Journal of The Royal Thai army nurses

Page 1

วารสารพยาบาลทหารบก ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549 ISSN 1513-5217

บทความวิชาการ - กระบวนการจัดทำสมรรถนะทางการพยาบาลของพยาบาล กพย.รพ.รร.6 - สมรรถนะพยาบาลชุมชนในสถานบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ - จมูกถั่วเหลืองและสุขภาพ

นงพิมล นิมิตรอานันท์

ศัลยา คงสมบูรณ์เวช

รุ่งทิวา พิมพ์สักกะ ชนิดา ปโชติการ

รายงานการวิจัย

- เปรียบเทียบผลการใช้รูปแบบการจัดการทางการพยาบาล รายกรณีที่บูรณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ และทีมการพยาบาล ต่อความสามารถในการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของผู้ดูแล - ผลของการพัฒนาการทำงานเป็นทีมต่อความพึงพอใจ ในงานของบุคลากรการพยาบาลหน่วยงานห้องคลอด - การบริหารชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอายุ สุขภาพดี

- การประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก

อุดมรัตน์ ซัดเราะมาน พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์ เนาวรัตน์ สาทลาลัย อารีย์วรรณ อ่วมตานี เสาวลักษณ์ จิรธรรมคุณ พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร วาสนา นัยพัฒน์

ประชาสัมพันธ์ / ข่าว - ประสบการณ์ APN - กลอนร้อยรัก ร้อยดวงใจ ตราไว้ ในดวงจิตพยาบาล ทบ. - ใบสมัครสมาชิกวารสารพยาบาลทหารบก - ข้อแนะนำเกี่ยวกับการเขียนต้นฉบับ วารสารพยาบาลทหารบก

รัชนีกร บุณยโชติมา จันทนา กมลศิลป์

Journal of The Royal Thai Army Nurses ThaiArmy cover3.indd 1

12/8/06 9:56:27 AM


วารสารพยาบาลทหารบก Journal of The Royal Thai Army Nurses ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

3 9 15 26

37 47 57

73 80

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและผลงานวิจัยด้านการพยาบาล 2. เป็นสื่อประสานแลกเปลี่ยนข่าวสารและข้อมูลกาประชาสัมพันธ์ 3. เป็นศูนย์กลางแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการพยาบาล 4. เสริมสร้างความสามัคคีและทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพพยาบาล 5. รายงานการดำเนินงานของสมาคมพยาบาลทหารบก

เจ้าของ สมาคมพยาบาลทหารบก คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พ.อ.หญิง คุณหญิง อัสนีย์ เสาวภาพ พล.ต.หญิง คุณหญิง พวงเพ็ญ ผลาสินธุ์ พล.ต.หญิง ไพร แคล้วปลอดทุกข์ พล.ต.หญิง คุณหญิง รัชนีกร คงอุทัยกุล ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วิจิตร ศรีสุพรรณ ศาสตราจารย์ ดร.ประนอม โอทกานนท์ Professor Dr. Philip Burnard ที่ปรึกษา พ.อ.หญิง นวลทิพย์ อรุณศรี พ.ท.หญิง ดร.นงพิมล นิมิตรอานันท์ บรรณาธิการ พ.ท.หญิง ยุพิน ยศศรี รองบรรณาธิการ พ.ท.หญิง เบญจลักษณ์ สทุมถิระ เลขานุการ พ.ท.หญิง สายสมร เฉลยกิตติ พ.ต.หญิง รัชนีกร บุณยโชติมา กองบรรณาธิการ พ.ท.หญิง ดร. กัลยา ไผ่เกาะ พ.ท.หญิง เลิศลักษณ์ จีระพันธุ พ.ท.หญิง จันทนา กมลศิลป์ พ.ต.หญิง วาสนา นัยพัฒน์ พ.ต.หญิง เพ็ญศรี ชำนาญวิทย์ ร.อ.หญิง วรรธกร รักอิสสระ ติดต่อ พ.ท.หญิง ยุพิน ยศศรี ประธานฝ่ายวารสารสมาคมพยาบาลทหารบก

แผนกพยาบาลอุบัติเหตุและเวชกรรมฉุกเฉิน (ชั้น 5 อบ.) 315 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทร. 0-2354-7600-28 ต่อ 93434 e-mail: yupin2500@yahoo.com

บทความวิชาการ 1.1 กระบวนการจัดทำสมรรถนะทางการพยาบาล ของพยาบาล กพย.รพ.รร.6 1.2 สมรรถนะพยาบาลชุมชนในสถานบริการสุขภาพ ระดับปฐมภูม ิ 1.3 จมูกถัว่ เหลืองและสุขภาพ รายงานการวิจยั 2.1 เปรียบเทียบผลการใช้รปู แบบการจัดการ ทางการพยาบาล รายกรณีทบี่ รู ณาการระบบ พยาบาลเจ้าของไข้ และทีมการพยาบาล ต่อความสามารถในการจัดการดูแลผูป้ ว่ ย โรคหลอดเลือดสมองของผูด้ แู ล 2.2 ผลของการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ต่อความพึงพอใจในงานของบุคลากรการ พยาบาลหน่วยงานห้องคลอด 2.3 การบริหารชีวติ และสุขภาพของผูส้ งู อายุ สุขภาพดี 2.4 การประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล รุน่ ที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ประชาสัมพันธ์ / ข่าว ประสบการณ์ APN ใบสมัครสมาชิกวารสารพยาบาลทหารบก

สารบัญ

บทความและรายงานวิจัยในวารสารนี้ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนโดยเฉพาะเท่านั้น คณะกรรมการจัดทำวารสาร หรือสมาคมพยาบาลทหารบกไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์เสริมมิตร โทร. 0-2896-7312 โทรสาร 0-2896-7315 Thai Army Nurses 3.indd 1

12/8/06 9:57:58 AM


พ ย า บ า ล ท ห า ร บ ก

ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

บทบรรณาธิการ สวั ส ดี ค่ ะ สมาชิ ก วารสารพยาบาลทหารบกทุ ก ท่ า น วารสารฉบั บ นี้ เป็นฉบับที่ 3 ของคณะกรรมการสมาคมพยาบาล ชุดที่ 8 แล้วนะคะ ฉบับ ที่ 2 เป็นฉบับพิเศษ ซึ่งร่วมฉลองครองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ในฉบั บ นี้ เ ป็ น เนื้ อ หาที่ เ น้ น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งสมั ต ถิ ย ะของพยาบาล ในบทบาทต่างๆ ซึ่งสมาชิกวารสารสามารถเรียนรู้จากบทความที่รวบรวม จากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้านและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง นอกจากนี้ยังมี สาระความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพทั่วไปที่นำไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้ ดิ ฉั น หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า วารสารทุ ก ฉบั บ ที่ ส่ ง มอบให้ แ ก่ ส มาชิ ก จะเป็ น ประโยชน์ สู ง สุ ด สำหรั บ การอ่ า นของท่ า นและสามารถนำไปใช้ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ต่อตัวท่านเองและต่อวิชาชีพต่อไป บรรณาธิการ

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 2

12/8/06 9:58:00 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

กระบวนการการจัดทำสมรรถนะทางการพยาบาล (Nursing Competency) ของพยาบาล กองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า รุ่งทิวา พิมพ์สักกะ*

กองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เป็น หน่วยงานทีส่ ำคัญทีส่ ดุ หน่วยงานหนึง่ ของโรงพยาบาล และมี บุคลากรทีอ่ ยูภ่ ายใต้การกำกับดูแลจำนวนมาก ภารกิจกองการ พยาบาล มีหน้าทีก่ ำกับดูแลพยาบาลให้มคี วามมุง่ มัน่ ในการให้ บริการพยาบาลทีม่ คี ณ ุ ภาพ ถูกต้องตามมาตรฐานวิชาชีพ ด้วย การทำงานเป็นทีม โดยเน้นผูป้ ว่ ยเป็นศูนย์กลาง ดำเนินการ พัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับให้เพียบพร้อมด้วย คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ส่งเสริมให้ผลิตผลงานวิจยั ทางการพยาบาลทีม่ คี ณ ุ ภาพ และ นำผลงานวิจยั มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการบริการพยาบาล อย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ สนับสนุนให้บคุ ลากรเกิดความสุขในการ ทำงาน มีคุณภาพชีวิตที่ดี และปฏิบัติภารกิจตามที่ ได้รับ มอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีความมุ่งมั่นที่จะเป็น องค์กรพยาบาลทีม่ คี วามเป็นเลิศด้านการบริการและวิชาการ เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและภูมิภาค ภายใต้ปรัชญา “คุณภาพมาตรฐาน บริการประทับใจ” นอกจากนีแ้ ล้วภายใต้ บริบทของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ซึง่ เป็นโรงพยาบาลที่ได้ รับการสนับสนุนจากกระทรวงสาธารณสุข ให้เป็นศูนย์การ แพทย์ เ ฉพาะทางในระดั บ ตติ ย ภู มิ ชั้ น สู ง (Center of Excellence) ได้แก่ ศูนย์มะเร็ง ศูนย์อบุ ตั เิ หตุ ศูนย์โรคหัวใจ ทางโรงพยาบาลยังมีนโยบายที่จะผลักดันให้เป็นศูนย์การ แพทย์ทเี่ ป็นเลิศอีก 2 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะ และ ศูนย์เวชศาสตร์ทหาร ดังนัน้ เรือ่ งของการดูแลรักษาพยาบาล ที่มีคุณภาพมาตรฐาน ที่ครอบคลุมในเรื่องของการส่งเสริม สุขภาพ การป้องกันโรค และการดูแลรักษาทีถ่ กู ต้องเหมาะสม

