐานะผู ้ ้ พดู และในฐานะผู้ฟัง ฝึ กการทํางานเป็ นทีมมีการแบ่งหน้ าที่ในกลุม่ เช่น ประธาน เลขา คนเขียนกระดาน และสมาชิกในกลุม่ มีบทบาทหน้ าที่ของแต่ละคนในกลุม่ ย่อยโดยผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเพื่อให้ ทกุ คนได้ มีโอกาส บทบาทที่เปลี่ยนไปของครู ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เนื ้อหาความรู้หรื อวัตถุประสงค์การศึกษาในรายวิชาใด ๆ ในการเรี ยนการสอนแบบเดิมที่ ประกอบด้ วยการสอนแบบบรรยาย การฝึ กปฏิบตั กิ าร การฝึ กภาคสนาม จะถูกกําหนดโดยครูผ้ สู อนโดยไม่ได้ คํานึงถึงความต้ องการของผู้เรี ยน และไม่ได้ ให้ ความสําคัญว่า “ผู้เรี ยนได้ เกิดการเรี ยนรู้แล้ วหรื อไม่อย่างไร” การจัดการเรี ยนการสอนที่เน้ นครูเป็ นสําคัญ เป็ นเน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ โดยสรุปบทบาทของครูเปลี่ยนจาก ผู้ให้ ข้อมูลหรื อความรู้มาเป็ น “พี่เลี ้ยง” ช่วยสนับสนุนให้ ผ้ เู รี ยนได้ เกิดการเรี ยนรู้โดยไม่ได้ ให้ ข้อมูลโดยตรง แต่ ช่วยชี ้แนะทางอ้ อมที่ทําให้ ผ้ เู รี ยนรู้สกึ ว่าสามารถเรี ยนรู้ได้ ด้วย “ตนเอง” จริง ๆ การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ ปั ญหาเป็ นฐานมีทงข้ ั ้ อดีและข้ อเสียเช่นเดียวกับรูปแบบอื่น ๆ ถึงจะนําไปใช้ ผู้สอนต้ องพิจารณาให้ สอดคล้ อง กับเงื่อนไขและปั จจัยร่วมกับสภาวะที่เกี่ยวข้ อง (นภา หลิมรัตน์,2546)
5
ปั จจัยที่กาํ หนดคุณภาพของการเรียนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน คุณภาพการเรี ยนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นฐานจะขึ ้นกับปั จจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี ้ (นภา หลิมรัตน์,2546) 1. คุณภาพของโจทย์ปัญหา ต้ องชัดเจนและกระตุ้นความอยากรู้อยากเห็นของผู้เรี ยนได้ เป็ น อย่างดี 2. การทํางานในกลุม่ ย่อย ผู้เรี ยนต้ องรู้หน้ าที่และเป้าหมายในการทํางานกลุม่ ย่อย 3. บทบาทครูในกลุม่ ย่อย ครูต้องตระหนักถึงบทบาทหน้ าที่ที่เปลี่ยนไป 4. สื่อ หนังสือ หรื อทรัพยากรการเรี ยนรู้อื่น ๆ ให้ มีมากพอต่อการค้ นคว้ าของผู้เรี ยน ลักษณะที่สาํ คัญของการเรี ยนที่ให้ ปัญหาเป็ นฐาน (มัณฑรา ธรรมบุศย์,2545) 1. ผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางของการเรี ยนรู้อย่างแท้ จริง 2. การเรี ยนรู้เกิดขึ ้นในกลุม่ ผู้เรี ยนที่มีขนาดเล็ก 3. ครูผ้ สู อนเป็ นผู้อํานวยความสะดวกหรื อผู้ให้ คําแนะนํา 4. ใช้ ปัญหาเป็ นตัวกระตุ้นให้ เกิดการเรี ยนรู้ 5. ปั ญหาที่นํามาใช้ มีลกั ษณะคลุมเครื อไม่ชดั เจน ปั ญหา 1 ปั ญหาอาจมีคําตอบได้ หลายคําตอบ หรื อมีทางแก้ ไขปั ญหาได้ หลายทาง 6. ผู้เรี ยนเป็ นคนแก้ ปัญหาโดยการแสวงหาข้ อมูลใหม่ ๆ ด้ วยตนเอง 7. ประเมินผลจากสถานการณ์จริ ง โดยดูจากความสามารถในการปฏิบตั ิ กระบวนการของการเรี ยนที่ใช้ ปัญหาเป็ นฐาน Bridges (1992) ได้ จําแนกการเรี ยนที่ใช้ ปัญหาเป็ นหลักที่นําไปใช้ ในห้ องเรี ยนออกเป็ น 2 รูปแบบ คือแบบเน้ นปั ญหา และแบบเน้ นผู้เรี ยน 1. การเรี ยนที่ใช้ ปัญหาเป็ นฐานที่เน้ นปั ญหา (Problem-stimulated PBL) รูปแบบนี ้จะใช้ บทบาท ของปั ญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องเพื่อที่จะแนะนําและเรี ยนรู้ความรู้ใหม่ การเรี ยนที่ใช้ ปัญหาเป็ น ฐานที่เน้ นปั ญหานี ้ให้ ความสําคัญกับเป้าหมายหลัก 3 ประการ คือ 1) การพัฒนาทักษะเฉพาะเจาะจง 2) การพัฒนาทักษะการแก้ ปัญหา 3) การได้ มาซึง่ ความรู้เฉพาะเจาะจง 2. การเรี ยนที่ใช้ ปัญหาเป็ นฐานที่เน้ นผู้เรี ยน (Student Centered PBL ) รูปแบบนี ้คล้ ายกับ รูปแบบแรกในบางลักษณะ เช่น มีเป้าหมายเหมือนกัน แต่มีสงิ่ ที่มากกว่าคือส่งเสริมทักษะ การเรี ยนรู้ตลอดชีวิต
