รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย 2552-2553

Page 1

. . !""! - !""#


รายงาน

สิ่งแวดลอมศึกษา เเพื พื่อการพั การพัฒนาที นาที่ยั่งยยื​ืนในประเทศไทย ในนปประะเเทศไทย พ.ศ. พ ..ศศ. ๒ ๒๕๕๒ ๕๕๒ - ๒ ๒๕๕๓ ๕๕๓ นโยบายและความเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของไทยและตางประเทศ หนวยงานภาครัฐกับการขับเคลื่อนงาน ดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ภาคธุรกิจและประชาสังคมกับการสนับสนุนงาน สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สื่อมวลชน และเครือขายกับบทบาทการสราง กระบวนการเรียนรูสิ่งแวดลอมในวิถีชีวิต การพัฒนาศักยภาพดานสิ่งแวดลอมศึกษา และโปรแกรมสิ่งแวดลอมศึกษาในสถานศึกษา

01-110 4cl-pc24.indd 1

18/2/2549 20:29:59


รายงานสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ชื่อหนังสือ:

รายงานสถานการณสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ พิมพครั้งที่ ๑ จํานวน ๑,๕๐๐ เลม มกราคม ๒๕๕๕

ที่ปรึกษา:

เกษมสันต จิณณวาโส รัชนี เอมะรุจิ สากล ฐินะกุล บรรพต อมราภิบาล

บรรณาธิการ:

สาวิตรี ศรีสุข

จงรักษ ฐินะกุล

กองบรรณาธิการ:

อลงกต ศรีวิจิตรกมล นันทวรรณ เหลาฤทธ

สุรชัย กุลทอง นุชนารถ ไกรสุวรรณสาร

ผูประสานงาน:

โศภิษฐ เถาทอง สราวุธ ขาวพุฒิ วรรณางค พรรณนาไพร

หิรัณย จันทนา มะลิ เกือบสันเทียะ เอกรัฐ ธิมาชัย เฟองลัดดา ดวนขันธ ฤดีวรรณ พุทธประเสริฐ

เรียบเรียงโดย:

ศูนยวิจัยและพัฒนานวัตกรรมดานการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ผูเขียน:

ผูชวยศาสตราจารย อรรถพล อนันตวรสกุล ดร.วัชราภรณ แกวดี อภัยชนม พูดตรง

จัดพิมพเผยแพรโดย:

ISBN:

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๔๙ พระราม ๖ ซอย ๓๐ ถนนพระราม ๖ กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๙๘ ๕๖๒๘ โทรสาร ๐ ๒๒๙๘ ๕๖๒๙ www.deqp.go.th 978-974-286-953-3

สงวนลิขสิทธิ์

01-110 4cl-pc24.indd 2

18/2/2549 20:30:53


คํ า นํ า

รายงานสถานการณ สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ในประเทศไทย ประจําป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ เปนหนังสือฉบับแรกทไี่ ดรวบรวมสถานการณตา งๆ เกยี่ วของกับ การดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ ในชวงระยะเวลา ระหวางป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ โดยความรวมมือกันระหวางกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กับศูนยวิจัยและพัฒนานวัตกรรมดานการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หนังสือฉบับนี้ครอบคลุมประเด็นที่สําคัญเพื่อใหผูอานไดทํา ความเขาใจเกี่ยวกับสถานการณปจจุบันและกิจกรรม/โครงการตางๆ ที่มีสวนเชื่อมโยง กับงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยภายในเลมประกอบดวยขอมูล เกี่ ย วกั บ นโยบายและความเคลื่ อ นไหวด า นสิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ของประเทศ การขับเคลื่อนงานสิ่งแวดลอมศึกษาฯของภาครัฐ การสนับสนุนงานดานน้ี จากภาคธุรกิจและประชาสังคม การพัฒนาศักยภาพงานทัง้ ในดานบุคลากรและการพัฒนา โปรแกรมสิ่งแวดลอมศึกษาในสถานศึกษา ตลอดจนบทบาทของสื่อมวลชนและเครือขาย ในการสรางกระบวนการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษา กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือรายงานสถานการณ สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย ประจําป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ เลมนี้ จะมีประโยชนสําหรับผูสนใจทั่วไปและจะเปนสวนหนึ่งในการเปนสื่อประสานพัฒนาการ ดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศใหกวางขวางยิ่งขึ้น กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

01-110 4cl-pc24.indd 3

18/2/2549 20:31:40


สารบัญ บทสรุปสําหรับผูบริหาร ๑๑

บทที่ ๑ นโยบายและความเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืนของไทยและตางประเทศ

๒๗

บทที่ ๒ ภาครัฐกับการขับเคลื่อนงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

๔๕

บทที่ ๓ ภาคธุรกิจและประชาสังคมกับการสนับสนุนงานสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

๘๙

บทที่ ๔ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานสิ่งแวดลอมศึกษา

๙๙

บทที่ ๕ สือ่ มวลชนและเครือขายกับบทบาทการสรางกระบวนการเรยี นรูส งิ่ แวดลอม ในวิถีชีวิต

๑๐๙

บทที่ ๖ บทสรุป ขอสังเกตและขอเสนอแนะ

๑๑๙

Executive Summary

๑๒๒

บรรณานุกรม

๑๓๐

ภาคผนวก ฐานขอมูลสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย ระหวางป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 4

18/2/2549 20:32:28


บทสรุปสําหรับผูบริหาร สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Environmental Education for Sustainable Development: EESD) เปนแนวคิดที่เกิดจากการเชื่อมโยงงานดาน สิ่งแวดลอมศึกษา (Environmental Education: EE) เขากับมโนทัศนของการพัฒนา ที่ยั่งยืน (Sustainable Development: SD) ทั้งนี้เปนผลมาจากการประกาศทศวรรษ แหงการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Decade of Education for Sustainable Development: DESD) ระหวางป ค.ศ. 2005 – 2014 โดยองคการสหประชาชาติ เปาหมายสําคัญของสิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืน คือ การสรางพลเมืองทมี่ ี ความรูค วามเขาใจ ตระหนักในคุณคา มที ศั นคติทพี่ งึ ประสงค มที กั ษะในการตัดสินใจ มกี ารปฏิบตั ติ นและมสี ว นรวมกับบุคคลอืน่ ในการปกปองรักษาตลอดจนรวมตัดสินใจ ในประเด็นทเี่ กยี่ วของกับสิง่ แวดลอม โดยคํานึงถึงมิตขิ องความยัง่ ยืน และความสมดุล ของสิ่งแวดลอมธรรมชาติ เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม จากการทบทวนนโยบายและความเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย และตางประเทศ ในชวง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ พบวาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงสําคัญในเรื่อง “สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน” เปนประเด็นหลักที่สงผลใหหนวยงานหลักที่ทําหนาที่โดยตรงในการสงเสริม สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาได ป รั บ เปลี่ ย นและปรั บ ตั ว พร อ มรั บ กระแสการเปลี่ ย นแปลง การขยับขยายขอบเขตการทํางานสิง่ แวดลอมจากเดิมทมี่ งุ เนนบริบทของสถานศึกษา เป น หลั ก กํ า ลั ง คลี่ ค ลาย มี ก ลไกและแผนเชิ ง ยุ ท ธศาสตร ส ง เสริ ม ให เ กิ ด การจั ด สิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายใหมๆ โดยภาคีอื่นๆ นอกเหนือจากภาครัฐ รวมทั้งในชวงสองปที่ผานมาเปนชวงเวลาที่มีการเผยแพรแผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษา

01-148 2cl-pc24.indd 5

18/2/2549 20:13:46


เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๕ สูการรับรูของเครือขายการทํางาน ดานสิง่ แวดลอมศึกษา ตลอดจนมกี ารผลักดันใหเกิดโปรแกรม โครงการและกิจกรรม ที่ตอบสนองยุทธศาสตรตางๆ ของแผนหลัก การมีแรงสงในเชิงนโยบาย ตลอดจน การปรับบทบาทและกําหนดทิศทางการทํางานใหสอดประสานไปกับแนวโนมการ เปลี่ยนแปลงในงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยหนวยงานหลัก ของภาครัฐ เชน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม จึงนับเปนโอกาสและความทาทาย ที่สําคัญยิ่งในรอบ ๒ ปที่ผานมาของแวดวงสิ่งแวดลอมศึกษาในประเทศไทย การขับเคลือ่ นสิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืนโดยหนวยงานภาครัฐของ ประเทศไทย ระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ มคี วามเคลือ่ นไหวทนี่ า สนใจในสวนของ การสานสรางความรวมมือระหวางภาครัฐกับภาคสวนอืน่ ๆ นอกภาครัฐทตี่ อ เนือ่ งและ มีการขยายเครือขายที่กวางขวางมากยิ่งขึ้น มีการขยายขอบเขตการทํางานสูกลุม เปาหมายใหมๆ เชน เจาหนาที่จากองคการปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และ องคกรไมแสวงผลกําไร เปนตน ในสวนของโรงเรียน ยังคงมีการทํางานตอเนื่องผาน ชุดกิจกรรมหรือโครงการใหมๆ ที่ริเริ่มจากหนวยงานภายนอก จุดแข็งและปจจัย เงื่อนไขที่มีผลตอการขับเคลื่อนงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ยังคง เกี่ยวของโดยตรงกับปจจัยตัวบุคคล ทั้งผูบริหารองคกร ครู และเจาหนาที่ปฏิบัติ ที่แสดงใหเห็นความตองการจําเปนในการจัดโปรแกรมเสริมสรางศักยภาพอยางเปน ระบบตอไป ภาพรวมและกิจกรรมการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สวนที่ไมใชราชการของประเทศไทย ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ นับวามีพัฒนาการ กาวไปอยางคึกคักและตื่นตัว และมีลักษณะโครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย ไปตามประเด็นทํางานของแตละพื้นที่ บุคคล กลุม และองคกร ในสวนของภาค ธุรกิจ พบวา หลายองคกรไดเขามามีสวนสนับสนุนโครงการที่เกี่ยวของกับงานดาน ๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 6

18/2/2549 20:13:46


สิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืนอยางเขมแข็ง และหลายโครงการเปนโครงการ ที่ดําเนินการตอเนื่อง มีพัฒนาการ เชน โครงการคายเยาวชนเอกโกเด็กไทยรักปา ของบริษทั EGGO และโครงการโรงเรยี นสรางสรรคสงิ่ แวดลอมดเี ดนเฉลิมพระเกยี รติ ครั้ ง ที่ ๕ และ ๖ ของบริ ษั ท เอเชี่ ย นฮอนด า ร ว มกั บ สมาคมสร า งสรรค ไ ทย (ตาวิเศษ) เปนตน จุดเดนสําคัญของงานสิง่ แวดลอมศึกษาทขี่ บั เคลือ่ นและสนับสนุนโดย ภาคธุรกิจ คือ การสนับสนุนทรัพยากรในการดําเนินงานอยางตอเนือ่ ง รวมทัง้ การสราง เครือขายหนวยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา สถาบันทางวิชาการ องคกรพัฒนา เอกชน และภาคประชาสังคม เขาหนุนเสริมการทํางาน เอื้อใหเกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรูและพัฒนากระบวนการจัดสิ่งแวดลอมศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ ในสวนของภาคเครือขายความรวมมือ ชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมา นับวาเปนชวงที่เครือขายความรวมมือดานสิ่งแวดลอมศึกษาในประเทศไทยขยับ ขยายความรวมมือในการทํางานมากขึ้น หลายเครือขายประสบความสําเร็จใน การทํางาน เชน เครือขายอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุม นํา้ โขง - ลานนา เครือขายเยาวชนกลุมรักษนํ้าคาน กลุมเครือขายเยาวชนอําเภออุมผาง ซึ่งไดรับ “รางวัลลูกโลกสีเขียว” อันเปนรางวัลที่มอบใหกับผูคนที่ทํางานดานสิ่งแวดลอมอยาง เปนรูปธรรมและมีการทํางานที่โดดเดนในแตละป ซึ่งชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ กลุม ทั้ง ๓ ก็ไดรับเลือกใหไดรับรางวัลดังกลาวจากเครือขายสถาบันลูกโลกสีเขียว หลายเครือขายทําหนาที่สรางกระแส ปลุกสํานึกและสรางพื้นที่สําหรับสงตอ ขาวสาร สื่อสารขอมูล ริเริ่มกิจกรรมดีๆ ดานสิ่งแวดลอมใหกับสังคมจนกอกลาย เปนเรื่องที่ผูคนในสังคมตองเหลียวหลังมาใสใจและฉุกคิด อยางเชน เครือขาย ตลาดสีเขียว ซึ่งปลุกกระแสการบริโภคผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสุขภาพและเปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม รวมถึงสินคาที่สงเสริมใหเกิดความเปนธรรมตอสังคมอยางแทจริง กลุม Big Trees ซึง่ ปลุกกระแสการอนุรกั ษตน ไมใหญในเมืองกรุงกระแสนไี้ ดลกุ ลามสู รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 7

18/2/2549 20:13:46


ตัวเมืองใหญในจังหวัดตางๆ อาทิ ขอนแกน เชียงใหม กระแสสิ่งแวดลอมเมืองของ คนในเมืองเริม่ เปนรูปเปนรางขึน้ ทลี ะเล็กทลี ะนอย เครือขายตนไมขเี้ หงา ซึง่ ชวยสราง พืน้ ทใี่ หคนในเมืองใหญไดหนั มาใสใจรับรูเ กยี่ วกับสิง่ แวดลอมรอบตัว และเกิดกลุม ทํา กิจกรรมเล็กๆ ดวยกัน หลายเครื อ ข า ยเป นตั ว ประสานความร ว มมื อ หน ว ยงานและองค ก รทั้ ง ใน สวนภาครัฐและภาคเอกชนใหเกิดความรวมมือและเกิดการทํางานรวมกัน เกิดพลัง รวมในการขับเคลื่อนการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม ตัวอยางเชน เครือขายธุรกิจ เพื่อสังคมและสิ่งแวดลอม (Social Venture Network Asia หรือ SVN Asia) คณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมไทย (TBCSD หรือ ธวท.) โครงการเครือขาย สารสนเทศดานพลังงานและสิ่งแวดลอมของประเทศไทย (Thailand Energy and Environment Network: TEENET) สิ่งที่นาสังเกตอีกประการ คือชองทางการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน โดยเฉพาะ การสื่อสารทางสื่ออิเล็กทรอนิกสออนไลนผานเครือขายอินเทอรเนต (Internet) โดยเฉพาะชุมชนโลกเสมือนออนไลน หรือ Social Network ทั้งในสวนของเว็บไซต Facebook, Twitter ตลอดจน Blog ตางๆ ชองทางเหลานี้ไดรับการพัฒนาขึ้น จนมีประสิทธิภาพในการเชื่อมตอผูคนที่อยูตางที่ตางบริบทการทํางานไดมีพื้นที่ ในการสื่อสารระหวางคนในกลุมและเครือขายที่ทํางานรวมกัน ตลอดจนการขยาย เครือขายไปสูกลุมคนอื่นๆ และทําใหเกิดการรับรูของสาธารณะ ดึงการมีสวนรวม ของผู ค นในสั ง คมที่ คิ ด ที่ เ ห็ น ในประเด็ น ที่ ส อดคล อ งกั น ได แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ตลอดจนเปนการสื่อสารระหวางกันเบื้องตนกอนที่จะขับเคลื่อนงานดานสิ่งแวดลอม รวมกันตอไป

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 8

18/2/2549 20:13:46


เครื อ ข า ยต า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในช ว งสองป ที่ ผ า นมา เกิ ด ขึ้ นท า มกลางวิ ก ฤต ดานสิ่งแวดลอมที่สังคมไทยกําลังเผชิญ เครือขายขนาดใหญสานความรวมมือกันขึ้น จะดวยเหตุผลใดก็ตามแตจะดวยจิตสํานึกที่เกิดขึ้นทามกลางภัยพิบัติที่จําตองเผชิญ ในชวงหลายปที่ผานมา กระแสการพัฒนาแนวใหมของโลกที่เนนความยั่งยืน เพื่อ คนรุน ตอๆ ไป กฏหมายทสี่ รางบทบังคับเอือ้ ใหภาคสวนตางๆ ตองคืนกําไรสูส งั คม หรือ ตองการทําเพือ่ ใหไดชอื่ วาทําเพือ่ สรางภาพลักษณสเี ขยี วใหกบั หนวยงานองคกรของตน อยางไรก็ตาม แนวโนมการเปลีย่ นแปลงดังกลาวไดเอือ้ ใหประเด็นงานดานสิง่ แวดลอม และสิ่งแวดลอมศึกษาไดขยับขยายและเผยแพรสูสังคมไทยอยางกวางขวางมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการเกิดเครือขายสิ่งแวดลอมศึกษาจากระดับบุคคล กลุมในการ ทํางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาผานชองทางทีห่ ลากหลาย เชน เครือขายการมสี ว นรวม ในชุมชนพื้นที่ และการแลกเปลี่ยนเรียนรูในเครือขายสังคม จากการศึกษาสถานการณดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของ ประเทศไทย ระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ไดพบขอสังเกตสําคัญ ดังนี้ งานดานสิ่งแวดลอมศึกษาไดมีการขยายตัวครอบคลุมทั้งระบบการศึกษา ไดแก การศึกษาแบบเปนทางการ ผานโรงเรยี นและสถาบันการศึกษา การศึกษานอก ระบบโรงเรียนและการเรียนรูตามอัธยาศัยที่จัดโดยองคกรนอกภาครัฐและเครือขาย ความรวมมือจากภาคสวนตางๆ ความทาทายสําคัญในการพัฒนางานดานสิง่ แวดลอม ศึกษาในอนาคตจึงไดแกการจัดการเรียนรูที่เอื้อใหผูเรียนไดเชื่อมโยงประสบการณ การเรียนรูทั้งสามระบบการศึกษานี้เขาดวยกัน

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 9

18/2/2549 20:13:46


การเรยี นรูส งิ่ แวดลอมศึกษาในการศึกษาอยางเปนทางการในระบบโรงเรยี น ยังมีความสับสนระหวางแนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรูสิ่งแวดลอมที่บูรณาการ เขาสูหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรูของโรงเรียนในกลุมสาระตางๆ กับการเรียนรู เรื่องสิ่งแวดลอม ในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ครูผูสอนจํานวนมากยังมีความเขาใจวาการสอนเรื่องสิ่งแวดลอมในกลุม สาระยอยภูมิศาสตร และกลุมสาระยอยชีวิตกับสิ่งแวดลอม เปนกิจกรรมสิ่งแวดลอม ศึกษา ขณะที่ครูและนักสิ่งแวดลอมศึกษาพิจารณาวากิจกรรมสิ่งแวดลอมศึกษา เปนกิจกรรมบูรณาการสหวิทยาการ และไมควรถูกกําหนดตายตัวภายใตบริบทของ ชั้นเรียน การเปดโอกาสใหภาคสวนตางๆ เขามามีสวนรวมในการขับเคลื่อนงาน ดานสิ่งแวดลอมศึกษาทําใหเกิดแนวทางการทํางานที่หลากหลาย ขณะเดียวกัน ยังมีความซํ้าซอนทั้งในดานประเด็นการทํางานและกลุมเปาหมาย จึงจําเปนอยางยิ่ง ที่ตองมีการพิจารณาถึงเจาภาพ แกนนํา เครือขาย และเวทีหนุนเสริมใหเกิดการ ขับเคลื่อนอยางมีประสิทธิภาพ

๑๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 10

18/2/2549 20:13:46


บทที่ ๑ นโยบายการศึกษา และความเคลื่อนไหวสําคัญ ในการขับเคลื่อนงานสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ของไทยและตางประเทศ

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 5

18/2/2549 20:33:34


นโยบายการศึกษาและความเคลื่อนไหวสําคัญ ในการขับเคลื่อนงานสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของไทยและตางประเทศ ความเคลื่อนไหวระดับนานาชาติ: จากสิ่งแวดลอมศึกษาสูสิ่งแวดลอม ศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Environmental Education for Sustainable Development: EESD) เปนแนวคิดที่เกิดจากการเชื่อมโยงงานดาน สิ่งแวดลอมศึกษา (Environmental Education: EE) เขากับมโนทัศนของการพัฒนา ที่ยั่งยืน (Sustainable Development: SD) ทั้งนี้เปนผลมาจากการประกาศทศวรรษ แหงการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Decade of Education for Sustainable Development: DESD) ระหวางป ค.ศ. 2005 – 2014 โดยองคการสหประชาชาติ และสิ่งแวดลอมศึกษาเปนแนวคิดในการจัดการศึกษาที่ไดรับการกลาวถึงในฐานะ “องคประกอบทีส่ าํ คัญยิง่ ของการศึกษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืน” (UNESCO - APEID, 2004) เนือ่ งจากมเี ปาหมายสําคัญในการสรางพลเมืองทมี่ คี วามรูค วามเขาใจ ตระหนัก ในคุณคา มีทัศนคติที่พึงประสงค มีทักษะในการตัดสินใจ มีการปฏิบัติตนและ มี ส ว นร ว มกั บ บุ ค คลอื่ น ในการปกป อ งรั ก ษาตลอดจนร ว มตั ด สิ น ใจในประเด็ น ที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม โดยคํานึงถึงมิติของความยั่งยืน และความสมดุลของ สิ่งแวดลอมธรรมชาติ เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม ซึ่งลวนเปนองคประกอบสําคัญ และเปนเปาหมายของแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน

๑๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 12

18/2/2549 20:34:22


เอกสารสําคัญชิน้ แรกๆ ทเี่ ริม่ มกี ารกลาวถึงความเชือ่ มโยงระหวาง “สิง่ แวดลอม ศึกษา” และ “การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ไดแก ESDebate: International Debate on Education for Sustainable Development ของเฮสเซลลิงค และคณะ (Hesselink et al, 2002) ซึง่ ไดวเิ คราะหไวอยางนาสนใจวา “การศึกษาเพือ่ การพัฒนา ที่ยั่งยืนเปนพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของสิ่งแวดลอมศึกษา” เฮสเซลลิงคยังไดอธิบาย เพิ่มเติมเกี่ยวกับพัฒนาการของสิ่งแวดลอมศึกษาที่เดิมมีจุดเนนมุงเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมระดับบุคคล ตอมาไดมีการขยายขอบเขตไปสูการศึกษาเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืนซึ่งมีจุดเนนมุงไปที่การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางที่ครอบคลุมทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง (รายละเอียดเพิ่มเติมดูรูปภาพที่ ๑ ประกอบ) การเปลี่ยนแปลง ในระดับบุคคล ในดานพฤติกรรม ความตระหนัก ความรู ความเขาใจ และทักษะ

เชิงการเมือง

เชิงนิเวศ ความหลากหลาย เชิงอารมณ

เชิงจริยธรรม

จากสิ่งแวดลอมศึกษา แบบเดิม

การเปลี่ยนแปลง เชิงโครงสรางใน ดานสังคม เศรษฐกิจ และ การเมือง เกี่ยวกับ วิถีชีวิต ความเทาเทียม ความยุตธิ รรมประชาธิปไตย การยอมรับ ซึ่งกันและกัน และการลงมือปฏิบัติ สูการศึกษาเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืนแบบใหม

ภาพที่ ๑ ในป ค.ศ. 2005 องค ก ารการศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร และวั ฒ นธรรมแห ง สหประชาชาติ (UNESCO) ในฐานะหนวยงานที่มีบทบาทสําคัญในการผลักดัน วาระดานการศึกษาระดับนานาชาติ ไดเขามารับผิดชอบการขับเคลื่อนทศวรรษ การศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น โดยได ให ค วามสํ า คั ญ ในการส ง เสริ ม การจั ด “สิง่ แวดลอมศึกษาทมี่ คี ณ ุ ภาพ” และมขี อบเขตการทํางานทคี่ รอบคลุมทุกระบบในการ จัดการศึกษา ไดแก การจัดการศึกษาอยางเปนทางการที่อิงกับสถานศึกษา (Formal รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 13

๑๓

18/2/2549 20:14:39


Education) การจัดโปรแกรมการฝกอบรมใหกับภาคสวนตางๆ ในลักษณะของการ ศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non - Formal Education) และการสงเสริมการเรียนรู ตามอัธยาศัยทมี่ ลี กั ษณะของการศึกษาอยางไมเปนทางการ (Informal Education) ทัง้ นี้ เพื่อตอบสนองพันธกิจหลักของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (UNESCO, 2007) อันไดแก การปรับฐานคิดในการจัดการศึกษาทีม่ อี ยูท ุกระบบ (Reorienting Existing Education Programmes) การพัฒนาโอกาสในการเขาถึงการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทมี่ คี ณ ุ ภาพ (Improving Access to Quality Basic Education) การจัดโปรแกรมการฝกอบรมและเสริมสรางศักยภาพใหกับทุกภาคสวน (Providing Training and Capacity Building) การสรางความเขาใจและความตระหนักแกสาธารณชน (Developing Public Understanding and Awareness) การเชือ่ มโยงแนวคิดของสิง่ แวดลอมศึกษา (EE) แบบเดิมทมี่ กี ารดําเนินการกัน อยางกวางขวาง เขากับแนวคิดสากลวาดวยการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ESD) จึงเปนการเนนยํ้าความสําคัญของสิ่งแวดลอมศึกษาในฐานะ “เครื่องมือ” สําคัญใน การสรางสรรคใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการ ขับเคลื่อนทศวรรษการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จึงมักปรากฎการนําเสนอกรณี ตัวอยางความสําเร็จจากหลากหลายประเทศทมี่ งุ ไปทกี่ ารยกระดับงานดานสิง่ แวดลอม ศึกษาในประเด็นทหี่ ลากหลายมาขยายผลสูก ารสรางสรรคการพัฒนาทยี่ งั่ ยืน เอกสาร สําคัญที่มีการเผยแพรโดย UNESCO ในป พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดแก ESD Currents: Changing Perspectives from the ASIA - PACIFIC (UNESCO, 2009) ซึ่งนําเสนอ กรณีศึกษาการผลักดันงานการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนจากประเทศตางๆ ใน

๑๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 14

18/2/2549 20:14:41


ภูมภิ าคเอเซยี - แปซิฟค พบวามปี ระเด็นทางสิง่ แวดลอมทนี่ าํ มาพัฒนาเปนโปรแกรม กิจกรรมการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษาแตกตางกันไป เชน การเตรียมพรอมรับมือ ภัยพิบัติธรรมชาติ (Natural Disaster Preparedness) ของประเทศญี่ปุน อินโดนีเซีย และเวียดนาม การเรียนรูจากประสบการณตรงที่เนนใหผูเรียนสัมผัสกับสิ่งแวดลอม ในธรรมชาติของประเทศลาว การจัดโปรแกรม Eco GO beyond ของประเทศ ศรีลังกา การเตรียมความพรอมเด็กและเยาวชนเพื่อการพัฒนาและวิถีชีวิตที่ยั่งยืน ของประเทศจีน และกิจกรรมสงเสริมเยาวชนอาสาสมัครรับมือการเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศ ของประเทศเวียดนาม เปนตน การตอบสนองของประเทศไทยและอาเซียน ในระดับภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต สมาคมประชาชาติอาเซียน (The Association of Southeast Asian Nations: ASEAN) ไดขานรับแนวโนมการ เปลี่ยนแปลงดังกลาว โดยผลักดันใหมีการประกาศใชแผนปฏิบัติการสิ่งแวดลอม ศึกษา (ASEAN Environmental Education Action Plan 2008 - 2012: AEEAP) และกําหนดใหสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Environmental Education for Sustainable Development) เปนประเด็นหลักของแผนปฏิบัติการดังกลาว ทั้งนี้ มีการระบุไวอยางชัดเจนวา (ASEAN, 2008) “สิ่งแวดลอมศึกษาในฐานะองคประกอบสําคัญในการบูรณาการการศึกษาเพื่อ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืนมบี ทบาทสําคัญยิง่ ในการชวยใหบคุ คลเรยี นรูท จี่ ะใชเทคโนโลยสี มัย ใหม เพิม่ ผลผลิต ตระหนักถึงพิบตั ภิ ยั ธรรมชาติ เอาชนะความยากจน และชวยใหเกิด การตัดสินใจอยางชาญฉลาดเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน” และไดกําหนดขอบเขตการทํางาน และเปาหมายของแผนไว ๔ ดาน ไดแก

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 15

๑๕

18/2/2549 20:14:41


ขอบเขตการทํางาน (Target Areas)

เปาหมาย (Goals)

๑. ภาครัฐ

๑.๑ สิ่งแวดลอมศึกษาไดรับการนําไปบูรณาการเขาสู การ ทํางานในหนวยงานภาครัฐในทุกระดับชั้น ๑.๒ มกี ารพัฒนาความกาวหนาของงานดานสิง่ แวดลอมศึกษา ผานการทําวิจัยเชิงรุกอยางตอเนื่อง

๒. ภาคสวนอื่นนอกเหนือจากภาครัฐ

๒.๑ มกี ารบูรณาการมิตดิ า นวัฒนธรรม ประเพณี และความ รูที่ทันสมัยเขาสูการจัดสิ่งแวดลอมศึกษาโดยคํานึงถึง ประเด็นดานสิ่งแวดลอมทั้งระดับทองถิ่น ภูมิภาค และ นานาชาติ

๓. การเสริมสรางศักยภาพของ ทรัพยากรบุคคล

๓.๑ มีการฝกอบรมใหกับบุคลากรในดานสิ่งแวดลอมศึกษา และการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

๔. การสรางเครือขาย ความรวมมือ และการสื่อสาร

๔.๑ พัฒนาแนวทางการปฏิบตั ผิ า นการแลกเปลยี่ นทรัพยากร ความชํานาญการ และขอมูลดานสิ่งแวดลอม ๔.๒ เพิ่ ม การสนั บ สนุ น สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาและการฝ ก อบรมดานสิ่งแวดลอมผานเครือขายทั้งภาครัฐ และ ภาคสวนอืน่ นอกเหนือภาครัฐ ทัง้ ระดับทองถิน่ ภูมภิ าค และนานาชาติ

สํ า หรั บ ประเทศไทย หน ว ยงานภาครั ฐ ที่ สํ า คั ญ ในการสนั บ สนุ นงานด า น สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษามาอย า งต อ เนื่ อ ง ได แ ก กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล อ ม และกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ทั้ ง นี้ กรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม ไดรับผิดชอบเปนหนวยงานหลักทําหนาที่เปนศูนยกลางในการขับเคลื่อนงานดาน สิ่งแวดลอมศึกษาภายใตกรอบการทํางานของอาเซียน (ASEAN Focal Point) และไดผลักดันใหเกิดการจัดทําแผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ๑๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 16

18/2/2549 20:14:42


พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๕ (EESD Master Plan 2008 - 2012) ขึ้น โดยมีการดึง ทุกภาคสวนที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม สื่อสารมวลชน นักวิชาการ ตลอดจนประชาชนผูสนใจจํานวนมากเขามามีสวนรวมในการจัดทําแผน ทั้งน้ี ไดมี การกําหนดเปาหมายของแผนหลักฯ ไวดงั น้ี (กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม ม.ป.ป.) ๑. หนวยงาน องคกร ตลอดจนกลุม เปาหมายตางๆ มคี วามเขาใจและตระหนัก ถึงบทบาทของสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ๒. มีโครงสรางเชิงสถาบันเพื่อสนับสนุนการพัฒนา “สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน” อยางยั่งยืน ๓. มีค วามร ว มมื อ และการประสานงานระหว า งฝ า ยต า งๆ เพื่ อ สนั บ สนุ น สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอยางตอเนื่อง ๔. มี ก ารพั ฒ นาและการแลกเปลี่ ย นความรู เจตคติ และทั ก ษะเกี่ ย วกั บ สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในและนอกสถานศึกษา เพื่อ ทําใหสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเปนสวนหนึ่งของการเรียนรู ตลอดชีวิต ๕. มกี ารนําสิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืนไปใชสนับสนุนการดําเนิน นโยบาย ยุทธศาสตร และการดําเนินงานพัฒนาในระดับประเทศ สาขา พื้นที่และทองถิ่น นอกจากนี้ เ อกสารแผนหลั ก สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๕ ยังไดระบุหลักการที่ชัดเจนไว ๔ ประการ คือ ๑. มิใชแผนของหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง และมิใชแผนการดําเนินงานของ ภาครัฐ แตเปนแผนของทุกภาคสวนในสังคม ๒. เนนการพัฒนาจากทุนความรูแ ละทุนทางสังคมทมี่ อี ยูใ นภาคสวนตางๆ ของ สังคมไทย โดยเฉพาะอยางยิง่ ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ และควรหลกี เลีย่ งการสราง รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 17

๑๗

18/2/2549 20:14:42


นิยามใหม ขอบเขตใหม แนวคิดใหมซึ่งอาจนําไปสูการสรางความสับสน มากกวาเปนประโยชน ๓. ใหความสําคัญกับภาคสวนและภาคีในระบบการศึกษาเทาๆ กับภาคสวน และภาคีนอกระบบการศึกษา ๔. ตระหนักถึงความหลากหลายของชุมชน สังคม วัฒนธรรม และระบบนิเวศ ซึ่งจะตอบรับและตอบสนองตอความตองการสิ่งแวดลอมที่มีจุดเนนและ รูปแบบที่ตางกัน แนวทางการจัดสิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืนทปี่ รากฎอยูใ นแผนหลัก สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๕ จึงมีจุดเนนไปที่ เปดโอกาสใหทกุ ภาคสวนเขามามสี ว นรวมในการพัฒนางานดานสิง่ แวดลอม ศึกษา ใหความสําคัญกับการตอยอดการทํางานจากประสบการณเดิม มิใชเปนการ กําหนดแนวทางใหม หรือใชกรอบคิดใหม แตเปนการพัฒนาจากฐานความรู ประสบการณ และตนทุนเดิมที่มี เนนการจัดสิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ ทุกคน ไมจาํ กัดวัย และไมจาํ กัดเฉพาะการ จัดการศึกษาอยางเปนทางการ ตอบสนองความหลากหลายของประเด็นการทํางานที่สอดคลองกับบริบท และความตองการของทองถิ่นและองคกรที่เกี่ยวของ การกําหนดกรอบแนวคิดและขอบเขตการทํางานของแผนหลักฯ ไวอยาง กวางขวาง และมีความยืดหยุนสูงเปนทั้งจุดแข็งและจุดออนในการนําแผนไปสูการ ปฏิบตั จิ ริง แมจะมกี ารสงเสริมใหทกุ ภาคสวนเขามามสี ว นรวม แตเนือ่ งจากแผนหลักฯ ไดรับการออกแบบใหเปน “แนวทาง” และ “ภาพความเขาใจรวมกัน” ในการ ทํางาน ไมไดถูกกําหนดไวในเชิงนโยบายของภาคสวนใด ในสภาพการทํางานจริง ๑๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 18

18/2/2549 20:14:42


กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ในฐานะหนวยงานที่มีบทบาทเปนแกนนําในการ สนับสนุนใหเกิดการจัดทําแผนฯ จึงยังถูกคาดหวังใหทําหนาที่เปน “เจาภาพหลัก” ของแผนฯ ดังปรากฎในสวนของการวิเคราะหเจาภาพหลัก/หนวยงานที่มีศักยภาพ เปนเจาภาพหลักมากถึง ๖ ยุทธศาสตร จาก ๗ ยุทธศาสตร ขณะที่ภาคีอื่น เชน หนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการไดรบั การคาดหวังใหรว มเปนเจาภาพหลักกับ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมเพียงหนึ่งยุทธศาสตร และเครือขายนักธุรกิจดาน สิ่งแวดลอมและธุรกิจที่รับผิดชอบตอสังคมเปนเจาภาพหลักเพียงหนึ่งยุทธศาสตร เชนกัน การนําแผนหลักฯ ไปสูภาคการปฏิบัติจริงจึงยังไมขยายผลสูการรับรูของ สาธารณะในวงกวางมากเทาที่ควรจะเปน ซึ่งจะปรากฎชัดในการนําเสนอความ เคลื่อนไหวในภาคสวนตางๆ ตอไป การบูรณาการสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเขาสูนโยบายดาน การศึกษา จากการศึกษาเอกสาร และเอกสารจากกิจกรรมประชุมปฏิบัติการ ระหวางป ๒๕๕๐ - ๒๕๕๓ ของหนวยงานตางๆ ในเครือขายของ UNESCO ที่มีบทบาทหลัก ในการขับเคลื่อนประเด็นการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และเครือขายที่เกี่ยวของ กับงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาทั้งในและตางประเทศ พบประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับ การบูรณาการงานดานสิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนเขาสูร ะบบการศึกษา ดังตอไปนี้ หลายประเทศ เชน จีน และญี่ปุน ไดกําหนดใหมีการจัดการเรียนการสอน สิ่งแวดลอมศึกษาในหลักสูตร ทั้งในลักษณะรายวิชา มาตรฐานการเรียนรู และรายวิชาเลือกในกลุมชั่วโมงบูรณาการ (Integrated Study) หลายประเทศ เชน สิงคโปร มาเลเซยี อินโดนเี ซยี และเวยี ดนาม มกี ารสงเสริม สิ่งแวดลอมศึกษาในฐานะโปรแกรมที่ไดรับการสนับสนุนจากกระทรวงที่ รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 19

๑๙

18/2/2549 20:14:42


รับผิดชอบงานดานสิ่งแวดลอม และมีการสรางความรวมมือกับกระทรวง ศึกษาธิการในลักษณะการจัดโปรแกรมประกวดโรงเรียนดานสิ่งแวดลอม เชน รางวัลโรงเรยี นยัง่ ยืน ของประเทศมาเลเซยี รางวัลโรงเรยี นสะอาด เขยี ว และสวยงามของประเทศเวียดนาม เปนตน หลายประเทศ เชน สิงคโปร มาเลเซีย ประสบปญหาในการบูรณาการ สิ่งแวดลอมศึกษาเขาไปในหลักสูตรในลักษณะรายวิชา (Subject Course) จึงจัดในลักษณะกิจกรรมเสริมหลักสูตร (Co - curricular) และกิจกรรม พิเศษของโรงเรียน (Extra Curricular) ในสวนประเทศกลุมยุโรป เชน สวีเดน ประเด็นเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาได บูรณาการเขากับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และในสถาบันอุดมศึกษา หลายแหง เชน Stockholm University, Uppsala University, Chalmer University และ Gotenborg University ไดมีการกําหนดเกณฑมาตรฐาน ระดับอุดมศึกษาใหมปี ระเด็นเรือ่ งการศึกษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืน จึงนําไป สูก ารบูรณาการในหลักสูตรระดับอุดมศึกษา เชน การจัดการทรัพยากรและ สิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน (Stockholm University) โปรแกรม Climate Change Education ในสาขาครุศาสตร (Uppsala University) วิศวกรรมศาสตรและ สถาปตยกรรมศาสตร ในประเทศสหรัฐอเมริกา การจัดสิ่งแวดลอมศึกษาไดรับการสนับสนุนจาก เครือขายนอกภาครัฐ ไดแก North America Association for Environmental Education ซึ่งผลักดันใหเกิดแผนงานสงเสริมการรูสิ่งแวดลอม (Environmental Literacy) ในการจัดการศึกษา แตยงั ประสบกับปญหาในการขยายผล สูหลักสูตรระดับมลรัฐทั่วประเทศ

๒๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 20

18/2/2549 20:14:42


ในสวนของประเทศไทย สิ่งแวดลอมศึกษาเคยไดรับการระบุไวโครงสราง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยเสนอแนะใหจัดในกลุมสาระ การเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร กลุม สาระการเรยี นรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และ กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ตอมาในการปรับปรุงหลักสูตร และ ประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดมปี ระเด็น ที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมศึกษาไวในจุดหมายของหลักสูตร สมรรถนะสําคัญ และ มาตรฐานการเรียนรู ดังนี้ จุดหมาย

สมรรถนะสําคัญ

๕. มี จิ ต สํ า นึ ก ในการอนุ รั ก ษ วั ฒ นธรรมและ ภู มิ ป ญ ญาไทย การอนุ รั ก ษ แ ละพั ฒ นา สิ่งแวดลอม มีจิตสาธารณะที่มุงทําประโยชน และสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกัน ในสังคมอยางมีความสุข

๓. ความสามารถในการแก ป ญ หา เป นความ สามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตางๆ ที่ เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของ หลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของ เหตุ ก ารณ ต า งๆ ในสั ง คม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไข ปญหา และมกี ารตัดสินใจทมี่ ปี ระสิทธิภาพโดย คํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคม และสิ่งแวดลอม

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 21

๒๑

18/2/2549 20:14:42


มาตรฐานการเรียนรูที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในหลักสูตรแกนกลางฯ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร

มาตรฐาน ว ๒.๑

มาตรฐาน ส ๕.๒

เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวาง สิ่ ง แวดล อ มกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต ความสั ม พั นธ ร ะหว า ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ต า งๆ ในระบบนิ เวศ มี ก ระบวนการ สื บ เสาะหาความรู แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร สื่ อ สาร สิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอม ทางกายภาพที่กอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มจี ติ สํานึก และมสี ว นรวมในการอนุรกั ษทรัพยากร และสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข า ใจความสํ า คั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ การใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ นระดั บ ท อ งถิ่ น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มในท อ งถิ่ น อยางยั่งยืน

๒๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 22

18/2/2549 20:14:42


ขอสังเกตสําคัญจากการศึกษาเอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พบวา ไมมีการระบุคําวา “สิ่งแวดลอมศึกษา” ไวอยางชัดเจน แตคงไวเฉพาะคําวา “สิ่งแวดลอม” “การอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม” “การใช ทรัพยากรธรรมชาติ” และ “การพัฒนาทยี่ งั่ ยืน” ซึง่ ในมุมมองของคณะผูจ ดั ทําหลักสูตร อาจพิจารณาวาไดมกี ารบรรจุจดุ หมายเชิงคุณลักษณะ สมรรถนะทคี่ าดหวัง ตลอดจน สาระความรูลงในมาตรฐานการเรียนรูแลว แตในมุมมองของผูใชหลักสูตร ซึ่งไดแก ครู และผูสอนในองคกรตางๆ ที่เริ่มคุนเคยกับคําวา “สิ่งแวดลอมศึกษา” ในฐานะ “กระบวนการเรียนรูเชิงบูรณาการ” อาจเขาใจไดวาหลักสูตรกําหนดใหเรียน “เรื่อง สิ่งแวดลอม” มากกวาเรียนรู “ดวยกระบวนการของสิ่งแวดลอมศึกษา” นอกจากหลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ นฐานที่ อ าจเกี่ ย วข อ งโดยตรงในการจั ด สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนแลว ยังพบวามีแนวนโยบายทางการศึกษา อื่นๆ ของประเทศไทย ระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่อาจเปนชองทางสําคัญ ในการเปดโอกาสใหเกิดการบูรณาการสิ่งแวดลอมศึกษาเขาสูการจัดการศึกษาอยาง เปนทางการในสถานศึกษา ไดแก

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 23

๒๓

18/2/2549 20:14:43


นโยบายสงเสริ ม โรงเรียนที่มีความพรอมใหเขารว มโปรแกรมโรงเรียน มาตรฐานสากล (World Class Standard) ซึง่ ริเริม่ ขึน้ ในป พ.ศ. ๒๕๕๒ และ ไดกําหนดสาระเพิ่มเติม โลกศึกษา ใหผูเรียนไดเรียนรูถึงความสัมพันธ เชื่อมโยงของประเทศและภูมิภาคตางๆ เพื่อมุงสูความเปนพลเมืองโลก (Global Citizen) ทั้ ง น้ี ป ระเด็ น การเรี ย นรู บู ร ณาการที่ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ นฐาน (ม.ป.ป.) ได เ สนอเป น แนวทาง การจัดการเรียนรูไวนั้น ไดแก ความเปนพลเมืองโลก ความยุติธรรมทางสังคม สิทธิมนุษยชน การพึ่งพาอาศัยกัน การแกปญหาความขัดแยง ความหลากหลาย คานิยมและการรับรู การพัฒนาอยางยั่งยืน ประเด็นการเรียนรูเหลาน้ีลวนเอื้อตอการที่ครูผูสอนจะพัฒนาหลักสูตรของ สถานศึกษาโดยวิเคราะหบริบท ปญหา และความตองการของทองถิ่น โดยเชื่อมโยง กับประเด็นระดับสากล (Global Issues) ทีห่ ลากหลายได โดยเฉพาะอยางยิง่ ประเด็น

๒๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 24

18/2/2549 20:14:43


สิง่ แวดลอมระดับโลก เชน การเปลยี่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศโลก (Global Climate Change) ความมัน่ คงดานอาหาร (Food Security) ความมัน่ คงดานพลังงาน (Energy Security) การเสื่อมสภาพของสิ่งแวดลอม (Environmental Degradation) และ พิบัติภัยธรรมชาติ (Natural Disaster) เปนตน นโยบายส ง เสริ ม การเตรี ย มพร อ มสู ป ระชาคมอาเซี ย น ซึ่ ง กระทรวง ศึกษาธิการไดเริ่มขับเคลื่อนภายใตโครงการ Sprit of ASEAN ในป พ.ศ. ๒๕๕๓ มุงเนนใหเกิดโรงเรียนแกนนําหลากหลายรูปแบบ ไดแก Sister School, Border School และ ASEAN Focus School เพือ่ รองรับการขยายผล การสรางความเขาใจอันดีระหวางประเทศที่เปนสมาชิกของประชาคม อาเซียน นโยบายนี้จึงเปดโอกาสใหโรงเรียนมีความพรอมและความสนใจ สามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในหัวขอที่หลากหลายภายใตแนวคิด หลักสูตรบูรณาการที่เนนการเรียนรูภูมิภาคศึกษา (Area Study) ประเด็น การเรยี นรูต ามแนวทางของสิง่ แวดลอมศึกษาเปนอกี ทางเลือกหนึง่ ทโี่ รงเรยี น เหลานี้สามารถพัฒนาตอยอดได อาทิเชน การเรียนรูเรื่องการจัดการพื้นที่ ลุม นํา้ อยางยัง่ ยืนกับกรณกี ารจัดการลุม แมนาํ้ โขง การเตรยี มพรอมรับพิบตั ิ ภัยธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นไดในกลุมประเทศอาเซียน และการเรียนรูความ หลากหลายทางวัฒนธรรมอันเนือ่ งจากสภาพแวดลอมทมี่ คี วามแตกตางกัน เปนตน

