คูมือ
เยาวชนเทคโนโลยีสะอาด
สวนภาคธุรกิจและวิสาหกิจชุมชน สํานักสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม ๔๙ ซอย ๓๐ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท/โทรสาร ๐๒๒๙๘๕๖๕๓ Www.envivoice.org,www.deqp.go.th
ชื่อ
ชื่อเลน
โรงเรียน
กลุม
“โครงการประยุกตใชเทคโนโลยีสะอาดในโรงเรียน” น” สํานักสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม Www.deqp.go.th, www.envivoice.org
.
-ติดรูป-
บันทึกชวยจํา
ชื่อ-สกุล.........................................
ช
ชื่อเลน..............................................
ฉายา................................................
Email address................................................
เบอรโทรศัพท.................................
สิ่งที่ชอบ........................................... สิ่งที่เกลียด......................................
๒
๓๙
“กอนจะไปฐานถัดไปตอบใหไดนะจะ”
คําถาม นองๆคิดวา แหลงน้ํา A หรือ B แหลงน้ําใดมีคาออกซิเจนละลายในน้ํามากกวากัน ? ๑.คา DO คือ
ก. ปริมาณกาซออกซิเจนละลายในน้ํา
ข. ปริมาณกาซไนโตรเจนละลายในน้ํา
ค. ปริมาณของกาซออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสารอินทรียในน้ํา
ง. ปริมาณของกาซไนโตรเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสารอินทรียในน้ํา ๒.นองๆทราบหรือไมคะวา เราจะเพิ่มออกซิเจนในแหลงน้ําไดดวยวิธีใด ตอบอยางนอย ๔ ขอนะจะ)
๑................................................................................................................................
๒................................................................................................................................. ๓.................................................................................................................................
๔.................................................................................................................................
๓๘
กลุม
รายชื่อสมาชิกกลุม
สมาชิกกลุม ไดแก
ชื่อ-สกุล ชื่อเลน ๑................................................................ ๒................................................................ ๓................................................................ ๔................................................................ ๕................................................................ ๖................................................................ ๗................................................................ ๘................................................................ ๙................................................................ ๑๐.............................................................. ๑๐.............................................................. ๑๑.............................................................. ๑๑.............................................................. ๑๒.............................................................. ๑๒.............................................................. ๑๓.............................................................. ๑๓.............................................................. ๑๔.............................................................. ๑๔..............................................................
๓
กําหนดการการอบรม “เยาวชนเทคโนโลยีสะอาด” ะอาด”
วันที่ ๑
กําหนดการอบรม
โครงการการประยุกตใชเทคโนโลยีสะอาดในโรงเรียน (Green School) ป ๒๕๕๔
๐๙.๐๐ – ๐๙.๓๐ น.
๐๙.๓๐ — ๐๙.๔๕ น.
ลงทะเบียน พรอมรับประทานอาหารวางและเครื่องดื่ม พิธีเปดการประชุม
โดย นางสุวรรณา เตียรถสุวรรณ
ประธาน
ผูอํานวยการสํานักสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน
๑๑. ติด Aerator หรือ อุปกรณเติมอากาศที่หัวกอกเพื่อชวยเพิ่มอากาศใหแกน้ํา ที่ไหลออกจากหัวกอก ลดปริมาณการไหลของน้ําชวยประหยัดน้ํา ๑๒. ไมควรรดน้ําตนไมตอนแดดจัด เพราะน้ําจะระเหยหมดไป เปลาๆ ใหรด ตอนเชาที่อากาศยังเย็นอยู การระเหยจะต่าํ กวา ชวยใหประหยัดน้ํา ๑๓.อยาทิง้ น้ําดื่มที่เหลือในแกวโดยไมเกิดประโยชนอันใด ใชรดน้าํ ตนไม ใชชําระ พื้นผิว ใชชําระความสะอาดสิง่ ตางๆ ไดอีกมาก
ชี้แจงรายละเอียดการอบรมเยาวชนเทคโนโลยีสะอาด โดย นางวรวรรณ ประชาเกษม
๐๙.๔๕ – ๑๐.๑๕ น. ๑๐.๑๕ – ๑๑.๐๐ น.
กลาวรายงาน
รักษาการผูอํานวยการสวนภาคธุรกิจและวิสาหกิจชุมชน
ทดสอบกอนการอบรม
กิจกรรม”การสรางเสริมสภาวะผูนําดานสิ่งแวดลอม” โดย วิทยากร จาก กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น
กิจกรรม”เพื่อนใหม...รวมใจรักษสิ่งแวดลอม”
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ - ๑๔.๐๐ น.
