Greenline26 Mekong, Salween : The Wonders of Transboundary River Basins

Page 1

GR-26-1.pdf


Greenline26.pdf

2

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

บรรณาธิการที่ปรึกษา: บรรณาธิการอำนวยการ: บรรณาธิการบริหาร: กองบรรณาธิการ: บรรณาธิการภาษาอังกฤษ: ผู้ช่วยบรรณาธิการ: เลขานุการกองบรรณาธิการ: ผู้จัดทำ:

อรพินท์ วงศ์ชุมพิศ, ธเนศ ดาวาสุวรรณ์, รัชนี เอมะรุจิ สากล ฐินะกุล สาวิตรี ศรีสุข ศรชัย มูลคำ, ภาวินี ณ สายบุรี, จงรักษ์ ฐินะกุล, จริยา ชื่นใจชน, นันทวรรณ เหล่าฤทธิ์, ผกาภรณ์ ยอดปลอบ, นุชนารถ ไกรสุวรรณสาร วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา ศิริรัตน์ ศิวิลัย หจก.สำนักพิมพ์ทางช้างเผือก 63/123 ซอยราษฎร์พัฒนา 5 แยก 23 แขวง/เขตสะพานสูง กทม. 10240 โทรศัพท์ 02-917-2533, 02-517-2319 โทรสาร 02-517-2319 E-mail: milkywaypress@gmail.com

Editorial Advisers:

Orapin Wongchumpit, Thanate Davasuwan, Ratchanee Emaruchi

Editorial Director:

Sakol Thinagul

Executive Editor:

Savitree Srisuk

Editorial Staff:

Sornchai Moonkham, Pavinee Na Saiburi, Chongrak Thinagul, Jariya Chuenjaichon, Nantawan Lourith, Pagaporn Yodplob, Nuchanard Kraisuwansan

English Edition Editor:

Wasant Techawongtham

Text copyright by the Department of Environmental Quality Promotion, Ministry of Natural Resources and Environment.

Assistant Editor:

Maenwad Kunjara Na Ayuttaya

Editorial Secretary:

Sirirat Siwilai

Photographs copyright by photographers or right owners.

Producer:

Milky Way Press Limited Partnership 63/123 Soi Rat Pattana 5, Sub-soi 23, Saphan Sung, Bangkok 10240 Tel: 02-917-2533, 02-517-2319 Fax: 02-517-2319 e-mail: milkywaypress@gmail.com

ฉบับที่ 26 พฤษภาคม – สิงหาคม 2552 No. 26 May - August 2009

ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 49 พระราม 6 ซอย 30 ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-298-5628 โทรสาร 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th PUBLISHER Department of Environmental Quality Promotion Ministry of Natural Resources and Environment 49 Rama VI Soi 30, Rama VI Rd., Bangkok 10400 Tel. 02-298-5628 Fax. 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th

ลิขสิทธิ์บทความ สงวนสิทธิ์โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลิขสิทธิ์ภาพถ่าย สงวนสิทธิ์โดยผู้ถ่ายภาพหรือเจ้าของภาพ การพิมพ์หรือเผยแพร่บทความซ�้ำโดยไม่ใช่เพื่อการพาณิชย์ สามารถท�ำได้โดยอ้างอิงถึงกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม การพิมพ์เพื่อเผยแพร่ภาพถ่ายซ�้ำ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ก่อนเท่านัน้ บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารนี้ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน เพื่อเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่หลากหลาย

Aricles may be reproduced or disseminated for noncommercial purposes with cited credit to the Department of Environmental Quality Promotion. Reproduction of photographs must be by permission of right owners only. Opinions expressed in the articles in this journal are the authors’ to promote the exchange of diverse points of view.

VA-newGL26.indd 2

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

บรรณาธิการ EDITORIAL มีลุ่มน�้ำใดในประเทศที่ผู้คนต่างชาติพันธุ์ ทั้งสองฝั่งเฝ้ามองร่วมกันได้สุดสายตา

ลุ่มน�้ำข้ามพรมแดน เช่น แม่น�้ำโขงและสาละวิน ที่หลากไหล หล่อเลี้ยงทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และวิถีชีวิตของ ประชาชนกว่าร้อยล้านคน มีเหตุผลใดที่ผู้คนเหล่านั้นยังสามารถ เอื้อเฟื้อ พึ่งพิง ใช้สอยแบ่งปันประโยชน์ร่วมกันมาได้ ท่ามกลาง กระแสโลกที่การกอบโกยแก่งแย่งได้สูงสุด คือ อ�ำนาจของผู้มีชัย หากมิใช่เพราะจิตวิญญาณของผู้คนในลุ่มน�้ำได้รับการ กล่อม เกลามาโดยธรรมชาติ ได้รับการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญา ให้เป็นผู้มีความอ่อนน้อมต่อธรรมชาติโดยมิได้ยึดถือเป็น เจ้าของ ความบริบูรณ์ของสายน�้ำในพรมแดนเหล่านีจ้ ะมั่งคั่งยืนยง มาตราบจนปัจจุบันหรือ การเดินทางของสายน�้ำ และการด�ำเนินมาของวิถีชีวิตในลุ่มน�้ำ นี้ มีน�้ำหนักเพียงพอที่จะท�ำให้รัฐบาล องค์กรระหว่างประเทศ รวม ถึงประชาชนของทุกประเทศไม่สามารถตัดสินใจใดๆ โดยพลการต่อ การพัฒนาที่มุ่งสนองตอบแต่ภาคอุตสาหกรรมเป็นหลัก หรือการน�ำ พาประเทศยึดเพียงตัวเลขทางเศรษฐกิจ โดยมิน�ำพาต่อผลกระทบ ถึงระบบนิเวศ วิถีชีวิตท้องถิ่น ฐานทรัพยากรธรรมชาติในพรมแดน เพราะจะน�ำมาซึ่งความเดือดร้อนหรือความขัดแย้งของประชาชน มากมาย รวมถึ ง ความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อมที่มิอาจกู้คืน ดังนัน้ ทุกคนในฟากฝัง่ ของลุม่ น�ำ้ จึงมีหน้าทีร่ ว่ มกันปกป้องความ สมดุลทางทรัพยากรธรรมชาติ บนพืน้ ฐานของการเคารพในสิทธิมนุษยชน และจิตวิญญาณของประชาชนทุกพื้นถิ่น ทุกชาติพันธุ์ตลอดทั้งลุ่ม แม่น�้ำ เพราะความร่วมมือในการใช้ผลประโยชน์อย่างเป็นธรรมและ เท่าเทียมกันของประชาชนตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำอย่างสันติเท่านัน้ จึงพอจะท�ำให้ประชาชนในลุ่มน�้ำใหญ่ทั้งสองนี้ มีสิทธิในการก�ำหนด อนาคตของตนเอง มีสิทธิในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และมีส่วน ร่วมในการจัดการทรัพยากรตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ อ�ำนวยให้ลุ่มน�้ำในพรมแดนทั้งสองสายนี้ เป็นมหานทีที่ให้ผู้คนได้ พึ่งพิงไปตลอดกาลนาน

VA-newGL26.indd 3

There is not a basin in the country where people of different ethnicities on both sides can come and share in its benevolence together. What then could be the reason that people on transboundary river basins, such as the Mekong and Salween which keep fertile natural resources and nurture the way of life of hundreds of millions of people, are able to be generous, dependable and willing to share the fruit from the rivers in the midst of global competition where power belongs to the victor? If it is not for the spirit of people on the basins who have been nurtured by nature and have inherited culture and wisdom that teach them to be humble to nature, the fertility of the great rivers would not have been sustained to this day. The flow of the rivers and the flow of life in these basins carry enough weight to keep governments and international organizations from making decisions that mainly benefit the industrial sector or that rely solely on economic figures without regard to the ecosystem, local way of life and natural resources, for it will give rise to conflicts and bring hardship to a large number of people as well as cause natural resources and the environment to deteriorate beyond repair. It is for this reason that everyone in the basins has the duty to protect the natural equilibrium based on respect for human rights and the spirit of people of all localities and all races. Only through cooperation of people from upstream to downstream in the equal use and fair share of the basins will it be possible for them to control their own destiny, retain their right in the use of natural resources and play a meaninful part in managing resources sustainably, and thus conserve these two great basins for the benefit of the people for a long time to come.

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

4

สารบั ญ CONTENTS พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ลอดรั้วริมทาง: ตามรอยนักส�ำรวจ

6

ON AN UNBEATEN PATH:

In the Footsteps of the Surveyors

แม่น�้ำโขง, สาละวิน: มหัศจรรย์ลุ่มน�้ำแห่งภูมิภาค • ลุ่มน�้ำโขง ... สายน�้ำ 6 แผ่นดิน • สาละวิน ... สายธารแห่งชีวิต MEKONG, SALWEEN: The Wonders of

Transboundary River Basins • Mekong ... The River of Six Countries • Salween ... A River of Life

12 21

12

แผ่นดิน สายน�้ำ...และผู้คนบนพรมแดน Land, Rivers...and People along the Border

เส้นทางสายใหม่: ความเชื่อและศรัทธา

ON A NEW PATH:

Belief and faith

เส้นทางสีเขียว: เกาะหูปลาตูหนา ผจญภัยไร้พรมแดน GREEN LINE: A Borderless

Ride on the True Eel

26

32 37

เส้นทางเดียวกัน: 5 ทศวรรษ กับการพัฒนาในลุ่มแม่น�้ำโขง ON THE SAME PATH:

Five Decades of the Mekong Development

VA-newGL26.indd 4

26

42

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

5

May - August 2009

37

เสียงชุมชน: เด็กชายหาปลาแห่งสาละวิน COMMUNITY VOICE: A Young

Fisherman of the Salween

เสียงชุมชน: บ้านดงนา บ่ลาจากแล้ว COMMUNITY VOICE:

Ban Dong Na, Here We’ll Stay

สัมภาษณ์พิเศษ: ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ SPECIAL INTERVIEW:

Kraisak Choonhavan

47

มหิงสา: มหัศจรรย์ แก่งตะนะ

LITTLE MAHINGSA...YOUNG RESEARCHERS

The Wonders of Kaeng Tana

49

68

52

สี่แยกไฟเขียว: ลุ่มน�้ำนานาชาติ โดดเด่น ไม่เดียวดาย GREEN INTERSECTION:

International River Basins: Unisolated Grandeur

ข้ามฟ้า: จากต้นร้ายถึงท้ายน�ำ้ ACROSS THE SKY:

Poor Beginning, Harmful Ending

57 63 32

42

กิจกรรมกรม: 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน DEPARTMENT ACTIVITIES

45 Days of Joining Forces to Reduce Plastic Bag Use and Global Warming

เรื่องจากผู้อ่าน: แม่น�้ำโขง สายน�้ำแห่งชีวิต FROM THE READERS

Mekong: The River of Life

ล้อมกรอบ: รักไม่มีพรมแดน VIEWFINDERS

Rak Mai Mee Phrom Daen

VA-newGL26.indd 5

72 75 78 8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

6

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ตามรอยนักส�ำรวจ เรื่อง/ภาพ แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา

เสาคอนกรีตยังคงตั้งทะมึนตระหง่าน อยูต่ ามแก่งหินแหลมในแม่นำ�้ โขง คล้าย ย�้ำเตือนให้เจ้าของดินแดนทุกผู้คนได้ รับรู้ถึงด้านดิบของอ�ำนาจ

150 กว่าปีมาแล้ว ที่สยามประเทศมีนกั ธรรมชาติวิทยา ชาว ฝรั่งเศส ชื่อ อองรี มูโอต์ (Henri Mouhot) เดินทางเข้ามาโดย การสนับสนุนของราชสมาคมภูมิศาสตร์และสมาคมสัตววิทยาแห่ง ลอนดอน เพื่อส�ำรวจดินแดนสยาม ลาว และกัมพูชา ในปี 24012404 มูโอต์ เดินทางออกจากลอนดอนถึงกรุงเทพฯ ปลายเดือน เมษายนปี 2401 เขาเริ่มออกส�ำรวจจากกรุงเทพฯ จันทบุรี เพชรบุรี สระบุรี มุ่งสู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ลัดเลาะจากตราด ขึ้นไปเมือง กัมปอต จนถึงเมืองอุดงมีชัยอันเป็นเมืองหลวงเก่าของกัมพูชา จาก นัน้ ย้อนขึน้ ไปตามตนเลธม หรือทะเลสาบเขมร จนถึงนครวัดในเดือน มกราคมปี 2403 มูโอต์บันทึกเกี่ยวกับนครวัดไว้ว่า “นีค่ ือความยิ่งใหญ่ที่ท้าทาย วิหารโซโลมอน... มันยิ่งใหญ่กว่าสิ่งใดๆ ที่กรีกและโรมันทิ้งไว้เป็น

VA-newGL26.indd 6

มรดกแก่เรา เป็นภาพขัดแย้งอันน่าสลดใจ ท่ามกลางความเสือ่ มโทรม ป่าเถื่อนของดินแดนที่ให้ก�ำเนิดมันขึ้นมา” หลังกลับจากเขมรทางอรัญประเทศ มูโอต์เริ่มก้าวใหม่ในการ ส�ำรวจอีกเส้นทางหนึ่ง โดยล่องเรือทวนแม่น�้ำเจ้าพระยาออกจาก กรุงเทพฯ ขึ้นบกที่สระบุรี เดินเท้าผ่านป่าทึบของดงพญาไฟเข้าสู่ ที่ราบสูงโคราช ก่อนเดินเท้าต่อไปยังชัยภูมิ เข้าสู่เมืองเลย เลียบเข้า เวียงจันทร์ จากนัน้ ก็มุ่งไปเมืองปากลาย แล้วลัดเลาะฝั่งโขงขึ้นไป จนถึงเมืองหลวงพระบาง มูโอต์ตัดสินใจขณะอยู่ในหลวงพระบางจะเดินทางขึ้นเหนือสู่ ชายแดนเวียดนาม แล้วล่องตามแม่นำ�้ โขงลงใต้ไปยังกัมพูชาอีกครั้ง แต่การเดินทางในรอบนี้ยังไม่ทันได้เริ่มต้นเขาเริ่มป่วยหนักจากไข้ป่า และเสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2404 ในวัย 35 ปี ศพของมูโอต์ถกู ฝังลงทีร่ มิ สายน�ำ้ คานทีไ่ หลมาบรรจบกับแม่นำ�้ โขง ด้านเหนือของวัดเชียงทอง เมืองหลวงพระบาง การเดินทางครั้ง สุดท้ายสิ้นสุด แต่เมื่อบันทึกและจดหมาย ข้อมูล-บันทึก-ภาพวาด วิถีชีวิตคนเผ่าชาติพันธุ์ต่างๆ แผนที่ทางวัฒนธรรม รวมทั้งแผนที่ทาง รัฐศาสตร์ของเขาได้รับการตีพิมพ์ทั้งภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เวลา นัน้ ภาพความลีล้ บั มหัศจรรย์ของโลกตะวันออกได้ท�ำให้นครวัด เขมร

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

7

May - August 2009

เสาคอนกรีตเพื่อจัดระเบียบการเดินเรือในลาว ฝีมือการก่อสร้างอันแข็งแรงของวิศวกร ทหารเรือชาวฝรั่งเศส ท�ำให้ปัจจุบันยังคงพบเห็นเป็นระยะๆ ราวกับได้ย้อนรอยเส้นทางการ แผนที่คาบสมุทรอินโดจีนที่ยื่นออกมาจากแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย ตั้งอยู่ทางใต้ของ ส�ำรวจของนักส�ำรวจในอดีต สาธารณรัฐประชาชนจีน และทางตะวันออกของประเทศอินเดีย ปัจจุบันความหมายของ These concrete poles were built by the skillful French naval engineers to อินโดจีนหมายถึงแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ facilitate navigation in the Mekong inside Laos, leaving them still standing to provide a glimpse of the explorers’ journeys in the past.

On the map, Indochina is sticking out of the mainland of Asia. It is situated to the South of China and the East of India. Nowadays, Indochina means the mainland of Southeast Asia.

In the

FOOTSTEPS of the Surveyors

Story/photos Maenwad Kunjara Na Ayuttaya

The concrete pillars still stand tall along the islets on the Mekong River as the testament of the dark side of power.

VA-newGL26.indd 7

A century and a half ago, Siam welcomed French naturalist Henri Mouhot. The Royal Geographical Society and the Zoological Society of London lent him their support to discover Siam, Laos, and Cambodia during 1858-1861. Mouhot arrived in Bangkok in late April 1958. He journeyed to Chanthaburi, Phetchaburi, and Saraburi, and through Trad to Kampot and Udongmichai , the

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

8

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ภาพวาดและภาพถ่ายเก่าแก่จากคณะส�ำรวจแม่น�้ำโขงชาวฝรั่งเศส ได้ถูกตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ของฝรั่งเศส Le Monde Illustre ในปีค.ศ. 1874 เช่น ภาพช้างเลี้ยงที่อยุธยา วิถีชีวิตของ ผู้คนในลุ่มน�้ำโขง ความยากล�ำบากในการเดินเรือผ่านเกาะแก่งมากมาย คอนพะเพ็ง หลวงพระบางและวัดพูสี รวมถึงการขนย้ายโบราณวัตถุในนครวัดนครธมด้วย Old drawings and photographs by the French Mekong River survey team were published in the French newspaper Le Monde Illustre in 1874, depicting scenes that include an elephant pen in Ayutthaya, the way of life of people in the Mekong basin, the grueling ship travel through rock islets in the river, Khone Phapheng, Luang Phrabang, Wat Phu Si, and removals of ancient artifacts in Angkor Wat and Angkor Thom.

VA-newGL26.indd 8

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

9

May - August 2009

ตัวเลขวัดระดับน�้ำที่ชาวฝรั่งเศสแกะสลักลงบนหิน เรียกว่า “ศิลาเลข” เหล่านี้ ปัจจุบันน�ำมาประชาสัมพันธ์ในด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด อุบลราชธานีด้วย The French explorers marked the water levels on river bank rocks. Called “Sila Lek” (numbered rock) they are now used in tourism promotion of Ubon Ratchathani province.

former capital of Cambodia. He traveled up along, a lake in Cambodia, and reached Angkor Wat in January 1860. He wrote of the ruins at Angkor: “One of these temples – a rival to that of Solomon…It is grander than anything left to us by Greece or Rome, and presents a sad contrast to the state of barbarism in which the nation is now plunged.” After his return from Cambodia via Aranyaprathet, Mouhot set out another journey, he sailed up the Chaopraya River from Bangkok to Saraburi and then trudged through the thick jungle of Dong Phraya Fai on foot to Korat Plateau. His journey continued to Chaiyaphum, Loei, Vienaine and Pak Lai. He followed the coastline to Luang Prabang. At Luang Prabang, he decided to head north to Vietnam border and then cruise down the Mekong to revisit Cambodia. He died before the expedition of a malarial fever on October 29, 1961. He was 35 years old. His body was buried on the bank of Nam Kan River, where it merges with the Mekong on the north of Chiang Thong temple of Luang Prabang. His travel journals, letter, information, records, illustrations of tribesmen, map of culture and political science were published posthumous in English and French. The lost city of Angkor Wat, Cambodia and Indochina have captured the imagination of the west. “See Angkor Wat and die,” the classic statement suggests how Mouhot did popularize Angkor. One year after Mouhot’s death, the Mekong Basin in the southern part of Vietnam, or Cochinchina, fell under the French rule. A year later, a French warship plied the Mekong and anchored outside King Narodom’s palace, forcing Cambodia a French protectorate. In 1966, the second expedition got the backing of the French navy and foreign affairs department to establish trade with China from Yunnan to Xishuangbanna. French representative to South Vietnam Doudart de Lagree led the French Mekong survey, with soldier Francis Garnier, as well as doctor, botanist, geologist, artist and photographer. The team traveled up the Mekong from Saigon to Angkor Wat, Vientiane, Luang Prabang and Tali. Despite attempts to remove islets by blasting with explosives, the Mekong is full of islets and cataracts and the rapids were so strong. They eventually

และอินโดจีน กลายเป็นดินแดนทีฝ่ รัง่ เศสฝันหาตืน่ ตาตืน่ ใจถึงขัน้ มีวลี “ได้เห็นนครวัดจึงนอนตายตาหลับ” หลังการตายของมูโอต์หนึง่ ปี ดินแดนที่ราบลุ่มปากแม่น�้ำโขงใน เวียดนามใต้ หรือโคชินไชน่าก็ตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส ถัดมาอีกหนึ่งปี เรือรบฝรั่งเศสล�ำหนึ่งล่องทวนน�้ำโขงขึ้นไป ทอดสมออยู่หน้าราชวังของสมเด็จนโรดม บีบบังคับให้กัมพูชาเป็นรัฐ ภายใต้การอารักขาของฝรั่งเศสอีกหนึง่ ดินแดน ในปี 2409 มีนกั ส�ำรวจชุดที่ 2 ตามเส้นทางมูโอต์เข้ามาอีก เมื่อกระทรวงทหารเรือ ร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศส ส่ง ดู ดาร์ต เดอ ลาเกร (Doudart de Lagree) ผู้แทนของฝรั่งเศส ในเวียดนามใต้ พร้อมทั้งนายทหาร ฟรานซีส การ์นิเยร์ (Francis Garnier) แพทย์ นักพฤกษศาสตร์ นักธรณีวิทยา ศิลปินวาดภาพ และช่างภาพ บุกทวนแม่น�้ำโขงขึ้นไปตามเป้าหมายของฝรั่งเศสที่หวัง จะเปิดการค้ากับจีนทางมณฑลยูนานถึงสิบสองปันนาโดยใช้แม่น�้ำโขง เป็นประตูหลัง คณะเดินทางชุดนี้ออกจากไซ่ง่อนตามล�ำน�้ำโขง ผ่านนครวัด เวียงจัน หลวงพระบาง จนถึงกับบากบั่นไปถึงต้าลี่ แต่สุดท้ายก็ ตระหนักได้ว่าแม่น�้ำโขงที่มีเกาะแก่งมากมายอย่างสาหัส แม้ได้ลอง พยายามระเบิดแก่งหลายแห่งเพือ่ กรุยทาง แต่เกาะแก่งและกระแสน�้ำ ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path

VA-newGL26.indd 9

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

10

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

เชี่ยวกรากสายนีก้ ็ไม่ยอมให้เรือผ่านไปได้ เส้นทางคมนาคมเข้าประตู หลังเมืองจีนจึงถูกปิดไปอย่างจ�ำยอม คณะส�ำรวจจ�ำนนต้องสิน้ สุดการ เดินทางด้วยระยะเวลา 2 ปี รวมระยะทางประมาณ 3,000 กิโลเมตร อย่างไรก็ตาม การส�ำรวจทั้งสองครั้งท�ำให้ฝรั่งเศสสามารถขยาย อาณานิคมในอินโดจีน ด้วยการยึด “สิบสองปันนา” และ “มณฑล บูรพา” (ศรีโสภณ เสียมราฐ พระตะบอง) จากสยามประเทศในปี 2436 หรือ “วิกฤตการณ์ ร.ศ.112” จากนัน้ ในแม่นำ�้ โขงจึงปรากฏเสาคอนกรีต (Pillar) ตามร่องน�ำ้ เพื่อจัดระเบียบการเดินเรือกลไฟไม่ให้ชนกัน และหลักศิลาเลขตาม ผาหินริมฝัง่ ทีใ่ ช้สงั เกตระดับน�ำ้ ของแม่นำ�้ โขงในแต่ละปีอยูเ่ ป็นระยะๆ และกลายเป็นอนุสรณ์อมตะทีค่ งอยูม่ าได้กว่าร้อยปี ราวกับการตอกย�ำ้ ว่าทีป่ ระวัตศิ าสตร์ ทรัพยากร วัฒนธรรม สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เปลีย่ นแปลงไปอย่างมากมาย อาจกล่าว ได้วา่ เกิดขึน้ จากการตามรอยส�ำรวจในพืน้ ทีข่ อง อองรี มูโอต์ แต่ใช่ว่าน�้ำโขงจะถูกส�ำรวจจากชาวยุโรปเพียงฝ่ายเดียว ในช่วง เวลาที่ทีมส�ำรวจจากฝรั่งเศสก�ำลังเดินทางในแม่น�้ำโขงอยู่นนั้ ที่จริง มีทีมส�ำรวจที่รัฐบาลสยามว่าจ้างเช่นกัน โดยหัวหน้าคณะเป็น ชาว ฮอลันดาชื่อ ดุยส์ฮาต (Duyshart) กับชนพื้นเมืองอีก 40 คน แม้ ผลการส�ำรวจแม่นำ�้ โขงในครัง้ นัน้ ไม่มกี ารตีพมิ พ์ แต่กเ็ ป็นข้อมูลส�ำคัญ ที่น�ำมาใช้ท�ำแผนที่สยามอย่างละเอียดในเวลาต่อมา หลังจากยุคบุกเบิกล่าอาณานิคมของฝรั่งเศสผ่านพ้น สายน�้ำ เหลืองขุ่นยังคงไหลคดเคี้ยวผ่านเกาะแก่งนานาชาติ แม่น�้ำโขงและ ดินแดนในลุม่ แม่นำ�้ ค่อยๆ กลายเป็นเส้นทางสายอ�ำนาจของจีนทีห่ มาย จะทะลวงเข้าถึงใจกลางของอุษาคเนย์ คือ ผ่านพม่าเข้าไทยไป หลวง พระบางในลาว ซึ่งในอดีตมหาอ�ำนาจจักรวรรดิอย่างอังกฤษ-ฝรั่งเศส เคยพ่ายแพ้กับการทวนน�้ำขึ้นไปมาแล้ว ในปี 2536 รัฐบาลจีนเริม่ แสดงบทบาทโดยการเสนอแผนความ ร่วมมือด้านเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง เริ่มด้วยการเปิดเส้น ทางเดินเรือขาดใหญ่ในแม่น�้ำโขงพร้อมกับการแต่งตั้งคณะส�ำรวจร่วม ระหว่าง จีน พม่า ไทย ลาว ซึ่งเป็นที่มาของโครงการระเบิดแก่ง และ การขุดลอกดอนทรายในแม่น�้ำหลานซาง-แม่น�้ำโขง ต่อมาในปี 2542 นักวิทยาศาสตร์จีนใช้เวลา 3 ปี ออกส�ำรวจ แม่น�้ำโขงโดยใช้ระบบ remote-sensing โดย หลิว เสี่ยวจวง (Liu Shaochuang) จาก Institute of Remote Sensing Application ร่วมงานกับสถาบันวิทยาศาสตร์จีน (The Chinese Academy of Science) สามารถก�ำหนดจุดเริ่มต้น ความยาว และวัดขนาดที่ ราบ ลุ่มของลุ่มน�้ำแม่น�้ำโขง การไหลของน�้ำ การพัดพาของตะกอน รวม ถึงระบบนิเวศของลุ่มน�้ำ และน�ำไปสู่การลงนามใน “สนธิสัญญาเพื่อ การเดินเรือพาณิชย์โดยเสรีในแม่น�้ำโขง” ระหว่างจีน ลาว พม่า ไทย ในเดือนเมษายน 2543 ในปีถัดมาก็เริ่มเปิดการติดต่อเดินเรือ อันเป็นที่มาของโครงการ ระเบิดแก่งแม่น�้ำโขงและขุดลอกสันดอนที่กีดขวางการเดินเรือขนาด ระวาง 300-500 ตัน เพื่อให้เรือสามารถบรรทุกสินค้าสัญจรไปมา ระหว่างประเทศได้ตลอดทั้งปี ซึ่งนับตั้งแต่ปี 2546 เป็นต้นมา ก็มี เรือขนส่งสินค้าขนาด 80-100 ตันล่องจากจีนมาที่ท่าเรือเชียงแสน นับพันเที่ยวในแต่ละปีแล้ว

VA-newGL26.indd 10

จีนยังให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาด้านพลังงานเพื่อใช้เป็นฐาน ส�ำหรับการผลิต โดยมีแผนที่จะสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ เฉพาะสายน�้ำ ลานชาง ต้นน�ำ้ ของแม่นำ�้ โขงนัน้ มีโครงการสร้างเขือ่ นถึง 15 โครงการ ในจ�ำนวนนี้ผ่านการอนุมัติแล้ว 8 โครงการ สร้างเสร็จแล้ว 2 เขื่อน และอยู่ระหว่างการศึกษาและวางแผน 7 โครงการ กล่าวถึงการส�ำรวจเพื่อแสวงหาพลังงานเพื่อผลิตไฟฟ้าจากน�ำ้ ในลุม่ น�ำ้ โขงอีกด้านหนึง่ ทีม่ ผี ลอย่างมากมาจนปัจจุบนั คือเมือ่ องค์กร ความร่วมมือทางการทหารทีส่ หรัฐอเมริการ่วมกับรัฐบาลหลายประเทศ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี 2490 จัดตัง้ คณะกรรมการเศรษฐกิจ ประจ�ำภาคพื้นเอเชียและตะวันออกไกล คณะกรรมการเศรษฐกิจ และสังคมประจ�ำภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค หรือ Economic and Social Commission for Asia and the Pacific หรือ ESCAP ได้ ศึกษาศักยภาพแม่นำ�้ โขงเพือ่ การพัฒนาพลังงานไฟฟ้าจากน�ำ้ และการ ชลประทาน ท�ำให้มีโครงการสร้างเขื่อนในแม่น�้ำโขงและลุ่มน�้ำสาขา เกิดขึ้นหลายสิบโครงการเช่นกัน ส่วนคณะกรรมาธิการแม่น�้ ำโขงที่ก่อตั้งขึ้นในปี 2538 ก็มี ภารกิจหลักคือการส�ำรวจศักยภาพในการพัฒนาแหล่งพลังงานน�ำ้ และ การเดินเรือในลุ่มแม่น�้ำโขง ซึ่งต่อมาได้ปรับวิสัยทัศน์ใหม่ เป็นการ ก้าวสู่การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่จะไม่ละเลยความเป็นธรรมในสังคม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คงเป็นทีแ่ น่ชดั เหลือเกินว่าในระยะเวลานับร้อยปีมานี้ แม่น�้ำโขง ได้ถูกส�ำรวจด้วยจุดประสงค์ทั้งเหมือนและต่างกันมานับครั้งไม่ถ้วน ปัจจุบันจึงมีข้อมูลสถิติของแม่น�้ำโขงทั้งลุ่มน�้ำมากมาย ทั้งในด้านการ เดินเรือ การประมง เกษตร ชลประทาน ป่าไม้ แร่ธาตุ ทรัพยากรน�้ำ และอุทกวิทยา ระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพ หรือแม้แต่ การท่องเที่ยว แต่การส�ำรวจลุม่ น�ำ้ โขงทีพ่ ดู ได้วา่ มีความหมายไม่แพ้กนั หรืออาจ จะมากกว่าเพิง่ ถูกจุดประกายขึน้ เมือ่ ไม่กปี่ ที ผี่ า่ นมานีเ้ อง เมือ่ เครือข่าย ชาวบ้านในอ�ำเภอเชียงของและเวียงแก่น เริ่มส�ำรวจแม่น�้ำโขงตั้งแต่ บริเวณแก่งคอนผีหลง อ�ำเภอเชียงของไปจนถึงแก่งผาได อ�ำเภอ เวียง แก่น ทัง้ พันธุป์ ลา ระบบนิเวศ พรรณพืช เครือ่ งมือหาปลา และความ สัมพันธ์ของสังคมวัฒนธรรมของผูค้ นสองฝัง่ น�้ำ เพือ่ สร้างงานวิจยั ชือ่ “แม่นำ�้ โขง: แม่นำ�้ แห่งวิถชี วี ติ และวัฒนธรรม” โดยท�ำการรวบรวมและ บันทึกจากความรูแ้ ละวิถชี วี ติ ท้องถิน่ ของชุมชนหลายชัว่ อายุคน จนได้ งานวิจยั อันเป็นทีม่ าของหนังสือ “ความรูท้ อ้ งถิน่ เรือ่ งพันธุป์ ลาแม่นำ�้ โขง” ที่สามารถอธิบายถึงคุณค่าของแม่น�้ำโขงในด้านของคนท้องถิ่นที่มี ความใกล้ชิดอย่างลึกซึ้งถึงวิญญาณ มีองค์ความรู้ และมีภูมิปัญญา ยิ่งกว่านักส�ำรวจชุดไหนๆ นีค่ อื ความหมายของการแสดงตัวตนของเจ้าของบ้าน ทีต่ อ้ งการ จะมีสว่ นร่วมในกระบวนการตัดสินใจต่อการพัฒนาใดๆ ก็ตามทีจ่ ะเกิด ขึ้นในต้นสายถึงปลายน�้ำ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ประโยชน์ การปกป้อง รักษา เพือ่ ให้สายน�ำ้ ทีเ่ ปรียบดัง่ ชีวติ ของผูค้ นบนลุม่ น�ำ้ และคนทัง้ โลก ได้รับประโยชน์คุโณปการจากมหานทีแห่งนี้ได้อย่างแท้จริง … และหากจะมีการส�ำรวจลุ่มน�้ำโขงในครั้งต่อไป ยังแน่ใจได้ว่า สายน�้ำแห่งนีก้ ็ยังมีความลี้ลับน่าอัศจรรย์ที่รอคอยการค้นพบของนัก ส�ำรวจไปตราบกาลนาน

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 accepted the defeat in open a new route to China via a back door – the Mekong. Their two-year journey covered a distance of 3,000 kilometres.
 Both pioneering journeys allowed France to expand a colonial occupation of Indochina by claiming ‘’Xishuangbanna’’ and ‘’Monthonburapa’’ (Si So Phon, Battambang and Siamriap) which belonged to Siam in the ‘’Franco-Siamese War of 1893.’’ Then, concrete pillars were erected in the Mekong River to show safe navigation routes for the French steamboats sailing on the Mekong River. Numbers written on the riverside cliffs were a reference for reading water levels. These poles have survived for hundred of years and signified how much history, resources, culture, society, politics and economy of Southeast Asia have been reshaped after Henri Mouhot’s discovery. The fascination to explore the Mekong was shared by Asian countries. While the French team sailed up the Mekong, the government of Siam commissioned a survey team, led by Hollander Duyshart. The account of his expedition with 40 indigenous people has not been published but crucial in the drawing of detailed map of Siam. The French colonial period passed, the yellow murky river still flows to various countries. The Mekong and the river basin were seen by China as a ticket to get to the heart of Southeast Asia: From Myanmar to Thai and Laos. China still had hope in the route the giant empires like Britain and France could not tame. Chinese government asserted its role in 1993 by tabling the Mekong Basin economic cooperation by opening a navigation route for large ships and appointing a joint survey team, which made up of Chinese, Myanmar, Thai and Lao experts. The project led to the blasting of Mekong islet and the dredging of the Mekong and Lan Sang Rivers In 1999, Chinese scientists, led by Liu Shaochuang of Institute of Remote Sensing Application in cooperation with the Chinese Academy of Science, started the three-year survey of the Mekong. With remote-sensing technology, they measured the Mekong Basin, water flow, sediment flow and Basin ecosystem. The findings prompted the signing of the “Agreement on Commercial Navigation on the Mekong” between China, Laos, Myanmar and Thailand in April 2000. Commercial navigation began the following year, leading to the islet blasting and dredging to make the Mekong navigable to vessels of 300-500 tons year-round. Since 2003, 80-100 tonnage cargo ships made thousands of trip a year from China to Chiang Saen pier. On its agenda, China mulled mega hydroelectric plans to dam the Mekong. On the Lanchang River, which is the name given to the Mekong River on the Chinese territory,15 dam projects are on the pipeline. Eight of which got the green light (two completed) and seven others in the study and planning process. The Mekong hydroelectric generation owed much of its success to the Economic and Social Commission

11

May - August 2009

ภาพถ่ายเก่าของคณะส�ำรวจแม่น�้ำโขงชาวฝรั่งเศส An old photo of the French Mekong River survey team.

for Asia and the Pacific (ESCAP), formed in 1947 initially as an international organization for collective defense between the US and Southeast Asian countries. The ESCAP has focused its study on the hydroelectric power and irrigation potential of the Mekong, resulting in tens of dams on the Mekong and its tributaries. The Mekong River Commission was established in 1995 to coordinate hydropower generation and navigation of the Mekong Basin. Its mission later shifted to economic development with attention to civil justice and environment conservation. For century, the Mekong has been put under microscopic for various agendas and countless occasions. There are abundant statistics of the Mekong and river basin available, ranging from navigation, fishery, agriculture, irrigation, forestry, mineral, water resources, hydrology, ecosystem, biodiversity to tourism. But the most valuable survey has recently been initiated by a group of villagers in Chiang Khong and Wiang Kaen districts. In the project called “Mekong River: The River of Life and Culture,” they study fish species, ecosystem, flora, fishing gear and social and cultural ties of people along the river along the Mekong from Khon Phi Long islet of Chiang Khong district to Pha Dai islet of Wiang Kaen district. The knowledge collected and the accounts of local livelihood are presented in the book titled ’Local Knowledge of Mekong Fish Species.’ The book provides rare insight into the local spiritual values and wisdom derived from the Mekong. The work reflects the house owners’ passion to play a part in any decision making which impacts the great river, either the usage or protection, to ensure the utmost benefits of the river, which is the lifeline to them and people around the world. ...Should the next expedition set sail, the Mekong still packs with mystery to amaze curious surveyors.

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path

VA-newGL26.indd 11

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

12

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

MEKONG, SALWEEN:

The Wonders of Transboundary River Basins If we are to talk about naturally rich areas that are invaluable to mankind but that may suffer transboundary adverse effects, the Mekong and Salween river basins are a good example. From the past to the present, these two river basins have been developed and exploited by a regional community. Natural resources in the past were used to facilitate colonial invasion and in the present to boost unmitigated consumption in an era of free trade war and in the immediate future when the world will spill over with thirst for energy. Abundant in natural resources, such as minerals, forests, biodiversity, and rich soil that have given rise to long-lasting cultures and stable way of life, the basins have been moving on the path of mega-project development — logging and mining concessions that have destroyed vast tracts of forests, blasting of islets and shoals to enable large cargo boats to move between countries, or planning of several hydropower dam construction projects by regional countries. The Mekong and Salween river basins are at a crossroad between conserving the traditional way of life that is dependent on nature and a development path in the globalized era where the fate of people on the basins are not determined by any one nation alone. This issue of Green Line takes the readers to witness the grandeur of the two majestic river basins that have been called “the great rivers of life and culture in Asia” and regarded as humankind’s heritage before they will undergo changes with unpredictable outcome in the future.

แม่นำ�้ โขง, สาละวิน:

มหัศจรรย์ลมุ่ น�ำ้ แห่งภูมภิ าค หากกล่าวถึงพื้นที่รุ่มรวยทรัพยากรอันเป็นแหล่งอ�ำนวยประโยชน์ เหลื อ คณานั บ ให้ ม นุ ษ ย์ ช าติ ที่ อ าจถู ก ผลกระทบร้ า ยแรงข้ า ม พรมแดน ลุ่มน�้ำโขงและลุ่มน�้ำสาละวิน คือตัวอย่างจากอดีต จวบจนปัจจุบัน ที่สะท้อนภาพของการพัฒนาและการใช้ประโยชน์ ลุ่มน�้ำบนพรมแดนจากนานาชาติ จากข้อเท็จจริงที่ทรัพยากรถูกใช้ เป็นต้นทุนเพื่อการท�ำสงครามล่าอาณานิคม มาจนถึงการบริโภค ไม่มีขีดสุดในยุคสงครามเสรีทางการค้า หรือในวันที่โลกมีความ ต้องการพลังงานจนมากล้น พื้นที่ลุ่มน�้ำที่เคยอุดมสมบูรณ์ยังประโยชน์ทั้งทรัพยากรต่างๆ เช่น แร่ธาตุ ป่าไม้ ความหลากหลายทางชีวภาพ ผืนดินที่เหมาะ แก่การเพาะปลูก และพลังงานธรรมชาติรูปแบบต่างๆ อันน�ำมาซึ่ง

VA-newGL26.indd 12

วัฒนธรรมและวิถีชีวิตมั่งคั่งมาแสนนาน ได้ก้าวสู่ทิศทางของการ พัฒนาที่ผุดโครงการขนาดใหญ่ไม่หยุดยั้ง ดังเช่น การให้สัมปทาน ป่าไม้ และการให้สมั ปทานเหมืองแร่ ทีย่ งั คงท�ำลายพืน้ ทีป่ า่ ไม้ไปอย่าง มากมาย จนถึงยุคที่แม่น�้ำทั้งสองสายกลายเป็นเส้นทางคมนาคม ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งจะต้องมีการระเบิดแก่งหินกรุยทาง ให้เรือขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ หรือโครงการสร้างเขื่อนขวางกั้นแม่น�้ำ เพื่อผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน�้ำอีกหลายสิบโครงการในหลายประเทศ ที่แม่น�้ำไหลผ่าน ลุ่มน�ำ้ โขงและลุ่มน�้ำสาละวิน ณ เวลานี้ จึงอยู่บนทางแยกที่ต้อง เลือก ระหว่างการคงไว้ซึ่งวิถีแห่งธรรมชาติ หรือมุ่งสู่การพัฒนาตาม กระแสของมนุษย์ผู้คิดเปลี่ยนแปลงโลก ซึ่งการชี้ชะตาของทุกชีวิต ในลุ่มน�้ำทั้งสองสายไม่ได้ขึ้นอยู่กับประเทศใดประเทศหนึง่ เท่านัน้ เส้ นทางสี เขี ย วฉบั บ นี้ข อน� ำ ทุ ก คนลงลึ ก ไปสั ม ผั ส ถึ ง ความ อลั ง การทรงคุ ณค่ า ของลุ ่ ม น�้ ำ ทั้ ง สอง ที่ ได้ รั บ การขนานนามว่ า มหานทีแห่งชีวิตและวัฒนธรรมในเอเชียภูมิภาค และในฐานะที่เป็น มรดกของมวลมนุษยชาติ ก่อนที่ลุ่มน�ำ้ บนพรมแดนสองสายนีจ้ ะเกิด การเปลี่ยนแปลงไปอย่างมิอาจคาดหมายในอนาคต

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

13

สายน�้ำ 6 แผ่นดิน

รวงทอง จันดา

Mekong

The River of Six Countries Ruangthong Chanda

Story Patwajee Srisuwan

VA-newGL26.indd 13

ริมฝั่งน�้ำของแม่น�้ำโขงตอนบนอันเวิ้งว้างในประเทศจีน ยังมีแหล่งชุมชนใหญ่น้อย

แทรกตัKunjara วอาศัยอยู่ระหว่างหุ บเขาAyuttaya Photos Maenwad na

Many communities, large and small, tuck away in the valleys by the banks of the upper Mekong River in China.

