การประเมินแบบเสริมพลัง EE

Page 1

การประเมินแบบเสริมพลัง

(Empowerment Evaluation)

อีกหนึ่งในเครือ ่ งมือการ ถอดบทเรี ย น รศ.ดร.ประภาพรรณ อุนอบ ่

คณะสั งคมศาสตรและมนุ ษยศาสตร ์ มหาวิทยาลัยมหิดล ์ เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบต ั ก ิ ารเสริมศั กยภาพ เครือขาย ่ พหุภาคีโดยการถอดบทเรียนการทางานในรายพืน ้ ที่ 1 ครัง้ ที่ ๒


การถอดบทเรียนจากผลการประเมิน • เป็ นการสกัดความรูที ้ จากผล ้ เ่ กิดขึน การประเมินโครงการวา่ มีเงือ ่ นไข ่ ่ งผลให้โครงการมีผล ปัจจัยใดบ้างทีส การดาเนินงานเช่นนั้น • การถอดบทเรียนแบบนี้ ให้ ความสาคัญกับผลการประเมินมาก ดังนั้นกอนถอดบทเรี ยนตองมั น ่ ใจใน ่ ้ ผลการประเมินโครงการกอนว า่ ่

2


การเสริมพลังคืออะไร? • กระบวนการทีท่ าให้คน/องคกร/ชุ มชม ์ มีอท ิ ธิพลเหนือสถานการณที ์ เ่ ป็ นปัญหา (Fawcett, White และคณะ 1994)

• การสราง ความเข มแข็ ง และสมรรถนะให ้ ้ ้ คน/กลุมคน ในการช่วยเหลือตนเองและ ่ นาไปสู่การเปลีย ่ นแปลงสั งคมได้ (Zimmerman, 1992)

• การเสริมพลัง คือ

การชวยเขาใหเขา

3


ทาอะไรบางเพื อ ่ ช วยการ ้ ่ เสริมพลัง?

• ฝึ กอบรม (training) • อานวยความสะดวก (facilitation) เป็ นพีเ่ ลีย ้ ง คอยแนะนา • สนับสนุ น โน้มน้าว ชักจูง • จุดประกาย ชวนให้ คิดนอกกรอบ • ให้เสรีภาพในการ

4


เสริมพลัง + การ ประเมิน = ? ทาอยางไรจะท าให้การประเมิน ่ เป็ นการเสริมพลังให้กับ คนทางานและผู้ทีเ่ กีย ่ วของ??? ้ 5


อุปสรรคทีส ่ าคัญของโครงการ พัฒนาสั งคม วัตถุประสง คโครงการ ์

กิจกรร ม1

กิจกรรม 2

กิจกรรม 3

กิจกรรม …

ผลลัพธ/์ เป้าหมาย

1.ผูปฏิ ั ไิ มได น หรือ ้ บต ่ เป็ ้ นเจาของการประเมิ ้ ประเมินตนเองไมได “ถูก ่ ่ ้ อยูในสภาพ ประเมิน” (ไมว่ าด ใด) ่ วยสาเหตุ ้