โดย วิทยากร จาก กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
กิจกรรม “ฐานเรียนรูดานสิ่งแวดลอม”
ฐานเรียนรู เศรษฐกิจพอเพียง ฐานเรียนรู ทรัพยากรน้าํ
ฐานเรียนรู ทรัพยากรปาไม
ฐานเรียนรู การอนุรักษสัตวปา ฐานเรียนรู ทรัพยากรดิน
๔
โดย วิทยากรเอกชน
๓๗
วิธีประหยัดน้ํา ๑. ใชน้ําอยางประหยัด หมั่นตรวจสอบการรั่วไหลของน้ํา เพื่อลด การสูญเสียน้ํา อยางเปลาประโยชน ๒. ไมควรปลอยใหน้ําไหลตลอดเวลาตอนลางหนา แปรงฟน เพราะจะสูญน้ําไปโดย เปลาประโยชน นาทีละหลายๆ ลิตร ๓. ซักผาดวยมือ ควรรองน้ําใสกาละมังแคพอใช อยาเปดน้ําไหล ทิ้งไวตลอดเวลาซัก เพราะสิ้นเปลืองกวาการซักโดยวิธีการขัง น้ําไวในกาละมัง ๔. ใช Sprinkler หรือฝกบัวรดน้ําตนไมแทนการฉีดน้ําดวยสายยาง จะประหยัดน้ํา ไดมากกวา ๕. ไมควรใชสายยางและเปดน้ําไหลตลอดเวลาในขณะที่ลางรถ เพราะจะใชน้ํามาก ถึง ๔๐๐ ลิตร แตถาลางดวยน้ําและฟองน้ําใน กระปองหรือภาชนะบรรจุน้ํา จะลด การใชน้ําไดมากถึง ๓๐๐ ลิตร ตอการลางหนึ่งครัง้ ๖. ตรวจสอบทอน้ํารั่วภายในโรงเรียน ดวยการปดกอกน้ําทุกตัว ภายในโรงเรียน หลังจากทีทุกคนกลับบานแลว (หรือเวลาที่แนใจวาไมมี ใครใชน้ําระยะหนึ่ง จดหมายเลขวัดน้ําไว ถาตอนเชามาตรเคลื่อนที่ โดยที่ยังไมมีใครเปดน้ําใช ก็เรียก ชางมาตรวจไดเลย) ๗. การเตรียมอาหารสําหรับรับประทาน ควรลางพืชผักและผลไมในอางหรือภาชนะ ที่มีการกักเก็บน้ํา ไวเพียงพอ เพราะการลางดวยน้ําที่ไหลจากกอกน้ําโดยตรง จะใช น้ํามากกวา การลางดวยน้ําที่บรรจุไวในภาชนะถึงรอยละ ๕๐ ๘. ตรวจสอบชักโครกวามีจุดรั่วซึมหรือไม ใหลองหยดสีผสมอาหาร ลงในถังพักน้ํา แลวสังเกตดูที่คอหาน หากมีน้ําสีลงมาโดยที่ไมไดกด ชักโครก ใหรีบจัดการซอมได เลย ๙. ไมใชชักโครกเปนที่ทิ้งเศษอาหาร กระดาษ สารเคมีทุกชนิด เพราะจะทําให
๓๖
๑๗.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. ๑๙.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. วันที่ ๒
๐๗.๐๐ – ๐๘.๐๐ น. ๐๘.๐๐ – ๑๐.๓๐ น.
พักรับประทานอาหารเย็น
กิจกรรม”เยาวชนยุคใหมใสใจสิ่งแวดลอม” โดย วิทยากรเอกชน
รับประทานอาหารเชา
กิจกรรมฐานความรูเบื้องตนเทคโนโลยีสะอาด ฐานที่ ๑ เรื่อง หลักการเทคโนโลยีสะอาด
ฐานที่ ๒ เรื่อง การจัดการน้ําเสียในโรงเรียน
“ตรงตอเวลาพวกเรา ตองมาใหตรงเวลา”
ฐานที่ ๓ เรื่อง การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ
ฐานที่ ๔ เรื่อง การจัดการขยะในโรงเรียน ฐานที่ ๕ เรื่อง การวิเคราะหคุณภาพน้ํา
๑๐.๔๕ – ๑๑.๑๕ น.
๑๑.๑๕ น.- ๑๒.๐๐ น.
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.
๑๕.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. ๑๕.๓๐ น.
โดย วิทยากร จาก กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ทดสอบหลังการอบรม
กิจกรรมการนําเสนอแผนสิ่งแวดลอมของโรงเรียน
หัวขอ “สิ่งแวดลอมในฝน...โรงเรียนฉันโรงเรียนเธอ” โดย วิทยากร จาก กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
พักรับประทานอาหารกลางวัน
กิจกรรมการนําเสนอแผนสิ่งแวดลอมของโรงเรียน
หัวขอ “สิ่งแวดลอมในฝน...โรงเรียนฉันโรงเรียนเธอ” โดย เจาหนาที่กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
พิธีปดการอบรม และมอบวุฒิบัตรแกเยาวชนที่ผานการอบรม เดินทางกลับภูมิลําเนา
๕
สวัสดีคะพี่เวียร วันนี้มา โรงเรียน เชาจัง ??
ฮึฮึ!
นาสนุกจัง!!พี่ๆจะมา ใหความรูอะไรบาง
“อันดับแรก ..เราจะได ทราบความหมายของ CT หรือเทคโนโลยี สะอาด
ไมไดหรอกแพนเคก วันนี้พี่ ตองไปคาย CT กับพี่ๆกรม สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
“ตอไปเราจะรูวิธีการ จัดการน้ําเสียในโรงเรียน อยางงาย!”
“การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ” “การจัดการขยะในโรงเรียน” “การวิเคราะหคุณภาพน้ําอยางงาย!”
๖
สวนประกอบน้ําเสียชุมชน
๑.สารอินทรีย ไดแก คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เชน เศษขาว เศษผัก ชิ้น เนื้อ ๒.สารอนินทรีย ไดแก แรธาตุตางๆที่ทําใหเกิดการเนาเหม็น แตอาจเปน อันตรายตอสิ่งมีชีวิต เชน คลอไรด ซัลเฟอร เปนตน ๓.โลหะหนักและสารพิษ อาจอยูใ นรูปของสารอินทรีย และสามารถสะสมอยูใน วงจรอาหาร เกิดเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิต มีสาเหตุจาก แบตเตอรี่ไฟฟา สีทา บาน ไสปากกา เชน สารปรอท โครเมียม ทองแดง ๔.น้ํามันและสารแขวนลอยตางๆ เปนอุปสรรคตอการสังเคราะหแสง และกีด ขวางการกระจายของออกซิเจนจากอากาศลงสูพื้นน้ํา นอกจากนัน้ ยังทําใหเกิด สภาพไมนาดู ๕.ของแข็ง เมื่อจมอยูกนลําน้ํา ทําใหเกิดสภาพไรออกซิเจนที่ทองน้ํา ทําให แหลงน้ําตื้นเขิน มีความขุนสูง มีผลกระทบตอการดํารงชีวิตในน้ํา ๖.สารกอใหเกิดฟอง /สารซักฟอก ไดแก ผงซักฟอก สบู ฟองจะกีดกันการ กระจายของออกซิเจนสูน้ํา และอาจกอใหเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา ๗.ธาตุอาหาร ไดแก ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส เมื่อปริมาณสูงจะทําใหเกิดการ เจริญเติบโตและเพิ่มปริมาณอยางรวดเร็วของสาหราย ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญที่ทาํ ใหออกซิเจนในน้ําลดลง ๘.กลิ่นเกิดจากกาซไฮโดรเจนซัลไฟด ซึ่งเกิดจากการยอยสลายของสารอินทรีย แบบไรออกซิเจนหรือกลิ่นอื่น
และกิจกรรมสันทนาการสิ่งแวดลอมอีกมากมาย!
