หนังสือเมื่อปลาจะกินดาว 8

Page 1

‡¡◊ËÕª≈“ ®–°‘𥓫 ++++++++

8 ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8 √“¬ß“π ∂“π°“√≥å ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ 10 ‡√◊ËÕß„π√Õ∫ªï 2551 พิมพครั้งแรก : พฤศจิกายน 2551 ISBN : 978-974-499-933-7 +++++++++++++++

บรรณาธิการที่ปรึกษา วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ รุจน โกมลบุตร ชวรงค ลิมปปทมปาณี กิตติ สิงหาปด บรรณาธิการ เย็นจิตร สถิรมงคลสุข ผูเขียน ชุลีพร บุตรโคตร ชุติมา นุนมัน จันทรจิรา พงษราย จิตติมา บานสราง อภิญญา วิภาตะโยธิน กมล สุกิน ปองพล สารสมัคร สุจิต เมืองสุข บุษกร อังคณิต น.รินี เรืองหนู เอมพงศ บุญญานุพงศ จัดทำโดย ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย 538/1 ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 0-2243-8739 โทรสาร 0-2668-7740 พิมพที่ โรงพิมพมติชนปากเกร็ด 27/1 หมู 5 ถนนสุขาประชาสรรค 2 ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11110 โทรศัพท 0-2584-2133, 0-2582-0596 โทรสาร 0-2582-0597


§≥–¥”‡π‘πß“π°“√®—¥∑”Àπ—ß ◊Õ ++++++++++++++++++

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ปรึกษา อรพินท วงศชุมพิศ จตุพร บุรุษพัฒน รัชนี เอมะรุจิ สากล ฐินะกุล

อธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รองอธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รองอธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ผูอำนวยการกองสงเสริมและเผยแพร

อำนวยการ สาวิตรี ศรีสุข ภาวินี ณ สายบุรี จริยา ชื่นใจชน ผกาภรณ ยอดปลอบ อานันตพร จินดา

นักวิชาการเผยแพร 8ว นักวิชาการเผยแพร 7ว นักวิชาการเผยแพร 6ว นักวิชาการเผยแพร 5 นักวิชาการเผยแพร 4

ประสานงาน อุทัยวรรณ ชีวะมงคล วราภรณ อิเพ็ชร อภิวัฒน คลองนาวา

นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการสิ่งแวดลอม


§”π‘¬¡

+++++++

ผมไดมโี อกาสสนองเบือ้ งพระยุคลบาท สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ ด ว ย “งานป า รั ก น้ ำ ” นั บ เป น ส ว นที่ ส ร า งความตื่ น ตั ว อย า งสู ง ในด า น การอนุรักษ และการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติในภาคตางๆ ของประเทศ การปลู ก ป า ทำให เ ราต อ งดู แ ลสภาพแวดล อ มที่ สั ม พั น ธ กั น ทั้ ง ทรั พ ยากรน้ ำ ดิ น และสภาพภู มิ อ ากาศ ในคราวเดี ย วกั น การดู แ ล สิ่ ง แวดล อ มที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การใช ที่ ดิ น เป น กิ จ กรรมสำคั ญ ยิ่ ง ของงาน สิ่งแวดลอม อาทิ การใชที่ดินแบบตางๆ การขุดตักหนาดิน การกัดกรอน พังทลายของดิน โดยเฉพาะพืน้ ทีส่ งู (highlands) อันเปนแหลงตนน้ำ ปาไม ณ เวลานี้ ในฐานะประธานฝายวิจัยของมูลนิธิโครงการหลวง อยาก บอกวาคนไทยจำเปนอยางยิ่งที่ตองตระหนัก และใหความสำคัญกับการ รวมแรงรวมใจรักษาสภาพแวดลอม เพราะดิน น้ำ ลม ปา นำมาซึ่ง “แหลง อาหาร” ที่อุดมสมบูรณ ประเทศไทยขึ้นชื่อ ถือเปนจุดเดน วาจะเปนแหลง ผลิตอาหารเลี้ยงโลก ซึ่งทั่วโลกมีประชากรโลกประมาณ 6,000 ลานคน มี คนเกิดใหมทุกวันวันละกวา 2 แสนคน นั่นก็คือ ปากทอง ที่จำเปนตองมี อาหารเลี้ยงดู เมืองไทยจะขาดความอุดมสมบูรณ หากทุกคนตัดไม ทำลายดิน ไม รักษาแหลงตนกำเนิดทรัพยากรน้ำ และนั่นเปนผลทำให “โลกรอน” กอ ปญหาเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งทุกคนเห็นแลววา สงผลกระทบ เชนไร ปาชายเลนเมืองไทยถูกคลื่นซัดถลม ทั้งที่เปนแหลงอุดมสมบูรณ ตน กำเนิดของสัตวน้ำหลายประเภท เกิดภัยพิบัติในพื้นที่เพาะปลูกในหลาย ประเทศเปนผลใหขาดแคลนน้ำอุปโภค บริโภค ประเทศไทยเราไมมีแหลงพลังงานจากซากฟอสซิลเพียงพอใหหลอ เลี้ยงตัวเองอยูไดเชนตะวันออกกลาง จึงตองอาศัยทรัพยากรธรรมชาติที่มี อยู ทั้งแสงอาทิตย ลม และน้ำ และในเวลานี้ รัฐก็มีนโยบายที่จะลงทุน กอสราง “โรงไฟฟานิวเคลียร” ซึ่งผมคิดวา ยังเปนโจทยที่จะกอใหเกิดความ คิดเห็นที่แตกตาง ทำอยางไร ? คนไทยจะรวมกันหาทางออกไดอยางเหมาะสมและ ลงตัว


ผมเคยเปนสวนหนึ่งในการรวบรวมเนื้อหา เกี่ยวกับ “Modeling & Simulation : แบบจำลอง กรองอนาคต กำหนดปจจุบัน” โดยเหลานัก วิชาการ ผูเชี่ยวชาญ ผูรูทั้งหลาย ระดมความคิดขอใหชวยกระจายพื้นฐาน ความเขาใจในชีวิต บนวิถีเศรษฐกิจที่พอเพียง ออกมาเปนหนังสือ สาระ วาดวยความคิดในการจำแนกใหเห็นวา การจะลงมือปฏิบัติ สราง กระทำ สิ่งใดขึ้นมา ใหเกิดประโยชนนั้น สมควรตองผานกลไกการตกผลึกคิดของ ขอมูล ดวยการประมวลผล ตั้งแนวคิด ทดลอง ทดสอบ ประมวลผลซ้ำแลว ซ้ำอีก เพื่อหาความถูกตอง-เหมาะสมและประกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ใหมาก ถาพูดแบบภาษาคนแวดวงสิ่งแวดลอม นั่นก็คือ รูปแบบการประเมิน วิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ในหลายมิตินั่นเอง ทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เปนตัวอยางที่ดีที่สุด ของการสรางแบบจำลองชวงเริ่มตนของการวางตัวแบบเรื่องนี้ พระเจา อยูหัวทรงเก็บขอมูลในสถานที่ตางๆ เพื่อหาความพอเพียง นั่นคือ พระองค กำหนดวาเนื้อที่ประมาณ 15 ไร เปนพื้นที่ชาวนาสวนใหญครอบครอง และ เหมาะสมที่สุด เพื่อใชทำตามทฤษฎีใหม ทุกโครงการตามพระราชดำริ ลวน ผานการรวบรวมขอมูล ประมวล ทดลอง ทดสอบ ประมวลผลมาอยางหนัก ดวยระยะเวลายาวนาน แมแต โครงการแกลงดิน พระองคทรงทดลอง ทดสอบอยู 8 ปในการสรางและทดสอบโมเดลกับสถานการณตางๆ หา ผลลัพธที่นาพอใจ สิ่งที่พูดขางตน ผมก็อยากบอกวา ปญหาสิ่งแวดลอม และปญหา ตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติ เรายอมตองใชและใหเวลาในการประเมิน วิเคราะห หรือการทดสอบสำหรับการปรับตัว เพื่อการปรับเปลี่ยนโครงสราง ใหไดสมดุลกับภาวะใหม หากจะมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงที่ตองหาความพอดีจะเกิดขึ้น และจะนำไปสูความ สมดุล นั่นหมายถึง ความพอเพียงของสถานการณที่ทุกฝายจะยอมรับกัน ดวยเหตุผลในที่สุด ดร.สันทัด โรจนสุนทร


§”π”

+++++++

°√¡ à߇ √‘¡§ÿ≥¿“æ ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ ความแปรปรวนของสภาพลมฟ า อากาศ และความรุ น แรงของภั ย ธรรมชาติที่พวกเราตางเผชิญในปจจุบัน ไมวาจะเปน ขาวความรุนแรง ของพายุที่ทำใหหลายพื้นที่ตองจมอยูใตน้ำ พายุเฮอริเคนที่ทวีความ รุนแรงขึ้นในแถบภาคพื้นทวีปอเมริกา หรือแมแตปรากฏการณ “พญานาคเลนน้ำ” หรือ “พายุงวงชาง” ที่ ปรากฏในประเทศไทยใหประชาชนตื่นตระหนกเมื่อเดือนกันยายนและ เดือนพฤศจิกายนที่ผานมา เปนเสมือนสัญญาณเตือนวา สภาพแวดลอม กำลังเปลี่ยนแปลงไป และก็คงจะไมเกินจริงนักหากจะกลาววา ตอไป อาจจะไดพบกับปรากฏการณหิมะตกในประเทศไทย หลายคน ตางตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษสิ่งแวดลอม และหมายมั่นความรับผิดชอบในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติให เป น ของหน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งแต เ พี ย งเท า นั้ น ขณะที่ อี ก หลายคน ตระหนักวา ทรัพยากรเหลานั้น หาใชแตเพียงสมบัติของประเทศเทานั้น ไม หากแตลวนเปนทรัพยสมบัติของคนทุกคน ที่ตองหวงแหนและรักษา ไว เพื่อใหมีตกทอดไปถึงยังลูกหลานตอไป และเรื่องราวความพยายาม ตอสูเพื่อปกปองรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การนำเสนอ ความเชื่ อ และค า นิ ย มที่ ผิ ด อั น นำไปสู ค วามเสื่ อ มทางศี ล ธรรมและ เสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอม


เหรียญสองดานของความพยายามในการสรรหาสิ่งทดแทนการใช ทรั พ ยากรที่ นั บ วั น จะร อ ยหรอลงไป และอี ก หลากหลายประเด็ น สิ่ ง แวดล อ มที่ ห ลายคนอาจจะไม เ คยทราบมาก อ น ได ถู ก รวบรวมไว ใ น หนั ง สื อ เมื่ อ ปลาจะกิ น ดาว 8 ซึ่ ง ถ า ยทอดเรื่ อ งราวสถานการณ สิ่ ง แวดลอมในรอบป 2551 รวม 10 เรื่อง ในรูปแบบของการเลาอยางเปน ลำดับ การใหขอคิดเห็นของผูที่เกี่ยวของ ตลอดจนการจำแนกประเด็น ออกเปนขอๆ ผานมุมมองของนักขาวสิ่งแวดลอม กรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม ขอขอบคุ ณ ชมรมนั ก ข า วสิ่ ง แวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย ที่ไดสราง สรรค ผ ลงานที่ ดี มี คุ ณ ภาพเพื่ อ คุ ณ ผู อ า นทุ ก ท า น และเราเชื่ อ มั่ น ว า เมื่ อ ปลาจะกิ น ดาว 8 นี้ นอกจากจะทำให คุ ณ ผู อ า นได รั บ ทราบถึ ง เหตุการณความเปนจริงทางดานสิ่งแวดลอมแลว ยังสรางความตระหนัก ใหเห็นถึงความสำคัญและการรวมมือกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ซึ่งสามารถเริ่มตนไดที่ตัวเรา ทั้งนี้ ความสำเร็จจะไมอาจเกิดขึ้นไดเลย หากปราศจากซึ่งความ ร ว มมื อ ร ว มแรง ร ว มใจของพวกเราทุ ก คน ให ส มกั บ ที่ ไ ด ชื่ อ ว า เป น คนไทย หัวใจสีเขียว กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


§”π”

+++++++

ª√–∏“π™¡√¡π—°¢à“« ‘Ëß·«¥≈âÕ¡

ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมไดจัดทำหนังสือเมื่อปลาจะกินดาว เปนปที่ 8 แลว โดยมีเจตนารมณที่จะใหหนังสือเลมนี้เปนเหมือนกระจกที่สะทอน ภาพรวมดานสิ่งแวดลอมในรอบป และพยากรณถึงทิศทางในอนาคต นอกจากนี้ ยั ง เป น เวที ส ำหรั บ พั ฒ นาทั ก ษะของนั ก ข า วสายสิ่ ง แวดลอมในการทำขาวเชิงสืบสวนคนควาขอมูลทางวิชาการ และนำเสนอ ดวยรูปแบบสารคดีทอี่ า นงาย ในแตละป ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมจะใหความสำคัญกับการคัด เลือกบรรณาธิการและนักเขียน ทั้งนี้ เพื่อเปดโอกาสใหนักขาวสายสิ่ง แวดล อ มได มี โ อกาสแสดงความสามารถฝ ก ปรื อ ทั ก ษะเชิ ง ข า ว และ พัฒนาใหเกิดความหลากหลายดานความคิด ในสวนของกระบวนการทำงาน ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมยังสงเสริม ใหงานเขียนในแตละเรื่องมีความเขมขนดานขอมูล เชน การกำหนดให นั ก เขี ย นลงพื้ น ที่ จ ริ ง การจั ด สั ม มนา เพื่ อ ระดมความคิ ด เห็ น จากผู เกี่ ย วข อ งในประเด็ น นั้ น ๆ รวมทั้ ง ได รั บ ความร ว มมื อ จากผู เ ชี่ ย วชาญ เฉพาะดานในการเปนที่ปรึกษา และคำเสนอแนะดานขอมูล ตลอดจนวิธี การนำเสนอ จึงทำให เมื่อปลาจะกินดาว ทุกเลมที่ผานมาไดรับความ สนใจจากผูอานเปนจำนวนมาก ในฐานะที่เปนงานเขียนสารคดีเชิงขาวที่ มีสีสัน สามารถสะทอนภาพสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นไดอยางชัดเจน ตรง ความเปนจริง เขมขน และหลากรส หลายแงมุม


สำหรับ เมื่อปลาจะกินดาว เลมที่ 8 ที่ผูอานกำลังถืออยูในมือเลมนี้ ไดรวบรวมสารคดีดานสิ่งแวดลอม 10 เรื่อง ที่ฉายใหเห็นถึงการจัดการ ดานสิ่งแวดลอม อาทิ เมืองหลวงเหล็ก : โศกนาฏกรรมทะเลตะวันตก ปญหาสิ่งแวดลอมบนความขัดแยงทางความคิด กระทั่ง วิเคราะหผล กระทบสุขภาพและสังคม ที่ถูกจับจองใหเปนประเด็นตองใสใจ โดยมี กฎหมายรองรับมากกวาที่ผานๆ มา และสิ่งที่แวดลอมรอบตัว อาทิ เกม ลามิรูจบ “สัตวปา” สินคาที่ยังขายดี ตามไปดู...“มือปราบมลพิษ” และ เจตนารมณความตั้งใจของสตรีสองบุคคล ที่มุงมั่นจะรักษาโลกใบนี้ใหมี ความงดงาม ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมหวังเปนอยางยิ่งวา เนื้อหาสาระที่ปรากฏ ในหนังสือเลมนี้จะทำหนาที่ทั้งกระตุนเตือน และทำใหผูอานตระหนักถึง สถานการณดานสิ่งแวดลอมในบานเราที่ยังมีสิ่งที่ตองแกไขเรงดวน และ ตองอาศัยความรวมมือจากสังคม ตลอดจนมีสวนในการปรับเปลี่ยนวิธี คิดและพฤติกรรมในระดับตัวบุคคล และการกำหนดนโยบายในระดับ องคกรทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อเอื้อตอการดำรงไวซึ่งสิ่งแวดลอมที่ดี สุดทายนี้ ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมขอขอบคุณวิทยากรผูเขารวม เสวนาและนักเขียนทุกทาน รวมไปถึงบุคคลและองคกรที่เอื้อเฟอภาพ ประกอบเรื่อง และกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ในฐานะผูสนับสนุน การจัดพิมพหนังสือมาอยางตอเนื่อง ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย


“√∫—≠ ++++++

บทบรรณาธิการ

12

วิเคราะหผลกระทบสุขภาพและสังคม (HIA - SIA) รากที่ตองลงใหลึก ไปใหไกลกวาผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA)

เมืองหลวงเหล็ก : โศกนาฏกรรมทะเลตะวันตก

38

72

การคาคารบอนไทย บอนไซในกระถาง หรือไมผลบนดินดี

1,345 ลานบาท กับแผนสรางองคความรู “นิวเคลียร”

14

94

มลพิษรายบนจอแกว....เพาะบมสังคมไทย

122


146

เกมลามิรูจบ “สัตวปา” สินคาที่ยังขายดี

“ยูคาลิปตัส” พืชแหงความหวังหรือภัยของสิ่งแวดลอม

ระวังความเสี่ยง... อุทยานแหงชาติเขาใหญ... ผืนปามรดกโลก

ตามไปดู... “มือปราบมลพิษ”

เสนทางที่แตกตางของ 2 สตรี นักอนุรักษ สูเปาหมาย “โลกที่งดงามบนความยั่งยืน”

ภาคผนวก

170 188 214 236

259


12

∫∑∫√√≥“∏‘ °“√ ++++++++++++++ “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” (Climate Change) กลายเปน หัวขอกลาวถึงกันมาก ยิ่งรอบปที่ผานมา ความแปรปรวนของดินฟา อากาศ ที่สังเกตไดในชวงเวลานี้ มีผลตอการอยู(รอด)ของสิ่งมีชีวิต ไมวา อุณหภูมิโดยรวมสูงขึ้น ทำใหฤดูกาลตางๆ เปลี่ยนแปลง สิ่งมีชีวิตคอยๆ ตาย และพันธุพืช พันธุสัตวหลายชนิดที่ไมสามารถปรับตัวตามสภาพ แวดลอม อาจสูญพันธุไปได อุณหภูมิที่สูงขึ้น ทำใหบางพื้นที่กลายเปนที่ทุรกันดาร แหงแลง ผูคนขาดแคลนอาหารและน้ำดื่ม บางพื้นที่ตองเผชิญปญหาน้ำทวมหนัก จากฝนตกที่รุนแรงมากขึ้น น้ำแข็งบนยอดเขาและน้ำแข็งขั้วโลกละลาย ทำใหปริมาณน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะชายฝงทะเล ถูกคลื่นลมที่ โถมแรงซัดหายไปอยางถาวร นักวิทยาศาสตรเชื่อวา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบอยขึ้น และรวดเร็วยิ่งขึ้น เปนเหตุจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล แหลง พลังงานสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมชวง 200 ปที่ผานมา นำมาซึ่ง ความเขมขนของกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศที่เพิ่มขึ้น กอใหเกิด ปรากฏการณเรือนกระจก หรือภาวะโลกรอน (Global Warming) ปรากฏการณจากภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น นำมาซึ่ง “การเรียนรู” จาก การกระทำของน้ำมือมนุษย ทั้งสิ้น การพัฒนาทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่กาวอยางรวดเร็ว และไรพรมแดน ชวยใหความ เจริญเติบโตในสังคมเกิดขึ้น แตขณะเดียวกัน กลับเพิ่มพูนทวี “ความขัด แยง” รูปแบบใหม โดยเฉพาะ “ความคิด” เดิมเราอาจเคยเชื่อวา ความ คิ ด ทางการเมื อ ง เป น ป จ จั ย หลั ก ในการเคลื่ อ นไหวของขบวนการ เคลื่อนไหวทางสังคมแบบเดิมๆ ที่ตองการไดมาซึ่งอำนาจรัฐ ใชในการ เปลี่ยนแปลงปรับปรุงแบบที่ตนเองตองการ แตความขัดแยง ณ เวลานี้ ขยายตัวออกไปเกี่ยวเนื่องกับ “ชีวิต” และ “การดำรงอยูโดยปกติ” นับเปนอันตรายตอสังคมไทย ที่เปลี่ยนรูป จาก ความเปนฝายซาย ฝายขวา มาสูความขัดแยงทางความคิด โดย ขาดการยอมรับที่จะฟง และเปดใจกันและกัน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

13

นั่นคือเรื่องราวที่ เมื่อปลาจะกินดาว เลม 8 นำเสนอ ไมวาประเด็น เมืองหลวงเหล็ก : โศกนาฏกรรมทะเลตะวันตก เลือกความเจริญทาง เศรษฐกิจ หรือจะเขาขางการอนุรักษพื้นที่แวดลอมและสภาพทางทะเล ใหมีความยั่งยืน มีทางเลือกอื่นอีกหรือไม ที่จะทำใหความขัดแยงทาง ความคิดของกลุมบุคคลสองฝาย ไมตองสวมใสเสื้อผาสีแดง หรือสีเขียว ยกพวกเขาตะลุมบอนห้ำหั่นกัน การวิเคราะหผลกระทบสุขภาพและสังคม (HIA-SIA) ซึ่งตองระบุ ชัดเจนในการทำประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) นั้น ควรเขมขน และปฏิบัติตามกติกาที่เปนอยูมากกวานี้ จะเปนตัวชวยที่สำคัญอยางยิ่ง หรือไม เพราะไมเชนนั้น แผนการประชาสัมพันธ 1,345 ลานบาท กับการ สรางองคความรู “นิวเคลียร” ที่ตั้งใจดำเนินการ โดยไมมีวาระเคลือบ แคลงแอบแฝง ก็นาจะชวยใหคนไทยรู(จริง) และนำไปสูการตัดสินใจ เลือกอะไรไดดียิ่งขึ้น สื่อทีวี ทุกวันนี้แมมีการจัดเนื้อหาของคนดู แตความ(ไร)สาระยังถูก สอดแทรก โดยเฉพาะทัศนคติไมถูกตองไมเหมาะสม ก็เปน “มลพิษ” เคลือบจิตใจตอผูชมอยางมากเชนกัน ไมเบียดเบียน แมแตสัตวปา ไม เอาแตไดกับปาไม ดังนั้น สาระการสรางองคความรู เพื่อการเรียนรูในสิ่งที่ดีงาม กรณี 2 สตรี นั ก อนุ รั ก ษ สู เ ป า หมาย “โลกที่ ง ดงามบนความยั่ ง ยื น ” ก็ เ ป น ตัวแทนการสื่อสารความหมายดีๆ สูผูอาน ทั้งหมดจึงเปนความตั้งใจที่ เมื่อปลาจะกินดาว เลม 8 อยากใหทุก คนไดสัมผัสรับรู ไดเห็นสิ่งที่เปนไป และไดรวมมือรวมใจกันทำสังคมให นาอยูอยางที่เราทุกคนอยากจะใหเปน เย็นจิตร สถิรมงคลสุข


14

«‘‡§√“–Àåº≈°√–∑∫ ÿ¢¿“æ·≈– —ߧ¡ (HIA - SIA) √“°∑’ËμâÕß≈ß„Àâ≈÷° ‰ª„À≰≈°«à“º≈°√–∑∫ ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ (EIA) ++++++++++++++

‡Õ¡æß»å ∫ÿ≠≠“πÿæß»å Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå¢à“« ¥


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

15

ปจจุบันโครงการ กิจกรรมพัฒนา ที่ ต อ งเสนอ รายงานการวิ เ คราะห ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล อ ม Impact Assessment - EIA) ผานความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่ง แวดลอมแหงชาติ ซึ่งเปนผูชำนาญการ ที่สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) แตงตั้งขึ้น เพื่อตรวจสอบ ตามมาตรา 46 และมาตรา 51 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 หากรายงานโครงการนั้ น ๆ ถู ก ส ง คื น ให เ จ า ของโครงการ และที่ ปรึกษาดานสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) เพื่อใหตรวจสอบแกไขใหม ดวยเหตุผล วา รายงานวิเคราะหผลกระทบสิง่ แวดลอมนัน้ ขาดเนือ้ หาในดาน “การ มีสวนรวมของประชาชน” จากการศึกษาวิเคราะหผลกระทบทาง สังคม (Social Impact Assessment - SIA) และการรายงานการ วิเคราะหผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment - HIA) หรือไมเพียงพอ ขอมูลนอยเกินไป มีสาระไมครอบคลุมกลุมเปา หมาย หรือกลุมที่คาดวาจะไดรับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบจาก โครงการกอสราง ตามที่กฎหมายกำหนด และตามขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น รวมทั้งไมมีการระบุถึงมาตรการลดผลกระทบ หรือแกไขผลกระทบทาง สังคมและสุขภาพวาจะเปนไปอยางไร


16

นั่นทำใหการทำรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมปจจุบัน ปรับเปลี่ยนรูปโฉมไปอยางสิ้นเชิง เพราะนั่นหมายถึง การตรวจสอบที่ เขมขน มีลำดับขั้นตอนมากกวาเดิม ผานองคประกอบขอมูลทางสังคม การมีสวนรวมของผูคนในชุมชน สังคมซึ่งตองชัดเจนมากขึ้น เพียงแตไมสามารถอธิบายรูปแบบใหเห็นชนิดตายตัว หรือเปนสูตร สำเร็จ เหมือนขอมูลดานเทคนิคอีกตอไป ™Ÿ∏ß SIA ·≈– HIA π” EIA ++++++++++++++++

ที่ผานมาการจัดทำอีไอเอสวนใหญเนนเทคนิค เนื้อหาวิเคราะหดานสิ่ง แวดลอม อาทิ การรายงานขอมูลพื้นฐานในพื้นที่ที่จะดำเนินโครงการ สภาพดิน แหลงน้ำ อากาศ ชายฝง ทะเล ระบบนิเวศวิทยา นำไปสู หนทางปองกัน และการแกไขผลกระทบ เปนหลัก ขณะที่มาตรการลดผลกระทบ หรือการแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ที่คาดวาอาจจะเกิดขึ้น มักถูกกลาวถึงในรายงานจนเสมือนเปนสูตร สำเร็จ อาจจะเกิดขึ้นจริงหรือไม เพื่อใหมีการลดหรือแกไขผลกระทบจริง หรือไมนั้น แทบไมมีการตรวจสอบติดตามมาเกิดขึ้น หลังจากดำเนิน โครงการไปแลว กระทั่งรับรูเมื่อเกิดปญหาตอสภาพแวดลอมตามมา จนเปนสวน สำคัญสรางความขัดแยงในสังคม และผลกระทบตอสุขภาพ ทั้งรางกาย และจิตใจของประชาชน ม.ล.วัลยวิภา บุรุษรัตนพันธุ นักวิจัยระดับ 9 สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนหนึ่งในผูชำนาญการดานสิ่งแวดลอม ชี้วา อีไอเอใหความสำคัญที่จะเอยถึงสุขภาวะของผูคนในชุมชน ในพื้นที่ การทำโครงการขนาดใหญและกลางนอยมาก การศึกษาวิเคราะหมักทำ เปนพิธี ตามเกณฑระเบียบขอบังคับกำหนดไว แตไมไดมีความชัดเจน ครอบคลุม หรือใหความสำคัญเทียบเทากับในสวนของเทคนิค กวา 10 ปที่ผานมา ผลกระทบที่เปนปญหาเกิดขึ้นจากโครงการ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

17

พัฒนาขนาดใหญ แทบทุกโครงการมักสงผลโดยตรงตอชาวบาน ชุมชน สุขภาวะ กลายเปนความขัดแยงขึ้นในสังคม “อี ไ อเอมั ก ทำแบบเดิ ม ๆ คื อ สำรวจทางสั ง คมเบื้ อ งต น นำ แบบสอบถามลงไปในพื้นที่ พูดคุยวา ในพื้นที่นั้นมีผูชายกี่คนผูหญิงกี่คน สมมุติเปนโครงการวางทอสงกาซ ก็จะถามวาคุณรูจักไหมวากาซมีกี่ชนิด มีอันตรายหรือไม นี่คือสิ่งที่อยูในแบบสอบถาม ไปถามชาวบาน ขณะที่ ชาวบานยังใชเตาถานอยู โครงการมันไปเกี่ยวของอะไรกับตัวเขา มัน เปนโจทยคนละความคิดที่ทำใหแตละโครงการทำงานงายขึ้น” หนึ่งในผู ชำนาญการศึกษา SIA ระบุถึงประสบการณ ตามเงื่อนไขการศึกษา ที่ สผ.กำหนด ตองมี “ขอบเขต” หาโจทยวา ปญหาคืออะไร ตนเหตุอยูที่ไหน ถาบานปลายจะเปนอยางไร เปนตัวชี้ วัด ทำใหไดรูวาตัวปญหาคืออะไร ขอมูล (Profile) ตองคนควาเกี่ยวกับปญหาทั้งหมดนั้น มีทางเลือก (Alternative) คืออะไร ทางออกมีหรือไม โดยการตรวจสอบ (Mornitoring) มีอยู 4 แนวทาง แตเวลาเขียนออกมาไมรูวาคืออะไร เปนอยางไร เชน ตองศึกษาประวัติของชุมชนเปนมาอยางไร โครงการทำใหเกิดผลอะไร ตอชุมชน ใครเปนผูนำชุมชนนั้น มีประวัติการตอสูอยางไร หรือเรียกรอง สิทธิอยางไรบาง ตรงนี้ไปไกลกวาแบบสอบถามที่ไมเคยมีการซักถาม ติดตาม หากนับจากนี้ การทำรายงานอีไอเอ โดยคณะผูชำนาญการของ สผ. ตรวจสอบ จะเนนย้ำผูจัดทำโครงการ ที่ปรึกษาดานสิ่งแวดลอม หรือ เจาของโครงการ เพื่อใหแกไขในสวนนี้จะเปนไปอยางเขมขนขึ้น เพื่อ การเก็บขอมูล ศึกษาทำอยางจริงจังและนาเชื่อถือ แกไข และรายงาน มาตรการปองกันและลดผลกระทบทางสังคมและสุขภาพที่ชัดเจน และ อยูในวิสัยที่เปนจริง ซึ่งจะเปนนิมิตหมายที่ดีอีกกาวหนึ่งในทางสังคม เมื่อโครงการพัฒนาตางๆ ใหความสำคัญกับสุขภาพชีวิตมนุษย ชุมชน เปนอันดับแรก


18

นายสุรศักดิ์ หาญคุณะเศรษฐ อดีตผูจัดการสวนสื่อสารภายนอก สำนักงานสื่อสารองคกร เครือซิเมนตไทย แสดงความเห็นวา หากมอง SIA และ HIA จะเห็นวา นี่คือมาตรการเชิงรุก รุกเขาไปในการที่จะให ความรูกับประชาชน ผูมีสวนไดสวนเสียกับโครงการ (Stakeholder) เมื่อเขารูก็สามารถที่จะแสดงความเห็นดวยหรือไมเห็นดวย เสนอ มาตรการที่ จ ะดู แ ลผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม สุ ข ภาพ ผลกระทบต อ คุณภาพชีวิต สิทธิและหนาที่ตางๆ อยางชัดเจน ซึ่งจะเปนประโยชนทั้ง สองฝาย ในสวนของผูป ระกอบการเอง หากนำสองสวนนีม้ าเปนเครือ่ งมือ จัดการ °“√¡’ à«π√à«¡‡√‘Ë¡μâπ∑’Ë√—∞∏√√¡πŸ≠-∑”∫â“߉¡à∑”∫â“ß ++++++++++++++++++++++++++++

การมีสวนรวมของประชาชน ในโครงการพัฒนาขนาดใหญทั้งของรัฐบาล และเอกชน หากไมนับการชุมนุมเรียกรอง การเดินขบวน และความขัด แยง โตเถียงผานสื่อมวลชน เวทีสาธารณะตางๆ กวา 10 ปที่ผานมา นำมาสู สั ง คมไทย เห็ น ภาพฉายชั ด จากรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราช อาณาจักรไทย พ.ศ.2540 หมวด 3 : วาดวย สิทธิและเสรีภาพของชน ชาวไทย มาตรา 26-65 มาตรา 46 ระบุวา บุคคลซึ่งรวมกันเปนชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมยอม มีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะหรือ วัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การบำรุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอมอยางสมดุล และยั่งยืน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา 56 ระบุวา สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชน ในการบำรุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ ความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริม และรักษา คุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหดำรงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่อง ในสิ่ง แวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

19

คุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย บัญญัติ การดำเนินโครงการหรือกิจกรรม ที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยาง รุนแรงตอคุณภาพสิ่งแวดลอมจะกระทำมิได เวนแตจะไดศึกษาและประ เมิ น ผลกระทบต อ คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม รวมทั้ ง ได ใ ห อ งค ก รอิ ส ระซึ่ ง ประกอบดวยผูแทนองคกรเอกชนดานสิ่งแวดลอม และผูแทนสถาบัน อุดมศึกษาที่จัดการศึกษาดานสิ่งแวดลอมใหความเห็นประกอบกอนมี การดำเนินการดังกลาว ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ สิทธิของบุคคลทีจ่ ะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐ เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามที่ บั ญ ญั ติ ไ ว ใ นกฎหมายตามวรรคหนึ่ ง และวรรคสอง ย อ มได รั บ ความ คุมครอง หมวด 4 : หนาที่ของชนชาวไทย มาตรา 66-70 มาตรา 69 ระบุวา บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ รับราชการทหาร เสียภาษีอากร ชวยเหลือ ราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ ปกปอง และสืบสานศิลปวัฒนธรรม ของชาติและภูมิปญญาทองถิ่น และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอม ตามที่กฎหมายบัญญัติ ตอมาในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ปรับ เปลี่ยน โดยกำหนด มาตรา 67 ขึ้น เพื่อใหประชาชนมีสวนรวมใน การตัดสินใจโครงการตางๆ ที่จะดำเนินการตั้งแตเริ่มตน มาตรา 67 วรรค 1 ระบุวา สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและ ชุมชนในการอนุรักษ บำรุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากร ธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สง เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหดำรงชีพอยูไดอยางปกติ และตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวั ส ดิ ภ าพ หรื อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของตน ย อ มได รั บ ความคุ ม ครองตาม ความเหมาะสม มาตรา 67 วรรค 2 ระบุวา การดำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจ


20

ก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ชุ ม ชนอย า งรุ น แรงทั้ ง ทางด า นคุ ณ ภาพ สิ่ ง แวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทำมิได เวนแตจะได ศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม และสุขภาพของ ประชาชนในชุ ม ชน และจั ด ให มี ก ระบวนการรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น ของ ประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน รวมทั้งไดใหองคกรอิสระซึ่งประกอบดวย ผูแทนองคกรเอกชนดาน สิ่ ง แวดล อ มและสุ ข ภาพ และผู แ ทนสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ จั ด การการ ศึกษาดานสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือดานสุขภาพ ใหความ เห็นประกอบกอนมีการดำเนินการดังกลาว และมาตรา 67 วรรค 3 ระบุ ว า สิ ท ธิ ข องบุ ค คลที่ จ ะฟ อ งหน ว ย ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกร อื่นๆ ของรัฐที่เปนนิติบุคคล เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามบทบัญญัตินี้ ยอม ไดรับความคุมครอง ดวยกฎหมายเพียงไมกี่มาตราที่แทรกอยูในรัฐธรรมนูญ แม ดูเขมแข็ง เขมขน และครอบคลุมมากมายแทบทุกสวน แตก็ยังไม ศักดิ์สิทธิ์พอที่จะใหโครงการพัฒนาตางๆ ใหความสำคัญ และ ปฏิบัติตามอยางจริงจัง ทั้งที่ในหลายกรณีความขัดแยงที่เกิดขึ้น ชุมชน สังคม และสุขภาพของประชาชน เกิดจากการไมไดรับการ บอกกลาว และใหประชาชนมีสวนรวมตั้งแตกอนเริ่มโครงการ เมื่อมีการกอสรางโครงการจึงเกิดความขัดแยงในชุมชน สังคมตาม มา เนื่องเพราะไมมีมาตรการลดผลกระทบตอสภาพแวดลอม ชุมชน สุขภาพ และเมื่อดำเนินโครงการแลวเสร็จ และดำเนินกิจการตอไป จึง ไมมีมาตรการในทางสุขภาพ ชุมชน หรือมีแตไมเพียงพอและไมถูกวิธี หรืออาจไมมีมาตรการแกไขหากเกิดผลกระทบขึ้น ยิ่งสรางความขัดแยง มากขึ้ น ประกอบกั บ เมื่ อ ไม มี ก ฎหมายบั ง คั บ ให ต อ งดำเนิ น การเพื่ อ ใหเกิดการมีสวนรวมของประชาชนขึ้น ยิ่งเปนการเปดชองใหผูดำเนิน โครงการขนาดใหญตางๆ ละเลยที่จะรับผิดชอบในสวนนี้ หากมองดวยความเปนจริง การดำเนินการในสวนนี้อยูนอกเหนือ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

21

จากที่ผูจัดทำจะกำหนดได ตองใช ความละเอี ย ดอ อ น นุ ม นวล เป น ธรรม และรับผิดชอบอยางสูงทั้งยัง ตองใชงบประมาณจำนวนมากดวย “การมีสวนรวมของประชาชน” หรือ Public Participation ตั้งแตเริ่ม ตนโครงการจึงมีความสำคัญอยางยิ่ง การมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชน และ ผูเกี่ยวของทุกภาคสวนรับรู รวมคิด รวมวางแผน และรวมตัดสินใจ เพื่อ สรางความโปรงใสและเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจในการดำเนินโครงการ ทั้งของภาครัฐและเอกชน ใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และเปนที่ยอมรับ รวมกันของทุกฝาย นางมีนา พิทยโสภณกิจ กรรมการผูจัดการ บริษัท แอรเซฟ จำกัด บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาด า นสิ่ ง แวดล อ ม และจั ด ทำรายงานการวิ เ คราะห ผ ล กระทบสิ่งแวดลอมโครงการตางๆ มากมาย เห็นวา ทำอีไอเอมากวา 20 ป ทำไมยุคปจจุบันการยอมรับ ความเชื่อใจ การที่จะไดมาใชความรูสึก วาสุดโตงทั้งสิ้น เมื่อเรารูสึกวาใครที่ไมคิดแบบเดียวกับเรา ตองอยูคนละ ฝาย ตองเปนผิดกับถูก คนนั้นไมคลอยตามเรา ก็เปนอีกฝงหนึ่ง มันเปน อะไรที่บูดเบี้ยวอยางแรง ทำไมไมเกิดแนวคิดที่วินวิน ทำไม สผ.อยูขาง หนึ่ง บริษัทที่ปรึกษาขางหนึ่ง ชุมชน เอ็นจีโอก็จะมองวาบริษัทที่ปรึกษาก็ เปนอีกพวกหนึ่ง ทำใหไมทราบวาบริษัทที่ปรึกษาคือกลุมไหนกันแน ผูประกอบการก็มีความรูสึกวา ทำไมบริษัทที่ปรึกษาทำอะไรก็ไม ผานการพิจารณาหลายครั้ง สวน สผ.ก็มองวาบริษัทที่ปรึกษาเขาขาง ผูประกอบการ สื่อมวลชน เอ็นจีโอก็ดวย ตกลงวาเรามีศักดิ์ศรีหรือไม เหตุใดความคิดเชนนี้จึงเกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งกำลังมองวา อันตราย เพราะไมอยากใหมิติทางสังคมและสุขภาพเดินตามอีไอเอ นางมีนา ระบุชัดวา ที่ทำมาพบวาสื่อมวลชนมีอิทธิพลมาก ดวยชาว บานไมทราบวา บริษัทที่ปรึกษา หรือผูจัดทำอีไอเอเขียนอะไรในอีไอเอ


22

400-500 หนา แตชาวบานมองวา โครงการที่จะเกิดขึ้นจะกระทบกับวิถี ชีวิตที่เขาอยูตรงนั้นหรือไม แตประเด็นคือเมื่อมีอะไรที่มีการโจมตีกัน หรื อ ข อ มู ล ที่ ไ ม ต รงกั น ก็ น ำไปสู ค วามขั ด แย ง จนขณะนี้ เ หมื อ นหมด หนทางเยียวยา เธอเลาดวยวา เมื่อเร็วๆ นี้ ตนประชุมกับเครือขายเอ็นจีโอ ไดพูดคุย ฝากกัน ถาบริษัทที่ปรึกษาเกง สผ.ก็จะสบาย เพราะบริษัทที่ปรึกษาจะ ตองไปคนหาขอมูล ทำการบาน ทำกระบวนการมีสวนรวมหรืออะไร ก็ตามที่ใหเกิดความเขาใจ ถา สผ.เกงผูชำนาญการก็สบาย ในการตรวจ ทานขอมูล และอนุมัติใหผานในเวลาอันเหมาะสม เจาของโครงการก็ สบาย เมื่ อ อี ไ อเอผ า นการอนุ มั ติ โครงการหนึ่ ง ๆ เกิ ด ขึ้ น เช น โรงงาน อุตสาหกรรม การกอสรางถนน หรือโครงการอะไรก็ตาม ที่ตองสรางใน พื้นที่นั้นๆ ยึดติดกับพื้นที่ตรงนั้น เจาของโครงการก็ไปไหนไมรอด และไม เชื่อวาเมื่อโครงการนั้นๆ ไดรับการอนุมัติอีไอเอแลว กิจการนั้นๆ จะเลิก ทำหรือไมทำในสิ่งที่ระบุไวในอีไอเอ ซึ่งโครงการตองมีกับชุมชน โครงการ ไมทำไมได เขาตองทำ แตตองยอมรับวา แลวแต เขาอาจจะรูไมเหมือน กับที่เรารูตรงนี้ เขาอาจจะไมเห็นเหมือนที่เราเห็น æ—≤π“¡“∂÷ß SIA-HIA „π EIA ++++++++++++++++++

“ถาจะเอาเรื่องสุขภาพ (HIA) เรื่องสังคม (SIA) เขามารวมอยูในอีไอเอ อยากใหมีความแข็งแรงดวย ไมใชมีการจัดทำกันขึ้นมาตามระเบียบที่ถูก กำหนดขึ้น และในที่สุดก็ออกมาเปนรายงาน 1 เลม ซึ่งครอบคลุมทั้งมิติ ดานสุขภาพและมิติทางสังคม และบอกวา การจัดทำอีไอเอครบทุกดาน แลว ถึงฝงแลว ไมถูกฟองแลว ไมใช” นางมีนา คิดเห็นถึงกรณีที่จะใหนำ เอสไอเอ และเอชไอเอ ผนวกเขาเปนสวนหนึ่งในอีไอเอ เธอเสริมดวยวา เรื่องนี้ตองไปดวยกัน ซึ่งสื่อมวลชน สถาบันการ ศึ ก ษาสามารถช ว ยได ยกตั ว อย า ง มี โ รงงานแห ง หนึ่ ง ตั้ ง อยู ใ นนิ ค ม


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

23

อุตสาหกรรม ผูประกอบการหรือโรงงานดังกลาว ก็ตองไปพบกับชุมชนที่ ตั้งอยูรอบๆ โรงงานนั้นๆ ไมวาจะมีระยะหาง 5-7-10 กิโลเมตรก็ตาม ซึ่ง ตอมาหากมีโรงงานที่ 2 เกิดขึ้นในนิคมนั้นอีก โรงงานที่สองก็ตองไปอยู กับชาวบานกลุมเดียวเหมือนกัน เปนไปไดอีกวา บริษัทที่ปรึกษาที่ทำคนละบริษัท ขอมูลที่ชาวบาน ไดรับ หรือขอมูลที่สถานศึกษาไดรับก็เปนขอมูลคนละชิ้นกัน ความขัด แยงที่จะมีขึ้นเปนไปไดอีกเหมือนกัน แตความขัดแยงตรงนั้นในแงบวก ไมใชความขัดแยงในเชิงแจงขอมูลเท็จ ซึ่งการนำขอมูลมาเปนการวิจัย ขึ้นอยูกับวาหยิบชวงไหนมาใช แตการที่ไมไดรับความไววางใจที่เกิดขึ้น สิ่งที่อยากจะมองคือ ถาโรงงานหนึ่งจะตองไปพบกับชุมชนกลุมเดิม ซ้ำ แลวซ้ำเลา ถามวาเปนเอสไอเอหรือไม สำหรับมิติทางสังคม ตองดูวาโครงการที่มีผลกระทบรุนแรงจริงๆ เชน สรางถนนมอเตอรเวย ถนนทำใหสองฝงถูกตัดขาดออกจากกัน เชน นี้ตองทำเรื่องเอสไอเอ กรณีของเขื่อน โรงไฟฟานิวเคลียร เหมืองแร นับ วาทำลายภูมิประเทศโดยสิ้นเชิง เพราะตองมีการระเบิดภูเขา ตองมอง ดานสังคม วาจะตองแยกอีไอเอ ไมใชเหมาวาอีไอเอทุกตัวจะตองทำ รายงานการวิเคราะหผลกระทบทางดานสังคม หรือเอสไอเอทั้งหมด ควร บอกวาประเภทไหน ขนาดไหนของโครงการ ที่จะตองทำรายงานใดบาง เรือ่ งกลุม เปาหมาย ซึง่ มีสอื่ มวลชน ผูป ระกอบการ ฯลฯ หากฟงขอมูล ที่เกิดขึ้น ขอมูลอันหนึ่งเกิดขึ้นจากคนที่เขาไวใจ เขาจะเชื่อ ขณะที่ขอมูล เดียวกัน ออกมาจากคนที่เขาคิดไมเหมือนกัน เขาไมยอมรับ ก็จะไมเชื่อ ขอมูลใดๆ จึงบอกวาเรื่องทางสังคมตรงนี้ เปนเรื่องขึ้นกับวิจารณญาณ ของแตละบุคคล ฉะนั้นถาทำเอสไอเอใหตองมีโดยจะตองพวงในอีไอเอ หรือไม ยังเปนคำถามที่ยังไมไดคำตอบ ส ว นการศึ ก ษาผลกระทบเอชไอเอ ม.ล.วั ล ย วิ ภ า เสริ ม ว า มี พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ เกิดจากแนวคิดที่ตองการปฏิรูประบบสุขภาพ ของคนไทยใหมใหเขาใจในความหมายของคำวา “สุขภาพ” ใหกวางขึ้น เกิดขึ้น


24

นั่นหมายความวา ตองมีกฎหมายลูกจะตามมา นำการศึกษาผล กระทบอีไอเอผนวกเขาไปดวยไดหรือไม ก็มีขอโตแยงจากหลายฝายวา อีไอเอเชื่อถือไดมากนอยแคไหน แมเมื่อป 2524 อีไอเอเคยถูกมองวา เปนยาวิเศษในการตรวจสอบโครงการทั้งหลาย หากมองในแงทฤษฎี การใหคำจำกัดความ เอสไอเอ เปนการศึกษา ผลกระทบของโครงการหรือกิจกรรม ที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนคนที่อาศัยอยู เอสไอเอจะคาดคะเนการเปลี่ ย นแปลงทางด า นสั ง คม เศรษฐกิ จ วัฒนธรรม และคุณภาพชีวิต ที่จะเกิดขึ้น พรอมกับนำเสนอมาตรการใน การลดผลกระทบทางสังคม เพื่อประกอบการและพิจารณาทางเลือก โครงการหรื อ กิ จ กรรมและการปรั บ เปลี่ ย นโครงการหรื อ กิ จ กรรม ให สอดคลองกับสภาพชุมชนและสังคมในพื้นที่ และใหเกิดประโยชน รวม ทั้งลดผลกระทบทางลบแกชุมชนและสังคมใหมากที่สุด เพื่อใหผูตัดสิน ใจโครงการหรือกิจกรรมพิจารณารางผลกระทบที่เกิดขึ้นจะเปนที่ยอมรับ ไดรับและคุมคากับประโยชนที่จะเกิดขึ้นจากโครงการหรือกิจกรรมหรือ ไม สำหรับผลกระทบทางสังคม มีปจจัยหลายๆ ดาน มีผลโดยตรงตอ ชีวิตคนในชุมชนและสังคม จัดรวมเปนระบบคือ 1. ประชากร การตั้งถิ่นฐาน ความสัมพันธของคนและสิ่งแวดลอม ในชุมชน 2. ความเจริญเติบโตของชุมชน รายได อาชีพ ทรัพยสิน การใช ประโยชนที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ บริการชุมชน สาธารณูปโภค บริการสาธารณสุข การศึกษา และนันทนาการ 3. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 4. คุ ณ ค า ทางศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประวั ติ ศ าสตร โบราณคดี สถาปตยกรรม ศาสนา ทัศนียภาพ ภูมิทัศน 5. การรวมกลุมในชุมชน ความเขมแข็งขององคกรชุมชน (คูมือ การประเมินผลกระทบทางสังคม ม.ล.วัลยวิภา บุรุษรัตนพันธุ นักวิจัย ระดับ 9 สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ย.2549)


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

25

สำหรับ เอชไอเอ หมายถึง กระบวนการเรียนรูรวมกันในสังคม ที่ พัฒนาขึ้นมาเพื่อใหทุกฝายไดรวมกันพิจารณาถึงผลกระทบทางสุขภาพ โดยมีการประยุกตใชแนวทางและเครื่องมือที่หลากหลาย ในการระบุ คาดการณ พิจารณาถึงผลกระทบดานสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้น หรือเกิด ขึ้นแลวกับประชาชนกลุมใดกลุมหนึ่ง เนื่องจากการดำเนินนโยบาย แผน งาน โครงการหรือกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่ง โดยหวังผลเพื่อสนับสนุน การตัดสินใจในทางเลือกที่ดีที่สุด สำหรับการสรางเสริมและคุมครอง สุขภาพของทุกคนในสังคม และมุงขจัดผลกระทบทางดานลบตอสุขภาพ ใหเหลือนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได ดังนั้น การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ จึงเปนเครื่องมือหรือ กลไกที่สำคัญในการคุมครอง และสงเสริมสุขภาพของประชาชน จาก การดำเนินการตางๆ ทั้งจากภาครัฐ องคกรทองถิ่นและเอกชน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจึงมีจุดมุงหมายเพื่อ 1. กระตุนใหผูตัดสินใจ หรือผูมีสวนรวมในการตัดสินใจ ไดเห็นถึง คุณคาหรือความสำคัญกับการสรางเสริมและการคุมครองสุขภาพของ ประชาชน 2. นำเสนอขอมูล หลักฐาน อยางเปนระบบ และนาเชื่อถือ เพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจที่จะเปนประโยชนสุขแกประชาชน 3. เสนอทางเลื อ กและข อ เสนอแนะ ในการดำเนิ น งานเพื่ อ ประโยชนของประชาชน ในการสรางเสริมสุขภาพและลดภัยคุกคามหรือ ปจจัยเสี่ยงตอสุขภาพ 4. ระดมศักยภาพและทรัพยากรในชุมชน รวมกับสวนอื่นๆ ใน สังคม เพื่อการสรางเสริมและคุมครองสุขภาพของประชาชน 5. คุ ม ครองสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐาน และศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป น มนุ ษ ย ข อง ชุมชน 6. สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน สนับสนุนใหเกิดความ โปรงใส และความพรอมรับผิดชอบจากกระบวนการตัดสินใจที่เกี่ยวของ กับผลประโยชนและผลกระทบตอสาธารณะ


26

ม.ล.วั ล ย วิ ภ า บุ รุ ษ รั ต นพั น ธุ ระบุ ว า เอสไอเอเป น สิ่ ง ที่ มี อ ยู ใ น รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม หรืออีเอไอมาตลอด เปน ขอบเขตการศึกษาเรื่องคุณคาตอคุณภาพชีวิต เรื่องเศรษฐกิจ สังคม การ สาธารณสุข อาชีวอนามัย ประวัติศาสตร และสุนทรียที่ตองศึกษา แตละ เรื่อง สผ.จะกำหนดประเด็นไวแลวอยางชัดเจน เพียงแตผูศึกษาจะทำ อยางไรในเนื้อหาใหประเด็นการศึกษาตอบสนองตอโจทยปญหาที่แท จริงของสังคมหรือชุมชนนั้นๆ วานาเชื่อถือตอโครงการขนาดใหญ จะไม เกิดผลกระทบ กรณี โครงการวางทอสงกาซไทย-มาเลเซีย อ.จะนะ จ.สงขลา เมื่อป 2543-2544 ที่ ค ณะกรรมการผู ช ำนาญการของ สผ.มี ก ารพิ จ ารณา อนุมัติอีไอเอ แตไดยกเวนประเด็นทางสังคมหรือเอสไอเอ ทำใหมีการถก เถียงกันวา การอนุมัติอีไอเอครั้งนั้นผานทั้งฉบับหรือไม ดวยประเด็น ดานสังคมไมผานการพิจารณาแตทางเทคนิคของอีไอเออนุมัติใหผาน หนำซ้ำการนำอีไอเอฉบับดังกลาวไปใหคณะกรรมการสิ่งแวดลอม แหงชาติ เปนผูพิจารณาตัดสิน ซึ่งการทำแบบนี้ถือวาขัดตอ พ.ร.บ.สง เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2535 นำไปสูการฟองรองใน ศาลปกครองถึงทุกวันนี้ ตลอดเวลาที่ผานมา คำวา เอสไอเอ หรือการศึกษาผลกระทบทาง ดานสังคม การศึกษาคุณภาพชีวิต และการใชประโยชนที่ดิน มีอยูในอี ไอเอ เหมื อ นถู ก บิ ด เบื อ นว า เอสไอเอเป น ของใหม ฉะนั้ น กรณี ข อง โครงการวางทอสงกาซไทย-มาเลเซีย ที่คณะกรรมการไมเห็นชอบเอสไอ เอก็ถูกบิดเบือน ถูกสรางกระแสเปนของใหม จึงไมควรนำแบบฉบับนั้น มาใช นำไปสูการอางวา เปนเรื่องยากที่ผูชำนาญการจะพิสูจนทราบหรือ พิจารณาตัดสินได จึงเปลี่ยนอำนาจการพิจารณาใหความเห็นชอบ ไปให คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ทั้งๆ ที่เปนการพิจารณาใชอำนาจ ผิดการ พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2535 มาตรา


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

27

47-48 ในการอนุมัตินั้นคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติไดเสนอตอ ไปยังคณะรัฐมนตรี และสงไปเพียงแตในระเบียบวาระเพื่อทราบ และ ประทับตราเทานั้น จึงพิจารณาเปนอยางอื่นไปไมไดนอกจากเปนเรื่อง การเมือง ณ เวลานี้ไมวา เอสไอเอ ซึ่งเปนประเด็นทางสังคมและคุณภาพชีวิต หรือเอชไอเอ ซึ่งเปนประเด็นเรื่องสาธารณสุขและชีวอนามัย ก็อยูในเรื่อง คุณภาพชีวิตเหมือนกัน ตางมีอยูแลวในอีไอเอ แตในที่สุดแลวมีการตัด แยกออกมา การดำเนินการเชนนี้จะมีผลดีหรือไมดีอยางไร? ความเป น มาของการตั ด สิ น ใจดำเนิ น การเช น นั้ น อาจระบุ เ ป น เหตุผลทางการเมือง ที่ไมยอมรับวามีเอสไอเออยูในอีไอเอ ไมเชนนั้นการ อนุ มั ติ อี ไ อเอ กรณี โ ครงการวางท อ ส ง ก า ซไทย-มาเลเซี ย จะต อ งถู ก พิจารณาวาเปนโมฆะ นี่จึงเปนความจำเปนอันดับแรกที่รัฐตองมีการ ปรับปรุงอีไอเอ โดยแนวของการปรับปรุง ใหเนนย้ำวา ในอีไอเอตองมี เอสไอเอ กำกับดูแลดานคุณภาพชีวิตสุขอนามัย เพื่อไมใหถูกมองวา เปนการบิดเบือน เอสไอเอ เปนของใหม หากถามวาหลังจากปรับปรุงอีไอเอแลวเกิดอะไรขึ้น เมื่ออยากให เอสไอเอเปนของใหม ในอีไอเอจะตองมีความพิเศษ ตราบที่ยังมีโครงการ ขนาดใหญแทรกตัวเขาไปอยูในชุมชน ตองมีการคาดการณวาผลกระทบ ทางสังคมนั้นจะเปนอยางไร ประสบการณและบทเรียนจากโครงการวาง ทอสงกาซไทย-มาเลเซีย ตั้งแตป 2544 มาถึงปจจุบันที่ อ.จะนะ เปน อีไอเอเรื่องแรกที่ไมผานการพิจารณาดานสังคม แสดงวาตองมีเทคนิค ขัดของอยูภายใน หากกลาวถึงเอชไอเอ ก็อยูในเอสไอเอ แตเนื่องจากไมมีผลทางการ เมือง เพราะฉะนั้นจึงมีการโอบอุมกัน ไมเปนเด็กกำพรา ไมมีพอไมมีแม โอบอุมเหมือนอยางเอสไอเอ จึงมีการนำไปจดทะเบียนรับเลี้ยงดูอยางดี โดย พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ “เอสไอเอเปนลูกที่ไมมีใครอยากใหเกิด เกิดมาแลวก็เปนลูกกำพรา หมาหัวเนา พอบอกวาจะไปทำเอสไอเอให ก็ถูกปฏิเสธหมด ทำไมทุกคน


28

บอกวาเอสไอเอหมายถึงคุณเขาขางประชาชน ไมเขาขางโครงการเลย วาทกรรมแบบนี้ไมควรเกิดขึ้น ทำไมเราไมคิดหรือมีใจกวางวา เอสไอเอ ดีบาง ใหคนในชุมชนมีสวนรวม ชวยขจัดความขัดแยงใหหมดไป เกิด ความเปนธรรม นี่ตางหากคือขอดี คุณคาของเอสไอเอ และเมื่อไมเห็น คุณคาของมัน บริษัทที่ปรึกษาถึงบอกวาเสียเงินอีกเยอะเลย ถาตองเพิ่ม ประเด็นเหลานี้” ม.ล.วัลยวิภากลาว พร อ มกั บ อธิ บ ายเสริ ม ความชั ด เจนที่ เ อสไอเอ ถู ก มองเป น เพี ย ง เอกสาร ของ สผ. นำไปสู ค วามขั ด แย ง กั บ บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาด า นสิ่ ง แวดล อ ม ด ว ยไม มี ม าตรฐานบอกว า อะไรถู ก หรื อ ผิ ด ควรไม ห รื อ มาตรฐานไมชัดเจน การสัมมนา หลายครั้งเสนอใหออกกฎหมายเพื่อ ยอมรับเอสไอเอ ถึงปจจุบันยังไมเกิดขึ้น แต ก ลั บ เป น เรื่ อ ง ธนาคารเพื่ อ การพั ฒ นาแห ง เอเชี ย (เอดี บี ) ธนาคารโลก และอีกหลายองคกรที่ใหงบประมาณสนับสนุนโครงการ หรือใหเงินกู โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานจะมีอำนาจมาบังคับได เลย เหมือนธรรมาภิบาล คือวางกฎไววาโครงการพัฒนาโครงสรางพื้น ฐานทั้งหลาย ถาจะกูเงินองคกรทางการเงินระหวางประเทศมาใช จะตอง ทำคูมือเอสไอเอประกอบโครงการมาดวย °“√¡’ à«π√à«¡∑’Ë·μ°μà“ß +++++++++++++

ประเทศพัฒนาแลวตางมีวิธีการ “การมีสวนรวมของประชาชน” แตกตาง กั น แต สิ่ ง ที่ เ หมื อ นกั น คื อ ให ป ระชาชนเข า ร ว มแสดงความคิ ด เห็ น คัดคานหรือเห็นดวย สำหรับโครงการหรือกิจการ เริ่มตั้งแตใหหนวยงาน องคกร กลุมคนมีสวนรวมนับแตกาวแรกทำอีไอเอ มาพิจารณาวิธีการ ดำเนินโครงการดานเทคนิค ซึ่งในขั้นตอนนี้โดยทั่วไปจะเรียกวาการรับ ฟงความคิดเห็นทางดานเทคนิค (Technical Hearing) เพื่อใหมีการ เสนอสนับสนุนและขอโตแยงถึงผลดีและผลกระทบของระบบดำเนินงาน ขั้นตอนทางเทคนิคตาง ๆ โดยโครงการจะตองชี้แจงถึงขอดีตางๆ หรือ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

29

มาตรการในการลดผลกระทบสิ่ ง แวดล อ ม ให เ ป น ที่ ย อมรั บ รวมทั้ ง มาตรการในการติดตามตรวจสอบ เพื่อยืนยันวาโครงการหรือกิจการนั้นๆ จะไมกอใหเกิดปญหาตอคุณภาพสิ่งแวดลอมไมวาดานใดก็ตาม เมื่ อ เป น ที่ ย อมรั บ ด า นเทคนิ ค แล ว ผู จั ด ทำรายงานและเจ า ของ โครงการก็จะเริ่มเรียบเรียงเอกสารตามเงื่อนไข หรือการยอมรับ ซึ่งเรียก วา “การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม” หลังจากนั้นจะตองจัดประชุม ทำการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชนโดยทั่วไป ที่เรียกวา “ประชา พิจารณ” (Public Hearing) ขั้นตอนนี้จะเนนถึงผลดีและผลกระทบดานเศรษฐกิจและสังคมเปน หลัก ผูประกอบการหรือเจาของโครงการจะตองอธิบายนำถึงวิธีการ ดำเนินการทางดานเทคนิค ขอโตแยงและการยอมรับจากประชาชน หรือ ผลกระทบตอคุณคาการใชประโยชนของมนุษย และคุณภาพชีวิตของ ประชาชนในทองถิ่นเปนหลัก ประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากกิจกรรม หรือโครงการจะโตแยงจนกวาเจาของโครงการหรือผูประกอบการ จะ จัดหาสิ่งทดแทน หรือชดเชยจนเปนที่ยอมรับตอไป จึงสรุปผลการมีสวน รวมของประชาชนทั้ง 2 ขั้นตอน แลวประกาศใหประชาชนไดทราบถึง ผลลัพธซึ่งเรียกวา (Environmental Impact Statement : EIS) ม.ล.วัลยวิภาแสดงความเห็นวา การสำรวจพื้นที่แตละโครงการ สผ.ตองระบุใหบริษัทที่ปรึกษาดำเนินการมากกวาผลสำรวจเบื้องตน ประเด็นสำคัญคือ เรารูจักสังคมไทยหรือไม รูหรือไมวาปญหาจริงๆ คือ


30

อะไร ระหวางผูมีสวนไดเสีย ในสังคมนั้น “ผูมีสวนเสีย” แมจะเปนผูเสีย โอกาส แตก็ไมมีการรับรองทางกฎหมายวา เขาเปนผูมีสวนเสีย ทำให เขาหมดสิทธิ ไมสามารถลืมตาอาปากที่จะเรียกรองสิทธิ แมแตสิทธิของ การเปน “ผูมีสวนเสีย” หรือสิทธิเจรจาตอรองกับ “ผูมีสวนได” อยางชอบ ธรรม “ยกตัวอยาง การจำแนกผูมีสวนไดเสียในโครงการถนนมอเตอรเวย สายนครปฐม-ชะอำ ใครคื อ ผู มี ส ว นเสี ย เป ย ก ชาวนาคนหนึ่ ง ใน อ.เขายอย จ.เพชรบุรี ผูมีบานอาศัยถูกมอเตอรเวยตัดผาน วันแลววันเลา ตลอดเวลาที่ที่ปรึกษาของโครงการทำอีไอเอ เขาตองถูกบริษัทที่ปรึกษา เรียกประชุม ถูกนายอำเภอเรียกไปรับฟงความคิดเห็น ตอทางเลือกที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 ถึงที่สุด เจาของโครงการก็ตัดสินวาเอาทางนี้แลว ทำ รายงานสง สผ. รอการอนุมัติราว 6 เดือน ผลออกมาพรอมกับความขัด แยง “เรื่องนี้ไมมีการคิดใหผูมีสวนไดสวนเสียขึ้นมาเปนผูมีสิทธิ เปนผูมี ศักดิ์ศรี มีการยอมรับวาเปยกเปนผูมีสวนเสีย ถายอมรับแบบนี้สามารถ นำชาวนาผูนี้มาวางแผนดำเนินงาน และใหเขารูสิทธิของเขา อยางนี้ ปญหาตางๆ จะไมมี เราเอาปญหาสังคมเปนตัวตั้ง” ม.ล.วัลยวิภากลาว ขณะที่นางมีนา ระบุวา ในฐานะที่เปนบริษัทที่ปรึกษาที่ขึ้นทะเบียน ตองเดินตามคูมือคือ 99.99 เปอรเซ็นต เพื่อไมใหออกนอกประเด็น นั่น คือสิ่งที่ทำ สวนเรื่องของคนดอยโอกาสยอมรับวาเราไมเคยมองวาเขา เปนคนดอยโอกาส แตนั่นคือกลุมที่จะมีสวนไดสวนเสีย สวนใหญงาน ของเราเนนทำเรื่องอุตสาหกรรมเปนหลัก เราก็มองวาเมื่อโรงงานแหง หนึ่งเกิดขึ้น ทุกสิ่งทุกอยางที่เกี่ยวกับการผลิต ทุกสิ่งทุกอยางที่เปนตัว หนึ่งที่จะดูคือเรื่องมิติของสุขภาพที่เกิดขึ้น อีกประเด็นคือ เรื่องของคน งาน เมื่อเขาออกจากโรงงานเขาก็ตองออกไปมีวิถีชีวิตรวมกับชุมชน ก็ ตองอยูอาศัยตรงนั้นเหมือนกัน จะทำอยางไรใหมองวา เขาจะอยูดวยกัน และรับรูขอมูลตรงนั้นเปนสิ่งที่นาจะมีสวนสำคัญ ประเทศไทยในชวงที่ผานมา หลังจากประชาชนเริ่มเรียนรูถึงขั้น


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

31

ตอนการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ปรากฏวามีการจัด “ไตสวน สาธารณะ” (Public Hearing) ตอมามีการบัญญัติคำใหมวา “ประชา พิจารณ” และอื่นๆ ซึ่งการจัดแตละครั้งไมไดแยกขั้นตอนของการมีสวน รวม แตจะพยายามโยงประเด็นทางดานเทคนิค เพื่อใหสอดคลองกับ เศรษฐกิ จ และสั ง คม ซึ่ ง ทุ ก ครั้ ง ที่ มี ก ารจั ด ทำประชาพิ จ ารณ จะไม สามารถสรุปถึงผลดีหรือผลเสียอยางแทจริงของโครงการหรือกิจการ นั้นๆ ได สาเหตุหนึ่งจากการจัดตั้ง “ผูฟง” โดยเจาของโครงการวางแผนการ ลวงหนา สวนใหญเปนผูสนับสนุนโครงการ หลายกรณี ที่ ผู เ ขี ย นสั ง เกตการณ กระบวนการมี ส ว นร ว มของ ประชาชนในพื้นที่ เชน โรงงานอุตสาหกรรมแหงหนึ่งใน จ.ขอนแกน ซึ่ง ดำเนินการมากอนหนานี้แลวเปนเวลาหลายป แตจะมีการกอสรางสวน เพิ่มขยาย จึงมีการทำกิจกรรมเพื่อใหเกิดความเขาใจและการมีสวนรวม อาทิ การเปดโรงงานเดิมใหประชาชนผูมีสวนไดเสียเขาไปดูลักษณะของ กิจการ และรูปแบบการดำเนินการวาจะสงผลกระทบตอสภาพแวดลอม ชุมชน สุขภาพ หรือไม รวมถึงการนำไปดูงานโรงงานซึ่งมีลักษณะคลาย กับโรงงานในสวนขยายที่กำลังกอสราง เพื่อใหประชาชนมองเห็นภาพ ความเปนจริงวาจะเปนอยางไร กอนที่จะมีการประชุมเพื่อรับฟงขอมูลอีก 1-2 ครั้ง เพื่อแสดงความคิดเห็น ขณะที่อีกโรงงานหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง ซึ่ง จะเริ่มดำเนินการในกิจการใหม มีการจัดกิจกรรมการมีสวนรวมโดยให ประชาชนที่อยูในรัศมีซึ่งกฎหมายกำหนด คือ 5 กิโลเมตร จากตัวโรงงาน มารับฟงความคิดเห็น โดยการชี้แจงของเจาของกิจการ วิศวกร และ บริษัทที่ปรึกษา กอนที่จะมีการแสดงความคิดเห็น กรณีนี้เปนที่สังเกตวา มีประชาชนจำนวนมากกวา 1 แสนคน ใน พื้นที่มาบตาพุด จ.ระยอง เปนประชากรแฝง ทำใหขอมูลที่ไดรับ และ ความเห็นที่สะทอนกลับมักมีความแตกตาง ดวยเพราะประชากรแฝงมัก ไมใหความสำคัญกับการเกิดขึ้นของโครงการใหม เพียงแตตองการมีงาน


32

ทำและไดรับผลตอบแทนเทานั้น ขณะที่ประชาชนซึ่งเปนคนทองถิ่นดั้งเดิม มักจะมีความหวงใยตอ สิทธิ ความเปนอยู สุขภาพอนามัย และอนาคตของลูกหลานมากกวา โดยเฉพาะประเด็นผลตอบแทนที่ชุมชนและลูกหลานจะไดรับวาคืออะไร ที่เปนรูปธรรม มากกวาคำสัญญาแบบผานไป เนื่องจากคนเหลานี้มี ประสบการณจากการมีสวนรวมในกิจกรรมของโรงงานตางๆ ในนิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุดมาแลวไมต่ำกวาคนละ 30-40 ครั้ง ครั้งการ จัดการมีสวนรวมของประชาชน เปนเสมือนเครื่องมือของผูที่ไดรับผล ประโยชนและเสียประโยชนแตละกลุม ที่สำคัญคือ “การใหขาวสาร” หลังจากการประชาพิจารณแตละครั้ง จะเปนผูจัดทำประชาพิจารณเปนผูใหขาว ทำใหประชาชนโดยทั่วไปที่ สนใจในโครงการหรือกิจการดังกลาวเกิดความสับสน เพราะการจัด ประชาพิ จ ารณ บ างครั้ ง เป น การสนั บ สนุ น บางครั้ ง เป น การคั ด ค า น โครงการหรือกิจการนั้นๆ ดังนั้นการมีสวนรวมของประชาชนจึงถือวาเปนเรื่องสำคัญ และมี ความจำเปนมากตอการพัฒนาหรือการคุมครองและรักษาคุณภาพสิ่ง แวดลอมของประเทศตอไปในอนาคต เพราะการที่จะใหประชาชนเขามา มีสวนรวม จำเปนจะตองมีการใหขาวสารที่แทจริงและถูกตอง โดยมีการ กำหนดขั้นตอนการมีสวนรวมอยางถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ «‘∂’°“√¡’ à«π√à«¡„π°√–∫«π°“√ SIA ++++++++++++++++++++

หลักการสรางการมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง การเปดโอกาสให ประชาชนและผูที่เกี่ยวของทุกภาคสวนของสังคมไดเขามามีสวนรวมกับ ภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ไดแบงระดับของการสรางการมีสวนรวมของประชาชนเปน 5 ระดับ คือ 1. การใหขอมูลขาวสาร ถือเปนการมีสวนรวมของประชาชนใน ระดับต่ำที่สุด แตเปนระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเปนกาวแรกของการที่


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

33

ภาคราชการจะเปดโอกาสใหประชาชนเขาสูกระบวนการมีสวนรวมใน เรื่องตางๆ วิธีการใหขอมูลสามารถใชชองทางตางๆ เชน เอกสารสิ่ง พิมพ การเผยแพรขอมูลขาวสารผานทางสื่อตางๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายขาว การจัดงานแถลงขาว การติดประกาศ และการใหขอมูล ผานเว็บไซต 2. การรับฟงความคิดเห็น เปนกระบวนการที่เปดใหประชาชนมี สวนรวมในการใหขอมูลขอเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการ ตัดสินใจของโครงการดวยวิธีตางๆ เชน การรับฟงความคิดเห็น การ สำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การทำประชาพิจารณ การ แสดงความคิดเห็นผานเว็บไซต 3. การเกี่ยวของ เปนการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการ ปฏิบัติงาน หรือรวมเสนอแนะทางที่นำไปสูการตัดสินใจ เพื่อสรางความ มั่ น ใจให ป ระชาชนว า ข อ มู ล ความคิ ด เห็ น และความต อ งการของ ประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเปนทางเลือกในการบริหารงานของภาค รั ฐ เช น การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ พิ จ ารณาประเด็ น นโยบาย สาธารณะ ประชาพิจารณ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็น นโยบาย 4. ความรวมมือ เปนการใหกลุมประชาชนผูแทนภาคสาธารณะมี สวนรวม โดยเปนหุนสวนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และ มีการดำเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่อง เชน คณะกรรมการที่มีฝาย ประชาชนรวมเปนกรรมการ 5. การเสริมอำนาจแกประชาชน เปนขั้นที่ใหบทบาทประชาชนใน ระดับสูงที่สุด โดยใหประชาชนเปนผูตัดสินใจ เชน การลงประชามติใน ประเด็ น สาธารณะต า งๆ โครงการกองทุ น หมู บ า นที่ ม อบอำนาจให ประชาชนเปนผูตัดสินใจทั้งหมด 6. การสรางเครือขาย เฝาระวังและตรวจสอบ เปนการใหอำนาจ ประชาชนระหวางดำเนินโครงการหรือหลังจากเกิดโครงการขึ้นแลว เพื่อ ให มี ก ารตรวจสอบการทำงานของหน ว ยงานของรั ฐ หรือ องค ก รธุ ร กิ จ


34

เจาของโครงการ วาไดดำเนินการตามขอตกลงกับชาวบานหรือไม ฉะนั้นการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในโครงการขนาดใหญ ถือไดวาเปนเงื่อนไข และเปนกุญแจดอกสำคัญของความสำเร็จในการ พัฒนาดานตางๆ ที่มักกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ชุมชน สังคม เพื่อใหสามารถปองกัน ปกปอง และแกไข ปญหาที่อาจเกิดขึ้น คาดวา จะเกิดขึ้น และเกิดขึ้นระหวางหรือหลังจากการดำเนินโครงการ เพื่อใหสภาพแวดลอมที่ดีไมถูกรบกวน ถูกกระทบ ถูกทำลาย ชุมชน ไมตองรับผลกระทบจากมลพิษที่อาจเกิดขึ้นตามมา และเปนการพัฒนา ที่สรางสรรค โปรงใส ตรวจสอบได นายสุรศักดิ์มองวา ที่ผานมาสิ่งที่เราขาดไปก็คือ ภาคการมีสวนรวม ตางคนตางเก็บ ผูประกอบการก็เก็บไปตามมาตรการที่ถูกกำหนดมา เก็บๆ ไปแลวก็สงไปรายงานที่ สผ. โดยประชาชนไมรู ไมเขาใจวาองค ประกอบของสารเคมี ที่ มี ก ารปล อ ยออกมาเป น อะไร กระทบกั บ เขา อยางไร สวนที่มองวาหากมีกฎหมายกำหนดเรื่องเอสไอเอ และเอชไอ เอออกมาวาผูประกอบการตองดำเนินการอยางชัดเจน ตองรายงานตอ หนวยราชการนั้น ในสวนของผูประกอบการเห็นวาเปนภาระเพิ่มขึ้น “ถามองทางตรงก็เปนตนทุนอยูแลว แตหากเรามีจิตสำนึกนำอัน หนึ่ง โดยเฉพาะยุคนี้เปนยุคของผูประกอบการยุคใหม จะเห็นวาประเทศ ไทยเอง นอกจากเอดีบีมาบังคับโครงการใหญๆ แลว ในภาคผูประกอบ การอุตสาหกรรมจะมีสภาของโลกอยู พวกนี้มีการมองไปขางหนาวา เรา คงจะประกอบธุรกิจโดยไมรับผิดชอบตอสังคมไมไดแลว เพราะเราเองมี การประชุมอยูทุกป และสิ่งสำคัญมากมายขณะนี้คือ การพัฒนาอยางยั่ง ยืน คือชุมชนและโรงงานตองอยูรวมกันอยางยั่งยืน สังคมกับโรงงานตอง ไปดวยกันตลอดเวลา ฉะนั้นถาจะถามวาเปนตนทุนหรือไม ถาจะมอง ภาพการประกอบการแลวรอนรนกับปญหารอบขาง ปญหาไมเขาอก เขาใจกัน ไมมีความเชื่อมั่นตอกัน ตรงนั้นเปนอันตรายยิ่งไปกวา การที่จะ สรางความเชื่อมั่นใหกับชุมชนหรือสังคม กับธุรกิจของเราอันนั้นนาจะ เปนประเด็นมากกวา” นายสุรศักดิ์กลาว


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

35

ดังนั้น โครงการกอสราง มักมีผลตอการเปลี่ยนแปลง หรือกระทบ ตอคุณภาพและการใชชีวิตของคนในชุมชน กอนดำเนินโครงการ เพื่อ ปองกันการสูญเสีย และชวยกันแกไข โดยทุกฝายที่เกี่ยวของ การศึกษา ผลกระทบเอสไอเอ และเอชไอเอ เปนวิธีชวยประเมินระดับผลกระทบได อยางดี ตั้งแตระยะสั้น กลางและระยะยาว ทั้งเอสไอเอ และเอชไอเอ ตองดำเนินการโดยหลายๆ กลุม หลาย องคกรในรูปเครือขาย อยางโปรงใส ใหไดขอมูลเพื่อการตัดสินใจ ขณะที่ ป ระชาชน และทุ ก องค ก ร ทุ ก ฝ า ย ต า งมี ห น า ที่ ห ลั ก 3 ประเด็นในการมีสวนรวมกับการประเมินศึกษาผลกระทบดานตางๆ นั่น คือ การเตรียมตัวสำหรับการพัฒนาระบบ การศึกษา และการพัฒนา บุคลากร เพื่อนำไปสูพัฒนาคูมือการจัดการดานความเสี่ยง และการ จัดการดานเสี่ยงดานสุขภาพ ดานสังคมขึ้น ที่ ส ำคั ญ SIA และ HIA ภายใต ก ารวิ เ คราะห ผ ลกระทบต อ สิ่ ง แวดลอม (EIA) ควรไดรับการสนับสนุนจากทุกฝาย ทุกคน อยามองวา เลี่ยงไดตองทำ เพื่อลดตนทุน อยาเห็นวา ไมไดอยูในชุมชนนั้น เพียงผาน มาระยะเวลาหนึ่ง ตองการมีงานทำก็ใหการสนับสนุน เพราะไมเชนนั้น ...ผลกระทบ ปญหาการอยูและมีสวนรวมตอกันในชุมชน ก็คงเหมือน หลายพื้นที่ ...มองหนากันไมติด การศึกษาประเมินผลกระทบ เปนแนวทางที่อยากเห็นผูคนแตละ พื้นที่อยูรวมกันอยางรมเย็น สมานฉันท มากกวาแบงฝายสวมเสื้อเขียว เสื้อแดง ถืออาวุธเขาทุบตีห้ำหั่นกัน ทั้ ง อี ไ อเอ (EIA) เอสไอเอ (SIA) และเอชไอเอ (HIA) ล ว นมี เจตนารมณ เ ช น เดี ย วกั บ กฎหมายอื่ น ๆ เพื่ อ ให ผู ค นอยู ร ว มกั น อย า ง เปนสุขมากที่สุข คือเปาหมายหลักนี่ตางหาก


36

‡∑§π‘§°“√¡’ à«π√à«¡¢Õߪ√–™“™π เพื่อใหเห็นความแตกตางในลักษณะการมีสวนรวม จึงแบงกลุม เทคนิคการมีสวนรวมออกเปน 3 กลุม คือ 1. การให ข อ มู ล แก ป ระชาชน เป น กลุ ม เทคนิ ค ที่ เ ป น การ สื่อสารทางเดียว เพื่อใหประชาชนรับทราบขอมูล โดยจำแนกตาม สื่อประเภทตาง ๆ 2. เนนการรับฟงความคิดเห็น ประกอบดวย 6 เทคนิค คือ 1) การสัมภาษณรายบุคคล 2) การสนทนากลุมยอย 3) การแสดง ความคิดเห็นผานเว็บไซต 4) การสำรวจความคิดเห็น 5) สายดวน สายตรง และ 6) ประชาพิจารณ 3. การมีสวนรวมแบบปรึกษาหารือ มีการแลกเปลี่ยนขอมูล และความคิดเห็นในเนื้อหาของเทคนิคอยางชัดเจน ฉะนั้นเปนกลุม เทคนิคการมีสวนรวมที่ประชาชนเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจ ในระดับคอนขางสูง ประกอบดวย 5 เทคนิคการมีสวนรวม คือ 1) เวที ส าธารณะ 2) การพบปะแบบไม เ ป น ทางการ 3) การจั ด กิจกรรมการมีสวนรวมของประชาชนแกชุมชน 4) การประชุมเชิง ปฏิบัติการ และ 5) คณะที่ปรึกษา


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

37

บรรณานุกรม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ทวีวงศ ศรีบุรี. EIA การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพ : มายดพับลิชชิ่ง จำกัด, 2541 พัชรี สิโรรส, 2546, การมีสวนรวมของประชาชน, คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรุงเทพ, 304 หนา ชาติภูมินทร (พัฒนศักดิ์) นนทบุตร, การมีสวนรวมของประชาชนในการ พัฒนาชนบท วรศักดิ์ พวงเจริญ, วิทยานิพนธปริญญาเอก เรื่อง “ความขัดแยงในประเทศ ไทย กรณีโครงการกอสรางทอกาซธรรมชาติ : University of New South Wales, ประเทศออสเตรเลีย สรุปแนวทางการปฏิบัติดานสิ่งแวดลอม ของธนาคารแหงญี่ปุนเพื่อความรวม มือระหวางประเทศ JBIC Environmental Guidelines, เครือขายแมน้ำเอเชียตะวันออกเฉียงใต วัลยวิภา บุรุษรัตนพันธุ ม.ล., 2549, คูมือการประเมินผลกระทบทางสังคม สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

++++++++++++++++++++++++++

แหลงขอมูลติดตาม Health impact evaluation เว็บไซต http://library.hsri.or.th คณะกรรมการผูชำนาญการพิจารณา EIA / SIA / HIA ที่ http:// www.onep.go.th


38

À≈Á° : ‡¡◊ÕßÀ≈«√¡ß‡∑– ‡≈μ–«—πμ° ‚»°π“Ø°√

++++++++++++++

®—π∑√宑√“ æß…å√“¬ Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå°√ÿ߇∑æ∏ÿ√°‘®