ต้องอาศัยความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และทัศนคติทดี่ ขี อง ผู้ให้การดูแลรักษาพยาบาล จะช่วยให้ผปู้ ว่ ยมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี มีอายุยนื ยาวขึน้ กองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ได้มกี าร กำหนด Job description และ Job specification ของ บุคลากรพยาบาลไว้เป็นลายลักษณ์อักษรมาเป็นเวลานาน ซึ่งต่อมาจะพบว่า การกำหนดเพียงภาระงาน จะทำให้การ พัฒนาบุคลากรทำได้ ไม่ชัดเจนและไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ประกอบกับภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ ความก้าวหน้าทาง วิทยาการและเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข ได้มี การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาอย่างรวดเร็ว ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการรักษาสุขภาพ การดูแลรักษา พยาบาล และสิทธิผปู้ ว่ ยมากขึน้ ส่งผลให้วชิ าชีพพยาบาล ต้ อ งมี ก ารพั ฒ นา และเพิ่ ม สมรรถนะเพื่ อ ให้ ทั น ต่ อ การ เปลีย่ นแปลง โดยเพิม่ ทัง้ ทางด้านการบริหารและการปฏิบตั ิ การพยาบาล เพือ่ ให้การพยาบาลมีคณ ุ ภาพได้มาตรฐาน และ ตอบสนองความต้องการของผู้ ใช้บริการและสังคมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และสมรรถนะยังเป็นปัจจัยพืน้ ฐานทีส่ ำคัญใน การสนับสนุนให้ตวั ชีว้ ดั หลักของผลงาน (KPI) บรรลุเป้าหมาย ได้อย่างสมบูรณ์ และสามารถนำไปใช้เป็นปัจจัยพืน้ ฐานในการ กำหนดแนวทางการพัฒนาบุคลากรร่วมด้วย กองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ได้เริม่ ดำเนินการจัดทำสมรรถนะทางการพยาบาลเมือ่ ปี พ.ศ. 2546 หลั ง ได้ รั บ การรั บ รองกระบวนการคุ ณ ภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation) จากสถาบันพัฒนาและรับรอง

*พันโทหญิง หัวหน้าฝ่ายวิชาการ กพย.รพ.รร.6

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 3

12/8/06 9:58:01 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

คุ ณภาพโรงพยาบาล (พรพ) โดยได้รับความกรุณาจาก อาจารย์ เพ็ญจันทร์ แสนประสาน (ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายการ พยาบาล ด้านวิชาการ ร.พ.จุฬาลงกรณ์ ในขณะนัน้ ) มาเป็น วิทยากรให้ความรู้ ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ทำให้มอง เห็นแนวทางในการจัดทำ และทีมงานพยาบาลได้ ไปศึกษา หาความรูเ้ พิม่ เติม ทัง้ จากฝ่ายการพยาบาล ร.พ.จุฬาลงกรณ์, ร.พ.ศิรริ าช ร.พ.ภูมพิ ล และสถาบันต่างๆรวมทัง้ จากเว็บไซต์ ต่างๆ จึงได้กำหนดแนวคิดเกีย่ วกับ Competency ว่าเป็นองค์ ประกอบ (Cluster) ของความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) ทัศนคติ (Attitudes) ของปัจเจกบุคคลทีม่ อี ทิ ธิพลอย่างมากต่อ ผลสัมฤทธิ์ของการทำงานของบุคคลนั้นๆ เป็นบทบาทหรือ ความรับผิดชอบซึง่ สัมพันธ์กบั ผลงาน สามารถวัดค่าเปรียบ เทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน และสามารถพัฒนาได้ โดยการฝึก อบรม (Scott Parry, 1998) เพือ่ ให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์และพันธ กิจของกองการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพ กพย.รพ.รร.6 จำเป็นต้องมีความสามารถ/สมรรถนะ (Competency) 3 ประการ ดังนี ้ 1. สมรรถนะหลักขององค์กร (Core Competency) / อุดมการณ์ (Core Values) เป็นสมรรถนะหลักขององค์กร ทีท่ กุ คนในทุกหน่วยงาน ต้องถือปฏิบตั เิ ป็นรูปแบบเดียวกัน เพือ่ ให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ พันธกิจ ขององค์กร ดังนี ้ 1. ภาวะผูน้ ำ (Leadership) 2. การบริการทีด่ ี (Service Mind) 3. การมุง่ ผลสัมฤทธิ์ (Achievement motivation) 4. การสัง่ สมความเชีย่ วชาญในงานอาชีพ (Expertise) 5. การเน้นผูร้ บั ผลงานเป็นศูนย์กลาง ทัง้ ผูร้ บั ผลงาน ในระดับองค์กร / หน่วยบริการสุขภาพ ทหาร และประชาชน ผูร้ บั บริการ (Customer focus) 6. ความร่วมแรงร่วมใจทำงานเป็นทีม สามัคคี มีความ เอือ้ อาทร ในลักษณะกัลยาณมิตร (Teamwork) 7. วัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (Learning dynamics) 8. การเป็นองค์กรทีม่ วี ฒ ั นธรรมคุณภาพการประเมิน และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง (Quality mind) 9. การรักษามาตรฐานและจริยธรรมแห่งวิชาชีพใน ระดับสูง (Integrity)

2. สมรรถนะหลักของวิชาชีพ (Professional Competency) เป็นสมรรถนะของแต่ละวิชาชีพ ซึ่งจะกำหนดไว้ว่า บุคคลในวิชาชีพนั้นๆ ควรมีสมรรถนะ หรือคุณลักษณะ อย่างไร พยาบาลทุกคนของกองการพยาบาล โรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า ต้องมีสมรรถนะหลักที่จำเป็นของวิชาชีพ (Professional Competency) เพิม่ เติมจากสภาการพยาบาล (14ข้อ) จำนวน 13 ข้อ ดังนี ้ 1) ความรูเ้ กีย่ วกับพยาธิสรีรวิทยาตามกลุม่ โรคเฉพาะ สาขา (Pathology) (CK1) 2) ความรูเ้ กีย่ วกับแนวทางการรักษาพยาบาลและผล ของยาที่ใช้ในแต่ละโรค/สาขา (Treatment) (CK2) 3) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและจริยธรรมวิชาชีพ (Ethic) (CK3) 4) ความสามารถในการประเมินปัญหาผูป้ ว่ ย (CS1) 5) ความสามารถในการวางแผนการพยาบาล (CS2) 6) ความสามารถในการปฏิ บั ติ ก ารพยาบาลตาม มาตรฐานวิชาชีพ (CS3) 7) ความสามารถในการประเมินผลการพยาบาล (CS4) 8) ความสามารถในการตัดสินวินจิ ฉัยสัง่ การ (CS5) 9) ความสามารถในการให้ความรู้ ให้คำปรึกษา ให้การ ช่วยเหลือแก่ผปู้ ว่ ย / ผู้ใช้บริการและครอบครัว และบุคลากร ทีต่ ำ่ กว่าวิชาชีพ (CS6) 10) ความสามารถในการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้น พืน้ ฐาน (BLS) (CS7) 11) ทั ศ นคติ ต่ อ วิ ช าชี พ / การปฏิ บั ติ ก ารพยาบาล (Professional) (CA1) 12) ทัศนคติตอ่ องค์กร (CA2) 13) ทัศนคติตอ่ การทำงานเป็นทีม (CA3) นอกจากสมรรถนะหลั ก ที่ จ ำเป็ น ของวิ ช าชี พ (Professional Competency) แล้วยังได้จัดทำสมรรถนะ ผูบ้ ริหาร (Executives) กองการพยาบาลขึน้ โดย ผูบ้ ริหาร กองการพยาบาล หมายถึง พยาบาลวิชาชีพทีม่ ปี ระสบการณ์ การทำงาน และคุณสมบัตติ ามข้อกำหนดของกองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ผ่านการสรรหาหรือแต่งตัง้ โดย บุคคลทีม่ อี ำนาจ ตามนโยบายของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า มาปฏิบตั หิ น้าทีผ่ บู้ ริหาร

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 4

12/8/06 9:58:02 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ส่วนประกอบของเลือด (CS2) 1. ผู้บริหารระดับสูง หมายถึง ผู้อำนวยการกองการ 5) ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยทำหัตถการที่พบ บ่อย (เจาะปอด เจาะตับ เจาะหลัง เจาะไขกระดูก ICD IPD พยาบาล PTCA Cardiac Cath) (CS3) 2. ผูบ้ ริหารระดับกลาง หมายถึง - รองผู้อำนวยการ กองการพยาบาล [รอง ผอ. 6) ความสามารถในการใช้เครื่องมือทางการแพทย์ (Defibrillator, EKG, Infusion Pump, BP Monitor (CS4) กพย. (1) และผูช้ ว่ ย ผอ.กพย. (2)] - ผู้ช่วยผู้อำนวยการ กองการพยาบาล [ผู้ช่วย 7) ความสามารถในการบริหารความเสีย่ ง (CS5) 8) ความสามารถในการดู สิ่ ง แวดล้ อ มและ Unit ผอ.กพย. 1 และผูช้ ว่ ย ผอ.กพย. 2)] ผูป้ ว่ ย (CS6) - หัวหน้าพยาบาลแผนกพยาบาล 9) ความสามารถในการติดต่อประสานงาน (CS7) - หัวหน้าฝ่าย ส่วนบังคับบัญชา 10) ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมทีแ่ สดงออก 3. ผูบ้ ริหารระดับต้น (CS8) - หัวหน้าหอผู้ป่วย,หัวหน้าห้องตรวจโรค หัวหน้า กับผู้ใช้บริการและผูร้ ว่ มงาน 11) ความสามารถในการวางแผนการดูแลผูป้ ว่ ยอย่าง หน่วย / คลินกิ พิเศษ (CS9) ซึ่ ง สมรรถนะ (Competency) หรื อ คุ ณ ลั ก ษณะ ต่อเนือ่ ง ั ญี ได้กำหนดสมรรถนะเชิงเทคนิค เชิงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของบุคลากรในระดับผู้บริหาร แผนกพยาบาลวิสญ (Executives) กองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ไว้ 9 ข้อ ดังนี ้ 1) ความรู้เกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยาตามกลุ่มโรคและ ได้แก่ ผูป้ ว่ ยที่ได้รบั ยาระงับความรูส้ กึ (CK1) 1. วิสยั ทัศน์ (Visionary leadership) 2) แนวทางการให้ยาระงับความรู้สึก การพยาบาล 2. การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic orientation) (CK2) 3. ศักยภาพเพือ่ นำการปรับเปลีย่ น (Change leadership) และผลของยาระงับความรูส้ กึ 3) หลักการใช้และการดูแลเครือ่ งมือทางวิสญ ั ญี (CK3) 4. การควบคุมตนเอง (Self – control) 4) การใช้ ก ระบวนการพยาบาล และบั น ทึ ก ทาง 5. การให้อำนาจแก่ผอู้ นื่ (Empowerment) การพยาบาล (CS1) 3. สมรรถนะเชิงเทคนิค (Technical Competency) (CS2) เป็นสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตามลักษณะเฉพาะ 5) การทำหัตถการเฉพาะสาขา (CS3) ของแต่ละกิจกรรม ในการปฏิบตั กิ ารพยาบาลมีกจิ กรรมต่างๆ 6) การปฏิบตั กิ ารกูช้ วี ติ ทีส่ ำคัญและจำเป็นในวิชาชีพ กองการพยาบาลได้มอบหมาย 7) ความปลอดภัยและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจาก ั ญี (CS4) ให้แต่ละแผนกพยาบาลเป็นผู้จัดทำสมรรถนะเชิงเทคนิค บริการวิสญ 8) ทัศนคติตอ่ องค์กร (CA1) ทีจ่ ำเป็นของแผนกพยาบาลนัน้ ๆ เช่น (CA2) แผนกพยาบาลอายุ ร กรรม ได้ ก ำหนดสมรรถนะ 9) ทัศนคติตอ่ การปฏิบตั งิ าน แนวทางการประเมินความสามารถ / สมรรถนะ เชิงเทคนิคไว้ 11 ข้อ ดังนี ้ 1) ความรู้เกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยาและแนวทางการ (Competency) พยาบาล กพย.รพ.รร.6 ประกอบด้วย รักษาพยาบาลในกลุม่ โรคทีพ่ บบ่อย (CK1) 1. การกำหนดผูป้ ระเมิน 2) ความรูเ้ กีย่ วกับการบริหารยาในหอผูป้ ว่ ยและ High 2. การกำหนดวิธกี ารประเมิน Alert Drug (CK2) 3. การจัดทำคูม่ อื การประเมิน 3) ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยที่ ใช้เครื่องช่วย 4. การกำหนดระยะเวลาการประเมิน หายใจ (CS1) 5. การแปลผลการประเมิน 4) ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยที่ ได้รับเลือดและ 6. การกำหนด Training needs ทีส่ ำคัญ