2.ความสามารถในการทากิจกรรมอาจไมเต็ ่ ม 100% และก็ไมได ่ รั ้ บการเสริมศั กยภาพ

6


ผู้ให้กาเนิดการประเมินแบบเสริม พลั ง Ph.D. ศาสตราจารยด์ าน David M. Fetterman, ้

การประเมินจาก School of Medicine & School of Education, Standford U.ไดตี ิ พบทความ ้ พม ์ เรือ ่ ง “Empowerment Evaluation” ครัง้ แรกในปี 1994 ในทีป ่ ระชุมสมาคมนักประเมินอเมริกน ั นับแตนั ่ ้นเขาไดเขี ้ ยนหนังสื อ EE ออกมาอีก 3 เลม ่ และไดจั ้ ด EE Workshop ในหลายประเทศ รวมทัง้ มีกระแสสนับสนุ นและโตแย ดของ ้ งแนวคิ ้ เขาผานบทความวิ ชาการมากกวา่ 50 บทความ ่ จนปัจจุบน ั (บทความลาสุ ่ “Empowerment ่ ดชือ Evaluation: Yesterday, Today and Tomorrow” ตีพม ิ พ์ เดือน มิ.ย. 2550) EE ถูกนาไปใช้จริงในหลายวงการ เช่น การศึ กษา ธุรกิจ การพัฒนา ในปี 2005 บริษัท Hewlett-Packard ไดน ้ า Empowerment Evaluation เขาไ ้ มูลคา15 ลานเหรี ยญ “Digital Divide Project “ ่ ้ 7


การประเมินแบบเสริมพลัง (EE) • เป็ นวิธก ี ารในการประเมินทีเ่ น้นการเพิม ่

โอกาสในการประสบความสาเร็จของ โครงการ โดย 1)จัดหาเครือ่ งมือดีๆ

ให้แกผู ่ ทา ่ มี ้ ส่วนไดส ้ ่ วนเสี ยกับโครงการเพือ การประเมินแผน และการทากิจกรรม ดวย ้ ตนเอง และ 2) ทาให้ประเมินกับการ วางแผนและบริหารโครงการ/องคกร ์ รวมเขาเป็ ้ นเนื้อเดียวกัน Fetterman ไดเสนอ Three Steps Approach ้ 8


กระบวนการของการประเมินผล แบบเสริมพลัง

ขัน ้ เตรียมการ : เตรียมสถานที่ เครือ ่ งมือ อุปกรณ ์ และเตรียม “คน” (การคัดเลือกคน และการให้ความรูที ้ ่ เกีย ่ วของก อน) ้ ่ ขัน ้ ดาเนินการประเมินผลแบบเสริมพลัง : การประยุกตใช ์ ้ “The Three Steps Approach” การติดตามการดาเนินการของโครงการ : การติดตามการนาเอาแนวทางทีไ่ ดจาก ้ ขัน ้ ตอนที่ 2 ไปใช้ในการดาเนิน 9


ปรัชญาของ

EEนเพือ่ ช่วยให้เขา เราใช้การประเมิ ประเมินตัวเองและยกระดับ ความสามารถในการทาโครงการ ไปสู่เป้าหมายไดในที ส ่ ุด ้ 10


ความเชือ ่ พืน ้ ฐานของการประเมินแบบ เสริมพลัง

• การเปลีย ่ นแปลงระบบคิด ระบบคุณคาและ ่ พฤติกรรมของบุคคลไมสามารถจั ดกระทาหรือสั่ ง ่ การจากเงือ ่ นไขภายนอกได้ หากแตต ด ่ องจั ้ ่ นไขทีเ่ อือ ้ อานวยให้มีผู้มีส่วนได้ กระทาให้เกิดเงือ ส่วนเสี ยกับโครงการเรียนรู้ทีจ ่ ะเปลีย ่ นแปลงตนเอง โดยสรางการเรี ยนรูขึ ้ จากประสบการณตรง ้ ้ น ์ • การช่วยให้ประชาชนหรือผู้มีส่วนไดส ้ ่ วนเสี ย สามารถพัฒนาตนเองไดและมี ความตองการที จ ่ ะ ้ ้ เรียนรูปรั างต อเนื ้ บปรุงสิ่ งตางๆอย ่ ่ ่ ่อง รวมทัง้ มีการ ประเมินตนเอง สะทอนกลั บตนเองอยางสม า่ เสมอ 11 ้ ่