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

39

ใครรูจักปลาทู ยกมือขึ้น? ใครรูจักเหล็ก ยกมือขึ้น? แลวถาถามตอวาระหวาง “ปลาทู” กับ “เหล็ก” สองสิ่งนี้อะไรสำคัญ กวากัน คำตอบนี้คงเปนเรื่องยากที่จะตัดสินใจ เหมือนกับที่ตองตอบวา ระหวางไก กับ ไข อะไรเกิดกอนกัน เพราะถาเปนชาวประมง “ปลาทู” คือ อาหารจานพิเศษจากทอง ทะเล จนผูกติดกับวิถีของคนไทยมาชานาน แตสำหรับนักอุตสาหกรรมก็เชื่อในมุมวา “เหล็ก” คือ ดัชนีวัดความ เจริญทางเศรษฐกิจ เพราะคงไมมีใครปฏิเสธไดวาเหล็ก คือสิ่งคุนชินใน ชีวิตประจำวัน นับตั้งแตตื่นนอน ชอน สอม รถยนต โครงสรางของตึก ลวนแลวแตมีสว นประกอบของเหล็กแทบทั้งสิ้น แลวถาถามตออีกวา ถาขาดปลาทู กับขาดเหล็ก จะเกิดอะไรขึ้น? แตถายากนักลองดูจากตัวเลขทางเศรษฐกิจกันดูชัดๆ ขอมูลจาก กรมศุลกากรป 2550 ระบุวาประเทศไทยตองนำเขาเหล็กปละ 1.8 ลาน ตัน ทดแทนความตองการทั้งหมด 2.5 ลานตัน ขณะที่ชวงไตรมาสแรก ของปนี้ไทยนำเขาเศษเหล็ก และเหล็กชนิดตางๆ คิดเปนจำนวน 5.6 ลานตัน มูลคารวม 1.35 แสนลานบาท สวน “ปลาทู” นั้น กรมประมงไดรวบรวมสถิติการจับสัตวน้ำป


40

2548 เฉพาะปลาทู (Indo-Pacific mackerel) มี ก ารจั บ ได ม ากถึ ง 166,766 ตัน โดยเฉพาะอาวไทย 117,218 ตัน และมหาสมุทรอินเดีย 49,548 ตัน เสนทางของ เหล็ก และ ปลาทู ดูจะขนานกันอยางสิ้นเชิง หลัง กรณีความขัดแยงระหวางชาวบาน และกลุมทุนโครงการเครือสหวิริยา จำกัด ที่เตรียมกอสรางโรงงานถลุงเหล็กครบวงจรแหงที่ 2 ในเขตพื้นที่ ต.แมรำพึง อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ ที่ถูกกำหนดใหเปนแหลง อุตสาหกรรมเหล็กตนน้ำ ถึงกับวาดฝนจะเปนอันดับที่ 5 ของโลก

∫∑∑’ Ë 1 ¬âÕπ√Õ¬‚√ßß“π¡≈æ‘… +++++++++++++++++ มึงถมกูขวาง มึงสรางกูเผา เราไมเอาโรงถลุงเหล็ก กูจะแดกปาพรุ...ทะลุปาชา ปา สาธารณะ เอาให ห มด ทะเลด ว ย ทำลายชุมชนมึงดวย พวกเหี้...ลุย ขอความบนปายคัตเอาตขนาด ใหญ ที่สามารถพบเห็นไดตลอดสองขางทาง ราว 6 กิโลเมตร บนถนน เขาหมูบานดอนสำราญ ต.แมรำพึง อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ แสดงถึ ง จุ ด ยื น ของชาวบ า นกลุ ม อนุ รั ก ษ แ ม ร ำพึ ง ที่ ไ ม เ ห็ น ด ว ยกั บ โครงการกอสรางโรงถลุงเหล็กแหงใหม ของเครือสหวิริยา ถูกนำมาติดตั้ง เพื่อเปนขอมูลใหกับชาวบานในพื้นที่แหงนี้ หลังจากเนื้อที่กวา 1,500 ไร ใจกลางชุมชน ที่มีบานเรือนตั้งกระจัดกระจายกวา 1,000 หลัง รวมทั้ง โรงเรียนบานดอนสำราญ ที่มีเพียงแคถนนคั่นกลาง ถูกคัดเลือกเปนที่ตั้ง ของโรงถลุงเหล็ก เกือบ 2 ปแลว หลังจากชาวบานในพื้นที่ 4 ตำบลในเขตอำเภอ บางสะพาน ประกอบดวย ตำบลแมรำพึง ตำบลกำเนิดนพคุณ ตำบล ธงชัย และตำบลพงศประศาสน ไดรวมตัวลุกขึ้นมาแสดงพลังในนาม


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

41

ของกลุมอนุรักษแมรำพึง และคัดคานโครงการกอสรางโรงถลุงเหล็ก แห ง นี้ ด ว ยการเริ่ ม ต น ยื่ น หนั ง สื อ ให กั บ คณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (ทช.) กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหตรวจสอบการครอบครองที่ดินสาธารณะ ของบริษัท เครือสหวิริยา จำกัด รวมที่ดินจำนวน 500 ไรบริเวณหมูที่ 7 ต.แมรำพึง เนื่องจากชาวบานไมมั่นใจวาเจาของโครงการไดที่ดินมาโดย มิชอบหรือไม “15 ปที่ผานมากับโครงการเฟสแรก เราเสียพื้นที่ไปแลว โครงการ เดิมเรารับไดเทานี้ แตอยูๆ จะเอาโครงการใหมมาอีก เราไมรับแลว ไมใช วาโครงการเกาจะไมเกิดปญหานะ” วิทูรย บัวโรย แกนนำกลุมอนุรักษ แมรำพึง เปดประเด็น การรวมตัวของ วิทูรย อาสาสมัครพิทักษปาชายเลน สถานีพัฒนา ทรัพยากรปาชายเลนที่ 8 กับ สุพจน สงเสียง อดีตพนักงานของเครือสห วิรยิ า และ สุพจน สินสุวรรณ เกิดขึน้ แบบกะทันหัน หลังจากเริม่ พบความ เคลื่อนไหวการเตรียมเดินหนาโครงการกอสรางโรงถลุงเหล็ก ระยะที่ 2 เนื่องจากมีการสงคนและรถแบคโฮ เขาไปไถทำลายปาพรุ เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2549 กินพื้นที่เสียหายราว 100 ไร “ระยะแรกชาวบานตอสูใหราชการชวยตรวจสอบ เรื่องการออก เอกสารสิ ท ธิ ที่ ดิ น ป า พรุ บริ เ วณป า สงวนแห ง ชาติ ป า คลองแม ร ำพึ ง เพราะจากการตรวจสอบในรายงานอี ไ อเอ ฉบั บ ที่ ส หวิ ริ ย าส ง ให กั บ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) พิจารณาครอบคลุมพื้นที่ดังกลาวเขาไปดวย ทั้งที่ปารูปนกกางปกแหงนี้ เป น แหล ง อาศั ย และใช ป ระโยชน ข องชาวบ า นมาหลายชั่ ว อายุ ค น แตรายงานฉบับนี้ไมแจงวาที่ดินดังกลาวอยูในพื้นที่ชุมน้ำ แตเปนเพียง ปาเสื่อมโทรมเทานั้น เรื่องนี้สวนทางกับความเปนจริง ชนิดหนามือเปน หลังมือ จนกระทั่งชาวบานตองเขาไปตั้งศูนยเฝาระวัง 1 อยูบริเวณพื้นที่ เพื่อติดตามความเคลื่อนไหว และถือเปนการเปดฉากการตอสูเรียกรอง ตอสาธารณะอยางเปนทางการ”


42

วิทูรย เทาความพลางชี้ใหเห็นผืนปาสงวนแหงชาติปาคลองแม รำพึง ปารูปนกกางปก พืน้ ทีร่ าว 12,000 ไร ซึง่ ลาสุดผลการตรวจสอบพบ วาการออกเอกสารสิทธิที่ดินจำนวน 56 แปลง จาก 58 แปลง รวมพื้นที่ 400 ไร ทับซอนปาสงวนแหงชาติปาคลองแมรำพึง ขณะที่การเดินหนาเพื่อหาขอมูลของกลุมอนุรักษแมรำพึง ยังพบ ความบกพรองเกี่ยวกับจัดทำรายงาน การวิเคราะหผลกระทบดานสิ่ง แวดล อ ม (อี ไ อเอ) ที่ ท ำโดยบริ ษั ท ป ญ ญาคอนซั ล แทน และส ง ให สผ.พิจารณานั้นมีเนื้อหาบิดเบือนจากสภาพความเปนจริงในพื้นที่หลาย ดาน ไมเพียงการออกเอกสารสิทธิ ที่มีที่ดินบางแปลงที่คาบเกี่ยวในผังที่ ยื่นให สผ.พิจารณาอีไอเอเทานั้น แตในรายงานอีไอเอ ยังระบุวาพื้นที่ โครงการเปนเพียงปาเสื่อมโทรม ไมมีคุณคาทางระบบนิเวศ ซึ่งปจจุบัน กลายเปนพื้นที่ชุมน้ำ ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงมาก และอยู ระหวางการเตรียมประกาศของ สผ.ใหเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ ระดับชาติ รวมถึงการไมไดระบุวาชุมชนลอมรอบพื้นที่ตั้งโครงการไมเกิน 300 เมตรจะไดรับผลกระทบ อาทิ บานดอนสำราญ ดอนมันแกว บอสะตอ นาผักขวง เขาสีเสียด ทุงลานควาย ทาขาม ทานาว ทับมอญ โคกมวน จุดนี้เองที่เปนชนวนเหตุสำคัญที่ทำใหชาวบานเริ่มไมเชื่อมั่นกับโรง ถลุ ง เหล็ ก แห ง ใหม ประกอบกั บ พบว า เนื้ อ หาอี ไ อเอที่ น ำเข า สู ก าร พิจารณาของ สผ.นั้น มีความบกพรองในมาตรการลดผลกระทบทางสิ่ง แวดลอม ทั้งเรื่องของเสียงดังจากสายพานลำเลียงแรเหล็กที่หางจาก บานเพียงไมถึง 100 เมตร และผานปาแมรำพึง ปญหาการแยงน้ำตอ เกษตรกรรม ตลอดจนผลกระทบตอแหลงวางไขปลาทูที่อาวแมรำพึง รวมทัง้ การรับฟงความคิดเห็นของผูม สี ว นไดสว นเสียในพืน้ ที่ จากเรือ่ งราว เหลานั้น จึงเปนสาเหตุใหเครือสหวิริยาตองถอนรายงานอีไอเอ ออกจาก การพิจารณาของ สผ. เพื่อนำกลับไปปรับปรุงรวม 2 ครั้ง กลาวคือเมื่อ กลางป 2550 และเดือนธันวาคม 2550 จนกระทั่งเดือนมิถุนายน 2551


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

43

บริษัทจึงสงอีไอเอใหกับ สผ.อีกครั้ง และมีการนำเขาพิจารณาในคณะ กรรมการผูชำนาญการพิจารณารอบแรก เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2551 แตเสนทางของอีไอเอก็ไมไดโรยดวยกลีบกุหลาบ เนือ่ งจากคณะกรรมการ นโยบายและมาตรการชวยเหลือเกษตรกร (คชก.) ซึ่งมีนายชนินทร ทอง ธรรมชาติ อดีตรองเลขาธิการ สผ. ปจจุบันถูกยายมาเปนรองอธิบดีกรม ควบคุมมลพิษ (คพ.) เปดใหชาวบานที่คัดคานโครงการ และเจาของ โครงการเขาชี้แจง ซึ่งใชเวลายาวนานกวา 6 ชั่วโมง และที่สุดก็มีมติใหตีกลับรายงานอีไอเอ อีกครั้ง!! อยางไรก็ตาม แมยังไมมีการผานความเห็นชอบอีไอเอมาตั้งแต ระยะแรก ก็นาแปลกใจวา ในระดับพื้นที่กลับพบวาการเรงเดินหนา โครงการโรงถลุงเหล็กอยางเต็มที่ ดวยการวาจางใหบริษัท ประจวบ พัฒนาดีเวลลอปเมนท จำกัด ทำการถมดินและขุดคลองระบายน้ำใน พื้นที่ กระทั่งนำไปสูเหตุการณบานปลายเมื่อวันที่ 22 และ 24 มกราคม 2551 จนทำใหกลุมผูสนับสนุนตองสังเวยชีวิตไป 1 ราย และมีผูบาดเจ็บ นั บ 10 รายจากการปะทะกั น ระหว า งชาวบ า นที่ คั ด ค า นและกลุ ม ผู สนับสนุน ที่แบงออกเปนเสื้อเขียว และเสื้อแดง “บรรยากาศการปะทะกันวันนั้น จะไมจบดวยการเสียชีวิตของใคร ถาหากกลุมผูสนับสนุนไมแรงมา และถึงตอนนี้เราก็ยังยืนยันวาเราไม ตองการใชความรุนแรง” วิทูรย ระบุ กระนั้น เหตุการณในวันนั้นทำใหเกิดคำถามวา เหตุใดโรงงานถลุง เหล็ ก แห ง นี้ ต อ งเร ง รี บ โดยไม ด ำเนิ น การตามขั้ น ตอนทางกฎหมาย เพราะตลอดระยะเวลาที่เหตุการณปะทุความแรงขึ้นในพื้นที่แหงนี้ ได ทำใหเกิดความขัดแยงทางสังคม และรอยราวดังกลาวยังมีทีทาจะขยาย วงกวาง อาจกล า วว า นั บ วั น ชาวบางสะพานจะเกิ ด รอยร า วจากความ แตกแยกทางความคิดและสอแววในทางที่แยลง “ตอนนี้พี่ไมคุยกับนอง เมียไมคุยกับผัว ญาติกันยังประกาศไมเผาผี บางรายเคยเป น เพื่ อ นกั น มาก อ น ตอนนี้ เ ดิ น ผ า นกั น ยั ง ไม ม องหน า


44

เรียกวางานตาย งานบุญ งานบวช ที่ชาวแมรำพึงเคยทำรวมกันมาพอ ความคิดแบงเปนสองฝาย ทำใหเกิดสภาพแบบนี้ขึ้น” วิทูรย บอกดวยน้ำเสียงหอเหี่ยว พรอมวา ปญหาการตอตานโรง ถลุงเหล็กทำใหคนในแมรำพึงแตกออกเปน 2 ฝาย และมีแนวโนมจะ ขยายวงกวางขึ้น เพราะชาวบานที่ไมเห็นดวยก็ตอสูบนแนวทางที่ทำได ทำเพราะไมอยากเห็นบางสะพานถูกทำรายจากโครงการที่ขาดการมี สวนรวม เขาไมเอาขอมูลขอเท็จจริงมาพูดกันวาทำไม 15 ปที่โครงการ แหงแรกเกิดขึ้นมานี้ มีการเปลี่ยนแปลงในเชิงลบกับคนที่นี่บาง “เมื่ อ ถามว า เราหยุ ด ได มั้ ย ที่ จ ะไม กิ น กุ ง หอยปู ป ลา เราต อ งกิ น อาหาร ตรงนี้หลายประเทศพบแลววิกฤติอาหาร แตเมืองไทยเรามีทุก อยางแตทำไมตองเอาอุตสาหกรรมมาทำลายหลายแหง เชน แมเมาะ มาบตาพุ ด มั น ล ม สลายไปไม ส ามารถกลั บ คื น มาได พั ฒ นามุ ง เน น ประโยชนไมคำนึงถึงชุมชนรอบขาง “เปาหมายคือ เราไมเอาโครงการนี้เลย ดวยเหตุผลวาพื้นที่ดังกลาว ไม เ หมาะสม เป น ป า ธรรมชาติ ที่ เ หลื อ อยู น อ ยเต็ ม ที แ ล ว เราปฏิ เ สธ คัดคานจากโครงการเกา เพราะชาวบานไมไดประโยชน ไมมีสวนไดสวน เสีย คนมีประโยชนคือ กำนัน ผูใหญบาน เพราะโครงการเกายังแกไมได แตจะเอาโครงการใหมเขามา ชาวบานไมเชื่อถือแลว หากประเทศไทย จำเปนตองสรางก็ตอ งไมใชทนี่ ี่ เพราะพืน้ ทีน่ มี่ นั ไมเหมาะสม” วิทรู ย สรุป “ตอนนี้ แ บ ง กั น ไปเลย ใครไม ซื้ อ ปลาจากกลุ ม เสื้ อ เขี ย ว พ อ ค า คนกลางไมเอา เราก็ขายพวกเรากันเอง แบงกันไปเลยชัดเจน หมดไป แลวความเอื้อเฟอเผื่อแผของที่นี่ การแตกแยกของชุมชนมาจากโครงการ ผมถึงบอกความเจริญเขามาแควัตถุ ไฟฟา ประปา แตทรัพยากรสำคัญ หวย หนอง คลอง บึง ปาเขาโดนทำลาย และจิตใจก็แยลง” โก หรือนิพนธ พุมพวง แทรกขึ้นหลังจากนั่งฟงปญหาที่ไรการ เยียวยา “ผมคิดวาอยางดี ถาจะเดินหนาโดยไมสนใจ ชาวบานก็สูแคตาย เพราะเราเห็นผลกระทบจากโครงการเดิมมาแลว ถามวาน้ำฝนที่ชาว


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

45

บานเคยกินกันได ตอนนี้ตองซื้อน้ำกินเพราะอะไร ขณะที่ปลองโรงงาน จำนวน 29 ปลองที่ระบุในอีไอเอจะมาตั้งกลางชุมชน 4 แหง คือ ดอน สำราญ นาผักขวง โคกขาม และทามะนาว ใครจะรับผิดชอบถาปลอยให โครงการเกิ ด ขึ้ น โดยไม ถู ก ต อ ง ดั ง นั้ น สิ่ ง ที่ อ ยากเรี ย กร อ ง คื อ ขอให ทบทวนและเริ่มตนนับ 1 ใหมทั้งหมด โดยเฉพาะพื้นที่ที่ขุดคลองเอาไว แลว ใหปรับสภาพใหเหมือนเดิม ทำทุกอยางตามขั้นตอน เอาขอเท็จจริง ทางวิชาการมาตรวจสอบ และเอาทุกฝายมานั่งคุยกัน เพื่อหาทางออก” วิทูรย สรุป «π¡–æ√â“«∑’ËÀ“¬‰ª +++++++++++

แ ท บ ทุ ก บ า น ใ น เ ข ต ท อ ง ที่ อ.บางสะพาน หากิ น กั บ สวน มะพราว มาหลายชั่วอายุคน แม ว า พื้ น ที่ จ ะเริ่ ม ร อ ยหรอ ตามกระแสความเจริญที่คืบ คลานเขามา สมบัติ เชื้อกรด เปนหนึ่งในเกษตรกรจากพื้นที่ ต.กำเนิดนพคุณ ที่ เข า มาร ว มวงสนทนา เขาตั้ ง ขอ สั ง เกตว า ย อ นหลั ง 10 ปก อ นหนา นี้ บางสะพานเคยมีพื้นที่นาขาวรวม 22,847 ไร แตป 2550 กลับลดหลือ เพียง 6,044 ไร เทากับพื้นที่นาขาวหายไป 73% เนื่องจากเกษตรกรบาง รายหันไปปลูกพืชใชน้ำนอย จำพวกปาลมน้ำมัน แตขาดความชำนาญ และเกิ ด น้ ำ ท ว มที่ ดิ น จึ ง ต อ งขายที่ ดิ น เปลี่ ย นมื อ ไปอยู ใ นกลุ ม ทุ น อุตสาหกรรมเหล็ก โดยผานนายหนาหลายทอด จนพื้นที่นาเกาหลายพัน ไร กลายเปนพื้นที่สรางอางเก็บน้ำ เขาบอกวา เมื่อติดตามพื้นที่นาขาวเกาที่ถูกขายไปนั้น ก็ไดรับคำ ตอบว า บั ด นี้ ก ลายสภาพเป น อ า งเก็ บ น้ ำ สำหรั บ ป อ นกั บ โครงการ โรงถลุงเหล็ก รวม 4 แหง ขณะนี้กอสรางเสร็จ 1 แหง คือบริเวณบาน


46

ดอนทอง ต.กำเนิดนพคุณ พื้นที่ 90 ไร ความจุ 1.2 ลาน ลบ.ม. สวนแหง ที่ 2 บริเวณบานดอนทอง พื้นที่ 490 ไร ความจุ 11 ลาน ลบ.ม. แหงที่ 3 บริเวณบานดอนสำนัก ต.รอนทอง พื้นที่ 550 ไร ความจุ 11.05 ลาน ลบ.ม. และบานดอนสำนัก ต.รอนทอง พื้นที่ 640 ไร ความจุ 13.50 ลาน ลบ.ม. โดย 3 อางที่เหลืออยูระหวางการเตรียมการ “น า เป น ห ว งว า ไม เ พี ย งแต พื้ น ที่ ส วนมะพร า วดั้ ง เดิ ม จะหายไป เทานั้น แตนาขาวที่ชาวบางสะพานเคยผลิตไวเพื่อบริโภคเองในครัวเรือน เหลื อ บางส ว นก็ ข ายในพื้ น ที่ เ ป น ลั ก ษณะการพึ่ ง พิ ง ในชุ ม ชน ชาวไร ชาวสวน ซื้อขาวจากชาวนา สวนชาวนาก็อุดหนุนผลผลิตจากชาวไร ชาวสวน ขณะที่บางรายเพาะปลูกแบบครบวงจรคือทำสวนมะพราว ทำ ไร สั บ ปะรด และปลู ก ข า วด ว ย ในอนาคตจะเกิ ด ป ญ หาการแย ง น้ ำ ระหวางอุตสาหกรรมกับพื้นที่การเกษตรในบางสะพานอยางหลีกเลี่ยงไม ได เพราะตามแผนโรงถลุงเหล็กตองใชน้ำปละ 35 ลาน ลบ.ม. และตอง กักตุนเอาไวอีกปละ 200 ลาน ลบ.ม. แตตอนนี้ น้ำในคลองบางสะพาน ที่หลอเลี้ยงชาวบานสำหรับการเกษตรกรรมเริ่มแหงขอด เพราะมีเครื่อง สูบน้ำขนาดใหญสูบอยูตนทาง ผมจึงอยากถามวาโครงการของสหวิริยา มีความชอบธรรมกับเกษตรกรในพื้นที่หรือไม” สวน สมหวัง พิมพสอ ชาวบานที่ ต.แมรำพึง สะทอนวา กอนหนา นี้ชาวบานสามารถบริโภคน้ำฝนได แตหลังจากมีโครงการแหงแรกเกิด ขึ้น ทำใหชาวบานแมรำพึง จำนวน 6,870 คนตองซื้อน้ำมาบริโภคเฉลี่ย คนละ 13,650 บาท ต อ คนต อ ป เมื่ อ บวกลบคู ณ หารแล ว เฉพาะ ต.แมรำพึงแหงเดียวตองซื้อน้ำดื่ม 39 ลานบาทตอป เขาจึงอยากฝาก ประเด็นวา ทำไมยังไมมีใครรับผิดชอบกับรายจายที่ไมจำเปนเหลานี้ ดังนั้นถามีปลองโครงการโรงถลุงเหล็กแหงใหมอีก 29 ปลองอยูกลาง ชุมชน เชือ่ วาคน อ.บางสะพานทัง้ หมดตองซือ้ น้ำกินเพราะอากาศเปนพิษ อยาง แนนอน เชนเดียวกับเฒาทะเล อำพันธ เรียนจันทร ประมงพื้นบาน ที่อาศัย ฝากทองกับทะเลอาวแมรำพึงมาชั่วชีวิต แสดงสีหนากังวล เขาบอกวา


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

47

บริเวณแหลมแมรำพึง ถือเปนแหลงวางไขปลาทู ที่สำคัญที่สุดของไทย ทำใหชวงกลางเดือนกุมภาพันธถึงพฤษภาคม หรือประมาณ 3 เดือนของ ทุกป กรมประมงจะประกาศปดอาวเพื่อใหปลาทูและสัตวน้ำอื่นๆ ไดมี โอกาสอยูรอด แตถาเกิดมีการปลอยน้ำเสียจากโรงถลุงเหล็กลงทะเล และยังมีการ ขยายทาเทียบเรือออกไปในทะเลอีก 2 กิโลเมตร เพื่อรับสินแรปละหลาย ตัน คงจะทำใหระบบนิเวศเสียหาย แลวใครจะรับผิดชอบชีวิตของชาว ประมงที่ทำกินกับทะเลในพื้นที่นี้ ปากคำของชาวบานบางสะพาน ยังคงรอคอยคำตอบวา เหตุใด พื้นที่ประจวบคีรีขันธ ถึงถูกรับเลือกจากรัฐบาลใหเปนพื้นที่อุตสาหกรรม เหล็กครบวงจร ใครจะตอบคำถาม?

∫∑∑’ Ë 2 ‡ªî¥ªŸ¡‡¡◊ÕßÀ≈«ß‡À≈Á°·Ààß„À¡à ++++++++++++++++++++++

ยอนกลับไป 15 ปกอน ชาวบางสะพานเคยอยูอยางเงียบสงบ วิถีสวน ใหญของชาวบานยึดอาชีพหากินกับการออกเรือประมงหาปลาในอาว แมรำพึง และหากินสัตวน้ำในคลองบางสะพาน คลองแมรำพึง ที่ยังมีปู ปลา และหอยให ท ำมาหากิ น บ า งก็ ท ำเกษตรกรรม ทำนา ทำสวน มะพราว สุพจน สงเสียง ในวัยหนุม เปนหนึ่งในปญญาชนในยุคที่กระแสสิ่ง แวดลอมยังไมเปนที่รูจัก เขาเห็นวาโรงงานเหล็ก ที่กำลังจะเขามาตั้ง


48

รกรากในเขตทองที่ อ.บางสะพาน จะชวยทำใหเศรษฐกิจของคนที่นี่มี ความเจริญยิ่งขึ้น และลูกหลานชาวบางสะพานจะไดมีงานทำในโรงงาน เหล็ก ไมตองออกไปขายแรงงานเหมือนพื้นที่อื่น เขาบอกวา ดีใจกับปลองโรงงานที่กำลังกอสรางขึ้น เพราะชาวบาน ไมเคยเห็นมากอน บานของสุพจนอยูหางจากพื้นที่เกาของโครงการสห วิริยา ระยะที่ 1 ไมเกิน 300 เมตร แตละวันเขาจึงเฝาดูปรากฏการณ ใหมจากปลองโรงงานที่กำลังจะเกิดขึ้น ดวยเวลาไมนานนักพื้นที่จำนวน 6,000 ไร ถูกเนรมิตเปนโรงงานเหล็กรีดรอน โรงผลิตเหล็กแผนรีดเย็น โรงงานผลิตเหล็กเคลือบสังกะสี โรงงานเหล็กแปรรูป รวม 5 โครงการ มี ปลองที่ปลอยควันลอยขึ้นเหนือทองฟา 8 ปลอง และสิ่งมหัศจรรยใหมที่เกิดจากฝมือมนุษย นั่นคือทาเทียบเรือน้ำ ลึกที่ยื่นจากอาวบางสะพาน ที่สามารถรองรับเรือเดินสมุทรขนาดใหญ ระวางขับน้ำหลายแสนตันไดหลายลำ ∑”‰¡μâÕß∫“ß –æ“π +++++++++++

“พื้นที่บางสะพาน” จ.ประจวบคีรีขันธ เปน หนึ่งในพื้นที่แหงที่ 2 ที่ บริษัท เครือสหวิริ ยา จำกัด กลุมทุนยักษใหญ ไดเขามาบุก เบิกอุตสาหกรรมเหล็ก ภายใตเทียบเชิญ จากรัฐบาล สมัย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อป 2548 ที่ตองการเนรมิตพื้นที่แหงนี้ เป น “นิ ค มอุ ต สาหกรรมเหล็ ก ครบวงจร อย า งเต็ ม รู ป แบบ” และการโอบอุ ม จาก สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ใหเปน 1 ใน 13 อุตสาหกรรมเปาหมายในการสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ดวยเหตุผลจากการศึกษาขององคกร United Nations Industrial Development Organization หรือ UNIDO ที่ระบุวามีความเหมาะสม


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

49

เพราะเปนทำเลที่มีรองน้ำลึกธรรมชาติ สามารถสรางทาเรือน้ำลึกได โดยไมตองขุดรอกดินออกปริมาณมากเหมือนทาเรืออื่นๆ ทั้งยังมีการตก ตะกอนของดินนอย และสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมนอยมาก ทำใหป 2548 รัฐบาลจึงไฟเขียวสนับสนุนเครือสหวิริยา ใหดำเนิน โครงการโรงถลุงเหล็กและผลิตเหล็กกลาครบวงจร และโครงการทาเรือ น้ำลึกบางสะพานสวนขยาย ระยะที่ 1 เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กของ ประเทศใหมีศักยภาพและมาตรฐานระดับโลก และสรางเสถียรภาพให กับระบบอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจ ทั้งนี้ หากเปนไปตามแผนที่สหวิริยาวางเอาไว โครงการโรงถลุง เหล็กและผลิตเหล็กครบวงจร มูลคากวา 5 แสนลานบาท กำลังการผลิต 30 ลานตัน จะเริ่มกอสรางในป 2551 ใชเวลา 14-18 เดือน บนพื้นที่ 1,600 ไรบริเวณบานดอนสำราญ และจะมีกำหนดเปดดำเนินการในป 2552 สวนโครงการทาเรือน้ำลึกบางสะพานสวนขยาย ลักษณะโครงการ เปนทาเทียบเรือเทกองสำหรับเรือเดินทะเลขนาด 200,000 เดทเวทตัน (DWT) จำนวน 3 ทา หางจากฝง 2 กิโลเมตร โดยมีชองเรือลอดกวาง 40 เมตร สูง 9.09 เมตร มีความสามารถในการขนถาย 11.401 ลานตัน ตอป ใชเงินลงทุนสำหรับเฟสแรกจำนวน 8,000 ลานบาท ตามแผนจะ เริ่มการกอสรางในป 2551 ใชเวลากอสรางประมาณ 20 เดือน โดยมี กำหนดจะเปดดำเนินการในป 2552 กระทั่ ง โครงการรุ ด หน า ขึ้ น ภายใต เ ป า หมายของการเป น ผู น ำ การผลิตเหล็กและเหล็กกลาครบวงจร ใหได 30 ลานตัน และแบงการ พัฒนาเปน 5 ระยะ รวม 15 ป โดยในจำนวนนี้ 5 ลานตันจะอยูในพื้นที่ บางสะพาน ซึ่งจะชวยลดการนำเขาเหล็กปละ 4.5 แสนลานบาท แตเสนทางการเปนนิคมเหล็กครบวงจร ของสหวิริยา ไมไดโรยดวย กลีบกุหลาบ ภายหลังเกิดปญหาการคัดคานอยางหนักจากชาวบานใน พื้นที่บางสะพาน ซึ่งหยิบประเด็นการตรวจสอบการครอบครองที่ดิน บริเวณปาพรุแมรำพึง และเริ่มชำแหละความไมชอบมาพากลในประเด็น


50

สิ่งแวดลอมอื่นๆ ตามมาหลายประเด็น และทุกเรื่องยังอยูในขั้นตอนการ ตรวจสอบที่ยังไมสิ้นสุด โดยเฉพาะรายงานอีไอเอ ที่ขาดความสมบูรณ ทั้งกรณีพื้นที่ตั้งโครงการ และอีไอเอของทาเทียบเรือก็ยังไมผานความ เห็นชอบเชนกัน (เขียนขอมูล ณ เดือนกันยายน 2551) “ที่ผานมาโครงการเกาเราไมเคยสรางปญหากับใคร พื้นที่ก็ซื้อมา อย า งถู ก กฎหมายตั้ ง แต ป 2533 รวม 6,000 ไร และกำลั ง จะขยาย โครงการระยะที่ 2 ในพื้นที่ 1,600 ไรที่บานดอนสำราญ ทำไมตองถูกคัด คานทั้งที่เปนพื้นที่โครงการอยางชอบธรรม” วิน วิริยะประไพกิจ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท สหวิริยา สตีล อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) ตั้งคำถาม หลังโครงการแหงใหมถูกคัดคานจากคนในพื้นที่ จนทำใหแผนจะ ขยายอุตสาหกรรมเหล็กตองชะงักมาเปนกวาเวลา 1 ปครึ่ง วิน เคยชี้แจงกรณีนี้ตอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน หลังจากชาว บานรองเรียนวาพื้นที่โครงการไดบุกรุกพื้นที่เขตปาพรุ คลองแมรำพึง โดยเขายืนยันวาโครงการนี้ไมไดบุกรุกแตอยางใด และยังมีเอกสารสิทธิ ที่ถูกตอง เพราะไดรับซื้อจากชาวบานมาตั้งแตป 2533 นอกจากนี้ยังได รับการตรวจสอบจากทางจังหวัดแลว มีเพียงบางพื้นที่จำนวน 100 ไร ที่ บริษัทจะเชาซึ่งอยูระหวางการออกเอกสารสิทธิ แตเพื่อความสบายใจ ของทุกฝายบริษัทจะตัดพื้นที่ดังกลาวออกไป กระนั้น ราวเดือนมิถุนายน 2551 วิน ใหสัมภาษณอยางมั่นใจผาน ทางหนาหนังสือพิมพอีกครั้ง เขาบอกวา ความลาชาที่เกิดขึ้น ทำใหเครือ สหวิริยาตองทบทวนแผนการลงทุนใหม โดยเฉพาะการลงทุนในเฟสแรก กำลังผลิต 5 ลานตัน มูลคา 90,000 ลานบาท เพราะตองออกแบบเชิง วิศวกรรมกอสรางใหมทั้งหมด ซึ่งตองใชเวลาในการปรับใหมราว 1 ป ทำใหตอ งแบงการลงทุนในเฟสแรกเปน 2 ชวงในสัดสวน 50 ตอ 50 โดย ชวงแรกจะมีกำลังการผลิต 2.5 ลานตัน คาดวามูลคาลงทุนประมาณ 45,000 ลานบาท “เราตองปรับพื้นที่กอสรางโรงงานใหม เพราะพื้นที่เดิมที่วางไวถูก


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

51

ตั้งขอสังเกตวาการออกเอกสารสิทธิไมถูกตองราว 200-300 ไร ดังนั้น เพื่อแกปญหา และความสบายใจของทุกฝาย เราจึงปรับพื้นที่ไปกอสราง ในพื้นที่ใหม แตยังอยูในผืนเดียวกัน และซื้อพื้นที่เพิ่มเขามาอีก 200 ไร ทำใหขนาดโครงการทั้งหมดยังเทาเดิม 1,600 ไร “ขณะเดียวกัน ทางสหวิริยายังไดเตรียมจัดทำรายงานการศึกษา ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) เสนอตอ สผ. ซึ่งอีไอเอจะเสนอเต็ม แผนการลงทุนของเฟสแรก 5 ลานตันภายในเดือนพฤศจิกายนนี้ และ เสนอสงเสริมการลงทุนจากสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เฉพาะการลงทุนกำลังผลิตเพียง 2.5 ลานตันกอน ภายในเดือน ธันวาคมนี้ และคาดวาจะเริ่มกอสรางไดราวกลางป 2552” วิน บอก เขายังบอกดวยวา การดำเนินการในชวงแรกจะขายใหลูกคาใน ประเทศ เนนกลุมบริษัทในเครือสหวิริยา แตลูกคาตางประเทศที่สนใจก็ ติดตอเขามาหลายรายเชนกัน โดยเนนลูกคาตางประเทศที่จะรวมมือกัน เป น พั น ธมิ ต รธุ ร กิ จ ในระยะยาวด ว ย เพราะเราตั้ ง เป า ผลิ ต เหล็ ก แท ง คุณภาพสูง ขายเปนหลัก นอกเหนือจากเหล็กเสนที่ใชในอุตสาหกรรม กอสราง สวนเงินทุนชวงแรกแบงสัดสวนเปน 1 ตอ 2 โดยใชเงินลงทุนของ บริษัทเอง 1 สวน และเงินกูอีก 2 สวน ซึ่งอยูระหวางเจรจาเงื่อนไขกับ สถาบันการเงินจากจีน โดยกูเปนเงินดอลลาร เนื่องจากรายไดของบริษัท มีทั้งเงินบาทและเงินดอลลาร ขณะที่การนำเขาวัตถุดิบแรเหล็ก ก็ไดเซ็น บันทึกขอตกลงเบื้องตนนำเขาแรเหล็กจากออสเตรเลียและบราซิลไป แลว เปนสัญญาระยะยาว เพื่อใหมีวัตถุดิบปอนตอเนื่อง โดยเหล็กจาก ทั้ง 2 ประเทศเปนเหล็กคุณภาพ เบื้องตนจะนำเขาประมาณ 4 ลานตัน ขนมาที่ทาเทียบเรือบางสะพาน ที่สามารถรองรับได 1 แสนเน็ตเวทตัน และจะเพิ่มเปน 2 แสนเน็ตเวทตันในอนาคต ซึ่งการมีทาเทียบเรือเอง ทำใหตนทุนนำเขาถูกลงถึง 40% และทำใหมีสวนตางเหลือที่จะนำไปใช ขยายลงทุนชวงที่สองได “ขณะนี้ไดตั้งบริษัท โรงถลุงเหล็กสหวิริยา จำกัด ขึ้นบริหารจัดการ


52

โครงการ ทุนจดทะเบียน 2 พันลานบาท ในอนาคตจะเพิ่มทุนอีก และ ภายใน 3-5 ป จะนำเขาจดทะเบียนตลาดหลักทรัพยและกระจายหุนให บริษัทในเครือรวมถือหุน เพราะเราตองการใหคนไทยมีสวนเปนเจาของ โรงถลุงเหล็กแหงนี้ดวย “แมการลงทุนเฟสแรกเราจะปรับแผนและทยอยลงทุนเปน 2 ชวง แตสำหรับเฟสอื่นๆ ที่เหลือ ยังคงใชแผนเดิม แตอาจปรับระยะเวลาทำ แผนใหเร็วขึ้นทดแทนที่เสียเวลาไป 9 เดือน เชน ศึกษาผลกระทบอีไอเอ ยื่นขอสงเสริมลงทุนจากบีโอไอ รวมถึงขั้นตอนอื่นๆ เพื่อไมใหเสียโอกาส ทางธุรกิจ และมีตนทุนเพิ่ม” สวนแผนการลงทุนในตางประเทศนั้น นายวิน กลาววา เบื้องตน คาดวาจะขยายฐานการผลิตในตางประเทศ เฉพาะอุตสาหกรรมเหล็กขั้น กลางจนถึงปลายน้ำ โดยมองไปที่ตลาดในภูมิภาคอาเซียนเปนหลัก เชน เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ซึ่งเปนตลาดที่นาสนใจ แตละประเทศมี ข อ ดี ข อ เสี ย ใกล เ คี ย งกั น เช น เวี ย ดนามตลาดเหล็ ก เส น ที่ ใ ช ใ น อุตสาหกรรมกอสรางขยายตัวเร็วมาก ขณะที่อินโดนีเซีย และมาเลเซีย มี ความตองการเหล็ก High Grade โดยบริษัทตั้งเปาหลังจากโรงถลุงเหล็ก เริ่มผลิตไปแลว 3-5 ป จึงจะขยายการลงทุนไปในตางประเทศ แนนอนวา คำใหสัมภาษณครั้งนี้จะดูหนักแนนมากขึ้น หลังจาก โครงการนี้ตองชะงักงันมากวา 1 ปครึ่ง แตในทางกลับกัน ยังคงสวนทางกับสถานการณในพืน้ ทีอ่ ยางสิน้ เชิง จากการลงสำรวจพื้นที่ของผูเขียนในชวงตนเดือนมิถุนายนที่ผานมา พบว า พื้ น ที่ ตั้ ง โครงการที่ ก อ นหน า นี้ ช ว งเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ ยั ง มองดู แหงแลง แตคงมีรองรอยของการทำคลองระบายน้ำ ที่เปนสาเหตุใหเกิด การปะทะระหวางชาวบานกลุมคัดคานและกลุมผูสนับสนุน เมื่อวันที่ 24 มกราคมที่ผานมา แตหลังจากไดน้ำฝนพื้นที่แหงนี้กลับมามีความเขียว ชอุมอีกครั้ง ตนหญาออนๆ ขึ้นแนนขนัด วัวหลายตัวกำลังแทะเร็มหญา อยางสบายอารมณ ไกลออกไปทิวมะพราวยังคงยืนเรียงรายทาสายฝนที่ เริ่มพรำลงมาอีกครั้ง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

53

“ถาไมมีการคัดคานจนโครงการตองชะงักไป พื้นที่แปลงที่เห็นตรง หนา จะถูกถมไปเรียบรอย เดิมเปนทองนาที่ทำนาทุกป ถาเรามาชวง หนาฝนพื้นที่จะเขียวไปดวยนาขาว และสวนมะพราว สวนหนาแลงพื้นที่ นี้จะยังชุมอยู แตสัตวในหมูบานจะมารวมกันอยูตรงนี้ เพราะเปนที่ลุมใน ฤดูน้ำหลาก มองดูคลายทองกระทะ ถาฝนตกจะไหลลง เปนแกมลิง ขนาดใหญของบางสะพาน เปนปาสาธารณะของชุมชน มีพันธุพืชพันธุ สัตวมากมาย นี่คือเหตุผลวาทำไมเราหวงแหนเก็บเอาไวใหลูกหลาน” วิทูรย บอกขอมูล ขณะที่สถานการณความตึงเครียดในพื้นที่ยังคงคุกรุน ชาวบาน หลายคนบอกตรงกั น ว า ตั้ ง แต มี ก ารคั ด ค า นโครงการโรงถลุ ง เหล็ ก หมูบานดอนสำราญ ขาดความสงบและไมมีความปลอดภัยในชีวิต “มีชายชุดดำแปลกหนา ขับรถปกอัพไมติดปายทะเบียน เขามาปวน เปยนในพื้นที่ โดยเฉพาะแถวศูนยเฝาระวัง 2 ที่ชาวบานกลุมคัดคานใช เปนฐานบัญชาการ และขับไปวนเวียนตามบานของชาวบานที่ติดธง เขียว สัญลักษณการไมเอาโครงการนี้ สรางความเสียขวัญใหกับชาว บานอยางมาก” คุณยายคนหนึ่ง บอกดวยใบหนากังวล “เมื่อสองวันกอน เด็กๆ เขาพากันติดธงสีเขียว ก็ยังโดนอีกฝาย มา จอดรถถาม และขมขูใหเอาธงออก” เหตุการณกระทบกระทั่งยังคงเกิดขึ้นอยูเปนระยะๆ แต ไพโรจน มกร ด ารา ผู อ ำนวยฝ า ยโครงการพิ เ ศษ เครื อ สหวิ ริ ย า กลั บ มองว า สถานการณความรุนแรงในพื้นที่โครงการมาจากความไมเขาใจกันของ สองฝาย แมบริษัทจะประชุมรับฟงความคิดเห็นมาแลว 2 ครั้ง และมีการ ทำกิจกรรมหารือมาตลอด 2 ปมีผูเขารวมทั้งสิ้น 18,500 คน ผลการสำรวจการรับรูขอมูลของโรงถลุงเหล็ก พบวาผูนำชุมชนรับรู โครงการ 92.86% ประชาชนที่อาศัยอยูในรัศมี 1-3 กิโลเมตร จำนวน 83.33% และประชาชนอาศัยในรัศมี 3-5 กิโลเมตร จำนวน 91.86% แต กระนั้นก็ตาม โครงการก็ยังพรอมจะรวมเวทีลดความตึงเครียดระหวาง ชาวบาน และทางบริษัท เพื่อหาทางออกในทุกเรื่อง


54

Õÿμ “À°√√¡‡À≈Á° 2 À¡◊Ëπ‰√à ++++++++++++++++

ไม เ พี ย งแต พื้ น ที่ บ างสะพาน ที่ ถู ก กำหนดเปนจุดยุทธศาสตรสำคัญของ นิ ค มอุ ต สาหกรรมเหล็ ก ต น น้ ำ และ ทาเรือน้ำลึก แตพื้นที่บริเวณเขาแดง ต.กุยเหนือ อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ และแหลมชองพระ อ.ปะทิว จ.ชุมพร และ อ.กุยบุรี รวมทั้งบานแหลมทวด อ.ดอนสัก จ.สุราษฎรธานี และบาน บางปอ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราชการ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,000 ไร ยั ง ได รั บ การขี ด เส น ให เ ป น พื้ น ที่ ที่ มี ศักยภาพรองรับอุตสาหกรรมเหล็กในอนาคต “เนื่องจากปริมาณการใชเหล็กในประเทศมีแนวโนมสูงขึ้น และ พื้นที่น้ีมีศักยภาพในการขนสงเหล็กตนน้ำมาทางทะเลลึก เพราะพื้นที่มี แนวนั้นมีรองน้ำลึกเหมาะกับการทำ ทาเรือขนสงขนาดใหญ ทั้งนี้มีความ เปนไปไดที่จะสนับสนุนอุตสาหกรรมเหล็กครบวงจร โดยตั้งเปนนิคม อุตสาหกรรมเหล็กโดยตรง แตตองมีเงื่อนไขทางดานเทคโนโลยีของการ ผลิตเหล็ก และตองทำใหอุตสาหกรรมสามารถอยูรวมกับชุมชนโดยไม กระทบกันดวย รวมทั้งตองมีการศึกษาการยอมรับและเตรียมโครงสราง พื้นฐานอื่นๆ เพิ่มเติมกอน” อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ใหขอมูลในงานสัมมนา แผนลงทุนชายฝงทะเลตะวันตก : อุตสาหกรรมเหล็กตนน้ำ ที่ชมรมนัก ขาว สิ่งแวดลอม จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2551 เขาขยายความวา เนื่องจากพื้นที่รองรับอุตสาหกรรมในทะเลฝง ตะวันออก โดยเฉพาะนิคมอุตสาหกรรมในเขต จ.ระยอง และ จ. ชลบุรีที่


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

55

สวนใหญเปนอุตสาหกรรมปโตรเคมี และอุตสาหกรรมตอเนื่องคอนขาง โตมากแลว ขณะนี้เหลือพื้นที่อีกเพียง 20,000 ไร สำหรับอุตสาหกรรม ปโตรเคมี เฟส 3 ซึ่งจะเต็มพื้นที่โครงการในอีก 5 ปขางหนา จากการ ขยายโรงกลั่นน้ำมันแหงใหม โรงไฟฟาเพื่อรองรับอุตสาหกรรมยานยนต อิเล็กทรอนิกส อาหาร สิ่งทอ และทองเที่ยว นั่นหมายความวา จำเปนตองหาพื้นที่ใหมเพื่อรองรับอุตสาหกรรม ใหม ราว 11 ปกอน สภาพัฒนไดศึกษาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันตก เพื่อ รองรั บ การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ และความต อ งการอุ ต สาหกรรม ประเภทต า งๆ ทั้ ง อุ ต สาหกรรมอาหาร ยานยนต และเหล็ ก ต น น้ ำ อิเล็กทรอนิกส ปโตรเคมี ทองเที่ยว ครอบคลุม จ.กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ และชุมพร รวมพื้นที่ 27.15 ลานไร และบรรจุเอาไวภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับ 7 “ผานมาหลายรัฐบาล แตก็ยังไมไดตัดสินใจชัดเจน กระทั่งลาสุดใน สมัยรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ไดปดฝุนดวยการนำแผน พั ฒ นาชายฝ ง ทะเลตะวั น ตก และชายฝ ง ทะเลภาคใต มาเชื่ อ มกั บ โครงการสะพานเศรษฐกิจ หรือแลนดบริด เพื่อเชื่อมฝงอันดามันและอาว ไทยอีกครั้ง ทำใหโครงการนี้กลับมาอยูในกระแสอีกครั้ง โดยเฉพาะ แลนดบริด อยูระหวางการศึกษาโดยกลุมทุนจากดูไบเวิลดมีระยะเวลา 1 ป” อาคม บอกอีกวา นอกจากนี้ ปจจุบันสภาพัฒน ไดรวมกับ ธนาคาร พัฒนาแหงเอเชีย (เอดีบี) จัดทำแผนแมบทพัฒนาพื้นที่ภาคใตอยาง ยั่งยืน มีกำหนดแลวเสร็จในเดือนกันยายน 2551 ซึ่งตามแผนจะตอง ครอบคลุมภาพ รวมในระดับภาค ระดับพื้นที่ และระดับพื้นที่เฉพาะให ชัดเจน เนื่องจากเปนการวางแผนสำหรับชวง 5-10 และ 20 ป เนื่องจาก ตองกันพื้นที่การใชประโยชน รวมทั้งตองศึกษาดานสังคม เศรษฐกิจ เพื่อ ไมใหกระทบกับสังคมและชุมชนเหมือนกับพื้นที่นิคมมาบตาพุด ซึ่งไดนำ มาใชเปนบทเรียนในการวางแผนดังกลาว


56

“เบื้องตนเอดีบีไดแบงพื้นที่การพัฒนาออกเปน 3 โซนกลาวคือ ฝง ตะวันออก (อาวไทย) ไดแก ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช และ พัทลุง ขณะที่ฝงตะวันตก (อันดามัน) ไดแก ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง สวนตอนใต ไดแก สงขลา ปตตานี สตูล ยะลา และนราธิวาส” เมื่อโฟกัสยังพบวา 5 สาขาเศรษฐกิจที่มีศักยภาพในการพัฒนาใน พื้นที่ภาคใต จะประกอบดวย พลังงานทดแทน อุตสาหกรรมแปรรูป อาหาร ทองเที่ยวและบริการ เหล็กตนน้ำ และปโตรเคมี ขอมูลเอกสารประกอบการนำเสนอคณะรัฐมนตรี เรื่อง “จากกรอบ แนวคิดการพัฒนาภาคใต และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับแผนงาน พัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต” ที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดเขาสูที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อเดือน พฤษภาคม 2551 ไดระบุถึงอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา เอาไว ชัดเจนวาเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมตนน้ำที่จะรองรับการขยายตัวของ อุตสาหกรรมยานยนต เนื่องปริมาณการใชเหล็กในประเทศมีแนวโนมสูงขึ้น โดยเฉพาะใน กลุมยานยนต เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส รวมทั้งสิ้น 12.5 ลานตัน ตอป และตองนำเขาเหล็กคุณภาพสูงประมาณ 4.5 ลานตันตอป จาก ญี่ปุนและเกาหลีเปนหลัก คิดเปนมูลคาราว 153,449 ลานบาท ขณะที่ ประเทศไทยยังไมมีอุตสาหกรรมผลิตเหล็กไปสูอุตสาหกรรมเหล็กตนน้ำ อยางครบวงจร ภาพของการผลักดันเมืองหลวงแหงเหล็ก จากการเปดไฟเขียวใน เชิงนโยบายของรัฐบาลชุดนี้ มีความชัดเจนขึ้นเมื่อคณะกรรมการสงเสริม การลงทุน (บีโอไอ) มีมติเห็นชอบรางประกาศของบีโอไอ เรื่องแนวทาง สงเสริมการลงทุนกิจการเหล็กขั้นตนเพื่อผลิตเหล็กคุณภาพสูง ประกอบ ปจจุบันมีบริษัทเอกชนทั้งในและตางประเทศสนใจที่จะลงทุนตั้งโรงงาน เหล็กขั้นตนในพื้นที่ภาคใต ไดแก จ.ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี ปตตานี โดยเฉพาะกลุมทุนผลิตเหล็กยักษใหญของโลก ที่แสดงความจำนง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

57

จะเขามาลงทุนภายใตเทียบเชิญของบีโอไอ แลว 4 รายดวยกัน โดยมี บริษัท Arcelor Mittal จากเนเธอรแลนดและลักเซมเบิรก ซึ่งถือเปน บริษัทผลิตเหล็กรายใหญที่สุดของโลก ที่มีกำลังผลิต 110.5 ลานตัน บริษัท Nippon Steel Coporation ของญี่ปุน กำลังการผลิต 32.7 ลาน ตันจัดอยูในอันดับที่ 2 ของโลก บริษัท JFE ของญี่ปุน กำลังผลิต 32 ลาน ตัน จัดอยูในอันดับที่ 3 ของโลก และบริษัท Baosteel ของจีน กำลังผลิต 22.5 ลานตัน จัดอยูในอันดับที่ 5 ของโลก “ที่ผานมาบริษัท อาเซเลอรมิททัล สตีล ผูผลิตเหล็กรายใหญที่สุด ของโลก ไดยื่นเรื่องถึงรัฐบาลอินโดนีเซียขอซื้อหุนในบริษัท กรากาตัว สตีล รัฐวิสาหกิจเหล็กของประเทศอินโดนีเซีย แลว และหากรัฐบาลยัง ตัดสินใจลาชา เชื่อวาเม็ดเงินทั้ง 5 แสนลานบาทอาจยายไปเวียดนาม หรือประเทศเพื่อนบานไทยทั้งหมดก็ได” วิกรม วัชระคุปต ผูอำนวยการสถาบันเหล็กและเหล็กกลา บอกถึง สถานการณ ค วามจำเป น ที่ ไ ทยต อ งจะต อ งมี โ รงงานถลุ ง เหล็ ก ด ว ย เหตุผลของการแขงขันของอุตสาหกรรมดังกลาว ซึ่งไมเพียงอาจจะทำให เราเสี ย โอกาสแค ก ารสร า งโรงงานถลุ ง เหล็ ก เท า นั้ น แต จ ะเลยไปถึ ง อุตสาหกรรมยานยนต ที่จะยายฐานการลงทุนไปในประเทศเพื่อนบาน เชนกัน วิกรม ยังระบุวา เบื้องตน สศช.ไดกำหนดพื้นที่เซาทเทิรนซีบอรด สำหรั บ รองรั บ การลงทุ น โรงงานเหล็ ก ต น น้ ำ ไว ค ร า วๆ เช น ชุ ม พร ประจวบคีรีขันธ สุราษฎรธานี และนครศรีธรรมราช สวนมีความเปนไป ไดที่จะเกิดโรงงานถลุงเหล็กในประเทศไทยนั้น คงตอบไมได ขึ้นอยูกับ ชาวบานวาจะเอาหรือไม “จิ๊กซอว” ที่กำลังเติมเต็มภาพเมืองหลวงแหงเหล็ก ที่จะสยายปก บริเวณรอยตอแหงขวานทอง ที่ไดรับการอุมชูจนเติบโต ทำใหรัฐบาล ตองผนึกพลังจัดเตรียมโครงสรางพื้นฐานรองรับอยางครบครัน ทั้งสาขา ขนสงและโลจิสติกส อาทิ โครงการขยายถนน 4 ชองจราจรวงเงิน 1500 ลานบาท สายพังงา-กระบี่ สายนครศรีธรรมราข-สงขลา โครงการรถไฟ


58

ทางคูในเสนทางภาคใต โครงการพัฒนาทาเรือน้ำลึกในภาคใต 2 แหง คือทาเรือปากบารา และทาเรือสงขลาแหงที่ 2 ซึ่งยังอยูระหวางการ ศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียด ตลอดจนการขยายทา อากาศยานภูเก็ต เกาะสมุย เบตง ขณะที่สาขาพลังงาน แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟาของประเทศ ไทย พ.ศ.2550-2554 (PDP 2007) ยังบรรจุแผนกอสรางโรงไฟฟาพลัง ความรอนจะนะ จำนวน 2 แหง กำลังผลิตรวม 1,410 เมกะวัตต และโรง ไฟฟ า ถ า นหิ น ขนาด 2,800 เมกะวั ต ต ของการไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) บริเวณ อ.ทับสะแก ที่อยูติดกับ อ.บางสะพาน เพื่อ ปอนไฟฟาใหกับโรงถลุงเหล็กเหลานี้อีกดวย

∫∑∑’ Ë 3 ÿ¢¿“æ-¡≈æ‘…∑’Ë∂Ÿ°ª°ªî¥∫‘¥‡∫◊Õπ ++++++++++++++++++++++++ คราบจุดสีเหลือง ราว 5-6 จุดที่ปรากฏบริเวณ ฝากระโปรงหนา และดานขางประตูรถยนต เปนหลักฐานชิ้นสำคัญที่บงบอกถึงความผิด ปกติที่เกิดขึ้น หลังเม็ดฝนที่โปรยปรายเมื่อชวง บายเริ่มเบาบางลงไป “จุดสีเหลือง” ไมใชเพิ่งเกิดขึ้นวันสองวัน แตสภาพแบบนี้เกิดมาหลายปแลว “จะเจอจุดเหลืองไดบอย ในชวงที่อากาศ ปด และไมมีแสงแดด ลมไมพัด หลายๆ พื้นที่ จะมีน้ำสีเหลืองหยดเล็กๆ หยดลงมาจากทองฟา กินพื้นที่เปนบริเวณกวาง เมื่อแหง จะมีลักษณะ คลายขี้ผึ้ง แตมีกลิ่นฉุนจัด คลายกำมะถัน” ตอนนี้ ชาวบานบานกรูด รวมทั้งผูประกอบการรีสอรท ที่ซักผาตาก ไวกลางแจง บนกันทุกวัน วา ผาไมสะอาด บางครั้งตองเอาไปซักใหม เนื่องจากมีหยดน้ำสีเหลืองดังกลาวตกใส และมีกลิ่นฉุน นอกจากนี้หยด น้ำดังกลาวยังหยดใสรถจนรถมีคราบลายทั้งคัน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

59

สุพจน บอกถึงที่มา พรอมเลาตอวา ชาวบานตั้งขอสงสัยวา เกิดจาก การเผาไหม ที่ไมสมบูรณของเตาเผา จากโรงรีดเหล็กของเครือบริษัทสห วิริยา ที่ตั้งอยูในพื้นที่ “ชาวบานตั้งขอสงสัยวา อาจจะเกิดมาจากโรงถลุงเหล็ก เพราะ ทราบวา กอนหนานี้โรงถลุงเหล็กใชน้ำมันเตา กำมะถันต่ำไมเกิน 1.25% แตถาสุด ไดไปขออนุญาตจาก สผ. เปลี่ยนเปนน้ำมันเตา 2% เทาที่ ศึกษา พบวา คุณสมบัติใกลเคียงกับการเผาไหมของถานหินอยางมาก อีกทั้งเมื่อ 5 ปกอน มีเตาเผาแค 2 เตา เทานั้น แตตอนนี้เพิ่มเปน 3 เตา และเพิ่มเวลาการทำงานเปนชวงกลางคืน เพราะคาไฟฟาถูกกวา” สุพจน สันนิษฐานวา “กลางคื น อากาศนิ่ ง และชื้ น อาจจะส ง ผลให เ กิ ด การสะสมของ ปริมาณสารซัลเฟอรไดออกไซดในอากาศและหยดตกลงมาเมื่ออากาศ นิ่ง กรณีนี้เครื่องตรวจวัดอากาศจะตรวจวัดไมได เพราะปลองควันติดอยู ดานบน แตเครื่องตรวจวัดอาการติดอยูกับพื้นดิน ตรวจอยางไรก็ไมเจอ” ชาวบานไมไดหยุดแคความสงสัยไว แตพวกเขาเคยรวมตัวกันไป บอกกับบริษัท สหวิริยา ใหมาตรวจสอบ แตปรากฏวา สำนักความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม ของบริษัท เครือสหวิริยา กลับอางและบอกกับ ชาวบานวา ไดเก็บตัวอยางหยดน้ำสี เหลื อ งไปให ท างภาควิ ช ากี ฏ วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย ตรวจสอบ โดย ผศ.ดร.สุรีรัตน เดี่ยววาณิชย หัวหนาศูนย เชี่ยวชาญเฉพาะดานกีฏวิทยา ตอบกลับมาวา หยดสีเหลืองดังกลาวมี สวนประกอบของละอองเกสรดอกไม และหยดน้ำสีเหลืองอาจจะเปนขี้ ผึ้งก็ได “ไมมีชาวบานคนไหนเชื่อถือคำตอบดังกลาว เพราะเปนไปไมไดเลย แมแตนิดเดียว บานกรูด บางสะพาน ไมมีใครเคยเลี้ยงผึ้ง มากขนาดให มันมีขี้สีเหลืองหยดทั่วหมูบาน ไดทุกวันขนาดนี้ เราเคยเขาปาไปสำรวจ รังผึ้ง ก็แทบจะหาไมคอยได จะมีผึ้งที่ไหน ที่สำคัญชาวบานออกเรือไป หาปู ไกลถึง 15 ไมลยังเจอหยดสีเหลืองนี้เลย” สุพจน ชี้ประเด็น


60

“เครื่องมือตรวจอากาศวางอยูบนพื้น ควันลอยออกจากปลอง อยู สูงเปนสิบๆ เมตร แลวจะตรวจเจออะไร ไมมีความเปนกลาง และไมมี ความยุติธรรมใหชาวบาน สิ่งที่ทุกคนในบานกรูดทำไดเวลานี้คือ ดูแลตัว เอง ไมกินน้ำฝน ซื้อน้ำกิน ไมเอาอาหารตากนอกบาน” เหลานี้กลไกการปองกันตัวเองของชาวบานที่นี่ สุพัฒน หวังวงศวัฒนา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) ไดสรุปขอ สงสัยของชาวบาน โดยระบุผลการตรวจสอบคาความเปนกรด-ดาง (PH) ของน้ำฝน เจาปญหาวาไมมีความเปนกรด “จากตัวอยางน้ำฝน ที่เจาหนาที่ไปเก็บจากหลังคาของชาวบานและ กลางแจงที่บานดอนสำราญ บานหนองตาเมือง จำนวน 5 ใน 7 ตัวอยาง มีคาความเปนกรดดาง (PH) ตั้งแต 7.4-9 นั่นคือมีสภาพความเปนกลาง จนถึงดาง สอดคลองกับปริมาณซัลเฟตในน้ำฝนที่จะมาจากซัลเฟอรได ออกซ และไนเตรทที่มาจากไนโตรเจนไดออกไซด ที่ชาวบานตั้งขอสังเกต วาโรงถลุงเหล็กใชน้ำมันเตาที่มีสวนประกอบของกำมะถันนั้น ก็ไมมีคา ตางกับที่อื่น โดยซัลเฟตที่ อ.บางสะพานสูงสุดแค 0.53 มิลลิกรัมตอลิตร ขณะที่จุดตรวจของ คพ.เองยัง 2.14 มิลลิกรัมตอลิตร และสวนไนเตรท 2.04 แตบางสะพานสูงสุดแค 0 .89 มิลลิกรัมตอลิตร ดังนั้นจึงสรุปไดวา น้ำฝน ไมมีสภาพเปนกรดอยางแนนอน โดยเฉพาะหากนำไปเทียบกับ 10 พื้นที่ทั่วประเทศที่ คพ.ตรวจวัดความเปนฝนกรด โดยเฉพาะ กทม. เชียงใหม และนครปฐมยังมีคาความกรดสูงกวาเพราะน้ำฝนมีคาตั้งแต 4-6 ดวยซ้ำไป” สุพัฒน สรุปความ เขากล า วว า ฝุ น สี เ หลื อ ง เบื้ อ งต น ผลการตรวจวิ เ คราะห จ าก 2 สถาบันใหผลตรงกันวาเปนกลุมละอองเกสรของพืชหลายชนิด กลาวคือ ผลจากคณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร ม.มหิดล ระบุวาเปน ละอองเรณู ข องต น กก ดาวเรื อ ง ทานตะวั น และต น ปาล ม และเมื่ อ ทำการวิ เ คราะห ต รวจสอบธาตุ อ งค ป ระกอบด ว ยเครื่ อ งสแกนนิ่ ง อิเล็กตรอน ไมโครสโคปและเอกซเรย พบเปนธาตุคารบอน 69% และ ออกซิ เ จนเป น ตั ว ประกอบ ขณะที่ ผ ลสรุ ป จากภาควิ ช าพฤกษศาสตร


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

61

คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สรุปวาเปนละอองเรณูพืช ดอกหลายวงศ และพบสปอรของราปนในปริมาณไมมาก “ผลวิเคราะหจากทั้ง 2 สถาบัน ก็ยืนยันวาฝุนสีเหลืองดังกลาวเปน ละอองเกสรดอกไม ซึ่งมักจะเกิดในชวงหนาฝน เพราะดอกไมเริ่มผลิดอก ออกใบ ซึ่งยอมรับวาอาจจะไมตรงใจชาวบานนัก แตก็เปนการพิสูจน ทางวิ ท ยาศาสตร แ ล ว ส ว นน้ ำ ฝนจะมี ตั้ ง เครื่ อ งวั ด น้ ำ ฝนอั ต โนมั ติ ใ น อ.บางสะพาน เพื่อวัดผลในระยะยาวเปนเวลาตอเนื่อง 1 ป และเพิ่มจาก 10 แหงที่วัดคาความเปนกรดดางของน้ำฝนเปนประจำ คือ เชียงใหม นครปฐม ปทุมธานี สมุทรปราการ สงขลา อยุธยา นครราชสีมา ชลบุรี และเขื่อนวชิราลงกรณกาญจนบุรี และบริเวณตึก คพ.ดวย ทั้งนี้จะสรุป รายละเอียดเสนอตอ ทส. และจากนั้นจึงจะสงใหกับทางผูวาราชการ จังหวัดประจวบคีรีขันธ และเปดเผยขอมูลใหชาวบานทราบตอไป” นาย สุพัฒน บอกถึงแผนงาน ÿ¢¿“æ§πß“π∑’Ë∂Ÿ°À¡°‡¡Á¥ +++++++++++++++

ไม มี ใ ครบอกว า อุ ต สาหกรรม เหล็ ก ในบางสะพานในเฟสแรก กอมลพิษกับชาวบานหรือยัง? สวนใหญคงไดรับคำตอบที่ สวยหรูวา อุตสาหกรรมเหล็กที่ใช ถานโคก จากออสเตรเลีย มาเปนเชื้อเพลิง มีคุณภาพสูง และมีการปน เปอนของสารมลทินต่ำ สวนฝุนขนาดเล็ก PM-10 ก็ยังอยูมาตรฐาน กาซ ซัลเฟอรไดออกไซด และออกไซดของไนโตรเจน จะไมถูกปลอยออกมาสู ภายนอกโรงงาน จากขอมูลจากสำนักงานสาธารณสุข อ.บางสะพาน กลับระบุวา ใน ระยะ 10 ปที่ผานมา มีผูปวยดวยโรคทางเดินหายใจถึงปละ 17,000 คน และมีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่อง


62

สอดคลองกับพนักงานสหวิริยาคนหนึ่ง เขาใหขอมูลวา คนงาน หลายคน รวมทั้งสุพจน และเสวก ก็เคยทำงานที่นั่นดวย แตภายหลัง จากเพื่อนรวมงานคนอื่นๆ ที่เคยออกมาก็มีผลกระทบทางสุขภาพ “สวนใหญที่ตายไปหลายคน จะตายเพราะเปนโรคปอด และทาง เดินหายใจ และเทาที่ผมรูจักมีหลายราย สิ่งที่ผิดปกติกอนจะตาย ก็คือ พบวา เมื่อเริ่มตนมีอาการไออยางรุนแรง แลวไปตรวจเอกซเรย กลับมา หมอก็บอกวารางกายแข็งแรง แตแนะนำใหออกกำลังกาย แตตอมาอีก 2 อาทิตย กลับมาก็เดินไมไหว และในที่สุดก็ตาย สวนใหญแฟมของคน งานที่ปวยตายจะไมมีใครไปขุดคุย เปนเรื่องปกปด เจาของโรงงานเขาจะ ชวยคาทำศพให และมีคารักษาพยาบาล แตไดบางสวนจากประกัน สังคมเลยไมคอยมีการรองเรียน “ผมวามีหลายคนที่ตาย จากโรคปอดไปเยอะแลว แตสวนมากจะ ถูกปดขาว เวลาไมไหวก็จะกลับไปบานเกิดของคนงาน บางคนไปตรวจที่ กรุงเทพฯ หมอบอกวาเจอน้ำมันเคลือบคอยดอยูในปอด และมีการฟอง รอง แต ตอนนี้ก็ตายไปแลว ไมรูวาญาติเขาจะยอมเปดเผยรายละเอียด หรือเปลา” ขณะที่การเจ็บปวยลมตายของคนงาน จากโรคลึกลับยังคงเปนเรื่อง ที่ถูกปกปด เนื่องจากพนักงานที่ปวยตาย ทางครอบครัวจะไดรับการดูแล และใหคาชดเชยทดแทน จึงยังไมใครกลาหาญที่จะนำเอาเรื่องราวของที่ นี่ออกมาตีแผ “อุตสาหกรรมเหล็ก ถือวามีความสกปรกกอมลพิษเปนอันดับ 2 รองจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี เนื่อง จากวัตถุดิบคือแรเหล็ก ถานหินที่ ตองใชในขั้นตอนการผลิตและถูกปลอยออกมาทางอากาศ กลิ่น และ กากของเสีย ซึ่งเคยมีการฟองรองเรียกคาเสียหายจากอุตสาหกรรมยักษ ใหญในอเมริกามาแลวเมื่อปที่ผานมา” แมวามลพิษจากอุตสาหกรรมเหล็กที่ อ.บางสะพาน กำลังอยูใน ระหวางการพิสูจน แตในมุมมองของ ดร.อาภา หวังเกียรติ อาจารยจาก สาขาวิศกรรมสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยรังสิต กลับมองถึงภาพมลพิษ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

63

อุตสาหกรรมเหล็กที่กำลังเบงบานในประเทศไทย “อยากตั้งคำถามวาประเทศไทย พรอมแคไหนที่จะมีมาตรฐาน และ จัดการมลพิษจากอุตสาหกรรมเหล็กยักษใหญที่จะยายฐานมาลงทุนใน เมืองไทย และในประเทศกำลังพัฒนาเนื่องจากการขยายตัวภายในถูก จำกัดดวยเงื่อนไขทางดานสิ่งแวดลอม และกฎหมายควบคุมมลพิษที่ เขมงวด เพราะแคกรณีโรงถลุงเหล็กของเครือสหวิริยา ที่บางสะพาน ที่ เรมสงผลกระทบทางสิ่งแวดลอมแลว ซึ่งแมผลกระทบทางสุขภาพ จะยัง ไม ชั ด เจนเท า กั บ กรณี ข องนิ ค มอุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด แต เ ราคงไม อยากใหซ้ำรอยกับที่นั่น” นักวิชาการดานสิ่งแวดลอม ดร.อาภา แสดงความเห็นวา ที่ผานมา อุ ต สาหกรรมเหล็ ก ต น น้ ำ ในหลายประเทศ เช น ญี่ ปุ น แคนาดา สหรัฐอเมริกา กำลังเกิดปญหาผลกระทบทางดานสุขภาพตอชุมชนที่อยู รอบพื้นที่โครงการ โดยเฉพาะกรณีของมลพิษจากอุตสาหกรรมเหล็ก ที่ เริ่มเปดเผยตอสาธารณะแลว คือผลกระทบของบริษัท Pacific Steel Casting ที่เมืองเบิรกเลย รัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา ที่เตรียมจะ ขยายพื้นที่โครงการแหงที่ 3 เมื่อป 2524 แตถูกคัดคานจากชุมชน เมื่อ พบวากระบวนการผลิตเหล็กกลามีมลพิษคอนขางมาก ถึงขั้นที่องคการ พิทักษสิ่งแวดลอมสหรัฐอเมริกา เรียกวาเปนผูกอมลพิษที่เลวรายที่สุด เปนอันดับ 12 จากจำนวน 2,171ในอาว ดร.อาภา บอกวา ขอมูลการตรวจสอบทีต่ แี ผออกมาตอสาธารณชน พบวา Pacific Steel Casting ปลอยมลพิษเกินกฎหมายที่กำหนดไว ตอปเกิน 3 ครั้ง โดยเฉพาะฟอรมัลดีไฮดสูงกวาคาเฝาระวังถึง 24 เทา ปลอยฝุนขนาดเล็กที่มากกวาคามาตรฐานสุขภาพขององคการอนามัย โลกถึง 488 เทา และสารโลหะหนักจำพวกแคดเมียม ตะกั่ว โครเมียม แมงกานีส นิกเกิล สังกะสี ซึ่งมลพิษเหลานี้ลวนเปนสาเหตุความเจ็บปวย โรคมะเร็งปอดของพลเมืองสหรัฐมากที่สุด ยอนกลับมาสิ่งที่ ดร.อาภา กำลังดำเนินการอยูในปจจุบันคือการ วิจัยดานสุขภาพที่มาจากมลพิษจากอุตสาหกรรมเหล็ก รวมทั้งการตรวจ


64

สอบน้ำฝน และการพิสูจนคราบจุดสีเหลือง โดยใชกระบวนการทางเคมี เนื่องจากผลการตรวจสอบที่ออกมาจากหนวยงานรัฐ ชาวบานยังไมเชื่อ มั่นวาเปนการตรวจพิสูจนทางวิทยาศาสตรที่ตรงกับสิ่งที่ชาวบานสงสัย หรือไม และคาดวาคงไดขอสรุปในปลายปนี้

ตารางปริมาณการปลอยมลพิษ ของบริษัท Pacific Steel Casting ป 2549 ชื่อเคมี เคมีที่ขนถายไปยังสถานที่อื่น โครเมียม แมงกานีส โมลิตีนั่มไตรออกไซด แนฟทาลีน นิกเกิล ฟนอล เคมีที่ปลอยออกสูแหลงน้ำผิวดิน โครเมียม แมงกานีส แนฟทาลีน นิกเกิล ฟนอล เคมีที่ปลอยออกสูบรรยากาศ โครเมียม แมงกานีส แนฟทาลีน นิกเกิล ฟนอล

ปริมาณการปลอย (กก./ 229 34,006 1,953 2265 340 5,708 2.27 2.27 2.27 2.27 2.27 116 454 227 116 454


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

65

«‘∂’ª≈“∑Ÿ 6 โมงเชาวันที่ 1 มิถุนายน อาวบอทอง บาน ดอนสำราญ “ดูเงาสีดำเปนริ้วที่ผิวทะเลนะ ปลาทูมา ใกลฝงแลว” พี่เสวก หรือ สมหวัง พิมพสอ หนุมใหญ วัย 41 ชี้ชวนใหผูเขียน ดูเงาของฝูงปลาทู ที่วายเขามาหากินใกลกับ ชายฝง กะดวยสายตาคงไมเกิน 2-3 เมตร มองไปเห็นแตริ้วคลื่น กระทบ ฝงเปนริ้วๆ จนน้ำแตกฟอง ตัดบกับขอบฟาสีทองตอนเชาตรู “หยายวะ” เสียงรองบอก พรอมกับสงเสียง ใหหลานชาย รีบเตรียม อุปกรณจับปลาทู ที่ประกอบดวย หวงยาง กะละมัง และอวนจับปลาทู 40-50 เมตร ที่บัดนี้ถูกนำมากองรวมกันอยูหนาชายหาด รอสัญญาณ จากเจาพอจับปลาทูดวยมือเปลา ที่กระโจนลงไปอยูในทะเลเรียบรอย แลว “อาวแหงนี้ชุกชุมไปดวยปลาทูนอยใหญ หลังจากกรมประมงปด อาวมา 3 เดือน เพราะปลาทูจะเขามาใกลฝงมากินลูกกุง ลูกปู ทำใหจับ ปลาทูไดงายๆ” เสวก ตะโกนบอก เสวก บอกตอวา หากินแบบนี้ตั้งแตอยู ป.4 เปนหารายไดเสริม เพราะที่หาดนี้หากินไดอยางหลากหลาย เรือ พายที่เห็นไกลๆ ลำโนน ออกตกหมึกหอมได 5-6 กิโล กิโลละ 50 -100 บาท แตสำหรับปลาทู จะ เขามามาหากินที่หนาดิน ชาวบานมักจะมาหากินกุง หอย ปู ปลาเพื่อทำ กับขาว เพราะที่นี่ทะเลยังสมบูรณ และที่เหลือเปนผลพลอยไดขายใน ชุมชน สวนใหญ เวลาที่เหลือก็ไปรับจางเขาสวน เหมือนผมมาหาปลาไป ทำกับขาวและที่เหลือเอาไปขายเปนอาชีพเสริม “เฉลี่ยถานอยถาลอมอวน คราวหนึ่ง ประมาณชั่วโมงกวา ก็ไดปลา ทูตอวัน มากสุด 4-5 กิโล แตที่บางวันถา ถาคลื่นลมดีจะมีปลากระบอก ติดมาดวย อาวนี้มีปลาทูเปนปลาหลักตลอดป ราคา 20 บาทตอกิโล


66

ทุกคนที่มีอวนมาจับปลากินได และมีหวงยางชวยในการลอยน้ำออกไป เด็กเล็กก็หากินไดอายุ 13-14 แถวนี้มีแบบนี้ 4-5 ราย และเราไมได จำกัด เพราะเปนทรัพยสาธารณะ ถาไมใชปลาที่เตองการ ไซซเล็กก็จะ ปลอยใหมันไปเติบโต เรื่องนี้ไมตองมีใครบอกใครสอน แตปฏิบัติและ แปนสวนหนึ่งใหปลามันยังอยูไมหมดไป” หากใครไมรูเทคนิคการจับปลาทูดวยมือเปลา เขาทำอยางไร ลอง อานบันทัดตอไป มือจับปลาทู แหงอาวแมรำพึง บอกวา ปลาทูฝูงหนึ่ง กินพื้นที่กวาง 5-10 เมตร และบางฝูงกินเปนงานๆ สังเกตจากน้ำที่เปนกอนสีดำ เมื่อ ลอมอวนเสร็จ ก็เอาอวนลอยลอมมันไว มันจะไดงายกวา การตามปลา ทู รอผลงานใหปลาทูมาชนอวนตาขาย พี่เขาจะตีไลรอบวงใหปลาตกใจ “ตึก ตึก ตึก” เสียงพายกระทบกับเรือเหล็ก เขาบอกวาเปนวิธีที่ ทำให ป ลาทู ต กใจ เคาะดั ง ๆ แล ว มั น จะตกใจ น้ ำ ลึ ก ที่ เ ห็ น มองลงไป ประมาณ 2 เมตรได “ตอนนี้ถึงเวลาเก็บกูแลว ปลาทูหลากหลายขนาดเปนมันวาว ติด มากับอวน มีปลาขางทอง ตัวเขาจะเล็ก แตเนื้อเอาไปทำลูกชิ้นอรอย มาก และเอาไปทำปลาหวานได สวนตัวนี้ปลาทู เปนๆ ของจริง จะเห็น วาปลาทูสดมันจะตาใส ไมตองแชน้ำแข็ง ไปถึงเราก็จัดการเลย ปลาทูที่ จับบใหมจะสดและเนื้อหวาน ไมเหมือนปลาทูที่ขายในเขงกรุงเทพฯ “พี่ เสวก พรอมโชว ปลาทูสด สลับกับเสียง “ออด ออด” เสียงปลาทูตัวขนาด 3 นิ้วมือ รองอยูครั้ง สองครั้ง พอขึ้นเหนือน้ำมามันก็ตายแลว มันใจจเสาะ ถามันตัวเล็กเรา จะปลอยลงทะเลเหมือนเดิมใหมันออกลูกหลานรุนตอไป เปนแบบนี้กัน “ปลาทูมี 2 ชนิดมีปลาทูเตี้ย เปนปลาทองยานกินแพลงตอนพืช อยางเดียว แตกเปนบางฤดูที่เนื้อจะไมอรอย และจะอยูน้ำลึก แตที่เรา มาจับวันนี้เรียกปลาลัง จะมาหากินระดับน้ำไมเกิน 4 เมตร และเปนปลา ที่วางขายในเขงทั่วไป ผมวาที่แมกลองนาจะเอามาจากที่นี่”


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

67

เสวก บอกวา หลังปดอาวไป 3 เดือนระหวาง 15 กุมภาพันธ - 15 พฤษภาคม เพื่ อ ให ป ลาวางไข ปลาจึ ง อุ ด มสมบู ร ณ ม าก และนี่ เ ป น เหตุผลวา ทำไมชาวบานถึงหวงแหน เพราะเปนที่วางไข และเปนแหลง สัตวน้ำ ที่อุดม เราไมไดขายแตเรางดรายจายแทนที่จะตองจายเราก็ไม ตองจาย และตรงนี้ก็ปลอดภัย เพราะไมตองเสี่ยงกับปลาที่แชฟอรมาลีน แตถามีโครงการโรงถลุงเหล็ก ที่หางจากทะเลกับถนนกั้นประมาณ 200 เมตร นี่คือเหตุผลที่เราหวงวาจะกระทบกับวิถีการทำมาหากิน หลังจากนับจำนวนปลาตัวนากินมั้ย หนุมรองถาม พลางโชวปลาทู ตัวเทาฝามือ ถาเราไปซื้อที่กรุงเทพ ตัวขนาดนี้คงประมาณ 25-30 บาท นี่ถาเอาไปขายรวยแลว เขารองบอก เมนูวันนี้พี่เสวก บอกวาปลาที่จับได ขึ้นกับแมบานจะทำ แตที่แนๆ คือปลาทูทอด ‡Àμÿ°“√≥å ”§—≠°àÕ𧫓¡√ÿπ·√ß วันที่ 7 ก.ย 49

18 ก.ย 49

เหตุการณ มีกลุมบุคคลเขาไปทำการบุกรุกไถทำลายปาพรุ เพื่อ เตรียมการออกเอกสารสิทธิบริเวณพื้นที่ปา ชาวบาน ไดรับทราบเรื่องและพบรองรอยของการไถเพื่อเตรียม รั ง วั ด ออก เอกสารสิ ท ธิ จึ ง ได ม าแจ ง ข อ มู ล กั บ กลุ ม อนุรักษ กลุมอนุรักษพิทักษปาชายเลนแมรำพึง ยื่นหนังสือรอง เรียนตออธิบดีกรมทรัพยากรและชายฝง ใหทำการ ตรวจสอบการออกเอกสารสิทธิของเอกชนที่ออกทับ พื้นที่ปาชายเลน ใน ต. แมรำพึง อ. บางสะพาน หลัง จากรองเรียนไดมีการสงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการ ตรวจสอบพื้นที่ รวมกบชาวบานและหัวหนาสถานีฯ ปาชายเลนที่ 8 (วัชรินทร ชัชวาลวงษ)