ระดับของผูบ้ ริหารกองการพยาบาล

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 5

12/8/06 9:58:03 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

1. การกำหนดผูป้ ระเมิน คุณสมบัตผิ ปู้ ระเมิน 1.1 ผู้ ป ระเมิ น จะต้ อ งมี ค วามชำนาญการ และมี ประสบการณ์การทำงานในสาขางานทีจ่ ะประเมิน ไม่ตำ่ กว่า 5 ปี และ / หรือ ได้รบั การอบรมเฉพาะทางในสาขางานนัน้ ๆ 1.2 มีผลการปฏิบัติงานเป็นที่ยอมรับของทีมงานการ พยาบาล รวมทัง้ ทีมสหสาขาวิชาชีพ 1.3 ในแต่ละหน่วยงานสามารถมีผปู้ ระเมินได้มากกว่า 1 คน 2. การกำหนดวิธกี ารประเมิน แต่ ล ะหน่ ว ยงาน หรื อ กลุ่ ม งานสามารถมี วิ ธี ก าร ประเมินได้หลายรูปแบบตามความเหมาะสม (ควรประเมิน ตัง้ แต่ 2 วิธขี นึ้ ไป ) ดังนี ้ 2.1 การออกแบบทดสอบ โดยการสอบข้อเขียนหรือ สอบปากเปล่า ( ถาม / ตอบ ) แล้วให้คะแนน 2.2 การสังเกต โดยการสุ่มให้ปฏิบัติ (practice) สามารถซักถามได้ (จะทำให้วดั ได้ทงั้ Knowledge Skill และ Attitude) 2.3 จากการรับเวร – ส่งเวร, การทำ Pre – Post Conference, Case Conference, จากโครงการต่าง ๆ หรือ งานทีม่ อบหมาย เป็นต้น 2.4 การตรวจเวชระเบียน ตามคูม่ อื Nursing Audit Chart ของกองการพยาบาล 3. การจัดทำคูม่ อื การประเมิน 3.1 สภาการพยาบาล ได้กำหนดสมรรถนะหลักของ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ไว้จำนวนทัง้ สิน้ 14 สมรรถนะ (พยาบาลทุกคนของกองการ พยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ต้องผ่านการประเมิน สมรรถนะหลักที่จำเป็นของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ของสภาการพยาบาล โดยใช้เกณฑ์ พฤติกรรมทีป่ รากฏตามความเป็นจริง ผ่าน = 3 คือ ระดับ ปานกลาง) 3.2 กองการพยาบาล จัดทำแบบประเมินสมรรถนะ (Competency) พยาบาล กพย.รพ.รร.6 พร้อมคูม่ อื เพือ่ ใช้ ประเมิ น Professional Competency ของพยาบาล กพย.รพ.รร.6 จำนวนทัง้ สิน้ 13 สมรรถนะ 3.3 หน่ ว ยงาน หรื อ กลุ่ ม งานต่ า งๆ ของกอง

การพยาบาล จั ด ทำสมรรถนะเชิ ง เทคนิ ค (Technical Competency) หรือความสามารถในสายงาน (Functional Competency) เป็นสมรรถนะในการปฏิบตั งิ านตามลักษณะ ของแต่ละกิจกรรม ซึง่ มีกจิ กรรมต่างๆ ทีส่ ำคัญ และจำเป็นใน วิชาชีพแต่ละสาขาหลัก 3.4 การจัดทำแบบประเมินและคูม่ อื การประเมิน ควร จัดทำโดยทีมงานในหน่วยงานหรือ กลุม่ งาน เพือ่ ให้เกิดความ เข้าใจตรงกัน 4. การกำหนดระยะเวลาการประเมิน 4.1 สมรรถนะหลักที่จำเป็นของผู้ประกอบวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ชนั้ หนึง่ ของสภาการพยาบาล 14 สมรรถนะหลัก มีระยะเวลาการประเมินดังนี ้ 4.1.1 พยาบาลผู้เริ่มปฏิบัติงานใหม่ 6 เดือนแรก (เพือ่ ดูพนื้ ฐาน) ประเมินโดยตนเองและผูบ้ งั คับบัญชาระดับต้น 4.1.2 พยาบาลที่กำลังปฏิบัติงานอยู่แล้ว ปีละ 1 ครัง้ ( ต.ค. ) ประเมินโดยตนเองและผูบ้ งั คับบัญชาระดับต้น 1.1 สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพ กพย.รพ.รร.6 13 สมรรถนะหลัก - ประเมิน ปีละ 2 ครัง้ ในเดือน มิ.ย. และ ธ.ค. ของ ทุกปี โดยทีมผูป้ ระเมินทีก่ องการ พยาบาลแต่งตัง้ ขึน้ ตามข้อ กำหนดคุณสมบัติของผู้ประเมิน Competency กองการ พยาบาล 1.2 สมรรถนะเชิงเทคนิค (Technical Competency) หรือความสามารถในสายงาน (Functional Competency) - ประเมิน ปีละ 1 ครัง้ ในเดือน ก.ย. โดยทีมผูป้ ระเมิน ทีห่ น่วยงานหรือกลุม่ งานแต่งตัง้ ขึน้ ตามข้อกำหนดคุณสมบัติ ของผูป้ ระเมิน Competency ของกองการพยาบาล 1.3 กรณีผลการประเมินของแต่ละบุคคลหรือภาพรวม มีผลคะแนนต่ำกว่าเกณฑ์ ผูบ้ ริหารและทีมผูป้ ระเมินจะนำมา พิจารณา เพือ่ หาแนวทางในการพัฒนา และทำการประเมิน ซ้ำภายใน 3 เดือน หรือ 6 เดือน โดยพิจารณาตามความ เหมาะสม 5. การแปลผลการประเมิน วิธีการแปลผลแต่ละรูปแบบ จะประเมินโดยการใช้ มาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ (Likent’s Scale) มีการ กำหนดคะแนนและแสดงผลเป็นร้อยละ และค่าเฉลียสำหรับ ระดับคะแนนของพฤติกรรม (Level of Behavior) จาก

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 6

12/8/06 9:58:04 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

คะแนนเต็ม 100 คะแนน 5.1 คะแนนจากแบบทดสอบ หรือสอบปากเปล่ า คิดเป็น 30% 5.2 คะแนนจากการสังเกต การสุม่ ให้ปฏิบตั ิ การรับเวร – ส่งเวร การทำ Pre – Post Conference, การทำ Case Conference และการตรวจเวชระเบียน (Nursing Audit Chart ) คิดเป็น 70 % 5.3 การคิดคะแนน 100% ของพยาบาลแต่ละระดับมี ความแตกต่างกันไปตามข้อกำหนดของการประเมิน 5.4 ผลการประเมินของแต่ละครัง้ แต่ละคน ใช้เปรียบ เทียบความคงทีแ่ ละการเปลีย่ นแปลง เป็นรายข้อ และโดย ภาพรวม และใช้เป็นโอกาสพัฒนา 6. การกำหนด Training needs ทีส่ ำคัญ 6.1 แต่ละหน่วยงาน/กลุม่ งาน ใช้ โรคทีเ่ ป็นความเสีย่ ง และพบบ่อยเป็นตัวกำหนด (5 อันดับโรคแรก) โดยคำนึงถึง สมรรถนะทีจ่ ำเป็นของพยาบาลทีจ่ ะสามารถให้การดูแลผูป้ ว่ ย ในโรคนัน้ ๆ ได้อย่างปลอดภัย 6.2 แต่ละหน่วยงาน/กลุ่มงาน อาจใช้การประเมิน ความต้องการ (Survey Training need) โดยการสอบถาม จากบุคลากรถึงความต้องการการอบรม โดยมุง่ เน้นในเรือ่ งการ รักษา พยาบาลและการดูแลผูป้ ว่ ยในสาขานัน้ ๆ 6.3 ผู้ บ ริ ห าร กลุ่ ม งานผู้ ป ระเมิ น และที ม งานที่ เกีย่ วข้อง รวบรวมและวิเคราะห์หวั ข้อการอบรมแล้ววางแผน การอบรมตามความเหมาะสม 6.4 การจัดการอบรมในแต่ละเรือ่ ง ควรกำหนดวิธกี าร ประเมินทีเ่ หมาะสม และควรมีตงั้ แต่ 2 วิธขี นึ้ ไป เช่น การทำ Pre – Post test การสุม่ ปฏิบตั หิ ลังรับการอบรม เป็นต้น 6.5 กองการพยาบาลกำหนด Training need จาก 6.5.1 นโยบายของกองการพยาบาลตามเข็มมุง่ ของ โรงพยาบาล 6.5.2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลจากดัชนีชวี้ ดั คุณภาพของ กพย. ทีเ่ บีย่ งเบนไปในทิศทางที่ไม่พงึ ประสงค์ ข้อมูลจากการ นิเทศทางการพยาบาลทีเ่ ป็นปัญหา เป็นต้น 6.5.3 ผลการประเมินสมรรถนะหลักที่จำเป็นของ ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ของสภา การพยาบาล และสมรรถนะหลั ก ของพยาบาลวิ ช าชี พ กองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

