เมื่อปลาจะกินดาว 10 ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม
‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 10 √“¬ß“π ∂“π°“√≥å ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ 10 ‡√◊ËÕß „π√Õ∫ªï 2553 æ‘¡æå§√—Èß·√° : 惻®‘°“¬π 2553 ISBN : 978-974-496-054-2 ∫√√≥“∏‘°“√∑’˪√÷°…“ «—π™—¬ μ—πμ‘«‘∑¬“æ‘∑—°…å « —πμå ‡μ™–«ß»å∏√√¡ √ÿ®πå ‚°¡≈∫ÿμ√ ™«√ߧå ≈‘¡ªáªí∑¡ª“≥’ ‡Õ¡æß»å ∫ÿ≠≠“πÿæß»å ®‘μμ‘¡“ ∫â“π √â“ß ∫√√≥“∏‘°“√ 摇™…∞å ™Ÿ√—°…å ºŸ‡â ¢’¬π ®—π∑√宑√“ æß…å√“¬ ‡°◊ÈÕ‡¡∏“ ƒ°…åæ√æ‘æ—≤πå π.√‘π’ ‡√◊ÕßÀπŸ Õ—≠™≈’ §ß°√ÿμ ™ÿμ‘¡“ πÿàπ¡—π Õ¿‘≠≠“ «‘¿“μ–‚¬∏‘π ‡°√’¬ß‰°√ ¿Ÿà√–¬â“ ∏‡π»πå πÿàπ¡—π «—π‡ “√å · ß¡≥’ Õ¿‘«—® ÿª√’™“«ÿ≤‘æß»å ®—¥∑”‚¥¬ ™¡√¡π—°¢à“« ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ ¡“§¡π—°¢à“«π—°Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå·Ààߪ√–‡∑»‰∑¬ 538/1 ∂ππ “¡‡ π ‡¢μ¥ÿ ‘μ °√ÿ߇∑æœ 10300 ‚∑√»—æ∑å 0-2243-8739 ‚∑√ “√ 0-2668-7740 Õ’‡¡≈å Thaisej@yahoo.com æ‘¡æå∑’Ë ‚√ßæ‘¡æå¡μ‘™πª“°‡°√Á¥ 27/1 À¡Ÿà 5 ∂ππ ÿ¢“ª√–™“ √√§å 2 μ”∫≈∫“ß查 Õ”‡¿Õª“°‡°√Á¥ ππ∑∫ÿ√’ 11120 ‚∑√»—æ∑å 0-2584-2133, 0-2582-0596 ‚∑√ “√ 0-2582-0597
คณะดําเนินงานการจัดทําหนังสือ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ปรึกษา อรพินท วงศชุมพิศ รัชนี เอมะรุจิ สากล ฐินะกุล
อธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รองอธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ผูอํานวยการกองสงเสริมและเผยแพร
อํานวยการ สาวิตรี ศรีสุข บรรพต อมราภิบาล ภาวินี ณ สายบุรี บุญญา ชคัตตรัย จริยา ชื่นใจชน ผกาภรณ ยอดปลอบ อานันตพร จินดา
นักวิชาการเผยแพรชํานาญการพิเศษ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการพิเศษ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชํานาญการ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ นักวิชาการเผยแพรปฏิบัติการ
ประสานงาน เฉลิมพล วัฒนพุทธิวรรณ ฉัตรชัย อมรพรชัยกุล ฏีคชเมษฐ เรือนสังข ณิชาภา เฉยพันธ ภัทราวรรณ เชิดศักดิ์ศรี ปยนาฏ เอกชีวะ จิตติมา กียะสูตร ณิชภัทร ทองเลิศ คณารัตน เล็งเบา อาณัติ แกวเพ็ชร
นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการสิ่งแวดลอม นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการเผยแพร เจาพนักงานธุรการ เจาพนักงานธุรการ เจาหนาที่ธุรการ
คํานํา กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ป 2553 เปนปทป่ี ระเทศไทยตองเผชิญกับวิกฤตการณนาํ้ ในหลาย รูปแบบ ทั้งขาดแคลนน้ําในชวงฤดูแลง และอุทกภัยครั้งใหญที่สง ผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนกวาครึ่งประเทศ วิกฤตการณ น้ําที่เกิดขึ้นนี้ ทางหนึ่งสะทอนความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ อันเกิดจากภาวะโลกรอน อีกทางหนึ่งสะทอนถึงการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม หลายคน เริ่มตระหนักถึงความสําคัญของการมีสวนรวมของ ประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทั้ง กระบวนการ ตั้งแตรวมคิด รวมวางแผน รวมลงมือทํา รวมตัดสินใจ และรวมรับผล เพราะอยางนอยที่สุดก็อาจกลาวไดวาสามารถกําหนด ชะตากรรมของตนไดในระดับหนึ่ง แนนอนวา...ความรับผิดชอบตอ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไมใชภาระหนาที่ของหนวยงาน ใดหรือกลุมคนใดแตเพียงอยางเดียว แตเปนความรับผิดชอบรวมกัน ของทุกคนในสังคม ประเด็นดังกลาวขางตน ไดถูกหยิบยกมาไวใน “เมื่อปลา จะกินดาว 10” ที่อยูในมือทานขณะนี้ รวมถึงการนําเสนอวิธี การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมโดยผานกระบวนการหรือเครื่องมือทางสังคม ในรูปแบบตางๆ รอยเรียงเปนเรื่องราว รวม 10 เรื่องที่นาสนใจ อาทิ ฉลากเขียว...สูสังคมคารบอนต่ํา สิ่งแวดลอมศึกษา... ทิศทางการพัฒนาอยางยั่งยืน การมีสวนรวมของชุมชน มิติ ใหมการกําหนดนโยบายฝาวิกฤตน้ํา หรือ ทางเลือกเทคโนโลยี พลังงานสําหรับสังคมไทย กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ขอขอบคุณชมรมนักขาว
สิง่ แวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย ทีไ่ ด สรางสรรคผลงานที่ดี มีคุณภาพใหกับผูอานทุกทาน และหวังวาเมื่อ ปลาจะกินดาว 10 เลมนี้ จะทําใหทานผูอานไดปรับเปลี่ยนทัศนคติ ในการดํารงชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น และหวังวาใน กิจกรรมการพัฒนาตางๆ จะปรับเปลี่ยนไปในทางที่สงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมนอยที่สุด เพื่อใหการพัฒนาเหลานั้นเปนไปอยางยั่งยืน เรา อยากเห็นสังคมไทยเปนสังคมของ คนไทยหัวใจสีเขียว กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
คํานํา ประธานชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม ปนี้ครบรอบ 10 ปที่ทางชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพ แหงประเทศไทย ไดจดั ทําหนังสือ เมือ่ ปลาจะกินดาว โดยมีเจตนารมณ ใหหนังสือเลมนี้ เปนเสมือนกระจกสะทอนภาพรวมดานสิง่ แวดลอมใน รอบป และพยากรณถงึ ทิศทางในอนาคต นอกจากนีย้ งั เปนเวทีสาํ หรับ พั ฒ นาทั ก ษะของนั ก ข า วสายสิ่ง แวดล อ มในการทํ า ข า วเชิ ง สื บ สวน คนควาขอมูลทางวิชาการ และนําเสนอดวยรูปแบบสารคดีทอ่ี า นงาย ในแตละป ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมจะใหความสําคัญกับการคัด เลือกบรรณาธิการและนักเขียน ทั้งนี้ เพื่อเปดโอกาสใหนักขาวสาย สิ่งแวดลอมไดมีโอกาสแสดงความสามารถฝกปรือทักษะเชิงขาว และ พัฒนาใหเกิดความหลากหลายดานความคิด ในสวนของกระบวนการทํางาน ชมรมนักขาวสิง่ แวดลอมยังสงเสริม ใหงานเขียนในแตละเรือ่ งมีความเขมขนดานขอมูล เชน การกําหนดใหนกั เขียนลงพืน้ ทีจ่ ริง การจัดสัมมนา เพือ่ ระดมความคิดเห็นจากผูเ กีย่ วของ ในประเด็นนัน้ ๆ รวมทัง้ ไดรบั ความรวมมือจากผูเ ชีย่ วชาญเฉพาะดานใน การใหคาํ ปรึกษา และขอเสนอแนะดานขอมูล ตลอดจนวิธกี ารนําเสนอ จึงทําใหหนังสือ เมือ่ ปลาจะกินดาว ทุกเลมทีผ่ า นมา ไดรบั ความสนใจ จากผูอานเปนจํานวนมาก ในฐานะที่เปนงานเขียนสารคดีเชิงขาวที่มี เนือ้ หาสาระ อานสนุก สามารถสะทอนภาพสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดขึน้ ไดอยาง ชัดเจน เขมขนมีหลากรส หลายแงมมุ สําหรับ เมื่อปลาจะกินดาว เลมนี้ ไดรวบรวมสารคดีขาวดานสิ่ง แวดลอมสิบเรื่อง แสดงใหเห็นถึงการจัดการดานสิ่งแวดลอม อาทิ ผาทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา สิ่งแวดลอมศึกษา…ทิศทาง การพัฒนาอยางยั่งยืน ปนฝนทางจักรยาน : บทเรียนจากยุโรป ผา เปลือกเถือเนื้อแทซีเอสอาร เปนตน
ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมหวังเปนอยางยิ่งวา เนื้อหาสาระที่ ปรากฏในหนังสือเลมนี้ จะทําหนาที่ทั้งกระตุนเตือน ทําใหผูอาน ตระหนักถึงสถานการณดานสิ่งแวดลอมในบานเราวายังมีสิ่งที่ตอง แกไขเรงดวน และตองอาศัยความรวมมือจากสังคม ตลอดจนมี สวนในการปรับเปลี่ยนวิธีคิดและพฤติกรรมในระดับตัวบุคคล และ การกําหนดนโยบายในระดับองคกรทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อเอื้อ ตอการดํารงไวซึ่งสิ่งแวดลอมที่ดี สุดทายนี้ ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมขอขอบคุณวิทยากร ผูเขา รวมเสวนานักเขียนทุกทาน รวมไปถึงบุคคลและองคกรที่เอื้อเฟอ ภาพประกอบ และที่ขาดไมไดคือ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ในฐานะผูสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือ เมื่อปลาจะกินดาว มาอยาง ตอเนื่อง วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ ประธานชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย
ความเปนมาของชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม ในชวงป 2536 เปนตนมา สื่อตางๆ ใหความสนใจในขาวสิ่ง แวดลอมมากขึ้น โดยสื่อแตละแหงมีทีมขาวสิ่งแวดลอมขึ้นมาเฉพาะ และมีพน้ื ทีค่ อ นขางแนนอน และขาวสิง่ แวดลอมมีบทบาทคอนขางมาก ในยุคนัน้ จึงเกิดแนวคิดวา การทําขาวสิง่ แวดลอมควรมีการรวมมือ กันระหวางสื่อมวลชนดวยกันเอง เพื่อใหขาวไดรับการนําเสนออยาง หลากหลาย และสามารถผลักดันใหเกิดผลกระทบตอสังคมจริง เพือ่ ใหเกิดความตระหนักและการปองกันแกไขปญหาสิง่ แวดลอม รวมทัง้ ยังเปนการเสริมศักยภาพของนักขาวสิ่งแวดลอมใหสามารถทําขาวสิ่ง แวดลอมไดลกึ ซึง้ และรอบดานมากขึน้ ป 2537 สมาคมนักขาวแหงประเทศไทย (ปจจุบันเปนสมาคมนัก ขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย) จึงไดเปนตัวกลางประสานงาน กับผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอมในสื่อตางๆ เพื่อหาแนวทางจัดตั้งเครือ ขายผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอม โดยมีองคกร PACT [PRIVATE AGENCY COLLABORATION IN THAILAND] จากตางประเทศสนับสนุนงบ ประมาณ วันที่ 4 – 6 พฤศจิกายน 2537 สมาคมนักขาวแหงประเทศไทย จัดการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารสําหรับนักขาวสิง่ แวดลอม ที่ จ.กาญจนบุรี โดยมีวัตถุประสงคหลักสองประการ คือ เพื่อเพิ่มพูนทักษะการทํา ขาวสิ่งแวดลอมแกผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอมและผูสื่อขาวสายอื่นๆ ที่เกีย่ วของ เพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นในการมีเครือขายนักขาวสาย สิง่ แวดลอม การประชุมระดมความคิดเห็นในเรือ่ งการกอตัง้ องคกรของนักขาว สิง่ แวดลอมในครัง้ นัน้ สามารถสรุปถึงความจําเปนในการรวมตัวเปน เครือขายนักขาวสิง่ แวดลอมวาจะมีประโยชนดงั ตอไปนี้ 1. เพื่ อ ช ว ยเหลื อ แลกเปลี่ ย นข อ มู ล ข า วสารซึ่ ง กั น และกั น เนื่องจากทุกคนยอมรับวาการทําขาวสิ่งแวดลอม มีความซับ
ซอนกวาขาวประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะการมีขอมูลทางวิชาการ เขามาเกี่ยวของ และความรูความเขาใจในขาวสายอื่นๆ โดย เฉพาะการเมืองและเศรษฐกิจเขามาเกี่ยวของ 2. เพื่ อ ให ข า วสิ่ ง แวดล อ มได รั บ ความสนใจจากบรรณาธิ ก ารผู ตัดสินใจเลือกขาวมากขึ้น ทั้งนี้เพราะหากชวยกันเสนอขาวที่ เกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมมากๆ ในสื่อที่หลากหลาย ขาวสิ่ง แวดลอมจะไดรับความสนใจมากขึ้น 3. การรวมตัวกันเปนกลุม นาจะทําใหเพิม่ ศักยภาพในการเขาถึงขอมูล และแหลงขาวไดดีขึ้น 4. เพื่อเปนเวทีกลางใหผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอม ไดมาแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในประเด็นปญหาทางสิ่งแวดลอมมากขึ้น ซึ่งอาจ จะนําไปสูการคิดประเด็นขาวใหมๆ 5. เพื่อใหเปนเวทีกลางในการติดตอกับแหลงขาว โดยเฉพาะใน ดานการใหขอมูลความรู เพื่อเสริมความเขาใจในขาวที่กําลังอยู ในความสนใจ หลังจากนั้น จึงเริ่มมีกิจกรรมตางๆ ทั้งการประชุม เสวนา สัมมนา โดยมีแกนนําจัดตั้งชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมเปนผูดําเนินการ เชน จัด เสวนาเรื่องนโยบายสิ่งแวดลอมในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 8 การอภิปรายเกี่ยวกับโครงการแกงเสือเตน ฯลฯ วันที่ 8 มีนาคม 2538 ไดมีการประชุมประเมินผลการทํางานของ ชมรมฯ ในรอบหนึ่งป รวมทั้งกําหนดทิศทางในการดําเนินกิจกรรมใน ปตอไป ที่ประชุมตกลงตั้งคณะกรรมการประสานงานกิจกรรมชั่วคราว ทําหนาที่กําหนดแผนการดําเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ เพื่อนํา เสนอตอที่ประชุมใหญของสมาชิกชมรมฯ ตอมาคณะกรรมการประสานงานกิจกรรมชั่วคราว จัดการประชุม ใหญสัมมนาการประจําปของชมรมฯ เมื่อวันที่ 27- 29 เมษายน 2539 ณ อุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ ในลักษณะประชุม เชิงปฏิบัติการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อทบทวนการดําเนินงานที่ผานมา
ของชมรมฯ และกําหนดเปาหมายการทํางานของชมรมอีกครั้ง การ สัมมนาดังกลาวสรุปไดวา ใหชมรมดําเนินการตอไปตามวัตถุประสงค เดิม และใหมีคณะกรรมการประสานงานของชมรม คณะกรรมการชุดดังกลาวไดจดั กิจกรรมเสวนา เพือ่ เปนเวทีใหผูสื่อ ขาวสิ่งแวดลอมไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนกับแหลงขาวหลายครั้งดวยกัน เชน เรื่ององคการคาโลกกับสิ่งแวดลอม เรื่องการสํารวจและผลิตกาซ ธรรมชาติกบั ผลกระทบตอสิง่ แวดลอม เรือ่ งการสงเสริมอุตสาหกรรม กับฐานทรัพยากรไทยและการเปดเวทีใหผูแทนพรรคการเมืองมาแถลง นโยบายสิ่งแวดลอมกอนการลงเลือกตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2539 เปนตน อยางไรก็ตาม ในชวงเศรษฐกิจตกตําขาวสิ่งแวดลอมและนักขาว สิ่งแวดลอมตองประสบปญหาการลดพื้นที่และตนทุนในการทําขาว ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมก็ไดรับความกระทบกระเทือนในแงของการ เขามามีสวนรวมของสมาชิก แตก็ยังคงดําเนินงานเรื่อยมา ตอมาในป 2540 ที่ประชุมใหญชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม ไดเชิญ นายวสันต เตชะวงศธรรม บรรณาธิการขาวสิ่งแวดลอมและชุมชน เมือง หนังสือพิมพบางกอกโพสต เปนประธาน และมีกรรมการจากสื่อ ตางๆ อีก 6 คน มีนักวิชาการและนักขาวอาวุโสในระดับบรรณาธิการ เปนที่ปรึกษาอีก 6 คน ดําเนินกิจกรรมของชมรมตามวัตถุประสงคใน การพยามเผยแพรขอมูลขาวสารสิ่งแวดลอม เสริมศักยภาพนักขาวสิ่ง แวดลอม และสรางเครือขายใหกวางขวางมากขึ้น โดยไดรื้อฟนโครงการ จัดทําจุลสารพิราบเขียว ซึ่งเปนจุลสารเผยแพรขาวสารสิ่งแวดลอมขึ้น มาใหม ใหสามารถตีพิมพไดทุกเดือน และไดเริ่มดําเนินโครงการจัดทํา หนังสือ “เมื่อปลาจะกินดาว” ซึ่งเปนรายงานสถานการณสิ่งแวดลอม ประจําป โดยไดรับการสนับสนุนจากกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ตอเนื่องมาทุกป รวมทั้งยังคงดําเนินกิจกรรมเชิงรุกอยางตอเนื่อง คือ จัดเวทีสัมมนาเพื่อใหนักขาวสามารถเขาถึงแหลงขาวและขอมูล เมื่อ เกิดปญหาสิ่งแวดลอมสําคัญๆ ขึ้น
การประชุมใหญสามัญประจําป 2546 ที่อุทยานแหงชาติแม ฝาง จ.เชียงใหม คณะกรรมการไดเชิญนายวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ บรรณาธิการบริหารหนังสือสารคดี ขึ้นเปนประธานแทนนายวสันต เต ชะวงศธรรม ที่หมดวาระลง พรอมเลือกคณะกรรมการและที่ปรึกษา ชุดใหม โดยเนนนโยบายที่การเสริมศักยภาพนักขาวสิ่งแวดลอมให สามารถรายงานขาวเชิงสืบสวนไดมากขึ้น และเนนการสรางเครือขาย นักขาวใหขยายวงกวางขึ้นไปยังนักขาวในภูมิภาคและนิสิตนักศึกษา ในสายสื่อสารมวลชน ปจจุบันชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมมีคณะกรรมการบริหารทั้งหมด 11 ทาน และมีคณะกรรมการที่ปรึกษาที่ปรึกษา 8 ทาน โดยจะมีการ จัดประชุมคณะกรรมการบริหารชมรมฯ เดือนละครั้งเพื่อใหการดําเนิน งานของชมรมฯเปนไปตามจุดมุงหมายที่ตั้งไว
สารบัญ 1 ผาทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา
หนา 16
2 สิ่งแวดลอมศึกษา...ทิศทางการพัฒนาอยางยั่งยืน
หนา 48
3 ปนฝนทางจักรยาน : บทเรียนจากยุโรป 4 ผาเปลือกเถือเนื้อแทซีเอสอาร
หนา 72 หนา 98
5 เอ็นจีโอสิ่งแวดลอม..ผูปกปอง หรือทํารายโลก
หนา 122
6 ฉลากเขียว…..สูสังคมคารบอนต่ํา
หนา 148
7 นักขาวและพื้นที่ขาวสิ่งแวดลอม สวนทางแนวโนมวิกฤตสิ่งแวดลอม
หนา 174
8 2 นักอนุรักษตนแบบ บนเสนทางที่บรรจบกัน
หนา 198
9 ทางเลือกเทคโนโลยีพลังงาน สําหรับสังคมไทย
หนา 219
10
การมีสวนรวมของชุมชน มิติใหมการกําหนดนโยบายฝาวิกฤตน้ํา
หนา 237
บทบรรณาธิการ ความขัดแยงทางการเมืองครั้งประวัติศาสตรชวงเดือนเมษายนพฤษภาคม 2553 ไดสง ผลสะเทือนตอทุกภาคสวนของสังคมไทย รวมถึง กระบวนการผลิตหนังสือ “เมือ่ ปลาจะกิน 10” เลมนีด้ ว ย เพราะนักขาว ซึง่ เปนนักเขียนในจํานวน 10 เรือ่ งนี้ หลายคนตองลงพืน้ ทีท่ าํ ขาวการ ตอสูท างการเมืองในครัง้ นีด้ ว ย ดวยเพราะวิกฤตความขัดแยงอยางรุนแรงสงผลใหการสัญจร ไปมาบนถนนกลางใจเมืองตองเปนอัมพาต ในแทบทุกจุด มิพักตอง กลาวถึงการนัดประชุมเพื่อดําเนินกิจกรรมใดๆ ที่ตองชะงักไปโดย อัตโนมัติ การตอสูทางการเมืองในป 2553 การบาดเจ็บลมตายของผูคนที่ เขาไปมีสวนเกี่ยวของ รวมถึงผูคนที่ไมไดเขาไปยุงเกี่ยว ลวนตางได รับผลกระทบกันไปตามๆ กัน ไมมีใครรอดพนหรือหลีกเลี่ยงออกจาก ความขัดแยงในครั้งนี้ได หนังสือ “เมือ่ ปลาจะกินดาว 10” ก็เชนกันทีถ่ กู ฉุดเขาสูว งั วนนี้ อยางไมอาจปฏิเสธได การลงพืน้ ทีท่ าํ ขาวสิง่ แวดลอมตามประเด็นที่ กําหนดไวใน “เมือ่ ปลาจะกินดาว10” จึงมีอนั ตองเลือ่ นออกไป การ จัดประชุมเสวนาในกรุงเทพฯ ในแตละหัวขอ มีอนั ตองยกเลิกอยาง กะทันหัน หรือเลวรายกระทัง่ ไมมสี ถานทีอ่ นั ปลอดภัยเพียงพอสําหรับ การนัดประชุมทํากิจกรรมใดๆ ในเมืองหลวงของประเทศนีใ้ นชวงกลาง ป 2553 ปฏิเสธไมไดในฐานะบรรณาธิการที่ตองนอมรับความลาชาอัน เปนผลพวงจากบาดแผลของเหตุการณเมษายน-พฤษภาคม 2553 อยางไรก็ดี เมื่อสถานการณเริ่มคลี่คลายขึ้น การเริ่มตนการผลิต หนังสือ “เมื่อปลาจะกินดาว10” ก็เดินหนาตอมาไดเปนลําดับ
ความตั้ ง ใจและมุ ม านะมุ ง มั่ น ต อ หน า ที่ ท า มกลางวิ ก ฤตอั น รุนแรง ถือเปนความรับผิดชอบอันสูงสงของผูมีสวนในการผลักดันให หนังสือเลมนี้ออกทันตามกําหนดเนื้อหาใน 10 ประเด็นรอน ยังคงมุง กระเทาะความพิกลพิการที่ซุกซอนอยูในระบบ ไมวาจะเปนเรื่อง “ผา ทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา” “ผาเปลือกเถือเนื้อแทซีเอส อาร” “เอ็นจีโอ...ผูปกปอง หรือทํารายโลก” “นักขาวและพื้นที่ขาวสิ่ง แวดลอมสวนทางแนวโนมวิกฤตสิ่งแวดลอม” ขอขอบคุณคณะกรรมการชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมที่ยังคงยืน หยัดตออุดมการณในการทําหนาที่รักษาโลกใบนี้ไว พิเชษฐ ชูรักษ ตุลาคม 2553
ผาทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา จันทรจิรา พงษราย หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ
เมื่อปลาจะกินดาว 10 16 16
“พืน้ ทีน่ อ้ี ยูใ นความดูแลของกรมปาไม หากผูใ ดกระทําการใดในพืน้ ที่ นี้ถือวาเปนการกระทําผิดวาดวยกฎหมายการปาไม” ขอความซ้ําๆ บนปายไมสีเขียวและสีแดง นับ 10 ถูกนํามาติดไวบริเวณ ดานหนาประตูบาน และตนไมขนาดใหญที่ปลูกตลอดแนวรั้ว เปนระยะทาง เกือบ 100 เมตร ทั้งที่เมื่อ 7 ปกอนหนานี้ ชาวบานบนเขายายเที่ยง อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ตางรับรูกันดีวาหลังประตูรั้วสีเทาบานใหญนั้น เคยเปนบาน พักของ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท อดีตนายกรัฐมนตรี และองคมนตรี ปฏิบัติการยึดคืนพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ปาเขาเตียน-ปาเขาเขื่อนลั่น จ.นครราชสีมา เนือ้ ทีร่ าว 21 ไร คืนมาไดสาํ เร็จเพียงชัว่ เวลาสัน้ ๆ ทัง้ ทีผ่ คู รอบ ครองรายนีใ้ นอดีต คือนายกรัฐมนตรี คนที่ 24 ของประเทศไทย จึงนับเปน “คดีประวัติศาสตร” ครั้งแรกของกรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (ทส.) ที่สําคัญอาจถือเปนปรากฎการณใหม ที่กําลังสงผล สะเทือนตอการตรวจสอบการถือครองที่ดินของชาวบานในผืนปาแหงอื่นตาม มาอีก หลังทางจากกรมปาไม ประกาศวาจะนําเขายายเที่ยง มาเปนโมเดล ตนแบบ แกขอพิพาทการถือครองที่ดินในเขตปา !!! เมื่อปลาจะกินดาว 10 17
สํารวจที่ดินผืนสุดทาย 320.7 ลานไร คือตัวเลขลาสุดของแผนดินขวานทอง 33% หรือพื้นที่ราว 143 ลานไรเปนปาอนุรักษทุกประเภท 55% คือพื้นที่เกษตรกรรม หากลองนําตัวเลขของคนที่อยูในปามาหักลางกันเลนๆ จะพบขอมูลที่นา ตกใจ ไมนอย เฉพาะกรณีพิพาทเรื่องปญหาที่ดินปาไม ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ในเขตอุท ยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช และเขต รักษาพันธุสัตวปา มีตัวเลขคนอาศัยอยูในปา รวม 185,916 ราย คิดเปนพื้นที่ ทั้งสิ้น 2.2 ลานไร ขณะที่ปาสงวนแหงชาติทั่วประเทศ มีจํานวนผูคนอาศัย อยูสูงถึง 450,000 ราย คิด เปนพื้นที่รวม 6.4 ลานไร ในจํานวนนี้ยังไมรวมกับ ที่ราชพัสดุ อีก 161,923 ราย พืน้ ที่ 2,120,196 ไร และทีส่ าธารณะอีก 1,154,867 ไร ขอมูลชิ้นนี้ยังไมสามารถบอกถึงจุดสิ้นสุดของปญหากรณีพิพาทที่ดินใน ประเทศไทยไดชัดเจนเทากับความจริง
คนรุกปาหรือปารุกคน “คนรุกปาหรือปารุกคน” ถือเปนประโยคคลาสสิค ทีม่ กั จะไดยนิ กันเสมอ มา พอกับคําวา “ไก” กับ “ไข” อะไรเกิดกอน สําหรับชาวปาเกอญอ ราว 361 ชีวิตที่อาศัยอยูในปาสงวนแหงชาติปา แมแจม อ.กัลยานิวัฒนา จ.เชียงใหม มาเกือบ 100 ป ถึงวันนี้คงพูดไดเต็ม ปากวา พวกเขาอยูมากอนการประกาศปาแมแจม ในป 2517 อยางแนนอน หลักฐานจากภาพถายทางอากาศ ยืนยันแลววาพวกเขาเขาทําประโยชน ในทีด่ นิ กอนทีก่ รมปาไมจะเขาสํารวจ แมจะยังอยูใ นขัน้ ตอนการพิสจู นสทิ ธิ์ ส.ค. 1 ที่คาดวาจะเริ่มตนในเดือนตุลาคม ป 2553 นี้ก็ตาม แตหากผลการตรวจ สอบเสร็จสิ้น ชาวปาเกอญอกลุมนี้อาจจะเปนชาวเขากลุมแรกๆ ที่จะไดสิทธิ์ ครอบครองโฉนดที่ดิน ตามประมวลกฎหมายที่ดินของกรมที่ดินก็เปนไปได ตางกับ กําจาย ชัยทอง ชาวบาน จ.พัทลุง 1 ใน 56 ราย ที่กลายเปน ผูต อ งหาคดีอาญาแบบไมทนั ตัง้ ตัว ดวยขอหาบุกรุกพืน้ ทีป่ า อุทยานแหงชาติ เขาปูเ ขายา จ.พัทลุง แถมพวงดวยคดีแพงในขอหาทําใหเกิดโลกรอน ซึง่ ศาล เมื่อปลาจะกินดาว 10 18
เขาปูเขายา
ตัดสินใหกําจาย ตองจายเงินใหกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ถึง 1.3 ลานบาท หลังจากผืนดินในเขตเขาปู-เขายา บนเทือกเขาบรรทัดที่เธอบอก วาทํากินตกทอดกันมาตั้งแตรุนปูยา นานกวา 100 ป ถูกทางการประกาศเปน อุทยานแหงชาติ “ฉันไมมีกําลังใจจะอยูตอแลว ตอนนั้นฉันมีเงินในบัญชีแค 175 บาท ก็ถูกอายัดทันที” “ฉันกําลังจะเสียที่ดินสุดทายของพอไป เพราะไมสามารถเขาไปกรีดยาง ฉันปลูกไวได” น้ําเสียงทอแทกลางวงสนทนา “คนจนกับความไมเปนธรรมในกระบวน การยุติธรรมไทย” ที่คาดวาจะมีผูตองหาและผูตองโทษในคดีปาไมที่ดิน ทรัพยากร น้ํา รวมถึงคดีผลกระทบจากโครงการพัฒนามากกวา 200 คนใน เวทีนี้ เดียม อยูทอง ชาวสวนยางพารา บานไรเหนือ อ.หวยยอด จ.ตรัง ก็เปนอีกคนที่ตกที่นั่งลําบาก คดีของเธอและครอบครัว สิ้นสุดลงดวย เมื่อปลาจะกินดาว 10 19
คําพิพากษาแรก คือ คดีอาญาเมื่อป 2549 ในขอหาบุกรุกแผวถางปาใน อุทยานแหงชาติเขาปู-เขายา เชนกัน โดยศาลตัดสินจําคุกนางเดียม 2 ป ปรับ 30,000 บาท แตเนื่องจากคํารับสารภาพที่เปนประโยชนทําใหโทษจําคุกเหลือ ใหรอลงอาญาแทน สิง่ ตามมาจากคําตัดสินทําใหครอบครัวอยูท อง ไมสามารถเขาทําประโยชน ในสวนยางพาราและสวนผลไม 4 ไร ที่เคยทํากินมาตั้งแต ป 2523 พรอม กับถูกฟองรองขอหาโลกรอนในป 2551 จากความผิดเดิมเปนวงเงินสูงถึง 545,366.26 บาท โดยมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2552 ใหนางเดียม ชําระเงินตอกรมอุทยานฯ พรอมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ปนับจากวันฟอง ขณะนี้ อยูระหวางบังคับคดี การถูกยัดเยียดใหเปนผูบุกรุกปาเทือกเขาบรรทัดของนางกําจายและ นางเดียม ทั้งที่พวกเขาเขาทํากินและเขาทําประโยชนมากอนในสวนยางพารา ของตัวเอง รวมทั้งพื้นที่อื่นๆ ทั่วหมูบานจะถูกประกาศเปนอุทยานเขาปู-เขา ยา ดังนั้นจึงเปนเรื่องที่ไมเปนธรรมสําหรับเกษตรกรรายยอยทั่วประเทศที่ตอง เผชิญชะตาเดียวกันในฐานะผูบุกรุกทําลายปาและสรางความเสียหายตอ ทรัพยากร สองกรณีนเ้ี ปนเพียงภาพสะทอนทีเ่ กิดขึน้ จากขอมูลทางสถิตขิ องปญหา ที่ ดิน ปาไม ที่เอกชน ที่สาธารณะ ที่รวบรวมโดยเครือขายปฏิรูปที่ดินแหง ประเทศไทย (คปท.) พบวาปจจุบันมีคดีรองเรียนกวา 131 คดี ในทางกลั บ กั น มุ ม มองของภาครั ฐ ที่ มี ห น า ที่ ป กป อ งดู แ ลป า อนุ รั ก ษ สุวิทย รัตนมณี รองอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ถึง กับโตแยงวา มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 30 มิถุนายน 2541 กลายเปนชองวางให คนมาแจงครอบครองที่ดินในเขตปาไวเพียบ “ที่อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย เห็นไดชัดเจนมาก เพราะมีชาวบาน แจงครอบครองที่ดินรวมกันแลวมากกวาพื้นที่อําเภอแมสรวย เปนการแจง ปากเปลา มติออกมาชาวบานเขาบอกมีที่ 100 ไร ก็แจงไป บางที่ก็ใชวิธีทํา กินใหหมดสภาพ เพราะหวังวาจะไดที่ดิน ที่สุดปาก็หมดไปเรื่อยๆ” “เรื่องนี้ยืนยันวา การแจงไมใชการรับรอง เปนการแจงวาใครอยูตรงไหน เมื่อปลาจะกินดาว 10 20
เพราะถาสํารวจการถือครองแลว ถือวาปดบัญชี ถาหลังจากวันนั้นถือวา บุกรุกใหม ใครทํากินใหมก็บุกรุกใหม จับกุมได นี่คือเงื่อนไขกติกาของมติ ครม. ดังกลาว” “อีกเรื่องเปนกรณี ส.ค.1 ใบเดียวติดน้ําติดปาติดเขา และบินมาแลว หลายที่ เชนแถวพัทลุง บอลอ พรุควนเคร็ง ปาเสม็ด ตอนนี้กลายเปนปาลม หมดกวาจะเพิกถอนได ซึ่งก็เปนจุดออนของเรา และยังมีสค.บวมอีกจาก สค. 50 ไร แตไปออกโฉนด นส.3 รอยไร เปนตน” สุวิทย สะทอนปญหา ขณะที่การตรวจสอบการครอบครองที่ดินตามมติครม.วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ที่ผานมากวา 10 ป แลว สุวิทย บอกวา กรมอุทยานฯ สามารถตรวจ สอบ และรับรองการถือครองไดแค 130,000 ราย จากทั้งหมด 180,000 ราย รวมพื้นที่ 2 ลานไร สวนหนึ่งมาจากงบประมาณแตละปมีจํากัด และบางสวน ก็ไมยอมรับกระบวนการพิสูจนสิทธิ์ เถียงกันเรื่องกฎเกณฑไมจบ “กระบวนการจบที่อยูที่วาไดสํารวจการถือครอง พิสูจนสิทธิ์บางสวนแลว และรอวายังไมครบสักที พอไมครบก็ยังสรุปไมไดวาจะดําเนินงานอยางไรตอ อยางไรก็ตามทั้งหมดก็ถือวากาวหนาพอสมควร เพราะเหลือราว 30,000 กวา ราย รวมพื้นที่ไมถึงลานไร” สุวิทย ระบุ ขณะที่การตรวจสอบตามมติ ครม.เดียวกันของกรมปาไม ชลธิศ สุรัสวดี รองอธิบดีกรมปาไม ย้ําวามติ ครม. วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ที่รัฐบาล ออกมาเพื่อสํารวจการถือครองที่ดิน มิใชชะลอการจับกุม โดยมติดังกลาวให สํารวจการถือครอง แตเนื่องจากมีปญหางบประมาณ จนถึงป 2553 สํารวจ การถือครองไดแค 350,000 ราย เหลืออีกราว 100,000 ราย และเหลือพื้นที่อีก 1 ลานกวาไร ขอพิจารณาประเด็นหนึ่งในมติเงื่อนไขหากราษฎรอยูในพื้นที่ลุมน้ํา 3, 4, 5 ใหทําตามมาตรา 16 ทวิ และหมายถึงการอนุญาตใหประชาชนเขาทํา ประโยชนไดแตตองมีการประกาศเขตปรับปรุงปาสงวนแหงชาติใหเปนปา เสื่อมโทรมกอน กระนั้นก็ตาม ในจํานวนนี้พบวาสวนใหญ 1 ใน 3 ชาวบานอาศัยในลุม น้ํา ชั้น 1 และ 2 และอีกสองสวนอาศัยในลุมน้ํา 4 และ 5 เมื่อปลาจะกินดาว 10 21
คดีคนจนที่ดินปาไมพุง-พวงคดีโลกรอน ปราโมทย ผลภิญโญ ตัวแทนกลุมปญหาที่ดินชัยภูมิ สะทอนขอเท็จ จริงวา ทางเครือขายปฏิรูปที่ดินแหงประเทศไทย (คปท.) ไดรวบรวมคดีที่ดิน ทั่วประเทศทั้งสิ้น 131 คดี มีชาวบานที่ถูกดําเนินคดีประมาณ 500 รายทั่ว ประเทศ ทั้งทางอาญาและแพง ลาสุดพบวาขอหาบุกรุกพื้นที่ปาของรัฐ ครอบคลุมปาสงวนแหงชาติ อุทยาน แหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา ทั้งหมด 131 คดี จํานวน 500 ราย จากทั่วประเทศ จําแนกเปนสมาชิกที่ถูกดํา เนินคดีแพง ตามมาตรา 97 ของ กฎหมายสิง่ แวดลอม 2535 หรือขอหาทําใหโลกรอน รวม 30 ราย มูลคาความ เสียหายรวม 17 ลานบาท ขณะนี้อยูระหวางการบังคับคดี 1 ราย ศาลชั้นตน พิพากษาใหชําระคาเสีย หาย 1 ราย และกําลังจะขึ้นศาล เพื่อสืบพยานโจทก และจําเลย รวม 16 ราย “ปริมาณที่มากขึ้นสะทอนใหเห็นวา ปญหาที่ดินที่รัฐและเอกชนมักจะใช กระบวนการยุติธรรมมารังแกชาวบาน และยังมีแนวโนมวาหลังจากชาวบาน ถูกฟองทางอาญา เชน บุกรุกปาไม ขัดขวางการปฏิบัติงานของเจาหนาที่แลว ขณะนี้ชาวบานกําลังโดนฟองรองทางแพงเพิ่ม หรือคดีทําใหโลกรอน โดยมี ชาวบานที่เทือกเขาบรรทัดถูกฟองในตอนนี้รวม 41 คดี ภาคอีสานอีก 17 คดี” เมื่อปลาจะกินดาว 10 22
ขอมูลที่สถิติของปญหาที่ดินปาไม ที่เอกชน ที่สาธารณะของเครือขาย ปฏิรูปที่ดินแหงประเทศไทย (คปท.) ภาพรวมคดีที่ดิน ปาไม ที่สาธารณะประโยชน สมาชิกเครือขายปฏิรูปที่ดินแหง ประเทศไทย ภูมิภาคตางๆ
จํานวนคดี/กรณี
จํานวนชาวบาน ที่ถูกคดีทั้งหมด
ภาคเหนือ
76
285
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ภาคใต (สุราษฎร, ตรัง, กระบี่) รวม
14 41 131
115 100 500
ภาคเหนือ ปญหาที่ดิน ปาไม ที่ดินเอกชน (สวนใหญเปนคดีอาญา)
ถูกดําเนินคดีตอ ศาลแลว ตัดสิน/พิพากษา
ที่ดินปาไม (รัฐ) คดี
ราย
ที่ดิน (เอกชน) /คดี
49
51
26
48
ราย/ ขอหาอื่น/ราย กรณี 218
1 คดี/ราย (ขับไล) 1
3 ราย
13 คดี (หมิ่น ประมาท)
26
กรณียังไมขึ้นสู ศาล
ที่มา : เอกสารประกอบเวทีสาธารณะคดีคนจนวาดวย “คนจนกับความไมเปน ธรรมในกระบวนการยุติธรรม” วันที่ 19 ก.ค.2553 ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
“ผมตั้งขอสังเกตวา คดีที่ดินเริ่มเพิ่มมากตั้งแตตนป 2552 ซึ่งมาจาก นโยบายที่สงไปยังหนวยปฏิบัติ แตขอเท็จจริงปรากฎวา มาตรการกลับไมมี ผลในทางปฏิบัติ ดังนั้น ถารัฐบาลจะดําเนินโครงการโฉนดชุมชน ขอใหยุติคดี ความตางๆ ของชาวบานไวกอน เพราะจะรูสึกกังวลเรื่องผลการบังคับคดีที่จะ เกิดขึ้น” ปราโมทย ระบุ เมื่อปลาจะกินดาว 10 23
สิ่งที่เกิดขึ้นทําใหเกิดคําถามถึงกระบวนการปฏิบัติของรัฐ ซึ่งพลิกชอง กฎหมาย ตามมาตรา 97 ของพ.ร.บ.สิ่งแวดลอม 2535 ที่ระบุไววา “ผูใด กระทําหรือละเวนการกระทําใดโดยมิชอบดวยกฎหมาย อันเปนการทําลาย หรือทําใหสูญหายแกทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเปนของรัฐ หรือสาธารณะสมบัติ ของแผนดิน มีหนาที่ตองรับ ผิดชอบชดใชคาเสียหายใหแกรัฐตามมูลคา ทั้งหมดของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทําลาย สูญหายไปนั้น” มาเปนการเรียก คาเสียหายทางแพง หรือขอหาโลกรอน ซึ่งมีการคํานวณคาเสียหายของปา ตนน้ําลําธารตามหลักการแบบจําลองทางคณิตศาสตร เรื่องนี้กําลังเปนปญหาใหมทําให ธีรยุทธ บุญมี ผูอํานวยการสถาบัน ธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย ตองยื่นมือเขาชวยเหลือชาวบาน เนื่องจาก เห็นวาเปนการใชกระบวนการยุติธรรมที่ไมเปนธรรมกับชาวบานรายเล็กที่อยู กับปา “ถือเปนวิธีคิดแบบตัดตอนงาย และไมเปนเหตุเปนผล เปนการคิดแบบ ตั้งใจโง ความผิดพลาดเกิดจากการพัฒนาตั้งแตตน คนที่เขาใจวิทยาศาสตร ไมนามองปญหาปลายทางเชนนี้ตองดูตนตอและภาพรวมจะดีกวา” ธีรยุทธ บอกไวในวงเสวนาที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เชนเดียวกับขอเสนอจากนักวิชาการดานเศรษฐศาสตร เดชรัตน สุขกําเนิด เห็นตรงกันวา หลักการทําแบบจําลองการคิดมูลคาความเสียหายของกรม อุทยานฯ ยังมีขอบกพรอง เนื่องจากมีการสรางแบบประเมินคาเสียหายเปน โปรแกรมสําเร็จรูปไวแลว เพียงแคกรอกขอมูลเขาไปทําใหขาดความสมบูรณ ทางเทคนิควิชาการ และขาดขอมูลความเปนจริงในเชิงพื้นที่ ทั้งที่สวนใหญ กลับพบวากรมอุทยานฯ และกรมปาไม เลือกปฏิบัติกับเกษตรกรรายยอย เทานั้น ไมไดคิดคาเสียหายคดีโลกรอนกับนายทุนที่ครอบครองที่ดินจํานวน มาก ทําใหมีขอสรุปที่ตรงกันวา จําเปนตองยกเลิกแบบจําลองดังกลาว
กฎหมายที่ดินกับสิทธิความชอบธรรม ปฏิรูปที่ดินยุครัฐบาลอภิสิทธิ์ “การถือครองที่ดินในประเทศไทยเปนรูปธรรมที่สะทอนปญหาความ เหลื่อมล้ําคอนขาง ชัด ซึ่งมีการสํารวจกวา 50 ปที่ผานมา ทั้งที่ของรัฐ เมื่อปลาจะกินดาว 10 24
ที่อนุรักษ ปาไมจะถดถอยลงไป แตที่ดินทําการเกษตรมากขึ้น และถาดูลึกลง ไปถึงการกระจายการถือครอง จะพบชัดเจนถึงความเหลื่อมล้ําเปนอยางมาก คนที่ไมมีการถือครองที่ดินเลยก็มีจํานวนมาก สวนที่มีสิทธในที่ดินก็ถือจํานวน ไมมาก แตคนกลุมนอยกลับถือครองที่ดินไดจํานวนคอนขางมากหลายแปลง เปนเรื่องความเหลื่อมล้ําและ ใชที่ดินไมสมประโยชนหรือขาดประสิทธิภาพ” คํากลาวแรกของ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ผานเวทีเสวนา ประชาชน “การจัดการที่ดินเพื่อการทํากิน : ปญหาและทางออก” เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553 ที่ผานมา คํากลาวขางตนสะทอนชัดถึงชนวนเหตุสําคัญที่รัฐบาลประชาธิปตย เลือก “ปมที่ดิน” มาถอดสลักความขัดแยง และอาจถือเปนครั้งแรกในรอบ 12 ป ภายหลังวิกฤตที่ดินทํากินในเขตปาอนุรักษ ซึ่งติดอยูภายใตมติ ครม. วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ถูกปดล็อกตาย ไมมีทางออก มาตั้งแตรัฐบาล พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรีสมัยนั้น ทวากลับสวนทางกลับความเปนจริง การบุกรุกพื้นปาตนน้ําลําธาร เพื่อ บุกเบิก ที่ดินทํากินทั่วประเทศ ที่ถกู เสนอบนหนาหนังสือพิมพแทบไมเวน แตละวัน ตรงกันขามกับดีกรีความรอนแรงที่เปนผลพวงจากความเชี่ยวกราก ทางการเมือง “ที่ดินของนักการเมืองในรัฐบาล” กลายเปนปมที่เกิดการ ขุดคุยจากพรรคการเมืองฝายตรงขาม โดยเฉพาะกรณีที่ดินบนเขาแพง บน เกาะสมุย จ.สุราษฎรธานี และกรณีการออกเอกสารสิทธิ์บนที่ดินเกาะระ จ.พังงา ชี้ใหเห็นถึงกระบวนการอันไมชอบมาพากลและสลับซับซอน คําประกาศของนายอภิสิทธิ์ สอดคลองกับขอคนพบของ ผศ.ดร. อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ นักวิชาการดานที่ดิน จากคณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อดีตที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา แกไขปญหาที่ดินทํากิน กฎหมายเกี่ยวกับที่ดิน และเรงรัดออกเอกสารสิทธิ์ แกประชาชน สภาผูแทนราษฎร ที่ใชเวลารวบรวมปญหาที่ดินนานถึง 6 เดือนเศษ (พฤษภาคม-พฤศจิกายน 2552) ทั้งจากขอรองเรียนจากชาวบาน รวบรวมขอกฎหมาย ลงตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่ จนไดขอสรุปที่สะทอน ปญหาเชิงโครงสรางนโยบายนําเสนอไปยังรัฐบาล เมื่อปลาจะกินดาว 10 25
กลาวคือ ปจจุบันพบมีคนอาศัย และทําประโยชนอยูในเขตสงวนหวง หามที่ดินของรัฐประเภทตางๆ กวา 10 ลานไร บางสวนรัฐไดประกาศเขต สงวนหวงหามทับที่ดินทํากินของราษฎร ขณะที่วิธีการแกปญหาที่ดินปจจุบันนั้น ไมไดชวยแกทั้งระบบอยาง มีเอกภาพ มีประสิทธิภาพ แมจะมีการตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาการ บุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) ก็ยังไมสามารถสรางความเปนธรรมแกราษฎรได อยางรวดเร็ว เพราะไมไดลดปญหาเรื่องที่ดินทํากิน และไมอาจทําใหผูไดรับ การจัดที่ดินหลุดพนจากปญหาความยากจนอยางยั่งยืน เนื่องจากมีบุคคล บางกลุมเขาสวมสิทธิในที่ดินที่จัดใหกับผูไรที่ดิน ทั้งยังมีการครอบครองที่ดิน ของรัฐเปนแปลงที่ดินขนาดใหญโดยไมชอบดวยกฎหมาย ปญหาอีกสวนหนึ่งยังเกิดจากการบริหารจัดการที่ดิน ซึ่งแบงแยกที่ดิน ปาไมออกเปนเขตตางๆ ทําใหการบังคับใชกฎหมายในพื้นที่มีความซ้ําซอน กระทบตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ซ้ํายังเกิดความขัดแยงกับราษฎร ที่ สําคัญเมื่อพลิกตัวบทกฎหมายที่มาจากหลายองคกรกระจายอยูในหลาย กระทรวง และมีอํานาจหนาที่แตกตางกัน กฎหมายแตละฉบับมีวัตถุประสงค แตกตางกัน เกิดความลักลั่น ขาดประสิทธิภาพ และไมเปนธรรมแกประชาชน แนวทางแกไขทีค่ ณะกรรมาธิการฯสรุปเปนขอเสนอถึงรัฐบาล ประกอบดวย การเร ง ออกกฎหมายจั ด ตั้ ง คณะกรรมการนโยบายที่ ดิ น แห ง ชาติ เพื่ อ ทํ า หน า ที่ กํ า หนดนโยบายและแผนการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรดิ น และที่ ดิ น ในกฎหมายควรมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของ รัฐขึ้นมาทดแทนคณะกรรมการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐและผล การพิจารณาหรือมติของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติควรมีผลทาง กฎหมายให ห น ว ยงานของรั ฐ สามารถปฏิ บั ติ ต ามมติ ข องคณะกรรมการ นโยบายที่ดินแหงชาติตอไปไดโดยไมตองดําเนินการตามกฎหมายเฉพาะเรื่อง อีก ที่สําคัญยังมีขอเสนอใหควรปรับปรุงหรือยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 30 มิถุนายน 2541 พรอมกับทบทวนนโยบายการปาไมแหงชาติที่กําหนด จะตองใหมีพื้นที่ปาไมทั่วประเทศอยางนอยรอยละ 40 ของพื้นที่ทั่วประเทศ เมื่อปลาจะกินดาว 10 26
และเพื่อใหการจัดการปาไมของชาติเปนเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และสงผลดี ตอการบริหารจัดการที่ดิน ควรพิจารณารวมหนวยงานที่เกี่ยวของเขาดวยกัน สวนการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐและการไรที่ดินทํากินทั้งระบบ ในระยะเรงดวนควรจําแนกพื้นที่ที่มีปญหาตางๆ ออกจากพื้นที่สงวนหวงหาม ของรัฐทุกประเภทแลวจัดกลุมของปญหาเพื่อวางแนวทางแกไขอยางเปน ระบบและสอดคลองกัน ในระยะยาวควรออกกฎหมายบริหารจัดการที่ดิน ของรัฐและการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทบทวนนโยบายการจัดหาที่ดินมา จัดใหกับเกษตรกร ควรนําที่ดินเอกชนและที่ดินของรัฐที่ไมไดใชประโยชนมา บริหารจัดการใหเกิดประโยชนสูงสุดตั้งศูนยขอมูลที่ดินและแผนที่แหงชาติ เพื่อเปนศูนยกลางการบริหารจัดการและบูรณาการขอมูลเกี่ยวกับทะเบียน ที่ดินและขอมูลแผนที่แปลงที่ดินของประเทศที่หนวยงานตางๆ หนึ่ ง ในข อ เสนอสํ า คั ญ คื อ ชุ ม ชนที่ อ ยู อ าศั ย และทํ า ประโยชน ในพื้ นที่ อนุรักษประเภทตางๆ มานาน และทางราชการไมสามารถผลักดันหรืออพยพ ได ซึ่งปจจุบันใชวิธีการกําหนดเขตและใชมติคณะรัฐมนตรีผอนผันแตก็ไมมี ทิศทางการดําเนินการที่ชัดเจนวาในอนาคตจะทําอยางไรรัฐบาลกําลังใช นโยบายโฉนดชุมชนแกไขปญหา แตอาจมีขอจํากัดวาไมสามารถใชกับทุก พื้นที่ จึงควรมีทางเลือก ดวยการปรับสถานภาพทางกฎหมายของชุมชนเหลา นั้นใหมาเปนผูทําหนาที่ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติแทน อาทิ การจายคาตอบแทนใหกับชุมชน ซึ่งดูแลระบบนิเวศนที่เอื้อ ประโยชนตอการผลิตและการบริโภคของมนุษย เชน การรับรองสิทธิในตนไม โดยออกหนังสือแผนที่การทําประโยชนในที่ดินของรัฐชั่วคราว โดยผูไดรับสิทธิ ในตนไมบนที่ดินนั้น ตองมีหนาที่ดูแลรักษาไมใหมีการบุกรุกเพิ่มเติม หากมี การบุกรุกเพิ่มจะตองถูกดําเนินการตามกฎหมายโดยเด็ดขาด
‘เกาะระ’ คดีรอนป 53 แม ยั ง ไม มี ข อ สรุ ป ชั ด เจนจากกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม รวมทั้งหนวยงานที่เกี่ยวของในการประกาศใหพื้นที่เกาะ ระในอุทยานแหงชาติเกาะระ-เกาะพระทอง อ.คุระบุรี จ.พังงา เนื้อที่ เมื่อปลาจะกินดาว 10 27
กวา 12,817 ไร วาจะใหเปนอุทยานแหงชาติหรือเปนสวนพฤกษศาสตร ทั้งเกาะหรือไม แต ปาแตว ทองมัน ชาวบาน ม.3 เกาะระ อายุ 58 ป ยืนยันจะไมยอมออกจากพื้นที่กวา 10 ไร ที่อาศัยมารวม 30 ป “ชาวบานตองมีที่อยูกอน” ปาแตวกลาวสั้นๆ ขณะยืนอยูบนริม ชายหาดอันขาวนวลในผืนดินบริเวณหนาบาน “ปาไมยอมเขาหรอก ถาขายแลวจะไปใหปาไปอยูที่ไหน จะทํามา หากินก็ลําบาก” ปาแตว ประกอบอาชีพประมงชายฝง ออกเรือหาปลาพอมาประทัง ชีวิตอันเรียบงาย ที่กวา 10 ไรใชทําไรนาสวนผสมปลูกมะมวง มะนาว และสะตอ เปนตน แตพื้นที่ทั้งหมดยังไมมีเอกสารสิทธิที่รับรองสิทธิทํา กินจากทางราชการ ปาแตว เลาวา ชุมชนบนเกาะระไดกอตั้งมานานกวา 100 ปโดย ชาวบ า นที่ อ าศั ย บนเกาะส ว นใหญ เป นชาวมอแกนและอี ก ส ว นหนึ่ ง อพยพมาจากบนฝง ชาวบานจะอาศัยอยูริมหาด เนื่อง จากสะดวกตอ การออกเรือไปหาปลา จนกระทั่งเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2551 ไดมี การประกาศเขตอุทยานแหงชาติเกาะระ-เกาะพระทอง ทําใหที่ทํากิน ชาวบานทับซอนกับพื้นที่อุทยานฯ อุทยานแหงชาติหมูเ กาะระ–เกาะพระทอง ตัง้ อยูท อ งทีอ่ าํ เภอคุระบุรี และอําเภอตะกั่วปา จ.พังงา หางฝงอําเภอคุระบุรี เพียง 3 กิโลเมตร ดานทิศตะวันออกเปนปาชายเลนติดกับแผนดินใหญ มีเนื้อที่รวม 642 ตารางกิโลเมตร มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ มีความ ลาดชันสูงสูงจากระดับน้ําทะเล 235 เมตร ทิศตะวันตกมีหาดทราย เปนแนวยาวดานทิศเหนือและทิศใตเปนแหลงที่มีแนวปะการังน้ําตื้นที่ สมบูรณ ขณะที่เกาะพระทอง มีพื้นที่ 102 ตารางกิโลเมตร เปนเกาะที่มี พื้นที่ราบ และเคยทําเหมืองแรมากอนทําใหดินเปนทรายไมเหมาะทํา การเกษตรกรรม ดานตะวันออกของเกาะพื้นที่สวนใหญเปนปาชาย เมื่อปลาจะกินดาว 10 28
เลนมีลําคลองผากลาง พื้นที่ในแนวเหนือ-ใต เปนเกาะที่มีเตาขึ้นมา วางไขมากบริเวณชายหาดดานทิศตะวันตก ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน ถึงปลายเดือนธันวาคม นอกจากไดมีการประกาศเปนเขตอุทยานแหงชาติแลวองคการ สวนพฤกษศาสตร (อสพ.) ไดขอใชพื้นที่เกาะระกับกรมปาไมเพื่อจัด ทําโครงการสวน พฤกษศาสตรทางทะเลและชายฝง เบื้องตนทางกรม อุทยานฯ ตกลงกันพื้นที่สําหรับทําโครงการสวนพฤกษศาสตร เพียง 4,400 ไร ที่เหลืออีก 6,873 ไร เปนพื้นที่อุทยานแหงชาติ ดาน กองกานดา ชยามฤต ผูอํานวยการสวนพฤกษศาสตร (อสพ.) ไดยืนยันวา จะทําสวนพฤกษศาสตรฯบนเนื้อที่ 4,400 ไรเศษ ตามนโยบายของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯไมมีสวนในการกันพื้นที่ ออกใบสิทธิทํากิน (ส.ท.ก.) เหตุที่อสพ. ตองดําเนินโครงการเพียงกวา 4,000 ไร เพราะขาดแคลนบุคลากรและปญหาขอกฎหมาย อยางไรก็ดี ประเด็นปญหาบนเกาะระยังไมไดขอสรุปวาจะดําเนิน การในรูปแบบใด เนือ่ งจากมีชาวบานทัง้ ทีอ่ าศัยมากอนประกาศอุทยานฯ และเขามาบุกรุกพืน้ ทีเ่ พิม่ เติมไดขอยืน่ ออกสทก. จํานวน 139 แปลง รวม เนือ้ ที่ 1,588 ไร แตกรมอุทยานแหงชาติ ฯ กรมปาไม และองคการสวน พฤกษศาสตร ยังไมกลาขยับวาจะหาทางออกในเรือ่ งนีอ้ ยางไร สําหรับตัวปาแตวก็ยังยืนจะไมยายไปที่ไหนอยางเด็ดขาดรวมถึงจะ ไมยอมขายที่ดินดวย
ถอดชนวนเหตุฮุบที่ดิน ชวงกลางเดือนมีนาคม 2553 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม จับมือเปนพันธมิตรกับทางสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) เพื่อหาแนวทางเชิงนโยบายและยุทธศาสตรที่จะ นําไปสูการปองกันทรัพยากร และการปองกันการทุจริตของเจาหนาที่ในการ ฏิบัติงาน ธีรภัทร ประยูรสิทธิ์ รองอธิบดีกรมปาไม ยอมรับวาปญหาการทุจริต เมื่อปลาจะกินดาว 10 29
ยอดเขายายเที่ยง
ปาไม ที่ดิน สาเหตุใหญมาจากความยากจน ความโลภ และการถูกหลอก จากนายทุน การใชชองวางทางกฎหมายหาประโยชน รวมทั้งความตั้งใจของ เจาหนาที่รัฐ หรืออาจดําเนินการผิดกฎหมายแบบไมตั้งใจ รวมถึงการขาด ความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับที่ดินปาไมถึง 6 ฉบับ และยังมี กฎหมายที่ดินอีก เขาบอกวา ในป 2551 มีคดีเกี่ยวกับปาไมถึง 5,833 คดี และป 2552 รวม 5,504 คดี ในจํานวนนี้มี 62 คดี ที่เจาหนาที่รัฐถูกฟองรอง และเมื่อกรมปาไม ตั้งกรรมการสอบวินัยก็มีเพียง 12 คดีที่มีมูลวาจงใจหาผลประโยชน สวนใหญ เปนเจาหนาที่ระดับปฏิบัติงาน เชน หนวยปองกันรักษาปา มีเจาหนาที่ระดับ สูงคือขาราชการระดับ 7 เพียง 1 รายเทานั้น สอดคลองกับสิ่งที่ ชัยยศ สินธุประสิทธิ์ ผูอํานวยการสํานักนโยบาย และแผนสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหงชาติ (ป.ป.ช.) ชี้วา ปาไมของประเทศลดลงอยางนาเปนหวง ป.ป.ช. จึงไดกําหนดยุทธศาสตรสาธารณะของแผนดินเพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิ กรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช กรมที่ดิน และอื่นๆ เมื่อปลาจะกินดาว 10 30
บูรณาการการปองกันการทําลายพื้นที่ปา พรอมกับตั้งอนุกรรมการพัฒนา ระบบข อ มู ล สารสนเทศด า นเทคนิ ค สํ า หรั บ การตรวจสอบโฉนดที่ ดิ น และ เอกสารสิทธิ์ในการครอบครอง และอนุกรรมการไตสวนเพื่อรับรองเรียนตางๆ ปจจุบันมีคดีเกี่ยวกับที่ดินและปาไมคงคางอยูทั้งสิ้น 326 เรื่อง แบงเปน เรื่องรองเรียนปญหาที่ดินของกรมที่ดิน 262 เรื่อง และปญหาปาไม ของ ทส. อีก 64 เรื่องสวนใหญเปนการออกเอกสารสิทธิ์โดยมิชอบ “กวากระบวนการตรวจสอบจะสิ้นสุดจนสามารถชี้มูลความผิดไดตอง ใชระยะเวลานานมาก อีกทั้งในแตละปมีเรื่องรองเรียนเขามาที่ ป.ป.ช. ราว 2,000-2,500 คดี แตตรวจสอบไดแคครึ่งเดียว ป.ป.ช.ก็จะทํางานใหรวดเร็วขึ้น เพื่อบรรเทาความยุติธรรม โดยเฉพาะการจัดทําฐานขอมูลเฉพาะเรื่อง เชน ปา ไม ที่ดิน จะชวยใหการพิจารณาคดีเร็วขึ้น” ชัยยศ ระบุ
เขายายเที่ยงโมเดล “เมื่อหมดภาระการเปนนายกรัฐมนตรี จะมาใชชีวิตสวนใหญบนเขายาย เที่ยง เพราะมาแลวสบายใจ อยูกับธรรมชาติ อายุมาก อยูกับตนไมตนไร มัน ไมทํารายเรา” คําพูดของ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท เมื่อคราวยังนั่งเกาอี้นายกรัฐมนตรี ชวงป 2550-2551 ขณะพาสื่อมวลชนประจําทําเนียบรัฐบาล เขาเยี่ยมชมตาม จุดตางๆ ของบานพักตากอากาศบนเขายายเที่ยง โดยเฉพาะบริเวณชะงอน ผาใตตนไทร มุมโปรดของอดีตนายกรัฐมนตรี เพราะสามารถมองเห็นจุดชม วิวของเขื่อนลําตะคอง และอําเภอปากชองไดทั้งหมด การเปดบานเขายายเทีย่ งอยางเปนทางการในคราวนัน้ กลับมีผลใหตอ ง ปดตํานานบานพักเขายายเทีย่ งอยางถาวรในเดือนกุมภาพันธ 2553 หลังถูกรุน พี่ จปร. พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ชีเ้ ปาวา บนบานพักเขายายเทีย่ งเปนแหลง ซุกโบกีร้ ถไฟ กระทัง่ นํามาสูก ารตรวจสอบเรือ่ งการถือครองทีด่ นิ 21 ไร ทีต่ อ มาถูกระบุวา อยูใ นเขตปาสงวนปาเขาเตียน-ปาเขาเขือ่ นลัน่ ของกรมปาไม 2 ปกวา หลังพนเกาอี้นายกรัฐมนตรี การตรวจสอบกรณีบานพักบน เขายายเที่ยง ยกระดับความเขมขนขึ้นอีกระลอก เมื่อถูกดึงเขาไปพัวพันกับ การเมืองของพรรคฝายคาน และกลุมคนเสื้อแดงอยางเต็มรูปแบบ หลังคํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 31
กลุมคนเสื้อแดงชุมนุมบนเขายายเที่ยง
ตัดสินของอัยการสี่คิ้ว จ.นครราชสีมา มีคําสั่งไมฟองกรณีการครอบครอง ที่ดินดังกลาว โดยระบุวาเปนการไมเจตนา เพราะซื้อตอมาเปนทอดที่ 3 จน กลายเปนชนวนใหมกี ารขนทัพของคนเสือ้ แดงไปชุมชนถึงบนยอดเขายายเทีย่ ง “พวกเรายังตั้งตัวไมทันวาเกิดอะไรขึ้น จูๆ ก็เอาเขายายเที่ยงปูยี้ปูยํา ทางการเมืองกันซะเละเทะ จนชาวบานเดือดรอน และยังไมรูอนาคตดวยวา จะเจออะไรหลังจากนี้” กํานันอุทัย สังขจันทึก ยอนถึงเหตุการณที่เกิดขึ้น สิ่งที่กํานันบานเขายายเที่ยงเหนือ บอกนั้นเกิดขึ้นหลังจากการเมืองเรื่อง ที่ดินไดนําพาความวุนวายมาสูชาวบานกวา 300 ครัวเรือน บนเขาเล็กๆ ลูก นี้ จากที่เคยอยูกันอยางเงียบสงบมาชั่วอายุคน แต “บานเขายายเที่ยง” ก็ได กลายเปนชื่อคุนหูคนทั้งประเทศเพียงชั่วขามคืน ดวยเหตุผลที่วาระหวางกรมปาไมกับคนเสื้อแดงที่มีเดิมพัน คือการยึด ที่ดินเขายายเที่ยง ของพล.อ.สุรยุทธ กลับคืนมา เพื่อลบขอครหาวารัฐบาล ใช 2 มาตรฐานในแกปญหาการครอบครองที่ดินกับชาวบานรายอื่น “เจาของที่ดินที่เขามีอยูเขาจะไปอยูไหน”? กํานันตั้งคําถาม
เขายายเที่ยงอยูไหน ถนนมิตรภาพ ประตูดา นแรกทีม่ งุ สูภ าคอีสาน หากเหลียวมองดานซาย มือจะเห็นวิวของเขือ่ นลําตะคองทอดตัวยาวขนานไปแนวถนนสายนี้ แตหาก เมื่อปลาจะกินดาว 10 32
หนาบานพัก อดีตนายกรัฐมนตรีบนเขายายเที่ยง
เหลือบสายตาขยับไปทางขวามือของคนขับ ทิวเขาลูกยอมทอดแนวปรากฎตัว นอยคนนักจะรูวา ภูเขาลูกนี้คือ “เขายายเที่ยง” ซึ่งผนวกผืนปาเขา เตียน-ปาเขาเขื่อนลั่น ทองที่ ต.หนองสาหราย ต.คลองไผ อ.สี่คิ้ว และ อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา ที่กรมปาไมไดประกาศเปนปาสงวนแหงชาติไว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2508 รวมพื้นที่ 19,375 ไร จากปญหาการบุกรุกทีด่ นิ ทีม่ แี นวโนมขยายตัวมากขึน้ กรมปาไมไดเลือก เอาโครงการหมูบ า นปาไม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 29 เมษายน 2518 มาใชหวังแกปญ หาการบุกรุกทีด่ นิ ในเขตปาไม และฟน ฟูสภาพปา ตนน้าํ ลําธารทีถ่ กู บุกรุกเสือ่ มโทรมใหคนื สูส ภาพปาตามเดิม โครงการหมูบ า นปาไมบนเขายายเทีย่ ง คือการจัดสรรทีด่ นิ นอกเขตตนน้าํ ให ครอบครัวละไมเกิน 15 ไร โดยมิใหกรรมสิทธิ์ แตใหสทิ ธิตกทอดถึง ทายาทไดถาวรตลอดไป เพือ่ ปองกันมิใหนายทุนเขามากวานซือ้ โดยกรมปาไม กระทรวงเกษตรและสหกรณ ในสมัยนัน้ จะออกใบอนุญาตชัว่ คราวใหเขาอยู ในพืน้ ที่ รวมทัง้ การใหจา งแรงงานจากหมูบ า นใหปลูกปากับทางราชการดวย “ในตอนนั้นมีมติจัดสรรพื้นที่ออกเปน 2 สวน กลาวคือ ตีผังแปลงจัดให ราษฎรทํากิน รวม 76 ราย ตกคนละ 14 ไร รวมพื้นที่ 1,020 ไร สวนผังแปลง ที่อยูอาศัยอีก 79 ไร เฉลี่ยคนละ 2 งาน รวม 161 ราย โดยบางครอบครัวก็มี เมื่อปลาจะกินดาว 10 33
ลูก มีพี่นองที่ไดสิทธิ์จากมติคณะรัฐมนตรีดังกลาว” “ขณะนี้ผานมาถึง 35 ปแลว เราตองการคําตอบวาที่ดินพวกนั้นมีการ เปลี่ยนแปลงการถือครองไปมากนอยแคไหน โดยเฉพาะกรณีของบานพักของ อดีตนายกฯ ที่ตองหาคําตอบกอนรายอื่นๆ บนเขายายเที่ยง ซึ่งเปนโจทย ที่มาของการตรวจสอบในประเด็นนี้” สุเทพ ปวเรศวิทยาฬาร ผูอํานวย การสํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 8 จ.นครราชสีมา บอกขอมูลการ ตรวจสอบเบื้องตน หลังเขาไดรับการแตงตั้งใหเปนหนึ่งในคณะกรรมการชุด นายชลธิศ สุรัสวดี รองอธิบดีกรมปาไม รวมกับกรมอุทยานแหงชาติฯ ทํา หนาที่ตรวจสอบสภาพการเปลี่ยนแปลงการถือครองที่ดินปาสงวนแหงชาติปา เขาเตียน – ปาเขาเขื่อนลั่น โดยมีระยะเวลาทํางานแค 60 วัน “ตองหาภาพถายทางอากาศมาตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง และตรวจ สอบภาคพื้นที่ดิน แตละแปลงที่เคยไดรับจัดสรรพื้นที่ตามมติ ครม. วันที่ 29 เมษายน 2518 ไวทุกแปลงอยางละเอียด ซึ่งขณะนี้สภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลง ไปมาก เปาหมายครั้งนี้อาจสงผลใหเกิดการจัดระเบียบการมีสิทธิ์ครอบครอง พื้นที่ใหถูกตอง และหากใครไมมีสิทธิ์ก็คงตองวากันไปตามกฎหมาย เชื่อวา รัฐคงไมถึงขั้นจะขับไลออกไปจากพื้นที่ คงจะรอมชอมมากกวาใชไมแข็ง แต ในแตละพื้นที่ก็คงไมสามารถใชเงื่อนไขเดียวกันไดดวย” สุเทพ ย้ํา ทามกลางแรงกดดันทางการเมือง กรรมการชุดนี้ถูกสบประมาทวาตั้งขึ้น มาเพื่อซื้อเวลาเทานั้น แต สมชัย เพียรสถาพร อธิบดีกรมปาไม ก็ออกมา ยืนยันวาไมไดซื้อเวลา แตจําเปนตองมีมาตรการที่ชัดเจน มีความเปนไปไดวา จะใชกรณีเขายายเที่ยงเปนโมเดล และบันทัดฐานการแกปญหาถือครองที่ดิน ในเขตปาสงวนแหงชาติทั่วประเทศ ที่มีอยูราว 4.5 แสนราย รวมพื้นที่กวา 6 ลานไร
คําตอบที่ยังรอคอย กลางเดือนพฤษภาคม 2553 ทามกลางเปลวแดดรอนระอุ ผูเขียนเดิน ทางกลับมาเขายายเที่ยงอีกครั้ง ทั้งที่ชวงเดือนมกราคมปเดียวกัน บนยอดเขา ยายเที่ยงถูกปกคลุมดวยไอหมอกหนาทึบจนแทบมองไมเห็นอะไรเลย หลัง จากเม็ดฝนโปรยปรายมาตลอดคืน เมื่อปลาจะกินดาว 10 34
ตางจากวันนี้ ทัศนวิสัยดี ทองฟาปลอดโปรง ตลอดสองขางทางถนน ลาดยางมะตอย 2 เลน ที่ถูกตัดขึ้นเมื่อไมกี่ปกอนหนานี้ พรอมกับการเขา มาของกังหันลม และโครงการเขื่อนลําตะคองของการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย ซึ่งตั้งบนยอดสูงสุดของเขา ยังปรากฎความรมรื่นของตนไม ในเขตปาสงวนแหงชาติผืนนี้ แมวาเปลวแดดจะแรง แตปารกครึ้มก็พลอย ทําใหอากาศไมรอนจนปรากฎเม็ดเหงื่อ จุดหมายของการสํารวจพื้นที่เริ่มตนจากปลายเขา เพื่อตามหา นายโจก สวัสดี เจาของที่ดินรายสุดทาย ซึ่งถูกระบุจากกรมปาไมวา เขาเปนเพียง คนเดียวที่ยังคงเก็บรักษาพื้นที่ราว 14 ไรที่เคยไดรับจัดสรรในป 2518 ปายราน “ตนตอ” เปนที่สะดุดตาหลังจากขับรถจากปากทางเขามาไม นานนัก เมื่อสอบถามกับเจาของรานขายอาหารตามสั่ง และของที่ระลึก ไดคํา ตอบวาแทจริงแลว “พี่เพ็ญ” เจาของรานก็คือลูกสาวคนที่ 6 สวนพี่นอย เปน ลูกสาวคนสุดทองของตาโจกนั่นเอง “หลังจากตกเปนขาวแลว ทําใหพอลมปวย เพราะแกเครียดจัด กลัว วาจะไดรับผลกระทบไปดวย ขนาดนายกฯสุรยุทธ ยังโดนใหรื้ออกเลย แลว ชาวบานจะอยูเปนสุขไดอยางไร ตอนนี้พวกปาไมมาวนกันบอยๆ บอกอยาก คุยกับพอ” พี่เพ็ญ เปดฉากเลา ขณะสาละวนกับลูกคาที่เริ่มแวะเวียนมาใชบริการ หนาตาในชวงเที่ยงวันพอดี “เคยพูดเลนๆ นะวาถาให 10 ลานขึ้นไปตอแปลงถึงจะขาย” เธอพูด ติดตลกพรอมยังยืนยันวา แมวาราคาที่ดินที่ขายเปลี่ยนมือจะแพงถึงไรละ 1-2 ลานแลวก็ตาม เหตุผลที่ตาโจก ไมยอมขายที่ผืนนี้เปนเพราะมีลูกถึง 9 คน หากนับรวมหลาน และเหลนก็ตกประมาณ 30-50 คน ดังนั้นหากตอง ไปหาซื้อที่อื่นก็คงลําบาก” “พ อ จึ ง ไม ย อมแบ ง ที่ ดิ น ในล็ อ กเกื อ บล็ อ กสุ ด ท า ยที่ ได รั บ จั ด สรรไว ให กับใครเลย ปจจุบันนําพื้นที่ทําเปนไรสวนผสม ปลูกไมผลทุกอยาง ขนุน มะมวง ลิ้นจี่ ไมยืนตนทุกชนิด สวนบริเวณที่เปดเปนรานขายของ และบานไม เมื่อปลาจะกินดาว 10 35
เรือนไทยหลังใหญ เนื้อที่ประมาณ 2 งาน ตรงนี้ก็เปนอีก 1 แปลงที่ไดรับสิทธิ์ ตามผังที่อยูอาศัยตั้งแตป 2518 เชนกัน” “พี่แหลม” กาไว สังขจันทึก หนุมใหญมาดขรึม ขอรวมวงอธิบายอีก คน เขาเปน 1 ใน 161 ราย และเปนลูกพี่ลูกนองกับครอบครัวสวัสดี ที่ใชชีวิต บนเขายายเที่ยงมาปาเขาไป 43 ปแลว “สมัยกอนแถวนี้ไมมีความเจริญอะไร ยังเปนไรขาวโพด ไรมัน ไรละหุง ตาโจกเขามาบุกเบิกทํากินตั้งแต 2502 แตอยูกันแบบกระจัดกระจายที่ใครก็ ทํากินกันตรงนั้น ตั้งแตยังใชตะเกียง ถนนลูกรัง ยังใชเกวียนกันอยูเลย เวลา เขามาก็แลกของกันกิน เชน บานนี้มีขาวก็แบงกัน กระทั่งกรมปาไมเขามาจัด ระเบียบใหชาวบานมาอยูรวมกันเปนกลุม” “บานเขายายเที่ยงใตเกิดกอน แลวคอยมีเขายายเที่ยงเหนือตามมา ใคร มีลูกเยอะก็ไดที่มาก เขาใหปลูกบานคนละ 2 งาน ที่จริงพื้นที่ก็ไมนาจะมี คาอะไร ชวนกันมาอยูชุดแรกๆ ก็ประมาณ 80 ครอบครัว ยังไมอยากมากัน เพราะลําบาก ไมมีอะไรเลย กระทั่งป 2524 ปาไมเขาก็เริ่มใหชาวบานปลูกปา และชวยดูแลดวย พอปลูกโต พวกเราก็ไมรูกันวาเขาจะมายึดเอาที่ไปประกาศ เปนปาสงวน ไมใหชาวบานเขาไปทําประโยชนในพื้นที่ตรงนั้นแลว” พี่แหลมชี้ใหดูผืนปาฝงตรงขามถนน ที่เขาเคยปลูกมากับมือ แตตอนนี้ ถูกจับจองดวยปายประกาศวาเปนปาสงวนแหงชาติของกรมปาไม ตั้งแตวันที่ อดีตนายกฯ สุรยุทธ เจอขอหารุกที่ปาสงวนเขายายเที่ยง “ผมเคยไปชวยงานที่บานทาน ตั้งแตชวงแรกๆ ที่ทานซื้อที่ตอมาจาก พระเบา ตอนนั้นยังมีแตปาหญาคา ผสมกับที่โลงๆ ไมมีตนไมสักตน พอทาน มาอยู ชาวบานแถวนี้ก็เขาไปรับจางทํางานที่บาน ถางปา ชวยปลูกตนไม ทํา สวนจนบานทานรมรื่น รูสึกเห็นใจทานมากที่ถูกการเมืองเลนงาน” เขาสรุป สําหรับ กํานันอุทัย ในฐานะผูนําหมูบาน ถึงกับถอนหายใจเฮือกใหญ เขายอมรับวายังไมสามารถหาคําตอบไปใหกับลูกบานเขายายเที่ยงเหนือทั้ง 125 ครัวเรือนที่มีสมาชิก ราว 400-500 คน วาสิทธิ์ที่เคยอยูอาศัย และทํากิน แบบเลื่อนลอย ไรหลักฐานมากวา 35 ปบนเขายายเที่ยงจะออกหัวหรือกอย เขาบอกวา การครอบครองที่ดินบริเวณนี้ สวนมากกลุมชาวบานเขามา เมื่อปลาจะกินดาว 10 36
ทําไรชุดแรกๆ บางคนก็มาซื้อตอกัน กระทั่งกรมปาไมเขามาจัดใหคนอยูรวม กัน 14 ไร คนที่ไดสิทธิ์ทํากินสวนมากจะอยูจากอางเก็บน้ําลงมาสักครึ่งเขา สวนที่อยูดานลางเปนกลุมที่ไดสิทธิ์ใหอยูอาศัย มีบางแปลงจาก 2 งานก็ซอย กันไปคนละงาน แตทั้งหมดยังอยูในโซนที่เขาตีเอาไวให เรียกวาเขาตีกรอบ เทาไหรก็อยูเทานั้น ไมใช 300-400 แปลง “ผมอยูมากอน สภาพปจจุบันก็เหมือนเดิม เพราะแคซอยแปลงเทานั้น แตที่เขามาซื้อก็อยูในจุดเดิม ไมใชเขาไปบุกรุกพื้นที่ใหม มาตั้งแตป 18 แลว ผมอยากถามวาทําไมเอาหมูบานผมไปเลนการเมืองซะเละเทะ ในเมื่อเราไม ไดขอพื้นที่เพิ่ม ไมไดบุกรุกและเรียกรองอะไรจากรัฐ การทําแบบนี้กระทบตอ สิทธิ์ของชาวบาน” “ชาวบานชวยกันดูแลปาอยางดี ที่แบงขายไปเพราะความยากจนจาก หนี้สินที่ขาดทุนจากการทําไรกับทางธ.ก.ส. ก็มี เขาซื้ออาศัยคนละ 1-2 งาน และบางคน 2-3 ไรเทานั้นเขาก็ทํารีสอรท ไมไดมีมากอะไร สวนใหญเปน ญาติพี่นองกัน ไมใชนายทุนนอกพื้นที่” “ชาวบานก็เครียด ตอนนี้ทุกคนไมทําอะไร เฝาดูวารัฐบาลจะทําอะไร เพราะมีการออกสื่อวายังมีอีก 4-5 ราย ที่เขาบอกจะเอาออกเหมือนกับอดีต นายกฯ สุรยุทธ พวกเราถูกลิดรอนมาเรื่อยๆ แตทําไมแถววังน้ําเขียว แถว ปากชอง ที่ดินและรีสอรทเปน 1,000 ไร มีแตคนรวยและนายทุนตัวจริง ครอบครอง รัฐไมกลาแตะ มาบีบบานเล็กๆ แบบเขายายเที่ยงคงไมยุติธรรม” “ขณะนี้ตองรอความชัดเจนเสียกอน ใหกรมปาไมเอาปายประกาศมาติด ใหชัดเจนวาจะใหชาวบานอยูกันแบบไหน ถาทําพรอมกันทั่วประเทศ โดยใช เขายายเที่ยงเปนโมเดล เรายอมรับได” กรณีที่ดินบนเขายายเที่ยงของอดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งแมจะเปนเกมทาง การเมือง แตก็สะเทือนการเดินหนาตรวจสอบตอที่ดินในเขตปาสงวนแหงชาติ ทั่วประเทศ ที่อาจเกิดปญหาตามมาไมสิ้นสุด แมแต ผศ.ดร.อิทธิพล ก็ไมเห็นดวยที่กรมปาไม จะใชโมเดลของเขายาย เที่ยงเปนแนวทางแกปญหาขอพิพาทที่ดินในเขตปาสงวนแหงชาติทั่วประเทศ เนื่องจากลักษณะของปญหา และมติที่ถูกประกาศในแตและพื้นที่แตกตางกัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 37
