ฟ้าสวย น้ำ�ใส จดหมายข่าวกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ปีที่ 5 ฉบับที่ 12 ประจำ�เดือน กรกฏาคม 2553
จดหมายข่าวที่ทุกคนช่วยกันส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้ เพียงคุณสมัครเป็นสมาชิกและร่วมคิดเห็น
Many Species One Planet One Future ความหลากหลายทางชีวภาพ กู้วิกฤตชีวิตโลก ในฉบั บ Many Species One Planet One Future: ความหลากหลายทางชีวภาพ กู้วิกฤตชีวิตโลก คอลัมน์ใต้ตะวัน
ธนาคารขยะรีไซเคิล ธนาคารเพื่อสิ่งแวดล้อม คอลัมน์แตกหน่อความคิด
Green Thailandผนึกกำ�ลังแก้วิกฤต สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม นำ�ร่องมาบตาพุด
ทส.เตรียมยุบ รวมกรมอุทยานฯ - กรมป่าไม้
ฤดูใบไม้ผลิอันเงียบงัน
เอเลียน สปีชีส์... ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นครองโลก
คอลัมน์ระบำ�ผีเสื้อ
คอลัมน์หมุนตามฟ้า
การพัฒนาที่ยั่งยืน ในบริบทสากล
ว่าวทะเล “ดีพกรีน”
คอลัมน์ต้นคิด
คอลัมน์ฟ้ากว้าง
คอลัมน์รอบรู้คู่โลก
สนใจสมัครฟรี หรือแสดงความคิดเห็นได้ที่ส่วนประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือ e-mail : pr@deqp.go.th
เปิดฟ้า
บรรณาธิการ
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย จั ด เ ป็ น แ ห ล่ ง ร ว ม ข อ ง ก ลุ่ ม พ ร ร ณ พฤกษชาติ ใ นภู มิ ภ าคอิ น เดี ย -พม่ า ภู มิ ภ าคอิ น โดจี น และ ภู มิ ภ าคมาเลเซี ย จึ ง มี ค วามหลากหลายทางชี ว ภาพสู ง มากแห่ ง หนึ่ ง ของโลก มี ส ภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ อำ � นวยให้ สรรพชี วิต กำ � เนิ ด อยู่อ าศั ย และแพร่ ก ระจายพั น ธุ์ป ระมาณ ร้อยละ 10 ของโลก แต่ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทยกำ�ลังถูกรุกรานจากการใช้ ประโยชน์จนเกินศักยภาพของระบบนิเวศ ประชาชนมีความตระหนักในเรื่องคุณค่า และการอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพน้อย ขาดการประชาสัมพันธ์ การให้การ ศึกษา และการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องและเพียงพอ จากรายงานของสำ�นักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทีศ่ กึ ษา สำ�รวจสถานภาพ และ ถิน่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย รวมทัง้ จัดทำ�ฐานข้อมูลของชนิดพันธุห์ ายาก ใกล้สญ ู พันธุ์ และชนิดพันธุ์ เฉพาะถิ่นในกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2547 พบสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนม นก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก และปลา 4,591 ชนิด ใน จำ�นวนนีส้ ญ ู พันธุไ์ ปแล้ว 6 ชนิด สูญพันธุใ์ นธรรมชาติแล้ว 7 ชนิด และอีก 84 ชนิด ในจำ�นวนกว่า 500 ชนิดเป็นชนิดพันธุท์ ถ่ี กู คุกคามจน “ใกล้สญ ู พันธุอ์ ย่างยิง่ ” ส่วนสถานภาพพรรณพืชมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ 1,410 ชนิด ใน 137 วงศ์ ได้แก่ เฟิร์น พืชเมล็ดเปลือย พืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่ มี 20 ชนิดที่อยู่ใน สถานะ “ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง” ส่วนชนิดพันธุ์พืชที่คาดว่าสูญพันธุ์ไปจากถิ่นที่อยู่ใน ธรรมชาติแล้ว มี 2 ชนิด คือ ฟ้ามุย่ น้อย และโศกระย้า เพื่อลดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพให้ได้ภายในปี ค.ศ. 2010 ตามปฏิญญาที่รัฐบาลประเทศต่างๆ ทั่วโลกให้ไว้เมื่อปี ค.ศ. 2002 ทำ�ให้องค์การ สหประชาชาติต้องประกาศให้ปีน้ีเป็น “ปีสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ” (International Year of Biodiversity) เพื่อปลุกให้คนทั่วโลกตื่นตัวต่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และลดอัตราการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตก่อนที่จะเกินเยียวยา โดย การแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาตามอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้ สนับสนุนการดูแล อนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟูทรัพยากรเหล่านีอ้ ย่าง จริงจังและยั่งยืนด้วยจิตสำ�นึก และความร่วมมือของทุกภาคส่วน รวมทั้งปรับปรุงกฎ ระเบียบในการจัดการทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพให้เหมาะสมนัน่ เอง