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

14

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

บนทีร่ าบสูงยูนนาน มีลำ� น�ำ้ สายใหญ่ 3 สาย คือ สาละวิน โขงและแยงซี ไหลมารวมอยูใ่ นพืน้ ทีแ่ คบๆ กว้างไม่เกิน 100 กิโลเมตร เป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ ล�ำน�ำ้ สาละวินและล�ำน�ำ้ โขงไหลแยก ออกจากกัน ท�ำให้มพี นื้ ทีเ่ ป็นแถบเทือกเขา มีทวิ เขาแดนลาว กัน้ รัฐฉานไว้ทางเหนือ ทิวเขาถนนธงชัยกัน้ แคว้นกะเหรีย่ ง ของพม่าไว้ทางตะวันตก ทิวเขาหลวงพระบางกัน้ ประเทศ ลาวไว้ทางตะวันออก และทิวเขาพลึงกัน้ ตอนใต้ของภาค เหนือกับภาคกลาง แม่น�้ำโขงมีต้นน�้ำอยู่บนภูเขาจี้ฟู ส่วนหนึง่ ของเทือกเขาหิมาลัย บนที่ราบสูงทิเบต เขตจังหวัดหยู่ซู่ มณฑลฉิงไห่ ประเทศจีน โดย มีแม่น�้ำจาคูและแม่น�้ำอาคูไหลมารวมกัน มีชื่อเรียกเป็นภาษาของ ไทลื้อในดินแดนสิบสองปันนาว่า “แม่น�้ำล้านช้าง” คนจีนทั่วไปเรียก ว่า “แม่น�้ำหลานซาง” มีความหมายว่า แม่น�้ำที่ไหลเชี่ยวกราก ไหล ผ่าน 6 ประเทศ เริ่มจากที่ราบสูงธิเบต ผ่านภูเขาสูงตอนใต้ของ ประเทศจีน ผ่านตะวันออกของประเทศพม่า ผ่านภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ประเทศลาว แล้วไหล ลงเขตที่ราบน�้ำท่วมถึงของกัมพูชาและเวียดนาม ก่อนที่จะไหลลงสู่ ทะเลจีนใต้ในภาคใต้ของเวียดนาม ด้วยความยาวประมาณ 4,909 กิโลเมตร แม่นำ�้ โขงจึงเป็นแม่นำ�้ สายใหญ่ที่ยาวเป็นอันดับ 10 ของโลก

4,909 กิโลเมตร แม่น�้ำโขงถือก�ำเนิดขึ้นมาจากการละลายของหิมะเป็นส่วนใหญ่ ส่วนตอนล่างได้รับน�้ำจากเทือกเขาต่างๆ ที่ไหลลงสู่แม่นำ�้ สาขาของ แม่นำ�้ โขง ในประเทศไทยแม่นำ�้ โขงไหลผ่านอ�ำเภอเชียงแสน เชียงของ และอ�ำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 84 กิโลเมตร แล้ววก กลับเข้าไปลาว ก่อนไหลออกมากัน้ พรมแดนไทย–ลาว เริม่ จากจังหวัด เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อ�ำนาจเจริญ และอุบลราชธานี รวมความยาวที่ไหลผ่านประเทศไทยประมาณ 976 กิโลเมตร ที่จังหวัดอุบลฯ น�้ำโขงได้เนรมิตแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ขึ้นมากมาย เช่น หาดทรายขนาดใหญ่ที่บ้านลาดหญ้าคา บ้าน ปากแซงและบ้านปากกะหลาง, ผาหินสูงชันตลอดสองฝั่งน�้ำยาว ประมาณ 5 ก.ม. ที่บ้านผาชัน, ช่องผาที่เป็นช่องแคบที่สุดที่บ้าน สองคอน, แก่งหินสามพันโบก ทีม่ คี วามงามเฉพาะโดดเด่นของตนเอง ที่บ้านโป่งเป้า จนได้สมญาว่า “แกรนด์แคนยอนแห่งเอเชีย” ในลาวแม่นำ�้ โขงมีแม่นำ�้ ยอน แม่นำ�้ งาว แม่นำ�้ งึม แม่นำ�้ เทิน และ แม่น�้ำเซกองเป็นแม่น�้ำสาขา มี “สี่พันดอน” เป็นช่วงของแม่น�้ำโขงที่ ไหลออกจากเมืองจ�ำปาศักดิ์จะเริ่มแตกออกเป็นหลายสายเกิดเกาะ แก่งมากมายในบริเวณ 15 กิโลเมตร เมื่อล�ำน�้ำเหล่านี้ไหลทอดมาถึง สุดแนวประเทศลาวมาปะทะแนวเทือกเขาพนมดงรัก น�ำ้ โขงจะถูกบีบ ให้แคบลงแล้วไหลโค้งหนีแนวเทือกเขาไปทางทิศตะวันตกเพือ่ รวมตัว กันก่อนจะไหลราบเรียบลงสู่แผ่นดินกัมพูชา ลักษณะที่แม่น�้ำโขงยุบ ตัวลงเป็นโตรกผาสูงอย่างฉับพลันนีไ้ ด้กอ่ ให้เกิดน�้ำตกทีย่ งิ่ ใหญ่หลาย แห่ง เช่น “คอนพะเพ็ง” น�้ำตกที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย จนถูกขนานนาม ว่า “ไนแองการาแห่งเอเชีย”

VA-newGL26.indd 14

ตรงรอยต่อระหว่างบ้านเวินคาม ชายแดนลาวกับบ้านเวินยาง หมู่บ้านชายแดนเขมรก็เป็นแหล่งอาศัยของ “ปลาข่า” (ชื่อพื้นถิ่นใน ลาว) หรือ “โลมาอิระวดี” อาศัยอยู่มากที่สุดกว่า 100 ตัว รวมทั้ง กลุ่มน�้ำตกแก่งหลี่ผี บริเวณที่มีการอพยพผ่านของปลาถึง 30 ตันต่อ ชั่วโมง และเป็นพื้นที่หากินอันน่าตื่นตะลึงของชาวประมง เมื่อน�้ำโขงไหลถึงกัมพูชา มี “โตนเลสาบ” หรือ “ทะเลสาบ เขมร” (ต้นน�ำ้ ส่วนหนึง่ ต่อเนือ่ งมาจากเทือกเขาสอยดาวฝัง่ ตะวันออก ของจังหวัดจันทบุร)ี ทีม่ ฤี ดูฝนยาวกว่าปกติถงึ สามเท่า เป็นแหล่งเพาะ พันธุ์ปลาน�้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดกว่า 300 ชนิด ถือเป็นหนึง่ ในแหล่งผลิต ปลาที่ส�ำคัญแห่งหนึง่ ของโลก แต่ละปีจับปลาได้ปริมาณ 100,000 ตัน ที่นี่เป็นแหล่งอาหารโปรตีนของชาวกัมพูชาถึง 9.5 ล้านคน รวม ทั้งในประเทศลาวที่มีการบริโภคปลาจ� ำนวน 85% ของประชากร นครวัดนครธมที่มีประวัติศาสตร์วัฒนธรรมของอาณาจักรขอมเขมร

ชาวประมงนัง่ พักจากการหาปลาอยู่บนโขดหินของคอนพะเพ็ง ซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดจากการ ยุบตัวของพื้นแม่น�้ำโขง เป็นน�้ำตกที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียอาคเนย์ Fishermen take a rest by the rocky bank of Khone Phapheng, an area formed by a depression of the bottom of the Mekong River. The geological change has formed the largest waterfall in Southeast Asia

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

15

Mekong, Salween and Yangtze, three of Asia’s greatest rivers, plunge off the Yunnan Plateau which encompasses no more than 100 square kilometers. Then the Salween and Mekong part, creating mountain ranges. The Daen Lao Range marks the border of Shan State in the north. The Thanon Thongchai Range borders the Karen State of Myanmar in the west. The Luang Prabang Range runs along Karen State of Myanmar in the west. The Luang Prabang Range forms the border of Laos on the east and the Plueng Range on the lower north and the central plains. The Mekong originates high in Jifu Mountain, which is part of the Himalaya valleys in the Tibetan Plateau. The Mekong River goes by many names. In Yushu prefecture, Qinghai province of China, two rivers — the Ang and Cha — join into “Lan-ts’ang River,” as the Dai in Xishuangbann puts it and, and “Lancang River” as referred to by the Chinese. The name means a fierce river. It passes by or through six countries, from Tibetan Plateau, to high mountains in the south of China, the east of Myanmar, the north and northeast of Thailand, Laos, and Cambodian delta, and empties into the South China Sea in the south of Vietnam. With estimated length of 4,909 km, the Mekong River is the 10th longest river in the world

ตลาดสดในแขวงจ�ำปาสัก มีปลาจากแม่น�้ำโขงมากมายทั้งชนิดพันธุ์และขนาดวางขาย อยู่หลายร้าน Various sizes and types of fishes are for sale at a fresh market in the Laos’s Champasak province.

แม่น�้ำโขงเกี่ยวพันในทุกด้านของชีวิตผู้คนในชุมชนริมน�้ำโขง ไม่ว่าจะเป็นการพึ่งพิงเพื่ออุปโภค บริโภค เป็นเส้นทางคมนาคม เป็นจิตวิญญาณและเป็นศูนย์รวมของจิตใจ

The Mekong River plays a role in every aspect of life of people in riverside communities. They rely on the river for consumption, transportation, and as a spiritual center.

ลุ่มน�้ำโขง: สายน�ำ้ 6 แผ่นดิน Mekong: The river of six countries

VA-newGL26.indd 15

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

16

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

แก่งหินที่เกิดจากพื้นของแม่น�้ำโขงยุบตัวลงเป็นหลุมจนเกิดผาสูงชัน 15-20 เมตร ท�ำให้สายน�้ำโขงที่ไหลตกลงมาเป็นกระแสเชี่ยวกราก ชาวบ้านในลาวมักจะเรียกลักษณะแบบนี้ว่า “หลี่” ซึ่ง เป็นชื่อของเครื่องมือประมงที่หาปลาอยู่ในบริเวณเสี่ยงอันตรายเหล่านี้ เช่นบริเวณ “หลี่ผี” คือที่ที่มีศพลอยมาติดเครื่องมือประมงบ่อยครั้ง A Kaeng Hin (rock islet) was formed when a part of the Mekong river bed collapsed, creating a cliff 15 meters to 20 meters high. The cliff turns the river into a rushing torrent. Lao villagers call the area where the torrent rushes down the cliff “Li” which is actually the name of a fishing equipment in a risky area such as Li Phi where corpses frequently got trapped in fishing instruments.

โบราณมีแม่น�้ำโขงเป็นผู้หล่อเลี้ยงทรัพยากรธรรมชาติและผู้คนใน อาณาจักรมาเป็นเวลายาวนานถึง 600 ปี ส่วนแม่นำ�้ โขงในเวียดนาม มีแม่นำ�้ เซซานเป็นแม่นำ�้ สาขา ดินแดน แห่งนีม้ สี ถานทีท่ อ้ งถิน่ ชือ่ ว่า “กิว๋ ล่อง” หรือ “เก้ามังกร” เนื่องจาก แม่น�้ำโขงได้แตกแยกสาขาออกเป็น 9 สาย น�ำความอุดมสมบูรณ์ มาสู่ผืนดินตรงบริเวณที่ราบลุ่มนามโบะ ดินดอนสามเหลี่ยมปากน�้ำ แม่นำ�้ โขง จนกลายเป็นอู่ข้าวอู่นำ�้ ที่ส่งข้าวขายไปเลี้ยงคนทั่วโลก ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ นักประวัติศาสตร์อาวุโส เขียนระบุ ไว้ในหนังสือ “แม่น�้ำโขง: จากต้าจู-ล้านช้าง-ตนเลธม ถึงกิ๋วล่อง” ว่า “ทรัพยากรธรรมชาติมากมายมหาศาลของแม่น�้ำโขงท�ำให้นัก เศรษฐศาสตร์ นายทุน นักพัฒนาประเภทเมกะโปรเจคทั้งหลาย ทัง้ ปวงสนอกสนใจเป็นพิเศษ … เป็นทีต่ อ้ งตาต้องใจของนักอาณานิคม และนักจักรวรรดินิยมทั้งสมัยเก่าและสมัยใหม่ ไม่ว่าจะเป็นนักอาณา นิคมภิวตั น์แบบยุโรปในอดีต หรือนักโลกภิวตั น์แบบอเมริกนั ในปัจจุบนั ที่ตื่นเต้น ‘กรี๊ดกร๊าด’ เป็นพิเศษ “ซึง่ ความแตกต่างสุดจะพรรณนาทีเ่ ต็มไปด้วยพหุลกั ษ์และความ หลากหลายของผู้คน ชุมชนชาติพันธ์ุ ภาษาและวัฒนธรรมกว่า 200 ล้านคนที่ส่วนใหญ่ยังมีลักษณะสังคมดั้งเดิมตามประเพณี ดังนัน้ นัก วิชาการมักจะบอกว่า ‘นี่เป็นสวรรค์ของนักมานุษยวิทยา’ ที่มีมนุษย์ หลายเผ่าพันธุ์ไว้ให้ศึกษาได้ไม่รู้จบ”

VA-newGL26.indd 16

แดนสวรรค์ของชาวประมง แม่น�้ำโขงมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ปลามากเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากแม่น�้ำอเมซอนในอเมริกาใต้ และแม่นำ�้ แซร์ใน ทวีปแอฟริกา เพียงผลผลิตที่ได้จากทรัพยากรพื้นที่ชุ่มน�้ำ (wetland resources) ในลุม่ แม่โขงตอนล่างนัน้ เฉพาะจากการจับปลา ประมาณ 2 ล้านตันต่อปี ผลผลิตจากข้าว 32 ล้านตันต่อปี ข้อได้เปรียบของระบบนิเวศของลุ่มน�้ำที่กล่าวมานี้ คือมีพื้นที่ ราบลุ่มน�้ำท่วมถึงในฤดูฝนขนาดใหญ่อยู่หลายแห่งที่ส�ำคัญ อาทิเช่น ทะเลสาบเขมร พื้นที่ลุ่มน�้ำมูน-ชี-สงคราม ที่มีความหลากหลายของ พันธุ์ปลา 900–1,200 ชนิด ทุกปีในฤดูฝน ปลาแม่น�้ำโขงนับร้อย ชนิดจะอพยพขึ้นไปผสมพันธุ์วางไข่ เลี้ยงตัวอ่อน และหาอาหารทาง ตอนเหนือของแม่น�้ำโขง ในล�ำน�ำ้ สาขาและในพืน้ ทีล่ มุ่ แม่น�้ำต่างๆ พอ หน้าแล้งช่วงน�ำ้ ลดปลาจ�ำนวนหนึง่ ทีร่ อดจากการถูกจับจะอพยพลงไป อาศัยอยู่ตามวังน�้ำลึกในแม่น�้ำ เพื่อรอฤดูฝนหน้าจึงอพยพกลับขึ้นไป ผสมพันธุ์วางไข่เป็นวัฏจักร ปลาหลายชนิดมีวงจรชีวิตและเส้นทาง อพยพไปถึงใต้ทะเลลึก ในช่วงน�้ำลด น�้ำจากล�ำน�้ำสาขา และพื้นที่ลุ่มแม่น�้ำ ยังได้พัดพา เอาตะกอนดิน แร่ธาตุ สารอาหารและอินทรียวัตถุมากมายมหาศาล ลงไปในแม่น�้ำโขงอีกด้วย มีการประเมินว่า ในแต่ละปีรวมแล้วจะมีผลผลิตสัตว์น�้ำจาก

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 4,909 Kilometers The Mekong is fed by the melting snow in the Himalaya. In its lower parts, it takes runoffs from mountain ranges through its tributaries. In Thailand, the Mekong River travels through Chiang Saen, Chiang Khong and Wiang Kaen districts of Chiang Rai for a distance of 84 km. It takes a detour to Laos and then marks the border between Thailand and Laos along the provinces of Loei, Nong Khai, Nakhon Phanom, Mukdahan, Amnat Charoen and Ubon Ratchathani, covering a distance of 976 km. In Ubon Ratchathani, the Mekong creates stunning tourist attractions, including a sand beach in Ban Lad Yah Ka, Ban Pak Saeng and Ban Pak Ga Lang; a 5-meter-long steep cliff along its coast at Ban Pah Chan; the narrowest cliff in Ban Song Kon; and the unique Kaeng Hin Samphan Boak (3,000 islets) at Ban Pong Pao, which is dubbed the “Grand Canyon of Asia”. Mekong tributaries in Laos include Nam Yon, Nam Ngaou, Nam Ngum, Nam Theun and Nam Sekong. Si Phan Don is where the Mekong leaves Champasak province and splits out into tributaries and creates islets and cataracts along the 15km journey. When exiting Laos via the Phanom Dong Rak Mountain Range, the Mekong narrows down, joins up again and smoothly enters Cambodia. The swift plunges of the Mekong River create great waterfalls, including Khone Phapeng, the largest waterfalls of Asia, dubbed the “Niagara falls of Asia”. At the seam of Ban Vern Kam of Laos and Ban Vern Yang of Cambodia lives a dense school of over 100 rare Irrawaddy dolphins. Fishes migrate through Li Phi

17

May - August 2009

waterfalls at the rate of 30 tons per hour, making the spot a fisherman’s heaven. Mekong River reaches Cambodia and enters Tonle Sap or Lake of Cambodia (which also originates from the Soi Dao Mountain Range on the east of Chanthaburi). The lake swells three times in the rainy season and is the breeding place of over 300 species of freshwater fishes. It is the world’s major fish supply with annual catch of 100,000 tons. The lake is the main provider of protein in the Cambodian diet, accounting for protein intake of the country’s population of 9.5 million and 85% of Lao population. The Mekong has supplied natural resources to the people of the great Khmer civilization of Angkor Wat and Angkor Thom for 600 years. The Sesan River is one of the Mekong River’s most important watersheds in Vietnam. The Mekong River is locally known as “Cuu Long” or “Nine Dragons” because it splits into 9 rivers, enriching and turning the Nambo Plain into the world’s key paddy farm. Charnvit Kasetsiri, a respected historian, wrote in his book “Mekong River: From Za Qu, Lan Chang, Tonle Thom to Cuu Long” that abundant natural resources of the Mekong River have drawn the interest of economists, investors and mega-project developers … and “thrilled” colonists and imperialists both in the past and the present, be they the European colonists of the past or the American globalists of the present. The wide-ranging pluralism and diversity of people, ethnics, languages and cultures of some 200 million people, where deep-rooted traditions still dominate

สภาพชุมชนริมน�้ำโขงที่ใช้ชีวิตอยู่กันอย่างเรียบง่าย พอเพียง ท่ามกลางทรัพยากรอันอุดมสมบูรณ์ของสายน�้ำ

People in communities by the Mekong live a simple and sufficiency life amid rich natural resources of the river.

VA-newGL26.indd 17

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

18

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ชาวประมงต้องใช้วิธีลงจากเรือแล้วลากเข็นเรือประมงล�ำเล็กไปตามริมแม่น�้ำในยามที่ต้องฝ่ากระแสน�้ำเชี่ยวกราก

Fishermen have to get off their small fishing boats and tow them along the river bank when going against strong currents.

แม่น�้ำโขง และแหล่งน�้ำท่วมตามธรรมชาติถึง 3 ล้านตัน ผลผลิต จากอ่างเก็บน�้ำอีกประมาณ 375,000 ตัน และจากการเพาะเลี้ยง อีก 375,000 ตัน เกษตรกรรมในลุ่มน�้ำโขง ลุ่มแม่น�้ำโขงมีพื้นที่เพาะปลูกอยู่กว้างใหญ่ถึง 110 ล้านไร่ (รวมพม่าและมณฑลยูนนานของจีน) ในลุ่มแม่น�้ำโขงตอนล่างมี เกษตรกรรมเป็นสาขาหลักของระบบเศรษฐกิจ จะมีเพียงประเทศ กัมพูชาเท่านัน้ ที่มีพื้นที่เพาะปลูกอยู่น้อยและดินมีคุณภาพค่อนข้าง ต�่ำ รวมทั้งปัญหากับระเบิดที่ฝังอยู่ในพื้นที่เกือบร้อยละ 40 ของ พื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด จึงไม่เหมาะสมส�ำหรับการเพาะปลูกที่ต้อง เอาชีวิตเข้าแลก ข้าวเป็นพืชหลักทีป่ ลูกกันในลุม่ แม่นำ�้ โขง แต่ในบางประเทศ เช่น เวียดนามก็มีการปลูกพืชอื่นเพิ่มขึ้นในช่วง 30-40 ปีที่ผ่านมา เช่น ถั่วและอ้อย เกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ก็ปลูกข้าวโพดและมันส�ำปะหลัง และพืชล้มลุกอีกหลายชนิด ทั้งนี้ มีการแบ่งพื้นที่การเกษตรในลุ่มแม่น�้ำโขงออกได้เป็นสาม เขตด้วยกัน เขตที่หนึง่ คือบริเวณที่ราบรอบทะเลสาบใหญ่ (Great Lake) ในประเทศกัมพูชา มีการปลูกข้าวในบริเวณนี้โดยอาศัยน�้ำ ฝนและน�้ำหลากตามฤดูกาล เขตที่สองคือที่ราบทางตอนใต้ของ ประเทศกัมพูชาและบริเวณปากแม่น�้ำสาขาของแม่น�้ำโขงในลาว ที่ มีน�้ำท่วมถึงในหน้าฝนจะปลูกข้าว และในหน้าแล้งจะปลูกพืชอื่น โดยอาศัยความชื้นสูงในดิน และเขตที่สามคือสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำ

VA-newGL26.indd 18

ซองฮอง (Song Hong) และแม่น�้ำโขง ในประเทศเวียดนาม ทั้งสอง แห่งปลูกข้าวได้ปีละสองครั้งโดยใช้ล�ำธารขนาดใหญ่ที่มีอยู่เป็นระบบ ชลประทานและการระบายน�้ำ นอกจากนี้ยังมีพืชผักธรรมชาติและจากการปลูกพืชตามริมตลิ่ง (river bank garden) ในช่วงฤดูน�้ำลดตลอดล�ำน�้ำโขงที่ยังไม่ได้มีการ ประเมินเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจอีกจ�ำนวนมาก ดังนัน้ ลุ่มแม่น�้ำโขง จึงเป็นลุ่มน�้ำโขงที่มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหารส�ำคัญแห่ง หนึง่ ของโลก

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

19

May - August 2009

“ตักปลา” วีถีชาวประมงที่พบเห็นทั่วไปตามโขดหินที่มีกระแสน�้ำไหลเชี่ยวริมน�้ำโขง

“Tak Pla” (scooping up fish) is a traditional way of fishing that can be seen at reefs where the current run swiftly.

their lives, make the Mekong delta region “a heaven of anthropologists”. Fishermen’s Heaven The Mekong River ranks third in the world when it comes to the diversity of fish species, after the Amazon River of South America and the Zaire River of Africa. Wetland resources in the lower Mekong Basin produce two million tons of fishes and 32 million tons of rice each year. The advantage of the Mekong Basin is its vast tracts of flood plains, such as the Lake of Cambodia and MunChi-Songkhram river basins. The later is home to 9001,200 fish species. Each year, hundred of fish species migrate up the Mekong in the rainy season to spawn, nurse and feed on the upper Mekong, its tributaries and basins. In dry season, surviving fishes migrate back and live in deep pockets of the river. Some migration paths end in the deep sea. When the level of the Mekong River drops, waters from tributaries and basins carry considerable amount of sediment, mineral, nutrient and organic matters into the Mekong River. It has been estimated that each year the Mekong River and its flood plains produce three million tons of aquatic animals, not to mention 375,000 tons from reservoirs and another 375,000 tons from fish farms. Farming on the Mekong Basin The Mekong Basin encompasses 110 million rai of farming area (including those in Myanmar and Yunnan province of China). Agriculture is the key of the economic system in the lower basin. Exception is Cambodia where farming area is limited due to low quality soil and land mines buried in 40% of farmland.

Rice remains the main cash crop for the people in the Mekong Basin. Some countries, such as Vietnam, have added other crops, e.g. nuts and sugarcane, over the past few decades. Farmers in the northeastern region of Thailand grow corn, tapioca and others. Farming areas in the Mekong Basin can be divided into three zones: Around the Great Lake of Cambodia where paddy farms feed on rain and seasonal food; low lands in the south of Cambodia and deltas of the Mekong tributaries in Laos where rice is grown in the rainy season and other crops in the summer; and the Song Hong and Mekong river deltas in Vietnam, where rice is harvested twice a year, thanks to large streams which serve as an irrigation network. The economic values of vegetables grown naturally and on river bank gardens during low tides have not been accounted for. The Mekong Basin is indeed the world’s precious source of food.

Important Mekong tributaries 1 Kok River which originates in the mountains in Shan State,

enters Thailand in Chiang Rai province and merges with the Mekong in Chiang Saen district of Chiang Rai;

2 Fang River originates high in the Daen Lao Range and Phi Pannam Range, and joins the Kok River in Tambon Pang Doem;

3 Mae Sai River originates in the mountain range in Shan Sate

and forms the border between Shan State and Thailand, and merges with Ruak stream in Tambon Sop Sai;

4 Ruak stream originates in the mountain range in Shan State and joins the Mekong in Sop Ruak;

5 Mae Chan River originates in Sam Sao mountain in Phi

Pannam Range and merges with the Mekong in Chiang Saen district, Chiang Rai;

6 Mae Ing River springs from Phi Pannam Range in Chaing Rai and joins the Mekong in Thoeng district of Chiang Rai.

ลุ่มน�้ำโขง: สายน�้ำ 6 แผ่นดิน Mekong: The river of six countries

VA-newGL26.indd 19

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

20

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

แม่นำ�้ สาละวินในยูนนานไหลผ่านโตรกผาสูงชัน เป็นส่วนหนึง่ ของพื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติ “สามแม่น�้ำไหลเคียง” มีสามแม่น�้ำ คือ สาละวิน โขง และแยงซี ไหลขนานกัน

Salween River in Yunnan flows through deep gorges, part of the Natural World Heritage site, “Three Parallel Rivers of Yunnan Protected Areas”. The three rivers are Mekong, Salween and Yangtze.

VA-newGL26.indd 20

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

สาละวิ น … สายธารแห่งชีวิต

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

21

จากธิเบตถึง อันดามัน

เรื่อง/ภาพ เพียรพร ดีเทศ โครงการแม่น�้ำเพื่อชีวิต แม่น�้ำสาละวิน คือสายน�้ำใหญ่สายสุดท้ายในภูมิภาคที่ยังคงไหลอย่างอิสระ มี ต้นก�ำเนิดจากการละลายของหิมะบริเวณที่ราบสูงธิเบตเหนือเทือกเขาหิมาลัย ที่ระดับความสูงกว่า 4,000 เมตรจากระดับน�้ำทะเล ไหลลงสู่พื้นที่ลาดชัน ด้านทิศใต้ ผ่านทิศตะวันตกของมลฑลยูนนาน ประเทศจีน จากนัน้ ไหลเข้าสู่ แผ่นดินพม่าผ่านรัฐฉาน รัฐคะยา และลดระดับลงมาเหลือต�่ำกว่า 300 เมตร จากระดับน�้ำทะเลปานกลาง ก่อนที่จะกลายเป็นแม่น�้ำกั้นพรมแดนระหว่างไทย กับพม่าที่ จ.แม่ฮ่องสอน ตรงข้ามกับรัฐกะเหรี่ยง ด้วยระยะทาง 118 กิโลเมตร

Salween

A River of Life from Tibet to Andaman Story/photos Pianporn Deetes, Living River Siam Project

T he Salween is the longest, free-flowing river in mainland Southeast Asia. It originates from melting glaciers in Himalaya Range in Tibet at the height of over 4,000 meters above sea level. It travels through the west of Yunnan province of China, the Shan and Kayah States of Myanmar and forms the 118-km border between Thailand and Myanmar at the height of 300 meters above sea level in Mae Hong Son facing Karen State.

พันธุ์ปลาท้องถิ่นที่หลากหลายของสาละวินยังไม่มีการศึกษาอย่างละเอียด เนื่องจากสงครามในพม่า ในภาพคือปลาแข้ หนึง่ ในปลาที่ชาวบ้านไทย-กะเหรี่ยงส�ำรวจได้อย่างน้อย 80 ชนิด The diversity of fish species in the Salween has yet to be studied thoroughly due to wars in Myanmar. The photo shows a fisherman holding a giant bagarius, called Khae in Thai, one of more than 80 species found in a survey by Thai and Karen villagers.

VA-newGL26.indd 21

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

22

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

หลักฐานทางวิชาการพบว่าถ�้ำแห่งนี้เป็นแหล่งอาศัยของมนุษย์ ที่เริ่มเปลี่ยนวิถีการด�ำเนินชีวิตจากการล่าสัตว์และเก็บหาพืชผลใน ธรรมชาติมาใช้ชวี ติ แบบท�ำการเกษตร โดยขุดพบเครือ่ งมือหินกะเทาะ ในชั้นดินที่ 1 ซึ่งมีอายุ 8,000-12,000 ปีมาแล้ว และในชั้นดินที่ 2 พบเครื่องปั้นดินเผาที่มีการสลักลวดลายเอาไว้ มีการน�ำเส้นใยจาก พืชที่น�ำมาท�ำเป็นเชือกและข่ายจับปลา ซึ่งคาดว่าจะมีอายุระหว่าง 7,000-8,000 ปี นอกจากนัน้ ยังพบขวานหินขัดและเศษเหลือของ พืชต่างๆ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ วัตถุทพี่ บทัง้ หมดเป็นหลักฐานแสดงให้ทราบว่า บริเวณดังกล่าว เป็ น ศู น ย์ ก ลางการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ในรู ป แบบของการเกษตรกรรม เริ่ ม แรกสุ ด แห่งหนึง่ ของโลก ก่อนที่จะพัฒนาไปเป็นรูปแบบของ การเกษตรอย่างในปัจจุบัน

หญิงชาวกะเหรี่ยงที่บ้านสบเมย คือหนึง่ ในชนเผ่าสองฟากฝั่งลุ่มน�้ำสาละวินที่เป็นพื้นที่ที่มี กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ อาศัยอยู่ไม่ต�่ำกว่า ๒๐ เผ่า เป็นลุ่มน�้ำที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ชนพื้นเมือง มากที่สุดแห่งหนึง่ ของโลก Karen women in Ban Sop Moei are one of more than 20 ethnic groups living on both sides of the Salween River, one of the areas with the highest number of ethnic groups.

สาละวินไหลมาบรรจบกับแม่นำ�้ เมย ซึง่ มีตน้ ก�ำเนิดจากเทือกเขา ตะนาวศรี ที่บ้านสบเมย อ.สบเมย จ.แม่ฮ่องสอน หลังจากนัน้ จึงไหล วกกลับเข้าประเทศพม่า ในเขตรัฐกะเหรี่ยง แล้วค่อยๆ ลดระดับจน กระทั่งไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ เมืองมะละแหม่ง รัฐมอญ รวมระยะทางของแม่น�้ำตลอดทั้งสาย 2,800 กิโลเมตร นับ เป็นแม่น�้ำสายที่ยาวเป็นอันดับที่ 26 ของโลก รายงานการส�ำรวจทางภูมศิ าสตร์แห่งสหรัฐระบุวา่ แม่นำ�้ สาละวิน มีปริมาณน�้ำมากเป็นล�ำดับที่ 40 ของโลก ส�ำหรับภูมภิ าคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้แล้ว แม่น�้ำสาละวินเป็นแม่น�้ำนานาชาติที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากแม่น�้ำโขงเท่านัน้ สาละวิน … แหล่งอารยธรรมและประวัติศาสตร์โลก มีหลักฐานระบุชัดว่า สาละวินเป็นลุ่มน�้ำส�ำคัญที่สุดแห่งหนึง่ ที่ มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติในแถบเอเชียตะวันออก เฉียงใต้และของโลก มีการค้นพบแหล่งโบราณคดีก่อนประวัตศิ าสตร์ ในเขตนี้ เป็นที่รู้จักของนักประวัติศาสตร์และมีชื่อเสียงที่สุด คือ “ถ�้ำผี” (Spirit Cave) ซึ่งพบอยู่ในพื้นที่ภูเขาสลับซับซ้อนทางฝั่ง ตะวันออกของลุ่มน�้ำสาละวิน ปัจจุบันเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน จังหวัดแม่ฮ่องสอน

VA-newGL26.indd 22

ลุ่มน�้ำสาละวิน ถิ่นชนพื้นเมือง สองฟากฝั่งลุ่มน�้ำสาละวิน ตั้งแต่ใต้เทือกเขาหิมาลัยลงมาจน จรดอ่าวเมาะตะมะ นับว่าเป็นพื้นที่ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ อาศัยอยู่ มากมาย ไม่ต�่ำกว่า 20 เผ่า เช่น ไต (ไทใหญ่) ว้า (ลั๊วะหรือละว้า) คะยา (คะเรนนีหรือกะเหรีย่ งแดง หรือบะแว) อาระดัน (ยะไข่) ปะโอ ปะหล่อง (ดาระอั้ง) ปะด่อง อะข่า ลิซู อินเล มอญ ฯลฯ เป็นต้น จน อาจกล่าวได้ว่าสาละวินเป็นลุ่มน�้ำที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ชนพื้นเมืองมาก ที่สุดแห่งหนึง่ ของโลก กลุ่มชาติพันธ์ุเหล่านี้ล้วนแต่อยู่รวมกันเป็น สังคม ตั้งชุมชนตามที่ราบเล็กๆ กลางหุบเขา ที่ราบเล็กๆ ริมฝั่งแม่น�้ำ สาละวินและล�ำห้วยสาขาที่ไหลลงมาบรรจบกับแม่นำ�้ สาละวิน โดย เฉพาะบริเวณทีร่ าบลุม่ ปากแม่นำ�้ สาละวินซึง่ เป็นพืน้ ทีร่ าบลุม่ น�ำ้ ท่วมถึง ครอบคลุมเนื้อที่หลายล้านไร่เป็นเขตที่มีการตั้งชุมชนหนาแน่นที่สุด ด้วยสภาพพื้นที่เทือกเขาสลับซับซ้อนยากต่อการเข้าถึงของ สังคมภายนอก ท�ำให้ชมุ ชนทีต่ งั้ อยูบ่ นลุม่ น�ำ้ สาละวินยังมีการสืบทอด วิถชี วี ติ ตามแนวทางของบรรพชนแบบการเกษตรและพึง่ พิงธรรมชาติ จากการส�ำรวจพืน้ ทีส่ องฝัง่ แม่นำ�้ เมยและน�ำ้ ยวมในช่วงปี 2536 เขตลุ่มน�้ำสาละวินช่วงที่ผ่านประเทศไทย พบว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่ ด�ำรงชีวิตด้วยการหาอาหารจากป่า จับปลาในแม่นำ�้ และอาศัยพื้นที่ ริมฝั่งแม่นำ�้ อันอุดมสมบูรณ์ด้วยปุ๋ยธรรมชาติที่แม่นำ�้ พัดพามาทับถม ในฤดูน�้ำหลากปลูกพืชในฤดูน�้ำลด ระบบนิเวศลุ่มน�้ำสาละวิน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสาละวิน นับตั้งแต่จุดที่แม่น�้ำสาละวิน ไหลเป็นพรมแดนไทย-พม่า เป็นสภาพพื้นที่อันต่อเนื่องระหว่างเขต ชีวภูมิศาสตร์ย่อยอินโดจีน (Indo-Chinese Subregion) กับพื้นที่ ต่อเนื่องจากชีวภูมิศาสตร์สิโนหิมาลายัน หรือ เขตชีวภูมิศาสตร์ย่อย อินเดีย (Sino-Himalayan or Indian Subregion) พื้นที่เขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าแห่งนีจ้ ึงได้รับอิทธิพลทางด้านการกระจายชนิดพันธุ์พืช และสัตว์ป่า จากแถบเทือกเขาหิมาลัยลงมาตามเทือกเขาสูงที่ขนาบ แม่น�้ำสาละวินและแม่น�้ำโขง จนบรรจบกับเทือกเขาสูงทางภาคเหนือ ของไทย เช่น เทือกเขาแดนลาว เทือกเขาถนนธงชัย และเทือกเขาผี ปันน�้ำตะวันตก (เขาขุนตาล) การศึกษาของศูนย์วิจัยป่าไม้พบว่าชนิดพืชพรรณ และสัตว์ป่าที่

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 The Salween joins the Moei River, which springs from Tenasserim (Tanao Si) Range, at Ban Sop Moei in Sop Moei district of Mae Hong Son. It tumbles through the Karen State of Myanmar and empties into the Indian Ocean at Mataban Gulf in Moulmein, Mon State. It travels 2,800 km and is the world’s 26th longest river. The U.S. Geological Survey ranked the Salween 40th in the world in terms of the volume of water it holds. It is the second largest international river in Southeast Asia, after the Mekong River. A Site of World Civilization and History Evidence suggests historical value of the Salween to Southeast Asia and the world. The most famous excavation site is the “Spirit Cave’’ in the complex mountain range on the east of the Salween, which is currently part of the Salween Wildlife Sanctuary in Mae Hong Son. Academic studies found that the cave was inhabited by early humans indicating a shift of livelihood from hunting and poaching to farming as suggested by the flaked stone tools unearthed from the first layer dating 8,00012,000 years and carved pottery found on the second layer. Ropes and fishing nets made from crop fibers were dated 7,000-8,000 years, and polished stone axes and crop remains showed development of new technology.

23

May - August 2009

The findings indicated the area is a center of the world’s prehistoric farming. A Basin of Ethnic Minorities At least 20 ethnic tribes live along the Salween Basin from the foot of the Himalayan Range to the Mataban Gulf . They include Shan, Wa, Kayah, Rakhine, Pa-o, De’ang, Paduang, Akha, Lisu, Inle, and Mon. It can be said that Salween is one of the basins most densely-populated by ethnic groups in the world. Each group forms small community on a small plain deep in a mountain or along the Salween or its tributaries, especially on flood plains at the mouth of the Salween which covers an area of millions of rai. Located deep inside hard-to-access complex mountain ranges, those agricultural communities live close to nature the way their ancestors did. A survey of both sides of Moei and Yuam Rivers in 1993 found locals in the Salween Basin along the Thai border make their living mainly by poaching, fishing and farming on the river banks rich with sediments during low tides. Ecosystem of the Salween Basin The Salween Wildlife Sanctuary where the Salween River marks the Thai-Myanmar border is regarded as an

แม่น�้ำสาละวินชายแดนไทย-พม่า สบเมยคือหนึง่ ในพื้นที่หาปลาส�ำคัญของชาวบ้านไทย-กะเหรี่ยง ส่วนเบื้องหลังคือทิวเขาที่อุดมไปด้วยป่าเบญจพรรณซึ่งเป็นที่ยอมรับว่าคือ ต้นก�ำเนิดไม้สักของโลก Salween River along the Thai-Burmese border at Sop Moei district is an important fishing site to both Thai and Karen villagers. In the background is a mountain range with mixed deciduous forests known as the origin of the world’s teak wood.

สาละวิน...สายธารแห่งชีวิต จากธิเบตถึงอันดามัน Salween...A River of Life from Tibet to Andaman

VA-newGL26.indd 23

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

24

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

พบในเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ สาละวินคล้ายคลึงกับชนิดพันธุท์ พี่ บแถบ เทือกเขาหิมาลัย แคว้นอัสสัมของประเทศอินเดีย และสหภาพพม่า นอกจากนัน้ ชนิดพืชพันธุ์และสัตว์ป่า อีกส่วนหนึง่ เป็นชนิดที่พบทาง อินโดจีนด้วยเช่นกัน ในทางภูมศิ าสตร์ พืน้ ทีป่ า่ ทีต่ อ่ เนือ่ งจากผืนป่าแถบลุม่ น�้ำสาละวิน ลงไปตามล�ำน�้ำเมย จนจรดปลายเทือกเขาตะนาวศรี ครอบคลุมผืน ป่าขนาดใหญ่ฝั่งตะวันตกของไทยทั้งหมด ซึ่งมีเขตอนุรักษ์ที่มีความ ส�ำคัญระดับประเทศและระดับโลกหลายแห่ง เช่น เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อันเป็นเขต มรดกทางธรรมชาติของโลก เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ อุทยาน แห่งชาติอีกหลายแห่ง เช่น อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ อุทยานแห่งชาติ ไทรโยค อุทยานแห่งชาติเอราวัณ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ฯลฯ ด้านพรรณพืช พืน้ ทีป่ า่ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ สาละวินมีสงั คมพืช ที่มีความแตกต่างจากพื้นที่ส่วนอื่นของประเทศอยู่ไม่น้อย เป็นแหล่ง พันธุกรรมของสังคมพืชมากมาย เป็นแหล่งภูมิพฤกษ์ที่เป็นตัวแทน ภูมิพฤกษ์แบบอินโดเบอร์มาซึ่งปรากฏอยู่ในไทย พรรณพืชในพื้นที่ ส่วนนี้ได้รับอิทธิพลมาจากเทือกเขาหิมาลัยเป็นส�ำคัญ โดยเฉพาะ พันธุ์ไม้เขตหนาวจ�ำนวนมากมายหลายชนิดปรากฏอยู่ นอกจากนี้ยัง มีพันธุ์ไม้จากภูมิพฤกษ์แบบอินโดมาลายากระจายขึ้นมาตามเทือก เขาตะนาวศรีบ้างแต่มีปริมาณค่อนข้างน้อย พื้นที่ส่วนนีจ้ ึงนับได้ว่า เป็นแหล่งอนุรักษ์พรรณพืชที่ส�ำคัญของสังคมพืชผลัดใบเขตมรสุม (Monsoon Deciduous forest) ส่วนด้านพันธุ์สัตว์ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสาละวิน มีสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนมทั้งหมด 20 ชนิด สัตว์ป่าที่หายาก เช่น เสือโคร่ง เสือไฟ กระทิง และกวางผา มีสัตว์ปีกหรือนก 122 ชนิด เป็นนกประจ�ำถิ่น จ�ำนวน 108 ชนิด อีก 14 ชนิดเป็นนกที่หายาก แต่สามารถพบได้ ในผืนป่าเขตไทย คือ นกยูงไทย นกแว่นสีเทา ไก่ฟ้าหลังเทา และ เหยี่ยวภูเขาซึ่งอพยพเข้ามาในช่วงฤดูหนาว นอกจากนี้ยังพบนกน�้ำ และนกประเภทที่ชอบหากินอยู่ใกล้ชายน�้ำปรากฏอยู่หลายชนิด เช่น นกยางเขียว นกยางด�ำ นกกระแต นกกระเต็นในวงศ์ Alcedinidea นกกาน�้ำ นกอ้ายงัว่ นกเป็ดน�้ำในวงศ์ Anatidae เป็นต้น ฟิลปิ ราวน์ด ผูเ้ ชีย่ วชาญเรือ่ งนก เชือ่ ว่าน่าจะพบนกเป็ดหงส์ ซึง่ ใกล้สญ ู พันธุ์ ได้ใน พืน้ ทีเ่ ขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ แห่งนีด้ ว้ ย ส่วนสัตว์สะเทินน�ำ้ สะเทินบกพบ รวมกันไม่นอ้ ยกว่า 38 ชนิด ในจ�ำนวนนีม้ เี ขียดแลว หรือกบภูเขา เป็น สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำขนาดใหญ่และหายากรวมอยู่ด้วย ป.ปลาในน�้ำ ดร.ชวลิต วิทยานนท์ ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุ์ปลาน�้ ำจืด ได้ ท�ำการวิจัยมากว่า 10 ปี เรื่องพันธุ์ปลาสาละวินในแถบแม่ฮ่องสอน ชายแดนไทย-พม่า ขึน้ ไปถึงมะละแหม่งในประเทศพม่า พบว่า ในลุม่ น�้ำ สาละวินชายแดนไทย-พม่าและล�ำน�้ำสาขาในฝั่งประเทศไทยพบพันธุ์ ปลาไม่น้อย 200 ชนิด และในแม่น�้ำสาขา โดยเฉพาะในแม่น�้ำปาย และแม่น�้ำเมย พบสายพันธุ์ปลาอย่างน้อย 170 ชนิด ซึ่งเป็นปลา เฉพาะถิ่น ประมาณ 60 ชนิด เช่น ปลาตะเพียน ปลาหมูค้อ เป็นต้น ขณะที่งานวิจัยชาวบ้านปะกาเก่อญอ ท�ำการศึกษาโดยชุมชน ชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยงในป่าสาละวินชายแดนไทย-พม่า พบว่า

VA-newGL26.indd 24

มีพันธุ์ปลา 80 ชนิด ที่ชาวบ้านสามารถจับได้ประจ�ำด้วยเครื่องมือ ประมงพื้นบ้าน ปลาเหล่านี้อพยพขึ้นลงระหว่างแม่น�้ำสาละวินกับแม่น�้ำสาขา เช่น ปลาหมู ปลาคัง ฯลฯ ส่วนพันธุ์ปลาที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้แก่ ปลาสะแงะหรือปลาตูหนา ที่วางไข่ในทะเลลึกของมหาสมุทรอินเดีย และอพยพขึ้นมาเติบโตตามล�ำน�้ำสาขาของแม่น�้ำสาละวินแถบตอน กลาง เช่น น�้ำปาย น�้ำยวม น�้ำเงา ฯลฯ บริเวณปากแม่น�้ำสาละวิน ยังพบว่ามีจระเข้เป็นจ�ำนวนมาก เคย พบในล�ำน�้ำสาละวินช่วงที่กั้นชายแดนไทยกับพม่าเหนือบ้านแม่สาม แลบขึ้นไปด้วย “แม่น�้ำสาละวินนั้นมีความหลากหลายทางธรรมชาติสูงมาก เพราะมีการพบปลาเฉพาะถิ่นตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ เช่น ปลา สะแงะ ที่มีการขึ้นลงไปวางไข่ถึงทะเลอันดันมัน นี่เป็นตัวอย่างที่บ่งชี้ ว่าระบบนิเวศน�้ำที่อุดมสมบูรณ์ สิ่งเหล่านี้มีผลต่อชีวิตและความเป็น อยู่ของผู้คนบริเวณแม่น�้ำสาละวิน-แม่น�้ำสาขาทั้งไทยและพม่า สร้าง รายได้หลักให้กบั ชาวประมงและพ่อค้าปลา ท�ำให้มโี รงงานแปรรูปปลา และร้านอาหารหลายแห่งในจังหวัดแม่ฮ่องสอนกับจังหวัดตากที่เป็น ผู้รับซื้อหลัก รวมทั้งปลาจากแม่น�้ำสาละวินยังถูกแปรรูปส่งไปขายใน กรุงเทพฯ และมาเลเซียด้วย แม่น�้ำสาละวินจึงเป็นแหล่งความมั่นคง ทางอาหารแห่งหนึง่ ของโลก” ดร.ชวลิต พูด ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มน�้ ำสาละวินจึงมีความหลากหลาย ทางชี ว ภาพสู ง ไม่ ไ ด้ ด ้ อ ยไปกว่ า แม่ น�้ ำ สายอื่ น ๆ ในภู มิ ภ าคนี้ แต่เนื่องจากพื้นที่ลุ่มน�้ำสาละวินอยู่ห่างไกล พื้นที่ส่วนใหญ่ยาก ต่อการเข้าถึง โดยเฉพาะในประเทศพม่าทีม่ กี ารต่อสูร้ ะหว่างฝ่ายต่างๆ มายาวนาน ท�ำให้การศึกษาด้านนิเวศวิทยาทางน�้ำจึงยังมีอยู่น้อย เช่น เดียวกับด้านประวัตศิ าสตร์ทยี่ งั ไม่สามารถท�ำได้อย่างละเอียดและไม่ ทั่วถึงตลอดลุ่มน�้ำ

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

ปากแม่น�้ำสาละวินที่รัฐมอญ พม่า เป็นพื้นที่เกษตรที่อุดมสมบูรณ์ด้วย ตะกอนที่สายน�้ำพัดพามา The mouth of Salween River in Mon State of Myanmar is a fertile agricultural area thanks to silt carried by currents.