แมแตการพิสูจนการครอบครองที่ดินตามมติ ครม. 30 มิถุนายน 2541 ที่ผาน มาแลว 10 ป ก็ยังไมสามารถหาขอยุติไดเลย “ถาจะจัดการแบบเดียวกัน ตองถามวากรมปาไมจะถือมาตรฐานไหน เป็นหลัก ซึ่งกรมป่าไม้ก็รับรู้ว่าขณะนี้มีหลายมาตรฐานจากมติที่รัฐบาล แตละรัฐบาลประกาศออกมา เพราะยังมีรายอื่นๆ ที่จะเกิดปญหาตามมา” นักวิชาการ ตั้งขอสังเกต
แสงสวางที่ปลายอุโมงค ทุมงบสํารวจเขตแนวปา 2.2 พันลาน “สิ่งที่จะเห็นในอีก 2 ปคือ แผนที่ความละเอียดขนาด 1 : 4,000 รวบรวม จัดทําในรูปแบบฐานขอมูลเปนดิจิตอลไฟล ลักษณะเดียวกับกูเกิ้ลเอิรธ ที่ หนวยราชการ ประชาชน เอกชน สามารถเขาไปใชประโยชนได เนื่องจากจะ จําแนกชัดวาที่ดินทั่วประเทศมีเทาไร จุดใดที่ไมอยูในเขตปา” “โครงการนี้สามารถแกไขปญหาความขัดแยงเรื่องที่ดินและปาไมของพี่ นองประชาชนอยางเบ็ดเสร็จเด็ดขาด พี่นองประชาชนจะไดมีโอกาสมีที่ดิน ทํากินอยางยั่งยืนควบคูไปกับการอนุรักษปาไมใหกับลูกหลานของเรา” คํากลาวของ สุวิทย คุณกิตติ รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตอโครงการเรงดวน เพื่อแกไขปญหาการ บุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมของประเทศ หนึ่งในนโยบายสําคัญที่สุวิทย ผลักดันจนเปนรูปธรรม หลังจากไดกลับมานั่งเกาอี้รัฐมนตรีกระทรงนี้สมัย ที่ 2 นโยบาย “เร็ว รุก บุกถึงที่” ในยุคแรกถูกกลับมาปดฝุนใหม หลังจาก ตลอดปท่ี 2552-2553 เขาตองออกพืน้ ทีต่ รวจปญหาบุกรุกทีด่ นิ และการลักลอบ ตัดไมจนนับครั้งไมถวน ลาสุดคือกรณีปาพรุควนเคร็ง จ. นครศรีธรรมราช ซึ่งถูกไฟเผาไหมเสียหายกวา 2 หมื่นไร โดยมีนายทุนอยูเบื้องหลังการเขา ยึดครองพื้นที่รอบปาพรุ ทําสวนปาลมน้ํามัน เรื่องนี้ยังคงอยูในชั้นของการ สอบสวนการไดมาของเอกสารสิทธิ์ที่นายทุนใชกลาวอาง สอดคลองกับขอมูลผลการปฎิบัติงานศูนยปองกันและปราบปรามการ บุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม ซึ่งตั้งวอรรูมที่ชั้น 17 อาคารกระทรวงทรัพยากร เมื่อปลาจะกินดาว 10 38
ธรรมชาติฯ พบวาเพียงแค 5 เดือน (พฤษภาคม – กันยายน 2552) มีการแจง เบาะแสการบุกรุกที่ดิน ลักลอบตัดไม และลาสัตวปา รวม 43 ครั้ง ครอบคลุม 16 จังหวัดทั่วประเทศ เชน กาญจนบุรี ตรัง ตาก นครพนม นครศรีธรรมราช เพชรบุรี ภูเก็ต มุกดาหาร ระนอง ลําปาง ลําพูน สุราษฎรธานี โดยจังหวัด ตาก มีการลักลอบแปรรูปของไมสัก 3,117 ลบ.ม. มูลคาความเสียหาย 1.7 ลานบาท สวนที่ลําปางมีการบุกรุกพื้นที่ 66 ไร 2 งาน มูลคาความเสีย หาย 3.2 ลานบาท หากพลิกขอมูลยอนหลังไปจนถึงป 2551 สถิติการบุกรุกทําลายปามีราย ใหญ และรายยอยรวม 8,776 คดี พื้นที่ปาถูกบุกรุก 59,425 ไร ไมของกลางที่ ยึดได 19,689 ลบ.ม. มูลคาความเสียหายถึง 1,540 ลานบาท หากถามกลับไปวาเหตุใดปญหาการบุกรุกที่ดิน ลักลอบตัดไม ลาสัตว จึงยังมีแนวโนมเพิ่มขึ้น นักอนุรักษ บอกวา สวนหนึ่งมาจากภาวะเศรษฐกิจ ซบเซาในชวงปที่ผานมาทําใหทรัพยากร กลายเปนซุปเปอรมาเก็ตขนาดใหญ ที่คนมุงหาผลประโยชนไดงาย บวกกับปญหาการทํางานที่ขาดประสิทธิภาพ ของหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งกรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุ พืช ที่มักจะมีการเปลี่ยนผูบริหาร เปลี่ยนนโยบาย ทําใหขาดความตอเนื่อง แมแตสุวิทย ยอมรับวา ไมพอใจกับการแกไขปญหาบุกรุกที่ดินพื้นที่ปา แมจะมีมาตรการในปองปราม การตรวจตรา จับกุมดําเนินคดี ทําให ทส. ตองกลับมาทบทวนถึงปญหาที่เกิดขึ้น และพบจุดออนที่ทําใหงานไมสําเร็จวา มาจาก “ขอบเขตพื้นที่ปาไมไมชัดเจน” ทําใหไมสามารถนําไปสูกระบวนการ พิสูจนสิทธิ์การใชประโยชนในที่ดินได ดวยเหตุผลดังกลาว การเดินหนาผลักดันโครงการเรงดวนเพื่อแกไข ปญหาการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมของประเทศ จึงเริ่มตนทันที โดยมี เปาหมายเพื่อจัดทําแนวเขตปาประเภทตางๆ รวมถึงที่ดินของรัฐใหมีแนวเขต ชัดเจน ดวยการใชขอมูลแผนที่ภาพถายกอน และหลังการประกาศเขตพื้นที่ ปาไม ระหวาง ป พ.ศ. 2495-2510-2518-2540- และ 2542 เปนขอมูลพื้นฐาน ในการกําหนดแนวเขตที่ดินของรัฐประเภทตางๆ กลาวคือ แนวเขตอุทยาน แหงชาติ แนวเขตรักษาพันธุสัตวปา แนวเขตหามลาสัตวปา ปาชายเลน และ เมื่อปลาจะกินดาว 10 39
แนวเขตปาไมถาวรตามติคณะรัฐมนตรี รวมทั้งที่ราชพัสดุ นิคมสหกรณ เขต ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ที่สาธารณะประโยชน ตลอดจนที่ดินเอกชน เชน น.ส. 3 ก และ น.ส. 3 ดวย โดยตั้งเปาแลวเสร็จภายในระยะเวลาเพียง 2 ป (กุมภาพันธ 2555) แต เนื่องจากเปนโครงการขนาดใหญ ตองใชงบประมาณสูงถึง 2,254 ลานบาท ทส. จึงตองขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เพื่อขอใชเงินจากกองทุนสิ่งแวดลอม ซึ่งแมจะถูกทวงติงถึงการอนุญาตใชเงินดังกลาวจากกลุมนักอนุรักษ แตทวา เสียงกลับแผวหายไป ตามแผนการใชเงินจากกองทุนสิ่งแวดลอม 2,254 ลานบาท ถูกแยก เปน ป 2552 วงเงิน 584 ลานบาท โดยขอใหสํานักงบฯสนับสนุน 480 ลาน บาท จากงบกลางป 2552 และปรับกิจกรรมภายใตโครงการเรงรัดการจัดทํา แนวเขตในพื้นที่ปาอนุรักษ ตามแผนการใชงบประมาณป 2552 จากกิจกรรม ปรับปรุงแนวเขตที่ดินของรัฐ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช เปนกิจกรรมตามโครงการเรงดวนเพื่อแกปญหาการบุกรุกทําลายทรัพยากร ปาไมของประเทศ วงเงิน 104 ลานบาท สวนที่เหลือใหขอตั้งงบตอเนื่องป 2553 วงเงิน 767 ลานบาทและป 2554 อีก 1,054 ลานบาท ซึ่งทส.จะตั้ง วงเงินคืนกลับไปใหกับกองทุนสิ่งแวดลอม ทามกลางความเงียบเชียบตลอดป กลับปรากฎวาโครงการเดินรุดหนา อยางรวดเร็ว ถึงขั้นมีการเซ็นสัญญากับบริษัท อีเอสอารไอ (ประเทศไทย) จํากัด เปนที่ปรึกษาทางดานเทคนิคของโครงการ พรอมกับเบิกจายเงิน รวม 2 งวด จํานวน 200 กวาลานบาท สําหรับจัดซื้ออุปกรณการพิมพ และการ ตั้งศูนยสารสนเทศที่ชั้น 4 อาคาร ทส. พรอมการเปดตัวอยางเปนทางการเมื่อ วันที่ 18 มิ.ย.2553 โดยนายกฯอภิสิทธิ์ ไดเดินทางมารวมดวยตัวเอง “ปญหาที่ทํากินและปาไมเปนปญหาที่ละเอียดออน ซึ่งเปนปมขัดแยงใน หลายพื้นที่ เปนปญหาที่สะสมมานาน ไมมีสภาผูแทนฯ ยุคไหนที่ไมหยิบเรื่อง นี้มาถกเถียงและแกไขปญหาในประเด็นเดิมๆ ในเรื่องปารุกคน คนรุกปา ปา จะอยูกับคนไดหรือไม รวมทั้งมีการพิจารณากฎหมายฉบับตางๆ เพื่อจัดการ พื้นที่ในแตละยุคแตละสมัย” เมื่อปลาจะกินดาว 10 40
“ป จ จุ บั น ป ญ หาทวี ค วามรุ น แรงขึ้ น ซึ่ ง เป น ป ญ หาใหญ แ ละท า ทาย กระบวนการในอนาคตถาปลอยวิธีการแกไขปญหาที่บางสวนยังมองมิติเดียว เชน การจัดที่ทํากิน การอนุรักษปาไม การดูแลสิ่งแวดลอมในภาพรวม เชื่อวา จะไมทันตอความเปลี่ยนแปลงและไมมีคําตอบที่ยั่งยืนได เพราะความลาชา ในการแกไขปญหาทําใหชุมชนขยายตัวแบบไมธรรมชาติ ที่จะมีกลุมใหมๆ บุกรุกเขาไป ซึ่งกวาจะพิสูจนวาใครอยูกอนหลัง เวลาที่ทอดไปก็มีกลุมใหม เขาไปก็เปนปญหา” “ความขัดแยงที่ยืดเยื้อก็เปนปญหาที่นํามาสูการเรียกรองการชุมนุม กลายเปนเงื่อนไขประเด็นของความขัดแยงที่จะกระทบการเมืองและความ มั่นคงได นี่จึงเปนจุดหนึ่งที่ถูกหยิบยกมาเพื่อแกปญหาความเหลื่อมล้ําใน สังคมที่อยูในแผนปรองขณะนี้ดวย” อภิสิทธิ์ บรรยายในงานเปดตัว เขาย้ําวา จําเปนจะตองหากระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ยอมรับจาก ทุกฝายในการหาขอเท็จจริงเพื่อความยั่งยืน
คลังขอมูลแผนที่ฉบับกูเกิลเอิรทธ “เหตุผลที่เลือกอีเอสอารไอ เนื่องจากมีประสบการณในการทํางานดาน แผนที่ และระบบภูมิสารสนเทศ ใหกับหนวยราชการของไทยมานานมาก รวมทั้งผานเกณฑทางเทคนิคตามที่ทส. ไดตั้งไว” อุดม จันทรสุข ผูอํานวยการสํานักบริหารโครงการเรงดวนเพื่อ แกไขปญหาการบุกรุกการทําลายทรัพยากรปาไมของประเทศ บอก เหตุผลที่อีเอส อารไอ ไดรับเปนที่ปรึกษาโครงการนี้ ตามสัญญาเมื่อเสร็จสิ้นโครงการจะทําใหประเทศไทยมีคลังขอมูลแนว เขตปาไม และที่ดินของรัฐที่อยูในรูปพรอมใชงานสําหรับทุกหนวยงานนําไป เปนหลักฐานอางอิง ในการแกปญหาขอพิพาทการบุกรุกถือครองไดอยาง รวดเร็ว เนื่องจากที่ผานมากวาจะหาซื้อแผนที่ภาพถายทางอากาศจากกรม แผนที่ มาตรวจสอบพิสูจนแตละกรณีตองใชขั้นตอนถึงครึ่งป ทําใหไมทันกับ สภาพปญหา คลังขอมูลที่วานี้ จะประกอบดวยแผนที่ออรโธสี ความละเอียด 1 ตอ 4,000 ฉบับใหมจากโครงการนี้ รวมทั้งสิ้น 180,000 ภาพ ครอบคลุมพื้นที่ปา อนุรักษ 1,421 ปาพื้นที่ 143 ลานไร และครอบคลุมแนวเขตที่ดินรัฐ ซึ่งจัดเปน แผนที่มีความละเอียดสูงมาก สามารถมองเห็นไดในระดับ 2 เมตร กลาวคือ เมื่อปลาจะกินดาว 10 41
เห็นตั้งแตหลังคา ตนไม แนวเขตปา แหลงน้ํา ถนน แตกวาจะไดมาตองใช เทคโนโลยีขั้นสูงในการสแกนภาพถายทางอากาศเกา 5 ชวงป คือ ป 2542 ยอนหลังจนถึงป 2495 ซึ่งถายโดยกรมแผนที่ทหารมาปรับแกสเกลใหอยูในคา พิกัดของภาพใหตรงแผนที่บนพื้นผิวโลก รวมทั้งการวัดพิกัดภาคสนาม สอบ ทานขอมูลที่ถูกตอง และยอมรับไดของผูมีสวนไดสวนเสียกอน บริษัทจะตองทําการสํารวจรังวัดและทําหมุดหลักฐานภาคพื้นดินในเขต ปาของ ทส. อยางนอยพื้นที่ละ 2 หมุด เพื่อประโยชนในการสํารวจรังวัด อางอิงพิกัดตําแหนง การทําบัญชีคาพิกัดของหมุดหลักฐานภาคพื้นดิน และ นี่เปนเหตุผลวาเม็ดเงินกวา 2,000 ลานจะเทใหกับการจัดขอมูลพื้นฐานราว 286 ลานบาท งานจัดทําขอมูลแผนที่ 1,211 ลานบาท ที่เหลือจะสรางระบบ สืบคนและศูนยใหบริการขอมูลแนวเขตฯอีกดวย ป จ จุ บั น โครงการนี้ ไ ด เ ริ่ ม นํ า ร อ งในหลายพื้ น ที่ ที่ อ ยู ใ นข า ยป ญ หา 198 จุด วิกฤตที่ ทส. ถือเปนงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะโครงการสวนปา วัดจันทร อ.แมแจม จ.เชียงใหม พื้นที่สหกรณนิคมกระเสียว อ.ดานชาง จ.สุพรรณบุรี นิคมสหกรณหวยขมิ้น จ.สุพรรณบุรี และการบุกรุกที่ดินในฝง ทะเลอันดามัน “หลังการทําแนวเขตปาเสร็จสิ้นจะทําใหเกิดความชัดเจนเรื่องพื้นที่ปา อนุรักษทุกประเภทที่ตรงกับขอมูลปจจุบันมากที่สุด” อุดม ระบุ ทวาในมุมมองของ สุรพล ดวงแข ประธานเครือขายสิ่งแวดลอม กลับเห็นตางกันอยางสิ้นเชิงวา การทําแนวเขตที่ดินตามนโยบายของรัฐมนตรี ทส. โดยใชเงินจํานวนมหาศาลครั้งนี้ คงไมสามารถแกปญหาบุกรุกที่ดิน ได เพราะมีความไมชัดเจนมาตั้งแตตน ทําใหหลักเขตที่รัฐเคยขีดเสนคลุม พื้นที่ของชาวบานไวแลวเกิดการไมยอมรับ จนกลายเปนความขัดแยงขึ้นทั่ว ประเทศ “เรื่ อ งนี้ มี ค วามละเอี ย ดอ อ นและซั บ ซ อ นมากเกิ น กว า จะอ า งว า นํ า เทคโนโลยีจากภาพถายทางอากาศมาตรวจพิสูจน เชื่อวาปญหาจะตามมา เปนลูกโซ ขณะที่ในชวงหลายปกอนทส. ก็เคยใชงบกวา 300 ลานบาททํา โครงการสํารวจแนวเขตและฐานขอมูลทรัพยากรที่ดินของรัฐครอบคลุมเกือบ ทั่วประเทศ แตก็แกปญหาอะไรไมได” “ที่ผานมากรณีทําถนนรอบพื้นที่เขาใหญเพื่อเปนแนวเขต แตพอไปรังวัด เมื่อปลาจะกินดาว 10 42
และกันพื้นที่ออกไปแทนที่จะไดพื้นที่เพิ่ม แตกลับตองเสียพื้นที่ใหนายทุน และผูมีอิทธิพลในพื้นที่จากการติดสินบนเจาหนาที่ ทส. จะมีมาตรการไหนที่ รองรับความเสี่ยงจากการหาผลประโยชนในการทําแนวเขตที่ดินทั่วประเทศ ใน ถาเกิดปญหาขึ้นรัฐมนตรี ทส. ตองแสดงความรับผิดชอบจากการนํา เงินกองทุนสิ่งแวดลอมมาใชแลวไมสําเร็จหรือไม” นักอนุรักษ ระบุ เม็ดเงิน 2,200 ลานบาท ที่ถูกคาดหวังใหเปน “เครื่องมือไฮเทค” ยังคงอยูระหวาง ทางวาจะใชเปนคําตอบไดจริงหรือไม
‘โฉนดชุมชน’ประชานิยมรัฐบาลมารค เดือนกรกฎาคม ป 2553 รัฐบาลอภิสิทธิ์ ไดสงนายสาทิตย วงศหนองเตย รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ผลักดันโครงการโฉนดชุมชน หนึ่งใน นโยบายดานที่ดินที่รัฐบาลจะซื้อใจชาวบานที่ไรที่ดินทํากิน “โฉนดชุมชน” ภายใตแนวคิดทีจ่ ะใหสทิ ธิของชุมชนในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ตามมาตรา 66 ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ กลาวคือ เปนสิทธิรวมของชุมชนในการจัดการ การครอบครอง และการใชประโยชน จากที่ดิน แตไมไดใหสิทธิ์การครอบครอง ปจจุบัน นายสาทิตย ในฐานะประธานคณะกรรมการประสานงานเพื่อ จัดใหมีโฉนดชุมชน เปดเผยวา ไดอนุมัติใหคณะทํางานสํารวจและตรวจสอบ พื้นที่ในการจัดใหมีโฉนดชุมชน สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีจํานวน 4 ชุด ซึ่งประกอบดวยชุดจากภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และชุดภาคใต ลงพื้นที่ปฏิบัติงาน ในชวงวันที่ 1 - 22 กันยายน 2553 โดย คณะทํางานดังกลาวมีผูแทนจากสวนราชการที่เกี่ยวของ และตัวแทนภาค ประชาชนเขารวม คณะทํางานชุดนี้จะลงพื้นที่ชี้แจงนโยบายการกระจายการถือครองที่ดิน ใหแกเกษตรกรเพื่อทํากินและที่อยูอาศัยในรูปแบบโฉนดชุมชน ดําเนินการ สํารวจและเก็บขอมูลของชุมชนที่สอดคลองกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการจัดโฉนดชุมชน พ.ศ. 2553 รวมทั้งรวบรวมขอมูลเอกสารหลักฐาน ตางๆ ของชุมชน ซึ่งประกอบดวยตําแหนงที่ดิน ประเภทที่ดิน และการใช ประโยชนในที่ดินดังกลาว จากนั้นจะสรุปเสนอคณะอนุกรรมการสํารวจและ ตรวจสอบพื้นที่ในการจัดใหมีโฉนดชุมชนพิจารณาตอไป
เมื่อปลาจะกินดาว 10 43
‘บานตระ’ เทือกเขาบรรทัด นํารองโฉนดชุมชน เรวัตร อินทรชว ย ชาวบาน ตระ ต.ปะเหลียน จ.ตรัง สมาชิก เครือขายปฏิรปู ทีด่ นิ เทือกเขาบรรทัด ชีใ้ หดแู ผนทีโ่ บราณอายุราว 300 ป ทีท่ าํ ขึน้ ตัง้ แตสมัยอยุธยาตอนกลาง แตตอ มาในป 2457 กรมแผนที่ไดจัด ทําแผนที่ขึ้น และแสดงแผนที่บานตระ ในระวางที่ 2.47.4.9 ถือเปนหลัก ฐานชิ้นสําคัญที่แสดงวาบานตระ เปนหมูบานมีความสําคัญมาตั้งแตอดีต จากชื่ออยูในแผนที่โบราณฉบับนี้ และยังแสดงใหเห็นวาชุมชนแหงนี้อยูมา
เมื่อปลาจะกินดาว 10 44
กอนถูกประกาศเปนเขตรักษาพันธุสัตวปาเทือกเขาบรรทัด “ถาดูจากแผนที่โบราณชุมชนบานตระ อยูทางทิศตะวันออกของ เทือกเขาบรรทัด ซึ่งสวนใหญเปนที่ราบหุบเขา มีความอุดมสมบูรณ ชาวบานที่นี่อยูกันมา 100 ปแตยังยึดอาชีพดั้งเดิมคือ ทําสวนยาง สวน ผลไมจําพวกเรียน มังคุด สะตอ บานผมมีพื้นที่ 20 ไรในหมู 2 และอยู ใจกลางเทือกเขาบรรทัดก็จริง ก็ทําสวนยางผสมกับสวนผลไมเปนหลัก ไมไดขยายพื้นที่เพิ่มเติม มีแตจะรวมตัวกันดูแลปามาตั้งแต 10 ปที่แลว ซึ่งแมจะดูแลปากันแตก็ยังโดนรัฐจับอยูเรื่อยๆ ทําใหชาวบานเห็นวาถึง เวลาที่จะตองเรียกรองสิทธิในการดูแลปาดวยการทําเปนโฉนดชุมชน ครอบคลุมพื้นที่ 3000 ไร เสนอไปยังรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ดูแลโครงการนี้” เรวัตร บอกอีกวา ขณะนี้ไดรวมกันจัดทําโฉนดชุมชนบานตระ โดย การสํารวจขอบเขตพื้นที่ทําขอมูลประวัติการถือครองและใชประโยชน ที่ดิน รวมทั้งประวัติของชุมชน รวมกับสมาชิกอีก 70 ครัวเรือนใน 10 หยอมบาน ครอบคลุมพื้นที่ปาชุมชน 5 แหงรวมพื้นที่ 200 ไร มีแมน้ํา 7 สาย รวมทั้งมีกติกาจัดการปา เชน หามทําลายปาสมบูรณ หามลาสัตว ที่กําลังสูญพันธุ และลาเพื่อการคาอยางเด็ดขาด ปลูกปาทดแทน สวน การจัดการที่ดิน เชน หากจะโคนยางพาราที่หมดสภาพเพื่อปลูกทดแทน ใหโคนปละไมเกิน 5 หยอมบานละไมเกิน 10 ไรและตองไมเปนแปลงติด กัน นอกจากนี้ยังมีการกองทุนธนาคารที่ดิน เพื่อควบคุมใหมีการเปลี่ยน มือที่ดินเฉพาะภายในชุมชนและใชที่ดินเพื่อทําการเกษตรเปนตน ขอมูลจากเครือขายปฏิรูปที่ดินเทือกเขาบรรทัด ระบุวา บานตระ อ. ปะเหลียน จ. ตรัง ชุมชนบานทับเขือ-ปลักหมู เขตรอยตอ จ. ตรัง และ พัทลุง และชุมชนบานลําขนุน ต.นาชุมเห็ด จ.ตรัง ซึ่งมีชาวบานจํานวน 22 ราย ที่ถูกฟองรองคดีโลกรอน เนื่องจากการประกาศเขตอนุรักษทับ ซอนพื้นที่ชุมชน ไดแก ปาสงวนแหงชาติ ในป 2507 และป 2510 เขต รักษาพันธุสัตวปาเทือกเขาบรรทัด ในป 2518 และอุทยานแหงชาติเขา ปู-เขายา ในป 2525 สงผลใหชาวบานที่เคยทําอาชีพสวนยาง สวนผล เมื่อปลาจะกินดาว 10 45
ไมบนเทือกเขาบรรทัด ถูกฟองรองในขอหาบุกรุก และตามมาดวยโลก รอนมาอยางตอเนื่องตั้งแตป 2548 คือ 3 พื้นที่นํารองโครงการ “โฉนด ชุมชน” “ชาวบานที่นี่ไมไดเรียกรองเพื่อครอบครองเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน แต หากทําเปนโฉนดชุมชน ชาวบานก็จะชวยกันดูแล ที่ดินก็ยังอยู เปนการ ปองกันการเปลี่ยนมือไปอยูกับนายทุน โดยขั้นตอนการประกาศโฉนด ชุมชนในพื้นที่ 3 แหงในเทือกเขาบรรทัด คาดวาอยางชาภายในเดือน ตุลาคมนาจะรูคําตอบ วิธีนี้จะเปนทางออกที่ทําใหชาวบานไมตองถูกรัฐ ฟองรองในคดีโลกรอนอยางไมเปนธรรม” บัณฑิตา อยางดี กองเลขาเครือขายปฏิรปู ทีด่ นิ เทือกเขา บรรทัด ใหขอ มูลพรอมขยายความวา กรณีทบ่ี า นตระไดเขาไปสํารวจ พืน้ ทีท่ ช่ี าวบานโดนขอหาบุกรุกและฟองรองโลกรอน ทําใหพบขอเท็จจริง ในเชิงพืน้ ที่ วิถชี วี ติ และการทํากินของชาวบานวาไมไดทาํ ใหเกิดความ เสียหายตอดิน น้าํ ปาและทรัพยากรอยางทีร่ ฐั ยัดเยียดความผิดให เฉพาะ บานตระทีส่ วนสมรมมีความหลากหลายของพันธุพ ชื คอนขางมาก พบตน ทุเรียนชือ่ ขมิน้ อายุมากถึง 113 ป และยังไมใชทเุ รียนตนแรกทีป่ ลูกขึน้ ใน หมูบ า นนี้ ขณะที่ตนยางรุนสองอายุระหวาง 60-100 ปราว 1300 ตน ตน ลางสาด มะมุด สะตอ ที่ปลูกมาเทียบเทาอายุคน จึงขอบอกวาถึงเวลา ที่กรมปาไม กรมอุทยานฯ ตองทบทวนการฟองรองชาวบานดวยขอหานี้
เมื่อปลาจะกินดาว 10 46
บรรณานุกรม 1. งานเวทีเสวนาประชาชน “การจัดการที่ดินเพื่อการทํากิน : ปญหาและทางออก” วันที่ 24 มิถุนายน ที่ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล จัดโดยศูนยบริการประชาชน สํานักงานปลัด สํานักนายกรัฐมนตรี 2. เสวนาผาทางตัน ขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา วันที่ 7 มิถุนายน 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม 3. ลงพื้นที่เขายายเที่ยงวันที่ 13 พฤษภาคม 2553 4. งานสัมมนาโครงการเรงดวนเพื่อดําเนินการแกไขปญหาบุกรุก ทําลายทรัพยากรปาไมของประเทศ เพื่อพัฒนาระบบฐาน ขอมูลแนวเขตที่ดินของรัฐ จัดโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม วันที่ 18 มิถุนายน 2553 5. สัมภาษณอุดม จันทรสุข ผอ.วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 6. สัมมนาโครงการเวทีสาธารณะ คดีคนจน วันที่ 19 กรกฎาคม 2553 ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 7. รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาแกไขปญหา ที่ดินทํากิน กฎหมายเกี่ยวกับที่ดิน และเรงรัดออกเอกสารสิทธ แกประชาชน สภาผูแทนราษฎร จาก ดร.อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ
เมื่อปลาจะกินดาว 10 47
สิ่งแวดลอมศึกษา...ทิศทางการพัฒนา อยางยั่งยืน เกื้อเมธา ฤกษพรพิพัฒน
เมื่อปลาจะกินดาว 10 48
หากพูดถึงปญหาภาวะโลกรอนสักเมื่อ 10 ปกอน คงเปนเพียง ประเด็นสนทนากันในวงประชุมวิชาการและกลุมคนที่สนใจเพียงหยิบมือ หลังจากความสําเร็จของหนังสารคดีเรื่อง An Inconvenient Truth ที่เขา ฉายในบานเราเมื่อป 2549 คําวา “โลกรอน” ก็กลายเปนคํายอดฮิตติดปาก เปนหัวขอพูดคุยกันทั่วไป ทั้งในตลาดสดยันหองเรียน เกิดการรณรงคอยาง แพรหลายที่พบเห็นไดทั้งตามถนนหนทางและหนาสื่อ ผูคนจํานวนมากเกิด ความตืน่ ตัวพากันหิว้ ถุงผาเพือ่ ลดโลกรอน บริษทั หางรานและหนวยงานตางๆ ก็พากันสัง่ ทําถุงผากระหน่าํ ขายกระหน่าํ แจก หลายคนหันมาใสเสือ้ ยืดจําพวก “save the planet” เพื่อแสดงออกถึงหัวใจรักโลก มีการจัดคอนเสิรตรื่นเริง เพื่อปลุกจิตสํานึก ดารานักแสดงและหลากหลายองคกรหันมาเชิญชวนให รวมมือกันปลูกตนไมคนละไมคนละมือ ชวยกันประหยัดน้ํา ประหยัดไฟ ขี่จักรยาน และจิปาถะ แมชั่วพริบตา สังคมไทยจะตื่นตัวกับวิกฤตการณระดับโลก จนบางคนก็ ถึงกับตื่นกลัววาโลกจะแตก แผนดินจะจมอยูใตน้ํา ทวาคําถามที่ตามมาก็คือ วาพลเมืองไทยเรียนรูและเขาใจปญหาภาวะโลกรอนเพียงใด แลวสิ่งที่กระทํา กันนั้น มันนําไปสูการแกไขหรือเพียงพอที่จะรับมือกับปญหาภาวะโลกรอน หรือไม เมื่อปลาจะกินดาว 10 49
รศ.ประสาน ตังสิกบุตร รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม เห็นวา ปรากฏการณที่เกิดขึ้นนั้นเปนเพียงกระแส การเรียนรู ปญหาภาวะโลกรอนของสังคมไทย ยังมองแทบไมเห็น “พอพูดถึงปญหาโลกรอน คนก็จะบอกวาใหปลูกตนไม ใหขี่จักรยาน ให ประหยัดน้ําประหยัดไฟ แตกิจกรรมที่จัดขึ้นนั้นไดสะทอนถึงความคิดเบื้อง หลังไหมวาทําไมถึงตองทําอยางนั้น ภาษาเหนือเรียกวางานปอย หรืองาน ชาง จัดเพื่อโปรโมต แลวก็หายไป เดี๋ยวหนหนาคอยวากันใหม เผลอๆ กระตุน ใหเกิดการใชทรัพยากรมากกวาเดิม ลงทุนจัดงานตั้งมากมาย ผลสุดทายสิ้น เปลืองพลังงาน ขยะเกลื่อนกลาดไปหมด” เชนเดียวกับงาน “สิ่งแวดลอมศึกษา” ซึ่งเปนกระบวนการเรียนรูที่มีเปา หมายเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมใหอยูรวมกับสิ่งแวดลอมไดอยางสมดุล และถูก คาดหวังวาจะเปนเครื่องมือในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม ทวาก็ตกที่นั่งไม แตกตางกันนัก เพราะถึงแมแนวคิดเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาจะกอรูปในเวทีโลก มาไมต่ํากวา 40 ป และไดรับการเผยแพรในประเทศไทยมายาวนานไลๆ กัน ก็ตาม แตก็ยังไมสามารถเปนเครื่องมืออันทรงประสิทธิภาพในการสรางทักษะ การเรียนรูและแกไขปญหาใหกับสังคมไทยได แน น อนว า ปฏิ กิ ริ ย าของสั ง คมไทยต อ ป ญ หาภาวะโลกร อ นเป น ภาพ สะทอนไดอยางดี
อะไรคือสิ่งแวดลอมศึกษา เมื่อพูดถึงคําวาสิ่งแวดลอมศึกษาในสังคมไทย คนสวนใหญมักนึก กิจกรรมคัดแยกขยะในโรงเรียน ทําน้ําหมักชีวภาพ รณรงคประหยัดน้ํา ประหยัดไฟ การพาเด็กนักเรียนไปเขาคาย ไปเดินปา หรือไมก็การเรียนเรื่อง สิ่งแวดลอมรอบตัวในชั้นโรงเรียน เหตุผลสําคัญที่ทําใหภาพสิ่งแวดลอม ศึกษาติดกับดักของโรงเรียน นั่นเพราะการเขามาของแนวคิดจากตะวันตกนี้ ในระยะแรกเปนการเขามาขายไอเดียผานสถาบันการศึกษา ไมวาในโรงเรียน หรือในมหาวิทยาลัย แลวละเลยภาคสวนที่สําคัญ คือภาคประชาชน มัทนา ถนอมพันธุ กรรมการนโยบายองคการกระจายเสียงและ แพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย (ทีวีไทย) และอดีตเลขาธิการมูลนิธิ เมื่อปลาจะกินดาว 10 50
สรางสรรคไทย (ตาวิเศษ) เลาถึงการเผยแพรแนวคิดเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษา ของประเทศไทยในยุคแรกๆ เมื่อประมาณตนพุทธทศวรรษที่ 2530 วา เริ่มตน จากการที่องคกรยูเสดของสหรัฐอเมริกาใหทุนสนับสนุนรัฐบาลไทย ประมาณ 40 ลานเหรียญสหรัฐ แนวคิดในขณะนั้นตองการจะเอาสังคมไทยเปนตัวเอื้อ ชุดแนวคิดของอเมริกา ไมวาจะเปนเรื่องการลงทุน เรื่องประชาธิปไตย หนึ่ง ในนั้นคือการนําเรื่องสิ่งแวดลอมมาเปนตัวขับเคลื่อนเรื่องเศรษฐกิจและสังคม และใชเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาเปนตัวเดินหมากผานกระทรวงศึกษาธิการของ ไทย “ตอนนั้นอเมริกาคิดวาตัวเดินหมากนาจะเปนเสนาธิการทางความคิด เพื่อที่จะปลูกฝงคนรุนใหม แตเขาไมรูวาเสนาธิการของสังคมไทยมันเชยมาก การใชกระทรวงศึกษาธิการเปนตัวเดินหมาก มันเลยจมอยูตรงนั้น งานสวน ใหญ เงินสวนใหญ เปนเรื่องการสงคุณครูไปดูงานเมืองนอก ทําหลักสูตร มี การขับเคลื่อนผานกลุมที่อยูนอกกระทรวงศึกษาธิการเพียงนิดหนอย ทําใหคํา วาสิ่งแวดลอมศึกษาถูกฝงหัววาตองอยูในหองเรียน” อันที่จริง สิ่งแวดลอมศึกษาไมใชการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม และก็ ไมใชการเรียนการสอนในชั้นเรียน แตถูกยกระดับใหเปนเครื่องมือในการแกไข ปญหาสิ่งแวดลอมมาตั้งแตคราวประชุมระดับนานาชาติเรื่อง “สิ่งแวดลอม ของมนุษย” ที่กรุงสต็อกโฮลม ประเทศสวีเดน เมื่อป 2515 สามปถัดมา มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสิ่งแวดลอมศึกษาขึ้นที่เมือง เบลเกรด ประเทศยูโกสลาเวีย ที่ประชุมในครั้งนั้นเห็นวา การเติบโตทาง เศรษฐกิจและเทคโนโลยีไดสรางปญหาสังคม สิ่งแวดลอม และความไมเทา เทียมระหวางคนรวยกับคนจนใหถางออกมากขึ้น ดังนั้นจึงมีการเสนอวาควร มีการปฏิรูปแนวทางการศึกษาทั้งระบบ โดยกําหนดเปาหมายของสิ่งแวดลอม ศึกษาไววา เพื่อพัฒนาประชากรโลกใหมีจิตสํานึกและหวงใยสิ่งแวดลอม มี ความรู ทักษะ เจตคติ ความตั้งใจจริง และความมุงมั่นในการแกไขปญหาที่ เผชิญอยู และปองกันปญหาใหม ทั้งดวยตนเองและรวมมือกับผูอื่น ในป 2520 การประชุมระหวางประเทศเรือ่ งสิง่ แวดลอมศึกษาทีเ่ มืองทบิลซิ ี ประเทศสหภาพโซเวียต ทีป่ ระชุมไดตอกลิม่ ทางความคิดชัดอีกครัง้ วา สิง่ แวดลอม เมื่อปลาจะกินดาว 10 51
ศึกษาไมใชเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติ แตเปนเรื่องที่สัมพันธกับสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง หากจะแปลความอยางงายๆ ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย ประจําคณะครุศาสตร และในฐานะผูอ าํ นวยการศูนยวจิ ยั และพัฒนาการ ศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อธิบายวา สิ่งแวดลอมศึกษาเปนกระบวนที่จะชวยทําใหบุคคลเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยเอาประเด็นสิ่งแวดลอมมาเปนหัวขอในการเรียนรู หัวใจของสิ่งแวดลอม ศึกษา คือการเรียนรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม เพื่อสิ่งแวดลอม และตองมีมุมมอง ที่เชื่อมโยงเรื่องสิ่งแวดลอมกับสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง เขาดวยกัน ดังนั้นสิ่งแวดลอมศึกษาจึงไมใชเปนการเรียนรูแคในโรงเรียน แต เปนการเรียนรูนอกหองเรียน หรือในชีวิตประจําวันก็ได ครัน้ ในป 2535 มีการจัดประชุมสิง่ แวดลอมทีส่ รางแระสะเทือนไปทัว่ โลก นัน่ คือการประชุมวาดวยสิง่ แวดลอมและการพัฒนา ทีก่ รุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศ บราซิล การประชุมในครัง้ นัน้ ไดหยิบยกแนวคิดเรือ่ งการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนมาเปน แกนหลักของการพูดคุย โดยในการประชุมตอเนือ่ งทีเ่ มืองโตรอนโต ประเทศ แคนาดา เรือ่ งการศึกษากับการสือ่ สารเกีย่ วกับสิง่ แวดลอม ไดมคี วามพยายาม ปรับบทบาทของสิง่ แวดลอมศึกษาใหมใหเปนไปเพือ่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน หรือทีใ่ ช คําวา “การศึกษาเพือ่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน” (Education for Sustainable Development) และมองวาการพัฒนาอยางยัง่ ยืนจะเกิดขึน้ ได สังคมจะตองเขาใจและ สนับสนุน ดังนัน้ จึงตองมีบรู ณาการการศึกษาเพือ่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนเขาไปใน ทุกภาคสวนของสังคม และในปลายป 2545 ทีป่ ระชุมสหประชาชาติกม็ มี ติใหป 2548 - 2557 เปน “ทศวรรษแหงการศึกษาเพือ่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน” โดยมีความ มุง หมายใหมกี ารบูรณาการหลักการ คานิยม และแนวทางการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน ในทุกสวนของการศึกษาเรียนรู ใหนาํ ไปสูก ารสรรคสรางพฤติกรรมทีก่ อ ใหเกิด ความยัง่ ยืน ทัง้ ดานสิง่ แวดลอม เศรษฐกิจ และความยุตธิ รรมในสังคมสําหรับ คนรุน ปจจุบนั และอนาคต ผศ.อรรถพล เห็นวา การขยับตัวของแนวคิดเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษา สะท อ นให เห็ นถึ ง สถานการณ ข องสั ง คมโลกว า เต็ ม ไปด ว ยความขั ด แย ง เมื่อปลาจะกินดาว 10 52
ในการใชทรัพยากร ชองวางระหวางคนรวยกับคนจน ปญหาตางๆ อีกมากมาย ทั้งเรื่องสตรีและเด็ก ปญหาสิทธิมนุษยชน ปญหาเรื่อง วัฒนธรรม เปนตน แนวคิดที่วานี้จึงเชื่อมโยงเรื่องสิ่งแวดลอมกับมิติตางๆ ที่หลากหลาย และไมไดมีเปาหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมรายบุคคล อีกตอไป แตเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลเพื่อใหอยูรวมกัน ในสังคม “สิ่งแวดลอมศึกษาไมใชการใหความรูเรื่องสิ่งแวดลอม แตคือเรื่องการ ถักทอชุมชนคนทํางานรวมกัน ทําใหเกิดความยั่งยืน เกิดสิ่งแวดลอมที่ดีกวา พลังของสิ่งแวดลอมศึกษาเปนกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงคน โดยไมใช การทํางานคนเดียว แตเปนการทํางานรวมกับคนอื่น ไมโดดเดี่ยว ตองหา เพื่อนรวมทางใหได แลวถักทอมาเปนเครือขายทางสังคม” ดาน รศ.ประสาน ก็มีความคิดเห็นที่ไมแตกตางกันนัก โดยมองวาสิ่ง แวดลอมศึกษาเปนกระบวนการที่พยายามสรางทักษะชีวิตเพื่อการพึ่งตนเอง อยางพอเพียง ฉะนั้นถาสรางบุคคลภายใตแนวคิดนี้ นั่นคือปลายทางของสิ่ง แวดลอมศึกษา สิ่งแวดลอมศึกษาจึงไมใชการพัฒนาความรูหรือระบบการ ศึกษา ไมใชการเรียนวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แตเปนการสอนกระบวนการ คิด เปนการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อการอยูในโลกอนาคตไดอยางยั่งยืน นั่นคือ เมื่อไมวาจะเกิดอะไรก็ตาม เขาจะไดใชกระบวนการคิดเขาไปเรียนรูวาปญหา คืออะไร มีทางเลือกในการแกไขอะไรบาง และจะตองแกไขอยางไร โดยจะ ตองยึดโยงความรวมมือกับใครบาง “เราไมรูวาในอนาคตน้ําสะอาดจะมีเพียงพอหรือไม พลังงานจะหมดไป เมื่อไร จะเกิดแผนดินไหวตอนไหน สิ่งแวดลอมศึกษาจะเปนเครื่องมือในการ สรางทักษะชีวิตใหกับมนุษยในการเอาตัวรอดภายใตขอจํากัด” รศ.ประสาน ระบุ
สิ่งแวดลอมศึกษาภายใตกับดักการศึกษาไทย ในป 2540 มีการปฏิรปู การศึกษาเกิดขึน้ หลังจากนัน้ มีการประกาศใช พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขเพิม่ เติมในป 2545 เจตนารมณ ของการปฏิรปู การศึกษานัน้ ตองการจะปฏิรปู การเรียนรูใ หเทาทันกับสภาพ เมื่อปลาจะกินดาว 10 53
ความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ ดานตางๆ ของโลกยุคโลกาภิวัตน พรอมกับคํานึงถึงสภาพความตองการที่แท จริงของสถานศึกษาและทองถิ่น ทั้งนี้ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ภายใตพ.ร.บ.การศึกษา แหงชาติ ไดระบุเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาโดยใหกําหนดสาระและมาตรฐาน การเรียนรูไวในกลุมวิชาตางๆ โดยเฉพาะกลุมวิทยาศาสตร กลุมสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสุขศึกษาและพลศึกษา นอกจากนี้ ยังใหสถาน ศึกษากําหนดสัดสวนสาระการเรียนรูทองถิ่นรอยละ 30 เงื่อนไขนี้เองทําให เกิดรายวิชาหลักสูตรทองถิ่น ตามมาดวยการเรียนรูทั้งในหองเรียนและนอก หองเรียนที่หลากหลายขึ้น เชน สํารวจลําน้ํา ศึกษาระบบนิเวศของปาไม ปา ชายเลน เรียนรูวิถีเกษตร เปนตน ผศ.อรรถพล เลาวา ผลจากการทีร่ ะบุวา สิง่ แวดลอมศึกษาในระดับการ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐานตองเปนการเรียนรูแ บบบูรณาการ ไมไดเกาะกับรายวิชาใดวิชา หนึง่ ก็เลยเกิดคําถามวาใครจะเปนคนสอน เปนหนาทีข่ องครูวชิ าอะไร แลว ครูเหลานัน้ ตองสอนอะไร สวนทีค่ ณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึง่ ในขณะนั้นกําลังจะเปดวิชาเอกดานสิ่งแวดลอมศึกษาในระดับปริญญาตรีก็ เลยตองพับโครงการไป และกลายเปนวาสิง่ แวดลอมศึกษาไมมที ย่ี นื ในระดับ ปริญญาตรี ในขณะทีม่ ขี อ จํากัด ผศ.อรรถพล ก็มองวามีโอกาสทาทายแฝงอยู นัน่ คือ การเปดโอกาสใหโรงเรียนสรางหลักสูตรทองถิ่น ก็ทําใหเกิดหัวขอการเรียนรู ใหมๆ ขึน้ มากมาย โดยบางสวนเปนผลจากการทีอ่ งคกรภายนอกนําเขาไป เชน โครงการรุง อรุณทีเ่ ปนการบูรณาการการเรียนการสอนดานพลังงานโดยสถาบัน สิ่งแวดลอมไทย กระบวนการนักสืบสายน้ําโดยมูลนิธิโลกสีเขียว กิจกรรม อนุรกั ษลมุ น้าํ เจาพระยากับตาวิเศษของมูลนิธสิ รางสรรคไทย เปนตน ขณะทีบ่ างสวนก็เกิดจากการพัฒนาหลักสูตรขึน้ ในโรงเรียน เชน การเรียน รูผ า นระบบนิเวศในนาขาวของโรงเรียนใน จ.นครสวรรค เมือ่ หนวยงานภาครัฐ ไปเจอ เอ็นจีโอไปเจอ ก็จะมาเลาตอ มาพัฒนา มาขยายผล อยางไรก็ตาม หากมองในภาพรวม การบูรณาการสิ่งแวดลอมศึกษา เมื่อปลาจะกินดาว 10 54
เขาไปในหลักสูตรการศึกษาและกลุมสาระการเรียนรูอยางเปนระบบที่ตอ เนื่องยังถือวาเกิดขึ้นนอยมาก และสภาพการจัดการเรียนการสอนสิ่งแวดลอม ก็ไมแตกตางมากนักจากยุคกอนการปฏิรูปการศึกษา จากรายงาน “ถอดรหัสสิง่ แวดลอมศึกษาในโรงเรียนจากงานวิจยั ” จัดทํา โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอมในป 2549 โดยสํารวจสถานศึกษาทัง้ สิน้ 11,664 แหง พบวา รอยละ 76 มีนโยบายดานสิง่ แวดลอมและสิง่ แวดลอมศึกษา และเกือบกึ่งหนึ่งของสถานศึกษาใชงบประมาณของตนเองในการจัดการเรียน การสอน รวมทัง้ กิจกรรมดานสิง่ แวดลอมและสิง่ แวดลอมศึกษา ขอมูลนี้ชี้ใหเห็นวา ในเชิงปริมาณแลว สถานศึกษาสวนใหญใหความ สําคัญกับเนื้องานดานสิ่งแวดลอมและสิ่งแวดลอมศึกษา แตในเชิงคุณภาพ กลับพบวา มักเนนเพียงการสอนเรื่องสิ่งแวดลอมสอดแทรกเขาไปในวิชาเรียน ปกติ เชน วิชาวิทยาศาสตร วิชาสังคมศึกษา วิชาศาสนาและวัฒนธรรม หรือ ไมก็เปนไปในลักษณะทํากิจกรรมของชุมนุม เชน กิจกรรมของลูกเสือ-เนตร นารี เปนตน หรือในอีกลักษณะหนึ่ง ก็มักเกิดจากหนวยงานราชการหรือ องคกรพัฒนาเอกชนที่เขามาทําโครงการในโรงเรียนเปนคราวๆ ไป แตการ จัดการเรียนการสอนในลักษณะสรางหลักสูตรทองถิ่นยังมีนอย มิพักตองพูดถึงการสรางกระบวนการเรียนรูเกี่ยวกับประเด็นสถานการณ สิ่งแวดลอมในชุมชนดวยประสบการณตรงอยางลึกซึ้งและพัฒนาทักษะการ วิเคราะหทางเลือกเพื่อแกไขปญหา งานสิ่งแวดลอมศึกษาในลักษณะนี้ พบวา ยิ่งมีนอยมาก ซ้ํารายมีโรงเรียนจํานวนไมนอยที่มุงเนนใหความสําคัญกับการ พัฒนาสิ่งแวดลอมทางกายภาพ เชน การจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียนและ จัดภูมิทัศนใหเขียว สะอาดและสวยงาม โดยเขาใจเอาวาเปนภาพสะทอน ความสําเร็จของงานสิ่งแวดลอมศึกษา ทวาละเลยการจัดกระบวนการเรียนรู อันจะนําไปสูการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระยะยาว งานวิจัยชิ้นนี้ยังระบุถึงอุปสรรคของการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษา ในโรงเรียนดวยวา เปนเพราะสิ่งแวดลอมศึกษาเปนนโยบายนามธรรมที่ขาด แนวทางและวิธีปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมที่ชัดเจน อีกทั้งครูผูสอนขาดความรู ความเขาใจ และทักษะในการจัดการสิ่งแวดลอมศึกษา ประกอบมีภาระงาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 55
มาก และขาดความรวมมือจากครูทั้งระบบโรงเรียน ทําใหการบูรณาการแบบ สหวิทยาการ และการจัดกิจกรรมนอกสถานที่เปนไปไดยาก เนนและใหความ สําคัญในการดูแลความปลอดภัยของนักเรียนในขณะทํากิจกรรมภาคสนาม นอกจากนี้ ครูยังขาดความรูในการใชแหลงขอมูล แหลงเรียนรูจากธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมใกลตัวมาสงเสริมการเรียนรูของนักเรียน รศ.ประสาน มองวา แทจริงแลวการปฏิรูปการศึกษาที่เกิดขึ้นยังคงไมใช การจัดการศึกษาเพื่อนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน หากเปนเพียงการปฏิรูป อํานาจในการจัดการศึกษา “มันเปนเพียงแคการแบงสวนงาน จัดโนนจัดนี่ เอาเงินไปใส พูดถึงเรื่องอํานาจของคนที่จะไปดูแลในเรื่องการศึกษา แตเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรและพัฒนาการเรียนรูมันไมอยูในกรอบของการปฏิรูป เลย ดังนั้นจึงไมใชเรื่องแปลกที่การศึกษาไทยไมไดกาวหนาไปไหน ฉะนั้น สิ่งแวดลอมศึกษาจึงเปนเหมือนหอกขางแคร มาแปะไวกับหลักสูตรทองถิ่น เพื่อไมใหหลุด แลวถามวาหลักสูตรทองถิ่นคืออะไร ที่ทํากันสวนใหญคือเอา ไปใสไวในวิชาสังคมศึกษา ประมาณ 3 หนวยการเรียนรู คือสัปดาหละ 3 ชั่วโมง แลวก็มีหนังสือเรียนออกมาวาบานฉันอยูที่ไหน มีแมน้ําอะไร มีผูใหญ บานเปนใคร เหมือนขอมูลเทศบาล สิ่งที่ควรจะเปน คือตองถามวา ทําไมบาน ฉันจึงยากจน ทําไมถนนถึงไดพัง ทําไมน้ําจึงมีไมเพียงพอ ทําไมถึงมีการใชยา
เมื่อปลาจะกินดาว 10 56
ฆาแมลงกันเยอะจัง” ในขณะที่บางโรงเรียนที่มีลักษณะการเรียนรูในหลักสูตรทองถิ่นที่แตก ตางหลายหลากออกไป รศ. ประสาน ก็ตั้งขอสังเกตวา เปนการเรียนรูที่ตอบ โจทยโลกความเปนจริงของสังคมหรือไม “อยางการใหนักเรียนทํานา ถามวาเปนเรื่องที่ดีไหม แนนอนวาเปนเรื่อง ที่ดี เด็กไดทดลองปลูกขาว มันสนุก เกิดความประทับใจ ไดรูจักวาการปลูก ขาวคืออะไร แตถาถามวาการเรียนรูเทานี้พอไหม คําตอบคือไมเพียงพอ แต ตองถามวาเมื่อเติบใหญเด็กเหลานี้จะปลูกขาวอยางนี้ตอไปไหม ดังนั้นเราจะ เตรียมคนเพื่อไปสูสังคมขางหนาไดอยางไร” “โรงเรียนไทยเปนตัวแทนอํานาจจากสวนกลาง เปนเหมือนกระโถนทอง พระโรง คือกิจกรรมทุกอยางของทุกกระทรวงทบวงกรม เมื่อหากลุมเปาหมาย ไมได ก็จะโยนเขามาที่โรงเรียน แทนที่โรงเรียนจะเปนแหลงเรียนรูเพื่อพัฒนา ทองถิ่นของตน ก็ตองตอบสนองนโยบายจากสวนกลาง หรืออยางการประกัน คุณภาพการศึกษาก็เปนตัวทําใหโรงเรียนตกอยูในกรอบ เพราะเปนการวัด จากคนขางนอก ดูที่ผลการเรียนการสอนเปนหลัก วัดดูจากเอกสาร ก็เลยเปน เหมือนละครที่ตกแตงเอกสาร” “ยิ่งเมื่อเขามหาวิทยาลัยแลวยิ่งไปกันใหญ เพราะมหาวิทยาลัยสอนแต เรื่องที่เปนอาชีพของฉัน อาชีพที่จะทําใหขึ้นไปอยูจุดสูงสุด มั่งคั่งสูงสุด ทําให วิธีคิดแบบบูรณาการหรือแกปญหาเชิงองคประกอบรวมกันมันหายไป คนจึง มองภาพซอนตางๆ ของปญหาไมเปน ไมสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธของ มิติทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และสิ่งแวดลอมเขาดวยกันได”
บทเรียนจากโรงเรียน ทามกลางวิกฤตสิ่งแวดลอมที่มีปญหาโลกรอนเปนหัวหอก หลายหนวย งานหันมาทํากิจกรรมและสงเสริมการเรียนรูในโรงเรียน ดวยหวังวาจะปลูก ฝงจิตสํานึกใหกับเด็กรุนใหมที่จะเติบโตเปนผูใหญในอนาคต โดยเฉพาะภาค ธุรกิจเอกชนที่มักตกเปนจําเลยสําคัญของสังคม โครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอมที่บริษัทเอเชี่ยนฮอนดา มอเตอร จํากัด ใหการสงเสริม เปนอีกหนึ่งตัวอยางที่ภาคธุรกิจเอกชนพยายามเขาไป เมื่อปลาจะกินดาว 10 57
สงเสริมใหเกิดงานสิ่งแวดลอมศึกษาขึ้นโรงเรียน โดยมีการคัดเลือกโรงเรียน เขารวมโครงการ สนับสนุนงบประมาณ แลวพยายามกระตุนใหเกิดการเรียน รูในเรื่องขยะ น้ํา และพลังงาน ดวยวิธีการนําครูและนักเรียนที่เปนตัวแทน โรงเรียนมาฝกอบรม ศึกษาดูงาน พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู และสุดทายนําไป ลองปฏิบัติใชจริง ซึ่งโครงการดังกลาวดําเนินการมากวา 1 ทศวรรษแลว จีรนันท ชะอุมใบ เจาหนาที่มูลนิธิสรางสรรคไทย (ตาวิเศษ) ซึ่ง เปนองคกรที่ทําหนาที่ประสานงานใหกับโครงการ เลาถึงประสบการณที่พบ วา มีทั้งโรงเรียนที่ประสบความสําเร็จและทํากิจกรรมอยางตอเนื่อง จนกระทั่ง บางโรงเรียนสามารถบูรณาการกิจกรรมเขาไปในหลักสูตรการเรียนการสอน บางโรงเรียนประสบความสําเร็จในปที่เขารวมโครงการ แตหลังจากนั้นก็ขาด ความตอเนื่อง และก็มีอีกหลายโรงเรียนที่ไมประสบความสําเร็จ ดวยเหตุ ปจจัยที่หลากหลาย หากมองในภาพรวม จีรนันทยอมรับปญหาวา ยังคงมีโรงเรียนในโครงการ จํานวนมากทีท่ าํ ในลักษณะ “ก็อปปแ อนดเพสต” นัน่ หมายถึงเมือ่ ไปศึกษาดู งานมา ก็นาํ มาลอกเลียนใชในโรงเรียน “สิง่ ทีโ่ รงเรียนจะตองคิด คือตองตอบโจทยของตัวเอง ไมใชเหมือนกัน เดีย๊ ะ จะตองตอบวาโรงเรียนของตนมีปญ หาอะไร จะแกไขแบบไหน ดวยวิธกี าร แบบไหน ปรับใชใหเหมาะกับพืน้ ที่ เชนถาพูดถึงเรือ่ งการบําบัดน้าํ และหมุนเวียน เพือ่ ใหเกิดการใชประโยชนสงู สุด มันทําไดหลายวิธี คือเราพาเขาไปดูงานทีแ่ หลม ผักเบีย้ ก็จริง แตแหลมผักเบีย้ มันเปนรูปแบบใหญ เพราะวาเขาบําบัดน้าํ เสีย ชุมชน แตถา เปนโรงเรียนก็ตอ งดูวา น้าํ เสียมีเยอะแคไหน เหมาะทีจ่ ะบําบัดแบบ ไหน ชนิดของพืชทีจ่ ะใชบาํ บัดน้าํ เสียก็อาจจะไมเหมือนกัน เพราะหลายโรงเรียน เมือ่ ไปลอกมาแลวมันใชไมได” เจาหนาทีม่ ลู นิธสิ รางสรรคไทยยกตัวอยาง ผศ.อรรถพล กลาววา ปญหาใหญประการหนึ่งคือครูจํานวนมากยังไม เขาใจเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษา และไมเขาใจปญหาของตนเอง อาจารยยกตัวอยางโรงเรียนแหงหนึ่งใน จ.เชียงรายซึ่งเขารวมโครงการ โรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอมที่ตนเคยไปประสบวา โรงเรียนนี้พบวาน้ําใน ลําธารที่อยูใกลโรงเรียนมีสาหรายเยอะ จึงไปดึงสาหรายขึ้นมาตากแหงทํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 58
น้ําหมักชีวภาพ แลวคิดวานี่คือการแกไขปญหา โดยไมไดคิดวิเคราะหวา สาหรายจํานวนมากในลําธารเกิดจากอะไร พอกรรมการไปตรวจก็พบวาน้ํา ในลําธารไหลมาจากวัดที่มีการเลี้ยงปลาคารฟ ใชเปนจุดขายในดานการทอง เที่ยว แลวคนก็นิยมมาใหอาหารปลา ทําใหมีธาตุอาหารเยอะ สาหรายก็โต เร็ว ปรากฏวาเด็กนักเรียนตองทํางานกันหนัก ตองชักลอกสาหรายถึงเดือนละ 3 ครั้ง เพื่อนํามาตากแหง โดยเขาภูมิใจแลววาไดชวยแกปญหาสิ่งแวดลอม ซึ่งสะทอนวาเขาไมเขาใจปญหาและการแกปญหาไมตรงจุด ในขณะเดียวกันก็มีหลายโรงเรียนที่ประสบความสําเร็จในปที่เขารวม โครงการ แตหลังจากนั้นก็ขาดการทํางานตอเนื่อง โดยปญหาหนึ่งที่มักมีการ พูดถึงกันอยูเสมอๆ คือ การเปลี่ยนแปลงผูบริหารโรงเรียน ทําใหนโยบาย เปลี่ยน หรือไมครูแกนนํายายโรงเรียนไปสอนที่อื่น จีรนันท สะทอนวา โรงเรียนที่ประสบความสําเร็จ ครูและผูบริหารตอง ทํางานเปนทีม บางโรงเรียนถาผูบริหารสั่งการได แลวครูทําตามคําสั่ง งาน ก็เกิดขึ้นไดตามนั้น แตมันไมยั่งยืน หรือบางโรงเรียนครูตั้งใจทํางานมาก แต เมื่อเปลี่ยนผูบริหารโรงเรียน แลวผูบริหารคนใหมไมเอาดวย งานก็สะดุด หรือ ลมเลิกไปเลย บางโรงเรียนครูที่ทําโครงการก็เพื่อตองการผลงานเพื่อใชในการเลื่อน ตําแหนง หรือไมก็กําลังทําวิทยานิพนธ แลวทุมเทไปกับงานเอกสาร จนบาง ครั้งกระบวนเรียนรูไมเกิดขึ้นในตัวเด็ก แลวเมื่อโครงการเสร็จ ก็เลิกกันไป หรือ อยางบางโรงเรียนก็คิดแตจะทําโครงการเพื่อประกวด พอไดรางวัลแลวก็ไลลา หาโครงการใหมทํา งานสิ่งแวดลอมศึกษาจึงขาดความตอเนื่อง อยางไรก็ดี จีรนันทเห็นวาหากโรงเรียนสามารถบูรณาการกิจกรรมและ เนื้อหาสิ่งแวดลอมเขาไปในหลักสูตรได แมจะมีการเปลี่ยนแปลงผูบริหาร หรือบุคลากรในโรงเรียน งานสิ่งแวดลอมศึกษานั้นก็จะขับเคลื่อนไปได เชน โรงเรียนสา จ.นาน ที่ผูบริหารโรงเรียนยายไป แตก็ยังมีการดําเนินงานอยาง ตอเนื่อง ในขณะที่บทเรียนจากโครงการ Eco-school ของกรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม ซึ่งสงเสริมใหโรงเรียนสามารถวิเคราะหและพัฒนาการบริหาร เมื่อปลาจะกินดาว 10 59
จัดการโรงเรียนไดทั้งระบบ เพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาโรงเรียน ไปสูการใชทรัพยากรและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ผศ.อรรถพล ในฐานะทีม พี่เลี้ยงที่รับผิดชอบดูแลโรงเรียนที่เขารวมโครงการในภาคกลาง เลาวา ถา เปนโรงเรียนขนาดใหญ ผูบริหารจะตองใหความสําคัญและผลักดันอยางเต็ม ที่ เพราะจะหวังใหครูจํานวนไมกี่คนทํานั้น ก็มีกําลังไมเพียงพอ สวนโรงเรียน ขนาดกลางและขนาดเล็ก ครูมักมีสวนสําคัญอยางมากในการริเริ่มและผลัก ดันงาน สําหรับกุญแจความสําเร็จ ผศ.อรรถพล มองวา โรงเรียนตองหาโจทยของ ตนเองใหเจอ โดยเริ่มจากปญหาที่มีอยู แลวพลิกปญหาใหเปนหัวขอการเรียน รูใหได โดยพิจารณาวาความรูเดิมที่จะนํามาใชในการจัดการเรียนรูคืออะไร อะไรที่ยังขาด แลวพยายามเติมชองวางตรงนั้น
เปลี่ยนชุมชนใหเปนเนื้อเดียวกับโรงเรียน ขอเคลือบแคลงทํานองนี้ที่มักเกิดขึ้นเสมอคือ เมื่อโรงเรียนสอนและให นักเรียนทํากิจกรรมแยกขยะในโรงเรียนแลว แตที่บานและสังคมกลับไมใสใจ หรือไมมีการจัดการกับขยะที่คัดแยกแลวอยางเปนระบบ สุดทายจะใหเด็ก เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไดอยางไร ผศ.อรรถพล เปรียบเปรยวา บางโรงเรียนคลายกับสังคม “ยูโทเปย” คือ มีการคัดแยกขยะ ไมใชถุงพลาสติก ใชกระทงใบตองขายผลไมใหกับเด็ก ใน โรงเรียนเปนเขตปลอดน้ําอัดลม ปลอดขนมกอบแกบ แตพอออกนอกโรงเรียน ก็ไมมีการแยกขยะ หนาโรงเรียนมีรานขายขนมกอบแกบเต็มไปหมด “สังคมก็ตองมีการปรับเปลี่ยนดวย” อาจารยประจําคณะครุศาสตร เมื่อปลาจะกินดาว 10 60
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชี้ หากมองโดยผิวเผิน “การเปลี่ยนแปลงสังคม” ดูจะเปนเรื่องเกินพละ กําลังของโรงเรียน ซึ่งในความเปนจริงหาไดเปนเชนนั้นเสมอไป เพราะใน หลายกรณีที่กระบวนการเรียนรูของเด็กนักเรียนไดกลายเปนแรงบันดาลใจให ทองถิ่นเกิดการเปลี่ยนแปลง ผศ.อรรถพล เลาถึงกรณีโรงเรียนเวียงปาเปา จ.เชียงราย โรงเรียนไดนํา เรื่องปามาเปนประเด็นในการเรียนรูของหลักสูตรทองถิ่น โดยไดรับความชวย เหลือจากคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในขณะนั้นครูก็ใหเด็กๆ ทําโครงงานออกไปสัมภาษณผูใหญวาทําไมปาถึงคอยๆ หายไป ก็ทําให ผูใหญในหมูบานคิดทบทวนวาเกิดอะไรขึ้นในหมูบานของตัวเอง วันที่เด็กๆ มาแสดงผลงาน ก็เลาผานละคร ปรากฏวาผูใหญหลายคนถึงกับรองไห เกิด ความคิดที่วาเมื่อกอนเราเคยรักกัน เคยใชประโยชนจากปารวมกัน แตหลัง จากที่มีคนมาจางใหตัดปา ก็เกิดการแขงกันตัดปา จนปารอยหรอลง แลว หากเปนเชนนี้ตอไป อนาคตของลูกหลานจะเปนอยางไร ในที่สุดจึงเกิดรวมกลุมกันจัดการปา ขณะที่เด็กๆ ก็พัฒนาโครงงาน หลากหลายขึ้น เชน เรื่องอาหารจากปา ไฟปา หลังจากไมนานก็เกิดการรวม กลุมของเด็กนักเรียนที่เรียนจบไปแลวเพื่อทํากิจกรรม เกิดการจัดกิจกรรม รวมกันระหวางชุมชนกับโรงเรียน มีการหาผูรูเขามาสอนในโรงเรียนบาง พา ไปเดินปาบาง ในที่สุดก็มีการพัฒนาเสนทางเดินปาศึกษาธรรมชาติ มีการ พัฒนาจุดเรียนรู แลวจุดเรียนรูของที่นี่ก็ไมเหมือนกับที่อื่นที่ตองมีจุดและมี ปาย แตเปนจุดเรียนรูที่เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล เชน เดือนนี้มีอะไรใหดู พอถึงฤดูแลงตองมีการทําแนวกันไฟ แนวกันไฟก็ กลายเปนจุดเรียนรู พอชวงหมดฝน มีเห็ดเยอะ เห็ดก็กลายเปนจุดเรียนรู จุด เรียนรูจึงยืดหยุนไปตามสภาพของชุมชนและเชื่อมโยงกับระบบนิเวศ ซึ่งสิ่ง เหลานี้เกิดขึ้นโดยที่ครูและเด็กไมทันคิดเลยวามันเริ่มตนมาจากโครงงานเล็กๆ แลวเกิดพลังในการเปลี่ยนแปลงทองถิ่นได
เปลี่ยนโรงเรียนใหเปนเนื้อเดียวกับชุมชน อีกปรากฏการณหนึ่งที่ไดยินการวิพากษวิจารณกันบอย คือโรงเรียนไม เมื่อปลาจะกินดาว 10 61
“หืออือ” กับโลกภายนอก ไมวา ทองถิน่ ของตนกําลังประสบปญหาสิง่ แวดลอม ประเภทใด หรือกําลังเผชิญหนากับความขัดแยงจากการแยงชิงทรัพยากรอะไร ก็ตาม ผศ.อรรถพล ยกตัวอยางความขัดแยงกรณีการกอสรางโครงการโรงไฟฟา ถานหินทีบ่ า นกรูด จ.ประจวบคีรขี นั ธ ในชวงประมาณป 2540 พบวาในชวงนัน้ ภาคประชาชนตืน่ ตัวกับปญหา แตถา ถามวา แลวโรงเรียนทําอะไร ปรากฏวา รับเงินจากเจาของโครงการมาติดแอร “บางเรื่องเปนเหมือนหญาปากคอก อยางเด็กนักเรียนเรียนเรื่องปะการัง ในโรงเรียน แตเด็กกลับไมรูวากองหินที่อยูหนาหาดของตัวเองนั้นคือปะการัง แสดงใหเห็นวาโรงเรียนขาดพลังในการเรียนรู และขาดพลังในการเปนแหลง เรียนรูใหกับชุมชน” อาจารยประสาน แสดงความเห็นในเรื่องนี้วา โรงเรียนไทยไมไดอยูใน อํานาจของชุมชน แตไปขึ้นอยูกับรัฐบาลกลาง แมจะมีการกระจายอํานาจ มาใหกับสํานักงานเขตพื้นที่ แตสํานักงานเขตพื้นที่ก็ขึ้นอยูกับรัฐบาลกลาง ฉะนั้นโรงเรียนจึงไมไดอยูกับชุมชน ความรูสึกผูกพัน การเห็นตนเองเปนสวน หนึ่งของชุมชนที่พรอมจะรอยรัดปญหาของชุมชนกับการเรียนรูในโรงเรียนจึง ไมเกิด “ผูบริหารโรงเรียนมักมองวาถาไปยุงกับเรื่องของทองถิ่น แลวรัฐบาลที่มี เครือขายโยงใยอยูไมชอบใจ เดี๋ยวฉันก็กระเด็น ฉะนั้นไมยุงดีกวา ลอยตัวดี กวา แตหารูไมวาปญหามันชนประตูรั้วโรงเรียนทุกวัน เด็กก็มองตาปริบๆ ทํา อะไรไมได แทนที่จะฉวยโอกาสตรงนั้นเปนโอกาสเรียนรู ทําใหเด็กไดเรียนรู เรื่องสิ่งแวดลอม ตระหนักถึงปญหาที่วิกฤต การที่พอแมปูยาตายายเรียกรอง เพื่อใหเขาไดมีทรัพยากรที่มีคุณภาพตอไปในอนาคต ทําไมเด็กจึงไมมีโอกาส ไดเรียนรูตรงนี้ ซ้ํารายยังบังคับไมใหเด็กไปยุงกับเรื่องพวกนี้อีก อางวาเปน เรื่องการเมือง เปนเรื่องผลประโยชนที่ขัดแยงกันของคนในชุมชนกับคนขาง นอก บวกกับครูมักไมใชคนในพื้นที่ จึงไมมีสํานึกรักทองถิ่น เมื่อเปนเชนนี้แลว โรงเรียนจึงไมหืออือกับโลกภายนอก” รศ.ประสาน มองอีกวา กรณีความขัดแยงของโครงการกอสรางโรงไฟฟา ถานหินที่ประจวบคีรีขันธเปนเหมือนตําราสิ่งแวดลอมศึกษาเลมใหญที่สังคม เมื่อปลาจะกินดาว 10 62
ตองเอาไปเรียนรู แนวคิดของชาวบานบางคนไปไกลกวาความเคลื่อนไหวทาง สังคมแลว เพราะพยายามตีความทรัพยากรในระบบคุณคา ขณะที่กลุมทุน มองทรัพยากรในระบบมูลคา ซึ่งคุณคาคือการดํารงชีวิตอยูเพื่อความยั่งยืน ในปจจุบันและในอนาคต เราตองรวมระบบมูลคาและระบบคุณคาใหเปนเนื้อ เดียวกันใหได แตทีนี้วิธีการบอกระบบคุณคาของชาวบานตอสังคมอาจจะใช วิธีการแบบหัวชนฝา สังคมจึงไมชอบใจ “หากเด็กสามารถคุยเรื่องการตอสูของพอแมได สิ่งนี้นะสุดยอดเลย แต ไมรูวานี่จะถูกมองเปนความไมมั่นคงของชาติหรือเปลานะ...ยิ่งคิดนอกกรอบ เทาไหร รัฐจะมองวาควบคุมยาก แตถาคนคิดนอกกรอบไดเมื่อไหร มันคือ ทางเลือกของสังคมที่มีมากมายไปหมด และสิ่งนี้คือความเจริญ” “โรงเรียนควรเอาประเด็นปญหาของทองถิ่นเขาไปสูการเรียนรู พอเอาไป เรียนรูไดเสร็จ เด็กก็จะรูวาทองถิ่นของตนเกิดอะไรขึ้น แตละชวงชั้นเรียนตอง ทําอะไรบาง สิ่งที่ตามมาคือความหวงแหน ตองการดูแลรักษาทรัพยากรของ ชุมชน แลวเขาไปแกไขปญหาดวยความเขาใจ” รศ.ประสาน ระบุ
ถึงเวลาที่สิ่งแวดลอมศึกษาตองออกนอกรั้วโรงเรียน อุปสรรคใหญยิ่งของงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาในสังคมไทย ตามมุม มองของ รศ.สุริชัย หวันแกว อาจารยคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ซึ่งเคยเปนผูแทนไทยไปประชุมกับองคการสหประชาชาติเรื่อง การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เห็นวา ยังคงเปนเรื่องที่ตกรองอยูในแบบ แผนเดิมๆ นั่นคือพอมีคําวาศึกษาหอยทาย คนสวนใหญก็จะใหความสนใจ กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมในระบบการศึกษา สถานการณ ของสิ่งแวดลอมศึกษาจึงมักเปนเรื่องที่พูดกันมากในหนวยเล็กๆ เชนโรงเรียน ขณะที่ไมสนใจสิ่งแวดลอมศึกษาในระดับการเรียนรูของสังคมไทย ตอเรื่อง นี้อดีตนักวิชาการจากรั้วจุฬาฯ ชี้เปาวา นี่คือการตกอยูในกับดักของความ เคยชิน แถมเปนศัตรูสําคัญของการเรียนรู และสุดทายก็ไมพนวาสิ่งแวดลอม ศึกษาในลักษณะตกรองแบบนี้ก็จะกลายอุปสรรคตอการบรรลุวัตถุประสงค ในตัวของมันเอง อาจารยสุริชัย ขยายความวา การศึกษาจํานวนมากไปติดอยูแคการได
เมื่อปลาจะกินดาว 10 63
ปริญญา ไดวุฒิสูงขนาดไหน ไดรางวัลและไดชื่อเสียงอะไรบาง สวนนอก เหนือไปจากนี้ก็ไมนับวาเปนการศึกษา ถือวาไมสําคัญ เอาเขาจริงการศึกษา จึงเกิดขึ้นในหมูของคนที่มีฐานะ มีโอกาส แลวใหรางวัลกันในลักษณะการ รับรองดวยคุณวุฒิ เปนระบบการใหยศใหศักดิ์กันในกลุมของคนที่พอจะเอื้อ ประโยชนกันและกันได ยิ่งนานวันเขาการศึกษาแบบนี้ซึ่งถือเปนการเรียนรู เพียงเสี้ยวเดียวของสังคม ก็กระทํากันในหมูของคนมีเงิน เปนระบบที่คนมีเงิน มีฐานะ มีอํานาจ คนที่มีปากมีเสียงเกื้อกูลกัน สําหรับคนที่ไดรับผลกระทบจากการพัฒนา คนที่ประสบปญหา นาน วันก็ยง่ิ หางไกลจากการเขาถึงการศึกษาแบบนี้ ขณะทีก่ ลุม ทีม่ กี ารศึกษาตาม แบบแผนก็จะยิ่งมั่นใจในความรูของตัวเอง แตโอกาสที่จะสัมผัสความทุกข ยากของคนอื่นกลับยิ่งนอยลง และยิ่งสรางความรูสึกไมรวมทุกขรวมสุขกัน มากขึน้ ซ้าํ รายมองพวกนัน้ วาเปนพวกตานการพัฒนา ทําใหสงั คมเรากาวหนา ชากวาประเทศเพื่อนบาน วิตกจริตวาเวียดนามจะแซงหนา อยางไรก็ดี รศ.สุริชัย มิไดปฏิเสธการเรียนรูในระบบการศึกษาเสียทีเดียว หากแต ม องว า ต อ งทํ า ให สั ง คมไทยตระหนั ก ว า การเรี ย นรู มี ห ลายรู ป แบบ หลายลักษณะ และหลายวิธีการ “สิง่ แวดลอมศึกษาทีม่ กี ารเรียนรูน อกรูปแบบเปนสิง่ ทีข่ าดไมไดโดยเฉพาะ การเรียนรูจากปญหาจริงที่มีความขัดแยงกัน สิ่งแวดลอมศึกษาประเภทที่ สนใจแตความสําเร็จ เรื่องความดีงาม เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ทองรูปแบบ หา สูตรสําเร็จ มักไมไดพาเราไปสูการเรียนรูที่มีพลัง สิ่งแวดลอมศึกษาตองเอา เรื่องจริงมาวากัน ตองสนใจปญหาความคิดที่แตกตางกันในเรื่องสิ่งแวดลอม เชน ฝายหนึ่งมองเปนโอกาสทางธุรกิจ แตอีกฝายมองสิ่งแวดลอมที่มี คุณคาตอคนที่อยูกับทรัพยากร ขอขัดแยงเหลานี้เกิดขึ้นเปนจํานวนมาก เชน จะใชที่วางเปลานี้ดีหรือไมดี ทะเลควรมีโฉนดหรือไม อาวไทยมีแทนขุดเจาะ น้ํามันแลวไดประโยชนทางธุรกิจเทานั้นเทานี้ แตมองไมเห็นและไมไดมองถึง คุณคาของทะเลกับคนที่ทําประมงรายยอยในบริเวณนั้น” “งานสิ่งแวดลอมศึกษาจะมีพลังและเปลี่ยนแปลงสังคมไทย คนทํางาน ตองไมขังตัวเองกับความคิดแบบสําเร็จรูป แตตองโยงกับปญหาความขัดแยง เมื่อปลาจะกินดาว 10 64
ไมเชนนั้นในอนาคตขางหนาก็จะยิ่งสรางคนชายขอบเพิ่มขึ้นอีกมากมาย และ เกิดความขัดแยงกับความรุนแรงซ้ําซาก” อาจารยจุฬาฯ ระบุ
วิสัยทัศนสิ่งแวดลอมศึกษา ถึงแมการสงเสริมงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาของสังคมไทยจะเทน้ําหนัก ไปที่การเรียนรูในระบบการศึกษา แตแทจริงแลวงานสิ่งแวดลอมศึกษามี กระจัดกระจายอยูทั่วไปและมักผสมผสานอยูในเนื้องานดานการจัดการสิ่ง แวดลอมขององคกรและชุมชนทองถิ่นตางๆ ภายใตความกระจัดกระจายและขาดการเชื่อมประสานอยางเปนระบบ แตก็มีจุดแข็งที่รูปแบบและเนื้อหา พื้นที่การทํางาน และกลุมเปาหมายที่ หลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนขององคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งมักเปน กลุมที่ริเริ่มและพัฒนานวัตกรรมดานการเรียนรูที่สามารถนําไปใชไดทั้งในการ เรียนการสอน การเรียนรูของชุมชนทองถิ่น และบุคคลทั่วไป สวนภาคธุรกิจเอกชนนั้น ในปจจุบันมีการนําเอาแนวคิดเรื่องการดําเนิน ธุรกิจที่รับผิดชอบตอสังคม หรือซีเอสอาร (Corporate Social Responsibility) มาใชเพื่อสรางภาพลักษณ หลายหนวยงานจึงสนใจใหการสนับสนุนกิจกรรม ดานสิ่งแวดลอม ดานองคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งถือเปนภาคสวนที่มี บทบาทอยางมากในการดําเนินงานพัฒนาทองถิ่น ปจจุบันหลายแหงก็เริ่ม ปรับบทบาทมาใหความสําคัญกับการพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน รวมทั้งการจัดการสวัสดิการสังคม ขณะที่สื่อมวลชนก็เปนภาคสวน ที่ถูกคาดหวังในการทําหนาที่สื่อสาธารณะที่จะชวยสรางความรูความเขาใจ ใหกับประชาชนถึงการปองกันและแกไขปญหาสิ่งแวดลอมตางๆ รวมไปการมี สวนรวมในการกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ สาวิตรี ศรีสุข ผูอํานวยการสวนสิ่งแวดลอมศึกษา กรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอม เห็นวา งานสิ่งแวดลอมศึกษาจะประสบความสําเร็จ และสามารถนําคนเพื่อไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนได ตองเกิดจากการผลักดัน และรวมมือกันของภาคสวนตางๆ ในสังคม ในการจั ด ทํ า แผนหลั ก สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น พ.ศ. 2551 – 2555 โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รวมกับสถาบันวิจัย เมื่อปลาจะกินดาว 10 65
สังคมจุฬาฯ เมื่อป 2550 สาวิตรี ชี้แจงวา แผนดังกลาวไดใหความสําคัญ กับบทบาทของภาคสวนตางๆ ที่จะรวมมือกันขับเคลื่อนงานดานสิ่งแวดลอม ศึกษา อันประกอบดวย หนวยงานราชการ ภาคธุรกิจเอกชน องคกรพัฒนา เอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และรวมถึงสื่อมวลชนดวย ที่สําคัญแผน นี้ไมไดมองวาเปนแผนเฉพาะของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมใชปฏิบัติ หรือแผนของหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งใชปฏิบัติ หากแตเปนแผนรวมกัน ของทุกภาคสวนที่จะใชสรางความเขมแข็งใหกับพลเมืองไทย ทั้งนี้ แผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ที่จัดทําขึ้น เปนเหมือนเข็มทิศและ แผนที่นําทาง เพื่อใหแตละภาคสวนรูวาจะกาวเดินไปอยางไรในระยะ 5 ป แรก และจะมีชองทางความรวมมือกันอยางไรบาง โดยแผนดังกลาวได กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาไว 7 ประการ ไดแก 1) การสื่อสารสาธารณะ เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาฯ 2) การพัฒนาโครงสรางเชิงสถาบันเพื่อเกื้อหนุน
เมื่อปลาจะกินดาว 10 66
การพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ 3) การบูรณาการสิ่งแวดลอมศึกษาฯ กับ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และนโยบายสาธารณะอื่นๆ 4) การสรางและเสริมพลังเครือขายสิ่งแวดลอมศึกษาฯ 5) การตลาดเพื่อสิ่ง แวดลอมศึกษาฯ 6) การเชื่อมโยงสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ในและนอกสถานศึกษา 7) การจัดการความรูสิ่งแวดลอมศึกษาฯ อยางไรก็ตาม แผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาฯ นี้ จัดทําแลวเสร็จมาไมต่ํา กวา 2 ป แตยังไมมีการนําไปเปนแนวทางในการปฏิบัติ สาวิตรี กลาวถึงความคืบหนาวา ทางกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กําลังเรงผลักดันแผนดังกลาวผานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ เพื่อให เปนที่ยอมรับรวมกันวานี่คือทิศทางการพัฒนาในอีก 5 ขางหนา โดยหนวย งานที่เกี่ยวของก็ตองคิดและหากลไกเพื่อทํางานรวมกันใหได ผศ.อรรถพล เห็นดวยวา จําเปนทีจ่ ะตองยกระดับเรือ่ งสิง่ แวดลอมศึกษาให เปนวาระแหงชาติใหได แตดว ยขอจํากัดของกําลังคนและงบประมาณ กรมสง เสริมคุณภาพสิง่ แวดลอมควรหันมาเลนบทบาทผูจ ดั การเครือขาย คือทําอยางไร ใหเครือขายตางๆ ทีท่ าํ งานสิง่ แวดลอมศึกษาไดมาเจอกัน เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู ชวยเหลือซึง่ กันและกัน ซึง่ จะชวยใหเกิดการขยายงานสิง่ แวดลอมศึกษาใหกวาง ขวางขึน้ ดวย ดาน รศ.สุรชิ ยั มองวา หนวยงานภาครัฐทีเ่ ปนเจาภาพตองทลายกรอบการ มองแบบเดิมดวย กลาวคือตองสรางกระบวนการเรียนรูเรื่องสิ่งแวดลอมที่เปน ปญหาเชิงลบดวย อยางเชนการลักลอบทิง้ ขยะอุตสาหกรรม ปญหามลพิษจาก โรงงาน ซึง่ สิง่ เหลานีล้ ว นเปนประเด็นการเรียนรูท ส่ี าํ คัญ นอกจากนีต้ อ งสราง การเรียนรูข า มภาคสวน เชน ทํางานรวมกับกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง พลังงาน เพือ่ ใหเกิดความเขาใจความหมายของสิง่ แวดลอมในเชิงซอนดวย ซึง่ บางครัง้ อาจมีผลประโยชนและฐานความคิดทีแ่ ตกตางกันไปบาง ก็เปนเรือ่ งที่ ตองรวมกันกาวฝาขามไปใหได “อันทีจ่ ริงเรือ่ งการสรางความรวมมือกัน แลวคิดวาจะตองเปนแนวนัน้ แนวนี้ ตางจากนีก้ ไ็ มใชแลว เพราะตองขัดแยงกันแน ไปดวยกันไมไดแน ผมคิดวาการ คิดแบบนีม้ นั เปนปญหาในตัวมันเอง การถกและทํางานเรือ่ งสิง่ แวดลอมศึกษา เมื่อปลาจะกินดาว 10 67
ในภาวะปกติ คงไมเสียหายที่จะตั้งความหวังวาจะรวมมือกัน อยาใหลมกลาง คัน แตวาในภาวะโลกที่เต็มไปดวยความไมแนนอนมากขึ้น ภัยพิบัติก็มากขึ้น หากการเจรจายังทีใครทีมัน ทุกฝายมีขออางกันหมด ขอสรุปคือความฉิบหาย มาแน ยิ่งชายิ่งคับขัน วิกฤตที่ทุกฝายมีขอแกตัว ผลสรุปก็คือวิกฤตมากขึ้น แต ถาทุกฝายแกตัวนอยลง ปญหาสวนรวมก็จะบรรเทาลง ฉะนั้นจะมาทําใจคอ คับแคบอยางนั้นไมได เราตองยอมรับกอนวาถามีใจอยากทํางานดวยกัน ก็ ตองตรงไปตรงมาซึ่งกันและกัน ไมยึดมั่นถือมั่น มีหัวใจที่จะเรียนรูรวมกัน มี แรงบันดาลใจที่จะแกไขปญหา ผมวานี่คือสิ่งแวดลอมศึกษาในขั้นที่นาจะได รับการพูดถึง”
เมื่อปลาจะกินดาว 10 68
ยุทธศาสตรการพัฒนาของแผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พ.ศ. 2551 – 2555 ยุทธศาสตรการพัฒนาสิง่ แวดลอมศึกษาฯ ทีจ่ ะนําไปสูก ารบรรลุ เปาหมายทีก่ าํ หนดไว ไดแก • การสื่อสารสาธารณะกับสิ่งแวดลอมศึกษา – เพื่อสรางความ เขาใจในอุดมคติรวมกันในเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาฯ โดยเฉพาะ ความสําคัญของสิง่ แวดลอมศึกษาฯ ทีจ่ ะปองกันและแกไขปญหา ตางๆ ความจําเปนของบทบาทหนวยงาน องคกร และกลุมตางๆ อันคือจุดเริ่มตนของเครือขายความรวมมือ เปนรากฐานของการ ดําเนินงานตามยุทธศาสตรอื่นๆ • โครงสรางเชิงสถาบันกับการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ – ความ เอื้ออํานวจทางโครงสรางเชิงสถาบันจะชวยใหเกิดความชัดเจน ดานนโยบาย แนวทางการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ การ จัดสรรภารกิจความรับผิดชอบ กลไกและกระบวนการประสาน งาน ทรัพยากรสนับสนุน ซึ่งทําใหเครือขายเกิดความเชื่อมั่นวา จะมีฐานการสนับสนุนที่เขมแข็งเพียงพอจะขับเคลื่อนไปสูความ สําเร็จตามเปาหมาย • บูรณาการสิง่ แวดลอมศึกษาฯ กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และนโยบายสาธารณะอื่นๆ – เปนการนํา สิง่ แวดลอมศึกษาฯไปเจือผสมควบคูก บั การทํางานดานทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งไปแทรกใสไวในนโยบายดาน อืน่ ๆ อาทิ นโยบายดานการทองเทีย่ ว การขนสง อุตสาหกรรม พลังงาน ฯลฯ • ภาคีเครือขายสิ่งแวดลอม – เปนเงื่อนไขความสําเร็จที่สําคัญ ของการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ของประเทศไทย รวมทั้งยัง ตอบสนองหลักการสําคัญในการพัฒนาสิง่ แวดลอมศึกษาฯ ของ ประเทศไทยใน 2 ประการ ไดแก การพัฒนาจากทุนความรู
เมื่อปลาจะกินดาว 10 69
และทุนทางสังคมที่มีอยูในภาคสวนตางๆ ของสังคมไทย และ การตระหนักถึงความหลากหลายของชุมชน สังคม และระบบ นิเวศ ซึ่งจะตอบรับและตองการสิ่งแวดลอมศึกษาที่มีจุดเนน และรูปแบบที่แตกตางกัน • การตลาดเพือ่ สิง่ แวดลอม – มีเปาหมายสําคัญ 2 ประการ คือ เนนการสรางสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ใหเปนจุดสนใจอยางตอเนื่อง และทําใหสิ่งแวดลอมศึกษาฯ เปนกลยุทธการตลาดของภาค ธุรกิจเอกชน • สิ่งแวดลอมศึกษาฯ กับความเชื่อมโยงกับในและนอกสถาน ศึกษา – ตอบสนองหลักการสําคัญ 2 ประการ ไดแก การให ความสําคัญกับภาคสวนและภาคีในระบบการศึกษาเทาๆ กับ ภาคสวนและภาคีนอกระบบการศึกษา และการพัฒนาจากทุน ความรูและทุนทางสังคมที่มีอยูในภาคสวนตางๆ ของสังคมไทย • การจัดการความรูเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาฯ – การพัฒนาระบบ ความรูเพื่อสนับสนุนสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ไดแก การพัฒนาองค ความรู การเผยแพรความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับ สิ่งแวดลอมศึกษาฯ โดยเชื่อมโยงระหวางผูสรางและผูใชความรู ในและนอกสถานที่ ฯลฯ และสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู ระหวางฝายตางๆ อยางกวางขวาง อานรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาฯ และ ยุทธศาสตร ไดที่เว็บไซตของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม www.deqp.go.th
เมื่อปลาจะกินดาว 10 70
บรรณานุกรม เกื้อเมธา ฤกษพรพิพัฒน. (2551) “ในทามกลางวิกฤต สิ่งแวดลอมศึกษาตองเรงรีบทุกยางกาว” วารสารเสนทางสีเขียว ฉบับที่ 24 กันยายน - ธันวาคม 2551 กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม สุริชัย หวันแกว, รศ. (ไมระบุปที่พิมพ) การเดินทางสูสิ่งแวดลอม ศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผูวิจารณ สาวิตรี ศรีสุข ผูอํานวยการสวนสิ่งแวดลอมศึกษา กรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอม สัมมนาเรื่อง“ปฏิรูปประเทศไทยดวยสิ่งแวดลอมศึกษา” วันที่ 6 กรกฎาคม จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม
เมื่อปลาจะกินดาว 10 71
ปนฝนทางจักรยาน : บทเรียนจากยุโรป น.รินี เรืองหนู หนังสือพิมพมติชน
เมื่อปลาจะกินดาว 10 72
หลับตา...แลวลองนึกฝนกันดูเลนๆ วา ถาเมอื งใหญๆ ในประเทศไทย จะมีประชากรใชจักรยานเปนยานพาหนะสําหรับสัญจรไปมา เหมือนในบาน เมืองอื่นๆ อยางลอนดอน สต็อกโฮลม ออสโล เมลเบิรน ซิดนีย นิวยอรก ซี แอตเติล ซานฟรานซิสโก โตเกียว ฯลฯ จะดีแคไหน และถาลองปรับเปลี่ยน ใหกรุงเทพมหานครที่มีประชากรราว 10 ลานคน มีรถยนตกวา 6 ลานคัน มีสภาพความแออัด เต็มไปดวยมลพิษ โดยสงเสริมใหประชากรสวนหนึ่ง เปลี่ยนพฤติกรรมไปปนจักรยานกันบาง สภาพแวดลอมของกรุงเทพฯ จะเปน อยางไร... ในการประชุมของสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ โลก (UNFCCC) เพื่อแกปญหาโลกรอนที่กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก เมื่อชวงเดือนธันวาคม 2552 แมจะไมไดขอสรุปใดๆ เกี่ยวกับการแกไข ปญหาตามหัวขอขางตน หรืออาจเรียกอีกอยางหนึ่งวาเปน “ความลมเหลว” ก็ตาม เรายังพบวาสื่อมวลชนจากทั่วโลกที่ไปทําขาวในขณะนั้นตางพรอมใจ กันรายงานขาวเล็กๆ เกี่ยวกับ “การใชจักรยานในกรุงโคเปนเฮเกน” ซึ่งถือ เปนการกระตุกตอม กระตุนเตือนใหผูที่เสพขอมูลขาวสารทั่วโลกตางตองหัน กลับมามองวา แทจริงแลว “จักรยาน” ตางหากคือ กาวสําคัญในการแกไข ปญหาโลกรอนอยางยั่งยืน เมื่อปลาจะกินดาว 10 73
ชาวเบอรลินปนจักรยานในการเดินทาง
ยุโรป : ตนแบบจักรยานเพื่อสิ่งแวดลอม เมือ่ 4-5 ปกอ น ประเทศในกลุม ยุโรปมีการประชุมหารือกันเรือ่ งการใช จักรยาน และไดรว มเปนพันธมิตรในการพัฒนาเสนทางจักรยานใหเปนเครือขาย ตอเนือ่ งกันทัว่ ยุโรป ใชชอ่ื โครงการวา “จักรยานเปลีย่ นโฉมหนายุโรป” แนวทาง นีค้ อื ใหแตละประเทศพัฒนาเสนทางจักรยานและสงเสริมการใชจกั รยานใน ประเทศใน 2 ลักษณะ คือ 1.เสนทางจักรยานทีใ่ ชงานในทองถิน่ 2.เสนทาง จักรยานเชือ่ มตอเปนโครงขายกับประเทศเพือ่ นบานในกลุม ยุโรป ในยุโรปนัน้ การเดินทางสวนใหญจะใชจกั รยาน โดยเดนมารกเดินทางดวย จักรยานราว 18% นอยกวาเนเธอรแลนดทม่ี มี ากถึง 27% ขณะทีส่ หรัฐอเมริกา เดินทางดวยจักรยานเพียง 1% เทานัน้ และโดยเฉลีย่ ชาวเดนมารกจะปน จักรยาน 1.6 กิโลเมตรตอคนตอวัน ถือนอยกวาเนเธอรแลนดเพียงประเทศเดียว เมื่อปลาจะกินดาว 10 74
ทีม่ กี ารปน จักรยาน 2.5 กิโลเมตรตอคนตอวัน ใชวาการใชจักรยานในยุโรปจะเพิ่งเริ่มเกิดขึ้นครั้งแรก หากแตพวกเขามี ความเห็นรวมกันวาควรสงเสริมใหจักรยานที่คนรุนกอนเคยใชกันมาตั้งแตอดีต กลับมาเปนสวนหนึง่ ของชีวติ พวกเขาอีกครัง้ ทีส่ าํ คัญเพือ่ รักษาสภาพแวดลอม ในบานเมืองของพวกเขาเอง และเพือ่ ใหเห็นภาพทีช่ ดั เจนวาประเทศเหลานีเ้ ขา ทําอะไรกันบางกวาจะไปถึงเปาหมายทีว่ า นัน้ ขอยกตัวอยางเฉพาะ 2-3 ประเทศ ทีม่ กี ารใชจกั รยานเพือ่ รักษาสภาพแวดลอมชนิดทีต่ อ งเรียกวา “ตัวพอ” “ตัวแม” กันเลยทีเดียว
เนเธอรแลนด : เมืองหลวงของโลกจักรยาน กลาวกันวา ฮอลแลนดหรือเนเธอรแลนด คือ “เมืองหลวงของโลก จักรยาน” ก็วาได เพราะถือเปนประเทศที่มีจํานวนจักรยานมากพอๆ กับ จํานวนประชากรของประเทศ เปนประเทศที่ถือวามีทางจักรยานที่สวยที่สุด มีประชากรที่นิยมปนจักรยานมากกวาขับหรือนั่งรถยนต ที่สําคัญยังมีนโย บายการพัฒนาประเทศดวยการทําใหรถยนตใชงานไดสะดวกนอยกวาใช จักรยาน และเรียกเก็บคาใชจายสูงกวา เพื่อใหประชากรหันไปใชจักรยาน หรือระบบขนสงสาธารณะอื่นๆ แทน เนเธอรแลนด เปนประเทศที่ใชจักรยานกันมานานกวารอยป ตั้งแตเริ่ม มีการประดิษฐจักรยานใชเปนครั้งแรกในโลก แตเมื่อประมาณ ป ค.ศ.1970 จํานวนรถยนตในเมือง โดยเฉพาะกรุงอัมสเตอรดัมซึ่งเปนเมืองหลวงเริ่มมาก ขึ้นจนผิดหูผิดตา และคนใชจักรยานเริ่มไดรับผลกระทบจากจํานวนรถยนตที่ เพิ่มมากขึ้น ในป ค.ศ.1975 ชาวเนเธอรแลนดกลุมหนึ่งที่เริ่มมองเห็นปญหาและมี ความคิดวาหากไมดําเนินการใดๆ วัฒนธรรมการปนจักรยานของพวกเขาที่ สั่งสมกันมานานอาจตองถูกกลืนหายไปกับรถยนตเหลานั้นเปนแน พวกเขา จึงรวมตัวกันตั้งองคกรชื่อวา “กลุมสหพันธจักรยานแหงดัทช” (The Dutch Union of Cyclists : ENFB) กลุมนี้ตั้งขึ้นมาเพื่อดําเนินกิจกรรม เชน ใหความรวมมือกับหนวยงาน ตางๆ ของเมือง สํารวจและจัดทําเสนทางเพื่อคนใชจักรยาน ใหขอคิดเห็น เมื่อปลาจะกินดาว 10 75
อาคารจอดรถจักรยานในกรุงอัมสเตอรดัม
และใหคําปรึกษาตางๆ เพื่อสงเสริมใหเกิดการใชจักรยานมากขึ้น เปนตน ระหวางที่กลุมสหพันธฯ ดําเนินกิจกรรมเหลานั้น ในป ค.ศ.1978 ทางกลุม ก็ไดใหการสนับสนุน Michael Van de Vlis ลงสมัครรับเลือกตั้งเปนผูบริหาร เมือง ซึ่งหลังจากไดรับการเลือกตั้ง Michael Van de Vlis คนนี้เองที่เปนผู กําหนดนโยบายการจราจร ทําใหกลุมสหพันธฯ สามารถอาศัยชองทางผลัก ดันนโยบายจักรยานจนสําเร็จ เนื่องจากมีการจัดสรรงบประมาณไวสําหรับ โครงการจักรยานโดยเฉพาะ จนสามารถสรางทางจักรยานและจัดกิจกรรม รณรงคใหประชาชนหันกลับมาใชจักรยานไดสําเร็จอีกครั้ง เนเธอรแลนดใหความสําคัญกับการใชจักรยานในการเดินทางเปนอันดับ 2 รองจากการเดินเทา ทําใหทุกเมืองของประเทศนี้มีสภาพแวดลอมและสิ่ง อํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการเดิน และปนจักรยาน โดยเฉพาะในสวนของ การใชจักรยานนั้น หากใครไดมีโอกาสเดินทางไปทองเที่ยวที่นั่นจะพบเห็น ทางจักรยานอยูทั่วเมือง มีทั้งปายบอกเสนทาง ปายจราจร จุดจอดจักรยาน ฯลฯ ทุกเสนทางของจักรยานนั้นจะสามารถเชื่อมตอกับระบบขนสงสาธารณะ อื่นๆ ทั้งรถไฟ รถประจําทาง เรือ ไดอยางสะดวก ผิดกับผูขับขี่รถยนตซึ่งจะ เมื่อปลาจะกินดาว 10 76
ตองใชเสนทางที่วกวนกวาจะถึงที่หมาย เสียเวลา เสียคาจอดรถแพง มีจุด จอดรถนอย แถมยังอยูไกลออกไปถึงชานเมือง นอกจากนี้ยังจัดชองทางรถยนตเพียง 1 ชองจราจร ขณะที่ทางเทาและ ทางจักรยานรวมกันแลวไดถึง 2 ชองจราจร และมีการแบงกั้นพื้นที่ไวอยาง ชัดเจน โดยรถยนตไมสามารถเขาไปใชทางรวมกันได และหากขี่จักรยานผาน จุดที่เปนทางแยกจะมีปุมกดสัญญาณไฟจราจร โดยรถยนตตองจอดใหทาง แกจักรยานเสมอ หลังใชมาตรการเขมขนเชนนี้ ทําใหปจจุบันโดยเฉพาะยาน ใจกลางเมืองแทบจะไมมีรถยนตใหเห็นเกะกะสายตา แตกตางกับเมืองไทย ราวฟากับเหว การใช จั ก รยานของชาวเนเธอร แ ลนด ก ลายเป น วั ฒ นธรรมที่ เข ม แข็ ง ชาวเนเธอรแลนดปนจักรยานโดยไมจําเปนตองสวมใสชุดนักปนจักรยานหรือ สวมหมวกกันน็อค แตพวกเขาสามารถสวมใสเสือ้ ผาปกติปน จักรยานออกจาก บานไปยังจุดหมายตางๆ ไดอยางสะดวก คลองแคลว ที่สําคัญกวานั้นคือ รั ฐ บาลเนเธอแลนด มี วิ สั ย ทั ศ น ด า นการจั ด การจราจรที่ ม องการณ ไ กล โดยวางแผนการจราจรในเมื อ งด ว ยการใช จั ก รยานเป น ระบบขนส ง ส ว น บุคคล เชื่อมตอกับรถประจําทางและเรือโดยสาร สวนโครงขายสถานีรถไฟจะ เปนการขนสงคนระหวางเมืองกับเมือง ทําใหชาวเนเธอรแลนดแทบไมจําเปน ตองพึ่งพารถยนตสวนบุคคลเลย
เยอรมนี : พันธมิตรจักรยานเปลี่ยนโฉมหนายุโรป เยอรมนีเปน 1 ในประเทศทีร่ ว มเปนพันธมิตรในโครงการจักรยานเปลีย่ น โฉมหนายุโรป โดยมีการพัฒนาโครงขายเสนทางจักรยานในประเทศ 2 ลักษณะ คือ โครงขายจักรยานในเมือง และโครงขายจักรยานระหวางเมือง และใหความ สําคัญกับโครงการนีอ้ ยางมาก มีการพัฒนาสภาพพืน้ ผิวถนนสําหรับคนเดิน รถ จักรยาน และรถราง ปูพน้ื ถนนดวยอิฐเพือ่ ไมใหรถยนตวง่ิ ไดสะดวก และจํากัด จุดจอดรถยนต ไมขยายถนนเพิม่ หมายความวา อนุรกั ษถนนเดิมเพือ่ จํากัด การเขาออกของรถยนต โดยมีถนนเพียงชองทางเดียว ซึง่ เทากับเปนการจํากัด ความเร็วรถไปในตัวดวย นอกจากเสนทางจักรยานแลว เยอรมนียังมีระบบเชาจักรยาน เรียกวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 77
วิถีชีวิตปรกติของชาวเบอรลิน ประเทศเยอรมนี
“จักรยานตามสัง่ ” (Call a bike) โดยใชรถจักรยานสีแดง มีระบบขับเคลือ่ นดวย สายพาน ควบคุมและติดตามตัวดวยระบบ GPRS วิธกี ารเรียกใชบริการจักรยาน คันนีจ้ ะตองโทรศัพทเขาศูนยจกั รยาน จากนัน้ ศูนยจะใหรหัสปลดล็อคจักรยาน เมือ่ ใชเสร็จก็นาํ สงคืนตามจุดจอดตางๆ ทีม่ อี ยูท ว่ั เมือง เยอรมนีใหความสําคัญกับการใชจกั รยานอยางมาก ซึง่ รัฐบาลไดจดั สรรงบ ประมาณในการจัดเครือ่ งอํานวยความสะดวกเพิม่ เติม ยกตัวอยางเชน มีการติด ตัง้ สัญญาณไฟจราจรสําหรับจักรยานโดยเฉพาะ พรอมขีดสีตเี สนเพือ่ กันพืน้ ที่ ใหจักรยานจอดรอสัญญาณไฟ โดยใหจักรยานทุกคันจอดดานหนารถยนต ทุกสี่แยก จะใหจกั รยานไปกอนเสมอ นอกจากนีย้ งั ทําทางลาดและสะพานลอย ขามสีแ่ ยกทุกแหงสําหรับจักรยาน ทีส่ าํ คัญมีจดุ จอดจักรยานเปนสัดเปนสวนให เห็นไดทว่ั ไป สรุปคือ เยอรมนีมวี ฒ ั นธรรมในการใชจกั รยานกันมายาวนานตัง้ แตเริม่ ตัง้ ถิน่ ฐาน จึงไมแปลกทีป่ ระชาชนยังนิยมใชจกั รยานในการเดินทางกันถึงปจจุบนั และดวยนโยบายที่เขมแข็งในการอนุรักษชุมชนเกาแก รถยนตจึงหมดโอกาส ครอบครองเมืองอยางสมบูรณ เมื่อปลาจะกินดาว 10 78
โคเปนเฮเกน : วิสัยทัศนจักรยานเพื่อสิ่งแวดลอม ในชวงป ค.ศ.1960-1970 การใชจกั รยานในเดนมารกเริม่ ลดลงอยางมาก หลังจากทีร่ ถยนตเขามาแทนที่ ตอมาจึงมีการรณรงคใหใชจกั รยานเปนพาหนะ มากขึน้ โดยเฉพาะในเมืองใหญๆ ทําใหปจ จุบนั การใชจกั รยานในเดนมารกถือ เปนเรือ่ งปกติสาํ หรับประชาชนทุกคน เพราะไมวา จะเปนคนรวยหรือคนจนก็ ลวนแตใชจกั รยานเปนพาหนะในการเดินทางทัง้ สิน้ ทุกวันนีค้ นทีใ่ ชจกั รยานใน เดนมารกสวนใหญโดยเฉลี่ยจะเปนกลุมที่มีการศึกษาสูงกวาคนที่ขับรถยนต สวนบุคคล หรือคนทีใ่ ชระบบขนสงมวลชน ดวยความทีเ่ ดนมารกเปนประเทศทีต่ ง้ั อยูใ นพืน้ ทีร่ าบ จึงทําใหงา ยตอการ ปน จักรยาน ดังนัน้ ในเมืองหลวงอยางโคเปนเฮเกน รวมไปถึงนอกเมืองจึงมีทาง จักรยานโดยเฉพาะ และผูขับขี่รถยนตก็จะระมัดระวังคนที่ปนจักรยานเสมอ เหตุใดกรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก จึงกลายเปนเมืองที่ถูก หยิบยกขึ้นมาเปนตัวอยางของการใชจักรยานอยางยั่งยืน ทั้งๆ ที่เมืองนี้ ไมใชเมืองอันดับ 1 ของโลกที่มีประชากรใชจักรยานเปนยานพาหนะมาก ที่สุดเสียดวยซ้ํา นั่นก็เพราะวาปจจุบันผูบริหารเมืองของกรุงโคเปนเฮเกน มีนโยบายและเปาหมายชัดเจนที่จะทําใหโคเปนเฮเกนกลายเปนเมืองที่มี การใชจักรยานใหไดมากที่สุด โคเปนเฮเกน มีวิสัยทัศนในการใชจักรยานเพื่อสิ่งแวดลอม หรือ Copenhagen : CPH 2015 โดยมีเปาหมาย 3 ประการคือ 1. คนวัยทํางานในโคเปนเฮเกนไมต่ํากวา 50% จะตองใชจักรยานใน การเดินทาง หลังจากสํารวจพบวา ในป ค.ศ.2008 มีเพียง 37% เทานั้น 2. ลดจํานวนผูบาดเจ็บสาหัสจากการปนจักรยานใหไดครึ่งหนึ่งของป ค.ศ.2005 ซึ่งมีจํานวน 118 ราย และในป ค.ศ.2008 ที่มีมากถึง 121 ราย 3. ผูใชจักรยานไมต่ํากวา 80% จะตองเกิดความรูสึกปลอดภัยในการ ขับขี่ ซึ่งในป ค.ศ.2008 พบวามีเพียง 51% เทานั้น ดังนั้นโคเปนเฮเกนจึงมีแผนวาดวยจักรยานป ค.ศ.2002-2016 ถือเปน เมื่อปลาจะกินดาว 10 79
นโยบายสําคัญอันดับตนๆ และในแตละปรัฐบาลจะสนับสนุนงบประมาณ สําหรับโครงการจักรยานมากถึง 8 ลานเดนนิชโครน การสรางทางจักรยาน 1 กิโลเมตร บนถนนทีม่ อี ยูแ ลวจะใชงบประมาณราว 8 ลานเดนนิชโครน ซึง่ ราคาถูกกวาสรางถนนใตดนิ ในระยะทาง 1 กิโลเมตร ที่ ตองใชงบประมาณถึง 1,000 ลานเดนนิชโครน วันนีโ้ คเปนเฮเกนมีทางจักรยาน ทีเ่ ชือ่ มตอกันมากถึง 350 กิโลเมตร บนถนนทุกสายมีการติดตัง้ สัญญาณไฟ จราจรเพือ่ ใหจกั รยานบนทองถนนทีใ่ ชความเร็วประมาณ 20 กิโลเมตรตอชัว่ โมง สามารถผานไปไดโดยไมตอ งติดไฟแดง นอกจากนี้ สะพานคนเดินและสะพานจักรยานไดถูกสรางขึ้นตามถนน ยานธุรกิจทั่วไป มีรานเชาจักรยานผุดขึ้นราวกับดอกเห็ด มีการเชื่อมตอถนน คนเดินกับถนนสําหรับจักรยานในลักษณะสะพานเขาดวยกันทั่วบริเวณอาว ทางตอนใตของกรุงโคเปนเฮเกน และมีแผนที่จะสรางสะพานแหงที่ 2 ที่อาว ทางตอนเหนือของเมือง คาดวาจะแลวเสร็จในป ค.ศ.2012 ไมเพียงเทานั้น เมืองโคเปนเฮเกนยังมีการสรางที่จอดจักรยานไวทั่วทุก แหง โดยในป ค.ศ.2006 มีที่จอดจักรยานทั้งสิ้น 29,500 แหง และเพิ่มขึ้นเปน 34,800 แหง ในป ค.ศ.2008 อีกทัง้ มีนโยบายชัดเจนวาอาคารหรือสิง่ ปลูกสราง เมื่อปลาจะกินดาว 10 80
ใหมทกุ แหงจะตองจัดเตรียมพืน้ ทีส่ าํ หรับจอดจักรยานไวดว ย เพราะปญหาใหญ ที่สุดของกรุงโคเปนเฮเกนในขณะนี้คือ ขาดแคลนพื้นที่สําหรับจอดจักรยาน ปจจุบนั ชาวโคเปนเฮเกนปน จักรยานเฉลีย่ คนละ 3 กิโลเมตรตอวันความเร็ว เฉลีย่ 16 กิโลเมตรตอชัว่ โมง แตละคนใชเงินดูแลรักษาจักรยาน 1 คันประมาณ 0.33 เดนนิชโครนตอกิโลเมตร ซึ่งถูกกวาขับรถยนตสวนบุคคลที่ตองจายคา ซอมบํารุงประมาณ 2.2 เดนนิชโครนตอกิโลเมตร เมื่อมีเสนทางจักรยานมาก ขึ้นจึงทําใหจํานวนจักรยานบนทองถนนเพิ่มมากขึ้นถึง 20% ขณะที่จํานวน รถยนตกลับลดลงถึง 10% ที่สําคัญการใชจักรยานมีอัตราการตายนอยกวา ผูที่ไมใชจักรยานถึง 30% ทุกๆ วันประชากรชาวเดนมารกที่เดินทางไปทํางานหรือเรียนหนังสือใน กรุงโคเปนเฮเกนราว 37% หรือประมาณ 150,000 คน จะใชจักรยานในการ เดินทาง สวนผูที่อาศัยอยูในกรุงโคเปนเฮเกนราว 55% ก็ไปทํางาน เรียน หนังสือ จายกับขาว ดูหนัง ดูคอนเสิรต ฯลฯ ดวยจักรยานเชนกัน เรียกวา มีวิถีชีวิตผูกพันอยูกับจักรยาน เพราะพวกเขาทั้งเด็ก ผูใหญ ผูสูงอายุ คนวัย ทํางาน แมบาน นิยมปนจักรยานออกนอกบานเพื่อไปทํากิจกรรมตางๆ ในวิถี ชีวิตจริง ไมใชปนเลนกินลมชมวิวเทานั้น มีการสํารวจความคิดเห็นของชาวเดนมารกตอเรื่องการใชจักรยานในกรุง โคเปนเฮเกน พบวา 57% ชอบเพราะเร็วและงายตอการเดินทาง 51% ชอบ เพราะรูสึกปลอดภัย 22% ชอบเพราะไดออกกําลังกาย 13% ชอบเพราะใชเงิน นอย 5% ชอบเพราะเห็นวาสะดวก สบายดี อยางไรก็ตาม ยังมีบางสวนที่ยัง กังวลเมื่อใชจักรยานคือ เปนหวงรถยนต และจําเปนตองทิ้งจักรยานไวที่บาน เมื่อพบเจอกับสภาพที่ย่ําแย ดร.แดเนียล โอบลัค อดีตผูรับทุนหลังจบปริญญาเอกสถาบันนีลส บอหร (Niels Bohr Institute) มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ปจจุบันเปน ผูช ว ยนักวิจยั หลังปริญญาเอกทีส่ ถาบันสารสนเทศแหงควอนตัม มหาวิทยาลัย คาลแกรี อัลเบอรตา ประเทศแคนาดา เลาวา กวา 10 ปที่รัฐบาลเดนมารก ไดสรางแรงจูงใจใหคนในเมืองทิ้งรถยนตสวนบุคคล และหันมาใชจักรยาน อยางจริงจังควบคูไปกับการใชบริการระบบขนสงมวลชนอื่นๆ นั้น รัฐบาล เมื่อปลาจะกินดาว 10 81
เดนมารกใชมาตรการเก็บภาษีรถยนตในราคาที่สูง เก็บคาจอดรถในราคาแพง ทําใหประชากรเดนมารกสวนใหญไมมกี าํ ลังซือ้ รถยนตไปใชสว นตัว ขณะเดียวกัน รัฐบาลเดนมารกก็อาํ นวยความสะดวกในการสรางระบบขนสงมวลชน รถไฟฟา และทางจักรยาน ฯลฯ กระจายไปทัว่ ทุกพืน้ ที่ ใครสะดวกแบบไหนก็ใชแบบนัน้ เมื่อ 2-3 ปที่ผานมา เทศบาลกรุงโคเปนเฮเกนไดทุมงบประมาณไป เกือบ 2,000 ลานบาท เนรมิตทางจักรยานเพิ่มเติม และสงเสริมใหมีการ กวดขันวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยของผูที่ปนจักรยาน ซึ่งสรางแรงจูงใจ ใหกับประชากรในเมืองทิ้งรถยนตสวนตัวออกมาปนจักรยานกันมากขึ้น หาก วันใดเกิดหิมะตกหนัก หนาที่หลักของพนักงานเทศบาลก็คือ เก็บกวาดหิมะ บนทางจักรยาน เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับนักปนอันดับแรก แดเนียล เลาอีกวา ปจจุบนั หากใครไดเดินทางไปกรุงโคเปนเฮเกน จะพบ วาชองเดินรถยนตในถนนบางสายแคบกวาทางจักรยาน หรือทางเทาเสียอีก นั่นเพราะวารัฐบาลใหความสําคัญกับทางจักรยานและทางเทามากกวาทาง รถยนต ทําใหทุกวันนี้จึงมีชาวกรุงโคเปนเฮเกนเพียง 30% เทานั้นที่ยังใช รถยนตสวนบุคคล สวนอีก 70% หันไปใชระบบขนสงมวลชนและจักรยาน และในอีก 5 ปขางหนา เทศบาลกรุงโคเปนเฮเกนตั้งเปาไววาจํานวนผูใช จักรยานเพียงอยางเดียวจะสูงขึ้นไปถึง 50% เลยทีเดียว เมื่อปริมาณรถยนตบนถนนนอยลง การใชน้ํามันก็ลดลงตาม อีกทั้งยัง ชวยลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนมอนอกไซดในชั้นบรรยากาศ ทําให ประชาชนไมตองหงุดหงิดกับสภาพรถติดบนทองถนน คุณภาพอากาศดีขึ้น อุบตั เิ หตุบนทองถนนลดนอยลง ทีส่ าํ คัญผูท ป่ี น จักรยานเปนประจําจะมีสขุ ภาพ รางกายทีส่ มบูรณแข็งแรง เพราะเหมือนไดออกกําลังกายทุกวันเหลานี้ ลวนสง ผลใหคุณภาพชีวิตดีขึ้นอยางชัดเจน วันนี้จักรยานกําลังอยูในกระแสความนิยมของเมืองใหญๆ หลายแหงทั่ว โลก เพราะพวกเขาเชื่อวาจักรยานคือ เครื่องมือสําคัญและมีตนทุนตําที่สุดใน การลดปญหาโลกรอน ลดการขาดดุลจากการนําเขานํามันที่กําลังมีราคาแพง มากขึ้นทุกวันได เชน เทศบาลนครนิวยอรก ตัดสินใจสรางชองทางจักรยาน เพิ่มขึ้นอีก 300 กวากิโลเมตร เปลี่ยนอาคารที่จอดรถใหเปนสวนสาธารณะ เมื่อปลาจะกินดาว 10 82
ทําใหชาวนิวยอรกหันไปใชจักรยานเพิ่มสูงขึ้นถึง 26% ขณะที่ประเทศเนเธอรแลนดเปนประเทศแรกของโลกที่มีนโยบายจักรยาน แหงชาติ และสงเสริมการสรางทางจักรยานทัว่ ประเทศเชือ่ มโยงเปนโครงขาย แลว 19,000 กิโลเมตร มีจาํ นวนจักรยานในสัดสวนทีพ่ อๆ กับประชากร และได รับการยกยองวามีทางจักรยานทีส่ วยและปลอดภัยทีส่ ดุ ในโลก สวนประเทศญี่ปุนนั้นมีนโยบายชวยเหลือนายจางที่สงเสริมใหพนักงาน ปนจักรยานไปทํางาน และพยายามสกัดกันการใชรถยนตดวยการขึ้นภาษี และเพิ่มคาตรวจสภาพรถยนตปละ 66,000 บาท ดานออสเตรเลียก็ไมนอยห นา เพราะนับตั้งแตป 2547 เปนตนมา ก็มีนโยบายรณรงคใหประชาชนใช จักรยานเพิ่มขึ้นเปนสองเทา โดยมีทั้งกลยุทธระดับชาติและกลยุทธระดับกลุม จังหวัด
ทางจักรยาน : ฝนของคนเมือง (ไทย) ในเนเธอรแลนด ประชากรกวา 75% ใชจักรยานเปนยานพาหนะในการ เดินทาง คิดเปน 1.6 คนตอจักรยาน 1 คัน เรียกวาทุกครอบครัวตองมีจักรยาน ประจําบาน รองลงมาคือ เดนมารก เยอรมนี สวีเดน ญี่ปุน และสหรัฐอเมริกา แตประเทศที่มีจักรยานมากที่สุดในโลก กลับเปนสหรัฐฯ ที่มีจักรยานมากถึง 73 ลานคัน รองลงมาคือ ญี่ปุน 44 ลานคัน และเยอรมนี 28 ลานคัน สําหรับในประเทศไทยมีอัตราเฉลี่ยการใชจักรยาน 24.9 คนตอจักรยาน 1 คัน วันนี้เราสามารถพบเห็นจักรยานตามทองถนนไดมากขึ้น และพบเห็น ทางจักรยานในเมืองใหญๆ และเมืองทองเที่ยว อาทิ กรุงเทพฯ ขอนแกน เชียงใหม ตาก นครสวรรค นครราชสีมา ฯลฯ ไดมากขึ้น เมื่อหันมามองเมืองหลวงของไทย หนวยงานกรุงเทพมหานคร (กทม.) ได มีแนวคิดวา การใชจักรยานเปนอีกแนวทางหนึ่งที่จะทําใหกรุงเทพฯ เปนเมือง นาอยู เนื่องจากการใชจักรยานแทนการใชรถยนตทําใหลดปริมาณการจราจร บนทองถนน ลดมลพิษในอากาศและเสียง ลดการใชพลังงาน ทําใหคุณภาพ ชีวิตของประชาชนดีขึ้น กทม.จึงสนับสนุนและสงเสริมใหมีการใชจักรยาน มากขึ้น เสนทางจักรยานในกรุงเทพฯ แหงแรก สรางเมื่อป 2535 ริมคลองประปา เมื่อปลาจะกินดาว 10 83
ถนนประชาชื่น จนถึงปจจุบันเวลาผานไป 18 ป กทม.เพิ่งสรางเพิ่มเติมได เพียง 25 เสนทาง รวมระยะทางทั้งสิ้น 193 กิโลเมตร นอกจากนี้ ไดติดตั้ง ที่จอดจักรยานกระจายในพื้นที่เพื่ออํานวยความสะดวกใหผูใชสามารถรองรับ จักรยานได 21,298 คัน และจะติดตั้งเพิ่มเติมที่ใตสถานีรถไฟฟาอีก 26 จุด พรอมทั้งกําหนดใหหนวยราชการในสังกัด กทม.จัดเตรียมลานจอดจักรยาน ใหกับผูเขาไปติดตอราชการ อยางไรก็ตาม แมวาในสมัยของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร ผูวาฯ กทม. จะคิดขยายเสนทางอีก 5 เสนทาง ภายในป 2554 แตยังไมถือวาเปนโครงขาย ที่เชื่อมโยงถึงกันจนสามารถจูงใจใหคนกรุงเทพฯ หันมาใชจักรยานเพิ่มขึ้นได ในงานเสวนาเรื่อง “ทางจักรยาน ถึงเวลาปนฝนใหเปนจริง” ที่ชมรมนัก ขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย จัดขึ้นเมื่อ วันที่ 28 มิถุนายน 2553 ที่ไดเชิญ อรวิทย เหมะจุฑา รองผูอาํ นวยการ สํานักการจราจรและขนสง กทม. และ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีต ประธานชมรมจักรยานเพือ่ สุขภาพแหงประเทศไทย มารวมถกในประเด็น นี้ พอจะไดขอ สรุปวา โอกาสที่จะเกิดเสนทางจักรยานที่เชื่อมโยงเปนโครงขาย สําหรับใชงานจริงในบานเรานั้นคอนขางริบหรี่และยากเย็นแสนเข็ญ อรวิทย บอกวา งบประมาณสรางทางจักรยานเฉลี่ยกิโลเมตรละ 800,000 เมื่อปลาจะกินดาว 10 84
บาท ถูกกวาการกอสรางถนนลาดยางหรือซีเมนตที่ตกประมาณกิโลเมตรละ 8 ลานบาท ซึ่งถูกกวาหลายเทาตัว แตทุกครั้งที่มีการจัดสรรงบประมาณ ประจําป กลับไมเคยมีการบรรจุงบประมาณสําหรับสรางทางจักรยาน ทุกวัน นี้หากจะสรางทางจักรยานเพิ่มก็ตองใชวิธีเกลี่ยงบประมาณจากสวนอื่นมา ดําเนินการ ซึ่งคิดเปนสัดสวนของงบประมาณประจําป กทม.แลวไมถึง 1% “ผูบริหาร กทม.มีผลงานมากมาย แตในจํานวนภารกิจหลักทั้งหมด ทาน ยังไมไดใหความสําคัญกับเรื่องการสงเสริมใหใชจักรยานอยางจริงจัง เวลามี การเสนอเรื่องของบประมาณดําเนินการเรื่องนี้ ทานบอกวาเอาไวกอนเพราะ คนยังใชนอ ย ดังนัน้ งบประมาณสวนใหญจงึ หมดไปกับการตัดถนน ขีดสีตเี สน ชองจราจร และการกอสรางโครงการขนสงขนาดใหญแทน” รองผูอํานวย การสํานักการจราจรและขนสง กลาว สอดคลองกับ สรอยทิพย ไตรสุทธิ์ ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบาย และแผนการขนสงและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม ยอมรับวา ไม เคยมีเรือ่ งเหลานีอ้ ยูใ นแผนแมบทของ สนข.เชนกัน ทัง้ ๆ ทีเ่ ปนหนวยงานทีด่ แู ล ดานระบบการจราจรและขนสงของประเทศในภาพรวมทัง้ ระบบ เพราะปญหา ของการสงเสริมใหคนไทยใชจกั รยานนัน้ ขึน้ อยูก บั “การตีความ” และ “ความ สนใจ” ของผูบ ริหารบานเมืองวาจะใหความสําคัญหรือไมและมากนอยแคไหน หากผูบ ริหารเหลานัน้ เห็นความสําคัญของจักรยาน งบประมาณก็จะถูกจัดสรร และนําไปใชอยางถูกทีถ่ กู ทาง “โดยสวนตัวเขาใจดีวาจักรยานเปนสวนหนึ่งของแนวคิดในการจัดการ จราจรและขนสงที่ยั่งยืน แตเมื่อผูบริหารไมไดใหความสําคัญ เมื่อ สนข. เสนอใหพิจารณาก็จะถูกชะลอไว แตยืนยันวาจะพยายามผลักดันแนวคิดนี้ให สําเร็จ อาจจะเริ่มตนดวยการแนะนําใหจังหวัดภูมิภาคจัดทําแผนแมบทของ เมือง โดยบรรจุเรื่องเสนทางจักรยานและการใชจักรยานไวในแผนดวย” สรอย ทิพย กลาวและวา อันที่จริงเรื่องการทําเสนทางจักรยานนั้น กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท ก็มีการใชงบประมาณสวนหนึ่งในการกอสราง แต สวนใหญจะเนนเสนทางที่ผานจุดทองเที่ยวหรือเมืองทองเที่ยว ที่สําคัญทาง จั ก รยานหลายสายเมื่ อ สร า งแล ว กลั บ ไม ค อ ยมี จั ก รยานเข า ไปใช เ ส นทาง เมื่อปลาจะกินดาว 10 85
เพราะไมมั่นใจเรื่องความปลอดภัย ดาน อาจารยธงชัย ไดวิพากษวิจารณเรื่องนี้แบบตรงไปตรงมา โดย เปรียบเปรยวาเปนเพราะ “บัวยังไมพนน้ํา” หมายถึง ผูบริหารเมืองหรือผูมี อํานาจในการตัดสินใจยังคิดไมได หรือยังไมปรับเปลี่ยนวิธีคิดเพื่อใหทันกับ กระแสโลก “ที่โครงการจักรยานไมเกิด เพราะนักการเมืองที่มีอํานาจตัดสินใจมองวา เรื่องนี้ไมสามารถแกปญหาสิ่งแวดลอม สังคม และพลังงานได เขามองไมเห็น วากระสุนนัดเดียวไดนกหลายตัว สาเหตุที่มองไมเห็นก็เพราะเขาไมไดใชยาน พาหนะพวกนี้ ซึ่งผิดกับนักการเมืองตางประเทศ บางคนยังปนจักรยานไป ทํางาน เมื่อไมไดใชจักรยานจึงไมรูวามันมีประโยชนอยางไร ดังนั้นคงตองอาศัยแรงกดดันจากภาคประชาสังคมวาปจจุบันโลกไปถึง ไหนแลว ถาจะแกใหไดตองเปลี่ยนวิธีคิดคนเหลานี้” อาจารยธงชัย กลาวและ วา ทางจักรยานที่ พิจิตต รัตตกุล อดีตผูวาฯ กทม.เคยทําไว ทั้งหมดอยูบน ถนนที่คนมองเห็น หมายความวาทําใหรูวานี่คือผลงาน แตถายอนกลับไปเมื่อ 30 กวาปที่แลว ทางจักรยานไมใชไมมี แตปจจุบันหายไป” เขากลาว อาจารยธงชัย บอกวา ทางจักรยานไมใชคําตอบสุดทาย แตเปนสวนหนึ่ง ของการสงเสริมใหใชจักรยานมากขึ้นเทานั้น เพราะวันนี้หลายพื้นแมจะไมมี ทางจักรยาน แตประชาชนก็ยังใชจักรยานในการสัญจรไปมา ฉะนั้นการทํา โครงสรางทางกายภาพของเสนทางจักรยาน จึงจําเปนตองมีมาตรการดาน สังคมควบคูกันดวย
เมื่อปลาจะกินดาว 10 86
“หากเนนดานกายภาพอยางเดียวโดยไมปลูกจิตสํานึก ไมเปลี่ยนวิธีคิด มันก็ไมเกิด เวลาเราพูดทางจักรยาน คนจะมองภาพวาเปนทางจักรยานที่ เพรียบพรอม ตองใชงบประมาณกอสรางตารางเมตรละ 7 แสนบาท แตผม คิดวาตารางเมตรละ 500 บาทก็พอ เพราะมันไมไดอยูที่วาตองทําใหเพรียบ พรอม แตอยูที่วาจะใชงานไดจริงหรือไม ซึ่งเทศบาลหรือเจาของพื้นที่มักจะ มองงายเกินไป คิดแควาเมื่อทําเสร็จจะมีคนมาใช ซึ่งความจริงไมใช” “ผมคอนขางเชื่อวา กทม.เวลาขีดสีตีเสนทางจักรยาน ไมไดถามชาวบาน หรอกวาเสนทางนั้นเขาอยากใชหรือเปลา ทําใหไมสามารถตอบโจทยที่แทจริง ได เพราะบางทีชาวบานอาจแคตองการขี่จักรยานจากบานไปซื้อกวยเตี๋ยว ปากซอย ซึ่งเปนเสนทางเล็กๆ ระยะสั้นที่ใชงานไดจริง แตไมเคยมีเทศบาล ไหนคิดทํา” “สรุปวา ควรเนนเสนทางจักรยานชุมชนมากกวาบนถนนสายหลัก และ ผมก็ไมเห็นดวยกับการทําเปนโครงขาย เพราะนั่นเปนวิธีคิดของชาวตะวัน ตกที่เดินทางดวยจักรยานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ไปทํางานเปนระยะทาง กวา 20 กิโลเมตร ผิดกับวิถีชีวิตบานเราที่ตองการขี่จักรยานไปซื้อกวยเตี๋ยว เทานั้น ถาจะทําเสนทางจักรยานที่สามารถตอบโจทยของสังคมทองถิ่นนั้น ได ขอเสนอใหเริ่มทําในซอย ระยะทางสั้นๆ 2 กิโลเมตร เมื่อมีทางจักรยาน เพิ่มมากขึ้นก็จะสามารถเชื่อมกับถนนสายหลักและเกิดเปนโครงขายทันที” อาจารยธงชัย กลาว
ทางจักรยาน : ประโยชนมากอุปสรรคก็มี ปญหาการจราจรเปนปจจัยหลักที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมของเมือง เหตุเพราะปริมาณรถยนตเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเกินกวาที่พื้นผิวจราจรในเมือง จะรองรับไดเพียงพอ แตหากหันมาใชจักรยานในการเดินทางจะเกิดประโยชน อยางมหาศาล จากเอกสารเรื่อง “จักรยานกับการมีสวนรวมของประชาชนในการแก ปญหาสิ่งแวดลอม” ของชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแหงประเทศไทย ระบุ ถึงประโยชนของจักรยานไว ดังนี้ 1. มีประโยชนตอตัวผูใช คือ ลดภาระคาใชจายในการใชพาหนะ เมื่อปลาจะกินดาว 10 87
สวนตัว ไดชวยชาติชวยสังคม อุบัติเหตุที่เกิดจากจักรยานไมรุนแรง สงเสริมสุขภาพ ไมเสียเวลาบนทองถนน ไมตองใชเชื้อเพลิง 2. ประโยชนตอ สวนรวม ไมรบกวนผูอ น่ื ลดอุบตั เิ หตุรนุ แรง การจราจร คลองตัว 3. ประโยชนตอสิ่งแวดลอม ไมมีเขมาควันพิษจากทอไอเสีย ไมสง เสียงดัง ไมปลอยความรอน วัสดุ อุปกรณ และชิ้นสวนในการ ประกอบตัวรถมีนอย ไมตองใชนํามันหลอลื่นจึงเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม 4. ประโยชนตอการจราจร จักรยานเปนลอขนาดเล็ก ใชพื้นผิวจราจร นอย ไปไดทุกสภาพถนน ลดความคับคั่งบนทองถนน ไมจําเปน ตองใชเจาหนาที่ตํารวจจราจรไปคอยอํานวยความสะดวกในชั่วโมง เรงดวน และทําใหระบบขนสงมวลชนอื่นๆ เชน รถไฟ รถไฟฟา รถประจําทาง แท็กซี่ เรือ สมบูรณมากยิ่งขึ้น 5. ประโยชนตอชาติ ลดการขาดดุลการคาในการนําเขานํามันเชื้อ เพลิง หยุดการสรางเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟา ประหยัดงบ ประมาณในการกอสรางถนนเพิ่มเติม สงเสริมสถาบันครอบครัว เพราะเมื่อไมตองเสียเวลาบนทองถนนก็จะมีเวลาอยูบานมากขึ้น การใชจักรยานใหประโยชนมากมาย จึงนาจะเปนเหตุผลเพียงพอที่ผู บริหารบานเมืองจะคิดปดฝุนนโยบายใหมีการนําจักรยานมาใชกันใหมาก ขึ้น แตก็ใชวาจะไมมีปญหาและอุปสรรคเสียทีเดียว เพราะในบานเรายัง เมื่อปลาจะกินดาว 10 88
มีทางจักรยานไมเพียงพอ ไมครอบคลุมเปนโครงขาย ทั้งๆ ที่ประเทศไทย หลายพืน้ ทีม่ สี ภาพภูมปิ ระเทศเปนทีร่ าบ เหมาะสมอยางยิง่ ในการปน จักรยาน แตปจจุบันจักรยานกลับไมเปนที่นิยมเหมือนในอดีต เพราะบนทองถนนมี รถยนตหนาแนนจนแทบจะไมเหลือชองทางสําหรับจักรยาน ยกเวนถนน บางสายของกรุงเทพฯ และจังหวัดที่เปนเมืองทองเที่ยว ปญหาที่พบก็คือ 1. แผนการจราจรไมถูกตอง การจัดระบบการจราจรดวยการสราง ถนน ทางดวน ทางยกระดับ สะพานลอย เพื่อรองรับปริมาณ รถยนต เปนการสนับสนุนใหมีการใชรถยนตมากขึ้น และถนนเหลา นั้นไมอนุญาตใหรถเล็กหรือจักรยานเขาไปมีสวนแบงในการใชพื้นที่ ขณะที่ระบบขนสงมวลชนก็ไมสามารถใหบริการไดครอบคลุมทั่วถึง และเชื่อมตอกันเปนโครงขาย 2. คานิยม อิทธิพลในการทําประชาสัมพันธของบริษัทผูผลิตรถยนต ที่เนนความหรูหรา สะดวก สบาย ทําใหคนสวนใหญทิ้งจักรยานหัน ไปซื้อรถยนตขับแทน 3. มลพิษในอากาศ เนื่องจากสภาพการจราจรที่ติดขัด ทําให เครื่องยนตปลอยกาซพิษและฝุนละอองจํานวนมาก ผูที่อยูบนทอง ถนนไมวาจะเดิน อยูในรถยนตสวนตัว รถประจําทาง หรือ ปนจักรยาน จึงมีโอกาสสูดเอามลพิษเหลานั้นเขารางกายได เชน คารบอนมอนอกไซด ซึ่งความเชื่อของคนที่ไมนิยมใชจักรยานมัก เขาใจวาเมื่อปนจักรยานไปบนทองถนนจะไดรับสารพิษมากกวาคน ที่อยูในรถยนต ซึ่งถือเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อน เพราะโดยขอ เท็จจริงจักรยานสามารถลัดเลาะเสนทางไปไดเรื่อยๆ โดยไมจําเปน ตองจอดนิ่งเพื่อสูดดมกาซพิษบนทองถนน 4. สภาพอากาศ ประเทศไทยอยูในเขตมรสุม ตองเผชิญทั้งฝนตกและ แดดออก แตสภาพอากาศเหลานั้นไมใชเรื่องใหญสําหรับคนที่นิยม การปนจักรยาน เนื่องจากพวกเขาเชื่อวา เมื่อฝนตก หากไมหนัก มากก็ยังสามารถสวมเสื้อกันฝนปนไปจนถึงจุดหมายปลายทางได เพียงแตตองเตรียมอุปกรณเสริมไวยามจําเปน แตหากเกิดน้ําทวม รถใหญไมสามารถผานเสนทางไปได แตจักรยานยังสามารถลัด เลาะ หลบฝน หนีน้ําทวมได สวนกรณีแดดรอนจัด การปนจักรยาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 89
ก็ไมใชเรื่องยาก เพราะถือวาไดออกกําลังกาย และในหลายๆ ประเทศที่มีการสงเสริมใหประชาชนใชจักรยานในการเดินทาง เชน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา จีน อาคารสํานักงาน โรงงาน สถานประกอบ การตางๆ ก็มักจะจัดเตรียมหองอาบน้ําไวอํานวยความสะดวกให พนักงานดวย 5. ความปลอดภัย เนื่องจากถนนในประเทศไทยสวนใหญรองรับ เฉพาะรถยนต และจักรยานยนต เมื่อจักรยานเขาไปรวมใชพื้นที่ ผิวจราจรดวย แมจะเปนชองทางสําหรับจักรยาน ไมวาจะเปนถนน ในตรอก ซอย จึงมักประสบอุบัติเหตุบอยครั้ง ทําใหคนที่เคยมี ความคิดจะใชจักรยานรูสึกขยาดกลัวการปนจักรยานบนทองถนน ทั่วไป ในเอกสารจักรยานกับการมีสวนรวมของประชาชนในการแกปญหาสิ่ง แวดลอม ยังเสนอไววา การจะใหจักรยานกลับมามีบทบาทบนทองถนนของ ประเทศไทยอีกครั้ง จะตองสรางทางจักรยานโดยเฉพาะ เพื่อใหคนใชจักรยาน รูสึกปลอดภัย พรอมทั้งยกตัวอยางประเทศออสเตรเลียที่มีการออกแบบทาง จักรยานไว 3 ประเภท โดยขึ้นอยูกับปริมาณจักรยาน ปริมาณการจราจร และ เมื่อปลาจะกินดาว 10 90
ความจํากัดของขอบเขตทาง ดังนี้ 1. ทางจักรยานแบบปนสวน (Share Bikeway) แบงสวนมาจากชอง จราจรรถยนต โดยการตีเสนหรือทําเครื่องหมายบนผิวจราจรของ ชองจราจรที่ไดออกแบบไวเผื่อสําหรับจักรยานกอนแลว ซึ่งจะ ประหยัดงบประมาณ ปลอดภัย และผูชจักรยานสะดวกสบาย เพราะทางจักรยานจะกวางกวาชองจราจรทั่วไปอีกประมาณ 1 เมตร เหมาะสําหรับบริเวณยานที่พักอาศัย หรืออาจประยุกตกับ ถนนในเมืองหากปริมาณการจราจรบริเวณดังกลาวไมหนาแนน มากนัก 2. ทางจักรยานแบบแยกสวน (Restrieted Bikeway) ใชสําหรับถนนที่ มีผิวจราจรหรือเขตทางกวางพอ สามารถกําหนดใหชองทาง จักรยานอยูขางใดขางหนึ่ง หรือทั้งสองขางของถนนก็ได โดยอยู ระหวางขอบทางเทาหรือชองจอดรถยนต (Parking Lane) มีคันหิน (Barrier) กั้นระหวางชองทางจักรยานหรือชองจราจรแยกขาดออก จากกัน พรอมมีปายจราจรประกอบ สวนบริเวณทางแยก ทาง ขามอาจจําเปนตองทําแบบปนสวน ซึ่งอาจเกิดความสับสนหรือ อุบัติเหตุไดงายในจุดนี้ จึงตองมีปายกํากับชัดเจน ซึ่งเหมาะกับยาน ในเมือง โรงเรียน โรงงาน ฯลฯ 3. ทางจักรยานเฉพาะ (Exclusive Bikeway) เปนการแยกทางจักรยาน ออกจากถนนทั่วไปอยางเด็ดขาด ใหความปลอดภัยแกผูปน จักรยานสูงที่สุด เหมาะสําหรับบริเวณที่มีปริมาณจักรยานสูง หรือ สถานที่ทองเที่ยว สถานที่พักผอน สวนสาธารณะ ซึ่งอาจใหมีทาง คนเดินรวมดวย โดยใชเครื่องหมายจราจรหรือทาสีบนผิวจราจร แต ราคาคากอสรางจะสูงกวา 2 แบบแรก อาจารยธงชัย เลาวา ในประเทศเนเธอรแลนดมที างเรียบคลายไฮเวย มี ทางจักรยานกวาง 2 เมตร จากเมืองหนึง่ ไปอีกเมืองหนึง่ บางเสนทางก็จะคู ขนานเหมือนกับไฮเวยขนาดใหญ บางเสนทางอาจลึกเขาไปในชุมชน ซึง่ ใน กรุงเทพฯ เหมาะทีจ่ ะทําทางจักรยานในเสนทางชุมชน โดยเทศบาลหรือทอง ถิน่ จะตองทําอยางจริงจัง เขาเห็นวา รัฐบาลควรจัดงบประมาณใหกบั กรมทางหลวงหรือกรมทางหลวง เมื่อปลาจะกินดาว 10 91
ชนบทสวนหนึ่งเพื่อใชสําหรับสรางทางจักรยาน ถนนทุกสายที่จะตัดเพิ่มเติม ในอนาคตควรจะมีไหลทางเพื่อเปนชองทางจักรยานดวย ดังนั้น ในเรื่องนี้ กระทรวงคมนาคมควรจะมีบทบาทสําคัญในการเขียนแผนพัฒนาเสนทาง โครงขายถนนทั่วประเทศ ซึ่งตองมีการบรรจุเรื่องทางจักรยานไวในแผนดวย เพราะการเพิ่มทีละเล็กละนอยก็ยังดีกวาไมทําอะไรเลย
นักปน : ฝนปนทางจักรยาน ผูที่ใชจักรยานในปจจุบันมีทั้งหมด 4 ประเภท คือ 1.กลุมคนใชจักรยาน 2.กลุมนักจักรยาน (Cyclist) 3.กลุมนักแขงจักรยาน (Racer) และ 4.กลุมผูที่ ชื่นชอบจักรยาน ในจํานวนนี้กลุมแรกจะมีมากที่สุด และจะมีความชํานาญ ในการใชจักรยานบนถนน ซึ่งสิ่งที่พวกเขาตองการคือ ความตอเนื่อง และ สามารถใชงานไดจริง อาจารยธงชัย ย้ําวา คนที่ปนจักรยานในบานเราตางกับในตางประเทศ อยางมาก ในตางประเทศ เชน ออสเตรเลีย เนเธอรแลนด จะปนจักรยานทาง ไกลไปกลับถึง 20-40 กิโลเมตร และในประเทศที่ใชจักรยานกันในชีวิตประจํา วัน เชน จีน อินเดีย ญี่ปุน จะเห็นวาไมจําเปนตองสวมหมวกกันน็อค เพราะ ไมใชนักแขงจักรยาน การรณรงคใหใชจักรยานจึงไมใชแคผลักดันใหมีทางจักรยานเทานั้น แต ยังตองสรางเสนทางจักรยานที่เหมาะสมกับคนไทย คือเสนทางยานแหลง ชุมชน จากบานไปสูรานคา ตลาดสด ศูนยการคา โดยผูใชจักรยานสามารถ ขี่จักรยานไปจับจายซื้อของหรือทํากิจกรรมอื่นๆ ได และหากจะใหดียิ่งๆ ขึ้น ไปอีก สถานที่เหลานั้นจําเปนตองมีพื้นที่สําหรับจอดจักรยาน ฉะนั้น กทม. หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นควรออกเปนกฎกติกาวา เมื่อมีศูนยการคา ตลาดสด หรือแหลงชุมชน ตองมีพื้นที่จอดจักรยานอยูดวยเสมอ “ทัง้ หมดนีข้ น้ึ อยูก บั วิธคี ดิ ของผูบ ริหาร ไมใชขน้ึ อยูก บั เรือ่ งทางกายภาพ หรืองบประมาณ แตผบู ริหารบานเมืองจะตองทําใหเปนตัวอยางกอน และจะ ตองทําเปนนโยบายอยางจริงจัง แมวนั นีจ้ ะมีเสนทางจักรยานมากกวาทีค่ าด แตกย็ งั ไดไมเทาทีห่ วัง เพราะไมมใี ครใหความสําคัญ แตหากเปนไปไดขอเสนอ แนะวา ทางจักรยานทีจ่ ะสรางขึน้ ในอนาคตควรมีการปอนเขาสูร ะบบขนสง สาธารณะอืน่ ๆ ดวย เชน รถไฟฟาบีทเี อส รถไฟฟาใตดนิ รถบีอารที รถประจํา ทาง แท็กซี่ เพือ่ ลดการใชรถยนตสว นบุคคลใหมากทีส่ ดุ ” อาจารยธงชัย กลาว เมื่อปลาจะกินดาว 10 92
เขาบอกดวยวา การใชจกั รยานจะชวยอํานวยความสะดวกไดชนิดทีเ่ รียก วา “ดอรทดู อร” ซึง่ หมายถึงจากประตูบา นถึงประตูทท่ี าํ งาน และจุดหมาย ปลายทางอืน่ ๆ ตามทีต่ อ งการ แตสาํ หรับพืน้ ทีเ่ ขตเมืองอยางกรุงเทพฯ ที่เติบโต ไปอยางไรทศิ ทาง ทัง้ ในดานของผังเมืองและระบบการจราจรและขนสง จําเปน อยางยิง่ ทีต่ อ งมีการวางแผนเปนลําดับขัน้ ตอน กลาวคือ “แผนระยะสั้น” ใหดัดแปลงทางเทาหรือบาทวิถีที่มีอยูเดิมใหเปนทาง จักรยาน โดยปรับพื้นผิวใหเรียบ และปรับใหมีเชิงลาดขึ้นลงตามหัวทาย ของบาท วิถีทุกทางเชื่อมทางแยก เพื่อใหเกิดความตอเนื่องในการเดินทาง ดวยจักรยาน และไมตองกังวลวาคนเดินเทาจะใชทางรวมกับจักรยานไมได เพราะจักรยานใชความเร็วตําจึงเกิดอุบัติเหตุไดยาก นอกจากนี้ควรจัดพื้นที่ สําหรับจอดจักรยานใหกระจายทุกมุมเมือง ซึ่งเบื้องตนเพียงลงทุนทําราว เหล็กสําหรับ คลองโซไดเทานั้น หรือหากบริเวณใดมีความหนาแนนของการ ใชจักรยานมาก ใหจัดสรางเปนลานจอดจักรยาน 2 ชั้น สําหรับ “แผนระยะกลาง” การสรางทางจักรยานเฉพาะ เพื่อใหเกิดความ สะดวกและปลอดภัยแกผูใชจักรยาน สามารถจัดสรางไดตามแหลงที่วาง เชน ทางจักรยานเลียบคลอง โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ ซึ่งในอดีตไดชื่อวาเปนเวนิช ตะวันออก สามารถสรางใหเชื่อมตอกันไดเกือบครอบคลุมพื้นที่ นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่วางใตทางดวน ใตสายสงไฟฟาแรงสูง สรางทางจักรยานเชื่อมตอ สวนสาธารณะ พรอมทั้งจัดสรางสถานที่จอดจักรยานตามสถานีขนสง เพื่อ เปนการเชื่อมระบบการเดินทาง และสรางศูนยบริการซอมบํารุงจักรยานไว ตามแนวเสนทางจักรยาน สวน “แผนระยะยาว” คือ พิจารณาสรางทางจักรยานใหครบวงจรทั้ง ระบบ สวนรูปแบบใหพิจารณาตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ หรืออาจ ตองพิจารณาจากตนแบบในตางประเทศที่ไดลงมือปฏิบัติอยางจริงจังจน ประสบความสําเร็จดวยดี ขอเพียงแคเปลี่ยนวิธีคิดใหมและมีความเชื่อมั่นวา จักรยานสามารถเปลี่ยนแปลงโลกได เพราะทางจักรยานไมใชแคความฝน...แตตองรวมกันพัฒนา
เมื่อปลาจะกินดาว 10 93
นโยบายเมืองตางๆ ทัว่ โลก เนเธอรแลนด
ประเทศแรกที่มีนโยบายจักรยานแหงชาติ ปจจุบันมีทางจักรยาน เกือบ 19,000 กิโลเมตร
สหรัฐอเมริกา
จัดสรรงบประมาณเกือบ 3,000 เหรียญสหรัฐ ลงทุนในโครงการ เพื่อพัฒนาทางจักรยานและคนเดินเทา ระหวางป 2541-2546 ภายใตโครงการ Transportation Equity Act for 21st Century
ออสเตรเลีย
วางแผนเพื่อใหมีการใชจักรยานเพื่มขึ้นเปน 2 เทา ในป ค.ศ. 2004 โดยทําการพัฒนาโครงขายทางจักรยาน สิ่งอํานวยความ สะดวก และเพิ่มความปลอดภัยในการใชจักรยาน
ฝรัง่ เศส
กระทรวงสิ่ ง แวดล อ มและกระทรวงคมนาคมได ร ว มกั นกํ า หนด แผนจักรยานแหงชาติในป 2537 และจัดงบประมาณ 2 ลาน เหรียญสหรัฐ ลงทุนโครงการจักรยาน 10 โครงการ โดยใช ตนแบบจากเนเธอรแลนด
ญีป่ นุ
กําหนดตนทุนการครอบครองรถยนตสูง เชน เก็บภาษีนํามันสูง กวาในสหรัฐอเมริกา 2 เทา เก็บภาษีและคาตรวจสภาพรถยนต คิดเปนคาใชจายสูงถึงประมาณ 2,000 ลานเหรียญสหรัฐตอป นอกจากนี้ มีการชวยเหลือนายจางที่สนับสนุนใหลูกจางเดินทาง โดยจักรยานเพิ่มขึ้น 2 เทา และลดเงินชวยเหลือสําหรับผูเดิน ทางดวยรถยนตครึ่งหนึ่ง
โคลัมเบยี
มีทางจักรยานยาว 300 กิโลเมตร และมีมาตรการหามรถยนต เขาถนนสายหลักในตัวเมืองโบโกตา เปนระยะทางกวา 120 กิโลเมตร ในวันอาทิตยและวันหยุด และมีมาตรการหามรถยนต ในชั่วโมงเรงดวนในอีก 12 ปขางหนา
เปรู
ใหครอบครัวที่มีรายไดตําสามารถกูเงินซื้อรถจักรยานเพื่อกระตุน ใหเกิดการเดินทางโดยตั้งเปาวา เมืองลิมา จะมีผูใชจักรยานเพิ่ม ขึ้นจาก 2% เปน 10% ในป 2538 รวมทั้งมีการสรางทางจักรยาน กวา 60 กิโลเมตร ขนานไปกับถนนสายหลัก
ที่มา : Janet Larsen, Earth Policy Institute, 2545
เมื่อปลาจะกินดาว 10 94
ปนจักรยานแลวดีอยางไร? เมื่ อ ครั้ ง ที่ ผ มตั้ ง ชมรมจั ก รยาน ใหมๆ มีพนักงานระดับลางในจุฬา ลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งตองนั่งรถ มอเตอร ไซค รั บ จ า งจากบ า นในซอย เล็กไปที่ถนนในซอยใหญ จากนั้นก็ นั่งสองแถวตอไปยังถนนใหญ จาก ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีตประธานชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแหง ถนนใหญก็ตองนั่งรถประจําทางไปที่ ประเทศไทย ทํางาน วันหนึ่งเขาซื้อจักรยาน มา 1 คันราคาขณะนั้นประมาณ 6,000 กวาบาท ซึ่งแพงมากสําหรับคนเงิน เดือนนอย แตหลังจากนั้นก็สามารถคืนทุนไดภายใน 8 เดือน เมื่อหัก จากคามอเตอรไซค คาสองแถว คารถเมล ที่ดีกวานั้นเขาสามารถตื่น สายไดอีกครึ่งชั่วโมง มีเวลาอยูกับบาน รดนําตนไม อีกครึ่งชั่วโมง พรอม กับคํานวณไดวาจะถึงที่ทํางานตอนกี่โมง บวกลบไมเกิน 10 นาที ขณะ ที่วิธีเดิมไมรูวาจะถึงที่ทํางานกี่โมง แตพอมีจักรยานเขาสามารถกําหนด วิถีชีวิตได มีคนถามผมวา ปนจักรยานในเมืองใหญจะดีกับสุขภาพไดอยางไร ปนไปสูดมลพิษไป ผมเปนวิศวกรดานสิ่งแวดลอม ผมรูวาเวลาคุณนั่งรถ เกงติดแอร แลวไปจอดตอทายรถเมล ถึงแมมันจะไมมีกลิ่นเขามาในรถ แตคุณรูหรือไมวา ไอเสียก็ยังเขารถอยูดี เพียงแตเราชินกับกลิ่นจนไมรู สึก กรมควบคุมมลพิษเคยตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในหองโดยสาร พบวา มันแยยิ่งกวาขางนอกรถเสียอีก แตเราไมรู ถามวาผูจักรยานจะทําอยางไรเมื่อตองไปจอดตอทายรถเมล งาย นิดเดียว คุณก็แคกลั้นหายใจแลวปนแซงรถเมลไปก็จบแลว ขณะที่คน นั่งรถตุกตุกไมสามารถหลบเลี่ยงไปไหนได ทําไดอยางเดียวคือ ควัก ผาเช็ดหนามาปดจมูก แตก็ไมไดชวยอะไรมาก สิ่งนี้เปนสิ่งที่คนไมเขาใจ ถาคุณปนจักรยานดวยความเร็วสูง และหายใจถี่แบบนักแขงก็อาจมี เมื่อปลาจะกินดาว 10 95
ปญหา แตการปนจักรยานแบบชาวบาน ไมเปนไร คําถามตายตัวสําหรับคนใชจักรยานมีอยางเดียวคือ ไมเชื่อวาปน จักรยานแลวจะปลอดภัย เขาเลยไมใช ผมถามกลับวา คุณเคยเห็นสาว ยาคูลทถูกรถชนบางหรือไม ก็ไมมีใครเคยเห็น ทั้งๆ ที่ก็มีกระบะใสของ และปนตลอดทั้งวัน นั่นเพราะเขามีทักษะในการปนจักรยาน รูวาจะจอด ตรงไหน จะปนอยางไง จะหลบซายหรือขวาเขาจึงปลอดภัย ในบานเราคนปนจักรยานคือคนจน ไมมีเงิน ผิดกับในตางประเทศที่ คนปนจักรยานมักจูงหมา ใสสูทเรียบรอย ซึ่งนั่นคือวิถีชีวิตหรือไลฟสไตล ของเขา หากในบานเราจะสงเสริมใหคนใชจักรยานในการเดินทาง อาจ จะตองมีการใหพื้นที่หรือสิทธิพิเศษบางประการ เชน เพิ่มทางจักรยาน หองอาบนํา ตูเก็บสัมภาระ ที่จอดจักรยาน ลดภาษีใหกับสถานประกอบ การที่สงเสริมใหพนักงานใชจักรยาน เปนตน
เมื่อปลาจะกินดาว 10 96
บรรณานุกรม Trafc counts and other trafc surveys 2003-2007 Copenhagen City of Bicycles-Bicycle Report 2008 Copenhagen bicycle policy 2002-2012 เอกสารอางอิง ชาวกรุงเทพฯ กับการเดินทางในทศวรรษหนา, สํานักการจราจรและ ขนสง กรุงเทพมหานคร เอกสารประกอบการสัมมนา การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอมของประเทศไทย ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 18-19 ธันวาคม 2536 Janet Larsen, Earth Policy Institute 2545 เว็บไซต Copenhagen: city of bicycles/homepage http://www.bloggang.com สัมภาษณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีตประธานชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแหงประเทศไทย ดร.แดเนียล โอบลัค อดีตผูรับทุนหลังจบปริญญาเอก ของสถาบันนีลส บอหร (Niels Bohr Institute) มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ปจจุบันเปนผูชวยนักวิจัยหลัง ปริญญาเอกที่สถาบันสารสนเทศแหงควอนตัม มหาวิทยาลัยคาลแกรี อัลเบอรตา ประเทศแคนาดา นางสรอยทิพย ไตรสุทธิ์ ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม นายอรวิทย เหมะจุฑา รองผูอํานวยการสํานักงานการจราจรและขนสง (สจส.) กรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษา นายทวีศักดิ์ บุตรตัน ผูชวยบรรณาธิการขาว หนังสือพิมพมติชน สัมมนาเรื่อง “ทางจักรยาน...ถึงเวลาปนฝนใหเปนจริง” วันที่ 28 มิถุนายน 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม
เมื่อปลาจะกินดาว 10 97
ผาเปลือกเถือเนื้อแทซีเอสอาร อัญชลี คงกรุต หนังสือพิมพบางกอกโพสต
เมื่อปลาจะกินดาว 10 98
นาทีนค้ี งไมมใี ครทีไ่ มเคยไดยนิ คําวา “ซีเอสอาร” ซึง่ ยอมาจากคําวา Corporate Social Responsibility (CSR) ที่หากแปลตรงตัวก็คือ ความรับผิด ชอบตอสังคมของภาคธุรกิจ ขณะที่บริษัทใหญๆ รวมไปถึงขนาดกลางและเล็กตางก็เข็นกิจกรรม ซีเอสอาร ของตนออกมา สวนใหญมักมาในรูปของการชวยเหลือสังคม เชน การบริจาคเงินเพื่อชวยสรางโรงเรียน วัด และสาธารณูปโภคตางๆ การแจก ของใหชุมชนที่ยากไรหรือผูประสบภัยพิบัติ นอกเหนือจากการใหทานแลว กิจกรรมซีเอสอารยอดนิยมของภาคธุรกิจในประเทศไทยก็คือ โครงการฟนฟู สิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนการพัฒนาแหลงน้ํา การสงเสริมการลดขยะและ หมุนเวียนมาใชใหม ในขณะเดียวกัน สังคมก็ไดตง้ั คําถามถึงความจริงจังและจริงใจของบริษทั ที่ดําเนินกิจกรรมซีเอสอารเหลานั้นวา สิ่งที่บริษัทลงทุนลงแรงไปเปนเพียงการ สรางภาพลักษณเทานั้น เพราะธุรกิจบางประเภทที่สรางผลกระทบตอสังคม หรือสิ่งแวดลอมอาจตองการทํากิจกรรมซีเอสอารเพียงเพื่อกอบกูภาพลักษณ เบี่ยงเบนความสนใจ รวมไปถึงการไถบาป เมื่อปลาจะกินดาว 10 99
แมวาการจับผิดบริษัทที่พยายามทําความดี ดูจะเปนสิ่งที่ไมสรางสรรค และบั่นทอนจิตสาธารณะ แตคงจะปฏิเสธไมไดวากิจกรรมซีเอสอารไดกลาย มาเปนสวนหนึ่งของการตลาดและการสรางภาพลักษณขององคกรไปแลว สิ่งที่สําคัญสําหรับกิจกรรมซีเอสอารคือ การแสดงความรับผิดชอบตอ สังคมและผูมีสวนไดสวนเสียตอผลกระทบจากธุรกิจ คําถามก็คือ ซีเอสอาร ที่ทํากันไปไดไกลแคไหน เปนเพียงแคเรื่องของความใจบุญสุนทาน เพราะ ทายที่สุดก็เปนที่รูกันดีวา การจายเงินทําบุญงายกวาการแสดงความรับผิด ชอบ ตัวอยางของความขัดแยงระหวางผลกระทบที่เกิดจากกระบวนการผลิต กับการใชซีเอสอารในการแสดงความรับผิดชอบมีอยูใหเห็นเสมอ เชน บริษัท ผูผลิตและจําหนายสุราบริษัทหนึ่งไดทําโครงการซีเอสอารโดยปลูกปาและ สรางฝาย ทั้งๆ ที่สินคาของบริษัทนั้นก็เปนสิ่งที่ไมกอใหเกิดผลดีตอสุขภาพ และสังคม ทําใหเกิดขอสงสัยวา กิจกรรมซีเอสอารเชิงรักโลกนั้นจะรับผิด ชอบตอผลกระทบทางสังคมและตอสุขภาพไดอยางไร อีกกรณีคอื บริษทั พลังงานยักษใหญของประเทศหนึง่ ทีเ่ คยเปนจําเลยของ สังคมและมีปญหากับหลายชุมชนในการใชพ้นื ที่ปาและที่ทํากินของชุมชนเพื่อ วางทอกาซ และลาสุดเกิดปญหาคราบน้าํ มันรัว่ ในนานน้าํ ประเทศเพือ่ นบาน ก็ไดแปลงรางมาเปนนักอนุรกั ษธรรมชาติ โดยมีการระดมเงินเพือ่ ปลูกปาใน หลายจังหวัดทัว่ ประเทศ บริษัทปูนซีเมนตช่ือดังที่ไดระเบิดภูเขาไปมากมายหลายลูกก็ไดสราง ความฮือฮาในวงการซีเอสอาร โดยการจับมือกับชุมชนทีอ่ าศัยในเขตภูเขาและ ลุม น้าํ สรางฝายขนาดเล็ก สวนการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) รัฐวิสาหกิจยักษใหญทม่ี ปี ญ หากับชาวบานใน จ.อุบลราชธานี กรณีการ หากับชาวบานในแถบ สรางเขือ่ นปากมูลเมือ่ เกือบ 20 ปทแ่ี ลว และเคยมีปญ อ.แมเมาะ จ.ลําปาง เนือ่ งจากเกิดมลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟาถานหิน สุดทายก็ดนั โครงการปลูกปาขึน้ มา และล า สุ ด บริ ษั ท ยาสู บ ต า งชาติ ชื่ อ ดั ง ก็ พ ยายามวิ่ ง เข า หาโครงการ อนุรักษสิ่งแวดลอมเพื่อผลักดันโครงการซีเอสอารของบริษัท ขณะที่ในมุม เมื่อปลาจะกินดาว 10 100
มองของผูเชี่ยวชาญดานซีเอสอารมองวา กฎเหล็กที่มากอนขออื่นใดในการ ทําซีเอสอารคือ การเสนอสินคาที่สงผลดีตอชีวิตผูบริโภค ดังนั้นกิจกรรม ซีเอสอารที่เหมาะสมที่สุดคือ ผลิตบุหรี่ที่สูบแลวรางกายแข็งแรง หรือสูบแลว ไมเปนมะเร็ง
ซีเอสอารคืออะไร? คําวาซีเอสอารก็ไมตางไปจากคําศัพทภาษาอังกฤษที่ใชทับศัพทไดโดย ไมตองแปล แมแตราชบัณฑิตยสถานก็ยังไมมีการบัญญัติคําแปล ขณะที่ทาง ราชการก็ยังไมมีคําจํากัดความ สถาบันไทยพัฒน องคกรพัฒนาเอกชนที่ใหการอบรมการทําซีเอสอาร กับบริษัทที่มีชื่อเสียงมากมาย และใหคําปรึกษาดานซีเอสอารกับตลาดหุน แหงประเทศไทย ไดใหนิยามวา ซีเอสอาร หมายถึง “บรรษัทบริบาล” ที่มีราก ศัพทมาจากคําวา “บรรษัท” รวมกับคําวา “บริ” ที่แปลวา ทั้งหมด ออกไป โดยรอบ เชื่อมกับคําวา “บาล” ที่แปลวาการดูแลรักษา ซึ่งก็หมายถึงการที่ บริษัท “ดูแลรักษาไมเฉพาะในสวนที่เปนกิจการ แตยังแผขยายกวางออกไป ครอบคลุมผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหมดที่อยูรอบกิจการ ดวยเงื่อนไขของความ สํานึกรับผิดชอบตอสังคมในฐานะพลเมืองบรรษัท (Corporate Citizen) การมี คุณธรรม โดยคํานึงถึงผูมีสวนไดเสียทั้งในและนอกกิจการอยางเทาเทียมกัน” เรื่องของบรรษัทบริบาลจึงเปนกลไกการดําเนินงานและกระบวนการ ภายนอกขั้นกาวหนา ที่จัดใหมีขึ้นภายใตจุดมุงหมายที่ตองการสรางสรรค ประโยชนแกกิจการและสวนรวมบนพื้นฐานของการไมเบียดเบียนกัน การ สงเคราะหชวยเหลือสวนรวมตามกําลังและความสามารถของกิจการ อันจะ นําไปสูความยั่งยืนของกิจการในระยะยาว ไชยยศ บุญญากิจ รองประธานสถาบันสิ่งแวดลอมไทย มองวา ซีเอสอารเปนแนวคิดในการทําธุรกิจแนวใหมที่จะนําพาทั้งสังคมและธุรกิจ ไปสูความยั่งยืน ซึ่งเกี่ยวโยงทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ตอง แสดงความรับผิดชอบตอการตัดสินใจและกิจกรรมของตน ดวยการลดผลก ระทบของกิจกรรมที่มีตอสังคมและสิ่งแวดลอม หลักสําคัญคือตองทําอยาง เปนระบบและมีที่มาที่ไป กลาวคือ การลดผลกระทบตองทําในจุดที่เกิดผล กระทบ เมื่อปลาจะกินดาว 10 101
“ถากิจกรรมการผลิตมีผลกระทบตอแหลงน้ํา การแสดงความรับผิดชอบ ก็ตองตรงจุด โดยแกไขเรื่องผลกระทบมลพิษทางน้ําและอนุรักษทรัพยากร น้ํา สิ่งที่จะตองทําเปนอันดับแรกคือ การปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการ ปองกันมลพิษอยางเครงครัด หลังจากนั้นจึงคอยทําใหมากกวาที่กฎหมาย กําหนด เชน การปรับปรุงแหลงน้ํา สรางแหลงน้ําเพิ่มเติม อนุรักษปาตนน้ํา นําเทคโนโลยีใหมๆ มาลดการใชน้ําในการผลิต และการนําน้ํากลับไปใชซ้ํา เปนตน” ดังนั้น การทําซีเอสอารจึงมากกวาการใหทานหรือการคืนกําไรแกสังคม ไมใชแคการเอาของไปแจกในลักษณะการทําบุญ สรางถนน สรางวัด สราง โรงเรียน แลวจะถือวาเปนการลดผลกระทบหรือเปนการลบลางความผิด ของบริษทั ทัง้ ทีบ่ ริษทั ไดสรางผลกระทบอยางรุนแรง เชน แยงแหลงน้าํ ไปใช ทําลายทรัพยากรปาไมและทีด่ นิ อันเปนตนทุนการทํามาหากินของชุมชน สุทธิชยั เอีย่ มเจริญยิง่ กรรมการผูจ ดั การบริษทั วันเดอรเวิลด จํากัด เมื่อปลาจะกินดาว 10 102