คณะที่ปรึกษา อรพินท์ วงศ์ชุมพิศ, รัชนี เอมะรุจิ, ธเนศ ดาวาสุวรรณ, สากล ฐินะกุล
บรรณาธิการ
บรรพต อมราภิบาล, สาวิตรี ศรีสุข, จินดารัตน์ เรืองโชติวิทย์, ผกาภรณ์ ยอดปลอบ
กองบรรณาธิการ
ฉัตรชัย อมรพรชัยกุล, เฉลิมพล วัฒนพุทธิวรรณ, ฏีคชเมษฐ์ เรือนสังข์, ทิวากร วงศ์วานิชกิจ, ปิยนาฏ เอกชีวะ, ภัทราวรรณ เชิดศักดิ์ศรี, พจนา กาดสาริการ, คณารัตน์ เล็งเบา,ณิชภัทร ทองเลิศ, อาณัติ แก้วเพ็ชร, จิตติมา กียะสูตร จัดทำ�โดย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 49 พระราม 6 ซอย 30 พญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-22788400-19 ต่อ 1555-1557, 0-22985630 www.deqp.go.th
ปฎิทินกิจกรรม
ใต้ตะวัน
2-5 สิงหาคม 2553 การตรวจประเมินโครงการส่งเสริมงาน เทคโนโลยีสะอาดในโรงเรียน ครั้งที่ 1 ณ จังหวัดเชียงใหม่
4 สิงหาคม 2553 การประชุมการจัดการมลพิษทางเสียง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ณ ศูนย์การ ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ หลักสี่ กรุงเทพมหานคร
5 สิงหาคม 2553 การลงนามความร่วมมือ “โครงการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการน้ำ�เสีย สำ�หรับชุมชนขนาดเล็ก” ณ ห้องประชุมสำ�นักงานเทศบาลตำ�บล ปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
7-22 สิงหาคม 2553 มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติประจำ�ปี 2553 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา
11 สิงหาคม 2553 การประชุมรับฟังข้อคิดเห็น (ร่าง) เกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเภทผลิตภัณฑ์กระดาษสา ณ จังหวัดเชียงใหม่
16-17 สิงหาคม 2553 การอบรมพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี สะอาดในโรงเรียนพื้นที่สมุย ณ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
25-26 สิงหาคม 2553 กิจกรรมสื่อมวลชนสัญจรครั้งที่ 1 “เยี่ยมชมและดูงานชุมชนสิ่งแวดล้อม ต้นแบบ” ณ จังหวัดสกลนคร
Many Species One Planet One Future :
ความหลากหลายทางชีวภาพ กู้วิกฤตชีวิตโลก
“ความหลากหลายทางชีวภาพเป็นส่วนสำ�คัญของการ ดำ�รงชีวิตอยู่ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก และถึงเวลาแล้วที่ เราทุกคนจะต้องหันกลับมาดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมของเราให้ดี เพราะโลกของเราได้เปลีย่ นแปลงไปอย่าง รวดเร็ว โดยทีผ่ า่ นมาเราได้สญ ู เสียความหลากหลายทางชีวภาพ จากเมือ่ ปี 2513 มีการสูญเสียวันละ 1 ชนิด ต่อมาปี 2523 เป็นชัว่ โมงละ 1 ชนิด และปัจจุบนั กำ�ลังสูญเสียนาทีละ 1 ชนิด ฉะนัน้ เป็นหน้าทีข่ องเราทุกคนทีจ่ ะต้องร่วมมือกันอนุรกั ษ์และใช้ ประโยชน์ของความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยังยืน” นายสุวทิ ย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม กล่ า วเชิ ญ ชวน ให้ ป ระชาชนตระหนั ก และเห็ น ความสำ � คั ญ ของความ หลากหลายทางชี ว ภาพ ในวั น เปิ ด งานประชุ ม วิ ช าการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมแห่งชาติครัง้ ที่ 3 ภาย ใต้แนวคิด “ความหลากหลายทางชีวภาพ กูว้ กิ ฤตชีวติ โลก” พร้อมปาฐกถาพิเศษ เมือ่ วันที่ 21 กรกฎาคม 2553 ณ อาคารคอนเว็นชัน่ เซ็นเตอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี นางอรพินท์ วงศ์ชมุ พิศ อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพ สิง่ แวดล้อม เปิดเผยว่า กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม ได้มอบหมายให้กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จั ด กิ จ กรรมประชุ ม วิ ช าการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ครัง้ ที่ 3 ภาย ใต้แนวคิด “Many Species One Planet One Future” หรือ “ความหลากหลายทางชีวภาพ กูว้ กิ ฤติชวี ติ โลก” เพือ่ ให้ทกุ หน่วยงานในสังกัดของกระทรวงฯ ได้น�ำ เสนอผลงาน วิจยั ของนักวิชาการ นักวิจยั และผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ ผี ลงานการ
ค้นคว้าวิจัยมานำ�เสนอ เพื่อใช้เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหา และส่ ง เสริ ม การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ง แวดล้ อ มของประเทศไทยให้ ดีข้ึน และให้ ทุก ภาคส่ ว น ได้ รับ รู้แ ละตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของความหลากหลาย ทางชีวภาพ รวมถึงกระตุ้นให้เกิดจิตสำ�นึกรักและหวงแหน ช่ ว ยกั น ปกป้ อ งทรั พ ยากรความหลากหลายทางชี ว ภาพขึ้น อย่างเป็นรูปธรรม และเพือ่ สร้างเครือข่ายระหว่างสถาบัน นัก วิชาการ และชุมชนท้องถิน่ ทีจ่ ะนำ�ไปสูค่ วามร่วมมือในการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน ประกอบกับปีน้ี องค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้เป็นปีสากล แห่งความหลากหลายทางชีวภาพและเป็นปีสากลแห่งความ หลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย การประชุมครัง้ นีจ้ งึ เปิด เวทีให้นกั วิชาการ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ตลอดจนนิสติ นักศึกษา นักเรียน เยาวชน และประชาชนทัว่ ไปจากทุกภาคส่วนได้น�ำ ผลงานทีไ่ ด้ ศึกษาค้นคว้าวิจยั และนวัตกรรมใหม่ๆ มาร่วมนำ�เสนอด้วย ทัง้ นี้ กิจกรรมภายในงานประชุมครัง้ นี้ แบ่งออก เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การบรรยาย แสดงผลงาน เผย แพร่ และให้ความรูท้ างวิชาการของนักวิชาการ ส่วนที่ 2 การสัมมนา อภิปราย ระดมความคิดเห็น และแลกเปลีย่ น ประสบการณ์ทางวิชาการ อาทิ โลกร้อนกับการสูญเสียความ หลากหลายทางชีวภาพ, ความหลากหลายทางชีวภาพในนา ข้าว เป็นต้น ส่วนที่ 3 การจัดนิทรรศการผลงานด้านวิชาการ ทัง้ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ และสัตว์ปา่ ด้านทรัพยากร น้�ำ ด้านมลพิษและสิง่ แวดล้อม ด้านทรัพยากรธรณีและภัย พิบตั ิ และด้านการจัดการพืน้ ทีช่ ายฝัง่ รวมถึงการออกร้าน สาธิตและจัดแสดงผลงานตัวอย่างของความสัมฤทธิผลในการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากส่วน ราชการ รัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน ในสังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถานศึกษา กว่า 80 ผลงาน ถึงเวลาแล้วทีเ่ ราจะรักษ์โลก รักษาชีวติ และรักษาสิง่ แวดล้อม
แตกหน่อความคิด
ต้นคิด
ธนาคารขยะรีไซเคิล ธนาคารเพื่อสิ่งแวดล้อม จากการที่กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำ� โครงการประกวดธนาคารขยะรีไซเคิล มาตัง้ แต่ปี 2549 - 2552 โดยมอบรางวัลให้แก่โรงเรียนที่ดำ�เนินกิจกรรมธนาคารขยะ รีไซเคิลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อความต่อเนื่องในการ สนับสนุนการดำ�เนินงานกิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล ใน ปี 2553 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม จัดให้มีการอบรม เพิ่มศักยภาพการดำ�เนินงานธนาคารขยะรีไซเคิลแก่โรงเรียน ทั่วประเทศอย่างน้อยจังหวัดละ 10 โรงเรียน จำ�นวน 4 ภูมิภาค ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 7 พฤษภาคม 2553 เพื่อ เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพให้แก่โรงเรียนที่ดำ�เนินงาน กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล และโรงเรียนที่มีความสนใจที่ จะจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลในโรงเรียน โดยเป้ า หมายของการอบรมในครั้งนี้ คือ การขยาย จำ�นวนโรงเรียนให้มีการดำ�เนินกิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล เพิ่มมากขึ้น สร้างเครือข่ายให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่ง กันและกันระหว่างโรงเรียนอันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนในการ ดำ�เนินงาน และนำ�ไปสู่ความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแก่โรงเรียนทั่วประเทศ เพื่ อ ขยายแนวคิ ด การจั ด การขยะมู ล ฝอยอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว ม และพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน ตั ว อย่ า งการดำ � เนิ น งานธนาคารขยะรี ไ ซเคิ ล ของ โรงเรียน และกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน โรงเรียน ทีเ่ ห็นผลสำ�เร็จ เช่น จากปีการศึกษา 2549 - 2553 โรงเรียนเทศบาลเมืองภูเก็ต และชุมชนมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม โดยใช้ศูนย์การเรียนรู้เป็น แหล่งเรียนรู้ สร้างกิจกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมรูปแบบ ต่างๆ ขึ้นในโรงเรียน เช่น การสร้างสวนพลังงานโซล่าเซลล์ ช่วยลดพลังงานไฟฟ้า มีโครงการขยะแลกอุปกรณ์การเรียน ลดใช้ทรัพยากรจากการดำ�เนินกิจกรรม และลดปริมาณขยะ
ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในโรงเรียน โดยใช้หลักการ 4 R Reduce Reuse Reject Recycle อาทิ รณรงค์ให้ผปู้ กครอง-ครูใช้ถงุ ผ้า ที่ทางโครงการธนาคารขยะมอบให้เพื่อเป็นการลดการใช้ถุง พลาสติก ใช้ปิ่นโตแทนกล่องโฟม ใช้กระดาษทั้ง 2 หน้า นำ�ขวดพลาสติกมาฉลุใส่ต้นไม้และเลี้ยงปลา ทำ�กระเป๋าถุง ข้าวสารหรือถุงนมโรงเรียน น้ำ� 1 แก้ว แปรงฟัน+รดน้ำ� ต้นไม้ นำ�วัสดุรีไซเคิลมาจัดบอร์ด ใช้น้ำ�หมักชีวภาพกำ�จัด แมลงและกำ�จัดคราบสกปรกแทนน้ำ�ยาล้างห้องน้ำ � และ บำ�บัดน้ำ�เสียในคลองหลังโรงเรียน รวมทั้งยังมีตลาดนัดวิถี พอเพียงที่แม้แต่เด็กๆ อนุบาลก็นำ�สินค้ามือสองมาจำ�หน่าย นอกจากนี้ยังห้ามนำ�รถยนต์เข้ามาส่งบุตรหลานภายใน โรงเรียน คุณครูต้องจอดรถไว้หน้าโรงเรียน เป็นมาตรการ การลดและการจัดการปัญหามลพิษภายในโรงเรียน ใบไทร จำ�นวนมากนำ�มาทำ�เป็นปุ๋ยหมัก มีการปลูกผักอนามัยหน้า ห้องเรียน เพิ่มพื้นที่สีเขียว มีบ่อปลาดุกเศรษฐกิจพอเพียง เหล่านี้คือกิจกรรมที่ออกแบบขึ้น ซึ่งนอกจากจะทำ�ให้เกิด ความรู้และเข้าใจการคัดแยกขยะ สามารถลดปริมาณขยะ ที่จะนำ�ไปกำ�จัด สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ขยะทั้งในโรงเรียน และชุมชนแล้ว ยังเป็นการสร้างนิสัยในการออม ปลูกจิต สำ�นึก เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน โดยใช้แนว พระราชดำ�ริเศรษฐกิจพอเพียงสู่ความยั่งยืน จนได้รับคัด เลือกเป็นโรงเรียนเครือข่ายต้นแบบ ในการบริหารจัดการ โครงการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ มตามแนวพระ ราชดำ�ริเศรษฐกิจพอเพียงอีกด้วย
Green Thailand
ผนึกกำ�ลังแก้วิกฤตสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม นำ�ร่องมาบตาพุด