๓๕
ฐานที่ ๕ การวิเคราะหคุณภาพน้ํา น้ําบนโลกมีอยูประมาณ 1,360 ลานลูกบาศกเมตร โดย 97% เปน น้ําเค็มที่เหลือ 3% หรือประมาณ 37 ลานลูกบาศกกิโลเมตร เปนน้ําจืด แตใน 3 ใน 4 เปนน้ําแข็งอยู บริเวณขั้วโลก
นาสนใจมั่กมากก
แพนเคกจะตามพี่เวียรไปคายดวยละ (^^’)
พี่จะพาแพนไปสมัคร แตที่นั่นเคามีกฎคาย นะจะ
ประเภทของแหลงน้ํา 1.แหลงน้ําผิวดิน ไดแก น้าํ จากแมน้ํา ลําน้ํา หวย หนองน้ํา คลอง บึง ตลอดจน อางเก็บน้ํา ซึ่งเปนแหลงน้าํ จืดทีส่ ําคัญที่สุด 2.แหลงน้ําใตดิน เกิดจากน้าํ ผิวดินซึมผานดิน จนถึงชั้นดินหรือหินที่น้ําซึมผานไมได 3.แหลงน้ําจากทะเล เปนแหลงกําเนิดใหญของวงจรน้ําในโลก 4.แหลงน้ําจากฟา หรือ น้ําฝน เกิดจากการกลั่นตัวของไอน้ําในบรรยากาศ
การหาคาปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา
มาทําความรูจักคา ออกซิเจนละลายในน้ํา กัน
คาออกซิเจนละลายในน้ํา (Dissolve Oxygen Demand ; DO) คือ ปริมาณ ออกซิเจนละลายในน้ํา เพื่อแสดงถึงคุณภาพของน้ําวามีความเหมาะสมในการดํารงชีวิต ของสิ่งมีชีวิตในน้ํา ในแหลงน้ําสะอาด คา DO ไมควรต่ํากวา ๔ มิลลิกรัมตอลิตร คาบีโอดี (Biochemical Oxygend Demand ; BOD) BOD) คือ ปริมาณของออกซิเจนที่ แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศ
๓๔
กฎของคายมีดังนี้ (นองๆจําไวนะครับ) ในการเขาอบรม พวกเราสัญญาวา.....
๑.พวกเราจะไมสง เสียงดังในขณะที่เพื่อนๆนอนอยู ๒.พวกเราจะตั้งใจหาความรูในคายใหมากที่สุด ๓.พวกเราจะไมแกลงเพื่อนขณะที่ทํากิจกรรม ๔.พวกเราจะจดสาระสําคัญกันลืม ๕.พวกเราจะไมเลนการพนัน
๖.พวกเราจะไมเอาขนมไปกินในหอง
๗.พวกเราจะชวยเพื่อนในระหวางทํากิจกรรม ๘.พวกเราจะถามหากสงสัยหรือไมเขาใจ
๙.พวกเราจะไมออกมาเดินเลนนอกที่พักในตอนกลางคืน
๗
กิจกรรม”การสรางเสริมสภาวะผูน ําดานสิ่งแวดลอม” บันทึกสิ่งที่ไดจากกิจกรรมนี้
สนใจรวมโครงการ หลังคาเขียวเพื่อมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภาฯ)ยามยาก สามารถบริจาคกลองเครื่องดื่มบริโภคแลว ณ จุดรับกลองฯ ที่หางบิ๊กซี ทุก สาขาทั่วประเทศ หรือจุดรับกลองฯ ที่มีโปสเตอรของโครงการติดแสดงอยู ตั้งแตวันนี้เปนตนไป สนใจเขารวมเปนอาสาหลังคาเขียวคลิ๊ก greenroof.in.th สอบถามโทร.02 752 8575 วิธีเตรียมกลองเครื่องดื่มฯ กอนนําไปบริจาค
คือ แกะ ดึงมุมออกทั้งสี่ดาน พับกลองใหแบน แลวตัด, ลาง และผึ่ง แหง เพื่อปองกันกลิ่นบูดเหม็น, เก็บ รวบรวมแลวนําไปบริจาค นอกจากจะ ชวยเหลือผูประสบอุทกภัยไดโดยตรงแลว ยังจะชวยลดปริมาณกาซ คารบอนไดออกไซดที่ปลอยสูชั้นบรรยากาศจากการเผาหรือฝงกลบกลอง เครื่องดื่มใชแลว
๘
๓๓
ปฏิบัติการนํา ‘คืนกลองเครื่องดื่มยูเอชที’ ปฏิบัติการนํา 'กลองเครื่องดื่มยูเอชที' กลับมาผลิตเปนแผนหลังคาที่เรียกชื่อกัน ในนาม แผนหลังคาเขียว ภายใตโครงการ หลังคาเขียว เพื่อมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภาฯ)ยามยาก
จุดเริ่มตนของโครงการดังกลาว เปนพระดําริ ของ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และพระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา เพื่อชวยเหลือผูป ระสบอุทกภัย ซึ่งเปนความรวมมือของหนวยงานตางๆ ที่มีความมุงมั่นในปณิธานเดียวกัน ใน การผลักดันใหเกิดกระบวนการจัดการดานสิง่ แวดลอมภายในชุมชนอยางยั่งยืน และเอื้อประโยชนใหกับทุกคนในสังคม จากการรวบรวมและคัดแยกกลอง เครื่องดื่มใชแลวอยางเปนระบบ ในฐานะ วัสดุเหลือใชที่สามารถนําไปใชประโยชน ะ ค เพื่อชวยเหลือผูขาดแคลนที่ประสบปญหา รือไม ห บ า ร ท ๆ “นอง เครื่องดื่ม ดานที่อยูอาศัย อง วากล ระมาณ นป มารถ จํานว กลอง สา 0 ลังคา 2,00 ิตแผนห ผล x นํามา ด 0.90 า !!!” ขน แผน 1 เขียว ม. ได 2.40
๓๒
กิจกรรม”เพื่อนใหม...รวมใจรักษสิ่งแวดลอม” บันทึกสิ่งที่ไดจากกิจกรรมนี้
และบาน 1 หลัง ชั้นเดียว ขนาด 30 ตร.ม. จะใช หลังคาประมาณ 35 แผน!!!”
