2
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
บรรณาธิการที่ปรึกษา: บรรณาธิการอำนวยการ: บรรณาธิการบริหาร: กองบรรณาธิการ: บรรณาธิการภาษาอังกฤษ: ผู้ช่วยบรรณาธิการ: เลขานุการกองบรรณาธิการ: ผู้จัดทำ:
อรพินท์ วงศ์ชุมพิศ, ธเนศ ดาวาสุวรรณ์, รัชนี เอมะรุจิ สากล ฐินะกุล สาวิตรี ศรีสุข ศรชัย มูลคำ, ภาวินี ณ สายบุรี, จงรักษ์ ฐินะกุล, จริยา ชื่นใจชน, นันทวรรณ เหล่าฤทธิ์, ผกาภรณ์ ยอดปลอบ, นุชนารถ ไกรสุวรรณสาร วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา ศิริรัตน์ ศิวิลัย หจก.สำนักพิมพ์ทางช้างเผือก 63/123 ซอยราษฎร์พัฒนา 5 แยก 23 แขวง/เขตสะพานสูง กทม 10240 โทรศัพท์ 02-917-2533, 02-517-2319 โทรสาร 02-517-2319 E-mail: milkywaypress@gmail.com
Editorial Advisers:
Orapin Wongchumpit, Thanate Davasuwan, Ratchanee Emaruchi
Editorial Director:
Sakol Thinagul
Executive Editor:
Savitree Srisuk
Editorial Staff:
Sornchai Moonkham, Pavinee Na Saiburi, Chongrak Thinagul, Jariya Chuenjaichon, Nantawan Lourith, Pagaporn Yodplob, Nuchanard Kraisuwansan
English Edition Editor:
Wasant Techawongtham
Text copyright by the Department of Environmental Quality Promotion, Ministry of Natural Resources and Environment.
Assistant Editor:
Maenwad Kunjara Na Ayuttaya
Editorial Secretary:
Sirirat Siwilai
Photographs copyright by photographers or right owners.
Producer:
Milky Way Press Limited Partnership 63/123 Soi Rat Pattana 5, Sub-soi 23, Saphan Sung, Bangkok 10240 Tel: 02-917-2533, 02-517-2319 Fax: 02-517-2319 e-mail: milkywaypress@gmail.com
ฉบับที่ 27 กันยายน – ธันวาคม 2552 No. 27 September - December 2009
ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 49 พระราม 6 ซอย 30 ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-298-5628 โทรสาร 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th PUBLISHER Department of Environmental Quality Promotion Ministry of Natural Resources and Environment 49 Rama VI Soi 30, Rama VI Rd., Bangkok 10400 Tel. 02-298-5628 Fax. 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th
ลิขสิทธิ์บทความ สงวนสิทธิ์โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลิขสิทธิ์ภาพถ่าย สงวนสิทธิ์โดยผู้ถ่ายภาพหรือเจ้าของภาพ การพิมพ์หรือเผยแพร่บทความซ�้ำโดยไม่ใช่เพื่อการพาณิชย์ สามารถท�ำได้โดยอ้างอิงถึงกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม การพิมพ์เพื่อเผยแพร่ภาพถ่ายซ�้ำ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ก่อนเท่านัน้ บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารนี้ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน เพื่อเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่หลากหลาย
Aricles may be reproduced or disseminated for noncommercial purposes with cited credit to the Department of Environmental Quality Promotion. Reproduction of photographs must be by permission of right owners only. Opinions expressed in the articles in this journal are the authors’ to promote the exchange of diverse points of view.
GL27-VA.indd 2
3/2/10 4:49 PM
บรรณาธิการ EDITORIAL
ก่อนหมอกเช้าจะจางหาย เด็กชายก็ แบกกระด้งทีม่ หี อ่ หมกอยูร่ าว 30 ห่อ มาวางขายในตลาดมอญแล้ว ห่อหมกใบเท่าฝ่ามือเหล่านี้เป็นยายที่ลุกขึ้นมาเก็บผักพื้นบ้าน เข้าครัวท�ำตั้งแต่พระอาทิตย์ยังไม่ขึ้น ข้างในใบตองที่ห่อหุ้มและกลัด ด้วยไม้ไผ่เล็กๆ อย่างปราณีตมีผกั มีปลารสชาติเอร็ดอร่อยราคาซือ้ หา เพียงห่อละ 5 บาท หากวันนีข้ ายได้ทงั้ หมดจะได้เงิน 150 บาท เท่านัน้ เงินจ�ำนวนนีไ้ ม่อาจน�ำมาเปรียบเทียบกับรายได้ของคนค้าขายใน ตลาดใหญ่หรือผู้ประกอบการท่องเที่ยวในจังหวัดกาญจนบุรีอันเลื่อง ชื่อ แต่เด็กชายกับคุณยายดูมีความสงบสุขและพึงพอใจในชีวิต แม้ พวกเขาจะถูกย้ายถิ่นฐานเดิมจากการสร้างเขื่อนศรีนครินทร์ แต่พวก เขายังยืนยันจะใช้ชีวิตที่ใกล้ชิดและเป็นหนึง่ เดียวกับธรรมชาติในถิ่น ใหม่ โดยไม่อนาทรร้อนใจไปกับความรวนเรของระบบเศรษฐกิจกระแส หลัก พวกเขาพอมีพอกินและใช้ชีวิตอย่างเป็นสุขไปตามอัตภาพ ปีเศษทีผ่ า่ นมา เด็กชายยังคงขายห่อหมกด้วยรอยยิม้ เช่นทุกวัน ในขณะที่โลกต้องตกตะลึงกับข่าว “โรคแฮมเบอร์เกอร์” จากวิกฤต ทางการเงินในอเมริกาทีฉ่ ดุ เศรษฐกิจทัว่ โลกให้ดงิ่ วูบจนรัฐบาลประเทศ ต่างๆ ต้องทุ่มเงินงบประมาณ เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายและบริโภค ด้วย หวังว่าในช่วงระยะหนึง่ จะพยุงระบบเศรษฐกิจของตนเอาไว้ได้ นักคิดปัญญาชนและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเชื่อว่าระบบ ทุนนิยมทีเ่ ผาผลาญทรัพยากรธรรมชาติอย่างมากมายตัง้ แต่ยคุ ปฏิวตั ิ อุตสาหกรรมก�ำลังถึงคราวเสื่อมสลาย หลายคนและกลุ่มคณะได้ เสนอแนวคิดอืน่ ๆ เช่น เศรษฐกิจสีเขียว เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจ แนวพุทธ หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมแห่งประชาชาติ โดยมีจุดมุ่งหมาย
คล้ายกันคือการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืนกว่า โดยมีผลกระทบต่อ ธรรมชาติน้อยที่สุด ซึ่งหากมนุษย์สามารถเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างวิถีชีวิตของ ตนเองกับวิถีทางตามธรรมชาติได้อย่างสมดุล ความหวังว่าผู้คนใน โลกจะมีความสุขเพิ่มขึ้นก็อาจจะเป็นจริงขึ้นมาได้
ven before the morning mist had dissipated, the boy was already sitting beside a threshing basket containing some 30 packs of haw mok (steamed fish with curry paste) in the Mon market. His grandma rose before sunrise to prepare the ingredients, cook and wrap them neatly with banana leaves. The tasty steamed fish sold for five baht (14 US cents) a pack. The boy would make about 150 baht if they sold out. His earning could not compare to that made by the merchants in the big market or business operators in the tourist town of Kanchanaburi where he stays. But the boy and his grandma seem happy and content with their lives even though they had been uprooted when the Srinagarindra Dam was built. Living close to and being one with nature, they are unworried by the wildly fluctuating economy. They are happy enough with their sufficient way of life.
The boy still tended to his business unfailingly everyday even as the world was all shook up with the news from the economic superpower USA about the socalled “Hamburger Disease”, a financial bubble burst, over a year ago. Nearly all countries have dumped huge amounts of money into their own economies to stimulate consumption, hoping to fend off the shock wave. Many intellectuals and economists believe that the capitalist system that has plundered natural resources to a great degree since the Industrial Revolution is facing its own demise. Many have already proposed alternative economic models, such as the green economy, sufficiency economy, Buddhist economy, and the Gross National Happiness Index, with a similar goal of attaining a more sustainable economy with minimum impact on nature. If man could seamlessly weave his way of life with the way of nature, the hope that people in this world would lead a happier life may just well come true.
E
GL27-VA.indd 3
ชีวิตเรียบง่ายและมีสุขของเด็กชายขายห่อหมกในหมู่บ้านมอญ อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี
A boy, leading a simple and contented life, sells steamed fish curry paste custard at a Mon village in Sangkhla Buri district of Kanchanaburi province
3/2/10 4:49 PM
4
สารบั ญ CONTENTS กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ลอดรั้วริมทาง: ซื้อ-ขาย อย่างเป็นธรรม ON AN UNBEATEN PATH:
Fair Trade at Organic Weekend Markets
เส้นทางสู่เศรษฐกิจเขียว
Towards Green Economy
ปรัชญา-แนวคิดทางเศรษฐกิจ ในวิกฤตสิ่งแวดล้อม The Economic Paradigm in the Midst of Environmental Crisis
6 12 22
6
12
เส้นทางสายใหม่: “เงิน” ไม่ใช่ค�ำตอบที่ ตลาดร้อยปี สามชุก ON A NEW PATH: Money is Not the
Answer… The Samchuk Market’s Story
32
12
เส้นทางสีเขียว: เมื่อชุมชน ไม่ต้องใช้เงินตรา GREEN LINE:
Currency of Hope
38 22
GL27-VA.indd 4
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
5
43
เส้นทางเดียวกัน: อาศรมวงศ์สนิท หนึง่ ใจ ในความสุข ON A SAME PATH: One Happy Heart at the
Wongsanit Ashram
สัมภาษณ์พิเศษ SPECIAL INTERVIEWS: • จิตวิญญาณในเศรษฐกิจ ในทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ • Spirituality in Economics According to S. Sivaraksa
• เศรษฐกิจสีเขียว: เปิดโลกกว้างแห่งทัศนะ ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ • Green Economy: Expanding the Horizon Nithi Eawsriwong
43 47
47
54
สี่แยกไฟเขียว: ดัชนีโลกมีสุข: เศรษฐศาสตร์กู้โลก #1 GREEN INTERSECTION:
Happy Planet Index: Save-the-World Economics 101
ข้ามฟ้า: ฮิปปี้ – เส้นทางคืนสู่ธรรมชาติ และอนาคต ACROSS THE SKY: The Hippies: Journey Back
to Nature and Forward
มหิงสา: จากวัชพืชน�ำ้ ...สู่วิถีแห่งการเพิ่มมูลค่า LITTLE MAHINGSA...YOUNG RESEARCHERS
Add Values to Floating Weeds
กิจกรรมกรม: เศรษฐกิจเขียว เศรษฐกิจเรา DEPARTMENT ACTIVITIES
Green Economy, Our Economy
เรื่องจากผู้อ่าน: มาบตาพุดผู้โชคร้าย FROM THE READERS: Poor Map Ta Phut
ล้อมกรอบ: เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาเป็นของจริง
VIEWFINDERS Ngoen Thong Pen Khong Maya;
Khao Pla Pen Khong Jing
GL27-VA.indd 5
59 63
54
68 71 75 78
78
3/2/10 4:49 PM
6
ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ซื้อ-ขาย อย่างเป็นธรรม เรื่อง/ภาพ บานตะไท
เก้าโมงเช้าแล้ว ผูค้ นยังคงแวะเวียน เข้ามาตลาดนัดเจเจ หรือ “กาดนัด เจเจ” ในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อซื้อหา อาหารที่ต้องการอย่างไม่ขาดสาย
ลูกค้าหน้าใหม่รายหนึง่ เพิ่งเข้ามาเป็นขาประจ�ำในตลาดแห่งนี้มา ได้ 2-3 เดือนจากค�ำแนะน�ำของเพื่อนแม่บ้าน และก็ติดใจในเสน่ห์ ของตลาดนัดแห่งนี้ “ชอบความหลากหลายที่มีพืชผักและผลไม้ บางอย่างหายาก ในตลาดทั่วไป แต่มาที่นี่ได้หมด อย่างผักพื้นเมืองบางอย่างเราไม่
GL27-VA.indd 6
เคยรู้จัก ไม่เคยเห็น มาเจอที่นี่แม่ค้าก็ให้ข้อมูลว่าคืออะไร เอาไปปรุง อาหารแบบไหนถือว่าได้ความรูไ้ ปด้วย อีกอย่างมัน่ ใจว่าปลอดภัยจาก สารเคมี รสชาติดี สดใหม่แน่นอน เพราะแม่ค้า พ่อค้า คือคนปลูก คนท�ำให้เรา” เธอกล่าว “นอกจากนี้ไม่ต้องกลัวเรื่องการโก่งราคา เพราะจะมีป้ายบอก ราคากลางอยู่ตรงกลางตลาด ไว้ให้ลูกค้าได้ส�ำรวจตรวจสอบ การ บริหารจัดการจะมีการประชุมประจ�ำเดือน ส่วนใหญ่พดู ถึงราคาสินค้า และสิง่ ทีต่ อ้ งพัฒนาเพิม่ คุณภาพมากขึน้ ไปอีก ทัง้ ๆ ทีส่ ว่ นใหญ่ทกุ ร้าน จะมีป้ายองค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ (มอน.) รับรอง อยู่แล้ว”
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
7
(หน้าซ้าย) ลูกค้าก�ำลังเลือกซื้อกล้วยหอม และมะละกอในกาดนัดเจเจ ตลาดนัดที่ขายแต่ ผลผลิตเกษตรอินทรีย์ (Left page) Shoppers buy bananas and papayas at a stall at the JJ weekend market which offers only organic produce.
ป้ายรณรงค์ที่ติดอยู่ทั่วไปในตลาด นัด เพื่อให้ผู้ซื้อลดใช้ถุงพลาสติก และลดขยะด้วยการใช้ตะกร้าจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่น Campaign posters against plastic bags are spotted throughout the weekend market in favor of locallymade baskets.
Fair Trade I at Organic Weekend Markets Story/Photo by Bantatai
GL27-VA.indd 7
t is 9 a.m. and shoppers are still streaming into the JJ Weekend Market in Chiang Mai. “I love the vast varieties of fruits and vegetables here. Some are unavailable at conventional markets. Many local vegetables are new to me and the vendors give me some cooking tips,” said a woman shopper who only recently was urged by a friend to shop at the market. She said she has since come to trust shopping here. “I am confident that the products sold here are chemical-free and fresh, and taste good because the vendors are the growers themselves. “Moreover, a sign in the middle of the market listing average prices gives me a peace of mind that I would not be over-charged. The market administrators meet monthly to discuss product prices and quality upgrade. Most stalls already carry a certificate of the Northern Organic Agricultural Standard Institution.” The JJ Weekend Market or “Gad Nad JJ” as locally known and the MCC market or ‘’Gad Nad Kaset’’ in this northern city are examples of how ‘’marketing’’’ can solve economic problems at the household level. Through a new social system that ensures fairness for producers, sellers, buyers and nature, the markets have strengthened communities that had in the past been beset by chemicalbased monoculture, unfair trade, back-breaking debts, consumers’ preference for blemishless products, and middlemen taking advantage of farmers and consumers. Since 1993, various organic farmers groups, consumers groups, schools, non-governmental organizations, academics and government officials in Chiang Mai have joined hands to develop a ‘’Fair Trade System.’’ The aim is to forge cordial ties between farmers and consumers; raise community’s self-reliance and food security; and create a new society where people help one another. Seasonal products from natural production pro-
3/2/10 4:49 PM
8
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
แผงขายสินค้าในตลาดนัดในจะมีการแจ้งข้อมูลแหล่งที่มาของผลผลิต กลุ่มเกษตรกร รวมถึงป้ายคุณประโยชน์ต่างๆ ของพืชผักแต่ละชนิด Stalls at the weekend market display posters giving details of product origin, farmers’ group and benefits of fruits and vegetables.
กาดนัดเจเจและตลาดเอ็มซีซี (MCC) หรือ “กาดนัดเกษตร” เป็นตลาดนัดเกษตรอินทรียข์ องเชียงใหม่ ทีเ่ ป็นความพยายามใหม่ใน การใช้ “การตลาด” เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในระดับครัวเรือนให้ กับชุมชนเกษตรที่ประสบผลกระทบมาอย่างยาวนาจากระบบเกษตร เคมีเชิงเดีย่ ว การตลาดไม่เป็นธรรม หนีส้ นิ ชัว่ ทีท่ ว่ มท้น รสนิยมของ ผูบ้ ริโภคทีเ่ คยชินกับการซือ้ ผักปลาแค่รปู กายภายนอก การเอาเปรียบ กันระหว่างคนซื้อ-คนขายโดยมีพ่อค้าคนกลางเป็นผู้ชักใยเบื้องหลัง นอกจากนี้ รูปแบบตลาดในลักษณะนีย้ งั น�ำไปสูค่ วามเข้มแข็งของชุมชน สามารถสร้างระบบสังคมใหม่ทมี่ คี วามเป็นธรรมระหว่าง ผูผ้ ลิต ผูข้ าย ผูซ้ อื้ และธรรมชาติ ตั้งแต่ปี 2536 เป็นต้นมา กลุ่มเกษตรกรเกษตรอินทรีย์ กลุ่ม ผู้บริโภค โรงเรียน องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการและข้าราชการ ในจังหวัดเชียงใหม่บางส่วน ได้ร่วมกันพัฒนา “ระบบตลาดการค้า ที่เป็นธรรม (Fair Trade)” ขึ้น โดยหวังจะสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค สร้างความสามารถในการพึ่งตนเอง และทรัพยากรในชุมชน สร้างสังคมใหม่ที่ไม่เอาเปรียบแต่หันมา ช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน เน้นการจ�ำหน่ายเพื่อให้เกิดการบริโภค ภายในชุมชนและชุมชนใกล้เคียง สร้างความมั่นคงด้านอาหารของ
GL27-VA.indd 8
ชุมชน จ�ำหน่ายสินค้าตามฤดูกาลจากเกษตรกรใช้กระบวนการผลิต ทางธรรมชาติ ใช้หีบห่อจากวัสดุทางธรรมชาติ ตลาดที่เกิดขึ้นนี้ จะมีกลุ่มเกษตรกรที่เป็นสมาชิกเป็นผู้ก�ำหนด ราคาสินค้า และบริหารจัดการโดยกลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภค มีการ ส่งเสริมและจัดกิจกรรมให้ผู้บริโภคการไปเยี่ยมเยือนไร่นา ให้ได้เห็น ได้เรียนรู้ ได้ทราบกระบวนการผลิต เกิดความเชื่อใจซึ่งกันและกัน และเข้าใจปัญหาของเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง การค้าขายไม่เน้นก�ำไร สูงสุด สร้างความเป็นธรรมให้ทุกฝ่ายทั้งตัวเกษตรกร ผู้บริโภค สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระบบตลาดดังกล่าวนี้ในปัจจุบันนี้มีหลายรูปแบบ เช่น ตลาด ชุมชน ตลาดนัดเกษตรอินทรีย์ ศูนย์รวบรวมและกระจายผลผลิต เกษตรอินทรีย์ โดยเฉพาะตลาดนัดเกษตรอินทรีย์นนั้ ได้รับความนิยม จากเกษตรกรและผู้บริโภคมาก ในจังหวัดเชียงใหม่เองมีมากกว่า 15 แห่ง ทั้งในโรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล หรือในหมู่บ้านจัดสรร ตลาดนัดเจเจมีทุกวันพุธและวันเสาร์ เป็นตลาดซุ้มไม้ไผ่ใต้ ชายคาใบตองตึง ตั้งแต่เช้าตรู่พ่อค้าแม่ขายสวมใส่เสื้อหม้อห้อม นัง่ ขายสินค้าประเภทพืชผักพื้นบ้านและผลไม้จากไร่-สวนและริมรั้ว ของแต่ละบ้าน รวมถึงขนมและอาหารพื้นบ้านที่แปรรูปจากผลผลิต
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552 cess and in natural packages have been sold within the participating communities themselves and to neighboring communities. Prices are fixed by members of the farmers groups and the markets are jointly managed by farmers and consumers. Promotional activities include providing opportunity for consumers to visit member farms to learn firsthand production processes so that they learn to trust and understand problems farmers have to go through. Under the fair trade system, maximization of profit is not the bottom line; rather, fairness for all — farmers, consumers, society, natural resources and the environment — is. The system comes in many forms, including organic weekend markets, community markets and organic commodity distribution centers. Organic weekend markets are so popular that there are almost 20 of them in schools, universities, hospitals and housing estates across Chiang Mai.
September - December 2009
9
Mae Tang district of Chiang Mai, said families in many villages have grown organic vegetables with support from various sectors, including Maejo University and the Sustainable Agriculture Institute, giving rise to this organic commodity weekend market and an organic commodity warehouse in 2006. The warehouse, as the market lessee and administrator, charges vendors between 20 and 40 baht per stall for rent. The proceeds go back to market improvement and repair. Each day, members from Samoeng, Mae On, San Kamphaeng, Doi Saket and Phrao districts of Chiang Mai and Mae Tha district of Lamphun send their produce to the warehouse. “The market relocated from J. Imboon after the contract expired. It is not far from the previous location so loyal customers can follow and new customers come by word of mouth,” Mae Kiangkham said. “The market is bustling around 5-6 am. Custom-
The market is divided into two sections. The first section offers organic products, including vegetables, fruits, seeds, sprouts and local vegetables. The other sells local foods and sweets. Ready-to-eat foods are cooked with organic ingredients sold there....
...ตลาดแบ่งบริเวณเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ส่วนแรก เป็นผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ประกอบด้วยผัก ผลไม้ เมล็ดพันธุ์ ต้นกล้า พืชผักพื้นบ้าน อีก ส่วนคือผลผลิตที่แปรรูปเป็นอาหาร พื้นเมืองทั้งคาวและหวาน... ข้าวแดงแกงหม้อเหล่านี้แปรรูปมาจากผลผลิตเกษตรอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกรที่เป็น สมาชิกของตลาดนัดเช่นกัน Ready meals are prepared with organic produce by farmers groups who are market members.
The JJ weekend market opens only on Wednesdays and Saturdays. Farmers in indigo shirts called Maw Hom offer their produce on bamboo stalls under banana-leave roof. Products range from homegrown fruits and vegetables to local foods and sweets. Examples are rice sheaf with banana filling, steamed fish with curry paste, pea moth, wrapped and steamed chicken and jackfruit salad. Vendors arrive around 3 to 4 am on pick-up trucks. Some travel in group on a hired six-wheeler from remote or hilly areas. Each farmer has more than one product to offer as they grow fruits or vegetables along with cash crops, such as rice, corn, tapioca, potato and soybean. An organic warehouse is the center for gathering members’ organic produce for sale and processing in retail and wholesale. Mae Kiangkham, a vendor from Ban Don Jian in
ers include teachers, foreign residents or tourists and Japanese students. I am here on Saturdays and will be at Nakornping hospital on Wednesdays. Members from Samoeng district will use my stall on Wednesdays. When there is no produce for sale, I sell fertilizers. I have grown vegetables before adopting organic farming; the organic training taught me how to put extra care and attention in farming and made me feel more secure in my career.” MEANWHILE, THE MCC MARKET AT CHIANG MAI UNIVERSITY is located in the Multiple Cropping Centre compound with beds of organic vegetables on display nearby. The market is open on Wednesdays and Fridays from 6 am to 1 pm. The market is divided into two sections. The first section offers organic products, including vegetables, fruits, seeds, sprouts and local vegetables. The other sells local foods and sweets. Ready-to-eat foods are cooked with organic ingredients sold there. Most customers are teachers, doctors, nurses, students and foreign residents.
ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path
GL27-VA.indd 9
3/2/10 4:49 PM
10
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ไม่ว่าจะเป็นข้าวต้มมัดห่อกล้วย แอ็ป (ห่อหมก) ถั่วเน่า ห่อนึ่ง แอ็ปบอน ต�ำขนุน บรรจุใส่เข่งใส่ลังขนมาตั้งแต่ตี 3 ตี 4 บ้างก็ใส่ รถกระบะ บ้างก็รวบรวมเงินเหมารถโดยสาร เนื่องจากบางพื้นที่ระยะ ทางค่อนข้างไกลหรือมาจากดอยสูง ผลผลิตของเกษตรกรมิได้มีเพียงพืชผักอย่างเดียว ยังปลูกพืช ไร่อย่าง ข้าว ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง มันฝรั่ง ถั่วเหลือง ควบคู่กันไป โดยจะมีคลังเกษตรอินทรียเ์ ป็นศูนย์กลางรองรับผลผลิตของชาวบ้าน ทีเ่ ป็นสมาชิก เพือ่ จ�ำหน่ายผลผลิตเกษตรอินทรียแ์ ละผลผลิตแปรรูป ทั้งในราคาปลีกและส่ง แม่เกี๋ยงค�ำ แม่ค้าจากบ้านดอนเจียง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ เล่า ถึงทีม่ าทีไ่ ปของตลาดนัดเจเจว่า นับแต่มกี ารเข้าไปสนับสนุนให้ปลูกพืช เกษตรอินทรียจ์ ากหลายภาคส่วน เช่น จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สถาบัน เกษตรกรรมยัง่ ยืน จนการเพาะปลูกขยายไปในหลายครอบครัว หลาย อ�ำเภอ จึงเกิดตลาดนัดเกษตรอินทรีย์ และมีการก่อตั้งคลังเกษตร อินทรีย์ขึ้นในปี พ.ศ. 2549 เพื่อรองรับผลผลิตของชาวบ้าน ด้ า นการเช่ า พื้ น ที่ ต ลาด คลั ง เกษตรอิ น ทรี ย ์ จ ะท� ำ หน้ า ที่ เป็ น ผู ้ เ ช่ า และบริ ห ารงานของตลาด สมาชิกจะเป็นผู้จ่ายค่าเช่า ซุ้มละ 20-40 บาท เพื่อน�ำไปใช้ในการบริหารปรับปรุงซ่อมแซม ซุม้ ร้านค้า สมาชิกเกษตรกรจะมีทงั้ อ.สะเมิง อ.แม่ออน อ.สันก�ำแพง อ.ดอยสะเก็ด อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ และ อ.แม่ทา จ.ล�ำพูน ทุกๆ วัน สมาชิกเกษตรกรจากทุกพื้นที่จะส่งผลผลิตเข้าสู่คลังแห่งนี้ “แต่ก่อนตลาดเดิมอยู่ที่เจอิ่มบุญ แต่หมดสัญญาเช่า จึงได้ย้าย มาที่นี่ ซึ่งไม่ไกลจากที่เดิมมากนัก ลูกค้าที่มาก็จะมีทั้งลูกค้าประจ�ำ ที่เคยซื้อตั้งแต่อยู่ที่เจอิ่มบุญและติดตามมาที่นี่ เป็นลูกค้าหน้าใหม่ก็ เยอะที่รู้จากการบอกต่อๆ กันไป “ตลาดจะคึกคักประมาณ ตี 5 ถึง 6 โมงเช้า ลูกค้าที่นี่มีหลาย ประเภท บ้างก็เป็นครู อาจารย์ เป็นชาวต่างชาติที่มาอยู่หรือมาเที่ยว รวมถึงนักศึกษาญีป่ นุ่ ก็มี แม่จะมาขายทุกวันเสาร์ วันพุธจะย้ายไปขาย ที่ โรงพยาบาลนครพิงค์ ที่ตรงนีจ้ ะมีสมาชิกจากสะเมิงมาขายแทน สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันอย่างนี้ ช่วงที่ผลผลิตยังไม่ออกตลาด ก็จะ ท�ำปุ๋ยขายด้วย การปลูกผักขายมันเป็นอาชีพเดิมของเราอยู่แล้ว แต่ เมื่อมีการเข้ามาอบรมให้ความรู้ ท�ำให้เราเกิดความเข้าใจเรื่องเกษตร อินทรีย์มากขึ้น ระมัดระวัง ใส่ใจในผลผลิตและมั่นใจในอาชีพของ เรามากขึ้น” แม่เกี๋ยงค�ำ พูด ทางด้านของตลาดเอ็มซีซี หรือกาดนัดเกษตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตั้งอยู่ในบริเวณศูนย์วิจัยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ด้านข้างของตลาดมีบรรยากาศของแปลงผักอินทรีย์ให้ ชื่นชมแทนสวนไม้ประดิษฐ์ ตลาดนัดจะมีทุกวันพุธและเสาร์ เวลา ท�ำการประมาณ 6.00 - 13.00 น. ตลาดแบ่งบริเวณเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ส่วนแรกเป็นผลผลิต เกษตรอินทรีย์ ประกอบด้วยผัก ผลไม้ เมล็ดพันธุ์ ต้นกล้า พืชผัก พื้นบ้าน อีกส่วนคือผลผลิตที่แปรรูปเป็นอาหารพื้นเมืองทั้งคาวและ หวาน ลูกค้าส่วนใหญ่จะเป็นครู อาจารย์ หมอ พยาบาล นักศึกษา รวมถึงชาวต่างชาติ มีป้ายบอกชื่อกลุ่มและจ�ำนวนสมาชิกกลุ่มอยู่ ด้านหลังของแต่ละร้าน รวมถึงป้ายแนะน�ำคุณประโยชน์ของผัก ผล ไม้ แต่ละชนิด อาทิ มะเขือเทศ มีกรดอะมิโนลดอาการมะเร็งล�ำไส้
GL27-VA.indd 10
ถั่วลันเตา มีโปรตีน มะระเป็นยาดับร้อน เป็นต้น เอาไว้เป็นแนวทาง ให้กับผู้บริโภคได้เลือกตามความต้องการ เฉลิม อรุณโรจน์ ชาวบ้าน ต.สันผีเสื้อ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ประธานกลุม่ ตลาดนัดเกษตรปลอดสารพิษแม่ปงิ เล่าว่า การริเริม่ ตลาด แห่งนีเ้ กิดจากศูนย์วจิ ยั เพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เข้าไปส่งเสริมให้ชาวบ้านในหลายพืน้ ทีท่ ำ� การ เพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ แต่ตลาดในแต่ละพื้นที่ยังไม่สามารถ รองรับผลผลิตได้ทงั้ หมด ในขณะที่กระแสการบริโภคแบบปลอดภัยเริ่มได้รับความสนใจ แนวคิดเรื่องการเปิดตลาดนัดเกษตรอินทรีย์จึงเกิดขึ้น ตอนแรก เหมือนเป็นการลองผิดลองถูก แต่หลังจากมีการอบรม การปลูก และ ท�ำปุ๋ยแบบเกษตรอินทรีย์อย่างแพร่หลาย ทางศูนย์วิจัยเพิ่มผลผลิต และสมาชิกจากหลายอ�ำเภอในเชียงใหม่ได้ประชุมหารือและได้ริเริ่ม ท�ำตลาด เพือ่ กระจายผลผลิตของกลุม่ สร้างความเชือ่ มัน่ ในแนวทาง เกษตรอินทรีย์ให้กับสมาชิกขึ้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2547 มาถึงปัจจุบัน ตลาดเติบโตขยายตัวในระดับที่น่าพึงพอใจ จาก 7 กลุ่มแรกเริ่มปัจจุบันมี 11 กลุ่ม ขายผัก-ผลไม้สด และอาหาร ส�ำเร็จรูป คนท�ำอาหารก็คือสมาชิกที่ขยายตัวออกโดยน�ำผลผลิตที่ ได้จากเพื่อนสมาชิกไปแปรรูป ทุกๆ วันเสาร์จะมีการประชุมสมาชิก ในตลาด เพื่อแก้ไขปัญหาการฝ่าฝืนข้อตกลง การตรวจสอบเรื่องการ ใช้เคมีและการตั้งราคาผลผลิตที่สูงเกินข้อก�ำหนด รวมถึงการพัฒนา ผลผลิตตามความต้องการของตลาด สมาชิกแต่ละคนจะปลูกพืชผัก ที่หลากหลายตามฤดูกาล บ้างก็ปลูกไว้เพื่อบริโภคในครัวเรือน บ้างก็ ปลูกไว้ขายอยู่แล้ว เพื่อให้มีผลผลิตออกสู่ตลาดตามความต้องการ ของผู้บริโภค เรียกได้ว่ามาแล้วไม่ผิดหวัง ส�ำหรับร้านค้าเกษตรของเฉลิม ปกติจะมีผักตามฤดูกาลขาย ช่วงไหนต้องรอผลผลิตทางร้านก็มีผลิตภัณฑ์อื่น เช่น น�้ำมันมะพร้าว ข้าวกล้องประเภทต่างๆ ที่สมาชิกกลุ่มผลิตขึ้น มีทั้งข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิ กระบวนการทุกอย่าง ตั้งแต่ปลูก เกี่ยว สีข้าว มาจากหยาดเหงื่อแรงงานของเกษตรกรที่เป็นสมาชิกทั้งสิ้น ถ้าถามคนในตลาดเหล่านีว้ า่ กระแสการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ และบริโภคผลผลิตเกษตรอินทรีย์เป็นเพียงการสร้างทางเลือกให้ กับเกษตรกรและผู้บริโภค พวกเขาจะให้ค�ำตอบที่ก้าวไกลไปกว่านัน้ เพราะวันนี้เป็นที่ประจักษ์ว่าเกษตรกรปลดหนี้ปลดสิน มีข้าวปลา อาหารที่สมบูรณ์และปลอดภัย ตลาดที่ก� ำลังเติบโตยังบ่งบอกถึง ความเข้มแข็งของชุมชน การรู้จักใช้องค์ความรู้และทรัพยากรอย่าง เหมาะสมกับการผลิต และการเลือกบริโภคสิ่งที่ดีต่อสุขภาวะ การค้นหาทางเลือกร่วมกันของเกษตรกรรวมถึงหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้กรอบคิดเรื่องการผลิตที่สอดคล้องกับระบบนิเวศ วัฒนธรรม การพึ่งตนเองของเกษตรกรรายย่อย ชุมชน และผู้บริโภค ได้รับความปลอดภัย เป็นทางเลือกที่น่าสนใจในการเผชิญกับภาวะ วิกฤตทั้งด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนา สุดท้ายตลาดเกษตรอินทรีย์ที่เกิดตามชุมชนต่างๆ เหล่านี้ หาก สามารถเกิดขึ้นและกระจายตัวอยู่ทั่วประเทศ คงสร้างความคึกคัก ให้การเกษตรไทย และสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเอง และทรัพยากรในท้องถิ่น โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องมือจากหน่วยงาน ราชการหรือต่างชาติมาควบคุมมาตรฐานเลยก็ได้
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
A sign is put up behind each stall, displaying the name of the group it belongs to and the number of group members. Another sign lists health benefits of different kinds of vegetables, such as tomato containing anti-colon cancer amino acid, green garden peas providing a valuable source of protein and bitter gourd helping to prevent canker sore. Chalerm Arunroaj, a Chiang Mai native and president of the Mae Ping chemical-free agricultural weekend market group, said the MCC market sprung from the Multiple Cropping Centre’s promotion of organic farming and an increasing demand for safe products. Following extensive trainings on organic farming and fertilizer making, the center and members from many districts met and decided to open a market to distribute their products and boost their confidence in organic farming on February 21, 2004. The market operations have expanded satisfactorily from seven to 11 member groups. Market members meet every Saturday to address any violations and inspect chemical use and inflated prices as well as discuss how to meet changing demand. Each member grows various seasonal vegetables, either for household consumption or sale. Chaloem’s own stall offers seasonal products. When these are not available, he sells products made by other members, such as coconut oil and a wide selection of
September - December 2009
11
แผงขายผัก-ผลไม้พื้นบ้าน แม้จะไม่หลากหลายเท่าแผงค้าในตลาดทั่วไป แต่สินค้าเหล่านี้ เกษตรกรปลูกเอง เก็บเกี่ยวเอง ขายเอง จึงมั่นใจได้ในความปลอดภัย
Stalls at organic weekend markets may not have as wide a variety of fruits and vegetables as at other fresh markets. But product safety is assured.
brown rice, including germinated brown rice and jasmine brown rice. Rice was grown, harvested and milled by group members themselves. For market members, organic products are more than an alternative for farmers and consumers, but an end to their vicious debt cycle and the means to bring abundant and safe foods on the table. The market’s success story points to community strength, appropriate application of knowledge and resources for production, and an option for healthy consumption. The success stems from a decision jointly made by farmers and related agencies to try different ways of doing things that are harmonious with the ecosystem and consonant with local culture and the principle of selfreliance for small farmers, communities and consumers. It turns out to be an apt alternative in coping with current economic, environmental and development crises. Should organic markets mushroom throughout the country, farmers will be active and communities can rely on themselves and local resources, and offer quality products, without the need for standard control by public or foreign agencies.
ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path
GL27-VA.indd 11
3/2/10 4:49 PM
12
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
เส้นทางสูเ่ ศรษฐกิจเขียว แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา
วิกฤตธรรมชาติที่กระทบต่อการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์อย่าง ซ�้ำๆ ซ้อนๆ ได้เปิดโลกทรรศน์ใหม่ผ่านการยกระดับความ ตื่นตัวทางสิ่งแวดล้อม เมื่อประชาคมโลกเริ่มมองปรากฏการณ์ และรับรู้ปัญหาที่มีความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ เชื่อมโยง กันเป็นลูกโซ่ และได้เริ่มแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ ในการจัดระบบ ทางเศรษฐกิจ การพัฒนา และสังคมที่มีหลักจริยธรรมทาง สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในสถานการณ์ ล ่ า สุ ด ที่ ส ร้ า งความหวาดหวั่ น ให้ ประชากรโลกอย่างกว้างขวาง เมือ่ พิษเศรษฐกิจในอเมริกาลุกลามข้าม ทวีปมายังยุโรปและเอเชีย แต่ในทางหนึง่ ปรากฏการณ์นกี้ ็ยังถูกมอง เป็นโอกาสให้ธรรมชาติและระบบนิเวศได้ฟื้นตัวจากความเสื่อมโทรม
GL27-VA.indd 12
ขึ้นมาบ้าง และยังเป็นโอกาสที่จะน�ำแนวคิดใหม่เรื่อง“เศรษฐกิจ สีเขียว” หรือ Green Economy เชื่อมโยงไว้ในการแก้วิกฤต เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นด้วย “เศรษฐกิจสีเขียว” หมายถึง? “เราไปเข้าใจว่าเศรษฐกิจเป็นเรื่องของการร�่ ำ รวยทรัพย์สิน เงินทอง แต่ภาษาอังกฤษค�ำว่าเศรษฐกิจคือ Economy มาจาก ค�ำว่า eco ซึ่งเป็นภาษากรีกแปลว่า บ้าน...” สุลักษณ์ ศิวรักษ์ นักปราชญ์และนักวิจารณ์สังคม อธิบาย เป็นค�ำอธิบายเดียวกันกับ ธเนศ กิตติพรพาณิชย์ เด็กหนุ่มใน ตลาดสามชุก ที่กล่าวว่า “เราพัฒนาตลาดสามชุกด้วยจิตส�ำนึกว่าที่นี่ เป็น ‘บ้าน’ ของเรา นีค่ ือเศรษฐกิจสีเขียวในความเห็นของผม”
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
13
Towards Green Economy Maenwad Kunjara Na Ayuttaya
R
EPEATED NATURAL DISASTERS HAVE RAISED AWARENESS of ailing environmental health and its domino effects, starting a quest for alternative economic, development and social orders which incorporate a code of environmental ethics. In the latest wakeup call, the Hamburger Crisis in the U.S. has reached across the globe to grip Europe and Asia. The global economic downturn, however, provides a respite for the ailing nature and ecosystem. At the same time, an opportunity has opened itself up to introduce a new concept of “Green Economy” as a long-term economic prescription. WHAT IS “GREEN ECONOMY”? “We tend to think economy means wealth. But the word ‘economy’ comes from the Greek word ‘eco’ which means ‘home’,” explains Sulak Sivaraksa, a scholar and prominent social critic. The explanation is echoed by Thanit Kittipornpanit of Sam Chuk Market who said: “We have developed Sam Chuk Market with the realization that it is our home. This is my vision of a green economy.” The two men’s view of green economy as rooted in the “home” has given it a deep meaning that is more than clean technology and environment-friendly production and consumption. It reflects community resistance to capitalism and consumerism through an economic system driven by the needs of home dwellers to go back to their root and strike a new balance between society, way of life, culture, environment and ecosystem. RISE OF COMMUNITY Sam Chuk Market won an Award of Merit from UNESCO (United Nations Educational, Scientific and
ชีวิตประจ�ำวันของคนงานและชุมชนที่อยู่อาศัยอยู่ในบริเวณนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุดที่ฝากท้องไว้กับตลาดนัดยามเย็นที่ตั้งอยู่ติดกับโรงงานอุตสาหกรรมหนัก Workers and locals in a Map Ta Phut community mingle at an evening market adjacent to heavy industrial plants.
GL27-VA.indd 13
3/2/10 4:49 PM
14
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ตามความคิดเห็นของคนไทยสองคนทีใ่ ช้คำ� ว่า “บ้าน” มาอธิบาย เศรษฐกิจสีเขียว ไม่เพียงให้ความหมายต่อแนวคิดเรื่องเศรษฐกิจ สีเขียวที่ลึกซึ้งเกินกว่าเรื่องของเทคโนโลยีสะอาด หรือการผลิต-การ บริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเท่านัน้ เพราะค�ำว่าบ้านของคนไทย ยังสะท้อนถึงรูปแบบของกระบวนการพัฒนาในชุมชนต่างๆ ทีพ่ ยายาม ต้านกระแสทุนนิยมและบริโภคนิยม ด้วยการขับเคลื่อนภายใต้ระบบ เศรษฐกิจทีเ่ ป็นความต้องการของคนในบ้าน จนสามารถคืนสูร่ ากเหง้า หรือสามารถแสวงหาแนวทางใหม่ที่มีสมดุลระหว่างสังคม วิถีชีวิต วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ ได้อีกครั้ง ก�ำเนิดในชุมชน ตลาดสามชุกได้รบั รางวัลในโครงการอนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรม ในภู มิ ภ าคเอเชี ย และแปซิ ฟ ิ ก จากสหประชาชาติ ห รื อ ยู เ นสโก (UNESCO) ในปี 2552 ความส�ำเร็จนี้เป็นเพียงผลพลอยได้จาก ความพยายามนับ 10 ปีของชุมชนในตลาดที่ต้องการจะฟื้นฟูตลาด ที่เงียบเหงาให้กลับมาค้าขายคึกคัก ผู้คนมีความสัมพันธ์ต่อกันอย่าง มีความสุขเช่นในอดีต
หรือหมู่บ้านตัวอย่างหลายรูปแบบที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นในหลายๆ ด้าน เช่น การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การอนุรักษ์พลังงาน วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปรากฏกระจายอยู่ทั่วประเทศ แม้แต่คนในเมืองก็พยายามแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ ในการ ด�ำเนินชีวติ โดยสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ สร้างสรรค์กจิ กรรมร่วมกัน ตามหลักปรัชญา ศาสนา ธรรมชาติ มาเป็นแนวทางต่างๆ เช่น อาศรม วงศ์สนิท สันติอโศก ในมิตปิ ญ ั หาชุมชนแออัดในกรุงเทพและหัวเมืองใหญ่ ทีผ่ า่ นมา มีแนวคิดในการแก้ปญ ั หาด้วยโครงการบ้านมัน่ คง ในความรับผิดชอบ ของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) หรือ พอช. ก็เป็น ช่องทางหนึง่ ทีเ่ ป็นทางเลือกในการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยและพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ของคนจนเมืองให้มนั่ คงมากขึน้ แม้โครงการนีจ้ ะติดอุปสรรคใหญ่ คือ เจ้าของทีด่ นิ มักจะเป็นนายทุนและหน่วยงานของรัฐ ซึง่ ส่วนใหญ่ มักไม่อนุญาตให้มกี ารปรับปรุงสร้างบ้านใหม่ทมี่ นั่ คงถาวร ซึง่ แนวทาง นี้การเคหะแห่งชาติเป็นหน่วยงานบุกเบิกแต่สุดท้ายก็ไม่สามารถ แก้ปญ ั หาชุมชนแออัดได้ ในขณะที่แรงขับเคลื่อนที่สั่นสะเทือนภายนอกเพียงบางเบา
...ผมว่าคนเล็กคนน้อยก็เริ่ม เข้าใจเขาจะเริ่มพึ่งตัวเอง และพึ่ง ธรรมชาติ เขาจะผลิตของเขาเองและของที่ เขาผลิตนั้นมีความเป็นเลิศ มีเอกลักษณ์พิเศษ – สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ...I’d say the common folks have started to recognize that if they rely on themselves and nature, they can achieve excellence and uniqueness in anything they produce. – Sulak Sivaraksa เหมืองถ่านหินลิกไนต์ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง เป็นการท�ำเหมืองแร่ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน ประเทศ และท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติอย่างร้ายแรง แต่ถ่านหินก็เป็นเชื้อเพลิงที่ส�ำคัญใน การผลิตไฟฟ้าเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ The open lignite mine in Lampang’s Mae Moh district, the largest of its kind in the country, has destroyed much of the surrounding natural area. In return, the lignite coal has been an important fuel for power production in support of the country’s industrial development.