ความเชือ ่ พืน ้ ฐานของการประเมินแบบ เสริมพลัง • การประเมินผลแบบเสริมพลังตองมี การสราง ้ ้ สภาพแวดลอมและแหล งเรี ้ ่ ยนรู้ ให้ผูมี ้ ส่วนไดส ้ ่ วน เสี ยสามารถพัฒนาสมรรถนะไดอย อเนื ้ างต ่ ่ ่อง มี ทัศนะใฝ่รู้ อยากปรับปรุงตนเองอยูตลอดเวลา ่ อนจะน าไปสู่ความสามารถในการแกปั ้ ้ ญหาใหมๆ่ ทีม ่ ค ี วามซับซ้อนและยากกวาเดิ ่ ม • การประเมินผลแบบเสริมพลังดาเนินการบน ฐานขอมู จจริง และเชือ ่ มัน ่ ในการใช้ ้ ล ขอเท็ ้ ความรูและปั ญญานาการเปลีย ่ นแปลง ้ 12


เมือ ่ EE เขาไปอยู ในโครงการ ้ ่ บริบทจริงใน พืน ้ ที่ วัตถุประสง คโครงการ ์

กระบวนก าร ประเมิน เพือ ่ เสริม พลัง

กิจกรร ม1

กิจกรรม 2

กิจกรรม 3

กิจกรรม …

ผลลัพธ/์ เป้าหมาย

เปิ ดช่องทางให้มีการประเมินตนเองตาม ความจริ ง ทธแต เสริมพลังเพื อ ่ ปรับกลยุ ์ ละ ่ กิจกรรม แกความพร องที ละจุด ้ ่ โครงการบรรลุเป้าหมาย เกิดบทเรียนจาก 13 การทางาน คน/ทีมงานพัฒนาขึน ้


น ความแตกตางจากการประเมิ ่ แบบดัง้ เดิม

การประเมินแบบดัง้ เดิม

การประเมินเพือ ่ เสริมพลัง

ภายนอก/คนนอก

ภายใน/คนใน

ผู้ทรงคุณวุฒ ิ

โค้ชหรือกัลยาณมิตร

โครงการพึง่ พาผูประเมิ น ้

โครงการประเมินตนเอง และพัฒนาตนเอง

การตัดสิ นอยางอิ สระ ่

การตัดสิ นแบบรวมมื อ ่ 14


ตัวละครใน EE

• ผูประเมิ น (Evaluator) อานวยความสะดวก ้ ตลอดกระบวนการ EE • ชุมชนคนในโครงการ (Community) เป็ นผู้ ประเมินตนเอง และกาหนดอนาคตของ ตนเอง

• ผูให ้ อานวย ้ ้ทุน (Funder) หรือผูบริ ้ หาร เอือ ให้กระบวนการ EE เขาไปอยู ในโครงการ ้ ่ • ผูบั ้ นทึก (Note Takers)

15


บทบาทของผู้ประเมิน

EE

• ผูอ ่ นแท้ ้ านวยความสะดวก ครู ผูฝึ ้ กสอน เพือ นักประเมิน • เห็ นดวยกั บแนวทางหรือวัตถุประสงคของโครงการ ้ ์ ตองการให ้ ้โครงการสาเร็จ (ไมเป็ ่ นกลาง?) • ช่วยผูเข ี าร ้ าร ้ วม ่ EE ในการพัฒนารูปแบบและวิธก ประเมินตนเองทีเ่ ขมแข็ งและเป็ นระบบ อันจะ ้ นาไปสู่การสรางการเปลี ย ่ นแปลงในโครงการได้ ้ • ช่วยสรางข อมู ้ ้ ลฐาน ติดตามโครงการ และ บันทึกการเปลีย ่ นแปลงตลอดช่วงเวลา 16


ชุมชนคนในโครงการ (Community)

ประเมินโครงการของตนเอง  ช่วยกันหากลยุทธหรื ์ อแนวทางที่ จะทาให้โครงการดีขน ึ้  ดึงประสบการณของตั วเองของ ์ มาแลกเปลีย ่ น  กระตุนหรื อให้กาลังใจเพือ ่ น ้ สมาชิก 


สามขัน ้ ตอนของ EE วัตถุประ สงค ์ โครงการ

กิจกร รม1

กิจกรร ม2

กิจกรร ม3

ตรวจสอบ ตนทุ ้ น (taking stock) ประเมิน และถอด บทเรียน

กิจกรร ม…

วางแผนเพือ ่ อนาคต

กาหนดภารกิจหรือ เป้าหมาย (Mission/Goal)