๙
กิจกรรม”ฐานเรียนรูด า นสิ่งแวดลอม”
๔.ตั้งกองปุยหมักในที่รม เพื่อปองกันฝน ๕.หมั่นตรวจความชื้นของกองปุย หมักโดยใชมือบีบปุยหมักจะมีน้ํา ไหลออกมาเพียงเล็กนอยหากปุย หมักแหงใหรดดวยน้ําสะอาดหรือ น้ําหมักชีวภาพ หากปุยหมัก เปยกใหเติมมูลฝอยแหง
บันทึกสิ่งที่ไดจากกิจกรรมนี้ “ฐานเรียนรู เศรษฐกิจพอเพียง”
“ฐานเรียนรู ทรัพยากรน้ํา”
๖.พลิกกลับกองปุยหมักสัปดาหละครั้ง เพื่อเติมอากาศและ ลดความรอนในกอง ปุยหมักใหใกลเคียงกับภายนอกจนกระทั่งได ปุยหมักที่มีลักษณะออนนุมและเปอยยุยสี น้ําตาลเขมจนดํา (ไมมีกลิ่นเหม็นหรือกลิ่นฉุน)
การทําปุยหมักอยางงาย
ขั้นตอน
วัสดุอุปกรณที่ใช ๑.ขยะอินทรีย ๒.ดิน ๓.น้ํา ๔. เขง ๒ ใบ ๕ เสียม ๖.บัวรดน้ํา
๑.เตรียมเขงที่จัดทําปุย หมักอินทรีย ๒. นําเศษใบไมมารองไวใตเขง ๓.ใสดินรองกนเขง ประมาณ ๑ สวน ๔ ของเขง ๔ เทขยะอินทรีย (เศษอาหาร เชนกระดูกไก เปลือกไข เศษผลไม เปนตน)ลงในเขง ๕ หมั่นตรวจสอบความชื้น
๑๐
๓๑
ปุยหมักอินทรีย การใชปุยเคมีในการเกษตรจะทําใหสารเคมี ตกคางในดินและดินเสื่อมคุณภาพ แตถา หากเปลี่ยนเปน ปุยหมักอินทรีย ปุยหมักซึคงเราสามารถทําไดเองจะชวยลดคาใชจาย และทํา ใหสิ่งแวดลอมดีขึ้นดวยการทําปุย หมักอินทรีย คือ การนํามูล ฝอยที่ยอยสลายได เชน เศษใบไม หญา เศษผัก และผลไม มาหมักภายใตสภาวพที่ เหมาะสม ไดแก ความชื้น อุณหภูมิ ปริมาณอากาศ ออกซิเจน และอัตราสวนของมูลฝอย ที่นํามาหมักระหวางมูลฝอยแหง (มูลฝอยสีน้ําตาล เชน หญาแหง ฟางขาว ขี้เลื่อย )และ มูลฝอยสด (มูลฝอยสีเขียว เชน หญาและใบไมสด เศษผัก ผลไมสด มูลสัตว) ระยะเวลา ในการหมักตั้งแต 2 เดือน ถึง 1 ปปุยหมักที่ไดสามารถนําไปปรับปรุงคุณภาพดิน เพาะปลูกตนไม
วิธีการหมักมูลฝอย
มีรายละเอียด ดังนี้
๑.หั่นหรือยอยมูลฝอยสดใหมีขนาดเล็กประมาณ ๑-๒ นิ้ว **ควรระมัดระวังเรื่องอุปกรณที่เปนของมีคม**
๒.ผสมมูลฝอยแหง และมูลฝอยสดใหเขากัน ในอัตราสวน ๑:๑
กิจกรรม”ฐานเรียนรูด า นสิ่งแวดลอม” บันทึกสิ่งที่ไดจากกิจกรรมนี้ “ฐานเรียนรู ทรัพยากรปาไม”
“ฐานเรียนรู ทรัพยากรสัตวปา”
“ฐานเรียนรู ทรัพยากรดิน”
๓.ใชจอบหรือคราดเกลีย่ มูลฝอยใหกระจายทั่วกอง
๓๐
๑๑
ฐานที่ ๑ หลักการเทคโนโลยีสะอาด เทคโนโลยีสะอาด( ะอาด(Clean Technology ; CT) คือ การใชทรัพยากรอยางคุมคาดวยการนํากลับมาใชใหม หรือการรีไซเคิล ทําใหลดมลพิษ ณ แหลงกําเนิด ทําโดยปรับปรุง เปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี หรือปรับพฤติกรรมดวยการลดใชหรือใชวัตถุดิบที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และทําอยางตอเนื่อง
ขยะเยอะแยะไปหมด นองๆชวยพี่ๆทิ้งขยะลง ตามประเภทถังดวยนะจะ
หลักการเทคโนโลยีสะอาด ๑.ปองกัน/ลดมลพิษที่แหลงกําเนิดเพื่อขจัดปญหาการสูญเสียและเกิด มลพิษที่ตนตอ โดยการลดการใช ใชซา้ํ หรือการนํากลับมาใชใหม เพื่อใหมี ของเสียที่ตองทําการบําบัดหรือทิ้งเหลืออยูนอยที่สุด หรือไมมีเลย
๒.ใชทรัพยากร/วัตถุดิบ อยางมีประหยัดและคุมคา ใชอยางมีประสิทธิภาพ ๓.เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มผลผลิต
ประโยชนของเทคโนโลยีสะอาดในโรงเรียน • คุณภาพสิ่งแวดลอมในโรงเรียนดีขึ้น • บุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพกายและจิตดีขึ้น • โรงเรียนมีภาพลักษณที่ดีดานการจัดการสิ่งแวดลอม • ประหยัดทรัพยากรและงบประมาณ • ลดการใชพลังงาน • เสริมสรางความสัมพันธของบุคลากรในโรงเรียนขึ้น
๑๒
๒๙
๓. ขยะทั่วไป หรือ มูลฝอยทั่วไป คือ ขยะประเภทอื่น นอกเหนือจากขยะยอยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะ อันตราย มีลักษณะที่ยอยสลายยากและไมคุมคา สําหรับการนํากลับมาใชใหม เชน หอพลาสติกใสขนม ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก พลาสติกหอลูกอม ซองบะ หมีกึ่งสําเร็จรูป ถุงพลาสติกเปอนเศษอาหาร โฟ มเปอนอาหาร ฟอยลเปอนอาหาร ซองหรือถุงพลาสติก สําหรับบรรจุเครื่องอุปโภคดวยวิธีรีดความรอน เปนตน ๔.ขยะอันตรายหรือมูลฝอยอันตราย คือ มูลฝอยที่ ปนเปอน หรือมีองคประกอบของวัตถุดังตอไปนี้ ๑. ระเบิดได ๒.วัตถุไวไฟ ๓.วัตถุออกไซดและวัตถุเปอร ออกไซด ๔.วัตถุมีพิษ ๕.วัตถุที่ทาํ ใหเกิดโรค ๖.วัตถุ กัมมันตรังสี ๗.วัตถุที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง พันธุกรรม ๘.วัตถุกัดกรอน ๙.วัตถุที่กอใหเกิดการ ระคายเคือง ๑๐.วัตถุอยางอื่นที่อาจกอใหเกิด ผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมหรืออาจทําใหเกิด อันตรายแกบุคคล สัตวพืชหรือทรัพย เชน หลอดฟลูออเรสเซนต ถานไฟฉาย หรือแบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่ ภาชนะที่ใชบรรจุสารกําจัดแมลงหรือวัชพืช กระปองสเปรยบรรจุสหี รือสารเคมี เปนตน
๒๘
การจัดการขยะมูลฝอยดวยวิธี ๑A5R
๑.A Avoid : งด เลิก การใชและการบริโภคที่เปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม เชน งด เลิกใชถุง/ชอน พลาสติก โฟม ตะเกียบไม จานกระดาษ เปนตน ควรใช ปนโต จานกระเบื้อง แกว ชอนสอม อะลูมิเนียม ซึ่งมีอายุการใชงานนาน และ ชวยลดปริมาณขยะ หรือลดใชยาฆาแมลง ปุยเคมี สเปรย ทุกชนิดที่ใชสาร CFC เพิ่มแรงดันในกระปอง ซึ่งทําใหเกิดภาวะเรือนกระจกและทําลายโอโซนในชั้น บรรยากาศ
๒. Reduce : ลดใชเทาที่จาํ เปน และเพิ่มประสิทธิภาพการใชทรัพยากรใหคุมคา เกิดประโยชนมากที่สุด เชนไปทางเดียวกัน หรือใชรถประจําทางแทนรถยนต สวนบุคคล หรือใชจักรยาน หรือเดินแทน เพื่อประหยัดน้ํามัน ๓. Reuse ใชซ้ํา เชน เสื้อผา หนังสือ เครื่องใชไฟฟาทีช่ ํารุด นํามาซอมแซมหรือ บริจาคหรือขายใหซาเลง หรือนําขวดกาแฟมาใสน้ําตาล คุกกี้ หรือนําขวด พลาสติกมาประดิษฐเปนกระถางตนไม หรือโมบายเปนตน ๔. Recycle : นํากลับมาใชใหม เชน แกว กระดาษ โลหะ พลาสติก นํากลับมา ผานกระบวนการบดอัด และหลอมเพื่อผลิตใหม ชวยประหยัดการใชทรัพยากร และลดการใชพลังงาน ๕ Refill : ใชแบบเติม เชนสบูเหลว น้ํายาลางจาน น้ํายาปรับผานุม เปนตน ๖ Repair : ซอมใชใหม ซอมแซมของที่ชํารุดมาแลวนํากลับมาใชใหมเพื่อ ประหยัดพลังงานและลดปริมาณขยะ เชน เสื้อผา เครื่องใชไฟฟา เปนตน
๑๓
CT คือ อะ ไ ร ตอ บไ ด ไหมจะ
๑.เทคโนโลยีสะอาด (CT) คืออะไร ก. การใชทรัพยากรอยางคุมคาดวยการนํากลับมาใชใหม ข. การลดมลพิษ ณ แหลงกําเนิด ค. การใชวัตถุดิบที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ง. ถูกทุกขอ ๒.ขอใดคือกิจกรรมที่ “ไม”สอดคลองกับหลักการเทคโนโลยีสะอาด ก. โตโนนํากระปองที่ใชแลวไปประดิษฐเปนกระถางตนไม ข. นิชคุณนําแกวน้ําจากบานมาบรรจุน้ําดื่มแทนแกวน้ําพลาสติก ค. ริชปนจักรยานไปโรงเรียนแทนการขับมอรเตอรไซคเพื่อประหยัดน้ํามัน ง. อั้มใสปุยเคมีเพื่อเรงดอกเรงผลตนไม ๓.ขอใดคือประโยชนของหลักการเทคโนโลยีสะอาด ก. โรงเรียนมีคุณภาพสิง่ แวดลอมดีขึ้น ข. คุณครูและนักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ดีขึ้น ค. ประหยัดคาไฟฟา คาน้ํา ง. ถูกตองทุกขอ ๔.เด็กๆจะนําเทคโนโลยีสะอาดไปใชในโรงเรียนอยางไร ๑.......................................................................................................................... ๒.......................................................................................................................... ๓.......................................................................................................................... ๔.......................................................................................................................... ๕.......................................................................................................................... ๖.......................................................................................................................... ๗.........................................................................................................................