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 25

๒๕

18/2/2549 20:14:43


บทสงทาย จากการทบทวนนโยบายและความเคลื่ อ นไหวด า นสิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย และตางประเทศ พบวาแนวโนมการเปลี่ยนแปลง สําคัญในเรื่อง “สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” เปนประเด็นหลักที่สงผล ใหหนวยงานหลักที่ทําหนาที่โดยตรงในการสงเสริมสิ่งแวดลอมศึกษาไดปรับเปลี่ยน และปรับตัวพรอมรับกระแสการเปลี่ยนแปลง การขยับขยายขอบเขตการทํางาน สิ่งแวดลอมจากเดิมที่มุงเนนบริบทของสถานศึกษาเปนหลักกําลังคลี่คลาย มีกลไก และผลเชิงยุทธศาสตรสงเสริมใหเกิดการจัดสิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับกลุมเปาหมาย ใหมๆ โดยภาคีอื่นๆ นอกเหนือจากภาครัฐ รวมทั้งในชวง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ซึ่งเปนชวงเวลาที่มีการเผยแพรแผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๕ สูการรับรูของเครือขายการทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษา ตลอดจนมกี ารผลักดันใหเกิดโปรแกรม โครงการและกิจกรรมทตี่ อบสนองยุทธศาสตร ตางๆ ของแผนหลัก การมีแรงสงในเชิงนโยบาย ตลอดจนการปรับบทบาทและ กําหนดทิศทางการทํางานใหสอดประสานไปกับแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในงาน ดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยหนวยงานหลักของภาครัฐ เชน กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม จึงนับเปนโอกาสและความทาทายทีส่ าํ คัญยิง่ ในรอบ ๒ ปที่ผานมาของแวดวงสิ่งแวดลอมศึกษาในประเทศไทย

๒๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 26

18/2/2549 20:14:44


บทที่ ๒ ภาครัฐกับการขับเคลื่อนงาน ดานสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

01-110 4cl-pc24.indd 13

18/2/2549 20:35:07


ภาครัฐกับการขับเคลื่อนงาน ดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การขับเคลื่อนงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาของประเทศไทยนั้นมีหนวยงานและ องคกรในภาครัฐทรี่ บั ผิดชอบเปนหลักในการดําเนินการ โดยรวมมือกับภาคสวนอืน่ ๆ เชน เครือขายนักธุรกิจภาคเอกชนในฐานะภาคเี ครือขายทม่ี คี วามพรอมในการสนับสนุน งบประมาณในการทํ า งาน ตลอดจนการทํ า งานร ว มกั บ กั บ ภาคประชาสั ง คม ในลักษณะของการระดมทรัพยากรการเรียนรู ไดแก บุคลากร สื่อ แหลงเรียนรู ตลอดจนชุดกิจกรรมตางๆ ในกรณที เี่ ปนหนวยงานระดับกระทรวง การขับเคลือ่ นงาน ดานสิ่งแวดลอมศึกษามีความหลากหลายทั้งในระดับการขับเคลื่อนเชิงนโยบาย การริเริ่มใหมีโครงการสิ่งแวดลอมศึกษาในประเด็นที่สอดคลองแนวนโยบายของ หนวยงาน ตลอดจนเปนประเด็นปญหารวมสมัยทกี่ าํ ลังไดรบั ความสนใจจากสาธารณะ กลุมเปาหมายของกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาที่พบ ไดแก กลุมเด็กและเยาวชน ในสถานศึกษาทั้งโรงเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และกลุมนิสิตนักศึกษา ในระดับมหาวิทยาลัย และยังมีหลายโครงการกิจกรรมที่ขยายไปสูระดัดบชุมชน และการสื่อสารกับสาธารณะในลักษณะกิจกรรมรณรงค จึงอาจกลาวไดดววา หนวยง ยงาน ภาครัฐเปนทัง้ “กลจักรสําคัญ” และ “กลุม เปาหมาย” ของการทํางานด นดานสิง่ แวดลอมศึกษาในเวลาเดียวกัน

๒๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 28

18/2/2549 20:35:47


โรงเรียน..จุดเริ่มตนที่ดีแตไมใชสถานีสุดทายของการเรียนรู หากกลาวถึงโครงการหรือโปรแกรมดานสิ่งแวดลอมศึกษา โรงเรียนและสถาน ศึกษาคงเปนหนวยงานภาครัฐกลุมแรกๆ ที่หลายคนคิดถึง เนื่องจากเปนหนวยงาน ที่รับผิดชอบโดยตรงในการพัฒนาเด็กและเยาวชน จากการรวบรวมขอมูลยอนหลัง ในรอบป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ มีโรงเรียนจํานวนมากที่ไดรับการกลาวถึงในฐานะ “โรงเรียนสิ่งแวดลอม” ภายใตชื่อโครงการหลากหลายรูปแบบ ซึ่งหลายโรงเรียน อาศัย “ชั่วโมงบิน” จากการ “เขารวมโครงการนั้น เรียนรูรวมกับโครงการนี้” จนมี ประสบการณในการทํางานทสี่ ั่งสมอยูใ นกลุม ครู ผูบ ริหาร กลุมเด็กและเยาวชนทีเ่ ปน นักเรียน และรวมถึงตัวแทนจากชุมชน ยางกาวแหงความสําเร็จของโรงเรียนเหลาน้ี เต็ ม ไปด ว ยร อ งรอยของความพยายามอย า งต อ เนื่ อ ง ทั ก ษะในการพลิ ก แพลง กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาเขาสูหลักสูตร กิจกรรมการเรียนรู และวิถีชีวิต ตลอดจนการ “เดินหนาเขาชุมชน” สรางเครือขายในการหนุนเสริมโรงเรียน โรงเรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษา พริ ก ขี้ ห นู เ ม็ ด เล็ ก ที่ เ ต็ ม ไปด ว ยความ กระตือรือรน ในที่นี้ใครขอนําเสนอตัวอยางการทํางานจากบริบทที่มีสวนคลายคลึง และแตกตางกัน จํานวน ๒ โรงเรียน โรงเรียนวัดประเจียก เปนโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดกลางอยูท อี่ าํ เภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รองรอยการทํางานที่นาสนใจของโรงเรียนอยูที่การพัฒนาหลักสูตร โดยดึงวัฒนธรรมและอาชีพของคนในทองถิ่นมาเปนหัวขอการเรียนรูที่บูรณาการ เรื่องสิ่งแวดลอม หนวยการเรียนรูที่เด็กๆ โรงเรียนวัดประเจียกเรียนจึงไดแก เรียนรู เรื่อง “ตาลโตนดกับอาชีพและประเพณี” ของคนในชุมชน ครูนําเด็กๆ ออกไปเรียนรู

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 29

๒๙

18/2/2549 20:15:10


จากผูใ หญในชุมชน การสัมผัสประสบการณตรงทําใหนกั เรยี นไดเกิดการเรยี นรูอ ยาง สนุกสนาน การไดเขาพื้นที่เรียนรูจากชีวิตทําใหเด็กๆ ไดแรงบันดาลใจและสะทอน ประสบการณ มุมมองของพวกตนกลับสูชุมชนในรูปแบบ “หนังตะลุงสิ่งแวดลอม” มีเวทีอยูกลางตลาด และมีพอแม ลุงปานาอา มาคอยยืนลุนเอาใจชวย ครูและผูบ ริหารของโรงเรยี นสะทอนภาพปจจัยเงือ่ นไขความสําเร็จในการทํางาน ดานสิ่งแวดลอมของโรงเรียนซึ่งเปนหนวยงานภาครัฐที่นับวาอยูใกลชิดประชาชน ที่สุดวา สิ่งสําคัญอยูที่ความมุงมั่นจริงใจและการประสานพลังกันทั้งครู นักเรียนและ ตัวแทนจากชุมชน โดยมีนโยบายในการทํางานของผูบริหารเปน “แรงสง” รวมทั้ง การไดรับสนับสนุนในเชิงวิชาการจากหนวยงานภายนอก เชน คณะกรรมการ ตรวจเยี่ยมโรงเรียนในโครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอมเฉลิมพระเกียรติของ ฮอนดา การทดลองนําชุดนวัตกรรมนักสืบสายนํ้าและนักสืบชายหาดของมูลนิธิโลก สีเขียว มาปรับใชกับพื้นที่รอบโรงเรียนซึ่งดานหนึ่งติดชายฝงอาวไทย และอีกดาน ติดกับทะเลสาบสงขลา โรงเรียนอยากเห็นการขับเคลื่อนจากหนวยงานภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวของเขามา ขยายผลโดยมิตองรอการสนับสนุนจากภาคเอกชนซึ่งมีโครงการระยะเวลาจํากัด ตลอดจนความชัดเจนในสวนของหลักสูตรที่คณะครูยังมีความสับสนวาการสอนเรื่อง สิ่งแวดลอมตามตัวชี้วัดตางๆ ของหลักสูตรกับกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาที่เนน ประสบการณตรงดังที่โรงเรียนลองผิดลองถูก ปรับปรุงชุดกิจกรรมและเครื่องมือ อยางงายทพี่ อหาซือ้ ไดจากทองตลาดมาใชนนั้ ยอมมคี วามตางกันและหากโรงเรยี นอืน่ ไมมีโอกาสไดเขารวมเรียนรูในโครงการดานสิ่งแวดลอมศึกษาโดยตรงก็อาจเขาใจ คลาดเคลื่อนไปได ทั้งน้ีคุณครูไดฝากขอคิดไววา “ควรมีการชี้ชัดลงไปในหลักสูตร แกนกลาง มากกว า ให ค รู ผู ส อนต อ งมาตี ค วามเอง เพราะการระบุ ไว เป นคํ า ว า ‘สิ่งแวดลอมศึกษา’ ก็เปนเครื่องยืนยันที่เนนใหเห็นความสําคัญที่แตละโรงเรียนจะ

๓๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 30

18/2/2549 20:15:10


หันมาใหความสําคัญ” และประเด็นสุดทาย คือ การหนุนเสริมจากองคการปกครอง ส ว นท อ งถิ่ นซึ่ ง น า จะมี ความคลองตัวในการประสานความรวมมือกันไดมากกวา หนวยงานของรัฐจากสวนกลาง โรงเรียนคลองพิทยาลงกรณ เปนโรงเรียนประถมขนาดกลาง ตั้งอยูใน เขตชานเมืองของกรุงเทพมหานคร แมจะไดชื่อวาอยูในเขตเมืองหลวงแตโรงเรียน ก็ มี ทํ า เลที่ ตั้ ง พิ เศษกว า ใคร นั่ น คื อ การอยู ใ นพื้ น ที่ ป า ชายเลนผื น สุ ด ท า ยของ เขตบางขุนเทียน ผูบริหารและคณะครูพลิกตนทุนธรรมชาติและทุนความรูจาก เมืองใหญใหกลายเปน “โจทยในการทํางาน” โดยเริ่มจากนําวิถีชีวิตการประกอบ อาชพี ของคนในชุมชนมาเปนประเด็นในการเรยี นรู และพัฒนาใหเกิดเปนแหลงเรยี นรู อาชีพในโรงเรียน อาทิเชน ฐานการเรียนรูไขเค็มชายคลอง เลี้ยงหอยแครง และ ทําผามัดยอมจากเปลือกลูกตะบูน ประสบการณในการเขารวมโครงการโดยนอมนํา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาสูสถานศึกษา และโครงการโรงเรียนสรางสรรค สิง่ แวดลอมฯ ของฮอนดา ในชวงป พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒ และ พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ มีสวนทําใหโรงเรียนมีความชัดเจนมากขึ้นในการบริหารจัดการโรงเรียนทั้งระบบ โดยมุงเนนที่การปฏิบัติจริง อยางตอเนื่องบนพื้นฐานตนทุนที่เปนเสมือนภูมิคุมกันที่ โรงเรียนมีอยู เด็กๆ เรียนรูที่จะแยกขยะอยางเปนระบบ มีฐานการเรียนรูทําปุยหมัก และกาซชวี มวลที่ภูมิใจไดวา “ทําจริง ใชจริง” รวมทั้งระบบบําบัดนํ้าเสยี ที่อาศัยทุน “ปาชายเลน” เปนเครื่องกรองนํ้าและฟอกนํ้าชั้นดีที่มองขามไมได ความสําเร็จของโรงเรยี นทําใหไดรบั เลือกเปนสถานศึกษาพอเพยี งระดับประถม ศึกษาแหงเดียวที่สังกัดกรุงเทพมหานคร การอยูในพื้นที่ไมไกลจากเมืองทําใหมีคณะ ศึกษาดูงานและกลุม ธุรกิจองคกรเขาถึง และชวยโอบอุม โรงเรยี นในฐานะ “ศูนยการ เรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง” ที่มีชีวิต จับตองได และใกลบาน และเชนเดียวกับ โรงเรยี นวัดประเจยี ก ปจจัยสําคัญทีเ่ ปนพลังอันเขมแข็งนําพาโรงเรยี นสูค วามสําเร็จก็

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 31

๓๑

18/2/2549 20:15:10


คือ การรวมพลังเด็ก ครู ชุมชน เขาดวยกัน รวมทัง้ ความใฝรู สงคณะครูรว มแลกเปลยี่ น เรียนรูกับหนวยงานตางๆ อยางตอเนื่อง จนถึงวันนี้โรงเรียนคลองพิทยาลงกรณ ไดรับประกาศใหเปน ๑ ใน ๒๑ โรงเรียนมาตรฐานโครงการโรงเรียนสรางสรรค เฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ ๕ และเปนโรงเรียนจากกรุงเทพมหานคร เพียงโรงเรียนเดียว ที่ผานการประเมินจนถึงรอบสุดทาย โรงเรียนมัธยมศึกษา พลังของวัยรุน ขับเคลื่อนคนทํางานสิ่งแวดลอม ของชุมชน หลายคนมักมขี อ กังขาวาการจัดกระบวนการเรยี นรูส งิ่ แวดลอมศึกษานัน้ จะมีประสิทธิภาพกับโรงเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนที่มีขนาดเล็ก และมีบริบท ในเขตชนบท แตในการศึกษาภาคสนาม เราไดพบโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ สองแหงทมี่ ยี า งกาวการทํางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืนทนี่ า สนใจ และชวนใหทบทวนขอกังขาขางตนนั้นใหม โรงเรียนยุพราช เปนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญที่มีชื่อเสียงมากที่สุด แหงหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม ตนทุนการทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษาของโรงเรียน มมี านานนับสิบป จนถึงปจจุบนั โรงเรยี นมโี ครงการและโปรแกรมการเรยี นรูท บี่ รู ณาการ สิ่งแวดลอมศึกษาในหลากหลายประเด็นและรูปแบบ เชน การศึกษาระบบนิเวศ ลุม นํา้ ปง จากแมนาํ้ ขานสูต น นํา้ ทหี่ ว ยแกว โครงการลดรอยเทานิเวศในโรงเรยี น ละคร เวทีสิ่งแวดลอม และการจัดคายอนุรักษสิ่งแวดลอม นอกจากนี้โรงเรียนยังไดรับการ สนับสนุนจาก บริติช เคานซิล ในการขับเคลื่อนใหโรงเรียนเปน Green School ทั้งใน กระบวนการบริหารจัดการสิง่ แวดลอมของโรงเรยี น และทเี่ กยี่ วกับกระบวนการเรยี นรู ดานสิ่งแวดลอมศึกษาของนักเรียน ผลที่เ กิด ขึ้ นจากการสานตอ กิจ กรรมอยา งตอ เนื่อ งผา นโครงการตา งๆ ที่ โรงเรยี นรวมกับเครือขายภายนอก ทําใหกลุมนักเรยี นซึง่ พักอาศัยอยูใ นชุมชนเมืองมี โอกาสไดเรยี นรูก ระบวนการสิง่ แวดลอมศึกษา และนักเรยี นไดเรยี นรูอ ยางสนุกสนาน ๓๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 32

18/2/2549 20:15:10


ปจจุบันโรงเรียนมีกลุมนักเรียนแกนนําดานสิ่งแวดลอมที่มีความถนัดในเรื่องการใช กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาผานการจัดกิจกรรมคายอนุรักษสิ่งแวดลอมใหกับ โรงเรียนและหนวยงานตางๆ ในจังหวัดเชียงใหม ความจํากัดของการเปนโรงเรียนในเขตชุมชนเมืองทั่วไปที่มักขาดโอกาสเขาถึง สิ่งแวดลอมธรรมชาติ ยังไดสภาพ “มองหาชุมชนไมเจอ” เนื่องจากกระบวนการ กลายเปนเมือง เรงใหชุมชนที่เคยเหนียวแนนแปรเปลี่ยนไป เชียงใหมเติบโตและ กลายเปนเมืองใหญมผี คู นหลัง่ ใหลเขามาทําธุรกิจการคา การทองเทยี่ ว ความคาดหวัง ของผูปกครองที่มีตอโรงเรียนที่มีชื่อเสียงใน “การเคี่ยวเขมเชิงวิชาการ” ยังเปนอีก ตัวแปรหนึ่งที่ครูแกนนําดานสิ่งแวดลอมศึกษาของโรงเรียนตองใชความพยายามใน การอธิบายและทําใหเห็นประจักษจากศักยภาพของเด็กๆ ที่เขมแข็งมากขึ้นจากการ เรยี นรูผ า นประสบการณตรง “ชัว่ โมงบิน” ในการเปนพเี่ ลยี้ งคาย ทําใหเด็กหนุม สาว กลุมแกนนําสิ่งแวดลอมของโรงเรียนมีความมั่นใจและเปนผูนํา ในสวนของครูแกนนําการทํางานในโรงเรยี นเอง ครูสวาท จันทะเลฝากขอคิดไววา “ครูตอ งเขาใจกอนวาสิง่ แวดลอมศึกษาไมใชวทิ ยาศาสตรสงิ่ แวดลอม ครูตอ งมองภาพ ใหออกวาสิ่งแวดลอมศึกษาเปนกระบวนการเรียนรูสิ่งแวดลอมอยางเปนองครวมใน หลากหลายมิตไิ มใชศกึ ษาเฉพาะสวน .. ตองนําประเด็นปญหา มาตแี ผใหเปนประเด็น ทางสังคมจริงๆ คือชาวบาน หรือทุกคนในประเทศไทยตองรูเ สยี ทวี า ปญหาสิง่ แวดลอม วิกฤติแลวจริงๆ ถาไมหันมาใสใจกันวันน้ีลูกหลานคุณก็ไมเหลืออะไรแลว” ปจจัยที่ โอบอุมใหโรงเรียนดําเนินการไดอยางตอเนื่องยังขึ้นอยูกับการสื่อสารทําความเขาใจ กับผูบริหารและการสานเครือขายทั้งภายในและนอกโรงเรียนใหเอื้อตอการทํางาน สําหรับสวนของการทํางานรวมกับหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ เชน กรม สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม และหนวยงานตางๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการนั้น ครู ส วาท จั นทะเล ได ฝ ากประเด็ นที่ สํ า คั ญ ยิ่ ง ไว ว า “กรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพ รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 33

๓๓

18/2/2549 20:15:10


สิ่งแวดลอมตองกําหนดทิศทางการทํางานของตนใหชัดเจนเสียกอนวาจะ ขับเคลื่อนงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาไปในทิศทางไหน ยกตัวอยางเรื่อง สิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียนถาผลักดันจริงมาถึงวันนี้แลวทําไมประเด็น เพียงแคความเขาใจดานสิ่งแวดลอมศึกษาครูแตละคนยังมองตางกัน และ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมควรทํางานเชิงรุกกับกระทรวงศึกษามาก ยิ่งขึ้น สรางความชัดเจนระหวางกันและกําหนดไปในหลักสูตรหรือใหความ สําคัญกับการนํากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาไปใช เพราะวันนี้ปญหา สิ่งแวดลอมสําคัญมากแตกระทรวงศึกษาไทยยังหวงแตเรื่องความมั่นคง ดังนัน้ กระทรวงตองกําหนดใหชดั เจน ทุกวันนีไ้ ดแตบอกใหโรงเรียนทํา ใหครูทาํ แตอยาลืมวาศักยภาพของครูในแตละพื้นที่ก็ตางกัน” โรงเรียนตาคลีประชาสรรค เปนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญอีกแหงหนึ่ง ที่มีความกระตือรือรน และสรางการเปลี่ยนแปลงแกชุมชนทั้งภายในโรงเรียนและ นอกโรงเรียนไดอยางนาสนใจ โรงเรียนตั้งอยูในเขตอําเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค จากจุดเริม่ ตนในป พ.ศ. ๒๕๔๒ เมล็ดพันธุส เี ขยี วของโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค ไดถูกเพาะพันธุขึ้นผานกิจกรรมของกลุมชุมนุมนักสิ่งแวดลอมรุนเยาวของโรงเรียน และชัดเจนขึน้ เมือ่ โรงเรยี นไดรบั การคัดเลือกใหเปน “ศูนยรงุ อรุณและศูนยการเรยี นรู เรื่องการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม” จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๔๗ โรงเรียนได กลายมาเปนศูนยสิ่งแวดลอมศึกษา จากการคัดเลือกจากเขตการศึกษา ๗ และ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม จากการหยั่งรากเล็กๆ ในวันนั้น… วันน้ีโรงเรียน ตาคลปี ระชาสรรคไดกลายมาเปนโรงเรยี นหนึง่ ซึง่ ประสบความสําเร็จอยางสูงในการนํา กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาเขามาบูรณาการขับเคลื่อนการดําเนินงานดานตางๆ ของโรงเรียน โดยเฉพาะความสําเร็จที่วานั้นเกิดขึ้นจริงกับตัวของนักเรียนซึ่งครูออย บอกวา “เด็กๆ นี่แหละคือตนกลาของสิ่งแวดลอมศึกษา”

๓๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 34

18/2/2549 20:15:10


คุณครูสุวรรณี พรหมประสิทธิ์ เปนหนึ่งในคุณครูที่ทํางานดานสิ่งแวดลอม ของโรงเรียนตาคลีประชาสรรค กวา ๑๐ ปที่ผานมา แนนอนวากวาที่โรงเรียนจะ ประสบความสําเร็จทุกวันนี้ไดไมใชเรื่องงาย ครูออยไดเลาถึงปจจัยสําคัญที่ทําให โรงเรียนประสบความสําเร็จกับการนํากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาเขามาใชเปน กระบวนการหนึง่ ในการสรางสรรคเด็กๆ ผานการทํางานดานสิง่ แวดลอมของโรงเรยี น วามีหลากหลายปจจัย โดยเฉพาะปจจัยที่สําคัญที่สุดก็คือ “ตัวครู” “ปจจัยในความสําเร็จที่สําคัญจะตองเริ่มที่ตัวครู ครูตองทํางานอยางตอเนื่อง ไมมีงบประมาณก็ตองทํา การทํางานตองไมเอาเงินมาเปนตัวตั้ง แตใหมองวาเด็ก จะไดอะไร ครูจะตองไมยอทอ ตองมีความตั้งใจจริง และพัฒนาตัวเองอยูเสมอ ที่สําคัญเราตองมีเวลาใหเด็ก พรอมที่จะใหคําปรึกษา คําแนะนําไดตลอดเวลา อยางเด็กกลุมแกนนําดานสิ่งแวดลอมในโครงการตางๆ บางทีเขาคิดอะไร อยากจะ ทําอะไร ซึ่งสวนใหญความคิดดีๆ ก็มักจะมีหลังเลิกเรียน เด็กๆ จะโทรมาปรึกษาเรา ก็ตองพรอม หรือยกตัวอยาง เชน โครงการมหิงสาสายสืบจะมีกิจกรรมที่ตองออกไป สํารวจธรรมชาติในพื้นที่อุทยานถํ้าเพชรถํ้าทองทุกวันเสาร อาทิตย ครูก็ตองพรอม ที่จะพาเด็กๆ ไปสํารวจและเรียนรู และสิ่งที่สําคัญที่สุดคือครูตองเปนแบบอยางที่ดี ในดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมใหกับเด็กๆ ดวย” อยางไรก็ตามยังมีปจจัยอื่นๆ ที่ครูออยบอกวาลวนเปนปจจัยสําคัญที่สงผล ตอความสําเร็จ นั่นก็คือ ความเอาจริงเอาจังและการสนับสนุนจากผูบริหาร ครูออย กลาวอยางหนักแนนวา “…ผูบริหารของโรงเรียนตาคลีประชาสรรคทุกคนลวนให ความสําคัญในเรือ่ งของสิง่ แวดลอม ทุกโครงการทุกกิจกรรมทเี่ กยี่ วของกับสิง่ แวดลอม ผูบริหารจะใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ซึ่งทําใหคุณครูที่ทํางานดานน้ีกลาที่จะทําใน สิ่งใหมๆ และมีกําลังใจที่จะทํางานอยางไมยอทอ”

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 35

๓๕

18/2/2549 20:15:10


ปจจัยตอมาคือ เครือขายการทํางาน โรงเรียนตาคลีประชาสรรคเปนโรงเรียน ที่มีเครือขายการทํางานดานสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียน และเครือขายภายนอกที่ เขมแข็ง “…เครือขายภายในคือ ผูบริหาร ครูและนักเรยี นแกนนําที่มองเห็นเปาหมาย การทํางานรวมกัน และเครือขายภายนอก ไดแก หนวยงานราชการทั้งจากสวนกลาง และสวนทองถิ่น หนวยงานเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน และที่สําคัญที่สุด คือชุมชน การดึงแรงสนับสนุน ความรวมมือ และการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน ในชวงแรกๆ ก็ยากและเจอกับอุปสรรคมากมาย ทัง้ ขอสงสัยและความเคลือบแคลงใจวาเราทํางาน ดานสิ่งแวดลอมจะมีอะไรแอบแฝงหรือเปลา แตพอเราทําใหเห็นและพิสูจนใหเห็นวา เรื่องสิ่งแวดลอมเปนเรื่องสําคัญ และเราก็ลงมือทํากันจริงๆ โดยเฉพาะเด็กๆ ที่ไดรับ รางวัลมีชื่อเสียง หรือเด็กๆ แกนนําที่ทํางานดานการรณรงคและเปนแบบอยางดาน การอนุรักษสิ่งแวดลอม ก็เปนเครื่องพิสูจนใหกับหนวยงานราชการในทองถิ่น และ ชาวบานในชุมชนไดเห็นถึงความสําคัญที่ตนจะตองเขามามีสวนรวมเพื่อสนับสนุน การทํางานดานสิ่งแวดลอมของโรงเรียน” การผสานสรางเครือขายการทํางานที่เขมแข็งของโรงเรียนตาคลีประชาสรรค เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหโรงเรียนไมโดดเดี่ยวในการทํางาน การมีเพื่อนรวมเดินทาง ไปบนหนทางสี เขี ย วจะช ว ยให ก ารขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมต า งๆ ดํ า เนิ น ไปอย า งมี ประสิทธิภาพ แตกอนจะไปถึงจุดนั้นได สะพานที่เชื่อมตอเครือขายตางๆ ซึ่งก็คือ “การประชาสัมพันธ” ซึ่งเปนสวนที่ตองกลาวถึงควบคูไปดวย ครูออยเลาวา การ ประชาสัมพันธที่ตอเนื่อง และโรงเรียนตองมีบทบาทในการเดินกาวออกไปหาชุมชน กอน “…โรงเรียนตาคลีฯ ของเราเปนโรงเรียนที่ใกลชิดกับชุมชน ไมวา อบต. มีงาน อะไร ชุมชนมีงานอะไร โรงเรียนจะตองเขาไปมีสวนรวมตลอด แรกๆ เราอาจจะตอง ไปขอรวมกับเขา แตหลังๆ มาเขาจะมาบอกเราเอง เพราะขาดเราไมไดแลว อยาง กิจกรรม เชน เทศบาลจะปลูกตนไม เราก็ไปดวย หรือการจัดเวทีชุมชน หรือการ รณรงคเรื่องสิ่งแวดลอมในชุมชน โรงเรียนก็จะเขาไปมีสวนรวม โดยเฉพาะเด็กๆ จะ ใหความสนใจมากกับการเขามามีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ของชุมชน นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังมีสื่อมวลชนภายนอกที่ใหความสนใจในกิจกรรมของโรงเรียน อาทิ ๓๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 36

18/2/2549 20:15:10


หนังสือพิมพขาวเด็ด รายการวิทยุชุมชน ทีวีทองถิ่น จนกระทั่งรายการที่ออกอากาศ ทางชองทีวีเสรี ก็เปนชองทางหนึ่งที่ชวยประชาสัมพันธงานของเรา แตเหนือสิ่งอื่นใด การประชาสัมพันธที่ดีที่สุด ก็คือการเปนแบบอยางที่ดีของเด็กๆ สิ่งนี้ไมเพียงแคการ ประชาสัมพันธใหคนเห็นวาเราทําอะไรแตเปนสิ่งที่ทําใหใครหลายคนหันมาใสใจใน เรื่องสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น” ในสายตาครูออ ยวันนโ้ี รงเรยี นตาคลปี ระชาสรรคกบั การทํางานดานสิง่ แวดลอม ไดกาวมาถึงจุดสําคัญ ๑๐ ป กับการเปนศูนยสิ่งแวดลอมศึกษา ๑๐ ปกับการนํา กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษามาบูรณาการมาขับเคลื่อนงานดานสิ่งแวดลอมของ โรงเรียน ทั้งในสวนของการบูรณาการเขาไปในหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ในหองเรียน และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน รวมถึงโครงการตางๆ แมวันนี้จะประสบ ความสํ า เร็ จ ในระดั บ ที่ น า พึ ง พอใจ แต ก ารก า วต อ ไปอย า งยั่ ง ยื น เป น เรื่ อ งที่ ต อ ง คํานึงถึงมากที่สุด “อุปสรรคสําคัญ คือเรื่องของเวลา ของครูและนักเรียน ครูเอง ก็ไมไดมีหนาที่สอนเพียงอยางเดียว แตยังมีภาระงานอื่นๆ อีกมากมาย อีกทั้งสัดสวน การใช ก ระบวนการสิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาระหว า งการจั ด การเรี ย นการสอนกั บ การ ขับเคลื่อนในสวนของโครงการพิเศษ ก็ตองบอกวากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษา ถูกใชกับกิจกรรมในโครงการตางๆ อาทิ การทํางานของศูนยสิ่งแวดลอมศึกษา เชน กิจกรรม “ตป.รวมใจ” ซึ่งเนื้องานจะเกี่ยวกับการอนุรักษสิ่งแวดลอมและพลังงาน การจัดคาย Nature For Life การประกวดนวัตกรรมดานสิ่งแวดลอมตางๆ โครงการ มหิงสาสายสืบ เปนตน ในขณะที่หนวยงานดานการศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ สวนกลางยังคงทํางานแยกสวนกัน การบูรณาการหรือการมองเรือ่ งสิง่ แวดลอมของครู ก็ไมไดไปในทิศทางเดยี วกัน การสอบคัดเลือกเขามหาวิทยาลัยทยี่ งั เนนความรูค วามจํา ที่เปนสวนของขอมูลมากกวาการนําไปใช โดยเฉพาะประเด็นเรื่องสิ่งแวดลอมก็ไมได เปนประเด็นสําคัญในขอสอบ…” ครูออยมองวาการทํางานที่ไมชัดเจน ไมเปนอันหนึ่ง อันเดียวกันของหนวยงานภาครัฐตางๆ ที่ทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษาซึ่งมีอํานาจ เหนื อ กว า โรงเรี ย นนั้ น เป น อุ ป สรรคหนึ่ ง หนทางหนึ่ ง คื อ การทํ า ให ก ระบวนการ สิ่งแวดลอมศึกษากลายเปนวิชาหนึ่งที่ทุกคนควรไดเรียนรู เพราะวันนี้ประเด็นเรื่อง รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 37

๓๗

18/2/2549 20:15:10


สิ่งแวดลอมเปนประเด็นสําคัญและเด็กทุกคนควรตองไดเรียนรูเรื่องสิ่งแวดลอมดวย กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาเปนรายวิชามากกวาที่จะสอดแทรกไปกับวิชาตางๆ กาวปที่ ๑๑ และกาวตอๆ ไปของโรงเรียนตาคลีประชาสรรค หัวใจสําคัญยัง อยูที่เด็กๆ และครูยังเปนผูคอยสนับสนุนใหเด็กๆ กาวตอไปบนเสนทางสีเขียวอยาง ยั่งยืน “การมองเห็นศักยภาพ และเปดโอกาสใหเด็กๆ ไดลงมือปฏิบัติถือเปนเรื่อง สําคัญที่สุด ที่ผานมากิจกรรมดานสิ่งแวดลอมของโรงเรียนเด็กจะเปนคนคิด คนทํา ครูเปนผูสนับสนุน หาโครงการตางๆ ที่เห็นวาเปนประโยชนมานําเสนอใหเด็ก เราไม ยัดเยียดงานใหเด็ก แตปลอยใหเด็กไดคิดฝนและลงมือปฏิบัติดวยตนเอง เราคอยให คําแนะนําปรึกษาและชวยประคับประคองเขาดวยประสบการณที่เรามี และที่สําคัญ ตองเปดโอกาสใหเขาไดเรียนรูอยูกับธรรมชาติ ธรรมชาติจะเปนครูผูขัดเกลาเขาเอง สุดทายกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาจะสําเร็จหรือไมคงตองมองที่ตัวเด็ก เด็กคือ สิ่งที่สําคัญที่สุดถาเขามีวิถีคิดและวิถีปฏิบัติที่ดี เด็กจะเปนแรงผลักมหาศาลใหกับ สังคม” ถึงแมวางานสิ่งแวดลอมจะเปนเรื่องจะเปนงานที่ตองใชระยะเวลาที่ยาวนาน กวาจะเห็นผล แตตลอดระยะเวลา ๑๐ ปที่ผานมาของโรงเรียนตาคลีประชาสรรคก็ พิสูจนแลววาถาครูที่เปนเสมือนตนไมใหญในโรงเรียนไมโคนลมตามแรงลมที่พัดมา ดวยปญหาจากทิศทางตางๆ ครูยอมเปนรมเงาใหตนกลาสิ่งแวดลอมศึกษาเล็กๆ ได เติบโตขึน้ เปนตนไมใหญทคี่ อยใหรม เงากับสังคมทรี่ อ นขึน้ จากภาวะโลกรอนและจิตใจ มนุษยที่ยิ่งนับวันยิ่งทําตัวหางไกลออกจากธรรมชาติไปทุกที…

๓๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 38

18/2/2549 20:15:11


กระทรวงศึกษาธิการ ระหวางป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ไดมี การพัฒนาเอกสารเผยแพรในชุด “หนังสือประกอบการเรยี นรู เพือ่ เตรยี มความพรอม เผชิญสถานการณภัยพิบัติทางธรรมชาติ” และ “คูมือจัดการเรียนรูประกอบหนังสือ เรียน” โดยความรวมมือกับคณะนักวิชาการจากประเทศญี่ปุน โดยการสนับสนุนจาก Japan International Cooperation Agency เอกสารชุดดังกลาวเปนแนวทางการจัด กิจรรมการเรียนรูที่กําหนดหัวขอหลากหลายวาดวยพิบัติภัยที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดจริง ไดแก อุทกภัย ดินถลม และสึนามิ โดยมเี นือ้ หาสาระทช่ี ว ยสรางความเขาใจเกย่ี วกับ พิบัติภัย แนวทางการปองกัน และแนวทางการปฏิบัติตนที่เหมาะสม นอกจากนี้ ในสวนของสํานักนวัตกรรมการจัดการศึกษา ไดพฒ ั นาหลักสูตรคายสิ่งแวดลอมเพื่อ การอบรมตอยอดผูนําเยาวชนพลังเด็กไทยเพื่อรักษาสิ่งแวดลอมในโรงเรียนนํารอง และโรงเรียนเครือขาย โดยจัดทุกปการศึกษา และกําหนดประเด็นแตกตางกัน เชน ในป ๒๕๕๓ ไดกาํ หนดประเด็น เรือ่ ง จิตตปญญาบูรณาการกับประเด็นสิง่ แวดลอมโดยมี การเชิญตัวแทนเด็กนักเรียนในสังกัดสํานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขารวมกิจกรรมคละชั้นปและพื้นที่ หลักสูตรยังเปดโอกาสใหผูรูและนักวิชาการดาน สิ่งแวดลอมในทองถิ่น เชน เจาหนาที่อุทยานแหงชาติ ที่อยูพื้นที่จัดคายเขารวมเปน สวนหนึง่ กับวิทยากร และทํางานรวมกับอาสาสมัครนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฎ ในพื้นที่นั้นๆ เพื่อเปนพัฒนากลุมเยาวชนในการเปนพี่เลี้ยงคายอีกดวย ในสวนของ สํานักวิรัชกิจ ซึ่งดูแลงานที่เกี่ยวของกับคณะกรรมการระดับ ประเทศวาดวยยูเนสโก (National Commission for UNESCO) ไดมโี ครงการตอเนือ่ ง ในการประสานงานเครือขายโรงเรียน ASP Net ซึ่งเปนโครงการที่มีบทบาทนํารอง นวัตกรรมตางๆ ทสี่ นับสนุนโดยองคการยูเนสโก ทัง้ นจี้ ะจัดใหมกี ารประชุมคณาจารย ในเครือขายทุกปเพื่อรับฟงแนวคิดที่องคการยูเนสโกสนับสนุนสงเสริมตามแผนงาน ประจําปนนั้ ๆ นอกจากนยี้ งั มกี จิ กรรมคายมรดกโลกใหกบั ตัวแทนนักเรยี นในโรงเรยี น เครือขาย ซึ่งหมุนเวียนไปตามพื้นที่มรดกโลกของยูเนสโก เชน ในป พ.ศ. ๒๕๕๓ มีกิจกรรมคายที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ เปนตน รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 39

๓๙

18/2/2549 20:15:11


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม เปนองคกรที่มีบทบาทนําในการขับเคลื่อนดานสิ่งแวดลอมศึกษา ทั้งน้ีสวนงาน สิ่งแวดลอมศึกษาไดริเริ่มโครงการโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Eco School) มาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ โครงการมุงเนนไปที่กระบวนการติดตามการทํางานและถอดบทเรียนรวมกันในกลุม โรงเรียนที่เขารวม จํานวน ๔๑ โรง ใน ๔ ภูมิภาค จุดเดนของโครงการคือการมีระบบ ที่ปรึกษาวิชาการจากคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (วิทยาเขต ภู เ ก็ ต) และคณะวิ ท ยาศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ อุ ด รธานี ทํ า หน า ที่ ในการ ติดตามความกาวหนา และเปนทีมวิทยากรเคลื่อนที่ในการจัดฝกอบรมปฏิบัติการ ในป พ.ศ. ๒๕๕๓ ที่ผานมา โครงการไดขยายเครือขายทีมที่ปรึกษาวิชาการเปน ๑๒ มหาวิทยาลัย และมกี ารจัดประชุมปฏิบตั ริ ะดับภูมภิ าคใหแกเจาหนาทีจ่ ากสํานัก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด และองคการปกครองสวนทองถิ่นใน ๔ ภูมิภาค เพื่อเตรียมรองรับ การขยายผลโครงการตอไปในป พ.ศ. ๒๕๕๔ นอกจากนี้สวนงานสิ่งแวดลอมยังสนับสนุนโครงการมหิงสาสายสืบ ที่เนน กระบวนการเรยี นรูน อกหองเรยี นในวิถชี วี ติ ตามประเด็นเฉพาะของสิง่ แวดลอมทองถิน่ โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอมใหการสนับสนุนเชิงวิชาการดวยการจัดฝกอบรม พี่เลี้ยงที่ดูแลการจัดกิจกรรมของเด็กที่สมัครรวมโครงการ รวมทั้งจัดใหมีเวทีแลก เปลี่ยนประสบการณเปนระยะผานเครือขายสังคมออนไลนเฟซบุคอีกดวย สวนงาน สิ่งแวดลอมศึกษา กองสงเสริมและเผยแพร ไดจัดใหมีเวทีเสวนาสิ่งแวดลอมศึกษา ระดับประเทศ ครั้งที่ ๓ (The 3rd Thailand Environmental Education Forum) ใน ป ๒๕๕๓ ณ จังหวัดขอนแกน เพื่อนําเสนอกรณีตัวอยางจากการทํางานสิ่งแวดลอม ศึกษาในมิตติ างๆ ทั้งในโรงเรยี น ชุมชน ภาคธุรกิจ และอืน่ ๆ เพือ่ เปนเวทแี ลกเปลีย่ น ประสบการณและการกระตุน ใหเกิดการจัดการเรยี นรูท นี่ าํ ไปสูก ารพัฒนาอยางยัง่ ยืน ๔๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 40

18/2/2549 20:15:11


อยางตอเนื่อง โดยมีแผนการจัดแบบปเวนป (รายละเอียด www.thaieeforum.com) สําหรับภารกิจในสวนทเี่ ชือ่ มตอกับแผนปฏิบตั กิ ารสิง่ แวดลอมศึกษาของอาเซยี น เชน การประกวดคลิปวีดิทัศนขนาดสั้น ในหัวขอ Chang the Climate Change สําหรับ ประชาสัมพันธ “ทศวรรษแหงการศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน” ในระหวางป ๒๕๔๘ - ๒๕๕๗ ขององคการสหประชาชาติ และเพื่อสนับสนุนงานระหวางประเทศ สมาชิกอาเซียนของคณะทํางานสิ่งแวดลอมศึกษา (ASEAN Working Group on Environmental Education) กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอมยังมสี าํ นักกิจการลูกเสือและเยาวชนทที่ าํ หนาที่ ผลักดันใหเกิดชุดคูมือกิจกรรมลูกเสือสีเขียว และมีการจัดฝกอบรมเพื่อนํารองใชชุด คูม อื ไปในระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ นอกจากนยี้ งั ไดสนับสนุนใหศนู ยวจิ ยั และ พัฒนานวัตกรรมดานการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตรคายฝกอบรม เรื่อง เยาวชนรักษสิ่งแวดลอม กับภาวะ โลกรอนที่เราชวยกันได และไดจัดใหมีคายฝกอบรมระดับภูมิภาค จํานวน ๔ ครั้ง โดยคณะทํางานจาก คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดเชิญคณะวิทยากร รวมจากสมาคมสรางสรรคไทย (ตาวิเศษ) และคณะวิทยากรจากกองทุนสัตวปาโลก แหงประเทศไทย (WWF, Thailand) รวมเปนทีมวิทยากรเพื่อพัฒนาศักยภาพของ ทีมงานและพัฒนาชุดหลักสูตรดวยกัน หนวยงานที่จัดตั้งโดยรัฐ นอกเหนือจากหนวยงานภาครัฐโดยตรง ยังมีองคกรที่ไดรับการจัดตั้งโดยรัฐ แตมีการบริหารงานที่ยืดหยุนในลักษณะองคกรไมแสวงผลกําไรอีกจํานวนมากที่มี บทบาทในการทํ า งานด า นสิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษา จากการสั ม ภาษณ ผู อํ า นวยการ องค ก ารบริ ห ารก า ซเรื อ นกระจก (องค ก ารมหาชน) เพื่ อ ขอรั บ ทราบข อ มู ล ใน การทํางาน พบวา ปจจุบันองคการบริหารกาซเรือนกระจกไดมีการจัดกิจกรรมที่ หลากหลายมุงกลุมเปาหมายไปที่ภาคธุรกิจที่มีความสนใจจะเขารวมในกิจกรรมการ ลดกาซเรือนกระจก ระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ องคการฯ ไดจัดกิจกรรม จํานวนมาก อาทิเชน รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 41

๔๑

18/2/2549 20:15:11


สัมมนา “คารบอนเครดิตเกิดจากหลุมฝงกลบขยะ ขายไดจริงหรือ?” สัมมนา “โอกาสในการพัฒนาโครงการลดกาซเรือนกระจกฯ” นิทรรศการใหความรูในงานมหกรรมทรัพยากรชีวภาพและภูมิปญญา ทองถิ่น ป ๒๕๕๓ สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารแนวทางการจัดทําบัญชกี า ซเรือนกระจกตาม 2006 IPCC Guidelines นิทรรศการ เผยแพรความรู และใหคาํ ปรึกษาเกยี่ วกับกลไกการพัฒนา ที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM ) สัมมนาและพิธีลงนามบันทึกความรวมมือ “โครงการจัดทําคารบอน ฟุตพริ้นทขององคกร (Carbon Footprint for Organization) สําหรับ ประเทศไทย” เสวนา คารบอนเครดิตในการดูดซับคารบอน กับความหลากหลายทาง ชีวภาพ สัมมนาเชิงปฏิบัติการดานพลังงานและสิ่งแวดลอม กิจกรรมตางที่จัดขึ้นมีสวนสําคัญในการชวยสรางความเขาใจในเรื่องคารบอน เครดิต และกลไกในการปลอยกาซเรือนกระจกเพิม่ มากขึน้ จุดแข็งขององคการฯ อยูท ี่ การเปนองคกรมหาชนทําใหการทํางานคลองตัวทําใหสามารถทํางานไดมปี ระสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น มีองคกรภาคธุรกิจเขามารวมโครงการมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้การมี เครือขายการทํางาน โดยเฉพาะสื่อมวลชนยังเปนประโยชนอยางมากในการนําเสนอ เรื่องราวขององคกรและสื่อสารขอมูลขาวสารขององคกรลงในสื่อตางๆ ปจจุบัน องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกของประเทศไทย นับวาเปนที่ศึกษาดูงาน ของในระดับโลก เพราะยังมมีชาติไหนที่จัดตั้งองคกรภาครัฐที่แยกออกมาดูแลเรื่อง การบริหารจัดการกาซเรือนกระจกโดยเฉพาะเชนที่ประเทศไทยบริหารจัดการอยู