6.5.4 จากการประเมินความต้องการ (Survey Training Need) ประจำปี

ประโยชน์ของ Competency

เราสามารถนำ Competency มาช่วยในเรือ่ งของการ สนับสนุนวิสยั ทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ขององค์กร เป็นเครือ่ ง บ่งชี้ที่สนับสนุนระบบตัวชี้วัดหลักของผลงาน (KPIs) เป็น เครือ่ งมือในการแปรกลยุทธ์ขององค์กรสูก่ ารบริหารคน เป็น เครือ่ งมือในการพัฒนาความสามารถของคนในองค์กรอย่างมี ทิศทาง ใช้ ในการประเมินมาตรฐานของพฤติกรรมในการ ปฏิบตั งิ าน และเป็นเครือ่ งมือในการบริหารงานด้านทรัพยากร มนุษย์ โดยเฉพาะเรือ่ งของการพัฒนาฝึกอบรมให้สอดคล้อง เหมาะสมกับงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการประเมินผลงาน รวมทั้ ง ใช้ ใ นการบริ ห ารผลตอบแทน เลื่ อ นระดั บ ปรั บ ตำแหน่งงานให้มคี วามชัดเจนมากขึน้ อย่างไรก็ตามถึงแม้ กพย.รพ.รร.6 จะมีกระบวนการ พัฒนาในเรือ่ งการกำหนดสมรรถนะด้านวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ (Processional Competency) และ กำหนดสมรรถนะด้านการปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะสาขา (Technical Competency) เพือ่ ประเมินความรูค้ วามสามารถ และทักษะในการทำงาน รวมทัง้ พัฒนาบุคลากรตามผลการ ประเมินแล้ว แต่ยังพบปัญหาและอุปสรรคในการประเมิน เพราะจากการติดตามประเมิน Competency จะไม่ได้ผลลัพธ์ ที่สะท้อนคุณภาพในด้านต่างๆ อย่างชัดเจน หรือ ผลการ ประเมินไม่ตรงตามความเป็นจริง ทำให้นำผลการประเมินมา พัฒนาได้ ไม่ตรงจุด ซึง่ อาจเกิดจากเกณฑ์การวัดสมรรถนะยัง ไม่ชัดเจนและครอบคลุม ในเรื่องของตัวบ่งชี้พฤติกรรมใน แต่ละด้าน หรือผู้ประเมินยังไม่ชัดเจนในเรื่องวัตถุประสงค์ ของการประเมินสมรรถนะ รวมทั้งประเด็นที่สำคัญยิ่งคือ กพย.รพ.รร.6 ได้ รั บ ข้ อ เสนอแนะเพื่ อ การพั ฒ นา จาก พรพ.ภายหลัง Re-accreditation (24-26 ส.ค.48) ไว้ว่า สำหรับการพัฒนาความรูร้ ะดับผูน้ ำทางการพยาบาล สมควร ขยายผลการพัฒนาให้ครอบคลุม การพัฒนาผู้นำทางการ พยาบาล ให้มคี วามครบถ้วนของสมรรถนะทางการพยาบาล ทัง้ ด้านการบริหารงาน (Executive Competency) และการ ปฏิบตั กิ ารพยาบาลเฉพาะสาขา (Technical Competency) ที่ ตอบสนองต่ อ การบริ ก ารที่ เ ป็ น เลิ ศ รวมทั้ ง การพั ฒ นา สมรรถนะทางเทคนิคของบุคลากร โดยเฉพาะพยาบาล วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 7

12/8/06 9:58:05 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ให้สอดคล้องกับทิศทางของการพัฒนาของโรงพยาบาล ซึง่ เน้นการเป็นศูนย์การแพทย์ระดับตติยภูมแิ ละ Center of Excellence ดั งนัน้ กพย.รพ.รร.6 ยังคงต้องมีกระบวนการพัฒนาในเรือ่ งของสมรรถนะของพยาบาลอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้เกิดคุณภาพของการ บริการ คือ การบริการที่ได้มาตรฐาน ไร้ขอ้ ผิดพลาด เกิดผลลัพธ์ทดี่ แี ละเป็นทีพ่ งึ พอใจ รวมทัง้ การพัฒนาคุณภาพการบริการมีเป้า หมายสูงสุดคือ เพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องผู้ใช้บริการ ตามศักยภาพสูงสุดเท่าทีเ่ ป็นไปได้ และภายใต้ขอ้ จำกัดของการขาดแคลน บุคลากรทางการพยาบาล ท้ายทีส่ ดุ นี้ ผูบ้ ริหารต้องมีความเข้าใจขัน้ ตอนการจัดทำสมรรถนะ มีสว่ นร่วมในการจัดทำสมรรถนะ เพราะสมรรถนะมีความจำเป็นในการทำงานและเป็นรากฐานขององค์กร เอกสารอ้างอิง

เพ็ญจันทร์ แสนประสาน และคณะ. (2548). การจัดการทางการพยาบาลสูก่ ารเรียนรู.้ พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษทั สุขมุ วิทการพิมพ์จำกัด. เอกสารการจัดทำ Nursing Competency ของกองการพยาบาล โรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช. (2545). ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ.์ (2548). เริม่ ต้นอย่างไร เมือ่ จะนำ Competency มาใช้ในองค์กร. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี่ (ไทย-ญีป่ นุ่ ). อาภรณ์ ภูว่ ทิ ยาพันธุ.์ (2547). Career Development in practice. กรุงเทพฯ : เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 8

12/8/06 9:58:06 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

สมรรถนะพยาบาลชุมชน ในสถานบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ นงพิมล นิมิตรอานันท์ *

บทนำ บทความนี้ต้องการทบทวนแนวคิดและนำเสนอข้อค้นพบของนักวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับสมรรถนะของ พยาบาลชุมชนซึ่งเป็นผู้ ให้บริการในสถานบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิของสังคมไทยในปัจจุบัน รวมทั้งข้อวิ พากษ์และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา อันจะเป็นประโยชน์ ในการกำหนดเป้าหมายและรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะ ของพยาบาลวิชาชีพเพื่อสามารถทำงานในศูนย์สุขภาพชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวคิดการดูแลระดับปฐมภูม ิ สื บ เนื่ อ งจากเจตนารมณ์ ข องรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราช อาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 52 ทีก่ ำหนดว่า “บุคคล ย่อมมีสิทธิเสมอกันในการได้รับบริการสาธารณสุขที่ ได้ มาตรฐานและผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจาก สถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ ตามทีก่ ฎหมายบัญญัต”ิ รัฐจึงดำเนินการออกพระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ.2545 ขึ้น โดยมีมาตรา ทีส่ ำคัญสำหรับวิชาชีพพยาบาลหลายมาตราโดยเฉพาะมาตรา ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่ง

หมายรวมถึง การที่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ สามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพ มีส่วนร่วมในการดูแลและ บริหารจัดการระบบได้ โดยถือว่าสุขภาพเป็นเรื่องของ ประชาชนทุกคนและเพือ่ ประชาชนทุกคน โดยสนับสนุนให้ ประชาชนสร้างสุขภาพมากกว่าซ่อมสุขภาพ

ความเป็นรูปธรรมอย่างหนึ่งของแนวคิดหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้าตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การจัดตั้ง ศูนย์สขุ ภาพชุมชน (ศสช.) ขึน้ กระจายทัว่ ไปในทุกชุมชน โดย เป็นหน่วยบริการที่มุ่งให้การดูแลระดับปฐมภูมิ (Primary care) ซึง่ เป็นบริการพืน้ ฐานทีป่ ระชาชนพึงได้รบั โดยเท่าเทียม กัน การจัดบริการระดับปฐมภูมเิ ป็นการเปลีย่ นวิธคี ดิ เปลีย่ น รูปแบบการบริหารและจัดการ เปลีย่ นสมรรถนะของบุคลากร ทุกวิชาชีพที่ประจำอยู่ที่ ศสช. โดยเฉพาะวิชาชีพพยาบาล ทัง้ นี้ เพือ่ มุง่ สูค่ วามเป็นครอบครัวผาสุก ชุมชนเข้มแข็งและ เมื อ งไทยแข็ ง แรง รั ฐ จึ ง ต้ อ งสนั บ สนุ น ให้ ส ถานี อ นามั ย ศูนย์สุขภาพชุมชน และศูนย์บริการสาธารณสุข (ซึ่งเป็น บริการด่านแรก) มีศักยภาพและคุณภาพเพียงพอในการให้ บริการแก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ถือได้ว่าเป็นสถาน พยาบาลประจำครอบครัว เป็นสถานบริการเชิงรุกทีจ่ ดั บริการ โดยพยาบาลประจำครอบครัว

* พันโทหญิง ดร. อาจารย์ประจำภาควิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน กองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 9