68

11 ต.ค 49

14 ต.ค 49

พ.ย 49

24 พ.ย 49

7 ก.พ 50

บั น ทึ ก การตรวจสอบข อ เท็ จ จริ ง สถานี พั ฒ นา ทรัพยากรปาชายเลนที่ 8 สรุปความวา “นาจะมีการ ออกเอกสารสิทธิโดยมิชอบ เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวไม เขาหลักเกณฑที่จะสามารถออกเอกสารสิทธิใดๆ ได” กลุมอนุรักษฯสงหนังสือรองเรียนตอคณะกรรมการ สิทธิมนุษยธรรมแหงชาติ กรณีมีการบุกรุกทำลายปา พรุ ปาเสม็ด ปาจาก ใน ต.แมรำพึง บริษัทประจวบพัฒนา ดีเวลล็อปเมนต จำกัด ยื่นเรื่อง ขอเชาที่ดินสาธารณประโยชน (ทางสาธารณะและที่ ปาชาสาธารณะรวมเนื้อที่ 4-3-45 ไร และ 110-0-01 ไร) เพื่อใชเปนพื้นที่อุตสาหกรรมเหล็กขั้นตน มูลนิธิคุมครองสัตวปาฯ ลงพื้นที่สำรวจพันธุพืชพันธุ สั ต ว ใ นพื้ น ที่ ชุ ม น้ ำ และร ว มกั บ ตั ว แทนสำนั ก งาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ) ลงสำรวจพื้นที่ปาพรุ ต. แมรำพึง เพื่อเตรียมการ ในการนำขึ้นทะเบียนเปนพื้นที่ชุมน้ำ ตามหนาที่ความ รับผิดชอบของ สผ. กลุมอนุรักษแมรำพึงไดรวมตัวไปยื่นหนังสือคัดคาน นโยบายการย า ยนิ ค มอุ ต สาหกรรมจากมาบตาพุ ด มายังภาคใตตอ รมต. อุตสาหกรรม โดยเปนการรวม ตัวไปพรอมกับกลุมอนุรักษฯบานกรูด กลุมรักทองถิ่น บ อ นอก และกลุ ม อนุ รั ก ษ ทั บ สะแก ซึ่ ง คั ด ค า น นโยบายการกอสรางโรงไฟฟาถานหิน ในวันดังกลาว กลุ ม นายทุ น ในพื้ น ที่ ไ ด ฉ วยโอกาสนำเครื่ อ งจั ก รกล หนักเขาไปทำลายปาพรุ โดยมีชายฉกรรจกวา 20 คน สวมหมวกไหมพรมคลุมหนาทุกคน คอยทำหนาที่ขมขู มิใหชาวบานเขาไปหามปรามการไถพรุ ปรากฏวาใน วันดังกลาวกลุมนายทุนสามารถทำลายปาพรุเสียหาย ไปประมาณ 100 กวาไร


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

วันที่ 19 เม.ย 50

20 เม.ย 50

9 พ.ค 50

20 มิ.ย 50

69

เหตุการณ กลุมอนุรักษแมรำพึง ตัดสินใจกอตั้งจุดเฝาระวังการ บุกรุกทำลายปาพรุ โดยมีชาวบานจัดเวรยามเฝาดูแล พื้นที่ปาพรุตลอด 24 ชั่วโมง เครือสหวิริยา โดยนายวิทย วิริยะประไพกิจ มีหนังสือ ถึง สผ. เพื่อขอถอนรายงานอีไอเอโครงการโรงถลุง เหล็ ก ซึ่ ง ผ า นความเห็ น ชอบของคณะผู ช ำนาญการ (คชก) แลว เพื่อนำไปปรับปรุงขอมูลใหสอดคลองกับ แผนดำเนิ น การของโครงการ เนื่ อ งจากมี ก ารปรั บ เปลี่ยนพื้นที่บางสวนของโครงการ การประชุม คชก. ของสผ. มีมติใหยกเลิกการใหความ เห็ น ชอบรายงานอี ไ อเอโครงการโรงถลุ ง เหล็ ก เนื่องจากเจาของโครงการขอถอนรายงานอีไอเอเพื่อ ปรับปรุงโครงการใหม ชาวบานชุมนุมที่ศาลากลางจังหวัด เพื่อเรียกรองใหสั่ง ระงับการถมดินในพื้นที่โครงการกอนที่รายงานอีไอเอ จะผานความเห็นชอบจาก สผ. และใหเรงรัดการจัดตั้ง คณะกรรมการ 4 ฝาย เพื่อตรวจสอบเอกสารสิทธิที่ดิน ตามมติการประชุมรวมเมื่อวันที่ 19 มี.ค 2550 ในวัน เดียวกัน บริษทั ประจวบพัฒนา ดีเวลล็อปเมนต จำกัด ถือโอกาสเขาทำการรังวัดที่ดินในพื้นที่โครงการโรง ถลุงเหล็ก โดยมีกำลังเจาหนาที่ตำรวจ กอ.รมน. และ หนวยสันตินิมิตกวา 100 นาย คอยคุมกัน ชาวบานจึง เรี ย กร อ งให ผู ว า ฯ สั่ ง ระงั บ การรั ง วั ด โดยบริ ษั ท ฝ า ย เดียว และใหมีหนังสืออยางเปนทางการเพื่อสั่งระงับ การถมที่ดินไวกอน ทางจังหวัดโดยรองผูวา รับปาก ชาวบานจะทำหนังสือสั่งระงับการถมดินให และใน สวนการรังวัดที่ดิน รองผูวา อางวาขณะนี้บริษัท มี


70

เอกสารสิทธิถือครองที่ดินอยู จึงไมสามารถสั่งระงับ การรั ง วั ด ได และได แ นะนำให ช าวบ า นทำหนั ง สื อ คัดคานการรังวัดและทำแผนที่พิพาทไวกอน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

71

บรรณานุกรม สัมมนา วันที่ 4 มิถนุ ายน ชมรมนักขาวสิง่ แวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพ แหงประเทศไทย จัด เสวนาเรื่อง “แผนลงทุนชายฝงทะเลตะวันตก : อุตสาหกรรมเหล็กตนน้ำ” สัมมนาแผนน้ำภาคตะวันตก.... เอกสารประกอบเรื่อง “กรอบแนวคิดการพัฒนาภาคใต และมติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวกับแผนงานพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต” เดือนพฤษภาคม 2551 ลงพื้นที่สัมภาษณวันที่ 31 พฤษภาคม -1 มิถุนายน ลงพื้นที่รวมเวทีหาทางออก จัดโดยสถาบันสถาบันการศึกษาทางเลือก ที่วัด นาผักขวง อ.บางสะพาน วันที่ 20 กุมภาพันธ 2551 สัมภาษณ สมหวัง พิมพสอ ชาวประมงปลาทู วันที่ 1 มิถุนายน 2551 ขาวจากกรุงเทพธุรกิจ วันที่ 13 มิถุนายน 2551 ขอมูลจากเอกสาร ที่นี่มีคำตอบ (ฉบับพิเศษ) ของบริษัท สหวิริยา จำกัด เอกสารของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ขอมูลจากหนังสือโลกสีเขียว ฉบับเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2551

++++++++++++++++++++++++

แหลงขอมูลเพิ่มเติม เว็บไซตกรมประมง www.fisheries.go.th เว็บไซตบริษัท สหวิริยา จำกัด www.ssi_steel.com เว็บไซตสถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย www.isit.or.th


72

°“√§â“§“°√√å–∂∫“ßÕπÀ√‰∑◊Õ¬‰¡âº≈∫π¥‘π¥’ ∫Õπ‰´„π

++++++++++++++

°¡≈ ÿ°‘π Àπ—ß ◊Õæ‘¡æ凥Ֆ‡π™—Ëπ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

73

ถึ ง วั น นี้ โลกร อ นถื อ เป น หนึ่ ง ใน เรื่องที่รับรูกันอยางกวางขวางในสังคมไทย สวนจะมากนอยลึกซึ้งระดับ ไหนก็ขึ้นกับแตละบุคคลแตกตางกันไป แตจะมีสักกี่คนที่รับรูวาปจจุบัน โลกเรามี ก ารทำการค า กั บ วิ ก ฤติ โ ลกร อ นนี้ ด ว ย ภายใต ชื่ อ “การค า คารบอน” และคงนอยคนนักที่จะรูวาการคานี้ทำเงินใหนักธุรกิจไทยไป แลวมากถึง 600 ลานบาท และมีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นอยางนาจับตา มอง “กอนสิ้นป 2550 มีโครงการ(คาคารบอน) ที่ไดรับการอนุมัติรวม 17 โครงการ หาเดือนแรกของปนี้อนุมัติเพิ่มอีก13 โครงการ คาดวาถึงสิ้นปนี้ นาจะมีโครงการที่ไดผานการอนุมัติไมนอยกวา 100 โครงการ “ในจำนวน 30 โครงการที่ อ นุ มั ติ ไ ปแล ว คิ ด เป น มู ล ค า การค า ประมาณ 600 ลานบาท” ดร. ศิริธัญญ ไพโรจนบริบูรณ ผูอำนวยการ องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (อบก.) ซึ่งเปนหนวยงานหลักรับ ผิดชอบโดยตรงดานการคาคารบอนของไทยเปดเผย อาณัติ ประภาสวัสดิ์ กรรมการผูจัดการบริษัท Advance Energy Plus จำกัด หนึ่งในเอกชนที่ดำเนินธุรกิจนี้ อธิบายปรากฏการณการ เติบโตนี้ดวยการหยิบยกชื่อเพลงสากลยอดฮิตอยาง Wind of Change (สายลมแหงการเปลี่ยนแปลง) มาเปรียบเปรยวา นี่คือยุคสมัยของ Wind


74

of (Climate) Change (สายลมแหงการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวของกับเรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) “ในระดั บ โลก ธุ ร กิ จ ค า คาร บ อนมี ก ารเติ บ โตที่ ค อ นข า งน า กลั ว เฉพาะเม็ดเงินที่มีการลงทุนในป 2550 ที่ผานมามากถึง 70,000 ลาน เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 2.1 ลานลานบาท) เพิ่มจากป 2549 ถึง 43% ไมรวมกับการลงทุนผานกองทุนคารบอนอีกราว 11,800 ลานเหรียญ สหรัฐ (ราว 0.35 ลานลานบาท)” อาณัติอางอิงรายงานลาสุดของ Point Carbon ซึ่งประมาณการตัวเลขจากขอมูลการสำรวจความเห็นนักธุรกิจ ทั่วโลก ดวยเม็ดเงินมหาศาลเชนนี้พรอมแนวโนมที่ดูจะสดใสเอามากๆ จึง ไมนาแปลกใจที่นักธุรกิจจำนวนมากจากทั่วโลกตัดสินใจกระโจนเขาสู ธุรกิจคาคารบอนอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในชวงสองสามปที่ผานมา เช น เดี ย วกั บ ในเมื อ งไทย มี ทั้ ง บริ ษั ท เป ด ใหม บริ ษั ท ข า มชาติ ม าเป ด สำนักงานสาขาใหบริการเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจคาคารบอนเพิ่มขึ้นอยางมี นัยสำคัญ ไมรวมกับการตื่นตัวอยางเห็นไดชัดในหมูนักอุตสาหกรรมนอย ใหญที่ลุกขึ้นมาศึกษาลูทางเขาสูธุรกิจนี้ ‡ªî¥‚≈° ∏ÿ√°‘®§â“§“√å∫Õπ ++++++++++++++

การคาคารบอน เรียกไดวาเปนธุรกิจใหมลาสุดที่เกิดขึ้นทามกลางกระแส การตื่นตัวเรื่องวิกฤติโลกรอน เปนผลพวงที่เกิดจากการเจรจาของนานา ประเทศที่เปนสมาชิกองคการสหประชาชาติและใหการรับรองอนุสัญญา วาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ที่ตอเนื่องมาตั้งแตป 2535 จนนำมาสูการรางและรับรองพิธีสารเกียวโตในป 2540 เปาหมายสำคัญของอนุสัญญา คือการหาทางแกปญหาวิกฤติโลก ร อ น ด ว ยการหาทางที่ จ ะชะลอและหยุ ด การปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก ตัวการสำคัญที่ทำใหเกิดภาวะโลกรอนอันสงผลอยางมหาศาลตอทุก ชีวิตบนโลกในระดับที่แตกตางกันอยางตอเนื่องและชัดเจนในทศวรรษที่


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

75

ผานมา กำลังตอเนื่องอยางนาเปนหวงยิ่ง เนื้อหาสำคัญของพิธีสารเกียวโตคือ ประเทศสมาชิกตกลงรวมกัน วาจะลดการปลอยกาซเรือนกระจกสูบรรยากาศโลกลงอยางมีนัยสำคัญ โดยกำหนดให ป ระเทศพั ฒ นาแล ว ซึ่ ง ปล อ ยก า ซเรื อ นกระจกมานาน (ประเทศ Annex I)ตองมีพันธะกรณีที่จะลดการปลอยลงโดยเฉลี่ย 5% จากระดับที่เคยปลอยในป 2533 ภายในชวงป 2551-2555 สวนประเทศ กำลังพัฒนา (ประเทศ Non-Annex I)นั้นใหเปนการลดโดยสมัครใจ เพื่ อ ช ว ยให เ ป า หมายการลดการปล อ ยก า ซฯ นี้ เ ป น จริ ง ในทาง ปฏิบัติ จึงมีการสรางกลไกขึ้นมา 3 กลไกคือ กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism ; CDM) กลไกการซื้อขายปริมาณ การปลอยกาซเรือนกระจก (Emission Trading ; ET) และกลไกการ ดำเนินการรวม (Joint Implementation; JI) และทั้งสามกลไกที่กำหนดขึ้นมานี้ก็คือที่มาของ ธุรกิจคาคารบอน ในปจจุบัน การคาคารบอน ความจริงคือการคาคารบอนเครดิตซึ่งเปนสิ่งที่ถูก คิดคนขึ้นมาจากการเจรจาภายใตอนุสัญญาฯ และพิธีสารเกียวโตดัง กลาว คารบอนเครดิต ความจริงคือมาตรวัดสากลสำหรับการกอปญหา โลกร อ นของแต ล ะประเทศ คำว า “คาร บ อน” เรี ย กชื่ อ ตามก า ซ คาร บ อนไดออกไซด ซึ่ ง เป น ก า ซเรื อ นกระจกตั ว สำคั ญ ที่ สุ ด นั ก วิ ท ยาศาสตร ทั่ ว โลกจึ ง เห็ น ชอบให ค าร บ อนเป น เสมื อ นตั ว แทนก า ซ ตัวการกอโลกรอนทั้งนี้เพื่อความงายแกการเขาใจรวมกัน สวนกาซเรือน กระจกตั ว อื่ น ก็ มี ก ารคำนวณเที ย บให ม าอยู ใ นหน ว ยของก า ซ คารบอนไดออกไซดใหหมด “พูดงายๆ คารบอนเครดิตก็คือปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดลง มี หนวยเปนตันเทียบเทาคารบอนไดออกไซด” ดร. ศิริธัญญอธิบาย การค า คาร บ อนเครดิ ต เป น กลไกที่ ส ร า งขึ้ น เพื่ อ ช ว ยให ป ระเทศ พัฒนาแลวและมีพันธะสัญญาตองลดกาซเรือนกระจกตามพิธีสารเกียว


76

โต แตไมสามารถลดไดภายในประเทศของตน ใหมีทางเลือกดวยการ แสวงหาคารบอนเครดิตดวยการซื้อจากประเทศอื่นที่ลดไดเกินพันธะ สัญญา หรือไปดำเนินโครงการลดกาซเรือนกระจกในประเทศอื่นซึ่งมี ตนทุนถูกกวาการดำเนินการในประเทศตน ทั้งนี้เพื่อใหสามารถบรรลุเปา หมายการลดตามพิธีสารฯ ความตางของกลไกลทั้งสามที่ควรทำความเขาใจคือ JI และ ET เปนการดำเนินการระหวางประเทศพัฒนาแลว (Annex I) ดวยกันเทานั้น สว น CDM เปน การดำเนิ น การระหว า งประเทศ Annex I กั บ NonAnnex I (ประเทศกำลังพัฒนา) ความตางอีกประการเปนเรื่องลักษณะ การดำเนินการคือ ET เปนการซื้อขายคารบอนเครดิต สวน JI และ CDM เปนการดำเนินการรวมในโครงการลดกาซเรือนกระจกดวยเทคโนโลยี อาณัติ ประมาณการวา ปริมาณการคาคารบอนผาน CDM กับ ET ปจจุบันคิดเปนสัดสวน 12:28 หรือ 1:2.3 “ในทางปฏิบัติ การลดกาซเรือนกระจกในประเทศพัฒนาแลวทำ ยากกวาเพราะจะกระทบตอการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศนั้น ๆ อยางมี นัยสำคัญหากลดมากไป คือทำไดแตมีตนทุนสูงกวา เมื่อเทียบการลดใน ประเทศกำลั ง พั ฒ นา” ดร. ศิ ริ ธั ญ ญ อ ธิ บ ายเหตุ ผ ลที่ ท ำให ป ระเทศ Annex I สนใจที่จะซื้อคารบอนเครดิตจากประเทศ Non-Annex I ซึ่งเปน เหตุผลที่อธิบายไดวา ทำไมการคาคารบอนจึงเบงบาน โดยทั่วไปการคาคารบอน เปนการดำเนินการระหวางผูขายซึ่งมี โครงการที่สามารถลดกาซเรือนกระจกในประเทศกำลังพัฒนา กับผูซื้อ ในประเทศพั ฒ นาแล ว ซึ่ ง มี เ ทคโนโลยี ใ นการลดการปล อ ยก า ซเรื อ น กระจก ซึ่ ง แบ ง เป น 3 กลุ ม คื อ รั ฐ บาล กองทุ น ต า งๆ เช น กองทุ น ธนาคารโลก และผูซี้อที่เปนเอกชน (ทั้งที่เปนผูซื้อจริง และนายหนาที่ซื้อ ไปขายตอเพื่อเก็งกำไร) “ผูขายตองทำการเสนอโครงการตามกระบวนการ เริ่มดวยการยื่น เอกสารประกอบโครงการที่เรียกวา Project Design Document (PDD) เพื่ อ ขอการรั บ รอง (letter of approval) จากหน ว ยงานรั บ รองของ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

77

ประเทศ กรณี ข องไทยก็ คื อ อบก. จากนั้ น ก็ ยื่ น ขอการรั บ รองเครดิ ต (Certificate) จากคณะกรรมการด า นนี้ ข องสหประชาชาติ (UN Executive Board) ที่ตั้งที่กรุงบอนน จากนั้นจึงจะสามารถนำเครดิตที่ได ไปขาย” ดร. ศิริธัญญอธิบาย กระบวนการขอคารบอนเครดิตไมงายเสียทีเดียว เอกสาร PDD ระบุวาตองประกอบดวยรายละเอียดโครงการทั้งหมด ที่จะบอกวา โครงการมีความเปนไปไดที่จะลดกาซเรือนกระจกไดใน ปริมาณเทาไร ภายในเวลาเทาไร อยางไร เพื่อจะไดคารบอนเครดิต เทาไร ตลอดจนผลกระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอมเปนอยางไร หลังจากไดรับ Certificate จะมีการการติดตามผลการดำเนินงาน โดยทีมผูเชี่ยวชาญจาก UN Executive Board เปนระยะเวลา 1 ป เพื่อ ยืนยันวาโครงการสามารถลดกาซฯ ไดตามที่เสนอไปจริง หากทำไมได ตามที่ขอ ปริมาณคารบอนเครดิตที่ผานการรับรองของโครงการอาจถูก ลดลงไดใหเหลือตามความเปนจริง จากนั้นการติดตามผลตั้งแตปที่ 2 เปนตนไป จะเปนหนาที่ของหนวยงานรับรองระดับประเทศ เพื่อทำการ รายงานไปที่ UN Executive Board ทุกป ในระดั บ โลก โครงการภายใต ก ลไก CDM แบ ง ออกเป น สอง ประเภทคือโครงการดานพลังงานและโครงการประเภท sink project ซึ่ง รวมถึงโครงการลดกาซเรือนกระจกดวยปาไม สำหรับประเทศไทยแบง โครงการ CDM ออกเปน 3 ประเภทคือโครงการดานปาไม โครงการ ทั่วไปซึ่งรวมถึงโครงการดานพลังงาน และโครงการขนาดเล็ก “เทาที่ทำกันอยู ทั้งที่อนุมัติไปแลวและที่กำลังเสนอ ทั้งหมดเปน โครงการดานพลังงาน ทั้งไบโอกาซ พลังงานชีวมวลและอื่นๆ โครงการ CDM ปาไมยังอยูระหวางการศึกษา ยังไมลงตัวเพราะมีความซับซอน มากกวา กติกาก็ยงั ไมชัด” ดร. ศิริธัญญกลาว นอกเหนือจากผูขายซึ่งพัฒนาโครงการ ตัวละครสำคัญอีกตัวใน ธุรกิจคาคารบอนคือบริษัทที่ปรึกษาซึ่งใหบริการชวยพัฒนาโครงการจน สามารถไดรับการรับรองจากทั้งในประเทศและจากสหประชาชาติคือได


78

รับคารบอนเครดิต ตลอดจนประสานงานหาผูซื้อหลากหลายเพื่อใหได ราคาที่ดีที่สุด “ปจจุบันราคาขายอยูระหวาง 7-14 ยูโรตอตันคารบอน คิดเฉลี่ยก็ อยูที่ 10 ยูโร (500 บาท) ตอตันคารบอน นี่เปนราคาปฐมภูมิที่ยังไมมีการ เก็งกำไรนะ ถาเปนราคาทุติยภูมิที่ผานการเก็งกำไรก็อาจขึ้นไปถึง 30 เหรียญสหรัฐ (900 บาท)” ศิริธัญญเปดเผย “คาดกันวาราคาเฉลี่ยจะเพิ่มเปน 24 ยูโร (1,200 บาท) ตอตัน คารบอนในป 2553 และสูงถึง 35 ยูโร (1,750บาท) ตอตันคารบอนในป 2563” อาณัติ อางอิงผลสำรวจ Point Carbon °“√§â“§“√å∫Õπ‰∑¬ «—ππ’È√ÿàß æ√ÿàßπ’ÈÕ“®√à«ß +++++++++++++++++++++++

ในจำนวน 30 โครงการ CDM ที่ ผ า นการอนุ มั ติ ข อง อบก. ป จ จุ บั น สามารถลดกาซเรือนกระจกไดรวม 2 ลานตันคารบอน คิดเปนเงินราว 600 ลานบาท ภายในสิ้นปนี้หากมีโครงการที่เสนอมาทั้ง 100 โครงการ ไดรับคารบอนเครดิต เม็ดเงินที่หมุนเวียนในธุรกิจคาคารบอนไทยก็นาจะ ไมต่ำกวา 2,000 ลานบาท หากคำนวณคราวๆ “แนวโน ม ธุ ร กิ จ ตอนนี้ ดี ขึ้ น ตามลำดั บ ที่ ผ า นมาเรามี ป ญ หาว า คารบอนเครดิตเปนเหมือนสินคาตัวใหมสำหรับนักธุรกิจ เคาไมมีความรู ไมเขาใจมากพอที่จะเขามาสูธุรกิจนี้ เราก็พยายามใหความรูความเขาใจ จนเขามั่นใจมากขึ้นตามลำดับ อีกปญหาคือบานเรายังมีบริษัทที่ปรึกษา ไมมากพอ ตองพึ่งการนำเขาบริษัทตางชาติทำใหตนทุนสูงตาม” ศิริ ธัญญกลาว “ป ญ หาหลั ก ที่ ผ า นมาคื อ การไม มี ห น ว ยงานรองรั บ ชั ด เจนที่ จ ะ ใหการรับรองระดับประเทศ และการไมมีกติกา ระเบียบในการขอการ รับรองชัดเจนในบานเรา แตตอนนี้เราก็มี อบก. และระเบียบก็ชัดเจน มากขึ้นแลว สถานการณก็ดีขึ้นมาก” อาณัติ แหง Advance Energy Plus ซึ่งทำโครงการ CDM กวา 25 โครงการปจจุบันกลาว


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

79

“ในแงตนทุนการพัฒนาโครงการ จากเดิมที่เคยสูงถึงโครงการละ กวา 2 ลานบาทดวยความใหมของธุรกิจซึ่งตองการความเชี่ยวชาญ เฉพาะด า น ตอนนี้ ก็ ล ดลงแล ว บางโครงการ 5-6 แสนก็ ท ำได แ ล ว ” อาณัติกลาว ดร. ศิริธัญญ ประมาณการวาที่ผานมาตนทุนการพัฒนาโครงการ จนไดรับคารบอนเครดิตพรอมขายรวมทั้งสิ้นตกราว 6-8 ลานบาทตอ โครงการ เปนเหตุผลสำคัญที่ทำใหนักลงทุนไทยยังไมกลาเสี่ยงที่จะเขา มาในธุรกิจนี้อยางเต็มตัว “การขาดความรูความเขาใจที่เพียงพอทำใหพวกเขาไมกลาเสี่ยง เพราะกลัววาหากลงทุนไปแลวหากไมไดการรับรองคารบอนเครดิตก็จะ สูญเงินไปฟรีๆ กวาจะตกลงเซ็นสัญญาพัฒนาโครงการกับเราได บางที ใชเวลาเปนปๆ โดยที่เราตองออกเงินเองหมดระหวางที่เจรจา เขาไปให ความรูความเขาใจกับเจาของโครงการ” แมกนัส สเตาดเต กรรมการ ผูจัดการบริษัท เอ็นวีมา (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งปจจุบันทำโครงการ CDM รวม 16 โครงการในเมืองไทย กลาว “การทำธุรกิจที่ปรึกษาโครงการ CDM ในเมืองไทยเราไมสามารถ ทำแครอใหเจาของโครงการเขามาขอรับบริการเรา เราตองเดินไปหาเขา แล ว ให ค วามรู ค วามเข า ใจแก เ ขา แสดงให เ ขาเห็ น ถึ ง ศั ก ยภาพที่ จ ะ พัฒนาโครงการ กระนั้นแมเขาจะเห็นดวยและอยากทำก็ไมพรอมที่จะ ตัดสินใจทำอยูดี สวนใหญเราตองยืดหยุนหาทางออกดวยการรวมเดิน ดวยกัน แทนที่เขาจะจางเราใหคำปรึกษาจนไดเครดิตแลวเอาไปขาย ก็ เปนการรวมกันพัฒนาโครงการจนไดเครดิตขายแลวคอยแบงรายไดกัน ในสัดสวนที่ตกลงกันแทน” อาณัติอธิบาย สเตาดเต เสนอใหมีการใหความรูความเขาใจแกภาคเอกชนไทย อยางเปนระบบ โดยเปนความรวมมือระหวางรัฐและเอกชน “ที่ผานมาเอกชนยังไมมีความรูความเขาใจ เราตองไปบอกเขาตั้ง แต CDM คืออะไรจนตอนนี้เขาเขาใจกันมากแลว การใหความรูความ เข า ใจก็ ต อ งยกระดั บ เป น เรื่ อ งทางเลื อ กเทคโนโลยี แ ละเรื่ อ งการเงิ น ”


80

สเตาดเตกลาว นอกจากป ญ หาระดั บ ประเทศดั ง กล า ว อี ก ป จ จั ย ที่ ท ำให ธุ ร กิ จ คารบอนเครดิตในประเทศไทยเชนเดียวกับทั่วโลกยังคงเดินไปไดไมเร็ว มากนักคือ การไมนิ่งของกติการะหวางประเทศที่เกี่ยวของกับการขอ คารบอนเครดิต “มีกฎออกใหมทุกสัปดาห บางอันที่ออกไปแลวก็มีแตจะบังคับเขม มากขึ้นเรื่อยๆ” อาณัติอธิบายสถานการณที่มีผลตอการตัดสินใจของ นักลงทุนเจาของโครงการฯ เหล า นี้ คื อ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น และเป น อยู ซึ่ ง อาจเรี ย กได ว า เป น ความ ท า ทายและธรรมชาติ ข องสิ น ค า โลกร อ นตั ว นี้ แต แ ม จ ะเต็ ม ไปด ว ย อุปสรรคปญหาแตหากพิจารณาจากเม็ดเงินและอัตราการเติบโตของ ธุรกิจนี้ เรียกไดวาธุรกิจคาคารบอนกำลังอยูในชวงรุง คำถามสำคัญคือ แลวจะรุงไดตลอดไปไหม หรือรุงไดนานแคไหน หากพิจารณาจากปจจัยอุปสรรคขางตน เรื่องการขาดหนวยงาน หลักและระเบียบดูเหมือนจะถูกแกไขไปแลว ขณะที่สถานการณการ ขาดแคลนบริษัทที่ปรึกษาก็เริ่มดี การทำความเขาใจ ใหความรูกับเอกชน เจาของโครงการก็ดูจะอยูในวิสัยที่นาจะทำไดไมยากนัก และกติการะดับ โลกก็เริ่มนิ่งมากขึ้น ก็ไมนามีขอกังขาอะไรอีกตออนาคตของธุรกิจคา คารบอนในเมืองไทย ตอนนี้ขนาดธุรกิจอยูที่ 600 ลานบาท ถึงสิ้นปก็นา เพิ่มเปน 2,000 ลานบาท แนวโนมนาจะสดใสสุด ๆ ในความเปนจริง อาจไมเปนอยางนั้น หลังปนี้ไปแลว อาจเริ่มเปน ขาลงของธุรกิจคาคารบอนในเมืองไทย หากพิจารณาจากปจจัยพื้นฐาน ของประเทศไทย “ปญหาคือเรื่องขนาดโครงการ ตอนนี้เราทำโครงการที่ทำไดงาย ๆ มี ข นาดใหญ มี ค วามเป น ไปได สู ง ไปเกื อ บหมดแล ว ที่ เ หลื อ จะเป น โครงการที่มีขนาดเล็กเสียสวนใหญ ก็จะมีปญหาเรื่องความคุมในการ ลงทุน หรืออัตราการคืนทุน” อาณัติเปดเผย “โรงงานแปงมันเรามี 83 โรง ที่ขนาดใหญก็ 10 กวาโรงก็ทำ CDM


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

81

ไปหมดแลว โรงงานปาลม 30 กวาโรงก็เริ่มทำแลว เหลือแตโรงเล็กๆ ศักยภาพที่เหลือเปนโครงการขนาดกลางและเล็กทั้งสิ้น โรงไฟฟาชีวมวล ก็ ต อ งไม เ กิ น 10 เมกะวั ต ต อ ยู แ ล ว ด ว ยเหตุ ผ ลเรื่ อ งความมั่ น คงของ วัตถุดิบที่จะสงเขาไป” อาณัติอธิบายใหเห็นภาพ สเตาดเต ใหความเห็นวาการทำโครงการ CDM ในยุคตอไปในเมือง ไทยนาจะไมใชเพื่อเปาหมายที่จะขายเครดิตทำเงินเปนหลัก หากแตมอง การขายเครดิตเปนของแถมหรือรายไดเสริมมากกวา เปาหมายที่แทจริง นาจะอยูที่การทำโครงการเพื่อลดตนทุนการผลิต โดยเฉพาะในยุคที่ราคา น้ำมันพุงสูงในปจจุบัน “คือถาเขาทำเขาก็จะสามารถลดตนทุนการผลิต โดยโครงการก็ สามารถยื่ น ขอคาร บ อนเครดิ ต ไปขาย เป น รายได เ สริ ม เข า มา ทำให โครงการที่ปกติไมคุมที่จะลงทุนพอมีรายไดเสริมเขามาแลวสามารถคุม ทุนได” กรรมการผูจัดการเอ็นวีมา (ประเทศไทย) กลาว CDM ‡·°â‚≈°√âÕπ À√◊Õ·°âªí≠À“„Àâ Anex I ++++++++++++++++++++++++

แมโดยหลักการแลว CDM ถูกออกแบบใหเปนกลไกที่จะชวยใหเกิดการ ลดการปลอยกาซเรือนกระจก ซึ่งนาจะเปนผลดีตอภาพรวมสภาวะการ เปลี่ยนแปลงบรรยาการโลกหรือวิกฤติโลกรอนในปจจุบัน และชะลอ ความรุนแรงของปญหาในอนาคต ซี่งไมนาจะมีคำถามถึงการควรมีหรือ ไมควรมีของกลไกนี้ แตในทางปฏิบัติ CDM กลับถูกตั้งคำถามมาตลอดตั้งแตเริ่ม “เราไมไดตั้งคำถามตอตัว CDM แตตั้งคำถามถึงการใช CDM วา เปนการใชที่ไมเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหา ขณะที่ปญหาวิกฤติ มาก โลกตองการลดการปลอยกาซเรือนกระจกอยางเรงดวน ลำพังแค เปาหมายตามพิธีสารเกียวโตก็ถือวานอยมากแทบไมมีผลที่จะหยุดยั้ง วิกฤติโลกรอนในระดับที่ควร เหลานี้มีขอมูลทางวิทยาศาสตรรองรับหมด ถามวาเราสรางกลไก CDM ขึ้นมาเพื่อเสริมสำหรับประเทศที่มี


82

พันธะกรณีแลวไมสามารถลดไดทนั ตามกำหนดใชไหม นัน่ คือคุณลดทีบ่ า น คุณจนเต็มที่แลวมันยังไมถึงเปาที่รับปากจะลดก็คอยไปซื้อเครดิตจาก บานอื่น สิ่งที่เกิดขึ้นตอนนี้คือ ประเทศเหลานั้นไมยอมลดที่บานตัวเอง และหวังจะไปซื้อเครดิตจากบานอื่นเปนหลัก มันกลับหัวกลับหางกัน หมดใชไหม” วนัน เพิ่มพิบูลย ผูประสานงาน Climate Action Network เครือขายองคกรพัฒนาเอกชนดานโลกรอน กลาว “หากเปนเชนนี้ สิ่งที่เกิดขึ้นคือประเทศอุตสาหกรรมที่ปลอยกาซ เรือนกระจกก็จะปลอยตอไป แลวไปบังคับทางออมใหประเทศกำลัง พัฒนาลดแทน ทั้งที่ความจริงการปลอยในประเทศพัฒนาแลวตองลดลง พรอมๆ ไปกับความพยายามไมเพิ่มการปลอยในประเทศกำลังพัฒนา” วนันอธิบาย อารี ย วั ฒ นา ทุ ม มาเกิ ด ผู อ ำนวยการฝ า ยวิ เ คราะห ม าตรการ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งเปน เจาหนาที่อาวุโสในทีมเจรจาไทยภายใตอนุสัญญาฯ และพิธีสารเกียวโต กลาวยอมรับวาการกำเนิดและการใชกลไก CDM ในทางปฏิบัติแลวเปน เรื่องการเมืองระหวางประเทศผานการเจรจาวาดวยเรื่องโลกรอน “แม CDM โดยเนื้อหาจะเปนกลไกดานการคา เกี่ยวของโดยตรงกับ การทำธุรกิจ เศรษฐกิจ เพื่อแกปญหาสิ่งแวดลอม แตการนำ CDM ไปใช นั้นเปนเรื่องการเมืองเสียสวนใหญ” อารีย กลาว “หากอยากเขาใจละเอียดตองกลับไปดูการเจรจาแตละรอบที่ผาน มา ตั้งแตการเสนอความคิด การออกแบบ และการตกลงแตละครั้ง ระเบียบแตละอันที่เกี่ยวของที่ผานการตกลง จะเห็นไดชัดวานี่คือการตอ รอง (โดยมีโลกเปนตัวประกัน) หากพลิกกลับไปดูประวัติศาสตรการตอ รองเราจะเห็ น ชั ด ว า กระทั่ ง ในสภาวะวิ ก ฤติ เ ช น นี้ ผลประโยชน ท าง เศรษฐกิจยังคงเปนเรื่องใหญที่ทำใหประเทศใหญอยางอเมริกาไมยอม ลงนามพิธีสารเกียวโต เวทีเจรจาที่ผานมาจึงเปนการตอรองของประเทศ ใหญเปนหลัก สวนประเทศกำลังพัฒนาก็รวมกันในนามกลุมจี 77 และ จีน พยายามผลักดันก็ทำไดระดับหนึ่งแคนี้ อยาง CDM นี่ก็เปนผลพวง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

83

การประนีประนอมหลังการตอรองยาวนาน” วนันซึ่งติดตามการเจรจามา ตอเนื่องนับสิบปกลาว “แตพอถึงขั้นตอนการนำ CDM ไปใชจริง ก็เกิดสภาพการบิดเบือน หลั ก การ CDM เฉย แทนที่ จ ะใช เ ป น มาตรการเสริ ม กลั บ กลายเป น มาตรการหลัก กลายเปนขออางที่จะไมลดกาซเรือนกระจกในบานตัวเอง อยางจริงจังดังพันธะสัญญา” วนันกลาว บัณฑูร เศรษฐศิโรฒม หัวหนาทีมวิจัยชุดโลกรอน สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนการตั้งคำถามของวนัน ที่วาเรากำลัง ใชกลไก CDM เพื่อชวยแกปญหาโลกรอนหรือแคเพียงเพื่อชวยประเทศ พัฒนาแลวบรรลุการทำตามพันธะกรณีที่ใหไวภายใตพิธีสารเกียวโต “หากเราตองการใช CDM เพื่อชวยลดวิกฤติโลกรอน เราก็ควรที่จะ ปลอยใหมีการทำโครงการฯ อยางกวางขวางโดยไมตองมีระเบียบอะไร มากมาย จะได มี โ ครงการเยอะๆ ลดการปล อ ยก า ซเยอะๆ คิ ด ง า ยๆ หากเรามี 1,000 โครงการเทากับที่มีทั่วโลกตอนนี้ แตละโครงการลดได แคโครงการละ 10,000 ตันคารบอน เราก็จะสามารถลดการปลอยกาซ เรือนกระจกไดถึง 10 ลานตันคารบอน “ถึงแมเราอยากจะใช CDM ชวยใหประเทศ Anex I บรรลุพันธะ กรณี ก็ยังดูจะเปนเรื่องที่เปนไปไดยาก จากขอมูลลาสุด มีแนวโนมวา กวาครึ่งหนึ่งของประเทศเหลานั้น ไมสามารถลดกาซฯ ไดตามที่ตกลงไว” บัณฑูรยกลาว Õ’°¥â“π¢Õ߇À√’¬≠ CDM ++++++++++++++

นอกจากคำถามใหญถึงเปาหมายการนำ CDM ไปใชในความเปนจริง วนันกลาววายังมีอีกสามคำถามที่สำคัญคือ การนำไปสูการพัฒนาที่ยั่ง ยืนของโครงการ การมีสวนรวมของชุมชน และการใชเทคโนโลยีภายใต CDM “หลักการที่ตกลงกันไวของกลไก CDM ระบุชัดเจนวาโครงการตอง


84

นำไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนดวยจึงจะไดคารบอนเครดิต ถามวาในบรรดา โครงการที่มีอยูของไทย มีความยั่งยืนตรงไหน โครงการสวนใหญเปน เพียงสวนหนึ่งของโรงงานหรือกระบวนการผลิตเทานั้น หลายโครงการ อางวาทำใหเกิดการจางงาน ถามวาจางใคร คนในพื้นที่หรือผูเชี่ยวชาญ นำเขา หรืออยางโครงการ CDM ปาลมน้ำมันที่ไปใชปาลมจากพื้นที่รุก ปามหาศาล อันนี้นำไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนไหม” “ในประเด็นการมีสวนรวมของชุมชนและคนในชุมชน ซึ่งก็เปนอีก หนึ่งเงื่อนไขการไดรับเครดิตวาตองระบุวาชุมชนมีความเห็นและทาที อยางไรตอโครงการและเจาของโครงการตอบสนองตอความเห็นเหลานั้น อยางไร เทาที่เรามีขอมูล แทบไมมีการพูดถึงเรื่องนี้เลยในการอนุมัติ ระดับตางๆ” “สวนเรื่องเทคโนโลยี มีแนวโนมสูงวาจะมีการผลักดันใหยอมรับ เทคโนโลยีนิวเคลียรและเทคโนโลยีจับคารบอนไปฝงไวใตทะเลใหอยู ภายใต ก ลไก CDM ทั้ ง ที่ เ ทคโนโลยี เ หล า นี้ มี ค ำถามมากมายถึ ง ผล กระทบดานอื่นๆ แมในทางวิทยาศาสตรจะสามารถชวยลดการปลอย คารบอนไดจริง คำถามคือเรากำลังจะแกปญหาหนึ่งดวยการสรางอีก ปญหาหรือ” วนันใหความเห็น ด า นบั ณ ฑู ร ย แ สดงความเป น ห ว งว า โครงการ CDM อาจสร า ง ปญหาใหกับประเทศไทยในอนาคตภายใตขอตกลงระหวางประเทศที่ ไทยกำลังจะมีพันธะกรณีดวย “อันแรกเปนขอตกลงที่จะตกลงกันปลายปหนา ซึ่งมีเนื้อหาวาหลัง พันธะสัญญาภายใตพิธีสารเกียวโตแลว CDM จะเปนอยางไร แนวโนม คือจะยังมีอยู แตที่นากลัวคือการผลักดันใหประเทศกำลังพัฒนาตองมี พันธะกรณีที่จะลดกาซเรือนกระจกดวย หรือตอใหไมบังคับ ดวยทิศ ทางการเติบโตของไทยตอนนี้ก็อาจปลอยกาซเรือนกระจกมากพอที่จะ เขาขายตองลดดวย ถึงตอนนี้เราไมเหลือโครงการ CDM ที่ทำไดงาย ๆ ละ เพราะจะเหลือแตที่ยากๆ หรือแพงๆ เพราะสวนใหญก็จะเหลือแต โครงการขนาดเล็กๆ เทานั้น แลวเราจะทำอยางไร”


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

85

“อีกแนวโนมคือ การพยายามใหมีการตกลงลดกาซฯ รายภาคการ ผลิต (sectural approach) อันนี้ก็อาจทำใหไทยตองมีพันธะกรณีที่ตอง ลดดวย เชนหากเคาจะใหภาคขนสงหรือพลังงานตองลดลงเทานั้นเทานี้ แลวเราบังเอิญปลอยในภาคเหลานี้สูงเขาเกณฑที่ตองลด นั่นก็จะเปน ปญหาบานเราในอนาคต” บัณฑูรยกลาว ขอเปนหวงอีกประการเกี่ยวของกับขอตกลงทั้งพหุภาคีและทวิภาคี อยางขอตกลงการคาเสรีระหวางไทยกับญี่ปุน หรือไทย (ผานอาเซียน) กับยุโรป ซึ่งมักจะมีขอกำหนดหามไมใหประเทศคูคาดำเนินการกีดกัน การคาระหวางกัน หรือสรางกำแพงการคาขึ้น “ปญหาคือหากคูคาเรามองวา CDM เปนการสรางกำแพงการคา ละ สมมุตบริษัทญี่ปุนจะมาลงทุนหรือขยายการลงทุนในเมืองไทย เสนอ ขอคารบอนเครดิตแลวไมผาน ทำใหบริษัทเขาสรางไมได เขาสามารถ อางวาเรากีดกันการคาไดนะ ก็จะเปนปญหาตามมาอีก “เราอาจจำเป น ต อ งมอง CDM ให ร อบด า นมากกว า แค ก ารขอ เครดิตไปขาย” บัณฑูรยตั้งขอสังเกต ‚ª√¥Õà“π©≈“°„Àâ≈–‡Õ’¬¥°àÕπ°‘𬓠CDM ++++++++++++++++++++++

กลไกการคาคารบอนอยาง CDM อาจไมตางกับยาแผนปจจุบันที่แมจะ มีประโยชน แตก็อาจเปนอันตรายถึงชีวิตหากใชยาเกินขนาด ใชผิด ประเภท (เอายาทาไปกิน) หรือกินโดยไมดูคำเตือน ยาจะออกฤทธิ์รักษา โรคเราไดก็ตอเมื่อเราใชอยางถูกตองถูกวิธีเทานั้น ดังนั้นการอานฉลาก ขางบรรจุภัณฑยาเปนสิ่งจำเปนอยางยิ่ง แตกับการคาคารบอนอาจตางตรงกันขาม เพราะเปนยาใหมที่ยัง ไมมีฉลากเขียนคำแนะนำในการบริโภคไวอยางละเอียดชัดเจน จำเปน เหลือเกินที่ผูบริโภคอยางประเทศไทยตองใชความระมัดระวังเปนพิเศษ เอาเอง พูดงาย ๆ ตองเขียนฉลากเอาเอง วาแตฉลากขางขวดยา CDM นั้นควรมีเนื้อหาอยางไรบางละ


86

“โครงการตองมีการมีสวนรวมของชุมชน และนำไปสูการพัฒนา อยางยั่งยืน ในทางปฏิบัติ ไมวาจะอยางไร เราไมควรใหโครงการ CDM สรางผลกระทบตอชุมชน สังคมและสิ่งแวดลอมบานเรา “เราต อ งยื น ยั น จุ ด ยื น ประเทศว า เราสนั บ สนุ น ให ก ลไกการค า คาร บ อนต อ งเป น เพี ย งมาตรการเสริ ม เท า นั้ น ไม ใ ช ม าตรการหลั ก ที่ ประเทศ Annex I จะใชเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกตามพันธะ สัญญาพิธีสารเกียวโต” วนันเสนอ บัณฑูรยเสนอวา การคาคารบอนควรตองนำไปสูการมีมาตรการลด ความรุนแรงและการตั้งรับตอผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ (Mitigation & Adaptation) ดวยการนำเงินสวนหนึ่งจากการคา คารบอนมาจัดตั้งเปนกองทุนเพื่อตั้งรับและบรรเทาความเดือดรอนของ คนไทยจากหายนะภัยโลกรอนในมิติตาง ๆ “ตาม พ.ร.บ.อบก. ที่ มี อ ยู เ ราไม ส ามารถเก็ บ เงิ น มาทำกองทุ น ลักษณะนี้ได กฎหมายมันไมเปดใหทำได” ศิริธัญญแยง “นั่นขึ้นกับวาเรามีนโยบายจะทำไหม หากเราจะทำ ไมตองไปพึ่ง พ.ร.บ.นี้ก็ได เรามีเครื่องมือทางการเงินเยอะแยะที่จะหยิบมาใชเพื่อการ นี้ได อยางระเบียบกระทรวงการคลัง หรือการประกาศภายใตกฎหมาย อื่น” บัณฑูรยใหความเห็น ‡μ√’¬¡„Àâæ√âÕ¡ ”À√—∫ CDM ‡«Õ√å™—Ëπ 2 ++++++++++++++++++++++

นอกเหนือจากการพยายามใชกลไก CDM ที่มีอยูใหเปนประโยชนให มากที่สุดแกสังคมไทย โดยมีผลกระทบนอยที่สุด การเตรียมการสำหรับ การคาคารบอนในยุคหลังป 2555 ซึ่งขอตกลงภายใตพิธีสารเกียวโตจะ สิ้นสุดลง เปนอีกเรื่องที่ทำตั้งแตวันนี้ “ที่ ผ า นมาเราตั้ ง รั บ ตลอดในการเจรจาเรื่ อ งโลกร อ นภายใต อนุสัญญาฯ และพิธีสารเกียวโต ตอไปนี้นาจะถึงยุคที่เราตองมองไปขาง หนา คาดการณและเตรียมตั้งรับ หรืออาจเรียกไดวามียุทธศาสตรเชิงรุก


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

87

บาง เราควรมีจุดยืนเรื่องไหนเราจะเอา ไมเอา ไมใชเหมือนที่ผานมาเขา ตกลงกันไปหมดแลว เราเอาการบานกลับมาอาน พอเจรจารอบตอไป เราจะเอาการบานไปสง เขาก็มีการบานอันใหมมาใหอีก เปนอยางนี้ ตลอด” บัณฑูรย หนึ่งในทีมเจรจากลาว ดร.อานนท สนิทวงศ ณ อยุธยา นักวิทยาศาสตรทางทะเล และผู เชี่ยวชาญโลกรอนจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยผูซึ่งวิจัยเรื่องโมเดลและ การพยากรณผลกระทบวิกฤตโลกรอนตอประเทศไทยและภูมิภาคลุมน้ำ โขง กลาววาการศึกษาวิจัยเปนหนึ่งในปจจัยสำคัญที่จะชวยเตรียมความ พรอมใหกับประเทศได หากจะดำเนินยุทธศาสตรเชิงรุกในการเจรจาโลก รอน “หากเรารูวาผลกระทบโลกรอนตอบานเราในแตละเรื่องมีแนวโนม อยางไร ตอชาวนาเปนอยางไร ตอความเสี่ยงหายนะภัยน้ำทวมดินถลม ชายฝงกัดเซาะอยางไร เราก็จะนึกออกวาเวลาเจรจาเรื่องกองทุนการรับ มือผลกระทบโลกรอน (Adaptation Fund) เราควรตอรองดวยจุดยืน แบบไหน” ดร. อานนท ยกตัวอยาง บัณฑูรยสนับสนุนขอเสนอ ดร. อานนท “ที่ผานมา งานวิจัยโลกรอนของไทยนาจะแบงเปน 4 ยุค ยุคแรก เป น การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ ทำความรู จั ก กั บ CDM พิ ธี ส ารเกี ย วโตและ อนุสัญญาฯ ยุค 2 เริ่มศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผล กระทบอยางหยาบๆ ยุค 3 พยายามสรางโมเดลสำหรับประเทศไทยและ ภู มิ ภ าคที่ ดร.อานนท ท ำ ยุ ค 4 พยายามเชื่ อ มโมเดลและข อ มู ล วิทยาศาสตรเขากับมิติดานสังคมและเศรษฐกิจมากขึ้น ถึงตอนนี้เรา กำลังเริ่มการวิจัยที่จะมองไปขางหนาวาจะเกิดอะไรขึ้นหลังระยะบังคับ ระยะแรกของพิธีสารเกียวโต (หลังป 2555) เรานาจะมาถูกทางแลว” บัณฑูรยกลาว “อยางไรก็ตาม เราก็ตองไมลืมวาเราอยูในสังคมที่ความพรอมดาน การวิจัยและพัฒนายังต่ำอยู ชัดเจนที่สุดเราแทบไมมีนักวิจัยเต็มเวลาที่ สามารถทุมเทศึกษาเรื่องโลกรอนไดยาวๆ เปนป เรายังคงตองพึ่งนักวิจัย


88

พารตไทมอยู นักวิจัยคุณภาพที่มีงานสำคัญเรงดวนมากมายกองอยูตรง หนา” บัณฑูรยเปดเผย เปนที่เชื่อกันวากลไก CDM จะยังคงเปนพระเอกภายใตขอตกลง หลังการบังคับใชพิธีสารเกียวโตระยะแรก (หลังป 2555) แต CDM ยุค หลังป 2555 หรือ CDM เวอรชั่น 2 ยอมมีหนาตาไมเหมือนเดิมแนนอน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการเจรจาที่จะเริ่มตนปลายปหนา ที่โคเปนเฮเกน “แมเราจะเปนประเทศเล็ก แตก็ควรจะมีจุดยืนที่ชัดเจนในเรื่อง สำคัญๆ อยางนอยเราตองยืนยันวาเราไมสนับสนุนใหเทคโนโลยีเจา ปญหาอยางนิวเคลียรเขาไปอยูใน CDM ประเด็นการนำไปสูการพัฒนา ที่ยังยืนและการมีสวนรวมของทองถิ่นของโครงการตองถูกทำใหปฏิบัติ ไดจริง นี่นอกเหนือจากการยืนยันวา CDM ตองเปนมาตรการเสริม ไมใช มาตรการหลักของประเทศ Annex I” วนันแสดงความเห็นตอประเด็น จุดยืนประเทศไทยในการเจรจาออกแบบ CDM เวอรชั่น 2 “เราอาจตองคอยระวังเรื่องกติกาที่จะมาบังคับใหประเทศกำลัง พัฒนาอยางเราตองมีพันธะกรณีลดการปลอยกาซเรือนกระจกอยาง กติกา sectural approach และตองจับตาดูวา CDM จะถูกนำไปตีความ วาเปนการกีดกันการคาตามขอตกลงการคาทั้งพหุภาคและทวิภาคีหรือ ไม อยางไร” บัณฑูรยเสริม “อาจถึงเวลาที่เราตองนำขอมูลระดับพื้นที่บานเรา เขาใชรองรับการ เจรจาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่ออยางนอยปองกันการเสียเปรียบ และทำใหการเจรจามีดอกผลกับคนไทยจริงๆ เพราะแนวโนมผลกระทบ โลกรอนตอสังคมไทยมีแนวโนมจะรุนแรงมากขึ้นและเกิดบอยขึ้นตาม ลำดับนับจากนี้” ดร.อานนทใหความเห็น ถึงบรรทัดนี้คงพอจะเห็นภาพชัดวาการคาคารบอนในประเทศไทย นั้นสามารถเปนทั้งบอนไซในกระถางหรือไมผลบนดินดี นั่นก็ขึ้นกับสังคม ไทยโดยเฉพาะรัฐบาลไทยอยากจะใหเปนแบบไหน แตคำถามที่นาจะสำคัญกวาคือ สังคมไทยอยากใหการคาคารบอน เปนแคเครื่องมือทำเงินแกภาคธุรกิจเทานั้น หรือจะใหมีบทบาทเปน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

89

เครื่องมือที่จะแสดงจุดยืนในการเขาไปรวมบรรเทาและแกปญหาวิกฤติ โลกรอนในประชาคมโลก ซึ่งหากเปนอยางหลัง คำถามที่ตามมาคือ จะ เขาไปมากนอยแคไหนและอยางไร


90

∂“π°“√≥傧√ß°“√ CDM √–¥—∫‚≈° จำนวนการรับรองเครดิต (โครงการ) 221,891,587 202,845,016

รรับรอง

ยื่นขอรับกา

อง ผานการรับร

ขนาด (โครงการ)

เล็ก 547

ใหญ 644

ประเภทโครงการ (%) อื่นๆ 37.12

พลังงาน 56.74

ขนสง 0.13 ปาไม 0.07

เกษตร 5.94

แยกตามภูมิภาค (โครงการ) ละตินอเมริกา และแคริบเบียน 377

อื่นๆ 8 หมายเหตุ ขอมูล ณ 28 ตุลาคม 2551 ที่มา : www.unfccc.org

แอฟริกา 27 เอเชียแปซิฟก 779


91

‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

¢—ÈπμÕπ°“√¢Õ°“√√—∫√Õß‚§√ß°“√ CDM ภาพรวม ตรวจสอบในเบื้องตนโดยกระทรวงที่เกี่ยวของ

การดำเนินงานตาม ขั้นตอนในประเทศไทย ในภาครัฐ

ผูดำเนินโครงการสง PDD และเอกสารที่เกี่ยวของใหกับ สผ. สผ. ดำเนินการตามขั้นตอนอนุมัติ DNA ออกหนังสือเห็นชอบกับโครงการ

จัดทำ PDD ผูดำเนินโครงการ ตรวจสอบความถูกตอง Designated Operatinoal Entry (DOE) ขึ้นทะเบียนโครงการ คณะกรรมการบริหารฯ (EB) ติดตามผลการลดกาซฯ ผูดำเนินโครงการ ยืนยันผลการลดกาซฯ Designated Operatinoal Entry (DOE) ออกเครดิต คณะกรรมการบริหารฯ (EB) Certified Emission Reductions (CERs)


92

ขั้นตอนภายในประเทศไทย คณะกรรมการแหงชาติวาดวย นโยบายเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แจงผลการพิจารณาเพื่อทราบ คณะกรรมการองคการบริหารจัดการ ภาวะเรือนกระจก

องคการบริหารจัดการ ภาวะเรือนกระจก DNA ออก หนังสือรับรองวา โครงการมีสวน สงเสริมการ พัฒนาที่ยั่งยืน ของประเทศ

15 วัน 3 วัน

กระทรวงที่เกี่ยวของ ใหความเห็นตอโครงการ

ผูเขาโครงการเสนอ Project Designed Document (PDD) และ EIA หรือ Initial Environmental Evaluuation (EE) Report

หมายเหตุ CDM Executive Board (CDM EB) คือคณะกรรมการอนุมัติขึ้นทะเบียน โครงการและอนุมัติออกเครดิต Designated Operational Entity (DOE) คือบริษัทเอกชนที่ไดรับการรับรอง ความสามารถในการตรวจประเมินโครงการ CDM Designatad National Authority (DNA) คือหนวยงานที่ไดรับมอบหมายจาก ประเทศภาคีอนุสัญญา ใหทำหนาที่พิจารณาอนุมัติโครงการ CDM ที่มา : www.onep.go.th


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

93

บรรณานุกรม http://cdm.unfccc.int www.onep.go.th http://202.57.191.224/wwfthaiorg/temp/PicsCDM/KrabiTrang.pdf http://202.57.191.224/wwfthaiorg/temp/PicsCDM/Srakaew.ppt http://202.57.191.224/wwfthaiorg/temp/PicsCDM/image.rar “คารบอนเครดิต ธุรกิจโลกรอนที่กำลังเบงบานในไทย?” ชมรมนักขาวสิ่ง แวดลอม สมาคมนักขาวแหงประเทศไทย, เสวนา 12 กรกฎาคม 2551


94

“π∫“∑ ¡√Ÿâ ç𑫇§≈’¬√åé 1,345 √â≈â“ßÕ ß§å§«“ °—∫·ºπ

++++++++++++++

π.√‘π’ ‡√◊ÕßÀπŸ Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå¡μ‘™π


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

95

ในระยะเวลา 1 ป เราไดเห็นราคา น้ำมันสูงขึ้นเกินกวา 100% จากเมื่อเดือนพฤษภาคม 2551 ที่ผานมา ราคาประมาณ 65 เหรียญสหรัฐตอบารเรล แลวขยับพุง สูงกวา 135 เหรียญ สหรัฐตอบารเรล ขณะที่บางจังหวะราคาก็ยังมีขึ้นมีลงไปตามสภาวะโลก กระนั้น นักเศรษฐศาสตรสวนใหญ ยังเชื่อวาในอนาคตราคาน้ำมัน มีแนวโนมจะสูงเกินกวา 200 เหรียญสหรัฐตอบารเรล ในยุคที่น้ำมันแพง เชนนี้ ผูคนทั่วโลกตางก็ตื่นตระหนกไปตามๆ กัน ไมเวนแมแตประเทศ ไทยที่ตกอยูในสภาพเดียวกัน หากแนวโนมราคาน้ำมันที่สูงขึ้นเชนนี้ ยังคงไมสามารถประมาณ การใดๆ ได เราอาจจะตองเผชิญหนากับวิกฤตการณทางพลังงาน ซึ่ง เปนวิกฤตการณที่สงผลกระทบอยางนากังวลตอระบบเศรษฐกิจและ ความเปนอยูของผูคน เมื่อปญหาราคาน้ำมันเชื่อมโยงกับความมั่นคง ทางพลังงาน ทั่วโลกจึงตองมองหาแหลงพลังงานทางเลือก โดยเฉพาะ แหลงพลังงานหมุนเวียนที่มีความมั่นคง สะอาด และเปนมิตรตอสิ่ง แวดลอม ซึ่งนอกเหนือจากเชื้อเพลิงชีวภาพ พลังงานจากน้ำ ลม และ แสงอาทิตย แลว “นิวเคลียร” ก็ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงเสมอๆ นิวเคลียรเปนแหลงพลังงานหนึ่งที่หลายๆ ประเทศทั่วโลกกำลังให ความสนใจ อย า งไรก็ ต าม ในบรรดาศั ก ยภาพและข อ ดี ต า งๆ ของ


96

พลังงานนิวเคลียร ก็ยังมีจุดบกพรองอันเนื่องมาจากการรับรูของภาค ประชาชนเกี่ยวกับพิษสงของนิวเคลียรในอดีต นับตั้งแตที่สหรัฐอเมริกา นำไปใชถลมเมืองฮิโรชิมา และเมืองนางาซากิ ประเทศญี่ปุน ในสมัย สงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งครั้งนั้นนิวเคลียรไดคราชีวิตคนญี่ปุนนับแสนคน ประกอบกับขาวโรงไฟฟานิวเคลียรเชอโนบิล เกาะทรีไมลส และโรง ไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร อื่ น ๆ ที่ ก ระเซ็ น กระสายออกมาอย า งต อ เนื่ อ ง ทำให ประชาชนเกิดความกลัววาอาจจะมีขอผิดพลาดเกิดขึ้นหากมีโรงไฟฟา นิวเคลียรในบานตัวเอง แมวานิวเคลียรจะมีประโยชนเพียงใด ก็ยังไมทำใหหลายตอหลาย คนที่เกิดความรูสึกขยาดกลัวเชื่อมั่นไดวาทางเลือกนี้จะทำใหพวกเขา ปลอดภัยอยางแทจริง แตหากวา นับจากนี้ตอไปคำตอบสุดทายของ พลังงานทางเลือกคือ “นิวเคลียร” อยางแนนอนแลว เราจะจัดการกับขอ วิตกกังวลเหลานี้กันอยางไร 𑫇§≈’¬√å : ®ÿ¥‡√‘Ë¡μâπ √â“ß‚√߉øøÑ“„πª√–‡∑»‰∑¬ ++++++++++++++++++++++++++

ประเทศไทยมีความคิดที่จะสรางโรงไฟฟานิวเคลียรตั้งแตป 2518 ซึ่ง ขณะนั้นคณะรัฐมนตรี (ครม.) ไดอนุมัติใหมีการสรางโรงไฟฟานิวเคลียร ขนาด 600 เมกะวัตต ที่ อ.อาวไผ จ.ชลบุรี แลว แตมีกลุมผูคัดคาน เนื่องจากสวนใหญเปนหวงเรื่องสารกัมมันตภาพรังสีและเรื่องกากของ นิวเคลียร ถึงป 2524 ไทยไดคนพบแหลงกาซธรรมชาติในประเทศ และ นำออกมาใช โครงการโรงไฟฟานิวเคลียรจึงถูกหยิบยกมาพูดถึงอีกครั้ง เมื่อป 2534 แต จุ ด เริ่ ม ต น ของโรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร ที่ ก ำลั ง เป น ป ญ หาและเป น ประเด็นถกเถียงในสังคมขณะนี้มาจากการที่รัฐบาลไดอนุมัติแผนพัฒนา กำลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ.2550-2564 หรือที่เรียกวา แผน พี ดี พี 2007 (PDP 2007) ซึ่ ง เป น แผนแม บ ทที่ ก ำหนดทางเลื อ กให ประเทศไทยมี จ ำนวนและประเภทโรงไฟฟ า ในระยะ 15 ป ข า งหน า


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

97

(ป 2563-2564) แตการวางแผนพีดีพี 2007 กระทรวงพลังงานมีการ นำเสนอทางเลือกของการเพิ่มโรงไฟฟาไว 9 ทางเลือก ซึ่งมีขอสังเกต ที่นาสนใจคือ ทั้ง 9 ทางเลือกนั้นลวนมีโรงไฟฟานิวเคลียร 4,000 เมกะ วัตต อยูทั้งสิ้น ยิ่งไปกวานั้นคือ พลังงานหมุนเวียนทุกประเภทก็ถูกจำกัด ไวที่ 1,700 เมกะวัตต ในทุกทางเลือก นอกจากนี้ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ยังมีการแตง ตั้งคณะกรรมการเพื่อเตรียมการศึกษาความเหมาะสมการผลิตไฟฟา จากพลังงานนิวเคลียร (Nuclear Power Infrastructure Preparation Committee –NPIPC) โดยมี ดร.กอปร กฤตยากีรณ ที่ปรึกษารัฐมนตรี วาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนประธาน และแตงตั้ง คณะอนุกรรมการอีก 6 ชุด เพื่อศึกษาและเตรียมการพัฒนาโรงไฟฟา นิวเคลียร โดยไดจัดทำรางแผนจัดตั้งโครงสรางพื้นฐานเพื่อการผลิต ไฟฟานิวเคลียร (NPIEP) ซึ่งมีดวยกัน 6 แผน คือ 1. แผนงานด า นระบบกฎหมาย ระบบกำกั บ และข อ ผู ก พั น ระหวางประเทศ 2. แผนงานโครงสรางพื้นฐานอุตสาหกรรมและการพาณิชย 3. แผนการถ า ยทอดพั ฒ นาเทคโนโลยี และพั ฒ นาทรั พ ยากร มนุษย 4. แผนดานความปลอดภัยและการคุมครองสิ่งแวดลอม 5. แผนการสื่อสารและการยอมรับของสาธารณะ 6. การวางแผนการดำเนินการโครงสรางโรงไฟฟานิวเคลียร ทั้ง 6 แผนงานจัดทำเสร็จในป 2550 คณะรัฐมนตรี (ครม.) อนุมัติ แลว จึงตั้งสำนักพัฒนาโครงการโรงไฟฟานิวเคลียร เปนสวนหนึ่งของ กระทรวงพลังงาน มีหนาที่จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อดำเนินการตามแผน ทั้ง 6 แผนขางตน วางแผนใชงบประมาณจำนวนมากถึง 1,345 ลาน บาท โดยเฉพาะในส ว นของการสื่ อ สารและสร า งการยอมรั บ ของ ประชาชนไดของบประมาณไว 600 ลานบาท ในชวงเวลา 3 ป ขณะ ที่ทางเลือกพลังงานประเภทอื่นๆ ในอนาคต กลับไมมีการแตงตั้งคณะ


98

กรรมการ หรือจัดสรรงบประมาณไวในแผนพีดีพี 2007 แตอยางใด นายชวลิต พิชาลัย รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผน พลังงาน กระทรวงพลังงาน เลาถึงเรื่องโรงไฟฟานิวเคลียรในไทย ใน หนังสือปฏิบัติการ 485 วัน ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน ปลดชนวน “วิกฤต พลังงาน” ระบุตอนหนึ่งวา “ประเทศไทยจำเปนตองมีโรงไฟฟานิวเคลียร เนื่องจากรัฐบาลมีน โยบายที่จะจัดหาพลังงานอยางมั่นคงและยั่งยืน ในความหมายคือตอ เนื่องในระยะยาว ปญหาคือ ขณะนี้ประเทศไทยตองนำเขาน้ำมันราว 80% ของความตองการใชภายในประเทศ คิดเปนมูลคา 7 แสนกวาลาน บาทตอป และตองพึ่งพิงการผลิตกระแสไฟฟาจากกาซธรรมชาติถึง 70% ประกอบกับราคาเชื้อเพลิงก็เพิ่มขึ้นมากตามราคาน้ำมัน จึงใหเกิด ความตองการสรางโรงไฟฟานิวเคลียร “นอกจากนี้ กระแสโลกร อ นก็ มี ส ว น เพราะการสร า งโรงไฟฟ า นิวเคลียรจะไมปลอยคารบอนไดออกไซด ชวยลดสภาวะโลกรอนไดทาง หนึ่ง ถัดมาเปนเรื่องของตนทุน แมการสรางโรงไฟฟานิวเคลียรจะลงทุน 1.5 ลาน-2 ลานเหรียญสหรัฐตอ 1 เมกะวัตต และประเทศไทยมีแผนจะ สรางโรงไฟฟานิวเคลียร รวม 4,000 เมกะวัตต คิดเปนเงินราว 210,000280,000 ลานบาท แตเมื่อผลิตกระแสไฟฟาแลว ก็จะมีตนทุนเฉลี่ยตอ หน ว ยที่ ต่ ำ กว า พลั ง งานอื่ น ๆ ขณะนี้ เ ทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วกั บ โรงไฟฟ า นิวเคลียรพัฒนามาก ความปลอดภัยตางๆ อยูในขั้นที่ไววางใจได จึงไม ตองเปนกังวลกับอันตรายที่จะเกิดเนื่องจากโรงไฟฟานิวเคลียร” นายชวลิต กลาววา เมื่อเทียบแลว ยูเรเนียม 1 กิโลกรัม ใหกระแส ไฟฟา 300,000 หนวย (1 หนวยเทากับกิโลวัตตชั่วโมง) สวนถานหิน 1 กิโลกรัม ใหกระแสไฟฟา 3 หนวย นับวาจำนวนหนวยตางกันอยางมาก “หากใช เ ชื้ อ เพลิ ง ก า ซธรรมชาติ ใ ห น อ ยลง ก็ ห มายความว า เรา สามารถนำกาซธรรมชาติไปใชในอุตสาหกรรมอื่นที่มีมูลคาเพิ่ม เชน อุตสาหกรรมเคมี แลวใหนิวเคลียรเปนพลังงานที่นำมาใชผลิตกระแส ไฟฟาถามีพลังงานทางเลือกอยางอื่นที่ไมตองพึ่งพาน้ำมันอยางเดียว จะ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

99

ชวยบรรเทาผลกระทบการผันผวนของราคาน้ำมัน เปนการชวยรักษา เสถียรภาพของราคาพลังงานทางหนึ่ง และยังชวยใหเรามีพลังงานใช อยางเพียงพอ ที่กำหนดการสรางโรงไฟฟานิวเคลียรใหแลวเสร็จในป 2563 เพราะเชื้อเพลิงของไทยมีจำกัด กาซธรรมชาติของเราใชไดอีก ราวๆ 20 ปเทานั้น ฉะนั้นระยะ13 ป จากป 2551-2563 จึงเปนเวลาที่ เหมาะสม ถ า เลื่ อ นไปอี ก ทรั พ ยากรก็ ล ดลง ราคาน้ ำ มั น หรื อ ก า ซ ธรรมชาติอาจจะแพงขึ้นอีก ถาสามารถประเมินและตัดสินใจไดก็จะ เตรียมตัวเรื่องทรัพยากรไดทัน” 𑫇§≈’¬√å : ‚√߉øøÑ“∑“߇≈◊Õ°¢Õß‚≈° ++++++++++++++++++++

นับตั้งแตป 2499 ที่ประเทศอังกฤษมีโรงไฟฟานิวเคลียรขึ้นเปนแหงแรก ของโลก จนถึงวันนี้มีโรงไฟฟานิวเคลียร 439 โรง ใน 30 ประเทศ และ 1 เขตเศรษฐกิจ มีกำลังการผลิตกระแสไฟฟารวม 371,684 เมกะวัตต หรือ คิดเปนรอยละ 16 ของกระแสไฟฟาที่ผลิตไดทั่วโลก ทั้งนี้อาจจะกลาวได วามีโรงไฟฟานิวเคลียรเกิดขึ้น 8 โรงทุกป จากการสำรวจขอมูลลาสุดเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550 พบวา ทวีป ยุโรปมีโรงไฟฟานิวเคลียรกระจายใน 19 ประเทศ ไดแก ฝรั่งเศส อังกฤษ เยอรมนี เนเธอร แ ลนด สวี เ ดน ฟ น แลนด สวิ ต เซอร แ ลนด สเปน เบลเยี ย ม รั ส เซี ย ยู เ ครน ลิ ทั ว เนี ย สโลวี เ นี ย อาร เ มเนี ย โรมาเนี ย บัลแกเรีย สโลวัก เชก และฮังการี ทวีปอเมริกา มี 5 ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา แคนาดา อารเจนตินา บราซิล และเม็กซิโก สวนทวีป แอฟริกา มีเพียง 1 ประเทศ คือ แอฟริกาใต สำหรับในทวีปเอเชียนั้น มี 5 ประเทศ และ 1 เขตเศรษฐกิจ คือ ปากีสถาน ญี่ปุน เกาหลีใต อินเดีย จีน และไตหวัน ประเทศที่มีโรงไฟฟานิวเคลียรมากที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา 104 โรง ฝรั่งเศส 59 โรง และญี่ปุน 55 โรง ประเทศที่มีสัดสวนการผลิตกระแส ไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรมากที่สุด คือ ฝรั่งเศส ซึ่งใชมากถึง 78%


100

ของกระแสไฟฟาที่ผลิตไดในประเทศ รองลงมาคือ ลิทัวเนีย 69% และ สโลวัก 57% หลายประเทศแมจะมีโรงไฟฟานิวเคลียรอยูแลว แตก็ยังมีแผน สรางเพิ่มเติม เชน ฝรั่งเศส กำลังอยูระหวางกอสราง 1 โรง รัสเซีย อยู ระหวางกอสราง 7 โรง อินเดีย อยูระหวางกอสราง 6 โรง จีน อยูระหวาง กอสราง 5 โรง แสดงใหเห็นวา โรงไฟฟานิวเคลียรกำลังไดรับความสนใจ และมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น เพราะขณะนี้มีโรงไฟฟานิวเคลียรอยูระหวาง กอสราง 32 โรง ใน 13 ประเทศ อยูในแผนการกอสราง 94 โรง และอยู ในขอเสนออีกกวา 222 โรง ขณะที่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น มีหลายประเทศเริ่ม สนใจ อาทิ เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ไทย รัฐบาลไทยพยายามประชาสัมพันธโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรโดย ใหขอมูลดังกลาวผานสื่อหลายแขนง แตขอมูลที่รัฐบาลไมเคยนำเสนอ คือ จำนวนโรงไฟฟานิวเคลียรสวนใหญที่รัฐบาลอางถึง สรางมาแลวไม ต่ำกวา 20 ป ขณะที่แนวโนมที่จะสรางโรงไฟฟานิวเคลียรกลับลดลง อยางตอเนื่องนับตั้งแตป พ.ศ.2527 เปนตนมา ดังภาพประกอบที่ระบุไว ในหนังสือ “โรงไฟฟานิวเคลียร : อยาปดแผนฟาดวยฝามือ” จัดพิมพโดย กรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต รวมกับ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ

ที่มา : Economics of Nuclear Power, Greenpeace Inter


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

101

และหากพิจารณาประเทศที่กำลังกอสรางโรง ไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร จะพบว า มั ก เป น ประเทศที่ อ ยู ใ น ทวีปเอเชีย ในทางตรงขาม บางประเทศในยุโรป เชน เดนมาร ก ออสเตรี ย มี จุ ด ชั ด เจนจากการทำ ประชามติรวมกันทั้งประเทศวาจะไมสรางโรงไฟฟา นิ ว เคลี ย ร ขณะที่ เ ยอรมนี ก็ มี น โยบายหยุ ด เดิ น เครื่องโรงไฟฟานิวเคลียรทั้งหมดในอนาคต 𑫇§≈’¬√å : ‚√ߺ≈‘μ‰øøÑ“μâπ∑ÿπμË”-ß∫∫“πª≈“¬ ++++++++++++++++++++

รั ฐ บาลประชาสั ม พั น ธ กั บ ประชาชนว า การผลิ ต ไฟฟ า จากโรงไฟฟ า นิวเคลียรจะเปนทางเลือกที่มีตนทุนต่ำ ประมาณ 2.08 บาทตอหนวย แต จากขอมูลของหนังสือ World Energy Outlook ของ International Energy Agency (IEA) ไดชี้ใหเห็นวา เนื่องจากโรงไฟฟานิวเคลียรเปน โรงไฟฟ า ที่ มี ก ารลงทุ น เริ่ ม ต น สู ง ทุ น การผลิ ต ไฟฟ า ของโรงไฟฟ า นิวเคลียรจึงขึ้นอยูกับคาเสียโอกาสของเงินลงทุนเปนสำคัญ ซึ่งสะทอน มาจากอัตราดอกเบี้ยและความเสี่ยงในการลงทุน เชน หากคาเสียโอกาส ของเงินลงทุนต่ำรอยละ 5 โรงไฟฟานิวเคลียรก็จะมีตนทุนที่แขงขันไดกับ โรงไฟฟาถานหิน โดยมีตนทุนประมาณ 1.71-2.00 บาทตอหนวย แต หากคาเสียโอกาสของเงินลงทุนสูงรอยละ 10 โรงไฟฟานิวเคลียรก็ไม สามารถแขงขันกับโรงไฟฟาถานหิน หรือโรงไฟฟากาซธรรมชาติ ได เพราะมีตนทุนสูงประมาณ 2.38-2.84 บาทตอหนวย ดังนั้นตนทุนการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟานิวเคลียรจึงขึ้นอยูกับคา เสียโอกาสทางการเงินเพราะนักลงทุนและสถาบันการเงินสวนใหญมัก พิจารณาวา โรงไฟฟานิวเคลียรเปนโครงการที่มีความเสี่ยงสูงตอการ ลงทุน จึงเปนเหตุผลที่นาเชื่อวาทางเลือกนี้อาจจะแพงกวาทางเลือกอื่นๆ จริง อยางไรก็ดี การคิดตนทุนดังกลาวยังไมรวมถึงเงินอุดหนุนที่รัฐบาล


102

ใชในการศึกษาวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมนิวเคลียร และยังไมรวมถึง ตนทุนจากผลกระทบทางดานสังคม และสิ่งแวดลอม ปญหาที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ การกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร แตละแหงมักประสบปญหางบประมาณในการกอสรางบานปลาย ซึ่ง ส ว นใหญ เ กิ ด จากความจำเป น ที่ ต อ งดำเนิ น การให ไ ด ต ามมาตรฐาน ความปลอดภัย ผลที่ตามมาคือ ตนทุนการผลิตไฟฟาจะเพิ่มสูงขึ้นตาม ไปดวย ตัวอยางเชน ประเทศอินเดีย พบวาโรงไฟฟานิวเคลียรหลายโรงมี งบลงทุนสูงกวาที่ตั้งไวเดิมประมาณรอยละ 176-396 หรือคิดเปน 2-4 เทาของเงินลงทุนที่ตั้งไว เชนเดียวกับที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ขอมูล จาก IEA ระบุวางบลงทุนในโรงไฟฟานิวเคลียรจะสูงกวาประมาณการ รอยละ 200-300 หรือคิดเปน 2-3 เทาของงบที่ตั้งไว อีกทั้งยังไมนับรวม ถึ ง ว า ป จ จุ บั น มี โ รงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร ใ นยุ โ รปตะวั น ออกอี ก กว า 10 โรง ที่ ต อ งหยุ ด ดำเนิ น การไปไม น อ ยกว า 15 ป ด ว ยเหตุ ผ ลด า นความ ปลอดภัยและภาวะการเงิน 𑫇§≈’¬√å : ·ºπ ◊ËÕ “√¢Õß√—∞ ç¬Õ¡√—∫é À√◊Õ çμâÕ߬ա√—∫é +++++++++++++++++++++++++++++++++

คณะกรรมการเพื่อเตรียมการศึกษาความเหมาะสมการผลิตไฟฟาจาก พลังงานนิวเคลียร (NPIPC) ไดกำหนดแผนการสื่อสารและการยอมรับ ของสาธารณะเกี่ยวกับโรงไฟฟานิวเคลียรไว 8 ขอ ไดแก 1. กำหนดแนวทางการดำเนิ น การสื่ อ สารเป น ขั้ น ตอน เพื่ อ ให ประชาชนได รั บ รู เข า ใจ ยอมรั บ ร ว มมื อ สนั บ สนุ น และไว ว างใจ โครงการโรงไฟฟานิวเคลียรอยางตอเนื่องตลอดไป 2. ระดมทรั พ ยากรความรู บุ ค ลากร และองค ก รด า นพลั ง งาน นิวเคลียรมาดำเนินการสื่อสารใหประสานสอดคลองและเปนเอกภาพ 3. สงเสริมและสนับสนุนใหใชวิธีการของการสื่อสารทุกรูปแบบ เพื่อใหโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรเปนที่ยอมรับของสาธารณะ 4. สนับสนุนการจัดตั้งงบประมาณการสื่อสารใหเพียงพอ เพื่อเกิด


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

103

ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดี 5. สรางเครือขายและการประสานงานการสื่อสาร เพื่อติดตาม และประเมินผลการสื่อสารตามแผนที่กำหนด 6. พัฒนาระบบการสื่อสารใหสอดคลองกับขั้นตอนการดำเนินงาน ของโครงการโรงไฟฟานิวเคลียร 7. สงเสริมใหกลุมเปาหมายมีสวนรวมเสนอความคิดเห็น และขอ เสนอแนะดานตางๆ ของโครงการโรงไฟฟานิวเคลียร และ 8. ดำเนิ น การสื่ อ สารอย า งเป ด เผยและโปร ง ใส เป ด โอกาสให ประชาชนไดรับรูขอมูลขาวสารทุกขั้นตอน ทั้ง 8 ขอมีวัตถุประสงคเพื่อ 1. เสริมสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร โดย เฉพาะดานความปลอดภัยของพลังงานปรมาณูตอบุคคล สาธารณชน สิ่งแวดลอม และการกำกับดูแลอยางรอบคอบ 2. กระตุนใหเกิดความตระหนักดานเชื้อเพลิงและการผลิตไฟฟา ของประเทศและของโลก โดยเฉพาะดานราคาคาไฟฟาและการพึ่งพา เชื้อเพลิง 3. สรางกระแสการเห็นดวยและยอมรับโรงไฟฟานิวเคลียร โดย การสำรวจความคิ ด เห็ น ของประชาชนและการเผยแพร ข า วสารด า น พลังงานนิวเคลียร 4. สรางความเชื่อมั่นและความไววางใจของประชาชน ตอการ ดำเนินงานของโรงไฟฟานิวเคลียร 5. วางระบบการสื่อสารดานพลังงานนิวเคลียรใหมีประสิทธิภาพ เปนเชิงรุกและตอเนื่อง 6. ประสานเครือขายการสื่อสารพลังงานนิวเคลียรใหเปนเอกภาพ มีแนวทางและทิศทางอยางเดียวกัน ที่ ส ำคั ญ ไปกว า นั้ น มี เ ป า หมายว า ในช ว งเตรี ย มโครงการจะ 1. ให ป ระชาชนรั บ รู เข า ใจ และยอมรั บ ถึ ง ความจำเป น ของ โครงการโรงไฟฟานิวเคลียรภายใน 4 ป


104

2. ใหประชาชนรวมมือและสนับสนุนภายใน 3 ป 3. ใชเวลา 6 ป สื่อสารความกาวหนาของการกอสราง และ 4. หลังการกอสรางแลวเสร็จและดำเนินการผลิตไฟฟาตองสื่อสาร การดำเนินงานของโรงไฟฟานิวเคลียรเพื่อใหเกิดความศรัทธา เชื่อมั่น ไว วางใจอยางยั่งยืน ดร.กอปร กฤตยากีรณ ในฐานะประธานคณะกรรมการเพื่อเตรียม การศึกษาความเหมาะสมการผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียร ระบุวา โรงไฟฟานิวเคลียรเปนตัวเลือกดานพลังงานไฟฟาที่สำคัญของ ประเทศไทย ที่ ช ว ยลดความเสี่ ย งต อ การขาดแคลนกระแสไฟฟ า ใน อนาคตได จึงมีกรอบดำเนินงานภายใน 3 ปแรก (2551-2554) จำนวน 1,345 ลานบาท ซึ่งจัดสรรจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ภายใน 3 ป แผนจะ ตองนำเสนอตอคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) เพื่อนำ สู ก ารพิ จ ารณาของรั ฐ บาลต อ ไปว า จะมี ก ารก อ สร า งตามแผนพั ฒ นา กำลังการผลิตไฟฟา 2550-2564 (พีดีพี 2007) หรือไม ดร.กอปร ระบุวา สิ่งที่ตองทำใหเร็วที่สุดคือ การสรางความเชื่อมั่น ใหแกผูบริหารประเทศในอนาคต ผานการจัดทำขอมูลการศึกษาความ พรอมอยางรอบดาน รวมถึงการทำความเขาใจกับสาธารณชน อาทิ การ จัดตั้งพิพิธภัณฑการเรียนรูโรงไฟฟานิวเคลียร ตลอดจนการพิจารณาคำ ไทยเมื่อกลาวถึงโรงไฟฟานิวเคลียร ซึ่งฟงแลวไมนากลัว หรือตีความไป ผิดๆ จนกระแสความกลัวไมอาจบรรเทาลง “คนกลัวผีจะมีอยู 2 อยาง คือ คนที่กลัวแลวไมกลามอง วิ่งหนีไป เลย คนกลุมนี้ก็จะกลัวตอไป แตคนอีกกลุมจะเอาไฟฉายสองใหรู รูให จริง รูใหถองแท ดูวานากลัวหรือไม จัดการไดหรือไม เอาไฟฉายสอง ไป หาขอมูลใหรูทั้งจากอินเตอรเน็ต หรือจากแหลงอื่นๆ มากมาย นั่นคือสิ่ง ที่เราทำอยู ทำมา 6 เดือนแลว และจะทำอีก 3 ป เราจะทำมากกวาแครู แต จ ะให คิ ด ด ว ย เราจะทำให รู ไ ด ว า ถ า ทำตามวิ ธี นี้ จ ะใช ไ ฟได อ ย า ง ปลอดภัย”


