Clean

Page 1

การฝึ กอบรมโครงการเทคโนโลยีสะอาดในโรงเรียน ผศ. ดร. กนกศักดิ์ เอีย่ มโอภาส หัวหน้ าโครงการ ศูนย์ วจิ ยั และพัฒนาพลังงานและสิ่ งแวดล้ อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


โครงการส่งเสริมงานเทคโนโลยีสะอาดในโรงเรียน

โครงการศู นย์ วจ ิ ยั และพัฒนาพลังงานและสิ่ งแวดล้ อม

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


ความเป็ นมา  แผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการผลิตที่สะอาด  ยุทธศาสตร์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อม ให้ความสำาคัญกับผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตร กับสิ่งแวดล้อม  ภารกิจด้านการรณรงค์สง่ เสริม ของกรมส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อม.


วัตถุประสงค์   

ส่งเสริมศักยภาพบุคลากรแกนนำาด้าน CT ตรวจประเมินงาน CT ในโรงเรียน พัฒนาแนวทางการลดการใช้ทรัพยากรและลดการ ระบายมลพิษจากสถานศึกษาสูส่ ิ่งแวดล้อม พัฒนาเครือข่ายสถานศึกษาด้านเทคโนโลยีสะอาด


เครือข่ายโรงเรียนเทคโนโลยีสะอาด ปี ปี ปี ปี ปี ปี

2548 2549 2550 2551 2552 2553

49 โรงเรียน 53 โรงเรียน 69 โรงเรียน 72 โรงเรียน 65 โรงเรียน 63 โรงเรียน

โรงเรี ยนใน 3 จังหวัดภาคใต้


เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) หมายถึง การพัฒนา เปลี่ ยนแปลงปรับปรุงอย่างต่อเนื่ อง ของกระบวนการผลิต การบริโภค เกิดผลกระทบหรือความเสี่ ยงต่อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้อมน้อยที่สดุ ต้องมีความคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์ ด้วยการลดมลพิษที่แหล่งกำาเนิ ด การใช้ซาและการนำ ้าำ และการนำากลับมาใช้ใหม่ โดยการมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร


การจัดทำาโครงการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสะอาดในโรงเรียน  

วิธีการลดของเสียที่แหล่งกำาเนิด วิธีการใช้ทรัพยากร/วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัด วิธีการนำากลับมาใช้ใหม่


ประเภทของโครงการ • โครงการจัดการด้านขยะ • โครงการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ำ ย • โครงการจัดการน้าเสี • โครงการประหยัดการใช้นา้ ำ • โครงการจัดการของเสียอันตราย


ปั ญหาการจัดการขยะในประเทศไทย Municipal Solid Waste

ปริมาณขยะทั้งประเทศ

38,640 ตัน/วัน

กรุงเทพฯ

9,320 ตัน/วัน

1,130

ชนบท

เทศบาลเมือง/ตำาบล/อบต. 11,900 ตัน/วัน 17,420 ตัน/วัน






ชนิดของขยะ ระยะเวลาย่อยสลาย  เศษกระดาษ 2-5 เดือน  เปลือกส้ม 6 เดือน  ถ้วยกระดาษเคลือบ 5 ปี  ก้นกรองบุหรี่12 12 ปี  รองเท้าหนัง 25-40 ปี

 กระป๋องอะลูมีเนียม 80-100 ปี

 ถุงพลาสติก 450 ปี  โฟม ไม่ยอ่ ยสลายควรหลีกเลี่ยงการใช้


ขั้นตอนการดำาเนินงานการจัดการขยะ • สำารวจปริมาณ และองค์ประกอบขยะ • จัดระบบถังรองรับขยะ • ชี้แจงโครงการให้กบั บุคลากร • อบรมนักเรียน • รณรงค์สร้างจิตสำานัก • บันทึกข้อมูล และประเมินผล


การจัดมาตรการลดปริมาณขยะ • มาตรการการลดหรือเปลี่ยนการใช้วสั ดุ • มาตรการด้านการจัดระบบรองรับขยะ ที่เหมาะสมกับองค์ประกอบและปริมาณขยะ • มาตรการด้านระบบบัดบัด และใช้ประโยชน์จากขยะ






ACT’s total waste composition in August (percent by weight) ปริมาณขยะเดือนสิงหาคม 6,628.03 kg/wk กระดาษ, กระดาษแข็ง 358.70 kg/wk

เศษเหล็ก 0.6%

7.2%

4.7%

ขวดแก้ ว 122.00 kg/wk

5.4%

เศษกิง่ ไม้ , ใบไม้ , หญ้ า

1,587.90 kg/wk

พลาสติกรวม

1.8%

เศษวัสดุ < 40 มม. 479.60 kg/wk

ไขมัน 311.80 kg/wk

17.0% 24.0% 11.2% 27.1% เศษอาหาร 1,799.30 kg/wk

1,127.38 kg/wk กล่ องนม 0.5% 31.70 kg/wk ขยะอันตราย 0.4% 24.60 kg/wk

ขยะอืน่ ๆ 743.10 kg/wk


รายได้ จากขยะทีเ่ กิดใน ACT ต่ อปี ประเภทขยะ

ปริมาณขยะรวมต่ อปี ประมาณ

Paper

ปริมาณ ขยะทีเ่ กิด/ ปี (kg)

ราคาต่ อ kg (บาท)

13,270.11

4.00

Plastic Bottles

2,881.92

Plastic Cups

9,006.01

Green Waste Kitchen Waste

259,568.45 kg (260 ตัน)

ราย ได้ /สั ปดาห์ (บาท)

รายได้ /ปี (บาท)