12/8/06 9:58:07 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

นี้หมายรวมถึงความรู้ที่กว้างขวาง ทัศนคติและพฤติกรรมที่ สามารถสังเกตได้ คุณสมบัตทิ งั้ สามประการนีจ้ ะเป็นทีม่ าของ การแสดงออกถึงความสามารถที่จะให้บริการทางวิชาชีพ เฉพาะได้ สมรรถนะมีการพัฒนาและสั่งสมมาจากความรู ้ ทักษะและบุคลิกภาพ (Spitzer–Lehmann, 1994) สมรรถนะ ยั ง ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลมาจากปั จ จั ย หลายอย่ า ง เช่ น อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน การศึกษา และการได้รับการ ศึกษาอบรมเพิม่ เติม สำหรับสมรรถนะทางการพยาบาลนัน้ น่ า จะครอบคลุ ม ถึ ง ความสามารถในการปฏิ บั ติ ง านตาม ขอบเขตหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพทุกด้าน สมรรถนะใน วิชาชีพด้านสุขภาพสามารถกำหนดได้จากหลายทิศทางตาม อิทธิพลที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ การประเมินสมรรถนะควร พิจารณาจากความคิดเห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญ สถานทีป่ ฏิบตั งิ าน ประเภทของผู้ รั บ บริ ก ารหรื อ ปั ญ หาสุ ข ภาพที่ เ ผชิ ญ อยู ่ ลักษณะเฉพาะของวิชาชีพ และภาวะทางเศรษฐกิจสังคมของ ชุมชนหรือของประเทศ ดังนั้น การกำหนดสมรรถนะที่ ต้องการสำหรับวิชาชีพจึงต้องตรวจสอบจากองค์ประกอบ ดังกล่าว โดยเลือกปัจจัยทีม่ คี วามสำคัญและเกีย่ วข้องมากทีส่ ดุ ควรใช้แหล่งข้อมูลและวิธกี ารเก็บข้อมูลทีห่ ลากหลาย ในทาง ปฏิบตั คิ วรใช้แหล่งข้อมูลที่ใกล้ตวั ทีส่ ดุ และใช้วธิ กี ารเก็บข้อมูล แบบง่ายก่อนทีจ่ ะไปหาแหล่งข้อมูลที่ไกลตัวและใช้วธิ กี ารเก็บ ข้อมูลแบบยาก ในห้วงของการปฏิรปู ระบบสุขภาพทีผ่ า่ นมา สภาการ พยาบาลมี น โยบายปฏิ รู ป การพยาบาลที่ ส อดคล้ อ งกั น ยุ ท ธศาสตร์ ห นึ่ ง ของการปฏิ รู ป คื อ การพั ฒ นาบุ ค ลากร พยาบาลให้มีสมรรถนะเหมาะสมกับการปฏิบัติงานในระบบ บริการสุขภาพที่ปรับเปลี่ยนไป สภาการพยาบาลได้กำหนด สมรรถนะของพยาบาลผู้ปฏิบัติงานในสถานบริการสุขภาพ ระดับปฐมภูมไิ ว้ 7 ประการ ได้แก่ 1) สามารถคัดกรอง ระบุความผิดปกติและความเสีย่ ง ในระยะแรกทัง้ ในบุคคลทีป่ กติ บุคคลทีเ่ สีย่ งต่อการเจ็บป่วย และกลุ่มคนพิการเพื่อจัดการให้บริการที่เหมาะสมและมี สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการปฐมภูม ิ ประสิทธิภาพ คำว่า “สมรรถนะ” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต 2) สามารถเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์และปัจจัย สถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายไว้วา่ คือ ความสามารถ ที่อาจมีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของประชาชนและภาวะ คำนีม้ าจากคำภาษาอังกฤษว่า competency ซึง่ มีผู้ให้ความ คุกคามสุขภาพ หมายไว้ตา่ งๆ กัน McGaghie และคณะ (1978) กล่าวว่าคำ 3) สามารถตรวจวินจิ ฉัยโรคเบือ้ งต้น โดยได้รับการกำหนดพื้นที่และมอบหมายสถานที่รับ บริการ จำนวนครัวเรือนและประชากรที่รับผิดชอบอย่าง ชัดเจน นอกจากนี ้ ยังเน้นบริการทีม่ เี ครือข่ายโดยใช้ระบบ ส่งต่อและการประสานงานระหว่างพยาบาลประจำครอบครัว กับโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลระดับตติยภูมิตาม ลำดับ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดพันธกิจของ ศสช. ไว้ 6 ประการ คือ 1) เป็นทีป่ รึกษาและช่วยสร้างความรูค้ วามเข้าใจด้าน สุขภาพ 2) ให้การบริบาลดูแลรักษาพยาบาลทางด้านร่างกาย และจิตใจอย่างผสมผสานเป็นเบือ้ งต้น 3) ให้คำปรึกษาทางด้านจิตใจ ด้านสังคมในระดับเบือ้ ง ต้นและส่งต่อ 4) ให้บริการดูแลด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน โรคและสนับสนุนการพึง่ ตนเองด้านสุขภาพ 5) ให้การดูแลบริบาลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพเรื้อรังที่ต้อง ดูแลอย่างต่อเนือ่ ง 6) ประสานบริการกับหน่วยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องในการให้ บริการอย่างต่อเนือ่ งและผสมผสาน (กระทรวงสาธารณสุข, 2545) จากพันธกิจดังกล่าวทำให้วชิ าชีพพยาบาลซึง่ ได้รบั การ ยอมรับและยกย่องจากทุกสาขาในวิชาชีพสุขภาพว่าจะเป็น วิชาชีพหลักของความสำเร็จในการจัดบริการระดับปฐมภูมิ จำเป็นต้องเร่งศึกษาทำความเข้าใจในปรัชญาของการบริการ ปฐมภูมิและหลักการดำเนินงานของ ศสช. เป็นอย่างดี เนือ่ งจากการทีผ่ ปู้ ว่ ยจะได้รบั บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพนัน้ พยาบาล วิชาชีพต้องมีสมรรถนะที่เหมาะสมด้วย (Kelly–Thomas, 1998) และที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งคือ ต้องทำการศึกษาเพื่อ ทบทวนสมรรถนะหรือคุณสมบัต/ิ คุณลักษณะทีเ่ หมาะสมเสีย ใหม่ เพือ่ สามารถปฏิบตั งิ านตามพันธกิจทัง้ 6 ประการนัน้ ได้ อย่างเกิดประโยชน์สงู สุดแก่ประชาชน (ทัศนา บุญทอง,2544)

10 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 10

12/8/06 9:58:08 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

4) สามารถตัดสินใจวางแผนให้การรักษาพยาบาลร่วม กับผู้รับบริการทั้งภาวะฉุกเฉิน ปกติ และเรื้อรังได้อย่าง ปลอดภัย 5) สามารถให้การรักษาโรคเบือ้ งต้นต่างๆ ตามขอบเขต ของวิชาชีพ 6) ทำการส่งต่อผูป้ ว่ ยในกรณีทเี่ กินขอบเขตความรับผิด ชอบในการดูแล 7) ผสมผสานความรู้ ในวิชาชีพและความรู้จากสาขา ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง (ทัศนา บุญทอง,2544) นักวิจัยทางการพยาบาลหลายท่านได้ร่วมกันกำหนด ความชัดเจนและขอบเขตของสมรรถนะของพยาบาลชุมชนขึน้ โดยใช้กระบวนการวิจัยหลายเรื่อง มีการเก็บข้อมูลจากผู้ที่ เกีย่ วข้องหลายกลุม่ และหลายพืน้ ที่ ใช้รปู แบบการวิจยั ทัง้ เชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพ และใช้วธิ กี ารเก็บข้อมูลทีห่ ลากหลาย ผลการวิจยั สะท้อนให้เห็นความจำเป็นของวิชาชีพพยาบาลที่ ต้องปรับกระบวนทัศน์ในการปฏิบตั หิ น้าที่ใน ศสช. ทัง้ เป็น ผูจ้ ดั การระบบบริการและให้บริการสุขภาพด้วยตนเอง ในทีน่ ี้ ผูเ้ ขียนได้เลือกข้อค้นพบมานำเสนอเป็นบางเรือ่ ง ดังนี ้ จันทร สังข์สวุ รรณ (2538) ทำการสัมภาษณ์ผกู้ ำหนด นโยบาย ผู้นิเทศและพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในสถานี อนามัย พบว่า สมรรถนะทีจ่ ำเป็นในระดับมากทีส่ ดุ สำหรับ พยาบาลกลุม่ นีม้ ี 13 รายการ เรียงตามลำดับ ดังนี้ 1) มีความเต็มใจทีจ่ ะปฏิบตั งิ านในชุมชน 2) ปฏิบตั กิ ารพยาบาลทีม่ งุ่ ช่วยเหลือประชาชนโดยไม่ แอบแฝงการหาผลประโยชน์ 3) มีความรับผิดชอบสูง 4) ให้การรักษาเบื้องต้นตามขีดความสามารถของ พยาบาลวิชาชีพ 5) เข้าใจและใช้หลักการสาธารณสุขมูลฐานเป็นตัว กำหนดบริการที่สมบูรณ์แบบและสัมพันธ์กับกระบวนการ ปฏิบตั กิ ารพยาบาล 6) นำนโยบายสู่ ก ารปฏิ บั ติ ใ นรู ป ของแผนงานที่ สอดคล้องกับสภาพของชุมชน 7) เป็นแบบอย่างทีด่ ที งั้ ในเรือ่ งส่วนตัว และการปฏิบตั ิ งานในหน้าที ่ 8) วิเคราะห์ และกำหนดแนวทางช่วยเหลือผูป้ ว่ ยร่วม กับบุคคล ครอบครัวหรือชุมชนให้ ได้รบั การดูแลรักษาทีถ่ กู ต้อง

9) ใช้ยาได้ถกู ต้อง 10) ให้บริการพยาบาลโดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค 11) ปรับตัวให้เข้ากับบุคคลได้ทกุ ระดับ 12) ช่วยเหลือ และเป็นทีป่ รึกษาทีด่ แี ก่ผรู้ ว่ มงานและ ประชาชน และ 13) สนับสนุนให้ประชาชนมีพฤติกรรมอนามัยทีด่ อี ย่าง ต่อเนือ่ งภายใต้การดำเนินงานของประชาชนเอง หทัยชนก บัวเจริญ (2545) ศึกษาบทบาทและขอบเขต ของวิชาชีพพยาบาล และฐานองค์ความรู้ ในการให้บริการ สุขภาพระดับปฐมภูมิ พบว่า พยาบาลเป็นผู้ ให้บริการเชิงรุก ตรวจรักษาโรคเบื้องต้น ดูแลฟื้นฟูสภาพ ประเมินสภาวะ สุขภาพและสภาวะคุกคาม เป็นผู้ประสานงาน ผู้จัดการที่ ทำให้เกิดความคุม้ ค่า คุม้ ทุน เป็นผู้ให้ความรู้ คำปรึกษา คำ แนะนำ และปกป้องพิทกั ษ์สทิ ธิข์ องประชาชน โดยเป็นผูน้ ำ การเปลีย่ นแปลง จินตนา ลีล้ ะไกรวรรณ (2545) พบว่า พยาบาลวิชาชีพ ทีป่ ฏิบตั งิ านในโรงพยาบาลชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการใช้เวลาวันละไม่เกิน 1 ชั่วโมงในการตรวจรักษาโรค เบือ้ งต้น การให้คำปรึกษาทางด้านสุขภาพ การเก็บสิง่ ส่งตรวจ ทางห้องปฏิบตั กิ าร โดยเวลาทีเ่ หลือส่วนใหญ่จะใช้ในการดูแล ผู้ป่วยที่บ้านทั้งกลุ่มโรคเรื้อรังและกลุ่มที่ขาดการรักษา การ ทำงานในชุมชน การทำความรูจ้ กั ชุมชนและชาวบ้านเพือ่ ให้ เกิดความสัมพันธ์ทดี่ ี การจัดโครงการสร้างสุขภาพเพือ่ การพึง่ ตนเองของชุมชน ผู้วิจัยได้ระบุบทบาทของพยาบาลชุมชน ว่ า ครอบคลุ ม ถึ ง การจั ด การกั บ ปั ญ หาสุ ข ภาพของชุ ม ชน ประสานงานกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เป็นแบบอย่างของการ แก้ ไขปัญหาแก่ชาวบ้าน มีความเอือ้ อาทรเพือ่ สนองตอบต่อ ความต้ อ งการสุ ข ภาวะทางด้ า นสั ง คมและจิ ต วิ ญ ญาณ พั ฒ นาเครื อ ข่ า ยการดู แ ลสุ ข ภาพในชุ ม ชน เข้ า ถึ ง กลุ่ ม ประชากรทีด่ อ้ ยโอกาส พิทกั ษ์สทิ ธิ์ให้กบั ประชาชนและการ ดูแลผูป้ ว่ ยทีบ่ า้ น รวมพร คงกำเนิด (2545) ได้ศกึ ษาลักษณะการทำงาน ของพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชนขนาด 60 เตียงและศูนย์ สุขภาพชุมชน (ศสช.) แห่งหนึง่ ในภาคใต้ พบว่า พยาบาลเป็น ผูม้ บี ทบาทหลักในการทำงานบริการระดับปฐมภูมิ ได้แก่ เป็น ทีป่ รึกษาด้านสุขภาพกาย/จิต/สังคม ให้บริการสุขภาพด้านการ วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 11

