Energy Crisis:Is Nuclear the Solution?

Page 1

VA.indd 1

1/27/12 11:31 AM


2

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ฉบับที่ 30 กันยายน – ธันวาคม 2554 No. 30 September - December 2011

ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 49 พระราม 6 ซอย 30 ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-298-5628 โทรสาร 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th

พรทิพย์ ปั่นเจริญ, รัชนี เอมะรุจิ

บรรณาธิการอำ�นวยการ:

สากล ฐินะกุล

บรรณาธิการบริหาร:

สาวิตรี ศรีสุข

กองบรรณาธิการ:

ภาวินี ณ สายบุรี, จงรักษ์ ฐินะกุล, จริยา ชื่นใจชน, นันทวรรณ เหล่าฤทธิ์, ผกาภรณ์ ยอดปลอบ, นุชนารถ ไกรสุวรรณสาร

บรรณาธิการภาษาอังกฤษ:

วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม

ผู้ช่วยบรรณาธิการ:

แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา

เลขานุการกองบรรณาธิการ: ศิริรัตน์ ศิวิลัย ผู้จัดทำ�:

หจก.สำ�นักพิมพ์ทางช้างเผือก 63/123 ซอยราษฎร์พัฒนา 5 แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กทม 10240 โทรศัพท์ 02-517-2319 โทรสาร 02-517-2319 E-mail: milkywaypress@gmail.com

Editorial Advisers:

Pornthip Puncharoen, Ratchanee Emaruchi

Editorial Director:

Sakol Thinagul

ลิขสิทธิ์บทความ สงวนสิทธิ์โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลิขสิทธิ์ภาพถ่าย สงวนสิทธิ์โดยผู้ถ่ายภาพหรือเจ้าของภาพ การพิมพ์หรือเผยแพร่บทความซ�้ำโดยไม่ใช่เพื่อการพาณิชย์ สามารถท�ำได้โดยอ้างอิงถึงกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม การพิมพ์เพื่อเผยแพร่ภาพถ่ายซ�้ำ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ก่อนเท่านั้น บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารนี้ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน เพื่อเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่หลากหลาย

Executive Editor:

Savitree Srisuk

Editorial Staff:

Pavinee Na Saiburi, Chongrak Thinagul, Jariya Chuenjaichon, Nantawan Lourith, Pagaporn Yodplob, Nuchanard Kraisuwansan

English Edition Editor:

Wasant Techawongtham

Text copyright by the Department of Environmental Quality Promotion, Ministry of Natural Resources and Environment.

Assistant Editor:

Maenwad Kunjara Na Ayuttaya

Editorial Secretary:

Sirirat Siwilai

Photographs copyright by photographers or right owners.

Producer:

Milky Way Press Limited

Publisher Department of Environmental Quality Promotion Ministry of Natural Resources and Environment 49 Rama VI Soi 30, Rama VI Rd., Bangkok 10400 Tel. 02-298-5628 Fax. 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th

Aricles may be reproduced or disseminated for noncommercial purposes with cited credit to the Department of Environmental Quality Promotion. Reproduction of photographs must be by permission of right owners only. Opinions expressed in the articles in this journal are the authors’ to promote the exchange of diverse points of view.

VA.indd 2

บรรณาธิการที่ปรึกษา:

Partnership 63/123 Soi Rat Pattana 5, Saphan Sung, Bangkok 10240 Tel: 02-517-2319 Fax: 02-517-2319 e-mail: milkywaypress@gmail.com

1/27/12 11:31 AM


บทบรรณาธิการ

ทุกครั้งที่ไฟดับ ก็มักได้ยินเสียงโห่ร้องขึ้น จาก ตัวเราเองและจากคนรอบข้าง เป็นเสียงโห่ร้อง ทีบ่ อกถึงความประหลาดใจระคนความหวัน่ วิตก และพอไฟกลับมาดังเดิม ก็มีเสียง “เฮ” ตอบรับ นีเ่ ป็นสิง่ บ่งบอกว่าชีวติ สมัยใหม่ผกู ติดอยูก่ บั การมีไฟฟ้าใช้ตลอด เวลาอย่างแยกไม่ขาด การเปิดสวิทช์ แล้วไฟไม่สว่าง หรือเครือ่ งไฟฟ้า อะไรก็ตามไม่ตดิ นอกจากท�ำให้เราต้องผิดหวังแล้ว เรายังแอบวิตกว่า “แล้วไฟจะมาเมื่อไหร่ล่ะ?” และนี่คือความวิตกของคนทั่วโลก จากความจริงที่ว่าแหล่ง พลังงานที่ใช้ขับเคลื่อนวิถีชีวิตสมัยใหม่และเศรษฐกิจโลก ไม่ว่าจะ เป็นน�้ำมันหรือก๊าซธรรมชาติ จะหมดไปในไม่ช้า แม้กระทั่งถ่านหิน ที่มีอยู่มากมายก็ไม่สามารถอยู่ยั้งยืนยงได้ จึงเป็นที่มาของค�ำถาม

W

henever electricity goes out, a roar often follows, the sound coming from us our self and other people around. It’s a sound of surprise mixed with concern. When power eventually returns, a cheer inevitably rises up in response. What this means is that our modern life is inextricably tied to having electricity at our command at all times. When we taps the switch on and the light bulb or whatever electric appliance hooked up to the switch fails to turn on, we often feel a pang of disappointment and are secretly worried when the power would return again. And this is a common concern of people the world over, arising from the fact that energy sources that drive the modern way of life and economy, be it oil or natural gas, will soon run out. Even coal which is plentiful cannot last forever. That’s why the inevitable question: Where

VA.indd 3

Editorial ที่ว่า แล้วเราจะหาขุมพลังงานที่ไหนมาทดแทนแหล่งพลังงานเดิมที่ ก�ำลังจะหมดไปได้? พลังงานนิวเคลียร์เคยสร้างความหวังให้กับโลกว่าจะผลิตไฟฟ้า ได้อย่างมากมายมหาศาลจากแร่ยูเรเนียมจ�ำนวนน้อยนิด ซึ่งจะขับ เคลื่อนเศรษฐกิจโลกให้เติบโตต่อไปเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด แต่ เราก็หนีสัจจธรรมข้อหนึ่งไปไม่ได้ นั่นก็คือ สิ่งใดที่มีคุณอนันต์ก็ มักมีโทษมหันต์เสมอ ส�ำหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แล้ว โทษที่แสน สาหัสที่สุดอย่างหนึ่งก็คือ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจนไม่สามารถควบคุมได้ ดังเช่นทีเ่ กิดขึน้ กับโรงไฟฟ้าฟุกชุ มิ ะ ไดอิจิ ทีญ ่ ปี่ นุ่ เมือ่ มีนาคม ปีนี้ และ เชอร์โนบิล ที่สหภาพโซเวียตเดิม เมื่อหลายปีก่อน แต่การใช้พลังงานนิวเคลียร์เป็นภยันตรายร้ายแรงต่อสังคม มนุษย์และสิ่งแวดล้อม ดังที่หลายๆ คนเกรงกลัวและกล่าวเตือน จริงหรือ? เส้นทางสีเขียว ฉบับนี้น�ำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยี นิวเคลียร์และความคิดเห็นที่แตกต่างต่อขุมพลังนี้

can we find an alternative energy source to replace these fast-depleting conventional sources? Nuclear power was once hoped to be the world’s savior to produce plentiful power from small quantities of uranium that would drive the world’s never-ending economic growth. However, a truth cannot be ignored: Whatever offers great benefits also comes with grave dangers. For nuclear power plants, one of the most severe dangers is an uncontrollable accident such as the one at Japan’s Fukushima Daiichi power plant in March this year and at former Soviet Union’s Chernobyl many years ago. But is nuclear power such a sinister threat to the human society and the environment as many have feared and warned about? This issue of Green Line presents facts about the nuclear technology and conflicting opinions about this great energy potential.

1/27/12 11:31 AM


4

สารบั ญ CONTENTS กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ข้ามฟ้า: ยุคเฟื่องฟูนิวเคลียร์ไป ...ยุคพลังงานใหม่มา ACROSS THE SKY:

Out with Nuclear Renaissance... In with the Era of New Energy

6

6 18

ลอดรั้วริมทาง: กากนิวเคลียร์: ปัญหาที่ยังแก้ไม่ตก แม้ในเยอรมนี ประเทศต้นคิด On AN unbeaten PATH:

Nuclear Waste: An Unsolvable Problem Even in Nuclear Power Pioneer Germany

• รู้จักกากกัมมันตรังสี • What is Radioactive Waste?

10 14 วิกฤตพลังงาน: นิวเคลียร์คือค�ำตอบ?

Energy Crisis: Is Nuclear the Solution?

• มองมุมต่าง • A Different Perspective • ความเป็นธรรมและยั่งยืน คือค�ำเพรียกหาจากชุมชน • Justice and Sustainability

What Communities Ask for

• สรีระของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ • The Anatomy of a Nuclear

Power Plant

การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า: เหมาะสมหรือเกินจริง? 42

VA.indd 4

Electricity Demand Forecast: On-target or Over-exaggerated

18 30 37 42 45 1/27/12 11:31 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

5

September - December 2011

สัมภาษณ์พิเศษ: รศ. โมโตกิ อะกิตสึ SPECIAL INTERVIEW:

Assoc Prof Motoki Akitsu

51 56

นักเขียนรับเชิญ: บทเรียนจากฟุกุชิมะ GUEST WRITER: Lessons from Fukushima

56

63

มหิงสา: รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ Little Mahingsa...Young Researchers: Award of Pride

63

เสียงชุมชน: นิวเคลียร์ vs ชุมชน สองวิถีที่ไม่สอดคล้อง

65

VOICES OF COMMUNITY: Nuclear Power vs Community: The Two Irreconcilable Paths

65

สี่แยกไฟเขียว: ต้นทุนและความเสี่ยง ที่มองไม่เห็นของพลังงานนิวเคลียร์ GREEN INTERSECTION:

75

The Invisible Costs and Risks of Nuclear Power

69

กิจกรรมกรม

75

DEPARTMENT ACTIVITIES

ล้อมกรอบ: ถ่านไฟเก่า VIEWFINDERS: Taan Fai Gao

VA.indd 5

78 1/27/12 11:31 AM


ข้ามฟ้า across the sky

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ยุคเฟื่องฟูนิวเคลียร์ไป ...ยุคพลังงานใหม่มา วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม

เมือ่ เดือนมีนาคม ค.ศ. 1979 ภาพยนตร์จากฮอลลีวดู้ เรือ่ ง The China Syndrome ได้ออกมาสร้างความฮือฮาให้กบั คน ดูทั่วโลก หนังเล่าเรื่องนักข่าวโทรทัศน์ (เจน ฟอนดา) และ ตากล้องคู่ใจ (ไมเคิล ดักลาส) ที่พบเรื่องไม่ชอบมาพากล เกีย่ วกับการรัว่ ไหลของกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

ชือ่ ของหนังเป็นศัพท์ทถี่ กู บัญญัตขิ นึ้ เพือ่ อธิบายอาการทีเ่ กิดจาก อุบัติเหตุในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ที่เมื่อระบบระบายความร้อนล้มเหลว น�ำไปสูก่ ารหลอมละลายของเชือ้ เพลิง จนตกลงบนพืน้ ของถังปฏิกรณ์ ละลายพืน้ ถังทะลุอาคารปฏิกรณ์ออกสูบ่ รรยากาศ และจินตนาการได้ ว่าสามารถละลายผิวโลกจนทะลุไปถึงอีกด้านหนึ่งของโลก เป็นความบังเอิญที่ว่าหลังจากภาพยนตร์เข้าโรงได้เพียง 12 วัน ก็เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทรีไมล์ไอส์แลนด์ ในสหรัฐอเมริกา แม้จะไม่มผี เู้ สียชีวติ จากเหตุการณ์ ครั้งนั้น แต่ก็สร้างความตื่นตระหนกให้กับโลกเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นอีก 7 ปีก็เกิดเหตุการณ์สะเทือนโลกอีกครั้ง เมื่อโรง ไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิลระเบิดอย่างรุนแรง จนสารกัมมันตรังสีแพร่ กระจายครอบคลุมทวีปยุโรปเป็นบริเวณกว้าง คร่าชีวิตผู้คนนับร้อย และท�ำลายสุขภาพของคนอีกนับไม่ถ้วน เหตุ ก ารณ์ ทั้ ง สองสร้ า งความเสี ย หายให้ กั บ อุ ต สาหกรรม นิวเคลียร์อย่างมากมาย โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วโลก ต้องหยุดชะงักลง แต่ไม่กปี่ หี ลังจากนัน้ เมือ่ เมฆหมอกกัมมันตรังสีและความทรงจ�ำ ของผูค้ นเจือจางลง แวดวงนิวเคลียร์กส็ ร้างยุทธศาสตร์ประชาสัมพันธ์ เพื่อบอกกับผู้คนว่า นิวเคลียร์จะเป็นพลังงานที่ช่วยผลักดันความ เจริ ญ เติ บ โตของเศรษฐกิ จ โลก โดยได้ ส ร้ า งวลี ติ ด ปากที่ เรี ย กว่ า “ยุคนิวเคลียร์คืนสู่ความเฟื่องฟู (Nuclear Renaissance)” ที่แปลกก็คือ การรณรงค์ครั้งนี้ได้แรงหนุนจากความตื่นตัวของ โลกต่อเรือ่ งโลกร้อน โดยวงการนิวเคลียร์โฆษณาว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เป็นพลังงานสะอาดที่ไม่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาร ส�ำคัญอันหนึ่งที่ก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกในโลก อย่างไรก็ตาม เมือ่ ญีป่ นุ่ ถูกถล่มด้วยแผ่นดินไหวขนาด 9 ริกเตอร์ ตามด้วยคลื่นสึนามิที่สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงต่อโรงไฟฟ้า ฟุกุชิมะ-ไดอิชิ ระบบระบายความร้อนเสียหายใช้การไม่ได้ จนท�ำให้

เกิดการระเบิดที่เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 4 เครื่อง แท่งเชื้อเพลิง นิวเคลียร์เกิดการหลอมละลายและสารกัมมันตรังสีรวั่ ไหล เป็นอาการ คล้ายดัง China Syndrome ความวาดหวังเกี่ยวกับยุคเฟื่องฟูของ นิวเคลียร์ก็เป็นอันต้องพังทลายลงไป ทันทีหลังจากนั้น ประเทศที่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อยู่แล้วและที่มี แผนจะก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ตา่ งก็เหยียบเบรกกันตัวโก่ง รัฐบาล สัง่ ให้มกี ารตรวจสอบความปลอดภัยในโรงไฟฟ้าทุกโรงทีม่ หี รือทบทวน แผนก่อสร้างโรงไฟฟ้าในอนาคต ทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ ซึง่ ใช้ไฟฟ้า 30% จากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 54 แห่ง นายกรัฐมนตรีนาโอโตะ คัง กล่าวกับสื่อมวลชนหนึ่งเดือนให้หลังว่า นโยบายที่จะเพิ่มก�ำลังผลิตจากนิวเคลียร์เป็น 50% ภายในปี 2030 นัน้ ควรจะต้องทบทวนใหม่ โดยให้นำ�้ หนักกับพลังงานหมุนเวียนแทน

หญิงสาวถือเทียนและป้ายต่อต้านนิวเคลียร์ ในกิจกรรมไว้อาลัยแก่ผู้ประสบภัยฟุกุชิมะ จัดขึ้นที่เมืองบังกาลอร์ ประเทศอินเดียเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2554 – กรีนพีซ A woman holds up a candle and an anti-nuclear sign during a vigil in Bangalore, India, on 11 April 2011 to pay homage to the victims of the earthquake that hit Japan and say no to nuclear energy. – Greenpeace

VA.indd 6

1/27/12 11:31 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

7

September - December 2011

Out with Nuclear Renaissance...In with the Era of New Energy Wasant Techawongtham

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ไลเมริค ตั้งอยู่บนแม่น�้ำสคูลคิล ใกล้เมืองไลเมริค ทางตะวันตก เฉียงเหนือของเมืองฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา – วิถีพีเดีย

Limerick Nuclear Power Plant, on the Schuylkill River near Limerick, northwest of Philadelphia, PA. – Wikipedia

I

n March 1979 Hollywood released The China Syndrome, a movie about a television journalist (Jane Fonda) and a freelance cameraman (Michael Douglas) who happened upon an irregular incident while filming what was to be a light documentary about a nuclear power plant. The movie title is a term that describes a series of events that could happen when the loss of coolant in a nuclear reactor leads to the severe meltdown of the core components of the reactor, which then burn through the containment vessel and the housing building, then notionally through the crust and body of the Earth until reaching China. Only 12 days after the movie opened in theatre, the Three Mile Island power plant in Pennsylvania in the US experienced a partial meltdown, instantly turning the movie into a global box office hit. While no casualties resulted from that accident, it had caused serious concerns for people all over the world. A mere seven years after Three Mile Island, another nuclear accident shocked the world when the Chernobyl nuclear plant suffered a serious meltdown and spread radiation over wide areas of Europe. More than a hun-

dred people were said to have died shortly after the accident which continued to cause severe health effects to an innumerable number of people. The two incidents inflicted serious damage on the nuclear power industry, causing nuclear power plant projects all over the world to screech to a halt. However, when the proverbial radioactive dust settled and people’s memory faded several years later, the nuclear industry devised a public relations strategy to convince the public that nuclear power was an energy source that would drive the world’s economy. The industry expected a new era of nuclear power resurgence calling it the “Nuclear Renaissance”. Interestingly, the industry’s campaign has been boosted by increased public awareness about global warming, which made it possible for its proponents to claim that nuclear power is clean energy because it releases no carbon dioxide, an important greenhouse gas. However, when a 9-magnitude earthquake and an ensuing tsunami hit Japan, they also knocked out the cooling system at the Fukushima Daichi power plants which led to hydrogen explosion that disabled four of its reactors, causing partial fuel meltdown and massive radiation leak – symptoms similar to the China Syndrome. The dream of a nuclear renaissance virtually evaporated overnight. After that devastating incident, all countries that had nuclear power plants or planned to build one immediately stepped on the brake. They either ordered safety assessment be done on the existing plants or reviews of construction plans. In Japan which got 30% of its power supply from 54 nuclear plants, then prime minister Naoto Kan told the press one month after the disaster that Japan’s nuclear policy, which envisages more than 50% of its total electricity supply coming from nuclear power by 2030, must be reviewed from scratch and that renewable energy would be a key pillar of the country’s energy policy. Thailand’s plan to build five nuclear plants in the next 20 years was put on hold for three years by the government under the Democrat Party-led coalition at the time. Prime Minister Benjamin Netanyahu of Israel stated that the country was now unlikely to pursue civil nuclear energy. However, Russia, Britain, France and Poland have said they will leave their nuclear energy policies largely unchanged.

ข้ามฟ้า across the sky

VA.indd 7

1/27/12 11:31 AM


8

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ประธานาธิบดีจิมมี่ คาร์เตอร์ เยี่ยมพื้นที่ทรีไมล์ ไอส์แลนด์ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2522 ภายหลังเกิดอุบัติเหตุที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เมื่อวันที่ 28 มีนาคม – วิถีพีเดีย President Jimmy Carter visits Three Mile Island on April 1, 1979, following the accident on March 28, 1979. – Wikipedia

ประเทศไทยเองที่ก�ำลังเตรียมการที่จะสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 5 โรงก็ ต ้ อ งหยุด ชะงัก หลังจากรัฐบาลภายใต้การน�ำของพรรค ประชาธิปัตย์สั่งชะลอการด�ำเนินแผนไป 3 ปี ที่ อิ ส ราเอล นายกรัฐมนตรีเบนจามิน เนทันยาฮู ตัดสิน ใจ ยกเลิกแผนการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ แต่ฝรั่งเศส โปแลนด์ รัสเซีย และอังกฤษ ต่างยืนยันว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายพลังงาน นิวเคลียร์ ในขณะเดี ย วกั น สมาคมนิ ว เคลี ย ร์ โ ลก ซึ่ ง เป็ น องค์ ก รของ อุตสาหกรรมนิวเคลียร์ พยายามปลอบขวัญชาวโลกโดยชี้ว่าทั่วโลกมี เครื่องปฏิกรณ์อยู่ 440 เครื่องใน 31 ประเทศ ผลิตไฟฟ้า 15% ของ ก�ำลังผลิตทั้งโลก และยังมีการก่อสร้างโรงไฟฟ้าอีก 60 โรงใน 15 ประเทศ รวมทั้ง เกาหลีใต้ จีน และรัสเซีย แต่ที่น่าสนใจและอาจจะกลายเป็นกระแสโลกขึ้นมาคือ การที่ ประชาชนจ�ำนวนมากในเยอรมนี สวิสเซอร์แลนด์ และอิตาลี ออก มาแสดงท่าทีที่ชัดเจนว่าไม่ต้องการพลังงานจากเชื้อเพลิงประเภทนี้ อีกต่อไป ทีป่ ระเทศอิตาลี รัฐบาลจัดให้มกี ารลงประชามติเกีย่ วกับนโยบาย นิวเคลียร์เมื่อเดือนมิถุนายน มีผู้ออกมาใช้สิทธิ 60% ของผู้มีสิทธิ ออกเสียงทั้งหมด ปรากฏว่า 94% แสดงเจตจ�ำนงให้รัฐบาลยกเลิก โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ซึ่งโดยกฏหมายอิตาลี นั่นหมายถึงยุค นิวเคลียร์ได้สิ้นสุดลง ส่วนที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ซึ่งพึ่งพานิวเคลียร์เพื่อผลิต ไฟฟ้าถึง 40% ประชาชนกว่า 20,000 คนออกมาเดินขบวนเมื่อ เดือนพฤษภาคมต่อต้านพลังงานนิวเคลียร์ ถือเป็นการเดินขบวนครั้ง ใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งของประเทศ หลังจากนั้นไม่นาน รัฐบาลประกาศ เจตนารมย์ทจี่ ะปิดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทงั้ หมดในประเทศภายใน 23 ปี ข้างหน้าและจะไม่มีการก่อสร้างใหม่อีก แต่ทสี่ ร้างเสียงฮือฮาไปทัว่ โลกก็คอื ทีป่ ระเทศเยอรมนี ซึง่ ได้ไฟฟ้า ถึง 22.6% จากนิวเคลียร์ หลังจากเกิดเหตุฟกุ ชุ มิ ะไม่นาน รัฐบาลก็สงั่ ปิดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เก่า 7 โรง เมือ่ รวมกับอีกหนึง่ โรงซึง่ ปิดเพือ่ บ�ำรุง รักษาอยู่ เท่ากับมีโรงไฟฟ้า 8 ใน 17 โรงปิดไปแล้ว ต่อมาเมื่อปลายเดือนพฤษภาคม รัฐบาลก็ประกาศว่า เยอรมนี จะเลิกใช้นิวเคลียร์ภายในปี ค.ศ. 2022 การประกาศดังกล่าวส่งแรง สะเทือนที่ช๊อคโลก เพราะเยอรมนีเป็นประเทศอุตสาหกรรมที่ใหญ่ เป็นล�ำดับ 4 ของโลก เป็นประเทศต้นๆ ที่เริ่มใช้ไฟฟ้าจากนิวเคลียร์ ตั้งแต่ปี 1969 และถือเป็นผู้คิดค้นพลังงานนิวเคลียร์ขึ้นมาก่อนใคร ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นหลังจากชาวเยอรมนีกว่า 250,000 คนออกมา เดินขบวนต่อต้านพลังงานนิวเคลียร์ ซึง่ เป็นการยืนยันข้อเรียกร้องทีม่ ี

VA.indd 8

มาโดยตลอดตั้งแต่เกิดเหตุโรงไฟฟ้าเชอร์โนบิลขึ้น ค�ำถามที่เกิดขึ้นคือ แล้วเยอรมนีจะหาแหล่งพลังงานมาชดเชย ที่ขาดหายไปได้อย่างไร บริษัทพลังงานในเยอรมนีและประเทศอื่นๆ ต่างออกมาเตือนว่า การยกเลิกนิวเคลียร์อย่างรวดเร็วเช่นนี้จะสร้าง หายนะให้แก่เศรษฐกิจของประเทศ น�ำไปสู่การขาดแคลนพลังงาน และท�ำให้เยอรมนีกลายเป็นผู้น�ำเข้าพลังงานในที่สุด แต่รัฐบาลก็แจงว่า มีแผนที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เพื่อประหยัดพลังงานให้ได้ 10% และเพิ่มพลังงานหมุนเวียนซึ่งมี อยู่แล้ว 20% ในปัจจุบันเป็น 35% ภายในปี 2020 และเป็น 50% ภายในปี 2030 โดยมีเป้าหมายที่จะผลิตพลังงานหมุนเวียนให้ได้ถึง 80% ภายในปี 2050 เลยทีเดียว ก่อนหน้าที่จะมีการประกาศนโยบายปลอดนิวเคลียร์ นายก รัฐมนตรี นางอังเกลา แมร์เคิล ได้แต่งตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญเรียกว่า “คณะกรรมการจริยธรรมว่าด้วยการผลิตพลังงานที่ปลอดภัย” เพื่อ ศึกษาและให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับนโยบายพลังงานของประเทศ ในรายงาน 28 หน้าที่ส่งให้นางแมร์เคิล คณะกรรมการกล่าว ว่า หายนะที่ฟุกุชิมะ “แสดงให้เห็นถึงข้อจ�ำกัดของมาตรการต่างๆ ของมนุษย์ในการรับมือหายนะและเหตุฉุกเฉิน (แม้แต่)ในประเทศที่ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและระเบียบแบบแผนสูงเช่นญี่ปุ่น” ในขณะ ที่นางแมร์เคิล เองได้กล่าวต่อสื่อมวลชนว่า “เหตุการณ์ในญี่ปุ่นแสดง ให้เราเห็นว่าแม้แต่สิ่งที่ดูเหมือนว่าจะเป็นไปไม่ได้ทางวิทยาศาสตร์ก็ ยังเกิดขึ้นได้” แน่นอนว่า สิ่งที่เยอรมนีตัดสินใจลงไปเป็นความท้าทายและ ความเสี่ยงอย่างใหญ่หลวง เพราะเป็นสิ่งที่ไม่มีประเทศไหนในโลก ที่ไม่เพียงไม่กล้าท�ำ แต่แม้จะคิดก็ยังไม่กล้า มันเป็นการเดิมพันที่ มีหน้าตักมหาศาล แต่คณะกรรมการจริยธรรมฯ ไม่มองว่ามันเป็นความเสี่ยง กลับ มองว่าเป็นโอกาสของเยอรมนีทจี่ ะเป็นผูน้ ำ� ของโลกในการก้าวเข้าสูย่ คุ พลังงานใหม่ และในทีส่ ดุ จะได้รบั รางวัลทางเศรษฐกิจอย่างใหญ่หลวง “การถอนตัวจากพลังงานนิวเคลียร์จะกระตุน้ ความเจริญเติบโต และสร้างโอกาสมากมายทางเทคนิค เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจะวาง เยอรมนีให้อยู่ในต�ำแหน่งที่กลายเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ยั่งยืน” รายงานของคณะกรรมการฯ กล่าว “เยอรมนีจะสามารถ แสดงให้เห็นว่าการถอนตัวจากนิวเคลียร์เป็นโอกาสที่จะสร้างระบบ เศรษฐกิจพลังสูงได้” สิง่ ทีจ่ ะตามมาก็คอื การตัดสินใจทีช่ ดั เจนเช่นนีจ้ ะท�ำให้ประเทศ เยอรมนีสามารถทุ่มเทสมาธิ ทรัพยากรและพลังงานทั้งปวงเพื่อสร้าง ระบบพลังงานใหม่ และเมือ่ รัฐบาลและสังคมส่งสัญญานชัดเจนเช่นนี้ ทางภาคธุรกิจเองก็เริ่มตอบสนอง โดยเมื่อกลางเดือนกันยายนนี้เอง บริษัทซีเมนส์ ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจยักษ์ใหญ่ของประเทศ ได้ประกาศว่า บริษัทจะถอนตัวจากอุตสาหกรรมนิวเคลียร์โดยสิ้นเชิง อีกไม่นาน เยอรมนีกจ็ ะแสดงให้เห็นว่าจะเป็นผูน้ ำ� โลกไปสูร่ ะบบ พลังงานใหม่ได้ส�ำเร็จหรือไม่ ถ้าส�ำเร็จ เยอรมนีก็จะได้รับความนับ หน้าถือตามากยิ่งขึ้นและผลพวงทางเศรษฐกิจที่มหาศาลก็จะตามมา อย่างไม่ต้องสงสัย n

1/27/12 11:31 AM


กักันนยายน ยายน -- ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เอนริโค เฟอร์มี 2 ใกล้เมืองดีทรอย์ รัฐมิชิแกน เปิดใช้งาน เมื่อเดือนมกราคม 2531 ก่อนหน้านี้ โรงเฟอร์มี 1 เกิดอุบัติเหตุแท่งเชื้อเพลิง หลอมละลายจนเกือบสร้างหายนะให้รัฐมิชิแกนตอนใต้กับรัฐโอไฮโอตอนเหนือ มี แผนสร้างโรงไฟฟ้าเฟอร์มี 3 ภายใน 5-10 ปีข้างหน้า – วิถีพีเดีย

The Enrico Fermi II nuclear plant near Detroit, Michigan, was opened in January 1988. Fermi I melted down back in the 60s, and almost took out southern Michigan and northern Ohio. Fermi III is planned to be built in about 5-10 years. – Wikipedia

Trying to put on a brave face in light of what happened, the World Nuclear Association, an industry group, said 440 nuclear reactors operate in 31 countries, producing about 15 percent of the world’s electricity and that more than 60 plants were being built in 15 countries, notably Russia, China and South Korea. In the meantime, more fascinating events took place across Europe that could give any nuclear industry executive a nightmare. Large numbers of citizens in Germany, Italy and Switzerland made it clear that they did not want nuclear power as part of their future. The development has the potential to become a global trend. In Italy, a referendum was held to allow voters to decide whether they wanted the government to pursue nuclear power. More than 60% of voters turned out at the polls and 94% of them said no, which by law meant that the nuclear era in Italy has come to an end. Meanwhile, in Switzerland which has depended on nuclear power for 40% of its electricity supply, more than 20,000 people demonstrated in May to oppose nuclear power. It was one of the largest demonstrations the country has ever seen. Shortly afterward the Swiss government made a commitment to close down all nuclear power plants within the next 23 years and not to build any new one. But what caused a buzz throughout the world happened in Germany which depends on nuclear for 22.6% of its power supply. Immediately after the Fukushima disaster, the government ordered seven old reactors to close. With one other plant which was down for maintenance and ordered not to start operation again, Germany effectively closed down eight of its 17 plants. Then in May, the German government put a final nail on the coffin for nuclear power in the country when it announced that Germany would be nuclear-free by 2022. The announcement sent a shock wave across the globe. Not only is it the fourth largest industrialized economy, it was where nuclear power was invented and one of the earliest countries to use nuclear power since 1969. This development came right after more than

9

September September -- December December 2011 2011

250,000 Germans across the country put on massive demonstrations to reiterate their expressed aversion for nuclear power since the Chernobyl nuclear disaster. The question that naturally follows is: How does Germany expect to get new power sources to compensate for the loss of nuclear power supply? Energy corporations both inside and outside the country were quick to warn that to quit nuclear power in such haste would bring certain economic disasters to the country, lead to severe power shortages and turn Germany into a net power importer. In response, the government said it has planned to boost power efficiency by 10% and increase the share of renewable energy from 20% at the present to 35% by 2020 and to 50% by 2030. Its final goal, it said, was to derive power from renewable sources by 80% by 2050. Prior to announcing her government’s nuclear-free policy, Prime Minister Angela Merkel appointed a panel of energy experts called the Ethics Commission on a Safe Energy Supply to study the alternatives and advise the government on the country’s energy policy. In its 28-page draft to Merkel, the commission argues that the Fukushima disaster “demonstrates the limitations of human disaster-preparedness and emergency measures,” even “in a highly organized, high-tech country like Japan”. Merkel later told a Berlin news conference that: “The events in Japan have shown us that even things that seem all but impossible scientifically can in fact happen.” What the Germans have decided obviously poses a tremendous risk and challenge. It is something no country dares to think, let alone make such a firm commitment. It is a gamble with a huge stake. But the ethics commission refuses to see it as a risk but rather as an opportunity for Germany to lead the world into a new era of energy development and to reap great benefits from it. “A withdrawal from nuclear power will spur growth, offer enormous technical, economic and social opportunities to position Germany even further as an exporter of sustainable products and services,” said the panel’s report. “Germany could show that a withdrawal from nuclear energy is the chance to create a high-powered economy.” The result of such a clear and firm commitment is that Germany would be able to devote full concentration, resources and energy on building a new energy system. And when the government and society send out such a clear signal, it is almost certain that the business sector will soon fall in line. Indeed, this has already happened when, in September, German industrial and engineering conglomerate Siemens announced it was to withdraw entirely from the nuclear industry. Before long, Germany will show the world whether it could successfully venture into the Era of New Energy. If it succeeds, it will not only earn itself greater global admiration and respect. It will, without doubt, also reap enormous economic benefits. n

ข้ามฟ้า across the sky

VA.indd 9

1/27/12 11:31 AM


10

กันยายน - ธันวาคม 2554

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path กากนิวเคลียร์: ปัญหาที่ยังแก้ไม่ตก แม้ ในเยอรมนี ประเทศต้นคิด September - December 2011

วรวรรณ วรรณลักษณ์

แม้ว่าวิกฤตินิวเคลียร์ในประเทศญี่ปุ่นที่สร้างความตื่นตระหนกต่อ คนทัว่ โลก เรือ่ งผลกระทบทีท่ ำ� ให้เกิดการรัว่ ไหลของสารกัมมันตรังสี จะส่งผลให้ประเทศไทยหันมาทบทวนแผนการสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์และ ขยายระยะเวลาการตัดสินใจออกไปอีก 3 ปี แต่วัน นี้ ค�ำถามต่อพลังงานไฟฟ้านิวเคลียร์ไม่ได้มีเพียงประเด็นเรื่องความ ปลอดภัยเท่านั้น ส�ำหรับประเทศไทยเองควรใช้เวลาศึกษาถึงค่าใช้ จ่ายต้นทุนที่มีราคาสูง และความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ซึ่งการค�ำนวณ ค่าใช้จ่ายต่างๆ เหล่านี้จ�ำเป็นต้องค�ำนวณค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งระบบ ตลอดระยะเวลากว่า 5 เดือนที่ผ่านมา เราอาจยังหาค�ำตอบไม่ ได้ชัดเจนนักว่า ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากผลกระทบของการรั่วไหล ของสารกัมมันตภาพรังสีสู่สภาวะแวดล้อมภายนอกโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะ ไดอิจิจะมีมูลค่าความเสียหายมหาศาลเพียงใด เนื่องจากการแก้ไข ปัญหาโดยบริษัทเทปโกและรัฐบาลญี่ปุ่นยังคงไม่ยุติ มูลค่าความเสีย หายต่างๆ จากอุบัติเหตุนิวเคลียร์เหล่านี้อาจเป็นเพียงความเป็นไป ได้หนึ่งที่อาจเกิดขึ้นกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วโลก

แต่ ป ั ญ หาที่ จ ะตามมาแน่ น อนเมื่ อ ตั ด สิ น ใจสร้ า งโรงไฟฟ้ า นิวเคลียร์ คือ การก�ำจัดกากนิวเคลียร์ขั้นสุดท้าย ที่จวบจนวันนี้ ยัง ไม่มีประเทศใดในโลกที่มีการด�ำเนินการจัดเก็บกากของเสียจากแท่ง เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ใช้แล้วและกากกัมมันตรังสีอื่นๆ ได้อย่างถาวร หน่วยงานที่รับผิดชอบของไทยก็ยังหาค�ำตอบที่ชัดเจนไม่ได้ และเกิด กระแสการคาดเดาต่างๆ นานาว่า ทางออกหนึ่งที่น่าเป็นไปได้คือ การวางแผนใช้เหมืองโปแตชทางแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศส�ำหรับจัดเก็บกากนิวเคลียร์เหล่านี้

Nuclear Waste: An Unsolvable Problem Even in Nuclear Power Pioneer Germany

Vorawan Wannalak

E

ven though the nuclear crisis in Japan – which rang alarm bells around the world about the impact of radioactive decay leaking – may have led Thailand to review a plan to build a nuclear power plant, and to postpone the decision for another three years, the question of a nuclear power plant does not stop at only the issue of safety. For Thailand, the questions to consider are the costs which are high and whether investing in such technology is worthwhile, given our economic variables. Moreover, the calculation of the costs and expenses has to embrace the whole system. Over the past few months or so, we have found no clear answer as to the enormity of material damage as

VA.indd 10

ลักษณะโพรงและการทรุดตัวของชั้นเกลือ

Inside the ASSE II salt mine part of which has collapsed.

a consequence of the leakage of radioactive decay from the Fukushima Daiichi power plant. This is because both Tokyo Electric Power Company (TEPCO) and the Japanese Government have not yet completed their process of problem solving. The extent of damages from these nuclear leakages might be one possibility that might recur at nuclear power plants all over the world. The problem that will surely follow after any decision to build a nuclear power plant is the elimination of the eventual nuclear waste. To this day, no country in the world has been able to eliminate permanently the waste from used nuclear rods and other radioactive decay. The Thai agencies responsible for this still have yet to find a clear answer, triggering a current of speculation that one

1/27/12 11:31 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

11

September - December 2011

แนวทางการแก้ปัญหาเรื่องกากนิวเคลียร์ของประเทศที่มีการ สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ปจั จุบนั ส่วนใหญ่มกั นิยมใช้วธิ กี ารจัดเก็บทาง ธรณีวิทยา (Geologic Disposal) โดยกากของเสียจะถูกเก็บในโพรง ใต้ดินลึกหลายร้อยเมตรเพื่อป้องกันการรั่วไหลในอนาคต แต่วิธีการ นี้ก็สร้างปัญหาในบางประเทศ อาทิ ประเทศเยอรมนีซึ่งมีปัญหาจาก การก�ำจัดกากนิวเคลียร์ในเหมืองเกลือ ASSE II และเกิดการรั่วไหล ของน�้ำจืดเข้าไปในเหมือง และอาจส่งผลกระทบต่อการรั่วไหลของ สารกัมมันตภาพรังสีต่อสภาพแวดล้อมและชุมชนที่อาศัยโดยรอบได้ บทความนี้ขอเล่าถึงประสบการณ์ที่ได้รับจากการไปเยี่ยมชม เหมืองเกลือ ASSE II เมื่อปีที่แล้ว เหมืองเกลือ ASSE II เป็นเหมืองที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2449 โดย มีการขุดแร่เกลือทีร่ ะดับ 750 เมตรใต้ผวิ ดิน ปัจจุบนั เป็นเหมืองแร่รา้ ง ที่รัฐบาลเยอรมันเลือกใช้เป็นสถานที่ทดลองเก็บกากนิวเคลียร์ถาวร ในปี พ.ศ. 2503 เนื่องจากเชื่อกันว่าเกลือหรือดินเหนียวมีคุณสมบัติ ในการป้องกันการแผ่กระจายของรังสีได้ แต่ในช่วงนั้น คนเยอรมัน

เองก็ยงั ไม่มกี ารศึกษาอย่างจริงจังถึงความเสีย่ งและอันตรายของการ เก็บกากนิวเคลียร์ ในปี พ.ศ. 2510 กากนิวเคลียร์จากแหล่งต่างๆ ในเยอรมันก็เริ่ม ถูกขนย้ายเข้าสูเ่ หมือง ASSE II จนถึงปี พ.ศ. 2521 เหมืองแห่งนีก้ ก็ ลาย เป็นที่เก็บกากนิวเคลียร์รังสีระดับต�่ำจ�ำนวน 125,000 บาร์เรล และ กากนิวเคลียร์รังสีระดับปานกลางจ�ำนวน 1,300 บาร์เรล 10 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2531 ปัญหาก็เกิดขึ้นเนื่องจากน�้ำใต้ดิน ที่ไหลซึมเข้าสู่ภายในเหมือง ซึ่งชั้นหินเกลือจะประกอบไปด้วยเกลือ หลายชนิดและบางชนิดเมื่อถูกน�้ำก็เกิดการละลาย ท�ำให้ชั้นหิน เกลือเกิดรอยแตกและทรุดตัว ถังบรรจุกากนิวเคลียร์ถูกถมทับด้วย เศษเกลือที่พังทลายลงมา รวมทั้งสารละลายเกลือที่เกิดจากน�้ำที่ ซึมเข้าไป สิ่งที่เกิดขึ้นนี้ถือเป็นเรื่องอันตรายมาก เพราะนานวันเข้า ถังบรรจุกากนิวเคลียร์ก็จะผุกร่อนมากขึ้น และสารกัมมันตรังสีก็จะ แพร่ออกมาปนเปื้อนหินเกลือและน�้ำใต้ดิน นอกจากนี้ หากชั้นหิน เกลือยุบตัวไปเรื่อยๆ เหมืองแห่งนี้อาจถล่ม และก๊าซ Radon ซึ่งเป็น ก๊าซกัมมันตรังสีกจ็ ะแพร่กระจายสูช่ นั้ บรรยากาศโดยตรงสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ Helmholtz ซึง่ เป็นหน่วยงานของรัฐทีเ่ ป็นผูด้ แู ลสถาน ทีเ่ ก็บกากนิวเคลียร์ ASSE II ไม่เปิดเผยเรือ่ งนีต้ อ่ ประชาชนจนกระทัง่ ปี พ.ศ.2551 สร้างความไม่พอใจเป็นอย่างมากแก่ชาวบ้านในชุมชน ใกล้เคียงซึ่งได้เคลื่อนไหวคัดค้านการใช้เหมือง ASSE II เป็นที่เก็บ กากนิวเคลียร์มาตั้งแต่ 40 ปีก่อน รัฐบาลเยอรมันจึงมีค�ำสั่งให้เปลี่ยน หน่วยงานดูแลเหมือง ASSE II การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นนี้เป็นเรื่องที่ยุ่งยากมาก สิ่งที่จะต้อง ท�ำก็คือ อันดับแรก จะต้องป้องกันไม่ให้อุโมงค์ในเหมืองถล่มเพิ่มขึ้น ผู้เชี่ยวชาญเยอรมันใช้วิธีฉีดคอนกรีตเข้าไปในช่องว่างรอยแตกของ

possible option should be the use of a potash mine in the Northeast for keeping these nuclear residues. Current practice among countries with nuclear power plants mostly calls for geologic disposal. In other words, nuclear residues are kept in hollows several hundred metres under ground to prevent leakage in future. But this method is causing rows in some countries, for instance in Germany, which is facing a dilemma from keeping nuclear waste in a salt mine due to the seeping of non-saline water into the mine, which may lead to the leakage of radioactive decay into the surrounding environment and community. This article recounts the lessons learned from a visit to the salt mine ASSE II last year. This mine, first built in 1906 at 750 meters below the earth surface but now abandoned, was chosen by the German Government in 1960 as a permanent storage for nuclear waste. This stemmed from the belief that salt or glutinous earth possesses properties that can prevent the spread of radioactivity. At that time, Germans had not yet seriously studied the risks and dangers of the disposal of nuclear waste. From 1967 to 1978 residues from nuclear facilities from all over Germany were transported to the ASSE II mine. It now holds 125,000 barrels of low-level and 1,300 barrels of medium-level nuclear radioactive waste. Ten years later, water was found to have seeped into

the mine chambers. Some layers of salt were eroded, causing cracks in the salt rock which partially collapsed. The nuclear waste containers were covered by the crumbled salt rock and saline water. This was considered a very hazardous situation because the metal barrels would soon be corroded, leading to radioactive material being leaked and contaminating the earth and underground water. Left unattended the mine could collapse and release the radioactive radon gas into the atmosphere. The Helmholtz Association, a state-sponsored scientific research organization tasked with managing the nuclear waste depository, failed to make the development public until 2008. This led to renewed discontent among residents in nearby communities who have protested against the depository since it was first proposed. As a result, the management of ASSE II was re-assigned to another state organization. Fixing the problem proved to be a headache. The first thing the German experts had to do to prevent the mine from collapsing was to inject concrete into the cracks in the salt rock and pump out the water as well as install a ventilation system to protect operators against exposure to radon. The next step was to remove the buried waste containers, some of which were already damaged and leaking radioactive material, and contaminated salt and soil from the mine. The operation was extremely complex having to deal with radioactive material in the

บริเวณด้านหน้าของเหมืองเก็บกากนิวเคลียร์ ASSE II

The building housing the entrance to the ASSE II salt mine.

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path

VA.indd 11

1/27/12 11:31 AM


12

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

หินเกลือ และสร้างระบบปั๊มน�้ำเพื่อระบายน�้ำที่ไหลซึมอยู่ตลอดเวลา ออกจากเหมือง ทั้งยังต้องสร้างระบบระบายอากาศเพื่อป้องกันเจ้า หน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านไม่ให้ได้รบั อันตรายจากก๊าซ Radon อันดับต่อมาที่ จะต้องด�ำเนินการก็คอื การขนย้ายถังบรรจุกากนิวเคลียร์หนึง่ แสนกว่า ถัง ซึ่งขณะนี้ถูกกลบทับอยู่ใต้กองดินและเกลือภายในอุโมงค์เหมือง และบางส่วนช�ำรุดเสียหายและมีกัมมันตภาพรังสีรั่วไหล รวมทั้งเศษ ดินและหินเกลือทีป่ นเปือ้ นกัมมันตภาพรังสีออกจากเหมืองแห่งนี้ การ ท�ำงานเหล่านีเ้ ป็นเรือ่ งยาก มีขนั้ ตอนมากมายและต้องใช้งบประมาณ มหาศาลเพราะเป็นการท�ำงานกับสิง่ ทีป่ นเปือ้ นกัมมันตภาพรังสี ทัง้ ใน รูปของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ทีร่ ะดับความลึกจากพืน้ ดิน 750 เมตร ไรน์ฮาร์ด เกินต์ (Reinhard Gerndt) แกนน�ำชุมชนกลุ่มผู้ คัดค้านการเก็บกากนิวเคลียร์ ASSE II เล่าว่า ในช่วงต้นหน่วยงาน ที่รับผิดชอบด�ำเนินการเรื่องนี้ ได้ออกรายงานทางวิชาการเสนอให้ ปิดเหมืองถาวรและประกาศให้เหมือง ASSE II เป็นแหล่งกักเก็บกาก นิวเคลียร์ถาวรแห่งแรก แต่ปญ ั หาเรือ่ งน�ำ้ ซึมเข้าในเหมืองเป็นชีใ้ ห้เห็น ว่าข้อมูลในรายงานฉบับดังกล่าวไม่ถกู ต้อง ส่งผลให้เกิดกระแสต่อต้าน เรื่องนี้กลายเป็นข่าวโด่งดังไปจนหลายคนหันมาให้ความสนใจ กับประเด็นปัญหานี้และเกิดการเคลื่อนไหวกดดันและน�ำมาสู่การ แก้ปัญหาโดยรัฐบาลเยอรมัน ซึ่งได้จัดให้หน่วยงานใหม่เข้ามารับ ผิดชอบแทน แต่ว่าชาวบ้านในชุมชนใกล้เคียงต่างได้รับผลกระทบ จากราคาที่ดินที่ตกต�่ำลงและความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของสาร กัมมันตภาพรังสีสู่แหล่งน�้ำ โดยเฉพาะหากมีการใช้น�้ำละลายเกลือ เพื่อน�ำกากนิวเคลียร์ออกมาจากเหมืองและขนย้ายไปที่อื่น กรณีที่ เลวร้ายที่สุดอาจเกิดการปนเปื้อนภายใน 2 ปีแต่การปนเปื้อนจะเกิด ขึ้นแน่นอนในอีก 30 ปีข้างหน้า ตอนนี้ การจัดการเรือ่ งการดูแลและแก้ปญ ั หาเบือ้ งต้นของเหมือง ASSE II อยู่ในความดูแลรับผิดชอบของหน่วยงานชื่อ Landesamt für Bergbau, Energie und Geologie (LBEG) หรือ State Office for Mining, Energy and Geology ซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐบาล เยอรมันให้เข้ามาด�ำเนินการแก้ไขปัญหาแทนหน่วยงานแรกวิธีการ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเท่าทีส่ ามารถท�ำได้ขณะนีค้ อื การฉีดคอนกรีต เข้าไปอุดรอยแยกของหินเกลือ เพื่อไม่ให้ชั้นเกลือด้านบนเกิดการยุบ ตัวเพิ่มขึ้น แต่ไม่มีใครแน่ใจว่าทางออกเฉพาะหน้านี้จะสามารถช่วย แก้ไขปัญหาได้นานแค่ไหน และทางหน่วยงานฯ ก�ำลังด�ำเนินการศึกษา ความเป็นไปได้ในการขนย้ายกากนิวเคลียร์ออกจากเหมือง ASSE II ก่อนที่จะเกิดปัญหาเหมืองเกลือยุบตัว แอนเนตต์ พาร์ ลิ ธ ซ์ (Annette Parlitz) เจ้าหน้าที่จาก กรมป้องกันกัมมันตภาพรังสี (ภายใต้กระทรวงสิ่งแวดล้อม) ซึ่งเริ่ม ด�ำเนินการท�ำงานแก้ปัญหาของเหมือง ASSE II ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 กล่าวว่า แม้จะมีมติออกมาว่าจะต้องมีการย้ายกากนิวเคลียร์ไปไว้ทอี่ นื่ ทางหน่วยงานต้องเผชิญกับปัญหาใหญ่วา่ จะจัดการกับกากนิวเคลียร์ ที่มีอยู่อย่างปลอดภัยได้อย่างไร โจทย์ที่ส�ำคัญกว่านั้นคือ หากย้ายกากนิวเคลียร์จากเหมืองนี้ จะสามารถน�ำไปเก็บไว้ที่ไหน เพราะตอนนี้บนโลกเรายังไม่มีแหล่ง กักเก็บกากนิวเคลียร์ถาวรได้อย่างปลอดภัยเลยแม้แต่แห่งเดียว จนถึงตอนนี้ ก็ยังไม่สามารถคาดเดาได้ว่าการแก้ปัญหาการรั่วซึม ของน�้ำเข้าไปในเหมืองและการขนย้ายกากนิวเคลียร์ออกจากเหมือง ASSE II จะใช้เวลากี่ปี ขณะนี้ หน่วยงานฯ มีค่าใช้จ่ายส�ำหรับการด�ำเนินการแก้ปัญหา เฉพาะหน้าราว 80 ล้านยูโรต่อปี และหากจะต้องแก้ไขปัญหาทัง้ ระบบ

VA.indd 12

อย่างปลอดภัยทีส่ ดุ โดยขนย้ายกากนิวเคลียร์ออกจาก ASSE II ทัง้ หมด งบประมาณส�ำหรับการวิจัย, การเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์, แรงงาน, การขนส่งกากของเสีย, ฯลฯ ซึ่งต้องใช้งบประมาณมหาศาล และ ภาระค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดนีจ้ ะตกเป็นของรัฐบาลเยอรมันและประชาชน เยอรมันทุกคน บทเรียนส�ำคัญของการก�ำจัดกากนิวเคลียร์จากประเทศเยอรมัน ไม่ได้เป็นปัญหาเชิงเทคนิคเพียงอย่างเดียวว่าท�ำอย่างไรจะสามารถ ป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่กระจายของกัมมันตภาพรังสี แต่เป็นปัญหา เรื่องการจัดการในองค์กรหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วย แอนเนตต์ พาร์ลธิ ซ์ อธิบายเพิม่ เติมว่า ปัญหาทัง้ หมดนี้ เกิดจาก การขาดความรูค้ วามเข้าใจทีร่ อบด้านถึงความเสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต เหมืองแห่งนีเ้ ก็บถังกากนิวเคลียร์ไว้ใต้ดนิ มานานกว่า 30 ปี และเกลือที่ร่วงหล่นลงมาถมทับถังกากนิวเคลียร์ก็เกิดปฏิกิริยาแข็ง ตัวมานานแล้ว เมื่อเกลือเหล่านี้แข็งตัวมากขึ้นเรื่อยๆ ก็จะท�ำให้การ เจาะเข้าไปถึงตัวถังที่ถูกเกลือฝังกลบไว้ท�ำได้ยากยิ่งขึ้น นอกจากนั้น เจ้าหน้าที่ในตอนนั้นยังขาดความรู้ความเข้าใจที่เพียงพอ จึงท�ำให้ไม่ ได้จัดเก็บถังบรรจุกากนิวเคลียร์อย่างรอบคอบและระมัดระวัง มีการ ขับรถทับถัง โยนถังให้เรียงซ้อนกัน ส่งผลให้ถงั ยุบและถังบางส่วนอาจ มีการแตกหรือรั่ว อีกทั้งไม่มีการวางแผนล่วงหน้าส�ำหรับการขนย้าย กากของเสียเมือ่ ประสบความเสีย่ งในอนาคตทีอ่ าจเกิดขึน้ ดังนัน้ หาก จะขนย้ายถังบรรจุกากนิวเคลียร์ จะต้องท�ำการขนย้ายกากนิวเคลียร์ ทั้งหมดรวมถึงเกลือที่ได้รับการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีด้วย ปัจจุบัน ประเทศเยอรมันใช้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มามากกว่า 40 ปีแล้ว แต่เยอรมันก็ยังคงไม่มีค�ำตอบที่ชัดเจนส�ำหรับสถานที่กัก เก็บกากนิวเคลียร์ถาวร ปัญหาและภาระมากมายที่เกิดขึ้นที่เหมือง ASSE II เป็นเพียงกากนิวเคลียร์ระดับรังสีปานกลางและระดับรังสีต�่ำ เท่านั้น ยังไม่ได้รวมถึงแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้วซึ่งจัดเป็นกาก นิวเคลียร์ระดับรังสีสูงซึ่งมีอันตรายและอายุยาวนานกว่านับร้อยเท่า แม้วา่ เยอรมันจะได้ตดั สินใจแล้วทีจ่ ะเลิกใช้พลังงานนิวเคลียร์ให้หมด ภายใน 11 ปีนับจากนี้ (พ.ศ.2565) แต่กากนิวเคลียร์ที่เหลือทิ้งไว้ กลั บ ยั ง คงสภาพความอั น ตรายอยู ่ ต ่ อ ไปดั่ ง เป็ น อมตะ กลุ ่ ม นักเคลื่อนไหวชาวเยอรมันบางกลุ่มเสนอให้กักเก็บกากนิวเคลียร์ไว้ บนผิวดินเพื่อความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ แต่วิธีการนี้ก็ ตั้งอยู่บนความเสี่ยงเช่นกัน และดูเหมือนว่าปัญหานี้ยังเป็นโจทย์ให้ ชาวเยอรมันต้องช่วยกันขบคิดแก้ปัญหาร่วมกันอีกนาน ส�ำหรับประเทศไทย หากจะตัดสินใจสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เราคงต้องถามตัวเองว่าเรามีทางออกที่ชัดเจนให้กับเรื่องการเก็บ กากนิวเคลียร์ที่รุ่นลูกรุ่นหลานของเราจะต้องรับผิดชอบดูแลแทน ในอนาคตเป็นเวลาอย่างน้อยหลายร้อยหรือแม้กระทั่งหลายหมื่นปี หรือยัง และคนไทยพร้อมหรือยังที่จะแบกรับต้นทุนที่มองไม่เห็นจาก ความเสี่ยงของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และการก�ำจัดกากของเสียเหล่านี้ หากค�ำตอบยังคงเป็นการโบ้ยให้กับประเทศที่ค้ายูเรเนียมให้ ไทย หรือยังคงตอบแบบอ้อมๆ แอ้มๆ การขยายระยะเวลาตัดสินใจ สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เพียง 3 ปีอาจไม่เพียงพอกับอนาคตที่คนรุ่น ถัดไปต้องแบกรับ! n ติดตามข้อมูลเกี่ยวกับเหมือง ASSE II ได้ที่: www.endlager-asse.de/EN/1_Home/home_node.html เว็บไซต์กลุม่ ชาวบ้านในพืน้ ที่ ASSE II: www.asse2.de/index.html

1/27/12 11:31 AM


กักันนยายน ยายน -- ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554 form of solid, liquid and gas at the depth of 750 m and required a huge amount of expense. Reinhard Gerndt, for 40 years the core leader of opponents to the disposal of nuclear waste at ASSE II, recalled that the authorities originally issued a technical report proposing the closure of the salt mine and turned it into a permanent nuclear waste storage. But the discovery of water seeping into the mine indicated that the data in the report was inaccurate, sparking currents of opposition among the residents. The protest made the news headlines, drawing the attention of the general public to this problem. Pressure movements grew to such an extent that the German government had to assign a new agency to take charge of the matter to placate the opposition. But villagers in nearby communities had been affected by the depreciation of their properties and the risk of radioactive decay contaminating water sources, especially if the authorities tried to extract nuclear substances by diluting the salt in the mine with water. In a worst case scenario, there might be contamination within two years. But the residents expect contamination to occur certainly within the next 30 years. Currently the management and care of the ASSE II comes under an agency called Landesamt fur Bergbau und Geologie (LBEG) or State Office for Mining, Energy and Geology, which has been mandated by the German government to solve the problem of water seeping into the salt mine. The short-term solution to the problem is to pour concrete into the cracks in the salt rock in order to stop top layers of salt from sinking further. However, nobody knows for how long this short-term solution will be able to keep the problem at bay. The agency is studying the possibility of transporting nuclear waste out of ASSE II before they are confronted with the problem of the salt mine sinking. Annette Paritz, an official from the radioactivity protection department under the Environment Ministry who has been working on the problem of ASSE II since 2009, said once the decision is made to move nuclear waste somewhere else, the agency will have to face the big problem of how to manage safely the existing nuclear waste. A more acute question is to where would the waste moved because there exists not a single disposal site that can store nuclear waste safely and permanently. Even now, there is no way of speculating for how many years it will take to solve the problems of water seeping into the mine, and the removal of nuclear waste from ASSE II. At present an estimated 80 million euros a year is needed to implement the immediate solution. However, to solve the problems in the long term by removing the entire lot of nuclear waste from ASSE II safety would require a huge budget, in terms of research, equipment, manpower, and the transportation of waste. The burden of these expenses inevitably lies on the shoulders of the German government and people.