และประธานกรรมการเครื อ ข า ย ธุ ร กิ จ เพื่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล อ ม หรือ Social Network Venture (SVN-Asia Thailand)มองวา ซีเอสอาร คือปรัชญาและแนวคิดในเรื่องความรับ ผิดชอบ สุ ท ธิ ชั ย เป น เจ า ของบริ ษั ท ผลิ ต ของเลนเด็กที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ที่มีลูกคา เชน มารค แอนด สเปน เซอร (Mark & Spencer) ของอังกฤษ และท็อปทอยส (TOP TOYS) บริษัท จํ า หน า ยของเล นชื่ อ ดั ง ในแถบยุ โรป ตอนเหนือ เขาไดเปรียบเทียบแนวคิด เรื่ อ งความรั บ ผิ ด ชอบในกรอบของ
อนันตชัย ยูรประถม
ซีเอสอารกับการจัดการรถเข็นกระเปาของสนามบินในประเทศเยอรมันไว อยางนาสนใจ กลาวคือ เมื่อผูโดยสารมาถึงสนามบินในประเทศเยอรมัน จะตองหยอดเงินประมาณ 1 ยูโรทีร่ ถเข็นกระเปาและจะไดเงินคืนก็ตอ เมือ่ เข็น รถไปคืนในจุด ที่กําหนดไว ถาไมรับผิดชอบหรือทิ้งรถเข็นไวก็จะไมไดเงินคืน และผูโดยสารรายอื่นที่นํารถเข็นกระเปาไปเก็บก็จะไดเงินไปใชฟรีๆ “นี่คือการคิดแบบครบวงจรหรือในอีกมุมหนึ่งมันเปนการปลูกฝงแนวคิด ในความรั บ ผิ ด ชอบว า เมื่ อ คุ ณ เป น คนเริ่ ม กิ จ กรรมคุ ณ ก็ ต อ งเป น คนป ด กิจกรรมนั้นๆ” สําหรับ อนันตชัย ยูรประถม ผูอ าํ นวยการสถาบันพัฒนาอยางยัง่ ยืน มองวา ซีเอสอารเปนปรัชญาที่มองไปที่การพัฒนาอยางยั่งยืน “สําหรับผมแลวมันเปนเรื่องของการสรางความรับผิดชอบ มีคุณธรรมซึ่ง มากไปกวาการทําตามกฎหมาย และตองทําไปเรื่อยๆ ไมมีวันจบ” อนันตชัย กลาววา บริษทั ทีท่ าํ ซีเอสอารถกู ตองและไดผลนัน้ จะตองมี นโยบายมาจากผูบ ริหารระดับสูง ตัวอยางทีช่ ดั เจนมากทีส่ ดุ คือ บริษทั โตโยตา เมื่อปลาจะกินดาว 10 103
และเครือปูนซีเมนตไทย ทีผ่ บู ริหารไดผนวกนโยบายซีเอสอารและการพัฒนา อยางยัง่ ยืน (Sustainable Development) เขาไปเปนสวนหนึง่ ของวิสยั ทัศนและ แผนปฏิบตั กิ ารขององคกรนัน้ ๆ “องคกรอยางปูนซีเมนตไทยเขาเขาใจแกน เขามองซีเอสอารวาเปนการ พัฒนาอยางยั่งยืน ธุรกิจในอนาคตจะอยูไมไดถาปราศจากชุมชน ปรัชญา ขององคกรจึงรวมไปถึงการดูแลชุมชนดวย”
ทําไมถึงตองมีซีเอสอาร คําถามนี้จริงๆ แลวไมควรถาม เพราะในอีกมุมหนึ่งคําถามนี้ก็แปลวา ทําไมธุรกิจตองมีความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งความหมายลึกๆ ก็คือ ทําไม ธุรกิจตองมาทําความดีเพื่อสังคมดวย คําถามและขอสงสัยนี้สะทอนใหเห็นวา ภาพพจนของธุรกิจในสายตาสังคมนั้นคงไมนาพิสมัยนัก มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) นักเศรษฐศาสตรชอ่ื ดัง เจาของ รางวัลโนเบล สาขาเศรษฐศาสตร ไดกลาวอมตะวาจาทีไ่ ดกลายมาเปนหัวใจ และปรัชญาของการทําธุรกิจวา “ความรับผิดชอบอยางเดียวทีธ่ รุ กิจมีตอ สังคมก็ คือ การรับผิดชอบตอผูถ อื หุน เทานัน้ ” ปรัชญาที่เนนการดูแลแตเฉพาะประโยชนของผูถือหุน สะทอนใหเห็นถึง ปญหาทางดานสังคมและสิ่งแวดลอมในชวง 3 ทศวรรษที่ผานมา ซึ่งเปนชวง เวลาปลอดสงครามและเปนชวงที่เศรษฐกิจโลกเติบโตแบบกาวกระโดด และมี ลักษณะเปนโลกาภิวัตนมากขึ้น สฤณี อาชวานันทกุล อดีตวาณิชธนกิจของสถาบันการเงิน ที่ผัน ตัวเองมาเปนนักคิดนักเขียนและเปนอาจารยดานธุรกิจเพื่อสังคมของคณะ พาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มองวา ซีเอสอารคือ การตั้งรับของภาคธุรกิจตอความไมไววางใจของสังคมและผูบริโภค “สมัยกอนภาคธุรกิจจะรับผิดชอบเฉพาะ Contractual Agreement (ขอตกลง ตามสัญญาที่ระบุไว) กระทั่งเกิดเหตุการณ เชน การระเบิดของโรงงานสาร เคมีของบริษัท ยูเนียน คารบายด (Union Carbide) ที่เมืองโบพาล (Bhopal) ประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 2-3 ธันวาคม ค.ศ.1984 และกรณีนํามันรั่วจากเรือ ขนสงนํามันเอกซซอน วาลเดซ (Exxon Valdez) ในทะเลแถบอลาสกา เมื่อวัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 104
ที่ 24 มีนาคม ค.ศ.1989) เปนจุดเปลี่ยนที่ทําใหธุรกิจรูสึกวาตองรับผิดชอบ เพราะกฎหมายใชไมไดเต็มที่ ธุรกิจเริ่มเรียนรูวาการไมตระหนักตอปญหา สังคมและสิ่งแวดลอมที่ภาคธุรกิจเปนผูกอ จะทําใหผูบริโภคคว่ําบาตรไมซื้อ สินคา ชื่อเสียงจะเสื่อมเสีย แลวบริษัทก็จะอยูยากขึ้น” สฤณี มองวา ความลมเหลวในการแกใขปญหาของภาครัฐเปนอีกหนึ่ง สาเหตุที่ทําใหสังคมและผูบริโภคเรียกรองใหภาคธุรกิจแสดงความรับผิดชอบ มากขึ้น ในหลายทศวรรษที่ผานมาระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเขามามีสวน สําคัญในการกําหนดกิจกรรมทางธุรกิจ หลักใหญของทุนนิยมก็คือ การลด ตนทุนเพื่อเพิ่มผลกําไร ซึ่งวิธีลดตนทุนที่งายที่สุดก็คือ การประหยัดคาใช จายดานแรงงานและการผลิต ลดตนทุนดานการจัดการสิ่งแวดลอม เชน การ ประหยัดคาไฟโดยปดเครื่องบําบัดน้ําเสีย ทั้งๆ ที่ตามกฎหมายแลวตองเดิน เครื่องบําบัด และการลดคาการจัดการขยะหรือของเสียเปนพิษโดยนําไปทิ้ง ในที่ๆ ไมมีใครรูเห็น “ในระบบทุนนิยม ภาคธุรกิจมักจะผลักภาระตนทุนออกไป ซึ่งรัฐบาลจะ ตองรับมือดวยการบังคับใชกฎหมายที่จะทําใหธุรกิจรับภาระตนทุนทางสังคม และสิ่งแวดลอม” ทวารัฐบาลโดยทั่วไปกลับลมเหลวในการบังคับใชกฎหมาย ผลก็คือเกิด ปญหาสังคมและสิ่งแวดลอมตามมา ไมวาจะเปนปญหาโรคระบบทางเดิน หายใจในกลุม ชาวบานทีอ่ าศัยอยูร อบโรงไฟฟาถานหินแมเมาะ ปญหาสุขภาพ ของชุมชนกะเหรี่ยงที่ตองบริโภคน้ําปนเปอนสารตะกั่วที่ไหลมาจากโรงแตงแร คลิตี้ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี อีกหนึง่ ปญหาทีเ่ ห็นเดนชัดทีส่ ดุ ในการผลักภาระของภาคธุรกิจก็คอื ปญหา มลพิษในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นําไปสูการที่ภาคประชาชนรวมตัวกัน ฟองศาลปกครองใหระงับ 76 โครงการที่กําลังจะสรางขึ้น แมศาลปกครองจะ ตัดสินวาหนวยงานรัฐไดมีการละเมิดรัฐธรรมนูญโดยเรงออกใบอนุญาตให 76 โครงการ แตรัฐก็ไดเอาอกเอาใจภาคอุตสาหกรรมโดยจัดสรรงบประมาณเรง ดวนฉุกเฉิน 877 ลานบาท เพือ่ เยียวยาชุมชนโดยรอบ แทนทีจ่ ะมาไลดสู าเหตุ ของปญหาและหาตัวผูรับผิดชอบ เมื่อปลาจะกินดาว 10 105
ตั ว อย า งนี้ แ สดงให เห็ นถึ ง ความล ม เหลวของกลไกรั ฐ ในการบั ง คั บ ใช กฎหมาย และย้ําวารัฐลมเหลวในการบังคับใหภาคธุรกิจรับภาระตนทุนดาน ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดลอม และกลับนําเงินภาษีที่นาจะนําไปใชใน กิจการเพื่อประชาชนมาจายแทน สาเหตุหลักอีกประการที่เรงใหภาคธุรกิจหันมาทําซีเอสอารมากขึ้นก็คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภค ในหนังสือประจําปของสถาบันไทย พัฒนที่ชื่อ “ทิศทางซีเอสอาร ป 2553” มีบทวิเคราะหเรื่องซีเอสอารกับความ จําเปนทางธุรกิจอยางนาสนใจ ในรายงานไดกลาวอางถึงผลสํารวจของ Penn Schoen Berland’s Survey on Sustainability in the 2009 วา นอกจากเรื่องราคา คุณภาพ ความสะดวก สบาย และคุณธรรมในการประกอบการแลว ปจจัยที่มีผลในการตัดสินใจ ซื้อของผูบริโภคคือ เรื่องของสิ่งแวดลอม โดยผลสํารวจพบวา กระแสหวงใย สิ่งแวดลอมมีผลตอการตัดสินใจซื้อถึง 22% เทียบกับชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจ ที่กระแสโลกสีเขียวมีสวนในการตัดสินใจซื้อเพียง 15% สถาบันไทยพัฒนยังมองวา การทําซีเอสอารจะชวยใหธุรกิจสามารถ ปฏิบัติตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญป 2550 มาตรา 67 เรื่องการดําเนิน โครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและ ชุมชนอยางรุนแรงได เพราะเนื้อแทของซีเอสอารนั้นจะเนนเรื่องการเคารพ สิทธิมนุษยชน ความโปรงใส การมีธรรมาภิบาล การเปดเผยขอมูลตอชุมชน การมีสวนรวมของชุมชน และการทํามากกวาที่กฎหมายกําหนด พิพัฒน ยอดพฤติการ ผูอํานวยการสถาบันไทยพัฒน วิเคราะหวา ซีเอสอารจะชวยใหภาคธุรกิจสามารถรับมือกับมาตรการกีดกันทางการคา ใหมๆ ที่ประเทศผูนําเขากําหนดมาตรการเหลานี้ โดยเนนทั้งเรื่องสิ่งแวดลอม สุขภาพ แรงงาน สิทธิมนุษยชน รวมไปถึงที่มาและกรรมวิธีการผลิตที่ตอง ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคม ซึ่งมาตรการกีดกันทางการคาแบบ ใหมนี้เกี่ยวเนื่องกับแนวทางปฏิบัติซีเอสอารโดยตรง
ISO 26000 เช็คลิสตซีเอสอาร เนื่องจากซีเอสอารมีความหมายที่เปนนามธรรม เปดทางใหผูปฏิบัติตี เมื่อปลาจะกินดาว 10 106
ความและกําหนดกิจกรรมแตกตางกันไป แตก็ไดมีหลายองคกรหลายสถาบัน กําหนดกรอบการดําเนินการทําซีเอสอารขึ้น โดยกรอบที่ดูจะชัดเจนที่สุดคือ ISO 26000 ที่รางโดย International Organization for Standardization สถาบัน นานาชาติที่รับผิดชอบการจัดทํามาตรฐานการผลิตและการใหบริการ เชน ISO 9000 ISO 14000 การราง ISO 26000 เมื่อป 2544 โดยมีตัวแทนจาก 72 ประเทศ มีผูชํานาญ การ 355 คนในดานการผลิต สังคม สิ่งแวดลอม สิทธิมนุษยชน ดานแรงงาน ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคชุมชน โดยกระทรวงอุตสาหกรรมตองการสงเสริม ภาคอุตสาหกรรมและโรงงานใหทําซีเอสอาร ก็ไดใช ISO 26000 เปนแนวทาง การใหรางวัลใหกับโรงงานหรืออุตสาหกรรมที่ทําซีเอสอารไดดี อยางไรก็ดี ISO 26000 ที่จะมีการนํามาใชปลายป 2553 จะแตกตางไป จาก ISO ที่มีมากอนหนานี้ กลาวคือ ISO 26000 จะมีฐานะเปนเพียงแนว นโยบายปฏิบัติ เปนเรื่องของความสมัครใจ ไมใชขอบังคับ และสิ่งที่นาเปน หวงก็คือ ความเขาใจของภาคธุรกิจและการนําไปปฏิบัติ นอกจากนี้ก็ยังไมมี การตรวจสอบและรับรองมาตรฐานแตอยางใด ผลการสํารวจผูประกอบการที่ดําเนินกิจกรรมซีเอสอารโดยสถาบันไทย พัฒนในป 2552 พบวา ผูประกอบการจํานวน 3,355 ราย ใน 75 จังหวัด ยังขาดความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับ ISO 26000 มากถึง 57% ของจํานวน ผูประกอบการทั้งหมดที่ไดมีการสํารวจ
7 กุญแจไขหัวใจซีเอสอาร จากเอกสาร “มาตรฐานความรับผิดชอบของผูประกอบการอุตสาหกรรม ตอสังคม พ.ศ. 2553” (Standard for Corporate Social Responsibility (CSRDIW) 2010) ที่จัดพิมพโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม หนวยงานรัฐที่กํากับดูแล โรงงาน ไดระบุถึงแนวทางปฏิบัติตาม ISO 26000 โดยมีหลักดังตอไปนี้ 1) การกํากับดูแลองคกร (Organizational Governance) หมายถึง องคกรตองมีโครงสรางและกระบวนการการตัดสินใจที่เอื้อตอ การแสดงความรับผิดชอบตอสังคม นอกจากนั้นตองมีการใชทรัพยากรดาน การเงิน ทรัพยากรบุคคล และทรัพพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ เมื่อปลาจะกินดาว 10 107
โปรงใส และตรวจสอบได องคกรจะตองกระตุนใหเกิดการสื่อสารแบบสอง ทางระหวางองคกรกับผูมีสวนไดสวนเสีย และคํานึงถึงประโยชนของผูมีสวน ไดสวนเสียทุกภาค ไมใชเฉพาะผูถือหุน การกํากับดูแลองคกรเปนเรื่องที่ยากกวาการทําซีเอสอารทุกขอ เพราะ เกี่ยวของกับการบริหารงานโดยตรง เกี่ยวของกับการบริหารบัญชี การจาย ภาษี และอํานาจของผูบริหารในการตัดสินใจ ประเด็นขอนี้จึงเปนความ ทาทายของการดําเนินงานของบริษัทใหญๆ ทั่วโลก ตัวอยางความลมเหลวของการกํากับดูแลองคกรคือ การลมสลายของ บริษัน เอนรอน (Enron) บริษัทดานพลังงานชั้นนําในสหรัฐอเมริกา ซึ่งนิตยสาร ธุรกิจชั้นนําอยาง Fortune เคยโหวตใหเอนรอนเปนบริษัทที่มีการพัฒนาดาน นวัตกรรมมากที่สุดในอเมริกา (America’s Most Innovative Company) ติดตอ กันถึง 6 ป (ค.ศ.1996-2001) สิ่งหนึ่งที่ไมไดมีการกลาวถึงเอ็นรอนมากนักคือ เอนรอนเปนบริษัทที่ให ความใสใจตอการทําซีเอสอารมากโดยเฉพาะดานสิ่งแวดลอม และเอนรอนก็ ใหความสนใจเรื่องพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แตการทําซีเอสอารของ บริษัทเอนรอนไดละเลยและละเมิดกฎหลักคือ การกํากับดูแลองคกร การขาด ความโปรงใส นําไปสูการปลอมแปลงบัญชีและการลมละลายในป ค.ศ.2001 2) การดูแลสิทธิมนุษยชน (Human Right) หมายถึง การทีอ่ งคกรดําเนินกิจการโดยยึดหลักการเคารพสิทธิมนุษยชน การใหสทิ ธิอยางเทาเทียมดานเพศ เชือ้ ชาติ ไมมกี ารเลือกปฏิบตั ิ มีการจางผู ทุพพลภาพเขาทํางาน ไมกดี กัน้ ทางเพศหรือชนชัน้ วรรณะ แตในมิตขิ อง ISO 26000 การปฏิบตั ติ ามหลักสิทธิมนุษยชนยังรวมไปถึงการทีผ่ ปู ระกอบการตอง หลีกเลีย่ งการละเมิดสิทธิมนุษยชน และการระมัดระวังไมใหธรุ กิจเขาไปเกีย่ ว พันกับความขัดแยงทางการเมือง เชน การทีบ่ ริษทั น้าํ มันชือ่ ดังเขาไปลงทุนใน ประเทศไนจีเรีย ซึง่ ในทีส่ ดุ ก็เขาไปมีสว นในความขัดแยงทางการเมือง หรือการ ทีบ่ ริษทั น้าํ ขามชาติเขาไปผูกขาดการจัดหาน้าํ ประปาในประเทศโบลิเวีย อันนํา ไปสูส งครามกลางเมือง เนือ่ งจากประชาชนไมสามารถจะจายคาน้าํ ไดและไมมี น้าํ จะบริโภค เมื่อปลาจะกินดาว 10 108
การปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนยังรวมไปถึงการใหภาคธุรกิจหลีก เลี่ยงกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติอยางมีนัย สําคัญ เชน แหลงน้ํา ปาไม หรือชั้นบรรยากาศ และกิจกรรมที่กระทบตอ ชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม ภาษา ตัวอยางที่เห็นไดชัดคือ การที่บริษัทผลิต อุปกรณเสื้อผากีฬาไนกี้ (Nike) เคยมีปญหาการจางผลิตในโรงงานในประเทศ อินโดนีเซียโดยมีการใชแรงงานอยางทารุณ หรือการที่อุตสาหกรรมเพชรมี สวนในการสนับสนุนรัฐบาลเผด็จการในทวีปแอฟริกา 3) การปฏิบัติดานแรงงาน (Labour Practices) ประเด็นนี้เนนในเรื่องการจางงานที่เปนธรรมและเคารพกฎหมายการ จางงานอยางเครงครัด การใหคาลวงเวลาที่เปนธรรม สภาพการทํางานที่ ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย มีสวัสดิการใหอยางพอเพียง แต ISO 26000 และ แนวคิดซีเอสอารนั้นกาวไปไกลกวากฎหมาย โดยจะรวมไปถึงการสนับสนุน ใหมีการจัดตั้งและรวมกลุมของแรงงานเพื่อการตอรองอยางเปนธรรม การ พัฒนาฝมือและชวยเหลือลูกจาง และรับผิดชอบตอครอบครัวของพนักงาน 4) การดูแลสิ่งแวดลอม (Environmental Practices) นอกจากบริษัทตองปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครัดแลว ISO 26000 ยังเนนหนักในการปองกันมลพิษโดยมีการบงชี้จุดกําเนิดมลพิษในการผลิต และหาวิธีการปองกัน ใหองคกรที่นาเชื่อถือและชุมชนเขามาตรวจสอบได นอกจากนี้ ISO 26000 ยังใหความสําคัญกับการปรับตัวตอการเปลีย่ นแปลง ของสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change Mitigation and Adaption) โดยเนนใหมกี าร บงชีแ้ หลงกําเนิดกาซเรือนกระจกทัง้ ทางตรงและทางออม รวมถึงการสนับสนุน ใหมีการซื้อขายคารบอนเครดิตที่ไดมาจากโครงการลดการปลอยกาซเรือน กระจก ภายใตขอ ตกลงของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา ดวยการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ (United Nations Framework Convention of Climate Change: UNFCCC) ปจจุบันหลายบริษัทไดนําเรื่องการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดีมาเปนจุดขาย ผานทางกลไกตางๆ เชน สินคาที่ติดฉลากเขียวเพื่อดึงดูดผูบริโภคและชวยให บริษัทสามารถสงสินคาไปขายในกลุมประเทศยุโรป ญี่ปุน หรือสหรัฐอเมริกา เมื่อปลาจะกินดาว 10 109
ที่มีการใชมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมในการกีดกันทางการคา ยิ่งกวานั้นการ คิดคนและพัฒนาสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมก็ไดกลายมาเปนจุดขาย เชน รถยนตของโตโยตารุนพรีอุสไดสรางจุดแข็งใหกับโตโยตาในฐานะบริษัทผลิต รถยนตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จริงอยูที่รถรุนนี้แมจะมีปญหาจากอุบัติเหตุ ในสหรัฐเมื่อชวงตนป 2553 แตหลังจากผูบริหารโตโยตาไดแสดงความรับ ผิดชอบดวยการเรียกรถคืนรถรุนพรีอุสและเล็กซัส จํานวนกวา 400,000 คัน ความนิยมของบริษัทและตัวสินคาก็คอยพัฒนาขึ้น จากนั้นโตโยตาก็เดินหนา พัฒนาและผลิตรถรุนนี้ ไมไดมีการเลิกผลิต และรถรุนนี้ก็ยังคงเปนที่ตองการ ของผูบริโภค ISO 26000 ยังเนนการปกปองและฟนฟูแหลงที่อยูตามธรรมชาติ ตองนํา คาเสียหายทางสิ่งแวดลอมเขาไปในกลไกการตลาดโดยการยอมรับภาระคา ใชจายดานสิ่งแวดลอมหากเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศวิทยา 5) การดําเนินธุรกิจอยางเปนธรรม (Fair Operating Practices) หมายถึง การตอตานคอรัปชั่น และสนับสนุนใหองคกรและพนักงานมี สวนรวมทางการเมืองอยางถูกตองและเปนธรรม ยึดมั่นการแขงขันที่เปนธรรม ในธุรกิจ เชน ไมกีดกันคูแขงโดยบังคับใหรานคาปลีกรับซื้อสินคาพวง เชน ถา อยากขายสุรายี่หอหนึ่งก็ตองรับเบียรจากบริษัทเดียวกันไปขายดวย ตอตาน การผูกขาดและการทุมตลาด รวมไปถึงการเคารพตอสิทธิในทรัพยสิน ซึ่งรวม ไปถึงทรัพยสินและภูมิปญญาทองถิ่น 6) ความรับผิดชอบตอผูบริโภค (Consumers Issues) นอกจากบริษทั ตองใหขอ มูลทีเ่ ปนจริง ไมเบีย่ งเบน และปฏิบตั ติ ามสัญญา แลวนั้น ตองดูแลผูบริโภคดวยการใชวัตถุดิบการผลิตที่ปลอดภัยตอสุขภาพ และสิ่งแวดลอมของ การใหขอมูลขาวสารดานความปลอดภัยแกผูบริโภค กรณีที่พบวาผลิตภัณฑที่วางจําหนายในทองตลาดอาจเปนอันตรายหรือมีขอ บกพรองรายแรง องคกรจะตองเรียกคืนผลิตภัณฑและสื่อสารไปยังผูบริโภค ใหไดรับทราบ เชน กรณีบริษัท จอหนสัน แอนด จอหนสัน (Johnson & Johnson) เรียกคืนยาแกปวดลดไขไทลีนอลจากรานขายยาทั่วสหรัฐในป ค.ศ.1982 เมื่อพบวามีผูประสงครายแอบใสยาพิษในยาบางขวด และมีผูบริโภคเสียชีวิต เมื่อปลาจะกินดาว 10 110
7 คน ลาสุดในปนี้บริษัทก็ไดเรียกคืนสินคาประเภทยา รวมไปถึงยาไทลีนอ ลบางรุน เนื่องจากสวนผสมของยามีปญหา การดูแลผูบริโภคยังหมายถึงการสนับสนุนใหมีมาตรการรับฟง แกไขขอ รองเรียนของผูบริโภค การดูแลปกปองขอมูลของผูบริโภค กําหนดคาบริการ สัญญา การเก็บภาษีสินคาและบริการที่โปรงใส เปนธรรม รวมถึงการรักษา สิทธิของผูบริโภคในการเขาถึงบริการที่จําเปน เชน ไมตัดสิทธิการใหบริการ หากผูบริโภคยังไมไดชําระเงินตามเวลาที่เหมาะสม 7) การมีสว นรวมและการพัฒนาชุมชน (Community Involvement and Development) หมายถึง โครงการชวยเหลือสังคม การบริจาค โครงการพัฒนาดานการ ศึกษา สาธารณสุข ชุมชน และสิ่งแวดลอม การทําซีเอสอารในจุดนี้เปนหัวขอ ที่บริษัทนอยใหญทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทยนิยมกันมากที่สุด อยางไรก็ดี ISO 26000 ก็มีแนวทางการจัดการโครงการพัฒนาชุมชน เหลานี้ หลักสําคัญคือ บริษัทจะตองรวมปรึกษาหารือกับชุมชนอยางเปน ระบบ และเคารพสิทธิของกลุมชนทุกกลุม พิจารณาผลกระทบของกิจกรรม ดํ า เนิ นการร ว มกั บ องค ก รส ว นท อ งถิ่ น และนั ก การเมื อ งท อ งถิ่ นด ว ยความ โปรงใส รวมถึงมีการติดตามตรวจสอบและประเมินผลแผนการพัฒนาชุมชน
ซีเอสอารแบบไทยๆ ในประเทศไทยบริษัทตางๆ มักใชฝายประชาสัมพันธขององคกรในการ ดูแลโครงการซีเอสอาร และมักเปนโครงการนอกรั้วโรงงาน โดยไมเกี่ยวของ กับการดําเนินการภายในของบริษัท สงผลใหงานซีเอสอารกลายเปนเพียงงาน ประชาสัมพันธ อยางไรก็ดี การทําซีเอสอารในประทศไทยเริม่ เขามาสูจ ดุ เปลีย่ นทีส่ าํ คัญ โดยบริษทั ใหญทท่ี าํ เรือ่ งซีเอสอาร ไมวา จะเปนปูนซีเมนตไทย โตโยตา ธนาคาร ไทยพาณิชย ไดตง้ั แผนกซีเอสอารขน้ึ มาดูแลงานโดยเฉพาะ ขณะเดียวกัน ภาคธุรกิจก็ใหความสนใจในการทํากิจกรรมซีเอสอารมากขึน้ ตัวชีว้ ดั ทีช่ ดั ทีส่ ดุ ก็คอื เมือ่ วันที่ 29 กันยายน 2552 ตลาดหุน แหงประเทศไทย รวมกับ 27 บริษทั จาก 500 บริษทั ในตลาดหุน จัดตัง้ ชมรมบริษทั ในตลาดหุน ทีท่ าํ กิจกรรมดานซีเอสอาร กิจกรรมหลักก็คอื การใหความรูใ นการทําซีเอสอาร เมื่อปลาจะกินดาว 10 111
และเผยแพรการทําซีเอสอารเพื่อเปนเครื่องมือไปสูการเติบโตทางธุรกิจที่ย่งั ยืน และเกิดภาพพจนทด่ี ขี องตลาดหุน ในประเทศไทย แตกน็ บั วายังชากวาประเทศ อื่น เมื่อเทียบกับตลาดหุนของมาเลเซียที่ไดออกแนวปฏิบัติดานซีเอสอารของ บริษทั ในตลาดหุน เมือ่ ป ค.ศ.2006 และในป ค.ศ 2008 ตลาดหุน มาเลเซียก็ได ออกระเบียบใหบริษทั ในตลาดหุน เปดเผยรายงานเรือ่ งผลกระทบเรือ่ งสังคมและ สิง่ แวดลอม ไมเฉพาะแวดวงตลาดหุนเทานั้นที่บุกเบิกเรื่องซีเอสอารอยางเปนรูปธรรม ในป 2542 เครือขายนักธุรกิจ นักวิชาการทีเ่ ปนหวงเรือ่ งผลกระทบของภาคธุรกิจ ตอสังคมและสิ่งแวดลอม ไดกอตั้งเครือขายธุรกิจเพื่อสังคม และสิ่งแวดลอม (Social Venture Network Asia (Thailand) หรือ SVN Asia (Thailand) โดยมีผูนํา ในการกอตั้งคือ สุลักษณ ศิวรักษ ปญญาชนสยาม และปรีดา เตียสุวรรณ ผูกอตั้งแพรนดา จิวเวลรี่ ปจจุบัน SVN Asia (Thailand) มีสมาชิก 137 องคกร โดยสวนมากเปน บริษัทขนาดเล็กและกลาง กิจกรรมหลักๆ ของ SVN Asia (Thailand) ก็คือ การ จัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู การเยี่ยมเยียนระหวางสมาชิกเพื่อศึกษาวิธี การและตัวอยางที่ดีของสมาชิก การจัดทําวารสารเผยแพร การจัดอบรม และ เมื่อปลาจะกินดาว 10 112
การใหรางวัลบริษัทที่มีผลงานซีเอสอารดีเดน นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมไทย หรือ Thailand Business Council for Sustainable Development (TBCSD) ตั้งขึ้นเมื่อป 2536 โดยอานันท ปนยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี ขณะนี้มีสมาชิก 33 องคกร สวน มากเปนบริษัทชั้นนําและมีชื่อเสียงในภาคอุตสาหกรรม เชน บริษัทพลังงาน ปตท. บางจาก ปโตรเลียม เครือปูนซีเมนตไทย และสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ที่มาชวยใหบริษัทเหลานี้ใชกระบวนการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และให คําแนะนําในการทําธุรกิจอยางยั่งยืน
แกตรงที่คัน บริษัท วันเดอรเวิลด โปรดัคส จํากัด ผูผลิตของเลนที่ทําจากไมเปนอีก บริษัทหนึ่งที่มีโครงการปลูกปาประจําป ซึ่งคลายกับบริษัทใหญๆ เชน ปตท. การไฟฟาฝายผลิต ที่มีประเพณีการอนุรักษสิ่งแวดลอมโดยการปลูกปา แตสําหรับ สุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง กรรมการผูจัดการบริษัท วันเดอร เวิลด กิจกรรมการปลูกปาของบริษัทถือเปนการลดการใชไมยางพาราและลด ผลกระทบจากใชวัตถุดิบของบริษัทโดยตรง ซึ่งแตละปจะใชไมจํานวน 14,100 ตน เพื่อผลิตทําของเลน อีก 1,300 ตน สําหรับทํากลองบรรจุภัณฑ โครงการ ปลูกปาของบริษัทจึงมีเปาหมายเพื่อปลูกทดแทนไมยางพาราที่ไดใชไป “ตนยางทุกตนที่ถูกโคน ถึงแมวาชาวสวนยางพาราจะปลูกแทนตนตอตน ทั้งหมด แตวันเดอรเวิลดก็จะมีการปลูกเพิ่มมากกวาเดิมเปนจํานวนทั้งหมด 15,400 ตน ซึ่งกิจกรรมซีเอสอารที่ทํานั้นจะตองมีความเกี่ยวพันกับกิจกรรม การผลิตของบริษัท เพื่อเปนการลดผลกระทบจากสิ่งที่บริษัทกอขึ้น” สุทธิชัย กลาวถึงที่มาที่ไปของโครงการ การปลูกปาในแบบวันเดอรเวิลดเปนมากกวาการขนพนักงานไปปลูก ปาแลวก็จบกันไป โดยบริษัทไดรวมกับมูลนิธิกระตายในดวงจันทร องคกร พัฒนาเอกชนที่ทํางานรวมกับชุมชนในพื้นที่มาเปนเวลานาน รวมไปถึงใหชาว บานและสวนราชการเขามามีสวนรวม ทําใหเกิดความรูสึกเปนเจาของ เพราะ ในที่สุดปาก็เปนของชุมชน และปาจะอยูไมไดถาชาวบานไมรูสึกหวงแหน สิ่งที่นาสนใจอีกประการของโครงการปลูกปาของบริษัทนี้คือ การที่บริษัท เมื่อปลาจะกินดาว 10 113
ทอปทอยส (TOP TOYS) จากประเทศสวีเดน หนึ่งในลูกคาที่สั่งซื้อสินคาจาก วันเดอรเวิลดก็ไดเดินทางมาปลูกปาดวย เวอโรนิค บริจติ บาคเกอร (Veronique Brigitte Bagge) ผูอ าํ นวยการ ดานซีเอสอารของบริษทั ทอปทอยสประจําภาคพืน้ เอเชียกลาววาโครงการ ปลูกตนไมของบริษทั วันเดอรเวิลด ตรงกับปรัชญาของบริษทั ทีต่ ง้ั มัน่ จะลดผล กระทบตอสิง่ แวดลอม บาคเกอรกบั ทีมงานไดเดินทางมาจากฮองกง เพือ่ เขา รวมกิจกรรมปลูกตนไม โดยจะปลูกตนไม 1,750 ตน ซึง่ เทากับจํานวนไมทใ่ี ชทาํ ของเลนจํานวน 20 ตูค อนเทนเนอร “เราไมตองการแคบริจาคเงินใหมันจบๆ ไป แตเราตองแนใจวาบริษัทได คืนสิ่งที่เราไดเอาไปจากโลกใบนี้ โครงการนี้จะนําไปสูความสมดุลระหวาง การพัฒนาทางเศรษฐกิจและการอนุรักษธรรมชาติ” บาคเกอร กลาวระหวาง เขารวมงานปลูกตนไมกับวันเดอรเวิลด แนนอนที่สุดคือ ทอปทอยสจะตองบอกกับลูกคาถึงที่มาของไมที่นํามา ผลิตของเลน เพราะผูบริโภคในยุโรปใหความสนใจมากเกี่ยวกับที่มาและ กระบวนการผลิตสินคา และตองแนใจดวยวาสินคาจะปลอดภัยตอผูบริโภค ไมสรางผลกระทบกับชุมชนหรือเอาเปรียบแรงงาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 114
“ซีเอสอารเปนมากกวาเรื่องการลดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม บริษัทจะ ตรวจสอบไปถึงกระบวนการและสายพานการผลิต เชน โรงงานในประเทศจีน จะตองทํารายงานการตรวจสอบดานจริยธรรมในการทําธุรกิจ เพื่อนําเสนอ องคกรธุรกิจของเลนที่บริษัทเราเปนสมาชิกอยู” สําหรับบาคเกอร ซีเอสอารเปนสวนหนึ่งของการดําเนินธุรกิจ ไมใชแค การทําสาธารณะกุศล หรือการสรางภาพพจนองคกร แตยังเปนการบริหาร ความเสี่ยงของภาคธุรกิจ แมการทําซีเอสอารในทุกขั้นตอนจะมีราคาสูง แต บริษัทก็ยอมจายแพงกวาเพื่อที่จะไดสินคาที่มาจากวัตถุดิบที่มีคุณภาพและ ถูกตองตามหลักคุณธรรม
ซีเอสอารเพื่อผลกําไร ในทางธุรกิจแลวการทําซีเอสอารอาจดูเหมือนเปนการแบกภาระตนทุน เพิ่มขึ้น แตแนวทางการทําธุรกิจสมัยใหมไดเปลี่ยนไป เมื่อปญหาสิ่งแวดลอม และสุขภาพเขามาเปนปจจัยในการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค ความเปนโลกาภิ วัตนทําใหผูคนเริ่มคํานึงถึงมาตรฐานที่สูงขึ้น นําไปสูการเรียกรองใหผูผลิตยก ระดับการผลิตสินคาที่ดี ขณะเดียวกัน ประเทศที่พึ่งพิงอุตสาหกรรมสงออกอยางประเทศไทยก็ ตองปรับปรุงมาตรฐานการผลิต เพื่อใหสามารถขายสินคาในตลาดประเทศที่ มีขอกําหนดเรื่องมาตรฐานสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ซีเอสอารจึงเปน ตัวแปรสําคัญในการสรางความไดเปรียบ ไมใชการเพิ่มตนทุนที่ไมกอใหเกิด ประโยชนแตอยางใด “ผมมีสูตรวา opportunity (โอกาส) เทากับ crisis (วิกฤต) บวกกับ CSR” สุทธิชัย เลาใหฟงถึงกรณีของเลนจากประเทศจีนที่สงเขาไปขายที่ สหรัฐอเมริกา แตมีผลกระทบตอสุขภาพ ทําใหบริษัทตางชาติหันมาสั่งซื้อ ของเลนไมจากบริษัทวันเดอรเวิลดแทน แมจะมีราคาสูงกวาก็ตาม” “ขณะเดียวกัน opportunity ลบ CSR ก็เทากับ CRISIS ไดเชนกัน ยก ตัวอยางประเทศจีนที่กําลังเปนดาวเดนในการผลิตของเลน แตโรงงานในจีน ยังไมไดทําซีเอสอาร ผลก็คือเกิดวิกฤตภาพลักษณ ซึ่งถือเปนบทเรียนราคา แพงมาก” เมื่อปลาจะกินดาว 10 115
การมองซี เ อสอาร ใ นฐานะ ทีเ่ ปนกลยุทธทางธุรกิจนัน้ ไมได เปนเพียงความเชื่อในหมูนักธุรกิจ เทานัน กูรดู า นการบริหารจัดการ ชือ่ ดังระดับโลก อยางปเตอร ดรัค เกอร (Peter Drucker) ผูท ไ่ี ดชอ่ื วา เปน “บิดาแหงการบริหารยุคใหม” ได พู ด ถึ ง ความจํ า เป นที่ ผู บ ริ ห าร ระดับสูงจะผนวกเรื่องความรับผิด ชอบต อ สั ง คมเข า ไปเป น ปรั ช ญา และเปนแผนปฏิบตั กิ ารขององคกร เพราะนั่นคือหนทางแหงความอยู รอดของธุรกิจ ในหนังสือคูม อื การบริหารธุรกิจ ชือ่ Drucker on Leadership เขาไดยก ตัวอยางกรณีของ จูเลียส โรเซนวอลด (Julius Rosenwald) ประธานบริษทั เซียร โรบัค (Sears Roebuck and Company) ผูจ าํ หนายเครือ่ งจักรทางการ เกษตร โรเซนวอลดไดแบงปนผลกําไรจํานวนมากถึง 70 ลานเหรียญสหรัฐ (ชวงประมาณป ค.ศ.1910 หรือ 100 ปทแ่ี ลว) ใหกบั การพัฒนาการศึกษาและ การพัฒนาชุมชนเกษตรกรทั่วสหรัฐ เชน โครงการฝกอาชีพ ใหความรูใหม ดานเทคโนโลยี ซึ่งโรเซนวอลดมองวา เปนสิ่งที่ควรกระทําและจําเปนอยาง ยิ่ง ผลลัพธที่ไมคาดคิดคือ โครงการชวยเหลือสังคมนั้นสามารถสรางความนา เชื่อถือและขยายฐานลูกคาไดอยางกวางขวางมากขึ้น ภายใน 10 ป บริษัทได เปลี่ยนจากบริษัทที่ใกลลมละลายมาเปนบริษัทรายใหญและเติบโตเร็วที่สุด ของสหรัฐในยุคนั้น ไมเคิล อี พอตเตอร (Michael E. Porter) กูรูดานการตลาดชื่อดัง ที่รัฐบาลไทยเคยวาจางใหมาศึกษาความสามารถในการแขงขันของ ประเทศไทย ไดพดู ถึงซีเอสอารในฐานะเครือ่ งมือทีเ่ พิม่ ความสามารถทางการ แขงขันใหกับสินคา โดยรวมเขียนบทวิเคราะหที่ชื่อวา Strategy and Society: เมื่อปลาจะกินดาว 10 116
The Link Between Competitive Advantage and Corporate Social Responsibility ใน Harvard Business Review ในเดือนธันวาคม ค.ศ.2006 หัวใจของขอเขียนชิ้นนี้คือ การพูดถึงกระบวนการทําซีเอสอารที่ชวยสง เสริมและสรางความแตกตางใหกับบริษัทและผลิตภัณฑ แตการทําซีเอสอาร ที่ขาดกลยุทธจะทําใหบริษัทไมไดประโยชนอยางเต็มที่ นอกเสียจากชวย ปองกันความเสี่ยงจากการที่สินคามีปญหาหรือโดนสังคมประณาม หรือเอา ไวตอกรกับเหลาเอ็นจีโอ และเปนไดมากที่สุดก็แคการสรางภาพพจน มุมมองของเขาอาจไมถูกใจนักอนุรักษสิ่งแวดลอมหรือองคกรคุมครอง สิทธิ์ของผูบริโภคนัก เพราะพอตเตอรมองวาหนาที่หลักของภาคธุรกิจคือ การทํากําไร ซึ่งก็หมายถึงการจายภาษีใหรัฐกลับคืนมากขึ้น การใหคาจาง ที่ดีขึ้น สวัสดิการที่ดีขึ้น และเศรษฐกิจโดยรวมที่แข็งแรงขึ้น (ตองอยาลืม วา พอตเตอรไดวิเคราะหจากรากฐานหลักที่บริษัทเหลานี้ทําธุรกิจอยางถูก ตอง โปรงใส ไมคอรรัปชั่น) พอตเตอรมองตางมุมวา การทีภ่ าคสังคมและองคกรพัฒนาเอกชน บีบภาค ธุรกิจจนทําธุรกิจไมได จะเปนแคชยั ชนะระยะสัน้ ๆ แตจะสงผลเสียในระยะยาว เมือ่ ธุรกิจสะดุด การจางงาน การเพิม่ เงินเดือน และการพัฒนานวัตกรรมใหมๆ ก็จะลดลง ในภาพรวมก็จะหมายถึงเศรษฐกิจทีถ่ ดถอย การลงทุนหดตัว เขามองเรื่องกิจกรรมซีเอสอารวา เปนเรื่องการตั้งรับทางธุรกิจ จริงอยูที่ ภาพพจนที่ดียอมหมายถึงยอดขายที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงการไดใจผูบริโภค แต ปญหาก็คือ ไมมีกลไกที่จะวัดไดอยางถูกตอง วาการลงทุนดานซีเอสอารจะมี ผลในการชวยในการดําเนินธุรกิจไดมากนอยเพียงใด แนวคิดของเขาอาจฟงดูนารังเกียจ แตสิ่งหนึ่งที่ไมมีใครปฎิเสธไดก็คือ ในที่สุดภาคธุรกิจจะลงทุนกับสิ่งที่เปนประโยชนกับธุรกิจของตนเทานั้น ทาย สุดแลวกิจกรรมซีเอสอารที่ไมไดสรางมูลคาเพิ่มหรือสรางจุดขาย ก็เปนไดแค กิจกรรมสรางภาพที่จะออนแรงลงไปเรื่อยๆ ไมมีพลังที่จะขับเคลื่อนใหภาค ธุรกิจและสังคมเดินไปดวยกันได พอตเตอรเสนอใหบริษทั มองซีเอสอารในมุมใหม โดยเนนใหกจิ กรรมซีเอสอาร สัมพันธกับผลกระทบจากกระบวนการการผลิตสินคา บริษัทตองแยกแยะ ประเด็นทางสังคมและจัดลําดับผลกระทบที่มาจากการผลิตใหถูกตองเสีย กอนเปนอันดับแรก แลวจึงคอยออกแบบกิจกรรมซีเอสอารที่สอดรับกัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 117
ในเรื่องของการบริจาคหรือการทําโครงการสาธารณะกุศล เขาไดยก ตัวอยางบริษัทเครดิตการดชื่อดัง American Express ที่ไดเปนสปอนเซอร สนับสนุนเทศกาลการแสดงบัลเลตวา เปนการบริจาคที่ฉลาดในแงของการทํา ซีเอสอาร กลาวคือ American Express เปนธุรกิจทีเ่ กีย่ วของกับการใชชวี ติ เพือ่ หาความสุข ความสนุก การใชชีวิตแบบหรูหรา ฉะนั้นการสนับสนุนเทศกาล บัลเลตกส็ อดคลองกับแนวทางการใชชวี ติ ของกลุม ลูกคา และยังเปนการสราง ภาพพจนที่มีระดับใหกับ American Express ในทางสังคมการสนับสนุนศิลปะ เปรียบไดกับการใหของขวัญที่สวยงามจรรโลงใจใหแกสังคมเลยทีเดียว (ถึงจุด นี้ใครหละจะไมอยากมีเครดิตการดของ American Express ไวประดับกระเปา) จริงๆ แลว พอตเตอรชื่นชมบริษัทที่ “เขียว” จริงๆ แต “เขียว” อยางเดียว ไมพอตองมีกึ๋นในทางการทําธุรกิจดวย พอตเตอรโปรดปรานบริษัท เชน Ben & Jerry ที่ผลิตไอศครีมรสชาติดีอยางเดียวไมพอ ยังเปนผูนําในเรื่องการใช วัตถุดิบที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และเลือกใชวัตถุดิบจากเกษตรกรรายยอยที่ ทําฟารมอยางเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ผูกอตั้ง Ben & Jerry ใชจุดขายนี้สราง ความโดดเดนใหกับสินคาจนทําใหไอศครีมเจาเล็กนี้แขงกับทุนขนาดใหญได
เมื่อปลาจะกินดาว 10 118
ปญหาการทําซีเอสอารในประเทศไทย ถึงจุดนีอ้ าจกลาวไดวา ซีเอสอารในประเทศไทยไมใชเรือ่ งใหม หลายบริษทั ไดทาํ กิจกรรมนีอ้ ยูอ ยางไมรตู วั ไมวา จะเปนการทําตามกฎหมาย การทําธุรกิจ อยางโปรงใส การดูแลลูกจาง การรับผิดชอบตอลูกคา หรือการทําสาธารณะกุศล สุทธิชยั วิเคราะหวา หลายบริษทั ยังไมไดทาํ กิจกรรมซีเอสอารทส่ี อดคลอง กับผลกระทบทีบ่ ริษทั ของตนเองกอขึน้ เชน กิจกรรมการปลูกปาก็ปลูกไปโดย ไมมคี วามสัมพันธกบั กิจกรรมของบริษทั และบอกไมไดวา กิจกรรมทีท่ าํ นัน้ ลด ผลกระทบทีธ่ รุ กิจตนเองกอไวอยางไร สาเหตุหลักคือ การขาดความเขาใจ ซึง่ ไมใชปญ หาของทางภาคธุรกิจเพียง อยางเดียว แตยงั เปนปญหาของแวดวงวิชาการและสือ่ สารมวลชนทีไ่ มสามารถ ใหความรูค วามเขาใจกับสังคมได เมือ่ สังคมและผูบ ริโภคขาดความเขาใจก็จะ ขาดพลังในการขับเคลือ่ นใหภาคธุรกิจทําซีเอสอารอยางถูกตอง เพราะรากฐาน ของซีเอสอารเกิดจากการทีผ่ บู ริโภคเรียนรูส ทิ ธิข์ องตน และกดดันใหผผู ลิตทํา ธุรกิจอยางมีความรับผิดชอบ ขณะที่ สฤณี อาชวานันทกุล อาจารยดานธุรกิจเพื่อสังคม คณะ พาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มองปญหา เรื่องนี้ไวอยางแหลมคมวา “ในภาคการศึกษาคือ มหาวิทยาลัยที่สอน เรื่องธุรกิจ ประเทศเราสอนแตเรื่องการตลาด การสรางภาพพจนใหสินคา คนทําโฆษณาบานเรานี่เกงมาก แตไมมีใครจะทําใหสังคมเห็นถึงความแตก ตางระหวางภาพพจนกับความเปนจริง” สฤณีวิเคราะหถึงสาเหตุที่ทําใหซี เอสอารในประเทศไทยยังมีฐานะแคการโฆษณาองคกร “อีกสาเหตุคอื วัฒนธรรมการทําธุรกิจของไทยทีค่ ดิ เปนแตการขายของถูก แรงงานถูก และการลอกเลียนแบบผลิตภัณฑ วัฒนธรรมการทําธุกจิ แบบฟน กําไรเชนนี้ เปนสิง่ ทีอ่ ยูต รงกันขามกับการทําซีเอสอารอยางสิน้ เชิง” เธอกลาว สิ่งที่นาผิดหวังมากสําหรับสฤณีก็คือ บทบาทของสื่อมวลชนที่นอกจาก ไมสามารถฉายภาพใหสังคมเขาใจเรื่องซีเอสอารไดแลว ยังเขามาเปนสวน หนึ่งในการชวยประชาสัมพันธกิจกรรมซีเอสอารเทียมๆ เหลานั้น โดยไมมี การตั้งคําถามแตอยางใด
ปลุกพลังผูบริโภคขับเคลื่อนซีเอสอาร บริษัทที่ทําซีเอสอารไมวาแทหรือเทียมตางก็เก็บเกี่ยวผลประโยชนที่ เมื่อปลาจะกินดาว 10 119
ไดจากการยกระดับภาพลักษณใหผูบริโภคจดจําไดดี อนันตชัย ยูรประถม ผูอํานวยการสถาบันพัฒนาธุรกิจอยางยั่งยืน มองวา สิ่งที่ผูบริโภคจะวัดวา บริษัทใดทําซีเอสอารอยางแทจริง จะตองมองในมุมที่เกี่ยวของกับผูริโภค ซึ่งก็คือคุณภาพและการแสดงความรับผิดชอบตอลูกคา นอกเหนือจากนั้น ผูบริโภคก็อาจมองที่การดํารงอยูของบริษัท ประวัติการดําเนินการ วามีการ เอาเปรียบชุมชนผูบริโภค แรงงาน หรือเกี่ยวของกับการทุจริตหรือไม “สิ่งที่วัดไดวาบริษัทนั้นรับผิดชอบตอสังคมหรือไมก็ตองดูจากความรัก ความไววางใจที่ประชาชนหรือสังคมมีให มีโจทยวัดงายๆ วา ถาวันใดบริษัท ปดไปแลวสังคมไมเสียใจ ไมมีประชาชนมาเรียกรองขอใหดําเนินการตอ ก็ หมายถึง โครงการซีเอสอารที่ทํามานั้นลมเหลว” ในประเทศไทยอาจยังไมมีองคกรใดที่มาทําหนาที่ตรวจสอบจับจองการ ทําซีเอสอารของภาคธุรกิจ ที่เห็นชัดก็มีเพียงมูลนิธิเพื่อผูบริโภคที่เปนหัวหอก สําคัญในการคุมครองสิทธิผูบริโภค ในกรณีที่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากการซื้อ สินคาและบริการ ศศิวรรณ ปริญญาตร หัวหนาฝายตางประเทศ มูลนิธิเพื่อผูบริโภค เห็นวา บริษัทในประเทศไทยสวนใหญยังทําซีเอสอารเพื่อการประชาสัมพันธ กันอยู ซึ่งมูลนิธิเพื่อผูบริโภคเริ่มมีการตีพิมพบทความเรื่องการจับผิดการทํา ซีเอสอารลงใน “วารสารฉลาดซื้อ” และในปที่แลวไดทําสํารวจบริษัทกาแฟ ที่โฆษณาวามีการทําซีเอสอารมากกวาคูแขงรายอื่น อยางไรก็ดี ผลสํารวจกลับพบวา บริษทั กาแฟเหลานีไ้ มคอ ยสบายใจนักที่ จะตอบคําถาม เรือ่ งนโยบายการทําซีเอสอาร ศศิวรรณตัง้ ขอสังเกตวา บริษทั มักจะสือ่ สารเรือ่ งซีเอสอารผา นการโฆษณา ซึง่ เปนการพูดดานเดียว ทัง้ ทีก่ ารทํา ซีเอสอารนน้ั เปนเรือ่ งของการมีสว นรวมตอสังคม อันหมายถึงการทีต่ อ งเปดเผย ขอมูลตอสังคมนัน่ เอง ทายสุดคงจะพอสรุปไดวา กิจกรรมซีเอสอารในประเทศไทยยังเปนเพียงการ ประชาสัมพันธกนั เปนสวนมาก ซึง่ ก็ไมใชสง่ิ ทีผ่ ดิ เพราะการโฆษณาในเรือ่ งการ ทําดีกเ็ ปนสิง่ ทีท่ าํ ได อยางนอยบริษทั เหลานีก้ ไ็ ดพยายามทําสิง่ ทีถ่ กู ตอง หากแต ยังทําไดไมครบทุกดาน นีค่ อื โจทยอนั ทาทายตอกระแสซีเอสอารในประเทศไทย และเปนการบานทีผ่ มู สี ว นไดสว นเสียทุกคนตองชวยกันขบคิดหาคําตอบ
เมื่อปลาจะกินดาว 10 120
บรรณานุกรม มาตราฐานความรั บ ผิ ด ชอบของผู ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมต อ สังคม (Standard for Corporate Social Responsibility: CSR DIW B.B 2553) พิมพเมื่อ พ.ศ 2553 กรมโรงงาน, กระทรวงอุตสาหกรรม หนา 9-20เอกสารเผยแพรของหนวยงานราชการ (กรมโรงงาน, กระทรวง อุตสาหกรรม) ผูประกอบการสังคม พลังความคิดใหมเพื่อการเปลี่ยนแปลงโลก. (How to Change the World) เดวิด บอรนสตีน , เขียน เจริญเกียรติ ธน สุขถาวร และวิไล ตระกูลสิน, แปล บริษัทสวนเงินมีมา จํากัด พิมพครั้ง ที่ 2, พ.ศ. 2551 บทที่ 8 หนา 146-157 Strategy and Society: The Link Between Competitive Advantage and Corporate Social Responsibility By Michael E Porter Harvard Business Review, monthly magazine December, year 2006 issue P.86-98 Drucker on Leadership : New Lessons from the Father of Modern Management. By William A. Cohen Ph.D. First Edition. Year 2009 HB Printing P. 125-131 สัมภาษณ พิพัฒน ยอดพฤติการ ผูอํานวยการสถาบันไทยพัฒน, 23 มิถุนายน พ.ศ. 2553 สัมภาษณอนันตชัย ยูรประถม ผูอํานวยการสถาบันธุรกิจอยาง ยั่งยืน, 8 มิถุนายน พ.ศ. 2553. สัมภาษณ สฤณี อาชวานันทกุล, 21 มิถุนายน พ.ศ 2553 สัมภาษณ ดร.ไชยยศ บุญญากิจ รองประธานสถาบันสิ่งแวดลอม ไทย, 25 มิถุนายน พ.ศ 2553 สัมภาษณ สุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง กรรมการผูจัดการ ปริษัท วันเด อรเวิรล โปรดัคส จํากัด, 3 กรกฎาคม พ.ศ 2553 สัมภาษณ เวอโรนิค บริจิต บาคเกอร (Veronique Brigitte Bagge) ผู อํานวยการดานซีเอสอาร บริษัท ท็อป ทอยส สัมภาษณ ศศิวรรณ ปริญญาตรี หัวหนาฝายตางประเทศ มูลนิธิ เพื่อผูบริโภค 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 สัมมนาเรื่อง “CSR ไทย ของจริงหรือสรางภาพ” วันที่ 2 กรกฎาคม 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม เมื่อปลาจะกินดาว 10 121
เอ็นจีโอสิ่งแวดลอม..ผูปกปอง หรือทํารายโลก ชุติมา นุนมัน หนังสือพิมพมติชน
เมื่อปลาจะกินดาว 10 122
รองรอยปายโฆษณาขนาดยอม ถูกทุบทิ้งอยางไมใยดี เศษไม เกลื่อนกลาด รวงระเกะระกะยังมองเห็นประปรายอยูริมน้ําโขง บริเวณปาก งาว คอนผีหลง แขวงบอแกว สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มันเริ่ม ผุพังไปตามระยะเวลา ชาวบานในพื้นที่ บอกวา รองรอยที่เห็นนี้คือซากอัปยศ ที่เอ็นจีโอตางชาติ มาสรางเอาไว พวกเขา บอกอีกวา กอนหนานี้เอ็นจีโอตางชาติ หรือกลุมคน ไทยกลุมหนึ่งที่เรียกตัวเองวาเอ็นจีโอ แตไปขอทุนจากตางชาติมาทํางานใน ประเทศไทยกลุมหนึ่ง เคยคิดจะเอาปายลักษณะดังกลาวนี้ไปติดไวที่ริมแมน้ํา โขง พื้นที่จับปลาบึก บริเวณหาดไคร อ.เชียงของ จ.เชียงราย เชนเดียวกัน ขอความประมาณวา พวกเขาเปนเจาของโครงการอนุรักษ ดูแลปลาบึก และ แมน้ําโขง ในบริเวณตรงนั้น แตถูกชาวบานกลุมหนึ่งในพื้นที่ตอตาน ไมยอม ใหเอาปายดังกลาวขึ้น นิวัติ รอยแกว หรือ ครูตี๋ ประธานกลุมรักษเชียงของ ไดระบาย ความอึดอัดในใจสําหรับการทํางานของเอ็นจีโอตางชาติกลุมหนึ่งที่เขามา ทํางานในพื้นที่วา คนกลุมนี้เขามาทํางานเรื่องแมน้ําโขงในพื้นที่ อ.เชียงของก็ จริง แตไมเคยศึกษาวิถีชีวิตของคนในทองถิ่นอยางแทจริง อีกทั้งยังพยายาม เมื่อปลาจะกินดาว 10 123
เอาวิธีคิดของตัวเองเขามาครอบงําชาวบานในพื้นที่อีกดวย “เชน เรือ่ งการอนุรกั ษปลาบึก และการดูแลแมนาํ้ โขง พวกเราชาวบานคุย กันมาตลอดวาเราจะทํากันอยางไรดีใหมปี ลาบึกอยูก บั เรามากๆ และนานๆ เรา ไดขอ สรุปคือ ตองชวยกันอนุรกั ษและดูแลแมนาํ้ โขงไมใหใครมาทําใหมนั ไหลผิด เพีย้ น หรือมีสง่ิ กอสรางอะไรมากีดขวางทางไหลของน้าํ พอไดขอ สรุป เอ็นจีโอ กลุม นีก้ ลับทําเรือ่ งเสนอแหลงทุนของพวกเขา ซึง่ เราเขาใจวามาจากตางประเทศ วา งานทีช่ าวบานเคยคุยกันเปนงานของพวกเขา เขาคิดเขาทําเองทัง้ หมด” ครูต๋ี ยังบอกอีกวา ความจริงแลว ไมมชี าวบานกลุม ไหนหรือคนใด รังเกียจ การเขามาทํางานของเอ็นจีโอ ไมวา จะเปนเอ็นจีโอทีม่ แี หลงทุน หรือไดเงินจากใน ประเทศ หรือเอ็นจีโอทีร่ บั เงินเพือ่ ทํางานมาจากตางประเทศ หากเอ็นจีโอเหลา นัน้ เรียนรูว ถิ กี ารดํารงชีวติ ของชาวบานในพืน้ ทีท่ จ่ี ะเขาไปทํางานดวย “ที่เราพบนั้นมีทั้งดีและไมดี ที่ไมดีที่อยากจะบอกเอาไวเพื่อเปนอุทาหรณ คือนอกจากไมเรียนรูแลวเขายังพยายามครอบงําชาวบาน สรางความแตก แยกใหกลุมชาวบาน โดยเอาวิธีคิดของเขามาใสใหชาวบานที่นี่ดวย” วิธีการเขามาทํางานของเอ็นจีโอตางชาติ (ขอสงวนนาม) กลุมดังกลาวคือ จะมาคุยกับชาวบานเรื่องการอนุรักษแมน้ําโขง อนุรักษปลาบึก จัดประชุม ชาวบาน โดยใหคาตอบแทนเปนเบี้ยเลี้ยงสําหรับการประชุมแตละครั้ง และ เรียกประชุมในชวงเวลาที่ชาวบานทํางานประจําวัน ใหเงินเดือนชาวบานบาง คนที่มาทําหนาที่ผูประสานงานเรื่องการอนุรักษปลาบึก “วิธีการของเขา ทําใหชาวบานแบงแยกออกเปนสองฝกสองฝาย ทําให พวกเราบางคนลืมไปวา การดูแลทองถิ่นของเรา เปนหนาที่ที่จะตองทํา ไม ตองใหใครมาจางวาน และเมื่อมีเงินมีคาตอบแทนเขามา คนที่ไมไดก็จะเกิด คําถามขึ้นวาทําไมเขาถึงได แตคนนั้นได เขาไมได เขาไมทํา ใหคนที่ไดเงินทํา อะไรเหลานี้เปนตน” นี่เปนปญหาที่ชาวบานกลุมหนึ่งประสบ จากการเขาไปทํางานของเอ็นจีโอ ขณะที่ เอ็นจีโออีกกลุมที่เขาไปทํางานรวมกับชาวบาน และเจาหนาที่ของ รัฐที่ทํางานอยูในปาไกลโพน อยางเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร กลับ มีแตเสียงชื่นชม เมื่อปลาจะกินดาว 10 124
เจาหนาที่ของมูลนิธิสืบนาคะเสถียร นําทีมโดย อาจารยรตยา จันทร เทียร ประธานมูลนิธิ วัยยางเขา 80 ป และ อาจารยศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธิ กับรถขับเคลื่อน 4 ลอ ขับจากสํานักงานมูลนิธิสืบฯ เขา ปาทุงใหญ เพื่อนําเอาเปล ยาสามัญประจําบานรักษาโรคเบื้องตน เสื้อผา ตัดเย็บอยางดีสําหรับเดินและทํางานในปา และอาหารแหง ไปฝากพนักงาน พิทักษปา ที่ออกลาดตระเวนปา ในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร พื้นที่ปาตะวันตก เปนพื้นที่หลักในการทํางานของมูลนิธิสืบฯ งานหลักๆ ที่กําลังดําเนินการอยูเวลานี้ เชน โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนําชุมชนเพื่อ การอนุรักษ โครงการสนับสนุนการดํารงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ การอนุรักษธรรมชาติ แผนงานเฝาระวังผืนปาตะวันตกรวมกับกรมอุทยาน แหงชาติสัตวปาและพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แผนงานชวยเหลือเจาหนาที่พิทักษปา โครงการจอมปา ฯลฯ อาจารยรตยา บอกวา การทํางานของมูลนิธิสืบฯ เหมือนกับการเติมเต็ม ในการชวยระหวางชาวบานและภาครัฐดูแลปา ซึ่งการเติมเต็มในที่นี้อาจจะ หมายถึงการคัดคาน การชี้แนะ การประสานงาน รวมทั้งการลงไปชวยเหลือ บางสิ่งบางอยางที่มูลนิธิฯพอจะทําได “การลงพื้นที่ทําใหเราเห็นภาพจริง วาบริเวณนั้นมีปญหาอะไร มีอะไร ขาด มีอะไรเหลือ และชาวบานในพื้นที่เขาทําอะไรถูก ทําสิ่งไหนผิด เราก็จะ คอยแนะนําตามความถูกตอง สําคัญเลยนะคะ คือการพูดคุยทําความเขาใจ กับชาวบาน รวมทั้งทําความเขาใจกับภาครัฐดวย ที่ผานมา มูลนิธิสืบฯ ไม เคยมีปญหากับใคร เราทํางานไดทั้งฝายรัฐและชาวบาน เรามั่นใจวา ปาไม และสัตวปา จะอยูได ไมใชขึ้นอยูกับฝายใดฝายหนึ่งเทานั้น ตองทํางานรวม กันทั้งหมดไมวาจะเปนภาครัฐหรือภาคประชาชน แมกระทั่งเอ็นจีโอ” ภาพทีเ่ ห็นระหวางการลงพืน้ ทีไ่ ปทํางานรวมกับเจาหนาทีม่ ลู นิธสิ บื ฯ ก็คอื ทั้งชาวบาน และเจาหนาที่ของรัฐ ลวนใหความรวมมือ และเต็มใจทํางานดวย ผูเฒา หมองเป ปราชญประจําหมูบาน ทิไลปา ต.ไลโว อ.สังขละบุรี บานกลางปาลึก ในปาตะวันตก จ.กาญจนบุรี รีบบอกใหลูกหลาน เอาน้ํามา ตอนรับแขกคนสําคัญที่มาจากแดนไกล พวกเขาแสดงความยินดีอยางออก เมื่อปลาจะกินดาว 10 125
นอกหนา สําหรับผูมาเยือน เรานั่งมองผูเฒาหมองเป คุยกับประธานมูลนิธิ สืบฯ อยูมุมหนึ่งของบานดวยความสนใจ 2 ผูเฒา คุยกันดวยเรื่องการดูแลพื้นที่ปาตะวันตกอยางออกรสชาติ ผู เฒาหมองเป บอกอาจารยรตยาวา เจาหนาที่ภาคสนามของมูลนิธิสืบฯ ขยัน ขันแข็งเขามาในพื้นที่ทุกอาทิตย ชาวบานเห็นอะไรไมชอบมาพากลที่เกิดขึ้น ในปา ก็ไดเจาหนาที่ของมูลนิธิสืบฯ ชวยประสานงานกับเจาหนาที่ของรัฐให อยางดี ยิ่งเวลานี้มีหัวหนาเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญฯ คนใหมเปนผูหญิง ที่ทํางานเกง และฟงชาวบานมากขึ้น ทุกคนก็สบายใจขึ้น “มีเด็กๆ มาบอกวา เขาเห็นรอยเทาแรดในทายปาดวยนะ แจงเจาหนาที่ ไปแลว ไมรูวาเขาไปตรวจดูแลวหรือยัง คิดวา 2-3 วันนี้ เขาก็จะแวะเขามาที่นี่ แหละ จะไดบอก ไดถามรายละเอียดกันเพิ่ม” ผูเฒา หมองเป แจงขาว ผูอํานวยการมูลนิธิสืบฯยิ้ม ดวยความปลาบปลื้ม แลวบอกวา ปาแถบนี้ ก็ตองใหคนแถวนี้ชวยกันดู มูลนิธิสืบฯเปนเพียงคนชวยทํางานเทานั้น เหมือน กับเจาหนาทีพ่ ทิ กั ษปา ของเขตรักษาพันธุส ตั วปา ทุง ใหญนเรศวร ทีอ่ อกอาการ ปลื้มอกปลื้มใจอยางเห็นไดชัด เมื่อทีมงานของมูลนิธิสืบฯ ดั้นดน ขับรถฝา สายฝนและเสนทางขรุขระ ทุลักทุเลเขาไปเยี่ยม พรอมกับของฝากที่พวกเขา ถูกใจ “ที่ดีใจไมใชเพราะของฝากนะครับ แตเราดีใจที่พวกเขาคิดถึงเรา ของ ฝากที่พวกเขาเอามาให ไมไดมีคาอะไรมากมาย แตแสดงใหเห็นถึงความใสใจ วาพวกเราขาด หรืออยากไดอะไรบาง” เจาหนาที่พิทักษปาคนหนึ่งบอก เขาบอกอีกวา ขาวของทั้งหมดใชวาหนวยราชการตนสังกัดจะไมจัดให ระหวางการทํางาน จัดใหเหมือนกัน แตดวยความลาชาของขั้นตอนราชการ ตางๆ ทําใหการทํางานของเจาหนาที่ระดับลางอยางพวกเขาไมไดรับความ สะดวกนัก การที่มีองคกรพัฒนาเอกชน หรือเอ็นจีโอ อยางมูลนิธิสืบนาคะ เสถียรเขามาทํางานดวย ทําใหงานสะดวก และสบายใจขึ้น ในวันที่ประเทศไทยมีความเจริญกาวหนาทั้งดานเทคโนโลยี และการ พัฒนาทางเศรษฐกิจมากขึ้นเทียบชั้นกับประเทศที่กําลังพัฒนาและพัฒนา แลวทั้งหลาย บทบาทของคนกลุมหนึ่งที่เรียกตัวเองวา “เอ็นจีโอ” ก็มีมาก เมื่อปลาจะกินดาว 10 126
ขึ้น คําวา เอ็นจีโอ ยอมาจากภาษาอังกฤษมีชื่อเต็มๆวา Non-Governmental Organization แปลวาวา องคการพัฒนาภาคเอกชน โดยความหมายคือ การ รวมตัวของกลุมคนจากสาขาอาชีพตางๆ เพื่อรวมทํากิจกรรมใหสังคม ไม แสวงหาผลกําไร และเพื่อลดชองวางของสังคมในสวนที่รัฐเขาไปชวยเหลือ ไมทั่วถึงใหมีสภาพเปนอยูที่ดีขึ้น สวนใหญเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองปญหา ของชาวบาน ที่รัฐบาลดูแลไมทั่วถึงหรือไมใหความสําคัญ ดังนั้นชาวบาน จึงตองแกไขปญหาตัวเอง เรียกรองและตอรองกับรัฐบาลกันเอง เอ็นจีโอ เริ่มเปนที่รูจักตั้งแตกอนชวงสงครามโลกในฐานะกลุมชวยเหลือ และบรรเทาทุกขในพื้นที่ยากจนและกลุมคนดอยโอกาส ประเทศที่ประสบภัย ธรรมชาติ ขาดแคลนอาหารและสาธารณสุข ตอมาในชวงสงครามโลกครั้ง ที่ 2 องคกรเอกชนเหลานี้ทํางานชวยเหลือเหยื่อสงคราม ผูบาดเจ็บและเริ่ม ขยายงานไปสูการพัฒนา งานยกระดับคุณภาพชีวิต อนุรักษสิ่งแวดลอม เอ็นจีโอในประเทศไทยเกิดขึน้ มากวา 40 ปแลว เริม่ จากป 2512 อาจารย ปวย อึง้ ภากรณ อดีตผูว า การธนาคารแหงประเทศไทย และปูชนียบุคคล ของประเทศไทย กอตัง้ มูลนิธบิ รู ณชนบท อบรมนักพัฒนาชนบท และบัณฑิต อาสา ใหไปทํางานกับชาวบานในชนบททัว่ ประเทศ ถือเปนยุคแรกของประเทศ ทีม่ ผี อู าสาเขาไปทํางานกับชาวบาน ใหชาวบานไดคดิ และมีสว นรวมกับทอง ถิน่ ในการพัฒนาพืน้ ทีข่ องตัวเอง ตลอดจนการเคารพในศักดิศ์ รีความเปนมนุษย ของตัวเอง “ครูแดง” เตือนใจ ดีเทศน อดีต สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) เชียงราย เลาวา หลังจากเรียนจบจากคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ก็ไป สมัครเปนบัณฑิตอาสา รุนที่ 6 7 และ 8 ติดตอกัน กอนเปนบัณฑิตอาสา ไดไปอบรมกับมูลนิธิบูรณชนบท เมื่อป 2517 โดยอาจารยปวย เปนผูทุมเท และเสียสละตัวเองในการทํางานดานนี้อยางมาก บัณฑิตอาสาแตละรุนจะ มีประมาณ 36-40 คน อาจารยปวย จะจําทั้งชื่อจริงและชื่อเลนของบัณฑิต อาสาไดทง้ั หมด สิง่ ทีอ่ าจารยปว ยเนนย้าํ กับบัณฑิตอาสาทุกคนกอนไปทํางาน กับชาวบานคือ ความเขาใจในพืน้ ทีแ่ ละการใหชาวบานมีสว นรวมในการทํางาน ถือเปนแนวคิดยุคใหมอยางมากสําหรับการพัฒนาในยุคนั้น เมื่อปลาจะกินดาว 10 127
“บัณฑิตอาสาก็ทาํ งานคลายกับเอ็นจีโอในยุคนี้ คือไปทํางานกับชาวบาน ทําความเขาใจกับปญหาของชาวบาน ชวยชาวบานแกปญ หา เพียงแตบณ ั ฑิต อาสานัน้ ไดรบั การสนับสนุนเงินเดือนจากรัฐบาลเดือนละ 800 บาท ใหเราไปอยู กับชาวบาน แตไมเบียดเบียนชาวบาน” ครูแดง เลา การทุมเทในงานนี่เองทําใหอาจารยปวย ไดรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการ สาธารณะและลูกศิษฐ ลูกหา อดีตบัณฑิตอาสาของอาจารยก็ยังคงทํางาน ในแวดวงเอ็นจีโอ เปนที่รูจักหนาคาตากันหลายคน เชน พิศิษฐ ชาญเสนาะ เลขาธิการสมาคมหยาดฝน ที่ จ.ตรัง หรือ บุญเรือง สุขสวัสดิ์ ผูก อ ตัง้ ธนาคารวัว ธนาคารควาย และธนาคารขาว ที่ จ.ชัยนาท หรือกระทั่ง ครูแดง เตือนใจ ดีเทศน เดช พุมคชา อดีตเลขาธิการคณะกรรมการ ประสานงานองคกรพัฒนาเอกชน (กป.อพช.) สําหรับเอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอมนั้น ความหมายอาจจะแคบลงมา คือ เนนการทํางานดานสิ่งแวดลอมเปนหลัก ซึ่งปจจุบันนี้ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่ง แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) ไดขึ้นทะเขียน เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมเอาไว 192 องคกร เอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอมเริ่มเกิดขึ้นอยางชัดเจน เมื่อป 2529 อันเนื่องมา จากสถานการณที่ชี้ชัดวาทรัพยธรรมชาติ ไมวา ปาไม ที่ดิน ถูกทําลายและ มีการแยงชิงกันมากขึ้น นอกจากนี้ รัฐบาลไดทําโครงการขนาดใหญ เชน การสรางเขื่อน ซึ่งนําไปสูการตัดไมทําลายปาในพื้นที่กวางขวางมหาศาล อัน นําไปสูการคัดคาน เพราะมีผูเห็นวาจะเปนการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ มหาศาล และเอ็นจีโอก็ไดเขามามีบทบาทในเรื่องนี้เพิ่มขึ้น กระทั่งในปจจุบัน เอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอมกลายเปนกลุมที่ใหญและมี บทบาทคอนขางมาก และในปจจุบัน จากการรวบรวมของผูเขียนสามารถ แยกแยะกลุมเอ็นจีโอเอาเองตามประสบการณ ไดดั้งนี้ กลุมแรก เปนองคกรเล็กๆ และไมไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคล อาจเปน โครงการที่ตั้งขึ้นมาเฉพาะกิจ คนที่ทํางานในองคกรเหลานี้บางคนอาจมาจาก รัฐบาลหรือภาคธุรกิจที่ตองการจะชวยเหลือสังคม เชน กลุมอนุรักษกาญจน ชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอม ที่มีอยูในหลายพื้นที่ หลายจังหวัด คนเหลานี้สวน เมื่อปลาจะกินดาว 10 128
มากจะทําดวยความรัก เสียสละทั้งแรงกายและแรงเงิน กลุมที่สอง เปนโครงการ หรือกลุม หรือชุมชน แตเปนกลุมที่ใหญกวา กลุมแรก มีเจาหนาที่ประจํา อาจมี 2-3 คน หรือบางแหงอาจขออาสาสมัคร จากที่อื่นมาชวย โดยไมมีคาจายคาตอบแทนใหหรือจายบางสวน เชน การขอ สมัครจากมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคมมาชวย หรือบางหนวยงานก็จะมีอาสา สมัครจากตางประเทศมาชวยทํางาน โดยไมรับคาตอบแทน แตระยะเวลาการ ทํางานมักไมนานนัก กลุมที่สาม เปนองคกรที่พัฒนามาจากกลุมที่หนึ่งและกลุมที่สอง และ จะมีเจาหนาที่ประจํามากขึ้น มีโครงการ มีงบประมาณที่ไดจากการเสนอ โครงการมาสนับสนุน การทํางานมีทั้งไดรับจากภาครัฐ เชน จากกองทุน สิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และแหลงทุนจาก ตางประเทศ เชน สถานทูตตางๆ กลุมที่สี่ เปนองคกรที่คนของรัฐหรือหนวยงานรัฐเปนผูจัดตั้งขึ้น ซึ่งมีทั้ง ที่ตั้งเปนโครงการ เปนชมรม และที่จดทะเบียนเปนทางการเปนมูลนิธิ หรือ สมาคม และที่ตั้งขององคกรเหลานี้มักอยูในหนวยงานของรัฐนั้นเอง รวมทั้ง บางครั้งก็จัดสรรเงินจากหนวยงานรัฐนั้นมาใหทํางานคนของรัฐ ซึ่งสวนมาก มีตําแหนงสูงๆ จะเขามาสวมหมวกอีกใบ เชน เปนประธานมูลนิธิบาง เปน นายกสมาคมบางจะอาศัยชื่อเสียงหรือตําแหนงหนาที่การงานเปนเครดิตใน การขอทุนจากตางประเทศบาง จากองคกรระหวางประเทศที่มีที่ตั้งอยูในและ นอกประเทศบางมาทําโครงการเฉพาะกิจ อาจมีการจางเจาหนาที่มาทํางาน เฉพาะโครงการ ตามระยะเวลาของโครงการทีไ่ ดรบั เงินสนับสนุนมา เจาหนาที่ มาทํางานเต็มเวลานี้มักเรียกวา ผูประสานงาน กลุมสุดทาย คือ องคกรระหวางประเทศ องคกรเหลานี้มักมีองคกร แมอยูในประเทศที่พัฒนาแลว เชน องคกรแครนานาชาติ ประเทศไทย ที่มี องคกรแมอยูสหรัฐอเมริกา วายเอ็มซีเอ (Young Men Christian Association) กรีนพีซ (Green Peace) เครือขายแมน้ําเพื่อชีวิต เปนตน ซึ่งองคกรเหลานี้มีทั้ง ที่เขาสนับสนุนหรือรวมมือกับเอ็นจีโอในประเทศไทยและที่เขามาทํากิจกรรม เอง โดยการจัดจางคนในประเทศเปนเจาหนาที่ แตสวนมากระดับหัวหนายัง เมื่อปลาจะกินดาว 10 129
วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ
หาญณรงค เยาวเลิศ
เปนชาวตางประเทศ และสวนมากจะไดรับงบประมาณจากองคกรแมในตาง ประเทศ ซึ่งสวนมากไดทุนมาจากการรณรงครับบริจาคทั่วไป
2010 เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมอุดมการณอยูแตพฤติกรรมเปลี่ยน กลุมสมัชชาคนจน เอ็นจีโอที่มีความชัดเจนมาตลอดวา ทํางานดานสิ่ง แวดลอม คือ เรียกรองความเปนธรรมใหกับชาวบานที่ไดรับผลกระทบจาก การสรางเขื่อนในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะเขื่อนปากมูล ที่ มีแกนนําเปนคนเมืองอยาง วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ อดีตนักขายประกัน ชาวกรุง ที่ทิ้งความสะดวกสบายและอนาคตทางธุรกิจที่รุงเรือง ไปทํางานกับ ชาวบาน นอนกลางดิน กินกลางทราย ชาวบานอยูที่ไหนเธอก็จะอยูดวย ทั้งๆ ที่ระดับแกนนําไมจําเปนจะตองทําเชนนั้นก็ได หนาที่ของวนิดาในกลุมสมัชชาคนจน นอกจากเปนแกนนํา เปนที่ปรึกษา ใหชาวบานสูกับความไมเปนธรรมที่ไดรับแลว พวกเธอยังชวยกันสรางใหชาว บานในพื้นที่ใหรูถึงสิทธิ หนาที่ เพื่อใหสามารถยืนหยัดไดดวยลําแขงของตัว เอง ไมใหราชการ หรือความอยุติธรรมเขาไปรังแก หรือลิดรอนสิทธิใดๆ ไดอีก ผลที่ไดรับก็คือ เวลานี้ผูที่ทํางานในกลุมสมัชชาคนจนจํานวนมาก รวมทั้งแกน เมื่อปลาจะกินดาว 10 130
นําในปจจุบันมีชาวบานที่ไดรับความเดือดรอนรวมอยูดวย วันนี้ วนิดา ไดจากกลุมสมัชชาคนจนไปแลวอยางไมมีวันกลับ ดวยโรค รายที่รุมเรา แตเธอเปนผูหญิงตัวเล็กๆ ที่จะถูกบันทึกเอาไวในใจของชาวบาน ยากไร ที่เธอรวมตอสูมาดวยตลอดวาเปนวีรสตรีของพวกเขา วนิดาไดทุมเท ทั้งแรงกาย แรงใจทํางานเพื่อชาวบานจนวินาทีสุดทาย งานครบรอบวันจาก ไปของวนิดาทุกปจะมีผูไปรวมงานโดยไมมีใครที่ไมเสียน้ําตา ถ า เปรี ย บเที ย บการต อ สู ข องชาวบ า นสมั ช ชาคนจนที่ มี วิ ถี ชี วิ ต อยู กั บ สิ่งแวดลอมที่บริสุทธิ์มาตลอด กระทั่งความเจริญทางวัตถุที่ทําใหทุกอยาง เปลี่ยนไป กับชาวบานในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง ที่ไดรับ ผลกระทบจากการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบสุดๆ ถาเปรียบระหวางมาบตาพุด และชาวบานที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนปากมูลนั้น คลายๆ กัน แต ก็ไมเหมือนกันทั้งหมด ชาวบานมาบตาพุดสวนใหญเปนคนเมือง แตชาวปากมูลเปนชาวบาน พูดใหชัดๆ คือคนบานนอก วิถีการตอสูคลายกัน แตชาวบานปากมูลดูจะ แข็งแกรงวา เพราะมีพื้นฐานการเรียนรูการตอสูที่สั่งสมความทุกขแปลงมา เปนกําลัง เอ็นจีโอที่ปากมูลเปลี่ยนสภาพจากแกนนํา เปนที่ปรึกษา และให เมื่อปลาจะกินดาว 10 131