เมือ่ วันที่ 13 กรกฎาคม ณ ตึกสันติไมตรี ทำ�เนียบรัฐบาล มีการจัดพิธลี งนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ‘การแก้ปญ ั หา วิกฤตด้านสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม’ ระหว่างกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมนักวิชาชีพไทย ในอเมริกาและแคนาดา โดยมีนายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ นายก รัฐมนตรี เป็นประธานในพิธี ข้อตกลงร่วมนีจ้ ะเป็นการบูรณา การความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทีจ่ ะใช้สห วิทยาการแก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม โดยมีพน้ื ที่ นำ�ร่องคือ ‘มาบตาพุด’ ในข้อตกลงความร่วมมือระยะเวลาดำ�เนินการ 3 ปี (13 กรกฎาคม 2553 - 12 กรกฎาคม 2556) มาบตาพุด จะเป็นแม่แบบการแก้ปญ ั หาการจัดการสิง่ แวดล้อมและมลพิษ ในอุตสาหกรรม มีกลไกขับเคลื่อนที่สำ�คัญในการแก้ปัญหา สิง่ แวดล้อม เช่น ระบบการจัดการสารอันตรายและวัสดุเคมี ทีถ่ กู ต้อง ระบบการตอบโต้สถานการณ์ฉกุ เฉิน ระบบเฝ้าระวัง ตลอดจนเทคโนโลยีสะอาด เทคโนโลยีฟน้ื ฟูการปนเปือ้ นจาก สารเคมีและของเสียอันตราย รวมถึงการพัฒนาบุคลากรด้าน การจัดการสิง่ แวดล้อม ทีส่ �ำ คัญภาคอุตสาหกรรมและชุมชน ได้เรียนรู้วิธีการจัดการกับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสิ่งแวดล้อม และสุขอนามัย สามารถรับมือกับสถานการณ์ฉกุ เฉินทีเ่ กิดขึน้
ระบำ�ผีเสื้อ
ฤดูใบไม้ผลิอันเงียบงัน
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การปฏิวัติเขียวทำ�ให้รูปแบบ การเกษตรหันมาเป็นการปลูกพืชเชิงเดี่ยวและใช้สารเคมี ปราบศัตรูพืชจำ�นวนมากจนบ่อนทำ�ลายสิ่งแวดล้อม เรื่อง ราวนี้ถูกสะท้อนออกมาใน Silent Spring หนังสือของ รา เชล คาร์สัน ในปี 1962 ที่บรรยายถึงสภาพไร่นาที่ปราศจาก เสียงเซ็งแซ่ของเหล่านก แมลง และภัยร้ายที่กำ�ลังปรากฎให้ เห็นอย่างเงียบๆ
ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำ�ให้ภาค อุตสาหกรรมและชุมชนสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในพื้นที่ได้ อย่างปลอดภัย “เรือ่ งสิง่ แวดล้อมเป็นวาระหนึง่ ทีม่ คี วามสำ�คัญเร่งด่วน ทีป่ ระเทศไทยเราจะต้องเร่งวางระบบในการจัดการ เพือ่ ไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อความเชื่อมั่นทั้งจากนักลงทุนและประชาคม โลก และจากผูค้ นภายในประเทศของเราเอง โดยเฉพาะชุมชน ต่างๆ ซึง่ จะมองการขยายตัวและการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ไปในทางลบ ทัง้ ทีจ่ ริงแล้วหากทุกฝ่ายร่วมกันจัดทำ�แนวทาง บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษอย่างเป็นระบบ โดย ยึดหลักการเทคโนโลยีสเี ขียว หรือ Green Technology ก็ จะทำ�ให้ม่นั ใจได้ว่าอุตสาหกรรมจะเป็นปัจจัยสำ�คัญที่ช่วยขับ เคลือ่ นการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ” นายกรัฐมนตรีกล่าว ด้าน นายสุวทิ ย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กล่าวว่า “การลงนาม ในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้าน Green Thailand ของ ทัง้ 6 หน่วยงาน เป็นการแสดงให้เห็นถึงเจตจำ�นงและความ มุง่ มัน่ ของแต่ละหน่วยงานทีจ่ ะร่วมกันแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม ในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม โดยเฉพาะในพืน้ ทีม่ าบตาพุดให้ลลุ ว่ งไป เพือ่ ความเป็นอยูท่ ด่ี ขี องประชาชนโดยรอบพืน้ ที่ ควบคูไ่ ปกับ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ตามแนวนโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืนของรัฐบาล” 15 ปีหลังจากที่ “ฤดูใบไม้ผลิอันเงียบงัน” วางจำ�หน่าย เกิดสารปรอทจากโรงงานอุตสาหกรรม ปนเปื้อนสู่แหล่งน้ำ�ในเมืองนิงาตะ ประเทศญี่ป่นุ จนได้ รับ การกล่ า วขานว่ า เป็ น ภั ย มิ น ามาตะ ครัง้ ที่ 2 (1965) กรณีน�ำ้ มันรัว่ ไหลลงสูท่ อ้ งทะเล ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะอังกฤษ (1967) และกรณีสารพิษไดออกซินรั่วไหลจากโรงงานออกสู่ชุมชนใน เมือง เซเวโซ่ ประเทศอิตาลี (1976) ฯลฯ เหตุการณ์เหล่านี้ สร้างความตระหนกตกใจให้กบั ผูค้ นจนอาจกล่าวได้วา่ เป็นคลืน่ ลูกที่ 1 ของความเคลือ่ นไหวเพือ่ ปกป้องสิง่ แวดล้อม ที่มา: นิตยสาร Starpics ฉบับที่ 728 ปักษ์แรก มิถุนายน 2551
ฟ้ากว้าง
ใบไม้ไหว