หมูบ่ า้ นแม่ก�ำปอง จ.เชียงใหม่ ได้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวาง ว่าเป็นหมู่บ้านต้นแบบโครงการพัฒนาไฟฟ้าพลังน�ำ้ ขนาดเล็ก แสงไฟ สว่างขึ้น ณ หมู่บ้านแห่งนี้เริ่มคิดเริ่มสร้างโดยชุมชนทุรกันดาร หลัง เขา ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง จนพัฒนาต่อเนื่องมาด้วยการบริหารจัดการของ ชุมชนอย่างเต็มรูปแบบ หมู่บ้านคีรีวงศ์ จ.นครศรีธรรมราช ชุมชนที่เคยเสียหายยับเยิน จากดินถล่ม แต่ทุกคนก็ร่วมกันพัฒนาชุมชนขึ้นมาใหม่จนกลายเป็น ชุมชนต้นแบบในการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หรือ โฮมสเตย์ ต้นแบบของหมู่บ้านบุไทร จ.นครราชสีมา ที่สะท้อนภาพการจัดการ การท่องเที่ยวโดยชุมชนได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังมีหมู่บ้านพึ่งพาตนเอง หมู่บ้านพอเพียง หมู่บ้าน เข้มแข็ง หมู่บ้านอยู่ดีมีสุข หมู่บ้านพิทักษ์ป่า หรือ หมู่บ้านต้นแบบ
GL27-VA.indd 14
แต่ความสั่นสะเทือนภายในกลับปะทุลุกโชนเป็นพลังให้ชาวชุมชน แออัดหันมาปรับตัวเองในการพัฒนาที่อยู่อาศัยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ท�ำให้เป็นที่ประจักษ์ต่อสังคมว่า คุณค่าคนจน คือ แรงงานหลักของเมือง การพัฒนาเมืองที่แท้จริงต้องท�ำให้เป็น เมืองที่น่าอยู่ส�ำหรับทุกชนชั้น และการย้ายชุมชนแออัดออกนอก เมืองก็ไม่ใช่การแก้ปัญหา พลังในการปรับเปลี่ยนตนเองและชุมชนที่ เข้มแข็งนี้ มีตัวอย่างที่น่ายกย่อง เช่น ชุมชนเพชรคลองจั่น กรุงเทพฯ ชุมชนบางปะรอก จ.ปทุมธานี ชุมชนคลองแม่ข่า จ. เชียงใหม่ ชุมชน เก้าเส้ง จ.สงขลา ชุมชนหนองผ�ำ จ.อุบลราชธานี กล่าวถึงเศรษฐกิจสีเขียวที่ให้ความส�ำคัญต่อระบบการเกษตร ที่ยั่งยืน ซึ่งจะเป็นหนทางคืนสู่ความสมดุลและเป็นธรรมระหว่าง สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ภาพเหล่านี้เห็นได้ชัดเจนจากเกษตรกร มากมายที่ลุกขึ้นมาต้านกระแสเชี่ยวกรากของเกษตรสารเคมี เกษตร เชิงเดี่ยวที่เริ่มระบาดมาตั้งแต่ยุคปฏิวัติเขียว การพลิกระบบเกษตรกรรมของประเทศด้วยการหวนคืนวิถีเดิม นี้มีตัวอย่างที่สัมฤทธิ์ผลอยู่มากมาย อาทิ วนเกษตร ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม จ.ฉะเชิงเทรา ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ จ.สุรินทร์ ที่มีชื่อเสียง
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
15
ร้านค้ายามค�่ำคืนบนถนนสุเทพหลังมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขายอาหาร เครื่องนุ่งห่มและ เครื่องประดับนานาชนิด ในรูปแม่ค้าร้านเครื่องประดับส�ำหรับหญิงสาวก�ำลังจัดร้านรอ Street stalls along Suthep road behind Chiang Mai University sell food, clothes and various decorative items. The photo shows a vendor organizing her ware which, though non-essential, draws a constant stream of buyers.
ตลาดนัดชนเผ่าที่ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ก�ำลังมีการณรงค์ให้ลดการใช้ถุงพลาสติก หรือใช้ถุงพลาสติกที่ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ Vendors from various hill tribes man their stalls at the morning market in Pang Ma Pha district of Mae Hong Son where municipality officials urge residents to use fewer plastic bags in a campaign to reduce global warming
Cultural Organization) for cultural heritage conservation, the fruit of a decade of the community’s hard work to inject life into the once-abandoned market. Mae Kampong village situated on a mountain slope out of reach of the electrical grid in Chiang Mai for many years managed to get by with micro hydropower plants. Khiriwong village of Nakhon Si Thammarat has emerged from a landslide tragedy and repositioned itself in a map of homestay destinations. Bu Sai village of Nakhon Ratchasima shared a similar success story, thanks to the active community. Self-reliant villages, sufficiency villages, strong villages, good governance villages, eco forest villages or villages of other names, such as conservation tourism, power conservation, culture, and local wisdom, have scattered nationwide. Even city folks are in pursuit of alternative living. Learning communities have been formed based on philosophy, religions and nature as guiding principles, for example, the Wongsanit Ashram and the Santi Asoke Buddhist movement.
In dealing with the problem of slums and squatters in Bangkok and other major cities, the National Housing Authority (NHA) has implemented the Baan Mankhong Housing Project aiming at improving the quality of house and life for the urban poor. However, it ran into strong resistance from landlords, most of whom are government agencies, who were fearful of seeing their land occupied by slum communities on a permanent basis. While the NHA’s efforts have not met with much success, they have sparked a drive by the slum residents themselves to improve their housing and the environment around where they live as a way to improve their quality of life. It was to demonstrate the worth of the urban poor as the main labor force and to make a point that urban development must aim at improving the life of all classes of people and that slum relocation is not the solution. Petch Khlong Chan community in Bangkok, Bang Parok community in Pathum Thani, Khlong Mae Kha community in Chiang Mai, Kao Seng community in Songkhla and Nong Pham community in Udon Thani have won praise for their self development. Green economy prescribes sustainable agriculture as a way to restore natural balance and health. Many farmers have now stood up against the flood of chemical agriculture and monoculture which have been in widespread practice since the Green Revolution. The revival of traditional farming has witnessed many success stories — agroforestry by Viboon Khemchalerm in Chachoensao, the world-renowned organic jasmine rice in Surin, and about 120,000 rai of organic farming on land that was formerly chemically farmed (Green Net, 2007). Sustainable agriculture has been given different names, such as mixed farming, Suan Somrom, Suan Duson, forestry plantation, integrated agriculture, new-theory agriculture and natural agricul-
เส้นทางสู่เศรษฐกิจเขียว Towards Green Economy
GL27-VA.indd 15
3/2/10 4:49 PM
16
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
(บน, บนขวา) ขนมอุตสาหกรรมและวงจรหนี้สิน คือรูปแบบหนึง่ ของลัทธิบริโภค นิยมที่ได้ลุกลามเข้าไปยังหมู่บ้านชนเผ่า เช่น เผ่าลีซู ใน อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน
(Above, above right) Mass-produced snack and a sign promoting loans are but some of the elements of consumerism that has spread as far-away as remote hilltribe villages such as this Lisu village in Pang Ma Pha district of Mae Hong Son.
เลื่องลือในระดับโลก หรือเกษตรอินทรีย์ที่สามารถมองได้จากตัวเลข ประมาณ 120,000 ไร่ในประเทศที่เปลี่ยนจากเกษตรเคมีมาเป็น เกษตรอินทรีย์ (กรีนเน็ต-ข้อมูลในปี 2550) อีกทัง้ รูปแบบของเกษตร ยัง่ ยืนในประเทศไทยยังปรากฏอยูใ่ ต้ชอื่ เรียกอีกหลายประเภท แต่ละ ประเภทก็เป็นรูปแบบการเกษตรที่นอกจากจะหันกลับสู่ยุคภูมิปัญญา อาทิ ไร่นาสวนผสม สวนสมรม สวนดูซน สวนป่า เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฏีใหม่ เกษตรธรรมชาติ ยังมีการคิดค้นเรียนรูจ้ ากธรรมชาติ เกิดขึ้นใหม่อยู่เสมอ ดังกรณีของ ข้าวล้มตอ จ.ปทุมธานี ในสวนยางพารา จ.นครศรีธรรมราช คนในชุมชนไม้เรียงที่ก�ำลัง เป็นหนีเ้ ป็นสิน ประสบกับปัญหาราคายางพาราตกต�ำ่ และผันผวน พวก เขารวมกลุม่ กันต่อสูใ้ ห้ราคายางพาราสูงขึน้ โดยการจัดกิจกรรมกลุม่ ใน ชุมชน เช่น โรงงานแปรรูปยางพารา เพื่อปรับปรุงคุณภาพยางพาราให้ เป็นทีต่ อ้ งการของตลาด ลดต้นทุนการผลิต ต่อมาได้ตงั้ ศูนย์ศกึ ษาและ พัฒนาชุมชนไม้เรียงขึ้น โดยมีแผนการด�ำเนินงาน 8 ด้าน คือ แผน พัฒนาเกษตรยั่งยืน แผนการจัดการผลผลิตของชุมชน แผนพัฒนา เศรษฐกิจวิสาหกิจชุมชน แผนพัฒนาด้านสุขภาพ แผนพัฒนาทุนและ หนี้สิน แผนพัฒนาการท่องเที่ยว แผนพัฒนาจิตใจ แผนพัฒนาการ เรียนรู้ของชุมชน วันนีช้ ุมชนไม้เรียงเป็นหนึง่ ในชุมชนต้นแบบเรื่อง แผนชีวิตชุมชน อีกทั้งยังพิสูจน์ให้เห็นว่า เศรษฐกิจในชุมชน การพึ่ง ตนเอง หรือความเข้มแข็ง คนในชุมชนมีพลังเพียงพอที่จะสร้างสรรค์ ระบบขึ้นเพื่อบริหารจัดการด้วยตนเองได้ ยังมีตัวอย่างความก้าวหน้าในการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่เอื้อ อ�ำนวย ซึ่งเป็นกุศโลบายในการท�ำงานอนุรักษ์ของชุมชน แต่ในขณะ เดียวกันก็ก่อให้เกิดคุณค่าทางเศรษฐกิจขึ้น เช่น ธนาคารต้นไม้ ที่ จ.ชุมพร หรือกรณีของการปลูกสวนป่าสัก ที่ จ.สกลนคร ซึ่งนับเป็น ครั้งแรกในประเทศไทยที่มีการซื้อขายคาร์บอนเครดิตแบบสมัครใจ ในภาคป่าไม้ หากกล่าวถึงระบบการเงินทีม่ นั่ คงก็มตี วั อย่างรูปแบบของสถาบัน การเงินชุมชนที่น่าสนใจอีกเช่นกัน อาทิ ธนาคารชุมชน ต�ำบลห้วง
GL27-VA.indd 16
น�ำ้ ขาว จ.ตราด หรือการรวมกลุม่ สัจจะออมทรัพย์แบบพัฒนาครบวงจร ชีวิต น�ำโดย ครูชบ ยอดแก้ว จ.สงขลา ระบบนีท้ �ำให้เงินของชาวบ้าน หมุนเวียนอยูใ่ นชุมชนและสร้างประโยชน์ให้กบั ชุมชนเอง โดยไม่ตอ้ ง พี่งพาสถาบันที่หวังผลก�ำไรอื่นๆ ส่วน “เบีย้ กุดชุม” สือ่ กลางแลกเปลีย่ นในชุมชนของ 5 หมูบ่ า้ น ใน อ.กุดชุม และ อ.สันทรายมูล จ.ยโสธร เป็นผลพวงความพยายาม ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างสัญลักษณ์ที่จะน�ำมาใช้ซื้อขายแลก เปลี่ยนสินค้ากันภายในชุมชน ให้เงินหมุนเวียนภายในชุมชน รูปแบบ การพึ่งตนเองนี้เป็นปรากฏการณ์ที่ถูกกล่าวขวัญมายาวนาน โดย เฉพาะในยุคที่เศรษฐกิจและค่าเงินถูกก�ำหนดด้วยระบบเศรษฐกิจที่ เรรวนของโลก ตัวอย่างเด่นชัดในกิจกรรมของประชาสังคมทุกภาคส่วนใน ประเทศเหล่านี้ กล่าวได้ว่า เกิดขึ้นในรั้วบ้านรอบชุมชน เป็นระบบ เศรษฐกิจเพื่อสร้างความสุขให้สมาชิกในบ้าน เป็นวิถีแห่งการเติบโต ทางปัญญาของคนในชุมชน และการเติบโตของวัฒนธรรมแห่งความ รู้และเทคโนโลยีที่เกิดจากการเรียนรู้ “ภูมิปัญญา” จากโลกธรรมชาติ เป้าหมายก็เพื่อสร้างสังคมโลกที่ทุกชีวิตสามารถเติบโต เกื้อกูลกัน อยู่ร่วมกันอย่างได้อย่างมีความสุข ไม่ใช่ปรับเปลี่ยนรูปแบบหรือ คิดสรรสร้างผลผลิตขึ้นมาเพียงเพื่อตอบสนองความกินดีอยู่ดีของ คนในชุมชนเท่านัน้ หัวใจส�ำคัญของระบบเศรษฐกิจทีส่ ร้างความสุขให้สมาชิกในบ้าน จึงนับได้วา่ เป็นการขับเคลือ่ นตามแนวคิดใหม่เรือ่ งเศรษฐกิจสีเขียวมา เนิน่ นานแล้ว ก่อนทีแ่ ผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสองฉบับ หลังจะก�ำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขโดยใช้แนว ปฏิบตั ติ ามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และก่อนยุคทีน่ กั คิดนักวิชาการ ของไทยพยายามผสานเชื่อมโยงเศรษฐกิจสีเขียวไปกับหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ดัชนีชวี้ ดั ความอยูด่ มี สี ขุ รวมทัง้ การแสวงหาเครือ่ ง ชี้วัดสังคมคุณภาพ “ผมว่าคนเล็กคนน้อยก็เริ่มเข้าใจเขาจะเริ่มพึ่งตัวเอง และพึ่ง ธรรมชาติ เขาจะผลิตของเขาเองและของทีเ่ ขาผลิตนัน้ มีความเป็นเลิศ มีเอกลักษณ์พิเศษไม่ว่าจะเป็นข้าว ไม่ว่าจะเป็นผัก ผลไม้ จะไม่ฉดี ผงเคมี จะไม่ใส่ของปลอม ยากลับไปใช้ภูมิปัญญาดั้งเดิมแล้ว ไม่ใช่ ถอยหลังเข้าคลอง แต่มนุษย์เราต้องมีราก เราจะเดินข้างหน้าต้องมีราก “แต่ระบบเศรษฐกิจกระแสหลักเกิดจากการถอนรากถอนโคน เมื่อคราวปฏิวัติอุตสาหกรรมใหญ่ในอังกฤษ มันถอนรากถอนโคน หมด เราต้องกลับมาหารากกลับมาหาโคน แล้วเราจะเติบโตงอกงาม อย่างถูกต้อง” อาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ พูด
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552 ture, all based on local wisdom. New innovations, meanwhile, continue to be discovered such as lodge ratoon rice in Pathum Thani. In Nakhon Si Thammarat, rubber planters in Mai Riang community were debt-ridden due to fluctuating and plunging rubber prices. The planters joined hands to upgrade product and cut cost by setting up their own processing plant. Community development and study center was later formed to put into action eight operation plans — development of sustainable agriculture, community product management, community enterprise development, community health development, capital and debt management, tourism development, psychological development, and community learning development. Since then, the community has been a model for community life planning and a testament of community ability to instill self-reliance. Land utilization is a great ploy to fuel conservation drive in a community and raise economic value of land as evidenced in the success of the Trees Bank in Chumphon and a teak forest plantation in Sakhon Nakhon. The latter gave rise to a carbon credit trade on a voluntary basis in the forestry sector for the first time in Thailand. Financial security is also within a community’s reach. Examples are a community bank in Tambon Huang Nam Khao in Trat and a contractual (Sajja) savings group for life-cycle development under the leadership of Chob Yodkaew in Songkhla. Community financial institutions such as these keep savings within the community and revenue generated from them is used for the community’s benefits with no need to rely on forprofit institutions. “Bia Kut Chum” is the attempt of five villages in Kut Chum and San Sai Mun districts of Yasothon to create a medium of exchange for use within the locality. It was designed to help promote self-reliance in place of the system where the national and local economy and currency value were tied with the fluctuating global economy. All these activities in communities around the country point to an economic system that is aimed at creating happiness for families and communities. It demonstrates the growth of wisdom of people at the grassroots and the growth of a culture of knowledge and technology derived from knowledge within nature. The goal is to create a world in which all lives grow on a mutually dependent basis with happiness, not just to change the pattern of production or create products to satisfy the well-being of people in the community. Such an economic system is in essence a green economy that has been practiced long before the drafting of the last two national economic and social development plans, which envisioned a happy society based on His Majesty the King’s theory of sufficiency economy. Communities have developed their own system even before the intellectuals have linked green economy to suffi-
September - December 2009
17
(บน) ชาวหลวงพระบางก�ำลังตักบาตรในประเพณีตักบาตรข้าวเหนียวของชาวลาว ในขณะ ที่นกั ท่องเที่ยวชาวต่างชาติต่างพากันชมและถ่ายรูปอย่างสนใจ (Above) Luang Prabang residents offer alms to monks in a Laos’ traditional alms offering ceremony while foreign tourists observe and take pictures with much interest.
(ล่าง) ชาวบ้านก�ำลังนัง่ ล้อมวงกันปิ้งข้าวจี่ ซึ่งเป็นอาหารพื้นบ้านของภาคอีสาน วัฒนธรรมเรื่องอาหาร
(Below) A group of villagers gather to roast sticky rice, a traditional snack of the northeastern region. The traditional culinary culture is put on public exhibition in an attempt to conserve it.
ciency economy, the National Happiness Index and the quest for social quality indictors. “I’d say the common folks have started to recognize that if they rely on themselves and nature, they can achieve excellence and uniqueness in anything they produce, be it rice, vegetable or fruit. They need not use chemicals or artificial stuff. All they need is traditional wisdoms. This is not a step backward. But people need to have roots. If we are going forward, we need roots.
เส้นทางสู่เศรษฐกิจเขียว Towards Green Economy
GL27-VA.indd 17
3/2/10 4:49 PM
18
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
หญิงสาวชนเผ่าใน จ.แม่ฮ่องสอน ก�ำลังรดน�้ำในไร่มันฝรั่งด้วยระบบสปริงเกอร์ การเกษตรบนดอยสูงก�ำลังถูกพัฒนาเพื่อให้สามารถปลูกพืชนอกฤดูกาลและเพิ่มผลผลิตได้ มากขึ้น ในขณะที่แหล่งน�้ำที่มีเริ่มไม่เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภค A hilltribe woman tends to her potato farm while the sprinkler waters the plants. Highland farming has undergone great change, enabling off-season planting and increasing yields while water is becoming inadequate for consumption.
ธุรกิจต้องปรับตัว แรงเหวีย่ งจากโลกาภิวตั น์ไม่เพียงโยกคลอนทุนนิยมในจิตส�ำนึก ของชุมชนรากหญ้าเท่านัน้ องค์กรธุรกิจที่เคยมีภาพของการแสวงหา ประโยชน์ให้กับตัวเอง มุ่งสู่ก�ำไรสูงสุดโดยละเลยเรื่องอื่นๆ ก็ถูก ผลักดันให้เข้าสู่ยุคที่ต้องค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ไม่ก่อมลพิษ ต่อสภาพแวดล้อม ท�ำให้คุณภาพชีวิตของผู้บริโภคดีขึ้น ซึ่งการค�ำนึง ถึงผลกระทบของธุรกิจต่อสภาพแวดล้อมนัน้ จะส่งผลกระทบต่อการ ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภคด้วยเช่นกัน เครื่องมืออันหนึง่ ที่ธุรกิจใช้ในการรับมือกับโลกที่เปลี่ยนไปวัน นี้เป็นแนวคิดจากฝั่งตะวันตก เรียกว่า CSR (Corporate Social Responsibility) ซึง่ ก�ำลังก่อร่างวิถใี หม่ให้การท�ำธุรกิจมีความโปร่งใส เป็นธรรม ดูแลสวัสดิการให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผลิตสินค้า คุณภาพเพื่อผู้บริโภค ใส่ใจต่อกระบวนการผลิตที่ไม่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม ไปจนถึงการดูแลพัฒนาสังคมในวงกว้างโดยมีเป้าหมาย เพื่อสร้างความยั่งยืนให้กับองค์กรธุรกิจไปพร้อมๆ กั บ สั ง คมและ สิ่ ง แวดล้ อ ม แต่ในสายตาของนักเศรษฐศาสตร์และประชาสังคมในขบวนการ สีเขียว ได้แต่มองเครือ่ งมือนีด้ ว้ ยความเสียดาย เพราะ CSR ส่วนใหญ่ เพียงถูกใช้เป็นกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ให้ กับธุรกิจเท่านัน้ อย่างไรก็ตาม สัญญาณด้านอื่นๆ ยังคงท�ำให้เชื่อได้ ว่า ภาคธุรกิจทีเ่ คยโต้พายุเศรษฐกิจมาแล้วหลายระลอกได้เริม่ เปลีย่ น ทิศทางปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจสีเขียวมากขึ้น
GL27-VA.indd 18
บนชายหาดทุ่งวัวเล่น จ.ชุมพร เวิ้งว้างปราศจากสิ่งปลูกสร้าง มี เพียงป่าชายหาดและหญ้าทะเลขึ้นอยู่เรียงรายเท่านัน้ นีค่ ือข้อตกลง ร่วมกันในการอนุรักษ์ระบบนิเวศชายหาดของชุมพรคาบาน่า รีสอร์ต และผู้ประกอบการท่องเที่ยวในละแวกข้างเคียง โดยเฉพาะการ บริหารกิจการของชุมพรคาบาน่านัน้ ได้ท�ำให้รีสอร์ตแห่งนีก้ ลายเป็น แหล่งเรียนรู้ธุรกิจพอเพียง วิถีเกษตรอินทรีย์ การจัดการขยะ และ ต้นแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เรียกได้ว่าเป็นชุมชน แบบอย่างที่ธุรกิจ สถานประกอบการ พนักงาน นักท่องเที่ยว ชุมชน รอบข้าง สังคม และธรรมชาติอยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุข หรือตัวอย่างทีโ่ รงแรมบ้านท้องทราย บนเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี ก็ได้รบั การยอมรับว่าเป็นโรงแรมอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมต้นแบบทีโ่ ดดเด่น ไม่แพ้กนั นีค่ อื รูปแบบของธุรกิจทีเ่ กิดขึน้ จากจิตส�ำนึกสิง่ แวดล้อม ซึง่ ก�ำลังปรับเปลี่ยนโฉมหน้าของธุรกิจการท่องเที่ยวที่เป็นรายได้ส�ำคัญ ของประเทศ การหาความสมดุลและเป็นธรรมในธุรกิจที่เกิดจากแรงกดดัน ในฐานะที่เป็นผู้ก่อผลกระทบโดยตรงให้ชุมชนและสิ่งแวดล้อมก็มี แนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ดังเช่น ปัญหาฟาร์มสุกรจ�ำนวนมาก ที่ส่งกลิ่นเหม็น เป็นที่เพาะพันธุ์แมลงวัน และปล่อยน�้ำเสีย เพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกับชุมชนรอบข้างฟาร์มสุกรทั้งขนาดใหญ่-กลาง-เล็ก ด้วยการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ฟาร์มหลายแห่งน�ำน�้ำเสียไป ผลิตก๊าซชีวภาพ และในบางแห่งยังเอื้อเฟื้อแจกจ่ายให้ชุมชนที่ได้รับ ผลกระทบจากฟาร์มใช้ก๊าซฟรี เพื่อสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างฟาร์ม กับชุมชนให้ความสุขคืนมาอีกครั้ง รูปแบบการจัดการของเสียโดยน�ำมาเปลี่ยนเป็นพลังงานยังเห็น ได้จากการน�ำขยะ วัสดุเหลือทิง้ ในภาคการเกษตรมาเป็นวัตถุดบิ เช่น การผลิตความร้อนจากน�้ำเสีย ผลิตไฟฟ้าจากกากอ้อย มันส�ำปะหลัง ขยะที่ถูกฝังกลบ น�้ำเสียอุตสาหกรรมน�้ำมันปาล์ม น�้ำเสียจากการ ผลิตแป้งมันส�ำปะหลัง ผูป้ ระกอบการหลายรายน�ำโครงการเข้ากลไก พัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) จน สามารถขายคาร์บอนเครดิตให้กับประเทศที่มีพันธกรณีในการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึง่ นอกจากจะเกิดรายได้จากการขายคาร์บอน เครดิต ยังเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อม ลดโลกร้อน ลดผลกระทบที่เกิด จากการท�ำธุรกิจ และเป็นการใช้ทรัพยากรให้เกิดคุณค่าสูงสุดอีกด้วย ความตื่นตัวทางสิ่งแวดล้อมยังส่งผลเชิงบวกในหลายวงการ เพราะนอกจากชุมชนจะมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น วงการธุรกิจเองก็ได้ ประโยชน์ตามมา โดยเฉพาะกับการทีธ่ รุ กิจสาขาหนึง่ ต้องลงทุนใช้จา่ ย เพื่อสร้างระบบการจัดการทางสิ่งแวดล้อม ธุรกิจอื่นๆ ก็สามารถผลิต นวัตกรรมทางสิ่งแวดล้อม เช่น การผลิตเทคโนโลยีบ�ำบัดมลภาวะ เทคโนโลยีสะอาด เทคโนโลยีก�ำจัดมลพิษ อุตสาหกรรมรีไซเคิล ให้ เติบโตขึ้นได้ ดังเช่นการมองไกลของผูป้ ระกอบธุรกิจโรงงานคัดแยกขยะเพือ่ รีไซเคิล ทีป่ จั จุบนั มีเครือข่ายกระจายอยูท่ วั่ ประเทศ และยังเป็นธุรกิจ ที่มีแนวโน้มจะเติบโตขึ้นได้อีกมาก โลกทัศน์ใหม่ในภาคอุตสาหกรรม และบทบาทของรัฐ ล่าสุดของการขับเคลื่อนเรื่องระบบเศรษฐกิจสีเขียวที่เห็นได้
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
19
“The mainstream economic system arose out of the wreckage of society even since the Industrial Revolution in Britain. It has uprooted everything. So we need to go back to our roots so that we can grow in a proper way,” said Mr. Sulak. CORPORATES MUST CHANGE Not only has the wrecking ball of globalization shattered the perception of capitalism among the grassroots, business organizations which are used to maximizing profits over and above all else have also been forced to look at the environmental aspect and the consumers’ quality of life. Such considerations on the part of businesses will undoubtedly influence the consumers’ decision to buy. A tool that businesses use to cope with today’s changing world is Corporate Social Responsibility (CSR). A business model originated in the western world, CSR is designed to help businesses to operate more transparently and fairly, take good care of employees, produce quality products, install production process that is not harmful to the environment as well as contribute to sound development of society, with an aim to sustain the business as well as society and the environment. But, to many, such a lofty tool has often been misused for public relations purposes. In spite of that, there are signs that a wave of economic crises has steered enterprises towards a green economy. NO CONCRETE STRUCTURES DISTURB THE PICTURESQUE Thung Wua Laen beach in Chumphon. This is a result of a “no development’ deal for the beaches shared by Chumphon Cabana Resort and nearby tourism operators. The resort has established itself as a model of sufficiency business undertaking, organic farming, waste management and low impact constructions. This is a model of community where business establishments, employees, tourists, surrounding communities, the society at large and nature can co-exist peacefully. Another example is Ban Thong Sai Hotel in the resort island of Samui in Surat Thani which is noted for its outstanding environmental concern. Environment conservation has turned a new page in tourism business which is the country’s main income generating industry. Businesses, as polluters, may be driven externally to treat communities and the environment more fairly as in the case of pig farms which release foul odors, discharge wastewater into public waterways and become breeding grounds for flies. With help from state agencies, many farms use wastewater to produce biogas and some go as far as offering the gas for their neighbors to use for free to restore formerly good relationship strained by the pollution. The waste-to-energy conversion scheme has also been used by others in the agro-business sector using agricultural waste as raw material. Electricity can be
หญิงชนเผ่าชาวลาวก�ำลังเดินผ่านร้านค้าแห่งหนึง่ ในตลาดใหญ่ในแขวงห้วยซายของลาว สินค้าที่วางขายส่วนใหญ่คือสินค้าที่ไม่ได้มีความจ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวันอีกแล้ว A hilltribe woman walks by a shop in a large market in Laos’s Huay Xai province, where most shops display merchandise not essential for daily life. generated from sugarcane bagasse and tapioca, garbage from landfills, wastewater in palm oil industry and tapioca starch industry. Several operators have been able to sell carbon credits resulting from the conversion under the Clean Development Mechanism (CDM) to developed countries which have committed to reducing greenhouse gases. Such a scheme, besides earning extra revenue for the operators, also contributes to reducing global warming, lessening environmental impact and using resources more efficiently. Environmental awareness among businesses, which leads to investment in environmental management, also contributes directly to the creation and growth of associated green industries such as those in clean technology, pollution management and recycling. An example of a far-sighted business is a well-known recycling company that now has a nationwide network. INDUSTRY AND THE ROLE OF THE STATE The latest push of green economy in Thailand is the fight to designate all areas near and in Map Ta Phut municipality in Rayong province a pollution control zone after the pollution has taken a severe toll on the health of the local population and the environment for decades. The Supreme Administrative Court, meanwhile, ordered 76 heavy industrial projects which pose serious environmental threat, such as petrochemical, in Map Ta Phut Industrial Estate suspended for failure to fulfill environmental regulatory requirements under the law. The landmark rulings have raised the bar on the country’s industrial development for social justice. However, the government which plays a crucial role in pushing for sustainable economic development is obligated to assist the industrial and business sectors in their investment in clean technology and production, chemical sub-
เส้นทางสู่เศรษฐกิจเขียว Towards Green Economy
GL27-VA.indd 19
3/2/10 4:49 PM
20
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
อย่างชัดเจนในประเทศไทย คือ การประกาศเขตควบคุมมลพิษที่ มาบตาพุด จ.ระยอง และค�ำสั่งของศาลปกครองสูงสุดที่สั่งระงับ 65 โครงการอุตสาหกรรมหนัก ที่มีผลกระทบรุนแรงต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ สุขภาพและชีวิตของชุมชน เช่น ปิ โตรเคมี เนื่ อ งจากไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามข้ อ บั ง คั บ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มใน รัฐธรรมนูญ ค�ำสั่งของศาลปกครองสูงสุดในครั้งนีก้ ล่าวกันว่าเป็นการสร้าง บรรทัดฐานใหม่ในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศให้มีความ เป็นธรรมทางสังคมสูงขึ้น ดังนัน้ การปรับเปลี่ยนและก้าวย่างของ เศรษฐกิจที่ยั่งยืน รัฐบาลที่เป็นส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อนต้องเร่ง วางแผนและหาเงินสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมและภาคเอกชน มีการลงทุนในการผลิตที่สะอาดและเกิดผลกระทบน้อยที่สุด มี เทคโนโลยีสะอาดและมีประสิทธิภาพ การจัดการสารเคมีและกาก ของเสีย รวมทั้งเทคโนโลยีที่ใช้ลดมลพิษ ในภาคพลังงานต้องเน้นพลังงานทางเลือก พลังงานหมุนเวียน พลังงานงานทดแทน เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงาน ใต้ดนิ พลังงานงานชีวมวล สร้างสังคมคาร์บอนต�ำ่ โดยการสร้างระบบ ขนส่งมวลชนที่เพียงพอ และเมืองสีเขียว คือ อาคาร การก่อสร้าง และระบบการขนส่ง ที่เป็นมิตรกับระบบนิเวศ สนับสนุนจูงใจให้ผู้คน ในสังคมปรับเปลีย่ นพฤติกรรมไปสูก่ ารใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการ รักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยการใช้เครื่องมือเช่นมาตรการภาษี สีเขียว และออกกฎหมายที่เอื้ออ�ำนวย มีตัวอย่างดีๆ ของความก้าวหน้าในภาครัฐ เมื่อแนวคิดของ นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างสีเขียวกระโดดเข้าสู่ความจริงขึ้น หลังจาก คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้หน่วยงานรัฐด�ำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง สินค้าและบริการสีเขียวเท่านัน้ โดยเริ่มตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554 เป็นต้นไป นอกจากนั้น ยังมีการออกสัญลักษณ์ขึ้นมาอีกหลาย ประเภทเพื่อเป็นมาตรฐานในการรองรับผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์ และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น สัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์ที่ท�ำ มาจากวัสดุรีไซเคิล ฉลากคาร์บอน ฉลากเขียว มาตรฐานใบไม้เขียว หรือล่าสุด สัญลักษณ์ G (Green Production) คือการผลิตที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว และ สร้างทางเลือกในการตัดสินใจเพื่อให้ผู้บริโภคเลือกสินค้าและบริการ สีเขียวเหล่านัน้ มากขึ้น ส�ำหรับโครงการด้านพลังงานทีเ่ ดินหน้าอยูแ่ ล้ว ก็มหี น่วยงานรัฐ เป็นก�ำลังหลักในการขับเคลื่อน เช่น การสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�้ำขนาด เล็ก ฟาร์มกังหันลม ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ โรงงานผลิตไฟฟ้าจาก ขยะ การพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดเชิงพาณิชย์เพื่อการบริโภค ภายในประเทศ เป็นต้น อย่ า งไรก็ ต าม ตั ว อย่ า งที่ น� ำ เสนอภาพของธุ ร กิ จ และภาค อุตสาหกรรมทีพ่ ยายามเน้นถึงกระบวนการผลิตและบริโภคทีต่ อ้ งเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นนี้ แท้ที่จริงแล้วก็คือผลพวงที่คนเรายังไม่ ได้เปลี่ยนวิธีคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเรากับธรรมชาติ และการ แก้ปัญหาที่เน้นถึงการจัดการด้านการผลิตเพียงด้านเดียว ก็ไม่ได้นำ� ไปสู่ “การอยู่ดีมีสุขของคนและโลก” อย่างแท้จริงได้
GL27-VA.indd 20
ความสัมพันธ์ของเรากับธรรมชาติ: หลักคิดพื้นฐานของเศรษฐกิจ สีเขียว แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียวที่เสนอโดยโครงการสิ่งแวดล้อมแห่ง สหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP) มีเป้าหมายให้มนุษย์ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตขึ้นมา เพื่อตอบสนองความกินดีอยู่ดีของสังคมมนุษย์ อันเป็นแนวคิดที่มี กล่าวว่าจะน�ำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน หากน�ำแนวคิดนีม้ าต่อยอดกับฐานคิดแบบภูมปิ ญ ั ญาตะวันออก ทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการพึง่ พาอย่างประสานสอดคล้องกับวิถธี รรมชาติ และคุณธรรมแห่ง “ความพอเพียง” ก็จะได้รปู แบบเศรษฐกิจทีไ่ ม่ได้เน้น เฉพาะความเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่ยงั ผสานไว้ซงึ่ การ เติบโตทางปัญญาและทางวัฒนธรรมแห่งการใช้ความรูแ้ ละเทคโนโลยี เพือ่ เรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาจากโลกธรรมชาติ เพือ่ สร้างสังคมโลกทีท่ กุ ชีวติ สามารถเติบโตอยูร่ ว่ มกันอย่าง “อยูด่ มี สี ขุ ” ได้อย่างเกือ้ กูลด้วย หากเราเชื่อมั่นว่าหลักการเศรษฐกิจสีเขียวที่ผสมผสานกับวิถี ตะวันออกสามารถสร้างโลกที่สงบสุขส�ำหรับทุกชีวิตได้จริง เส้นทาง ที่เราเลือกจะก้าวต่อไปคงต้องมีการพิจารณาปรับเปลี่ยนสิ่งต่างๆ อย่างเชื่อมโยง เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงที่มีพลัง และหากคิดจะ เปลี่ยนระบบการผลิตและบริโภคสู่สังคมดังข้างต้น เราต้องคิดถึงการ เปลี่ยนแปลงวิธีการศึกษาของเยาวชนและพลเมืองซึ่งเป็นรากฐาน ของการแสดงออกซึ่งปฏิสัมพันธ์ของคนเราต่อโลกรอบตัว เพื่อสร้าง “ทัศนะของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และโลกธรรมชาติ” ใหม่ นอกจากนัน้ รูปแบบการใช้ชีวิตของเราก็ควรต้องเปลี่ยนด้วย วิถบี างอย่างของ “บุปผาชน” เช่น ระบบคอมมูน อาจเป็นเรือ่ ง สอดคล้องเหมาะเจาะกับยุคสมัยยิง่ กว่ายุคใดๆ เพราะนีค่ อื กระบวนการ “โลกาภิวฒ ั น์” จากชุมชนทีไ่ ม่ได้เกิดจากการใช้ชวี ติ เพือ่ หลีกหนีสงั คม ภายนอก แต่เป็นระบบที่สรรสร้างการผลิตและบริโภคอย่างเกื้อกูล ขนาดเล็กๆ ทีส่ ามารถเกิดขึน้ ได้ในทุกพืน้ ทีท่ กุ แห่งบนโลก และสามารถ เชื่อมโยงแบ่งปันความรู้กันได้ผ่านทางระบบเทคโนโลยีการสื่อสาร ออนไลน์ทเี่ กิดขึน้ แล้วกับหลายๆ ชุมชนทัว่ โลก รวมทัง้ ประเทศไทย ซึ่งเป็นค�ำตอบว่าการใช้ชีวิตอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมก�ำกับการผลิต และบริโภคของตน ไม่ใช่เป็นเรือ่ งย้อนยุคสมัยแต่อย่างใด สิ่งส�ำคัญอีกเรื่องในการสร้างระบบเศรษฐกิจสีเขียว ก็คือการใช้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาพัฒนารูปแบบการใช้ชีวิตโดยเรียนรู้กลไก ของธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตบนโลก ซึ่งมีวิวัฒนาการต่อเนื่องยาวนาน จนอยู่รอดมาได้นับหลายพันล้านปี ซึ่งองค์ความรู้นนั้ สั่งสมอยู่ในทุก สรรพสิ่งบนโลกใบนี้เช่นกัน มีผกู้ ล่าวไว้วา่ ในธรรมชาติไม่มสี งิ่ ใดเป็นของเสียหรือของเหลือใช้ (waste) และหากฉลาดจริง มนุษย์ต้องรู้จักเรียนรู้และน�ำเทคโนโลยี ขั้นสุดยอดของธรรมชาติมาปรับใช้ให้ได้ เมื่อนัน้ เราก็จะเป็นสิ่งมีชีวิต ทีไ่ ม่แปลกแยกกับโลกธรรมชาติ และสามารถด�ำรงเผ่าพันธุอ์ ยูร่ อดไป ได้อย่างยาวนานบนโลกใบนี้ ดังนัน้ หัวใจส�ำคัญของการมุ่งสู่เศรษฐกิจสีเขียวที่แท้จริงจะเกิด ขึ้นไม่ได้ หากมนุษย์ยังไม่เปลี่ยนวิธีคิดเรื่องความสัมพันธ์ของเรากับ ธรรมชาติ เพื่อให้เราสามารถกลับไปอยู่ร่วมกับธรรมชาติด้วยความ อ่อนน้อมถ่อมตนได้อีกครั้ง
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552 stances and waste management as well as anti-pollution technology. In the energy sector, development of alternative and renewable energy, such as wind, solar, thermal and biomass energy, should take precedence. A low-carbon society should be the goal with an eye toward development of sufficient mass transit system and green city encompassing ecologically-friendly buildings, construction and transport system. Citizens should be encouraged to change their behaviors to conserve natural resources and the environment through tools such as green taxes and related laws. The government sector also sees positive developments. The Cabinet recently approved a proposed green procurement plan, requiring all state agencies to spend on green goods and services by the 2011 fiscal year. In the meantime, many green labeling schemes have been introduced to certify green business operators, products and services, including recycling label which indicates the product is made from recycled materials, carbon label, Green Label, Green Leaf Standard and the latest G Symbol for green production. G stands for “Green Production” that is tailored for the government’s green procurement plan and as a green guide for consumers. The State also plays a leading role in promoting alternative energy, including construction of micro hydropower plants, wind farms, solar energy systems, waste-fuelled power plants, and commercial development of clean power technology for domestic consumption. However positive the green development in the business and industrial sectors may be, it is only a reflection of the fact that most people have yet to change their way of thinking regarding man’s relationship with nature. Moreover, solving environmental problems by focusing on production process alone will not truly lead to man’s and the earth’s well-being. MAN’S RELATIONSHIP WITH NATURE The concept of green economy as proposed by the United Nations Environment Programme is meant to steer the production process toward the goal of sustainable development and human well-being A synergy of the green economy concept with oriental wisdom which emphasizes the need for man’s harmonious co-existence with nature and an ethics of sufficiency would lead to an economic system that would not put total emphasis on growth. Instead, weaving through it would be the growth of wisdom and culture of learning from nature to build a world where all lives can grow and co-exist peacefully and with kindness. For such synergy to be possible, the next step to be taken is to consider changing many things that are connected in order to create energetic change. If we think about changing the production system and consumption pattern as a part of change, we have to consider reforming the educational system for our children, which is the foundation of our manifest relationship with the world
September - December 2009
21
ภาพวาดจากจินตนาการของเด็กๆ จ.อุบลราชธานี สื่อถึงอารมณ์ มีทั้ง ต้นไม้ ธรรมชาติ รถยนต์ และไอศครีม A collage of paintings by a group of children in the northeastern province of Ubon Ratchathani shows their view of the world involving nature, trees, cars and ice cream.
around us to create a new “vision of the relationship between man and nature”. Inevitably, our lifestyle will need to change. Communal living in the grand experiment by the “flower children” of the 1960s era may be an apt example of a lifestyle change for the current era. It can be said to be a “globalized movement” at the level of community that is far from dropping out from society but a socially and environmentally friendly system of production and consumption. It is on scale small enough to be replicated anywhere on earth and the small communities may be connected to share experience and knowledge through the information technology. Indeed, such micro communities have been formed in many countries around the world, including here in Thailand. And it could be an answer of how to spend a life producing and consuming with morality and ethics which is not a way backward at all. Another important consideration in creating a green economy is to use scientific knowledge from learning about mechanisms of nature and all living things to improve our way of life. Knowledge from millennia of evolution has surely accumulated in all living beings on this earth. It has been said that there is no waste in nature. If man is truly intelligent, he should know how to gain and apply Nature’s supreme technology in such a way that man will not be alienated from the natural world and be able to sustain his own species for millennia more on this earth. Green economy could not be realized so long as people do not change the way they view man’s relationship with nature so that we may live with nature with humility again.
เส้นทางสู่เศรษฐกิจเขียว Towards Green Economy
GL27-VA.indd 21
3/2/10 4:49 PM
22
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
คุณยายขี่ซาเล้งที่เต็มไปด้วยขยะรีไซเคิลไปบนถนนใน เมืองที่คนทุกชนชั้นต้องใช้สัญจรในชีวิต An elderly scavenger rides a tricycle laden with recycling garbage, sharing the road with others from all walks of life.