13

September September -- December December 2011 2011

An important lesson to learn from Germany is not only a technicalone, that is how to prevent the spread of radiation in nuclear waste disposal but how to deal with organizational problems as well. Annette Paritz further explained that all these problems stemmed from a lack of comprehensive knowledge and understanding of the risks that might imperil the country in the future. This mine had kept the nuclear waste containers under ground for more than 30 years. The crumbled salt covering the barrels had hardened over time, making it hard to get to the barrels. This problem was compounded by the lack of knowledge on the part of the responsible authorities at the time resulting in the lack of care in stacking up the barrels so that some of them were damaged and leaked. In addition, there had been no planning for the removal of waste when problems arose. Therefore to remove the waste, all the barrels together with the contaminated salt will have to be removed. As of now, Germany still has no clear answer on the matter of permanent storage for nuclear waste. The complicated problem at the ASSE II mine involves only low- and medium-level radioactive waste. The problem is definitely more complex for the highly radioactive spent fuels that it has accumulated generated over four decades of nuclear plant operation. Although the country has decided to abandon nuclear power completely in 11 years, the accumulating nuclear waste would remain hazardous for an indefinite period. Some German activist groups have proposed the storing of nuclear waste above ground for the sake of transparency and to allow monitoring. But this method also carries risks and it looks as if the problem will remain a problem for the Germans to spend some time yet putting heads together to solve. For Thailand, if a decision is made to build nuclear power plants, we may have to ask ourselves whether we already have in hand clear exits on the matter of storing nuclear waste which our children and grandchildren will have to deal with in future for hundreds or even tens of thousands of years. More than that, are Thai people ready to bear the burden of hidden costs arising from the risks of having nuclear power plants and radioactive wastes that will follow? If the answers to these questions are simply an attempt to pass on the problem to the countries selling uranium to Thailand, or equivocal as usual, then the postponement of a decision on the installation of nuclear power plants for three years may not be enough a time span for the future of the next generations which will have to bear the burdens. n For more information on the ASSE II mine, go to: www.endlager-asse.de/EN/1 Home/home node.html or the website of local residents at www.asse2.de/index.html.

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path

VA.indd 13

1/27/12 11:31 AM


14

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

รู้จักกากกัมมันตรังสี กากกัมมันตรังสีคือ ของเสียไม่ว่าในรูปของ ของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซ ที่ประกอบหรือ ปนเปื้อนด้วยสารกัมมันตรังสี ในระดับความ แรงรังสีสูงกว่าเกณฑ์ก�ำหนดว่าเป็นอันตราย และวัสดุนนั้ ๆ ไม่เป็นประโยชน์อกี ต่อไปแล้ว กาก หรือของเสียเหล่านั้นจะต้องได้รับการบ�ำบัด และจัดการอย่างมีระบบ และผ่านการตรวจ สอบอย่างเคร่งครัด ประเภทของกากกัมมันตรังสี

1. กากกัมมันตรังสีระดับสูง ได้แก่ เศษชิ้นส่วนที่เกิดจากการ ท�ำปฏิกิริยาลูกโซ่ในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ กากกัมมันตรังสีที่เป็น ของแข็งและของเหลวที่ได้จากการฟอกกากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ และ กากกัมมันตรังสีอื่นๆ ที่มีระดับรังสีสูงเทียบเท่า 2. กากกัมมันตรังสีระดับปานกลาง เกิดจากการปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้องกับสารกัมมันตรังสีซึ่งบางครั้งต้องมีการก�ำบังรังสี กาก จ�ำพวกนี้ประกอบด้วย อาทิเช่น เศษโลหะจากแท่งเชื้อเพลิง ตะกอน ที่ได้จากการบ�ำบัดกากกัมมันตรังสีที่เป็นของเหลว สารแลกเปลี่ยน ไอออน และต้นก�ำเนิดรังสีใช้แล้ว

What is Radioactive Waste?

R

adioactive wastes are wastes in solid, liquid, or gas forms, which contain or are contaminated with radioactive material at a level considered hazardous, and such materials are no longer useful. The wastes must be treated and managed systematically and strictly monitored.

VA.indd 14

บรรยากาศใต้เหมืองที่ระดับความลึก 750 เมตร The salt mine at the depth of 750 meters.

3. กากกัมมันตรังสีระดับต�่ำ เกิดจากการปฏิบัติงานในโรง พยาบาลหรื อ อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สารกั ม มั น ตรั ง สี อาทิ เช่น ถุงมือ เสื้อผ้า อุปกรณ์ที่ท�ำจากกระดาษ ซึ่งมีการปนเปื้อนสาร กัมมันตรังสีเพียงเล็กน้อย สารกัมมันตรังสีทุกประเภทเป็นสารที่มีการสลายตัว โดยมีช่วง อายุการสลายตัวแตกต่างกัน ตั้งแต่เสี้ยววินาที กระทั่งนับล้านปี Classification of radioactive waste 1. High-level waste includes fission products generated in the reactor core, radioactive waste in the solid and liquid forms derived from the conditioning of nuclear fuel, and other waste of equally high level of radioactivity. 2. Intermediate-level waste is generated by activities involving radioactive materials which sometimes require shielding, such as scrap metal and sediment resulted from treatment of liquid radioactive waste, ion exchangers, and spent radiation sources. 3. Low-level waste is generated by activities relating to radioactive materials in hospital or industry, such as gloves, garments, and equipment made from paper which are slightly radioactive. All types of radioactive materials have different half-lives, ranging from a split second to millions of years. Radioactive waste from nuclear reactors A nuclear reactor initiates a sustained nuclear chain reaction. Nuclear reaction, known as fission reaction, is caused by neutron striking the nucleus of ura-

1/27/12 11:31 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

กากกัมมันตรังสีจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์

การเดิ น เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ นิ ว เคลี ย ร์ หมายถึ ง การท� ำ ให้ เ กิ ด ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ตอ่ เนือ่ งตลอดเวลาท�ำงานและควบคุมได้ ปฏิกริ ยิ า นิวเคลียร์นี้เรียกว่า ปฏิกริยาฟิชชัน เกิดขึ้นจากการยิงนิวตรอนเข้าไป ทีย่ เู รเนียม-235 ท�ำให้เกิดการแตกตัวของนิวเคลียสของยูเรเนียม-235 ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานความร้อนและอนุภาคนิวตรอนออกมา อนุภาคนิวตรอนที่เพิ่มขึ้นนี้จะท�ำให้เกิดการแตกตัวของนิวเคลียสต่อ เนือ่ งไปอย่างทวีคณ ู พลังความร้อนนัน้ เกิดจากการทีม่ วลสารของเชือ้ เพลิงนิวเคลียร์สลายตัวและปลดปล่อยพลังงานออกมาเป็นพลังงาน และอนุภาคนิวเคลียร์ ส่วนอนุภาคนิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นมีได้หลายอย่าง ที่ส�ำคัญคือ นิวตรอน ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาฟิชชันโดยตรง แต่จะเกิดมีอนุภาค แอลฟา เบต้า และแกมมา ซึ่งเป็นกัมมันตภาพรังสีในเครื่องปฏิกรณ์ ด้วยจากสารไอโซโทปรังสี (หรือสารกัมมันตรังสี) ที่เกิดจากการสลาย ตัวของยูเรเนียม-235 ปฏิกริ ยิ าฟิชชันจะเกิดขึน้ ได้กต็ อ่ เมือ่ มีเชือ้ เพลิง ที่เข้มข้นถึงระดับมวลวิกฤต (Critical Mass) ซึ่งเชื้อเพลิงส�ำหรับ

15

September - December 2011

nium-235, which splits and creates heat and expels free neutrons. These neutrons collide with other U-235 atoms, causing more fission and maintaining a nuclear chain reaction. Nuclear fuel diminishes as it releases energy and nuclear particles. Fission reaction emits various particles, particularly neutron as a direct product. Alpha, beta, and gamma radioactivity in a reactor are emitted from radioisotope (or radioactive isotope) which is the result of the decaying of U-235. Fission reaction is possible only when the fuel has enough concentration of fissionable isotope to reach a critical mass. For a nuclear reactor, U-235 must be enriched to approximately 3-5%. But for a nuclear bomb, U-235 enriched to 90% is required. To sustain a fission reaction, control rods which are capable of absorbing many neutrons are employed to speed up, slow down or stop a nuclear reaction.

ชั้นเกลือในเหมืองแสดงให้เห็นถึงรอยแยกและการทรุดตัว Salt deposit showing cracks and subsidence.

ภาพจ�ำลองภายชั้นเกลือภายในเหมือง

A graphic poster shows the topography of the mine.

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะมีความเข้มข้นของยูเรเนียม-235 ประมาณ 3-5% แต่ระเบิดนิวเคลียร์ต้องใช้ยูเรเนียม-235 เข้มข้นถึง 90% ส�ำหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จะต้องท�ำการควบคุมปฏิกริ ยิ าฟิชชันให้ได้ ตามต้องการ โดยใช้แท่งควบคุม (Control Rod) ที่มีคุณสมบัติในการ ดูดซับนิวตรอนได้ แท่งควบคุมจะถูกใช้ในการควบคุมจ�ำนวนนิวตรอน ในการทวีก�ำลัง ลดก�ำลัง หรือหยุดเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์

กากกัมมันตรังสีทเี่ กิดจากการเดินเครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์ สามารถแยกได้เป็น 2 ส่วน

• ส่วนที่หนึ่ง เกิดจากเนื้อเชื้อเพลิงโดยตรง เนื่องจากเมื่อเกิด ปฏิกิริยาฟิชชัน ยูเรเนียม-235 ส่วนใหญ่จะสลายตัวเปลี่ยนเป็นธาตุ ชนิดอื่นมากมายหลายชนิด ซึ่งล้วนเป็นธาตุกัมมันตรังสี ทั้งหมดนี้จะ

There are two types of radioactive waste from the operation of nuclear reactors: • The first type is spent fuel. In fission reaction, a large part of U-235 decays and turns into many elements, which are highly radioactive, left in alloy tubes made from “zirconium.” Spent nuclear fuel still contains irradiated uranium fuel and neutron activation products. One third of nuclear fuel becomes “spent fuel”. A 1,000-MW nuclear power plant, for instance, uses 30 tons of fuel and produces about 10 tons of spent nuclear fuel (waste) every year. The spent fuel, regarded as high-level waste, must be stored in a cooling pond for 5-7 years before being tightly sealed in radioactive-protection storage tanks. This is only a temporary storage measure before tanks are buried deep underground in storage tanks. • The second type is intermediate- and low-level waste, such as water heated into steam

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path

VA.indd 15

1/27/12 11:31 AM


16

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ยังคงอยู่ในแท่งเชื้อเพลิงที่มีลักษณะเป็นท่อโลหะที่มีคุณสมบัติพิเศษ สร้างจากวัสดุที่เรียกว่า “เซอร์โคเนียม” แท่งเชื้อเพลิงนั้นเราเรียกว่า เชื้อเพลิงใช้แล้ว (Spent Fuel) นอกเหนือจากนั้น ในแท่งเชื้อเพลิง ใช้แล้ว ยังมีเนื้อยูเรเนียมที่ใช้ไม่หมดอีกจ�ำนวนหนึ่ง และมีธาตุที่หนัก กว่ายูเรเนียม ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยากระตุ้นด้วยนิวตรอน (Neutron Activation) อีกด้วย ในปีหนึ่งๆ แท่งเชื้อเพลิงที่ใช้ในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ประมาณ 1 ใน 3 จะกลายเป็น “เชื้อเพลิงใช้แล้ว” เช่น หากเป็นโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ขนาด 1,000 เมกะวัตต์ จะมีการใช้เชื้อเพลิงประมาณ 30 ตันต่อปี เชื้อเพลิงจ�ำนวน 10 ตันจะกลายเป็นกากนิวเคลียร์หรือแท่ง เชื้อเพลิงใช้แล้ว แท่งเชื้อเพลิงใช้แล้วจะต้องถูกน�ำไปเก็บไว้ในสระน�้ำ ที่มีระบบหล่อเย็นอย่างน้อย 5-7 ปี เพื่อรอให้อุณหภูมิของแท่งเชื้อ เพลิงใช้แล้วลดลง หลังจากนั้นจึงสามารถน�ำไปจัดเก็บในถังบรรจุที่ มีเครื่องป้องกันรังสีอย่างแน่นหนา ซึ่งเป็นการจัดเก็บแบบชั่วคราว เพื่อรอการน�ำไปจัดเก็บในที่เก็บกากนิวเคลียร์ถาวรลึกใต้พื้นดินต่อ ไป กากกัมมันตรังสีชนิดนี้เป็นกลุ่มที่เรียกว่ากากกัมมันตรังสีระดับ สูง (High-level Waste) • ส่วนที่สอง กากกัมมันตรังสีที่เกิดจากส่วนประกอบในการ เดินเครื่องปฏิกรณ์ เช่น การใช้เครื่องปฏิกรณ์ต้มน�้ ำให้ร้อนเป็น ไอน�้ำ และไอน�้ำนั้นไปหมุนปั่นเทอร์ไบน์ผลิตกระแสไฟฟ้า น�้ำที่ใช้นั้น อาจมีสิ่งเจือปนอยู่บ้าง สิ่งเจือปนในน�้ำที่เข้าไปสู่แกนปฏิกรณ์อาจ เกิดปฏิกิริยาจากอนุภาคนิวเคลียร์ที่เกิดขึ้น ท�ำให้กลายเป็นสารรังสี ซึ่งต้องท�ำการบ�ำบัด นอกจากนั้นแล้วยังมีกากกัมมันตรังสีอื่นๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่อง ปฏิกรณ์ที่ช�ำรุด เรซินใช้แล้วที่ใช้ในการบ�ำบัดน�้ำมีรังสี ตะกอนจาก การต้มระเหยกากของเหลว ขยะต่างๆ รวมทั้งเครื่องกรองอากาศ และเสื้อผ้าของผู้ปฏิบัติงานควบคุมหรือเดินเครื่องปฏิกรณ์ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นกากกัมมันตรังสีระดับปานกลางและระดับต�่ำ ซึ่งใน โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาด 1,000 เมกะวัตต์ จะมีประมาณ 100-600 ลูกบาศก์เมตรต่อปี นอกเหนือจากสองส่วนข้างต้นแล้วยังมีกากกัมมันตรังสีจากการ ท�ำเหมืองแร่ยูเรเนียม จากการสกัดธาตุยูเรเนียมออกจากสินแร่ และ จากการผลิตแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ รวมกันเรียกว่ากากกัมมันตรังสี จากวัฏจักรเชื้อเพลิง ซึ่งมีปริมาณไม่มากนัก

วิธีการบ�ำบัด/จัดเก็บกากกัมมันตรังสี

แนวคิดในการจัดการกับกากกัมมันตรังสี แบ่งเป็น 3 แนวทางคือ 1. การท�ำให้เจือจาง แล้วระบายทิ้ง (Dilute and Disperse) ทั้งนี้ ระดับรังสีที่ระบายทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมต้องอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่ก่อให้ เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต 2. การท�ำให้เข้มข้น แล้วเก็บรวบรวม (Concentrate and Contain) เช่น น�้ำปนเปื้อนรังสี อาจใช้วิธีกรองหรือต้มให้น�้ำระเหย ออกไป เหลือไว้แต่กากกัมมันตรังสี ซึ่งจะมีปริมาตรน้อยลงท�ำให้ง่าย ต่อการจัดเก็บ 3.การเก็บทอดระยะเวลา และปล่อยให้สารกัมมันตรังสีสลาย ตัวไปเอง (Delay and Decay) กากกัมมันตรังสีเกือบทั้งหมดใช้วิธี การนี้ เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีเทคโนโลยีใดที่จะก�ำจัดหรือท�ำลาย สารกัมมันตรังสีได้

VA.indd 16

that drives turbines to generate electricity. The water contains contaminants from nuclear reaction and must be treated. Other types of radioactive waste include defective reactor parts, used resin from water treatment, sediments from boiling and filtering wastes to isolate radioactive wastes, garbage, air filters, and protective clothing. These are intermediate- and low-level wastes of which a 1,000-MW,nuclear power plant produces about 100-600 cubic meters a year. In addition, nuclear fuel cycle, including uranium mining, uranium ore extraction, and production of fuel rods, also produces a small quantity of radioactive waste. Waste Treatment/Storage Methods There are three schools of thought on nuclear waste management: 1. Dilute and Disperse — Waste is diluted to an acceptable level before being discharged to the environment 2. Concentrate and Contain — An example of this method is to boil or filter contaminated water to isolate radioactive waste. The small amount of remaining waste will ease storage. 3. Delay and Decay – This is simply to keep waste in storage for a long enough period of time to allow the radioisotope to decay naturally. This is most common method as there is no technology to totally treat or dispose of radioactive waste at present. Volume of nuclear waste from a 1,000-MW nuclear power plant in one year HLW ILW ILW

Volume 10 cubic

Radiation 95%

70 cubic metres 200 cubic metres

4% 1%

Storage

Time required for complete radioactivity decay

With shielding and cooling system With shielding

>10,000 years

With or without shielding

300 years

300 years

Key radioactive materials which are hazardous to human health include: Radioactive Iodine (I) in the form of I-131 with a radioactive half-life of 8 days is often detected in nuclear accidents. The material is similar to common iodine, except that it releases beta and gamma rays which cause genetic mutation and destroy cells. This hazardous radioactive material requires strict preventive measure as it can accumulate in certain parts of the body, particularly in the thyroid. There, it destroys the thyroid tissue and poses

1/27/12 11:31 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

ปริมาณกากนิวเคลียร การจัดเก็บ ระยะเวลาที่ จากโรงไฟฟานิวเคลียร รังสีสลายตัว 1,000 MW ใน 1 ป หมดไป ปริมาตร ปริมาณรังสี HLW 10 ลบ.ม. 95% มีวัสดุกำบัง >10,000 ป รังสีและระบบ หลอเย็น ILW 70 ลบ.ม. 4% มีวัสดุกำบัง 300 ป รังสี LLW 200 ลบ.ม. 1% มีหรือไมมีวัสดุ 300 ป กำบังรังสีก็ได

สารกัมมันตรังสีหลักๆ ที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ คือ

ไอโอดีนที่มีสารกัมมันตรังสี (Radioactive Iodine) ในรูป I-131 สามารถสลายตัวเหลือปริมาณครึง่ หนึง่ ในเวลา 8 วัน หรือในทาง วิทยาศาสตร์เรียกว่ามีค่าครึ่งชีวิตเท่ากับ 8 วันนั่นเอง โดยสารชนิดนี้ สามารถพบได้บ่อยครั้งเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ โดยทั่วไปแล้ว สารชนิดนี้มีคุณสมบัติเหมือนสารไอโอดีนปกติแทบทุกด้าน เพียงแต่ สารนีส้ ามารถแผ่รงั สีเบต้าและแกมม่าออกมา ส่งผลให้เกิดการท�ำลาย เซลล์และก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ได้ สารชนิดนีถ้ อื เป็นสารกัมมันตรังสีทอี่ นั ตรายมาก และมีมาตรการ ป้องกันอย่างรัดกุม เนื่องด้วยสารนี้สามารถสะสมในอวัยวะบางส่วน ของร่างกายได้เป็นพิเศษ คือ ต่อมไทรอยด์ ส่งผลให้เกิดการตายของ เซลล์ต่อมไทรอยด์ และอาจกลายเป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์ได้อีกด้วย โดยเฉพาะจะมีอันตรายกับเด็กมาก เนื่องจากเด็กอยู่ในช่วงวัยเจริญ เติบโต และต่อมไทรอยด์ก�ำลังพัฒนาและขยายตัว หากได้รับในช่วง นี้ อาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกายได้ ซีเซียมทีม่ สี ารกัมมันตรังสี (Radioactive Caesium: Cs) เป็น สารในรูป Cs-137 ที่ก�ำลังสร้างปัญหาที่ญี่ปุ่นในขณะนี้ มีค่าครึ่งชีวิต 30 ปี เป็นสารที่อันตรายมากเนี่องจากมีค่าครึ่งชีวิตที่ยาวนาน ต้อง ใช้เวลา 200 ปีจึงจะสลายตัวเหลือ 1% ของปริมาณตั้งต้น อุบัติเหตุ a risk of mutation into thyroid cancer. Children are at greater risk because they are in a developmental stage and any harm to their thyroid affects their growth. Radioactive Caesium (Cs) in the form of Cs-137 has proved to be a headache for Japan at the moment. Given its long half-life of 30 years, Cs-137 needs 200 years to diminish to 1% of the original volume. Twenty-five years after the Chernobyl nuclear accident in 1986, Cs-137 contamination is still evident in the environment not just in the surrounding areas but also in many parts of Europe thousands of miles away. In Germany, for example, hunted wild boars were found with higher than legally acceptable level of Cs-137 contamination and must be disposed of, and the German government was forced to compensate the hunters. In England, some sheep farms still have to be inspected for Cs-137 to prevent contaminated meat from being sold. Cs-137 is a threat to the food chain. Because it possesses similar chemical property as common potassium,

17

September - December 2011

เชอร์โนบิลเมื่อปี พ.ศ.2529 ซึ่งผ่านมา 25 ปีแล้ว แต่สารซีเซียม-137 ทีแ่ พร่กระจายในครัง้ นัน้ ยังคงปนเปือ้ นอยูใ่ นสิง่ แวดล้อม ไม่เฉพาะแต่ ในบริเวณใกล้เคียงโรงไฟฟ้าเท่านั้น แต่หลายบริเวณในทวีปยุโรปซึ่ง ห่างออกไปหลายพันไมล์กย็ งั พบการปนเปือ้ น เช่น ทีป่ ระเทศเยอรมัน ยังคงมีการตรวจพบว่า หมูปา่ บางส่วนทีช่ าวบ้านล่ามาขายเป็นอาหาร ยังมีการปนเปื้อนซีเซียม-137 เกินค่าที่กฎหมายก�ำหนดและจะต้อง ท�ำลายทิ้ง โดยรัฐบาลต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ผู้มีอาชีพล่าหมูป่าด้วย หรือที่ประเทศอังกฤษ ฟาร์มเลี้ยงแกะในบางบริเวณยังคงต้องมีการ ตรวจวัดการปนเปื้อนรังสีซีเซียม-137 เพื่อไม่ให้มีแกะปนเปื้อนรังสี ถูกขายออกไปสู่ท้องตลาด อันตรายของสารซีเซียม-137 ก็คอื เมือ่ แพร่กระจายสูส่ งิ่ แวดล้อม จะปนเปื้อนห่วงโซ่อาหาร ซีเซียม-137 มีองค์ประกอบทางเคมีคล้าย กับโปแตสเซียม เมื่อมนุษย์บริโภคเข้าไป ร่างกายจะเข้าใจว่าเป็น โปแตสเซียมและดูดซับไปสะสมไว้ โดยเฉพาะทีเ่ นือ้ เยือ่ และไขกระดูก ท�ำให้เซลล์ผิดปกติหรือเกิดมะเร็ง หากร่างกายได้รับในปริมาณมาก หรือสะสมไว้เป็นเวลานานก็อาจเกิดความผิดปกติที่ระบบพันธุกรรม ก่อให้เกิดความพิกลพิการในเด็กเกิดใหม่ได้ โคบอลท์ที่มีสารกัมมันตรังสี (Radioactive Cobalt) เป็น สารกัมมันตรังสีในรูป Co-60 เกิดขึ้นในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แต่มี ปริมาณไม่มากนัก มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ 5 ปี สามารถแผ่รังสีเบต้า และแกมม่าได้เช่นเดียวกับสารกัมมันตรังสีไอโอดีน โคบอลต์-60 เคยเป็นข่าวครึกโครมไปทั่วโลกจากเหตุการณ์รั่ว ไหลที่ จ.สมุทรปราการ เมื่อปี พ.ศ. 2543 จากการที่เครื่องฉายรังสี ทางการแพทย์ที่หมดอายุแล้วเครื่องหนึ่งถูกน�ำไปขายเป็นเศษเหล็ก เมื่อร้านรับซื้อของเก่าน�ำไปแยกชิ้นส่วน สารโคบอลต์-60 ซึ่งเป็นต้น ก�ำเนิดรังสีขนาดเท่าก้อนถ่านไฟฉายได้ตกหล่นอยู่ในร้านรับซื้อของ เก่าและแผ่รงั สีอยูน่ าน 18 วัน ก่อนทีจ่ ะถูกเก็บกูอ้ อกไปโดยส�ำนักงาน ปรมาณูเพือ่ สันติ เหตุการณ์ครัง้ นัน้ ไม่มสี ารกัมมันตรังสีปนเปือ้ นเข้าสู่ สิง่ แวดล้อม แต่จากการทีโ่ คบอลต์-60 แผ่รงั สีอยูใ่ นร้านรับซือ้ ของเก่า 18 วัน ก็ท�ำให้มีผู้เสียชีวิต 3 ราย หญิงตั้งครรภ์ต้องท�ำแท้งตามค�ำ แนะน�ำแพทย์ 1 ราย ผูพ้ กิ าร 2 ราย และเจ็บป่วยทางรังสีอกี 5 ราย n once consumed, the human body would mistake it as potassium and absorb and store it in bodily tissues and bone marrow, causing cell abnormality or cancer. A high dose or long exposure could cause genetic mutation and lead to deformities in newborns. Radioactive Cobalt (Co) is another by-product of nuclear reaction. Taking the form of Co-60 it has a half-life of 5 years and can release beta and gamma rays, similar to radioactive iodine. Co-60 made headlines worldwide in 2000 when a radiation leak was reported in Samut Prakan province. A decommissioned medical radiotherapy source was sold to a junkyard and dismantled for scrap metal. A Co-60 source of the size of a flashlight battery was inadvertently left in the junkyard for 18 days before being retrieved by the Office of Atoms for Peace. No radiation contamination was detected in the environment, but the incident led to three deaths, one abortion as advised by doctor, two disabilities and five radiationexposed patients. n

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path

VA.indd 17

1/27/12 11:31 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

วิกฤตพลังงาน:

นิวเคลียร์คือค�ำตอบ? จากเชอร์โนบิล ถึงฟุกุชิมะ แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา

ารระเบิดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟกุ ชุ มิ ะ ไดอิจิ จาก เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ริกเตอร์ ตามมา ด้วยคลื่นสึมามิพัดถล่มบริเวณชายฝั่งตะวันออก ของประเทศญี่ปุ่น ได้ก่อให้เกิดความตื่นตระหนก ไปทั่วโลก ท�ำให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลกต้องทบทวน นโยบายเกี่ยวกับโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และประชาชนใน หลายประเทศในแถบยุโรปแสดงท่าทีที่ชัดเจนว่าไม่ต้องการพลังงาน นิวเคลียร์ เหตุการณ์อุบัติภัยฟุกุชิมะได้ส่งสัญญาณเตือนที่ชัดเจนให้แก่ ประชาคมโลกว่า พลังงานนิวเคลียร์ไม่ได้ปลอดภัยหรือแม้แต่สร้าง ความมัน่ คงทางพลังงาน ซ�ำ้ ยังสร้างความเสีย่ งทีอ่ นั ตรายต่อเศรษฐกิจ และชีวติ ของผูค้ น ผลสะเทือนนัน้ ท�ำให้ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วทัง้ หลาย ต่างตื่นตัวกับอันตรายจากพลังงานนิวเคลียร์ เพราะมีประสบการณ์ แล้วว่าการผูกติดพลังงานไว้กับเชื้อเพลิงฟอสซิลและนิวเคลียร์นั้นถือ เป็นการเดิมพันอนาคตของโลก ส� ำ หรั บ ประเทศไทย พิ บั ติ ภั ย ที่ ญี่ ปุ ่ น ครั้ ง นี้ ยั ง สะท้ อ นไป ถึ ง ภาพของความเสี ย หายอย่ า งรุ น แรงในอดี ต เมื่ อ ครั้ ง โรงไฟฟ้ า

เชอร์โนบิลระเบิดแต่ไม่เป็นที่รับรู้ของสังคมไทยมากนัก หลังจากนั้น ประวัตศิ าสตร์ของอุบตั เิ หตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทผี่ า่ นมาก็ได้กลาย เป็นบทเรียนบทใหม่ที่ถูกกล่าวถึงด้วยความวิตกกังวลในวงกว้าง โดย เฉพาะในพื้นที่เป้าหมายที่มีการศึกษาความเหมาะสมในการสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 17 แห่งทั่วประเทศ จากแผนการก่อสร้างโรง ไฟฟ้านิวเคลียร์จ�ำนวน 5 โรง ที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีโครงการที่จะก่อสร้างบนพื้นที่เหมาะสมที่ถูกเลือก 5 แห่ง ในอีก 10 ปีข้างหน้า ขณะที่ช่วงเวลาใกล้เคียงกันนั้น ทบวงการพลังงานปรมาณู ระหว่างประเทศ (IAEA) ได้ประเมินโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ของประเทศไทยในช่วงของการศึกษา 3 ปีแรก โดยให้ค�ำ แนะน�ำรวม 8 ข้อด้วยกัน (ดูล้อมกรอบ “ข้อสังเกตและข้อแนะน�ำ ของ IAEA ต่อโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย”) ซึง่ เกี่ยวกับเรื่องของกฏหมายและกฏระเบียบเพื่อก�ำกับดูแลการบริหาร จัดการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยเน้นเรื่องความปลอดภัยและบุคลากร ต่างๆ ของโครงการ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานของ IAEA และ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ

กรุงเทพมหานคร “เมืองที่ไม่เคยหลับ” ไม่เพียงแต่ใช้ไฟฟ้ามากกว่าจังหวัดใดในประเทศไทย แต่มากกว่าภาคเหนือ อีสานและใต้รวมกันทั้งหมด โดยสถิติปี 2551 แสดงว่าไฟฟ้า ที่ผลิตได้ทั้งหมดถูกใช้ที่กรุงเทพ 39% ขณะที่ภาคเหนือใช้เพียง 10% ภาคอีสาน 11% และภาคใต้ 8% ส่วนภาคกลาง (ไม่รวมกรุงเทพ) ใช้ 35% – ภาพจากวิถีพีเดีย

VA.indd 18

1/27/12 11:31 AM


Energy Crisis: Is

Nuclear the Solution? From Chernobyl to Fukushima Maenwad Kunjara Na Ayuttaya

T

he explosions at the Fukushima Daiichi nuclear power plant in Japan, aftermath of an earthquake measuring 9.0 on the Richter scale and ensuing tsunamis that struck the country’s east coast, forced countries world-wide to rethink the future of nuclear energy, with many Europeans making clear their opposition to this option. The Fukushima nuclear disaster sent a clear warning to the global community that nuclear power is neither safe nor contributes to energy security. Rather, it poses risks to economies and lives. Hence, developed countries have sharpened their awareness of nuclear dangers, experience having shown them that reliance on fossil fuels and nuclear energy is tantamount to putting the world’s future at stake. In Thailand, Japan’s crisis recalled the severe damages from the Chernobyl nuclear disaster in Ukraine which at the time drew little attention from the Thai public. The more recent crisis has sparked widespread

concern and discussion, particularly in 17 targeted areas across the country under study for the feasibility of building nuclear power plants. Among these areas, the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) plans to build five nuclear plants in the next decade. At about the same time, the International Atomic Energy Agency (IAEA) assessed Thailand’s first threeyear study of the project to build nuclear power plants, and put forward eight suggestions (see box on “IAEA’s observations and suggestions on the nuclear power plant construction project in Thailand”) concerning laws and regulations for regulating and managing nuclear plants. The IAEA has emphasized the importance of safety measures and personnel to be in compliance with IAEA standards and relevant international conventions. After the terrible accident at the nuclear power plant in Japan, the Ministry of Energy confirmed there would be no change in its policy to build nuclear power plants as stated in the 2010-2030 Power Development Plan of Thailand (PDP 2010).

The Thai capital Bangkok, “a city that never sleeps”, not only consumes more electricity than any other province in the country but more than that consumed by the north, northeastern and southern regions combined. The 2008 statistics show that 39% of the total power supply goes to Bangkok while 10% to the North, 11% to the Northeast and 8% to the South. The Central Plains (not including Bangkok), meanwhile, consumes 35%. – Picture from Wikipedia

VA.indd 19

1/27/12 11:32 AM


20

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

หลังเกิดอุบตั เิ หตุรา้ ยแรงทีโ่ รงไฟฟ้านิวเคลียร์ในญีป่ นุ่ กระทรวง พลังงานได้ออกมายืนยันว่า เหตุการณ์ครั้งนี้จะไม่ส่งผลให้มีการ เปลี่ยนแปลงนโยบายเรื่องการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ได้บรรจุไว้ ในแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ 2553-2573 (PDP 2010) แผนดังกล่าวก�ำหนดไว้วา่ ภายในปี 2573 ปริมาณการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานนิวเคลียร์จะคิดเป็นร้อยละ 11 ของปริมาณการผลิตไฟฟ้า ทั้งหมดของประเทศ พลังงานไฟฟ้าจากถ่านหินลิกไนต์และถ่านหิน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 24 พลังงานไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติร้อยละ 39 พลังงานไฟฟ้าที่น�ำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านคิดเป็นร้อยละ 20 และพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนร้อยละ 6 โดยก�ำหนดจะผลิต กระแสไฟฟ้าจ�ำนวน 1,000 เมกะวัตต์ (MW) จากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เครื่องที่ 1 ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 และ เครื่องที่ 2 ในเดือน มกราคม พ.ศ. 2564 อย่างไรก็ตาม รัฐบาลประกาศให้ชะลอการก่อสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ในประเทศออกไปอีก 3 ปี จากก�ำหนดการเดิมในปี พ.ศ. 2563 เป็นปี พ.ศ. 2566 เพื่อทบทวนแผนการสร้างใหม่อีกครั้งโดยจะ น�ำเหตุภัยพิบัติในประเทศญี่ปุ่นมาเป็นกรณีศึกษาเพิ่มเติม ค�ำยืนยันยังคงท�ำให้สังคมไทยเชื่อว่า ประเทศไทยจะมีความ พร้อมทุกด้านส�ำหรับการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้ภายในระยะ เวลาที่ก�ำหนดไว้ตามแผนฯ

อีก 20 ปี วิกฤตพลังงาน ก๊าซหมด นิวเคลียร์คือค�ำตอบ? หลายปีที่ผ่านมากับเสียงเตือนที่ดังขึ้นเรื่อยๆ จากกระทรวง พลังงาน และ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ที่ออกมา ระบุว่า ประเทศไทยมีก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยเหลือไว้ใช้อีก 15-20 ปีข้างหน้าเท่านั้น และก๊าซธรรมชาติถูกน�ำมาใช้ผลิตไฟฟ้าในสัดส่วน มากที่สุดถึง 70% ค�ำถามคือ ในอนาคตหากก๊าซธรรมชาติหมดลงแล้ว ประเทศไทย จะพึ่งพาพลังงานชนิดใดมาผลิตไฟฟ้าเพื่อไม่ให้เกิดวิกฤติพลังงาน ขาดแคลน และคนไทยยังมีไฟฟ้าใช้ได้ต่อไปในราคาที่เหมาะสม กฟผ. กล่าวว่า หากไม่มโี รงไฟฟ้านิวเคลียร์เข้าสูร่ ะบบในระหว่าง ปี 2563-2564 จะส่งผลให้ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าในระบบของประเทศ หายไป 2,000 MW โดยในปี 2563 จะมีการปลดโรงไฟฟ้าพระนคร ใต้ชุดที่ 1 ขนาดก�ำลังผลิต 316 MW, โรงไฟฟ้าน�้ำพอง 325 MW, โรงไฟฟ้าไตร เอนเนอจี้ 730 MW, โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก (Small Power Producer: SPP) 168 MW ส่วนปี 2564 จะมีการปลดโรงไฟฟ้าขนาด เล็กเพิม่ เติมอีก เนือ่ งจากโรงไฟฟ้าเหล่านีค้ รบอายุการใช้งานแล้ว การ ปรับปรุงเพือ่ น�ำกลับมาใช้ใหม่จะท�ำให้ตน้ ทุนผลิตไฟฟ้าสูงขึน้ จนไม่คมุ้ ปัญหาที่จะเกิดขึ้นคือ หากไม่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จะหาก�ำลัง ผลิตไฟฟ้าใหม่เข้ามาทดแทนถึง 2,000 MW ได้จากที่ไหน เพราะ การซือ้ ไฟฟ้าจากประเทศเพือ่ นบ้านได้ถกู ก�ำหนดไว้แล้วว่าต้องไม่เกิน 25% ของก�ำลังผลิตไฟฟ้าทั้งประเทศ ในขณะที่ต้นทุนต่อหน่วยใน การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนในปัจจุบันยังสูงมาก เมื่อ เปรียบเทียบกับเชื้อเพลิงประเภทอื่น โดยแหล่งเชื้อเพลิงหลักในการ ผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยในปี 2553 ได้แก่ พลังน�ำ้ ขนาดใหญ่ ร้อยละ 3.34 พลังงานจากถ่านหินร้อยละ 7.67 และก๊าซธรรมชาติ ร้อยละ

VA.indd 20

72.45 แต่การเลือกใช้แหล่งที่มาของพลังงานแต่ละประเภทมีต้นทุน การผลิต ประสิทธิภาพของพลังงานไฟฟ้า และข้อจ�ำกัดที่แตกต่างกัน จากการประมาณการของ กฟผ. ปี 2554 พบว่า ต้นทุนค่า ก่อสร้าง และการผลิตไฟฟ้า โดยแบ่งเป็นประเภทเชื้อเพลิงของ โรงไฟฟ้า ได้แก่ ชนิดเชื้อเพลิง

คากอสราง ตนทุนการผลิตไฟฟา (ลานบาท/เมกกะวัตต) (บาทตอหนวย) • นิวเคลียร 117.4 2.46 • กาซธรรมชาติ 26.9 2.88 • ถานหินนำเขา 55.2 2.56 • พลังน้ำขนาดใหญ 122.5 0.67 • น้ำมันเตา 50.5 6.16 • น้ำมันดีเซล 15.5 11.62 • พลังน้ำขนาดเล็ก 70 2-10 • พลังลม 60-85 5-6 • พลังแสงอาทิตย 80-125 10-13 • พลังชีวมวล 40-70 3-3.5 ประเด็นส�ำคัญที่มีการกล่าวอ้าง คือ พลังงานหมุนเวียนมีข้อ จ�ำกัด เช่น แสงแดดไม่ได้มีตลอดวัน ลมไม่ได้มีตลอดปี ส่วนราคาของ เทคโนโลยีในการผลิตโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงชนิดอื่นนั้น สูงมาก เนื่องจากไทยไม่ใช่ประเทศที่ผลิตเทคโนโลยี อาจส่งผลให้ค่า ไฟฟ้าสูงขึน้ อีกสองเท่า หรือถ้าจะใช้ถา่ นหินหรือก๊าซธรรมชาติในการ ผลิตไฟฟ้า ก็ยงั คงต้องพบกับปัญหาต้นทุนสูงขึน้ เหมือนกัน เพราะต้อง น�ำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ แต่นั่นก็ยังไม่ส่งผลกระทบเท่ากับ มลพิษจากการเผาไหม้ถา่ นหิน รวมทัง้ ก๊าซเรือนกระจกทีจ่ ะปล่อยออก มาจากกระบวนการผลิต ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมตามมา แต่พลังงานนิวเคลียร์นั้น แม้จะมีค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง มหาศาล แต่ผลทีไ่ ด้นนั้ สม�ำ่ เสมอและมัน่ คง เพราะสามารถเดินเครือ่ ง ผลิตไฟฟ้าได้ตลอดเวลา เป็นพลังงานสะอาด ไม่มพี ลังงานทดแทนชนิด ใดที่จะมาทดแทนการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงหรือพลังงานนิวเคลียร์ ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ แม้ว่าจะเพิ่มก�ำลังการผลิตเท่าใดก็ตาม เพราะ พลังงานทดแทนไม่มคี วามมัน่ คงหรือความต่อเนือ่ งของการผลิตไฟฟ้า ได้เท่ากับน�้ำมันและนิวเคลียร์ ซึ่งเป็นพลังงานฐาน ข้อมูลเหล่านีค้ อื องค์ประกอบทีท่ ำ� ให้เชือ่ ได้วา่ หากไม่ใช่โรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ซงึ่ จะสร้างความมัน่ คงด้านพลังงาน สามารถเดินเครือ่ งตลอด เวลา เพื่อตอบสนองความต้องการไฟฟ้าพื้นฐานที่มีต้นทุนการผลิต ไฟฟ้าในราคาถูกทีส่ ดุ ก็เชือ่ ได้วา่ วิกฤตพลังงานจะเกิดขึน้ ได้ และแนว โน้มราคาค่าไฟฟ้าในอนาคตจะต้องแพงขึ้นอย่างมาก ดร.ชนาธิป ทิพยกุล วิศวกรนิวเคลียร์ สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียร์แห่งชาติ (สทน.) เปิดเผยว่า ขณะนีป้ ระเทศไทยอยูร่ ะหว่าง การศึกษาความเหมาะสมโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ซึ่งรวมถึงการ ศึกษาด้านเทคนิคและความปลอดภัยของโรงไฟฟ้า และการพิจารณา คัดเลือกเทคโนโลยีและผูผ้ ลิตโรงไฟฟ้าทีเ่ หมาะสม ส่วนการเลือกประเภทเตาปฏิกรณ์ของโรงไฟฟ้าใหม่จะพิจารณา ข้อจ�ำกัดด้านเทคนิคก่อน เช่น ขนาด ก�ำลังการผลิต ความสามารถใน การเดินเครื่อง จากนั้นจะพิจารณาต้นทุนการผลิต ซึ่งทั้งหมดจะต้อง อยู่บนการยอมรับของประชาชนและสอดคล้องกับนโยบายพลังงาน ของประเทศ

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

21

September - December 2011

พื้นที่รอบๆ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิล (ที่ตั้งอยู่ข้างหลัง) ยังคงรกร้างไร้สิ่งมีชีวิต 25 ปีหลังจากอุบัติเหตุนิวเคลียร์ที่รุนแรงที่สุดในโลก

The area around the Chernobyl nuclear power plant (in the background) in Ukraine remains deserted, 25 years after the world’s worst nuclear accident.

Under the PDP 2010, nuclear power will account for 11% of the country’s electricity generation capacity, lignite and other coal-based electricity 24%, natural gas 39%, electricity purchased from neighboring countries 20%, and alternative energy 6%. The first nuclear power plant will generate 1,000 MW of electricity in 2020 and the second in January 2021. However, citing the Japanese disaster as cause for additional study, the government decided to postpone the plan for three years from 2020 to 2023 in order to conduct a review. The Thai society has been made to believe that Thailand is ready in all respects to build nuclear plants according to the PDP. With Natural Gas Depleting and Energy Crisis Looming in Two Decades, Is Nuclear the Solution? In the past several years, the Ministry of Energy and EGAT have stepped up warnings that natural gas fields in the Gulf of Thailand would be depleted in only 15-20 years, and that natural gas had been fuelling 70% of electricity generation. The question is after natural gas is depleted, to which sources of energy Thailand should turn in order to prevent a crisis in energy shortage and ensure that Thai people continue to consume electricity at an affordable price. EGAT maintains that without nuclear power plants in operation by 2020-2021, Thailand will lose the electricity generating capacity of 2,000 MW. Due to be decommissioned in 2020 are the 316-MW South Phra Nakhon

power plant, 325-MW Nam Phong plant, 730-MW Tri Energy plant, and 168-MW Small Power Producer (SPP) plants. In 2021, more SPP facilities will be shut down as they reach their lifespan. Upgrading ageing facilities for re-commissioning will raise the cost of power production to a level that will make it not worthwhile. Without nuclear power plants, from where can Thailand bring the missing 2,000-MW capacity? The purchase of electricity from neighboring countries is fixed at no more than 25% of the country’s overall capacity, while the cost per unit of power generated from alternative energy remains high compared to other sources. As of 2010, the main sources of power generation of Thailand are large-scale hydropower 3.34%, coal power 7.67%, and natural gas 72.45%. Each energy choice differs in production cost, power efficiency and limitations. EGAT estimated in 2011 the capital costs of building power plants and producing electricity classified by energy sources as follows: Energy Source

Construction Electricity Cost Production Cost (million baht/MW) (baht/unit) • Nuclear 117.4 2.46 • Natural gas 26.9 2.88 • Imported coal 55.2 2.56 • Large-scale hydropower 122.5 0.67 • Fuel oil 50.5 6.16 • Diesel 15.5 11.62 • Small-scale hydropower 70 2-10 • Wind power 60-85 5-6 • Solar power 80-125 10-13 • Biomass 40-70 3-3.5

วิกฤตพลังงาน: นิวเคลียร์คือค�ำตอบ?

VA.indd 21

Energy Crisis: Is Nuclear the Solution?

1/27/12 11:32 AM


22

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ระเบิดไฮโดรเจนที่ท�ำลายเตาปฏิกรณ์หลังหนึ่งที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ A hydrogen explosion at the Fukushima Daiichi nuclear power plant.