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

105

สวนที่วาประชาชนจะมั่นใจในความปลอดภัยของเทคโนโลยีโรง ไฟฟานิวเคลียรไดอยางไร ผศ.ปรีชา การสุทธิ์ นายกสมาคมนิวเคลียร แหงประเทศไทย ในฐานะคณะกรรมการถายทอดเทคโนโลยีและพัฒนา ทรัพยากรมนุษย ยืนยันในวงเสวนาเมื่อปลาจะกินดาว 8 หัวขอนิวเคลียร กับการรับรูของประชาชน ที่สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศ ไทย วา ปลอดภัยแนนอน เพราะตนทุนมหาศาลของการกอสรางโรง ไฟฟานิวเคลียรคือ การพัฒนาระบบความปลอดภัยใหเชื่อถือไดมาก ที่สุด “มันอาจจะมีอุบัติเหตุบางเล็กๆ นอยๆ เกิดขึ้นได อยางทอน้ำรั่ว แต รับรอง 100% ไดวาไมเปนระเบิดนิวเคลียรแนนอน” ผศ.ดร.ปรีชา กลาววา ในชวง 13 ปกอนจะถึงป 2563 ไดมีการแบง ระยะเวลาออกเปน 2 ชวงใหญ คือ 7 ปแรก เปนการเตรียมการกอนการ กอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร และ 6 ปหลัง เปนชวงเวลาของการกอสราง โรงไฟฟานิวเคลียร ในระยะเวลา 7 ปแรก แบงยอยเปน 3 ป (พ.ศ.25512553) และ 4 ป (พ.ศ.2554-2557) “3 ปแรก เปนชวงดำเนินการกอนตัดสินใจวาจะใหมีโรงงานไฟฟา นิวเคลียรในไทยหรือไมหรือที่เรียกสั้นๆ วา “โก นิวเคลียร (Go Nuclear)” ใชงบประมาณในการดำเนินการ 1,345 ลานบาท เปนคาใชจายในการ ศึกษาเตรียมการในรายละเอียดทำตามแผนที่วางไว เชน ประเทศไทย จำเปนตองใชพลังงานนิวเคลียรหรือไม ตนทุนถูกจริงหรือเปลา รวมถึง การจัดเตรียมเรื่องระบบกฎหมาย ระบบกำกับ และขอผูกพันระหวาง ประเทศตองเตรียมระบบกฎหมายเรื่องความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม ใหดี เพราะถือวาโรงไฟฟานิวเคลียรเปนเรื่องใหมของประเทศ ทั้งยัง ต อ งเตรี ย มแผนพั ฒ นาบุ ค ลากรที่ จ ะปฏิ บั ติ ก าร เตรี ย มอุ ต สาหกรรม กอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร เตรียมการเลือกสถานที่กอสรางโรงไฟฟา นิวเคลียร เปนตน “สิ่งที่ตองเรงดำเนินการทันที คือ การประชาสัมพันธใหความรูกับ ประชาชนทั่วไป อาทิ เรื่องสถานการณดานพลังงานของประเทศ การมี


106

โรงไฟฟานิวเคลียรจะชวยบรรเทาปญหาพลังงานของประเทศไดอยางไร มี ม าตรการด า นความปลอดภั ย ในการสร า งและหลั ง สร า งโรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร อ ย า งไร ฯลฯ หลั ง จาก 3 ป นี้ แ ล ว ก็ จ ะนำเสนอให รั ฐ บาล พิจารณา เพื่อตัดสินใจวาจะโก นิวเคลียร หรือไม” ผศ.ดร.ปรีชา กลาววา ปญหาหรืออุปสรรคของการสรางโรงไฟฟา นิวเคลียรในไทย คือตองหาแหลงเงินทุน เพราะตองใชเงินเปนจำนวน มหาศาล หากจะสรางก็ตองใหมีนโยบายและแผนการกอสรางโรงไฟฟา ที่ชัดเจน และตองใหขอมูลความรูเรื่องโรงไฟฟานิวเคลียรแกประชาชน ซึ่งถือเปนเรื่องสำคัญที่ตองทำ เพราะประชาชนสวนมากยังไมคอยเขาใจ ถึงเรื่องโรงไฟฟานิวเคลียร “หากรัฐบาลมีมติไมใหสรางโรงไฟฟานิวเคลียรก็จะยุติการลงใน รายละเอียด และไมมีขั้นตอน 4 ปถัดไป และ 6 ปหลัง แตยังคงตองให ขอมูลเรื่องโรงไฟฟานิวเคลียรกับประชาชนตอไป แมวาอาจจะไมมีการ สรางก็ตาม แตหากรัฐบาลมีมติตัดสินใจใหเดินหนาการสรางโรงไฟฟา นิวเคลียรก็จะเขาสูระยะ 4 ป คือตั้งแตป 2554-2557 เปนปฏิบัติการที่ ตอเนื่องจากป 2551-2553 เชน เรื่องของความปลอดภัยและเรื่องสิ่ง แวดลอม เนื่องจากประชาชนกังวลเรื่องนี้มาก เรื่องการสรางบุคลากรที่ ตองสงบุคลากรไปอบรม เพื่อเปนการรองรับเมื่อสรางโรงไฟฟานิวเคลียร แลวเสร็จในป 2563 บุคลากรคนไทยจะไดมีความรูที่ถูกตองและเพียง พอตอการดูแลการดำเนินงานของโรงไฟฟานิวเคลียร” ขณะที่การสรางความมั่นใจดานความปลอดภัยนั้น ดร.อภิสิทธิ์ ปจ ฉิ มพั ท ธพงษ วิ ศ วกรการไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) กล า วว า การสร า งโรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร มี ท บวงการพลั ง งานปรมาณู ระหวางประเทศ (International Atomic Energy Agency – IAEA) ดูแล ให ก ารสร า งเป น ไปตามมาตรฐาน มี ก ารออกแบบที่ ป ลอดภั ย มี ก าร ปองกันอันตรายอยางเขมงวด และมีระบบกำจัดกากกัมมันตภาพรังสีที่ ปลอดภัยไดมาตรฐานและใหความไววางใจได “เมื่อผานชวง 4 ปน้ีแลว ก็จะเขาสูชวงเวลา 6 ป คือ พ.ศ. 2558-


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

107

2563 ซึ่งเปนชวงของการสรางโรงไฟฟานิวเคลียร โดยในตางประเทศจะ สรางหางจากชุมชนราว 10 กิโลเมตร และควรอยูใกลแหลงน้ำซึ่งอาจ เปนทะเลหรือแมน้ำ เพื่อใชน้ำจำนวนมากในการระบายความรอน สวนคำถามที่วา ผูคนยังเปนหวงเรื่องโรงไฟฟานิวเคลียรมีความ คลายคลึงกับระเบิดนิวเคลียรท่ีมีประสิทธิภาพรายแรงนั้น จริงๆ แลว ความเขมขนของสารกัมมันตภาพรังสีมีเพียงแค 3-5% เทานั้น ขณะที่ ความเขมขนของการทำระเบิดตองมีถึง 90% ขึ้นไป “เพราะฉะนั้นโรงไฟฟานิวเคลียรความเขมขนไมสูงเทากับการทำ ระเบิดนิวเคลียร การออกแบบและเทคโนโลยีโรงไฟฟานิวเคลียรใหความ สำคัญกับดานความปลอดภัยเปนอันดับแรก เอาเหล็กกลาคลุมชั้นหนึ่ง เอาปูนคลุมอีกชั้นหนึ่ง และบริเวณโรงไฟฟาก็ไมใหมีคนเขาไป แตจะมี คอมพิวเตอรเดินเครื่อง มีคนควบคุมอยูหางๆ ก็ชวยเรื่องความปลอดภัย ได และตองระวังเรื่องการขนสงเชื้อเพลิง การเปลี่ยนเชื้อเพลิงมีระบบ ความปลอดภัย เวลาเปลี่ยนจะดึงขึ้นแลวนำไปแชน้ำที่อยูภายในตัว อาคารโรงไฟฟา ไมไดนำออกมานอกอาคารที่คลุม พอแชไปแลว 5-10 ป เพื่อลดระดับรังสี ทำใหแหง แลวคอยนำไปเก็บที่อื่น เราไมไดพูดความ จริ ง ครึ่ ง เดี ย ว แต ใ ห ค วามรู กั บ ประชาชนตามข อ เท็ จ จริ ง และเป ด ให ประชาชนไดมีสวนรวมในการตัดสินใจ ไมอยากใหเกิดความเขาใจวา ภาครัฐไปบังคับ ถาไมเอาโรงไฟฟานิวเคลียร ก็ไมทำ” 𑫇§≈’¬√å : ∑ÿà¡ß∫ª√–™“ —¡æ—π∏å§ÿâ¡À√◊Õ‰¡à +++++++++++++++++++++++

นายธารา บั ว คำศรี ผู ป ระสานงานรณรงค ด า นพลั ง งานและการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรีนพีซ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต กลาวไวในวงเสวนาเมื่อปลาจะกินดาว 8 ไวอยางนาสนใจวา โรงไฟฟา นิ ว เคลี ย ร เ ป น โจทย ใ หญ ข ององค ก รที่ ร ณรงค ด า นสิ่ ง แวดล อ ม ไม ใ ช เฉพาะแตในประเทศไทย แตเปนแบบนี้ไปทั่วโลก และขึ้นอยูกับวาแตละ คนจะมองเรื่องนี้อยางไร


108

“ผมอยากใหมองวา กอนที่เราจะตัดสินใจแผนพีดีพี 2007 เราก็เอา แผนสรางโรงไฟฟานิวเคลียร 4 โรงเขาไปบรรจุในแผนดวย ทั้งๆ ที่การ ตัดสินใจวาจะใหมีโรงไฟฟานิวเคลียร 4 โรง ในแผนพีดีพี เปนเพียงการ ตัดสินใจของผูที่มีอำนาจในการวางนโยบาย ปลายป 2550 มีการจัดตั้ง เวทีอภิปรายเรื่องนี้เพียงครั้งเดียว ซึ่งเราตั้งขอสังเกตวาทุกครั้งที่มีการพูด ถึ ง เรื่ อ งโรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร มั ก จะเกิ ด ตอนที่ ป ระเทศไทยไม เ ป น ประชาธิปไตย หมายถึงอยูในชวงรัฐบาลเผด็จการทางทหาร หรือกึ่ง เผด็จการ ซึ่งเปนอยางนี้มาตั้งแตในอดีต จนมาถึงรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ จุ ล านนท นายกรั ฐ มนตรี ที่ มี ก ารอนุ มั ติ แ ผนต า งๆ ทุ ก ทางเลื อ กมี นิวเคลียรหมด แตไมมีใครตอบไดวา ตกลงเรา ‘ถูกเลือก’ หรือเรา ‘ไมมี ทางเลือก’ ในที่สุดก็มีการอนุมัติงบประมาณ 1,345 ลานบาท ในเวลา 3 ป เอาไปใชอะไรบาง และจะไดประโยชนมากนอยแคไหน คนตัดสินใจ วาจะ ‘เอา’ หรือ ‘ไมเอา’ มากนอยแคไหน แตมีการจัดตั้งสำนักงาน พัฒนาพลังงานนิวเคลียร จางคนปละ 25 ลานบาท” นายธารา กลาววา สวนของภาคประชาชนนั้น ไมไดเริ่มตนจากการ “ไมเอา” นิวเคลียร แตจุดยืนของกรีนพีซที่ถามมาตลอดคือ นิวเคลียรมี ความจำเปนมากนอยแคไหน ขณะนี้ในสวนของภาคประชาชน มีจุดเริ่ม ตนวา เรายังมีพลังงานทางเลือกอื่นๆ ในประเทศไทยอะไรบาง จุดเริ่มตน ของการสรางโรงไฟฟานิวเคลียรมาจากอะไร และโรงไฟฟานิวเคลียร ตนทุนถูกจริงหรือไม อีกสิ่งหนึ่งที่ประชาชนควรรูมากๆ คือ งบประมาณ เนื่องจากขณะนี้หลายประเทศที่กำลังกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร ไมวา จะเปน ฟนแลนด ฝรั่งเศส ใชงบประมาณบานปลายเพราะตองทำเรื่อง ความปลอดภัยใหดีที่สุด “เราขอทารัฐบาลใหเปดกระบวนการทางปญญา เพราะจากการ ติดตามโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรในประเทศภูมิภาค อาทิ อินโดนีเซีย เราทราบวาประชาชนชาวอินโดนีเซียมีการประทวงกันอยางหนักในชวา ตอนกลาง จนลาสุดมีการพับแผนกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรที่อยูใน แผน โดยเลื่อนออกไปไมมีกำหนด การจางงานในทองถิ่น การยอมรับใน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

109

ชุมชน ความคุมคาทางเศรษฐกิจ ตนทุนการกอสรางที่สูงขึ้น ราคาน้ำมัน คารบอน เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เพราะธนาคารโลก และธนาคารเพื่อ การพัฒนาเอเชีย (เอดีบี) มีนโยบายชัดเจนที่จะไมอนุมัติเงินกูเพื่อการ กอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร” นายธารา ยังบอกอีกวา ประชาชนไมไดติดภาพโรงไฟฟานิวเคลียร เชอโนบิล แตปรากฏวาเมื่อเดือนเมษายนที่ผานมา เกิดอุบัติเหตุกับโรง ไฟฟานิวเคลียรในประเทศสเปน มีการรั่วไหลของสารเคมี กระทั่งรัฐบาล ตองตรวจสุขภาพของประชาชนที่อยูรอบโรงไฟฟานิวเคลียร แตรัฐบาล ปดขาวเรื่องนี้ไวนาน เพราะเกรงวาหากประชาชนตื่นกลัวแลวจะเกิด ปญหากับโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรที่กำลังจะเกิดขึ้นมาใหม เพราะจะ ทำใหกอสรางยากขึ้น “ในชวงที่ผานมา ตั้งแตมีขาววาจะมีการผลักดันโครงการกอสราง โรงไฟฟานิวเคลียรในประเทศไทย ก็พบวามีโฆษณาระบุวา โรงไฟฟา นิวเคลียรจะชวยแกปญหาโลกรอน แตผมคิดวาเรื่องนี้คือมายาคติ เพราะแม จ ะปล อ ยก า ซเรื อ นกระจกออกมาน อ ยก็ จ ริ ง แต ใ นประเด็ น ความยั่งยืน ความปลอดภัย สิ่งแวดลอม และสุขภาพที่จะตามมาจะเปน อยางไร เรื่องนี้มีการถกเถียงกันไปมา แตในที่สุดมันก็เปนเพียงประเด็น เล็กๆ ในขอถกเถียง จะเห็นวาเวลาเราพูดถึงปญหาโลกรอนในระดับ นานาชาติ ข อ เสนอของคณะกรรมการระหว า งรั ฐ บาลว า ด ว ยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ ไอพีซีซี (Intergovernmental Panel of Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติ จะเสนอใหนิวเคลียร เปนทางเลือกระยะยาว “นั่นไมไดหมายความวานักวิทยาศาสตรใน IPCC จะเห็นดวยใน ประเด็นนี้ แตเขาโยนใหรัฐบาลของประเทศนั้นๆ ตัดสินใจกันเอง ยก ตัวอยาง ในแผนพีดีพี 2 แผน เฉพาะแผนที่รัฐบาลเขียนในพีดีพี 2007 จนสิ้นสุดของแผนในป 2564 กาซเรือนกระจกในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้น 164 ลานตันตอป ซึ่งรวมนิวเคลียรอยูดวย กรีนพีซคิดวาเรามีแผนอยูแลว แตยังขาดกระบวนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนอยางแทจริง


110

“ถามวาแตละชวง ใครบางที่จะเขาไปมีสวนรวมทั้งกระบวนการ ยอมรับของประชาชน และกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน จนถึง วั น นี้ โ รงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร จ ะตั้ ง ที่ ไ หนก็ ยั ง ไม มี ใ ครรู ได แ ต เ ดากั น ไปว า อ.ปะทิว จ.ชุมพร หรือ จ.ระนอง เพราะอะไร เพราะคนที่ผลักดันเรื่องนี้ กลัววา ถาประกาศเมื่อใด คนจะรับไมได ตนตั้งขอสังเกตวานับตั้งแตมี การรณรงคโรงไฟฟานิวเคลียร ยังมีการสื่อสารกับประชาชนนอยมาก เรา มองไมเห็นวาแผนพีดีพี 2007 จะมีทางเลือกอะไรบางนอกเหนือจาก นิวเคลียรที่จะบังคับใหเรา ‘ตองเลือก’ และตั้งสำนักงานนิวเคลียรขึ้นมา “แตวาประชาชนในระดับลางที่อาจจะรับขอมูลมาจากหลายๆ ทาง ดวยกัน เชน ตอนนี้ภาคประชาชนมีเครือขายกวางไปยังประเทศอื่นๆ ใน ภูมิภาคแลว ตอนนี้ประชาชนไมไดโงแลว วันนี้เขาตั้งคำถามกับโรงไฟฟา นิวเคลียรอยางมาก เชน จ.ระนอง ซึ่งเปนแนวของรอยเลื่อนเสี่ยงแผนดิน ไหว เขาจะถามวาถารอยเลื่อนมันยังมีพลังอยูแลวจะมีผลกระทบตอโรง ไฟฟานิวเคลียรหรือไม เขาอาจจะตั้งคำถามในเวทีประชาพิจารณ หรือ เวทีไหนก็ไดที่เขามีโอกาสไดเขาไปรวมกิจกรรม “ดังนั้น หนวยงานที่เกี่ยวของกับการใหขอมูล ความรู เกี่ยวกับโรง ไฟฟานิวเคลียรจึงตองทำใหประชาชนเชื่อมั่นในเรื่องของความปลอดภัย เปนอันดับแรกๆ ซึ่งผมยังมองไมเห็นชองทาง” นอกจากนี้ นายธารา ยังบอกวา เวลาพูดถึงโรงไฟฟานิวเคลียรจะ เห็นภาพ 2 ภาพ คือ เชอโนบิล กับ เกาะทรีไมลส แตหากเราติดตามจาก เว็บไซตเราจะพบวา ใน 1 ป หรือ 365 วัน มีอุบัติภัยเล็กๆ นอยๆ เชน สายไฟรั่ว ซึ่งไมเกี่ยวกับระบบเตาปฎิกรณ ถือวามีการปองกันที่ดี แตคิด วาเราตองควบคุมระบบการทำงานทั้งหมดของโรงไฟฟานิวเคลียรดวย “อยามองวาแคเตาปฏิกรณอยางเดียว เชน ญี่ปุน มีขาวเมื่อป 2550 มี ค นตายไป 2 คน ซึ่ ง เกิ ด จากเตาปฏิ ก รณ มี ก ารเป ด เผยเรื่ อ งความ ปลอดภัย ในที่สุดผูประกอบการเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรกวา 10 ราย ต า งพร อ มใจกั น หลี ก เลี่ ย งการซ อ ม และต อ งป ด ตั ว อยู เ ป น เวลานาน นอกจากนี้ ที่เมืองมินามะ มีการระเบิดไอน้ำ คนงานเสียชีวิต 5 คน ศาล


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

111

ก็สั่งปดโรงงาน “สวนที่อเมริกา ก็เกิดปญหา คือ เพราะโรงไฟฟานิวเคลียรก็ยังมีจุด ออน คงกระพันก็จริงแตก็มีจุดออน เนื่องจากโรงไฟฟานิวเคลียรในอเมริ กาหลายแหงไมไดอยูใกลน้ำ หากเกิดปญหาใดๆ อาจจะตองปดตัว “ในฝรั่งเศส หากเกิดน้ำแลง หรือน้ำทวมก็ตองเปนปญหาเชนกัน ถามวามันเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือไม ผมวาใชเลย กลับมาดูที่ภาค ใตบานเรา ถาดูจากสภาพภูมิกาศ ภาคใตจะมีฝนตกมาก อาจเจอไตฝุน มากขึ้น “หากรวมประเด็นเรื่องโลกรอนไปดวย จะเห็นวามีปจจัยที่ตองระวัง มากขึ้นดวย ถาสรางโรงไฟฟานิวเคลียรก็ตองใหทนตอภัยแลง ฝนตก น้ำ ทวม ก็เปนเรื่องสำคัญที่เราตองมาคิดกัน แนะนำวาเนื่องจากเรื่องนี้เปน เรื่องของเทคนิคมากๆ จึงขอใหทีมงานตองละเอียดออนในการแปลการ สื่อสาร ขอใหเปนแบบเขาใจงาย เพราะมิฉะนั้นประชาชนอาจไมเขาใจ หากพูดเรื่องเดียวกัน เขาใจตรงกัน อันนี้จะนำไปสูการตัดสินใจที่งายขึ้น อยามัวแตคิดวาอันนี้ตองอยูในแผนแหงชาติ จำเปนตองสราง เพราะ หากไมใหประชาชนไดมีสวนรวมในการตัดสินใจ ก็ไมรูวาประชาชนจะ อยูในประเทศที่ปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยไปทำไม” นายธารา ตั้งขอสังเกตวา 1.ที่มาของงบประมาณ ซึ่งมาจากกองทุน อนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน จริ ง ๆ ควรนำไปใช เ พื่ อ ประโยชน อ ย า งอื่ น หรื อ ไม 2.แผนการศึกษาและการยอมรับของประชาชน ปละ 100 ลานบาทเศษ กิจกรรมตางๆ ที่จะสรางความเขาใจกับประชาชนจึงควรเปนเรื่องที่รอบ ดาน ครบถวน เพื่อใหคนที่รับรูไดชั่งน้ำหนักสำหรับตัดสินใจวาจะเอา หรือไมเอา “ขณะนี้สิ่งที่อยากเสนอใหรัฐบาลดำเนินการคือ ทำอยางไรก็ไดใหมี การเปดเวทีสาธารณะขึ้น เพราะขณะนี้เวทีประชาชนเปดลำบากมาก เพราะจะมีแตพวกที่ยืนกระตายขาเดียววาไมเอา เพราะปญหามันไมใช แคเรื่องของโรงไฟฟานิวเคลียรอยางเดียว แตมันเกิดจากโครงการอื่นๆ ที่ ลงไปในชุมชนและสรางความหวาดระแวงใหแกประชาชน ซึ่งทำใหเกิด


112

ความไมไววางใจในหนวยงานของรัฐมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ถาวันนี้ เราใสประเด็นนิวเคลียรลงไปอีก จะยิ่งไปตอกย้ำจุดเดิม สรางปมเดิมที่ ยังแกไมไดใหแนนขึ้นอีก ฉะนั้นการเปดเวทีสาธารณะ เวทีประชาชนจึง เปนเรื่องยาก และเปนโจทยใหญที่หลายฝายตองชวยกันคิด เชน จะตอง มีการวางขอมูลในสัดสวนที่เทาๆ กัน สวนมันจะนำไปสูอะไรนั้น ไมทราบ แตคิดวาถากระบวนการของภาครัฐคอยๆ เปด มีเวทีมากขึ้น และให ขอมูลประชาชนอยางตอเนื่องก็จะนำไปสูการตัดสินใจ “สิ่งสำคัญอีกประเด็นคือ การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ไมแนใจวา ภายใน 3 ปนี้จะเปนอยางไร เพราะนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ทานเคยพูดวา ถาคนตอตานเยอะ เราก็ไปหาจังหวัดที่เปนเกาะ แลวไปสรางโรงไฟฟานิวเคลียรที่นั่น ถาวิสัยทัศนของผูนำประเทศ เปนเชนนี้ เชื่อวาแผนกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรจะเกิดยากมาก” นอกจากนี้ นายเดชรัต สุขกำเนิด คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร กลาวถึงงบประมาณที่ใชในการประชาสัมพันธนิวเคลียร เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2551 วา เฉพาะการสรางความตระหนักถึงโรง ไฟฟานิวเคลียรใหแกประชาชน ไดทุมงบประมาณไปกวา 100 ลานบาท แบงใหหนวยงานที่เกี่ยวของตางๆ เชน สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) สรางความเขาใจในใหแกประชาชน แตปญหาคือ การดำเนินงานดัง กลาวยังไมรอบดาน มุงเนนแตการใหความรูดานนิวเคลียรเทานั้น ทั้งๆ ที่ ประเทศไทยยังมีพลังงานทางเลือกชนิดอื่นๆ “ที่ผานมาเคยเสนอแนวทางการปฏิบัติดานพลังงานทางเลือกของ ประเทศไทยใหแกกระทรวงพลังงาน โดยตั้งทีมศึกษาดานพลังงาน 2 ทีม ไดแก 1.ทีมศึกษาพลังงานนิวเคลียร และ 2.ทีมศึกษาพลังงานทางเลือก ชนิดอื่นๆ อาทิ พลังงานชีวมวล โดยใหทำการศึกษาควบคูกันไป เพื่อ เปรียบเทียบถึงขอดีขอเสีย จากนั้นเมื่อไดขอสรุปจึงคอยดำเนินการสราง ความตระหนั ก ให แ ก ป ระชาชน เพราะหากมุ ง สร า งความเข า ใจเรื่ อ ง พลังงานนิวเคลียรเพียงอยางเดียว อาจทำใหประเทศไทยเสียโอกาสดาน พลังงานทางเลือกอื่นๆ ก็เปนได”


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

113

นายเดชรัต กลาววา แนวทางดังกลาวเคยเสนอนายปยสวัสดิ์ อัมระ นันทน อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน และ พล.ท.หญิง พูนภิรมย ลิปตพัลลภ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน คนปจจุบัน แตไมไดรับ คำตอบใดๆ ทั้งๆ ที่แนวทางดังกลาวจะสรางความกระจางใหสังคมไทย อยางมาก และในเร็วๆ นี้ จะทำหนังสือเรื่อง 10 สิ่งที่นิวเคลียรพูดและ ไมพูด ซึ่งเปนการตีแผขอเท็จจริงของโรงไฟฟานิวเคลียรวา มีขอดีขอเสีย อยางไร และที่ภาครัฐเคยออกมาพูดวา นิวเคลียรไมมีปญหา ขอเท็จจริง เปนเชนไร ไมเพียงแตนักวิชาการ หรือเอ็นจีโอเทานั้นที่วิพากษวิจารณเรื่องนี้ ยั ง มี เ สี ย งของชาวบ า นส ว นหนึ่ ง ที่ ค อ นข า งไม เ ห็ น ด ว ยกั บ วิ ธี ก าร ประชาสัมพันธและการดำเนินโครงการนี้ ทั้งนี้จากการลงพื้นที่สำรวจ บริ เ วณบ า นบางเบิ ด อ.บางสะพานน อ ย จ.ประจวบคี รี ขั น ธ และ บานแหลมแทน อ.ปะทิว จ.ชุมพร ซึ่งเคยเปนพื้นที่เปาหมายที่ กฟผ.เล็ง ไวเปนทางเลือกในการตั้งโรงไฟฟานิวเคลียรเมื่อหลาย 10 ปกอนนั้น พบ ว า ชาวบ า นทั้ ง สองพื้ น ที่ ส ว นใหญ ยั ง มี ค วามหวาดระแวงว า โรงไฟฟ า นิวเคลียรอาจจะไปลงพื้นที่ดังกลาวอีกครั้ง พวกเขาจึงเฝาติดตามขอมูล ขาวสารมาอยางตอเนื่อง ดังเชน น.ส.สุณีย อยูเย็น เจาของรานอาหาร บานแหลมแทน ต.ชุมโค อ.ปะทิว จ.ชุมพร กลาววา วันนี้ยังรูสึกกลัววา วันดีคืนดีรัฐบาลจะไปสรางโรงไฟฟานิวเคลียรที่บาน “จะไปสรางที่ไหนก็ได แตอยามาแถวชุมพร เพราะอยูที่นี้มา 30 กวาป ตั้งแตยังไมมีอะไร มีแตปามะพราว กับทะเล เราก็อยูกันได วันนี้ คนที่นี่มีอาชีพประมง ทำสวนมะพราว สวนปาลม และกำลังบุกเบิกการ ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ซึ่งขณะนี้ชาวบานที่เปนเจาของที่ดินและมีเงินทุน สวนหนึ่ง ไดพัฒนาพื้นที่ทำรีสอรท รานอาหาร และใหบริการทองเที่ยว ทางทะเลแล ว แต ไ ม ไ ด เ ป น กิ จ การใหญ โ ต เราทำกั น แบบชาวบ า นๆ เทานั้น” น.ส.สุณีย ยังบอกวา บริเวณ อ.ปะทิว ไมเหมาะที่จะตั้งโรงไฟฟา เพราะเห็นไดจากเมื่อครั้งที่ถูกพายุเกยกระหน่ำ ทำใหชาวบานที่นี่รูทันที


114

วาพื้นที่แหงนี้เปนรองมรสุมที่รับพายุไปเต็มๆ ซึ่งหลายครั้งที่หลังคาบาน ของชาวบานปลิววอนจนหาเจาของไมได ถาตั้งโรงไฟฟาที่นี่คงไมปลอด ภัยแนๆ แตไมรูทำไมก็ยังเห็นมีการเขาไปใหขอมูลนิวเคลียรกับกำนัน ผูใหญบาน และหนวยงานราชการอยูบอยๆ แตไมคอยจะเขาไปใหขอมูล กับชาวบาน พวกเรากวาจะรูอีกทีก็ตอเมื่อพวกกำนัน ผูใหญบาน หรือ ขาราชการเขาพูดกัน แตเราก็ไมชอบใจ บอกตรงๆ ไมอยากใหสรางที่นี่ เลย และก็ไมอยากเปนเหมือนบานบอนอกหินกรูดดวย ที่มีคนมานั่ง คัดคานกัน” จะ “สราง” หรือ “ไมสราง” โรงไฟฟานิวเคลียร หรือไม และจะสราง ในบริเวณใดของประเทศไทย วันนี้ก็ยังเปนขอถกเถียงกันไมจบสิ้น แต ตามแผนที่รัฐบาลกำหนดไว การประชาสัมพันธโรงไฟฟานิวเคลียรก็ยัง คงตองดำเนินตอไป และโรงไฟฟานิวเคลียรแหงแรกจะตองเกิดในป 2563 ดังนั้นนับจากนี้เปนตนไป ขอใหทุกทานจับตาดูเรื่องนี้ใหดี

·ºπ𑫇§≈’¬√å„πª√–‡∑»‰∑¬ นับตั้งแตรัฐบาลมีแผนสรางโรงไฟฟานิวเคลียรมาตั้งแตป 2509 ครั้งนั้น การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) เป น หน ว ยงานที่ เ สนอ โครงการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรตอรัฐบาล แตจนถึงขณะนี้ยังไมมีโรง ไฟฟานิวเคลียรเกิดขึ้นในประเทศไทยแมแตโรงเดียว ซึ่งหากจะลำดับ เหตุการณการดำเนินงานมีดังนี้ ป 2510

รัฐบาลไดจัดตั้งคณะอนุกรรมการนิวเคลียร พิจารณา โครงการ เริ่มศึกษาความเหมาะสมของโครงการ และ เลือกสถานที่ตั้ง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

ป 2513

ป 2515

ป 2519 ป 2521 ป 2525-2534 ป 2536-2537

ป 2535-2538

ป 2540-2541

ป 2550

115

ทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (International Atomic Energy Agency: IAEA) เห็นชอบสถานที่ เตรียมการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรที่บริเวณอาวไผ จ.ชลบุรี รัฐบาลเห็นชอบโครงการและกำหนดใชเตาปฏิกรณ แบบน้ำเดือด (BWR) ขนาด 600 เมกะวัตต ป 2517 มี การจองเชื้อเพลิงยูเรเนียมจาก Energy Research and Development Administration (ERDA) สหรัฐอเมริกา เสนอขออนุมัติเพื่อเปดประมูลโรงไฟฟานิวเคลียร รัฐบาลเลื่อนโครงการโดยไมมีกำหนด กฟผ.สำรวจและศึกษาสถานที่ตั้งโรงไฟฟานิวเคลียร และไดสถานที่ตั้งที่เหมาะสม 5 แหง คณะกรรมาธิการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร ศึกษา การนำพลังงานนิวเคลียรมาผลิตกระแสไฟฟาใน ประเทศไทย กฟผ.รวมกับบริษัท NEWJEC ประเทศญี่ปุน ศึกษา สถานที่ตั้งอยางละเอียด ศึกษาดานสิ่งแวดลอมเบื้อง ตน และจัดลำดับสถานที่ตั้งที่เหมาะสม คณะรัฐมนตรี (ครม.) แตงตั้งคณะกรรมการศึกษา ความเปนไปไดของการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรใน ประเทศไทย เพื่อศึกษาความเหมาะสมทาง เศรษฐศาสตรและโครงสรางพื้นฐาน กพช.แตงตั้งคณะกรรมการเพื่อเตรียมการศึกษาความ เหมาะสมการผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียร โดย กำหนดใหมีโรงไฟฟานิวเคลียรในแผนพัฒนากำลัง ผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ.2550-2564 (พีดีพี 2007)


116

√Ÿâ®—°‚√߉øøÑ“π‘«‡§≈’¬√å โรงไฟฟานิวเคลียรมีลักษณะการทำงาน เริ่มจากการนำแรยูเรเนียมมา ทำให เ ป น ยู เ รเนี ย ม -235 ที่ มี ค วามบริ สุ ท ธิ์ 3-5% จากนั้ น นำเข า สู กระบวนการ “ฟ ช ชั่ น ” คื อ การนำเอาอนุ ภ าคนิ ว ตรอนไปกระตุ น ยูเรเนียม-235 ใหเกิดการแตกตัวเปนอนุภาคนิวตรอนที่เกิดใหมจำนวน หนึ่ง และปลดปลอยความรอน เมื่อมีปริมาณยูเรเนียมที่หนาแนนและ เพี ย งพอ อนุ ภ าคนิ ว ตรอนที่ เ กิ ด ขึ้ น ใหม จ ะกลั บ ไปทำปฏิ กิ ริ ย ากั บ ยูเรเนียมอยางตอเนื่อง โดยพลังงานความรอนที่เกิดขึ้นจะตมน้ำ น้ำที่ได รับความรอนอาจเดือดเปนไอน้ำโดยตรง หรือนำความรอนนั้นไปถายเท ใหกับน้ำอีกระบบเพื่อใหเดือดกลายเปนไอน้ำ แลวเอาไอน้ำที่ไดไปหมุน กังหันเพื่อผลิตกระแสไฟฟา โดยทั่วไปโรงไฟฟานิวเคลียรทำงาน 2 สวน ไดแก 1.สวนผลิตไฟฟา และ 2.สวนผลิตไอน้ำ โดยใชเครื่องปฏิกรณนิวเคลียร หรือเตาปฏิกรณ นิวเคลียร (nuclear reactor) ทำหนาที่ผลิตไอน้ำ ซึ่งมีองคประกอบ สำคัญ คือ เชื้อเพลิง (fuel) ลักษณะเปนเม็ดทรงกระบอกทำจากยูเรเนียมได ออกไซดบรรจุในหลอดขนาดยาว เรียกวา “แทงเชื้อเพลิง” ซึ่งจะถูกบรรจุ รวมกันเปนชุด เรียกวา มัดเชื้อเพลิง (fuel bundle) สารหน ว งนิ ว ตรอน (moderator) ทำหน า ที่ ป รั บ พลั ง งานของ อนุภาคนิวตรอนใหทำปฏิกิริยานิวเคลียร แทงควบคุม (control rod) ทำหนาที่ควบคุมปริมาณนิวตรอนให เหมาะสม และระงับการเกิดปฏิกิริยาภายในแกนปฏิกรณ สารระบายความรอน (coolant) ทำหนาที่พาความรอนที่เกิดขึ้น ในแกนปฏิกรณไปผลิตไอน้ำ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

117

หมอปฏิกรณ (pressure vessel) เปนที่บรรจุเชื้อเพลิงและสาร หนวงนิวตรอน เครื่องผลิตไอน้ำ (steam generator) ผลิตไอน้ำไปหมุนกังหัน อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณนิวเคลียร (containment) เปนอาคาร ชั้ น นอกที่ ต อ งก อ สร า งอย า งแข็ ง แรง เพื่ อ ป อ งกั น รั ง สี นิ ว เคลี ย ร อ อกสู ภายนอก และยั ง ป อ งกั น อั น ตรายจากภายนอกเข า ไปกระทบเครื่ อ ง ปฏิกรณนิวเคลียร ปจจุบันมีเครื่องปฏิกรณซึ่งเปนที่นิยมใชผลิตกระแสไฟฟา 3 แบบ คือ 1. เครื่องปฏิกรณอัดความดันน้ำ (Pressurized Water ReactorPWR) ใชกันแพรหลายที่สุด โดยใชน้ำธรรมดาเปนทั้งสารหนวงนิวตรอน และสารระบายความรอน มีวงจรผลิตความรอนแยกจากวงจรผลิตไอน้ำ มีจุดเดนอยูที่มีการควบคุมความดันของสารระบายความรอนในวงจรให สูง จนทำใหน้ำที่มีอุณหภูมิสูงกลายสภาพเปนไอ 2. เครื่องปฏิกรณน้ำเดือด (Boiling Water Reactor-BWR) เปน เครื่ อ งปฏิ ก รณ ที่ ใ ช น้ ำ เป น ทั้ ง สารระบายความร อ นและสารหน ว ง นิวตรอน แตผลิตไอน้ำไปหมุนกังหันโดยตรง 3. เครื่ อ งปฏิ ก รณ น้ ำ มวลหนั ก (Pressurized Heavy Water Reactor-PHWR) หรื อ ที่ เ รี ย กว า CANDU (CANada Deuterium Uranium) ใชเชื้อเพลิงยูเรเนียมที่มีความเขมขนตามธรรมชาติ ใชน้ำมวล หนักเปนสารหนวงนิวตรอน มีการวางเชื้อเพลิงในแนวนอน


118

Õÿ∫—쑇Àμÿ‚√߉øøÑ“π‘«‡§≈’¬√å√Õ∫ 10 ªï จากการสำรวจอุบัติภายในโรงไฟฟานิวเคลียรในประเทศตางๆ ทั่วโลก พบวาในรอบ 10 ป มีอุบัติเหตุทั้งเล็กและใหญเกิดขึ้นถึง 9 ครั้ง ดังนี้ ตาราง สถิติอุบัติเหตุนิเวคีลยรในประเทศตางๆ ในชวง 10 ป วัน เดือน ป มิถุนายน 2542

โรงไฟฟา – สถานที่ โรงไฟฟาชิกะ จังหวัดโอกินาวา ประเทศญี่ปุน

15 กุมภาพันธ 2543

โรงไฟฟาอินเดียนพอยท มีการปลอยไอน้ำที่ปนเปอน รัฐนิวยอรก สหรัฐอเมริกา กัมมันตรังสี ในขณะที่ทอกำเนิดไอ น้ำชำรุด แตไมมีกัมมันตภาพรังสีรั่ว ไหลออกภายนอก โรงไฟฟาตองถูก สอบสวนในการรายงานเหตุการณ ที่ลาชากวาที่มาตรฐานกำหนดไว

9 กุมภาพันธ 2545

โรงไฟฟาโอนากาวา จังหวัดมิยากิ ประเทศญี่ปุน

คนงานสองคนไดรับสาร กัมมันตภาพรังสีเล็กนอย และบาด เจ็บเล็กนอยจากไฟลวกใน เหตุการณไฟไหมที่ฐานของเตา ปฏิกรณในระหวางการตรวจสอบ ตามปกติ

กรกฎาคม 2545

โรงไฟฟาในสกอตแลนด สหราชอาณาจักร

แทงเชื้อเพลิงจำนวนหนึ่งตกลงที่ พื้น ซึ่งอาจจะเกิดเหตุการณตอ เนื่องขึ้นได

10 เมษายน 2546

โรงไฟฟาแพ็คส ประเทศฮังการี

กัมมันตภาพรังสีรั่วไหลในโรงไฟฟา

เหตุการณ แทงควบคุม 3 แทง เกิดหลนใน ระหวางการเตรียมตัวทดสอบ และ กอใหเกิดปฏิกิริยาทันที


119

‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

วัน เดือน ป พฤศจิกายน 2548

โรงไฟฟา – สถานที่ โรงไฟฟาเบรกวูดส สหราชอาณาจักร

เหตุการณ พบ “ตรีเตียม” ปนเปอนลงในน้ำใตดิน ซึ่งใชเปนแหลงน้ำดื่มสำหรับชุมชน ทางโรงไฟฟายืนยันการปนเปอนยังไม เกินมาตรฐาน แตชุมชนก็ยืนยันจะฟอง เรียกคาเสียหาย

25 กรกฏาคม 2549 โรงไฟฟาฟอรสมารก ประเทศสวีเดน

เกิดระบบไฟฟาสำรองขัดของกะทันหัน ทำใหเกือบจะเกิดอุบัติเหตุครั้งใหญ เนื่องจากทุกอยางอยูนอกเหนือการ ควบคุม แตโชคดีที่ระบบไฟฟาสำรอง กลับมาทำงานไดทันเวลา เหตุการณนี้ ชี้ใหเห็นถึงจุดออนในการควบคุมการ ทำงานของเตาปฏิกรณ

กรกฎาคม 2550

โรงไฟฟาตองหยุดเดินเครื่อง เนื่องจาก ไมสามารถควบคุมอุณหภูมิใน กระบวนการปฏิกิริยาใหอยูในระดับที่ เหมาะสมได

โรงไฟฟาอินเตอริสตัน สหราชอาณาจักร

16 กรกฎาคม 2550 โรงไฟฟาคาวาซากิ เมืองคาชิวาซากิ ประเทศญี่ปุน

แผนดินไหวทำใหเกิดไฟไหมโรงไฟฟา นิวเคลียร ทำใหมีน้ำปนเปอน กัมมันตภาพรังสีปริมาณเกือบ 1,200 ลิต รั่วไหลลงสูทะเลญี่ปุน เหตุการณ ครั้งนี้เปนแผนดินไหวรุนแรงครั้งแรกที่ เกิดขึ้นใกลเตาปฏิกรณ ทำใหญี่ปุน ปรับเปลี่ยนกฎการสรางโรงไฟฟา นิวเคลียรวาตองอยูในพื้นที่ที่ไมเคย เกิดแผนดินไหวในรอบ 130,000 ป จากเดิมกำหนดไวเพียงรอบ 50,000 ป

ที่มา : http://wikipedia.org/wiki/List_of_civilian_nuclear_accidents


120

บรรณานุกรม นฤตย เสกธีระ และทีมงาน. ปฏิบัติการ 485 วัน ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน ปลดชนวน “วิกฤตพลังงาน” กรุงเทพฯ: ฟรอนทเพจ, 2551. เดชรัต สุขกำเนิด, ธารา บัวคำศรี และศุภกิจ นันทะวรการ. โรงไฟฟา นิวเคลียร: อยาปดแผนฟาดวยฝามือ กรุงเทพฯ: กรีนพีซ เอเชียตะวัน ออกเฉียงใต รวมกับ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ, 2550. แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ.2550-2564 (PDP 2007) กระทรวงพลังงาน เสวนา “นิวเคลียรกับการรับรูของประชาชน”.ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย. 27 พฤษภาคม 2551. International Energy Agency.World Energy Outlook, 2006 Greenpeace International.Economics of Nuclear Power, 2007 http://wikipedia.org/wiki/List_of_civilian_nuclear_accidents

++++++++++++++++++++++++ สัมภาษณ ผศ.ดร.ปรีชา การสุทธิ์ นายกสมาคมนิวเคลียรแหงประเทศไทย ดร.อภิสิทธิ์ ปจฉิมพัทธพงษ วิศวกร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) นายธารา บั ว คำศรี ผู ป ระสานงานรณรงค ด า นพลั ง งานและการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรีนพีซภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต นางสาวสุณีย อยูเย็น ชาวบานแหลมแทน ต.ชุมโค อ.ปะทิว จ.ชุมพร ผูวิจารณเรื่อง นายวิฑูรย เพิ่มพงศาเจริญ มูลนิธิฟน ฟูชีวิตและธรรมชาติ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

121


122

¬∫π®Õ·°â«... ¡≈æ‘…√âß“§¡ ‰∑¬ ‡æ“–∫à¡ —

++++++++++++++

®‘μμ‘¡“ ∫â“π √â“ß ∂“π’‚∑√∑—»πå∑’«’‰∑¬


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

123

‡ªî¥‡√◊ËÕß +++++

“มีโฆษณาลูกอมชิ้นหนึ่งที่มีการยั่วยวนทางเพศบริเวณปายรถเมล นั่น ทำใหคิดไดวาสังคมไทยในปจจุบันหมกมุนอยูแตเรื่องเพศไดทุกที่ทุก เวลา” …………………… “ละครไทยยังสรางคานิยมผิดๆ ใหกับสังคมอีกเปนจำนวนมาก ไม วาจะเปนการละเมิดศักดิ์ศรีของคนบางกลุมเชน การทำใหคนพิการดูนา สงสารตองรอคอยความชวยเหลือตลอดเวลา การทำใหผูซึ่งมีลักษณะ เบี่ยงเบนทางเพศกลายเปนตัวตลก การทำใหเกิดการดูถูกคนอีสานวา เปนคนชั้นสอง เปนไดเพียงแตคนใช สวนคนเหนือจะไดเปนเจานาย หรือ ผูดีสูงศักดิ์ตลอดเวลา” …………………… “ดาราตายคนหนึ่งมีขาวทุกวัน เด็กๆ ก็ยิ่งคลั่งไคลกันไปใหญ ไมรู สรางความดีความชอบอะไรใหแผนดินนักหนา ไมรูพอแมเจ็บปวยตาย จะรองหมรองไหอยางนี้ไหม” …………………… คิดมาก !!! อาจจะเปนคำที่ตามมาหลังจากที่หลายคนเห็นจั่วหัว ความเห็นแบบนี้


124

แตเพราะสังคมไทยคิดนอยไปหรือเปลา สื่อจอแกวจึงไดมีการนำ เสนอ “สาร” ที่อาจนำมาซึ่งการสรางสังคมไมพึงประสงคที่วาดวยคา นิยมความรุนแรงมากกวาเหตุผล คานิยมเรื่องเพศเกินความพอดีและ กอนวัยอันควร และคานิยมวัตถุมากกวาความหมายของจิตใจ ซึ่ง ผูใหญที่มีวุฒิภาวะตามสมควรที่รับสื่อเหลานี้อาจไมไดหวั่นไหวไปกับคา นิยมขางตน และมาตรฐานสังคมในอนาคตไมไดเกิดขึ้นเพียงเพราะ ผูใหญที่กำลังจะเฒาชราลง แตเด็กและเยาวชนตางหากที่จะกำหนด มาตรฐานสังคมของเราในอนาคต จะวาไปแลวโทรทัศนก็ไมใชสื่อเดียว วิทยุ หนังสือพิมพ นิตยสาร และหนังสือเกลื่อนแผง รวมถึงบิลบอรดและอินเตอรเน็ตสื่อใหมมาแรง ก็คงใหผลตอพฤติกรรม คานิยมสังคนไมตางกัน แตถาเทียบกันแลว โอกาสที่สื่อเหลานั้นจะแทรกซึมพิษรายหลอมเขาไวในพฤติกรรมและคา นิยมสังคมไทยไมนา จะเทียบกันไดกับทีวี เพราะสื่อเหลานั้นไมไดอยูในบาน หรือเขาไดถึงในหองนอนถึงกวา รอยละ 90 อยางทีวี และขอจำกัดในการเขาถึงของเด็กก็นอย กลับได รั บ การสนั บ สนุ น จากครอบครั ว โดยถื อ ว า เป น กิ จ กรรมร ว มกั น ด ว ยซ้ ำ รายงานการสำรวจของโครงการเฝาระวังสื่อเพื่อสุขภาวะสังคม (Media Monitor) พบวา จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศนโดยเฉลี่ยของเด็กวัย 312 ป พบวา ในวันจันทร-ศุกร ดูโทรทัศนโดยเฉลี่ย 3.49 ชั่วโมงตอวัน ขณะที่วันเสาร-อาทิตย ดูโทรทัศนเฉลี่ย 5.51 ชั่วโมงตอวัน โดยชวงเวลา ในการดูโทรทัศน พบวา วันจันทร-ศุกร เด็กชอบดูโทรทัศนในเวลา 4 โมง เย็นถึง 2 ทุมมากที่สุด (รอยละ 66.0) รองลงมาคือ ชวงเวลา 2 ทุมถึง 4 ทุม (รอยละ 36.6) ยังมีสื่ออื่นๆ ตองตั้งใจเสพถึงจะไดสาร ตางกับทีวีที่เปดทิ้งไวสารทั้ง ปวงก็หลั่งไหลเขาสมองไดอยางแนบเนียน และที่สำคัญสิ่งที่แทบไมมี การกลั่นกรองเลยอยางหนังสือโป หรืออินเตอรเน็ต กลับเห็นอันตรายได ชัดเจนกวา การระวังตัวจึงงายกวา แตทีวีมีการกลั่นกรอง มีการควบคุม มีกระบวนการตรวจสอบ มีการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อโทรทัศน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

125

(เรตติ้ง) อยางนานาอารยประเทศ นั่นเพราะเราตองการเห็น “สื่อสีขาว” อันเปนสื่อที่เหมาะสม กั บ บุ ค คลทุ ก เพศ ทุ ก วั ย และสร า งสรรค ใ ห เ กิ ด ความดี ง ามต อ ซึ่งเปนสื่อที่เสริมสรางความรูความเขาใจในเรื่องตางๆ โดยเฉพาะ แกเยาวชน ถาไดรับรูสื่อสีขาวก็จะทำใหพวกเขาโตขึ้นเปนผูใหญที่ มีความคิด และเปนคนดีของสังคมไดตอไป และทุกวันนี้ ผูรับสื่อจากจอแกวจึงเชื่อสนิทใจวา มัน...ไมมีพิษ!!! แมวาอาจจะจับตามองทีวีไมไดทั้งหมด แตก็คงพอจะสะทอนใหเห็น “ภาพ” ของเนื้อหาหลักที่สงผลกระทบตอความเชื่อ คานิยม จนที่สุด ถายทอดออกมาเปนพฤติกรรมที่นาอันตรายตอการเกิดมาตรฐานสังคม บานเราในอนาคตอันใกล ซึ่งยกมาใหเห็นเพียง 4 กลุมหลัก ที่อาจใหผล กระทบขางเคียงที่ไมนาจะพึงประสงคไดมากกวารายการที่เปนความรู หรือรายการเพื่อสังคม ‡¥‘π‡√◊ËÕß +++++

1. ละคร…ไมใชแคน้ำเนา อาจเรี ย กได ว า ยึ ด หั ว หาดช ว ง เวลาที่มีคนดูทีวีมากที่สุด (Prime time) และแฟนละครตั ว จริ ง ไทยคงไม มี ใ ครปฏิ เ สธว า ละครไทยตั้ ง แต ยุ ค คุณยายังสาว มาจนถึงยุคที่เปนคุณยากันตั้งแตยังสาวอยางปจจุบัน ยังคงวนเวียนแวะซ้ำกับเรื่องเกาๆ เดิมๆ ไมไดหมายความวาเอาแตสราง ตามบทประพันธเดิมไมเขียนเรื่องใหม แตหมายความวาแกนหลักของ เรื่อง (Theme) ยังคงเวียนวายตายเกิดอยูกับเรื่องเซ็กซและผลประโยชน ไมเวน แมกระทั่งละครจักรๆ วงศๆ สำหรับเด็ก “เนื้อเรื่องก็จะมีโครงสรางเดียวกันคือ พระเอกรวย นางเอกรันทด มี ตัวรายที่คอยใสรายนางเอก มีแมพระเอกที่เกลียดนางเอกเขาไส และ อะไรอีกหลายตอหลายอยาง ก็ชอบดูเพราะทำใหตัวเองหลุดจากภาวะ


126

ความเครี ย ดได ชั่ ว ขณะหนึ่ ง แต บ างครั้ ง ดู ๆ ไปก็ ท ำให ค วามเกิ ด ความเครียดขึ้นไดเหมือนกัน เชน นางรายมันก็รายเกินเหตุ นางเอกก็โง อยูนั่นแหละ” รุจิรา สายน้ำเขียว แมบานที่รับบทดูแลสามีและลูกเปน งานหลัก บอกความรูสึก ในขณะที่ รัตนบุตร ผูเขียนบทละครยุคใหมที่โดงดังหลายเรื่องอยาง ราชินีหมอลำ เจาสาวมืออาชีพ ใหทัศนะวา ละครสรางขึ้นเพื่อความ บันเทิง ละครประเภทตบจูบ พระเอกแกแคนนางเอก จำพวกสวรรคเบี่ยง จำเลยรัก เปนละครพาฝน ตอบสนองกลุมแมบานซึ่งเปนคนที่มีอิทธิพล ในการถือรีโมทคอนโทรล ซึง่ ชอบดูละครทีท่ ำใหหลีกหนีจากความเปนจริง “เลี่ยงไมไดที่ผูสรางจะทำละครแนวที่ไดรับความนิยม เพราะสราง เพื่อตอบสนองกลุมคนดูที่ตองการเสพเรื่องที่ทำใหเขาฝนดี ชาวบาน ชอบ ก็หมายถึงเรตติ้งดี สปอนเซอรก็ดีตามมา” รัตนบุตร กลาว นอกจากนั้น ละครเหลานี้ยังกำลังโหมแสดงถึงพฤติกรรมหลาย อยางที่นาเปนหวง เชน การใชความรุนแรงทั้งดวยการกระทำและวาจา เขาแกปญหา นิยมวัตถุและความฉาบเปลือกแทนคุณคาของจิตใจและ ความดี ซึ่งการแสดงรูปแบบเชนนี้นานเขา บอยเขาก็ทำใหพฤติกรรม และคานิยมเหลานั้นกลายเปนเรื่องธรรมดาในสังคม นพ.กัมปนาท ตันสิถบุตรกุล จิตแพทยจากโรงพยาบาลมนารมย ยกตัวอยางวา บางทีตัวราย รายมากจนกลายเปนตลก เชน การถูก ทุเรียนตบหนา อาจดูเปนเรื่องตลก แตนั่นหมายถึงการแสดงความรุนแรง หรือการพูดจาดูถูกเหยียดหยาม เยาะเยยถากถาง ใชถาดตีหัว ซึ่งผูใหญ ดูคงไมมีปญหา แตถาเด็กดู วุฒิภาวะในการรับรูและการประมวลผลจะ ดอยกวาผูใหญ มีรายงานการศึกษาพบวาเด็กในระดับอายุ 3- 4 ขวบไม สามารถแยกแยะไดวาอะไรเรื่องจริงหรือไมจริง ซึ่งทำใหเด็กเขาใจวา พฤติกรรมที่ดูซ้ำๆ จนเกิดความเคยชินเหลานั้นเปนพฤติกรรมปกติที่ได รับการยอมรับและสามารถแสดงออกไดจริง ที่ชัดเจนก็คือ ละครเรื่องสวรรคเบี่ยง ที่เมื่อกอนทำแตเพียงใหเขาใจ สภาพการณของตัวละคร แตปจจุบันมีการแสดงความรุนแรงในรูปแบบ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

127

ตางๆ ชนิดที่ลงรายละเอียดอยางถึงพริกถึงขิง เชน จับโยนลงไปในทะเล จับมัดไวกลางฝนแชน้ำ ขึ้นมาจากน้ำก็จับไปขมขืนอีก 2-3 รอบ เปนตน เรียกวาผูชมจะไดเสพความรุนแรงทางรางกายและทางเพศไปพรอมๆ กันเลยทีเดียว และการนำเสนอก็ยืดใหยาวขึ้น 3-4 วัน แตละตอนใช นาน “ที่มาใหมคือการทำรายกันโดยใชมีดกรีดหนา อันนี้นากลัวมาก แมวาจะทำเบลอๆ ไวแตเด็กก็ดูรู เหมือนกับทำเบลอๆ ตอนที่มีภาพสูบ บุหรี่นั่นแหละ ยิ่งเปนการเนนเขาไปใหญ แมวาจะมีการจัดเรตในระดับ 18 ปขึ้นไปดูได “แต ค นไทยเป น สั ง คมครอบครั ว ก็ ล อ มวงดู คุ ณ แม แ ละคนใน ครอบครัวก็พาเอาเด็กๆ ลูกๆ ที่อายุต่ำกวานั้นมาดูดวย พบวาเด็กก็ชอบ มาก โดยไมรูวาคืออะไร และเลียนแบบพฤติกรรมเหลานั้นติดเขาไปโดย อัตโนมัติ” นพ.กัมปนาทกลาว ดู เ หมื อ นว า เป น ความรู สึ ก คิ ด มาก แต เ รื่ อ งนี้ มี ค ำอธิ บ ายทาง วิทยาศาสตร นพ.กัมปนาทอธิบายวา ในรางกายของสัตวทุกชนิดซึ่งแนนอนรวม ถึงมนุษยดวย มีเซลลประสาทชนิดหนึ่งที่เรียกวา mirror neuron ทำ หนาที่เปนตัวเลียนแบบพฤติกรรมตางๆ โดยการมองและบันทึกลงไปใน ระบบประสาทหรือจำไวในจิตใตสำนึกโดยที่ไมสามารถควบคุมไดดวย ระบบการสั่งการของสมอง เชน เมื่อนำลิงมาดูคนยิ้มบอยครั้งเขาลิงนั้นก็ จะยิ้มได นี่คือการทำงานของ mirror neuron ที่ทำใหเกิดพฤติกรรมเลียน แบบของเด็ ก และเยาวชนจากการดู ล ะครหรื อ สื่ อ ประเภทอื่ น เซลล ประสาทเหล า นี้ มี ก ารศึ ก ษากั น มากในเด็ ก เล็ ก ๆ ซึ่ ง จะแสดงออกถึ ง พฤติกรรมที่เลียนแบบมาเมื่อไดรับการกระตุนและระบบสมองสั่งการ ซึ่งผูเขียนขอเรียกวาเซลลถายสำเนา การดูซ้ำๆ ก็เหมือนกับการดูรูปแบบเดิมๆ จนรูสึกเปนเรื่องปกติหรือ เปนวิธีการตอบโตหรือแกปญหาที่ทำได เชน ละครที่มีการทะเลาะกัน


128

ชกตอยตบตีเอามีดแทงเอาปนยิงเอาน้ำกรดสาด ซึ่งเด็กก็มีแนวโนมที่จะ มีพฤติกรรมเลียนแบบเพราะเห็นทุกวันจนกลายเปนเรื่องปกติ ผลที่เกิด ขึ้นก็คือ พบวามีเด็กและเยาวชนที่กอคดีขมขืน ฆา มากขึ้นเรื่อยๆ แลว อายุเด็กที่กอคดียังลดลงเรื่อยๆ จาก 17-18 ป จนปจจุบันพบวาเด็กที่กอ คดีมีอายุประมาณ 11 ป แต นพ.กัมปนาทก็บอกวาคงไมใชอิทธิพลจาก ทีวีเพียงอยางเดียว ผลกระทบจากการแสดงออกของพฤติกรรมที่เลียนแบบละครจะ เกิดขึ้นกับผูที่ถูกกระทำ ซึ่งการอธิบายในละครก็ไมถูกตองตามความเปน จริงของสุขภาพจิต จิตแพทยจากโรงพยาบาลมนารมย ยกตัวอยางละคร เรื่องสวรรคเบี่ยงตอนสุดทาย คือตอนที่พระเอกคุกเขาขอแตงงาน กอน หนานั้นนางเอกพูดอยูประโยคหนึ่ง วา “ฉันทำใจยอมรับเธอไมไดเลย เพราะภาพที่ติดตาอยูตลอดเวลาคือภาพที่เธอทำรายฉัน” ถามองในแง วิชาการ นี่คือไคลแม็กซของเรื่องที่นางเอกเริ่มมีปญหาสุขภาพจิตจาก มหันตภัยรายแรง (Posttraumatic Stress Disorder : PTSD) และ ปญหานั้นจะอยูกับตัวนานในระดับเปนเดือน เปนปหรือตลอดชีวิต ถาไม ไดรับการแกไขเยียวยาทางดานสุขภาพจิตอยางถูกตอง แตในละครนำเสนอวิธีการแก PTSD อยางไมถูกตอง คือพระเอก คุกเขาสวมแหวนขอแตงงาน แลวนางเอกก็ยินยอมหายโกรธซึ่งในความ เปนจริงแลวจิตใจของคนเราไมสามารถเยียวยาใหหายไดทันทีเชนนั้นได เพราะเปนปญหาสุขภาพจิตที่ตองพบจิตแพทยและตองรับการรักษา เชน การทำจิตบำบัดอยางตอเนื่อง อาการถึงจะดีขึ้น เนื้อเรื่องทำนองนี้มักนำเสนอวา พระเอกกับนางเอกรักกันอยูแลว คนดูก็รู และอยางไรเสียก็ตองลงเอยกัน แตในเชิงจิตเวชบอกวาในทาง ความเปนจริงคนจะสับสน ก้ำกึ่งวารักหรือไมรักกันแน ไมแนในทั้งตนเอง และฝายตรงขาม ซึ่งภาวะแบบนี้เปนความทุกข ประกอบกับความรุนแรง ที่ไดรับยิ่งทำใหสุขภาพจิตไมปกติ แมวาความรักจะเปนเครื่องเยียวยาได แตก็ตองใชเวลานานระดับหลายเดือนหรือหลายป โดยตองคอยๆ เริ่ม ตนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีตอกันใหม ไมใชปุบปบหายสับสน หายเปน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

129

ทุกขเพราะการขอแตงงาน ในความเป น จริ ง แล ว พฤติ ก รรมของพระเอกในละครหลายเรื่ อ ง แสดงถึงการมีปญหาทางบุคลิกภาพชนิดที่เรียกวาเปนอาชญากรคนหนึ่ง เลยทีเดียว แตผลลัพธที่ไดตรงกันขามโดยสิ้นเชิง เนื่องจากความหลอ ความรวย และความเทเปนเหตุใหเกิดความชอบธรรมในการทำชั่ว ซึ่ง ละครไมเคยนำเสนอขอเท็จจริงเชนนี้ “บางคนอาจจะบอกวาก็ใหอภัยกันไปเถอะจิตใจจะไดสงบ แตใน แงจิตวิทยาที่วิเคราะหใหลึกลงไปไมใชแบบนั้น แมวาจะมองละครอยาง คอนขางวิชาการแตโลกความเปนจริงเปนอยางนี้ ในวงการจิตแพทยเรา คุยกันวา บางเรื่องก็บอกวาเรื่องนี้ตองไมใหอภัย เชน พอขมขืนลูกทำราย จิตใจลูกอยางรุนแรงมาตลอดชีวิต ซึ่งในความเปนจริงแลวเปนการยากที่ จะทำใจที่ ใ ห อ ภั ย พ อ แต ต อ งให อ ภั ย ตั ว เอง เพราะสิ่ ง ที่ ซ อ นอยู ใ น จิตใตสำนึกก็คือ นอกจากโกรธคนที่ทำแลวยังโกรธตัวเองที่ไมสามารถ ปกปองตัวเองได จึงตองใหอภัยตัวเอง อันนี้ไมมีการนำเสนอ คนที่มาหา หมอเปนแบบนี้เยอะมาก” หลายคนคงสงสัยวา แลววิชาจิตเวชเกี่ยวอะไรกับละคร เพราะมี ปจจัยบงชี้ที่สำคัญและทยอยเพิ่มขึ้นวาละครเปนสื่อหนึ่งที่เกิดการเลียน แบบ และพฤติกรรมแบบละครกำลังขยายตัวลุกลามออกไปในสังคม ไทยซึ่งผูกระทำอาจคิดวาความรักหรือการขออภัยเยียวยาไดเหมือนโลก แหงละคร ขณะที่เหยื่อของการใชความรุนแรงอาจเกิดปญหาสุขภาพจิต ที่อาจจะรุนแรงหรือสงผลกระทบตอชีวิตอยางมากติดตัวไปในโลกแหง ความเปนจริง สำหรับคนเขียนบทละครอยางรัตนบุตร เห็นวา เพราะสังคมมีความ รุนแรงตางหาก ละครที่สรางออกมาจึงสะทอนสังคม ไมใชละครเปนตัว ทำใหสังคมเกิดความรุนแรงจากการเลียนแบบ เพียงแตเปนสีสันของ ละครทำใหการทำรายดูถึงใจมากขึ้น เพราะถาทำเทาเดิมก็ไมมีอะไรแตก ตางกับละครสมัยเดิม เพราะบริบทของสังคมสมัยนี้ในเปลี่ยนแปลงไป เพราะละครสะทอนสังคม ก็ตองสรางละครที่ใชบริบทของสังคมจริงมา


130

สรางใหรูสึกวาเปนเรื่องใกลตัว ในสังคมจริงๆ แตอยางไรก็ตามก็ยังคง เปนการแสดง “ก็เหมือนมหรสพทั่วไปไมวาลิเก หมอลำ นางอิจฉาก็ตบตีนางเอก แมเลี้ยงก็ตบตีลูกเลี้ยง มันเหมือนมหรสพอยางหนึ่งเหมือนกับการดูลิเก หมอลำนั่นแหละ จริงๆ มันก็คือการแสดง” เขาเห็นวา ไมไดหมายความวาละครจะเปนสื่อที่นำไปสูพฤติกรรม การเลียนแบบดวยตัวของมันเอง แตเกิดจากสภาพสังคมที่บีดรัด พอแม มีเวลาเอาใจใสลูกนอยลง การศึกษาที่เปราะบาง เด็กๆ ไมไดรับการ อบรมสั่งสอนเทาที่ควร และเชื่อวาถาสถาบันครอบครัวและระบบการ ศึ ก ษาเข ม แข็ ง เด็ ก ก็ จ ะแยกแยะได ว า ละครก็ คื อ ละคร ดู เ พื่ อ ความ บันเทิง ไมสามารถเลียนแบบได ไมสามารถขมขืนใครไดโดยไมมีความ ผิด ภูมิคุมกันที่ดีที่สุดคือความรักความอบอุนในครอบครัวและการศึกษา ในขณะที่รุจิรา แมบานที่มีลูกอยูในชวงวัยรุนบอกความรูสึกที่เห็น เยาวชนคนรุนลูกวา เยาวชนไดรับแนวคิดและเกิดพฤติกรรมเลียนแบบ อื่นๆ จากตัวละครดวย เชน ตัวอิจฉามักจะมีลักษณะพูดเสียงดัง ดัดจริต มีแนวคิดตะวันตก นิยมของนอก ฟุมเฟอย และเยาวชนสมัยนี้ก็ซึมซับ พฤติกรรมดังกลาวมาอยางไมรูตัว สมร ศิริพันธ แมบานวัย 60 ยานสะพานใหมบอกวา “เดี๋ยวนี้เห็น เด็กๆ ตัวนอยๆ ก็กรี๊ดๆ แลวก็ทำทาทางเหมือนในละคร ดูๆ เผินๆ ก็นา รัก แตถาคิดวาเลียนแบบละครก็นากลัววาโตขึ้นแลวจะเหมือนนางราย ในละคร” นอกจากการถายสำเนาจากเนื้อหาและพฤติกรรมของตัวละครแลว mirror neuron ยังสำแดงประสิทธิภาพของมันไดอีกหลายแบบ อยาง แฟชั่นตามละครที่เนนการโชวเนื้อหนังมังสาก็เปนเรื่องอีกเรื่องที่ตามมา อยางเห็นไดชัด และจำนวนไมนอยที่ละครเด็ก-เยาวชนซึ่งแสดงโดยเด็ก และวัยรุนก็ยังมีการแตงกายที่เนนความเปนหนุมเปนสาวเกินตัว ตัวอยางที่ใหเห็นไดจากละคร เชน หลังจากที่ละครเรื่องรายริษยา ออกอากาศไปไมนาน ความนิยมกางเกงขาสั้นก็ออกมาสูตลาด วัยรุน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

131

นิยมใสจนเกลื่อนถนน และแฟชั่นไมนอยที่กระโดดออกมาจากละคร โทรทัศน ลักษณะเชนนี้เห็นไดเปนรูปธรรม แตเรื่องนี้อาจไมใชปญหา มากนักหากไมขัดกับกาลเทศะจนเกินสมควร แตสิ่งที่ไมแสดงออกอยางชัดเจนอยางแฟชั่นตามละคร ก็คือคา นิยมที่ฝงซึมลึกอยูใตจิตสำนึกที่จะเปนอีกสวนที่สรางมาตรฐานสังคม อนาคตได ก็คือคานิยมวัตถุ เงินตรา ความฉาบเปลือกมากกวาจิตใจ และความดีที่แทจริง รุจิรา แมบานรายเดิมบอกอีกวา ละครไทยสรางคานิยมผิดๆ ใหกับ สังคมเปนจำนวนมาก ไมวาจะเปนการละเมิดศักดิ์ศรีของคนบางกลุม เชน การทำใหคนพิการดูนาสงสารตองรอคอยความชวยเหลือตลอดเวลา การทำใหผูซึ่งมีลักษณะเบี่ยงเบนทางเพศกลายเปนตัวตลก การดูถูกคน อีสานวาเปนคนชั้นสอง เปนไดเพียงแตคนใช สวนคนเหนือจะไดเปนเจา นาย หรือผูดีสูงศักดิ์ “อีกอยางละครไทยไมถายทอดออกมาวา คนรุนใหมตระหนักถึง วัฒนธรรมไทยอยางไร ซึ่งจะแตกตางจากละครตางชาติ เมื่อเราดูละคร ญี่ปุน ทุกครั้งที่มีการพบหนากัน ตัวละครจะมีการโคงคำนับทักทายกัน นั่นคือวัฒนธรรมของเขา สวนในละครไทย การยกมือไหวเพื่อทักทาย ตามมารยาทความเปนไทย แทบจะไมมีใหชม” รุจิรากลาวย้ำ นพ.กัมปนาทใหขอสังเกตของการสรางบุคลิกภาพพระเอกในละคร วา หลอ มีเสนห รวย มีบานใหญโต รถหรูราคาแพง มีกิจการเปน ตัวเอง การศึกษาดีจบจากตางประเทศ เอาแตใจ กาวราว ขี้นอยใจ เรียกรองความสนใจ ชอบขมขืน และขอโทษวาผิดไปแลว สวนลักษณะ ของนางเอกมั ก จะสวย โง ไร ห นทางต อ สู ซึ่ ง สุ ด ท า ยก็ จ ะสมหวั ง กั บ พระเอกที่ทั้งหลอทั้งรวย เหลานี้กอตัวคานิยมวัตถุมากขึ้นกวาความดี หรือจิตใจของคน “สื่อมีอิทธิพลอยางแนนอนในการสรางคานิยมเชนนี้ อยางคนไขที่ เคยพบ วัยรุนไทยอกหักรองไหเพราะแฟนทิ้ง และใหเหตุผลของความ เสียใจนั้นวาเสียดายวาเขาหลอ หรือตัดสินใจแตงงานกับฝรั่งเพราะจะได


132

มีเงิน เคยมีโพลถามวาเด็กไทยโตขึ้นมาอยากเปนอะไร บอกวาอยากเปน นักการเมืองเพราะโกงกินแลวร่ำรวย สามารถอยูในสังคมไดอยางมีหนา มีตา อยากเปนพระเอกหนัง เพราะขมขืนแลวไมมีความผิด บั้นปลาย ชีวิตมีความสุข” นพ.กัมปนาทกลาวดวยน้ำเสียงเปนหวง ผศ.ดร.เอื้อจิตร วิโรจนไตรรัตน ผูอำนวยการโครงการเฝาระวังสื่อ เพื่อสุขภาวะสังคม องคกรที่สำรวจพฤติกรรมการแสดงออกและคานิยม ที่ถายทอดจากละครใหความเห็นในประเด็นทางออกวา ควรจะมีการ วิเคราะหที่แกนของเรื่อง “อันนี้เราตองเริ่มถามหามาตรฐานของสังคมไทยแลววาเราตองการ มาตรฐานสังคมที่ถามหาแตเพศสัมพันธ ความสัมพันธระหวางหญิงชาย เทานั้นหรือเปลา รูปแบบเดิมๆ ถูกตอกย้ำในละครในสังคมวาหญิง 2 ชายหนึ่ง และตองแยงชิงกัน และก็มีการนำเสนอซ้ำๆ ตอกย้ำแบบนี้ หลายยุคหลายสมัย เราจะหลุดจากวงจรนี้ไดอยางไร” เปนคำถามที่นาจะมีนัยตรงกันกับ ดลฤทัย สมศักดิ์ นักศึกษาคณะ นิเทศศาสตร ภาควิชาวารสารศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่ตั้งคำถาม วา “จะเปนไปไดไหมหากผูผลิตรวมกันเพื่อที่จะสรางละครใหมีคุณภาพดี มีสาระดี และชวยกันเปลี่ยนคานิยมในสังคม เมื่อผูชมเปดทีวีขึ้นมาแลว เจอแตละครดีๆ ละครที่พัฒนาความคิด พัฒนาคุณภาพชีวิตของผูชม พฤติกรรมการเลียนแบบในทางที่ดีก็จะเกิดขึ้น สังคมก็จะดีขึ้นตาม” นี่คือคำตอบสวนหนึ่งจากรัตนบุตร “ละครที่ดีแลวดูสนุกดวยมันทำ ยากและมันตองคิดมากกวา ตองใชเวลา แตอุตสาหกรรมละครก็ตอง แขงขันกัน ตองสรางเร็ว ถาทำละครที่ดีก็ตองเสี่ยงวาเรตติ้งจะดีมั้ย สง ผลถึงสปอนเซอรและเวลาที่จะไดรับการยืดออกไปหรือตัดสั้นลงในการ ออกอากาศ มันถึงมีบางเรื่องนานๆ ที” แมวาปญหาความรุนแรงตามแบบละครจะเปนเรื่องที่หลายฝาย จับตามอง แตทัศนะของผูเขียนเห็นวาคานิยมของละครที่ตอกย้ำแต เพียงเรื่องความสัมพันธทางเพศและคานิยมเงินตรา ตลอดจนวัตถุ สิ่ง ฉาบเปลื อ ก เป น เรื่ อ งใหญ ก ว า เพราะผลกระทบของค า นิ ย มเหล า นี้


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

133

บั่นทอนคุณภาพและคุณธรรมของคนในประเทศ ซึ่งนาเปนหวงมากกวา ความรุนแรงที่แสดงผลเปนรูปธรรมชัดเจน ...มันจึงไมใชแคละครน้ำเนา... 2. โฆษณา...อิ ท ธิ พ ลหนั ง สั้ น ความถี่สูง เคย “พิสูจนรักแทใน 7 วัน” ไหม แฟนเก า ที่ เ คยทิ้ ง คุ ณ ไปหมั้ น กั บ หญิ ง อื่ น ต อ งหวนกลั บ มาแต ง งานกั บ คุ ณ ภายในสัปดาหเดียว ขณะที่ผลิตภัณฑเดียวกันโฆษณาอีกชิ้นมีเนื้อเรื่องวา เพื่อนสาวเดิน เขามาทักทายแลวนึกถึงสมัยเปนเพื่อเกาเคยปลื้มเมื่อวัยเด็ก แตชาย หนุมไมรูจักเพราะเธอคนนั้นผิวหนาแหงกรานไมสดใส หลังจากนั้นเธอ คนนั้นใชผลิตภัณฑบำรุงผิวหนา ชายหนุมมาพบ แลวเขามาทักเพื่อน สาวเมื่อพบวาใบหนาขาวใสสวยงาม สั ง คมไทยกำลั ง ได รั บ “สาร” อะไรที่ ซ อ น ซ อ นและเร น มากั บ “เนื้อหา” เหลานั้น ดูชิ้น โฆษณาอื่น เชน สเปรยดับกลิ่นกายผูชาย นำเสนอทำนองวา พอใชปบ สาวๆ ก็วิ่งมาเลื้อยรอบกายปุบ เคยมีโฆษณาแรงขนาดสาวๆ ตบตีกันเพื่อแยงชายคนที่ใชโรลออลนี้จนตองถูกหามออกอากาศ หรือ อยางเบาะๆ ก็ทำตาหวานแบบมีนัยสงให ไมตางกับโรลออนสำหรับวัย รุ น เริ่ ม โต ผู เ ขี ย นประมาณการคร า วๆ มากกว า ครึ่ ง ของโฆษณา ผลิตภัณฑชนิดนี้ใชเซ็กซเปนสื่อ แถมโฆษณาใหอีกชิ้นที่สะดุดตาไมนอยก็คือ ลูกอมดับกลิ่นปากที่ นายแบบอมแลวเดินเขาไปพูดกับใคร คนที่ไดกลิ่นก็ออกอาการทำทา เซ็กซี่เขาใส สวนอีกเวอรชั่นสาวเจาถึงกับปดรานปดประตูทำทาจะทำมิดี มิรายชายผูอมลูกอมยี่หอนั้นเสียเลย จิรา จิราสิต ผูสื่อขาวหนังสือพิมพเดลินิวส มีความเห็นวา เนื้อหา


134

เรื่องเพศที่แฝงในโฆษณาสะทอนใหเห็นถึงมุมมองของผูผลิตโฆษณาชิ้น นั้นๆ ที่มีตอสังคม “ความเรี่ยราดในเรื่องเพศมีมากในโฆษณา ผูผลิตสามารถผลิต โฆษณาออกมาไดอยางไมกระดากใจ แสดงวาในมุมของเขามองวา สังคมเปนเชนนั้นจริง ผูรับสารเองถามองแลวไมเกิดความขัดแยงขึ้นใน ใจ นั่นแสดงวาผูบริโภคก็เห็นดวยวาสังคมเปนเชนนั้นจริง ซึ่งเปนเรื่องที่ อันตรายมาก อยางโฆษณาลูกอมชิ้นหนึ่งที่มีการยั่วยวนทางเพศบริเวณ ปายรถเมล นั่นทำใหคิดไดวาสังคมไทยในปจจุบันหมกมุนอยูแตเรื่อง เพศไดทุกที่ทุกเวลา” จิรายกตัวอยางโฆษณาชิ้นเดียวกับที่ผูเขียนกลาว ถึง ผศ.กัลยกร วรกุลลัฏฐานีย อาจารยประจำคณะวารสารศาสตรและ สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อธิบายวา การโฆษณาทำให คนรูจักสินคาและสรางความตองการในสินคา นักโฆษณาในปจจุบันมี การศึกษาวิจัยเขาไปลวงเอาความรูสึกลึกๆ (insight) ของคนวาตองการ บริโภคสินคาแตละชนิดเพราะอะไร แลวเอามาใชทำโฆษณา เชน แชมพู ที่วัตถุประสงคในการทำความสะอาดเสนผม แตใชนางแบบแตงตัวเซ็กซี่ และมีทาทางยั่วยวน เพื่อใหดึงดูดใจเพศตรงขาม เพราะนักโฆษณารูวา คนสวนใหญในสวนลึกแลวตองการดึงดูดความสนใจเพศตรงขาม “การบริ โ ภคมี 2 ระดั บ คื อ เพราะความจำเป น กั บ เพราะความ ต อ งการ เช น ถ า หิ ว ก็ ต อ งกิ น แต โ ฆษณาสร า งว า ถ า หิ ว ก็ ต อ งกิ น แมคโดนัล เชนเดียวกับแชมพู ที่มีความจำเปนวาตองทำความสะอาด เสนผม แตโฆษณาสรางใหตองการยี่หอนั้นยี่หอนี้เพราะตองการดึงดูด เพศตรงขาม หรือสเปรยดับกลิ่นกาย ก็ใชเรื่องการดึงดูดเพศตรงขามเปน สื่อ เพียงแตมีกรอบในการนำเสนอวาไมสามารถโจงแจงไดอยางในตาง ประเทศ นั่ น เป น หน า ที่ ข องนั ก โฆษณาคื อ การสร า งความต อ งการให อยากบริโภคสินคา” ผศ.กัลยกร กลาว ตามความหมายนี้จึงนาจะเปนวา สินคามีกลุมเปาหมายอยูที่ใคร เชน สินคาที่มีกลุมเปาหมายที่เด็กนักโฆษณาก็จะขุดเอาความตองการ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

135

ลึกๆ ของเด็กออกมา สินคาที่มีกลุมเปาหมายที่วัยทำงาน นักโฆษณาก็ มักจะขุดเอาเรื่องความดึงดูดทางเพศขึ้นมาเปนสื่อเพราะอยูในวัยที่กำลัง หาคู ทั้งที่แกนสาระของชีวิตนาจะอยูที่ความตองการความสำเร็จในการ ทำงาน แตกลับมีการสื่อในแนวนี้นอยมาก ทำใหเกิดเปนคานิยมที่เห็น พองตองกันเพราะสิ่งที่ซอนอยูลึกๆ คลายคลึงกัน นี่จึงอาจเปนเหตุผลเดียวกับที่รัตนบุตรบอกวาละครสะทอนสังคม เพราะสังคมเปนเชนนี้ ละครจึงเปนเชนนั้น นัยยะนี้โฆษณาก็คงไมตาง อะไรกัน “เปนประเด็นที่ถกเถียงกันวาไกกับไขใครเกิดกอนกัน เพราะคนมี กิเลสอยูแลวแตนักโฆษณาไปขุดเอาออกมาใช” ผศ.กัลยกร กลาว เชนนี้ผูเขียนจะอุปมาวา ความรูสึกลึกๆ หรือ insight หรือกิเลสที่ ซุกซอนอยูในจิตใตสำนึกก็เหมือนสารพิษที่ฝงอยู ถาไมขุดออกมาก็ไม แพรกระจายจนเปนพิษไดหรือไม โฆษณาที่สื่อถึงความนิยมวัตถุอยางไรขอบเขตจนสามารถเหยียด หยามความเปนมนุษยก็มีจำนวนไมนอย เชน โฆษณาที่เดินเรื่องดวย สาวๆ กลุมใหญวิ่งกรูเขาไปเอาตัวบังรถแสนหรู เพราะกลัวเปยกน้ำที่รถ อีกคันกำลังวิ่งมาอยางเร็วจนน้ำที่เจิ่งคางบนถนนกระจายเขาใส ผลก็คือ สาวๆ เหลานั้นยอมตัวเปยกน้ำที่กระเซ็นจากพื้นถนนดวยความภาค ภูมิใจที่ทำใหรถหรูคันนั้นยังคงสะอาดเอี่ยม ในขณะที่อีกเวอรชั่นสาวๆ (กลุมเดิมหรือเปลาก็ไมรู) วิ่งกรูไปลมทับสุนัขตัวนอยหนาตาเหลอหลา เพียงเพราะมันจะฉี่ใสลอรถแสนหรูยี่หอเดิม ขณะที่ จิรา นักขาวสาวเลาถึงประเด็นภาพตัวแทน เชน การใชพรี เซนเตอรผลิตภัณฑ มักจะเนนแตผูที่มีหนาตาดี เปนดารานักแสดงหรือ บุคคลที่มีชื่อเสียงเทานั้น แสดงถึงคานิยมในการยอมรับผูที่มีภาพลักษณ ดี สวย หลอ มีชื่อเสียงมากกวาการใหความสำคัญกับบุคคลที่มีความ ธรรมดาแตเปนบุคคลสวนมากของสังคม “โฆษณาบางชิ้นสามารถมองไดวาเปนการตอกย้ำความขี้เหรของ คน หรือเปนการกดขี่ทางเพศอยางรุนแรง อยากใหผูผลิตใหความสำคัญ