ปรัชญา-แนวคิดทางเศรษฐกิจ ในวิกฤตสิ่งแวดล้อม รัญจวน ทวีวัฒน์
ลายปีที่ผ่านมามนุษยชาติได้เผชิญมหันตภัย หลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็นมหันตภัยทางธรรมชาติ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ การขาดความ มั่นคงทางอาหาร การระบาดร้ายแรงของโรค อุบัติใหม่และโรคอุบัติซ�้ำ ฯลฯ นักคิดนักวิชาการในฝั่ง ตะวันตกได้ยอมรับว่า มหันตภัยทั้งหลายนี้เกิดจากระบบ
GL27-VA.indd 22
เศรษฐกิจ-การเมืองกระแสหลัก ที่โน้มเอียงเข้าหาผล ประโยชน์ของธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยมองข้ามปัญหา ระบบนิเวศและความเป็นธรรมทางสังคม ซึ่งเป็นการ ท�ำลายรากฐานในการด�ำรงชีวิตทั้งของมนุษย์และสัตว์ โลก วัฒนธรรมที่เป็นอยู่มานีก้ �ำลังอยู่ภายใต้โลกทัศน์ และระบบคุณค่าที่ผิดพลาดอย่างร้ายแรง
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
23
The Economic Paradigm in the Midst of Environmental Crisis Ranjuan Thaweewat
T
hroughout history, mankind has suffered from numerous crises including food shortages, epidemics and wars. It is generally regarded among western scholars that most of these disasters stemmed from unwholesome politicaleconomic systems that uphold business interests over ecology and social justice. This paradigm gives rise to a false value system and a distorted popular culture as is evident in the present day. Consequently, the livelihood of human beings and all earth species are left at risk. With the looming global disaster as a backdrop, the Green Movement puts forth a new perspective that systematically integrates various green economic policies to support a new world economic order. Unlike the conventional paradigm, this new perspective specifically addresses social and ecological injustices. In the west, there is hope that the Green New Deal with its sustainable development concept will bring in a new era – an era that will restore global economy and save the earth from disaster. A New Deal amidst the Economic Downturn The term “New Deal” was first coined during President Franklin D. Roosevelt’s administration to cope with the 1929 economic crisis. The “deal” promised increasing employment and restructuring of financial institu-
tions as a part of Roosevelt’s economic re-stabilization program during 1933-1935. Subsequently, the program became the prototype for economic rehabilitation plans initiated by governments in many countries. On the other hand, a group of western intellectuals maintained that the current economic crisis is not merely about the contraction of economic growth as signified by empirical indicators such as the rising unemployment, but it is a direct consequence of a misguided social and economic development program that has been followed throughout the 20th Century. Therefore, the most logical solution would be to revise the global economic mechanism. To achieve the goal of sustainability, the “Green New Deal” was launched. This deal proposes to link sound policies that will solve the pressing problems of the credit crisis, climate change and escalating oil prices. In short, the Green New Deal promotes sustainable social and economic development without overtaxing nature and the ecosystem. As a result, the Green New Deal will not only avert natural disasters such as climate change in the next century, but will also prevent man-made financial meltdown, soaring energy costs and food prices. The Green New Deal makes several new proposals. Among them are that governments take active roles in implementing such initiatives as industrial investment with energy efficiency such as building pollution-free
ปรัชญา-แนวคิดทางเศรษฐกิจในวิกฤตสิ่งแวดล้อม The Economic Paradigm in the Midst of Environmental Crisis
GL27-VA.indd 23
3/2/10 4:49 PM
24
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
เมื่อเส้นทางแห่งการด�ำรงอยู่เป็นหนทางสู่การท�ำลาย ขบวนการ สีเขียวจึงต้องค้นหาทฤษฎีใหม่ๆ มาสังเคราะห์และเชือ่ มร้อยนโยบาย เศรษฐกิจสีเขียวด้านต่างๆ เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ และพัฒนา ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ของตนเองขึ้นมาใหม่ เพื่อเป็นรากฐานรองรับ นโยบายเศรษฐกิจที่ครอบคลุมตั้งแต่ผลกระทบต่อสังคม จนถึงการ ล่มสลายของระบบนิเวศ ที่ ผ ่ า นมามี แ นวคิ ด ในโลกตะวั น ตกที่ ก ล่ า วกั น ว่ า Green New Deal (ข้อตกลงใหม่สีเขียว) จะช่วยกู้วิกฤตธรรมชาติและ เศรษฐกิจโลกได้ภายใต้แนวคิดของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) ข้อตกลงใหม่ในพายุเศรษฐกิจ อเมริกา – ราวทศวรรษ 1930 (ช่วงระหว่าง พ.ศ. 2473-2483) ค�ำว่า New Deal เกิดขึ้นมาในช่วงที่สหรัฐอเมริกาก�ำลังเผชิญวิกฤต เศรษฐกิจครั้งส�ำคัญ รัฐบาลประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี รูสเวลต์ (Franklin D. Roosevelt) ใช้คำ� ว่า New Deal (ข้อตกลงใหม่) ใน แผนการฟื้นฟูเศรษฐกิจ และน�ำมาใช้ครั้งแรกในช่วงปี ค.ศ.19331935 (พ.ศ. 2476-2478) โดยเน้นแก้ปัญหาการว่างงาน และการ ปฏิรปู ระบบการเงินการธนาคารของสหรัฐใหม่ให้มนั่ คงขึน้ กระทัง่ แผน นีก้ ลายมาเป็นต้นแบบในการวางแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจให้กับประเทศ ต่างๆ โดยมีรัฐบาลเป็นผู้นำ� ในการแก้ปัญหา แต่อีกด้าน นักคิด นักหนังสือพิมพ์ และนักวิชาการตะวันตก อีกกลุ่มหนึง่ มองว่า วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งนี้ไม่ได้เป็นแค่เรื่อง ตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจหดตัว หรือตัวเลขว่างงานที่เพิ่ม สูงขึน้ เพียงอย่างเดียว แต่เป็นผลพวงมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมทีผ่ ดิ พลาดมาตลอดศตวรรษที่ 20 พวกเขาเสนอแนวทางในการ แก้ปญ ั หาด้วยแผนการกูว้ กิ ฤตฟืน้ ฟูเศรษฐกิจโลกอย่างยัง่ ยืนทีเ่ รียก ว่า Green New Deal (A Green New Deal: Joined-up policies to solve the triple crunch of the credit crisis, climate change and high oil prices) ซึ่งมีจุดยืนร่วมกัน
GL27-VA.indd 24
ในเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมให้เป็นไปอย่างยั่งยืนโดยไม่ เบียดเบียนธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เพือ่ ป้องกันการล่มสลายทีก่ ำ� ลัง จะเกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 คือ การล้มลงของระบบการเงินของโลก ทุนนิยม (financial meltdown), การถีบตัวสูงขึน้ ของราคาพลังงานและ อาหาร (soaring energy prices and food) และการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Climate Change) Green New Deal มีข้อเสนอใหม่ๆ เช่น รัฐบาลจะต้องเป็นผู้น�ำ การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมทีเ่ น้นการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (energy efficiency) อาทิ การสร้างโรงไฟฟ้าที่ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะกับ ชุมชน สนับสนุนให้มีการใช้พลังงานอย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วย ลดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green House Effect) สาเหตุหนึง่ ที่ ท�ำให้เกิดปัญหาโลกร้อน (Global Warming) นอกจากนี้รัฐบาลจะ ต้องควบคุมดูแลกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้มคี ณ ุ ธรรมและจริยธรรมโดย ไม่ให้กจิ กรรมทางเศรษฐกิจก่อให้เกิดมลภาวะจนไปท�ำลายสิง่ แวดล้อม (green jobs) เรียกว่าเป็นระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) หรือ เศรษฐกิจคาร์บอนต�ำ่ (Low Carbon Economy) รวมถึงข้อเสนอเรื่องมาตรการเก็บภาษีย้อนหลัง (windfall tax) จาก บริษัทน�้ำมันหรือธุรกิจพลังงานที่ท�ำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมลง รายได้จากภาษีเหล่านี้ รัฐอาจจะน�ำมาลงทุนเพือ่ พัฒนาพลังงานสะอาด เอาไว้ใช้ในอนาคต ตลอดจนข้อเสนอให้มกี ารใช้มาตรการทางภาษีเป็น แรงจูงใจให้ภาคอุตสาหกรรมหันมาลงทุนในธุรกิจที่ปลอดมลพิษและ ประหยัดพลังงาน (green investment) เป็นต้น รอยยิ้มของลูกทะเลแห่งชุมชนขุนสมุทรจีน เขาก�ำลังแบกถุงลูกหอยแครงที่งมขึ้นมา จากหาดโคลนที่เพิ่งฟื้นตัวจากปัญหากัดเซาะชายฝั่ง เพื่อให้กับผู้เลี้ยงหอยแครงอีก ต่อหนึง่ เป็นรายได้เลี้ยงชีวิต A fisherman flashes a smile as he carries baby blood cockles collected from the mud beach that has just recovered from soil erosion. He will sell his catch to a cockle farm.
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
25
Since then, various governments have attempted to implement economic development that also promotes quality of life and social welfare as well as natural resource and environmental conservation as spelled out in the Agenda 21, encompassing forestry, fisheries, agriculture, industry, energy, natural resource management and tourism. Sustainable development is development that takes into account environmental impacts with necessary measures to prevent its degradation to the minimum. Therefore, sustainable development concerning natural resources and the environment emphasizes the monitoring of natural resources so that the rate of usage is maintained within the scope that the resources can be restored to its natural level.
ครกกระเดื่องยังคงเป็นภูมิปัญญาที่ชาวบ้านในป่าทุ่งใหญ่นเรศวรหรือชุมชนชนบทใช้ต�ำข้าว อยู่ในชีวิตประจ�ำวัน แม้จะมีโรงสีในพื้นที่แล้วก็ตาม A mortar is still in use at a village in Thung Yai Naresuan Wildlife Sanctuary as well as many rural villages despite the presence of rice mills.
power plants and promoting efficient use of energy to reduce the green house effect which causes global warming. In addition, the governments will closely monitor economic ventures to ensure ethical and moral practices so that they do not cause pollution. More “green jobs” will be created as a result. In short, a “Creative Economy” or “Low Carbon Economy” will be established. The deal also proposes that a “windfall tax” be imposed on oil and energy enterprises that damage the ecosystem. Revenues from this tax will be used by the governments to invest in clean energy for future usage. The governments should also promote “green investment” by providing tax incentives for companies that invest in pollution-free and energy saving ventures. New Global Operation Plan in 21st Century On June 4, 1992, the United Nations organized a summit meeting among world leaders called the “Earth Summit” in Rio De Janeiro, Brazil. The summit produced a joint operation plan called Agenda 21 that sets out actions for the next century (2001-2100) for global sustainable development.
Green Economy to Save the World Economy During the 25th meeting of the United Nations Environment Programme (UNEP) that coincides with the annual ministerial meeting on the global environment in Nairobi, Kenya, on February 16, 2009, a number of issues were discussed. They included the global financial crisis, opportunity and risk mitigation for food security and ecosystem. The outcome of the meeting was to look for new directions to save the world from the worsening crisis. In that meeting, UNEP called on all nations to invest in the green economy as an alternative mechanism to push forward the global economy. The goal is to achieve sustainability within two years in the belief that the green economy will create more green jobs and savings and protect the disadvantaged with an aim to reduce poverty, carbon emissions and environmental degradation by the year 2015. However, the green economy as proposed by the western world has raised concerns about increasing global unemployment resulting from the required shift of production base while the global economy is facing a slowdown in industrial production and mega-project implementation involving various industries, for example, automobile, dam and nuclear energy. In response to such concerns, it was argued that green economy may instead stimulate global employment if businesses and corporations invest in carbon emission management. Similarly, more new jobs will be created if governments and businesses invest in projects and enterprises that are friendlier to the environment, such as renewable energy, wind and solar energy to replace coal-firing and nuclear power plants, public mass transportation systems including electric train or rapid rail that are powered by renewable energy, garbage recycling, sustainable agriculture and integrated water management.
ปรัชญา-แนวคิดทางเศรษฐกิจในวิกฤตสิ่งแวดล้อม The Economic Paradigm in the Midst of Environmental Crisis
GL27-VA.indd 25
3/2/10 4:49 PM
26
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ศตวรรษที่ 21แผนปฎิบัติการใหม่ของโลก เมืองรีโอเดอจาเนโร บราซิล – 4 มิถุนายน 2535 องค์การ สหประชาชาติ (United Nations) จัดการประชุมสุดยอดผู้นําระดับ โลก หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “Earth Summit” ผลจากการประชุม ครั้งนี้ได้มีการร่วมกันกําหนดแผนปฎิบัติการ 21 (Agenda 21) ซึ่ง ถือเป็นแผนปฎิบตั กิ ารของโลกในศตวรรษที่ 21 (ค.ศ. 2001-2100) ที่มีหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นสาระสําคัญ ณ เวลานัน้ จวบจนปัจจุบัน รัฐบาลทั่วโลกพยายามอย่างมากที่ จะผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจให้ผสานควบคู่ไปกับการพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้มีความสมดุลตามหลักการของความยั่งยืนในการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรป่าไม้ ประมง เกษตร การพัฒนาอุตสาหกรรม การใช้ พลังงาน การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการพัฒนาการ ท่องเที่ยวแบบยั่งยืน
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือการ พัฒนาที่มีการค�ำนึงถึงความเสียหายของสิ่งแวดล้อม มีการ ป้องกันปัญหาที่เกิดแก่สิ่งแวดล้อม หรือถ้าจ�ำเป็นจะต้องเกิด ความเสียหาย ก็จะต้องท�ำในขอบเขตที่เสียหายน้อยที่สุด การ พัฒนาที่ยั่งยืนในมิติทางด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมนีจ้ ึงเป็น รูปแบบการใช้ทรัพยากรที่มีการบ�ำรุงรักษา และมีอัตราการใช้ที่ อยู่ในขอบเขตการอ�ำนวยให้หรือศักยภาพที่ทรัพยากรนีจ้ ะคืนสู่ สภาพปกติได้ เศรษฐกิจสีเขียวกู้เศรษฐกิจโลก กรุงไนโรบี เคนย่า - 16 กุมภาพันธ์ 2552 การประชุมกรรมการ ของส�ำนักโครงการสิง่ เเวดล้อมเเห่งสหประชาชาติ ครัง้ ที่ 25 เเละการ ประชุมประจ�ำปีของเวทีอภิปรายระดับรัฐมนตรีวา่ ด้วยสิง่ เเวดล้อมโลก มีการอภิปรายเกี่ยวกับวิกฤตการเงินของโลก โอกาสเเละความเสี่ยง จากวิกฤตความมัน่ คงทางอาหารและระบบนิเวศ เพือ่ เเสวงหาหนทาง ใหม่ๆ เพื่อช่วยโลกให้รอดพ้นจากวิกฤตเหล่านี้ องค์การสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติได้เรียกร้องให้ประเทศ ต่างๆ หันมาลงทุนในอุตสาหกรรม เพือ่ สร้างระบบ “เศรษฐกิจสีเขียว” (Green Economy) เป็นกลไกในการผลักดันเศรษฐกิจของโลกให้ พัฒนาไปยังทิศทางสีเขียวเเละยั่งยืนในสองปีข้างหน้า โดยเชื่อมั่น ว่าเศรษฐกิจสีเขียวจะสามารถสร้างงาน การออมเงิน และปกป้อง ผู้ด้อยโอกาสซึ่งต้องลดปัญหาความยากจนภายใน พ.ศ. 2558 รวมทั้งลดคาร์บอนและลดการท�ำลายสิ่งแวดล้อม แนวคิดจากซีกโลกตะวันตกทีพ่ ยายามผลักดันจะระบบเศรษฐกิจ สีเขียวนี้ น�ำมาซึ่งความกังวลถึงปัญหาการตกงานทั่วโลกจากการปรับ เปลี่ยนฐานการผลิตทางด้านอุตสาหกรรมอีกครั้ง ในขณะที่เศรษฐกิจ ของโลกก�ำลังเผชิญกับสภาพลดการผลิตสินค้า หรือแม้แต่การชะลอ ตัวของโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ อาทิ อุตสาหกรรมรถยนต์ เขื่อน โรงงานพลังงานนิวเคลียร์ ซึ่งส่งผลกระทบกับแรงงานอยู่แล้ว อย่ า งไรก็ ต ามมี แนวคิ ด เพื่ อ คลี่ ค ลายความกั ง วลเหล่ า นี้ ว ่ า มาตรการเศรษฐกิจเขียวจะกระตุ้นให้เกิดการจ้างงานในตลาดโลก ได้ หากธุรกิจหรือบริษัทต่างๆ หันมาลงทุนกับการจัดการลดปล่อย
GL27-VA.indd 26
หญิงสาวก�ำลังคัดเศษข้าวเปลือกออกจากข้าวสาร A girl is removing husk from rice grains that had been milled by a mortar.
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือสามารถปรับเปลี่ยนการลงทุนของรัฐ และภาคเอกชนให้หันไปลงทุนกับโครงการหรือธุรกิจที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น เช่น โครงการพลังงานหมุนเวียน อาทิ ไฟฟ้า ที่ได้จากพลังงานน�้ำ ลม แสงอาทิตย์ ทดแทนการใช้พลังงานจาก ถ่านหินหรือนิวเคลียร์ การลงทุนในภาคการขนส่งมวลชนอย่างยั่งยืน อาทิ การใช้รถราง รถไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน โรงงานแยกขยะ โรงงานก๊าซชีวภาพ การท�ำระบบเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการ น�้ำอย่างผสมผสาน รวมถึงการสร้างระบบภาษีที่ส่งเสริมให้สร้างระบบเศรษฐกิจ สีเขียว การก�ำหนดนโยบายการใช้ที่ดินและการวางผังเมืองที่ส่งเสริม ให้เกิดพื้นที่สีเขียว ตลอดจนสร้างระบบเศรษฐกิจสีเขียว แต่นโยบาย ของการปฏิรูปเศรษฐกิจสีเขียวจะด�ำเนินการได้นนั้ ต้องมีการประสาน งานในระดับระหว่างประเทศ โดยองค์กรสหประชาชาติควรสนับสนุน และสร้างกลไกหน้าที่เพื่อน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย หากมาตรการเศรษฐกิจเขียวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ต่างๆ ด�ำเนินไปได้ ก็จะน�ำไปสู่สังคมที่มีความยั่งยืนในมิติการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ บนฐานศักยภาพของพื้นที่ ภูมิปัญญา วัฒนธรรมของท้องถิ่น และความเป็นธรรมด้วย อย่างไรก็ตาม ในปรัชญาแนวคิดของการพัฒนาที่ยั่งยืนในฝั่ง ตะวันออก ทฤษฎี แนวคิด หรือมาตรการใหม่ๆ ไม่วา่ จะด้านเทคโนโลยี การพัฒนา หรือแม้แต่เศรษฐกิจสีเขียวที่เกิดขึ้น เป็นทางออกของ วิกฤตโลกจริงหรือ? ส�ำหรับจิตวิญญาณและปรัชญาในฝั่งตะวันออกแล้ว เรื่องราว เหล่านี้ยังเป็นการพูดถึงพลังของการลงทุนทางเทคโนโลยีใหม่ๆ และ การปรับเปลีย่ นระบบอุตสาหกรรมเพือ่ สร้างสรรค์ระบบเศรษฐกิจโลก ทีเ่ ป็นมิตรต่อโลกมากขึน้ ไม่ใช่การชะลอเศรษฐกิจ และไม่ใช่การหยุด สังคมแห่งการบริโภค
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
27
...หากมาตรการเศรษฐกิจเขียวในแผน พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ด�ำเนินไปได้ ก็จะน�ำไปสู่สังคมที่มีความยั่งยืนใน มิติการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และ สุขภาพ บนฐานศักยภาพของพื้นที่ ภูมิปัญญา วัฒนธรรมของท้องถิ่น และความเป็นธรรมด้วย... ...If green economy is adopted in the social and economic development plan in each country, it will bring about a more sustainable global society with stable eco-political environment... กังหันพลังน�้ำเพื่อน�ำมาใช้กับครกต�ำข้าว ในล�ำธารของหมู่บ้านสะเนพ่อง ทุ่งใหญ่นเรศวร
A hydro turbine generator powers a motor at a creek in Saneh Pong village in the Thung Yai Naresuan forest.
Furthermore, the governments can design a tax system that promotes green economy and mobilize a new policy directive that encourages appropriate land use and urban planning to increase green areas. To make green economy work, there must exists a tight international cooperation network preferably under the supervision of the United Nations to carefully design a set of guidelines and organizational mechanism to guide it to success. If green economy is adopted in the social and economic development plan in each country, it will bring about a more sustainable global society with stable ecopolitical environment. With the combined efforts among the localities incorporating indigenous knowledge and traditional culture, the new global order will promise to be more just. But, looking at it through the eastern philosophical glasses raises a question whether the proposed ideas or theories or new measures involving technological advancement – even the green economy – can lead to sustainable development. Are they truly a solution to the world crisis? In an eastern spiritual framework, the implementation of modern technology, the initiation of new investments and the restructuring of industrial systems do not contribute to economic slow-down; neither will it stop people from over-consumption. People Happiness as the Core Issue The term “Gross National Happiness” or GNH was first used by King Jigme Wangchuck of Bhutan in 1972. GNH implies the gross happiness of the people in the nation as the ultimate development goal. It is a shift from conventional development paradigm on economic indicators to put people at the center of development and to make their happiness the aim of all undertakings. GNH is academically considered a new indicator
in macro economics. It is based on Buddhist theology and on the belief that happiness is the supreme aim for all humanity. A national development plan that upholds its citizens will focus its effort on the contentment both physical and mental of the people. This is in contrast to “Gross National Product” or GNP that is the typical way of measuring economic progress in western convention. Leading Thai Philosophy In 1974, His Majesty the King of Thailand bestowed the principle of “Sufficiency Economy” to the Thai people in order to immunize them from the rapidly changing economy from agriculture to industrialization. The Thai populace, most of whom were farmers, had been suffering from fluctuating market prices and unseasonal weather. The sufficiency economy stresses moderation and self-reliance in line with the Buddhist principle of the Middle Path. However, the practice of sufficiency economy is not limited just to individuals, but also to families, communities, societies and nations. Hence, it can be said to be based on Buddhist economics and Gandhian economics. Sufficiency economy aims to achieve “sustainability” in all aspects of society including politics and economics. It adheres to the law of equilibrium and the balanced interaction among the human population and between man and nature. Sufficiency economy values communal and mutual benefits more than an individual’s gain. In addition, the benefits must be obtained based on morality, ethics and good governance. Therefore, it can be said that sufficiency economy is a middle path between capitalism and self-sufficiency economy. It can be accomplished through moderation, rationale and a sense of equilibrium that will push economic activities to advance sustainably with human beings and nature as the joint center of development. Unlike the free-market economy that encourages excessiveness, sufficiency economy stresses moderation and propagates non-violence not just towards oth-
ปรัชญา-แนวคิดทางเศรษฐกิจในวิกฤตสิ่งแวดล้อม The Economic Paradigm in the Midst of Environmental Crisis
GL27-VA.indd 27
3/2/10 4:49 PM
28
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ตลาดสดของชาวมอญในอ�ำเภอสังขละบุรียังคงขายสินค้าพื้นบ้าน ชาวมอญที่นี่ยังรักษาวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตไม่เปลี่ยนไปจากอดีตแม้เมืองกาญจนบุรีจะเปลี่ยนแปลง มากมายแค่ไหนก็ตาม Ethnic Mon villagers sell produce in a fresh market in Sangkhla Buri district, conserving their culture, tradition and way of life despite the fast changing pace of Kanchanaburi province.
ความสุขของคนคือศูนย์กลาง ภูฏาน – พ.ศ.2515 ความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness: GNH) ได้รับการประกาศเป็นครั้งแรก โดย กษัตริย์จิกมี ชิงเย วังชุก หมายถึง ความสุขมวลรวมของคนในชาติ เป็นการเปลี่ยนกระบวนทัศน์การพัฒนาและเป้าหมายการพัฒนาโดย มุ่งให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา และท�ำให้ประชาชนมี ความสุข GNH จึงเป็นแนวความคิดใหม่ในทางเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macro Economics) ซึ่งตั้งอยู่บนฐานคิดของพุทธศาสนา และตั้ง อยู่บนความเชื่อว่าความสุขคือเป้าหมายหรือความต้องการสูงสุดใน ชีวิตของมนุษย์ ถ้าการพัฒนาประเทศจะเน้นมนุษย์เป็นศูนย์กลาง แล้ว การพัฒนาก็ควรจะน�ำไปสู่การบรรลุความพึงพอใจของมนุษย์ ทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ ซึง่ แตกต่างอย่างเด่นชัดกับ “ผลิตภัณฑ์มวล รวมประชาชาติ” (Gross National Product หรือ GNP) อันเป็น แนวคิดเก่าของเศรษฐศาสตร์ตะวันตกหรือเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ปรัชญาน�ำไทย ประเทศไทย – พ.ศ.2517 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรง พระราชทานหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) ให้ผสกนิกรชาวไทยซึง่ ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรให้สามารถสร้างภูมคิ มุ้ กัน ทางเศรษฐกิจและปรับเปลีย่ นการผลิต เพือ่ ลดทอนความเสีย่ งอันเกิด จากความแปรปรวนทางธรรมชาติ และความผันผวนทางเศรษฐกิจ ให้ ยืนอยูบ่ นขาของตัวเองได้ ซึง่ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้องกับ ปรัชญาของพุทธศาสนาในประเด็นการยึดหลักทางสายกลางในการ ด�ำเนินชีวติ ทัง้ ระดับปัจเจกชน ระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับ ภาครัฐ อีกทั้งยังสอดคล้องกับหลัก พุทธเศรษฐศาสตร์ (Buddhist Economics) และเศรษฐศาสตร์แบบคานธี (Gandhian Economics) ทีเ่ น้นการอยูพ่ อดี กินพอดี และการพึง่ ตนเอง
GL27-VA.indd 28
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นพัฒนาไปสู่ “ความยั่งยืน” ของทุกมิติทางสังคม ทั้งเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม โดยยึดหลัก ของความสมดุลและดุลยภาพของมนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับ สิ่งแวดล้อม มีผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง และตั้งอยู่บนหลัก ของศีลธรรม คุณธรรม ธรรมาภิบาล จึงเสมือนศูนย์กลางของความ สมดุลระหว่าง เศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism) กับ เศรษฐกิจแบบ พึ่งตัวเอง (Self - sufficiency Economy) โดยท�ำงานผ่านกลไกของ ความพอประมาณ ความสมเหตุสมผล ความสมดุล และภูมิคุ้มกันที่ ขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจและระบบเศรษฐกิจให้ก้าวเข้าสู่การ เจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืน โดยมีมนุษย์และธรรมชาติเป็นศูนย์กลางของ การพัฒนาร่วมกัน เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นความพอประมาณ ท�ำ อะไรไม่เกินตัว กินพอดี อยู่พอดี ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น รวม ทั้งไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม ใช้หลักความสมเหตุสมผลในการจัด ล�ำดับความส�ำคัญ รวมทั้งค�ำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในด้านต่างๆ จากการด�ำเนินเศรษฐกิจ และเป็นการสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้นทุก ภาคส่วนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ จนสามารถสร้างภูมิคุ้มกันเมื่อ ประเทศไทยเผชิญกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540 มาจนปัจจุบันปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการกล่าวขานอย่าง กว้างขวางว่า เป็นทางเลือกส�ำหรับการพัฒนาและสามารถเป็นทางออก เพื่อแก้ไขวิกฤตโลก วิถีเอเชีย เศรษฐกิจในอนาคต ประเทศไทย - 29 มกราคม 2552 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขณะที่อเมริกาก� ำลังเร่งรัดปัญหาเศรษฐกิจที่ค่อยๆ ลุกลามข้าม ทวีปมายังยุโรปและเอเชีย มีการเปิดบทสัมภาษณ์ 13 นักวิชาการ นักเศรษฐศาสตร์ และบุคคลที่มีชื่อเสียงจากทุกมุมโลกเรื่องมิติ
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552 ers, but to oneself as well as to the environment. Sufficiency economy promotes critical reasoning and strict prioritization of economic transactions to avoid harmful consequences, but to achieve harmony with all involved stakeholders. It is believed that sufficiency economy played a substantial role for Thailand to have recovered from the 1997 economic crisis. Since then, sufficiency economy has been widely accepted as an alternative to development and as one potential solution to cope with the global economic crisis. The Oriental Wisdom: Economy of the Future While the US and its western allies are busy sorting out the most recent economic mess that gradually encumbers Europe and the rest of the world, a forum of 13 international scientists, economists and respected scholars was held at Chulalongkorn University, Thailand, on January 29, 2009, to discuss “sufficiency economy in a global context.” They analyzed and compared various economic theories and approaches that could remedy the global crisis including green economics, green economy that stress non-violence and non-excessive consumption similar to sufficiency economy, solidarity economy that emphasizes a new production system to influence consumption patterns based on the concept of co-ownership and co-production among producers with a fair distribution network of manufactured goods, and Gandhian economics that stresses self sufficiency, contentment and self-reliance. In the forum, elaboration of and comparison between eastern and western development paradigms were widely discussed. In short, it is said that western school of thought that gave birth to capitalism is misaligned with and at times counter to the natural law. Capitalism disrupts the state of equilibrium of the natural world which is the foundation of all economic activities. It is said to be the single most serious occurrence in human history. Therefore, capitalism is not the solution
September - December 2009
29
to the current global problem. On the other hand, the forum agreed that the eastern way or oriental wisdom that is rooted in the harmonious coexistence with nature through moderation will lead to sustainability and, therefore, is the way to global survival. In particular, His Majesty the King’s sufficiency economy and Bhutan’s Gross National Happiness both respect nature and treat the ecosystem in such a way that its capacity is not exceeded. Such philosophy and approach have the potential to provide the highest value system and moral integrity to the political, social and economic infrastructure that will restore equilibrium to nature and society once more. Nature as Foundation of the World Society Nature, spirituality, philosophy and religion form the foundation of oriental wisdom in the living and creating of society. Orientals constantly strive to study the world around them and live their lives with the ultimate aim of ending suffering and seeking peace and contentment in life. They are inclined to work cooperatively and live interdependently. Most importantly, oriental wisdom regards human beings as a part of nature and seeks to
ชาวนากุ้งธรรมชาติในชุมชนขุนสมุทรจีน จับกุ้งที่เลี้ยงไว้ขึ้นมาตากแห้งบนกระดานในเรือ Natural shrimp farmers in Samut Chin community dry their catch on boats.
เรือจ้างในคลองขุนสมุทรไทย จ.สมุทรปราการ คิดค้นปรับเปลี่ยนเครื่องยนต์จาก การใช้น�้ำมันมาใช้แก๊ซหุงต้มกันแล้ว Hired boats in Khun Samut Thai canal in Samut Prakan province have been modified to use cooking gas as fuel instead of diesel.
ปรัชญา-แนวคิดทางเศรษฐกิจในวิกฤตสิ่งแวดล้อม The Economic Paradigm in the Midst of Environmental Crisis
GL27-VA.indd 29
3/2/10 4:49 PM
30
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ร่วมกับธรรมชาติอย่างสมดุลและใช้อย่างพอเพียง วิถีเช่นนีจ้ ึงจะน�ำ ไปสู่ความยั่งยืนและเป็นทางรอดของโลก โดยเฉพาะหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั นโยบายความสุขมวลรวมประชาชาติในภูฏาน ทีม่ คี วาม คล้ายกันในจุดทีเ่ น้นการให้ความเคารพต่อธรรมชาติ ระบบนิเวศ และ ไม่ไปไกลเกินขีดความสามารถของทรัพยากรทีม่ ี ปรัชญาและแนวทาง เหล่านีไ้ ด้ให้คณ ุ ค่าสูงสุดกับการยกระดับจริยธรรมทางสิง่ แวดล้อมทัง้ ในด้านการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ ซึ่งจะช่วยฟื้นฟูธรรมชาติและ สังคมที่เสื่อมลงให้เกิดสมดุลขึ้นมาใหม่อีกครั้ง
เด็กๆ ก�ำลังให้อาหารหมูพื้นบ้านในคอกที่เลี้ยงไว้เป็นอาหารกลางวันของนักเรียน โรงเรียนบ้านท่าล้ง จ.อุบลราชธานี School children help feed pigs being raised as part of the Ban Thalong School’s lunch program in Ubon Ratchathani.
เศรษฐกิจพอเพียงในทรรศนะโลก วิเคราะห์และเปรียบเทียบหลัก ทฤษฎีในสังคมต่างๆ ที่ถูกน�ำมาประยุกต์ใช้ท่ามกลางวิกฤตโลก เช่น เศรษฐศาสตร์สีเขียว (Green Economics) เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ทีย่ ดึ หลักไม่เบียดเบียนโลก ไม่บริโภคเกินความจ�ำเป็น กับ การไม่สร้างความเสี่ยงเกินก�ำลังซึ่งเป็นหลักการคล้ายคลึงกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เศรษฐกิจ-สมานฉันท์ (Solidarity Economy) คือการมุ่งไปที่การสร้างระบบการผลิต แบบใหม่ โดยการเปลี่ยนวิถีแห่งการผลิต ซึ่งจะท�ำให้วิถีการบริโภค เปลีย่ นแปลงไปด้วย โดยการผลิตร่วมกันและเป็นเจ้าของร่วมกัน และ การกระจายสินค้าด้วยกลไกการค้าที่เป็นธรรม หรือ เศรษฐศาสตร์ แบบคานธี (Gandhian Economics) คือ เศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง สมถะ ไม่พึ่งคนอื่น การเปิดบทสัมภาษณ์ในครั้งนี้ มีการอธิบายและเปรียบเทียบถึง วิถีตะวันออกและวิถีตะวันตกที่สะท้อนภาพของการพัฒนาในสอง ด้านของสังคมโลก กล่าวโดยสรุป คือ วีถีตะวันตกที่ให้ก�ำเนิดระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมขึ้นมานัน้ เกิดจากความไม่เข้าใจธรรมชาติและ พยายามฝืนธรรมชาติ ทุนนิยมได้ทําลายดุลยภาพในโลกธรรมชาติ ซึ่งเป็นพื้นฐานสนับสนุนระบบเศรษฐกิจ และการขาดดุลยภาพทาง ธรรมชาติ ซึ่งเป็นการขาดสมดุลที่ยิ่งใหญ่และร้ายแรงที่สุด ระบบทุ น นิ ย มจึ ง ไม่ ใ ช่ ท างออกของโลกยุ ค ใหม่ แต่ วี ถี ตะวันออก หรือวิถีเอเชีย (Oriental Wisdom) เกิดขึ้นจากการอยู่
GL27-VA.indd 30
ธรรมชาติคือรากฐานของสังคมโลก วิถีเอเชียมีธรรมชาติ จิตวิญญาณ ปรัชญา ศาสนา เป็นรากฐาน ส�ำคัญแห่งการด�ำเนินชีวิตและสร้างสรรค์สังคม ชาวตะวันออกจึงมุ่ง แสวงหาเรียนรู้หาเหตุผลเกี่ยวกับโลกและชีวิตเพื่อการพ้นทุกข์ มุ่ง แสวงหาความสงบสุขให้แก่ตนและหาความเรียบง่ายพอดีให้กับชีวิต มีการรวมตัวกันท�ำงานร่วมกัน พึ่งพาอาศัยกัน ที่ส�ำคัญคือ วีถีเอเชีย มองมนุษย์ว่าเป็นส่วนหนึง่ ของธรรมชาติ จึงปรับตัวให้ชีวิตกลมกลืน กับธรรมชาติด้วยภูมิปัญญา ไม่ขัดแย้ง ไม่เอาชนะ แต่โลกทรรศน์แบบทุนนิยมตั้งอยู่บนความเชื่อว่า มนุษย์มีความ สามารถในการประดิษฐ์คิดค้นในการใช้เทคนิควิทยาศาสตร์ สามารถ จัดการเพือ่ แสวงหาประโยชน์จากธรรมชาติได้อย่างไม่มขี อบเขต และ มีอํานาจมหาศาลทางเทคโนโลยีที่ทาํ ให้มนุษย์สามารถควบคุมจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติได้ อีกทั้งทุนนิยมยังมีลักษณะเด่นในการหมุนเวียนสินค้าจากการ แลกเปลี่ยนโดยอาศัยเงินตราเป็นตัวกลาง ความมั่งคั่งจะรวมศูนย์ อยู่กับชนชั้นนายทุนที่ควบคุมปัจจัยการผลิตไว้ในมือ นอกจากค่าแรง จากการขายแรงงานที่ได้ ประชาชนจ�ำนวนมากจะไม่มีปัจจัยท�ำมาหา เลี้ยงชีพ การขยายตัวของระบบทุนนิยมที่ความมั่งคั่งให้กับเจ้าของ ทุนจนสามารถเชื่อมระบบเศรษฐกิจในโลกด้วยกิจกรรมทางการค้า นี่ คือหนทางไปสู่ความหายนะของสังคมมนุษย์และทรัพยากรทั้งหลาย ในโลก วันนีว้ กิ ฤติการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ ได้ท�ำให้สงั คมในวงกว้างยอมรับ แล้วว่า ทุกสิง่ ทีม่ นุษย์กระทําขึน้ ย่อมมีผลกระทบต่อบุคคล สังคม และ สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกธรรมชาติโดยไม่สามารถพยากรณ์ได้ หากสามารถเปลีย่ นโลกทรรศน์และจริยธรรมทีด่ าํ รงอยูใ่ นระบบ เศรษฐกิจจากการมองโลกด้วยวิถีทางใหม่ที่เชื่อว่า โลกเป็นระบบที่ มีชีวิต มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตหนึง่ เดียวกับธรรมชาติ เป็นสมาชิกของ ประชาคมโลกธรรมชาติซึ่งเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายที่มีความ เชื่อมโยงกัน มนุษย์จึงไม่อาจเติบโตขึ้นอย่างเดียวดาย และยิ่งไม่อาจ แยกจากธรรมชาติ นอกจากการพัฒนาเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น การเรียนรู้กฎนิเวศวิทยาอย่างเป็นระบบ การเคารพนอบน้อมเพื่อ ที่จะเข้าใจปรากฏการณ์พื้นฐานทางธรรมชาติ เพื่อด�ำรงตนอย่าง สอดคล้องกับกฎธรรมชาติอย่างกลมกลืน นั่นคือเงื่อนไขสํ าคัญ ที่สุดของการดํารงอยู่อย่างหลากหลายและมีเสถียรภาพของโลก แล้วสิทธิ-หน้าที่ของบุคคลในสังคมจะขยายขอบเขตจากสิทธิมนุษย์ ไปสู่สิทธิของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกได้ด้วย
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
31
วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา ด้านหนึง่ คือจับปลา อีกด้านหนึง่ เป็นนัก อนุรักษ์ที่พยายามจะแก้วิกฤตน�้ำตื้นเขินและน�้ำเสียทั้งลุ่มน�้ำ เพื่อรักษาธรรมชาติและอนาคต ของลูกหลานประมงไว้อย่างแข็งขัน Fishermen at Songkhla Lake also act as conservationists to tackle the problems of the lake becoming shallow and water pollution affecting the entire basin.
live in harmony with nature with indigenous wisdom and does not seek to confront or conquer nature. On the other hand, capitalism promotes the belief that man is entitled to use technologies to harvest as much as possible from nature and modern technologies empower him to control and harness natural resources for his own gain. Capitalism uses the monetary system to distribute goods, resulting in wealth accumulating in the hands of a few who control the production apparatus. The rest of the people are forced to rely on meager wages to survive. The rapid mobilization of capital enables the capitalists to form production networks and advance their profits to an unprecedented scale. This massive capital build-up
coupled with greed will only lead to relentless exploitation of the world’s natural resources. It will eventually end in disaster for the world and its inhabitants. The succession of crises nowadays confirms that fact that mankind is causing damages to nature and it will in turn affect individuals, society and all living creatures in the world in an unimaginable manner. However, we can change our paradigm and the ethics of economic engagement into one which views the earth as a living being and human beings as being one with it. We are all members of a global community that consists of different species of living beings and we are all connected. Human beings cannot survive in isolation and apart from nature. Not only must technology be made more ecofriendly, humans must also learn the rules of the ecosystem systematically and with humility in order to understand all the natural phenomena around us. We must strive to live in accordance with the natural law. This is the main condition for the world to continue to survive in stability and in all its diversity. From there the concept of human rights that we so much cherish will be extended to cover and respect the rights of all other creatures in the world as well.
ปรัชญา-แนวคิดทางเศรษฐกิจในวิกฤตสิ่งแวดล้อม The Economic Paradigm in the Midst of Environmental Crisis
GL27-VA.indd 31
3/2/10 4:49 PM
32
เส้นทางสายใหม่
GL27-VA.indd 32
กันยายน - ธันวาคม 2552
ON A NEW PATH
September - December 2009
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
33
(จากซ้าย) อรุณลักษณ์ อ่อนวิมล, เมธี สรรพคุณานนท์, ธเนศ กิตติพรพาณิชย์
(From left) From left, Arunlak Onwimol, Methee Sappakunanond, and Thanet Kittipornpanit
“เงิน”
Money is Not the Answer…
ไม่ใช่ค�ำตอบ... ที่ตลาดร้อยปี สามชุก The Samchuk กิตติกาญจน์ หาญกุล Market’s Story
หลังจากข่าวคราวทีอ่ งค์การการศึกษาวิทยา ศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือ ยูเนสโก (UNESCO) ประกาศให้ตลาดสามชุก ได้รับรางวัลในโครงการอนุรักษ์มรดกทาง วัฒนธรรมในภูมภิ าคเอเชียและแปซิฟกิ ประจ�ำ ปี 2552 ดูเหมือนว่าตลาดแห่งนีจ้ ะมีผคู้ นมาก หน้าหลายตามาเยี่ยมเยือนเพิ่มขึ้นหลายเท่า ตัว ท�ำให้ระบบเศรษฐกิจในตลาดสามชุกแห่ง นีด้ ีขึ้นตามไปด้วย
Kittikarn Hankun
SINCE BEING HONORED WITH AN ASIAPACIFIC HERITAGE AWARD from the United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO) in September 2009, the Samchuk Market in Suphanburi has seen an influx of visitors together with the revival of the local economy. “Samchuk”, a small district in Suphanburi, sat on the bank of the Thachin River. In the past, the waterway was the province’s major trading route, with the Samchuk Market as its hub for the trading of rice, salt and other food stuff. However, following the construction of
เส้นทางสายใหม่ On a new path
GL27-VA.indd 33
3/2/10 4:49 PM
34
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
หมวกสานราคาถูก อาหารอร่อยๆ และห่อหมกในหม้อดินเผาสูตรดั้งเดิมของชาวสามชุก จากของใช้และอาหารในบ้านกลายเป็นสินค้าเลื่องชื่อ
Cheap hats made of reed, delicious food and steamed fish curry paste custard in earth pots, common household items in Samchuk district, have become some of the favorite merchandise among tourists.