๔๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 42

18/2/2549 20:15:11


แผนงานในอนาคต องคการฯ มุงหวังที่จะเพิ่มขอบเขตในการสื่อสารการ ประชาสัมพันธหรือจัดทํารายการที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกเพื่อ ออกอากาศทางโทรทัศนใหเกิดตระหนักสาธารณะเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีแผนงานใน การลงไปทํางานดานคารบอนเครดิตในระดับชุมชน สรางรูปแบบเมืองคารบอนตํ่า รวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีความพรอมตอไป องคการปกครองสวนทองถิ่น จากแนวทางกระจายอํานาจของภาครัฐที่ดําเนินการตอเนื่องภายใตกรอบ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ปพุทธศักราช ๒๕๔๐ องคการปกครอง สวนทองถิ่นมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการดูแลสุขภาวะของชุมชน ประเด็นการทํางาน ดานสิ่งแวดลอมไดรับการนํามาผลักดันอยางกวางขวางในหลายพื้นที่ ในการศึกษา คณะทํางานไดมีโอกาสเขาเยี่ยมพื้นที่เทศบาลตําบลแกลง และไดรับฟงการใหขอมูล โดยตรง นายกเทศมนตรีสมชาย จริยะเจริญ ซึ่งเปนผูบริหารขององคกรในสมัยที่ ๓ จุดเดนในการทํางานของดานการจัดการสิ่งแวดลอมของเทศบาลตําบลแกลง คือการจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนทั้งระบบ มุงเนนการลดการกอขยะและของเสีย จากแหลงผลิตและครัวเรือน มีระบบในการคัดแยก จําหนายตอ นํากลับมาใชใหม อยางมีประสิทธิภาพ และกอใหเกิดมูลคาเพิ่มจากกิจกรรมเกษตรในเขตเมือง เพื่อ พลิกฟนวิถีชีวิตการเกษตรที่เปนอาชีพดั้งเดิมของชุมชนกลับมา นอกจากนี้ผูบริหาร ขององคกรใหความสําคัญกับการจัดการความรูและนําไปสื่อสารตอกับสมาชิกของ ชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่งเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ปจจุบันเทศบาลตําบลแกลงมีการ จัดเจาหนาทขี่ องเทศบาลเขาไปทําหนาทจี่ ดั กิจกรรมการเรยี นรูว า ดวยการจัดการขยะ ของเสียและลดการใชพลังงานในโรงเรียน ในรูปแบบครูอาสาสมัครหมุนเวียนไปตาม

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 43

๔๓

18/2/2549 20:15:11


โรงเรียนใกลเขตเทศบาล ตลอดจนมีการสื่อสารผานหอกระจายขาว เครือขายสังคม ออนไลน และหนาเว็บเพจของเทศบาลอยางสมํ่าเสมอ ซึ่งเปนแรงสนับสนุนใหเกิด กระบวนการมีสวนรวมจากประชาชนในทองถิ่นเปนอยางดี บทสงทาย การขับเคลือ่ นสิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยืนโดยหนวยงานภาครัฐของ ประเทศไทย ในป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ มีความเคลื่อนไหวที่นาสนใจในสวนของ การสานสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ กับภาคสวนอื่นๆ นอกภาครัฐที่ตอเนื่อง และมกี ารขยายเครือขายทกี่ วางขวางมากยิง่ ขึน้ มกี ารขยายขอบเขตการทํางานสูก ลุม เปาหมายใหมๆ เชน เจาหนาที่จากองคการปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และ องคกรไมแสวงผลกําไร เปนตน ในสวนของโรงเรยี นยังคงมกี ารทํางานตอเนือ่ งผานชุด กิจกรรมหรือโครงการใหมๆ ทรี่ เิ ริม่ จากหนวยงานภายนอก จุดแข็งและปจจัยเงือ่ นไข ที่มีผลตอการขับเคลื่อนงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ยังคงเกี่ยวของ โดยตรงกับปจจัยตัวบุคคล ทัง้ ผูบ ริหารองคกร ครู และเจาหนาทปี่ ฏิบตั ิ ทแี่ สดงใหเห็น ความตองการจําเปนในการจัดโปรแกรมเสริมสรางศักยภาพอยางเปนระบบตอไป

๔๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 44

18/2/2549 20:15:11


บทที่ ๓ ภาคธุรกิจและประชาสังคม กับการสนับสนุนงานสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 29

๒๙

18/2/2549 20:36:10


ภาคธุรกิจและประชาสังคมกับการสนับสนุน งานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน “การทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเปนงานที่ตองอาศัย เครือขายและทุกคนที่สามารถทําอะไรไดก็ตองลงมือชวยกัน ไมใชหนวยงานใด หนวยงานหนึ่งจะทําได โดยเฉพาะภาครัฐเพียงหนวยงานเดียวไมสามารถที่จะ ขับเคลื่อนงานดานน้ีไดโดยลําพัง ดังนั้นการทํางานในแนวราบที่ทุกคนชวยกันทํา ชวยกันสราง จึงยังเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่งของสังคมไทย” (จงโปรด คชภูมิ ผูจัดการสวนสิ่งแวดลอมบริษัทบางจาก)

จากกระแสความตืน่ ตัวในเรือ่ งสิง่ แวดลอมของสังคมไทยในรอบหลายปทผี่ า นมา ซึ่งหากไดลองเปดรับชมโทรทัศน อานขาวตามหนาหนังสือพิมพ หรือนิตยสาร รวมทั้งเวปเพจในสื่ออิเล็กทรอนิกสออนไลนตางๆ เราจะพบกับบุคคล กลุมคน และ องคกรมากมายที่มีกิจกรรมการทํางานดานสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะในชวงป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมา การทํางานดานสิ่งแวดลอมในสวนของภาคสวนธุรกิจ และประชาสังคมกลายเป นกระแสที่สุดคึกคัก ทวาทามกลางกระแสวั ฒนธรรม จิตอาสาสีเขียวที่กระหนําสูการรับรูผานชองทางสื่อสารตางๆ ซึ่งทําใหเราสามารถ มองเห็นทั้งภาพความสําเร็จ ภาพความทาทาย และภาพที่ยังเปนขอสงสัยอันนํามาสู การตัง้ คําถามจากสังคมเกยี่ วกับบทบาทและความจริงในการทํางานสิง่ แวดลอมศึกษา ของภาคสวนดังกลาว อยางไรก็ดเี ราสามารถ “จับภาพ” ความเคลือ่ นไหวทีส่ าํ คญบาง คัญบาง สวนมานําเสนอผาน “ตัวละคร” ทเี่ ปน “ผูเ ลนคนสําคัญ” ในงานดานสิง่ แวดลลอมศึ อมศึกษา งานภาคธุรกิจ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยจําแนกออกเปน ๓ กลุมหลัก ไดแก หนวยงานภาคธุ องคกรไมแสวงผลกําไร และบุคคลหรือกลุมคนจากภาคประชาชนน ๔๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 46

18/2/2549 20:36:41


ภาคธุ ร กิ จ กั บ การสนั บ สนุ น งานด า นสิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่งยืน จากการศึกษาแนวโนมภาพรวมกิจกรรมการดําเนินงานดานสิง่ แวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ขององคกรภาคธุรกิจพบวามีการ จัดกิจกรรมใน ๒ สวนใหญ คือ สวนที่ ๑ ดานการจัดการสิ่งแวดลอมทางกายภาพ และการดําเนินธุรกิจของหนวยงานของตนใหพรอมที่จะเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และ สวนที่ ๒ ดานการสงเสริมกิจกรรมสรางจิตอาสา ความตระหนัก สงเสริมความรูทั้ง กับพนักงานในองคกร ชุมชน และประชาชนกลุมตางๆ เพื่อเปนการคืนกําไรใหกับ สังคม จนอาจกลาวไดวาชวงสองปที่ผานมาการทํางานดานสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะใน สวนของกิจกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษามีกระแสที่ตื่นตัวและมีการทํางาน อยางคึกคัก โดยไดรบั แรงสงจากกระแสธุรกิจรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ตลอดจนการผลักดันใหมกี ารประกาศกฏหมายและนโยบายที่ เอื้อใหภาคธุรกิจเขารวมขับเคลื่อนงานที่เปนประโยชนและคืนกําไรใหกับสังคม จากการทบทวนเอกสาร และสัมภาษณตวั แทนจากองคกรธุรกิจทีม่ กี จิ กรรมใน ดานสิ่งแวดลอมศึกษา พบวาหลายโครงการและกิจกรรมเปนโครงการและกิจกรรม ที่มีการดําเนินการมาอยางตอเนื่อง อาทิ โครงการศูนยสิรินาถราชินี ก็เปนงานที่ ตอเนือ่ งมาจากโครงการปลูกปาชายเลนบริเวณปากแมนาํ้ ปราณ ในชวงเวลากวา ๒๐ ป ที่ผานมา จนในปจจุบันพื้นที่ดังกลาวไดกลับมาเปนปาชายเลนที่มีความอุดมสมบูรณ จึงทําใหมีความพรอมในการเปดศูนยเรียนรู โครงการโรงเรียนเชิงนิเวศ Eco school ของธนาคารกรุงไทยที่สานงานตอจากโครงการสานฝนโรงเรียนดีใกลบาน โครงการ คายเยาวชนเอกโกไทยรักษปาซึ่งเปนโครงการที่ทําตอเนื่องมากวาสิบป โครงการ โรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอมเฉลิมพระเกียรติ “ตามรอยเทาพอกับฮอนดา” ที่ทํา ตอเนื่องมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๓ และครบหนึ่งทศวรรษของโครงการไปในป พ.ศ. ๒๕๕๓ เปนตน กิจกรรมตางๆ ของภาคเอกชนเหลานล้ี ว นแสดงถึงความตอเนือ่ งและ รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 47

๔๗

18/2/2549 20:15:54


พัฒนาการการทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษา หลายองคกรไดขยายการทํางานของ ตนจากการจัดการดานสิ่งแวดลอมภายในองคกรสูการทํางานรวมกับภาคสวนตางๆ เพือ่ สรางความตระหนักและผลักดันใหเกิดการทํางานดานสิง่ แวดลอมใหเกิดขึน้ อยาง เปนรูปธรรมและเปนที่รับรูของสาธารณะชนอยาชัดเจนมากกวาเดิม สามารถแบง รูปแบบโครงการและกิจกรรมของหนวยงานภาคธุรกิจออกตามกลุมเปาหมายที่ เขารวม โดยแบงพิจารณาไดดังนี้ ตารางแสดงรายชือ่ องคกรกลุม ตัวอยาง กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดลอมศึกษา และกลุมเปาหมายในการทํางาน

๔๘

งานที่เชื่อมรอยกับเด็กและเยาวชน

งานจิตอาสาของหนวยงาน ภายในขยายสูสังคมและงาน ที่เชื่อมรอยกับชุมชนโดยตรง

ลําดับ

หนวยงาน

บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) EGCO Group

๑. โครงการคายเยาวชนเอ็กโก - โครงการจิตอาสาของพนักงาน ไทยรักษปา ในแตละพื้นที่การทํางาน ๒. โครงการลดโลกรอนดวยวิถีพอเพียง ๓. คายธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรวมกับ สมาคมไทสรางสรรคปฏิบัติงานใน พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔. คายพลังงานและสิ่งแวดลอมรวมกับ สมาคมไทสรางสรรค ๕. คายมหัศจรรยพลังงานชีวมวล (สัญจร ๕๒ โรงเรียน)

ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)

นํารองโรงเรียนเชิงนิเวศน (KTB Green School)

- ดําเนินการศูนยฝกอบรม อนุรักษพลังงานธนาคาร กรุงไทย - โครงการกรุงไทยหัวใจสเี ขยี ว - โครงการเรารักษคลองเตย

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 48

18/2/2549 20:15:54


ลําดับ

หนวยงาน

งานที่เชื่อมรอยกับเด็กและเยาวชน

งานจิตอาสาของหนวยงาน ภายในขยายสูสังคมและงาน ที่เชื่อมรอยกับชุมชนโดยตรง

บริษัท ปตท จํากัด ๑. โครงการศูนยศึกษาธรรมชาติ สิรินาถ (มหาชน) ราชินี กิจกรรมภายใตศูนยฯ นี้ คือ การผลักดันใหเกิดหลักสูตรยุวมัคคุเทศก เขาสูสถานศึกษา รอบพื้นที่ ปากนํ้าปราณ ๔ โรงเรียน ซึ่งปจจุบัน มีทั้งหมด ๓ รุน รุนแรก ป ๒๕๕๑, ๒๕๕๒ เปนรุน ๒, ๒๕๕๓ เปนรุน ๓, กิจกรรมยุวทูตรักษนํ้า, กิจกรรม การจัดการขยะ ๒. โครงการหาดขนอมระยะที่ ๒ (๒๕๕๒ - ๒๕๕๔) ศึกษาระบบ นิเวศนจากภูเขาสูชายหาด ๓. คายเยาวชนรักษทะเลไทย ครั้งที่ ๔ (ป ๒๕๕๒) ครั้งที่ ๕ (ป ๒๕๕๓) ๔. โครงการปลูกหญาแฝก

- การสนับสนุนและผลักดัน ผานการใหรางวัลลูกโลก สีเขียว - โครงการปลูกหญาแฝก - โครงการจิตอาสาอื่นๆ ในทองถิ่น - รวมมือในการพัฒนา ชุดกิจกรรมนักสืบสายลม

บริษัท บางจาก ปโตเลียม จํากัด (มหาชน)

- เปลี่ยนหลอดไฟใหชุมชน รอบโรงกลัน่ ในป พ.ศ. ๒๕๕๒ - โครงการ “รับซื้อนํ้ามันพืช ใชแลว เพื่อผลิตไบโอดีเซล” - โครงการ “เปลี่ยนความลับ ใหเปนความรัก” โดยรวบรวม เอกสาร ทั้งลับไมลับ ที่ไมใช แลวไปยอย ทําลาย และ รีไซเคิล - โครงการตอเนื่อง “เปดบาน พลังงานทดแทน ๒๐๐๘”

๑. ตอเนื่องจากโครงการสุดยอดเยาวชน พลังงานทดแทน ป ๒๕๕๑ “ไบโอดีเซล-แกสโซฮอล นวัตกรรม พลังงานทดแทน ไทยกาวไกลสูเอเชีย” ๒. โรงเรียน Eco school รวมกับ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ๓. โครงการบางจาก Thailand Go Green ๔. โครงการเปดโลกการเรียนรู โดย รวมกับนักการศึกษาสรางหลักสูตร บูรณาการ “ตะลุยโลกนํ้ามัน สรางสรรคสิ่งแวดลอม อยูในโลก แหงความปลอดภัย”

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 49

๔๙

18/2/2549 20:15:54


๕๐

งานที่เชื่อมรอยกับเด็กและเยาวชน

งานจิตอาสาของหนวยงาน ภายในขยายสูสังคมและงาน ที่เชื่อมรอยกับชุมชนโดยตรง

ลําดับ

หนวยงาน

บริษัท ปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน)

โครงการ “Sustainable Design Camp - โครงการ “SCG Do It Green” ๒๐๐๙” โดยเปดโอกาสใหนิสิตนักศึกษา สูโครงการสรางฝาย เปน สงผลงานเขาประกวดเพื่อคัดเลือกทีม โครงการเพือ่ สิง่ แวดลอมของ รวมเขาคายเรียนรูและทํางานจริง ภายใต เครือซิเมนตไทย ทมี่ งุ ยํา้ เตือน แนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืน พรอม จิตสํานึกดานการอนุรักษ ปลูกฝงจิตสํานึกดานความรับผิดชอบ สิ่งแวดลอมใหกับพนักงาน ตอสังคม ในเครือฯ - โครงการจิตอาสาของพนักงาน ในองคกร

บริษัท ฮอนดา มอเตอร ประเทศไทย

๑. โครงการ “ฮอนดา กรีนบิน ดีไซน คอนเทสต (Honda Green Bin Design Contest)” เปดโอกาสให นักเรียน นิสติ นักศึกษา และ ประชาชนทั่วไปที่หวงใยสิ่งแวดลอม รวมสรางสรรคผลงาน เพื่อโลก ที่ไรขยะ ๒. โครงการ “ตามรอยเทาพอ…กับ ฮอนดา” จัดประกวดโครงการ “โรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอม เฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ ๕” ภายใต แนวคิด “ตามรอยเทาพอ…กับ ฮอนดา” ชิงถวยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

- โครงการ “ฮอนดากรีนเวย” กิจกรรมหลากหลายรูปแบบ ทจี่ ะชวยรณรงคใหโลกของเรา มีพื้นที่สีเขียวเพิ่มมากขึ้น

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 50

18/2/2549 20:15:54


งานที่เชื่อมรอยกับเด็กและเยาวชน

งานจิตอาสาของหนวยงาน ภายในขยายสูสังคมและงาน ที่เชื่อมรอยกับชุมชนโดยตรง

ลําดับ

หนวยงาน

โตโยตา มอเตอร

บริษัท เชฟรอน ๑. โครงการโรงเรียนเครือขายเชฟรอน - โครงการบอหมักกาซชวี ภาพ ประเทศไทยสํารวจ พลังใจ พลังคน ซึ่งเปนโครงการ ซึ่งสงเสริมใหชุมชนคัดแยก และผลิต จํากัด ระยะยาวตอเนื่อง ๓ ป เพื่อสนับสนุน ขยะและนํามาผานกระบวนการ โครงการดานการพัฒนาสิ่งแวดลอม เพือ่ ผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอ และปลูกจิตสํานึกที่ดีใหกับเยาวชน สิง่ แวดลอมและ สรางจิตสํานึก ในดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและ ดานการอนุรักษพลังงาน รูคุณคาของทรัพยากรในโรงเรียน อยางยั่งยืน ทั่วประเทศ - โครงการ “ปารักษเลสาบ” เพือ่ ฟน ฟูปา ชายเลนทะเลสาบ สงขลา

๑. โครงการ “แหลงเรียนรูเชิงนิเวศวิทยา - โครงการ “ลดเมืองรอนดวย (Biotope)” มือเรา” โดยมีวัตถุประสงค ๒. โครงการอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติ การดําเนินโครงการ เพื่อ สิรินธร สรางความเขาใจที่ถูกตอง ๓. โครงการปลูกปาในโรงงาน ระหวาง เรื่องภาวะโลกรอน รวมถึง หนวยงานราชการ ชุมชน และโรงเรยี น การปลุกจิตสํานึกของเยาวชน และประชาชนทัว่ ไปใหชว ยกัน ปองกัน และแกไขปญหาภาวะ โลกรอน - การสัมมนาเชิงวิชาการดาน สิง่ แวดลอม เรือ่ ง “หยุดหมอก ควัน และไฟปา หยุดเวลา โลกรอน” ภายใตโครงการ “โตโยตา...เพื่อสิ่งแวดลอม” - โครงการ “โรงงานบานโพธิ์” โรงงานแหงความสมบูรณแบบ เพื่อสิ่งแวดลอม

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 51

๕๑

18/2/2549 20:15:55


ลําดับ

หนวยงาน

งานที่เชื่อมรอยกับเด็กและเยาวชน ๒. กิจกรรมคายรักษโลก รักษพลังงาน รักษสิ่งแวดลอม เพื่อเรียนรูเกี่ยวกับ พลังงานและการอนุรักษพลังงาน และกองทุนสงเสริมการขยายพัฒนา สัตวนํ้าสูอาวไทย

๕๒

บริษัทไบเออรไทย จํากัด

งานจิตอาสาของหนวยงาน ภายในขยายสูสังคมและงาน ที่เชื่อมรอยกับชุมชนโดยตรง - โครงการรักษปาชายเลน สทิงหมอ ตามแนวพระ ราชดําริ เพือ่ รวมสงเสริมการ อนุรกั ษและพัฒนาระบบนิเวศ ปาชายเลนใหเปนแหลงเรยี นรู ของโรงเรียนและชุมชน - โครงการปลูกปะการังถวาย ในหลวง เพื่อฟนฟูปะการัง ในอาวไทย และสรางจิตสํานึก รักษสิ่งแวดลอมใหกับ ประชาชนทั่วไป - โครงการปลูกปาถาวร เฉลิมพระเกียรติ โครงการ มอบเงินสนับสนุนโครงการ กอสรางสถานแสดงพันธุ สัตวนํ้าสงขลา

“โครงการทูตไบเออรเพื่อสิ่งแวดลอม” - กิจกรรมคายทูตไบเออรเพื่อ โดยคัดเลือกตัวแทนเยาวชนกับการ สิ่งแวดลอม อนุรัษส ิ่งแวดลอมเพื่อเขาคายรวม - กิจกรรมสนับสนุนเยาวชนไทย กิจกรรมการเรียนรูและแลกเปลี่ยน รวมเดินทางเปดมุมมองดาน ประสบการณดานการอนุรักษ การจัดการสิ่งแวดลอมของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไบเออรและหนวยงานรัฐใน พรอมรับทุนสนับสนุนโดยเยาวชนดีเดน สหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน ๕ คน จะเปนตัวแทนเยาวชนไทยรวม เดินทางเปดมุมมองดานการจัดการ สิ่งแวดลอมของไบเออรและหนวยงานรัฐ ในสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน และ นอกจากนี้ เยาวชนที่ผานการคัดเลือก จะไดรับทุนในการดําเนินกิจกรรมดาน สิ่งแวดลอมตามโครงงานที่เยาวชนได ที่นําเสนอ

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 52

18/2/2549 20:15:55


งานที่เชื่อมรอยกับเด็กและเยาวชน

งานจิตอาสาของหนวยงาน ภายในขยายสูสังคมและงาน ที่เชื่อมรอยกับชุมชนโดยตรง

ลําดับ

หนวยงาน

๑๐

สถานีโทรทัศนสี กองทัพบกชอง ๗

“โครงการ ๗ สี ปนรักใหโลก” เปน กิจกรรมประกวด “โรงเรียนตนแบบ ปนรักใหโลก”

มีวัตถุประสงคเพื่อรณรงค ใหสถาบันการศึกษาระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา นําแนวคิด ลดโลกรอน ทั้งรักษนํ้า รักษตนไม รักษอากาศ และรักษพลังงาน มาประยุกตใชในการดําเนิน กิจกรรมตางๆ ของโรงเรียน ใหสัมฤทธิ์และขยายผลการมี สวนรวมของชุมชน ตามแนวคิด “All together”

๑๑

มูลนิธิโคคา โคลา ประเทศไทย

“โครงการพี่นํานองรักษนํ้าตามแนว พระราชดําริ” รวมกับสถาบันสารสนเทศ ทรัพยากรนํ้าและการเกษตร (องคการ มหาชน) และภาคีเครือขาย โดยกลุม เยาวชนในโรงเรียนหรือชุมชนที่มี โครงการเนินงานดานการจัดการ ทรัพยากรนํ้าชุมชนภายในสถานศึกษา หรือชุมชนของตนสามารถเขารวม กิจกรรมโครงการประกวดโครงการ ที่ดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการนํ้า ในโรงเรียน/ชุมชน อยางตอเนื่อง โดย การนอมนําแนวพระราชดําริไปปรับใช ในการบริหารจัดการนํ้าชองชุมชน

โครงการพี่นํานองรักษนํ้าตาม แนวพระราชดําริมีวัตถุประสงค เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวเนื่องใน วโรกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ เปนโครงการ เพือ่ สนับสนุนใหเยาวชนไดพฒ ั นา ทักษะและเรียนรูในการบริหาร จัดการทรัพยากรนํ้า ตามแนว พระราชดําริและนอมนําแนว พระราชดําริไปปรับใชในการ จัดการทรัพยากรนํ้าชุมชน

รวม

๑๒ องคกร กลุมตัวอยาง

๒๒ โครงการ

๒๓ โครงการ

***หมายเหตุ เปนขอมูลจํานวนโครงการที่มองเห็นกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาโดยประมาณการจากการเก็บขอมูล

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 53

๕๓

18/2/2549 20:15:55


จากการศึกษารายกรณีพบวาโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวของกับงานดาน สิ่งแวดลอมศึกษาในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ สวนใหญมุงเนนไปที่กลุมเปาหมาย หลัก ๓ กลุม ไดแก ๑) กลุมบุคคลากรและครอบครัวภายในองคกร ๒) กลุมเด็ก และเยาวชนทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา ๓) ชุมชนและประชาชนทั่วไป ซึ่งในชวงสองปที่ผานมามีโครงการและกิจกรรมตางๆ ไดลงไปสูกลุมเปาหมาย มากกวา ๔๕ โครงการหลัก เมือ่ พิจารณาถึงลักษณะโครงการในสวนของกลุม เปาหมาย ทเี่ ปนบุคลากรและครอบครัวภายในองคกร กลุม เปาหมายทเี่ ปนชุมชนและประชาชน ที่ทั่วไปสวนใหญโครงการจะมีลักษณะเปนโครงการที่มีชวงเวลาจํากัดในระยะสั้น กิจกรรมทที่ าํ สวนใหญเปนงานจิตอาสาในหลากหลายรูปแบบ เชน กิจกรรมการปลูกปา กิจกรรมการปลูกปะการัง กิจกรรมการลงไปเรียนรูและทํางานดานสิ่งแวดลอม รวมกับชุมชนในระยะสัน้ ๆ โครงการมอบทุนในการดําเนินงานดานสิง่ แวดลอม เปนตน สวนโครงการระยะยาวสวนใหญเปนงานที่ทํารวมกับชุมชนโดยมีพื้นที่การทํางาน ของตนเปนหลัก เชน การสรางฝายโดยใชกระบวนการมีสวนรวมกับชุมชนซึ่งเนน การจัดการและมีระบบในการใหการสนับสนุน โครงการสรางแหลงชุมชนเพื่อชุมชน เปนตน แตกลุมเปาหมายที่มีการประสานการทํางานอยางคึกคักที่สุด คือ กลุมเด็ก และเยาวชนทัง้ ในมิตขิ องการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัย เหตุผลหลักคือองคกรภาคธุรกิจสวนใหญมองเห็นความสําคัญกับการพัฒนา ศักยภาพของเด็กและเยาวชนใหสามารถใชชีวิตไดอยางเทาทันความเปลี่ยนแปลงใน โลกปจจุบันอยางมีความตระหนักรูในธรรมชาติ “…ความจริ ง กลุ ม เด็ ก และเยาวชนเป น เป า หมายหลั ก ของเรามานานแล ว ยิ่งทํางานดานสิ่งแวดลอมมากเทาไหรเรายิ่งเห็นความสําคัญของการทํางานกับเด็ก และเยาวชน เราเชื่อวาจะสรางอะไรตองเริ่มที่เด็ก เด็กคือสวนหนึ่งของสังคมอยาง แทจริง ถาเด็กทําดีคนในครอบครัวก็จะทําดีตาม…” (ภิเศก โพธิ์นคร ผูจัดการอาวุโส ฝายกิจการเพื่อสังคม บมจ.กรุงไทย)

๕๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 54

18/2/2549 20:15:55


“…เรามองเด็กและเยาวชนเปนกลุม เปาหมายหลักในการทํางานดานสิง่ แวดลอม มาตลอด เราเชื่อวาพลังของเด็กเปนพลังที่เปลี่ยนสังคมได เรามองเด็กเปนเหมือน ตนทางของสังคมในวันนเี้ พือ่ อนาคตของสังคมในวันหนา การทํางานกับเด็กจึงเหมือน การทํางานเพื่ออนาคต” (จณิน เอี่ยมสอาด ผูจัดการสวนสิ่งแวดลอม บริษัท ผลิตไฟฟา ประเทศไทย)

“เราลงมาทํางานกับเด็ก เพราะเราอยากใหเด็กกลับคืนสูถิ่น ใหเด็กรักถิ่นฐาน บานเกิด รักชุมชนของตน และเราเชื่อวาเด็กคืออนาคตที่สําคัญของชุมชน” (กรองกาญจ กันโรคา พนักงานกิจการเพื่อสังคม บริษัท ปตท. จํากัด มหาชน)

จากการใหความสําคัญดังกลาว พบวากลุม ตัวอยางใหความสําคัญกับการทํางาน ดานสิ่งแวดลอมศึกษากับเปาหมายที่เปนเด็กและเยาวชน มากกวา ๒๒ โครงการ โดยสามารถแบงเนื้องานออกเปน ๒ ลักษณะ คือ โครงการระยะยาว โดยมากเปนโครงการที่มีลักษณะกิจกรรมที่ตอ เนือ่ งสวนใหญจะเปนงานทเ่ี ชือ่ มโยงกับการศึกษาทจี่ ดั อยางเปนทางการ อาทิ โครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอมเฉลิมพระเกียรติ ตาม รอยเทาพอกับฮอนดา โครงการโรงเรียนเชิงนิเวศ Eco school ของ ธนาคารกรุงไทย โครงการศูนยศึกษาธรรมชาติสิรินาถราชินี โครงการ ลดโลกรอนดวยวิถีพอเพียงของบริษัท ผลิตไฟฟา เปนตน โครงการระยะสั้น สวนใหญเปนโครงการที่มีลักษณะงานที่จํากัดเวลา ในการดําเนินกิจกรรม สวนมากเปนงานรวมพลังจิตอาสา กิจกรรมคาย อนุรักษสิ่งแวดลอม และงานประกวดแขงขัน ในสวนของงานกิจกรรม จิตอาสา และกิจกรรมคายอนุรักษสิ่งแวดลอมโดยมากเปนไปเพื่อ “กระตุ นจิ ต สํ า นึ ก และสร า งความตระหนั ก ด า นสิ่ ง แวดล อ ม” เช น โครงการปลูกปาชายเลน ปลูกปะการัง รวมถึงงานจิตอาสาตางๆ รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 55

๕๕

18/2/2549 20:15:55


ซึ่ ง บริ ษั ท ต า งๆ ได จั ด เป น ประจํ า อยู แ ล ว โครงการค า ยอนุ รั ก ษ สิ่งแวดลอม เชน โครงการคายเยาวชนเอกโกไทยรักษปาของบริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด เปนตน สวนกิจกรรมประกวดแขงขันนัน้ เปนโครงการ ที่ เป ด โอกาสให เด็ ก และเยาวชนมี โอกาสได คิ ด ได ทํ า และส ง ผลงาน เขาประกวด เชน การประกวดผลิตภัณฑจากหญาแฝกของบริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) โครงการ “Sustainable Design Camp 2009” ของบริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด โครงการทูตไบเออรเพื่อสิ่งแวดลอม ของบริษัท ไบเออรไทย จํากัด เปนตน ภาพการทํ า งานด า นสิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาส ว นใหญ ที่ เห็ น เป น ภาพสํ า เร็ จ ของ หนวยงานภาคธุรกิจจึงเปนโครงการที่ทํากับกลุมเด็กและเยาวชนมากกวาทํากับกลุม เปาหมายอื่นๆ ทั้งนี้เนื่องจากกลุมเปาหมายดังกลาวเอื้อตอการจัดกิจกรรมที่สงเสริม การนําเอากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษามาใชอยางเปนรูปธรรม อีกทั้งการทํางาน กั บ เด็ ก ยั ง เป นการสร า งภาพลั ก ษณ ที่ ดี แ ละไม มี ภ าพของผลประโยชน แ อบแฝง การนําเอากระบวนการสิง่ แวดลอมศึกษาเขามาใชอยางเปนระบบผสานไปกับเนือ้ เดยี ว ของการทํางานและมุงตรงลงสูตัวเด็กและเยาวชนโดยตรงจึงทําใหเห็นภาพสําเร็จ อยางชัดเจนและเปนรูปธรรม กรณีตัวอยางที่นาสนใจ ไดแก โครงการคายเอกโกไทยรักษปา ซึง่ เปนโครงการทที่ าํ มาอยางตอเนือ่ ง ของบริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) โดยเปนโครงการคายอนุรักษ สิ่งแวดลอมที่จัดมาอยางยาวนานและตอเนื่อง ปจจัยความสําเร็จเกิด จากการเปดโอกาสใหเยาวชนที่สนใจจริงๆ ไดเขียนบทความสั้นๆ และ สงใบสมัครเขามา โดยไมมกี ารแบงแยกเด็กๆ หรือคัดเลือกเด็กจากความ ถนัดดานการเรยี น หรือความสามารถพิเศษตางๆ แตเลือกจากเด็กทสี่ นใจ จริงๆ จากทั่วทุกภูมิภาคในประเทศไทย ในสวนของตัวกิจกรรมก็มีการ ใชกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาจากหนวยสื่อความหมายของอุทยาน ๕๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 56

18/2/2549 20:15:55


แห ง ชาติ ด อยอิ นทนนท และเจ า หน า ที่ จ ากมู ล นิ ธิ ไทยรั ก ษ ป า ซึ่ ง ทั้งสองหนวยงานเปนเครือขายความรวมมือในทองที่ที่มีประสบการณ การทํางานมาอยางยาวนาน นอกจากนี้ตัวกิจกรรมที่เต็มเปยมไปดวย กระบวนการสิง่ แวดลอมศึกษาทพ่ี าใหผเู รยี นไดสมั ผัสกับผืนปาอินทนนท จริงๆ ทําใหเยาวชนทผี่ า นคายนตี้ า งประทับใจและมกี ารสงตอขอมูลไปสู เพื่อนๆ โดยทุกปจะมีเยาวชนสมัครเขามาเกินจํานวนรับสมัครทุกครั้ง ซึง่ ทางหนวยงานก็ตอ งทําการคัดเลือกเฉพาะเยาวชนทส่ี นใจและพรอมจริงๆ โครงการโรงเรียนสรางสรรคสงิ่ แวดลอมเฉลิมพระเกียรติ ตามรอย เทาพอกับฮอนดา ซึง่ นับวาเปนโครงการทปี่ ระสบความสําเร็จในบริบท การทํางานรวมกับโรงเรยี นเนื่องจากตัวโครงการมเี ปาหมายการดําเนิน งานที่มุงสูการพัฒนาศักยภาพความเปนมนุษยที่มีความรู ทักษะ และ ตระหนักรูพ รอมทีจ่ ะลงมือปฏิบตั ใิ นวิถชี วี ติ ทัง้ ในรัว้ และนอกรัว้ โรงเรยี น และเมือ่ โครงการลงสูโ รงเรยี น การทํางานทมี่ ปี ระสิทธิภาพของการทํางาน ที่มุงทําทั้งระบบของโรงเรียนจึงไมเพียงแตเปนการพัฒนาศักยภาพของ ผูเ รยี นแตยงั เปนการเติมเต็มการทํางานของผูบ ริหารและครูของโรงเรยี น ทรี่ ว มโครงการ ปจจัยความสําเร็จนอกจากจะเปนโครงการทีม่ เี ปาหมาย และทิศทางการดําเนินงานที่ชัดเจนแลว กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษา ทถี่ กู ผสานรวมเขากับวิถกี จิ กรรมประจําวันของโรงเรยี นไดทาํ ใหเด็กและ เยาวชนสามารถนําผลที่ไดรับกลับไปใชไดจริงในชีวิตประจําวันนับวา เปนกุญแจที่ชวยไขจิตสํานึกสีเขียวในตัวเด็กๆ ความสําเร็จอาจจะเกิดขึน้ โดยมากกับกลุม เด็กและเยาวชน แตสาํ หรับกิจกรรม ที่ทํากับกลุมเปาหมายอื่นๆ โดยเฉพาะกลุมเปาหมายที่ทํากับประชาชนทั่วไปหรือกับ ชุมชน หลายโครงการหลายกิจกรรมกลายเปนขอสงสัยและถูกตัง้ ขอสังเกตจากสังคม หลายประการ เนือ่ งจากบางโครงการมเี นือ้ งานทเี่ นนไปกับการสรางภาพลักษณทดี่ ขี อง องคกร แตกิจกรรมในหลายโครงการยังขาดผลการศึกษาที่แทจริง อาทิเชน รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 57

๕๗

18/2/2549 20:15:55


กิจกรรมโครงการสรางฝาย ที่ชวยเพิ่มจํานวนฝายชะลอนํ้าในเขตพื้นที่ สูง ซึ่งชวนใหเกิดคําถามในมุมกลับถึงความเขาใจในระบบชลประทาน ที่สูงอยางถูกตองอยางแทจริง โครงการการลดรอยเทาคารบอนในกระบวนการผลิตภาคการการเกษตร ขณะที่องคกรนั้นแตการนําเขาวัตถุดิบ หรือกอใหเกิดของเสียตกคางที่ สงผลดานลบตอระบบนิเวศทางธรรมชาติ โครงการและความเปนธรรมตอสิ่งมีชีวิตที่กลายเปนอาหาร ความ ปลอดภัยของผูบริโภค สังคมทองถิ่นและเกษตรกรไทย โครงการที่มุง สนับสนุนแตงบประมาณเพียงอยางเดียว โครงการปลูกปาที่ไมมีความตอเนื่องและขาดการดูแลจัดการที่ดี โครงการสัมมนาลดโลกรอน หรืองานสัมมนาเพื่อสิ่งแวดลอมแตกลับมีการ จัดงานที่ใหญโต ผูเขารวมตางใชรถสวนตัว ในกิจกรรมมีแตการใชไฟฟาผานเครื่อง อํานวยความสะดวกตางๆ สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นถึง “ขอกังขา” ในบทบาทของหนวยงานภาคธุรกิจ แมสวนหนึ่งภาพรวมของภาคธุรกิจจํานวนไมนอยจะทํางานไดสําเร็จและทํางาน เพื่อสังคมอยางจริงจังและตั้งใจ แตก็พบบางหนวยงานที่ทํางานดวยนโยบายซอนเรน หรือมีจุดมุงหมายและความมุงมั่นที่ดีแตยังขาดไมมีการตรวจทานความถูกตองของ ชุดขอมูลและองคความรูทําใหกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาที่ถูกใสเขาไปไมเกิดผล ที่แทจริง จนกลายเปนการทํางานที่ถูกมองวาเปนไปเพื่อสรางภาพลักษณที่ดีใหกับ องคกรภาคธุรกิจ หรือเปนเพยี งการประชาสัมพันธขอ มูลและสรางเครดิตใหหนวยงาน ของตนเพยี งเพือ่ แสดงวาตนไดทาํ ไปแลวนัน้ องคกรภาคธุรกิจจึงมักถูกตัง้ ขอสังเกตถึง ความจริงใจที่มีตอสังคม

๕๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 58

18/2/2549 20:15:55


“ผมตองตอสูกับฝายบริหารอยูบอยๆ กับโครงการที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษา ทที่ าํ อยู ผูบ ริหารบางคนมักไมเขาใจและเลือกทจี่ ะไมสนใจถึงความสําคัญของงานดานน้ี เขามองถึงองคกรวาจะไดรับอะไรจากการจัดโครงการหรือกิจกรรมดานน้ีมากกวา บางทีก็พูดยาก…” (บริษัทเอกชนแหงหนึ่ง)

“ตั้งแตป ๒๕๕๐ เปนตนมาผมคิดวาองคกรภาคธุรกิจมีความพรอมมากขึ้น อยางนอยทาทีในการใหงบประมาณสนับสนุนของเขาก็ดีขึ้น ก็ดีครับยังดีกวาไมมา และไมสนใจที่จะทําอะไรเลย” (องคกรพัฒนาเอกชนดานสิ่งแวดลอม)

“การทํางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาในสวนขององคกรภาคธุรกิจ ยังไมชดั เจน คือ ยังติดกับการใหการสนับสนุนจากบนสูล า ง เนนการทําตัวเปนผูบ ริจาคแตยงั ขาดทาที ในการเขามาเปนแนวรวมงานอยางจริงจัง ผมวาปจจุบันก็มีภาคธุรกิจสวนหนึ่งที่ พยายามทํางานดวยความตั้งใจจริง และเริ่มที่จะเขามามีสวนรวมมากขึ้น แตโดย สวนใหญภาคธุรกิจยังมองเรื่องผลประโยชนขององคกรของตนมากอน มองวาตัวเอง ไดอะไรมากอนวาสังคมไดอะไร” (องคกรพัฒนาเอกชนดานสิ่งแวดลอม)

“การทํางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาในภาคธุรกิจ สิง่ สําคัญคืออยาคิดแตทาํ เพราะ เคลมงาน อยาทําเพราะไดทาํ แตทาํ ในฐานะการเปนกลุม มนุษยทมี่ เี ครือ่ งไมเครือ่ งมือ ทเี่ อือ้ ตอการทํางาน และทําดวยความจริงใจ ทสี่ าํ คัญองคกรเหลานอี้ ยาคิดวาเขาแยก ออกจากสังคมแตพวกเขาตองรูวาพวกเขาคือสวนหนึ่งของสังคม” (นักคิด นักเขียน ดานสิ่งแวดลอม)

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 59

๕๙

18/2/2549 20:15:55


อยางไรก็ดแี มภาพรวมของภาคธุรกิจจะถูกตัง้ ขอสงสัยถึงประเด็นแฝงเรนตางๆ แตมักพุงเปาไปที่องคกรขนาดใหญเปนหลัก ซึ่งองคกรขนาดใหญเหลานี้มักมีการ ดําเนินกิจการทเี่ กยี่ วของกับการเปลีย่ นแปลงธรรมชาติและสิง่ แวดลอมโดยตรง อกี ทัง้ ยังมฐี านการปฏิบตั งิ านอยูต ามพืน้ ทตี่ า งๆ อยูท วั่ ประเทศ ทวา ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ทผี่ า นมาไมเพยี งแตภาคธุรกิจขนาดใหญเทานัน้ ทเี่ ขามามสี ว นสําคัญในฐานะ “ผูเ ลน” ของงานดานสิง่ แวดลอมศึกษา แตภาคธุรกิจสวนอืน่ ๆ อาทิ ธุรกิจโรงแรม เชน โรงแรม บานทองทราย โรงแรมชุมพรคาบานา ก็มโี ครงการและกิจกรรมทเี่ กยี่ วกับสิง่ แวดลอม ศึกษาปรากฏอยู นอกจากนยี้ งั มธี รุ กิจสเี ขยี วอกี จํานวนมากทสี่ รางผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตร กับสิง่ แวดลอม เชน นมสดแดรีฟ่ ารม สรวิชญฟารมเห็ด สามพรานหมูเลยี้ งปลอดสาร พิษ เสงเฮงเตาหูใ บตองปลอดสารพิษ ผลิตภัณฑนาํ้ ตาลวังตาลโตนด เปนตน ซึง่ ธุรกิจ เหลานแ้ี มมไิ ดทาํ งานดาน CSR แตผลิตภัณฑและการดําเนินงานทที่ าํ อยูล ว นเปนความ รับผิดชอบตอสังคมอันเกิดจากการเรียนรูขององคกรเองจนเกิดเปนผลิตภัณฑเพื่อ สังคมและสิ่งแวดลอม ภาพรวมการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาในกลุมภาคธุรกิจ ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมากิจกรรมดานสิ่งแวดลอมที่ทางภาคธุรกิจ แตละบริษัทจัดขึ้นเพื่อคืนกําไรใหสังคมผานงาน CSR หรืองานดานอื่นๆ เพื่อมุงให เห็นถึงความใสใจที่บริษัทมีตอสังคมและสิ่งแวดลอม โครงการสวนใหญมีการนําเอา กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาเขามาใชผานกิจกรรมที่หลากหลาย และแนวโนมใน การทํางานกับกลุมเปาหมายเด็กและเยาวชนก็มีมากขึ้น บริษัทธุรกิจที่เคลื่อนไหวงานดานสิ่งแวดลอมสวนใหญจะเปนภาคธุรกิจขนาด ใหญที่มีความพรอมทั้งดานงบประมาณ การบริหารจัดการองคกรที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะหลายองคกรจะมีสวนงานดานสิ่งแวดลอมโดยตรง เนื้องานสวนใหญยังคง เปนการจัดการสิ่งแวดลอมคูขนานไปกับงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาที่ผานโครงการที่ ๖๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 60

18/2/2549 20:15:55


เนนกิจกรรมจิตอาสา หรือโครงการระยะยาวที่มุงเนนการใหความรู สรางทักษะ และ ปลูกฝงมุมมอง คานิยมในการอนุรกั ษและใสใจเรือ่ งสิง่ แวดลอมผานกลุม เปาหมายทัง้ บุคลากรในองคกรและขยายไปจนถึงครอบครัวของบุคลากรในองคกร เด็กและเยาวชน ทัง้ การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย รวมทัง้ ชุมชนและกลุม ประชาชน ผูสนใจทั่วไป ซึ่งงานเหลาน้ีลวนมีการนําเอากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษามาใช หนัก-เบาตามเนื้องาน จุดเนนสําคัญตามแตละโครงการกิจกรรม ในมุมมองของนักธุรกิจสวนใหญมองวางานที่ตนทําคือ “ความรับผิดชอบตอ สังคม” แตไมไดมองวาตนเปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงและสิ่งที่ทํา เปนการใหความรู ทักษะ และมุมมองเพือ่ สรางกระแสวัฒนธรรมสเี ขยี วในสังคมอยาง แทจริง และองคกรสวนใหญยงั มองวาโครงการหรือกิจกรรมทที่ าํ ตนจะไดรบั ประโยชน ดานใดบาง ภายใตทฤษฎีไดทั้งผูให ผูรับ (Win Win) และปฏิเสธไมไดวาการทํางาน ดานสิ่งแวดลอมก็คือการสรางภาพลักษณดีๆ ใหกับองคกร ซึ่งจะเห็นไดจากหนา โฆษณาประชาสัมพันธกิจกรรม CSR ดานสิ่งแวดลอมผานตามสื่อตางๆ ทั้งสื่อวิทยุ โทรทัศน หนาหนังสือพิมพหรือนิตยสารตางๆ นอกจากนี้กระแสการตื่นตัวในสังคมที่เริ่มคึกคักอยางยิ่งในชวงสองปที่ผานมา คือ “กระแสบริโภคสีเขียว” สงผลใหเกิดธุรกิจสีเขียว ซึ่งเปนธุรกิจขนาดเล็กไป จนถึงขนาดกลาง ซึ่งกลุมธุรกิจเล็กๆ เหลาน้ีเปนตัวอยางหนึ่งของการเรียนรูผาน กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาดวยตนเอง จนพัฒนารูปแบบการดําเนินกิจการทั้ง วงจรการผลิตจนสามารถสรางผลิตภัณฑทรี่ บั ผิดชอบตอสังคมและสิง่ แวดลอมเพือ่ เปน ทางเลือกอีกหนึ่งทางเลือกใหกับผูบริโภค อยางไรก็ดสี ิ่งที่ภาคธุรกิจตางๆ ยังขาดคือ เครือขายการทํางานที่ทํารวมกันทุก ภาคสวน หนวยงานและเครือขายตางๆ ที่จะเขามาชวยในการใหองคความรูที่ขาด และเติมเต็มการทํางาน รวมถึงเชือ่ มโยงการทํางานในภาคสวนตางๆ ใหเกิดการทํางาน รวมกันอยางบูรณาการเพื่อผลักดันใหเกิดผลทางสังคม รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 61