25

May - August 2009

ecological transition zone between the Indo-Chinese Subregion and the Sino-Himalayan or Indian Subregion. The fauna and flora spread from the Himalayas down to mountain ranges along the Mekong and Salween Rivers in Thailand, such as Daen Lao Range, Thanon Thongchai Mountain Range and the west Phi Pannam Range (Khun Tan mountain). Studies by the Forest Research Center found that flora and fauna found in the sanctuary share similar characteristics to those found in the Himalayas in the Assam State of India and Myanmar. Some of the species are similar to those found in Indochina. Geographically, forests blanket the Salween Basin to the Moei River and to the tip of Tenasserim Range on most of the west of Thailand. The forest covers locally and world-renowned wildlife sanctuaries, including Thung Yai Naresuan Wildlife Sanctuary and Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary, both of which are a World Heritage Site, Salakphra Wildlife Sanctuary; as well as national parks, e.g. Mae Wong National Park, Sai Yok National Park, Erawan National Park, and Kaeng Krachan National Park. The Salween Wildlife Sanctuary is home to vastly diverse types of plants of IndoBurma species, much different from those found elsewhere in Thailand. The sanctuary is under the influence of the Himalaya Range and contains many plant species of the temperate zone as well as those of IndoMalaya faunas mix scattered sparsely on Tenasserim Range. The rare monsoon deciduous forest dominates the sanctuary. The sanctuary is the habitat of 20 rare mammals, including Bengal tiger, Asiatic golden cat, gaur and Long-tailed goral. Of 122 winged species, 108 are indigenous and 14 others are rare and can only be spotted in Thai forests, such as the Green Peafowl (Pavo muticus), Grey Peacock-Pheasant, Kalij Pheasant and Mountain Hawk-Eagle, which migrates to Thailand in winter. Water birds and birds that can be found living on the coast are, for instance, Little Heron, Black Bittern, Lapwing, common kingfisher in the school of Alcedinidea, Cormorant, Oriental Darter, and Ringed Teal in the family of Anatidae. Ornithologist Philip Round believed Nok Ped Hong (Sarkidiornis melanotos), an endangered bird species, could be found in this sanctuary. There are at least 38 amphibian species, including large and rare Asiatic Giant Frog. Fish Stocks Dr. Chavalit Vidthayanon, an expert in freshwater fishes, has for over a decade conducted researches on fish species in the Salween basin from Mae Hong Son up the Thai-Myanmar border to Moulmein of Myanmar. He discovered at least 200 species in the Salween and its tributaries on the Thai sides. Of 170 species found in tributaries, particularly Pai and Moei Rivers, 60 are indigenous, such as Common silver barts (Barbodes gonionotus) and Skunk botia (Yasuhikotakia morleti). A research by the Thai-Karen community in the Salween forest along the border found 80 species captured by local fishing gear. Some fishes, such as the loaches, migrate between the Salween and its tributaries. A famous species is a kind of eel, Sa-ngae or Tu-naa (Auguilla australis). It spawns in the Indian Ocean and migrates up the tributaries of the middle Salween, e.g. Pai, Yuam and Ngao Rivers. A large number of crocodiles had been sighted in the Salween delta and along the Thai-Myanmar border north of Ban Mae Sam Lap. “The Salween River is rich in biodiversity. Indigenous fishes are found throughout the river, such as the Sa-ngae which spawns in the Andaman Sea. This is an indicator of the rich fresh-water ecosystem which affects the livelihood of people living along the Salween and its tributaries in Thailand and Myanmar. “Fishing provides a primary source of income for fishermen and fish traders, giving rise to fish-processing factories and restaurants in Mae Hong Son and Tak. Processed fishes are shipped to Bangkok and Malaysia. The Salween is thus a source of the world’s food security,” said Dr. Chavalit. The Salween is second to none in terms of biodiversity in the region. However, its remoteness coupled with internal fighting in Myanmar have impeded the studies of its ecosystem and history.

สาละวิน...สายธารแห่งชีวิต จากธิเบตถึงอันดามัน Salween...A River of Life from Tibet to Andaman

VA-newGL26.indd 25

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

26

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

แผ่นดิน สายน�้ำ และผู้คนบนพรมแดน เรื่อง/ภาพ สุมาตร ภูลายยาว และ รวงทอง จันดา

ต�ำนานเล่าต่อกันมาว่า บนภูสูงแสนไกลมีสองพี่น้อง น�้ำคง (สาละวิน) และน�้ำโขง (ของ) อาศัยอยู่ที่นนั่ พวกเขาไม่เคยเห็นทะเลจึงชักชวนกัน ไปเยือน... เมื่อออกเดินทาง ฝ่ายน�ำ้ คงผู้พี่มักจะแวะพักหลับตามทางอยู่เรื่อยๆ เมื่อพี่หลับก็ได้ทีของน้องผู้ซุกซน แอบไปวานให้ลิงลม (นางอาย) เป็น ผู้น�ำทาง โดยนิสัยส่วนตัวมันชอบออกหากินยามค�่ำคืน อาศัยสายลมพัด พาน�ำทางเดินไป ในเวลากลางวันมันจะเคลื่อนที่ได้เชื่องช้าและส่วนใหญ่ จะนอนพักผ่อน ลิงลมและน�้ำโขงออกเดินทางผ่านที่ราบลุ่มต�่ำลงไปเรื่อยๆ น�้ำคงตื่นขึ้นมามองซ้ายแลขวาไม่เห็นน้องก็โมโหเป็นยิ่งนัก จึงไปวาน งูเห่าน�ำทางและขอร้องให้พาตนไปให้ถงึ ทะเลโดยเร็วทีส่ ดุ ทัง้ ยังก�ำชับว่าใน ระหว่างการเดินทางมิให้เอ่ยถึงน�ำ้ โขงเด็ดขาด หากฝ่าฝืนอาจเกิดอันตรายขึน้

Land, Rivers and People along the Border Story/photos Sumart Phulaiyao and Ruangthong Chanda

L

egend has it that on faraway towering mountain lived two brothers Nam Khong (Salween) and Nam Kong (Mekong) who had never seen the sea. They set off on a journey to fulfill their dream. Nam Khong, the elder brother, often took a nap along the way. On one such nap, the younger brother asked the slow loris to be his guide. With the wind showing the way, they slowly made their way through the low-lying plains. Nam Khong became furious when he woke up and did not see his brother. He asked the cobra to quickly take him to the sea. He warned the cobra not to mention about his brother or else he cannot guarantee his safety. The cobra slithered cross the mountain and fertile forest towards low land. He sped through rocks, sands and flora. They finally

VA-newGL26.indd 26

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

27

การตักปลาด้วยสวิงที่ท�ำจากไม้ไผ่ ใช้จับปลาในฤดูปลาอพยพ พบได้ทั่วไปตามริมฝั่ง แม่น�้ำโขง เครื่องมือหาปลาชนิดนี้แม้จะใช้พลังแขนมากแต่ก็เป็นเครื่องมือท�ำได้ง่าย เพราะใช้วัสดุในท้องถิ่น Scooping up fish with a spoon-net made of bamboo is usually done in the fish migrating season. Though the gear, which is widely used, demands great arm strength, it is easy to make as materials can be found locally.

VA-newGL26.indd 27

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

28

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ทั้งกับตนเองและผู้ร่วมเดินทาง ได้ฟังดังนัน้ แล้ว งูเห่าก็เลื้อยน�ำทาง ไปอย่างคล่องแคล่วว่องไวลัดเลาะขุนเขา แทรกตัวผ่านป่าใหญ่อัน อุดมสมบูรณ์ ลงสู่พื้นที่ราบลุ่ม เลื้อยข้ามป่าหิน ผืนทราย และต้นไม้ นานาพันธุ์ เมือ่ ถึงบริเวณเขตไทย-พม่า มดลิน้ ตัวกระจ้อยร่อยกัดงูเห่า จนสะดุ้งขดตัวไปมา และนัน่ จึงเป็นที่มาของสายน�้ำอันคดโค้ง ซึ่งชาว บ้านเรียกบริเวณนัน้ ว่า “โค้งสาละวิน” แล้วการเดินทางก็สิ้นสุดลง น�ำ้ คงเดินทางมาถึงทะเลอันดามัน บริเวณปากน�้ำเมืองมะละแหม่ง ประเทศพม่า ด้วยระยะทาง 2,820 ก.ม. ส่วนน�้ำโขงนัน้ เป็นนักเดินทางท่องเที่ยวผ่านไปหลายประเทศ ระยะทางกว่า 4,909 ก.ม.

จนกระทั่ง มาโผล่ เ ห็ น ทะเลจี น ใต้ ที่ เมื อ ง โฮจิมินตห์ซิตี้ ประเทศ เวียดนาม แม้ ว ่ า นั่ น อาจเป็ น เพียงต�ำนานเล่าสืบกันมา แต่ ผู้คนสองฝั่งน�้ำสาละวิน มี ค วามเชื่ อ และถื อ ปฏิ บั ติ ว ่ า ยามใด

จะข้ามสายน�้ำนีจ้ ะต้องประพรมน�้ำขมิ้นและส้มป่อยลงบนศีรษะเสีย ก่อน บางคนก็พกพาเป็นเครื่องรางติดตัวตลอดเวลา สาละวิน … สายน�้ำของชนเผ่า สาละวินมีชื่อเรียกมากมาย บ้างเรียกว่า “แม่น�้ำสายเลือด” บ้างเรียกว่า “แม่น�้ำมรณะ” ชนพื้นถิ่นในธิเบตเรียกแม่น�้ำสายนี้ว่า “นู่เจียง” หรือแม่น�้ำนู แปลว่า “แม่น�้ำที่โกรธเกรี้ยว” เมื่อไหลผ่าน ตอนกลางเขตรัฐฉานซึง่ มีชาวไตหรือไทใหญ่อาศัยอยูม่ ากทีส่ ดุ ชาวไต เรียกว่า “แม่น�้ำคง” ส่วนกลุ่มชาติพันธ์ุอื่นๆ ในรัฐคะยา รัฐกระเหรี่ยง มักจะออกเสียงคล้ายกับชาวไตว่า “คง” ชาวปกาเก่อญอที่อาศัยอยู่ แถบลุม่ น�ำ้ นีเ้ รียกว่า “โคโหล่โกล” ส่วนชือ่ ทีช่ าวอังกฤษเรียกนัน้ เพีย้ น มาจากส�ำเนียงของชาวพม่าที่ออกเสียงว่า “ตาลวิน” แม่นำ�้ สาละวินถือเป็นสายน�ำ้ แห่งกลุม่ ชาติพนั ธุอ์ ย่างแท้จริง สอง ฟากฝั่งน�้ำตั้งแต่เทือกเขาหิมาลัยลงมาจนถึงอ่าวเมาะตะมะ ในเขต หุบเขาอันไกลโพ้นในประเทศจีนมีกลุ่มชาติพันธุ์อาศัยอยู่ไม่น้อยกว่า 14 กลุม่ โดยส่วนใหญ่เป็นชาวนู ลีซู และตูห๋ ลง เมือ่ ล่องตามล�ำน�ำ้ ลง มาจนถึงพรมแดนพม่า-จีน, พม่า-ไทยมีกลุม่ ชาติพนั ธุอ์ าศัยอยูม่ ากมาย ไม่ต�่ำกว่า 16 กลุ่ม เช่น นู ลีซู ไทยใหญ่ กะยา กะยัน กะเหรี่ยง และมอญ แต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ล้วนมีภาษา ตัวอักษร วรรณคดี ศิลป วัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อตามบรรพบุรุษของตนเอง ในบรรดากลุ่มชาติพันธ์ุที่มีอยู่หลากหลายบนลุ่มน�้ำแห่งนี้ กลุ่ม ชนยินตาเล ที่อาศัยอยู่ในรัฐคะยาห์ตอนเหนือของประเทศพม่า มี จ�ำนวนประชากรน้อยที่สุดประมาณ 1,000 กว่าคนเท่านัน้ ผืนป่า-สายน�้ำ คือ ยุ้งฉางแห่งปัจจัย 4 สาละวินกั้นพรมแดนไทย-พม่าที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ผู้คนยังคง ใช้แม่นำ�้ เป็นเส้นทางสัญจรไปมาแทนถนน และด�ำเนินชีวติ ไปตามวิถี ที่คล้ายกัน พ่อ แม่และลูกๆ ต่างมีภาระหน้าที่ของตน ในวันที่ พ่อกับแม่ไปปลูกข้าวไร่หรือท�ำสวนบนภูเขา พี่จะคอย ดูแลน้องตัวเล็กๆ อยู่ที่บ้าน บางคราวต้องลงท่าน�้ำน�ำ เรือออกจากฝั่งไปดูจา (มอง) ที่พ่อวางไว้ อาจได้ปลา สักตัวหรือหลายตัวมาเตรียมไว้รอแม่กลับ มาท�ำกับข้าวในตอนเย็น แน่นอนว่าแม่ แม่ใหญ่เก็บถั่วเต็มตะกร้า รวมทั้งพืชพรรณ ธัญญาหารมากมายที่ปลูกอยู่ตามริมฝั่งยาม น�้ำโขงลดลงคืออาหารอุดมสมบูรณ์และไร้ สารพิษ สร้างรายได้อันงดงามของชาวลุ่มน�้ำ An elderly villager collects beans as well as some other crops grown on the Mekong River’s banks in the dry season. The produce are a great source of chemical-free food.

VA-newGL26.indd 28

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

29

May - August 2009

reached Thai-Myanmar border where little ants bit the snake which startled him, causing him to twist and curl as he slithered away. That’s how the river has multiple bends and where it is called by the locals “the Salween Bends”. Nam Khong eventually reached the Andaman Sea at Mawlamyine of Myanmar, having traveled for a distance of 2,820 km. Nam Kong on the other hand visited more countries and his journey covered over 4,909 km. He emptied into the South China Sea in Ho Chi Minh city of Vietnam. A mere legend though it may be, people on both sides of the Salween usually sprinkle water mixed with ginger and acacia concinna on their heads before crossing the river or carry with them as a charm. The River of Indigenous Tribes Salween is known by many names. Some call it the “Blood River” or the “River of Death.” The Tibetan indigenous tribesmen call it “Nu Jiang” or Nu River, which means “the Angry River”. Where it slices through the middle of Shan State, it is known as the “Khong River” to the Tai ethnic group. Other tribes in the Kaya and Karen States refer to the Salween as “Khong” as well. The Karens, or Pakake-yaw, coined the term “Ko Loh Goal” for the whole river basin. Its English name comes from the Myanmar name “Talween”. The Salween is truly the river of indigenous tribes, which scatter on both sides of the river from the Himalaya mountain range to the Mottama Gulf. In the faraway mountains of China alone reside no fewer than 14 ethnic groups, mainly Nu, Lisu and Tu Long. The Myanmar-Chinese border and Myanmar-Thai border are home to 16 tribes, including the Nu, Lisu, Shan, Kaya, Kayan, Karen and Mon. Each tribe has their own unique language, alphabets, literature, arts and culture, tradition and beliefs. Of the many ethnic groups, the smallest tribe is the Yin Ta Le, around 1,000 of whom live in the northern Kaya State of Myanmar. Forests and Rivers Provide Basic Necessities The Salween separates Thailand and Myanmar at the Thai province of Mae Hong Son, where the river serves as the main route of transport. Life goes on in its own simple ways. Parents tend to their paddy farm or plantation on the mountain, while the elder children take care of the younger ones at home. Sometimes older kids take the boat to check fish traps and collect the catch for their mothers to cook for dinner. The mother normally returns home with bamboo shoots or other vegetables she picks from the forest. In the off-farming season, the mother stays home, weaving cloth and sewing new dresses for her children and husband to wear on special occasions. Life goes on like this for generations. With the arrival of cold winter breezes, the Salween tides recede and islets, cataracts, rocks and sand banks

ชาวประมงบ้านสองคอน อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี แบกปลาตัวใหญ่ที่หาได้ในฤดูแล้ง ด้วยรอยยิ้ม

A fisherman in Ban Song Khon in Khong Chiam district of Ubon Ratchathani smiles broadly as he carries a big fish he has just caught from the Mekong in dry season.

แผงขายปลาที่ซื้อง่ายขายคล่องในท้องถิ่นริมฝั่งน�้ำ ส่วนใหญ่มักวางขายตาม บริเวณท่าเรือของหมู่บ้าน

Fish vendors simply lay down their goods on mats by the village’s pier to draw customers.

resurface, marking another farming season. Nut, tobacco and other seeds are planted on the rich sediments the river brings as a gift for riverside communities. Fertilizers and pesticides are not needed. Plants grow healthily on the soil ambrosia. Even in the land torn by wars, when the sound of the rockets temporarily fades, people resume normal lives no different from those on the other side of the river.

แผ่นดิน สายน�้ำ และผู้คนบนพรมแดน Land, Rivers and People along the Border

VA-newGL26.indd 29

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

30

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ต้องมีหน่อไม้ หน่อหวาย ผักและอาหารที่ได้จากป่ามาสมทบกันด้วย พอพ้นฤดูกาลเพาะปลูกแม่ก็จะทอผ้า เย็บเสื้อผืนใหม่ให้ลูกๆ และ พ่อใส่ไปในงานส�ำคัญ วงจรชีวิตสลับเปลี่ยนหมุนเวียนเช่นนี้มานาน หลายชั่วอายุคน ครั้นเมื่อสายลมหนาวพัดผ่านมา ล� ำน�้ำค่อยๆ ลดระดับลง เกาะ แก่ง ดอน หาดทราย ผืนดินโผล่ตัวขึ้น ฤดูกาลเพาะปลูกก็เริ่ม ขึ้นอีกครา เมล็ดพันธุ์พืชทั้งถั่ว ยาสูบ และพืชผลอื่นๆ ถูกหยอดลง สู่ผืนดินอันอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุที่สายน�้ำพัดพามามอบเป็นของ ก�ำนัลให้ทุกชีวิตที่อิงแอบอยู่ริมฝั่งน�้ำ ที่นี่ไม่ต้องใส่ปุ๋ย หรือใช้ยาฆ่า แมลง พืชพรรณต่างงอกงามด้วยอาหารทิพย์จากผืนดิน แม้บนแผ่นดินแห่งสงคราม ในยามที่การสู้รบสงบลงชั่วคราว ผู้คนก็ด�ำเนินวิถีชีวิตไปตามครรลองเฉกเช่นเดียวกับคนอีกฝั่งฝาก หนึง่ ของสายน�้ำ ผืนป่า-สายน�ำ้ เป็นดัง่ ยุง้ ฉางแห่งปัจจัย 4 ความรักทีม่ ตี อ่ ธรรมชาติ จึงเป็นสิ่งบ่มเพาะจิตส�ำนึกให้เคารพป่า บูชาแม่น�้ำ ผู้เฒ่าผู้แก่แห่งชน เผ่าปกาเกอญอจึงคอยย�ำ้ เตือนสั่งสอนลูกหลานด้วย “ธา” อันเป็น บทเพลงชีวิตและจิตวิญญาณที่ถ่ายทอดส่งผ่านคนรุ่นต่อรุ่นมาจนถึง ยุคสมัยนี้ว่า “อ่อทีกะต่อที อ่อก่อกะต่อก่อ (กินน�้ำ รักษาน�ำ้ อยูป่ า่ รักษาป่า)”

ในราวเดือนกุมภาพันธ์จนถึงพฤษภาคม จะเป็นห้วงยามทีล่ �ำน�ำ้ โขง ลดลงเต็มที่ ผาหิน หาดทราย เกาะ แก่ง เวิน วังน�้ำ สันดอน และผืน ดิน ค่อยๆ เผยโฉมให้มวลมนุษยชาติได้ยล มหกรรมแห่งการหาปลา ของชาวประมงสองฝั่งโขงลาว-ไทยก็เริ่มต้นคึกคักขึ้นในทันใด และ ในช่วงนี้ผืนป่าก็อุดมไปด้วยความหลากหลายทางอาหารหล่อเลี้ยง ผู้คนลุ่มน�้ำโขง เช่น ผักหวาน แมงจินนู แมงทับ ตัวต่อ เห็ด หน่อไม้ น�้ำผึ้ง แย้ กะปอม อึ่ง ตั๊กแตน แมงมัน ด้วง เจีย (ค้างคาว) แตน งู หนู เป็นต้น ชีวิตผู้คนลุ่มน�้ำโขงไม่เพียงแต่ได้อาศัยอยู่-กิน-ใช้จากแม่น�้ ำ เท่านัน้ ทว่าล้วนมีวัฒนธรรม ความเชื่อและประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อ กันมาจนปัจจุบนั เช่น ความเชือ่ เกีย่ วกับบัง้ ไฟพญานาค ปรากฏการณ์ ธรรมชาติลูกไฟพุง่ ขึ้นจากล�ำน�้ำโขงในคืนวันเพ็ญขึ้น 15 ค�่ำเดือน 11, ประเพณีตักปลา, พิธีสักการะไหว้ดอนปู่ตา, ไหว้ผีบุ่ง-ผีน�้ำโขง-ผีถ�้ำผีเจ้าที่เจ้าฐาน, บุญสูตรบ้าน, บุญวัดปากแซงสักการะพระเจ้าใหญ่ องค์ตื้อ จัดขึ้นทุกเดือน 3 ของทุกปีที่บ้านปากแซง ชาวบ้านสองฝั่ง โขงทั้งไทยและลาวจะมารวมตัวกันท�ำบุญที่วัดแห่งนี้ เป็นต้น ซึ่งบุญ ประเพณีตา่ งๆ ล้วนเป็นภูมปิ ญ ั ญาของบรรพบุรษุ ทีป่ ลูกฝังให้ลกู หลาน เคารพบูชาในสิง่ ทีค่ อยปกปักษ์รกั ษา คุม้ ครอง และให้ตระหนักรูถ้ งึ บุญ คุณที่สายน�้ำได้มอบอาหารให้กับผู้คนในหมู่บ้าน

ชาวประมงบ้านสองคอน อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี น�ำนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมสถานที่ ท่องเที่ยวที่ดอยฝาตั้ง เป็นรายได้เสริมยามว่างจากหาปลา

ท่าเรือบ้านแม่สามแลบ อ.สบเมย จ. แม่ฮ่องสอน เป็นจุดค้าขายที่คึกคักบนชายแดนไทยพม่า ปัจจุบันชาวบ้านในชุมชนทั้งสองฝั่งน�้ำยังคงใช้ไปมาหาสู่กันด้วยเส้นคมนาคมทางน�้ำ เป็นหลัก

Fishermen in Ban Song Khon in Khong Chiam district of Ubon Ratchathani spend free time taking tourists to attractions at Doi Pha Tang.

แม่น�้ำโขง … ความร�่ำรวยทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ระบุว่า แม่น�้ำโขงมีลักษณะพิเศษส�ำคัญ คือ มีขนาดที่ใหญ่โตมโหฬารและยาวถึง 4,909 ก.ม. มีที่ราบลุ่มสอง ฝั่งแม่น�้ำโขงมีอาณาเขต 810,000 ตร.กม. มีทรัพยากรธรรมชาติอัน ร�่ำรวยทั้งแร่ธาตุต่างๆ มีทองค�ำที่ก�ำลังขุดในลาว มีป่า มีสัตว์บกและ สัตว์น�้ำที่หายากและมีที่เดียวในโลก เช่น ปลาบึก โลมาน�้ำจืด มีความ หลายหลายทางชีวภาพของป่าเขตร้อนทีเ่ ป็นรองก็เพียงแม่นำ�้ อเมซอน ในบาซิลเท่านัน้ ส่วนความกลมกลืนอันหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม ทั้งอาณาบริเวณสองฟากฝั่งเต็มไปด้วยชุมชนชาติพันธุ์ ภาษาและ วัฒนธรรม ถ้าตีวงแคบๆ เพียงแค่สองฝั่งแม่น�้ำก็มีผู้คนเกือบ 100 ล้านคนเข้าไปแล้ว แต่ถ้าตีความอย่างกว้างก็กว่า 200 ล้านคน

VA-newGL26.indd 30

Mae Sam Laep port in Sop Moei district of Mae Hong Son province is a very active trading post on the Thai-Burmese border. Residents on both sides of the border continue to use waterways in their traveling.

ฤดูกาลแห่งธรรมชาติของแม่น�้ำทุกสายบนผืนแผ่นดินในโลกนี้ ล้วนเอื้อต่อสรรพชีวิต เมื่อหมู่บ้านเล็กๆ ก่อก�ำเนิดขึ้นจนขยายใหญ่ พวกเขาต่างมีประเพณี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาในการใช้-การรักษาเรียนรู้ที่จะใช้ทรัพยากรธรรมชาติด้วยความเคารพ ทั้งในวิถีการผลิต การเกษตรกรรม การประมงและการด�ำรงชีวิตอยู่ของผู้คนกลุ่มนัน้ ๆ แยกย่อยสอดคล้องและกลมกลืนกับระบบสังคมนิเวศที่แตกต่างกัน ออกไป ตลอดเส้นทางทีธ่ ารน�้ำทุกสายไหลผ่าน บรรพชนของพวกเขา สั่งสมองค์ความรู้ หล่อหลอมจิตวิญญาณเป็นหนึง่ เดียวกับธรรมชาติ และสิ่งเหนือธรรมชาติ ความเชื่อและศรัทธาถูกถ่ายทอดสู่วิถีปฏิบัติ ของลูกหลานสืบต่อมาจนปัจจุบัน

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

31

May - August 2009

Forests and rivers provide basic necessities and nourish the inhabitants’ love for nature. The silverhaired Pakake-yaw sing their children “Tha”, the tribe’s songs of life and soul passed down through generations. “Au Thi Katau Thi, Au Kau Katau Kau (Drink the water, care for the river. Live in the forest, care for the forest).” Mekong River … Wealth of Nature and Culture Historian Charnvit Kasetsiri said the Mekong is special for its mega size and length of 4,909 km. It encompasses 810,000 sq km of plains. The river is rich with ores and minerals including gold in Laos. It has unique and rare terrestrial and aquatic species, such as the Mekong giant catfish and the Irrawaddy dolphin. Its rich tropical forest biodiversity is only second to the Amazon River of Brazil. In view of cultural diversity, both sides of the river accommodate 100 million to 200 million people of diverse races, languages and cultures. Between February and May, the level of the Mekong falls. Cliffs, sand beaches, islets, rapids and shoals and land emerge, and thus begins the fishing season for the Thai and Laotian villagers. Then the forests are rich with food from both plants and animals, including Phak Wan (Meliertha suaris), metallic wood borers, hornets, mushrooms, bamboo shoots, honey, butterfly lizard, chameleon, bullfrogs, grasshoppers, subterranean ants, beetles, bats, wasps, snakes and mice. People living by the Mekong not only have used its resources but derived their cultures, beliefs and traditions from it, such as the belief about the Naga Fireballs, the natural phenomenon in which glowing balls rise from the river on the full moon night of the 11th month of the Lunar calendar (October), and various rites to pay homage to the spirits guarding the water and land. Thai and Laos people jointly hold a merit-marking ceremony at Pak Sang temple on the third month. The ceremonies reflect the ancestors’ wisdoms to instill respect for those which protect them and awareness of the immense benefits and food the river has offered.

The nature and seasons of all rivers on this earth are accommodating to all lives. As small villages were formed and expanded, the villagers developed traditions, culture and wisdom for respectful use and understanding of natural resources. Agriculture, fishery and the way of life may differ from village to village according to their unique environments, but they are in harmony with their own social and ecological systems. Wherever the river flows, people have opened their heart to nature and the supernatural, and their faiths and beliefs have been passed on to their descendants to this day.

แม่บ้านก�ำลังทอผ้าจากฝ้ายที่ปลูกขึ้นเองบนหาดทรายริมฝั่งเมื่อระดับน�้ำโขงลดลง

หญิงปกาเก่อญอที่บ้านสบเมยก�ำลังตื่นเต้นกับโปสเตอร์พันธุ์ปลาในแม่น�้ำสาละวินที่พวก เขารวบรวมไว้

A housewife is weaving cloths from cotton harvested from plants grown on the sandy beaches of in the Mekong River that emerge when the water level drops in the dry season.

ประเพณีงานบุญ เป็นวันที่ชาวบ้านทั้งฝั่งไทย-ลาวจะมารวมตัวกันท�ำบุญตักบาตรฟังเทศน์ ในวันทางศาสนาต่างๆ

A merit making ceremony on various Buddhist religious days is an occasion when villagers on both the Thai and Lao sides get together to perform religious rites.

Pakake-yaw (Karen) tribe women are admiring a poster of fish species in the Salween River.

แผ่นดิน สายน�้ำ และผู้คนบนพรมแดน Land, Rivers and People along the Border

VA-newGL26.indd 31

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

32

เส้นทางสายใหม่ พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

ON A NEW PATH

May - August 2009

ก่อเจดีย์ทราย เป็นประเพณีงดงามที่ชาวลุ่มน�้ำโขงทั้งฝั่งไทย-ลาว ประกอบขึ้น ในวันสงกรานต์ ส่วนใหญ่จะก่อทรายไว้บนเกาะแก่งหรือหาดทรายของแม่น�้ำโขง ด้วยความเชื่อว่าจะประสบกับความส�ำเร็จ เมื่อตายแล้วจะได้ขึ้นสวรรค์ A pagoda made of sand stands on a Mekong river bank. On Songkran or Water Festival Day, riverside residents both in Thailand and Laos sculpt sand pagodas on the beaches or rock islets in the belief that doing so would ensure they go to heaven after death.

VA-newGL26.indd 32

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

33

May - August 2009

ความเชื่อและศรัทธา เรื่อง/ภาพ รวงทอง จันดา

ตั้งแต่ข่าวคราวลูกไฟโผล่ขึ้นเหนือล�ำน�้ำโขง หรือคนทั่วไปรู้จัก “บั้งไฟพญานาค” ถูกประชาสัมพันธ์จนกลายเป็นกระแสท�ำให้ คนหลายหมื่นหลั่งไหลมา เพื่อพิสูจน์ความจริงของปรากฏการณ์ ธรรมชาตินี้ ที่บ้านตามุย-บ้านท่าล้ง-บ้านกุ่ม ต.ห้วยไผ่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี ถนนลูกรังสายเล็กๆ ก็คลาคล�ำ่ ไปด้วยผู้คน นายทองมี แพงเนตร อายุ 67 ปี อดีตผู้ใหญ่บ้านตามุย เล่า เรื่องราวความเชื่อเดิมๆ ของคนในหมู่บ้านให้ฟังว่า “คนเฒ่าคนแก่ เห็นลูกไฟนี้มานานแล้ว ทั้งในแม่น�้ำโขงและตามห้วยสาขาที่ไหล ลงมาน�้ำโขง แล้วก็ไม่เฉพาะในคืนวันออกพรรษาดอก (เพ็ญ 15 ค�่ำ เดือน 11) ที่มีลูกไฟพุ่งขึ้นมา เดือนสาม เดือนสี่ เดือนหกก็เคยเห็น คนโบราณก็บ่ฮู้ว่าเป็นอีหยัง มันคล้ายดาวตก แต่บ่ตกลงมาจากฟ้า มันพุ่งขึ้นมาจากน�ำ้ เพิ่น (ท่าน) บอกว่าเป็นลูกแก้วเสด็จ เป็นผีฟ้า ผีน�้ำ ผีเงือก ผีงูที่อาศัยอยู่ในถ�้ำใต้น�้ำ พ่อแม่เพิ่นบ่ให้ทักท้วง บ่ให้ ถาม บ่ให้เว้าหา ถ้าบ่เชื่อแล้ว ผีเพิ่นก็สิเฮ็ดให้เจ็บไข้ ได้ป่วย มี เหตุให้เป็นไปถึงตายก็มี ชาวบ้านก็เลยบ่มีไผ ไปรบกวน บ่เว้าถึงเรื่องนี้”

Belief &Faith

นางพัดสะนี พูวัน สาวชาวเมืองปากเซ แขวงจ�ำปาสัก วัย 28 ปี บอกว่า “ลูกไฟที่เพิ่นเอิ้นว่าบั้งไฟพญานาคนัน่ ผู้เฒ่าผู้แก่ คนหา ปลาอยู่ทางปากเซก็เคยเห็น เพิ่นบอกว่ามันบ่ได้ขึ้นเฉพาะในน�้ำโขง แต่ตามห้วยในลาวก็มีขึ้นให้เห็นเหมือนกัน พ่อใหญ่แม่ใหญ่เพิ่นก็จะ ห้ามบ่ให้ลูกหลานท้วง บ่ให้ถามว่าแม่นหยัง เพิ่นว่าเดี๋ยวผีจะมาเอา คนที่ท้วงนัน้ ไปอยู่น�้ำ” เสียงสะท้อนเล็กๆ ของคนอีสานและพี่น้องชาวลาวที่เชื่อกัน ว่า พญานาคเป็นเทพเจ้าที่คุ้มครองแม่นำ�้ โขง ทุกปีในวันออกพรรษา ชาวบ้านจะท�ำพิธีไหลเรือไฟเพื่อบูชาผีนำ�้ ผีเงือก บูชาพญานาค และ ส่วนลูกไฟที่พุ่งขึ้นเหนือล�ำน�้ำนัน้ เชื่อว่า พญานาคพ่นลูกไฟขึ้นไปเพื่อ ถวายบูชาพระพุทธเจ้า ตามต�ำนานในหนังสือไตรภูมิพระร่วง พญานาคก็เป็นสัตว์ที่มี ความเกีย่ วข้องกับพระพุทธศาสนามาเป็นเวลา ช้านาน ดังต�ำนานครัง้ พุทธกาลเล่าว่า มี นาคผูเ้ ลือ่ มใสศรัทธาในพระพุทธ

เด็กชายยกดอกไม้บูชา และเงินท�ำบุญบ�ำรุงศาสน สถาน กราบจรดพื้นทรายแสดง ความเคารพบูชาต่อแม่น�้ำโขง ความ ยึดมั่นศรัทธาดังนีจ้ ะสืบทอดสู่ลูกหลาน ตราบนานเท่านาน A boy expressed deep respect to the Mekong with flowers and money that goes to the maintenance of temples.

Story/photos Ruangthong Chanda

A furore over the the Bang Fai Phaya Nak or “Naga Fireball” phenomenon has drawn ten of thousands of curious observers to flock to Ban Ta Mui, Ban Ta Long and Ban Gum villages in Khong Chiam district of the northeastern province of Ubon Ratchatani. Thongmee Paengnet, a 67-year-old former village headman of Ban Ta Mui, recounted a folklore: “Our elders have long witnessed the fireballs in the Mekong River as well as in streams and creeks and they happened not just on the Buddhist Lent (on the full moon night of October), but also in February, March and even May. They didn’t know what they were. They looked like shooting stars except they didn’t come from the sky but shot out from the waters. The elders said they were holy

VA-newGL26.indd 33

balls, sky spirits, water spirits, mermaid spirits or snake spirits from an underwater cave. People were warned not to talk about it, otherwise the spirits would curse them and they would fall ill or die.” Phatsanee Phuwan, 28, a native of Pakse in Champasak province of Laos, related similar things she had been told. “Our elders and fishermen at Pakse said they had seen the so-called Naga Fireballs, too. Not just in the Mekong but from streams in Laos as well. The older people told us childlren not to mention about it, otherwise the spirits would take our souls away.” From the belief of both the northeastern Thai people and the Laotians that the Naga was the guardian angel of the Mekong came annual ceremony on the Buddhist Lent to worship the spirits, the mermaids and

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

34

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

รูปพญานาคที่สรรสร้างขึ้นด้วยกระจกสีในวัดเชียงทอง เมืองหลวงพระบาง ในพุทธสถาน ของภูมิภาคนี้พญานาคคือสัญลักษณ์ของน�้ำที่หล่อเลี้ยงความอุดมสมบูรณ์ ความสุข ศรัทธา และความเชื่อต่างๆ อย่างแนบแน่น

An image of the Phaya Nak made of colored glass on a wall of Wat Chiang Thong in Luang Prabang, Laos. In this region, the King Naga is a symbol of water that brings about natural riches, happiness, faith and strong belief.