“สามชุก” อ�ำเภอเล็กๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำ ท่าจีน แต่เดิมแม่น�้ำสายนี้เป็นเส้นทางการค้าขายที่ส�ำคัญของเมือง สุพรรณบุรี มี “ตลาดสามชุก” เป็นแหล่งเศรษฐกิจส�ำคัญในการค้าขาย เกลือ ข้าว และอาหารนานาชนิด แต่เมื่อมีการตัดถนนผ่านด้านหน้า ทางเข้าตลาด ความส�ำคัญของการคมนาคมทางน�้ำจึงลดลง ส่งผลให้ ตลาดซบเซาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อรุณลักษณ์ อ่อนวิมล หนึ่งในคณะกรรมการพัฒนาตลาด สามชุกซึ่งเดิมเคยใช้ชีวิตในตลาด เล่าบรรยากาศของตลาดผ่านวัน เวลา “เมื่อก่อนตลาดจะคึกคักมาก เป็นแหล่งท�ำมาค้าขาย แต่หลัง จากตัดถนน ตลาดมันตายเลย จนเรียกว่านอนขาย คนไม่มาก็ยังต้อง ขาย ขายเล็กขายน้อยก็ตอ้ งขาย เรากลับเข้ามาทีน่ หี่ ลังจากทีอ่ อกไปใช้ ชีวิตข้างนอก พอเห็นก็รู้สึกว่าบ้านเราท�ำไมเป็นได้ขนาดนี้ เงียบมาก” จากตลาดทีเ่ คยคึกคักกลับกลายเป็นตลาดทีเ่ งียบเหงา ประกอบ กับความเก่าแก่ของตัวอาคารยังผลให้ทางกรมธนารักษ์มแี ผนรือ้ ตลาด มาตั้งแต่ปี 2530 เพื่อสร้างอาคารพาณิชย์ในแบบที่สังคมสมัยใหม่ ชืน่ ชม และกันพืน้ ทีบ่ างส่วนเพือ่ สร้างสวนสาธารณะ ข่าวคราวนีท้ ำ� ให้ คนกลุ่มเล็กๆ ในชุมชนที่หวงแหนตลาดในฐานะที่เป็นบ้านเป็นความ ผูกพันของคนในชุมชนพยายามเริ่มต้นท�ำกิจกรรมพลิกฟื้นชีวิตชีวา ให้ตลาดกลับมาคึกคักใหม่อีกครั้ง เหล่าแม่บ้านในชุมชนเริ่มชักชวนกันรวมกลุ่มเต้นแอโรบิกออก ก�ำลังกาย เริ่มมีการปรึกษาหารือจนเกิดการจัดงาน “อร่อยดีสามชุก”
GL27-VA.indd 34
เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ของคนในตลาดให้แน่นแฟ้น เปิดโอกาสให้คน เฒ่าคนแก่ในชุมชนได้เข้ามาท�ำกิจกรรมร่วมกับลูกหลาน รือ้ ฟืน้ ฝีมอื ใน การปรุงอาหารท้องถิ่นขึ้นมาใหม่ ชักชวนคนในอ�ำเภอใกล้เคียงให้เข้า มาร่วมจับจ่ายใช้สอยในตลาด กิจกรรมเหล่านีด้ �ำเนินเรื่อยมาจนได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิ ชุมชนไทในการปรับปรุงและดูแลศิลปะการปลูกสร้างอันเก่าแก่มี คุณค่าทางสถาปัตยกรรม ท�ำกิจกรรมการดูแลความสะอาดของตลาด และเริ่มสื่อสารการท�ำงานสู่สาธารณะ ในที่สุดน�ำมาสู่การเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่เชิดหน้าชูตาให้จังหวัดสุพรรณบุรี การพลิกฟื้นตลาดที่เคยซบเซาจนกลายเป็นตลาดที่มีความ คึกคัก นอกจากจะท�ำให้ชาวตลาดและทีมท�ำงานพัฒนาตลาดมั่นใจ ในแนวทางการท�ำงานของตนเองแล้ว ยังท�ำให้ได้รับความสนใจทั้ง จากการท่องเที่ยว ราชการในท้องถิ่น ภาคเอกชน ที่เสนอตัวจะเข้า มาร่วมจัดการตลาด แต่การท�ำงานที่เคยล้มลุกคลุกคลานผ่านความ ยากล�ำบากท�ำให้ชาวตลาดสามชุกยืนยันการเป็นแกนน�ำหลักในการ จัดการตลาดแห่งนี้เอง โดยมีคนรุ่นแรกที่เริ่มต้นท�ำงานพัฒนาตลาด เป็นแกนหลักและมีลูกหลานแกนน�ำรุ่นใหม่ข้ามาร่วมดูแลอีกแรง ธเนศ กิตติพรพาณิชย์ ลูกหลานของชาวตลาดสามชุกทีไ่ ด้เข้ามา ร่วมดูแลตลาดด้วย เห็นการท�ำงานของคนรุน่ ป้า น้า อา เล่าถึงบทบาท การท�ำงานของทีมคนรุ่นใหม่นับ 10 คนที่เข้ามาเรียนรู้และช่วยงาน ผู้ใหญ่ด้วยแววตาที่มุ่งมั่น
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
35
...“We took on the planning for future development, making sure it stay true to our commitment that the market can be managed by ourselves.. – Thanet Kittipornpanit
...“พวกเราเข้ามาช่วยเรื่องการคิดค้นแผนการ พัฒนาในอนาคต เรื่องการดูแลไม่ ให้หลุดจาก เป้าหมายที่เราวางกันเอาไว้ว่าจะเป็นตลาดของ พวกเราที่เราสามารถจัดการเองได้... – ธเนศ กิตติพรพาณิชย์ a road that passes by the market, the river trade had lost out to land transportation, resulting in its decline. Recalled Arunlak Onwimol, a member of the Samchuk Market’s development committee, who once lived in the area: “The market was so lively then, a popular trading post. After the new road came, it just died. Things got so quiet the vendors could just sleep the day away. Still they stuck around, even when no customers came and they earned a pittance. I came back to live here around that time and was shocked to see how it became so deserted.” Adding insult to the injury was the dilapidation of the old buildings. As a result, the Treasury Department, which has ownership of the property, had made known in 1987 its plan to tear the place down to make way for modern commercial buildings, saving just a slice of land for a park. Upset, a group of residents who treasured the market and its way of life, banded together to bring life back to the market. Local housewives formed an aerobic exercise group, which then led to the birth of the Aroy Dee Samchuk Fair (Delicious Samchuk Fair). Organizing the event brought together residents of three generations. Rising to the challenge of offering hard-to-find traditional dishes, aunties and grandmas brushed up on their culinary skills. Residents of nearby districts were invited to visit and sample the best the Samchuk Market had to offer. The ongoing activities that followed eventually earned the support of the Chumchonthai Foundation in the conservation and care for the market’s architectural heritage. The community’s revival effort became national news, and the area soon became one of Suphanburi’s must-visit sites for tourists. The market’s transformation not only boosted confidence among its residents and development committee, it also attracted attention from the Tourism Authority of Thailand, local authority as well as the private sector. Some offered to help “manage” the market. However, the struggle they have gone through led the local residents to insist on being at the core of its management. While founding members lent their wisdom and resources, the younger generation added vigor and modern know-how.
ข้าวห่อใบตอง อาหารโบราณ เอกลักษณ์ของตลาดสามชุก
Fried rice in lotus leave wrapping is an authentic cuisine Samchuk Market is famed for.
ชุมชนสามชุก หน้าบ้านเป็นตลาดร้านค้า ด้านหลังติดแม่น�้ำท่าจีน ซึ่งในอดีตคือเส้นทาง สัญจรสายหลัก Left) Samchuk Market is situated on the bank of Tha Chin River, which was once a major transportation route.
A member of the latter group, Thanet Kittipornpanit, told about the role the 10+-strong team played. “We took on the planning for future development, making sure it stay true to our commitment that the market can be managed by ourselves. We want to create the ‘Samchuk Brand’, preserving the place’s essence. The following year we brainstormed and came up with the ‘Gifts from Samchuk’ project, also with such essentials as quality control, garbage management, campaign for environmental care.
เส้นทางสายใหม่ On a new path
GL27-VA.indd 35
3/2/10 4:49 PM
36
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
“พวกเราเข้ามาช่วยเรื่องการคิดค้นแผนการพัฒนาในอนาคต เรือ่ งการดูแลไม่ให้หลุดจากเป้าหมายทีเ่ ราวางกันเอาไว้วา่ จะเป็นตลาด ของพวกเราทีเ่ ราสามารถจัดการเองได้ เราจะสร้างแบรนด์ของสามชุก รักษาความเป็นสามชุกเอาไว้ และในปีตอ่ ไปก็ชว่ ยกันคิดเรือ่ งของฝาก จากสามชุก เรื่องมาตรฐานของแบรนด์ คิดค้นเรื่องการจัดการขยะ รณรงค์เรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อม จากเรื่องเล็กที่ชาวบ้านในตลาด เห็นรูปธรรมและสามารถท�ำได้จริง เช่น การลดการใช้พลาสติกหรือ โฟม แล้วให้มาใช้ใบตองแทน เหมือนช่วยอุดรอยรั่วต่างๆ ที่เกิดขึ้น หลังจากการท�ำงานที่ผ่านมาของรุ่นลุง ป้า น้า อา หลังจากที่คิดแล้ว ก็ลงมือท�ำกันเลย ช่วยกันท�ำ ไม่รอเงินไม่รออะไรทั้งสิ้น ท�ำอะไรได้ ก่อนก็ลงมือท�ำเลย” จากส่วนผสมการท�ำงานระหว่างคนรุน่ บุกเบิกสานต่อความคิดใน การพัฒนาตลาดมาสู่รุ่นลูกหลานที่เอาจริงเอาจังกับการท�ำงาน และ มีองค์กรภายนอกเป็นเพียงหน่วยงานให้การสนับสนุนในเชิงทักษะ และองค์ความรู้ท�ำให้การจัดการตลาดแห่งนี้เต็มไปด้วยเสน่ห์ที่ชวน หลงใหล ทั้งสถาปัตยกรรมดั้งเดิม พิพิธภัณฑ์ และมิตรภาพจากการ ต้อนรับของชาวตลาดสามชุก แต่ก็ต้องยอมรับการเติบโตของระบบ เศรษฐกิจในตลาดสามชุกที่มาพร้อมกับกระแสการท่องเที่ยว ท�ำให้ บรรยากาศของตลาดแห่งนี้เปลี่ยนไปมาก ผู้คนมาเที่ยวที่นี่หนาตา โดยเฉพาะช่วงวันหยุด พ่อค้าแม่คา้ จากนอกตลาดเริม่ มีมากขึน้ ปัญหา ย่อมมากขึ้นตามล�ำดับ เมธี สรรพคุณานนท์ สมาชิกสภาเทศบาลและคณะกรรมการ บริหารตลาดสามชุก เป็นอีกหนึง่ เรี่ยวแรงส�ำคัญในการพัฒนาตลาด มาอย่างต่อเนื่อง เขาให้ความเห็นต่อกระแสการท่องเที่ยวและระบบ เศรษฐกิจที่เติบโตขึ้นของตลาดสามชุกว่า ที่ผ่านมาการท�ำงานที่ส่งผล ให้เศรษฐกิจของตลาดดีขึ้นถือเป็นผลพลอยได้ “ตอนที่เริ่มท�ำงานไม่ได้คาดหวังเรื่องนี้ เราคิดแค่อยากให้ตลาด กลับมาคึกคัก มีคนในท้องถิน่ เข้ามาจับจ่ายกันในตลาดกันเหมือนเดิม ท�ำให้เกิดระบบเศรษฐกิจที่ดูแลกันภายในอ�ำเภอของเราเอง แต่เมื่อ กระแสการท่องเทีย่ วเข้ามามันจะท�ำให้เหมือนเดิมก็ลำ� บาก เคยมีคนที่ เคยมาเที่ยวในช่วงสามสี่ปีก่อนบอกว่า สามชุกเปลี่ยนไปเยอะ อยาก ให้เหมือนเมื่อก่อนที่คนน้อยกว่านี้ แต่เราคิดว่าคนเยอะขึ้นก็ดี ขอให้ มาเถอะ ถึงจะมีปัญหาเกิดขึ้นทุกวัน เราก็แก้ไขกันทุกวัน พยายามจะ จัดระเบียบให้ดีขึ้น เพราะว่าเราอยู่ที่นี่” แนวคิดของคนสามชุกสะท้อนให้เห็นว่าการเริ่มต้นจากพลังของ คนในชุมชนทีเ่ ริม่ ท�ำจากสิง่ เล็กๆ ทีต่ นเองสามารถท�ำได้ การท�ำงานร่วม กันท�ำให้เกิดบทเรียน-ประสบการณ์ที่ช่วยสร้างความมั่นใจให้เกิดขึ้น ทั้งในระดับบุคคลและระดับกลุ่ม และเกิดความพร้อมที่จะเผชิญกับ ปัญหาที่จะตามมาในอนาคต ขณะที่ระบบเศรษฐกิจของโลกก�ำลังประสบภาวะย�่ำแย่ล้มลุก คลุกคลาน แต่เศรษฐกิจในตลาดเล็กๆ กลับเติบโตไปพร้อมๆ กับการ เรียนรู้ของผู้คน เป็นระบบเศรษฐกิจยั่งยืนของชุมชน ที่ไม่ได้เพียงแค่ วัดกันด้วยเม็ดเงินหมุนเวียนในตลาดเท่านัน้ แต่ยังประกอบด้วยการ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างระบบสังคมและสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน แห่งนีด้ ้วย จาก Human Development Report ประจ�ำปี 1996 ใน โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development
GL27-VA.indd 36
บรรยากาศในตลาดสามชุกก่อนมีการฟื้นฟู
Samchuk Market before the restoration.
Programme: UNDP) มีข้อสรุปส�ำคัญว่า การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจที่ท�ำความเสียหายในระยะยาวมีทั้งหมด 5 รูปแบบ คือ การ เติบโตที่ไม่สร้างงานให้กับประชาชน (jopless growth) การเติบโต ที่ทิ้งระบบประชาธิปไตย (voiceless growth) การเติบโตที่ท�ำลาย อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมจนสูญสิ้น (rootless growth) การเติบโตที่ ท�ำลายสิ่งแวดล้อม (futureless growth) และการเติบโตที่ประโยชน์ ส่วนใหญ่ตกอยูใ่ นมือคนรวยเท่านัน้ (ruthless growth) เป็นการเติบโต ทางเศรษฐกิจที่ไม่ยั่งยืนและไม่สมควรจะยั่งยืน วันนีต้ ลาดสามชุก คือกรณีตวั อย่างของการสร้างระบบเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของชาวตลาด เน้นดูแลคนในพื้นที่ คนใน ชุมชนสามารถจัดการและตัดสินใจได้ด้วยกระบวนการประชุมหารือ ของคณะกรรมการพัฒนาตลาด มีการรักษาสถาปัตยกรรม วิถีชีวิต ของผู้คน อัตลักษณ์ของคนสามชุก รูปธรรมชัดเจนของการท�ำงานโดยผู้คนในตลาดสามชุกที่ยัง ยื น หยั ด และเติ บ ใหญ่ ขึ้ น ได้ ท ่ า มกลางระบบเศรษฐกิ จ ของโลกที่ เปลีย่ นแปลงนี้ ยังชีใ้ ห้เห็นถึงเรือ่ งทีก่ ล่าวกันมาเนิน่ นานว่า การเติบโต ของระบบเศรษฐกิจชุมชนที่เกิดจากความต้องการของชุมชน ชุมชน สามารถจัดการได้เองทั้งหมด จะเกิดขึ้นหรือเป็นไปได้อย่างไร คนสามชุกสรุปร่วมกันว่า “หัวใจส�ำคัญในการขับเคลื่อนงานมา จากจิตส�ำนึกว่าที่นี่เป็นบ้านของพวกเรา”
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
37
หัวใจส�ำคัญในการพัฒนาตลาดสามชุก คือ การฟื้นฟูร้านค้าร้านบริการดั้งเดิม ร้านถ่าย รูป “ศิลป์ธรรมชาติ” คือหนึง่ ในนัน้ At the heart of Samchuk market success is the restoration of old shops and stores. Silp Thammachart photo shop is one of them.
ขนมห่อใบตอง ทอดมันปั้นย่าง ภาพสะท้อนของความพยายามในการใช้วัสดุธรรมชาติ และการสร้างสรรค์รูปโฉมของอาหารให้น่าสนใจขึ้น Desserts wrapped with banana leaf and roast fish cakes show an attempt of Samchuk vendors to use natural product and create new ways of cooking to draw tourists’ interest.
“We also worked on curbing the use of plastic and styrofoam containers, replacing them with those made of banana leaves. We corrected flaws we saw in past practices. We brainstormed, decided, and then got the ball rolling, not waiting for any funding. Whatever we could tackle first, we did.’’ The hard work of both generations and external support paid off. Samchuk regained, and recreated, its charms, among them delightful architecture of yesteryears, museum and hospitality of the residents. However, the new liveliness did come with a price, the influx of tourists, especially on weekends, attracted many vendors from outside, and management problems ensued. “When we started out, we didn’t make financial gain our top priority. We just wanted to breathe life back to the market, to make it again our trading hub, and to sustain the local economy,’’ said Methee Sappakunanond, member of the Municipal Council and the Samchuk working group. “When tourists poured in, it became difficult to stay true to those goals. A few years back, several visitors told me the market changed too fast and they preferred it
when fewer people came. We feel, though, that we welcome all visitors, even with the problems that come with them, we’ll manage them as they arise day by day. We’ll make it work, because we live here.’’ The Samchuk success story reflected the fact that when people team up for a mission they truly care for, and stick to it, they would learn and grow strong, both individually and collectively, enough to overcome any obstacles that come their way. While the global economy is staggering, the economy of this small market has flourished. It is a success measured not in term of mere monetary gains, but also in a growing sense of community and environmental care. According to the 1996 Human Development Report issued by the United Nations Development Programme, there are five types of economic “progress’’ that is actually harmful in the long run – the growths described as jobless, voiceless, rootless, futureless, and ruthless. Understandably, these cannot, and should not, be sustained. Avoiding such pitfalls, the Samchuk Market of today is a case study of an economy born of local participation, with an emphasis on taking care of local people, self reliance, democratic processes and preservation of cultural roots. Its residents have shown the rest of us that it could be done, beautifully, and the key to their success, they say, is their renewed sense of belonging.
เส้นทางสายใหม่ On a new path
GL27-VA.indd 37
3/2/10 4:49 PM
เส้นทางสีเขียว GREEN LINE
38
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
เมื่อชุมชน ไม่ต้องใช้ เงินตรา พรทิพย์ ถาบรรแก้ว
เมื่อ 9 ปีที่ผ่านมา ปรากฎการณ์ “เบี้ยกุดชุม” ได้ เขย่าขวัญสร้างความตื่นตระหนกให้แก่ภาครัฐ ทั้ง ฝ่ายความมั่นคง เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ และธนาคาร แห่งประเทศไทย สาเหตุเพียงเพราะชาวนา 15 คน จาก 5 หมู่บ้าน คือ บ้านสันติสุข บ้านโสกขุมปูน บ้านท่าลาด บ้านกุดหิน อ.กุดชุม และบ้านโคกกลาง อ.สันทรายมูล จ.ยโสธร มีแนวคิดต้องการจะสร้าง ระบบแลกเปลี่ยนเงินขึ้นใช้เอง
พ่อใหญ่สุวิทย์ ธนาคุณ อายุ 56 ปี ที่ปรึกษาสหกรณ์การเกษตร ธรรมชาติอนิ ทรียห์ นองยก จ�ำกัด ซึง่ ตัง้ อยูบ่ า้ นกุดหิน ผูเ้ ป็น 1 ใน 15 คน เล่าย้อนถึงวันที่เจ้าหน้าที่ต�ำรวจทั้งจาก อ.เมือง และ อ.กุดชุม ระดมกระจายก�ำลังลงพืน้ ทีจ่ บั ตาความเคลือ่ นไหวของชาวบ้านกลุม่ นี้
GL27-VA.indd 38
“เขาหาว่ า พวกเราเป็ น พวกโจร แบ่ ง แยกดิ น แดนคิ ด แยก ประเทศ เป็นกลุ่มกบฏ เขาเชื่ออย่างนัน้ เพราะเดิมพื้นที่นี้เคยเป็น พื้นที่คอมมิวนิสต์ ซึ่งตอนนัน้ พวกเราชาวบ้านไม่ได้คิดอะไรไปไกล กว่าปัญหาของตนเอง คิดเรื่องราคาผลผลิต ปัญหาหนี้สิน คิดเรื่อง การแลกเปลี่ยนผลผลิตภายในชุมชน คิดเรื่องการออม เราคิดเรื่อง การพึ่งตนเองเป็นหลัก ไม่ได้คิดว่าเจ้านาย คนที่มีวิชาความรู้มากๆ จะคิดไปไกลกันขนาดนัน้ ” พ่อใหญ่สุวิทย์กล่าว แนวคิ ด ระบบเงิ นตราชุ ม ชนไม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ นครั้ ง แรกในโลกที่ อ.กุดชุม ประเทศไทย หากแต่ปจั จุบนั มีชมุ ชนทีใ่ ช้ระบบเงินตราชุมชน ของตนเองประมาณ 2,000 ระบบ ใน 40 ประเทศทั่วโลก เช่น แคนาดา สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เนเธอแลนด์ เยอรมันนี ออสเตรเลีย เม็กซิโก อาร์เจนติน่า ฯลฯ รูปแบบของระบบเงินตราชุมชนที่มีอยู่ใน ปัจจุบันสามารถจ�ำแนกได้เป็น 4 รูปแบบคือ (1) ระบบจดบันทึกใน สมุดบัญชี หรือระบบ LETS (2) ระบบธนบัตรท้องถิ่น (คูปอง) หรือ ระบบ HOURS (3) ระบบผสมระหว่าง ระบบจดบั นทึ ก ในสมุ ด บั ญ ชี กั บ ระบบคูปอง (4) ธนาคาร บริการชุมชน หรือระบบ Time Dollars ส� ำ หรั บ มู ล ค่ า ของ เงิ น ตราชุ ม ชนนั้ น จะถู ก ก�ำหนดโดยสมาชิกในชุมชน เชน คุ้มเลา บ้านหัวงัว จากที่เป็นหนุ่มกินเหล้าเมา ยากลายมาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งโครงการข้าวคุณธรรม และหมู่บ้านปลอดเหล้าปลอดบุหรี่ Chen Khumlao of Ban Hua Ngua, formerly a heavy drinker, has turned into a founding member of Khao Khunnatham (moral rice) and cigarette-and-alcohol free village projects.
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
39
Currency of Hope Pornthip Thabankaew
N
ine years ago, the “Bia Kut Chum” phenomenon shook the nerves of the law enforcement and security agencies and the Bank of Thailand. Fifteen farmers from five villages of Ban Santisuk, Ban Soak Khumpoon, Ban Tha Lad and Ban Kut Hin of Kut Chum district and Ban Koak Glang of San Sai Mun district of Yasothon had just started to use their own currency. Suwit Thanakhun, 56, an advisor of Nong Yok Organic Farming Association, located in Ban Kut HIn, was one of the 15. He recalled the time when police officers descended on the area to keep a close watch on them. “They branded us thieves, separatists and rebels because the areas were once communist-dominated, when all we villagers were only worried about were commodity prices, debts, how to barter among ourselves, saving and self-reliance. We had never imagined the highly-educated big bosses would interpret our idea so far out,” he said. Kut Chum was not alone in using a local currency system. All over the world, there are around 2,000 active alternative community currencies in 40 countries, including Argentina, Australia, Canada, Germany, Mexico, the Netherlands and the United States. Four community currency systems are currently in use: LETS system or Local Exchange Trading System, an interest-free local credit system; HOURS system of community coupons based on an hour’s work; a combination of the LETS and HOURS systems; and, Time Dollars system of credit for time spend rendering a service and operating more or less like a community bank. The value of a community currency, as determined by members, may be tied to the national currency, equal to hours of work, or be fixed in the course of bartering. PRIOR TO THE CURRENCY EXPERIMENT, Kut Chum locals have long teamed up on many development efforts ranging from economics to the environment, social issues, religion and public health. They have a fund for community shops, a fund for medication, a club of tradi-
tional medicine practitioners and herbal enthusiasts, a Buddhist development volunteers group, a project to donate tree saplings to northeastern people, a community forest conservation project, a traditional medicine center at Tha Lad community, and a rice mill run by a nature conservation club. In addition, they also run a small-scale community enterprise group which produces herbal shampoo and dishwashing liquid, natural-dyed fabric, sticky-rice bamboo containers or katip and triangular pillows for household use and sales. There’s also the Hed Yoo Hed Kin group of organic and toxic-free farmers. All these formed the basis for the community currency system. The idea for Bia Kut Chum arose out of meetings of core groups from many villages, including housewives, the various clubs, rice millers, local health center officials, youths, monks, local administration officials, teachers and local entrepreneurs as well as a number of non-governmental organizations. The meetings culminated in the formation of a 15-member committee made up of three representatives from five villages. They were tasked with designing and establishing the community currency system. The committee adopted the concept of food court coupons to be used for exchange of products, mainly
เส้นทางสีเขียว Green Line
GL27-VA.indd 39
3/2/10 4:49 PM
40
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
แม่กองศรี เทศไทย อธิบายความเป็นมาของเบี้ยกุดชุม Kongsri Tetthai relates the rise of Bia Khut Chum.
ซึง่ จะต่างกันไปตามแต่ละชุมชน มูลค่าของเงินตราชุมชนอาจจะผูกกับ ค่าเงินประจ�ำชาติ เท่ากับชั่วโมงการท�ำงาน หรือถูกก�ำหนดในระหว่าง การแลกเปลี่ยนของสมาชิก ก่ อ นที่ จ ะมี แนวคิดเงินตราชุมชน ชาวกุดชุมได้มีการรวมกลุ่ม พัฒนาตนเองมายาวนาน ซึ่งครอบคลุมหลายด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม ศาสนา สาธารณสุข ฯลฯ อาทิ กองทุนร้านค้า ชุมชน, กองทุนยาประจ�ำหมู่บ้าน, ชมรมหมอยาพื้นบ้านและผู้สนใจ สมุนไพร อ�ำเภอกุดชุม, กลุ่มสังฆอาสาพัฒนา, โครงการทอดผ้าป่า พันธุ์ไม้สู่ชาวอีสาน, โครงการอนุรักษ์ป่าชุมชน, ศูนย์สุขภาพแผน ไทยในชุมชนท่าลาด, โรงสีขา้ วชมรมรักษ์ธรรมชาติ, กลุม่ ธุรกิจชุมชน ขนาดเล็ก ได้ทำ� การผลิตแชมพูสมุนไพรและน�้ำยาล้างจาน รวมกลุม่ กันทอผ้าสีธรรมชาติ สานกระติ๊บ ท�ำหมอนขิดเพื่อใช้ในครัวเรือน และจ�ำหน่ายนอกหมู่บ้าน, กลุ่มเฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน ที่เน้นการท�ำเกษตร อินทรียแ์ ละเกษตรปลอดสารพิษ ฯลฯ และนีค่ อื ต้นทุนในการคิดระบบ แลกเปลี่ยนของท้องถิ่น เบี้ยกุดชุมเกิดจากวงประชุมแลกเปลี่ยนกันของกลุ่มแกนจาก หลายหมู่บ้าน ทั้งที่เป็นแกนน�ำชาวบ้าน กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเฮ็ดอยู่ เฮ็ดกิน เจ้าหน้าที่โรงสี เจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพวัดท่าลาด กลุ่มเยาวชน กลุม่ พระสงฆ์ อบต.นาโส่ ครูโรงเรียนบ้านโสกขุมปูน ร้านค้าชุมชน ร่วม กับชมรมศิษย์เก่าบูรณะชนบทและเพื่อน มูลนิธิสุขภาพไทย ชมรม รักษ์ธรรมชาติ และโครงการระบบเงินตราชุมชน หลังจากนัน้ จึงมีการ รวมกลุ่มของผู้สนใจตั้งขึ้นเป็นคณะกรรมการ หมู่บ้านละ 3 คน จาก 5 หมู่บ้าน รวม 15 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มเฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน เพื่อท�ำหน้าที่ออกแบบและวางระบบเงินตราชุมชน ตั้งแต่การก�ำหนด วัตถุประสงค์ รูปแบบ ชื่อเรียกสื่อกลางที่ใช้แลกเปลี่ยน และการ บริหารจัดการระบบ ฯลฯ สิ่งที่คณะกรรมการนึกถึงในวันนีก้ ็คือ คูปองแลกอาหารตามที่ เคยเห็นจากร้านค้า ศูนย์อาหารต่างๆ ในเมืองและเรียนรู้จากการเข้า
GL27-VA.indd 40
ร่วมประชุมในที่ต่างๆ ที่ใช้คูปองแลกอาหาร มติที่ประชุมครั้งนัน้ ให้ พิมพ์เป็นคูปองเพื่อใช้แลกเปลี่ยน ส่วนสินค้าที่จะน�ำมาแลกเปลี่ยน คือ พืชผักสวนครัวทุกชนิด ผลไม้ในท้องถิ่น รวมถึงอาหารธรรมชาติ ที่มีอยู่ในแปลงนา อาทิ กบ ปู ปลา หอย ฯลฯ โดยคณะกรรมการได้ เสนอแนะว่า ควรพิมพ์ตัวเลขก�ำหนดค่าระบุราคาคูปอง ซึ่งจะท�ำให้ สมาชิกเข้าใจได้ง่ายขึ้น และเพื่อสื่อให้คนข้างนอกรับรู้ด้วย ส่วนที่มาของชื่อที่จะใช้เรียกสื่อในการแลกเปลี่ยนนี้ สมาชิก ต่างเสนอชื่อเรียกอย่างหลากหลาย เช่น แอก หมาก กิโล เบี้ย บุญ หน่วย ถัง เป็นต้น ในที่สุดที่ประชุมก็ได้มีมติใช้ชื่อว่า “เบี้ย” ซึ่งเป็น ความหมายที่ดี แม่กองศรี เทศไทย อายุ 50 ปี ชาวบ้านกุดหิน หนึง่ ในคณะ กรรมการกลุ่มเบี้ย เล่าว่า “เบี้ยเป็นภาษาอีสานที่หมายถึงต้นกล้าไม้ เมือ่ น�ำมาใช้จงึ หมายถึง ต้นกล้าไม้ทรี่ อการเจริญเติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ เพือ่ เก็บรักษาไว้ให้ลกู หลาน เบีย้ กุดชุมทีห่ ลายๆ คนได้สมั ผัสจากภาพ หรือข่าวจากสื่อต่างๆ เมื่อหลายปีที่ผ่านมา ท�ำให้หลายคนมองว่าเบี้ย กุดชุมหมายถึงเงินตรา แท้จริงแล้วเบีย้ กุดชุมเป็นเพียงสือ่ กลางในการ แลกเปลี่ยนภายในชุมชน ซึ่งผู้น�ำกลุ่มที่เริ่มให้แนวคิดนีค้ ือ พ่อมั่น สามสี และพ่อวิจิตร บุญสูง ที่ต้องการให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง คือพึง่ ตนเองได้ ทัง้ ด้านสุขภาพและการออม ท�ำอย่างไรชาวบ้านจึงจะ ลดต้นทุนค่าใช้จา่ ย พืชผักในสวนครัว ปูปลาทีม่ อี ยูใ่ นหนอง เหลือกิน จะท�ำอย่างไร จึงเป็นที่มาของการเกิดเบี้ยกุดชุม” พ่อใหญ่วิจิตร บุญสูง ประธานมูลนิธิวัดป่าสวนธรรมร่วมใจ อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร เล่าเบื้องหลังของความคิดเบี้ยกุดชุมว่า เรื่องใหญ่ ของคนในสังคมปัจจุบันคือเรื่องสิทธิ ช่วงเวลาที่คิดท�ำเรื่องเบี้ยกุดชุม มองว่าเบีย้ กุดชุมเป็นแค่กระดาษแผ่นหนึง่ ทีเ่ ป็นสือ่ กลางระหว่างกลุม่ สมาชิก ชุมชน คนซือ้ คนขาย จะต้องมีสทิ ธิในการก�ำหนดราคาสิง่ ของ ตนเองได้ดว้ ยตนเอง โดยใช้เบีย้ เป็นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น มูลค่า ที่มีมากกว่าเงิน คือคนเข้าถึงสิทธิขั้นต้น มูลค่าที่มีมากกว่าสิ่งของ คือการพึ่งตนเอง คิดเองได้ เช่น แตงโมลูกใหญ่ๆ คนปลูกสามารถ ก�ำหนดราคาเองได้ ผูซ้ อื้ สามารถต่อรองได้ เกิดการแลกเปลีย่ นพูดคุย น�ำไปสู่มูลค่าที่เป็นมากกว่าเงินคือคุณค่าทางด้านจิตใจ ความสัมพันธ์ ของคนในชุมชน ความเอื้ออาทรกัน ซึ่งคุณค่าของความรู้สึกนี้มิอาจ ประเมินค่าได้ด้วยเงิน เดือนมีนาคม พ.ศ.2543 ธนาคารเบี้ยกุดชุมถูกจัดตั้งขึ้นและ ท�ำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ มีที่ท�ำการอยู่ที่บ้านสันติสุข โดยสมาชิก 1 คน สามารถเบิกถอนได้ไม่เกินครั้งละ 300 บาท และเมื่อต้องการ น�ำเบี้ยมาคืนสามารถคืนได้โดยไม่มีดอกเบี้ย เบี้ยกุดชุมไม่สามารถใช้ หนีไ้ ด้ เพราะไม่ใช่เงินตรา จะใช้ได้เฉพาะในกลุม่ สมาชิกเบีย้ กุดชุม ใช้ แลกเปลี่ยนสินค้าหรือาหารการกินที่มีในชุมชนเท่านัน้ เช่น แม่ใหญ่ สอนมาขายเห็ดฟางที่ปลูกเองในแปลงนา เสนอขายราคากองละ 10 บาท ผู้ซื้อถามผู้ขายขอใช้เบี้ย 5 และเงินอีก 5 บาท ได้ตามความ พึงใจของทั้งสองฝ่าย การใช้เบี้ยกุดชุมครั้งแรกเริ่มต้นขึ้นโดยมีคณะกรรมการ 15 คน น�ำไปทดลองใช้ ภายหลังจากนัน้ 1 สัปดาห์ ข่าวเบี้ยกุดชุมก็ถูกตีแผ่ ตามสื่อต่างๆ แล้วหมู่บ้านที่สงบสุขก็คลาคล�่ำไปด้วยเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงและใครต่อใครต่างมุ่งหน้ามากุดชุม
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
41
(บน, ขวาบน, ขวาล่าง) วิถีชีวิตของชาวกุดชุมนอกจากจะปลูกข้าวอินทรีย์ มีโรงสีข้าว ของตัวเอง ยังมีการทอผ้าใช้เองด้วย (Top, top right, bottom right) Khut Chum villagers grow organic rice and have their own rice mill in addition to weaving cloths to use themselves.
homegrown vegetables, local fruits and catches from paddy farms, such as frogs, crabs, fishes and clams. The coupons bore different values for better understanding among members and outsiders. Many names for the coupons had been suggested, such as Aek, Mak, Kilo, Bia, Bun, Unit and Bucket. Eventually, Bia was adopted. Kongsri Tetthai, a 50-year-old native of Kut Hin and a committee member, said: “Bia is the northeastern word for saplings. By adopting it, it was hoped that it would grow for the younger generations. People might think of it as money, but it was simply a mean of exchange within the community.” She added that it was the brainchild of Man Samsi and Vijit Boonsung, two local leaders, who wanted to see the community gain strength with self-reliance in health care and savings. Bia Kut Chum was intended to cut costs and manage excess homegrown vegetables and catches from waterways. To Mr. Vijit, chairman of Suan Tham Ruam Jai Forest Temple Foundation in Yasothon, the big issue that gave rise to the idea of the Kut Chum currency was citizens’ rights. While Bia Kut Chum was merely pieces of paper, he said, it afforded local people, both the producers and the buyers, the right to fix the values of products being traded. In the process, it led to an increase of interaction among the locals and helped strengthen their relationship. In that regard, Bia Kut Chum is more than money; it attains spiritual value that mere money could not match.
In March 2000, the Bia Kut Chum bank was officially opened for business at Ban Santisuk. A member was entitled to an interest-free loan of 300 baht at the maximum. The loan could not be paid back with real money nor could it be used to pay off debt. Bia Kut Chum was only used for bartering of products or food among community members. However, money could be used together with the Bia to pay for goods. A week after the local currency was circulated, the media began playing up the story. After that police and security officers blanketed the once peaceful villages. TODAY BIA KUT CHUM IS NO MORE. But the idea and the way of living that it inspired did not die with it. The locals still strive to attain self-reliance, improve production process, live in harmony with the environment and nature around them, and obtain contentment from life. They have the four basic necessities and share what’s left with neighbors. This is the legacy of welfare and security for life, now and in the future. Mr. Suvit concluded: “The aim of Bia Kut Chum was to change people’s mindset. Human development is a complex matter that rests on a solid foundation of self understanding, righteousness and fairness. Money is not the goal. We as farmers would never get rich no matter how hard we try. What could be attained is abundance, better living free of worries, good health, good family, and mutual dependency which is the most important aspect of Isan people.”
เส้นทางสีเขียว Green Line
GL27-VA.indd 41
3/2/10 4:49 PM
42
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ปัจจุบันชาวบ้านที่นี่ไม่มีใครใช้เบี้ยกุดชุมกันแล้ว แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าหลักคิดและวิถีปฏิบัติของคนที่นี่จะ เปลี่ยนไป พวกเขายังคงยึดมั่นในสิ่งที่ท�ำ นัน่ คือการพึ่งตนเอง ปรับเปลี่ยน วิถีการผลิตของตนเอง จัดระบบชีวิตให้สัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ อย่าง เหมาะสมทั้งกับคน กับสังคม กับธรรมชาติรอบๆ ตัว มีความพอใจ ในชีวิตที่เป็นอยู่ มีปัจจัยสี่ที่เพียงพอส�ำหรับทุกคนในครอบครัวและ แบ่งปันให้กับคนรอบข้าง เพราะนัน่ คือสวัสดิการและความมั่นคงใน ชีวิตในปัจจุบันถึงอนาคต พ่อใหญ่สวุ ทิ ย์กล่าวทิง้ ท้ายว่า “เป้าหมายส�ำคัญของเบีย้ กุดชุมคือ การเปลีย่ นแนวคิดคน การพัฒนาคนเป็นเรือ่ งละเอียดอ่อน เพราะฉะนัน้ ก่อนทีค่ นจะก้าวข้ามไปนัน้ ต้องอยูบ่ นพืน้ ฐานการรูจ้ กั ตนเอง ความถูก ต้อง และเป็นธรรม เป้าหมายจึงไม่ได้อยูท่ เี่ งิน พวกเราชาวนาซึง่ ท�ำนา ให้ตายก็ไม่มที างร�ำ่ รวย แต่สงิ่ ทีเ่ ป็นไปได้คอื ความอุดมสมบูรณ์ มีความ เป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ คือไม่ทกุ ข์ใจ มองบนพืน้ ฐานความเป็นอยู่ คือการมีอยู่ มีกนิ มีสขุ ภาพทีด่ ี มีครอบครัวทีอ่ ยูค่ รบพร้อมหน้ากัน และมีวถิ คี วาม เป็นเครือญาติพงึ่ พาอาศัยกัน ซึง่ นัน่ เป็นสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ของคนอีสาน” พ่ อ ใหญ่ วิ จิ ต รบอกว่ า “ยั ง อยากสานต่ อ แนวทางเบี้ ย หรื อ บุญกุดชุม เพราะเป้าหมายส�ำคัญคือการอยากเห็นชุมชนพึง่ ตนเองได้ เมื่อสมาชิกเข้าใจและเห็นคุณค่านัน่ จะน�ำไปสู่ทางรอดของชุมชนใน สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน” แม่กองศรีตดั พ้อว่า “หากวันนีม้ ยี งั ใช้เบีย้ กุดชุมได้ ในสถานการณ์
ทางเศรษฐกิจข้าวยากหมากแพงแบบนี้ ชาวบ้านคงไม่ต้องดิ้นรนเพื่อ หาเงินมาใช้จ่ายซื้อกินมากมายขนาดนี้”
Mr. Vijit said: “I still want to see Bia Kut Chum revived to reach the aim of self-reliance in our communities. Only when members see and value self-reliance can our communities survive in a bad economy as this.” Mrs. Kongsri, meanwhile, expressed disappointment with the discontinuation of the currency system saying: “If it’s still around, we would not have to struggle so hard to pay for all the upkeep in this tough times.”
in their living. They have used money and never denied that money is important. They simply wanted a new medium of exchange as a tool to help train people to be contented with a life of sufficiency and to learn how to save, reduce expenses and excesses, do honest work, turn their back on competition and exploitation, and use their wisdom to make good use of their land. This should lead them to a life of self-reliance and security. What the Kut Chum villagers had thought up and done nine years ago happened to be consonant with the sufficiency economy philosophy. The idea, if it had received proper support, could have blossomed into a foundation for a solid community economy throughout the country.
COMMUNITY CURRENCY AND EXCHANGE SYSTEMS ARE POWERFUL TOOLS to create strong community and accumulate social capital. There’s nothing wrong if the Kut Chum villagers did not want to use money
GL27-VA.indd 42
ระบบเงินตราชุมชนและระบบแลกเปลี่ยนท้องถิ่นเป็นเครื่องมือที่ ส�ำคัญที่จะช่วยสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนในแต่ละท้องถิ่น ซึ่ง เป็นการสะสมทุนทางสังคมพร้อมกันไปด้วยถ้าชุมชนไม่ตอ้ งการใช้เงิน ตราเป็นปัจจัยหลักในการด�ำรงชีวติ ก็ไม่นา่ จะมีความผิดต่างแต่ประการ ใด คนกุดชุมก็ใช่ว่าจะไม่ใช้เงิน และไม่เคยปฏิเสธว่าเงินไม่ส�ำคัญ พวกเขาเพี ย งคิ ด ใช้ สื่ อ กลางในการแลกเปลี่ ย นรู ป แบบ “เบี้ยกุดชุม หรือบุญกุดชุม” เป็นเครื่องมือฝึกจิตใจคนที่เกี่ยวข้องให้ ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้ รู้จักประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลด ความฟุ่มเฟือยในการด�ำรงชีพ ประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและ สุจริต ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย มุ่ง เน้นหาข้าวหาปลาก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง ท�ำมาหากินก่อนท�ำมา ค้าขาย เน้นการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินท�ำกินคือทุนทางสังคม เหล่านีค้ อื กระท�ำการด้วยสติทมี่ นั่ คงเพือ่ การพึง่ ตนเองในอนาคต โดย เริ่มต้นจากเปลี่ยนฐานครอบครัวและชุมชน สิ่งที่พวกเขาคิดและลงมือท�ำเมื่อ 9 ปีที่แล้ว ล้วนด�ำเนินตาม ครรลองแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งหากได้รับการส่งเสริมและ สนับสนุนต่อไป แนวคิดนี้อาจพัฒนาไปสู่การสร้างรากฐานที่มั่นคงใน ระบบเศรษฐกิจชุมชนในระดับประเทศก็ได้
3/2/10 4:49 PM
เส้นทางเดียวกัน ON THE SAME PATH
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
43
อาศรม วงศ์สนิท One Happy Heart at the หนึ่งใจ ในความสุข Wongsanit
วงแลกเปลี่ยนสนทนาเรื่องราวต่างๆ จากผู้คนหลากหลายอาชีพเป็นบรรยากาศที่เกิดขึ้น เป็นปกติในอาศรมวงศ์สนิท People from all walks of life exchanging views is the charm of Wongsanit Ashram.