๖๑

18/2/2549 20:15:55


องคกรไมแสวงกําไร องคกรไมแสวงหากําไร (Non Profit Organization: NPO) เปนองคกรทมี่ บี ทบาท สําคัญตอการพัฒนางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาใหกับสังคมไทยทัง้ ในสถานศึกษาและ นอกสถานศึกษามาอยางยาวนาน ซึ่งงานขององคกรไมแสวงหากําไร หรือองคกร สาธารณะประโยชน สวนใหญจะแตกตางไปตามอุดมการณและเปาหมายหลักที่มีมา ตั้งแตการเกิดขึ้นขององคกร ปจจุบันองคกรไมแสวงกําไรที่ทํางานดานสิ่งแวดลอมใน ประเทศไทยมอี ยูอ ยางมากมาย ซึง่ เราสามารถแบงองคกรเหลานอ้ี อกเปน ๒ ประเภท ใหญๆ เพื่อพิจารณาศึกษา ไดแก องคกรระหวางประเทศ องคกรในประเทศ ในชวงป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ สถานการณของการทํางานดานสิ่งแวดลอม ศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในสวนขององคกรไมแสวงหากําไรไดมีพัฒนาการของ การทํางานเปลีย่ นไปตามสภาพภาวะของแตละองคกร ซึง่ ในการศึกษาครัง้ นผี้ วู จิ ยั ได ทําการสุมเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) จํานวน ๑๐ องคกร ตาม รายชื่อในตาราง ดังตอไปนี้ ตารางแสดงรายชื่อองคกรกลุมตัวอยาง กิจกรรมที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ศึกษา และกลุมเปาหมายในการทํางาน ลําดับ ๑

๖๒

รายนามองคกร

งานที่ทํากับกลุมชุมชน

งานที่ทํากับเด็กและเยาวชน

มูลนิธิกระตายในดวงจันทร ๑. โครงการสรางอาชีพชุมชน โครงการศึกษาธรรมชาติ (สัมภาษณคุณ ชาญชัย พินทุเสน รอบเขากระโจม โดยศิลปวิธี และคุณจุฑามาศ หวังอายัตวณิชย ๒. โครงการดนตรีรกั ษ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓) สิ่งแวดลอม (เริ่มป ๒๕๔๘ - ๒๕๕๓) ๓. โครงการ Key Camp ๔. คายกระตายตื่นตัว ๕. โครงการ Hatch U

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 62

18/2/2549 20:15:55


ลําดับ

รายนามองคกร

งานที่ทํากับกลุมชุมชน

งานที่ทํากับเด็กและเยาวชน

มูลนิธิสรางสรรคไทย (ตาวิเศษ) (สัมภาษณคุณ จีระนันท ชอุมใบ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓)

มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร (สัมภาษณคุณ ศศิน เฉลิมลาภ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓)

องคกรระหวางประเทศเพื่อการ ๑. โครงการ “ฟนฟูภูมินิเวศน กิจกรรมยอยๆ ซึ่งทํากับ อนุรักษธรรมชาติ (IUCN) ธรรมชาติ” ในภาคเหนือ นักเรียนและเยาวชนใน (สัมภาษณคณ ุ สมศักดิ์ สุนทรนวภัทร บนพื้นที่ “ดอยแมสะลอง พื้นที่การทํางาน ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓) จ.เชียงราย” ๒. โครงการฟนฟูภูมินิเวศน จากเขาสูเล ในพื้นที่ “ชายฝงอันดามันเหนือ” คือ ระนองตอนลางและ พังงาตอนบน

๑. ทํางานรวมกับภาคธุรกิจ เอกชนโครงการโรงเรียน สิง่ แวดลอม เฉลิมพระเกยี รติ สรางสรรค “ตามรอยเทาพอ กับฮอนดา” ครั้งที่ ๕ (๒๕๕๑ - ๒๕๕๒) ครัง้ ที่ ๖ (๒๕๕๒ - ๒๕๕๓) ๒. ทํางานรวมกับภาคธุรกิจจัด คายเยาวชนของมิตรผล ๓. ทํารวมกับกรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอม อาทิ คายเยาวชนลดโลกรอน ๔. ทํารวมกับกรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอม ลูกเสือสีเขียว ๕. รวมพัฒนาหลักสูตร นักสิ่งแวดลอมศึกษา ๑. โครงการจอมปา ปกปอง ผืนปาตะวันตก ๒. งานรําลึก ๒๐ ป สืบ นาคะเสถียร

การจัดคายเยาวชนในพื้นที่ การทํางาน

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 63

๖๓

18/2/2549 20:15:55


ลําดับ

รายนามองคกร

งานที่ทํากับกลุมชุมชน

งานที่ทํากับเด็กและเยาวชน

๓. โครงการปาชายเลนเพื่อ อนาคต ซึ่งเปนโครงการ ระดับภูมิภาคทํา ๖ ประเทศในเอเชีย

๖๔

สมาคมสรางสรรคชีวิตและ สิ่งแวดลอม (ACED)

๑. โครงการโรงเรียน มอนแสงดาว

มูลนิธิกองทุนสัตวปาสากล (WWF)

๑. โครงการฟนฟูระบบ นิเวศปาไมและการให การศึกษาในระดับพื้นที่ ๒. โครงการสงเสริมศักยภาพ การจัดการประชากรชางปา ในอุทยานแหงชาติกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ (แผนการจัดการประชากร ชางปาดวยกระบวนการมี สวนรวม) ๓. โครงการจัดการพื้นที่ชุมนํ้า อยางมีสวนรวมของชุมชน ในประเทศไทยและลุม นํา้ โขง จ.หนองคาย เลย และนาน ๔. โครงการฟนฟูลุมนํ้าชี จ.ขอนแกน โครงการ เสริมสรางจิตสํานึก เพื่อ การจัดการพื้นที่ชุมนํ้า บึงโขงหลง โครงการอนุรกั ษ เสือโครงและชะนี อุทยานแหงชาติแมวงศ กุยบุรี

สวนงานสิ่งแวดลอมศึกษา ผานศูนยการเรยี นรู ทัง้ ๓ ศูนย ไดแก ศูนยศึกษาธรรมชาติ กองทัพบก (บางปู), ศูนย ศึกษาธรรมชาติและระบบ นิเวศการเกษตร ปทุมธานี และศูนยศกึ ษาเพือ่ การพัฒนา อยางยั่งยืน

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 64

18/2/2549 20:15:55


ลําดับ

รายนามองคกร

งานที่ทํากับกลุมชุมชน

งานที่ทํากับเด็กและเยาวชน

สถาบันสิ่งแวดลอมไทย

การทํางานโครงการรวมกับ อปท. เพื่อคัดเลือก อปท. นาอยู

ทําหนาที่สรางสรรคโครงการ และดําเนินการ ประสานงาน โครงการตางๆ รวมกับ ภาคธุรกิจและภาคีเครือขาย ตางๆ อาทิ โครงการ ลดโลกรอนดวยวิถีพอเพียง กับบริษัทผลิตไฟฟา ฯลฯ

มูลนิธิโลกสีเขียว (สัมภาษณ ดร.สรณรัชฎ กาญจนะวณิชย ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๓)

๑. การเผยแพรขอมูลความรู สูผูคน ๒. การรณรงคจากสวนกลาง ในเรื่อง การอนุรักษ สิ่งแวดลอมดานตางๆ ๓. การดําเนินงานโครงการ ลูกโลกสีเขียวรวมกับภาคี เครือขาย

โครงการนักสืบสายลม

GIZ

การสนับสนุนวิถีชุมชนกับ การอนุรักษสิ่งแวดลอม ทองถิ่น

๑๐

มูลนิธิการศึกษาไทย

มีกิจกรรมใหเกษตรกรสํารวจ ๑. โครงการระบบนิเวศ และวิเคราะหขอมูลในแปลงนา ในนาขาวหรือแปลงผัก เพื่อตัดสินใจลดการใชสารเคมี ๒. โครงการผลกระทบของ สารเคมตี อ สุขภาพดวยการ ทําปุย หมักและปุย นํา้ ชวี ภาพ ของนําเรียนและชุมชน อ.ทายเหมือง จังหวัดพังงา ๓. โครงการความหลากหลาย ทางชวี ภาพในพืน้ ทเี่ กษตร ดวยการอนุรักษตนจาก และปูดํา อ.ทายเหมือง จังหวัดพังงา

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 65

๖๕

18/2/2549 20:15:56


ลําดับ ๑๑

รวม

รายนามองคกร มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ

งานที่ทํากับกลุมชุมชน

งานที่ทํากับเด็กและเยาวชน

การสนับสนุนดานองคความรู ขอมูลดานเกษตรวิถีธรรมชาติ กับเครือขาย และเกษตรทั่วไป ทั้งในสวนของหนวยงานกลาง และเครือขายกสิกรรมธรรมชาติ ในแตละพื้นที่

การเปนแหลงเรียนรูสําหรับ เด็กๆ เกษตรกรในเครือขาย เปนวิทยากรที่เขาไปให ความรูแกเด็กเยาวชนทั้งใน และนอกสถานศึกษา

๑๖ โครงการ

๑๗ โครงการ

๑๐ องคกรกลุมตัวอยาง

***หมายเหตุ เปนขอมูลจํานวนโครงการที่มองเห็นกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาโดยประมาณการจากการเก็บขอมูล

จากการศึกษาพบวาภาพรวมและกิจกรรมในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ทผี่ า นมา กลุมองคกรไมแสวงหาผลกําไรไดดําเนินโครงการที่หลากหลายตามอุดมการณ เป า หมายและสถานการณ ที่ แ ต ล ะองค ก รเผชิ ญ โดยเฉพาะความท า ทายด า น งบประมาณที่สงผลใหหลายองคกรตองยุติบทบาทบางประการลงไป จนถึงการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการทํางานเพื่อดํารงสภาวะการทํางานขององคกรใหสามารถยัง ทํางานตอไปไดภายใตขอจํากัดที่แตละองคกรเผชิญ ซึ่งตั้งแตป ๒๕๔๕ เปนตนมา การสนั บ สนุ นจากแหล ง ทุ น ภายนอกที่ มี ต อ องค ก รต า งๆ มี แนวโน ม ลดลงอย า ง มาก ทําใหหลายองคกรตองเริ่มมองหาแหลงทุนภายในและหาเครือขายการทํางาน ในปจจุบันเราจึงมักมองเห็นภาพการทํางานรวมกันระหวางองคไมแสวงหากําไร กับหนวยงานภาครัฐและหนวยงานภาคธุรกิจ เชน โครงการโรงเรียนสรางสรรค สิ่งแวดลอมที่สมาคมสรางสรรคไทย (ตาวิเศษ) ทํารวมกับบริษัทฮอนดา ประเทศไทย โครงการลดโลกรอนดวยวิถีพอเพียงที่สถาบันสิ่งแวดลอมไทยทํารวมกับบริษัทผลิต ไฟฟา โครงการนักสํารวจแหงทองทุง ที่ WWF ประเทศไทยทํารวมกับบริษทั ไทยบริดจ สโตน เปนตน ๖๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 66

18/2/2549 20:15:56


การเขาถึงทั้งแหลงทุนของรัฐและแหลงทุนภาคเอกชนจึงทําใหการทํางานของ องคกรเหลานตี้ อ งอาศัยเครือขายการทํางานทหี่ ลากหลาย ซึง่ เปนทัง้ ขอดแี ละขอดอย บางประการ ขอดีก็คือทําใหการทํางานขององคกรนั้นยังมีอยู และทําใหคนทํางานมี แรงที่จะทํางานตอไป รวมถึงในดานกิจกรรมก็มีความหลากหลายมากขึ้น สงผลให เกิดการพัฒนาศักยภาพขององคกรของตน สวนขอดอยก็คือทําใหการทํางานเพื่อ ตอบสนองอุดมการณหรือเปาหมายหลัก ตามทิศทางหลักของอัตลักษณขององคกรนัน้ เปลี่ยนแปลงไปบางบางประการ แตอยางไรก็ดีสิ่งสําคัญก็คือยังทําใหคนทํางานของ องคกรไมแสวงกําไรมีพื้นที่ มีแรงในการทํางานดานสิ่งแวดลอมตอไป เพราะตอง ยอมรับวางานดานสิ่งแวดลอมของไทยขับเคลื่อนและไดรับการพัฒนาอยางเปน รูปธรรมที่สุดเพราะการทํางานขององคกรเหลานี้ จากการศึกษาพบวางานขององคกรสาธารณะประโยชน ทั้งองคกรระหวาง ประเทศ และองคกรภายในประเทศจะมีลักษณะการทํางานที่คลายกัน คือในบาง องคกรจะมีหนาที่หลักในเชิงการใหขอมูล ความรูกับหนวยงานของรัฐและผลักดัน ใหเกิดการขับเคลื่อนเชิงนโยบาย อยางเชน องคกรระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษ ธรรมชาติ (IUCN) ซึ่งมีหนาที่หลักในการผลักดันใหเกิดกฏหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ตางๆ ทเี่ กยี่ วกับสิง่ แวดลอมทางธรรมชาติมาตัง้ แตเขามาในประเทศไทย สวนงานอกี ดานคือการใหความรูและเขาไปเปนตัวกลางในการคลี่คลายปมความขัดแยงตางๆ ในพืน้ ทที่ มี่ ปี ญ  หา รวมถึงใหความรูก บั ผูค นในกลุม เปาหมายตามพืน้ ทกี่ ารทํางานของ ตนทั้งในสวนของชุมชน ผูคนในสังคม เด็กและเยาวชน ซึ่งงานสวนนี้ถือวามีความ สําคัญไมไดนอยไปกวางานดานนโยบาย เราจึงพบวาในชวง ๒ ปที่ผานมา แมแต องคกร IUCN ซึ่งมีงานหลักที่ขับเคลื่อนเชิงนโยบายก็ยังลงมาทํางานรวมกับชุมชน ลักษณะของการทํางานขององคกรไมแสวงกําไร แบงตามกลุมเปาหมาย ไดแก ๑) กลุมเด็กและเยาวชน ๒) กลุมชุมชน และประชาชนทั่วไป ๑) กลุมเด็กและเยาวชน พบวาการทํางานในชวง ป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ กลุมเปาหมายที่เปนเด็กและเยาวชนจะไดรับความสนใจเปนอยางมาก เนื่องจาก รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 67

๖๗

18/2/2549 20:15:56


ปจจัยเกื้อหนุนทางดานทุนที่ไดรับการสนับสนุนทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชนที่ ทุมลงมาใหกับการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ซึ่งเปรียบเสมือนตนทุนของ สังคมไทย เราจึงพบการทํางานขององคกรพัฒนาเอกชนตางๆ ทํางานดานสิง่ แวดลอม อาทิ โครงการ Hatch U ของมูลนิธิกระตายในดวงจันทร ซึ่งทํางานรวมกับภาคี เครือขายตางๆ และภาคธุรกิจอยางไฟเบอรคาสเทล จัดคายใหกับเยาวชนในระดับ มหาวิทยาลัยเพื่อใหเยาวชนที่เขารวมโครงการไดเรียนรูในวิถีชีวิตที่สอดคลองกับ ธรรมชาติอยางรวมสมัย มีการนําเอากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษามาใชในการ ขับเคลื่อนโครงการทั้งการเรียนรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมจากผูเชี่ยวชาญ ไปจนถึงวิถี นึกคิดสมัยใหมจากปากคํานักคิดนักเขียน เชน พี่ปราบดา หยุน พี่เจี้ยบ วรรธนา อาจารยอรรถจักร สัตยานุรกั ษ เปนตน การเรยี นรูใ นสิง่ แวดลอมศึกษาโดยการพาไป ในสถานที่ธรรมชาติทุกระบบนิเวศ ทั่วทุกภูมิภาคของไทย และบางครั้งไปไกลถึง ประเทศเพือ่ นบาน อยางลาว เวยี ดนาม เปนตน นอกจากนสี้ งิ่ สําคัญคือเยาวชนในคาย จะตองมผี ลงานทสี่ อื่ ถึงหัวใจของตนกับสิง่ แวดลอม ซึง่ อาจเปนทัง้ หนังสือนิทาน เรือ่ งสัน้ หรือแมกระทั่งบทเพลงและเสียงดนตรี โครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอม เฉลิม พระเกีย รติ “ตามรอยเท า พอ กับ ฮอนดา ” เปนโครงการที่ดําเนินการ มาอยางตอเนื่อง ในป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ของสมาคมสรางสรรคไทย หรือที่รูจักในชื่อ “ตาวิเศษ” องคกรรณรงคสว นกลางทกี่ อ ตัง้ มายาวนานถึง ๒๐ ป จากโจทยการจัดการ ขยะ สูโ จทยงานดานสิง่ แวดลอมทหี่ ลากหลายมากขึน้ โครงการสรางสรรคสงิ่ แวดลอม เฉลิมพระเกียรติฯ เปนตัวอยางหนึ่งของการปรับทิศทางการทํางานของตาวิเศษ ที่เขามาเปนผูประสานงานและผลักดันงานในเชิงปฏิบัติโดยโครงการนี้เปนการเขาไป ผลักดันงานดานสิ่งแวดลอมกับโรงเรียนทั้งระบบทั้งในสวนของการบริหารจัดการ สิ่งแวดลอมภายในโรงเรียนไปจนถึงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูที่โครงการ สนับสนุนใหเกิดบูรณาการมิตสิ งิ่ แวดลอมเขาไป ซึง่ ทําใหเรือ่ งสิง่ แวดลอมไมใชแคเรือ่ ง เรียนรูในหนากระดาษแตเปนการเรียนรูที่อยูในวิถีของชีวิตประจําวันของนักเรียน โครงการนักสํารวจแหงทองทุง เปนโครงการที่ WWF ประเทศไทยในสวนของ ศูนยศกึ ษาธรรมชาติและระบบนิเวศการเกษตร จังหวัดปทุมธานที ที่ าํ งานใหกบั บริษทั บริดสโตนจ โดยเนนการทํางานกับโรงเรียนในพื้นที่ระบบนิเวศที่ราบลุมภาคกลาง ๖๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 68

18/2/2549 20:15:56


โดยใชกระบวนการมหิงสาสายสืบของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม เขามาจับใน กระบวนการดําเนินโครงการ โดยเนนใหนักเรียนที่เขารวมโครงการไดเรียนรูสํารวจ นิเวศชุมชนของตัวเอง จากนั้นจึงลงสูการจัดทําองคความรู และขยายผลเพื่อการ อนุรักษพื้นที่วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม ซึ่งโครงการดังกลาวเริ่มมาแลว ๒ ชวง คือ ชวงทหี่ นึง่ ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ชวงทสี่ อง ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ และกําลังตอยอดในชวงทสี่ าม ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ ซึง่ จะเปนการทํางานทเี่ นนเชิงคุณภาพมากยิง่ ขึน้ โครงการนักสํารวจ แหงทองทุง เปนอีกตัวอยางหนึ่งของการพยายามทํางานดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม ใหกับกลุมเปาหมายหลักคือเด็ก เพื่อใหเด็กไดเรยี นรูนิเวศชุมชนของตน และพรอมที่ จะเติบโตขึ้นเปนคนของสังคม โครงการลดโลกรอนดวยวิถีพอเพียง เปนโครงการ ที่ทางสถาบันสิ่งแวดลอมไทยดําเนินงานใหกับบริษัทผลิตไฟฟา โดยมีพื้นที่ทํางาน รวมกับโรงเรยี นที่ไดรับคัดเลือกทั่วประเทศ เนนใหโรงเรยี นไดทํางานดานสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการอนุรกั ษพลังงานและวิถกี ารปฏิบตั เิ พือ่ ลดโลกรอน เปนโครงการทีม่ งุ ไป ที่การใหความรูที่มุงสูการปฏิบัติในโรงเรียนเพื่อใหโรงเรียนเปนตัวอยางของโรงเรียน ลดโลกรอน โครงการโรงเรียนมอนแสงดาว ของสมาคมสรางสรรคชีวิตและ สิง่ แวดลอม (ACED) เปนอกี ตัวอยางของโครงการหนึง่ ทแี่ สดงถึงการนําเอากระบวนการ สิง่ แวดลอมศึกษามาใชกบั กลุม เด็กและเยาวชนในเปาหมายทห่ี ลากหลายและตางออกไป จากที่เคยเห็น เพราะโรงเรียนมอนแสงดาวมิไดเปนแคแหลงเรียนรูตามอัธยาศัยของ เด็กๆ และคนทั่วไป แตที่นี่คือสถานที่บําบัดเด็กๆ ที่ไดรับผลกระทบจากความรุนแรง ในดานตางๆ ที่นี่กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาเปนกระบวนการหนึ่งที่ทําหนาที่เปน ยาบําบัดหัวใจของเด็กๆ อีกทั้งที่นี่ยังเปนโรงเรียนสําหรับเด็กชนเผาในพื้นที่ซึ่งเด็กๆ ทุกคนจะไดเรียนรูผานกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพความเปน มนุษยที่รักษธรรมชาติ เปนตน จากโครงการที่ทํากับกลุมเปาหมายเด็กและเยาวชน สะทอนใหเห็นถึงทิศทาง การปรับตัวขององคกรไมแสวงกําไรที่แมจะตองมาจับมือรวมกับภาคธุรกิจแตก็ สามารถทําใหองคกรมพี นื้ ทกี่ ารทํางานและสามารถเปดพืน้ ทจี่ นิ ตภาพดานสิง่ แวดลอม ลงสูกลุมเปาหมายเด็กและเยาวชน ซึ่งเปรียบเสมือนตนทุนทางสังคม การดําเนินงาน รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 69

๖๙

18/2/2549 20:15:56


ในกลุม เปาหมายนีใ้ นสวนของกลุม องคกรดังกลาวจึงถือวาประสบผลสําเร็จอยางมาก พอสมควรทั้งเชิงพื้นที่การทํางาน ปริมาณผูเขารวมและความรูที่ถูกสงตอไปยังเด็ก และเยาวชน ๒) กลุมชุมชนและประชาชนทั่วไป กลุมนี้เปนกลุมเปาหมายซึ่งองคกรพัฒนา เอกชนทํางานรวมอยูดวยเปนหลักอยูกอนแลว อาทิ กองทุนสัตวปาโลก (WWF ประเทศไทย) ซึ่งมีโครงการอนุรักษในพื้นที่มากมาย เชน โครงการฟนฟูระบบนิเวศ ปาไมและการใหการศึกษาในระดับพื้นที่ โครงการสงเสริมศักยภาพการจัดการ ประชากรชางปา ในอุทยานแหงชาติกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ (แผนการจัดการ ประชากรชางปาดวยกระบวนการมีสวนรวม) เปนตน โครงการเหลาน้ีลวนอยูบน พื้นที่ความขัดแยงระหวางชุมชนกับหนวยงานภาครัฐบนฐานของทรัพยากรทองถิ่น ซึ่งตัวโครงการจะเขาไปทําหนาที่สรางความเขาใจ ใหความรู และประสานงานเพื่อ คลคี่ ลายปมขัดแยงทมี่ ี รวมถึงสรางแนวทางในการอยูร ว มกันระหวางคนกับธรรมชาติ บนฐานความคํานึงตอทุกชวี ติ เชนเดยี วกับ องคกรระหวางประเทศเพือ่ การอนุรกั ษ ธรรมชาติ (IUCN) ซึ่งในชวงสองปที่ผานมาการทํางานของ IUCN ขยับลงมาทํางาน กับชุมชนมากขึ้น โครงการหลักในชวงที่ผานมา เชน โครงการ “ฟนฟูภูมินิเวศน ธรรมชาติ” ในภาคเหนือบนพื้นที่ “ดอยแมสะลอง จังหวัดเชียงราย” โครงการฟนฟู ภูมินิเวศนจากเขาสูเล ในพื้นที่ “ชายฝงอันดามันเหนือ” คือระนองตอนลางและพังงา ตอนบน โครงการปาชายเลนเพือ่ อนาคต ซึง่ เปนโครงการระดับภูมภิ าค ทํา ๖ ประเทศใน เอเชยี ลวนแตเปนโครงการทเี่ ปดโอกาสใหชมุ ชนบนฐานทรัพยากรไดเขามามสี ว นรวม ในการดําเนินงานอนุรกั ษ ไดเรยี นรูแ ละเกิดการแลกเปลยี่ นองคความรูท เี่ ปนภูมปิ ญ  ญา ดัง้ เดิมกับองคความรูแ บบใหมเพือ่ หาวิธกี ารในการจัดการสิง่ แวดลอมในชุมชนรวมกัน อยางยั่งยืนและคํานึงถึงทุกชีวิตมีชีวิตรวมระบบนิเวศเดียวกันอยางเปนองครวม ขณะที่องคกรในประเทศที่ทํางานลักษณะนี้ชวงป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมามี ผลงานเปนทรี่ บั รูใ นสังคม คือ “โครงการจอมปา” ของมูลนิธสิ บื นาคะเสถียร ทที่ าํ งาน อยางตอเนื่องในพื้นที่จนประสบความสําเร็จในการจัดการชุมชนรอบผืนปาตะวันตก การลงไปคลุกคลีกับชาวบานจนกลายเปนสวนหนึ่งของชุมชน การทําความเขาใจใน ๗๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 70

18/2/2549 20:15:56


ขอขัดแยงอยางชิดใกลแตไมลงไปอยูในความขัดแยง ทําหนาที่ประสานความรวมมือ โดยดึงการมีสวนรวมทั้งจากชุมชนและภาครัฐใหมองกันอยางเขาใจมีการใหขอมูล ความรูท งั้ ชุมชนและภาครัฐในพืน้ ทสี่ ะทอนมุมมองของชาวบานสูร ฐั จากรัฐสูช าวบาน โดยการเปดพื้นที่รวมคลี่คลายปมปญหาและหาทางออกรวมกัน จนเกิดเปนแนวทาง การใชทรัพยากรทองถิน่ บนพืน้ ฐานแหงการอนุรกั ษดว ยความคํานึงถึงทุกมิตใิ นผืนปา จากทิศทางการทํางานกับกลุมเปาหมายที่เปนชุมชนและประชาชนทั่วไปดังที่ กลาวมาสะทอนใหเห็นถึงการทํางานขององคกรไมแสวงกําไร ทปี่ รับทิศทางการทํางาน ดวยการไมลงไปอยูในความขัดแยงหรือปญหา ไมเลือกขางในการลงไปชวยเหลือ แตทําหนาที่เปนสะพานเชื่อมระหวางชุมชนกับหนวยงานที่ขัดแยง สะทอนมุมมอง ของแตละกลุม แตละชุมชน แตละหนวยงานใหแตละฝายมองเห็นซึ่งกันและกัน และ รวมกันหาทางออกโดยคํานึงถึงทุกชวี ติ ในระบบนิเวศอยางยัง่ ยืน ซึง่ รูปแบบการทํางาน เชนนี้เองที่แสดงใหเห็นถึงการเรียนรูเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาโดยผานกระบวนการ สิง่ แวดลอมศึกษาผานรูปแบบกิจกรรมและวิถชี วี ติ ทคี่ นในสังคมในพืน้ ทนี่ นั้ ๆ ไดเรยี นรู รวมกันและกลั่นกรองออกมาเปนหนทางวิถีเพื่อคลี่คลายความขัดแยงและพัฒนา สัมพันธภาพของคนในสังคมใหตระหนักรูและรวมกันอนุรักษธรรมชาติเพื่อสานวิถี ความเปนมนุษยสูอนุชนรุนตอไป ภาพรวมของการดําเนินงานสิง่ แวดลอมศึกษาในกลุม ขององคกรไมแสวงกําไร ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ มอี งคกรไมแสวงหากําไรจํานวนไมนอ ยทปี่ ระกอบไป ดวยความรู ทักษะ และประสบการณดานสิง่ แวดลอมศึกษา รวมทัง้ หลายๆ โครงการ ในชวง ๒ ปที่ผานมาก็เปนไปตามเปาหมายประสบผลสําเร็จจนเปนที่นาพอใจและ หลายๆ โครงการสามารถเปนตนแบบที่ดีในการไดมองการทํางานดานสิ่งแวดลอม ศึกษาซึ่งไมไดจํากัดแคตัวนักเรียน เด็กและเยาวชน และคงไมคับแคบพื้นที่ของ สิง่ แวดลอมศึกษาใหจาํ กัดแคในรัว้ โรงเรยี น แตองคกรไมแสวงกําไรเหลานไ้ี ดแสดงให เห็นวาสิ่งแวดลอมศึกษาเปนเรื่องของทุกคน รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 71

๗๑

18/2/2549 20:15:56


ปจจัยสําคัญที่เปนจุดแข็งขององคกรไมแสวงกําไรเหลานี้คือความชัดเจนของ อุดมการณและเปาหมายทแี่ ตละองคกรมอี ยู ความมอี สิ ระ ความยืดหยุน ในการบริหาร จัดการ การมีบุคลากรที่เชี่ยวชาญในดานสิ่งแวดลอมและคนที่ทํางานดานนี้สวนใหญ เปนคนมีใจใหงาน ปจจัยตางๆ เหลานี้ลวนเอื้อตอการริเริ่มสรางสรรคและพัฒนาวิธี การทํางาน ทําใหการทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษาของแตละองคกรไมหยุดนิ่ง ขอจํากัดสําคัญอยูที่องคกรสวนใหญไมสามารถสรางรายไดไดเองจึงทําให องคกรเหลาน้ีตองการทุนสนับสนุนทั้งจากภายในและภายนอก โดยเฉพาะแนวโนม ชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ทผี่ า นมา หลายองคกรไดเลิกขอทุนสนับสนุนจากตางประเทศ แตรับเพียงทุนสนับสนุนจากภายใน ประการหนึ่งก็เพื่อกระตุนใหทุกฝายรับรูวา สิ่งแวดลอมของคนในประเทศไหน คนในประเทศนั้นตองชวยกันดูแล อยางไรก็ดีจากขอจํากัดดานงบประมาณที่จะใชสงเสริมสภาวะการทํางานของ องคกร ทําใหหลายองคกรหันกลับมาทบทวนบทบาทของตนและชวยผลักดันให องคกรพัฒนาเอกชนทัง้ หลายตองหาเครือขายเพือ่ เติมเต็มและหนุนเสริมในการทํางาน ทัง้ จากภาครัฐและภาคธุรกิจ แมจะเปนการหนจี ากขอจํากัดหนึง่ มายังอกี ขอจํากัดหนึง่ ที่ทําใหการทํางานขององคกรตองผูกติดกับภาคธุรกิจ และหลายครั้งถูกทําใหกลาย เปนเครื่องมือในการโฆษณางานดาน CSR ขององคกรภาคธุรกิจ แตถึงอยางไรการ สนับสนุนจากเครือขายที่หลากหลายก็ยังเปนความจําเปนตอการริเริ่มสานงานของ องคกรไมแสวงกําไร บุคคลและกลุมคนจากภาคประชาชนกับการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษา บุคคลและกลุมคนภาคประชาชนเปนอีกกลุมคนหนึ่งซึ่งในชวงสองปที่ผานมา พบวาบุคคลที่กลายเปนคนตนแบบและกลุมคนที่กลายเปนแรงผลักเล็กๆ ใหสังคม หันมารับรูในวิถีชีวิตตางออกไปจากวิถีปจจุบัน การเลือกที่จะพึ่งพาตัวเองมากขึ้น การลุกขึน้ มาทํางานทเี่ กยี่ วของกับเรือ่ งสิง่ แวดลอมศึกษา ไปจนถึงการสรางแหลงเรยี นรู ๗๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 72

18/2/2549 20:15:56


ใหผูคนในสังคมไดหันมามองวิถีที่แทจริงของการเปนมนุษย ไปจนถึงการรวมพลัง เครือขายเล็กๆ ขึ้นมาเพื่อปกปองทรัพยากรและสิ่งแวดลอมชุมชน ทั้งหมดทั้งมวลนี้ เปนงานคนตัวเล็กๆ ที่มองเห็นสายสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติและลุกขึ้นมา ทําในระดับปจเจคบุคคล ไปจนถึงกลุมชมรมหรือชุมชนในการขับเคลื่อนงานดาน สิ่งแวดลอมศึกษา คนตนแบบ จากคนหนึ่งคนที่กลาเปลี่ยนแปลงวิถีตัวเองจนประสบความสําเร็จ เกิดความ สนใจและกลายเปนแรงบันดาลใจใหกับคนอื่นๆ ใหอยากเรียนรูวิถีชีวิตที่เนนการพึ่ง ตนเองเปนหลัก และลดการใหคาในการบริโภคและการพึ่งพาวัตถุและเทคโนโลยี สงผลใหวิถีชีวิตของคนตนแบบเหลานั้นกลายเปนแหลงเรียนรูของคนในสังคม จน สามารถทําใหเกิดกลุม เครือขายทเี่ ชือ่ มรอยผูค นใหไดเรยี นรูแ ละขยายสูว งกวางในทสี่ ดุ วิวฒ ั น ศัลยกําธร หรือครูยกั ษแหงมหาวิทยาลัยคอกหมู และประธานสถาบัน เศรษฐกิจพอเพยี ง เปนคนตนแบบทานหนึง่ ทเี่ ปรยี บเสมือน “อาจารยป”ู ของเครือขาย เกษตรกรรมธรรมชาติ การลาออกจากการเปนขาราชการระดับสูงและนอมนําเอา แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชจนประสบผลสําเร็จทําใหครูยกั ษกลายเปนคนตนแบบ และคุณครูของเกษตรกรที่ดําเนินกิจกรรมตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่การ ทํางานของครูยักษอยูที่ศูนยกสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง อําเภอบานบึง จังหวัด ชลบุรี ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ครูยักษไดกลายเปนกําลังหลักของสังคมไทยใน ดานการเกษตรและการใชหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดํารงวิถีชีวิตแบบพึ่งพา ตนเองอยางพอเพียงและยั่งยืน นอกจากที่ศูนยกสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้องแลว ครู ยักษยงั เปนผูอ าํ นวยการสถาบันเศรษฐกิจพอเพยี ง และขับเคลือ่ นงานดานสิง่ แวดลอม ศึกษาผานการเปนวิทยากรทั้งภายในเครือขายสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง เครือขาย มูลนิธิเกษตรกรรมธรรมชาติ รวมไปการเปนวิทยากรใหกับนิสิต นักศึกษา ทั้งใน สถานศึกษาและนอกสถานศึกษา รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 73

๗๓

18/2/2549 20:15:56


โจน จันได บุคคลที่พลิกวิถีชีวิตอันนาเบื่อในสังคมเมืองสูวิถีแหงการพึ่งตนเอง ใหไดมากที่สุด จากวิถีชีวิตสูการเปนศูนยการเรียนรูเพื่อการพึ่งตนเองและศูนยเมล็ด พันธุพรรณ อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม นอกจากการเปนแหลงเรียนรูของชุมชน และของผูคนที่สนใจทั่วไป เกือบทุกเดือนทางศูนยฯ จะมกี ารทําเวิรคช็อปเพื่อใหผูคน ที่สนใจทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศไดเขามาเรียนรูวิถีการพึ่งตนเอง ทั้งเทคนิค การสรางบานดิน บานกองฟาง การทําเกษตรชีวภาพปลอดสารพิษ การดําเนินชีวิต ที่พึ่งพาตัวเองเปนสําคัญ พยงค ศรีทอง ชายผูหอบหิ้ววิชาความรูและใบปริญญาจากคณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกลับคืนสูบ า นเกิดเมืองนอนของตน ดวยเหตุผลสัน้ ๆ เพราะ อยากชวยชาวบาน กวา ๑๖ ปที่ผานมา การนําเอาความรูสมัยใหมที่รําเรียนมาจาก มหาวิทยาลัยเขามาเติมเต็มภูมิปญญาชาวบาน เกิดการเรียนรูรวมกันของชุมชน ทุกวันนี้ ณ หมูบานหวยดินดํา อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี ไมมีใครไมรูจัก “พยงค ศรที อง” ผูส รางสรรค “เครือขายผักประสานใจ” โดยเปนผูท นี่ าํ เอาระบบ CSA (Community Support Agriculture) ซึ่งเปนระบบเกษตรกรรมที่กลุมผูบริโภคหันมา สนับสนุนใหผูผลิตผลิตอาหารที่ปลอดภัย ผูบริโภคมองเห็นผูผลิตวาใครผลิตอะไร ใหเราสวนผูผลิตก็มองเห็นผูบริโภครูวาเราผลิตอะไรใหใคร ในชวง ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานการดําเนินกิจการของเครือขาย “ผักประสานใจ” นับวาประสบความสําเร็จ อยางสูง และเครือขายผักประสานใจก็กลายเปนแหลงเรียนรูเกี่ยวกับระบบ CSA ที่เกษตรกรตลอดจนผูสนใจทั่วไปสามารถเขามาเยี่ยมชมและเรียนรูดูงานได กลุมคนภาคประชาชน กลุมควบกลํ้าธรรมชาติ หรือครอบครัวควบกลํ้าธรรมชาติ หากเคยคิดวา เรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาเปนหนาที่ของโรงเรียน หรือเปนเรื่องของกลุมองคกรตางๆ กลุมควบกลํ้าธรรมชาติคือตัวแทนของครอบครัวเล็กๆ ครอบครัวหนึ่งที่นําเอา

๗๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 74

18/2/2549 20:15:56


กระบวนการสิง่ แวดลอมศึกษามาเปนกระบวนการเรยี นรูข องทุกคนในครอบครัว จาก การตัดสินใจทีจ่ ะพาลูกๆ ออกมาจากระบบการศึกษาทีม่ กี ารแขงขัน สูก ารทํา Home School เพื่อตอบสนองวิถีการเรียนรูที่ลูกชอบ เมื่อลูกๆ ชอบสิ่งแวดลอม “ครอบครัว สังวรเวชภัณฑ”จึงไดนําเอากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษามาเปนสะพานการเรียนรู ที่ครอบครัวรวมกันเดินกาวขามผาน ที่ผานมากลุมครอบครัวควบกลํ้าธรรมชาติเปน กลุม ครอบครัวแรกๆ ทชี่ ว ยพัฒนาชุดคูม อื นักสืบสายนํา้ นักสืบชายหาด จนถึงนักสืบ สายลมของมูลนิธโิ ลกสเี ขยี ว และในชวงสองปทผี่ า นมาสะพานการเรยี นรูข องครอบครัว ไดนําใหครอบครัวไดเรียนรูมากขึ้นตามวัยตามสนใจของลูกๆ การไดเครือขาย เสริมพลังทั้งจากผูเชี่ยวชาญดานสิ่งแวดลอมที่ครอบครัวไดรวมลงไปเรียนรูดวยก็ดี หรือทุนจากบริษัทเอกชนซึ่งเขามาชวยใหเกิดการถอดประสบการณการเรียนรูของ กลุมครอบครัวจนเกิดเปนหนังสือชุดประสบการณหองเรียนธรรมชาติ ที่ครอบครัว สามารถนําไปศึกษาและประยุกตกจิ กรรมตางๆ ไปใชเพือ่ การศึกษาเรยี นรูร ว มกันได ที่ผานมากลุมควบกลํ้าธรรมชาติมีหนังสือออกมาแลว ๒ เลม คือ เลม “แมลงปอ” ซึ่งเปนหนังสือชุดประสบการณหองเรียนธรรมชาติที่ครอบครัวลงไปศึกษาธรรมชาติ ระบบนิเวศแหลงนํา้ โดยใชแมลงปอเปนสิง่ มชี วี ติ สือ่ กลางทนี่ าํ การเรยี นรู และเลมทสี่ อง “นกเงือก” เปนการเรียนรูเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศปา โดยใชนกเงือกเปนสื่อกลางนําการเรียนรู ทั้งหมดนี้คือการเรียนรูโดยใชกระบวนการ สิ่งแวดลอมศึกษาของเด็กๆ ในระดับครอบครัว พอแมเปนทั้งครูและเพื่อนรวมทาง ของเด็ก กลุม ควบกลํา้ ธรรมชาติบอกไวเสมอวาทุกครอบครัวไมจาํ เปนตองทําแบบเรา ทั้ ง หมด เพราะครอบครั ว แต ล ะครอบครั ว ก็ มีบ ริ บ ทที่ แตกต า งกั น สิ่ ง สํ า คั ญ คื อ อยางนอยการที่พอแมชวนลูกๆ ไปเรียนรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม เขาไปเรียนรูใน สวนหลังบานหรือออกไปเรยี นรูใ นสิง่ แวดลอมทางธรรมชาติขา งนอก และทํากิจกรรม เพื่ อ ปลู ก ฝ ง จิ ต สํ า นึ ก ที่ ดี เพื่ อ ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มร ว มกั น บางที ร อยยิ้ ม ของครอบครัวทหี่ ลนหายไปจากสังคมสมัยใหมทตี่ า งฝายตางแขงขันดิน้ รนเอาตัวรอด อาจจะหวนคืนกลับมาชวยใหคนในครอบครัวไดมองเห็นครอบครัวในขณะเดียวกัน ก็ชวยใหมองเห็นคนอื่นดวยรอยยิ้มมากขึ้น

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 75

๗๕

18/2/2549 20:15:56


กลุมเครือขายตนไมขี้เหงา แมไมมีชื่อเรียกตรงๆ แตขอใชชื่อเครือขายที่ เชือ่ มรอยผูค นในเมืองใหญทสี่ นใจเรือ่ งสิง่ แวดลอมผานเว็ปไซต www.lonelytrees.net หรือเว็ปไซตเครือขายตนไมขี้เหงาที่ริเริ่มโดย “ทรงกลด บางยี่ขัน” นักคิด นักเขียน บรรณาธิการบริหารนิตยสาร a day จากความสนใจสวนตัวและความพยายามที่จะ สื่อสารภายหลังจากความสําเร็จของ “หนังสือตนไมใตโลก” สูการเกิดเครือขายทาง เว็ปไซต จากนัน้ มกี จิ กรรมดๆี ทใี่ ครใครๆ ก็สามารถมารวมได เครือขายตนไมขเี้ หงา จึงเปนกลุมอยางไมเปนทางการแตเปนกลุมที่เกิดขึ้นตามความสนใจใครรูของคนใน เครือขายหรือคนทัว่ ไปทสี่ นใจอยากเรยี นรู ทผี่ า นมาเครือขายนอกจากจะมกี ารแบงปน ขอมูลดานสิง่ แวดลอมบนหนาอินเทอรเนตแลว ยังมกี จิ กรรมดๆี ทจี่ ดั ขึน้ ทุกเดือน คือ “หองเรียนวิชาอะไร” วิชาอะไร เปนเรื่องราวที่เกิดจากความสนใจใครรูของคนใน เครือขายในการเลือกประเด็นเรยี นรู จากนัน้ หองเรยี นนจ้ี ะมคี รูทช่ี อ่ื “ยงยุทธ จรรยารักษ” อดีตอาจารยประจําคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่เกษียณแลว จากการเปนครูมหาวิทยาลัยแตยังไมเกษียณจากการเปนครูของผูคนที่สนใจในเรื่อง วิทยาศาสตรและสิ่งแวดลอม ในหองเรียนอาจารยจะทําหนาที่เปนครูที่ชวนนักเรียน ทสี่ ว นใหญเปนวัยทํางานไดคดิ ไดมองไปในมุมมองใหมๆ และเขาใจถึงประเด็นความรู ตางๆ โดยมีคุณทรงกลด บางยี่ขัน เปนเสมือนหัวหนาหองที่คอยชวยปอนคําถาม บรรยากาศภายในหองจึงเปนบรรยากาศของการเรยี นรูท ที่ กุ คนอยากเรยี นรูใ นสิง่ ทตี่ น อยากรูใ นประเด็นตางๆ ทเี่ ลือกมาคุยกัน นอกจากนที้ างเครือขายจะมโี ครงการจัดทริป รวมเรยี นรูใ นสิง่ แวดลอมอยางแทจริง เพราะทางกลุม จะไดมกี ารเดินทางไปศึกษาเรยี นรู ธรรมชาติและชุมชนรวมกัน ซึง่ งานทัง้ หมดนีจ้ ดั ขึน้ มาแลวกวา ๒ ป ทัง้ หมดทัง้ มวลนี้ เกิดขึ้นจากความตองการของมนุษยตัวเล็กๆ ที่ถักทอกันจนเกิดเปนเครือขายที่ แข็งแรงดวยความรูส กึ นึกคิดจากนัน้ จึงกลายมาเปนพลังเล็กๆ ในการทําสิง่ ดๆี เพือ่ โลก กลุม ชุมชนอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมในพืน้ ทีต่ า งๆ กลุม ชุมชนอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม เปนกลุมชุมชนรวมใจกันลุกขึ้นมาดูแลผืนปาหรือแหลงทรัพยากรทองถิ่นของตน ซึง่ สวนใหญมกั จะถูกบุกรุกจากกลุม ทุนและบริษทั ขามชาติ โดยมบี คุ คลในเครือ่ งแบบ ที่ เ ห็ น แก ตั ว เป น ตั ว ช ว ยให ก ลุ ม ทุ น ต า งๆ ผลาญทรั พ ยากรในชาติ โดยขาด ๗๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 76

18/2/2549 20:15:56


ความเหลียวแลจากภาครัฐที่จะเขามาชวยเหลือ หรือดูแลชาวบาน ทําใหชาวบาน ตองลุกขึ้นมาดูแลผืนปาและทรัพยากรธรรมชาติดวยตัวเอง เชน กลุมอนุรักษ ปาชายเลนชุมชนบานบางลา ที่รวมกันอนุรักษปาชายเลนผืนสุดทายของภูเก็ต ทามกลางการรุกคืบของกลุมทุนตางชาติ ชาวบานกําลังรวมกันรักษาผืนปาชายเลน ที่มีคาที่สุดของจังหวัดไว เครือขายชุมชนตําบลบางสระเกา ตําบลบางสระแกว อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี ที่พลิกฟนวิถีชุมชนใหกลับคืนมาภายหลังพื้นที่ ปาของชุมชนเสียหายจากการทํานากุง วันนี้ปาชายเลน ปู ปลา และอาหารจาก ธรรมชาติ เริ่มฟ นคืน วิถีชีวิ ตที่สอดคลองกับธรรมชาติกําลั งคอยๆ กลับคื นมา ชุมชนบานมวงชุม ตําบลครึ่ง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เปนอีกหนึ่งชุมชน ที่เปลี่ยนวิถีชีวิตตัวเอง เนื่องจากวิกฤติความแหงแลงและความเสื่อมโทรมของปา จนความมั่นคงทางอาหารของชุมชนที่เคยมีอยางอุดมสมบูรณถูกทาทายจากวิกฤต สิง่ แวดลอมทีช่ าวบานกอขึน้ จากวิกฤตในวันนัน้ สงผลใหชาวบานในชุมชนรวมมือกัน สรางเครือขายอนุรกั ษลมุ แมนาํ้ อิง มกี ารดึงเด็กและเยาวชนในพืน้ ทเี่ ขามาทํากิจกรรม อนุรกั ษเรียนรูวิถีชีวิตที่สอดคลองกับธรรมชาติ พรอมกับฟนฟูขนบประเพณีทองถิ่น ใหกลับคืนมาจนปจจุบันไดกลายเปนชุมชนตนแบบและศูนยการเรียนรูการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ชุมนํ้าแหงเดียวของจังหวัดเชียงราย เครือขายชุมชน ตนนํ้าพอง เปนเครือขายชุมชนที่เกิดจากความรวมมือกันจาก ๘ หมูบานในอําเภอ นํา้ หนาว จังหวัดเพชรบูรณ ผลกระทบจากการปลูกพืชเชิงเดยี่ วทที่ าํ ใหดนิ เสือ่ มคุณภาพ และการบุกรุกถางปาจนผืนปาเสื่อมโทรม พื้นที่โดยรอบเสี่ยงตอการเกิดอุทกภัยและ ดินถลม วิกฤตที่เกิดขึ้นทําใหชาวบานหันมาจับไมจับมือสรางเครือขายอนุรักษผืนปา ชุมชนขึ้น ผันวิถีการเกษตรพืชเชิงเดี่ยวสูการทําเกษตรผสมผสาน ลดการใชสารเคมี จัดการสํารวจพืน้ ทปี่ า และจัดตัง้ ชุดลาดตระเวนเพือ่ อนุรกั ษผนื ปาทเี่ หลือ จัดอบรมให ความรูแกชาวบาน และรวมกันสรางกฏระเบียบของการใชปาขึ้นมาใหม มีการสราง ความรวมมือกับโรงเรียนสรางหลักสูตรทองถิ่น และจัดทํากิจกรรมคายสิ่งแวดลอม ใหกับเด็กและเยาวชน จัดตั้งศูนยสิ่งแวดลอมศึกษาปาตนนํ้า ในชวงสองปที่ผานมา ปาเสื่อมโทรมคอยๆ ฟนคืนกลับมาพรอมกับวิถีชุมชนที่ทุกคนรวมกันสราง รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 77

๗๗

18/2/2549 20:15:56


บทสรุปภาพรวมกิจกรรมของบุคคลและกลุมคนภาคประชาชน ภาพรวมกิจกรรมในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ในสวนของบุคคลและกลุมคน ภาคประชาชน จะเปนการทํางานในเงื่อนไขของวิถีชีวิตความเปนอยูจริงๆ บุคคลที่ จะกลายมาเปนผูใหคนอื่นไดหรือกลายเปนคนตนแบบที่ใหผูคนไดเรียนรูทุกคนจะ มีศรัทธาและอุดมการณ รวมทั้งไดผานประสบการณในวิถีทางที่เลือกพึ่งพาตนเอง และนําชีวิตของตนเองใหผานการเรียนรูจากชีวิตจริง ลองผิดลองถูกจนสําเร็จและ กลายเปนครูถายทอดความรูในแตละเรื่อง เชน เกษตรอินทรย เกษตรพอเพียง วิถีการพึ่งตนเอง เรื่องขาว เปนตน ในขณะที่กลุมภาคประชาชนนั้นก็มีอยูอยาง หลากหลาย สวนใหญเกิดจากความรักความชอบที่จะเรียนรูดานสิ่งแวดลอมจนเกิด เปนเครือขายทจี่ ะเรยี นรูไ ปดวยกัน และรวมถึงเครือขายทเี่ กิดขึน้ เพราะความตองการ ที่จะอนุรักษสิ่งแวดลอมและมีเปาหมายปลายฝนรวมกัน ในสวนของกลุมชุมชนที่ รวมตัวกันสวนใหญเกิดจากปญหาหรือวิกฤตดานสิ่งแวดลอมที่สงผลตอความมั่นคง ทางอาหารของชุมชน เกิดความขัดแยง และเกิดภัยพิบตั ิ ทําใหชาวบานตองหันกลับมา ทบทวนตัวเองและรวมมือกันแกไขสถานการณเฉพาะหนาและสถานการณในระยะยาว ในรูปแบบตางๆ ซึ่งการดําเนินกิจกรรมของบุคคลและกลุมภาคประชาชนสวนใหญ จะเปนกิจกรรมทีห่ ลอมรวมอยูใ นวิถชี วี ติ อาทิ การเรยี นรูใ นวิถกี ารเกษตร การเรยี นรู วิถีชีวิตที่พึ่งพาตัวเอง การจัดการองคความรูของชุมชน การสรางสรรคแนวทาง ในการใชชีวิตใหสอดคลองกับสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนสิ่งแวดลอมศึกษาที่เริ่มจากตัวเอง จนขยายไปเปนความสนใจรวมจนกลายเปนเครือขายเรียนรูรวมกัน กลุมคนตนแบบ และกลุมภาคประชาชนจึงเปนกลุมคนที่ทํางานสิ่งแวดลอม ศึกษาในสวนภาคของการศึกษาตามอัธยาศัยเปนทุนเดิมอยูแลว แตในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมาแนวโนมของการทํางานกลุมนี้ไดเพิ่มมิติการทํางานรวมกับสถาน ศึกษามากขึ้น ทั้งการไปเปนวิทยากรทองถิ่น ปราชญชุมชนที่คอยใหความรูนักเรียน ทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษาบนพื้นที่จริง ณ ศูนยเรียนรูของตน ไปจนถึง การรวมกับโรงเรยี นสรางหลักสูตรทองถิน่ จัดคายอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม สิง่ เหลานลี้ ว นเปน นิมติ หมายทด่ี ใี นชวงสองปทผ่ี า นมาวางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาเปนเรือ่ งของคนทุกคน ๗๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 78

18/2/2549 20:15:56


บทสงทาย ภาพรวมและกิจกรรมการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สวนทไี่ มใชราชการของประเทศไทย ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ กลาวไดวา มพี ฒ ั นาการ กาวไปอยางคึกคักและตื่นตัว และมีลักษณะโครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย ไปตามประเด็นทํางานของแตละพื้นที่ แตละกลุม แตละองคกร แตละบุคคล ในสวนของภาคธุรกิจ แนนอนวาการทํากําไรคือเปาหมายสูงสุดของแตละบริษทั และผลกําไรสวนใหญก็มาจากการผลิตใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมหาศาล ดังนั้น ความรับผิดชอบตอสังคมจึงเปนสิ่งที่แตละบริษัทแตละองคกรพึงตองกระทําไมวาจะ มีกฏหมายบังคับหรือไมก็ตาม แมแนวคิดการปฏิบัติงานในดานสิ่งแวดลอมและการ ตอบแทนสังคมของภาคธุรกิจใหญๆ ในประเทศไทยจะทํากันมาอยางยาวนานและ ตอเนือ่ ง กอนกระแสงาน CSR จะเกิดขึน้ แตเราก็คน พบวาภาคธุรกิจเหลานเ้ี ปนภาค ธุรกิจขนาดใหญจาํ นวนหนึง่ เทานัน้ แตยงั มภี าคธุรกิจอกี มากทัง้ ภาคอุตสาหกรรม และ ภาคบริการอกี มากมาย ตัวอยาง เชน โรงงานถลุงแร โรงงานผลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส โรงแรม รีสอรต หางสรรพสินคา ฯลฯ ซึ่งถานับรวมทั้งหมดภาคธุรกิจเหลานี้คือผูใช พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติสูงสุด และเปนผูเอื้อใหเกิดการใชพลังงานอยาง มหาศาล แตเราก็พบเห็นบทบาทที่นอยมากเมื่อเทียบกับผลประโยชนทางธรรมชาติ รวมถึงตนทุนทางสังคมอื่นๆ ที่สูญเสียไป

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 79

๗๙

18/2/2549 20:15:56


ศูนยศึกษาการเรียนรูระบบนิเวศปาชายเลน สิรินาถราชินี จากโครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกยี รติฯ บนพืน้ ทซี่ งึ่ เคยเปนนากุง ราง จํานวน ๗๘๔ ไร ปตท. คอยพลิกฟน ผืนปาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๓๙ - ๒๕๕๓ พื้นที่ดังกลาวมคี วามอุดมสมบูรณขนึ้ จนกลายเปนศูนยการเรยี นรูร ะบบนิเวศปาชายเลน โดยมกี ารดําเนินงานบริหารจัดการรวมกัน ระหวางภาครัฐ เอกชน และชุมชนอยางเปนระบบ ปจจุบันศูนยเรยี นรูดังกลาวนอกจากจะทํา หนาทเี่ ปนแหลงเรยี นรูใ หกบั ประชาชนทสี่ นใจทัว่ ไปแลว ศูนยฯยังทําหนาทเ่ี ปนแหลงเรยี นรูข อง ชุมชน โดยเฉพาะการจัดคายเยาวชน การรวมมือกับโรงเรียนในพื้นที่จัดทําหลักสูตรทองถิ่น โครงการอบรมมัคคุเทศกทองถิ่นแกกลุมประมงเรือเล็ก โครงการฝกอบรมยุวมัคคุเทศกปา ชายเลน ซึ่งโครงการเหลานี้เปดโอกาสใหเด็กและเยาวชนในทองถิ่นไดเขามามีสวนรวมและ ไดรบั การพัฒนาศักยภาพทางดานตางๆ อยางหลากหลาย เชน ความสามารถทางภาษาอังกฤษ ประวัตศิ าสตรชมุ ชน ความรูเ รือ่ งระบบนิเวศปาชายเลน วิถชี มุ ชน เปนตน ในสวนของโครงการ อืน่ ๆ อาทิ โครงการเพิม่ ปริมาณสัตวนา้ํ ในพืน้ ที่ โครงการปลูกปาชายเลน โครงการเหลานก้ี เ็ ปน ความรวมมือกับคนในพืน้ ทเี่ พือ่ สรางความมัน่ คงทางอาหารใหกบั ชุมชนเอง ซึง่ การดําเนินงาน ทัง้ หมดจะมปี จ จัยทคี่ าํ นึงถึงอยู ๓ ประการ คือ วิถชี มุ ชน ประวัตศิ าสตร และระบบนิเวศวิทยา ความสําเร็จของศูนยฯ จึงไมใชแคปลูกปา ปาเติบโตแลวจึงมีศูนยเรียนรู แตความสําเร็จ จริงๆ อยูท กี่ ารดึงการมสี ว นรวมของคนจากภาคสวนตางๆ โดยเฉพาะชุมชนในพืน้ ทใี่ หหนั มา ตระหนักใสใจกับประเด็นเรือ่ งสิง่ แวดลอมและวิถชี มุ ชนของตน ตลอดจนเด็กๆ และเยาวชนได มองเห็นชุมชน ตระหนักรูในความผูกพันระหวางคนกับธรรมชาติอีกครั้ง

๘๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 80

18/2/2549 20:15:57


โครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอมเฉลิมพระเกียรติ…ครั้งที่ ๖ ตามรอยเทาพอกับฮอนดา เปนโครงการที่ทํารวมกับโรงเรียนทุกภูมิภาคทั่วประเทศไทยโดยโครงการดังกลาว เริ่มตนมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๔๒ ปจจุบันการดําเนินงานมายางเขาสูปที่ ๑๒ หลักคิดสําคัญคือ การนอมนําเอาแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทั้งดานการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักแหงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเผยแพรผานโครงการและ กิจกรรมใหเด็กๆ ไดเรยี นรูจ ากกระบวนการสิง่ แวดลอมศึกษาทีก่ ลายเปนเนือ้ เดยี วกับวิถชี วี ติ ของทุกคนในโรงเรยี น เหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพของนักเรยี นรุน ใหมทมี่ คี วามเขาใจใน ทองถิน่ ชุมชนของตัวเอง มที กั ษะทพี่ รอมจะลงมือปฏิบตั สิ ง่ิ ดๆี เพือ่ สังคมและสิง่ แวดลอมรอบตัว จุดเดนของโครงการอยูที่การสรางระบบ “การประเมินผลและกํากับติดตาม”” โดยมี คณะนักวิชาการทองถิ่นและกรรมการสวนกลางรวมเยี่ยมโรงเรีย น ใหขอเสนอเพื่อการ พัฒนาการทํางาน โครงการเนนการเชิญชวนใหโรงเรียนวิเคราะห “โจทยปญ  หา”” ของตนเอง ตามสภาพปญหา ความตองการ และตนทุนเดิมทีม่ อี ยู เพือ่ ตอยอดจากจุดแข็ง และหาวิธกี าร เติมเต็มชองวางในการทํางานทหี่ ายไป โครงการไดพฒ ั นา “เกณฑมาตรฐานโรงเรยี นสรางสรรค สิ่งแวดลอม”” ขึ้นในชวงป พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒ และปรับปรุงพัฒนาใชตอเนื่อง มาจนถึง โครงการฯ ครั้งที่ ๖ ในป พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ นอกจากนี้โครงการยังสนับสนุนใหโรงเรียน ที่เคยไดรับรางวัลถวยพระราชทานจากโครงการ รวมเปนศูนยการเรียนรูโรงเรียนสรางสรรค เฉลิมพระเกยี รติ ทัง้ นโี้ ครงการไดใชเวลาในชวงป พ.ศ. ๒๕๕๓ เพือ่ เตรยี มความพรอมโรงเรยี น จํานวน ๓ โรง ไดแก โรงเรียนสา จังหวัดนาน โรงเรียนโพธิ์ตากพิทยาคม จังหวัดหนองคาย และโรงเรียนบานหนองหลม จังหวัดสุรินทร ใหมีศักยภาพและระบบรองรับการศึกษาดูงาน จากหนวยงานภายนอก และพรอมเปดศูนยฯ อยางเปนทางการในป พ.ศ. ๒๕๕๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 81

๘๑

18/2/2549 20:15:58


คายเยาวชนเอกโกไทยรักษปา โครงการนี้เริ่มตั้งแตป ๒๕๔๐ โดยเปดโอกาสใหเยาวชนจากทั่วประเทศไดสงใบสมัคร เขามา ปจจุบันโครงการดังกลาวไดจัดคายไปแลวกวา ๓๖ รุนมีเด็กผานกิจกรรมกวา ๒๐๐๐ คน ซึ่งกิจกรรมนี้มีเปาหมายเพื่อปลูกปาในใจเด็กๆ โดยเนนการสรางจิตสํานึกอนุรักษ สิ่งแวดลอมลงในใจของเยาวชนเพื่อหวังใหเยาวชนที่ผานกิจกรรมจากคายไดกระจายสิ่งดีๆ ที่ไดรับสงตอไปสูผูคนรอบขาง ภายใตกิจกรรม ๕ วัน ๔ คืนในปาบนยอดดอยอินทนนท เด็กๆ จะไดรับความรูดีๆ เกี่ยวกับธรรมชาติจากพี่ๆ สื่อความหมายของอุทยาน พี่ๆ มูลนิธิ ไทยรักษปา รวมถึงพที่ มี งานจากเอกโก การทําคายเยาวชนเอกโกไทยรักษปา นับเปนจุดเริม่ ตน ของการทํากิจกรรมดานสิ่งแวดลอมศึกษาของบริษัทเอกโกที่มีเปาหมายหลักอยูกับกลุมเด็ก และเยาวชน การรวมเปดพื้นที่เพื่อใหเด็กๆ ไดเรียนรูและถูกกระตุกจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอม จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งตอการสรางสรรคเด็กๆ ที่เปรียบเมือนตนทุนทางสังคมในอนาคต

๘๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 82

18/2/2549 20:15:59


มูลนิธิกระตายในดวงจันทร จากการเดินทางเพื่อคนหาความหมายของชีวิตสูการเปนสะพานใหเด็กรุนหลังไดพบ เห็นคุณคาของการเปนมนุษยในแบบที่เขาเลือกเองได หากกระตายที่คิดหมายจันทรยัง สามารถไปกระโดดสรางความสวยงามใหดวงจันทรได ทําไมมนุษยที่คิดหมายโลกอยางเรา จะไมสามารถสรางสรรคสิ่งดีๆ เพื่อความงดงามของโลกใบนี้ได จากการทํางานที่มองเห็น ความสัมพันธของมนุษยกบั ธรรมชาติอยางลึกซึง้ มูลนิธกิ ระตายในดวงจันทรจงึ อาสาพาเด็กๆ ไดเรียนรูในความสัมพันธที่งดงามดังกลาวผานกิจกรรมที่หลากหลาย อาทิ โครงการศึกษา ธรรมชาติโดยศิลปวิธี โครงการเด็กสรางสื่อ สื่อสรางเด็ก โครงการดนตรีรักษสิ่งแวดลอม โครงการ Key Camp และ Keep โครงการกระตายตื่นตัว และโครงการความรวมมือ โครงการ Hatch U เปนตน นอกจากนยี้ งั มงี านดานการสือ่ สารความรูเ กย่ี วกับสิง่ แวดลอมอืน่ ๆ อกี มากมาย ติดตามกระตายตัวนไ้ี ดทางเว็ปไซต www.rabbitinthemoon.org

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 83

๘๓

18/2/2549 20:15:59


ศูนยสิ่งแวดลอมศึกษา WWF ประเทศไทย ทผี่ า นมา WWF ทํางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาผานการทํางานของศูนยศกึ ษาธรรมชาติทง้ั ๓ ศูนย ไดแก ศูนยศึกษาธรรมชาติระบบนิเวศปาชายเลน บางปู ศูนยศึกษาระบบนิเวศและการเกษตร ปทุมธานี ศูนยศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ชะอํา เพชรบุรี ทัง้ ๓ ศูนยนจ้ี ะทํางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาโดยตรง โดยมกี ารทํางานรวมกับทัง้ หนวยงาน ภาครัฐ และเอกชน โดยมกี ลุม เปาหมายหลักคือเด็กและเยาวชนซึง่ สวนใหญจะทํากับโรงเรยี น การดําเนินงานสวนใหญศูนยจะมีสวนรวมในการสรางสรรคหลักสูตร ออกแบบกิจกรรม สิ่งแวดลอมศึกษา และทําหนาที่เปนวิทยากรกระบวนการ

๘๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 84

18/2/2549 20:16:00


นักสืบสายลม คูมือสํารวจไลเคนเพื่อตรวจคุณภาพอากาศในเมืองจากมูลนิธิโลกสีเขียว ภายใตการดําเนินงานของ “โครงการนักสืบสายลม”” ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ของ มูลนิธิโลกสีเขียว ซี่งไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) คูม อื ดังกลาวจึงเกิดขึน้ ภายใตองคความรูข องความหลากหลาย ทางชีวภาพ ซึ่ง “ไลเคน”” สิ่งมีชีวิตแสนวิเศษ กึ่งรากึ่งสาหราย ภายใตสภาพแวดลอมตางๆ ทัง้ สภาพแวดลอมทใี่ กลชดิ ธรรมชาติและสภาพแวดลอมเมือง “ไลเคน”” สามารถเปนตัวบอกเลา เรื่องราวของคุณภาพอากาศในบริเวณนั้นได คูมือ “นักสืบสายลม”” เปน โครงการวิจัยที่ไดรับ การดูแลจากนักวิชาการทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ และไดทดลองใชกับกลุมเยาวชน กวา ๓๐๐ คน เพื่อใหคูมือดังกลาวสามารถเปนเครื่องมือในการเรียนรูของเด็ก เยาวชน และ บุคคลทัว่ ไป ทีส่ นใจอยากศึกษาเรยี นรูแ ละตรวจสอบคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครและ เมืองใหญทั่วไป

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 85

๘๕

18/2/2549 20:16:00


หนังสือชุดประสบการณหองเรียนธรรมชาติ ตอน “แมลงปอ…ถึงหยดนํ้าสุดทาย” และตอน “นกเงือก…นักปลูกปา” เปนการถอดประสบการณการเรียนรูสวนหนึ่งของกลุมครอบครัวควบกลํ้าธรรมชาติที่ ไดพาสมาชิกกลุมไปเรียนรูโดยใชกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาในการศึกษาธรรมชาติ โดย ุ ภาพนํา้ ตอนแรกเปนเรือ่ งราวของการพาเด็กๆ ไปศึกษาวิถชี วี ติ แมลงปอกับการเปนตัวบงชคี้ ณ และระบบนิเวศนํ้า สวนตอนที่สองเปนเรื่องราวของการศึกษาวิถีชีวิตนกเงือกซึ่งเปนตัวบงชี้ ระบบนิเวศผืนปาและความหลากหลายทางชีวภาพ เด็กๆ ไดมีโอกาสเรียนรูกับผูเชี่ยวชาญ ในแต ล ะด า น มี พ อ แม ค อยสนั บ สนุ น และมี ธ รรมชาติ เป น ห อ งเรี ย นขนาดใหญ ท่ี มี อ ะไร ตอมิอะไรใหเรียนอยางมิรูจบ

๘๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 86

18/2/2549 20:16:01


โรงเรียนมอนแสงดาว โครงการโรงเรยี นมอนแสงดาว เปนแหลงการเรยี นรูข องการศึกษาทางเลือก ดําเนินการ โดยสมาคมสรางสรรคชวี ติ และสิง่ แวดลอม (ACED) ในป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ เนนทํางานกับเด็ก และเยาวชนทไี่ ดรบั ผลกระทบจากความรุนแรงและเด็กกลุม ชนเผาในพืน้ ที่ โดยใชกระบวนการ สิ่งแวดลอมศึกษาเปนเครื่องมือในการบําบัดสภาพจิตใจของเด็ก ขณะเดียวกันก็เปนกระบวน การเรยี นรูส าํ คัญทีท่ าํ ใหเด็กไดพฒ ั นาศักยภาพของตัวเอง และกําลังอยูใ นชวงขยายสูก ารเปน โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาในทองถิ่นโดยเนนการนําเอากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษามาเปน กระบวนการขับเคลื่อนงานของโรงเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กกลุมบนพื้นที่สูงและบุคคล ที่สนใจทั่วไป

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 87

๘๗

18/2/2549 20:16:02


องคการระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษธรรมชาติ IUCN เปนองคกรระหวางประเทศทที่ าํ งานดานการรณรงคสว นกลาง และขับเคลือ่ นเชิงนโยบาย ในการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ โดยในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ทผี่ า นมาองคกรไดลงมาทํางาน ดานสิง่ แวดลอมรวมกับชุมชนมากขึน้ พืน้ ทกี่ ารทํางานสําคัญอยูท ด่ี อยแมสลอง จังหวัดเชยี งราย ในโครงการฟน ฟูภมู นิ เิ วศปาไม และพืน้ ทชี่ ายฝง อันดามันเหนือ พังงาตอนบนระนองตอนลาง ซึง่ นวัตกรรมชุด “จากเขาสูเ ล”” ไดถกู มาใชเพือ่ การทํางานอนุรกั ษระบบนิเวศอยางเปนองครวม และในการคลี่คลายปมความขัดแยงดวยการประสานความเขาใจจากกลุมคนตางๆ ที่ใช ทรัพยากรรวมกัน งานของ IUCN จึงเปนสิ่งแวดลอมศึกษาในชีวิตจริง เปนสิ่งแวดลอมศึกษา ที่มีองคกรพัฒนาเอกชนมาชวยใหเกิดการเรียนรูรวมกัน

๘๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 88

18/2/2549 20:16:02


บทที่ ๔ การพัฒนา ศักยภาพบุคลากร ดานสิ่งแวดลอมศึกษา

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 47

๔๗

18/2/2549 20:37:12


การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ดานสิ่งแวดลอมศึกษา การพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานสิ่งแวดลอมศึกษาในประเทศไทยในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมา สามารถแยกพิจารณาได ๒ สวน คือ สวนแรก เปนการพัฒนาบุคลากรดานสิง่ แวดลอมศึกษาในสวนของบุคลากรที่ รับผิดชอบงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาโดยตรง เชน นักสิ่งแวดลอมศึกษา ครูผูดูแล โครงการสิง่ แวดลอมศึกษาในโรงเรยี น ฯลฯ รวมทัง้ หลักสูตรสิง่ แวดลอมศึกษาในระดับ อุดมศึกษา และสวนของการพัฒนาบุคลากรดานสิ่งแวดลอมศึกษาโดยหนวยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคองคกรไมแสวงกําไร สวนทีส่ อง เปนการพัฒนาบุคลากรดานสิง่ แวดลอมศึกษาอยางไมเปนทางการ ผานกระบวนการเรียนรูตามแนวทางของการศึกษาทางเลือก การพัฒนานักสิ่งแวดลอมศึกษา และบุคลากรดานสิ่งแวดลอมศึกษา ปจจุบันประเทศไทยยังไมไดมีระบบการพัฒนานักสิ่งแวดลอมศึกษา หรือครู ผูสอนสิ่งแวดลอมศึกษาอยางเปนทางการ สาเหตุหนึ่งก็เนื่องจากการที่ “สิ่งแวดลอม ศึกษายังไมมีที่ทางที่ชัดเจน” ในหลักสูตรการศึกษา และปรากฎอยูในลักษณะของ การบูรณาการเขาสูกลุมสาระการเรียนรู การพัฒนาครูนักสิ่งแวดลอมศึกษา หรือ นักสิง่ แวดลอมศึกษาในโรงเรยี นจึงมลี กั ษณะเปนโครงการฝกอบรมระยะสัน้ มเี นือ้ หา ๙๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 90

18/2/2549 20:37:44


ของหลักสูตรตามจุดเนน เปาหมายและแนวทางของโครงการสิง่ แวดลอมศึกษาทรี่ เิ ริม่ ขึ้น อาทิเชน การฝกอบรมครูและผูบริหารในโครงการโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน การศึกษาทางเลือก : สิ่งแวดลอมศึกษาตามอัธยาศัยของผูคน “สิ่งแวดลอมศึกษาไมใชสิ่งใหมในประเทศไทยหากแตเปนกระบวนการที่ผสาน อยูในวิถีการเรียนรูของมนุษยที่ตองใชชีวิตอยูในธรรมชาติ โดยเฉพาะมนุษยในแถบ สุวรรณภูมทิ มี่ ธี รรมชาติเปนสายใยโอบอุม ชวี ติ ประจักษพยานหลักฐานทชี่ ดั เจนทีส่ ดุ ก็คือ นวัตกรรมทางภูมิปญญา ยกตัวอยางเชน ระบบเหมืองฝายของลานนา ซึ่งเกิด จากการเรียนรูอยางตอเนื่องระหวางมนุษยกับธรรมชาติ มีการจัดระบบสายสัมพันธ ระหวางคนกับธรรมชาติ โดยมคี วามเชือ่ เหนือธรรมชาติเปนหลักคิดกํากับพฤติกรรม ในสายสัมพันธดงั กลาว สุดทายมกี ารสงตอองคความรูส วู ถิ ชี วี ติ ทสี่ ะทอนการใชชวี ติ ที่ สอดคลองระหวางมนุษยกับธรรมชาติอยางสมดุลและยั่งยืน” (ชัชวาลย ทองดีเลิศ ผูอํานวยการโฮงเฮียนสืบสานภูมิปญญาลานนา สัมภาษณวันที่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๔)

การพัฒนาบุคลากรดานสิ่งแวดลอมศึกษาในสวนของการศึกษาทางเลือก เปนการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษาในวิถีชีวิต ซึ่งในอดีตคนในดินแดนสุวรรณภูมิซึ่งมี สภาพทางภูมิศาสตรที่ธรรมชาติไดรังสรรคความอุดมสมบูรณบนผืนแผนดินไวใหก็ มีการเรียนรูที่จะดําเนินวิถีชีวิตใหสอดคลองกับธรรมชาติอยูแลว แตเมื่อพัฒนาการ ของมนุษยกา วไปสูจ ดุ ของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม และความกาวไกลทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยที ีส่ ง ผลใหการสงตอวัฒนธรรมจากดินแดนหนึง่ สูด นิ แดนหนึง่ ทําไดงา ย และเร็วขึ้น ชีวิตแบบงายที่ตอบสนองการบริโภคและการยึดครองวัตถุ โดยมีความ สะดวกสบายเปนตัวเรงในการเลือกรับเอาวัฒนธรรมและวิถชี วี ติ ทตี่ อบสนองกับความ อยากภายในจิตใจของตนไดมากกวา วิถีชีวิตแบบเกาที่เนนการพึ่งตนเองและวิถีการ รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 91

๙๑

18/2/2549 20:16:34


เกื้อกูลรวมกันของชุมชนจึงคอยๆ เลือนลางลงไป แตในปจจุบันมีผูคนที่ไมเห็นดวย กับวิถีกระแสดังกลาว จึงเริ่มมีการรื้อฟนองคความรูและวิถีชีวิตที่มีหลักคิดแบบเดิม ผสมผสานกับองคความรูใ หมทเี่ ปนประโยชนมาประยุกตเพือ่ สรางแนววิถชี วี ติ ทยี่ งั่ ยืน สิง่ แวดลอมศึกษาตามอัธยาศัยของผูค นจึงเปนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ดานสิ่งแวดลอมศึกษาตามวิถีจิตใจที่ตองการจะเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเองในดาน สิง่ แวดลอมศึกษาเปนหลัก โดยผูค นเหลานจี้ ะเริม่ ตนจากความใฝรเู พือ่ แสวงหาคําตอบ ใหกบั ความรัก ความชอบ หรือความเปนอุดมคติภายในจิตใจของตน การเรยี นรูเ ริม่ ตน จากการเรียนรูดวยตนเอง จากนั้นจึงเขาไปศึกษาทําความเขาใจในประเด็นตางๆ จากผูรู นําการเรียนรูสูการปฏิบัติจริง การลองผิดลองถูก และสรางเครือขายในการ พัฒนาองคความรู และเผยแพรสบู คุ คลทมี่ คี วามสนใจ ซึง่ ตัวอยางทเี่ ห็นไดชดั เจน คือ เหลาบุคคลตนแบบในเรือ่ งราวตางๆ กลุม คนภาคประชาชน และกลุม เครือขายชุมชน ในพื้นที่ตางๆ รวมถึงสถาบันการศึกษาทางเลือกตางๆ ซึ่งเปดโอกาสใหคนทุกเพศ ทุกวัย ไดเขามาศึกษาเรียนรูตามความสนใจของตน โฮงเฮียนสืบสานภูมิปญญาลานนา โฮงเฮียนสืบสานเปนหนึ่งในเครือขาย โรงเรยี นสืบสานภูมปิ ญ  ญาทีม่ อี ยูท วั่ ทุกภูมภิ าคของไทย “โฮงเฮยี น” เปนภาษาสําเนยี ง ลานนาทใ่ี ชเรยี ก “โรงเรยี น” ในความหมายแบบทีเ่ ขาใจกันอยางดใี นปจจุบนั โฮงเฮยี น สืบสานภูมิปญญาลานนากอตั้งโดยอาจารยชัชวาลย ทองดีเลิศ นักพัฒนาองคกร เอกชนที่ทํางาน NGO มาอยางยาวนาน ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ โฮงเฮียนแหงนี้ ไดกลายเปนแหลงเรียนรูดานภูมิปญญาลานนาซึ่งเปนภูมิความรูของสังคมลานนา ที่ผานกาลบมเพาะสายสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติ จนเกิดองคความรูที่ หลากหลายขึ้นผสานอยูในมิติวิถีของชุมชนลานนา อาทิ ระบบเหมืองฝาย การถือผี คติความเชือ่ ขึด จารตี ประเพณที ีย่ งั สืบเนือ่ งอยูใ นวัฒนธรรมของชาวลานนา ปจจุบนั โฮงเฮีย นกํ า ลั ง ทํ า หน า ที่ เป น แหล ง เรีย นรู ข องบุ ค คลทั่ ว ไปที่ ส นใจอยากเรีย นรู ถึ ง

๙๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 92

18/2/2549 20:16:34


แกนภูมิปญญาลานนา โดยทางโฮงเฮียนไดเปดหลักสูตรเพื่อการเรียนรู อาทิ เชน การเรียนรูภาษาลานนา การฟอนเจิง การเรียนรูในการจัดเครื่องสักการะลานนา หมากสุม หมากเปง บายศรี สรวยดอกไม การแตงคราวซอ การสานสัตวเด็กเลน การเรยี นรูว ถิ ชี มุ ชนลานนา อาทิ การเรยี นรูเ รือ่ งระบบเหมืองฝาย เปนตน นอกจากนี้ ทางโฮงเฮยี นยังไดจดั คายเด็กสืบสานภูมปิ ญ  ญาลานนา และสนับสนุนใหเกิดเครือขาย เยาวชนในพื้นที่ เชน กลุมรักษลานนา ซึ่งเปนกลุมเยาวชนลานนาที่เรียนรูวัฒนธรรม ทองถิ่นผสานไปกับการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในลานนา การดําเนินงาน ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมา โฮงเฮียนจึงเปนเสมือนแหลงเรียนรูที่เปดกวาง สําหรับทุกคน และภาคีการศึกษาทางเลือกที่เกิดขึ้นจากการที่มีโฮงเฮียนสืบสาน ภูมิปญญา และอาจารยชัชวาลย ทองดีเลิศเปนหัวหอกในการประสานเครือขาย ก็ กํ า ลั ง ก า วสู ทิ ศ ทางที่ ดี ในการผสานกํ า ลั ง ในการเป น โครงข า ยการเรี ย นรู ด า น วั ฒ นธรรมและภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น เพื่ อ ให เด็ ก และเยาวชน ตลอดจนประชาชน ที่สนใจทุกคนไดเรียนรูในสิ่งที่ตนตองการ ศู น ย ก ารเรี ย นรู เ พื่ อ การพึ่ ง ตนเอง (และศู น ย เ มล็ ด พั น ธุ พั น พรรณ) ศูนยการเรียนรูเพื่อการพึ่งตนเอง เปนศูนยการเรียนรูของ “โจน จันได” คนตนแบบ ดานการพึง่ ตนเอง จากวิถชี วี ติ สูก ารเปนแหลงเรยี นรูด า นการเกษตรอินทรยี  การสราง บานดิน บานกองฟาง ตลอดจนวิถใี นการพึง่ พาตนเองใหมากทสี่ ดุ ลดการใชเทคโนโลยี ใหมากที่สุด ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ มีผูคนหลายพันคนไดเขามาเยี่ยมมาเยือน ศึกษาดูงานสถานที่แหงน้ี และมีผูคนหลายรอยคนทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ ที่ไดมาเรียนรูผาน Workshop ในแตละหลักสูตร การที่โจน จันได เปนตนแบบใน การปฏิบัติ การถายทอดประสบการณดวยศรัทธาและความหวังที่อยากจะเห็น เรื่องราวดีๆ บนโลก ชวยเติมไฟฝนใหกับผูคนที่มาเรียนรูไดนําสิ่งดีๆ เหลานั้นไป สานตอทั้งการนําไปปฏิบัติจริงและทําหนาที่สงสารถักทอเรื่องราวดีๆ สูสังคม

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 93

๙๓

18/2/2549 20:16:34


เครือขายตนไมขี้เหงากับการเรียนรู การเรียนรูของเครือขายตนไมขี้เหงา นอกจากจะเปนการเรียนรูดวยตนเองและรับขอมูลขาวสารดีๆ จาก “ทรงกลด บางยี่ขัน” ซึ่งขยันสงตอเรื่องราวดีๆ บนหนาเว็ปไซต www.lonelytree.net แลว ทางกลุม (โดยมีคุณทรงกลดเปนหัวหอก) ยังจัดกิจกรรมดีๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู ๒ กิจกรรม คือ กิจกรรมวิชาอะไร และกิจกรรมเดินทาง (ทริป) “วิชาอะไร” เปน กิจกรรมทเี่ ชิญชวนใหผคู นทัง้ ทอี่ ยูใ นเครือขายตนไมขเี้ หงาและประชาชนทัว่ ไปทสี่ นใจ อยากจะเรยี นรูใ นสิง่ ทรี่ อบตัวแตทวาหลายครัง้ เราละเลยถึงรายละเอยี ดและการดํารง อยูของสิ่งๆ นั้น “วิชาอะไร” จึงคลายๆ กับวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิต (สปช.) ที่ทุกคนมีสวนรวมที่จะกําหนดประเด็นการเรียนรูโดยมีอาจารยยงยุทธ จรรยารักษ อดีตอาจารยประจําคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ครูที่ไมเคยเกษียณ ความเปนครูและพยายามชวนศิษยทั้งศิษยขาประจําและศิษยขาจรในแตละครั้ง ซึ่งเฉลี่ยจัดครั้งละเดือนไดคิดไดมองในมุมใหมๆ สิ่งเหลานี้ลวนเปนการเติมเต็ม ความรูใ หกบั คนในเครือขายและบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจเกยี่ วเรือ่ งราวของสิง่ ตางๆ ในชวี ติ ซึ่งรวมไปถึงเรื่องราวของธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อยูรายรอบตัวเรา อีกกิจกรรม คือ “กิจกรรมการเดินทาง” (ทริป) ซึ่งเปนกิจกรรมที่เปดกวางสําหรับทุกคนทั้งที่อยู ในเครือขายและไมไดอยูในเครือขาย ไดรวมเดินทางไปเรียนรูในที่ตางๆ ดวยกัน ซึ่งเปนการศึกษาทั้งธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไปจนถึงแกนรากวัฒนธรรมในผืนถิ่น นัน้ ๆ ตัวอยางเชน ทริปลาสุดทางกลุม ไดเดินทางไปจังหวัดลําปาง เพือ่ ศึกษาวิถคี วาม เปนมา ลักษณะของภูมศิ าสตร ธรรมชาติกบั การตัง้ เมือง พัฒนาการวิถชี วี ติ ชาวลําปาง สํารวจและเรียนรูวัฒนธรรมในยานเมืองเกา ตลอดจนศึกษาพัฒนาการพระพุทธ ศาสนา ศิลปะผานวัดโบราณตางๆ ซึง่ เหลานล้ี ว นเปนการเรยี นรูใ นพืน้ ทจี่ ริง นอกจากนี้ ทางเครือขายยังมกี จิ กรรมการเรยี นรูพ เิ ศษอืน่ ๆ เชน การเรยี นรูเ รือ่ งวิถชี วี ติ ตนไมซงึ่ พา ผูเรียนไปศึกษาตนไมในรั้วจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนตน สิ่งเหลานี้เปนการเปด พื้นที่การเรียนรูใหกับคนในเมืองที่สนใจซึ่งสวนใหญอยูในวัยทํางานไดเรียนรูสิ่งดีๆ ที่มีอยูรอบตัว และทุกๆ ครั้งที่ไดเรียน ทุกๆ ครั้งที่ไดเดินทางเรื่องราวดีๆ เหลานี้จะ ถูกสื่อสารตอไปเรื่อยๆ ไมที่สิ้นสุด เปนความจริงที่ถูกแบงปนตามทวงทํานองของคน ใฝฝนแตทําจริง ๙๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 94

18/2/2549 20:16:34


กลุมอนุรักษปาชายเลนชุมชนบานบางลา คือตัวอยางหนึ่งของการเรียนรู ในวิถชี วี ติ จริงของชุมชนทตี่ อ งการจะอนุรกั ษปา ชายเลนผืนสุดทายของภูเก็ต พืน้ ทปี่ า ชายเลนทอี่ ดุ มสมบูรณกวา ๑,๒๐๐ ไร คือความมัน่ คงทางอาหารของคนในทองถิน่ คือ ชีวิตของชุมชนบานบางลา เมื่อภูเก็ตกลายเปนเมืองทองเที่ยวระดับโลกราคาที่ดินสูง พุงแพงมหาศาล ชุมชนบานบางลาเลือกที่จะปกปองปาชายเลนที่ขึ้นทะเบียนเปนปา ชุมชนแหงนี้ไวดวยชีวิต การสรางวิถีการเรียนรูรวมกันผานการมีสวนรวมของคนใน ชุมชนในการออกกฏในการใชและการอนุรักษรักษาปาชุมชนอยางเขมแข็ง ตลอดไป จนถึงการจัดตั้งใหมีคณะกรรมการปาชายเลนที่คอยตรวจสอบถึงความจําเปนในการ ใชไม นอกจากนยี้ งั มกี ารสืบทอดจิตวิญญาณผานไปสูเ ด็กๆ และเยาวชนใหหวงแหนใน ผืนปาแหงน้ี การจัดกิจกรรมใหเด็กๆ ไดรว มกันเรยี นรูป า ชายเลนก็ดี กิจกรรมปลูกปา ก็ดี หรือการรวมกับโรงเรยี นพัฒนาหลักสูตรทองถิน่ ก็ดเี หลานล้ี ว นเปนสวนหนึง่ ในการ สงตอจิตวิญญาณและความเปนมนุษยจากคนรุน หนึง่ ไปยังอกี รุน หนึง่ ใหรกั ษาวิถชี วี ติ ของชนพืน้ ถิน่ และรักษาธรรมชาติซงึ่ เปรยี บเสมือนของขวัญจากพระเจา แมวา ปจจุบนั ชาวบานจะถูกกดดันจากกลุมทุนผูมีอิทธิพลทั้งผูมีอิทธิพลในเครื่องแบบและกลุมทุน ขามชาติ โดยปราศจากความเหลียวแลจากภาครัฐและนักการเมืองของประชาชนใน จังหวัดซึ่งถือเปนความลมเหลวอยางสิ้นเชิงของระบบวัฒนธรรมขาราชการไทยและ ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่เอื้อตอกลุมทุนมากกวาวิถีชีวิตของชาวบาน กลุมเล็กๆ และแนนอนเรื่องราวของสิ่งแวดลอมศึกษาไมไดอยูในความตระหนักของ คนเหลานี้ที่มีอํานาจแตไรสามัญสํานึกในการเปนมนุษย ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ชุมชนบานบางลายังคงตอสูกับมือที่มองเห็นแตไมรูจะปองกันอยางไรเพราะมือนั้น มีทั้งอํานาจและทุนตามระบอบทุนนิยม แกนนําชาวบานหลายคนยังคงถูกฟองใน ขอหาบุกรุกจากกลุมทุนและเรื่องยังอยูในการพิจารณาของศาล อยางไรก็ดียังมีกลุม คนเล็กๆ ที่ทําใหชาวบานบางลาอยูในกระแสการรับรู อาทิ การไดรับรางวัลลูกโลก สีเขียว ในป ๒๕๕๒ หรือการถูกกลาวถึงในนิตยสารสารคดี ในฉบับตุลาคม ๒๕๕๒ โดยคุณวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ รางวัลและสื่อที่กลาวถึงชุมชนยอมเปนพลังเล็กๆ ที่ ทําใหชมุ ชนไดมกี าํ ลังใจและเปนเสมือนพลังเล็กๆ ทแี่ สดงใหกลุม ทุนเห็นวายังมคี นไทย รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 95

๙๕

18/2/2549 20:16:34


อีกหลายคนที่เฝามองชุมชนแหงนี้อยูอีกทั้งยังเปนพลังเงียบๆ ที่ไมมีทางเห็นดวยกับ การที่กลุมบุคคลใดบุคคลหนึ่งจะเขามาฉกขโมยธรรมชาติไปอยางเห็นแกตัวเชนนี้ ประเทศไทยยังมีชุมชนในลักษณะนี้อีกมาก โดยแตละชุมชนก็มีปญหาที่จะตองแกไป ตามแตละสภาพการณทเี่ ปนอยู แตกระบวนการเรยี นรูท ชี่ าวบานในชุมชนสงตอแกกนั ทั้งในสวนของเด็กและเยาวชนในพื้นที่และคนในชุมชนดวยกันเองไปจนถึงชุมชนขาง เคียง ยอมเปนการเรียนรูในวิถีชีวิตซึ่งการเรียนรูเชนนี้เปนการพัฒนาคนในชุมชนซึ่ง คงไมไดหมายความวาคนในชุมชนจะตองรูว า สิง่ แวดลอมศึกษาคืออะไร แตสงิ่ แวดลอม ศึกษาไดอยูในชีวิตของคนในชุมชนแลวอยางแยกไมออกอีกตอไปกับวิถีชีวิตที่เผชิญ อยูในโลกแหงความเปนจริง กลุม ครอบครัวควบกลํา้ ธรรมชาติ ครอบครัวสิง่ แวดลอมศึกษา ตนแบบของ การนําเอาสิง่ แวดลอมศึกษามาเปนกระบวนการในการพัฒนาศักยภาพของลูกๆ อยาง ที่ใครตอใครก็บอกวาการศึกษาไทยมุงผลิตแตคนในระบบตลาดทุนนิยม แตกับการ พัฒนามนุษยใหเปนมนุษยทสี่ มบูรณยงั คงเปนอุดมคติทเี่ ลือ่ นลอยจับตองไดยากเหลือ เกินและดูจะเปนความเพอฝนของกระทรวงที่เกี่ยวกับการศึกษาบานเราเสียมากกวา ครอบครัวสังวรเวชภัณฑคอื ครอบครัวแรกๆ เมือ่ พอแมมคี วามพรอม และมองวาหนาที่ ของการเปนพอเปนแมคอื การสรางมนุษยใหเปนมนุษย ครอบครัวนจี้ งึ ไมลงั เลทจี่ ะถาม ลูกๆ ถึงความสนใจของเขา และเมื่อลูกๆ ชอบที่จะเรียนรูเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติ กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาจึงถูกนํามาใชอยางตอเนื่อง การที่เด็กๆ ไดเรียนรู เกยี่ วกับสิง่ แวดลอมจากพอแมซงึ่ มคี วามถนัดดานศิลปะ การถายรูป ตลอดจนการเปน นักนิยมไพรที่รักการเดินทาง รวมถึงความรูที่ไดจากผูเชี่ยวชาญในแตละดาน อาทิ ศ.ดร.พิไล พูลสวัสดิ์ ผูเ ชยี่ วชาญดานการศึกษานกเงือก, นาเกรยี ง เกรยี งไกร สุวรรณภักดิ์ ผูเชี่ยวชาญดานผีเสื้อและแมลง พี่ออย ดร.สรณะรัฏ กาญจนวณิชย ผูสรางสรรค นักสืบสายนํ้า นักสืบชายหาด นักสืบสายลม ของมูลนิธิโลกสีเขียว นับเปนโอกาส ที่ดีในการเรียนรูของเด็กๆ ที่จะไดรับขอมูลจากผูที่มีความรูจริงๆ เฉพาะดาน การได ออกไปเรียนรูในสิ่งแวดลอมและสัมผัสกับธรรมชาติจริงๆ นับวาเปนสิ่งที่ไดเปรียบ ๙๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 96