11

12/8/06 9:58:09 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ส่ งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การเฝ้าระวังและควบคุม โรคให้กบั บุคคล ครอบครัวและชุมชน ดูแลผูท้ มี่ ปี ญ ั หาสุขภาพ เรือ้ รังในชุมชน และการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค แก้ปญ ั หาสุขภาพ ร่วมกับหน่วยงานอืน่ ๆ และเสนอว่าพยาบาลต้องมีการพัฒนา ตนเองในด้านต่างๆ คือ การบำบัดทางการพยาบาลเพือ่ การ ดูแลรักษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทักษะในการวางแผนและจัดการ ความฉับไวและถูกต้องในการตัดสินใจปัญหาด้านสุขภาพ ลดระยะเวลาการกลับเข้ารักษาในโรงพยาบาล และการสร้าง ความสำเร็จสูงสุดในการรักษาต่อเนือ่ ง จิ น ตนา ทองเพชรและคณะ (2545) ได้ ท ำการ สัมภาษณ์บคุ ลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับบริการระดับปฐมภูมทิ งั้ ฝ่าย บริหาร ฝ่ายการศึกษาและฝ่ายปฏิบตั ิ พบว่า สมรรถนะของ พยาบาลวิชาชีพที่ ให้บริการในหน่วยบริการระดับปฐมภูม ิ ควรมี 10 สมรรถนะ เมื่ อ พิ จ ารณากิ จ กรรมของแต่ ล ะ สมรรถนะ พบว่า ไม่มคี วามแตกต่างจากสมรรถนะหลักของ พยาบาลวิชาชีพทีก่ ำหนดโดยสภาการพยาบาลทีย่ ดึ หลักการ ดูแลแบบองค์รวม แต่สงิ่ ทีเ่ พิม่ เติมเข้ามาคือ สมรรถนะในการ แสดงบทบาทผูป้ ระสานงานและผูจ้ ดั การดูแลซึง่ ต้องพัฒนา สมรรถนะด้านความเป็นผู้นำ มีทักษะการสืบค้น คิดค้น เรียนรู้ การบริหารจัดการ การติดต่อสื่อสารและความมี มนุษยสัมพันธ์ทดี่ ี ตลอดจนเรียนรูแ้ ละสามารถแก้ปญ ั หาได้ อย่างเป็นระบบ สามารถใช้ผลการวิจยั และเทคโนโลยีตา่ งๆ เพือ่ วางแผนและบริหารจัดการให้การดูแลเกิดประสิทธิภาพ และประสิ ท ธิ ผ ลสู ง คุ้ ม ค่ า และให้ ผ ลลั พ ธ์ คุ ณ ภาพสู ง ตอบสนองความต้องการของประชาชนในการ ดูแลสุขภาพ ระดับปฐมภูม ิ นงพิมล นิมติ รอานันท์ (2546) ศึกษาสมรรถนะของ พยาบาลชุมชนในมุมมองของนักศึกษาพยาบาล และตัวแทน ผูน้ ำชุมชนในจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ พบว่า สมรรถนะหลัก ของพยาบาลชุมชนในมุมมองของนักศึกษาพยาบาล ได้แก่ 1) การมีบคุ ลิกภาพดี น่านับถือและน่าเชือ่ ถือ กล้าหาญ กระตือรือร้น อดทน เสียสละและอุทิศตน รักธรรมชาติ ชอบการเปลีย่ นแปลง ความแปลกใหม่และความท้าทาย 2) การเป็นผูน้ ำและเป็นแบบอย่างทีด่ ดี า้ นสุขภาพ 3) มีมนุษยสัมพันธ์ดเี ยีย่ ม มีใจรักชุมชน มีจติ วิทยาใน การเข้าชุมชน สามารถทำงานและดำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกับชาว บ้านได้ เอาใจใส่ให้การดูแลเสมือนเครือญาติ

4) เข้าใจในความเป็นชุมชน สามารถวิเคราะห์ปญ ั หา ชุมชนได้อย่างลึกซึง้ และครอบคลุม 5) มีความถนัดและรักการทำงานเชิงรุกในชุมชน 6) มีความรูด้ แี ละสามารถประยุกต์ใช้ ในการทำงานใน ชุมชนได้ 7) มีทกั ษะการปฏิบตั กิ ารพยาบาลดี ได้แก่ การดูแลต่อ เนือ่ ง การรักษาโรคเบือ้ งต้น การสอนสุขศึกษาและปรับเปลีย่ น พฤติกรรม และ 8) ทักษะอืน่ ๆ เช่น การติดต่อสือ่ สาร การบริหารจัดการ การตัดสินใจและแก้ปญ ั หา การประสานงาน ส่วนตัวแทนผูน้ ำชุมชนเห็นว่า พยาบาลชุมชนทีด่ คี วรมี คุณลักษณะ ดังนี้ 1) บุคลิกลักษณะ เป็นคนร่าเริงอารมณ์ดี อัธยาศัยดี สวมเครือ่ งแบบขณะปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ชาวบ้านเชือ่ ถือศรัทธา \ 2) ไม่ถอื ตัว เข้ากับชาวบ้านได้ ต้องเข้ากับชาวบ้านให้ ได้และทำให้ชาวบ้านยอมรับ 3) มีความรูแ้ ละสามารถให้คำแนะนำปัญหาสุขภาพที่ พบบ่อยในชุมชนได้ 4) ให้การปฐมพยาบาลได้ ตัดสินใจส่งต่อได้เหมาะสม 5) มาในชุมชนเป็นประจำ รู้จักชุมชนดี ในทุกเรื่อง สนใจและเข้าใจความเชือ่ และศาสนาทีแ่ ตกต่างของกลุม่ คน

ข้อวิพากษ์และข้อเสนอเพือ่ การพัฒนา จากผลการวิจยั ดังกล่าว จะเห็นได้วา่ สังคมมีความคาด หวังต่อสมรรถนะของพยาบาลชุมชนไว้สูงมาก และเป็น สมรรถนะเฉพาะทีม่ คี วามแตกต่างจากพยาบาลทีป่ ฏิบตั งิ านใน โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ในการบริการระดับ ปฐมภู มิ นั้ น พยาบาลจะต้ อ งมี ทั ก ษะด้ า นการปฏิ บั ติ ก าร พยาบาล ทักษะการประยุกต์ศาสตร์ด้านการสาธารณสุข และระบาดวิ ท ยามาใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านอี ก ทั้ ง ยั ง ต้ อ ง ผสมผสานทักษะด้านการพยาบาลพืน้ ฐาน (Basic nursing practice) และการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (Advance nursing practice) มาใช้ ในการดูแลบุคคล ครอบครัวและ ชุมชนอีกด้วย นับเป็นความท้าทายต่อวิชาชีพเป็นอย่างมาก และต้องการกระบวนการขับเคลือ่ นอย่างมีระบบและเต็มไป ด้วยพลัง กลยุทธ์ทจี่ ะเป็นพลังขับเคลือ่ นทีส่ ำคัญ มี 2 ประการ คือ การพัฒนาระบบการศึกษาต่อเนือ่ ง และการพัฒนาองค์ ความรู ้

12 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 12

12/8/06 9:58:10 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

การพัฒนาระบบการศึกษาต่อเนื่อง ในแง่ของการ ศึกษานัน้ มีเป้าหมายเพือ่ ให้พยาบาลวิชาชีพได้มคี วามรู้ ทักษะ เพิม่ ขึน้ และครอบคลุมตามขอบเขตงานบริการระดับปฐมภูม ิ ทีผ่ า่ นมา สภาการพยาบาลได้พฒ ั นางานด้านนีม้ าอย่างเป็น

รูปธรรมและต่อเนือ่ ง โดยเสนอให้มกี ารออกระเบียบกระทรวง สาธารณสุข ว่าด้วยการประกอบอาชีพการพยาบาลตามข้อ กำหนดในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกัน พ.ศ. 2545 ซึง่ กระทรวงสาธารณสุขโดย ฯพณฯ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงสาธารณสุข ได้ ให้ความเห็นชอบระเบียบดังกล่าว เรียบร้อยแล้ว จากระเบียบดังกล่าว มีผลให้ผปู้ ระกอบอาชีพ การพยาบาลหนึ่งที่ ได้รับการอบรมให้เป็นการพยาบาลเวช ปฏิบตั ิ สามารถประกอบอาชีพอิสระ และให้การรักษาเบือ้ งต้น ตามข้อกำหนดในการรักษาโรคเบือ้ งต้น และการให้ภมู คิ มุ้ กัน โรคได้ โดยถูกต้องตามกฎหมาย โดยที่จะต้องเป็นผู้ที่ ได้การ อบรมจากหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางเวชปฏิบตั ิ ทีม่ รี ะยะ เวลาการรอบรมตัง้ แต่ 3 เดือนขึน้ ไป สามารถขึน้ ทะเบียนราย นามพยาบาลเวชปฏิบตั กิ บั สภาการพยาบาลได้ กับได้กำหนด ให้มีหลักสูตรฟื้นฟูวิชาการสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ เรื่อง การรักษาพยาบาลเบือ้ งต้นและการให้ภมู คิ มุ้ กันโรค ระยะเวลา 5 วัน ซึ่งเป็นหลักสูตรที่สภาการพยาบาลรับรอง ผู้ที่ผ่าน กระบวนการพัฒนาดังกล่าวจะได้รับประกาศนียบัตรรับรอง การฟื้นฟูวิชาการ เรื่อง การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ ภูมิคุ้มกันโรคและได้รับการขึ้นทะเบียนรายนามพยาบาล เวชปฏิบตั ขิ องสภาการพยาบาลต่อไป นอกจากนัน้ ยังมีการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตร

มหาบัณฑิต ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติ ครอบครั ว และเวชปฏิ บั ติ ชุ ม ชนโดยมี เ ป้ า หมายเพื่ อ ให้ มหาบัณฑิตเป็นผูน้ ำในการพัฒนางานบริการปฐมภูมิ รวมทัง้ การสร้างสรรค์นวตกรรมสุขภาพเพือ่ นำไปสูก่ ารเป็นผูป้ ฏิบตั ิ การพยาบาลขัน้ สูง สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน และการ พยาบาลเวชปฏิบตั ชิ มุ ชน ตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาล ต่อไป การพัฒนาองค์ความรู้ ในแง่ของการวิจยั นัน้ มีเป้าหมาย เพือ่ สร้างองค์ความรูแ้ ละนวตกรรมสุขภาพ ทีส่ ามารถใช้เป็น เครือ่ งมือพัฒนาคุณภาพบริการและเสริมสร้างสมรรถนะของ พยาบาลได้ กล่าวคือ พยาบาลชุมชนจะปฏิบตั งิ านโดยมีฐาน การคิดเชิงวิเคราะห์และการตัดสินใจโดยใช้แนวคิดทฤษฎี ทางการพยาบาลและศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดูแล ครอบครั ว และชุ ม ชน ทั้ ง ยั ง สามารถอธิ บ ายหรื อ ทำนาย คุณภาพชีวติ ของผูป้ ว่ ยเรือ้ รังและญาติผดู้ แู ลได้เป็นอย่างดี มี การปฏิบตั กิ ารพยาบาลที่ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence – based practice) มีการวิจยั เพือ่ ประเมินผลลัพธ์ทางการ พยาบาล (Nursing outcomes) มีการสร้างแนวปฏิบัติ ทางการพยาบาล (CNPG : Clinical nursing practice guideline)เพื่อการบำบัดอาการและรักษาโรคขั้นต้น มีการ พัฒนารูปแบบการจัดการของผูป้ ว่ ยเรือ้ รังและครอบครัว (Self - management)เพือ่ การดูแลต่อเนือ่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รวม ทัง้ การพึง่ ตนเองของประชาชนอย่างยัง่ ยืน (Self reliance) เป็นต้น

บทสรุป สถานการณ์การปฏิรปู ระบบการพยาบาลของประเทศไทยมีความก้าวหน้ามาเป็นลำดับ แต่อาจยังไม่สามารถ รองรับระบบบริการสุขภาพทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงแบบพลวัตได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ผูเ้ ขียนมีความเชือ่ ว่าการพัฒนา สมรรถนะของพยาบาลชุมชนด้วยกลยุทธ์การพัฒนาระบบการศึกษาต่อเนือ่ งร่วมกับการพัฒนาองค์ความรู้ จะ ทำให้คนไทยได้รับบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ สมตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ได้ ในทีส่ ดุ

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 13

13

12/8/06 9:58:11 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

เอกสารอ้างอิง

กุลวดี อภิชาตบุตร และสมใจ ศิระกมล.(2548). สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ. พยาบาลสาร. ปีที่ 32 ฉบับ ที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม) 2548 : 7 – 23. จันทร สังข์สวุ รรณ. (2538). การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในสถานีอนามัย สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการบริหารการศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จินตนา ทองเพชรและคณะ (2545). เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการ เรือ่ ง รูปแบบ Primary care unit (PCU) ทีพ่ งึ ประสงค์ สูก่ ารมีสขุ ภาพดีถว้ นหน้าของ ประชาชน. โดย คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า เมือ่ 25 ก.ย.2545 ณ ห้องประชุมชัน้ 10 อาคารพัชรกิตยิ าภา โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า. จินตนา ลีล้ ะไกรวรรณ. (2545). ระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ : กรณีศกึ ษาโรงพยาบาลชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. บริการสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ : รูปธรรมทีเ่ ริม่ ต้น. เอกสาร ประกอบงานประชุมวิชาการหนึง่ ทศวรรษสถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข. วันที่ 5-7 สิงหาคม 2545 ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค กทม. ทัศนา บุญทอง (บรรณาธิการ). (2543). ทิศทางการปฏิรปู ระบบริการพยาบาลทีส่ อดคล้องกับระบบบริการสุขภาพไทยทีพ่ งึ ประสงค์ในอนาคต. กรุงเทพฯ : ศิรยิ อดการพิมพ์. ทัศนา บุญทอง. (2544). สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพและสมรรถนะหลักของผดุงครรภ์ชนั้ หนึง่ . เอกสารประกอบการสัมมนาพยาบาลศาสตร์ ศึกษาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 3 เรือ่ ง การพัฒนาการจัดการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตเพือ่ ตอบสนองการปฏิรปู ระบบบริการสุขภาพไทย. ณ โรงแรมดิเอมเมอรัลด์ กรุงเทพมหานคร. วันที่ 23-25 กรกฎาคม. นงพิมล นิมติ รอานันท์. (2546). ปฏิรปู การเรียนรูข้ องนักศึกษาพยาบาลสูร่ ะบบหลัก ประกันสุขภาพ. เอกสารประกอบการประชุมพยาบาลแห่งชาติ ครัง้ ที่ 12 เรือ่ ง การพยาบาล : บทบาท ภารกิจสูก่ ารบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. วันที่ 29-31 ตุลาคม 2546 เซ็นทรัลพลาซา กทม. “……………………..”. (2546). รายงานการวิจยั เรือ่ ง สมรรถนะพยาบาลชุมชนในมุมมองของนักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก และ ตัวแทนผูน้ ำชุมชนในชุมชนแห่งหนึง่ จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์. เอกสารประกอบการประชุมประชุมพยาบาลแห่งชาติ ครัง้ ที่ 12 เรือ่ ง การพยาบาล : บทบาท ภารกิจสูก่ ารบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. วันที่ 29-31 ตุลาคม 2546 เซ็นทรัลพลาซา กทม. รวมพร คงกำเนิด. (2545). ระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ : กรณีศกึ ษาศูนย์สขุ ภาพชุมชนของโรงพยาบาลชุมชน ภาคใต้. รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน) : 15-28. สภาการพยาบาล. (2544). รายงานการวิจยั เรือ่ ง พยาบาลและระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ โดย สภาการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. สุนยี ์ กลสัตยสมิต และคณะ. (2547). สมรรถนะในการปฏิบตั งิ านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของพยาบาลวิชาชีพ ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาล. ปีที่ 53 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถนุ ายน) : 112 – 121. สุนยี ์ ละกำปัน่ และพัชราพร เกิดมงคล. (2544). ยกร่าง : สมรรถนะหลักสำหรับพยาบาลสาธารณสุข/อนามัยชุมชน. วารสารพยาบาลสาธารณสุข. ปีที่ 15 ฉบับประชุมวิชาการ (ธค.) (2547). 69 – 72. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. พระราชบัญญัตหิ ลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545. สำนักพัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2545). การพัฒนารูปแบบการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพในหน่วยบริการ ปฐมภูม.ิ กทม. : โรงพิมพ์สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. หทัยชนก บัวเจริญ . (2545). ระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ : กรณีศกึ ษาโรงพยาบาลศูนย์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. บริการสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ : รูปธรรมทีเ่ ริม่ ต้น. เอกสารประกอบงานประชุมวิชาการหนึง่ ทศวรรษสถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข. วันที่ 5-7 สิงหาคม ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค กทม. Kelly – Thomas, K.J. (1998). Clinical and Nursing Staff Development : Current Competence, Future Focus. 2nd edition ; Philadelphia : Lippincott. McGaghie, WC. & et.al. (1978). Competency-Based Curriculum Development in Medical Education. Geneva : WHO. Spitzer – Lehmann, R. (1994). Nursing Management Desk Reference : Concepts, Skills & Strategies. Philadelphia : W.B. Saunders.

14 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 14

12/8/06 9:58:12 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

จมูกถั่วเหลืองและสุขภาพ ชนิดา ปโชติการ* ศัลยา คงสมบูรณ์เวช**

ถั่ ว เหลื อ ง เป็ น พื ช ที่ ช าวเอเชี ย ใช้ ป ระกอบอาหารมานานกว่ า 2000 ปี ชาวเอเชี ย รั บ ประทานถั่ ว เหลื อ งใน รูปผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง เช่น เต้าหู้ ถั่วหมักและนมถั่วเหลือง ปัจจุบันชาวตะวันตกเองก็ ให้ความสนใจและหันมา รับประทานถั่วเหลืองกันมากขึ้น 1/3 ของชาวอเมริกันเองก็หันมารับประทานผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง โปรทีเอสอินฮิบเิ ตอร์ (protease inhibitor) ไฟเทต (phytates) ถั่ ว เหลื อ งเป็ น อาหารที่ มี คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการสู ง ไฟโทสเตียรอล (phytosterol) กรดฟีนอลลิค (phenolic) ถัว่ เหลืองแต่ละเมล็ดประกอบด้วยโปรตีน 38 -40% ไขมัน สารซาโปนิน (saponin) เลซิทนิ และกรดโอเมกา 3 ในบรรดา 18% คาร์โบไฮเดรต 30% และวิตามินและแร่ธาตุอนื่ ๆ อีก สารเหล่านั้นไอโซฟลาโวนส์ ได้รบั ความสนใจและศึกษาวิจยั มากมาย~5 % ถั่วเหลืองยังมี ไขมันไม่อิ่มตัว ใยอาหาร มากทีส่ ดุ ในด้านสุขภาพของกระดูก แคลเซียม และมีปริมาณของโซเดียมและไขมันอิม่ ตัวต่ำ แต่ จมูกถัว่ เหลือง (soy germ) ไม่มีคอเลสเตอรอล คุณภาพของโปรตีนในถั่วเหลืองยังสูง ในเมล็ดถัว่ เหลือง เทียบเท่ากับโปรตีนจากสัตว์(United States Department of ส่วนทีม่ ปี ริมาณ ไอโซฟลาโวนส์ Agriculture 1986), (www.talksoy.com) ความเป็นเอกลักษณ์ของถัว่ เหลืองคือ สารพฤกษเคมีที่ มากทีส่ ดุ คือ ชื่อว่า ไอโซฟลาโวนส์(Isoflavones) ซึ่งจัดเป็นฮอร์ โ มน จมูกถั่วเหลือง ซึ่งเป็นองค์ พืช(Knight, DC, Eden, JA. 1996) ข้อมูลสะสมและ ประกอบของถั่วเหลืองประมาณ 2% ปริมาณของไอโซ- สนั บ สนุ น มากมายในการป้ อ งกั น สุ ข ภาพจากโรคต่ า งๆ ฟลาโวนส์ในจมูกถัว่ เหลืองนัน้ สูงถึง 5-6 เท่า เมือ่ เทียบกับ (Messina M, Barnes S. 1991) เช่น โรคหัวใจ มะเร็งเต้า ส่วนอื่นๆ ในเมล็ดถั่วเหลือง แต่การแยกจมูกถั่วเหลือง นม มะเร็งต่อมลูกหมาก โรคกระดูกพรุน รวมทั้งผลต่อ ออกจากเมล็ดถัว่ เหลืองเพือ่ ให้ ได้สารไอโซฟลาโวนส์มากทีส่ ดุ สุขภาพของผูห้ ญิง โดยเฉพาะผูท้ กี่ า้ วเข้าสูว่ ยั หมดประจำเดือน จะต้องใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนมาก กล่าวคือต้องใช้เมล็ดถั่ว ซึ่งมีความเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุนและมะเร็งเต้านม และ เหลืองถึง 400 ปอนด์ จึงจะแยกจมูกถัว่ เหลืองได้ 1 ปอนด์ อาการบางอย่างที่ ไม่พงึ ประสงค์ในหญิงวัยหมดประจำเดือน (USDA, 1999) เช่น อาการร้อนวูบวาบ เหงือ่ ออกมากเวลากลางคืน และการ โดยปกติจมูกถั่วเหลืองจะหลุดออกไปในการกระบวน เปลี่ยนแปลงของอารมณ์ เป็นต้น (www.soyfoods.org) การผลิตอาหาร ปัจจุบันมีการสกัดสารไอโซฟลาโวนส์จาก นอกจากนีย้ งั มีสารสำคัญอืน่ ๆ อีกหลายชนิดในถัว่ เหลืองได้แก่ ถัว่ เหลืองออกจำหน่ายในรูปผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