6
ข้ อดีและข้ อเสียของการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน 1. ข้ อดีของการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน ข้ อดีของการจัดการเรี ยนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นฐานมีหลายประการดังต่อไปนี ้ (นภา หลิมรัตน์,2546) 1.1 สนับสนุนให้ มีการเรี ยนรู้อย่างลุม่ ลึก ซึง่ ส่งผลให้ ผ้ เู รี ยนเรียนอย่างเข้ าใจและสามารถ จดจําได้ นาน เกิดเป็ นการเรียนรู้อย่างแท้ จริง 1.2 สนับสนุนให้ เกิดการเรี ยนรู้ด้วยตนเอง ซึง่ เป็ นคุณสมบัตจิ ําเป็ นที่ทกุ คนควรมี เพราะ สามารถพัฒนาไปเป็ นผู้ที่มีการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต 1.3 โจทย์ปัญหาที่ใช้ ในการเรี ยนรู้ จะส่งผลให้ ผ้ เู รี ยนเห็นความสําคัญของสิง่ ที่เรี ยนกับการ ปฏิบตั งิ านในอนาคตทําให้ เกิดแรงจูงใจในการเรี ยนรู้ 1.4 ทังครู ้ และผู้เรี ยนสนุกกับการเรี ยน 1.5 ส่งเสริ มสนับสนุนการทํางานเป็ นทีม 1.6 ส่งเสริ มสนับสนุนให้ มีโอกาสฝึ กทักษะการสื่อสาร การแก้ ปัญหา การคิดอย่างมี วิจารณญาณ การหาข้ อสรุปเมื่อมีความขัดแย้ ง 2. ข้ อเสียของการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน ข้ อเสียของการจัดการเรี ยนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ (นภา หลิมรัตน์,2546) 2.1 ต้ องใช้ เวลาเพิม่ ขึ ้นทังฝ่้ ายผู้เรี ยนและผู้สอน 2.2 ผู้เรี ยนอาจไม่มนั่ ใจในความรู้ที่ตนค้ นคว้ ามา เพราะไม่สามารถกําหนดวัตถุประสงค์อาจ มีผลกระทบในทางลบเกี่ยวกับการเรี ยนได้ 2.3 เนื ้อหาในบางส่วน อาจถูกตัดทอน 2.4 การเรี ยนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นหลักนี ้อาจไม่เหมาะกับผู้เรี ยนที่ไม่ชอบการอภิปราย ถกเถียง ชอบฟั งมากกว่า 2.5 ในกรณีที่ผ้ เู รี ยนมาก ต้ องการการลงทุนมาก ทังวั ้ สดุ เวลา และยากในการบริ หาร จัดการแต่สามารถเป็ นไปได้ ในส่วนที่เป็ นข้ อเสีย จะเห็นได้ วา่ จะต้ องทีการติดตามและเฝ้าระวังการจัดการเรี ยน การสอนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี ้จะต้ องมีการเตรี ยมผู้เรี ยนให้ รับรู้และตระหนักถึงหน้ าที่รับผิดชอบในการ เรี ยนรู้ด้วยตนเองให้ คําปรึกษาในระยะแรกของการเรี ยนที่อาจยังปรับตัวไม่ได้ และต้ องเตรี ยมครูให้ ตระหนักถึง บทบาทที่เปลีย่ นไป
7
บทที่ 3 วิธีดาํ เนินการวิจัย วิธีดาํ เนินการ 1. ศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวิจยั เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (PBL) 2. จัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน กลุม่ สาระ…………………. เรื่ อง ……………………………………….. 3. สร้ างแบบทดสอบวัดผลความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล 4. สร้ างแบบทดสอบวัดผลความรู้ความเข้ าใจ เรื่ อง ……………………………………….. 5. สร้ างแบบประเมินความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานจากใบงานของนักเรี ยน 6. นําเครื่ องมือวิจยั ที่สร้ างขึ ้นไปให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญประเมินและให้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง เพื่อให้ ได้ เครื่ องมือวิจยั ที่มีคณ ุ ภาพพร้ อมจะนําทดลองใช้ กบั กลุม่ เป้าหมาย 7. ทดลองใช้ กบั กลุม่ เป้าหมาย 8. นําผลที่ได้ จากการทดลองไปวิเคราะห์เพื่อตอบคําถามการวิจยั ต่อไป กลุ่มเป้าหมาย กลุม่ ตัวเป้าหมายของการวิจยั ครัง้ นี ้ ได้ แก่ นักเรี ยนประถมศึกษาชัน…………………………. ้ โรงเรี ยนดาราสมุทร ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 จํานวน ........ คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจยั 1. แผนจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน กลุม่ สาระ........................................... เรื่ อง ……………………………………….. เพื่อพัฒนาความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และ ด้ านการให้ เหตุผล ของนักเรี ยนชัน.......................................... ้ จํานวน 4 แผน ดังตาราง 1