ศาสนาปลอมตัวเป็นมนุษย์เข้ามาบวช ได้อยู่ร่วมกินนอนศึกษาพระ ธรรม ดืม่ ด�ำ่ ค�ำสอนกับภิกษุสงฆ์ทวั่ ๆ ไป เหตุการณ์กไ็ ด้ด�ำเนินไปอย่าง ปกติสขุ จนอยูม่ าวันหนึง่ ขณะทีน่ อนหลับใหลอยูน่ นั้ ได้เผลอตัวกลับ คืนสู่ร่างนาคดังเดิม ยังความแตกตื่นสับสบอลหม่านตกใจกลัวให้แก่ พระภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก ร้อนความถึงพระพุทธเจ้าต้องมาเจรจากับ นาคว่า ผู้ที่มาบวชในศาสนาของเราสงวนไว้สำ� หรับมนุษย์เท่านัน้ ขอ ท่านพึงกลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนของท่านเถิด นาคก็รับค�ำ แต่ขอให้ พวกตนได้มสี ว่ นร่วมอยูเ่ ป็นส่วนหนึง่ ในพระพุทธศาสนาของพระองค์ ด้วย ดังนัน้ จึงได้ปรากฏมีประเพณีการบวชนาคก่อนที่จะอุปสมบท บรรพชามาเป็นพระภิกษุจนถึงกาลปัจจุบัน ประเพณี วัฒนธรรม หรือแม้กระทั่งปรากฏการณ์ “บั้งไฟ พญานาค” นักวิทยาศาสตร์ตั้งข้อสันนิษฐานว่า เกิดจากก๊าซร้อนที่มี ส่วนผสมของก๊าซมีเทนและก๊าซไนโตรเจน ซึ่งเกิดจากการหมักตัว ของซากพืช ซากสัตว์ มูลสัตว์และแบคทีเรีย เมื่อก๊าซที่ฝังตัวอยู่ใต้ แม่น�้ำโขงโดนแรงกดดันจากน�้ำและอากาศที่เหมาะสม ก็จะพุ่งขึ้นมา เหนือน�้ำ และเมื่อก๊าซนัน้ สัมผัสกับออกซิเจน ก็จะเกิดการสันดาป อย่างรวดเร็ว กลายเป็นลูกไฟ หรือบั้งไฟพญานาคอย่างที่เห็นกัน แต่ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเวลาตรงกันทุกๆ ปีมาแต่โบร�ำ่ โบราณ ก็ยัง ไม่มีเหตุผลมายืนยันได้ด้วยหลักวิทยาศาสตร์ หรือใช้เทคโนโลยีชั้น สูงเพื่อพิสูจน์กฎแห่งธรรมชาตินี้ได้ ทว่าศรัทธาและความเชื่อของคนลุ่มน�้ำโขงที่มักผูกโยงไว้กับ พิธีกรรมต่างๆ มากมาย ดังที่คนโบราณได้วางกุศโลบายในการรักษา และแสดงออกถึงความเคารพ ทั้งวิธีการบอกตรงด้วยค�ำสอน หรือ ผ่านเรื่องเล่าปรัมปรา บทเพลง กลอนล�ำ นิทานพื้นบ้าน ฯลฯ เพื่อ ไม่ให้มีใครมาลบหลู่ รบกวนและท�ำลายธรรมชาติ สายน�้ำ แผ่นดิน และผืนป่าที่มอบปัจจัย 4 เพื่อให้ผู้คนสามารถด�ำรงชีวิตอยู่รอดได้ มาจนทุกวันนี้

VA-newGL26.indd 34

ปลามีเจ้าของ น�ำ้ มีผู้รักษา นอกจากนัน้ ชาวลุม่ น�ำ้ โขงยังมีความเชือ่ ว่า สรรพสัตว์ในล�ำน�ำ้ โขง ข้าวของเครือ่ งใช้ในครัวเรือน เล้าข้าว เครือ่ งมือท�ำมาหากิน บ้านเรือน เรือ ฯลฯ ก็ต่างมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์คอยท�ำหน้าที่ปกป้องคุ้มครอง ท้าวแว วันนะสาด ชาวบ้านเซียงแมน เมืองหลวงพะบาง มี อาชีพท�ำประมงเป็นหลัก บอกว่า “เมื่อวานได้เว้าขอปลาไว้กับแม่ นางเรือ (แม่ย่านาง) ขอให้ได้ปลาตัวใหญ่ๆ และถ้าได้ก็จะน�ำมาให้ เพิ่น (ท่าน) กินด้วย แล้วข่อยก็ได้ปลาขนาด 5-6 ก.ก. วันนี้เลยต้อง มาสมมา (ตอบแทน) เลี้ยงนางเรือ เฮ็ดตามที่สัญญาไว้กับเพิ่น อีกบ่ โดนหลังสงกรานต์ชาวบ้านก็จะเริ่มจับปลาบึก ซึ่งต้องเฮ็ดพิธีขอปลา จากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ปกป้องรักษาแม่น�้ำกับปลาก่อน ชาวบ้านจึงจะพา กันจับปลาบึกได้” ปลาบึกได้ชื่อว่าเป็นปลาหนังน�้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในโลก บางคน ขนานนามให้มันเป็น “พญามัจฉาแห่งลุ่มน�ำ้ โขง” บ้างว่าเป็น “ปลา แห่งโชคลาภ” และคนหาปลาในลุ่มน�้ำโขงต่างบอกว่า ปลาบึกเป็น “ปลาเทพเจ้าแห่งล�ำน�้ำโขง” ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุ์ปลาระบุว่า ถิ่นพ�ำนักอาศัยและหากินของ มันอยูท่ โี่ ตนเลสาบ ทะเลสาบน�ำ้ จืดขนาดยักษ์ในประเทศกัมพูชา เมือ่ เจริญวัยเต็มที่พวกมันก็จะออกเดินทางไกลว่ายทวนน�้ำขึ้นไปวางไข่ ในทะเลสาบตาลี ที่มณฑลยูนนาน ประเทศจีน รวมระยะทางกว่า 3,000 ก.ม. และหากพวกมันไม่ถูกอวนและเบ็ดของชาวประมงเสีย ก่อนระหว่างทาง มันจะสามารถเติบโตได้มากกว่า 3 เมตร น�้ำหนัก อาจมากถึง 300 ก.ก. ในประเทศไทยข่าวคราวการจับปลาบึกของพรานปลา มักจะ ได้ยินเฉพาะที่ อ.เชียงของ จ.เชียงราย ซึ่งต่อมามีการประชาสัมพันธ์ ให้พิธีบวงสรวงและการล่าปลาบึกเป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยว ถึงแม้วา่ พิธกี รรมต่างๆ จะถูกเสริมเติมแต่งให้ดอู ลังการ และมีขนั้ ตอน ซับซ้อนมากขึน้ เพือ่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ ว แต่บรรดาพรานปลาทัง้ สองฝัง่ ไทย-ลาวยังคงท�ำพิธเี ฉพาะตนเองขึน้ อีกครัง้ ตามความเชือ่ ทีส่ บื ต่อมา จากบรรพบุรุษของพวกเขา ชาวหลวงพระบางเชื่อกันว่า ปลาบึกเป็นปลาของปู่เญอ-ย่าเญอ เป็นปลาของภูติที่สิงสถิตอยู่ในล�ำน�้ำโขงและถ�้ำติ่ง วังปลาบึกอยู่ใน ถ�้ำลึกใต้แม่น�้ำโขง ตั้งแต่ช่วงเมืองหลวงพระบางไปจนถึงแขวงไซยะ บุรี พวกมันอาศัยอยู่ที่นนั่ มายาวนานเท่าอายุของฟ้าดิน เมื่อถึงวัน สงกรานต์พวกภูติผีที่ดูแลเฝ้าถ�ำ้ จะออกมา ปลาบึกก็จะตามออกมา ด้วย ดังนัน้ จึงต้องมีการท�ำพิธีบวงสรวงเพื่อขอจับปลากันทุกปี ส่วนลาวใต้ ที่เมืองโขง ซึ่งแม่น�้ำโขงแถบบริเวณนัน้ ถูกขนาน นามว่า “มหานทีสี่พันดอน” ก็มีความเชื่อเกี่ยวกับแม่น�้ำโขงและปลา เช่นกัน ท้าวสมพอน แสงอะไพ อาจารย์มหาวิทยาลัยจ�ำปาสัก ซึ่ง ได้ทุนจากรัฐบาลลาวมาศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี คณะศิลปะศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา เอกภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงศึกษา เล่าว่า “ข่อยอยู่บ้านนาฝั่งเป็นหมู่บ้านน้อยๆ ตั้งอยู่บนดอนชัย ขึ้นกับ เขตเมืองโขง แขวงจ�ำปาสัก เวลากลับบ้านต้องขึ้นเรือจากดอนโขงไป ระยะทางประมาณ 40 ก.ม. ขี่เรือ 1 ชั่วโมงถึงชั่วโมงครึ่ง ในหมู่บ้าน มีคนหาปลาบึกอยู่ 5-6 ครอบครัว ก่อนเอาเบ็ดน�้ำเต้าซึง่ เครือ่ งมือจับ

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

the great serpent guarding the water way. The fireballs are believed to be shot by the serpent king as a gesture of homage to the Lord Buddha. In a Buddhist literature “Traibhumikatha“ (the story of three planes of existence), the mythical serpent was shown to have long been associated with Buddhism. According to a legend, a Naga who had great reverence and admiration for Lord Buddha transformed itself into a human in order to be ordained. One day, the Naga fell asleep and unintentionally returned to its former self terrifying other monks. Lord Buddha asked the Naga to leave the monkhood as it was reserved for human only. The Naga agreed but asked that it be a part of Buddhism. The Naga ordination ceremony has thus been performed as part of Buddhist ordination ceremony. Scientists hypothesize that the Bang Fai Phaya Nak are globules of methane and nitrogen formed from decomposed organic matters trapped in pools deep beneath the Mekong. Right conditions of weather and pressure force the balls to the water’s surface where, upon coming into contact with oxygen, combustion occurs and the globules turn into flame. But there is as yet scientific explanation why the phenomenon happens during the same time every year. Faith and beliefs in the Mekong gave rise to many ceremonies. They were indeed ancient ploys to teach through folklores, songs, poetry and local tales respect for nature and to deter any insult or harmful act toward the waterways, land and forests upon which our survival depends.
 Fish Has Owner, Water has Protector People of the Mekong Basin believe all living things in the river and those things that their life depends on – pots and pans, rice barns, tools, houses, boats, etc. – are guarded by holy spirits. Wae Wannasad, a fisherman and native of Chiang Man in Luang Prabang, said: “Yesterday, I asked the ship guardian spirit for big fishes and promised to share my catch with her. I caught a fish, weighting 5-6 kg. So here I am today to hold a feast for the spirit as promised. After Songkran (Water Festival), we will start hunting Mekong giant catfish. We need to hold a rite to worship the spirits who look after the river and fishes before the hunt.” The Mekong giant catfish is the world’s largest freshwater fish. It has been called the “Great Fish of the Mekong” and the “Fish of Luck” but the Mekong fishermen call it the “Fish God of the Mekong”. An expert says the Mekong giant catfish inhabit the Tonle Sap, Cambodia’s Great Lake. Once fully grown they would swim upstream for over 3,000 km to Dali Lake in Yunnan province of China to spawn. If not prematurely caught by fishermen, they can grow up to over three meters long and weigh more than 300 kg. News about giant catfish being caught often came from Chiang Khong in Chiang Rai province. Capitalizing on this the authorities have promoted the spirits

35

May - August 2009

ชาวประมงในลาวก�ำลังท�ำพิธีบูชาแม่ย่านางเรือ

Fishermen in Laos perform mae ya nang (the spirit that protects every boat) worshipping rites.

กล้วยน�้ำว้าอวบอ้วนเต็มล�ำเรือ และภาพของชาวบ้านก�ำลังสร้างเรือไฟในทุกวันออกพรรษา พิธีไหลเรือไฟเพื่อบูชาผีนำ�้ ผีเงือก พญานาค นี้ สะท้อนถึงความเชื่อต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์และ เทพเจ้าที่คุ้มครองแม่น�้ำโขงให้สมบูรณ์พูนผลมาทุกยุคทุกสมัย Green bananas are an essential part of a religious ceremony at the end of Buddhist lent. In the background, villagers are making a rua fai (boat decorated with lanterns and lamps) used to worship phi nam (water spirits), phi nguak (another type of river spirits), and phaya nak (King of Nagas) to ensure that the Mekong is blessed with natural richness.

worshipping ceremony and the catfish hunt as a tourism attraction. The ceremony has been made lavish and elaborate to please tourists. But fishermen, both Thai and Lao, hold private ceremony based on beliefs passed on from their ancestors. Laung Prabang people believe the Mekong giant catfish are pet fish of Poo Yur Ya Yur, the spirits who live in the Mekong River and Ting Cave. The fish live in a big palace deep beneath the river spanning from Luang

เส้นทางสายใหม่ On a new path

VA-newGL26.indd 35

8/21/09 10:11 PM


Greenline26.pdf

36

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ปลาบึกลงน�้ำก็จะมีการเลี้ยงผีน�้ำ แล้วก็ต้องไปท�ำพิธีบอกศาลปู่ตาที่ เป็นผีหลักบ้านก่อน ขอให้ปู่ตารักษา คุ้มครอง ปกป้องลูกหลาน บ่ให้ เจ็บหรือได้รับอันตรายใดใด ให้โชคหมานได้ปลาหลายๆ “ในการประกอบพิธีชาวบ้านจะท�ำพาขวัญ น�ำเครื่องไหว้ มีผ้าด�ำ ผ้าแดง เป็ด ไก่ เหล้า เชิญคนเฒ่าคนแก่ทั้งหมู่บ้านมาร่วม บางคนก็ จะมาล�ำ ฟ้อน และมีคนทรงเจ้าหรือบ้านข่อยเรียกว่า พ่อใหญ่จ�้ำ จะ เป็นผู้มาเสี่ยงท�ำนาย และเมื่อได้ปลามาแล้วก็ต้องมาแก้ น�ำเครื่อง ไหว้มาสมมา น�ำปลาที่ได้มาเฮ็ดเป็นอาหารถวาย และที่ส�ำคัญต้องมี ผ้าแดงใส่ในพานขวัญให้มคี วามยาวสามารถล้อมศาลของปูต่ าได้รอบ” ประเพณี วัฒนธรรมและความเชื่อของชีวิตผู้คนเล็กๆ ริมฝั่งน�้ำ โขงคือความงดงามที่หล่อหลอมรวมจิตวิญญาณผู้คนไว้ด้วยศรัทธาที่ มีต่อธรรมชาติ และหลักธรรมค�ำสอนของพุทธศาสนา ซึ่งนัน่ เปรียบ

ที่ริมน�ำ้ โขง ชาวบ้านก�ำลังนัง่ ฟังเทศน์จากพระสงฆ์ในงานบุญผะเหวด ซึ่งจัดขึ้นในเดือน 4 ของทุกปี ตามจารีตประเพณีที่ทำ� สืบทอดมาแต่โบราณเชื่อว่า หากผู้ใดได้ฟังเทศน์นี้ การ บ�ำเพ็ญบุญที่สั่งสมมาจะส่งผลบุญให้เกิดประโยชน์สุขต่อมวลมนุษย์ Sitting by the Mekong river bank, villager listen to sermons delivered by Buddhist monks in a religious rite held on the fourth month of every year, an ancient tradition in which people believe listening to the sermons would transform the good deeds they have accumulated into benefits for the human race.

Prabang to Xayaburi province of Laos. They have lived for as long as the earth and the sky. On Songkran Day when the spirits leave the cave, the fish accompany them. A worship has thus been held every year before the giant catfish hunt. In Khong city in southern Laos, where the Mekong River was called the “Great River with 4,000 Islets”, beliefs about the Mekong and fishes abound. Somporn Sang-apai, a professor at Champasak University who won a scholarship from the Lao government to study Master’s Degree Program of Arts in Social Sciences for Development at Ubon Ratchathani University, said: “I live in a small village in Khong city of Champasak. It takes me 1 to 1.30 hours on a 40-km boat ride to get home. Five or six families in my village are giant catfish hunters. Before they go on their hunting trip with their fishing rods, they perform a rite to worship the water spirits and the ancestor spirits asking for protection and blessing to have a bountiful catch. “In the ceremony, they make offerings with black and

VA-newGL26.indd 36

เสมือนเป็นสิ่งที่คอยกล่อมเกลาและเป็นปราการส�ำคัญ ในการชะลอ การไหล่บ่าของทุนนิยมโลกาภิวัตน์ อันเป็นลัทธิความเชื่อใหม่ที่ก�ำลัง เข้ามามีอิทธิพลครอบจิตใจมวลมนุษยชาติ วิถชี วี ติ ทีเ่ รียบง่าย ไม่รบี เร่งร้อนรน เคารพอ่อนโยนต่อธรรมชาติ อาทรต่อสรรพสิง่ ยิม้ ทักทายกัน ท�ำมาหากินพอได้กนิ เหลือก็ขาย แบ่ง ปันอาหารกันตามพอมีพอกิน มีญาติพี่น้องที่รักใคร่นับถือกัน มีระบบ การดูแลกันและกันในสังคมเล็กๆ ยามเดือดร้อนและป่วยไข้ ถึงงาน บุญ งานประเพณีก็เห็นหน้าทุกคนพร้อมหน้าตา ลูกหลานที่เดินทาง ไปท�ำงานไกลบ้าน ต่างทยอยกลับมาสู่บ้านเกิดเรือนกายที่เคยพ�ำนัก วัฒนธรรมและความเชื่อของชุมชนเล็กๆ จึงสามารถรักษา และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งป่า ดิน น�้ำได้ดีและสมดุลกว่า รูปแบบใด

บรรยากาศคึกคักของงานประเพณี “บั้งไฟพญานาค” ที่ผ่านมา ได้รับความสนใจชุมชน ท้องถิ่น และนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ People line up a Mekong riverbank to watch fireballs rising out of the river during the annual Boon Bang Fai Phaya Nak festival, a ceremony to worship the Naga that has attracted many Thai and foreign tourists.

red cloths, duck, chicken and liquor. The red cloth must be long enough to wrap around the ancestors’ shrine. All the elderly are invited. They dance and a psychic, whom we referred to as Phor Yai Jam, will give a psychic reading. After the catch, we must worship the spirits with the fish that we caught.” Traditions, culture and beliefs of the people along the Mekong have beautifully bound them with nature and Buddhist teachings, grooming them spiritually and protecting them against the influx of capitalism and globalization. People here live a simple life at an easy pace, treat nature with kindness and respect, care for all things around them, greet others with a smile, work just to have enough to live sufficiently, share food among themselves, have warm relationships with other family members, and take care of one another in the face of sickness and trouble. At merit-making ceremonies, everyone is there to be seen, including the sons and daughters who work faraway but return home for the occasion. Culture and beliefs have enabled small communities to safeguard and manage natural resources -- forests, land and water – in a way that better maintains natural equilibrium.

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

เส้นทางสีเขียว GREEN LINE

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

37

May - August 2009

A Borderless Ride on the True Eel Maenwad Kunjara Na Ayuttaya

เกาะหูปลาตูหนา

ผจญภัยไร้พรมแดน แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา

หลี่ อาจเป็นศิลปะการจับปลาที่เสี่ยงภัยที่สุดในโลก แต่ก็ยังได้รับการสืบสานมาจนปัจจุบัน เนื่องจากบริเวณผาหินน�้ำหลากเหล่านีค้ ือทางน�้ำที่แคบที่สุดในการอพยพของปลาในแม่น�้ำโขง A local fish trap called Li maybe the art of fishing that is the most dangerous. Yet it has been practiced for generations. The equipment is usually placed at a narrow channel of the Mekong River in wait for the migrating fishes.

จินตนาการว่าเกาะหูเล็กๆ ของปลาตูหนา ที่แหวกว่ายอยู่ใน แม่น�้ำโขงกับแม่น�้ำสาละวิน สามารถมองเห็นบาดาล ร่วมแบ่งปัน ประสบการณ์ และความรู้สึกของปลาได้ บนเส้นทางยาวไกลจาก ภูเขาสูงลิ่วดิ่งถึงทะเลลึก คงสร้างความตะลึงพรึงเพริดถี่ยิบจน หัวใจต้องหยุดเต้นมิอาจนับครั้ง ปลาไหลหูด�ำ เอี่ยนหู ตูหนา หรือสะแงะ มีชื่อพื้นเมืองภาษา กะเหรี่ยงว่า “หย่าที” มีชื่อเรียกยากๆ ตามสากลโลกว่า Anguilla australis ว่ากันตามประสาคน ปลาชนิดนีน้ อกจากจะอร่อย ตอนกลาง คืนส่งเสียงร้องคล้ายเสียงเด็กทารก แถมยังมีชวี ติ พิสดารทีเ่ วียนว่าย อยู่ในแม่น�้ำใหญ่ออกไปจนถึงในทะเล นักวิทยาศาสตร์ พยายามท�ำความรู้จักปลาตัวนีจ้ นพบว่า ตูหนา โตเต็มวัยจะเดินทางจากน�้ำจืดไปสู่ทะเลเพื่อผสมพันธุ์ โดยคาดว่า พ่อแม่ปลาตายหลังจากผสมพันธุ์ที่ทะเล ตัวอ่อนที่ไม่เหมือนพ่อ แม่มีล�ำตัวโปร่งใสจนเห็นก้าง-เครื่องในได้ชัดเจน แต่ระบบทางเดิน

VA-newGL26.indd 37

I

magine riding on a true eel which swims in the Mekong and Salween Rivers. You can observe the river floor and share its experience and feelings. The long journey from elevated mountains to ปลาตูหนา A true eel (Anguilla australis) deep sea will sure raise your heart beat. Variously called Pla Lai Hoo Dam, Ian Hoo, Too Nah, or Sa-ngae in Thai, the Anguilla australis goes by the Karen name of ‘’Yah Tee.’’ It is a tasty fish. At night, its cry sounds like a crying infant. It leads a fascinating life from a big river to the sea. Scientists found that adult true eels make a journey to the sea to breed. They speculate that the fish die after reproduction, leaving their babies on their own. The body of the baby eel is so transparent you can see their

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

38

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

เมื่อเรือจอดเทียบฝั่งก็มีปลามากมายหลาย ชนิดอยู่เต็มล�ำเรือแล้ว A day of fishing yields a boatload of fish.

อาหารยังไม่ท�ำงาน จึงคิดว่าพวก มันซึมซับสารอาหารจากน�้ำทะเล ผ่านทางผิวหนัง ตัวอ่อนตูหนา จะมีลกั ษณะหน้าตาแบบนีอ้ ยูเ่ ป็น ปี ค่อยๆ ลอยตามกระแสคลื่น ทะเลเข้าหาชายฝั่ง จนรูปร่างเริ่ม เปลี่ยนเป็นปลาไหลขนาดจิ๋ว ไป มาหากินอยู่ตามแนวชายฝั่งหรือ ป่าชายเลนสร้างความแข็งแรงก่อน จะเริ่มเดินทางเข้าสู่แม่น�้ำ เมื่ อ ตู ห นาเริ่ ม ทวนน�้ ำ ขึ้ น ไป เรื่อยๆ ผิวหนังเริ่มอวบอ้วนมีสีสัน มัน ต้องใช้เวลาหลายปีว่ายน�้ำหลบซ่อนตามตอ ไม้ โพรงไม้ หรือซอกหิน บางทีขุดรูลงไปอยู่ใน ดินใต้ทอ้ งน�ำ้ หลีหลบเครือ่ งมือประมงเวียนว่ายส่าย ครีบไปไกลถึงล�ำธารน�้ำตกบนภูเขาสูง ไล่งับกุ้งปูปลา กินเป็นอาหาร บ่มเพาะจนร่างกายแข็งแรงก�ำย�ำเข้าสู่วัยรุ่น พอมันโต พร้อมผสมพันธุ์เมื่อไหร่มันถึงว่ายกลับบ้านคือออกมาที่ทะเลอีกครั้ง ไม่วา่ ในแม่นำ�้ สาละวินหรือแม่นำ�้ โขง ปลาตูหนาก็มวี ถิ ชี วี ติ ทีต่ อ้ ง อพยพระหว่างน�้ำจืดกับทะเลเหมือนกันอยู่ชั่วนาตาปี ท�ำไมปลาจึงต้องอพยพ? ในทางชีววิทยาเชื่อกันว่าเหตุที่ปลา ตูหนาเดินทางกลับทะเล เนื่องจากเกลือในร่างกายหมด ท�ำให้เกิด แรงกระตุ้นให้เดินทางกลับสู่ทะเล แต่มีค�ำอธิบายที่ละเอียดกว่านัน้ จาก แอนเดอร์ พอลเซ่น นักชีววิทยาประมง ซึ่งเคยท�ำงานให้คณะ กรรมธิการแม่น�้ำโขง กล่าวว่า ที่ปลาต้องอพยพ เป็นเพราะถิ่นที่อยู่มี ความส�ำคัญต่อการอยู่รอด โดยการอพยพของปลาในแม่นำ�้ โขงจะถูกก�ำหนดโดยช่วงเปลีย่ น ของฤดูกาล สิ่งแวดล้อม และความเป็นไปของถิ่นที่อยู่ ปลาอพยพ

แม่บ้านก�ำลังย่างกบ-เขียดที่หาได้มากมายตามริมฝั่งแม่น�้ำและชายป่าในฤดูฝน

A local woman grills frogs that can be found aplenty along the river banks and forest edge during the rainy season.

VA-newGL26.indd 38

ส่วนใหญ่จะใช้เวลาช่วงฤดูแล้งหลบภัยในล�ำน�้ำ เมื่อน�้ำเริ่มเพิ่มขึ้นใน ช่วงฤดูมรสุม ก็เป็นสัญญาณให้เริ่มอพยพไปสู่ที่ราบน�้ำท่วมถึงเพื่อ ออกลูก พอน�้ำช่วงท้ายมรสุมเริ่มลดลง ก็จะเป็นสัญญาณว่าถึงเวลา ต้องอพยพกลับไปสู่ที่ที่ปลอดภัยก่อนที่ราบนั้นจะแห้งแล้งอีกครั้ง ซึ่งอาจวัดระยะทางได้ประมาณ 100 กว่ากิโลเมตร จากที่ราบรอบ โตนเลสาบในกัมพูชาและระบบน�้ำของทะเลสาบทั้งหมดสู่ที่หลบภัย ในวังน�้ำลึกทางตอนเหนือของกัมพูชาและทางใต้ของลาว แต่ปลาอพยพที่มีจ�ำนวนมากมาย ก็มีรูปแบบการอพยพที่มี ลักษณะเฉพาะและซับซ้อนแตกต่างกันไป รวมทั้งวงจรน�้ำท่วมก็ เป็นแรงผลักดันอย่างหนึ่งด้วยเช่นกัน เช่น ปลายี่สก (Jullien’s Golden-Price Carp) จะอพยพช่วงกลางของฤดูแล้ง ในธันวาคมและ กุมภาพันธ์ เป็นฤดูกาลหาปลาของชาวประมงที่อยู่เหนือน�้ำตกโขนใน ทางใต้ของลาวและช่วงอื่นของแม่น�้ำโขง หรือ ปลาสร้อย (Jullien’s Mud Carp) จะอพยพทวนน�้ำขึ้นมาจากสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำและ ที่ราบน�้ำท่วมถึงของทางเหนือของกัมพูชา ทางใต้ของลาว และภาค อีสานของไทย ในช่วงพระจันทร์เต็มดวง ทุกๆ เดือนของช่วง 4-5 เดือนแรกของฤดูแล้ง พรานปลาปกาเก่อญอแห่งลุ่มน�้ำสะละวินเล่าด้วยประสบการณ์ ที่สั่งสมมายาวนานว่า ฤดูกาลอพยพของปลาในแม่นำ�้ สาละวินจะเริ่ม ตอนต้นฤดูฝน หรือประมาณเดือนพฤษภาคมของทุกปี เมื่อปริมาณ น�ำ้ เริม่ มากขึน้ ในแม่นำ�้ สาละวินและล�ำห้วยน้อยใหญ่ ฝูงปลาจะอพยพ ขึ้นมาจากแม่น�้ำสาละวินตอนล่าง จุดที่จับปลาได้มากที่สุดคือบริเวณ ที่น�้ำเมยไหลมาบรรจบกับแม่น�้ำสาละวิน ณ บ้านสบเมย หลังจากนัน้ ปลาจะว่ายไปยังล�ำน�ำ้ สาขาต่างๆ พอต้นฤดูหนาวประมาณเดือนตุลาคม ปลาจะเริม่ อพยพกลับไปยังแม่นำ�้ ตอนล่างวางไข่ลงตามน�ำ้ เรือ่ ย ส่วน บางชนิดก็ไปผสมพันธุ์วางไข่บริเวณปากแม่น�้ำ ด้วยวิถชี วี ติ สัญจรของปลา ประชากรตามล�ำน�ำ้ โขงและสาละวิน จึงปรับการด�ำรงชีวติ ไปตามการไป-มาของปลาทีอ่ พยพ บ่มเพาะจนเป็น ภูมิปัญญาจนทราบว่าปลาชนิดใด จะผ่านช่วงเวลาใด และจะต้องใช้ วิธีการอะไรจับปลา บางกลุ่มถึงกับติดตามฝูงปลาอพยพซึ่งแสดงถึง วัฒนธรรมอย่างหนึง่ ของคนลุ่มน�้ำ ย้อนกลับไปสมัยดึกด�ำบรรพ์ เมื่อปลาตูหนาก�ำเนิดขึ้นมาใน แม่น�้ำทั้งสองสาย นักวิชาการศึกษากันมาว่า ในอดีตแม่น�้ำโขงและ สาละวินเคยเชื่อมต่อกับแม่น�้ำสาขาและแม่น�้ำอื่นๆ อีกมากมายกว่า ปัจจุบันนี้ เป็นผลให้มีชนิดปลาที่มีถิ่นก�ำเนิดนอกแม่น�้ำโขงเข้ามา อาศัย ปากแม่น�้ำยังติดต่อกับเขตชายฝั่งทะเล ซึ่งตั้งแต่ยุคน�้ำแข็งก็มี การเปลี่ยนแปลงขึ้นลงของระดับน�้ำตลอดเวลา ซึ่งเปิดโอกาสให้ปลา หลายชนิดได้ปรับตัวเข้ากับสภาพน�ำ้ กร่อย หลายชนิดเคลื่อนที่ขึ้นสู่ เขตน�้ำจืด และเขตต้นน�้ำในเวลาต่อมา ในระบบแม่น�้ำยังมีเขตถิ่นที่อยู่อาศัยหลายลักษณะแตกต่างกัน เพราะไหลผ่านจากเขตภูเขาสูงสูเ่ ขตทีร่ าบน�้ำท่วมถึง นอกจากนัน้ มรสุม และน�ำ้ ท่วมประจ�ำปียงั ส่งผลให้เกิดถิน่ ทีอ่ ยูท่ ซี่ บั ซ้อนส�ำหรับปลา และ เปิดโอกาสให้ปลาปรับตัวเข้ากับถิ่นที่อยู่ (เช่นโลมาอิระวดีในแม่น�้ำ โขง) และวิวฒ ั นาการเป็นชนิดใหม่ในทีส่ ดุ ดังจะเห็นได้วา่ ปลาในแม่น�้ำ โขงเป็นปลาเฉพาะถิ่นอยู่เป็นที่เพียงร้อยละ 24 เท่านัน้ ที่เหลือล้วน เป็นนักเดินทาง พวกชอบโยกย้ายอพยพแทบทั้งสิ้น และเพราะแม่นำ�้ โขงและสาละวินทัง้ ยาว-ใหญ่นบั พันๆ กิโล ผ่าน

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

bones and organs. But their digestion system is not yet functional and they probably absorb food from sea water through their skin. For years, they ride the waves toward shore until they begin to look like tiny eels. Then they hang out along shoreline or mangrove forest until they become strong before heading up the river. The further they swim, the more weight, muscle and color they gain. For years, they hide in tree trunks or rock crevices or dig under river bed, escaping fishing gear and travel through streams and waterfalls on high mountains. They feed on shrimps, crabs and other fish. When they mature and are ready to breed, they return home to the sea. True eels migrate between freshwater and sea year in, year out. Why do fish migrate? Biologists believe that true eels migrate to the sea because the salt in their body has depleted. Anders Poulsen, a fisheries expert who used to work for the Mekong River Commission, provides a more detailed explanation, saying in effect that migration is essential for the fish’s survival. Changes of season, the environment and habitat trigger fish migration in the Great Mekong. Most migratory fishes live on river floors in the dry season and, when the river swells in the monsoon season, migrate to flood plains to spawn. The end of the monsoon season signals to them to move to safer grounds before the plains go dry once again, travelling a distance of up to 100 km from Tonle Sap in Cambodia to deep water pockets which provide safe havens in the north of Cambodia and south of Laos. Migration patterns are varied, unique and complex. Flood cycle is another trigger. Take Jullien’s GoldenPrice Carp as an example. It migrates in mid summer (December to February), a fishing season of fishermen up Khon Falls in southern Laos. Jullien’s Mud Carp migrates up from deltas and flood plains in northern Cambodia, south of Laos and northeast of Thailand in the full moon of the first few months of the dry season. Pakake-yaw (Karen) fishermen of the Salween Basin related from extensive experience that fish migration in the Salween starts in the rainy season, or around May. When the Salween and its tributaries swell, fishes would swim up the river. The best fishing spot is where the Moei meets the Salween River at Ban Sop Moei. Then, fishes would scatter to rivers and tributaries and migrate back to the lower Salween in the winter around October to spawn. Some species breed and spawn at the river mouth. Livelihood of people along the Mekong and Salween Rivers is dictated by fish migration. Thus, they know well what fishes to expect at any given period and how to catch them. Some locals even follow the fish migration path. Back in primeval times, the Great Mekong and the Salween connected with many more tributaries and streams than what exist now. Many fish species born outside the rivers migrated to live there. Since the ice age, the rise and fall of the tide necessitated many fish species

39

May - August 2009

เห็ดป่ามากมายเป็นอาหารอร่อยตามฤดูกาลที่ชาวบ้านนิยมน�ำมาแกง หรือลวกจิ้มน�้ำพริก Various types of wild mushrooms are seasonal delicious foods used to make chili soup or boiled mushrooms for eating with spicy dip.

แม้แต่กิ้งก่าก็เป็นอาหารรสโอชะได้

Even tree lizards can be turned into a yummy meal

to adjust to the brackish water at river deltas. Many of them moved to live in freshwater and river mouths. River system offers diverse habitats, from high mountains to flood plains. Annual monsoon and flood force fishes, such as the Mekong Irrawaddy Dolphin, to adjust and evolve. A large number of known fish species in the Mekong, about 76%, have adventurous soul — they migrate. The huge Mekong and Salween Rivers travels thousands of kilometers through tough terrains of land, cliffs and forests. Any survey of the rivers cannot be said to be thorough and systematic. Many species are believed to remain unaccounted for. Surveys carried out by Pakake-yaw locals found 70 fish species in the Salween River and its tributaries in the Thai-Myanmar border. True eels in particular migrate to breed in Salween tributaries, including Ngao and Moei Rivers. In the Mekong River, taxonomist Walter Rainboth recorded well over 2,000 fish species. Its diversity is only second to the Amazon River, which is home to some 3,000 species. The Mekong River Commission reported 923 fish species, taxonomy classified, found from the mouth of Mekong River upwards.

เส้นทางสีเขียว Green Line

VA-newGL26.indd 39

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

40

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ดินแดน ผาสูง ป่าเขาอย่างสาหัสสากรรจ์ จึงมีความยากล�ำบากทีใ่ ครจะ เข้าไปส�ำรวจแม่นำ�้ ได้อย่างทั่วถึงเป็นระบบ จึงอาจจะมีสัตว์ประหลาด ที่โลกยังไม่เคยรู้จักอีกมากมาย จากการส�ำรวจพันธุ์ปลาโดยคนท้องถิ่น ชาวปกาเก่อญอ พบว่า ในแม่นำ�้ สาละวินและห้วยสาขาบริเวณพรมแดนไทย-พม่า มีปลาชนิด ต่างๆ ได้กว่า 70 ชนิด และในจ�ำนวนนี้มีปลาตูหนาที่จะอพยพขึ้นมา ในแม่น�้ำสาละวินแล้วขึ้นไปผสมพันธุ์ตามล�ำน�้ำสาขาของแม่น�้ำสาละ วิน เช่น แม่นำ�้ เงา แม่น�้ำเมย เป็นต้น ด้านแม่นำ�้ โขง นักอนุกรมวิธานชื่อ วอลเตอร์ เรนโบท บันทึก ความหลากหลายของปลาในแม่นำ�้ โขงไว้มากกว่า 2,000 ชนิด เป็น รองแม่นำ�้ อเมซอนที่มีปลาประมาณ 3,000 ชนิด ส่วนข้อมูลที่พัฒนา โดยคณะกรรมาธิการแม่น�้ำโขง รวบรวมชนิดปลาที่มีรายงานว่าพบ ตั้งแต่บริเวณปากน�ำ้ โขงขึ้นไป และได้รับการจ�ำแนกชนิดทางอนุกรม วิธานแล้ว มีรายละเอียดของปลา 923 ชนิด ซึ่งนับว่าไม่น้อย ถ้ามอง ดูแม่นำ�้ โขงทั้งสายที่ขึ้นชื่อว่ายากแก่การเข้าถึง อย่างไรก็ตาม เป็นที่แน่ชัดว่าการอพยพของฝูงปลาในล�ำน�้ำโขง และสาละวิน ถือเป็นส่วนหนึง่ ของระบบนิเวศลุ่มน�ำ้ ทั้งสอง และยัง เกีย่ วโยงถึงชีวติ และวัฒนธรรมของชุมชนรายรอบทีพ่ งึ่ พาการจับปลา เป็นอาหารและเป็นรายได้หลักที่สืบต่อกันมาแต่โบราณกาล กล่าวถึงความหลากหลายทางชีวภาพ ตามสภาพภูมิประเทศ ลุ่มน�ำ้ โขง-สาละวินที่ตอนบนเป็นภูสูง-หุบเขาลึก มีสภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศที่หลายหลากซับซ้อน จึงมีระบบนิเวศป่าแทบทั้งหมด ทีม่ ใี นโลก เป็นศูนย์กลางวิถชี วี ติ และวัฒนธรรมของคนในลุม่ น�้ำ และ ช่วยคุ้มครองดินที่อุดมสมบูรณ์ในเขตร้อน ช่วยรักษาลุ่มน�้ำ ควบคุม การไหลของน�้ำและสภาพดินฟ้าอากาศ และยังช่วยป้องกันปัญหา น�้ำท่วมและฝนแล้งจากลุ่มน�ำ้ ไปถึงอาณาบริเวณรอบด้าน มีระบบน�ำ้ ที่หลากไหลมาจากภูเขาสูง ผ่านที่ราบ พื้นที่ชุ่มน�้ำ ปากแม่น�้ำ จรด ทะเล ทีน่ อกจากปลาตูหนาและเพือ่ นปลาอีกหลายชนิดจะใช้เป็นเส้น ทางสัญจรอันผาสุก ยังมีเพื่อนพ้องอีกเหลือคณานับอาศัยอยู่ร่วมกัน หรือว่ากันโดยมนุษย์ว่า มีความหลากหลายทางชีวภาพขั้นสูงนัน่ เอง ในลุ่มน�้ำสาละวินนัน้ นักชีววิทยาจัดให้ป่าเขตร้อนในลุ่มน�้ำแห่ง นี้เป็นแหล่งก�ำเนิดและแหล่งกระจายพันธุ์ไม้สักของโลก ส่วนความ หลากหลายของระบบนิเวศของแม่นำ�้ สาละวินก็เป็นรองเพียงแค่แม่นำ�้ โขง และช่วงทีผ่ า่ นพรมแดนไทยพม่าได้รบั การประกาศเป็นพืน้ ทีช่ มุ่ น�้ำ ที่มีความส�ำคัญระดับนานาชาติแล้วในปี 2543 ส่วนในลุ่มน�ำ้ โขง มีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 800 ชนิด นก 2,800 สายพันธุ์ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำอีก 250 สายพันธุ์ สัตว์เลื้อยคลาน 650 สายพันธุ์ ยังไม่นับรวมสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (MRC, 2548) รายงานฉบับพิเศษ First Contact in the Greater Mekong โดยกลุ่มนักวิชาการ และนักค้นคว้าขององค์การกองทุนสัตว์ป่าโลก สากล (World Wide Fund for Nature หรือ WWF) ซึ่งระบุว่า มี การค้นพบสัตว์และพืชสายพันธุ์ใหม่ที่ยังไม่เคยปรากฏมาก่อนในโลก มากถึง 1,068 ชนิด ประกอบด้วยชนิดพันธุ์พืช 519 ชนิด, ปลา 279 ชนิด, กบ 88 ชนิด, แมงมุม 88 ชนิด, จิ้งจก 46 ชนิด, งู 22 ชนิด, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 15 ชนิด, เต่า 4 ชนิด, นก 4 ชนิด, ซา ลาแมนเดอร์ 2 ชนิด และ คางคก 1 ชนิด และคาดว่าจะมีสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลังอีกนับพันชนิดที่จะถูกค้นพบในอนาคต

VA-newGL26.indd 40

ล่าสุด WWF ได้ให้ความส�ำคัญกับลุ่มน�้ำโขงในฐานเป็นพื้นที่ ที่ควรได้รับการอนุรักษ์ในระดับโลก และควรบันทึกไว้เป็นแหล่ง ประวัติศาสตร์ทางธรรมชาติวิทยา เพราะเป็นชุมทางหรือจุดเชื่อมต่อ ของชนิดพันธุ์ต่างๆ ตามธรรมชาติ โดยกระจายลงมาจากเทือกเขา หิมาลัยต้นก�ำเนิดของแม่นำ�้ โขงไปถึงในทะเลปลายทางของแม่นำ�้ และ ระบบนิเวศอื่นๆ อีกมากมาย ปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนการประสานงานกับรัฐบาลทั้ง 6 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา พม่า และจีน (ตอนใต้) ในการวางแผนอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรที่ยั่งยืน ครอบคลุมพื้นที่ ต่อเนือ่ งกันกว่า 600,000 ตร.กม. เพือ่ ด�ำเนินการอนุรกั ษ์ผนื ป่า และ แหล่งน�้ำจืด อันเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติที่มีความโดดเด่น แต่ ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในระยะที่ผ่านมา

มัจฉา… กับภาวะเสี่ยงสูญพันธุ์

“ปลาบึก” (Mekong Giant Catfish) บ้างเรียกว่า ปลาไตรราช อาจ เรียกได้วา่ เป็นพญามัจฉาแห่งล�ำน�ำ้ โขง เป็นปลาน�ำ้ จืดขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย อยูใ่ นวงศ์เดียวกับปลาสวาย เทโพ และสังกะวาดเหลือง มีถนิ่ อาศัยอยูแ่ ห่งเดียวในโลก คือ ในแม่นำ�้ โขง ตัวเต็มวัยสามารถยาว ได้ถงึ 3 เมตร และหนัก 150-200 กิโลกรัม ปลาบึกหนักทีส่ ดุ เท่าทีเ่ คย จับได้เป็นตัวเมียยาว 2.7 เมตร และหนัก 293 กิโลกรัม ในธรรมชาติยังไม่มีใครพบเห็นปลาบึกขณะเป็นลูกปลาหรือตัวอ่อน เนื่องจากเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป ปลาบึกจะอพยพจากแม่น�้ำโขงในเขต ประเทศจีน เพื่อไปผสมพันธุ์และวางไข่ในทะเลสาบเขมร ปัจจุบนั ปลาบึกถูกจัดอยูใ่ นกลุม่ สัตว์ทมี่ คี วามเสีย่ งสูญพันธุส์ งู มากใน บัญชีของสหภาพอนุรักษ์ธรรมชาติโลก (IUCN) ในรอบ 14 ปีที่ผ่านมา จ�ำนวนปลาบึกลดลงถึง 80% เนื่องจากการจับปลามากเกินไป คุณภาพ น�ำ้ ที่เสื่อมลงจากการพัฒนาและการสร้างเขื่อนบริเวณต้นน�้ำ กล่าวถึงปลาขนาดเล็กสุดๆ ในแม่นำ�้ โขง ชื่อ ปลาซิวแคระสามจุด (Boraras micros) เป็นปลาที่มีขนาดเล็กที่สุดในประเทศไทย และอันดับ ที่ 3 ของปลาขนาดเล็กที่สุดในโลก อยู่ในภาวะเสี่ยงสูญพันธุ์เช่นเดียวกัน ปลาหายากและใกล้สูญพันธุ์ 13 ชนิด ในแม่น�้ำโขงที่ที่จับไม่ได้ตั้งแต่ 5 ปีย้อนหลัง คือ ปลาบึก ปลาทราย และปลาฝาไล ส่วนปลาที่จับไม่ได้ ตั้งแต่ 10-30 ปีย้อนหลัง คือ ปลาเสือ ปลาเลิม ปลาสะนาก ปากบิด ปลา เซือม ปลาคูณ ปลาปึ่ง ปลาหว่าหัวค�ำ (นอ) ปลาหว่าแก้มแต้ม และปลากะ ส่วนปลาเอี่ยนหู หรือตูหนาหูขาว ที่ว่ายจากแม่นำ�้ โขงไปวางไข่ใน ทะเลลึก ตั้งแต่ปี 2545-2547 มีคนหาปลาจับได้ทั้งหมด 4 ตัว น�้ำหนัก สูงสุด 6 กิโลกรัม ปลาเสี่ยงสูญพันธุ์ในแม่น�้ำสาละวิน ได้แก่ ปลากดหมู ปลายักษ์ ปลา คมหรือปลาเวียนยักษ์ ปลาเขี้ยวไก่ ปลาหว้า ปลาเสือตอ ปลาหมู

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 Fish migration in the two great rivers are closely linked to ecosystem of the river basins, and the livelihood and culture of riverside communities which have depended on fishery for generations. Speaking of biological diversity, the upper Mekong and Salween basins are covered with tall mountains and deep canyons. With complex geography and weather, the basins are home to almost all forest ecosystems. Local livelihood and cultures evolve around the rivers. The rivers maintain soil fertility in summer and control water flow and weather as well as prevent flood and drought. The river network through mountains, plains, deltas to the sea is the travel route of true eels and fellow fishes. Tropical forests in the Salween basin is the world’s source of teak propagation. The diversity of its ecosystem is only second to the Mekong, and its section on the Thai-Myanmar border was designated in 2000 as an important international wetland. According to the Mekong River Commission, the Mekong basin is home to 800 mammal species, 2,800 bird species, 250 amphibian species, and 650 reptile species, excluding invertebrates. In the special report, ‘’First Contact in the Greater Mekong,’’ World Wide Fund for Nature (WWF) academics and researchers discovered 1,068 new fauna and flora species, including 519 plant, 279 fish, 88 frog, 88 spider, 46 gecko, 22 snake, 15 mammal, 4 turtle, 4 bird, 2 salamander and 1 toad. Thousands of invertebrates are expected to be discovered in the near future. The WWF has pushed for international conservation of the Great Mekong as a site of natural history, a junction where fauna spread from the Himalayas where the rivers originate to the seas and other ecosystems. At present, the government of six countries — Cambodia, China, Laos, Myanmar, Vietnam and Thailand — are working on a plan to sustainably conserve and manage resources in an area of over 600,000 square kilometers so as to preserve forest and fresh water sources which has experienced abrupt changes.