18/2/2549 20:16:34


เด็กนักเรยี นทเี่ รยี นในหองสเี่ หลยี่ มทกี่ อ อิฐฉาบปูนเปนไหนๆ เพราะหองเรยี นของเด็กๆ ที่นี่คือผืนปา สายธาร นํ้าตก ชายหาด ทองฟา ทองทะเล ธรรมชาติรอบตัว และ สุดทายเด็กๆ จะเกิดความรักในสิง่ แวดลอม การไดไปเห็นสิง่ มชี วี ติ ตางๆ ดวยตาทําให สายใยระหวางมนุษยกบั สิง่ มชี วี ติ อืน่ ๆ คอยๆ สานขึน้ จากการเรยี นรูด ว ยกระบวนการ สิ่งแวดลอมศึกษา ซึ่งประสบการณทั้งหมดที่เรียนในแตละครั้งจะถูกถายทอดออกมา เปนงานศิลปะเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม และที่สําคัญความรูเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษา ทัง้ หมดถูกผสานอยูใ นวิถชี วี ติ ของผูเ รยี น แนนอนแมวา จุดเดนและขอดขี องการศึกษา ทางเลือกแบบนจี้ ะมอี ยูม าก แตขอ จํากัดทที่ า ทายเชนตัวกิจกรรมใหมๆ หรือการเรยี นรู ที่ตองมเี ครือขายครอบครัวอื่นๆ เขามา ดวยขอจํากัดทางสังคมก็ยังเปนความทาทาย ที่ตองกาวขามไปอยู และแนนอนใชวาทุกครอบครัวจะทําแบบนี้ได เพราะสิ่งสําคัญ คือศักยภาพและความพรอมของพอแม แตสิ่งสําคัญที่ครอบครัวควบกลํ้าธรรมชาติ มักบอกอยูเสมอ คือทุกครอบครัวไมจําเปนตองทําตามทั้งหมดแตแคไดลองพาลูกๆ ออกไปเรียนรูเรื่องสิ่งแวดลอมโดยใชกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาการเรียนรูที่ลูกๆ ไดเรียนรูพรอมกับพอแมเองก็ไดเรียนรูไปดวย เปนรอยยิ้มของครอบครัวที่เกิดขึ้นได เพราะสิ่งแวดลอมศึกษา ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ครอบครัวสังวรเวชภัณฑไดทํา หนังสือชุดประสบการณหองเรียนในธรรมชาติ ตอน “แมลงปอ ถึงหยดนํ้าสุดทาย” และ “นกเงือก…นักปลูกปา…” ลวนเปนนวัตกรรมที่พอแมแตละครอบครัวสามารถ นําไปศึกษาและเริ่มตนกิจกรรมสิ่งแวดลอมศึกษาเล็กๆ ในครอบครัวของตนเอง กลุม ครอบครัวควบกลํา้ ธรรมชาติเปนตัวอยางทแ่ี สดงใหเห็นวาเรือ่ งสิง่ แวดลอมศึกษา ในประเทศไทยไมไดถูกจํากัดอยูแคการศึกษาในระบบ หรือเปนเรื่องของหนวยงาน ภาครัฐ หนวยงานธุรกิจ หรือองคกรไมแสวงกําไรตางๆ แตสิ่งแวดลอมศึกษาเริ่มไดที่ ตนเองและครอบครัว นานแลวที่บทบาทการใหการศึกษาของครอบครัวถูกโอนถาย ไปใหวัดในยุคสมัยหนึ่ง และถายไปใหโรงเรียนในระบบแบบตะวันตกจนถึงปจจุบัน บทบาทของครอบครัวกับการจัดการศึกษาใหกับสมาชิกในครอบครัวจึงนาจะไดเริ่ม ตนขึน้ มาใหม อยางนอยกิจกรรมทที่ าํ ใหครอบครัวไดเรยี นรูร ว มกันก็เปนการปลดแอก จากซากผุของอิทธิพลตะวันตกโดยที่เราไมตองไปตอสูกับใครเลยนอกจากเวลาที่ พอแมจะมีใหลูกๆ บางไดหรือไม รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 97

๙๗

18/2/2549 20:16:34


การพัฒนาศักยภาพบุคลากรสิ่งแวดลอมศึกษา (Human resource capability building) ในสวนของสิง่ แวดลอมศึกษาทางเลือกทมี่ าพรอมกับการเรยี นรูต ามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต คงเปนมากกวาเปนการพัฒนาในความหมายของคําวา “บุคลากร” ซึง่ เปนคําในความหมายทคี่ บั แคบเกินไปสําหรับสังคมไทยซึง่ ปจจุบนั ไดกา ว ไปถึงการพัฒนา “ความเปนมนุษย” ซึง่ มนุษยทเี่ รยี นรูด วยการศึกษาทางเลือกเหลาน้ี คงไมสามารถนับออกเปนปริมาณเชิงตัวเลขไดเฉกเชนเดียวกับความหวังดีที่กลุมคน เหลานม้ี ตี อ โลกแมจะวัดดวยปริมาณเชิงตัวเลขไมไดแตเราก็รวู า เรือ่ งราวดๆี เหลานัน้ มีอยูจริงในสังคมไทย และนับวันเรื่องราวดีๆ เหลาน้ีจะถูกสงตอมากขึ้นๆ เรื่อยๆ แมในสวนของของการปฏิบัติลงสูวิถีชีวิตจริงจะถูกจํากัดตามแตละบุคคล แตละพื้นที่ แตสถานการณแบบนี้ก็เปนนิมิตรหมายที่ดีวาในชวง ป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมา ตอเนือ่ งมาจนปจจุบนั มกี ลุม คนจํานวนไมนอ ยทเี่ รยี นรูเ รือ่ งเหลานเี้ กยี่ วกับสิง่ แวดลอม ศึกษา และกลุมคนเหลาน้ีหลายคนคือผูที่คอยถักทอภูมิปญญาและองคความรู ดานสิ่งแวดลอมของสังคมไทย

๙๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 98

18/2/2549 20:16:34


บทที่ ๕ สื่อมวลชนและเครือขายกับ บทบาทการสรางกระบวนการเรียนรู สิ่งแวดลอมในวิถีชีวิต

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 91

๙๑

18/2/2549 20:38:12


สื่อมวลชน และเครือขายกับ บทบาทการสรางกระบวนการเรียนรู สิ่งแวดลอมในวิถีชีวิต เครือขายความรวมมือสิ่งแวดลอมศึกษาและการสื่อสาร เปนเรื่องของความ รวมมือในการทํางานและวิถีทางในการสงตอเรื่องราวดานสิ่งแวดลอมศึกษาและ การทํ า งานของประเทศไทย ซึ่ ง ในด า นของเครื อ ข า ยความร ว มมื อ นั้ น เราพบ เครือขายรวมมือดานสิ่งแวดลอมศึกษาที่มากขึ้นทั้งเครือขายที่เปนทางการและ ไมเปนทางการ โดยเครือขายที่กําลังมาแรงในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ คงหนีไมพน เครือขายชุมชนโลกเสมือนออนไลน (Social Network) ทั้งเครือขายผาน Blog, Hi5, Facebook, Twitter เป นต น ซึ่ ง หลายครั้ ง ที่ เครื อ ข า ยโลกเสมื อ นเหล า น้ี กลายเป น พลั ง เล็ ก ๆ ในการชี้ นํ า และเผยแพร เพื่ อ ให เ กิ ด พลั ง ที่ ม ากพอในการ เปลี่ ย นแปลงเรื่ อ งราวเพื่ อ การอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม สํ า เร็ จ บ า ง ไม สํ า เร็ จ บ า ง แตก็เปนสิ่งดีๆ ที่เกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัฒนที่การสื่อสารไมไดตอบสนองแคเรื่อง ธุ ร กิ จ หรื อ ขั บ เน น การเป น ป จ เจคบุ ค คลแต เป น เรื่ อ งของคนในสั ง คมสมั ย ใหม ที่ ม องเห็ น ป ญ หาและพร อ มที่ จ ะออกมาแสดงพลั ง บางอย า งร ว มกั น โดยเฉพาะ ในดา นสิ่ ง แวดลอ ม สํ า หรั บ ในสว นของการสื่อ สารนั้น เราพบวา การสื่อ สารเรื่อ ง สิ่งแวดลอมนั้นยังถูกขีดวงจํากัดในสื่อกระแสหลัก ทวาในสวนของนักขาวสิ่งแวดล แวดลอม หนังสือ และนิตยสารยังเปนสวนที่ทํางานอยางแข็งขัน แตจากขอจํจากั ากัดหลายดาน สงผลใหนิตยสาร และสื่อดานสิ่งแวดลอมหลายแหงผันตัวเองไปเล องไปเลนบทบาทใน โลกอินเทอรเนต (Internet) ผานสื่ออิเล็กทรอนิกสออนไลน (Website) และเครือขาย Social Network ๑๐๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 100

18/2/2549 20:38:49


สถานการณในชวง ๒ ปที่ผานมาตอเนื่องจนถึงปจจุบัน นอกจากจะเปนชวง กาวพัฒนาการของรูปแบบการสื่อสารเพื่อการรับรูเรื่อวราวดานสิ่งแวดลอมแลว ยังแสดงถึงการตื่นตัวดานสิ่งแวดลอมของสังคมไทย โดยเฉพาะกลุมคนตัวเล็กๆ ที่ทําใหเห็นวาเรื่องสิ่งแวดลอมไมใชเรื่องที่ถูกมองขามหรือไมไดรับความสนใจจาก สังคม ตรงกันขามในชวงที่ผานมาเรื่องราวดานสิ่งแวดลอมไดเปนประเด็นสําคัญ ที่สุดที่สังคมพยายามหาวิถีทางสื่อสารออกมา แตผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผูที่มี ผลประโยชนจากการใชทรัพยากรอยางมหาศาล โดยเฉพาะภาคธุรกิจอุตสาหกรรม กลุม ธุรกิจดานพลังงานฟอสซิล ธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารทบี่ กุ รุกพืน้ ทปี่ า ใหเกษตรกร ปลูกพืชเชิงเดี่ยว นักการเมือง นายทุน หรือผูมีอิทธิพลที่มีผลประโยชนจากการ ใชทรัพยากรสิ่งแวดลอม กลุมเหลานี้เปนคนกลุมนอยแตมีทุนและมีอํานาจมากพอ ทจี่ ะทําใหกระแสดานสิง่ แวดลอมเปนพืน้ ทเี่ ฉพาะกลุม แทนทกี่ ารทจี่ ะกลายเปนกระแส หลักมากไปกวาวัฒนธรรมการบริโภคและการโฆษณาใหประชาชนเสพติดวัตถุ ซึง่ จะ ชวยเพิ่มเงินในกระเปาของนักลงทุนทั้งในประเทศและตางประเทศ และโปรยยาหอม ถึงตัวเลข GDP และความกาวหนาทางเศรษฐกิจ แตความถดถอยของสังคมและ ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอมกลับเปนสิ่งที่ถูกพูดถึงเพื่อการสรางความตระหนก ตกใจเปนครั้งคราวเทานั้น สถานการณเครือขายความรวมมือ เครื อ ข า ยความร ว มมื อ สามารถแบ ง ออกเป น เครื อ ข า ยความร ว มมื อ ด า น สิง่ แวดลอมทเี่ ปนทางการ และเครือขายความรวมมือดานสิง่ แวดลอมทไี่ มเปนทางการ ซึ่งเราสามารถทําความเขาใจในเครือขายทั้ง ๒ ประเภทอยางงายๆ ดังนี้ เครือขายความรวมมือดานสิง่ แวดลอมทีเ่ ปนทางการ เปนเครือขายทัง้ ใน สวนความรวมมือของหนวยงาน องคกรตางๆ และรวมถึงเครือขายภาคประชาชนที่ รวมตัวกันโดยมเี ปาหมายหรือจุดประสงคเดยี วกันทชี่ ดั เจน โดยแตละองคการทเี่ ขารวม รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 101

๑๐๑

18/2/2549 20:16:57


อาจจะมจี ดุ ประสงคแอบแฝง (Hidden Objective) ก็ได ซึง่ ในลักษณะของความรวมมือ อาจจะมอี งคกรกลางทําหนาทเี่ ปนตัวเชือ่ มรอยการทํางานของกลุม โดยองคกรทเี่ ขามา มสี ว นรวมหรือเปนสมาชิกจะมบี ทบาทในการแสดงออกถึงการมสี ว นรวมอยางชัดเจน การรวมตัวกันของเครือขายในลักษณะนี้จึงมีแนวทางการปฏิบัติออกมาคอนขาง ที่จะเปนทางการเพื่อตอบสนองเปาหมายหรือจุดประสงคใหไดมากที่สุด การเติบโต และความเขมแข็งของเครือขายสวนมากมีความมั่นคงและเปนเครือขายที่คอนขาง แข็งแรง เชน เครื อ ข า ยธุ ร กิ จ เพื่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล อ ม (Social Venture Network Asia หรือ SVN Asia) ซึง่ เปนเครือขายทสี่ นับสนุนและสงเสริมการขับเคลือ่ น ดานธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอม ใหกับกลุมธุรกิจขนาดกลางและเล็ก (SMEs) คณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมไทย (TBCSD หรือ ธวท.) เปนเครือขาย ความรวมมือขององคธุรกิจขนาดใหญกวา ๓๐ องคกร เพื่อเสริมสรางความตระหนัก และพัฒนาศักยภาพในดานสิ่งแวดลอมใหแกสมาชิก รวมทั้งดําเนินกิจกรรมเพื่อ การพัฒนาธุรกิจอยางยั่งยืน เชน โครงการฉลากเขียว โครงการคายเยาวชนเรียนรู ขยะ โครงการวางแผนการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชนเกาะเกร็ด โครงการเครือขาย สารสนเทศดานพลังงานและสิง่ แวดลอมของประเทศไทย (Thailand Energy and Environment Network: TEENET) เปนเครือขายความรวมมือของหนวยงานภาครัฐ ทจี่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ ตอบสนองขอมูลขาวสารดานพลังงานและสิง่ แวดลอมของประเทศไทย โดยไดรวบรวมขอมูลทมี่ จี ากหนวยงานภาครัฐและเอกชน ซึง่ กอใหเกิดความสะดวกใน การแลกเปลยี่ นขอมูล และการสือ่ สารขอมูลความรูอ ยางเปนระบบ เครือขายโรงเรียน Eco School เปนเครือขายที่รวมตัวกันของครูและนักวิชาการ ตลอดจนเจาหนาที่ใน โครงการเปนเครือขายทมี่ สี ว นงานสิง่ แวดลอมศึกษา กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม เปนเจาภาพ ซึ่งเปนเครือขายที่ทําใหครูและนักวิชาการ ตลอดจนนักเรียนไดมีเวที แลกเปลี่ยนพูดคุยเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณการทํางาน จนถึงมีสื่อออนไลน โลกเสมือน (Social Network) ผาน www.facebook.com เครือขายตลาดสีเขียว (Green Market Network) เปนเครือขายผูผ ลิตสเี ขยี วทสี่ รางพืน้ ทเี่ พือ่ นําเสนอผลิตภัณฑ หรือผลผลิตที่เปนมิตรตอทั้งสุขภาพผูบริโภคและสิ่งแวดลอม เปนเครือขายภาค ๑๐๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 102

18/2/2549 20:16:57


ประชาชนที่มีเกิดขึ้นทั้งบนเครือขายอินเทอรเนตผาน http://www.thaigreenmarket. com และการจัดตลาดนัดทมี่ ตี วั ตนจริงๆ ตามสถานทตี่ า งๆ ทเี่ ครือขายผูผ ลิตและกลุม ผูบริโภคตกลงกัน เครือขายผักประสานใจ (CSA) ซึ่งเปนเครือขายของระบบสมาชิก ผักอินทรียที่ทําในระบบสมาชิก CSA (Community Support Agriculture) โดย เครื อ ข า ยดั ง กล า วมี ลั ก ษณะในการเป นการลงทุ น ร ว มกั นของผู ผ ลิ ต กั บ ผู บ ริ โภค เป ด โอกาสให ผู บ ริ โภครู ว า ใครเป นคนผลิ ต และชวนให ผู ผ ลิ ต เห็ น ว า ใครที่ เป น คนบริโภค ซึง่ เปนเสมือนการประสานหัวใจของคนปลูกผักกับคนกินผัก การปราศจาก พอคาคนกลางมาคอยกําหนดราคาทําใหผผู ลิตกับผูบ ริโภคตางมคี วามเอือ้ อาทรตอกัน และทําใหผูผลิตและผูบริโภคมองกันในความสัมพันธของการเปนมนุษยมากขึ้น เครื อ ข า ยอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละวั ฒ นธรรมลุ ม นํ้ า โขง ล า นนา เปนเครือขายทีท่ าํ งานรวมกัน ๓ องคกรทองถิน่ คือ กลุม รักษเชยี งของ ชมรมอนุรกั ษ ทรัพยากรธรรมชาติลุมนํ้าอิง และโครงการแมนํ้าและชุมชน เครือขายจัดตั้งขึ้น เพือ่ การอนุรกั ษแมนาํ้ โขงและพืน้ ทลี่ มุ นํา้ ใกลเคยี งโดยเนนการสรางองคความรูท อ งถิน่ จากวิถชี วี ติ ชุมชน ภูมปิ ญ  ญา ธรรมชาติ ความหลากหลายทางชาติพนั ธุ ซึง่ การทํางาน ของเครือขายก็คือการปกปองและอนุรักษวิถีชีวิตของผูคนที่เกี่ยวเนื่องกับแมนํ้าโขง ที่สอดคลองกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน นอกจากเครือขายผูใหญแลว เครือขายเด็กๆ ที่เกิดขึ้นอยางเปนทางการของ เด็กๆ และเยาวชน เชน เครือขายเยาวชนกลุมรักษนํ้าคาน เปนการรวมตัวของ กลุมนักเรียนจาก ๓ โรงเรียนที่อยูริมสองฝงของแมนํ้าคาน ไดแก โรงเรียนทาลี่วิทยา โรงเรียนบานทาลี่ และโรงเรียนเลยพิทยาคม จากความคิดเด็กๆ ที่อยากเห็นสิ่งดีๆ เกิดขึ้นในทองถิ่นและการเปดโอกาสของผูใหญที่เล็งเห็นศักยภาพของเด็กๆ “กลุม รักษนํ้าคาน” จึงกําเนิดขึน้ ในราวป ๒๕๕๐ จากวันนัน้ ถึงวันนก้ี ิจกรรมทีท่ างเครือขาย ไดรวมกันทํากลายเปนวัฒนธรรมของเด็กๆ ในทองถิ่นที่ถักทอกันจากรุนสูรุนเพื่อ การอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมในทองถิน่ อยางยัง่ ยืน เครือขายกลุม เกอญอโพ บานแมขะปู จากเครือขายกลุม เกษตรกรภาคเหนือ (คกน.) ซึง่ เกิดจากการรวมตัวกันของชุมชนใน รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 103

๑๐๓

18/2/2549 20:16:57


๗ กลุมลุมนํ้า ไดแก กลุมลุมนํ้าขาน กลุมลุมนํ้าวาง กลุมอนุรักษพื้นที่สูง กลุมลุมนํ้า แมแจม กลุม ลุม นํา้ ปงตอนบน กลุม ลุม นํา้ แมลาว และกลุม ลูกโดด จากแผนการพัฒนา เยาวชนรุนใหมของเครือขาย คกน. ที่มุงสืบสานเจตนารมณ และความรับผิดชอบ ตอสังคมทองถิ่นใหกับเหลาเยาวชนที่จะเติบโตขึ้นเปนอนาคตของชุมชน กอใหเกิด กลุมเยาวชนตางๆ กระจายอยูตามลํานํ้าในพื้นที่ทั้ง ๗ กลุม โดย “กลุมเกอญอโพ บานแมขะปู” เปนกลุมหนึ่งที่เกิดขึ้น ที่ผานมาผูใหญในชุมชนเปนหัวเรี่ยวหัวแรงหลัก เพื่อการพัฒนาเด็กๆ ในทองถิ่น ในขณะที่เด็กๆ ในชุมชนเองก็มีความกระตือรือรน และตองการทจี่ ะเรยี นรูเ รือ่ งราวเกีย่ วกับชุมชน และรวมกับผูใ หญทาํ กิจกรรมดๆี เพือ่ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ปจจุบันทางกลุมพยายามเชื่อมตอความรวมมือ กับเครือขายเยาวชนสืบสานภูมิปญญา ซึ่งเปนเครือขายที่เกิดจากการรวมตัวของ เยาวชนทั้ง ๔ ภาคของประเทศไทยที่จะอนุรักษภูมิปญญาพื้นถิ่นของตนซึ่งเปนการ เชื่อมตอเครือขายจากกลุมที่เกิดแรงหนุนของคนในชุมชนกลุมเล็กๆ กับเครือขาย ใหญๆ ในระดับประเทศ แตสงิ่ สําคัญไปกวานัน้ คือเครือขายดังกลาวชวยใหชมุ ชนและ เด็กกาวไปอยางมีจุดหมายที่ชัดเจนรวมกัน เครือขายความรวมมือดานสิ่งแวดลอมที่ไมเปนทางการ เปนเครือขาย ความรวมมือที่มีการรวมตัวโดยไมมีใครคนใดคนหนึ่ง หรือองคกรใดองคกรหนึ่งเปน ผูนําอยางแทจริง แตเปนกลุมคนที่รวมตัวกันดวยจุดประสงคที่สอดคลองกันและมี ความตองการที่จะขับเคลื่อนงานดานสิ่งแวดลอมรวมกัน โดยผูเขารวมในเครือขาย ไมจาํ เปนตองแสดงฐานะการเปนสมาชิก คือไมจาํ เปนตองสมาชิกในเครือขายแตเปน คนทมี่ คี วามสนใจ มคี วามคิดความเห็นและมปี ระเด็นความหวงใยทอี่ ยากจะแสดงออก และรวมกัน เปาหมายหลักมคี วามชัดเจนตามอุดมการณแตจดุ ประสงคหรือหลักไมล ในการเดินทางของกลุมสามารถปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณความเปนจริงเพื่อ ใหการขับเคลื่อนการดําเนินงานของเครือขายสามารถบรรลุเปาหมายหลัก เครือขาย ดังกลาวจึงเปนเครือขายที่เกิดจากใจ เปนเครือขายที่ถักทอจากความคิดความเห็น รวมกัน การเติบโตของเครือขายเปนไปโดยธรรมชาติ เชน เครือขายตนไมขี้เหงา ๑๐๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 104

18/2/2549 20:16:57


ซึ่งถึงแมจะมีคุณทรงกลด บางยี่ขัน เปนหัวหอก แตสมาชิกที่เขารวมเรียนรูเปนกลุม คนที่อาศัยในกรุงเทพฯ โดยผูเขารวมสามารถเขามารวมไดตามความสนใจทั้งในสวน ของกิจกรรม “วิชาอะไร” และ กิจกรรม “การเดินทาง” (ทริป) ใครอยากจะเขารวม ตอนไหนหรือเวลาใดก็สามารถมารวมไดตามความสะดวก โดยมี www.lonlytree.net เปนสื่อกลางในการสื่อสารของกลุม กลุม Big Trees เปนกลุมที่เกิดขึ้นในชวงปลาย พ.ศ. ๒๕๕๓ เกิดจากคนในเมืองที่รับไมไดกับการตัดไมจามจุรีใหญอายุกวารอยป ในซอยสุขุมวิทตามความตองการของกลุมอหังสาริมทรัพยที่ตองการพัฒนาพื้นที่เพื่อ ปลูกสรางอาคาร จุดเริ่มของเครือขายเปนคนที่รูจักกันกอนจากนั้นจึงมีการพูดคุย แลกเปลี่ยนในโลกไซเบอรจนทําใหเกิดเครือขายใน Social Network กอน จากนั้น จึงขยายตอไปเรื่อยๆ เครือขายดังกลาวจึงเกิดจากกลุมคนเล็กๆ ที่อยากจะปกปอง ตนไมใหญในกรุงเทพฯ ทเี่ หลือนอยอยูแ ลวใหมากทสี่ ดุ เทาทจี่ ะทําได กลุม อาสาสมัคร เยาวชนอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม จากเครือขายของผูใ หญลองหันมาดูเครือขายของเด็กๆ ที่เกิดขึ้นจากหัวใจที่อยากจะอนุรักษสิ่งแวดลอม ภายหลังจากการเขาคายฝกอบรม สําหรับเยาวชน เรือ่ ง “เยาวชนอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมกับสภาวะโลกรอนทีเ่ ราชวยกันได” ของกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม จากความตระหนักดานสิง่ แวดลอมและมิตรภาพ ระหวางเด็กๆ ที่มาจากตางโรงเรียน ตางพื้นที่ ตางภูมิภาค สงผลใหเกิดการชวนคิด ชวนคุยกันจนเกิดเปนเครือขายเด็กๆ ที่อยากทําสิ่งดีๆ เพื่อโลก เด็กๆ ใชการสื่อสาร หลักในชุมชนโลกเสมือนออนไลน (Social Network) อยาง Facebook เปนสะพาน เชื่อมความรูสึกนึกคิด มิตรภาพที่เด็กๆ มีตอกัน และพลังเล็กๆ ที่อยากแสดงออก เพื่อโลกที่เขาอาศัยอยู แนนอนวายังมีเครือขายเด็กๆ อีกมากมายที่อยูในชุมชนโลกเสมือนออนไลน (Social Network) ซึ่งตองยอมรับวาความรวดเร็วของการสื่อสารดวยช องทาง อินเทอรเนตและการมเี วปไซดทที่ าํ หนาทเี่ ปนเครือ่ งมือสนับสนุนในการสรางใชชมุ ชน โลกเสมือน (Social Network) อยาง Facebook และ Twitter ไดกลายมาเปนตัวอํานวย ความสะดวกใหเกิดจุดเริ่มของเครือขายทางสังคม รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 105

๑๐๕

18/2/2549 20:16:57


อยางไรก็ดียังมีเครือขายเด็กๆ ที่ไมไดเริ่มจากกระแส Facebook และ Twitter อยางเชน เครือขายเด็กๆ ที่เกิดขึ้นจากความคิดความเห็นที่ตรงกัน อยางเชน กลุม เครือขายเยาวชนอําเภออุมผาง ที่เกิดจากแรงบันดาลใจของคนหนุมคนสาวของ อําเภออุมผางตั้งแตป ๒๕๓๕ ที่ตองการจะปกปองและอนุรักษทรัพยากรทองถิ่น โดยเนนการทําความเขาใจกับชุมชนผาน “วารสารดอกเสี้ยว” แตจากการกดดัน จากผูมีอิทธิพลเครือขายดังกลาวตองยุติบทบาทตัวเองลงในป ๒๕๓๘ จนป ๒๕๕๐ เครือขายดังกลาวจึงเริ่มตนอีกครั้ง ในนามของ “กลุมเยาวชนอําเภออุมผาง” โดยการ ถายทอดแนวคิดจาก อดิศร บุญตาล อดีตประธานกลุมวารสารดอกเสี้ยว ประสาน กับทางโรงเรียนอุมผางวิทยาคม ไดเปดรับสมัครสมาชิกเขารวมกิจกรรม การสงตอ ทางอุดมการณจาก “กลุมหนุมสาวอุมผาง” สู “กลุมเยาวชนอุมผาง” ทามกลางการ ลุกคืบของการบุกรุกผืนปาเพื่อการปลูกพืชเชิงเดี่ยวปอนบริษัทอุตสาหกรรมอาหาร ไดกอใหเกิดการสานสรางเครือขายของเยาวชนในทองถิ่นที่ลุกขึ้นมาดูแลรักษา ทรัพยากรในชุมชนของตัวเองโดยมพี ลังของเยาวชนทีเ่ ปรยี บเสมือนอนาคตของชุมชน สรางกลุมสานเครือขายขยายความรูความเขาใจและรวมกันทําสิ่งเล็กๆ เพื่อผืนปา และทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน บทสรุ ป สถานการณ เ ครื อ ข า ยความร ว มมื อ ด า นสิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษา (Networking and collaboration) ชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมานับวาเปนชวงที่เครือขายความรวมมือดาน สิ่งแวดลอมศึกษาในประเทศไทยขยับขยายความรวมมือในการทํางานมากขึ้น หลายเครือขายประสบความสําเร็จในการทํางาน อยางเชน เครือขายอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมนํ้าโขง ลานนา เครือขายเยาวชนกลุมรักษนํ้า คาน กลุมเครือขายเยาวชนอําเภออุมผาง ซึ่งไดรับ “รางวัลลูกโลกสีเขียว” อันเปน รางวัลทีม่ อบใหกบั ผูค นทีท่ าํ งานดานสิง่ แวดลอมอยางเปนรูปธรรมและมกี ารทํางานที่ ๑๐๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 106

18/2/2549 20:16:57


โดดเดนในแตละป ซึ่งชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ กลุมทั้ง ๓ ก็ไดรับเลือกใหไดรับรางวัล ดังกลาวจากเครือขายสถาบันลูกโลกสีเขียว หลายเครือขายทําหนาที่สรางกระแส ปลุกสํานึกและสรางพื้นที่สําหรับสงตอ ขาวสาร สื่อสารขอมูล ริเริ่มกิจกรรมดีๆ ดานสิ่งแวดลอมใหกับสังคมจนกอกลาย เปนเรื่องที่ผูคนในสังคมตองเหลียวหลังมาใสใจและฉุกคิด อยางเชน เครือขาย ตลาดสีเขียว ซึ่งปลุกกระแสการบริโภคผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสุขภาพและเปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม รวมถึงสินคาที่สงเสริมใหเกิดความเปนธรรมตอสังคมอยางแทจริง กลุม Big Trees ซึ่งปลุกกระแสการอนุรักษตนไมใหญในเมืองกรุงกระแสนี้ไดลุกลาม สูตัวเมืองใหญในจังหวัดตางๆ อาทิ ขอนแกน เชียงใหม กระแสสิ่งแวดลอมเมืองของ คนในเมืองเริม่ เปนรูปเปนรางขึน้ ทลี ะเล็กทลี ะนอย เครือขายตนไมขเี้ หงา ซึง่ ชวยสราง พืน้ ทใี่ หคนในเมืองใหญไดหนั มาใสใจรับรูเ กยี่ วกับสิง่ แวดลอมรอบตัว และเกิดกลุม ทํา กิจกรรมเล็กๆ ดวยกัน หลายเครือขายเปนตัวประสานความรวมมือหนวยงานและองคกรทั้งในสวน ภาครัฐและภาคเอกชนใหเกิดความรวมมือและเกิดการทํางานรวมกัน เกิดพลังรวมใน การขับเคลือ่ นการดําเนินงานดานสิง่ แวดลอม ตัวอยาง เชน เครือขายธุรกิจเพือ่ สังคม และสิ่งแวดลอม (Social Venture Network Asia หรือ SVN Asia) คณะกรรมการ นักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมไทย (TBCSD หรือ ธวท.) โครงการเครือขายสารสนเทศ ดานพลังงานและสิ่งแวดลอมของประเทศไทย (Thailand Energy and Environment Network: TEENET) สิ่งที่นาสังเกตอีกประการ คือชองทางการสื่อสารในยุคโลกาภิวัฒน โดยเฉพาะ การสื่อสารทางสื่อ อิเล็กทรอนิกสออนไลนผานเครือขายอินเทอรเนต (Internet) โดยเฉพาะชุมชนโลกเสมือนออนไลน หรือ Social Network ทั้งในสวนของเว็บไซต Facebook, Twitter ตลอดจน Blog ตางๆ ชองทางเหลานี้ไดรับการพัฒนาขึ้น รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 107

๑๐๗

18/2/2549 20:16:57


จนมีประสิทธิภาพในการเชื่อมตอผูคนที่อยูตางที่ ตางบริบทการทํางานไดมีพื้นที่ ในการสื่อสารระหวางคนในกลุมและเครือขายที่ทํางานรวมกัน ตลอดจนการขยาย เครือขายไปสูกลุมคนอื่นๆ และทําใหเกิดการรับรูของสาธารณะ ดึงการมีสวนรวม ของผูค นในสังคมทีค่ ดิ ทีเ่ ห็นในประเด็นทสี่ อดคลองกันไดแลกเปลีย่ นเรยี นรู ตลอดจน เปนการสือ่ สารระหวางกันเบือ้ งตนกอนทจ่ี ะขับเคลือ่ นงานดานสิง่ แวดลอมรวมกันตอไป เครือขายตางๆ ที่เกิดขึ้นในชวงสองปที่ผานมา เกิดขึ้นทามกลางวิกฤตดาน สิ่งแวดลอมที่สังคมไทยกําลังเผชิญ เครือขายขนาดใหญสานความรวมมือกันขึ้นจะ ดวยเหตุผลใดก็ตามแตจะดวยจิตสํานึกที่เกิดขึ้นทามกลางภัยพิบัติที่จําตองเผชิญใน ชวงหลายปที่ผานมา กระแสการพัฒนาแนวใหมของโลกที่เนนความยั่งยืนเพื่อคนรุน ตอๆ ไป กฏหมายที่สรางบทบังคับเอื้อใหภาคสวนตางๆ ตองคืนกําไรสูสังคม หรือ ตองการทําเพือ่ ใหไดชอื่ วาทําเพือ่ สรางภาพลักษณสเี ขยี วใหกบั หนวยงานองคกรของตน จะดวยเหตุผลใดก็ตามแตนี่ยอมแสดงใหเห็นวาประเด็นเรื่องราวดานสิ่งแวดลอมและ สิ่งแวดลอมศึกษาไดขยับขยายและเผยแพรสูวงคิดของสังคมไทยมากขึ้น โดยเฉพาะ การเกิดเครือขายสิ่งแวดลอมศึกษากลุมเล็กๆ ที่เริ่มจากคนตัวเล็กๆ ในสังคมที่ รวมกันคิดฝนและอยากจะเริ่มลงมือทําสิ่งดีๆ เพื่อสิ่งแวดลอมและเพื่อสังคมสวนรวม ผูค นเหลานเี้ ปนดัง่ เมล็ดพันธุส เี ขยี วของสังคม การถักทอเครือขายผานการมสี ว นรวม ในชุมชนพืน้ ทีก่ ด็ ี ผานการทํากิจกรรมรวมกันก็ดี หรือการแลกเปลีย่ นเรยี นรูใ นสังคม Social Network ก็ดี ชองทางเหลานี้ลวนกอใหเกิดพลังที่ชวยกระตุกการรับรูของคน สวนใหญในสังคมใหรูวาโลกใบนี้กําลังรอพลังเล็กๆ จากพวกเราทุกๆ คน

๑๐๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 108

18/2/2549 20:16:57


บทที่ ๖ บทสรุป ขอสังเกตและขอเสนอแนะ

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 101

๑๐๑

18/2/2549 20:39:11


บทสรุป ขอสังเกตและขอเสนอแนะ ความเคลื่อนไหวของงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของ ประเทศไทย ระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ จําแนกตามภาคสวนตางๆ ไดดังนี้ นโยบายการศึ ก ษาของประเทศและความเคลื่ อ นไหวที่ สํ า คั ญ ในการ ขับเคลื่อนงานสิ่งแวดลอมศึกษา แนวโนมการเปลี่ยนแปลงสําคัญในเรื่อง “สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน” ทั้งภายในและระหวางประเทศเปนประเด็นหลักที่สงผลใหหนวยงานหลัก ที่ทําหนาที่สงเสริมสิ่งแวดลอมศึกษาไดปรับเปลี่ยนและปรับตัวใหสอดรับกับการ เปลยี่ นแปลง เกิดการขยับขยายขอบเขตการทํางานสิง่ แวดลอมจากเดิมทมี่ งุ เนนบริบท ของสถานศึกษาไปสูก ารจัดสิง่ แวดลอมศึกษาสําหรับกลุม เปาหมายใหมๆ โดยสานพลัง ของภาคีเครือขายจากทุกภาคสวนเขามามีสวนรวม ในชวง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ซึ่งเปนชวงเวลาที่มีการเผยแพรแผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๕ สูการรับรูของเครือขายการทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษา สงผลใหมกี ารผลักดันใหเกิดโปรแกรม โครงการและกิจกรรมที่ตอบสนองยุทธศาสตร ตางๆ ของแผนหลัก การมีนโยบายที่ชัดเจน ตลอดจนการปรับบทบาทและกํ ทและกาหนด ทิ ศ ทางการทํ า งานให ส อดประสานไปกั บ แนวโน ม การเปลี่ ย นแปลงในงานด ปลงในงานด า น สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น โดยกรมส ง เสริ มคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม เปนทั้งโอกาสและความทาทายที่สําคัญยิ่งของแวดวงสิ่งแวดลลอมศึ อมศึกษาในรอบ ๒ ป ที่ผานมาของประเทศไทย

๑๑๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-110 4cl-pc24.indd 110

18/2/2549 20:39:39


การดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาโดยหนวยงานภาครัฐ การขับเคลื่อนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยหนวยงานภาครัฐ ในระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ มีความเคลื่อนไหวที่สําคัญในสวนของการสราง ความรวมมือระหวางภาครัฐกับภาคสวนอื่นๆ นอกภาครัฐ ที่ตอเนื่องและมีการขยาย เครือขายทกี่ วางขวางมากยิง่ ขึน้ มกี ารขยายขอบเขตการทํางานสูก ลุม เปาหมายใหมๆ เพิ่มเติม เชน เจาหนาที่จากองคการปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และองคกรไม แสวงผลกําไร เปนตน ในสวนของโปรแกรม และกิจกรรมสิง่ แวดลอมศึกษาในโรงเรยี น ยังคงมีการทํางานตอเนื่องผานชุดกิจกรรมหรือโครงการใหมๆ ที่ริเริ่มจากหนวยงาน ภายนอก จุดแข็งและปจจัยเงื่อนไขที่มีผลตอการขับเคลื่อนงานสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนยังคงเกี่ยวของโดยตรงกับปจจัยตัวบุคคล ทั้งผูบริหารองคกร ครู และเจาหนาที่ปฏิบัติ ที่แสดงใหเห็นความตองการจําเปนในการจัดโปรแกรม เสริมสรางศักยภาพอยางเปนระบบตอไป การดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาโดยสวนที่ไมใชราชการ การดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาในกลุมภาคธุรกิจ ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ทผี่ า นมากิจกรรมดานสิง่ แวดลอมทที่ างภาคธุรกิจแตละ บริษัทจัดขึ้นเพื่อคืนกําไรใหสังคมผานงาน CSR หรืองานดานอื่นๆ เพื่อมุงใหเห็นถึง ความใส ใจที่ บ ริ ษั ท มี ต อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล อ ม โครงการส ว นใหญ มี ก ารนํ า เอา กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาเขามาใชผานกิจกรรมที่หลากหลาย และแนวโนม ในการทํางานกับกลุมเปาหมายเด็กและเยาวชนก็มีมากขึ้น บริ ษั ท ธุ ร กิ จ ที่ เคลื่ อ นไหวงานด า นสิ่ ง แวดล อ มส ว นใหญ จ ะเป น ภาคธุ ร กิ จ ขนาดใหญ ที่ มี ค วามพร อ มทั้ ง ด า นงบประมาณ การบริ ห ารจั ด การองค ก รที่ มี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะหลายองคกรจะมีสวนงานดานสิ่งแวดลอมโดยตรง เนื้องาน สวนใหญยังคงเปนการจัดการสิ่งแวดลอมคูขนานไปกับงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 111

๑๑๑

18/2/2549 20:18:30


ที่ผานโครงการที่เนนกิจกรรมจิตอาสา หรือโครงการระยะยาวที่มุงเนนการใหความรู สรางทักษะ และปลูกฝงมุมมอง คานิยมในการอนุรักษและใสใจเรื่องสิ่งแวดลอมผาน กลุมเปาหมายทั้งบุคลากรในองคกรและขยายไปจนถึงครอบครัวของบุคลากรใน องคกร เด็กและเยาวชนทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย รวมทั้ง ชุมชนและกลุมประชาชนผูสนใจทั่วไป ซึ่งงานเหลาน้ีลวนมีการนําเอากระบวนการ สิ่งแวดลอมศึกษามาใชหนัก-เบาตามเนื้องาน จุดเนนสําคัญตามแตละโครงการ กิจกรรม ในมุมมองของนักธุรกิจสวนใหญมองวางานที่ตนทําคือ “ความรับผิดชอบตอ สังคม” แตไมไดมองวาตนเปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงและสิ่งที่ทํา เปนการใหความรู ทักษะ และมุมมองเพือ่ สรางกระแสวัฒนธรรมสเี ขยี วในสังคมอยาง แทจริง และองคกรสวนใหญยงั มองวาโครงการหรือกิจกรรมทที่ าํ ตนจะไดรบั ประโยชน ดานใดบาง ภายใตทฤษฎีไดทั้งผูให-ผูรับ (Win-Win) และปฏิเสธไมไดวาการทํางาน ดานสิ่งแวดลอมก็คือการสรางภาพลักษณดีๆ ใหกับองคกร ซึ่งจะเห็นไดจากหนา โฆษณาประชาสัมพันธกิจกรรม CSR ดานสิ่งแวดลอมผานตามสื่อตางๆ ทั้งสื่อวิทยุ โทรทัศน หนาหนังสือพิมพหรือนิตยสารตางๆ นอกจากนี้กระแสการตื่นตัวในสังคมที่เริ่มคึกคักอยางยิ่งในชวงสองปที่ผานมา คือ “กระแสบริโภคสีเขียว” สงผลใหเกิดธุรกิจสีเขียว ซึ่งเปนธุรกิจขนาดเล็กไปจนถึง ขนาดกลาง ซึง่ กลุม ธุรกิจเล็กๆ เหลานเ้ี ปนตัวอยางหนึข่ องการเรยี นรูผ า นกระบวนการ สิ่งแวดลอมศึกษาดวยตนเอง จนพัฒนารูปแบบการดําเนินกิจการทั้งวงจรการผลิต จนสามารถสรางผลิตภัณฑที่รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมเพื่อเปนทางเลือก อีกหนึ่งทางเลือกใหกับผูบริโภค อยางไรก็ดสี ง่ิ ทภ่ี าคธุรกิจตางๆ ยังขาดคือ เครือขายการทํางานทท่ี าํ รวมกันทุก ภาคสวน หนวยงานและเครือขายตางๆ ที่จะเขามาชวยในการใหองคความรูที่ขาด และเติมเต็มการทํางาน รวมถึงเชือ่ มโยงการทํางานในภาคสวนตางๆ ใหเกิดการทํางาน รวมกันอยางบูรณาการเพื่อผลักดันใหเกิดผลทางสังคม ๑๑๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 112

18/2/2549 20:18:30


การดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาในกลุมขององคกรไมแสวงกําไร ในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ มีองคกรไมแสวงหากําไรจํานวนไมนอยที่ประกอบ ไปดวยความรู ทักษะ และประสบการณดานสิ่งแวดลอมศึกษา รวมทั้งหลายๆ โครงการในชวง ๒ ปทผี่ า นมาก็เปนไปตามเปาหมายประสบผลสําเร็จจนเปนทนี่ า พอใจ และหลายๆ โครงการสามารถเปนตนแบบทดี่ ใี นการไดมองการทํางานดานสิง่ แวดลอม ศึกษาซึ่งไมไดจํากัดแคตัวนักเรียน เด็กและเยาวชน และคงไมคับแคบพื้นที่ของ สิง่ แวดลอมศึกษาใหจาํ กัดแคในรัว้ โรงเรยี น แตองคกรไมแสวงกําไรเหลานไ้ี ดแสดงให เห็นวาสิ่งแวดลอมศึกษาเปนเรื่องของทุกคน ปจจัยสําคัญที่เปนจุดแข็งขององคกรไมแสวงกําไรเหลานี้คือความชัดเจนของ อุดมการณและเปาหมายทแี่ ตละองคกรมอี ยู ความมอี สิ ระ ความยืดหยุน ในการบริหาร จัดการ การมีบุคลากรที่เชี่ยวชาญในดานสิ่งแวดลอมและคนที่ทํางานดานนี้สวนใหญ เปนคนมีใจใหงาน ปจจัยตางๆ เหลานี้ลวนเอื้อตอการริเริ่มสรางสรรคและพัฒนาวิธี การทํางาน ทําใหการทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษาของแตละองคกรไมหยุดนิ่ง ขอจํากัดสําคัญอยูท อี่ งคกรสวนใหญไมสามารถสรางรายไดไดเอง จึงทําใหองคกร เหลานต้ี อ งการทุนสนับทัง้ จากภายในและภายนอก โดยเฉพาะแนวโนมชวงป ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ที่ผานมา หลายองคกรไดเลิกขอทุนสนับสนุนจากตางประเทศ แตรับเพียง ทุนสนับสนุนจากภายใน ประการหนึ่งก็เพื่อกระตุนใหทุกฝายรับรูวาสิ่งแวดลอมของ คนในประเทศไหน คนในประเทศนั้นตองชวยกันดูแล อยางไรก็ดีจากขอจํากัดดานงบประมาณที่จะใชสงเสริมสภาวะการทํางานของ องคกร ทําใหหลายองคกรหันกลับมาทบทวนบทบาทของตนและชวยผลักดันให องคกรพัฒนาเอกชนทัง้ หลายตองหาเครือขายเพือ่ เติมเต็มและหนุนเสริมในการทํางาน ทั้งจากภาครัฐและภาคธุรกิจ แมจะเปนการหนีจากขอจํากัดหนึ่งมายังอีกขอจํากัด หนึ่งที่ทําใหการทํางานขององคกรตองผูกติดกับภาคธุรกิจ และหลายครั้งถูกทําให กลายเปนเครื่องมือในการโฆษณางานดาน CSR ขององคกรภาคธุรกิจ แตถึงอยางไร รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 113