8
ตาราง 1 แสดงรายละเอียดแผนการจัดการเรียนรู้ (ตัวอย่ าง) แผนที่ เรื่ อง 1 ระบบระบบย่อย อาหาร
2
ระบบหมุนเวียนเลื อด ของมนุษย์
3
ระบบหายใจของ มนุษย์
4
ระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจและ ระบบหมุนเวียนเลื อด ของมนุษย์
จุดประสงค์ เวลา (ชัว่ โมง) 1. นักเรี ยนสามารถสืบค้นอวัยวะ ทีท่ ําหน้าทีเ่ กีย่ วข้อง 3 กับการย่อยอาหารได้ 2. นักเรี ยนสามารถรวบรวมข้อมูล และอธิ บายหน้าที ่ ของอวัยวะแต่ละส่วนในระบบการย่อยอาหารได้ 3. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูล จนสามารถอธิ บาย ลําดับขัน้ ของระบบการย่อยได้ 1. นักเรี ยนสามารถสื บค้นอวัยวะ ที ่ทําหน้าที เ่ กี ่ยวข้อง 3 กับการ หมุนเวียนเลือดของมนุษย์ได้ 2. นักเรี ยนสามารถรวบรวมข้อมูล และอธิ บายหน้าที ่ ของอวัย วะแต่ ละส่ ว นในระบบหมุน เวี ย นเลื อ ดของ มนุษย์ ได้ 3. นักเรี ยนศึ กษา รวบรวมข้อมู ล จนสามารถอธิ บาย ลําดับขัน้ ของ ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ได้ 1. นักเรี ยนสามารถสืบค้นอวัยวะ ทีม่ ีหน้าทีเ่ กี ย่ วข้อง 3 กับระบบหายใจได้ 2. นักเรี ยนสามารถรวบรวมข้อมูล และอธิ บาย การ ทํางานของระบบหายใจได้ 3. นักเรี ยนสามารถศึกษารวบรวมข้อมูล และอธิ บาย การดูแลอวัยวะทีเ่ กี ย่ วข้อง กับระบบหายใจได้ 1. นักเรี ยนสามารถสืบค้น อธิ บาย อวัยวะ ทีเ่ กีย่ วข้อง 3 กับระบบย่อยอาหารได้ 2. นักเรี ยนสามารถ และอธิ บาย อวัยวะทีเ่ กี ย่ วข้อง กับ ระบบการหายใจ 3. นักเรี ยนสามารถสืบค้นข้อมูล และอวัยวะทีเ่ กีย่ วข้อง กับระบบหมุนเวียนเลือดได้ 4. นักเรี ยนสามารถอธิ บายการทํางานทีส่ มั พันธ์ กนั ของ ระบบย่อยอาหารระบบหายใจและระบบหมุนเวียน เลื อดของมนุษย์
9
2. แบบทดสอบความรู้ความเข้ าใจ เรื่ อง ……………………………………….. เป็ นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ครอบคลุมจุดประสงค์การเรี ยนรู้ จํานวน ........ ข้ อ 3. แบบทดสอบความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล เป็ นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 45 ข้ อ 4. แบบประเมินความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เป็ นแบบประเมินพฤติกรรม ครอบคลุมกระบวนการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน การหาคุณภาพเครื่องมือ นําเครื่ องมือวิจยั ให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านการสอนกลุม่ สาระการเรี ยนรู้............................................. ด้ านการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน และการวัดผลประเมินผล เพื่อให้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง แก้ ไข การเก็บรวบรวมข้ อมูล 1. ทําความเข้ าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการวิจยั ขันตอนของการทดลอง ้ รวมถึงสิทธิตา่ งๆ เกี่ยวกับจริ ยธรรมในการวิจยั ให้ กลุม่ ตัวอย่างทราบ 2. ทําการทดสอบด้ วยแบบทดสอบความรู้ความเข้ าใจ และแบบทดสอบความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล ก่อนเรี ยนกับกลุม่ ตัวอย่าง 3. ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ด้วยแผนจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน กลุม่ สาระ ................................ เรื่ อง .................................. เพื่อพัฒนาความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล ของนักเรี ยนชัน............................ ้ จํานวน 4 แผนการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นเวลา 3 เดือน จํานวน ........... ชัว่ โมง 4. ระหว่างดําเนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ทงั ้ 3 เดือน ผู้วิจยั ทําการประเมินด้ วยแบบประเมิน ความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานตลอดระยะเวลาจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ 5. เมื่อสิ ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ ................................ ทําการทดสอบด้ วยแบบทดสอบความรู้ความเข้ าใจ และแบบทดสอบความสามารถ ด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล หลังเรี ยนกับกลุม่ ตัวอย่าง 6. นําข้ อมูลที่ได้ มาดําเนินการมาจัดกระทํา วิเคราะห์ด้วยสถิตพิ ื ้นฐาน และทําการทดสอบสมมติฐาน ต่อไป
10
การวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจยั ดําเนินการตามขันตอน ้ ดังนี ้ 1. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรี ยบเทียบความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล ของนักเรี ยน ก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ………………………… ด้ วยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนก่อนเรี ยน และหลังเรี ยน แล้ วนํามาเปรี ยบเทียบ กัน 2. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรี ยบเทียบความรู้ความเข้ าใจของนักเรี ยน หลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปั ญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. กับเกณฑ์ร้อยละ 60 ด้ วยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ค่าร้ อยละ และค่าเฉลี่ยร้ อยละ แล้ วนํามาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 3. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรี ยบเทียบความความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานของ นักเรี ยนหลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. กับเกณฑ์ร้อยละ 60 ด้ วยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้ อยละ และค่าเฉลี่ยร้ อยละ แล้ วนํามาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60
11
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในครัง้ นี ้ผู้วิจยั นําเสนอตามลําดับคําถามของการวิจยั ดังนี ้ 1. เปรี ยบเทียบความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล ของนักเรี ยน ก่อน และหลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. ดังตาราง 2 ตาราง 2 แสดงรายละเอียดคะแนนความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการ ให้ เหตุผล ของนักเรี ยน ก่ อนและหลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (ตัวอย่ าง) คะแนนสอบ (45 คะแนน) คะแนนสอบ (45 คะแนน) ลําดับ ลําดับ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน 1 25 28 18 23 29 2 32 34 19 23 25 31 35 20 21 3 20 25 31 21 26 4 21 22 30 25 33 5 22 6 30 33 23 31 34 7 30 35 24 33 35 8 31 37 25 20 23 17 17 23 31 9 26 18 24 32 34 10 27 22 28 11 15 11 28 12 23 27 29 28 33 13 16 19 30 26 34 14 32 36 31 35 39 10 15 29 30 15 32 22 26 32 36 16 33 21 26 17 34 33 37 X 25.06 29.29 สรุป SD 6.39 6.51