ชาวบานวางหมากเดินเกมการทํางานกันเอง ขณะทีช่ าวมาบตาพุดยังแบงเปน หลายฝาย มีทั้งชาวบานที่ไดรับผลกระทบจากโรงงานอุตสาหกรรมเปนผูเดิน เกม และใหผูนําที่อยูขางนอกเขามาชวย สุทธิ อัชฌาศัย แกนนําเครือขายประชาชนภาคตะวันออก คนหนุม ไฟแรง แมจะไมใชชาวมาบตาพุดทีไ่ ดรบั ผลจากการขยายความเจริญของนิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุดโดยตรง แตขยันขันแข็งในการศึกษาหาขอมูล ทําการ บาน และทุมกําลังกายเพื่อผลักดันใหชาวบานมาบตาพุดไดรับการดูแลใหมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในเวลาตอมาเมื่อสุทธิทํางานกับชาวบานมาบตาพุดพัก ใหญ ทามกลางสถานการณทางการเมืองในประเทศที่ระอุขึ้น สุทธิไปมีราย ชื่อปรากฏในกรรมการบริหารพรรคการเมืองใหม ภายใตการนําของ สนธิ ลิ้มทองกุล หรือกลุมคนเสื้อเหลือง ซึ่งพื้นที่ จ.ระยอง ถือเปนชัยภูมิสําคัญ ของพรรคการเมืองพรรคนี้ ทําใหชื่อ สุทธิ อัชฌาศัย ถูกตอตานจากชาวบาน มาบตาพุดอีกกลุมหนึ่ง ลาสุดนี้ เมื่อกฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 มาตรา 67 วรรค สอง ถูก ประกาศใช กําหนดให โครงการทุกโครงการที่เขาขายอาจจะกอใหเกิดผล กระทบรุนแรงจะตองทําทั้งรายงานการวิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) และรายงานผลกระทบดานสุขภาพ (เอชไอเอ) และตองใหคณะ กรรมการองคการอิสระ (กอสส.) ซึ่งเปนองคกรอิสระหนวยงานใหม ที่เกิดขึ้น ภายในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ กอสส.มาจากการสรรหาคณะบุคคล 13 คน จาก เอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอม เอ็นจีโอดานสุขภาพ นักวิชาการดานสิ่งแวดลอม และนักวิชาการดานสุขภาพ กอนหนานี้ไมมีการพูดถึงวา ทั้ง 13 คนที่เขามาทํางานจะมีคาตอบแทน อะไรจํานวนเทาไรบาง แตเมื่อจะเขามาทํางาน มีขาวออกมาหนาหูวา บาง คนในคณะเรียกรองคาตอบแทนใหตัวเอง มากกวาเบี้ยประชุมที่ไดรับสําหรับ การประชุมครั้งหนึ่งๆ จนในที่สุดรัฐบาลจึงตั้งงบประมาณสําหรับเปนคาเงิน เดือน หรือคาตอบแทนใหคณะทํางานคณะนี้คนละ 45,000 บาท ตอเดือน ศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธสิ บื นาคะเสถียร ผูป ระกาศตัววาเปน เอ็นจีโอหนาใหม เพราะผันตัวจากอาจารยคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เมื่อปลาจะกินดาว 10 132
รังสิต มาทํางานทีม่ ลู นิธสิ บื นาคะเสถียร เพียงแค 6 ป ก็ยอมรับวา รวมงานกับ เอ็นจีโอหนาเกา ในวงการเอ็นจีโอมานานพอสมควร ซึง่ ศศิน ยอมรับวา เปน เรือ่ งปกติทก่ี ารทํางานของเอ็นจีโอโดนวิพากษวจิ ารณ เพราะเปนเรือ่ งปกติของ ในทุกวงการทีม่ ที ง้ั คนทํางานทีม่ อื ถึง และมือไมถงึ มีทง้ั ตัวจริง และตัวปลอม รวมทัง้ บางครัง้ คนทีเ่ ปนตัวจริงมือไมถงึ ก็มี เพราะรากฐานการทํางานไมแนน พอ ซึง่ ในวงการเอ็นจีโอก็เชนเดียวกัน สิง่ หนึง่ คอนขางสําคัญที่ ศศินตัง้ คําถามและตัง้ ขอสังเกตเกีย่ วกับเอ็นจีโอ สิง่ แวดลอมก็คอื ทุกวันนีย้ งั มีเอ็นจีโอดานสิง่ แวดลอม ทีท่ าํ งานเพือ่ สิง่ แวดลอม ในอุดมคติจริงๆ อยูห รือไม ขอสังเกตและการตั้งคําถามของเอ็นจีโอหนาใหมรายนี้นาสนใจมาก เพราะเขาบอกวา ขอมูลที่พยายามคนหามานั้น พบวา คําวาเอ็นจีโอสิ่ง แวดลอมในขณะนี้ มีการใหคําจัดกัดความ หรือกําหนดสถานะอยู 2 กลุมคือ กลุมที่จดทะเบียนกับกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ปจจุบันมีจดทะเบียน อยู 192 องคกร อยูระหวางรอลงนามในประกาศรับรองอีก 3 องคกร ที่ยื่นขอ จดทะเบียนแลวอยูระหวางตรวจสอบเอกสารอีกประมาณ 6-7 องคกร และที่ คณะกรรมการประสานงานองคกรพัฒนาเอกชน (กป.อพช.) บันทึกเอาไว พบ วา มีเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่ทํางานดานสิ่งแวดลอมจริงๆ 100 องคกร จากฐาน ขอมูลลาสุดที่บันทึกไวเมื่อป 2546-2547 เขาไปดูในขอมูลของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม พบวา ในจํานวน 192 องคกรที่ขึ้นทะเบียนเปนเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม พบวา มีหลายองคกร ไมนาจะทํางานดานสิ่งแวดลอม แตกลับไดรับการขึ้นทะเบียนเปนเอ็นจีโอ สิง่ แวดลอม เชน องคการพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ การสาธารณสุข สมาคมแพทย แผนไทย จ.พัทลุง สมาคมอนามัย มูลนิธิเสถียรโกเศศ-นาคะประทีป เปนตน โดยเฉพาะองคกรหลังสุดที่ยกตัวอยางนั้น พบวา กิจกรรมที่ดําเนินการนั้น เปนเรื่องของวัฒนธรรมลวนๆ ไมมีเรื่องสิ่งแวดลอมเลย ประเด็นที่จะพูดถึงก็คือ เอ็นจีโอที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสงเสริมคุณภาพ สิง่ แวดลอม สามารถขอรับเงินสนับสนุนการทํากิจกรรมจากกองทุนสิง่ แวดลอม ได ขณะที่เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่ กป.อพช. บันทึกเอาไวนั้น ใน 100 องคกร เมื่อปลาจะกินดาว 10 133
จะรวมไปถึงกลุมอนุรักษบอนอก-บานกรูด ที่ออกมาตอสูกับกลุมนายทุนเพื่อ ปกปองทองถิ่นไมใหเอาที่ดิน คือปาพรุ มาสรางโรงไฟฟาดวย ทั้งนี้ จินตนา แกวขาว แกนนํากลุมอนุรักษบอนอก-บานกรูด เคย ปฏิเสธชัดเจนวา ตัวเองไมใชเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม แตเปนชาวบานที่ออกมาทํา หนาที่ปกปองบานเกิดของตัวเองไมใหนายทุนเอาไปสรางโรงไฟฟา เหมือนที่ ครูตี๋ นิวัติ รอยแกว ประธานกลุมรักษเชียงของ จ.เชียงราย ที่ทํางาน ดูแลเรื่องสิ่งแวดลอมในชุมชน ตอตานการระเบิดแกง และสรางเขื่อนในแมน้ํา โขงมาตลอด ก็ไมไดยอมรับเชนกันวาตัวเองเปนเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม แตเปน ชาวบานที่มีหนาที่ปกปองสิ่งแวดลอมไมใหถูกทําลายจากน้ํามือของคนนอก พื้นที่ ขณะเดียวกัน ตัวเองก็ยังเปนคนที่ไดรับผลกระทบจากการทํางานของ เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่ทํางานไมเอาไหนอีกดวย เลขาธิการมูลนิธิสืบฯยังตั้งประเด็นตอไปวา นอกจากตนเองสับสนกับคํา วา เอ็นจีโอสิ่งแวดลอม คืออะไรแลว ยังรูสึกวา ทุกวันนี้เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมมี นอยลง และไมไดเกิดขึ้นใหมเลย เนื่องจากมีคนอื่นเขามาทํางานแทนเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมหมด คนอื่นที่วานี้ก็คือ องคกร บริษัทใหญ ที่ตั้งมูลนิธิขึ้นมาทํางานแทน เชน ปตท. ก็สรางมูลนิธิลูกโลกสีเขียว หรือ กลุมที่เรียกตัวเองวาเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมเหมือนกันคือ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ซึ่งคนที่ทํางานในหนวย งานดังกลาว มีหลายระดับ หาญณรงค เยาวเลิศ เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมรุนใหญ มีหนาที่รับผิด ชอบลายตําแหนงทั้งภาครัฐและเอกชน ขอใหเขาเขามาชวยงานคลี่คลาย สถานการณดานสิ่งแวดลอม ที่วิกฤต ครุกรุนในเวลานี้ เชน งานในคณะ กรรมการ 4 ฝายเพื่อแกปญหาการปฏิบัติตามมาตรา 67 วรรค 2 ของ รัฐธรรมนูญ 2550 คณะอนุกรรมการแกปญหาที่ดิน ในคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ และตําแหนงประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารจัดการน้ําแบบ บูรณาการ (ประเทศไทย) หาญณรงค เลาเรื่องของตัวเองใหฟงวา กอนจะมาทํางานเปนเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมนั้น ครั้งที่เรียนมหาวิทยาลัย นอกจากเรียนหนังสือแลว ยังทํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 134
กิจกรรมควบคูไปดวย กิจกรรมที่ทําสม่ําเสมอคือ การออกคายอาสาพัฒนา ชนบท ตลอดระยะเวลาที่เรียนหนังสือเขาออกคายมามากกวา 20 ครั้ง “ผมเริ่มทํางานเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ป 2536 ผมรูสึกวาเวลาทํางานก็ เหมือนไปคาย เพราะตองทํางานกับชาวบาน ตองเรียนรูวิถีของชาวบาน คาย อาสาสรางใหผมรูจักการวางแผนงานทุกอยาง เริ่มแรกเลยผมทํางานกับชาว บานที่บานสะเอียบ อ.สอง จ.แพร ตอนนั้นจะมีการสรางเขื่อนแกงเสือเตน ไป อยูกับชาวบานใชเวลา 2 ป ทําใหชาวบานทํางานเปนคิดเปน แลวถอยออกมา ผมตั้งใจวา การทํางานแตละพื้นที่ของผมจะใชเวลาไมเกิน 2 ปเทานั้น เพราะ หลังจากนั้นชาวบานตองเรียนรูวิธีการคิด การดําเนินการไดดวยตัวเองแลว เราจะไมใชวิธีชี้นําหรือเอาความคิดเราไปใสหัวพวกเขา แตจะแคชี้ชองทาง เปนที่ปรึกษาใหเขาคิดเองไดเทานั้น” ถึงกระนั้นหาญณรงคก็ยอมรับวา เอ็นจีโอมีหลายกลุม บางกลุมมีองคกร บางกลุมเปนนักวิชาการ วิธีการทํางานของแตละกลุมยอมไมเหมือนกัน บาง กลุมก็ประสบความสําเร็จ ชาวบานยอมรับ รัฐบาลเกรงใจ แตมีอีกหลายกลุม ที่ไมมีใครเอาเลยสักกลุม ขึ้นกับวิธีการและรูปแบบการทํางาน เอ็นจีโอที่ถูกวิจารณ หรือดาวาจากสังคม เรื่องการเขาไปครอบงําความ ติดชาวบาน หรือไมเขาใจความรูสึกที่แทจริงของชาวบานนั้น อาจจะมาจาก พื้นฐานของการไมเขาถึงชุมชนจริงๆ เชน เปนนักวิชาการที่มาทํางานเอ็นจีโอ ก็ทําแตงานวิชาการตัวเอง ซึ่ง กลุมนี้ก็จะทํางานไดไมนาน เพราะตอไปก็จะไมมีใครเอาดวย ไมมีใครยอมรับ คือ ชาวบานก็ไมเอา รัฐบาลก็ไมยอมรับ จึงอยูลําบาก “เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมหลายองคกร วิจารณคนอื่นไดเปนฉากๆ แตไม ชอบใหคนอื่นมาวิจารณตัวเองหรือไมชอบถูกวิจารณ ซึ่งผิดหลักการทํางาน ชัดเจน” หาญณรงคบอกวา เอ็นจีโอที่ดี ตองไมดีแตติอยางเดียว แตตองหา ทางออก หรือทําใหเห็นดวยวาแนวทางที่เหมาะสมจริงๆ เปนอยางไร เชน ครั้ง ที่มูลนิธิคุมครองสัตวปาและพรรณพืช ไมเห็นดวยกับวิธีจัดการพื้นที่เขาแผง มาของกรมอุทยานแหงชาติฯ พรอมกันนั้น ก็ไดลงมือทําในสิ่งที่มูลนิธิคิดวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 135
เปนเรื่องที่ถูกตอง จนกระทั่งเขาแผงมาเปนพื้นที่ปาพื้นที่แรกของประเทศไทย ที่มีปริมาณวัวกระทิงเพิ่มขึ้นได ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีตประธานสถาบันสิ่งแวดลอมไทย และนักวิชาการสิ่งแวดลอม บอกวา ในความรูสึกของตัวเองแลว คําวา เอ็ น จี โ อคื อ คนที่ มี จิ ต อาสาเข า มาทํ า งานรั บ ใช สั ง คมเพื่ อ ให สั ง คมดี ขึ้ น เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมก็เชนเดียวกัน แตทํางานดานสิ่งแวดลอม “สมัยกอนสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมจะมีการนั่งคุยกันเพื่อชวยกัน ออกมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อใหงานในวิชาชีพวิศวกรรม ออกมาดี มาตรฐาน และปลอดภัย เราคุยกันหลังเลิกจากงานประจํา หรือชวงวันหยุด จนสามารถ ออกมาตรฐานวิชาชีพมาไดจนใชกันในปจจุบัน ไมมีคาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น ไมมี เบี้ยเลี้ยงใหใคร ไมมีเบี้ยประชุม ทุกคนทําดวยใจ ดวยจิตอาสา แต 10 ปผาน ไปทุกอยางเปลี่ยน องคกรยังมีเหมือนเดิม แตวิธีการทํางานเปลี่ยนไป ตองใช เงินทํางาน ไมมีเงินงานก็ไมคอยเกิด และเปนแบบนี้แทบจะทุกองคกร” อาจารยธงชัย ระบุวาคนทั่วไปมองวา เอ็นจีโอเปนกลุมองคกรที่ถวงดุล ใหกับภาครัฐ ซึ่งตนเองก็เห็นดวย แตอยากจะถามกลับไปวา แลวเอ็นจีโอเอง สรางดุลยภาพในองคกรตัวเองไดมากแคไหน “สมัยที่เคยเปนประธานสถาบัน สิ่งแวดลอมไทยนั้นมีการประเมินการทํางานขององคกร มีอยูทานหนึ่งเขา พูดวา สถาบันสิ่งแวดลอมไทยเปนที่ปรึกษาดานสิ่งแวดลอมในคราบเอ็นจีโอ เรื่องนี้นาคิดมาก เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมองคกรไหนที่เปนองคกรขนาดใหญ การ ทํางาน การจัดการก็จะยุงยาก ทั้งเรื่องการจัดการคน จัดการงาน บางองคกร ที่ตองพึ่งพาเงินบริจาค หรือเขียนโครงการเพื่อขอเงินมาทํางานความรูสึกเรื่อง จิตอาสาก็ลดลง กลายเปนวา เขียนโครงการเพื่อเอาใจแหลงทุนก็มี ที่พูดวาก็ มีคือ มี แตอาจจะไมทุกองคกร แตเชื่อวามีแนนอน” มีหนุมสาวจํานวนมากที่มีอุดมการณอันแรงกลา ความคิดความรูสึกยัง สดใส มองโลกในแงดี เขาไปทํางานเปนเอ็นจีโอ แตพอเขาไปแลวจะรูสึกวา... ไมใช เพราะโลกแหงการทํางานมีขอจํากัดมาก ตัวอยางที่กลาวไวขางตนก็คือ เอาเงินมาทํางานมากกวาใหคนทํางานจริงๆ
เมื่อปลาจะกินดาว 10 136
เอ็นจีโอ-นักการเมือง นักการเมือง-เอ็นจีโอ เมื่อกอนมีคนบอกวา เอ็นจีโอกับนักการเมืองจะตองอยูกันคนละฝาย เทานั้น แตวันนี้คําพูดดังกลาวเห็นจะขาดน้ําหนักไปเสียแลว เพราะนักการ เมืองกับเอ็นจีโอในยุคนี้อาจจะตองพึ่งพากันก็ได นักการเมืองหลายคนไม กลาทําอะไร หรืออนุมัติโครงการอะไรที่หมิ่นเหม ลอแหลมตอการถูกตอ ตานจากชาวบานและเอ็นจีโอมากนัก เพราะหากถูกตอตาน หมายถึงการ เสียคะแนนความนิยมของตัวเอง แตเพื่อผลประโยชนของตัวเองแลว นักการเมืองหลายกลุมมีวิธีการ ดําเนิน การกับเอ็นจีโอที่ลุมลึกกวานั้น คือ การไปสนับสนุนชาวบานอีกกลุม ให อยูฝายเดียวกับตัวเอง หรือตอตานเอ็นจีโอ หรือชาวบานที่ไมเห็นดวยกับการ กระทําของตัวเอง วิธีการแบบนี้เปนที่มาของการกลาวหากันวา ใครเปนเอ็นจีโอจริง เอ็นจีโอ ปลอม ประพัฒน ปญญาชาติรักษ 2 บทบาท จากอดีตนักการเมือง ใน ตําแหนงรัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ กับรัฐมนตรีวา การ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม กระทัง่ หันหลังใหพรรคการเมือง ใหญ มาเปนเกษตรกร และผันตัวมาทํางานดานประชาสังคมดานเกษตรกร มี ประสบการณมากมายกับการทํางานรวมกับเอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอม ประพัฒน บอกวา ขอเท็จจริงที่เอ็นจีโอทํา คือการเติมเต็มปญหาสังคม ไทยและสังคมโลก หลังจากโลกพัฒนาที่ทําใหเกิดชองวางในสังคม ประชาชน มักจะตกกระบวนการพัฒนา และมีปญหากับรัฐ เอ็นจีโอจะเปนตัวเติมเต็ม ปญหาและแกไขชองวาง สมัยเปนรัฐมนตรีมักจะไดขอมูลปญหาจากเอ็นจีโอ เชนเรื่อง ปญหาจีเอ็มโอ “แตเอ็นจีโอก็ไมใชพหุสูต ไมใชเทวดาที่จะรูทุกเรื่อง เอ็นจีโอจะตอง สะทอนปญหาประชาชน แตบางกลุมยังตองไปรับเงินสนับสนุนจากที่ตางๆ บางปญหาเอ็นจีโอก็จะทําใหใหญเกินจริง การทํางานแบบนี้จะทําใหเอ็นจีโอ มีปญหาเรื่องความนาเชื่อถือ” อดี ต รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เมื่อปลาจะกินดาว 10 137
กลาวดวยวา นับแตนี้ไปนโยบายกระแสหลักทั้งไทยและโลกเรื่องการเดินหนา ประเทศดวยวัตถุ เอ็นจีโอก็จะมีบทบาทสําคัญอยางยิ่ง ทุกครั้งที่เศรษฐกิจจีดี พีบวกหนึ่ง จะมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมใหโลกรอนขึ้นปญหาสิ่งแวดลอมก็ จะแรงขึ้นแนนอน ในบางประเทศอาจจะเขาใจปญหาเหลานี้ เชน ภูฏาน ใชตัวชี้วัดทาง ความสุขไมใชตัวเลข ถาเอ็นจีโอ ศึกษาเรื่องปรากฏการณตางๆ ในโลกก็ จะเปนประโยชนตอองคกร แตก็ตองเขาใจปญหาและประเมินปรากฏการณ แตละครั้งดวย “เคยมีปญหากับเอ็นจีโอไหม” เขาหัวเราะกับคําถามนี้ กอนจะบอกวา “เอ็นจีโอชวยผมเยอะ แตผมไมไดชวยเอ็นจีโอทุกกลุมนะ บางกลุมมาเสนอ ในสิ่งที่ผมชวยไมได ผมก็ไมทํา เชน การพัฒนารัฐหลายโครงการทุกเรื่อง เอ็นจีโอจะคัดคาน ผมจะเลือกดูบางเรื่องที่เปนอยางนั้นจริงๆ ไมไดทําทุก เรื่อง เชน เขาคัดคานเรื่องการทําเหมืองแรโปแตสที่อุดรฯ ผมในฐานะรัฐมนตรี สิ่งแวดลอมตอนนั้น ก็ทําหนังสือทวงไปที่กระทรวงอุตสาหกรรม เพราะผมเชื่อ ในขอมูลของเขา และก็มีหลายเรื่องนะที่ไมเชื่อ และไมทําตามที่เขาคานมา”
เอ็นจีโอ-ชาวบาน ครูตี๋ นิวัติ รอยแกว ประธานกลุมรักษเชียงของ ผูที่บอกวา เปน ชาวบานไมใชเอ็นจีโอ และเปนชาวบานที่ไดรับผลกระทบจากการทํางานของ เอ็นจีโอดวย พูดถึงเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่เขาไปสรางปญหาในพื้นที่วาเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมที่ชาวบานมองและสัมผัสได ซึ่งเปนเรื่องใหญที่สุดคือไมไดทบทวน ตัวเอง จะติดวาเขาจะกําหนดยุทธวิธีในการจัดการปญหาเอง การตอสูแบบนี้ ทําใหมีชองวางมาก ปญหาของชาวบานจะไมไดรับการแกไข รัฐบาลจะเขา แทรกแซงได “เอ็นจีโอไมไดมองวาโลกเปลี่ยนแปลงไปเยอะ พวกเขาไมไดรูคนเดียว ชาวบานก็รูดวยเหมือนกัน เอ็นจีโอตองปรับตัวในเรื่องมุมมอง ปญหานี้คารา คาซังมานาน มีเอ็นจีโอมากมาย พยายามกําหนดวิธีคิด ใหชาวบาน จะติดวา กําหนดยุทธศาสตร ยุทธวิธี และเสนอองคความรูใหชาวบานเอง ทําใหมีชอง วาง รัฐสามารถจัดการได ปญหาชาวบานไมไดรับการแกไข เพราะรัฐจะบอก เมื่อปลาจะกินดาว 10 138
วาเอ็นจีโอพูดชาวบานไมไดพดู ไมใชปญ หาชาวบาน แตเปนปญหาของเอ็นจีโอ เอง” ครูตี๋ บอกวา การแกไขปญหาทรัพยากรตองใหสอดรับกับการขับเคลื่อน ของประชาชน ที่อําเภอเชียงของนั้น เมื่อพูดเรื่องแมน้ําโขงมีมีเอ็นจีโอจํานวน มากเขาไปและพยายามกําหนดวิธีคิดใหมากมาย แตชาวบานในทองถิ่นก็ ศึกษาเรื่องราวของตัวเองดวย และคิดวาสิ่งที่เอ็นจีโอซึ่งเปนคนขางนอกมาคิด ใหเหลานั้นมันไมใชก็ไมอยากจะรับเอาไว “พวกเขาตองสนับสนุนที่ชาวบานขาด แตไมใชเขาไปนําทัพ ซึ่งจะแก ปญหาไมได” ประธานกลุมรักษเชียงของบอกทิ้งทายวา เอ็นจีโอตองเขาใจทั้งขางบน ขางลาง และเขาใจแนวทางดวย ตองทํางานอยางมีวฒ ั นธรรมและเขาใจชุมชน ของชาวบานดวย เรือ่ งสําคัญทีส่ ดุ คือ เอ็นจีโอตองเสียสละ เอาเปรียบชาวบาน และชุมชนไมได ตองพรอมทุกเรื่องทั้งปจจัยการเงินและเวลา เอ็นจีโอ บาง กลุมเขาไปทํางานยังไมสําเร็จหรือเปนรูปเปนรางอะไรเลย เงินหมดแลวก็ไป เลย หายไปเลย ทิ้งชาวบานไวขางหลัง
ราชการกับเอ็นจีโอ เรียกวาเปนไมเบื่อไมเมาที่ขัดแยงกันมาทุกยุคทุกสมัยระหวางเอ็นจีโอ สายสิ่งแวดลอมกับหนวยงานราชการ โดยเฉพาะราชการสายพัฒนา หรือ สายที่ตองดูแลทรัพยากรของประเทศ และกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและ เมื่อปลาจะกินดาว 10 139
พันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมก็จะเปนหนวยงาน หลักในอันดับตนๆ ที่มักจะถูกบรรดาเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม ออกมาติติง หรือขัด ขวางการทํางานเสมอ จตุพร บุรุษพัฒน อดีตอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและ พันธุพืช ที่ปจจุบันยายไปนั่งตําแหนงอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําพูดถึงเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมวาขอดีของเอ็นจีโอก็คือ ชวยกระตุกการทํางานของรัฐบาลวาสิ่งที่ ทําไปนั้นมีจุดบกพรอง จะตองแกไขอะไรตรงไหนบาง แตปญหาหลักและคอน ขางจะใหญก็คือ ขอมูลทีเ่ อ็นจีโอออกมาพูดนัน้ ชัดเจน เพียงพอ และถูกตอง หรือไม มีอะไรอยูเ บือ้ งหลัง คําติติงเหลานั้นหรือไม อธิบดีจุตุพร ยอมรับวา หลายกรณีเมื่อกรมอุทยานฯ จะทําอะไรใหมๆ ออกมาเขาอาจจะอธิบายไมหมด ซึ่งก็ยอมรับวาเปนเรื่องความบกพรองของ สวนราชการในแงของการสื่อสารระหวางกัน สิ่งนี้นี่เองจึงทําใหเอ็นจีโอบาง กลุมนําไปสรางเปนเรื่องราวใหญโต เพื่อโจมตีการทํางาน “ที่เขาทําแบบนี้เพราะขอมูลของเขาไมรอบดาน ฟงอะไรมานิดหนอย หรืออานขาวอะไรมานิดหนอยแลวก็พูดเลย ผมรูสึกวา ถาเปนเอ็นจีโอมือ อาชีพจริงๆ เขาจะไมทําแบบนี้ ตองศึกษาขอมูล ดูรายละเอียดใหแนใจเสีย กอน อยางกรณีที่อุทยานจะทําที่พัก 5 ดาว เขาก็ดาวาไมเหมาะสม จะทําไป ทําไม ทําเพื่อสนองคนมีเงินอยางเดียวใชไหม แตเขาไมดูในรายละเอียด เพราะเรื่องของอุทยาน 5 ดาวนั้นเราไมไดทําทั้งอุทยานฯ ทําบางอุทยานฯ ที่พรอมเทานั้น และไมไดสรางอะไรใหมเลย ทุกอยางยังเหมือนเดิมอยูที่เดิม เพียงแตปรับปรุงเทานั้น และปรับปรุงแคยูนิตเดียว คือ ทําในอุทยานที่เหมาะ สม และเลือกบานหลังที่ดีที่สุดในอุทยานนั้นมาปรับปรุงใหดูดีที่สุดเทียบกับ โรงแรม 5 ดาว เทานั้น” จตุพร บอกวา ในเรื่องนี้ เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมบางคนวิพากษวิจารณเสีย ใหญโตวากรมอุทยานฯ ทําเรื่องไมเหมาะสม ไมสมควร ทําลายวัฒนธรรมของ ความเปนอุทยานแหงชาติ ซึ่งหากเอ็นจีโอกลุมนั้น ศึกษาขอมูลรอบดาน ก็จะ ไมออกมาพูดแบบนี้ “ความจริงแลว กรมอุทยานแหงชาติฯ หรือราชการหนวยงานไหนก็แลวแต เมื่อปลาจะกินดาว 10 140
เมื่อจะทําอะไรยอมคิดถึงผลประโยชนของประเทศชาติเปนหลักอยูแลว และ พรอมจะฟงคําวิจารณ หรือขอชี้แนะ แตตองเปนขอชี้แนะที่มีขอมูลรอบดาน ไมอิงอยูกับผลประโยชนสวนตัว หรือมีผลประโยชนแอบแฝง ตอนนี้การ ทํางานทุกอยางของกรมอุทยานแหงชาตินั้นตองใหชาวบานเขามามีสวนรวม รวมทั้งตองอาศัยขอมูลหลายอยางที่สวนราชการเองไมรูและเขาไมถึง ซึ่งหาก มีเอ็นจีโอเขามารวมทํางานดวยก็จะดีมาก” ขณะที่เกษมสันต จิณณวาโส อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บอกวา เทาที่ เกี่ยวของและเคยทํางานรวมกับเอ็นจีโอ เห็นวาเอ็นจีโอเปนเหมือนองคกรคู ขนานที่ตองทํางานรวมกับภาครัฐบาล อะไรที่รัฐทําบกพรอง เอ็นจีโอก็จะชี้ ชองทางใหทําใหถูก แตบางเรื่องที่เอ็นจีโอเสนอใหทําและรัฐทําไมได เพราะไม ไดอยูในขอบเขตที่จะทําได “เรื่องหนึ่งที่ผมรูสึกตั้งคําถามกับเอ็นจีโอมาก คือ เรื่องของทาที คําพูด หลายครั้งที่ฟงจากขาว และประสบมากับตัวเอง คือการใชถอยคําที่เสียๆ หายๆ แตสวนตัวผมมีความอดทนสูงอยูแลวใครจะดาวาอะไรก็ไมเปนไร ผม พรอมจะอธิบาย ถาผิดก็พรอมจะแก แตทําไมเราไมมาคุยกันดีๆ พูดกันดีๆ แตนั่นแหละอาจจะเปนบทบาทหรือรูปแบบการเรียกรองของเขาก็ได แตผม เห็นวา การตะโกน การพูดหยาบใสกัน ไมมีประโยชน สูเราคุยกันดีๆ ดวย เหตุผลไมดีกวาหรือ” เกษมสันต กลาวเชิงตั้งคําถาม
บทสงทาย เมื่อเวลา และสถานการณเปลี่ยน ทุกสิ่งทุกอยางก็ยอมปรับตัวเปลี่ยน ตาม ไมเวนสิ่งใดๆ ทั้งสิ้น การทํางานของเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมก็ไมตาง กัน จากที่เคยทํางานดวยจิตอาสาลวนๆ ในอดีต คงหาไมไดอีกแลวใน ยุคนี้ ตองใหเงิน มามีสวนรวมในงาน ตัวอยางที่เกิดขึ้นมาลาสุดกับคณะ กรรมการองคการอิสระภายใตมาตรา 67 วรรคสอง ซึ่งเลือกตั้งมาจากนัก วิชาการและเอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอม กับเอ็นจีโอดานสุขภาพ จํานวน 13 คน เสร็จมาตั้งแตเดือนพฤษภาคม แตยังไมสามารถทํางานได เพราะไมมี เมื่อปลาจะกินดาว 10 141
เงิน ไมมีสํานักงานทํางาน ทางกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมในฐานะ องคกรพี่เลี้ยง จึงตองทําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี ใหพิจารณาอนุมัติการ ใชงบประมาณสําหรับเปนคาตอบแทนคณะกรรมการองคการอิสระ คนละ 45,000 บาท คาเชาสํานักงานอีกเดือนละ 300,000 บาท เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมก็เหมือนกับการทํางานของคนทั่วไป ตองทํามาหา เลี้ยงชีพ เพียงแตคําวาเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่เปนตัวจริงนั้นตองมีคุณสมพิเศษ เฉพาะ เรื่องของความรูสึกนึกคิด วิถีการทํางาน ความทุมเทตองาน เสียสละ มีความรูเฉพาะทางในเรื่องที่ตัวเองทํา ที่สําคัญคือ ซื่อสัตยตอตัวเอง ซื่อสัตยตอวิชาชีพ ไมมีเบื้องหนาเบื้องหลัง ที่เปนผลประโยชนเขามาเกี่ยวพันกับงานที่ทํา เชื่อวาเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่เปนตัวจริงแบบนี้ ถึงจะมีนอย แตก็ยังมีอยูใน สังคมไทย ยังดีที่ยังมี
ขอหาและคําถามของเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม ทุกวันนี้ มีคําถามที่เกี่ยวของกับเอ็นจีโอมากมาย ที่หลายคนอยากรู สวนใหญจะเปนการตั้งคําถามในแงลบ คําถามนั้นคือ เอ็นจีโอรับเงินจากตาง ชาติจริงหรือไม
เมื่อปลาจะกินดาว 10 142
หาญณรงค เยาวเลิศ เอ็นจีโอรุนใหญที่ทํางานเอ็นจีโออยางเดียว กวาครึ่งชีวิต รวมทั้งเปนบุคคลที่ไดรับการยอมรับทั้งจากสื่อมวลชนดานสิ่ง แวดลอม และหนวยงานราชการที่ทํางานดานสิ่งแวดลอม มีเอ็นจีโอรับเงิน จริง ทั้งนี้ เอ็นจีโอ เกิดจากกระบวนการทํางานที่ภาครัฐบาล หรือราชการ ไมทํา หรือเขาไปทําไมถึง เชน ทํางานวิจัย การศึกษาดานสิ่งแวดลอม โดย แหลงทุน หรือผูใหเงินสวนใหญจะเปนสถานทูต เชน สถานทูตออสเตรเลีย ที่ใหทุน ภายใตชื่อ ดานีดา หรือ เดนเซ็ท ของสถานทูตเดนมารก โดย เดิมที ทั้ง 2 องคกรนี้สนับสนุนเงินทํางานในสวนที่งบประมาณราชการ เขาไปไมถึงทั้ง รัฐบาล และเอ็นจีโอ แตสวนใหญจะใหรัฐบาลมากกวา “แตตอมาในชวงหนึ่งของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดมีมติ คณะรัฐมนตรี (ครม.) ออกมาวา หากหนวยงานรัฐจะขอใชงบประมาณ ที่มาจากตางประเทศ ตองใหระดับอธิบดี หรือหัวหนาหนวยงานสูงสุดให ความเห็นชอบกอน เมื่อรัฐบาลมีนโยบายออกมาอยางนี้ จึงไมมีหนวยงาน ใดกลาทําเรื่องเพื่อขอเงินสนับสนุนจากตางประเทศอีก องคกรเหลานั้นจึง หันมาสนับสนุนทางดานการเงินใหกับองคกรพัฒนาเอกชน หรือเอ็นจีโอ ทั้งหมด” หาญณรงค แจง เขาอธิบายเพิ่มเติมดวยวา สาเหตุหลักที่ทางสถานทูตเหลานี้ ตอง ใหการสนับสนุนดานการเงินใหกับเอ็นจีโอ หรือภาครัฐกับประเทศไทย เพราะตองการทําตามเจตนารมณของคนที่จายภาษีในประเทศ โดยกอน จายภาษี คนในประเทศเหลานั้น ตองระบุวา เงินที่เหลือจากการพัฒนา ประเทศตนเองแลว จะนําไปทําอะไร ซึ่งคนเหลานั้นระบุวา บริจาคใหกับ การทํางานของเอ็นจีโอ หรือรัฐบาล กรณีที่งบประมาณจากภาครัฐของ ประเทศในเอเชียตะวันอกเฉียงใต หรือบางทีก็ระบุเลยวา ประเทศไทย หาญณรงค บอกดวยวา หลายแหลงทุนที่มาจากตางประเทศนั้น สนับสนุนการทํางานที่เปนการทํารวมกันระหวางเอ็นจีโอ ภาครัฐ และชาว บานในพื้นที่ เชน ทางสถานทูตเดนมารก ที่สนับสนุนดานการเงินใหกับ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ทํางานรวมกับกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุ พืช และชาวบานที่อาศัยอยูรอบปาตะวันตก และพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตว เมื่อปลาจะกินดาว 10 143
ปาทุงใหญนเรศวร นอกจากสถานทูตตางๆ แลว องคกรสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็นอีพี ก็จะมีงบประมาณเอาไวจํานวนหนึ่ง เพื่อใหทั้งหนวยงานรัฐ และเอ็นจีโอ เขียนโครงการดานการศึกษาและจัดการสิ่งแวดลอมขึ้นมา นอกจากนัน้ ก็ยงั รับเงินจากภาคเอกชน เชน มูลนิธิ และ บริษทั ตาง ๆ เชน มูลนิธิฟอรด รอคกี้เฟลเลอร World Vision อยางบริษัทธุรกิจใหญๆ ที่ เรารูจักเปนบริษัทระดับโลก ลวนแลวมีมูลนิธิ หรือมีกองทุนในการพัฒนา สังคมทั้งสิ้น เชน NOKIA Microsoft เปนตน “ยูเอ็นอีพีก็คือแหลงทุนจากตางชาติเชนกัน ผมรูสึกวา คนที่ตั้งคําถาม ทํานองนี้ มักจะตั้งคําถามดวยความรูสึกลบกับการทํางานของเอ็นจีโอ แต ไมเปนไร ในฐานะเอ็นจีโอคนหนึ่งที่ทํางานดานสิ่งแวดลอมมาทั้งชีวิต และ ตั้งใจทําอยางจริงจังคนหนึ่ง พรอมที่จะอธิบาย และชี้แจงที่มาที่ไปของ แหลงทุนที่ไดรับมาทํางาน ถามวา ทํางานแลวตองมีคาตอบแทนใหคนทํางานไหม ผมวา เอ็นจี โอก็คืออาชีพหนึ่ง สําหรับผมแลว เมื่อทําอาชีพแลวตองไดรับคาตอบแทน เพียงแตอาชีพเอ็นจีโอนั้นมีความพิเศษกวาอาชีพอื่น คือ อยาไดหวังวา ทํา แลวจะรวย หรือมาทําเพื่อกอบโกยเงินทอง กอนทําอาชีพนี้ผมก็คิดดีแลว วา ชาตินี้ไมมีทางรวยแนนอน แตเราก็อยูได อาชีพเอ็นจีโอตองสละความ สุขสวนตัว ตองหาความรู มีขอมูลขาวสารในงานที่เราทําตลอดเวลา รวมทั้งการเขาถึงชาวบานในพื้นที่ทํางาน เขาถึงในที่นี้ไมใชแครูจัก แต ตองเขาใจวิถีการดํารงชีวิตของเขาดวย การรูจักและเขาใจในเรื่องเหลานี้ จะทําใหแนวทางการทํางานของเราถูกทาง และแกปญหา นําเสนอปญหา ไดตรงจุด” หาญณรงค กลาว เขาบอกอีกวา แหลงทุนเปนแหลงสําคัญที่ทําใหเอ็นจีโอจะมีบทบาท วาจะนาเชื่อถือหรือไม เชน เมื่อกอน บางกลุมเคยใชเงินจากการบริจาค เอาเงินนั้นไปฝากธนาคาร แลวเอาดอกเบี้ยมาทํางาน ดอกเบี้ยเมื่อกอน รอยละ 7-8 บาท สามารถทําได แตเวลานี้ทําแบบนั้นไมไดอีกแลว ดอกเบี้ย เหลือไมถึงบาท ทําแบบนั้นไมได เมื่อปลาจะกินดาว 10 144
กองทุนสิ่งแวดลอมเอ็นจีโอก็พึ่งไมได เอ็นจีโอที่ชอบวิพากษนโยบาย รัฐก็ไมคอ ยจะได เคยขอไปเรือ่ งเกาะพระทอง ทําจดหมายตอบโตกนั 15 ครัง้ เลยหมดความพยายามที่จะขอ ซึ่งก็ตรงกับขอมูลจาก www.thaingo.org ที่ระบุวา นอกจากมีเงินสนับสนุนจากตางประเทศแลว เอ็นจีโอดาน สิง่ แวดลอม ในประเทศไทย ยังรับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลไทยดวย เชน กองทุนสิ่งแวดลอม สํานักงานกองทุนสนับสนุนวิจัยแหงชาติ (สกว.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) สํานักงาน สลากออมสิน รวมถึงเงินบริจาคจากประชาชนทั่วไป หรือบางแหงมีราย ไดจากการดําเนินกิจกรรม หรือ ขายของที่ระลึก รวมถึงเงินดอกเบี้ยที่ฝาก ธนาคาร แลวนําเงินปนผลมาดําเนินการ คําถามตอมา มีขอสงสัยกันมากวา เอ็นจีโอ ตองทํางานเพื่อตอตาน รัฐบาลใชหรือไม หาญณรงค ก็อธิบายอีกวา เพราะวาการพยายามที่ จะพัฒนาประเทศของรัฐบาลที่ผานมาทําอยางไมรอบดาน เชน เมื่อมี โครงการสรางเขื่อน รัฐบาลก็มักจะใหขอมูลกับชาวบานและชุมชนที่จะ ไดรับผลกระทบเฉพาะดานดี แตไมคอยจะพูด หรือใหขอมูลในดานที่ไม ดี หรือที่มีผลกระทบเลย จึงเปนหนาที่ของเอ็นจีโอที่ทํางานดานนี้ ตอง นําเอาขอมูลอีกดานเสนอแกชาวบาน “ใช ว า เราต อ งคั ด ค า นทุ ก โครงการที่ เป น โครงการพั ฒ นาของรั ฐ เพราะหลายโครงการเราไมเคยแตะ เราตองมองรอบดาน ดีกวาการมอง ดานเดียว โครงการไหนที่ทําประโยชนใหชาวบาน ไมสงผลกระทบตอสิ่ง แวดลอม และมาโดยถูกตอง ไมมีผลประโยชนของนักการเมืองมาเอี่ยว เราก็ยินดีจะสนับสนุน การลงไปชวยเหลือใหชุมชนสามารถมีพื้นที่ของ ตนเอง ในการบอกเลา ผลกระทบของการพัฒนาตางๆ ซึ่งนักพัฒนา ภาครัฐ อาจมองไมเห็น หรือไมไดบอกเรื่องราวเหลานั้นตอสาธารณะ” หาญณรงค ชี้แจงเพิ่มเติม เกี่ยวกับขอกังขาจากคนเมืองที่เอ็นจีโอ มักจะถูกกลาวหาวา เปนพวก ม็อบรับจาง นํากลุมพลังมวลชนที่ออกมา เคลื่อนไหวเพื่อรับผลประโยชน เอาเงินเขากระเปาตัวเอง เชน ชาวบาน ที่ตอตานเขื่อนปากมูล สมัชชาคนจน หรือภาคใต ที่ตอตานทอกาซไทยเมื่อปลาจะกินดาว 10 145
มาเลเซีย “ชาวบานกลุมนี้เดิมไมรูเรื่องอะไรเลย รัฐเอาโครงการเขื่อนมาใหแลว บอกวาดี กระทั่งวันนี้ ชาวบานนอกจากไมไดรับผลประโยชนจากเขื่อนแลว ยังไดรับความทุกขอยางแสนสาหัสดวย สิ่งที่เอ็นจีโอกลุมหนึ่งเขาไปทํางาน จุดนี้คือ ใหขอมูล นํานักวิชาการที่มีความรูความเขาใจในสิ่งที่เกี่ยวของ เขาไปใหขอมูลกับชาวบาน หลายคนมากไดเรียนรูจากชายชรา หญิงชราคนหนึ่งที่ชั่วชีวิตทํา แตนา ไมเคยรูเรื่องอะไรเลย ไมตองคิดไปถึงการพูดในชุมชนตอหนาคน เยอะแยะ แตเมื่อเขาเกิดการเรียนรูบวกกับความกดดันและความทุกขที่ ไมมีใครชวยได พวกเขาตองเรียนรูเพื่อชวยเหลือตัวเอง จึงไมแปลกที่วัน นี้เราเห็นภาพผูเฒา ผูแกหลายคนที่ปากมูลกลายเปนนักพูดในที่ชุมชน บางทีพวกเขาก็เจ็บปวดกับการถูกกลาวหาวา รับเงิน รับคาจางจาก ตางชาติมาคุกคาม มาดิสเครดิตรัฐบาล ทุกคนก็อดทน เพราะไมรูจะหา ทางออกอยางไร ในเมื่อรัฐบาลไมไดฟงเสียงพวกเขา มีเพียงเอ็นจีโอ ที่ เขาใจ” หาญณรงค กลาว
เมื่อปลาจะกินดาว 10 146
บรรณานุกรม www.thaingo.org สัมมนา เอ็นจีโอ ปกปองผลประโยชนเพื่อใคร จัดโดย ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพ แหงประเทศไทย สัมภาษณ เตือนใจ ดีเทศน ธงชัย พรรณสวัสดิ์ เกษมสันต จิณณวาโส จตุพร บุรุษพัฒน ลงพื้นที่ ปาตะวันตกรวมกับทีมงานมูลนิธิสืบนาคะเสถียร
เมื่อปลาจะกินดาว 10 147
ฉลากเขียว…..สูสังคมคารบอนต่ํา อภิญญา วิภาตะโยธิน หนังสือพิมพบางกอกโพสต
เมื่อปลาจะกินดาว 10 148
เราทราบหรือไมวา โลกมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรในทุก 1 วินาที การเติบโตประชากร 2.4 คน (267,360 คน/วัน) การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 390,000 ลบ.ม. การละลายของธารน้ําแข็ง 1,629 ลบ.ม. การสูญหายของพื้นที่เพาะปลูก 2,300 ตารางเมตร การสูญหายของพื้นที่ปา 5,100 ตารางเมตร และคน 532 คนไปรานแมคโดนัลด เพื่อรับประทานเบอรเกอร มากกวา 500 ชิ้น ขอมูลดังกลาวเปนขอมูลที่สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ไดรวบรวมมานํา เสนอ เพือ่ แสดงใหเห็นการบริโภคอยางไรขดี จํากัดของประชากรโลกราว 6,000 ลานคนในปจจุบนั ซึง่ เปนสาเหตุหนึง่ ทีท่ าํ ใหเกิดภาวะกาซเรือนกระจก ทําให อุณหภูมขิ องโลกพุง สูงขึน้ น้าํ แข็งบริเวณขัว้ โลกละลาย ทําใหระดับน้าํ ทะเล สูงขึน้ กอใหเกิดความวิตกวาหลายประเทศ มีแนวโนมทีจ่ ะจมอยูใ ตนาํ้ ทะเล เชน ประเทศในหมูเ กาะมัลดีฟ เปนประเทศหมูเ กาะทีม่ คี วามเสีย่ งสูงมากทีส่ ดุ แหงหนึง่ ในโลก ทีท่ ง้ั หมูเ กาะจะจมหายไปในทะเล ซึง่ ความกังวลนีเ้ อง ทําให คณะรัฐบาลของมัลดีฟตองเรียกรองใหประเทศรวมโลกหันมาใหความสนใจกับ ปญหาภาวะโลกรอน ถึงขัน้ “ประชด” โดยการจัดประชุมคณะรัฐมนตรีกนั ใต ทองทะเลเพือ่ หาวิธลี ดโลกรอนกันเลยกันทีเดียว เมื่อปลาจะกินดาว 10 149
หันกลับมาดูประเทศไทย สยามเมืองยิ้มกันบาง ในอีก 100 ป ขางหนา นักวิชาการตางออกมาคาดการณเพื่อสยบรอยยิ้มวา กรุงเทพมหานคร และ จังหวัดใกลเคียงจะจมน้ํา เนื่องจากระดับน้ําทะเลที่สูงขึ้น งานวิจัยลาสุดของ รศ.ดร.ธนวัฒน จารุพงษสกุล หัวหนาศูนย ศึกษาพิบัติภัยและขอสนเทศเชิงพื้นที่ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ไดทําแบบจําลองทางคณิตศาสตร เพื่อหาผลกระทบจาก ปญหาการกัดเซาะที่เกิดจากระดับน้ําทะเลที่สูงขึ้น และการยุบตัวของพื้น ดิน พบวา ในอีก 100 ป ขางหนา พื้นที่จะหายไปประมาณ 400,000 ไร โดยพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบมากที่สุด คือบริเวณอาวไทยตัวกอ หรืออาวไทย ตอนบน ซึ่งหมายรวมถึง กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และฉะเชิงเทรา จากผลกระทบดังกลาว รัฐบาลไทยเริ่มใหความสนใจกับปญหาภาวะ โลกรอนมากยิ่งขึ้น โดยพยายามใหความสําคัญกับการลดใชพลังงาน และ ใชสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เปนตน นอกจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 ซึ่งกําลังรางโดยสภาพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ ไดกําหนดเปาหมายเอาไววา การพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศตองมุงเนนไปที่สังคมคารบอนต่ํา
ฉลากเขียวพี่ใหญวงการฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม สถาบันสิ่งแวดลอมไทยถือวาเปนหนวยงานแรกของประเทศที่ไดริเริ่ม การทําฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม โดยมีพื้นฐานแนวคิดอยูที่วา ตองการให ประชาชนทุกภาคสวนมีสวนรวมกันรักษาสิ่งแวดลอม โดยในป 2536 สถาบัน สิ่งแวดลอมไทย รวมมือกับสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม จัด ทําโครงการ “ฉลากเขียว” เพื่อเปนสัญลักษณใหผูบริโภคไดรับรูวา สินคาชิ้น นั้นมีมาตรฐานการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แนวคิดของฉลากเขียวไดใชกันมาอยางแพรหลายในกวา 30 ประเทศ และประเทศไทยก็ไดนําแนวคิดนี้มาใชในประเทศดวยเชนกัน หลักเกณฑการ ออกสินคาฉลากเขียวนั้นจะตองผลิตภายใตขอกําหนดของ ISO 14020 นั่น ก็คือจะตองดูทั้งกระบวนการผลิต การขนสง การใช และการกําจัดวาทุกขั้น เมื่อปลาจะกินดาว 10 150
ตอนนั้นเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมหรือไม ดร.ไชยยศ บุญญากิจ รองประธานผูอํานวยการสถาบันสิ่งแวดลอม ไทย กลาววา ในแตละผลิตภัณฑตองมาดูวาขั้นตอนไหนกอใหเกิดผล กระทบกับสิ่งแวดลอมมากที่สุดก็ตองหากฎระเบียบวิธีการผลิตที่จะลดผล กระทบใหเกิดขึ้นนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได ยกตัวอยางเชน เครื่องใชไฟฟา จะสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากที่สุด นั่นก็คือ ขั้นตอนการใชไฟฟา ดังนั้น เครื่องใชไฟฟาที่ไดฉลากเขียว ตองสามารถลดอัตราการใชพลังงานไดอยาง ชัดเจน หรือหลอดไฟฟา สิ่งที่กอใหเกิดผลกระทบ คือขั้นตอนการยอยสลาย ซึ่งมักจะมีสารโลหะหนัก เชน ปรอทปนเปอนสูสิ่งแวดลอม ดังนั้นหลอดไฟ ฉลากเขียว จึงมีการจํากัดปริมาณการใชสารโลหะหนัก เปนตน “เราพูดไดวา ฉลากเขียวประสบความสําเร็จในระดับหนึ่ง คนรูจักกันมาก ขึ้น แตปญหาคือ ผูบริโภคไมไดใชปจจัยความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เปน ปจจัยนําในการตัดสินใจเลือกซื้อสินคา ซึ่งก็เขาใจได เพราะมีเพียง 10% ของ ผูบริโภคเทานั้น ที่ใชฉลากเขียวเปนตัวนําในการตัดสินใจซื้อสินคา” ดร.ไชยยศ อธิบายเพิ่มเติมวา เมื่อประชาชนผูบริโภค ยังไมสามารถขับ เคลื่อนสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จึงตองอาศัยภาครัฐ และภาคเอกชน เปนตัวขับเคลื่อนที่สําคัญของสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ในสวนของภาครัฐเองมีการทําโครงการจัดซื้อ-จัดจางสินคาและบริการที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หรือที่รูจักกันในชื่อสั้นๆ วาจัดซื้อจัดจางสีเขียวนั่นเอง และในสวนของภาคเอกชนก็มีการรณรงคในเรื่องนี้เชนกัน “เราไดเคยทําบันทึกความเขาใจกับสภาหอการคา เพื่อขอความรวมมือ ใหภาคเอกชนเขารวมโครงการจัดซื้อ-จัดจางสีเขียว ซึ่งก็ไดรับความรวมมือ ในระดับหนึ่ง แตในอนาคตอันใกลเราคาดวาจะมีผูประกอบการเขามารวม กันมากขึ้น เพราะการจัดซื้อ-จัดจางสีเขียว จะถูกบรรจุใหเปนสวนหนึ่งของ การทํากิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร” ขณะนี้กําลังมีการรางมาตรฐาน ISO 26000 เพื่อกําหนดบทบาทและ ทิศทางของกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร (Corporate Social Responsibility- CSR) ซึ่งหนึ่งในขอกําหนดดังกลาวจะรวมถึงกิจกรรมที่เนนการ เมื่อปลาจะกินดาว 10 151
ใชทรัพยากรอยางคุมคา และทางสถาบันสิ่งแวดลอมไทยกําลังผลักดันใหการ จัดซื้อ-จัดจางสีเขียวอยูในขายของกิจกรรมดังกลาว ดร.ไชยยศ มองวา ฉลากสิ่งแวดลอมกําลังเพิ่มบทบาทที่สําคัญในการคา ทัง้ ในและนอกประเทศ จึงไมแปลกใจวาทําไมปจจุบนั จึงมีฉลากเพือ่ สิง่ แวดลอม ตัวใหมๆ เขามาเปนตัวเลือกใหกบั ผูบ ริโภคมากขึน้ ไมวา จะเปนฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ฉลากลดคารบอนที่ออกโดยองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก หรือแมแตฉลากที่ออกโดยผูผลิตสินคาเอง เชน SCG Eco Value เปนตน “ในขณะนี้กําลังมีฉลากตัวใหมที่กําลังออกมา และไทยเราก็ตองเตรียม ตัวทําฉลากตัวนี้ดวยเชนกัน นั่นคือ Water Footprint Label หรือฉลากการใช น้ํานั่นเอง ซึ่งคลายกับฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ที่จะบอกใหผูบริโภคทราบวา ผลิตภัณฑนั้นใชน้ําในการผลิตเทาไหร” เขามองวาการออกฉลากสิ่งแวดลอมในรูปแบบใหมๆ เปนการเตรียม ตัวสูการผลิตรูปแบบใหมที่ใชพลังงานทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจํากัด ในปจจุบันใหเกิดประโยชนและคุมคามากที่สุด ซึ่งในที่สุดแลวก็จะเปนกาว ที่สําคัญที่จะนําไปสูฐานเศรษฐกิจคารบอนต่ํา ที่มุงเนนใหทุกภาคสวนของ กิจกรรมการผลิตลดการปลอยกาซคารบอนหรือกาซเรือนกระจกที่เปนปจจัย สําคัญที่ทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกนองใหมไฟแรงกับ ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ถึงแมวาองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกจะเพิ่งเปดตัวมาไดไม นาน แตตองยอมรับวาสามารถตอบโจทยผูบริโภคสมัยใหมที่ตองการความ แปลกใหมไดเปนอยางดี ดวยการเปนผูนํา ในการนําเสนอสินคาที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม ภายใตฉลากที่กําลังไดรับความนิยมไปทั่วโลก นั่นก็คือ ฉลาก คารบอน ฟุตพริ้นต แคเปดตัวก็เปนทีฮ่ อื ฮาในหนาสือ่ สิง่ พิมพตา งๆ โดยการแนะนําผลิตภัณฑ รุน แรกๆ ทีไ่ ดฉลากคารบอน ฟุตพริน้ ต นัน่ ก็คอื สายการบินแหงชาติ การบินไทย ไดรบั ฉลากคารบอน ฟุตพริน้ ตในรายการอาหาร 2 รายการ นั่นคือ ขาวหอม มะลิราดแกงเขียวหวานไก และขาวหอมมะลิราดแกงมัสมั่น และตามมาดวย เมื่อปลาจะกินดาว 10 152
ผลิตภัณฑอาหารจากเครือซีพี และเครือเบทาโกร เปนตน ซึ่งถือวาเปนบริษัท แรกๆในอาเซียน ที่ไดรับฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต โดยองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกทํางานรวมกับศูนยเทคโนโลยี โลหะและวัสดุแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย เพื่อทําการตรวจสอบคาของปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด และกาซเรือนกระจกอื่นๆ ที่ปลดปลอยสูชั้นบรรยากาศในวัฏจักรชีวิตของ สินคานั้นๆ ที่มาที่ไปของฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตเปนมาอยางไรนั้น ดร.พงษวิภาได อธิบายใหฟงวา ความนิยมของฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตไดรับความนิยมเปน อยางมากในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว เชน กลุมประเทศยุโรป อเมริกา และ ญี่ปุน ในบางแหงสินคาจะสามารถนําไปวางขายในหางสรรพสินคาไดนั้นจะ ตองมีฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต เพื่อใหผูบริโภคทราบวาทั้งวัฏจักรการผลิต สินคาชนิดนั้นๆ มีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกมาเทาไหร เพื่อเปน ทางเลือกใหผูบริโภคเกิดการเปรียบเทียบวาสินคาชนิดเดียวกัน สินคาชนิดใด มีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดนอยกวา องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก มองวา ประเทศไทยถึงแมวา การรับรูของผูบริโภคในดานฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมจะยังมีนอย แตจุดเดนของ คนไทยคือ มีความพรอมที่จะเรียนรูกับสิ่งใหมๆ เสมอ จึงมีแนวความคิดวา การนําเสนอฉลากคารบอนฟุตพริ้นตนาจะไดรับการตอบรับที่ดีจากสังคม จึง ไดเริ่มเปดตัวฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตขึ้นเมื่อป 2552 โดยกําหนดใหฉลาก มีอายุ 2 ป สินคาติดฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ยังชวยลดการกีดกันทางการคา เนื่อง จากสินคาสวนใหญทผ่ี ลิตภายในประเทศมีเปาหมายเพือ่ การสงออก ซึง่ ประเทศ เหลานี้ลวนมีความเขมในมาตรฐานสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งที่ผูผลิตจะตองมีทางเลือกที่มากขึ้นในการรับรอง คุณภาพของสินคาวาเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นอกจากฉลากเขียว ซึ่งเปน ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมที่รูจักกันมากที่สุดในขณะนี้ “จุดมุงหมายของเราคือ ตองการใหผูผลิต และผูบริโภคในประเทศรับรูวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 153
นอกจากฉลากเขียวแลว ยังมีฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมประเภทอื่นที่กําลังไดรับ ความสนใจจากทั่วโลก มันไมใชการแขงขันกันเพื่อออกฉลาก แตเปนการเพิ่ม โอกาสการแขงขันกันทางการคามากกวา” ดร.พงษวิภา อธิบายเพิ่มวา ถึงแมวาในความเปนจริงฉลากคารบอน ฟุต พริ้นตไมใช “ฉลากเขียวโดยกําเนิด” แตก็เปนฉลากสําคัญที่สามารถ “กดดัน” ใหผูผลิตพยายามลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดใหไดมากขึ้น ถาจะอธิบายอยางงายๆ ถึงความตางระหวางฉลากเขียว และคารบอน ฟุตพริ้นทนั้น ดร. พงษวิภา สาวมั่นขององคการกาซเรือนกระจกอธิบายให ฟง วา ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต คือ ฉลากที่แสดงปริมาณกาซเรือนกระจกที่ ปลอยออกมาจากผลิตภัณฑแตละหนวย ตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ ตั้งแตการไดมาซึ่งวัตถุดิบ การขนสง การประกอบชิ้นสวน การใชงาน และ การจัดการซากผลิตภัณฑหลังใชงาน โดยคํานวณออกมาในรูปของคารบอน ไดออกไซดเทียบเทา ในขณะที่ฉลากเขียวคือฉลากที่บงบอกวาสินคาชนิดนั้นเปนสินคาที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอมอยางแทจริง เชน เปนสินคาที่ประหยัดพลังงาน เปน สินคาที่ถูกตองตามเกณฑมาตรฐานที่ออกโดยสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ไมวา จะเปนการใชสารเคมีที่ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ใชทรัพยากรใหเกิดผล ประโยชนสูงสุด หรือใชวัสดุที่สามารถยอยสลายไดตามธรรมชาติ เปนตน ดร.พงษวิภา ซึ่งครําหวอดมากับการทําฉลากเขียวมา 15 ปเต็ม มอง วาการจะนําสังคมไทยไปสูการบริโภคสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยาง ยั่งยืนนั้น จะตองนําไปสูการผลิตและบริโภคอยางยั่งยืนกอน “มันเหมือนกับไกกับไขอะไรเกิดกอน ผูบริโภคบอกวาผูผลิตไมผลิตจะ ไปหาสินคาสีเขียวไดที่ไหน สวนผูผลิตก็บอกวา ก็ผูบริโภคไมสนในจะผลิตไป ทําไม มันเถียงกันไปก็ไมจบ ดังนั้นไมตองเถียงกัน เพียงแควาทุกภาคสวนให ความสําคัญกับสิ่งแวดลอมเปนที่ตั้งปญหาก็จบ” “ประเทศเยอรมันนี เปนประเทศแรกที่มีการออกฉลากสีเขียวใหกับสินคา และบริการ เนื่องจากคนของประเทศเขาใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมมาก มี การสอนกันมาตั้งแตวัยเด็ก เมื่อเทียบกับประเทศไทย เรายังหางไกลกันอีกมาก” เมื่อปลาจะกินดาว 10 154
ในเมืองไทยฉลากสิ่งแวดลอมที่ประสบความสําเร็จเปนอยางมาก ติดหู ตลาดเปนอยางมาก นั่นก็คือ ฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ซึ่งออกโดยการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย สาเหตุที่ประสบความสําเร็จเปนอยางสูงก็เนื่องมา จากงบโฆษณาที่มีอยูสูง และที่สําคัญคือ ผูบริโภคสามารถสัมผัสไดทันทีวา เขาไดประโยชนจากการจายคาไฟที่ลดนอยลง เปนผลลัพธที่เปนรูปธรรม ผู บริโภคสามารถรับรูไดจริง ตางจากฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมประเภทอื่นๆ ที่ผู บริโภคไมสามารถรับรูไดทันทีวาไดประโยชนอะไรจากการมีสิ่งแวดลอมที่ดี แตกตางจากฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ที่สามารถประหยัดเม็ดเงินในการจาย คาไฟ หลังจากใชผลิตภัณฑดังกลาว “ทางออกของเรื่องนี้คือ การสรางจิตสาธารณะ ในเรื่องของการรับผิด ชอบตอสังคม ตอสิ่งแวดลอม ซึ่งนั่นก็คือตองเริ่มตนที่การศึกษา ไมใชการจัด งานอีเวนตตางๆ ซึ่งจัดตอนเชา ความรับรู การเขาใจก็หายหมดไปแลวในชวง บาย” ดร. พงษวภิ า ยังกลาวตอไปอีกวา นอกจากนีต้ อ งสรางตนทุนทางสิง่ แวดลอม ในการผลิตสินคา ใหเห็นไดอยางชัดเจนวา กวาจะไดผลิตภัณฑมาสักชิ้น จะ มีตนทุนทางสิ่งแวดลอมเทาไหร ตัวอยางเชน ทุกๆ การปลูกผัก 1 กิโลกรัม ใช น้าํ ไปฟรีๆ แลว 3 ลิตร การผลิตปูนซีเมนต 1 ตัน ใชนาํ้ 4,500 ลิตร ในขณะ ทีก่ ารผลิตเหล็ก 1 ตัน ใชนาํ้ มากกวา 4.3 ตัน แตโดยขอเท็จจริง คนสวนใหญ ไมทราบขอมูลในสวนนี้ “เราไมสามารถทําฉลากเขียวใหเปนที่รับรูและติดอยูในใจของผูบริโภค เหมือนกับฉลากเบอร 5 ไดเลย ถาสังคมยังไมเขาใจการรับผิดชอบตอสังคม และสิ่งแวดลอมอยางลึกซึ้ง” ขณะที่ในประเทศฝรั่งเศส รัฐบาลไดออกกฎหมายวา ประชาชนมีสิทธิ รับรูในการปลอยกาซเรือนกระจกในผลิตภัณฑตางๆ ในป 2554 ซึ่งนั่นก็ หมายความวา สินคาทุกชิน้ ในฝรัง่ เศสจะตองมีการติดฉลากคารบอน ฟุตพริน้ ต เพื่อบอกปริมาณวาสามารถลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูชั้น บรรยากาศไดมากนอยขนาดไหน หลายคนเป น ห ว งว า สิ น ค า ฉลากเขี ย วหรื อ สิ น ค า ที่ มี ฉ ลากคาร บ อน เมื่อปลาจะกินดาว 10 155
ฟุตพริน้ ต จะเปนสินคาทีร่ าคาแพงกวาปรกติ ดร. พงษวภิ า อธิบายวา 80-90% ของสินคา ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมมีราคาเทากับสินคา ปรกติ แตคนสวนใหญมกั คิดไปเองวาราคา จะแพงกวาสินคาทัว่ ไป จากการสํารวจกลุม ผูบ ริโภคทัว่ ประเทศในปจจุบนั ปจจัยหลักที่ ทําใหเกิดการตัดสินใจในการซือ้ สินคาชนิดนัน้ ๆ คือ ราคา คุณภาพ และความ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ซึง่ เปนแนวคําตอบทีไ่ มแตกตางกับเมือ่ 10 ปทแ่ี ลว ซึง่ ผูบ ริโภคใชปจ จัยดานราคาเปนตัวเลือกสําคัญในการซือ้ สินคา พรรรัตน เพชรภักดี ผูอ าํ นวยการ สถาบันสิง่ แวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ยังคงมองอนาคตของฉลากเพือ่ สิง่ แวดลอมในประเทศไทยในแงดวี า ยังมีโอกาสทีผ่ บู ริโภคในประเทศ จะมีความตระหนักและรับรูม ากขึน้ ตอความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอม “เรายังคงมองเห็นความหวังที่ปลายอุโมงค ทํางานดานสิ่งแวดลอมมา 15 ป อุตสาหกรรมสะอาดเกิดขึ้นนอยมาก เมื่อเทียบกับปจจุบันภาพตางๆ ก็ดีขึ้น ในยุคนี้ภาคอุตสาหกรรมเปลี่ยนไปมาก เปดประตูมากขึ้น อาจมีกลไก หรือแรงผลักดันหลายอยางทําใหเขาปรับตัว” พรรรัตน ไดยกตัวอยางของรานสะดวกซื้ออยาง ราน Seven-11 ที่เปดชอง ทางใหผูบริโภค มองหาสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไดงายขึ้น โดยจัดพื้นที่ พิเศษที่เรียกวา กรีน คอนเนอร (พื้นที่สีเขียว) เพื่อใหลูกคาสามารถซื้อสินคา ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไดงายยิ่งขึ้น ทําใหเริ่มมีความหวังวา สักวันหนึ่ง การเลือกซื้อสินคาของคนไทยจะเลือกสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมาเปน อันดับแรก แทนการตัดสินใจเลือกราคาเปนตัวเลือกอันดับแรก เธอมองวา กลไกสําคัญที่ทําใหภาคอุตสาหกรรมขยับไปสูฐานเศรษฐกิจ คารบอนตํา คือกลไกทางการตลาด ที่มีการแขงขันกันสูง และกอใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม ขณะนี้อาจจะเรียกไดวา อุตสาหกรรมของไทยอยูใน ชวงเปลี่ยนผานสูอุตสาหกรรมสีเขียวที่ใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมกันมาก ขึ้น และเนนการมีสวนรวมในการรับผิดชอบตอสังคม เมื่อปลาจะกินดาว 10 156
เนือ่ งจากภาคธุรกิจสวนใหญเริม่ ตระหนักแลววา กําไรของผูป ระกอบการ ทีย่ ง่ั ยืน คือกําไรทีเ่ กิดจากสิง่ แวดลอมทีส่ ะอาด ลดการกอใหเกิดปญหามลพิษ ตัวอยางของความลมเหลวในการจัดการปญหาสิ่งแวดลอมที่เขตอุตสาหกรรม มาบตาพุด ทําใหหลายภาคสวน โดยเฉพาะผูผ ลิต กลับมาใหความสําคัญกับ ชุมชน และสิง่ แวดลอมมากยิง่ ขึน้ การผลิตสินคาตองเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม และขัน้ ตอนการผลิตตองเปนมิตรกับชุมชน “เมื่อ 4 ปที่แลว ถาเราพูดกับภาคอุตสาหกรรมเรื่องเทคโนโลยีสะอาด การผลิตสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สีหนาเขาจะแสดงคําถามขึ้นมาทันที วา มาพูดเรื่องนี้กับเขาทําไม แตเมื่อโลกเปลี่ยน ความตองการของผูบริโภค เปลี่ยน ภาคอุตสาหกรรมกลับวิ่งเขามาหาเราแทน เพื่อขอความชวยเหลือใน เรื่องอุตสาหกรรมสะอาด” “ถ า จะถามว า ต นทุ น ในการออกฉลากเพื่ อ สิ่ ง แวดล อ มในสิ นค า และ บริการนั้น มีตนทุนหรือไม ก็คงตองบอกวา แนนอน ของทุกอยางยอมมี ตนทุนในการผลิต ในสวนของตนทุนของการขอฉลากคารบอน ฟุตพริ้นทนั้น จะอยูที่ 200,000-300,000 บาทตอผลิตภัณฑ” นอกจากภาคเอกชนจะสามารถขออกฉลากที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมได แลวนั้น เธอมองวาทางภาคเอกชนจะตองมีการจัดซื้อจัดจางสีเขียว เฉกเชน เดียวกับภาครัฐที่ทําสําเร็จมาแลว “การจัดซื้อจัดจางสีเขียวนับวาเปนตัวอยางที่ดี เปนเหมือนเวค อัพ คอล ใหภาคการผลิตใหความใสใจกับการผลิตสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มากยิ่งขึ้น และถาภาคเอกชนทําไดเหมือนกับภาครัฐก็จะสรางประโยชนให ไดอยางเต็มที่กับประเทศชาติ” นอกจากองค ก ารบริ ก ารจั ด การก า ซเรื อ นกระจกจะมี ฉลากเด น อย า ง ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตแลว ยังมีผลิตภัณฑนองใหมลาสุด เชน ฉลากลด คารบอน เปนตน
การบินไทยกับฉลากคารบอนฟุตพริน้ ตมติ ใิ หมดา นสิง่ แวดลอม การบินไทย สายการบินแหงชาติ เริ่มใหความสนใจกับฉลากดานสิ่ง
เมื่อปลาจะกินดาว 10 157
แวดลอม หลังจากที่อุตสาหกรรมการบิน โดยเฉพาะในยุโรปเริ่มออกกฏเกณฑ ในการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกในภาคขนสง ภายใตเงื่อนไขของ EU Emission Trading System โดยเริ่มจากป 2555 เปนตนไป ทุกเที่ยวบินที่ตองใชบริการของทาอากาศ ยานใดๆ ในสหภาพยุโรป ซึ่งมีมากกวา 3,000 เที่ยวบิน จะถูกจํากัดการปลอย กาซเรือนกระจก 97% และลดลงอีกเปน 95% ในป 2556 เมื่อเทียบจากป ฐาน พ.ศ. 2547-2549 โดยเฉลี่ยหากสายการบินใดไมสามารถบรรลุพันธกรณี ไดก็จะถูกปรับโดยการลดปริมาณโควตาของการปลดปลอยกาซเรือนกระจก ในปถัดไป สายการบินไทย รวมทั้งสายการบินอื่นๆ ทั่วโลกที่ตองผานนานฟายุโรป จําเปนตองปรับตัว และนั่นก็เปนจุดแรกเริ่มที่ทําใหการบินไทยหันมาสนใจ ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต พศวีร รัชพงศศิริกุล เจาหนาที่กองประกันคุณภาพ ฝายครัวการบิน ผูคลุกคลีและปลุกปนใหสายการบินเอื้องหลวงประสบความสําเร็จ โดยเปน สายการบินแรกในประเทศที่ไดฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตในผลิตภัณฑประเภท อาหาร “เรามองวาฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตสามารถตอบโจทยเราไดในระดับ หนึ่ง เนื่องจากมันบอกวาในกระบวนการผลิตอาหารแตละชนิด มีปริมาณ การปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเทาไหร ซึ่งจะเปนขอมูลพื้นฐานใน การเปรียบเทียบใหเห็นชัดเจนวา จะสามารถลดปริมาณของกาซเรือนกระจก ในขั้นตอนหรือกระบวนการผลิตที่เหมือนกันไดมากนอยขนาดไหน และถาลด ปริมาณการปลดปลอยกาซไดมาก ก็ถือวาประสบความสําเร็จในระดับหนึ่ง ในการจัดการกับปญหากาซเรือนกระจก” พศวีร กลาว โดยในเริ่มแรก การบินไทยเสนออาหาร 6 ประเภท เพื่อยื่นขอฉลาก คารบอน ฟุตพริ้นตประกอบไปดวย 1) แกงมัสมั่นไก กับขาวหอมมะลิ 2) แกง เขียวหวานไก กับขาวหอมมะลิ 3) กะเพราไกกับขาวหอมมะลิ 4) พะแนงหมู กับขาวหอมมะลิ 5) ฉูฉี่ปลาทับทิมกับขาวหอมมะลิและ 6) แกงเผ็ดเปดยาง มะเขือเทศกับขาวหอมมะลิ เมื่อปลาจะกินดาว 10 158
หลั ง จากที่ ไ ด แ นวคิ ด ว า อาหารประเภทใดที่ ค วรจะมี ฉลากคาร บ อน ฟุตพริ้นต บริษัทการบินไทยไดรวมมือกับศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหง ชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ หรือเนคเทค ได รวมมือกันศึกษาปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด และกาซเรือน กระจกตัวอื่นๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร จนกระทั่งเมื่อชวงกลางปที่ผานมา องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก ไดมอบฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ให กับอาหารสองเมนูหลักของสายการบินแหงชาติ นั่นคือ แกงมัสมั่นไก กับขาว หอมมะลิ และ แกงเขียวหวานไก กับขาวหอมมะลิ ซึ่งอาหารทั้งสองชุดมีการ ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 1.39 กิโลกรัมคารบอนตอปริมาณการ เสิรฟ 250 กรัม/ชุด และ 1.39 กิโลกรัมคารบอนตอปริมาณการเสิรฟเดียวกัน ตามลําดับ จากหลักเกณฑเบื้องตนของการประเมินการปลดปลอยกาซคารบอน ไดออกไซด จะตองมีการศึกษาตั้งแตขั้นตอนการไดมาของวัตถุดิบ กระบวน การขนสงสูโรงงานผลิต กระบวนการผลิต การขนสงจนถึงมือผูบริโภค และ จนถึงวัฏจักรขั้นสุดทายของผลิตภัณฑ นั่นคือ การทําลายหรือการจัดการกับ กากของเสีย เปนตน พัศวีย เลาอีกวา ครัวของบริษัทการบินไทยเปนครัวขนาดใหญที่ไมได ผลิตอาหารเพื่อสายการบินไทยอยางเดียว แตตองผลิตสงใหกับลูกคาอีก 55 สายการบิน ดวยปริมาณการผลิตอาหารมากกวา 50,000 ชุด/วัน และกําลัง การผลิตสูงสุดถึงเทาตัว ทําใหปริมาณการใชพลังงานในการผลิตอาหารยอม ใชพลังงานจํานวนมาก ซึ่งแนนอนวา เปนการแปรผันโดยตรงกับการปลอย กาซเรือนกระจกสูชั้นบรรยากาศ จากขอมูลของฝายครัวการบิน บริษัทการบินไทย เมื่อป 2551 พบวา มี การใชพลังงานไฟฟา 2,893,409 กิโลวัตต/เดือน ใชระบบปรับอากาศน้ําเย็น ประมาณ 1,619,638 ตันความเย็น/เดือน และใชน้ําประปาทั้งสิ้น 54,431 ลบ.ม/เดือน “จากการประเมิน เราพบวาจุดที่มีการปลอยกาซเรือนกระจกมากกวา 45% อยูที่พลังงานไฟฟาที่ใชในเครื่องปรับอากาศ และเพื่อใหเกิดแสงสวางอีก เมื่อปลาจะกินดาว 10 159
37% อยูที่การขนสงวัตถุดิบและอีก 14% อยูที่การจัดการของเสีย เมื่อรูจุด หลักของปญหา เราก็สามารถแกปญหาในแตละจุดไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมวาการรณรงคใหพนักงานปดไฟที่ไมใชแลว หรือแมกระทั่งการเลือกซื้อ วัตถุดิบที่ไมอยูไกลจากโรงครัวมากเทาใดนัก เปนตน” พัศวีย ระบุ อธิวัตร จิรจริยาเวช จากหองปฎิบัติการการประเมินวัฎจักรชีวิต ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ ซึ่งเปนหนึ่งในสิบคนของเมือง ไทย ที่ประเมินปริมาณการเกิดกาซเรือนกระจกตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ เลาใหฟงวา การบินไทยตองการใหอาหารไทยเปนสัญลักษณที่แสดง ใหเห็นวาประเทศไทยใหความใสใจ และตระหนักถึงปญหาภาวะโลกรอน จึง เลือกเมนูอาหารไทยมาทําการศึกษาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกสูชั้น บรรยากาศ ยกตัวอยางเชน แกงมัสมั่นไกกับขาวหอมมะลิ กระบวนการคิดเริ่มตน จากทางทีมงานตองไปศึกษาวา ในปริมาณไก 1 กิโลกรัม จะมีการปลอย กาซเรือนกระจกเทาไหร นั่นคือตองไปดูขั้นตอนการเลี้ยงไกจนไดขนาด การ ขนสงเขาสูโรงเชือด และการจัดจําหนายเนื้อไกใหกับลูกคา เชนเดียวกับขาว หอมมะลิ ในจํานวน 1 กิโลกรัม ตองคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจกตั้งแต กระบวนการปลูกจนถึงการเก็บเกี่ยว ขั้นตอนขนสงจากทุงนาสูโรงสี ขั้นตอน การสีขาว การบรรจุหีบหอ และการขนสงจนถึงมือผูบริโภค หลังจากมีการคํานวณการเกิดกาซเรือนกระจกในขั้นตอนการไดมาซึ่ง วัตถุดิบแลวก็มาถึงการคํานวณการปลอยกาซในกระบวนการปรุงอาหาร จนถึงการขนสงอาหารไปเสิรฟใหผูโดยสารบนเครื่อง และขั้นตอนการคํานวณ สุดทายอยูที่ขั้นตอนการกําจัดขยะ เมื่อไดผลการคํานวณในทุกขั้นตอนแลว ก็ นํามาเทียบบัญญัติไตรยางศเพื่อหาวา แกงมัสมั่นไก กับขาวหอมมะลิ ในน้ํา หนัก 250 กรัมจะมีการปลอยกาซเรือนกระจกเทาไหร อธิวัตร อธิบายเพิ่มเติมวา วัตถุดิบบางตัวยังไมมีการศึกษาการปลอย กาซเรือนกระจก จึงตองอาศัยฐานขอมูลจากตางประเทศ แตปจจุบันศูนย เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ รวมมือกับอีก 4 หนวยงานของรัฐ นั่น คือ กรมโรงงานอุตสาหกรรม สํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย สภา เมื่อปลาจะกินดาว 10 160
อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ไดรวมกันจัดทํา “โครงการฐานขอมูลสิ่งแวดลอม ของวัสดุพื้นฐานและพลังงานของประเทศ” เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการศึกษาวา กิจกรรม หรือวัตถุดิบตางๆ ซึ่งเนนสิ่งที่ เปนโครงสรางพื้นฐานของประเทศ มีการปลอยกาซเรือนกระจกมีการปลอย กาซเรือนกระจกมากนอยขนาดไหน โครงการดังกลาวเริ่มขึ้นตั้งแตป 2550 และสามารถเก็บฐานขอมูลไดมากกวา 400 ชนิด “ลูกเลนของฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตคือ ผูผลิตกลาที่จะแสดงขอมูลขอ เท็จจริงวา สินคาของตนปลอยกาซเรือนกระจกมากนอยแคไหน ลูกคาจะเปน คนตัดสินใจวาจะเลือกซื้อสินคานั้นๆหรือไม ในขณะเดียวกันก็เปนการสราง ขอผูกพันใหผูผลิตวา จะสามารถลดกาซเรือนกระจกใหนอยกวาที่เปนอยูได หรือไม” ฉลากคารบอน ฟุตพริน้ ต ทีอ่ อกโดยองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก มีอายุ 2 ป หลังจากหมดอายุกต็ อ งเริม่ เขาสูก ระบวนการประเมินใหม ในปจจุบนั ยังไมมีหนวยงานเอกชนใดสามารถทําการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจก ของผลิตภัณฑได แตในอนาคตอันใกลอาจมีบริษัทเอกชนเขามา เนื่องจาก ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต เปนฉลากนองใหมที่ไดรับการตอบรับอยางสูงใน ขณะนี้
SCG Eco Value ฉลากสิง่ แวดลอมออกโดยบริษทั ผูผ ลิตราย แรกของประเทศ โฆษณาชิ้นลาสุดของบริษัท SCG ลาสุด ออกมาตอกย้ําใหผูบริโภคได รับรูวา ทางบริษัทประสบความสําเร็จเปนอยางมากในการใชเทคโนโลยีที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม ทําใหลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ และที่สําคัญคือลด การกอใหเกิดมลพิษ ภายใตแนวคิดของ 3R นั่นคือ Reduce, Reuse และ Recycle ขอมูลทางตัวเลขที่นาตื่นเตน เปรียบเทียบกับสิ่งที่เปนรูปธรรมไดอยาง ชัดเจน ไมวาจะเปน การลดการใชน้ํา การลดการใชเยื่อกระดาษจากตนไม ทําใหโฆษณาชิ้นนี้ ไดรับความสนใจเปนอยางมาก และนั่นเทากับเปนการเนน ย้ําการสรางภาพลักษณสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเปนอยางดี เมื่อปลาจะกินดาว 10 161
กลยุทธอีกอยางที่สําคัญของกลุม SCG ที่สรางความโดดเดนใหกับตัวเอง ในดานสิ่งแวดลอม นั่นก็คือ การเคลมตัวเองวา เปนบริษัทที่ผลิตสินคาที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม ภายใตเครื่องหมายสัญลักษณของ SCG Eco Value คําถามตอมา ก็คือ SCG Eco Value คืออะไร และมีความนาเชื่อถือมาก นอยขนาดไหน คําอธิบายอยางงายๆ ก็คือ เปนฉลากที่บริษัทออกใหกับกลุมสินคาที่ผลิต ในเครือของ SCG ที่มีขั้นตอน และกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แตสิ่งที่ยากยิ่งกวานั้น ก็คือกระบวนการขั้นตอนที่กวาจะไดมาซึ่ง SCG Eco Value เปนเรื่องที่สําคัญมากในการที่จะสรางความนาเชื่อถือ และการยอบรับ ของผูบริโภคกับเครื่องหมายของ SCG Eco Value อาทิตยา จําปา ผูจัดการแผนกวางแผนและวิเคราะหการตลาด อธิบายวา กระบวนการเริม่ จากแตละกลุม ผลิตภัณฑจะมานัง่ คิดกันวา ผลิตภัณฑ ตัวไหนนาจะมีขั้นตอนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สามารถตอบโจทย และขอกําหนดทีเ่ ครงครัดของฉลากดังกลาวไดอยางสมบูรณแบบทีส่ ดุ เมือ่ คัด เลือกผลิตภัณฑไดแลวก็นําเสนอคณะกรรมการพิจารณาการออกฉลาก SCG Eco Value ซึ่งประกอบไปดวยผูทรงคุณวุฒิ และผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ ของ บริษัท ทําหนาที่ในการพิจารณา “ขัน้ ตอนทีย่ ากทีส่ ดุ อยูท ต่ี รงนี้ คณะกรรมการแตละทานลวนมีประสบการณ การทํางานที่นี่มาอยางยาวนาน จึงมีความรูและความเขาใจในขั้นตอนการ ผลิต รวมทั้งการเลือกใชวัตถุดิบ ดังนั้นคําถามที่ถามเรามา จึงละเอียดมาก เราตองทําการบานมาเปนอยางดี ถาเราตอบคําถามไมได ก็ตองถูกตีตกไป เราก็ตองไปทําการบานมาใหม เพื่อใหผานการพิจารณาของคณะกรรมการชุด นี้ไปใหได งานชิ้นหนึ่งอาจจะตองเสนอมากกวา 3-4 ครั้งกวาจะผาน แตนั่นก็เปน การสรางความเชื่อมั่นไดอยางดีวา การออกฉลากของเราทําตามมาตรฐานที่ เขมขน เพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ ใหกบั ลูกคา ยิง่ เราออกฉลากของเราเอง เราเนน ทีท่ กุ อยางตองสูงกวามาตรฐานเดิม เพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ ใหกบั ผูบ ริโภค และ ขณะเดียวกันก็สรางความเชื่อมั่นใหกับบริษัทของเราเองอีกดวย” เมื่อปลาจะกินดาว 10 162
หลักเกณฑที่ใชกําหนดมาตรฐานของ SCG Eco Value แบงออกไดเปน 3 ประเภทคือ 1) ผลิตภัณฑที่มีการออกแบบ หรือที่มีกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม (ECO Process) นั่นคือ การออกแบบที่สามารถแยก ประกอบใหมได ใชทรัพยากรลดลง ใชน้ําลดลง ลดของเสีย และ สามารถนําพลังงานกลับมาใชใหมได 2) ผลิตภัณฑทส่ี ง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอย หรือไมสง ผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมเลย (Eco Use) เนนสินคาที่มีอายุการใชงานที่นานขึ้น ใชพลังงานลดลง สามารถนํากลับมาใชซ้ํา ดีตอสุขภาพอนามัย และมีความสามารถในการยอยสลายไดงาย 3) ผลิตภัณฑที่สามารถนํากลับมาเวียนใชใหมได หลังจากสิ้นอายุ ผลิตภัณฑ หรือมีสวนประกอบของวัสดุที่เวียนกลับมาใชใหมได (Recycle) ผลิตภัณฑกระดาษ Idea Green เปนหนึ่งผลิตภัณฑของบริษัทในเครือที่ ไดรับฉลาก SCG Eco Value โดยมีแนวคิดในการผลิตกระดาษที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม นั่นก็คือการลดการใชวัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ และเพิ่มการใช กระดาษรีไซเคิล โดยเนนคุณภาพของสินคาเปนระดับพรีเมี่ยม อาทิตยา บอกวาโจทยที่ยากที่สุดคือ จะทําอยางไรที่จะทําใหสินคาที่ไม ไดทําจากวัตถุดิบจากธรรมชาติ 100% ใหมีคุณภาพสูงเทียบเทาจากสินคา ที่วัตถุดิบมาจากธรรมชาติลวน หลักการผลิตกระดาษ Idea Green คือ 30% ของวัตถุดิบมาจากการใชเยื่อกระดาษที่ผานการใชงานมาแลว หรือที่รูจักกัน ดีวา eco ber และอีก 70% มาจากเยื่อไมยูคาลิปตัส กระดาษ Idea Green สวนใหญมักจะไปใชเปนกระดาษถายเอกสาร ซึ่ง ที่ผานมาผูบริโภคมักคุนเคยกับกระดาษถายเอกสารแบบเกา ที่มักจะทําจาก เสนใยตนยูคาลิปตัส 100% ดังนั้นจึงจําเปนตองสรางความเชื่อมั่นใหกับผู บริโภควา สินคาที่ทํามาจากวัสดุรีไซเคิลมีคุณภาพไมแตกตางจากสินคา พรีเมี่ยมทั่วไป นั่นก็คือ ไมมีปญหาเรื่องกระดาษติดเครื่องถายเอกสาร และคง ความเปนมาตรฐานความขาวนวลของกระดาษ เปนตน นั่นก็หมายความวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 163
ทางบริษัทเอง ตองมีการลงทุนในดานการพัฒนาและวิจัยเพื่อใหไดสินคาที่มี คุณภาพ ภายใตแนวคิดที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ขอมูลของ SCG ระบุวา จากการลดการใชเยื่อไมจากธรรมชาติ พบ วา ในการผลิตกระดาษ Idea Green 1 ตัน พบวาสามารถลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดได 1.10 ตันคารบอน ลดการตัดตนไมได 21 ตน และลด พลังงานที่ใชในการขับรถยนตกวา 900 กิโลเมตร กระดาษ Idea Green เริ่มผลิตมาตั้งแตป 2551โดยกําลังการผลิตประมาณ 260 ตันตอวัน หรือความยาวกระดาษประมาณ 75 กิโลเมตร หรือถาจะพูดกัน ใหเห็นภาพชัดเจน นั่นก็คือระยะทางจากกรุงเทพฯถึงนครปฐมนั่นเอง รเมศ สโมสร วิศวกรสวนผลิตกระดาษ บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษ ไทย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทในเครือของ SCG ผูผลิตกระดาษ Idea Green เลาวา การผลิตกระดาษโดยทั่วไปเปนอุตสาหกรรมที่ใชน้ําเปนจํานวนมาก ดังนั้นในกระบวนการผลิตจึงตองมีการบําบัดน้ําเพื่อนําน้ํามาใชในกิจกรรม อื่นๆ ของโรงงาน นอกจากนี้ทางโรงงานยังผลิตกระดาษประเภทอื่นๆ เชน กระดาษหอผลิตภัณฑ กระดาษแข็งบรรจุหีบหอไมตองการความขาวนวลของ เนื้อกระดาษ ซึ่งสามารถที่นําน้ําจากการผลิตกระดาษ Idea Green มาใชใน กระบวนการผลิตของกระดาษประเภทดังกลาวได “เราสามารถกลาวไดวา โรงงานของเราเปนโรงงานที่ไมมีการปลอยน้ํา เสียออกภายนอกตัวโรงงาน จึงไมมีปญหาเรื่องกาเกิดมลพิษของแหลงน้ํา” รเมศ อธิบายเพิม่ เติมวา กระบวนการผลิตกระดาษทีใ่ ชพลังงานมากทีส่ ดุ คือ ขั้นตอนการทํากระดาษใหแหง ซึ่งปริมาณการใชพลังงานกวา 50% เกิด จากขั้นตอนนี้ ทางโรงงานจึงตองสรางโรงงานผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาเสริม กระบวนการผลิตกระดาษ ซึ่งวัตถุดิบในการผลิตไฟฟาก็คือ เปลือกไมตน ยูคาลิปตัสที่เหลือจากการผลิตนั่นเอง นอกจากกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การใชสารเคมีใน การผลิต ก็เลือกใชสารเคมีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ตามมาตรฐานที่กําหนด โอบบุญ แยมศิรกิ ลุ ผูจ ดั การงานสือ่ สารการตลาด บริษทั เอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน) มองวาสิ่งที่สําคัญในการผลิตสินคาที่เปนมิตรตอ เมื่อปลาจะกินดาว 10 164
สิ่งแวดลอม ก็คือจะตองใหผูบริโภคไมรูสึกวา เมื่อใชสินคาที่เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอมแลว คุณภาพของสินคานั้นดอยลง ความเคยชิน หรือความคุนเคย ของการใชสินคาหรือผลผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไมไดทําใหชีวิต เขาเปลี่ยน “ลองยกตัวอยางงายๆ เชน กระดาษถายเอกสาร ถาเราเนนจุดขายวา สินคาเราเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แตการใชงานมีปญหา เชน กระดาษติด เครือ่ งถายเอกสารบอยครัง้ ความนวลขาวของกระดาษไมเปนไปตามมาตรฐาน สินคาเราก็ขายไมได ลูกคาก็ไปเลือกสินคาที่สะดวกตอการใชงานมากกวา ถึง แมวาสินคาชิ้นนั้นจะไมมีการชูจุดขายวาเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเลยตาม” สําหรับตลาดของกระดาษที่ใชในการถายเอกสาร มีมูลคากวา 6,300 ลาน บาทตอป และ Idea Green มีสวนแบงการตลาดมากกวา 10% ในขณะที่ อัตราการใชกระดาษของคนไทยคาเฉลี่ยอยูที่ 56 กิโลกรัมตอคนตอป ในแงการรับรูของผูบริโภคนั้น โอบบุญ อธิบายวา มีการทําวิจัยในการรับรู ของฉลาก SCG Eco Value ตอผูบริโภค พบวา ผูบริโภคมีความเขาใจและการ รับรูที่ถูกตองวา ฉลาก SCG Eco Value เปนฉลากที่เนนสินคาที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม เนื่องจากคําวา Eco อาจแปลความไดวา สินคาราคาประหยัด (Economy) หรือสินคาที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม (ecology) ก็ได Idea Green นอกจากจะเปนกระดาษชนิดแรกของประเทศที่ไดฉลากเขียว ของสถาบันสิ่งแวดลอมไทยแลว ยังเปนหนึ่งใน 87 ผลิตภัณฑในเครือ SCG ที่ ไดรับฉลาก SCG Eco Value อีกดวย
ภาครัฐผูบริโภครายใหญของฉลากเขียว หลังจากกอนหนานี้ ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมหลากหลายประเภทตางไดเริ่ม ทยอยเปดตัวกันออกมา เพื่อใหเปนทางเลือกแกผูที่รักสิ่งแวดลอม ภาครัฐนํา โดยกรมควบคุมมลพิษก็เริ่มขยับ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2551 ใหหนวยงาน ภาครัฐระดับกรม หรือเทียบเทาในแตละกระทรวง ดําเนินการจัดซื้อจัดจาง สินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมายการดําเนินงาน อยูที่รอยละ 25, 50, 75 และ 100 ของจํานวนหนวยงานภาครัฐทั้งหมดใน เมื่อปลาจะกินดาว 10 165
ป 2551-2554 และปริมาณการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ตองไมนอยกวารอยละ 25, 30, 45, และ 60 ของสินคาและ บริการในแตละประเภท ตามลําดับ วรศาสน อภัยพงษ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ ผูที่มีหนาที่ดูแล โดยตรงเกีย่ วกับโครงการ จัดซือ้ จัดจางสินคาและบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม กลาววา ในชวงแรกก็มีปญหาอยูบาง เนื่องจากเปนของใหม ทางภาครัฐเอง ยังไมเคยทํามากอนก็ตองมานั่งรางคูมือการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หรือเปนที่เรียกติดปากกันวา คูมือจัดซื้อจัดจางสีเขียว ซึ่งเขาใจงาย เรียกงาย รูไดทันทีวามีแนวคิดเปนอยางไร “แตไมใชวา มันจะไมมีปญหา เนื่องจากไมไดมีทุกบริษัทที่มีสินคาฉลาก เขียว เราจึงตองมีการอนุโลมกันวา ใหบริษัทไปทําหนังสือรับรองวาผลิตภัณฑ ที่ผลิตนั้นไมมีสารเคมีตองหามมาใชในการผลิต ยกตัวอยาง เชน ตลับหมึก สําหรับเครื่องถายเอกสาร บริษัทที่ไมไดรับฉลากเขียว ตองทําหนังสือรับรอง ผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมาใหเราดูวาผงหมึกของบริษัทไมมีการใช สารประกอบของพวก ปรอท ตะกั่ว โครเมียม และแคดเมียม และไมใชสาร เคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และสารกอมะเร็ง เปนตน” “เราอยากใหทุกคนตระหนักวาสินคาและบริการทุกประเภทมีตนทุนทาง ดานสิ่งแวดลอม ไมวาการใชนํา พลังงาน หรือวัสดุจากธรรมชาติ มาเปนตน ทุนในการผลิต เมื่อสินคากลายเปนของเสียก็กลายเปนขยะ และอีกเชน เดียวกันมีตนทุนในการกําจัดขยะ การใชผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สามารถตอบโจทยการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมไดสวนหนึ่ง แมวาจะไดไมเต็ม รอย แตถาทุกคนรวมใจกันโอกาสที่จะสิ่งแวดลอมที่ดีกลับคืนมาก็เปนไปได” ถาถามวา ผลตอบรับจากโครงการจัดซื้อจัดจางของภาครัฐเปนอยางไร ก็ตองตอบวาเหนือเอาไวกวาที่คาด เพราะความตื่นตัวของภาครัฐเอง สวน ผูผลิตก็ตองทํางานหนักมากขึ้น เพื่อพยายามผลักดันตัวเองใหเขามาตรฐาน ตามที่กําหนดเอาไว เพราะมูลคาผลตอบแทนในการจัดซื้อจัดจางของภาครัฐ ที่มีมากกวา 15% ของ GDP ถือวาเปนแรงดึงดูดใจไมนอยเลย สําหรับภาค ผูผลิต เมื่อปลาจะกินดาว 10 166
“เดิมเราตั้งเปาเอาไววาในป 2553 การจัดซื้อจัดจางสีเขียวตองได 75% แตปรากฏวาเราทําไดมากกวาเปาหมายที่วางไว 1% ถึงแมจะเกินไปไมมาก แตก็เปนตัวชี้วัดที่ดีวาภาครัฐมีการปรับตัวในแนวโนมที่ดี” สวนสินคาและบริการแบบใดบางทีอ่ ยูใ นบัญชีรายชือ่ การจัดซือ้ จัดจาง สินคาและบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมนัน้ ทางกรมควบคุมมลพิษไดจดั ทํารายการสินคาและบริการในบัญชีจัดซื้อจัดจางสีเขียว รวมทั้งหมด 17 ประเภทดังนี้ 1) กระดาษคอมพิวเตอร กระดาษสีทําปก 2) กระดาษชําระ 3) กลองใส เอกสาร4) เครื่องถายเอกสาร 5) เครื่องพิมพ 6) เครื่องเรือนเหล็ก 7) ซองบรรจุ ภัณฑ 8) ตลับหมึก 9 ) แบตเตอรี่ปฐมภูมิ10) ปากกาไวทบอรด11) ผลิตภัณฑ ลบคําผิด12) แฟมเอกสาร 13) สีทาอาคาร14) หลอดฟลูออเรสเซนต15) บริการ ทําความสะอาด 16) บริการโรงแรม 17) บริการเชาเครื่องถายเอกสาร ในหนั ง สื อ คู มื อ การจั ด ซื้ อ จั ด จ า งสิ น ค า และบริ ก ารที่ เป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดลอม (ฉบับปรับปรุง) ที่จัดทําขึ้นโดยกรมควบคมมลพิษ ไดใหรายละ เอียดและกฏเกณฑที่นาสนใจในการเลือกซื้อสินคาและบริการใหถูกตองตาม หลักเกณฑที่กําหนด เชน เกณฑขอกําหนดสําหรับกระดาษคอมพิวเตอร และ กระดาษสีทําปกที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยมีการกําหนดเอาไวอยางชัดเจนวา ผลิตภัณฑตองทําจากเยื่อเวียน ทําใหมไมนอยกวารอยละ 30 สวนสีที่เปนสวนประกอบของผลิตภัณฑนั้นจะ ตองไมมีโละหะหนักจําพวก ตะกั่ว ปรอท แคทเมียม โครเมียมเฮ็กซาวาเลน ท เปนสวนประกอบ หรือเปนไปตามกฏเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยาของไทย กระดาษถูกบรรจุลงไปเปน 1 ใน 17 สินคาและบริการสีเขียวของกรม ควบคุมมลพิษ เนื่องจากกระบวนการผลิตกระดาษ 1 ตัน ตองใชตนไม 17 ตน น้ํา 20 ลูกบาศกเมตร น้ํามัน 300 ลิตร กระแสไฟฟา 1,000 กิโลวัตตชั่วโมง (Econews, 2541) และมีการปลอยมลพิษออกมาเปนจํานวนมาก โดย เฉพาะมลพิษทางน้ํา กระบวนการผลิตในขั้นตอนตางๆ จะกอใหเกิดอันตราย ตอสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแหลงน้ํานั้น จากการเปลี่ยนแปลงของคากรดดางใน เมื่อปลาจะกินดาว 10 167
น้ํา และคาออกซิเจนในน้ําที่ลดลง นอกจากนี้ยังมีสารพิษไดออกซิน ซึ่งเปนสารพิษเหลือคางในอากาศและ น้ําจากการใชกาซคลอรีนสําหรับฟอกเยื่อ และกาซซัลเฟอรไดออกไซดจาก การผลิตเยื่ออีกดวย อีกทั้งยังกอใหเกิดขยะมูลฝอย ซึ่งคิดเปนรอยละ 8.19 ของน้ําหนักขยะมูลฝอยทั้งหมด (รายงานสถานการณมลพิษของประเทศไทย, 2547) ดังนั้น เพื่อเปนการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมดังกลาว จึงตองมีการ หมุนเวียนกระดาษเพื่อนํากลับมาใชใหม การปรับตัวของภาครัฐที่ใหความสําคัญกับการใชสินคาที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ถือเปนการปรับตัวครั้งสําคัญของประเทศในการใหความสําคัญ กับสิ่งแวดลอม เพราะทราบกันดีวา ภาครัฐเปนภาคสวนของสังคมที่มีการ ปรับตัวไดชาที่สุด เมื่อเทียบกับภาคประชาชน และภาคผูผลิต แตเมื่อมีการ ปรับตัว ยอมหมายถึงวา ประเทศไทยเราเริ่มสงสัญญาณวาจะเคลื่อนที่ไปใน ทิศทางใด รองอธิบดีวรศาสน มองวา ในรางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 11 ไดใหความสําคัญกับสังคมสีเขียว หรือที่นิยมพูดกันวา เปน สังคมคารบอนต่ํา ซึ่งเนนในการลงทุนที่กอใหเกิดมลพิษสูสิ่งแวดลอมให นอยที่สุด ซึ่งหมายความวาทุกภาคสวนในสังคมจะตองรวมมือกัน และปรับ เปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อกอใหเกิดลกระทบทางสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด ภาคพลังงาน ถือวาเปนสวนที่มีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุด คิดเปนรอยละ 56.10 รองลงมาคือภาคเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 24.10 และ ภาคอุตสาหกรรม คิดเปนรอยละ 5.40 และในสวนของขยะที่กรมควบคุม มลพิษมีหนาที่จัดการดูแลโดยตรงนั้น มีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกรอย ละ 7.8 ดังนั้นภาครัฐตองออกมาตอบโจทยใหไดวา การจะเปนสังคมคารบอน ต่ํา จะตองทําอยางไร และแนนอนเมื่อดูปญหาที่ตนเหตุ ภาคขนสงมีการ ปลดปลอยกาซเรื่อนกระจกมากที่สุด ดังนั้นอาจจะตองมีการลงทุนในการ บริหารจัดการระบบการขนสงมวลชนขนาดใหญ เชนการลงทุนในระบบ รถไฟฟา หรือระบบรถไฟรางคู เปนตน เมื่อปลาจะกินดาว 10 168
“ถาเปรียบเทียบกับประเทศที่ทําเรื่องคารบอนต่ํา ยังถือวาเรายังหางไกล เขาอีกเยอะ แตก็นับวาตอนนี้เปนจุดเริ่มตนที่ดี เพราะกระแสเรื่องภาวะโลก รอนมาแรงมาก เราตองเริ่มจากการใหความรูกับเยาวชน ซึ่งจะเปนผูบริโภค ยุคใหม ที่จะใหความสําคัญกับสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มากกวาดาน ราคาหรือคุณภาพ” เขายังมองอีกวา ในอนาคตกลุมธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก หรือเอส เอ็มอีจะตองมีการปรับตัวเปนอยางมากในการใชเทคโนโลยีที่เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม ไมใชการพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศ แตหมายถึงการประดิษฐ คิดคน การวิจัย และพัฒนาโดยคนไทย เพื่อลดตนทุน และที่สําคัญจะตองมี มาตรฐานใหเปนที่ยอมรับตามมาตรฐานสากล ในอนาคตอาจจะตองมีกองทุนสําหรับธุรกิจเอสเอ็มอีเพื่อพัฒนาระบบ เทคโนโลยีที่สะอาด เพื่อทําใหสินคาของกลุมธุรกิจเอสเอ็มอีเปนสินคาประเภท อีโค โพรดักสใหมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะเปนขอไดเปรียบของผูผลิต และเปนอีกทาง เลื อ กที่ สํ า คั ญ ของผู บ ริ โภคในยุ ค ที่ ก ระแสสิ นค า ที่ เป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม มาแรง
เมื่อปลาจะกินดาว 10 169
ประเภทฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม ฉลากสิง่ แวดลอมนับเปนกลยุทธอยางหนึง่ ในเชิงการตลาด เพือ่ สราง แรงจูงใจใหกบั ประชาชนไดตระหนักถึงความสําคัญของสิง่ แวดลอม และ เปนการเสริมสรางภาพลักษณของบริษทั โดยสรางความรูส กึ วาผลิตภัณฑ ทีน่ าํ ไปใช เปนเครือ่ งมือ หรืออุปกรณสาํ คัญในการปกปองสิง่ แวดลอม ซึง่ เนนการมีสว นรวมของผูบ ริโภค และผูผ ลิตอยางสมัครใจ ผลิตภัณฑทส่ี ามารถติดฉลากสิง่ แวดลอมตองผานกระบวนการประเมิน จากหนวยงานทีใ่ หการรับรองในประเทศไทยตองผานการประเมินจากสํานัก งานมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรมวาผลิตภัณฑ ดังกลาวสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมโดยรวมนอยกวา เมื่อเปรียบเทียบ กับผลิตภัณฑประเภทเดียวกัน และมีคุณภาพการใชงานอยูในมาตรฐาน เดียวกัน ซึ่งในที่นี้หมายถึงสินคา และบริการทั่วๆ ไป ยกเวน อาหาร ยา และเครื่องดื่ม เพราะเปนผลิตภัณฑที่เกี่ยวของดานสุขภาพ และ ความปลอดภัยมากกวาดานสิ่งแวดลอม ปจจุบันฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม จัดอยูในมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 จําแนกไดเปน 3 ประเภท ประกอบดวย ประเภทที่ 1 (Type I) เปนฉลากที่ดําเนินการโดยองคการอิสระ มอบใหผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัติตรงตามขอกําหนดขององคกรนั้นๆ โดย อยูในอนุกรมมาตรฐาน ISO 14020 ซึ่งเปนหลักการขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับ การพัฒนา การใชฉลากสิ่งแวดลอม และ ISO 14024 เปนแนวทางหลัก ขอกําหนดของวิธีการรับรองผลิตภัณฑที่ใชฉลากผลิตภัณฑประเภทที่ 1 ฉลากสิ่งแวดลอมประเภทที่ 1 ของประเทศไทยคือ ฉลากเขียว ใหการรับรองโดยสถาบันสิ่งแวดลอมไทย โดยในปจจุบันมีผลิตภัณฑที่ไดรับฉลากเขียวจํานวน 303 รุน จาก 22 กลุมผลิตภัณฑและ 57 ผูผลิต (ขอมูล ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2553) ประเภทที่ 2 (Type 2) เปนฉลากผลิตภัณฑที่ผูผลิตเปนผูออก ฉลากเอง เพื่อความมุงหมายเฉพาะดาน โดยอยูในอนุกรมมาตรฐาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 170
ISO 14021 ซึ่งเปนขอกําหนดเกี่ยวกับนิยาม และคําศัพทเกี่ยวกับการใช ฉลากผลิตภัณฑประเภทที่ 2 ฉลากสิ่งแวดลอมประเภทที่ 2 ของประเทศไทย คือ ฉลาก SCG Eco Value จัดทําโดยบริษทั ปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน) โดยปจจุบนั มีสนิ คาในเครือบริษทั ฯ ไดรับรองฉลากสิ่งแวดลอมจํานวน 87 ผลิตภัณฑ ประเภทที่ 3 (Type 3) เปนฉลากที่บอกรายละเอียดเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑในการใชทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ปริมาณมลพิษที่เกิด ขึ้น ซึ่งมีลักษณะคลายกับฉลากโภชนาการของอาหาร เปนสวนหนึ่ง ของอนุกรมมาตรฐาน ISO/TR 14025 เปนแนวทาง หลักการและขอ กําหนดของวิธีการรับรองผลิตภัณฑที่ใชฉลากสิ่งแวดลอมประเภทที่ 3 ฉลากสิ่งแวดลอมในประเภทที่ 3 ของไทย คือ ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตใหการรับรองโดย องคการ บริหารจักดารกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) โดยในปจจุบันมีผลิตภัณฑที่ไดฉลากคารบอน ฟุต พริ้นต จํานวน 25 ผลิตภัณฑ (ขอมูล ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2553) นอกจากนีย้ งั มีฉลากสิง่ แวดลอมประเภทอืน่ ๆ ซึง่ อยูน อกเหนือฉลาก ในระบบมาตรฐาน การจัดการสิ่งแวดลอมดังกลาวขางตน โดยมีวัตถุ ประสงคเพื่อแสดงเจตนาเฉพาะอยาง เพื่อสื่อหรือจูงใจใหผูบริโภคเห็น ความสําคัญของการเลือกใชผลิตภัณฑดังกลาว ฉลากสิง่ แวดลอมประเภทอืน่ ๆ ของประเทศไทยไดแก 1. ฉลาก Green Leaf ของมูลนิธิใบไมเขียว โดยให ก ารรั บ รองบริ ก ารที่ เป น มิ ต รกั บ สิ่งแวดลอมในดานการจัดการสิ่งแวดลอม ในโรงแรมโดยในป จ จุ บั น มี โรงแรมที่ ได รับฉลาก Green leaf จํานวน 405 แหง
เมื่อปลาจะกินดาว 10 171
2. ฉลาก Carbon Reduction ใหการรับรองโดย องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) และสถาบันสิ่งแวดลอม ไทย โดยมุงเนนเรื่องการ ลดปริมาณกาซ เรือนกระจกทีป่ ลอยสูส ง่ิ แวดลอมในกระบวน การผลิต โดยปจจุบนั มีผลิตภัณฑทไ่ี ดรบั ฉลาก carbon reduction จํานวน 56 ผลิตภัณฑ จาก 14 ผูผลิต 3. ฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ดําเนินการโดย การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เปนถึง การฉลากที่บงบอกถึงระดับการใชไฟฟา และขอมูลเบื้องตนของเครื่องใชไฟฟา เชน ประสิทธิภาพคาใชจายตอป โดยที่เบอร 5 หมายถึงประหยัดไฟมากที่สุด ISO 14001 คือ มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (Environmental management System) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของมาตรฐานการจัดการสิ่ง แวดลอม ISO 14000 ที่ใชเปนแนวทางใหองคกรหรือหนวยงานสามารถจัด ระบบการจัดการของตนเพื่อใหบรรลุนโยบายดานสิ่งแวดลอมที่กําหนดไว ดังนั้นระบบการจัดการสิ่งแวดลอมจึงเปนระบบที่มีโครงสรางหนาที่ ความ รับผิดชอบที่ชัดเจน มีวิธีการ กระบวนการและทรัพยากรอยางเพียงพอใน การดําเนินการ ภายใตหลักเกณฑ คือ การวางแผน (Planning) การนําแผน ไปปฏิบัติ (Doing) การตรวจสอบ (Checking) และการทบทวน (Action)
เมื่อปลาจะกินดาว 10 172
บรรณานุกรม คูมือการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (ฉบับปรับปรุง) เสวนาเรื่อง “ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม สูฐานเศรษฐกิจคารบอนต่ํา” จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหง ประเทศไทย, 2553 เอกสารประกอบการสัมมนา โครงการคารบอนฟุตพริ้นทใน อุตสาหกรรมการพิมพ จัดโดย ภาควิชาวิทยาศาสตรทางภาพถาย และเทคโนโลยีทางการพิมพ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2553 เอกสารประกอบการสัมมนา ฉลากคารบอน กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เอกสารรวบรวมประเภทของฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมของไทย รวบรวมโดย สถาบันสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย www.siamcement.com
เมื่อปลาจะกินดาว 10 173
นักขาวและพื้นที่ขาวสิ่งแวดลอม สวนทางแนวโนมวิกฤตสิ่งแวดลอม เกรียงไกร ภูระยา หนังสือพิมพไทยรัฐ
เมื่อปลาจะกินดาว 10 174
ในวงสนทนา–วิวาทะ ของนักขาวสิ่งแวดลอม ซึ่งสวนใหญมาจาก หนังสือพิมพ หลากหลายฉบับ ที่สงมาประจําการในหองนักขาวกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หรือที่เรียกกันในหมูนักขาววาเปนฐาน ปฏิบัติการ หรือฐานที่มั่น ที่เกิดขึ้นเปนประจําทุกวัน เนื่องจากในแตละวัน มีเรื่องราวของขาวสารเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะเรื่องขาวสิ่งแวดลอมตาม หนาที่รับผิดชอบ ซึ่งที่มาของขาวก็ทั้งจากตัวรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ตลอด จนบรรดาอธิบดีกรมตางๆ รวมทั้ง “แหลงขาวผูไมประสงคจะเอยนาม – แตประสงคจะใหขาว” มากมายตามแตสายสัมพันธระหวางแหลงขาวกับนัก ขาวแตละราย เมื่อปลาจะกินดาว 10 175
ทีส่ าํ คัญขาวสําคัญไมนอ ยมาจากคนทํางานกับชุมชน เรียกวา องคกร พัฒนาพัฒนาเอกชนดานสิง่ แวดลอม หรือทีเ่ รียกวา เอ็นจีโอ หรือนักพัฒนา เอกชน ทีว่ า กันวามีบทบาทสําคัญในยุคที่ “ไทย” กําลังพัฒนาประเทศ ทามกลางกระแสรณรงคใหใสใจและใหความสําคัญกับปญหาสิง่ แวดลอม
แนนอนมุมมอง วิธีคิดของนักขาวแตละคนยอมไมเหมือนกัน แตจูๆ วันหนึ่งในวงสนทนา – วิวาทะ ก็มีนักขาวรายหนึ่งตั้งคําถามขึ้น มาวา “ชีวิตของนักขาวสิ่งแวดลอม ทํางานเหมือนตกอยูระหวางเขาควาย” พรอมกับขยายความวา เขาดานหนึ่ง คือ การพัฒนาหรือนโยบาย ขณะที่เขา อีกดาน คือ การตอตานการพัฒนาหรือทักทวงโครงการทีม่ ผี ลกระทบบทบาท ของนักขาวสิ่งแวดลอม บอยครั้งถูกกลาวหาและตั้งคําถาม ทั้งจากภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม การลงทุนตลอดจนนักธุรกิจ นักลงทุนวา “นักขาว สิ่งแวดลอม เปนพวกเดียวกับชาวบานและเอ็นจีโอ” คือ เห็นการพัฒนาไมได ตองนําเสนอขาวที่ตอตานไวกอน นอยครั้งที่จะเห็นดีงามกับการพัฒนาของรัฐ หรือภาคอุตสาหกรรม หรือพูดงายๆ ในสายตาหรือทัศนะของภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม นักธุรกิจ นักลงทุนนั้น นักขาวสิ่งแวดลอมคือ “ผูราย” ขณะที่ในสายของชาวบานหรือ เอ็นจีโอ บทบาทของนักขาวสิ่งแวดลอม กลับกลายเปน “พระเอก” เพื่อนหรือ คนกันเอง แมจะมีชาวบานบางบทเรียน บางกรณีมองวา นักขาวสิ่งแวดลอม บางทีก็ไมใช “พระเอก” เสียทีเดียว เปนผูรายก็มี ขณะที่พื้นที่ขาวของขาวสิ่ง แวดลอมในหนาหนังสือพิมพหรือในหนาสื่อก็มีนอยมาก แถมในระยะหลังๆ บริษทั ธุรกิจ นักลงทุน ก็ใชวธิ ซี อ้ื โฆษณาประชาสัมพันธ ผลดีของการลงทุนในหนาหนังสือพิมพ โดยเฉพาะหนาทีน่ าํ เสนอขาวสิง่ แวดลอม เสียเลย จะไดไมเหลือพื้นที่ขาวใหนําเสนอ มิพักตองกลาวถึงกลยุทธมากมาย ของนักธุรกิจ นักลงทุน ทีค่ าํ นึงถึงผลกําไรถายเดียว โดยไมไดคาํ นึงถึงผลกระทบ ตอทรัพยากรดิน - น้ํา - ปาและประเทศชาติ ประชาชนเลย คําถามในวงสนทนานั้น จึงไดเกิดการแลกเปลี่ยนทางความคิดวา นักขาว สิ่งแวดลอม นี่สรุปวามันเปนพระเอกหรือผูรายกันแน (วะ)
เมื่อปลาจะกินดาว 10 176
นักขาวสิ่งแวดลอมคือใคร? นี่ดูจะเปนคําถาม หรืออาจจะเปนขอกังขาของใครตอใครในการทําหนาที่ ของนักขาวสายสิ่งแวดลอมวา เหมือนหรือตางกับนักขาวสายตางๆ หรือไม อยางไร ไมวาจะเปนนักขาวสายอสังหาริมทรัพย นักขาวสายตลาดหลักทรัพย นักขาวการเมือง นักขาวขายตรง เปนตน “นั ก ข า วสิ่ ง แวดล อ มคื อ นั ก ข า วที่ ทํ า หน า ที่ เ สนอข า วด า นสิ่ ง แวดล อ ม เหมือนกับนักขาวสายอื่นๆ ที่มีหนาที่ในการสรางทําแตกตางกันไป แตบทบาท ของนักขาวสิ่งแวดลอม คอนขางจะแตกตางกับนักขาวสายอื่นคือตองสัมผัส กับชาวบาน ซึ่งสวนใหญเปนกลุมที่ไดรับผลกระทบจากการพัฒนาประเทศ คอนขางมาก ทั้งจากปญหาการจัดการน้ํา การสรางเขื่อน การทําลายปา การ บุกรุกครอบครองที่ดิน การทําลายแหลงน้ําและทรัพยากรธรรมชาติสําคัญๆ” ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพขาวสด กลาวและวา ที่สําคัญพลังของขาวสารดานสิ่งแวดลอมที่กอใหเกิดผลกระทบตอการ เปลี่ยนแปลงมีคอนขางมาก ยกตัวอยางงายๆ กรณีของนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด จ.ระยอง หรือโครงการบอบําบัดน้ําเสียคลองดาน จ.สมุทรปราการ ที่กอปญหามลพิษใหกับประชาชน เมื่อถูกเปดโปงตรวจสอบถึงความไมชอบ มาพากล โครงการถึงกับตองหยุดชะงัก เพื่อทบทวนความเหมาะสม “ในป 2535 สมัยรัฐบาลอานันท ปนยารชุน สมัยที่ 2 หนังสือพิมพขา วสด ซึง่ ขณะนัน้ ยังเปนหนังสือพิมพฉบับเล็กๆ เคยนําเสนอขาวสิง่ แวดลอม ยาว มากประมาณ 1 เดือนหลังจากกองบรรณาธิการประชุมกันแลวคิดวาปญหาสิง่ แวดลอมทีจ่ ะนําเสนอไมนา จะจบภายใน 1–2 วัน นัน่ ก็คอื ขาวเกีย่ วกับโครงการ ตัดถนนผาอุทยานแหงชาติปางสีดา ทีม่ พี น้ื ทีค่ รอบคลุมทองทีอ่ าํ เภอตาพระยา อําเภอวัฒนานคร อําเภอเมือง จ.สระแกว และอําเภอนาดี จ.ปราจีนบุรี มี สภาพปาอุดมสมบูรณ ซึง่ การตัดถนนจะสงผลกระทบตอชางปาแนนอน เพราะ เปนเสนทางชางเดิน” “ขาวสดนําเสนอจนคุณอานันท ปนยารชุน นายกรัฐมนตรีและคุณนุกูล ประจวบเหมาะ รัฐมนตรีคมนาคม ตองลงไปดูพื้นที่กอนสั่งยุติโครงการ ขาว ชิ้นนี้ทําใหเรามั่นใจวาขาวสิ่งแวดลอมมีพลังและที่สําคัญไมเกี่ยววาขาวจะ เมื่อปลาจะกินดาว 10 177
ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพขาวสด
ผาสุข พงษไพจิตร อาจารยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ถูกนําเสนอผานหนังสือพิมพฉบับเล็กหรือใหญ แตถามีขอมูลถูกตองแมนยํา หนักแนน ขาวชิ้นนั้นๆ จะมีพลังมาก” บรรณาธิการบริหารขาวสด ระบุ ขณะที่รัฐกร อัสดรธีรยุทธ ประธานบริหารหนังสือพิมพดอกเบี้ย อดีตนักขาวประชาชาติรายวัน ในยุคหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 เนชั่น และไทยรัฐ กลาววา ยอนกลับไปสัก 30 ป นักขาวสิ่งแวดลอมยัง ไมมีโครงสรางของนักขาวหลักๆ ในยุคแรกๆ จะมีแคนักขาวการเมืองที่ทํา ขาวทหาร ตํารวจ นักขาวตระเวน นักขาวอาชญากรรม ตอมาก็มีนักขาว ธุรกิจ ขาวสิ่งแวดลอม ยังไมมีใครใหความสนใจมากนักและยังไมสําคัญ สิ่ง แวดลอมไมใชปญหาใหญ อาจเพราะประเทศยังไมพัฒนาอยางเต็มรูปแบบ “โรงงานอุตสาหกรรมมีไมกี่แหง ใหญๆ ก็มีนิคมอุตสาหกรรมบางปูของ นายอุเทน เตชะไพบูลย เจาของธนาคารศรีนครสมัยนั้น ขณะที่โรงกลั่น น้ํามันก็มีแค 3 ทหารที่ตอมาคือ บริษัท ปตท. ปจจุบันเทานั้น” “แมแตกรณีทุงใหญนเรศวร ที่มีการนําเฮลิคอปเตอรทหารไปลาสัตวใน พื้นที่ปาสงวนจนสรางความไมพอใจกั้บนักศึกษาและประชาชนจํานวนมาก ถึงขนาดที่นิสิต นักศึกษากลุมอนุรักษ 4 สถาบัน ออกหนังสือบันทึกลับจาก ทุงใหญเปดโปงความไมชอบมาพากล จนเปนชนวนนํามาสูเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ในสมัยนั้นยังไมถือวาเปนขาวสิ่งแวดลอม แตมองเปนเรื่อง การเมืองที่ทหารนําทรัพยสินราชการไปใชในประโยชนสวนตัว” “แมแตกรณีการที่ประชาชนออกมาตอตานการขุดแรของเรือเท็มโกที่ จ.ภูเก็ตจนถึงขั้นบุกขึ้นเผาเรือขุดแร จนทําใหตองยุติการขุดแรในทะเลหรือ เมื่อปลาจะกินดาว 10 178
การเผาโรงงานผลิตแทนทาลั่มของกลุมซิโน-ไทย ที่จังหวัดเดียวกัน เมื่อเดือน มิถุนายน ป 2529 จนกลายเปนตํานานการตอสูของประชาชนยังไมถือวาเปน ขาวสิ่งแวดลอมเลย แตเปนเรื่องที่ตางชาติเขามาแสวงหาผลประโยชนในแผน ดินไทย” รัฐกร กลาว เขามองวา เปนไปไดวาสภาพสังคมหลังเดือนตุลาคม 2519 ที่มีการ ลอมปราบนักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จนถึงยุคตนของรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท ป 2523 ที่ถือวาเปนยุคการพัฒนาประเทศ จน มีคําวา “โชติชวงชัชวาลย” แมจะมีปจจัยหลายประการทําใหสื่อสาร มวลชนมีความสําคัญขึ้น แตขาวของประเทศไทยยังอยูในวงเวียนของการ รัฐประหาร วิกฤตการณทางการเมือง วิกฤตเศรษฐกิจ ขณะที่ขาวสิ่งแวดลอม ยังไมไดรับความสําคัญเหมือนเดิมและเปนขาว เล็กๆ ซุกอยูในขาวการเมืองหรือขาวสังคมเทานั้น ผาสุข พงษไพจิตร อาจารยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาววา บทบาทของนักขาวสิง่ แวดลอม นาจะเริม่ ตนในยุคทีก่ ารเมืองมีความ ผอนคลายลง ประกอบกับการเกิดขึ้นขององคการพัฒนาเอกชนที่ไดรับการ จัดตั้งขึ้นหลายแหง หลังการพายแพของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย มีนักเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอมเกิดขึ้น ที่ชัดเจนที่สุดคือการตอตานโครงการ กอสรางเขือ่ นน้าํ โจน จ.กาญจนบุรี ทีจ่ ะสงผลกระทบน้าํ ทวมในพืน้ ทีป่ ระมาณ 223 ตารางกิโลเมตร ในเขตทุงใหญนเรศวร ซึ่งเปนเขตสงวนพันธุสัตวปาและ เปนปาสมบูรณที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งในแผนดินใหญของเอเชียตะวันออกเฉียง ใต รวมทั้งผลกระทบตอสัตวปา การลักลอบตัดไมที่เพิ่มขึ้น “มี ก ารนํ า เสนอข า วต อ ต า นการสร า งเขื่ อ นน้ํ า โจนจนไปสู ค วามสนใจ ระดับนานาชาติ จนรัฐบาลเลื่อนโครงการ และตอมารื้อฟนโครงการใหมขึ้นใน ป 2529 แตไดรับการตอตานอยางกวางขวางมากที่สุดจนเดือนมีนาคม 2531 รัฐบาลตัดสินใจยกเลิกโครงการ” ผาสุข ระบุ กรณีน้ําโจนทําใหสังคมสนใจปญหาสิ่งแวดลอมมากขึ้น แตการมีนักขาว สิ่งแวดลอมเปนการเฉพาะของสื่อสารมวลชนหรือหนังสือพิมพ อาจารยผาสุก คิดวา นาจะยังไมเปนกิจลักษณะมากนัก เพราะนักขาวที่ทํางานสิ่งแวดลอม เมื่อปลาจะกินดาว 10 179
ชวรงค ลิมปปทมปาณี หัวหนาศูนยขอมูล หนังสือพิมพไทยรัฐ และผูอํานวยการบริหาร สถาบันอิศรา
ยังเปนนักขาวจากสายการเมืองหรือไมก็สายสังคมหรือสายคุณภาพชีวิต ทั่วๆ ไป อาจกลาวไดวาไมมีนักขาวสิ่งแวดลอม เปนการเฉพาะที่เจาะขาวเรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอมเพียวๆ ขณะที่สถานการณสิ่งแวดลอมยังคงเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง มีการประทวง คัดคานโครงการปลูกปาใหม การลักลอบตัดไมในหลายจังหวัดไปจนถึงการ เรียกรองใหมีการยกเลิกสัมปทานปาไมในภาคเหนือ ขณะที่นักเคลื่อนไหว ดานสิ่งแวดลอมรวมกับชาวบาน พระสงฆ ออกมาปกปองปาไมดวยวิธีการ บวชตนไม การหอตนไมดวยจีวรในหลายพื้นที่ จนถึงเหตุการณที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 2 เหตุการณสําคัญ ซึ่งดู เหมือนจะเปนที่มาของนักขาวสิ่งแวดลอม นั่นก็คือ การเสียชีวิตของชาวบาน กวา 300 คน ที่อําเภอกระทูน จ.นครศรีธรรมราช เพราะมีการลักลอบตัดไม ในเขตปาตนน้ําในชวงปลายป 2531 กับการเสียชีวิตของสืบ นาคะเสถียร เจา หนาที่ปาไมที่ฆาตัวตายประทวงที่ไมสามารถปองกันการลักลอบตัดไมและ ตานทานอิทธิพลของพอคาได เมื่อเดือนกันยายน 2533 ถือไดวาเปนขาวที่ทุก คนใหความสําคัญและทําใหวงการสิ่งแวดลอมตื่นตัวเปนอยางยิ่ง จ า ก นั้ น เป นต น ม า ก ร ะ แ ส ก า ร มี ก า ร ตื่ นตั ว เรื่ อ ง ก า ร อ นุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติ และไดขยายวงกวางขวางออกไปมากขึ้น โดยเฉพาะการ ตายของสืบ นาคะเสถียร ที่ใชชีวิตเปนเดิมพันเพื่อเรียกรองใหสังคมไทยหันมา เมื่อปลาจะกินดาว 10 180
สนใจการอนุรักษธรรมชาติ ไดปลุกกระแสการอนุรักษ และไดรับการขานรับ จนถึงปจจุบันนี้ ก็เปนเวลาครบ 20 ปพอดี การจากไปของสืบ ยังไดกอใหเกิดมูลนิธิสืบ นาะเสถียร ที่ไดทํางานดาน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอยางเขมขนจนถึงทุกวันนี้เชนกัน รวมทั้งการ เกิดขึ้นของนักขาวสิ่งแวดลอมเปนการเฉพาะอีกดวย ชวรงค ลิมปปทมปาณี หัวหนาศูนยขอมูลหนังสือพิมพไทยรัฐ และ ผูอํานวยการบริหาร สถาบันอิศรา ถึงกับกลาววา “หลังจากการเสีย ชีวิตของคุณสืบ ถือเปนยุคทองของขาวสิ่งแวดลอม เนื่องจากประชาชนและ สังคมตื่นตัวเรื่องปญหาสิ่งแวดลอมมาก ขณะเดียวกันก็มีนักขาวสิ่งแวดลอม ทีท่ าํ งานดานสิง่ แวดลอมเกิดขึน้ ดวย แมจะยังไมเปนกิจลักษณะเหมือนปจจุบนั ” ชวรงค มองวา การเกิดขึ้นของนักขาวสิ่งแวดลอมในยุคนั้นที่ยังไมชัดเจน อาจเปนเพราะโครงสรางของรัฐบาลทีส่ มัยนัน้ มีไมกก่ี ระทรวง และเรือ่ งสิง่ แวดลอม ไปหอยหรือเปนแคสวนหนึ่งอยูในกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ สิ่งแวดลอม ตางจากปจจุบันที่มีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ทํางานเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมเปนการเฉพาะหลังการปฎิรูประบบราชการสมัย รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อป 2545
ทุงใหญนเรศวรถึงมาบตาพุดและยุคทองขาวสิ่งแวดลอม? แมเมื่อไมนานมานี้จะยังไมมีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ แตยุคทอง ของขาวสิ่งแวดลอมที่ ชวรงคเอยถึงอาจจะนับจากชวงปลายป 2533 หลังสืบ นาคะเสถียร เสียชีวิต ก็ไดเกิดปรากฎการณขาวสิ่งแวดลอมที่สงผลกระทบ ตอประเทศชาติและประชาชาชนจํานวนไมนอย ในป 2534 หลังการรัฐประหารของคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ขาวของหลวงพอประจักษ ธัมมปทีโป พระนักอนุรกั ษแหงปาดงใหญ อําเภอปะคํา จ.บุรรี มั ย ดังเปนขาวพาดหัวตามหนาหนังสือพิมพไมเวนแตละ วัน ในฐานะพระตัวแสบสําหรับราชการ และนายทุนทีต่ อ งการทําลายปา ขณะที่ในสายตาของชาวบานแลว พระประจักษคือพระนักอนุรักษผูไม ยอมกมหัวใหกับการทําลายปาดงใหญอยางเด็ดเดี่ยว จนถูกอํานาจรัฐคุกคาม ชีวติ ถูกบีบใหสกึ ขณะทีช่ าวบานทีร่ ว มกันสูก บั หลวงพอประจักษถูกเจาหนาที่ เมื่อปลาจะกินดาว 10 181
รัฐ ทั้งทหารในเครื่องแบบ ตํารวจ ทําราย บังคับใหชาวบานและหลวงพอออก จากพื้นที่ โดยอางวาปาแหงนี้เปนปาเสื่อมโทรม สุดทายพระนักอนุรักษผูนี้ถูกทางการแจงขอหาบุกรุกปาสงวนฯ และคดี อื่นๆ อีก 7 คดี และในวันที่ 7 เมษายน 2534 ทานถูกจับและถูกกสงเขาเรือน จําในเวลาตอมา ตอมา ป 2535 การเคลื่อนไหวครั้งใหญของชาวบานปากมูน ที่ตอสูกับ รัฐบาลและการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) โดยนําเสนอขอมูล ขาวสารผานสื่อสารมวลชนแขนงตางๆ “คําวานักขาวสิง่ แวดลอมนาจะเกิดขึน้ ชัดเจนในชวงนัน้ หนังสือพิมพอยาง ผูจ ดั การรายวัน เนชัน่ บางกอกโพสต กรุงเทพธุรกิจ ถือเปนหนังสือพิมพทม่ี ี นักขาวสิง่ แวดลอมคอนขางชัด รวมทัง้ มีพน้ื ทีใ่ นหนาหนังสือพิมพ ขณะทีไ่ ทยรัฐ ขาวสด มติชน ยังไมชดั เจน แตมนี กั ขาวคุณภาพสังคม หรือนักขาวสายสังคมไป ทําขาว” ชวรงค ระบุ นอกจากนั้นยังมีปญหาสิ่งแวดลอมเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปน กรณีผลกระทบจากสารเคมีระเบิดทาเรือคลองเตย เมื่อป 2534 ตอเนื่องมา ถึงป 2537 ผูปวยกวา 500 ราย เต็มไปดวยอาการที่หนักแทบทั้งสิ้น เหมือน ซากศพที่เดินได แตก็ไมไดรับคาตอบแทนใดๆ จากการทาเรือฯ และรัฐบาลใน ทุกกรณี ป 2534 เกิดกรณีผลกระทบจากโรงงานผลิตไฟฟาจากลิกไนตขึ้นที่อําเภอ เมื่อปลาจะกินดาว 10 182
แมเมาะ จ.ลําปาง จากสารที่เรียกวา “ซัลเฟอรไดออกไซด” หรือ “ฝนกรด” ชาวบานในอําเภอแมเมาะ เริ่มคนพบความผิดปกติมากขึ้นเรื่อยๆ นอกจาก หลังคาสังกะสีของบานเรือนราษฎรเริ่มผุกรอน ก็มีการเจ็บปวยกันดวยโรค แปลกๆ เชน โรคทางเดินหายใจ โรคปอด โรคมะเร็ง ขณะเดียวกันปริมาณ สั ต ว ป า ที่ เคยมีอ ยูในบริเวณนั้นไดอ พยพหลบหนี ไปและแม กระทั่ ง ปลาใน ลําน้ํา ที่ถูกจับขึ้นมาเปนอาหารก็มีกลิ่นกํามะถันเจือปนอยางชัดเจน ป 2535 เกิดกรณีน้ําพองเนา แมน้ําที่เปนเสนเลือดหลอเลี้ยงพื้นที่เพาะ ปลูกประมาณ 500,000 ไรของ จ.ขอนแกน เนาเสีย สงผลกระทบตอการทํานา และแหลงพันธุปลา สาเหตุมาจากโรงงานน้ําตาลขอนแกน ปลอยน้ําเสียออก มา โดยที่คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ซึ่งตั้งขึ้นในสมัยรัฐบาลอานันท ปนยารชุน ไมสามารถเอาผิดกับโรงงานดังกลาวได สวนกฎหมายสิ่งแวดลอม ที่ตราขึ้นในป 2535 ก็ไมไดมีบทบัญญัติเอาโทษแตประการใด ไมเพียงแตกรณีโรงงานน้าํ ตาลขอนแกนเทานัน้ โรงงานฟนกิ ซ พัลพ แอนด เพเพอร ทีเ่ คยถูกคําสัง่ ปดโรงงานมาถึง 2 ครัง้ ไดเกิดไฟไหมโรงงานในป 2538 อีก 2 เดือนตอมามีการระบุขอ กลาวหาวา โรงงานฟนกิ ซฯ ปลอยน้าํ เสียลงหวย โจดแหลงบําบัดน้าํ เสียของโรงงานลงสูแ มนาํ้ พอง ทําใหปลาตายลอยเปนแพ ในระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร ป 2536 คนงานในโรงงานอิเล็คโทร เซรามิคส ที่ตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรม ลําพูน จ.ลําพูน ไดพบวาตัวเองมีอาการผิดปกติอยางชาๆ นั่นก็คือปวดศรีษะ บอยครั้ง มีอาการออนแรง แขน ขา ชา จึงไดเขารับการตรวจรักษาในโรง พยาบาล แพทยระบุถึงความปวยไขของของคนงานจํานวนไมนอยในโรงงาน วาเปนเพราะไดรับ “สารพิษ” ที่ชื่อวา “สารอลูมินา” เขาไปในรางกายเกิน กวาปกติ ป 2537 เกิดกรณี ส.ป.ก.4 – 01 พรรคประชาธิปต ย นําทีด่ นิ ไปแจกจายให กับคนรวย จนรัฐบาลตองยุบสภาในทีส่ ดุ และนําไปสูป ญ หาการปฎิรปู ทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกร ความเคลือ่ นไหวของขาวสารสิง่ แวดลอม ทีเ่ กิดขึน้ เปนระลอกๆ ดังทีป่ รากฎ ทําใหเกิดนักขาวสิง่ แวดลอมขึน้ จํานวนมาก รวมทัง้ สือ่ ดานสิง่ แวดลอมอีกดวย เมื่อปลาจะกินดาว 10 183
“ป 2535 – 2538 ถือเปนยุคทองของขาวสิง่ แวดลอมและนักขาวสิง่ แวดลอม ไมเพียงหนังสือพิมพจะมีพ้นื ที่ขาวสิ่งแวดลอมหรือหนาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมขึ้น มาเทานัน้ แตยงั มีนติ ยสารขาวสิง่ แวดลอมออกมาหลายฉบับ เพราะสังคมไทย กําลังเขาสูก ารพัฒนา ขณะทีเ่ ศรษฐกิจมีการเติบโต มีการลงทุนกันขนานใหญ ทัง้ จากนักลงทุนไทยและตางประเทศ ซึง่ ตองใชฐานทรัพยากรธรรมชาติหรือไม ก็ตอ งสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมอยางหลีกเลีย่ งไมได” ชวรงค กลาว ในยุคทองของขาวสิ่งแวดลอม ปญหาที่ตามมาคือความเสื่อมของระบบ นิเวศนและวิกฤตการณดานสิ่งแวดลอมในหลากหลายรูปแบบ ทั้งการทําลาย ปา สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป มลพิษทางอากาศ น้ําเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรม เปนตน แตไมรวู า โชคดีหรือโชคราย ประเทศไทยเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ป 2540 ขาว สิง่ แวดลอมและนักขาวสิง่ แวดลอม ไดรบั ผลกระทบ หนังสือพิมพหลายฉบับ ปดตัวลง นักขาวหันไปทําอาชีพอืน่ ขณะทีห่ นังสือพิมพทย่ี งั อยู พืน้ ทีข่ องขาว สิง่ แวดลอมก็ถกู ยุบหนาบาง ถูกปรับบาง เชนเดียวกับนักขาวสิง่ แวดลอม ขณะ ทีป่ ญ หาสิง่ แวดลอมยังคงมีความรุนแรงอยางตอเนือ่ งจนกลายเปนวิกฤตการณ “ตั้งแตป 2540 จนถึงวันนี้ ยังไมมีหนังสือพิมพสักฉบับเลยนะที่มีหนา ขาวสิ่งแวดลอม ถาไมมีเกิดเหตุการณภัยพิบัติรุนแรง หรือการทุจริตเกี่ยวกับ ปญหาสิ่งแวดลอม เชน น้ําทวม ไฟไหมปาขนาดใหญหรือการลาเสือ ลาชาง การทุจริตการสรางฝายกั้นน้ํา เปนตน โอกาสที่ขาวสิ่งแวดลอมจะขึ้นหนา 1 เมื่อปลาจะกินดาว 10 184
ยากมาก กระทั่งเปนขาวในหนาหรือหนาในก็ยังยาก เพราะตองไปเบียดชิง พื้นที่กับขาวอื่นๆ อีกมากมาย ขณะที่นักขาวสิ่งแวดลอม นับตัวไดเลย มีไมกี่ คนและการเปลี่ยนหนาคนทําก็มีไมมาก” ชวรงค ระบุ เขาบอกวา ปญหาขาวสิ่งแวดลอม กลายเปนปญหาที่มีคําตอบซ้ําซาก วา ที่ไมไดรับความสนใจ แมจะเปนเรื่องใกลตัวคนก็ตาม แตในเชิงขาวแลว ถือวาขาวสิ่งแวดลอมเปนเรื่องไกลตัว นาเบื่อ จับตองไมได ไปจนถึง เสนอ ไปก็ “ขายไมได” ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการหนังสือพิมพขาวสด ระบุวา เหตุที่ขาวสิ่ง แวดลอมไมคอยไดรับความสนใจ เพราะเปนเรื่องไกลตัว นาเบื่อหรือไมก็เปน เรื่องของเอ็นจีโอ หากมองในแงการตลาด ถือวาขายไมคอยได แตก็ไมได หมายความวาเปนขาวไมดี “แนนอนขาวสิ่งแวดลอมมีประโยชน แตการนําเสนอตองถูกที่ ถูกเวลา ถูกจังหวะ รวมทั้งมีวิธีการนําเสนอที่นาสนใจ ยกตัวอยางเรื่องโลกรอน ที่ทุก คนใหความสนใจ แตขณะเดียวกันกลับถูกมองวาเปนเรื่องที่ไกลตัว จับตอง ไมได แตกตางจากขาวการสรางเขื่อนหรือสรางบันไดปลาโจนในแมน้ํามูล ที่ มีการตอตานมาก เพราะกระทบกับชีวิตผูคนโดยตรง” บรรณาธิการบริหาร หนังสือพิมพขาวสด กลาว นอกจากนี้ นักขาวสิ่งแวดลอมไมมีประจํา แตจะใชนักขาวจากโตะจเรไป ทําเปนกรณีๆ ไป เพราะขาวสิ่งแวดลอมก็แทรกอยูในขาวอื่นๆ แลว เชน ขาว ทองเที่ยว หรือถาเปนขาวใหญก็ขึ้นหนา 1หรือไมก็ทําเปนสกูป ขณะที่ชวรงค ก็ยอมรับในทํานองใกลเคียงกันวา ขาวสิ่งแวดลอม ถา เสนอเรื่องใกลตัวไป มองไมเห็นปญหาชัดเจนก็ขายไมได นิตยสารสิ่งแวดลอม หลายฉบับที่ตองปดตัวลง ไมใชขาวไมดีหรือนักขาวใชไมได แตขอเท็จจริงคือ ขายไมได “นาเสียดายมาก ที่ประเทศไทยยังไมมีนิตยสารขาวเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ดีๆ ทําใหคนที่จะมาเปนนักขาวสิ่งแวดลอมนอยไปดวย เพราะนักขาวที่จะมา ทําขาวสิ่งแวดลอมตองใจรักจริงๆ” ดาน รตยา จันทรเทียร ประธานมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ที่ผันตัวเอง เมื่อปลาจะกินดาว 10 185
จากผูว า การเคหะแหงชาติ มาทํางานดานสิง่ แวดลอม กลาววา นักขาวสิง่ แวดลอม มีความสําคัญมากในชวงกวา 10 ปที่ผานมา ในหลายสมรภูมิขาว ไมวาจะ เปนการตอตานการสรางเขื่อนปากมูลหรือการเปดโปงความไมชอบธรรมหรือ ฉอฉลของหนวยงานรัฐที่ทํางานดานสิ่งแวดลอม แมวาโดยขอเท็จจริงขาวสิ่ง แวดลอมจะขายไมไดหรืออาจจะมีนักขาวนอยไป เมื่อเทียบกับนักขาวสาย อื่น แตถาไมมีนักขาวสิ่งแวดลอม คอยเปดโปงทําหนาที่อยางมั่นคง เชื่อวาสิ่ง แวดลอมของไทยจะย่ําแยกวานี้ “นักขาวสิ่งแวดลอม คือ ฝายคานที่ทรงพลังที่สุด เทาที่สังเกตมานะ และเมื่อเทียบกับนักขาวสายอื่นๆ นักขาวสิ่งแวดลอม คอนขางทํางานจริงจัง การนอกลูนอกทางเหมือนนักขาวสายอื่นๆ มีนอย ในอดีตที่ผานมากรณี การลาสัตวปาที่ทุงใหญนเรศวร จนเปนที่มาของเหตุการณประวัติศาสตร 14 ตุลาคม 2516 และอีกหลายเหตุการณไมวาการเปดโปงการขยายถนนธนะรัช ต ปากชอง – เขาใหญ ซึ่งเปนเสนทางที่จะขึ้นสูอุทยานแหงชาติเขาใหญ หรือแมแตปญหาที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง จะเปน ปญหาสิ่งแวดลอมที่สําคัญ เนื่องจากเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ และชี วิ ต ของประชาชนที่ สั ง เวยกั บ มลพิ ษ ที่ ถู ก ปล อ ยออกมาจากนิ ค ม อุตสาหกรรมมาบตาพุด นี่แหละจะเปนบทพิสูจนวานักขาวสิ่งแวดลอมคือ ฝายคานที่ทรงพลังที่สุดในสายตาของรัฐบาลที่ตองการพัฒนาประเทศหรือแม กระทั่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ทําหนาที่ปกปองรักษา ทรัพยากรของชาติ” รตยา ระบุ
การปฏิรูประบบราชการและกระทรวงสิ่งแวดลอม การปฎิรูประบบราชการในป 2545 ยุครัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ทําใหเกิดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ทํางานเชื่อมโยง กับนักขาวสิ่งแวดลอมโดยตรง และดูเหมือนการเกิดของกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติฯ จะทําใหมีคําเรียกนักขาวสิ่งแวดลอมชัดเจนขึ้นเหมือนกับนักขาว ประจํากระทรวงตางๆ การเกิดขึน้ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ แนนอนเกีย่ วของและสัมพันธ กับการทํางานของนักขาวสิง่ แวดลอมโดยตรง เพราะโครงสรางของกระทรวงได เมื่อปลาจะกินดาว 10 186
รวบรวมงานดานสิง่ แวดลอม ทัง้ ดานปาไม อุทยานแหงชาติ ทะเลและชายฝง ทรัพยากรน้าํ ทรัพยากรธรณี เปนตน แตดเู หมือนวาภายใตโครงสรางดังกลาว การตอบสนองการพิทักษปกปองทรัพยากรธรรมชาติของประเทศยังไมเปนรูป ธรรมตามทีห่ ลายฝายคาดหวังมากนัก ความเสื่อมของระบบนิเวศนเปนสัญญลักษณอยางหนึ่งของการพัฒนา ทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วของประเทศไทย ที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและตอ เนื่องในหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนการทําลายปา สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ไป มลพิษทางอากาศและน้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม สัตว์น้ําชายฝงที่ลด ลง เปนตน ขณะที่การทํางานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ไมเทาทันตอ การลุกลามของปญหา แถมถูกภาคประชาชนและเอ็นจีโอมองวาเปนสวนหนึ่ง ของปญหาดวยซ้ํา “บทหนักจึงตกอยูกับนักขาวสิ่งแวดลอม ที่ตองขุดคุยเปดโปง เพราะ ขาราชการไมทาํ หนาที”่ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ รองหัวหนาพรรคประชาธิปต ย และอดีตนักเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอม กลาว ไกรศักดิ์ ระบุวา นับตั้งแตมีการกอตั้งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ มา จนปจจุบัน การแกปญหาสิ่งแวดลอมไมไดดีขึ้นเลย ปาไมยังถูกทําลาย ใน หลายๆ พื้นที่การปลูกปาไดกลายเปนเครื่องมือในการทําลายปา และการ ปลูกปาไดกลายเปนการตมตุนหลอกลวง โดยเครือขายทุจริตและการขมขู ซึ่ง โยงใยหนาของรัฐ กลุมผลประโยชนและผูมีอิทธิพลทองถิ่นเขาดวยกัน “ยกตัวอยางในหลายพืน้ ที่ ทีด่ นิ ทีไ่ มมโี ฉนดถูกขายใหกบั กลุม ผลประโยชน ในราคาครึง่ หนึง่ ถึงหนึง่ สวนสามของราคาทีด่ นิ ทีม่ โี ฉนด ยิง่ ไปกวานัน้ ในหลาย กรณีการปลูกปาไดกลายเปนเครือ่ งมือในการทําลายปา เพราะปาดัง้ เดิมนัน้ ใน แงการตลาดไมมมี ลู คาเทากับการปลูกปาในเชิงพาณิชย ทีม่ กี ารนําไมทม่ี มี ลู คา ในเชิงพาณิชย เชน ยูคาลิปตัส ปลูกล้าํ เขาไปในเขตปาและตัดปาทีย่ งั บริสทุ ธิอ์ ยู รวมทัง้ ปาชุมชนดวยหรือบางกรณีนกั ธุรกิจคาไม ก็กลายเปนผูต ดั ตนไมในปา ธรรมชาติเสียเอง โดยจางชาวบานใหถางปาเพื่อที่วาพื้นที่ดังกลาวจะไดถูก จัดสรรใหเปนพืน้ ทีป่ า เสือ่ มโทรมทีเ่ หมาะแกการปลูกไมเชิงพาณิชย ดังนัน้ นัก ขาวสิง่ แวดลอมตองทําหนาทีข่ ดุ คุย มาตีแผใหเห็นถึงความฉอฉล” ไกรศักดิ์ ระบุ เมื่อปลาจะกินดาว 10 187
ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ รองหัวหนาพรรคประชาธิปตย และอดีตนักเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอม
จันทรจิรา พงษราย อดีตนักขาวกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพไทยรัฐ ปจจุบันสังกัดหนังสือพิมพกรุงเทพ ธุรกิจ ซึ่งปฏิบัติหนาที่ชวงรอยตอการเลี่ยนแปลงจากกระทรวงวิทยาศาสตรฯ มาสูก ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กลาววา การเกิดขึน้ ของกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติฯ ทําใหงานดานสิง่ แวดลอมชัดเจนขึน้ นักขาวสิง่ แวดลอมมีตวั ตน ชัดเจน เพราะโครงสรางงานของกระทรวงชัดเจนในเรือ่ งของการอนุรกั ษทรัพยากร ของชาติ โดยเฉพาะตัวรัฐมนตรี เรียกไดวา 5 ใน 8 ปของกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติฯ รัฐมนตรีที่เขามาบริหารประเทศลวนนํากระทรวงเขาไปเกี่ยวพัน กับการเมืองเปนหลักมากกวาจะใหความสําคัญกับปญหาสิ่งแวดลอม “ตั้งแต คุณประพัฒน ปญญาชาติรักษ เปนรัฐมนตรีคนแรก ตอมาถึง คุณยงยุทธ ติยะไพรัช กระทรวงนี้เขาไปเกี่ยวกับการเมืองตลอดขาราชการ บางสวนไมทํางาน แตไปเดินตามนักการเมืองแทน เลนการเมืองตั้งแต ระดับชาติลงมาถึงระดับกระทรวง ทําใหปาไมถูกทําลายมากขึ้น น้ําเสีย มากขึ้น มลพิษก็แย ไมตองพูดถึงการทํางานของนักขาวที่รับรูปญหา แตมัก ไมคอยไดรับความรวมมือในเรื่องขอมูล ทําใหการทํางานยาก เมื่อเทียบกับ กระทรวงอื่นๆ ที่มีขาวคอนขางมาก สามารถเขาถึงแหลงขาวไดงาย แตที่ กระทรวงทรัพย แหลงขาวไมกลา กลัวโดนยาย” จันทรจิรา ระบุ
เมื่อปลาจะกินดาว 10 188
มากทีส่ ดุ และใหญทส่ี ดุ ในภาคอีสาน เปนแมนาํ้ สาขาทีใ่ หญทส่ี ดุ ของแมนาํ้ โขง แตสภาพของแมน้ํามูลปจจุบัน มีการทําลายแหลงที่อยูของปลากวา 1,000 ชนิด กระทรวงทรัพยากรฯ มองเห็นปญหาที่เกิดขึ้นอยางไร” ที่ปรึกษาสมัชชา คนจน ระบุ เขายอมรับวา นักขาวสิ่งแวดลอม ไดทําหนาที่หลายกรณีในการชวย เหลือชาวบานไวมาก แตขึ้นอยูกับจุดยืนของนักขาวคนนั้นๆ ดวย ไมใชทุกคน นั ก ข า วสิ่ ง แวดล อ มหลายคนก็ ยิ น ยอมพร อ มใจไปรั บ ใช นั ก การเมื อ งหรื อ ขาราชการเพื่อผลประโยชนของตัวเองก็มาก
พื้นที่ขาวสิ่งแวดลอม : การตอสูชวงชิง ขาวสิง่ แวดลอม ยังคงไมเปนขาวหลักในหนาหนังสือพิมพหรือไมมหี นา ขาวทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดลอมโดยตรง จะมีกเ็ พียงเปนขาวเฉพาะทีร่ วมอยูก บั ขาว อืน่ ๆ อาทิ ในหนังสือพิมพไทยรัฐ ขาวสิง่ แวดลอมจะอยูร วมกับขาวการศึกษา ขาววิทยาศาสตร ขาวสาธารณสุข เปนตน ขณะทีห่ นังสือพิมพมติชน ขาว สิง่ แวดลอม จะอยูภ ายในหนาชีวติ คุณภาพ ทีม่ ที ง้ั ขาวสาธารณสุข แรงงาน วิทยาศาสตร เปนตน สวนหนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ ขาวสิง่ แวดลอม รวมอยู ในหนาคุณภาพชีวติ ทีม่ ที ง้ั ขาวสาธารณสุข แรงงาน การศึกษา เปนตน ในหนังสือพิมพเดลินิวส ขาวสิ่งแวดลอม รวมอยูกับขาวการเมือง ใน หนังสือพิมพคม ชัด ลึก กับขาวสด ไมมีหนาขาวสิ่งแวดลอม ในหนังสือพิมพทุกฉบับที่วา ขาวสิ่งแวดลอมที่จะขึ้นหนา 1 ไดตองเปน ขาวใหญจริงๆ ถาไมใหญ ไมสําคัญก็แทบจะไมไดลงหรือไมไดลงตีพิมพเลย เพราะตองไปตอสูชวงชิงกับขาวจากหนวยงานอื่นๆ ซึ่งก็สําคัญไมแพกัน สุชิน ติยวัฒน หัวหนาขาวหนา 1 หนังสือพิมพไทยรัฐ กลาววา ขาว สิ่งแวดลอมถือเปนขาวสําคัญเหมือนกับขาวการศึกษา วิทยาศาสตร แตจะ ใหขึ้นหนา 1 ตองเปนเรื่องนาสนใจและมีความสําคัญ อยางกรณีขาวหนา 1 ในหนังสือพิมพไทยรัฐ แตละวันจะมี 8 ขาว หลักสําคัญที่จะทําใหขาวไดลง หนา 1 ก็ตองมีองคประกอบ เชน ตองเปนเรื่องใกลตัว มีประโยชนตอคนหมู มากและสังคมจะไดอะไรจากขาวชิ้นนั้นๆ ที่สําคัญตองขายได ที่ผานมาขาว สิ่งแวดลอมก็ไดขึ้นหนา 1 ไมนอย เพราะปจจุบันสิ่งแวดลอมคอนขางวิกฤต เมื่อปลาจะกินดาว 10 190