๑๔
ฐานที่ ๔ การจัดการขยะในโรงเรียน ประเภทขยะมูลฝอย
โดยทั่วไปแลวขยะแบงออกเปน ๔ ประเภท ไดแก ๑.ขยะยอยสลาย หรือ มูลฝอยยอยสลาย คือ ขยะเนา เสียและยอยสลายไดรวดเร็ว สามารถนํามาหมักทําปุยได เชน เศษผัก เปลือกผลไม เศษอาหาร ใบไม
๒. ขยะรีไซเคิล หรือ มูลฝอยทีย่ ังใชได คือของเสีย บรรจุภัณฑหรือวัสดุเหลือใช ซึ่งสามารถนํากลับมาใช ประโยชนใหมได เชน แกว กระดาษ กระปองเครื่องดื่ม เศษพลาสติก เศษโลหะ อลูมิเนียม ยางรถยนต กลอง เครื่องดื่มแบบ UHT เปนตน
๒๗
บันทึกชวยจํา
ฐานที่ ๒ การจัดการน้ําเสียในโรงเรียน น้ําเสียมาจากไหน ????
น้ําเสีย หมายถึง น้ําที่ผานการใชประโยชน แลวที่มีการปนเปอนสิ่งสกปรก ทําใหไมสามารถนําน้ํากลับมาใชไดอีก สิ่งปนเปอน ไดแก น้ํามัน ไขมัน ผงซักฟอก สบู ยาฆาแมลง สารอินทรีย ที่ทําใหเกิดการเนาเหม็นและเกิดเชื้อโรคตางๆ
แหลงกําเนิดน้ําเสีย แบงออกเปน ๓ แหลงใหญ ไดแก ๑.น้ําเสียจากชุมชน ๒.น้ําเสียจากอุตสาหกรรม ๓.น้าํ เสียจากเกษตรกรรม จงทําเครื่องหมาย หนาขอแหลงกําเนิดน้ําเสียในโรงเรียน สนามหญา
ทางเดิน สนามหญา
อาคารกีฬา
สระวายน้ํา
หองน้ําหญิง
อางลางมือ
อาคารเรียน
หองน้ําชาย หองน้ําครู
๒๖
โรงอาหาร โรงเตรียมอาหาร แปลงเกษตร
๑๕
มุมนักประดิษฐ วิธีการประดิษฐถังดักไขมันอยางงาย
๑.วัสดุอุปกรณ ๑.อางลางจานพรอมขาตั้ง (สามารถใชอางลางจานที่บานที่อยูแลวก็ไดจะ) ๒. ถังน้ําพลาสติกขนาดความจุ ๑๕ เซนติเมตร ๑ ใบ(ทําถังดักเศษขยะ) ๓.ตะกราพลาสติก ๑๕ ซม. ๑ ใบ (สําหรับประกอบถังดักไขมันยาว ๑ เมตร ๔.ทอพีวีซี ๑ ๑/๒ นิ้ว ๑ ตัว ๕.ขอตอตรง พีวีซี ๑ ๑/๒ นิ้ว ๑ ตัว ๖.ขอตอสามทาง พีวีซี ๑ ๑/๒ นิ้ว ๓ ตัว ๗.น้ํายาตอทอกระปองเล็ก ๑ กระปอง ๘.กาวอีพ็อกซี่ (มี ๒ หลอดผสมกันกอนใช ๑ ชุด) ๒.วิธีประดิษฐ ๑.เจาะรูถงั ใบที่ ๑ ดวยสวานหรือหัวแรงไฟฟาปลายแหลมใหทอเขาจากอาง ลางจานอยูสูงกวาทอออกจากถังไปยังถังที่ ๒ เทากับ ๕ เซนติเมตร ขอตอสามทาง พีวีซี
ทอออกไปถังที่ ๒
๕ ซม.
๑ ๑/๒ นิ้ว
ทอพีวีซี
๑ ๑/๒ นิ้ว
มากขึ้น ควรทําอยางนอย ๔ ครัง้ ตอป
• ใชหลอดไฟที่มีวัตตต่ํา สําหรับบริเวณที่จําเปนตองเปดทิ้งไว ทั้งคืน ไมวาจะเปนในบาน
หรือขางนอก เพื่อประหยัดคาไฟฟา
• ควรตั้งโคมไฟที่โตะทํางาน หรือติดตั้งไฟเฉพาะจุด แทนการ เปดไฟทั้งหองเพื่อทํางาน
จะประหยัดไฟลงไปไดมาก
• ควรใชสีออนตกแตงอาคาร ทาผนังนอกอาคารเพื่อการสะทอน แสงที่ดี และทาภายใน
อาคารเพื่อทําใหหองสวางไดมากกวา
• ใชแสงสวางจากธรรมชาติใหมากที่สุด เชน ติดตั้งกระจก หรือติดฟลมที่มีคุณสมบัติ
ปองกันความรอน แตยอมใหแสงผาน เขาไดเพื่อลดการใชพลังงานเพื่อแสงสวางภายใน อาคาร แสงสวางพอเพียงแลว
• ปดตูเย็นใหสนิท ทําความสะอาดภายในตูเย็น และแผนระบาย ความรอนหลังตูเย็น
สม่ําเสมอ เพื่อใหตูเย็นไมตองทํางานหนักและ เปลืองไฟ
• อยาเปดตูเย็นบอย อยานําของรอนเขาแชในตูเย็น เพราะจะ ทําใหตูเย็นทํางานเพิ่มขึ้น
กินไฟมากขึ้น
๕ ซม.