อาณัติ แสนโท
หลายคนรู้จักคลอง 15 ในฐานะเป็นแหล่ง รวมพันธุ์ไม้นานาชนิด และหลายคนเช่นกัน ที่รู้ว่า ณ ที่แห่งนี้เป็นฐานปฏิบัติการทาง ชีวิต จิตวิญญาณ ของนักคิด นักอุดมคติ นัก กิ จ กรรมทางสั ง คม นัก แสวงหา และ นักศึกษา รู้จักกันนามว่า ‘อาศรมวงศ์สนิท’
GL27-VA.indd 43
Ashram Anat Saento
M
any knows Khlong Rangsit 15 for its vast selection of trees for sale, but it is also a destination for spiritual sojourn among many thinkers, idealists, social activists and students who travel to ‘’Wongsanit Ashram.’’ In the times when youths dreamed of a utopia, one group called Ahingsa Sehwana Wisasa lived their dream of simple living with a quest for hidden potentials to
3/2/10 4:49 PM
44
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
...ความสุขในใจของพี่อ้อย อาจ
เป็นเพียงมุมสะท้อนหนึ่งของ คนอีกหลายคนที่ค้นพบจิตวิญญาณ ของตนเอง โดยการเข้ามาใช้ชีวิตแบบ Alternative ในชุมชนเล็กๆ แห่งนี้ และ ที่นี่อาจเป็นทางเลือกหนึ่งในการค้นหา ความสุขที่แท้จริง ความหมายแห่งชีวิตและ ความมั่นคงทางจิตใจ เพื่อการเข้าใจตนเอง เข้าใจรากเหง้า เท่าทันกับกระแสสังคมที่ การด�ำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม มนุษย์ ให้คุณค่าเงินตราเป็นพระเจ้า
อาภาภร คำ�เจริญ Apaporn Khamcharoen
ในยุคแสวงหา คนหนุ่มสาวจ�ำนวนมากใฝ่ฝันถึงชีวิตและสังคม อุดมคติ หนุ่มสาวกลุ่มเล็กๆ เลือกฝันที่จะสร้างอุดมคติให้เป็นจริง ด�ำรงชีวติ เรียบง่าย ไม่ตอ้ งใฝ่หาความร�ำ่ รวย หรือคอยเลือ่ นสถานภาพ ทางสังคม ค้นให้พบศักยภาพทีซ่ อ่ นเร้นอยูใ่ นตน และเจียรนัยออกมา รับใช้สังคมวงกว้างอย่างดีที่สุด ผสานแรงกาย แรงสมอง และสมาธิ ภาวนาให้เป็นหนึง่ เดียวกัน ฝึกตัดสินใจร่วมกัน บริหารงานอย่างทุกคน มีส่วนร่วม ขณะนัน้ พวกเขาเรียกตัวเองว่ากลุ่มอหิงสาเสวนาวิสาสะ ใกล้ชดิ ส. ศิวรักษ์ ผูก้ ระตุน้ ให้เห็นคุณค่าของสันติวธิ ี ตลอดจนศึกษา ชีวติ และขบวนการของมหาตมะคานธี รวมถึงศึกษาแนวความคิดของ ชาวเควกเกอร์ (Quaker) ทีส่ ร้างชุมชนทวนกระแสขึน้ กลางเมืองฟิลา เดลเฟีย เพือ่ เป็นฐานในการสร้างสังคมใหม่ขนึ้ ในอเมริกา จากนัน้ ก็นำ� มาแปรสูก่ ารปฏิบตั ทิ ปี่ รับประยุกต์ คิดค้น สร้างสรรค์ให้สอดคล้องเข้า กับการด�ำเนินแบบแผนแบบไทยๆ ต่อมาปี 2527 มูลนิธิเสฐียรโกเศศ–นาคะประทีป ได้รับบริจาค ที่ดินจ�ำนวน 34 ไร่ 2 งาน จากทายาท ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท และ หม่อมเสมอ สวัสดิวัตน์ คือ ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ มูลนิธิจึง ได้ตั้งชื่อ อาศรมวงศ์สนิทตามสร้อยพระนามของบิดาผู้บริจาค โดย ก�ำหนดให้สถานที่แห่งนี้เป็นที่แสวงหามิติที่ลึกซึ้งทางจิตวิญญาณของ คนรุ่นใหม่ และเป็นที่พักในยามเหนื่อยล้าของนักกิจกรรมทางสังคม นับแต่นนั้ เป็นต้นมานักฝันจึงมีสนามที่จะสัมผัสความจริง และสร้าง ความจริงตามอุดมคติด้วยหัวใจ สมอง และสองมือ
GL27-VA.indd 44
ผ่านมา 25 ปี อาศมวงศ์สนิทต้อนรับผู้คนหลากหลายตั้งแต่ ปัญญาชน นักศึกษา ชาวบ้าน ฯลฯ นับไม่ถ้วน ภายใต้บรรยากาศ ร่มครึ้มด้วยต้นไม้หลากหลายชนิด ธรรมชาติร่มรื่น ที่นี่มีเสียงนก ร้องตลอดวัน ไก่โก่งคอขันรับอรุณทุกเช้า สายลมเย็นโชยชื่นมาเป็น ระยะๆ กบ เขียด นก หนู แมลงกางคืนกรีดปีกร้องเพลงให้ฝงู หิง่ ห้อย ร่ายร�ำเหนือสระบัว ถ้าใครไม่เคยรับรูถ้ งึ เรือ่ งราวแต่หนหลังอาจไม่เชือ่ ว่าทีน่ เี่ คยมีปญ ั หาดินเปรีย้ วปลูกอะไรก็ตายหมดมาก่อน และนอกจาก นัน้ ที่นี่ยังมีหนังสือกองโตให้เลือกคบเป็นเพื่อนทางความคิดมากมาย อาศรมฯ ได้เปิดเอื้ออ�ำนวยบริการให้ทั้งนักกิจกรรมทางสังคม ด้านต่างๆ นักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่สนใจท�ำกิจกรรมทางเลือก เข้า มาใช้สถานทีส่ �ำหรับประชุม สัมมนา จัดคอร์สอบรมภาวนา อบรมการ ดูแลฟื้นฟูสุขภาพด้วยวิธีธรรมชาติบ�ำบัด และจัดกิจกรรมพัฒนาชีวิต ด้านในด้วยการศึกษาปฏิบัติธรรม เจริญสมาธิภาวนา ตลอดจนพบปะ พูดคุยกับนักอุดมคติ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมไปถึงเปิด โอกาสให้คนท�ำงานทางสังคมผูเ้ หนือ่ ยล้าสามารถเข้ามาพักกาย พักใจ แม้เพื่อรักษาโรคภัยหรือเพื่อฟื้นไข้ ภายใต้กิจกรรมที่หลากหลายของอาศรมวงศ์สนิท อาภาภร ค�ำเจริญ หรือที่ใครๆ รู้จักเรียกติดปากว่า “พี่อ้อย” นักกิจกรรมวัย สาวรุน่ ใหญ่ ผูม้ บี ทบาทในชุมชนอาศรมวงศ์สนิทมานับ 10 ปี บอกเล่า ให้ฟังถึงชีวิตในอาศรมฯ ว่า เข้ามาท�ำงานกับอาศรมวงศ์สนิทครั้งแรก เมื่อปี 2535 ด้วยความที่เคยท�ำกิจกรรมมาก่อน จึงเริ่มจากมีค�ำถาม ท�ำไมต้องให้ฉนั มาท�ำความสะอาด ปูที่นอนส�ำหรับแขกผู้มาพักอาศัย ด้วย จนวันหนึง่ ได้อ่านหนังสือของท่าน มหาตมะคานธี เขียนไว้ตอน หนึง่ ว่า การท�ำงานขัดห้องน�้ำเป็นงานบริการที่สูงสุด “พีก่ เ็ ลยขัดห้องน�ำ้ ไป ขัดใจไป หมายความว่าเราก็สามารถท�ำงาน ใช้แรงได้ ไม่เสมอไปที่เราจะต้องนัง่ ท�ำงานบนโต๊ะหรือท�ำแค่เพียงการ สอนหนังสือ” พี่อ้อยเป็นคนสงขลา เกิดที่ อ.สะทิงพระ จบจากมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตสงขลา ระหว่างเรียนท�ำกิจกรรมกับค่าย อาสาพัฒนาชนบทกระทั่งส�ำเร็จการศึกษา จากนัน้ ได้เริ่มต้นท�ำงาน
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
45
...Apaporn has found spiritual peace from this alternative community. At the Ashram, people come to find real happiness, meaning of life, spiritual strength so as to find the strong footing in the material world.
(บน) ศาลาริมน�้ำอันสงบร่มเย็นและคงความเป็นธรรมชาติภายในอาศรมฯ
(Top) Peaceful waterside gazebo blends with the ashram’s natural setting.
(ล่าง) สถานที่แห่งนี้เป็นที่แสวงหามิติที่ลึกซึ้งทางจิตวิญญาณของคนรุ่นใหม่
(Bottom) The ashram serves the youth’s quest for spiritual development.
serve society through meditation and cooperative working. Sulak Sivaraksa, a prominent social thinker, served as their mentor who taught them the way of non-violence, urging them to contemplate their lives and study the work of Mohandas Karamchand Gandhi and Quakers, a faith-based community in Philadelphia, so as to develop practice that fit the Thai context. In 1984, the Sathirakoses-Nagapradipa Foundation received a donation of more than 34 rai of land from MR Saisawasdi Svasti, a child of Prince Suphasawadi Wongsanit and Samoh Svasti. The Ashram got its name from the father of the land donor. It has since become a destination for in-depth spiritual search of the young generation and a retreat for social activists. Dreamers thus have the stage to turn their ideals into reality using their heads, hearts and hands. For the past 25 years, the Ashram has welcomed people from all walks of life, including academics, students and locals. Under a forest-like canopy, visitors listen to birds sing throughout the day and rise in the morning at the crow of the roosters. Toads, birds, rats, nocturnal insects and fireflies populate the place and around the lotus pond. It is hard to believe that before this almost nothing grew on the land because of the acid
soil. Besides all these, a mountain of books is available for the visitors to take a journey of the mind. At the Ashram, social activists, students and the general public hold various activities. It serves as venue for meetings, seminars and workshops, particularly on dharma practice, meditation and alternative therapeutic practices. It is where idealists get together and share ideas and where social activists unwind. Apaporn Khamcharoen, aka “Pee Oy,” an activist who has over a decade been part of the Ashram, recalled how Gandhi’s book cleared her doubt about why she ended up cleaning and making beds there for visitors. ’’Gandhi said cleaning toilet is the greatest service of all. Since then, I clean my soul whenever I wash toilets. We can also make a difference with laborious work, not only through desk job or teaching,’’ she said. The native of Songhla’s Sathing Phra district has been active in rural development activities since her years at the Songhla Campus of Srinakharinwirot University. After her graduation, she landed a job at the Foundation for Children’s homeless children project. Her work took her to the Ashram that offered refuge to the needy children and where she set up activities. Having exchanged views with then Ashram director Pracha Hutanuwat, she was inspired to live and work at the Ashram in 1992. After a year at the Ashram, Apaporn left for the northern province of Tak to teach Karen children at Huay Jague. She got by with the Ashram’s financial aid of 3,000 baht a month in the first few years. After six years, she returned to the Ashram and has since worked as its academic training coordinator. Her first assignment was to hold workshop on Plum Village meditation. She later organized training on natural cure, having Dr. Jacob Vadakkanchery, India-based Ayurvedic healer, as a guest lecturer. The Ashram’s training courses have been warmly received by people of various professions. Apaporn reflected on health activities saying: “Physical healing has a spiritual aspect where participants can apply in their daily lives. They find happiness from caring and understanding themselves. Such happiness returns to Ashram staff, putting a smile on our faces.’’ Apaporn said her free time was spen”reflecting on my inner self. Living in the Ashram allows me to grow
เส้นทางเดียวกัน On the same path
GL27-VA.indd 45
3/2/10 4:49 PM
46
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
กับมูลนิธิเด็ก ในโครงการเด็กเร่ร่อน ซึ่งต้องประสานงานกับอาศรม วงศ์สนิทเพื่อเป็นสถานที่พักพิงอาศัยและจัดกิจกรรมต่างๆ จากการ ที่ได้พบปะแลกเปลี่ยนความคิดกับประชา หุตานุวัตร ผู้อำ� นวยการ อาศรมวงศ์สนิท(ขณะนัน้ ) ความสนใจในการใช้ชวี ติ แบบอาศรมค่อยๆ ซึมซับเรื่อยมา จนกลายเป็นจุดเปลี่ยนที่ท�ำให้เข้ามาอาศัยและท�ำงาน ที่อาศรมแห่งนี้ พีอ่ อ้ ยท�ำงานในอาศรมได้เพียงปีเดียว ก็ขนึ้ ภูดอยไปสอนหนังสือ เด็กกะเหรีย่ งทีห่ ว้ ยจะกือ จ.ตาก โดยมีอาศรมสนับสนุนความอยูร่ อด เป็นเงินส�ำหรับใช้จ่ายเดือนละ 3,000 บาทใน 2–3 ปีแรก เธออยู่กับ เด็กๆ ทีห่ ว้ ยจะกือ 6 ปี พอปี 2542 จึงกลับมาปักหลักทีอ่ าศรมอีกครัง้ ท�ำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานจัดการฝึกอบรมของเสมสิกขาลัยในส่วน งานตลาดวิชา และงานแรกคือจัดอบรมเรื่องการภาวนาของหมู่บ้าน พลัม ต่อมาก็จดั อบรมธรรมชาติบำ� บัด โดยมีหมอ เจค๊อบ วาทักกันเชรี จากอินเดียเดินทางมาเป็นวิทยากร ซึง่ การจัดอบรมแต่ละครัง้ มีบคุ คล จากหลากสาขาอาชีพให้ความสนใจเยอะมาก เธอมองการท�ำงานด้าน สุขภาพว่า “เป็นเรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญเพราะมีมติ ดิ า้ นจิตวิญญาณ และผู้ เข้าร่วมอบรมสามารถน�ำความรูไ้ ปใช้ในวิถชี วี ติ ประจ�ำวันได้ พวกเขาค้น พบความสุขจากการดูแลและเข้าใจตนเอง ความสุขเหล่านัน้ ก็วนกลับ มาหาเราด้วย เป็นความสุขเล็กๆ ที่ทำ� ให้คนท�ำงานยิ้มได้” ในเวลาว่างนอกเหนือจากการท� ำงานจัดอบรมให้กับอาศรม วงศ์สนิท พีอ่ อ้ ยใช้เวลาอยูเ่ งียบๆ เริม่ ทบทวนตัวเอง เฝ้ามอง เฝ้าดูจติ
from the inside. Working in natural settings has put my mind in balance. My life is settled now. Suffering and happiness can no longer sway my heart. I feel happy just seeing trees blossom in the rain. This is where I have tried my hands on various jobs and learned new things and eventually found what I have been looking for.’’ The Wongsanit Ashram has offered strong spiritual fundamentals for generations, ranging from idealist Siriporn Chotchachawalkul; social activists Pracha Hutanuwat, Wisit Wangwinyu and Uayporn Kuenkaew to the present generation. With religious, cultural and
GL27-VA.indd 46
ดูสิ่งที่เป็นไป ดูปัญหาแล้วก็ทบทวน เธอบอกว่า ความสุขในการใช้ ชีวติ ทีอ่ าศรมเป็นเรือ่ งการเติบโตจากข้างใน การใช้เวลาส่วนตัวท�ำงาน อยู่กับธรรมชาติท�ำให้เกิดสมดุลทางจิตใจ ชีวิตก็จะเริ่มนิง่ ไม่ทุกข์กับ อะไรมาก และไม่สุขกับอะไรมาก เห็นฝนตกต้นไม้สดชื่นก็มีความสุข ได้ และอาศรมมอบโอกาสในการพัฒนาตนเอง ให้พนื้ ทีท่ ดลองท�ำงาน ทีต่ วั เองชอบและไม่ชอบ ได้คดิ สร้างสรรค์ จัดการและเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ จากการท�ำงานหลายๆ ส่วน จนกระทั่งค้นพบความต้องการตนเอง อาศรมวงศ์สนิทเป็นเบ้าหลอมพื้นฐานทางจิตวิญญาณที่มั่นคง ให้ แ ก่ ค นรุ ่ น แล้ ว รุ ่ น เล่ า จากยุ ค บุ ก เบิ ก นัก อุ ด มคติ อ ย่ า ง ศิ ริ พ ร โชติชัชวาลกุล มาสู่ยุคนักกิจกรรมเพื่อสังคมอย่างประชา หุตานุวัฒน์ วิศิษย์ วังวิญญู อวยพร เขื่อนแก้ว ฯลฯ จนมาถึงคนหนุ่มสาวยุค ปัจจุบัน ด้วยการฝึกฝนตนเองใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย อยู่กับธรรมชาติ พึ่งตนเอง ใช้แรงงาน ฝึกการเข้าใจตนเอง และพัฒนาตนเอง โดยยึด หลักศาสนธรรม วัฒนธรรมและมนุษยธรรมเป็น แกนหลัก จากนัน้ ก็ เริ่มต้นเปลี่ยนวิถีปฏิบัติของตนเองอย่างจริงจัง ความสุขในใจของพีอ่ อ้ ย อาจเป็นเพียงมุมสะท้อนหนึง่ ของคนอีก หลายคนทีค่ น้ พบจิตวิญญาณของตนเอง โดยการเข้ามาใช้ชวี ติ แบบทาง เลือก ในชุมชนเล็กๆ แห่งนี้ และทีน่ อี่ าจเป็นทางเลือกหนึง่ ในการค้นหา ความสุขทีแ่ ท้จริง ความหมายแห่งชีวติ และความมัน่ คงทางจิตใจ เพือ่ การเข้าใจตนเอง เข้าใจรากเหง้า เท่าทันกับกระแสสังคมทีก่ ารด�ำรง ชีวติ อยูร่ ว่ มกันในสังคมมนุษย์ให้คณ ุ ค่าเงินตราเป็นพระเจ้า
(บน, บนขวา) เรือนร้อยฉน�ำ และวรรณาคาร เรือนไม้อันเป็นที่ประชุมคิดค้นกิจกรรม และเป็นที่พักในยามเหนื่อยล้าของนักกิจกรรมทางสังคม (Top, top right) Wooden buildings serve as a venue for seminars and activities as well as a rest area for hard-working social activists.
humanitarian bases, Ashram visitors practice simple living close to nature, self reliance, menial works, self understanding and self improvement. Apaporn has found spiritual peace from this alternative community. At the Ashram, people come to find real happiness, meaning of life, spiritual strength so as to find strong footing in the material world.
3/2/10 4:49 PM
สัมภาษณ์พิเศษ SPECIAL INTERVIEW กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
47
จิตวิญญาน ในเศรษฐกิจ
ในทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ อาณัติ แสนโท ภาพ สุรพงษ์ เงินถม
สุลักษณ์ ศิวรักษ์ หรือที่ลูกศิษย์ลูกหา และคนทั่วไปเรียกกันว่าอาจารย์ ส. ศิวรักษ์ เป็นทั้งนักเขียน นักคิด ปัญญาชนและนักวิพากษ์สังคมที่รู้จักกัน อย่างกว้างขวางไม่เพียงในประเทศไทย แต่ในหลายๆ ประเทศทั่วโลก
Spirituality in Economics According to S. Sivaraksa
Anat Saentho Photo Surapong Ngeonthom
GL27-VA.indd 47
Sulak Sivaraksa, or as his students and others call Ajaan Saw Sivaraksa, is a writer, thinker, scholar and social critic well known not just in Thailand but also in many countries around the world.
3/2/10 4:49 PM
48
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
อาจารย์มีมุมมองเรื่องเศรษฐกิจในวิกฤตสิ่งแวดล้อมตอนนี้ อย่างไรบ้าง วิกฤตเศรษฐกิจในเวลานีก้ เ็ พราะนักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักยัง เชือ่ ว่าทุกอย่างจะต้องเพิม่ ปริมาณ ไปเน้นทีใ่ ช้ค�ำว่า Growth (การเติบ ใหญ่) ทุกอย่างจะต้องเพิ่มปริมาณ หมายความว่าจะได้มีทรัพยากร มี ทรัพย์มากขึน้ จะได้รำ�่ รวยมากขึน้ จะต้องขยายตลาดมากขึน้ ต้องการ ให้คนซื้อมากขึ้นก็แข่งขันกันทางตลาด อย่างเวลานี้จีนถือว่าชนะ อเมริกา เพราะสามารถผลิตของถูกมาขาย สามารถให้อเมริกนั มาเป็น หนีจ้ ีนได้ ถือว่าเป็นความส�ำเร็จ แต่ความส�ำเร็จอันนี้เป็นมายา เป็น ความส�ำเร็จทีห่ ลอกลวง เพราะคุณยิง่ ผลิตมากเท่าไหร่ คุณก็ยงิ่ ท�ำลาย ทรัพยากรมากขึ้นเท่านัน้ ทรัพยากรที่มีอย่างจ�ำกัด ฝรั่งเคยเชื่อว่า ทรัพยากรไม่จ�ำกัด เพราะเมื่อปฏิวัติใหญ่อุตสาหกรรมในอังกฤษนัน้ เป็นครั้งแรกเลยที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติในอังกฤษหมด จึงต้องไปตี อินเดีย ไปตีประเทศอื่นๆ เกิดจักรวรรดิขึ้นมา ผลิตของมากเท่าไหร่ก็ ยิง่ ต้องหาตลาดมากขึน้ เท่านัน้ อันนีถ้ อื ว่าเป็นความส�ำเร็จ Economics growth (การเติบใหญ่ทางเศรษฐกิจ) ยิง่ ใช้ทรัพยากรมาก มีตลาดมาก ร�ำ่ รวยมาก แต่การร�ำ่ รวยนีค่ นจ�ำนวนน้อยเท่านัน้ ทีร่ วย คนจ�ำนวนน้อย ในเวลานีค้ ือบรรษัทข้ามชาติ ซึ่งหากินอยู่กับจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่สอง แห่งคือ สหรัฐและจีน ในเมืองจีนเองคนก็ยากจนมาก โอลิมปิกคราว ทีแ่ ล้วคนถูกไล่ทไี่ ม่รกู้ ลี่ า้ นคน ถ้าดูผวิ เผินปักกิง่ งดงาม สวยหรูแต่คน เดือดร้อนมาก อเมริกาเองประชากรหนึง่ เปอร์เซ็นต์ติดคุก ขยายคุก มากขึ้นทุกที แล้วคนที่ติดคุกคือคนยากคนจน คนผิวด�ำ คนเชื้อสาย แมกซิกัน คนอเมริกันอินเดียน หรือคนผิวขาวที่ยากจน เพราะฉะนัน้ สิ่งซึ่งเรียกว่าความส�ำเร็จ ความร�่ำรวย ความยิ่งใหญ่ ความงอกงาม การเพิ่มปริมาณทางเศรษฐกิจนัน้ มันให้พิษภัยเกินกว่าจะมองเห็นได้ n
n เหมือนที่ตอนนี้เริ่มมาส่งผลกระทบต่อเรื่องสิ่งแวดล้อม?
ก็แน่นอนสิ อย่างบ้านเรา มาบตาพุดนี่เป็นตัวอย่าง ได้ชื่อว่า มาบตาพุดจะก่อให้เกิดเศรษฐกิจ จะร�่ำรวย จะใช้ทรัพยากรให้มาก บรรษัทต่างชาติจะมาลงทุน ก็ทำ� ลายทะเล-สิง่ แวดล้อมแถวนัน้ ทัง้ หมด คนเป็นโรคภัยไข้เจ็บเป็นแถว แล้วไม่มองถึงปัจจัยอืน่ ๆ ปัจจัยทีส่ �ำคัญ ทีส่ ดุ คือปัจจัยของมนุษย์ทกี่ ระทบ และมนุษย์ทกี่ ระทบส่วนใหญ่คอื คน ยากคนจนและธรรมชาติ ถ้าไม่แก้ประเด็นนีผ้ ดิ พลาดมาก นิมติ ดีกค็ อื คนเริม่ เห็น มาบตาพุดตอนนีก้ ถ็ กู ต่อต้านมาก จนกระทัง่ ศาลปกครอง ชั้นต้นสั่งให้ระงับคดี สั่งให้ระงับโครงการชั่วคราว แต่คนส่วนใหญ่ที่ เป็นชนชั้นบน คนที่เป็นรัฐบาล เป็นพ่อค้าม้าขาย ส่วนใหญ่ก็ยังเชื่อว่า จะต้องมีความเจริญ จะต้องมีอตุ สาหกรรมหนักๆ ทุกแห่งเลย ทีอ่ ดุ รฯ เหมืองแร่โปแตส จะไปขุดออกมาจากใต้ดนิ หมดเลย อุดรฯ จะพัง ชาว บ้านจะชิบหายหมด เช่นเดียวกับที่ปากมูล ที่อุบลฯ ยโสธร ประเด็นนี้ คือชนชั้นบนมองไม่เห็น เพราะมีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง นักการเมือง สมัยนี้เกี่ยวข้องโดยตรงกับบรรษัทข้ามชาติ พ่อค้าม้าขาย พวกนี้เห็น อย่างเดียว ความร�ำ่ รวยทางเศรษฐทรัพย์ ไม่เห็นเลยว่าผลกระทบทาง ด้านเลวร้ายจะเป็นอย่างไรบ้าง คือเห็น แต่นกึ ว่าจะแก้ได้ เหมือนกัน ตอนนี้พลังงานไม่พอ สร้างเขื่อนกันมา ตอนนีถ้ ้าจะเลิกสร้างเขื่อนก็ ต้องใช้พลังงานนิวเคลียร์ ซึง่ อันตรายยิง่ กว่าเขือ่ นร้อยเท่าพันเท่า ด้วย
GL27-VA.indd 48
มองไม่เห็น ทีอ่ อสเตรียเขาเลิกมานานแล้ว เยอรมันก็เพิง่ จะเลิก แล้ว ฝรั่งก็เอาสิ่งที่เลิกมาโยนให้เรา เราก็รับ นี่แหละมันน่าเศร้า n อาจารย์มองเรื่อง
เศรษฐกิจสีเขียว อย่างไร คือตอนนีค้ �ำว่าสีเขียวก็เป็นที่ฮือฮากัน อย่าเอายี่ห้อนี้มาใช้เป็น เครื่องอ�ำพราง ตอนนี้ไม่มีใครรังเกียจสีเขียว เหมือนสมัยหนึง่ พวก ฝ่ายซ้ายก็ไม่รังเกียจสีแดง สีแดงก็มีหลายสีในนัน้ สีเขียวก็มีหลาย สีในนัน้ แต่ความส�ำคัญเศรษฐกิจสีเขียวหมายความว่าต้องเขียวจริงๆ ไม่ใช่เขียวปลอม ไม่ใช่เขียวเล่นๆ เขียวจริงๆ หมายความว่าคุณจะ ต้องเคารพธรรมชาติและเคารพคนยากไร้ เคารพคนส่วนใหญ่ คนที่ ถูกเอาเปรียบ แล้วค่อยๆ เคารพเพือ่ นมนุษย์ทงั้ หมดและสัตว์ทงั้ หมด พรรค Green เป็นพรรคซึ่งมีความหวังมากในสมัยหนึง่ แต่แล้วพอ พรรค Green เข้ามาเป็นใหญ่ในเยอรมันก็เริ่มทะเลาะกัน เขียวมาก เขียวน้อย จะปรับตัวขนาดไหน
...ต้องพูดให้ชัดว่าการเติบโตคือ อะไร เติบโตไม่ ได้หมายความว่ามี เงินมากขึ้น ดัชนีของหุ้นดียิ่งขึ้น อันนี้มัน เป็นมายากลทั้งนั้น เศรษฐกิจเติบโตก็น่า จะเป็นเศรษฐกิจพอเพียงที่ ในหลวงท่าน รับสั่ง แต่ว่าคนที่ท�ำเศรษฐกิจพอ เพียงนั้นก็ตีฝีปากเท่านั้นเอง... เพราะฉะนัน้ ประการที่ส�ำคัญก็คือว่าเศรษฐกิจสีเขียว พูดในแง่ของ เราที่ เป็ นชาวพุ ท ธก็ ต ้ อ งพยายามมองว่ า เศรษฐศาสตร์ แนวพุ ท ธ ด้วย ไม่ใช่เขียวอย่างเดียว อีกนัยยะหนึง่ ก็คือเศรษฐศาสตร์นนั้ จะ ต้องมีมิติทางจิตวิญญาณด้วย ไม่ใช่คิดแต่เพียงตัวเลข เช่นบอกว่า อาจจะลดความร�่ำรวย อาจจะมาหนุนต้นหมากรากไม้ แต่ถ้าคุณยัง คิดว่า ต้นหมากรากไม้เป็นเพียงวัตถุ คุณก็ไปไม่รอด ต้นหมากราก ไม้นนั้ มีจิตวิญญาณเหมือนกับมนุษย์ มีลมหายใจเหมือนกับมนุษย์ เพราะถ้าไม่มีต้นไม้ มนุษย์ก็อยู่ไม่ได้ ไม่มีแผ่นดินมนุษย์ก็อยู่ไม่ได้ หมายความว่าต้องอิงอาศัยซึ่งกันและกัน ถ้าเศรษฐกิจสีเขียวจะต้อง เป็นเศรษฐกิจที่แท้ มนุษย์ที่คิดถึงเรื่องนีจ้ ะเป็นคนอ่อนน้อมถ่อมตน จะระลึกถึงภราดรภาพ ซึง่ ขาดหายมากในโลกปัจจุบนั เมือ่ ปฎิวตั ใิ หญ่ ในฝรัง่ เศสพูดถึง Liberté, Éqalité, Fraternité (อิสรภาพ, เสมอภาค, ภราดรภาพ) แต่ตอนนีท้ ุนนิยม Eqality หายไปเลย พวกสังคมนิยม เขาต้องการเอา Eqality กลับมา Liberty เวลานี้ เศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก คุณเลือกจะซื้อ Coca-Cola หรือ Pepsi-Cola คุณจะ เลือก Kentucky Chicken หรือคุณจะเลือก McDonald’s มันเป็น Liberty ปลอม Liberty ที่ว่านี่มันต้องเป็นอิสรภาพจากความโลภ โกรธ หลง อิสรภาพจากความมอมเมา แต่ที่ส�ำคัญที่สุดคือ ทุกค่าย ในที่นี้ไม่มี Fraternity ภราดรภาพ ภราดรภาพหมายความว่า มนุษย์กับมนุษย์ก็ต้องเคารพซึ่ง กันและกัน มนุษย์จะต้องเคารพธรรมชาติ เคารพสัตว์ทั้งหมดเป็น
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552 n What do you think about the role of economy and the current environmental crisis? The current economic crisis happens because most mainstream economists believe too much in quantitative ‘growth’. They are too concerned with having more – more resources, more incomes, more markets, more wealth, more consumers, which leads to more competition. People are saying that China now has an edge over the US, because China can manufacture stuff cheaper and get to sell more to the Americans. So people say it’s China’s success. But this success is just an illusion; it’s fake because the more things you produce, the more natural resources you destroy. The western world is used to the idea that natural resources are unlimited. But after the Industrial Revolution, the British used up their own resources. So then they had to invade India and other countries and set up an empire. To be able to produce more and sell more is regarded as a success because it means richness. But the richness belongs to a very few people, mainly the multinational corporations that deal with the two big empires of China and America. China itself has a lot of poor people. During the last Olympic Games, millions of people were displaced. Beijing may look beautiful from the outside but a lot of people suffered for it. In America about one percent of the population are imprisoned and they have to keep adding more prisons. Most of the prisoners are poor people, blacks, Mexicans, American Indians or poor whites. Therefore, what you call success, wealth, greatness, growth is more destructive than meets the eye. n Just like what is happening now to the environment? Definitely. Take Map Ta Phut (industrial estate in the eastern province of Rayong) for example. They said Map Ta Phut would boost the economy and create wealth. We should spend a lot of resources so the multi -nationals would come and invest. But then the sea and the environment around there were destroyed; a lot of people got sick. They never consider other factors (than the economy) and the most important factors are the people, who are affected and most of whom are poor, and nature. If we don’t fix this issue, it’ll be a big mistake. A positive sign is that people are beginning to realize that now. That is why we are seeing widespread protests against Map Ta Phut and the court has issued an injunction against many projects there. But the upper class people and those in the government and business are still caught in the notion that we need modernization and heavy industry. Look at the potash mining operation in Udon Thani. They’re going to dig it all out of the ground. The area and the people will be devastated just like Pak Moon in Ubon Ratchathani and Yasothon. People higher up don’t see the issue because they have vested interests. Politicians nowadays are closely involved with multinational corporations and businesses. All they see are monetary riches; they don’t see how horrible the
49
...We need to clarify what ‘growth’ is. Growth does not mean having more money or stock keep rising. It’s all an illusion. The kind of growth you talk about can be found in His Majesty’s sufficiency economy. However, people who are advocating sufficiency economy these days are only good at talking.... impacts would be. Or they see but think they can fix it. Just like there’s an energy shortage now, they want to build dams. And if it’s not possible to build dams, they want nuclear power which is a thousand times more dangerous than dams but the dangers can’t be seen. In Austria they gave up on nuclear long time ago. Germany also just put a stop to it. So, you see, the farangs just throw what they don’t want our way and we just take it. Isn’t that sad? n What is your view on Green Economy? Nowadays, ‘green’ is such a fashionable word. Don’t use it as a facade. Nobody objects to being green just like at one time the leftists had no objection to being red. But the main point is that if you talk about green economy, you have to be really green. It means you must truly have respect for nature, the poor, and the majority of people who are taken advantage of. And then you extend your respect to all beings. The Green Party used to give us hope at one time. But when it came to power in Germany, things fell apart. They got into an argument about being light green or dark green. Therefore, the main issue of the green economy is, we as Buddhists, we must incorporate Buddhist principles into it. That means the economy must have a spiritual dimension to it, not just a focus on numbers. For example, if you want to reduce wealth accumulation, you have to promote tree planting. But you should not think of trees as mere objects. That would not work. Trees have spirit just like human beings. If we do not have trees, we cannot survive. And so is land without which we can’t live. That means we must depend on one another. For the green economy to be a true economy, man must remain humble and constantly be thinking of equality, which is sorely missing nowadays. During the French Revolution, Liberté, Éqalité, Fraternité was the key slogan. In this time of capitalism, equality has all but disappeared while the socialists yearn for its return. As for liberty, in the mainstream economy, you have the liberty to choose between Pepsi or Coke, Kentucky Fried Chicken or McDonald’s. But this kind of liberty is
สัมภาษณ์พิเศษ: สุลักษณ์ ศิวรักษ์
GL27-VA.indd 49
September - December 2009
Special Interview: Sulak Sivaraksa
3/2/10 4:49 PM
50
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
เพือ่ นกัน เป็นอิทปั ปัจจยตา โยงใยซึง่ กันและกัน ถ้าเช่นนีล้ ะก็เศรษฐกิจ สีเขียวก็จะเป็นสีเขียวทีอ่ อกมาจากหัวใจ ซึง่ อาจจะไม่มสี เี ลยก็ได้ การที่จ ะรักษาระบบเศรษฐกิจให้มีความมั่นคง แต่ในขณะ เดียวกันให้ไปด้วยกับเศรษฐกิจสีเขียวหรือเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ จะเป็นไปได้อย่างไร คือมั่นคงของคุณนี่หมายความว่าอย่างไร มั่นคงของคุณคือพวก คนลงทุนจะต้องมากขึ้นใช่ไหม คุณหมายความว่านักลงทุนชั้นน�ำจะ ต้องหากินอยู่กับพวกบรรษัทข้ามชาติใช่ไหม คุณต้องแก้อวิชานี้ ต้อง คิดถึงความมั่นคงใหม่ ความมั่นคงจะต้องหมายความว่าไทยจะต้อง เอาชนะเขมรให้ได้ใช่ไหม ไทยจะต้องเอาชนะลาวให้ได้ใช่ไหม ชนะ พม่าให้ได้ใช่ไหม อเมริกาจะต้องเป็นใหญ่ในโลกใช่ไหม ความมั่นคงนี้ มันผิดไง security (ความมัน่ คง) อันนีส้ ภาความมัน่ คงทีส่ หประชาชาติ อภิมหาอ�ำนาจ 5 ประเทศคุมความมั่นคง อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐ จีน รัสเซีย ทั้ง 5 ประเทศนีค้ ้าอาวุธมากที่สุดเลย นีค่ ือความมั่นคง หรือเปล่า นีค่ ือการฆ่า การตาย เพื่อประโยชน์ในการที่จะได้อะไรใน เศรษฐศาสตร์ ในเศรษฐกิจ เป็นความมั่นคงที่เหลวไหล ความมั่นคง ที่แท้จะต้องสร้างอย่างที่ผมบอก สร้างภราดรภาพให้มนุษย์เคารพซึ่ง กันและกัน ลดอาวุธลงไป ลดความฟุ่มเฟือยลงไป ผลิตสิ่งซึ่งมีความ จ�ำเป็นต่อชีวิตมากกว่าสิ่งที่ฟุ้มเฟ้อฟุ่มเฟือย n หมายถึงมัน ่ คงในเชิงทีเ่ ศรษฐกิจมีการเติบโตและก็กระจายความ กินดีอยู่ดี? ต้องพูดให้ชัดว่าการเติบโตคืออะไร เติบโตไม่ได้หมายความว่ามี เงินมากขึน้ ดัชนีของหุน้ ดียงิ่ ขึน้ อันนีม้ นั เป็นมายากลทัง้ นัน้ เศรษฐกิจ เติบโตก็นา่ จะเป็นเศรษฐกิจพอเพียงทีใ่ นหลวงท่านรับสัง่ แต่วา่ คนทีท่ �ำ เศรษฐกิจพอเพียงนัน้ ก็ตฝี ปี ากเท่านัน้ เอง เศรษฐกิจพอเพียงก็คอื ว่าให้ คนเล็กคนน้อยเขามีรายได้เพิม่ ขึน้ เพราะเขาก็มศี กั ดิศ์ รีไม่แพ้คนใหญ่ คนโต คนใหญ่คนโตก็ตอ้ งลดรายได้ลง ทีส่ หรัฐอเมริกาประธานบริษทั ได้เงินเดือนมากกว่ากรรมกรไม่รู้กี่พันเท่า นี่หรือเศรษฐกิจที่ร�่ ำรวย ญี่ปุ่นได้เปรียบสหรัฐ เพราะเหตุว่าญี่ปุ่นแพ้สงคราม สหรัฐไปก�ำหนด รัฐธรรมนูญให้ญปี่ นุ่ ก�ำหนดแนวทางพัฒนาญีป่ นุ่ ประธานบริษทั ได้เงิน เดือนมากกว่าคนงานชั้นต�่ำได้ไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ นีถ่ ้าคุณคิดในแง่พวกนี้ หมายความว่าการงอกงามทางเศรษฐกิจ จะต้องมีความยุตธิ รรมขัน้ พืน้ ฐานมาเกีย่ วข้อง ช่องว่างระหว่างคนรวย คนจนจะต้องน้อยลง สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติจะต้องยั่งยืนมากขึ้น ในเมืองไทยก็มตี วั อย่างพวก SVN (Social Venture Network) พวก เครือข่ายนักธุรกิจ พวกนี้เขาอาจจะไม่ประกาศว่าเป็นเขียว แต่พวกนี้ เขาเน้นในการไม่ท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติ ไม่เอาเปรียบลูกค้า ไม่ โฆษณาสินค้าในทางหลอกลวง ไม่เอาเปรียบกรรมกรที่ท�ำงานอยู่ด้วย เขาพยายามสร้างภราดรภาพในการท�ำงาน ให้มคี วามรักกันเอาใจซึง่ กัน และกัน พวก SVN ก็ตั้งมา 12 ปีแล้ว คุณปรีดา เตียสุวรรณ เคย เป็นประธาน ก็อาจจะไม่ได้บอกว่าเขาเป็นสีเขียว แต่น่าจะเป็นแนว โน้มเดียวกับเศรษฐกิจสีเขียว n อาจารย์พูดถึงเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง อาจารย์มีมุมมองต่อเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรบ้าง n
GL27-VA.indd 50
...ยกตัวอย่างปีนี้เราตั้งอาศรม วงศ์สนิทครบ 25 ปี อาจจะ เป็นเรื่องเล็กๆ แต่อาศรมวงศ์สนิทก็ เป็นส่วนหนึ่งที่เกี่ยวพันโดยตรงกับ ทั่วโลกเลยที่เรียกว่า Ego-village ต้องกลับมาอยู่แบบหมู่บ้าน อยู่พึ่ง ธรรมชาติ ไม่ ใช้ผงเคมี ในการผลิต อาหารต่างๆ อะไรเหล่านี้ มันจะต้องมี โครงการอย่างนี้โยงใยซึ่งกันและกัน ถ้า เราผลิตเองไม่ ได้ก็อุดหนุนคนที่ผลิต อุดหนุนสิ่งเหล่านี้ผ่านตลาดใหญ่ๆ ไม่ ผ่านบรรษัทข้ามชาติ ปัญหาที่ส�ำคัญ ที่สุดนะ เศรษฐกิจพอเพียงต้องพึ่ง ตัวเอง สมมุติว่าคุณบอกว่าเราปลูกผัก ปลูกหญ้าไม่ ได้ ก็อดหนุนคนที่เขาปลูก ตอนนี้ ในเมืองไทยก็มี Green Net ไปอุดหนุนเลย... ผมก�ำลังจะไปประชุมทีอ่ นิ เดียร่วมกับองค์ดาไลลามะ ผูท้ จี่ ดั คือ ซัมด้อง รินโปเช นายกรัฐมนตรีทเิ บตนอกประเทศ จัดในโอกาสทีค่ รบ 100 ปี ของหนังสือชือ่ “ฮินสวาราช” ท่านมหาตมะ คานธี เขียนเรือ่ ง นี้ เมือ่ ท่านอยูแ่ อฟริกาใต้ ฮินก็คอื อินเดีย ฮินดี-สุหราช คือการพึง่ ตัว เอง เศรษฐกิจพอเพียงทีแ่ ท้คอื การพึง่ ตัวเอง ต้องเข้าใจอันนี้ ตราบใด ทีค่ ณ ุ พึง่ เศรษฐกิจ พึง่ ตลาด ระบบทีเ่ ป็นอยูใ่ นเวลานี้ คุณไม่สบายไป หาหมอ คุณต้องการอะไรไปซือ้ จะหาความงาม ความดี เปิดโทรทัศน์ ดู เปิดอินเตอร์เน็ตดู คุณพึง่ อย่างอืน่ หมดเลยในเวลานี้ พึงเครือ่ งยนต์ กลไกมากเสียเหลือเกิน พึง่ สิง่ ซึง่ บรรษัทข้ามชาติทงั้ นัน้ คุม ไปหาหมอ ปับ๊ บรรษัทยามี 4-5 บริษัทนีค่ ุมทั้งนัน้ เลยครับ สินค้าก็เหมือนกัน เกือบจะไม่กบี่ ริษทั แล้ว เมืองไทยคุณดูสติ อนนีเ้ ต็มไปหมดเลย เซเวน อิเลฟเวนเต็มไปหมดเลย เทสโก้โลตัสอะไรต่างๆ แล้วก็ถูกหลอกให้ ไปอย่างนี้ พึ่งตนเองบ้าง พยายามเถอะครับพยายามปลูกผักหักหญ้า เอง ยาสมุนไพรท�ำเอง ถ้าท�ำไม่ได้กม็ เี ครือข่ายทีอ่ ดุ หนุนซึง่ กันและกัน ยกตัวอย่างปีนี้เราตั้งอาศรมวงศ์สนิทครบ 25 ปี อาจจะเป็น เรื่องเล็กๆ แต่อาศรมวงศ์สนิทก็เป็นส่วนหนึง่ ที่เกี่ยวพันโดยตรงกับ ทั่วโลกเลยที่เรียกว่าต้องกลับมาอยู่แบบหมู่บ้าน อยู่พึ่งธรรมชาติ ไม่ ใช้ผงเคมีในการผลิตอาหารต่างๆ อะไรเหล่านี้ มันจะต้องมีโครงการ อย่างนี้โยงใยซึ่งกันและกัน ถ้าเราผลิตเองไม่ได้ก็อุดหนุนคนที่ผลิต อุดหนุนสิ่งเหล่านี้ผ่านตลาดใหญ่ๆ ไม่ผ่านบรรษัทข้ามชาติ ปัญหาที่
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552 deceiving. The real liberty is to be liberated from greed, anger and lust. That means liberty from disillusions. But have you noticed that nobody talks about fraternity? Fraternity means that we must respect one another. Human beings must respect nature and all creatures as fellow beings. This is Itapppajjayata (Buddhism’s Law of Causal Effect) – all things are connected. As such green economy must be green from the heart and, in fact, may be colorless. n Is it possible to have a green economy or a Buddhist economy while maintaining security in the conventional economy? It depends on what you mean by security. Does it mean security of the investors’ capital and earnings? Do you imply that smart investors need only to trade with multi-national corporations as it is the surest way to secure financial security? It is this kind of ignorance that must be challenged. We must question the meaning of security. Does security mean that Thailand must have advantage over Cambodia, Laos and Myanmar? Does it mean the US must remain the sole superpower?
September - December 2009
51
is a rich economy for you. Japan has an edge over the US because after the Second World War the US drafted a constitution for Japan dictating her economic direction. So a Japanese CEO cannot earn more than 15% over the lowest paid worker. Economic growth must be accompanied by fundamental social justice so that the gap between the rich and the poor will decrease. The natural environment must be more sustainable. We have an example in Thailand. The business people in the Social Venture Network (SVN) do not declare themselves green but they are committed to not harming the environment and not taking advantage of their customers. They do not use misleading advertisements or exploit their workers. They try to establish a feeling of fraternity in their work place to forge love and care for one another. It has been 12 years now since their founding. Khun Preeda Tiasuwan used to be the chairman of the network. He may not call himself ‘green’. But his actions are very much in line with the green economy. n What is your perspective on sufficiency economy?