แม้โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์มีค่าก่อสร้างสูงกว่าโรงไฟฟ้า ประเภทอื่น เนื่องจากมีอุปกรณ์ความปลอดภัยและมีมาตรฐานใน การควบคุมของเสียในขบวนการผลิตไฟฟ้ามากกว่า แต่มีค่าเชื้อเพลิง และค่าใช้จ่ายในการเดินเครื่องและบ�ำรุงรักษาต�่ำกว่า เมื่อพิจารณา ต้นทุนการผลิตเฉลีย่ ตลอดอายุของโรงไฟฟ้า ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะถูกกว่าโรงไฟฟ้าประเภทอื่น ดร.ชนาธิป กล่าว ส�ำหรับพื้นที่เป้าหมายนั้น ตัวแทน กฟผ. ได้กล่าวไว้ในงาน สัมมนาระดับภูมิภาคเรื่อง “การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์” โดยมีนักอุตสาหกรรมนิวเคลียร์จาก 17 ประเทศเข้าร่วม เมื่อวันที่ 20-22 กรกฎาคม 2549 ว่าได้มีการศึกษาพื้นที่ที่เหมาะสมในการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ไว้เรียบร้อยแล้ว 2 แห่ง คือ ที่บริเวณ “แหลมแท่น” อ.ประทิว จ.ชุมพร และ “บางเบิด” รอยต่อระหว่าง จ.ชุมพรกับ ประจวบคีรีขันธ์ วันนี้โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้ถูกจัดวางเข้าสู่แผนปฏิบัติ ของรัฐเรียบร้อยแล้ว โดยแผนงาน แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ปี 2551 - 2553 เตรียมเริ่มโครงการและศึกษาความ เหมาะสมทางเศรษฐศาสตร์ ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม กฎหมาย และสนธิสญ ั ญาฯ เทคโนโลยี สถานทีต่ งั้ การพัฒนาบุคลากร และการ สร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชน ระยะที่ 2 ปี 2554 - 2557 ตัดสินใจว่าจะสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หรือไม่ (Go Nuclear) จัดท�ำโครงการเพื่อขออนุมัติจากรัฐบาลใน การออกแบบ ออกกฎหมาย จัดตั้งองค์กรก�ำกับดูแล และก�ำหนด สถานที่ตั้ง ระยะที่ 3 ปี 2557 - 2563 ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ระยะที่ 4 ปี 2563 เดินเครื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยการเตรียมโครงการซึ่งอยู่ในระยะที่ 1 มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านนิวเคลียร์ให้ประชาชนได้รับรู้ และศึกษา-ส�ำรวจสถาน ที่ตั้งที่มีศักยภาพ (Potential Sites) 17 แห่ง มีพื้นที่ที่ได้คะแนน ความเหมาะสมสูงสุด 5 พื้นที่ เรียงล�ำดับดังนี้ 1. สิรินธร อ.สิรินธร จ.อุบลราชธานี 2. พนมรอก อ.ท่าตะโก จ.นครสวรรค์ 3. ไม้รูด อ.คลองใหญ่ จ.ตราด 4. คันธุลี อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานี 5. ปากน�ำ้ ละแม อ.ละแม จ.ชุมพร ในเดือนธันวาคม 2550 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) และคณะรัฐมนตรีก็ได้ให้ความเห็นชอบและอนุมัติเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับแนวทางการด�ำเนินงานข้างต้น ดังนี้

VA.indd 22

1. แผนการจัดตั้งโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการผลิตไฟฟ้าพลังงาน นิวเคลียร์ (Nuclear Power Infrastructure Establishment Plan: NPIEP) 2. การจัดตั้งส�ำนักพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (สพน.) (Nuclear Program Development Office) โดยให้อยู่ใน สังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน 3. การแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานเพื่อเตรียมการจัดตั้ง โครงสร้างพื้นฐานพลังงานไฟฟ้านิวเคลียร์ (Nuclear Power Infrastructure Preparation Committee) 4. แผนด�ำเนินการ (Roadmap) และกรอบวงเงินงบประมาณ ส�ำหรับช่วง 3 ปีแรก (2551 – 2553) จ�ำนวน 1,345 ล้านบาท ในฐานะวิศวกรนิวเคลียร์ ดร.ชนาธิป คิดว่าพื้นที่ 5 แห่งที่ได้ ศึกษาในเบื้องต้นนี้ มีความเหมาะสมเพียงพอที่จะสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ได้ตามปัจจัยหลักในการพิจารณาเลือกสถานที่ตั้ง (Site Selection) ทั้งด้านความปลอดภัย ด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และด้านความเหมาะสมเชิงเศรษฐศาสตร์ กล่าวคือสภาพพื้นผิวดิน ไม่อยู่บนรอยเลื่อนใต้พื้นโลก ไม่มีแผ่นดินไหว มีความเหมาะสมของ โครงสร้างทางธรณีวทิ ยา ไม่มภี เู ขาไฟ ไม่มนี ำ�้ ท่วมจากทะเลหรือแม่นำ�้ และไม่มปี รากฏการณ์ทางภูมอิ ากาศทีร่ นุ แรง ประชากรทีอ่ ยูอ่ าศัยไม่ หนาแน่น มีแหล่งน�้ำขนาดใหญ่เพื่อใช้ระบายความร้อนเช่นเดียวกับ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนทั่วไป (Thermal Power Plant) สามารถ เข้าถึงพื้นที่ได้ง่าย เป็นต้น หากรัฐบาลอนุมัติโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เมื่อไหร่ งานทุกด้านก็สามารถเดินหน้าได้ โดยการด�ำเนินโครงการจะต้อง ศึกษาและเตรียมความพร้อมในการก่อสร้าง 19 ข้อ ตามมาตรฐาน ของส�ำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ หรือไอเออีเอ ดร.ชนาธิป ยืนยันว่า ประเทศไทยจะได้ประโยชน์หลายๆ อย่าง จากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทั้งเรื่องความมั่นคงด้านพลังงาน การลด ภาวะโลกร้อนเพราะเป็นโรงไฟฟ้าที่ไม่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ราคา เชื้อเพลิงที่ไม่แพง สามารถผลิตพลังงานจ�ำนวนมากมายจากปริมาณ เชื้อเพลิงเพียงเล็กน้อย โดยผลิตกากของเสียจ�ำนวนน้อย การพัฒนา วงจรเชื้อเพลิงพลังงานนิวเคลียร์เพื่อให้ได้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้นมีอยู่ อย่างต่อเนื่อง อย่างก็ตาม เขายอมรับว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มรี าคาลงทุนเริม่ ต้น (capital cost) ที่สูงกว่าโรงไฟฟ้าชนิดอื่น เพราะต้องให้ความส�ำคัญ กับการออกแบบก่อสร้าง วัสดุอปุ กรณ์ ระบบควบคุมและการเก็บและ จัดการกากจากโรงไฟฟ้าทัง้ ในกรณีด�ำเนินการปกติและในกรณีฉกุ เฉิน เพื่อให้มีการเตรียมพร้อมด้านความปลอดภัยสูงสุด “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นทางเลือกหนึง่ อยูท่ จี่ ะยอมรับกันได้หรือ เปล่าว่า นิวเคลียร์เป็นพลังงานทีด่ ี ประเทศไทยต้องมาดูวา่ เรายอมรับ กันหรือไม่วา่ ในอนาคตจะเกิดวิฤตพลังงานขาดแคลน และพิจารณาขัน้ พืน้ ฐานว่าเราจะหาพลังงานทางเลือกจากไหนได้บา้ ง ถ้าไม่เอาพลังงาน นิวเคลียร์ แล้วพลังงานที่เป็นพลังงานทางเลือกอื่นๆ มันเพียงพอหรือ เปล่า แล้วราคาจะเป็นอย่างไร เพราะปัญหาใหญ่ทสี่ ดุ ในเรือ่ งพลังงาน นิวเคลียร์ คือเรื่องการยอมรับของประชาชน” ถึ ง เวลาแล้ ว ที่ ค นไทยทั้ ง ประเทศต้ อ งร่ ว มกั น ตั ด สิ น ใจ ดร.ชนาธิป กล่าวและเสริมว่า หากคนไทยสามารถตัดความกลัวทีฝ่ งั ใจ ออกไป “เทคโนโลยีของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ก็มีความปลอดภัยสูงมาก ถ้าเทียบกับอุตสาหกรรมประเภทอื่น”

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554 The main argument against renewable energy is that solar energy is unavailable all day long while strong wind is only seasonal. In addition, the cost of technologies for other energy sources, including coal, is high and, because Thailand cannot produce the technologies on its own, the cost is likely to be even higher. Even coal which is competitive to nuclear in terms of cost emits greenhouse gases and other pollutants, causing severe environmental problems. Such disadvantages cannot be said about nuclear power, so the argument goes. Despite its high construction costs, output is consistent and stable because the plants can be operated around the clock, and the energy is clean. No other renewable power sources can totally replace conventional fuels or nuclear energy. This is because the output of alternative energy is not as stable or consistent as oil and nuclear power which are base power sources. Without stability and consistency of production that nuclear power provides, an energy crisis is a possibility, and electricity prices will rise considerably. Chanatip Tippayakul, nuclear engineer at the Thailand Institute of Nuclear Technology, a public organization, said Thailand has been conducting a feasibility study of nuclear power plants, including the technical and safety aspects, and in the process of selecting the appropriate technology and construction contractor for such power plants. The choice of reactor will be determined by technical consideration, such as the size and capacity of power plants, and operation capacity. The cost of power generation will also be taken into consideration. The final decision will be based on the public’s acceptance and the plan’s consistency with the country’s energy policy. Although nuclear power plants entails high construction costs due to the need to include more safety equipment and stricter waste controls, the costs of fuel, and reactor operation and maintenance are lower. This makes the average generation cost over the life-time of a nuclear power plant lower than that of other types of power plants, Chanatip said. During a seminar on “Nuclear Power Generation” attended by industrialists from 17 countries during 20-22 July 2006, an EGAT representative revealed that feasibility studies have been completed on two targeted sites. They are the cape of Laem Thaen in Pathieu District of Chumphon Provดร.ชนาธิป ทิพยกุล

Dr Chanatip Tippayakul

ince and Bang Boet on the border of Chumphon with Prachuap Khiri Khan province. The nuclear power plant project has already been included in the government’s operation plan, which is organized into four phases: Phase 1 (2008-2010): Prepare for the project start and conduct a feasibility study in terms of the economy, safety, environment, legal compliance and international conventions, technology, location, human resource development, and promotion of public information. Phase 2 (2011-2014): Decide whether or not to “go nuclear”, seek approval from the government for design, law promulgation, establishment of a regulatory agency, and location of plants. Phase 3 (2014-2020): Build nuclear power plants. Phase 4 (2020): Start operating nuclear power plants. During Phase 1, a public information campaign on nuclear energy was launched and a survey study conducted on 17 potential sites. Five of the sites received the highest rating for suitability in descending order: Sirindhorn in Sirindhorn District, Ubon Ratchathani; Phanom Rok, Tha Tako District, Nakhon Sawan; Mai Root, Khlong Yai District, Trat; Khanthuli, Tha Chana District, Surat Thani; and, Lamae estuary, Lamae District, Chumphon. In December 2007, the National Energy Policy Council and the cabinet granted approval to the following actions: 1. The drawing up of the Nuclear Power Infrastructure Establishment Plan (NPIEP); 2. The setting up of the Nuclear Program Development Office under the Office of the Permanent Secretary of Energy; 3. The formation of the Nuclear Power Infrastructure Preparation Committee; 4. The drawing up of a roadmap and a three-year budget (2008-2010) amounting to 1,345 million baht.

โรงไฟฟ้าทรีไมล์ ไอส์แลนด์ ในรัฐเพนซิลเวเนีย ของประเทศสหรัฐอเมริกา เกิด อุบัติเหตุแท่งเชื้อเพลิงหลอมละลายบางส่วน เพียงไม่ถึง 7 เดือนหลังจากเริ่มเดิน เครื่องเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2521 Three Mile Island Nuclear Power Plant in Pennsylvania in the US suffered a partial core meltdown less than seven months after it began operation in September 1978.

วิกฤตพลังงาน: นิวเคลียร์คือค�ำตอบ?

VA.indd 23

23

September - December 2011

Energy Crisis: Is Nuclear the Solution?

1/27/12 11:32 AM


24

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

อาสาสมัครกรีนพีซร่วมกิจกรรมคัดค้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ณ อ่าวท้องชิง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อปลายเดือนกันยายน 2553 อ่าวท้องชิงเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่ถูก เลือกให้เป็นที่ตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และทะเลบริเวณนี้เป็นที่อยู่อาศัยของโลมาหลังค่อมอินโดแปซิฟิก หรือที่เรียกกันว่า โลมาสีชมพู ธงที่ใช้รณรงค์มีรูปโลมาสีชมพูโดยมี ข้อความว่า “ถอดปลั๊กอนาคตนิวเคลียร์” – อธิษฐ์ พีระวงศ์เมธา/กรีนพีซ

Greenpeace volunteers participate in an anti-nuclear activity in Thong Ching Beach of Nakhon Si Thammarat province, 610 km south of Bangkok. Thong Ching is one of the proposed sites for the construction of nuclear power plants. The sea here is known for its vast population of pink dolphins (Indo-Pacific hump-backed dolphins or Sousa chinensis). – Athit Perawongmetha/Greenpeace

ด้าน ผ.ศ.ปรีชา การสุทธิ์ ที่ปรึกษาด้านเทคนิคนิวเคลียร์ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาโครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ (สพน.) กล่าวถึงทางเลือกของประเทศไทยส�ำหรับความมั่นคงด้านพลังงาน ว่า ประเทศไทยใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนที่ สูงมากคือประมาณ 70% และต้องน�ำเข้าจากประเทศพม่าถึง 1 ใน 3 ดังนั้น เพื่อเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศและ ลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ ประเทศไทยมีนโยบายกระจายแหล่ง เชือ้ เพลิงส�ำหรับโรงไฟฟ้าใหม่ทจี่ ะผลิตไฟฟ้าฐาน ซึง่ ต้องเป็นโรงไฟฟ้า ขนาดใหญ่ ต้นทุนการผลิตต�่ำ และสามารถเดินเครื่องได้ตลอดเวลา

การเตรียมความพร้อมส�ำหรับโครงการก่อสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย

การเตรียมความพร้อมตามมาตรฐาน IAEA 19 ข้อ ในการก่อสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1. นโยบายของชาติ 2. ความปลอดภัยนิวเคลียร์ 3. การบริหารและจัดการ 4. แหล่งทุนและการบริหารการเงิน 5. กฎหมาย 6. การพิทักษ์นิวเคลียร์ 7. การตรวจสอบและควบคุม

VA.indd 24

ผ.ศ. ปรีชากล่าวว่าประเทศไทยควรจะอนุมัติให้มีการสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มาตั้งแต่เมื่อ 30 ปีก่อนแล้ว เพราะประเทศไทยมี แผนทีจ่ ะสร้างมาตัง้ แต่ปี 2509 ซึง่ มีการส�ำรวจและก�ำหนดทีต่ งั้ เอาไว้ ว่าจะสร้างที่ อ่าวไผ่ อ. ศรีราชา จ. ชลบุรี ขนาด 600 MW แต่เมื่อมี การส�ำรวจพบก๊าซในอ่าวไทย โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จงึ ถูกระงับ ไปโดยไม่มีก�ำหนด ปั จ จุ บั น การที่ ต ้ อ งน� ำ เข้ า ก๊ า ซธรรมชาติ จ ากพม่ า ถึ ง 30% อีกทั้งต้องน�ำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว หรือ LNG (Liquid Natural Gas) จากต่างประเทศเข้ามาด้วย ท�ำให้ค่าเอฟทีของค่าไฟฟ้าสูงขึ้น ซึ่งหมายความว่าค่าไฟฟ้าต้องแพงขึ้นด้วย 8. การป้องกันรังสี 9. โครงข่ายระบบไฟฟ้า 10. ทรัพยากรบุคคล 11. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง 12. การจัดหาที่ตั้ง 13. การปกป้องสิ่งแวดล้อม 14. การวางแผนฉุกเฉิน 15. ความมั่งคงทางนิวเคลียร์ 16. วัฐจักรเชื้อเพลิง 17. กากกัมมันตรังสี 18. การมีส่วนร่วมของภาคอุตสาหกรรม 19. การจัดซื้อจัดจ้าง

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554 In Chanatip’s view, all five sites fit the key selection criteria in the initial study. They meet benchmarks on safety, environmental impacts, and economic suitability, that is, the sites do not sit on fault lines and are geographically appropriate without any risk of earthquakes, volcanoes, or floods from rivers or the sea. Moreover, the sites have no record of severe weather conditions, nor are they densely populated. They are easily accessible and located near large water sources for cooling purposes similar to thermal power plants in general. Upon government approval for the construction of nuclear power plants, work can take off. However, there must be studies and preparation work in compliance with a list of 19 items specified in the standards of the International Atomic Energy Agency (IAEA). Chanathip insisted that Thailand stands to gain from nuclear power plants in several respects , including energy stability and climate change mitigation, because the plants will emit no greenhouse gases and produce high electricity output from small quantity of fuel which yields a relatively small amount of waste. Notably, the nuclear energy cycle can be developed further to derive additional benefits. However, he admitted that the initial capital cost for nuclear power plants is higher than for other energy installations. This is due to the need to take great care about plant design, materials and equipment, and systems for the management and storage of nuclear waste to ensure maximum safety both during normal operation and emergency situation. “Nuclear power is an option. The question is whether the public can accept that nuclear power is a good option when the country faces an energy crisis. We need to consider the different sources of energy, whether alternative sources are adequate and affordable. The most challenging issue with regard to nuclear power is the public acceptance.” It is high time for the Thai people to take part in making this decision, said Dr. Chanathip, adding that if Thais can overcome their fear, “nuclear technology is very safe compared with other industries.”

ผ.ศ.ปรีชา การสุทธิ์

Assoc Prof Pricha Karasuddhi

Preparedness for the project to build nuclear power plants in Thailand A 19-item preparation list under IAEA standard of nuclear plant construction: 1. National Position 2. Nuclear Safety 3. Management 4. Funding and Financing 5. Legislative Framework 6. Safeguards 7. Regulatory Framework 8. Radiation Protection 9. Electrical Grids 10. Human Resources 11. Stakeholder Involvement 12. Site and Supporting Facilities 13. Environmental Protection 14. Emergency Planning 15. Security 16. Nuclear Fuel Cycle 17. Radioactive Waste 18. Industrial Involvement 19. Procurement Discussing energy security options for Thailand, Assoc Prof Pricha Karasuddhi, Expert Advisor on Technical and Nuclear Safety, Nuclear Power Program Development Office, pointed out that natural gas represents 70% of fuel for electricity generation, one third of which is imported from Myanmar. To enhance energy security and reduce reliance on natural gas, Thailand’s policy is to diversify energy sources for new power plants. These plants need be built on a large scale and able to produce electricity at low cost on demand at all time. Thailand should have approved the construction of nuclear power plants 30 years ago when it first drew up a plan in 1966, he said. Then, a survey had identified Phai Bay in Si Racha District of Chonburi Province as the site for a 600-MW plant. However, when gas fields were discovered in the Gulf of Thailand, the plan was shelved. At present, the fact that 30% of natural gas must be imported from Myanmar and liquid natural gas also acquired from overseas will increase fuel tariff (ft) and thereby power bills. The 2,400MW Mae Moh power plant in Lampang which has been operating since 1978 consumed over 16 million tons of lignite a year. The domestic source of lignite will be depleted in a few decades. The problem with coal as well as other fossil fuels is that it causes pollution as well as emits greenhouse gases. Assoc Prof Pricha said nuclear power plants will keep electricity cost affordable to the majority of consumers while providing a stable, secure and safe source of electricity.

วิกฤตพลังงาน: นิวเคลียร์คือค�ำตอบ?

VA.indd 25

25

September - December 2011

Energy Crisis: Is Nuclear the Solution?

1/27/12 11:32 AM


26

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ส่วนแหล่งไฟฟ้าอีกแหล่ง คือ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดล�ำปาง มีก�ำลังการผลิต 2,400 MW ที่ใช้ถ่านหินลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิง แต่ โรงไฟฟ้าแม่เมาะเปิดมาตั้งแต่ พ.ศ. 2521 ถึงตอนนี้เกือบ 30 ปี ใช้ ถ่านหินไปปีละกว่า 16 ล้านตัน อีกไม่กี่สิบปีก็คงหมด นอกจากนี้ การผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหินนั้นยังก่อมลภาวะตลอดมา รวมทั้งการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นปัญหาร่วมของโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงาน ความร้อน ไม่ว่าจะน�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ หรือถ่านหิน ล้วนแต่ปล่อย ก๊าซเรือนกระจกสู่บรรยากาศทั้งสิ้น ผ.ศ.ปรีชากล่าวว่าถ้าประเทศไทยมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ราคา พลังงานไฟฟ้าของไทยจะไม่สูงเกินไปจนเป็นภาระกับคนส่วนใหญ่ การผลิตกระแสไฟฟ้าจะมีเสถียรภาพ มีความมั่นคงและมีความ ปลอดภัย “โรงไฟฟ้าในนิวเคลียร์ของไทยจะเดินหน้าได้หรือไม่ขึ้นอยู่ กับนโยบายของรัฐบาล ถามว่าประเทศไทยมีความพร้อมในการมี

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์หรือไม่ ตลอด 3 ปีที่ผ่านมามีการศึกษาเตรียม ความพร้ อ มในเบื้ อ งต้ น ไว้ แ ล้ ว โดยโรงไฟฟ้ า ที่ ไ ทยจะสร้ า ง เป็นเทคโนโลยีรนุ่ ใหม่ซงึ่ มีความปลอดภัยสูงกว่ารุน่ เก่าทีก่ ำ� ลังมีปญ ั หา ในญี่ปุ่น และต้องมั่นใจว่าคนไทยท�ำได้ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทุกแห่งใน โลกอยูภ่ ายใต้มาตรฐานเดียวกันคือ มาตรฐานโลกทีก่ ำ� หนดโดย IAEA: ไม่ใช่มาตรฐานของประเทศใดประเทศหนึ่ง “การศึกษาเตรียมความพร้อมที่ด�ำเนินการมาแล้ว 3 ปีก็ชะงัก ท�ำอะไรต่อไม่ได้ การที่ไอเออีเอไม่รับรองรายงานข้อมูลความพร้อม การก่อสร้าง 19 ข้อ ที่ไทยส่งไป เป็นเพราะรัฐบาลไม่อนุมัติให้เริ่ม ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ปัญหาอยู่ที่การอนุมัติโครงการเท่านั้น รัฐบาลควรจะก�ำหนดให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นนโยบายของชาติ ไม่ใช่เป็นแค่แผนพัฒนาพลังงาน เมื่อระดับนโยบายไม่ชัด ขั้นตอน ต่อไป เช่น กฎหมายควบคุมต่างๆ การเลือกเทคโนโลยี การเลือกพืน้ ที่ การพัฒนาบุคลากรรองรับจึงไม่เกิดขึ้น” ผ.ศ.ปรีชา กล่าว

ข้อสังเกตและข้อแนะน�ำของ IAEA ต่อโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย ระหว่างการมาเยือนประเทศไทยของคณะผู้เชี่ยวชาญของ IAEA ระหว่างวันที่ 13-18 ธ.ค. 2553 เพื่อประเมินความพร้อมใน ระยะแรกของโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในช่วงของการ ศึกษา 3 ปีแรก โดยได้ตั้งข้อสังเกตดังนี้ 1. ไม่มีแถลงการณ์อย่างเป็นทางการใดๆ ที่แสดงให้เห็นถึง ความตั้งใจของรัฐบาลในการด�ำเนินการด้านพลังงานนิวเคลียร์ อย่างปลอดภัย มั่นคงและสันติ (ไม่แพร่กระจาย) ในระยะยาว 2. ไม่ มี แ ผนอย่ า งเป็ น ทางการในการตรากฎหมายด้ า น นิวเคลียร์ให้บรรลุผล 3. องค์ประกอบที่จ�ำเป็นในการร่วมเป็นภาคีต่อเครื่องมือ ทางกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องไม่ได้รับการบรรจุในการ ด�ำเนินการตรากฎหมายของประเทศ และรัฐบาลยังไม่มีแผนใน การจัดการประเด็นนี้ นอกจากนัน้ ประเทศไทยไม่ได้แสดงเจตจ�ำนง ในการเข้าร่วมเป็นภาคีในอนุสัญญาความปลอดภัยด้านนิวเคลียร์ 4. ไม่มีหลักฐานยืนยันเจตจ�ำนงในการแต่งตั้งผู้น�ำที่ผ่านการ อบรมและมีประสบการณ์ที่เหมาะสมเพื่อน�ำการจัดการด้านความ ปลอดภัย 5. ไม่มีหลักฐานที่แสดงความเข้าใจต่อเรื่องความรับผิดชอบ ขั้นสุดท้ายของผู้ด�ำเนินการโรงไฟฟ้าต่อเรื่องความปลอดภัย 6. ยังไม่มีรายละเอียดเพียงพอในเรื่องการพัฒนาทรัพยากร บุคคลของส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติส�ำหรับขั้นตอนการด�ำเนิน งานขั้นที่ 1 ทั้งนี้ คณะผู้เชี่ยวชาญ IAEA ให้ข้อแนะน�ำโดยสรุป 8 ข้อ ได้แก่ 1.หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้พลังงานนิวเคลียร์อย่าง มัน่ คง ปลอดภัย และอย่างสันติในระยะยาว ควรระบุไว้ในกฎหมาย ฉบับแก้ไข หรือในเอกสารราชการอื่นๆ ที่เหมาะสม 2. ประเทศไทยควรมีความชัดเจนว่า การแต่งตัง้ ผูบ้ งั คับบัญชา จะพิจารณาบุคคลทีผ่ า่ นการอบรมและมีประสบการณ์ทเี่ หมาะสม ส�ำหรับที่จะเป็นผู้น�ำและส�ำหรับการจัดการด้านความปลอดภัย 3. ประเทศไทยควรสร้างความเข้าใจให้ดมี ากขึน้ เกีย่ วกับความ รับผิดชอบด้านความปลอดภัยของเจ้าของ/ผู้เดินเครื่องโรงไฟฟ้า 4. ในการตัดสินใจเริ่มโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์

VA.indd 26

ประเทศไทยควรออกแถลงการณ์ยอมรับเข้าร่วม Global Nuclear Safety Regime และแสดงความชัดเจนที่จะเข้าร่วมเป็นภาคีใน สนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะสนธิสัญญา ต่อไปนี้ – อนุสัญญาความปลอดภัยด้านนิวเคลียร์ – อนุสญ ั ญาร่วมว่าด้วยความปลอดภัยในการจัดการเชือ้ เพลิง ใช้แล้วและกากกัมมันตรังสี – อนุสัญญาการป้องกันวัสดุนิวเคลียร์ – อนุสญ ั ญาเวียนนาว่าด้วยความรับผิดทางแพ่งส�ำหรับความ เสียหายอันเกิดจากนิวเคลียร์ 5. ควรจัดท�ำแผนเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการ ของหน่วยงานก�ำกับดูแลและหน่วยงานที่มีความส�ำคัญอื่นๆ ใน อนาคต เช่น หน่วยงานสนับสนุนด้านเทคนิค เป็นต้น 6. ประเทศไทยควรจัดท�ำแผนที่จะออกกฎหมายนิวเคลียร์ที่ ครอบคลุมทั้งหมดและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยสอดคล้อง กับมาตรฐานของ IAEA และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่ง กฎหมายเหล่ า นี้ ค วรจั ด ตั้ ง โครงสร้ า งและขอบข่ า ยงานของ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ จัดตัง้ หน่วยงานก�ำกับดูแลทีเ่ ป็นอิสระ มีหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน นอกจากนี้ กฎหมายจะต้อง ครอบคลุมประเด็นส�ำคัญอื่นๆ ด้วย เช่น ความปลอดภัยนิวเคลียร์ การรักษาความปลอดภัย การพิทกั ษ์วสั ดุนวิ เคลียร์ และการชดเชย ความเสียหายจากนิวเคลียร์ 7. ประเทศไทยควรมีพื้นที่ตรวจนับวัสดุนิวเคลียร์ (Material Balance Area) ส�ำหรับสถานที่ภายนอก (Locations Outside Facilities) และวัสดุนวิ เคลียร์ทงั้ หมดทีจ่ ะต้องผ่านขัน้ ตอนของการ พิทักษ์วัสดุนิวเคลียร์ ควรได้รับการตรวจนับอย่างถูกต้องที่ MBA และรายงานไปยัง IAEA 8. ส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) ควรจัดท�ำแผนพัฒนา บุคลากรที่ครอบคลุมทั้งหมดอย่างเร่งด่วน และจะต้องสอดคล้อง กับแผนงานโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศด้วย ที่มา: เอกสารการชี้แจงเรื่องการประเมินตนเองเบื้องต้นต่อ IAEA โดย นายชวลิต พิชาลัย รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนา โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554 “Whether or not Thailand will go forward with nuclear energy depends on the government’s policy. Is Thailand ready for nuclear power? We have conducted preliminary studies over the past three years. The power plants that we will build will have new technology that is much safer than the older technology which has caused problems in Japan. We must trust that Thailand can operate it. After all, all nuclear plants are subject to the world’s standard set by the IAEA, not to any standard set by any one country,” he said. “The study and preparation for the project has been ongoing for three years. But now it has been interrupted. The IAEA has not approved Thailand’s report of 19 preparatory activities because the government has yet to give plant construction a go-ahead which is the main problem. The government should put nuclear power plants on the national agenda, not only as part of the energy

development plan. Without a clear policy, further steps, such as legislation, technology selection, site selection, and human resource development cannot proceed.” For industrial and business sectors which together consume 73% of local energy supply, electricity rates today and tomorrow are the top priorities. Kobkarn Wattanavrangkul, deputy secretary-general of the Thai Chamber of Commerce, expressed her concerns about fuel risk and energy security that come with over-reliance on fossil fuels. She said in less than two decades, fossil fuels will be depleted, while imports such as hydro-electric power from dams in Laos and natural gas from Myanmar and Malaysia comprise about 40% of energy demand. Any interruption will definitely threaten the nation’s energy security. The future of energy requires vision and long-

IAEA’s observations and suggestions on the nuclear power plant construction project in Thailand

3. Thailand should ensure a better understanding among owners/operators that the ultimate responsibility for safety lies with them. 4. With the decision to go nuclear,the Thai government should make a statement on acceptance of the Global Nuclear Safety Regime and commit itself to joining relevant international legal instruments, in particular the following: – Convention on Nuclear Safety; – Joint Convention on the Safety of Spent Fuel Management and the Radioactive Waste Management; – Convention on Physical Protection of Nuclear Materials and its amendment; – Vienna Convention on Civil Liability for Nuclear Damage. 5. Thailand should draw up a basic plan for the Management Systems in the Regulatory Body and other future key organizations, such as Technical Standard Orders (TSO). 6. Thailand should formalize a plan to enact a comprehensive nuclear law and other companion laws, consistent with the relevant IAEA standards and international legal instruments. These laws should establish an institutional framework, including an effectively independent regulatory body with clear functions and responsibilities, and missions to address other areas such as nuclear safety, nuclear security, safeguards and civil liabilities for nuclear damage. 7. A Material Balance Area (MBA) for Locations Outside Facilities (LOFs) should be created in Thailand with all relevant nuclear material subject to safeguards and properly accounted for at this MBA and reported to the IAEA. 8. The Office of Atoms for Peace should urgently develop a comprehensive, phased HRD Plan that is compatible with the national nuclear power project. Source: Presentation on Thailand’s self-assessment process to IAEA by Chavalit Pichalai, deputy director of the Nuclear Power Program Development Office, on 8 February 2011.

During a visit to Thailand from 13-18 December 2010, a team of experts from IAEA conducted initial assessment of the 3-year study under the nuclear plant construction project and made the following remarks: 1. No official statement demonstrating the government’s commitment to the safe, secure and peaceful (nonproliferation) implementation of nuclear power for the long term. 2. There is no official plan for the completion of the national nuclear legislation 3. Necessary elements for joining the relevant international legal instruments are not included in national legislation, and the government has not yet formalized the plan to address this issue. Thailand has not made a commitment to join the Convention on Nuclear Safety 4. No evidence of commitment to ensure appointment of leaders with appropriate training and experience for leadership and the management of safety 5. No evidence showing understanding of the ultimate responsibility for safety lies with the operator 6. Office of Atoms for Peace’s Human Resource Development Plan is not sufficiently detailed for Milestone 1 Recommendations of IAEA’s experts are summarized below: 1. Basic principles regarding the safe, secure and peaceful uses of nuclear power for the long term should be demonstrated either specifically by the revision of the Act or other appropriate official government statement. 2. Thailand should commit to ensuring the appointment of leaders with appropriate training and experience for the leadership and management of safety.

วิกฤตพลังงาน: นิวเคลียร์คือค�ำตอบ?

VA.indd 27

27

September - December 2011

Energy Crisis: Is Nuclear the Solution?

1/27/12 11:32 AM


28

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจทีม่ กี ารใช้พลังงาน 73% ของประเทศ อัตราค่าไฟฟ้าทีไ่ ม่สงู เกินไปทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคตเป็น เรื่องที่ต้องค�ำนึงถึงเป็นล�ำดับแรก กอบกาญจน์ วั ฒ นวรางกู ร กรรมการรองเลขาธิ ก ารสภา หอการค้าแห่งประเทศไทย แสดงความเป็นห่วงเรื่องความเสี่ยงด้าน เชื้อเพลิงและความมั่นคงด้านพลังงานซึ่งพึ่งพาพลังงานจากฟอสซิล เป็นหลัก กอบกาญจน์กล่าวว่า อีกไม่เกิน 20 ปีข้างหน้า เชื้อเพลิงเหล่านี้ จะหมดลง ขณะทีส่ ดั ส่วนการผลิตไฟฟ้า 40% เป็นการน�ำเข้าจากต่าง ประเทศเป็นหลัก เช่น เขื่อนผลิตไฟฟ้าในประเทศลาว ก๊าซธรรมชาติ น�ำเข้าจากพม่า และมาเลเซีย ถ้าเกิดปัญหาไม่สามารถน�ำเข้าก๊าซ ได้จะส่งผลกระทบกับความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศแน่นอน การด�ำเนินงานด้านพลังงานต้องมองการณ์ไกล ต้องมีการ วางแผนพัฒนาพลังงานระยะยาว และที่ส�ำคัญต้องยอมรับว่าไม่มี พลังงานใดที่จะสมบูรณ์แบบ ดังนั้นความมั่งคงด้านพลังงานไม่ใช่ การพึ่งพานิวเคลียร์อย่างเดียว ควรมีหลายๆ อย่างไว้เป็นทางเลือก กระจายความเสี่ยงระยะยาว เพื่อให้เกิดความสมดุล หรือพึ่งพาได้ใน ยามที่ตัวใดตัวหนึ่งเกิดปัญหาฉุกเฉิน ในเรื่องนี้ แผนพัฒนาพลังงานปี ค.ศ. 2010 (PDP 2010) ได้ มีการบรรจุเรื่องพลังงานต่างๆ รวมถึงพลังงานทดแทน ทั้งจากน�้ำ ลม และแสงแดดไว้ในแผนค่อนข้างมาก แต่อย่างไรก็ยังไม่เพียงพอ เพราะพลังงานทดแทนยังมีข้อจ�ำกัดอยู่หลายอย่าง ในขณะที่การใช้ พลังงานไฟฟ้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามการพัฒนาและการเจริญเติบโต ของเศรษฐกิจในประเทศ การกระจายแหล่งเชื้อเพลิงและหันมาเป็น ผู้ผลิตไฟฟ้าด้วยตนเองจึงถือเป็นแนวทางที่ควรท�ำในขณะนี้ เธอแนะว่า รัฐบาลควรมีความกล้าตัดสินใจในการพัฒนาพลังงาน นิวเคลียร์ ซึง่ เป็นเทคโนโลยีทดี่ ที สี่ ดุ ในขณะนี้ เพราะเป็นเทคโนโลยีที่ ไม่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึง่ เป็นไปตามกระแสโลกทีเ่ รียกร้อง ว่าการผลิตพลังงานต้องไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กอบกาญจน์ กล่าวว่า พลังงานเป็นต้นทุนส�ำคัญของภาคธุรกิจ และการแข่งขัน หลายประเทศมีการพัฒนาพลังงานของตนเองเพื่อ ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น เช่น จีน อินเดีย เมื่อ 30 ปีที่แล้ว ประเทศไทยคิด พร้อมกับเกาหลีใต้และไต้หวัน วันนี้เศรษฐกิจของประเทศเหล่านั้น พัฒนาก้าวหน้ากว่าไทยไปมากแล้ว และวันนี้เราก�ำลังคิดไปพร้อมกับ ประเทศเวียดนาม ซึง่ เวียดนามตัดสินใจพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์แห่ง แรกในปี 2563 ด้วยก�ำลังผลิต 2,000 MW แซงประเทศไทยไปแล้ว ปัจจุบันไทยยังต้องน�ำเข้าพลังงาน ท�ำให้ต้นทุนสูง ดังนั้นการ สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ซึ่งเป็นพลังงานที่มีศักยภาพสูง ต้นทุนต�่ำ จะ น�ำความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาสูป่ ระเทศ ซึง่ จะ ท�ำให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมใหญ่น้อยขึ้นมารองรับ และช่วยให้ ภาคธุรกิจของไทยมีศักยภาพในการแข่งขันที่สูงขึ้นในอนาคต “รัฐบาลต้องกล้าตัดสินใจ และต้องรูจ้ กั การจัดการกับประชาชน ญี่ปุ่นเขาบอกไม่ใช่ว่าทุกคนจะรักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แต่ถ้ามันถึงจุด หนึ่งที่คิดว่าอย่างไรก็จ�ำเป็น คุณก็ต้องท�ำ อาจจะมีคน 30% ที่ไม่เห็น ด้วยก็ต้องท�ำ เพราะไม่มีอะไรหรอกในโลกนี้ที่คุณจะต้องได้ 100% ค�ำว่าประชาธิปไตยเราอาจจะเข้าใจผิด มันไม่มีอะไรที่ประชาชนคิด เหมือนกัน 100% มันแล้วแต่มุมมองของคน” กอบกาญจน์ กล่าว “การพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ต้องมีคนเสียสละ ไม่ว่าโรงไฟฟ้า จะไปลงในที่ไหน แต่การตัดสินใจควรอยู่บนพื้นฐานของเหตุผล

VA.indd 28

term energy development plans. Importantly, it must be admitted that there is no perfect energy source. Energy security does not mean reliance on nuclear power alone, but ensuring a diverse range of options and spreading risks over a long-term period in order to strike a balance and create self-reliance when any one alternative runs into trouble. On this matter, the PDP 2010 covers quite extensively energy sources and renewable energy, such as thermal, wind and sun. Nevertheless, such an approach is not enough because alternative energy sources are beset by many limitations. As power consumption is likely to rise in step with economic growth, diversification of energy sources and energy self-reliance emerge as the best approach, Kobkarn said. She suggested that the government commit to developing nuclear energy, which is today’s best technology with zero carbon dioxide emission which is in tune with the world-wide demand for environmentally-friendly power production. Kobkarn said energy is a main capital cost of business and competitiveness. Many countries, including China and India, have developed their energy sources in order to raise their competitive edge. Thirty years ago, Thailand shared the same vision with South Korea and Taiwan. Today, these economies have outpaced Thailand’s considerably. Now, Thailand is on the same track as Vietnam. But Vietnam has already taken a nuclear path with its first 2,000-MW nuclear power plant slated Thailand still has to rely on imported energy, which raises its capital cost. Nuclear power is low cost and high in efficiency. Having nuclear power plants will bring about scientific and technological progress, Kobkarn said, and this will help develop related industries thereby boosting the competitive edge of Thai businesses. “The government must be decisive and know how to handle the public. The Japanese knows that not every citizen embraces nuclear plants but it also realizes that when you reach a point where you need to build one, then you simply go ahead even if 30% of the population may be against it. Nothing in this world will win 100% support. Democracy doesn’t mean 100% of the people need to agree. Each person can have his own view,” said Kobkarn. “Going nuclear means some people will have to make sacrifices. But decisions must be rational not based on กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร fear. People should Kobkarn Wattanavrangkul

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

29

September - December 2011

look at nuclear power constructively as opportunities to create jobs and develop communities around the power plants.” She urged the public to be broad-minded and the government to be courageous in developing nuclear technology without spending any more time commissioning additional studies. She attributed the government’s reluctance to make a decision to the fact that the nuclear power plant project cannot curry votes. As it takes substantial time to bear fruit, the ruling politicians are afraid that they may not survive to see it through. She believes the public will come to appreciate it once the project is a success. Kobkarn called on the public and the government to make sacrifices by putting in place a firm foundation. Rather than depressing oil prices thereby distorting the market, the government should promote energy efficiency and secure better energy sources. “The solution to the energy crisis requires decisive action by reducing energy consumption, then diversifying risks and tighten controls, and seeking out new technologies. The world is moving in this direction. This does not mean that we will love nuclear power eternally. But for now it is one of the best options,” said Kobkarn. n

ไม่ใช่ความกลัว ต้องมองอย่างสร้างสรรค์ มองให้เป็นโอกาส เช่นโอกาส ในการจ้างงาน การพัฒนาความเจริญในชุมชนที่จะเกิดขึ้นจากการ มีโรงไฟฟ้า” เธอแนะว่าประชาชนควรเปิดใจให้กว้างกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และรัฐบาลควรกล้าตัดสินใจและผลักดันให้เกิดขึ้น โดยไม่ควรเสีย เวลาทบทวนหรือศึกษาซ�้ำอีก เธอเชื่อว่าเหตุที่รัฐบาลไม่กล้าตัดสินใจเพราะโครงการพลังงาน นิวเคลียร์ไม่สร้างความนิยมเหมือนโครงการประชานิยมทั่วไป และ โครงการต้องใช้เวลานานในการด�ำเนินการ รัฐบาลจึงคิดว่าถ้าเริ่ม โครงการแล้ว ตัวเองจะไม่ได้อยู่ดูผลส�ำเร็จ แต่เธอเชื่อว่าถ้าโครงการ ส�ำเร็จขึ้นมาแล้ว ประชาชนก็จะเข้าใจ กอบกาญจน์เรียกร้องให้ทั้งประชาชนและรัฐบาลยอมเสียสละ โดยสร้างรากฐานให้ถูกต้อง ไม่ท�ำให้ตลาดบิดเบือนโดยการอุ้มราคา น�้ำมัน แต่จะต้องท�ำให้เกิดการประหยัดพลังงานอย่างแท้จริงและให้ ได้แหล่งพลังงานที่ดีกว่าในปัจจุบัน “ทางออกของวิกฤติพลังงานคือต้องตัดสินใจท�ำอย่างจริงจัง ลงลึก อย่างแรก คือใช้พลังงานให้น้อยลง อันที่สองคือพยายาม กระจายความเสี่ยงที่มีอยู่แล้ว และควบคุมให้ดีที่สุด และสามคือ หาเทคโนโลยีใหม่ ซึ่งตอนนี้โลกก็ก�ำลังท�ำอยู่ เราถึงบอกว่าว่า ไม่ใช่ เราจะรักนิวเคลียร์ตลอดชาติ แต่ ณ วันนี้นิวเคลียร์เป็นหนึ่งใน ทางเลือกที่ดีที่สุด” กอบกาญจน์ กล่าว n

PROPORTION OF POWER PRODUCTION BY FUEL: According to Power Development Plan 2010 (PDP 2010)

สัดสวนการผลิตพลังงานไฟฟาแยกตามประเภทเชื้อเพลิง: ตามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟา 2010 (PDP 2010) 360,000

ลานหนวย Million kWh

320,000 280,000 240,000 200,000 160,000 7%

5% 7%

5% 6%

5% 7%

6% 8%

6% 13%

6% 13%

6% 14%

6%

3% 6%

6% 6%

14%

15%

16%

6% 6% 17%

6% 6%

8%

11%

6%

6%

17%

17%

18%

10% 6%

10% 6%

80,000 40,000 0

66%

64% 64%

64%

62% 59%

8% 11%

9% 11%

10%

10%

11%

12%

11%

10%

10%

9%

9%

9%

58%

54%

11%

10%

11%

12%

8%

8%

8%

7%

พลังงานหมุนเวียน

Renewable Energy

ที่มา: กระทรวงพลังงาน

18%

19%

19%

39%

39%

30%

20% 21%

47%

46%

45%

43%

44%

13% 13%

15% 14%

13%

17%

16%

19%

6%

5%

4%

4%

4%

7%

6%

น้ำมันเตา

Heavy Oil

ซื้อตางประเทศ

Power Import

กาซธรรมชาติ Natural Gas

3%

2%

ถานหินนำเขา

Imported Coal

ลิกไนต

Lignite

พลังน้ำ

Hydro

Source: Ministry of Energy

วิกฤตพลังงาน: นิวเคลียร์คือค�ำตอบ?

VA.indd 29

6%

49% 48%

7%

6%

2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 2024 2025 2026 2027 2028 2029 2030

นิวเคลียร

Nuclear

59% 59%

6%

11%

18% 18%

120,000 68%

12%

11%

Energy Crisis: Is Nuclear the Solution?

1/27/12 11:32 AM


30

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

มองมุมต่าง A Different Perspective มั่นคง สะอาด ถูก... Security, Clean, Cheap…

ข้ออ้างที่ ฟังไม่ขึ้น?

วามเสี่ ย งของการใช้ ก ๊ า ซธรรมชาติ เ พื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า กว่ า ร้ อ ยละ 70 ที่ ก� ำ ลั ง ร่ อ ยหรอ ลง บวกกับกระแสโลกเรื่องการลดหรือไม่ปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์ ท�ำให้ประเทศต้องหาพลังงาน ทางเลือกที่มีต้นทุนต�่ำเข้ามาเสริมระบบ ในสายตา ของผู ้ ว างนโยบายและแผนพั ฒ นาพลั ง งาน โรงไฟฟ้ า พลั ง งาน นิวเคลียร์จึงเป็นทางเลือกด้วยเหตุผล 3 ประการ คือ เพิ่มความมั่นคง ด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศโดยกระจายแหล่งเชื้อเพลิงส�ำหรับ โรงไฟฟ้าใหม่แบบฐาน (baseload plants) ที่สามารถจ่ายไฟขั้นต�่ำ ได้ตลอดเวลาเพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดไฟ, เป็นพลังงานสะอาด เป็นมิตรกับกับสิง่ แวดล้อม, และต้นทุนการผลิตไฟฟ้าราคาถูกและคงที่ แต่เหตุผลใหญ่ทั้งสามประการนี้มีข้อโต้แย้งจากทั้งนักวิชาการ และเอ็นจีโอ รวมถึงประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย เยาวชนยุคพลังงานสะอาดของกรีนพีซ และชุมชนปะทิว จังหวัด ชุมพร ร่วมติดตั้งกังหันลมขนาด 2.5 กิโลวัตต์ที่โรงเรียนปะทิว เมื่อกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2550 กรีนพีซเรียกร้องให้นักการ เมืองบรรจุการศึกษาด้านพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพ พลังงานไปในแผนพัฒนาก�ำลังการผลิตไฟฟ้า แทนการสนับสนุน เชื้อเพลิงฟอสซิลที่สกปรกและเทคโนโลยีนิวเคลียร์ที่เป็นอันตราย – วินัย ดิษฐจร/กรีนพีซ

VA.indd 30

A Shaky Line of Reasoning?

T

he dwindling reserves of natural gas, which fuel 70% of the production of Thailand’s electricity, and the campaigns against carbon dioxide emissions are being used by state policy makers to back their search for an alternative, inexpensive energy to reinforce the national grid. Nuclear power is the choice they advance for three reasons. The country must secure more electricity supplies to feed its base-load plants, or power plants that need to produce electricity constantly based on the minimum demands of customers. Next, energy must be clean and friendly to the environment. Finally, costs must be low and stable. But these reasons raise doubts among scholars, non-governmental organizations, and people living Members of Solar Generation, a youth wing of Greenpeace, and the local community of Pathieu district in Chumphon province install a 2.5kw wind turbine at Pathiu primary school. Greenpeace demands that the Power Development Plan promote and explore the potential of renewable energy combined with energy efficiency, instead of dirty fossil fuels and dangerous nuclear technologies. – Vinai Dithajohn/Greenpeace

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

เริ่มตั้งแต่โครงสร้างของระบบไฟฟ้า ที่เป็นหัวใจส�ำคัญท�ำให้โรง ไฟฟ้านิวเคลียร์มีสถานะในแผนพัฒนาก�ำลังการผลิตไฟฟ้า ปี 2010 หรือแผนพีดีพี 2010 วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ ผู้อ�ำนวยการ เครือข่ายพลังงานเพื่อ นิเวศวิทยาแม่น�้ำโขง (MEE Net) กล่าวว่า กว่า 10 ปีที่ผ่านมา การ พยากรณ์ความต้องการพลังงานเกินความเป็นจริงเป็นปัญหาเรื้อรัง ของระบบไฟฟ้าไทยมาโดยตลอด ยิ่งเมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจระหว่าง ปี พ.ศ. 2541 และ 2542 อัตราการใช้ไฟฟ้าสูงสุดมีการเติบโตต�่ำกว่า ที่เคยเป็นมา และในปี 2551 และ 2554 ความต้องการใช้ไฟฟ้าลดลง อย่างชัดเจน โดยก�ำลังผลิตไฟฟ้ารวมของระบบ (Installed Capacity) ในปี พ.ศ. 2554 เกินจากที่ใช้จริงบวกไฟฟ้าส�ำรอง 15% ไปถึง 3,738 เมกะวัตต์ (MW) เทียบกับเขื่อนปากมูลรวมกันถึง 28 เขื่อน และหาก ค�ำนวณตามสถิติการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดที่เกิดขึ้นจริงในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา จะมีค่าเฉลี่ยเพียง 830 MW/ปี เท่านั้น การจัดหาไฟฟ้า ส�ำรองที่สูงเกินความจ�ำเป็นเหล่านี้ท�ำให้ประชาชนต้องแบกรับภาระ ค่าใช้จ่ายเป็นเงินหลายแสนล้านบาท วิฑูรย์ คิดว่า แผนพีดีพี 2010 ซึ่งขยายระยะเวลาแผนการคาด การณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าในประเทศจากเดิม 15 ปี เป็น 20 ปี ก็ เพื่อจะผลักดันแผนการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จ�ำนวน 5 โรงให้เกิด ขึ้นในประเทศไทย “นักวิชาการจะพูดถึงแต่เทคโนโลยี[และ]วิชาการ(เมื่อพูดถึง พลังงานนิวเคลียร์) แต่ไม่เชื่อมโยงเรื่องนิวเคลียร์กับระบบไฟฟ้า ซึ่ง เป็นเรื่องที่รับไม่ได้ ระบบไฟฟ้ามีปัญหาเชิงโครงสร้างที่ต้องแก้ไขอีก เยอะมาก และโจทย์เหล่านีจ้ ะต้องมีการจัดการทีด่ ขี นึ้ แล้วมันจะตอบ ค�ำถามและหลีกเลี่ยงนิวเคลียร์ได้

31

September - December 2011

“ทีผ่ า่ นมาเวลาคุยเรือ่ งระบบไฟฟ้าก็จะคุยกันแต่เรือ่ งกรรมสิทธิ์ และการพัฒนาทุน ความเชื่อเรื่องเทคโนโลยีไฟฟ้ายังคิดอยู่ภายใต้ ระบบใหญ่ทผี่ กู ขาดไว้โดย กฟผ. (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) โดยเชื่อว่าถ้าไม่ผูกขาดแต่ผู้เดียวจะมีความไม่มั่นคง โครงสร้างด้าน พลังงานของประเทศจึงเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน และท�ำให้แผนการอนุรกั ษ์พลังงานไม่คบื หน้า ส่วนประชาชนผูบ้ ริโภค ไฟฟ้าต้องแบกภาระค่าไฟเกินกว่าที่ใช้จริง หากไม่จ่ายค่าไฟจะถูก ตัดไฟทันที ซึ่งคนไทยไม่มีสิทธิเลือก เพราะอยู่ในระบบผูกขาดอย่าง สมบูรณ์แบบ โครงสร้างระบบไฟฟ้าของเราจึงพิการ ดังนั้นการปฏิรูป โครงสร้างในระบบไฟฟ้าเป็นเรื่องจ�ำเป็นมาก” วิฑูรย์กล่าว ด้ า น ดร.เดชรั ต สุ ข ก� ำ เนิ ด อาจารย์ ค ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้วิเคราะห์ถึงความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ ของการพัฒนาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยมองแนวโน้มของโลกที่เกี่ยว กับการเติบโตของพลังงานทาง เลือก 3 ประเภท คื อ โรงไฟฟ้ า นิ ว เคลี ย ร์ พ ลั ง ง า น ล ม และพลังงานแสงอาทิตย์ ดร. เดชรั ต ชี้ ว ่ า ใน ปี ค.ศ. 2006 จ� ำ นวนก� ำ ลั ง การ ผ ลิ ต ติ ด ตั้ ง ของพลั ง งานลม และพลั ง งาน แ ส ง อ า ทิ ต ย ์ มี เพิ่ ม มากขึ้ น

เดชรัต สุขก�ำเนิด Decharut Sukkumnoed in areas targeted for the construction of nuclear power plants. The opponents question the forecast of future demands for electricity cited in the the government’s Power Development Plan 2010 (PDP) which they see as a questionable attempt to justify the need for nuclear power plants in Thailand. For the past 10 years, Thailand has faced problems in predicting electricity demands because the forecast has not corresponded with real circumstances in society, says Witoon Permpongsachaoren, director of the Mekong Energy and Ecology Network (MEE Net). Among factors in the discrepancy is the decrease of maximum usage of electricity during the country’s financial crash in 1998 and 1999 and the falling demands in 2008 and 2011. For the past 20 years, he says, the maximum usage of electricity in Thailand has not been greater than 830 megawatts (MW) a year on average. The excessive power reserves subsequently have caused people to bear huge financial burdens worth several billions of baht. Even this year, he adds, electricity generating capacity, known as installed capacity, is more than the requirement of 15% in reserve by 3,738 MW), or the equivalent of electricity produced by 28 Pak Moon dams. Witoon also has his doubts about the the state’s

move to adjust the PDP 2010 by extending the time span of the forecast of future electricity demands from 15 to 20 years. The change, he says, probably is part of the attempt to push ahead the plan to build five new power plants using nuclear technology. “Experts are keen to talk about the technology [of nuclear energy], but fail to look at nuclear issues in the context of the current electricity system,” says Witoon. Thailand’s electricity system has been handicapped by a “structural problem.” Electricity management and technologies are entirely in the hands of the Electricity Generating Authority of Thailand (Egat). Egat believes it needs to monopolize the national electricity system to ensure the security of power supply. But letting the stateowned agency to control the whole electricity system does not always mean that renewable energy and energy conservation will be promoted extensively. Instead, it turns out that consumers have to bear the excessive costs of electricity production. Failure to pay the bills means electricity to their houses will be suddenly cut. Egat’s virtual monopoly leaves people with no choice of alternative means to electricity supply. “Our electricity system is crippled as a result,” Witoon says. “Reform of the structure of the electricity system is badly needed.”

มั่นคง สะอาด ถูก... ข้ออ้างที่ฟังไม่ขึ้น? Security, Clean, Cheap… A Shaky Line of Reasoning?