๑๑๓

18/2/2549 20:18:30


การสนับสนุนจากเครือขายที่หลากหลายก็ยังเปนความจําเปนตอการริเริ่ม สานงาน ขององคกรไมแสวงกําไร กิจกรรมของบุคคลและกลุมคนภาคประชาชน ภาพรวมกิจกรรมในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ในสวนของบุคคลและกลุมคน ภาคประชาชน จะเปนการทํางานในเงื่อนไขของวิถีชีวิตความเปนอยูจริงๆ บุคคลที่ จะกลายมาเปนผูใหคนอื่นไดหรือกลายเปนคนตนแบบที่ใหผูคนไดเรยี นรู ทุกคนจะมี ศรัทธาและอุดมการณ รวมทัง้ ไดผา นประสบการณในวิถที างทเี่ ลือกพึง่ พาตนเอง และ นําชีวิตของตนเองใหผานการเรียนรูจากชีวิตจริง ลองผิดลองถูกจนสําเร็จและกลาย เปนครูถายทอดความรูในแตละเรื่อง เชน เกษตรอินทรีย เกษตรพอเพียง วิถีการ พึ่งตนเอง เรื่องขาว เปนตน ในขณะที่กลุมภาคประชาชนนั้นก็มีอยูอยางหลากหลาย สวนใหญเกิดจากความรักความชอบทีจ่ ะเรยี นรูด า นสิง่ แวดลอม จนเกิดเปนเครือขาย ที่จะเรียนรูไปดวยกัน และรวมถึงเครือขายที่เกิดขึ้นเพราะความตองการที่จะอนุรักษ สิ่งแวดลอมและมีเปาหมายปลายฝนรวมกัน ในสวนของกลุมชุมชนที่รวมตัวกัน สวนใหญเกิดจากปญหาหรือวิกฤตดานสิ่งแวดลอมที่สงผลตอความมั่นคงทางอาหาร ของชุมชน เกิดความขัดแยง และเกิดภัยพิบัติ ทําใหชาวบานตองหันกลับมาทบทวน ตัวเองและรวมมือกันแกไขสถานการณเฉพาะหนาและสถานการณในระยะยาวใน รูปแบบตางๆ ซึ่งการดําเนินกิจกรรมของบุคคลและกลุมภาคประชาชนสวนใหญจะ เปนกิจกรรมที่หลอมรวมอยูในวิถีชีวิต อาทิ การเรียนรูในวิถีการเกษตร การเรียนรู วิถีชีวิตที่พึ่งพาตัวเอง การจัดการองคความรูของชุมชน การสรางสรรคแนวทาง ในการใชชีวิตใหสอดคลองกับสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนสิ่งแวดลอมศึกษาที่เริ่มจากตัวเอง จนขยายไปเปนความสนใจรวมจนกลายเปนเครือขายเรียนรูรวมกัน กลุม คนตนแบบและกลุม ภาคประชาชน จึงเปนกลุม คนทที่ าํ งานสิง่ แวดลอมศึกษา ในสวนภาคของการศึกษาตามอัธยาศัยเปนทุนเดิมอยูแ ลว แตในชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมา แนวโนมของการทํางานกลุมนี้ไดเพิ่มมิติการทํางานรวมกับสถานศึกษา มากขึ้น ทั้งการไปเปนวิทยากรทองถิ่น ปราชญชุมชนที่คอยใหความรูนักเรียนทั้ง ๑๑๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 114

18/2/2549 20:18:30


ในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษาบนพื้นที่จริง ณ ศูนยเรียนรูของตน ไปจนถึงการ รวมกับโรงเรียนสรางหลักสูตรทองถิ่น จัดคายอนุรักษสิ่งแวดลอม สิ่งเหลานี้ลวนเปน นิมติ หมายทด่ี ใี นชวงสองปทผ่ี า นมาวางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาเปนเรือ่ งของคนทุกคน การพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานสิ่งแวดลอมศึกษา การพัฒนาศักยภาพบุคลากรสิ่งแวดลอมศึกษา พบทั้งในสวนการฝกอบรม ระยะสั้น โดยเครือขายคนทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษา นักวิชาการ และนักปฏิบัติ หลักสูตรฝกอบรมดังกลาวมีอยางหลากหลายทั้งกลุมเปาหมาย ประเด็นการทํางาน และกิจกรรมการเรยี นรู ในสวนของสถาบันการศึกษามหี ลักสูตรทเี่ ปดสอนสิง่ แวดลอม ศึกษาทั้งในระดับรายวิชาสําหรับหลักสูตรปริญญาตรี โปรแกรมระดับบัณฑิตศึกษา ซึง่ มจี ดุ เนนตางกันไปตามแนวทางของสถาบัน นอกจากนยี้ งั มเี ครือขายของคณาจารย ในสถาบันอุดมศึกษาหนุนเสริมเชิงวิชาการใหกบั โปรแกรมการฝกอบรมในหลากหลาย โครงการ ความเคลือ่ นไหวการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานสิง่ แวดลอมศึกษายังปรากฏ อยางคึกคักในกลุมการศึกษาตามอัธยาศัย ที่เนนการสานเครือขายเปนฐานสําคัญ ในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เกี่ยวของกับงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา โดยมี การจัดทั้งในระดับบุคคล กลุมสนใจ สถาบันวิชาการ และองคกรไมแสวงกําไร เครือขาย ความรวมมือและการสื่อสารงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา ชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ที่ผานมานับวาเปนชวงที่เครือขายความรวมมือดาน สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาในประเทศไทยขยั บ ขยายความร ว มมื อ ในการทํ า งานมากขึ้ น หลายเครื อ ข า ยประสบความสํ า เร็ จ ในการทํ า งาน อย า งเช น เครื อ ข า ยอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมนํ้าโขง-ลานนา เครือขายเยาวชนกลุมรักษ นํ้าคาน กลุมเครือขายเยาวชนอําเภออุมผาง ซึ่งไดรับ “รางวัลลูกโลกสีเขียว” อันเปน รางวัลทีม่ อบใหกบั ผูค นทีท่ าํ งานดานสิง่ แวดลอมอยางเปนรูปธรรมและมกี ารทํางานที่ รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 115

๑๑๕

18/2/2549 20:18:30


โดดเดนในแตละป ซึ่งชวงป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ กลุมทั้ง ๓ ก็ไดรับเลือกใหไดรับรางวัล ดังกลาวจากเครือขายสถาบันลูกโลกสีเขียว หลายเครือขายทําหนาที่สรางกระแส ปลุกสํานึกและสรางพื้นที่สําหรับสงตอ ขาวสาร สื่อสารขอมูล ริเริ่มกิจกรรมดีๆ ดานสิ่งแวดลอมใหกับสังคมจนกอกลายเปน เรือ่ งทผี่ คู นในสังคมตองเหลยี วหลังมาใสใจและฉุกคิด อยางเชน เครือขายตลาดสเี ขยี ว ซึง่ ปลุกกระแสการบริโภคผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตรกับสุขภาพและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม รวมถึงสินคาที่สงเสริมใหเกิดความเปนธรรมตอสังคมอยางแทจริง กลุม Big Trees ซึ่งปลุกกระแสการอนุรักษตนไมใหญในเมืองกรุง กระแสนี้ไดลุกลามสูตัวเมืองใหญ ในจังหวัดตางๆ อาทิ ขอนแกน เชียงใหม กระแสสิ่งแวดลอมเมืองของคนในเมือง เริ่มเปนรูปเปนรางขึ้นทีละเล็กทีละนอย เครือขายตนไมขี้เหงา ซึ่งชวยสรางพื้นที่ ใหคนในเมืองใหญไดหันมาใสใจรับรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมรอบตัว และเกิดกลุมทํา กิจกรรมเล็กๆ ดวยกัน หลายเครือขายเปนตัวประสานความรวมมือหนวยงานและองคกรทั้งในสวน ภาครัฐและภาคเอกชนใหเกิดความรวมมือและเกิดการทํางานรวมกัน เกิดพลังรวมใน การขับเคลื่อนการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม ตัวอยางเชน เครือขายธุรกิจเพื่อสังคม และสิ่งแวดลอม (Social Venture Network Asia หรือ SVN Asia) คณะกรรมการ นักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมไทย (TBCSD หรือ ธวท.) โครงการเครือขายสารสนเทศ ดานพลังงานและสิ่งแวดลอมของประเทศไทย (Thailand Energy and Environment Network: TEENET) ในสวนของสือ่ มวลชน มคี วามเคลือ่ นไหวทสี่ าํ คัญในการปรับเปลยี่ นชองทางการ สื่อสารใหสอดรับกับยุคสมัยของขอมูลขาวสาร และเครือขายอินเตอรเน็ต มีความ พยายามของสื่อสิ่งพิมพในการสื่อสารกับกลุมคนรุนใหม โดยเปดพื้นที่สื่อในลักษณะ เว็บเพจ เว็ปเครือขายสังคม เพื่อนําเสนอขอมูลขาวสาร มีการปรับแนวทางการนํา เสนอสาระขอมูลใหงายตอการเขาใจและฉับไว ทันตอขาวสาร ๑๑๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 116

18/2/2549 20:18:30


ขอสังเกตและขอเสนอแนะ จากการศึกษาสถานการณดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของ ประเทศไทย ระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ไดพบขอสังเกตสําคัญ ดังนี้ ๑. งานด า นสิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาได มี ก ารขยายตั ว ครอบคลุ ม ทั้ ง ระบบ การศึกษา ไดแก การศึกษาแบบเปนทางการ ผานโรงเรียนและสถาบันการศึกษา การศึกษานอกระบบ โรงเรียน และการเรียนรูตามอัธยาศัย ที่จัดโดยองคกรนอก ภาครัฐและเครือขายความรวมมือจากภาคสวนตางๆ ความทาทายสําคัญในการ พัฒนางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาในอนาคต จึงไดแกการจัดการเรยี นรูท เี่ อือ้ ใหผเู รยี น ไดเชื่อมโยงประสบการณการเรียนรูทั้งสามระบบการศึกษานี้เขาดวยกัน ๒. การเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษาในการศึกษาอยางเปนทางการในระบบ โรงเรียน ยังมีความสับสนระหวางแนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรูสิ่งแวดลอมที่ บูรณาการเขาสูหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรูของโรงเรียนในกลุมสาระตางๆ กับ การเรียนรูเรื่องสิ่งแวดลอม ในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร และสังคมศึกษา ศาสนา และวั ฒ นธรรม ครู ผู ส อนจํ า นวนมากยั ง มี ค วามเข า ใจว า การสอนเรื่ อ ง สิ่งแวดลอมในกลุมสาระยอยภูมิศาสตรและกลุมสาระยอยชีวิตกับสิ่งแวดลอม เปน กิจกรรมสิ่งแวดลอมศึกษา ขณะที่ครูและนักสิ่งแวดลอมศึกษาพิจารณาวากิจกรรม สิ่งแวดลอมศึกษาเปนกิจกรรมบูรณาการสหวิทยาการ และไมควรถูกกําหนดตายตัว ภายใตบริบทของชั้นเรียน ๓. การเปดโอกาสใหภาคสวนตางๆ เขามามีสวนรวมในการขับเคลื่อน งานดานสิง่ แวดลอมศึกษา ทําใหเกิดแนวทางการทํางานทหี่ ลากหลาย ขณะเดยี วกัน ยังมีความซํ้าซอนทั้งในดานประเด็น พื้นที่การทํางานและกลุมเปาหมาย จึงจําเปน อยางยิง่ ทตี่ อ งมกี ารพิจารณาถึงเจาภาพและแกนนําทมี่ บี ทบาทชัดเจน เครือขายทเี่ ปน รูปธรรม และเวทีหนุนเสริมที่มีความตอเนื่อง เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนอยางมี ประสิทธิภาพ รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 117

๑๑๗

18/2/2549 20:18:30


จากผลการศึกษา คณะผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังตอไปนี้ ๑. แนวโนมการขับเคลื่อนงานดานสิ่งแวดลอมจําเปนตองมี “เจาภาพหลัก” ในการผลักดันไปสูทิศทางเดียวกัน รวมทั้งการมีนโยบายที่ชัดเจน ผานการรับรูและ ยอมรับเปนแนวทางการทํางานรวมกันเปนปจจัยทสี่ าํ คัญยิง่ และจําเปนตองมแี ละกลไก บริหารจากทุกภาคสวนทจี่ ะสนับสนุน กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอมจําเปนตองแสดง บทบาทนํา และเชือ่ มประสานกับหนวยงานภาครัฐทขี่ บั เคลือ่ นเชิงนโยบาย เชน กระทรวง ศึกษาธิการ กรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ เปนตน เพือ่ ใหเกิดพลังในการขับเคลือ่ น ที่เปนรูปธรรมตอไป ๒. การสรางเครือขายและการเกิดเครือขายการทํางานแนวราบอยางไมเปน ทางการ เปนแนวทางที่ชัดเจนและเปนรูปธรรมซึ่งเกิดขึ้นแลว และจําเปนตองมีการ เชือ่ มตอเครือขายใหครอบคลุมยิง่ ขึน้ โดยมหี นวยเชือ่ มตอ (Hub) ในหลากหลายรูปแบบ ขึน้ อยูก บั ประเภทของเครือขาย เชน เครือขายโรงเรยี น สถาบันอุดมศึกษา ภาคธุรกิจ เอกชน ภาคประชาสังคม และมีเวทีที่ใหหนวยเชื่อมตอ ตลอดจนเครือขายเหลานี้ ไดเรียนรูรวมกัน เพื่อยกระดับในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงใหมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น ๓. ประเด็นการทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษามีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ซึง่ เปนโอกาสใหคนทํางานดานสิง่ แวดลอมศึกษาตองเรยี นรูอ ยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหเทาทัน การเปลีย่ นแปลง รวมทัง้ รวมมือกันกับ และผูม สี ว นเกยี่ วของเพือ่ ยกระดับเชิงคุณภาพ ในการทํางานสิ่งแวดลอมใหตอบสนองความตองการและการเปลี่ยนแปลงของสังคม กระบวนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรจึงเปนยุทธศาสตรการทํางานทผี่ มู สี ว นเกยี่ วของ ตองเรงผลักดันใหเกิดขึน้ อยางเปนรูปธรรม และใชพลังของเครือขายในการหนุนเสริม เชิงคุณภาพตอไป

๑๑๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 118

18/2/2549 20:18:30


Environmental Education for Sustainable Development (EESD) is an approach which integrates the concepts of Environmental Education (EE) and of Sustainable Development (SD). According to the review of the policy and the dynamic of EESD in Thailand and other countries, it was found that the important trends of change in “Environmental Education for Sustainable Development” are the major issues which have driven key agencies directly responsible for promoting EE to adapt and adjust the strategies in order to cope with those trends of change. One of the strategies includes the expansion of framework on environment from focusing on school context, establishing mechanism and strategic plans to encourage other key non governmental partners to conduct EE for new targets, as well as, publicizing a core EESD plan (2008 - 2012) during 2009 - 2010 to focusing on the recognition of EE networks and the launch of programs, projects, and activities responding to the strategies in the core EESD plan. Therefore, the support from the policy level including the adjustment and the directionality of implementation in order to respond to the trends of change in EESD by the key governmental agencies such as Department of Environmental Quality Promotion is an important opportunity and challenge during the past 2 years of the implementation of EE in Thailand.

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 119

๑๑๙

18/2/2549 20:18:30


The implementation of EESD by governmental agencies in Thailand during 2009 - 2010 was interesting in terms of the establishment of collaboration among governmental and other non governmental stakeholders, the network widening, the expansion of the framework to new argets such as officials from local authorities, private sectors, and non profit organizations, as well as, the ongoing implementation through a series of activity or new project initiated by outsource agencies. Strengths and conditional factors influencing the implementation of EESD are still directly related to individual factors which include organization administrator, teacher, and implementer. This findings show the needs for systematic capacity building in the future. In general, the implementation on EESD from non governmental agencies during 2009 - 2010 was actively and vigorously developing. The projects and activities were varied according to work issues in each community, group, organization, and person. During 2009 - 2010, it was found that the networks on EE in Thailand were widened consistently. Successful networks such as Natural Resources and Mekong Lanna Culture Conservation Network, Namkan Conservation Youth Network, Aumpang District Youth Network have won Green Globe Award an annual award granting to people concretely and outstandingly dedicating themselves for environment conservation.

๑๒๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 120

18/2/2549 20:18:31


The networks on EE in Thailand can be divided into two groups. First, the networks focus on raising the awareness, creating communication platform, initiating interesting activities related to EE in society. For examples, Green Market Network works on raising the awareness of eco friendly product consumption, Big Tree Group works on big trees conservation in urban area which has become a trend in Konkaen and Chiangmai as well, Lonely Tree Network works on creating space for people in urban areas to realize the importance of environment and to conduct small scale activities together. Moreover, the other group of networks is working on connecting both governmental and private agencies and organizations to work together on environment. The examples are Social Venture Network Asia (SVN Asia), Thailand Business Council for Sustainable Development (TBCSD), and (Thailand Energy and Environment Network: TEENET). One interesting observation is the channels of communication in the age of Globalization, especially Social Network such as Hi5, Facebook, Twitter, and Blogs. These channels have been so developed that they can connect people who live in different countries including providing space for people who share similar interest to communicate, to widen the network, to raise the public awareness, to engage participation of people in the society, to exchange information and opinion. This can, therefore, be considered an interesting opportunity to take advantage of these online social networks to implement the work of EESD in the future.

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 121

๑๒๑

18/2/2549 20:18:31


บรรณานุกรม

๑๒๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 122

18/2/2549 20:18:31


กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. (๒๕๔๘). สิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียน. กรุงเทพฯ: สวนสิ่งแวดลอมศึกษา กองสงเสริมและเพยแพร กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. (ไมปรากฏปที่พิมพ). การฝกอบรมแบบสรางสรรค. ไมปรากฏสถานที่พิมพ: ไมปรากฏสํานักพิมพ. กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. (ไมปรากฏปที่พิมพ). สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพดอกเบี้ย. กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. บันทึกการสัมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “สิ่งแวดลอมศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน”. เอกสารอัดสําเนา. กลุมครอบครัวควบกลํ้าธรรมชาติ. (๒๕๕๓). หนังสือชุดประสบการณหองเรียน ธรรมชาติ ตอน แมลงปอ ถึงนํ้าหยดสุดทาย. กรุงเทพฯ: หจก.วศินการพิมพ. กลุมครอบครัวควบกลํ้าธรรมชาติ. (๒๕๕๔). หนังสือชุดประสบการณหองเรียน ธรรมชาติ ตอน นกเงือก นักปลูกปา. กรุงเทพฯ: หจก.วศินการพิมพ. กลุมงานสิ่งแวดลอมศึกษา กองสงเสริมและเผยแพร กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. (๒๕๔๖). แนวทางการดําเนินงานศูนยสิ่งแวดลอมศึกษาระดับจังหวัด. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ. กองบรรณาธิการ. กรีนเน็ตเวิรค ๑, ๙ (สิงหาคม ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. กรีนเน็ตเวิรค ๑, ๑๒ (ธันวาคม ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. กรีนเน็ตเวิรค ๒, ๑๓ (มกราคม ๒๕๕๔). กองบรรณาธิการ. จุดเปลี่ยน ๒, ๓ (มกราคม มีนาคม ๒๕๕๔). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๔, ๒๘๗ (มกราคม ๒๕๕๒). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๔, ๒๘๘ (กุมภาพันธ ๒๕๕๒). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๒๘๙ (มีนาคม ๒๕๕๒). กองบรรณาธิการ. สารคดี​ี ๒๕, ๒๙๐ (เมษายน ๒๕๕๒). กองบรรณาธิการ. สารคดี​ี ๒๕, ๒๙๕ (กันยายน ๒๕๕๒). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๒๙๖ (ตุลาคม ๒๕๕๒). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๒๙๗ (พฤศจิกายน ๒๕๕๒). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๒๙๘ (ธันวาคม ๒๕๕๒). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๒๙๙ (มกราคม ๒๕๕๓). รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 123

๑๒๓

18/2/2549 20:18:31


กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๓๐๑ (มีนาคม ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๓๐๒ (เมษายน ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๒๙๑ (พฤษภาคม ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๒๙๒ (มิถุนายน ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๒๙๓ (กรกฎาคม ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๕, ๒๙๔ (สิงหาคม ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๖, ๓๐๓ (พฤษภาคม ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๖, ๓๐๔ (มิถุนายน ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๖, ๓๐๕ (กรกฎาคม ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๖, ๓๐๖ (สิงหาคม ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๖, ๓๐๗ (กันยายน ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๖, ๓๐๙ (พฤศจิยายน ๒๕๕๓). กองบรรณาธิการ. สารคดี ๒๖, ๓๑๐ (ธันวาคม ๒๕๕๓). กอร, อัล. (๒๕๕๓). โลกรอน ความจริงที่ไมมีใครอยากฟง. แปลโดย คุณากร วาณิชยวิรุฬห. กรุงเทพฯ: มติชน กอร, อัล. (๒๕๕๓). ปฏิบัติการกูโลกรอน ทางเลือกสูทางรอดแบบยั่งยืน. แปลโดย บัณฑิต คงอินทร. กรุงเทพฯ: มติชน คณะทํางานบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงสูการเรียนการสอน กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๓). ๑,๒๖๑ สถานศึกษาพอเพียงแบบอยาง. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับบลิชชิ่ง. โครงการพัฒนาเครือขายสุขภาวะชุมชนสูตําบลนาอยู ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน องคการบริการสวนตําบลดอนแกว. (ไมปรากฏปที่พิมพ). แกสชีวภาพจากมูลสุกร แกสขี้หมู เพื่อชุมชน. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย. (๒๕๕๓). สานเครือขาย รวมใจขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพลานคํา. โครงการเสริมศักยภาพการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษาและชุมชน. (๒๕๕๒). เครือขายการเรียนรูสู “ความพอเพียง”. ไมปรากฏสถานที่พิมพ: ไมปรากฏสํานักพิมพ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (๒๕๕๓). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลําดับที่ ๑ “พอเพียง โลกเย็น”. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

๑๒๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 124

18/2/2549 20:18:31


ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม. (๒๕๕๒). เมื่อปลาจะกินดาว ๙. กรุงเทพฯ: มติชนปากเกร็ด. ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม. (๒๕๕๓). เมื่อปลาจะกินดาว ๑๐. กรุงเทพฯ: มติชนปากเกร็ด. ทรงกลด บางยี่ขัน. (๒๕๕๑). หนอไม. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: อะบุก. นภาภรณ พิพัฒน. (๒๕๕๐). เปดโลกความสุข GNH. กรุงเทพฯ: มติชน. บางจากปโตรเลียม. (ไมปรากฏปที่พิมพ). รายงานการพัฒนาธุรกิจรวมไปกับ สิ่งแวดลอมและสังคม ป ๒๕๕๑. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. ผลิตไฟฟา. (ไมปรากฏปที่พิมพ). พลังงาน พลังใจ พลังชีวิต รายงานการพัฒนา อยางยั่งยืน ๒๕๕๒. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. ฝายกิจการเพื่อสังคม บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). (๒๕๕๓). ฝงราก สรางเครือขาย รวมแรงรวมใจอนุรักษดินและนํ้า รวมผลงานการประกวดการพัฒนาและรณรงค การใชหญาแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ครั้งที่ ๕ ประจําป ๒๕๕๓. กรุงเทพฯ: ธรรมชาติการพิมพ. ฝายสงเสริมสรางทุนทางปญญาและกิจกรรมเพื่อสังคม บจม.ธนาคารกรุงไทย. (ไมปรากฏปที่พิมพ). รวมสรรคสรางทุนทางปญญาสูความยั่งยืน. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. ภัทรพร อภิชิต. (๒๕๕๑). Living Green Together วิถีสีเขียว ผูผลิต ตลาด และผูบริโภค. กรุงเทพฯ: โรงพิมพภาพพิมพ. ภัทรพร อภิชิต. (๒๕๕๒). Urban Green Living วิถีสีเขียวในเมืองใหญ กาย ใจ จิตวิญญาณ. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. มิ่งสรรพ ขาวสอาด และกอบกุล รายะนาคร. (๒๕๕๒). เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร เพื่อการจัดการสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ ๒. เชียงใหม: ลอคอินดีไซนเวิรค. มูลนิธินโยบายสุขภาวะ. (๒๕๕๒). ซีอีโอทองทุง: แนวทางการบริหารจัดการทุน สุขภาพเพื่อพลิกฟนชีวิตเกษตรสูความเปนไท. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ. ระพีพรรณ พัฒนาเวช. (๒๕๕๓). ซูเปอรเตา ชวยเรา ชวยโลก. ขอนแกน: สมาคมไทยสรางสรรค. ระพีพรรณ พัฒนาเวช. (๒๕๕๓). ตนไมกับชีวิต. ขอนแกน: สมาคมไทยสรางสรรค ระพีพรรณ พัฒนาเวช. (๒๕๕๓). มหัศจรรย พลังงานชีวมวล. ขอนแกน: สมาคมไทยสรางสรรค ระพีพรรณ พัฒนาเวช. (๒๕๕๓). สํารวจตนไม คนหาแมลง. ขอนแกน: สมาคมไทยสรางสรรค

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 125

๑๒๕

18/2/2549 20:18:31


โรงเรียนสา จังหวัดนาน. คูมือ ศูนยการเรียนรูสิ่งแวดลอมเฉลิมพระเกียรติโรงเรียนสา. ลูอิส, เฮเลน และเกิรทสกริส, จอหน. (๒๕๕๒). การออกแบบ + สิ่งแวดลอม. แปลโดย ศูนยพัฒนาความเปนเลิศเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม. ปทุมธานี: สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ไลนัส, มารก. (๒๕๕๑). ๖ องศาโลกาวินาศ. แปลโดยศิริพงษ วิทยวิโรจน และพลอยแสง เอกญาติ. กรุงเทพฯ: มติชน ว. วชิรเมธี. (๒๕๕๑). โลกเย็น เมื่อเห็นธรรม. กรุงเทพฯ: บานพระอาทิตย วัฒนระวี. (๒๕๕๐). การรมใหโลกเพราะโลกรอน. กรุงเทพฯ: แสงดาว. วันชัย ตันติวิทยา. (๒๕๔๘). หกบา รักษาโลก. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับบลิชชิ่ง. วันฟาใส. (๒๕๕๒). มหันตภัยโลกรอน. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: ฟรีมายด. วินัย วีระวัฒนานนท. (๒๕๕๓). นักสิ่งแวดลอมมืออาชีพ. พิษณุโลก: พิษณุโลกดอทคอม. วีรพงษ รามางกูร. (๒๕๕๓). ยางกาวคนจนตรอก. กรุงเทพฯ: มติชน. เวทีฟนพลังชุมชนทองถิ่นสูการอภิวัฒนประเทศ. เอกสารประกอบการสัมมนา ฟนพลังชุมชนทองถิ่นสูการอภิวัฒนประเทศไทย. ศูนยศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร WWF ประเทศไทย. (๒๕๕๓). ความลับจากทองทุง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอักษรสัมพันธ(๑๙๘๗). ศูนยศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร WWF ประเทศไทย. (๒๕๕๔). ความลับจากทองทุง ๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอักษรสัมพันธ(๑๙๘๗). ศูนยสงเสริมการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย ภายใตสถาบันสิ่งแวดลอมไทย. (๒๕๕๓). เรื่องเลาแหงความหวัง ๑๐ ตัวอยางที่ดี ดานการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาเมืองอยางยั่งยืนจากเทศบาลไทย. กรุงเทพฯ: ส เจริญ การพิมพ. สมาคมสรางสรรคไทย. (๒๕๔๙). ๒๐ ป มนตตาวิเศษ : ประสบการณสรางจิตสํานึก ดานสิ่งแวดลอมของสมาคมสรางสรรคไทย. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. สมาคมไทยสรางสรรค. (ไมปรากฎปที่พิมพ). สัตวเล็กผูยิ่งใหญ ฉบับที่ ๕. ขอนแกน: (ไมปรากฎโรงพิมพ) สถาบันไทยรูรัลเน็ท TRN. (๒๕๕๐). The Green Guide เพราะวาโลกรอนมันจี๊ด!. กรุงเทพฯ: ก.พล(๑๙๙๖). สถาบันลูกโลกสีเขียว. (๒๕๕๒). รวมผลงานผูไดรับรางวัลความเรียงเยาวชน รางวัล ลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ ๑๑ ป ๒๕๕๒. กรุงเทพฯ: วงตะวัน. ๑๒๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 126

18/2/2549 20:18:31


สถาบันลูกโลกสีเขียว. (๒๕๕๓). รวมผลงานความเรียงเยาวชน รางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ ๑๒. กรุงเทพฯ: ธรรมชาติการพิมพ. สถาบันลูกโลกสีเขียว. (ไมปรากฏปที่พิมพ). ปาสรางชุมชน ชุมชนสรางปา. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (๒๕๓๓). สี่องคกรเพื่อสิ่งแวดลอมศึกษา การเรียนรูเพื่อความพอเพียง. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศการพิมพ. สถาบันสิ่งแวดลอมไทย. (๒๕๕๒). รวมผลงานการเรียนรูลดโลกรอน ดวยวิถีพอเพียง. กรุงเทพฯ: ส เจริญ การพิมพ. สถาบันสิ่งแวดลอมไทย. คูมือ ลดโลกรอนดวย 7 Green. สมศักดิ์ สุขวงศ. (๒๕๕๓). ทีมวิจัยโลกรอนชาวบาน บานหวยระหงษ. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. สรณรัชฎ กาญจนะวณิชย. (๒๕๕๓). นักสืบสายลม คูมือสํารวจไลเคนกรุงเทพฯ ตรวจคุณภาพอากาศเมือง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโลกสีเขียว สุพิตา เริงจิต และ ยุทธนาวรุณปติกุล. (ไมปรากฏปที่พิมพ). ตามรอยเทาพอ ตอน เรียน เลน เปนคุณธรรม. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. เสรี ปาการเสรี. (๒๕๕๓). The Green Heart Man กรีทฮารทแมนผูวิเศษ. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. เสรี พงศพิศ. (๒๕๕๒). วิถีสูชีวิตพอเพียง. กรุงเทพฯ: เจริญวิทยการพิมพ. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (๒๕๔๙). เศรษฐกิจพอเพียง รวมเรียนรู สานขาย ขยายผล. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับบลิชชิ่ง. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. (๒๕๕๓). รับมือภาวะโลกรอน ดวยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี. พิมพครั้งที่ ๒. ปทุมธานี: สํานักงาน. อนุช อาภาภิรม. (๒๕๔๕). การพัฒนาอยางยั่งยืน. กรุงเทพฯ: รุงเรืองสาสนการพิมพ. อภิชาติ ไสวดี. (๒๕๕๒). แมเปนปลา พอเปนนํ้า. กรุงเทพฯ: โรงพิมพออฟเซ็ท ครีเอชั่น. อรรถพล อนันตวรสกุล. (๒๕๕๓). Change…the Climate Change เปลี่ยน...ปรับ เพื่อรับมือตอการเปลี่ยนแปลง. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: ไมปรากฏโรงพิมพ. อรุณวนา สนิกะวาที. (๒๕๕๒). สวนผักของคนเมือง. กรุงทพฯ: ที คิว พี. อิสระพร บวรเกิด. (๒๕๕๓). ปราชญเดินดิน: วิถีคนกลา ทาเปลี่ยนโลก. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: แพรวสํานักพิมพ. เอสซีจี. (๒๕๕๓). CSR ดวยหัวใจ ใครๆ ก็ทําได. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. แอคเคอรลอฟ, จอรจ เอ. (๒๕๕๓). เศรษฐศาสตรสัญชาตญาณสัตว. แปลโดย แอลสิทธิ์ เวอรการา. กรุงเทพฯ: มติชน รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 127

๑๒๗

18/2/2549 20:18:31


ฮอนดา. (ไมปรากฏปที่พิมพ). ตามรอยเทาพอกับฮอนดา. ไมปรากฏสถานที่พิมพ. ฮารฟอรด, ทิม. (๒๕๕๓). จดหมายถึงนักสืบเศรษฐศาสตร. แปลโดย อรนุช อนุศักดิ์เสถียร. กรุงเทพฯ: มติชน เฮลเลอร, ไมเคิล. (๒๕๕๓). เศรษฐกิจติดขัด. แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล. กรุงเทพฯ: มติชน สื่ออิเล็กทรอนิกส กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.deqp.go.th/ เครือขายตนไมขี้เหงาของ คุณทรงกลด บางยี่ขัน. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.lonelytrees.net/ เครือขายเพื่อรายงานสถานการณดานสิ่งแวดลอมที่มีผลอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.gwnetwork.in.th/ เครือขายมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.agrinature.or.th เด็กรักษปา. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.raorakpar.org/ ทีวีบูรพา. (๒๕๔๙). กบนอกกะลา สารคดีความรู...ดูสนุก กระดาษไมมีวันตาย. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (๒๕๔๙). กบนอกกะลา สารคดีความรู...ดูสนุก เปดโลกปโตรเลียม ๑. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (๒๕๕๐). กบนอกกะลา สารคดีความรู...ดูสนุก กังหันลม พลังงานฟรี ไมมีหมด. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (๒๕๕๐). กบนอกกะลา สารคดีความรู...ดูสนุก กาซธรรมชาติ พลังงานใตพิภพ. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (๒๕๕๒). กบนอกกะลา สารคดีความรู...ดูสนุก ปะการังอภิมหึมา บานปลากลางทะเล. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (๒๕๕๒). กบนอกกะลา สารคดีความรู...ดูสนุก พลาสติก นวัตกรรมเปลี่ยนโลก. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (๒๕๕๒). กบนอกกะลา สารคดีความรู...ดูสนุก เสนทางนํ้ามัน. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (ไมปรากฏปที่ผลิต). รายการแผนดินไท ตอน ธนาคารตนไม ๑ ออกอากาศวันที่ ๑๕ ต.ค. ๕๑. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (ไมปรากฏปที่ผลิต). รายการแผนดินไท ตอน ธนาคารตนไม ๑ ออกอากาศวันที่ ๒๒ ต.ค. ๕๑. [ซีดี รอม]. ๑๒๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 128

18/2/2549 20:18:31


ทีวีบูรพา. (ไมปรากฏปที่ผลิต). รายการแผนดินไท ตอน นวัตกรรมชาวบานภูมิปญญา สรางสุข ออกอากาศวันที่ ๒๕ ก.พ. ๕๒. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (ไมปรากฏปที่ผลิต). รายการแผนดินไท ตอน แผนดินวิกฤต ออกอากาศวันที่ ๑๔ พ.ค. ๕๑. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (ไมปรากฏปที่ผลิต). รายการแผนดินไท ตอน โรงเรียนดีมีสุข ๑ ออกอากาศวันที่ ๑๗ ก.ย. ๕๑. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (ไมปรากฏปที่ผลิต). รายการแผนดินไท ตอน โรงเรียนดีมีสุข ๑ ออกอากาศวันที่ ๒๔ ก.ย. ๕๑. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (ไมปรากฏปที่ผลิต). รายการแผนดินไท ตอน ลุงนิลคนของความสุข ออกอากาศวันที่ ๑ เม.ย. ๕๒. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (ไมปรากฏปที่ผลิต). รายการแผนดินไท ตอน อบต.ปากพูนการเมือง ฉบับประชาชน ๑ ออกอากาศวันที่ ๑๔ ม.ค. ๕๒. [ซีดี รอม]. ทีวีบูรพา. (ไมปรากฏปที่ผลิต). รายการแผนดินไท ตอน อบต.ปากพูนการเมือง ฉบับประชาชน ๒ ออกอากาศวันที่ ๒๑ ม.ค. ๕๒. [ซีดี รอม]. เทศบาลเมืองแกลง. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.muangklang.com/ นักคิดนักเขียนที่ลงบนนิตยสารโอเพนออนไลน. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.onopen.com/ มูลนิธิกระตายในดวงจันทร. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.rabbitinthemoon.org/ มูลนิธิโลกสีเขียว. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.greenworld.or.th/ มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.seub.or.th/ ศูนยศึกษาและพัฒนาสันติวิธี. (๒๕๕๓). พันแสงรุง. [ซีดี รอม]. ศูนยสารสนเทศสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.environnet.in.th/ ศูนยอนุรักษพลังงานแหงประเทศไทย. [ออนไลน]. http://www.ecct th.org/home.htm สถาบันตนกลา. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.tonkla.org/ สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.ise.in.th/ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.tei.or.th/ องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.tgo.or.th องคกรสมาคมสรางสรรคไทย (ตาวิเศษ). [ออนไลน]. แหลงที่มา: www.majiceyes.or.th องคกร IUCN ประเทศไทย. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.iucn.org องคกร WWF ประเทศไทย. [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.wwf.or.th/ รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 129

๑๒๙

18/2/2549 20:18:31


ภาคผนวก

๑๓๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 130

18/2/2549 20:18:31


ฐานขอมูลสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในประเทศไทย ระหวางป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ หนวยงานภาครัฐ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม เปนหนวยงานภายใตสังกัดของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยมีสวนงาน สิ่งแวดลอมศึกษาอยางชัดเจนและมีการขับเคลื่อนโครงการดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืนอยางตอเนื่อง ติดตอ สวนสิ่งแวดลอมศึกษา กองสงเสริมและเผยแพร กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม ๔๙ พระราม ๖ ซอย ๓๐ ถนนพระรามหก พญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๗๘ ๘๔๐๐-๑๙ Facebook: Eco School Thailand http://www.deqp.go.th กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน เปนหนวยงานภายใตสังกัดของกระทรวงพลังงาน โดยมีการใหขอมูลความรูและมีการจัดโครงการ และกิจกรรมที่เสริมสรางความตระหนักดานพลังงานทดแทนและการอนุรักษพลังงาน ติดตอ ๑๗ สะพานกษัตริยศึก ถนนพระราม ๑ ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๒๒ ๔๑๐๒ หรือทาง http://www.dede.go.th ศูนยอนุรักษพลังงานแหงประเทศไทย เปนองคกรมหาชนซึ่งเปนเหมือนหนวยปฏิบัติงานดานการอนุรักษของกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรกั ษพลังงาน ซึง่ จะทํางานในเชิงรุกทัง้ ในกลุม เปาหมายทีห่ ลากหลาย ติดตอ อาคารบางกอก ไทยทาวเวอร ชัน้ ๑๐ เลขที่ ๑๐๘ ถนนรางนํา้ แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๖๔๒ ๗๐๙๐-๖, ๐ ๒๖๔๒ ๗๑๗๑ โทรสาร ๐ ๒๖๔๒ ๗๐๙๙, ๐ ๒๖๔๒ ๗๐๗๕ หรือทาง http://www.ecct th.org องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) “อบก.” เปนองคกรมหาชนที่ทําหนาที่ดานการใหความรูและสนับสนุนชวยเหลือในการบริหารจัดการกาซ เรือนกระจกโดยเนนกลุม เปาหมายไปทีห่ นวยงานตางๆ ทัง้ หนวยงานภาครัฐ ภาคธุกจิ อุตสาหกรรม และบริการ ติดตอ ๑๒๐ หมูที่ ๓ ชั้น ๙ อาคาร B ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ หรือทาง http://www.tgo.or.th รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 131

๑๓๑

18/2/2549 20:18:32


องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) เปนองคการมหาชนที่สนับสนุนขอมูลความรูและสงเสริมใหเกิดเกิดเครือขายการทํางานดานการ ทองเทยี่ วทยี่ งั่ ยืนกับกลุม เปาหมายทหี่ ลากหลาย ติดตอ ๑๑๘/๑ อาคารทิปโก ชัน้ ๓๑ ถนนพระราม ๖ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ ง เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศั พ ท ๐ ๒๓๕๗ ๓๕๘๐ หรื อ ทาง http://www.dasta.or.th สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility Institute : CSRI) เปนองคการมหาชนทที่ าํ หนาทเี่ ปนสือ่ กลางในการเผยแพรความรูค วามเขาใจเพือ่ สรางความตระหนัก ถึงความสําคัญของการดําเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ติดตอ ชั้น ๑๐ อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โทรศัพท ๐ ๒๒๒๙ ๒๖๐๕, ๐ ๒๒๒๙ ๒๖๐๘ โทรสาร ๐ ๒๖๕๔ ๕๔๓๗, ๐ ๒๖๕๔ ๕๔๑๔ หรือทาง http://www.csri.or.th เทศบาลตําบลเมืองแกลง จังหวัดระยอง สรางสรรคแนวทางอนุรักษทรัพยากรทองถิ่น โดยเฉพาะการฟนฟูวิถีชุมชน การจัดการสิ่งแวดลอม ภายในชุมชนอยางมีสวนรวม การพัฒนาเมืองอยางเปนระบบตามแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืน ติดตอสอบถาม สํานักงานเทศบาลตําบลเมืองแกลง ๖๘/๑ ถนนเทศบาล ๒ ตําบลทางเกวียน อําเภอแกลง จังหวัดระยอง ๒๑๑๑๐ โทรศัพท ๐ ๓๘๖๗ ๕๒๒๒ โทรสาร ๐ ๓๘๖๗ ๑๒๐๙ Email: muangklang53@gmail.com หรือทาง http://www.muangklang.com เทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา สรางสรรคแนวทางอนุรักษทรัพยากรทองถิ่น โดยเฉพาะการจัดการสิ่งแวดลอมภายในทองถิ่นอยาง มีสวนรวมอยางเปนระบบ มีผลงานดานสิ่งแวดลอมที่เทศบาลตําบลดึงความรวมมือจากชุมชนจน เปนความนาสําเร็จทนี่ า ประทับใจ ติดตอเพิม่ เติม สํานักงานเทศบาลตําบลปริก ๕๓ ถนนรวมประชา หมู ที่ ๓ ตํ า บลปริ ก อํ า เภอสะเดา จั ง หวั ด สงขลา โทรศั พ ท ๐ ๗๔๒๙ ๘๓๐๐ หรื อ ทาง http://www.tonprik.org เทศบาลตําบลดอนแกว จังหวัดเชียงใหม สรางสรรคแนวทางอนุรักษทรัพยากรทองถิ่น โดยเฉพาะการจัดการดานสิ่งแวดลอม แหลงเรียนรู ดานพลังงานชีวภาพ ติดตอสอบถามเพิ่มเติม เลขที่ ๒๐๐ หมูที่ ๔ ถนนโชตนา (แมริม เชียงใหม) ตําบลดอนแกว อําเภอแมรมิ จังหวัดเชยี งใหม โทรศัพท ๐ ๕๓๑๒ ๑๕๗๔ โทรสาร ๐ ๕๓๑๒ ๑๕๗๓ หรือทาง http://www.donkaew.com/

๑๓๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 132

18/2/2549 20:18:32


สถานศึกษา โรงเรียนวัดประเจียก จังหวัดสงขลา โรงเรี ย นวั ด ประเจี ย กเป น โรงเรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษาที่ ก ระบวนการสิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาเป น สะพานใหเด็กๆ ไดเรียนรูเรื่องราวของชุมชนตัวเอง ทั้งประวัติศาสตร วัฒนธรรมความเปนอยู การบริหารจัดการทรัพยากรทองถิ่นชายทะเล และสิ่งแวดลอมทองถิ่น ติดตอ คุณครูภัทราวรรณ ทองอยู โทรศัพท ๐ ๗๔๔๘ ๖๔๖๗ หมูที่ ๕ ถนนเขาแดง ระโนด บานดอนแย ตําบลสนามชัย อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ๙๐๑๙๐ โรงเรียนเทศบาลยะลา ๖ จังหวัดยะลา โรงเรยี นเทศบาล ๖ (วัดเมืองยะลา) เปนโรงเรยี นประถมในพืน้ ทเี่ ขตเมืองยะลา ซึง่ มสี ภาพการทํางาน ที่จํากัดในหลายดานโดยเฉพาะสถานการณความไมสงบในพื้นที่ โรงเรียนไดนําเอากระบวนการ สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษามาใช เพื่ อ ส ง เสริ ม การเรี ย นรู เพื่ อ ให นั ก เรี ย นได มี ร อยยิ้ ม ภายใต ก ารเรี ย นรู ภายในรั้วโรงเรียน ๓๔ ถนนสุขยางค ตําบลสะเตง อําเภอเมือง จังหวัดยะลา ๙๕๐๐๐ โทรศัพท ๐ ๗๓๒๗ ๔๔๖๐ โทรสาร ๐ ๗๓๒๗ ๔๔๖๐ โรงเรียนตาคลีประชาสรรค จังหวัดนครสวรรค เปนโรงเรียนที่นําเอากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษามาอยูในวิถีชีวิตของนักเรียน มีศูนยสิ่งแวดลอม ศึกษา มกี องทุนสิง่ แวดลอมศึกษาสําหรับการจัดกิจกรรมดานสิง่ แวดลอมศึกษาของโรงเรยี น ทผี่ า นมา โรงเรยี นประสบความสําเร็จอยางมากตอการทํางานดานสิง่ แวดลอมทัง้ ภายในโรงเรยี นและการทํางาน รวมกับชุมชน ติดตอสอบถาม โรงเรยี นตราคลปี ระชาสรรค อําเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค ๖๐๑๔๐ โทรศัพท ๐ ๕๖๒๖ ๒๓๖๙ โทรสาร ๐ ๕๖๒๖ ๑๑๕๘ หรือทาง http://www.takhli.ac.th โรงเรียนยุพราช จังหวัดเชียงใหม เปนโรงเรียนที่นําเอากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษามาใชในบริบทเมือง โดยเฉพาะในชุมนุมอนุรักษ สิ่งแวดลอมและการบูรณาการประเด็นดานสิ่งแวดลอมลงในหลักสูตร ภายใตขอจํากัดของเมือง เชียงใหมที่เปลี่ยนไปสิ่งแวดลอมศึกษาชวยใหนักเรียนไดเขาใจความเปนเชียงใหมในหลากมิติมาก ยิ่งกวาที่นักเรียนพบเจอในชีวิตประจําวัน ติดตอ ตั้งอยูเลขที่ ๒๓๘ ถนนพระปกเกลา ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ๕๐๒๐๐ โทรศัพท ๐ ๕๓๔๑ ๘๖๗๓ ๕ โทรสาร ๐ ๕๓๔๑ ๘๖๗๓-๕ ตอ ๑๑๑ หรือทาง http://www.yupparaj.ac.th