136

กับคนดี ไมใชดีแตภาพลักษณ ควรจะมีความดีจากขางใน หลอสวยจาก จิตใจที่ดี ความคิดที่ดีมากกวา” จิราวา ในการนำเอาเรื่องเพศมาเปนเครื่องมือเพื่อสื่อแลว เนื้อหาของการ โฆษณาเพื่อชักจูงใหเกิดการบริโภคนั้นจำนวนมาก ชักจูงใจใหเกิดการ บริโภคที่ขาดการไตรตรอง หรือเกินความจำเปน เชน โฆษณาของกินเพื่อ ใหอิ่มแทนอาหาร มีโฆษณาเรื่องหนึ่งนำเสนอวาหญิงสาววัยรุนคนหนึ่ง เหลือเงินติดตัวอยูไมมาก แมวาจะหิวแตก็เลือกที่จะซื้อเสื้อผา แลวมาซื้อ ผลิตภัณฑนี้เพียง 5 บาทกินแทนก็อิ่มไดเหมือนกัน ประเด็นนี้รวมไปถึงโฆษณาประเภทชักจูงใจใหสรางหนี้ ไมวาจะ เปนบัตรเครดิต เงินกูระยะสั้น ที่นำเสนอใหเห็นวาสิ่งปรุงแตงชีวิตหรูหรา ฟุมเฟอย ใครๆ ก็มีได เพียงแตตองยอมตนลงเปนหนี้เทานั้น ผศ.กัลยกร ยอมรับวาโฆษณามีสวนสงผลตอคานิยม โดยบอกวา โฆษณาสามารถสรางคานิยมวัตถุใหเกิดขึ้นไดโดยเฉพาะเด็กจะเชื่อตาม สิ่งที่เห็น แลวเด็กไทยไมเคยถูกสอนใหมีกระบวนการคิด จะโทษโฆษณา อยางเดียวก็ไมได เพราะสังคมไทยเปนสังคมเปดรับทุกอยางแตไมเคย ปองกันอะไรเลย เด็กทุกวันนี้เชื่อโฆษณา โทษโฆษณาก็ไดวาโฆษณาทำใหเด็กเชื่อ แตโฆษณาก็ทำหนาที่ของเขา โฆษณาเปนธุรกิจก็ตองอยูได ตองทำให คนเกิดความอยากกิน อยากใช ถาไมมีโฆษณาธุรกิจก็ไมเติบโตเพราะ ไมรูจักสินคาก็ไมเกิดการบริโภค แตการเปดรับสื่อก็ควรมีกระบวนการใหการศึกษาใหรูเทาทัน ตอง ปลูกฝงใหเปนสังคมที่รูจักคิด มีสติที่สามารถไตรตรอง ซึ่งตองปลูกฝงตั้ง แตเด็กใหมีกระบวนการคิด สิ่งที่เห็นไมใชสิ่งที่ถูกตองเสมอไป สุดทายก็ มาอยูที่ระบบการศึกษาของไทยที่สอนใหทองสอนใหจำเปนหลัก ไมได สอนใหคิด ในขณะที่ภาวะแวดลอมสังคมที่พอแมไมมีเวลาดูแลในราย ละเอียดที่ลูกสัมผัสอยู แต ผศ.กัลยกรก็เห็นวา โฆษณาในปจจุบันมีแนวโนมในการสง เสริมสังคมมากขึ้นเรื่อยๆ มากกวาเมื่อกอนมาก อาจเปนเพราะวาสังคม


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

137

แยลง จึงมีความตองการยกระดับสังคม ตองทำหนาที่ใหการศึกษา ให ความรูเทาทันกับสังคม เชน โฆษณาการรณรงคไมดื่มเหลา ไมสูบบุหรี่ ใหมีการแบงปน ใหเห็นถึงความดี และใหคิดแบบพอเพียง ซึ่งโฆษณา แบบนี้ก็เกิดจากการนำเอาความรูสึกลึกๆ ของคน หรือ insight ออกมา ใชเชนเดียวกัน ผูเขียนขอตั้งคำถามแลวเรามาชวยกันตอบวา เหลานี้จะมีผลตอ ความคิด คานิยมใหคนในสังคม ไมเฉพาะเด็กและวัยรุนแตรวมถึงผูที่อยู ในระดับที่มีวุฒิภาวะแลวดวย ที่เห็นเรื่องการดึงดูดใจเพศตรงขามดวย วัตถุปรุงแตงเปนสาระหลักมากกวาการยอมรับกันที่ความดีความชั่วหรือ ไม เหลานี้มีผลทำใหผูบริโภคดำเนินชีวิตแบบคิดสั้นเพียงเฉพาะหนาหรือ ไม และเหลานี้กำลังบั่นทอนคุณภาพและคุณธรรมของคนไทยเราหรือไม ในทั ศ นะของผู เ ขี ย นแล ว โฆษณาเป น สิ่ ง อำนวยความสะดวก สำหรับการทำงานของ mirror neuron เปนอยางดี อาจจะดีกกวาละคร เสียดวยซ้ำไป เพราะการผลิตโฆษณาจะไมมีการจัดระดับความเหมาะ สมหรื อ เรตติ้ ง เพี ย งแต ถู ก คั ด กรองโดยกลุ ม เป า หมายของรายการที่ โฆษณาไปลงเทานั้น ไมมีการจำกัดชวงการออกอากาศ (ยกเวนโฆษณา เครื่องดื่มแอลกอฮอล) ไมจำกัดสถานี ที่สำคัญก็คือมีความถี่ในการเผยแพรสูง ไมเพียงสงผลใหผูชมที่ยัง ขาดวุฒิภาวะไดรับการซึมซับสิ่งเหลานั้นเขาไปโดยไมรูตัว และทำใหเกิด พฤติกรรมตลอดจนคานิยมเลียนแบบขึ้นไดเทานั้น แตผูเขียนเห็นววา แมแตผูที่มีวุฒิภาวะแลวก็มีไมนอยที่หลงลมโฆษณา ปลอยใหสิ่งที่เซลล ถายสำเนาเก็บมาบวกกับกิเลสสวนลึก มีอิทธิพลในการตัดสินใจบริโภค โดยลืมควักเอาวิจารณญาณออกมาใชอยางไมรูตัว 3. รายการสารพัด สาระ...แน กอนหนานี้มีการตอตานอยางหนักสำหรับเกมโชวหลายรายการที่มี รูปแบบรวมดำเนินการอยางใดอยางหนึ่งดวยกัน แลวตองโหวตคนอื่น ออก คนที่ถูกโหวตออกก็ออกมาพูดดวยความรูสึกเคียดแคนที่ถูกหักหลัง


138

เพราะรายการแบบนี้ขัดแยงกับความรูสึกของสังคมไทย แตพอมาถึงเกมโชวรายการหนึ่งที่มีเงินรางวัลถึง 1 ลานบาท การ แขงขันนอกจากตองตอบคำถามเพื่อเขาไปใหไดพบวาเงินนั้นอยูที่ไหน ไฮไลตของเกมนี้อยูที่ความสามารถในการโกหก เพื่อใหคนอื่นตกรอบ มีเพียงผูโกหกและแสดงละครตบตาเกงเทานั้นที่มีโอกาสลุนเงินลาน รายการนี้กลับอยูยงคงกระพัน คนดูที่แมเปนผูใหญยังสอนกันนอกจอ เหมือนเชียรมวยวาจะตองทำทาทาง หนาตาหรือโกหกอยางไร คูแขงจึง จะจับไมได นาสงสัยวาการโกหกกลายเปนศิลปะที่พึงฝกฝนแลวหรือ อยางไร ขณะที่รายการทอลกโชว ก็ไมพนเรื่องความสัมพันธทางเพศที่มี หลายเรต ทั้งกำลังกอรางสรางเตียง เตียงดี และเตียงหัก ไปจนถึงเรื่อง ลับสวนตัว ความหรูหราฟูฟาประโลมโลกย “ไมเห็นดวยกับรายการซุบซิบดารา เพราะนอกจากคนดูจะไมได ประโยชนอะไรแลว บางครั้งหากเรามองในฐานะผูเสียหาย ถือไดวา รายการลักษณะนี้เปนการละเมิดสิทธิสวนบุคคลเปนอยางมาก เปนการ ละเมิดเรื่องสวนตัวเกินไป ซึ่งหากมีรายการเหลานี้เยอะๆ ในระยะแรก คนที่ไมชอบก็จะเกิดความรูสึกเบื่อหนาย แตพอนานไปก็จะเกิดความ เคยชิน และจะซึมซับสิ่งเหลานี้เขาไปจนกลายเปนนิสัยไดอยางไมรูตัว “มีบางรายการที่แขงขันกันโกหก ใครโกหกไดแนบเนียนที่สุดจะเปน ผูชนะ ไมทราบวารายการนี้สรางออกมาไดอยางไร เพราะรายการนี้ตอบ สนองความสนุก ความบันเทิงโดยที่ไมคำนึงถึงผลกระทบตอผูชมใน ระยะยาว หรือคนในสังคมไทยมองวาการโกหกในลักษณะนี้เปนเรื่อง ธรรมดาไปแลว” นายกฤษณะ คำรณฤทธิศร พนักงานบริษัทเอกชนให ทัศนะเหมือนกับระบายในสิ่งที่เห็นมานานแตไมเคยไดพูด มองกันตามนี้เรื่องเพศและความนิยมเงินตราวัตถุเปนแกนสาระ หลักหรือเปนภาพของสังคมไทยอีกแลวใชหรือไม อยางไรก็ตาม รายการดีๆ ที่มีสาระใหแนวคิดที่เกาะอยูกับความ เปนจริง อยางคุณพระชวย แฟนพันธุแ ท ยุทธการพอเพียง รายการสุรวิ ภิ า


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

139

หรือดิ ไอคอน ก็มีไมนอย เพียงแตทั้งปริมาณและความถี่ยังคงเทียบกัน ไมได นายสามารถ ศิริบุญ อาจารยภาควิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย กรุงเทพ ใหความเห็นวา รายการบันเทิง และเกมโชวนั้น ไมวาจะสราง ขึ้นมาในลักษณะใน จุดประสงคหลักคือตองการสรางความบันเทิงไป พรอมๆ กับการพัฒนาทักษะเบื้องตนของผูชม เพื่อแขงขันและเอาตัว รอดไดในสังคม โดยธรรมชาติของรายการบันเทิง และเกมโชว จะมี หลายลักษณะแตกตางกัน ซึ่งขึ้นอยูกับความคิด ความสามารถ คุณภาพ ของผูสรางหรือผูผลิต “รายการบันเทิง เกมโชวดีๆ ในสังคมไทยมีมาก แตรายการที่ไมดีก็ มีมากดวยเชนกัน ซึ่งเราในฐานะผูบริโภคไมสามารถที่จะควบคุมได ทำไดมากที่สุดเพียงแคการเลือกรับสาร ซึ่งหากเปนผูที่มีวุฒิภาวะเพียง พอก็จะเลือกรับและแบงแยกขอมูลที่แฝงมากกับสารได แตหากเปนเด็ก หรื อ เป น ผู ซึ่ ง ไม มี วุ ฒิ ภ าวะที่ เ พี ย งพอ ย อ มที่ จ ะถู ก รายการเกมโชว มอมเมาไดงาย” นายสามารถกลาว “รายการที่ไมดีเหลานี้ ในระยะยาวจะสามารถสรางผลกระทบใหกับ สังคมได เนื่องจากเปนหลอหลอมความคิดที่ผิด สรางพฤติกรรมเลียน แบบที่ไมถูกไมควร ซึ่งหากยังปลอยใหรายการลักษณะนี้เปนผูนำและ ครอบครองสวนแบงทางการตลาดไดมาก ในอนาคตสังคมอาจจะตอง บอบช้ำอยางไมเปนทา” นายกฤษณะกลาวถึงผลกระทบไดเขาเคา ทั้งที่ ไมรูจักเซลลถายสำเนา ในประเด็นของรายการสนทนาและเกมโชว ผูเขียนเพียงแตอยากให เห็นวาเราสัมผัสสื่อ รับอิทธิพลจากสื่อประเภทนี้ไมนอยกวา 2 ประเภท แรก แตในเนื้อหาผลกระทบคงไมแตกตางกัน เพราะจำนวนมากยังคง เกาะอยูกับคานิยมทางเพศและวัตถุ เพียงจำนวนนอยที่ใหเวทีกับการ สรางเสริมคุณภาพและคุณธรรมของคนในประเทศ 4. สองคูบ นจอขาว ดารา VS คนดี ใครชิงพืน้ ทีไ่ ดมากกวากัน


140

“ดาราตายคนหนึ่งมีขาวทุกวัน เด็กๆ ก็ยิ่งคลั่งไคลกันไปใหญ ไมรู สรางความดีความชอบอะไรใหแผนดินนักหนา ไมรูพอแมเจ็บปวยตาย จะรองหมรองไหอยางนี้ไหม” เสียงของคนบานใกลเรือนเคียงของผูเขียน ที่มีลูกสาววัยรุนถึง 2 คน บนมาลอยเขาหู หลังจากเพื่อนบานรายนี้ หงุดหงิดกับการนำเสนอขาวการปวยและเสียชีวิตของนักรองวัยรุนกำลัง ดังคนหนึ่งทุกวัน แลวมาเห็นขาวครึกโครมของนักรองหญิงวัยรุนที่เพิ่งได รางวัลจากการประกวดเวทีหนึ่งอีกคนที่เสียชีวิตเวลาหางกันไมกี่เดือน อันนี้คงตองขอเอยนาม ซึ่งก็ตองขออภัยผูเสียชีวิตทั้ง 4 ทานและ ญาติ แตก็เพื่อเปนการเรียนรูในสังคม ซึ่งประเด็นนี้ไมใชความรับผิดชอบ ของทั้ง 4 ทานแตอยางใด แตเราคงตองมาดูกันวา ใคร...ควรตองรับผิด ชอบในบทบาทใดกันบาง เมื่อ “บิ๊ก ดีทูบี” เสียชีวิตในเวลาที่ใกลเคียงกับ “มด วนิดา ตันติ วิทยาพิทักษ” นักตอสูเพื่อคนจน กับอีกคูคือ “น้ำ เดอะสตาร” เสียชีวิตใน ชวงเวลาไมหางกันนักกับ “พญ.เพ็ญนภา ทรัพยเจริญ” ขุนพลแหงวงการ แพทยแผนไทย ผู เ ขี ย นไม แ ปลกใจที่ ค นทั่ ว ไปคงรู จั ก “บิ๊ ก ดี ทู บี ” มากกว า “มด วนิดา” และรูจัก “น้ำ เดอะสตาร” มากกวา “พญ.เพ็ญนภา” เพราะ การนำเสนอขาวการเสียชีวิตของทั้ง 4 ทาน ชางมีพื้นที่ในขาวที่แตกตาง กันราวฟากับเหว ไมตองอธิบายวาบิ๊ก ดีทูบี เปนใคร แตสำหรับมด วนิดา คงตองพูด ถึงสิง่ ทีค่ กู นั คือการตอสูเ พือ่ คนจนทีเ่ ขือ่ นปากมูล ในขณะทีค่ งไมตอ งบอก วาน้ำ เตอะสตารเปนใคร แตก็คงตองบอกวา พญ.เพ็ญนภาคือผูกรุยทาง แพทยแผนไทย สมุนไพรไทย ที่ทำใหตอยอดมาถึงการนวดแผนไทยไป จนถึงสปา และอโรมาทั้งหลายที่บูมตลาดสุขภาพจนถึงขั้นสงออกไปตาง ประเทศอยางทุกวันนี้ ผูอานลองถามตัวเองดูวา ไดยินขาวของใครมากกวากัน ยิ่งถาเปน วัยรุน นาจะรูจักใครมากกวากัน บุญญิตา งามศัพพศิลป บรรณาธิการขาวบันเทิงสถานีโทรทัศนเอ็น


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

141

บีที (NBT) ใหทัศนะในการเลือกสรรนำเสนอขาวบันเทิงวา ขาวบันเทิง เปนสื่อที่นำเสนอขาวที่อยูในความสนใจของประชาชน คงไมไดพูดถึง เรื่องของการทำคุณประโยชนใหสังคมสักเทาไหร แตในแงหนึ่งก็มองได ถึงพฤติกรรมที่มีคุณประโยชนของดารา เชน รองเพลงใหความบันทิง หรือเปนตัวอยางที่ดีในแงของการเลี้ยงดูพอแม “การนำเสนอขาวบิ๊ก หรือน้ำ ก็เปนเรื่องปกติธรรมดาที่อยูในความ สนใจของคน ถามองมิติที่ดีก็มีในแงของเด็กๆ ที่ไปเฝาอยูที่โรงพยายา บาลก็เปนแรงบันดาลใจใหเด็กคนหนึ่งเรียนพยาบาล เห็นความเอื้อ อาทรกันระหวางแฟนคลับที่ไปเยี่ยม แตแฟนคลับที่ไปตามกระแส ไป ดวยความฉาบฉวยก็มี เพราะวัยรุนก็เปนวัยที่หวือหวา ตามกระแส เปน เรื่องปกติ ที่สมัยเราเด็กๆ เราก็เปนเหมือนกันที่มีดาราในดวงใจ ทุกคน อาจจะมองวาอะไรกันหนักหนา พอแมเจ็บปวยจะรองหมรองไหไปเฝา ดูแลขนาดนี้มั้ย อันนี้มันเปนวัยของเขา มันเปนเรื่องเฉพาะกลุมและหวือ หวาฉาบฉวยเหมือนแฟชั่น มาเร็วไปเร็ว “แตเราก็ตองมีวิจารณญาณในการนำเสนอ ไมใหเกิดการแหตาม กันมา เรานำเสนอความเคลื่อนไหวได แตเดี๋ยวนี้มีธุรกิจสื่อบันเทิงเขามา ดวย การนำเสนอในรูปแบบรายการบันเทิงก็ทำใหยิ่งหวือหวามากขึ้น มี การแตงแตมสีสันมากขึ้น หางไกลออกไปจากความเปนขาวมากขึ้นไป อีก” บุญญิตายอมรับวา การนำเสนอขาวที่เสนอความดีที่ใชความเปน ดารามาเปนเครื่องมือในการนำเสนอยังนอยมาก ซึ่งเปนเรื่องที่สะทอนให เห็นวาสังคมเปนอยางไร “ดาราก็เหมือนเราตอนเราเด็กๆ ที่มีแฟนแลวก็เลิกแลวมีแฟนอีก ก็ มีชีวิตที่มีสีสันเหมือนกับเด็กวัยรุนทั่วๆ ไป เพียงแตเขาอยูในที่สวาง เท า นั้ น คนก็ เ ลยเห็ น ได ม าก มองแง นี้ ด าราไม ไ ด มี อิ ท ธิ พ ลอะไรนั ก เพราะก็ เ หมื อ นกั บ คนธรรมดาคนหนึ่ ง ที่ ส ะท อ นบุ ค ลิ ก ของสั ง คมนั่ น แหละ” บรรณาธิการขาวสถานีโทรทัศน NBT กลาว สวนณาตยา แวววีรคุปต บรรณาธิการขาวประชาสังคม สถานี


142

โทรทัศนไทยพีบีเอส บอกวายกทีมขาวถายทอดสดไปรายงานสดงาน รำลึก 100 วันวนิดา เพราะวาเขาเปนคนดี “เราไมไดทำขาวที่เกี่ยวของกับงานศพ แตเราไปดูวาอะไรเปนมรดก ที่คนตายฝากเอาไว และพยายามหยิบมาเอาขยายตอเพื่อใหเปนบน เรียนสังคม ใหคนที่ยังมีชีวิตอยูไดเรียนรูเพราะมีความหมาย คุณคา และคุณงามความดี” ณาตยา กลาว ณาตยาบอกดวยวา อีกสวนหนึ่งเพื่อใหคนทั่วไปไดเห็นวายังมีคน จำนวนหนึ่งในสังคมนี้ไมไดทำแตเรื่องของตัวเองแตทำเพื่อคนอื่น แตที่ ผานมาสังคมไมไดมีโอกาสเรียนรูเพราะคนเหลานี้ไมใชคนดัง แตเรื่อง พวกนี้สำคัญตอการอยูรวมกันในสังคมไทยที่ซับซอนมากขึ้นที่คนจะอยู อย า งโดดเดี่ ย วมากขึ้ น เรื่ อ งของวนิ ด าถ า ถู ก เสนอผ า นสื่ อ จะมี ผ ลต อ สังคมมาก ก็อาจจะทำใหเกิดผลที่ดีในการเรียนรูในความดีได “รูสึกเหมือนกันวาขาวคนดีนอยกวาขาวคนดัง คงตองถามเหมือน กันวาสื่อทำขาวคนดังเพราะคิดไปเองหรือเปลาวาคนสนใจคนดัง คนใน สั ง คมสนใจคนดี ก็ มี ไ ม น อ ย” บรรณาธิ ก ารข า วประชาสั ง คม สถานี โทรทัศนไทยพีบีเอส ทิ้งทายดวยคำถาม ความครึกโครมของขาวคนดังที่เกิดจากทั้งสถานีโทรทัศนทุกชอง ชวยกันโหมใหดัง รายการจำนวนมากแหกรูมาทำเรื่องเดียวกัน ในขณะที่ ความถี่ของขาวก็มีสูง ตางกับขาวคนดีราวฟากับเหวจริงๆ จนทำใหผู เขียนอยากตั้งอีกคำถามวา นี่เปนปรากฏการณ “ความดังมากอนความ ดี” แลวเด็ก ๆ เยาวชนที่บริโภคสื่อจะถูก mirror neuron หรือเซลลถาย สำเนา ชักจูงใหนิยมในความดังมากกวาความดีหรือเปลา แตอันนี้ก็เขาใจไดวา ในสวนของผูสื่อขาว ตางคนตางก็หนาที่กัน นักขาวบันเทิงก็ยอมตองนำเสนอขาวบันเทิง นักขาวสาระก็ยอมตองนำ เสนอขาวสาระ แตการใหพื้นที่หรือความสำคัญวาขาวประเภทใดควรมี พื้นที่ น้ำหนักมากนอยเพียงใด คงตองอยูที่วิจารณญาณของผูบริหาร พื้นที่ขาวเปนสำคัญ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

143

à߇√◊ËÕß ++++

เมื่อตนเดือนสิงหาคม 2551 เกิดคดีสะเทือนใจพอๆ กับสะเทือน ขวัญที่เด็กชายอายุ 19 ที่เปนเด็กเรียนดีกอคดีฆาคนขับแท็กซี่ เพราะคิด วาการฆาคนไมใชเรื่องยาก ไมตางอะไรกับในเกมคอมพิวเตอร นี่อาจมี นัยยะถึงผลกระทบจากการบริโภคสื่อที่ขาดการกลั่นกรอง แมวาผลกระทบจากการบริโภคสื่อโทรทัศนยังไมมีปรากฏใหเห็นถึง ความรุนแรงเชนนี้ แตนี่ก็เปนขอพิสูจนอยางหนึ่งวา สื่อมีอิทธิพลตอ พฤติกรรม คานิยมแนนอน โดยเฉพาะผูที่ออนดอยวุฒิภาวะ ในขณะที่ สั ง คมเรามี แ นวโน ม เป น แบบนี้ ละครเรื่ อ ง “สงคราม นางฟา” ที่เราเห็นเมื่อตนป ผานมาครึ่งปเราก็ไดเห็น “ความลับของ ซุปเปอรสตาร” ออกมาตอกย้ำแกนและแนวการเดินเรื่องที่แทบไมแตก ตางกัน คงชิงกันที่เรื่องไหนจะแสดงความเสื่อมในตัวตนมนุษยไดถึงพริก ถึงขิงมากกวากัน ไมวาสื่อจะสะทอนสังคมหรือสังคมลอกเลียนสื่อ ไกหรือไขอะไรเกิด กอนกัน ปรากฏการณของสังคมก็กำลังแสดงเห็นถึงแนวโนมของมันที่ไม นาจะพึงประสงคเหมือนกัน การไขวควาหาความตองการสิ่งที่ดีที่สุดตามตองการสำหรับตัวเอง ไมใชเรื่องแปลกของมนุษย แตการแสวงหาสิ่งที่ดีใหตัวเองควรจะเกาะ เกี่ยวอยูกับความเปนจริงตามมาตรฐานสังคมที่ดี หนังสือแนวพุทธที่ชี้ ทางแหงความสำเร็จอยาง “เดอะ ท็อป ซีเคร็ต” บอกวิธีการไปสูสิ่งพึง ประสงคอยางหนึ่งก็คือสรางจุดบวกใหกับตัวเอง โดยยกตัวอยางวา “วัย รุนที่คลั่งไคลดารา อยากสวย อยากหลอแบบนั้น พยายามแตงตัว ทำ ทรงผม ทาเดินใหคลายดาราที่ตนชื่นชอบ จุดบวกเหลานั้นเปนของปลอม เชนเดียวกับการไปมองที่แหวนเพชร รถเบนซ คฤหาสน สวนบวกที่แท จริงตองมองไปที่นามธรรม เชน ความเชื่อมั่นในตนเอง ความขยัน กลา หาญ ออนโยน มีสัมมาคารวะ สิ่งเหลานี้จะทำใหเขาประสบความสำเร็จ ไมใชรูปธรรม”


144

เรื่องนี้เพียงตั้งใจใหเปนเรื่องเตือนใหตั้งสติในการบริโภคสื่ออยางรู เทาทัน มีโทรทัศนเปนสิ่งสะทอนถึงสื่อประเภทอื่นดวย มองใหเห็นอีก ดานของเนื้อหาที่มีสิ่งซุกซอนและซึมเขาสูความรูสึกนึกคิดโดยไมรูตัว แต ก ารรู เ ท า ทั น สื่ อ เด็ ก หรื อ ป จ เจกบุ ค คลอาจไม ส ามารถรู เ ท า ทั น ได ทั้งหมดดวยตัวเอง ดังนั้นการสงเสริมใหรูเทาทันจะตองครบทั้งกระบวนการคือ เด็ก รูทัน พอแมรูทัน โรงเรียนรูทัน และรัฐบาลรูทัน แตในภาวะที่ไมอาจหลีก หนีไดและยังไมอาจพึ่งพากลไกอื่นใดได เราจึงตองหันมารวมกันเฝา ระวังตัวเองและลูกหลานซึ่งเปนผูที่จะกำหนดมาตรฐานสังคมอนาคต สุดทายก็คือสังคมที่แวดลอมเราและลูกหลานวาจะเปนสังคม ที่เกลื่อนไปดวยมลพิษจิตวิญญาณหรือไม + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + บรรณานุกรม ทันตแพทยสม สุจีรา. เดอะ ท็อป ซีเคร็ต. พิมพครั้งที่ 16.เมษายน 2551. …........................ สมุดปกแดง. เด็กไทยรูทัน ตอตานการโฆษณาหลอกเด็ก. ในการ สัมมนาระดับชาติเพื่อพัฒนาระบบและโครงสรางการพิทักษเด็กและ เยาวชนจากการถูกหาผลประโยชนโดยโฆษณาชวนเชื่อขนมเด็ก. 10 มีนาคม 2547 ณ หอประชุมใหญ ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย …........................ สมุดปกฟา. คำบรรยายนำของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี เรื่อง คาถาเด็กไทย รูทัน อนุสติเพื่อการปองกันเด็กและเยาวชนจากการครอบงำของลัทธิ บริโภคนิยมโดยสื่อมวลชน. ในการสัมมนาระดับชาติเพื่อพัฒนาระบบ และโครงสรางการพิทักษเด็กและเยาวชนจากการถูกหาผลประโยชนโดย โฆษณาชวนเชื่อขนมเด็ก. 10 มีนาคม 2547 ณ หอประชุมใหญ ศูนย วัฒนธรรมแหงประเทศไทย …........................


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

145

รายงานการศึกษาโครงการศึกษาและเฝาระวังสื่อฯ รอบที่ 3 เรื่อง “รายการโทรทัศนสำหรับเด็ก” ( 3, 5, 7, 9, 11 และไอทีวี วันที่ 5-11 มกราคม 2549) โครงการศึกษาและเฝาระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม …........................ รายงานผลการศึกษารอบที่1 รายการละครในชวงเวลา เด็กเยาวชนและครอบครัว ทางสถานีโทรทัศน ฟรีทีวี ( 3, 5, 7, 9, 11 และไอทีวี เดือนสิงหาคม 2548) โครงการศึกษาและเฝาระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม …........................ รายงานผลการศึกษารอบที่ 18 โฆษณาตรงและแฝงในละครซิทคอม (ในฟรีทีวี ชอง 3, 5, 7 และ 9 ใน ชวงเดือนกันยายน – ธันวาคม 2550) โครงการศึกษาและเฝาระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม …........................ รายงานผลการศึกษารอบที่ 19 อคติ/ภาพตัวแทนในละครซิทคอม (ในฟรีทีวี 3, 5, 7 และ 9 ระหวาง เดือนกันยายน-ธันวาคม 2550) โครงการศึกษาและเฝาระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม …........................ รายงานผลการศึกษารอบที่ 21 โฆษณาในรายการเด็ก (ในฟรีทีวี 3, 5, 7, 9, 11 และ ไทยพีบีเอส วันที่ 1-14 มีนาคม 2551) โครงการศึกษาและเฝาระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม …........................ แหลงขอมูลเพิ่มเติม www.adintrend.com, www.mediamonitor.in.th, www.porpeanglife.com, www.whitemedia.org


146

‡°¡≈à“¡‘√Ÿâ®∫

ç —μ«åªÉ“é ‘π§â“∑’ˬ—ߢ“¬¥’ ++++++++++++++

™ÿ≈’æ√ ∫ÿμ√‚§μ√ Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå¢à“« ¥


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

147

กลางดึก วันที่ 29 มกราคม 2551 เจาหนาที่ จากกองบังคับการหนวยเรือรักษาความสงบเรียบรอย ตามลำน้ำโขง (นรข.) หรือที่ชาวบานรูจักกันดีวา “ทหารแมน้ำโขง” พรอมดวยเจาหนาที่จากดานตรวจสัตวปานครพนม นำกำลังแอบซุมใน ริมปา ริมโขง เพื่อเตรียมปฏิบัติการในการจับกุมแกงลักลอบคาสัตว หลังไดรับรายงานในทางลับวา กลุมผูกระทำผิดเตรียมที่จะลำเลียงขาม แมน้ำโขงไปยังประเทศเพื่อนบาน และถาหากขามไปได สัตวปาเหลานี้ จะกลายเปนสินคาที่มีมูลคามหาศาล หลังใชเวลาซุมเงียบอยูจนกระทั่งใกลเชาของวันใหมไมนานนัก เรือ หางยาว 2 ลำ ที่แลนมาจากฟากน้ำฝงตรงขาม คอยๆ ชะลอความเร็ว กอนเขาจอดเทียบอยูริมตลิ่งแมน้ำโขง ในลักษณะกำลังรออะไรสักอยาง คาดการณไดวา พวกเขากำลังมารอรับสินคาที่ใกลจะเดินทางมาถึงในไม ชา เจาหนาที่ทุกคนไดรับคำสั่งใหเตรียมพรอมปฏิบัติการ ไมกี่อึดใจ รถกระบะตอนเดียว สีบรอนซเงิน ติดแผนปายทะเบียน ระบุ หมายเลข และจังหวัดนครพนมชัดเจนขับฝาความมืดอยางรวดเร็ว มาจอดเทียบริมแมน้ำโขง บริเวณเดียวกับเรือหางยาว 2 ลำ ที่จอดรออยู ชายฉกรรจ 3-4 คนบนรถ เป ด ประตู อ อกมาพร อ มกั บ ช ว ยกั น แบก กระสอบปาน ที่วางกองเรียงรายอยูทายกระบะ ลงไปกองไวที่ริมตลิ่ง ใน ลักษณะเรงรีบ


148

จั ง หวะนั้ น เอง เสี ย งคำสั่ ง ให ป ฏิ บั ติ ก ารจู โ จมเริ่ ม ขึ้ น เจ า หน า ที่ ทั้งหมดจึงกรูออกจากปาเพื่อจับกุม แตระหวางชุลมุน กลุมชายฉกรรจผู กระทำผิดทั้งหมดพากันโยนกระสอบของกลางทิ้ง แลววิ่งหนีเตลิดเปด เปงอาศัยความมืดพรางตัวเขาปาไปหมด ในขณะที่คนบนเรือก็แลนหนี ขามฝงไป ทิ้งเพียงกระสอบปานหลายกระสอบไวริมตลิ่งนั่นเอง จากการตรวจสอบของกลางทายกระบะรถยนต เจาหนาที่พบ ถุง ตาขายและกระสอบใสตัวนิ่มจำนวน 55 ถุง จำนวน 300 ตัว สวนใน กระบะรถนิสสันพบซากเสือพันธุตางๆ สภาพถูกชำแหละถลกหนังออก จนหมด แยกเปนเสือโครง 6 ตัว น้ำหนักประมาณตัวละ 150 กิโลกรัม เสื อ ดาว 3 ตั ว และเสื อ ลายเมฆ 2 ตั ว น้ ำ หนั ก ตั ว ละประมาณ 80 กิโลกรัม แตละตัวถูกตัดหัว และลำตัวแยกเปน 2 ทอนและใชน้ำแข็งใส แชไวอยางดี คิดเปนมูลคากวา 3 ลานบาท จึงยึดตัวนิ่มและซากเสือ ทั้งหมดไวเปนหลักฐานเพื่อสืบหาตัวผู กระทำผิดมาดำเนินคดีในขอหา รวมกันคาและมีไวในครอบครองซึ่งเปนสัตวปาคุมครองและหวงหาม โดยไมได รับอนุญาต “ชวงนั้นใกลตรุษจีน ทำใหใบสั่งซื้อสัตวปาพวกนี้เขามาเยอะ เพื่อสง ตอไปยังประเทศจีน ทั้งเปนชวงหนาหนาว ทำใหมีผูนิยมนำสัตวปาพวก นี้ไปประกอบเปนอาหาร เพราะเชื่อวาเปนยาชูกำลัง และเปนอาหารที่หา รับประทานยาก ทำใหสัตวปาพวกนี้มีราคาแพง โดยเฉพาะเสือโครง ราคาสูงถึงตัวละประมาณ 5 หมื่นถึง 1 แสนบาท สวนตัวนิ่มราคาสูงถึง กิโลกรัมละ 3,000 บาท สวนที่มาเชื่อวานาจะลักลอบนำมาจากภาคใต ของไทย โดยมีการทำกันเปนขบวนการ เพราะเรามักจะไดเบาะแสในชวง เวลาเดียวกันของทุกๆ ป” เจาหนาที่ นรข. กลาวยอนอดีตกับคดีใหญ ดานทรัพยากรสัตวปาครั้งนั้น ภายหลังขาวการจับกุมซากเสือ 11 ตัว พรอมดวยตัวนิ่ม 300 ตัว กลายเปนขาวใหญในตามสื่อที่สรางความสะเทือนใจใหกับทุกคนจนถึง ทุกวันนี้


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

149

‡Àμÿº≈∑’˧πμâÕß°“√ —μ«åªÉ“ +++++++++++++++

เรื่องราวของการจับกุมซากเสือ 11 ตัว พรอมดวยตัวนิ่มหรือลิ่น อี ก 300 ตั ว เป น เพี ย งตั ว อย า ง หนึ่ ง ที่ แ สดงให เ ห็ น ว า การ ลักลอบคาสัตวปายังคงไมมีวี่แวว วาจะลดนอยลง ในทางตรงกันขาม มันกลับทวีความรุนแรงมากขึ้น แมวาที่ผานมาจะมีหลายฝายพยายามรณรงคใหมนุษยหันมาเห็น ความสำคัญ และคุณคาชีวิตของสัตวรวมโลก แตดูเหมือนวาสถิติการ ลักลอบคาสัตวปากลับยังไมทุเลาเบาบาง ทำใหในแตละปสัตวปาถูก นำมาเปนสินคาสงขายในตลาดเพิ่มขึ้นทุกวัน โดยหลังจากคดีซากเสือ 11 ตัวไมนานนัก เจาหนาที่ตำรวจก็ยังสามารถจับกุมลูกเสือโครงไดอีก 6 ตัว ที่ จ.มุกดาหาร ในตนเดือนมิถุนายน ปเดียวกัน และหางจากนั้นเพียง สัปดาหเดียว ก็มีการจับกุมผูตองการในคดีลักลอบคาสัตวปา เปนสัตว หายาก จำนวนมาก ไมวาจะเปน หมีควาย, หมีหมา, นางอาย หรือ แมแตจระเข ที่ถูกเลี้ยงปะปนกันราวกับสวนสัตวในบานแหงหนึ่งบนถนน แจงวัฒนะตามมาอีก ไมนับคดียอยๆ เบี้ยบายรายทางที่ไมเปนขาวใหรู อีกหลายราย วากันวา การลักลอบคาสัตวปาธุรกิจผิดกฎหมายที่มีขอมูลระบุวามี มูลคาการคาในระดับโลกสูงเปนอันดับสามรองการคายาเสพติดและ อาวุธสงคราม แคจีนเพียงประเทศเดียวยังมีความตองการเนื้อสัตวปาสูงถึงปละ 1.7 ลานกิโลกรัม คิดเปนมูลคาทางการตลาดกวา 3,000 ลานบาทตอป จากคำกลาวของนายราลฟ แอล.บอยซ อดีตเอกอัคราชทูตสหรัฐอเมริกา ประจำประเทศไทย ซึ่งกลาวไวในระหวางรวมงานรณรงคเพื่อการตอตาน การลักลอบคาสัตวผิดกฎหมาย รวมกับ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท อดีต


150

นายกรัฐมนตรี เมื่อป 2550 โดยระบุดวยวา การลักลอบคาสัตวปาและพันธุพืชผิดกฎหมาย เปนปญหาที่เกิดขึ้นทั่วโลกถือเปนการกระทำของกลุมอาชญากร เจาพอ ที่รวมตัวเปนเครือขาย มีการปฏิบัติการขามพรมแดนจากซีกโลกตะวัน ออกไปยังซีกโลกตะวันตก เปนธุรกิจผิดกฎหมายที่มีมูลคาสูงถึงหลาย พันลานบาททีเดียว ถิรเดช ปาละสุวรรณ เจาหนาที่จากกองคุมครองสัตวปา สำนัก อนุ รั ก ษ สั ต ว ป า กรมอุ ท ยานแห ง ชาติ สั ต ว ป า และพั น ธุ พื ช (อส.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) ผูซึ่งมีหนาที่รับผิด ชอบป ญ หาการค า สั ต ว ป า ในฐานะหน ว ยงานภาครั ฐ ระบุ ว า สาเหตุ สำคัญที่ทำใหสัตวปายังคงเปนสินคาขายดีมาทุกยุคทุกสมัย คือ ความ ตองการของประชาชนบางกลุม ที่มีความตองการจะซื้อสัตวปาเหลานี้ไป เพื่อประโยชนที่ตางกัน ทำใหพอคาพยายามหาสินคาที่เปนสัตวปามา สนองความตองการของตลาด เปนปกติธรรมดาของอุปสงค เปนความ ตองการซื้อสินคา (ดีมานด) และอุปทาน จากความตองการไดสินคา (ซัพพลาย) ยอมตองตอบสนองซึ่งกันและกัน ถิรเดช เปรียบเทียบวา เหมือนยาเสพติด ถาไมมีคนซื้อ ไมมีคนเสพ ก็ไมมีคนหามาให แตเมื่อยังมีคนตองการอยู จึงตองมีผูนำมาขาย ทำให ในทุ ก ๆ ป เขาและเพื่ อ นร ว มงาน มั ก จะได รั บ เชิ ญ ให เ ดิ น ทางไปเพื่ อ เปดโปง หรือแสดงความคิดเห็นเรื่องนี้อยูเปนประจำ เพื่อหาความรวม มือวาจะชวยกันอยางไร แตก็ดูเหมือนวาจะเปนเรื่องยากเต็มที อยางไรก็ตาม ถิรเดช ไดระบุทฤษฎี เกี่ยวกับตนตอที่ทำใหสัตวปา ยังคงกลายเปนที่ตองการของมนุษย วามีอยู 5 ประการหลักๆ ดวยกัน คือ อันดับแรก เพื่อการบริโภค ในระดับทองถิ่น สัตวปาที่ตกเปนเปาหมายในการลาเพื่อการบริโภค คือ สัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดกลางและขนาดใหญ เชน เกง กวาง คาง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

151

ชะนี เมน ชะมด อีเห็น ไกปา นกเงือก นอกจากนี้ ยั ง รวมถึ ง สั ต ว เ ลื้ อ ยคลาน และสั ต ว ส ะเทิ น น้ ำ สะเทิ น บกที่ พ บได งาย เชน เตาน้ำจืด กบ เขียด งู บาง ชนิ ด ที่ พ บเห็ น ทั่ ว ไปถู ก คุ ก คามจนลด จำนวนลงอยางรวดเร็ว เชน กบทูต เตา กระอาน และงูบางชนิด ตลาดต า งประเทศมี ค า นิ ย มใน การบริ โ ภคเนื้ อ สั ต ว ป า ที่ ห ลากหลาย สั ต ว ป า ที่ ถู ก ล า เป น จำนวนมากเพื่ อ การบริ โ ภค ได แ ก เต า น้ ำ จื ด ลิ่ น ฉลาม งูหลายชนิด สวนเนื้อสัตวหายาก เชน เนื้อเสือโครง ตีนหมี เปนที่ ตองการของกลุมบุคคลมีฐานะ อันดับสอง เปนเครื่องประดับ แหงความเชื่อ-ความงาม อวัยวะและชิ้นสวนจากสัตวปาหลายอยางนิยมนำมาทำเปนเครื่อง ประดับหรือของที่ระลึก มีทั้งงาชางแกะสลัก หนังเสือชนิดตางๆ อาทิ เสือ โครง เสือดาว เสือลายเมฆ เสือไฟ เขาสัตว เชน เขากระทิง วัวแดง ควาย ปา ละมั่ง สาวลา นอแรด กระดองเตาทะเล หนังงู เปลือกหอย สัตว สตัฟฟ ผีเสื้อและดวงปกแข็งที่สวยงามชนิดตางๆ ผลิตภัณฑบางอยาง อนุญาตใหมีการคาไดอยางถูกกฎหมายเมื่อมีใบอนุญาต เชน หนังจระเข งาชางแกะสลักจากชางบาน รวมถึงสัตวปาบางชนิดที่ไดจากการเพาะ พันธุ กรณีดังกลาวทำใหการตรวจสอบแหลงที่มาเปนไปไดยาก และมี ชองโหวในการบังคับใชกฎหมาย อันดับสาม นำมาเปนสัตวเลี้ยง คานิยมในการเลี้ยงสัตวแบบของสะสมทำใหสัตวปาหายากมีราคา สูง และเปนที่ตองการของผูเลี้ยงบางกลุม สัตวปาที่เปนเปาหมายหลัก ไดแก นกปาที่มีความสวยงามหรือมีเสียงรองไพเราะ เชน นกปรอด


152

แมทะ นกขุนทอง นกเขียวคราม นกกะรองทองแกมขาว นกโพระดก รวม ถึงนกแกวจากออสเตรเลียและอเมริกาใต สัตวเลี้ยงลูกดวยนม เชน ชะนี กระรอก ยั ง มี สั ต ว เ ลื้ อ ยคลานที่ มี ลั ก ษณะแปลก เช น ตั ว คามิ เ ลี ย นจาก มาดากัสการ ตะกวดจากแอมะซอน งูเหลือมจากนิวกินี และเตาน้ำจืด ขนาดเล็ก เชน เตาดาวพันธุพมา ซึ่งเปนชนิดที่ใกลสูญพันธุ อันดับสี่ ใชเปนสวนประกอบในยาแผนโบราณ ตามความเชื่อและคตินิยมโบราณของคนในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออก เชน จีน เกาหลี และญี่ปุน นอกเหนือจากสมุนไพรนับพันชนิด สัตว ปาก็ถูกใชเปนสวนประกอบสำคัญในการทำยาแผนโบราณ บางใชทั้งตัว บางใชอวัยวะบางสวน เชน นอแรด กระดูกเสือ เขี้ยวเสือ ลูกตาเสือ ดีหมี นอกจากนี้ตามความเชื่อของคนบางกลุม การบริโภคอวัยวะสัตวปาบาง สวน เชน อวัยวะเพศเสือโครง ดีงู ถือเปนยาบำรุงสมรรถภาพทางเพศ สุดทาย เพื่อกิจการสวนสัตว หรือการจัดแสดงสัตวของภาค และเอกชน กิจการสวนสัตวของรัฐและเอกชนหลายแหงในเอเชียตะวันออก เฉียงใต เปนแหลงที่มีการรับซื้อสัตวปาเปนจำนวนมาก แตการขาด มาตรการควบคุมอยางรัดกุม การดำเนินการโดยขาดทักษะในการดูแล สุขภาพสัตว รวมไปถึงความไมพรอมในดานสถานที่ จึงทำใหสัตวหลาย ชนิดมีอัตราการตายสูง จำนวนสวนสัตวเอกชนที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วใน หลายประเทศ ทำใหเกิดความตองการในการรับซื้อสัตวปาหายากเพิ่ม ขึ้น สัตวปาที่เปนเปาหมายมีตั้งแตนกขนาดเล็กไปจนถึงชาง สวนใหญ เป น สั ต ว ป า หายาก หรื อ เป น กลุ ม ที่ เ พาะขยายพั น ธุ ไ ด ย าก เช น ลิ ง อุรังอุตัง ลิงกอริลลา นกกระเรียน นกเงือก และนกน้ำขนาดใหญหลาย ชนิด


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

153

‡¡◊Õ߉∑¬‰¡à„™àª≈“¬∑“ß ++++++++++++

พ.ต.ธนยศ เกงกสิกจิ รองผูก ำกับฝายปฏิบตั กิ าร กองบังคับการปราบปราม การกระทำผิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (บก.ปทส.) นายตำรวจที่รับหนาที่สืบสวนจับกุมคดีดานสัตวปาอยางเต็มตัวเมื่อ 4 ป ที่แลว แสดงความคิดเห็นที่สอดคลองกับ แนวความคิดของถิรเดช แต ผ ลสรุ ป ของเขา ชี้ ชั ด ลงไปในฐานะของผู ป ฏิ บั ติ ว า จาก ประสบการณการทำงานดานการจับกุมสัตวปา พบวาในแตละปมีคดีให ต อ งทำงานหนั ก เพื่อ ตามจั บบรรดาแกง หากิ น กั บ สั ต ว ป า เหล า นี้ อ ยู อยางตอเนื่อง และสม่ำเสมอ โดยเหตุผลใหญๆ ที่สัตวปาถูกลักลอบนำ มาคา มีเหตุผลหลักแค 2 ประการเทานั้น คือ 1.นิยมซื้อไปเลี้ยงเพื่อ ความสวยงาม และ 2. นำไปบริโภค เปนยาบำรุงกำลัง โดยเขาคิดวา เหตุผลทั้งสองขอลวนเกิดจากความเชื่อและคานิยมที่ผิดเพี้ยนของมนุษย ทั้งสิ้น กระนั้น พ.ต.ท.ธนยศ กลาววา ขอสรุปของเขาเปนเพียงการสรุปที่ เกิดจากการปฏิบัติการจริง โดยสืบสวนยอนไปยังจุดเริ่มตน ก็จะพบวา เกิดจากเหตุผลหลักสองประการดังกลาว โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็น ของการเลี้ยงเพื่อความสวยงามนั้น แมวาจะมีการรณรงคกันเต็มที่ แต สถิติความตองการกลับไมลดลง ที่ผานมา ยังคงพบวายังมีคนรวยตองการซื้อสัตวแปลกๆ หายาก มาใสกรงเลี้ยงไวดูเลนที่บาน เพื่อประดับบารมี บางคนนิยมเลี้ยงเสือ เลี้ยงหมี กลุมไฮโซเลี้ยงเพื่อใหตัวเองดูเดนดูแปลก สรางจุดเดนใหกับตัว เอง หรือบางทีคนก็มีความเชื่อวา การนำสัตวปามาปลอย เปนการ สะเดาะเคราะห ทำใหสัตวปาหลายชนิด เชน เตา, นก ถูกจับมาเพื่อ สนองความตองการเหลานี้ จากขาวคราวการจับกุมคดีลักลอบคาสัตวปาที่เกิดขึ้นในประเทศ ที่ ยังคงเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ทำใหในรอบหลายปที่ผานมา ไทยถูกมองวา เปนศูนยกลางการคาสัตวปาสำคัญแหงหนึ่งของโลก โดยเฉพาะ


154

อยางยิ่ง การคาขายสัตวในตลาดนัดสวนจตุจักร ที่มีชื่อเสียงอยูใน ระดับตนๆ ของโลกเชนกัน เมื่อสืบคนกลับไปพบวา ตลาดนัดสวนจตุจักร ของไทย กลับเปน เพียงตลาดกลาง ทางผานในการซื้อขายเทานั้น เปรียบเสมือนโชวรูม ขนาดใหญ ที่ใชวางขายสัตวในรูปแบบและกลวิธีหลีกเลี่ยงกฎหมายที่ แตกตางกันไป ทั้งในรูปแบบของการซื้อสัตวแปลกเพื่อนำไปเลี้ยง หรือ เพื่อการบริโภค โดยเฉพาะในประเภทหลังนั้น เปนที่รูกันดีวาตลาดหลัก ปลายทางสำคัญไมใชในประเทศไทย “เมืองไทย เปนเพียงแคเสนทางผานของการคาสัตวปาสำคัญๆ โดย เฉพาะการนำไปบริโภค หรือทำเปนยาบำรุงกำลัง จะอยูเลยออกไปทาง ประเทศ เวียดนาม ไปจนถึง จีน เปนที่รูกันดี เสนทางลำเลียงจึงจะเริ่มตั้ง แตอินโดนีเซีย มาเลเซีย ผานไทย ไปลาว เวียดนาม และสิ้นสุดที่จีน ถือ เปนตลาดสำคัญที่สุด ซึ่งคดีใหญเมื่อตนป เราก็พบวา ซากเสือ 11 ตัว พรอมดวยตัวนิ่ม หรือลิ่นเหลานี้ มีปลายทางอยูที่ประเทศจีนเชนกัน” พ.ต.ท.ธนยศ กลาว 21 มีนาคม 2551 สำนักขาวเอเอฟพี นำเสนอภาพซากเสือ ที่ถูก แขวนไวในรานอาหารแหงหนึ่งในบริเวณเจดีหอม (Perfume Pagoda) สถานที่ ทอ งเที่ย วสำคัญ แห ง หนึ่ ง ใน จ.ฮาไต (Ha tay) ห า งจากกรุ ง ฮานอย เมืองหลวงไมไกลนัก ระบุวา ชาวเวียดนามเชื่อวา ไวน หรือยา ที่ทำมาจากสัตวปา ชวยในการรักษาโรค เปนยาบำรุง หรือมีสรรพคุณใน การกระตุ น ความต อ งการทางเพศ และชาวเวี ย ดนนามนิ ย มที่ จ ะใช อาหารที่ทำจากเนื้อสัตวปาตางๆ ในการตอนรับแขกคนสำคัญ เพื่อแสดง ใหเห็นถึงสถานะทางสังคมและความร่ำรวยของตนเอง ไมเพียงแต เวียดนามจะเปนตลาดใหญของผูบริโภคสัตวปาเทานั้น ยังเปนศูนยรวม เปนตัวเชื่อมโยงระหวางประเทศที่สงออกสัตวปาผิดกฎหมายในภูมิภาค เชน ลาว กัมพูชา และพมา กับประเทศผูซื้อรายใหญอยางจีน และตลาด ในประเทศอื่น ทางฝงเอเชียตะวันออกอีกดวย สำนักขาวเอเอฟพียังรายงานดวยวาจากสถิติการจับกุมการคาสัตว


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

155

ปาในประเทศเวียดนาม ยังพบวา ตำรวจเวียดนามเคยตรวจพบชิ้นสวน เสือถูกชำแหละเพื่อทำเปนยาแผนโบราณ และซุปเสือ ที่อพารตเมนต หลังหนึ่งในกรุงฮานอย โดยจากการสอบสวนสืบสวน ทำใหพบวา ซาก เสือดังกลาวเปนชิ้นสวนของเสือโครงพันธุเบงกอล จำนวน 4 ตัว ซึ่งที่ ผานมายังไมพบวามีเสือโครงสายพันธุนี้ อาศัยอยูในปาธรรมชาติของ เวียดนามและลาว เพราะถิ่นกำเนิดของมันอยูในปาลึกของพมา อินเดีย และบังกลาเทศ นอกจากนี้ เจาหนาที่ตำรวจยังพบอุงตีนของหมี จำนวน 5 ตัว, หัวกวาง ที่ยังมีเขาติดอยู 2 ตัว รวมทั้งงาชาง 2 คู และ ชิ้นสวนของ สัตวหายากอีกจำนวนมาก โดยตำรวจเชื่อวา ชิ้นสวนดังกลาวจะถูกนำไป ทำยาหมองเสือ และตมซุป ที่นาตกใจไปกวานั้นเมื่อเจาหนาที่พบลิงพันธุหายากอีก 2 ตัว ถูก ตุนเละอยูในหมอตมซุปในสภาพทั้งตัว เพื่อเตรียมสงรานอาหารประเภท เปบพิสดารราคาแพงที่มีอยูหลายแหงอีกดวย ตลาดสำคัญของการคาสัตวปาเพื่อการบริโภคอยูที่ใด และทำไม สัตวปาจึงเปนที่ตองการอยางสูง ทำใหประเทศไทย ซึ่งเปนพื้นที่ติดตอ กับประเทศตางๆ เหลานี้ จึงกลายเปนทางผานสำคัญของกระบวนการ คาสัตวปา จากคานิยมและความเชื่อผิดๆ ของคนบางกลุม √Ÿª·∫∫·≈–«‘∏’°“√ ++++++++++

หลายรูปแบบในยุคไซเบอร ศ.ดร.สมโภชน ศรีโกสามาตร ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ศึกษาคนควาเกี่ยวกับการคาสัตวปาเปนเวลานาน กวา 30 ป มองในเชิงวิชาการวา จากการรวบรวมขอมูลที่ไดจากการ คนควา เกี่ยวกับรูปแบบการคาสัตวปา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน สรุปถึง รูปแบบหลักๆ ของการคาขายสัตวปา สวนใหญได 3 รูปแบบ คือ 1. การลาสัตวปา หรือการใชทรัพยากรทองถิ่นเพื่อการอยูรอด เกิดขึ้นมานานแลว โดยเฉพาะพื้นที่ชายขอบปา เปนการลาสัตวเพื่อ


156

คาขายแบบตรงไปตรงมาของชาวบาน อาศัยทรัพยากรในปาเปนที่ทำมา หากิน ลาเพื่อคาขายไมซับซอน ไดมาก็วางขาย หรือขายในแบบทั่วไป ทำใหทุกครั้งที่เกิดการจับกุม ผูตองหา จึงมักเปนชาวบานในละแวก นั่นเอง 2. การคาขายในตลาดมืด ที่อยูใกลเคียงกับพื้นที่ปา เปนการคา ขายผิดกฎหมาย มีรูปแบบซับซอนจากแบบแรกเล็กนอย มีการคาขายใน หลายระดับ ตั้งแตเล็กๆ ไปจนถึงระดับใหญ การคาในตลาดมืดนี้ ศ.ดร.สมโภชน ชีว้ า เปรียบเสมือนการเลนเกมกันระหวางผูก ระทำผิด และเจาหนาที่ ในการที่จะหลบหลีกการถูกจับกุมปราบปราม โดยเฉพาะ วิ ธี ก ารค า ขาย เปลี่ ย นช อ งทางค า ขายไปเรื่ อ ย ทั้ ง เปลี่ ย นชนิ ด สิ น ค า เปลี่ยนแหลง เหมือนกับการวางแผนทำสงครามที่ไมมีวันจบสิ้น 3. ตลาดคาขายสัตวปาสีเทา นับวาเปนรูปแบบใหมที่กำลังเกิด ขึ้นในชวงระยะหลังที่ผานมา และกำลังจะเปนรูปแบบการคาสัตวปาที่ กำลังนากลัวที่สุด “ธุรกิจคาสัตวปาสีเทา เปนรูปแบบการคาแบบใหมที่เราคิดวากำลัง เกิดขึ้นในปจจุบัน เปนขอสงสัยที่เกิดขึ้นของกลุมนักอนุรักษ พบมากใน ชวงระยะหลังๆ ที่ผานมา โดยเฉพาะการคาสัตวปาที่มีชีวิต ซึ่งสวนใหญ จะเปนการคาที่เกิดขึ้นในธุรกิจสวนสัตว รูปแบบนี้เปนการคาแบบถูก กฎหมายบังหนา ผิดกฎหมายซอนอยู ที่อาจจะออกมาในรูปแบบของ การแลกเปลี่ ย นระหว า งภาครั ฐ ต อ รั ฐ หรื อ รั ฐ ต อ เอกชน ซึ่ ง ส ว นใหญ เปนการดำเนินการระหวางประเทศ มีกฎหมายคุมครองในการดำเนิน การ แตเบื้องหลังมีขอสงสัยกันวาอาจจะเปนการคาของนักธุรกิจสัตวปา ที่พยายามที่จะทำใหการซื้อขายกลายเปนสิ่งที่ถูกกฎหมาย โดยผานชอง วางที่เกิดขึ้น ซึ่งรูปแบบการคาแบบนี้นับวาเปนรูปแบบที่แตะตองไดยาก เพราะมักจะมีกลุมการเมือง หรือผูมีอิทธิพล หรือผูมีอำนาจในการสั่งการ ดำเนินการเขามาเกี่ยวของเสมอ” ศ.ดร.สมโภชนระบุ ประเด็ น ของธุ ร กิ จ สี เ ทา ถู ก นำขึ้ น มากล า วถึ ง อย า งมากโดย ในกลุมของนักอนุรักษสัตวปาในชวงสิบปหลังที่ผานมา หลังจากเกิด


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

157

กรณีพิพาทเกี่ยวกับการดำเนินการเกี่ยวกับการสงสัตวปาซึ่งอยูในการ ครอบครองของไทยไปยังตางประเทศทามกลางขอสงสงสัยของสังคม หลายครั้ง ทั้งในรูปแบบของการแลกเปลี่ยน และเพื่อการศึกษา ที่อาศัย ชองวางของกฎหมายดำเนินการ เชน การสงเสือโครง 100 ตัว จากฟารม เสือของบริษัท ศรีราชาไทเกอรซู จำกัด ไปยังสวนสัตวซันหยาในประเทศ จีน ในสมัยที่นายปลอดประสพ สุรัสวดี ดำรงตำแหนงเปนอธิบดีกรมปา ไม โดยอางเหตุผลเพื่อการขยายพันธุในกิจการสวนสัตว ภายใตอำนาจ อนุมัติของอธิบดีที่สามารถดำเนินการได หรือการสงชาง 2 เชือกไปยังประเทศออสเตรเลีย ดวยเหตุผลเพื่อ การแลกเปลี่ยนทางการศึกษา แมถูกคัดคานจากนักอนุรักษตอขอสงสัย ถึงที่มาของชาง วาชางดังกลาวเปนชางปาหรือชางบานกันแน ในขณะที่ เจาของเรื่องพยายามดึงดันที่จะสงออกชางแทนการพิสูจนของสงสัย ยิ่ง สรางความเคลือบแคลงตอสังคมมากขึ้น หรือธุรกิจสวนสัตวไนทซาฟารี ที่ จ.เชียงใหม ที่นักอนุรักษสัตวปา สวนใหญเชื่อวา การดำเนินการตางๆ เหลานี้ ลวนมีนักธุรกิจสัตวปาอยู เบื้ อ งหลั ง ในการแลกเปลี่ ย นซื้ อ ขายสั ต ว ป า โดยอาศั ย ช อ งว า งของ กฎหมายทำใหการคาสัตวปามีชีวิต กลายเปนสิ่งที่ถูกกฎหมายไดอยาง งายดาย “ขอสงสัยตางๆ เหลานี้ เกิดขึ้นในระยะหลัง ที่มักจะพบเห็นการแลก เปลี่ยนโดยอาศัยชองวางของกฎหมายในการดำเนินการ ซึ่งหลายฝาย เชื่อวาไมไดเปนการดำเนินการแบบตรงไปตรงมา หากแตมีการคาขาย อยูเบื้องหลัง ทำใหธุรกิจที่ผิดกฎหมายกลายเปนการกระทำที่ถูกตอง กลายเปนธุรกิจสีเทา เพราะมีกลุมกอนที่มีอำนาจในการดำเนินการอยู เบื้ อ งหลั ง ที่ ค อ นข า งแตะต อ งลำบาก และกำลั ง กลายเป น ประเด็ น สำคั ญ ของรู ป แบบการซื้ อ ขายที่ ย ากต อ การแก ไ ขเป น อย า งยิ่ ง ” ศ.ดร.สมโภชนระบุ


158

´◊ÈÕßà“¬ ¢“¬§≈àÕß ¥â«¬√–∫∫ÕÕπ‰≈πå ++++++++++++++++++++

ไมเพียงแตธุรกิจสีเทา ที่กำลังสรางความยุงยากใหกับการปองกันและ ปราบปรามการคาสัตวปาผิดกฎหมายของเจาหนาที่ในปจจุบันเทานั้น แตความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย โดยเฉพาะความกาวหนาทางดาน เทคโนโลยีที่กำลังเกิดขึ้นอยางรวดเร็วอยูในขณะนี้ ยังเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ ลวนแลวแตกำลังทำใหการคาสัตวปากลายเปนธุรกิจที่แสนจะงายดาย สำหรับผูที่ตองการซื้อขาย สินคามีชีวิต พ.ต.ท.ธนยศ กลาววา จากสถิติการจับกุม รวมไปถึงชองทางการ สืบสวนเพื่อหาตนตอของการลักลอบคาสัตวปาในขณะที่ พบวาการซื้อ ขายทางอินเตอรเน็ตกลายเปนชองทางสำคัญ และไดรับความนิยมอยาง มากในขณะนี้ เนื่ อ งจากทั้ ง ผู ซื้ อ และผู ข ายเชื่ อ ว า เป น วิ ธี ห ลบหลี ก กฎหมายไดงายที่สุด แค นำสินคาลงโพสตขายตามหนาเว็บไซต ที่เปด โอกาสใหลงประกาศฟรี ขอความเหลานั้นก็สามารถถึงกลุมลูกคาไดแค เพียงนิ้วคลิก และเจาหนาที่ยังจับกุมไมไดอีกดวย พ.ต.ท.ธนยศ ระบุวาจากการสืบสวนพบวาการคาขายในอินเตอร เน็ตมีทั้งรายเล็กและรายใหญ โดยในรายเล็กๆ สวนใหญจะเปนการ ประกาศขายสัตวปา สำหรับการนำไปเลี้ยง อาจจะเปนแคตัวสองตัว มี การประกาศขายอยางโจงแจง มีการบรรยายสรรพคุณสินคา พรอมเบอร โทรศัพทติดตอ หากมีผูสนใจก็สามารถโทรศัพทเขาไปสั่งจอง หรือนัดดู สินคากันไดงายดาย ซึ่งผูขายจะมีการติดตอพูดคุยเพื่อใหแนใจวา ผูซื้อ เปนผูที่ตองการสินคาจริงๆ กอนที่จะนัดรับสงสินคากัน แตหากมีทาทาง พิรุธก็จะไมขายให และปดเบอรโทรศัพทเปลี่ยนเครื่องไปทันที ในสวนของรายใหญๆ มักจะประกาศขายเพื่อนำไปเปนสัตวเลี้ยง เริ่มตนดวยสัตวแปลกๆ จำนวนไมมากนัก แตหากผูซื้อแสดงความสนใจ ในสินคาอื่นๆ ก็สามารถติดตอพูดคุยเพิ่มเติมได กลายเปนการซื้อขายใน ล็อตใหญๆ ได กลุมนี้มักจะเปนกระบวนการที่คอนขางเขมแข็ง มีเครือ ขายโยงใยชัดเจน และมีความสามารถในการหลบหลีก พรอมกับยอมรับ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

159

วา การซื้อขายผานอินเตอรเน็ตกลายเปนปญหาสำคัญของเจาหนาที่ ดวยขอจำกัดทั้งกำลังผูปฏิบัติงาน ทำใหยังไมสามารถเขาไปดูแลในเรื่อง นี้ไดอยางเต็มที่นัก “การตามจับกุมผูซื้อขายสัตวปาทางอินเตอรเน็ต ของเจาหนาที่ที่ เกี่ยวของโดยตรง ทั้ง ตำรวจ ปทส. หรือแมกระทั่งเจาหนาที่กรมอุทยาน แหงชาติ ยังคงตามการคาขายแบบนี้ไมทัน เพราะการดำเนินการเพิ่งอยู ในระยะเริ่มตน ทำใหยังไมสามารถเขาไปดำเนินการจับกุมไดอยางทั่วถึง ทำใหปจจุบันการคาขายในรูปแบบนี้กำลังแพรหลายอยางมาก “แคเปดหนาจอคอมพิวเตอร แลวใสชื่อของสัตวปาที่ตองการเพื่อ เสิรชหาแหลงที่มาคาขาย ก็จะพบวามีรายชื่อขึ้นมาใหเลือกมากมาย หลังจากนั้นเพียงแคยกหูโทรศัพท ผูซื้อกับผูขายก็สามารถติดตอกันได อยางงายดาย” เมื่อมาถึงประเด็นนี้มีคำถามเกิดขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่ง “เมื่อรูแลว ทำไมไมจับ” พ.ต.ท.ธนยศ ยอมรับวา สาเหตุสำคัญไมสามารถตาม จับกุมกลุมผูกระทำผิดไดเนื่องจาก กำลังของเจาหนาที่มีอยูนอยมาก และการสืบสวนผูกระทำผิดทางอินเตอรเน็ตเปนเรื่องใหมที่เจาหนาที่เพิ่ง จะเริ่มดำเนินการ อยางไรก็ตาม ที่ผานมาไดมีความพยายามที่จะติดตามตรวจสอบ โดยในรายใหญๆ เจาหนาที่ไดเจาะเขาไปดูในเซิรฟเวอร โดยอาศัยความ รวมมือกับหนวยงานที่เชี่ยวชาญดานนี้ เพื่อหาแหลงตนตอ การสืบสวน ในทางลับ เพื่อเขาไปถึงผูกระทำผิดราย “อยางไรก็ตาม การซื้อขายสัตวปา หรือชิ้นสวนของสัตวปาทางอิน เตอรเน็ต นั้น หากจะใหไดผลอยางจริงจัง จำเปนที่จะตองไดรับความ รวมมือจากเจาของเว็บไซตตางๆ ดวย ในการที่จะชวยแสกน หรือออกกฎ ควบคุมการหามมีการซื้อขายของผิดกฎหมายบนหนาเว็บไซตของตัวเอง เพื่อไมใหเกิดการคาขายอยางแพรหลาย เพราะลำพังแตเจาหนาที่คงไม สามารถยุ ติ การซื้ อ ขายผิ ด กฎหมายในรู ป แบบนี้ ไ ด อ ย า งแน น อน” พ.ต.ท.ธนยศ คิดเห็น แตก็ดูเหมือนวา การขอความรวมมือของเจาหนาที่


160

ตำรวจยังคงไมไดรับความสนใจจากเจาของเว็บไซตเทาใดนัก หรือแมจะสนใจเพราะหากเกิดปญหาขึ้นเจาของเว็บไซตก็จะตอง เปนผูรับผิดชอบดวย แตการโพสตขายของในแตละวันมีอยูจำนวนมาก จึงทำการประกาศขายสัตวปาบนหนาจอคอมพิวเตอรในประเทศไทย ไมมีทีทาวาจะลดลง อยางไรก็ตาม การดำเนินการของเว็บไซตประมูลสินคาชื่อดังอยาง “อีเบย” นาจะเปนตัวอยางที่ดีของการดำเนินการที่สอดคลองกับความ คิดเห็นของ พ.ต.ท.ธนยศ โดย “อีเบย” (www.ebay.com) ตกเปนขาวไป ทั่วโลกเมื่อออกมาประกาศอยางชัดเจนเมื่อกลางป 2550 ในการหาม ขายสินคาสัตวปา ชิ้นสวนตางๆ ของสัตวปา ที่ผิดกฎหมายในเว็บไซตนั้น การประกาศอยางชัดเจนของ “อีเบย” ไดรับความชื่นชมอยางมาก จากนักอนุรักษ และผูทำงานดานสัตวปาทั่วโลก หลังจากที่พบวาสินคา สัตวปาอันตราย และสัตวสงวนหลายพันชนิด ถูกนำมาประมูลออนไลน อยางโจงแจง ยิ่งงาชาง ที่มีจำนวนมากกวา 2,000 ชิ้น โดยในจำนวนนี้มีเพียง 6 เปอรเซ็นตเทานั้นที่มีหลักฐานวาเปนงาชางที่ไดมาอยางถูกกฎหมาย โดยหลังการประกาศดังกลาว ทำใหการประกาศประมูลสินคาสัตวปา อันตรายและสัตวปาสงวนที่ผิดกฎหมาย ในเว็บไซตอีเบย ลดจำนวนลง กวาครึ่งหนึ่งทีเดียว ´◊ÈÕ¢“¬·∫∫§≈“ ‘° +++++++++++

ป จ จุ บั น รู ป แบบการค า ขายสั ต ว ป า จะอาศั ย เทคโนโลยี และความ เปลี่ยนแปลงของกฎเกณฑทางสังคมเขามาชวยเหลือเพื่อใหเกิดการซื้อ ขายที่งายดาย สะดวก และคลองตัวขึ้น แตการซื้อขายเดิมๆ ที่ไมจำเปน ตองอาศัยเทคโนโลยีซับซอน ยุงยากมากนัก ยังไดรับความนิยมแบบไมมี วันเสื่อมคลาย สวนใหญมักเกิดขึ้นในกลุมของผูที่อยูในแวดวงเดียวกัน เป น คนกลุ ม หนึ่ ง ที่ มี ส ายสั ม พั น ธ โ ยงใย และการซื้ อ ขายมั ก เป น


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

161

กระบวนการใหญ ซื้อขายกันขามประเทศ อาศัยเครือขายที่ตั้งอยูในทุก จุดของเสนทางผาน จากตนทางสูปลายทาง เปนกลุมกอนที่เขมแข็ง ถิ ร เดช ปาละสุ ว รรณ ย อ นเล า ถึ ง พฤติ ก รรมของกลุ ม ผู ค า ที่ เ ขา พบเห็น จากประสบการณการทำงานดานการปราบปรามในสวนของ กรมอุทยานฯ อันแสนจะยาวนานของตัวเองวา กลุมของผูคาขายสัตว ปาเหลานี้ สวนใหญจะเปนคนกลุมเดิมๆ ที่เรียนรูวิธีการหลบหลีกมา อยางช่ำชองแลว และตลาดของพวกเขาก็ขยายวงกวางขึ้นไปเรื่อยๆ ที่ คนสวนใหญเขาใจวาจตุจักรเปนตลาดสำคัญของการคาสัตวปาจุดหนึ่ง ของโลก จากขอมูลสถิติที่เจาหนาที่อุทยานฯ รวมกับตำรวจ ปทส.จับกุม พบว า เส น ทางจะมี ตั้ ง แต สตู ล ขึ้ น มาที่ ส งขลา ชุ ม พร ระนอง ผ า น กรุงเทพฯ ปทุมธานี ไปที่โคราช สกลนคร นครพนม หนองคาย และเมื่อ ถูกจับในเสนทางหนึ่ง พวกเขาก็จะสับเปลี่ยนเปนเสนทางใหมๆ บางแต ไมหนีแนวเดิม พวกนี้จะไมหยุดนิ่ง เขาจะมีขอมูลของเจาหนาที่ตลอด ใน ขณะที่เจาหนาที่มีขอมูลนอยมาก ซึ่งเปนปจจัยหนึ่งที่ทำใหดูเหมือนเจา หนาที่ไมทันแกงนี้ สวน ทัศนี เวชพงศา ที่ปรึกษาดานการสื่อสาร จากมูลนิธิเพื่อนปา หนวยงานองคกรเอกชนตางชาติ ที่เขามารวมทำงานดานการสืบสวนใน หลายคดีดานการคาสัตวปาขามชาติ รวมกับภาครัฐวา ที่จริงแลวรูป แบบการซื้อขายของเครือขายผูคาสัตวปาเหลานี้ ไมไดยุงยากซับซอน เพียงแตมีการดำเนินการที่เปนระบบ เขมแข็ง และกวางขวางในทุกจุด ที่ มีสินคาที่ตองการ เมื่อเกิดคำสั่งซื้อขึ้น พอคาก็เพียงแคยกหูโทรศัพท รวบ รวมออเดอร แนั ด แนะวิ ธี ก ารส ง สิ น ค า เท า นั้ น ก็ เ ป น การเสร็ จ สิ้ น กระบวนการซื้อขาย นอกจากนี้ ถิรเดช ยังเลาตอถึงการคาขายรูปแบบคลาสสิกในตลาด นัดสวนจตุจักร วา โดยปกติแลว สัตวปาที่ถูกนำมาขายในตลาดนัด สวนจตุจักร พอคามักจะมีวิธีการหลบเลี่ยง แบบชนิดที่เจาหนาที่ไม


162

สามารถรับรูได บางครั้งก็นำไปซุกซอนไวในตู ที่อยูอีกรานหนึ่ง หรือ บางครั้งนำกรงออกมาวางไวนอกราน ไมรูวาใครเปนเจาของ หากมีผู สนใจ ก็จะเขาไปสอบถาม และติดตอใหรายละเอียด เจรจากันเอง หาก มั่นใจไดวา ผูซื้อไมใชเจาหนาที่ และเปนผูที่ตองการซื้อสัตวปาจริงๆ จึง จะมีการเปดเจรจาซื้อขายกันตอไป แต ห ากไม มั่ น ใจ พ อ ค า แม ค า เหล า นี้ จ ะไม ป ระกาศตั ว ว า เป น เจาของสินคาเด็ดขาด หากเจาหนาที่ทำการจับกุม ก็จะไดแตของกลาง แตหาตัวเจาของไมเจอ บางราย อาศัยวิธีการถายรูปสินคา จำพวกสัตวปาที่เปนสินคายอด นิยมเก็บไว เมื่อเจอลูกคา ซึ่งสวนใหญเปนชาวตางชาติ ก็จะใชวิธีเขาไป เดินชน พรอมกับสอบถามวาตองการหาซื้อสัตวปาอะไรเปนพิเศษ หรือ ไม พรอมกับนำเสนอรูปภาพสัตวปา ที่ติดตัวมา หากลูกคาสนใจจึงจะมี การติดตอเจรจาซื้อขายกัน พรอมกับนำไปดูสินคาของจริง ที่อาจจะ ซุกซอนไวแหงใดแหงหนึ่งในบริเวณนั้น


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

163

“การซื้อขายในตลาดนัดสวนจตุจักรเปนวิธีการที่คอนขางงาย สวน ใหญการซื้อขายแบบนี้มักจะเปนการซื้อขายจำนวนไมมาก รซื้อเพื่อนำ ไปเลี้ยงเทานั้น วิธีการซื้อขายก็ไมยุงยากซับซอนอะไร วางขายกันไปเลย โดยเฉพาะสัตวปาที่มาจากตางประเทศ พวกนี้แมวาในความเปนจริง แลวจะผิดกฎหมาย แตเนื่องจากกฎหมายคุมครองสัตวปาตางประเทศ ของเรายังไมคุมครองอยางครอบคลุมทำให สัตวปาตางประเทศถูกนำมา ขายไดอยางอิสระ และพอคาแมคาเหลานี้สวนใหญจะมีความช่ำชอง เป น พิ เ ศษ และด ว ยความที่ เ จ า หน า ที่ ข องเรามี น อ ยกว า พ อ ค า แม ค า ทำใหพวกเขาสามารถจำหนาตาเจาหนาที่ไดเกือบทุกคน ถาลองเดิน เขาไปรับรองรูหมดวาใครเปนใคร หรือแมกระทั่งเอารถไปจอดเทานั้น ก็ จะมีการสงขาวกันไปตั้งแตปากซอยจนถึงทายซอยแลว” ธนิตกลาว àßßà“¬ ¢“¬ –¥«° ++++++++++

นอกจากวิธีการซื้อขายรูปแบบหลากหลาย การจัดสงสินคา ก็เปนอีกขั้น ตอนหนึ่งที่เหลาบรรดาพอคาแมคา ตองคิดหาวิธีการที่แยบยล เพื่อหลบ หลีกการถูกตรวจจับ จนมักจะสรางความแปลกประหลาดใจใหกับเจา หนาที่อยูเสมอ พ.ต.ท.ธนยศ กลาววา ตลอดวลาของการทำงานที่ผานมา ในการ จับกุมแตละครั้งมักจะพบวาผูคา มักจะหาวิธีการขนสงสินคาแปลกๆ เพื่อตบตาเจาหนาที่ ขบวนการคาสัตวระหวางประเทศที่เกิดบอย พบวา สัตวใหญที่นิยมคาขายกัน มีอยู 3 ชนิด คือ ตัวลิ่น หรือตัวนิ่ม ที่บาง ประเทศนิยมเอาไปรับประทาน หรือใชหนัง ซึ่งสัตวชนิดนี้มีราคาแพง นอกจากนี้ก็มี เสือ ที่นิยมเอาไปบริโภค และที่เจาหนาที่จับกุมไดบอย คือ นางอาย สัตวชนิดนี้ จะมีความนิยมชมชอบเลี้ยงอยูในโซน ประเทศแถบ ญี่ปุน รัสเซีย เจาหนาที่เคยจับไดท่ีบริเวณสนามบิน จำนวนมากถึงยี่สิบ สามสิบตัว ถูกยัดเขาไปในกลอง แออัดกันอยูภายใน แนนอนวามันจะตองอยูรอดไมครบ 100% พ.ต.ท.ธนยศระบุวา ถูก


164

ซื้อมาในราคาตัวละประมาณ 1 หมื่นบาท แตเมื่อไปถึงญี่ปุนแลว พอคา จะสามารถนำไปขายไดราคาตั้งแตหาหมื่นถึงหนึ่งแสนบาท “จึงถือวาเอาไปเยอะ แตรอดมาหาตัว ก็นับวาคุม ที่สำคัญสัตวพวก นี้เวลาถูกยัดเขาไปในกระเปาบางทีเครื่องเอกซเรยตรวจจับไมเจอ เพราะ มันจะนิ่งเหมือนกอนอะไรสักกอน แคนี้เจาหนาที่สนามบินจะไมสามารถ จับได เพราะเวลาตรวจจะไมมีเจาหนาที่ของเราเขาไปคุมอยูดวย พวกนี้ จะทำเปนขบวนการ อยางที่เราเคยจับได มีชาวญี่ปุน ทำตัวเดินทางมา เหมือนนักทองเที่ยว แตปรากฏวาถือออเดอรมาสั่งคนไทย แลวก็เอาใส กระเปากลับไป แตพอเรามาดูแลวเอาไปขนาดนั้นไมใชนักทองเที่ยว ซื้อไปแคเลี้ยงเองแนนอน” พ.ต.ท.ธนยศกลาว วิธีการขนยายสินคาจำพวกสัตวปาเหลานี้ไมเพียงแตเปนการใชวิธี ซุกซอนอยูในเสื้อโคด แอบยัดไวในกระเปาของเสื้อแจคเก็ต หรือใสไวใน กระชองของเสื้อผาที่ถูกตัดเย็บขึ้นมาเฉพาะ ทัศนีย จากมูลนิธิเพื่อนปา เลาวา จากการสืบสวนทางลับเคยพบวา การเคลื่อนยายสัตวปา โดยเชา เหมาลำเครื่ อ งบิ น เพื่ อ นำสิ น ค า ประเภท ตั ว ลิ่ น บรรจุ ใ นกล อ งสิ น ค า บรรทุกใตเครื่องบิน จากประเทศตนทางอินโดนีเซีย มีปลายทางไปยัง ประเทศลาว ใหเครื่องบินแวะสงของประเภทอื่นที่ สนามบินดอนเมือง กอนจะบินตอไปประเทศลาว โดยประสานกับตำรวจเพื่อตรวจคน ใน ที่ สุ ด ก็ พ บว า มี ก ารขนส ง ตั ว ลิ่ น จำนวนมาก นั่ น ก็ ท ำให เ ชื่ อ ได ว า กระบวนการตางๆ ถูกจัดเตรียมมาเปนอยางดี ทั้งเชื่อวามีจำนวนมากใน แตละป โดยเฉพาะการขนสงผานดานศุลกากร รูปแบบคารโก สามารถ ผานขั้นตอนสุมตรวจของศุลกากรไดไมยากเย็นนัก ถาหากสงเขามามาก จะถูกสุมตรวจจับสักตูสองตู ยังถือวาคุมอยูดี ª√“∫‡∑à“‰À√à ∑”‰¡‰¡àÀ¡¥ +++++++++++++

ศ.ดร.สมโภชน ศรี โ กสามาตร ตอบเมื่ อ ถู ก ตั้ ง คำถามว า ทำไม สถานการณการคาสัตวปา จึงไมหมดไปเสียทีวา กระบวนการการคา