VA.indd 31

1/27/12 11:32 AM


32

VA.indd 32

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ในขณะที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์กลับลดน้อยถอยลง โดยพลังงานลม แม้กระทั่งพลังงานแสงอาทิตย์ที่ถือกันว่าแพง เข้าสู่ระบบมากกว่า พลังงานจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ดร.เดชรัต อ้างถึงการศึกษาของ US Congressional Budget Office หรือส�ำนักงบประมาณแห่งรัฐสภาของสหรัฐอเมริกา ที่เสนอ รายงานเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 ว่า ต้นทุนของโรงไฟฟ้า 75 แห่งของสหรัฐสูงกว่าที่อุตสาหกรรมนิวเคลียร์อ้างถึงกว่า 3 เท่า โดย ต้นทุนเฉลี่ยในการก่อสร้างเพิ่มขึ้นจาก 0.94 ล้านเหรียญ/MW (หรือ ประมาณ 33 ล้านบาท/MW) กลายเป็น 3.0 ล้านเหรียญ/MW (105 ล้านบาท/MW) เมื่อท�ำการก่อสร้างจริง ขณะเดียวกันผลการศึกษาของ Keystone Center ซึ่งเป็น สถาบันวิจัยอิสระ เมื่อปี ค.ศ. 2007 พบว่า ต้นทุนของการผลิตไฟฟ้า จากนิวเคลียร์อยูใ่ นระดับ 8.3–11.1 เซ็นต์/หน่วย (หรือประมาณ 2.93.9 บาท/หน่วย) แต่หลังจากนั้นอีกไม่นาน นักวิจัยหลักคนหนึ่งของ รายงานนีก้ ป็ รับตัวเลขไปทีร่ ะดับ 12-17 เซนต์/หน่วย (4.2-6.0 บาท/ หน่วย) โดยยังไม่รวมต้นทุนในการเก็บรักษากากนิวเคลียร์ ในส่ ว นของต้ น ทุ น ในการเก็ บ รั ก ษากากนิ ว เคลี ย ร์ ก็ พ บว่ า โครงการเก็บรักษากากนิวเคลียร์ถาวรที่ภูเขายัคคาในสหรัฐอเมริกา มีต้นทุนในการด�ำเนินการสูงถึง 96.2 พันล้านเหรียญ (3.4 ล้านล้าน บาท) เพิ่มขึ้นจากที่คาดไว้เดิมถึงร้อยละ 38 ที่ส�ำคัญโครงการนี้ก็ยัง ไม่สามารถด�ำเนินการได้เนือ่ งจากไม่ได้รบั การยอมรับจากนักวิชาการ และประชาชน ปัญหาที่ส�ำคัญในแง่เศรษฐกิจของอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ คือ การออกแบบก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต้องออกแบบเฉพาะส�ำหรับ แต่ ล ะโรง แทนที่ จ ะมี แ บบแปลนมาตรฐาน ท� ำ ให้ ต ้ น ทุ น ในการ ออกแบบ และต้นทุนในการก่อสร้างสูงขึ้น และยังกลายเป็นความ

ยุ่งยากในการก�ำกับดูแลเรื่องความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แต่ละโรง อันเป็นต้นเหตุส�ำคัญของความล่าช้า และท�ำให้ต้นทุนใน การก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์บานปลายอีกด้วย การลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีปัญหาในเรื่องการ ค�ำนวนค่าก่อสร้างทีม่ ตี วั เลขไม่ชดั เจน เนือ่ งจากมีปจั จัยทีเ่ ป็นตัวแปร

Besides the monopoly of the electricity system and the inaccurate forecast of electricity demands in Thailand, the high costs of building nuclear power plants also lend credit to opponents. Construction of such plants comes with “economic risks”, warns Kasetsart University’s economist Decharut Sukkumnoed. The risk can be seen in the uncertainty of the cost estimate of a nuclear power plant. A study by the US Congressional Budget Office in May, 2008 notes that the real construction costs of 75 nuclear power plants in the United States were three times higher than the estimates put forward by the industry sector. Their average cost was also found to jump from US$0.94 million a MW (about 33 million baht a MW) to US$3 million a MW (105 million baht a MW). These figures came to light only after construction work started. On-site, the construction of a nuclear power plant requires the design of buildings and facilities to be unique to each location. This lack of a standard design inflates costs and slows the inspection of the plant and equipment safety, Decharut explains. The higher construction costs also stem from the usually long construction period of about 10 years, the need to keep the power plant projects in line with laws to obtain construction and operation permits, and expenses in linking the plant with the state infrastructure. These

factors complicate the investment plan and often cause nuclear power plant operators worldwide to pay more than they expected to do. The uncertainties in cost estimates, which often bring heavy financial burdens, lead operators to do everything possible to secure certain returns. They call on the government to guarantee constant revenues, and have to manage insurance plans for risks and accidents that can happen at the plants. Eventually, Decharut says, these expenses will be pushed to both the government and consumers. These problems are seen in the construction of the 75 nuclear power plants. According to the US Congressional Budget Office, the plants, erected from 1966 to 1986, had to go through complicated processes, which led to the higher costs, during the average construction period of 12 years of each plant. The operators were first required to find locations, choose types of technology, study laws, think of how to decrease environmental impacts, recruit specialists to oversee the plants, and plan ways to prevent and respond to unwanted incidents including terrorist attacks. Other costs needed to operate the plant and deal with its waste also make this alternative energy a very expensive option. A study by non-partisan think-tank Keystone Center in 2007 found the cost of electricity

ชาวบ้านราวหนึ่งร้อยคนและลูกเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ จัดขบวนเป็นรูปโลมา สีชมพู ณ อ่าวท้องชิง จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมถือป้ายผ้าที่มีข้อความว่า “ถอดปลั๊ก ถอดนิวเคลียร์” เมื่อปลายเดือนกันยายน 2553 – อธิษฐ์ พีระวงศ์เมธา/กรีนพีซ More than a hundred people representing communities opposed to nuclear power together with crew from the Greenpeace flagship Rainbow Warrior place windsocks to form the shape of a pink dolphin, next to a banner reading “Unplug a nuclear future,” in Thong Ching Beach, Nakhon Si Thammarat province in September 2010. – Athit Perawongmetha/Greenpeace

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

33

September - December 2011

หลายๆ อย่าง เช่น ระยะเวลาการก่อสร้างที่ยาวนานเป็นสิบปี ค่าใช้ จ่ายที่เกิดจากการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ เพื่อให้ ได้มาซึ่งใบอนุญาตก่อสร้างและด�ำเนินการ และการจัดการเกี่ยวกับ โครงสร้างพื้นฐานที่จะเชื่อมต่อกับโรงไฟฟ้า ฯลฯ การวางแผนการ ลงทุนในโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จึงเป็นเรื่องที่ซับซ้อน โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เท่าทีม่ มี าทัว่ โลกจึงมักประสบปัญหาเรือ่ ง เวลาก่อสร้างที่ยาวนานและเงินลงทุนที่มากเกินกว่าที่คาดการณ์ไว้ ด้ วยความไม่แน่นอนต่างๆ เหล่านี้ ท�ำให้นักอุตสาหกรรม นิวเคลียร์เรียกร้องหลักประกันจากรัฐบาลที่จะป้องกันเงินทุนและ สร้างรายได้ที่แน่นอนให้แก่ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ รวมทั้ง ประกันความเสี่ยงจากความเสียหายที่เกิดขึ้นหากมีเหตุฉุกเฉิน ซึ่ง แน่นอนว่าค่าใช้จ่ายต่างๆ เหล่านี้ในที่สุดต้องถูกผลักเป็นภาระของผู้ บริโภคหรือของรัฐบาลเอง จากรายงานผลการศึกษาของส�ำนักงบประมาณแห่งรัฐสภาของ สหรัฐอเมริกา เมือ่ ปี ค.ศ. 2008 พบว่า การก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 75 โรงในช่วงปี ค.ศ. 1966-1986 มีระยะเวลาโดยเฉลี่ย 12 ปีต่อ โรง ประกอบกับการด�ำเนินการตามโครงการที่ซับซ้อนไม่แพ้กัน เริ่ม ตั้งแต่การตระเตรียมกฎหมายและกฎระเบียบในด้านความปลอดภัย และการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การหาพื้นที่เพื่อก่อสร้างโรง ไฟฟ้า การตัดสินใจเรื่องเทคโนโลยีที่จะใช้ การตระเตรียมบุคลากร ในการด�ำเนินงานโรงไฟฟ้าที่ต้องมีความเชี่ยวช�ำนาญเป็นพิเศษ ไป จนถึงการวางแผนป้องกันอุบัติภัยชนิดต่างๆ รวมไปถึงการป้องกัน ภัยจากผู้ก่อการร้าย ด้วยเหตุดังนี้ ตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษที่ 1980 อุตสาหกรรมนิวเคลียร์จึงตกต�่ำลง มาจนปัจจุบันการสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ทเี่ ข้าสูร่ ะบบในแต่ละปีมนี อ้ ยมาก โดยในปี 2006 มีโรงไฟฟ้า

ใหม่เข้ามาสู่ระบบ 2 โรง ปี ค.ศ. 2007 มีเพียง 3 โรง ในปี ค.ศ. 2008 ไม่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เข้าสู่ระบบแม้แต่โรงเดียว ฉะนั้นการโฆษณาว่า ทั่วโลกมุ่งสู่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จึงเป็นการ โฆษณาที่เกินจริง และประเด็นส�ำคัญที่สุดเรื่องนี้กลับไม่ค่อยถูกพูด ถึงในเมืองไทย ดร.เดชรัต แสดงความเห็นจากข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยรวม ประเด็นเรื่องแผนพีดีพี 2010 ที่คาดการณ์การใช้ไฟฟ้าสูงจริงว่า โครงการโรงไฟฟ้าของเอกชนหรือ IPP (Independent Power Producers) โรงไฟฟ้าถ่านหิน ของ กฟผ. และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ สามารถ ยกเลิกหรือเลือ่ นออกจากแผนพีดพี ี 2010 ได้เลย เพราะความต้องการ ไฟฟ้าสูงสุดลดลง และก�ำลังการผลิตไฟฟ้าส�ำรองของระบบยังคงสูง กว่าร้อยละ 15 ซึ่งเป็นเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนดไว้อยู่ดี ซึ่งอีกไม่เกิน 20 ปี พลังงานหมุนเวียนจะถูกกว่าพลังงานนิวเคลียร์ รัฐควรส่งเสริม และสนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียนให้มากขึน้ เช่น การใช้พลังงาน แสงอาทิตย์และพลังงานลม ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพผลิตกระแส ไฟฟ้าได้ถึง 1.2 หมื่นเมกะวัตต์ ท�ำให้ไม่ต้องพึ่งพาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ปัจจุบนั ตามแผนอนุรกั ษ์พลังงานทีต่ งั้ เป้าจะลดการใช้พลังงาน ลงให้ได้ 20% ทีเ่ พิง่ ออกมา แค่สง่ เสริมให้กลุม่ ผูใ้ ช้ไฟฟ้าสูงสุดคือภาค อุตสาหกรรม 50% อาคารพาณิชย์ 25% และภาคครัวเรือน 25% โดยทุกฝ่ายสามารถลดการใช้ไฟฟ้าได้ 10% ก็ไม่จ�ำเป็นต้องสร้าง โรง ไฟฟ้านิวเคลียร์ ล่าสุดยังพบว่า มีผผู้ ลิตรายเล็กและรายเล็กมากยืน่ ข้อ เสนอเพือ่ ขายไฟฟ้าเข้าระบบอีกหลายพันเมกะวัตต์ ฉะนัน้ ไม่ตอ้ งกังวล ว่าเราจะมีไฟฟ้าไม่พอส�ำหรับการเติบโตในอนาคต ดังนั้น ในช่วงการ เปลี่ยนผ่านสู่ยุคพลังงานหมุนเวียน เราควรลดการใช้พลังงานลงและ เพิ่มการใช้พลังงานหมุนเวียนให้มากขึ้น

production, fuelled by nuclear energy, stood between 8.3 and 11.1 cents a kilowatt-hour (kWh), or about 2.9 and 3.9 baht a kWh. However, a researcher of the centre later adjusted the numbers to between 12 and 17 cents a kWh (4.2 and 6 baht a kWh). This excluded the expenses of nuclear waste management. When nuclear waste is included, cost has to be adjusted. According to the centre, if the waste is taken for storage at the Yucca Mountain in Nevada, it will cost US$96.2 billion (3.4 trillion baht), a 38% increase from the initial estimate. However, the nuclear waste repository project at Yucca site has been stalled due to the strong opposition from experts and local people. Since 2006, the high construction costs of nuclear power plants are a major reason for the declining trend of their numbers, Decharut says. That year, there were only two plants; the numbers were put at three in the following year, but in 2008 there were none. Meanwhile, there has been an increase in the use of renewable energy sources such as sun and wind. Even the solar cell technology looked set to have a brighter future despite its high cost. The advertisements that the world is moving towards nuclear technology are thus exaggerated, Decharut says. However, in Thailand, the problems inherent in the construction of nuclear power plants have been rarely communicated to the public.

Decharut is not convinced by the Energy Ministry’s claim that the cost of electricity produced by a nuclear power plant is cheaper than other types of power plants. The ministry estimates that a 1,000-MW nuclear power plant incurs an electricity cost of only 150 billion baht. However, he says, this is not a precise figure because even the United States is not confident in estimating the costs of nuclear power plants. The US nuclear power plants so far have chalked up more electricity production costs than initially estimated. On top of that there are the expenses of public information campaigns. With such unpredictable expenses, some nuclear plants even had to cut short construction. Another “cost” that may surface when considering the building of a nuclear power plant in Thailand lies in the non-transparency of projects, Decharut says. Mega projects in Thailand are renowned for being steeped in corruption. Moreover, in the international context, Thailand is far from meeting requirements for building nuclear power plants. The government’s decision to delay its nuclear power plant plan for another three years seems to be a response to the International Atomic Energy Agency which says “Thailand is not ready in many areas,” notes Decharut. Reflecting on the PDP 2010, Decharut suggests the

มั่นคง สะอาด ถูก... ข้ออ้างที่ฟังไม่ขึ้น? Security, Clean, Cheap… A Shaky Line of Reasoning?

VA.indd 33

1/27/12 11:32 AM


34

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

“เหตุผลที่ท�ำให้รัฐบาลเลื่อนแผนการสร้างโรงฟ้านิวเคลียร์ออก ไปอีก 3 ปีน่าจะมาจากเหตุผลที่ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่าง ประเทศบอกว่าไทยไม่พร้อมในหลายๆ เรือ่ งมากกว่า ปัญหาโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ทกี่ ำ� ลังจะผุดขึน้ ในประเทศไทยเวลานีม้ คี วามจ�ำเป็นเร่งด่วน ที่จะต้องสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง ที่ส�ำคัญรัฐ จะต้องไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง” ดร.เดชรัต กล่าว ข้อสรุปเรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จากตัวเลขที่มักถูกกล่าวอ้างว่า ต้นทุนค่าไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ก�ำลังผลิต 1,000 เมกะวัตต์ ที่ กระทรวงพลังงานบอกไว้ที่ 150,000 ล้านบาท ถูกกว่าต้นทุนค่าไฟฟ้า จากทุกโรงไฟฟ้าทุกประเภท จึงยังไม่ใช่ตัวเลขที่ชัดเจน เพราะแม้แต่ ในประเทศที่เคยสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อย่างสหรัฐยังไม่ระบุวงเงิน ที่แท้จริง เพราะโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ผ่านมาล้วนประสบกับปัญหาค่า ก่อสร้างที่บานปลายมาตลอด และในที่สุดบางโครงการต้องหยุดการ ก่อสร้างไป ยังไม่รวมต้นทุนทีจ่ ะต้องประชาสัมพันธ์ให้ความรูก้ บั คนใน ประเทศ และที่ส�ำคัญปัญหาการคอร์รัปชั่นที่ทุกคนยอมรับว่ามักจะ เกิดขึ้นกับโครงการขนาดใหญ่ในสังคมไทย สันติ โชคชัยช� ำนาญกิจ กลุ่มศึกษาพลังงานทางเลือกเพื่อ อนาคต มองว่า ในช่วงปี ค.ศ. 1990 เป็นต้นมา เมื่อประเทศทาง ตะวันตกเปิดเสรีในระบบไฟฟ้า แล้วลักษณะการก่อสร้างแบบโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ไม่สามารถตอบโจทย์ในแง่ทจี่ ะไปแข่งขันในเชิงเสรีได้ ท�ำให้ การก่อสร้างหยุดชะงักไปในประเทศในกลุ่มยุโรปตะวันตก อเมริกาก็ ไม่มีการก่อสร้างอีกเลยในช่วงกว่า 30 ปีที่ผ่านมา ส่วนบางประเทศก็มีการพิจารณาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในมิติทาง สังคม เช่น เดนมาร์ก ที่มีค�ำตอบชัดเจนว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็น government remove plans to have more Independent Power Producers, or to build more coal-fired power plants and nuclear power plants. He reasons that the country does not need such a large amount of electricity. The maximum demands for electricity have so far decreased while the national electricity reserves are still above the 15% requirement. In 20 years, he adds, renewable energy is expected to be cheaper than nuclear energy. Therefore the government should support more uses of renewable energy, especially wind and sun. With these energy sources, Thailand has a potential to produce up to 12,000 MW of electricity without any need to rely on nuclear power plants. Thailand can also secure its power supply by promoting electricity conservation among people more seriously, he says. Currently the industry sector is the largest consumption group accounting for half of the national electricity usage while commercial buildings and households consume 25% each. If all sectors can reduce consumption by 10%, which is still less than the 20% target set by the government, there will be no need to build nuclear power plants. Besides, there are many small private electricity producers wanting to sell several thousand megawatts of electricity to Egat, making it hard to imagine Thailand will face electricity shortage. “Don’t worry that we will not have enough electric-

VA.indd 34

โรงไฟฟ้าที่สร้างความไม่เป็นธรรมในสังคม คือระหว่างคนที่จะได้ ใช้ประโยชน์กับคนที่จะต้องตกอยู่ภายใต้ความเสี่ยงเพราะอยู่ใกล้ โรงไฟฟ้า และในบางประเทศ เช่น ออสเตรียถือเป็นประชามติของ สังคมที่ร่วมกันตัดสินใจว่าจะไม่มีการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หรือ ล่าสุดในเยอรมนี ถือเป็นนโยบายผ่านการเลือกตั้งและมีกระบวนการ ทางกฎหมายที่ชัดเจนว่าจะรื้อถอนหรือปิดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ก่อนที่ จะหมดอายุการใช้งาน เหตุผลเหล่านี้ท�ำให้ค�ำสั่งซื้อเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ใหม่ลดลง อย่างมากทัว่ โลก บริษทั ผูผ้ ลิตเทคโนโลยีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์วนั นีก้ ำ� ลัง จะไปไม่รอด และสายการผลิตก�ำลังจะหมดลงไป การลงนามในสัญญา ซื้อขายเทคโนโลยีหรือการก่อสร้างจึงเหมือนเป็นการการันตีรายได้ และก�ำไรจากราคาหุ้นให้บริษัทผู้ผลิต ไม่ว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะเกิด ขึ้นได้หรือไม่ก็ตาม โดยจะเห็นว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่นั้น ส่วน ใหญ่อยู่ในแถบทวีปเอเชีย และหากมองในประเด็นของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วที่ต้อง เผชิญกับสภาวะโลกร้อน เช่น เดนมาร์ก ออสเตรีย เยอรมนี นิวเคลียร์ ก็ไม่ได้ตอบโจทย์เรื่องโลกร้อน โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ไม่ใช่ไม่ปล่อยก๊าซ เรือนกระจกอย่างที่หลายคนเข้าใจ เพราะการท�ำเหมืองแร่ยูเรเนียม กระบวนการผลิตแร่ยเู รเนียม การเพิม่ ประสิทธิภาพแร่ (enrichment) การขนส่ง และการสร้างโรงไฟฟ้า ล้วนต้องใช้พลังงานจากฟอสซิล จ�ำนวนมากซึ่งก่อให้เกิดปัญหาโลกร้อนเช่นกัน ในระยะยาวแล้วโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะปล่อยก๊า ซคาร์บอน ไดออกไซด์ออกมามากกว่าพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสง อาทิตย์ และพลังงานลม เนื่องจากแร่ยูเรเนียมคุณภาพดีมีค่อนข้าง ity for our future growth,” Decharut says. “What we should do is to conserve electricity and use more renewable energy.” Santi Chokechaichamnankij, of the Alternative Energy for Sustainability, echoes Decharut’s comment on the dim future of nuclear power plants. He says since western countries allowed for free competition of electricity production in 1990, nuclear power plants operating under such market conditions have struggled unsuccessfully. Consequently, there have been no new plants in western Europe, says Santi. In the US, he has not heard news of nuclear power plant construction for the past 30 years. Many European countries look at social and economic dimensions when they are considering the merits of nuclear power plants. In Denmark, Santi says, a nuclear power plant is viewed as an option that causes social injustice between people who take benefits from its electricity and those who have to bear risks due to living near the plant. The Austrian government decided not to build one after a public referendum rejected this technology. In other countries such as Germany, plans to close and remove nuclear power plants have been included in election campaigns and legislation processes. In Santi’s view, the nuclear power plant industry is on the downhill. New orders for nuclear reactors have greatly decreased; nuclear technology firms are struggling for survival and their production lines are approach-

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

35

September - December 2011

เรือประมงที่ท่าเรือประมงบ้านบางจาก อ.ปะทิว จ.ชุมพร -ในสภาวะน�้ำมันราคา แพง ชาวประมงในทะเลไทยล้วนปรับตัวหันมาใช้หลอดประหยัดไฟ โดยเฉพาะเรือได หมึกที่ต้องใช้หลอดไฟเป็นจ�ำนวนมาก การปรับตัวแบบนี้เกิดขึ้นมานานหลายปีซึ่ง เป็นความก้าวหน้าก่อนชุมชนเมือง Small squid fishing boats at rest in an inlet of Ban Bang Chak in Pathiu district of Chumphon province are equipped with energy-saving light bulbs which are essential for drawing squids. Local fisher folks are years ahead of their city counterparts in their awareness of energy efficiency which leads directly to revenue saving.

น้อย มีการประมาณกันว่า ถ้าความต้องการไฟฟ้ายังคงเท่าเดิม แร่ยูเรเนียมคุณภาพดีจะสามารถตอบสนองความต้องการของโลกได้ อีกเพียง 40 ถึง 50 ปี ปัจจุบันพลังงานไฟฟ้าที่ใช้กันทั้งโลกมาจากพลังงานนิวเคลียร์ ประมาณ 16% เท่านั้น ดังนั้นถ้าจะน�ำพลังงานนิวเคลียร์มาแทน โรงไฟฟ้าถ่านหิน แร่ยูเรเนียมชั้นดี ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่มีจ�ำนวน จ�ำกัด เช่นเดียวกับก๊าซธรรมชาติและน�้ำมัน ก็จะหมดภายในเวลา ประมาณหนึง่ ทศวรรษ ส่วนสินแร่ยเู รเนียมคุณภาพรองลงมา ก็ตอ้ งใช้ พลังงานอีกจ�ำนวนมากไปในกระบวนการผลิตซึง่ จะท�ำให้โลกร้อนขึน้ อีกมาก ราคาซื้อขายก็อาจจะสูงขึ้นไปตามจ�ำนวนที่ลดลงของแร่ด้วย

ในขณะที่ประเทศไทย พลังงานนิวเคลียร์มีประเด็นที่ยังต้อง ถกเถียงกันอีกมากในหลายมิติ เช่น ความคุ้มทุน ความปลอดภัย แต่ในหลายๆ พืน้ ทีซ่ งึ่ เป็นเป้าหมายในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ สันติตงั้ ค�ำถามทีป่ ระชาชนมักจะได้รบั ข้อมูลผิดๆ เกีย่ วกับประโยชน์ที่ ชุมชนจะได้รับจากการยินยอมให้มีการก่อสร้างโรงไฟฟ้า เช่น บ้างได้ รับข้อมูลว่าชาวบ้านจะมีงานท�ำ ใครที่อยู่บริเวณรอบโรงไฟฟ้าจะได้ ใช้ไฟฟ้าฟรี หรือมีไฟฟ้าทั่วถึงพื้นที่มากขึ้น มีถนน มีความเจริญ แต่ ข้อเท็จจริงก็คือ กระแสไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นในพื้นที่หนึ่งๆ ส่วนใหญ่ถูกน�ำ ไปป้อนให้ประชาชนในกรุงเทพฯ ที่ต้องการก�ำลังผลิตไฟฟ้าถึง 39% ของทัง้ ประเทศ มากกว่าความต้องการก�ำลังผลิตไฟฟ้าของภาคเหนือ อีสาน และภาคใต้รวมกัน สันติยกตัวอย่างห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน มาบุญครอง และเซ็นทรัลเวิร์ล ที่ใช้ไฟฟ้ารวมกันแล้วเท่ากับ 279 ล้านหน่วย ใน ขณะที่มีจังหวัดถึง 16 จังหวัด ที่มีการใช้ไฟฟ้ารวมทั้งจังหวัดไม่เกิน 278 ล้านหน่วย เขาสรุปว่าไฟฟ้า 80% ของประเทศจะถูกน�ำไปป้อนให้ธุรกิจ และโรงงานต่างๆ ในนิคมอุตสาหกรรม ในขณะที่ประชาชนในพื้นที่ เป้าหมายก่อสร้างโรงไฟฟ้าต้องได้รับความเสี่ยงโดยตรง

ing the end. Nuclear technology producers need to look for new markets in Asia and are trying to enter into construction contracts, no matter whether a nuclear power plant will be built, simply to raise the price of their shares in the stock market. A claim that nuclear power plants produce clean energy that does not cause global warming is not entirely true. From mining and processing uranium to transporting it to a plant, a large amount of fossil fuel is needed, Santi notes. So the use of nuclear technology to produce electricity inevitably will cause more carbon dioxide emissions. Another problem is the scarcity of uranium. If the demands for electricity stay unchanged, it is expected that the reserves of good quality uranium would be able to feed nuclear power plants for only another 40 and 50 years. At present, 16% of global electricity supply is produced by nuclear energy. If nuclear power plants are chosen to replace other types of energy, the world will face a big environmental problem, Santi says. The amount of good uranium will run out in a decade, causing plant operators to rely on lower grade uranium. More fossilbased energy will then be used to process the mineral, causing even more carbon dioxide emissions as a result. Economically, Santi adds, the dwindling amount of uranium will also increase costs of electricity because the mineral will carry heftier price tags. In Thailand, people living in areas eyed for nuclear

power plant construction are often misled that they will benefit from the construction. Operators often give residents predictable promises ranging from new jobs, better roads and free electricity for those living near the plant in order to get permission to build a plant in that particular area. However, the large portion of benefits will go to Bangkokians who live far away from their neighborhood. Bangkok demands 39% of electricity produced in the country, which is more than the combination of electricity demands in the North, the Northeast and the South. Just the electricity usages of 279 million units in Paragon, MBK and Central World shopping malls in the capital amount to more than the total electricity demands of people in 16 provinces across the country which stand at 278 million units, Santi says. Villagers living in an area where a nuclear power plant is built in fact will suffer risks from the plant. They will not enjoy its benefits like businesses and factories in industrial estates which demand 80% of the national electricity supply. “The government often advertises that nuclear power plants are safe. That’s not true,” Santi says. “There are risks. The question is whether we should take such risks.” He doubts how the PDP 2010 will deal with risks in its plans to build power plants. Currently, certain communities are at risk of encountering impacts of new power plants in their neighborhood. These people are

มั่นคง สะอาด ถูก... ข้ออ้างที่ฟังไม่ขึ้น? Security, Clean, Cheap… A Shaky Line of Reasoning?

VA.indd 35

1/27/12 11:32 AM


36

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

“รัฐบาลพยายามโฆษณาว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ปลอดภัย นั่นไม่ จริง เราต้องพูดความจริงว่ามันมีความเสี่ยงอยู่ แล้วเราจ�ำเป็นจะต้อง เสี่ยงหรือเปล่า เรามีวิธีจัดการหรือควบคุมความเสี่ยงอย่างไร ภาย ใต้แผนพีดีพี 2010 ชุมชนท้องถิ่นที่ก�ำลังเผชิญกับโครงการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าใหม่ในขณะนี้และในอนาคต พวกเขาเหล่านั้นก�ำลังถูกเรียก ร้องให้เสียสละวิถีชีวิต สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรท้องถิ่นไปเพื่อผล ประโยชน์ของใคร “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ไม่ใช่ค�ำตอบของความมั่นคงพลังงานของ ประเทศ ทั้ง กฟผ.และกระทรวงพลังงานไม่ได้ให้ข้อมูลที่แท้จริงและ รอบด้านทั้งหมด การยกเหตุผลของความจ�ำเป็นที่จะต้องมีโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์เพราะประเทศก�ำลังเสี่ยงจากการใช้ก๊าซธรรมชาติร้อยละ 70 หากมองในมุมกลับกัน ถ้าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ก�ำลังผลิต 1,000 เมกะวัตต์ เกิดปัญหาจนต้องหยุดเดินเครื่องนั้นจะต้องมีโรงไฟฟ้า อื่นๆ มาทดแทนกี่โรง “ประเด็นส�ำคัญเรือ่ งความปลอดภัย เรามีบทเรียนจากเหตุการณ์ วิกฤตโรงไฟฟ้าเชอร์โนบิลผ่านมา 25 ปี มีตัวเลขผู้เสียชีวิตและบาด เจ็บอย่างเป็นทางการ 4,000 คน แต่จากการส�ำรวจข้อมูลอย่างไม่เป็น ทางการพบว่า อาจมีผู้ป่วยมากถึง 9 แสนคน เนื่องจากเป็นการสะสม ในระยะยาว โดยคนเหล่านี้เป็นผู้ที่ถูกหลงลืมและไม่มีใครแสดงความ รับผิดชอบ ในขณะทีก่ ารระเบิดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทฟี่ กุ ชุ มิ ะ มีการ ประมาณว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นจะเลวร้ายกว่าเชอร์โนบิลหลายเท่า “อุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีอยู่ตลอดมาเพียงแต่ไม่ค่อย เป็นข่าวในประเทศไทยเท่านั้น และหากเกิดเหตุการณ์เหล่านี้ขึ้นใน ประเทศไทยใครจะรับผิดชอบไหวหรือ” สันติ กล่าว n

VA.indd 36

being told to “sacrifice their ways of living, environment and local resources,” he says. “But for whose interests?” Santi does not believe nuclear power plants will be the answer to Thailand’s national electricity security. The Energy Ministry’s and Egat’s claim that this country needs nuclear power plants because of the decreasing reserves of natural gas is made without well-rounded assessment. He wonders what the government will do if a 1,000-MW nuclear power plant stops working one day. How many other power plants will be needed to replace the troubled one? In terms of safety, Santi reminds the government of the tragedy of the Chernobyl plant accident in Ukraine 25 years ago. The number of deaths and injuries are reported at 4,000 people, but an unofficial survey indicates there may be up to 900,000 people facing long-term impacts of nuclear pollution from the plant. These people have been forgotten and no one has taken responsibility to help them, Santi says. The meltdown of nuclear reactors after the tsunami attacked Fukushima Prefecture in Japan early this year may be even worse than the Chernobyl accident, Santi adds. “Nuclear accidents have continued to happen, but the news about them has been rarely reported in Thailand,” he says. “If such accidents occur here, who can bear the responsibility?” n

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

37

September - December 2011

ความเป็นธรรมและยั่งยืน คือค�ำเพรียกหาจากชุมชน ขณะที่ ห ลายประเทศทั่ ว โลกสั่ ง ทบทวนมาตรการ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย โร ง ไ ฟ ฟ ้ า นิ ว เ ค ลี ย ร ์ ข อ ง ต น หลั ง เกิ ด เหตุ ร ะเบิ ด ที่ โรงไฟฟ้ า นิ ว เคลี ย ร์ ฟุ กุ ชิ ม ะ ไดอิจิ ชาว “คันธุลี” และ “ปากน�้ำละแม” ซึ่งเป็น 2 ใน 5 พืน้ ทีเ่ ป้าหมายในแผนก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในประเทศไทย ก็ตื่นตัวมากยิ่งขึ้น

หลังจากพวกเขาเฝ้าติดตามข่าวสารต่างๆ ด้วยความกังวล ค�ำถามใหญ่ของพวกเขาต่อจากนี้ คือ หากมีการก่อสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ จะเกิดอะไรขึ้นบ้างในพื้นที่บ้านเขา? เริ่มจากพื้นที่ติดทะเล 625 -2,500 ไร่ ที่จะถูกน�ำมาก่อสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ รวมถึงการก่อสร้างอื่นๆ เช่น พื้นที่รอบโรงงาน เขื่อนกันคลื่น ท่าเรือ ฯลฯ จะมีบ้านไหนบ้างที่ต้องอพยพออกจาก พื้นที่ และชีวิตหลังอพยพจะเป็นอย่างไร กองทุนพัฒนาชุมชนในพืน้ ทีร่ ศั มี 5 กิโลเมตรรอบโรงไฟฟ้า หาก คิดในอัตราเดียวกับโรงไฟฟ้าถ่านหิน ขนาด 1,000 เมกกะวัตต์ ทีม่ เี งิน เข้าประมาณ 140-150 ล้านบาทต่อปี จะท�ำให้ชุมชนเปลี่ยนแปลง อย่างไร จะเกิดอะไรขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ จากอุณหภูมิของน�้ำทะเล และสภาพภูมิอากาศ ที่อาจจะ เปลี่ยนไปจากโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และ สุขภาพ เช่น ความต้องการน�้ำปริมาณมหาศาลในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จะส่งผลกระทบต่อการไหลเวียนของน�้ำทะเล และสิ่งมีชีวิตต่างๆ ใน ท้องทะเลหรือไม่ และจะเชื่อถือข้อมูลที่ทางการให้มาว่า การเดินเครื่องตามปกติ ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะไม่มกี ารปล่อยกัมมันตรังสีออกสูส่ งิ่ แวดล้อม เกินมาตรฐานที่ควบคุมโดย IAEA ไม่เป็นอันตราย ไม่มีผลกระทบ ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม รวมถึงประมง พืชไร่ และผลผลิตทางการ เกษตร โดยเฉพาะประสบการณ์ที่ผ่านมาบ่งชี้ได้ว่า พวกเขาได้รับ ข้อมูลข่าวสารแต่ข้อดีของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์โดยไม่มีข้อมูลเรื่องผล กระทบด้านอื่นๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากโรงไฟฟ้าฯ … และยังมีค�ำถามอีกมากมาย

Justice and Sustainability

What Communities Ask for

A

s many countries around the world review safety measures at their nuclear power plants after explosions at Japan’s Fukushima Daiichi, Thai communities living in places eyed as sites for a nuclear power plant focus keenly on the risks. Having followed the news with grave concern, the biggest question for people living in Khanthuli and Paknam Lamae is: what will happen to their homes if a nuclear power plant is built in their communities? The coastal area of 625-2,500 rai will be used for the construction of the plant as well as companion facilities, among them breakwaters and docks. How many families will have to move? What will happen after they move? How will their lives change if a community development fund is set up for the area within a five-kilometer radius around the plant – supposing the cash injection is similar to the 140-150 million baht per year proposed for communities near a 1,000 megawatt coal power plant. What will be the social, environmental, and health impacts on the communities as a result of higher seawater temperatures and changes in climatic conditions? The proposed nuclear plant and related activities may threaten seriously their communities in terms of the environment, natural resources and health. For instance, will the tremendous demand for water to supply the plant affect natural seawater circulation and creatures living in the ocean?

บริเวณปากน�้ำละแม อ.ละแม จ.ชุมพร พื้นที่ที่ท้องทะเลยังมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งหากินของชุมชนชาวประมง รวมถึงวิถีชีวิตของชาวชุมพรที่พึ่งพิง ทรัพยากรจากท้องทะเลเป็นหลัก

The estuary of Lamae in Lamae district of Chumphon province feed many fisher communities along its coast with abundant marine resources to help sustain a way of life that is dependent on them.

VA.indd 37

1/27/12 11:32 AM


38

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ส�ำเนาว์ คชเดช (ซ้าย) ออกท่าทางระหว่างการสัมภาษณ์ โดยมีเพื่อนชาวประมง อยู่ข้างๆ Samnao Kotchadej (left) gestures during an interview as a fellow fisherman looks on.

แต่ค�ำถามส�ำคัญที่สุดที่ทุกคนเป็นห่วงในเวลานี้ คือ ในกรณีที่ เกิดอุบัติเหตุเช่นในญี่ปุ่น จะมีการจัดการอย่างไร ประชาชนในพื้นที่ จะเป็นอย่างไรบ้าง ตัวแทนชาวบ้านในพื้นที่บริเวณปากน�้ำละแม อ.ละแม จ.ชุมพร และชาวบ้านในพืน้ ทีต่ ำ� บลคันธุลี อ.ท่าชนะ จ.สุราษฏร์ธานี สองพืน้ ที่ ทีห่ า่ งกันไม่ถงึ 10 กิโลเมตร บอกเล่าด้วยความกังวลต่อการคาดการณ์ ความเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับเกษตรกร ชาวประมง และพืน้ ที่ ชายทะเลที่มีศักยภาพสูงในธุรกิจการท่องเที่ยว

ส�ำเนาว์ คชเดช ประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 1 ต.ละแม และ สะอาด ดุลหลัง ชาวบ้าน หมู่ที่ 11 ต.คันธุลี กล่าวถึงปัญหาที่สองพื้นที่มี ร่วมกัน คือ พื้นที่ชายทะเลที่ถูกเจาะส�ำรวจและคาดว่าจะมีการสร้าง โรงไฟฟ้าฯ ส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัยของชาวประมงพื้นบ้านนับสิบ หมู่บ้าน ซึ่งชาวประมงเหล่านี้อาศัยอยู่บนที่ดินไม่มีเอกสารสิทธิ์ ไม่มี ที่ดินท�ำกินของตนเอง มีเพียงอาชีพประมงเพียงอย่างเดียวที่เลี้ยง ครอบครัวมาเนิ่นนาน หากพวกเขาต้องอพยพออกจากพื้นที่ หมาย ถึงจะไม่ได้รับค่าชดเชยใดๆ ไม่มีอาชีพ หรือถ้ามีโรงไฟฟ้าฯ เกิดขึ้น พวกเขาที่เป็นชาวประมงหากินใกล้ชายฝั่งก็จะเป็นผู้ได้รับผลกระทบ ในประเด็นสิ่งแวดล้อมเป็นกลุ่มแรก “ประมงเรือเล็กมีรายได้ 4-5 ร้อยบาทต่อวัน เรือใหญ่ 1,000 กว่าบาทขึ้นไปต่อวัน เรือประมงในละแมมีกว่า 240 ล�ำ 6 หมู่บ้าน ไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง แต่เราอยู่ได้เพราะอ่าวทั้งอ่าวจากละแมไป ถึงอ่าวสุราษฎร์ฯ เป็นทะเลที่อุดมสมบูรณ์หมดทั้งอ่าว ถ้ามีโรงไฟฟ้า อะไรก็จะเปลี่ยนไปหมด แล้วจะเอาทะเลไปไว้ที่ไหนให้มีความอุดม สมบูรณ์เหมือนเดิม” ส�ำเนาว์ กล่าว

Besides, can they believe in the authorities’ suggestion that under normal circumstances, the operation of a nuclear power plant will not release into the environment radioactive materials that exceed the amount permitted by the IAEA, and hence will pose no danger to the community, the environment, fishery, or agriculture? These communities seem to have been given only positive information about the proposed nuclear power plant but provided no data on other effects that such an installation may bring. …And there are many more questions. But topmost in everyone’s minds are these: in the event of an accident similar to that in Japan, how will the authorities in Thailand manage, and what will happen to local communities? Individuals representing communities living less than 10 kilometers apart – Paknam Lamae, Lamae District, Chumporn Province, and Khanthuli, Tha Chana District, Surat Thani Province – voiced concern for the changes they expect the proposed plant to bring to agriculture, fishery, and a potentially strong coastal tourism business. Samnao Kotchadej, a fisherman from Mu 1, Tam-

bon Lamae, and Sa-Ard Dullang, villager from Mu 11, Khanthuli, discussed their common plight. Over ten villages are located in the coastal area surveyed and identified as potential sites for plant construction. Fishermen live in these villages without land title deeds. They have lived by fishing and raised their families for generations and have no land they can call their own to make a new start. If they have to relocate, they will receive no compensation, and become jobless. If a plant is built, these coastal fishermen will be most affected environmentally. “In a day, a fisherman with a small boat can earn 400-500 baht while others operating larger boats make over 1,000 baht. In Lamae, there are 240 boats in six villages. We have no land title deeds but we make a living because the sea from Lamae to Surat Bay is teeming with marine life. If a power plant is built, everything will change. You can’t move the sea somewhere else so its abundance is maintained,” said Samnao. Sa-Ard’s concern is similar. He has seen how the lives of fishermen around the Khanom estuary in Nakhon Si Thammarat Province have changed after a natural gas plant was built there.

ชาวบ้านใช้เวลายามว่างหาหอยลอยบนหาดคันธุลี ซึ่งเชื่อมต่อ 3 ต�ำบลใน อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานี ทะเลแถบนี้มีป่าชายเลนสมบูรณ์กว่า 50 ไร่ และเป็น แหล่งท�ำมาหากินของชาวประมงหลายร้อยครอบครัว มีเรือประมงพื้นบ้านรวม แล้วกว่า 300 ล�ำ

Villagers spend free time looking for undulated surf clams (Paphia undulate) on Khanthuli Beach which connects three tambons or subdistricts in Thachana district of Surat Thani province and includes a 50-rai fertile mangrove forest. The sea here is a major fishing area for hundreds of families with over 300 boats.

VA.indd 38

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

39

September - December 2011

ช�ำนาญ คงแสง (ขวา) ขณะน�ำเรือตรวจตราแหล่งอนุรักษ์หอยมือเสือในทะเล ชุมพรที่ อ.ปะทิว Chamnan Kongsaeng (right) is steering his boat during a routine inspection of the giant clam conservation area in the sea off Pathiu district of Chumphon province.

เช่นเดียวกับความกังวลของ สะอาด ที่ได้ไปเห็นชีวิตที่เปลี่ยนไป ของชาวประมงแถบปากแม่น�้ำขนอม จ.นครศรีธรรมราช หลังจากมี โรงไฟฟ้าขนอมที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงเกิดขึ้นในพื้นที่ “ถ้าอุณหภูมิของน�้ำที่ปล่อยออกมาจากโรงไฟฟ้าท�ำให้อุณหภูมิ น�้ำทะเลเพิ่มขึ้น 1-2 องศา ปะการังก็ฟอกขาวแล้ว ปลาทูตายหมด ชาวไทยก็จะไม่มีปลาทูกิน เพราะอ่าวแถวนี้เป็นที่วางไข่ของปลาทู ชาวประมงก็หากินริมฝั่ง 3-5 กิโลไม่ได้ สัตว์น�้ำไม่อยู่แล้ว ต้องออก ไปไกลเป็น 10 กิโล เหมือนที่เห็นที่โรงไฟฟ้าขนอม ชาวประมงเรือ เล็กไม่ได้หากินใกล้บ้าน ค่าใช้จ่ายก็สูงขึ้นจนแทบไม่คุ้มกับปลาที่จับ ได้” สะอาด กล่าว

ที่ท่าเรือชุมชนประมงบ้านบางจาก ต.ชุมโค อ.ปะทิว จ.ชุมพร ช�ำนาญ คงแสง ก�ำลังออกเรือลาดตระเวนในท้องอ่าวที่มีเขตอนุรักษ์ หอยมือเสือซึ่งริเริ่มและด�ำเนินงานโดยชาวประมงในพื้นที่ ช�ำนาญ เล่าว่า พื้นที่ชายฝั่งในประเทศไทย (รวมประมาณ 1,643 กิโลเมตร) มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลในด้าน ต่างๆ มาอย่างยาวนาน ทะเลเป็นที่รับมลพิษจากน�้ำทุกสายที่ไหล ลงมาจากแผ่นดิน รวมถึงผลกระทบทางธรรมชาติ เช่น พายุ สึนามิ และสถานการณ์โลกร้อนที่ท�ำให้น�้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงขึ้นจนปะการัง ฟอกขาว ในสายตาของช�ำนาญและชาวทะเลที่มีตรงกัน คือ 30 ปีที่ผ่าน มาแม้ทะเลจะเปลี่ยนแปลงไปมาก แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้นตามกาล เวลาเหล่านั้นก็ยังไม่รุนแรงเท่ากับผลกระทบต่อฐานอาหาร ฐานชีวิต ดังเช่นทีเ่ กิดขึน้ จากการระเบิดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในญีป่ นุ่ ทีท่ ำ� ให้ เกิดการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีในห่วงโซ่อาหาร หรือแม้แต่การ

“If the temperature of water released from the power plant raises the seawater temperature by only 1-2 degrees, coral bleaching will occur and mackerels will die. Thai people will not have mackerels to eat because this fish central to the Thai diet lays its eggs in this area. With marine life gone, fishermen will not be able to catch fish at 3-5 kilometers from the shore. They will have to go much farther out as fishermen in Khanom now do. Small-scale fishermen will not be able to catch anything close to home. Travelling farther will raise costs to an extent that may make their daily catch not worthwhile,” Sa-Ard said. At a community pier in Bangchak, Tambon Chumkho, Pathiu district, Chumphon Province, Chamnan Kongsaeng is taking out his boat to patrol the giant clam conservation area local fishermen initiated and now run. Chamnan said marine resources along the coast of Thailand (about 1,643 kilometers) have been used in many different ways for a long time. The ocean has also been used as a sink for garbage dumped from all sorts of waterways. It also has weathered natural disasters such as storms, tsunamis and the effects of global warming, including rising sea temperatures and coral bleaching.

For Chamnan and other local residents, the ocean may have undergone overwhelming changes but the scale of the effects is incomparable to what happened from radioactive contamination to the food chain as seen after the explosion of the nuclear power plant in Japan. However, even in the normal operation of the proposed power plant, there is no guarantee that radioactive materials will not leak into the ocean and the surrounding environment. Public anxiety over the possible perils of a nuclear power plant has taken center stage for the first time in their lives. Local people encountered say the authorities have visited them in the past two years to promote a positive image of the plan with various giveaways to communities, schools and temples. They also have taken village leaders to Mae Moh Power Plant and other power plants in the country, without adequately revealing the real effects of such installations. They also spent money on an advertising campaign to convince the communities that the power plant would bring prosperity to the area. Notably, these community relations programs have resulted in conflicts among the villagers.

สะอาด ดุลหลัง (นั่งกลาง เสื้อสีเขียว) และกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่คันธุลี ก�ำลังพูด คุยถึงอนาคตหากมีการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขึ้นในพื้นที่ Sa-Ard Dullang (center in green shirt) and a group of concerned villagers in Khanthuli sub-district are discussing the future of their communities in the face of a nuclear power plant construction plan.

ความเป็นธรรมและยั่งยืน: คือค�ำเพรียกหาจากชุมชน

VA.indd 39

Justice and Sustainability: What Communities Ask for

1/27/12 11:32 AM


40

VA.indd 40

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ด�ำเนินการตามปกติของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ก็ไม่มีหลักประกันอะไรที่ จะท�ำให้พวกเขาเชื่อมั่นได้ว่า กัมมันตรังสีจะไม่แพร่กระจายออกมา ปนเปื้อนในทะเลหรือสิ่งแวดล้อม ความตืน่ ตัวเรือ่ งอันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยตรงกลายเป็นประเด็นใหญ่ที่ถูกกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในพื้นที่ พวกเขาเล่าว่า ตลอด 2 ปีที่ผ่านมา มีแต่เจ้าหน้าที่มาเยี่ยมเยียน พื้นที่เพื่อสร้างภาพลักษณ์ด้วยกิจกรรมการสงเคราะห์เป็นหลัก เช่น การแจกข้าวของ มอบเงินให้โรงเรียนหรือวัด พาผู้น�ำชาวบ้านไปดู งานที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะและโรงไฟฟ้าแห่งอื่นในประเทศ โดยไม่ให้ข้อ เท็จจริงเรื่องผลกระทบที่เพียงพอ การใช้งบในการโฆษณาเพื่อชักจูง ให้ชุมชนคล้อยตามในท�ำนองว่าโรงไฟฟ้าจะน�ำความเจริญมาสู่พื้นที่ ซึ่งการเคลื่อนไหวด้านมวลชนสัมพันธ์ในลักษณะนี้ท�ำให้ชุมชนแบ่ง เป็นฝักฝ่ายจนเกิดความแตกแยก นอกจากนั้น ยังมีการกว้านซื้อที่ดินนับพันไร่และการบุกรุกป่า ชายเลน ที่เกิดขึ้นหลังกระแสข่าวว่าจะมีการสร้างโรงไฟฟ้าในพื้นที่ ทางด้าน ชลดรงค์ ทองสง รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิชาการและ วิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ปากน�้ำละแม กล่าวว่า รัฐบาลเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เพียงด้านบวก ด้านเดียว ท�ำให้คนไทยขาดข้อมูลที่เพียงพอในการตัดสินใจต่อการ พัฒนาที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ซึ่งเป็นสิทธิตามรัฐธรรมนูญ เขากล่าวว่าการก่อสร้างโรงไฟฟ้าไม่ว่าประเภทใดก็ตามใกล้ สถานศึกษา ใกล้ชุมชน ไม่ใช่เรื่องที่ถูกต้อง และไม่ว่าจะเป็นการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หรือโรงงานอุตสาหกรรมก็ตามก็จะมี

ผลกระทบต่อระบบนิเวศในพื้นที่อย่าง แน่นอน “การก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จะเปิดพื้นที่ขนาดใหญ่ในการก่อสร้าง หน้ า ดิ น จะถู ก กั ด เซาะลงไปในป่ า ชายเลนและแนวปะการังยาวกว่า 10 กิโลเมตรที่ปากแม่น�้ำและหน้าอ่าว ซึ่ง เป็นแหล่งหากินของชาวประมง การดึง น�้ำทะเลป้อนเข้าโรงงานในปริมาณมาก ชลดรงค์ ทองสง จะดูดสัตว์น�้ำวัยอ่อนเข้าไปด้วย และ Chondarong Thongsong สารเคมี ที่ จ ะออกมาจากกิ จ กรรมใน โรงงานอาจท�ำให้ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทางทะเลลดลง” ชลดรงค์ พูด “แม้อณ ุ หภูมนิ ำ�้ จะเพิม่ ขึน้ 1- 2 องศา ก็จะมีผลกระทบต่อระบบ นิเวศแน่นอน ยิ่งถ้าจะมีการสร้างโรงไฟฟ้าเพิ่มขึ้นในภาคใต้ ตามแผน พีดีพี 2010 (แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าประเทศไทย พ.ศ. 25532573) ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลในภาคใต้จะรุนแรงมาก” อย่างไรก็ตามความวิตกเรื่องผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล ซึ่งเป็นความมั่งคงทางอาหารของประเทศ เป็นเพียงส่วนหนึ่งในภาพ ใหญ่ของทรัพยากร และเศรษฐกิจในพื้นที่เท่านั้น โดยจะเห็นได้จาก รายงานของธนาคารแห่งประเทศไทยทีร่ ะบุวา่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของ ภาคใต้ (GRP: Gross Regional Product) ปี 2552 มีมูลค่าเท่ากับ 362,428 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.5 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมทัง้ ประเทศ

In addition, investors are buying up vast tracts of land. Encroachment of mangrove forests has been widespread since news was reported of the pending construction of a power plant in the area. Chondarong Thongsong, deputy director of research and academic affairs, Maejo University at Chumphon, which is located near Paknam Lamae, believes that the government promotes only positive information about nuclear power plants, so Thai people lack sufficient information with which to exercise their constitutional right in the decision-making processes related to development projects in their localities. It is wrong, said Chondarong, to build power plants of any kind near schools and communities. Both nuclear power plants and industrial activities inevitably destroy the ecosystem. “The construction of a nuclear power plant will involve clearing a large plot of land. Top soil as well as mangrove forests and coral reefs stretching over ten kilometers at the mouth of the river and in the bay will be eroded, affecting the livelihoods of local fishermen. Seawater pumped into the plant will take with it young marine organisms, and the chemicals released into the ocean may squeeze the abundance of marine life,” he said. “The effect on the ecosystem is inevitable even with only 1-2 degree increase in seawater temperature. Installing nuclear power plants (as called for under the 2010 Power Development Plan) in the south of Thailand will result in severe damage to marine resources in the southern region.” Nevertheless, concerns over impacts on marine

ecology, a main component of Thailand’s food prosperity, are only part of the natural resource and economic profile of this area. According to the Bank of Thailand, the southern region’s Gross Regional Product (GRP) in 2009 was worth 362,428 million baht or 8.5% of the Gross Domestic Product. Although the main products in this region are rubber and oil palm, fishery accounts for 29.9% of its GRP. Vivek Amatavet, coordinator of the Rak Lamae Network, says the coastal area linking Chumphon and Surat Thani is 412 kilometers long with 42 districts situated on the coast. “Southerners are quite alarmed by the possibility of a power plant being installed in this area. We are content with the way we live. Chumphon’s 200,000 rai of coastal area is priceless with its coral reef, sea grass and many tourist attractions. We have rubber and palm oil generating 1,700 million baht in annual income. Wouldn’t you want to protect this way of life?” he said. “To whom should we make sacrifices? Electricity generation is a monopoly. The authorities are not telling the truth about FT (fuel tariff charge). The PDP forecasts (of power use) were never accurate. We don’t trust the monitoring system. Today, Chumphon can produce surplus electricity for our own consumption. The entire southern region needs 1,880 megawatts, so for whom is the nuclear power plant, us or the investors?” Chantachote Pusilp, recognized by Khanthuli villagers as a local scholar, points to the adverse impacts on agriculture. He said vapor emissions from the power

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

(GDP: Gross Domestic Product) โดยโครงสร้างการผลิตของภาคใต้พงึ่ พา ยางพาราและปาล์มน�ำ้ มันเป็นหลัก ส่วน มูลค่าจากการผลิตประมงมีสัดส่วนร้อย ละ 29.9 ของ GRP วิเวก อมตเวทย์ ผู้ประสานงาน เครือข่ายรักษ์ละแม กล่าวว่าแนวชายฝัง่ ทะเลของจังหวัดชุมพรถึงสุราษฎร์ธานี วิเวก อมตเวทย์ Vivek Amatavet ที่มีชายฝั่งทะเลเชื่อมต่อกันประมาณ 412 กิโลเมตร มีต�ำบลที่ติดทะเลรวม 42 ต�ำบล “คนใต้ตื่นตัวเรื่องโรงไฟฟ้าที่จะเข้ามาในพื้นที่ เพราะเราพอใจ ในวิถีที่เราเป็นอยู่ บนพื้นที่ 2 แสนไร่ตลอดชายฝั่งทะเลของจังหวัด ชุมพรมีคุณค่าที่ประเมินไม่ได้ มีแนวปะการัง หญ้าทะเล แหล่งท่อง เทีย่ ว มูลค่าไม่รกู้ พี่ นั ล้าน เรามียางพารา ปาล์มน�ำ้ มัน มีรายต่อปีเฉพาะ ยางพารา 1,700 ล้านบาท วิถีตรงนี้มันน่าหวงมั้ย “ให้เราเสียสละเพื่อใคร การไฟฟ้าเป็นระบบผูกขาด การไฟฟ้า ปกปิดความจริงเรื่องเอฟที พีดีพีไม่เป็นจริงตามที่คาดการณ์ เราไม่ เชื่อในระบบตรวจสอบ ทุกวันนี้ชุมพรเราผลิตไฟฟ้าได้เองเหลือใช้ทั้ง จังหวัด ภาคใต้ทั้งภาคมีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด 1,880 MW แล้ว โรงไฟฟ้านิวเคลียร์สร้างให้ใคร ให้เราหรือให้ทุน” ด้าน จันทโชติ ภู่ศิลป์ ผู้ได้รับการยกย่องเป็นครูภูมิปัญญาแห่ง ต�ำบลคันธุลี กล่าวถึงผลกระทบที่จะมีต่อผลผลิตทางการเกษตรว่า อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นจากไอน�้ำจากโรงไฟฟ้าจะท�ำให้ความชื้นสัมพัทธ์

41

September - December 2011

ในอากาศเปลี่ยนไป ซึ่งผลไม้ เช่น เงาะ ทุเรียน ปาล์ม ถ้าอุณหภูมิคงที่ไม่เป็น ไปตามฤดูกาลผลไม้จะไม่ออกดอกออก ผล ส่วนยางพาราที่เป็นพืชผลัดใบก็จะ อ่อนแอลง ยังไม่รวมถึงอันตรายจากสาร กัมมันตรังสีทอี่ าจจะปนเปือ้ นในผลผลิต ทางการเกษตร ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภค ขาดความเชื่อมั่นจนส่งผลกระทบต่อ จันทโชติ ภู่ศิลป์ ตลาดทั้งในประเทศ และที่ส่งออกนอก Chantachote Pusilp ประเทศอีกด้วย “วันนีค้ นทีเ่ ห็นด้วยกับการสร้างโรงไฟฟ้าคือคนทีไ่ ด้ขอ้ มูลทีเ่ ป็น เท็จ (เจ้าหน้าทีโ่ ครงการ)พาชาวบ้านไปดูโรงไฟฟ้าบางกรวย บอกว่านี่ คือโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ อยู่ในกรุงเทพฯ ยังอยู่ได้ “ผมเคยถามคนที่มาส�ำรวจพื้นที่ เขาบอกต้องใช้พื้นที่สร้างโรง ไฟฟ้า 3,000 ไร่ แต่บทเรียนในประเทศไทยมาตรการอพยพคนไม่เคย สร้างความมั่นใจให้ได้ เช่น การสร้างเขื่อนทุกเขื่อน รวมพื้นที่กว่า 2 ล้านไร่ ที่เป็นสัญลักษณ์ของการพัฒนา แต่ชุมชนต้องอพยพมากกว่า สองหมื่นครอบครัว ทุกวันนี้ส่วนใหญ่ยังใช้ชีวิตอย่างยากล�ำบาก เรา เห็นตัวอย่างทีช่ ดั เจนแล้ว ประเทศไทยยังมีอกี หลายด้านทีต่ อ้ งพัฒนา โดยไม่ถึงขนาดกับต้องมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์” จันทโชติ กล่าว ณ เวลานีก้ ระแสคัดค้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ยงิ่ หนักหน่วงขึน้ โดย เฉพาะแรงคัดค้านจากชาวบ้านใน 14 พืน้ ทีท่ มี่ กี ารส�ำรวจ และ 5 พืน้ ที่ ที่ผ่านการคัดเลือกเป็นพื้นที่เป้าหมาย

ปาล์มน�้ำมัน ยางพารา อวนปู หมึกสาย เลี้ยงหอยแมลงภู่ ตกหมึกหอม ตกปลา งมหอยลาย อาชีพที่สร้างรายได้ ให้กับชาวประมงชายฝั่ง และชาวบ้านในต�ำบลคันธุลี

Oil palm, rubber, crabs, squids, undulated surf clams, fish – all these have given the people of Khanthuli a consistent and stable income.

plant would raise temperatures and change the level of air humidity, and possibly render infertile fruit trees, such as rambutan, durian and palm, which are sensitive to temperature changes, during regular seasons. Rubber trees, which are deciduous, will be weakened. These effects do not include radioactive contamination in agricultural produce, which could hurt domestic and international consumer confidence in Thai produce in general. “Today, those who welcome the nuclear power plant project have received false information. Project staff have taken them to the Bang Kruay plant and told them that it was a nuclear plant right in Bangkok. “I once spoke to a group of surveyors who said the plant would require an area of 3,000 rai. But the history of relocation (as a result of mega-project construction)

in Thailand could not instill much confidence. The construction of dams, altogether covering over two million rai, as the national symbol of development, has rooted out more than 20,000 families. Even now most of them still live in hardships. We have seen many clear examples. Thailand needs development in many other aspects without going so far as to build nuclear power plants,” Chantachote said. Today, opposition to nuclear power plants has grown even more intense, especially from people living in the 14 areas surveyed and the five locations that have been selected as potential project sites. These people have raised questions about injustices in the distribution of resources. They pointed in particular to the differences in electricity demands. While

ความเป็นธรรมและยั่งยืน: คือค�ำเพรียกหาจากชุมชน

VA.indd 41

Justice and Sustainability: What Communities Ask for

1/27/12 11:32 AM


42

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

พวกเขายังคงตัง้ ค�ำถามเกีย่ วกับความไม่เป็นธรรมในการจัดสรร ทรัพยากร โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาความต้องการใช้ไฟฟ้า ภาคครัว เรือนใช้ไฟฟ้ารวมกันทั้งประเทศเพียง 20% ภาคอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่และขนาดกลาง 63% ธุรกิจขนาดเล็กและอืน่ ๆ อีก 17% ซึง่ หาก รัฐต้องการความยั่งยืนของพลังงานยังมีทางเลือกอีกมาก เช่น การส่ง เสริมพลังงานทางเลือก โดยให้ชุมชนหรือเอกชนขนาดเล็กสามารถ ด�ำเนินการผลิตกระแสไฟฟ้าเองได้ ทัง้ เพือ่ ใช้เองและจ�ำหน่ายให้กบั รัฐ ส่วนการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์นั้น พวกเขาเชื่อว่าเป็นความ ไม่คุ้มค่าที่ไม่สามารถยอมรับได้ และสวนทางกับการด�ำรงชีวิตของ คนไทยในเมืองเกษตรกรรม และจะเป็นการพัฒนาที่สร้างผลกระทบ เป็นห่วงโซ่อย่างหนักและต่อเนื่อง ด้วยเหตุดงั นี้ พวกเขาจึงไม่ยอมเสีย่ งต่ออนาคต โดยปฏิเสธและ คัดค้านไม่เพียงโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เท่านั้น แต่รวมถึงโครงการการ พัฒนาทุกประเภทที่จะเกิดขึ้น ซึ่งเขาเชื่อว่าจะท�ำลายความยั่งยืน ของวิถีชีวิตที่เรียบง่ายและรายได้ที่มั่นคง ทั้งยังท�ำลายสิทธิชุมชน และฐานทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ ซึ่งควรจะส่งต่อให้ลูกหลาน และ เป็นคลังอาหารของประเทศไทย ไม่ใช่เพียงเพื่อกลุ่มคนเพียงหยิบ มือเดียว n

households across the country consume only 20%, industries guzzle 63% and small businesses 17%. If the State wants to secure energy sustainability, there are many other options. For example, the State could promote alternative energy by allowing communities and small businesses to generate electricity for their own use and for sale to the State. They say the risks from nuclear power plants are unacceptable and contrary to the way of life in an agricultural society like Thailand. They believe that it is a form of development that will lead to a chain of adverse effects that would grow ever more severe and sustained. It is for these reasons that the local villagers have refused to risk their future by rejecting and opposing not only nuclear power plants but all development plans they believe present a threat to their simple, secure and sustainable way of life, their community rights and abundant natural resources. These resources should stand as a “food store” for the country and, together with the way of life, should be handed down to future generations, not to be served to only a select few. n

สรีระของโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ หลักการพืน้ ฐานของเครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์มงี า่ ยๆ คือความ ร้อนจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน (Fission Reaction) ถูกน�ำ ไปใช้ท�ำให้เกิดความดันไอน�้ำเพื่อขับเคลื่อนเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า แต่เทคโนโลยีที่น�ำมาใช้ตามหลักการนี้ให้มีประสิทธิภาพและปลอดภัยกลับมี ความซับซ้อนสูงยิ่ง เพราะปฏิกิริยาฟิชชัน เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain Reaction) ที่ขยายตัวต่อไปอย่างทวีคูณจนกว่าจะหมดเชื้อเพลิง ซึ่ง เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะต้องสามารถควบคุมปฏิกริยาฟิชชันให้มีความคงที่ ในระดับที่ถูกต้องและต้องปรับระดับหรือท�ำให้หยุดได้เมื่อจ�ำเป็น ในขณะเดียวกัน จะต้องมีการควบคุมอุณหภูมิและความดันของน�้ำอย่างระมัดระวัง จ�ำเป็นต้องมี ระบบระบายความร้อนที่ซับซ้อนและซ�้ำซ้อนเพื่อป้องกันความเป็นไปได้ที่เชื้อเพลิง นิวเคลียร์จะเพิ่มระดับความร้อนแรงมากไปและเริ่มหลอมละลาย

The Anatomy of a Nuclear Power Plant The basic principle behind a nuclear reactor is simple: the heat produced by a controlled nuclear fission chain reaction is used to create steam pressure that drives a power-generating turbine. But the technology required to implement this principle efficiently and safely is enormously complex. The chain reaction, once achieved, will be sustained until the fuel is exhausted, and the fission reaction must be maintained at the correct rate and quickly adjusted or stopped when necessary. Water temperature and pressure must be carefully controlled. Elaborate, redundant cooling systems are needed to guard against the possibility that the nuclear fuel will overheat and start to melt. Different reactor designs approach these requirements in different ways, each with its advantages and disadvantages.

