ปที่ 2 ฉบับที่ 18, 11-15 พฤษภาคม 2552
2 ปที่ผานมาคนไทยปวยดวยโรคไรเชื้อเรื้อรังเพิ่มขึ้น รัฐควรเรงขับเคลื่อนยุทธศาสตร เพื่อลดปจจัยเสี่ยงและเพิ่มการเขาถึงบริการสูการปฏิบัติอยางเรงดวน (2) สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ไดทําการสํารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไมติดตอ และโรคเรื้อรัง ของ คนไทยอายุ 15-74 ป ระหวาง พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2550 โดยมีประเด็นสําคัญ ดังนี้ (ตารางที่ 1) 1. ความชุกของการมีภาวะน้าํ หนักเกิน เพิม่ ขึน้ จากรอยละ 16.1 เปนรอยละ 19.1 หรือเพิม่ ขึน้ ประมาณ 1.5 ลานคน 2. ความชุกของการมีภาวะอวน เพิ่มขึ้นจากรอยละ 3.0 เปนรอยละ 3.7 หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 0.3 ลานคน 3. ความชุกของประชาชนที่เปนโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจากรอยละ 8.3 เปนรอยละ 9.4 หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 1.1 ลานคน 4. ความชุกของประชาชนที่เปนโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากรอยละ 3.7 เปนรอยละ 3.9 หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 0.2 ลานคน 5. ความชุกของประชาชนที่เปนโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ อัมพาตเพิ่มขึ้นจากรอยละ 0.9 เปนรอยละ 1.1 หรือเพิ่ม ขึ้นประมาณ 0.1 ลานคน 6. ความชุกของประชาชนทีเ่ ปนโรคหัวใจขาดเลือดเพิม่ ขึน้ จากรอยละ 1.1 เปนรอยละ 1.5 หรือเพิม่ ขึน้ ประมาณ 0.2 ลานคน ตารางที่ 1
เปรียบเทียบความชุก (รอยละ) ของภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงตอโรคไมติดตอของคนไทย ระหวาง พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2550 ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง
ภาวะน้ําหนักเกิน (ดัชนีมวลกาย > 25 กก./ม.2) ภาวะอวน (ดัชนีมวลกาย > 30 กก./ม.2) ประชาชนที่เปนโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนที่เปนโรคเบาหวาน ประชาชนที่เปนโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ อัมพาต ประชาชนที่เปนโรคหัวใจขาดเลือด
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2550
การเปลี่ยนแปลง
16.1 (7.3 ลานคน) 3.0 (1.4 ลานคน) 8.3 (3.7 ลานคน) 3.7 (1.6 ลานคน) 0.9 (0.4 ลานคน) 1.1 (0.5 ลานคน)
19.1 (8.8 ลานคน) 3.7 (1.7 ลานคน) 9.4 (4.3 ลานคน) 3.9 (1.8 ลานคน) 1.1 (0.5 ลานคน) 1.5 (0.7 ลานคน)
+ 3.0 (1.5 ลานคน) + 0.7 (0.3 ลานคน) + 1.1 (0.6 ลานคน) + 0.2 (0.2 ลานคน) + 0.2 (0.1 ลานคน) + 0.4 (0.2 ลานคน)
ที่มา : ศูนยขอมูลเฝาระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไมติดตอ สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จะเห็นไดวา คนไทยเผชิญกับการเจ็บปวยดวยโรคไมติดตอเรื้อรังเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว สอดคลองกับโครงการศึกษาทาง เลือกเชิงนโยบายตอภาระโรค (SPICE) ที่พบวา โรคเรื้อรังตาง ๆ เชน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ฯลฯ เปนสาเหตุสําคัญที่นําไปสูการเสียชีวิตมากที่สุด และมีแนวโนมสูงขึ้น สาเหตุสําคัญมาจากการมีพฤติกรรม และวิถีชีวิตที่ไมถูกตอง ดังนั้น ภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของตองเรงขับเคลื่อนยุทธศาสตรเพื่อลดปจจัยเสี่ยงและเพิ่มการเขาถึงบริการสูการปฏิบัติอยางเรง ดวน โดยเรงคัดกรองและคนหากลุมเสี่ยง จัดและ/หรือปรับระบบบริการสุขภาพที่เอื้อตอการเขาถึงกลุมเปาหมาย รวมถึงการรณรงค สรางกระแสสังคมและสื่อสารในการลดปจจัยเสี่ยงตอโรคและวิถีชีวิตอยางตอเนื่อง