ที่สําคัญนักขาวสิ่งแวดลอม ถูกมองจากขาราชการะดับสูงวาเปนพวก เดียวกับเอ็นจีโอและชอบทําขาวเขาขางชาวบาน “นักขาวสิ่งแวดลอมถูกตําหนิมากวามีแหลงขาวเปนเอ็นจีโอ ขณะที่เอ็น จีโอก็บอกวาถาไมมีเอ็นจีโอ นักขาวสิ่งแวดลอมก็ไมไดขาว สวนชาวบานไม นอยก็มองวาการทํางานของนักขาวสิ่งแวดลอม คอนขางเอื้อประโยชนกับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งขึ้นทั้งลอง” จันทรจิรา กลาว ชุติมา นุนมัน ผูสื่อขาวสิ่งแวดลอม จากหนังสือพิมพมติชน ที่ มี ป ระสบการณ ก ารทํ า ข า วตั้ ง แต ง านด า นสิ่ ง แวดล อ มยั ง อยู ที่ ก ระทรวง วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม จนถึงการเกิดขึ้นของกระทรวง ทรัพยากรฯ กลาววา นักขาวสิ่งแวดลอม อาจจะเรียกวาเปนปรปกษหรือคู ขนานกับกระทรวงทรัพยากรฯ เพราะกระทรวงทรัพยากรฯ ทํางานโดยเอาการ เมืองนําดานสิ่งแวดลอม ที่สําคัญขาราชการบางคนในหลายหนวยงานหวาดระแวงตอการทํา หนาที่ของนักขาว กรณีลาสุดที่ตัวเองถูกขึ้นแบล็กลิสตหามเดินทางไปทําขาว ประชุมผูน าํ แมนาํ้ โขง ทีอ่ าํ เภอหัวหิน จ.ประจวบคีรขี นั ธ ดวยเหตุผลทีฟ่ ง ไม ขึน้ ทัง้ ๆ ทีบ่ ทบาทจริงๆ ของกระทรวงคือตองเผยแพรขา วสารดานสิง่ แวดลอม ไมใชจา งใหบริษทั พีอารมาชวยเผยแพร ปญหาสิง่ แวดลอมก็เลยกลายเปนเรือ่ ง ไมสาํ คัญ เพราะทีม่ าของคนใหขา วไมนา เชือ่ ถือ “8 ปของกระทรวงทรัพยในสายตาดิฉัน ถือวาลมเหลว ไมสามารถ จัดการแกปญหาสิ่งแวดลอมได ขาวที่ปรากฏตามหนาสื่อทั้งหลาย มาจาก การสืบเสาะหามาเองของนักขาวแทบทั้งสิ้น” ชุติมา กลาว ขณะที่ บารมี ชัยรัตน ปรึกษาสมัชชาคนจน มองวาบทบาทของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติฯ คือบทบาทของการสมยอมตอการเมือง นายทุน เพราะ ฉะนั้นไมตองแปลกใจที่พื้นที่ปา หรืออุทยานแหงชาติ จะถูกกินเนื้อที่ในนาม ของการบุกรุกเพื่อการพัฒนา ปาหรือน้ําธรรมชาติหรืออาจจะเปนชีวิตของ คนจนคือรายจายเพื่อการพัฒนา เพราะกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ไมได ทําหนาที่ปกปองทรัพยากรธรรมชาติตามบทบาทหนาที่ “ยกตัวอยางงายๆ แมน้ํามูนเปนแมน้ําที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อปลาจะกินดาว 10 189
ขณะที่ประชาชนก็ใหความสนใจเรื่องสิ่งแวดลอมมากขึ้นดวย “ข า วสิ่ ง แวดล อ มจะได รั บ ความสํ า คั ญ หรื อ ไม ขึ้ น อยู กั บ มุ ม มองของ นักขาวและหนังสือพิมพดวย ถามุมมองของนักขาวสิ่งแวดลอมตอปญหา สิ่งแวดลอมมีความคมชัดก็จะสงผลใหขาวสิ่งแวดลอมมีความแหลมคม เมื่อ ขาวมีความแหลมคม หัวหนาขาวหรือหนังสือพิมพ ก็ยากที่จะปฎิเสธขาวชิ้น นั้นๆ หรืออาจจะเรียกไดวา ขาวสิ่งแวดลอมจะไดลงหรือไมไดลง จะเปนขาว หนา 1 หรือไม ขึ้นอยูกับวิธีคิดของนักขาววามองปรากฎการณที่เกิดขึ้นดวย สายตาแบบไหน” ถาประนีประนอมก็เปนขาวเรียบๆ งายๆ แตถาคิดถึงประโยชนของ สังคม ประโยชนชาติ ผลกระทบตอประชาชน ขาวนั้นๆ ก็นาสนใจ เพราะ อยาวาแตขาวสิ่งแวดลอมเลย ขาวศาสนาที่วาไมคอยจะมีอะไร แตถาไป อยูในมือของนักขาวที่เกงๆ ขาวชิ้นนั้นก็จะมีประโยชนมาก” หัวหนาขาว หนา 1 หนังสือพิมพไทยรัฐ ระบุ เชนเดียวกัน ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการบริหารหนังสือพิพมขาวสด ที่ ระบุวา การที่ขาวสิ่งแวดลอมจะไดลงหนา 1 หรือไม หรือแมจะเปนแคขาว เล็กๆ ในหนา แตก็ถือวามีความสําคัญทั้งสิ้น ขึ้นอยูพลังของขาวสารที่ถูกนํา เสนอมากกวา การไมมีหนาสิ่งแวดลอมในหนาหนังสือพิมพ ไมใชเรื่องแปลก เพราะในหนังสือพิมพขาวสด ก็มีการแทรกขาวสิ่งแวดลอมอยูในขาวอื่นๆ เชน ขาวทองเที่ยว ขาวเกษตร หรือนําเสนอเปนสกูป เปนตน แตเมื่อมีเรื่อง สําคัญทางสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพขาวสดก็ไมเคยรีรอหรือลังเลที่จะนํา เสนอดวยขอมูลที่รอบดาน “พืน้ ทีข่ า วสิง่ แวดลอมไมใชเรือ่ งสําคัญ ถาขาวดีจริงๆ ไดลงแนนอน เพราะ ปจจุบนั ประชาชนใหความสนใจเรือ่ งของสิง่ แวดลอมมาก” บรรณาธิการบริหาร หนังสือขาวสด กลาว ขณะที่ กุลธิดา สามะพุทธิ หัวหนาขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพ บางกอกโพสต กลาววา หนังสือพิพมบางกอกโพสต ไมมีหนาขาว สิ่งแวดลอมประจํา แตมีโตะขาวสิ่งแวดลอม มีนักขาว แตขาวสิ่งแวดลอม อยูรวมกับขาวสาธารณสุข ขาวเกษตร ขาวภูมิภาค ฉะนั้นขาวสิ่งแวดลอม เมื่อปลาจะกินดาว 10 191
พยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย
ตองไปชวงชิงกับขาวอื่นๆ เพื่อใหไดนําเสนอ และก็ขึ้นอยูกับการคัดเลือกของ หัวหนาโตะวาจะใหความสําคัญกับขาวสิ่งแวดลอมหรือไม ทีผ่ า นมาในชวง 2 – 3 ป ขาวสิง่ แวดลอม คอนขางไดรบั ความสําคัญได มีการนําเสนอบอยขึน้ สวนขาวหนา 1 ถาเปนขาวสิง่ แวดลอมก็ตอ งเปนขาว แปลกจริงๆ เชน การคนพบสัตวหรือพืชพันธุใ หม แหลงทองเทีย่ วหรืออยาง กรณีของการเกิดปรากฎการณปะการังฟอกขาวในทะเลอันดามัน หรืออาวไทย “อาจเรียกไดวาปญหาสิ่งแวดลอมเขาใกลตัวเรามากขึ้นทุกวัน มีวิกฤต มากขึ้น ขาวสิ่งแวดลอมจึงกลายเปนขาวที่ไดรับความสําคัญมากขึ้น” หัวหนา ขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพบางกอกโพสต กลาว ดาน สิรินาถ สิริสุนทร หัวหนาขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจ กลาววา ขาวสิ่งแวดลอมของหนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ รวม อยูกับขาวสาธารณสุข แรงงาน โดยจะเนนนําเสนอขาวเกี่ยวกับนโยบาย เปนหลัก เนื่องจากเปนหนังสือพิมพเชิงธุรกิจ ขาวสิ่งแวดลอมเปนเพียงองค ประกอบหนึ่ง พื้นที่ขาวจึงไมมากนัก ขาวที่จะไดขึ้นหนา 1 ตองเกี่ยวของกับ ธุรกิจ เชน เรื่องมาบตาพุด หรือโลกรอน สวนเรื่องผลกระทบของชุมชน จะ เปนขาวในหนาหรืออาจเปนสกูป อยางไรก็ตามแมจะเปนขาวในหนา ก็ตอง มีการแขงขันกันในหนาพอสมควร ใชวาทุกขาวจะถูกนําเสนอเสมอไป ตองดู ประเด็นและความสําคัญของขาวดวย
นักขาวสิ่งแวดลอม “พระเอก” หรือ “ผูราย” การทํางานของนักขาวสิ่งแวดลอมอยางที่ไดเกริ่นในตอนตนวาทํางาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 192
เหมือนอยูระหวาง “เขาควาย” ทามกลางความผันผวนของกระแสการเมือง – สิ่งแวดลอม ที่เต็มไปดวยความสลับซับซอน แนนอนนักขาวสิ่งแวดลอมดู จะพยายามทําหนาที่สังเกตการณ วิพากษวิจารณ ติติงเสนอแนะ โดยไมยึด ความเปนฝกฝาย ฉวยโอกาสหรือทําไปเพราะความสะใจหรือความเกลียดชัง ในกระแสธุรกิจสือ่ สารมวลชนทีต่ อ งตอสูก นั อยางดุเดือด ภายใตการแขงขัน การนําเสนอขอมูลขาวสาร บทบาทของนักขาว อุดมการณของสือ่ มวลชน จรรยาบรรณวิชาชีพ ฐานันดร 4 ถูกมองจากสายตาของกลุม คนทีท่ าํ งานใกลชดิ กับนักขาวสิง่ แวดลอมอยางไร พยุงศักดิ์ ชาติสทุ ธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กลาววา นักขาวสิง่ แวดลอม มีความสําคัญในแงการเสนอขาวสารใหขอ มูลกับ สังคม โดยเฉพาะเมือ่ เกิดเหตุการณรา ยๆ หรือรุนแรงขึน้ ก็มกั จะเปนประเด็นที่ ไดรบั ความสนใจ แมขา วนัน้ จะเปนขาวแคขา งเดียว “ตัวอยาง เชน มีระเบิดหรือไฟไหมที่ไหนก็มีการพูดกันไดไปอีก 5-10 ป ขางหนา แตพอมีขาวเกี่ยวกับการพัฒนา การทําเรื่องดีๆ ตางๆ มันเปนเรื่องที่ อธิบายยาก และขาวพวกนี้คนก็ไมคอยอยากอานเพราะวาอานแลวมันยุงยาก และไมนาสนใจ นั่นเปนลักษณะเฉพาะของเรื่องขาวที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ฉะนั้นในการนําเสนอขาวนักขาวจะตองมีความรู ซึ่งหมายถึง เรื่องของ เทคนิคและขอมูลที่เกิดขึ้นจริงๆ” “หลายครัง้ หลายกรณีทข่ี อ มูลในเบือ้ งตนทีเ่ กิดขึน้ มักจะสับสน ทําใหความ เขาใจคลาดเคลือ่ น จนเขาไปอยูใ นความรูส กึ ของคนทัว่ ไป เคยมีนกั สํารวจได สํารวจไววา คนทีไ่ มอยากไดอตุ สาหกรรมเปนยังไง สวนใหญจะเปนคนนอก วงการทัง้ นัน้ ทีจ่ ะใหความเห็นวาอุตสาหกรรมนีม่ นั อันตรายมากนะ รุนแรง มี แตปญ หาเรือ่ งสิง่ แวดลอม แตขอ เท็จจริงวาอุตสาหกรรมในแงดๆี ไมมกี ารนํา เสนอ” พยุงศักดิ์ กลาว เขาบอกวา การนําเสนอขาวสิ่งแวดลอมที่ผานมา มีขอมูลจริงเท็จผสม ปนเปกันอยู ฉะนั้นการนําเสนอขาวไปในทิศทางที่สรางสรรค จะตองมีทัศนะ คติที่ดีตอกัน มีหลายคนในแวดวงนักอนุรักษหรือนักขาวมีคนที่มีความคิดไม เปลี่ยนแปลง ไมรับรู ไมรับฟงอะไรทั้งสิ้น เมื่อปลาจะกินดาว 10 193
“จะพูดอะไรยังไงเหตุผลยังไงฉันไมรับฟง ตอตานอยางเดียว ฉะนั้นจะ ตองจะมีความรู มีทัศนคติที่ดีตอกัน จะตองมีพื้นฐาน นักขาวดานสิ่งแวดลอม ทํางานยากกวานักขาวดานอื่นๆ เพราะในแงสิ่งแวดลอมมันมีสารอะไรตางๆ ที่มีอันตราย มีขอมูลปลีกยอยลงไป หลายคนเขาใจยาก เพราะเปนเรื่องทาง เทคนิค หลายเรื่องมีความซับซอน คนอานจะเขาใจยาก การเขียนขาวเขียน ดวยเนื้อที่จํากัดมันไมสามารถที่จะอธิบายอะไรได” “ในแงผูสื่อขาวที่ทําขาวสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในหลายๆ กรณีมีความ เขาใจที่อาจจะคลาดเคลื่อนยังเขาใจไมถูกตอง เชน กรณีมาบตาพุด มีหลาย ครั้งที่บอกใหเขาไปดูในโรงงานวามันมีอะไร หลายคนไมคิดวาจะมีการบริหาร จัดการที่ดี มีการดูแลดี แมแตเรื่องสารระเหยเราก็มีการปองกันอยางดี เพราะ ในแงอุตสาหกรรมก็มีแนวทาง เคยนําเสนออุตสาหกรรมในเชิงนิเวศน และ เรื่อง ECO Town แตพอมันถูกปฏิเสธโดยไมมีการไปหาขอเท็จจริงก็ทํางานกัน ลําบาก” พยุงศักดิ์ กลาว ขณะที่ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ ระบุวา นักขาวสิ่งแวดลอมจําเปนอยาง ยิ่งที่จะตองมีวิธีคิดและหลักการ ใชความรูของตัวเองในการทําหนาที่ ไมใช แครายงานขาวการโยกยายขาราชการ หรือ การตัดไมทําลายปา แตปญหา สิ่งแวดลอมใหญเชื่อมโยงไปถึงระหวางประเทศ เชน ระหวางชายแดนไทยกับ กัมพูชาที่จะมีการตัดถนนเพื่อลําเลียงไมเขามา เปนตน “นักขาวสิ่งแวดลอมตองเขาใจหลายๆ อยางมากขึ้น ไมไดมีหนาที่มานั่ง ทําในเรื่องปา เรื่องปาชายเลนหรือภูเขา อยางเรื่องมาบตาพุดก็ตองมีความรู ในดานเทคนิค เชน รูผลที่จะมาจากสารเคมีบางชนิดกระทบตอกายภาพของ มนุษยอยางไร ตอชุมชนอยางไร” “ขณะเดียวกันผมขอประธานสภาอุตสาหกรรมวาอยามองเอ็นจีโอวา มันหัวดื้อ หรือนักขาวมันหัวรั้น ไมใช มันมีไมกี่คนในโลกนี้ ในสังคมไทย มี นักขาวและเอ็นจีโอไมกี่คนจริงๆ ที่จะทํางานในเรื่องนี้ และเสียสละในเรื่องนี้ เพราะรายไดก็ไมมาก แตตองเสี่ยงสูง” ไกรศักดิ์ ระบุ ศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธสิ บื นาคะเสถียร กลาววา นักขาวสิง่ แวดลอมเปนพันธมิตรทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของเอ็นจีโอดานสิง่ แวดลอม เพราะเอ็นจีโอ เมื่อปลาจะกินดาว 10 194
สิ่งแวดลอมยังไมมีเครื่องมือในการทํางานเลย ถาไมมีนักขาวสิ่งแวดลอม การ เคลื่อนไหวเพื่อปกปองสิ่งแวดลอมหรือปกปองสิทธิชุมชนจะไมมีพลังถานัก ขาวสิ่งแวดลอมไมเอาดวย “ดังนัน้ นักขาวสิง่ แวดลอมสําคัญทีส่ ดุ และถาถามวานักขาวสิง่ แวดลอม ปจจุบนั มีนาํ้ ยาแคไหน คือตองลองมองสํารวจตรวจสอบตัวเองวาเขาไปตรวจ สอบเพือ่ ใหสงั คมรับรูห รือหยุดโครงการทีส่ ง ผลกระทบตอสงแวดลอมไดแคไหน ในทัศนะผมมองวา นักขาวสิง่ แวดลอมมีบทบาทเปนพระเอกมาโดยตลอด ใน การถวงดุลการพัฒนาทีไ่ มเห็นหัวชาวบาน ขณะทีข่ า วสิง่ แวดลอมหลายชิน้ มี ผลมากตอการหยุดโฉนดของอุตสาหกรรมตางๆ ทีท่ าํ ลายสิง่ แวดลอม ซึง่ บางที ประเด็นตางๆ ชุมชนไมมสี ทิ ธิจะเขาไปยุง เกีย่ ว แตนกั ขาวสิง่ แวดลอมไปขุดคุย ลงไปในพืน้ ทีข่ า วกระจายออกไปทําใหสง ผลตอผูม อี าํ นาจพอสมควร” “นักขาวสิง่ แวดลอมถือเปนปากเปนเสียงแทนสัตวปา แทนปาไม แทน สิ่งแวดลอม หลายโครงการที่นักขาวสิ่งแวดลอมสามารถหยุดได ผมถือวา คุณเปนพระเอกนะ แตทผ่ี มพบมากทีส่ ดุ คือ พลังนักขาวสิง่ แวดลอมมีเฉพาะ นักขาวสวนกลาง สวนนักขาวตางจังหวัดในพืน้ ที่ ไมสามารถหยิบจับประเด็น ขาวสิง่ แวดลอมไดเลย” “ที่ผานมาเราพบวานักขาวสิ่งแวดลอมภูมิภาคหลายแหงมีความสัมพันธ เชื่อมโยงกับกลุมนายทุนภาคอุตสาหกรรมหรือภาคที่ทําใหเกิดปญหา บาง ครั้งยังเปนตัวยุใหเอ็นจีโอไปประทวงและนักขาวก็ไปรับซอง ดังนั้น ตัวนักขาว ตองสะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการทํางานของนักขาวสิ่งแวดลอมใน ทองถิ่นดวย” “ผมอยู ว งการนี้ม าหลายปก็ยังเห็นวานัก ข า วสิ่ ง แวดล อมยั ง เป นกลุ ม นักขาวที่เชื่อมั่นไดวายังอยูเคียงขางคูสังคม นักขาวบางคนผมไมรูจัก แต ดูจากการนําเสนอขาวมันจะมีอยู 2 ฝาย 2 ดานเสมอ นักขาวสิ่งแวดลอม 80-90% ผมคิดวามีความเปนกลาง ยังอยูเคียงขางชุมชน อยูขางผูเสียเปรียบ อยูขางธรรมชาติ” “แตอนาคตไมแน เพราะในทางการเมือง เมื่อกอนผูที่ตอสูเพื่อคนยาก คนจนก็อยูฝายเดียวกัน แตปจจุบันมันแยกกลุมกันอยู เอ็นจีโอก็เหมือนกัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 195
พอหลังจัดตั้งชุมชนเพื่อจะทวงติงกันในเรื่องการพัฒนาที่ผิดแนวทาง ปจจุบัน เมื่อสังคมมีการพัฒนา เอ็นจีโอบางคนก็เขาไปเปนฝายประชาสัมพันธใหกับ ฝายตรงกันขาม วันนี้ตอนนี้ภาพของนักขาวสิ่งแวดลอมยังอยูเคียงขางความ ถูกตองในสังคมพัฒนาอยูคือมันเปนพระเอกในดานเดียว” “ขณะเดียวกันมันก็พรอมจะเปนผูรายไดเสมอสําหรับผูดอยโอกาสหรือ ผูเสียเปรียบ ดังนั้นนักขาวสิ่งแวดลอมยังเปนคนที่ชวยไดมาก แตไมคอยเปน พระเอกหรือนางเอก บางครั้งจะอยูตรงสวนกลางไปหนอย แตถาในอนาคต ทางฝายที่เขาเสียผลประโยชน ลุกขึ้นมาตอสู เขามีนักขาวสิ่งแวดลอมอยู ขางๆ คอยแกไขหรือแกตางให มันก็ไมแนวาตอไปมันจะเกิดอะไรขึ้นในสังคม ขาวสิ่งแวดลอม และสิ่งแวดลอมในบานเมืองเรา” เลขาธิการมูลนิธิสืบ ระบุ
เมื่อปลาจะกินดาว 10 196
บรรณานุกรม สัมภาษณ ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพขาวสด รัฐกร อัสดรธีรยุทธ ประธานบริหารหนังสือพิมพดอกเบี้ย ผาสุข พงษไพจิตร อาจารยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชวรงค ลิมปปทมปาณี หัวหนาศูนยขอมูลหนังสือพิมพ ไทยรัฐ และผูอํานวยการบริหาร สถาบันอิศรา รตยา จันทรเทียร ประธานมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ รองหัวหนาพรรคประชาธิปตยและอดีต นักเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอม จันทรจิรา พงษราย อดีตนักขาวกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพไทยรัฐ ชุติมา นุนมัน ผูสื่อขาวสิ่งแวดลอม จากหนังสือพิมพมติชน บารมี ชัยรัตน ปรึกษาสมัชชาคนจน สุชิน ติยวัฒน หัวหนาขาวหนา 1 หนังสือพิมพไทยรัฐ กุลธิดา สามะพุทธิ หัวหนาขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพ บางกอกโพสต สิรินาถ สิริสุนทร หัวหนาขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจ พยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย ศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร สัมมนาเรื่อง “บทบาทนักขาวสิ่งแวดลอม พระเอกหรือผูรายในสังคมพัฒนา” วันที่ 6 กรกฎาคม 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม
เมื่อปลาจะกินดาว 10 197
2 นักอนุรักษตนแบบ บนเสนทางที่บรรจบกัน ธเนศน นุนมัน หนังสือพิมพโพสตทูเดย
เมื่อปลาจะกินดาว 10 198
เมื่อ “สถาปนิก” หรือนักออกแบบวางแผนการกอสรางไดรับ มอบหมายใหรังสรรคงานสถาปตยกรรมใดๆ ก็ตาม สิ่งที่ตองใหความสําคัญ เปนลําดับตนๆ กับผลงานทุกชิ้นก็คือ ความสวยงาม สงางาม ตอมาคือ ประโยชนใชสอย และความพึงพอใจของเจาของสถานที่ ทวา กอนจะได มาซึ่งสิ่งที่กลาวมา พวกเขาตองวาดภาพขึ้นในอากาศ วากันวาสายตาของ สถาปนิกจะคนหาจุดสมดุลทุกจุดที่เริ่มตนดวยจินตนาการ กอนจะออกแบบ ขึ้นตามนั้น กระทั่งกอรูปเปนผลงานที่มีความสมดุล ลงตัว ตั้งแตเสาตนแรก จนถึงตะปูตัวสุดทาย ขณะที่ “วิศวกร” ซึ่งมีหนาที่ศึกษา วิเคราะห คํานวณ ออกแบบ และ ควบคุมการผลิตทั้งระบบ โดยเฉพาะในเชิงโครงสรางซึ่งตองมีความแมนยํา ชัดเจน และขจัดปจจัยที่จะกอใหเกิดขอผิดพลาดออกไปใหหมด หากพบขอ ผิดพลาดตองสามารถตรวจสอบและแกไขปญหานั้นไดอยางตรงจุด แมเปาหมายหมายของทัง้ สองอาชีพจะเปนเรือ่ งใดหรือสิง่ ใดก็ตาม สิง่ หนึง่ ที่ยากจะปฏิเสธก็คือ ภารกิจหนาที่ที่ตองมีความเชื่อมโยงเกี่ยวพันกับการใช ทรัพยากรธรรมชาติโดยตรง ซึ่งหมายถึงตองดึงทรัพยากรที่มีอยูนั้นมาแปร เปนชิ้นงาน เปลี่ยนกอนดิน กอนหิน เม็ดทราย ตนไม ใหกลายเปนวัสดุสิ่งของ ที่สามารถตอบสนองความตองการดานตางๆ ของมนุษยได เมื่อปลาจะกินดาว 10 199
อีกดานหนึ่งหากมีการใชสอยทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอยไรขีด จํากัด ไมมีการวางแผนในการใชทรัพยากรเหลานั้นใหเกิดประโยชน และ คุณคาสูงสุด จนกลายเปนการรุกรานหรือตักตวงประโยชนจากธรรมชาติจน เกินพอดี ผลที่ตามมายอมทําใหขาดความสมดุลและสงผลกระทบดานอื่นๆ ตามมาเปนลูกโซ แนนอนที่สุด ทั้งสองอาชีพนี้ไมอาจหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธความรับผิดชอบ อันเกิดจากภาระหนาที่ของตนเองได จึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองสรางความมี สวนรวมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตั้งแตจุดเล็กๆ ไปจนถึงเรื่องใหญที่ สงผลกระทบในวงกวาง งานของสถาปนิก อาจหมายถึงงานออกแบบสรางบานที่เพรียบพรอมไป ดวยความสวยงาม ทันสมัย และนาอยู ขณะเดียวกันก็สามารถออกแบบให มีระบบจัดการพลังงานได โดยแทบจะไมตองพึ่งพาพลังงานอื่นๆ นอกเหนือ จากที่มีอยูในธรรมชาติเลย แมกระทั่งงานออกแบบสรางตึกสูงระฟาหลาย สิบชั้น ก็ยังพอมีวิธีการในการออกแบบโดยมิใหแปลกแยกและอยูรวมกับสิ่ง แวดลอมได วิศวกรก็เชนกัน หากสามารถควบคุมการออกแบบกอสรางดวยการเติม ความเอาใจใสตอ สิง่ แวดลอมสักนิด เชน การคิดคนกลไกภายในของเครือ่ งยนต ใหมีสวนในการลดการใชพลังงาน หรือคนหาวิธีที่จะลดการปลอยมลพิษ จากเครื่องยนต ก็นับไดวาเปนการแสดงความรับผิดชอบอยางหนึ่งของอาชีพ วิศวกร หากไมมัวแตคํานึงถึงการเก็บเกี่ยวผลกําไรทางธุรกิจมากจนเกินไป อาจ ทําใหมีบางหวงเวลาที่พอจะไดหวนกลับมามองถึงการใชทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมดวยความตระหนักรูมากขึ้น หากเปรียบเทียบเสนทางของอาชีพสถาปนิกและวิศวกรเปนเหมือนเสน ทางที่ลากมาบรรจบกันในนามของการพัฒนา นํามาซึ่งสิ่งกอสรางและตึก รามที่ผุดขึ้นใหเห็นอยูทั่วทุกมุมเมือง พรอมจะเปลี่ยนผืนโลกใหเปนเมือง คอนกรีต จะมีบางหรือไมที่จะมีบุคลากรบางคนจากทั้งสองอาชีพที่ยอนเสน ทางสวนกลับไปอีกดานหนึ่ง ดวยการหยุดยั้งหรือพยายามทําในสิ่งที่ตรงขาม เมื่อปลาจะกินดาว 10 200
สถาปนิกของผืนปา หลายคนอาจรูจักชื่อ รตยา จันทรเทียร จากตําแหนงประธานมูลนิธิ สืบ นาคะเสถียร จากหลากหลายสื่อ แตนอยคนที่จะรูวารตยาเคยสวม หมวกอีกใบหนึ่งในบทบาทของสถาปนิก รตยาเรียนจบสาขาสถาปตยกรรมศาสตร จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สิ่งที่นาสนใจอยางยิ่งก็คือ เหตุใดสถาปนิกอยางอาจารยจากรั้วจามจุรีจึงเบน เข็มมาทํางานอนุรักษอยางเอาจริงเอาจัง อาจเปนเพราะสัญชาตญาณของสถาปนิกที่เฝามองและสังเกตการณถึง ความเปลี่ยนแปลงของผืนปามาโดยตลอด จึงเปนที่มาของฉายา “นางสิงห เฝาปาตะวันตก” ที่หลายคนยกยองขนานนามให เมื่ อ มี โอกาสได นั่ ง คุ ย ถึ ง ประเด็ นที่ ว า ด ว ยจิ ต วิ ญ ญาณของสถาปนิ ก รตยาเริ่มตนเกริ่นใหฟงวา อันที่จริงแลวสถาปตยนั้นเปนศาสตรที่ครอบคลุม ประกอบดวยทางเลือกที่คอนขางหลากหลาย ขึ้นอยูกับสิ่งที่สถาปนิกคนนั้น สนใจหรือใหความสําคัญ โดยสวนตัวรตยาสนใจในเรื่องของการออกแบบ บานใหกลมกลืนหรือเขากับสิ่งแวดลอมมาโดยตลอด เชน การสรางบานโดย อาศัยหลักการพึ่งพิงธรรมชาติ การคํานวณทิศทางของแสง การลดอุณหภูมิ สิ่งกอสรางดวยการปลูกตนไมเพื่อใหรมเงา ซึ่งตองใสใจในทุกรายละเอียด ของการออกแบบ โลกทัศนในวัยเยาวของรตยา เติบโตขึ้นมาพรอมกับสภาพแวดลอม แบบชนบทที่ยังคอนขางอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะที่ จ.จันทบุรีซึ่งเปนบาน เกิดนั้น เธอยังจดจําไดดีและมีภาพความทรงจําที่แจมชัด ไมวาจะเปนภาพ ของภูมิประเทศที่รมรื่น รายรอบไปดวยธรรมชาติที่สะอาดบริสุทธิ์ เห็นความ สมบูรณของแมกไมพนั ธุไ มนานาชนิด แนนอนทีส่ ดุ เมืองจันทบุรใี นความทรงจํา ของรตนาก็คือผืนปาดีๆ นี่เอง “จําไดวาบานอยูไกลจากตลาดเมืองจันทรประมาณ 6 กิโลเมตร ตอน นั้นมีรถผานหนาบานวันละแคเที่ยวเดียวเทานั้น ถาพลาดหรือไมทันรถแลว จะเขาไปธุระในตลาดแตละครั้งตองเดิน สมัยนั้นสองขางทางไมมีรานคา ไมมี อะไรขาย ระหวางเสนทางทีเ่ ดิน เกิดหิวขึน้ มาก็อาศัยเก็บลูกไมขา งทางทีม่ ี ใหกิน เมื่อปลาจะกินดาว 10 201
ตลอดเสนทาง และอีกภาพหนึ่งที่จําไดแมนคือ จะมีดอกไมสวยๆ พวกดอก บานบุรีตามหัวสะพาน ทางเดินจะมีรมไมปกคลุมตลอด พื้นถนนเปนทราย ถาถอดรองเทาเดินจะรูสึกเย็น เรียกไดวาอยูในสิ่งแวดลอมที่เปนธรรมชาติมา โดยตลอด แคเดินไปหนาบาน ทอดสายออกไปก็เห็นภูเขาอยูเบื้องหนา...” เธอเลา ในสมัยวัยเด็ก รตยายังชอบขีดๆ เขียนๆ เมื่อเห็นสิ่งที่อยูรายรอบตัวก็ มักบันทึกไวทั้งในรูปแบบของตัวหนังสือและวาดเปนภาพสเกตช ซึ่งในสมัย นั้นหากผูใหญเห็นแววของเด็กที่ชอบขีดๆ เขียนๆ ก็จะสงเสริมวาควรไปเรียน ตอดานสถาปตย หลังจากนั้นก็เปนแรงบันดาลใจใหเธอมุงหนาสูเสนทางสาย นี้อยางเต็มตัว หลังจากเรียนจบ รตยาก็เริ่มทํางานตามสายงานที่ร่ําเรียนมาทันที โดย เขาทํางานที่สํานักงานอาคารสงเคราะห กรมประชาสงเคราะห 2 ป จาก นั้นก็เปลี่ยนสายงานไปเปนอาจารยสอนแผนกชางกอสราง วิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพ หรือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ในปจจุบัน แตสอน ไดเพียงระยะหนึ่ง ก็ทราบขาวดีวาตัวเองไดทุนฟูลไบรท ตองเดินทางไปศึกษา เมื่อปลาจะกินดาว 10 202
ตอระดับปริญญาโทดานสถาปตยกรรมเขตรอนที่ Pratt Institute นิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังกลับจากอเมริกา นักเรียนนอกหมาดๆ ไมเคยคิดที่กระโจนเขาสู วงการสถาปนิกเพื่อสรางเนื้อสรางตัวเหมือนเพื่อนรวมอาชีพคนอื่นๆ แมวา ดีกรีนักเรียนนอกจะมีสวนอยางยิ่งที่จะชวยผลักดันใหมีโอกาสไดงานดีๆ เงิน เดือนสูงๆ แตอาจารยรตยากลับเลือกที่จะมาสอนหนังสือตออีกระยะหนึ่ง กอนตัดสินใจเขาทํางานกับ วทัญู ณ ถลาง ผูอํานวยการศูนยวิจัยและ พัฒนาการกอสรางแหงชาติ ในขณะนั้น ณ ที่ทํางานใหมแหงนี้ แมจะเปนงานที่ไดกลองมากกวาไดเงิน มีเกียรติ และศักดิ์ศรีมากกวารายไดคาตอบแทน แตรตยาก็ยืนยันวา ที่แหงนี้มีสวน อยางยิ่งที่ชวยบมเพาะประสบการณใหเธอไดเรียนรู ซึบซับ และเขาใจถึง ความสําคัญระหวาง “คนกับสถานที่” และยังไดเก็บเกี่ยวความความรูจาก ประสบการณตรง “ตัวอยางงานชิ้นแรกๆ ที่ทํา เริ่มตั้งแตถวายความรูใหแกพระสงฆวา ควร จะดูแลบูรณะวัดอยางไร หรือการอนุรักษพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร เชน การวาง กติกาไมใหมีการกอสรางอาคารสูง หรืออยางงานดานสวนสาธารณะ ก็เปน ผูที่ใหความคิดและแนะนําใหเปลี่ยนโฉมสวนจตุจักรเปนสวนสาธารณะ จาก เดิมเคยเปนสถานที่ทิ้งขยะ รวมไปถึงงานบูรณะสถานที่สําคัญและเกาแกทาง ประวัติศาสตร เชน งานบูรณะหอไตรวัดระฆัง เปนตน” ตอมา รตยากาวขึ้นมารับหนาเลขานุการศูนยวิจัยและพัฒนาการ กอสรางแหงชาติ ซึ่งรตยาเรียกเอาเองวาเปนงานเสมียน ซึ่งจะตองจดทุกราย ละเอียดที่จําเปนสําหรับงานทุกเรื่อง กอนจะขยับไปสูงานอื่นๆ กระทั่งเขาไปมี สวนในการดูแลสิ่งแวดลอมในที่สุด
มิสเตอรไบซิเคิล นักวิชาการดานสิ่งแวดลอมคนสําคัญ ผูกอตั้งชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพ แหงประเทศไทย ใชเวลากวา 20 ป เพื่อรวมบุกเบิก ริเริ่มความคิด ในการ ปลุกใหคนหันมาใชจักรยานเดินทาง เพื่อลดปญหาภาวะมลพิษทางอากาศ ชื่นชอบและหลงใหลการปนจักรยานเปนชีวิตจิตใจ เมื่อปลาจะกินดาว 10 203
แมฉายาซึง่ เปนทีร่ จู กั ในหมูเ พือ่ น นัก วิชาการ เอ็นจีโอ สื่อมวลชนสายสิ่ง แวดลอม และแนนอนที่สุด แนวรวมนัก ปนจักรยานเพื่อสิ่งแวดลอม ซึ่งเรียกขาน เขาผูนี้วา “มิสเตอรไบซิเคิล” จะเปนเพียง เสี้ ย วเดี ย วของกิ จ วั ต รด า นสิ่ ง แวดล อ ม แต ก็ ช ว ยยื น ยั นจุ ด มุ ง หมายและจุ ด ยื น ของวิศวกรผูนี้ไดเปนอยางดี ยังไมนับชื่อ ตําแหนงทางวิชาการดานสิ่งแวดลอมที่ พวงทายอีกมากมาย ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีตประธานชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพ แหงประเทศไทย กลาวออกตัววา ฉายามิสเตอรไบซิเคิลที่เขาไดรับมานั้น แมจะกลบภาพลักษณของความเปนนักวิชาการผูเชี่ยวชาญดานสิ่งแวดลอม ไปเกือบหมด แตก็นับเปนสวนสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหหลายคนรูจัก และ จดจําไดงาย “ผมเคยคุยกับคุณมีชัย วีระไวทยะ อดีตรัฐมนตรีประจําสํานักนายก รัฐมนตรีวา ผมอยากจะเปลี่ยนภาพพจนของตัวเองใหสังคมเห็นวา ผมเปน โปรเฟสเซอรทางดานสิ่งแวดลอม เพราะทุกวันนี้คนสวนใหญรูจักผมในนาม ของมิสเตอรไบซิเคิลมากกวา แตคุณมีชัยกลับบอกผมวา อยาเปลี่ยนเลย เปน มิสเตอรไบซิเคิลนี่แหละดีแลว เพราะเปนเอกลักษณและเปนตัวนําเสนอไดดี ทุกอยางมันอยูที่สิ่งที่เรากระทําตางหาก” “สมัยนี้ใครๆ ก็เขาใจคําวา SD หรือ Success able Development หรือการ พัฒนาอยางยั่งยืนมากขึ้น เขาใจวามันมี 3 ขา คือ เศรษฐศาสตร สิ่งแวดลอม และสังคม ผมพยายามจะมองทั้ง 3 ขา ไมมองดานใดดานหนึ่ง เพราะฉะนั้น จึงตองมีการถวงดุลกัน ซึ่งมันก็ไมใชเรื่องงาย เพราะดุลของแตละคนก็ไมเทา กัน แตผมจะพยายามไมไปขางใดขางหนึ่งมากจนเกินไป เพราะมันจะทําใหมี ปญหาอยางอื่นตามมา” เขาบอก นั่นคือมุมมองที่มีตองานดานสิ่งแวดลอมสําหรับธงชัยที่ตองประคองให เมื่อปลาจะกินดาว 10 204
หลักการทั้ง 3 ดาน เดินควบคูกันไปไดอยางสมดุล เขาบอกอีกวา วิกฤตการณ ดานสิ่งแวดลอมในปจจุบันสงผลใหผูคนในทุกอาชีพตางตระหนักถึงปญหาที่ เกิดขึ้นทั่วโลก ทั้งวิศวกรและสถาปนิกเองจึงไมอาจหลีกเลี่ยงความจริงขอนี้ได โดยทั้งสองอาชีพจําเปนตองมีความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและผลกระทบ ที่ที่มีตอสังคมมากขึ้น “สมัยนีว้ ศิ วกรตองมีตาํ แหนงทีด่ แู ลเรือ่ งสิง่ แวดลอมโดยเฉพาะ แมกระทัง่ สภาวิศวกรที่ดูแลวิศวกรทั่วประเทศก็ใสใจเรื่องนี้ ทําใหวิศวกรรุใหมๆ ตองมี ความสนใจเรื่องสิ่งแวดลอมมากขึ้น ไมวาจะถูกบังคับหรืออยางไรก็ตาม ขณะ เดียวกันนักธุรกิจ ผูประกอบการ ก็สนใจเรื่องสิ่งแวดลอมมากขึ้นดวย จึงได เกิดกระบวนการที่เรียกวาซีเอสอาร หรือบรรษัทบริบาล ที่ดําเนินกิจกรรม ภายในและภายนอกองคกรโดยคํานึงถึงผลกระทบตอสังคมทุกระดับ มีการใช ทรัพยากรโดยไมใหกระทบตอสังคม” เขากลาว อาจารยธงชัย มองวา ศาสตรดานสิ่งแวดลอมในทุกวันนี้ไดขยายขอบเขต ไปมากขึ้น กระทั่งมีการบัญญัติขอกฎหมายที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม มีการ กําหนดเนื้อหาและความหลากหลายของหลักวิชาการมากขึ้น อยางไรก็ตาม คนที่เรียนดานวิศวกรรมสิ่งแวดลอมอาจไมจําเปนตองเปนนักสิ่งแวดลอม สวนคนที่เรียนเศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอมก็อาจไมเปนนักสิ่งแวดลอมเชนกัน ฉะนั้น ผูที่สมัครใจเขามาทํางานดานสิ่งแวดลอมอยางเอาจริงเอาจัง จึงนา จะเกี่ยวของกับเรื่องของอุดมการณหรือความชอบสวนตัวเปนปจจัยหลัก มากกวา ดร.ธงชัย อธิบายเพิ่มวา สาเหตุที่ทําใหเขากาวเทาเขามายืนอยู ณ จุด นี้ เปนเพราะความชอบและความสนใจเปนการสวนตัว เพราะหากพินิจ พิเคราะหไปแลว แมบางคนจะมีหนาที่ดูแลดานสิ่งแวดลอม แตหลังหมด ภาระหนาที่จากการงานประจําวันลงแลว ก็อาจจะใชชีวิตหรือปฏิบัติตัวไป คนละทางกับงานประจําก็เปนไปไดเชนกัน สิ่งที่เปนปจจัยเรงเราใหเขาหันมาสนใจและชื่นชอบงานดานสิ่งแวดลอม จึงเปนอยางอื่นไปไมไดนอกเสียจากจิตสํานึกและความตระหนักตอปญหา วิกฤตการณสิ่งแวดลอมที่กําลังเกิดขึ้นอยูตรงหนา และอีกสวนหนึ่งก็คือการ เมื่อปลาจะกินดาว 10 205
ถูกบมเพาะดวยวิถีชีวิตในวัยเยาวที่ใกลชิดผูกพันอยูกับธรรมชาติ “คงเปนเรื่องยากที่จะบอกไดวา ความชอบในเรื่องนี้เริ่มตนตรงจุดไหน ทําไมถึงชอบเรื่องสิ่งแวดลอม ซึ่งผมก็ยังไมแนใจนักวาเปนเพราะตัวเองชอบ หรือเปนอิทธิพลของโรงเรียน เพราะหากยอนกลับไปตั้งแตสมัยกอนเขาเรียน ตอนนั้นจําไดวา บานของผมแมจะอยูในกรุงเทพฯ แตถัดออกไปไมไกลใน ละแวกนั้นก็ยังเปนทุงนา ยังพอมีปาใหเห็น มีบึงใหไปจับปลากัด จับจิ้งหรีด ตอนที่ยังเปนเด็กผมเคยนั่งดูมดไดเปนชั่วโมงๆ ไมรูเหมือนกันวามีอะไรดลใจ ใหทําอยางนั้น อานเจอตอนหลังวานักวิทยาศาสตรดังๆ ก็เคยทําอะไรทํานอง นี้ (หัวเราะ) จนกระทั่งมาเปนนักเรียนประจําที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชา ก็ ตั้งหนาตั้งตาเรียนหนังสือเหมือนเด็กทั่วๆ ไป” “สําหรับชีวิตวัยเด็ก ในสายตาของผมมองวา จักรยานเปนพาหนะที่ ทําใหเราทองโลกไดกวาง สมัยนั้นจักรยานเปนสิ่งฟุมเฟอย ผมจึงไมมีเปน ของตัวเอง แตมักไปยืมจักรยานคนขางบาน โดยที่เขาไมรูวาผมเปนคนยืม ไป (หัวเราะ) ชวงที่ผมเริ่มโตขึ้นก็พบวาจักรยานเปนพาหนะที่สามารถพา เราไปในที่ไกลๆ ได ใชจักรยานไปเที่ยวได เปลี่ยนจากที่ตองวิ่งซนไปไกลๆ มาใชจักรยานแทน ก็ทําใหไปเลนซนไดไกลขึ้น นี่แหละที่เปนที่มาที่ไปของ ความชอบจักรยาน” เขายังจําไดแมนวา ทุกๆ วันอาทิตย ครูจะปลอยใหออกไปนอกรั้ว โรงเรียน ใหไปเดินเที่ยวตลาดหรือไปเที่ยวทะเล สัปดาหตอมาก็ไปตลาด หรือภูเขา หรือไมก็อยูที่โรงเรียน นั่งอานหนังสือ สลับกันอยูอยางนี้ ก็เลย ฝงอยูในวิธีคิดวา นั่นคือสิ่งที่เราตองรักษาและหวงแหนไว
สถาปนิกชุมชน สิ่งที่รตยาใหความสําคัญเปนพิเศษตลอดมาตั้งแตเริ่มงานสถาปตย คือ 3 หัวใจหลักที่ตองอยูอยางสอดประสานกันหรืออยูรวมกันอยางมีสมดุล นั่น ก็คือ คน-อาคารสถานที่-ธรรมชาติ หากมีสิ่งใดมากกวาหรือเกินสมดุล ยอม หนีไมพนที่จะเกิดปญหาอื่นๆ ตามมา “จริงๆ สมัยเรียน เราเรียนในเรื่องที่ครอบคลุมมาก ตั้งแตโครงสราง ของตนไม รวมถึงรูปรางของพืช ยิ่งกวานั้นตอนที่เรียนอยู อาจารยแสงอรุณ เมื่อปลาจะกินดาว 10 206
รัตกสิกร ทานเปนคนสอนวิชาเอกดานสถาปตย ทานมีแนวคิดสําคัญๆ มากมาย เปนคนบัญญัติศัพทคําวา ทัศนะอุจาด เพื่อใชเรียกมลภาวะทาง สายตา เราเรียนมาก็นั่งฟงเรื่องที่แกสอน หลายเรื่องก็เห็นวาเปนอยางที่แก วามาจนถึงทุกวันนี้ โดยเฉพาะเรื่องฝงเมือง สิ่งกอสราง ที่ถือวาเปนหนา เปนตาของเมือง เพราะฉะนั้นถาพูดถึงงานสถาปตยกรรม สิ่งที่ไดรับการ ปลูกฝงมาตั้งแตแรกก็คือ ตองมองใหออกวาจะกอสรางอะไร ตองมอง เรื่อง สิ่งแวดลอมเปนสวนประกอบสําคัญ แมจะไมไดมีวิชาสิ่งแวดลอมโดยตรง” หลังจากทําหนาที่เลขานุการศูนยวิจัยและพัฒนาการกอสรางแหงชาติ ประมาณ 4 ป รตยาไดเก็บเกี่ยวประสบการณไวมากมาย ทั้งงานประจําและ กิจกรรมนอกเหนือจากหนาที่รับผิดชอบหลักๆ งานสําคัญที่ทาทายประสบการณของอาจารยรตยาในชวงเวลานั้นก็ คือ การแกไขปญหาที่อยูอาศัย รวมทั้งการริเริ่มและประสานงานการจัดตั้ง การเคหะแหงชาติ เพื่อชวยเหลือผูมีรายไดนอยและรายไดปานกลาง ใหมีที่ อยูอาศัยเปนของตนเอง ป 2516 หลังรัฐบาลตั้ง “การเคหะแหงชาติ” ขึ้น รตยาไดเขามามี บทบาทสําคัญในฐานะผูอํานวยการสํานักผูวาการ โดยมีวทัญู ณ ถลาง ดํารงตําแหนงผูวาการการเคหะแหงชาติคนแรก ขณะที่รตยามุงมั่นทํางาน อยางเต็มที่ เพราะเปนสายงานที่คุนเคยและมีความเชี่ยวชาญอยูแลว จนมี ความกาวหนาในการงานและตําแหนงตามลําดับและขวบปที่ผานเลย ระหวางเปนผูอ าํ นวยการนัน้ รตยามีโอกาสสรางผลงานใหเปนทีป่ ระจักษ มากมาย โดยเฉพาะเรือ่ งความสามารถในการจัดการและแสดงวิสยั ทัศนใน การแกปญ หา หลายสิง่ ทีเ่ ธอริเริม่ ระหวางนัน้ ทําใหไดชอ่ื วา เปนหนึง่ ในผูบ กุ เบิก เปนตนธารสําคัญในการสรางความเขมแข็งและเติบโตใหกบั การเคหะแหงชาติ แฟลตการเคหะทีม่ อบโอกาสในชีวติ ใหกบั คนจนจํานวนมากไดมที อ่ี ยูอ าศัย ก็ เกิดขึน้ ในยุคทีร่ ตยาเปนผูอ าํ นวยการนัน่ เอง รตยา เล็งเห็นวา การปรับปรุงชุมชนแออัดและพัฒนาที่อยูอาศัยในชุมชน นั้น จําเปนตองดําเนินการอยางครอบคลุมทุกมิติ ทั้งเรื่องสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การปรับปรุงสิ่งแวดลอม สังคม ชุมชน กอนจะประกอบกัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 207
เปนชีวิตความเปนอยูของพวกเขา กวา 15 ป นับจากวันที่ไดชื่อวาเปนหนึ่งในผูบุกเบิกหลายสิ่งใหการ เคหะฯ ในที่สุดรตยาก็กาวขึ้นสูตําแหนงผูวาการการเคหะแหงชาติ ในป 2531 โดยตลอดชวงเวลาที่อยูในตําแหนงไดริเริ่มโครงการใหมๆ อยางตอเนื่อง ซึ่ง ลวนแตมีสวนแกปญหาคนในชุมชนมากมาย แนวคิดเรื่องการจัดตั้ง “สํานักงานพัฒนาชุมชนเมือง” เปนอีกแนวคิด หนึ่งที่รตยาเปนผูริเริ่ม จนสําเร็จเมื่อป 2535 กลายเปนองคกรที่รวมชุมชน แออัดในเมืองใหมีความเขมแข็ง มีความมั่นคง ในลักษณะเครือขายที่เกื้อกูล กันและกัน ตอมาในป 2543 สํานักงานพัฒนาชุมชนเมืองไดรวมกับกองทุนพัฒนา ชนบทของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และจัดตั้งเปน “สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน” โดยขยายงานครอบคลุมการ พัฒนาชุมชนทั้งเมืองและชนบททั่วประเทศ แนวคิดของอาจารยรตยามีสวนอยางยิ่งในการเปลี่ยนทัศนคติของคนใน ชุมชนเล็กๆ ในเขตเมือง หรือกระทั่งชุมชนแออัดในมุมตางๆ ของกรุงเทพฯ ใหหันมาใสใจในสภาพแวดลอมที่ตนเองอาศัยอยู และรวมมือกันสรางสิ่ง แวดลอมที่ดีใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม ประสบการณระหวางที่รับตําแหนงเปนผูวาการเคหะฯ เปนอีกหนึ่งแรง หนุนที่ทําใหเธอมองเห็นสภาพของเมืองใหญที่เจริญเติบโตอยางไรทิศทาง โดยเชื่อมโยงและสะทอนถึงปญหาเรื่องคนกับความตองการและสิ่งจําเปนใน การดํารงชีวิต ที่กําลังลุกลามเพิ่มขึ้นอยางไมสิ้นสุด และพรอมที่จะขยายตัว ออกไปในนามของการพัฒนา หากไมมีใครเขาไปดูแลหรือจัดการอยางจริงจัง ก็ยอมสุมเสี่ยงที่จะทําใหความสมดุลในทุกพื้นที่ถูกทําลายลง “ทั้งคนรุนปจจุบันและรุนตอๆ ไปจะตองตระหนักถึงความสําคัญของ สิ่งแวดลอมอยางสมําเสมอ โดยสิ่งที่ควรจะดังกองสะทอนอยูในสํานึกของ ทุกคนคือ คน-ชุมชน-สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ตองยึดโยงกัน อยางมีเหตุผล ออนไหวตอผลกระทบซึ่งกันและกัน หากมุงหวังจะใหสังคม มนุษยเขมแข็ง ยอมเลี่ยงไมไดที่ตองใหความสําคัญกับเรื่องการรักษาทรัพยา เมื่อปลาจะกินดาว 10 208
กรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหคงอยูสืบไป สิ่งใดที่นับเปนปาจะแยกออกจาก กันไมได” นั่นคือสิ่งที่อยูในใจของสถาปนิกผูนี้เสมอมาตราบจนกระทั่งวัยยาง 80 ป ในปจจุบัน
วิศวะสิ่งแวดลอม จากประสบการณที่คลุกคลีอยูทั้งแวดวงวิศวกรและสิ่งแวดลอมมานาน เคยเปนอาจารย สอนคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ขณะ ที่งานซึ่งอยูในความรับผิดชอบเรื่อยมา จนกระทั่งถึงปจจุบัน สวนใหญเปน เรื่องของนโยบายดานมลพิษและสิ่งแวดลอมเปนหลัก สิ่งที่ดร.ธงชัย ประสบพบเห็นมาตลอดชวงชีวิตการทํางานนั้น หากไล เรียงลําดับกอนหลังกวาที่จะบมเพาะขึ้นมาเปนตัวตนของเขาในวันนี้ หลาย เรื่องมีความซับซอนเกินกวาจะอธิบายได เห็นไดจากกองเอกสารดานวิชาการ และขอมูลดานวิศวกรรมที่กองพะเนิน ซึ่งเปนแถบขอมูลที่พุงไปคนละทิศละ ทางกับเรื่องสิ่งแวดลอม และเมื่อเวลาผานเลยไปปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นและ สั่งสมอยูตามรายทาง ก็กลายเปนปญหาหมักหมมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ วิศวกรผูนี้จึงตระหนักในที่สุดวา หากเลี่ยงที่จะเขาไปมีสวนรวมคิดหา ทางแกไข หรือปลอยใหปญหาดํารงอยูเชนนี้ตอไปคงยากลําบากมากขึ้น และ การจะปลดล็อคปญหาลงไดตองเริ่มตนจากนโยบายหรือวิสัยทัศนของผูมี อํานาจที่มีสวนสําคัญในการกําหนดชี้ใหวิศวกรปฏิบัติไปตามนั้น “เมื่อกอนวิศวสิ่งแวดลอมไมไดอยูในขอบขายงานควบคุม ไมมีการ กําหนดชัดวาผูเชี่ยวชาญสาขาจะตองเขามารับงานอะไร ดานไหน ใครจะ ทําก็ได โดยหลักการสมัยแรกๆ นั้นวิศวกรสิ่งแวดลอมแทบไมตองรับผิด ชอบตอผลการกระทําของตนเองมาก เชน ถาทําระบบบําบัดน้ําเสียพังแลว คนไมตาย ก็ถือวาไมผิด ซึ่งผมวามันผิดหลักการแลว เพราะถามันไปสราง ปญหาใหน้ําเนาแลว ปลาตาย คนก็ตองไดรับผลกระทบดวย เพราะถา สิ่งแวดลอมเสียหาย คนก็ตาย ไมมีแหลงทํารายได และตายเปนวงกวาง สุดทายผมไดตอสูเรื่องนี้อยูนานถึง 20 ป เพื่อจะผลักดันใหวิศวกรเปน วิชาชีพที่ตองมีหลักการควบคุม” “งานที่ผมทําอยูขณะนี้เปนการประยุกตทางวิศวกรรมศาสตร ซึ่งเปนเรื่อง เมื่อปลาจะกินดาว 10 209
ที่ประชาชนตองเขามามีสวนรวมดวยการเขาไปรับฟงความเห็น ทําประชา พิจารณ กอนหนานี้ผมเคยเปนประธานกรรมการรื้อโครงการโฮปเวลล เคย เปนประธานที่ปรึกษา โรงไฟฟาราชบุรี เปนคณะวิชาการของการทําประชา พิจารณโครงการทอกาซไทย-มาเลเซียที่ อ.จะนะ จ.สงขลา ซึ่งแมปจจุบันไม ไดทําประชาพิจารณกันแลว เพราะเกิดปญหามาก แตผมก็เคยมีสวนรับทราบ เรื่องทั้งหมด” เขากลาว หากอธิบายใหเขาใจงายๆ งานที่ธงชัยทําก็คือ การใชฐานวิชาการดาน วิศวกรรมสิ่งแวดลอมมาตั้งเปนกฎกติกาขึ้น เพื่อไมใหมีผลกระทบตอสิ่ง แวดลอมและมนุษยเอง แลวจึงนํากติกานั้นไปอธิบายทําความเขาใจกับ ประชาชนในพื้นที่วายอมรับหรือไม ตางจากการทําประชาพิจารณที่ตองอิง กับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี “วิศวกรรมสิ่งแวดลอมถือเปนงานวิศวกรรมประเภทหนึ่ง ไมวาจะเกี่ยว ของกับเรื่องน้ําเสีย เรื่องขยะ หรืออะไรก็ตาม ซึ่งจําเปนตองอาศัยความมี จิตวิญญาณดานสิ่งแวดลอมเพื่อที่จะแกปญหามลพิษ แนนอนวาเปาหมาย สุดทายคือจะตองทําใหสิ่งแวดลอมดีขึ้น” เขาบอกอีกวา ในทางกลับกันอาจมีวิศวกรที่ปฏิเสธความรับผิดชอบ หรือไรสํานึกดานสิ่งแวดลอม หรืออาจมีคําถามวา ในการพัฒนาทําไมตอง เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมมาเกี่ยวของ เพราะการพัฒนาตองคํานึงถึงจุดคุม ทุนเปนหลัก และอาจตองยอมแลกกับการสูญเสียอะไรบางอยางไปบาง ซึ่ง ความคิดลักษณะเชนนี้ถือเปนความลาหลังไปแลว “ตอนนี้ เราต อ งทํ า ความเข า ใจกั น ใหม เพราะความเข า ใจเรื่ อ งของ นิ เวศวิ ท ยาขยายวงกว า งออกไปมากขึ้ น ผู ที่ ได ชื่ อ ว า จะเข า มาพั ฒ นาหรื อ เปลี่ยนแปลงตองคิดเรื่องนี้ดวย ผมเองก็ถูกตอวามาเยอะ โดยเฉพาะเรื่อง มาบตาพุด บางครั้งหาวาเขาขางผูประกอบการมากเกินไป ในขณะเดียวกันก็ ถูกผูประกอบการตําหนิวาพยายามจะเขาใจเอ็นจีโอมากเกินไป” สําหรับกรณีขอขัดแยงที่เกิดขึ้นกับนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด บทบาท สําคัญลาสุดของธงชัยคือ การเขารวมเปนกรรมการ 4 ฝาย ซึ่งนับวาเปนโจทย ใหญของประเทศ แตหากคลี่คลายปญหามาบตาพุดลงไดก็แทบจะเรียกไดวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 210
ปญหาอื่นๆ ระดับชาติก็จะแกไดงายลง “ผมไดรับมอบหมายใหเปนประธานคณะอนุกรรมการรับฟงความคิดเห็น ของประชาชน เพื่อปรับปรุงรายการโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผล กระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ในคณะกรรมการ 4 ฝาย ตรงนี้เปนงานที่ไมงายเลย เพราะทั้ง ฝายชาวบานและฝายผูประกอบการก็ยังเขาใจไมตรงกันในหลายประเด็น โดยเฉพาะการกลั่นกรองและคัดเลือกวาโครงการลักษณะใดบางที่เขาขายสง ผลกระทบรุนแรงตอชุมชน” “ดวยความที่เขาใจไมตรงกันนี่เอง ทําใหเกิดการแบงออกเปน 2 ขั้ว ใน ขณะเดียวกัน ถาตองการใหโครงการประเภทใดประเภทหนึ่งถูกระบุอยูใน บัญชีรายชื่อกิจการที่เปนอันตรายตอชุมชน ทั้งสองฝายก็ตองเห็นพองตรง กันดวย ซึ่งหนาที่ของผมคือจะตองรับฟงทั้งสองฝายแลวมาประมวลความ คิดกัน ที่สําคัญเมื่อมีการประกาศวากิจการหรือกิจกรรมใดที่เปนอันตราย ตอชุมชนแลว มันตองปฏิบัติใหไดดวย”
เสียงเพรียกจากพงไพร ศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร บอกวา จากการ ที่ไดรูจักอาจารยรตยามานาน สามารถกลาวไดวา สิ่งที่ไดรับการถายทอด ความรูใหฟงอยูเสมอ ทั้งเรื่องการรักษาปา มุมมองและแนวคิดตางๆ นั้น เปน สิ่งที่กลั่นกรองมาจากทั้งชีวิตของอาจารย ดวยอุปนิสัยละเอียดออน ความ เปนศิลปนและนักวิชาการในตัวคนคนเดียวกัน รวมถึงประสบการณตรงที่ คอยๆ ถูกซึมซับหรือไดพบเจอ ทั้งจากชุมชนเมืองและปา บูรณาการกันขึ้น เปน “นางสิงหเฝาปาตะวันตก” ที่ยังมีพลังปกปองผืนปาและทํางานรวมกับ ผูคนหลากหลายกลุมอยางไมรูจักเหน็ดเหนื่อย ทุกวันนี้ นอกเหนือจากงานประจําที่มูลนิธิสืบฯ ซึ่งอาจารยรตยายังคง เดินทางไปทํางานทุกวันโดยไมรับเงินเดือน อีกกิจกรรมหนึ่งที่ยังปฏิบัติอยาง ตอเนื่อง โดยถือเปนภารกิจประจําอยางนอยเดือนละ 2 ครั้ง ก็คือ การเดินปา ทําไมประธานมูลนิธิสืบฯ ถึงไดหลงใหลชื่นชอบการเดินปาเปนชีวิตจิตใจ ศศิน บอกวา แมจะไดยินไดฟงเหตุผลในความหลงใหลการเดินปาของเธอมา เมื่อปลาจะกินดาว 10 211
บาง แตสิ่งที่เชื่อวาเปนเหตุผลหลัก นาจะมาจากเหตุผลสวนตัว หลัง จากที่รตยาคนพบวา ผืนปาตะวัน ตกที่ เ ธอแวะเวี ย นไปเยี่ ย มเยี ย น บอยครั้งจนแทบจะเรียกไดวาเปน บานหลังที่สองนั้น อุดมไปดวยสิ่งที่ เรียกวา แรงบัลดาลใจ... หลังจากสืบ นาคะเสถียร หัวหนาเขตรักษาพันธุสัตวปาหวย ขาแขง ฝากเจตจํานงสุดทาย ให คนรุนหลังรับรูถึงความสําคัญของ ศศิน เฉลิมลาภ ผืนปาตะวันตก ดวยการตัดสินใจ กระทําอัตวินิบาตกรรม ในเชาวันที่ 1 กันยายน 2533 สิ้นเสียงแผดกองของกระสุนปนนัดนั้น วากันวา ผืนปาที่เขารักสุดลม หายใจพลันเงียบลงชั่วขณะ ราวกับกําลังไวอาลัยกับสิ่งที่เกิดขึ้น ตอมาไม นาน คําถามที่ระคนไปดวยน้ําเสียงเศรา ถามขึ้นพรอมๆ กันหลังจากทราบ ขาวรายนั้นวา เกิดอะไรขึ้น? ผานไปกวา 2 สัปดาห ความโศกเศราจากการสูญเสียครั้งสําคัญเริ่ม คลายลง ผูที่เคยรวมงานและมีอุดมการณเดียวกับสืบ ลอมวงปรึกษากันวา จะหาทางชวยกันสานตอแนวคิดของสืบใหคงอยูตอไปอยางไร แนวคิดหนึ่งที่ผุดขึ้นขณะนั้นคือ ตั้งมูลนิธิเพื่อสานเจตนาในการปกปอง ปา ดําเนินรอยตามสิ่งที่สืบไดเริ่มตนไว แตการตั้งมูลนิธิจําเปนอยางยิ่งที่จะ ตองมีใครสักคนสวมวิญญาณเดียวกับเจาของชื่อมูลนิธิ เพื่อสืบทอดภารกิจ ในฐานะประธาน ทุกคนที่อยูรวมเหตุการณในวันนั้น เห็นพองตองกันในชื่อหนึ่งอยางเปน เอกฉันท วาเหมาะสมที่จะนั่งเกาอี้ตัวนี้ แลวชื่อของรตยาก็ถูกเสนอขึ้นเปน ประธานมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ตั้งแตวันที่ 18 กันยายน ปเดียวกันนั้นเอง หากจะกลาวถึงความผูกพันระหวางรตยา-สืบ-และผืนปาตะวันตก อาจ เมื่อปลาจะกินดาว 10 212
ตองตองยอนกลับไปที่วีรกรรมการเคลื่อนไหวปกปองผืนปาแหงนี้ จากการตอ ตานโครงการสรางเขื่อนที่รูจักกันในชื่อ “เขื่อนน้ําโจน” ดวยเปาหมายที่วางไววา ประเทศไทยตองผลิตกระแสไฟฟาใหได 3.6% ตามการประมาณการความตองการพลังงานไฟฟาเมื่อป 2532 ทําใหการ ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พยายามผลักดันใหมีโครงการกอสรางเขื่อน ผลิตไฟฟา โดยปดกั้นลําน้ําแควตอนบน บริเวณเขาน้ําโจน เขตรักษาพันธ สัตวปาทุงใหญนเรศวร จ.กาญจนบุรี เขื่อนนี้จะทําใหเกิดอางเก็บน้ําขนาดใหญ 85,625 ไร ที่ระดับความสูง 370 เมตร นั่นหมายความวา น้ําจะทวมใจกลางปาทุงใหญนเรศวรเปนพื้นที่ นับหมื่นไร ประมาณการกันวา ตองใชเวลาในการกอสรางและตัดไมออกจาก บริเวณที่จะกลายเปนอางเก็บน้ํานานถึง 3 ปครึ่ง โดยตองใชเงินทุนในการ กอสรางกวา 1.2 หมื่นลานบาท ผลลัพธจากการเปลี่ยนผืนปาเปนเขื่อนก็คือ ปาทุงใหญนเรศวรผืนใหญ ที่สุดในประเทศไทย (ไดรับการประกาศจากองคการยูเนสโกใหเปนพื้นที่มรดก ทางธรรมชาติของโลก ในป 2534) จะถูกทําลายลงทันที “โดยสวนตัวเริ่มรูจักชื่อคุณสืบในชวงที่คัดคานการสรางเขื่อนน้ําโจนนี่เอง คุณสืบเคยไปทํางานการเคหะฯ ตอนนั้นยังไมไดรูจักกัน กระทั่งมารูจักภาย หลัง แตก็ไมไดถือวารูจักตัว รูจักแคผลงาน เพราะคุณสืบจะเขียนขอมูลสงมา ใหวา พื้นที่ตรงนี้มันสําคัญอยางไร มีสัตวปา มีตนไมอยางไร ถาสรางเขื่อน จะเสียทรัพยากรไปอยางไร” รตยา เลายอนถึงเมื่อครั้งที่รูจักสืบเปนครั้งแรก กอนจะเลาตออีกวา “การคัดคานเขื่อนน้ําโจนในตอนนั้นมีบุคคลเขามารวมหลายกลุม ตั้งแต ระดับนักเรียนมัธยม ระดับมหาวิทยาลัย พอคาแมคาในตลาด บรรดาผู พิทักษปา กลุมคนทํางานดูแลรักษาปา ทุกกลุม ตางเห็นตรงกันหมดวา ตอง ไมสรางเขื่อน ตอนนั้นที่ตลาดเมืองกาญจนบุรี รานคาหลายรานสมัครใจติด ปายประทวงหนารานกันเลย เรียกไดวาเกิดความสามัคคีรวมพลังกันหลาย วัย หลากสาขาอาชีพ เปนภาพของพลังบริสุทธิ์ในการเรียกรองเพื่อสวนรวม อยางแทจริง” เมื่อปลาจะกินดาว 10 213
ผลก็คือ หนาหนึ่งของประวัติศาสตรดานสิ่งแวดลอม การเมือง และ การเคลื่อนไหว ไดบันทึกเหตุการณสําคัญไววา วันที่ 4 เมษายน 2531 คณะ รัฐมนตรีมีมติระงับการสรางเขื่อนน้ําโจน เพราะการเรียกรองในครั้งนั้นนั่นเอง และสืบเนื่องจากเหตุการณดังกลาวเกิดขึ้นในชวงรอยตอระหวางป 25302531 ซึ่งเปนชวงเวลาเดียวกันกับการกําลังดํารงตําแหนงเปนผูวาการเคหะฯ ของรตยา การที่เธอตัดสินใจเขารวมเปนหนึ่งในแกนนําคัดคานโครงการเขื่อน น้ําโจน จึงกลายเปนสิ่งที่ถูกมองวา เธอสวมหมวกสองใบในเวลาเดียวกัน ทั้ง ที่เปนเรื่องที่เธอสนใจมาโดยตลอด หมวกใบหนึ่ ง คื อ การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ใช ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู ใ ห เ ป น ประโยชนกับคนมากที่สุด ขณะที่อีกเรื่องหนึ่งที่สนใจเปนการสวนตัวก็เห็นอยู เต็มอกวา ทรัพยากรที่มีอยูนั้นลวนมาจากธรรมชาติทั้งสิ้น และเปนสิ่งที่สราง ขึ้นทดแทนไมได สิ่งที่เธอทํามาทั้งหมด จึงเปนการตัดสินใจดวยคํายืนยันที่หนักแนนและ เด็ดเดี่ยววา “...เลือกแลว ในชีวิตเราตองเลือกวาอะไรสําคัญ อะไรไมสําคัญ” จนถึงทุกวันนี้ ยังไมมีใครกลาประเมินวา หากการคัดคานในครั้งนั้นไม สําเร็จ จะเกิดอะไรขึ้นบางในวันนี้
ปนจักรยานกูโลก ผานไปแลวเกือบ 20 ป สิ่งที่อาจารยธงชัยพยายามผลักดันใหจักรยานมี ความสําคัญยิ่งกวาการเปนเพียงพาหนะสําหรับเดินทาง สัมฤทธิ์ผลเกินคาด ปจจุบันจักรยานถูกมองในภาพลักษณใหมและเปนที่ยอมรับกันในวงกวาง กลาวไดวาทั่วโลกตางใหการยอมรับรวมกันวาจักรยานมีสวนสําคัญในการแก ปญหาสิ่งแวดลอม มลภาวะ และลดปญหาโลกรอน ซึ่งไมใชเรื่องที่ไกลเกิน จินตนาการ “เมื่อประมาณ 15 ปที่แลว ผมเคยขอทุนจากองคกรหนึ่ง โดยบอกวา มีโครงการที่จะใชจักรยานไปแกปญหาโลกรอน แตก็ถูกตอกกลับมาวา มัน เกี่ยวอะไรกันดวย ตอนนั้นปญหาวิกฤตสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะเรื่องโลกรอน ยังเปนเรื่องที่ไกลตัวสําหรับหลายๆ คน ตอนที่ผมขอทุนจึงเขาใจไดวา คนที่ พิจารณาโครงการอาจยังมองไมเห็นวาทั้งสองสิ่งมันมีความเชื่มโยงตอเนื่อง เมื่อปลาจะกินดาว 10 214
กัน ทั้งในดานสรางโครงสรางทางกายภาพและการสรางกระแสสังคม” บทบาทของชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแหงประเทศไทย ซึ่งในปจจุบัน เติบโตเปนสมาคมที่นักปนจักรยานทั่วประเทศรูจักกันดี และยังชวยปลุก กระแสใหสังคมไทยเกิดความตื่นตัวในการใชจักรยานกันมากขึ้น ทําใหจักร ยานคอยๆ ถูกซึมซับเขาไปสูวิถีชีวิตประจําวันของคนไทยทีละเล็กละนอย ซึ่ง ธงชัยเคยระบุไวในเอกสารบอกเลาประวัติของชมรมจักรยานฯ ดังที่ปรากฏอยู ในเว็บไซต www.thaicycling.com วา... ชมรมจักรยานฯ เคยมีคําขวัญวา “สองขาปน สองลอหมุน เกื้อหนุน กัน สรางสรรคสังคม” และ “ปนจักรยานไปเที่ยวนะเที่ยวแน แตจะแกปญหา สังคมไปพรอมกัน” ซึ่งก็เปนการแสดงจุดยืนและสะทอนถึงปรัชญาของชมรม ไดเปนอยางดี จุดยืนที่วานั้นบรรลุเปาหมายไปพอสมควร หากวัดจากจํานวนผูใช จักรยานที่มีจุดยืนเดียวกัน กระทั่งเขามาเปนแนวรวมของชมรมที่ขยันมา รวมตัวกันทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรม โดยชมรมจักรยานในจังหวัดตางๆ ทั่ว ประเทศ ยังมีบทบาทประสานงานกับหนวยงานของรัฐ และใหความรูแก ผูที่เกี่ยวของวา รัฐควรมีหนาที่อยางไรในการสงเสริมและรณรงคดานนี้ใน ระยะยาว ตามความเชื่อมั่นอยางแรงกลาของธงชัย เขาเชื่อวาการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการใชชีวิตของมนุษย แมจะเปนเพียงเรื่องเล็กๆ หรือเปน พฤติกรรมที่อาจไมสลักสําคัญอะไรเลย แตหากเรื่องนั้นนํามาซึ่งการลด ปริมาณการใชทรัพยากรในทางใดทางหนึ่ง การกระทําดังกลาวก็ยอมถือ เปนการขับเคลื่อนกลไกการอนุรักษสิ่งแวดลอมดวยเชนกัน
แรงหนุนจากคนรอบขาง “ทุกวันนี้เวลาเขาปา อยางมากที่สุดก็ใหพวกเด็กๆ ก็ชวยกางเต็นท เพราะไมตองการใหตัวเองเปนภาระของใคร” นี่คือสิ่งที่อาจารยรตยา พยายามจะสื่อสารใหกับผูที่อยูรอบขาง เพราะเขาใจดีวาเปนงานประจําที่ พวกเขาทํากันอยูก็ลนมือแลว สําหรับครอบครัวของรตยามีสมาชิกสําคัญคือ ลูก 3 คน คนโตเปน เมื่อปลาจะกินดาว 10 215
ลูกสาว อีก 2 คนเปนลูกชาย รตยา เลาวา ลูกสาวนั้นชอบอะไรคลาย ๆ แม หากมีเวลาวาง แมไปไหนก็จะตามติดไปไมหาง สวนลูกชายก็เลือกที่จะเปน กําลังสนับสนุนอยูที่บาน นั่นคือบทบาทของแมที่ตองเลี้ยงลูก 3 คนโดยลําพัง เพราะสามีเสียชีวิตตั้งแตป 2518 รตยา บอกวา ความรักที่มีตอลูกก็เหมือนแมทั่วไป โดยจะเลี้ยงใหพวก เขามีอิสระในการคิด ขณะเดียวกันก็ทําใหลูกๆ เห็นอยูตลอดเวลาวาแมทํา อะไรบาง แมไปสํารวจปา ไปคุยกับชาวบาน ไปประสบพบเจอกับเรื่องใดก็มัก มาเลาใหลูกๆ ฟง “ลูกๆ ไมเคยหามไมใหเขาปา แตอาจมีปรามๆ บาง ซึ่งสําคัญคือเรา ตองรูศักยภาพและเรี่ยวแรงของตัวเอง ขณะที่เรี่ยวแรงอีกสวนหนึ่งก็มีที่มา จากบรรยากาศแบบธรรมชาติที่ผืนปามอบให ซึ่งลูกๆ ก็เขาใจตรงนี้ หลังจาก ลงพื้นที่พวกเขามักจะถามวา แมไหวมั้ย ไมไหวก็พักบางนะ” อาจารยรตยา กลาว “หากมีคนถามวาระหวางงานกับครอบครัว สิ่งไหนมากอน สําหรับผม แลวประเทศชาติตองมากอน คําวาสวนรวมจึงหมายถึงคนทั้งประเทศดวย หรือบางครั้งอาจจะแคระดับเล็กๆ ซึ่งหากครอบครัวเสียหายแตประเทศก็พอ ไปได สวนทุกเรื่องนั้นทางครอบครัวก็เขาใจ แตก็ไมไดหมายความวาไมได ดูแลที่บาน” ธงชัย เลาถึงเรื่องครอบครัวใหฟง ทุ ก วั นนี้ ธ งชั ย ยั ง คงพยายามปลู ก ฝ ง ให ค นรุ น หลั ง ขี่ จั ก รยานกั นตั้ ง แต เด็กๆ โดยเริ่มตั้งแตเมื่อ 20 ปที่แลว เขาเคยพาเด็กเหลานั้นไปขี่จักรยานแถว จ.ชลบุรี “เมื่อ 20 กวาปที่แลว ผมเคยชวนลูกๆ ไปขี่จักรยานแถวบานที่ยานรังสิต เขาไมอยากไปเทาไหรนัก แตผมก็คะยั้นคะยอ วันนั้นผมเลยพาไปนั่งรถไฟ เกือบ 20 กิโลเมตร แลวขี่ขามจังหวัดระหวางปทุมธานีกับพระนครศรีอยุธยา ตอนหลังเมื่อลูกเขาสูวัยทํางานก็จะระดมความคิดความเห็นกันไดงายมากขึ้น ทุกวันนี้ภรรยาผมขี่จักรยานทางไกลประเภทขามจังหวัดมาแลว เชน จากภาค ใตมาภาคกลาง ซึ่งถือวาเยอะกวาผมอีก เพราะบางทีถาผมติดงาน เขาก็ไป กับกลุมอื่น เรียกไดวาเชี่ยวชาญกวาผมเยอะ” เขาเลา เมื่อปลาจะกินดาว 10 216
สิ่งที่วาดหวัง อาจารยรตยาทิ้งทายวา เมื่อตัดสินใจทําหนาที่รักษาปา สิ่งที่ทําจึงชัดเจน ในตัวของมันเอง มีคนเคยถามวา ทําไมถึงตองมาทําเรื่องนี้ ก็เพราะวาปาใน ประเทศไทยเหลืออยูนอยเต็มที ฉะนั้นเธอจึงพูดอยูเสมอวา การรักษาปาจะ ตองรักษาสัตวปาดวย เพื่อใหเกิดสมดุล ตองรักษาระบบนิเวศที่มีอยู เดิมให คงความสมบูรณไวใหมากที่สุด “หลายคนบอกวาประเทศไทยตองมีปา 40% แตเทาที่ดูแลวมันเหลือแค 20% เทานั้น ซึ่งชัดเจนวาสิ่งที่ทําเปนสิ่งที่เกิดจากศรัทธาและเชื่อวาเปนสิ่งที่ ถูกตอง จึงควรที่จะใหคนรุนหลังไดสืบสานแนวคิดตอไป” เธอกลาว สวนอาจารยธงชัย บอกวา จํานวนผูที่รูถึงประโยชนของจักรยานเพิ่มขึ้น มากก็จริง แตหากจะหวังใหกิจกรรมนี้ขยายวงกวางออกไป ผูที่เกี่ยวของและ รับผิดชอบในระดับนโยบาย ตองตระหนักถึงการนําไปใชจริงในชีวิตประจําวัน อยางครบวงจร “ถาถามวาทุกวันนี้การรณรงคใหขี่จักยานประสบความสําเร็จแลวหรือไม ก็คงจะตอบไดวา การใชจักรยานในประเทศไทยตอนนี้มีมากกวาที่คาด แตก็ ไมไดมากเทาที่คาดหวัง หากเปนไปไดควรมีคนขี่จักรยานกันมากกวานี้ และ ขับขี่ดวยความมั่นใจในความปลอดภัย ไมรูสึกวาการเดินทางดวยจักรยาน ลําบากยากเข็ญเกินกําลัง” ดร.ธงชัย กลาว
เมื่อปลาจะกินดาว 10 217
บรรณานุกรม - เว็บไซต สมาคมจักยานเพื่อสุขภาพ www.thaicycling.com - เว็บไซต มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร - เว็บไซต มูลนิธิโลกเขียว
เมื่อปลาจะกินดาว 10 218
ทางเลือกเทคโนโลยีพลังงาน สําหรับสังคมไทย วันเสาร แสงมณี หนังสือพิมพขาวสด เมื่อปลาจะกินดาว 10 219
ปริมาณความตองการใชพลังงานที่เพิ่มมากขึ้นทั่วโลกกับวิถีแหง การรักษาสภาพแวดลอม ถาเปรียบไปแลวก็เหมือนกับถนนทีต่ ดั ไปสูเ ปาหมาย กันคนละทิศละทาง ยากแกการมาบรรจบเปนสายเดียวกัน ดวยเหตุนี้ ความกาวหนาดาน “เทคโนโลยี” การผลิตพลังงานรูปแบบ ใหมๆ ซึ่งไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จึงไดรับการจับตามองวา อาจเปน “เครื่องมือ” ที่ชวยผาทางตัน หาทางออกใหกับทั้งวิกฤตการณขาดแคลน พลังงาน ไปพรอมๆ กับชวยบรรเทาปญหามลพิษ-ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ที่ “พลังงานยุคเกา” เชน ฟอสซิลและน้ํามันเชื้อเพลิง ไดกระทําตอโลกใบนี้ เอาไว เมื่อปลาจะกินดาว 10 220
เมื่อพิจารณาอยางกวางๆ เราสามารถแบงแยกลักษณะของเทคโนโลยี พลังงานเพื่อสิ่งแวดลอมตามขอบเขตการพัฒนาออกเปน 3 ระดับ ประกอบ ดวย 1. ระดับอยูระหวางการวิจัย ทดลองประสิทธิภาพ หรือเริ่มมีใชงานบาง แลว แตยังไมแพรหลาย นักวิชาการตางประเทศใหคําจํากัดความเทคโนโลยีกลุมนี้วา “Emergings Environmetal Technologies” หรือ เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอมเกิดใหม โดย ผลงานการวิจัยที่ไดรับการจับตาจากสื่อสารมวลชนสาขาขาววิทยาศาสตวิทยาการ อยางแพรหลาย ก็เชน พลังงานคลื่น เซลลเชื้อเพลิง กระบวนการ Thermo-depolymerization ซึ่งสามารถเปลี่ยนธาตุคารบอนในวัตถุ-วัสดุตางๆ ใหกลายเปนปโตรเลียมและระบบเปลี่ยนความรอนในมหาสมุทร-ใตพิภพให เปนกระแสไฟฟา ในภาพรวมแลว อาจกลาวไดวา เทคโนโลยีเหลานี้มีจุดเดนตรงที่นํา “พลังงานหมุนเวียน” ที่มีอยูแลวตามธรรมชาติมาใชผลิตกระแสไฟฟาเพิ่ม เติมนั่นเอง ซึ่งจะไดอธิบายถึงรายละเอียดตอไป 2. ระดับที่ผานการพัฒนาเสร็จสมบูรณ เริ่มดําเนินการใชจริง และเปน “ตนแบบ” ใหหลายๆ ชาติดูเปนตัวอยางเพื่อพัฒนาตอยอด ในรายงาน ฉบับนี้ขอยกตัวอยางนําเสนอใหเห็นทิศทางเนนหนักไปยัง 2 เรื่อง คือ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยระบบใหมลา สุดทีเ่ รียกวา “หอคอยพลังงาน แสงอาทิตย” หรือ PS20 Solar power tower ในเมืองเซบีญา ประเทศสเปน ดังทีจ่ ะยกตัวอยางตอไป รวมถึงรถยนตพลังงานไฟฟา ทีป่ ลอยมลพิษสูส ภาพ แวดลอมในระดับ Zero Emission (คามลพิษเปนศูนย) 3. เทคโนโลยีระดับใชงานในหมูป ระชาชนทัว่ ไป อาทิ นวัตกรรมไอที เครือ่ ง ใชไฟฟา จักรกลตางๆ ฯลฯ คําจํากัดความ-ลักษณะโดยสรุปของเทคโนโลยีและพลังงานที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมแตละประเภทที่มีความโดดเดน
1. พลังงานแสงอาทิตย ตนกําเนิดพลังงาน : เกิดจากกระบวนการทํางานของ “เซลแสงอาทิตย” เมื่อปลาจะกินดาว 10 221
เซบีญา โซลาร ทาวเวอร
กังหันลม
ซึ่งเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสชนิดหนึ่งที่ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานความรอน จากแสงอาทิตย ใหเปนพลังงานไฟฟา และทําจากสารที่เรียกวา “สารกึ่ง ตัวนํา” เชน แคลเซียม ซิลิคอน นอกจากนั้น ยังแยกออกไดเปน 3 ระดับยอย คือ 1.1 เซลแสงอาทิตยแบบอิสระ เปนระบบผลิตไฟฟาสําหรับใชในพื้นที่ที่ หางไกล เชน ในชนบทที่ยังไมมีไฟฟาใช ก็สามารถติดตั้งระบบนี้ เพื่อใชไฟฟาจากพลังแสงอาทิตยไดเลย 1.2 เซลแสงอาทิตยแบบตอเขากับระบบจําหนาย หมายถึงตอระบบเขา กับระบบจายไฟฟาหลักที่มีอยูแลว 1.3 เซลแสงอาทิตยแบบผสมผสาน เชน ใชพลังงานแสงอาทิตยรวมกับ พลังงานลม ระบบแสงอาทิตยกับเครื่องยนต หรืออาจจะใชใน วัตถุประสงคอน่ื ๆ เชน การใชพลังงานแสงอาทิตยในการปม น้าํ อบ แหง เปนตน
2. พลังงานลม เปนพลังงานตามธรรมชาติทเ่ี กิดจากความแตกตางของอุณหภูมิ หรือความ กดดันของบรรยากาศ ซึ่งปจจุบันไดมีการนําเอาพลังงานลมมาใชประโยชน มากขึ้น เนื่องจากพลังงานลมไมจําเปนตองมีคาใชจายในการซื้อหาเหมือน กับพลังงานแสงอาทิตย แตในประเทศไทยบางพืน้ ทีย่ งั มีปญ หาในการวิจยั พัฒนา นําเอาพลังงานลมมาใชงาน เนื่องจากปริมาณของลมไมสม่ําเสมอตลอดป แตก็ยังคงมีบางพื้นที่สามารถนําเอาพลังงานลมมาใชใหเกิดประโยชนได เชน พื้นที่บริเวณชายฝงทะเล เปนตน ซึ่งอุปกรณที่ชวยในการเปลี่ยนจากพลังงาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 222
ลมออกมาเปนพลังงานในรูปอื่น ๆ เชน พลังงานไฟฟา หรือ พลังงานกล ก็ได แก “กังหันลม” นั่นเอง โดยกังหันลมผลิตไฟฟายังมี 2 รูปแบบหลักๆ คือ กังหันแนวตั้ง กับแนวนอน
3. พลังงานชีวมวล สวนใหญจะเนนนําเอาวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมาผลิตพลังงานประเภท นี้ อาทิ แกลบ ขี้เลื่อย ชานออย กากมะพราว ฯลฯ ซึ่งมีอยูจํานวนมาก
4. พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานชนิดนี้มีปรากฏตามธรรมชาติในลักษณะน้ําพุรอนกวาหกสิบ แหงตามแนวเหนือ-ใต แถบชายแดนตะวันตกของประเทศไทย หรือแนวเทือก เขาตะนาวศรี สันนิษฐานวา จะเปนแหลงเดียวกันกับทีแ่ ควนยูนานในประเทศ จีนตอนใต เนื่องจากอยูแนวซอนของแผนทวีปคูเดียวกัน (Indian Plate ซึ่งมุด ลงใต Chinese Plate และเกิดแรงดันในลักษณะ Back Arch) จัดอยูในแหลง พลังงานขนาดเล็กถึงปานกลาง และคาดวาจะสามารถผลิตพลังงานใหกับโรง ไฟฟาขนาดไมเกิน 50 เมกะวัตต
5. พลังงานคลื่น กระแสคลืน่ ในทะเลหรือมหาสมุทรสามารถจะนํามาผลิตไฟฟาได โดยอาศัย อุปกรณทด่ี งึ พลังงานจากคลืน่ มาใชโดยตรง ซึง่ จะทําการแปลงการเคลือ่ นไหว ในแนวตั้งของกระแสคลื่นและการพองตัวของฟองอากาศไปผลักใหเครื่อง กําเนิดไฟฟาหมุน การผลิตไฟฟาจากพลังงานคลื่น สามารถที่จะทําไดทั้งแบบ ระบบที่ติดตั้งไปตามชายฝงและระบบนอกฝงนําลึกมากกวา 40 เมตร
6. เซลลเชื้อเพลิง เทคโนโลยีเซลลเชื้อเพลิงจะประกอบดวย “ขั้วอิเล็คโทรด” ที่มีความพรุน 2 ขั้ว (แอโนดและแคโทด) จุมหรือสัมผัสกับสารอิเล็คโทรไลท (electrolyte) ซึ่ง อาจอยูในรูปของเหลวและ/หรือของแข็ง เชื้อเพลิงอันไดแก กาซธรรมชาติหรือ ไฮโดรเจนจะถูกปอนเขาไปยังขั้วอะโนด ในขณะที่ออกซิแดนท ถูกปอนเขาขั้ว คะโทด จากนั้นกาซไฮโดรเจนก็จะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (oxidation) โดยจะมี เมื่อปลาจะกินดาว 10 223
การใหหรือปลอยอิเล็คตรอนที่ขั้วอะโนด ในขณะที่ปฏิกิริยารีดักชั่นของกาซ ออกซิแดนท ซึ่งเกิดขึ้นที่ขั้วคะโทดจะเปนตัวรับอิเล็คตรอน ทําใหเกิด “ไฟฟา กระแสตรง” (direct-current หรือ DC) โดยที่ขั้วอิเล็คโทรดทําหนาที่เสมือนเปน แหลงปฏิกิริยา (reaction sites) เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีไฟฟาของ เชื้อเพลิงและตัวออกซิแดนทขึ้น บริษัทผูผลิตรถยนตยักษใหญทั่วโลก ตางพัฒนาเซลลเชื้อเพลิงอยางตอ เนื่อง เพื่อใชไฟฟาที่ไดเปนแหลงกําเนิดพลังงานในรถยุคใหมของตนกระบวน การผลิตไฟฟาจากเซลลเชือ้ เพลิงทีใ่ ชสารตัง้ ตนหลักเปนไฮโดรเจน และออกซิเจน ในอากาศเทานั้น สวนของเสียที่ไดจากการเผาไหมจะอยูในรูปของน้ํากับ ความรอน ซึ่งไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จึงเรียกวาพลังงานแบบ Zero Emission
หอคอยพลังงานแสงอาทิตย PS20 Solar power tower โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยระบบใหม “เซบีญา โซลาร ทาวเวอร” เปนชื่อของหอผลิตพลังงานไฟฟาจากแสง อาทิตยขนาดยักษใหญที่สุดในโลกตั้งอยูทางทิศใตของเมืองเซบีญา ประเทศ สเปน นวัตกรรมหอพลังงานที่ดูเหมือนสิ่งกอสรางจากนิยายวิทยาศาสตรแหง นี้ คือ สวนหนึ่งของสถานีผลิตกระแสไฟฟาจากแสงอาทิตย 2 สถานีที่ทํางาน รวมกัน ไดแก สถานีพีเอส 10 และพีเอส 20 โดยพีเอส 10 เริ่มผลิตกระแส เมื่อปลาจะกินดาว 10 224
ไฟฟามาตั้งแตป 2550 สวนพีเอส 20 เพิ่งสรางเสร็จเมื่อปกอน สําหรับตัวโครงสราง “หอคอย” ที่ทําหนาที่เปนเปารับแสงนั้น ฝงพีเอส 10 มีความสูง 115 เมตร สวนพีเอส 20 สูง 165 เมตร ทั้งสองหอคอยรายลอม ไปดวยกระจกชนิดพิเศษขนาด 120 ตารางเมตร โดยกระจกแตละบานมีชื่อ เรียกวา “เฮลิโอสแตท” และมีจํานวนรวมกันทั้งหมด 1,255 บาน กินพื้นที่เปน วงกวางประมาณ 75,000 ตารางเมตร และที่สําคัญ กระจกแตละบานสามารถเปลี่ยนมุมสะทอนกับพระอาทิตย เพื่อใหแสงกระทบเปาที่ยอดหอคอยไดแบบอัตโนมัติ คลายกับดอกทานตะวัน นั่นเอง หลักการทํางานของโรงไฟฟาชนิดนี้ ไดแก การอาศัยความรอนจากการ “รวมแสงอาทิตย” ที่มากระทบอุปกรณรับความรอนบนสวนยอดหอคอย จากนั้นนําความรอนดังกลาวไป “ตมน้ํา” ใหเดือดเพื่อใหได “ไอน้ํา” ใน การปนไฟตอไป วาเลริโอ เฟอรนันเดซ ผูอํานวยการสถานีพลังงานไฟฟาเซบีญา โซลาร ทาวเวอร ใหสัมภาษณกับสํานักขาวซีเอ็นเอ็นวา ปจจุบันหอพีเอส 10 เปนหอขนาด 11 เมกะวัตต สวนพีเอส 20 เปนหอผลิตไฟฟาขนาด 20 เมกะวัตต เปาหมายของเราคือตองผลิตไฟฟาใหได 300 เมกะวัตต ภายในป 2556 และภายในไมกี่ปขางหนาจะขยายขนาดของโรงไฟฟาพลังแสงอาทิตย รุนนี้ เพื่อเพิ่มกําลังการผลิตใหครอบคลุมพื้นที่ใหกวางที่สุดในภูมิภาค เซบีญา โซลาร ทาวเวอร ใชทุนกอสรางกวา 50,000 ลานบาท สามารถ จายไฟเพื่อหลอเลี้ยงบานเรือนไดกวา 1 หมื่นหลัง และจะเพิ่มขึ้นถึง 2 แสน หลังคาเรือน ภายในป 2556 การผลิตกระแสไฟฟาโดยอาศัยพลังงานจากแสงอาทิตย นับเปนรูปแบบ ของ “โรงไฟฟาพลังงานที่สะอาด” ไมกอมลพิษตอสิ่งแวดลอม ซึ่งจะชวยลด การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูชั้นบรรยากาศไดถึง 6 แสนตัน ตลอด อายุการใชงานของอุปกรณทั้งหมด เมื่อเทียบกับโรงไฟฟาแบบปกติทั่วไป “เราตองการประโยชนสูงสุดในใชพลังงานจากแสงอาทิตย เพราะวามัน เปนพลังงานที่ไมมีวันหมด แถมยังเปนพลังงานสะอาด และถือเปนการตอสู เมื่อปลาจะกินดาว 10 225
รถยนตพลังไฟฟาอีวีคาร
กับสภาวะภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลงอีกทางหนึ่งดวย นอกจากนั้น เราจะ ทํางานหนักกับการพัฒนาเทคโนโลยีดา นนีต้ อ ไป เพราะเราเชือ่ วาจะเปนทิศทาง ใหมอยางแทจริงตออุตสาหกรรมการผลิตพลังงานโลก” วาเลริโอ กลาว อยางไรก็ตาม จุดออนสําคัญของระบบการผลิตไฟฟาแบบนี้คือ เมื่อพระ อาทิตยตกดินแลว ระบบทั้งหมดจะผลิตไฟฟาตอไปไดไมเกิน 1 ชั่วโมง เซบีญา โซลาร ทาวเวอร เปนโรงไฟฟาเชิงพาณิชยของบริษัทโซลูคาร ตัว สถานีผลิตไฟฟาไดรับการออกแบบโดยบริษัทอเบนกัว โซลาร และกอสราง โดยบริษัทอเบเนอร เอเนอรเจีย ปจจุบันทั่วโลกมีหอผลิตพลังงานไฟฟาจาก แสงอาทิตยอยูหลายแหง สวนใหญอยูในเขตพื้นที่ทะเลทรายในสหรัฐอเมริกา สําหรับประเทศไทยก็กําลังมีโครงการกอสรางโรงไฟฟาจากพลังงานแสง อาทิตยขนาดใหญเกิดขึ้นแลว ทั้งที่ จ.อุบลราชธานี และ จ.ลพบุรี หลังจากที่ สรางที่แมฮองสอนไปแลวเมื่อป 2547 แตไมไดอยูในรูปแบบของ “หอพลังงาน แสงอาทิตย” เทานั้น จัดเปน 1 ในเทคโนโลยีที่ดีตอสิ่งแวดลอม และความเปนอยูของชุมชน โดยรอบโรงไฟฟา ซึ่งเปนปญหายืดเยื้อในสังคมไทยมาอยางยาวนาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 226
รถยนตพลังงานไฟฟา Zero Emission รถยนตพลังงานไฟฟาระบบ Zero Emission นั้นโดยทั่วไป มีชื่อเรียกอยู 2 ลักษณะ ประกอบดวย 1. Electric Vehicle (EV) 2. Fuel Cell Vehicle (FCV) ซึ่งจะมุงเนนคําจํากัด ความไปถึงรถไฟฟาจากเซลลเชื้อเพลิงโดยตรง แตในภาพรวมแลว ขณะนี้ ตนกําเนิดแหลงพลังงานของ EV ก็ใชเซลลเชื้อเพลิงเปนหลัก ขอมูลจากวารสาร Engineering Today ใหขอมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพ ในดานการแปลงพลังงานของรถเซลลเชื้อเพลิงเมื่อเทียบกับรถยนตประเภท อื่น เอาไวดังนี้ 1. ประสิทธิภาพของรถเซลลเชือ้ เพลิง ถาเซลลเชือ้ เพลิงใหกาํ ลังทีม่ าจาก ไฮโดรเจนลวนๆ มักจะใหประสิทธิภาพในการแปลงเปนพลังงานไฟฟาถึงประมาณ 80% อยางไรก็ตาม ไฮโดรเจนนั้นยากตอการจัดเก็บในรถยนต ดังนั้นเมื่อมี การเพิ่ม Reformer เพื่อแปลงเชื้อเพลิงอยางอื่น อาทิ เมทานอลเปนไฮโดรเจน ประสิทธิภาพในการแปลงเปนพลังงานไฟฟาโดยรวมจะลดลงเหลือประมาณ 30-40% นอกจากนี้ยังมีขบวนการในการจะแปลงพลังงานไฟฟาเปนพลังงาน กลโดยมอเตอรไฟฟาและอินเวอรเตอร โดยประสิทธิภาพของมอเตอรและอิน เวอรเตอรคือประมาณ 80% จากที่กลาวขางตน ดังนั้นประสิทธิภาพของรถเซลลเชื้อเพลิงโดยรวมเทา กับ 60% เมื่อใชไฮโดรเจนเปนเชื้อเพลิงตั้งตน และ 24 ถึง 32% เมื่อใช “เมทานอล” เปนเชื้อเพลิงตั้งตนในรถยนต 2. ประสิทธิภาพของรถเครื่องยนตแกสโซลีน ประสิทธิภาพของแกสโซลีน ที่ใหกําลังกับรถยนตมีคาต่ํา ความรอนทั้งหมดที่ออกมาที่ไอเสีย หรือที่หมอ น้ํา(Radiator) คือพลังงานที่สูญเปลา เครื่องยนตนั้นใชพลังงานจํานวนมากใน การหมุนปมตางๆ พัดลม และเจเนอเรเตอร ดังนั้นประสิทธิภาพโดยรวมของ เครื่องยนตแกสโซลีนประมาณ 20% นั่นคือเพียง 20% ของปริมาณพลังงาน ความรอน (Thermal-Energy Content) ของแกสโซลีนที่แปลงเปนงานทางกล 3. ประสิทธิภาพของรถไฟฟาที่ใชแบตเตอรี่ (Battery Power) แบตเตอรี่ที่ ใหพลังงานกับรถไฟฟาก็จะมีประสิทธิภาพที่สูง แบตเตอรี่จะมีประสิทธิภาพ เมื่อปลาจะกินดาว 10 227
ตนแบบเครื่องผลิตไฟฟาพลังคลืน
ประมาณ 90% และมอเตอรไฟฟา/อินเวอรเตอรมีประสิทธิภาพประมาณ 80% และสําหรับการชารจไฟนั้นจะมีประสิทธิภาพประมาณ 90% ดังนั้น ประสิทธิภาพโดยรวมคือประมาณ 65% เมื่อเทียบประสิทธิภาพในดานการแปลงพลังงานมาใชประโยชนแลวจะ เห็นวารถเซลลเชื้อเพลิงก็จะดีกวารถยนตเครื่องยนตแกสโซลีนที่ใชในปจจุบัน อยางแนนอน โดยเฉพาะเมื่อใชเชื้อเพลิงเบื้องตนคือไฮโดรเจน อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติแลวการใชงานยานยนตเซลลเชื้อเพลิงก็ยังมีปญหาและอุปสรรค อยูหลายๆ ดานดวยกัน เชน 1. ยังไมมีโครงสรางพื้นฐานรองรับ เชน การบริการตามสถานีบริการ เชื้อเพลิงทั่วไป 2. ไฮโดรเจน ยากตอการจัดเก็บและการขนสง วิธีหนึ่งที่สามารถในการ แกปญหานี้คือ การใชเชื้อเพลิงที่มีความพรอมที่จะแปลงสภาพเปน ไฮโดรเจนมามาแทนที่ และใชตัว Reformer เปลี่ยนเชื้อเพลิงดังกลาว ซึง่ อยูใ นรูปของไฮโดรคารบอน หรือแอลกอฮอลเปนไฮโดรเจนอีกทีหนึง่ กอนจะถูกสงตอไปที่เซลลเชื้อเพลิง อยางไรก็ตามตัว Reformer ทีถ่ กู พัฒนามาในปจจุบนั ก็ยงั ไมคอ ยสมบูรณ มากนัก เนือ่ งจากมันใหกาํ เนิดความรอน และกาซอืน่ ๆ นอกเหนือจากไฮโดรเจน ทําใหไฮโดรเจนทีไ่ ดมาไมบริสทุ ธิ์ และแนนอนยอมมีผลทําใหประสิทธิภาพของ เมื่อปลาจะกินดาว 10 228
เซลลเชื้อเพลิง
เซลลเชื้อเพลิง (Fuel Cell) ต่ําลง ปจจุบันมีเชื้อเพลิงบางอยางที่นาจะเปนไปไดสําหรับการแปลงสภาพ เปนไฮโดรเจน นั่นก็คือกาซธรรมชาติ (Natural Gas) โพรเพน และเมทานอล โดยเชื้อเพลิงที่กลาวมานี้มีโครงสรางพื้นฐานรองรับอยูแลว เชน สถานีกาซ ธรรมชาติ หรือสถานีกาซโพรเพน(กาซหุงตม) โดยเฉพาะอยางยิ่งเมทานอล (Methanol) ซึ่งเปนเชื้อเพลิงเหลวที่มีคุณสมบัติคลายกับแกสโซลีน และงาย ตอการจัดเก็บขนสงและการจัดจําหนาย ดังนั้นเมทานอลอาจจะเปนตัวเลือก หนึ่งสําหรับเชื้อเพลิงตั้งตนที่ใหกําลังกับรถเซลลเชื้อเพลิง อยางไรก็ตาม การใชไฮโดรเจนเปนเชื้อเพลิงตั้งตนในรถเซลลเชื้อเพลิง แทนที่จะเปนเมทานอล หรือเชื้อเพลิงอื่นนั้นก็จะทําใหมีประสิทธิภาพในดาน การแปลงพลังงานมาใชงานจะมากกวากันเยอะ ซึ่งทําใหบางบริษัทกําลังทํา การวิจัยคนควา การออกแบบอุปกรณสําหรับเก็บไฮโดรเจนในรถยนตขึ้นมา ในรถเซลลเชื้อเพลิงนั้นนอกจากการทํางานของเซลลเชื้อเพลิงที่เปนหัวใจ เมื่อปลาจะกินดาว 10 229
ดร.กิตตินันท อันนานนท
ของเทคโนโลยีนแ้ี ลว ก็ยงั มีสว นประกอบอืน่ ทีม่ คี วามสําคัญ และมีความจําเปน ตองพัฒนาควบคูกันไปดวย อาทิ มอเตอรไฟฟา ที่ทําหนาที่แปลงพลังงาน ไฟฟาเปนพลังงานกลเพื่อสงตอไปที่แกนลอเพื่อหมุนลอใหขับเคลื่อนไปขาง หนา รวมถึงระบบคอมพิวเตอรรวมถึงเซ็นเซอร และอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ตางๆ เพื่อควบคุมรถในสถานการณตางๆ เชน การปรับเปลี่ยนความเร็ว ของรถ กลไกการบังคับเลี้ยวและระบบเบรค และในอนาคตอันใกล เมื่อ การพัฒนารถเซลลเชื้อเพลิงใหมีความพรอมในทุกๆ ดาน ก็ยอมจะถึงเวลา ที่รถเซลลเชื้อเพลิงมีแนวโนมกาวขึ้นมาเปนพระเอกแทนที่รถยนตพลังน้ํามันที่ ใชในปจจุบัน
มองอนาคตพลังงานผสมผสานหลากมิติเทคโนโลยีเพื่อสิ่ง แวดลอมไทย ปจจุบันทิศทางของนโยบายพลังงานทั่วโลกทั้งภาครัฐและเอกชนตาง เดินหนาใหความสําคัญกับ “พลังงานทดแทน” หรือ “พลังงานที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม” เนื่องจากพลังงานทดแทน คือพลังงานที่ไมมีวันหมด ทดแทน ไดอยางไมจํากัด เปนพลังงานสําหรับอนาคต ที่สําคัญสงผลกระทบ หรือทํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 230
อันตรายตอสิ่งแวดลอมนอยมาก ถึงนอยมากที่สุด จากการสัมภาษณ 2 ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอมทั้ง ดร.กิตตินนั ท อันนานนท หัวหนาศูนยความเปนเลิศเพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็ม เทค) และ ผศ.ดร.นิพนธ เกตุจอย รองผูอํานวยการฝายวิจัย วิทยาลัย พลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ไดใหขอเสนอแนะฝากเปนขอคิด ถึงผูมีอํานาจ รวมถึงสังคมไทยโดยรวมเอาไวอยางนาสนใจ ดร.กิตตินันท เริ่มปูพ้ืนอธิบายภาพรวมความกาวหนาในการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานวา จากขอมูลกระทรวงพลังงานพบวา คนไทยใชพลังงานแบงตามแหลงพลังงาน คือใชพลังงานหมุนเวียน 16% นอกจากนั้นเปน ถานหิน น้ํามัน และกาซ ธรรมชาติ 30% แสดงวาเมืองไทยยังพึ่งพาพลังงานยุคเกาจากฟอสซิล “เวลาพูดถึงพลังงาน เรามักเนนไปที่การผลิต คือ ทําอยางไรจะมีพลังงาน เพียงพอตอความตองการ ตัวเลขการผลิตจึงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คิดเปน 20% ของ จีดีพี หรือตัวบงชี้มาตรฐานคุณภาพชีวิตของคนไทย ฉะนั้นหาเงินมาไดเทา ไหร 1 ใน 5 ของเงินจํานวนนั้น คือเงินที่ตองเสียไปกับเรื่องพลังงาน ซึ่งอาจจะ เทากับการผอนบาน ผอนรถ หรืออาจจะมากกวาอาหารที่เราบริโภค” ดร.กิตตินนั ท กลาวตอวา การพัฒนาเทคโนโลยีเกิดขึน้ เปนระยะยกตัวอยาง เมื่อราคาน้ํามันปรับตัวขึ้นในชวง ค.ศ. 1970 สิ่งที่ตามมา คือ การแพรหลาย ของเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน หรือการผลิตพลังงานชนิดใหม สิ่งเหลานี้ เปนตัวบงชี้กลไกการพัฒนาเทคโนโลยีไดเปนอยางดี ฉะนั้นการใชเทคโนโลยี ที่เหมาะสม การใชระบบที่เหมาะสม หรือการใชกลไกตางๆ ที่เหมาะสมจะ สามารถเห็นผลเปนรูปธรรม ถารวมมือกัน “ลดการใชพลังงาน” ดวยเทคโนโลยีใหมๆ จะสามารถ ลดการใชพลัง งานไดมากกวา 50% แทนที่จะมุงเนน “การผลิตพลังงาน” ให เพียงพอตอความตองการ เพราะไมมีทางผลิตไดทัน ถึงทันก็ไมคุม การลดใช พลังงานจึงเปนเรื่องที่ควรใหความสนใจ ประกอบดวย 1. กังหันลมและเทอรไบนปนไฟขนาดยักษ 2. ตนแบบเทคโนโลยีผลิตไฟฟาจากคลื่นในตางแดน เมื่อปลาจะกินดาว 10 231
ผศ.ดร.นิพนธ เกตุจอย
3. แทนขุดเจาะน้ํามันในทะเล “ถามวาเมือ่ ถูกปลูกฝงใหใชพลังงานฟอสซิล การรณรงคลดการใชพลังงาน จะทําไดทนั เวลาหรือไมผมคิดวาถาตัง้ ใจสามารถทําไดภายใน 5-10 ป ขึน้ อยูก บั วาจะทําหรือเปลา อยางน้าํ มันใชไปอีก 40-50 ป ถึงจะหมด เมือ่ ถึงเวลานัน้ คง ไมเดือดรอน เพราะเศรษฐกิจทีอ่ ยูบ นพืน้ ฐานของน้าํ มันจะเปลีย่ นเปนพลังงาน จากพืชผักแทน เพียงแตการกําหนดทิศทางตองชัดเจนวาเราจะทําอยางไร เมือ่ ไหร และประสานกันยังไง ซึง่ เปนปญหาสําคัญสุดของบานเรา เนือ่ งจากทุกวัน นีแ้ ตละหนวยงานตางคนตางทํา” “อยางการนํารถถังไปทิ้งทะเลเพื่อทําปะการังเทียม เพื่อชวยธรรมชาติ สรางปะการัง แตทําไมไมหาทอหรือแทงปูนเกามาใชแทน เราเอารถถังลงไป 1 คัน เทากับเราตองไปขุดเหล็กขุดทรัพยากรขึ้นมาใชทดแทน ซึ่งการไปขุด การถลุง การขนสง ทุกอยางใชพลังงานมหาศาล ถารวมกันคิดอยางมีระบบ มองผลดีผลเสียกอนตัดสินใจ เรื่องนี้สามารถประหยัดพลังงานใหประเทศ และโลกไดมหาศาล” ดร.กิตตินันท ระบุ ดานผศ.ดร.นิพนธ รวมแสดงทรรศนะวา ทิศทางการใชพลังงานในอนาคต ของประเทศไทย จะตองใหความสําคัญเรือ่ งสิง่ แวดลอมควบคูก นั เพราะมนุษย เมื่อปลาจะกินดาว 10 232
อยูไดถาไมมีพลังงาน แตอยูไมได ถาสิ่งแวดลอมลมสลาย ฉะนั้นประเทศที่ พัฒนาแลว อยางเยอรมนี หรือญี่ปุน จึงใหความสําคัญในการกําหนดทิศทาง การใชพลังงาน เมือ่ ยังจําเปนตองใชพลังงานฟอสซิล ก็พยายามลดการเพิม่ ขึน้ ของปริมาณ การใช และเอาพลังงานทดแทน ทั้งน้ํา แสงอาทิตย ลม และชีวมวล เขามา เติมในสวนที่ลดไป ซึ่งแตกตางกับเมืองไทยที่มองมิติเดียววา ทําอยางไรถึงมี พลังงานใชไปอีก 40-50 ปขางหนา “ถาถามวาหยุดใชพลังงานฟอสซิลเลยไดหรือไม ตอบวาไมไดเพราะโครง สรางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีของมนุษยขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยี ฟอสซิลมากวา 200 ป จึงเปนเรื่องยากเพราะเปนสิ่งจําเปนสําหรับมนุษย ฉะนั้นตองเปลี่ยนมาโฟกัสวาจะใชอยางไรมากกวา” “โดยเฉพาะบานเราถือเปนหนึ่งในประเทศที่ใชพลังงานสุรุยสุรายมาก มี ตัวชี้วัดสัดสวนการใชพลังงานกับจีดีพีที่ควรจะตองสอดคลองกัน คือ 1 ตอ 1 แตที่ผานมาเมื่อจีดีพีโต 1% เรากลับใชพลังงานมากกวา 1% แสดงวาเรา ใชแลวขาดทุน ยังไมตองคิดถึงเรื่องการหาพลังงานใหม คิดแควาที่ใชอยูเดิม ใชอยางไรใหมีประสิทธิภาพดีกวา เมื่อเราลดการใชพลังงานอยางเหมาะสม พลังงานทดแทนจะเขามาเติมเต็มเอง” รองผูอํานวยการฝายวิจัย วิทยาลัย พลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ระบุ อาจารยนิพนธ กลาวตอวา โดยสวนตัวมองวา การประหยัดพลังงาน มี 2 รูปแบบ และตองทําพรอมกัน นั่นคือ การปลูกฝง และใชมาตรการภาคบังคับ ในสวน “การปลูกฝง” เปนเรือ่ งพูดงาย แตทาํ ยาก เพราะตองใชเวลาเปน ชั่วอายุคน ตองทําอยางตอเนื่องโดยเริ่มจากครอบครัว ประเทศไทยรณรงค เรื่องการประหยัดพลังงานก็จริง แตสวนใหญเปนเพียงแฟชั่นเทานั้น เชน การ รณรงคปด ไฟ 1 ชัว่ โมง เมือ่ นํามาบวก ลบ คูณ หาร แลวไมแนใจวางบประมาณ ในการประชาสัมพันธ จะคุมคากับพลังงานที่ลดลงหรือไม สวน “มาตรการภาคบังคับ” ภาครัฐตองมีความหนักแนน อยานําปญหา พลังงานมาเปนปญหาการเมือง ทุกวันนี้ราคาพลังงาน ตนทุนพลังงาน ทุก อยางถูกดึงเปนเรื่องการเมืองหมด เชน กาซแอลพีจี ถาภาครัฐลอยตัวเต็มที่ เมื่อปลาจะกินดาว 10 233
ไมเอาเงินกองทุนน้ํามันมาหนุน ถามวากลาหรือเปลาเพราะอาจมีผลตอฐาน คะแนนเสียง “เยอรมันเปนประเทศที่ประชาชนมีการศึกษาสูง แตสวนใหญกลับไมเห็น ดวยที่รัฐบาลประกาศนโยบายพลังงานทดแทน เพราะตนทุนพลังงานสูงขึ้น เทากับพวกเขาตองจายเงินในการซื้อสูงตาม รัฐบาลเยอรมันใชเวลากวา 10 ป ใหความรูความเขาใจ จนประชาชนยอมรับ เพราะเห็นถึงความจริงใจใน การพัฒนา” “ทุกวันนี้เยอรมันเปนที่ 1 ในเรื่องการใชพลังงานทดแทน ตลอดจนการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ผมจึงมองวาประเทศไทยตองเริ่มตนปลูกฝงให ความรู ควบคูมาตรการภาคบังคับของรัฐบาล โดยไมมีเรื่องการเมืองแอบแฝง ที่สําคัญรัฐบาลตองบริหารจัดการใหได เพราะเมื่อมีคนบนโลกทําได เราตอง ทําไดเชนกัน” ขณะที่ ดร.กิตตินันท เสริมวา ไทยเปนประเทศที่รณรงคเรื่องการประหยัด พลังงานเปนอันดับตนๆ ของโลก แตประชาชนไมเขาใจวา ทําอยางไรถึงจะ ประหยัด!? สิ่งที่ทํามาตลอดจึงเปนการแกปญหาเฉพาะหนา เมื่อมีปญหาถึงแกไข ไมไดมองภาพรวม การประหยัดไมใชเพียงรณรงค กระตุน แตตอ งศึกษาดวยวาวิธไี หนประหยัด จริง เพราะคนไทยไมไดอยูบนพื้นฐานของความเขาใจหรือเหตุผล แตอยูกับ ความเชื่อ จึงตองแกไขตรงจุดนี้ ถามีคนทําแลวผลที่ไดไมดี ภาครัฐหรือหนวยงานที่รับผิดชอบตองแสดง ความจริงใจดวยการเปดเผยใหประชาชนไดทราบ อันไหนไมดีตองยกเลิก อัน ไหนดีตองสนับสนุน สุดทายประชาชนจะเกิดความเชื่อถืออยางแนนอน “เทคโนโลยีบางอยางตางประเทศทํามา 20 ป แตเราเพิ่งเริ่มทํา ผมคิด วาเราไมจําเปนตองไปแขงตรงจุดนั้น แตอาจจะตองซื้อชิ้นสวนบางสวนเขามา พัฒนาตอยอด ศึกษาวาอะไรเหมาะสมกับประเทศ ทําแลวเกิดประโยชนจริง อยางเทคโนโลยี ‘พลังงานจากน้ํา’ ที่มีอยูมากในบานเรา เครื่องจักรตางๆ ถูก พัฒนาเพื่อใชกับเขื่อนขนาดใหญ โดยตางประเทศยังไมไดพัฒนาตอ” “ผมคิดวาถานําเทคโนโลยีสวนนี้มาพัฒนาตอยอด เชน เครื่องกําเนิด ไฟฟาระดับเฮดต่ําๆ ถึงจะปอนเขาระบบไฟฟาของไทยไมได แตสามารถนํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 234
ไปใชกับพื้นที่ที่ผลิตได คือ ผลิตที่ไหนใชที่นั่น ตรงนี้จะลดรายจายครัวเรือน ที่สูญเงินไปกับพลังงาน และสรางความมั่นคงใหกับชุมชน เมื่อชุมชนมั่นคง สุดทายจะยอนกลับสูประเทศชาติเอง เทคโนโลยีจึงไมใชปญหา แตปญหาคือ นโยบายตองชัดเจน” ในสวนของเทคโนโลยีพลังงานทางเลือกในประเทศไทยนั้น ผศ.ดร. นิพนธ ระบุวา ไดคืบคลานเขามาสูชีวิตประจําวันของเราแลว ตัวอยางเชน ถายอน หลังไป 10 ป ปมน้ํามันจะมีน้ํามันใหเลือกแค ดีเซล กับ เบนซิน แตขณะนี้มี ทั้ง เบนซิน 95 เบนซิน 91 อี 20 อี 85 แกสโซฮอลล ก็าซเอ็นจีวี และดีเซล บี 5 สะทอนใหเห็นวา เรากําลังเขาสู ‘ยุคของความหลากหลายของพลังงาน’ แลว สวนเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับประเทศเรา หลังจากน้ํามันและกาซหมดไป นัน้ จากตัวเลขปจจุบนั สัดสวนการใชพลังงานของโลก 70% คือ ฟอสซิลฟูลเอล (fossil fuel) บวกนิวเคลียร สวน 30% ที่เหลือเปนกลุมพลังงานหมุนเวียน โดย มีน้ําเปนหลัก และไบโอแมส ซึ่งใชอยู 2 รูปแบบ ไดแก รูปแบบเกา เชน ถาน และฟน และรูปแบบใหม เชน ไบโอกาซ และโรงไฟฟาจากไบโอกาซ “อีกประมาณ 40 ปขางหนา สัดสวนที่กลาวมาจะขยับมาเกือบเทากันที่ 50 ตอ 50 ซึ่งเขาสูสังคม ‘เอนเนอรจี่มิกซ’ หมายถึงการผสมผสานกันระหวาง พลังงานฟอสซิลกับพลังงานทดแทนที่ไดจากลม น้ํา แสงแดด และชีวมวล ซึ่งจะมีความหลากหลายมาก แตตอนนี้คงไมมีใครสามารถบอกไดวาเปนตัว ไหนกันแน แตทุกตัวที่กลาวมาจําเปนตองใชทั้งหมด” ผศ.ดร.นิพนธ ประเมิน รูปแบบการใชพลังงานในอนาคต ทายสุด ดร.กิตตินันท ฝากใหภาครัฐตลอดจนคนไทยเตรียมพรอมกับ การเปลี่ยนแปลงเขาสูยุคพลังงานแบบผสมผสาน โดยภาครัฐจําเปนตองคิด ขอดี ขอเสียใหครบ มีขอมูลอางอิงที่ใชชี้แจงกับทุกฝายได และทุกหนวยที่ เกี่ยวของจะตองเดินไปในทิศทางและทํางานภายใตขอมูลตัวเดียวกัน มอง ภาพรวมวาจุดไหนเหมาะกับอะไร อยามองแคมิติเดียว เบื้องตนอาจยังไมเห็นผล แตอีก 10 ปขางหนา ถาทิศทางพัฒนาพลังงาน ตรงกันตลอดก็จะประสบความสําเร็จได
เมื่อปลาจะกินดาว 10 235
บรรณานุกรม 1. พลังงานทดแทนประเภทตางๆ. หองปฏิบัติ การวิจัย พลังงานทดแทน, คณะวิศวกรรมศาสตรและ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ. สืบคนจาก http://eng.rmutsb.ac.th/events/ WebEnergy/ 2. เทคโนโลยีเชื้อเพลิง. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน กระทรวงพลังงาน. สืบคนจาก http://www.dede. go.th/ 3. ขอมูลรถยนตพลังงานไฟฟาระบบ Zero Emission. วารสาร Engineering Today ปที่ 5 ฉบับที่ 52 เมษายน 2550 (หนา 127-130) 4. Sara Goudarzi (2008). Top 10 Emerging Environmental Technologies. Retrieved from http://www.livescience.com/ 5. Alysen Miller (2010). The view from Spain’s solar power tower. Retrieved from http://edition.cnn.com/ สัมมนาเรื่อง “เทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอมกับสังคมไทย” วันที่ 11 สิงหาคม 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม
เมื่อปลาจะกินดาว 10 236
การมีสวนรวมของชุมชน มิติใหมการกําหนดนโยบายฝาวิกฤตน้ํา อภิวัจ สุปรีชาวุฒิพงศ หนังสือพิมพโพสตทูเดย เมื่อ¸Æ ปลาจะกินµ ดาว 1010 237
ชวง 4-5 ปที่ผานมา สังคมไทยเผชิญกับวิกฤตการณน้ําในหลายรูปแบบ ทั้งภาวะขาดแคลนน้ําชวงฤดูแลง และภาวะปริมาณน้ํามากลนจนเกิดอุทกภัย ที่กอผลกระทบในวงกวาง ดานหนึ่งปญหาที่เกิดขึ้นอาจเปนปจจัยผลกระทบ จากจากสภาพภูมอิ ากาศแปรปรวน หรือภาวะโลกรอน แตอกี ดานหนึง่ ก็สะทอน ความลมเหลวของการพัฒนาที่มุงเนนการใชทรัพยากรโดยขาดแผนบริหาร จัดการที่เหมาะสม การศึกษาของสํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ระบุวา ในอนาคตสังคมไทยอาจตองเผชิญกับการแยงชิงทรัพยากรน้ํา ซึ่งเปนผล สืบเนื่องจากการขยายตัวของเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา จึงเปนเงื่อนไขใหมที่สังคมไทยไมคุนเคย ในอดี ต การกํ า หนดนโยบายจั ด สรรทรั พ ยากรน้ํ า อยู ภ ายใต อํ า นาจ เบ็ดเสร็จของรัฐภายใตกรอบแนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ที่เริ่มตนดวยการสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ แมน้ําสายหลักสําคัญหลาย สาย ถูกใชเพื่อสรางเขื่อนผลิตกระแสไฟฟา ตอบรับการขยายตัวของภาค อุตสาหกรรมและสังคมเมือง เมื่อปลาจะกินดาว 10 238
การพัฒนาประเทศในชวงครึง่ ศตวรรษทีผ่ า นมา จึงอาจกลาวไดวา เปนการ พัฒนาบนคราบน้ําตาผูดอยโอกาสที่ถูกเรียกรองใหเสียสละเพื่อความเจริญ กาวหนาของประเทศ กระทั่งปญหาสังคมที่ขยายตัวในชวงของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1-6 (พ.ศ. 2504-2534) ทัง้ ชองวางการ กระจายรายได การเติบโตของสังคมเมือง ความยากจน วิถชี วี ติ ทีไ่ มมคี ณ ุ ภาพ สิง่ แวดลอมทีเ่ สือ่ มโทรมกอมลพิษ สงผลตอสภาพจิตใจ สถิตคิ ดีอาชญากรรม พุง สูงขึน้ ทําใหแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติในระยะหลังตัง้ แตแผน พัฒนาฉบับที่ 7 เปนตนมา ใหความสําคัญกับการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม การพัฒนาคนเปนศูนยกลาง และการพัฒนาสูส งั คมอยูเ ย็น เปนสุขรวมกัน สิ่งที่ควรวิเคราะหในประเด็นนี้ก็คือ ทรัพยากรมีจํานวนจํากัด ในขณะที่ คนเริ่มมีสิทธิมีเสียงมากขึ้น จากการเมืองที่เปดกวาง การปรับแนวทางพัฒนาประเทศมามุงเนนใหความสําคัญกับนโยบายเชิง สังคมมากขึ้น เปดโอกาสใหสิทธิในกระบวนการมีสวนรวมรับฟงความเห็นของ ประชาชนถูกบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และ ไดรับการพัฒนามาเปนสิทธิของบุคคลและชุมชนในการอนุรักษ บํารุงรักษา และการได ป ระโยชน จ ากทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละความหลากหลายทาง ชีวภาพ และในการคุมครองสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อให ดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตราย ตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความ คุมครองตามความเหมาะสมในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
ความผิดพลาดจากอดีต นโยบายการจัดการน้ําที่ผานมาภายใตนโยบายรัฐ อาจยึดจุดเริ่มตนได จากการตั้งกรมชลประทาน เมื่อกวา 100 ปมาแลว โดยชวงแรกการดําเนิน การเนนไปที่การขุดคูคลองสงน้ําเพื่อเกษตรกรรม แตเมื่อถึง ป 2500 การดําเนินการในเรื่องทรัพยากรน้ําก็วางแนวทางไป ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ การสรางระบบชลประทานเพื่อปลูกพืชเพื่อการสง ออก เนนการทํานาปลูกขาวใหไดปละ 2 ครั้ง จึงตองเพิ่มพื้นที่ชลประทาน โดย เมื่อปลาจะกินดาว 10 239
การสรางเขื่อนเก็บกักน้ําเพื่อการเพาะปลูกนอกฤดูฝน รวมทั้งการสรางเขื่อน ผลิตไฟฟา ซึ่งเดิมดําเนินการโดยกรมชลประทานทั้งหมด แมแตเขื่อนภูมิพล จ.ตาก เขื่อนผลิตกระแสไฟฟาซึ่งใหญที่สุด ก็กอสรางโดยกรมชลประทาน มี เพียงเขื่อนสิรินธรที่กอสรางโดยสํานักงานพลังงานแหงชาติในขณะนั้น กลาวไดวา นับแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 เปนตน มา นโยบายการจัดการทรัพยากรน้าํ ก็รวมอยูก บั นโยบายสงเสริมการเกษตร ขณะเดียวกันก็ใชประโยชนจากเขือ่ นเหลานี้ ในดานการผลิตกระแสไฟฟา เพือ่ โครงสรางสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน ในป 2510 มีการออก พ.ร.บ. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เขื่อน ทุกเขื่อนจึงถูกโอนไปใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) กลาวได วาทิศทางการจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศนับตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 เปนตนมา เนนที่การเพิ่มพื้นที่ชลประทาน เขื่อน ภูมิพลกอสรางป 2507 แลวเสร็จป 2511 มีการเพิ่มพื้นที่การเกษตร การ ชลประทานใหลุมน้ําเจาพระยาตอนลาง ตอมาเขื่อนสิริกิติติ์กอสรางในป 2511 แลวเสร็จในป 2514 ทั้งสองเขื่อนขยายพื้นที่ชลประทานไดรวม 4 ลานไร ในชวงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 และ 4 ก็ มีการสรางเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟาคูไปกับการชลประทาน มีการกอสรางเขื่อน ศรีนครินทร เขื่อนเขาแหลม ในพื้นที่ จ.กาญจนบุรี เกิดพื้นที่ชลประทานใน ลุมน้ําแมกลอง เรียกวาชลประทานแมกลองใหญ เนื้อที่ 2.9 ลานไร เพื่อ การเกษตรกรรมในพื้นที่ จ.กาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม เพชรบุรี บางสวน ผันน้ําไปยัง จ.ชัยนาท การพัฒนาประเทศในชวงแรกๆ พืน้ ทีเ่ หลานีถ้ อื ไดวา เหมาะสมสําหรับการ สรางเขือ่ นและบริหารจัดการแบบเดิมซึง่ รัฐผูกขาดการกําหนดทิศทาง แตนบั ตัง้ แตการกอสรางเขือ่ นเชีย่ วหลาน หรือเขือ่ นรัชประภา จ.สุราษฎรธานีแลว เสร็จในป 2526 เปนตนมา ก็เริม่ มีการพูดกันถึงประเด็นการศึกษาผลกระทบ สิง่ แวดลอม ซึง่ เปนผลมาจากการทีร่ ฐั บาลมีนโยบายสรางเขือ่ นน้าํ โจนในพืน้ ที่ จ.กาญจนบุรี หาญณรงค เยาวเลิศ ประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารจัดการน้ํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 240
หาญณรงค เยาวเลิศ ประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการ
แบบบูรณาการ กลาวถึงจุดเริ่มตนของการศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอม จากการสรางเขื่อนวา อาจเปนเพราะเลือกพื้นที่กอสรางในจงกาญจนบุรี ซึ่งมี เขื่อนใหญอยูแลวถึง 3 เขื่อน ประชาชนเริ่มเห็นถึงผลกระทบจากเขื่อน กระแส คัดคานและเรียกรองใหมีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม จึงขึ้นสูงมากใน ขณะนั้น “คนเมืองกาญจนคงอิ่มตัวกับเขื่อน เพราะเริ่มเห็นผลกระทบแลว โดย พันธปลา พันธพืชผักริมน้ําหลายชนิดหายไปหลังการสรางเขื่อน” หาญณรงค ระบุ กระแสตอตานเขื่อนน้ําโจนทําใหนโยบายการกอสรางเขื่อนยยุติลงไปได ชวงเวลาหนึ่งจนถึงป 2532 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการกอสรางเขื่อน ปากมูล จ.อุบลราชธานี พรอมกับเขื่อนแกงเสือเตน จ.แพร แตเขื่อนปากมูลได รับแรงสนับสนุนจากนักการเมืองในรัฐบาล ทําใหเขื่อนกอสรางไดในป 2534 เสร็จป 2537 “ปญหาผลกระทบจากการจัดการน้ําที่ผานมาของรัฐ ทําใหเมื่อเกิด เมื่อปลาจะกินดาว 10 241
โครงการสรางเขือ่ นทีไ่ หนก็มกั ถูกคัดคาน เชน เสือเตน แมวงศ ทาแซะ รับรอ ถูกคัดคานมาตอเนื่องยาวนานที่สุด เมื่อกอนการสรางเขื่อนเหลานี้อาจมี ความเหมาะสม แตขณะนี้ความเหมาะสมดังกลาวถูกลดลงไป เชนกอผลกระ ทบตอสังคม ชุมชนสูง ตั้งแตการสรางเขื่อนปากมูลเปนตนมา การยายคน ไม สามารถหาที่ดินแปลงใหญรองรับไดอีกแลว หากมีการยายแค 100 ครัวเรือน ก็ไมสามารถหาที่รองรับไดแลว” ชวงเวลาขณะนั้น คําถามในประเด็น เขื่อนกับผลกระทบดานสิ่งแวดลอม และการจัดการน้ํา ซึ่งเปนกระแสมาตั้งแตการคัดคานการสรางเขื่อนน้ําโจน ทําใหรัฐบาลนายอานันท ปนยารชุน ออก พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 สาระสําคัญคือการกอสรางโครงการขนาดใหญ จะ ตองทํารายงานผลกระทบดานสิ่งแวดลอมหรืออีไอเอ พรอมกันนี้กฎหมายดัง กลาวทําใหเกิดหนวยงานใหม 3 หนวย คือ กรมควบคุมมลพิษ กรมสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม และสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมในขณะนั้ัน ในขณะเดียวกัน ขอเสนอเรื่องการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําก็เปนแรง ผลักดันใหมกี ารตัง้ สํานักงานทรัพยากรน้าํ แหงชาติ สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี ขึน้ ใน ป 2532 และความสําคัญของการบริหารจัดการทรัพยากรน้าํ ก็ยกระดับ ความสําคัญขึ้น โดยมีการตั้งคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีนายก รัฐมนตรีเปนประธานคณะกรรมการประกอบดวยตัวแทนจากทุกกระทรวง แมการบริหารจัดการทรัพยากรน้าํ จะเพิม่ ระดับความสําคัญ จนทุกกระทรวง ตองกําหนดเปนแผนงาน แตก็ทําใหการวางแผนกําหนดทิศทางไมสอดคลอง กัน ภายหลังการปฏิรูประบบราชการ ป 2546 รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จึงยุบคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ และสํานักงานทรัพยากรน้ําแหง ชาติ จากสํานักนายกรัฐมนตรี มาตั้งเปนกรมทรัพยากรน้ํา สังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อทําหนาที่กําหนดนโยบายดานการ บริหารจัดการน้ํา
จากรัฐสูภาคประชาชน การที่รัฐผูกขาดการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํามาโดยตลอด กอปญหา เมื่อปลาจะกินดาว 10 242
อยางกวางขวาง และปญหาสําคัญคือการยายประชาชนจํานวนมากออก จากพื้นที่น้ําทวมหลังเปดเขื่อนกรณีผลกระทบจากการกอสรางเขื่อนปาก มูล จ.อุบลราชธานี และเขื่อนราษีไศล จ.ศรีสะเกษ ชวงป 2536-2537 มีขอ เสนอจากภาคประชาชน นักวิชาการวาทําไมประเทศไทยไมมีคณะกรรมการ ลุมน้ํา ซึ่งโครงสรางไมควรที่จะใหรัฐมนตรี อธิบดี ขาราชการมาอยูในคณะ กรรมการฝายเดียว แตควรใหประชาชนเขามามีสวนรวม จากแนวคิดวากอน ที่รัฐจะตัดสินใจดําเนินโครงการที่จะกอผลกระทบก็ควรถามประชาชนกอน ดังนั้นตั้งแตป 2538 เปนตนมา สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ กรมชลประทาน และกฟผ. ก็เสนอโครงการนํารองการตั้งคณะกรรมการลุม น้ํา นํารองใน 5 ลุมน้ํา ประกอบดวย ลุมน้ําปงตอนบน ลุมน้ําปงตอนลาง ลุมน้ําปาสัก ลุมน้ําทาตะเภา จ.ชุมพร พื้นที่โครงการพระราชดําริหนองใหญ และลุมน้ําทาจีน ไดรับทุนสนับสนุนจากสถานเอกอัคราชทูตสหรัฐอเมริกา ประจําประเทศไทยจํานวน 1 ลานเหรียญ เพื่อศึกษาวาโครงสรางของคณะ กรรมการลุมน้ําควรเปนอยางไร ผลการศึกษาโครงสรางของคณะกรรมการลุมน้ําไดขอสรุปวา ใหผูวา ราชการจังหวัดในพื้นที่นั้นเปนประธานคณะกรรมการลุมน้ํา สําหรับแมน้ํา ที่ผานหลายจังหวัดก็ใชวิธีคัดเลือก เชน แมน้ําปาสักไหลผาน 4 จังหวัด เมื่อปลาจะกินดาว 10 243
แตผานพื้นที่ จ.ลพบุรีมากสุด ก็ใหผูวาราชการจังหวัดลพบุรีเปนประธาน สวนกรรมการที่เหลือ ประกอบดวย ชลประทานจังหวัด โยธาธิการจังหวัด เกษตรจังหวัด มีตัวแทนภาคประชา 4-8 คนเปนกรรมการ ซึ่งเปนจุดเริ่มตน การนํารองในพื้นที่ 5 ลุมน้ําในป 2538 เริ่มเปนรูปเปนรางใน ป 25402541 ขยายครอบคลุมลุมน้ําอื่นๆ ซึ่งมีถึง 29 ลุมน้ํา หาญณรงค ซึ่งติดตามนโยบายการตั้งคณะกรรมการลุมน้ํามาตั้งแตตน วิเคราะหวา เปนจุดเริ่มตนซึ่งเริ่มไดไมคอยดี เชน ตัวแทนภาคประชาชน มี การระบุวาเลือกจากองคกรปกครองทองถิ่น ที่ถือวาเปนตัวแทนประชาชน ซึ่ง แทนที่จะทําใหภาคราชการและภาคประชาชนไดรวมกันคิด รวมกันกําหนด แผน แตกลับเปนปญหาคือ ผูมาเปนกรรมการถูกเลือกมาจากนายกองคการ บริหารสวนจังหวัด (อบจ.) ซึ่งสวนใหญไมมีความรูและไมเขาใจปญหาลุมน้ํา “เปนเรื่องยากที่จะใหคนที่ไมเขาใจมาวางแผนวาการจัดการลุมน้ําทั้งลุม น้ํานั้นควรทําอยางไร บางคนเปนผูรับเหมา เพราะเขาใจวาจะมีงบประมาณ เกี่ยวกับการกอสราง ซึ่งทําใหผิดวัตถุประสงคไป” ปญหาอีกประการของคณะกรรมการลุมน้ํา ซึ่งกลายเปนประเด็นที่ทําให การบริหารจัดการลมเหลวก็คือ การพวงเรื่องงบประมาณเขาไปในคณะ กรรมการลุมน้ําดวย ทําใหเปาหมายการดําเนินการมุงไปที่งบประมาณเปน สวนใหญ “จุดประสงคการดําเนินการก็เปลี่ยนไป เชน ลุมน้ํานี้ไดงบเทาไหร ก็เชิญ ชาวบานมาคุยวาจะทําอะไร พอถึงเวลาจริงไดงบมาไมเทากับที่ชาวบานเสนอ ทําใหเขวไปหมด” หาญณรงค ระบุ
วิกฤตน้ํา ความทาทายในอนาคต นับตัง้ แตป 2540 เปนตนมา ประเด็นสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไดรบั การบัญญัตไิ วในรัฐธรรมนูญ การดําเนินโครงการพัฒนาแหลงน้าํ ขนาดใหญ ของรัฐเชนในอดีตมีขอ จํากัดมากขึน้ ทัง้ เรือ่ งพืน้ ที่ ความเห็นของคนทองถิน่ เกษมสันต จินณวาโส อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา วิเคราะหแนวโนม ของวิกฤตทรัพยากรน้ําในอนาคตอันใกลนี้วา การขยายตัวของเศรษฐกิจและ สังคม รวมทั้งสถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกทําใหฤดูกาล เมื่อปลาจะกินดาว 10 244
เปลี่ยน ฝนที่เคยตกเฉลี่ยปละ 1,200-1,400 มิลลิเมตร ก็เริ่มนอยกวาคาเฉลี่ย ความทาทายของอนาคตก็คือจะหาน้ําจากที่ไหน เพราะการดําเนินโครงการ ตางๆ แมไมมีอุปสรรค แตอยางนอยก็ตองใชเวลาเตรียมการจนถึงขั้นกอสราง ซึ่งตองใชเวลานับ 10 ป “ปญหาขาดแคลนน้ําในอนาคตเกิดขึ้นแน เพราะฉะนั้นสิ่งที่ผมอยากเห็น คือการวางแผนลวงหนา ใหไดรวมกันศึกษา วางแนวทาง เพื่อใหไดขอมูล ขอ เท็จจริง ไมใชพอเริ่มแนวคิดก็เริ่มคาน” ขณะที่หาญณรงค เห็นวาแนวคิดการบริหารจัดการน้ําของหนวยงานรัฐก็ ยังเปนการจัดหาน้ําเหมือนเดิมไมเคยเปลี่ยน โดยไมมองการบริหารจัดการทั้ง ลุมน้ํา เขาเสนอแนวคิดการจัดการน้ําแบบผสมผสาน โดยพิจารณาทรัพยากร ทั้งหมดในพื้นที่ลุมน้ํานั้น เชน ปา ที่ดิน และน้ํา จะใชอยางไร ประการตอ มาตองใหทุกภาคสวนของผูมีสวนรวม ทั้งหนวยงานราชการ ภาคประชาชน ภาควิชาการ ที่จะมารวมจัดการ “ที่สําคัญเชิญเขามารวมแลวตองฟงเสียงดวย มิฉะนั้นถาขาดสวนใด เราจะไมมีทิศทางการจัดการเลย นักการเมืองชอบพูดวารัฐบาลพรอมทุมงบ ประมาณเรื่องการจัดการน้ํา แตการจัดการน้ําไมใชเรื่องของงบประมาณ แต เปนเรื่องความเขาใจ เชน จัดการโดยทุมงบประมาณสรางเขื่อน แตฝนไม ตกลงอางเก็บน้ําแลวจะมีประโยชนอะไร จึงจําเปนตองมีการปรับบทบาท เชน กรมชลประทาน แทนที่จะไปคิดทําโครงการกอสรางเขื่อน ก็ควร กลั บ มาคิ ด ว า ทํ า อย า งไรจึ ง จะมี พื้ นที่ ช ลประทานได ต ามแผนที่ ว างไว เดิ ม เพราะใชเงินนอยกวาการสรางเขื่อนมาก เปลี่ยนจากการเปนผูจัดหามาเปน ผูบริการ ทําอยางไรใหคลองซอยขนาดเล็กหรือคลองไสไกระบบชลประทาน ดั้งเดิมของชาวบานจะมีประสิทธิภาพจริง เพราะที่ผานมาถูกทําลายเพราะ พื้นที่การเกษตรเปลี่ยนเปนพื้นที่อุตสาหกรรม นี่คือสิ่งที่ตองฟน” ขอเสนอของหาญณรงคมุงเนนการเปลี่ยนแนวคิดของภาครัฐ จากการ จัดหาน้ํามาเปนการจัดการน้ํา เขายกตัวอยางใหเห็นวา ประเทศไทยมีพื้นที่ การเกษตร 130 ลานไร แตที่ผานมาหาน้ําดวยการสรางเขื่อน ชวยใหมีพื้นที่ ชลประทานเพื่อการเกษตรเพียงแค 40 ลานไรเทานั้น ดังนั้นจึงมีโจทยวา การ เมื่อปลาจะกินดาว 10 245
หาน้ําเพียงอยางเดียว ตอบโจทยการบริหารจัดการน้ําอยางทั่วถึงจริงหรือไม ผลการศึกษาของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตั้งแตป 2547 ก็ พบวา พื้นที่การชลประทาน คงไมมีศักยภาพมากไปกวานี้อีกแลว แผนการบูรณาการการจัดการน้ําของประเทศภายใน 5-10 ป ตั้งเปาจะ ขยายพื้นที่ชลประทานใหไดถึง 60 ลานไร ปญหาก็คือจะใชวิธีการใด หลาก หลายแนวทางที่เสนอไวคือ การผันน้ําขามลุมน้ํา กับการสูบน้ําดวยระบบทอ หรือ Water Grid และการผันน้ําจากตางประเทศเขามา ซึ่งตองใชงบประมาณ มหาศาล ผันน้ําโขงใชงบ 2,000 ลาน เพิ่มพื้นที่ชลประทานไดแค 1 ลานไร ขณะที่โครงการโขง ชี มูล จะเพิ่มพื้นที่ชลประทานได 4.9 ลานไร เขาวิพากษโครงการหาน้ําของรัฐเหลานี้วา เปนการลงทุนสูง แตไมอาจ สรางความมั่นใจถึงการบริหารจัดการน้ําที่สมบูรณได “โครงการผันน้ําโขง ชี มูลจะกอสรางเขื่อน 6 เขื่อนในลําน้ํามูล ลําน้ํา ชีอีก 7 เขื่อน ในลําน้ําชีทั้งหมดสรางเสร็จแลว แตลําน้ํามูลคงเหลือเขื่อนหัว นาในพื้นที่ อ.กันทรารมย จ.ศรีษะเกษ จากนั้นตองผันน้ําชีลงน้ํามูลแถว จ.กาฬสินธิ์ ลงลําน้ํามูลพื้นที่ จ.สุรินทร แตคลองผันน้ําผานพื้นที่บอเกลือ อ.กันทรวิชัย จึงไมผาน ทําใหเปดพื้นที่ชลประมาณไดแคหลักหมื่น จากที่ วางแผนไวประมาณ 4 ลานไร ขณะที่ลงทุนไปแลวกวา 4 หมื่นลาน ซึ่งหาก ดําเนินการครบทุกโครงการจะใชเงินกวา 2 แสนลาน” หาญณรงควิพากษแนวทางของรัฐดวยวา โครงการเดิมยังไมจบก็มาเริ่ม ทําโครงการใหม คือ ผันน้ําจากแมน้ําโขง ในพื้นที่ อ.ปากชม จ. เลย เขาแมน้ํา ชี อาจมีการสรางเขื่อนที่ อ. ปากชม เมื่อแมน้ําโขงเออ ก็สูบน้ําทายเขื่อน ที่ อ. เชียงคาน เขามาสรางอุโมงคสงน้ําระยะทางประมาณ 90 กิโลเมตร มา ลง จ. หนองบัวลําภู เชื่อมตอมายังเขื่อนอุบลรัตน จ. ขอนแกน มีการอนุมัติ งบประมาณ 180 ลาน เพื่อศึกษาความเปนไปได และทําอีไอเอภายใตกรม ทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หลายคนยังสงสัยวา การดําเนินโครงการดังกลาวจะทําใหการบริหารจัดการ น้ําสมบูรณหรือไม ซึ่งหาญณรงคมองวา อาจไมไดตอบโจทยทั้งหมด ขอเสนอของภาคประชาชน ในประเด็นการเปดโอกาสการมีสวนรวมและ เมื่อปลาจะกินดาว 10 246
รับฟงแนวคิดของภาคประชาชนสอดคลองกับความเห็นของเกษมสันต เขา เห็นวา การบริหารจัดการน้าํ ทัง้ ภาคราชการและประชาชนตองยอมรับฟงขอมูล ซึ่งกันและกัน ภายใตขอจํากัดของการดําเนินโครงการขนาดใหญ และกระแส คัดคาน ที่มีวิกฤตการณน้ําเปนความทาทาย ทั้งสองฝายตองรวมกันหา ทางออกที่เหมาะสม “การสรางเขื่อนเราตองพิจารณาขอเท็จจริง เชนพื้นที่ขาดแคลนน้ํา ก็ ตองเริ่มจากการศึกษาปริมาณน้ําตนทุนที่แทจริง เชน น้ําในลําน้ํา 8,000 ลาน ลูกบาศกเมตร ไปอยูตามหวย หนอง คลอง บึงเทาไหร เราปรับปรุงแหลง น้ําธรรมชาติพวกนี้กอนดีไหม เพื่อใหไดประสิทธิภาพในการกักเก็บ ลวนมา ตั้งคําถามวาน้ําพอหรือยัง ถาขาด ขาดอีกเทาไหร ลดขนาดเขื่อนไดไหม ยาย ที่กอสรางเพื่อลดผลกระทบไดไหม หาทางเลือกอื่นแลวนําขอมูลมาบอกกับ ประชาชน มิฉะนั้นจะมีปญหาตอความไวเนื้อเชื่อใจ ซึ่งที่ผานมาก็มักมีความ คลางแคลงใจวา ไดขอมูลที่ไมชัดเจน” หาญณรงค ระบุ
พ.ร.บ. น้ํา : ความเปนธรรมและสิทธิ แมจะมีการปรับปรุงโครงสรางหนวยงานภาครัฐเพื่อการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้าํ ใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ แตกย็ งั ไมมกี ฎหมายทีร่ ะบุอาํ นาจหนาที่ ไวโดยตรง แนวคิดเรื่องพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา ปรากฎขึ้นครั้งแรกเมื่อป 2532 “เราเลียนแบบจากอิสราเอล ซึ่งถือวาน้ําเปนของรัฐ รัฐมีอํานาจในการ ตัดสินใจ ในขณะที่ลาว เวียดนาม ระบุไวในกฎหมายวา น้ําเปนของประชาชน เราเริ่มศึกษาพ.ร.บ. น้ํามาตั้งแตป 2532 เสร็จป 2534 จางมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตรยกราง โดยเลียนแบบอิสราเอล พอป 2535 กฎหมายฉบับนี้ก็ถูก เก็บเอาไว พอมาถึงชวงป 2540 ซึ่งมีการตั้งกรรมการลุมน้ํานํารอง ป 2543 จึง นําพ.ร.บ. นี้มาปดฝุนใหม สมัชชาคนจน ซึ่งมีปญหาเรื่องเขื่อน 10 แหงลมไม เอาพ.ร.บ. ฉบับนี้ ชวงป 2544 รัฐบาลทักษิณ นายประพัฒน ปญญาชาติรักษ เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ก็ใหไปพิจารณาใหม จาง ธรรมศาสตรอีก เสร็จป 2546 เขากรรมาธิการประมาณ ป 2547 ป 2549 เกิด รัฐประหาร มาจนถึงรัฐบาลพล.อ. สุรยุทธ จุลานนท” หาญณรงคเลาถึงที่มา เมื่อปลาจะกินดาว 10 247
ของกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ําดังกลาว เขาวิเคราะหรายละเอียดกฎหมายฉบับนีว้ า ในพ.ร.บ.นีม้ รี ายละเอียดเกีย่ วกับ กรรมการนโยบายทรัพยากรน้าํ แหงชาติ กรรมการลุม น้าํ และการบริหารจัดการ น้ํา รวมทั้งกองทุนน้ํา และใหอํานาจบางอยางกับพนักงานเจาหนาที่ กรม ทรัพยากรน้ําเปนพนักงานเจาหนาที่ตามพ.ร.บ.นี้ “รัฐบาลทวงติงเรื่องกองทุนน้ํา เพราะเกี่ยวของกับการปรับปรุงระบบ เหมืองฝาย มีกลไกเรื่องการเปดเวทีสาธารณะ การพิจารณาเรื่องน้ํา มันจะ มีใครไดใครเสีย เปนบวกเปนลบ แลวประเด็นที่ภาคประชาชนทวงติงเรื่อง การไดมาของคณะกรรมการลุมน้ํา ซึ่งตองมาจากการเลือกเฟนผูที่รูเรื่อง และสนใจดวย ไมใชไดคนที่ไมรูเนื่องเขามาแบบเดิม โดยผานจากองคกร ปกครองสวนทองถิ่น” “รวมทัง้ การเพิม่ สัดสวนกรรมการจากภาคประชาขนใหมากขึน้ ซึง่ กฤษฎีกา รับไมได โดยเฉพาะในคณะกรรมการทรัพยากรน้าํ แหงชาติ ก็เสนอตัวแทนภาค ประชาชน และเสนอไปแลวตองรับ แตกฎหมายเขียนวาใหเปนดุลยพินจิ ของ รัฐมนตรี เชนเดียวกับคณะกรรมการสิง่ แวดลอมในปจจุบนั ซึง่ ตัง้ โดยดุลยพินจิ ของรัฐมนตรี” พ.ร.บ. นี้ยังมีขอทวงติงอยูในหลายมาตรา เชน คณะกรรมการทรัพยากร น้ําแหงชาติควรมีภาควิชาการที่เปนอิสระเขามา ก็ยังไมมี อีกทั้งอํานาจตัดสิน ใจของคณะกรรมการลุม น้าํ ไมใชมาพิจารณาโครงการ แตนา จะพิจารณาแนวทาง การจัดการน้ํา แตขณะนี้คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติใหสงรางเขาสภาไปแลว ขอถกเถียงสําคัญของรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา หรือพ.ร.บ. น้ํา คือการจัดการน้ําจะถูกรวมศูนยอํานาจการจัดการโดยรัฐ ในรูปแบบเดียวกัน ทั่วประเทศ ลักษณะเชนนี้เปนการลดทอนความสําคัญของภูมิปญญาอัน หลากหลายเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ําของชุมชน ซึ่งแตกตางไปตาม พื้นถิ่น ถึงที่สุดแลวหากแนวคิดภายในกฎหมายดังกลาวยังเปนเชนนี้ กลุม ชาวบานผูดอยโอกาสก็ยังถูกจํากัดสิทธิในการเขาถึงทรัพยากรน้ํา เกษมสันต จินณวาโส อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา กลาวถึงขั้นตอน ของกฎหมายฉบับนีว้ า อยูร ะหวางการปรับปรุง แตเปนเครือ่ งมืออยางหนึง่ หาก เมื่อปลาจะกินดาว 10 248
เกษมสันต จินณวาโส อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา
ออกมาแลวก็ตอ งใหครอบคลุม ใหทกุ คนไดรบั ประโยชนและเห็นพองตองกัน ขอทวงติงหลายประการในรางกฎหมายดังกลาว อาทิ การกําหนดให แหลงน้ําของรัฐเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน การใหรัฐมีอํานาจพัฒนา แหลงน้าํ และสัดสวนของคณะกรรมการในการบริหารทรัพยากรน้าํ ทัง้ ในระดับ ชาติ และระดับลุมน้ํา มีภาคราชการมากกวาภาคประชาชน ในขณะที่มี อํานาจบริหารจัดการทรัพยากรน้ําโดยทั่วไป ในขณะทีเ่ จตนารมณของกฎหมายเพือ่ สรางเอกภาพ กระจายอํานาจและ การใหประชาชนมีสวนรวม ซึ่งมีนัยของการจัดการทรัพยากรน้ํา โดยคํานึง ถึงวิถีชีวิต ความรู ภูมิปญญาชาวบาน ระบบนิเวศพื้นถิ่น ซึ่งเปนการพัฒนา แบบมีสวนรวม แตภายใตสาระสําคัญดังกลาวของกฎหมายฉบับนี้ ซึ่งไมเปด โอกาสใหภาคประชาชน ยอมเปนอุปสรรคตอเจตนารมณของกฎหมาย ในมุมมองของภาคประชาชน หาญณรงคมองวา หากอํานาจการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ํา ยังอยูในมือของรัฐเกือบ 100 % เชนที่ผานมา ก็ไมอาจ หวังไดถึงการเปลี่ยนแปลงเพื่อการบริหารจัดการที่ดีกวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 249
“ในมุมมองผม ประเทศไทยฝนตกโดยเฉลี่ย 1,700 มิลลิเมตรตอป นอย ที่สุดคือ จ.ศรีสะเกษปละ 1,300 มิลลิเมตร ยิ่งภาคใตเฉลี่ยฝนตกปละ 200 วัน ไมมีความจําเปนตองสรางเขื่อน การจะสรางพื้นที่ชลประทานเพื่อทํานาแบบ ภาคกลางเหมือนกันทั้งประเทศมันไมเหมาะสม” หาญณรงคยกตัวอยางการดําเนินโครงการผันน้ําขามลุมน้ํา ซึ่งถารัฐคิด แบบนี้ก็คือความลมเหลว ถาผันน้ําจากลุมน้ําหนึ่ง หมายความวาลุมน้ําที่ถูก ผันไปบริหารลมเหลว เหมือนมีเงิน 100 แตใช 150 ตองกูย มื จากคนอืน่ มาเพิม่ สิง่ ทีต่ อ งสอดคลองกัน คือ 1. กิจกรรม 2. การบริหารจัดการ 3. การมีสว นรวม ในทุกขั้นตอนของการบริหารจัดการ อยางภาคตะวันออก น้ําเพื่อการเกษตร น้ําเพื่อการอุปโภค บริโภค และน้ําเพื่อการอุตสาหกรรม เปนอันดับ 3 แตเอา เขาจริงเราหมุนใหม น้ําเพื่ออุตสาหกรรมมาเปนอันดับ 1 หากจะจัดการอยางนี้ ก็ได แตการเวนคืนก็ตองจายในอัตราของวนคืนเพื่อใชน้ําในภาคอุตสาหกรรม ไมใชในอัตราการทําพื้นที่ชลประทาน ซึ่งไมถูกตอง ชวงหลังมีบางพื้นที่ซึ่งชัดเจนวาตองการสรางเขื่อนเพื่อนําน้ําไปใชในภาค อุตสาหกรรม เชน เขื่อนทาแซะ สรางโดยกรมชลประทาน ตองการน้ําไปใช ในโครงการเครือสหวิริยา เขื่อนจุน้ํา 150 ลาน ตองการใชกับอุตสาหกรรมใน เครือสหวิริยาปละ 30 ลาน ชาวบานจึงรูสึกวาไมยุติธรรม ภายใตความรูสึกที่ไมเปนธรรม ประกอบกับวิกฤตการณที่รออยูขางหนา หากรัฐไมมีกลไก และเครื่องมือเพื่อขจัดความไมเปนธรรม การปะทะกันภาย ใตการแยงชิงทรัพยากรเปนเรื่องที่นากังวลยิ่ง
การมีสวนรวมของชุมชน : มิติใหมของการกําหนดนโยบาย การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําที่ผานมา ซึ่งรัฐเปนผูจัดหาและจัดการ แหลงน้ํา ตลอดจนปญหาวิกฤตน้ําทั้งจากภาวะแลงและทวม พิสูจนใหเห็นถึง ประสิทธิภาพการจัดการของรัฐ ขณะที่ชาวบาน ชุมชน มีพื้นฐานการจัดการ น้าํ แทรกอยูใ นวิถชี วี ติ การเปดโอกาสใหชมุ ชนไดนาํ ความรูเ กีย่ วกับการจัดการ ทรัพยากรน้ํามารวมกําหนดนโยบาย จึงเปนมิติใหมของการกําหนดนโยบาย เพราะเปนนโยบายที่ผลิตขึ้นจากความสัมพันธระหวางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจชุมชน และระบบนิเวศทองถิ่น เมื่อปลาจะกินดาว 10 250
“ยุทธศาสตรการจัดการลุมน้ํา 25 ลุมน้ําของประเทศ เปนความพยายาม ที่จะอธิบายเรื่องกระบวนการมีสวนรวม แตเอาเขาจริงก็เปนเพียงการสราง ความชอบธรรมใหกับโครงการตางๆ” สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา คณะทํางาน เครือขายลุมน้ําภาคเหนือ วิพากษถึงแนวทางการสงเสริมการมีสวนรวมที่ รัฐดําเนินการมา ขณะที่หาญณรงค มองวา ความรูในการจัดการน้ําที่ผานมาอาจมอง แตตัวน้ํา แตไมไดมองสิ่งที่อยูกับน้ํา เชน วิถีชีวิต จึงตองสรางความรู ความ เขาใจใหตรงกันไดอยางไรบาง “ทั้งหมดนี้เปนการเรียนรูดวยกัน ไมใชตั้งแลวจะปรับเปลี่ยนทันที เพราะ การเรียนรูของภาคประชาชนมาจากประสบการณที่ผานมา ขณะที่หนวยงาน ราชการไมคอยปรับการเรียนรู ฉะนั้นการผลักดันในเชิงนโยบาย หรือการนํา บางกรณีมาเปนบทเรียนจึงไมคอยมี ไมคอยทํา จึงทําผิดซ้ําแลวซ้ําอีก ถาดู จากแผนงบประมาณ เราก็จะเห็นการจัดการแบบเดิม” บทเรียนของภาคประชาชนที่สงเสริมใหมีการรวมตัวกันอยางเขมแข็งมา
เมื่อปลาจะกินดาว 10 251
จากการเรียนรูรวมกัน หาญณรงคยกตัวอยางกรณีลุมน้ํายมซึ่งเปนโครงการ นํารอง ที่จัดโครงการใหคนตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํามาเจอกัน คนขาง ลางขึ้นไปดูขางบน ขางบนก็มาดูขางลาง พูดคุยแลกเปลี่ยนทําใหเห็นภาพ รวมของทั้งลุมน้ํา “ชาวบานเขาพูดภาษาเดียวกัน แตภาครัฐกลับเห็นในสิ่งตรงขาม และไม ฟงความเห็นของชาวบาน เชนปญหาน้ําทวม ชาวบานในลุมน้ําเห็นวาเพราะ มีการกอสรางสิ่งกีดขวางทางน้ํา แตรัฐแกโดยการสรางเขื่อนเพื่อปองกันน้ํา ทวม สวนภัยแลง ก็เพราะเราใชน้ํามากเกินกวาที่น้ําจะมีใหได แตเราบอกวา เพราะไมมีเขื่อนเก็บน้ํา เราพูดกันคนละเรื่อง” ภายใตความขัดแยงแนวคิด หาญณรงคมองวา โครงการกระบวนการมี สวนรวม จึงไมควรมองแคบโดยการมีตวั แทนประชาชนในคณะกรรมการระดับ ตางๆ เทานัน้ เนือ้ แทของการมีสว นรวมทีภ่ าคประชาชนตองการคือ รวมตัง้ แต การวางแผน และตัดสินใจรวมกัน “ขณะที่สวนใหญที่ทําๆ กันก็คือรวมคิดแผน แตการรวมตัดสินใจยังไม 100 % ซึ่งเกิดจากความเขาใจวา เมื่อรวมคิดแผนแลวก็คือการรวมตัดสินใจ ดวยกันแลว แตไมไดมีการนําแผนแมบทดูวาเห็นดวยหรือไม ดังนั้นเราจะเห็น วาแผนพัฒนาลุมน้ําจะมักถูกอางวา คิดมาดวยกันแลว” “ผมอยากใหมีการรวมกันติดตามและตรวจสอบดวยแตในคณะกรรมการ ลุมน้ําที่ทํากันมา ยังตองปรับปรุงอีกมาก ยิ่งกวานั้นการรวมงาน การมีสวน รวม จะประชุมกันไดหรือไมขึ้นอยูกับงบประมาณดวย การประชุมขึ้นอยูกับ เลขานุการ สวนใหญจะเปนผอ. สํานักภาคน้ํา หรือไมมีเรื่องพิจารณา เพราะ เรื่องถูกกําหนดไวในแผนงบประมาณแลว รวมทั้งยังมีประเด็นดานการไกล เกลี่ยปญหาการจัดการน้ํา การแบงสัดสวนการใชน้ําที่ไมลงตัว” ขอเสนอเหลานี้ เปนสิ่งที่ภาครับและภาคประชาชน ยังตองขับเคี่ยวกัน ตอไป ในภาวะที่ทรัพยากรน้ํา มีสถานะเปนปจจัยการผลิตที่สําคัญตอพื้นฐาน เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทั้งในดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม รวมทั้ง การอุปโภคบริโภค ประเด็นการขับเคีย่ วทีน่ า จับตา คือประสิทธิภาพของนโยบายการบริหาร เมื่อปลาจะกินดาว 10 252
จัดการทรัพยากรน้าํ ภายใตระบบการเมืองทีเ่ ปดกวางในเรือ่ งสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนการกําหนดโครงสรางทางการเมือง ใหประชาชนเจาของอํานาจไดเขา มามีสว นรวมในกระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะ รวมทัง้ การตรวจสอบ นโยบาย
เมื่อปลาจะกินดาว 10 253
บรรณานุกรม กนกวรรณ มะโนรมย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ‘ภัยแลง การจัดการน้ํา และนโยบายสาธารณะ’ หนังสือพิมพมติชนราย วัน 19 เมษายน 2548 รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําพ.ศ. ... กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สัมภาษณ เกษมสันต จิณณวาโส อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรกฏาคม 2553 สัมมนาเรื่อง “ฝาวิกฤตน้ําดวยกระบวนทัศนการจัดการใหม” วันที่ 19 สิงหาคม 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม
เมื่อปลาจะกินดาว 10 254
ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย Thai Society of Environmental Journalists, Thai Journalists Association 538/ 1 ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 02-243-8739 โทรสาร 02-668-7740 E-mail : thaisej@yahoo.com คณะกรรมการบริหาร 1. นายวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ นิตยสารสารคดี ประธาน 2. นางสาวจิตติมา บานสราง รายการ 360 องศา สถานีโทรทัศนไทยทีวีสีชอง 3 รองประธาน 3. นายเอมพงศ บุญญานุพงศ หนังสือพิมพขาวสด เลขานุการ 4. นางสาวจันทรจิรา พงษราย หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ เหรัญญิก 5. นางสาวกุลธิดา สามะพุทธิ หนังสือพิมพบางกอกโพสต กรรมการ 6. นางสาวชุติมา นุนมัน หนังสือพิมพมติชน กรรมการ 7. นางสาวอัญชลี คงกรุต หนังสือพิมพบางกอกโพสต กรรมการ 8. นายพิเชษฐ ชูรักษ หนังสือโพสตทูเดย กรรมการ กรรมการ 9. นายปองพล สารสมัคร หนังสือพิมพเดอะเนชั่น 10. นางสาวน.รินี เรืองหนู หนังสือพิมพมติชน กรรมการ 11. นางสาวฐปนีย เอียดศรีไชย รายการขาว 3 มิติ สถานีโทรทัศนไทยทีวีสีชอง 3 กรรมการ คณะกรรมการที่ปรึกษา 1. ผศ.ดร.อนุชาติ พวงสําลี คณะสิ่งแวดลอม และทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. นายรุจน โกมลบุตร คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 3. นายวสันต เตชะวงศธรรม สํานักพิมพทางชางเผือก 4. นายกิตติ สิงหาปด สถานีโทรทัศนไทยทีวีสี ชอง 3 5. นายภัทระ คําพิทักษ หนังสือพิมพโพสตทูเดย 6. นายชวรงค ลิมปปทมปาณี หนังสือพิมพไทยรัฐ 7. นายบรรยงค สุวรรณผอง อิคอนนิวส 8. นสพ.รัฐพันธ พัฒนรังสรรค คณะสัตวแพทย มหาวิทยาลัยมหิดล ผูประสานงาน นางสาวกชกร จูจันทร
รายนามผูเชี่ยวชาญที่รวมวิจารณและเสนอแนะ ชื่อเรื่อง ผาทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา นักเขียน จันทรจิรา พงษราย หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ นักวิชาการ ผศ.อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชื่อเรื่อง สิ่งแวดลอมศึกษา...ทิศทางการพัฒนาอยางยั่งยืน นักเขียน เกื้อเมธา ฤกษพรพิพัฒน นักวิชาการ สาวิตรี ศรีสุข ผูอํานวยการสวนสิ่งแวดลอมศึกษา กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม ชื่อเรื่อง ปนฝนทางจักรยาน : บทเรียนจากยุโรป นักเขียน น.รินี เรืองหนู หนังสือพิมพมติชน นักวิชาการ ทวีศักดิ์ บุตรตัน ผูชวยบรรณาธิการ หนังสือพิมพมติชน ชื่อเรื่อง ผาเปลือกเถือหนังเนื้อแทซีเอสอาร นักเขียน อัญชลี คงกรุต หนังสือพิมพบางกอกโพสต นักวิชาการ อนันตชัย ยูรประถม ผูอํานวยการสถาบันพัฒนาธุรกิจอยางยั่งยืน ชื่อเรื่อง เอ็นจีโอสิ่งแวดลอม...ผูปกปองหรือทําลายโลก นักเขียน ชุติมา นุนมัน หนังสือพิมพมติชน นักวิชาการ ภาสกร จําลองราช ผูสื่อขาวหนังสือพิมพมติชน ชื่อเรื่อง นักขาวและพื้นที่ขาวสิ่งแวดลอม สวนทางแนวโนมวิกฤตสิ่งแวดลอม นักเขียน เกรียงไกร ภูระยา หนังสือพิมพไทยรัฐ นักวิชาการ หาญณรงค เยาวเลิศ ประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารและจัดการน้ํา แบบบูรณาการ (ประเทศไทย) ชื่อเรื่อง ฉลากเขียว...สูสังคมคารบอนต่ํา นักเขียน อภิญญา วิภาตะโยธิน หนังสือพิมพบางกอกโพสต นักวิชาการ วรศาสตร อภัยพงษ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ ชื่อเรื่อง 2 นักอนุรักษตนแบบ บนเสนทางที่บรรจบกัน นักเขียน ธเนศน นุนมัน หนังสือพิมพโพสตทูเดย นักวิชาการ ภาสกร จําลองราช ผูสื่อขาวหนังสือพิมพมติชน ชื่อเรื่อง ทางเลือกเทคโนโลยีพลังงานสําหรับสังคมไทย นักเขียน วันเสาร แสงมณี หนังสือพิมพขาวสด นักวิชาการ ดร.กิตตินันท อันนานนท หัวหนาศูนยความเปนเลิศเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (XCEP) ศูนยเทคโนโลยี โลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) ชื่อเรื่อง การมีสวนรวมของชุมชนมิติใหมการกําหนดนโยบายฝาวิกฤตน้ํา นักเขียน อภิวัจ สุปรีชาวุฒิพงศ หนังสือพิมพโพสตทูเดย นักวิชาการ หาญณรงค เยาวเลิศ ประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารและจัดการน้ํา แบบบูรณาการ (ประเทศไทย)