ผลลัพธ/์ เป้าหมาย

(planning for future)

18


ขัน ้ ตอนที่ 1: กาหนดภารกิจหรือ เป้าหมายโครงการ • จุดประสงค:์ เพือ่ ทบทวนและสรางความเข าใจ ้ ้

รวมกั นถึง ภารกิจ หรือเป้าหมายของโครงการ ่ (สรางจุ ดรวมความคิด) ้

นวา่ • วิธก ี าร: สมาชิกอภิปรายรวมกั ่

“อะไรคือสิ่ ง ทีโ่ ครงการทีค ่ าดหวังจะให้เกิด” หรือ “เป้าหมาย ของโครงการนีค ้ อ ื อะไร” และเพือ ่ ให้บรรลุตาม เป้าหมายขางต น ้ ้ เราไดท ้ ากิจกรรมสาคัญๆอะไร ไปบาง (เลือกมาไมเกิ ้ ่ น 10 กิจกรรม) ขอสั ้ เอกสารโครงการมาดวยจะช ้ ่ วย19 ้ งเกต: ถามี


ขัน ้ ตอนที่ 2: ตรวจสอบต้นทุน

(Taking Stock) • จุดประสงค:์ ประเมินตนเองและวิเคราะหเงื ่ นไข ์ อ ปัจจัยทีส ่ ่ งผลตอการด าเนินงานทีผ ่ านมา ่ ่

• วิธก ี าร:

– คัดเลือกกิจกรรมทีส ่ าคัญๆ – ประเมินความสามารถของทีมในการทากิจกรรม นั้นๆ – วิเคราะหเหตุ -ปัจจัย หรือจุดออน-จุ ดแข็ง ทีท ่ า ่ ์ ให้ไดผลการประเมิ นเช่นนั้น (ถอดบทเรียนจาก ้ การประเมิน)

• ขอสั งเกต: ในการอภิปรายหากมีขอมูลเชิง

20


ขัน ้ ตอนที่ 3: วางแผนสาหรับอนาคต (planning for future)

• วัตถุประสงค:์ เพือ่ หาทางแกไขจุ ดบกพรอง หรือ ้ ่ ยกระดับการดาเนินงานแตละกิ จกรรม ่

• วิธก ี าร: สมาชิกพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมสาคัญๆ ึ้ ในครัง้ ่ ะทาให้กิจกรรมนั้นดีขน มาหากลยุทธ ์ ทีจ ตอไป โดยดูจากผลการประเมินในขัน ้ ตอนที่ 2 ่ • ขอสั น ่ ้ งเกต: ควรมีการตัง้ เป้าหมายวาอยากเห็ กิจกรรมนั้นดีขน ึ้ อยางไร และควรกาหนดจุด ่ สั งเกตวาจะไปดู จากหลักฐานอะไร ่

21


หลักการ 10 ประการของ EE ดานกระบวนการ EE ้

ความรู้สึ กเป็ นเจ้าของ การประเมินและการ ตัดสิ นใจ ทุกฝ่ายตองเข ามาใน ้ ้ EE เน้นกระบวนการ ประชาธิปไตย ทุกขอเสนอ มาจากของ ้ จริง

พธของ ดานผลลั EE ์ ้

การพัฒนาให้ดี ยิง่ ขึน ้  สภาพแวดลอมที เ่ อือ ้ ้ ตอการเรี ยนรู้ ่  เกิดความรูสึ ้ กความ เสมอภาค เทาเที ่ ยม กัน 


โจทยข ้ 1 (กาหนด ์ อ เป้าหมาย)

ขอให้แตละกลุ ม ่ ่ กาหนดเป้าหมาย ในการโครงการรวมกั นวา่ เรามี ่ เป้าหมายอยางไร ่ อาจเขียนเป็ นข้อๆ หรือเป็ น ประโยคบรรยายก็ได้ กิจกรรมนี้ใช้เวลาไมเกิ ่ น 30 นาที 23