๑๖
• หมั่นทําความสะอาดหลอดไฟที่บา น เพราะจะชวยเพิ่มแสงสวาง โดยไมตองใชพลังงาน
• ถอดหลอดไฟออกครึ่งหนึ่งในบริเวณที่มีความตองการใช แสงสวางนอย หรือบริเวณที่มี
ทอจากอางลางจาน
ขอตอตรง พีวีซี
๑ ๑/๒ นิ้ว
• ไฟฟาวัตตสูง ชวยประหยัดพลังงาน
เจาะรูเล็กๆตามที่เสน
• ตรวจสอบขอบยางประตูของตูเย็นไมใหเสื่อมสภาพ เพราะจะ ทําใหความเย็นรั่วออกมา
ได ทําใหสิ้นเปลืองไฟมากกวาทีจ่ ําเปน
๒๕
• ควรปลูกตนไมรอบๆ อาคาร เพราะตนไมขนาดใหญ ๑ ตน ใหความเย็นเทากับ
เครื่องปรับอากาศ ๑ ตัน หรือใหความเย็น ประมาณ ๑๒,๐๐๐ บีทียู
๒.เจาะรูถงั ใบที่สองใหระดับต่ํากวาทอออกจากถังใบที่หนึ่ง ๕ ซม.และใหถังที่ สองต่ํากวาทอเขา ๕ เซนติเมตร
• ควรปลูกตนไมเพื่อชวยบังแดดขางบานหรือเหนือหลังคาเพื่อ เครือ่ งปรับ อากาศจะไมตอง
ทํางานหนักเกินไป
• ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อชวยลดความรอนและเพิ่มความชื้นใหกับ ดิน จะทําใหบานเย็น ไม
1 ซม
5 ซม
2 ซม
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. จะสามารถประหยัด คาไฟฟาได
• ไมจําเปนตองเปดเครื่องปรับอากาศกอนเวลาเริ่มงาน และควร ปดเครื่องปรับอากาศกอน
เวลาเลิกใชงานเล็กนอย เพื่อประหยัดไฟ
• เลือกซื้อพัดลมที่มีเครื่องหมายมาตรฐานรับรอง เพราะพัดลม ทีไ่ มไดคุณภาพ มักเสียงาย ทํา
ใหสิ้นเปลือง
• หากอากาศไมรอนเกินไป ควรเปดพัดลมแทนเครื่องปรับ อากาศ จะชวยประหยัดไฟ ประหยัด
เงินไดมากทีเดียว
• ใชหลอดไฟประหยัดพลังงาน ใชหลอดผอมจอมประหยัด แทนหลอดอวน ใชหลอดตะเกียบ
แทนหลอดไส หรือใชหลอด คอมแพคทฟลูออเรสเซนต
• ควรใชบัลลาสตประหยัดไฟ หรือบัลลาสตอิเล็กโทรนิกคูกับ หลอดผอมจอมประหยัด จะชวย
เพิ่มประสิทธิภาพในการประหยัด ไฟไดอีกมาก
๒๔
3 ซม 5 ซม
จําเปนตองเปดเครื่องปรับอากาศเย็น จนเกินไป
• ในสํานักงาน ใหปดไฟ ปดเครื่องปรับอากาศ และอุปกรณ ไฟฟาที่ไมจําเปน ในชวงเวลา
2.5 ซม
5 ซม
ถังใบที่หนึ่ง
5 ซม
ถังใบที่สอง
ลงรางระบายน้ํา
๓.ประกอบทอสั้นที่อยูภายในถังทั้งสองถัง เขากับทอสามทางตามรูปใหปลายทอ อยูหางจากกนถัง ๕ ซม. ๔.เสียบขอตอทุกตัวติดไวกับรูที่เจาะ ผสมกาวอีพ็อกซี่ พอที่จะใชแตละจุด (อยา ผสมไวครั้งละมากๆ กาวจะแข็งตัวกอนที่จะใชหมด) จับขอตอใหไดระดับปายกาว ระหวางขอตอกับถังใหรอบทั้งภายในและภายนอกถัง ๖.ตอทอจากอางลางจานเขาถังทีห่ นึ่ง ติดตั้งตะกราดักเศษอาหารไวที่ปลายทอ โดยใชลวดเกีย่ วกับขอบถัง เพื่อสะดวกในการนําขยะ เศษอาหารออกไปทิ้ง ทอจากอางลางจาน
ลวดเกี่ยวไวกับขอบถัง ๒ ชุด
ควรใชโคมไฟแบบมีแผนสะทอนแสงในหองตางๆ เพื่อชวยให แสงสวางจากหลอดไฟ กระจายได อยางเต็มประสิทธิภาพ ทําใหไมจําเปนตองใชหลอด ถังใบที่หนึ่ง
ไปถังที่สอง
๑๗
๗.จากถังที่สอง ใชทอพีวีซี ๑ ๑/๒นิ้ว ตอไปยังรางน้ําหรือถังซึมหรือถังเก็บ น้ํา “สามารถนํ สามารถนําไปรดน้ําตนไมได” การดูแลรักษา ๑.นําขยะ เศษอาหารในตะกราดักขยะออกทุกวัน ใสถุงทิง้ รวมกับขยะทั่วไปหรือ นําไปทําน้ําหมักชีวภาพ ใชเปนปุยหรือดับกลิ่น ๒. ไขมันที่ลอยอยูในถังดักไขมันควรตักออกทุกสัปดาห ใสถงุ นําไปทิ้งรวมกับ ขยะทั่วไปหรือฝงกลบ ๓. ถามีคราบไขมันอยูภายในถังควรลางทําความสะอาด ๔.ควรปดฝาถังดักไขมันตลอดเวลาเพื่อปองกันแมลงไตตอม
เครื่องปรับอากาศ
• ปดสวิตชไฟ และเครื่องใชไฟฟาทุกชนิดเมื่อเลิกใชงานและสรางใหเปนนิสัย
• ปดเครื่องปรับอากาศทุกครัง้ ที่จะไมอยูในหองเกิน ๑ ชั่วโมง สําหรับเครื่องปรับอากาศ
ทั่วไป และ ๓๐ นาที สําหรับเครื่องปรับอากาศเบอร ๕
• หมั่นทําความสะอาดแผนกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศ บอยๆ เพื่อลดการเปลือง