...We have to try to do things ourselves. Grow your own vegetables. Make your own herbal cures. For things that you cannot do by yourself, there are networks to support you. Take for example Asharm Wongsanit which is 25 years old this year. It may seem a small matter. But the Asharm is a part of a global network of “ecovillages”... Such security is misleading. We all know that the United Nations Security Council is ruled by the five superpowers – Britain, France, the US, China, and Russia. You know, these five nations are the top arms traders in the world. Is this security? This is killing and death for the sake of economic gains. This kind of security is absurd. Real security is fraternity; we need to respect one another. We must strive to reduce arms stockpiling and extravagance. We can then produce those that are truly essential to our lives rather than things of vanity. n I mean security in the sense that the economy can keep growing while distributing the wealth that is generated? We need to clarify what ‘growth’ is. Growth does not mean having more money or stock keep rising. It’s all an illusion. The kind of growth you talk about can be found in His Majesty’s sufficiency economy. However, people who are advocating sufficiency economy these days are only good at talking. Sufficiency economy helps the common people to earn more because they are just as honorable as the social elite. At the same time, the upper class must reduce their earnings. In the US, the CEO of a company earns enormously more than a worker. So this
I will be going to a meeting in India with the Dalai Lama. The organizer of the meeting is Samdong Rinpoche, the prime minister of Tibet in exile. The occasion is the 100th year anniversary of the publication of a book called Hind Swaraj authored by Gandhi when he lived in South Africa. Hind means India. Hind Swaraj means self reliance. Sufficiency economy is self reliance. We must understand this point. As long as you rely on the economic system, you rely on the market. You go to see a doctor when you are sick. You make purchases for whatever you need. When you want to see pretty things or even look for virtues, you turn on the TV or internet. You see, you rely on others all the time. Your life is dependent on machines and amenities that are provided by multinational corporations. When you see a doctor and he prescribes medications, all the medicines are under the control of four or five multinational pharmaceutical companies. Almost all the goods are under the monopoly of a few corporations. In Thailand, you see 7-Eleven and Tesco-Lotus stores everywhere, and we have been duped to go there. We have to try to do things ourselves. Grow your own vegetables. Make your own herbal cures. For things that you cannot do by yourself, there are networks to sup-
สัมภาษณ์พิเศษ: สุลักษณ์ ศิวรักษ์
GL27-VA.indd 51
Special Interview: Sulak Sivaraksa
3/2/10 4:49 PM
52
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
...คือมันจะมีเอกลักษณ์ของมันเองนะ แม่ฮ่องสอนก็มีเอกลักษณ์แบบ แม่ฮ่องสอน ปัตตานีก็มีเอกลักษณ์แบบปัตตานี แต่ ในฐานะอยู่ประเทศ เดียวกัน บ้านเมืองเดียวกันก็ยังโยงใยซึ่งกันและกัน และของไทยเราก็จะโยงใยถึง ลาว เขมร พม่า มันไม่ ใช่เป็นชาตินิยมแบบเห็นแก่ตัว มันจะเป็นเอกลักษณ์แห่งชนชาติ เอกลักษณ์แห่งภาษา เอกลักษณ์แห่งท้องถิ่น แต่จะโยงใยถึงกันและกัน และมันก็จะตัด บรรษัทข้ามชาติ ตัดการเอารัดเอาเปรียบ เวลานี้เศรษฐกิจของเราเอา เปรียบลาวเป็นที่สุด แม้เขมรเราก็เอาเปรียบเขา... ส�ำคัญที่สุดนะ เศรษฐกิจพอเพียงต้องพึ่งตัวเอง สมมุติว่าคุณบอกว่า เราปลูกผักปลูกหญ้าไม่ได้ ก็อดหนุนคนที่เขาปลูก ตอนนี้ในเมือง ไทยก็มี Green Net ไปอุดหนุนเลย ใครที่ปลูกข้าวโดยไม่มีสารพิษ เขาซื้อโดยตรงไม่ผ่านคนกลาง ที่สุรินทร์นกี่ ็ผลิตข้าว เริ่มจากท่าน อาจารย์น่าน (หลวงพ่อนาน สุทธสีโล) เลย ตอนนี้ผลิตแล้วขายตรง ไปสวิตเซอร์แลนด์เลยครับ ไม่มีพ่อค้าคนกลาง พวกสวิตเซอร์แลนด์ ก็มีกลุ่ม Fair Trade (การค้าอย่างเป็นธรรม) เป็นกลุ่มที่ไม่เอาเปรียบ กันในการค้าขาย กลุ่มอย่างนี้เปิดขึ้นแทบทุกหนแห่งเลย ในเมืองไทย ก็มีตอนนี้ เครือข่ายผักหญ้า ซื้อกันมาให้สตังค์เขาไป แล้วเขาก็ส่งผัก ส่งหญ้ามาให้โดยไม่ตอ้ งผ่านตลาดพ่อค้าคนกลาง ถ้าอย่างนีม้ นั มีมาก ขึน้ นีม่ นั จะช่วย เช่นทีย่ โสธรเขาก็ผลิต “เบีย้ กุดชุม” ไม่ใช้ธนบัตรของ รัฐบาล เพราะการทีค่ ณ ุ ใช้เบีย้ กุดชุม คุณก็จะซือ้ ของทีค่ ณ ุ ผลิตกันเอง คุณจะใช้ธนบัตรรัฐบาลก็ตอ่ เมือ่ คุณจะต้องซือ้ ของนอกชุมชนของคุณ อย่างนี้มันจะพึ่งตัวเองมากขึ้น สมั ย หนึ่ง เมื่ อ มหาเธร์ (มหาธี ร ์ โมฮั ม หมั ด ) ปิ ด ประเทศ ไม่ยอมรับดอลล่าร์ เงินมาเลเซียก็มีค่าทันทีเลย ไม่ต้องเอาไปผูกกับ ดอลล่าร์ ดอลล่าร์ขึ้น ดอลล่าร์ตก ธนบัตรก็ขึ้นก็ตกตามมันหมดเลย หมายความว่าไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียง ไม่พึ่งตัวเองไปพึ่งคนอื่น แล้ว พึ่งใคร พึ่งสหรัฐจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่และเลวร้าย เต็มไปด้วยความ รุนแรงเต็มไปด้วยความเอาเปรียบ แต่เราก็หลับตาเดินตามหมดเลย อเมริกันก�ำหนดจะต้องกินยาอย่างนัน้ จะต้องอยู่อย่างนัน้ กระทั่ง หัวส้วมก็ต้องเป็นแบบอเมริกันสแตนดาร์ด เศรษฐกิ จพอเพียงจะสามารถกลายเป็นรากฐานของระบบ เศรษฐกิจไทยที่ยั่งยืนในกระแสโลกได้ไหม คือมันจะมีเอกลักษณ์ของมันเองนะ แม่ฮ่องสอนก็มีเอกลักษณ์ แบบแม่ฮ่องสอน ปัตตานีก็มีเอกลักษณ์แบบปัตตานี แต่ในฐานะอยู่ ประเทศเดียวกัน บ้านเมืองเดียวกันก็ยงั โยงใยซึง่ กันและกัน และของ ไทยเราก็จะโยงใยถึงลาว เขมร พม่า มันไม่ใช่เป็นชาตินยิ มแบบเห็นแก่ ตัว มันจะเป็นเอกลักษณ์แห่งชนชาติ เอกลักษณ์แห่งภาษา เอกลักษณ์ แห่งท้องถิน่ แต่จะโยงใยถึงกันและกัน และมันก็จะตัดบรรษัทข้ามชาติ ตัดการเอารัดเอาเปรียบ เวลานี้เศรษฐกิจของเราเอาเปรียบลาวเป็น ที่สุด แม้เขมรเราก็เอาเปรียบเขา เห็นไหมครับ แล้วเราก็ถูกใครเอา เปรียบ ถูกจีนเอาเปรียบ ถูกอเมริกันเอาเปรียบ เพราะอะไร เพราะ n
GL27-VA.indd 52
ว่าเราไปพึ่ง พึ่งใคร พึ่งตลาดที่ใหญ่กว่าเรา พึ่งอ�ำนาจที่ยิ่งใหญ่กว่า เรา ถ้าเรารู้จักพึ่งตัวเอง เราก็จะไม่ต้องรังเกียจอเมริกัน และไม่ต้อง รังเกียจจีน แต่เขาจะมาบังคับขู่เข็ญเราไม่ได้ไม่ว่าทางใดทางหนึง่ เช่น เดียวกันลาวกับไทยก็จะเป็นพีน่ อ้ งกันมากขึน้ เราก็จะไม่มที วี นี ำ�้ เน่าไป ล้างสมองพวกลาวเขา ใช่ไหม เขาทัง้ ชอบเพราะเราผลิตได้ดกี ว่า เพราะ เรารวยกว่า เทคโนโลยีดีกว่า แต่ขณะเดียวกันเขาก็รู้ว่าเราล้างสมอง เขา พิธีการเหล่านีต้ ้องเลิกทั้งหมด แต่การจะเลิกทั้งหมด คุณจะต้อง เห็นว่าอะไรเป็นมิจฉาทิฐิ อะไรเป็นสัมมาทิฐิ ต้องกล้าตัดสินใจ กล้า เลือก กล้าเปลี่ยนแนวทาง ทิศทางหรือความสัมพันธ์ของโลกในเชิงเศรษฐกิจที่ก�ำลังเป็น ไปแบบกระแสหลักเหมือนวันนี้ อาจารย์คิดว่ามันจะน�ำไปสู่อะไร อันนี้มันเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปแล้วนะครับ ว่ามันไปไม่รอด แม้กระทั่ง World Bank (ธนาคารโลก), WTO (World Trade Organization หรือ องค์การการค้าโลก) เองก็เริ่มรู้สึกแล้ว คุณต้อง เข้าใจนะครับที่สวิตเซอร์แลนด์ที่เมืองดาวอส ทุกปีนกั เศรษฐศาสตร์ ชัน้ น�ำเขาจะประชุมกันทีน่ นั่ เขาถือว่าเขาก�ำหนดทิศทางของเศรษฐกิจ ให้ร�่ำรวยงอกเงยอย่างไร เขาเริ่มรู้สึกว่ามันผิด ปีนี้นะครับนิมนต์ พระแมทธิว ริการ์ด เป็นพระฝรั่งเศส บวชในนิกายวัชรยาน เป็น นักวิทยาศาสตร์ชั้นน�ำ งานของท่านมีแปลมาเป็นไทยสองเล่มแล้ว ท่านไปพูดเรื่อง Gross National Happiness (ความสุขมวลรวม ประชาชาติ: GNH) พวกนักเศรษฐศาสตร์ที่ไม่เคยรู้เรื่อง Happiness เลย รู้อย่างเดียวว่าจะท�ำเงินให้มากขึ้นอย่างไร แข่งกันอย่างไร พวกนี้ เวลาให้ลูกให้เมียก็ไม่มี พวกนี้หลายต่อหลายคนเป็นโรคสมองเสื่อม เป็นโรคเครียด เป็นโรคสารพัดเลย เพราะฉะนัน้ มันเริ่มเปลี่ยนแล้ว คนก็เริ่มเห็นแล้วว่าระบบเศรษฐกิจกระแสหลักมันไปไม่รอด ขนาด เมืองไทยเองยังเชิญโจเซฟ อี. สติกลิทซ์ (Joseph E Stiglitz) นักเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ได้รับรางวัลโนเบลทางเศรษฐศาสตร์ มาพูดเร็วๆ นี้ โจเซฟ อี. สติกลิทซ์เขามาชี้เลยว่าผิด เขาเริ่มเห็นแล้ว ซึ่งคนที่เห็นก่อนหน้านีค้ ือ อมาตยา กูมาร์ เซน (Amartya Kumar Sen) ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลเศรษฐศาสตร์ สอนอยู่ที่ Harvard สอน อยู่ที่ Cambridge เขาเห็นแล้ว ตอนนีค้ นเริ่มเห็นแล้ว คนดังๆ เริ่ม เห็น บางทีคนไทยอาจจะตาสว่างบ้าง n
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552 port you. Take for example Asharm Wongsanit which is 25 years old this year. It may seem a small matter. But the Asharm is a part of a global network of “ecovillages” that tries to rejuvenate community living. We try to live with nature. We do not use chemicals of any kind in cooking or anything else. We need to have such a network of organizations to help one another. If there is something we cannot produce, then we support those who can without turning to the multinationals. Let’s say you cannot grow vegetables, you can support those who can. In Thailand we have Green Net ready for you to support. You can buy organic rice directly from the farmers without dealing with the middlemen. They grow this kind of rice in Surin. The project was initiated by Ajaan Nan Suthasilo and they sell it directly to Switzerland which has a “Fair Trade” group that is against exploitation in international trading. You can find this kind of groups everywhere now. Here we have a network which would deliver vegetables to you without going through the middlemen. If we have more groups like this, it would help. Like a group in Yasothon, they used their own currency called Bia Kut Chum instead of the official currency. Using their own currency, they ensure that they buy stuff that they produce themselves. Only when they needed to buy things outside their communities did they use the official banknotes. This is their way of becoming self-reliant. There was a time when (former Malaysian prime minister) Mahathir Mohammad closed the country and refused to accept US dollars. The Malaysian Ringit rose in value overnight by not being tied to the dollar. The Thai baht, on the other hand, swung with the dollar. This is not sufficiency economy. We are reliant on others. And who do we rely on? The imperialistic and evil USA whose history is full of exploitation and violence. And yet we blindly follow the Americans in every aspect of our lives. Even our toilet bowl has to be an “American Standard”. n Can sufficiency economy become the foundation of a thriving Thai economic system in the global context? Sufficiency economy will have an identity of its own. You see, Mae Hong Son has a unique identity and so does Pattani. But as both are in the same country, they are inter-connected. Thailand is also connected to Laos, Cambodia and Myanmar. It will not be the same as selfish nationalism but the recognition of our unique ethnic, linguistic and local identity. Still we are very much interconnected. This idea will keep out multinational corporations and exploitation. These days we have been taking advantage of Laos, even Cambodia. Now who is taking advantage of us? It is China and America. Why do we rely too much on them? Because we rely on what we think is a big market for us. They are more powerful than we. If we know how to rely on ourselves, then we do not need to put down the US or
53
Sufficiency economy will have an identity of its own. You see, Mae Hong Son has a unique identity and so does Pattani. But as both are in the same country, they are inter-connected. Thailand is also connected to Laos, Cambodia and Myanmar. It will not be the same as selfish nationalism but the recognition of our unique ethnic, linguistic and local identity. China but we would not be bullied by them in one way or another. At the same time, Laos and Thailand will become ever closer and we would not broadcast nonsense soap operas on television to brainwash the Lao people. They like our TV programs because we are better at producing them and we are richer and have better technology, but they also know that we are trying to brainwash them. All these attempts must end. But to end them all, you have to understand what is morally right or wrong. You must have the courage to make decisions, to make a choice and to change. n Where do you think the current economic system will take us? I think it is generally accepted that it leads to nowhere. It will not survive. Even the World Bank and the World Trade Organization realize that. As you may know, world leading economists meet in Davos, Switzerland, every year to assess the global economy. They have begun to realize that something has gone wrong. This year, they invited Phra Matthieu Ricard, a French monk ordained in Tibetan tradition, to speak about Gross National Happiness. This monk happens to be a scientist and has written two books that have been translated into Thai. These economists know nothing about happiness. All they are concerned about was making money and competition. They have no time for their families. A number of them have suffered from memory loss or depression and many other diseases. So, you see, things are changing. People are starting to see that the mainstream economic system is destined to doom. Thailand even invited Joseph E. Stiglitz, a Nobel Laureate in economics, to give a talk recently. He pointed out that the current economic order is wrong. But the one who realized this before him was Amartya Kumar Sen, another Nobel Laureate in economics teaching at Harvard and Cambridge. Many people now start to realize the truth. Perhaps, Thai people will have their eyes opened.
สัมภาษณ์พิเศษ: สุลักษณ์ ศิวรักษ์
GL27-VA.indd 53
September - December 2009
Special Interview: Sulak Sivaraksa
3/2/10 4:49 PM
54
สัมภาษณ์พิเศษ SPECIAL INTERVIEW กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
เศรษฐกิจสีเขียว: เปิดโลกกว้างแห่งทัศนะ ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์
มุกดา โล่พิรุณ
Expanding the Horizon Green Economy: Nithi Eawsriwong
Mukda Lohpirun
Nithi Eawsriwong, a former history professor at Chiang Mai University, is a prolific social commentator whose writing has appeared in many media. He urges that the various economic models be viewed holistically, not with a tunnel vision. He currently runs the alternative Midnight University in Chiang Mai.
GL27-VA.indd 54
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์เป็นอดีต อาจารย์สอนประวัติศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และนักวิจารณ์ สังคมที่มีผลงานเขียนในหลากหลาย สื่อ อาจารย์นธิ ิแนะให้มองแนวคิด เศรษฐกิจต่างๆ ในองค์รวมด้วยมุม มองที่ไม่คับแคบ ปัจจุบันอาจารย์ บริหารมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนที่เชียงใหม่
September - December 2009
55
n ความคิดเห็นต่อแนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว
ผมได้ยินแนวความคิดเรื่องเศรษฐกิจสีเขียวมานาน พอๆ กับ การเมืองสีเขียว แนวความคิดเรื่องระบบเศรษฐกิจสีเขียวนัน้ จริงๆ ควรจะมองทัง้ ระบบ ไม่ใช่มองเป็นการแยกส่วนว่า ภาคการผลิตสีเขียว หรือภาคการบริโภคสีเขียว มันต้องไปด้วยกัน น่าจะมองทั้ง informal sector (นอกระบบ) ไม่ใช่แค่ formal sector (ในระบบ) เพียงเพราะ ว่ามันปรากฏตัวเลขเข้าไปที่ GDP (Gross Domestic Product: ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) หรือเพราะว่าเป็นอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่เพียงอย่างเดียวที่ได้เสียภาษี มีมูลค่าการผลิตที่พอนับได้ ชัดเจน มากกว่าปัจเจกรายย่อย การส่งเสริมให้เป็นเศรษฐกิจสีเขียวควรจะท�ำตัง้ นานแล้ว เพราะ ส่วนใหญ่เรามักไม่มองคนตัวเล็ก ทั้งที่คนตัวเล็กเป็นคนที่กระตุ้นให้ ระบบของเศรษฐกิจการค้าขายหมุนไปได้ ซึ่งในขั้นแรกเราต้องมอง ว่าทฤษฎีทุนนิยมกระแสหลักมักจะโน้มเอียงเข้าหาผลประโยชน์ของ ธุรกิจ อุตสาหกรรม เช่น การถือว่าสินค้าทุกชนิดล้วนมี “มูลค่า” (Value) นิยามเช่นนีย้ อ่ มหมายรวมถึงสินค้าทีไ่ ร้ประโยชน์ตอ่ คุณภาพ ชีวิต หรือแม้แต่สินค้าที่อาจท�ำอันตรายถึงชีวิตอย่างเช่น บุหรี่ ในทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สีเขียว สินค้าที่มี “มูลค่า” จะต้องน�ำ ไปสู่ความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ (human well-being) อย่างชัดเจน ส�ำหรับด้านตรงข้ามของ “คุณค่า” คือ “ต้นทุน” (Cost) ทฤษฎี กระแสหลักมุ่งเน้นเพียง “ค่าเสียโอกาส” (Opportunity Cost) ซึ่ง จ�ำกัดมุมมองอยู่แค่การเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ (เมื่อใช้ทรัพยากร ไปผลิตสินค้าชนิดหนึง่ ย่อม “เสียโอกาส” ที่จะใช้ทรัพยากรนัน้ ไป n What’s your thought on the “green economy” idea? I’ve heard about green economy as long as about green politics. If you want to talk about green economy, you need to look at the whole system, not its separate parts – green production or green consumption. They must go together. You have to look at the informal sector, not only the formal one just because the Gross National Product can show a number or just because the big industries pay more taxes and are able to more clearly enumerate the value of their production than individual citizens. Green economy should be promoted long time ago because most of us overlook the little people even though they are the ones who keep the wheel of our economy turning. First of all, we need to understand that the mainstream capitalist system is biased toward business and industry interests, for instance, it regards all goods as having “value”. Such a definition would have included goods that are useless for quality of life or even goods harmful to health such as cigarettes. According to the green economics theory, “valuable” goods must lead to well-being for humans. The opposite of value is cost, and the conventional economic theory talks only about “opportunity cost”, meaning that when a resource is using it to produce one type of goods, the opportunity is lost in using to produce other goods.
GL27-VA.indd 55
3/2/10 4:49 PM
56
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
...ผมว่าเบี้ยกุดชุมที่จังหวัด ยโสธร เป็นตัวอย่างที่ดีของ ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง เพราะมันมีการ ผลิตในชุมชนได้เอง ไม่จ�ำเป็นต้องพึ่งพา ภายนอก จึงมีแนวคิดในการต่อรอง นอกจากการเอาของมาต่อของ ชาวบ้าน ได้ก�ำหนดว่าใช้ผ่านตัวกลาง ที่เรียกว่า “เบี้ยกุดชุม”... ผลิตสินค้าอื่นๆ) มุมมองอันคับแคบนีท้ �ำให้ความสูญเสียด้านอื่นๆ ถูกมองข้ามไป ดังนัน้ “ต้นทุน” หรือ Cost ในทฤษฎีสีเขียวจึงต้อง พิจารณาอย่างครอบคลุมตั้งแต่ความทุกข์ยากของแรงงานจนถึงการ ล่มสลายของระบบนิเวศ แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียวของ UNEP เน้นความสมดุลระหว่าง การปกป้องสิง่ แวดล้อม การลดปัญหาความยากจนและการเติบโตทาง เศรษฐกิจ โดยสรุปเศรษฐกิจสีเขียวจะเป็นทางออกของวิกฤติการณ์ ทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พลังงาน น�้ำ และ อาหาร ดีมากนะ ระบบทุกอย่างมันเชื่อมเข้าด้วยกัน แยกกันไม่ออก คุณอย่ามองแยกกัน เศรษฐกิจไปอย่างมัน่ คงและไม่ชะลอตัว มัน ไปด้วยกันกับการอนุรักษ์ได้ แต่คนส่วนใหญ่มักมองว่า การพัฒนาที่ดี มันจะสวนทางกับการอนุรกั ษ์ แต่ท�ำไมไม่มองว่าการพัฒนานัน้ ไปควบคู่ กับการอนุรกั ษ์ได้ ท�ำไมไม่ใช้เทคโนโลยีทกี่ อ่ ให้เกิดการอนุรกั ษ์ไปด้วย การอนุรักษ์ก็ดี เช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ถ้าการทอผ้า สานกระบุง ยัง คงซ�้ำซากอยู่อย่างเดิม อีกไม่นานก็คงตาย แต่ถ้ามีการปรับปรุงไปเรื่อยๆ มีการเลือกใช้เทคโนโลยี ไม่ได้ หมายความว่าเราจะต้องละทิ้งอย่างใดอย่างหนึง่ ไม่งั้นจะไม่มีการ พัฒนา คือ มันเป็นการมองความหมายทีค่ บั แคบมาก พัฒนาคือต้องไป ข้างหน้าอย่างเดียวไม่หนั กลับมามองข้างหลัง อย่างเช่น การสร้างเขือ่ น นี่เป็นสัญลักษณ์ของการพัฒนาที่น่ากลัวมาก เพราะนัน่ หมายความ ถึงการท�ำลายล้างทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่เดิมอย่างมหาศาล ทุก วันนี้ไทยใช้ประโยชน์จากเขื่อนในด้านของพลังงานมากกว่าเรื่องของ ชลประทานการเพาะปลูก แต่ข้ออ้างในการสร้างเขื่อนแต่ละครั้งคือ การเกษตรกรรม การกระจายการเข้าถึงเรื่องทรัพยากรน�้ำ การจัดการ ชลประทาน ท� ำ อย่ า งไรถึ ง จะน� ำ เทคโนโลยี ที่ เป็ นการเรี ย นรู ้ จ ากระบบ ธรรมชาติ หรือการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยเรียนรู้จากวิถี ธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในระบบเศรษฐกิจของ ประเทศให้มากขึ้น เราหลงลืมเทคโนโลยีพนื้ บ้านไป ลืมภูมปิ ญ ั ญาของเราเอง แทนที่ จะลดต้นทุน มองเห็นความส�ำคัญของสิ่งแวดล้อม เช่น จากผลวิจัย หากมีการปิดหน้าเตาบ้างเพียง 5 นาที โรงงานสามารถลดการเผา ผลาญพลังงานไปอย่างสิ้นเปลือง เมื่อเปรียบเทียบกับการเปิดเตา n
ตลอดเวลาเพื่อให้คนงานได้ใส่ถ่านหินเพิ่ม ซึ่งคนงานไม่ได้มองจุด นี้ เค้าขี้เกียจเพราะอีกเดี๋ยวเค้าก็ต้องเปิดเตา เพื่อใส่ถ่านหินต่อแล้ว คนเรามักมองไม่เห็นเทคโนโลยีที่ตนเองมีอยู่เดิมนั้นมีความ ส�ำคัญและมีคุณค่า จึงได้แต่ลอกเลียนมาจากต่างประเทศ การศึกษา ของคนเรานัน้ ยกระบบการศึกษาของฝัง่ ตะวันตก แนวอาณานิคม พอ จบการศึกษามาต้องเป็นลูกน้องเท่านัน้ ไม่ได้สอนให้คนเป็นอิสระ ไม่ ได้สอนให้มีการปรับตัว หากเป็นภูมปิ ญ ั ญาสมัยดัง้ เดิม ถามว่าจ�ำเป็นไหมทีจ่ ะต้องอนุรกั ษ์ ไว้ทั้งหมดไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อเปรียบเทียบการทอผ้าลายขิต หากว่า ยังคงเป็นลายขิตเหมือนเดิม ไม่มีลายอื่นเลย ไม่มีการย้อมสี ไม่มี พัฒนาการใหม่ ภายในเวลาไม่นานการทอผ้าแบบนีก้ ็ตาย ไร้คุณค่าไป เพราะตอบสนองต่อสภาพสังคมไม่ได้ เราสามารถน�ำระบบการพึง่ พาตนเอง ใช้ภมู ปิ ญ ั ญาของเรากลับมา ใช้ได้ แต่ตอ้ งไปทัง้ ระบบไม่ใช่เหมือนในระบบปัจจุบนั ...แล้วน่าจะมอง ในระยะยาว คือมีการพัฒนาทั้งกระบวนการ ไม่ใช่แค่ฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ มีแบบอย่างที่แสดงให้เห็นถึงความเสมอภาค คุณธรรม และ เศรษฐกิจหรือไม่? ผมว่าเบี้ยกุดชุมที่จังหวัดยโสธร (อ่าน “เส้นทางสีเขียว: เมื่อ ชุมชนไม่ต้องใช้เงินตรา” หน้า 38) เป็นตัวอย่างที่ดีของชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง เพราะมันมีการผลิตในชุมชนได้เอง ไม่จ�ำเป็นต้อง พึ่งพาภายนอก จึงมีแนวคิดในการต่อรอง นอกจากการเอาของมา ต่อของ ชาวบ้านได้ก�ำหนดว่าใช้ผ่านตัวกลางที่เรียกว่า “เบี้ยกุดชุม” ตอนที่เบี้ยกุดชุมได้เติบโตในระยะแรกนัน้ ธนาคารแห่งประเทศไทย มองข้ามไม่ให้ความส�ำคัญและมองว่าผิดกฎหมาย ไม่สามารถท�ำได้ จึงท�ำให้เกิดการชะงักงัน น่าเสียดายมาก แต่ว่าในขณะนีช้ ุมชนก็อยู่ รอดได้ ถือว่ามีความเข้มแข็งน่าเรียนรู้ CSR (Corporate Social Responsibility: นโยบายการแสดง ความรับผิดชอบต่อสังคม) ก็เป็นตัวอย่างที่ดีของภาคเอกชน แต่ บริษัทมักจะด�ำเนินการผ่านการประชาสัมพันธ์เพียงอย่างเดียว ไม่ได้ ค�ำนึงถึงการผลิต หรือการบริโภค จริงๆ มันควรจะอยู่ในฝ่ายของ การผลิตตั้งแต่ต้นแล้ว ถึงจะเรียกว่าเป็นการผลิตเขียว น�ำผลไปสู่ การบริโภคเขียวด้วย ผมไม่อยากเรียกว่าเป็นการคืนก�ำไรสูส่ งั คม แต่อยากเรียกว่าเป็น ความรับผิดชอบต่อสังคมมากกว่า มันเป็นการสื่อความหมายออกมา ทางประชาสัมพันธ์ เช่น ปูนซีเมนต์ไทยที่เน้นมาส่งเสริมการท�ำเขื่อน ท�ำฝาย จะท�ำไปเพื่ออะไร ในเมื่อเค้าก็มีหน้าที่อยู่แล้ว ปล่อยให้คน อื่นเข้ามาท�ำสิ บริษัทน�้ำมันก็ผลิตน�้ำมันอยู่แล้ว จะมาส่งเสริมการ ปลูกป่า ปลูกป่าชายเลน จะท�ำสิ่งเหล่านี้ไปเพื่ออะไร ท�ำไมไม่ลดค่า ใช้จ่ายด้านพลังงานลงไป n
รัฐบาลจะสามารถผสมผสานนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) กับแนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) แบบมีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐานคุณธรรม ไป สู่การปฏิบัติที่เป็นกระแสหลักของประเทศได้หรือไม่ อย่างไร เศรษฐกิจสีเขียวและเศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้ต่างกันตรงไหนนะ n
สี่แยกไฟเขียว Green Intersection
GL27-VA.indd 56
3/2/10 4:49 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
57
...I think Bia Kut Chum in Yasothon province (see “Green Line: Currency of Hope”, page 39) is a good example of a community with sufficiency economy model because it relies on local production and barter trade. The villagers did this through a medium called Bia Kut Chum... Such a restrictive view overlooks losses in other aspects. Green economy, therefore, must have a holistic view and considers issues ranging from the laborers’ hardship to the collapse of the ecosystem. The green economy model advocated by the UNEP (United Nations Environment Programme) emphasizes the balance of environmental protection, poverty reduction and economic growth. In short, green economy is a solution to the economic crisis, climate change, and energy, water and food shortages. It’s good. All the systems are connected and inseparable. But you must not look at the two aspects as separate. Most people think good development cannot go together with environmental conservation, but they can. Why can’t we use technology to enhance conservation? If traditional wisdom such as cloth or basket weaving continues to march in place, soon it will die. But if you have sustained improvement using technology, it doesn’t mean we have to abandon our traditional wisdom; otherwise we won’t have development. By the same token, it would be a narrow definition of development if it only looks forward without looking back. For example, dam building is a symbol of scary development because it destroys a great deal of natural resources. Nowadays, dams provide electricity more than serving irrigation purposes even though the often-cited reason for building dams is for agriculture, to provide access to water resource, which is irrigation. n How do we apply technology or economic and social development inspired by the natural system and traditional wisdom in our national economy? We have forgotten our native technology and knowledge. We could reduce cost by paying attention to the environment. For example, a study found that by closing the doors of a boiler for just a few minutes between the times to put coal into it, a factory could realize a considerable saving. But the workers are usually too lazy to do that because they figure why shutting the doors when they have to open them to put coal in anyway. We often forget or fail to see the value of our own technology, and that’s why we just copy it from other countries. Our education system teaches us to value western education more. But it only teaches us to become workers, not to be free-thinking individuals or to be able to adapt what we have to the changing world. If you ask if it’s necessary to conserve all traditional ways of living or technologies, we need only to see, if
we keep producing traditional cloths with the same old designs without evolving into different patterns or using different colors, pretty soon that technology will die out because it will not be able to respond to the changing social environment. We can resort to the self-reliance system using our native wisdom but the whole system needs to move in the same direction with a long-term view. We should not do it in a piecemeal fashion. n Is there any example that demonstrates the link between equality, morality and the economy? I think Bia Kut Chum in Yasothon province (see “Green Line: Currency of Hope”, page 39) is a good example of a community with sufficiency economy model because it relies on local production and barter trade. The villagers did this through a medium called Bia Kut Chum. It’s too bad that the Bank of Thailand failed to appreciate it and saw it as an illegal system which led to the collapse of that system. However, the community itself managed to learn how to empower itself and survive which makes it a good case to study. Corporate social responsibility is a good example for the private sector. Unfortunately, most companies choose to use it as a public relations tool and fail to employ it to affect production or consumption. It should in fact be part of production from the start which would be called green production and which would lead to green consumption. I don’t want to call it “the return of profit to the society” (as many companies are wont to do). I would rather call it “responsibility to society”. But most companies only do it for public relations reason. For example, Siam Cement chooses to promote dam or dyke building. What’s for? There’re already agencies responsible for that. Why not let them do it? Some oil companies promote reforestation. Why? Why don’t they just try to reduce energy expenditure? n Should the government integrate its creative economy policy with the concept of green economy based on the moral foundation of sufficiency economy and put it into practice as the country’s mainstream economic model? Actually, there is little difference between green economy and sufficiency economy but we choose to look at them differently. Creative economy is also part of green economy because it calls for creative adaptation to fit our
สัมภาษณ์พิเศษ: ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ Special Interview: Nithi Eawsriwong
GL27-VA.indd 57
3/2/10 4:49 PM
58
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
แต่ว่าคนเรามองกันคนละจุด ทั้งที่ Creative Economy เป็นส่วน หนึง่ ของ Green Economy เพราะว่ามันเป็นการคิดประยุกต์อย่าง สร้างสรรค์ ปรับใช้ให้เข้ากับระบบสังคมพืน้ ฐาน ถือว่าเป็นส่วนหนึง่ แต่ คนเรามักจะมองแยก และคับแคบว่าต้องรักษาสิง่ แวดล้อมเพียงอย่าง เดียว ท�ำให้คนปิดกั้นไป ปิดกั้นความคิด ติดกับความคิดของตนเอง อีกอย่างหนึง่ ผมเองก็ไม่แน่ใจเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียง หรือ ทฤษฏีใหม่ กับเศรษฐกิจสีเขียว ว่าเราเข้าใจถูกหรือไม่ เพราะเราส่วน ใหญ่ถา้ หากเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ก็มกั จะนึกถึงเฉพาะคนท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำไมไม่นกึ ว่าภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่จะเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้ หากเขามีการกระจายให้เข้าถึงทรัพยากร การผลิต และการ บริโภคแล้ว มันเป็นเรื่องธรรมดาที่การท�ำธุรกิจต้องมองเรื่องก�ำไรเป็น เป้าหมายหลัก ไม่มีธุรกิจใดไม่หวังผลก�ำไร หากคุณมองว่าเศรษฐกิจพอเพียงคือการท�ำนา ท�ำไร่ ปลูกข้าว ผมว่าคับแคบ แต่มองว่าที่นครปฐมมีฟาร์มเลี้ยงหมู เลี้ยงวัวจ�ำนวน มาก มูลของสุกรจ�ำนวนมากได้สร้างกลิน่ รบกวนต่อชาวบ้านใกล้เคียง แล้วผู้ผลิตก็ได้ลงทุนในการปรับแต่ง ใส่เทคโนโลยีเอามูลของสุกรมา ท�ำเป็นพลังงานเชือ้ เพลิงผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าแบบชีวมวล ไม่นา่ เชือ่ ว่าจะคืนทุนได้ภายใน 3 ปี แต่ตอ้ งมีการใช้เทคโนโลยีและการลงทุนพอ สมควร แต่วา่ มันคุม้ ค่าในการลดต้นทุนการผลิต สามารถน�ำทรัพยากร ที่เหลือใช้มาใช้ได้ นี่ล่ะที่เรียกว่าการผลิตเขียว การแก้ไขอาจจะต้องมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ไลฟ์สไตล์ แค่ เปลี่ยนนิดเดียว อะไรก็เปลี่ยนได้อีกเยอะแล้วลดการบริโภคลง การ ผลิตก็ลดลงตามความต้องการของประชาชน … กระบวนการขัดเกลา ทางด้านสังคมนัน้ มีผลต่อแนวความคิด ต่อวิถชี วี ติ ของคนมาก ใช้เวลา นานมากในการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่มีความสมดุลระหว่างความต้องการ ของมนุษย์กับธรรมชาติ ควรด�ำเนินอย่างไรให้แนวคิดนั้นบรรลุ เป้าหมาย เราน่าจะมีการจัดการสื่อใหม่ จัดการกับระบบการศึกษา ที่ท�ำให้ คนกลายเป็นแค่แรงงาน เป็นทุนในการผลิตเพียงมิติเดียว สอนให้ ท่องจ�ำ ไม่ได้เป็นอิสระ ลัทธิบริโภคนิยมนัน้ หรือลัทธิเสรีนิยมใหม่ (Neo Liberalism) ท�ำให้เกิดการกระตุ้นการบริโภค ผ่านทางสื่อโฆษณา ให้บริโภคแบรนด์ ไม่ใช่ตัวสินค้า แต่ท�ำให้เรายึดติดกับวาทกรรมที่ผู้ผลิตได้ตีตราลงไป เช่น หากคุณมีรถจักรยานยนต์ฮอนด้า คุณไม่ได้มีแค่ยานพาหนะ แต่ นัน่ หมายความว่าคุณสามารถขับขีร่ ถไปเทีย่ ว ไปจีบสาว สังสรรค์เฮฮา มีความสนุก ได้เหมือนในโฆษณาสือ่ ออกมา ซึง่ คนไทยโดนสือ่ มอมเมา เราก็ต้องจัดการกับสื่อด้วยอีกทางหนึง่ ผมว่าทุกวันนี้สังคมไทย ตื่นตัวมาก มีจิตส�ำนึกทางด้านพลเมือง มากขึ้น มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น เช่น การคัดค้านที่บ่อนอก - หินกรูด กรณีที่มาบตาพุดที่ธุรกิจเอกชนได้เข้าถึงทรัพยากรอากาศ ได้มากกว่าประชาชนทั่วไป (ดูเรื่อง “มาบตาพุดผู้โชคร้าย” หน้า 75) แต่คนตัวเล็กเข้าไม่ถึงอากาศเลย แต่เมื่อเกิดปัญหา รัฐยังคงเข้าข้าง อุ้มเอกชนผู้บิดเบือนไว้มากกว่า คือ ให้ความส�ำคัญกับหน่วยผลิต ใหญ่ที่ส่งผลต่อตัวเลขทางเศรษฐกิจ ไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับชาวบ้าน ผู้ได้รับผลกระทบจากละอองฝุ่น จนเหลือปอดข้างเดียว n
GL27-VA.indd 58
basic social system. Again, we take a narrow conservation view and look at them as separate concepts. Why do we keep stifling our own thinking and imagination and get stuck with our own narrow view? Another thing is I’m not sure whether we all understand sufficiency economy and green economy correctly. Most of us, when we talk about sufficiency economy, often have farmers in our mind. Why don’t we think big industry can also get along with sufficiency economy if they provide wide access to resources, production and consumption? There’s nothing wrong with a business thinking about the bottom line. Thinking that sufficiency economy is only about farming or rice growing is a narrow view. Look at all the pig farms in Nakhon Pathom. The waste from the pigs caused quite a foul odor that disturbed their neighbors. So the operators invested in technologies that turn the waste into bio-energy and recouped the investment in three years. While it takes quite a large investment in the technologies, it is worthwhile because it reduces production cost and enables the re-use of waste. This is called “green production”. Solving the (economic and environmental) crisis requires changing our lifestyle. A little bit can lead to quite a bit of change. We should reduce consumption which will lead to reduced production.… Social tuning can catalyze the changing of lifestyle but it takes a long time. n How can we achieve economic development that ensures a balance between human demand and natural resources? We need to reform the media and better manage the education system that turns people into mere labor and cost of production, and rote learners instead of independent thinkers. Consumerism or neo-liberalism stimulates consumption through advertising media, focusing on the consumption of brands, not the goods themselves. For example, if you buy a Honda motorcycle, you don’t just get a vehicle but you also get fun and sex appeal. That’s what the advertisers tell you, and Thai people have fallen victims to the intoxication. We need to reform this type of media. All in all, I think Thai people are more aware of their democratic rights. For example, the protest at Bo Nok-Hin Krut (in the southern province of Prachuap Khiri Khan where local villagers were able to force two power plant projects to move out of the area on environmental grounds) and also at Map Ta Phut (see Poor Map Ta Phut, page 75)where private businesses have better access to the air resource than the local people. The local people have no right to the air. But when problems arise, the government chooses to take the side of the private sector. It puts more value on the large production base for its ability to boost the country’s economic index at the detriment of the local people who suffer from pollution and some must live with a single lung.
3/2/10 4:49 PM
สี่แยกไฟเขียว GREEN INTERSECTION กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
59
ดัชนีโลกมีสุข:
เศรษฐศาสตร์กู้โลก #1 ปัจจุบันโลกเรามีชุดความคิดและเครื่องมือใหม่ๆ จากเศรษฐศาสตร์และวงการที่เกี่ยวข้องจ�ำนวน มากขึ้ น เรื่ อ ยๆ ที่ ก� ำ ลั ง ถู ก พั ฒ นาเพื่ อ มาช่ ว ย ประเมิน ป้องกัน และแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และสังคม สองมิติที่เกี่ยวพันอย่างแนบแน่นกับ เศรษฐกิจ แต่ทผ ี่ า่ นมานักเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ยังไม่มองมิตติ า่ งๆ อย่างเป็น ‘องค์รวม’ แต่มอง อย่าง ‘แยกส่วน’ ออกจากกัน และมองว่ามิตทิ าง เศรษฐกิจต้องมาก่อน เช่น บอกว่าทุกประเทศควร มุง่ พัฒนาเศรษฐกิจให้รงุ่ เรืองก่อน มิตสิ งิ่ แวดล้อม เอาไว้รวยแล้วค่อยมาแก้ไขภายหลังก็ได้
ในเมื่อวิธีคิดแบบ ‘แยกส่วน’ ของเศรษฐศาสตร์กระแสหลักนับวันยิ่ง ได้รับการพิสูจน์และตอกย�้ำมากขึ้นเรื่อยๆ ว่าทั้งไม่เป็นความจริง ทั้ง ท�ำให้สถานการณ์ในอนาคตแย่ลงแทนทีจ่ ะดีกว่าเดิม จึงไม่นา่ แปลกใจ ทีเ่ ราจะเห็นนักเศรษฐศาสตร์จำ� นวนมากขึน้ เรือ่ ยๆ ทีม่ งุ่ พัฒนาชุดความ คิดและเครือ่ งมือใหม่ๆ เพือ่ ผลักดันให้ผมู้ อี ทิ ธิพลในสังคม ทัง้ ในภาค รัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เปลี่ยนวิธีคิดเป็นแบบ ‘องค์รวม’ มากขึ้น คือค�ำนึงถึงมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน ในโครงการพัฒนาทุกระดับ เพราะการพัฒนาใดๆ ก็ตามในศตวรรษนี้และศตวรรษต่อๆ ไป จะต้องสอดคล้องกับแนวคิด ‘การพัฒนาที่ยั่งยืน’ เท่านัน้ มนุษย์ถึง จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างเป็นสุข สถาบั น วิ จั ย อิ ส ระแห่ ง หนึ่ ง ที่ ผู ้ เ ขี ย นชอบมากคื อ New Economics Foundation (www.neweconomics.org) ได้พัฒนา ดัชนีทางเลือกชุดหนึง่ ที่สะท้อนแนวคิดการพัฒนาแบบ ‘องค์รวม’ ได้อย่างดีเยี่ยมและใช้ประโยชน์ได้จริง ดัชนีชุดนีช้ ื่อ Happy Planet Index (HPI) หรืออาจแปลเป็นไทยว่า “ดัชนีโลกมีสุข” มีการตีพิมพ์ ผลการประเมินครั้งแรกออกมาในปี ค.ศ. 2006 HPI เป็ น ดั ช นี ชุ ด แรกในโลกที่ น� ำ ดั ช นี วั ด ผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมมาสังเคราะห์เข้ากับดัชนีวัดความอยู่ดมี ีสุขของประชากร เพื่อค�ำนวณ “ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ” (ecological efficiency) ของ แต่ละประเทศในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อส่งมอบชีวิตที่ “น่าพึง พอใจ” และ “ยืนยาว” ให้กับประชากรในประเทศ
คุณยายนัง่ รอคอยคนมาซื้อล็อตเตอรี่ริมก�ำแพงวัดใกล้ตลาดใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่
An elderly lottery seller waits for buyers by a temple wall in Chiang Mai.
GL27-VA.indd 59
3/2/10 4:49 PM
60
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
Happy Planet Index: Save-the-World Economics 101 Sarinee Achavanuntakul
MORE AND MORE MODELS AND TOOLS HAVE BEEN DEVELOPED by the economic and related disciplines to assess, prevent and resolve environmental and social woes, which are closely tied to the economy. Mainstream economists used to look at the economy as a distinct entity separate from all other social dimensions rather than taking a holistic view. They assigned the economy the first priority, saying nations need to take care of the economy first before trying to solve environmental problems. Such “segregated” view has over time been proven wrong and the world’s future outlook has suffered for it. It’s no surprise then that an increasing number of economists have developed new models and tools to persuade society’s leaders in the public and private sectors and civil society to shift to “holistic” approach with attention to economic, social and environmental aspects in developmental projects at all levels. Only with development, now and in the future, that is consonant with the “sustainable development” model shall man live in harmony with nature. One of my favorite research institutes, the New Economics Foundation (www.neweconomics.org), has developed an alternative yardstick which is a true reflection of holistic and practical approach. The Happy Planet Index (HPI) was first published in 2006. The HPI is the world’s first index to integrate environmental impacts with the well-being of citizens to come up with ‘’ecological efficiency’’ with which country uses natural resources to ensure citizens “contentment” and “longevity”. Top-scoring countries may not be where the ‘’happiest’’ people on Earth live but provide for their citizens long and happy lives without constraints on the ecosystem or excessive consumption of the Earth’s resources.