12
จากตาราง 2 แสดงให้ เห็นว่าคะแนนความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผลเฉลี่ย (X = 29.29 SD = 6.51 ) หลังเรี ยนด้ วยการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ระบบ อวัยวะภายในร่างกาย นักเรี ยนจะมีความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล สูง กว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรี ยน (X = 25.06 SD = 6.39 ) 2. เพื่อเปรี ยบเทียบความรู้ความเข้ าใจของนักเรี ยน หลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. กับเกณฑ์ร้อยละ 60 ดังตาราง 3 ตาราง 3 แสดงรายละเอียดคะแนนความรู้ความเข้ าใจของนักเรียนของนักเรียนหลังการจัด การเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (ตัวอย่ าง) คะแนนสอบ ( 20 คะแนน) คะแนนสอบ ( 20 คะแนน) ลําดับ ลําดับ หลังเรี ยน ร้ อยละ หลังเรี ยน ร้ อยละ 1 15 75 18 17 85 2 19 95 19 15 75 3 14 70 20 13 65 4 12 60 21 12 60 5 12 60 22 10 50 6 12 60 23 14 70 7 9 45 24 14 70 8 17 85 25 16 80 9 9 45 26 16 80 10 10 50 27 15 75 11 9 45 28 12 60 12 14 70 29 15 75 13 12 60 30 6 30 14 19 95 31 19 95 15 5 25 32 10 50 16 19 95 33 16 80 17 13 65 34 19 95 X 13.50 67.50 สรุป SD 3.67 จากตาราง 3 แสดงให้ เห็นว่าคะแนนความรู้ความเข้ าใจหลักเรี ยนเฉลี่ยของนักเรี ยนร้ อยละ 67.50 สูงกว่า เกณฑ์ร้อยละ 60
13
3. เพื่อเปรี ยบเทียบความความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานของนักเรี ยนหลังการ จัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. กับเกณฑ์ร้อยละ 60 ดังตาราง 4 ตาราง 4 แสดงรายละเอียดคะแนนความสามารถในการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานของนักเรียน หลังการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (ตัวอย่ าง) ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
คะแนนสอบ (45 คะแนน) หลังเรี ยน ร้ อยละ 28 62.22 34 75.56 35 77.78 31 68.89 30 66.67 33 73.33 35 77.78 37 82.22 17 37.78 24 53.33 28 62.22 27 60.00 19 42.22 36 80.00 15 33.33 26 57.78 26 57.78 สรุป
ลําดับ 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 X SD
คะแนนสอบ (45 คะแนน) หลังเรี ยน ร้ อยละ 29 64.44 25 55.56 21 46.67 26 57.78 33 73.33 34 75.56 35 77.78 23 51.11 31 68.89 34 75.56 15 33.33 33 73.33 34 75.56 39 86.67 30 66.67 36 80.00 37 82.22 29.29 65.1 6.51
จากตาราง 4 แสดงให้ เห็นว่าคะแนนความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานหลังเรี ยนเฉลี่ยของ นักเรี ยนร้ อยละ 65.1 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60
14
บทที่ 5 สรุ ปผลการวิจัย สรุ ปผลวิจัย การศึกษาผลการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. สําหรับนักเรี ยนชัน...........................................โรงเรี ้ ยนดาราสมุทร สามารถสรุปผลได้ ดงั นี ้ 1. หลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. นักเรี ยนจะมีความสามารถด้ านภาษา ด้ านการคํานวณ และด้ านการให้ เหตุผล สูงกว่าก่อนเรี ยน 2. หลังการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. นักเรี ยนจะมีความรู้ความเข้ าใจ เรื่ อง ……………………………………….. สูงกว่าร้ อยละ 60 3. การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน เรื่ อง ……………………………………….. จะทําให้ นกั เรี ยนมีความสามารถในการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน สูงกว่าร้ อยละ 60