1,020.77

53,080.44

7.00

387.95

20,173.47

4.00

692.77

36,024.05

50,768.53 Composting

$$$$$

73,358.11

$$$$$

TOTAL

109,277.96






ข้อมูลของราคารับซื้อวัสดุรีไซเคิลในท้องถิ่น • การประเมินมูลค่าของขยะรีไซเคิล ที่เกิดในโรงเรียน


การจัดทำาโครงการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า


การจัดทำาโครงการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า • • •

เก็บข้อมูลการใช้ไฟฟ้าย้อนหลัง กำาหนดมาตรการการลดการใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ดำาเนินงาน และรณรงค์สร้างจิตสำานึก



การจัดทำาโครงการลดการใช้นา้ ำ


การจัดทำาโครงการลดการใช้นา้ ำ • เก็บข้อมูลการใช้นาประปาย้ ้ำ อนหลัง • กำาหนดมาตรการการลดการใช้นา้ ำ • ดำาเนินงาน และรณรงค์สร้างจิตสำานึก



ำ ย การจัดทำาโครงการจัดการน้าเสี


ำ ย การจัดทำาโครงการจัดการน้าเสี ำ ย • สำารวจแหล่งการเกิดน้าเสี • การสร้างบ่อดักเศษอาหาร/ไขมัน ำ ยจากโรงอาหาร สำาหรับบำาบัดน้าเสี • กิจกรรมให้ความรูแ้ ละการรณรงค์สร้างจิตสำานึก



การจัดทำาประเภทของเสียอันตรายที่ตอ้ งรวบรวม และนำาส่งโครงการจัดการของเสียอันตราย

• ถ่านไฟฉาย • หลอดไฟฟ้า


ขั้นตอนการดำาเนินงาน

• กำาหนดจุดรวบรวม • จดบันทึกปริมาณ ต่อเดือน • นำาส่งกำาจัด


ขั้นตอนการดำาเนินงาน ของโรงเรียนที่รว่ มโครงการ


ขั้นที่ 1 ประชุม/อบรมเชิงลึก   

สร้างความเข้าใจในการดำาเนินงาน พัฒนาบุคลากรแกนนำา พัฒนาเครือข่าย ด้าน CT


ขั้นที่ 2 ศึกษาดูงาน สร้างความเข้าใจในการดำาเนินงาน  เห็นภาพตัวอย่าง ได้แนวทางการดำาเนินงาน 


ขั้นที่ 3 สำารวจสภาพปั ญหาและส่งข้อเสนอโครงการ โรงเรียนเขียนแผนโครงการ CT ของโรงเรียน ส่งกลับให้ทางที่ปรึกษาโครงการ 


ขั้นที่ 4 ดำาเนินงานในโรงเรียนตามแผน แต่งตัง้ คณะทำางาน ประชุม อบรมให้ความรู ้

กรมส่งเสริมฯ สนับสนุน

กำาหนดมาตรการแนวทางของแต่ละโรงเรียน ปฏิบตั ติ ามแผน ติดตามและประเมินผลโดยคณะทำางาน รายงานผลให้บุคลากรใน รร. ทราบ


ขั้นที่ 5 จัดเตรียมข้อมูลความความก้าวหน้า  คณะกรรมการจะเข้าเยีย ่ ม และให้คาำ แนะนำา

(ตรวจความก้าวหน้าครั้งที่ 1)


ขั้นที่ 6 เข้าร่วมประชุมรายงานความก้าวหน้า ทุกโรงเรียนนำาเสนอ ให้ทราบความก้าวหน้า ตลอดจนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์  ที่ปรึกษาให้คาำ แนะนำา 


ขั้นที่ 7 จัดเตรียมข้อมูลเพื่อการตรวจประเมินครั้งที่ 2  คณะกรรมการตรวจประเมินผล

จะเข้าตรวจเยีย่ ม และประเมินผลครั้งสุดท้าย


ขั้นที่ 8 ส่งรายงานผลการดำาเนินงาน (ตามแบบที่กาำ หนดในคู่มือฝึ กอบรม)


ขัขั้น้นทีที่ ่ 99 เข้ เข้าาร่ร่ววมประชุ มประชุมมรายงานผลสำ รายงานผลสำาาเร็ เร็จจ และผลงานของบุ CT และผลงานของบุคคลากร ลากร CT

ตราสัญลักษณ์สีทอง ระดับดีเยีย่ ม

ตราสัญลักษณ์สีเงิน ระดับดีมาก

ตราสัญลักษณ์สีทองแดง ระดับดี


ผลงานของโรงเรียนเครือข่าย CT


เป้าหมายขั้นต่าำ ที่กาำ หนดแต่ละกิจกรรม ใช้ประโยชน์ 60 % ของ ศักยภาพ ำ ย โครงการด้านน้าเสี มีการจัดสร้างบ่อดักไข มัน/ปรับปรุง โครงการด้านการใช้ไฟฟ้า ลดการใช้ 10 % ำ โครงการด้านน้าประปา ลดการใช้ 10 % โครงการกำาจัดของเสีย 2 ก้อนต่อคนต่อ 3 เดือน อันตราย โครงการด้านขยะ


ผลที่จะได้รบั จากการดำาเนิ นการโครงการ บุคลากร มีความรูด้ า้ นเทคโนโลยีสะอาด  นักเรี ยน มี จิตสำานึ กด้านอนุ รก ั ษ์พลังงานและสิ่ งแวดล้อม  ขยายเครื อข่ายสถานศึ กษาด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สะอาด  เครื อข่ายสถานศึ กษา มีการใช้ทรัพยากรคุม ้ ค่า และมีการจัดการสิ่ งแวดล้อมที่ดีในโรงเรียน 


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.