Calculating the HPI:
x life expectancy HPI = life satisfaction ecological footprint
The HPI comprises three indicators. They are: 1) Life satisfaction is a figurative representation of subjective answer to the question “How are you satisfied with your life at the moment?” Respondents are asked to
GL27-VA.indd 60
assess themselves on a scale of 0 to 10, where 0 is dissatisfied and 10 is very satisfied. The life satisfaction information is partly derived from the World Values Survey (www. worldvaluessurvey.org), produced by a global network of sociologists. 2) Life expectancy is an objective data based on the United Nations Development Programme’s Human Development Index. 3) Ecological footprint refers to impact on nature (including resource consumption and impacts on ecosystem) from human activities to satisfy their needs. It is like a “footprint” man leaves on nature. The footprint equals to land and sea areas needed to regenerate the resources a human population consumes and to absorb and render harmless the corresponding waste. In 2007, the World Wildlife Fund (WWF) summarized ecological footprint information of all countries to the effect that humanity is outstripping planet’s capacity by almost 50%. This means if people fail to change our consumption behaviors, we will need 1.50 planets to meet our demands. We need to control population growth, consumption level, and excessive resource utilisation as well as adopt environment-friendly behaviors before there is no Earth to live on. The New Economics Foundation’s compilation of the 2006 HPI of 178 countries showed no country achieved the “good” (green) level in all three indicators. (See Table 1)
3/2/10 4:50 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
61
ประเทศที่มี HPI สูงอาจไม่ใช่ประเทศที่ประชากร “มีความ สุขที่สุด” แต่เป็นประเทศที่สามารถมอบชีวิตที่ยืนยาวและมีความ สุขให้กับประชากรได้โดยไม่ก่อความตึงเครียดต่อระบบนิเวศหรือใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง
องค์ประกอบในดัชนี HPI สามตัวได้แก่ 1) “ความพึงพอใจในชีวิต” เป็นตัวเลขแทนความเห็นที่เป็น อัตตวิสยั (subjective) จากการตอบค�ำถาม “ตอนนีค้ ณ ุ รูส้ กึ พอใจกับ ชีวิตมากน้อยเพียงใด?” โดยให้ผู้ตอบประเมินความพอใจของตัวเอง ออกมาเป็นตัวเลข จาก 0 (ไม่พอใจเลย) ถึง 10 (พอใจมาก) ข้อมูล ด้านความพึงพอใจในชีวิตที่ใช้ในการค�ำนวณ HPI ส่วนหนึง่ มาจาก รายงาน World Values Survey (www.worldvaluessurvey.org) ซึ่งจัดท�ำโดยเครือข่ายนักสังคมวิทยาทั่วโลก 2) ความยืนยาวของอายุ (life expectancy) เป็นตัวเลข อัตตวิสัย (objective) หมายถึงอายุขัยที่ประชากรโดยเฉลี่ยน่าจะใช้ ชีวิตได้ถึง ค�ำนวณจากอัตราการตายของประชากรในช่วงอายุต่างๆ เป็นตัวเลขเดียวกันกับที่ใช้ในดัชนี Human Development Index ของ UNDP 3) รอยเท้านิเวศ (ecological footprint) หมายถึงระดับผล กระทบต่อธรรมชาติ (ทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ และผลกระทบต่อ ระบบนิเวศ) ที่มนุษย์กระท�ำเพื่อตอบสนองความต้องการของตัวเอง เปรียบเสมือน “รอยเท้า” ที่มนุษย์ประทับลงบนธรรมชาติ มูลค่าของ รอยเท้านิเวศมีค่าเท่ากับพื้นที่บนบกและในทะเลที่ต้องใช้ในการฟื้นฟู (regenerate) ทรัพยากรธรรมชาติขึ้นมาใหม่เพื่อรองรับปริมาณการ บริโภคของมนุษย์ ดูดซับของเสีย และท�ำให้ของเสียเหล่านัน้ ไม่เป็น พิษภัย (render harmless) ในปี 2007 World Wildlife Fund (WWF) สรุปข้อมูลรอย เท้านิเวศจากทุกประเทศในโลกว่า ประชากรทั่วโลกบริโภคเกินกว่า ศักยภาพของโลกไปเกือบร้อยละ 50 ตัวเลขนีห้ มายความว่า ถ้าคนทัว่ โลกไม่ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภค เราจะต้องใช้โลกถึง 1.50 ใบ เพือ่ รองรับความต้องการของมนุษย์ กล่าวอีกนัยหนึง่ คือ มนุษย์จำ� เป็น จะต้องควบคุมอัตราการเติบโตของประชากร ลดระดับการบริโภค เลิก ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ก่อนที่จะไม่มีโลกให้มนุษย์อาศัยอยู่ ผลการค�ำนวณดัชนี HPI ของ New Economics Foundation ในปี 2006 ของ 178 ประเทศทั่วโลกแสดงให้เห็นว่า ไม่มีประเทศ ใดที่ได้ระดับ “ดี” (สีเขียว) ในดัชนีทั้งสามตัวที่ประกอบกันเป็น HPI ตามหลักเกณฑ์ของคณะผู้จัดท�ำดังดังตารางที่ 1 ผลลัพธ์ที่น่าสนใจคือ ประเทศที่มีดัชนี HPI สูงที่สุดในโลก 20 อันดับแรกส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ มี “รายได้ ปานกลาง” ตามนิยามของธนาคารโลก และอยู่ในทวีปอเมริกากลาง ทะเลคาริบเบียน และอเมริกาใต้ ในบรรดาประเทศเอเชียสามประเทศ ที่ติด 20 อันดับแรก คือ เวียดนาม ภูฏาน และฟิลิปปินส์ ภูฏานเป็น ประเทศเดียวทีม่ ดี ชั นีองค์ประกอบระดับ “ดี” (สีเขียว) ถึงสองในสาม
รอยยิ้มอันบริสุทธิ์ของเด็กชนเผ่า ในหมู่บ้านที่มีการกล่าวกันมายาวนานเรื่องการ ให้ย้ายออกจากป่า Little hilltribe children smile innocently, unaware of a long-standing plan to evict their village from the protected forest.
ตัว คือดัชนีความพึงพอใจในชีวิต และรอยเท้านิเวศ ผลการค�ำนวณ ของประเทศทีม่ ี HPI สูงสุด 20 อันดับแรกสรุปออกมาตามตารางที่ 2 เมือ่ น�ำ HPI มาพล็อตเปรียบเทียบกับรายได้ตอ่ หัวของประชากร จะเห็นว่ารายได้ตอ่ หัวทีเ่ พิม่ ขึน้ ไม่ได้แปลว่า HPI จะสูงขึน้ ตามไปด้วย ดังแสดงในแผนภาพที่1 ข้อมูลดังกล่าวจาก HPI สะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ล�ำพัง ความเจริญทางเศรษฐกิจ ทีม่ กั จะส่งผลให้ประชากรโดยเฉลีย่ มีสขุ ภาพ ดีและอายุยืนนัน้ ไม่อาจรับประกันได้ว่าประชากรในประเทศนัน้ จะมี ความสุขกว่าในประเทศที่มีรายได้ตำ�่ กว่า และซ�ำ้ ร้ายความเจริญนัน้ ก็ มักจะต้องแลกมาด้วยต้นทุนธรรมชาติทสี่ งู มาก (และความเสือ่ มโทรม ของสิ่งแวดล้อมก็เป็นสาเหตุหนึง่ ที่ท�ำให้คนรู้สึกไม่มีความสุข) ยก ตัวอย่างเช่น ประชากรของสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรปตะวันตกมีอายุ ยืนยาวและมีความพึงพอใจในชีวติ ค่อนข้างดีกจ็ ริง แต่ตอ้ งแลกมาด้วย ‘ต้นทุน’ ที่สูงมากในแง่ของรอยเท้านิเวศ ในโลกทีค่ นส่วนใหญ่ยงั คิดแบบ ‘แยกส่วน’ ดัชนี HPI เป็นเครือ่ ง มืออันทรงพลังทีส่ ะท้อนให้เห็นความผิดพลาดของวิถกี ารพัฒนาแบบ ‘แยกส่วน’ ทีย่ งั ครอบง�ำวิธคี ดิ ของผูน้ ำ� ส่วนใหญ่ในโลก และกระตุน้ ให้ คนมองเห็นความเชือ่ มโยงทีแ่ ยกออกจากกันไม่ได้ระหว่างมิตเิ ศรษฐกิจ (สะท้อนในตัวเลขความยืนยาวของอายุใน HPI) มิติสังคม (สะท้อน ในตัวเลขความพึงพอใจชีวิต) และมิติสิ่งแวดล้อม (สะท้อนในตัวเลข รอยเท้านิเวศ) ปัจจุบนั คณะผูจ้ ดั ท�ำดัชนี HPI น�ำโดย นิค มาร์คส์ (Nic Marks) ก�ำลังพัฒนาวิธีวัดและค�ำนวณดัชนีตัวนี้อย่างต่อเนื่อง และเดินสาย บรรยายไปทั่วโลกเพื่อเกลี้ยกล่อมให้ผู้ก�ำหนดนโยบายน�ำดัชนีตัวนี้ ไปใช้แทนทีห่ รืออย่างน้อยก็ควบคูไ่ ปกับดัชนีแบบ ‘แยกส่วน’ ทีม่ กั จะ มองเห็นแต่มิติเศรษฐกิจ (เช่น GDP) ในการก�ำหนดนโยบายพัฒนา ในรอบหลายสิบปีที่ผ่านมา. สี่แยกไฟเขียว Green Intersection
GL27-VA.indd 61
3/2/10 4:50 PM
62
กันยายน - ธันวาคม 2552
ตาราง 1 แดงเลือดหมู (Table 1) Blood Red ความพอใจในชีวิต Life satisfaction ความยืนยาวของชีวิต Life expectancy รอยเทานิเวศ (Footprint)
> 5 โลก planets
September - December 2009
แดง เหลือง เขียว Red Yellow Green < 5.5 (ไมพอใจ) 5.5-6.7(ปานกลาง) 6.7 > (พอใจ) (dissatisfied) (medium) (satisfied) < 60 (ไมดี) (poor)
60-75 (ปานกลาง) 75 > (ดี) (average) (good)
> 2 โลก planets
1-2 โลก planets
< 1 โลก planet
An interesting finding of the study is that the top 20 countries with the highest HPI are island states with “medium income” as defined by the World Bank and located in Central and South America and the Caribbean. Only three Asian countries made it to the top 20. They are Bhutan, the Philippines and Vietnam. Bhutan is the only country which earned ‘’good’’ (green) rating in two of three components – life satisfaction and ecological footprint. (See Table 2) When plotting the HPI against the Gross Domestic Product (GDP) per capita, the graph shows that a rise in GDP per capital does not translate into higher HPI. (See Illustration 1) The HPI findings indicate clearly that economic wealth of a country which normally leads to healthy and long-living population does not guarantee that they are happier than people in poorer countries. Worse still, modernization carries a high price tag in terms of natural capital (and degraded environment is a cause of people’s unhappiness). For instance, people in the U.S. and Western Europe enjoy long life expectancy and life satisfaction but that has been achieved with a high “capital cost” in terms of ecological footprint. In the world where most people still think in a “piecemeal” fashion, the HPI is a powerful mirror that reflects the mistakes of the “segregated” approach which dominates many world leaders. It inspires us to see the interconnection of the economic (as reflected in the life expectancy), social (in life satisfaction) and environmental (ecological footprint) aspects. The HPI team, led by Nic Marks, continues to develop methodologies to measure and calculate the index. And the team members have been giving lectures around the world, hoping to convince policy makers to make use of this index in place of or at least along with the “segregated” index that reflects the economic dimension (such as GDP) over the past several decades.
GL27-VA.indd 62
3/2/10 4:50 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
ข้ามฟ้า ACROSS THE SKY
September - December 2009
63
ฮิปปี้ – เส้นทางคืนสู่ ธรรมชาติและอนาคต รัญจวน ทวีวัฒน์
The Hippies: Journey
Back to Nature and Forward Ranjuan Thaweewat
ถ้ามนุษย์บนโลกไม่ได้เกิดมาเพื่อแสวงหา ไฟจาก น�้ ำ มื อ กองแรกคงไม่ ถู ก จุ ด ขึ้ น อาจไม่ มี ค� ำ ว่ า สงครามและสันติภาพ ธรรมชาติและโลกอาจไม่เดิน มาสู่วิกฤตเช่นวันนี้ และแม้ประวัตศิ าสตร์ของมนุษย์จะเกิดการแสวงหาด้วยการขบถ มิอาจนับครัง้ แต่จะมีขบถหนไหนทีบ่ นเส้นทางแต่งแต้มสีสนั เพริดแพร้ว อยูท่ า่ มกลางค�ำครหาว่าไร้ขอบเขต ไร้แก่นสาร ไร้ระเบียบ ไร้จดุ หมาย จากสายตาคนส่วนใหญ่ได้ถงึ เพียงนี้ วัฒนธรรม “ฮิปปี้” จึงกลายเป็นปรากฏการณ์สะเทือนสังคมใน สหรัฐอเมริกา ยุโรป สังคมประเทศอื่น ๆ รวมทั้งในสังคมไทยด้วย
GL27-VA.indd 63
I
MAGINE A WORLD WHERE HUMANS WERE BORN without curiosity, a will to experiment, or the urge to explore to mark new boundaries. The first fire might not have been lit. We might not have experienced war or come to know peace. The earth and nature might not have a crisis that we face today. And while the world’s history is full of rebellions in search of a better world, one would be hard-pressed to find a rebellion that was as colorful and enlightened or, in the eyes of many, as purposeless and anarchical as the “Hippie” subculture. Be that as it may, the Hippie rebellion had become a historic phenomenon that shook the United States, Europe and the world at large including Thailand.
3/2/10 4:50 PM
64
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
พลตรี ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เคยวิจารณ์ในหนังสือพิมพ์ สยามรัฐ ปี 2514 ว่า “ฮิปปี้ คือลัทธิหนึง่ ...ระเบียบแบบแผนคือ วัฒนธรรมของโลก ฮิปปี้ไม่ยอมรับ จะหาอะไรที่เป็นสิ่งจงใจเจตนา ท�ำก็ไม่ได้ เพราะความจงใจเจตนานัน้ เป็นวัฒนธรรมของโลก” ’รงค์ วงษ์สวรรค์ เคยจรดปากกาไว้ในหนังสือ “หลงกลิน่ กัญชา” ตีพิมพ์ปี 2512 นิยามฮิปปี้ว่า “ผู้เป็นศัตรูกับความเจริญทางวัตถุ ต่อ ต้านความละโมบและความอิจฉาริษยาอาฆาต เร่งเร้าเพือ่ เกือ้ กูลเพือ่ น มนุษย์ในโลก ปฏิเสธความฟุ้งเฟ้อ ความสะอาดและความเรียบร้อย การเป็นซ้าย ไม่ตัดสินด้วยความรุนแรงแต่รักสงบ นอบน้อมถ่อม ตนและเทิดทูนความเป็นเพื่อน เป็นปรปักษ์กับงานโดยประท้วงด้วย ความขีเ้ กียจ … น�ำตนเข้าถึงเสรีภาพแห่งความรัก และกามารมณ์ …” สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล นักประวัตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตแกนน�ำนักศึกษาธรรมศาสตร์ 1 ใน 18 ผูถ้ กู จับกุมจากเหตุการณ์ เรียกร้องประชาธิปไตย 6 ตุลาคม 2519 เคยให้สมั ภาษณ์วา่ “กระแส วรรณกรรม-แสวงหา ไล่ตั้งแต่พระจันทร์เสี้ยวของสุ ช าติ สวั ส ดิ์ ศ รี วิทยากร เชียงกูล สุรชัย จันทิมาธร นิคม รายวา จรัล ดิษฐาอภิชัย กลุ่มสภาหน้าโดมยุคแรก เสกสรรค์ (ประเสริฐกุล) มีพื้นฐานมาจาก กระแสนี้ พวกนี้เขาโตขึ้นมาเอง ส่วนมากจะได้รับอิทธิพลจากฝรั่ง กระแสพวกฮิปปี้” นอกจากค�ำนิยามฮิปปีเ้ ป็นศัพท์ไทยอันงดงามว่า “บุปผาชน” ยัง มีกลิน่ อายของบุปผาชนอีกมายมายในประเทศไทยทีฉ่ ายภาพอิทธิพล แบบฮิปปี้ทขี่ ยายเข้ามาสู่สังคมและกลุ่มนักศึกษาผ่านการแต่งตัวเสื้อ ยับ กางเกงยีนส์ รองเท้ายาง สะพายย่าม แนวคิดเรื่องเสรีภาพ และ ความต้องการสร้างวัฒนธรรมใหม่ให้กับสังคม สังคม สงคราม การแสวงหา เศรษฐกิจ วิกฤตของโลก ฮิปปี้ เชื่อม โยงกันอย่างไร แท้จริงอาจมองภาพใหญ่ๆ ผ่านความสัมพันธ์ในทุกมิติของโลก คือการด�ำเนินชีวิตของคนต้องเผชิญหน้ากับการพลิกผันขึ้น-ลงของ วัฏจักรทางเศรษฐกิจ และการเมืองในระดับประเทศ และยังต้องเผชิญ กับวงจรพลิกผันระดับโลก นับตัง้ แต่ศตวรรษที่ 14 ถึง 15 ระบบเศรษฐกิจโลกได้สถาปนา ตนขึ้นมาอย่างเป็นระบบมียุโรปเป็นศูนย์กลางด้วยการปฏิวัติด้านการ สื่อสาร การขยายตัวของการค้า วัฒนธรรม รวมถึงการท�ำสงคราม ปล้นชิงและล่าอาณานิคม จนถึงการเผชิญหน้าทางชนชั้นระหว่าง กรรมมาชีพกับชนชั้นนายทุนในช่วงพัฒนาอุตสาหกรรม ผ่านมาหลัง สงครามโลกครัง้ ที่ 2 เกิดระบบทุนนิยมและสังคมนิยมทีส่ ามารถสร้าง ระบบอารยธรรมทีป่ ระสานผลประโยชน์ทางชนชัน้ เช่น การสร้างรายได้ ระบบรัฐสวัสดิการ จนท�ำให้การต่อสูท้ างชนชัน้ เบาบางลง กระทั่งในช่วงยุคทศวรรษ 60 จนถึง 70 ขณะที่โลกก�ำลังก้าว กระโดดไปสู่ความวิวัฒนาการด้านอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ ขนานใหญ่ แต่หนุ่มสาวอเมริกันเริ่มเอือมระอาสังคมชนชั้นกลางและ ชนชั้นสูงกว่านัน้ จากความฟุ้งเฟ้อฟุ่มเฟือยของวัตถุนิยมที่ทำ� ให้คน ตกเป็นทาสทั้งในด้านความคิดและการกระท�ำ ผลักดันคนห่างไกล จากธรรมชาติที่แท้จริงไปสู่สิ่งที่ปลอมแปลงหลอกลวงมากขึ้นจนหา ตัวตนตนเองไม่เจอ
GL27-VA.indd 64
ภาพจาก eaobjets.files.wordpress.com-2
Photo from eaobjets.files.wordpress.com-2
ภาพจาก Earth Day-weblogs.baltimoresun.com การประท้วงเรียกร้องให้มีการปฏิรูป เรื่องสิ่งแวดล้อมในวันคุ้มครองโลก Photo from Earth Day-weblogs.baltimoresun.com. Protesters call for environmental protection on Earth Day.
และเพราะไม่สามารถเข้าใจถึงค่านิยมของพ่อแม่ที่เน้นความ ส�ำคัญของเงิน สถานภาพทางสังคม และความส�ำคัญของการท�ำงาน หนัก ยิ่งไม่อาจปฏิรูปสังคมได้ดังใจนึก พวกเขาจึงประสานกับการ เคลื่อนตัวของชนชั้นกลางและชนชั้นล่างในเมือง เริ่มเคลื่อนไหว ขบวนการต่อสู้ครั้งใหญ่โดยทยอยกันปลีกตัวออกนอกสังคม หลบ หลีกออกจากอ�ำนาจรัฐ อ�ำนาจสื่อ อ�ำนาจเงิน และระบบการศึกษา ต่อต้านสังคมอเมริกันที่คนรุ่นพ่อแม่ละทิ้งจิตวิญาณมุ่งสู่วัตถุนิยม ปฏิเสธระเบียบแบบแผนของสังคม ต่อต้านอ�ำนาจและความรุนแรง พยายามแสวงหาทางออกใหม่ สร้างวิถีชีวิตแบบใหม่ที่เป็นอยู่ง่ายๆ รักเพื่อนมนุษย์ รักธรรมชาติ ฮิปปี้จับกลุ่มแสวงหาอิสรภาพอยู่ตามสวนสาธารณะและข้าง ถนนปะปนกันทั้งหญิงชาย ปล่อยกายให้เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ ตัดผม สวมเสื้อผ้าเก่า เสพยา ร้องร�ำท�ำเพลง ไม่สะสมทรัพย์สิน ท�ำงานพอประทังชีพ ขอทานให้พอกิน ด�ำรงชีวิตภายใต้ความคิดว่า สิ่งที่มนุษย์ต้องการไม่ใช่การสร้างระบบอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่ สร้าง กฎเกณฑ์ขึ้นมากมาย หรือสร้างรัฐสวัสดิการ แต่สิ่งที่มนุษย์ต้องการ จริงๆ คือ เสรีภาพ อิสรภาพ และความสุข พวกเขาจึงถูกอธิบายว่าเป็นพวก “ฮิปปี”้ มาจากค�ำว่า “ฮิปสเตอร์ (hipster)” หมายถึงพวกทีท่ ำ� ตัวต่างจากคนส่วนมากในสังคม ในช่วงนัน้ ฮิปปี้พยายามสร้างชุมชนเล็กๆ ในอุดมคติให้เป็นจริง โดยรับแนวคิดตะวันออก เช่น แนวคิดของกฤษณะมูรติ และแนวคิด แบบเซ็น พวกเขาจับกลุ่มกันอยู่แบบคอมมูน กินอยู่ใช้สอยร่วมกัน ช่วยกันท�ำสวนครัวปลูกผัก แบ่งความรับผิดชอบ ทรัพย์สมบัติ และ ความรักกันอย่างทั่วถึง บางคนออกไปท�ำงานหาเงินนอกบ้านเพื่อเอา มาใช้ร่วมกันในคอมมูน
3/2/10 4:50 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
65
ภาพจาก www.abc.net.au Photo from www.abc.net.au
Former prime minister MR Kukrit Pramoj commented in his Siam Rath newspaper in 1971: “Hippie is a cult.… Orderliness is a global culture. But the hippies refuse to embrace it. They can’t find any purpose in anything they do because purposefulness is a world culture.” Writer extraordinaire ’Rong Wongsawan, in his book “Long Klin Ganja” (Obsessed with the Ganja’s Smell) published in 1969, defined “hippie” as “an arch enemy to capitalism, a rebel to greed and lust, an instant savior to mankind, who rejects materialism, cleanliness, orderliness and adores the philosophy of the Left. They reject violence as a means to resolve conflicts, are peace loving and humble, and value friendships. They are opposed to everyday’s work and protest it with laziness as a pathway towards freedom of love and sex.…” Somsak Chiamthirasakul, a well respected historian at Thammasart University and one of the 18 student protestors who were arrested on October 6, 1976, once said in an interview that the Thai literature in the “quest-for-truth” genre by well-know personalities such as Suchart Sawadsri, Wittayakorn Chiangkul, Surachai Janthimathorn, Nikom Raiwa, Jaran Dittha-apichai and Seksan Prasertkul “all have been influenced by this western trend and hippie philosophy.” In Thai, hippie is given an aesthetic definition as “buppa chon” or “the flower people”. University students and teenagers readily embraced the idea of “flower people” through their dress in jeans, wrinkled shirts and sandals, and carried cloth satchels. They were fascinated by new ideas of freedom and social revolution.
SOCIETY, WAR, QUEST, ECONOMY AND GLOBAL CRISIS – how do these interconnect with the hippies? We may look at this as a big picture of relationships in all dimensions. That is, a person going through life must face the ups and downs of the economy and politics at the national as well as global level. Commercialism emerged for the first time during the period between the 14th and 15th centuries with Europe at the center of a communication revolution, trade and cultural expansion, and colonization with one of the effects being a fierce confrontation between the “proletariat” and the “capitalist”. After the Second World War, socialism and capitalism both managed to find a compromise within their respective social order that provided income and social welfare to their citizens, thus alleviating internal class conflicts. Although during the period between 1960s to1970s human have seen a great leap in advancement of technology and science, young Americans began to express their dissatisfaction with the dominant way of life propagated by the middle and higher classes. They began to recognize that their thought and action had become slave to excessive materialism, which took them away from nature, losing themselves in unnatural decadence. As they became alienated from their parents’ norms and values that stressed the importance of money, social standing and hard work, they joined with other disillusioned middle-income and disenfranchised lowerincome people in a movement that took them away from the mainstream society and all institutions and values associated with it – the state, the media, money and education. They rejected the prevalent social order, power and violence and sought new way of life that was simpler, more gentle and closer to nature. Believing in peace, freedom, and happiness, the hippies gathered around parks and streets living as close to the natural state as they could. They wore old clothes, took drugs, sang and danced, refused to accumulate wealth by doing little work or begging to sustain themselves day by day under the notion that man did not need a great “civilization” and a whole lot of rules; all he needed were freedom, liberty and happiness. They were called “hippies” from the word “hipster”, which means people who behave differently from those in the mainstream society.
ข้ามฟ้า Across the Sky
GL27-VA.indd 65
3/2/10 4:50 PM
66
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
มาในช่วงที่อเมริกาท�ำสงครามเวียดนาม ความรุนแรงครั้งนี้ได้ ผลักดันให้ชาวฮิปปี้ ซึ่งแสวงหาสันติภาพและเสรีภาพ เริ่มขบวนการ ต่อต้านสงคราม จนเกิดค�ำขวัญ “Make Love, Not War” ที่อยู่ยั้ง ยืนยงมาจวบจนปัจจุบัน แต่แรงต่อต้านของกลุ่มขบถฮิปปี้หาได้มีอ�ำนาจอย่างเพียงพอ เงามืดแห่งสงครามได้ขยายความแปลกแยกต่อสังคมทีม่ อี ตุ สาหกรรม และเทคโนโลยีเป็นแรงขับเคลื่อนมากยิ่งขึ้น จึงเกิดกระแส “ย้อนคืน สู่ธรรมชาติ” (Back-to-Nature Movement) ซึ่งมีประกายมาก่อน หน้านัน้ ยาวนาน ภาวะมลพิษจากอุตสาหกรรมผลักดันให้ผู้คนจ�ำนวนมากหัน ไปสู่วิถีความเป็นอยู่ที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติมากขึ้น มีการท�ำเกษตร อินทรีย์ และก่อเกิดของร้านอาหารสุขภาพ รวมถึงความสนใจใหม่ที่ มุ่งสู่พลังงานทางเลือกอย่างแพร่หลาย ในปีค.ศ. 1970 “วันคุ้มครองโลก” (Earth Day) ก�ำเนิดขึ้นใน อเมริกา โดยมีวฒ ุ สิ มาชิกเกย์ลอร์ด เนลสัน เป็นผูผ้ ลักดัน เพือ่ ให้การ มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและยั่งยืนเป็นวาระแห่งชาติ วันที่ 22 เมษายน วันคุ้มครองโลกที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกนัน้ คน อเมริกันกว่า 20 ล้านคนทั่วประเทศพร้อมใจกันออกมาเรียกร้องการ
ภาพจาก goddessofcake.wordpress.com
Photo from goddessofcake.wordpress.com
ปฏิรูปเรื่องสิ่งแวดล้อม หลังจากนัน้ กระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ก็แพร่กระจายไปทั่วโลก และวันคุ้มครองโลกก็กลายเป็นวันส�ำคัญ วันหนึง่ ของสหประชาชาติ บุปผาชนได้บานสะพรัง่ ตัง้ แต่ยคุ ซิกตี้ (คริสตทศวรรษ 1960) แต่พอ ย่างเข้ากลางทศวรรษที่ 70 ปลายยุคอุตสาหกรรม สงครามเวียดนาม สิ้นสุด สถานการณ์ภายในประเทศค่อยคลายความตึงเครียดลง การ ต่อสู้เรื่องสิทธิมนุษยชนอ่อนก�ำลัง รวมถึงการเกิดขึ้นไม่หยุดยั้งของ เทคโนโลยีสมัยใหม่ท�ำให้พลังของชนชั้นกรรมาชีพถดถอยลง อ�ำนาจ ของสื่อและบันเทิงฉุดกระชากเยาวชนแม้กระทั่งปัญญาชนออกจาก โลกของการต่อสู้ ดอกไม้ในช่วงทศวรรษ 60 ถึง 70 ค่อยๆ ปลิดกลีบ แห้งเฉา คอมมูนในอุดมคติสลายตัว ฮิปปี้ต่างแยกย้าย เหลือไว้เพียง เมล็ดพันธุ์ในหัวใจที่หอบหิ้วกระจัดกระจายหยั่งรากไปทั่วทุกแห่งหน จากอดี ต ของชนกลุ ่ ม หนึ่ง ที่ ก ล้ า ละทิ้ ง วั ฒ นธรรมเกิ ด สู ่ ก าร แสวงหา หลุดกรอบเสรีที่ถูกขีดกั้น และรุงรังได้ใจ ปัจจุบันวัฒนธรรม
GL27-VA.indd 66
ฮิปปี้ยังเปี่ยมพลังแทรกซึมเข้าไปมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมหลัก ทั้งต่อ วงการวรรณกรรม ศิลปะ ดนตรี แฟชั่น บันเทิง ขบวนการบุปผาชน เหล่านี้ยังสืบต่อมาในสังคมอเมริกันและสังคมทั่วโลก กลุ่มชนฮิปปี้ เปลี่ยนบทบาทไปเป็นกลุ่มชนนักอนุรักษ์ที่สร้างความตื่นตัวในเรื่อง นิเวศวิทยา ปัญหาสิ่งแวดล้อม สิทธิมนุษยชน และสร้างความสนใจ ต่อหลักปฏิบตั ทิ างจิตสายต่างๆ ทัง้ ยังสร้างสังคมทีม่ คี วามระแวดระวัง ต่อความซือ่ สัตย์สจุ ริตเจตนาดีรา้ ยของผูน้ �ำทางเศรษฐกิจและการเมือง …ทุกวันนีด้ อกไม้ที่ขบถยังได้รับการกล่าวขาน ในวันทีก่ ระแสโลกมุง่ สูก่ ารท�ำลาย จริงหรือทีท่ กุ เศษเสีย้ วในชีวติ ผู้คนมีความหมายยิ่งใหญ่ในทางประวัติศาสตร์ และจะสามารถสร้าง ความหมายได้ในอนาคต ดร.เทียนชัย วงศ์ชัยสุวรรณ ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิถีทรรศน์ เจ้าของนามปากกา “ยุค ศรีอาริยะ” หนึง่ ในผู้หยิบยกแนวคิดเรื่อง โลกาภิวัฒน์ และทฤษฎีระบบโลกเข้าสู่สังคมไทยตั้งแต่ปี 2537 มีค�ำ อธิบายที่เปี่ยมไปด้วยความหวังว่า ในโลกปัจจุบันมีสายธารใหญ่สอง สายที่ก�ำลังเคลื่อนตัวแบบสวนกระแสกันอย่างรุนแรง สายธารยิ่งใหญ่สายหนึง่ เราเรียกว่า โลกาภิวัฒน์จากเบื้องบน มีพลังครอบโลกด้วยการปล้นชิง-ท�ำลายล้างทรัพยากร และปล้นชิง
ความมัง่ คัง่ จากประชาชนทัว่ โลกในอัตราเร่ง เป็นสายธารแห่งสงคราม และจะน�ำโลกไปสู่ความตาย อีกสายธารหนึง่ คือ พลังประชาชนที่ต่อต้านกระแสโลกาภิวัฒน์ และการท�ำลายสิง่ แวดล้อม ซึง่ เป็นพลังทีก่ ระจัดกระจาย มีขนาดเล็กๆ ก่อตัวขึ้นตามจุดต่างๆ ทั่วโลก ซึ่งเรียกว่า โลกาภิวัฒน์จากเบื้องล่าง สายธารสองสายนีก้ ำ� ลังก่อตัวขึน้ เผชิญหน้ากันในช่วงทีร่ ะบบโลก ทัง้ ระบบวิกฤตใหญ่ รุนแรง และไร้ทางออก ซึง่ จะผลักให้เกิดการปฏิวตั ิ ทางด้านภูมิปัญญาและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมโลกครั้งใหม่ เพราะ ทฤษฎีระบบโลกเชื่อว่า ในยามที่โลกวิกฤตใหญ่และรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ วิกฤตเหล่านี้ในที่สุดจะท�ำให้ศูนย์ของระบบเศรษฐกิจโลกพังทลาย ลง และในทางกลับกันการปฏิวัติทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมโลก ใหม่ รวมทัง้ การประสานพลังชุมชนเล็กๆ ทัว่ โลกเข้าด้วยกัน จะกลาย เป็นพลังที่ยิ่งใหญ่และน�ำมาซึ่งการสรรค์สร้างอารยธรรมโลกใหม่ได้ ภายใต้โลกที่ธรรมชาติและจิตวิญญาณผู้คนยังถูกกดขี่บีบคั้น อาจจะมีกล้าใหม่ที่ร่วมกันแตกกิ่งแตกใบออกดอกผลิบานได้เสมอ
3/2/10 4:50 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552 Hippies tried to embrace certain eastern philosophies element like that of Zen and Jiddu Krishnamurti’s way of thinking. They would live together almost like an extended family, growing their own food, sharing responsibilities, properties and belongings. Some of them even went out to work outside their communes and came back to share their incomes. The appeal for freedom and peace was very much ignited by America’s decision to go to war with Vietnam, leading to a mass anti-war movement and the famous phrase “Make Love, Not War” that is still being cited today. But their anti-war rallies had not stopped the sinister shadow of the war from expanding, further alienating them to the power of industrialization and technology, thus driving them to seek peace from nature. This coupled with the widespread threats of industrial pollution had convinced many to seek to live closer to nature and helped popularized the “Back to Nature Movement” that had long been practiced by a small number of followers until then. The movement had given birth to Earth Day in 1970 spearheaded by Senator Gaylord Nelson to push for better and sustainable environment as a national agenda. On April 22 of that year when the first Earth Day was cerebrated, 20 million Americans joined the nationwide event to demand environmental reform. Since then the environmental movement has spread across the earth and soon afterwards the United Nations made it one of the important days of observance. BY THE MID-1970S AS THE WORLD ENTERED THE POST-INDUSTRIALIZATION ERA and the Vietnam War came to an end, the social tension had lessened and the human rights movement lost much of its steam. The rapid development of new technology had weakened the bargaining power of the working class. The media and entertainment industry took away the will of the youth and intellectuals to fight on. The flowers that bloomed in the 60s and early 70s slowly wilted, the utopian communes disintegrated and the flower children scattered, taking with them seeds of a new world in their hearts to sow them once again in another place at another time. Although the Hippie Movement which had shown the world a culture that had no boundaries, the desire to live in peace, the people who were not afraid to change and break old traditions had stopped, its culture still exists strong and influential within our society in the form of literature, arts, music, fashion, and entertainment. Many hippies have transformed themselves into activists working for natural conservation, respect for human rights and interest in the spiritual, and contributed to a society that is more politically aware. Today the flowers continue to live on.
ภาพจาก farm3.static.flickr.com
September - December 2009
67
Photo from farm3.static.flickr.com
In this time of troubles when the world is inching toward destruction, are we the common people still players in shaping our history and building a better future? Thianchai Wongsuwan, a writer-intellectual known as “Yuk Sri-ariya”, was one of the first who talked about globalization and the theory of world system since 1984. He explains that the world today has two counter-forces. One is globalization that has dominated the world with its power to exploit and destroy natural resources and rob people of their wealth at an exponential rate. It is a force of wars, leading to Armageddon. Another force is the anti-globalization movement powered by people at the grassroots. The movement is small and scattered all over the world and may be regarded as globalization from bottom up. These two forces are about to face off. As the world is facing a series of major crises and coming to a dead end, it will lead to a revolution of human wisdom and creation of a new world culture. This is based on the theory of world system which states that as the crises become ever more critical, they would cause the collapse of the world economy while at the same time galvanize and unite all the small pockets of grassroots power to become a major power that will build a new civilization. In a world where nature and people’s spirit are constantly under oppression, there will come a time when the buds of new creativity will break out and bloom.
ข้ามฟ้า Across the Sky
GL27-VA.indd 67
3/2/10 4:50 PM
68
มหิงสาน้อย กันยายน - ธันวาคม 2552
LITTLE MAHINGSA
September - December 2009
จากวัชพืชน�้ำ...สู่วิถี แห่งการเพิ่มมูลค่า อภิชาติ ใจอารีย์ พี่เลี้ยงโครงการมหิงสาสายสืบ ชมรม อาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม, โรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน ชมรมอาสาสมั ค รพิ ทั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม โรงเรี ย นสาธิ ต แห่ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน จังหวัด นครปฐม เกิดจากการรวมตัวของเด็กๆ ที่มีใจรักและเห็นความ ส�ำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยน� ำเอา กระบวนการของโครงการมหิงสาสายสืบ 4 ขั้นตอน มาเป็น แนวทางในการเข้าไปสัมผัสและศึกษาสภาพแวดล้อม เริ่มต้นด้วยการออกค้นหาพื้นที่ทางธรรมชาติในเขตอ�ำเภอ ก�ำแพงแสนที่อยู่โดยรอบโรงเรียนไม่เกิน 3 กิโลเมตร เมื่อเด็กๆ ได้เข้าไปส�ำรวจพื้นที่ คลองท่าสาร-บางปลา บริเวณวัดก�ำแพง แสน ต�ำบลรางพิกุล และบริเวณวัดสว่างชาติประชาราษฎร์บำ� รุง ต�ำบลก�ำแพงแสน ก็ได้รับความเมตตาเป็นอย่างดีจาก องค์การ บริหารส่วนต�ำบลทั้งสองแห่ง โดยท่านนายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลรางพิกุลได้อ�ำนวยความสะดวกในการลงพื้นที่ชุมชน ส่วน
GL27-VA.indd 68
เจ้าอาวาสวัดและคุณตาแล่ม สามงามไพร (อายุ 94 ปี ปัจจุบัน เสียชีวติ แล้ว) เป็นผูใ้ ห้ขอ้ มูลเชิงประวัตศิ าสตร์ ท�ำให้เด็กๆ ได้เข้าใจ และเห็นถึงความส�ำคัญของคลองท่าสารต่อวิถชี วี ติ ของชุมชนยิง่ ขึน้ คลองท่าสาร-บางปลา คาดว่ามีมาตั้งแต่สมัยทวารวดี เป็น ล�ำคลองธรรมชาติที่เชื่อมระหว่าง 2 แม่น�้ำใหญ่ของประเทศ คือ แม่น�้ำแม่กลองและแม่น�้ำท่าจีน ชาวบ้านจึงใช้ล�ำคลองเป็นเส้น ทางสัญจรทางน�้ำ เป็นเส้นทางในการรบในอดีต และเป็นแหล่ง น�้ำส�ำหรับการด�ำเนินชีวิตของชาวชุมชนทั้งอุปโภค-บริโภคและ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก การลงพื้นที่ส�ำรวจและตรวจสอบคุณภาพของน�้ำอย่างต่อ เนื่องในช่วงเวลาประมาณ 2 เดือน ท�ำให้พวกเราพบว่า คลองท่า สาร-บางปลา จัดเป็นแหล่งน�ำ้ ผิวดินประเภทที่ 3 คือ เป็นแหล่ง น�้ำที่ได้รับน�้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และใช้เพื่อการอุปโภค
3/2/10 4:50 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
69
Add Values to Floating Weeds Aphichart Jai-ari, Advisor to the
Mahingsa Detectives Project of the Environmental Protection Volunteers Club at the Demonstration School of Kasetsart University’s Kamphaeng Saen Campus
A group of environmentally aware students at the Demonstration School of Kasetsart University’s Kamphaeng Saen Campus have got together to form the Environmental Protection Volunteers Club and adopted the four-step process of the Mahingsa Detectives Project. They started off by exploring a three-squarekilometer area around their school in Nakhon Pathom’s Kamphaeng Saen district. They received a helping hand from the local administration organizations when they conducted a survey of Ta San-Bang Phla canal along the Kamphaeng Saen temple in Tambon Rang Pigun to Sawangchart Pracharatbumrung temple in Tambon Kamphaeng Saen. The temple abbots and the late Lam Samngamprai (who recently passed away at the age of 94) provided historical background of how the canal has been intertwined with the communities. The canal, dated back to the Dvaravati period, connects two main rivers — the Mae Klong and Tha Chin. In the distant past, it served as a strategic route in battles but has since been used as a local travel route. Villagers also use its water for consumption and farming. After a two months’ survey and test of water quality, we classified the canal as Type 3 surface water source as it receives wastewater from a number of activities and its water requires treatment for consumption and agricultural activities. However, the canal is teeming with fish and aquatic animals, particularly around the piers at the two temples.