May - August 2009

41

FISHES ON THE BRINK The Mekong giant catfish (Pangasianodon gigas), alias the King of the River, is the largest freshwater fish in Thailand. The catfish is in the same family with Iridescent shark, black ear catfish (Pangasius larnaudii) and Siamensis Pangasius (Pangasius macronema), and is endemic to the lower Mekong River. The adult fish attains an unconfirmed length of three meters and weight of 150200 kg. The largest catfish ever caught is recorded as a 2.7-meter-long female fish, weighting 293 kg. No one has ever spotted any baby catfish in nature because from May onwards, the catfish migrates from China to breed and spawn in Cambodia’s Great Lake. The Mekong giant catfish is listed on the IUCN Red list as critically endangered. Its population has dropped 80% over the past 14 years as a result of overfishing, poor water conditions resulting from development projects and dam construction in watershed areas. Three-spotted dwarf minnow (Boraras micros) is the smallest fish in Thailand and the Mekong and the third smallest in the world. It is also on the path to extinction. There are 13 rare fish species in danger of extinction. Mekong giant catfish, sand whiting and freshwater stingray have never been caught in the Mekong over the past five years. Among those that have never been caught over the past 10-30 years are Siamese tiger fish, Chao Phraya giant catfish and butter sheat fish. Between 2002 and 2005, local fishermen caught four of the Marbled eel, which migrates from the Mekong River to spawn in deep sea, one of which weighed 6 kg. Salween fishes on the brink of extinction include naked catfish, pla khom (Neolissochilus stracheyi), fowler, and Siamese tiger fish.

ชาวประมงก�ำลังจับปลาที่ว่ายกระโดดเข้ามาในหลี่เองโดยไม่ต้องไล่จับ

Fishermen gather fishes that jump into their fish trap Li on their own

นกทั้งอพยพและเฉพาะถิ่นเป็นส่วนประกอบส�ำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพใน บริเวณลุ่มน�้ำโขงและลุ่มน�้ำสาละวิน ในลุ่มน�้ำโขงมีการส�ำรวจพบกว่า 2,800 ชนิดของนก Birds, both migratory and endemic, make up an important part of biodiversity of the Mekong and Salween river basins. The Mekong basin alone is home to more than 2,800 bird species.

เส้นทางสีเขียว Green Line

VA-newGL26.indd 41

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

42

เส้นทางเดียวกัน ON THE SAME PATH พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

5 ทศวรรษ กับการ พัฒนาในลุ่มแม่น�้ำโขง เลิศศักดิ์ ค�ำคงศักดิ์

VA-newGL26.indd 42

แผนพัฒนาแม่นำ�้ โขงในช่วงทีไ่ ทยเราเริม่ ใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่ฉบับที่ 1 เมื่อปี 2504 เป็นต้นมานัน้ มีพัฒนาการที่ส�ำคัญ 2 ช่วง คือ

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

43

May - August 2009

Five Decades of the Mekong Development Lertsak Khamkongsak

T

he Mekong has been part of Thailand”s national development since the first National Economic and Social Development Plan was drawn up in 1961. Major development can be divided into

two phases: The Post World War II when the world was divided along ideological lines — the liberal democracy camp led by the United States and the communist camp led by the Soviet Union — leading to proxy wars in various regions of the world. The Mekong Basin or Indochina became one of those battlefields. During this time, several new terms were coined having to do with the Mekong basin development, including the “Cold War,” the “Domino Theory,” the “Mekong River Commission” and the “Southeast Asia Defense Treaty (SEATO)”. SEATO was a joint military organization created by the U.S. with several Southeast Asian countries to stem the tide of communism in the region. This had led directly to the creation of another organization, the Economic Commission for Asia and the Far East (ECAFE). ECAFE was formed in 1947 (later renamed as the Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (ESCAP)), which spearheaded the development of the Mekong Basin from the outset. It conducted several studies on the Mekong’s hydropower and irrigation potential until

ท่าเรือห้วยทรายในลาว อยู่ตรงข้ามกับท่าเรือ อ.เชียงของ ปัจจุบันก�ำลังจะมีโครงการสร้าง สะพานข้ามแม่น�้ำโขง งบประมาณก่อสร้างโดยจีนร่วมทุนกับรัฐบาลไทย

Huay Sai port in Laos across from Chiang Khong district of Chiang Rai is the site of a planned project to build a new Thai-Loa bridge crossing the Mekong, jointly funded by the Chinese and Thai governments.

เรือบรรทุกสินค้าจากจีนจอดขนถ่ายสินค้าที่ท่าเรือเชียงแสน จ.เชียงราย ปัจจุบันมีทั้งเรือโดยสารและเรือบรรทุกสินค้าขนาด 80-100 ตันวิ่งขนส่ง สินค้าระหว่างจีนมาถึงท่าเรือเชียงแสนและท่าเรือเชียงของ เป็นผลมาจากการ พัฒนาแม่น�้ำโขงเพื่อเป็นเส้นทางสายเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค

Chinese cargo boats dock at Chiang Saen port in Chiang Rai district. The development of the Mekong River into a regional economic route enables passenger and cargo boats of between 80 and 100 tons to operate between China and Chiang Saen and Chiang Khong districts.

VA-newGL26.indd 43

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

44

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ยุ ค หลั ง สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ที่ ขั้ ว อ� ำ นาจของโลกแบ่ ง กั น ชัดเจนที่สุด คือ ค่ายเสรีประชาธิปไตยน�ำโดยสหรัฐอเมริกา กับค่าย คอมมิวนิสต์นำ� โดยสหภาพโซเวียต ท�ำการให้เกิดสงครามตัวแทนของ ทั้ง 2 ค่ายในประเทศที่อยู่ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก เพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าหรือท�ำสงครามสู้รบโดยตรงบน แผ่นดินของ 2 ประเทศ ภูมภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขงหรือทีเ่ รียกกันว่าภูมภิ าค อินโดจีนก็ตกเป็นสมรภูมิสู้รบของสงครามตัวแทนเช่นเดียวกัน ในยุคนี้เราจะได้ยินค� ำส�ำคัญหลายค�ำที่เกี่ยวกับแผนพัฒนา ลุ่มแม่น�้ำโขง นัน่ คือค�ำว่า “สงครามเย็น” “ทฤษฎีโดมิโน” “คณะ กรรมการพัฒนาลุม่ แม่น�้ำโขง” หรือค�ำว่า “องค์กรสนธิสญ ั ญาป้องกัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ.) (Southeast Asia Defense Treaty: SEATO)” เป็นต้น สปอ. คือองค์กรความร่วมมือทางการทหารที่สหรัฐอเมริกาได้ ริเริ่มจัดตั้งขึ้นร่วมกับรัฐบาลหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ เพื่อป้องกันการลุกลามของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคนี้ และ เป็นองค์กรทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องโดยตรงกับการก่อเกิดของคณะกรรมการ เศรษฐกิ จ ประจ�ำ ภาคพื้นเอเชียและตะวันออกไกล (Economic Commission for Asia and the Far East: ECAFE) หรือ “อีคาเฟ” อี ค าเฟถู ก ตั้ ง ขึ้ น ในปี 2490 (ปั จ จุ บั น เปลี่ ย นชื่ อ เป็ นคณะ กรรมการเศรษฐกิจและสังคมประจ�ำภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค หรือ Economic and Social Commission for Asia and the Pacific: ESCAP) เป็นองค์กรวางแผนชี้น�ำการพัฒนาลุ่มแม่น�้ำโขงมาตั้งแต่ปี 2490 และได้ศึกษาศักยภาพแม่น�้ำโขงเพื่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า จากน�ำ้ และชลประทานเสร็จสิน้ เมือ่ ปี 2499 โดยมีโครงการสร้างเขือ่ น ในแม่น�้ำโขงหลายโครงการที่ถูกน�ำเสนอขึ้นมา เช่น โครงการสร้าง เขื่อนบ้านกุ่ม ผามอง เชียงคานบนและล่าง ปากชม ฯลฯ รวมทั้ง โครงการในลุ่มน�้ำสาขาของแม่น�้ำโขงฝั่งไทย เช่น โครงการสร้างเขื่อน น�้ำพุง น�้ำอูน ปากมูล ล�ำตะคอง ล�ำพระเพลิง อุบลรัตน์ ล�ำปาว น�้ำพรม น�้ำสงคราม ฯลฯ นอกจากนัน้ ยังประสานงานในการจัดตัง้ “คณะกรรมการพัฒนาลุม่ แม่นำ�้ โขง” ขึน้ มาเพือ่ ประสานความร่วมมือระหว่างรัฐในลุม่ แม่น�้ำโขง ในการผลั ก ดั น แผนพั ฒ นาลุ ่ ม แม่ น�้ ำ โขงที่ ต นเองได้ ท� ำ การศึ ก ษา ขึ้นมาอีกด้วย อเมริกาและประเทศในภูมิภาคที่สังกัดค่ายเดียวกันหวั่นเกรง ภัยคอมมิวนิสต์ที่ก�ำลังลุกลามอย่างรุนแรงในภูมิภาคอินโดจีนหรือ ลุ่มแม่น�้ำโขง คล้ายๆ กับ “ทฤษฎีโดมิโน” เพราะมันก�ำลังล้มตามกัน มาเรื่อยๆ (กลายเป็นประเทศคอมมิวนิสต์) จากจีน เวียดนาม ลาว และเขมร เหลือไทยเพียงประเทศเดียวในภูมิภาคนีท้ ี่หากล้มตามไป อีกก็จะลุกลามข้ามมายังพม่าและลงไปทางคาบสมุทรมลายูได้ สหรัฐอเมริกาจึงวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจในภูมภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง โดยใช้องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศทีต่ นเองมีสว่ นผลักดันก่อ ตัง้ ขึน้ มาเป็นตัวขับเคลือ่ นชีน้ ำ� โดยเฉพาะในภาคอีสานทีส่ หรัฐอเมริกา เองได้ให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงินเพื่อทุ่มเทพัฒนาเศรษฐกิจ ในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการชลประทาน การสร้างเขื่อน ถนน หนทาง การส�ำรวจแร่ ฯลฯ โดยหวังว่าการพัฒนาเศรษฐกิจเช่นนีจ้ ะ ท�ำให้ชาวอีสานมีทัศนคติที่ดี และไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐ ไม่ถูกชักจูงไป

VA-newGL26.indd 44

เป็นสมาชิกหรือแนวร่วมของกระบวนการคอมมิวนิสต์ทเี่ คลือ่ นไหวอยู่ ในภาคอีสานและในอินโดจีน ในยุคนี้ประเทศไทยเป็นประเทศเดียวที่ไม่บอบช�้ำทางสงคราม ท�ำให้เกิดการพัฒนาตามแผนพัฒนาลุม่ แม่นำ�้ โขงมากทีส่ ดุ โดยเฉพาะ การสร้างเขื่อนในลุ่มน�้ำสาขาของแม่น�้ำโขงฝั่งไทย เช่น เขื่อนน�้ำอูน น�้ำพุง ล�ำตะคอง ล�ำพระเพลิง อุบลรัตน์ ล�ำปาว น�้ำพรม และ ปาก มูล เป็นต้น นโยบาย 66/23 เป็นค�ำส�ำคัญอีกค�ำหนึ่งในยุคสงครามเย็น เพราะเป็นนโยบายที่ก� ำหนดยุทธศาสตร์การสู้รบกับกระบวนการ คอมมิวนิสต์สากลทีเ่ คลือ่ นไหวอยูใ่ นอาณาเขตประเทศไทย ซึง่ จะด้วย เหตุผลอะไรก็ตามที่ท�ำให้สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ต้องออกจากป่า แต่นโยบาย 66/23 ไม่ได้มีเป้าหมายอยู่เพียงแค่น�ำ คอมมิวนิสต์ออกจากป่าเท่านัน้ นโยบายนี้ยังวิเคราะห์เอาไว้ว่า ถึงแม้ คอมมิวนิสต์จะออกจากป่าแล้วแต่เชือ้ ไฟหรือเงือ่ นไขปฏิวตั ปิ ระชาชน ยังคงฝังรากลึกอยูใ่ นภาคอีสาน ไม่สญ ู สลายหายไปไหน ท�ำให้นโยบาย ดังกล่าวได้ยกระดับ คิดต่อยอดแปลงไปสู่ “โครงการอีสานเขียว” โครงการอีสานเขียว จึงเป็นโครงการที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับหรือ ต่อยอดจากแผนพัฒนาลุ่มแม่น�้ำโขงที่ได้ก่อสร้างโครงการที่เป็น สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในภาคอีสานเอาไว้หลายด้านแล้ว เช่น น�้ำ ไฟฟ้า ถนนหนทาง ฯลฯ เพือ่ ท�ำการพัฒนาเศรษฐกิจในด้านเกษตรกรรม แก่ประชาชนภาคอีสาน รวมทั้งผู้ร่วมพัฒนาชาติไทยที่กลับออกจาก ป่าสู่บ้าน ที่มีฐานะยากจนเป็นส่วนใหญ่ โดยจะท�ำการปรับเปลี่ยน โครงสร้างการเกษตรในภาคอีสานของไทย จากเกษตรล้าหลังที่พึ่งพา น�้ำฝนเป็นหลัก ให้เป็นนาชลประทาน เพื่อท�ำให้ชาวอีสานอยู่ดีกินดีมี การพัฒนาเศรษฐกิจเท่าเทียมกับภาคกลางให้จงได้ นอกจากนัน้ ยังมี “โครงการพัฒนาทุง่ กุลาร้องไห้” และ “นโยบาย เปลีย่ นสนามรบเป็นสนามการค้า” ซึง่ เป็นความพยายามของรัฐไทยใน การปรับเปลี่ยนโครงสร้างการเกษตรในภาคอีสาน จากการท�ำเกษตร ที่พออยู่พอกินไปเป็นเกษตรพาณิชย์ ด้วยการส่งเสริมให้เกษตรกร ในภาคอีสานหันมาปลูกพวกมะม่วงหิมพานต์ ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ไผ่ตง ยูคาลิปตัส และเลี้ยง “วัวพลาสติก” เพื่อหวังที่จะลดเชื้อไฟ หรือเงื่อนไขปฏิวัติลงให้ได้ วัวพลาสติกที่ว่านี้หมายถึงวัวสายพันธุ์ออสเตรเลีย-บารห์มันที่ น�ำมาให้เกษตรกรเลี้ยง แต่มีปัญหาแคระแกรน บางส่วนตาย เพราะ สภาพการเลี้ยงและสภาพอากาศที่ไม่เหมาะสม ในช่วงโครงการอีสานเขียวเป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองที่ ทหารเก่าอย่างพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ผู้มีบทบาทส�ำคัญในการ ใช้นโยบาย 66/23 ได้วางมือทางการเมืองโดยลาออกจากต�ำแหน่ง นายกรัฐมนตรี และพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณได้เป็นนายกรัฐมนตรี ในล�ำดับต่อมา จึงมีนโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้าขึ้น เพื่อ หวังฟื้นฟูสัมพันธภาพกับประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงที่ เริ่มหายบอบช�้ำจากสงครามตั้งแต่ในยุคสงครามเย็น นโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้าของรัฐบาลพลเอก ชาติชายนีเ้ องทีน่ ำ� แผนพัฒนาลุม่ แม่นำ�้ โขงขึน้ มาปัดฝุน่ ใหม่ โดยเฉพาะ โครงการสร้างเขื่อนบนแม่น�้ำโขงและในลุ่มน�้ำสาขาของแม่น�้ำโขงฝั่ง ประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเขื่อนผามองและเชียงคานบนได้ถูกเสนอเป็น

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 1956, producing several dam construction projects on the Mekong, including Ban Kum, Pha Mong, Upper and Lower Chiang Khan and Pak Chom, and on Mekong tributaries in Thailand, such as Nam Phung, Nam Oun, Pak Moon, Lam Takhong, Lam Phra Phloeng, Ubonratana, Lam Pao, Nam Phrom and Nam Songkhram. ESCAP also had a hand in the formation of the Mekong River Commission to promote state cooperation in implementing the Mekong Development Plan. The US and other countries in the region were gravely concerned about the expansion of communism, fearing a “domino effect” would engulf the entire Indochinese or Mekong region development. After China, Vietnam, Laos and Cambodia, only Thailand stood as a “free and democratic” country and if it fell communism could spread to then Burma and go south to the Malay Peninsula. The U.S. thus came up with the Mekong Basin development plan to be driven by an international body that it played the leading role. Financial support was injected into Thailand’s northeastern region for development projects, be it irrigation, dam and road construction, or mining, in the hope of instilling immunity to communist influence. Thailand was then the only country not ravaged by war and thus benefited the most out of the Mekong development initiatives. Several dams were built on tributaries on the Thai side, e.g. Nam Oun, Nam Phung, Lam Takhong, Lam Phra Phloeng, Ubonratana, Lam Pao, Nam Phrom and Pak Moon. The “66/23 Policy” was another buzz word during the Cold War. Aimed to rid the country of movements of the Communist International, the policy led to the breaking up of the Communist Party of Thailand and the return of its members from taking refuge in the jungles. But to completely uproot the communist ideology in the northeastern region, the “Green Isan Project” was launched. The project was to extend the reach of the Mekong Development Plan in the agricultural sector to benefit poor northeastern Thai and those communist fighters who surrendered. To upgrade their standard of living on a par with people in the Central Plains, irrigated farming has replaced “backward” rainfed farming. The government also rolled out the Thung Kula Ronghai Project and the Turning Battlefields into Markets Project to restructure agriculture in the northeast. Farmers were encouraged to abandon sufficiency farming for commercial farming, promoting the planting of cashew nut, mulberry and sweet bamboo and the raising of “plastic cows”. The term “plastic cow” was coined after farmers were advised to raise Australia-Brahman cows but the cows suffered from stunted growth and untimely death as a result of poor farm and weather conditions. After the launch of the Green Isan project, Prime Minister Prem Tinsulanonda, the former army general

45

May - August 2009

(บน) ประตูระบายน�้ำห้วยหลวง อ.โพนพิสัย จ.หนองคาย จุดผันน�้ำโขงสู่หนองหาร กุมภวาปี เขื่อนล�ำปาว เขื่อนอุบลรัตน์ แม่น�้ำชี (Top) The Huay Luang floodgates in Phon Phisai district of Nong Khai is where water from the Mekong River is diverted to Nong Han Kumphawapee, Lam Pao, Ubon Rat, and Nam Chi River.

(ล่าง) ปากน�้ำโมง อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย จุดที่จะผันน�้ำโขงเข้ามาน�้ำโมง จ.หนองคาย แล้ว ส่งต่อมายังล�ำพะเนียง เพื่อจะผ่านน�้ำต่อไปยังเขื่อนอุบลรัตน์

(Bottom) A water gate in Tha Bo district of Nong Khai diverts water from the Mekong River to Mong River which then passes it to Lam Phaniang canal and then to Ubon Rat Dam

who was behind the success of the 66/23 Policy, stepped down. His successor Gen. Chatichai Choonhavan initiated the Turning Battlefields into Markets Project to restore ties with neighbouring countries in the Mekong Basin, which were beginning to revive themselves from wounds suffered during the war years. The Mekong Development Plan was once again dusted off. The project to build dams on the Mekong River and its tributaries in neighbouring countries, particularly Pa Mong and Chiang Khan Bon dams, was top priority. The Kong-Chi-Moon Project aimed at diverting water from the two dams to irrigated areas in the northeast. This was to be followed by the Pak Moon, Rasi Salai and Nong Han Kumphawapi dam projects. The project to build a dam on the Songkhram River was aborted due to strong resistance. The Thaksin Shinawatra government revived the project to divert water from neighbouring countries to ensure irrigated water supply for all of the country’s

เส้นทางเดียวกัน On the same path

VA-newGL26.indd 45

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

46

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

อันดับแรกๆ และคิดโครงการโขง-ชี-มูลขึน้ มารองรับน�้ำจากแม่นำ�้ โขงที่ จะได้จากการเก็บกักน�้ำของเขือ่ นผามองและเชียงคานบน เพือ่ ผันเข้า มาเพิ่มพื้นที่ชลประทานในภาคอีสานให้ได้มากขึ้น ท�ำให้เกิดการสร้าง เขื่อนปากมูล ราศีไศล หนองหานกุมภวาปี ฯลฯ รวมทั้งโครงการสร้าง เขื่อนแม่นำ�้ สงครามที่ถูกยกเลิกจากการต่อต้านคัดค้านไปเสียก่อน ในรัฐบาลของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้นำ� โครงการผันน�้ำจาก ประเทศเพื่อนบ้านกลับมาพิจารณาใหม่อย่างจริงจังอีกครั้ง เพื่อ พัฒนาการชลประทานให้แก่พื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทยให้ ครบ 132.48 ล้านไร่ ด้วยการพัฒนาระบบเครือข่ายน�้ำของประเทศ (National Water Grid) ซึ่งประกอบไปด้วยโครงการผันน�ำ้ ระหว่าง ประเทศ, การสร้างเขื่อน และระบบส่งน�้ำทั้งแบบเปิดและแบบปิด พื้นที่ บ้านฝือ ต.บ้านฝือ อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่น เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการน�ำร่อง Water Grid โครงข่ายน�้ำด้วยระบบท่อ

Ban Fue in tambon Ban Fue of Khon Kaen’s Nong Rua district is part of the Water Grid Pilot Project, a piped water network.

agricultural area of 132.48 million rai with the development of the National Water Grid system. Besides water diversion, the system covers construction of dams and irrigation canals and pipes thereby linking water sources, reservoirs and farming areas. Examples are the project to divert Mekong River waters from Myanmar to Kok and Ping river basins, and Kok-Ing-Nan, Nam Ngum-Huay Luang, Xe Bang Fai-Mukdahan, Xe Bang Hieng-Lower Chi river basins, Stung Mnam-Trat and Salween-Bhumibol water diversion projects. The current government and neighbouring countries, including China, are pursuing dam construction on the Mekong River, including Ban Kum, Pak Chom, Pa Mong, and Chiang Khan dams, as well as economic cooperation pacts. Six countries, namely Thailand, Myanmar, Laos, Cambodia, Vietnam and China (Yunnan), have forged the Greater Mekong Subregion (GMS)

VA-newGL26.indd 46

(หรือระบบท่อ) เพื่อเชื่อมโยงแหล่งน�้ำต้นทุน อ่างเก็บน�้ำ และพื้นที่ เกษตรกรรมทั้งหมดไว้ด้วยกัน อาทิ โครงการผันน�้ำโขงจากพม่าสู่ลุ่ม น�้ำกกและลุ่มน�้ำปิง และผันน�้ำกก-อิง-น่าน โครงการผันน�้ำงึม-ห้วย หลวง โครงการผันน�้ำเซบั้งไฟ-มุกดาหาร โครงการผันน�้ำเซบั้งเหียงลุ่มน�้ำชีตอนล่าง โครงการผันน�้ำสตึงนัม-ตราด หรือโครงการผันน�้ำ สาละวิน-เขื่อนภูมิพล มาถึ ง ปั จ จุ บั นที่ รั ฐ บาลไทยกั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นในภู มิ ภ าค แม่น�้ำโขง รวมทั้งจีน ก�ำลังผลักดันให้เกิดการสร้างเขื่อนบนแม่น�้ำ โขงสายหลักหลายโครงการ เช่น โครงการสร้างเขื่อนบ้านกุ่ม ปากชม ผามอง เชียงคาน ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีเรื่องของสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ ต่างๆ ในภูมิภาคแม่น�้ำโขงตามกรอบความร่วมมือของ 6 ประเทศ คือ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (ยูนนาน) (Greater Mekong Subregion: GMS) และ ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทาง เศรษฐกิจ อิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง ระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) ฯลฯ ผลสะเทือนประการ ส�ำคัญของการพัฒนาตามแผนเหลี่ยมเศรษฐกิจต่างๆ นัน่ ก็คือ อีสาน จะถูกเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าอย่างมีนัยส�ำคัญ เพราะเราเคยรู้จักอีสาน ว่าเป็นภูมิภาคไม่มีทางออกทางทะเล (Landlocked) ก็จะมีทางออก ทางทะเลได้ (Landlinked) โดยสามารถเชื่อมต่อเข้าไปในภูมิภาค แม่น�้ำโขงถึงประเทศเวียดนามที่เมืองดานัง และมหาสมุทรอินเดียที่ เมาะละแหม่ง ประเทศพม่า ได้อย่างสะดวกสบายจากถนนเศรษฐกิจ เชือ่ มต่อตะวันออก-ตะวันตก (East–West Economic Corridor) ซึง่ จะท�ำให้การพัฒนาศักยภาพเชิงพื้นที่ของอีสานเปลี่ยนไปจากเดิม คือ กลายเป็นพื้นที่ก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ที่สามารถ ระบายสินค้าไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลกได้อย่างสะดวกง่ายดาย เรามั ก เข้ า ใจว่ า ประเทศไทยเกิ ด ความบอบช�้ำ ไม่ ม ากในยุ ค สงครามเย็นถ้าเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน แต่เมื่อมองถึงการไม่ได้มี ส่วนร่วมในการพัฒนาที่เกิดขึ้น การถูกจ�ำกัดทางความคิด รวมถึงวิถี ชีวิตที่ยังไม่สามารถก�ำหนดเอง ความบอบช�้ำที่ลึกซึ้งมากมายนี้ คง ไม่มีใครเข้าใจเท่าคนในลุ่มน�้ำอีกแล้ว and the Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy (ACMECS). The various economic cooperation pacts have transformed Thailand’s northeastern region in a significant way from a landlocked region to a landlinked one, through the East-West Economic Corridor, the expressway from Da Nang of Vietnam to Mawlamyine of Myanmar to the Indian Ocean. Factories in the Northeast can now ship their goods to anywhere in the world. Thailand is often thought of as having escaped war casualties almost unscathed compared to its neighbours. But considering the lack of public participation in the development plans, the suppression of free expression and the people’s powerlessness to control their own destiny, the hurt and misery suffered by Thai people in the Mekong Basin go deeper than meets the eyes.

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

เสียงชุมชน COMMUNITY VOICE

เด็กชายหาปลา แห่งสาละวิน

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

47

May - August 2009

พรานปลาปกาเก่อญอพาลูกน้อยลงเรือเพื่อเรียนรู้วิธีหาปลา

A Karen fish hunter is catching fish in the Salween while his son learns the way.

เรื่อง/ภาพ สุมาตร ภูลายยาว

เรือค่อยๆ เคลื่อนเข้าจอดช้าๆ เบื้องบนจากท่าเรือขึ้นไปเป็นหาด ทรายสีนำ�้ ตาลทอดยาวไปตามริมฝัง่ ล�ำน�ำ้ ถัดจากด้านปลายสุดของ หาดทรายเป็นหาดหิน เลยหาดหินไปเป็นจุดทีแ่ ม่นำ�้ เมยเดินทางมา บรรจบกับแม่นำ�้ สาละวิน แม่นำ�้ เมยแคบลงเช่นเดียวกับแม่นำ�้ สาละ วิน เพราะช่วงนีเ้ ป็นฤดูแล้งในภาษาท้องถิน่ แม่น�้ำเมยชาวบ้านเรียก ว่า “ซูแม๋โกละ” ส่วนแม่น�้ำสาละวินชาวบ้านเรียกว่า “โคโหละโก ละ” จากท่าเรือมีทางเดินเล็กๆ ที่สูงชันเป็นทางไปสู่หมู่บ้าน ชื่อ อย่างเป็นทางการของหมู่บ้านแห่งนีช้ ื่อว่า “บ้านสบเมย” “สบเมย” เป็นหมู่บ้านชาวปกาเกอะญอบ้านสุดท้ายที่เป็นเส้น แบ่งพรมแดนระหว่างไทยกับพม่าโดยมีแม่น�้ำทั้งสองสายที่กล่าวมา ขวางกั้นเอาไว้ แม้ว่าแม่น�้ำจะกั้นพรมแดนเอาไว้ แต่ไม่ได้กั้นความ ผูกพันของผู้คนสองฝั่งน�้ำ ในรอยทางของการด�ำเนินชีวิตแล้วความ เป็นปกาเกอะญอยังคงเชื่อมร้อยผู้คนเข้าหากัน วิถีชีวิตของผู้คนที่นนี้ อกจากท�ำไร่บนภูเขา ท�ำนาในที่ราบแล้ว ชาวบ้านบางคนโดยเฉพาะกลุ่มผู้หญิงยังได้ไปจับจองพื้นที่ดอนทราย ริมแม่นำ�้ เมยท�ำการเกษตร เช่น ปลูกถัว่ ปลูกยาสูบในช่วงน�ำ้ ลด เพราะ ความที่หมู่บ้านอยู่ติดแม่น�้ำนอกจากจะท�ำไร่บนภูเขาแล้ว ชาวบ้านยัง ได้หาปลาในแม่น�้ำทั้งสองสาย ในวันที่ผู้ใหญ่ออกไปหาปลา เด็กก็มักจะติดเรือไปด้วย จากการ ออกไปหาปลากับพ่อครัง้ แล้วครัง้ เล่าจึงท�ำให้ปรีชาเด็กชายวัย 11 ขวบ กล้าที่จะเอาเรือออกไปดูจา (ตาข่าย)ที่พ่อวางดักปลาเอาไว้ วันนีก้ ็เช่นเดียวกัน ปรีชาได้เอาเรือออกไปดูจาตั้งแต่เช้าตรู่แทน พ่อที่ก�ำลังจะเดินทางไปไร่ตั้งแต่เช้า บนเรือนอกจากจะมีปรีชาแล้ว ยังมีอเนกเด็กชายวัยใกล้เคียงกัน ทั้งสองก�ำลังเดินทางออกสู่สายน�้ำ แห่งพรมแดนที่พวกเขาคุ้นเคย เรือค่อยๆ เคลื่อนตัวไปบนสายน�้ำ ด้วยความเชื่องช้า แม้ว่าส�ำหรับคนอื่นแล้ว บนล�ำเรือเหนือสายน�้ำความหวาดกลัว คงเดินทางมาเคาะประตูแห่งหัวใจ แต่ส�ำหรับเด็กทั้งสองแล้ว พวก เขาหาได้หวาดกลัวไม่ จุดหมายปลายทางของอเนกและปรีชาอยู่ตรงแก่งหินที่อยู่ริม ฝั่งน�้ำข้างหน้า ตรงนัน้ มีจา (ตาข่าย) ดักปลารอพวกเขาอยู่ เรือล�ำนัน้ เคลื่อนตัวเข้าหาเป้าหมายอย่างช้าๆ เมื่อถึงจุดหมายอเนกได้ขยับมา ท�ำหน้าที่นายท้ายเรือ ส่วนปรีชาท�ำหน้าที่ของพรานปลาที่ต้องน�ำปลา ในตาข่ายดักปลาของเขาขึ้นมาจากน�้ำ ในยามที่สายน�้ำยังคงไหลเอื่อยไปอย่างช้าๆ ชั่วขณะแห่งการ เดินทางของเรือกับคนออกจากท่าสู่แม่น�้ำ ไม่มีผู้ใดรู้ว่าในใจของทั้ง

VA-newGL26.indd 47

A Young Fisherman of the Salween Story/photos Sumart Phulaiyao boat moved slowly towards the pier. Looking up, one sees a long brown sand beach that turns into a rocky beach toward the end. Beyond the rocky beach is where Moei River, called Su Mae Gloh by the local Karens, and Salween River, called Ko Loh Gloh, merge. Both rivers are narrow as it is now summer. From the pier, a narrow and steep pedestrian walkway leads to a Pakake-yaw (Karen) village of Ban Sop Moei. Sop Moei is the most remote Pakake-yaw village on the border of Thai and Myanmar, marked by the two rivers. But the rivers cannot prevent the hilltribe people from reaching across the waters to their compatriots on the other side. Besides terraced and low-land farming, some locals, especially women, turn sand banks of the Moei River into bed of beans, tobacco and other plants during low tides. Fishery in both rivers also provides the people with another occupation. When adults go fishing, younger people also tag along. Having done that a number of times, Preecha, an 11-year-old boy, is used to the way enough to go out into the river alone to check on the jaa, fish traps that his father had laid earlier. Today, Preecha and a friend, Anek, took a boat out at the break of dawn while his father prepared to go to his farm. Slowly, they navigated the boat in the familiar waters. For outsiders doing so could bring fear to their hearts. But not the two boys.

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

48

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

สองคนคิดอะไรอยู่ พวกเขา คิดถึงความสุข, ความทุกข์, ความเศร้า หรือแม้แต่ดีใจ, เสียใจ การแสดงออกเหล่านี้ บางครั้งอาจไม่ได้แสดงออกมา ทางร่างกาย แต่ถูกเก็บง�ำไว้ภาย ใต้ความเยาว์ของพวกเขา … ปรีชายกปลาตัวหนึง่ ที่เพิ่งปลด ออกมาจากตาข่ า ยส่ ง ให้ อ เนกที่ ตอนนี้ก�ำลังนั่งอย่างสบายอารมณ์ อยู่ท้ายเรือ ปลาสีด�ำตัวนั้นแม้ไม่ ใหญ่มาก แต่ก็คงสร้างความดีใจให้กับทั้งสองได้พอสมควร เพราะว่า ตอนนีบ้ นฝัง่ มีคนรอซือ้ ปลาจากพวกเขาทัง้ สองคนอยูแ่ ล้ว ในห้วงยาม อย่างนี้ปรีชาและอเนกอาจคิดถึงขนมหลากสีที่ก�ำลังจะได้มาจากการ แลกเปลี่ยนด้วยปลาตัวนี้ หรือว่าบางทีพวกเขาอาจไม่ได้คิดถึงขนม หลากสี แล้วพวกเขาจะคิดถึงอะไรกันเล่า ไม่รู้จักไก่ทอด KFC และอาหารจานด่วนสีสันหลากตาหรือ แม้แต่สุกี้รสเลิศ แต่เด็กทั้งสองกลับรู้ว่า ในยามใดต้องหาปลาด้วย วิธีการอย่างไร และปลาที่ได้เป็นปลาชนิดไหน ท�ำอาหารอะไรอร่อย แน่นอนพวกเขาย่อมรู้เรื่องราวเหล่านี้ เพราะพวกเขาเป็นคนหาปลา วัยเยาว์แห่งสาละวินแม่น�้ำของพรมแดนตะวันตกนัน่ เอง และเหนื อ สิ่ ง อื่ น ใดพวกเขายั ง ไม่ ไ ด้ รั บ รู ้ ว ่ า ในอนาคตอั น ใกล้นี้ แม่น�้ำที่พวกเขาคุ้นเคยอาจแปรเปลี่ยนไป เพราะแว่วว่าการ ตึกแค (หมายถึง การปิดกั้นแม่น�้ำ คนภาคเหนือเรียกว่าตึกแค) ครั้ง ใหญ่ที่ฮัตจี ซึ่งไม่ได้หมายเอาปลา แต่หมายเอาไฟฟ้าก�ำลังจะเกิดขึ้น บนแม่น�้ำสายนี้ ชีวิตของปรีชาและอเนกไม่ใช่เรื่องราวที่เด็กคนอื่นหรือแม้แต่ ผู้ใหญ่บางคนจะจับต้องไม่ได้ เพราะเรื่องราวของพวกเขาเป็นเรื่อง ราวชีวติ ของคนทีเ่ กิดและเติบโตในหมูบ่ า้ นริมแม่นำ�้ ซึง่ ยังคงหลงใหล อยู่กับการใช้ชีวิตให้สอดคล้องกับธรรมชาติโดยมีสายน�้ำเป็นแม่ และ มีภูเขา ป่าไม้เป็นพ่อ หากเปิดดวงตาก็จะมองเห็น หากเปิดหัวใจ เรื่องราวของพวกเขาก็จะพุ่งทะยานเข้าสู่ส่วนลึกของจิตใจได้ไม่ยาก เวลาผ่านไปเนิ่นนาน แสงแดดของยามเช้าเริ่มส่องประกาย เล็ดลอดไอหมอกออกมา เรือและคนหาปลาก็เริ่มเดินทางกลับมายัง ฝัง่ อีกครัง้ รอยยิม้ น้อยๆ ปลุกดวงใจน้อยๆ ของทัง้ สองให้ตนื่ ขึน้ มารับ กับยามเช้าทีส่ ดใสอีกหนึง่ วัน แม้ปลาใช่วา่ จะหาได้ทกุ วัน การออกเรือ ไปหาปลาก็เหมือนกับการฝากชีวิตไว้กับการเสี่ยงโชค เพราะปลามัน ว่ายวนเวียนอยู่ในแม่นำ�้ ซึ่งกว้างใหญ่ ถ้าวันไหนได้ปลาก็ถือว่าโชคดี แต่ถ้าวันไหนไม่ได้ปลาก็ต้องบอกว่า พรุ่งนี้เอาใหม่แค่นนั่ เอง “ผมหาปลาอยู่ริมฝั่งใกล้ๆ กับหมู่บ้าน เพราะถ้าจะไปหาปลาฝั่ง โน้น (พม่า) น�้ำแรง ไม่กล้าไป แต่ถ้าบางวัน พ่อพาไปก็ไปกับพ่อ ผม หาปลาทุกวัน ถ้าวันนี้ไม่ได้ พรุ่งนี้เราก็ได้ เพราะปลามันอยู่ในน�้ำ เรา เอาจาใส่ไว้ในน�้ำ ยังไงเราก็ได้ปลา” ปรีชาบอกกับคนที่เฝ้ารอซื้อปลา จากเขาที่อยู่บนฝั่งด้วยภาษาไทยกระท่อนกระแท่น ก่อนจะเดินกลับ บ้านด้วยรอยยิ้ม …

VA-newGL26.indd 48

เกษตรริมฝั่งบนผืนดินที่อุดมสมบูรณ์ ด้วยปุ๋ยที่แม่น�้ำพัดพามาตาม ธรรมชาติ Crops grow well on the fertile land by the river bank thanks to natural fertilizers brought by water currents.

Their destination was an islet by the river bank ahead where the jaa were waiting. The boat slowly approached the traps. Anek took control of the boat while Preecha pulled up the traps from the water. On the river that slowly flowed, the boys and boat were jointly on a journey. No one knows what the boys were thinking, whether it was happiness or sorrow, joyfullness or sadness. Whatever it was, it did not manifest itself but was kept under their youthfulness. … Preecha pulled a fish out of a trap and showed it to Anek who was sitting idly at the other end of the boat. This black fish was not a big one, but it brought a smile on their faces. They knew that there would be people waiting to buy it from them. What would they spend their money on? Multi-colored candies? KFC chicken, fast food and Sukiyaki are totally alien to them. But the boys know when to fish and how. Once they get their fish, they even know how to cook them. They know all this because they are young fishermen of the Salween on the western frontier. Unfortunately, they have yet heard that in the near future, a river that they are familiar with is about to change. Words have gone around that the river would be dammed at Hat Gyi in Myanmar, not for fish but for electricity. City folks may not grasp the reality of Preecha’s and Anek’s life because theirs is one of people who were born and bred in a remote riverside village, who are in awe with life in harmony with nature with the rivers as the mother and the mountains and forests as the father. Open one’s heart and one shall see the story of their lives. Times flew and the morning sun cut through the fog as the boys and boat returned to shore. They flashed a bright smile. Going out fishing is like gambling. It depends pretty much on luck, though fishes are always swimming in the waters. If today you catch some fish, you are lucky. If not, then you only tell yourself, “We’ll try again tomorrow.” “I fish close by because the tide in the Myanmar side is too strong. But if my dad goes, I go with him. I fish every day. If I don’t get the fish today, I’ll get them tomorrow because the fish are in the waters. We put our jaa in the water, and we are sure to get some,” Preecha said to someone waiting to buy his fish in broken Thai before walking home with a smile.

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

บ้านดงนา บ่ลาจากแล้ว เรื่อง/ภาพ รวงทอง จันดา

ณรงค์ วงศ์สามารถ ก�ำลังน�ำเรือออกจากท่าไปจับปลา

49

May - August 2009

สายฝนเทกระหน�ำ่ ลงมาอย่างหนักเมือ่ คืน หลังทิง้ ช่วงไปนานตัง้ แต่ สงกรานต์ทผี่ า่ นมา สายลมเย็นยะเยือกเช้าวันนีน้ ำ� มาซึง่ ความสดชืน่ พรรณไม้นานาชนิดแลดูเขียวสดไปทั่ว ใต้ต้นมะม่วงลูกของมัน หล่นร่วงลงเต็มพื้นดิน และใต้โคนต้นปรากฏร่างน้อยๆ ของเด็กๆ หยอกล้อส่งเสียงหัวเราะแว่ว พวกเขาก�ำลังเดินเก็บลูกมะม่วงใส่ ตะกร้า เพื่อเอาไปให้แม่ท�ำมะม่วงแผ่นเก็บไว้กินได้นานๆ กลิ่นหอมของผืนดินโชยมาอ่อนๆ ประชากรเห็ดมากมายนานา ชนิดที่แอบซ่อนตัวอยู่ รอวันที่สายฝนโปรยปรายลงมา จวนได้เวลา ที่พวกมันจะโผล่ขึ้นมาตามความเหมาะสมของฤดูกาล ถึงแม้จะ ตระหนักรู้ว่าฝนเพียงข้ามคืนเห็ดคงยังออกดอกไม่มีมากนัก และ ด้วยความหวังนึกถึงกับข้าวมื้อเที่ยงส�ำหรับทุกคนในครอบครัว เช้า วันนี้บรรดาแม่บ้านจึงต่างทยอยเดินออกจากหมู่บ้าน สะพายตะกร้า และน�้ำมุ่งสู่ผืนป่า

Narong Wongsamart is steering his boat from the pier to go fishing

Ban Dong Na, Here We’ll Stay Story/photos Ruangthong Chanda

Pounding rains the night before after a long dry weather since the Songkran festival left a cold breeze in the morning. Trees sprouted green leaves. Mango fruits lay on the ground and happy kids were busy collecting them for their moms to make mango sheets. The soil released light sweet smell. A variety of mushrooms were in hiding waiting to prop up under light shower. Knowing one night of rain was not enough for mushroom to sprout up, housewives nevertheless grabbed their baskets and went to the woods hoping to cook surprise lunch for family.

เสียงชุมชน Community Voice

VA-newGL26.indd 49

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

50

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

แม่นำ�้ โขง เรือ การหาปลา คือห้องเรียนชีวิตวิชาหนึง่ ส�ำหรับเด็กรุ่นหลัง

The Mekong, boats and fishing are together a large classroom of life for the young generation.