VA.indd 42

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ถูกออกแบบเพื่อจัดการกับปัจจัยที่จ�ำเป็นต่างๆ นี้ใน หลายๆ ลักษณะด้วยกันแต่ละแบบก็จะมีข้อเด่นข้อด้อยที่ต่างกันออกไป เครื่องปฏิกรณ์ส่วนใหญ่ที่ใช้กันในโลกนั้นเป็นแบบ “น�้ำมวลเบา” (light water) คือใช้น�้ำธรรมดาภายในเตาปฏิกรณ์ มีบางชนิดใช้ “น�้ำมวลหนัก” (heavy water) และบางชนิดก็ใช้สารอย่างอื่น เช่น ก๊าซ แต่ก็มีอยู่น้อยมาก

เทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์

เทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้กันแพร่หลายในโลกมี 3 ชนิดหลักๆ ดัวยกันดังนี้ 1. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน�้ำอัดความดัน (Pressurized Water Reactors) เป็นเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุด ถูกออกแบบให้ใช้น�้ำ เป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอนและตัวหล่อเย็น ซึ่งแยกต่างหากจากน�้ำในอีกระบบ หนึ่งที่ใช้ผลิตไอน�้ำไปหมุนกังหันของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า น�้ำที่ใช้เป็นตัวหน่วงนิวตรอนและหล่อเย็นนั้นจะอยู่ภายใต้ความดันสูงในแกน เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ซึ่งท�ำให้มีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยไม่เปลี่ยนสถานะเป็นไอน�้ำ เพื่อ ท�ำให้การแปลงความร้อนเป็นไฟฟ้ามีประสิทธิภาพสูงขึน้ แล้วถ่ายโอนความร้อนไปให้ น�้ำอีกระบบหนึ่งกลายเป็นไอไปหมุนกังหันเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า 2. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน�้ำเดือด (Boiling Water Reactors) เป็น เครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์ทใี่ ช้แพร่หลายเป็นล�ำดับสอง ถูกออกแบบให้ใช้นำ�้ เป็นทัง้ ตัว หล่อเย็นและตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน โดยออกแบบการท�ำงานให้นำ�้ เดือดอยูภ่ ายใน Most of the plants in operation are “light water” reactors, meaning they use normal water in the core of the reactor. Another technology in use is “heavy water” and some other reactors, much less common, use gas. The Different Types of Nuclear Reactors There are three most common types of nuclear reactors currently in operation throughout the world. 1. Pressurized Water Reactors (PWR’s) are by far the most common type of nuclear reactors deployed to date. Ordinary water is used as both neutron moderators and coolant. The water used as moderator and primary coolant is separate to the water used to generate steam and to drive a turbine. In order to efficiently convert the heat produced by the nuclear reaction into electricity, the water that moderates the neutron and cools the fuel elements is contained at pressures many times greater than atmospheric pressure to keep it from turning into steam. This heat is later transferred to the water in another system, generating steam to drive the turbine. 2. Boiling Water Reactors (BWRs) are second most commonly deployed reactors. Ordinary light water is used as both a moderator and coolant, like the PWR. However unlike the PWR, in a BWR there is no separate secondary steam cycle. The water from the reactor is converted into steam and used to directly drive the generator turbine. 3. Heavy Water Reactors use water enriched with the deuterium isotope of hydrogen as the moderator and coolant. This type of water is called “heavy water” and is an excellent moderator, which helps in the reaction to break up nucleus and enables the use of natural, unenriched uranium as fuel. The design of this type of reactors was developed in Canada and is known by its name the CANDU (Canada Deuterium Uranium) reactor. Water Nuclear power plants are usually built next to lakes, rivers, and oceans, not for the scenic views that such locales provide, but because nuclear power plants consume vast amounts of water during normal operation to absorb the waste heat left over after making electricity and also to cool the equipment and buildings used in generating that

VA.indd 43

43

September - December 2011

แกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และใช้ไอน�้ำที่เกิดขึ้นไปขับกังหันไอน�้ำของเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้าโดยตรงเพื่อผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า 3. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน�้ำมวลหนัก (Heavy Water Reactors) เป็นเครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์ทใี่ ช้นำ�้ มวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน และเป็น ตัวท�ำให้เย็น น�้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอนที่ดีเยี่ยม จึงช่วยเพิ่มโอกาส การเกิดปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส ท�ำให้สามารถใช้ยูเรเนียมธรรมชาติเป็นเชื้อ เพลิงได้โดยไม่ต้องเสริมสมรรถนะ เครือ่ งปฏิกรณ์ชนิดนีพ้ ฒ ั นาขึน้ โดยประเทศแคนาดา จึงรูจ้ กั กันในชือ่ CANDU (Canada Deuterium Uranium Reactor)

น�้ำ

โดยปกติ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะก่อสร้างอยู่ใกล้ทะเล แม่น�้ำ ทะเลสาบ หรือ แหล่งน�้ำขนาดใหญ่อื่นๆ ทั้งนี้ไม่ใช่เพราะทิวทัศน์ที่สวยงาม แต่เป็นเพราะว่า โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต้องการน�้ำในปริมาณมหาศาลเพื่อระบายความร้อนที่เกิดจาก การท�ำงานของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในการผลิตกระแส ไฟฟ้า นอกจากนี้ ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ ยังต้องมีการใช้น�้ำเพื่อระบายความร้อนที่ เกิดจากการสลายกัมมันตรังสีจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และอุปกรณ์และอาคาร ที่ใช้ในการระบายความร้อนด้วย ระบบระบายความร้อนจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์มีอยู่สองลักษณะด้วยกัน คือ ระบบไหลผ่านตลอด และ ระบบหมุนเวียนแบบปิด electricity. In event of an accident, nuclear power plants need water to remove the decay heat produced by the reactor core and also to cool the equipment and buildings used to provide the core’s heat removal. Two modes of cooling are used to remove the waste heat from electrical generation: once-through cooling and closed-cycle cooling. In the once-through cooling system, water from the nearby lake, river or ocean flows through thousands of metal tubes inside the condenser. Steam flowing through the condenser outside the tubes gets cooled down and converted back into water. The condensed water is re-used by the plant to make more steam. The water exits the condenser tubes warmed up to 16.7ºC (30ºF) higher than the temperature of that water body from where it came. In the closed-cycle cooling system, cooling works in the same fashion as the once-through cooling system, except instead of water exiting the condenser tubes flowing to the original water body, it flows to a cooling tower. Air moving upward past the water spraying downward inside the cooling tower cools the water. The water collected in the cooling tower basin is pumped back to the condenser for re-use. An open cone-shaped cooling tower often indicates a nuclear power plant employing this type of cooling system. While it is a closed system, a certain volume of water is lost as water vapor that is carried away by the air leaving the cooling tower. Water from the nearby lake, river, or ocean is needed to make-up for the loss. As mentioned, nuclear power plants need huge volumes of water for cooling. It has been estimated that for a typical 1,000 megawatt (MW) nuclear power reactor, if the differential temperature passing through the condenser is 16.7 ºC, it will need approximately 1,803,750 liters (476,500 gallons) of water per minute. If the temperature rise is limited to 11ºC (20ºF), the cooling water need rises to 2,705,600 liters (714,750 gallons) per minute. The differential temperature of water discharged into natural water sources is specified in the rules and laws governing the operation of nuclear power plants, which may be different according to the condition of individual water body. This is to prevent excessive damage to the ecosystem and fauna and flora of the water source. Nuclear power plants need more water than other types of power plants. Without good management, the abundance of water source could be put in danger as large numbers of young aquatic beings are pumped into the condenser together with the cooling water.

1/27/12 11:32 AM


44

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ในระบบไหลผ่านตลอด (once-through cooling) น�้ำจากแหล่งน�้ำภายนอก ไหลผ่านท่อโลหะเป็นพันท่อภายในเครื่องควบแน่น ไอน�้ำที่ไหลผ่านเครื่องควบแน่นถูก ท�ำให้เย็นและกลายเป็นน�ำ้ ซึง่ จะถูกน�ำไปท�ำให้เป็นไอน�ำ้ เพือ่ ใช้ผลิตไฟฟ้าอีกครัง้ ส่วนน�ำ้ ที่ใช้ในการหล่อเย็นหลังจากออกจากท่อโลหะแล้วไหลกลับสู่แหล่งน�้ำเดิมจะมีอุณหภูมิ สูงมากขึ้นถึง 30 องศาฟาห์เรนไฮต์ (ประมาณ 16.7 องศาเซลเซียส) ส่วนระบบหมุนเวียนแบบปิด (closed-cycle cooling) การหล่อเย็นท�ำงานใน ลักษณะเดียวกันกับระบบไหลผ่านตลอด เพียงแต่เมือ่ น�ำ้ ทีใ่ ช้ในการหล่อเย็นออกจากท่อ โลหะแล้ว แทนที่จะไหลกลับไปสู่แหล่งน�้ำเดิม จะไหลไปหอหล่อเย็นและถูกฉีดเป็นละออง ลงมาจากข้างบน ขณะเดียวกัน อากาศเย็นภายในหอจะไหลย้อนขึ้นข้างบนท�ำให้น�้ำ ทีถ่ กู ฉีดลงมาเย็นลง น�ำ้ ทีต่ กลงมาในบ่อเบือ้ งล่างของหอจะถูกดูดกลับไปใช้หล่อเย็น ในเครื่องควบแน่นอีกครั้งหนึ่ง ดังนัน้ การจะบอกว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใช้ระบบหล่อเย็นแบบใด สามารถท�ำได้ โดยการสังเกตว่าโรงไฟฟ้านัน้ มีหอหล่อเย็นทีม่ กั มีลกั ษณะเป็นทรงกรวยสูงใหญ่หรือ ไม่ อย่างไรก็ตามในการท�ำงานระบบนี้ จะมีการสูญเสียน�้ำส่วนหนึ่งอากาศที่พัดพา ละอองน�้ำออกไป ซึ่งต้องดึงน�้ำจากแหล่งน�้ำภายนอกมาชดเชย อย่างที่กล่าวไว้ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต้องการน�้ำปริมาณมหาศาลในการหล่อ เย็น มีการประเมินว่า ส�ำหรับโรงไฟฟ้าขนาด 1,000 เมกกะวัตต์ ถ้าให้น�้ำที่ผ่าน การหล่อเย็นมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากเดิม 16.7°C จะต้องใช้น�้ำถึง 1,803,750 ลิตรต่อ นาที แต่ถ้าความต่างของอุณหภูมิลดลงเหลือ 11°C ปริมาณน�้ำที่ต้องใช้จะสูงถึง 2,705,600 ลิตรต่อนาทีเลยทีเดียว ความต่างของอุณหภูมนิ ำ�้ หล่อเย็นทีถ่ กู ปล่อยกลับสูแ่ หล่งน�ำ้ ในธรรมชาตินนั้ จะ ถูกก�ำหนดในกฎหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้า ซึ่งอาจจะ แตกต่างกันไปตามสภาพของแหล่งน�ำ้ เนือ่ งจากว่าน�ำ้ ทีร่ อ้ นขึน้ จะมีผลกระทบทีส่ ร้าง ความเสียหายต่อพันธุพ์ ชื และสัตว์ในสิง่ แวดล้อมของแหล่งน�ำ้ หรือแม้กระทัง่ ระบบนิเวศ ของแหล่งน�้ำเอง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต้องการน�้ำมากกว่าโรงไฟฟ้าประเภทอื่นๆ ทั้งหมด หาก ไม่มีการจัดการที่ดี สัตว์น�้ำวัยอ่อนจ�ำนวนมากจะถูกดูดเข้าไปพร้อมกับน�้ำปริมาณ มหาศาลที่ป้อนเข้าสู่โรงไฟฟ้า และอาจท�ำให้ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน�้ำลดลง ถ้าเงินลงทุนเป็นเพียงปัจจัยเดียวในการตัดสินใจก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทุกโรงก็คงจะใช้ระบบหล่อเย็นแบบไหลผ่านตลอดเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการสร้าง และบ�ำรุงรักษาหอหล่อเย็น อย่างไรก็ตาม ถ้าโรงไฟฟ้าตั้งอยู่ในบริเวณที่มีปริมาณ น�้ำไม่มากพอหรือมีข้อจ�ำกัดทางด้านสิ่งแวดล้อม หอหล่อเย็นก็กลายเป็นสิ่งจ�ำเป็น และแม้ว่าระบบหมุนเวียนแบบปิดจะใช้น�้ำน้อยกว่าแบบไหลผ่านตลอด ก็ใช่ว่า จะเป็นปริมาณที่น้อยนิดไม่ เนื่องจากน�้ำจ�ำนวนหนึ่งต้องสูญเสียไปกับละอองน�้ำ If cost were the only factor in the decision, nearly all nuclear power plants would feature once-through cooling systems because pumping vast amounts of water through the condenser is usually the cheapest option. Closed-cycle cooling systems are used when the nearby water source lacks sufficient water volume to allow the large flow rate needed for once-through cooling or when environmental limits on thermal pollution dictate that waste heat be rejected to the air and not just to the body of water. While the closed-cycle system uses less make-up water than the once-through system, the volume of water used is not negligible. That’s because water is needed to compensate for the water vapor leaving the cooling towers with the cooling air flow. Water must also be discharged from closed-cycle cooling systems in order to control the chemistry of the recycled water and to limit the build-up of sediment and other debris in the cooling tower basins. At the Susquehanna nuclear plant in the US’s State of Pennsylvania, its two reactors need about 155 million liters of water to make up for the vapor loss and the discharge to the river to reduce chemicals and sediments accumulating in the cooling system. In addition to using water as coolant, nuclear power plants also take water from the nearby lakes, rivers, and oceans to cool other equipment, such as the chillers for air conditioning units, lubricating oil coolers for the main turbine, after-coolers for air compressors, and heat exchangers for closed-loop cooling systems. This so-called service water system never stops operating even when the reactor is shut down for refueling or maintenance. After cooling these components, the heated water is returned to the nearby source.

VA.indd 44

ที่ถูกอากาศในหอหล่อเย็นพัดพาออกไปจากระบบ นอกจากนั้น น�้ำอีกจ�ำนวนหนึ่ง ต้องถูกทิ้งออกไปเพื่อควบคุมปริมาณสารเคมีในน�้ำและเพื่อลดตะกอนและสิ่งสกปรก อื่นๆ ในอ่างเก็บน�้ำภายในตัวหอเอง ตัวอย่างเช่น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซัสเควฮานนา (Susquehanna) ในรัฐเพนนซิลเวเนีย ในสหรัฐอเมริกา เครื่องปฏิกรณ์สองตัวใช้ น�้ำถึง 155 ล้านลิตรต่อวันเพื่อทดแทนน�้ำที่สูญเสียไปกับละอองน�้ำและลดสารเคมี และตะกอนกับสิ่งสกปรกอื่นๆ ในระบบ นอกจากความจ�ำเป็นในการหล่อเย็นเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แล้ว ยังต้อง มีการใช้น�้ำในการหล่อเย็นอุปกรณ์อื่นๆ อีกด้วย เช่น เครื่องปรับอากาศ เครื่อง ท�ำความเย็นให้กังหันผลิตไฟฟ้า เครื่องควบแน่น และเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ต่างๆ เป็นต้น น�้ำเหล่านี้จะมีการใช้ตลอดเวลาแม้เมื่อมีการหยุดเครื่องปฏิกรณ์ นิวเคลียร์เพื่อการบ�ำรุงรักษา และเมื่อใช้แล้วก็จะถูกถ่ายเทออกสู่แหล่งน�้ำข้างนอก ด้วยอุณหภูมิที่สูงขึ้นด้วย

ขนาดพื้นที่ส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

สมาคมนิวเคลียร์อเมริกัน (American Nuclear Society) ชี้แจงในเอกสาร แผ่นพับไว้ว่า ถ้าเทียบกับโรงไฟฟ้าชนิดอื่นแล้ว โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต้องการพื้นที่น้อย ที่สุด ส�ำหรับโรงไฟฟ้าขนาด 1,000 เมกกะวัตต์ นิวเคลียร์ใช้พื้นที่เพียง 1-4 ตาราง กิโลเมตร ในขณะที่โรงไฟฟ้าแสงอาทิตย์ต้องใช้พื้นที่ 20-50 ตร.กม. โรงไฟฟ้าพลัง ลม 50-150 ตร.กม. และโรงไฟฟ้าพลังชีวมวล 4,000-6,000 ตร.กม. อย่างไรก็ตาม การเลือกพืน้ ทีเ่ พือ่ ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์นนั้ มักพิจารณา พื้นที่ที่มีการอยู่อาศัยเบาบางในบริเวณกว้าง เพื่อป้องกันผลกระทบจากสาร กัมมันตรังสีในกรณีเกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ หลังเกิดอุบตั เิ หตุโรงไฟฟ้าฟุกชุ มิ ะ ไดอิจิ ทีญ ่ ปี่ นุ่ เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 รัฐบาลประกาศให้พื้นที่ในรัศมี 20 กม. รอบโรงไฟฟ้า เป็นเขตวิกฤตห้ามอยู่อาศัย ต้องอพยพราษฎรออกจากพื้นที่ทั้งหมด ปัจจุบันมีการ เรียกร้องให้รัฐบาลประกาศพื้นที่วิกฤตเพิ่มเป็น 30 กม.ในรัศมีรอบโรงไฟฟ้า ใน ขณะที่มีรายงานการตรวจพบระดับกัมมันตรังสีในบริเวณที่ห่างไหลจากโรงไฟฟ้า เป็นบริเวณกว้างกว่าหลายเท่าตัวนัก กระทรวงความมัน่ คงภายในของสหรัฐอเมริกาได้รายงานว่า รัฐบาลระดับรัฐ และท้องถิ่น องค์การบริหารรัฐบาลกลางและบริษัทผลิตไฟฟ้า ต่างก็มีการเตรียม แผนเพื่อรับมือกับอุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยแบ่งพื้นที่ “การวางแผนฉุกเฉิน” เป็นสองส่วนด้วยกัน ส่วนแรกกินบริเวณกว้างเป็นรัศมี 10 ไมล์ (16 กม.) รอบ โรงไฟฟ้าที่ประชาชนอาจจะได้รับกัมมันตภาพรังสีโดยตรง ส่วนที่สองกินบริเวณ เป็นรัศมี 50 ไมล์ (80 กม.) ซึ่งสารกัมมันตรังสีสามารถปนเปื้อนแหล่งน�้ำ พื้นที่ เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ได้ n Site Requirement for Nuclear Power The American Nuclear Society states in one of its brochures that compared to other energy options, nuclear power plants require far less land area. For a 1000-MW plant, a nuclear power plant requires only 1-4 sq km while a solar park requires 20-50 sq km, a wind farm 50-150 sq km, and biomass 4,000-6,000 sq km. However, the siting of a nuclear power plant normally take into consideration a wide area that is sparsely populated to prevent massive impact from radiation exposure in case of accident. This necessity is clearly demonstrated when the Fukushima Daiichi nuclear plant suffered debilitating damage in March 2011. The Japanese government was forced to declare an area within the 20km radius of the plant an emergency zone and order all inhabitants evacuated. Later there were calls for the government to expand the zone to 30km radius as radiation was discovered in area far away from the damaged plant. The US Department of Homeland Security says in a report that local and state governments, federal agencies, and the electric utilities have emergency response plans in the event of a nuclear power plant incident. The plans define two “emergency planning zones.” One zone covers an area within a 10-mile radius of the plant, where it is possible that people could be harmed by direct radiation exposure. The second zone covers a broader area, usually up to a 50-mile radius from the plant, where radioactive materials could contaminate water supplies, food crops, and livestock. n

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

45

September - December 2011

การพยากรณ์ความต้องการ ไฟฟ้า: เหมาะสมหรือเกินจริง?

Electricity Demand Forecast: On-target or Over-exaggerated แผนพัฒนาก�ำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย หรือที่เรียกกันว่า แผนพีดีพี (PDP: Power Development Plan) เป็นแผนแม่บทระยะยาว 15 ปี ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ใน การจัดหาก�ำลังผลิตไฟฟ้าเพื่อตอบสนองความ ต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต

The Power Development Plan (PDP), the country’s 15-year master plan for electricity,was drawn up by the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) to ensure sufficient electricity to match the nation’s growing demand.

อุตสาหกรรมเป็นภาคส่วนที่ใช้ พลังงานมากที่สุด โดยมีส่วนแบ่ง 49% ในขณะที่ครัวเรือนใช้ 21% พาณิชย์ 25% และกิจกรรมอื่นๆ 5% ตามสถิติของปี 2550

Industry is the largest user of electricity, consuming 49% of power supply compared to 21% by households, 25% by commerce and 5% by other activities according to the 2007 statistics.

VA.indd 45

1/27/12 11:32 AM


46

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ระบวนการจัดท�ำแผนพีดีพีมีขั้นตอนส�ำคัญ 2 ขั้น ตอน คือ การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า หรือการ คาดการณ์การขยายตัวของการใช้ไฟฟ้าทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ ในอนาคต เพื่อให้ทราบว่าระบบไฟฟ้าจ�ำเป็นต้อง มีก�ำลังผลิตเพิ่มขึ้นจ�ำนวนเท่าใด และอยู่ในช่วงปี ไหนของแผน รวมถึงการพิจารณาทางเลือกในการจัดหาก�ำลังผลิต ไฟฟ้า เพื่อเสริมให้ระบบมีความมั่นคงสามารถรองรับกับตัวเลขการ พยากรณ์ฯ ที่ได้มา โดยทางเลือกต่างๆ ได้แก่ การก่อสร้างโรงไฟฟ้า เพิ่มขึ้น, การเปิดประมูลให้เอกชนเข้ามารับสัมปทานผลิตไฟฟ้า, การ ท�ำสัญญาซื้อกระแสไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน เป็นต้น ในแผนพีดีพี 2007 ปรับปรุงครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2551-2564) ได้รับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2552 ก�ำหนด

ปลายเดือนสิงหาคม พ.ศ.2554 กลุ่มเครือข่ายประชาชน 14 จังหวัดภาคใต้ รวมตัวกันริมถนนเพชรเกษม ต.ท่าข้าม อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร ภายใต้ชื่อปฏิบัติการ “เพชรเกษม 41 คนใต้ขอก�ำหนดอนาคตตัวเอง” เพื่อให้รัฐบาลทบทวนโครงการ เมกะโปรเจ็กต์ต่างๆ รวมถึงโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน และโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ ในพื้นที่ภาคใต้

A network of civic groups from 14 southern provinces rally on Phet Kasem Highway in Tha Sae district of Chumphon province in September 2011 to demand that the government review mega-projects planned for southern Thailand, including coal-fired and nuclear power plants.

ให้มีการก่อสร้างโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ ในช่วงปี พ.ศ. 2559-2564 ซึ่งมี โรงไฟฟ้านิวเคลียร์รวมอยู่ด้วย 2,000 เมกะวัตต์ (MW) อย่างไรก็ตาม ผ่านไปเพียง 1 ปี วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2553 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ก็ได้อนุมัติแผน พัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า พ.ศ. 2553-2573 (แผนพีดพี ี 2010) และเสนอ ครม.มีมติเห็นชอบเป็นทีเ่ รียบร้อยเมือ่ วันที่ 23 มีนาคม 2553 ทีผ่ า่ นมา โดยหลักเกณฑ์บางส่วนในการจัดท�ำแผนพีดีพีฉบับใหม่นี้ มีการปรับ เปลีย่ นไปจากแผนฉบับทีผ่ า่ นๆ มา กล่าวคือ มีการการขยายช่วงระยะ

VA.indd 46

T

he PDP has two principal tasks. It forecasts the growth in electricity demand and the timing of peaks during the plan in order to increase production capacity as needed. The PDP also considers options for securing electricity generating sources that will ensure the system is strong enough to meet the figures forecast. The options include the construction of new power plants, inviting the private sector to bid for concessions to generate electricity or procuring electricity from neighboring countries. The second revision of PDP 2007 (for 20082021), approved by the cabinet on March 24, 2009,

calls for new power plants to be built some time during the years 2016-2021, including nuclear power plants to generate 2,000 MW of electricity. However, a year later, on March 12, 2010, the National Energy Policy Committee approved yet another plan to secure electricity for 2010-2030 (called PDP 2010). This plan was submitted to the cabinet for approval on March 23, 2010. The difference between this and its predecessor lies in the extension of the time span from 15 to 20 years. In addition, the committee suggested a review of the risks from exploration for natural gas along the western shoreline that might require an increase in the contingency power reserve from 15% to 20%. In short, the PDP 2010 (for 2010-2030) requires the following:

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

เวลาของแผนจากเดิม 15 ปี เป็น 20 ปี นอกจากนี้ในส่วนของก�ำลัง ผลิตไฟฟ้าส�ำรองทีเ่ คยก�ำหนดมาตรฐานไว้ที่ 15% ก็ให้มกี ารพิจารณา สถานการณ์ความเสี่ยงในการจัดหาก๊าซธรรมชาติฝั่งตะวันตก ระดับ ก�ำลังผลิตไฟฟ้าส�ำรองที่เหมาะสมของประเทศอาจสูงกว่าร้อยละ 20

แผนพีดีพี 2010 (พ.ศ. 2553-2573) ได้ก�ำหนดให้มี

1. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle) จ�ำนวน 20 โรง ก�ำลังผลิตติดตั้ง 15,870 MW 2. โรงไฟฟ้าถ่านหิน จ�ำนวน 13 โรง ก�ำลังผลิตติดตัง้ 10,000 MW 3.โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก (Small Power Producer: SPP) ประเภท ระบบผลิตพลังงานร่วม (Co-Generation) ก�ำลังผลิตติด ตั้ง 6,844 MW 4.โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กมาก (Very Small Power Producer: VSPP) ที่เป็นของเอกชนและการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย รวม 5,242 MW 5. การรับซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศก�ำลังผลิต 11,669 MW 6. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 5 โรง ก�ำลังการผลิตรวมกันเท่ากับ 5,000 MW โดยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกจะเดินเครื่องในปี พ.ศ. 2563 การปรับปรุงแผนพีดพี จี ากฉบับ 2007 เป็น 2010 นี้ มีประเด็นที่ ถูกตัง้ ค�ำถามมากทีส่ ดุ คือการพยากรณ์การใช้ไฟฟ้าทีเ่ ป็นหัวใจส�ำคัญ ของการวางแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า และน�ำมาก�ำหนดนโยบาย พลังงานของประเทศ ที่หลายฝ่ายมองว่าสูงเกินจริง เป็นต้นเหตุให้ ต้องจัดหาก�ำลังผลิตไฟฟ้าเข้าสู่ระบบเพิ่มขึ้นอย่างมากเกินความ จ�ำเป็น โดยการพยากรณ์การใช้ไฟฟ้าที่อาศัยตัวเลขอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจที่คาดว่าจะขยายตัวในอัตราสูงต่อเนื่องกันไปเป็นเวลา 20 ปี ซึ่งความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าย่อมขยายตัวตามอัตราการ เติบโตทางเศรษฐกิจดังกล่าว ในการขยายระยะเวลาของแผนฯ ออกไปเป็น 20 ปีนั้น ช่วงปี ท้ายๆ ของแผนฯ มีการบรรจุโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน และนิวเคลียร์ เข้ามาเป็นจ�ำนวนมาก โดยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ถกู ระบุไว้ทงั้ สิน้ ถึง 5 โรง จากแผนฯ เดิม (พีดีพี 2007) ที่ก�ำหนดไว้เพียง 2 โรงเท่านั้น ส่วนค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าสูงสุดในปี พ.ศ. 2573 ซึ่ง เป็นปีสุดท้ายของแผนฯ ก�ำหนดไว้ที่ 52,890 MW เท่ากับเพิ่มขึ้น ถึง 30,845 MW ในระยะเวลา 20 ปี (จาก 22,045 MW ในปี พ.ศ. 2552) เมือ่ เปรียบเทียบกับสถิตคิ วามต้องการไฟฟ้าสูงสุดในอดีตทีผ่ า่ น มา ก็จะพบว่าค่าพยากรณ์ดงั กล่าวมีแนวโน้มสูงกว่าค่าเฉลีย่ ของความ ต้องการไฟฟ้าสูงสุดที่เกิดขึ้นจริงในอดีตอยู่มาก ยกตัวอย่างเช่น ช่วงปี พ.ศ. 2535-2549 ความต้องการใช้ไฟฟ้า สูงสุดเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 568 MW/ปี แต่ กฟผ. กลับคาดการณ์ความ ต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดส�ำหรับช่วงปี พ.ศ. 2550-2564 เฉลีย่ สูงถึงปีละ 1,942 MW โดยอิงกับตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกปี แผนพีดีพี 2007 ที่ผ่านการอนุมัติโดย ครม. เมื่อปี 2550 ระบุ ความต้องการก�ำลังไฟฟ้าสูงสุดในปี พ.ศ. 2551 ที่ 23,957 MW ซึ่ง เพิม่ จากปีทผี่ า่ นมาถึง 1,371 MW จนน�ำไปสูก่ ารเปิดประมูลโรงไฟฟ้า เอกชนรายใหญ่ (โรงไฟฟ้าไอพีพี) จ�ำนวน 4,400 MW แต่ตัวเลขการ ใช้ไฟฟ้าสูงสุดที่เกิดขึ้นจริงเมื่อเดือนเมษายน ของปี พ.ศ. 2551 กลับ กลายเป็น 22,568 MW ซึ่งตํ่ากว่าของปีที่ผ่านมา 18 MW เสียอีก ล่าสุด เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม ปีนี้เอง การใช้ไฟฟ้าสูงสุดของ

47

September - December 2011

1. Twenty combined-cycle power plants to produce 15,870 MW of electricity; 2. Thirteen coal-fired power plants to produce 10,000 MW; 3. Small power producers (SPP) of the co-generation type to produce 6,844 MW; 4. Very small power producers (VSPP) operated by private investors and EGAT to produce 5,242 MW; 5. Purchase of up to 11,669 MW of electricity from overseas; 6. Five nuclear power plants with a combined production capacity of 5,000 MW, the first plant of which to start operating in 2020. The revision of PDP 2007 to PDP 2010 raises a few questions. Most in doubt is the accuracy of the electricity forecast that forms the basis for forging the country’s energy policy and setting production capacity. Many observers see the current forecasting method as exaggerated, causing too much electricity to be produced. The method assumes that electricity demand grows with the economy and uses economic indicators to project electricity consumption over the next 20 years. The extension of the PDP from 15 to 20 years calls for the construction of a large number of coalfired and nuclear power plants. PDP 2010 specifies five nuclear power plants compared with just two under PDP 2007. The peak demand for electricity in 2030, which is the last year of the PDP, is forecast to be 52,890 MW. The figure represents an increase of 30,845 MW in a period of 20 years (from 22,045 MW in 2009). However, a comparison of this forecast with figures of electricity usage in the past shows a tendency by forecasters to grossly overestimate peak demands. For example, from 1982-2006, the peak electricity demand rose steadily at an average rate of 568 MW per year. But EGAT forecasted that demand would rise at 1,942 MW per year on average from 2007-2021, citing the likely annual increase in Gross Domestic Product (GDP). The PDP 2007 that was approved by the cabinet in 2007 forecasted peak electricity demand for 2008 at 23,957 NW, an increase of 1,371 MW from the previous year. This increase was used to justify bidding for a large private-owned power plant (IPP) with a generating capacity of 4,400 MW. But the peak usage in April 2008 turned out to be only 22,568 MW – or 18 MW lower than the previous year. On May 24, 2011, electricity usage peaked at 23,900.21 MW – or 668 MW less than the 24,568 MW forecasted under PDP 2010. The difference almost equals the output of a standard coal-fired power plant of 700 MW.

การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า: เหมาะสมหรือเกินจริง? Electricity Demand Forecast: On-target or Over-exaggerated

VA.indd 47

1/27/12 11:32 AM


48

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

นักกิจกรรมกรีนพีซเรียกร้องให้ รัฐมนตรีพลังงานหยุดแผนก่อสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในประเทศไทย ที่ หน้ากระทรวงพลังงาน เมื่อเดือน มิถุนายน 2553 และเรียกร้องให้ เปลี่ยนแผนการลงทุนไปสู่พลังงาน หมุนเวียนที่สะอาด – เริงชัย คงเมือง/ กรีนพีซ

Greenpeace activists rally in front of the Energy Ministry in June 2010 to call for diversion of all energy related investments toward clean renewable energy. – Roengchai Kongmuang / Greenpeace

ระบบอยู่ที่ 23,900.21 MW แต่ในแผนพีดีพี 2010 กฟผ. คาดการณ์ ไว้ถึง 24,568 MW ซึ่งสูงกว่าค่าที่เกิดขึ้นจริงถึง 668 MW หรือเทียบ เท่ากับโรงไฟฟ้าถ่านหินขนาดมาตรฐาน 1 โรง (700 MW) เลยทีเดียว ในขณะนัน้ ก�ำลังผลิตไฟฟ้ารวมของระบบ (Installed Capacity) สูงถึง 31,516.61 MW ซึ่งเท่ากับว่าสูงกว่าความเป็นจริงถึง 32% ทั้งๆ ที่ตามมาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไป ปริมาณก�ำลังผลิตส�ำรองที่ เหมาะสมคือ 15% ของความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดของปี (ช่วงเดือน เมษายน-พฤษภาคมที่อากาศร้อนที่สุด) วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ ผู้อ�ำนวยการ เครือข่ายพลังงานเพื่อ นิเวศวิทยาแม่นำ�้ โขง (MEE Net) ชีใ้ ห้เห็นว่า ตัวเลขการพยากรณ์ความ ต้องการไฟฟ้าตามแผนฯ ทีม่ ลี กั ษณะสูงขึน้ อย่างทวีคณ ู ในแต่ละปี เขา อธิบายว่าเมื่อเกิดผิดพลาดขึ้นจะต้องมีการปรับฐานตัวเลขตามที่เกิด ขึ้นจริงทันที มิฉะนั้นส่วนต่างที่ผิดพลาดนี้จะท�ำให้ตัวเลขในปีท้ายๆ ของแผนถ่างหรือแคบอย่างทวีคูณจากที่เกิดจริง เขายกตัวอย่างกรณีแผนพีดีพี 2007 ซึ่งได้พ ยากรณ์ความ ต้องการไฟฟ้าสูงสุดของปี พ.ศ. 2551 ที่ 23,957 MW แต่การใช้ไฟ ที่เกิดขึ้นจริงคือ 22,568 MW ซึ่งสูงกว่าที่พยากรณ์ไว้ 1,389 MW ในกรณีนี้หาก ปรับตัวเลขพยากรณ์ใน แผนฯ ให้ สอดคล้ อ งกั บ ตั ว เลข การใช้ จริง จะมีผลให้ตัวเลข พยากรณ์ ความต้ อ งการไฟฟ้ า ในปี พ.ศ. 2564 เท่ากับ 46,125 M W ซึ่ ง ต�่ำกว่าตัวเลขในแผนฯ ถึ ง 2,833 MW หากบวกก� ำ ลั ง ผลิ ต ส� ำ รอง อีก 15% ก็จะเท่ากับ

At that time, the installed capacity of the system was calculated to be 31,516.61 MW – or 32% higher than the actual usage. The universally accepted amount of power reserve is set at 15% of the peak usage of the year (during April-May which are the hottest months). Vitoon Permpongsacharoen, director of the Mekong Energy and Ecology Network (MEE Net), pointed out that the demand forecasts have grown remarkably every year. If realities prove the forecasts to be wrong, the basic figures should be adjusted immediately. Otherwise, the discrepancies will lead to an unreal widening or narrowing of the figures, particularly towards the last years of the plan. He cited PDP 2007 which forecasted peak demand for electricity in 2008 to be 23,957 MW when actual electricity usage was only 22,568 MW or 1,389 MW lower. In such a case, if an adjustment is made to the PDP based on the actual usage figure, the forecast of power demand in 2021 would come down to 46,125 MW – or 2,833 MW lower than previously stated. Even if a 15% contingency is added, the forecast will exceed the reality by 3,257 MW. With this scenario, there is no need at all to build two nuclear power plants to produce the extra 2,000 MW the plan requires. Vitoon believes that consumers have shouldered the burden of paying excessive electricity rates over the past 10 years. Most of this has gone to funding the building of power plants to produce an electricity reserve that is greater than needed, causing Thailand to hold excess electricity in the system. The average cost of building a new power plant is estimated at วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ Vitoon Perpongsacharoen

VA.indd 48

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

31 กรกฎาคม 2545 ตัวแทนชาวบ้านบ่อนอก-บ้านกรูด เกือบ 1,000 คน ได้ เดินทางมารวมตัวกันที่ลานพระบรมรูปทรงม้า และเดินมายังท�ำเนียบรัฐบาล เพื่อ คัดค้านการก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าหินกรูด–บ่อนอก ในสมัยรัฐบาลนายก รัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร

About 1,000 villagers from Ban Krut and Bo Nok of Prachuap Khiri Khan province march from the Royal Plaza to the Government House to protest against the coal-fired power plant construction project during the administration of Thaksin Shinawatra in July 2002.

ว่าการพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าเกินจริงไปถึง 3,257 MW และถ้าปรับตัวเลขให้สอดคล้องกับความต้องการจริง ก็จะไม่มีความ จ�ำเป็นในการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2 โรง รวม 2,000 MW ที่ถูก บรรจุอยู่ในแผนฯ วิฑูรย์ มองว่า ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ประชาชนในฐานะผู้ บริโภคไฟฟ้าต้องแบกรับภาระค่าไฟฟ้าทีส่ งู เกินกว่าทีค่ วรมาโดยตลอด เนื่องจากต้องสร้างโรงไฟฟ้าเผื่อไว้ผลิตไฟฟ้าส�ำรองเพื่อใช้ในกรณี ฉุกเฉินมีมากเกินความจ�ำเป็น ท�ำให้ประเทศไทยมีกำ� ลังไฟฟ้าส่วนเกิน อยู่ในระบบมากกว่าที่ควรจะเป็น ซึ่งต้นทุนในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ส่วนเกินเฉลี่ยคร่าวๆ อยู่ที่ เมกะวัตต์ละ 35-40 ล้านบาท เงินจ�ำนวน มหาศาลต่อปีนี้จะถูกผลักภาระให้แก่ผู้บริโภคผ่านค่าเอฟที (Fuel adjustment tariff: Ft) หรือ ค่าไฟฟ้าผันแปรอัตโนมัติ ที่ปรับ เปลี่ยนเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนค่าใช้จ่าย ด้านเชือ้ เพลิงและค่าซือ้ ไฟฟ้าทีอ่ ยูน่ อกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้า เช่น อัตราเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ หรือแม้แต่ การชดเชยกรณีหน่วยขายต�่ำกว่าประมาณการ หรือการลงทุนเกิน เหตุผลใหญ่อกี เหตุผลหนึง่ ทีท่ ำ� ให้คา่ ไฟสูงขึน้ เกิดจากการเปลีย่ น หลักเกณฑ์การก�ำหนดอัตราค่าไฟฟ้าจากการอิงรายได้ เป็นการอิง ผลตอบแทนจากการลงทุน โดยองค์กรก�ำกับดูแลจะก�ำหนดอัตรา ผลตอบแทนจากเงินลงทุนเป็นหลัก ซึ่งเป็นการประกันรายได้ให้แก่ ผูป้ ระกอบการ ไม่วา่ ผูป้ ระกอบการจะด�ำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ หรือไม่ วิธีค�ำนวนผลตอบแทนดังกล่าวท�ำให้ผู้ประกอบการจึงขาดแรง จูงใจ (Incentive) ในการปรับปรุงประสิทธิภาพเพือ่ ประหยัดค่าใช้จา่ ย และทัง้ ยังเป็นการส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการลงทุนมากเกินความจ�ำเป็น (Overcapitalization/Overinvestment) ซึ่งท้ายสุดแล้วจะท�ำให้ ราคาค่าไฟฟ้าสูงขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นั่นย่อมเท่ากับว่ายิ่ง กฟผ. ลงทุนมากเท่าไหร่ ผลตอบแทนที่ได้ก็จะสูงตามไปด้วย

49

September - December 2011

35-40 million baht per MW. This enormous cost would be passed on to consumers through the Fuel Adjustment Tariff (FT) or the automatic variable cost that fluctuates according to the fuel cost and the expenditures that are beyond EGAT’s control, such as inflation rate, foreign exchange rates or compensation to accommodate sales that fail to meet targets or unwise investments. Another reason for the escalating electricity price is the change in criteria for determining electricity rates, from those based on income to those based on investment. Generally, the overseeing organization sets the rate of returns based on the capital invested in order to guarantee revenues for the entrepreneurs regardless of whether or not they are efficient managers. This method of calculating the rate of return removes the incentive for operators to optimize efficiency in order to save costs. In fact, it encourages operators to over-invest, inevitably leading to an increase in electricity rates. This is tantamount to accepting that the more EGAT invests, the more it will gain in return. Vitoon noted that the change in calculating the electricity rates based on Return on Invested Capital (or ROIC) took place in 2003 when the Thaksin Shinawatra administration considered privatizing EGAT. A consulting firm was hired to conduct due diligence to prepare EGAT for listing in the stock exchange. It proposed this payment method which is widely used by overseas privatized organizations to attract investors. Although the Supreme Administrative Court issued the order of March 24, 2006, to cancel EGAT privatization plan, the ROIC payment has continued to the present day. The ambiguous FT and the ROIC are seen by many as an avenue for passing EGAT’s operating problems to consumers. They also raise the question of whether the exaggerated forecast of electricity usage is in fact a transfer of the burden of funding power plant construction (including nuclear power plants) to the public. Vitoon called for a restructuring of the electricity system citing EGAT’s monopoly of both electricity production and power development planning. The projection of electricity demand that was set to increase at the rate of 4-10% every year since 1992 is questionable. In reality, there have been three incidents of negative growth, i.e. actual usage is lower than that forecasted. The first incident occurred right after the economic crisis known as the “Tom Yum Kung Crisis” in Thailand, followed by the “Hamburger Crisis” in the US and the most recent crisis this year (2011).

การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า: เหมาะสมหรือเกินจริง? Electricity Demand Forecast: On-target or Over-exaggerated

VA.indd 49

1/27/12 11:32 AM


50

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

วิฑูรย์เล่าว่า การเปลี่ยนแปลงวิธีก�ำหนดค่าไฟฟ้าโดยใช้ “การ ประกันผลตอบแทนการลงทุน” หรือ ค่าอาร์โอไอซี (Return on Invested Capital: ROIC) เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2546 เมื่อรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีแนวคิดที่จะแปรรูป กฟผ. บริษัทที่ปรึกษาที่ ถูกจ้างมาศึกษาและเตรียมความพร้อมเพื่อน�ำ กฟผ. เข้าตลาดหุ้นได้ เสนอหลักคิดนี้ซึ่งใช้โดยบริษัทในต่างประเทศที่ผ่านการแปรรูปแล้ว เพื่อดึงดูดนักลงทุน แม้ว่าศาลปกครองสูงสุดมีค�ำสั่งเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2549 ยกเลิกโครงการแปรรูป กฟผ. แต่ค่าอาร์โอไอซีกลับยังคงใช้อยู่มา จนถึงทุกวันนี้ ความไม่ชัดเจนและคลุมเครือของค่าเอฟทีและค่าอาร์โอไอซีถูก มองว่าเป็นเพียงช่องทางในการแก้ปัญหาการด�ำเนินงานของทางการ ไฟฟ้าด้วยการผลักภาระต่างๆ มาให้กับประชาชน และเกิดค�ำถามขึ้นว่าการพยากรณ์การใช้ไฟฟ้าให้สูงเกินจริง แท้จริงเป็นการผลักดันโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าต่างๆ ไม่จ�ำเพาะ เพียงโรงไฟฟ้านิวเคลียร์หรือไม่ วิฑรู ย์เรียกร้องให้มกี ารปฏิรปู โครงสร้างระบบไฟฟ้า โดยกล่าวว่า ปัจจุบนั กฟผ. เป็นผูผ้ กู ขาดทัง้ ระบบไฟฟ้าและการวางแผนพีดพี ี โดยที่ การพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้ามีแต่จะเพิม่ ขึน้ ทุกปี ปีละ 4-10% ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจุบัน ทั้งๆ ที่ข้อเท็จจริงตั้งแต่ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ความต้องการใช้ไฟฟ้ามีการเติบโตที่ “ติดลบ” คือต�่ำกว่า การคาดการณ์แล้ว 3 ครั้ง นั่นคือ หลังวิกฤตเศรษฐกิจ “ต้มย�ำกุ้ง” ที่ เริม่ ต้นในประเทศไทย วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ทเี่ กิดขึน้ ในสหรัฐอเมริกา และในปีนี้เอง (พ.ศ. 2554) เขาชี้ว่า ตามแผนพีดีพี 2010 ในอีก 20 ปีข้างหน้า ประเทศไทย จะต้องมีก�ำลังผลิตติดตั้งไฟฟ้าสูงถึง 66,167 MW ซึ่งสูงกว่าก�ำลัง ผลิตติดตั้งในปัจจุบันที่ 31,349 MW เกือบเท่าตัว หมายความว่า He pointed out that according to the PDP 2010, Thailand must develop the capacity to generate 66,167 MW in the next 20 years. That figure is more than double the current production capacity of 31,349 MW, requiring the country to mobilize resources to generate another 34,818 MW – or an average increase of 1,740 MW per year. Based on the actual power usage during the past 20 years, the forecasts have been grossly exaggerated, Vitoon said. The demand for electricity during the period had grown at an average rate of only 830 MW per year, or about half of the forecasted figure. Vitoon called for a new forecasting method. A linear calculation, he said, would forecast a demand increase of 16,600 MW over the next 20 years, with the peak to be reached in 2030 at 39,092 MW. After adding the 15% contingency to the total capacity, the final figure would be 44,955 MW – an increase of 13,606 MW or a mere 40% of the PDP 2010 forecasted increase. If electricity demand in the next 20 years is calculated in this manner, he said, there is absolutely no

VA.indd 50

จะต้องจัดหาก�ำลังผลิตไฟฟ้าใหม่เพิ่มขึ้นถึง 34,818 MW หรือเฉลี่ย ปีละ 1,740 MW ต่อปี แต่วฑิ รู ย์กล่าวต่อว่า การพยากรณ์ดงั กล่าวสูงเกินกว่าความเป็น จริงในช่วง 20 ปีทผี่ า่ นมาอย่างมหาศาล เพราะความต้องการไฟฟ้าใน ช่วงเวลาดังกล่าวเติบโตขึ้นเฉลี่ยเพียงปีละ 830 MW เท่านั้น คือน้อย กว่าประมาณการณ์ถึงเท่าตัว เขาเสนอว่าให้เปลี่ยนการพยากรณ์ใหม่ โดยใช้วิธีค�ำนวนแบบ เส้นตรง ซึง่ จะท�ำให้ความต้องการในอีก 20 ปีขา้ งหน้าเพิม่ ขึน้ 16,600 MW หมายความว่าความต้องการไฟฟ้าสูงสุดในปี 2573 จะอยู่ที่ 39,092 MW และเมื่อรวมไฟฟ้าส�ำรอง 15% เข้าไป ระบบควรจะมี ก�ำลังผลิตอยู่ที่ 44,955 MW หรือเพิ่มขึ้นจากปัจจุบัน 13,606 MW คือเพียง 40% ของการคาดการณ์ในแผนพีดีพี 2010 วิฑูรย์ยืนยันว่า ถ้าหากความต้องการไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเพียงเท่านี้ใน อีก 20 ปีข้างหน้าจริง ก็จะไม่มีความจ�ำเป็นใดๆ ในการก่อสร้างโรง ไฟฟ้าถ่านหิน โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หรือเขื่อนเพิ่มขึ้น เขากล่าวว่า ปัจจุบัน ประเทศไทยมีแผนปรับปรุงประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน 20 ปี ซึง่ ตัง้ เป้าไว้วา่ จะท�ำให้เกิดการประหยัดพลังงาน ได้ถึง 12,000 MW นั่นหมายความว่ามีความจ�ำเป็นต้องหาแหล่ง พลังงานเพิ่มเพียงอีก 1,600 MW เท่านั้น และสามารถท�ำได้จาก พลังงานหมุนเวียนและการปรับปรุงโรงไฟฟ้าเก่าบางส่วนก็เพียงพอ “รัฐต้องหามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ไฟฟ้ามากขึ้น เช่น หากเปลี่ยนมาใช้หลอดผอม (ที 5) 83 ล้านหลอดทั่วประเทศ จะ มีค่าเท่ากับก�ำลังการผลิตของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1 โรง โดยเฉพาะใน ภาคพาณิชย์และอุตสาหกรรมทีถ่ อื ว่ามีสดั ส่วนในการใช้ไฟฟ้าถึง 70% ของความต้องการใช้ไฟฟ้าทัง้ หมด และมีศกั ยภาพการอนุรกั ษ์พลังงาน ถึง 15-30% ตัวอย่างอาคารสูงที่จะออกแบบสร้างใหม่ หากอยู่ใน มาตรฐานใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 100 หน่วย/ตารางเมตร/ปี เท่านี้ก็สามารถ ตัดแผนการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทิ้งไปได้เลย” วิฑูรย์ กล่าว n need to build more coal-fired or nuclear power plants or new dams. The Thai government currently has plans to improve the efficiency of energy usage in the country over the next 20 years with a target of saving at least 12,000 MW. If it is successful, then only an additional 1,600 MW needs to be found, and this can easily be done by securing renewable energy and renovating old power plants, Vitoon noted. “The government must implement measures to increase the efficiency of electricity usage. For example, if the whole country switches to using T5 energysaving light bulbs, the economies gained from over 83 million bulbs would be equivalent to the capacity of a whole nuclear power plant. More efficient usage should be encouraged in particular in the commercial and industrial sectors that consume almost 70% of the electricity energy and have the capacity to save 15-30% of energy.. And if new high-rise buildings observe the standard energy usage threshold of under 100 units of electricity per square meter per year, the entire nuclear power plant plan can be scrapped,” Vitoon said. n

1/27/12 11:32 AM


สัมภาษณ์พิเศษ Special Interview กันยายน - ธันวาคม 2554

51

September - December 2011

รศ. โมโตกิ อะกิตสึ

โมโตกิ อะกิตสึ เป็นรองศาสตราจารย์ทบี่ ณ ั ฑิตวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกียวโต ในประเทศญี่ปุ่น ความสนใจหลักคือ “ความ สัมพันธ์ระหว่างถิ่นที่อยู่กับการท�ำกินในชุมชนชนบท” ซึ่งท�ำให้เขา ได้ไปเยี่ยมชุมชนต่างๆ ทั้งในประเทศญี่ปุ่นและอื่นๆ รวมถึง เกาหลี แทนซาเนีย ฮังการี และ ไทย รศ. อะกิตสึ มีความกังวลเกี่ยวกับความเสื่อมโทรมของชุมชน เกษตรและประมงในพื้นที่ภูเขา เกาะ และ คาบสมุทร ที่ซึ่งวิถีชีวิตด�ำเนิน ไปด้วยความสัมพันธ์ส่วนตัวและระหว่างชุมชน แต่ความสัมพันธ์ดัง กล่าวก�ำลังเสื่อมลงเนื่องจากผู้สูงอายุมีมากขึ้นและจ�ำนวนประชากร ลดน้อยลง ความสนใจอีกอย่างหนึ่งของเขาคือ มนุษย์สัมพันธ์ที่เกิดจาก อาหารที่มาจากการเกษตร ซึ่งก�ำลังกลายเป็นความกังวลของโลก เกี่ยวกับความปลอดภัยของอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากเกิด อุบัติภัยจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่จังหวัดฟุกุชิมะที่ได้สร้างความเสีย หายอย่างใหญ่หลวงให้กบั พืน้ ทีท่ �ำการเกษตรเป็นบริเวณกว้าง ความ เสียหายอย่างหนึ่งที่เกิดจากการแพร่กระจายของกัมมันตภาพรังสี ครั้งนี้คือสิ่งที่ รศ. อะกิตสึ เรียกว่า “ความเชื่อมั่นระหว่างผู้บริโภค และเกษตรกรที่หนุนโดยความสัมพันธ์อันใกล้ชิด” รศ. อะกิตสึ ให้สัมภาษณ์ วารสารเส้นทางสีเขียว ระหว่างที่มา ประเทศไทยเมื่อเร็วๆ นี้ เพื่อบรรยายเรื่องผลกระทบของอุบัติภัย นิวเคลียร์ที่ฟุกุชิมะต่อชนบทของญี่ปุ่น

n ท�ำไมจึงสนใจเรื่องพลังงานนิวเคลียร์?

ในประเทศญี่ปุ่น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ส่วนมากจะตั้งอยู่ในชนบท ผมศึกษาเกีย่ วกับสังคมชนบทในญีป่ นุ่ ผมสนใจเหตุผลทีว่ า่ ท�ำไมสังคม ชนบทจึงยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และผลกระทบต่อเกษตรกรรมจาก การปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีหลังจากเกิดอุบัติเหตุขึ้น n ห้าสิบปีที่แล้ว ญี่ปุ่นเป็นประเทศเดียวที่ต้องเจ็บปวดจากระเบิด

นิวเคลียร์ หลังสงครามแล้ว ชาวญีป่ นุ่ มีความรูส้ กึ ต่อต้านนิวเคลียร์ อย่างรุนแรง และรัฐบาลได้ออกกฎหมายต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ เกิดอะไรขึ้นหลังจากนั้นที่ท�ำให้ญี่ปุ่นพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์? (เหตุผลทีม่ กั จะถูกอ้างถึงคือ) พลังงานนิวเคลียร์ไม่ได้ถกู น�ำมาใช้ ผลิตอาวุธ แต่ถกู น�ำมาใช้ในทางสันติ ถึงแม้เราจะไม่อนุญาตให้มอี าวุธ นิวเคลียร์ เราก็ยังมีสิทธิที่จะใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ นั่นเป็น เหตุผลที่เรายอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ตอนที่การพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์เริ่มขึ้น เป็นช่วงที่ประเทศ เราก�ำลังฟื้นฟูตัวเอง ประชาชนคาดหวังการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงยอมรับพลังงานนิวเคลียร์เพื่อช่วยพัฒนา เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่คาดว่าจะช่วยยกระดับความเป็นอยู่ให้ ชาวบ้านโดยใช้เทคนิคทางวิทยาศาสตร์และความรู้สมัยใหม่ เวลานั้นชาวบ้านมีความเชื่อมั่นต่อรัฐบาลและนักวิชาการมาก

Assoc Prof Motoki Akitsu Motoki Akitsu is an associate professor at the Graduate School of Agriculture of Kyoto University in Japan. His main interest is “the relations between place and livelihood in rural communities” which has taken him not only to rural areas in Japan but also in Korea, Tanzania, Hungary and Thailand. He has been concerned about the deteriorating agricultural and fishing communities in mountainous areas, isolated islands and peninsulas, whose traditional way of life has been sustained by personal and communal bonds in family and local community but which is declining as a result of aging and depopulation.

VA.indd 51

1/27/12 11:32 AM


52

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

พวกเขาคิดไปไม่ถงึ เกีย่ วกับเรือ่ งความเสีย่ ง และอันทีจ่ ริงแล้ว ผูว้ า่ การ จังหวัดหลายคนเวลานั้นต่างก็ต้อนรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ซึ่งท�ำให้ พืน้ ทีไ่ ด้รบั เงินอุดหนุนมหาศาลจากรัฐบาล เงินทีร่ ฐั บาลให้กบั องค์กร บริหารส่วนท้องถิน่ เพือ่ เป็นสิง่ จูงใจให้ยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มมี าก ถึง 17,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ตลอดช่วงเวลา 50 ปีที่ผ่านมา จริงหรือไม่ที่ว่าการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์มีส่วนช่วยการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่น? ผมเชือ่ ว่าอย่างนัน้ ครับ การก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้สร้าง งานมากมาย ไม่เพียงในอุตสาหกรรมก่อสร้าง แต่ในอุตสาหกรรม ค้นคว้าวิจยั และอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งด้วย แน่นอนครับว่าบริษทั ใหญ่ๆ ทีส่ ง่ เสริมนิวเคลียร์สร้างรายได้มากมายให้กบั ตัวเองจากรัฐบาล แต่ ก็มกี ารสร้างงานมากจริงๆ แล้วประชาชนก็พอใจเพราะท�ำให้คนหนุม่ สาวอยูก่ บั บ้านเกิดตัวเอง ไม่อพยพเข้าเมืองใหญ่อย่างเช่นโตเกียวเพือ่ หางาน n

อุบัติเหตุที่ฟุกุชิมะได้เปลี่ยนความคิดของประชาชนญี่ปุ่นต่อ พลังงานนิวเคลียร์หรือไม่? แล้วประชาชนยังสนับสนุนอุตสาหกรรม นี้อยู่หรือไม่?

n

ต้องการให้โครงการส่งเสริมพลังงานนิวเคลียร์ด�ำเนินต่อไป แต่พวก เขาไม่ต้องการจะยกเลิกโดยทันที แต่ให้ค่อยๆ เลิกไป เราเห็นด้วยกับทิศทางที่นายกฯ คัง เสนอ แต่เราไม่เห็นด้วย กับทิศทางเปลี่ยนแปลงที่เร็วในเวลาที่สั้นมากๆ ผมคิดว่านั่นเป็น สาเหตุที่ประชาชนไม่สนับสนุนข้อเสนอของท่าน ท่านต้องการการ เปลี่ยนแปลงที่เร็ว แต่ชาวบ้านอยากจะให้ค่อยๆ เลิก ไม่เลิกเร็วนัก นอกจากนั้น ยังมีความกดดันจากฝ่ายราชการและกลุ่มธุรกิจ เจ้าหน้าทีร่ ฐั บาลไม่ยอมรับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ ร็ว ส่วนฝ่ายทีม่ อี ำ� นาจ ทางเศรษฐกิจ ซึง่ คือบริษทั ใหญ่ๆ ทัง้ หลาย ก็ไม่ยอมให้เลิกการพัฒนา พลังงานนิวเคลียร์ n ความสัมพันธ์ระหว่างกลุม ่ ธุรกิจและรัฐบาลเกีย่ วกับเรือ่ งพลังงาน นิวเคลียร์เป็นอย่างไรบ้าง? ทั้งสองฝ่ายให้ความสนับสนุนต่อกัน อย่างไร? รัฐบาลมีการก�ำกับดูแลธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่? รัฐบาลอยู่ไม่ได้ถ้าฝ่ายธุรกิจไม่ให้การสนับสนุน เพราะฉะนั้น นายกรัฐมนตรีคนใหม่ (โยชิฮิโกะ โนดะ) จึงต้องพยายามดูแลภาค ส่วนเศรษฐกิจ เพราะว่าความสัมพันธ์ระหว่างอดีตนายกรัฐมนตรี (นาโอโตะ คัง) กับชุมชนธุรกิจอึมครึมมาก ส่วนที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมนิวเคลียร์นั้น ความสัมพันธ์ระหว่าง อ�ำนาจทางเศรษฐกิจกับฝ่ายราชการมีความใกล้ชิดและอบอุ่นมาก เพราะฉะนั้นก็จะเห็นว่ารัฐบาลไม่ค่อยจะก�ำกับดูแลบริษัทผลิตไฟฟ้า อย่างเข็มงวดเท่าไรนัก นักเรียนและคุณครูก�ำลังเล่นเกมในโรงเรียนรับเลี้ยงเด็ก Soramame ในเมือง ฟุกุชิมะ ตั้งแต่วันที่เกิดอุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นต้นมา นักเรียนเล่นได้เพียง ภายในห้องเรียนเท่านั้นเพื่อหลีกเลี่ยงกัมมันตภาพรังสี ก่อนหน้านี้มีนักเรียนทั้งหมด 24 คน แต่หลายคนได้อพยพย้ายไป จนเหลือเพียง 7 คน – โนริโกะ ฮายาชิ/Panos/กรีนพีซ Children and a teacher play card game inside the building of day nursing school Soramame in Fukushima city. Since the nuclear accident, the children can only play inside the school building to avoid radiation exposure. The number of students has decreased from 24 to 7 as most of them have since evacuated to other prefectures. – Noriko Hayashi/Panos/Greenpeace

ประชาชนที่ ถู ก ผลกระทบโดยตรงมั ก ไม่ มี ค วามคิ ด ต่ อ ต้ า น นิวเคลียร์ พวกเขาเพียงแต่คิดว่าเขาจะได้กลับบ้านตัวเองได้เมื่อไร เท่านั้น นั่นเป็นความกังวลหลักของเขา แต่ส�ำหรับคนอื่นๆ แล้ว พวกเขาไม่ต้องการนโยบายที่ส่งเสริม นิวเคลียร์อีกแล้ว หลายคนตั้งค�ำถามเกี่ยวกับนโยบายนี้ แต่ส่วนใหญ่ ก็เป็นคนที่อยู่ในเมือง เพราะฉะนั้น ขบวนการต่อต้านนิวเคลียร์จึงไม่ เข้มแข็งนัก ตอนที่ผมยังเป็นนักศึกษาอยู่เมื่อ 30 ปีที่แล้ว ขบวนการ ต่อต้านนิวเคลียร์เข้มแข็งกว่านีเ้ ยอะ แต่ตอ่ มาก็ออ่ นตัวลงหลังจากเรือ่ ง โลกร้อนกลายเป็นประเด็นใหญ่ และรัฐบาลใช้เรื่องนี้รณรงค์ส่งเสริม พลังงานนิวเคลียร์โดยบอกว่าเป็นพลังงานทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดภาวะโลกร้อน n ใช่หรือไม่ว่าความรู้สึกที่เปลี่ยนไปของประชาชนต่อพลังงาน นิวเคลียร์เป็นสาเหตุที่อดีตนายกรัฐมนตรี นาโอโตะ คัง ออกมา ประกาศว่าญี่ปุ่นควรจะยกเลิกการใช้พลังงานนิวเคลียร์? ใช่ครับ แต่ว่าคนส่วนใหญ่ก็ไม่ได้สนับสนุนความคิดนี้ n ท�ำไมจึงเป็นเช่นนั้น?

นายกฯ คัง ต้องการเลิกใช้พลังงานนิวเคลียร์ คนส่วนใหญ่ก็ไม่

VA.indd 52

ความสัมพันธ์สามทางระหว่างฝ่ายการเมือง ฝ่ายธุรกิจ และ ราชการจึงกลายเป็นเหตุหนึ่งที่ท�ำให้อดีตนายกรัฐมนตรีคัง ต้องหลุด พ้นจากอ�ำนาจ n ผลกระทบจากอุบัติเหตุนิวเคลียร์ฟุกุชิมะที่รุนแรงที่สุดต่อสังคม

ญี่ปุ่นคืออะไร? ผมได้พูดไปแล้วว่าชาวญี่ปุ่นไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว เราคิดว่าเราควรเปลี่ยนอย่างช้าๆ แล้วก็เรียนรู้จากความหายนะใน ครั้งนี้ คนที่อาศัยอยู่ใกล้พื้นที่อุบัติเหตุ ซึ่งรวมถึงโตเกียว ถูกกระทบ อย่างลึกซึง้ คนส่วนใหญ่กย็ งั คงอยูก่ นั ไปได้ แม้จะรูส้ กึ ห่วงกังวลเกีย่ วกับ อาหารและเด็ก ซึง่ คาดว่าจะได้รบั ความเสียหายรุนแรงจากการปนเปือ้ น กัมมันตรังสี แต่คนทีอ่ ยูไ่ กลออกไป อย่างตัวผมเอง ก็จะจินตนาการไม่ ออกว่าความเป็นจริงในพืน้ ทีเ่ ป็นอย่างไร พวกเขาไม่ตระหนักถึงความ เสียหายทีเ่ กิดขึน้ กับพืน้ ทีท่ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ มีแต่คนทีม่ ญ ี าติหรือเพือ่ น ฝูงในพืน้ ทีท่ อี่ าจจะรับรูข้ อ้ มูลเกีย่ วกับหายนะครัง้ นีไ้ ด้ดี เพราะฉะนั้น ผลกระทบต่อผู้คนก็ขึ้นอยู่กับว่าใครอยู่ไกล้หรือ ไกลจากพื้นที่อุบัติเหตุ และมีความเชื่อมโยงต่อพื้นที่มากเพียงไร ซึ่ง เป็นช่องว่างที่กว้างมาก

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

53

September - December 2011

nuclear power to develop the economy and industry and they expected to raise their living standard by using scientific techniques and other modern knowledge. At the time people trusted the government and the academics. They couldn’t imagine the risks. In fact, many prefectural governors welcomed nuclear power plants because they brought huge amount of money from the government to their areas. The financial incentives that the government granted to local governments that accepted nuclear power plants amounted to US$1.7 billion over 50 years. ตลาดขายปลาใกล้ท่าเรือ Kuji เมือง Ibaraki ชุมชนชาวประมงริมฝั่งทะเล ตะวันออกได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิเมื่อวันที่ 11 มีนาคมที่ผ่านมา และยังต้องประสบปัญหาความเสี่ยงต่อสุขภาพและวิถีชีวิต จากการปนเปื้อนในทะเลจากวิกฤตการณ์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ กรีนพีซได้ท�ำงานร่วมกับชุมชนชาวประมงเพื่อเก็บตัวอย่างสัตว์น�้ำตลอด ชายฝั่งเพื่อบันทึกการปนเปื้อน – โนริโกะ ฮายาชิ/ กรีนพีซ

Vendors sell locally caught fish at a market near Kuji port, Ibaraki prefecture. Fishing communities along Japan’s east coast, already struggling to recover from the tragic March 11 earthquake and Tsunami, are now faced with further potential risks to their health and livelihoods from marine contamination from the crisis-stricken Fukushima Daiichi nuclear plant. Greenpeace is working with local fishing communities, to collect samples of marine life along the coast to record possible contamination. – Noriko Hayashi/Greenpeace

His other interest – the human relations created from food supplied by agriculture – is becoming a concern as food safety has gained global attention, especially after the nuclear disaster in Fukushima prefecture which devastated large areas of farmland. Among the casualties of the radioactivity mishap, in Akitsu’s word, is “the trust between consumers and farmers supported by an intimate relation”. Assoc Prof Akitsu talked to Greenline during a recent visit to Thailand to lecture on the effects of the Fukushima nuclear disaster on Japan’s rural areas. n Why are you interested in nuclear power? In Japan most nuclear power plants are situated in rural areas. I have been studying rural societies in Japan. I’m interested in the reasons why the rural societies accepted nuclear power stations and also the impact on agriculture from radioactive contamination after the accident. n Fifty years ago, Japan was the only country suffering from nuclear bombs. After the war, there was a strong public sentiment against nuclear power and Japan drafted a law against nuclear weapons. What happened since that motivated Japan to develop nuclear power? (The reason often cited was that) nuclear power was not used for weapons; it was used for peaceful activities. Even though we didn’t allow nuclear weapons, we had the right to use nuclear power for peaceful purposes. It was a reason why we accepted nuclear power stations. When nuclear power development started, it was during our national rehabilitation. People expected economic and scientific development. So the people accepted

n Do you think nuclear power development helped contribute to Japan’s economic growth? I think yes. Construction of nuclear power plants provided many jobs, not just in the construction industry but also in research and other related industries as well. Of course, big companies promoted nuclear power to get money from the government to build nuclear plants. But it did create jobs, and people were happy because young people stayed in their hometowns working for the industry and not migrated to cities like Tokyo to find employment. n Has the Fukushima accident changed the people’s perception of nuclear power? Are they still supportive of the industry? The people who have been immediately affected by the accident don’t have any concrete idea against nuclear power. They just think about when they can go back to their homeland. This is their main concern. But for many other people, they don’t want to continue the policy promoting nuclear power. Many people have doubt about the policy. But they are mostly city people and that’s why the movement against nuclear power is not strong. When I was a student 30 years ago, the antinuclear movement was stronger than the one now. But the past movement lost its strength because of the emergence of global warming as the government launched a campaign promoting nuclear power by saying it did not cause climate change. n Isn’t it because of the changing public perception in Japan of nuclear power that former Prime Minister Naoto Kan came out and said Japan should stay away from nuclear power? Yes, but his view has not been supported by the majority of people. n But why? He wished to quit nuclear power. Most people don’t like to continue with the nuclear power program either but they don’t want to stop right away. They want it to gradually stop. We agree with the direction that Prime Minister Kan proposed but we couldn’t agree with the speed and duration of the direction. I think that’s the reason why people don’t support his proposal. He moved too fast. People want to stop but slowly, not quickly.

สัมภาษณ์พิเศษ: รศ. โมโตกิ อะกิตสึ

VA.indd 53

Special Interview: Assoc Prof Motoki Akitsu

1/27/12 11:32 AM


54

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ที่จริงคนทั่วๆ ไปจะรู้สึกต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เพียงแต่ว่า คนที่อยู่ห่างไกลที่เกิดเหตุจะไม่รู้สึกรุนแรงมากนัก n อุ บั ติ เ หตุ ค รั้ ง นี้ รุ น แรงที่ สุ ด ตั้ ง แต่ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ที่ โรงไฟฟ้ า เชอร์โนบิล เชื่อว่าคงมีผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อชาวญี่ปุ่นทั้ง ทางด้านจิตใจและสังคม ผมคิดว่าทั้งสองด้านเลย ในเมื่อเราไม่สามารถเชื่อมั่นในความ ปลอดภัยของพลังงานนิวเคลียร์ แม้ว่าจะใช้เทคโนโลยีนี้ในทางสันติ ท�ำไมเราไม่เลิกใช้พลังงานนิวเคลียร์เสียเลย ผมคิดว่าคนส่วนใหญ่ คิดว่าเราควรจะเลิก เราได้สญ ู เสียความเชือ่ มัน่ ต่อรัฐบาลและนักวิทยาศาสตร์ไปแล้ว เพราะว่าหลังจากเกิดอุบัติเหตุขึ้น เจ้าหน้าที่ก็ไม่ได้แจ้งสถานการณ์ ที่เป็นจริงให้ประชาชนรับรู้ ทั้งๆ ที่มีข้อมูลอยู่ในมือ แต่ก็ไม่ยอม เปิดเผยออกมา วิสัยการปกครองแบบผู้ใหญ่รู้ดีกว่าเด็กแบบนี้ที่ถูก ปลูกฝังในระบบราชการและวงการวิทยาศาสตร์มาช้านานจึงได้ถูก ต�ำหนิอย่างรุนแรง

แล้วนักวิชาการทั่วไปยังได้รับความเชื่อถือจากสาธารณชนอยู่ หรือไม่? ประชาชนสูญเสียความเชื่อถือนักวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ นิวเคลียร์ไปบ้าง เป็นเรื่องที่น่าเจ็บปวดที่ว่าถ้านักวิชาการสาขานี้ คนไหนตั้งค�ำถามเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ ก็จะไม่ได้รับการเลื่อน ต�ำแหน่ง ...แล้วมันน่าละอายทีเ่ ราต้องเฝ้ามองนักวิชาการทีย่ อมท�ำตัว เป็นคนของรัฐบาลได้รบั การเลือ่ นต�ำแหน่งสูงขึน้ ในขณะทีย่ งั ยืนยันถึง ความปลอดภัยของกัมมันตภาพรังสีจากอุบตั เิ หตุ ระบบวิชาการจะถูก ควบคุมโดยรัฐบาลหรือทัง้ โดยรัฐบาลและภาคธุรกิจ เพราะฉะนัน้ พอ เกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ เราจึงหมดความศรัทธาต่อนักวิทยาศาสตร์ทใี่ ห้ขอ้ มูล ตามที่รัฐบาลสั่งการ

Rianne Teule ผู้เชี่ยวชาญด้านรังสีของกรีนพีซ ลงพื้นที่ตรวจสอบการปน เปื้อนในพืชผัก ในเมืองฟุกุชิมะ ห่างจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ 60 กม. โดยพบว่ามีการปนเปื้อนรังสีสูงกว่าปกติ 50-60 เท่าในผัก – คริสเตียน อัสลุน/กรีนพีซ Greenpeace radiation expert Rianne Teule checks crops for contamination in a garden at Fukushima City, 60 km from the stricken Fukushima Daiichi nuclear plant. The vegetables showed radiation levels 50-60 times more then the limits of food. – Christian Aslund/Greenpeace

n

n บทเรียนที่ได้จากอุบัติเหตุครั้งนี้มีอะไรบ้าง?

คนที่อยู่ในพื้นที่ที่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ยอมรับการก่อสร้างโรง ไฟฟ้าเพราะว่าพวกเขามีจินตนาภาพเกี่ยวกับอนาคตที่แม้จะเป็นจริง ได้แต่ก็สุ่มเสี่ยง พวกเขาได้รับผลประโยชน์หลายๆ อย่างจากการ ก่อสร้างและด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้า ซึ่งท�ำให้เขาอยู่ดีกินดี จึงท�ำให้ เขาไม่สามารถจินตนาการอนาคตเป็นอืน่ ได้ แต่เวลานี้ เรามีทางเลือก อื่นๆ อีกมากมายส�ำหรับอนาคตของเรา ซึ่งท�ำให้เรามีหนทางต่างๆ ที่ จะด�ำเนินชีวิตในอนาคตอย่างมีความสุขได้ แต่ตอนนี้อุบัติเหตุร้ายแรงที่เกิดขึ้นช่วยท�ำให้ความรู้สึกนึกคิด ของชาวญี่ปุ่นต่อพลังงานนิวเคลียร์เปลี่ยนแปลงไปหรือไม่? พวกเราเริ่มจะคิดเกี่ยวกับจินตนาภาพของอนาคต เราคิดว่า เราต้องค้นหาหนทางอีกหนทางหนึง่ เพือ่ เป็นทางเลือกในการแสวงหา ความสุข อุบัติเหตุครั้งนี้เปิดความคิดของเราเกี่ยวกับหนทางการใช้ ชีวิตอีกทางหนึ่ง เป็นอนาคตอีกชนิดหนึ่ง เราต้องคิด ต้องติดตาม หนทางชีวิตหลายๆ ทาง ไม่ใช่ทางเดียวหรือหนทางเดียว แต่หนทาง ไหนที่เราจะเลือก นั่นเป็นค�ำถามใหญ่

n

n เห็นความเปลีย่ นแปลงอะไรบ้าง? หนทางไหนทีส ่ งั คมจะเลือกไป?

ชุ ม ชนชนบทมากมายหลายแห่ ง ในอดี ต เลื อ กการพั ฒ นา เศรษฐกิจในรูปแบบเดิม แต่ปัจจุบันชุมชนเหล่านี้จะต้องเลือกระบบ

VA.indd 54

ชาวญี่ปุ่นกว่า 2,000 คน และผู้คัดค้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จากทั่วโลก เดิน ขบวนเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2554 ผ่านใจกลางเมืองฟุกุชิมะ ห่างจากโรง ไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ 60 กม. เรียกร้องให้มีการทบทวนมาตรการ ความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่มีอยู่และคัดค้านการก่อสร้างโรง ไฟฟ้านิวเคลียร์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต – อมฤต สุวรรณเกต More than 2,000 Japanese and anti-nuclear activists from around the world march on July 31 through the city of Fukushima, 60 km from the Fukushima Daiichi nuclear power plant to demand safety review of remaining nuclear plants and an end to new builds. – Amarit Suwannagate

เศรษฐกิจที่เหมาะสมบนพื้นฐานของทรัพยากรทางธรรมชาติ ซึ่งรวม ถึงการใช้พลังงานหมุนเวียน เพือ่ จะได้บรรลุจนิ ตนาภาพทีว่ า่ ประชาชน จะสามารถอยู่รอดได้จากทรัพยากรธรรมชาติของเขา เพราะฉะนั้น สินค้าจากอุตสาหกรรมพืน้ ฐานจะต้องได้รบั การเพิม่ คุณค่ามากกว่าใน ปัจจุบนั ถ้าราคาสินค้าจากอุตสาหกรรมพืน้ ฐานเพิม่ ขึน้ จริง ก็จะท�ำให้ ประชาชนในชนบทอยู่ในพื้นที่ของเขาได้โดยไม่ต้องพึ่งพาโครงการ ขนาดใหญ่ เรื่องนี้จะเกิดขึ้นได้ก็จะต้องไม่ใช่จากความพยายามของ ประชาชนเพียงอย่างเดียว แต่นโยบายประเทศจะต้องสนับสนุนความ พยายามของเขาในการประกอบเกษตรกรรมโดยการขึ้นราคาสินค้า ทางการเกษตร เพื่อว่าเขาจะได้อยู่ในพื้นที่ชนบทได้ในระยะยาว มัน เป็นความหวังอันสูงสุดของเขาที่จะมีชีวิตอยู่รอดได้ในถิ่นก�ำเนิดของ เขาตลอดไป เมื่อ 40-50 ปีก่อน ชาวชนบทไม่มีทางอื่นนอกจากยอมรับ โครงการขนาดใหญ่ระดับประเทศ แต่ถ้าเขาสามารถอยู่ได้โดยการ ผลิตทางเกษตรหรือการประมง เขาก็ไม่ตอ้ งพึง่ พาโครงการขนาดใหญ่ จากภายนอกอีกต่อไป n

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554 And there are pressures from bureaucrats and business communities. Governmental bureaucrats don’t want to accept rapid change and the economic power, the big companies, they don’t want to end nuclear power development. n What is the relationship between businesses and the government on nuclear power? How do they support each other? Does the government regulate businesses effectively? If the government doesn’t have support from the economic sector, it can’t survive. So this new prime minister (Yoshihiko Noda) tries to take care of the economic sector because the relationship between the former prime minister (Naoto Kan) and business communities had been sour. About nuclear power, the cozy relations between the economic power and the bureaucracy are remarkable, so that the government can’t regulate the electric companies in a resolute manner. Anyway, the three-way relationship between the political and economic sectors and the bureaucracy was one of the reasons why Prime Minister Kan fell out of power. n What’s the greatest impact of the Fukushima nuclear accident on the Japanese society? I mentioned that Japanese don’t like rapid change. We think we have to change slowly, learning from the disaster. People who live near the accident site including Tokyo are affected deeply. Most of those people get along, being anxious about food and impact on young children who are expected to suffer the most damage from radioactive contamination. But people who live far away like me could not imagine the reality of what happened. They cannot realize how much destruction the area has suffered. Only those people who have friends or relatives in the disaster area are relatively well informed of the extent of the disaster. So the impact on the people depends on how far or how close they live from the accident area and what connection they have with it. There’s a big gap. People are generally against nuclear power plants but those who live far away from them do not have strong feeling against them. n The accident, the worst since Chernobyl, must have huge impact psychologically and socially on Japanese people. I think both. When we can’t trust nuclear power to be safe, even if the technology is used for peaceful purposes, why not stop nuclear power? I think most people think we should stop. We have lost our trust of the government and scientists because right after the accident they failed to fully inform the public of the real situation. They had the information but they kept it from us. We severely criticize such kind of paternalism prevailing in the bureaucracy and the scientific community.

n What about the academics? Do they still have the public’s trust? Academics in the nuclear science have lost some public trust. It is notorious that if any scholar in the field would express doubt against nuclear power, he or she would not get promoted. is rather cynical when we watched scholars beholden to the government have got higher statuses in the academic world, who then trumpeted safety of radioactivity just after the accident. The academic system is controlled by the government or the combination of government and business communities. So after the accident, we lost some trust of the scientists who legitimized what the government wanted to disseminate. n What lessons have been learned from the accident? The people who live in areas where nuclear power stations are located accepted construction of nuclear power stations because they had a realistic but risky image of their future. They had received many benefits from the construction and operation and lived well so they could not imagine it any other way. Now we have many alternatives for our own future so we have different ways to live our future in happiness. n But now there’s a bad accident. Has that changed the Japanese people’s perception of nuclear power? We have started to think about another image of our future. We think we have to find another way as an alternative to attain happiness. This accident has torn a hole in our thinking about another way to live, another future. We have to think, we have to pursue, not a one way, one direction, but many directions. Which direction should we choose? That’s an important thing. n What kind of change do you see? What direction would the society go? Many rural societies had pursued economic growth in the past but now they have to pursue appropriate economy based on nature-based resources. This includes inviting new recyclable energy plants to realize their image that people can live on their natural resources. So the products from the primary industries must be valued more than today. If the price of their products from the primary industries increases, they can live in their rural areas without accepting big projects. Not only the effort of the people who live there is needed but also the national policy must support their effort in support of agriculture by raising the price of their crops because the people in rural areas want to live there in the long term. It’s the prime wish for them to survive in their homeland eternally. Forty to fifty years ago they could not find other way than accepting big national projects. But if they can live a life by producing agricultural or fishery products, they don’t have to accept the big projects from outside. n

สัมภาษณ์พิเศษ: รศ. โมโตกิ อะกิตสึ

VA.indd 55

55

September - December 2011

Special Interview: Assoc Prof Motoki Akitsu

1/27/12 11:32 AM


นักเขียนรับเชิญ GUEST WRITER

บทเรียน from Lessons จากฟุกุชิมะ Fukushima สันติ โชคชัยช�ำนาญกิจ

เพียงหนึ่งเดือนก่อนที่เหตุการณ์หายนะภัยนิวเคลียร์เชอร์โนบิล จะครบรอบ 25 ปี อุ บั ติ เ หตุ โรงไฟฟ้ า นิ ว เคลี ย ร์ ร ะดั บ รุ น แรง สูงสุดก็เกิดขึ้นอีกครั้งที่ประเทศญี่ปุ่น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิ จิ โด่ ง ดั ง ไปทั่ ว โลกในชั่ ว ข้ า มคื น จากอุ บั ติ เ หตุ นิ ว เคลี ย ร์ ที่ ร้ายแรงที่สุดรองจากเชอร์โนบิล วันที่ 11 มีนาคม 2554 เวลา 14:46 น. แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ริกเตอร์ได้เขย่าชายฝั่งภาคตะวันออกของเกาะญี่ปุ่น เตาปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ 11 เครือ่ งของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 4 แห่งหยุดเดินเครือ่ งโดย อัตโนมัติ แต่ไม่ถงึ 1 ชัว่ โมงต่อมา คลืน่ ยักษ์สนึ ามิสงู 14 เมตรก็โถมเข้า สูช่ ายฝัง่ สร้างความเสียหายครัง้ ร้ายแรงทีส่ ดุ ต่อประเทศญีป่ นุ่ นับจาก สงครามโลกครัง้ ที่ 2 เป็นต้นมา สายส่งไฟฟ้าทีเ่ สียหายยับเยินท�ำให้ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟกุ ชุ มิ ะ ไดอิจิ เกิดขัดข้องทีร่ ะบบหล่อเย็นฉุกเฉิน จนพัฒนาไปสูก่ ารระเบิดของอาคารเครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์ตดิ ต่อกัน ถึง 4 เครือ่ ง ในช่วงเวลา 4 วัน ปลดปล่อยสารกัมมันตรังสีจำ� นวนมาก สูบ่ รรยากาศจนสร้างความแตกตืน่ ไปทัว่ โลก โดยเฉพาะทีส่ หรัฐอเมริกา ซึง่ อยูใ่ ต้ทศิ ทางลมในขณะนัน้ รัฐบาลญีป่ นุ่ ต้องประกาศภาวะฉุกเฉิน ทางรังสี และสัง่ อพยพประชาชนทัง้ หมดในรัศมี 20 ก.ม. รอบโรงไฟฟ้า

Santi Chokechaichamnankij

O

nly one month before the 25th anniversary of the Chernobyl Nuclear Power Plant disaster, another massive nuclear accident occurred in Japan. The Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant became world famous overnight as the world’s second most catastrophic nuclear disaster after Chernobyl. On March 11, 2011, at 2.46 pm, a 9-Richter earthquake shook the eastern coast of Japan, causing 11 nuclear reactors at four nuclear power plants to automatically shut down. Within less than an hour later, tsunami waves as high as 14 meters slammed into the coast and caused the most catastrophic disaster in Japan since World War II. The badly damaged electricity system disrupted the cooling system at the Fukushima Daiichi power plant which led to a series of explosions of four reactors over the course

แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ริกเตอร์ ท�ำให้เกิดสึนามิพัดเข้าในบริเวณชายฝั่งภาคตะวันออกและเหนือของญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554

Tsunami waves caused by a magnitude-9 earthquake sweep across the north and east coasts of Japan on March 11, 2011.

VA.indd 56

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

สภาพของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ หลังเกิดระเบิดขึ้น The damaged Fukushima Dai-ichi Nuclear Power Plant after a series of explosions.

นั่นคือเหตุการณ์เมื่อ 5 เดือนที่แล้ว แต่จนถึงขณะนี้ แม้ข่าว จะเงียบหายไปจากหน้าหนังสือพิมพ์แล้ว แต่การรั่วไหลของรังสีจาก โรงไฟฟ้าก็ยังคงเกิดขึ้นอยู่ โดยตัวเลขจากหน่วยงานภาคประชาชน ของญี่ปุ่นที่ติดตามเรื่องนี้ระบุว่า กัมมันตภาพรังสีที่ก�ำลังรั่วไหลจาก โรงไฟฟ้าอยู่ที่ระดับ 1 พันล้านเบคเคอเรล/ชั่วโมง วันที่ 31 กรกฎาคม 2554 ที่ใจกลางเมือง Fukushima City ห่างจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ ประมาณ 60 กิโลเมตร ประชาชนและนักกิจกรรมสังคมชาวญี่ปุนจ�ำนวนกว่า 2,000 คน ได้ จัดกิจกรรมเดินขบวนเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาที่ยังค้างคา นับ ตัง้ แต่การเยียวยาความเสียหายของประชาชนทีถ่ กู อพยพจากพืน้ ทีใ่ น รัศมี 20 กิโลเมตรรอบโรงไฟฟ้า, การปิดเตาปฏิกรณ์นวิ เคลียร์ทงั้ หมด ในจังหวัดฟุกุชิมะ, รวมทั้งขอให้มีมาตรการต่างๆ ในการช่วยเหลือ เด็กๆ ที่ก�ำลังได้รับรังสีเกินมาตรฐานอยู่ในขณะนี้ เซอิจิ นากาเตะ ชาวเมืองฟุกุชิมะ ผู้อ� ำนวยการเครือข่าย ฟุกชุ มิ ะ เพือ่ การปกป้องเด็กจากกัมมันตภาพรังสี เล่าว่า รัฐบาลญีป่ นุ่ ได้ประกาศเขตอพยพประชาชนในรัศมี 20 กิโลเมตรรอบโรงไฟฟ้า แต่ ในความเป็นจริงแล้วพื้นที่ที่เป็นอันตรายกว้างใหญ่กว่านั้นมาก โดย เฉพาะในระยะรัศมี 20 – 30 กิโลเมตร รัฐบาลยังคงปล่อยให้ประชาชน อาศัยอยู่ได้ตามปกติ แต่ได้มีการเพิ่มเกณฑ์การรับรังสีของประชาชน จากเดิม 1 มิลลิซีเวิร์ต/ปี เป็น 20 มิลลิซีเวิร์ต/ปี ซึ่งเท่ากับเกณฑ์ ส�ำหรับคนที่ท�ำงานในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ สิ่งที่น่าวิตกคือ ผลกระทบ ทีจ่ ะเกิดขึน้ กับเด็กๆ ซึง่ อยูใ่ นวัยเจริญเติบโตและเซลล์ของเด็กจะอ่อน ไหวต่อกัมมันตภาพรังสีมากกว่าผู้ใหญ่ โรงเรียนต่างๆ ยังคงเปิดเรียน ตามปกติ แต่มีการห้ามเด็กๆ ไม่ให้ลงสระว่ายน�้ำในโรงเรียน รวมทั้ง งดเว้นกิจกรรมกีฬากลางแจ้งของนักเรียน เนื่องจากกัมมันตภาพรังสี ยังคงปนเปื้อนอยู่ทั่วไปตามพื้นดินและอากาศ ในช่ ว งเดื อ นเมษายน นากาเตะ ได้ ท� ำ การตรวจวั ด กัมมันตภาพรังสีที่โรงเรียน 7 แห่งในจังหวัดฟุกุชิมะ (ซึ่งมีโรงเรียน อยู่ 1,600 โรง) พบว่ามีระดับรังสีระหว่าง 10-100 กว่าไมโครซีเวิร์ต/ ชั่วโมง ท�ำให้เขาตกใจมาก เพราะตามกฎหมายระบุว่า บริเวณที่มี รังสี เกิน 0.6 ไมโครซีเวิร์ต/ชั่วโมง (เช่น ห้องปฏิบัติการทางรังสีใน โรงพยาบาล) จะต้องติดป้ายเตือนเกี่ยวกับรังสี แต่ที่โรงเรียนเหล่านี้ มีรังสีสูงกว่าปกติเป็นร้อยเท่า

57

September - December 2011

of four days, releasing a tremendous amount of radioactive materials into the atmosphere. The world was sent into a panic, particularly the US which is located downwind from Japan. The Japanese government declared a state of radioactive emergency and ordered an evacuation of residents living within the 20-kilometer radius around the power plant. That was five months ago. Even though the news no longer makes headlines, radiation continues to leak from the power plant. A Japanese civic group monitoring the disaster indicated that the radiation leaked at the rate of one billion Bequerels per hour. On July 31, at the center of Fukushima City, 60 kilometers from the nuclear plant, over 2,000 Japanese residents and activists staged a demonstration demanding the government to solve the ongoing problems caused by the explosion. They called for compensation for disaster victims evacuated from the area within the 20km-radius area around the power plant, the closure of all reactors in Fukushima, as well as other measures including helping the children being exposed to radioactivity. According to Seiichi Nakate, a Fukushima resident and director of the Fukushima Network for Saving Children from Radiation, the critical area is much greater than the 20km-radius area declared by the Japanese government, which has refused to evacuate people living in 10km radius outside the crisis zone. Instead, it has raised the safety level of radiation exposure from 10 millisieverts a year to 20 millisieverts a year, which is the same level as that designated for nuclear plant workers. What is alarming is the impact on children, who are in their developmental years and thus more sensitive to radiation than adults. Schools are open as usual, but pupils are not allowed to use the schools’ swimming pools or to engage in outdoor sports activities as radiation contamination has been detected both in the ground and in the air. In April, Nakate measured the level of radioactivity in seven schools in Fukushima among 1,600 schools there and found that the level is between 10-100 microsieverts/hour. This was an alarming discovery since it is hundreds of times higher than 0.6 microsieverts/ hour, the level at which the law requires that a sign be posted where it is found, such as in radiation lab in hospital. Then in May, many children were found to suffer nose bleeding with no identifiable cause although it was not detected again เซอิจิ นากาเตะ Seiichi Nakate

บทเรียนจากฟุกุชิมะ Lessons from Fukushima

VA.indd 57

1/27/12 11:32 AM


58

VA.indd 58

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ในเดือนพฤษภาคม ปรากฏมีเด็กๆ หลายคนที่มีเลือดก�ำเดา ออกโดยไม่ ท ราบสาเหตุ แต่ ห ลั ง จากนั้ น ก็ ไ ม่ เ กิ ด ขึ้ น อี ก เลย ซึ่ ง ดร.คัตสึมิ ฟูริทสุ จากวิทยาลัยแห่งการแพทย์ไฮโอโกะ ภาควิชาการ แพทย์พันธุกรรม กล่าวว่า อาการดังกล่าวเหมือนปฏิกิริยาฉับพลันที่ เกิดขึ้นจากการที่สารกัมมันตรังสีเข้าไปในกระดูกสันหลัง แต่อย่างไร ก็ตาม ค�ำตอบที่แท้จริงยังต้องศึกษาเพื่อพิสูจน์ให้แน่ชัด ขณะนี้ผล กระทบจากรังสีต่อสุขภาพของประชาชนอาจยังไม่เห็นอย่างเด่นชัด แต่ในอนาคตคาดว่าจะปรากฏออกมามากขึ้นเรื่อยๆ นากาเตะบอกว่า ขณะนี้ยังมีประชาชนประมาณ 1.5 ล้านคน ที่ยังคงอาศัยอยู่ในเขตอันตรายในจังหวัดฟุกุชิมะ ซึ่งรวมทั้งเด็กราว 3 แสนคน สิ่งที่นากาเตะและกลุ่มผู้ปกครองนักเรียนในฟุกุชิมะก�ำลัง เรียกร้องต่อรัฐบาลก็คอื ขอให้มมี าตรการอพยพเด็กทัง้ หมดและหญิง ตัง้ ครรภ์ในรัศมี 30 กิโลเมตรออกจากพืน้ ทีท่ นั ที แต่รฐั บาลก็ยงั ไม่ตอบ สนอง มีผปู้ กครองเด็กบางส่วนทีต่ ดั สินใจพาเด็กอพยพออกไปอยูใ่ นที่ ปลอดภัย โดยผู้ที่ตัดสินใจอพยพด้วยตัวเองนี้ ไม่อยู่ในข่ายที่รัฐบาล ญี่ปุ่นจะให้ความช่วยเหลือ ประชาชนที่อยู่นอกรัศมี 20 กิโลเมตรจ�ำนวนหลักหมื่นคนได้ ตัดสินใจอพยพออกจากพืน้ ทีไ่ ปเอง คนเหล่านีก้ ำ� ลังอยูใ่ นสภาพตกงาน โดยที่รัฐบาลไม่ได้ให้ความช่วยเหลือใดๆ เลย ส่วนประชาชนในรัศมี 20 กิโลเมตรที่ถูกสั่งให้อพยพ บริษัทเท็ปโกเพียงจ่ายค่าชดเชยให้ ครอบครัวละ 1 ล้านเยนเท่านั้น (ประมาณ 3 แสนบาท ซึ่งน้อยมาก ส�ำหรับค่าครองชีพในญีป่ นุ่ ) คนเหล่านีจ้ ำ� นวนมากยังอยูใ่ นศูนย์อพยพ และไม่มรี ายได้ ทัง้ ยังมองไม่เห็นว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร จะกลับบ้าน ได้เมื่อไหร่ ผู้เชี่ยวชาญบางคนคาดการณ์ว่า พื้นที่ปนเปื้อนรัศมี 20 กิโลเมตรอาจต้องถูกปิดตายอย่างน้อย 10 ปี ซึง่ ถ้าเป็นจริง ประชาชน

ทีถ่ กู อพยพเหล่านีจ้ ะท�ำอย่างไร ความเสียหายทีก่ นิ เวลายาวนานต่อไป อีก ใครจะรับผิดชอบ ค�ำถามเหล่านีย้ งั ไม่มคี ำ� ตอบใดๆ จากผูเ้ กีย่ วข้อง “เมือ่ 23 ปีทแี่ ล้ว ผมได้รว่ มการรณรงค์ตอ่ ต้านพลังงานนิวเคลียร์ อยู่ 3 ปี แต่ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ผมเอาแต่ท�ำมาหากิน จนกระทั่ง ปลายปีที่แล้ว ผมเพิ่งกลับมาร่วมคัดค้านนิวเคลียร์อีกครั้ง แล้วเดือน มีนาคมก็เกิดอุบัติเหตุโรงไฟฟ้าระเบิดขึ้น” นากาเตะกล่าว

shortly after. Dr Katsumi Furitsu of the Department of Medical Genetics, Hyogo College of Medicine, described the symptom as similar to a sudden reaction to radiation penetrating the spinal cord. However, further investigation is necessary to determine the actual cause. At this point, the impact of radiation on people’s health remains unclear, though it will become gradually more apparent in the future. Nakate said that currently 1.5 million people still lived in Fukushima’s danger zone, including 300,000 children. Nagate and Fukushima parents have demanded that the government immediately evacuate all children and pregnant women from the 30km area around the power plant. So far there has been no response from the government. A number of parents have decided to take their children to safer places. By taking matters in their own hands, they will be ineligible for government assistance. Tens of thousands of residents outside the 20km radius of the power plant have moved out of their own accord. Now they are out of work and are denied government assistance. For those living within the 20km radius who have been evacuated, each household received only one million yen (about 300,000 baht) as compensation from the electric company TEPCO, a very small amount by Japanese standards. Many of them have been living in shelters without any income.

They do not know what lies ahead, or when can they return home. Some experts expected that the contaminated area will remain off limits for at least a decade more. If this is the case, what will happen to these evacuees, and who will be responsible for the prolonged damage? These questions remain unanswered by concerned authorities. “Twenty-three years ago, I was involved with the anti-nuclear campaign for three years. But in the past 20 years, I had been pre-occupied with my work and only rejoined the anti-nuclear movement at the end of last year. And then in March the accident happened,” Nakate said. “I was devastated because we have always known that (nuclear power) is dangerous. Yet we did not try to stop it from the beginning, and now the disaster happened. We adults may have benefited from nuclear power. But when disaster happened, it’s the children, the world’s future, who suffer the most. I’ve resigned to my fate that I will suffer the consequence from radiation exposure in the next few years. But I will keep opposing nuclear energy even if it means my life is in danger.” Apart from the suffering of the evacuees, the problem of radiation contamination of agricultural and fishery products have caused immeasurable damage. Yet it has not been addressed by the Japanese government and TEPCO.