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 133

๑๓๓

18/2/2549 20:18:32


โรงเรียนสา จังหวัดนาน โรงเรียนเปนศูนยการเรียนรูสิ่งแวดลอมเฉลิมพระเกียรติในโครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอม เฉลิมพระเกียรติตามรอยเทาพอกับฮอนดา โดยที่ผานมาโรงเรียนสาไดทํางานสิ่งแวดลอมศึกษา อยางครอบคลุมในหลายมิตทิ งั้ สังคมวัฒนธรรม วิถเี ศรษฐกิจ สิง่ แวดลอมทองถิน่ โดยใชกระบวนการ สิ่งแวดลอมศึกษาเปนกระบวนการขับเคลื่อนทั้งระบบของโรงเรียน ติดตอ หมูที่ ๘ ตําบลกลางเวียง อํ า เภอเวี ย งสา จั ง หวั ด น า น โทรศั พ ท ๐ ๕๔๗๘ ๑๗๖๔ โทรสาร ๐ ๕๔๗๘ ๑๗๗๔ Email: saschool_nan@hotmail.com หรือทาง http://www.saschool.ac.th โรงเรียนตลิ่งชันวิทยา จังหวัดสุพรรณบุรี เปนหนึ่งในโครงการโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของกรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม โรงเรียนนําเอากระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษามาใชกับโรงเรียนทั้งระบบ โรงเรียนเปน แหลงเรียนรูเรื่องขาวของลุมนํ้าภาคกลาง แหลงเรียนรูสวนพฤษศาสตร และการเกษตรอินทรีย ติดตอเพิ่มเติม หมูที่ ๕ ตําบลตลิ่งชัน อําเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ๗๒๒๓๐ โทรศัพท ๐ ๓๕๕๙ ๗๔๖๐ โรงเรียนโพธิ์ตาก เปนโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาในวิถีชีวิตจริงที่ผานมาโรงเรียนไดเนนวิถีการเรียนรูของเด็กกับ สิง่ แวดลอมทองถิน่ วัฒนธรรมชุมชน วิถกี ารเกษตรแบบพอเพยี งตามแนวคิดในหลวง โดยทัง้ หมดนี้ ถูกขับเคลือ่ นดวยกระบวนการสิง่ แวดลอมศึกษา ติดตอ ๓๗ หมูท ี่ ๗ ตําบลโพธิต์ าก อําเภอโพธิต์ าก จังหวัดหนองคาย ๔๓๑๓๐ สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๑ โทรศัพท ๐ ๔๒๔๘ ๓๑๓๓ โทรสาร ๐ ๔๒๔๘ ๓๑๓๓ ประสานงาน นางงามตา นิลเกตุ โทรศัพท ๐ ๘๒๘๕ ๔๖๗๒๘ หรือที่ http://www.photakpit.net มหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรสิ่งแวดลอมศึกษา มหาวิทยาลัยในประเทศไทยนั้นมีอยูอยางมากมาย และองคความรูดานสิ่งแวดลอมนั้นก็มีอยูอยาง หลากหลายกระจายตัวไปตามสาขาตางๆ สวนใหญจะอยูใ นคณะวิทยาศาสตร แตมไี มกมี่ หาวิทยาลัย เทานั้น ที่มีหลักสูตรสิ่งแวดลอมศึกษาและระบุใหเปนสาขาวิชา “สิ่งแวดลอมศึกษา” อยางชัดเจน • มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตรและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหิดล ศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท ๐ ๒๘๐๐ ๒๘๔๐-๗๖ โทรสาร ๐ ๒๔๔๑ ๙๗๓๘ www.sh.mahidol.ac.th

๑๓๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 134

18/2/2549 20:18:32


• มหาวิทยาลัยขอนแกน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน ๔๐๐๐๒ โทรศัพท ๐ ๔๓๓๔ ๓๔๕๒ ๓ โทรสาร ๐ ๔๓๓๔ ๓๔๕๔ • มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตําบลขามเรียง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ๔๔๑๕๐ โทรศัพท ๐ ๔๓๗๕ ๔๓๒๒-๔๐ www.msu.ac.th ศูนยวิจัยและพัฒนานวัตกรรมดานการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนศูนยความเปนเลิศดานการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยมกี ารทํางานวิจยั ในสวนประเด็นสิง่ แวดลอมศึกษาเพือ่ การพัฒนาที่ยั่งยืนและองคความรูเกี่ยวกับ ESD ติดตอ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๑๘ ๒๔๐๙, ๐๘ ๑๓๐๓ ๓๗๗๔ โทรสาร ๐ ๒๒๑๘ ๒๔๐๙ Email: esd.edu.cu@hotmail.com, Facebook: Esdi Educhula หรือทาง www.edu.chula.ac.th/esdicenter หนวยงานภาคธุรกิจ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) โครงการโรงเรียนเชิงนิเวศน โครงการตนกลาความดีที่ครอบคลุมมิติการพัฒนาที่ยั่งยืนบนหลักคิด ของการสรางเสริมทุนทางปญญาใหกบั สังคม ติดตอขอมูลเพิม่ เติม ฝายเสริมสรางทุนทางปญญาและ กิจกรรมเพื่อสังคม อาคาร ๒ ชั้นที่ ๒๑ เลขที่ ๑๐ ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๐๘ ๘๕๔๖ โทรสาร ๐ ๒๒๕๖ ๘๓๔๑ http://www.ktb.co.th กลุมบริษัทฮอนดาในประเทศไทย ริเริ่มและสนับสนุนโครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอมเฉลิมพระเกียรติ “ตามรอยเทาพอกับ… ฮอนดา” และโครงการ CSR อื่นๆ ที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม ติดตอขอมูลเพิ่มเติม ฝายกิจกรรม เพื่อสังคม บริษัท เอเชี่ยนฮอนดา มอเตอร จํากัด ๑๔ อาคารสารสิน ถนนสุรศักดิ์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ ๑๐๕๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๓๖ ๐๒๕๖ Email: contact@hondacsr.com หรือทาง http://www.hondacsr.com

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 135

๑๓๕

18/2/2549 20:18:32


บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มสี ว นงานทเี่ กยี่ วของกับการจัดการดานสิง่ แวดลอมและงานทเี่ กยี่ วกับความรับผิดชอบตอสังคมในมิติ ของชุมชนและสิ่งแวดลอม โดยมีโครงการดานสิ่งแวดลอมศึกษามากมาย อาทิ โครงการหญาแฝก โครงการศูนยศกึ ษาฯ สิรนิ าถราชินี ติดตอขอมูลเพิม่ เติม ฝายกิจการเพือ่ สังคม อาคารสํานักงานใหญ ปตท. ๕๕๕ ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๓๗ ๑๖๒๖ โทรสาร ๐ ๒๕๓๗ ๒๑๘๔ ศูนยศึกษาเรียนรูระบบนิเวศปาชายเลน สิรินาถราชินี หมูที่ ๒ ตําบล ปากนํ้าปราณ อําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ โทรศัพท ๐ ๓๒๖๓ ๒๒๕๕ โทรสาร ๐ ๓๒๖๓ ๒๒๕๕ เว็บไซต หรือทาง www.pttplc.com บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) คายเยาวชนเอกโกไทยรักษปา และงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาที่มีกลุมเปาหมายหลักคือเด็กและ เยาวชนอยางชัดเจน ติดตอ สวนกิจกรรมองคกรและสังคม บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) เลขที่ ๒๒๒ หมูที่ ๕ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท ๐ ๒๙๙๘ ๕๙๙๙ ตอ ๕๑๓๑ โทรสาร ๐ ๒๙๕๕ ๐๙๕๖-๘ บริษัท บางจากปโตเลียม จํากัด (มหาชน) มโี ครงการตางๆ ทสี่ นับสนุนงานดานสิง่ แวดลอมศึกษา อาทิ โครงการเปดโลกการเรยี นรู โดยรวมกับ นักการศึกษาสรางหลักสูตรบูรณาการ “ตะลุยโลกนํ้ามัน สรางสรรคสิ่งแวดลอม อยูในโลกแหง ความปลอดภัย” เปนตน ติดตอขอมูลเพิ่มเติม สวนสิ่งแวดลอม บริษัทบางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) สํานักงานใหญ ชั้น ๑๐ อาคาร A ศูนยเอนเนอรยี่คอมเพล็กซ ๕๕๕/๑ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๑๔๐ ๘๙๙๙ โทรสาร ๐ ๒๑๔๐ ๘๙๐๐ หรือที่ http://www.bangchak.co.th บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) มโี ครงการทีเ่ กยี่ วกับสิง่ แวดลอมศึกษาทที่ าํ กับชุมชนและเยาวชน เชน โครงการ “SCG Do It Green” โครงการ “Sustainable Design Camp” เปนตน ติดตอขอมูลเพิม่ เติม ฝาย CSR บริษทั ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ๑ ถนนปูนซิเมนตไทย บางซื่อ กรุงเทพฯ ๑๐๘๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๘๖ ๓๗๗๒ โทรสาร ๐ ๒๕๘๖ ๒๙๗๔, ๓๗๐๙ หรือทาง www.scg.co.th บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด (มหาชน) สนับสนุนการทํางานในโครงการและกิจกรรมดานสิง่ แวดลอมศึกษา เชน โครงการ “โรงเรยี นเครือขาย เชฟรอน พลังใจ พลังคน” กิจกรรมคายรักษโลก รักษพลังงาน รักษสงิ่ แวดลอม เปนตน ติดตอขอมูล เพิ่มเติม http://www.chevronthailand.com/ ๑๓๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 136

18/2/2549 20:18:32


บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด สนับสนุนโครงการลดเมืองรอนดวยมือเราและมีโครงการที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาอื่นๆ ภายใต งาน CSR ขององคกร ติดตอขอมูลเพิ่มเติม ฝายงานโตโยตาเพื่อสังคม บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย ๑๘๖/๑ หมูที่ ๑ ถนนทางรถไฟเกา ตําบลสําโรงใต อําเภอพระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท ๐ ๒๓๘๖ ๑๐๐๐ http://www.toyota.co.th/th/oyota_csr/home.asp บริษัท ไทยบริดจสโตน จํากัด สนับสนุนโครงการที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาอื่นๆ ภายใตงาน CSR ขององคกร เชน โครงการ นักสํารวจแหงทองทุง เปนตน ติดตอขอมูลเพิ่มเติม บริษัท ไทยบริดจสโตน จํากัด (โรงงานรังสิต) ๑๔/๓ ถนนพหลโยธิน กม.๓๓ ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ๑๒๑๒๐ http://www.bridgestone.co.th/th/csr/csr02.aspx บริษัท สยามมิชลิน จํากัด สนับสนุนโครงการที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาอื่นๆ ภายใตงาน CSR ขององคกร เชน โครงการ “พลังชุมชน รักษสงิ่ แวดลอม” เพือ่ สงเสริมสิง่ แวดลอมทดี่ กี วาอยางยัง่ ยืน เปนตน ติดตอขอมูลเพิม่ เติม http://www.michelin.co.th บริษัท ไบเออรไทย จํากัด โครงการ “ทูตไบเออรเพื่อสิ่งแวดลอม” ที่คัดเลือกตัวแทนเยาวชนไปแลกเปลี่ยนประสบการณ กับทูตไบเออรฯ ที่ตางประเทศ พรอมรับทุนสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมตาม โครงงานที่นําเสนอ ติดตอขอมูล บริษัท ไบเออรไทย จํากัด ฝายงานสื่อสารองคกร ๑๓๐/๑ ถนน สาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ ๑๐๕๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๓๒ ๗๐๑๗-๘ โทรสาร ๐ ๒๒๖๗ ๒๗๘๔ หรือทาง www.bayer.co.th มูลนิธิโคคา โคลา ประเทศไทย สนับสนุนโครงการทีเ่ กยี่ วกับสิง่ แวดลอมศึกษาอืน่ ๆ ภายใตงาน CSR ขององคกร เชน โครงการพีน่ าํ นองรักษนาํ้ ตามแนวพระราชดําริ” เปนตน ติดตอขอมูลเพิม่ เติม ๒๑๔ ชัน้ ๒-๔ อาคารไทยนํา้ ทิพย (โครงการนอรธปารค) หมูที่ ๕ ถนนวิภาวดี รังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท ๐ ๒๙๕๕ ๐๗๗๗ โทรสาร ๐ ๒๙๕๕ ๐๗๐๘ http://www.thecoca colacompany.com

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 137

๑๓๗

18/2/2549 20:18:32


ธุรกิจสีเขียว ชุมพร คาบานา รีสอรท รีสอรทตนแบบที่ดําเนินธุรกิจตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เนนการพึ่งพาตนเอง ตอบแทนสังคม เปนมิตรกับชุมชนและสิ่งแวดลอม และแหลงเรียนรูดานเศรษฐกิจพอเพียงที่ไดรับการถายทอด มาจาก “ครูยักษ” ปราชญแหงมูลนิธิกรรมธรรมชาติ ซึ่งตลอดทั้งปทางโรงแรมจะเปดอบรมเพื่อ ขยายเมล็ดพันธุแหงความพอเพียง สอบถามเพิ่มเติม ชุมพร คาบานา รีสอรท ตําบลสะพลี อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร โทรศัพท ๐ ๗๗๕๖ ๐๒๔๕ - ๗, ๐๘ ๙๗๒๔ ๙๓๑๙ โรงแรมบานทองทราย โรงแรมแหงเดียวบนเกาะสมุยฝมือคนรุนใหมที่หวงใยสิ่งแวดลอม มีการทํางานดานสิ่งแวดลอมที่ หลากหลาย ทําใหโรงแรมเปนสวนหนึ่งกับชุมชนและคอยชวยกันอนุรักษธรรมชาติของเกาะสมุย ที่นับวันจะหายไปกับคลื่นลมของธุรกิจอุตสาหกรรมทองเที่ยว ติดตอ คุณธนกร ฮุนตระกูล โรงแรม บานทองทราย ๘๔ หมูที่ ๕ ตําบลบอผุด อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี ๘๔๓๒๐ กลุมวิสาหกิจชุมชนวังตาลโตนด เรยี นรูจ ากฐานภูมปิ ญ  ญาการทํานํา้ ตาลของชุมชนและรวมกลุม กันเปนสหกรณทชี่ ว ยกันทํานํา้ ตาลใน ชวงฤดูรอน (สวนฤดูฝนชาวบานจะทํานา) นํ้าตาลที่ไดจะไมมีการฟอกสีทุกอณูของนํ้าตาลเกิดจาก นํ้าแรงชาวบานที่ชวยกันทําดวยมือทุกขั้นตอน และมั่นใจไดถึงคุณภาพที่ผูบริโภคจะไดรับ ติดตอ เลขที่ ๒๙ หมูที่ ๓ ตําบลบานหาด อําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี โทรศัพท ๐๘ ๗๑๕๓ ๔๓๗๓ ผลิตภัณฑแดรี่โฮม นมออรกานิค ดวยการเลี้ยงแมโคตามธรรมชาติใหกินหญาอยางสบายในทุงโลง ปราศจากการใช สารเคมีทุกขั้นตอน นมที่ไดจึงแตกตางจากนมทั่วไป ติดตอ โทรศัพท ๐ ๔๔๓๒ ๒๒๔๕ หรือทาง http://www.dairyhome.co.th สามพรานฟารม หมูเลี้ยงแบบธรรมชาติปลอดสารพิษ โดยใหหมูมีความสุขทุกขั้นตอนกอนสิ้นใจอยางสงบเพื่อเปน อาหารที่เปยมคุณคาและปลอดสารพิษสําหรับผูบริโภค ติดตอ เลขที่ ๑๔๕/๑ หมูที่ ๑ ตําบลยายชา อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๑๐ โทรศัพท ๐ ๒๔๒๙ ๗๑๐๓, ๐ ๓๔๓๒ ๑๓๐๒, ๐ ๓๔๓๒ ๑๕๙๕

๑๓๘

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 138

18/2/2549 20:18:32


ผลิตภัณฑธรรมชาติและศูนยสุขภาพเขาคอทะเลภู รีสอรทสุขถาพและจําหนายผลิตภัณฑธรรมชาติแลว ที่นี่ยังเปนศูนยเรียนรูดานการดูแลสุขภาพ ตั ว เองด ว ยวิ ถี ท างธรรมชาติ ติ ด ต อ เลขที่ ๑๓๗ หมู ที่ ๕ ตํ า บลทุ ง สมอ อํ า เภอเขาค อ จังหวัดเพชรบูรณ ๖๗๒๗๐ โทรศัพท ๐ ๕๖๗๕ ๐๐๖๑ ๒, ๐๘ ๑๓๓๘ ๐๓๒๓ หรือทาง http://www.khaokhonaturalfarm.com สิรวิชญฟารมเห็ด การปลูกเห็ดแบบเกษตรอินทรียปลอดสารพิษ เรียนรูไดไมหวงวิชา ติดตอขอความรูเพิ่มเติม เลขที่ ๗๑ หมูที่ ๗ ตําบลบานนา อําเภอบานนา จังหวัดนครนายก ๒๖๑๑๐ โทรศัพท ๐๘ ๖๑๔๗ ๓๖๖๙ ธุรกิจชุมชน ชุมชนบานเกาะปอ เปนชุมชนมุสลิมทรี่ ว มกันฟน วิถชี าวเลแบบดัง้ เดิมทยี่ งั่ ยืนขึน้ มา ภายหลังการประมงสมัยใหมทที่ าํ ลาย ทรัพยากรธรรมชาติไมเหลือ ปจจุบันชุมชนบานเกาะปอรวมกันอนุรักษทองทะเลในเขตของชุมชน นอกจากนี้ยังเปดเปนโฮมสเตยใหผูคนไดมาเรียนรูวิถีชีวิตอยูกินแบบชาวบาน สอบถามเพิ่มเติม ประชีพ หมัดนุย (ครูชีพ) โทรศัพท ๐๘ ๗๑๒๖ ๐๐๘๒ ขนําบาวเล็ก “สวนสมรม” คือ ภูมปิ ญ  ญาดานการเกษตรของชาวใต เรยี นรูว ถิ กี ารเกษตรแบบสวนสมรมของชาวใต และอยูแบบธรรมชาติในขนําเล็กๆ เงียบสงบ สอบถามเพิ่มเติม อดิศักดิ์ ชํานะ (บาวเล็ก) ชุมชน คีรีวง ตําบลกําโลน จังหวัดนครศรีธรรมราช โทรศัพท ๐ ๗๕๕๓ ๓๐๔๑ หรือ ๐ ๘๙๑๙ ๕๑๑๓๗ http://www.kilivalley.com ชุมชนเกาะผีทัก (เกาะพิทักษ) แหลงเรยี นรูว ถิ ชี าวเลดัง้ เดิม หมูบ า นโฮมสเตยชมุ ชนชาวประมงชายฝง สอบถามเพิม่ เติม ผูใ หญอาํ พล ธานีครุฑ โทรศัพท ๐๘ ๑๐๙๓ ๑๔๔๓ หรือ ๐๘ ๙๐๑๘ ๐๖๔๔ ศูนยการเรียนรูตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองใหญ เปนศูนยการเรยี นรูเ ศรษฐกิจพอเพยี งจากทัว่ ทุกสารทิศของจังหวัดชุมพร ตัง้ อยูท ตี่ าํ บลบางลึก อําเภอ เมือง จังหวัดชุมพร สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๕๕๑, ๐ ๗๗๕๐ ๓๙๗๕ หรือที่ http://www.nongyai.org รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 139

๑๓๙

18/2/2549 20:18:32


ศูนยเรียนรูวิถีชุมชนบานจํารุง เปนศูนยศกึ ษาวิถชี วี ติ ชุมชนบานจํารุง มกี จิ กรรมทหี่ ลากหลายใหศกึ ษาตามวิถชี าวบาน เชน การทํา เกษตรพืน้ บาน กลุม ทุเรยี นทอด กลุม นํา้ ปลากะป กลุม ยางพารา มากมายจิปาถะ อกี ทัง้ ยังมโี ฮมสเตย ไวใหเรยี นรูว ถิ ชี าวบานแบบถึงแกน สอบถามเพิม่ เติม ผูใ หญตี๋ ชาติชาย เหลืองเจริญ บานจํารุง ตําบล เนินฆอ อําเภอแกลง จังหวัดระยอง โทรศัพท ๐ ๘๗๘๑ ๗๘๐๓๐ หรือทาง www.banjumrung.org หนวยงานไมแสวงกําไร กองทุนสัตวปาโลก (WWF ประเทศไทย) ใครวาหมีแพนดาเปนไดแค “ซุปตาร” สวนสัตวเชียงใหม ในงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน หมีแพนดาตัวนี้ยังเปน “ซุปตาร” ในการทํางานรวมกับชุมชน และในชวงปที่ผานมา รุกสูสิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับเด็กๆ และเยาวชน จนพี่หมีแพนดาตัวนี้กลายเปนซุปตารสิ่งแวดลอม ศึกษาของเด็กๆ ติดตอ WWF ประเทศไทย ๒๕๔๙/๔๕ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ • ศูนยศึกษาธรรมชาติกองทัพบกบางปู เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี ๑๖๔ หมูที่ ๒ ถนนสุขมุ วิท ตําบลบางปูใหม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๘๐ โทรศัพท ๐ ๒๗๐๙ ๕๐๐๕ โทรสาร ๐ ๒๓๒๓ ๓๐๗๓ • ศูนยศกึ ษาธรรมชาติและระบบนิเวศการเกษตร ปทุมธานี ภายในสํานักพิพธิ ภัณฑการเกษตร เฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั (องคการมหาชน) กม.๔๖ - ๔๘ ถนนพหลโยธิน ตําบล คลองหนึง่ อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ๑๒๑๒๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๒๐ ๔๘๓๕, ๐ ๘๑๖๑๘ ๓๔๐๔ • ศูนยศกึ ษาเพือ่ การพัฒนาอยางยัง่ ยืน อุทยานสิง่ แวดลอมนานาชาติสริ นิ ธร ตูป ณ.ชะอํา ตําบล ชะอํา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ๗๖๑๒๐ โทรศัพท ๐ ๓๒๔๕ ๑๐๔๕, ๐ ๓๒๔๕ ๑๔๘๕ โทรสาร ๐ ๓๒๔๕ ๑๕๑๐ หรือทาง http://www.esdthailand.com องคกรระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature: IUCN) เปนองคกรระหวางประเทศทีผ่ ลักดันงานเชิงนโยบายและลงมาขับเคลือ่ นงานกับชุมชนดวยวิถชี มุ ชน ที่ผสานกับวิถีการจัดการรูปแบบใหมโดยไมทําลายวิถีดั้งเดิมเพื่อการอนุรักษทรัพยากรทองถิ่น อยางยั่งยืน ติดตอ สํานักงานสวนภูมิภาคเอเชีย ๖๓ สุขุมวิท ซอย ๓๙ ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐ ประเทศไทย โทรศัพท ๐ ๒๖๖๒ ๔๐๒๙ (ตอ ๔๕๖) โทรสาร ๐ ๒๖๖๒ ๔๓๘๘ หรือทาง http://www.iucn.org/places/asia

๑๔๐

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 140

18/2/2549 20:18:32


มูลนิธิกระตายในดวงจันทร โครงการเล็กๆ จากกลุมคนเล็กๆ ที่อยากจะสานสรางสังคมที่งดงามดวยความเปนมนุษยที่เปนหนึ่ง เดียวกับธรรมชาติ ที่ผานมากระตายตัวนี้กระโดดในทองทุงสิ่งแวดลอมศึกษาอยางแข็งขัน ติดตอ เลขที่ ๑๓๙/๖๒ หมูบานศุภฤกษ ซอยลาดพราว ๒๖ ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๑๓ ๙๗๖๗ โทรสาร ๐ ๒๕๑๓ ๙๗๖๖ หรือทาง http://www. rabbitinthemoon.org สมาคมสรางสรรคชีวิตและสิ่งแวดลอม (ACED) โครงการโรงเรียนมอนแสงดาว โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อรอยยิ้มในวันใหมของเด็กๆ ติดตอ เลขที่ ๙ หมูที่ ๑๓ บานดอยจําตอง ตําบลดอยลาน อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ๕๗๐๐๐ โทรศัพท ๐๘ ๖๑๑๖ ๒๒๒๐, ๐๘ ๖๑๒ ๗ ๘๙๐๑ โทรสาร ๐ ๕๓๙๕ ๘๐๕๓ หรือทาง http://www. acedmonsaengdao.org สมาคมสรางสรรคไทย (ตาวิเศษ) เปนสมาคมที่อยูคูเมืองไทยมายาวนานกวา ๒๐ ปกับกิจกรรมและโครงการที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ศึกษาเพือ่ การพัฒนาอยางยัง่ ยืนมากมาย วันนตี้ าวิเศษยังคงสงสายตาดุๆ จองมองเด็กๆ และเยาวชน ใหรูจักการอนุรักษสิ่งแวดลอมดวยหัวใจของคนตัวเล็กๆ ที่อยากจะเห็นสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้น ติดตอ ๓๑๙/๑ ซอยสุขุมวิท ๓๑ (สวัสดี) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ ๑๐๑๑๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๖๒ ๐๐๗๓ โทรสาร ๐ ๒๒๖๒ ๐๐๗๘ หรือทาง www. magiceyes.or.th มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร จากอุดมการณของคุณสืบ นาคะเสถียร สูการทํางานของมูลนิธิสืบฯ ๒๐ ปลวงมาการทํางาน รวมกับชุมชนในพื้นที่ผืนปาตะวันตกอยางแข็งขันเพื่อใหคนกับปาอยูรวมกันอยางเกื้อกูล วันนี้ “โครงการจอมปา” ไดพิสูจนใหเห็นแลววาอุดมการณของคุณสืบ นาคะเสถียร คืออุดมการณที่ยังมี ลมหายใจ ติดตอ มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร เลขที่ ๖๙๓ อาคาร ๔ กรมวิทยาศาสตรการแพทย ยศเส ถนนบํารุงเมือง แขวงคลองมหานาค เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐ โทรศัพท/โทรสาร ๐ ๒๒๒๔ ๗๘๓๙-๓๙ http://www.seub.or.th

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 141

๑๔๑

18/2/2549 20:18:32


มูลนิธิโลกสีเขียว โลกสีเขียวหมุนไดดวยแรงใจของคนตัวเล็กๆ ที่อยากจะทํางานเพื่อสิ่งแวดลอม วันน้ีแมนิตยสาร โลกสีเขียวที่คุนชินจะหายไปจากชั้นวางขายหนังสือแตเรื่องราวดีๆ ยังคงถูกถายทอดอยางตอเนื่อง บนสื่ออิเล็กทรอนิกสออนไลน และยังคงมีการทําโครงการดีๆ อยางเชน นักสืบสายลม และอื่นๆ อีกมากมาย ติดตอ มูลนิธิโลกสีเขียว ๓๙๔/๔๖-๔๘ ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๖๒๒ ๒๒๕๐-๒ โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๒๓๖๖ หรือ ทาง http://www.greenworld.or.th มูลนิธิสิ่งแวดลอมไทย ทํางานผาน “สถาบันสิง่ แวดลอมไทย” องคกรทสี่ านเครือขายการทํางานกับทุกภาคสวนในสังคมไทย เพื่อการทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอยางครอบคลุม ติดตอ สถาบัน สิ่งแวดลอมไทย (สสท) ๑๖/๑๕๑ เมืองทองธานี ถนนบอนดสตรีท ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๒๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๐๓ ๓๓๓๓ โทรสาร ๐ ๒๕๐๔ ๔๘๒๖ ๘ หรือทาง http://www.tei.or.th สื่อมวลชน ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม ปลาจะกินดาวเลม ๙ ป ๒๕๕๒ จนถึงเลม ๑๐ ป ๒๕๕๓ ภายใตสภาวะปญหาดานสิ่งแวดลอม ที่สังคมไทยละเลย ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมกลับตั้งคําถามและขอสังเกต รวมถึงตีแผประเด็น เหลานั้นอยางลุมลึกเทาที่จะทําได แตนอยคนในเมืองไทยที่จะสนใจและรูวาปลาที่บานเรามันใกล กินดาวเต็มที ติดตอ ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย ๕๓๘/๑ ถนนสามเสน เขตดุสติ กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๔๓ ๘๗๓๙ รายการกบนอกกะลา รายการสารคดคี วามรูร อบตัวทมี่ เี รือ่ งของธรรมชาติและสิง่ แวดลอมผสานเปนเนือ้ เดยี วกับองคความรู ที่นําเสนอเปนยาบํารุงสมองของคนไทยกอนเขานอน ออกอากาศทุกวันศุกรเวลา ๒๐.๔๐ น. ทาง โมเดิรนไนนทีวี ติดตอ บริษัท ทีวีบูรพา จํากัด ๒๒/๔ ซอยรามคําแหง ๔๓/๑ แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐ โทรศัพท ๐ ๒๙๕๗ ๕๗๙๓ โทรสาร ๐ ๒๙๕๗ ๕๗๙๖ หรือทาง http://www.tvburabha.com

๑๔๒

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 142

18/2/2549 20:18:32


รายการทีวี ๓๖๐ องศา จากทาทางและสโลแกนของพิธีกรอารมณดี “พี่แซก ธนินวัฒน พัฒนวีรคุณ” สูรายการขาวที่ยอย สถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากเรื่องซับซอนฟงยากสูเรื่องเขาใจงายฟงรูเรื่องใน เวลาเพียง ๑๘๐ วินาทีตอหนึ่งชวง!!! ออกอากาศทุกวันจันทร - ศุกร ในชวงเที่ยงวันทันเหตุการณ เรื่องเดนเย็นนี้ ขาววันใหม และเรื่องเลาเชานี้ ทางไทยทีวีสีชอง ๓ ติดตอ รายการทีวี ๓๖๐ องศา ๓๑๙๙ อาคารมาลีนนททาวเวอร ถนนพระราม ๔ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๖๒ ๓๓๒๖ รายการทุงแสงตะวัน รายการที่มีอายุครบ ๒๐ ปไปแลว กับรายการสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อเด็กๆ ที่ถายทอดเรื่องราวดีๆ มาอยางยาวนาน ออกอากาศทุกวันเสาร เวลา ๐๖.๒๕ ๐๖.๕๐ น. ทางไทยทีวีสีชอง ๓ ติดตอ บริษัท ปาใหญครีเอชั่น จํากัด ๓๔ ซอยประเสริฐมนูกิจ ๕ ถนนประเสริฐมนูกิจ แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ ๑๐๒๓๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๗๐ ๑๑๒๐ ๕ หรือทาง http://www.payai.com รายการพันแสงรุง รายการทีเ่ กยี่ วเนือ่ งกับวิถชี วี ติ ของกลุม คนในดินแดนสุวรรณภูมิ ถายทอดเรือ่ งราวสิง่ แวดลอมศึกษา ที่อยูในวิถีชีวิตอยางถึงแกนหยั่งถึงเหงาราก ออกอากาศวันอาทิตยที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๖.๓๐ – ๑๗.๐๐ น. ทางทีวีไทย ติดตอ บริษัท ปาใหญครีเอชั่น จํากัด ๓๔ ซอยประเสริฐมนูกิจ ๕ ถนนประเสริฐมนูกิจ แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ ๑๐๒๓๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๗๐ ๑๑๒๐ ๕ หรือทาง http://www.payai.com นิตยสาร “สารคดี” นิตยสารที่สื่อสารประเด็นดานสิ่งแวดลอมในสังคมไทยอยางแข็งขันมากวา ๒๕ ป ลมหายใจของ คนทํางานที่ไมหยุดหยอนแมจะมีอุปสรรคคอยทาทายอุดมการณมาตลอดในระยะหลัง ถาหัวใจ ไม แ กร ง พอนิ ต สารคดี ด า นสิ่ ง แวดล อ มที่ มี คุ ณ ภาพคงหายไปจากชั้ น ขายหนั ง สื อ เมื อ งไทย ประเทศทีค่ นในสังคมเสพความเชือ่ มากกวาความรู ติดตอ กองบรรณาธิการ ๒๘, ๓๐ ถนนปรินายก แขวงบานพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๘๑ ๖๑๑๐ ตอ ๑๑๘ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๗๐๐๓

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 143

๑๔๓

18/2/2549 20:18:32


นิตยสาร “เกษตรกรรมธรรมชาติ” เปนนิตยสารที่ถายทอดเรื่องราวความรูสิ่งแวดลอมศึกษาในวิถีชีวิตประจําวันที่ทําไดจริง ติดตอ วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ ๒๒ ซอยชํานาญอักษร ถนนพหลโยธิน ๙ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๗๙ ๕๑๑๘, ๐ ๒๒๗๘ ๔๐๖๘ โทรสาร ๐ ๒๖๑๗ ๐๘๓๔ หรือทาง E mail: mcdf22@yahoo.com นิตยสาร “จุดเปลี่ยน” นิตยสารดีๆ ที่นําเสนอวิถีการเปลี่ยนเพื่อสิ่งที่กวาสําหรับสังคมไทยที่จะหันมาใสใจและใชวิถีท่ี สอดคลองกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้น ติดตอ สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง หมูบานสัมมากร ซอยบี ๑๒ ถนนรามคําแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐ โทรศัพท ๐ ๒๗๒๙ ๔๔๕๖ โทรสาร ๐ ๒๙๑๙ ๐๕๑๐ www.ise.in.th นิตยสาร “Green Network” นิตยสารที่นําเสนอเรื่องราวสีเขียวในสังคมไทยอยางครอบคลุมทุกหนวยงาน ทุกเครือขายสีเขียวที่ เกี่ยวของ ติดตอ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด ๔๗๑/๓ ๔ อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๓๕๔ ๕๓๓๓ โทรสาร ๐ ๒๖๔๐ ๔๒๖๐ หรือที่ http://www.greennetworkthailand.com นิตยสาร “National Geographic” นิตสารหัวนอกที่เติบโตในเมืองไทยครบ ๑๐ ปพอดิบพอดีในป ๒๕๕๔ แนนอนวาเรื่องสิ่งแวดลอม ที่เปนประเด็นสําคัญของโลกไดถูกถายทอดในบริบทไทยจากแงมุมตางๆ ติดตอ กองบรรณาธิการ ๐ ๒๔๒๒ ๙๙๙๙ ตอ ๔๗๐๐ โทรสาร ๐ ๒๔๒๒ ๙๙๙๙ ตอ ๔๗๑๕ Email: ngmth@amarin.co.th สํานักงานนิตยสารบริษัท อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน) เลขที่ ๖๕/๑๐๑-๑๐๓ ถนนชัยพฤกษ แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐ บุคคล กลุมคนภาคประชาชน วิวัฒน ศัลยกําธร “ครูยักษ” ตนแบบการเกษตรแบบพอเพียงที่ดําเนินตามรอยพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว จนประสบความสําเร็จและมีลูกศิษยอยูเต็มบานเต็มเมือง ติดตอขอความรู สถาบัน เศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๑๔ หมูบ า นสัมมากร ซอยบี ๑๒ ถนนรามคําแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐ ผูประสานงานกลาง: นางสาวกัลยาพร สกุตลากุล ๐๘ ๑๖๕๑ ๗๑๑๑ หรือทาง http://www.ise.in.th ๑๔๔

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 144

18/2/2549 20:18:32


โจน จันได ศูนยการเรียนรูเพื่อการพึ่งตนเองและศูนยเมล็ดพันธุ “พันพรรณ” เปนสถานที่ใหคนมาเรียนรู เนนการสรางปจจัย ๔ ดวยตนเอง อีกทั้งยังเปนศูนยการเก็บเมล็ดพันธุพืชหายาก ติดตอขอความรู ศูนยเรยี นรูแ ละรวบรวมเมล็ดพันธุพ ชื ผักพืน้ บาน และความรูเ รือ่ งบานดิน วิถกี ารพึง่ ตนเองบานแมโจ ตําบลบานเปา อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ๕๐๑๕๐ โทรศัพท ๐ ๘๑๔๗๐ ๑๔๖๑ หรือที่ http://www.punpunthailand.org นฤทธิ์ คําธิศรี เกษตรกรผูพิชิตความจน พิสูจนดวยรายไดกวาเดือนละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ปจจุบันเปนแหลง เรียนรูการเกษตรสําหรับผูสนใจที่อยากเรียนรูเกษตรวิถีพอเพียง ๘๕ หมูที่ ๙ ตําบลโพธิไพศาล อําเภอกุสุมาลย จังหวัดสกลนคร หรือทาง http://www.kasetporpeang.com/forums/index. php?topic=7091.0 สันโดษ สุขแกว “ไฮอุยตาคําปาย” สิ่งแวดลอมศึกษาจากวิถีพึ่งตนเองและหลักสูตรไมไผศึกษา (Bamboo Studies) ติดตอ ๐๘ ๖๑๑๒ ๓๕๐๔ http://www.tacomepai.com เอี่ยม ศรีพนมวรรณ ไดรับรางวัลโลกสีเขียวครั้งที่ ๑๑ ถายทอดความรูดานการเกษตรสูเยาวชนและผูสนใจอยาง ไมหวงแหนความรูและไมคิดคาใชจายๆ ใด ติดตอ ๘๒ หมูที่ ๑๗ บานหวยยางเหนือ ตําบลเขาขลุง อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี ๗๐๑๑๐ โทรศัพท ๐๘ ๙๘๐๖ ๕๒๘๒ กลุมครอบครัวควบกลํ้าธรรมชาติ กลุม ครอบครัวทนี่ าํ กระบวนการสิง่ แวดลอมศึกษามาใชในการจัดการศึกษาทางเลือกใหกบั ครอบครัว ของตัวเอง ท่ผี านมามีหนังสือถอดประสบการณหองเรียนธรรมชาติออกมา ๒ เลม คือ “แมลงปอ ถึงหยดนํ้าสุดทาย” และ “นกเงือก…นักปลูกปา” ซึ่งเปนแนวทางดีๆ สําหรับสิ่งแวดลอมศึกษา ในครอบครัว ติดตอขอความรู เลขที่ ๖ ซอยพัฒนาการ ๖๗ แยก ๖ แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ ๑๐๒๕๐ โทรศัพท ๐ ๒๓๒๑ ๓๔๐๑, ๐๘ ๑๓๙๙ ๒๗๓๑ Email: doublenature.family@ gmail.com หรือทาง http://www.doublenature.net กลุม Big Trees เปนกลุมที่เกิดขึ้นจากเครือขายระหวางบุคคลของคนในเมือง จากคนกลุมเล็กๆ ขยายสูวงกวาง ผานสือ่ กลางชุมชนเสมือนออนไลน ติดตามขาวสารและความรูด ๆี ไดที่ http://www.facebook.com/ BIGTreesProject รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 145

๑๔๕

18/2/2549 20:18:32


กลุมอนุรักษปาชายเลนชุมชนบานบางลา กลุมชุมชนที่อนุรักษปาชายเลนผืนสุดทายของภูเก็ตทามกลางการรุกคืบจากกลุมทุนตางชาติ บทพิสูจนระหวางอํานาจทุนกับความเปนมนุษยของกลุมคนตัวเล็กๆ ที่รักษาตนชีวิตของชุมชน ติดตอ ๕๔/๕ หมูที่ ๘ บานบางลา ถนนทาเรือ-เมืองใหม ตําบลปาคลอก อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ๘๓๑๑๑ นายอรุณ บํารุงนา โทรศัพท ๐๘ ๙๕๙๑ ๐๘๖๐, ๐๘ ๙๘๗๓ ๑๐๕๑ เครือขายโครงการผักประสานใจผูผลิตเพื่อผูบริโภคและสิ่งแวดลอม ผักอินทรียที่ทําในระบบสมาชิก CSA (Community Support Agriculture) ติดตอ ตู ปณ. ๑๕ อําเภอ ดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี ๗๒๑๘๐ โทรศัพท ๐๘ ๑๙๘๑ ๘๕๘๑ เครือขายเยาวชนกลุมรักษนํ้าคาน เครือขายเยาวชน ๓ โรงเรียนที่อยูริมฝงแมนํ้าคาน จากจิตสํานึกเล็กๆ ของเด็กๆ สูการสงเสริมและ รวมมือจากผูใหญโรงเรียน และคนในชุมชนเกิดเปนเครือขายการทํางานของเด็กๆ ติดตอ โรงเรียน ทาลี่ ตําบลทาลี่ อําเภอทาลี่ จังหวัดเลย ๔๒๑๔๐ ประสานงาน สนาม อินทรจันทร โทรศัพท ๐๘ ๖๒๓๓ ๙๙๖๖ เครือขายเยาวชนอําเภออุมผาง การสงไมตอ จากรุน สูร นุ ในการปกปองรักษาทรัพยากรทองถิน่ ภายในพืน้ ทอี่ าํ เภออุม ผาง ติดตอ กลุม เครือขายเยาวชนอําเภออุม ผาง ๓๑๗ หมูท ี่ ๑ บานอุม ผาง ถนนประเวศไพรวัล ตําบลอุม ผาง อําเภอ อุมผาง จังหวัดตาก ๖๓๑๗๐ ประสานงาน นางสาวลักษิกา สมจิตร โทรศัพท ๐๘ ๑๑๘๗ ๑๔๖๙ เครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมนํ้าโขง ลานนา เปนเครือขายที่ทํางานรวมกัน ๓ องคกรทองถิ่น คือ กลุมรักษเชียงของ ชมรมอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติลมุ นํา้ อิง และโครงการแมนาํ้ และชุมชน เนนการสรางองคความรูท อ งถิน่ จากวิถชี วี ติ ชุมชน ภูมปิ ญ  ญา ธรรมชาติ ความหลากหลายทางชาติพนั ธุ ติดตอ ๖๒ หมูท ี่ ๘ ตําบลเวยี ง อําเภอเชยี งของ จังหวัดเชียงราย ๕๗๑๔๐ โทรศัพท/โทรสาร ๐ ๕๓๖๕ ๕๖๐๗ เครือขายตลาดสีเขียว เปนเครือขายระหวางผูผลิตสีเขียวไดสื่อสารและนําเสนอผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสุขภาพและ สิง่ แวดลอมใหผบู ริโภคสเี ขยี ว ๑๑๓-๑๑๕ ถนนเฟอ งนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๖๒๒ ๐๙๕๕ โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๓๒๒๘ http://www.thaigreenmarket.com

๑๔๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 146

18/2/2549 20:18:32


เครือขายชุมชนตําบลบางสระเกา จากชุมชนที่ประสบวิกฤตจากการเลี้ยงกุงกุลาดํา แกนนําและชาวบานจึงหาทางออกรวมกันโดย การหวนคืนสูวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม เริ่มจากการทอเสื่อกกจนถึงการฟนฟูปาตะกาดใหญ ทั้งธรรมชาติ ทองถิน่ และหัวใจทองถิน่ วิถชี วี ติ ของคนในชุมชนกลับมายิม้ ใหแกกนั และกันและยิม้ ใหกบั ธรรมชาติ อกี ครัง้ ติดตอ เครือขายชุมชนตําบลบางสระเกา ตําบลบางสระเกา อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี ผูประสานงาน นายนรวรรณ ใจชื่น โทรศัพท ๐๘ ๑๙๐๘ ๕๓๘๖ ชุมชนบานมวงชุม ชุมชนอนุรักษธรรมชาติ ฟนฟูปา รักษาพันธุปลาในลํานํ้าอิง จากวิกฤตที่ชาวบานใชทรัพยากร ธรรมชาติอยางสิน้ เปลืองจนกอใหเกิดภัยพิบตั ิ ชาวบานคอยๆ ฟน ฟูทงั้ วิถชี วี ติ และจิตใจทสี่ อดคลอง กับสิ่งแวดลอมมากขึ้นกลายเปนศูนยเรียนรูและชุมชนตนแบบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในพื้นที่ชุมนํ้าแหงเดียวของจังหวัดเชียงราย ติดตอ หมูที่ ๗ ตําบลครึ่ง อําเภอเชียงของ จังหวัด เชยี งราย ผูป ระสานงาน นายปญญา เปาพรหมมา (ผูใ หญบา นหมู ๗) โทรศัพท ๐๘ ๗๑๗๗ ๖๘๕๘ ชุมชนบานสามขา เปนหมูบานตนแบบของการจัดการทรัพยากรนํ้า โดยเฉพาะในเรื่องการทําฝายชะลอนํ้าและ ดักตะกอน การบริหารจัดการปาชุมชน การรวบรวมองคความรูช มุ ชนรวมกับโรงเรยี นสรางหลักสูตร ทองถิ่นที่ชวยเสริมสรางเด็กและเยาวชนในทองถิ่นใหมองเห็นตัวตนของตัวเอง ติดตอ ชุมชนบาน สามขา หมูที่ ๖ ตําบลหัวเสือ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง ผูประสานงาน จสอ.ชัย วงศตระกูล โทรศัพท ๐๘ ๑๙๕๓ ๒๓๑๖ วัดบรมธาตุดอยผาสม แหลงเรียนรูบาน วัด โรงเรียน สูการเปนชุมชนอยางยั่งยืน เมือ่ เศรษฐกิจและจิตใจตองแกไขไปพรอมกัน บนหลักของการพึง่ พาตนเองอยางพอเพยี งวัดบรมธาตุ ดอยผาสมกลายเปนศูนยรวมจิตใจของชุมชน มีการจัดการศึกษาแบบโฮมสกูล (Home School) และมีศูนยการเรียนรูของชุมชน ๙ ฐาน ซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาชัดเจนมาก สอบถามเพิ่มเติม วัดพระบรมธาตุดอยผาสม ตําบลยั้งเมิน อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม โทรศัพท ๐๘ ๙๙๒๖ ๓๘๗๗ หรือ ๐๘ ๙๙๕๒ ๖๒๖๖

รายงานสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓

01-148 2cl-pc24.indd 147

๑๔๗

18/2/2549 20:18:32


ออกแบบและจัดพิมพโดย: บริษัท สไตลครีเอทีฟเฮาส จํากัด ๓๒/๑๕๒ ถนนรามอินทรา ๖๕ แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ ๑๐๒๓๐ โทร. ๐ ๒๙๔๕ ๘๐๕๑–๖ โทรสาร ๐ ๒๙๔๕ ๘๐๕๗ www.style.co.th stylecreative@gmail.com

01-148 2cl-pc24.indd 148

18/2/2549 20:18:32


Ă”ÜôýŞÚÄ?ýÜćô×ċÌóąùýćėÚÄ?úçøĹ&#x;Āô Ă”ĂśÄƒêÜúÚêÜĄùþÄ…Ă”ÜÍÜÜôĂ?Ä…èćÄ?øÄƒĂ˝Ä‡Ä—ĂšÄ?úçøĹ&#x;Āô : !" " # E - mail : info@deqp.mail.go.th $ % &' ()$*+ ,/0)' : !" " # E - mail : callcenter@deqp.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.