โจทยข ์ ้อ 2 (กาหนดกิจกรรมที่ สาคัญ)

เพือ ่ บรรลุเป้าหมายในขอ ้ 1 ขอให้ทบทวนวา่ ในช่วงเวลาทีผ ่ านมา (ไมเกิ ่ ่ น 1 ปี ) พวกเราได้ ทีย ่ งั จาได้ ไม่ ทากิจกรรม สาคัญๆ อะไรบาง ้

เกิน 10 กิจกรรม

จัดลาดับความสาคัญของกิจกรรม ตามความ สอดคลองกั บเป้าหมาย (โดยใช้สติกเกอรสี์ ้ 3 สี : มาก ปานกลาง น้อย) อภิปรายให้เหตุผลของแตละคนในแต ละกิ จกรรม ่ ่ คัดเลือกกิจกรรมทีส ่ าคัญมากๆ ไวไม 5-7 ้ เกิ ่ น 24 กิจกรรม


โจทยข ์ ้อ 3 (ประเมินตนเอง) นากิจกรรมทีค ่ ด ั เลือกไว้ มาประเมินความสามารถ ของทีมในการทากิจกรรมดังกลาว โดยให้แตละ ่ ่ คนให้

คะแนน

1 – 10 ของแตละกิ จกรรม ่ หาคาเฉลี ย ่ ของแตละกิ จกรรม ่ ่ อภิปรายผลการประเมิน ถึงสาเหตุทผ ี่ ลการ ประเมินแตละกิ จกรรมไดมาเช – ่ ้ ่ นนั้น (จุดออน ่ จุดแข็ง) เริม ่ จากกิจกรรมทีส ่ าคัญมากทีส ่ ุดกอน ่ ้ จริงมาแลกเปลีย ่ น โดยยกตัวอยางสิ ่ ่ งทีเ่ กิดขึน 25


โครงการ... กิจกรรม

ตัวอยางโจทย ข ่ ์ ้อ 3 อารี แดง ชาย เนตร เฉลีย ่

กิจกรรม 1

7

5

6

7

6.2

กิจกรรม 2

8

7

8

6

7.3

กิจกรรม 3

5

4

3

4

4

กิจกรรม 4

2

1

3

1

1.7 26


โจทยข ์ ้อ 4 (วางแผนสาหรับ อนาคต)

พิจารณาผลการประเมินและการวิเคราะหเหตุ ์ ปัจจัย(จุดออน – จุดแข็ง) ในแตละกิ จกรรม ่ ่

วางแผนการดาเนินงานในอนาคตของแตละ ่ กิจกรรม โดย 

กาหนดเป้าหมายของกิจกรรมนั้นๆ

กาหนดกลยุทธที ่ ด ิ วาเหมาะสม แตกตาง ่ ่ ์ ค ยกระดับ ให้ดีขน ึ้ หากมีการประเมินอีกครัง้

กาหนดจุดสั งเกตวาจะดู จากหลักฐานอะไร ่

27


ตัวอยางโจทย ข ่ ้ 4 ์ อ

กิจกรรม: การถอดบทเรียน (1.7)

เป้าหมาย กลยุทธ ์ สามารถสกัดความรู้ -ทีมงานศึ กษาเรือ ่ งเทคนิค หรือบทเรียนจากการ การถอดบทเรียน ดาเนินการ ทีม ่ าจาก -เชิญวิทยากรมาสอนเรือ ่ ง ปัจจัยเงือ ่ นไขตางๆ การถอดบทเรียน ่ ทีท ่ าให้เกิดผลทีพ ่ งึ -ฝึ กถอดบทเรียนในกลุมเล็ ่ กๆ ประสงค ์ กอน ่ -จัดเวทีถอดบทเรียนอยาง ่ จุดสั งเกต: คุณภาพการถอดบทเรี ยนดูจากเอกสาร น้อย 1 ครัง้ และสั มภาษณผู ปฏิ บ ต ั ิ ์ ้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.