นักต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ชาวญี่ปุ่นรายหนึ่งถือป้ายข้อความว่า “ไม่เอา นิวเคลียร์” นั่งพักระหว่างการเดินขบวนที่เมืองฟุกุชิมะ – อมฤต สุวรรณเกต

A Japanese anti-nuclear activist takes a rest during an anti-nuclear rally in Fukushima. – Amarit Suwannagate

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

“มันท�ำให้ผมเสียใจมาก เพราะเรารูอ้ ยูต่ ลอดเวลาว่ามันอันตราย แต่เราก็ไม่ได้พยายามที่จะหยุดยั้งมันตั้งแต่แรก จนปล่อยให้อันตราย มันเกิดขึ้นมาจริงๆ พวกเราที่เป็นผู้ใหญ่ได้รับประโยชน์จากโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ แต่เมื่อเกิดอันตรายขึ้น ผู้ที่ได้รับอันตรายกลับเป็นเด็กๆ ที่เป็นอนาคตของโลก ตอนนี้ผมท�ำใจแล้วว่า ในอีก 2-3 ปีข้างหน้า ผลกระทบจากรังสีอาจเกิดขึ้นกับตัวผมเอง แต่ผมจะคัดค้านการใช้ พลังงานนิวเคลียร์ต่อไปอย่างถึงที่สุด แม้จะต้องแลกด้วยชีวิต” นอกจากความเดือดร้อนของประชาชนที่ถูกอพยพแล้ว ปัญหา การปนเปื้อนรังสีในผลผลิตการเกษตรและการประมงก็เป็นความ เสียหายที่มหาศาล ซึ่งรัฐบาลญี่ปุ่นและบริษัทเท็ปโกยังไม่ได้เอ่ยถึง มาตรการใดๆ ในการช่วยเหลือผู้เสียหายเหล่านี้ คาซูโอกิ โอโนะ ผู้สื่อข่าวด้านการเกษตรซึ่งติดตามปัญหาอย่าง ใกล้ชิด ให้ข้อมูลว่า เกษตรกรในฟุกุชิมะมีความเครียดกดดันมาก ตามข่าวจะเห็นว่า มีเกษตรกรที่ฆ่าตัวตายเพราะได้รับผลกระทบจาก อุบัติเหตุครั้งนี้ 2 ราย แต่ในความเป็นจริงชาวบ้านต่างรู้กันดีว่า คนที่ ฆ่าตัวตายมีมากกว่านั้น เพียงแต่พวกเขาไม่ได้เขียนจดหมายบอกไว้ เหมือน 2 รายที่เป็นข่าว ผลผลิตการเกษตรทั้งข้าว ผักหลายชนิด รวมทั้งเนื้อวัว มีการ ปนเปือ้ นรังสีจนต้องสัง่ ห้ามจ�ำหน่ายในหลายแหล่ง รวมทัง้ การประมง ในจังหวัดฟุกุชิมะและจังหวัดใกล้เคียงก็ได้รับผลกระทบเป็นอย่าง มาก กล่าวกันว่า สารกัมมันตรังสีที่รั่วไหลจากโรงไฟฟ้าตกลงไปใน ทะเลมากกว่าบนพื้นดินเนื่องจากเป็นฤดูที่กระแสลมพัดออกสู่ทะเล นอกจากนี้ น�้ำปนเปื้อนรังสีที่เกิดจากการฉีดน�้ำระบายความร้อน เตาปฏิกรณ์ทั้ง 4 ที่เสียหาย ยังถูกปล่อยทิ้งลงทะเลจ�ำนวนกว่า According to Kazuoki Ohno, an agricultural news reporter who has closely monitored the situation, farmers in Fukushima were under tremendous stress, and there have been reports of two suicides by farmers affected by this catastrophe. Many villagers claimed that that there were in fact more suicides, saying these other suicides did not make the news because they did not leave any suicide note. Agricultural products from many areas such as rice, vegetables and beef have been contaminated, and their sales were banned. Fishery in Fukushima and nearby provinces has also been seriously affected. Radiation leaked from the power plant has ended up in the ocean more than on land since the seasonal wind is blowing seaward. In addition, over 11,500 tons of contaminated coolant from the four damaged reactors has been released into the ocean to make room to store water with higher levels of radiation. The case of contaminated beef reveals a complex web of problems related to contamination of the food chain. The kind of beef that is popular in Japan comes from the native cows fed with hay according to the traditional Japanese way, which has created the business of supplying hay as cow feed. When paddy fields are contaminated, the control of hay distribution is difficult, and contaminated hay has been sent to many places, which has resulted in widespread beef contami-

59

September - December 2011

11,500 ตัน เพือ่ ให้โรงไฟฟ้าเหลือทีว่ า่ งไว้กกั เก็บน�ำ้ ปนเปือ้ นทีม่ รี ะดับ รังสีเข้มข้นกว่า กรณีการปนเปือ้ นรังสีในเนือ้ วัวแสดงให้เห็นถึงความสลับซับซ้อน ของปัญหาการปนเปือ้ นรังสีเข้าสูห่ ว่ งโซ่อาหารได้เป็นอย่างดี กล่าวคือ เนือ้ วัวทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มในญีป่ นุ่ คือวัวพันธุพ์ นื้ เมืองทีต่ อ้ งเลีย้ งด้วยฟางข้าว ตามกรรมวิธีดั้งเดิมของญี่ปุ่น ท�ำให้เกิดธุรกิจซื้อขายฟางข้าวเพื่อเป็น อาหารวัวอยู่ทั่วไป เมื่อนาข้าวมีการปนเปื้อนรังสี การควบคุมการซื้อ ขายฟางข้าวก็เป็นเรื่องยากล�ำบาก ฟางข้าวที่ปนเปื้อนรังสีได้ถูกส่ง จ�ำหน่ายไปยังที่ต่างๆ จนเกิดการปนเปื้อนรังสีในเนื้อวัวหลายแห่ง นอกจากนี้มูลวัวที่มีรังสีปนเปื้อนบางส่วนก็ถูกน�ำไปผลิตเป็นปุ๋ยอีก ด้วย ท�ำให้เกิดการปนเปื้อนรังสีในผลผลิตการเกษตรตามมา

นักเคลื่อนไหวจ�ำนวนหนึ่งจากประเทศไทยร่วมรณรงค์ต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ที่เมืองฟุกุชิมะ เมื่อวันที่ 31 กรกฏาคม 2554 – อมฤต สุวรรณเกต

A number of Thai activists participate in a rally against nuclear power in the city of Fukushima, Japan, about 60 km from the accident site on July 30, 2011. – Amarit Suwannagate

nation. Contaminated cow dung has also been sold as fertilizers resulting in more contamination in agricultural products. In June (three months after the disaster), radiation was detected in tea leaves in Shizuoka, 400 kilometers from the Fukushima power plant. This province is Japan’s biggest and most renowned producer of tea leaves. Most farmers only plant tea, and the contamination has caused all of Shizuoka’s tea leaves to remain unsold. Furthermore, there are many other contaminated areas such as Chiba, 170 kilometers from Fukushima and 30 kilometers from Tokyo. Yuka Kikuchi, a Chiba resident, said that the level of contamination in Chiba was ten times higher than that in Tokyo because it was raining in Chiba when the radiation leaked. Radiation had made its way into the ground. In Fukushima, the central government has instructed residents to move back to the zone of 20km-30km around the power plant, but the local government has resisted this order as there is still untreated contaminated waste as well as contaminated water and utilities system that have not been repaired. The most serious concern for the Japanese is radioactivity that is still widespread in the country. With the occasional typhoons blowing past Fukushima, radiation can travel as far as 300 kilometers.

บทเรียนจากฟุกุชิมะ Lessons from Fukushima

VA.indd 59

1/27/12 11:32 AM


60

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ในเดือนมิถุนายน (3 เดือนหลังเกิดอุบัติเหตุ) ที่จังหวัดชิสุโอกะ ซึ่งห่างจากโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะประมาณ 400 กิโลเมตร ปรากฏว่ามีการ ตรวจพบใบชาปนเปื้อนรังสี จังหวัดชิสุโอกะเป็นแหล่งผลิตใบชาใหญ่ ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดของญี่ปุ่น เกษตรกรส่วนใหญ่ในชิสุโอกะจะ ปลูกใบชาเพียงอย่างเดียว เมื่อเกิดการปนเปื้อนขึ้นท�ำให้ใบชาของ ชิสุโอกะขายไม่ได้ทั้งจังหวัด นอกจากนี้ ยังมีพนื้ ทีอ่ กี หลายแห่งทีม่ กี ารปนเปือ้ นรังสีในระดับที่ ไม่ปลอดภัย เช่น ที่เมืองชิบะ ห่างจากฟุกุชิมะ 170 กม. และห่างจาก กรุงโตเกียว 30 กิโลเมตร ยูกะ คิกูชิ ชาวเมืองชิบะ บอกว่า ขณะนี้ที่ เมืองชิบะยังมีการปนเปื้อนรังสีสูงกว่าโตเกียวถึง 10 เท่า เนื่องจากใน ระหว่างที่เกิดการรั่วไหลของรังสี ได้เกิดฝนตกที่เมืองชิบะ ท�ำให้สาร กัมมันตรังสีตกลงสู่พื้นดิน ยูกะบอกว่า ที่ฟุกุชิมะตอนนี้รัฐบาลกลาง ก�ำลังจะประกาศให้ประชาชนในรัศมี 20-30 กิโลเมตรสามารถกลับ ไปอยูอ่ าศัยได้ แต่รฐั บาลท้องถิน่ ไม่ยอม เนือ่ งจากยังมีปญ ั หาเกีย่ วกับ ของเสียปนเปือ้ นรังสีทยี่ งั ไม่ได้บ�ำบัดจ�ำนวนมาก รวมทัง้ การปนเปือ้ น ในน�้ำ และระบบสาธารณูปโภคที่ยังไม่ได้ซ่อมแซม สิ่ ง ที่ ช าวญี่ ปุ ่ น กั ง วลกั น มากก็ คื อ กั ม มั น ตภาพรั ง สี ที่ ยั ง แพร่ กระจายอยู่ ซึ่งขณะนี้เกิดพายุไต้ฝุ่นเป็นระยะๆ หากเกิดไต้ฝุ่นพัด ผ่านฟุกุชิมะ กัมมันตภาพรังสีจะแพร่กระจายออกไปได้ไกลถึงรัศมี 300 กิโลเมตร

บทเรียนจากญี่ปุ่น

แม้ญี่ปุ่นจะเป็นประเทศที่เจริญก้าวหน้าและมีระเบียบวินัย สูงเป็นแถวหน้าของโลก แต่การแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์นิวเคลียร์ ฟุกุชิมะก็เป็นไปอย่างทุลักทุเลและสับสน Lessons from Japan Although Japan is a developed and highly disciplined country, the nuclear disaster in Fukushima has been handled haphazardly. Oka Ayako, a Fukushima resident who had to move out of the 20km zone around the power plant said that her house was just built when the disaster struck. When evacuation was ordered, she expected to return home in a few days, so she did not bring any valuables with her. The evacuees were not informed by the government about the leaked radiation but learned about it in the news days later. This meant that the residents had already been exposed to radiation for at least two days without their knowledge. “People like to say that Japan has advanced technology, but without effective management, technology is useless,” said Ayako. “Normally, all Fukushima households are equipped with a nuclear emergency manual, but when it actually happened, the manual was no help. The manual mentioned mass evacuation only of areas within 7km radius. As protection against radiation, the central government told the local government to make iodine available, but provided no further instruction. The local government, therefore, decided to distribute the iodine to the residents without telling them to consume it as there was no such instruction from the central govern-

VA.indd 60

โอกะ อายาโกะ ชาวบ้านฟุกุชิมะที่ถูกอพยพออกจากพื้นที่รัศมี 20 กิโลเมตรกล่าวว่า เธอเพิ่งสร้างบ้านใหม่เสร็จเพียง 2-3 เดือนก่อน เกิดอุบัติเหตุ โดยในตอนที่มีค�ำสั่งอพยพ เธอคิดว่าอีก 2-3 วันก็คง ได้กลับบ้าน จึงไม่ได้น�ำทรัพย์สินในบ้านออกมาด้วย ประชาชนที่ถูก อพยพไม่ได้รบั ทราบข้อมูลจากรัฐบาลเกีย่ วกับการรัว่ ไหลของรังสีเลย แต่ได้รบั รูจ้ ากการดูขา่ วในหลายวันต่อมา หมายความว่าชาวบ้านได้รบั รังสีไปแล้วอย่างน้อย 2-3 วันโดยไม่รู้ตัว “คนชอบพูดว่าญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีเทคโนโลยีสูง แต่การ มี เ ทคโนโลยี แ ล้ ว ไม่ มี ก ารบริ ห ารจั ด การที่ ดี ก็ ไ ม่ มี ป ระโยชน์ ” อายาโกะพูด “โดยปกติแล้วชาวบ้านฟุกุชิมะทุกบ้านจะมีคู่มือปฏิบัติในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์จริงขึ้น คู่มือดัง กล่าวไม่สามารถช่วยอะไรได้เลย แผนฉุกเฉินในคู่มือมีการพูดถึง แผนการอพยพประชาชน แต่ก็แค่รัศมี 7 กิโลเมตรเท่านั้น ในเรื่อง การป้องกันอันตรายจากรังสี รัฐบาลกลางมีค�ำสั่งให้รัฐบาลท้องถิ่น จัดเตรียมไอโอดีน แล้วก็ไม่มีค�ำสั่งอื่นใดอีกเลย ทางรัฐบาลท้องถิ่น ก็เลยตัดสินใจแจกจ่ายไอโอดีนให้แก่ประชาชน แต่ก็ไม่กล้าประกาศ ให้ประชาชนกินไอโอดีนเพราะรัฐบาลกลางยังไม่มีค�ำสั่ง โดยหวังว่า ประชาชนจะใช้วจิ ารณญาณของตัวเองในการกินไอโอดีนเพือ่ ป้องกัน ต่อมไทรอยด์” ฮิเดยูกิ บัน จากศูนย์ข้อมูลนิวเคลียร์ของประชาชน บอกว่า ข้อมูลที่รัฐบาลเปิดเผยต่อสาธารณะเป็นสิ่งที่เชื่อถือได้ แต่รัฐบาลไม่ ได้บอกข้อมูลทั้งหมดกับประชาชน และมักจะเป็นการเปิดเผยข้อมูล ที่ช้าเกินไป เรื่องแบบนี้เป็นสิ่งที่เหมือนกันในทุกประเทศที่มีพลังงาน นิวเคลียร์ คือประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนิวเคลียร์ ment, hoping that the residents would make their own judgment whether to take it to protect their thyroid.” Hideyuki Ban of the Citizens’ Nuclear Information Center said that information provided by the government was reliable but incomplete and not quite upto-date. This is the same in every country with nuclear power plants. The people only have access to partial information about nuclear, so they have to try to monitor the situation by themselves. “The government’s information about foods that were exposed to radiation was reliable, but by the time the public was informed, the people had already consumed those foods for some time. As for radiation contamination, the gover nment only announced the numbers that were over safety levels, but it did not advise the public on how to avoid the danger of exposure,” Ban said. Meanwhile, evacuation of people from danger areas is influenced by many factors,

โอกะ อายาโกะ Oka Ayako

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

ได้เพียงบางส่วนเท่านัน้ ท�ำให้ประชาชนต้องเป็นฝ่ายท�ำหน้าทีต่ ดิ ตาม ข้อมูลด้วยตัวเองด้วย “รัฐบาลบอกประชาชนเรื่องการปนเปื้อนรังสีในอาหาร ชนิด ไหนปนเปื้อนรังสีเท่าไหร่ ข้อมูลจากรัฐบาลเหล่านี้เชื่อถือได้ แต่ก่อน ทีร่ ฐั บาลจะบอก ประชาชนก็กนิ อาหารปนเปือ้ นเข้าไปแล้ว ส่วนข้อมูล เกี่ยวกับระดับรังสีที่เกินเกณฑ์ปลอดภัย รัฐบาลบอกแต่ตัวเลข แต่ไม่ ได้บอกว่าประชาชนต้องปฏิบัติตัวอย่างไรเพื่อหลีกเลี่ยงอันตราย” ในส่ ว นของการอพยพประชาชนออกจากพื้ น ที่ อั น ตรายจะ เกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายอย่าง ทั้งสภาพดินฟ้าอากาศ ทิศทางลม และอื่นๆ ดังนั้น พื้นที่นอกเขต 20 กิโลเมตรบางแห่งจึงมีอันตราย ไม่น้อยกว่าในรัศมี 20 กิโลเมตร ปรากฏว่าการอพยพประชาชนมี ปัญหามากมาย เช่น ประชาชนที่ไม่ได้รับผลกระทบก็ถูกอพยพด้วย หรือประชาชนที่อยู่ในเขตอันตรายน้อยกลับถูกอพยพไปไว้ในจุดที่มี อันตรายมาก เป็นต้น สิ่งที่เกิดขึ้นที่ญี่ปุ่นสะท้อนให้เห็นว่า เมื่อเกิดอุบัติเหตุรุนแรงกับ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่มีศักยภาพมากขนาด ไหน การจัดการกับปัญหาก็เป็นสิ่งที่ยากมาก และเป็นไปไม่ได้เลย ที่จะหลีกเลี่ยงจากผลกระทบที่กว้างขวาง รุนแรง และมีผลสืบเนื่อง ต่อไปอีกยาวนาน ส�ำหรับความเสียหายที่เกิดขึ้น กล่าวในภาพรวมแล้วผู้เสียหาย และมูลค่าความเสียหายของอุบัติเหตุนิวเคลียร์ครั้งนี้ อยู่ในระดับที่ บริษัทเท็ปโกไม่สามารถแบกรับได้ ซึ่งในแง่กฎหมายเกี่ยวกับความ รับผิดทางนิวเคลียร์ (nuclear liability) หลักสากลส�ำหรับทุกประเทศ ที่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จะต้องมีการท�ำประกันภัยไว้ตั้งแต่เริ่มท�ำ โครงการ อย่างไรก็ตาม วงเงินประกันจะมีเพดานจ�ำกัดที่ระดับหนึ่ง such as weather conditions, wind direction, etc. Some areas outside the 20km radius around the plant may actually be as dangerous as those closer to the plant. As it turned out, the evacuation was extremely chaotic; some unaffected residents were evacuated while others in less dangerous areas were moved to more dangerous areas. What happened in Japan shows that, in a nuclear power plant accident, even fully-equipped countries still struggle with mitigation of the impact and it is impossible to prevent widespread and severe damage with long-lasting consequences. The scale of the damage resulting from the Fukushima accident is evidently beyond the capacity of TEPCO to take responsibility for. In legal terms, every nuclear power plant project must carry nuclear liability insurance. However, it is clear that the level of liability insured is inadequate for a disaster of this scale. As a consequence, the government must step in to shoulder the responsibility. In the Fukushima case, TEPCO is in the grip of near bankruptcy. In addition, it is responsible for taking care of the six crippled reactors which requires several million yens. Initially, there was a split in opinions within the government. One side suggested the government allow TEPCO to go bankrupt and subsequently take over responsibilities. The other side, however, sug-

61

September - December 2011

ซึง่ ไม่เพียงพอในกรณีเกิดอุบตั เิ หตุรา้ ยแรง ดังนัน้ เมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ รัฐบาลก็ต้องเข้ามาช่วยแบกรับอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่นเดียวกับกรณีฟกุ ชุ มิ ะ ซึง่ บริษทั เท็ปโกตกอยูใ่ นสภาพใกล้ลม้ ละลายจากอุบัติเหตุครั้งนี้ ทั้งยังต้องแบกรับค่าใช้จ่ายในการจัดการ เตาปฏิกรณ์ทั้ง 6 เครื่องซึ่งต้องใช้งบประมาณหลายล้านล้านเยน ซึ่ง ในตอนแรก รัฐบาลมีความเห็นแตกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเห็นว่าควร ปล่อยให้เท็ปโกล้มละลายไปเลย จากนัน้ รัฐบาลจึงเข้าไปรับผิดชอบต่อ แต่อกี ฝ่ายเห็นว่ารัฐบาลต้องเข้าไปอุม้ ไม่ให้เท็ปโกล้มละลาย เพราะจะ เกิดผลกระทบมากกับระบบเศรษฐกิจของญี่ปุ่น ในที่สุดรัฐบาลเลือก แนวทางหลัง คือเข้าไปอุ้มเท็ปโก ส�ำหรับค่าชดเชยผู้ถูกอพยพ ค่าเสียหายด้านการเกษตร การ ประมง และอื่นๆ ยังไม่มีการประเมินมูลค่าออกมา นอกจากนั้นแล้ว ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนทีจ่ ะปรากฏขึน้ ในอนาคต ยังเป็น ค�ำถามค�ำโตว่า ญี่ปุ่นจะจัดการกับเรื่องเหล่านี้อย่างไร n

เด็กสาวสองคนชูป้ายระหว่างการเดินขบวนของชาวญี่ปุ่น และผู้คัดค้านการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จากทั่วโลก ที่จัดขึ้นใจกลางเมืองฟุกุชิมะ – อมฤต สุวรรณเกต

Two Japanese girls hold up a poster during an anti-nuclear rally that draws activists around the world to the city of Fukushima. – Amarit Suwannagate

gested the government keep the company afloat, fearing that not doing so would create havoc in the Japanese economy. In the end, the government chose the second option. Thus far, there have been no estimates of the scale of damage in monetary terms of agriculture and fishery. Then there is the impact on the people’s health which will become more apparent in the future. The question is how will Japan tackle these issues? n

บทเรียนจากฟุกุชิมะ Lessons from Fukushima

VA.indd 61

1/27/12 11:32 AM


62

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

เกิดอะไรขึ้นในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ฟุกุชิมะ ไดอิจิ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ ใช้เตาปฏิกรณ์แบบน�้ำเดือด หรือ BWR (Boiling Water Reactor) รวม 6 เครื่อง ขณะเกิดเหตุแผ่นดินไหว ในวันที่ 11 มีนาคม 2554 เตาปฏิกรณ์ที่ 4-6 อยู่ระหว่างการปิดซ่อม บ�ำรุง ส่วนเตาปฏิกรณ์ที่ 1-3 ก�ำลังเดินเครื่องตามปกติ แรงสั่นสะเทือน ของแผ่นดินไหวท�ำให้เตาปฏิกรณ์ที่ 1-3 ดับเครื่องโดยอัตโนมัติ อย่างไร ก็ตาม ระบบหล่อเย็นยังเป็นสิ่งจ�ำเป็นแม้ ในขณะที่เตาปฏิกรณ์อยู่ ในภาวะ หยุดเดินเครือ่ งเพราะแท่งเชือ้ เพลิงนิวเคลียร์ยงั ปลดปล่อยความร้อนและ กัมมันตภาพรังสีออกมาตลอดเวลาจากปฏิกริยาฟิชชันที่ไม่อาจหยุดยัง้ ได้ ปัญหาที่ 1 เกิดขึ้นเมื่อแผ่นดินไหวท�ำให้กระแสไฟฟ้าจากสายส่งถูก ตัดขาด ระบบหล่อเย็นจึงต้องพึง่ พาไฟฟ้าจากเครือ่ งปัน่ ไฟส�ำรองที่ใช้นำ�้ มัน ดีเซล แต่ไม่ถงึ 1 ชัว่ โมงต่อมา ปัญหาที่ 2 ก็เกิดขึน้ อีก เมือ่ คลืน่ ยักษ์สนึ ามิได้ สร้างความเสียหายแก่เครื่องปั่นไฟส�ำรอง ท�ำให้ระบบหล่อเย็นหยุดท�ำงาน ระบบไฟฟ้าส�ำรองสุดท้ายคือแบ็ตเตอรี่จึงถูกน�ำมาใช้ มันถูกออกแบบให้ ใช้ งานได้นาน 8 ชั่วโมง แต่เอาเข้าจริง หลังเกิดแผ่นดินไหวเพียง 4 ชั่วโมง แบ็ตเตอรี่ของเตาปฏิกรณ์หมายเลข 1 ก็หมด ท�ำให้ระบบหล่อเย็นฉุกเฉิน ล้มเหลวโดยสิ้นเชิง และนั่นคือจุดเริ่มของหายนะที่เกิดขึ้น เมือ่ ขาดระบบหล่อเย็น อุณหภูมขิ องแท่งเชือ้ เพลิงจึงพุง่ สูงขึน้ อย่าง รวดเร็ว ภายใต้อณ ุ หภูมสิ งู ผิวแท่งเชือ้ เพลิงซึง่ ท�ำจากโลหะ “เซอร์โคเนียม” ก็ทำ� ปฏิกริยากับน�ำ้ เกิดเป็นก๊าซไฮโดรเจนสะสมอยู่ในถังปฏิกรณ์ ท�ำให้ความ ดันเพิ่มขึ้นอย่างมากและอาจท�ำให้เตาปฏิกรณ์ระเบิดได้ วิศวกรจึงตัดสิน ใจปล่อยความดันออกสู่ภายนอกเพื่อป้องกันเตาปฏิกรณ์ระเบิด ซึ่งสิ่ง ที่ถูกปลดปล่อยออกมานั้น นอกจากไอน�้ำและสารกัมมันตรังสีแล้ว ยัง มีก๊าซไฮโดรเจนจ�ำนวนมหาศาลอีกด้วย ไฮโดรเจนที่สะสมอยู่ ในส่วนบน ของอาคารเครื่องปฏิกรณ์ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ ในภาวะที่ เหมาะสม การระเบิดก็เกิดขึ้น การระเบิดในลักษณะนี้เริ่มขึ้นที่เตาปฏิกรณ์หมายเลข 1 ในวันที่ 12 มีนาคม ต่อมาเป็นเตาปฏิกรณ์หมายเลข 3 ในวันที่ 14 มีนาคม และเตา ปฏิกรณ์หมายเลข 2 ในวันที่ 15 มีนาคม (เตาปฏิกรณ์หมายเลข 2 เกิด การระเบิดของไฮโดรเจนบริเวณส่วนล่างของถังปฏิกรณ์ จึงมองไม่เห็น ความเสียหายจากภายนอก) นอกจากเตาปฏิกรณ์หมายเลข 1-3 แล้ว การระเบิดอย่างรุนแรง ยังเกิดขึ้นกับเตาปฏิกรณ์หมายเลข 4 ซึ่งอยู่ระหว่างปิดซ่อมบ�ำรุง ไม่มี เชื้อเพลิงอยู่ ในเตาปฏิกรณ์ แต่ปัญหาเกิดขึ้นที่บ่อแช่แท่งเชื้อเพลิงใช้แล้ว ซึ่งขาดระบบหล่อเย็น ท�ำให้แท่งเชื้อเพลิงใช้แล้วร้อนขึ้นจนน�้ำละเหยออก ไปเป็นจ�ำนวนมาก ก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นจ�ำนวนมหาศาลจากเซอร์โคเนียม สะสมอยู่ ในอาคารปฏิกรณ์ และเกิดการระเบิดขึ้นในที่สุด ขั้นตอนการหลอมละลายของแท่งเชื้อเพลิง 1. เมื่อขาดระบบหล่อเย็น แท่งเชื้อเพลิงจะร้อนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนน�้ำเดือดระเหยเป็นไอ เมื่อระดับน�้ำลดลงจนแท่งเชื้อเพลิงโผล่พ้นผิวน�้ำ ผิวแท่งเชื้อเพลิงซึ่งท�ำจากโลหะเซอร์โคเนียม เมื่ออยู่ ในอุณหภูมิสูง จะท�ำ ปฏิกริยากับน�้ำเกิดเป็นก๊าซไฮโดรเจนสะสมอยู่ ในถังปฏิกรณ์ 2. ที่อุณหภูมิ 2,000 องศาเซลเซียส เซอร์โคเนียมจะหลอมละลาย และเมื่อถึง 3,000 องศาเซลเซียส ยูเรเนียมจะเริ่มหลอมละลาย 3. ยูเรเนียมที่หลอมเหลวจะตกลงไปที่ก้นถังปฏิกรณ์ และหลอม ทะลุก้นถังปฏิกรณ์ 4. ยูเรเนียมที่หลอมเหลวจะไหลผ่านรูรั่วตกลงไปที่บ่อรองรับ (suppression pool) ในขณะทีค่ วามร้อนยังคงเกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจาก ปฏิกิริยาฟิชชันของยูเรเนียม 5. หากยังไม่สามารถระบายความร้อนของยูเรเนียมได้ ยูเรเนียม หลอมเหลวก็จะหลอมทะลุชั้นคอนกรีตออกสู่ภายนอก ซึ่งหมายถึงการ แพร่กระจายสารกัมมันตรังสีที่มีความแรงสูงมากออกสู่สิ่งแวดล้อม n

VA.indd 62

What happened inside the Fukushima Daiichi Nuclear Reactors? The Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant is equipped with six boiling water reactors. When the earthquake took place on March 11, 2011, the fourth, fifth and sixth reactors were under repair while the remaining ones were operating at full capacity. The intensity of the earthquake caused these reactors to shut down automatically, but it was necessary that the cooling system continued working as the fuel rods were still emitting heat and radiation from fission reaction which could not be halted instantly. The first problem occurred when the earthquake cut off power supplies, so the cooling system was switched to diesel-powered generators. Within less than an hour, the second problem emerged when giant tsunami waves damaged the emergency generators, disrupting the cooling system. The last emergency power system relied on batteries, but it was designed to last only eight hours. In actual fact, four hours after the earthquake, the batteries for the first reactor ran out, and the cooling system failed entirely. That was how the catastrophe started. Without the cooling system, the temperature of the fuel rods rose dramatically. Under high temperatures, the surface of the fuel rods made from zirconium alloy came in contact with water, resulting in hydrogen build-up inside the reactors and extremely high pressure which could cause the reactors to explode. Engineers, therefore, decided to release the pressure to prevent explosion, but what was released was not only steam and radioactive materials but also a large amount of hydrogen. When hydrogen gathered at the top of the reactor was released and came into contact with oxygen in the air, explosions followed. This type of explosions began in the first reactor on March 12, followed by those inside the third reactor on March 14 and the second reactor on March 15. (The explosion of hydrogen in the second reactor occurred near the bottom of the reactor vessel, so damage was not visible from the outside.) Apart from the first, second and third reactors, a large explosion also occurred in the fourth reactor which was under repair, and there was no fuel rod in the reactor. But the problem started in the spent nuclear fuel pool. With the cooling system disabled, these fuel rods were heated up and a great deal of water in this well evaporated. Water steam which reacted with a large amount of hydrogen emitting from zirconium accumulated in the reactor building leading to the explosions. How the fuel rods melt: 1. Without the cooling system, the fuel rods heat up quickly, boiling the water in the reactor and turning it into steam. When the level of water is reduced, the fuel rods are exposed and, at a high temperature, its zirconium alloy cladding will react with steam and is accompanied by the release of hydrogen accumulated inside the reactor. 2. At 2,000 degrees Celsius, zirconium melts, and at 3,000 Celsius, uranium melts. 3. The molten uranium falls to the bottom of the reactor vessel and melts through it. 4. The molten uranium falls through to the suppression pool while extreme heat is still being produced by the fission reaction of uranium. 5. If the heat caused by the uranium cannot be released, molten uranium will penetrate through the concrete floor towards the external environment which will result in a major leakage of radioactive materials. n

1/27/12 11:32 AM


มหิงสาน้อย LITTLE Mahingsa รางวัลแห่ง Award ความภาคภูมิใจ of Pride กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

นุชนารถ ไกรสุวรรณสาร

Nuchanard Kraisuwansan

เส้นทางเดินตามสี่เท้าก้าวย่างอย่างท้าทายของเหล่ามหิงสาสาย สืบตัวน้อยนั้นไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบเสมอไป หากแต่เป็นการเดิน ทางที่ต้องเผชิญกับอุปสรรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสภาพดินฟ้าอากาศที่ แปรปรวนและนอกเหนือการคาดการณ์ หรือแม้กระทั่งต้องประสบภัย พิบัติทางธรรมชาติในบางพื้นที่ แต่เหล่ามหิงสาตัวน้อยก็ไม่เคยย่อท้อ หรือสิน้ หวัง กลับพลิกวิกฤตเป็นโอกาสให้เป็นแรงผลักดันทีต่ อ้ งฟันฝ่า อุปสรรคนั้นไปให้ได้เพื่อเป้าหมายของการเดินทาง นั่นคือการได้ดูแล และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตน ตลอดระยะเวลาของการเดินทางไม่ว่าจะเป็นระยะเวลา ๓ เดือน ๖ เดือน หรือ ๑๒ เดือนก็ตามต่างเป็นช่วงเวลาที่น่าจดจ�ำ ทั้งการได้เล่น ได้เรียนรู้ ได้ฝึกทักษะต่างๆ จากห้องเรียนธรรมชาติใกล้ตัว การสืบค้น ประวัติศาสตร์เพื่อหารากเหง้า ภูมิปัญญาและวัฒนาธรรมที่ใกล้เลือน หายไป และการผจญภัยไปในพื้นที่ที่มีความอัศจรรย์ยิ่งของธรรมชาติ ที่อยู่ในท้องถิ่นของเราแค่เอื้อมมือ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ตลอดการเดินทาง ของเหล่ามหิงสาตัวน้อยนัน่ คือความภาคภูมใิ จจากการได้ลงมือท�ำ ความ ภาคภูมใิ จทีไ่ ด้เห็นความส�ำเร็จจากน�ำ้ มือตนเอง และความภาคภูมใิ จทีไ่ ด้ เรียนรูถ้ งึ คุณค่าของธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมตลอดจนการมีสว่ นร่วมใน การอนุรักษ์และฟื้นฟูความงดงามให้คงอยู่สืบไป

The journey that the young Mahingsa researchers take is not always a path of roses. It is an obstacle course packed with unpredictable weather conditions and challenges as well as natural disasters in some areas, but these young naturalists never give up. They turn crises into opportunities that drive them to overcome those obstacles to reach their destination: being able to protect the natural resources and the environment in their communities. Their journey that might take three, six or even 12 months has been, all in all, a memorable one in which the young researchers play and learn together, developing life skills in the outdoor classroom while searching for their fading historical roots, local wisdom and culture and exploring the wonders of their local natural environment. The reward from these journeys for the little Mahingsa are the pride of being able to take part in conservation activities and appreciation of the precious environment which can lead to lifelong conservation efforts.

63

เหล่าบรรดามหิงสาตัวน้อยที่พร้อมจะน�ำพาทีมงานเข้าเยี่ยม ชนพื้นที่ด�ำเนินโครงการในบริเวณวนอุทยานถ�้ำเพชร-ถ�้ำทอง จังหวัดนครสวรรค์ A group of young Mahingsa in Nakhon Sawan are taking their counselors to visit Tham Phet-Tham Thong Forest Park which is their study area.

VA.indd 63

1/27/12 11:32 AM


64

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

กลุ่มเด็กๆ ชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนผาผึ้งวิทยาคม จังหวัดตาก ให้ความสนใจ กับกิจกรรมตรวจวัดคุณภาพน�้ำโดยใช้สัตว์เล็กน�้ำจืดเป็นดัชนีชี้วัด A group of primary students from Pha Phueng Witthayakhom School in Tak province are studying water quality based on small aquatic animals as an indicator.

กลุ่มเยาวชนถ่ายรูปร่วมกับพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม หลังจากได้รับใบประกาศนียบัตรในวันงานพิธีมอบรางวัลแห่งความภาคภูมิ ใจ

The young Mahinsa members smile with pride as they pose for a group photo with their counselors and officials from the Department of Environmental Quality Promotion after being presented with certificates for their achievement.

น้องๆ มหิงสาต่างถ่ายรูปร่วมกันก่อนอ�ำลางานพิธีมอบรางวัลประจ�ำปี 2553 Young Mahingsa researchers pose for a photo at the end of the ceremony to present them certificates of achievement for 2010.

VA.indd 64

จากรุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบันมีเหล่ามหิงสาตัวน้อยกว่า ๒,๐๐๐ ชีวิต และพี่เลี้ยงที่คอยเป็นที่ปรึกษาและให้ค�ำแนะน�ำกว่า ๒๐๐ คน ได้ร่วม เดินทางไปกับโครงการมหิงสาสายสืบ ด้วยแววตาที่เต็มเปี่ยมไปด้วย ความตั้งใจจริงความมุ่งมั่นและความเสียสละเพื่อส่วนรวมถึงแม้จะไม่ ได้รับเงินรางวัลเป็นสิ่งตอบแทนก็ตาม นี่แหละคือสิ่งที่วิเศษที่สุดใน การปลูกฝังค่านิยมการท�ำดีโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ที่ควรสร้างให้เกิด ขึ้นกับสังคมไทยในยุคปัจจุบัน วันที่ 19-20 กันยายน ทีผ่ า่ นมา กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม ได้จัดงานพิธีมอบรางวัลแห่งความภาคภูมิใจขึ้น เพื่อเสริมสร้างแรง บันดาลใจในการท�ำงานด้านสิง่ แวดล้อมของเหล่าบรรดาสมาชิกมหิงสา สายสืบ โดยมีกิจกรรมเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และทักษะต่างๆ ให้ กับเยาวชน อีกทั้งยังจัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเพื่อเปิดโอกาสให้ตัวแทน เยาวชนและพี่เลี้ยงโครงการได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การท�ำงาน ระหว่างกัน ซึ่งจะน�ำไปสู่แนวทางการพัฒนาและต่อยอดโครงการต่อไป ประตูสู่โลกกว้าง เปิดรอเราอยู่ … เพียงแค่เรากล้าที่จะก้าวออกไป สัมผัสความท้าทายและความงดงามของธรรมชาติ มาร่วมเป็นหนึ่งกับ เรา ...มหิงสาสายสืบ n

From one generation to another, this program has welcomed more than 2,000 Mahingsa researchers and 200 counselors. Together they take a journey with their eyes sparkling with a sense of determination and dedication for common good, without expecting anything in return. This is the most wonderful aspect of this educational program deserving the support of Thai society. During September 19-20, the Department of Environmental Quality Promotion hosted a ceremony to present this award of pride to inspire young Mahingsa researchers to continue their work in nature conservation. There were activities to promote learning and other skills among young people as well as roundtable discussions for youth representatives and counselors who shared their valuable experience which could develop into further implementation and collaboration. The door to the big wide world is open to all of us. Dare yourself to step out and experience the beauty of nature. Come join us … the Little Mahingsa researchers. n

1/27/12 11:32 AM


เสียงชุมชน VOICEs of community กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

65

ชาวประมงหนุ่มสองคนยกสัตว์น�้ำที่จับได้จากทะเลในสุราษฎร์ธานีขึ้นรถเพื่อน�ำไปขายต่อ โดยไม่รู้ถึงแผนการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในพื้นที่ ใกล้เคียงซึ่งจะมีผลกระทบ ต่อวิถีชีวิตของเขา Two young fishermen take their haul from the sea off Surat Thani’s coast for sale at the market, unaware of a plan to build a nuclear power plant in nearby area which could affect their livelihood.

นิวเคลียร์ vs ชุมชน:

สองวิถีที่ไม่ สอดคล้อง แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา

าคใต้ของประเทศไทยเป็นพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ ทั้งด้านทรัพยากรทางทะเล ทรัพยากรป่าไม้ และ พื้นที่เพาะปลูก เป็นพื้นที่ที่หลายรัฐบาลที่ผ่านมา หมายตาไว้เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ รวมทั้งการพัฒนาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในจ�ำนวนพืน้ ที่ 14 แห่งทีม่ กี ารศึกษาความเป็นไปได้ของการเป็น ที่ตั้งโรงไฟฟ้า อ่าวแหลมแท่น ต.ชุมโค อ.ประทิว จ.ชุมพร เป็นหนึ่งใน 5 แห่งที่อยู่ในกลุ่มคัดเลือกสุดท้าย ที่แห่งนี้อยู่ไม่ไกลจากเขตอนุรักษ์ และขยายพันธุ์หอยมือเสือกว่าสองพันตัวที่ สุพนัด ดวงกมล หรือที่รู้ กันในนาม “ผู้ใหญ่แดง” อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 และชาวประมงใน พื้นที่ช่วยกันดูแลมากว่า 5 ปีแล้ว ผู้ใหญ่แดงมักเป็นตัวแทนชาวบ้านที่คัดค้านโครงการพัฒนา ขนาดใหญ่ที่จะส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนใน

VA.indd 65

Nuclear Power vs Community: The Two Irreconcilable Paths Maenwad Kunjara Na Ayuttaya

S

outhern Thailand is abundant with marine resources, forests and farmlands. This is the reason past and present governments have eyed it for major industrial development, including nuclear power. Of the 14 sites considered under a feasibility study for construction of nuclear power plants, Laem Thaen Bay in Prathieu District of Chumphon Province is one of the five shortlisted sites. It is situated not far from the conservation and propagation center of more than 2,000 giant clams (Tridacna gigas) under the care of Suphanat Duangkamol and local fisher folks for more than five years. Better known as Phuyai Daeng, Suphanat was a former village chief. Phuyai Daeng often spoke for the villagers against large-scale development projects that were deemed harmful to the livelihoods of local people, including planned coal-fired and nuclear power plants. The local people insist that they cannot accept the types of development which is agriculture-based includ-

1/27/12 11:32 AM


66

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

พืน้ ที่ รวมทัง้ โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินและโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยยืนยันว่าชาวบ้านในอ.ประทิวและในภาคใต้โดยรวมยอมรับไม่ได้ กับการพัฒนาที่ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตที่เกี่ยวพันกับการท�ำเกษตร โดยเฉพาะการท�ำสวนยางพารา ปาลม์น�้ำมัน มะพร้าวและผลไม้อื่นๆ รวมทั้งการประมงชายฝั่ง และการท่องเที่ยว “ภาคใต้เป็นพืน้ ทีเ่ กษตร ชาวบ้านเป็นเกษตรกร คนปะทิวมีราย ได้ต่อวันไม่ต�่ำกว่า 1,000 บาท เฉลี่ยคนทั้งภาคมีรายได้ต่อคนไม่ต�่ำ กว่า 50,000 บาทต่อปี ไม่มีคนตกงาน และยังพึ่งพาแรงงานจากภาค อีสานอีกด้วย เกษตรกรหนึ่งคนเลี้ยงคนได้ทั้งครอบครัว พวกเราอยู่ ได้ ไม่รวย ไม่จน เก็บกินได้ตลอดชาติ มันเป็นอาชีพที่สืบทอดถึงลูก หลาน” ผู้ใหญ่แดง กล่าว “ผมไม่เข้าใจว่าทัง้ ๆ ทีฐ่ านเกษตรกรรมจะไม่ลม่ สลายแต่รฐั บาล ทุกรัฐบาลก็ยงั ดึงดันจะเอาอุตสาหกรรมมายัดเยียดให้คนในพืน้ ที่ ถาม ว่าถ้าเอาอุตสาหกรรมมาลงในพื้นที่แล้วถ้าหากว่าอุตสาหกรรมล่ม สลายรัฐบาลจะท�ำอย่างไร “ภาคใต้ ต ้ อ งการนโยบายด้ า นพลั ง งานที่ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ถี วัฒนธรรมของคนใต้ ไม่ท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เน้นการใช้พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ลม พลังงาน ชีวมวล เป็นอนาคตของพลังงานไทย ไม่เอาโรงไฟฟ้าถ่านหิน โรง ไฟฟ้านิวเคลียร์ที่จะเป็นใบเบิกทางของการสร้างท่าเรือน�้ำลึก เขื่อน นิคมอุตสาหกรรม ing rubber, oil palm and coconut plantations, fruit orchards, coastal fishing and tourism. “Southern Thailand is a farming region. The people of Pathieu earn more than 1,000 baht a day on an average with an average household income of at least 50,000 baht a year. There is no unemployment. We even rely on labors from the northeast. A single farmer can earn enough income to feed his whole family. We are not rich, but we are not poor either. We grow enough to feed ourselves for eternity, and we expect to pass on this kind of life to the future generations,” said Phuyai Daeng. “I don’t understand why the government insists on imposing industrial development on us even while our agricultural base is intact. The government should answer this question: If the industry that they bring here collapses, what would they do? “We need an energy policy that corresponds to our สดใส สร่างโศก (ซ้าย) ถือแผ่นผ้าต่อต้าน นิวเคลียร์ระหว่างการ ร่วมเดินขบวนที่เมือง ฟุกุชิมะ ประเทศญี่ปุ่น Sodsai Sangsok, left, holds a banner protesting nuclear power during a demonstration in the city of Fukushima, Japan, recently.

VA.indd 66

“โรงไฟฟ้าถ้าสร้างเสร็จ ไม่เกิน 3 ปี คนไทยไม่มปี ลาทูกนิ แน่นอน เกิดอันตรายทั้งต่อคนและสัตว์ ดิน-น�้ำ-ลม-ไฟ พลอยเสียไปหมด แผนพัฒนาภาคใต้ต้องถอน ต้องสร้างฐานเกษตรกรรมให้เข้มแข็ง ขึ้ น เพราะภาคใต้ ทั้ ง ภาคจะเลี้ ย งคนทั้ ง ภาคเหนื อ และอี ส านได้ ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศทีจ่ น ไม่ใช่ประเทศใหญ่ เราอยูไ่ ด้ดว้ ยความ พอเพียง แต่การลงทุนของรัฐขาดจิตส�ำนึก ไม่ค�ำนึงถึงผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญต่อฐานทรัพยากรของประเทศ “หลั ก คิ ด ที่ ส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นาประเทศ รั ฐ บาลต้ อ งให้ ประชาชนมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ และรับผิดชอบ” ผูใ้ หญ่แดง กล่าว ด้านพื้นที่เป้าหมายในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทางตอน บนของประเทศ ทีไ่ ด้คะแนนความเหมาะสมสูงสุด คือ จ.อุบลราชธานี ด้วยเหตุผลส�ำคัญทีว่ า่ ตัง้ อยูใ่ กล้แหล่งน�ำ้ คือ เขือ่ นสิรนิ ธร แต่ประเด็น ส�ำคัญที่ถูกกล่าวมากที่สุด คือ กระแสการต่อต้าน จากชาวบ้านไม่รุนแรงเมื่อเปรียบเทียบกับ พื้นที่อื่น สดใส สร่ า งโศก ผู ้ ป ระสานงาน เครือข่ายคนไทยไม่เอาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จ. อุบลราชธานี ชี้ถึงผลกระทบหากมีการ สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยยกบทเรียน สุพนัด ดวงกมล หรือ ผู้ ใหญ่แดง

Suphanat Duangkamol or Phuyai Daeng

culture and way of life, a policy that does not destroy our natural resources. It must focus on renewable energy such as biomass, solar and wind power. This is the future of energy for Thailand. We do not need coal-fired or nuclear plants that will only pave way for deep-sea ports, dams and industrial estates. “I’m pretty certain that no more than three years after the power plant is built, we won’t have any mackerel to eat because it causes so much harm to both people and animals alike as well as the earth, water, wind and fire. Everything will be ruined. The southern seaboard development project must be cancelled, and instead our agricultural base must be strengthened. Agriculture production from the south alone can easily feed the people in the north and northeast. Thailand is not a poor or large country. We can be self-sufficient. Public investment schemes lack conscience and fail to take into account impacts to the environment which is the most important element for our nation’s resources. “The main principle about development is that the government must allow the people to participate in and take responsibility for any decision they make.” Phuyai Daeng said.

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

จากเมื่อครั้งที่มีการสร้างเขื่อนสิรินธรขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2511-2514 เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยก�ำลังการผลิต 36 เมกกะวัตต์ สามารถกัก เก็บน�้ำได้ 1,966.5 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่หลังจากสร้างเขื่อนสิริธรได้ 40 ปี ปัญหาที่ชาวบ้านได้รับผล กระทบต้องอพยพย้ายออกจากหมูบ่ า้ นและไร่นาของตนยังไม่สามารถ แก้ไขได้ จนกระทั่งทุกวันนี้ยังมีชาวบ้านไปชุมชนหน้าเขื่อน เพื่อเรียก ร้องให้จ่ายค่าชดเชย หลังรัฐบาลจ่ายค่าชดเชยให้กลุ่มสมัชชาคนจน จ�ำนวน 2,299 ครอบครัว ปัญหาของเขือ่ นสิรนิ ธรปัจจุบนั ก็คอื ว่าในหน้าแล้งปริมาณน�ำ้ จะ ลดลงไปกว่าครึ่ง เหลือไม่ถึง 900 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่เพียงพอ ให้กรมชลประทานส่งไปหล่อเลีย้ งการปลูกข้าวนาปรังของเกษตรกรที่ อยูใ่ นเขตชลประทานกว่า 150 ล้านลูกบาศก์เมตร วิกฤตภัยแล้งท�ำให้ ชลประทานหยุดจ่ายน�ำ้ หลังสิน้ ฤดูการเพาะปลูกข้าวนาปรังเกือบทุกปี เพื่อรักษาระดับน�้ำในเขื่อนไม่ให้ลดต�่ำจนเข้าสู่ระดับวิกฤต สดใสเตือนว่าหากมีการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ น�ำ้ ในเขือ่ นจะมี ไม่เพียงพอให้น�ำไปใช้หล่อเย็นเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์อย่างแน่นอน ซึ่งหมายความว่ารัฐต้องจัดหาน�้ำมาเพิ่ม และลงท้ายคงหนีไม่พ้นต้อง สร้างเขื่อนใหม่หรือผันน�้ำจากแม่น�้ำโขงมาใช้ สดใสเชือ่ ว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาด 1,000 เมกะวัตต์ ทีจ่ ะสร้าง ทีอ่ บุ ลราชธานีจะมีปญ ั หาตามมา ทัง้ ในเรือ่ งการจ่ายค่าชดเชย รวมถึง ผลกระทบต่อวิถีวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม และอาจจะสร้างสร้าง Another location earmarked as a nuclear power plant site is the northeastern province of Ubon Ratchathani. It was chosen reportedly because of its proximity to a large water source from the Sirindhorn Dam and the relative lack of resistance from the locals. Sodsai Sangsok, the coordinator of the Thai People against Nuclear Power Network in Ubon Ratchathani, is concerned about the negative impacts of the nuclear power plant, citing past experience with the construction of the Sirindhorn Dam during 19681971. The dam has a storage capacity 1,966.5 million cubic meters of water, capable of producing 36 MW of electricity. Forty years after the construction, the problems of the displaced villagers from their farmlands have not been entirely resolved. To these days, there are still people demonstrating at the dam site to demand compensations even after the government have compensated 2,299 families under the Assembly of the Poor banner. A problem currently faced by the Sirindhorn Dam is that its stored water during the dry season normally dips to about 900 million cubic meters, less than half its capacity. The low volume of water is not enough for the Royal Irrigation Department to irrigate the second rice crops in the irrigated area that need over 150 million cubic meters. Every year, the RID ends up having to stop distributing water right after the rice was planted to prevent the water in the reservoir from reaching the critically low level. Sodsai warned that if the nuclear power plant was built, there would not be enough water from the dam

67

September - December 2011

ผลกระทบที่ใหญ่หลวงและกว้างขวางกว่าเขื่อนสินรินธรมากมายนัก ดังที่เห็นจากกรณีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ในประเทศญี่ปุ่น เป็น ตัวอย่าง เธอเป็นห่วงว่า น�้ำในเขื่อนจะถูกปนเปื้อนด้วยสารกัมมันตรังสี ซึ่งจะกระทบกับการด�ำรงชีวิตของชาวบ้านที่ปลูกข้าวและพืชอื่น หาปลา และเลี้ยงวัวควาย สดใสกล่าว “เราต้องเข้าใจว่าสารกัมมันตรังสีสามารถกระจายไปได้กว้างไกล ทัง้ ในอากาศ ดิน น�ำ้ ป่า พืชพรรณธัญญาหาร ล้วนแต่ได้รบั ผลกระทบ วิถชี วี ติ ของชาวบ้านล้วนพึง่ พาทรัพยากรธรรมชาติในการเลีย้ งชีพ เมือ่ สิง่ แวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนปนเปือ้ นสารกัมมันตรังสี ชาวบ้านย่อมได้รับผลกระทบด้วยเช่นกัน” สดใสกล่าวต่อว่า ชาวบ้านยังจะต้องรับผลกระทบด้านสุขภาพ รวมทั้งความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งและโรคอื่นๆ ที่เกิดจากการได้ รับสารกัมมันตรังสีเป็นระยะยาว นอกจากนั้นแล้ว โครงการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าจะสร้างความขัดแย้งระหว่างกลุ่มชาวบ้านที่ต่อต้านและ สนับสนุน ส่วนชาวบ้านที่เป็นเกษตรกรจะสูญเสียพื้นที่ท�ำมาหากิน และตลาดทางการเกษตร เพราะผู้บริโภคจะไม่กล้าซื้อพืชพันธุ์ที่ปลูก ในพื้นที่ด้วยเกรงจะได้รับผลกระทบจากสารกัมมันตรังสีด้วย “ทีผ่ า่ นมาชาวบ้านรอบเขือ่ นสิรนิ ธรได้เสียสละพืน้ ทีท่ ำ� มาหากิน วิถีชีวิต ทรัพยากร ความเป็นชุมชนและครอบครัวที่ต้องแตกแยก ล่มสลายจากการสร้างเขื่อนมาแล้ว ท�ำไมต้องมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ to cool its reactor. That would mean the government will have to look for other sources of water, inevitably deciding on building more dams or diverting water from the Mekong River. Sodsai believes that the 1,000-MW nuclear power plant planned for Ubon Ratchathani will lead to problems having to do with compensation and impacts to the local way of life and the environment. She expects the nuclear plant will cause even more severe impacts than the dam as the Fukushima nuclear plant disaster in Japan has attested. She was concerned that the water in the dam would be contaminated with radioactive materials, which would greatly affect the farmers whose livelihood depends on rice farming, vegetable growing, fishery and livestock farming. “We must understand that radioactive materials can spread far and wide through the air, soil, forest and the food chain. Everything can be affected. The locals’ livelihood here depends on harvesting natural resources. If the environment and natural resources are contaminated, their lives will be affected too.” Sodsai also warned that people living around the power plant risk getting cancer and other diseases as a result of prolonged exposure to radiation. In addition, she was afraid that the power plant construction would cause conflict among members of the communities, and that many farmers could lose their paddy fields and even lose the market because consumers might be reluctant to buy produces from areas at risk of radioactive contamination.

เสียงชุมชน VOICES OF COMMUNITY

VA.indd 67

1/27/12 11:32 AM


68

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ชาวอ�ำเภอละแม จังหวัดชุมพร เดินขบวนต่อต้านโรงไฟฟ้าถ่านหินและนิวเคลียร์ An demonstration against coal-fired and nuclear power plants by villagers of Lamae district of Chumphon province.

มาทับถมความทุกข์ซ�้ำอีก ทั้งๆ ที่คนใช้ไฟฟ้าส่วนใหญ่อยู่ที่กรุงเทพฯ หรือเขตอุตสาหกรรม” สดใสกล่าว สดใสเล่าว่า กลุ่มศึกษาพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรม ซึ่งเป็น กลุ่มประชาสังคม ได้ลงพื้นที่บ้านหัวสะพาน ที่ถูกเลือกเป็นพื้นที่ ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เพื่อให้ข้อมูลชาวบ้าน รวมทั้งสอบถาม ความเห็นชาวบ้านต่อการประชาสัมพันธ์ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตทีอ่ า้ ง ว่าได้จัดประชุมในพื้นที่แล้ว 30 ครั้ง โดยผู้เข้าร่วมประชุม 8,600 คน เห็นด้วยกับการจะสร้างโรงไฟฟ้า ซึ่งชาวบ้านเล่าว่า ในชุมชนไม่เคยรู้ ว่าจะมีการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทีผ่ า่ นมาการไฟฟ้าฯ เพียงมาแจก แว่นตาและสนับสนุนการพัฒนาในชุมชนตามกลุ่มต่างๆ สดใส ร้องเรียนว่า กระทรวงพลังงานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ให้ ข้อมูลประชาชนเพียงด้านเดียว โดยอ้างความจ�ำเป็นว่าประเทศไทย ต้องมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และนิวเคลียร์ไม่มีผลกระทบใดๆ ในขณะที่ ประชาชนทัว่ ไปยังไม่มขี อ้ มูลเรือ่ งโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “The villagers living around the Sirindhorn Dam had already sacrificed their farmland, livelihood and resources, not to mention their communities and families having fallen apart due to the dam construction. Why should the nuclear power plant construction be allowed to add to their suffering when most power users are in Bangkok or industrial estates.” Sodsai added that a civic group called the Study Group for Fair and Sustainable Energy had visited Ban Hua Saphan, the village which has been earmarked as the construction site for the nuclear power plant, to disseminate information. Earlier, the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) claimed it had organized 30 forums to hear the villagers’ views and that most of the 8,600 participants had agreed with the power plant construction. However, the villagers told the civic group that they were never informed of the construction plan. All the power authority did was distributing eye-glasses to the villagers and initiating a number of community development projects. That was all they did. Sodsai claimed that the Ministry of Energy and EGAT provided only one-sided information about nuclear power, saying there is a need for Thailand to have nuclear power plant and that it has no impact whatsoever. Meanwhile, the villagers did not know or have never been informed about the nuclear power plant construction or related large-scale development projects in their area or in the neighboring countries.