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

165

สัตวปาที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องดำเนินการในหลายระดับ ตั้งแตแบบเล็กๆ ในตลาดนัดสวนจตุจักร ไปจนถึงระดับใหญๆ ที่เปนเครือขายขามชาติ แมกระทั่งการคาขายแบบของ ธุรกิจสีเทา ลวนแลวแตมีเบื้องหลัง และกระบวนการที่ซับซอน เทียบกับการทำงานของเจาหนาที่ที่ดูเหมือน วามีปจจัยหลายอยาง ไมวาจะเปนดานนโยบาย, กำลังเจาหนาที่ หรือ ความออนแอของกฎหมาย ทำใหธุรกิจการคาขายสัตวปายังคงสามารถ ดำเนินตอไปไดอยางดี เพราะคอนขางคุมกับการเสี่ยง โดยเฉพาะธุรกิจ สีเทา ที่เขาเชื่อวาเปนธุรกิจที่แตะตองไดยากที่สดุ “ธุรกิจสีเทา เปนรูปแบบการคาสัตวปา ที่ซับซอนและดูเหมือนจะยุง ยากที่สุด ใครก็ไมอยากแตะ เพราะแตะแลวทำอะไรไมได ทั้งๆ ที่รูกันอยู อันนี้พูดถึงกรณีการคาในระดับใหญ แตอยางการคาขายในสวนจตุจักร จะมองวาเปนธุรกิจสีเทาก็ได เพราะวาเปนการคาที่ดานหนาถูกกฎหมาย แตขางในกลับมีสิ่งผิดกฎหมายซอนอยู การแกปญหาของเจาหนาที่ก็คง ทำไดเพียงสวนหนึ่ง เพราะเทาที่ทราบกันอยูวาเจาหนาที่ในการดำเนิน การจับกุมปราบปรามของเรามีอยูจำนวนจำกัด “ขณะที่ผูคา มีจำนวนมาก เปลี่ยนหนาไปเรื่อย รวมทั้งเปลี่ยนรูป แบบตลอดเวลา ในขณะที่เจาหนาที่ยังคงเปนกลุมเดิมๆ อยางถาไปเดิน สวนจตุจักรเขาก็ตองรูแน” ทั้งที่ พ.ต.ท.ธนยศ ตอบวาที่ผานมาเจาหนาที่ ปทส.เองพยายาม ทำงานด า นการปรามปรามอย า งหนั ก ออกสื บ สวน หาที่ ม าและ ขบวนการคาสัตวปาขบวนการใหญๆ ทำกันเปนเครือขาย แตก็ถือวาเปน เรื่องยาก เพราะผูกระทำผิดมักรับรูความเคลื่อนไหวของเจาหนาที่ ใน ทางตรงกันขาม งานขาวซึ่งถือวาเปนเรื่องสำคัญของการทำงานของ ตำรวจสิ่งที่คอนขางยาก แมจะมีสายขาวออกทำงานสืบสวนอยูพอ สมควรแต ก็ ยั ง ไม ถื อ ว า เพี ย งพอต อ การปราบปรามที่ จ ะทำให เ กิ ด ประสิทธิภาพพอ ดังนั้นสิ่งที่เจาหนาที่ตองการมากที่สุดก็คือ สายขาว หรือขอมูล การ คาสัตวปา ซึ่งแมวาเจาหนาที่จะมีอยูพอสมควรแลว แตหากไดรับความ


166

รวมมือจากประชาชนเพิ่มขึ้นเปนเรื่องที่ดีมาก เพราะเทาที่รูกันอยูเจา หนาที่ทำงานอยูในที่แจง กลุมผูกระทำผิดมักจะรับรูความเคลื่อนไหวอยู ตลอดเวลา ในขณะที่การทำงานของกลุมนี้จะอยูในที่มืด มีเครือขาย กวางขวาง ดังนั้นหากสายขาวไมเขมแข็งพอ ก็ไมมีทางที่จะจับได พ.ต.ท.ธนยศ เชื่อวา สาเหตุสำคัญที่ไมทำใหการคาสัตวปาหมด ไปเสียที ก็คือ ความเชื่อ และคานิยมผิดๆ ของมนุษย ที่ยังคงมีอยู ไมวาจะเปนการนำสัตวมาดวยจุดประสงคตองการบริโภค หรือนำ มาเลี้ยงเปนเครื่องประดับบารมี หรือดวยจุดประสงคอื่นๆ ทำให เกิดความตองการ ทำใหสัตวกลายเปนสินคาที่มีมูลคา และเมื่อ กฎหมายไมอนุญาต สิ่งที่เขาคิดวาหนทางแกไขที่ดีที่สุดจึงนาจะเปนการเปลี่ยนแปลงคา นิยมของประชาชนเสียใหม ซึ่งจะเปนวิธีทางเดียวที่ไดผลที่สุด แตก็คงจะ เปนเรื่องยากที่สุดเชนกัน ขณะที่ถิรเดชกลับเชื่อวา ปญหาที่ทำใหการปราบปรามการคาสัตว ปาไมสามารถดำเนินการไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ กลับอยูที่ นโยบายของรัฐ ปญหาไมแนนอนของนโยบายจากผูบริหารระดับสูง เพราะมักจะเกิดความเปลี่ยนแปลงที่คาดไมถึงอยูเสมอ สงผลตอการ ทำงานของเจาหนาที่อยางหลีกเลี่ยงไมได “ผมมองวา หากเรายังแกไขที่ตนเหตุไมได การปราบปรามที่ได ประสิทธิผลจึงควรที่จะดำเนินตอไป และควรจะเขมแข็งกวานี้ อยางที่ ทราบกันดีอยูแลววา ปญหาสำคัญของเราคือเจาหนาที่นอย แตละคน ทำงานกันอยูในสายนี้จนผูกระทำผิดจำหนาไดแลว เรื่องขาวจึงไมตอง พูดถึง ก็ตองไปอาศัยไหววานสายขาวจากที่อื่น ก็เปนธรรมดาที่ทำใหการ ทำงานยุ ง ยาก และสิ่ ง สำคั ญ มากๆ อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง เป น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ นโยบายระดับสูง เรื่องการปราบปรามการคาสัตวปานี่มีการดำเนินการ มาตลอดทุกรัฐบาล แตก็มีความเปลี่ยนแปลงในทุกรัฐบาลเหมือนกัน การเปลี่ยนรัฐบาล ก็ตองมีการเปลี่ยนนโยบาย เปลี่ยนการทำงานก็สะดุด ทั้งเรื่องงบประมาณ เรื่องอะไรตางๆ เปนปญหาที่ขาราชการตองเจอ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

167

และก็เปนสาเหตุสำคัญที่ผมมองวาทำใหการทำงานดานการปราบปราม ตางๆ ไมประสบผลสำเร็จมากนัก” ธนิตกลาว ถึงกระนั้น จุดออนที่พูดถึงกันมากขึ้น เริ่มมีการจับมือกัน ที่จะ ทำงานรวมกัน แตสิ่งสำคัญที่สุด ทัศนีย คิดวานาจะเปนการสรางองค ความรูรวมกันใหเกิดขึ้นในหนวยงานที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนกรมอุทยาน แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, สำนักงาน ปทส., กรมศุลกากร, ตม., องคกรเอกชน รวมทั้งหนวยงานที่เกี่ยวของอื่นๆ “บางครั้งเจาหนาที่ในสวนอื่นๆ ที่ไมไดทำงานดานสัตวปาโดยตรง แตอาจจะตองมีสวนเกี่ยวของ เชน เจาหนาที่กรมศุลกากร เจาหนาที่ ตรวจคนเขาเมือง เขาไมรูวา การลักลอบขนสงสินคาจำพวกสัตวปาผาน เขา ออกประเทศ สรางความเสียหาย หรือมีความสำคัญอยาง ทำใหที่ ผานมาเจาหนาที่เหลานี้ไมไดใหความสำคัญกับการปราบปรามจับกุม เทาไหรนัก ทำใหเกิดเปนชองวางของกลุมผูกระทำผิดที่อาศัยวิธีนี้ในการ สงสินคาผานเขาออกประเทศไทยไดอยางงายดาย และตองเปดอบรมใหความรูกับ กลุมคณะผูพิพากษา เพื่อใหทราบ ถึง ความรุนแรงของกระบวนการคาสัตวปาที่ เขาสูกระบวนการทาง กฎหมายดวย ใหทานเขาใจถึง ความเสียหายของคดีเหลานี้มากขึ้น หลายทานบอกวาไมเคยทราบมากอนวา การคาขายสัตวปาจะเปนคดีที่ สรางความเสียหายรุนแรงมากมายขนาดนี้ เปนอาชญากรรมรุนแรงที่สง ผลตอชีวิต เปนกระบวนการขามชาติ เขาใจแคเพียงวาเปนการซื้อขาย ผิดกฎหมาย เปนคดีเล็กนอย ทำใหมีการสั่งลงโทษเบา จนไมเกิดความ เกรงกลัว และเมื่อมีความเขาใจมากขึ้น แนนอน ผูกระทำผิดตองไดรับ โทษหนัก และเราหวังวาจะทำใหเกิดความเกรงกลัวมากขึ้น” ดวยเหตุผลตางๆ ดังกลาว จึงนาจะเปนการตอบคำถามในเบื้องตน วาเหตุใด การคาสัตวปาผิดกฎหมาย จึงยังไมสามารถถูกปราบปรามได อยางสิ้นซากเสียที


168

∫∑ √ÿª +++++

แมวาสถานการณการลักลอบคาสัตวปาผิดกฎหมายยังคงรุนแรง ไมมี ทีทาวายุติลงงายๆ แต ความพยายามที่จะสรางความเขมแข็งใหกับ หนวยงานการปราบปราม ของหนวยงานภาครัฐ และเอกชนยังคงดำเนิน ตอไป หลายหนวยงานเริ่มใชวิธีการทำงานรวมกันมากขึ้นมากกวาในอดีต โดยเชื่อวาแนวทางการทำงานในระบบเครือขาย นาจะเปนวิธีการตอสู กับกระบวนการคาสัตวปา ไดดีที่สุดทำใหปจจุบันไดมีการจัดตั้งเครือ ขายการปราบปรามการคาสัตวปาและพันธุพืชผิดกฎหมายในภูมิภาค อาเซียนขึ้น หรือ โครงการอาเซียน เวน (ASEAN-WEN) เปนความ รวมมือกันของ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนจับมือรวมกันปราบปราม อาชญากรรมดานสัตวปา แมยังไมเห็นผลงานที่เดนชัดนัก อาจจะตองใช เวลาอีกสักระยะเวลาหนึ่ง ดูวาโครงการนี้สามารถทำงานบรรลุเปาหมาย ไดหรือไม ในสวนของการปราบปรามภายในประเทศ พ.ต.ท.ธนยศ กลาววา จำเปนตองอาศัยความรวมมือของทุกหนวยงาน ทั้งหนวยงานภาครัฐที่ ดูแลโดยตรง เชน กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เจาหนาที่ ตำรวจที่เกี่ยวของทุกฝาย รวมไปถึงเอ็นจีโอดานการอนุรักษ สื่อมวลชน และที่สำคัญการที่สุดคือ ประชาชน ที่จะตองรวมมือกันในการชวยกันที่ จะยับยั้งการกออาชญากรรมดานนี้ “ที่ผานมาเราพบบอย ทั้งดารา คนมีชื่อเสียง หรือกลุมไฮโซ และ พยายามชักจูงใหกลุมคนเหลานี้เปลี่ยนแปลงความคิด รวมทั้งยังชักชวน ใหมารวมรณรงคดวย แตก็ยังไมไดผลมากนัก เพราะผมเชื่อวา หากเรา ยังแกไขในปญหาหลักๆ เชน เรื่องของกฎหมาย หรือนโยบายไมได การ ไดรับความรวมมือจากประชาชนจะเปนสิ่งหนึ่งจะชวยลดปญหานี้ได” พ.ต.ท.ธนยศ สรุปในตอนทาย ภาพของซากเสือ 11 ตัวที่ถูกชำแหละเรียงรายเตรียมรอพรอมสงไป


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

169

ยังรานอาหารเปบพิสดาร รวมกับตัวลิ่นกวา 300 ตัว ที่เจาหนาที่จับกุม ไดเมื่อตนป หรือภาพของหมีควายตัวใหญ ที่ถูกขังอยูภายในบานหลัง เล็กๆ บนถนนแจงวัฒนะรวมกับสัตวปาหายากอีกหลายชนิด ยังคงเปน ภาพที่สรางความสะเทือนใจใหกับสังคมอยูจนถึงวันนี้ ตราบใดที่มนุษยยังไมตระหนัก และไมเปลี่ยนแปลงคานิยมที่ผิด เพี้ยน การกออาชญากรรมดานสัตวปา ก็คงไมสามารถยุติลงได ไมวาจะ เปนยุคใดสมัยใดก็ตาม

+ + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + +

บรรณานุกรม www.peunpa.org www.dnp.go.th www.forest.police.go.th เอกสารประกบอการประชุมสัมมนา รายงานโครงการวิจัย สถานการณ สัตวปาไทย : การคาขายสัตวปา สวนสัตว และเขตอนุรักษ : ปญหา ทางออก : และโจทยวิจัย, 2551, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย


170

笟§“≈‘ªμ— é

æ◊™·Ààߧ«“¡À«—ßÀ√◊Õ¿—¬¢Õß ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ ++++++++++++++

∫ÿ…°√ ՗ߧ≥‘μ ∂“π’‚∑√∑—»πå∑’«’‰∑¬


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

171

“ ก า ร ข า ด แ ค ล น พ ลั ง ง า น เปนประเด็นปญหาสำคัญระดับโลก ผมในฐานะรัฐมนตรีกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทำหนาที่ในการหาเทคโนโลยีใหมๆ เพื่ อ พลั ง งานทางเลื อ ก ป จ จุ บั น มี เ ทคโนโลยี น ำไม ม าผลิ ต เป น พลังงาน จึงอยากสงเสริมใหมีการนำไมมาใชเปนพลังงาน โดย เฉพาะไมยูคาลิปตัส เนื่องจากเปนไมโตเร็ว ปลูกงาย ที่สำคัญการ ปลูกไมยังเปนการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ชวยลดภาวะโลกรอนดวย” คำพูดที่เปนเหมือนนโยบาย ซึ่งสรางเสียงวิพากษวิจารณมากที่สุด หลั ง การเข า รั บ ตำแหน ง ของนายวุ ฒิ พ งษ ฉายแสง รั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนยี แคเพียง 1 สัปดาห ในขณะที่รัฐบาล กำลังเตรียมรางแผนนโยบายที่จะประกาศตอรัฐสภา และยิ่ ง ฝุ น ตลบมากยิ่ ง ขึ้ น เมื่ อ นายสมั ค ร สุ น ทรเวช อดี ต นายก รัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ออกมาสนับสนุน นโยบายนี้ และไดหยิบยกขอมูล ของนักวิชาการกลุมหนึ่งที่คนพบพันธุ ใหม ที่ไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการปลูกบนคันนา “การปลูกยูคาลิปตัสบนคันนาที่ขยายใหกวางขึ้น 1 ไร 100 ตน 5 ป ไดไม 5 ตัน ความมหัศจรรยคือปลูกบนคันนา รากก็ลงไปในนา พอไถนา รากถูกตัด ทำใหตนกลาตาย ตนโต รากในนาเปนปุย ใบที่ตกในนาเปน ปุย มีการพิสูจนวาทำใหไดผลมากขึ้นดวย” เปนเสียงของ สมัคร สุนทร เวช ตอบคำถามความคางคาใจของสื่อมวลชน


172

คุ ณ สมบั ติ ยู ค าลิ ป ตั ส สายพั น ธุ ใ หม ที่ อ ดี ต ผู น ำประเทศอธิ บ าย พรอมอางอิงผลการศึกษาที่มาจากนักวิชาการ ทำใหเกิดขอเรียกรองตาม มาวา หากมีการคนพบสายพันธุใหมที่สามารถปลูกบนคันนาไดโดยไม สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ก็ควรจะนำผลการศึกษามาเปดเผยตอ สาธารณชน และเปนการศึกษาจากนักวิจัยสถาบันใด แมจะยังไมมีการ ระบุชี้ชัด แตคนในแวดวงยูคาลิปตัสก็เปนที่ทราบกันดีวา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร เ ป น หนึ่ ง เดี ย วที่ ก ำลั ง เดิ น หน า ศึ ก ษา การปลู ก ยู ค าลิ ป ตัสบนคันนา โดยใชพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการนี้มีชื่อวา “การวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อปญหาความยากจน ในชนบท โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนที่ดินดวยการกปลูก ไมโตเร็ว” ไดรับการสนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร ว มกั บ บริ ษั ท สมาชิ ก ส ง เสริ ม จำกั ด บริ ษั ท ยู ค าลิ ป ตั ส เทคโนโลยี จำกัด และบริษัท พี ซี เอส แมเนจเมนท จำกัด เริ่มเดินหนา ทำการวิจัย ตั้งแตป 2549 และจะไปสิ้นสุดโครงการ ตนป 2552 ภายใต จุดประสงคที่ตองการแกปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบในอุตสาหกรรม เยื่อกระดาษ ทำไปพรอมๆ กับนโยบายการบูรณาการกับการแกปญหาความ ยากจนของชาวนาไทยทางภาคอีสาน โดยปลูกตนยูคาลิปตัสซึ่งเปนไม โตเร็วบนคันนา ขณะนี้นักวิจัยกำลังเรงเก็บขอมูลและสรุปผลที่จะไดออกมาเปน รายงานที่สมบูรณแบบที่สุด เทาที่เคยมีการศึกษาเกี่ยวกับความเปนไป ไดในการปลูกยูคาลิปตัสบนคันนา “ผลการวิจัยเบื้องตนพบวา ผลผลิตขาวไมไดลดลง เพราะรมเงา จากไม ยู ค าลิ ป ตั ส ไม ไ ด บั ง แดดที่ จ ะส อ งลงนาข า ว ส ว นประเด็ น ที่ ว า ยูคาลิปตัสเปนพืชกินน้ำมากนั้นเปนความจริง แตเมื่อเทียบตอน้ำหนึ่ง ลิตรที่กิน ยูคาลิปตัสสรางเนื้อไมใหมากกวาไมชนิดอื่น ดังนั้น ควรปลูก ยูคาลิปตัสหรือไม ขึ้นอยูกับวาเราจะปลูกเพื่ออะไร หากปลูกเพื่ออนุรักษ ต น น้ ำ ลำธารก็ ไ ม ค วร เพราะยู ค าลิ ป ตั ส กิ น น้ ำ มาก และขาดความ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

173

หลากหลายทางชีวภาพ แตเหมาะมากตอการปลูกเปนปาเศรษฐกิจเพื่อ สรางรายได และมีเปาหมายการใชประโยชนเนื้อไมชัดเจน” ดร.บุญวงศ ไทยอุตสาห สังกัดศูนยวิจัยปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในฐานะหัวหนาโครงการ ใหความเห็น หลังถูกยิงคำถาม ถึงความเปนไปไดที่ยูคาลิปตัสจะอยูรวมกับนาขาวได โดยที่จะไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม มีความเปนไปไดมากนอยแค ไหน สรุปภาพรวมของผลการศึกษาเบื้องตน นักวิชาการที่มีชีวิตอยูกับงานวิจัยพืชตางๆ มากกวา 40 ป และ คลุกคลีอยูกับยูคาลิปตัสมาตลอด บอกวา แมผลวิจัยเบื้องตนจะออกมา ในเชิงที่กลาวไปแลว และสังคมคงจะยากเห็นเนื้อหาในรายงานผลการ วิจัยเชิงบูรณาการฉบับนี้ แตขณะนี้ ทีมนักวิจัยกำลังทำงานอยางหนัก เพื่อเขียนเปนรายงานอยางสมบูรณครบถวนที่สุดเทาที่เคยมีการทำวิจัย มา ซึ่งจะออกมาประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ 2552 ซึ่งจะมีการแยก ยอยโครงการวิจัยออกเปนแตละสาขา รวม 9 โครงการดวยกัน โครงการที่ 1

การปลูกไมโตเร็วบนคันนา และตามแนวเขตแปลง เกษตร โครงการที่ 2 การปลูกไมโตเร็วบนคันนาปรับแตงในระหวางฤดูแลง อยางประณีต ดวยระยะหางตางกัน โครงการที่ 3 การประเมินการเก็บกักคารบอนไดออกไซด ของการ ปลูกไมโตเร็วรูปแบบตางๆ โครงการที่ 4 ผลกระทบตอการปลูกไมโตเร็ว ตอคุณสมบัติของดิน การหมุนเวียนธาตุอาหารพืช และการกระจายของราก โครงการที่ 5 การใชน้ำและประสิทธิภาพในการใชน้ำของไมโตเร็ว โครงการที่ 6 ศักยภาพทางเศรษฐกิจของการปลูกไมโตเร็วในระบบ วนเกษตร โครงการที่ 7 ความเปนไปไดของการปลูกไมยูคาลิปตัส บนคันนา ดวยระยะหางระหวางตนตางๆ กัน


174

โครงการที่ 8 โครงการที่ 9

การปลูกไมยูคาลิปตัสตางสายตนบนคันนา ความเปนไปไดในการปลูก ไมยูคาลิปตัสแทรกเปน แถบในการปลูกมันสำปะหลัง

การปลูกยูคาลิปตัสบนคันนาเพื่อแกปญหาความยากจน และใช ประโยชนบนคันนาอยางเต็มที่นั้น ทีมวิจัยไดตั้งประเด็นการศึกษาไปที่ พันธุของยูคาลิปตัส เพราะหากจะพูดถึงที่นา ก็ตองนึกถึงพื้นที่ที่มีน้ำขัง และพื้นที่สวนหนึ่งก็ตองปลูกขาว ดังนั้นการปลูกยูคาลิปตัสจะตองมี ความทนทานตอพื้นที่ที่มีน้ำใตดินสูง และมีโอกาสน้ำทวมขัง ประการตอ มาคือ การปลูกยูคาลิปตัสบนคันนาจะตองเปนพันธุที่มีเรือนยอดเล็ก เพื่อที่จะไดไมไปบังแสงแดดตอตนขาวในนา “ถาจะปลูกยูคาลิปตัสบนคันนา จะใชสายพันธุอะไร มีระยะปลูก เทาไหร และเมื่อปลูกไปแลว จะทำใหผลผลิตขาวลดลงไปหรือไม สิ่งที่ ทีมวิจัยใหความสำคัญคือ ขาวตองมาอันดับแรก ยูคาลิปตัสเปนอันดับ รอง สำหรับชาวนา การปลูกขาวเปนอาชีพหลัก การปลูกยูคาลิปตัสบน คันนาเปนอาชีพเสริม ไมตองการที่จะใหชาวนาปลูกยูคาลิปตัสแทนขาว ขณะเดียวกันก็ไมอยากใหชาวนาปลูกแตขาว แลวทิ้งพื้นที่วางบนคันนา ไว” ดร.บุญวงศ ชี้หัวใจสำคัญในการทำวิจัยครั้งนี้ นาขาวของเกษตรกร ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ถูกเลือกใหเปนแปลงทดลองทั้ง 9 โครงการตาม ประเด็นที่ตั้งไว ดวยสภาพพื้นที่ของจังหวัดฉะเชิงเทรา มีการปลูกกัน อยางแพรหลายอยูแลว ทำใหไมยากนักในการเลือกแปลงทดลองที่มี ความหลากหลาย ทั้งพันธุ k 7 ที่กำลังไดรับความนิยมอยูในขณะนี้ เพราะโตเร็ว k 58 เปนพันธุที่กำลังไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้น k 51 อยู ระหวางสงเสริม และ k 59 ที่ความนิยมปลูกเริ่มลดลง โดยแตละแปลง จะมีการปลูกที่แตกตางกันออกไปตามหัวขอของการศึกษา การปลูกเปรียบเทียบแมไมโตเร็วบนคันนาทั่วไป แปลงวิจัยของ โครงการยอยที่ 8 แปลงที่ 1 ตั้งอยูท่ี ต.บานซอง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา มีการ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

175

ปรับแตงคันนาขึ้นมาใหม ทำการปลูกยูคาลิปตัส K7, K51, 58 และ K 59 โดยใชระยะปลูก 1 เมตร ดำเนินการปลูกเมื่อ 19-20 สิงหาคม 2548 แปลงที่ 2 ตั้งอยูที่บานหนองกาใน ต.คูยายหมี อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา ใชคันนาที่มีอยูเดิม ทำการปลูกยูคาลิปตัส K7, K51, K58 และ K59 โดยใชระยะปลูก 1 เมตร ดำเนินการปลูกเมื่อ 19-20 สิงหาคม 2548 การปลูกไมโตเร็วบนคันนาทั่วไป แปลงวิจัยของโครงการยอยที่ 7 แปลงที่ 1 ตั้งอยูที่บานหนองนกเอี้ยง ต.เขาหินซอน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา มีการปรับแตงคันนาขึ้นมาใหม ทำการปลูกยูคาลิปตัส สายตน K51 แถวเดียวบนคันนา ใชระยะปลูก 5 ระยะปลูก คือ ระยะ ปลูก 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 2.0 เมตร ดำเนินการปลูกเมื่อ 19 สิงหาคม 2548 ระยะปลู ก ที่ ใ ช ใ นการทดลอง คื อ ระยะปลู ก 1.0, 1.5 และ 2.0 เมตร แปลงที่ 2 ตั้งอยูที่ ต.เกาะขนุน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ใช คันนาที่มีอยูเดิม ทำการปลูกยูคาลิปตัส สายตน K51 แถวเดียวบน คันนา ใชระยะปลูก 5 ระยะปลูก คือ ระยะปลูก 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 2.0 เมตร ระยะปลูกที่ใชในการทดลอง คือ ระยะปลูก 1.0, 1.5 และ 2.0 เมตร การปลูกไมโตเร็วในไรมันสำปะหลัง แปลงปลูกไมยูคาลิปตัสชนิด เดียวลวนของบริษัท แปลงวิจัยของโครงการยอยที่ 9 แปลงทดลองปลู ก มั น สำปะหลั ง ตั้ ง อยู ที่ ต.หนองตะเคี ย นบอน อ.วัฒนานคร จ.สระแกว พันธุที่ใชในการทดลอง คือ K51 และ K7 โดย ดำเนินการปลูกเมื่อ 3 พฤษภาคม 2549 แปลงปลูกไมยูคาลิปตัสชนิดเดียวลวน ตั้งอยูที่ ต.ลาดตะเคียน อ.กบินทรบุรี จ.ปราจีนบุรี โดยดำเนินการปลูกเมื่อ 3 พฤษภาคม 2549 พันธที่ใชในการทดลอง คือ K51 “ผมยังจำไดตอนที่นักการเมืองออกมาพูดเรื่องผลการวิจัยยูคาลิป ตัส วาพบสายพันธุใหมที่ไมทำลายสิ่งแวดลอม สายโทรศัพทที่คณะ


176

วนศาสตร แทบไหม ปนปวนไปหมด” หนึ่งในทีมนักวิจัย โครงการยอย ที่ 5 การใชน้ำและประสิทธิภาพการใชน้ำของไมโตเร็ว โดยมี ดร.จงรัก วัชรินทรรัตน เปนหัวหนาทีมวิจัย จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เลาถึง เหตุการณที่เกิดขึ้น ไปพรอมๆ กับการใชอุปกรณเจาะเขาไปยังตนยูคา ลิปตัส กอนที่จะนำสายเครื่องมือติดตั้ง เพื่อวัดอัตราการไหลของน้ำผาน รากไปยังลำตน และใบ ร อ งรอยการเจาะบริ เ วณลำต น ยู ค าลิ ป ตั ส จำนวนมาก บอกถึ ง ความถี่ ใ นการเก็ บ ข อ มู ล ของที ม วิ จั ย โดยตั้ ง แต เ ริ่ ม โครงการวั น ที่ 1 มกราคม 2549 ระยะเวลา 24 เดือน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของอัตรา การคลายน้ำ โดยใชเครื่องมือที่เรียกวา Thermal Dissipation Probe (TDP) รุน TDP-30 โดยในแตละวิธีการทดลอง (treatment) จะทำการ สุมตัวอยางไมจำนวน 9 ตน ไดติดตั้งเข็มสัญญาณ (probe) เขาไปใน บริเวณที่เปนกระพี้ของเนื้อไม โดยเครื่องมือวัดดังกลาวจะใชพลังงานจากแบตเตอรี่ DC 10 โวลต และติดตั้งใหเครื่องมือบันทึกคาการไหลของน้ำ ทุกๆ 10 นาที เปนระยะ เวลาติดตอกัน 24 ชั่วโมง โดยจะทำการเก็บขอมูล 2 เดือนครั้ง รวม 6 ครั้งตอป และปลายเดือนสิงหาคม 2551 ทีมวิจัยก็กำลังเก็บขอมูลครั้ง สุดทายกอนประมวลผลออกมาเปนผลการวิจัย และนี่เปนสวนหนึ่งของ รายงานความคืบหนา รายงานความคืบหนาการใชน้ำในรอบวัน ของยูคาลิปตัส มีแนว โนมเพิ่มสูงขึ้นในชวงเวลา 10.00-15.00 น. ซึ่งการในน้ำของยูคาลิปตัส ก็มีความผันแปรไปตามฤดูกาล พบวาการใชน้ำของยูคาลิปตัสเดือน กุมภาพันธ เมษายน และมิถุนายน 2550 เดือนเมษายน มีการใชน้ำมาก ที่สุด และมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของสายพันธุ พบวา K7 มีการ ใชน้ำมากที่สุด แปลงทดสอบระยะปลูก จากการศึกษาการใชน้ำของยูคาลิปตัสใน ระยะปลูก 1.0, 1.5 และ 2.0 เมตร พบวา ระยะปลูกที่เพิ่มขึ้นยูคาลิป ตัสมีการใชน้ำเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะเห็นไดวาระยะปลูก 1.5 และ 2.0 เมตร


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

177

การใชน้ำของยูคาลิปตัสมีคามาก ซึ่งระยะปลูกที่เพิ่มขึ้นการเติบโตของยู คาลิปตัส มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น พบวาการใชน้ำของยูคาลิปตัสมีคาเพิ่ม มากขึ้นเมื่อเสนผานศูนยกลางยูคาลิปตัสมีคาเพิ่มมากขึ้น การใชน้ำของยูคาลิปตัสแทรกมันสำปะหลัง ในเดือนกุมภาพันธ เมษายน และมิถุนายน 2550 พบวา การใชน้ำในเดือนมิถุนายนมีการ ใชน้ำมากที่สุด รองลงมาคือเดือนเมษายน และกุมภาพันธ ตามลำดับ และเมื่อพิจารณาความแตกตางของสายพันธุ พบวาการใชน้ำของยูคา ลิปตัสทั้ง 2 สายพันธุ มีคาใกลเคียงกัน สวนแปลงสวนปาเชิงพาณิชย โดยใชยูคาลิปตัส สายตน K 51 พบวาการใชน้ำมีความผันแปรในแตละ เดือน โดยมีการใชน้ำ อยูในชวงระหวาง 1.38-4.51 ลิตรตอตนวัน

กราฟการใช น้ ำ ในรอบวั น ของยู ค าลิ ป ตั ส แปลงทดสอบสายต น ต.บานซอง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา และบานหนองกาใน ต.คูยาย หมี อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา


178

ª√‘¡“≥∑’Ë„™â„π√Õ∫ªï +++++++++++

การใชน้ำของตนไมโดยทั่วไปจะมีความผันแปรในแตละชนิด ฤดูกาล ใน ตนไมชนิดเดียวกันก็มีความแตกตางกันไปในแตละตน จากการศึกษา การใช น้ ำ ของไม ยู ค าลิ ป ตั ส ประเมิ น จากเดื อ นมิ ถุ น ายน 2549 – มิถุนายน 2550 พบวาตนไมมีการใชน้ำในรอบวันในแตละเดือนที่ทำการศึกษาแตก ตางกัน มีแนวโนมในการใชน้ำเพิ่มขึ้นเมื่ออายุไมเพิ่มขึ้น โดยเริ่มตั้งแต วั น ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2549 –30 มิ ถุ น ายน 2550 จากการศึ ก ษาแปลง ทดสอบ พบวาการใชน้ำในรอบป ของระยะปลูก 1.50 เมตร มีแนวโนม การใชน้ำมากที่สุด รองลงมาคือ ระยะปลูก 2.0 และ 1.0 เมตร ตาม ลำดับ แปลงทดสอบตางพันธุ พบวา การใชน้ำของยูคาลิปตัส แตละพันธุ มีคาแตกตางกันตามพื้นที่ปลูก โดยในพื้นที่ แปลงทดสอบ ต.บานซอง อ.พนมสารคาม K 58 มีการใชน้ำ มากที่สุด รองลงมาคือ K 7 และ K 51 ตามลำดับ สวนบานหนองกาใน ต.คูยายหมี อ.สนามชัยเขต K 7 มีการ ใชน้ำมากที่สุด รองลงมาคือ K51, K58 และ K59 ตามลำดับ ª√– ‘∑∏‘¿“æ°“√„™âπÈ” ++++++++++++

การศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพการใช น้ ำ ที ม วิ จั ย จะพิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บ ปริมาณการใชน้ำกับผลผลิตมวลชีวภาพที่เพิ่มขึ้น ซึ่งผลผลิตมีความ หมายอยูดวยกัน 2 ดานคือ ผลผลิตดานเศรษฐกิจ (Economic Yield) และผลผลิตในทางชีววิทยา (Biological Yield) ประสิทธิภาพการใชน้ำแปลงทดสอบ ต.บานซอง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา พบวา K7 มีประสิทธิภาพการใชน้ำทางดานเศรษฐกิจ และ ในทางดานชีววิทยา มากที่สุด รองลงมาไดแก K58 และ K51 ตามลำดับ แปลงทดลองบานหนองกาใน ต.คูยายหมี อ.สนามชัยเขต


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

179

จ.ฉะเชิงเทรา พบวา K59 มีคาประสิทธิภาพการใชน้ำทางดานเศรษฐกิจ และในทางดานชีววิทยา มากที่สุด รองลงมาไดแก K58, K51 และ K7 ตามลำดับ แปลงทดสอบระยะปลู ก ต.เขาหิ น ซ อ น อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา พบวาระยะปลูก 1.5 เมตร มีคาประสิทธิภาพการใชน้ำ ทางดานเศรษฐกิจ มากที่สุดรองลง คือระยะปลูก 2.0 และ 1.0 เมตร แปลงทดลอง ต.เกาะขนุน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ระยะปลูก 2.0 เมตร มี ค า ประสิ ท ธิ ภ าพการใช น้ ำ ทางด า นเศรษฐกิ จ และ ประสิทธิภาพการใชน้ำในทางดานชีววิทยา มากที่สุด รองลงมาคือ ระยะ ปลูก 1.0 และ 1.50 เมตร ตามลำดับ แปลงที่ปลูกยูคาลิปตัสแทรกมันสำปะหลัง พบวา K7 และ K 51 มี คาประสิทธิภาพการใชน้ำทางดานเศรษฐกิจ และ ประสิทธิภาพการใช น้ำในทางดานชีววิทยาใกลเคียงกัน โดยมีประสิทธิภาพการใชน้ำทาง ด า นเศรษฐกิ จ เฉลี่ ย เท า กั บ 3.95 และ 3.75 กรั ม ต อ ลิ ต ร และ ประสิทธิภาพการใชน้ำในทางดานชีววิทยา มีคาเฉลี่ยเทากับ 5.27และ 5.00 กรัมตอลิตร ตามลำดับ


180

√–¥—∫πÈ”„μ⥑π ++++++++

จากการสำรวจระดับน้ำใตดินในบริเวณพื้นที่ศึกษาโดยไดทำการขุดบอ บาดาลน้ำตื้นติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำใตดินในบริเวณที่ตนไม สามารถน้ำมาใชประโยชนไดในพื้นที่แปลงเขาหินซอน และไดติดตาม การเปลี่ ย นแปลงของระดั บ น้ ำ ในบ อ ตั้ ง แต เ ดื อ นธั น วาคม 2548 – มิถุนายน 2550 โดยในชวงเดือนสิงหาคม – กันยายน เปนชวงฤดูฝน บริเวณทองนามีน้ำทวมขัง สวนเดือนตุลาคม บริเวณผิวดินมียังมีน้ำขัง บริเวณผิวหนาดิน โดยในเดือนกุมภาพันธ เมษายน และมิถุนายน น้ำ ระดับน้ำใตดินในบริเวณพื้นที่แปลงลดลงอยูที่ระดับลึก จากผิวดิน 1.31, 1.45 และ 0.82 เมตร ตามลำดับ สรุปผลการศึกษาเบื้องตน พบวาปริมาณการใชน้ำในรอบวันใน ชวงเดือน สิงหาคม – ธันวาคม 2550ในแปลงทดสอบ มีการใชน้ำสูงสุด ในเดือน ธันวาคม โดยทุกสายตนมีแนวโนมการใชน้ำเพิ่มมากขึ้น การใชน้ำในรอบวัน ในชวงเดือนสิงหาคม – ธันวาคม 2550 ของ แปลงทดสอบระยะปลูกยูคาลิปตัส ระยะปลูก 1.5 เมตร มีการใชน้ำ สูงสุด สวนใน ระยะปลูก 2 เมตร มีการใชน้ำสูงสุด การใชน้ำในรอบวัน ในชวงเดือน สิงหาคม – ธันวาคม 2550 ของ แปลงยูคาลิปตัสแทรกมันสำปะหลัง K7 และ K51 มีแนวโนมการใชน้ำ เพิ่มสูงขึ้น ทั้งสองสายตนและมีคาการใชน้ำใกลเคียงกัน สวนแปลงสวน ปาเชิงพาณิชย มีการใชน้ำสูงสุด ชวงเดือนตุลาคม มีการใชน้ำเทากับ 3.19 ลิตรตอวัน ประสิทธิภาพการใชน้ำทางดานเศรษฐกิจและทางดานชีววิทยา ของยูคาลิปตัส ที่อายุ 2 ป แปลงทดสอบ K7 มีประสิทธิภาพการใชน้ำ ทางดานเศรษฐกิจสูงที่สุด และ K59 มีประสิทธิภาพการใชน้ำทางดาน เศรษฐกิจสูงที่สุด สวนแปลงทดสอบระยะปลูก 1.0 มีประสิทธิภาพการ ใชน้ำทางดานเศรษฐกิจสูงที่สุด และระยะปลูก 2 เมตร มีประสิทธิภาพ การใชน้ำทางดานเศรษฐกิจสูงที่สุด


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

181

สวนระดับน้ำใตดิน ที่ ส ำรวจจากบ อ ที่ ขุ ด มี ระดั บ น้ ำ เท า กั บ ท อ งใน ชวงเดือน สิงหาคม และ ตุ ล าคม ส ว นในเดื อ น ธั น วาคม ระดั บ น้ ำ ลดลง จากผิวดิน 1 เมตร ดร.จงรั ก วั ช ริ น ทร รั ต น หั ว หน า ที ม วิ จั ย ด า น การใชน้ำของยูคาลิปตัส บอกวาโดยรวมแลวยูคาลิปตัสไมไดใชน้ำมาก กวาปกติเกินกวาพืชชนิดอื่น แตในฤดูแลงยูคาลิปตัสยังสามารถดึงน้ำ มาใชได จึงไมหมาะที่จะนำไปปลูกในพื้นที่ที่ขาดน้ำ “เทาที่เราศึกษา ผมมีขอเสนอแนะวา ถาหากจะปลูกกับพืชชนิดอื่น ตองเปนพื้นที่ที่ไมขาดน้ำ สวนพืชชนิดที่ปลูกรวมก็ควรเปนพืชที่ปลูกใน ระยะสั้นและเฉพาะในชวงหนาฝน และเราพบวาขาวเปนพืชที่ปลูกรวม กับยูคาลิปตัสได สวนพีชที่ตองปลูกกับยูคาลิปตัสในหนาแลว นาจะมี ระยะหางประมาณ 2 เมตร” ดร.จงรัก วัชรินทรรัตน หัวหนาทีมวิจัยดาน การใชน้ำของยูคาลิปตัส เปดเผยผลวิจัยเบื้องตน และไมลืมที่จะย้ำวา ทั้งหมดนี้ตองรอสรุปผลการวิจัยอยางเปนทางการ ¬Ÿ§“≈‘ªμ— æ◊™°“√‡¡◊Õß +++++++++++++

เปนเวลากวา 30 ปแลวที่ยังมีขอถกเถียงถึงคุณสมบัติของ “ยูคาลิปตัส” วามีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจริงหรือไม แตในขณะที่มีขอถกเถียงนี้ สิ่ง ที่ เ ห็ น อย า งชั ด เจนในช ว งที่ ผ า นมาก็ คื อ ยู ค าลิ ป ตั ส ได ก ลายเป น พื ช เศรษฐกิจ อันดับตนของประเทศอยางปฏิเสธไมได สิ่งที่เปนคำถามตามมาก็คือ ผานมาแลววา 30 ป ขอมูลทางวิชา การ ที่เปนงานวิจัยที่เชื่อถือได จะสามารถตอบคำถามที่คางคาใจคนไทย


182

ไดหรือไม หรือในอีกแงมุมหนึ่งก็อดคิดไมไดวา ทำไมเรายังตองมานั่ง เถียงในประเด็นเดิมๆ ทั้งที่ผานมาแลวกวา 30 ป ประมาณป 2528 ภายหลังที่ยูคาลิปตัส เริ่มเขามามีบทบาทเปนพืช เศรษฐกิจ และมีการพูดถึงกันอยางกวางขวาง ถึงคุณสมบัติที่เปนมิตร รายกับสิ่งแวดลอมหรือไม หนวยงานภาครัฐในขณะนั้น ตางระดมผล การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร โดยมีสมาคมวิทยาศาสตรเกษตรแหงประเทศ ไทย สมาคมดินและปุยแหงประเทศไทย กรมปาไม ไดจัดสัมมนาผล กระทบตอสิ่งแวดลอมในการปลูกยูคาลิปตัส ซึ่งในครั้งนั้นไดขอสรุปวา ยูคาลิปตัสไมไดมผี ลกระทบในทางลบตอระบบนิเวศ แตผลกระทบอาจเกิดขึ้นได เนื่องจากการจัดการ เหมือนกับกรณี ตั๊กแตนปาทังการะบาดไรขาวโพดที่ จ.ลพบุรี หรือมอดปาเจาะสวนปาไม สักทางภาคเหนือ ซึ่งปญหาเกิดจากการจัดการที่ไมถูกตอง เพราะปลูก แบบเชิงเดี่ยวในแปลงขนาดใหญ แทนที่จะปลูกแบบผสมผสาน หรือ แบบวนเกษตร สำหรับยูคาลิปตัส หากปลูกเปนพืชเชิงเดี่ยว การจัดการ งายกวา แตอาจจะสงผลกระทบตอระบบนิเวศได ซึ่งยังเปนเรื่องที่ตอง ศึกษาตอไป อยางไรก็ตาม ขณะที่การปลูกยูคาลิปตัสในแปลงขนาดใหญเพื่อ ปอนเขาสูอุตสาหกรรมผลิตกระดาษกำลังขยายตัวอยางไรขีดจำกัด การ กวานหาที่ดินเพื่อสนับสนุนใหเอกชนทำธุรกิจสวนปายูคาลิปตัสจึงบม เพาะความขัดแยงและปะทุขึ้นอยางรุนแรงและตอเนื่อง โดยเฉพาะใน พื้นที่ภาคอีสาน ยูคาลิปตัส กลายเปนชนวนของการประทวงครั้งแรกในป 2528 เมื่อ ชาวบานกวา 2,000 คนจาก อ. อุทุมพรพิสัย จ.บุรีรัมย บุกเขาไปรื้อถอน กลาไมยูคาลิปตัสถึงแปลงปลูก พรอมกับเผาเรือนเพาะชำ โดยเรียกรอง ใหรัฐยกเลิกสัมปทานที่ใหเอกชนปลูกยูคาลิปตัสในที่ปาสงวน เพราะ ทำใหชาวบานจำนวนมากถูกขับไลออกจากที่ทำกินของตนเอง ขณะเดียวกันนักวิชาการก็วิพากษวิจารณการปลูกยูคาลิปตัสใน พื้นที่ขนาดใหญทำลายระบบนิเวศอยางรุนแรง โดยเฉพาะความอุดม


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

183

สมบูรณของดิน อยางไรก็ตาม การสงเสริมใหปลูกยูคาลิปตัสเพื่อปอนอุสาหกรรม กระดาษก็เดินหนาตอไป และยังยกระดับขึ้นสูการรวมลงทุนระหวาง ไทย-จีน เมื่อป 2540 ในยุครัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เพื่อปลูกยูคา ลิปตัส 7.5 แสนไร (ส.ป.ก. 5 แสนไร ปาสงวนเสื่อมโทรม 2.5 แสนไร) ใน พื้นที่ภาคตะวันออก และตั้งโรงงานผลิตกระดาษ รวมมูลคาการลงทุน กวา 45,000 ลานบาท เพื่อผลิตเยื่อกระดาษสงออกไปยังประเทศจีน โดยบริษัท แอดวานซ อะโกร ซึ่งอยูในเครือเกษตรรุงเรืองพืชผล เปนผู รวมลงทุนฝายไทย โครงการดังกลาว ถูกขานรับอยางเต็มที่จากอธิบดีกรมปาไมใน ขณะนั้น ซึ่งก็คือนายปลอดประสพ สุรัสวดี โดยตองทำหนาที่จัดหาที่ปา สงวนเพื่อปลูกยูคาลิปตัส ทั้งยังใหสัมภาษณสนับสนุนวา โครงการนี้มี ขอดีหลายอยางคือ ชวยลดการนำเขาเยื่อกระดาษ สรางรายไดจากการ สงออก เกษตรกรมีงานทำ ที่สำคัญคือเปนเครื่องมือที่ทำใหรัฐไดที่ดินกลับคืนมาจากประชาชน ที่ครอบครองอยางผิดกฎหมาย ยู ค าลิ ป ตั ส 7.5 แสนไร ใ นพื้ น ที่ ภ าคตะวั น ออก จึ ง เป ด ฉากขึ้ น ทามกลางการตั้งคำถามที่ไมเคยไดรับคำตอบวา รัฐบาลจะเตรียมรับมือ กับผลกระทบที่เกิดขึ้นอยางไร


184

¢âÕ¥’

¢âÕ‡ ’¬

1. โตเร็ ว สามารถใช ป ระโยชน ไ ด ภ าย 4-5 ป มีการลงทุนคอนขางต่ำเมื่อเทียบ กับไมโตเร็วชนิดอื่น

1. เป น พื ช ที่ มี ก ารใช ป ริ ม าณน้ ำ สู ง เนื่ อ งจากการเจริ ญ เติ บ โตที่ เ ร็ ว ทำให ความชื้นและระดับน้ำใตดินลดลงอยาง รวดเร็ว ซึ่งจะมีผลกระทบตอแหลงน้ำ และพืชขางเคียง

2. เจริ ญ เติ บ โตในพื้ น ที่ ที่ มี ค วามอุ ด ม สมบูรณต่ำ 3. มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ในการใช น้ ำ และ ธาตุอาหารนอยสำหรับการเจริญเติบโต 4. ชวยปรับปรุงระบบนิเวศที่เสื่อมโทรม ใหดีข้นึ ได โดยการเปนไมเบิกนำที่ดี 5. มีความสามารถในการแตกหนอ 6. มีเนื้อไมแข็งแรง ลำตนตรง 7. กิ่งกานใชทำฟนถานที่มีคุณภาพดี ให ความร อ นสู ง ไม แ ตกขณะเผาและไม มี ควั น คุ ณ ภาพถ า นใกล เ คี ย งถ า นจากไม โกงกาง

2. เป น ไม ที่ มี ค วามสามารถในการ แกงแยงทางดานเรือนรากสูง มีการแกง แยงความชื้นไดดี หากปริมาณความชื้น ในดินต่ำหรือฝนตกนอยไมยูคาลิปตัส จะดู ด ความชื้ น จากดิ น ไปหมด ทำให การเจริญเติบโตของพืชชั้นลางและไม ขางเคียงชะงัก 3. ใบสดของยูคาลิปตัสมีน้ำมันหอม ระเหยสะสมอยู ซึ่งถามีปริมาณความ เขมขนสูงจะสามารถยับบั้งการงอกและ การเจริญเติบโตของพืชอื่นได

8. เมื่ออายุ 3-6 ป เนื้อไมมีความเหมาะ สมสำหรับผลิตเยื่อกระดาษ

4. เปนไมที่มีศักยภาพต่ำในการปลูก เพื่อปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน

9. ใชเปนวัตถุดิบในการผลิตแผนเสนใย ไม อั ด แผ น ชิ้ น ไม อั ด แผ น ไม อั ด ซี เ มนต แผนไมประกอบตางๆ

5. คุ ณ ภาพเนื้ อ ไม ยู ค าลิ ป ตั ส เมื่ อ แปรรูปจะบิดงอไดงาย เนื้อไมมีเสี้ยน บิดเปนเกลียวและแตกราว จึงเหมาะ สมสำหรับใชงานหนาแคบและสั้น

10. ก า ร ป ลู ก ยู ค า ลิ ป ตั ส ใ น พื้ น ที่ ป า เสื่อมโทรมจะชวยรักษาระดับความชื้นใน อากาศ ที่มา : เอกสารเผยแพร สวนปลูกปาในที่เอกชน สำนักสงเสริมการปลูกปา กรมปาไม


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

185

¬Ÿ§“≈‘ªμ— ¡“®“°‰Àπ ไมยูคาลิปตัสเปนไมพื้นเมืองของประเทศออสเตรเลีย มีมากกวา 700 ชนิด แต ที่ปลูกอยางแพรหลายในเชิงพาณิชยในบานเรา มีอยูชนิดเดียวคือ ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซีส สวนตนแรกยังมีชีวิตอยู ในบริเวณพระที่นั่งวิมานเมฆ อายุ รวมตอนนี้ก็ประมาณ 100 ป มาแลว แตเปนการปลูกในเชิงไมประดับ สวนยู คาลิปตัสในเชิงพาณิชยเริ่มทดลองปลูกเมื่อ 30-40 ปที่แลว โดยกรมปาไม ได นำไม ยู ค าลิ ป ตั ส พั น ธุ ค ามาลดู เ รนซี ส มาทดลองปลู ก ครั้ ง แรกที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม ศรี ส ะเกษ กาญจนบุ รี และสุ ร าษฎร ธ านี เมื่ อ ป 2508 ภายใต โครงการสำรวจวัตถุดิบเพื่อทำเยื่อกระดาษ ซึ่งเปนความรวมมือระหวางกรม ป า ไม กั บ องค ก ารอาหารและเกษตรแห ง สหประชาชาติ แต ก ารปลู ก เชิ ง พาณิชย โดยภาคเอกชนเริ่มทันอยางจริงจังในป 2526 และสวนใหญเปนการ ปลูกในรูปของปาเชิงเดี่ยว หรือปลูกในระบบวนเกษตร โดยมพืชไรทองถิ่น เปนพืชควบ จนมาถึ ง ยุ ค ป จ จุ บั น ที่ ผู น ำระดั บ ประเทศออกมาเขย า เรื่ อ งนี้ อี ก ครั้ ง ทำใหคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จากพรรคประชา ธิปตย ในฐานะรัฐมนตรีเงากระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ออกมาตั้งขอสังเกตในเรื่องนี้ในหลายประเด็นเชนกัน แมจะยอมรับวา คณะทำงานยังไมสามารถเชื่อมโยงการออกมาผลักดัน นโยบายนี้ของผูนำประเทศได วามีผลประโยชนอยางอื่นแอบแฝงหรือไม แต ไดตั้งขอสังเกตที่นาสนใจวาในพื้นที่ที่มีการทดลองปลูกทางภาคตะวันออกนั้น มี ส ว นเกี่ ย วพั น กั บ สั ม ปทานการส ง ปลู ก และผลิ ต ไม เ พื่ อ ป อ นโรงงาน อุตสาหกรรมกระดาษ “อี ก ป จ จั ย ที่ จ ะต อ งมี ก ารออกมากระตุ น ในระดั บ นโยบายคื อ ความ ต อ งการพื ช พลั ง งานอย า งอื่ น นั้ น เริ่ ม มาเบี ย ดแย ง ชิ ง พื้ น ที่ ในการปลู ก เกษตรกรเองก็เริ่มมีทางเลือกมากขึ้น เพราะพืชพลังงานทางเลือกไมวาจะเปน ปาลม ตางใหผลผลิตและคาตอบแทนที่มีแนวโนมดีในอนาคต ขณะที่ยูคา ลิปตัส เริ่มลดความนิยมลง”คุณหญิงกัลยาตั้งขอสังเกต อยางไรก็ตาม รัฐมนตรีเงายืนยันวาจะติดตามเรื่องนี้ตอไป เพราะเชื่อวา ความเชื่อมโยงระหวางธุรกิจ การเมือง กับยูคาลิปตัส มักจะเกิดขึ้นทุกยุคทุก สมัย


186

บรรณานุกรม “ปลูกปายูคาลิปตัส ขอดีขอเสีย ขอจำกัด” สวนปลูกปาในที่เอกชน สำนักสงเสริมการปลูกปา กรมปาไม เอกสารเผยแพร เดือนสิงหาคม 2551 “ผลวิจยั ยูคาฯพันธุ ‘เค58’ ตนใหญเหมาะปลูกบนคันนา” ศูนยนวัตกรรม เทคโนโลยีหลังเก็บเกี่ยว, ขาวเกษตรประจำวัน 18 พฤศจิกายน 2551 “ยู ค าลิ ป ตั ส ทำให ดิ น เสื่ อ มจริ ง หรื อ ?” สำนั ก บริ ก ารคอมพิ ว เตอร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เอกสารวิจัย, 30 พฤศจิกายน 2548 http://frc.forest.ku.ac.th/about/Eucaliptus/index.htm

+++++++

สัมภาษณ ดร.บุญวงศ ไทยอุตสาห อดีตคณบดีคณะวนศาสตร ม.เกษตรศาสตร ในฐานะหัวหนาโครงการปลูกไมโตเร็วเพื่อแกปญหาความยากจนของ ประชาชนในชนบท รายงานผลการศึกษาเบื้องตน โครงการปลูกไมโตเร็วเพื่อแกปญหา ความยากจนของประชาชนในชนบท ประจำป 2551


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

187


188

√–«—ߧ«“¡‡ ’ˬß... à... º◊πªÉ“¡√¥°‚≈° Õÿ∑¬“π·Ààß™“쑇¢“„À≠ ++++++++++++++

Õ¿‘≠≠“ «‘¿“μ–‚¬∏‘π Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå∫“ß°Õ°‚æ μå


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

189

ผื น ป า ดงพญาเย็ น -เขาใหญ ไดรับการยกยองจากองคการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ (ยูเนสโก) วาเปนมรดกโลกทางธรรมชาติที่สมบูรณเมื่อป 2548 เปนขอพิสูจนในเบื้องตนของความอุดมสมบูรณและความหลาก หลายทางชีวภาพที่มีขนาดพื้นที่ประมาณ 6,155 ตารางกิโลเมตร หรือ 3.84 ลานไร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ, อุทยานแหง ชาติทับลาน, อุทยานแหงชาติปางสีดา, อุทยานแหงชาติตาพระยา และ เขตรั ก ษาพั น ธุ สั ต ว ป า ดงใหญ ของจั ง หวั ด สระบุ รี , นครนายก, ปราจีนบุรี, สระแกว, บุรีรัมย และนครราชสีมา ความหลากหลายทางชีวภาพที่โดดเดนนั้นประกอบไปดวย ชนิด พันธุพืชที่มีความสำคัญในการอนุรักษในถิ่นกำเนิดมากกวา 2,500 ชนิด ซึ่งทั่วประเทศจะมีประมาณ 15,000 ชนิด หรือคิดเปน 1 ใน 6 ของ ประเทศ นอกจากนี้ ยั ง มี ค วามหลากหลายของพั น ธุ สั ต ว อี ก 805 ชนิ ด ประกอบดวย สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 112 ชนิด นก 392 ชนิด สัตวเลื้อย คลานและสัตวสะเทินน้ำสะเทินบกอีก 205 ชนิด และยังเปนแหลงอาศัย ของสัตวที่ใกลจะสูญพันธุอีกหลายชนิด เชน ชาง เสือโครง และวัวแดง


190

แตกวาจะมาเปนมรดกโลกใหคนไทยไดชื่นชมความอุดมสมบูรณ ของทรัพยากรธรรมชาติ ที่ตองรวมแรงรวมใจเก็บรักษาไวใหคนรุนตอไป ไดชวยกันดูแลตอไปนั้น มีหลายประเด็นที่นอยคนนักจะรูวา การขึ้น ทะเบียนมรดกโลกของผืนปาดงพญาเย็น-เขาใหญ มีอปุ สรรคขวากหนาม ซึ่งยากลำบาก และตองใชมีวิธีการประสานสิบทิศอยางไร เพื่อที่ใหไดมา ซึ่งคำวา “มรดกโลกทางธรรมชาติ” สำหรับการไดมา ไมยากเทากับวาจะรักษาสิ่งที่ไดมาใหอยูอยางยั่ง ยืนและสืบตอดวยคุณคาใหคนรุนหลังไดอยางไรนั้น เปนโจทยที่ทาทาย มากกวา ดวยมรดกโลกหลายแหงในหลายประเทศถูกจัดอยูในกลุมเสี่ยง ตอการถูกถอดถอน แนนอนวา สาเหตุสวนใหญเกิดจากการกระทำของ มนุษย ไมวาจะเปนการเพิ่มจำนวนประชากร ทำใหเกิดการลุกล้ำไปยัง พื้ น ที่ อ อ นไหวของมรดกโลก รวมหมายถึ ง การเจริ ญ เติ บ โตของ อุตสาหกรรมการทองเที่ยว ทำใหนักทองเที่ยวแหกันไปดูความยิ่งใหญ ของมรดกโลก จนเกินขีดความสามารถของพื้นที่ที่จะรองรับได แมวามรดกโลกทางธรรมชาติผืนปาดงพญาเย็น-เขาใหญ ยังไมถูก จั ด ให อ ยู ใ นความเสี่ ย งที่ จ ะถู ก ถอดถอนออกจากบั ญ ชี ม รดกโลกทาง ธรรมชาติ แตกต็ กอยูใ นภาวะเสีย่ งทีจ่ ะถูกถอดถอน ถาคนไทยและภาครัฐ ไมสามารถทำตามพันธกรณีที่มีตอคณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโกได °«à“®–¡“‡ªìπ¡√¥°‚≈°∑“ß∏√√¡™“μ‘ +++++++++++++++++++

ประเทศไทยไดดำเนินการผลักดันใหพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญขึ้น ทะเบียนเปนมรดกโลกมาตั้งแตป 2532 แตกวาจะขึ้นทะเบียนไดสำเร็จ นั้น ก็ตองรออีก 16 ปตอมา โดยในครั้งนั้นทางประเทศไทยภายใตการนำ ของพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ไดเสนอชื่อใหอุทยานแหงชาติเขาใหญ เปนมรดกโลกทางธรรมชาติ ซึ่งทางยูเนสโกไดสงผูเชี่ยวชาญมาตรวจ สอบวาพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญนั้นมีความพรอมเพียงพอหรือไมที่ จะประกาศเปนพื้นที่สำคัญทางมรดกโลก


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

191

หลั ง จากใช เ วลาในการตรวจสอบ ไมนานนัก ทางรัฐบาลไทยก็ไดรับคำตอบ จากผูเ ชีย่ วชาญวาอุทยานแหงชาติเขาใหญ มี ค วามสำคั ญ ในระดั บ หนึ่ ง แต ไ ม ไ ด มี ความสำคัญมากจนถึงกับระดับสากล มี ก ารมองว า เนื่ อ งจากเขาใหญ มี พื้นที่แคบจำกัด ซึ่งทำใหระบบนิเวศไม สมบู ร ณ เ ท า ที่ ค วร นอกจากนี้ สั ต ว ป า ไม ส ามารถข า มไปมาหากิ น ได เนื่องจากมีถนนตัดผาน โดยเฉพาะเสนที่เปนปญหาหลักในปจจุบันคือ เสน 304 ที่ตัดสองอุทยานแหงชาติเขาใหญ และทับลานออกจากกัน อยางสิ้นเชิง “นั่นคือเหตุผลหลักวา ทำไมเราตองรวมเอาพื้นที่อุทยานแหงชาติ ทับลาน และอุทยานแหงชาติปางสีดา และพื้นที่ใกลเคียง เขามารวมกับ อุทยานแหงชาติเขาใหญ เพราะนั่นหมายความวาการเชื่อมผืนปาของ พื้นทั้งหมดมีขนาดใหญมากเพียงพอที่จะประกาศใหมีความสำคัญระดับ โลก เนื่องจากมีความหลากหลายทางชีวภาพที่สมบูรณของพืชและสัตว ปาที่อาศัยอยูในพื้นที่ของอุทยานแหงชาติ” นายมานิตย ศิริวรรณ อดีต คณะกรรมการมรดกโลกประจำประเทศไทย กลาว มานิ ต ย ผู ซึ่ ง คร่ ำ หวอดอยู ใ นคณะกรรมการมรดกโลกประจำ ประเทศไทยมาตั้งแตเริ่มตน ไดยอนอดีตใหฟงวาในสมัยชวงสิบกวาป ก อ นหน า นี้ อุ ท ยานแห ง ชาติ เ ขาใหญ ไ ม ไ ด มี ส ภาพของผื น ป า ที่ อุ ด ม สมบูรณดังเชนปจจุบัน การจัดการพื้นที่ของอุทยานถูกปรับเปลี่ยนให เปนแหลงทองเที่ยว เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลในยุคนั้นที่สงเสริมการ ทองเที่ยวเปนหลัก เชน การสรางสนามกอลฟ รานอาหาร และโรงแรม ที่พักอยูใจกลางเขาใหญ หลังจากทางรัฐบาลมีนโยบายที่จะผลักดันใหพื้นที่อุทยานแหงชาติ เขาใหญ เปนพื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาตินั้น ไดมีการจัดทำแผนของ ภาครัฐเพื่อวางแผน และกำหนดขอบเขตที่ชัดเจน มีการสรางแนวกันชน


192

ที่ ชั ด เจนระหว า งพื้ น ที่ ข อง ชาวบานกับเขตอุทยาน โดยเฉพาะแผนปฏิ บั ติ งานที่จะฟนฟูสภาพทางระบบ นิเวศวิทยาของทางอุทยานให สมบูรณมากยิ่งขึ้น ซึ่งก็รวมถึงการยายกิจการรานคา โรงแรม และราน อาหารออกจากพื้นที่ใจกลางเขาใหญ ซึ่งใหออกมาบริการนักทองเที่ยว ในบริเวณรอบๆ ของอุทยาน “ใช เ วลาหลั ง จากนั้ น อี ก 12 ป เ พื่ อ จั ด ทำแผนดั ง กล า ว ซึ่ ง คณะ กรรมการมรดกโลกอดทนรอแผนระยะยาวของเรา จะวาไปแลวก็สวน หนึ่ง ศ.ดร.อดุลย วิเชียรเจริญ ซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิอาวุโสสูงสุด ที่ไดรับ การยกยองอยางมากในหมูบรรดาคณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโก ดวยกันก็ชวยผลักดัน ที่จะประกาศเปนพื้นที่มรดกโลกกอน กอนที่เราจะ ทำการเชื่อมผืนปาไดสำเร็จเสียอีก ซึ่งก็หมายความวาทางเจาหนาที่รัฐ จะตองเรงทำตามขอกำหนดของยูเนสโกใหได ไมเชนนั้นเราก็มีโอกาสสูง ที่จะสูญเสียสถานะความเปนมรดกโลกไป” มานิตยบอกดวยวา เจาหนาที่ฝายไทยเองก็พยายามขอเวลาในการ ปรับแกไขตามคำแนะนำของยูเนสโก เนื่องจากชวงเวลาดังกลาวมีความ พยายามอีกครั้งกับโครงการสรางเขื่อน “เหวนรก” โชคดีที่ไมผานความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี และลดระดับเหลือเพียงคลองทาดาน จึง สามารถนำเสนอแผนการปรับปรุงทั้งหมดใหกับคณะกรรมการมรดกโลก ไดพิจารณาในเวลาตอมา นี่เปนเหตุผลที่ทำใหหายใจขึ้นมาไดบาง สำหรับการประชุมทุกป ก็ มีถามถึงความคืบหนานะ เราก็รายงานเขาไปตามปกติ เขาเองก็ไมไดสง สัญญาณเรงรัดอะไรมากนัก ดูเหมือนวาทางหนวยงานของภาครัฐเอง เริ่มใหความสนใจที่จะมี การจัดการที่ดีแกพื้นที่บริเวณอุทยาน ซึ่งก็มีการดำเนินการไปไดดีตาม ลำดับ แตก็ยังมีอีกสิ่งหนึ่งซึ่งเปนปญหาที่ยังแกกันไมจบ นั่นคือถนนเจา


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

193

ปญหาสาย 304 ซึ่งแตเดิมเปนเพียงถนนเสนเล็กๆ เพื่อเชื่อมจังหวัด ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา และปราจีนบุรี แตปจจุบันมีการขยายถนนเพื่อ รองรับการจราจรที่มีมากขึ้น แนนอนวาการขยายถนนไมใชปญหาหลัก แตปญหาติดอยูตรงที่วาถนนเสนนี้ตัดผานผืนปาอุทยานแหงชาติเขา ใหญ-ทับลานของจังหวัดปราจีนบุรีและนครราชสีมา ซึ่งเปนประเด็นขอ กังวลกอนหนานี้ของยูเนสโกเชนกันวา ถนนเสนนี้เปนอุปสรรคสำคัญใน การเคลื่อนยายหากินของสัตวปา “นั่นแหละคือจุดสำคัญวาเราจะหลุด หรือไมหลุดจากมรดกโลก แต ประการหนึ่งการจะถูกถอดถอนจากบัญชีมรดกโลกไมใชทำกันงายๆ นะ มันมีคำเตือนมากอนวาอยูในภาวะถูกคุกคาม และยกระดับเปนภาวะ อันตราย แลวทางเจาหนาที่ยูเนสโกก็จะจัดสงเจาหนาที่มาชวยเหลือและ แนะนำวาจะรอดภาวะเหลานี่ไปไดอยางไร ซึ่งเทาที่ผานมาไมเคยมี ประเทศไหนถูกถอดถอนเลยนะ มีแตประเทศโอมาน ประเทศเดียวที่ขอ ถอนแหลงมรดกโลกออกไป เพราะไปทับซอนกับพื้นที่อุตสาหกรรมขุด เจาะน้ำมันเขา “แตเราตองไมประมาทนะ เพราะการถูกถอดถอนออกจากมรดก โลกมันเปนเรื่องที่นาอับอายมาก และเสียหายตอชื่อเสียงของประเทศ” เปนเหตุผลที่มานิตยอธิบายใหฟงถึงขอกำหนดของยูเนสโก ความเปนจริงแลวปญหาการคุกคามของมรดกโลกไมวาจะทาง วัฒนธรรมหรือทางธรรมชาติ เกิดขึ้นในเกือบทุกที่ทั่วโลก สาเหตุหลักเกิด มาจากการขยายตัวของชุมชนเมืองซึ่งไปบุกรุกแหลงพื้นที่ตามธรรมชาติ หรือจำนวนนักทองเที่ยวที่มีมากเกินความสามารถของพื้นที่ที่จะรองรับ ได ถายอนหลังกลับไปชวงหลายปที่ผานมา มีกระแสขาวตามหนา หนังสือพิมพกลาวอางความพยายามของกรมชลประทานที่จะสรางเขื่อน ขนาดใหญในพื้นที่ใกลเคียงกับมรดกโลกเขาใหญ เชน ขาวการสราง เขื่อนหวยโสมง สำหรับที่ตั้งของโครงการเขื่อนหวยโสมง อยูที่บานแกงยาว หมูที่ 3,


194

8 และ 12 ตำบลแกงดินสอ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ถาสรางเสร็จ จะสามารถเก็บกักน้ำได 295 ลานลูกบาศกเมตร สรางเปนเขื่อนดินสูง ประมาณ 32.75 เมตร ยาว 3,967 เมตร และชองทำนบดินปดชองเขาต่ำ 2 แหง พรอมดวยระบบสงน้ำ และระบายน้ำ ทางกรมชลประทานคาดวาเขื่อนดังกลาวจะสามารถจัดหาน้ำใน พื้นที่ชลประทาน 111,300 ไรในเขต อำเภอนาดี และอำเภอกบินทรบุรี รวมทั้งสามารถแกปญหาน้ำเค็ม และน้ำเสียในแมน้ำปราจีนบุรี ซึ่งใชงบ ประมาณทั้งหมดประมาณ 5,478.68 ลานบาท และใชพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 18,487.74 ลานไร นั่นคือพื้นที่บริเวณปาสงวนแหงชาติ ปา แกงดินสอ ปาแกงใหญ และปาเขาสะโตน รวมทั้งพื้นที่อุทยานแหงชาติ ปางสีดา พื้นที่อุทยานแหงชาติทับลาน และพื้นที่ไมมีเอกสารสิทธิ แมวาคณะรัฐมนตรีจะมีมติเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2532 อนุมัติใหมี การดำเนินการศึกษา สำรวจ ออกแบบ กอสรางโดยกรมชลประทาน ก็ยัง ไมมีความคืบหนามากนักในโครงการดังกลาว เนื่องจากมีการคัดคาน จากเครือขายองคกรพัฒนาเอกชน (NGO) ที่เกรงวาจะสงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม เนื่องจากบริเวณพื้นที่อุทยานแหงชาติปางสีดา เปนแหลงที่ อยูอาศัยของจระเขน้ำจืด ซึ่งเหลืออยูเพียงไมกี่แหงในประเทศเทานั้น มานิ ต ย ได ใ ห ท รรศนะเพิ่ ม เติ ม ว า กิ จ กรรมการสร า งเขื่ อ นมี ผ ล กระทบโดยตรงตอการคุกคามของมรดกโลก ตัวอยางที่เห็นไดชัดเจน และเกิดขึ้นจริงในประเทศแอฟริกา และออสเตรเลีย เขาอธิบายเสริมกรณีการสรางเขื่อนหวยโสมงดวยวา คอนขางจะ เกิดขึ้นยาก เพราะบริเวณดังกลาวไดรับการประกาศเปนพื้นที่มรดกโลก แล ว แน น นอนว า การสร า งเขื่ อ นย อ มส ง ผลกระทบโดยตรงต อ ระบบ นิเวศวิทยา ซึ่งคณะกรรมการมรดกโลกคงไมนิ่งเฉยแนถาเรามีการรื้อฟน โครงการนี้ขึ้นมาอีก อย า งไรก็ ต าม คณะกรรมการมรดกโลกประจำประเทศไทยชุ ด ปจจุบัน นำโดยนายปองพล อดิเรกสาร ไดมีคำสั่งใหจัดตั้งชุดอนุคณะ กรรมการมาศึกษาความเปนไปไดและผลกระทบจากการสรางเขื่อนตอ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

195

มรดกโลก ซึ่งจะใชเปนขอมูลสำคัญในการตัดสินใจวาจะอนุญาตให กรมชลประทานกอสรางเขื่อนแหงนี้ขึ้นมาอีกหรือไม ยูเนสโกไดมีการจัดขึ้นทะเบียนมรดกโลกทั้งทางวัฒนธรรม ทาง ธรรมชาติ และรูปแบบผสม มาตั้งแตป 2515 จนถึงปจจุบัน ลาสุดนี้มี ประเทศที่สมาชิกอยู 185 ประเทศ และมีแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม 679 แหง มรดกโลกทางธรรมชาติ 174 แหง และมรดกโลกแบบผสม ผสานอีก 25 แหง รวมแลวทั้งสิ้น 878 แหงทั่วโลก สวนของประเทศไทยเอง ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก ทางวัฒนธรรมถึง 3 แหงดวยกันคือ อุทยานประวัติศาสตรอยุธยา ในป 2534 อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชร ในปเดียวกัน และแหลงโบราณคดีบานเชียง จังหวัดอุดรธานี ในป 2535 สวนมรดกโลกทางธรรมชาติมีอยู 2 แหงคือ เขตรักษาพันธุ สัตวปาทุงใหญ-หวยขาแขง ซึ่งไดรับการขึ้นทะเบียนในป 2534 และดงพญาเย็น-เขาใหญในป 2548 เปนที่นายินดีวาในขณะนี้มรดกโลกทั้ง 5 แหงของประเทศยังไมไดมี การจัดใหอยูในฐานะเสี่ยงตอการถูกถอดจากคณะกรรมการมรดกโลก แตอยางใด ขณะที่บางประเทศ เชนสาธารณรัฐคองโก ซึ่งไดรับการขึ้นทะเบียน มรดกโลกทางธรรมชาติถึง 5 แหงดวยกัน และทั้งหมดนั้นก็อยูในกลุม เสี่ยงที่จะถูกถอดถอนออกจากมรดกโลก เนื่องจากมีการลักลอบลาสัตว ป า เป น จำนวนมาก ถึ ง กั บ ทำให อ งค ก ารยู เ นสโกส ง หนั ง สื อ เตื อ นให รัฐบาลคองโกดูแลเรื่องนี้เปนพิเศษ เชนเดียวกับเกาะกาลาปากอส ในประเทศเอกวาดอร ทางคณะ กรรมการมรดกโลกของยูเนสโกก็มีมติใหอยูในกลุมเสี่ยงเชนเดียวกัน อัน เนื่องมาจากจำนวนนักทองเที่ยวที่หลั่งไหลเขาดูชีวิตสัตวที่มีลักษณะเปน เอกลักษณของที่นี่เพียงแหงเดียว จากขอมูลสถิติของการทองเที่ยวของประเทศ พบวาอัตราการทอง


196

เที่ยวเพิ่มมากขึ้นกวา 150% เมื่อเทียบกับ 15 ที่ผานมา ซึ่งทำใหระบบ นิเวศวิทยาที่เปราะบางไดรับผลกระทบกระเทือนอยางมาก ซึ่งนักอนุรักษ สิ่งแวดลอม รวมทั้งคณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโก เองก็พยายาม ใหความรวมมือในการพิทักษและรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของ โลกแหงนี้ไว โดยผานทางรูปแบบกิจกรรมตางๆ ที่หลากหลาย Corridor ∑“߇™◊ËÕ¡º◊πªÉ“ ‰æà„∫ ÿ¥∑⓬ +++++++++++++++++++++

ถึงแมวาอุทยานแหงชาติเขาใหญ-ทับลานจะไดรับการประกาศเปน ที่มรดกโลกแลวก็ตาม แตตองไมลืมวาเปนการยอมรับใหขึ้นทะเบียน ภายใตเงื่อนไข หรือพันธกรณีที่เราจะตองปรับปรุงใหเขากับขอเสนอแนะ ของคณะกรรมการมรดกโลก และหนึ่งในนั้นก็คือการสรางแนวเชื่อมตอ ทางนิเวศวิทยาระหวางอุทยานแหงชาติเขาใหญ-ทับลาน ซึ่งอุทยานแหง ชาติทั้งสองแหงถูกตัดขาดออกจากกันโดยถนนเสน 304 กรมทางหลวงได จั ด ทำแผนพั ฒ นาทางหลวง โดยกำหนดตาม ทิ ศ ทางของการพั ฒ นาระบบขนส ง และคมนาคมของแผนพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติแตละฉบับมาตามลำดับ นั่นก็หมายรวมถึง ทางหลวงหมายเลข 304 ระหวางอำเภอกบินทรบุรี และอำเภอปกธงชัย ซึ่งจำเปนตองมีการขยายชองทางจราจรเปน 4 ชองทาง เพื่อรองรับการ จราจรที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ในแต ล ะป ตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่ 10 มกราคม 2538 แตเนื่องจากเสนทางดังกลาวไดผานพื้นที่กลุมปาดงพญาเย็น-เขา ใหญ ซึ่งไดรับการขึ้นบัญชีเปนแหลงมรดกโลกทางธรรมชาติ และจาก การประชุ ม ของคณะกรรมการมรดกโลก ครั้ ง ที่ 29 ณ ประเทศ แอฟริกาใต เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2548 ไดเสนอใหไทยดำเนินการ เกี่ยวกับการจัดทำแนวเชื่อมผืนปา (Wildlife Corridor) ระหวางอุทยาน แห ง ชาติ เ ขาใหญ - ทั บ ลาน ซึ่ ง จะอยู บ ริ เ วณกิ โ ลเมตรที่ 27-29 และ 42-48 ของทางหลวงหมายเลข 304 ซึ่งบริเวณดังกลาวจะตองไดรับการ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

197

ออกแบบขยายทางหลวงเปน 4 ชองทางจราจร และในขณะเดียวกันจะ ตองทำการศึกษาและออกแบบรูปแบบที่สามารถเชื่อมผืนปาเขาดวยกัน ใหไดตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการมรดกโลก โดยที่รูปแบบการ ขยายทางหลวงและแนวเชื่อมตอผืนปาดังกลาวจะตองสงผลกระทบตอ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด ดร.ทรงธรรม สุขสวาง ผูอำนวยการสวนศึกษาและวิจัยอุทยานแหง ชาติ สำนักอุทยานแหงชาติ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช ผูรับผิดชอบโดยตรงตอมรดกโลกทางธรรมชาติของไทย อธิบายใหฟงถึง รูปแบบทางเชื่อมของระบบนิเวศวิทยาไวอยางนาสนใจวา ทางเลือกของ รูปแบบทางเชื่อมผืนปา มีหลายรูปแบบที่นาสนใจ แตทางกรมอุทยานฯ ชอบแบบการสรางอุโมงคใหสัตวสามารถเดินดานลาง โดยสรางทางยก ระดับตลอดระยะทางประมาณ 2-3 กิโลเมตรในแตละชวงถนนที่จะ ทำการเชื่อมผืนปาเพื่อใหสัตวปาใชเดินผานแนวถนนเดิมดานลาง และ จะตองกำหนดโครงสรางประกอบที่เหมาะสมดวย เชน กำแพงกั้นเสียง สองขาง รั้วตาขายกันพื้นที่ และการปรับสภาพพื้นที่เดิม โดยการปลูกไม ชนิดเดิมที่มีอยู


198

อีกแบบหนึ่งเปนรูปแบบใหสัตวเดินขางบน เนื่องจากสภาพพื้นที่ทั้ง สองดานของอุทยานแหงชาติทับลาน และเขาใหญ มีความสูงที่ใกลเคียง กัน ที่ 60-80 ระดับน้ำทะเลปานกลาง ในขณะที่ทางหลวงเสน 304 มี ความสู ง อยู ที่ 50-55 ระดั บ น้ ำ ทะเลปานกลาง ซึ่ ง แบบนี้ ก็ จ ะมี ข อ ได เปรียบจากสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสมกับการกอสราง และสามารถ ปรับพื้นที่ใหมีความตอเนื่องไดทั้งสองดาน “ทางกรมอุทยานฯ เองเห็นวาการสรางอุโมงคนาจะเปนรูปแบบที่ เหมาะสมที่สุด เพราะสัตวจะถูกรบกวนนอยที่สุด รถก็ลอดอุโมงคไป สวนสัตวก็วิ่งขามไปมาได ไมมีอันตรายจากการถูกรถชน แตอยางวา ของดีที่สุดก็ตองแพงที่สุด ซึ่งราคาที่สูงมากแบบนี้กรมทางหลงเองอาจ ไมชอบก็ได เราตองยอมรับฟงความคิดเห็นของเขาดวย เพราะเขาตอง เปนผูรับผิดชอบคาใชจาย” ดร.ทรงธรรมกลาว อยางไรก็ตาม ดร.ทรงธรรมเนนย้ำวา หลักการสำคัญที่สุดของการ สรางทางเชื่อมคือ การสรางเสนทางที่มีประสิทธิภาพที่ทำใหสัตวปา ระหวางสองผืนปา ไมวาจะเปนสัตวปาขนาดเล็ก เชน กระตาย เตา หรืองู หรือแมกระทั่งสัตวปาขนาดใหญ เชน ชาง กระทิง หรือเสือ สามารถเดิน ทางขามไปมาหากิน หรือผสมพันธุกันได สวนเรื่องงบประมาณ หรือเรื่อง อื่นๆ ควรเปนเรื่องรองมากกวา “ตอนนี้ทางกรมทางหลวงเองอยูในขั้นตอนศึกษาความเปนไปได และผลกระทบทางสิ่งแวดลอมในแตละรูปแบบ กอนที่เสนอใหคณะ กรรมการรวมระหวางกรมทางหลวง และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชใหความเห็นชอบและเริ่มขั้นตอนการกอสรางไดทันที” กรมทางหลวงไดจัดหาบริษัทที่ปรึกษาที่จะตองออกแบบทางเชื่อม ผืนปาประกอบกับการออกแบบขยายถนน โดยมีขอบเขตที่ทำการศึกษา ก็คือ จะตองศึกษาขอมูลประชากรของสัตวปา และพันธุพืช และขอมูล อื่ น ๆ เพื่ อ ที่ จ ะประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของทางเชื่ อ มป า ซึ่ ง รวมถึ ง การ เคลื่อนยายถิ่นของสัตวปา และการกระจายการอยูอาศัยของสัตวปาและ พันธุพืชตางๆ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

199

อี ก ทั้ ง การศึ ก ษานี้ ต อ งเน น การศึ ก ษาด า นความหลากหลายทาง ชี ว ภาพ ข อ กำหนดกฎหมายที่ คุ ม ครอง เพื่ อ ให ท ราบถึ ง ผลกระทบ โครงการ โดยจะตองทำการศึกษาและสำรวจใหครอบคลุมทั้งป โดย เฉพาะสำรวจและศึกษาพฤติกรรมการอยูอาศัย เสนทางการเดินทางของ สัตวปา หรือขอมูลอื่นๆ อันจะเปนประโยชนตอการศึกษาและออกแบบ โครงการ รวมถึ ง การหามาตรการป อ งกั น แก ไ ข ผลกระทบทางสิ่ ง แวดลอมมาพิจารณาประกอบการคัดเลือกรูปแบบของการขยายถนน และการเชื่อมผืนปาที่เหมาะสมตอไป เมื่อการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งลาสุด จัดที่ประเทศ แคนาดา ในเดื อ นกรกฎาคม 2551 ได มี ก ารรายงานสถานภาพการ อนุรักษแหลงมรดกโลกตอคณะกรรมการมรดกโลกทางธรรมชาติ โดยใน สวนที่เกี่ยวของกับพื้นที่กลุมปาดงพญาเย็น-เขาใหญนั้น ประเทศไทยได จัดทำรายงานเบื้องตนการศึกษาแนวเชื่อมตอทางนิเวศวิทยาระหวาง อุทยานแหงชาติเขาใหญ-ทับลาน โครงการการศึกษาแนวเชื่อมตอทาง นิเวศวิทยาระหวางอุทยานแหงชาติเขาใหญ-ทับลาน แผนการจัดการ สำหรับพื้นที่กลุมปาดงพญาเย็น-เขาใหญ และแผนความรวมมือในการ อนุรักษกลุมปาดงพญาเย็น-เขาใหญ ที่ประชุมคณะกรรมการมรดกโลกฯ รับทราบรายงานดังกลาว และ ขอใหประเทศไทยจัดทำรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) ของการขยายถนนสาย 304 เพื่อใหแนใจวาการขยายถนนจะไม สงผลกระทบตอบูรณภาพของพื้นที่แหลงมรดกโลกภายในป 2553 อยางไรก็ตาม คณะกรรมการมรดกโลกทางธรรมชาติมีขอหวงใย เรื่องจำนวนนักทองเที่ยวจำนวนมากที่มาเที่ยวเขาใหญ จึงอยากใหทาง ประเทศไทยไดจัดระเบียบจำนวนนักทองเที่ยวเพื่อใหสมดุลกับขีดความ สามารถในการรองรับของพื้นที่ ซึ่ง ดร.ทรงธรรมกลาววา เรื่องดังกลาว ทางกรมอุ ท ยานฯ ก็ ไ ม ไ ด นิ่ ง นอนใจ โดยได จั ด ทำแผนเพื่ อ กระจาย นักทองเที่ยวไปยังอุทยานใกลเคียง เชน อุทยานแหงชาติปางสีดา