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
การพัฒนาที่ยั่งยืน ในบริบทสากล
‘หากประชากรโลก อุตสาหกรรม มลภาวะ การผลิต อาหาร การเสื่อมถอยของทรัพยากรยังดำ�รงอยู่ในอัตราที่ ไม่เปลี่ยนแปลง การเติบโตบนดาวเคราะห์นี้จะถึงขีดจำ�กัด ในอีก 100 ปีข้างหน้า ซึ่งถึงเวลานั้นผลที่จะเกิดขึ้น คือ ประชากรและความสามารถในการผลิตของโรงงานจะลดลง อย่างรวดเร็ว โดยไม่สามารถควบคุมได้’ การเผยแพร่แนวคิดเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืน ใน The Limits to Growth ของกลุ่ม The Club of Rome ตี พิมพ์ในปี พ.ศ. 2515 ปรากฎภาพชัดขึ้น และทำ�ให้แนวคิด การพัฒนาที่ยั่งยืน กลายเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจจาก สาธารณชนมาตั้งแต่ปลายทศวรรษ 2520 (ปี พ.ศ. 25282529) โดยการแปรแนวคิดดังกล่าว ให้เป็นกรอบและ แนวทางในเชิงปฏิบัติที่ถูกกล่าวอ้างถึงมากที่สุด ซึ่งปรากฏใน Our Common Future คือ “...development that meets the needs of the present without compromising the ability of future generations their own needs.” (การพัฒนาที่ตอบสนอง ความต้องการในปัจจุบัน โดยไม่ทำ�ให้ขีดความสามารถในการ ตอบสนองความต้องการของคนรุ่นหลังต้องด้อยลงไป) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นความปรารถนาของมนุษ ยชาติ และผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มก็ เ ป็ น ผลสื บ เนื่ อ งที่ ห ลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ รายงานของ World Commission on Environment and Development : WCED (พ.ศ.2530) จึงระบุความหมายในเชิงปฏิบัติ ของการพัฒนาที่ยั่งยืน ในรูปของ “การใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึน้ ทัง้ ในเชิงวัสดุ และเชิงพลังงาน การใช้ เทคโนโลยีใหม่ทไ่ี ม่เป็นภัยต่อระบบนิเวศ และการใช้ระบบการ ผลิต ทีค่ �ำ นึงถึงความจำ�เป็นทีต่ อ้ งปกปักษ์รกั ษาฐานทางระบบ นิเวศ สำ�หรับการพัฒนาต่อไป”
“การแก้ปัญหาวิกฤตด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อุตสาหกรรม”
เมือ่ วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 นายอภิสทิ ธ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธี ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “การแก้ปญ ั หาวิกฤตด้านสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม” ระหว่าง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ สมาคมนักวิชาชีพไทยในอเมริกาและแคนาดา ณ ตึกสันติไมตรี ทำ�เนียบรัฐบาล กรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น หน่ ว ยงาน หนึ่งที่ส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนในทุกภาคส่วนให้เกิด ความตระหนั ก และดำ � เนิ น การอย่ า งจริ ง จั ง ตั้ ง แต่ ร ะดั บ นโยบายจนถึงระดับปฏิบัติ โดยยึดแนวทางตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 และกำ�ลังจะย่าง เข้าสู่แผนที่ 11 ที่มีการนำ�เสนอแนวทางการส่งเสริมการ พัฒนาโดยใช้หลักการจัดการที่ต้นทาง เช่น การผลิตที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีมาตรการจูงใจในรูปแบบฉลากที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการ ลดของเสีย การสนับสนุนชุมชนให้ลดปริมาณมูลฝอย จัดตั้ง ธนาคารขยะ ศูนย์รีไซเคิล ในโรงเรียนและชุมชน นำ�หลัก การ Agenda 21 (แผนปฏิบัติการที่ 21) เข้าสู่การพัฒนาที่ ยั่งยืน ซึ่งประเทศไทยโชคดีที่มีแนวทางพระราชดำ�ริตามหลัก การเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือในการพัฒนาที่ตอบโจทย์ การพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง ทีผ่ า่ นมากรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม โดยศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อมได้รเิ ริม่ ดำ�เนินการนำ�ร่องในพืน้ ที่ เทศบาลนครตรัง และเทศบาลนครนครราชสีมา ได้รบั การ สนับสนุนผูเ้ ชีย่ วชาญจากสถาบันสิง่ แวดล้อมแห่งสวีเดน (SEI) ให้ค�ำ แนะนำ�ในการวางแผนการจัดการสิง่ แวดล้อม มีโครงการ ทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ การเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว การจัดระบบถนนสำ�หรับ การจราจร การลดการใช้พลังงาน การจัดตัง้ ธนาคารขยะตาม โรงเรียน ตัง้ ศูนย์รไี ซเคิลชุมชน ซึง่ จากการทำ�งานในกิจกรรม ต่างๆ ทีม่ งุ่ สูก่ ารพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน ถอดบทเรียนเป็นรูปแบบการ พัฒนาเมืองสำ�หรับท้องถิ่น ชุมชนและโรงเรียนจนปัจจุบัน มีการขยายผลในส่วนการพัฒนาที่ย่งั ยืนกับท้องถิ่นอื่นๆ การ ประกวดการพัฒนาเมืองในรูปแบบต่างๆ มากมาย จึงเป็นความ ภูมใิ จของการวิจยั สูก่ ารนำ�ไปใช้อย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบนั เอกสารอ้างอิง คู่มือ การพัฒนาเมืองตามแผนปฏิบัติการที่ 21 กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ2546 คู่มือการพัฒนาโรงเรียน ชุมชน ที่ยั่งยืน ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้าน สิ่งแวดล้อม ปทุมธานี 2548
การประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 3
บันทึกเทปถวายพระพร
นายสุวทิ ย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เป็นประธานเปิดงานการประชุมวิชาการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ครัง้ ที่ 3 พร้อม ปาฐกถาพิเศษ และร่วมชมบูธแสดงนิทรรศการ เมือ่ วันที่ 21 กรกฎาคม 2553 ณ คอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์ อิมแพค เมืองทองธานี
เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2553 นายสุวทิ ย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม พร้อมด้วย นางอรพินท์ วงศ์ชมุ พิศ อธิบดีกรมส่ง เสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม และคณะผู้บริหารระดับสูงในสังกัดกระทรวงฯ ร่วมบันทึก เทปถวายพระพรในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2553 ณ ห้องส่งสถานีวิทยุโทรทัศน์ แห่งประเทศไทย ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ
มอบโล่การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ตราสัญลักษณ์ G) นางอรพินท์ วงศ์ชมุ พิศ อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม เป็น ประธานมอบโล่การผลิตทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม (ตราสัญลักษณ์ G) ให้ กับผูป้ ระกอบการในโครงการ “ส่งเสริมการออกแบบและผลิตเฟอร์นเิ จอร์ ไม้ทเ่ี ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม” เมือ่ วันที่ 30 กรกฎาคม 2553 ณ ห้อง ประชุม FORTORP ตึกวนศาสตร์ 60 ปี คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
(ร่าง)เกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมประเภทสบู่เหลว เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2553 นางรัชนี เอมะรุจิ รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เป็นประธานการประชุมรับฟังข้อคิดเห็นต่อ(ร่าง)เกณฑ์การผลิตที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมประเภทสบู่เหลว ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น
โครงการปฏิญญารักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อการท่อง เที่ยวอย่างยั่งยืนตามแนวคิด 7Greens
นายธเนศ ดาวาสุวรรณ รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม ร่วมเป็นประธานการแถลงข่าว “โครงการปฏิญญารักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามแนวคิด 7Greens” เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2553 ณ สยามสมาคม ถนนอโศก สุขุมวิม กรุงเทพฯ
หมุนตามฟ้า