VA.indd 68

และการพัฒนาขนาดใหญ่ทเี่ กีย่ วเนือ่ งกันในพืน้ ทีห่ รือในประเทศเพือ่ น บ้านเลย ด้าน ดร.ชวลิต วิทยานนท์ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสัตว์นำ�้ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา กล่าวถึงความเป็นไปได้ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์บริเวณเขื่อนสิรินธรว่า แม้น�้ำในเขื่อนอาจมีความหลาก หลายของชนิดพรรณไม่สงู นัก แต่นำ�้ ทีร่ อ้ นขึน้ ซึง่ จะปล่อยออกมาจาก โรงไฟฟ้าย่อมมีผลต่อไข่ปลาและสัตว์น�้ำต่างๆ อยู่แล้ว โดยผลกระทบ จะส่งผลทั้งอัตราการรอดตายและการเจริญเติบโตของสัตว์น�้ำ แต่ ป ระเด็ น ส� ำ คั ญ ที่ ดร.ชวลิ ต เป็ น กั ง วลมากกว่ า นั้ น คื อ ผลกระทบจากกัมมันตรังสี “น�ำ้ หล่อเย็นจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ มีหลักประกันมากแค่ไหนที่ จะไม่มกี ารปนเปือ้ นของกัมมันตรังสี โดยเฉพาะมาตรฐานการควบคุม คุณภาพการรับเหมาของไทยที่เป็นค�ำถามอยู่มาก ขนาดญี่ปุ่นซึ่งมี ธรรมาภิ บ าลและมาตรฐานการควบคุ ม คุ ณ ภาพที่ สู ง ที่ สุ ด ในโลก ประเทศหนึ่ง เมื่อเกิดภัยพิบัติอันสุดวิสัย ยังรั่วไหล ถึงขีดอันตราย จนได้ และถ้าหากจะมีการผันน�้ำจากน�้ำโขงเข้ามาในเขื่อนสิรินธรเพื่อ ให้ปริมาณน�ำ้ เพียงพอส�ำหรับความต้องการของโรงไฟฟ้า ก็คงกระทบ ต่อระบบนิเวศอย่างมาก แต่ยงั ไม่เห็นเค้าโครงของเทคโนโลยีและการ ก่อสร้าง วันนี้จึงสรุปได้ยาก “ถ้าน�ำต้นทุนในการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เท่ากันนี้ไปใช้ สนับสนุนและสร้างพลังงานทางเลือกอื่น เช่น ในลักษณะของการซื้อ แผงโซลาเซลล์ ชีวมวล ของเหลือทิง้ หรือพลังงานทดแทนรูปแบบอืน่ ๆ เพื่อน�ำไฟฟ้าเข้าระบบ น่าจะเกิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และ กระทบสิ่งแวดล้อมน้อยกว่ากันมากเลย” ดร.ชวลิต กล่าว n Dr Chavalit Wittayanond, an aquatic life expert at Rajabhaj University at Nakhon Ratchasima, pointed out that while the diversity of aquatic life in the reservoir of the Sirindhorn Dam is not great, the heated water released from the power plant, if it was built, would affect the survival and growth rate of the fish eggs and other aquatic life. However, his main concern is the impact from radioactive materials. “How can you guarantee that the coolant from the power plant will not be contaminated with radioactive materials, particularly when the quality standard and workmanship of the Thai contractors are highly questionable? Even in one of the world’s most advanced nations like Japan, when disaster struck, the leak of radioactive materials was at a dangerous level. If the water from the Mekong River is diverted to the Sirindhorn Dam for the power plant, it will greatly upset the ecosystem in the region. But since I have not seen the technology or the specifications, it is difficult for me to say one way or another. “But if the money to be spent on a nuclear power plant is used instead to support the development of alternative energy sources, such as solar cell, biomass, waste or other renewable energy, to produce electricity, we might well achieve better economic justice and adversely affect the environment to a much less degree,” Dr Chavalit said. n

1/27/12 11:32 AM


สี่แยกไฟเขียว GREEN INTERSECTION กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

69

ต้นทุนและความเสี่ยง ที่มองไม่เห็นของ พลังงานนิวเคลียร์ เดชรัต สุขก�ำเนิด

The Invisible Costs and Risks of Nuclear Power Decharut Sukkumnoed

ภาพจาก nature.com Photo from nature.com

VA.indd 69

1/27/12 11:32 AM


70

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

“ส�ำหรับผู้คนจ�ำนวนมาก พลังงานนิวเคลียร์ดูเหมือน จะเป็นทางเลือกที่ถือว่าสะอาด และสมเหตุสมผลในยุคที่ ทรัพยากรขาดแคลน แต่จาก ประสบการณ์ที่ผ่านมาท�ำให้ เราจ�ำเป็นต้องถามค�ำถามที่ เจ็บปวดว่า เราคิดค�ำนวณ ต้นทุนและความเสี่ยงของ พลังงานนิวเคลียร์ครบถ้วน หรือยัง?”

– นายบัน คี มุน เลขาธิการสหประชาชาติ (ABC News, 2011. “Nuclear Dilemma: Adequate Insurance Too Expensive”)

รงไฟฟ้านิวเคลียร์ถูกเสนอเป็นทางเลือกหนึ่งในการผลิต ไฟฟ้าของประเทศไทย ซึ่งได้บรรจุเข้าไว้ในแผนพัฒนา ก�ำลังการผลิตไฟฟ้า ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 โดยอ้างถึงเหตุผล ด้านความมัน่ คงของระบบไฟฟ้า และต้นทุนการผลิตไฟฟ้า ทีต่ ำ�่ กว่าทางเลือกอืน่ ๆ (ในการจัดท�ำแผนพัฒนาก�ำลังการ ผลิตไฟฟ้าปี พ.ศ. 2550 อ้างถึงต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจาก โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ไว้ที่ 2.08 บาท/หน่วย) แต่อย่างที่ นายบัน คี มุน เลขาธิการสหประชาชาติ ได้กล่าว เตือนไว้ในขณะที่เขาลงเยี่ยมพื้นที่โรงไฟฟ้าเชอร์โนบิล ในประเทศ ยูเครนว่า เราคิดค�ำนวณต้นทุนและความเสี่ยงของพลังงานนิวเคลียร์ นั้นครบถ้วนหรือยัง? เพราะประสบการณ์อันเจ็บปวดในอดีต (รวม ถึงกรณีอุบัติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ) มักตอกย�้ำว่า มนุษยชาติ อาจจะคาดการณ์ตน้ ทุนและความเสีย่ งของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ตำ�่ กว่า ความเป็นจริงอยู่เสมอ บทความฉบับนี้ จึงน�ำเสนอข้อมูลล่าสุดที่เกี่ยวข้องกับประเด็น ส�ำคัญในการประเมินต้นทุนของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 4 ประเด็น ได้แก่ ต้นทุนการก่อสร้าง ต้นทุนทีบ่ านปลาย ต้นทุนการปลดระวางโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ และต้นทุนในการประกันภัย

ต้นทุนการก่อสร้าง

เนื่ อ งจากโครงสร้ า งต้ น ทุ น ของการผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งาน นิวเคลียร์มีลักษณะที่แตกต่างไปจากการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินและ ก๊าซธรรมชาติ ตรงที่ร้อยละ 70-80 ของต้นทุนทั้งหมดของการผลิต

VA.indd 70

“To many, nuclear energy looks to be a relatively clean and logical choice in an era of increasing resource scarcity. Yet the record requires us to ask painful questions: have we correctly calculated its risks and costs?” – U.N. Secretary-General Ban Ki-moon (ABC News, 2011. “Nuclear Dilemma: Adequate Insurance Too Expensive”)

T

hailand has included in its Power Development Plan (PDP) since 2007 the setting up of nuclear power plants as an option for energy generation. The reasons are: it would bring security to the electricity system and the lower costs incurred compared with other options. (The 2007 PDP puts the cost of producing electricity from nuclear power at 2.05 baht per unit.) However, as Ban Ki-moon cautioned during an inspection of the power plant at Chernobyl in Ukraine that painful past experience – including the incident earlier this year at Fukushima in Japan – has shown that humanity may have underestimated the costs and risks of nuclear power plants. This article therefore presents the latest data on four important points on the assessment of nuclear power plants: construction costs, cost overruns, costs of plant decommission and insurance costs. Construction Costs The structure of costs in building a nuclear power plant differs from those of building one fuelled by coal or natural gas in that 70-80% of the costs weigh on the initial investment. The costs of fuel and operation are low by comparison. Therefore the construction costs are the main expenses in the investment cost.

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

ไฟฟ้าด้วยพลังงานนิวเคลียร์เป็นค่าใช้จ่ายในการลงทุน หรือ investment cost ส่วนต้นทุนค่าเชื้อเพลิงและต้นทุนค่าปฏิบัติการถือว่า มีสัดส่วนน้อยมาก ดังนั้น จุดส�ำคัญของต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานนิวเคลียร์ก็คือ ต้นทุนค่าก่อสร้าง ซึ่งเป็นต้นทุนหลักในค่า ใช้จ่ายในการลงทุน ปัญหาส�ำคัญคือ การก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ค่อนข้างจะ มีลักษณะเฉพาะแล้วแต่กรณี ดังนั้น ต้นทุนค่าก่อสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ในแต่ละโรง และในแต่ละประเทศก็จะแตกต่างกันด้วย แต่จากข้อมูลล่าสุดมีการประมาณการณ์กันว่า ต้นทุนค่าก่อสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะตกประมาณ 3,000 - 6,000 เหรียญสหรัฐต่อ กิโลวัตต์ ซึ่งความแตกต่างกันดังกล่าวก็จะส่งผลกระทบต่อต้นทุน ค่าไฟฟ้าที่ผลิตมาด้วย ในปี พ.ศ. 2546 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาจูเสตหรือ MIT

71

September - December 2011

ได้ทำ� การทบทวนต้นทุนค่าก่อสร้างของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทวั่ โลก รวม ถึงในญีป่ นุ่ และเกาหลีใต้ดว้ ย พบว่า ต้นทุนค่าก่อสร้างในปีดงั กล่าวจะ ตกประมาณ 2,000 เหรียญสหรัฐต่อกิโลวัตต์ ส่งผลให้ตน้ ทุนการผลิต ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์นั้นตกประมาณ 6.7 เซนต์/หน่วยไฟฟ้า หรือประมาณ 2.00 บาท/หน่วยไฟฟ้า แต่เมื่อ MIT ได้ท�ำการศึกษาใหม่อีกครั้งในปี พ.ศ. 2551 พบว่า การเพิ่มขึ้นของราคาสินแร่ต่างๆ และการปรับปรุงมาตรฐานความ ปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ส่งผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์เพิ่มขึ้นเกือบหนึ่งเท่าตัว จาก 2,000 กลายเป็น 4,000 เหรียญสหรัฐต่อกิโลวัตต์ (โดยปรับลดผลของเงินเฟ้อแล้ว) ท�ำให้ตน้ ทุน ค่าไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เพิ่มขึ้นเป็น 8.4 เซนต์ต่อหน่วยไฟฟ้า หรือประมาณ 2.50 บาท/หน่วยไฟฟ้า (Du, Y. and J.E. Parsons. 2009. “Update on the Cost of Nuclear Power, Massachusetts Institute of Technology”) จากการสรุปของ MIT พบว่า ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์มิได้เป็นทางเลือกในการผลิตไฟฟ้าที่มีต้นทุนต�่ำที่สุด ดังที่ อุตสาหกรรมนิวเคลียร์มักจะกล่าวอ้างกัน

งบบานปลาย

Still under construction, the Olkiluoto nuclear power plant in Finland was supposed to have started operation in 2009. The project suffers from cost overruns, a typical problem of other nuclear power plant projects.

ปัญหาทีส่ ำ� คัญในแง่เศรษฐศาสตร์ของอุตสาหกรรมนิวเคลียร์คอื การออกแบบก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต้องออกแบบเฉพาะส�ำหรับ แต่ละโรง แทนที่จะมีแบบแปลนมาตรฐาน ซึ่งท�ำให้ต้นทุนในการ ออกแบบ และต้นทุนในการก่อสร้างสูงขึ้น และยังประสบกับปัญหา ความยุ่งยากในการขออนุมัติและการก�ำกับดูแลเรื่องความปลอดภัย ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่ละโรง จนกลายเป็นต้นเหตุส�ำคัญของ ความล่าช้าในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และปัญหางบประมาณ บานปลายตามมา

A main problem is the construction of a nuclear power plant tends to be special to that particular installation. Therefore the costs of building a plant vary from place to place, from country to country. However, latest data indicate that the costs of building a nuclear power plant amounts to US$3,000-6,000 per kilowatt (KW). The differences will have an impact on the costs of electricity produced by the plant. In 2003, the Massachusetts Institute of Technology (MIT) reviewed the construction of nuclear power plants worldwide, including those in Japan and Korea. It found that the costs amounted to $2,000 per KW in that year for construction, with production amounting to 6.7 US cents (or about 2 baht per electricity unit). In a later survey in 2008, MIT found that the costs of minerals and adjusting safety measures at nuclear plants had led to the doubling of construction costs, from $2,000 to $4,000 per KW (inflation having been factored in). This hiked up production costs to 8.4 cents or about 2.5 baht per electricity unit. (Du, Y. and J.E. Parsons. 2009. “Update on the Cost of Nuclear Power, Massachusetts Institute of Technology”) MIT’s conclusion: Generating electricity by nuclear power is not the cheapest option as people tend to say.

Cost Overruns A main problem in terms of economics for the nuclear industry is the question of design, which must be particular to each individual plant, rather than a standard plan. This raises the costs of design and construction, and runs into problems of approval and management of the safety of each nuclear power plant, causing a major delay in the plant construction, and unforeseen costs that will follow. The Olikuluoto-3 project in Finland is a case in point. It was the first nuclear power plant in Western Europe after the disaster at the Chernobyl power plant. At the time this was considered the flagship in the nuclear industry, with electricity distribution expected to kick into the system in May 2009. But the construction turned out to be the opposite. After four years’ work, beginning in 2005, construction was found to proceed later than planned by 3.5 years, with construction costs rising from 3 billion euros to 5 billion euros, or by 55%. This meant that the costs had risen to US$4,000 per KW. That raised debate in Finland as to who would be responsible for these cost overruns. That’s why Professor Stephen Thomas, an energy policy expert at the University of Greenwich Business

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Olkiluoto ในประเทศฟินแลนด์ยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ทั้งที่ ตามแผนต้องพร้อมเดินเครื่องเมื่อปี พ.ศ. 2552 โครงการนี้ประสบปัญหางบ บานปลายเหมือนกับอีกหลายๆ โครงการ

สี่แยกไฟเขียว Green Intersection

VA.indd 71

1/27/12 11:32 AM


72

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ตัวอย่างเช่น โครงการโรงไฟฟ้า Olikiluoto-3 ที่ฟินแลนด์ ซึ่ง เป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์โรงแรกในยุโรปตะวันตก หลังจากอุบัติภัยที่ โรงไฟฟ้าเชอร์โนบิล จนมักถือกันว่า โรงไฟฟ้าแห่งนี้เป็นเรือธงของ อุตสาหกรรมนิวเคลียร์ เดิมที่คาดกันว่า โรงไฟฟ้านี้จะเริ่มจ่ายไฟฟ้า เข้าระบบในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552 ที่ผ่านมา แต่สถานการณ์ การก่อสร้างจริงกลับตรงกันข้าม หลังการก่อสร้างมาแล้ว 4 ปี (เริ่ม จากปี พ.ศ. 2548) พบว่า การก่อสร้างล่าช้ากว่าก�ำหนดประมาณ 3 ปีครึ่ง ขณะที่งบประมาณการก่อสร้างก็เพิ่มขึ้นจากเดิมประมาณ 3 พันล้านยูโร กลายเป็นเกือบ 5 พันล้านยูโร หรือเพิ่มขึ้นประมาณ ร้อยละ 55 และเท่ากับว่ามีต้นทุนค่าก่อสร้างสูงถึงประมาณ 4,400 เหรียญต่อกิโลวัตต์ จนกลายเป็นประเด็นถกเถียงกันในฟินแลนด์ว่า ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต้นทุนที่บานปลายขึ้นมานี้ ศาสตราจารย์สตีเฟน โธมัส (Stephen Thomas) ซึ่งเป็น ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านนโยบายพลังงานทีว่ ทิ ยาลัยธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรีนวิช จึงสรุปว่า “Olikiluoto-3 กลายเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่า ทุกสิ่ง เกี่ยวกับการสร้างเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ใหม่สามารถกลายเป็นข้อผิด พลาดทางเศรษฐกิจได้ทั้งสิ้น” ด้ ว ยเหตุ นี้ นายจอห์ น ดั บ เบิ ล ยู โรว์ (John W. Rowe) ประธานสถาบันพลังงานนิวเคลียร์จึงสรุปว่า “ประเทศเรา (หมาย ถึง สหรัฐอเมริกา-ผู้เขียน) ต้องการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นอย่างมาก เพื่อจัดการกับปัญหาภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง) แต่เป็นโครงการที่แพง และเสี่ยงมาก” ผูบ้ ริหารบริษทั สาธารณูปโภคหลายคนย�ำ้ ว่า ผูก้ อ่ สร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ไม่เต็มใจที่จะผูกมัดตนเองไว้กับราคาที่ตั้งไว้คงที่ (หมายถึง ราคาที่ตกลงและโฆษณากันไว้นั้น-ผู้เขียน) รวมถึงไม่อยากผูกมัดกับ ก�ำหนดเวลาทีต่ ายตัว (ซึง่ แปลว่า ไม่อยากผูกมัดว่าจะก่อสร้างเสร็จใน เวลาใด-ผูเ้ ขียน) (ข้อมูลจากไทยแลนด์ BusinessWeek, “Nuclear’s Tangled Economics”, 26 มิถุนายน 2551) School, concluded “Olkiluoto has become an example of all that can go wrong in economic terms with new reactors.” For this reason John W. Rowe, chairman of the Nuclear Energy Institute, said the US “badly needs new nuclear plants to deal with the climate issue. But they are very expensive, very high-risk projects.” Builders of the power plants, utility executives say, are unwilling to commit to fixed prices set (meaning the price agreed and advertised – writer) and fixed schedules (which means they don’t want to commit to the time frame for finishing the construction work – writer). (Thailand BusinessWeek, 26 June 2008, “Nuclear’s Tangled Economics”) Costs of Decommission Another issue that is widely debated is the costs of decommissioning a nuclear power plant. By decommissioning we mean the removal of a plant and the insurance that the grounds on which it stands holds a safe level of radioactivity after its usefulness has expired. In general, an old nuclear power plant is operative for 30 years. The newer ones can be at work for 45-60 years. The problem is the costs are very high for decommissioning a nuclear power plant to a level that is safe.

VA.indd 72

ต้นทุนการปลดระวาง

ต้นทุนการปลดระวางโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กเ็ ป็นประเด็นทีถ่ กเถียง กันมากเช่นกัน โดยในที่นี้การปลดระวางโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นการ รื้อถอนและการด�ำเนินการให้พื้นที่ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นพื้นที่ ที่มีระดับกัมมันตภาพรังสีอยู่ในระดับปลอดภัย หลังจากที่หมดอายุ ใช้งานแล้ว โดยทั่วไปโรงไฟฟ้านิวเคลียร์รุ่นเก่ามีอายุใช้งานประมาณ 30 ปี ส่วนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์รุ่นใหม่มีอายุใช้งานประมาณ 45-60 ปี ปัญหาส�ำคัญคือ การปลดระวางโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ให้อยู่ใน ระดับที่ปลอดภัยนั้นมีต้นทุนที่สูงมาก ตัวอย่างเช่น ในฝรั่งเศสที่มีการ ปลดระวางโรงไฟฟ้าเบรนนิลิส ขนาด 70 เมกะวัตต์ ซึ่งมีต้นทุนการ รื้อถอนสูงถึง 480 ล้านยูโร (หรือเกือบ 20,000 ล้านบาท) ซึ่ง สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้เดิมถึง 20 เท่า แม้กระนั้นการปลดระวาง โรงไฟฟ้านีก้ ย็ งั ประสบปัญหาการปนเปือ้ นของพลูโตเนียม ซีเซียม-137 และโคบอล์ท-60 ลงสู่แหล่งน�้ำโดยรอบ ในอังกฤษ หน่วยงานที่รับผิดชอบการปลดระวางโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์แห่งสหราชอาณาจักร พบว่า ต้นทุนในการรือ้ ถอนโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ 19 โรงอาจจะสูงถึง 70,000 ล้านปอนด์ และอาจต้อง พบกับปัญหาต้นทุนบานปลายตามมา จนมีการตัดสินใจที่จะทยอย รือ้ ถอน โดยใช้เวลาในการด�ำเนินการนานถึง 50 ปีกว่าจะเสร็จสมบูรณ์ ในสหรัฐ การไฟฟ้าต่างๆ มีการประมาณการณ์กนั ว่า ต้นทุนการ ปลดระวางโรงไฟฟ้านิวเคลียร์น่าจะอยู่ที่ 325 ล้านเหรียญสหรัฐหรือ ประมาณ 9,400 ล้านบาทต่อเตาปฏิกรณ์ ขณะเดียวกันในยุโรปก็มีการประมาณการณ์กันว่า ต้นทุนการ ปลดระวางโรงไฟฟ้านิวเคลียร์โดยเฉลี่ยประมาณ 200-500 เหรียญ สหรัฐต่อกิโลวัตต์ นั่นหมายความว่า หากประเทศไทยจะโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาด 1,000 เมกะวัตต์ จ�ำนวน 5 โรง ก็จะต้องเตรียมต้นทุนค่าปลดระวาง For example, the decommissioning of the Brennilis EL-4 power plant in France, with a capacity of 70 megawatts, cost as much as 480 million euros (or almost 20 billion baht). That was 20 times the costs estimated. Even so decommissioning of this plant was beset with contamination of nearby water sources by plutonium, cesium-137 and cobalt-60. In England, the authority charged with the decommissioning of nuclear power plants estimated that removal and withdrawal of 19 plants might cost as much as 70,000 million pounds. And the authority believed it would meet with cost overruns. Therefore the authority decided to stagger the removals, expecting to take more than 50 years until all the plants are decommissioned. In the US, electricity authorities estimated that the costs of decommissioning nuclear plants should amount to US$325 million, or about 9.4 billion baht, per nuclear reactor. Europe also estimates that decommissioning would cost on average US$200-500 per KW. All these pointers mean that if Thailand is to build five nuclear power plants, each with a capacity to produce 1,000 MW, the country will have to prepare decommissioning costs of US$200-500 million or 6-15 billion

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

ประมาณ 200-500 ล้านเหรียญ/โรง (หรือ 6,000-15,000 ล้านบาท/ โรง) หรือรวมทั้ง 5 โรง ก็จะมีต้นทุนสูงถึง 30,000-75,000 ล้านบาท เลยทีเดียว จริ ง ๆ แล้ ว ในสหรั ฐ อเมริ ก าและในยุ โรปมี ก ารเก็ บ เงิ น จาก โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่ละโรงเข้ากองทุนเพื่อการปลดระวางโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ แต่ล่าสุดคณะกรรมาธิการก�ำกับดูแลโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ของสหรัฐอเมริกาพบว่า เงินที่เก็บเข้ากองทุนจากโรงไฟฟ้าแต่ละโรง นั้นต�่ำเกินไป ไม่พอที่จะจ่ายต้นทุนในการปลดระวางจริง เช่นเดียว กับในทวีปยุโรป ซึ่งพบปัญหานี้เช่นกัน

ต้นทุนการประกันสาธารณภัย

เหตุการณ์อบุ ตั ภิ ยั โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟกุ ชุ มิ ะ-ไดอิชิ นอกจากจะ ชีใ้ ห้เห็นความเสีย่ งของการใช้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แล้ว ยังชีใ้ ห้เห็นถึงจุด อ่อนส�ำคัญของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อีกจุดหนึ่งนั่นคือ ระบบประกันภัย จากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ท�ำไว้ไม่ครอบคลุมมูลค่าความเสียหายจริง เนื่องจากโรงไฟฟ้าแห่งนี้ไม่ได้ท�ำประกันสาธารณภัยเอาไว้เลย ทิ้งให้ ภาระในการชดเชยและฟื้นฟูทั้งหมด (ซึ่งยังมิอาจสรุปได้หมดในขณะ นี้) กลายเป็นภาระของประชาชนผู้เสียภาษีชาวญี่ปุ่น ในความเป็นจริงแล้ว ปัญหาเช่นนี้ได้เกิดขึ้นมาก่อนแล้ว และยัง คงด�ำรงอยู่จนกระทั่งปัจจุบัน นั่นคือ การที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต่างๆ ท�ำประกันไว้ต�่ำกว่ามูลค่าความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจริงมาก เพื่อ ลดต้นทุนค่าเบี้ยประกันรายปีของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลง ตัวอย่างเช่น กรณีอุบัติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิล ใน ประเทศยูเครน เมื่อปี พ.ศ. 2529 ได้สร้างความเสียหายทางสุขภาพ baht per plant. In other words, decommissioning of all five would cost 30 to 75 billion baht. The truth is the US and Europe have collected fees from each nuclear power plant to make up a fund for the decommissioning of the plants. But of late, the US Nuclear Regulatory Commission found that the money going into the fund is too low, inadequate for paying the costs of decommissioning in reality. Europe found a similar problem. Costs of Insurance against Disasters The fiasco at Fukushima-Daiichi in Japan did not only show the risk of using nuclear power. It showed another flaw: the insurance system in place did not cover the damages in reality. That’s because the plants did not take out a policy on pubic disaster insurance. This leaves the burden of compensation and rehabilitation (which cannot yet be estimated) on the shoulders of Japanese taxpayers. In fact, this kind of incident has happened before and still persists, that is nuclear power plants take out policies that are far below the costs of damages that might ensue. This is in order to reduce annual insurance fees paid by the nuclear power plant. For example, the accident at the Chernobyl power plant in Ukraine in 1990 caused damages to people’s health and the country’s economy to the tune of 7.6 trillion euros. This is a reference case for damages that may occur due to other nuclear disasters. But at present

73

September - December 2011

และทางเศรษฐกิจคิดเป็นมูลค่าปัจจุบันประมาณ 7.6 ล้านล้านยูโร ซึ่งถือเป็นกรณีอ้างอิงส�ำหรับความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นได้จาก อุบัติภัยนิวเคลียร์ แต่ปัจจุบันโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศเยอรมนี กลับถูกก�ำหนดให้ตอ้ งท�ำประกันภัยโดยครอบคลุมมูลค่าเสียหายเพียง แค่ 2,500 ล้านยูโร (หรือประมาณ 100,000 ล้านบาท) หรือประมาณ ร้อยละ 0.03 ของมูลค่าความเสียหายทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น จากการค�ำนวณของ นายโอลาฟ โฮเมเยอร์ นักเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเฟลนซ์เบิรก์ ประเทศเยอรมนี พบว่า การครอบคลุม ค่าเสียหายทุกหนึ่งล้านล้านยูโร โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่ละโรงจะต้อง เสียค่าเบีย้ ประกันรายปีประมาณ 4,700 ล้านยูโร (ประมาณ 190,000 ล้านบาท/ปี) เพราะฉะนั้น หากจะให้ครอบคลุมมูลค่าความเสียหายที่เกิด ขึ้นทั้งหมด 7.6 ล้านล้านยูโร (โดยเทียบเคียงจากกรณีโรงไฟฟ้า เชอร์โนบิล) โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่ละโรงก็จะต้องเสียค่าเบี้ยประกัน ประมาณ 35,000 ล้านยูโร หรือ 1.5 ล้านล้านบาท ดังนัน้ จึงมีคำ� กล่าวว่า “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะเป็นทางเลือกทีเ่ ป็น ไปได้ทางเศรษฐกิจ ก็ตอ่ เมือ่ ธุรกิจโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ไม่จำ� เป็นต้องจ่าย ค่าเบีย้ ประกันจนครอบคลุมความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ทัง้ หมด” ตัวอย่างจริงในประเทศเยอรมนี ปัจจุบนั โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เสียค่า เบีย้ ประกันเพียง 12 ล้านยูโร ซึง่ คิดเป็นค่าไฟฟ้าแล้วประมาณ 0.008 ยูโรเซนต์/หน่วยไฟฟ้า เทียบกับค่าไฟฟ้า 22 ยูโรเซนต์/หน่วยไฟฟ้า แต่ถ้าต้องการให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต้องประกันความเสียหาย ถึง 100,000 ล้านยูโร ก็จะต้องเสียค่าเบี้ยประกันเพิ่มขึ้นเป็น 3.2 ยูโร/หน่วยไฟฟ้า (หรือเพิ่มขึ้นกว่า 145 เท่า) ซึ่งหากต้องเสียค่าเบี้ย nuclear power plants in Germany have been required to take out insurance policies of only 2.5 billion euros (amounting to 100 trillion baht) or 0.03% of the damages that may be incurred. According to calculations by Dr Olaf Hohmeyer, a professor of energy economics at the University of Flensburg, Germany, for every trillion euros caused in damage a nuclear power plant has to pay 4.7 billion euros per year in insurance policy (or close to 50 billion baht a year). Therefore, if damages amounting to 7.6 trillion euros are to be covered (taking the Chernobyl disaster as a yardstick), each nuclear power plant has to pay insurance premiums amounting to 35 billion euros (or 1.5 trillion baht). Hence, the saying: “nuclear power plants will be feasible economically if they don’t have to pay insurance premium that cover all damages.” In reality, German nuclear power plants pay only 12 million euros or only 0.008 euro cents/electrical unit compared to the electricity charge of 22 euro cents/electrical unit. But if you want to insure the power plant up to 100 billion euros you will have to pay a premium of 3.2 euros per unit of electricity, or 145 times more. Paying insurance commensurately would thus mean nuclear power is a very expensive option. That’s why several governments have to subsidise nuclear power plants by letting these plants pay insur-

สี่แยกไฟเขียว Green Intersection

VA.indd 73

1/27/12 11:32 AM


74

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ประกันตามนัน้ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์กจ็ ะเป็นทางเลือกในการผลิตไฟฟ้า ที่แพงเอามากๆ ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลหลายประเทศจึงต้องอุ้มโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เอาไว้ โดยยอมให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศของตนเองจ่ายค่าเบีย้ ประกันต�่ำกว่าความเป็นจริง และในส่วนที่เหลือรัฐบาล (หรือในบาง กรณีจะให้การไฟฟ้าในประเทศนั้น) รับภาระเอาไว้เอง ยกตั ว อย่ า งเช่ น สหรั ฐ อเมริ ก ามี ก ฎหมายระบุ ใ ห้ โรงไฟฟ้ า นิวเคลียร์แต่ละแห่งต้องท�ำประกันภัยครอบคลุมความเสียหาย 375 ล้านเหรียญสหรัฐ บวกกับการก�ำหนดให้การไฟฟ้าฯ ต่างๆ ต้องพร้อม ที่จะจ่ายความเสียหายจากอุบัติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์รวม 12,600 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือเท่ากับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่ละแห่งมีส่วนรับ ภาระเพียงประมาณร้อยละ 3 ของมูลค่าความเสียหายที่การไฟฟ้า จะรับผิดชอบเท่านั้น ในกรณีของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 58 โรง ซึ่ง ก�ำหนดให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่ละโรงต้องท�ำประกันครอบคลุมความ เสียหาย 91 ล้านยูโร ส่วนรัฐบาลจะต้องรับผิดชอบโดยประกันความ เสียหายเพิ่มเติมคิดเป็นมูลค่าถึง 228 ล้านยูโร ในกรณีของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้เพิม่ มูลค่าการรับประกัน ความเสียหายของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่ละโรงเพิม่ ขึน้ จาก 1,000 ล้าน ฟรังค์ เป็น 1,800 ล้านฟรังค์ ในขณะที่หน่วยงานรัฐบาลประเมินว่า ความเสียหายจากกรณีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิลน่าจะสูงถึง 4 ล้านล้านฟรังค์ ance lower than in reality. The governments or the countries’ electricity authorities would bear the remainder of the liabilities. For example, the US stipulates by law that each nuclear power plant must pay insurance amounting to $375 million. In addition, utility authorities have to be ready to pay damages amounting to $12.6 billion in the event of an accident. In other words, each nuclear power plant has to shoulder only one third of damages that might arise. France, which has as many as 58 nuclear power plants, requires each to have insurance coverage amounting to 91 million euros. The government pays an additional 228 million euros in coverage. Switzerland has raised the insurance coverage for each nuclear power plant from 1 billion francs to 1.8 billion francs, while state agencies estimate that damages from the disaster at Chernobyl should be as high as 4 trillion francs. From the difference between the costs of damages that may occur in reality and the damages insured by nuclear power plants, it is clear that nuclear power plants survive by transferring the risks of public disasters to the general public. Not being able to adequately assess the costs of a nuclear power plant project in the four important areas is not the only problem. Options and the costs of nuclear waste management is another major problem. It is clear then why Ban Ki-moon posed the very important question of whether all the costs and risks have been thor-

VA.indd 74

จากความแตกต่างระหว่างมูลค่าความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น จริงกับมูลค่าความรับผิดชอบความเสียหายทีโ่ รงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้ท�ำ ประกันเอาไว้ จะเห็นได้ชัดว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อยู่รอดได้ ก็ด้วยการ ผลักภาระความเสีย่ งจากสาธารณภัยไว้ให้สาธารณชนต้องรับผิดชอบ การค�ำนวณต้นทุนที่ไม่ครบถ้วนใน 4 ประเด็นที่ส�ำคัญไม่ใช่เป็น เพียงปัญหาเดียวของโครงการก่อสร้างของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ การ หาทางเลือกและต้นทุนในการจัดการกากนิวเคลียร์ก็เป็นปัญหาใหญ่ อีกปัญหาหนึ่ง ด้วยเหตุนี้ ค�ำเตือนของ นายบัน คี มุน ที่ว่า “เราคิด ค�ำนวณต้นทุนและความเสีย่ งครบถ้วนแล้วหรือยัง?” จึงเป็นค�ำถามที่ ส�ำคัญมาก เพราะการคิดค�ำนวณต้นทุนและความเสี่ยงที่ไม่ครบถ้วน ก็คือ การบังคับให้สาธารณชนต้องรับภาระต้นทุนและความเสี่ยงเมื่อ ปัญหาต่างๆ อุบัติขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างที่ล่าช้า งบบานปลาย การรื้อถอนโรงไฟฟ้า หรืออุบัติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ก็ตาม การคิดค�ำนวณต้นทุนและความเสี่ยงของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จึงเป็นประเด็นส�ำคัญที่สังคมไทยต้องขบคิดกันให้ชัดเจน ดีกว่าที่จะ เร่งรีบตัดสินใจเดินหน้าโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยมีต้นทุนและ ความเสี่ยงที่มองไม่เห็นรอคอยอยู่เบื้องหน้า n ดร. เดชรัต สุขก�ำเนิด เป็นอาจารย์ที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ติดต่อได้ที่ tonklagroup@yahoo.com

เรื่องความคุ้มทุนระหว่างพลังงานนิวเคลียร์และพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงาน ลม ยังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง

The comparative cost advantage of nuclear power and renewable energy such as wind power continues to be a subject of intense debate.

oughly and adequately taken into account. Such failure means the public will be forced to shoulder the costs and risks when problems arise, be it delayed construction, cost overrun, decommissioning, or accidents. The assessment of costs and risks in a nuclear power plant is therefore a point that Thai society has to think through. It is better than to rush into a decision to build nuclear power plants with unforeseen costs and risks lying ahead. n Decharut Sukkumnoed, PhD, is a lecturer at the Economics Faculty, Kasetsart University. He may be contacted at tonklagroup@yahoo.com.

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

75

September - December 2011

กิActivities จกรรมกรม of the Department เปิดตัวคู่มือความหลากหลายทางชีวภาพ ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร

Launch of Handbooks of Biodiversity at Sirindhorn International Environmental Park ย้อนไป 50 กว่าปีทแี่ ล้ว ป่าเบญจพรรณในทิศตะวันตกของ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี มีต้นน�้ำที่หลั่งไหลเป็นสายน�้ำ มาถึงชายฝัง่ ทะเลฝัง่ ตะวันออกท�ำให้มปี า่ ชายเลนขึน้ อยูห่ นาแน่น เป็นระบบนิเวศต้นน�ำ้ ถึงปลายน�ำ้ ทีม่ ที รัพยากรธรรมชาติ ทัง้ ป่าไม้และสัตว์ป่าอุดมสมบูรณ์ ในอดีต

แต่ภายหลังป่าไม้ถูกท�ำลายจนเหลือพื้นที่ป่าเล็กน้อยอยู่บน ยอดเขา ฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาล กลายเป็นพื้นที่อับฝน ดิน เสื่อมโทรม พืชพันธุ์ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ กระทั่งกลายเป็นพื้นที่ รกร้าง พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ฯ รัช กาลปัจจุบัน ทรงทอด พระเนตรเห็นความเสื่อมโทรมในพื้นที่ ทรงมีพระราชปรารภว่า หากปล่อยให้เป็นเช่นนี้ต่อไปพื้นที่จะกลายเป็นทะเลทราย จึงทรงมี พระราชด�ำริให้จัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายขึ้นในปี 2526 เพื่อฟื้นฟูป่า โดยสร้างอ่างเก็บน�้ำ ใช้ระบบป่าเปียกเก็บกักน�้ำและ ตะกอนดินไว้บางส่วน ปลูกป่าไม้โตเร็ว ไม้ผล และไม้เศรษฐกิจ ควบคู่

F

ifty years ago, the deciduous forest to the west of Phetchaburi’s Cha-am District was home to streams that flowed all the way to the eastern coast, giving rise to a dense mangrove forest. It was a complete ecosystem from the headwater to the sea that once teemed with forest resources and wildlife. However, widespread deforestation interfered with the climate, disrupting the rain pattern and turning the area into almost a waste land, its top soil depleted and unsuitable for plant growth. After witnessing such deterioration, His Majesty the King lamented that the land would turn into desert if it was left to its fate. In 1983, the Huai Sai Royal Development Study Center under the royal initiative was established to restore the forest. A reservoir was constructed and fast-growing trees were planted upstream to trap the sediment. Other fruit trees and hard-wood trees were

ผู้ร่วมการสนทนาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร คือ (จากซ้าย) คุณปฐวี คุณสมิทธิ์ อธิบดีพรทิพย์ และคุณสาวิตรี

Discussing biodiversity at the Sirindhorn International Environmental Park are, from left, Mr Patawi, Mr Smith, Director-General Pornthip, and Ms Savitree.

กิจกรรมกรม Activities of the Department

VA.indd 75

1/27/12 11:32 AM


76

VA.indd 76

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ไปกับการปล่อยให้ป่าเดิมได้ฟื้นตัวด้วยตัวเองเพื่อคงลักษณะของ ป่าธรรมชาติในพื้นที่ไว้ นับแต่นั้นมา ป่าเบญพรรณและป่าเต็งรังค่อยๆ กระจายออกไป บนพื้นที่ 15,882 ไร่ของโครงการ ตั้งแต่เขาลูกโดดต่างๆ ไล่ลงมาถึง พื้นราบ มีพรรรณพืชทั้งสิ้น 70 วงศ์ 184 สกุล 241 ชนิด เมื่อผืนป่าห้วยทรายเริ่มฟื้นตัว ในปี 2537 สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานพระราชด�ำริ ให้ จัดการพืน้ ทีท่ ดลองปลูกและฟืน้ ฟูสภาพป่าชายเลน เพือ่ ให้ระบบนิเวศ ป่าชายเลนกลับคืนสู่ธรรมชาติ จากสภาพเดิมของป่าชายเลนปลายคลองบางตราน้อย และ คลองบางตราใหญ่ ที่ถูกท�ำลายไปจากการเสียสมดุลของธรรมชาติ

เริม่ ตัง้ แต่การขุดลอกคลองบางตราน้อย-บางตราใหญ่ เพือ่ ให้การไหล เวียนของน�้ำจืดจากบนบกและน�้ำเค็มจากทะเลมาเชื่อมต่อกันอีกครั้ง ต่อจากนั้นจึงเริ่มปลูกป่าชายเลนขึ้นในพื้นที่ ปัจจุบัน แสมทะเล ฝาดขาว โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ และ โพทะเล ยืนต้นเจริญเป็นพรรณไม้ดัชนีที่บ่งชี้ถึงการฟื้นตัวของป่า ชายเลน และผืนป่าชายเลนแห่งนีเ้ ป็นแหล่งเรียนรูท้ สี่ ำ� คัญของอุทยาน สิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธรในเวลาต่อมา จวบจนปัจจุบัน ป่าเบญจพรรณ ป่าชายเลน ป่าชายหาด ที่เคย เสื่อมโทรมในอดีต ได้รับการฟื้นฟูจนกลายเป็นระบบนิเวศป่าต้นน�้ำ ป่าบก และป่าชายเลนที่เชื่อมต่อสัมพันธ์ โดยในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาห้วยทรายฯ มีปา่ ปกคลุม 2 ชนิด คือ ป่าเต็งรัง 4,016.57 ไร่ และ

planted while the remaining natural forest was left to rejuvenate by itself. Since then, the mixed deciduous and the dry dipterocarp forest has continued to multiply on the 15,882 rai of the project area. The trees spread from the mountain top to the plain below and account for over 70 families, 184 genus and 241 species of flora. When the Huai Sai forest complex is restored, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn initiated a land management scheme to restore the mangrove forest. In 1994, the whole ecosystem started to come back to life. The mangroves along the Bangtra Noi and Bangtra Yai canals were once completely destroyed to the point of upsetting the eco-equilibrium. The dredging of both canals links the fresh water from inlands and the salt water from the sea. Once the dredging is completed, the mangrove forest began its march to normalcy. Presently, samae talay (Avicennia marina), faad khao (Lumnitzera racemosa Willd), kongkaang bai lek (Rhizophora apiculata) and kongkaang bai yai (Rhizophora mucronata) and Portia tree (Thespesia populnea) stand tall as the indisputable indicators of the restored mangrove forest. This par-

ผู้ร่วมงานเปิดตัวหนังสือคู่มือลงพื้นที่ศึกษาป่าชายเลนที่ฟื้นตัวแล้ว

Participants of the handbook launch on the nature trail in the restored mangrove forest

cel of land has since become an important nature study center of the Sirindhorn International Environmental Park. Nowadays, the mixed deciduous, mangrove and the beach forests that were once depleted have been fully revived, making up a complete ecosystem of upstream forest at the head water, dry forest in between and mangrove forest downstream that are inter-connected. The Huai Sai Royal Development Study Center includes two types of forests: the dry dipterocarp forest covering 4,016.57 rai and the mixed deciduous forest covering 2,530.88 rai. The Sirindhorn International Environmental Park covers three types of forests: the mangrove forest covering 189.68 rai, the beach forest covering 136.61 rai and the rejuvenated forest covering 362.73 rai. During 2007-2008, the Faculty of Forestry of Kasetsart University in collaboration with the Department of Environmental Quality Promotion (DEQP) launched a survey and found 103 species of birds, 11 species of

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

ป่าเบญจพรรณ 2,530.88 ไร่ ส่วนพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติ สิรินธร มีพื้นที่ป่าปกคลุม 3 ชนิด ได้แก่ พื้นที่ป่าชายเลน 189.68 ไร่ ป่าชายหาด 136.61 ไร่ และป่าฟื้นฟูทดแทน 362.73 ไร่ ในระหว่างปี พ.ศ 2550-2551 คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้ท�ำการ ส�ำรวจชนิดพรรณ พบนก 103 ชนิด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 11 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน 15 ชนิด สัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบก 11 ชนิด และ แมลงอีก 118 ชนิด ล่าสุด กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อมได้นำ� การศึกษาในครัง้ นัน้ มาพัฒนาและจัดท�ำเป็น หนังสือชุดคูม่ อื ความหลากหลายทางชีวภาพ จากห้วยทรายถึงชายทะเล ฉบับพกพาส�ำหรับประชาชน ประกอบ ด้วยสือ่ การเรียนรูจ้ ำ� นวน 3 เรือ่ ง ได้แก่ ป่าไม้และพรรณพืช เขียนโดย แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา นกและสัตว์ปา่ เขียนโดย สมิทธิ์ สูตบิ ตุ ร และ ปลาและชีวติ ในน�ำ้ เขียนโดย นณณ์ ผาณิตวงศ์ ตามวัตถุประสงค์เพือ่ ให้ชดุ คูม่ อื ฯ นีเ้ ป็นสือ่ การเรียนรูค้ วามหลากหลายทางชีวภาพในพืน้ ที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายจนถึงอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติ สิรนิ ธร โดยกลุม่ เป้าหมายผูใ้ ช้ชดุ คูม่ อื ฯ นี้ จะเป็นครูหรือผูจ้ ดั กิจกรรม ภาคสนามให้กบั เยาวชนให้สามารถเข้ามาศึกษาได้ดว้ ยตนเอง และจัด กิจกรรมเปิดตัวชุดคูม่ อื ฯ ขึน้ เมือ่ วันที่ 7 กันยายน 2554 ทีผ่ า่ นมา

77

September - December 2011

ภายในงาน นางพรทิพย์ ปั่นเจริญ อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ได้ร่วมพูดคุยเสวนาถึงความเป็นมาของการจัดท�ำชุด คู่มือศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีผู้ร่วมเสวนาคือ นายปฐวี สุขสวัสดิ์ รองผูจ้ ดั การฝ่ายฝึกอบรมและเผยแพร่ จากอุทยาน สิง่ แวดล้อมนานาชาติสริ นิ ธร และนายสมิทธิ์ สุตบิ ตุ ร์ ตัวแทนนักเขียน โดยมีนางสาวสาวิตรี ศรีสุข ผู้อ�ำนวยการส่วนสิ่งแวดล้อมศึกษา เป็น ผู้ด�ำเนินรายการเสวนา จากนัน้ เป็นกิจกรรมลงพืน้ ทีศ่ กึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ ตามเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติปา่ ชายเลนภายในอุทยานสิง่ แวดล้อม นานาชาติสิรินธร เพื่อให้ผู้เข้าร่วมทดลองใช้ชุดคู่มือฯ ในการศึกษา ความหลากหลายทางชีวภาพทัง้ ในเรือ่ งของนก พรรณไม้ชายเลน และ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศป่าชายเลน โดยหวังว่า คู่มือฯ ทั้งสามเล่มนี้ จะสะท้อนถึงภาพของความ ส�ำเร็จในการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าบกและป่าชายเลนที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด เพื่อให้องค์ความรู้เหล่านี้ รวมถึงคุณค่า ของความหลากหลายทางชี ว ภาพในพื้ น ที่ ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นา ห้วยทรายจนถึงอุทยานสิง่ แวดล้อมนานาชาติสริ นิ ธรเป็นต้นแบบของ การเรียนรู้ในห้องเรียนธรรมชาติได้รับการเผยแพร่ต่อไป n

ผู้ร่วมงานพักผ่อนด้วยการละเล่น Participants nature games during a break. mammals, 15 species of reptiles, 11 species of amphibians and 118 species of insects in the park. Based on the study, the DEQP recently published a 3-volume set “Handbooks of Biodiversity from Huai Sai to the Coast”. The pocket-sized handbooks available to the public consist of (1) Forest and Plants authored by Maenwad Kunjara Na Ayuttaya; (2) Birds and Wildlife by Smith Sutibutr, and (3) Fish and Marine Life by Nonn Panitvong. The handbooks were intended to serve as guides for biodiversity study in the Huai Sai Royal Development Study Center and the Sirindhorn International Environemntal Park. The target users of these handbooks are teachers and field organizers for youth activities. The handbooks were launched at a ceremony on September 7, 2011. During that ceremony, Pornthip Puncharoen, the DEQP director-general, led a discussion about the pub-

lication of the handbooks. Joining her were Patawi Suksawat, deputy manager of the Dissemination and Training Division from the Sirindhorn International Environmental Park, and Smith Sutibutr, representing the writers of the handbooks, with Savitree Srisuk, director of the Environmental Studies Unit, moderating the talk. The discussion was followed by a field visit along the nature trail in the mangrove forest in the Sirindhorn International Environmental Park to allow participants to try out the handbooks. It is hoped that the handbook set can be a testimony to the success of the ecosystem rehabilitation of forest and mangrove that are closely connected. The body of knowledge and the invaluable biodiversity in the Huai Sai Royal Development Study Center and the Sirindhorn International Environmental Park can serve as a prototype for nature study for future replication. n

กิจกรรมกรม Activities of the Department

VA.indd 77

1/27/12 11:32 AM


78

กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

ล้อมกรอบ VIEWFINDER

ต้นไม้ที่ถูกไฟไหม้ ในอุทยานแห่งชาติโยเซมิตี ในสหรัฐอเมริกา ภาพโดย t-w-m-c (www.stockarch.com) A burnt tree in the Yosemite National Park, United States. Photo: t-w-m-c (www.stockarch.com)

VA.indd 78

1/27/12 11:32 AM


กันยายน - ธันวาคม 2554

September - December 2011

79

ถ่านไฟเก่า

เป็นเวลายาวนานมาแล้วที่ถ่านไม้คือเชื้อเพลิงร้อนระอุคู่ครัวไทย ก่อนจะค่อยๆ ถูกแทนที่ ด้วยเตาแก๊สและเตาไฟฟ้าซึ่งให้ความสะดวกสบายได้มากกว่า จึงไม่แปลกเลยที่แม้ถ่านไม้จะกลายเป็นพลังงานในยุคก่อน แต่ก็ยังมีส�ำนวนไทยมากมาย ที่ใช้ปรากฎการณ์จากถ่านไม้ไว้เปรียบเปรยเรื่องราวต่างๆ มาจวบคนในยุคปัจจุบัน ดังเช่น เพลง “ถ่านไฟเก่า” มีเนื้อร้องท่อนหนึ่งว่า “ถ่านไฟเก่ายังร้อน รอวัน รื้อฟื้น” ขับร้องโดยเบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ ศิลปินผู้โด่งดังของไทย ซึ่งกลายเป็นเพลงร่วมสมัยที่ผู้คน คงยังจดจ�ำ “ถ่านไฟเก่า” เป็นส�ำนวนที่เปรียบชายหญิงที่เคยเป็นคู่รักแล้วเลิกร้างหรือห่างกันไป เมื่อ กลับมาพบกันใหม่ ก็ท�ำท่าจะตกลงปลงใจคืนดีกันได้ง่าย เปรียบเหมือนถ่านไฟที่มอดหรือดับไป แล้ว แต่พอได้เชื้อไฟใหม่ก็คุติดขึ้นมาได้เร็วกว่าถ่านที่ยังไม่เคยได้เชื้อไฟหลายเท่า ส�ำนวนนี้ใช้เปรียบเปรยได้ดีกับการผลักดันโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซึ่งเกิดขึ้นและ หยุดลงในอดีต กระทั่งเมื่อ ครม. เห็นชอบ แผนพีดีพี 2010 ที่มีโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในแผนอีกครั้ง ส�ำหรับบางคนที่ต้องการเห็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เกิดขึ้นโดยเร็ว ความรู้สึกที่ต้องรอมานาน ก็อาจจะเปรียบได้ดัง “ไฟสุมขอน” คืออารมณ์ร้อนรุ่มที่คุกรุ่นอยู่ในใจมาเนิ่นนาน และก็คง อยากจะเห็นถ่านไฟเก่าคุขึ้นอีกครั้งโดยไวเช่นกัน

Taan Fai Gao Wood charcoal had been the fuel in the Thai kitchen for millennia. Gradually, however, the charcoal stove has been replaced by the more convenient gas or electric one. Not surprisingly, the fuel of old had over time given many Thai expressions which remain in use to this day. In a contemporary Thai song Taan Fai Gao, popular singer Thongchai McIntyre sings “taan fai gao yang ron, raw wan rue fuen”, alluding to an old but still smoldering relationship waiting to be revived. Taan Fai Gao, meaning burnt but not exhausted charcoal, is an expression describing a romantic relationship gone sour although there are still some sparks left. Given some nourishment, such relationship can be rejuvenated similar to the burnt wood charcoal that can be re-ignited with just a touch of fire. The expression can be aptly applied to the push for the plan to build nuclear power plants which was thought up many years ago but was put on hold. The plan, however, was recently revived in the Power Development Plan 2010. For those people wishing to see speedy construction of nuclear plants, the long wait can be described by another expression – “Fai Sum Kawn”, the feeling of anxiety. They probably hope to see the smoldering charcoal re-ignited into a fire soon.

VA.indd 79

1/27/12 11:32 AM


ขอส่งก�ำลังใจแด่ ผู้ประสบภัยน�้ำท่วม ขอให้ฟื้นคืนสู่ความ สมดุลชีวิตโดยไว จากกองบรรณาธิการ วารสาร เส้นทางสีเขียว

For all who have been hit by the flood, Wish you a speedy return to life equilibrium. From the editorial team at Green Line

VA.indd 80

น�้ำหลาก – ปรากฏการณ์แห่งธรรมชาติ หล่อเลี้ยงผืนดินให้ชุ่มฉ�่ำ เสริมสารอาหารพืชพรรณได้เติบใหญ่ เติมหนองคลองบึงบ่อเพื่อปลาปูหอยกุ้งด�ำรงไป เลี้ยงสัตว์ทั้งน้อยใหญ่และผู้คน แต่ … ยามน�้ำมากมายไหลหลากมา ท่วมที่นาท�ำกิน แหล่งอาศัย ทุกแห่งหน เดือดร้อนกันไปทั้งสัตว์เลี้ยงและผู้คน แม้วัวควายยังไม่วายต้องอดทนตรมน�้ำนอง

Rainfall runoff – a natural phenomenon Soaks the earth wet Brings vegetation nutrients to help it grow Fills up ponds, creeks, canals where fishes, shrimps, crabs and mollusk thrive Feeding people and animals alike; But … when runoffs become a deluge Inundating paddy fields and communities everywhere Causing hardship for both man and beasts Even cows and buffaloes must take the flood in stride.

1/27/12 11:32 AM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.