ไฟในการทํางานของเครื่องปรับอากาศ
• ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ ๒๕ องศาเซลเซียส ซึ่งเปนอุณหภูมิที่กําลังสบาย
• ไมควรปลอยใหมีความเย็นรั่วไหลจากหองที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ตรวจสอบและอุด
รอยรั่วตามผนัง ฝาเพดาน ประตูชองแสงและปดประตูหองทุกครั้งที่เปด เครื่องปรับอากาศ
“คําถาม” ถาม”
• ลดและหลีกเลี่ยงการเก็บเอกสารหรือวัสดุอื่นใดที่ไมจําเปน ตองใชงานในหองที่มี
เครื่องปรับอากาศ เพื่อลดการสูญเสียและใชพลังงานในการปรับอากาศภายในอาคาร
• ติดตั้งฉนวนกันความรอนโดยรอบหองที่มีการปรับอากาศ เพื่อลดการสูญเสียพลังงาน
จากการถายเทความรอนเขาภายในอาคาร
• ใชมูลี่กันสาดปองกันแสงแดดสองกระทบตัวอาคารและบุฉนวนกันความรอนตามหลังคา
และฝาผนังเพื่อไมใหเครื่องปรับ อากาศทํางานหนักเกินไป
หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงานจากการถายเทความรอนเขาสูห องปรับอากาศ ติดตั้งและใช อุปกรณควบคุมการเปด-ปดประตูในหองที่มีเครื่องปรับอากาศ
๑๘
๒๓
กระแสไฟฟา คือ การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนที่ไหลผานตัวนําอิเล็กตรอน มี หนวยสําหรับวัดกระแสไฟฟา เรียกวา แอมป
บันทึกชวยจํา
ถานองๆตองการทราบวาเครื่องใชไฟฟาแตละชนิดกินไฟเทาไร ก็สามารถหาได โดยใชเครื่องมือวัดกระแสไฟฟา ที่เรียกวา แอมปมิเตอร โดยนําไปวัดบริเวณ สายไฟของอุปกรณไฟฟานั้นๆ แลวอานคาหนวยวัดที่ไดเรียกวา “แอมป” การคํานวณกําลังไฟฟา
กําลังไฟฟา(W) = วัตต-กระแสไฟฟา (แอมป)x แรงดันไฟฟา
ตัวอยาง พัดลมตั้งโตะเมื่อวัดดวยแอมปมิเตอร วัดกระแสไฟฟาได ๐.๑๘ แอ มปอยากทราบวาพัดลมเครื่องนี้กินไฟกี่วัตต ๑.กระแสไฟฟา = ๐.๑๘ แอมป
๒.แรงดันไฟฟา = ๒๒๐ โวลต (แรงดันไฟฟาที่การไฟฟาจายตามบาน อาคาร ในประเทศไทย มีคาแรงดันไฟฟาเทากับ ๒๒๐ โวลต) ตอบ
๒๒
๑๙
ฐานที่ ๓ การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ไฟฟาเกิดขึ้นไดอยางไร เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไดแก ฟาแลบ ฟาผา
การผลิตไฟฟาของประเทศไทยที่ใชอยูในปจจุบัน สามารถแบงออกเปน ๒ ประเภทคือ
๑ ประเภทไมใชเชื้อเพลิง
๑.๑ โรงไฟฟาพลังน้ําจากน้ําในอางเก็บน้ํา หรือจากลําหวยที่อยูในระดับสูงๆ
๑.๒ โรงไฟฟาพลังงานธรรมชาติจากตนพลังงานที่ไมหมดสิ้น เชน พลังงาน แสงอาทิตย ลม ความรอนใตพภิ พ ๒ ประเภทใชเชื้อเพลิง
๒.๑ โรงไฟฟาพลังไอน้ํา ใชกาซธรรมชาติ ถานลิกไนต หรือน้ํามันเตา เปน เชื้อเพลิงใหความรอนแกน้ําจนเดือดเปนไอน้ํา นําแรงดันจากไอน้ํามาใชในการผลิตไฟฟา ๒.๒ โรงไฟฟาพลังความรอน ใชกาซธรรมชาติหรือน้ํามันดีเซลมาสันดาป ทําให เกิดพลังงานกลตอไป ๒.๓ โรงไฟฟากังหันแกส ใชกาซธรรมชาติหรือน้ํามันดีเซล
พลังงานไฟฟา
หนวยไฟฟา หมายถึง ความสิน้ เปลืองไฟฟาที่เครื่องใชไฟฟาใชเทียบกับ ระยะเวลาในการทํางาน มีหนวยเปน กิโลวัตต/ชั่วโมง หรือหนวย หรือยูนิต
กําลังไฟฟา หมายถึง ความสิ้นเปลืองไฟฟาที่เครื่องใชไฟฟาทํางานในชวงเวลา เทากันมีหนวยเปนวัตต หรือกิโลวัตต เครื่องใชไฟฟาที่มีวัตตสูงกวาจะกินไฟ มากกวา
พลังงานไฟฟา ... ๑ กิโลวัตต— ชั่วโมง ๑ กิโลวัตต (KW) เปนหนวยวัดกําลังไฟฟาหรือความสิ้นเปลืองไฟฟาที่ใชในการ ทํางาน
๑ กิโลวัตต-ชั่วโมง(๑ Kwh) เปนหนวยวัดของการผลิตหรือการใชพลังงานไฟฟา ใน ๑ ชั่วโมง ๑ กิโลวัตต =๑๐๐๐ วัตต, ๑ กิโลวัตต-ชั่วโมง = ๑ ยูนิต หรือ ๑ หนวย ๑ กิโลวัตต-ชั่วโมง
= จํานวนวัตต x จํานวนชั่วโมงที่ใชงาน ๑๐๐๐
= ๑ หนวย หรือ ๑ ยูนิต
๒.๔ โรงไฟฟาพลังความรอนรวม ใชกาซธรรมชาติหรือน้ํามันดีเซล
๒๐
๒.๕ โรงไฟฟาดีเซล ใชน้ํามันดีเซล
๒๑