200

§π(‡§¬)¡’§«“¡ ÿ¢‡¡◊ËÕÕ¬Ÿà°—∫ªÉ“ +++++++++++++++++

นายปญญา รโหฐาน ชาวสุพรรณบุรีโดยกำเนิด แตมีโอกาสมาเปนเขย ขวัญของชุมชนบุพราหมณ ในอำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี เลาใหฟงวา กอนหนาที่ทางราชการจะประกาศใหพื้นที่บริเวณนี้เปนปาสัมปทาน ชาว บานก็อยูกับปา ทำมาหากินกับปาอยางมีความสุข ไมไดมีความเดือด รอน หรือมีปญหามากมายอะไร มีความสุขตามอัตภาพ เดิมทีหมูบานแหงนี้ และอีกหลายแหงในแถบนี้เปนหมูบานที่ทาง รั ฐ บาลในช ว งสมั ย ที่ มี ก ารต อ ต า นลั ท ธิ ค อมมิ ว นิ ส ต ไ ด จั ด ตั้ ง ขึ้ น จาก กระทรวงมหาดไทย ใหเปนหมูบานมั่นคงเพื่อดึงมวลชนออกจากกลุม ฝายซายที่สนับสนุนแนวความคิดสังคมนิยม ซึ่งก็นับวาประสบความ สำเร็จในระดับหนึ่ง ชาวบานมีที่ดินทำกินเปนของตนเอง และใหความ รวมมือกับรัฐบาลมากขึ้น เมื่อกระแสแนวคิดซายจัดไดจางหายไป แทนที่ดวยความเจริญ กาวหนา และการพัฒนาของประเทศที่มีอยางรวดเร็วในชวง 20 ปที่ผาน มา ดูเหมือนวาชาวบานสามารถอยูไดอยางยั่งยืนกับผืนดินผืนใหม และ พื้นที่ปาที่อุดมสมบูรณของผืนปาทับลาน แตเคราะหกรรมยังไมหมดไปจากหมูบานซึ่งครั้งหนึ่งถูกขีดใหเปน พื้นที่สีแดง เมฆหมอกของปญหาเริ่มตั้งเคา เมื่อป 2524 เมื่อทางกรม ปาไม ไดประกาศใหพื้นที่ 1.4 ลานไร ครอบคลุมตั้งแตอำเภอปกธงชัย, วังน้ำเขียว, ครบุรี และเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา และอำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี เปนพื้นที่ในเขตอุทยานแหงชาติทับลาน “แรกๆ ชาวบานไมเดือดรอนหรอก เพราะเขาไมรูวาประกาศแลว มั น เป น ยั ง ไง เขาจะมี ผ ลกระทบอะไร ไม รู ห รอก ชาวบ า นเข า ใจว า ประกาศเขตอุทยานฯ ก็แคบริเวณที่เจาหนาที่เอาลวดหนามมาลอมไว เปนที่ทำการของอุทยานฯ ก็แคนั้น จริงนะ ชาวบานเขาเขาใจกันแบบนั้น จริงๆ” ปญญา ปราชญชาวบานวัย 55 ปเลาใหฟง หลังจากนัน้ ปญหาก็เกิด ชาวบานถูกจับในขอหาบุกรุกพืน้ ทีอ่ ทุ ยานฯ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

201

ทั้งๆ ที่ความเปนจริงชาวบานมาอยูกอนที่อุทยานฯ จะประกาศเสียอีก แตกอนนี้ชาวบานก็ใหความรวมมือกับทางราชการดี ไมวาทางราชการ อยากใหชาวบานทำอะไร ชาวบานก็ระดมกำลังและความสามารถกัน เต็มที่ เชนราชการอยากใหชาวบานชวยกันปลูกปา ชาวบานก็มารวมใจ กันปลูกปา คนละไมคนละมือปลูกในที่ดินของเขาเอง แตตอมาทาง ราชการก็มาประกาศวาพื้นที่ที่ชาวบานปลูกปาเปนเขตอุทยานฯ แลว ชาวบานจะอยูที่ไปอยูที่ไหนได ปราชญเฒาบอกวา “เรื่องที่ดินทำกินตรงนี้นะ เราสูมานานแลวแตก็ ไมมีอะไรดีขึ้น ถึงแมวาจะมีประกาศแนบทายกฤษฎีกาป 2543 ใหแยก ที่ดินทำกินของเราออกจากเขตอุทยาน ก็ไมมีใครเรงรีบดำเนินการ อาง วาตองรอมติคณะรัฐมนตรีเพิกถอนพื้นที่อุทยานออกเสียกอน แตนับดูสิ วากี่ปผานมาแลว ยังไมมีอะไรเกิดขึ้นเลย” ลาสุดเขาอธิบายวา ชาวบาน 6 คนถูกเจาหนาที่จับกุมในขณะที่ทำ ไรมนั สำปะหลังอยู ในขอหาบุกรุกพื้นที่อุทยานแหงชาติ ทั้งที่ชาวบานทำ มาหากินในเขตที่ดินของเขา ซึ่งชาวบานทั้ง 6 คนตองใชเงินประกันตัว กวาลานบาท เจาหนาที่มัวแตปลูกปาอยางเดียว แตไมเคยดูแลความ รูสึกของชาวบานเลย มุงเนนแตจะใหปาอยูรอด แตไมเคยที่จะรักษาชีวิต ชาวบานที่อยูกบั ปามาตั้งแตรุนบรรพบุรุษไดอยูรอดบางเลย ความลาชาในเรื่องการจัดการที่ดินทำกินใหถูกตองตามกฎหมาย นั้น เขามองวาเกิดจากกรมปาไมไมตองการเสียประโยชนในการดูแล พื้นที่เจาปญหาดังกลาว เนื่องจากเมื่อประกาศเปนพื้นที่ ส.ป.ก. ก็ตองอยู ในความดูแลของสำนักปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม แทนที่จะอยูในความ รับผิดชอบของกรมปาไม “ชาวบานเขาไมสนใจหรอกวาเปนมรดกโลกหรือไม เพราะเขาไมรู วาไดผลดี หรือผลเสียอะไรจากการประกาศเปนมรดกโลก แตที่แนๆ ตอนนี้เขาไมมีแมแตที่ดินที่จะทำกิน เพราะการประกาศเปนเขตอุทยาน แหงชาติ เขาโดนปลนที่ดินไปจากหนวยงานของรัฐ” เขากลาว ขณะที่นายอำนวย โพธิ์แกว ผูประสานงานองคกรชุมชน ของตำบล


202

บุพราหมณ ผูซึ่งไดรับผลกระทบจากการประกาศพื้นที่อุทยานฯ ทับที่ทำ กิน ไดเสนอมุมมองที่นาสนใจของการเปนมรดกโลกที่ยั่งยืนของพื้นที่ บริเวณอุทยานแหงชาติเขาใหญ-ทับลานที่ยั่งยืน เขามองวาทางภาครัฐ ควรใหความสนใจกับชุมชนที่อยูรอบบริเวณมรดกโลก เพราะชาวบาน เหลานี้มีฐานะที่ยากจน และตองอาศัยอยูอาศัยกินกับผืนปา และเขา เหลานี้ก็ไมไดรับประโยชนอะไรมากนักจากการประกาศเปนมรดกโลก อำนวยลาถึงจุดมุงหมายที่ฝนไวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนวา ภาครัฐ ตองหันกลับมามองวาจะทำยังไงใหคนอยูได ปาอยูได นั่นก็หมายความ วาความเปนมรดกโลกก็สามารถอยูไดเชนกัน ตองมีการวางยุทธศาสตร ที่ใหชาวบานอยูไดอยางยั่งยืน เชนตอนนี้ที่คิดไวคือ การบริหารการทอง เที่ยวที่มีประสิทธิภาพ ที่คนในทองถิ่นสามารถจัดการเองได อยากใหคน ขางนอกมาดูและศึกษาวาชาวบานอยูกับผืนปามรดกโลกยังไง อย า งไรก็ ต าม เน น ว า ก อ นจะถึ ง จุ ด นั้ น ทางภาครั ฐ ต อ งมาสร า ง ความมั่นใจใหกับที่ดินกินของชาวบานกอนเปนอันดับแรก “ทีเ่ ราอยากเห็นนะ ชาวบาน กรมปาไม กรมอุทยานฯ มานัง่ คุยกันเลย เราขอวาใหแบงโซนมาเลยวาชวงโซนไหนที่เราสามารถเขาปาไปเก็บ หนอไม เก็บใบลานมาใชประโยชนได ปาไหนเปนปาที่จะเปนธนาคาร อาหารใหกับชาวบาน แลวปาตรงไหนจะเปนปาอนุรักษ 100% ชาวบาน ไมสามารถเขาไปหาประโยชนได กางแผนที่มาดูกันเลย แลวทำเปน สัญญาประชาคมระหวางชาวบานกับเจาหนาที่ มีการตั้งคณะกรรมการ ของทั้ ง สองฝ า ยมาดู แ ลมรดกโลกร ว มกั น นี่ แ หละคื อ หลั ก การที่ ส ม ประโยชนกันทั้งสองฝาย แตนาเสียดายที่วาเปนขอเรียกรองที่เราขอกัน มานาน แตไมรทู ำไม มันไมเกิดเสียที” นายอำนวยพูดอยางชัดเจน พรอมกับยอมรับวา ปจจุบันนี้ความไวเนื้อเชื่อใจ ระหวางเจาหนาที่ และชาวบานเริ่มมีนอยลงไปทุกที ชาวบานมานั่งกังวลวา เมื่อไหรเจา หนาที่จะมาตั้งขอหาบุกรุกพื้นที่ปาอุทยานที่หัวบันไดบาน หรือเจาหนาที่ มาปลูกปาทับที่ดินทำกิน แลวก็มาอางวาเปนพื้นที่ในเขตอุทยานฯ ใน ภายหลัง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

203

ในขณะที่เจาหนาที่เองก็ระแวงวา ชาวบานจะแอบลักลอบเขาเขต อุทยานฯ เมื่อไหร ไมมีใครอยูกับปาไดอยางมีความสุขเลยในตอนนี้ เขาซึ่งโตมากับผืนปาแหงนี้ ยอนใหฟงถึงความสุขสันตของคนกับ ปาในวัยเยาว วาชาวบานไมตองใชเงินทองมากนัก หิวก็หิ้วจอบ เสียม มีดเขาปาไป สักพักก็ไดหนอไม เห็ด หมูปามากินกันแลว อดอยากไมรู จักถาขยัน เจ็บปวยก็หาหมอสมุนไพร คนทองถิ่นมีความผูกพันกับผืนปา และทรัพยากรธรรมชาติมาตั้งแตเกิด ความคิดที่จะทำลายทรัพยากรอัน มีคานั้นแทบไมมีเลย เพราะเขาเหลานั้นรูวาผืนปานั้นสำคัญตอพวกเขา อยางไร เคยมีผูรูหลายคนไดวิพากษวิจารณการบริหารการจัดการพื้นที่ปา ไม ข องภาครั ฐ ว า ภาครั ฐ ค อ นข า งมี ค วามเชื่ อ อย า งแรงกล า ว า คนไม สามารถอยูกับปาได การจัดการทรัพยากรปาไมที่มีอยูอยาจำกัดนั้นคือ การพยายามกันคนใหออกจากพื้นที่ปา ในขณะที่ทางชาวบานที่มีบรรพ บุรุษอยูกินกับปา เชื่อมั่นวาเขาสามารถอยูกับปาไดอยางไมมีปญหา ความแตกต า งของสองแนวคิ ด ทำให ก ารจั ด การพื้ น ที่ ป า ไม ข อง ประเทศคอนขางมีปญหา โดยภาครัฐเองเนนการปราบปรามผูบุกรุก (ซึ่ง รัฐเขาใจเอาเองวาเปนผูบุกรุก เนื่องจากไปประกาศที่อุทยานฯ ทับที่ทำ กิน ซึ่งเปนชาวบานทั่วๆ ไป แตนอยครั้งที่จะเห็นเจาหนาที่เอาจริงเอาจัง จับกุมผูบุกรุกรายใหม ที่เขาไปทำประโยชนจากพื้นที่ปา โดยไมไดรับ อนุญาต ซึ่งสวนใหญเปนกลุมนายทุน นักการเมืองทองถิ่น หรือนักการ เมืองระดับชาติ รายยิ่งกวานั้นสามารถออกเอกสารสิทธิใหไดดั่งเนรมิต) “ผมไมรูวาในรุนผม ปญหาเหลานี้จะไดรับการแกไขหรือเปลา แต ผมมั่นใจนะวาปญหาทุกปญหามันมีทางออก ถาทุกฝายมานั่งคุยกัน อยางในกรณีทับลานผมมองวารัฐก็อาจจะตองใสใจมากหนอย เพราะ มั น เป น พื้ น ที่ ข องมรดกโลก ถ า หลุ ด ไปก็ อั บ อายชาวบ า น ชาวเมื อ ง ประเทศอื่นเขาไปเปลาๆ ไมอยางนั้นเขาคงไมทุมงบเปนพันๆ ลานทำ ทางเชื่อมเพื่อใหสัตวปาเดินหรอก” เขากลาวทิ้งทาย


204

Àπ∑“ßÕπÿ√—°…å∑’ˬ—Ë߬◊π ¢Õßπ—°Õπÿ√—°…å ++++++++++++++++++++

ดูเหมือนวาการประกาศเปนโลกทางธรรมชาติดงพญาเย็น-เขาใหญไมได มีปญหาอะไรที่ยุงยากมากนัก ทุกอยางไดมีการดำเนินการไปตามขั้น ตอน ทีละขั้นๆ ตามที่ไดวางเอาไว แตในความเปนจริงแลว มันเหมือน กั บ ขยะกองใหญ ที่ ถู ก ซุ ก เอาไว ใ ต พ รม รอคนมาเก็ บ กวาดครั้ ง ใหญ ปญหาไรที่ดินทำกินของชาวบาน ซึ่งเกิดขึ้นมานาน ก็ยังไมไดรับการ แกไข หรือเยียวยาเพื่อลดผลกระทบจากปญหาดังกลาว ในมุมมองของนักอนุรักษ อยางคุณโชคดี ปรโลกานนท ผูบุกเบิก การปลู ก ป า ของพื้ น ที่ เ ขาแผงม า ในอำเภอวั ง น้ ำ เขี ย ว จั ง หวั ด นครราชสีมา มากกวา 50,000 ไร และยังเปนบานที่ดีของฝูงวัวกระทิง ซึ่งเปนปจจัยสำคัญอยางหนึ่งที่ทางคณะกรรมการมรดกโลกไดยอมให พื้นที่บริเวณดงพญาเย็น-เขาใหญ ขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกไดสำเร็จ “ถามผมวาดีใจไหมวา สิ่งที่เราทำเปนจิ๊กซอวตัวหนึ่งที่ทำใหขึ้น ทะเบียนมรดกโลกได ผมตอบไดเลยนะวา ไมไดดีใจ ผมไมสนวามันจะ ไดเปนมรดกโลกหรือไม แตสิ่งที่ผมสนใจมากกวานั้นคือ จะทำอยางไรให สภาพป า มั น เป น ป า และยั่ ง ยื น สื บ ต อ ไปได อ ย า งไร ผมมองว า คำว า มรดกโลก มั่นแคเปลือก ไมใชแกนสาระอะไรที่เราจะตองมานั่งใหความ สำคัญกับมันมากจนเกินไป” นักอนุรักษหนุมรุนใหญมาดเซอรกลาว นายโชคดี หรือพี่โชคที่นักอนุรักษรุนหลังมักเรียกขานกัน ไดเริ่ม ทำงานอนุรักษผืนปาที่เขาแผงมาเปนที่แรกมากวา 10 ป โดยความมุง มั่นและการสนับสนุนที่เขมแข็งระหวางองคกรเอกชนและภาครัฐ รวมทั้ง ชาวบานมนบริเวณดังกลาว ไดพลิกฟนผืนปาเสื่อมโทรม กลายมาเปน ปาเขียวขจีที่อยูอาศัยอันบริบูรณของฝูงกระทิงที่เพิ่มจำนวนจากที่ไมมี เลยมาเปนกวา 100 ตัวในปจจุบัน ซึ่งเปนตัวชี้วัดที่เปนรูปธรรมมากที่สุด ในการปลุกผืนปาเสื่อมโทรม ใหกลับมาชีวิตชีวาที่งดงามอีกครั้ง “หัวใจของการอนุรักษก็คือ การสรางจิตสำนึกที่หวงแหน และรูคา ของสิ่งนั้นๆ อยางการอนุรักษปาก็ตองสอนใหเขารูและตระหนักถึงความ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

205

สำคัญปา และเขาไดประโยชนอะไรบางจากความอุดมสมบูรณของผืน ปา แตสิ่งที่ทางภาครัฐทำมาตลอดคือ การสรางความแตกแยกระหวาง คนกับผืนปา เมื่อชาวบานไมสามารถใชประโยชนจากความอุดมสมบูรณ ของผืนปาไดเลย เขาจะมานั่งหวงแหนและอนุรักษไปทำไม” คุณโชคดี กลาว เขามองวาควรจัดทำแนวปากันชนใหรอบบริเวณผืนปามรดกโลก เพื่อปองกันการบุกรุกพื้นที่ปา นอกจากนี้ชาวบานสามารถใชประโยชน จากแนวเขตปากันชน ไมวาจะเปนการหาอาหาร หรือลาสัตวบริเวณเขต แนวปากันชนได เมื่อมีแนวเขตปากันชนที่ชัดเจนโดยรอบ แนนอนวา ความอุดมสมบูรณของพื้นที่ในเขตมรดกโลกก็ยอมจะมีมากยิ่งขึ้น แนวคิดของปากันชนมีตัวอยางใหเห็นชัดเจน และทำไดจริงบริเวณ เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญ-หวยขาแขง ซึ่งมีการจัดทำปากันชนอยาง มีระบบ และชาวบานก็รับประโยชนมากมายจากแนวคิดดังกลาว “เมื่อปากันชนสมบูรณ แนนอนวาพื้นที่ทางการเกษตรที่ติดกับพื้นที่ ป า กั น ชนก็ อุ ด มสมบู ร ณ ไ ปด ว ย ระบบนิ เ วศวิ ท ยาที่ ดี ก็ จ ะเอื้ อ ผล ประโยชนตอการเพาะปลูกใหมีผลผลิตที่ดีมากยิ่งขึ้น ผมมองไมเห็นขอ เสียนะ แตทำไมรัฐถึงไมเอาแนวคิดนี้มาใช ผมไมเขาใจ” จากการที่ ฝ ง ตั ว มานานที่ อ ำเภอวั ง น้ ำ เขี ย ว เขามองเห็ น การ เปลี่ยนแปลงมากมายที่เกิดขึ้นในบริเวณที่ดินเหลานี้ นับตั้งแตมันถูก ประกาศใหเปนพื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติ เริ่มตั้งแตการขยายถนน เพื่อรองรับการจราจรที่มีมากขึ้น การเกิดขึ้นของบรรดาโรงแรม รีสอรต สุดหรูอลังการ หรือระดับโรงแรมจิ้งหรีด มีมาใหเห็นอยางชัดเจนในชวง 3-4 ปที่ผานมา แตมันก็ยังไมมีอะไรนากลัวมากเทากับการเขามาของพืช เศรษฐกิจเชิงเดี่ยว “ผมบอกไดเลยคำเดียววานากลัวมาก พื้นที่หลายหมื่นไร ซึ่งบาง สวนเปนพื้นที่บุกรุกแปรสภาพเปนพื้นที่ปลูกยางพารา และปาลมน้ำมัน นายทุนซึ่งเปนทั้งระดับนักการเมืองทองถิ่น และนักการเมืองระดับชาติ ไดมีการกวานซื้อที่ดินเพื่อทำการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจดังกลาว โดย


206

เฉพาะที่อำเภอเสิงสาง” โชคดีอธิบายใหฟง เขามองว า การปลู ก พื ช เชิ ง เดี่ ย ว มี ผ ลกระทบโดยตรงต อ ระบบ นิเวศวิทยา โดยเฉพาะถาปลูกพืชแบบนี้บริเวณพื้นที่ลาดชัน เนื่องจาก พืชเหลานี้มีรากคอนขางสั้น เมื่อเปรียบเทียบกับไมปาทั่วๆ ไป ทำให ความสามารถในการเกาะหรือยึดหนาดินก็มีลดนอยลงไป ซึ่งเปนสาเหตุ สำคัญของดินถลมได ในความเปนจริงแลว ปจจุบันกระทวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล อ ม ตอนนี้ ก ำลั ง ปวดหั ว อย า งหนั ก กั บ การบุ ก รุ ก พื้ น ที่ ใ นเขตป า อุทยานทั่วประเทศ เพื่อทำการปลูกพืชเศรษฐกิจอยางยางพารา และ ปาล ม น้ ำ มั น โดยเฉพาะในเขตพื้ น ที่ ท างภาคะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ถึ ง ขนาดที่วากระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จะจับมือคุยกับ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อจัดทำพื้นที่โซนนิ่ง ในการหาพืชที่ที่ เหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจดังกลาว เพื่อบรรเทาปญหาการบุกรุก พื้นที่อุทยานฯ แต ดู เ หมื อ นว า ยั ง ไม มี ค วามชั ด เจนมากนั ก ในเรื่ อ งนี้ เพราะทาง รัฐบาลเองมีนโยบายที่ชัดเจนในการสนับสนุนการปลูกพืชเศรษฐกิจดัง กลาวเพื่อใชในการแปรรูปเปนพลังงานทดแทน ในภาวะที่ราคาน้ำมัน โลกกำลังอยูในภาวะขาขึ้น และทั่วโลกก็หันมาใชการปลูกพืชเพื่อเปน พลังงานทดแทนกันมากขึ้น นอกจากนี้เขายังมองอีกวา ความเสี่ยงอีกปจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบ ตอมรดกโลก คือ นโยบายของทางรัฐบาลเอง ซึ่งรัฐบาลชุดนี้พยายาม ออกพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ ซึ่งไดรับคำทักทวงอยางมากจาก นักวิชาการ และกลุม เอ็นจีโอ ที่มองวารางพระราชบัญญัติดังกลาวจะ สรางผลกระทบมากมายตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนึ่งใน ขอกังวลที่สำคัญก็คือ การอนุญาตใหภาคเอกชนเขาไปประกอบพื้นที่ใน เขตอุทยานแหงชาติได โดยทางรั ฐ บาลมองว า การบริ ก ารนั ก ท อ งเที่ ย วที่ จั ด ทำโดยเจ า หนาที่อุทยาน “ไมไดมาตรฐานเทียบเทากับการบริการของภาคเอกชน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

207

จึงมีแนวคิดใหเอกชนเขาไปดำเนินการแทน ดวยคาดหวังวานักทองเที่ยว จะไดรับการบริการที่ดีขึ้น “ผมกลั ว ว า มั น จะไปซ้ ำ รอยเดิ ม ก อ นหน า นี้ ท างรั ฐ บาลมี บ ริ ก าร โรงแรม และสนามกอลฟบนพื้นที่ไขแดงของเขาใหญ จนเมื่อจะประกาศ เปนพื้นที่มรดกโลกจึงสั่งใหยายบริการตางๆ เหลานั้นออกมาจากพื้นที่ และถาใหเอกชนเขาไปทำกิจกรรมโรงแรมได ก็จะซ้ำรอยเดิมอีก คณะ กรรมการมรดกโลกก็คงไมอยากเห็นแบบนั้น” เขากลาว ถึงแมวารางกฎหมายนี้ยังไมเสร็จสมบูรณ ก็ไมไดหมายความวา มรดกโลกพนภาวะเสี่ยงตอการถูกถอดถอน พี่โชคดีมองวาความเสี่ยงใน การถูกถอดถอนมีอยูทุกขณะ ถาไมไดสรางความเขาใจที่ดีและถูกตอง ใหกับชุมชน “ผมเนนย้ำเสมอวา ชุมชนที่อยูรอบขางบริเวณมรดกโลก ตองอยู อยางเปนสุข ทางภาครัฐตองพยายามสรางใหเห็นวา เมื่อเปนมรดกโลก แล ว ชี วิ ต ความเป น อยู ข องเขาดี ม ากขึ้ น กว า เดิ ม อย า งไร เขาได รั บ ประโยชนอะไรบางจากการประกาศเปนเขตมรดกโลก ในทางกลับกัน ถา เขาไมไดประโยชนจากการประกาศเปนมรดกโลก เขาก็ไมเห็นความ สำคัญที่จะรักษาหรืออนุรักษไว เมื่อใดก็ตามที่ชาวบานที่อยูโดยรอบไม ร ว มมื อ ที่ จ ะอนุ รั ก ษ ไ ว เมื่ อ นั้ น เจ า หน า ที่ ก็ ต อ งทำงานหนั ก ขึ้ น และ ทะเลาะกับชาวบานมากยิ่งขึ้น” เขากลาว วันที่ 14 กรกฎาคม 2548 ชาวไทยทั่วประเทศตางก็แสดงความดีใจ ที่ทางยูเนสโก ประกาศใหพื้นที่ผืนปาดงพญาเย็น-เขาใหญเปนพื้นที่ มรดกโลกทางธรรมชาติ ทุกคนตางภาคภูมิใจวาประเทศไทยมีความ สมบูรณทางทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญระดับโลก แตนอยคนจะ คิ ด ว า ยั ง มี ก ลุ ม คนอี ก กลุ ม หนึ่ ง ที่ อ ยู ใ กล กั บ แหล ง มรดกโลกมากที่ สุ ด กลับไมไดรูสึกผูกพันอะไรมากนักกับคำวามรดกโลก แตสิ่งที่เขาผูกพัน ยิ่งกวาก็คือการดำรงชีพที่พอเพียงกับผืนปาที่อยูคูกับเขามาตั้งแตลืมตา ดูโลก และแนนอนความสำเร็จดังกลาวจะไมสามารถเกิดขึ้นไดเลย ถา


208

ไมใชความพยายามของภาครัฐ และหนวยราชการที่เกี่ยวของที่พยายาม ผลักดันใหเรามีมรดกโลกทางธรรมชาติแหงที่สอง เกิดขึ้นไดสำเร็จ แตนั่นไมไดหมายความวางานของภาครัฐไดสำเร็จเสร็จสิ้น เมื่อได รับการประกาศเปนที่มรดกโลกทางธรรมชาติ แตมันกลับกลายเปนกาว แรกของภาครัฐเทานั้น เปนกาวแรกที่ภาครัฐจะตองทำงานรวมกับชาวบานอยางจริงจัง เพื่ อ อนุ รั ก ษ ม รดกโลกแห ง นี้ ใ ห อ ยู น านสื บ ต อ ไป และแน น อนว า การ ทำงานในยุคใหมตองไมใชการรับคำสั่งจางเบื้องบน แลวบอกใหชาว บานปฏิบัติตามคำสั่งของรัฐเพียงอยางเดียวเทานั้น เพราะมันไดพิสูจน มาจากหลายรอยกรณีแลววา มันไมไดผลในทางปฏิบัติ สิ่งที่ทางภาครัฐตองทำก็คือ การรับฟงความคิดเห็นของชาวบาน และเปนสวนชวยสนับสนุนชาวบานไดทำงานอนุรักษปาในแนวทางที่เขา ซึ่งอยูใกลชิดกับผืนปามากที่สุดอยากใหมันเปน เพราะแนนอนวาไมมี ใครรูหรือเขาใจความสลับซับซอนของผืนปาไดดีกวาชาวบาน ที่อยูมากับ ปามาเปนเวลานาน ถาภาครัฐสามารถกาวขามแนวปฏิบัติที่ใชมาเปนเวลานานโขนั้นได เร็วเทาไหร ความเสี่ยงตอการคุกคามของผืนปาก็จะลดลงมากเทานั้น นั่นหมายความวาทางหนวยราชการจะทำงานนอยลง และทำงานกับ ชาวบานไดมีความสุขมากขึ้น และหากจะมองในแงดีของการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของผืนปาดง พญาเย็น-เขาใหญ อาจเปนจุดเปลี่ยนในการบริหารงานจัดการดูแลปา ไม และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ที่ทั้งภาครัฐและชาวบานจับมือรวมกัน เพื่อดูแลผืนปา… มรดก ของชาวโลก


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

209

§≥–°√√¡°“√¡√¥°‚≈° (World Heritage Committee) ประกอบดวยกรรมการจาก 21 ประเทศที่ไดรับเลือกตั้งจากรัฐภาคี การ เลือกตั้งคณะกรรมการ จะมีขึ้นทุกๆ 2 ป ในชวงเวลาเดียวกับการประชุม ใหญสมัยสามัญขององคการยูเนสโก มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ 6 ป ซึ่งประเทศสมาชิกประกอบดวย ออสเตรเลีย อียิปต ไนจีเรีย บาหเรน อิ ส ราเอล เปรู บาร เ บโดส จอร แ ดน เกาหลี บราซิ ล เคนยา สเปน แคนาดา มาดากัสการ สวีเดน จีน มาริตัส ตูนิเซีย คิวบา โมร็อกโก และ อเมริกา หนาที่หลักของคณะกรรมการมรดกโลก พิจารณาตัดสินการขึ้นทะเบียนมรดกทางวัฒนธรรมและทาง ธรรมชาติ ในบัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลก พิจารณาการดำเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับระเบียบปฏิบัติที่ระบุไว ในอนุสัญญา พิจารณาคำรองขอความชวยเหลือนานาชาติที่รัฐภาคีเสนอมา ติดตามตรวจสอบใหรัฐภาคีดำเนินการเพื่อการปกปองคุมครอง มรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติของตน ตามเงื่อนไขที่ระบุไว ในอนุสัญญา บริหารงานกองทุนมรดกโลก


210

ขั้นตอนการขอขึ้นทะเบียนมรดกโลก รัฐภาคีจัดทำเอกสารเพื่อขอ ขึ้นทะเบียนมรดกโลก

ศูนยมรดกโลกตรวจสอบ เอกสาร

IUCN ตรวจสอบ แหลงมรดกทางธรรมชาติ ICOMOS ตรวจสอบ แหลงทางวัฒนธรรม

นำเสนอ WHC Bureau เพื่อพิจารณา

เอกสารสมบูรณ WHC Bureau พิจารณาใหความเห็น ตอคณะกรรมการมรดกโลก

คณะกรรมการมรดกโลกพิจารณาดังนี้ ประกาศขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก (inscribed) ไมขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก (not inscribed) สงคืนรัฐภาคีเพื่อขอขอมูลเพิ่มเติม (referral/deferral)

Referral : คำขอขึ้นทะเบียนแหลงมรดกโลกของรัฐภาคีที่คณะกรรมการ มรดกโลกพิจารณาแลว เห็นวายังขาดเอกสาร หรือตองการขอมูลเพิ่ม เติม กรณีนี้รัฐภาคีสามารถนำเรื่องเสนอกลับเขามาใหมไดภายใน 1 ป Deferral : คำขอขึ้นทะเบียนแหลงมรดกโลกของรัฐภาคีที่คณะกรรมการ มรดกโลกพิจารณาแลว เห็นวายังมีปญหาตองศึกษาในเชิงลึกเพิ่มเติม และตองใชเวลาในการดำเนินการ กรณีน้ีคณะกรรมการจะไมรับเรื่อง กลับเขามาพิจารณาใหมในการประชุมปถัดไป


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

211

ประเทศไทยกับอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก เขารวมเปนภาคีในอนุสัญญา เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.2530 และ ปจจุบันมีประเทศตางๆ รวม 185 ประเทศ เขารวมเปนภาคีในอนุสัญญา พันธกรณีที่ประเทศไทยและรัฐภาคีในอนุสัญญา จะตองยอมรับ รวมกันในการดำเนินการ และตระหนักอยูเสมอ มีดังนี้ กำหนดนโยบายและวางแผนแมบทเพื่อการอนุรักษและจัดการ มรดกทางวั ฒ นธรรมและทางธรรมชาติ ที่ ค ำนึ ง ถึ ง การอนุ รั ก ษ ที่ มี ประสิทธิภาพ พรอมไปกับการใชประโยชนอยางเหมาะสมของชุมชน กำหนดมาตรการที่ เ หมาะสมด า นกฎหมาย วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี การบริหารจัดการ และการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อการ ศึกษาวิจัย การปกปองคุมครอง การอนุรักษ การบริหารทางการศึกษา และการฟนฟู มรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ พันธกรณีที่ประเทศไทยและรัฐภาคีในอนุสัญญา จะตองยอมรับ รวมกันในการดำเนินการและตระหนักอยูเสมอ (ตอ) ละเวนการดำเนินการใดๆ ที่อาจจะทำลายมรดกทางวัฒนธรรม และทางธรรมชาติของรัฐภาคีอื่นๆ ทั้งโดยทางตรงและทางออม แตจะ สนั บ สนุ น และช ว ยเหลื อ รั ฐ ภาคี อื่ น ๆ ในการศึ ก ษาวิ จั ย และปกป อ ง คุมครอง การอนุรักษ การบริการทางการศึกษา มรดกทางวัฒนธรรมและ ทางธรรมชาติในประเทศนั้นๆ อธิปไตยสูงสุดเหนือแหลงมรดกโลก ยังคงเปนของรัฐภาคี ซึ่ง แหลงมรดกโลกนั้นตั้งอยู


212

หลักเกณฑในการประเมินคุณคาแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและ ทางธรรมชาติ ภายใตกรอบของอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก เปนตัวแทนที่แสดงถึงความเปนเอกลักษณดานศิลปวัฒนธรรม หรือ ตั ว แทนของความงดงาม และเป น ผลงานชิ้ น เอกที่ จั ด ทำขึ้ น ด ว ยการ สรางสรรคอันชาญฉลาดยิ่งเปนสิ่งที่มีอิทธิพลผลักดันใหเกิดการพัฒนา สื บ ต อ ในด า นการออกแบบ ทางสถาป ต ยกรรม อนุ ส รณ ส ถาน ประติ ม ากรรม สวนและภู มิ ทั ศ น ตลอดจนการพั ฒ นา ศิ ล ปกรรมที่ เกี่ยวของ หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย ซึ่งการพัฒนาเหลา นั้นเกิดขึ้นในชวงเวลาเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดของโลก เปนเอกลักษณ หายากยิ่ง หรือเปนของแทดั้งเดิม เปนตัวอยางของลักษณะโดยทั่วไปของสิ่งกอสรางอันเปนตัวแทน ของการพั ฒ นาทางด า นวั ฒ นธรรม สั ง คม ศิ ล ปกรรม วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี หรืออุตสาหกรรม เปนตัวอยางลักษณะอันเดนชัด หรือของขนบธรรมเนียมประเพณี แหงสถาปตยกรรมวิธีการกอสราง หรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษย ที่มี ความเปราะบางดวยตัวมันเอง หรือเสื่อมสลายไดงายเพราะผลกระทบ จากการเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมและวั ฒ นธรรมที่ ไ ม ส ามารถกลั บ คื น ดังเดิมได หรือการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวของโดยตรงกับเหตุการณหรือบุคคล ที่มีความสำคัญหรือความโดดเดนยิ่งในประวัติศาสตร เปนแหลงที่เกิดปรากฏการณทางธรรมชาติที่มีความโดดเดนเห็นได ชัด หรือพื้นที่ที่มีความงามตามธรรมชาติหาพื้นที่อื่นเปรียบเทียบไมได เปนตัวอยางที่มีความโดดเดนสะทอนถึงวิวัฒนาการความเปนมา ของโลกในชวงเวลาตางๆ กัน ซึ่งรวมไปถึงรองรอยของสิ่งมีชีวิต หรือ กระบวนการทางธรณีวิทยาที่สำคัญ อันทำใหเกิดรูปลักษณของแผนดิน หรือลักษณะธรณีสัณฐาน หรือลักษณะภูมิประเทศที่สำคัญ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

213

เป น ตั ว อย า งที่ มี ค วามโดดเด น สะท อ นถึ ง กระบวนการทาง นิเวศวิทยา และชีววิทยา ซึ่งกอใหเกิดและมีพัฒนาการของระบบ นิเวศทางบก หรือระบบนิเวศน้ำจืด หรือระบบนิเวศชายฝงและ ทางทะเล และสังคมสัตวและพืช เปนถิ่นที่อยูอาศัยที่มีความสำคัญสูงสุดสำหรับการอนุรักษ ความหลากหลายทางชี ว ภาพในถิ่ น กำเนิ ด ซึ่ ง รวมไปถึ ง ถิ่ น ที่ ของชนิดพันธุพืช และ/หรือชนิดพันธุสัตว ที่มีคุณคาโดดเดนเชิง วิทยาศาสตร หรือเชิงอนุรักษระดับโลก และนี่ เ ป น คุ ณ ลั ก ษณะที่ ผื น ป า เขาใหญ - ดงพญาเย็ น มี ค วาม สมบูรณของระบบนิเวศวิทยา จนไดยอมรับใหเปน “มรดกโลก”

++++++++++++++++++++++++

บรรณานุกรม “ความรูเบื้องตนในการอนุรักษมรดกโลก” เอกสารอนุสัญญาวาดวยการ คุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ, พ.ศ.2548 “ดานรายของมรดกโลก” สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ บทความโดย เสาวนีย พิสิฐานุสรณ, 5 กันยายน 2551 “หอพรรณไม” กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช สำนักอุทยาน แหงชาติ. ผืนปาดงพญาเย็น-เขาใหญ มรดกโลกทางธรรมชาติของไทย., พ.ศ.2549 เอกสารจากกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันที่ 23-25 พฤศจิกายน 2549


214

μ“¡‰ª¥Ÿ... ç¡◊Õª√“∫¡≈æ‘…é ++++++++++++++

ÿ®‘μ ‡¡◊Õß ÿ¢ Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå¢à“« ¥ ªÕßæ≈ “√ ¡—§√ Àπ—ß ◊Õæ‘¡æ凥Ֆ‡π™—Ëπ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

215

ข า วการลั ก ลอบปล อ ยมลพิ ษ ออกสูสิ่งแวดลอมในรูปแบบตางๆ ยังคงมีอยางตอเนื่องรายวันในหนา หนังสือพิมพและสื่อประเภทอื่น เมื่อตองหาผูรับผิดชอบการปลอยมลพิษ เหลานี้ คงแยกอยางงายได 2 สวน คือ ตั้งใจ และไมตั้งใจ โดยที่ทั้งสอง สวนผนวกอยูบนความมักงายและความรูเทาไมถึงการณ พื้นที่ประเทศไทยที่มีกวา 320 ลานไร ประชากรโดยรวมกวา 62 ลานคน บางสวนกระจุกตัวอยูในเมืองใหญ เมืองใหญในที่นี้หมายถึง เมืองที่มีการเติบโตของเทคโนโลยีสูง และเมืองที่มีความกาวหนาและ การขยายตัวของอุตสาหกรรม ทำใหการควบคุมการปลอยมลพิษและ สารเคมีอันตรายออกสูสิ่งแวดลอมเปนเรื่องที่ยากตอการควบคุมของ หนวยงานภาครัฐ ................................ ชวงสายวันหนึ่งกลางเดือนพฤษภาคม 2551 ความอบอาวของ อากาศในชวงตนฝนทำใหชาวบานตำบลในคลองบางปลากด อำเภอ พระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ ออกมาสูดอากาศนอกบาน เพื่อ คลายรอน และพบกับสิ่งผิดปกติที่ถูกฝงอยูใตดินบริเวณใกลเคียง จึงยก หูโทรศัพทกดสายดวน 1650 แจงเหตุอุบัติภัยสารเคมี เพื่อแจงขอมูล มี ปลายสายเปนเสียงเจาหนาที่ของหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู กรม


216

ควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สอบถาม ขอมูลเบื้องตนเพื่อประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ เครื่องมือ เขาชวยเหลือ ชาวบานใหขอมูลวา พบถังพลาสติกบรรจุสารเคมีฝงในพื้นที่ คาด วานำมาลักลอบฝงทิ้งไวเปนเวลานานแลว แมจะรวบรวมขอมูลจากปากคำชาวบานไดเพียงเทานี้ แต นายสุเมธา วิเชียรเพชร หัวหนาหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู กรมควบคุม มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไมไดนิ่งนอนใจ สั่ง การลูกทีมเดินทางเขาตรวจสอบพื้นที่ดังกลาว เพราะเกรงวาการปน เปอนสารเคมีบริเวณดังกลาว อาจรั่วไหลสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เข า สู ร ะบบนิ เ วศ และสะสมในร า งกายของประชาชนที่ อ าศั ย อยู ใ น ละแวกใกลเคียง

“เมื่อชาวบานขอความชวยเหลือเขามายังหนวยเรา สิ่งแรกที่เราตอง ทำคือ สอบถามผูแจงเหตุเกี่ยวกับลักษณะของการเกิดเหตุในพื้นที่ รวม ถึ ง สารเคมี ที่ พ บ เจ า หน า ที่ ต อ งสอบถามให ล ะเอี ย ดที่ สุ ด เพื่ อ ให ค ำ แนะนำแกผูแจงเหตุไปกระจายตอยังผูที่อยูอาศัยบริเวณใกลเคียงพื้นที่ เกี่ยวกับการแกปญหาเฉพาะหนา หลังจากนั้นเราจะสงทีมลงไปตรวจ สอบในพื้นที่ อยางนอยที่สุดทีมจะไปถึงภายในเวลา 30 นาที โดยเฉพาะ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อปองกันเหตุรายที่จะเกิดขึ้น โดยไมคาดหมาย” หัวหนาหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู อธิบายการ ทำงาน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

217

“ถาไมรีบไปเขาก็ไมเรียกวาฉุกเฉินสิ เพราะฉะนั้นเราตองมีความ พรอมตลอดเวลา ไมใชชาวบานโทรมาถามแลวเราบอกวา รออีกครึ่ง ชั่วโมงนะ เดี๋ยวจะบอกใหวาตองทำอยางไร อยางนี้ไมได ถาตั้งเปาอยาง นั้ น มั น จะฉุ ก เฉิ น ได อ ย า งไร เราพยายามจะตั ด สิ น ใจให ว า จะต อ งทำ อยางไร ทีมงานเราถึงตองมีประสบการณ กลาตัดสินใจตอบได ไมใช เอาแตตำราอยางเดียว ตำรามีเอาไวเสริมและคนหาในกรณีที่ไมรูขอมูล อยางถองแท” หลังวางสายเจาหนาที่ตระเตรียมอุปกรณ เครื่องมือ ที่คาดวาจำเปน ตองใชสำหรับการตรวจสอบและดำเนินการกับซากถังสารเคมีที่รับแจง พรอมกันนั้นไดใชเวลาระหวางการเดินทางประสานไปยังหนวยงานที่ เกี่ยวของ อาทิ องคการบริหารสวนตำบล เจาหนาที่ตำรวจ เจาของที่ดิน ผูรับเหมากอสรางและบริษัทรับกำจัดสารเคมี โดยเนื้อหาการสนทนา ครอบคลุมขอบเขตอยูที่แนวทางการกำจัดสารเคมีรวมกัน รวมถึงงบ ประมาณดำเนินการและผูรับผิดชอบ ตลอดการตรวจสอบพื้นที่ใชเวลาไมนานนัก เมื่อเทียบกับจำนวน ของเสียที่ทิ้งไว ทีมงานรายงานผลกลับมายังสุเมธาวา พื้นที่ดังกลาวเปน ที่ ดิ น สำหรั บ สร า งบ า นจั ด สรรแห ง หนึ่ ง ในตำบลในคลองบางปลากด อำเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ ในพื้นที่พบถังพลาสติก บรรจุสารเคมีฝงอยู คาดวามีการลักลอบนำมาฝงหลายปแลว เนื่องจาก พื้นที่ดังกลาวเปนที่ทิ้งขยะเกาขององคการบริหารสวนตำบล เมื่อตรวจสอบสารภายในถังพบวาเปน “สารสไตลีน” ซึ่งเปนสาร เคมีที่นำไปผลิตพลาสติก โพลีสไตลีน (Polystylene) และเปนวัตถุดิบที่ ใชในการผลิตโฟมกลอง ผลกระทบต อ ร า งกายสิ่ ง มี ชี วิ ต จาก สารสไตลี น ไม เ กิ ด แบบ เฉียบพลัน แตมีความเปนพิษตอระบบหายใจในระดับปานกลาง หาก ปล อ ยไว ใ นระยะยาวและเกิ ด การปนเป อ นสู น้ ำ ใต ดิ น อาจมี ผ ลต อ สุขภาพในระยะยาวได โดยเฉพาะเมื่อมีการสัมผัสหรือบริโภคสิ่งที่ปน เปอนสารเคมีดังกลาว ตับและไตจะเปนอวัยวะที่ไดรับผลกระทบโดยตรง


218

และเมื่ อ หน ว ยปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น และฟ น ฟู ป ระมวลชนิ ด ของสารเคมี อันตรายจากสารเคมี สภาพแวดลอมและการกำจัดไดแลว ขั้นตอนตอ ไปคือการสงกำจัดและฟนฟูพื้นที่บริเวณเกิดเหตุใหกลับสูสภาวะปกติ โดยเร็วที่สุด สุเมธา บอกวา เราตองนำถังที่มีสารเคมีบรรจุอยูรวมทั้งดินที่ปน เป อ นและคาดว า ได รั บ การปนเป อ นสารดั ง กล า วไปกำจั ด ให สิ้ น ซาก เพราะหากปลอยทิ้งไวเจาของที่ดินอาจรูเทาไมถึงการณ กอสรางหมูบาน จัดสรร เมื่อมีคนซื้อบานและเขาอยูอาศัย อาจมีไอระเหยออกมาจากผืน ดินที่ปนเปอนได ซึ่งหากสัมผัสสารดังกลาวเปนเวลานาน อาจมีผลตอ สุขภาพตามที่กลาวถึง ................................ พื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงสำหรับการลักลอบทิ้งสารเคมี เปนพื้นที่ที่อยู ใกลเคียงหรือในบริเวณที่เปนแหลงอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในจังหวัดที่ มีเขตอุตสาหกรรม อาทิ จังหวัดชลบุรี ระยอง กาญจนบุรี และจังหวัด สมุทรปราการ ผนวกเขากับโอกาสทองในชวงเวลาที่เกิดฝนตก ที่ลับตา กลางคืน วันหยุดเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ ภาวะเหลานี้มี ความเหมาะและความเสี่ยงสูงมากพอที่ผูลักลอบลงมือไดงาย ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 ระบุวา สารเคมีทุก ชนิดที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรมจะตองมีการฝงกลบอยางปลอดภัย มี การออกแบบวิธีกำจัดที่ถูกตองตามหลักวิชาการ และมีระบบปองกันการ ปนเปอนสูสิ่งแวดลอม โดยมีบริษัทรับกำจัดสารเคมีที่จดทะเบียนกับกรม โรงงานอุตสาหกรรม เปนผูดำเนินการกำจัด โดยกรรมวิธีการกำจัดขึ้นกับบริษัทวาจะนำไปเผาในเตาฝงกลบอยาง ปลอดภัย หรือนำไปเปนเชื้อเพลิงผสมจำหนายใหกับโรงงานปูนซีเมนต หรือโรงไฟฟา ซึ่งประการหลังขึ้นอยูกับลักษณะขององคประกอบในสาร เคมีชนิดนั้นนั้น ผลพวงของการลั ก ลอบทิ้ ง สารเคมี ที่ ก อ ให เ กิ ด มลพิ ษ และส ง ผล อันตรายตอสุขภาวะประชาชนในพื้นที่นั้นนั้น สืบเนื่องจากการแบกรับ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

219

ภาระคาใชจายที่สูงในวาจางบริษัทกำจัด สารเคมี โดยคาใชจายในการฝงกลบสาร เคมีราคาตันละ 3,000-10,000 บาท ขึ้นกับ ชนิดของสารเคมี ซึ่งถือเปนคาใชจายรอยละ 80 ของคาใชจายทั้งหมด ยิ่งเมื่อตกอยูใน ภาวะเศรษฐกิจที่ย่ำแย ทำใหการลักลอบทิ้ง สารเคมีเกิดขึ้นในปริมาณสูง เจาของที่ดินหลายรายตกเปนเหยื่อของสภาพเศรษฐกิจ ขาดความ ยั้ ง คิ ด และรู เ ท า ไม ถึ ง อั น ตรายของสารเคมี หาประโยชน ใ นที่ ดิ น ของ ตนเองดวยการรับจางนำถังที่บรรจุสารเคมีมาฝงไวในที่ดินของตนเอง จากนั้นนำดินมากลบทับ เมื่อเวลาผานไปนาน 2-3 ป เจาของที่ดินก็นำ ดินดังกลาวมาขายใหกับเจาของที่ดินรายใหมในลักษณะของการคาดิน แมวาดินจะเปลี่ยนถายเจาของ แตสารเคมีท่สี ั่งสมและปนเปอนใน ดินจะยังคงอยูและอาจแพรกระจายอันตรายไปสูเจาของใหมโดยไมรูตัว หรือ อีกนัยหนึ่งโรงงานอุตสาหกรรมแตละแหงตองมีระยะเวลาการตรวจ เช็กอุปกรณภายในโรงงาน เมื่อประสบสภาวะเศรษฐกิจที่ย่ำแย ทำให ระยะเวลาที่กำหนดการตรวจเช็กตองเลื่อนออกไปเกินกวาเวลาจริง เชน กรณีโรงงาน ก. มีกำหนดตองตรวจสภาพทอสงวาลว 5 ปตอครั้ง เมื่อคา ใชจายสูง อาจเลื่อนออกไปกอน ระหวางนั้นก็อาจเกิดเหตุขึ้นได หรือคา สงกำจัดกากสารเคมีราคาตันละ 10,000 บาท เมื่อมีบริษัทเสนอตัวนำ กากสารเคมีไปกำจัดใหในราคา 2,000 บาท สรางแรงจูงใจใหเลือก บริษัทหลัง โดยไมทราบวาทายที่สุดแลวการกำจัดกากสารเคมีในราคา ถูกเชนนี้ใชวิธีการใด จากสถิติการเกิดอุบัติภัยในประเทศไทย ซึ่งหนวยปฏิบัติการฉุกเฉิน และฟนฟูเก็บรวบรวมไว เรียงลำดับตั้งแตป 2542 – 2550 พบวา ตัวเลข การเกิดอุบัติภัยมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆ ทุกป โดย 8 ที่ผานมา มีจำนวน การเกิดอุบัติภัยตางกันมากถึง 29 ครั้ง แสดงใหเห็นชัดวาปญหาจากสาร เคมีอันตรายและมลพิษไมไดลดลงแตกลับเพิ่มมากขึ้นจนนาใจหาย


220

สถิติการเกิดอุบัติภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2542 (พฤษภาคม – ธันวาคม) พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550

6 ครั้ง 22 ครั้ง 24 ครั้ง 27 ครั้ง 28 ครั้ง 29 ครั้ง 24 ครั้ง 32 ครั้ง 35 ครั้ง

นอกเหนือจากการรับโทรศัพทจากผูที่ไดรับผลกระทบจากมลพิษใน รูปแบบตางๆ เพื่อประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของเรงแกไขและลงพื้นที่ ตรวจสอบ และดำเนินการกำจัดสารอันตรายแลว ตัวเลขอุบัติภัยที่เกิด ขึ้นฉุกเฉินอยางเรงดวน ยังถือวาเปนงานที่หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและ ฟนฟูมีสวนรวมเขาดำเนินการ อาทิ เหตุระเบิดโรงงานอุตสาหกรรม รถ บรรทุกสารเคมีพลิกคว่ำ สารเคมีรั่วไหลจากแหลงผลิต ฉะนั้น ไมใชเรื่อง งายนักที่จะทำงานใหมีประสิทธิภาพทันตอเหตุการณและปองกันชีวิต ทรัพยสิน ไมใหสูญเสีย ศูนยที่ตั้งอำนวยการหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู ตั้งอยูเกือบ ใจกลางเมืองหลวง มีเจาหนาที่ที่เกี่ยวของพรอมลงมือปฏิบัติงาน นับแต รับเรื่อง จดบันทึก ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของ ประมวลขอมูล ลงพื้นที่ ตรวจสอบ เก็บขอมูลวิเคราะหเพื่อกำจัดสารอันตราย หรือแมกระทั่งการ กำจัดสารอันตราย ไมมากนัก รวมหัวหนาหนวยอยาง “สุเมธา” ที่ตอง ออกปฏิบัติการเฉกเชนเจาหนาที่รายอื่นแลว มีเพียง 12 คนเทานั้น การปฏิบัติงานมีทั้งยากและงายคละเคลากัน เหตุการณลักลอบทิ้งสารเคมีอันตรายในสนามบินบอฝาย อำเภอ หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ เมื่อเดือนมีนาคม 2542 เปนกรณีหนึ่งที่


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

221

หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู จดบันทึกไวเปนกรณีตัวอยางของการ ทำงานที่ยากตอการเขาถึง ซึ่งหมายถึงนานวันเขาสารเคมีอันตรายยิ่ง แพรกระจายออกสูสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้นทุกขณะ ระยะเวลาไมถึง 1 ชั่วโมง ภายใตการเดินทางอันเรงรีบหลังรับแจง เจาหนาที่หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูตองถึงที่หมายใหเร็วที่สุด เมื่อทราบวา พื้นที่ที่มีการลักลอบทิ้งสารเคมีเปนบริเวณกวาง ถังบรรจุ สารเคมีเริ่มรั่วไหลและมีจำนวนมาก ทั้งจากการประเมินขอมูลเบื้องตน แลว สารเคมีดังกลาวเปนชนิดอันตรายและมีโอกาสแพรกระจายได อยางรวดเร็ว เมื่อปนเปอนลงสูดินตอเนื่องดวยการซึมลงน้ำใตดิน ซึ่งไม สามารถบังคับทิศทางน้ำได แตเราจะไมรูถึงอันตรายใกลตัวเลย หาก ผูรับเหมากอสรางสนามบินบอฝาย ไมขุดดินเพื่อเตรียมกอสรางแท็กซี่ เวย เมื่อเริ่มขุดระดับความลึก 1.5 เมตร พบถังบรรจุสารเคมีรวม 3 ถัง “ตอนผูรับเหมาขุดดินลงไป เขาเอาดินที่ขุดไดหลายรอยคิวไปกอง ทิ้งไวในที่ดินใกลๆ สนามบิน รกราง แตมีเจาของ ดินมีกลิ่นเหม็น แต ผูรับเหมาไมไดเอะใจกระทั่งขุดลงไปพบถังสารเคมี และบางสวนของถัง มีรอยรั่วซึมลงดินไปแลว เมื่อตรวจสอบสารเคมีภายในถังพบวา เปนสาร ไดออกซิน ซึ่งเปนกลุมสารประกอบทางเคมีของคลอรีน สารตัวนี้อยูใน กระบวนการผลิตของโรงเผาขยะ โรงงานผลิตสารเคมีและยากำจัดศัตรู พืช โรงงานฟอกยอมกระดาษ และโรงงานผลิตพลาสติกพีวีซี ไดออกซิน จะส ง กลิ่ น เหม็ น เมื่ อ สู ด ดมไปหรื อ สั ม ผั ส ทางผิ ว หนั ง ก็ จ ะก อ ให เ กิ ด อันตรายตอชีวิต “ถาไดรับสารเขาไปในปริมาณไมมากก็จะเกิดผื่นคัน รอยไหมที่ ผิวหนัง แตถามากอาจสงผลตอความผิดปกติของระบบภูมิคุมกัน ระบบ ฮอรโมน ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และกอใหเกิดเนื้องอกที่เรียกวา มะเร็ง ตามมา” สุเมธา เลาถึงที่มาที่ไปของการลงพื้นที่กำจัดสารเคมี อันตรายที่ถูกลักลอบนำไปทิ้ง ดู เ หมื อ นจะไม ย าก หากนำถั ง บรรจุ ส ารเคมี ไ ปกำจั ด ทิ้ ง ตาม กระบวนการ แตปญหาเกิดขึ้นนับแตการขุดดินของผูรับเหมาจำนวน


222

หลายรอยคิวไปทิ้งไวในที่ที่มีเจาของ ซึ่งแนนอนวาดินเหลานั้นไดรับการ ปนเปอนจากสารเคมีอันตรายไปแลว ทั้งยังสงกลิ่นเหม็นรบกวนระบบ ทางเดินหายใจตอผูที่อยูอาศัยโดยรอบสนามบิน!! สุเมธา นำหนวยปฏิบัติการตรวจสอบสารเคมีปนเปอนในดิน พบวา มีสารไดออกซินปนเปอนในดินปริมาณสูง จึงตองเรงขนยายดินไปกำจัด แตติดปญหาที่เจาของที่ดิน ไมใหเขาพื้นที่ หากตองการนำดินไปขอให สนามบินบอฝายซื้อในราคาไรละ 8 ลานบาท ขณะที่ราคาที่ดินบริเวณดัง กลาวมีสนนราคาเพียง 2 ลานบาทตอไร แตหากเจาหนาที่หนวยปฏิบัติ การยังดื้อดึง เรื่องทั้งหมดพรอมเขาสูกระบวนการยุติธรรม โดยเจาของ ที่ดินจะฟองรองดำเนินคดีกับเจาหนาที่หนวยปฏิบัติการในขอหาบุกรุก “หากเราจะทิ้งไวก็ทำได แตเราไม เพราะอันตรายจากกลิ่นของสาร ไดออกซิน จะแพรไปตามอากาศ สวนที่ปนเปอนอยูในดินก็จะตกตะกอน ลงไปถึงชั้นใตดิน และแพรไปสูน้ำใตดิน ออกสูแหลงน้ำสำคัญได ซึ่งมอง เห็นแลววา หากปลอยไวตองมีผูไดรับสารไดออกซินแนนอน” นี่เปนคำ พูดที่แสดงความรับผิดชอบตอหนาที่ของ หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและ ฟนฟู เรื่องจบลงดวยการยอมความ เนื่องจากหนวยปฏิบัติการฉุกเฉิน และฟนฟูทำหนังสือถึงสำนักงานตำรวจแหงชาติ ขอเขาพื้นที่เพื่อจัดการ สารพิษซึ่งปนเปอนในที่ดิน โดยใหเหตุผลวา หากปลอยทิ้งไวจะกระจาย ไปสูสภาวะแวดลอม และสงผลอันตรายตอสุขภาพประชาชนใกลเคียง ได และหากยังดึงดันไมใหเขาพื้นที่จัดการกับกองดินหลายรอยคิว ถือวา เป น การขั ด คำสั่ ง เจ า พนั ก งาน ท า ยที่ สุ ด เจ า ของที่ ดิ น ซึ่ ง มี ต ำแหน ง ทางการเมืองค้ำคอจำตองยอมจำนนกระบวนการของกฎหมาย ................................ เรื่องรองทุกขดานมลพิษที่รองเรียนเขามาผานโทรศัพทสายดวน หมายเลข 1650 หรือตู ปณ. 133 สามเสนใน กรุงเทพฯ และทางเว็บไซต e-petition@pcd.go.th ตั้งแตป 2536 จนถึงปจจุบัน พบแนวโนมการ รองทุกขเพิ่มขึ้นทุกป โดยเฉลี่ยปละ 500-600 เรื่อง ปญหาที่ไดรับการ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

223

รองเรียนมากที่สุด คือ กลิ่นเหม็นรบกวน รองลงมา คือ น้ำเสีย ฝุนละออง เขมาควัน และเสียงรบกวน ตามลำดับ โดยกรุงเทพมหานครเปนจังหวัด ที่มีเรื่องรองเรียนมากที่สุด

°√¡§«∫§ÿ ¡ ¡≈æ‘ … หนวยงานภายใตสังกัดการทำงานของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และตนสังกัดของหนวยปฏิบัติการ ฉุกเฉินและฟนฟู ไดจัดทำการดำเนินงานในเขตควบคุมมลพิษไว ดังนี้ ปจจุบันพื้นที่ที่มีการประกาศเปนเขตควบคุมมลพิษ มีจำนวน 16 พื้นที่ ใน 11 จังหวัด ไดแก 1. เขตเมื อ งพั ท ยา จั ง หวั ด ชลบุ รี (ประกาศคณะกรรมการสิ่ ง แวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2535)) 2. เขตจังหวัดภูเก็ต (ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2535)) 3. เขตอำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา (ประกาศคณะกรรมการสิ่ง แวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2535)) 4. เขตอำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด สงขลา (ประกาศคณะกรรมการสิ่ ง แวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2535)) 5. เขตหมู เ กาะพี พี ตำบลอ า วนาง อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด กระบี่ (ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2535)) 6. เขตจังหวัดสมุทรปราการ (ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอม แหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2537)) 7. เขตจังหวัดปทุมธานี จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และ จังหวัดนครปฐม (ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2538))


224

8. เขตอำเภอบ า นแหลม อำเภอเมื อ งเพชรบุ รี อำเภอท า ยาง อำเภอชะอำ จั ง หวั ด เพชรบุ รี และอำเภอหั ว หิ น กั บ อำเภอปราณบุ รี จังหวัดประจวบคีรีขันธ (ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2539)) 9. เขตตำบลหนาพระลาน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี (ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 23 (พ.ศ. 2547)) ปจจุบันยังมีโครงการภายใตแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษ ที่ปรากฏผลเปนรูปธรรม เชน โครงการกอสรางระบบรวบรวมและบำบัด น้ำเสียเทศบาลนครหาดใหญ จังหวัดสงขลา โครงการกอสรางระบบ รวบรวมและบำบัดน้ำเสียเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี โครงการกอสราง ระบบรวบรวมและบำบั ด น้ ำ เสี ย เทศบาลเมื อ งป า ตอง จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต โครงการกอสรางระบบกำจัดมูลฝอยเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี เปนตน

เมื่อขอบขายงานที่ดูกวางเกินกำลังความสามารถ แตเมื่อถึงเวลา ปฏิบัติจริง หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูเทาที่มีอยู ไมเคยยอทอ เพราะรูดีวากำลังและหนาที่มีแคไหน สุเมธา บอกวา สิง่ ทีท่ ำอยู คือ ทำใหเต็มกำลังความสามารถ อันทีจ่ ริง ทุ ก ครั้ ง ที่ เ กิ ด เหตุ ผู ที่ จ ะไปถึ ง ที่ เ กิ ด เหตุ ก อ นหน ว ยปฏิ บั ติ ข องเรา คื อ องคกรปกครองสวนทองถิน่ เจาหนาทีต่ ำรวจ มูลนิธแิ ละอาสาสมัครตางๆ โดยเฉพาะพื้นที่เกิดเหตุอยูหางไกลจากกรุงเทพฯ มาก หนวยงานเหลา นั้นจะเขาถึงพื้นที่กอน และหากหนวยงานดังกลาวแกไขสถานการณได หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูก็ไมจำเปนตองลงพื้นที่เอง แตใหขอมูล ผานโทรศัพทมือถือเสมือนหนึ่งวาอยูในเหตุการณดวยอีกแรง “จุดแข็ง คือ เรามีทีม มีนักวิชาการ มีเครื่องมือตรวจสอบ หนาที่ของ เราจริงๆ คือ ชวยตรวจสอบ เพื่อใหกระบวนการทางกฎหมาย ดำเนินการ ไปได” ตรงนี้ สุเมธา ใหรายละเอียดเพิ่มเติมวา เมื่อเกิดเหตุหนวยงานใน ทองถิ่นที่ไปถึงกอน จะตรวจสอบในพื้นที่ เมื่อเขาตรวจสอบพื้นที่แลวยัง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

225

มีขอติดขัดหรือสงสัย ไมสามารถตัดสินใจได เชน ไมทราบวาสารเคมีที่ พบคือชนิดใด ตองกำจัดอยางไร เขาจะปรึกษาเรา เราตองใชทักษะ ประสบการณ บ ง ชี้ ใ ห ไ ด ว า สารเคมี ที่ พ บคื อ ชนิ ด ใด อั น ตรายหรื อ ไม อยางไร มีวิธีการขนยายเพื่อนำไปกำจัดดวยวิธีใดภายใตอุปกรณที่มี หรือถาจำเปนตองใชเครื่องมือในการตรวจสอบ หากหนวยงานนั้นๆ มีก็ ใหดำเนินการ แตหากไมมีและจำเปนตองใชเครื่องมือตรวจสอบอยาง ละเอียด สารมีปริมาณมาก ไมไหว นั่นก็เปนหนาที่ของเราที่ตองลงพื้นที่ ดวยตนเอง ถึงแมจะไกลก็ไป” การสร า งเครื อ ข า ยจากหน ว ยงานต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง โดย ภาคประชาชนจึ ง เป น สิ่ ง จำเป น และสำคั ญ ที่ ช ว ยให ภ ารกิ จ นี้ ประสบความสำเร็จ เริ่มจากการจัดอบรมใหความรูและฝกทักษะใหแกเครือขายภาค ประชาชน ใหคำแนะนำเบื้องตนเกี่ยวกับลักษณะของสารเคมีและการ จัดการกับสารเคมีท่ีถูกตอง รวมทั้งแนวทางสืบหาผูกระทำความผิดให มารับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้น “เมื่อเครือขายแจงเขามาในเบื้องตนทีมงานจะใหคำแนะนำกอนวา จะกำจัดสารเคมีโดยวิธีใด หากเครือขายสามารถทำไดดวยตนเองก็ไม จำเปนตองเดินทางไปที่เกิดเหตุ หากไมรูวาสารเคมีที่พบนั้นเปนของใคร ก็ใหแจงไปยังองคการบริหารสวนทองถิ่นใหเปนผูรับผิดชอบคาจัดเก็บ สารเคมีกอน หลังจากทราบผูกอเหตุแลวคอยไปไลเบี้ยคาเสียหายใน ภายหลัง “อยางไรก็ดี ทันทีที่มีเหตุการณฉุกเฉินเกี่ยวกับสารเคมีเกิดขึ้น ทาง เครือขายจะแจงไปยังสำนักงานอุตสาหกรรม หรือสำนักงานสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติที่อยูในพื้นที่นั้นๆ ใหทราบ และขอคำแนะนำ เบื้องตน แตหากไมมีใครสามารถใหคำแนะนำได เครือขายจึงจะแจง มายังหนวยปฏิบัติการฉุกเฉิน” ปญหาความขัดแยง ดูเหมือนจะไมใชบทบาทหลักของหนวยปฏิบัติ การฉุกเฉินและฟนฟู แตเมื่อถึงเวลาเกิดปญหาความขัดแยงขึ้นมาใน


226

พื้นที่ 1 ในหนวยงานที่เขาตรวจสอบและแกปญหาใหไดขอยุติ มีหนวย ปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูรวมดวยเสมอ กลางป 2551 ที่ผานมา ชาวบานรายหนึ่งแจงเขามาวา เขาไดรับผล กระทบจากน้ำเสียที่ปลอยจากโรงงานลงสูบอน้ำ และน้ำนั้นไหลซึมเขาสู พื้นที่นา ทำใหตนขาวลมตายจำนวนมาก มีการพูดคุยกันระหวางชาว บานและเจาของโรงงาน แตไมไดขอยุติ และการเจรจาของชาวบานกับ อบต.เองก็ไมเปนผล ไมชัดเจนถึงตนตอที่กอเหตุและผูรับผิดชอบคา ความเสียหายที่เกิดขึ้น กระทั่งทีมงานลงไปสอบถามและตรวจสอบ พบ วา สารเคมีที่ปนเปอนนั้นเปนสารทองแดง (copper) ซึ่งเปนสารเคมีชนิด เดียวกันกับที่พบในโรงงาน เบื้องตนเจาของโรงงานบอกวา ไมมีผลตอตนขาว แตเมื่อศึกษา ขอมูลจากเอกสาร พบวา สารทองแดงนั้นมีผลทำใหตนขาวตาย และเมื่อ ผลการตรวจสอบตะกอนออกมา พบวา พื้นที่ทำนาโดยรอบโรงงานมี สารทองแดงปนเปอน ซึ่งตามธรรมชาติจะไมพบสารทองแดงปนเปอน ดังนั้น เมื่อผลการตรวจสอบมีตัวเลขที่ปรากฏชี้ชัด เจาของโรงงานจำตอง ยอมรับผิดไปโดยปริยาย การคลี่คลายปญหาความขัดแยงจึงตามมาใน ที่สุด “เราตองใชทั้งศาสตรและศิลป ใชหลักวิชาการและหลักชนะดวยกัน ทั้งสองฝาย เพื่อใหการแกปญหาเปนไปในแนวทางที่ดีขึ้น” แมวาหลายเหตุการณ หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูจะสามารถ กูวิกฤติไวได แตในหลายเหตุการณก็เขาขั้นเสี่ยงตอชีวิตของพวกเขา เชนกัน “15 ปกอนที่จังหวัดระยอง ผมเขาตรวจสอบในนิคมแหงหนึ่ง การ ตรวจสอบว า เป น สารเคมี ตั ว ใดจะให ชั ด สำหรั บ ผมต อ งดมกลิ่ น ด ว ย ความหนุมและไฟแรง พบถังสารเคมีจึงเปดออกดูและสูดกลิ่นอยางแรง ปรากฏวาสารดังกลาวเปนสารเคมีที่มีพิษรุนแรง ครั้งนั้นผมนอนปวยอยู 3 วัน ก็จำไวเปนบทเรียน” สุเมธา เลาเหตุการณที่เสี่ยงตอชีวิตครั้งหนึ่ง ใหฟง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

227

มานพ บุญแจม นักวิชาการสิ่งแวดลอม ระดับ 7 หนึ่งในทีมงาน หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู เผยวา การควบคุมสถานการณที่มี ความเสี่ยงนั้น ทีมงานตองมีความพรอม โดยเฉพาะดานวิชาการที่ถูก ตองตามหลักการแกไขปญหา ตลอดจนความพรอมเพรียงของทีมปฏิบัติ งาน ซึ่งตองทำงานดวยใจ บางครั้งมีอันตรายอยูบาง แตก็ตองมีจิตใจที่ ยอมรับมัน ที่สำคัญเราก็ตองรูวิธีการปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น เชน เราจะ ไปตรวจสอบกากของเสียอันตราย เรารูวาอันตราย แตหากเราตรวจสอบ ไมดี ตัวเราก็อาจไดรับอันตรายไปดวย ดังนั้น เราควรพรอม พรอมดวย ความรูทางวิชาการที่มี พรอมดวยทีมปฏิบัติงาน เมื่อเกิดเหตุเราก็พรอม ฟอรมทีมและปฏิบัติงานไดทันทีทันใด ดังนั้น เพื่อปองกันความเสี่ยงอันจะเกิดขึ้นตอตัวเจาหนาที่ มานพ บอกวา ทีมงานจะประเมินสถานการณที่เกิดขึ้นกอน รวมทั้งลักษณะของ เหตุการณที่เกิดขึ้น เนนไปที่ลักษณะของสารเคมี สี รูปราง สัณฐานของ ถังภายนอก เชน บูดบวมไหม ถาเปนเชนนั้นก็พรอมระเบิด หรือมีอะไรรั่ว ออกมา ทีมงานพรอมสัมผัสมันหรือไม และจะปองกันตัวอยางไรหาก ตองลงมือปฏิบัติ เหลานี้ลวนแตตองประเมินสถานการณกอนการทำงาน ทั้งสิ้น “ความกลัวอยูในจิตวิญญาณของทุกคน การทำงานบางครั้งก็ตองมี ความยืดหยุนบาง ตองปรับใหเขากับสถานการณ แมจะมีการวางแผน ลวงหนาไวก็ตาม งานลักษณะนี้ใจตองรัก ถาไมรักทำไมได เหมือนกับ ทหารที่ตองไปกูกับระเบิด เมื่อเราอยูตรงนี้ เขามอบหมายใหเราทำ เราก็ ตองทำใหได ถามวาชอบเสี่ยงไหม คงไมมีใครชอบเสี่ยง แตทุกอยาง แกไขได หากศึกษาเรียนรูกับมันอยางจริงจัง ของทุกชิ้นมีอันตราย เพียง แตเราจะจัดการกับมันอยางไร” มานพ ทิ้งทาย ................................ ไม ผิ ด นั ก ถ า หน ว ยปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น และฟ น ฟู เหมื อ นตั ว เร ง ให กระบวนการทางกฎหมายดำเนินการไปได แตไมใชตัวที่ถือกฎหมายไว


228

เอง ซึ่งมุมมองจากหลายภาคสวนอาจมองภาพของหนวยปฏิบัติการ ฉุกเฉินและฟนฟูในมุมนักปฏิบัติการ และก็เปนเพียงนักปฏิบัติการตัว จริง หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินยอมรับวา พวกเขาทำงานโดยไมสนใจขอ จำกัด เพราะมุงหวังที่เปาหมายแตละครั้งให “เคลียร” พื้นที่ใหเรียบรอย ไมมีผูใดไดรับบาดเจ็บหรือเกิดอันตราย ทั้งที่ทราบดีวา การเขา “เคลียร” พื้นที่ใหเรียบรอย อาจจำเปนตองใชในบางจุด ทั้งยังชวยใหการทำงาน ลื่นไหลไดโดยสะดวกและอาจกำจัดตนตอของสถิติการเกิดอุบัติภัยได ดวย ความเปนจริง คือ หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู ไมมีอำนาจ หนาที่ในการใชกฎหมายดำเนินการใดๆ ทั้งสิ้น แตก็เปนเฟองชิ้นสำคัญที่ ทำให ก ระบวนการทางกฎหมายขั บ เคลื่ อ นไปได โ ดยเร็ ว และได ตั ว เจาของโรงงาน ผูลักลอบทิ้งสารเคมี หรือผูกระทำผิดมาลงโทษ ดวยวิธี การใหขอมูลในลักษณะชี้เบาะแส เชน เมื่อพบถังบรรจุสารเคมีถูกทิ้ง นอกเหนือจากการจัดการใหพื้นที่ปลอดมลพิษแลว หนวยปฏิบัติ การฉุกเฉินและฟนฟู ยังวิเคราะหหาตนตอไดโดยอาศัยความชำนาญใน การพิจารณาฉลากของผลิตภัณฑ ชนิดของสารเคมีที่เปนสารตั้งตนใน การผลิต สถานที่เกิดเหตุ และประมวลขอมูลทั้งหมดที่ไดใหแกเจาพนัก งานผูมีอำนาจในการบังคับใชกฎหมาย ออกคำสั่งและดำเนินการตาม กฎหมายตอผูกระทำผิดตอไป จากคำบอกเลาของเจาหนาที่หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูนาย หนึ่ง ยกตัวอยางวา เคยเกิดกรณีทิ้งกากของเสียที่ตำบลกลางดง อำเภอ ปากช อ ง จั ง หวั ด นครราชสี ม า โดยก อ นหน า เจ า ของถั ง สารเคมี ก ว า 5,000 ถัง อางวารอการทำลาย แตชาวบานที่เห็นกังวลวาอาจเปนถังสาร เคมีอันตรายจึงแจงเจาหนาที่ตำรวจ แตเจาของไหวตัวทันจึงเจาะทำลาย ถังและใชรถแบคโฮขุดเพื่อฝงสารเคมี หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู มาเห็นพอดี แตจับเจาของไมได เพราะสิ่งที่หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและ ฟนฟูตองใหความสำคัญเปนอันดับแรก คือ กำจัดสารเคมีทั้งหมดทั้งที่


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

229

อยูในถัง ส ว นที่ ป นเป อ นในดิ น ต อ งขุ ด ดิ น ระดั บ ความลึ ก 1-1.5 เมตร ไป กำจัด สวนถังที่ถูกทำลายสารเคมีรั่วไหลลงใตดิน ตองบำบัดน้ำใตดินที่ ปนเปอน หากมีบอน้ำก็เก็บตัวอยางน้ำและนำไปกำจัด แตหากไมมี บอน้ำ ตองเจาะบอลักษณะการเจาะเชนเดียวกับการเจาะบอบาดาล ซึ่ง สภาพพื้นที่บริเวณดังกลาวเปนที่เชิงเขา ชั้นหินขางลางมีรอยแยก ทำให ทิศทางของน้ำกระจายตัว ยากตอการจัดเก็บ เมื่อตองขุดบอบาดาล ตองประสานกับกรมทรัพยากรน้ำ และกรม ทรัพยากรน้ำบาดาล จัดสรรงบประมาณขุดเจาะกอน เมื่อหาตัวผูกระทำ ผิดไดแลวจึงใหผูกระทำผิดมาชดใชคาเสียหาย แตสวนใหญมักไมมีจาย และแมหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูเขาพื้นที่ไดเร็วแตไมมีอำนาจ จับกุมผูกระทำผิด

°ÆÀ¡“¬∑’ˇ°’ˬ«°—∫ “√‡§¡’ «—μ∂ÿ¡’æ‘… «—μ∂ÿÕ—πμ√“¬∑’Ë ”§—≠ พระราชบัญญัติ การเดินเรือในนานน้ำไทย พ.ศ.2456 พระราชบัญญัติ การประมง พ.ศ.2490 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 พ.ศ.2515 เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในการ ทำงาน พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ.2535 และกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 พ.ศ.2535, ฉบับที่ 3 พ.ศ.2535, ประกาศกระทรวง ฉบับที่ 2 พ.ศ.2513, ฉบับที่ 4 พ.ศ.2514, ฉบับที่ 25 พ.ศ.2531 พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติ วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติ ขนสงทางบก วาดวยการกำหนดลักษณะของรถบรรทุก วัตถุอันตรายและประเภทของใบขับขี่รถบรรทุกวัตถุอันตราย พระราชบัญญัติ สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535


230

วาแมจะเรงรีบอยางที่สุดแลวสำหรับการเดินทางของหนวยงานที่ เขาไปใหความชวยเหลือ อยางนอยใชเวลาประมาณ 20-30 นาที กวาจะ ถึงสถานที่เกิดเหตุ ซึ่งกอนหนานั้นผนวกกับเวลากอนที่จะมีผูพบเห็นหรือ เกิดอุบัติภัยอาจเกิดการรั่วไหลของสารเคมีไปกอนหนา อาจไดรับผล กระทบที่นำมาซึ่งความสูญเสียอันประมาณคามิได กอนองคกรทองถิ่นดานอุบัติภัย หรือหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและ ฟนฟูจะเดินทางถึงพื้นที่ อาจเกิดเหตุใดๆ ขึ้นไดตลอดเวลา ซึ่งผูที่ไดรับ ผลกระทบมากที่ สุ ด คื อ ผู ที่ อ ยู โ ดยรอบสถานที่ เ กิ ด เหตุ ข ณะนั้ น โดย เฉพาะอยางยิ่งผูที่ขาดความรูเกี่ยวกับการหนีภัยอยางถูกตอง ยิ่งมีคา ความเสี่ยงตอความสูญเสียมากขึ้น ไมกี่ปที่ผานมา สุเมธา ศึกษาวิธีการหนีภัยอยางถูกตอง เพื่อใหผูหนี ภัยปลอดภัยที่สุดและครอบคลุมคนจำนวนมากไมใหไดรับอันตราย แม อยูในที่เกิดเหตุ จากแผนวีซีดีการหนีภัยของตางประเทศ ซึ่งไดรับการ การันตีวามีคุณภาพ ปฏิบัติไดจริงในทุกพื้นที่ การเปดแผนวีซีดีรอบแลว รอบเลา ทำใหเขาจำลองภาพการหนีภัยในประเทศไทย ซึ่งหากปฏิบัติได ตามนั้ น เชื่ อ ว า จะช ว ยผู ที่ เ สี่ ย งต อ อั น ตรายในที่ เ กิ ด เหตุ ให ไ ม ไ ด รั บ อันตรายจากสารเคมีหรือมลพิษนั้นๆ ได เขาจึงประสานกับหนวยงานทองถิ่น โดยมุงเนนไปที่ “โรงเรียนใน จั ง หวั ด ระยอง” เนื่ อ งจากระยองเป น จั ง หวั ด ยุ ท ธศาสตร ที่ มี แ หล ง อุตสาหกรรมขนาดใหญ จึงตองใหความสำคัญกับปญหามลพิษทุกดาน ที่เกิดขึ้น และเชื่อวาการถายทอดโดยผานเยาวชน จะชวยใหความรูแพร กระจายไปอยางมีประสิทธิภาพ “ผมคิดไวนานแลววาจะทำแบบนี้ เพราะเมื่อเกิดเหตุหลายครั้ง คน ที่อยูใกลมักตองการหนีเอาตัวรอด ที่บานเรา ไมมีแผนเตรียมพรอมลวง หนา มีแตแผนปฏิบัติการซอม ไมมีแผนอพยพและเตือนภัยที่ชัดเจน กวาจังหวัดจะสั่งการใหอพยพ คนที่อยูใกลอพยพหนีไปไหนแลว ถึงคิด วาทำอยางไรใหคนปลอดภัยโดยไมตองเคลื่อนยายออกนอกตัวอาคาร หรือบาน เพราะคนที่คิดอยากหนีในเวลานั้นเขาคงไรทิศทางแนๆ ซึ่งหาก


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

231

เกิดภัยที่เจาหนาที่สามารถปฏิบัติการควบคุมไดภายใน 3-4 ชั่วโมง การ อยูในอาคารจะปลอดภัยกวาการเคลื่อนยาย แตถาเกิดเหตุและประเมิน วาจะควบคุมสถานการณโดยใชเวลามากกวานั้น การอยูในอาคารก็อาจ ไมปลอดภัย เพราะการอยูรวมกันมากๆ อาจทำใหขาดอากาศหายใจ” หัวหนาหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูระบุ กอนจะไลเรียงลำดับขั้นตอนการฝกปฏิบัติ โดยเริ่มจากใหความรู เรื่องสภาพแวดลอมของที่ตั้งโรงเรียน สภาพแวดลอมโดยรอบ แหลง อุตสาหกรรมขนาดใหญและขนาดยอยที่อยูรอบบริเวณโรงเรียน เพื่อเปน พื้นฐานความรูในเนื้อหา จากนั้นเปนการถายทอดประสบการณการหนี ภัยที่ถูกตอง โดยใหความสำคัญที่การทำงานเปนทีม นอกเหนือไปกวา นั้นการใหความรูผานเยาวชนในโรงเรียน เปนครั้งแรกของแนวคิดการฝก อบรมปฏิบัติการหนีภัย แตละหองคัดเลือกตัวแทนนักเรียนที่คิดวาจะซึมซับความเขาใจ และถายทอดใหเพื่อนนักเรียนดวยกันไดงาย คละเคลากันไปหองละ 10 คน เมื่อไดจำนวนทั้งหมดเทาไหรหารดวย 4 เพื่อใหไดหองสมมุตซิ ักซอม การหนีภัยจริง หองละ 40 คน เทากับจำนวน X หอง จากนั้นแจกจาย อุปกรณที่เรียกวา Shelter In Place (SIP BOX) หรือ ซิป บอกซ อันเปน กลองเก็บอุปกรณที่จำเปนสำหรับการหนีภัย ประกอบดวย เทปกาว ผา ขนหนู ขวดบรรจุน้ำ แผนพลาสติกใส วิทยุ