ทีท่ า่ เรือริมน�ำ้ โขงคึกคักไม่แพ้กนั เด็กหนุม่ วัย 18 ปี เบิรด์ -ณรงค์ วงศ์สามารถ นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรอุบลราชธานี ก�ำลังปลดเชือก ล่ามเรือออกไปสมทบกับเรือหลายสิบล�ำลอย มีทั้งเด็กหญิง-เด็กชาย ชายหนุม่ หญิงสาว คนวัยกลางคนและผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ ก�ำลังไหลมอง (วาง อวน) อยู่กลางล�ำน�้ำกระจายตัวไปทั่วโค้งน�้ำมองเห็นไกลๆ “ปิดเทอมปีนี้ล่ะที่ผมได้กลับมาอยู่บ้าน หลังจากที่ออกไปเรียน หนังสือข้างนอกตั้งแต่จบ ป.6 ปีที่ผ่านๆ มา พวกเด็กๆ รุ่นผมต้อง ออกไปหางานท�ำรับจ้างที่กรุงเทพ ไปอยู่กับญาติช่วยเขาท�ำงาน บ้าง ไปเป็นยาม บ้างท�ำงานก่อสร้าง ล้างถ้วยชามตามร้านอาหาร เพื่อให้ ได้เงินมาช่วยเหลือพ่อแม่บา้ งในตอนเปิดเทอม” เบิรด์ พูดขึน้ หลังจาก ผ่อนเครื่องยนต์เรือส่ายตามองหาท�ำเลที่จะวางอวน บ้านดงนา ต.หนามแท่ง อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี จาก ถนนใหญ่เพียง 17 ก.ม. เข้าไปตามถนนลูกรังเล็กๆ ซึ่งมีใช้ไม่ นานนัก ลัดเลาะไต่ไปตามป่าหิน ปีนขึน้ ภูเขาหลายลูกทะลุผา่ นผืนป่า ในเขตอุทยานผาแต้ม แล้วถนนก็หกั ศอกโค้งลงจากภูสงู ชันจนกระทัง่ มาถึงหมู่บ้านเล็กๆ ริมแม่นำ�้ โขงที่มีกว่า 100 หลังคา เบิร์ดเล่าว่า “ตอนเด็กๆ พอน�้ำลด ยายก็จะหาบตะกร้า ถือ เสียมลงไปริมตลิ่งน�้ำโขง ผมไปช่วยยายดายหญ้า ขุดดิน ปลูกถั่ว ลิสง มันแกว (มันเทศ) ข้าวโพด แล้วยายก็เป็นคนสอนผมขับเรือ และหาปลา ยายมักเล่าเรื่องสมัยก่อนๆ ให้ฟัง ยายบอกว่าคนบ้าน ดงนาสมัยก่อนใช้เงินกีบ ไม่ได้ใช้เงินบาทเหมือนปัจจุบนั เพราะคนบ้าน ดงนาค้าขายกับคนลาวเป็นส่วนใหญ่ และคนบ้านดงนาก็มไี ร่ มีสวน มี นาอยู่ฝั่งลาวมาก พอถึงหน้าฝนเกือบทุกหลังคาก็จะข้ามฝั่งไปท�ำนา เอาปลาไปแลกข้าวกับคนฝั่งโน้น ผมยังเคยข้ามฝั่งไปหาญาติพี่น้อง กับยายบ่อยๆ รู้จักมักคุ้นสนิทสนมกับคนฝั่งโน้น แต่พอมาช่วงหลังๆ ไม่ได้ข้ามไปแล้ว ความสัมพันธ์ของคนสองฝั่งก็ห่างไป โดยเฉพาะคน รุ่นหลังๆ แทบไม่รู้จักญาติพี่น้องของตนเอง “ยายย�ำ้ เตือนบอกผมเสมอว่า เฮานัน้ ทุกข์ บ่มีดิน บ่มีนา อย่า ขี้คร้านให้ขยันท�ำงาน” เบิร์ดทิ้งทายแล้วเริ่มหย่อนมอง (อวน) ลง ผืนน�ำ้ อย่างใจเย็น พักใหญ่ๆ จึงพูดขึ้นเสียงเบาคล้ายร�ำพึงว่า

VA-newGL26.indd 50

“ถ้ารัฐบาลสร้างเขื่อนบ้านกุ่มกั้นแม่น�้ำโขงจริง คนบ้านผมก็คง เหมือนตายทั้งเป็น โดยเฉพาะผู้เฒ่าผู้แก่ เพราะเขาเคยหาปลา เคย ปลูกผักริมตลิ่งโขง ก็คงบ่ได้เฮ็ดอีกตลอดชีวิต ที่ส�ำคัญคือคนบ้าน ดงนานัน่ ทุกข์ ทุกข์เพราะบ่มีดินท�ำกิน อาศัยหาปลาแลกข้าวกินไป พอพ้นปี ฤดูฝนหาปลาบ่ได้เพราะน�้ำมาก คนทั้งประเทศเริ่มท�ำนา แต่ คนบ้านดงนาบ่มีนาท�ำ เคยมีนาปลูกข้าวไร่ตามป่าตามภู ตอนนีก้ ็ท�ำ ไม่ได้เพราะอุทยานจับ ชาวบ้านต้องรอน�ำ้ โขงลดลงเพียงอย่างเดียว จึงจะเริ่มการเพาะปลูกใหม่ได้ ถ้าสร้างเขื่อนน�้ำก็เต็มตลิ่ง ซึ่งนัน่ ก็นกึ ไม่ออกว่าชีวิตคนบ้านดงนาจะอยู่กันอย่างไร คิดจะท�ำมาหากินอะไร ก็มืดแปดด้านไปเลย” นีอ่ าจเป็นเพียงเสียงสะท้อนจากเด็กหนุม่ ทีม่ โี อกาสได้ศกึ ษาเล่า เรียน และในอนาคตเขาอาจมีชอ่ งทางทีจ่ ะหางานท�ำเลีย้ งปากท้องของ ตนเองได้ แต่การจุนเจือแบ่งปันดูแลคนทั้งครอบครัวอีกหลายปาก หลายท้องนัน้ อาจเป็นเรื่องยาก และในวันที่เขาสร้างครอบครัว มีลูก เมีย ภาระต่างๆ ก็เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย อย่างไรก็ในมติความทุกข์ ยากของคนบ้านดงนานัน้ เขามองว่า มิใช่ไม่มีอาหารการกิน แต่ปัจจัย ส�ำคัญคือ “ข้าว” การไม่มีที่ดินท�ำกินนัน้ หมายถึงชีวิตและความอยู่ รอดของคนทั้งหมู่บ้าน ในภาวะเศรษฐกิจที่ฝืดเคือง ข้าวของเครื่องใช้ที่มีราคาแพงขึ้น เป็นล�ำดับ ยิ่งในหมู่บ้านที่ห่างไกล ภาระค่าขนส่งบวกเพิ่มเข้ากับ ราคาสินค้าค่อนข้างบีบรัดชาวบ้านอย่างหนักหน่วงมากแล้ว ด้านหนึง่ นโยบายเข้มงวดของอุทยานฯ ก็จำ� กัดขอบเขตพืน้ ทีใ่ นการหาอยูห่ ากิน ของชาวบ้าน อีกทัง้ ข่าวคราวการสร้างเขือ่ นบ้านกุม่ จะเกิดขึน้ จริงหรือ ไม่นนั้ ยังไม่มีความชัดเจน และเมื่อนึกถึงภาพล�ำน�้ำโขงที่เคยให้ที่ดิน เพาะปลูก หาปลาประทังชีวิตจะกลายสภาพเป็นอ่างเก็บน�้ำ ยิ่งสร้าง ความหวาดวิตกกับชีวิตที่เหลืออยู่ของผู้เฒ่าผู้แก่ ลูกหลานที่ก�ำลัง เติบโตและเกิดใหม่เพิ่มขึ้นตามมาทุกวันๆ แม้ว่าชีวิตจะยากล�ำบากสักเพียงใดก็ตาม ชาวบ้านดงนามิได้ ระทดท้อหรือน้อยใจในวาสนาของตน พวกเขาวิงวอนไม่วา่ กับรัฐบาล ชุดใดๆ ก็ตาม ขอเพียงอย่างเดียวว่า อย่าสร้างเขื่อนกั้นแม่น�้ำโขง เท่านัน้ พวกเขาพร้อมจะอดทนสู้ชีวิตกันต่อไป

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

51

May - August 2009

ดงนา หมู่บ้านลับแลอันสงบเงียบอีกหนึง่ หมู่บ้านที่ซ่อนตัวอยู่บนหุบเขาริมฝั่งแม่น�้ำโขง

แม่ใหญ่ของณรงค์ยังคงมีความสุขกับการหาปลาเหมือนเมื่อครั้งยังสาว

Dong Na is a peaceful place tucked away in a valley by a bank of the Mekong River

Narong’s mother still enjoys fishing as much as she did when she was just a girl

The pier on the Mekong was also abuzz with activities. An 18-year-old, Bird – Narong Wongsamart, a student at Ubonratchathani College of Agriculture and Technology, untied the rope and navigated his boat to join others scattering in the middle of the river. Children, teenagers, adults and the old people were throwing fish nets. “I can’t wait to come back home. I have only one semester to go. I left the village after I finished elementary school to further my studies in town. Most of my friends travelled to Bangkok to find jobs in the summer. They worked as security guards, construction workers, and dishwashers, and sent money to their parents,” he said as he slowed the engine and looked for a location to throw his net. Ban Dong Na in tambon Nam Thaeng, Si Muang Mai district of Ubon Ratchatani, is 17 km on newlygraded gravel road. It slithers on rocky mountains and cut through the Pha Taem National Park. The road takes a sharp turn down a steep mountain and reaches a small village of 100 households along the Mekong. He said: “When I was young, my grandma would wait for the water to recede and carry a basket and a spade and headed to the Mekong River bank. There, I would help her cut grass, prepare the land and put down seedlings for peanut, yam, and corn. My grandma taught me boating and fishing. She often told me stories about the past when the locals used Kip as currency as they mainly traded with the Laotains. Many owned farmland in Laos. In the rainy season, they crossed the river to grow rice on the Lao side. They bartered fishes for rice with the Laotians. I used to visit my grandma’s cousins in Laos, whom I have not seen lately. The ties are fading. The young generations barely know their relatives across the river.

“She told me repeatedly that we lived a hard life. We own neither land nor rice farm so we need to work harder,” Bird said while gently dropping the fish net into the water. He paused a while before speaking up in a low voice: “The government’s plan to build a dam across the Mekong at Ban Koum worries me. If it happens, we’re dead. The elderly will be hardest hit. They used to go out fishing and growing vegetables on the Mekong banks. “We are already cursed with landlessness. In the rainy season, people in other parts of the country start work in their paddy fields, but we have no fields to farm. We can’t go fishing because the river swells up. We can’t grow food on the mountains like we used to because the national park wouldn’t allow us. “We can only wait for the Mekong River to dry up so we can farm on the bank. If a dam is built, the river banks will be under water. I can’t imagine what life would be like for Ban Dong Na villagers.” But this is a voice from a young man with an education; at least he will have options in life. But for most Ban Dong Na locals, landlessness is a life and death issue. The villagers have felt the pinch of the economic crunch. Rising transportation costs have pushed up prices of basic goods. Park authorities have stepped up restrictions over land utilization. Rumors of the dam project have gripped the villagers with fear that the Mekong, the only source of farming and fishing, will turn into a reservoir. No matter how hard life is, Ban Dong Na villagers are not complaining and are willing to eke out a living as long as the government listens to their plea against a dam on the Mekong River.

เสียงชุมชน Community Voice

VA-newGL26.indd 51

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

52

สัมภาษณ์พิเศษ SPECIAL INTERVIEW พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

Kraisak Choonhavan By Maenwad Kunjara Na Ayuttaya Currently a deputy leader of the Democrat Party responsible for the Northeast, former Senator Kraisak Choonhavan is better known by members of the media and artists as “Ajarn Tong”.

ถ่ายรูปคู่กับปลาเวียนขนาดยักษ์ที่ชาวประมงเพิ่งจับได้ขณะลงพื้นที่ส�ำรวจแม่น�้ำสาละวินบริเวณที่คาดว่าจะได้ รับผลกระทบถ้ามีการสร้างเขื่อนฮัตจี Kraisak poses for a picture with a greater brook carp that has just been caught by fishermen while conducting a survey of areas along the Salween River that are expected to be affected by Hat Gyi dam construction

ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา

ต�ำแหน่งในปัจจุบนั เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปตั ย์ รับผิด ชอบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อดีตสมาชิกวุฒิสภาไกรศักดิ์ ชุณหะวัณเป็นที่รู้จักอย่างสนิทสนมของสื่อมวลชนและเหล่า ศิลปินที่เรียกจนเคยปากว่า “อาจารย์โต้ง” นอกจากงานของนักวิชาการอิสระผู้เชี่ยวชาญด้านปัญหาสิทธิมนุษยชน ความ สนใจในเรื่องสิ่งแวดล้อมมาอย่างยาวนาน ยังท�ำให้อาจารย์โต้ง มีบทบาทสีเขียวอยู่

VA-newGL26.indd 52

As an outspoken independent academic scholar with expertise in human rights and environmental issues, Ajarn Tong has been playing an important role in the Thai green movement. He is, for example, WildAid (Thailand) Foundation’s chairman, following a stint as advisor of the Senate Standing Committee on Environment during 20002006 and chief adviser on pollution and environment to Bangkok Governor Bhichit Rattakul in 1995. He is currently House representative from Nakhon Ratchasima. Regarding his long-standing interest in the Mekong and Salween basins, the interview begins. You have long been interested in the state of the environment and river basins. What is your impression so far? I have a theory that with dams constructed on almost all main rivers, natural fertilizers that annually flow to enrich river banks will disappear. But we’ve never studied the impacts of dams on the agricultural sector such as the disappearance of natural fertilizers. We are just putting as much chemical substances as possible into the soil. But after 30 years or so, the government has only begun to realize the importance of organic fertilizers as chemical substances are harmful to soil and people’s health. The provinces that have the most dams are usually the most abundant because they have many water ways many of which are headwater streams. And therefore, major

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

ในสังคมไทยมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การรั้งต�ำแหน่งประธานมูลนิธิ เพื่อนป่า (WildAid ประเทศไทย) ในปี 2539 เป็นที่ปรึกษาผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานคร (นายพิจิตต รัตตกุล) ด้านมลพิษและ สิ่งแวดล้อม, ระหว่างปี 2543-2549 เป็น ที่ปรึกษากรรมาธิการ สิ่งแวดล้อมของวุฒิสภา ปัจจุบันเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจาก นครราชสีมา กล่าวถึงพื้นที่แม่น�้ำโขงและแม่น�้ำสาละวิน ที่อาจารย์โต้งเฝ้า เป็นห่วงและติดตามความเคลื่อนไหวต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาหลายสิบปี บทสัมภาษณ์จึงเริ่มต้นขึ้น

53

May - August 2009

ตั้งแต่ติดตามเรื่องสิ่งแวดล้อมและแม่น�้ำสายต่างๆ มา มีความ คิดเห็นอย่างไร? ผมมีทฤษฎีวา่ การทีม่ กี ารสร้างเขือ่ นในแม่นำ�้ หลักๆ ของเราเกือบ ทุกสาย ปุ๋ยธรรมชาติที่ทุกปีจะหลั่งไหลลงมาทั้งสองฝั่งแม่น�้ำ สร้าง ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ราบลุ่มแม่นำ�้ จะหายไปทั้งหมด แต่เราไม่ เคยศึกษาผลกระทบจากเขือ่ นในภาคเกษตร เรือ่ งปุย๋ ธรรมชาติจ�ำนวน

มหาศาลที่จะหายไป มีแต่ทุ่มเทสารเคมีลงไปในดินให้มากที่สุดเท่าที่ จะมากได้ หลังจากสามสิบปีมาแล้วรัฐบาลเพิ่งเข้าใจว่าต้องหันกลับ มาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ใหม่ เพราะว่ามันเป็นพิษภัยต่อดินและต่อสุขภาพ ของประชาชน จังหวัดทีม่ เี ขือ่ นมากทีส่ ดุ คือจังหวัดทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ทสี่ ดุ เพราะมี สายน�้ำล�ำธารมาก เป็นแหล่งเกิดของต้นน�้ำล�ำธารมากที่สุด … ดังนัน้ จะเกิดผลกระทบชัดเจนถ้ามีเขื่อนในแม่น�้ำใหญ่ๆ เช่นแม่น�้ำสาละวิน หรือแม่น�้ำโขง และเกือบทุกแม่น�้ำเราไม่เคยศึกษาผลกระทบต่อพันธุ์ ปลาน�้ำจืดทั้งหลายว่ามันสูญหายไปเท่าไร กี่ชนิด ที่มีการศึกษาอย่าง ลึกซึ้งจริงๆ แห่งเดียวคือที่ปากมูล ผู้เชี่ยวชาญบอกว่าจาก 120 กว่า ชนิดนี้ เหลือแค่ 60 ชนิดเท่านัน้ หลังจากมีเขื่อน เรื่ อ งนี้ ยั ง ไม่ ไ ด้ พู ด ถึ ง ว่ า แต่ ล ะแม่ น�้ ำ ก็ มี ช นิด พั นธุ ์ ข องปลา แตกต่างกันด้วย เพราะอุณหภูมขิ องแม่นำ�้ ก็ดี สิง่ แวดล้อม ระบบนิเวศ หรือชนิดพันธุ์พืชในแต่ละแม่น�้ำก็ไม่เหมือนกัน เช่นเดียวกับในแม่นำ�้ สาละวินที่เราไปเยือนมา มีปลาหลายชนิดที่ไม่มีในแม่น�้ำอื่นๆ ดังนัน้ การสร้างเขื่อนจะเป็นการท�ำลายอาหารที่สมบูรณ์ที่สุด อาหารราคา

เฝ้ามองวิถีชีวิตของชุมชนที่เป็นสุขเรียบง่ายอย่างซึมเซาไปแล้ว

ล่องเรือส�ำรวจแม่น�้ำโขงร่วมกับชาวบ้าน เอ็นจีโอ กับทหารเรือในพื้นที่ จ.อุบลราชธานี

Kraisak observes the local community’s simple way of life

Taking a boat trip to survey the Mekong River together with villagers, social activists, and navy troops in Ubon Ratchathani

impacts will be clearly felt if dams are built on major rivers such as the Salween or Mekong. What’s worse is we’ve never studied their impacts on freshwater fishes to see how much their number has been reduced and how many species have gone extinct. The only one studied is on Pak Moon river where experts said 60 fish species out of 120 have disappeared since the dam was built. Not to mention that each river has distinctive fish species because of different water temperature, environment, ecosystem and plant variety. The Salween has several species not found in other rivers. Dam construction will destroy the sources of most abundant food supply and cheapest quality food with highest protein for people. At the same time, it will also destroy the quality of the agricultural sector.

What happened to the Mekong and Salween during the (Vietnam) war time, the era of turning the battlefields into markets, and now an era of searching for energy? All countries now accept capitalism as the mainstream development, and so (countries in the region) see Thailand as the largest energy market. Both Myanmar and Laos aim to sell electric power to Thailand. Laos generates 80% of its income from selling nature. It has planned to build about 10 dams on the Mekong. Some of the planned dam sites, particularly at Don Sahong (in Champasak province), are the largest fish habitat in the region, and this is to produce electricity for Thailand. China became the first country to have already built two dams on the Mekong and has planned for more. Yet,

สัมภาษณ์พิเศษ: ไกรศักดิ์ ชุณหะวัน Special Interview: Kraisak Choonhavan

VA-newGL26.indd 53

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

54

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ถูกที่สุด แล้วก็มีคุณภาพ มีโปรตีนที่สูงที่สุดของมนุษย์ ของคนใน ประเทศอย่างชัดเจน แล้วก็เป็นการท�ำลายคุณภาพของภาคการเกษตร ในเวลาเดียวกันด้วย เกิดอะไรขึ้นกับแม่น�้ำโขงและสาละวินในยุคสงคราม ยุคเปลี่ยน สนามรบเป็นสนามการค้า ผ่านมาถึงยุคแสวงหาพลังงานปัจจุบัน การพัฒนาทุนนิยมซึ่งทุกประเทศรับว่าเป็นกระแสหลักจะมอง ประเทศไทยเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดของพลังงาน ทั้งพม่า ลาวก็มุ่งที่จะ ขายทรัพยากร พลังงานไฟฟ้าให้กบั ไทย … รายได้รอ้ ยละ 80 ของลาว คือการขายธรรมชาติ แล้วลาวจะมีโครงการสร้างเขือ่ นอีก 10 เขือ่ นใน แม่นำ�้ โขง เขือ่ นบางจุดเป็นแหล่งผลิตปลาทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภูมภิ าค คือที่ ดอนสะฮอง (แขวงจ�ำปาสัก ลาว) เพื่อขายไฟฟ้าให้กับไทย จีนเป็นประเทศแรกที่ได้สร้างเขื่อนบนแม่น�้ำโขงสายหลัก 2 เขื่อนแล้ว แล้วจะสร้างอีกหลายเขื่อน ผลของมันเห็นอยู่ชัดเจนแล้ว ตอนนีว้ า่ มีการเปลีย่ นแปลงในด้านลบอย่างมากต่อแม่นำ�้ โขง ประเด็น แรกน�ำ้ ขึน้ -น�ำ้ ลงไม่เป็นไปตามฤดูกาลแล้ว แต่ขนึ้ ลงตามการปล่อยน�้ำ ของเจ้าหน้าที่เขื่อนของจีน ท�ำให้ตลิ่งพังทั้งสองข้างแม่นำ�้ โขง ตั้งแต่ เชียงของลงมาจนถึงอุบลฯ อุดรฯ เพราะว่าดินของตลิ่งไม่มีเวลาแข็ง ตัวโดยธรรมชาติ … ประเด็นที่สอง หลังจากมีการสร้างเขื่อน พื้นที่การเพาะปลูก ลดลงอย่างมหาศาลทั้งสองฝั่ง ตัวอย่างเฉพาะลาวกับไทยที่ผมไป เห็นมาพื้นที่เพาะปลูกลดลงหลายร้อยกิโลเมตร แล้วพื้นที่ริมแม่น�้ำ โขงเป็นพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดส�ำหรับเพาะปลูกข้าวโพด ผัก พริก ใบยาสูบ พืชล้มลุก ชาวบ้านเขาไม่มีพื้นที่อื่นๆ ที่จะเพาะปลูก เพราะ แถวนัน้ เป็นเขตภูเขาหมดเลย ส่วนปลาผมก็เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปหลายชนิดแล้ว โดยเฉพาะปลา บึกธรรมชาติเชื่อว่าสูญพันธุ์แล้ว ที่เราเห็นอยู่ทุกวันนี้ก็เพราะกรม ประมงเอามาปล่อยทีหลัง กรมประมงมีงบประมาณมหาศาลปีตอ่ ปีนะ ครับ เพื่อเพาะพันธุ์ปลาเอามาปล่อยให้คนจับ ให้คนกิน ผมตั้งค�ำถาม ถ้าไม่มีเขื่อน ก็ไม่จ�ำเป็นต้องใช้อุตสาหกรรมการเพาะพันธุ์ปลาใช่มั้ย เสียงคัดค้าน ข้อมูล งานวิจยั ทีช่ าวบ้านหรือเอ็นจีโอท�ำขึน้ มีผลมาก น้อยแค่ไหนกับการตัดสินใจของนักการเมืองในการพัฒนาโครงการ ในลุ่มน�้ำทั้งสองแห่งนี้ ผมว่าเป็นโชคดีของคนไทย เรามีรัฐธรรมนูญมาตรา 190 ครั้ง ล่าสุดที่รัฐบาลคุณสมัคร สุนทรเวช ไปเซ็นสัญญาจะสร้างเขื่อนบ้าน กุ่ม เขื่อนที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค สร้างบนแม่น�้ำโขงเพื่อจะผลิตไฟฟ้า เป็นหลัก … แล้วอีกโครงการจะผันน�้ำจากน�ำ้ เทิน 2 (ในลาว) เข้ามาใส่ ไว้อ่างเก็บน�้ำขนาดมหาศาลที่อุบลฯ ยังไม่ได้บอกชาวบ้านว่าต้องย้าย กี่หมื่นกี่พันคนแต่ไปเซ็นสัญญาแล้ว ปรากฏว่าพอเรื่องนี้มีการท้วงติง กันในรัฐบาล เพราะสิ่งที่ท�ำนัน้ มันคัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 อย่าง ชัดเจน ก็ต้องระงับโครงการไป …ถ้ามีการแก้รฐั ธรรมนูญ แล้วอนุญาตให้รฐั บาลท�ำตามใจชอบได้ โดยไม่มกี ารมีสว่ นร่วม ไม่มกี ารตรวจสอบจากรัฐสภาหรือชาวบ้านเลย ยกเลิกมาตรา 190 ออกไป เขื่อนทั้งหมดจะเกิดขึ้นแน่นอน เพราะ

VA-newGL26.indd 54

เรือ่ งธรรมชาติ ระบบนิเวศ หรือวิถชี วี ติ ของคนเป็นสิบๆ ล้านคนไม่อยู่ ในหัวของนักการเมืองเลย โดยเฉพาะเรื่องการสร้างเขื่อนในแม่น�้ำสาละวิน ไม่ใช่แค่การ ท�ำลายธรรมชาติ ท�ำลายระบบนิเวศเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างกว้างขวางด้วย แผนที่จะสร้าง 5 เขื่อนที่ สาละวิน เฉพาะ 2 เขื่อน ระหว่างอ�ำเภอแม่สะเรียง (จ.แม่ฮ่องสอน) กับกองทัพกะเหรี่ยง มีการเตรียมพื้นที่ มีการขับไล่คนออกจาก พื้นที่มากกว่า 2 ถึง 3 แสนคน … ทุกวันนีจ้ �ำนวนประชากรของ แม่ฮ่องสอนมี 345,000 คน มีจ�ำนวนของผู้ที่ลี้ภัยที่ไม่อยู่ในค่าย ลี้ภัย 320,000 คน เป็นคนไร้สัญชาติ ไร้สิทธิ์ ซึ่งต้องพึ่งพาอาศัย ทั้งโรงพยาบาล สาธารณสุขไทย ต้องพึ่งพาอาศัยโรงเรียนการศึกษา ไทย ที่ท�ำมาหากิน ป่าก็หายไปวันต่อวัน ถ้าเราเดินหน้าเขื่อนในแม่น�้ำสาละวิน เราจะโดนนานาชาติ ประณามเราอย่างไม่รู้จะเอาหน้าไปไว้ไหน แล้วทุกครั้งที่มีการเจรจา กับพม่าก็ยงั จะมีการยืนยันว่าจะต้องสร้างเขือ่ นนีต้ อ่ ไป ซึง่ ผมก็คดั ค้าน มาตลอด ข้อตกลงระหว่างประเทศมีความหมายหรือไม่ต่อโครงการพัฒนา ขนาดใหญ่ในลุ่มน�้ำนานาชาติ ถ้าถามว่าระบบสากลมีการควบคุมมั้ย มี แต่เหมือนระบบสากล อืน่ ๆ คือได้แต่ประท้วง แต่บงั คับใช้ไม่ได้ ทุกวันนีถ้ ามว่ามีใครประท้วง จีนที่สร้างเขื่อนหรือเปล่า ไม่เคยมีใครท�ำอย่างเป็นทางการโดยเฉพาะ คณะกรรมาธิการแม่น�้ำโขง … จะมีก็แต่กลุ่มประชาชน กลุ่มที่ศึกษา นักวิทยาศาสตร์ นักนิเวศวิทยา เท่านัน้ ที่เคลื่อนไหวเรื่องนี้อยู่ ผมคิดว่าประเด็นส�ำคัญทีส่ ดุ ในตอนนี้ คือเราต้องเอาการอนุรกั ษ์ แม่น�้ำโขงมาเป็นประเด็นส�ำคัญที่สุดของภูมิภาค ผมเสนอให้รัฐบาล คุณอภิสิทธิ์ตั้งส�ำนักงานขึ้นมาเพื่อท�ำงานเรื่องสิ่งแวดล้อม ภายใต้ อาเซียน ขั้นตอนแรกสร้างเป็นองค์กรชื่อ Wild Life Enforcement Network วาระนี้ คุณสุวิทย์ คุณกิตติ ก็รับ คิดว่าเป็นประเด็น ที่ดี แล้วก็จะพูดถึงประเด็นอื่นๆ คือการอนุรักษ์ป่า การอนุรักษ์แม่น�้ำ ล�ำธารต่างๆ เพราะขณะนี้ในประเทศอื่นๆ เช่น พม่า ไม่มีกฎหมาย เกี่ยวกับเรื่องอุทยาน ลาว-เขมรก็ยังไม่มี ไม่ต้องพูดถึงเจ้าหน้าที่หรือ ผูเ้ ชีย่ วชาญนะ ฉะนัน้ เราอยากเห็นประเทศไทยเป็นประเทศศูนย์กลาง ของการอนุรักษ์ธรรมชาติ นโยบายที่จะใช้ประโยชน์หรือพัฒนาแม่น�้ำโขง-น�้ำสาละวิน ควร เป็นอย่างไร เราควรจะมองว่าจ�ำนวนปลาทีจ่ บั ได้กลี่ า้ นตันต่อปี อย่างลุม่ น�ำ้ โขง 700 กว่าเมตริกตันต่อปี มันเป็นจ�ำนวนเงินมหาศาล ท�ำไมเราไม่มอง อันนี้เป็นคุณค่าบ้าง ถ้าเปรียบเทียบค่าไฟฟ้าที่เราจะแบ่งให้ลาว อย่าง ต้นไม้ที่เราไม่ตัดมันให้ออกซิเจนเท่าไร ถ้าจะตีความมันมีคุณค่าของ มัน คุณค่าต่อชีวิต คุณค่าต่อโลก คาร์บอนเครดิตคิดอย่างไร มันก็มี ราคาของมัน สัตว์ ป่า พืชที่เราสามารถที่จะเก็บกินได้ริมแม่น�้ำ ตาม ป่าของเส้นน�ำ้ ล�ำธารต่างๆ นานา มีคณ ุ ค่าทางการเงินหมดเลยพูดจริงๆ แต่ไม่เป็นคุณค่าทางการเงินที่นกั เศรษฐศาสตร์ในแนวเสรีนิยมคิด แต่

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

55

May - August 2009

ลงพื้นที่ศึกษากรณีเขื่อนบ้านกุ่ม จ.อุบลราชธานี ถือโอกาสนัง่ กินข้าวร่วมกับชาวบ้านบ้านตามุย ด้วยอาหารท้องถิ่น น�้ำพริก แกงเห็ด ต้มปลาใส่หน่อไม้ ไข่ต้ม

Kraisak has a meal with villagers of Ban Ta Mui during a trip to discuss Ban Kum Dam in Ubon Ratchathani. The food served are local dishes including nam prik (chilli dip), tom pla sai nau mai (clear fish soup with bamboo shoots) and boiled eggs

it is obvious that the dams greatly cause negative changes to the river. To begin with, the rise and fall of the water is no longer seasonal but depends on the Chinese officials controlling water discharge. Such a change has led to the erosion of both of the Mekong banks from Chiang Khong to Ubon Ratchathani and Udon Thani because the soil has not been left to solidify naturally. Secondly, cultivated land has massively decreased after the dam construction. During my field visits to Laos and in Thailand, I could see hundreds of kilometers of cultivated land disappear. And the Mekong basin is the most fertile cultivated area for rice, corn, chili, tobacco and other crops. Farmers don’t have other land to farm because the surrounding areas are mountainous. As for the fish population, I believe that many species have been lost, particularly the Mekong giant catfish. What we see now are those released by the Fisheries Department. The department has huge annual budget for their fish breeding programs. My question is if there are no dams, it won’t be necessary to have the fish breeding industry, will it? How much influence do opposing voices, data and researches conducted by villagers or NGOs have on politicians’ decisions on Mekong and Salween development projects? I think Thai people are lucky that we have Article 190 in the Constitution. When the government of Samak Sundaravej recently signed an MOU (with Laos) to build the biggest hydropower dam in the region on the Mekong at Ban Kum and to divert water from Nam

Theun II (in Laos) to a huge reservoir in Ubon Rachatani, it did not bother to tell the local people how many thousands of them will have to be relocated, and yet it went ahead and signed the MOU. But when protests arose because its action went against Article 190, it was forced to shelve the projects. … If the constitution is amended and Article 190 deleted, allowing the government to do as it pleases without public participation or parliamentary scrutiny, all the dam projects will definitely go ahead because nature, the ecosystem or the local way of life is not a concern of politicians. The planned dam construction on the Salween, particularly, is not only about destroying nature and the ecosystem but is a serious violation of human rights as well. Following a plan to build five dams on the Salween — two of them are between Mae Sariang (in Mae Hong Son province) and Karen army base, more than 200,000 people have already been expelled from the area. Mae Hong Son has a population of 345,000 people but there are some 320,000 refugees not in the refugee camps; these are stateless people without any right but who must depend on Thai hospitals, public health system, education system, and farmland for their livelihood. So we see forest covers ever shrink. If we proceed with the Salween dam projects, we will be severely condemned by the international community. Yet at every negotiation with Myanmar, it was repeatedly confirmed that the dams must be built, something which I consistently oppose.

สัมภาษณ์พิเศษ: ไกรศักดิ์ ชุณหะวัน Special Interview: Kraisak Choonhavan

VA-newGL26.indd 55

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

56

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

Do international agreements mean anything with regard to large-scale developments on international river basins? If you ask whether there are international control mechanisms, yes. But like any international system, you can only protest but it’s not enforceable. Like now, is there anyone protesting China for its dam construction? No one has yet to make an official protest, especially the Mekong River Commission. Only civic groups, student groups, scientists and environmentalists have made some move. I think the most crucial issue for the region is Mekong river conservation. I have recommended to Prime Minister Abhisit Vejjajiva to establish an office on the environment under ASEAN. Initially, it will be called the Wild Life Enforcement Network. So far, (Minister of Natural Resources and Environment) Suwit Khunkitti has agreed to it. Then we’ll focus on other issues including forest and river conservation because other countries like Myanmar, Cambodia and Laos don’t yet have conservation laws, not to mention officials or experts. That’s why we would like to see Thailand become a center of natural conservation.

สอบถามถึงผลกระทบด้านต่างๆ ที่ชาวบ้านคาดว่าจะเกิดขึ้นถ้ามีการก่อสร้างเขื่อนบ้านกุ่ม Discussing with villagers about possible impacts of Ban Kum Dam if it were to be constructed

นีค่ ือการอยู่รอดของคนเป็นคนล้านๆ คนโดยที่รัฐบาลไม่ต้องออกงบ ประมาณเพื่อเลี้ยงดูเขาด้วยเงินจ�ำนวนมหาศาล หมายความว่าลุ่มน�ำ้ หรือแม่น�้ำควรจัดเป็นฐานทรัพยากรที่ปกป้อง ไว้โดยไม่มีโครงการพัฒนาใดๆ ผมมองว่าเศรษฐกิจของโลกจะไปไม่รอดเป็นอันขาด ถ้าเราพึง่ พา อาศัยต่อภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ภาคเกษตรจะไปไม่รอดถ้า เส้นน�ำ้ ล�ำธารโดนท�ำลายหมด มีคนพูดว่าไม่จริง เราสามารถที่จะปลูก มะเขือเทศ มะเขือยาว บนตึกโดยใช้นำ�้ ใช้สารเคมีได้เหมือนกับญี่ปุ่น แต่ประเทศไทยไม่มวี นั ทีจ่ ะพัฒนาได้เหมือนประเทศญีป่ นุ่ ยกเว้น ประชากรของประเทศไทยลดลงมาถึงราวๆ สามสิบล้านคน แล้วใช้ ไฮเทคทั้งหมดส�ำหรับการผลิต … แต่เพราะประชากรส่วนใหญ่ของ เรายังต้องพึง่ พาอาศัยธรรมชาติ และมันมาถึงขีดสุดแล้วของธรรมชาติ ทีจ่ ะสามารถรองรับสารเคมีทเี่ ราใช้อยูท่ กุ วันนี้ แล้วเราก็สง่ คนของเรา ไปไหนไม่ได้ดว้ ย เพราะฉะนัน้ เศรษฐศาสตร์การเมืองของการอนุรกั ษ์ ธรรมชาติ ต้องอนุรักษ์ลูกเดียว ไม่มีทางเลือกอื่นแล้ว

VA-newGL26.indd 56

What should the policy on the use or development of the Mekong and Salween be? We should look at the size of annual fish catch. The Mekong Basin, for example, yields over 700 metric tons per year. This is enormous. Why don’t we see this as something of value? In comparison with what we have to pay Laos for electricity, think about the oxygen-yielding trees that we don’t have to cut. They are valuable in themselves and to life and to the world. Should we not quantify them in terms of carbon credits? Animals, forests, plants that we pick on river banks or in forests, all these have value although not in monetary term that most liberal economists like to think. But this is about the survival of millions of people that governments need not allocate huge budgets to feed. You mean river basins should be protected as natural resource base against development projects? I think the world economy cannot survive if we have to depend on the industrial and service sectors alone. It is hard for the agricultural sector to go on without rivers and other waterways. Someone may say we can grow tomatoes and string beans in buildings with water and chemicals like what the Japanese do. But Thailand can never be developed in such a way unless our population drops to 33 million and we go totally hi-tech in our production process. … But the fact is the majority of our population still need to depend on nature and we are at the end of the road now because nature can no longer accommodate the chemicals that we use everyday and we cannot send our people to anywhere else. Therefore, regarding the eco-politics of natural conservation, our only option is conservation; there’s simply no other choice.

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

สี่แยกไฟเขียว GREEN INTERSECTION พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

57

ทวนกระแสลุ่มน�้ำนานาชาติ โดดเด่น ไม่เดียวดาย รัญจวน ทวีวัฒน์

International River Basins: Unisolated Grandeur

Ranchuan Taweewat

เขื่อนม่านหวาน หนึง่ ในสามเขื่อนของจีนที่สร้างกั้น แม่น�้ำโขงสายหลักเสร็จเรียบร้อยแล้ว

Manwan Dam, one of the three dams China has built across the Mekong River

VA-newGL26.indd 57

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

58

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ป้ายรณรงค์คัดค้านเขื่อนบ้านกุ่ม จัดขึ้นโดยชาวบ้าน อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี

An exhibition in protest against the planned Ban Kum dam construction organized by villagers in Khong Chiam district of Ubon Ratchathani.

บนแม่ น�้ ำ สายหลั ก ของแม่ น�้ ำ โขง ที่ ก� ำ ลั ง จะมี โครงการสร้ า ง เขื่อนนับสิบแห่ง หรือโครงการผันน�้ำจากประเทศเพื่อนบ้านมา จ่ายให้กับระบบเครือข่ายน�้ำของประเทศไทยอีกนับสิบโครงการ รวมถึงผลกระทบจากเขื่อนบนต้นน�้ำในประเทศจีน (หลังจากเขื่อน ม่านวาน (Manwan) เขือ่ นต้าเฉาซาน (Dachaoshan) และเขือ่ นจิงหง (Jinghong) สร้างเสร็จระหว่างปี 2539 – 2549) คือสาเหตุให้ปีที่ ผ่านมามีการพบปะหารือในการประชุมนานาชาติ และมีเวทีการประชุม ของนักพัฒนาเอกชนและนักวิชาการอย่างกว้างขวางในพืน้ ทีห่ ลายครัง้ ประเด็นส�ำคัญจากการประชุมส่วนใหญ่ล้วนเป็นการถ่ายทอด ความคิดเห็นของตัวแทนหลายๆ ประเทศ ที่กำ� ลังเป็นห่วงและวิตก กังวลต่อความเสื่อมโทรมของลุ่มน�้ำโขงที่ส่อเค้าจะทวีความรุนแรง ขึ้นในทุกมิติ โดยทุกฝ่ายมีความคิดเห็นตรงกันว่าการสร้างความร่วม มือร่วมกันเท่านัน้ จึงจะน�ำพาลุ่มน�้ำโขงไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ นี ซาน จากกัมพูชา กล่าวว่า “ประชาชนมากว่า 60 ล้านคน ที่อยู่ในลุ่มน�้ำโขงตอนล่าง มีร้อยละ 30 อยู่ในภาวะยากจน ร้อยละ 70 ที่พึ่งพาธรรมชาติ ทะเลสาบเขมรเป็นแหล่งจับปลามากกว่าปีละ 4 แสนตันต่อปี เขื่อนจะมีผลกระทบมาก ทั้งปัญหาน�้ำท่วม ตลิ่งพัง ทลาย กระแสน�้ำไหลเปลี่ยนแปลงไป การประมงหาปลา ความหลาก หลายทางชีวภาพ พันธุ์สัตว์ต่างๆ จะได้รับผลกระทบทั้งสิ้น รวมทั้ง ผลกระทบทางสังคม วิถีชีวิตของชุมชน ที่อาศัยที่ท�ำมาหากินถูกโยก ย้าย การสูญเสียที่ดินท�ำกิน ปัญหาโรคภัยต่างๆ มีทางเลือกในการ ด�ำรงชีวิตน้อยลง ส่วนผลกระทบทางเศรษฐกิจคือการสูญเสียรายได้ โดยเฉพาะปริมาณปลาที่ลดลงมาก “แม่นำ�้ โขงคือแม่นำ�้ ของภูมภิ าคทีใ่ ช้รว่ มกัน แต่มคี วามแตกต่าง ทางบริบททางการเมืองของแต่ละประเทศ ดังนัน้ ควรจะมีมาตรฐาน ร่วมกันของทุกประเทศ ประเด็นในการผลักดันร่วมกัน คือต้องสร้าง เครือข่ายระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และชุมชน จึงจะเป็นโอกาส ส�ำคัญที่เราจะได้แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ที่เรามี เพื่อน�ำไปสู่การหยุด

VA-newGL26.indd 58

เขื่อนหรือลดผลกระทบจากเขื่อนให้เหลือน้อยที่สุด ให้คุณค่าความ ผูกพันของประชาชนในภูมิภาคนีต้ ่อแม่น�้ำโขงมากขึ้น ค้นหาพลังงาน ทางเลือกหรือไฟฟ้าที่ไม่ใช่การสร้างเขื่อนในแม่น�้ำโขงให้ได้” แค่ง (Quang) จากเครือข่ายแม่น�้ำเวียดนาม กล่าวว่า “การ พัฒนาเขือ่ นเพือ่ น�ำไฟฟ้าไปตอบสนองกับการพัฒนาเศรษฐกิจมีความ รุดหน้ามากในเวียดนาม ต้องมีการสร้างเขือ่ นมากขึน้ ตามความต้องการ ไฟฟ้า งบประมาณในการพัฒนาแหล่งน�้ำมากกว่าครึ่งจึงน�ำไปลงทุน สร้างเขื่อน ผู้ลงทุนที่เป็นเอกชนก็มาลงทุนมากขึ้น การตัดสินใจจะ สร้างเขือ่ นหรือไม่กข็ นึ้ อยูก่ บั รัฐบาล ในประเทศเราถกเถียงกันในเรือ่ ง สร้างเขื่อนได้น้อย การเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมท�ำได้ยาก ที่ มีอยู่ก็เพิ่งเริ่มต้นเคลื่อนไหวเท่านัน้ ในขณะที่ผลกระทบจากเขื่อนได้ ท�ำให้ชาวบ้านสูญเสียที่ดิน ดินเค็ม ระบบนิเวศ การสูญเสียพันธุ์ปลา และการอพยพของปลา บางที่ปลาหายไปกว่าครึ่งจากการสร้างเขื่อน “แต่ถึงเราจะมาจากต่างบริบททางสังคมและการเมือง แต่ สิ่งหนึง่ ที่เราย้อนกลับไปดูประวัติศาสตร์ เราไม่เคยหยุดเขื่อนใหญ่ ได้เลย ดังนัน้ เราต้องหาแนวทางในการหยุดเขื่อนเหล่านี้ ต้องท�ำให้ ผู้สร้างเขื่อนยอมรับต่อความรับผิดชอบต่อการสร้างเขื่อน เป็นความ ท้าทายที่บางประเทศต้องปรับยุทธศาสตร์ในการท�ำงาน ในการค้าน เขื่อน โดยต้องท�ำงานกับรัฐให้เกิดการยอมรับและรับผิดชอบต่อการ สร้างเขื่อนให้มากขึ้น” มนตรี จันทวงศ์ จากประเทศไทย กล่าวว่า “มาตรฐานการด�ำเนิน งานในประเทศท้ายแม่นำ�้ โขง เช่น การเปิดเผยข้อมูลโครงการและการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่แตกต่างออกไปของแต่ละประเทศ ยังอยู่ในระดับที่น้อยกว่าของประเทศไทย และมีความเป็นไปได้มาก ที่หน่วยงานเจ้าของโครงการจะหลีกเลี่ยงการตรวจสอบโครงการโดย ใช้มาตรฐานทางกฎหมายของไทย ซึ่งจะสร้างผลกระทบและความ เสียหายให้แก่ชุมชนและระบบนิเวศแก่ประเทศเพื่อนบ้านอย่างไม่ อาจคาดเดาได้”

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 recent push to build several dams in the Mekong and divert water from neighboring countries for irrigation and the construction of hydropower dams in China including Manwan, Dachaoshan and Jinghong Dams completed between 1996 and 2006 have galvanized non-governmental organizations and academics to meet several times during the past year to discuss their impacts. Participants from different nations have been concerned with the increasing deterioration of the Mekong basin. All agreed that cooperation was a key to its sustainable development. Nee San, an activist from Cambodia, pointed out that more than 60 million people living downstream depended on the Mekong for livelihood. “Some 30% of them are poor while 70% are dependent on nature. The Cambodian Tonle Sap produces over 400,000 tons of fish a year. Dams will have extensive environmental impacts causing problems such as floods, land slides, changes of water currents, fisheries and biodiversity. Communities have been relocated, have lost their farmlands and faced serious illnesses. Their choices of livelihoods have been restricted and people lose income from decreased fish stock. “Mekong is a shared river for the region. But each country has its own political context. A standard, there-

59

May - August 2009

fore, should be set for all and a network be built to raise the issue together at regional, national and community levels. It is a great opportunity to exchange knowledge in order to stop dam construction or to reduce its impact, to value the love and care of people in the region for the Mekong and to find alternatives to the building of dams in the Mekong.” A representative of the Vietnam’s Rivers Network said dam development to meet energy demand has increased considerably in Vietnam by both the public and private sectors. However, he said there was little leeway for the civil society to raise the issue for discussion with the government. “Our movement has only just begun as the impacts of dams have caused lost of farmland, soil salinity, deteriorated ecosystem, lost of fish species and fish migration. Over half of the fish species have already been lost. “And while we may have different social and political systems, historically we (the people) could never stop mega dams. So we need to find a way to stop them and demand the dam builders to take responsibility for the damages they cause. It’s a challenge for people in some countries to adjust their strategies in opposing dam construction by working with their governments to be more accountable and responsible for their dam construction.”