We found that the canal was clogged with floating weed, particularly morning glory and hyacinth, hampering traveling and degrading water quality. The club held a meeting to discuss ways to restore water quality and explore sustainable use of the water resource. Everyone chipped in with their opinions in a democratic manner. It was decided that they would collect the weed and turn it into something useful. Following the meeting, the little club members put their resolution into action. They collected hyacinths, chopped them up into pieces (about
มหิงสาน้อย Little Mahingsa
GL27-VA.indd 69
3/2/10 4:50 PM
70
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
บริโภคที่ต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรค และเพื่อกิจกรรมทางการเกษตร แต่คลองแห่งนีก้ ็ยังมีปลาและสัตว์ต่างๆ อาศัยอยู่อย่างมากมาย โดยเฉพาะปลาจอดและปลาตะเพียนหางแดง-หางขาวที่สามารถ พบเห็นได้มากมายมหาศาลที่ท่าน�้ำวัดก�ำแพงแสนและวัดสว่าง ชาติประชาราษฎร์บ�ำรุง เมื่อพบว่าล�ำน�ำแห่งนีก้ �ำลังประสบปัญหาเกี่ยวกับวัชพืชน�้ำ จ�ำพวกผักตบชวาและผักบุ้ง ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการสัญจรไปมา และจะมีปัญหาต่อคุณภาพน�ำ้ ได้หากปล่อยไว้ พวกเราจึงกลับมา ประชุมและเรียนรู้ร่วมกันกับพี่เลี้ยงโครงการ เพื่อหาแนวทางใน การอนุรกั ษ์ลำ� น�ำแห่งนีใ้ ห้สามารถคงคุณภาพและการใช้ประโยชน์ ได้อย่างยั่งยืน โดยการให้ความส�ำคัญกับทุกความคิดเห็น ใช้ กระบวนการกลุ่มในการท�ำงาน และใช้วิถีแห่งประชาธิปไตยในการ หาข้อสรุป จนได้แนวทางการอนุรกั ษ์ล�ำน�ำ้ แห่งนีโ้ ดยการน�ำเอาสิง่ ที่เราเห็นว่าไม่มีประโยชน์มาสร้างมูลค่า เด็กๆ จึงท�ำการเก็บผักตบชวาในล�ำน�ำ้ มาท�ำน�้ำหมักชีวภาพ โดยน�ำผักตบชวามาสับให้มีขนาดเล็กลง (ยาวประมาณ 1 นิ้ว) น�ำ มาผสมคลุกเคล้ากับกากน�ำ้ ตาลในอัตราส่วน 3 : 1 แล้วจึงเอาหัว เชื้อจุลินทรีย์ผสมน�ำ้ ราดลงไปให้ชุ่ม หมักไว้ในถังพลาสติกปิดฝา สนิทนานประมาณ 1 – 1.5 เดือน แล้วจึงกรองแยกเอาน�ำ้ หมัก ชีวภาพออกมาส�ำหรับน�ำไปเติมลงแหล่งน�ำ้ เพื่อการบ�ำบัดน�้ำ เมื่อน�้ำหมักของเด็กๆ ได้ที่แล้ว พวกเราได้ขออนุญาตเจ้า อาวาสวัดก�ำแพงแสนและขอความร่วมมือจากชาวบ้านทีม่ าท�ำบุญที่ วัด เพือ่ น�ำน�ำ้ ปุย๋ ชีวภาพหรือน�ำ้ จุลนิ ทรียช์ วี ภาพไปเทลงล�ำน�ำ้ ผล ทีไ่ ด้รบั จากกิจกรรมอนุรกั ษ์ในครัง้ นีจ้ ะช่วยท�ำให้คณ ุ ภาพของน�ำ้ ใน คลองท่าสานดีขึ้น มีทัศนียภาพน่ามอง ช่วยลดปริมาณวัชพืชน�ำ้ เพิ่มมูลค่าให้แก่ผักตบชวาที่ใครๆ ต่างมองว่าเป็นตัวร้ายท�ำลาย แหล่งน�้ำไปได้ รวมทั้งยังสร้างความตระหนักและจิตส�ำนึกอันดี งามต่อแหล่งน�้ำ และการใช้ประโยชน์จากเศษเหลือใช้จากไร่นา และบ้านเรือนแก่ชาวชุมชนได้ด้วย เมื่อท�ำมาถึงขั้นตอนนี้แล้ว เด็กๆ ยังด�ำเนินงานกันต่อ โดย ขยายผลการปฏิบัติงานสู่เพื่อนๆ และผู้ใหญ่ใจดีทั้งหลาย โดยได้
รับโอกาสจากทางโรงเรียนให้บอกเล่าประสบการณ์ในการลงพืน้ ที่ อุปสรรคทีส่ ามารถฝ่าฟันมาได้ดว้ ยพืน้ ฐานของการเข้าใจซึง่ กันและ กัน และองค์ความรู้ที่งอกเงยมาจากการงลงมือท�ำงานด้วยตนเอง อย่างแท้จริงให้แก่คณาจารย์และเพื่อนนักเรียน โดยการออกไป พูดหน้าเสาธง มีการสัมภาษณ์เสียงตามสาย การจัดป้ายนิเทศ/ นิทรรศการ ซึ่งได้รับค�ำชมเชยและสร้างความสนใจอย่างมากจาก เพือ่ นนักเรียนและคณาจารย์ ซึง่ ผูใ้ หญ่ใจดีของทางโรงเรียนทีเ่ ห็น ความส�ำคัญกับการท�ำงานลักษณะนี้ยังให้ชมรมของเราเป็นแก่น แกน (ตัวจริงเสียงจริง) ในการท�ำงานด้านการจัดการสิง่ แวดล้อมใน โรงเรียน จนมีส่วนผลักดันให้เกิดโครงการธนาคารขยะในโรงเรียน ขึ้นมาได้ ในปีการศึกษา 2552 การท�ำกิจกรรมเหล่านี้ได้สร้างความภาคภูมิให้แก่เด็กๆ ที่ ได้เป็นส่วนหนึง่ ในการเป็นผู้ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการด�ำเนินการบนเส้นทางมหิงสาสายสืบยังต่อยอดและขยาย งานของชมรมฯ สู่การด�ำเนินงานในลักษณะอื่นๆ ด้วย ทั้งนีก้ ็เพื่อ จุดมุ่งหมายเดียวกันคือ การเก็บรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมให้สามารถคงอยู่ตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1” long), mixed them with molasses at the ratio of 3:1, soaked them with leavening agent and left them to ferment in a closed plastic bucket for over a month. Afterwards, the solid substances were filtered out leaving what had become “bio-organic liquid” that could be used to treat wastewater in waterways. The club members obtained permission from the abbot of Kamphaeng Saen temple to set up an operation there and asked temple goers to help them release the liquid into the canal. We believe that our activity would help improve the quality of the canal water and enhance the area scenery with decreased hyacinths in the water. More importantly, we added value to a weed that was deemed useless and contributed to the locals’ increased awareness of the importance of good environment and the usefulness of waste.
This is not the end of the story. The children later shared their experience to friends and other adults at school. They told them about the obstacles they had faced, how they tackled them, and how they gained new knowledge. They also organized an exhibition of their work which was received with interest and praise. Their club was later designated to lead the school’s environmental management program, later resulting in the setting up of a garbage bank project during the 2009 school year. The students have been proud that their activities helped protect the environment and conserve nature. They have also expanded their Mahingsa Detectives Project to cover other range of activities with an aim to conserve natural resources and the environment to achieve sustainable development.
GL27-VA.indd 70
3/2/10 4:50 PM
กิจกรรมกรม
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
71
ACTIVITIES OF THE DEPARTMENT
เศรษฐกิจเขียว เศรษฐกิจเรา
Green Economy, Our Economy
ปาฐกถา เรื่อง “Green Economy” โดย นายสุวิทย์ คุณกิติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2552 ณ โรงแรมโนโวเทล โลตัส กรุงเทพ ภาวะโลกร้อนเป็นเรื่องที่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกให้ความ ส�ำคัญและให้ความสนใจต่อปัญหานี้เป็นอย่างยิ่ง แต่ผล
กระทบของสภาพ ภูมอิ ากาศทีเ่ ป็นวิกฤตของโลกในปัจจุบนั เป็นวิกฤต ซ�ำ้ ซ้อน ซึง่ ส่งผล กระทบต่อวิกฤติเศรษฐกิจของโลก ขณะทีท่ กุ คนหัน มาสนใจทางด้านเศรษฐกิจมากกว่าปัญหารอบตัว ท�ำให้การป้องกันและ แก้ไขปัญหาโลกร้อนหยุดชะงักไป หรือว่าไม่ได้รบั ความสนใจเท่าทีค่ วร ดังนัน้ องค์การสิง่ แวดล้อมสหประชาชาติ หรือ UNDP ได้พยายามหา แนวทางแก้ไขปัญหาเรื่องวิกฤติเศรษฐกิจ โดยการใช้แผนการกระตุ้น เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ทั่วโลก แต่เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ ที่จะมองข้ามปัญหาหรือการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน หรือสภาพ สิง่ แวดล้อม ธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติทมี่ นั เสือ่ มโทรมลงไปไม่ได้ ดังนัน้ กระบวนการในการแก้ไขปัญหานี้ จึงมีความส�ำคัญอย่าง ยิ่งที่จะต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยการน�ำแผนการกระตุ้น เศรษฐกิจเข้ามามีบทบาทสร้างการมีสว่ นร่วมในการแก้ไขปัญหาวิกฤติ ด้านสิ่งแวดล้อม หัวใจส�ำคัญของการแก้ไขปัญหาวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม คือ การ แก้ไขปัญหาความยากจน จะท�ำอย่างไรที่จะสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ลดรายจ่าย และท�ำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่ว่าจะอยู่
GL27-VA.indd 71
Keynote speech titled “Green Economy” delivered by Natural Resources and Environment Minister Suwit Khunkitti on August 6, 2009, at Novotel Lotus Hotel, Bangkok.
G
lobal warming has received increasing attention around the world. Its effects have become a perennial global crisis which has contributed to the global economic crisis. But the public spotlight has only been turned to the economic crisis, putting the hotter earth on the sidelines. The United Nations Development Programme (UNDP) has recently come forwards and pointed out that while economic stimulus plans are needed to jump start the ailing economy around the world, we cannot neglect the global warming crisis and the degrading natural resources. Consequently, the process of solving the on-going crises must be sustained by ensuring that the economic stimulus plans play a role in promoting public participation in addressing the environmental crisis. The key to solve the environmental woes is poverty eradication. How do we go about creating jobs, increasing income, reducing expenses and promoting better quality of life for all? If people have better living, the environment will improve. But many mechanisms are needed to do the job. The government’s economic stim-
3/2/10 4:50 PM
72
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ที่ไหนก็ตาม ถ้าประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ก็หมายถึงคุณภาพ สิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นนัน่ เอง แต่กระบวนการในการแก้ไขปัญหานีต้ ้อง อาศัยหลายกลไก กลไกหนึง่ เป็นเรื่องของการกระตุ้นเศรษฐกิจจาก ภาครัฐ วันนี้เราคงมองเห็นได้ง่ายๆ คือโครงการเรื่องระบบขนส่ง มวลชน ซึ่งจะลดการใช้พลังงาน โครงการการกระจายน�้ำออกไปให้ พี่น้องประชาชน การบริหารจัดการน�้ำอย่างบูรณาการ การมีส่วนร่วม ของประชาชนจะเป็นอีกโครงการหนึง่ ในการแก้ไขปัญหาและส่งผล กระทบถึงการกระตุน้ เศรษฐกิจได้ แต่สว่ นส�ำคัญทีเ่ ราจะต้องพูดจากัน หลายประเด็น คือการลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม และการน�ำ กติกาในเรือ่ งกรีนนิวดิล (ความริเริม่ ใหม่ดา้ นสิง่ แวดล้อม) ซึง่ ป็นเรือ่ ง ของโกลเบิลกรีนดิล (ความริเริ่มใหม่ด้านสิ่งแวดล้อมในระดับโลก) ที่ ยูเนพ (UNEP – United Nations Environment Programme) น�ำเสนอมาใช้ประโยชน์ได้ ผมคิดว่าทุกคนให้ความส�ำคัญให้ความ สนใจเรื่องนีก้ ันทั่วโลก ประการแรก ภาคเอกชน และภาคประชาชน จะเป็นกลไก ส�ำคัญในเรื่องของการแก้ปัญหานีด้ ้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ผมใช้ ค�ำว่าการมีส่วนร่วมของทุกคนทุกฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัจเจก กับบุคคล คือตัวเราทุกคน แม้กระทั่งตัวผมเอง ตัวท่านเอง จะต้อง เริ่มปรับพฤติกรรมการบริโภคของท่านเพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการรณรงค์ 45 วันร่วมพลังลดถุงพลาสติกลดภาวะโลกร้อน เป็น อะไรที่ทุกคนท�ำได้ทุกที่ทุกเวลา ซึ่งกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมกับภาคีอีก 10 กว่าองค์กร ทั้งภาครัฐภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมกัน นัน่ เป็นส่วนหนึง่ เท่านัน้ ที่ เราอยากจะกระตุ้นให้เห็นว่าทุกคนสามารถท�ำได้ ในขณะนี้สิ่งที่ท่าน ท�ำได้อกี หลายอย่าง คือการลดใช้พลังงานในบ้านและในสถานทีท่ ำ� งาน ที่ส�ำคัญก็คือโครงการใหญ่ๆ ของรัฐ ที่รัฐจะต้องด�ำเนินการลด ภาษีในการท�ำกิจกรรมหรือโครงการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผม ยกตัวอย่างง่ายๆ อย่างภาคเอกชน สมัยผมเป็นรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงอุตสาหกรรม เราเคยบอกว่าท�ำไมถึงไม่เอาคลีนเทคโนโลยี (เทคโนโลยีสะอาด) เข้ามาใช้ ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจเราต้องหยุด การผลิต ลดก�ำลังการผลิตลง เพราะฉะนัน้ เราสามารถที่จะปรับปรุง กระบวนการการผลิตได้โดยการน�ำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของเรา อาจจะเป็นการลงทุนแต่เป็นการ ลงทุนที่คุ้มค่า ผมคุยกับประเทศต่างๆ หลายประเทศที่เขาสนใจ เขา จะมีเงินทุนมาช่วยเหลือในการศึกษาว่าธุรกิจของท่านสามารถจะลด ค่าใช้จา่ ย ถ้าหากมีการปรับเปลีย่ นปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต อาจ จะปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักร มีการน�ำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ ท่านอาจจะ ลงทุนเท่านี้แต่ว่าผลที่จะได้รับจากการลงทุนในการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก เรื่องของน�้ำเสีย น�ำเอาน�้ำเสียกลับมาใช้ใหม่โดยผ่าน กระบวนการรีไซเคิล รียูส ก็ทำ� ให้ท่านสามารถลดค่าใช้จ่าย ลดการ ใช้พลังงานลง ลดการสูญเสีย ลดเศษวัสดุที่สูญเสียไปจากวัตถุดิบ ที่ท่านน�ำมาผลิตสิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นการลดต้นทุนการผลิตของท่าน ทั้งสิ้น เป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของท่าน และท่าน จะกลายเป็นกรีนโปรดักส์ เป็นสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่ง สามารถส่งไปขายได้ ต่อไปในอนาคตท่านสามารถไปเคลมเรื่องของ คาร์บอนเครดิตได้
GL27-VA.indd 72
เรื่องของการกีดกันทางการค้าเป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วง เพราะใน ขณะนีท้ างสหรัฐอเมริกา ทาง EU ก�ำลังออกกฎหมาย ถ้าสินค้าที่มี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่จะส่งไปขายยังประเทศของเขา สินค้าที่ มีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก เขาจะคิดค�ำนวณออกมาแล้วเขา จะบวกเป็นภาษีในราคาสินค้า เขาไม่ได้คิดภาษีแบบแฟลตเรท (ภาษี อัตราคงที่) แล้ว ต่อไปในอนาคตกระบวนการตรงนี้เป็นเรื่องน่าเป็น ห่วง และเราเองก็ไม่ให้ความส�ำคัญ ไม่ได้ให้ความสนใจในการติดตาม ในเรื่องนี้ แต่ทางกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เราสนใจ และติดตามเรื่องนี้ มันจะมีผลกระทบต่อพวกเราอย่างไร และจะ ป้องกันแก้ไขมาตรการเหล่านีไ้ ด้อย่างไร ตรงนีจ้ ะเป็นส่วนส�ำคัญ และ เป็นเรื่องที่ภาคเอกชนสามารถที่จะด�ำเนินการได้ ตอนนีท้ างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติสงิ่ แวดล้อมก�ำลังท�ำเรือ่ ง Green Tax (ภาษีสงิ่ แวดล้อม) พอพูดเรือ่ งภาษีสเี ขียว ทุกคนจะบอก ว่า จะขึน้ ภาษีอกี แล้วหรือ เปล่าเลยครับ เราก�ำลังจะลดภาษีให้กบั ท่าน ถ้าท่านสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพหรือน�ำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้า มาใช้เพื่อที่จะลดเรื่องผลกระทบสิ่งแวดล้อม และผลิตผลิตภัณฑ์ที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมออกมา เราจะหามาตรการทางด้านภาษีมา ช่วย ในเรื่องของการลดภาษี ลดค่าใช้จ่ายให้กับท่าน อย่างกรณีเรื่อง ถุงพลาสติก เราเห็นว่าการรณรงค์ที่ผ่านมามันมีผล เราอยากจะให้มี การเปลี่ยนจากการใช้ถุงพลาสติกซึ่งผลิตจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ไปใช้วตั ถุดบิ ทางด้านชีวภาพมากขึน้ พลาสติกชีวภาพซึง่ สามารถผลิต ได้จากมันส�ำปะหลังหรือผลิตได้จากอ้อยน�้ำตาล วัตถุดบิ เหล่านีอ้ าจจะ มีต้นทุนสูงกว่าการผลิตจากวัตถุดิบที่ได้จากปิโตรเคมี เราก็จะช่วยใน เรื่องการลดค่าใช้จ่าย อย่างเช่น ห้างสรรพสินค้าถ้าจะเปลี่ยนไปใช้ถุง พลาสติกชีวภาพในการให้บริการกับลูกค้า แต่เนือ่ งจากต้นทุนสูงกว่าถุง พลาสติกทัว่ ไป เราจะดูวา่ ค่าใช้จา่ ยตรงนี้ ท่านสามารถน�ำไปหักจากค่า ใช้จ่ายปกติของท่านได้ อาจจะหักได้ 1 เท่าครึ่ง หรือ 2 เท่า เพื่อให้ มันคุม้ ค่ากับการทีท่ า่ นจะน�ำเอาพลาสติกชีวภาพมาใช้ โรงงานผลิตถุง พลาสติกชีวภาพก็ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน ได้รบั การลดภาษี ได้รบั การยกเว้นภาษี แล้วเพียงพอหรือไม่อย่างไร ตรงนัน้ เป็นกระบวนการ ขั้นตอนที่เราจะต้องเข้าไปดูในภาพรวมทั้งหมด นี้เป็นตัวอย่างหนึง่ ที่ อยากจะยกให้เห็น รวมทั้ ง ในเรื่ อ งของพลั ง งานสี เขี ย ว แก๊ ส โซฮอล์ เราผลิ ต อัลกอฮอลได้เอง ภายในประเทศเราเป็นบ่อน�้ ำมันอยู่ทั่วไปหมด ที่ไหนปลูกมันส�ำปะหลัง ที่ไหนปลูกอ้อย ตรงนัน้ คือบ่อน�้ำมันของ ประเทศไทย และเป็นบ่อน�้ำมันที่ไม่รู้จักหมดไป เป็นบ่อน�้ำมันที่มัน อยู่บนดิน ซึ่งเราสามารถท�ำได้ ตรงนี้มันจะช่วยเหลือพี่น้องประชาชน โดยเฉพาะเกษตรกรและภาคอุตสาหกรรมของไทย และลดเรื่องของ การน�ำเข้าน�้ำมันดิบจากนอกประเทศ ท�ำให้เราลดความเสี่ยงในเรื่อง ของอัตราแลกเปลี่ยนผลกระทบจากด้านเศรษฐกิจของต่างประเทศ ได้ ตรงนี้ผมคิดว่าเป็นหัวใจส�ำคัญ ตอนนี้เรายังมีปัญหาในเรื่องของ ภาษี ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร ภาษีต่างๆ ที่มันเกี่ยวข้องกับ กระบวนการในการที่จะส่งเสริมให้เกิดการใช้พลังงานสีเขียว ซึ่งเรา สามารถผลิตได้เองภายในประเทศ ฉะนัน้ กระบวนการตรงนี้ผมถามว่าถ้าเราลดภาษีไป มันอาจจะ
3/2/10 4:50 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
การสัมมนา เรื่อง “Green Change: เส้นทางสู่เศรษฐกิจเขียว”
September - December 2009
73
Seminar on “Green Change: A Path towards Green Economy” on August 6, 2009.
ulus package is one of them. A concrete example is the mass transit system project which will help reduce energy use, and a holistic water management system with public participation is another project that will help tackle the environmental problem and stimulate the economy. Many issues are still on discussion table – how to reduce environmental impacts and how to incorporate UNDP’s proposed Global Green New Deal into our own Green New Deal. First and foremost, the private and the civil society sectors will be a main mechanism in solving the problem through public participation. By public participation I mean everyone of us – you and me. We must start by changing our consumption habits to ease constraints on the environment. The 45-day Say No to Plastic Bags campaign initiated by the Department of Environmental Quality Promotion, the Natural Resources and Environment Ministry and a dozen more allies from the public and private sectors is something we can all do. It’s part of our efforts to show what a single person can do while you can do more such as reducing energy use at home and at work. The government has a big task lie ahead. We have to offer tax incentives to eco-friendly activities and projects. When I was the industry minister, I told the private sector to adopt clean technology. The economy had hit the bottom and production capacity was reduced. The time was right to bring in new and green technology to improve our production efficiency. It was a worthwhile investment. Many countries expressed willingness to provide funding to help study the benefits of green technology and new machinery in cutting emissions and recycling or reusing waste water. Less energy consumption and raw materials will bring down the cost of production
and enhance competitiveness as a result. What’s more, green products can in the future claim carbon credits. Trade protectionism is worrying because the US and the EU are drafting a law to levy taxes on carbon polluting products imported into their countries and it will not be a flat rate (but depends on the amount of CO2 emitted during production). The natural resources and environment ministry has been monitoring the situation to see what kind of impact it will have on Thailand and how we should react.. This is where the private sector can jump on board. Our ministry is now working on a Green Tax. This is not about tax hike, but a tax cut for businesses to upgrade technology or apply new technology to reduce environmental impacts and produce green products. It will help reduce costs for businesses. Take plastic bag as an example. We want to see the shift from plastic bags made from petrochemicals to bio-plastic bags which can be produced from tapioca or sugarcane. It will be more expensive to produce but we will help defray the added costs. For example, if department stores use bio-plastic bags, we’ll see if they can deduct 1.5 or two times the actual cost as expenses. Bio-plastic bag producers will get investment promotion privileges and tax cuts. We’ll have to work out an appropriate scheme, taking in the whole picture. Green energy also has our attention. Thailand can produce alcohol for gasohol production. In fact, we have oil fields everywhere. Tapioca and sugarcane plantations are our oil fields on earth. Such alternative energy will help the public, particularly farmers and the industrial sector. Less reliance on crude oil import will minimize exchange rate risks and risks associated with foreign economies. This is the key. The government is strug-
กิจกรรมกรม Activities of the Department
GL27-VA.indd 73
3/2/10 4:50 PM
74
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
มีผลกระทบในเรื่องของรายได้ภาษี แต่มันเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ เป็นการกระจายรายได้ ลดการน�ำเข้า ช่วยเหลือพี่น้องระดับรากหญ้า ขึ้นมาจนถึงระดับบนสุด การหมุนเวียนของเงินจากการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างภาษี จะท�ำให้รัฐบาลได้รับภาษีมากขึ้นจากกระบวนการใน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวด้วยซ�้ำไป ฉะนัน้ เมื่อเปรียบเทียบกับภาษี ที่จะได้มากขึ้น กับสิ่งที่เราจะต้องลดไป ความได้เปรียบตรงนี้มีเยอะ กว่า เราคงต้องมองตรงนี้ หลายคนเริ่มมองว่าธนาคารต้นไม้ การปลูกต้นไม้ เป็นการลด ภาวะโลกร้อน ถูกต้องครับ เป็นการลดภาวะโลกร้อน และสามารถที่ คิดเป็นคาร์บอนเครดิตได้ผ่านกระบวนการ CDM (กลไกการพัฒนา ที่สะอาด) ผมเรียนว่ามันมีเงื่อนไขกติกาเยอะมาก และบางอย่าง ท�ำได้ บางอย่างท�ำไม่ได้ ฉะนัน้ ตรงนี้เราคงต้องมอง และต้องเข้าใจ ด้วยว่ากระบวนการในเรื่องของ CDM การได้มาซึ่งคาร์บอนเครดิต มันมีรายละเอียดค่อนข้างมากทีเดียว ท่านควรจะต้องศึกษาในเรื่อง ของรายละเอียด และหน่วยงานของรัฐ ผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องท�ำการ ประชาสัมพันธ์ในเรื่องนี้ให้มากขึ้นด้วย กระบวนการกลไกนีจ้ ะเป็น หัวใจส�ำคัญที่จะท�ำให้เกิดความเข้าใจตั้งแต่ระดับล่างจนถึงระดับบน
...การด�ำเนินการในเรื่องของ เศรษฐกิจสีเขียว หรือว่า เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อม ผมคิดว่าเป็นหัวใจส�ำคัญที่ทุก ประเทศให้ความส�ำคัญ แต่ว่ากลไกและ กระบวนการดังกล่าวต้องมีเรื่องของ นวัตกรรมใหม่ๆ เข้ามา มีการบูรณาการ กัน เพื่อน�ำไปสู่กระบวนการในการที่จะจัด ระบบแก้ไขระเบียบกฎหมายต่างๆ เพื่อที่ จะส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาใน เรื่องของ Green Economy อย่างแท้จริงในประเทศไทย... gling to work out the related taxes, including excise tax and custom duties, to promote locally-produced green energy. Some may question whether the proposed tax cut would reduce the tax revenue. But what will happen is it would stimulate the economy, reduce import, distribute income and help people from the grassroots to those in the higher-income brackets. Changes in the tax structure in this regard will bring in more tax money for the government. Many view Tree Banks and reforestation as helping to ease global warming. That’s correct and it can
GL27-VA.indd 74
และสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการดังกล่าวได้ และเอา ประโยชน์ในส่วนนี้ได้ด้วย การด�ำเนินการในเรื่องของเศรษฐกิจสีเขียว หรือว่าเศรษฐกิจที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผมคิดว่าเป็นหัวใจส�ำคัญที่ทุกประเทศให้ ความส�ำคัญ แต่ว่ากลไกและกระบวนการดังกล่าวต้องมีเรื่องของ นวัตกรรมใหม่ๆ เข้ามา มีการบูรณาการกัน เพื่อน�ำไปสู่กระบวนการ ในการที่จะจัดระบบแก้ไขระเบียบกฎหมายต่างๆ เพื่อที่จะส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาในเรื่องของ Green Economy อย่าง แท้จริงในประเทศไทย กระบวนการต่างๆ ที่จะท�ำให้เกิดการการพัฒนาเศรษฐกิจในเชิง นวัตกรรม เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กระบวนการในการ แก้ไขระเบียบกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อท�ำให้กระบวนการต่างๆ ด�ำเนินได้ดีและมีประสิทธิภาพ จะท�ำให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่น่า อยู่ มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะว่ามีคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ลูกหลาน เราเจริญเติบโตมาก็จะเป็นคนที่มีคุณภาพ จากคุณภาพชีวิตที่ดี จาก คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ...The process to bring about a green economy or environmentally-friendly economy is an important thing that every country has paid interest. But we need innovation and integration that will lead to a process of changing the legal and regulatory systems in order to promote the development of green economy in our country...
also earn carbon credits through the Clean Development Mechanism (CDM). But you have to understand that there are numerous conditions and criteria under this process. You should study it in detail and concerned public agencies need to carry out public information campaigns on this matter in order to create better understanding in the society and mobilize public participation. The process to bring about a green economy or environmentally-friendly economy is an important thing that every country has paid interest. But we need innovation and integration that will lead to a process of changing the legal and regulatory systems in order to promote the development of green economy in our country. If we can achieve all that with efficiency, it will make Thailand a better place to live. With sound environment and good quality of life, our children will grow up as quality citizens.
3/2/10 4:50 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
เรื่องจากผู้อ่าน FROM THE READERS
September - December 2009
75
มาบตาพุด ผู้โชคร้าย หม้ายสาวสีม่วง
Poor Map Ta Phut The Purple Widow
เมื่อชุมชนดั้งเดิมและอุตสาหกรรมต้องอยู่ร่วมกันในนิคมอุตสาหกรรมาบตาพุด Old communities co-exist uneasily with industrial plants in Map Ta Phut Industrial Estate.
GL27-VA.indd 75
3/2/10 4:50 PM
76
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
สองพี่น้องในโรงเรียนบ้านหนองแฟบพยายามอธิบายสาเหตุของแผลตุ่มพองบนร่างกาย ที่เธอไม่รู้ว่าเกิดจากมลพิษหรือว่าถูกยุงกัด Two sisters, students at Ban Nong Fab School, are hard-pressed to tell whether the infected blisters on their bodies are caused by pollution or mosquito bites .
การเดินทางไประยองคราวนี้ จิตใจไม่รนื่ รมย์เหมือนทีเ่ คยเป็น อาจเป็น เพราะจังหวะการเดินทางน�ำพาไปยังมุมทีไ่ ม่เคยคิดว่าจะมีความจ�ำเป็น ใดที่ท�ำให้ต้องแวะเวียนผ่านไป ‘นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด’ ที่ผ่านมารับรู้เพียงว่าเป็นเมือง หลวงแห่งอุตสาหกรรมหลากชนิด และมีเพื่อนหลายคนเข้าไปท�ำงาน เป็นช่างอุตสาหกรรมอยู่ที่นนั่ กว่า 10 ปี แม้จะวนเวียนเข้าๆ ออกๆ อยู่หลายโรงงานก็ตาม ค�ำบอกเล่าเกีย่ วกับการท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรมหนักขนาด ใหญ่โตนัน่ ล้วนมีความเสี่ยงทั้งในแง่ความปลอดภัย เสียง ฝุ่น และ กลิน่ จากสารเคมีตา่ งๆ ทีล่ ะเหยล่องลอยไปกับอากาศ หลายครัง้ ทีต่ อ้ ง เจอกับเหตุการณ์สารเคมีรวั่ ท�ำให้มอี าการหน้ามืด ตาลาย อาเจียน บาง คราวถึงขั้นต้องหามส่งโรงพยาบาล แต่คนท�ำงานอย่างพวกเขาก็ต้อง ท�ำใจยอมรับ ทุกคนต่างตระหนักดีว่าร่างกายได้เก็บรับสะสมสารเคมี เหล่านัน้ ไว้ภายใน มากหรือน้อยนัน้ ก็มิอาจมองเห็นหรือตรวจวัดผล อะไรได้ ร่างกายภายนอกแข็งแรงยังไม่ชี้ชัดถึงความเจ็บป่วย ท�ำให้ รู้สึกว่าชีวิตที่เสี่ยงมันก็คุ้มค่ากับรายได้ แม้ว่าลึกในใจก็เกรงกับผลที่ จะเกิดขึ้นต่อสุขภาพในระยะยาว ขณะที่หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องต่าง ออกมายอมรับและเปิดเผยข้อมูลว่า คนเทศบาลมาบตาพุดป่วยเป็น โรคทางเดินหายใจและโรคเกี่ยวกับผิวหนังเพิ่มขึ้น 3 เท่าเมื่อเทียบ กับพื้นที่ปกติ ประชากรผู้ใหญ่ร้อยละ 50 เซลล์มีการแบ่งตัวผิดปกติ หมายความว่าเสี่ยงต่อมะเร็ง เมื่อต้องไปยืนอยู่ท่ามกลางป่าอุตสาหกรรมในนิคมมาบตาพุด แต่ละโรงงานใหญ่โตราวกับภูเขา ความเงียบงันเกิดขึ้นในใจ บอกไม่ ได้อธิบายไม่ถูกว่าเป็นเช่นไร ปล่องไฟตั้งตระหง่านสูงสุดคอแหงน ท่อน�้ำขนาดใหญ่จนโอบไม่รอบ ถังคอนกรีตสร้างขึ้นใหญ่เกือบเท่า สนามฟุตบอล ฯลฯ แม้ว่าเพียงผ่านไปและอยู่ที่นนั่ ไม่กี่วัน แต่ก็ยัง มีโอกาสได้ยินเสียงดังลั่นจากการล้างท่อของโรงงานอุตสาหกรรมที่ ตั้งใกล้ๆ ชุมชนหนองแฟบ กลิ่นเหม็นที่ไม่ชวนให้เบิกบานใจลอยเข้า
GL27-VA.indd 76
จมูกวันละหลายๆ รอบ ผู้คนที่นี่ไม่ว่าครู นักเรียน ชาวบ้านและคน งานก็ต่างมีประสบการณ์หนีตายจากสารพิษที่รั่วออกมา แน่นอนว่า หลายเหตุการณ์ไม่เป็นข่าว กรมควบคุ ม มลพิ ษ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม ระบุว่า จังหวัดระยองถือเป็นเมืองอุตสาหกรรมใหม่ ของประเทศ มีแหล่งก�ำเนิดมลพิษอุตสาหกรรมอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมากกว่า 1,700 แห่ง พื้นที่นคิ มอุตสาหกรรมมาบตาพุดมีเนื้อที่กว่า 10,000 ไร่ เป็นพื้นที่ส�ำหรับอุตสาหกรรม7,000 ไร่ มีอุตสาหกรรมหลัก คือ กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เหล็ก เคมีภัณฑ์ ไฟฟ้า จากการเกิดนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดเป็นผลให้อตุ สาหกรรม ขั้นต่อเนื่องเกิดขึ้นตามมา เช่น นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวัน ออก (อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์) นิคมอุตสาหกรรม ผาแดง (อุตสาหกรรมผลิตเม็ดพลาสติก) นิคมอุตสาหกรรมเอเชีย (อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและซิลิโคน) นิคมอุตสาหกรรมอีสเทอร์น ซีบอร์ดและนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ และนิคมอุตสาหกรรม อาร์ ไอ แอล (อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์) นอกจากนี้ในพื้นที่อ�ำเภอ เมื องยัง มี โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่อ ยู่ภ ายนอกเขตนิคม อุตสาหกรรม เช่น โรงแยกก๊าซธรรมชาติ โรงไฟฟ้า และเขตประกอบ การอุตสาหกรรม ไอ อาร์ พี ซี (เดิมชื่อ บริษัท ทีพีไอ จ�ำกัด อยู่ใน อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง แต่อยูน่ อกพืน้ ทีต่ �ำบลมาบตาพุด) เป็นต้น เพียงเห็นข้อมูลเหล่านี้ ครั้นลองหลับตานึกไปว่าอุตสาหกรรม มากมายข้างต้นตั้งกระจายรายล้อมชุมชนหมู่บ้านของเรา บางชุมชน เรียกได้ว่ามีรั้วติดกันก็ดูจะไม่เกินไปนัก ไม่เพียงภูมิทัศน์จากไร่มัน ส�ำปะหลัง สวนผลไม้ ฯลฯ เปลี่ยนแปลงไป แม้แต่น�้ำฝนที่เคยกินวัน นี้ไม่มีใครหาญที่จะสัมผัสมัน ยามเมื่อฝนตกต้องหลบเข้าใต้ชายคา ทันที น�ำ้ ฝนจากฟ้ากลายเป็นกรดท�ำให้เกิดอาการคันและผิวหนังเปือ่ ย พืชการเกษตรมีใบเหลืองไหม้และให้ผลผลิตออกลูกหงิกงอ น�ำ้ ใต้ดนิ ที่เคยขุดบ่อดินไว้ใช้กลายเป็นน�้ำสนิม หากใช้น�้ำรดต้นไม้ไม่นานพวก มันก็จะค่อยๆ เฉาเหลืองและตายในที่สุด วันนีจ้ ึงไม่มีใครมั่นใจ ล้วนหวาดระแวงสารเคมีที่เจือปนเป็นภัย เงียบแฝงตัวกับอยูน่ ำ�้ ทีใ่ ช้อปุ โภคบริโภค อาหารทีก่ นิ อยูท่ กุ วีว่ นั อากาศ ทีส่ ดู ลมหายใจเข้าออกหรือแม้แต่ผนื แผ่นดินก่อเกิดสรรพชีวติ และนี่ อาจเป็นชีวติ ทีเ่ หลืออยูอ่ ย่างถาวรของคนมาบตาพุดและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง แม้ ว ่ า ศาลปกครองจั ง หวั ด ระยองมี ค� ำ สั่ ง ประกาศให้ พื้ นที่ นิค ม อุตสาหกรรมมาบตาพุดเป็นเขตควบคุมมลพิษ และต่อมาศาลปกครอง กลาง มีคำ� สัง่ ให้ระงับ 76 โครงการ เมือ่ วันที่ 29 กันยายน 2552 เพือ่ คุ้มครองชุมชน มาบตาพุดในด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ผู้บริหาร ประเทศและกลุ่มนักลงทุนต่างร้องเอะอะโวยวายว่า นัน่ เป็นค�ำสั่งที่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อบรรยากาศการลงทุนทางเศรษฐกิจและภาพ ลักษณ์ของประเทศต่อต่างชาติ แต่ทว่า...การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ไม่ใช่เรื่องของการ เลือกระหว่างความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจกับคุณภาพชีวิตที่เลวร้าย ของประชาชน ค�ำสั่งครั้งนีข้ องศาลปกครอง คือความก้าวหน้าของ ประชาธิปไตยในประเทศไทย และความรับผิดชอบต่อสังคม คือสิ่ง ที่ภาคอุตสาหกรรมต้องเลือกเดิน...
3/2/10 4:50 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
A RECENT TRIP TO RAYONG FAILED TO REFRESH MY SPIRIT probably because I had steered clear of this corner of the country in my past journeys. Map Ta Phut, in my perception then, was an industrial capital. Many of my friends spent well over a decade there hopping from factory to factory. I was told of the hazards that heavy manufacturing plants pose in terms of safety, noise, dust and air-borne chemical odors. Frequent chemical leaks caused dizziness and nausea that sometimes put them on stretchers to hospital. Most workers realize they have been exposed to dangerous chemicals, the level of which is invisible or immeasurable. Though their bodies remain strong, which somehow justifies their working there, deep inside they can’t help but fear for their health. Public agencies admitted that residents in Map Ta Phut municipality suffered from respiratory and skin diseases more than three times the normal level in the general population. Half of the adult population has been found to have abnormal cells growth and division, which means they are at risk of cancer. As I stood in this industrial jungle that is Map Ta Phut with plants rising as tall as mountains, silence filled my heart; it’s an indescribable feeling. Chimneys reached into the sky. Water pipes were so huge you could not put your arms around them. Concrete tanks were as big as a football field. During my brief stay, I heard loud banging noises of pipes being washed from plants located just a stone’s throw from Nong Fab community. Foul smells hit my nose several times a day. Everyone has their own stories of how they sprinted for their lives from chemical leaks. Many incidents apparently never made it on the news page. The Pollution Control Department under the Ministry of Natural Resources and Environment described Rayong as the country’s new industrial town. It has more than 1,700 pollution-generating sites. The Map Ta Phut industrial estate covers an area of over 10,000 rai with 7,000 rai taken over by industrial plants. Main industrial groups are petrochemical, metal, chemical product, and electricity. It has spawned more industrial estates and associated industries. They include Hemaraj Eastern Seaboard Industrial Estate (petrochemical and chemical industries), Padaeng Industrial Estate (plastic bead), Asia Industrial Estate (petrochemical and silicon), and RIL, Eastern Seaboard and Amata City Industrial Estates (chemical). Heavy manufacturing plants not in industrial estates also occupy part of Muang district, including a gas separation plant, a power plant and IRPC industrial zone (formerly known as TPI Co., Ltd.). Imagine industrial plants sharing the walls with communities and fruit orchards. Not only the scenery has been changed, even rainwater has become something to be avoided. When it rains, villagers ran for cover because they had seen how the acid water causes itchiness and skin infection to people, and burnt leaves and
September - December 2009
77
โรงงานอุตสาหกรรมหนักที่ก�ำลังยึดพื้นที่จังหวัดระยองให้เป็นเมืองแห่งมลพิษ Heavy industrial plants turn Rayong into a city of pollution.
misshaped fruits to crops. Underground water has rusty residues and become toxic to plants. These days, the locals are terrified of chemical contamination that has become a silent threat in the water they drink and use, the food they eat, the air they breathe or even the land which gives birth to living creatures. Fear has become a part of their lives. FOLLOWING THE RULINGS by the Rayong Administrative Court declaring the Map Ta Phut Industrial Estate a pollution control zone and by the Central Administrative Court ordering the suspension of 76 heavy industry projects to safeguard the environment and health of the Map Ta Phut community, both government and business leaders complained loudly that the investment climate and the country’s image had been ruined. Are the economic growth and wealth of a handful of business people worth more than the lives of hundreds of thousands of people who are facing a slow death from the ever more fouling of the environment?
เรื่องจากผู้อ่าน From the Readers
GL27-VA.indd 77
3/2/10 4:50 PM
78
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
ล้อมกรอบ VIEWFINDER
GL27-VA.indd 78
3/2/10 4:50 PM
กันยายน - ธันวาคม 2552
September - December 2009
79
เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาเป็นของจริง
ม.จ.สิทธิพร กฤดากร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ กล่าวค�ำข้างบนไว้เมื่อหลายสิบปีก่อน แม้เวลาจะผ่านพ้นมานาน แต่ค�ำ พูดนัน้ ก็ยงั คงความเป็นอมตะวาจาจนทุกวันนี้ เพราะมันสามารถน�ำมาอธิบายพัฒนาการของแนวคิดเรือ่ งทรัพยากรอาหาร ทีถ่ กู น�ำมาร้อยเรียงใหม่ อีกครั้งในแง่มุมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับโลก ในขณะที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจในระบบทุนนิยมเสรีแผ่กระจายครอบคลุมไปทั่วโลก การแก่งแย่งชิงดีเพื่อสร้างความร�่ำรวยให้แก่ตนเอง และประเทศของตนได้น�ำมาสู่วิกฤตนานาประการ ไม่ว่าจะเป็นความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศ คุณภาพชีวิตที่ตกต�่ำ ปัญหาอาชญากรรมมากมาย ความยากจนของประชากรส่วนใหญ่ในโลก ไปจนถึงวิกฤตเรื่องโลกร้อนที่สุมรุมเร้าทุกวันนี้ ขบวนการเคลื่อนไหวแนวคิดเรื่องทรัพยากรอาหารจึงพยายามเปิดมุมมองใหม่ให้สาธารณชนตระหนักว่า วัตถุนิยม บริโภคนิยม เงินนิยม การ เพิ่มตัวเลขทางเศรษฐกิจขึ้นไปได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ในขณะที่ทรัพยากรในโลกมีอยู่อย่างจ�ำกัด เป็นเพียง “เศรษฐกิจมายาคติ” เท่านัน้ หากประเทศไทยสามารถรักษาทรัพยากรดิน น�้ำและป่าไว้ได้ ยามใดทีเ่ ศรษฐกิจของโลกล่มสลาย คนไทยยังสามารถเชือ่ มัน่ ได้วา่ ความเสือ่ ม ของเศรษฐกิจและเงินอันเป็นมายานัน้ จะไม่สง่ ผลกระทบร้ายแรงต่อประเทศไทยทีย่ งั คงเป็นอูข่ า้ วอูน่ �้ำ สามารถผลิตข้าวปลาอาหารได้เหลือกินและ ยังเผื่อแผ่ความมั่งคงทางอาหารไปถึงชาวโลกอีกด้วย
Ngoen Thong Pen Khong Maya; Khao Pla Pen Khong Jing “Money is illusion; rice and fish are the real thing” – the famous wise words uttered by former Agricultural Minister Prince Sithiporn Kridakorn decades ago still hold true today. For it explains the evolution in the thinking regarding food security in the political, economic and social contexts at local, national and international levels. While free-market capitalism spreads across the world, competition to create wealth among individuals and countries alike has led to all kinds of crisis. The ecosystem and standard of living have deteriorated, followed by crimes and poverty among the majority of people in the world. Global warming has become an inconvenient truth. A movement has thus been formed to shed new light on food security to enlighten the public that materialism, consumerism, money centricity and attempts to drive up financial indices to the detriment of the world’s finite resources are mere “economic illusions.” If only Thailand can protect our land, water and forest resources in the face of collapsing world economy, Thai people can rest assured that the fate of economic and monetary illusions will not befall Thailand that will continue to stand tall as “the world’s kitchen and farmland”.
GL27-VA.indd 79
3/2/10 4:50 PM
เกือบ 50 ปีที่ผ่านมา พื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งรวมทรัพยากรธรรมชาติที่มี คุณค่ามหาศาลในทุกมิติของมนุษยชาติ 100 กว่าแห่งอยู่ภายใต้การ คุ้มครองดูแลโดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช แต่ทิศทางการพัฒนาและการใช้ประโยชน์อุทยานฯ เพื่อการท่องเที่ยว ในช่วงหลังท�ำให้คุณค่าทางธรรมชาติและองค์ความรู้จากธรรมชาติที่ สั่งสมมานับล้านปีถูกบดบัง หน้าที่ส�ำคัญของอุทยานฯ ในการรักษาสมดุลของระบบธรรมชาติ เสริมสร้างความมั่นคงให้ระบบน�้ำ ควบคุมสภาพภูมิอากาศ คุ้มครอง รักษาสายพันธุ์ธรรมชาติของพืชและสัตว์ รวมทั้งเป็นประโยชน์ ในการ ศึกษาหาความรู้ จะถูกชูขึ้นมาใหม่ได้หรือไม่ และอย่างไร อีกทั้ง แนวคิด “คอมเพลกส์ป่า” จะน�ำไปสู่การรักษาพื้นที่อันทรง คุณค่า สามารถสร้างความร่วมมือและการมีส่วนร่วมที่แท้จริงระหว่าง ชุมชน รัฐบาลท้องถิ่น และผู้ถือครองประโยชน์ ได้อย่างไร
ติดตามได้ ใน “อุทยานแห่งชาติ อาณาจักร์แห่ง องค์ความรู้” ฉบับหน้า For nearly five decades, more than 100 areas of natural resources that are invaluable to humanity have been under the care of the Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation. But the development and use of the national parks for tourism during the past several years has diminished their natural value and the knowledge derived from nature that has been accumulated for millennia. How then can the national parks re-assert their important missions in maintaining natural equilibrium, enhancing the hydrological system, stabilizing the climate, conserving genetic resources and serving as an unfathomable well of knowledge? And how does the concept of “forest complexes” lead to forest conservation, promotion of cooperation and participation among communities, local governments and other stakeholders?
GL27-VA.indd 80
Read about these issues and more in the next edition of Green Line.
3/2/10 4:50 PM