232

กอนหนานี้มีตัวอยางการหนีภัยที่สามารถชวยตัวเองกอนหนวยงาน ใดๆ จะมาชวยเหลือ ทั้งที่ยังไมเคยเผยแพรวิธีดังกลาวออกไป คือ เหตุ โรงงานแชแข็ง ยานคลองสาน กรุงเทพฯ เกิดกาซแอมโมเนียรั่วจาก ระบบ ประชาชนที่อยูบริเวณใกลเคียงไดกลิ่นก็หนีออกจากบาน บริเวณ นั้นมีทั้งตึกแถว อาคารพาณิชย และบาน ซึ่งบานติดกระจกหลังหนึ่งเปด เครื่องปรับอากาศไว เมื่อไดกลิ่นเจาของบานอยูภายในหองจึงปดเครื่อง ปรับอากาศ ปดหนาตาง และประตู พรอมทั้งนำผาขนหนูที่มีชุบน้ำอุดไว ตามชองตางๆ ที่คิดวาอากาศจากภายนอกจะเขามาในหองได และ ความคิดนั้นก็ถูกตอง เมื่อเจาหนาที่เขาจัดการกับโรงงานแชแข็งและสาร ที่รั่วไหล เจาของบานหลังนั้นก็ปลอดภัยโดยไมตองหนีหรือเคลื่อนยายตัว เองไปไหน SIP BOX จะถูกแจกจายไปยังทุกหองเรียน สำหรับเปนอุปกรณ ประจำหอง เมื่อเกิดเหตุสารเคมีรั่วไหลจากโรงงานที่อยูหางจากโรงเรียน ไมเกิน 2.5 กิโลเมตร กลิ่นของสารเคมีซึ่งอาจเปนกาซที่ลองลอยปะปน มาในอากาศ จะสงกลิ่นมาถึงตามระยะทาง นักเรียนหรือใครคนใดคน หนึ่งของโรงเรียนเมื่อไดกลิ่นแปลกๆ ใหรีบแจงศูนยรับแจงเหตุภายใน โรงเรียน เพื่อออกประกาศเตือนภัยใหกับนักเรียนทุกคน “ประกาศ ประกาศ ขณะนี้ เ กิ ด เหตุ ค าดว า สารเคมี รั่ ว ไหลจาก


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

233

โรงงาน ห า งจากโรงเรี ย นรั ศ มี ไ ม เ กิ น 2.5 กิ โ ลเมตร ขอให เ จ า หน า ที่ อาจารย และนักเรียนทุกคน เขาหลบในหองเรียน และตรวจเช็กทางเขา ออก พรอมทั้งประตู หนาตาง ชองลม และนำ SIP BOX ออกมาดำเนิน การ” เสียงตามสายที่สงกระจายตามหองเรียนทุกหอง ดังขึ้น และสิ่งแรก ที่ทุกคนที่อยูในโรงเรียนตองทำ คือ กลับเขาหองเรียนของตนเอง ปฏิบัติ ตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ในการอบรมเชิงปฏิบัติการของหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู ถายทอดใหกับนักเรียนในจังหวัดระยอง ใหการบานนักเรียนภายหลัง การอบรมเชิงปฏิบัติการแลวเสร็จ ขอใหแตงตั้งหัวหนาทีม รองหัวหนา ทีม เพื่อสะดวกตอการประสานงาน และแบงทีมยอย 5 ทีม ในการปฏิบัติ งาน ไดแก 1. Door Team มีหนาที่ปดประตูทุกประตู 2. Window Team มีหนาที่ปดหนาตางทุกหนาตาง 3. Went (Wentilation) Team มีหนาที่ปดชองระบายหรือชองลม 4. Rad (Radio) Team มีหนาที่ฟงวิทยุ 5. Table Team มีหนาที่เคลื่อนยายโตะ เพื่ออำนวยความสะดวก ใหกับทุกทีมที่ปฏิบัติงาน การปดแตละจุด จะตองผนึก (Seal) ใหแนนหนาดวยเทปกาวหรือ สกอตเทปขนาดใหญ หากชองมีขนาดใหญใหใชแผนพลาสติกปดผนึก ในบางจุดหากไมสามารถใชอุปกรณการผนึกได ใหใชผาขนหนูชุบน้ำปด ชองอากาศไว สำหรับทีมเคลื่อนยายโตะนั้นมีความหมายตามชื่อทีมอยู แล ว ส ว นวิ ท ยุ ใ ห เ ป ด คลื่ น วิ ท ยุ ชุ ม ชน เพื่ อ ฟ ง ข า วความคื บ หน า ของ เหตุการณ จดบันทึก และรายงานใหหัวหนาทีมทราบ เพียงเทานี้ชีวิต ของทุกคนที่อยูในหองก็ปลอดภัยจากการปนเปอนของสารพิษในอากาศ แลว ศูนยรับแจงเหตุภายในโรงเรียน ก็มีหนาที่สำคัญยิ่งเชนกัน หนวย ปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู จะมอบ “แผนที่” ไว 1 ฉบับ แผนที่ฉบับนี้ เปนภาพวาด มีโรงเรียนอยูตรงกลาง และกระจายรัศมีโดยรอบโรงเรียน


234

2.5 กิ โ ลเมตร ทำเครื่ อ งหมายที่ ตั้ ง โรงงานไว มี ข อ ความอธิ บ ายราย ละเอียดเกี่ยวกับโรงงานแตละแหง ประกอบดวย ชื่อโรงงาน สารเคมีที่ คาดวาจะเกิดอันตรายสวนนี้จะลงลึกไปถึงขอมูลเกี่ยวกับสารเคมี เชน กลิ่น อาการเมื่อไดรับเขาสูรางกาย การปฐมพยาบาลเบื้องตนที่จำเปน ที่สุดอีก 1 ชิ้น ทุกโรงเรียนตองมี คือ WILD SOCK หรือ ถุงลมนิรภัย ติด อยูที่สูงของโรงเรียน ถุงลมนิรภัยนี้จะหันหัวไปทิศของลม หากไดกลิ่นสาร พิษ ใหสังเกตที่หัวถุงลมนิรภัยหันไปทางทิศใด นั่นหมายถึง โรงงานที่กอ มลพิ ษ อยู ทิ ศ นั้ น และนำข อ มู ล ที่ ไ ด ม าประกอบแผนที่ จะตอบได ว า โรงงานใดเปนโรงงานตนเหตุ ถึงตอนนี้ โรงเรียนที่ไดรับการอบรมเชิงปฏิบัติการแลว 6 แหง ที่ตั้ง ไมหางจากแหลงอุตสาหกรรมของจังหวัดระยอง และโรงเรียนทั้ง 6 แหง นี้ จะเปนแหงนำรองสำหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการ ถายทอดความรู เบื้องตนในการชวยเหลือตนเองใหปราศจากภัยของมลพิษ หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู ขึ้นตรงกับกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนหนวยงานตรงใน การควบคุมดูแลทรัพยากรสิ่งแวดลอมโดยตรง จึงไมแปลกที่แมวาจะมี กำลังคนเพียง 12 คน แตขอบขายการทำงานมากเกินอัตรา ถึงกระนั้น การทำงานของหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูก็ยังคงดำเนินไปอยาง ตอเนื่อง ขณะที่ปญหามลพิษในเมืองใหญและเขตเมืองอุตสาหกรรม กำลังเผชิญมลพิษขั้นรุนแรง ที่นับวันจะยิ่งเลวราย เนื่องจากเขตเมือง ขยายตัวอยางตอเนื่อง ไมมีแนวโนมวาจะสิ้นสุด ขอจำกัดการปฏิบัติงานไมเฉพาะจำนวนคนผูปฏิบัติงานเทานั้น หากแตครอบคลุมรวมไปถึงกฎหมายซึ่งอยูภายใตการสั่งการของหลาย หนวยงาน เชน พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 เจาพนักงานที่มี อำนาจบังคับใช ไดแก กรมโรงงานอุตสาหกรรม สำนักงานอุตสาหกรรม จังหวัด และผูวาราชการจังหวัด ในกรณีที่เปดความเดือดรอนดานมลพิษ จากโรงงานอุตสาหกรรม หรือกรณีที่ปญหามลพิษเปนปญหาที่แหลง กำเนิ ด จำต อ งอาศั ย พระราชบั ญ ญั ติ ส ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

235

แวดล อ มแห ง ชาติ พ.ศ.2535 ที่ อ ยู ภ ายใต ก ารควบคุ ม ดู แ ลของกรม ควบคุมมลพิษ และเจาพนักงานควบคุมมลพิษในระดับจังหวัด เชน ผูวา ราชการจั ง หวั ด นายอำเภอ ปศุ สั ต ว จั ง หวั ด ซึ่ ง ชั ด เจนสำหรั บ ผู ถื อ กฎหมายบังคับใช แตทุกครั้งที่เกิดเหตุการณในระดับการปฏิบัติงาน หนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูตองมีสวนอยางหลีกเลี่ยงไมได การแกไขและผลกระทบที่เกิดขึ้นในเหตุการณแตละครั้ง เปนเครื่อง เนนย้ำถึงความมุงมั่นในการปฏิบัติงานของหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและ ฟนฟู เพราะในสายตาของหนวยงานที่เกี่ยวของ ใหความสำคัญตอหนวย งานในระดับชำนาญการ เมื่อประเมินจากสถิติการเกิดอุบัติภัยในรอบ 8 ป แลว เห็นไดชัดวา หนวยปฏิบัติการเล็กๆ ยังคงตองทำงานหนักในโลกใบใหญอีกตอไป

+ + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + +

บรรณานุกรม กรมการปกครอง www.dopa.go.th กรมควบคุมมลพิษ www.pcd.go.th กรมโรงงานอุตสาหกรรม www.diw.go.th สัมภาษณ นายสุเมธา วิเชียรเพชร หัวหนาหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู กรม ควบคุมมลพิษ นายมานพ บุญแจม นักวิชาการสิ่งแวดลอม ระดับ 7 กรมควบคุมมลพิษ


236

‡ âπ∑“ß∑’Ë·μ°μà“ß ¢Õß 2 μ√’π—°Õπÿ√—°…å

Ÿà‡ªÑ“À¡“¬ ç‚≈°∑’Ëߥߓ¡∫𧫓¡¬—Ë߬◊πé ++++++++++++++

™ÿμ‘¡“ πÿàπ¡—π

Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå¡μ‘™π


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

237

“ความเปนเพศแม” ในความเปน “ผูหญิง” ไดรับการยกยองวาเปนเพศที่มีความเสียสละสูงสงเปนที่ตั้ง ดวยการเสียสละเพื่อลูก และครอบครัวอันเปนที่รัก แตในยุคที่สังคมอยูกันแบบ “ตัวใคร ตัวมัน” มากขึ้น นึกถึงตัวเอง มากกว า คนอื่ น และส ว นรวม ใครแข็ ง แรงมาก มื อ ยาวก็ ส าวเอาผล ประโยชนไวกับตัวเองมากที่สุดเทาที่จะมากได มีผูหญิงอยู 2 คน ในฐานะ “แม” นอกจากทำหนาที่ของตัวเองเพื่อ ครอบครัวแลว เธอทั้งคูยังสละเวลาที่จะทำงานใหกับสังคมดวย งานที่วาคือการอุทิศตัวเองเพื่อดูแล และปกปองสิ่งแวดลอม อยางไมรูจักเหน็ดเหนื่อย ทัง้ จินตนา แกวขาว กับ ศรีสรุ างค มาศศิรกิ ลุ ผูห ญิงทีอ่ ทุ ศิ ตัว ใหกับการทำงานสิ่งแวดลอม จนกลายเปนสวนหนึ่งของลมหายใจตัวเอง แมวางาน และความเปนอยูของทั้งสอง ตลอดจนสิ่งสภาพ แวดลอมรอบขางของทั้งคูจะแตกตางกันอยางสิ้นเชิง จินตนา แกวขาว ทำงานสไตลรอนๆ อยูกับความขัดแยงตลอดเวลา มีขาวคราวผานหนาสื่อมวลชน โดยไมมีองคกรและหนวยงานใดคอย เปนฐาน ปกปองใหตัวเธอ ในการดูแลสิ่งแวดลอม และทรัพยากรในบาน เกิด อำเภอบานกรูด จังหวัดประจวบคีรีขันธ แตเธอก็ไดความรักและ ความหวงใยของเพื่อนบานอุมชู อุปถัมภ


238

ขณะที่ ศรีสุรางค มาศศิริกุล ทำงานคลายสไตลเย็นๆ กับองคกร ใหญมั่นคงระดับชาติอยาง บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ธุรกิจคาน้ำมัน ยักษใหญ มีความมั่นคงในการทำงานขั้นสูงสุด แตที่ผานมาองคกรนี้ก็ ถูกตั้งคำถามจากสังคมมากมาย โดยสวนของ ศรีสุรางค ก็ยังยืนหยัดใน การทำงานสิ่งแวดลอมมาตลอดกวา 20 ป จนเปนที่ยอมรับของหลายคน และหลายฝาย แมจะแตกตางกันโดยสิ้นเชิงดวยสถานภาพทางสังคม แตทั้งคูก็มี จุดประสงคหลัก และจุดหมายเดียวกัน นั่นคือ การพยายามปกปองดูแล และรักษาไวซึ่งทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ทำเทาที่ตัวเองจะทำได กำลังใจจากรางวัล “แมผูอนุรักษสิ่งแวดลอม” จิ น ตนาได รั บ คั ด เลื อ กเข า รั บ ประทานรางวั ล “แม อ นุ รั ก ษ สิ่ ง แวดลอมดีเดน ป 2550” 5 คน จาก 4 ภาค จาก พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา... ในฐานะผูหญิงที่ตามรอยสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินี นาถ ซึ่งทรงหวงใยในปญหาสิ่งแวดลอม... เปนความภาคภูมิใจของ ครอบครัวแกวขาว ทามกลางบานหลังที่อาศัยอยู วั น นี้ ปลู ก ติ ด ถนนสายเล็ ก ๆ ใน หมูบาน ซึ่งสองสามีภรรยาแกวขาว แบงสัดสวน ระหวางตัวบาน กับราน ค า ของชำ และล็ อ กที่ ข ายน้ ำ มั น 2 ถัง ผูเขียนไปเยือน ถือโอกาสสำรวจ รอบบาน บรรยากาศหลังฝนตกเย็น ฉ่ำ น้ำฝนยังคงคางอยูบนใบไมนอย ใหญ ที่ขึ้นรกครึ้มทั่วบริเวณ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

239

เพิงขนาดยอม มีเครื่องนอน เกาอี้รับแขก ผานการใชงานอยางโชกโชน และหนังสือพิมพเกา-ใหมกองรวมกัน ใชสำหรับตอนรับแขกที่ไปมาหาสู กัน แตเจาของบานบอกวา นอกจากเปนที่ตอนรับแขกแลว ตรงนี้เปน ที่นอนของชาวบานกลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติบานกรูด ที่ผลัด เวรยามกันมาเฝา และอยูเปนเพื่อนครอบครัวของเธออีกดวย 8 ป เ ห็ น จะได ที่ ข า วคราวของ จิ น ตนา แก ว ขาว ผู ห ญิ ง นั ก สู วัย 46 ป แหงบานกรูด อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ วนเวียนปรากฏ อยูตามหนาหนังสือพิมพ และสื่อประเภทตางๆ ภาพของหญิงสาวรางใหญ หนาเขม มาดนิ่ง ไมหลุกหลิก ดูจริงจัง กับหนาที่การงานเปนที่สุด งานที่วาคือ การเปนผูนำชาวบานเพื่อบอกกับทุกๆ คนในประเทศ รวมทั้งในโลกนี้วาบานของเธอและของพวกเขา ไมตองการความแปลก ปลอมที่จะสราง “มลพิษ” โดยประการทั้งปวงให ไมวาจะเปนโรงไฟฟา หรือโรงถลุงเหล็ก กลายเปนภาพชินตา สำหรับนักขาวสายสิ่งแวดลอม แมวาตั้งแต ป ที่ 1 จนถึ ง ป ที่ 8 บุ ค ลิ ก ท า ที ข องเธออาจจะเปลี่ ย นไปบ า ง ตาม ประสบการณที่สั่งสมมา แตจุดยืนของเธอไมเคยเปลี่ยนไปเลย “นี่รอยกระสุนหรือ ยิงเสียพรุนเชียว” ผูไปเยือนทักเจาของบาน หลังเดินชมรอบบานจนครบรอบแลว สังเกตเห็นรอยบุม ตรงประตูบานพับเหล็ก และขอบปูนที่อยูเหนือประตู ขึ้นไป ไมต่ำกวา 10 รอยดวยกัน ไมคิดวาเจาของบานจะพยักหนารับคำสัพยอกนั้นทาทางจริงจัง “ทั้งหมด 13 นัดดวยกัน สมัยโนน โรงไฟฟาหินกรูด ตำรวจ บอกวา วิถีกระสุนมาแบบนี้เปนการยิงหวังผล โชคดีหลบทัน” เธอพูดติดตลกสวนกลับมา “แลวไมกลัวหรือ” แมจะรูวามันเปนคำถามที่ไมฉลาดนัก แตก็อยากฟงเหมือนกันวา เธอจะตอบอยางไร?


240

“กลัวสิ ทำไมจะไมกลัว เราไมใชเทวดาซะหนอย เปนคนธรรมดา มี ลูก มีสามี มีคนรักและตองเปนหวงมากมาย และเราก็ไมไดยิ่งใหญอะไร มาจากไหน โดนอยางนี้ บอกวาไมกลัว ก็โกหกแลว แตก็พยายามมีสติ ถึงกลัวเราก็ตองหาทางรับมือ วางแผนชีวิตเพื่อดูแลตัวเอง ไมใชกลัวแลว อยูเฉยๆ ไมทำอะไรเลย” หลังจากบานของเธอถูกฝายตรงขามโจมตี เธอหาไดยุติบทบาทการ เปนผูนำตอตานโรงไฟฟาบานหินกรูดไม ยังคงตั้งหนาตั้งตาคนควาหา ขอมูล หาวิธีการ เพื่อพิสูจนวา สิ่งที่เธอและชาวบานบานหินกรูดกำลัง ทำเวลานั้นเปนเรื่องที่ถูกที่สุดแลว เพราะพวกเธอและพวกเขากำลังทำ หนาที่ปกปองทรัพยากรในบาน ใหรอดพนจากการคุกคามของสารพัด มลพิษที่จะเขามาพรอมกับสิ่งกอสรางสิ่งใหม ที่คนขางนอกเรียกมันวา ความเจริญ และความมั่นคง ชาวบานกรูดไดรับชัยชนะจากการตอสูคราวนั้น เพราะโรงไฟฟา บานกรูดลมเลิกการกอสรางไป จินตนา กลับไปใชชีวิตเหมือนคนปกติทั่วไป เธอเปนแมบาน เปนแมคา และเปนแมของลูกๆ 3 คน การดูแลครอบครัวและประกอบอาชีพไมไดแตกตางกับครอบครัว อื่นๆ เลย “หลังจากโรงไฟฟาบานกรูดจบ ชีวิตมีความสุขมาก ไมตองคร่ำเครง กับการติดตามขาวสารบานเมือง ไมตองมานั่งเรียบเรียงความคิดวาจะ ตองพูด ตองตอบคำถามนักขาวอยางไร ตั้งหนาตั้งตา ทำมาหากินเก็บ เงินใชหนี้” จินตนา แกวขาว มีหนี้กับเขาดวยหรือ “จมเลย” เธอตอบพร อ มกั บ หั ว เราะอย า งอารมณ ดี คนฟ ง แอบ สังเกตเห็นวานัยนตาคูนั้นมีแววขมขื่นอยางไรชอบกล แตแคเพียงแวบ เดียวเทานั้นเอง เธอขยายความของ “หนี้จมเลย” ใหฟงวา การตอสูแตละครั้งตอง ใชเงิน และชาวบานธรรมดาอยางเธอที่ออกมาปกปองทรัพยากรในบาน


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

241

ตัวเอง ไมไดมีนายทุนที่ไหนมาสนับสนุน ทุกคนตองดูแลตัวเองทั้งหมด ไปประชุมกันทีก็ตองมีคาใชจาย ไปประทวงแตละครั้งนอกจากมีสารพัด คาใชจาย ทั้งคารถ คาอาหาร คาทำเอกสารชี้แจง คาน้ำไฟ ที่สำคัญตอง หยุดทำงาน นั่นหมายถึงครอบครัวจะขาดรายไดไปทันที “เมื่อกอนนะ อยางนอย 5-6 พันก็ยังพอมีติดกระเปา แตตอนนั้น ไมมีก็คือไมมีเลยจริงๆ ตองกู ใหสามีกูสหกรณ ตอนนั้นกูมา 3 แสน ก็ ค อ ยๆ ผ อ นใช ไ ป ถ า ช ว งไหนหมุ น ไม ทั น ก็ ต อ งเป ย แชร เพราะถ า เคลื่อนไหวบอย จะไมคอยไดขายของ รายไดไมมีเลย พอจะขายก็ไมมี ทุน ตอนนั้นชีวิตเปนแบบนี้มาตลอด แตพอชนะเราก็มีความสุข ไดตั้ง หนาตั้งตาทำมาหากินสะสางหนี้สินเสียที” แตเมื่อไมนานมานี้เธอกลับไดขาวมาวา แถวบางสะพาน ซึ่งเปน พื้ น ที่ ใ กล เ คี ย งติ ด ต อ กั บ บ า นกรู ด จะมี ก ารเอาพื้ น ที่ ป า พรุ ไปเป น ที่ กอสรางโรงถลุงเหล็ก ภายใตการสนับสนุนของรัฐบาล จากนโยบายที่วา อนาคตประเทศไทยจะเปนศูนยกลางการผลิตเหล็กของเอเชีย แตถาไมมีปาพรุ ระบบนิเวศหลายอยางจะสูญเสียไป หลายอาชีพ ตองสิ้นสุดลง สารพัดมลพิษตองปรากฏในพื้นที่ทำมาหากิน และที่อยู ของชาวบานกรูด และบางสะพานอีกเปนแน จินตนา จึงตองเดินหนา ทำงานมวลชน หาขอมูลมาบอกเลากับเพื่อนบาน บทบาทแกนนำชาวบานเพื่อปกปองทรัพยากรในพื้นที่จึงตองเริ่มตน อีกครั้งเปนคำรบที่สองแหงชีวิตของลูกผูหญิงชื่อ จินตนา แกวขาว หนี้เกายังไมหมด หรือวาหนี้ใหมจะพอกพูนเพิ่มขึ้นอีกเทาใด เธอก็ วาชางหัวมัน !! ถามจริงทำไปทำไม? “มีคนถามบอยมากคำถามนี้ และพี่ก็ถามตัวเองเหมือนกันวา กูทำ แบบนี้ไปทำไม ทำไมไมอยูกับลูกกับผัว ทำมาหากินเหมือนชาวบาน ชาวชอง ถาทำแบบนั้นได ไมมาสนใจเรื่องนี้ ปานนี้รวยไปแลว “ก็ทำไปเพื่อตัวเองไง ที่ทำไปทั้งหมด ก็เพราะตัวเอง เพื่ออาชีพของ ตัวเอง เพื่อทะเล เพราะพี่ก็เปนเจาของทะเลคนหนึ่งเหมือนกัน คิดดูถา


242

ไมมีเรือ ไมมีใครออกเรือ เพราะปู ปลาในทะเลไมมี เพราะมันอยูไมได ใครจะมาซื้อน้ำมันบานเรา ไมมีใครมาซื้อเราก็อยูไมได” ตอบสวนกลับ มาทันที เปนเหตุผลที่ฟงขึ้นที่สุดวา หญิงสาวคนนี้ไมเคยฉุกคิด หรือเสียดาย เงินทุกบาททุกสตางคที่ตองจับจายออกไป แมวาเงินเหลานั้นครอบครัว ตองทั้งกู และยืมมา เปนพันธะผูกพัน ที่ตองตามสะสางในอนาคตอัน ยาวไกล “ตอนที่เสร็จงานโรงไฟฟาใหมๆ นะ เรายังงงๆ อยูวาจะเริ่มตนทำมา หากินอยางไร เพราะไมมีเงินลงทุนเลย คิดจะไปขอยืมเงินจากที่บาน พอดีชาวบานมาถามวาทำไมไมขายของ บอกเขาไปวาไมมีทุน เชื่อไหม วาพวกเขาไปเรี่ยไรเงินมาให ไดมาหมื่นกวาบาท บอกวาใหเอาไปซื้อของ ไปขาย เราซาบซึ้งมาก” เธอเลาพรอมกับน้ำใสๆ ที่ไหลเออคลึงอยูรอบ ดวงตา นับแตนาทีนนั้ หญิงสาวสัญญาเอาไวกบั ตัวเองเปนมัน่ เหมาะวา ชีวิตนี้จะไมมีวันทรยศกับบานเกิดเมืองนอนของเธออยางเด็ดขาด “อดขาวหรือไมมีอะไรกินนะพี่ยอม แตยอมไมไดถาใหแมครัวซึ่ง เปนชาวบานที่นี่ พวกเขาเสียสละเวลามาหุงหาขาวปลาอาหารใหพวก เรากินเวลาประชุม เวลาเราไปไหนมาไหนกัน ยอมไมไดเลยถาวันไหน คนพวกนี้มาชี้หนาดาเราวา กูไมนาหุงขาวใหมึงกินเลย” แลวการตอสูก็เริ่มตนอีกครั้ง เลยหัวค่ำมาพอสมควร วงสนทนาเริ่มออนลาลงตามลำดับ เพื่อน บานของจินตนาไมมีทีทาวาใครจะกลับ “วันนี้พวกเขามาอยูเปนเพื่อนพี่ นอนกันตรงนี้แหละ ตั้งแตบานโดน ยิ ง คราวก อ นโน น พวกเขาก็ จ ะผลั ด เปลี่ ย นกั น มาอยู เ ป น เพื่ อ นทุ ก วั น กลางคืนก็นั่งคุย นั่งวางแผนงานกันแบบนี้แหละ ดึกๆ เขาก็ไลพี่ขึ้นไป นอน ตอนเชาก็ยังอุตสาหเอาไอตัวเล็กไปสงโรงเรียนดวยนะ” คุยตออีกไมนาน พวกเราก็ขอตัวกลับ เรากลับไปเยี่ยมเธออีกครั้ง ที่บานตนไมครึ้ม ติดถนนเล็กๆ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

243

วันนั้น จินตนาดูเพริศพริ้งที่สุดในสายตาของเรา เธอไมไดนุงกางเกง ทรงทหารทะมัดทะแมง เสื้อยืดคอกลมแขนสั้น อันเปนที่คุนตา ที่เห็น เหมือนทุกครั้ง วันนี้เธออยูในเสื้อผาฝายเนื้อนิ่มสีขาวสะอาดตา กระโปรง เขารูปยาวกรอมเทา ชุดนี้พรางใหหุนหนาๆ ของแมสาวนักสูดูบางลงไป เยอะ เธออวดเครื่องประดับเงิน ที่ใสเต็มขอมือ และคอ “เสนนี้ภรรยาคุณปู พงษสิทธิ์ คำภีร (นักรองเพลงเพื่อชีวิต) เขาซื้อ มาฝาก เขามากันบอย มากันทั้งครอบครัว เขารูวาพี่กับพี่เจี๊ยบ (สามี) ชอบใสเงินเขาก็ซื้อมาให ใสบอย “เสนนี้คุณสุนทรีย เวชานนท ใหมา เปนเงินทางเหนือ” เธอบอก แววตาภาคภูมิใจ อยูบานแตงตัวแบบนี้เหรอ “แบบนี้แหละ ชุดทำงานอยูกับบาน คนขายของนุงกระโปรงแบบนี้ มันดูผอมลงมาบาง “เชือ่ ไหม เมือ่ กอนมีคนมาชวนแมไปเลนละครจักรๆ วงศๆ ของชอง 7 ดวย” เด็กหญิงอิ๊ฟ ลูกสาวคนสุดทองของจินตนา ที่วิ่งไปวิ่งมาอยูแถวนั้น วิ่งเขามากอดหลังแม แลวเปดเผยความลับสุดยอดนี้ใหฟง แขกที่ไปเยือนลวนมีสีหนาตื่นเตนกับสิ่งใหมที่ไดรับ ตางหันไปมอง จินตนา พรอมสงสายตาแสดงคำถามเดียวกัน โดยไมไดนัดหมาย “จริง” เปนเสียงเด็กหญิงอิ๊ฟคนเดิม “แตแมไมยอมไป เพราะกลัวเขาใหเลนเปนนางยักษ แมบอกวาเสีย ภาพพจนหมด” เด็กหญิงตัวนอยบอกเสียงเจื้อยแจว เรียกรอยยิ้มกับ เสียงหัวเราะรอบวง “อิ๊ ฟ มั น ชอบเอาแม ม าขายเรื่ อ ย” เธอติ ง ลู ก สาวอย า งอารมณ ดี พลางขยายความวา ตอนที่ตอสูเรื่องโรงไฟฟาบานกรูดนั้น มีบริษัทบริษัท หนึ่งมาติดตอ ขอใหเธอไปเลนละครจริง แตเธอก็ปฏิเสธไป เพราะกลัวจะ ถูกมองวาเอาสถานการณมาสรางโอกาส “ลูกวา แมกลัวเขาใหแสดงเปนนางยักษมากกวา” เด็กหญิงเยาแม


244

อีกครั้ง “เมื่อกอนไมไดเปนแบบนี้นะ เอว 22 นิ้ว หนักไมถึง 50 กิโลเอง เปนนางเอกไดเลย เผลอแปบเดียว เทานี้แลว” อิสรา แกวขาว หรือเจี๊ยบ ผูพอของเด็กหญิงอิ๊ฟ เดินออกมาจาก บานหอบอัลบั้มรูปถายเกาๆ มาหอบใหญ “เอารูปหนอย (ชื่อเลนของจินตนา) สมัยสาวๆ มาใหดู” เขาพูดยิ้มๆ สาวนอยที่เห็นในรูปสมัยเมื่อ 20 กวาปกอนนั้น เอวบางรางนอย อยางที่บอกเอาไวจริงๆ ดวย เธอถายรูปกับเด็กนักเรียนชั้นอนุบาลหลาย สิบคน อดีตคุณครูหนอย ชี้ชวนใหดูรูปถายลูกศิษยตัวนอยดวยความภูมิใจ อดที่จะอวดไมไดวา หนึ่งในลูกศิษยของเธอเจริญรุงเรืองเปนถึงนักกีฬา ทีมชาติทีเดียวเชียว เธอบอกชื่อลูกศิษยคนนั้นมา อาจจะไมโดงดังเทา แทมมี่กับภราดร แตก็พอคุนๆ อยูบาง ยึดอาชีพครูอยูไมนาน เธอวาเงินเดือนนอย ไมพอกิน จึงเปลี่ยนมา ทำมาคาขาย ขายของชำอยูที่บาน ขายน้ำมันรถ น้ำมันเรือ รับมาทีละถัง เรียกวาน้ำมันปมลูกแกว คอยๆ เก็บเล็กผสมนอย จนมีเงินเก็บเปนกอบ เปนกำทีเดียว เปนกอบเปนกำดังกลาวก็คอยๆ รอยหรอ จนกระทั่งติดลบ จนถึงทุกวันนี้ กระนั้น ทั้งจินตนาและครอบครัว ซึ่งหมายถึง สามีและลูกๆ อีก 3 คน ยืนยันเปนมั่นเหมาะวา ตอใหกระเปาเงินของพวกเขา ติดลบไปมากกวานี้ ก็จะยังยืนยัน ยืนหยัด ทำงานกับชาวบานไป จนกวาจะไดรับชัยชนะ พูเดิ้ลทอย สุนัขตัวนอย ถูกปลอยออกมาจากในบาน มันวิ่งตรงดิ่ง กระดิกหางดุกดิ๊กๆ ครั้นมาถึงเจาของก็กระโจนใส แลวซุกบนตักทันที จินตนายกตัวเจาหมานอยขึ้นหอมที่ใบหนาซายขวาอยางรักใคร ดวยไม คอยไดเห็นอิริยาบถดังกลาวของผูหญิงแกรงนักตอสูคนนี้แบบนี้เลย อีกไมกี่อึดใจหลังจากนั้น ลูกแมวสีสวาดวัยเดือนเศษ เดินกระยอง


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

245

กระแยงเขามาที่เจาของบาน เราตั้งทาเดินออกมาหางๆ เพราะคิดวาอีก ประเดี๋ยวหมากับแมวตองทะเลาะกันแน แตผิดคาด เมื่อเจาหมานอย เห็นลูกแมวก็รีบนอนแผใหกินนมทันที สรางความประหลาดใจเปนคำรบที่สอง ทุกคนยิ้มขันในภาพที่ได เห็นตรงหนา “แล ว โรงเหล็ ก หรื อ ว า โรงไฟฟ า มั น จะอยู ร ว มกั บ คนที่ นี่ ไ ด เหมือนแมวกับหมาสองตัวนี้ไหมพี่” คนถามถามแบบกลาๆ กลัวๆ วาคำถามนี้จะทำใหเสียบรรยากาศ แตเจาของบานยังยิ้ม แลวบอกวา อยูได ถาทั้ง 2 โรงนั้นไมปลอย มลพิษออกมาเลย ไมทำใหสิ่งแวดลอมที่บานกรูด บางสะพานเปลี่ยนไป และมีอะไรเสียหาย “ทำไดก็ทำเลย แบบนี้เรารับได แตนี่ไมใชแบบนั้น เพราะมันจะมา พรอมกับความเปลี่ยนแปลงมากมายเลย ขนาดยังไมมานะ เวลานี้พี่นอง ในพื้นที่แบงออกเปนสองฝกสองฝาย ทะเลาะกันไป ดากันมา มีเหตุไม เวนแตละวัน ถาเขาเขามาไดละ น้ำเสีย อากาศเสีย ปาพรุหายไป ขุดคู ขุดคลองผิดแบบผิดระบบ น้ำทวม ใครเสียหาย ก็เรานั่นแหละ คนใน พื้นที่เสียหาย ถามวาน้ำทวมเจาของโรงเหล็กเขามาเดือดรอนกับชาว บานมั้ย ถามวาชาวประมงออกเรือหาปูไมได ใครเดือดรอน คนนอกพื้นที่ หรือวาในพื้นที่” เธอย้ำเหลือเกินวา ไมไดสนุกเลยกับการที่ตองมาทำแบบนี้ เพราะ ชีวิตตองตื่นตัวตลอดเวลา ไปไหนมาไหนคนเดียวไมได เดินทางซ้ำที่ ทาง เดียวกันทุกวันไมได เพราะรูวามีคนจองจะประทุษรายตลอดเวลา แตก็ทิ้งไมได ยังไงก็เปนบานเรา “เปนแกนนำสำคัญ ชาวบานวางใจมากมายขนาดนี้ ฝงตรง ขามเคยเขามาเสนอขอแลกเปลี่ยนอะไรมั้ยพี่” หญิงสาวบอกวา เคยมีคนเอาเช็คเงินสดมาให บอกใหกรอกตัวเลข เองเลย เทาไหรก็ได “เราก็เชื่อนะวา เขากลาใหเราจริงตามที่เราบอกไป แตนึกถึงตัวเอง


246

นึกถึงที่เคยสอนลูก นึกถึงชาวบานที่เปนแนวรวมกับเราแลว ทำไมลง ทำ ไมลงจริงๆ” เธอเปรียบใหฟงอยางนาคิดวา สมมุติวา เขาเอาเงินมาให 3 ลาน เปนคาชดเชย ที่ออกเรือหาปูไมได เงิน 3 ลานนั้นก็ใชไป ใชไป ถาไมได ทำงาน เพราะไมมีงานใหทำอีกแลว เนื่องจากไมมีปู ปูอยูในทะเลไมได เพราะมลพิษ สักวันหนึ่งไมชาก็เร็ว เงิน 3 ลานนั้นก็ตองหมด แตถาไดทำงาน ออกเรือหาปู เอาปูมาขายไดวันละ 2 พันบาท เปน อยางต่ำ จับปูไดทุกวัน ขายไดทุกวัน หากเก็บเงินเกงๆ ก็อาจจะถึง 3 ลานไดในวันหนึ่ง แตแมวามันจะไมถึง แตก็ยังมีงานใหทำ ทำไปได เรื่อยๆ ทำไมไหวก็ใหลูกทำ ชั่วชีวิต ระหวางนั่งรถกลับที่พัก อดนึกถึงคำบอกเลาของอิสรา แกวขาว ผู สามีของจินตนาไมได “หนอยเขาเปนแบบนี้มาตั้งแตสาวๆ แลว ไมคอยอดทนกับความไม ยุติธรรม แตก็ไมเคยวูวามนะ ทาทีอาจจะดูโผงผางไปบาง แตเปนคนมี เหตุผลสูง จากโรงไฟฟามาถึงโรงถลุงเหล็ก เขาเปนผูใหญและสุขุมขึ้น มากจากเดิ ม ที่ ใ จร อ นดั น ทุ รั ง ไม ค อ ยฟ ง ใคร กลายเป น คนเรี ย นรู ค น ใจเย็นฟงคนรอบขาง แตก็ยังมีความเด็ดขาดมั่นคง” ครอบครัว โดยเฉพาะอิสราเองเคยหามภรรยาไหมวา อยา เขาไปยุงกับเรื่องแบบนี้ สูทำมาหากินดีกวา ชายหนุ ม ยื น ยั น หนั ก แน น ว า นอกจากไม เ คยห า มแล ว ยั ง จะ สนับสนุนเสียดวย “เราสองคนรูจักกันมาตั้งแตสมัยเปนนักเรียน แมจะเรียนกันคนละที่ แตดูแลกันมาตลอด เขามีความเปนผูนำมาแตไหนแตไร เรื่องแบบนี้จึง เขาไปอยูในสายเลือดเขาเสียแลว” เคยคิดนอยใจ หรือรูสึกอะไรไหม ที่วา มีเมียเปนผูนำ เดน กวา เกงกวา คราวนี้เขายิ้มเหมือนเจอคำถามถูกใจ “ไมไดคิดอยางนั้นเลย ทุกวันนี้เขาไมเคยนำอะไรผม แตเราไปดวย


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

247

กัน เขาอยากทำอะไรพวกเรา หมายถึงผมและลูกๆ ก็พรอมจะสนับสนุน เขาไปไหนถาผมไมติดราชการเราก็จะไปดวยกัน มีอะไรก็ชวยกันคิด มีผู หญิงเปนแกนนำทำอะไรแบบนี้ผมวาดีออก ผูหญิงจะดูออนโยนกวา เพราะในสถานการณที่ดูเหมือนจะตึงเครียดพรอมจะถึงจุดแตกหักทันที หากปลอยใหผูชายเผชิญหนาและตัดสินใจอะไรบางอยาง แตผูหญิงเขา จะมีอีกมุมมองหนึ่ง ออนโยนกวาเรา ชวยคลี่คลายสถานการณได อยา ลืมวา การตอสูไมจำเปนตองใชกำลัง ฝายเราไมเคยคิดจะใชกำลัง เรา ตองเอาเหตุผลเขาไปสู” ความอ อ นโยนคลี่ ค ลายสถานการณ ของแกนนำชาวบ า น อยางจินตนานั้น เราพบเห็นมากับตัวเองหลายครั้งหลายคราแลว ครั้งหนึ่งเปนการเผชิญหนาระหวางชาวบานบานกรูด บางสะพาน ฝายตรงกันขาม และเจาหนาที่ตำรวจ ความตึงเครียดของสถานการณ เปนชนวนใหทั้งสองฝายตะลุมบอนกันไดตลอดเวลา แตเธอก็ใชความ เปนสตรีเพศ เขาไประงับเหตุได ดวยการเจรจา และเปนแบบนี้มาแลว นับครั้งไมถวน “ผูชายกับผูชายทะเลาะกันเดือดเขา เดือดกัน เดี๋ยวมันก็ชก กองเชียรเห็นเขามันก็ตะลุมบอนกันทันที เรื่องที่ทำทาวาจะเจรจา กันได มันกลายเปนไมได เรื่องก็ลุกลามออกไปอีก แตผูหญิงเขา คอยจะใชกำลังกัน ใชความคิดมากกวา สูกันที่ความคิด พี่หนอย เคาคิดเยอะ เพราะเคาอานหนังสือเยอะ คนควาเยอะ มีความออน โยนกวาผูชายอยางเราเยอะ” อิสรา บอก จินตนาเคยบอกวา เธอรักการอานหนังสือมาแตไหนแตไร โดย เฉพาะเรื่องของสถานการณบานเมือง บทความวิเคราะหเรื่องตางๆ ที่ เกิดขึ้นในสังคม ตองใหไดผานตาทุกวัน “สิ่งนี้เปนเหมือนอาหารบำรุงสมองใหเรา การไมอาน ทำใหเราไมรู เมื่อไมรูแลวไปออกรบ ก็เหมือนไปมือเปลา ปราศจากอาวุธ ไมมีวันชนะ ใคร พี่จึงตองอานหนังสือพิมพทุกวัน ฟงขาวทุกวัน ไมเคยดูละครน้ำเนา เลย แตพอจะรูบาง เพราะลูกเลาใหฟงบาง ฟงเพื่อนบานคุยกันบาง”


248

คำถามตบทายกับ จินตนา แกวขาว เธอเปนนักสิ่งแวดลอม หรือเปลา เธอตอบทันที ไมมีอิดเอื้อน “มันอายถาจะบอกวาใช แตที่เราปฏิบัติปกติ อยูในชีวิตประจำวัน นั้น มั่นใจวา ไมทำใหสิ่งแวดลอมเดือดรอนแน พี่ไมใชถุงผาตามที่เขา รณรงคลดโลกรอน เพราะกระเปาใบเกามันก็ยังใชไดอยู บางทีเรามี ความจำเปนที่ตองกินขาวกลองที่ตองใชโฟม เราก็ทำบาง แตกินแลวไม เคยทิ้งเรี่ยราด ครอบครัวเราไมมีใครดูทีวีพร่ำเพรื่อ เรื่องโลกรอน น้ำแข็ง ขั้วโลกละลายนั้น ชาวบานที่บานกรูดพูดกันมาตั้งแตป 2544 เรากลัว กันมากเรื่องความรอนจากโรงไฟฟาที่จะไปทำลายชั้นบรรยากาศโลก ตอนนั้นเรายังโดนวาเลย วาเอาสีขางเขาถู แตถาจะใหตอบจริงๆ พี่ก็ ไมใชนักสิ่งแวดลอมหรือนักอนุรักษอะไรหรอก เปนแคชาวบานคนหนึ่ง ที่รักบานตัวเองเทานั้น” กลับมาจากจากบานกรูด บานจินตนา จากวันนั้นไดไมนาน ก็มีขาว วาบานเธอถูกมือ(ไม)ดี มายิงปนขูหนาบานอีก เปนครั้งที่เทาไร นับครั้ง ไมถวนสำหรับสถานการณแบบนี้ สถานการณที่ลูกผูหญิงคนหนึ่งตองเผชิญ ในยามที่ไดทำหนาที่คน ดูแลบาน ปกปองสิ่งแวดลอมและทรัพยากรในพื้นที่ เพื่อใหเธอและ เพื่อนบานไดกิน ไดใชไปนานๆ นานเทาที่หญิงที่เปนชาวบานธรรมดาๆ อยางเธอมีเรี่ยวแรง จะทัดทานมันได

ขาวคำนั้น ถูกตักคาอยูในชอนมาแลวไมต่ำกวา 20 นาที ขณะที่คน อื่นๆ ที่คดขาวใสจานมานั่งกินพรอมกับเธอ พรองไปเกือบหมดจานแลว สาวนอยหนาตาจิ้มลิ้ม ที่ทำงานกับเธอ แอบกระซิบเราวา ตุม-ศรี สุภางค ไมไดกินขาวมาตั้งแตเชาแลว ครั้นพอมีโอกาสจะไดกิน ใครตอ ใครก็เขามาพูดคุยดวยตลอดเวลา ตักขาวมาตั้งนานแลวก็ไมไดกินสักที


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

249

แตเทาที่นั่งดู เธอก็ ไมไดเปนเดือดเปนรอน กับความหิวสักเทาใดนัก และดูเหมือนวา วิญญาณ อดีตนักประชาสัมพันธ องค ก ร ยั ง ไม ย อมออก จากรางงายๆ ทุกคำถาม ทีถ่ ามเขามา จะไดรบั คำ อธิ บ ายจากเธออย า ง ถี่ถวนครบครัน ยางเขาปที่ 24 แลว สำหรับการทำงานในองคกรใหญระดับประเทศ อยางบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) และแมองคกรตนสังกัดจะผานรอน ผานหนาว ผานการตำหนิ นินทา วากลาว คอนแคะ กระแหนะกระแหน แตนับแตวันแรกจนถึงวันนี้ ศรีสุรางค มาศศิริกุล - ตุม ยังเปนหนึ่งใน หญิงสาวไมกี่คนขององคกรนี้ ที่มุงมั่นทำงานสิ่งแวดลอมอันเปนสวน หนึ่งของกิจกรรมในหนวยงานอยางจริงจัง “ทำงานแบบนี้นาจะเปนเอ็นจีโอนะ ไมนาอยู ปตท.เลยเสีย ของ เสียคนเปลาๆ” เพื่อนๆ ในแวดวงเอ็นจีโอมักจะกระเซาเธอเสมอ “ยังไงก็ยืนยันวานับแตทำงานมา ตนสังกัดเราไมเคยขัด และไมเคย สักครั้งที่จะตำหนิ ติติงเมื่อเราทำงานกับชาวบาน แมการเสนอโครงการ อะไรที่ เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งสิ่ ง แวดล อ มที่ ปตท.จะต อ งทำ ทุ ก งานจะได ท ำ ทั้งหมด ไมอยางนั้นพี่คงอยูไมไดหรอก” เธอยืนยันอยางสบายอารมณ ป 2528 หลั ง จากรั บ ปริ ญ ญาศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต คณะ มนุษยศาสตร สาขาสื่อสารมวลชน จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม สาวมั่น จากจังหวัดชลบุรี ก็เริ่มงานที่บริษัทแยกกาซ บทบาทแรกที่เริ่มทำงานกับ ชาวบานเริ่มขึ้นอยางจริงจังที่นี่ ศรีสุภางค เลาวา พอไดบรรจุ ผูจัดการโทรมาบอกวา ที่ จ.ระยอง


250

และจันทบุรี ฝนแลงหนัก ตองการใหเธอไปเก็บขอมูลวา สามารถชวย อะไรชาวบานไดบาง “ตอนนั้นยังไมมีรถขับ เงินก็ไมคอยจะมี ไมได เตรียมตัวใดๆ ทั้งสิ้น เพื่อนๆ ที่ทำงานก็เรี่ยไรเงินมาให ไดคารถไปถึง จันทบุรี ตราด นั่งรถเมลไปเองเลยนะ ไปหาเกษตรจังหวัด ไปคุยกับ ชาวบาน ชาวสวน วาในภาวะฝนแลง เขาอยากใหชวยอะไร ไดขอมูล แลวก็กลับมาที่สำนักงาน ทาง ปตท.ก็สงรถน้ำไปชวย สามารถคลี่คลาย ปญหาไดระดับหนึ่ง” เจาตัวบอกภูมิใจ และรูสึกวา การไดทำงานลงพื้นที่ ใกลชิดกับชาวบานนั้นเปนสิ่งที่มีคุณคา แต ท ำอยู ไ ด ไ ม น านก็ ถู ก ย า ยเข า กรุ ง เทพฯ ปฏิ บั ติ ง านด า นการ ประชาสัมพันธ ยายไดไมนาน ปตท.มีโครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ 1 ลานไร ดวยความชอบเปนทุนเดิมอยูแลว จึงตัดสินใจขอยายจากฝาย ประชาสัมพันธ มาอยูกับโครงการนี้ “ทุมเทกับงานสุดชีวิต เพราะเราเปนรุนแรกๆ ที่เขามาทำงาน คนยัง มีนอย ตองทำงานกับมวลชน คุยกับชาวบานมากขึ้น ออกตางจังหวัด เปนวาเลน เพราะงานของเราอยูตางจังหวัด” กอนหนานี้ การปลูกปาจะตองวาจางชาวบานใหปลูก แตยุคที่ศรี สุรางค เขาไปรับผิดชอบโครงการปลูกปากับหนวยงานตนสังกัดนั้น เปน ยุคแรกๆ ของการใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการปลูกปา และชวย กันดูแลตนไมในปาที่ตัวเองปลูกเอาไว การเขาไปคุยกับชาวบานในพื้นที่ หางไกลใหเขาใจถึงหลักการขององคกร แนนอนวา การเดินเขาไปดุยๆ ในหมูบาน ที่สำรวจแลววามีพื้นที่ปา เสื่อมโทรม แลวบอกชาวบานวา ฉันจะมาปลูกปาในบานเธอ โปรดให ความรวมมือดวย งานคงไปไมถึงไหน และยากที่จะไดรับความรวมมือ การเขาไปคลุกคลี สรางความเชื่อมั่น และความไววางใจ จึงเปน ความจำเปนอยางยิ่ง “แรกๆ หลายพื้นที่ก็งง วาเราไปทำอะไร มีเบื้องหนาเบื้องหลังอะไร หรือเปลา ก็ตองใชเวลา ตองคอยๆ อธิบาย และทำใหพวกเขาเห็น วาเรา เขาไปเพื่อตองการฟนฟูพื้นที่ปาเสื่อมโทรม ใหเปนปาสมบูรณ เพื่อถวาย


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

251

แดในหลวงจริงๆ เราทำกิจกรรมกับชาวบานหลายอยาง จัดอบรมความรู การดูแลปา ปองกันไฟปา จัดคายเยาวชนรักษปา ทำจนชาวบานวางใจ เขามารวมมือทำงานกับเราดวยใจจริงๆ” ทีมงานโครงการปลูกปา 1 ลานไร ของ ปตท.ที่นำทีมโดยศรีสุรางค ลงพื้นที่แบบถึงลูกถึงคนในทุกที กินอยูกับชาวบานไดระหวางการทำงาน ก็ทำ อยูบานชาวบานไมได ก็อาศัยนอนที่ศาลาวัดเอา ไดซึมซับรับรู ความยากลำบากของชาวบานในพื้นที่ ที่ทรัพยากรเสื่อมโทรมไดอยางดี ระหวางที่โครงการปลูกปาดำเนินไปนั้น นายพละ สุขเวท อดีตผู วาการ ปตท.สมัยนั้น เดินจากหองทำงานมาบอกกับเธอวา คนขางนอก รูจักปามาเยอะแลว นาจะทำใหคนใน ปตท.รูบาง เขาทางศรีสุรางคทันที เธอจัดการจัดคายสำหรับคน ปตท.ทันที โดย มีเงื่อนไขวา คนที่มาเขาคายจะตองนำคนในครอบครัวมาดวย ใหทุกคน มาอยูรวมกัน เรียนรูวิถีธรรมชาติ นอนกลางดินกินกลางทรายรวมกัน แนนอนวา ครั้งแรกของการจัดคายนั้น เธอสามารถทำใหผูวาการ ปตท.และครอบครัวไปกางเต็นทนอนกลางปา ใชหองน้ำรวม รวมกับ พนักงานคนอื่นๆ ไดดวย และทุกคนก็พกพาความประทับใจในการอยู ค า ย และเข า ใจความสำคั ญ ในความจำเป น ที่ จ ะต อ งร ว มกั น ดู แ ลสิ่ ง แวดลอมมากขึ้น ความพยายามที่จะถายทอดความรูสึกรวมในการชวยกันดูแลปา ทรัพยากรหลักในธรรมชาติ ซึ่งรอยหรอเต็มทีแลวนั้น มีอยูตลอดเวลา ไม ปลอยใหโอกาสนั้นผานไป แมอุปสรรคจะหนักอึ้งเพียงใด บรรดาเพื่อนรวมงานตางจดจำและโจษขานในความพยายามดัง กลาวของเธอดี ครั้งหนึ่ง เธอทองแก ยางเขาเดือนที่ 7 แตตอนนั้นมีงานนำชาว กรุงเทพฯ กลุมหนึ่งไปเดินปา ดูนก และศึกษาธรรมชาติ ที่อุทยานแหง ชาติ ปางสีดา จ.ปราจีนบุรี ดวยความไมอยากจะเสียโอกาสในการรวม ถายทอดความรู และความรูสึกรวมในการดูแลปาศึกษาธรรมชาติ ครั้ง นั้นศรีสุรางคในชุดคลุมทองทะมัดทะแมง เดินนำหนาอธิบายปรากฏ


252

การณตางๆ ของปาใหชาวกรุงเทพฯ กลุมนั้นฟงอยางคลองแคลว ไม ก ลั ว เหรอ ท อ งโย ข นาดนั้ น ไปเดิ น ป า แล ว สามี ไ ม ห า ม หวงบางหรือ “ไมกลัวหรอก เพราะแข็งแรง และเราก็ระวังตัวอยูแลว ที่สำคัญ ตอนนั้นสามีก็ไปดวย ดูแลเราอยูหางๆ ดีอีกตางหาก เพราะอยูในปา อากาศดี เขาปาแลวก็สดชื่น” จริงอยางที่เธอบอก เพราะถึงวันนี้ ลูกสาว คือ เด็กหญิงเฟย มี สุขภาพจิตดี มีโอกาสเมื่อไรมักจะตามคุณแมเขาปาทุกครั้งไป เมื่อไหรที่ ตองประชุม พบปะกลุม แมตุมก็จะฝากเด็กหญิงตัวนอยใหวิ่งเลนอยูกับ พี่ๆ ในหมูบานนั่นแหละ วันนี้เด็กหญิงเฟย อายุ 10 ขวบแลว แมวาแมตุมจะไมคอยอยูติด บาน ใน 1 เดือน อาจจะอยูบานไดแค 10 วัน ที่เหลือตองลงพื้นที่ ไป สำรวจหมูบานนั้นหมูบานนี้ เพราะเมื่อโครงการปลูกปา 1 ลานไรสิ้นสุด ลง ยังมีโครงการ “รางวัลลูกโลกสีเขียว” ซึ่งเปนโครงการที่ ปตท.จัดใหมี ขึ้น เพื่อใหรางวัลแกพื้นที่ที่รักษาปาไดดี และศรีสุภางคและเด็กหญิงเฟย ตองทำหนาที่เปนเลขานุการคณะทำงานลูกโลกสีเขียวนี้ ตองคอยสรรหา คัดเลือก กลั่นกรอง พื้นที่ที่ชาวบานทำงานกับปาไดเขาตาคณะกรรมการ เดินทางไปที่นั่นที่นี่ตลอดเวลา ซึ่งเด็กหญิงเฟยก็เขาใจดี วาเปนงานที่แม รัก และเปนงานที่มีประโยชน “ตัวเองมีลูก 3 คน 2 คนโตแลวเปนผูชาย เขาก็เขาใจวาเราทำอะไร อยู แมไมไดเจอกันทุกวันเหมือนครอบครัวอื่น แตเราก็สนิทกัน คุยกัน ตลอดเวลา ลูกชาย 2 คน เปนวัยรุน ใชชีวิตตามปกติของวัยรุนทั่วไป มี ทะเลาะกับเพื่อนฝูงบาง ตีกันบาง แตทุกเรื่องเขาจะบอกใหเรารูหมด เคย ถามเขาเหมือนกันวา เสียใจไหมที่ไมคอยไดดูแลเขามากเหมือนแมคน อื่น เขาบอกวาเขาเขาใจดี และถึงแมวาเราจะดูแลเขามากอยางไรเขาก็ ไมดี หรือรายไปกวานี้อีกแลว” ตอบแลวก็หัวเราะ พอกับ แดง - ชัยพร มาศศิริกุล ผูเปนสามี บอกวา เคยชินและ เขาใจกับการทำงานของภรรยาอยางดี เขาใจวาเปนงานที่เธอชอบ ไม


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

253

เคยหามปรามใดๆ ทั้งสิ้น แตกลับภูมิใจในสิ่งที่ภรรยาทำ ลูกๆ ทุกคนก็ เขาใจ และหากมีโอกาสก็จะไปรวมงานพรอมกันทั้งครอบครัวเสมอ “พื้นที่ไหนไมลำบากเกินไป และเราวางกันก็จะไปดวยกันเสมอ พอ แมลูก ไปเรียนรูวิถีชุมชน เราเห็นวาเขาเหนื่อย ลูกๆ ก็เห็นวาแมเหนื่อย และอึด เขาก็จะเปนตัวอยางใหลูกไดเห็นทั้งเรื่องการทำงาน การวางตัว พื้นที่ไหนที่เราไดไปดวยกัน ชาวบานรักเขา และพลอยรักพวกเราไปดวย เวลา 10 กวาวัน ที่เขาอยูบาน ใน 1 เดือน นั้นเราก็จะคุยกันใหกำลังใจ กัน บางทีเห็นวาเขาเหนื่อยมาก ก็บอกใหเขาพักผอน แตไมเคยบอกวา ใหหยุด เพราะรูวา เขาคงไมหยุดแนตอนนี้” เขาใชงานภรรยาพี่หนักเกินไปไหม ชัยพร ตอบวา ตราบใดที่ยังพอมีแรงทำงานไหว ภรรยาไมเคยคิด เลยวางานหนัก เพราะการทำงานอยางมีความสุข มันคือการพักผอน อยางหนึ่ง มีเหนื่อยบางเปนเรื่องปกติ เพราะเริ่มแกแลว (หัวเราะชอบใจ) แตนอนพักผอนเดี๋ยวเดียวก็หาย ทำงานตอไดอีก แดดรม ลมตก ชวนใหหลายคนตาปรือ เพราะบรรยากาศอันนา นอนกลางวัน กลางสวนปาแหงหนึ่ง ใน อ.หลังสวน จ.ชุมพร อีกสถานที่ หนึ่งที่ ศรีสุรางค และทีมงาน “รักษปาสรางคน 84 ตำบล วิถีพอเพียง” กำลั ง ดำเนิ น การอยู อ ย า งตั้ ง อกตั้ ง ใจ งานนี้ เ ป น อี ก โครงการด า นสิ่ ง แวดลอมที่ตองทำงานกับชุมชนทั่วประเทศ กาแฟสดรสเขม ชวยใหคนทำงานอยางเธอตาสวางไดดีในยามนี้ และทำใหบทสนทนายามบายวันนั้นไดรสชาติขึ้น ถาม ปตท.สร า งภาพหรื อ เปล า ว า รั ก ษ ป า รั ก สิ่ ง แวดล อ ม ใจถาม แตเธอกลับยิ้มแฉงแลวตอบวา “ถาเปนแบบนั้นจริงๆ เราคงอยูไมไดหรอก คงไมสามารถทำงาน รวมกับคนสรางภาพได หลายครั้งที่เรานอยใจกับคำคอนแคะที่ถูกสังคม มองแบบนั้น แตก็ไมเคยตอบโต ไมเคยแกขาว หากใครมาถามก็จะ อธิบายใหเขาเขาใจได งานที่เราทำอยูจะเปนตัวตอบคำถามกับสังคมได เองวาเราเปนอยางไร ทุกวันนี้ โครงการปลูกปา 1 ลานไรสำเร็จเรียบรอย


254

ตามเปาหมายไปแลว สงมอบใหหนวยงานของรัฐที่ดูแลรับผิดชอบไป เรียบรอยแลว ชุมชนที่เราไปทำงานดวย ทุกวันนี้กลายเปนเครือขาย ชุมชนรักษปาของเรา และเรามีโครงการตอเนื่องหลังจากโครงการปลูก ปาสิ้นสุดแลวเรื่อยๆ” ชวงที่ ปตท.มีปญหากับสังคมคอนขางแรง กรณีสรางทอกาซ ไทย-พมา ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ลำบากใจไหม เธอยืนยันหนักแนนวา ไมลำบากใจเลย เพราะเชื่อวาองคกรของเธอ ไมเคยเอาเปรียบใคร ไมเชื่อวา ปตท.จะตั้งใจทำลายปา เพราะจากการ ทำงานกับคนในพื้นที่แลวนอยคนที่คิดและทำแบบนั้น เพราะฉะนั้นทุก เรื่องสามารถชี้แจงไดหมด ชวงเวลานั้น หลายฝายตั้งคำถามอยางรุกหนักกับ ปตท.เรื่อง การตัดไมสรางแนวสงกาซ โดยเฉพาะสื่อสิ่งพิมพบางฉบับ ที่เดิน หนาทำขาวขุดคุยเรื่องนี้อยางหนัก จนกระทั่ง ปตท.ถึงกับถอด โฆษณาออกจากหนาหนังสือพิมพเลยทีเดียว หญิ ง สาวคงมี ค ำถามและคำตอบอยู ใ นใจเช น เดี ย วกั น เกี่ ย วกั บ เรื่องนี้ “อาจมีบางประโยคที่ผูบริหารของเราพูดหลุดออกไปและไม เหมาะสมบาง แตเปนเพราะความเครียดในชวงเวลานั้น แตโดย สำนึกแลว ใหความสำคัญกับปาเสมอ อยางเมื่อกอนนี้ แผนกชาง พวกวิศวกร และฝายบัญชี อาจจะไมคอยเขาใจวาเราทำอะไร แต บริหารวางนโยบายหลักเอาไวกับเราวา จะทำอะไรใหคำนึงถึง สิ่งแวดลอมเสมอ” เลายอนหลังเกี่ยวกับองคกรไปเมื่อป 2528 คราวนั้นบานพักของ พนักงานในพื้นที่หนึ่งเปนสวนปา เจาหนาที่คิดอยากจะแปลงสวนปานั้น เปนสวนสมุนไพร ก็เลยตัดไมใหญทงิ้ หมด แลวปลูกสมุนไพรแทน ผูว า การ สมัยนั้น คือ ทานพละ สุขเวท โกรธมาก สั่งตัดเงินเดือนทุกคนที่เกี่ยวของ กับเรื่องนี้ทันที แลวบอกวา ถาคนขางในไมดูแลปาที่ดูแลอยูเอง แลวจะ ไปบอกคนอื่นวาเราจะรักษาปาไดอยางไร


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

255

ถาไมมีคนสนับสนุนเปนยักษใหญอยาง ปตท.คิดวาจะทำงาน แบบที่อยูไดไหม เธอยอมรับวา ที่ทำงานไดอยางทุกวันนี้ ก็เพราะ ปตท.สนับสนุนเต็ม ที่ แตแมวาไมไดทำงานกับองคกรนี้ จะประกอบอาชีพอะไรก็ตาม ความ เปนตัวเองที่ถูกสั่งสมจากประสบการณและการเลี้ยงดูตั้งแตเด็ก เธอก็จะ ยังคงเปนแบบนี้ “ทำโครงการใหญระดับประเทศไมได เราก็ทำตามกำลังที่มีอยู และ อยูที่ไหนเราก็ทำงานสิ่งแวดลอมได” ตอบพรอมกับจิบเอสเพรสโซ ขมป ในแกวใบเขื่องอึกใหญ ครั้งหนึ่งผูเขียนเคยไปนั่งคุยกับ ชฏินลดา เวชกุล - ตั๊ก เจาหนาที่ โครงการลูกโลกสีเขียว รุนนองคนสนิทของศรีสุรางค เธอแอบเมาธกึ่ง ปรับทุกขใหเราฟงวา ศรีสุภางคเปนคนที่มองโลกในแงดีสุดๆ เพราะ ความจริ ง แล ว งานที่ ก ำลั ง ทำอยู นี้ เ ต็ ม ไปด ว ยวิ ก ฤติ แ ละขวากหนาม สารพัด แตดวยความที่มองโลกในแงดี ประกอบกับประสบการณเรื่อง การจัดการเรื่องตางๆ นานา งานที่ทำจึงผานไปไดดวยดีเสมอมา “ความจริงแลว ที่พี่เขาบอกวา งานเขาสบายทุกอยางโอเคนั้น ไมใช เลย เราทำงานกับเขารูดีวา งานแบบนี้มีสารพัดขวากหนาม แตดวย ความที่เขามองโลกในแงดี คิดวาอุปสรรคมันคือความสนุกสนานที่ตอง ผานใหได เขาเลยไมคอยจะมีความทุกขกับการทำงานสักเทาไร” ชฏินลดา บอกวา ไมคิดวาบางเรื่องจะผานไปได แตมันก็ผาน ยิ่งการสรางความเขาใจกับคนในองคกรยิ่งแลวใหญ หลายเรื่อง แมวาเจานายใหญของเราจะใหความเห็นชอบ แตเราก็ตองมานั่ง อธิบายสวนอื่นๆ อยางฝายบัญชี ที่ปกติเขาก็จะชางซักโนน ซักนี่ ทำไมตองทำอยางนั้นอยางนี้ มีขอแมมากมายกวาจะอนุมัติ เราซึ่ง เปนเด็กก็จะไมคอยอดทน วามันจะอะไรนักหนา แตศรีสุภางค จะชี้แจงอยางอดทน และสวยงาม เปนการสอนเราไปในตัววาทำ อะไรใหสำเร็จมันไมใชเรื่องงายๆ มันตองมีอุปสรรคเสมอ ขึ้นอยู กั บ มุ ม มองและความพยายาม เรานั บ ถื อ เขามากในเรื่ อ งการ


256

กอนหนานี้ หลายครั้งที่คนใน ปตท.ตั้งคำถามวา งานสิ่งแวดลอมที่ ทำอยูทำไมไมบอกใหสังคมรูบาง ปลอยใหเขา (สังคม) ดาอยูไดฝาย เดียววาทำลายปา ขายน้ำมันแพง ขณะที่งานลูกโลกสีเขียว เรื่องปลูกปา หรื อ การเข า ไปทำงานมวลชนกั บ ชาวบ า นทั่ ว ประเทศ ทำไมไม โ หม ประชาสั ม พั น ธ อ ย า งที่ ห น ว ยงานอื่ น เขาทำกั น แต ศ รี สุ ภ างค ก็ ไ ม เ คย โตตอบอะไร บอกกับรุนนองคำเดียววา เวลาและตัวงานจะเปนตัวบอก ใหสังคมรูเอง โครงการลูกโลกสีเขียว ผานไปแลว 10 ป ปละ 1 ครั้ง ภายใตความ รวมมือของผูทรงคุณวุฒิจากทุกหนวยงาน ทั้งภาครัฐ เอกชน เอ็นจีโอ รวมทั้งสื่อมวลชน เครือขายชุมชนที่ดูแลปาและงานดานสิ่งแวดลอม ใน นามลูกโลกสีเขียวเพิ่มมากขึ้นทุกป ผลงานเปนเครื่องการันตีอยางดีวางานที่ผูหญิงคนนี้ทำอะไรบาง ตลอดชีวิตที่ผานมา ................................ ถ า เปรี ย บกั บ ทางเดิ น ผู ห ญิ ง ทั้ ง สองคนอาจจะเดิ น ขึ้ น เขา คนละดาน แตจดุ หมายคือ การขึ้นไปชมความสวยงาม สดใสของ ดอกไมบนยอดเขาเหมือนกัน ยอดเขาที่มีลมเย็นๆ พัดผาน มีดอกไมสงกลิ่นหอมปลิวมา สายลม ไดสูดดมใหชื่นใจเต็มปอดรออยู...


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

257

บรรณานุกรม หนังสือพิมพมติชน หนา 15 ฉบับวันที่ 13 กรกฎาคม 2551 หัวขอขาว “บางสะพาน ยังระอุไมสมานฉันท” หนังสือพิมพมติชน หนา 11 ฉบับวันที่ 17 กรกฎาคม 2551 “ส.ว.แนะ ฟองศาล ระงับโรงถลุงเหล็ก” เครือขายความรู CSR สำนักเลขานุการคณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อ สิ่งแวดลอมไทย สถาบันสิ่งแวดลอมไทย, ป 2551 รวมผลงานผูไดรับรางวัลความเรียงเยาวชน รางวัลลูกโลกสีเขียว : ครั้งที่ 7 ประจำป 2548 / บรรณาธิการ, ศรีสุรางค มาศศิริกุล www.thaingo.org/man_ngo www.nhrc.or.th/news.php?news_id=1934 www.midnightuniv.org/midfirst2001/newpage8.html



¿“§ºπ«° ++++++++++


260

§«“¡‡ªìπ¡“¢Õß™¡√¡π—°¢à“« ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ ++++++++++++++++++++++++

ในชวงป 2536 เปนตนมา สื่อตางๆ ใหความสนใจในขาวสิ่งแวดลอม มากขึ้น โดยสื่อแตละแหงมีทีมขาวสิ่งแวดลอมขึ้นมาเฉพาะ และมีพื้นที่ คอนขางแนนอน และขาวสิ่งแวดลอมมีบทบาทคอนขางมากในยุคนั้น จึงเกิดแนวคิดวา การทำขาวสิ่งแวดลอมควรมีการรวมมือกันระหวาง สื่อมวลชนดวยกันเอง เพื่อใหขาวไดรับการนำเสนออยางหลากหลาย และสามารถผลักดันใหเกิดผลกระทบตอสังคมจริง เพื่อใหเกิดความ ตระหนักและการปองกันแกไขปญหาสิ่งแวดลอม รวมทั้งยังเปนการ ศักยภาพของนักขาวสิ่งแวดลอมใหสามารถทำขาวสิ่งแวดลอมไดลึกซึ้ง และรอบดานมากขึ้น ป 2537 สมาคมนักขาวแหงประเทศไทย (ปจจุบันเปน สมาคมนัก ขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย) จึงไดเปนตัวกลางประสานงานกับ ผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอมในสื่อตางๆ เพื่อหาแนวทางจัดตั้งเครือขายผูสื่อ ข า วสายสิ่ ง แวดล อ ม โดยมี อ งค ก ร PACT [PRIVATE AGENCY COLLABORATION IN THAILAND] จากตางประเทศสนับสนุนงบ ประมาณ วันที่ 4 – 6 พฤศจิกายน 2537 สมาคมนักขาวแหงประเทศไทย จั ด การสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารสำหรั บ นั ก ข า วสิ่ ง แวดล อ ม ที่ จั ง หวั ด กาญจนบุรี โดยมีวัตถุประสงคหลักสองประการ คือ เพื่อเพิ่มพูนทักษะ การทำขาวสิ่งแวดลอมแกผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอมและผูสื่อขาวสาย อื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในการมีเครือขายนักขาว สายสิ่งแวดลอม การประชุมระดมความคิดเห็นในเรื่องการกอตั้งองคกรของนักขาว สิ่งแวดลอมในครั้งนั้น สามารถสรุปถึงความจำเปนในการรวมตัวเปน เครือขายนักขาวสิ่งแวดลอมวาจะมีประโยชนดังตอไปนี้ 1. เพื่ อ ช ว ยเหลื อ แลกเปลี่ ย นข อ มู ล ข า วสารซึ่ ง กั น และกั น เนื่องจากทุกคนยอมรับวาการทำขาวสิ่งแวดลอม มีความซับซอนกวา


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

261

ขาวประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะการมีขอมูลทางวิชาการเขามาเกี่ยวของ และความรูความเขาใจในขาวสายอื่นๆ โดยเฉาะการเมืองและเศรษฐกิจ เขามาเกี่ยวของ 2. เพื่ อ ให ข า วสิ่ ง แวดล อ มได รั บ ความสนใจจากบรรณาธิ ก ารผู ตัดสินใจเลือกขาวมากขึ้น ทั้งนี้เพราะหากชวยกันเสนอขาวที่เกี่ยวกับ ปญหาสิ่งแวดลอมมากๆ ในสื่อที่หลากหลาย ขาวสิ่งแวดลอมจะไดรับ ความสนใจมากขึ้น 3. การรวมตัวกันเปนกลุมนาจะทำใหเพิ่มศักยภาพในการเขาถึง ขอมูลและแหลงขาวไดดีขึ้น 4. เพื่อเปนเวทีกลางใหผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอม ไดมาแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในประเด็นปญหาทางสิ่งแวดลอมมากขึ้น ซึ่งอาจจะนำไปสู การคิดประเด็นขาวใหมๆ 5. เพื่อใหเปนเวทีกลางในการติดตอกับแหลงขาว โดยเฉพาะใน ดานการใหขอมูลความรู เพื่อเสริมความเขาใจในขาวที่กำลังอยูในความ สนใจ หลังจากนั้น จึงเริ่มมีกิจกรรมตางๆ ทั้งการประชุม เสวนา สัมมนา โดยมีแกนนำจัดตั้งชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมเปนผูดำเนินการ เชน จัด เสวนาเรื่องนโยบายสิ่งแวดลอมในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 8 การอภิปรายเกี่ยวกับโครงการแกงเสือเตน วันที่ 8 มีนาคม 2538 ไดมีการประชุมประเมินผลการทำงานของ ชมรม ในรอบหนึ่งป รวมทั้งกำหนดทิศทางในการดำเนินกิจกรรมในปตอ ไป ที่ประชุมตกลงตั้งคณะกรรมการประสานงานกิจกรรมชั่วคราว ทำ หนาที่กำหนดแผนการดำเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ เพื่อนำเสนอ ตอที่ประชุมใหญของสมาชิกชมรม ตอมาคณะกรรมการประสานงานกิจกรรมชั่วคราว จัดการประชุม ใหญสัมมนาการประจำปของชมรม เมื่อวันที่ 27- 29 เมษายน 2539 ณ อุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ ในลักษณะ ประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อทบทวนการดำเนินงานที่


262

ผานมาของชมรมและกำหนดเปาหมายการทำงานของชมรมอีกครั้ง การ สัมมนาดังกลาวสรุปไดวา ใหชมรมดำเนินการตอไปตามวัตถุประสงคเดิม และใหมีคณะกรรมการประสานงานของชมรม คณะกรรมการชุดดังกลาวไดจัดกิจกรรมเสวนา เพื่อเปนเวทีใหผูสื่อ ขาวสิ่งแวดลอมไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนกับแหลงขาวหลายครั้งดวยกัน เชน เรื่ององคการคาโลกกับสิ่งแวดลอม เรื่องการสำรวจและผลิตกาซ ธรรมชาติกับผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เรื่องการสงเสริมอุตสาหกรรมกับ ฐานทรัพยากรไทย และการเปดเวทีใหผูแทนพรรคการเมืองมาแถลง นโยบายสิ่งแวดลอมกอนการลงเลือกตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2539 เปนตน อยางไรก็ตาม ในชวงเศรษฐกิจตกต่ำ ขาวสิ่งแวดลอมและนักขาว สิ่ ง แวดล อ มต อ งประสบป ญ หาการลดพื้ น ที่ แ ละต น ทุ น ในการทำข า ว ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมก็ไดรับความกระทบกระเทือนในแงของการเขา มามีสวนรวมของสมาชิก แตก็ยังคงดำเนินงานเรื่อยมา ตอมาในป 2540 ที่ประชุมใหญชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม ไดเชิญ นายวสันต เตชะวงศธรรม บรรณาธิการขาวสิ่งแวดลอมและชุมชนเมือง หนังสือพิมพบางกอกโพสต เปนประธาน และมีกรรมการจากสื่อตางๆ อีก 6 คน มีนักวิชาการและนักขาวอาวุโสในระดับบรรณาธิการเปนที่ ปรึก ษาอีก 6 คน ดำเนิ น กิ จ กรรมของชมรมตามวั ต ถุ ป ระสงค ใ นการ พยามเผยแพร ข อ มู ล ข า วสารสิ่ ง แวดล อ ม เสริ ม ศั ก ยภาพนั ก ข า วสิ่ ง แวดลอม และสรางเครือขายใหกวางขวางมากขึ้น โดยไดรื้อฟนโครงการ จัดทำจุลสารพิราบเขียว ซึ่งเปนจุลสารเผยแพรขาวสารสิ่งแวดลอมขึ้นมา ใหม ใหสามารถตีพิมพไดทุกเดือน และไดเริ่มดำเนินโครงการจัดทำ หนั ง สื อ เมื่ อ ปลาจะกิ น ดาว ซึ่ ง เป น รายงานสถานการณ สิ่ ง แวดล อ ม ประจำป โดยไดรับการสนับสนุนจากกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ตอเนื่องมาทุกป รวมทั้งยังคงดำเนินกิจกรรมเชิงรุกอยางตอเนื่อง คือจัด เวทีสัมมนาเพื่อใหนักขาวสามารถเขาถึงแหลงขาวและขอมูล เมื่อเกิด ปญหาสิ่งแวดลอมสำคัญๆ ขึ้น


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

263

การประชุมใหญสามัญประจำป 2546 ที่อุทยานแหงชาติแมฝาง จ.เชี ย งใหม คณะกรรมการได เ ชิ ญ นายวั น ชั ย ตั น ติ วิ ท ยาพิ ทั ก ษ บรรณาธิการบริหารหนังสือสารคดี ขึ้นเปนประธานแทนนายวสันต เตชะ วงศธรรมที่หมดวาระลง พรอมเลือกคณะกรรมการและที่ปรึกษาชุดใหม โดยเน น นโยบายที่ ก ารเสริ ม ศั ก ยภาพนั ก ข า วสิ่ ง แวดล อ มให ส ามารถ รายงานขาวเชิงสืบสวนไดมากขึ้น และเนนการสรางเครือขายนักขาวให ขยายวงกวางขึ้นไปยังนักขาวในภูมิภาคและนิสิตนักศึกษาในสายสื่อสาร มวลชน ปจจุบันชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมมีคณะกรรมการบริหารทั้งหมด 11 ทาน และมีคณะกรรมการที่ปรึกษาที่ปรึกษา 8 ทาน โดยจะมีการจัด ประชุมคณะกรรมการบริหารชมรมเดือนละครั้งเพื่อใหการดำเนินงาน ของชมรมฯเปนไปตามจุดมุงหมายที่ตั้งไว


264

™¡√¡π—°¢à“« ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ ¡“§¡π—°¢à“«π—°Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå·Ààߪ√–‡∑»‰∑¬ Thai Society of Environmental Journalists, Thai Journalists Association 538 / 1 ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 0-2243-8739 โทรสาร 0-2668-7740 E-mail : thaisej@yahoo.com

§≥–°√√¡°“√∫√‘À“√ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

นายวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ นิตยสารสารคดี ประธาน นางสาวจิตติมา บานสราง สถานีโทรทัศนทวี ไี ทย รองประธาน นายเอมพงศ บุญญานุพงศ นสพ.ขาวสด เลขานุการ นางสาวจันทรจิรา พงษราย นสพ.กรุงเทพธุรกิจ เหรัญญิก นางสาวกุลธิดา สามะพุทธิ นสพ.บางกอกโพสต กรรมการ นางสาวชุติมา นุนมัน นสพ.มติชน กรรมการ นางสาวสุพัตรา ศรีปจฉิม สถาบันสิ่งแวดลอมไทย กรรมการ นางสาวอัญชลี คงกรุต นสพ.บางกอกโพสต กรรมการ นางสาวบุษกร อังคณิต สถานีโทรทัศนทีวีไทย กรรมการ นายปยะ วงศไพศาล นสพ.กาวหนา จ.ราชบุรี กรรมการ นายปองพล สารสมัคร นสพ.เดอะเนชั่น กรรมการ


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

265

§≥–°√√¡°“√∑’˪√÷°…“ 1. ผศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. นายรุจน โกมลบุตร คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 3. นายวสันต เตชะวงศธรรม สนพ.ทางชางเผือก 4. นายกิตติ สิงหาปด สถานีโทรทัศนไทยทีวีสี ชอง 3 อ.ส.ม.ท. 5. นายภัทระ คำพิทักษ นสพ.โพสตทูเดย 6. นายชวรงค ลิมปปทมปาณี นสพ.ไทยรัฐ 7. นสพ.รัฐพันธ พัฒนรังสรรค คณะสัตวแพทย มหาวิทยาลัยมหิดล 8. นายบรรยงค สุวรรณผอง อิคอนนิวส

ºŸâª√– “πß“π นางสาวกชกร จูจันทร


266

√“¬π“¡ºŸâ‡™’ˬ«™“≠∑’Ë√à«¡«‘®“√≥å·≈–‡ πÕ·π– +++++++++++++++++++++++++++

ชื่อเรื่อง

วิเคราะหผลกระทบสุขภาพและสังคม (HIA - SIA) รากที่ตองลงใหลึก ไปใหไกลกวาผลกระทบ สิ่งแวดลอม (EIA) นักเขียน เอมพงศ บุญญานุพงศ หนังสือพิมพขาวสด นักวิชาการ ม.ล.วัลยวิภา บุรุษรัตนพันธุ นักวิจัยสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ชื่อเรื่อง เมืองหลวงเหล็ก : โศกนาฏกรรมทะเลตะวันตก นักเขียน จันทรจิรา พงษราย หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ นักวิชาการ ดร.อาภา หวังเกียรติ หัวหนาสาขาวิชาวิศวกรรม สิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยรังสิต ชื่อเรื่อง

การคาคารบอนไทย บอนไซในกระถางหรือไมผล บนดินดี นักเขียน กมล สุกิน หนังสือพิมพเดอะเนชั่น นักวิชาการ วนันท เพิ่มพิบูลย Climate Action Network

ชื่อเรื่อง 1,345 ลานบาท กับแผนสรางองคความรู “นิวเคลียร” นักเขียน น.รินี เรืองหนู หนังสือพิมพมติชน นักวิชาการ วิฑูรย เพิ่มพงศาเจริญ เลขาธิการมูลนิธิฟนฟูชีวิตและ ธรรมชาติ ชื่อเรื่อง มลพิษรายบนจอแกว... เพาะบมสังคมไทย นักเขียน จิตติมา บานสราง สถานีโทรทัศนไทยพีบีเอส นักวิชาการ นพ.กัมปนาท ตันสิถบุตรกุล จิตแพทยโรงพยาบาลมนารมย


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 8

267

ชื่อเรื่อง เกมลามิรูจบ “สัตวปา” สินคาที่ยังขายดี นักเขียน ชุลีพร บุตรโคตร หนังสือพิมพขาวสด นักวิชาการ ดร.สมโภชน ศรีโกสามาตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ชื่อเรื่อง

“ยูคาลิปตัส” พืชแหงความหวังหรือภัยของ สิ่งแวดลอม นักเขียน บุษกร อังคณิต สถานีโทรทัศนไทยพีบีเอส นักวิชาการ ดร.บุญวงศ ไทยอุตสาห ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ชื่อเรื่อง

ระวังความเสี่ยง อุทยานแหงชาติเขาใหญ ผืนปา มรดกโลก นักเขียน อภิญญา วิภาตะโยธิน หนังสือพิมพบางกอกโพสต นักวิชาการ ดร.ทรงธรรม สุขสวาง ผูอำนวยการสวนศึกษาและวิจัย อุทยานแหงชาติ กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ตามไปดู... “มือปราบมลพิษ” สุจิต เมืองสุข หนังสือพิมพขาวสด ปองพล สารสมัคร หนังสือพิมพเดอะเนชั่น นักวิชาการ สุเมธา วิเชียรเพชร ผูอำนวยการสวนปฏิบัติการฉุกเฉินและ ฟนฟู กรมควบคุมมลพิษ

ชื่อเรื่อง นักเขียน

ชื่อเรื่อง

เสนทางที่แตกตางของ 2 สตรีนักอนุรักษ สูเปาหมาย “โลกที่งดงามบนความยั่งยืน” นักเขียน ชุติมา นุนมัน หนังสือพิมพมติชน นักวิชาการ นพ.บัญชา พงษพาณิชย


268


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.