ตัวแทนนานาประเทศลงพื้นที่พูดคุยกับชาวบ้านใน อ.โขงเจียม เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับผลกระทบข้ามพรมแดนที่เกิดขึ้นในลุ่มน�้ำของประเทศต่างๆ

Foreign social activists during a study trip to Khong Chiam district exchange experience with local villagers about impacts of dam construction on river basins in various countries.

สี่แยกไฟเขียว Green Intersection

VA-newGL26.indd 59

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

60

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

นักวิชาการและชาวบ้านคาดว่า หากมีเขื่อนเพียง 1 เขื่อนกั้นแม่น�้ำโขงตอนล่าง โตนเลสาบ ซึ่งเป็นพื้นที่ชุ่มน�้ำที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึง่ ในภูมิภาคนีจ้ ะถูกท�ำลาย

Academics and villagers believe that if just one dam is built across the lower Mekong, Tonle Sap, which is one of the region’s most fertile wetland, will face destruction.

ชวน ลา จากจีน “ปัจจุบันนี้เราท�ำงานและท�ำให้รัฐบาลสนใจเรา มากขึ้นเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจาก การสร้างเขื่อนในจีน ตอนนี้เราต้องร่วมมือกันศึกษาข้อมูลให้มากขึ้น เพื่อน�ำข้อมูลไปแสดงให้ผู้บริจาคทุนในการสร้างเขื่อนได้รับรู้ เพื่อ เรียกร้องความร่วมมือในการท�ำงานระดับภูมิภาคมากขึ้น” ฉาง ชุนชัน (Zhang Chun Shun) จากจีน “เรามีขอ้ มูลเรือ่ งเขือ่ น พลังงานไฟฟ้า ระดับน�้ำที่เปลี่ยนแปลงหลังจากสร้างเขื่อนน้อยมาก ข้อมูลที่ได้รับจะเป็นข้อมูลทางเดียวจากรัฐบาล แต่ผมต้องการแน่ใจ ว่าข้อมูลทีจ่ ะได้รบั จากการสร้างเขือ่ นในแม่น�้ำสร้างผลกระทบทีแ่ ท้จริง อย่างไร เพราะหลังจากสร้างเขื่อนเกิดปัญหาน�้ำท่วมอย่างมาก มีคน หลายหมืน่ คนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบแต่ไม่ได้รบั การฟืน้ ฟูวถิ ชี วี ติ ไร้งานท�ำ ตามมาด้วยความขัดแย้งอีกมากมาย “ปัจจุบันโอกาสของประชาสังคมจีนที่จะท�ำงานเรื่องนี้มีมากขึ้น คนจีนตระหนักถึงและตื่นขึ้นมารับรู้มากขึ้นว่ามีการพัฒนาโครงการ และสร้างกิจกรรมเชือ่ มโยงกับพีน่ อ้ งประเทศตอนล่าง เสียงจากพีน่ อ้ ง ตอนล่างจะช่วยให้เกิดความสนใจและติดตามเรือ่ งการลงทุนของจีนใน ต่างประเทศ เพือ่ การท�ำงานร่วมกันนี้ จีนได้พยายามพัฒนากฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม และอื่นๆ นักพัฒนาก็ก�ำลังพยายามในการ ท�ำงานเรื่องแม่น�้ำ เราต้องท�ำงานร่วมกันด้วยความหวังว่าจะสามารถ สร้างแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนในลุ่มน�้ำโขง และสร้างสันติภาพแห่ง การพัฒนาร่วมกันได้” ตัวอย่างจากความคิดเห็นในข้างต้นนี้พอท�ำให้เห็นภาพของ สถานการณ์ในประเทศต่างๆ ในลุ่มน�้ำโขง ที่ก�ำลังถูกเฝ้ามองด้วย ความหวัน่ วิตกว่าศักยภาพในการสร้างเขือ่ นผลิตไฟฟ้าพลังน�ำ้ มหาศาล

VA-newGL26.indd 60

จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศและผู้คนในลุ่มน�้ำจนกลายเป็น ความตึงเครียดระหว่างประเทศต้นน�้ำและปลายน�้ำ แต่แนวโน้มความ ขัดแย้งข้ามพรมแดนนี้ ยังมีประเด็นส�ำคัญที่ทุกฝ่ายเห็นร่วมกันว่า สื่อมวลชนจะต้องสร้างบทบาทในการเชื่อมโยงนักวิชาการในภูมิภาค ลุ่มน�้ำโขง นักรณรงค์ รัฐบาล เอกชน และชุมชนท้องถิ่นตลอดทั้ง ลุ่มน�้ำ ท�ำหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารและสถานการณ์ในประเทศ ต่างๆ ทั้งลุ่มน�้ำด้วย วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม อดีตรองบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์ บางกอกโพสต์ กล่าวว่า ตามวิสัยปกติของสื่อมวลชนจะรายงาน เฉพาะข่าวสารและผลกระทบในประเทศของตัวเองเป็นหลัก แต่ เมื่อประเทศไทยมีการพัฒนาไปถึงระดับหนึ่งที่มีความก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจมากกว่าประเทศเพื่อนบ้าน มีการติดต่อค้าขายของนักธุรกิจ มีการริเริ่มโครงการพัฒนาร่วมกันในระดับการเมือง และเริ่มมีการใช้ ทรัพยากรร่วมกันในภูมิภาค เช่น การพัฒนาโขงและสาละวินที่ต่อ ไปจะมีผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ร่วมกัน ผลกระทบที่เกิดขึ้นใน ประเทศท้ายน�ำ้ จากเขือ่ นในจีน สือ่ มวลชนจึงเริม่ มองข่าวทีเ่ ชือ่ มโยงกับ ประเทศเหล่านัน้ มากขึน้ พร้อมๆ กับทีส่ าธารณชนในลุม่ น�ำ้ ก็ตระหนัก ถึงและมีบทบาทมากขึน้ ในเรือ่ งการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ในลุม่ น�้ำ พื้นที่ทางการเมืองในประเทศต่างๆ ก็เริ่มเปิดกว้าง ภาคประชาสังคม จึงควรมีโอกาสได้เสริมสร้างความเข้มแข็ง พัฒนาความร่วมมือ และ สร้างเครือข่ายการท�ำงานร่วมกันได้ “การมองผลกระทบและการแก้ไขปัญหาไม่ใช่จะมองแค่จุดใด จุดหนึง่ แต่ต้องมองตลอดทั้งลุ่มน�้ำ แม่น�้ำโขงก็เหมือนกันต้องมอง ทั้งลุ่มน�้ำ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อมวลชนจะสร้างความรู้ ความตระหนักให้กบั ประชาชนในลุม่ น�้ำ แล้วถ้าประชาชนตืน่ รูก้ จ็ ะมีผล

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

61

May - August 2009

ชาวบ้านตามแนวริมฝั่งแม่น�้ำ โขงแบกกระสอบทรายมา ช่วยกันซ่อมแซมตลิ่งที่พังเสีย หายที่บ้านอิงใต้ อ.เชียงของ จ.เชียงราย โดยคาดว่าตลิ่ง ที่พังเป็นบริเวณกว้างในแม่น�้ำ โขงเป็นผลกระทบจากเขื่อน ในจีน Villagers in Ban Ing Tai in Chiang Kong district of Chiang Rai province help repair the Mekong riverbank believed to be eroded by dam constructions in China.

Montree Chantawong from Thailand said the fact that environmental standards were better developed and the level of freedom of information in Thailand was generally greater than what existed in some neighboring countries have encouraged dam developers to opt to develop projects in those neighboring countries to the detriment of local communities and ecosystems.” Xuan La from China said activities of people affected by dam construction have begun to draw increasing government interest. “Now we need to cooperate to obtain more information in order to present it to dam projects’ doners and to seek increased regional cooperation.” Zhang Chun Shun, also from China, complained about the lack of information on hydroelectric dams and the change in water levels after construction. “Most of the avilable information came from the government,” he said. “But I want to have confidence in the information about what impacts have actually been caused because there had been serious floods following the dam construction and tens of thousands of people were affected but were not compensated. They lost their jobs and many conflicts ensued.” However, he said the civil society in China has greater opportunities to work on the issue and the Chinese people have become better informed and aware about their government’s implementing projects with downstream neighbors. “The voices of people downstream will help create interest in China’s foreign investment. To achieve its objectives, the Chinese government has tried to develop environmental and other laws while activists are also working on issues relating to rivers. We must cooperate with the hope that we can have sustainable development in the Mekong river basin and build peace through joint development,” he said.

The opinions expressed above are sufficient to demonstrate the situations of the countries in the Mekong basin whose peoples have been concerned about possible impacts on the ecosystem and communities from hydroelectric dam construction, which could lead to tensions between upstream and downstream countries. Another important point that most observers have agreed on is the role of the media to link various parties involved, including academics, activists, the public and private sectors, and local communities along the river basins by disseminating crucial information and reporting the situation in various countries. Former deputy news editor of the Bangkok Post newspaper Wasant Techawongtham said media members’ first and foremost interest lies in local news and news that affect their own countries. In the case of Thailand, as its economy is more rapidly developed than its Indochinese neighbors, it has begun to expand its economic activities into the neighboring countries and initiate joint development projects that require joint exploitation of resources in the region including the development of the Mekong and Salween river basins. Such joint development inevitably causes impacts on local communities. That, together with the impacts of dam development on the Mekong in China, has drawn interest of the Thai media to news development within the region, he said. Because of that, the public are beginning to be aware of the situation and exert themselves to play a role in the country’s development plan in the basins. At the same time, the political conditions in countries in the region have begun to be more open, and that should open up an opportunity for the civil society in all the countries to strengthen themselves through cooperation and network building.

สี่แยกไฟเขียว Green Intersection

VA-newGL26.indd 61

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

62

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

สะเทือนทางการเมือง ท�ำให้ผกู้ ำ� หนดนโยบายในแต่ละประเทศต้องน�ำ เสียงของประชาชนมาประกอบในการก�ำหนดนโยบายด้วย “ส่วนในประเทศที่ข้อมูลข่าวสารจากสื่อมวลชนยังถูกควบคุม โดยรัฐบาล เหตุผลทางเศรษฐกิจ หรือข้อพิพาทอันเปราะบางเรื่อง พรมแดนในลุ่มน�้ำ การสร้างเครือข่ายสื่อมวลชนในลุ่มน�้ำจะท�ำให้ เกิดการไหลเวียนข้อมูลข่าวสารไปถึงพื้นที่สาธารณะของประเทศที่ ขาดอิสระเหล่านัน้ ได้โดยผ่านช่องทางการสื่อสารที่เปิดกว้างในโลก เทคโนโลยีเช่นทุกวันนี้” วสันต์ พูด อย่างไรก็ตาม ความหวังที่จะท�ำให้ประชาชนทั้งลุ่มน�้ำสามารถ เข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้ เพื่อคลี่คลายความขัดแย้ง และสร้างความไว้ วางใจระหว่างประชาชนที่ร่วมกันแบ่งปันใช้ประโยชน์สายน�้ ำโขงได้ อย่างสันติ น�้ำเสียงของผู้เข้าร่วมประชุมส่วนใหญ่ยังหวังให้รัฐบาล แต่ละประเทศมองถึงการบริหารจัดการแม่น�้ำนานาชาติทมี่ กี ารปรึกษา

หารือระหว่างประเทศต้นน�้ำกับประเทศท้ายน�้ำ มีการตรวจสอบ การบริหารจัดการเขื่อนที่แล้วเสร็จอย่างโปร่งใสและเป็นธรรมกับ ทุกฝ่าย ซึ่งตามปฏิญญาว่าด้วยสิทธิประชาชาติท้องถิ่นดั้งเดิม แห่ง สหประชาชาติ และอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม รัฐบาลแต่ละประเทศจึงไม่ควรมองแค่การพัฒนาตัวเลข ทางเศรษฐกิจในพรมแดนของตนเท่านัน้ แต่ควรตระหนักว่าการพัฒนา ใดๆ จะไม่ทำ� ลายความงดงามของสายน�ำ้ ความสมบูรณ์ทางนิเวศวิทยา ตลอดจนประเพณีวัฒนธรรม ความมั่นคงของมนุษย์ และอัตลักษณ์ ของประชาชนในประเทศของตนเองและประเทศที่มีการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรร่วมกันด้วย ข้อมูลส่วนหนึง่ จาก การประชุม “เขื่อนแม่น�้ำโขงสายหลักเสียงประชาชนข้ามพรมแดน” ในวันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2551

การประชุม “เขื่อนแม่น�้ำโขงสายหลัก-เสียงประชาชนข้ามพรมแดน” เมื่อปี 2551 มีตัวแทนนานาชาติมาร่วมกันพูดคุยในเรื่องการพัฒนาและผลกระทบข้ามพรมแดนอย่างคับคั่ง

A 2008 conference on dams on the Mekong River where local and foreign participants discuss about the cross-border development and its impacts.

“In looking at any impact or problem, we should not look at any single angle but should look at the whole picture. The Mekong basin should too be seen as a whole so that disseminating information through the media must be targeted on creating knowledge and awareness for all people living on the basin. If the citizens become aware, there would be political repercussion which would persuade the policy makers in each nation to listen to the voices of their people and take them into consideration when planning policies,” he said. “In some countries where media information is still under government control, or restricted by economic reasons or sensitive disputes on transboundary basins, building media networks will enable information flow to the public in those less-than-free countries through communication channels in today’s world of technology.” Wishing that people on the Mekong basin have access to relevant information to prevent conflicts and create trust in peaceful sharing of resources from the

VA-newGL26.indd 62

basin, most participants appeared to bank their hopes on the government in each country to engage in international river management buttressed by consultation between upstream and downstream nations, transparent monitoring of dam management and fair treatment to all affected parties according to United Nations Declaration on the Rights of Indigenous Peoples and International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights. They said the governments should not focus only on economic progress within their own borders but should realize that any development and resource exploitation should not ruin the beauty of rivers, ecological abundance, local customs and cultures, human securities and local identities. Information in this article is partly based on “The International Conference on Mekong Mainstream Dams: the People’s Voices,” November 12-13, 2008.

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

ข้ามฟ้า ACROSS THE SKY

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

63

May - August 2009

จากต้นร้ายถึงท้ายน�้ำ รัญจวน ทวีวัฒน์

หลายปีที่ผ่านมานับตั้งแต่รัฐบาลจีนได้สร้างเขื่อน 3 แห่งบนแม่น�้ำ โขงตอนบน เค้าลางของความขัดแย้งและผลกระทบต่อธรรมชาติ และวิถชี วี ติ ของชุมชนในด้านต่างๆ เริม่ เห็นชัดเจนขึน้ ดังเช่น ปัญหา น�้ำท่วมฉับพลันที่ก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงในเมืองเศรษฐกิจ ส�ำคัญที่แม่น�้ำโขงไหลผ่าน ได้แก่ เมืองเวียงจันทน์ ประเทศลาว

รวมถึง จ.เชียงราย และหนองคาย รวมทั้งชุมชนริมฝั่งตลอดแนว ล�ำน�้ำโขงและล�ำน�้ำสาขา ในปี 2551 อุทกภัยในภูมิภาคแม่น�้ำโขงนี้ ท�ำให้เกิดความวิตกคลางแคลง เรื่องการบริหารจัดการน�้ำจากประเทศต้นน�้ำที่ไม่มีการปรึกษาหารือ กับประเทศท้ายน�้ำ และน�ำไปสู่การประชุม 6 ชาติ ในอนุภูมิภาค

หญิงเวียดนามก�ำลังแบกแผงหญ้าคา เตรียมน�ำไปสร้างบ้านใหม่ หลังจาก ต้องอพยพย้ายถิ่นเพราะบ้านอยู่ในพื้นที่ น�้ำท่วมหลังการกั้นเขื่อน

Vietnamese women carry cogongrass panels to use in building a new house. They were forced to leave their homes which were inundated after the construction of the dam.

Poor Beginning, Harmful Ending Ranjuan Thaweewat

Since the construction of three major Chinese dams upstream on the Mekong River, signs of conflicts and impacts on the environment and communities downstream have become more pronounced. This includes the destructive flashflood in 2008 that caused severe economic damages to cities and towns along the river such as Vientiane in Laos, Chiang Rai, Nong Khai as well as communities along the main river and tributaries.

VA-newGL26.indd 63

The flood problem raises concerns about water management by upstream countries without consultation with downstream neighbours. It has led to a meeting of six countries on the Mekong River basin — Burma, Cambodia, China, Laos, Vietnam, and Thailand — which was held in Bangkok last May. The so-called Annual Mekong Flood Forum focused on integrated flood risk management in the Mekong River basin. Villagers downstream believed the Chinese dams

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

64

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

แม่น�้ำโขง มีผู้แทนจากประเทศ ไทย พม่า กัมพูชา เวียดนาม ลาว รวมทัง้ ผูแ้ ทนจากกระทรวงทรัพยากรน�้ำของจีนเข้าร่วมกันอย่างพร้อม หน้า โดยเป็นการประชุมด้านแผนงานความร่วมมือการบริหารจัดการ อุทกภัยในภูมิภาคแม่น�้ำโขง จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนพฤษภาคม ที่ผ่านมา ขณะที่ชาวบ้านต่างยืนยันว่าน�้ ำท่วมครั้งนั้นเป็นสถานการณ์ ผิดปกติหลังจากการสร้างเขื่อน แต่จีนปฏิเสธโดยยกเหตุผลทาง ธรรมชาติขึ้นมากล่าวอ้าง ในทีป่ ระชุมยังมีการหารือถึงมาตรการรับมือกับอุทกภัยในระดับ อนุภูมิภาค โดยการขอความร่วมมือให้ทั้ง 6 ประเทศ ให้ติดตั้งสถานี ตรวจวัดน�้ำขยายไปถึงล�ำน�้ำสาขาอย่างน้อย 10 แห่ง เพื่อร่วมกัน ตรวจวัดระดับน�ำ้ และแจ้งเตือนประเทศสมาชิกอนุแม่นำ�้ โขงในกรณี ที่พบปริมาณน�้ำมากผิดปกติ ส่วนข้อเสนอเรื่องการสร้างมาตรฐาน ในการประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่ท�ำให้เกิด ปัญหาสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนยังต้องมีการถกเถียงกันอีกยาวนาน กว่าจะเป็นผล ปัญหาสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนในวันนี้ จึงเป็นประเด็นที่คนใน ลุ่มน�้ำโขงและลุ่มน�้ำสาละวินหวั่นวิตกและจับตามมองอย่างใกล้ชิด และมีการหยิบยกกรณีการสร้างเขือ่ นยาลีในเวียดนาม ทีส่ ง่ ผลกระทบ ต่อชนพืน้ ถิน่ ทางท้ายน�้ำในลุม่ น�ำ้ เซซาน ประเทศกัมพูชาขึน้ มาเปรียบ เทียบอยูบ่ อ่ ยครัง้ เขื่อนน�้ำตกยาลี (Yali Falls Dam) สร้างขึ้นเพื่อผลิตกระแส ไฟฟ้า 720 เมกะวัตต์ในประเทศเวียดนาม ขวางกั้นแม่น�้ำเซซาน (Se-San) ที่ไหลมาจากต้นก�ำเนิดในเวียดนาม เป็นแม่น�้ำสาขาของ แม่น�้ำโขง และไหลลงแม่น�้ำโขงที่จังหวัดสตึงเตรง (Stung Treng) ของกัมพูชา เมื่อเขื่อนถูกสร้างขึ้นขวางล�ำน�้ำโดยที่กระบวนการก่อนสร้าง เป็นการด�ำเนินการเป็นไปอย่างลับๆ ไม่มีการรับฟังความคิดเห็นจาก ชุมชนทั้งในประเทศเวียดนามและกัมพูชา หลังจากเขื่อนสร้างเสร็จ ในปี 2543 ชุมชนต้นน�้ำและปลายน�้ำของทั้งสองประเทศต่างก็ได้รับ ผล กระทบต่อระบบนิเวศและการด�ำรงชีวติ โดยตรง โดยทีช่ มุ ชนเหล่า นั้นไม่ได้รับการชดเชยหรือบรรเทา ความเดือดร้อน หลังจากนัน้ เวียดนาม ยังคงสร้างเขื่อนในแม่น�้ำซีซานต่อไป อีก 3 แห่ง และยังมีแนวปฏิบัติเช่น เดิมคือไม่มีการชี้แจงข้อมูลที่โปร่งใส ต่ อ สาธารณะ (กรุ ง เทพธุ ร กิ จ , 7 ธันวาคม 2547) เสี ย งร้ อ งทุ ก ข์ จ ากชาวบ้ า น จังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา ที่ อยู ่ ห ่ า งจากตั ว เขื่ อ นน�้ ำ ตกยาลี ม า ประมาณ 70 กิโลเมตร ในฐานะผู้ ได้รับผลกระทบจากเขื่อนทั้งๆ ที่ใน ประเทศตัวเองยังไม่มีการสร้างเขื่อน เป็นความเจ็บช�้ำยาวนาน 20 กว่าปี เริ่มจากในปี 2539 ที่มีการทดลอง

VA-newGL26.indd 64

ปล่อยน�ำ้ จากเขือ่ นลงสูแ่ ม่นำ�้ เซซาน ชนกลุม่ น้อย 12 กลุม่ ทีอ่ าศัยอยู่ ตามริมสองฝั่งแม่น�้ำเซซานต้องทยอยอพยพออกจากพื้นที่ เนื่องจาก น�้ำเอ่อท่วมทั้งโรงเรียน หมู่บ้าน และที่ดินทางการเกษตร ในปี 2542-2543 มีชาวกัมพูชาถูกคลื่นน�้ำสูงกว่า 2 เมตรที่ ปล่อยจากเขือ่ นพัดจมหายเสียชีวติ ไป 32 ราย ระหว่างทีก่ ำ� ลังท�ำการ เกษตร ประมง และร่อนทองอยู่ตามริมแม่น�้ำโดยไม่มีสัญญาณใดๆ เตือนภัย คลืน่ ยักษ์ขนาดใหญ่ยงั ส่งผลให้เกาะเล็กๆ ในแม่น�้ำเซซาน เขตจังหวัดรัตนบุรี สูญหายไปหลายเกาะ ตลิ่งพังทลาย ต้นไม้ใหญ่ น้อยหักโค่นไปตามแรงน�ำ้ และน�ำ้ ทีป่ ล่อยลงมาจากเขือ่ นเป็นน�ำ้ ทีถ่ กู กักเก็บไว้ตงั้ แต่เริม่ สร้างเขือ่ นจึงเน่าเสีย เมือ่ ปล่อยลงสูแ่ ม่นำ�้ ก็ทำ� ให้นำ�้ ในแม่นำ�้ เสียไปด้วย ชนกลุม่ น้อยทีใ่ ช้นำ�้ ในแม่นำ�้ อุปโภคบริโภคจึงป่วย เป็นโรคผิวหนังและโรคทางเดินอาหาร แม้แต่สตั ว์เลีย้ งก็ลม้ ป่วยไปด้วย การปล่อยน�้ำแต่ละครั้งยังท�ำให้เครื่องมือประมงของชาวบ้าน สูญหายไปกับสายน�้ำ ชาวประมงต้องพบกับความทุกข์เพิ่มมากขึ้น เนือ่ งจากไม่มเี งินมากพอทีจ่ ะซือ้ เครือ่ งมือหรืออุปกรณ์การประมงใหม่ ได้ ในขณะเดียวกันกับที่จ�ำนวนปลาในแม่น�้ำก็ลดลงอย่างเห็นได้ชัด เนื่องจากปลาไม่สามารถว่ายขึ้นไปวางไข่ที่ต้นน�้ำได้เหมือนเดิม เมื่ อ ชาวบ้ า นที่ อ ยู ่ อ าศั ย ริ ม ล� ำ น�้ ำ เริ่ ม หวาดกลั ว กั บ การ เปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของล�ำน�้ำ ทั้งระดับน�้ำและความแรง ของกระแสน�้ำ แต่บางเวลาแม่น�้ำทั้งสายกลับแห้งเหือด ตลิ่งริมน�้ำ

หาดทรายผืนกว้างในล�ำน�้ำเซซานหลังระดับน�้ำเริ่มลด หลังจาก มีการสร้างเขื่อนน�้ำตกยาลีบริเวณล�ำน�้ำตื้นเขินขึ้นอย่างผิด ธรรมชาติ

A wide sandy beach of the Se San River emerges after the water levels recede. After the Yali Falls Dam was built, the water levels have become unusually low.

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

65

May - August 2009

ชาวรัตนคีรีที่ได้รับผลกระทบจากเขื่อนยังไม่เคยได้รับการชดเชยที่ต้องย้ายบ้าน สูญเสีย อาชีพถิ่นฐานท�ำมาหากิน สุภาพเสื่อมโทรม

Ratanakiri residents who have lost their jobs, houses, and land and whose health has been affected by the dam have not been compensated for the damages.

played a big part in the 2008 devastating inundation, but the Chinese government dismissed the claims, blaming it instead on natural causes. The meeting discussed precautionary measures to prevent disasters. It was suggested that the six countries install at least 10 water monitoring stations on the Mekong tributaries and that the member countries be informed in case of unusual water level. However, discussion on the standard of assessing transbounary environmental impact from major development projects reached no conclusion. Transboundary environmental impacts have become a matter of grave concerns of people living in the Mekong and Salween river basins. They have learned of what happened after Vietnam built the Yali Falls Dam on the Se San River, which caused severe impacts on local people living downstream in Cambodia. A 720-megawatt hydropower dam, the Yali Falls was built across Se San River which originates in Vietnam and empties into the Mekong at Stung Treng province of Cambodia. There were no consultations with either local people in Vietnam or Cambodia. After construction was completed in 2000, the downstream communities felt the full brunt of environmental impacts. Worse still, they receive neither compensation nor relief assistance. The Vietnamese government went ahead to build three more dams on the river without any public participation. (Krungthep Turakij, Dec.7, 2004) For over two decades, people in Cambodia’s Ratanakiri province, about 70 km from the dam, suffered the consequences. Starting in 1996, the dam began to discharge water into the Se San River. Twelve ethnic minority groups living along the river were forced to relocate as the overflow destroyed houses, schools, and farmlands.

เนื่องจากชุมชนในแม่น�้ำเซซานส่วนใหญ่ใช้น�้ำในการอุปโภค-บริโภค เมื่อน�้ำเน่าเสียจึงเกิดโรค ระบาด เช่น โรคผิวหนัง โรคพยาธิ โดยเฉพาะเด็กๆ จะมีอาการเรื้อรังรุนแรงมาก

People in Se San riverside communities rely largely on the river water for consumption. Polluted water has caused various types of health conditions such as skin and parasitic diseases which affect children particularly badly.

During 1999-2000, a deluge as high as two meters that came fast and furious without any warning and swept 32 Cambodian villagers away while they farmed or fished. The strong tides washed away several small islets in the Se San River in Ratanaburi province, eroded river banks and uprooted trees. The released water, seriously polluted as it was stored since the dam construction began, turned the river water into filth. Several ethnic people who depended on the river water for consumption suffered skin diseases and digestive system ailments. Even domestic animals were not spared and fell ill. Each water discharge also swept away local fishermen’s gear. Their trouble compounded as they had no financial resources to obtain new gear while the number of fish in the river decreased as they could no longer swim upstream to spawn. Waterside villagers became scared of the change in the water circulation, its level and the ferocity of its flow. At times, the river went dry causing the banks to collapse. With the ever-changing of the water flow and lack of security to their life, villagers in many communities felt compelled to move out of their homes. The Cambodian government had raised the issue with Vietnam, but the Vietnamese government refused to acknowledge its responsibility, saying the problem was not within its boundary. The people, on their part, found few channels to voice their grievances because the

ข้ามฟ้า Across the Sky

VA-newGL26.indd 65

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

66

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

น�้ำที่ถูกกักเก็บไว้เหนือเขื่อนก�ำลังเน่าเสีย เมื่อเขื่อนปล่อยน�้ำเหล่านี้ลงมาชุมชนใต้เขื่อนต้อง ได้รับความเดือดร้อนจากโรคระบาด ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากแม่น�้ำได้เหมือนเดิม สัตว์น�้ำ เริ่มลดจ�ำนวนลงจนแทบสูญพันธุ์ Water stored behind the dam turned putrid and, when it was discharged, posed health risk to people living downstream and nearly wiped out aquatic animals.

ยุบตัว เนื่องจากกระแสน�้ำเปลี่ยนแปลงอย่างกระทันหัน ในที่สุดชาว บ้านในหลายหมู่บ้านต้องย้ายออกจากพื้นที่เพราะขาดความมั่นคงใน การด�ำรงชีวิตทุกรูปแบบ ปัญหาที่เกิดขึ้นเหล่านีต้ ัวแทนรัฐบาลกัมพูชาเคยเจรจากับทาง รัฐบาลเวียดนาม แต่ทางเวียดนามปฏิเสธความรับผิดชอบเพราะ ผลกระทบไม่ได้เกิดภายในประเทศของตน ประกอบกับการเสนอ ปัญหาต่างๆ ของประชาชนเป็นไปด้วยความล�ำบาก เพราะรัฐบาล เป็นผู้ควบคุมนโยบายและการวางแผนด้านเศรษฐกิจแต่เพียงผู้เดียว (พิเชษฐ์ บุตรปาละ, ข่าวสด หรรษา, 9 กรกฎาคม 2543) ครัน้ ไปฟ้อง ร้องต่อธนาคารโลกผูใ้ ห้กเู้ งินสร้างเขือ่ น ก็ไม่เกิดผลใดๆ มาจนปัจจุบนั ผลกระทบอันรุนแรงทั้งทางนิเวศวิทยา เศรษฐกิจ และสังคม จากการใช้ลุ่มน�้ำร่วมกันในเรื่องนี้ กรณีเขื่อนน�้ำตกยาลีได้สะท้อนให้ เห็นถึงความซับซ้อนของปัญหาข้ามพรมแดนที่กำ� ลังแผ่ขยายออกไป อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะเมือ่ ลุม่ น�ำ้ โขงและลุม่ น�ำ้ สาละวินทีก่ ำ� ลังตก เป็นเป้าหมายของโครงการสร้างเขือ่ นขนาดใหญ่หลายแห่ง ในอนาคต จึงเป็นไปได้วา่ จะเกิดความขัดแย้งระหว่างชุมชน ระหว่างประเทศอย่าง มิอาจหลีกเลี่ยง อย่างไรก็ตาม เมื่อหันมามองหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่ เกี่ยวข้อง (Customary International Law) แม้จะมีรายละเอียดที่ มีการรับรองจากสากลไว้อย่างชัดเจน แต่ประเทศในภูมิภาคนีก้ ็หาได้ มีกรอบที่จะน�ำมาบังคับใช้ร่วมกันอย่างจริงจังได้ โดยหลักจารีตประเพณีในกฎหมายระหว่างประเทศนั้น ได้ ก�ำหนดให้รัฐมีสิทธิอธิปไตย (Sovereignty) ในการใช้ทรัพยากรของ ตนเองอย่างเต็มที่ แต่ตอ้ งระมัดระวังไม่ให้กจิ กรรมนัน้ ๆ ส่งผลกระทบ ต่อรัฐอืน่ ซึง่ หลักการนีไ้ ด้รบั การยอมรับและได้รบั การยืนยันเป็นหลัก การข้อที่ 21 ของค�ำประกาศกรุงสตล็อกโฮล์ม (the Declaration of

VA-newGL26.indd 66

the United Nations Conference on the Human Environment) ในปี ค.ศ.1972 ดังนี้ ตามกฎบัตรสหประชาชาติและหลักกฎหมายระหว่างประเทศ แล้ว รัฐมีสิทธิอธิปไตยที่จะแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ของตน ตามแนวนโยบายของตนเอง และยังต้องมีความรับผิดชอบ ที่จะท�ำให้เกิดความมั่นใจได้ว่า กิจกรรมต่างๆ ภายในขอบเขตอ�ำนาจ ทางกฎหมายและการควบคุมของตนเอง จะไม่กอ่ ให้เกิดความเสียหาย แก่รัฐอื่น หรือต่อบริเวณอื่นที่อยู่นอกเขตรัฐ หลั ก การดั ง กล่ า วได้ รั บ การรั บ รองอี ก ครั้ ง ในการประชุ ม สหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development, UNCED) ณ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล เมื่อปี ค.ศ.1992 และถูกบรรจุ ไว้ในอนุสัญญาพหุภาคีทางด้านสิ่งแวดล้อมอีกหลายฉบับ รวมทั้ง อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและอนุสัญญาว่าด้วย การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ กล่าวโดยสรุปคือ ทุกๆ รัฐมีหน้าทีท่ จี่ ะไม่ยนิ ยอมให้ดนิ แดนของตน ถูกใช้ในลักษณะทีล่ ะเมิดต่อสิทธิของรัฐอืน่ กล่าวคือรัฐไม่อาจใช้อำ� นาจ อธิปไตยของตนเองได้โดยไม่มขี ดี จ�ำกัด หรือโดยไม่ตอ้ งค�ำนึงว่ากิจกรรม ของตนเองจะส่งผลกระทบต่อเพือ่ นบ้านหรือไม่อย่างไร ซึง่ ตรงกับหลัก ว่าด้วยการก�ำหนดหน้าทีใ่ นการร่วมมือกันของประเทศเพือ่ นบ้าน (Duty to Co-operate) กรณีทรี่ ฐั มีโครงการทีจ่ ะมีกจิ กรรมใดๆ ทีส่ ง่ ผลกระทบ ต่อประเทศเพื่อนบ้าน ต้องมีการปรึกษาหารือ (Consultation) หรือ การเจรจา (Negotiation) ให้รัฐอื่นที่จะได้รับผลกระทบทราบ ถือเป็น เพียงหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ แต่มิได้ให้สิทธิแก่รัฐอื่นในการยับยั้ง หลักกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการลุม่ น�ำ้ ระหว่างประเทศยัง ได้กล่าวถึงการจัดการทรัพยากรน�ำ้ ทีใ่ ช้รว่ มกันระหว่างรัฐสองรัฐขึน้ ไป ว่า ควรจะต้องพิจารณาระบบลุ่มน�ำ้ ทั้งระบบมากกว่าที่จะมองเฉพาะ ส่วนที่เป็นแม่น�้ำ ล�ำน�้ำหรือทะเลสาบระหว่างประเทศ การมองการ จัดการลุ่มน�้ำทั้งระบบจะครอบคลุมถึงล�ำน�้ำสาขาของแม่น�้ำระหว่าง ประเทศ ทะเลสาบ ระบบน�ำ้ ใต้ดนิ และทางน�ำ้ ทีเ่ ชือ่ มต่อกันในบริเวณ ลุ่มน�้ำทั้งหมด หลักนี้ยอมรับกันนับแต่ทศวรรษที่ 1960 เป็นต้นมา ส่วนหลักสิทธิการใช้น�้ำอย่างยุติธรรม (Equitable Utilisation) ที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในปัจจุบัน ถือว่าล�ำน�้ำระหว่างประเทศ เป็นทรัพยากรร่วมกัน รัฐริมฝั่งแม่น�้ำมีสิทธิที่จะได้รับส่วนแบ่งอย่าง ยุติธรรม ต้นก�ำเนิดของหลักการนี้มาจากค�ำวินิจฉัยของศาลโลกในคดี แม่น�้ำโอเดอร์ (River Oder Case) ในปี ค.ศ.1929 เป็นกรณีพิพาท ระหว่างฝ่ายที่ 1 คือ เยอรมันนี เดนมาร์ก ฝรั่งเศส อังกฤษ สวีเดน และเช็คโกสโลวาเกีย กับฝ่ายที่ 2 คือ โปแลนด์ ในเรื่องอ�ำนาจทาง กฎหมายของคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศที่ดูแลแม่น�้ำโอเดอร์ ซึ่งอ�ำนาจของคณะกรรมาธิการขยายเข้าไปถึงแม่น�้ำสาขาของแม่น�้ำ โอเดอร์ คือ Warthe และ Netze ซึ่งตั้งอยู่ในดินแดนของโปแลนด์ ศาลโลกตัดสินว่า กรณีน�้ำไหลผ่านดินแดนของรัฐมากกว่าหนึง่ รัฐ ให้ถือว่ารัฐริมฝั่งแม่น�้ำทั้งหมดมีผลประโยชน์และใช้สิทธิร่วมกัน ในการใช้แม่น�้ำทั้งสายเพื่อการคมนาคมทางเรือ รัฐที่อยู่เหนือน�้ำไม่ได้ มีสทิ ธิเหนือกว่ารัฐอืน่ ทีอ่ ยูร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ สายเดียวกันในการใช้แม่นำ�้ นัน้

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

government took total control over the formulation of policies and economic planning. (Pichet Buttrapala, Khao Sod Hansa, July 9, 2000) Their complaints lodged with the World Bank, which provided financial support to the dam construction, fell on deaf ears. The negative impacts on the ecosystem, economy, and society from the Yali Falls Dam reflects the complexity of the widespread transboundary problems, especially in countries bordering Mekong and Salawin rivers where several more dam projects have been planned. It is expected that more conflicts between communities and nations will continue to ensue in the future. While customary international law exists to provide a guideline in dealing with such conflicts across borders, countries in this region have no framework that can be used for joint enforcement. According to the Customary International Law, a state has sovereignty over its own natural resources, but it must take precautions not to allow any activity in its own border to cause negative impact on neighbouring countries. This principle has been confirmed in the 1972 Declaration of the United Nations Conference on the Human Environment and accepted by the international community. According to the United Nations charter and international laws, a state has the sovereignty to benefit from its natural resources in line with its policies. However, it is responsible for ensuring that its activities are conducted within the bounds of law and under its control without causing damages to other states or areas outside its own border. The principle was endorsed again during the United Nations Conference on Environment and Development (UNCED) at Rio de Janeiro in Brazil in 1992 and has been enshrined in several multilateral environmental agreements, including the Convention on Biological Diversity and the UN Framework Convention on Climate Change. In brief, every state has the right not to allow its territory to be exploited in such a way that infringing on the right of other states. That is, states may not use their sovereignty without limits or without regard to impact caused to their neighbours which is in line with the internationally-accepted principle of “Duty to Cooperate”. In the case where a state has projects or activities which may impact its neighbours, it must hold consultation or negotiation with affected states. This is considered a duty to uphold but does not entail the provision of right for other states to object. Legal principles concerning transboundary water management also state that management of water resources used by two or more states must consider the basin as a unit rather than specific parts of the watercourse. Management of an entire basin must encompass tributaries of transboundary rivers, lakes, aquifer resources and connected water ways within the said basin. This principle has been accepted since the 1960s.

67

May - August 2009

หมู่บ้านร้างบริเวณริมน�้ำในจังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา เนื่องจากชาวบ้านต้องอพยพ หนีความเดือดร้อนจากเขื่อน

A village by a river bank in Ratanakiri province in Cambodia becomes deserted after villagers, suffering from negative effects of the dam, moved away.

ขณะที่เขื่อนน�้ำตกยาลีก�ำลังสร้างขึ้นขวางล�ำน�้ำเซซานท�ำให้ต้องการมีปิดกั้นน�้ำ ในเวลานัน้ ผลกระทบต่อชุมชนท้ายน�้ำก็ได้เกิดขึ้นแล้ว While the Yali Falls Dam was being built, necessitating the blockade of the Se San River, downstream communities must bear the brunt of its impacts.

The widely-approved principle of equitable utilization of water resources stipulates that an international watercourse is a joint resource that riparian states have the right to equitable sharing. The origin of this principle derived from a ruling of the Permanent Court of International Justice (the predecessor of today’s International Court of Justice) on a case involving the Oder River in 1929. Parties involved in the dispute included, on the one side, Germany, Denmark, France, England, Sweden and Czechoslovakia, and, on the other side, Poland. At issue was the territorial jurisdiction of International Commission of the River Oder over the river’s tributaries Warthe and Netze inside Poland. The court ruled that all riparian states of a transboundary river have a common interest and an equal right to the use of the whole course of the river and no one state has preferential privileges over another.

ข้ามฟ้า Across the Sky

VA-newGL26.indd 67

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

68

มหิงสาน้อย พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

LITTLE MAHINGSA

May - August 2009

มหัศจรรย์... แก่งตะนะ

เรื่อง/ภาพ กลุ่มกรีนฮาร์ทแคร์และมินตรา เกษน้อย แก่งตะนะ มาจากค�ำว่า “มรณะ” เป็นต�ำนานเล่าขานถึงความน่า กลัว ความล�ำบากแทบเอาชีวิตไม่รอดของเรือประมงในอดีต ที่ ต้องฝ่ากระแสน�ำ้ ไหลเชีย่ วกราก โขดหินน้อยใหญ่ และโพรงถ�้ำ ใต้นำ�้ อยูห่ ลายแห่ง ชาวบ้านทีส่ ญ ั จรทางน�ำ้ หรือออกจับปลาจึง มักประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตอยู่เป็นประจ�ำ แต่ปัจจุบันพวกเรามหิงสาน้อยกลุ่มกรีนฮาร์ทแคร์ พบความ มหัศจรรย์ของแก่งตะนะ ซึง่ เป็นแก่งกลางล�ำน�ำ้ มูนทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ตัว แก่งเป็นแผ่นหินขนาดใหญ่กั้นขวางล�ำน�้ำมูน สายน�้ำที่ไหลผ่าน แก่งตะนะแยกเป็นน�้ำตกใหญ่น้อยสวยงามน่าชม ซึ่งน้อยคนนัก ที่จะได้รับรู้

แก่งตะนะเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีความมหัศจรรย์ ความ สวยงาม ความสมบูรณ์ของแหล่งน�้ำ แหล่งอาหารของคนในชุมชน ปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเที่ยวซึ่งปรากฏอยู่ในค�ำขวัญของจังหวัด อุบลราชธานีว่า “เมืองดอกบัวงาม แม่น�้ำสองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน”

กุมภลักษณ์ ความน่าทึ่งของกระแส น�้ำที่พัดกรวดทรายในวังวนบนหิน จนเกิดเป็นอ่างหินขนาดใหญ่ในแม่น�้ำ Potholes on the rocky bed of the Moon River are caused by the current swirling pebbles and sand on the rocky surface over millenia

VA-newGL26.indd 68

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

69

May - August 2009

T he Wonders of Kaeng Tana Story/photos Green Heart Care Group and Mintra Getnoi

Kaeng Tana is derived from the word “Maurana”, which means “death”. Many folklore stories recount the fear and struggle of fishermen who navigated fishing boats on fierce rapids, through islets large and small and underwater caves. The rapids claimed many lives of commuters and fishermen. We, the Great Heart Care Group of Little Mahingsa, have a chance to marvel at the wonders of Kaeng Tana, which is the largest islet lying across the Moon River. The river parts through the islet and forms fantastic “unseen” waterfalls. Kaeng Tana National Park offers the wonder and beauty of fertile water resources and is an abundant food supply for communities. The park has its place in the province of Ubon Ratchatani’s slogan: “Province of lotus, bi-colored rivers, tasty fish, beaches and islets.” Our survey trip was made possible with support from the park’s guides and staff. There, we saw “the bi-colored river” for the first time. From a view point overlooking the joining of the Moon and Mekong Rivers in a flood season, we dared say we had the best view point along the Mekong River. It offers a bird eye view of “the Mekong in brown; the Moon in blue,” alluding to the murky Mekong waters and the clearer Moon waters. Kaeng Tana is a mega stone bed lying across the Moon River. At the tip of Don Tana is a square structure the French built in the colonial era to pinpoint river channel. Fierce and deep rapids and underwater caves and holes are home to a dense school of fishes. The great wonder of Kaeng Tana is the Ha Phan Boak (Five Thousand Boak), a 2-km-long islet on the bed of the Moon River, where the river parts into three routes at the end of Don Tana, forming

ทัศนียภาพที่สวยงามของแก่งตะนะในช่วงน�้ำลด มองเห็นเกาะแก่งสวยงาม ใต้แก่งจะเป็น โพรงถ�้ำมากมายเป็นที่อยู่อาศัยของปลานานาชนิด A magnificent view of Kaeg Tana at low tide revealing numerous islets with rocky holes where a variety of fishes take shelter

well over 5,000 potholes. “Boak” is the northeastern word for underwater well. A pothole is caused by river pebbles drilling into the riverbed in a whirlpool during the flood season from July to October. The mouth of the hole opens into a larger chamber. The Ha Phan Boak reappears when the river recedes between February and April. Some potholes can accommodate 10-15 peoples and are about three meters deep. Each pot has a natural stairway to the bottom. In the dry season, Kaeng Tana National Park is busy with camping and outdoor activities. In the flood season, the potholes provide natural breeding grounds for freshwater animals. Economic animals of the Moon River are Pla Khae, serpent head fish and giant freshwater shrimp (Macrobrachium rosenbcrgii). Many species, however, are on the brink of extinction. They are Bagroides macropterus bleeker, chanos chanos, and Boesemania microlepis bleeker called Pla Ma (horse fish) because they give out a loud noise when they breed and can easily be caught.