ทส.เตรียมยุบ รวมกรมอุทยานฯ - กรมป่าไม้
ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งส่ ว นราชการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ที่ ประชุ ม มี ม ติ เ ห็ น ชอบในหลั ก การยุ บ รวมกรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เข้า กับกรมป่าไม้ เพื่อความมีเอกภาพ และเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารงานในหลายประเด็น ที่ยังคงเกิดปัญหาระหว่าง 2 หน่วยงานอยู่ เช่น การอนุญาตการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ลุ่ม น้ำ� 1 และ 2 ซึ่งยังต้องขอความเห็นข้ามกรม โดยขั้นตอนหลังจากนี้ ทส.จะนำ�เสนอคณะ รัฐมนตรีเพื่อขอความเห็นชอบ ก่อนจะนำ�เสนอ ให้สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีการ่างเป็น พ.ร.บ. ก่อนเสนอเข้าสู่สภาต่อไป โดยคาดว่า จะสามารถบรรจุเป็นวาระเข้าพิจารณาในสภา นิติบัญญัติได้ในสมัยหน้า ที่มา: www.mcot.net วันที่ 21 กรกฎาคม 2553
รอบรู้คู่โลก
เอเลียน สปีชีส์... ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นครองโลก
ปี 2010 สหประชาชาติก�ำ หนดให้เป็นปีแห่ง ความหลากหลายทางชีวภาพ เพือ่ ให้มนุษย์ โลกตระหนักถึงภัยคุกคามทางชีวภาพ โดย เฉพาะการรุกรานของชนิดพันธุต์ า่ งถิน่ ซึง่ เป็นภัยคุกคามทีร่ า้ ยแรงทีส่ ดุ ในเวลานี้ ปัจจุบนั มีการเฝ้าระวังการระบาดทางชีวภาพของเอเลียน สปีชสี ์ ใน ระบบโลก โดยรวบรวมสายพันธุต์ า่ งถิน่ ชนิดรุกรานแบบร้ายแรงไว้ 10 อันดับ คือ หอยม้าลาย ปลาช่อนงูเห่า นกกิง้ โครงพันธุย์ โุ รป ผึง้ เพชฌฆาต กระรอกสีเทา คางคกไร่ออ้ ย กระต่ายยุโรป และปลาไน สำ�นักความหลากหลายทางชีวภาพ สำ�นักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ได้รวบรวมข้อมูลของชนิดพันธุต์ า่ งถิน่ ในไทยไว้ 3,500 ชนิดสายพันธุ์ โดย 182 ชนิดสายพันธุเ์ ป็นชนิดพันธุต์ า่ ง ถิน่ ทีม่ ศี กั ยภาพในการรุกรานประเทศไทย และในจำ�นวนนีม้ ี 15 ชนิดสาย พันธุท์ ต่ี อ้ งเฝ้าระวังสูงสุด คือ หอยเชอรี่ หอยทากแอฟริกาทีก่ ระจายอยูใ่ น ทุกจังหวัด ไส้เดือนยักษ์ท่กี ารเคลื่อนที่ของมันทำ�ให้เกิดการพังทลายของ หน้าดิน หอยกะพงเทศกำ�ลังระบาดทีส่ งขลา เต่าแก้มแดงทีอ่ าศัยในน้�ำ เน่าดี กว่าเต่าไทย แพร่พนั ธุเ์ ร็วกว่าเต่าไทย ทำ�ให้ไทยตอนนีเ้ หลือเต่าถิน่ น้อยมาก ตะพาบไต้หวัน ตัวใหญ่ดรุ า้ ย พบทีร่ ะยอง ชลบุรี และตราด รวมทัง้ ปลา กดหลวง ต้นสาบหมา นากหญ้า ไมยราบยักษ์ ปลาซักเกอร์ หนอนใบผัก แมงมุมแม่หม้ายสีน�ำ้ ตาล ผักตบชวา หอยข้าวสาร และกบอเมริกนั บุลฟร็อก ที่มา: หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ วันที่ 13 กรกฎาคม 2553
ว่าวทะเล “ดีพกรีน”
บริษทั มิเนสโต้ ประเทศสวีเดน เปิดตัวนวัตกรรม “ว่าวใต้ทะเล” ที่ นำ�พลังงานจากคลื่นใต้ทะเล และกระแสน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงมาช่วยผลิตพลังงาน กระแสไฟฟ้า และจะทดสอบการใช้งานจริงครัง้ แรกในปีหน้าทีช่ ายฝัง่ ทะเล ไอร์แลนด์เหนือ ซึง่ คาดว่าจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 500 กิโลวัตต์ สำ�หรับรุน่ ทดสอบ ว่าวทะเลชนิดนีม้ ชี อ่ื เรียกในโครงการว่า “ดีพกรีน” (Deep Green) ด้วยกังหันยาว 3 ฟุต ติดอยูก่ บั หางเสือ มีระยะระหว่างปีกทัง้ สองข้างยาว 39 ฟุต ตัวดีพกรีนแต่ละตัวจะขึงด้วยสายเคเบิล้ ยาว 330 ฟุต ติดกับพืน้ ใต้ ทะเล ขณะทำ�งานกังหันจะหมุนปัน่ ไฟโดยไม่ใช้ระบบเกียร์ใดๆ ทำ�ให้มนั มีน�ำ้ หนักเบาและต้นทุนไม่สงู ส่วนข้อด้อยของ “ว่าวทะเล” คือ ต้องการแนวคลืน่ ขนาดใหญ่ใน การปัน่ ไฟ แต่กส็ ามารถย่อขนาดระบบลงได้ตามความเหมาะสมแล้วแต่พน้ื ที่ และนีค่ อื ความสร้างสรรค์เทคโนโลยีใหม่ๆ ในการผลิตพลังงานทีเ่ ป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ที่มา: หนังสือพิมพ์ข่าวสดรายวัน 18 พฤษภาคม 2553