มหิงสาน้อย Little Mahingsa

VA-newGL26.indd 69

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

70

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

มหิงสาน้อยก�ำลังช่วยกันเขียนป้ายรณรงค์อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อน�ำไป ติดตามต้นไม้ ซึ่งบางแห่งเรียกกันว่าต้นไม้พูดได้

The young Mahingsa are busy making signs for an environmental conservation campaign. These will be fixed on trees which some locals call “speaking trees”

พวกเราเมื่อเข้าไปส�ำรวจพื้นที่ ได้รับความอนุเคราะห์ทั้ง ข้อมูล เอกสาร การสัมภาษณ์ ตลอดจนเป็นวิทยากรให้ความรูจ้ าก หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะและพี่ๆ เจ้าหน้าที่ทุกคน ท�ำให้ พวกเรารู้จักกับ “แม่นำ�้ สองสี” บริเวณที่แม่นำ�้ โขงไหลมาบรรจบ กับแม่น�้ำมูน จากจุ ด ชมวิ ว ในช่ ว งที่ เป็ น ฤดู น�้ ำ หลากน�้ ำ เกื อ บล้ น ตลิ่ ง ท่ามกลางป่าเขา แม่น�้ำโขงจะมีสีค่อนข้างขุ่น ส่วนแม่น�้ำมูนจะใส กว่า ท�ำให้สีของแม่น�้ำสองสายตัดกันตรงรอยบรรจบกันพอดี จน พวกเราอยากเรียกว่า “โขงสีปูน มูลสีคราม” และเรากล้าบอกว่า ณ ที่แห่งนีค้ ือจุดชมวิวแม่น�้ำโขงที่งดงามที่สุดแห่งหนึง่ ของไทย ส่วนเกาะแก่งกลางล�ำน�้ำมูน หรือ แก่งตะนะ เกาะหินขนาด ใหญ่ทสี่ ดุ ทีข่ วางกัน้ ปลายล�ำน�ำ้ มูนก่อนไหลลงสูแ่ ม่น�้ำโขง เป็นโขด หินทรายขนาดมหึมา อยู่ทางด้านล่างของดอนตะนะ มีสิ่งก่อสร้าง รูปสี่เหลี่ยมในช่วงฝรั่งเศสล่าอาณานิคม เพื่อใช้เป็นเครื่องมือชี้ ร่องน�้ำในการเดินเรือ บริเวณแก่งตะนะจะมีสายน�้ำที่เชี่ยวและลึก ใต้ท้องน�้ำ เป็นซอกหิน หลุมหิน ทั้งยังมีถ�้ำหลายแห่ง ท�ำให้มี ปลาชุกชุมในบริเวณนี้ ความมหัศจรรย์ของแก่งตะนะคือ...ห้าพันโบก เป็นแก่งหินที่ อยูใ่ ต้ลำ� น�ำ้ มูนบริเวณเวิง้ น�้ำสามแยกท้ายดอนตะนะ ยาวประมาณ 2 กิโลเมตร ลักษณะเป็นปล่องหินรูปหม้อหรือเรียกว่า “กุมภ ลักษณ์” (Pothole) เป็นภูมิประเทศที่มักเกิดในบริเวณทางน�้ำใน ส่วนที่เป็นท้องน�้ำ กุมภลักษณ์ เกิดจากการไขสว่านลงลึกของกรวดท้องน�้ ำ บริ เวณน�้ ำ วนในช่ ว งฤดู น�้ ำ หลากประมาณเดื อ นกรกฎาคม – ตุลาคม ที่แก่งหินจะจมอยู่ใต้บาดาล รูปร่างที่ก้นบ่อมักใหญ่กว่า ปากบ่อ บางครัง้ จึงเรียกว่า “บ่อหินรูปหม้อ” แก่งหินทีถ่ กู แรงน�้ำวน กัดเซาะเหล่านี้มีจ�ำนวนมากกว่า 5,000 โบก (โบก เป็นภาษา อีสานหมายถึง บ่อน�้ำลึกในแก่งหินใต้ล�ำน�้ำ) ชาวบ้านจึงพากัน เรียกว่าห้าพันโบก เนื่องจากมีโบกนับไม่ถ้วนนัน่ เอง

VA-newGL26.indd 70

ห้าพันโบก ที่โผล่ขึ้นเหนือน�้ำในฤดูน�้ำลด เดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน บางหลุมคนลงไปได้ 10-15 คน ลึก 3 เมตร มีบันได ธรรมชาติเป็นขั้นๆ ลงไป ในช่วงหน้าแล้งอุทยานแห่งชาติแก่ง ตะนะใช้เป็นฐานกิจกรรมในการเข้าค่าย พอเข้าฤดูน�้ำขึ้นก็จะจมอยู่ ใต้น�้ำ กลายเป็นที่เพาะพันธุ์สัตว์น�้ำจืดในล�ำน�้ำมูนตามธรรมชาติ รักษาระบบนิเวศ และการขยายพันธุ์ของสัตว์น�้ำในล�ำน�้ำมูนให้อยู่ ได้อย่างสมดุล มีปลาแข้ ปลาคัง กุ้งน�้ำจืดที่เป็นสัตว์เศรษฐกิจคือ กุ้งก้ามกราม แต่ที่น่าเป็นห่วงคือมีปลาที่ใกล้จะสูญพันธุ์ คือปลา ดุกมูล ปลาผางหรือปลาทูน�้ำจืด ท้องจะคมมาก และปลาม้าหรือ ปลากวาง ที่เวลาจะผสมพันธุ์มันจะส่งเสียงร้องดังขึ้นมาถึงฝั่ง จึง ถูกดักจับได้ง่าย ถ้าเราเดินข้ามสะพานแขวนที่ถือว่ายาวที่สุดในประเทศไทย จะพบดอนตะนะเป็นเกาะสีเขียว ขวางกลางล�ำน�้ำมูน ท�ำให้สายน�้ำ แยกออกเป็นสองสาย ก่อนที่จะไหลวนมาบรรจบกันบริเวณแก่ง ตะนะ ดอนตะนะปกคลุมด้วยป่าดิบแล้งทีส่ มบูรณ์ บรรยากาศร่มรืน่ เป็นแหล่งอาหารของคนในชุมชน ไม่ว่าเห็ดสารพัดชนิด หน่อไม้ สัตว์บกสัตว์น�้ำรอบๆ ดอน ยาสมุนไพรฯ แก่งตะนะยังมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์จากการค้นพบ ศิลาจารึกพระเจ้าจิตรเสนตั้งแต่สมัยอาณาจักรเจนละ ท�ำให้เรา ทราบว่าในอดีตเคยเป็นดินแดนที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยพุทธ ศตวรรษที่12-13 ความมหัศจรรย์ทไี่ ม่มที ไี่ หนเหมือนคือ แผ่นหินเสือ่ เป็นแผ่น หินทรายรูปสีเ่ หลีย่ มทีจ่ มอยูใ่ ต้นำ�้ มูนมีขนาดแตกต่างกันไป โดยเจ้า หน้าทีอ่ ช.น�ำมาใช้ประโยชน์โดยไม่ได้ตดั ตกแต่งแม้แต่แผ่นเดียว มี ต�ำนานเล่าว่าเป็นแผ่นหินที่พญานาคเนรมิตเป็นที่ฟังเทศน์ขณะ ที่หลวงปู่เสาร์ลงไปเทศน์โปรดที่เมืองบาดาล ถ้าใครไปอช.แก่ง ตะนะจะพบแผ่นหินเสือ่ ทีน่ �ำมาเป็นป้ายอุทยาน ป้ายแนะน�ำสถาน ที่ต่างๆ โต๊ะประชุมที่เรียกว่าโต๊ะฮ่องเต้ ความมหั ศ จรรย์ ข องแก่ ง ตะนะยั ง มี อี ก มาก ไม่ ว ่ า จะเป็ น ประวัติศาสตร์ ธรณีวิทยา ชีววิทยา สิ่งแวดล้อม หรือผู้ที่รัก ธรรมชาติ รอเวลาผู้ที่สนใจแวะไปสัมผัส เรียนรู้ เหมือนพวกเรา รอเวลาที่จะกลับไปศึกษาเรียนรู้ให้ลึกซึ้งกว่านี้ ตลอดระยะเวลา 1 ปีที่เราได้ท�ำโครงการมหิงสาสายสืบใน อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ ไม่ว่าจะเป็นดอนตะนะ น�ำ้ ตกรากไทร ถ�้ำพระ และยังมีเรื่องราวความเชื่อความมหัศจรรย์มากมายที่เรา ได้เรียนรู้ร่วมกับพี่เลี้ยง คือ พี่มินต์ (มินตรา เกษน้อย) เราเรียน รู้การปรับตัว เพื่อความอยู่รอดของสัตว์และพืชในดอนตะนะ ไม่ว่า จะเป็น กิ้งกือ งูดิน และแมลงชนิดต่างๆ อีกมากมาย เราได้เรียน รู้ระบบนิเวศในป่า และความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในดอน ตะนะ ที่อยู่ร่วมกันอย่างสมดุล แม้ในการท�ำโครงการมหิงสาสายสืบจะมีอปุ สรรคมากมาย ไม่ ว่าจะเป็นระยะทางในการลงพื้นที่ ความพร้อมของสมาชิกในกลุ่ม แต่สิ่งที่เราได้จากการท�ำโครงการคือความภูมิใจที่เราได้เป็นส่วน หนึง่ ในการร่วมอนุรักษ์ธรรมชาติ ในอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ และยังท�ำให้เราเกิดความรักและหวงแหนอยากจะรักษาธรรมชาติ ให้คงอยู่ต่อไป

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

71

May - August 2009

มหิงสาน้อยกับครูมินต์ พี่เลี้ยงมหิงสาสายสืบ ก�ำลังศึกษาระบบนิเวศ พืชพรรณในดอน ตะนะที่ยังสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหารของคนในชุมชน

Khru Mint (Teacher Mint), wearing glasses, the young Mahingsa’s mentor, points out some of the fauna and flora that can be found at Don Tana to the youngsters in a nature study trip.

“โขงสีปูน มูลสีคราม” สามารถเห็นความชัดเจน ของแม่น�้ำสองสีได้ในฤดู น�้ำหลาก

An area where the Moon and the Mekong rivers meet displays the distinct difference of the Mekong’s yellowish brown and the Moon’s indigo water during high tide.

We crossed the longest suspension bridge in Thailand to Don Tana, the verdant island in the middle of the Moon River. The island is blanketed with fertile dry evergreen forest, which feeds local communities. Villagers collect various kinds of mushroom, bamboo shoots and herbal plants, and catch land and aquatic animals. Kaeng Tana received historical recognition after a stone inscription by King Jitsan in the Jenla empire, which prospered in the 12th-13th Buddhist era, was unearthed there. Another eye-boggling wonder is the mat stone plates. The square-shaped sandstone sheets buried under the Moon River come in different sizes. Mythology has it that the Naga created the stone mat to sit on as he listened to Luang Poo Sao, a monk who traveled to preach in the underwater

ชาวประมงออกเรือหาปลาตอนเช้าตรู่ ใช้มอง (ตาข่าย) ใช้ลอบแบบดั้งเดิม กินอยู่แบบพอเพียง Fishermen at work in early morning use mong (net) and laub (a traditional type of fish traps).

world. Park visitors will find the park’s creative uses of the stone mats for signs and tables, socalled an Emperor’s table. There are many wonderful sides of the park for us to explore, be it history, geology or biology, and one visit is simply not enough. Throughout our one-year Mahingsa investigative project, we and our advisor, Mintra Getnoi, travelled to Don Tana, Rak Sai waterfall, Phra Cave and listened to many stories of local wisdom and folklore. We learnt how flora and fauna adjust to survival, including millipedes, blind snake and various insects. We got a first-hand experience of forest ecosystem and coexistence of living things. The project is not rosy, with long journey and members’ tight schedules. But at the end, we are proud to be part of the green conservation drive, which fostered our passion for nature.

มหิงสาน้อย Little Mahingsa

VA-newGL26.indd 71

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

72

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

กิจกรรมกรม Activities of ผกาภรณ์ ยอดปลอบ

the Department Phakaporn Yodplob

45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน

22 เมษายน 2552 ในวันคุ้มครองโลก หรือ Earth Day กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมส่งเสริม คุณภาพสิง่ แวดล้อม เปิดตัวโครงการ 45 วันรวมพลัง ลดถุงพลาสติก โดยมีนายสุวทิ ย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เป็นประธาน โครงการ 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติกในระยะแรกนี้ เริ่ม ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน ถึงวันที่ 5 มิถุนายน 2552 หรือ วันสิ่ง แวดล้อมโลก (World Environment Day) โดยได้ร่วมมืออย่างดี จาก 14 กลุ่มภาคี ได้แก่ เซเว่นอิเลฟเว่น ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล เดอะมอลล์ ซีคอนสแควร์ แฟชั่นไอส์แลนด์ โรบินสัน ZEN สยาม ดิสคัฟเวอร์รี่ สยามเซ็นเตอร์ สยามพารากอน แม็คโคร จัสโก้ คาร์ ฟู บิ๊กซี ท๊อปซุปเปอร์มาเก็ต ฟู้ดแลนด์ซุปเปอร์มาร์เก็ต วิลล่า

VA-newGL26.indd 72

FORTY-FIVE DAYS OF JOINING FORCES TO REDUCE PLASTIC BAG USE AND GLOBAL WARMING On Earth Day, April 22, 2009, the Department of Environmental Quality Promotion under the Ministry of Natural Resources and Environment launched the “Forty-five Days of Joining Forces to Reduce Plastic Bag Use and Global Warming Project”. Natural Resources and Environment Minister Suwit Khunkitti presided over the launch ceremony. The first phase of the project concluded on June 5 which was the World Environment Day. The project was a collaboration of an alliance of 14 organizations including: 7-Eleven; Central, The Mall, Seacon Square, Fashion Island, Robinson, Zen, Siam Discovery, Siam Center, and Siam Paragon department stores; Makro,

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

73

May - August 2009

มาร์ เ ก็ ต ซุ ป เปอร์ ส โตร์ สยามแฟมมิ ลี่ มาร์ท ร้านหนังสือ B2S Home work, Offifif ice depot, พาวเวอร์บาย รวมถึง กรุงเทพมหานคร และสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย ใน การรณรงค์ให้ประชาชนลดการใช้ถุงพลาสติกที่เกินความจ�ำเป็นจาก การเลือกซื้อสินค้า

Jusco, Carrefour, and Big C discount stores; Tops and Foodland supermarkets; Villa Market Supper Store; Siam Family Mart; B2S bookstore; Home Work; Office Depot; Power Buy; the Bangkok Metropolitan Administration and the National Municipal League of Thailand. The aim of this project is to encourage the public to reduce excessive plastic use when they shop.

Eco-Mart

ECO-MART From June 2 to 10, the Department of Environmental Quality Promotion and Siam Discovery Center held an activity called “Earth Friendly Products Fair” to mark the World Environment Day and raise public awareness over the importance of environment protection and promote the use of environmentally friendly products. Products on exhibition and for sale at the fair have been produced by communities and small-andmedium enterprises and certified by the Department of Environmental Quality Promotion as being environmentally friendly, symbolized by the letter “G”. They are classified into three categories: Golden G for excellence, silver G for very good, and bronze G for good. Certified communities or companies must meet five evaluation criteria of clean technology: 1) Effective use of raw materials in the production process; 2) Reduction or minimization of chemical and hazardous material use; 3) Energy saving or use of clean energy, 4) Reusing or recycling technologies; 5) Pollution management in the production process. Currently, more than 300 manufacturers have been certified for products in six categories including: Sa

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ สยามดิสคัฟเวอรี่ จัดกิจกรรม มหกรรมสินค้ารักษ์โลก เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลกขึ้น ระหว่างวันที่ 2-10 มิถนุ ายน 2552 เพือ่ กระตุน้ ให้คนไทยหันมาใส่ใจ สิง่ แวดล้อม และสนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ผลิตภัณฑ์ที่น�ำมาจัดแสดงให้ประชาชนทั่วไปได้เลือกซื้อและ เลือกชมในครั้งนี้ ส่วนหนึง่ เป็นผลิตภัณฑ์จากชุมชน และผู้ประกอบ การขนาดกลางและขนาดเล็ก หรือ SMEs ทีไ่ ด้รบั การรับรองจากกรม ส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อมว่า เป็นสินค้าทีผ่ ลิตขึน้ มาจากกระบวนการ ผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีสัญลักษณ์ ตัว G เป็นเครื่องหมาย รับรอง ซึ่งแบ่งเป็น ตัว G สีทอง ระดับดีเยี่ยม สีเงิน ระดับดีมาก และสีทองแดง ระดับดี โดยกลุ่มชุมชนหรือสถานประกอบการที่จะ ได้รบั มาตรฐานจะต้องผ่านการตรวจประเมินกระบวนการผลิตทีส่ ำ� คัญ 5 ด้านตามหลักการเทคโนโลยีสะอาด หรือ Clean Technology คือ 1. มีการใช้วัตถุดิบในกระบวนการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีการลดหรือหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีและวัตถุดิบที่เป็นอันตราย 3. ประหยัดพลังงานหรือใช้พลังงานที่สะอาด 4. มีการน�ำกลับมาใช้ ใหม่หรือใช้เทคโนโลยีหมุนเวียน และ 5. มีการจัดการมลพิษที่เกิด ขึ้นจากกระบวนการผลิต

กิจกรรมกรม Activities of the Department

VA-newGL26.indd 73

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

74

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ปัจจุบันมีสถานประกอบการได้รับการรับรองสัญลักษณ์ตัว G กว่า 300 ราย ใน 6 กลุม่ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กลุม่ ผลิตภัณฑ์กระดาษสา สุรากลั่น สิ่งทอขนาดเล็ก การผลิตผักและผลไม้แช่เย็น-แช่แข็ง การผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ และการผลิตน�ำ้ ตาลทราย

คุณคือพลัง ช่วยหยุดยั้งภาวะโลกร้อน

“Your Planet Needs You! Unite to Combat Climate Change” หรือ “คุณคือพลัง ช่วยหยุดยั้งภาวะโลกร้อน” ค�ำขวัญ รณรงค์ภาษาไทยที่ประเทศไทยใช้ในการรณรงค์ให้คนไทยหันมาปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจ�ำวันให้ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมมาก ขึ้น เพื่อช่วยกันลดปัญหาภาวะโลกร้อน ในวันสิ่งแวดล้อมโลก 5 มิถุนายน ประจ�ำปี 2552 ส� ำ หรั บ การจั ด กิ จ กรรมเนื่ อ งในวั น สิ่ ง แวดล้ อ มโลกในปี นี้ ประเทศไทยโดยกรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีนายสุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานใน พิธีเปิดงาน และกล่าวปาฐกถาพิเศษถึงพลังของทุกคนสามารถช่วย วิกฤตภาวะโลกร้อนให้บรรเทาลงได้ ด้วยการช่วยกันปรับเปลี่ยน

mulberry paper, distilled liquor, small textile, frozen fruit and vegetable, wood furniture, and sugar. YOUR PLANET NEEDS YOU! UNITE TO COMBAT CLIMATE CHANGE “Your Planet Needs You! Unite to Combat Climate Change” is the slogan for the World Environment Day 2009. The Thai version of the slogan is Khun Khue Phalang, Chuay Yud Yang Phawa Loke Ron. The campaign was launched on June 5 (World Environment Day) to encourage all Thais to change their behavior in their daily life to help reduce global warming. For this year’s World Environment Day celebration, Natural Resources and Environment Minister Suwit Khunkitti presided over an event organized by the Department of Environmental Quality Promotion and delivered a keynote speech in which he said every person has the power to help ease global warming. He urged people to change their behaviors in their daily life, such as choosing products and transportation mode that are eco-friendly, and generally to conduct oneself in such a

VA-newGL26.indd 74

พฤติกรรมในการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันได้ ตัง้ แต่การเลือกซือ้ เลือกใช้สนิ ค้า อุปโภค-บริโภค การเลือกรูปแบบการเดินทาง และการเลือกปฏิบตั ติ น ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งที่บ้านและที่ท�ำงาน ภายในงานยังมีการเสวนาเรื่อง “ชีวิตและงาน: หนึง่ พลังเพื่อ สิ่งแวดล้อม” ที่น�ำเสนอตัวอย่างการใช้ชีวิตที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ในประจ�ำวัน ทั้งในแง่มุมของชีวิตส่วนบุคคล และองค์กรขนาดใหญ่ การล้อมวงเสวนาในการเปิดตัวหนังสือ “ลบสององศา เมื่อสองมือ ร่วมคลายร้อน” ที่น�ำเสนอตัวอย่างกลุ่มคนต่างๆที่อาสาร่วมกันดูแล รักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเอง เพื่อช่วยลดผลกระทบจาก ปัญหาระดับโลกอย่างภาวะโลกร้อน และการเสวนาหารือร่วมกันของ กลุ่มเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมู่บ้าน หรือ ทสม. เพื่อพัฒนาหลักสูตรมาตรฐานของ ทสม. และ สร้างมาตรฐานความรู้ให้กับสมาชิก ทสม. ที่มีอยู่ทั่วประเทศ การจัดแสดงนิทรรศการ กิจกรรมสร้างความบันเทิง และ ซุ้ม กิจกรรม “ของเก่า มาเล่าใหม่” ที่ให้ผู้เข้าชมงานได้เรียนรู้และลอง ปฏิบัติการน�ำเสื้อผ้าหรือของใช้ชิ้นเก่ามาดัดแปลงให้เป็นเสื้อผ้าและ ของใช้ชิ้นใหม่

way that is kind to the environment both at home and at work. This was followed by a seminar entitled “Life and Work: One Power for the Environment” in which examples of environmentally friendly ways of life both at personal and corporate levels were presented. There was also a launch of a book entitled Lob Song Ongsa: Muea Song Mue Ruam Khlai Loak Ron (Minus Two Degrees: Cooling Down the Planet with Both Hands), published by the United Nations Development Programme – Thailand. The book presents cases of individuals and organizations which voluntarily help protect the environment in their communities in order to mitigate the impact of climate change. The Network of Natural Resources and Environment Village Volunteers held a discussion on developing standard training courses for volunteers. Other activities of the event included exhibitions, entertainment, and activity booths where participants joined in to make new products out of used ones.

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

เรื่องจากผู้อ่าน FROM THE READERS

May - August 2009

75

แม่น�้ำโขง สายน้ำ�แห่งชีวิต สุรสม กฤษณะจูฑะ

Mekong: The River of Life Surasom Kritsanachuta

พ่อสอนลูกหาปลาในแม่น�้ำโขงที่บ้านเวินบึก อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี

Father shares with son Mekong fishing techniques at Ban Wern Buek, Khong Chiam district of Ubon Ratchatani

VA-newGL26.indd 75

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

76

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

การได้ยื่นมือไปสัมผัสสายน�้ำเย็นยะเยือกที่กลั่นมาจากแผ่นดินสูง เหนือระดับน�้ำทะเล 5,200 เมตร อาจท�ำได้ในจินตนาการเท่านัน้ คือ ดูหนังสารคดี อ่านหนังสือ ฟังเขาเล่า แต่นนั่ คงไม่ทำ� ให้สามารถ ดื่มด�่ำกับแม่น�้ำโขงได้ลึกซึ้ง ทั้งๆ ที่ภายในถวิลหาอยากไปให้ถึง อย่างสุดจิตสุดใจ เพื่อไปเยี่ยมเยือนคารวะต้นก�ำเนิดมารดาของ แม่น�้ำโขงให้ได้สักครั้ง ผมไม่เคยเดินทางไปยังต้นก�ำเนิดแม่น�้ำโขง ธิเบต “ดินแดน แห่งขุนเขาหลังคาโลก” ทว่า โชคคงเข้าข้างผมบ้างเล็กน้อย เมื่อได้ มาท�ำงานเป็นอาจารย์อยู่ที่มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดที่แม่น�้ำ มูนมาบรรจบกับแม่น�้ำโขงที่เปิดโอกาสให้ผมพอจะได้รู้จักแม่น�้ำโขง บางส่วนเสี้ยว นัง่ เรือล่องเลียบชุมชนต่างๆ เดินย�่ำผืนทรายและมอง เห็นลวดลายริ้วรอยจากสายลมน�้ำโขงสลักเสลาราวประติมากรรม ธรรมชาติ พูดคุยกับชาวประมงผูม้ ากฝีมอื ในการจับปลาและได้ลมิ้ ลอง รสชาติทตี่ า่ งจากปลาในกระชังลิบลับ สนทนากับแม่เฒ่าอายุราวเจ็ดสิบ เล่าให้ฟังถึงความผูกพันกับผืนดินน้อยๆ อันอุดมที่ลงแรงปลูกหอม และพืชพันธุ์ต่างๆ อยู่ริมโขงมาชั่วชีวิต หากน�้ำท่วมจนจมมิด ชีวิตก็ เหมือนจมหาย ฟังเสียงเด็กๆ เจีย๊ วจ๊าววิง่ เล่นใต้ตน้ ไม้ใหญ่รมิ โขงกลาง แดดระอุ ใครจะรูบ้ า้ งว่าในฤดูฝน บริเวณทีเ่ ด็กๆ กระโดดโลดเต้นอย่าง มีความสุขนีจ้ ะกลายสภาพเป็นท้องน�้ำแห่งล�ำโขง อีกภาพหนึ่งในความทรงจ� ำ คือ ภาพสองสามีภรรยาก� ำลัง ขะมักเขม้นถอนหัวมันเทศขนาดใหญ่สมี ว่ งเข้ม ว่ากันว่ามันเทศซึง่ ชาว บ้านเรียกว่า “มันแกว” แถบริมโขงนี้มีรสชาติหวานหอมที่สุด เพราะ ดินทีป่ ลูกได้สะสมตะกอนมาตลอดฤดูฝนทีน่ �้ำท่วมทับ และยามน�ำ้ ลด โผล่พ้นมาเป็นแปลงปลูกพืชผัก นี่เป็นท�ำเลทองของเกษตรกรที่ด�ำรง ชีวิตแบบพอเพียง ซึ่งบางรายสามารถสร้างรายได้เกือบแสนบาทใน ชั่วระยะเวลาแค่ไม่เกินครึ่งปี ไม่ต่างจากแถบย่านสีลมท�ำเลทองของ นักอสังหาริมทรัพย์ แม่น�้ำโขงทุกวันนี้ เท่าที่ได้สัมผัสเพียงปลายนิ้วก้อย ผมรู้สึก ได้ว่าเป็นแม่น�้ำที่ยังมีชีวิตอยู่ นี่ไม่ใช่ค�ำเปรียบเทียบหรือการใช้ภาษา โวหารแบบกวี แม่น�้ำโขงคือชีวิตเป็นสัจธรรมที่ยืนยาวนานมาไม่รู้กี่ ล้านปีก่อนมนุษย์คนแรกจะถือก�ำเนิดเสียอีก เราคุ้นเคยกับการจัด จ�ำแนกประเภทว่าคน สัตว์ และพืช คือสิ่งมีชีวิต ส่วนธรรมชาติ วัตถุ สิง่ ของทีถ่ กู ประดิษฐ์ขนึ้ เป็นสิง่ ไม่มชี วี ติ แต่ถา้ ชีวติ คือการได้โอบล้อม สรรพสิง่ ให้อบอุน่ และเติบโต ถ้าชีวติ คือความหวังและความงดงาม ถ้า ชีวิตคือความเศร้าสลดและโศกศัลย์ ถ้าชีวิตคือการเกาะเกี่ยวผูกพัน โยงใยสัมพันธ์ แม่น�้ำโขงมีครบทุกประการที่กล่าวมา และอาจจะมี คุณสมบัตขิ องชีวติ อย่างอืน่ มากกว่านีอ้ กี หลายร้อยเท่า หากใครนิยาม ความหมายของชีวิตได้อย่างกว้างขวางพิสดารกว่านี้ แม่น�้ำโขงที่มีความยาวประมาณ 4,909 กิโลเมตร นับความ กว้างของลุ่มน�้ำโขงก็มีอาณาเขต 810,000 ตารางกิโลเมตร จ�ำนวน ประชากรสองฟากฝัง่ แม่นำ�้ รวมแล้วประมาณ 100-200 ล้านคน ความ หลากหลายและอุดมสมบูรณ์ของพันธุ์สัตว์น�้ำในแม่น�้ำโขงพบว่า มี พันธุป์ ลากว่า 1,300 ชนิด เฉพาะแม่นำ�้ โขงทีไ่ หลผ่านประเทศไทย ลาว เขมร และเวียดนาม หรือบริเวณแม่น�้ำโขงตอนกลางและล่าง สามารถ จับปลาได้ในปริมาณ 2 ล้านตันต่อปี คิดเป็นมูลค่าสามพันล้านเหรียญ สหรัฐหรือประมาณหนึง่ แสนล้านบาทต่อปี เพียงเท่านีค้ งเป็นหลักฐาน

VA-newGL26.indd 76

ต้นฉ�ำฉา สนามเด็กเล่นริมโขงยามฤดูแล้ง บริเวณปากบ้อง บ้านสองคอน อ.โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี A rain tree provides a natural playground equipment for children in the dry season in Ban Song Khon in Pho Sai district of Ubon Ratchathani.

บ่งบอกความยิ่งใหญ่ของแม่น�้ำโขงได้บ้างกระมัง แต่ตัวเลขเหล่านีจ้ ะ มีความหมายใดเล่า หากทุกวันนี้ภัยคุกคามแม่น�้ำโขงยังคงถาโถมเข้า ใส่ไม่หยุดยั้ง ไล่ตั้งแต่การสร้างเขื่อนในจีนและความพยายามในการ ผลักดันเขื่อนในแม่น�้ำโขงอีกนับสิบเขื่อน การระเบิดแก่งเปิดเส้นทาง เดินเรือเพือ่ ขนส่งสินค้า การตัดไม้ท�ำลายป่าเพือ่ เปิดทางให้กบั กิจกรรม ทางเศรษฐกิจต่างๆ เช่น การท�ำเหมืองแร่ การปลูกพืชพาณิชย์ โดย เฉพาะอย่างยิง่ การเข้ามาลงทุนปลูกยางพาราในประเทศลาวนับล้านไร่ ความเปลี่ยนแปลงเป็นสัจธรรม แม่น�้ำโขงคือชีวิตก็เป็นสัจธรรม ความจริงวันนี้คือแม่น�้ำโขงถูกคุกคามและก�ำลังเดินทางสู่หายนะ วิบัติ เฉกเช่นกับแม่น�้ำสายอื่นๆ ที่เน่าเสีย แม่น�้ำไม่ใช่แม่น�้ำอีกต่อไป เพราะน�้ำไม่ได้มาจากต้นน�้ำล�ำธาร แต่น�้ำไหลมาจากเขื่อนหรือโรงงาน อุตสาหกรรมทีน่ �ำน�ำ้ ไปใช้แล้วปล่อยลงมา แม่น�้ำหลายสายทุกวันนีจ้ งึ กลายเป็นท่อระบายน�้ำ แม้แม่น�้ำโขงยังคงมีชีวิตอยู่ แต่ไม่รู้ว่าลมหายใจจะรวยรินเมื่อ ไหร่ ทุกวันนี้แม่น�้ำโขงถูกกระท�ำช�ำเราจากอภิมหาโครงการต่างๆ โดย อ้างว่าจะช่วยขจัดความยากจนออกไป แต่จะพบว่าโครงการที่ส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และสุขภาพอย่างใหญ่หลวง และไม่ได้ ด�ำเนินไปตามหลักธรรมาภิบาลอย่างเคร่งครัด ขาดการมีสว่ นร่วมของ ประชาชนและชุมชน ท�ำให้การตัดสินใจต่างๆ มักน�ำพาหายนะมาเยือน แม่น�้ำโขงและคนลุ่มน�้ำโขง ผมนั่งเหม่อมองแม่น�้ำโขง เห็นรอยยิ้มของใครบางคน เห็น สายน�้ำที่เคยมีต�ำนานเล่าขานยาวนานไหลเอื่อย ๆ ความเนิบนาบ ของชีวิตท�ำให้ครุ่นคิดอะไรแจ่มแจ้งขึ้น อย่างน้อยท�ำให้ตระหนักรู้ ว่า แม่น�้ำโขงที่อยู่เบื้องหน้าก�ำลังสนทนากับผมในความเงียบ เรา ต่างรับรู้ถึงทุกข์สุขโศกซึ้งกันและกัน คงไม่ตอ้ งตอกย�ำ้ อีกครัง้ นะครับว่า แม่นำ�้ โขงคือสายน�ำ้ แห่งชีวติ

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

77

May - August 2009

ริ้วทรายชายหาดริม โขง ประติมากรรม จากสายลม Ripples on the Mekong River’s sandy beach.

Only in our imagination can most of us dip our hands and feel cool waters flowing down from high ground about 5,200m above the sea level. Documentaries, books and tells-tales cannot satisfy and make me long for the moment to pay homage to the birthplace of the great Mekong River. I have never set foot in the Tibet Plateau, “the Roof of the World”, where the Mekong River originates. Lady luck did not abandon me completely as I landed a job as a lecturer at Ubon Ratchathani University where the Moon and the Mekong Rivers meet, giving me a chance to cruise to riverine communities, and walk and marvel at the natural sculpture the wind left on sand bank. I chatted with veteran fishermen whose fresh catch pleased my taste buds and would put to shame fish raised in baskets. I listened as a 70-year-old granny proudly presented the bed of onions and vegetables on her tiny plot of land along the river. Her heart sank every time the land is inundated in rainy season, she said. My ears were deafened by the noisy kids running around a big tree under a sizzling sun. Such playground was indeed the bed of the Mekong River during low tides. One of my best memories is a couple busy pulling dark purple sweet potatoes, which the locals call “Manggaew”. The Mekong’s produce give the best aroma and sweetness due to the rich river sediment. The bed of Mekong River is golden to farmers in a similar vein as Silom Road in Bangkok to real estate brokers. Some farmers earned over 100,000 baht (US$2,900) in less than half a year of hard work. The Mekong is alive and this is not my attempt to wax poetic. The Mekong has lived on for millions of year before the first man was born. We often refer to man, animals and plants as living things and nature and objects non-living. But if life is to embrace things and see them grow, if life is hope and beauty, if life is sadness and misery, if life is about binding and connecting, then the Mekong ticks all the boxes and even more. The Mekong stretches around 4,909 km and covers an area of 810,000 sq m. Some 100-200 million people live on both sides. The river is home to over 1,300 fish species. In the middle and lower river basin, or in Thailand, Laos, Cambodia and Vietnam, about two million tons of fishes were fetched from the river each year,

which are worth US$3 million or more than 100 billion baht. The figures said it all about the Mekong’s greatness. The stunning figures, however, could not spare the river from a flood of threats from China’s dam construction and about 10 more dams elsewhere planned for the Mekong, blasting of islets and shoals to clear passage for cargo ships and deforestation for mining and farming, particularly million of rai of rubber plantation in Laos. Change is a fact of life and the Mekong changing is also a fact of life. But the fact is the Mekong today is on course to destruction. Water no longer flows down from mountains, but from dams and factories turning the river into drainage pipe. The Mekong is alive but gasping for breath. It has been raped by all the mega projects on the pretext of eradicting poverty. Most projects are found to pose grave environmental, social and health impacts, fail transparency tests, and lack public participation, leading to decisions that brought forth disasters on the river and its inhabitants. I mused as I watched the Mekong. I saw someone smiling. The slow river flow gives me a sense of calmness. The Mekong is talking to me in silence and we shared our happiness and suffering. It needs not be said again; the Mekong is the river of life.

เรื่องจากผู้อ่าน From the Readers

VA-newGL26.indd 77

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

78

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

ล้อมกรอบ VIEWFINDER

VA-newGL26.indd 78

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

พฤษภาคม - สิงหาคม 2552

May - August 2009

79

รักไม่มีพรมแดน

นิยามของความรักที่กล่าวถึงทั้งหลายในมวลมนุษย์ ว่ากันว่า “รัก” นัน้ กว้างขวางไร้กฎเกณฑ์จนไม่มีขอบเขตขีดขั้น จนเกิดส�ำนวน “รักไม่มี พรมแดน” อันไพเราะ และยิ่งหลากหลาย ยิ่งแตกต่าง ยิ่งห่างไกล ยิ่งลึกซึ้งกินใจมีความหมาย เช่นเดียวกับต�ำนานรักของบ่าวสาวสองฝัง่ น�ำ้ พรมแดนทีถ่ กู ก�ำหนดเพือ่ แบ่งเขตความเป็นเจ้าของหาได้กางกัน้ การสานสัมพันธ์ของความรักได้ … วันนี้ล�ำน�้ำโขงยังคงหลั่งไหลไม่สิ้นสุด ชายหนุ่มทอดสายตาข้ามฟากไปอีกฝั่ง เขานึกถึงในอดีตเมื่อเรือหลายล�ำบรรทุกครอบครัวและคน หนุม่ สาวเคลือ่ นตัวออกจากฝัง่ ไทยไปร่วมกันท�ำบุญทีฝ่ ง่ั ลาว หนุม่ สาวหลายคูต่ กหลุมรักและสานไมตรีจนงอกงามตกลงอยูก่ นิ ฉันท์สามีภรรยา มี ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สังคมสองฝั่งร่วมฉลองอวยพร ภายหลังชายหนุม่ ขอร้องให้คชู่ วี ติ ข้ามมาอยูฝ่ ง่ั ไทย แต่บา่ วสาวหลายคูก่ ไ็ ม่เคยนึกเลยว่าความรักครัง้ นีจ้ ะก่อปัญหาติดตามมาในภายหลัง เมือ่ ลูกๆ และหญิงอันเป็นที่รักซึ่งเป็นคนฝั่งลาวไม่สามารถถือสัญชาติไทยแม้จะยืนยันได้ว่ามิใช่พวกแอบอ้างหรือเป็นกลุ่มคนที่ลักลอบเข้าเมืองเพื่อ ขายแรงงาน ลูกๆ ก็ไม่สามารถแจ้งเกิดและถือสัญชาติไทย ไม่มีสิทธิของพลเมืองอย่างเท่าเทียม ไม่มีบัตรประชาชน ทั้งๆ ที่มี พ.ร.บ.สัญชาติ ฉบับใหม่ โดยเฉพาะมาตรา 23 ที่เปิดโอกาสและรับรองสิทธิเด็กที่เกิดในราชอาณาจักรไทยต้องได้สัญชาติไทย เช่นนี้แล้วหญิงที่ถูกชักจูงด้วยความรักจนข้ามพรมแดนฝั่งน�้ำมาฝั่งไทย รวมทั้งทายาทรุ่นหลังจึงถูกเรียกเป็น “คนครึ่งเดียว” วันนี้รักข้ามพรมแดนยังสร้างความทุกข์ใจให้กับครอบครัวตลอดริมฝั่งน�้ำ ถ้าความศักดิ์สิทธิ์ของความรักมีอยู่จริง ขอจงดลบันดาลให้ความ รักที่เป็นพลังของมนุษยชาติ เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างเป็นสุขเทอญ

Rak Mai Mee Phrom Daen It has been said that “love” is so broad and void of rules or limits that a phrase is coined “Rak Mai Mee Phrom Daen” (love has no boundaries), its meaning so sweet, so varied, so profound. And so is a tale of love between a man and a woman across a river that marks national boundaries but which could not stunt the seed of love that grew in their heart. … Mekong River meanders as usual today. A man casts his eyes across the river. He recalls watching scores of boats carrying families as well as young men and women from the Thai side to make merit in Laos on the other side. Many young Thai and Lao had fallen in love, leading to marriages, with people on both sides of the river giving them blessings. Soon after the Lao brides came across the river to stay with their Thai husbands with no idea of what obstacles lay ahead for them and their children. Only later did they find that the Lao women and their children could not hold Thai citizenship even though they were not illegal immigrants looking for work on the Thai soil. Their children had no certificates of birth and thus were deprived of citizen rights regardless of the fact that the new nationality law, specifically Article 23, allows children born on Thai soil to have Thai citizenship. As such the Lao women who made their life in the land across the river out of love, together with their children, have been called “the half human”. Today, love beyond the frontier continues to hurt many families along the Mekong. If the sanctity of love does exist, may the power of love as the force of humankind guide them to solutions of all their problems.

VA-newGL26.indd 79

8/21/09 10:12 PM


Greenline26.pdf

“เศรษฐนิเวศ” เป็นไปได้ไหมว่าระบบเศรษฐกิจ ในอนาคตจะไม่ขึ้นอยู่กับเงินตรา เป็นส�ำคัญ? เป็นไปได้ไหมว่าสิ่งแวดล้อม และคุณค่าทางสังคมจะเป็น ตัวขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ? ค�ำถามเหล่านี้เกิดขึ้น เมื่อโลก ประสบกับภาวะวิกฤตทางสิ่ง แวดล้อมอย่างไม่อาจละเลยได้ พบกับแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจเขียว” ได้ใน เส้นทางสีเขียว ฉบับหน้า

ECO DRIVING FORCE Is it possible that future economic systems will not be money-driven? Is it possible that the environment and social values will be economic driving forces? These questions arise as the world is facing an environmental crisis that can no longer be ignored? Find out about the thinking behind “the Green Economy” in the next issue of Green Line.

VA-newGL26.indd 80

8/21/09 10:12 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.