คุณค่าทางโภชนาการของอาหารถัว่ เหลืองต่อสุขภาพ

*อาจารย์ประจำ สถาบันวิจัยโภชนาการมหาวิทยาลัยมหิดล **Registered dietitian (USA)

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 15

15

12/8/06 9:58:20 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ในธรรมชาติโปรตีนถัว่ เหลือง 1 กรัมจะมีไอโซฟลาโวนส์ประมาณ 2 มิลลิกรัม ดังนัน้ อาหารทีเ่ ติมแต่ โปรตีนถัว่ เหลืองใน กระบวนการผลิ ตอาหารจึงอาจไม่มีไอโซฟลาโวนส์ และถ้ามีไอโซฟลาโวนส์กจ็ ะถูกทำลายในกระบวนการผลิต ดังนัน้ ไอโซฟลา โวนส์สกัดในรูปผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอาจจะไม่มีโปรตีนถัว่ เหลืองและไม่ให้สรรพคุณเหมือนไอโซฟลาโวนส์ในธรรมชาติ

แหล่งไอโซฟลาโวนส์ ในอาหาร

แหล่งอาหารทีส่ ำคัญทีม่ สี ารไอโซฟลาโวนส์มากรองจากถัว่ เหลืองและเรดโคลฟเวอร์ (red clover ซึง่ มักใช้ ในการสกัด

ไอโซฟลาโวนส์เพือ่ ใช้ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเป็นส่วนใหญ่) ได้แก่ ข้าวไรย์ ข้าวสาลี เมล็ดงา เมล็ดดอกทานตะวัน กานพลู แอปเปิล แครอท ข้าวโพด และอาหารอืน่ ๆ ดังแสดงในตาราง ปริมาณของไอโซฟลาโวนส์ในอาหารตามธรรมชาติ (มก/ 100 กรัม) ปริมาณไอโซฟลาโวนส์ อาหาร (มก. ต่ออาหาร 100 ก.) ถั่วดำ(ดิบ) น้ำมันคาโนลาและน้ำมันถั่วเหลือง 0.00 ถั่วแดง (ดิบ) 0.01 มิโซะซุป 42.55 ถั่วลิสง (ดิบ) 0.26 ถั่วลันเตา (ดิบ) 2.42 เนยถั่วเหลือง (ไม่ระบุยี่ห้อ) 31.32 เนยแข็งถั่วเหลือง (cheddar) 7.15 เครื่องดื่มถั่วเหลือง (soy drink) 7.01 แป้งถั่วเหลืองดิบ (soy flour) 177.89 นมถั่วเหลือง (soy milk) 0.56 ฟองเต้าหู้ (ดิบ) 193.88 ฟองเต้าหู้ (สุก) 50.70 โปรตีนถั่วเหลืองเข้มข้นจากการใช้น้ำสกัด 102.07 (Soy protein concentrate, aqueous wash) โปรตีนถั่วเหลืองเข้มข้นจากการใช้แอลกอฮอล์สกัด 12.47 (Soy protein concentrate produced by alcohol extraction) โปรตีนถั่วเหลืองสกัด(Soy protein isolate) 97.43 ซอสถั่วเหลือง (จากไฮโดรไลซ์ โปรตีนจากผัก) 0.10 ซอสถั่วเหลือง (โซยุ) 1.64 ถั่วเขียว (ดิบ) 151.71 ถั่วงอก 4.71 ชาเขียวญี่ปุ่น 0.05 จมูกถั่วเหลือง 2000.00 - 2500.00 ทีม่ า: 7 USDA Iowa State University database on the isoflavone content of foods – 1999

16 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 16

12/8/06 9:58:21 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

การวิจยั เปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างไอโซฟลาโวนส์จากถัว่ เหลืองกับจมูกถัว่ เหลืองยังแสดงให้เห็นว่า จมูกถัว่ เหลืองมี ประโยชน์สงู กว่า เพราะว่ามีคณ ุ สมบัตดิ า้ นพรีไบโอติค ซึง่ เป็นอาหารของจุลนิ ทรียท์ ดี่ จี งึ ช่วยเพิม่ ปริมาณจุลนิ ทรียท์ ดี่ ีในทางเดิน อาหาร เช่น Lactobacillus sp. และซาโปนินในจมูกถัว่ เหลือง ยังช่วยปกป้องจุลนิ ทรียด์ งั กล่าวจากน้ำดีอกี ด้วย (De Boevor et al. 2001)

สารไอโซฟลาโวนส์ ในอาหาร

ไอโซฟลาโวนส์ ยังประกอบไปด้วยสารสำคัญ 3 ชนิดที่อยู่ ในรูปของ glycosides คือ เจนีสทีน (genistein)~50% เดดซีน(daidzien)~40% และไกลซิทนี (glycitein)~5-10%(Anderson RL,1995), (www.pdrhealth.com) แต่ชนิดหลังมีปริมาณ น้อยกว่าอีกสองชนิดทีก่ ล่าวมาข้างต้น แต่ โดยทัว่ ไปถัว่ เหลืองจะมีปริมาณเจนีสทีนมากกว่าเดดซีน ปริมาณไอโซฟลาโวนส์ยงั ขึน้ กับชนิดของถัว่ สภาวะทีป่ ลูกและกระบวนการผลิตอาหารอีกด้วย (Coward L, Barnes NC, Setchell KDR, et al. 1993), (www.talksoy.com), (Wang H-J, Murphy PA. J 1994), (www.talksoy.com) แหล่งเจนนิสทีนและเดดซีนในอาหาร อาหาร แนทโต(Natto) 1/2 ถ้วยตวง (ถัว่ เหลืองหมัก) แป้งถัว่ เหลือง 1/2 ถ้วยตวง นมถัว่ เหลือง 1 ถ้วยตวง ถัว่ เหลืองคัว่ (Soy nuts) 2 ช้อนโต๊ะ โปรตีนถัว่ เหลืองสกัด (Soy protein isolates-92% protein) ถัว่ เหลืองสุก 1/2 ถ้วยตวง เทมเป้ (Tempeh) 1/2 ถ้วยตวง โปรตีนเกษตร (Textured soy protein) 1/2 ถ้วยตวงแห้ง(โปรตีน70%) เต้าหู้ 4 ออนซ์ หรือ 120 กรัม

โปรตีนถัว่ เหลือง (กรัม) 15 22 7 5 23 (1 ออนซ์)* 11 16 11 17

เดดซีน(มก.) เจนนิสทีน (มก.) 32 23 94 56 6 4 26 16 51(1/2ถ้วยตวง)* 19 (1/2ถ้วยตวง)* 6 32 72

20 23 43

19

9

Note : Soy protein gram amounts adapted from USDA and US Soyfoods Directory. * Amounts in parentheses = serving sizes.

ถัว่ เหลืองแห้งดิบมีสารไอโซฟลาโวนส์ประมาณ 2-4 มิลลิกรัม/ กรัม อาหารทีท่ ำจากถัว่ เหลืองส่วนใหญ่ เช่น เต้าหู้ นมถัว่ เหลือง เทมเป้และมิโซะมีปริมาณไอโซฟลาโวนส์สงู ประมาณ 30-40 มิลลิกรัม/ทีเ่ สิรฟ์ ผลิตภัณฑ์ถวั่ เหลือง 2 ชนิดที่ ไม่มี สารไอโซฟลาโวนส์ คื อ ซอสถั่ ว เหลื อ งและน้ ำ มั น ถั่ ว เหลือง(www.talksoy.com) โปรตีนถัว่ เหลืองเข้มข้น (ซอย โปรตีน 65%) อาจมีปริมาณไอโซฟลาโวนส์มากหรือน้อยต่าง กันได้ขึ้นกับวิธีการผลิต อย่างไรก็ตามโปรตีนถั่วเหลืองสกัด ทัว่ ไปมีปริมาณระดับไอโซฟลาโวนส์ตำ่ มาก แป้งถัว่ เหลืองและ Texture soy protein มีปริมาณไอโซฟลาโวนส์สงู โปรตีนถัว่ เหลืองสกัด (โปรตีนถัว่ เหลือง 90%) มีปริมาณไอโซฟลาโวนส์ น้อยกว่าผลิตภัณฑ์ทเี่ อ่ยถึง แต่กม็ ปี ริมาณในระดับสูง การวิจยั

พบว่าร่างกายสามารถดูดซึมไอโซฟลาโวนส์ได้เพียง 30-50% ของปริมาณทีร่ บั ประทานเท่านัน้ (Lu LJ, Lin SN, Grady JJ, Nagamani M, 1996), (Shelnutt SR, Cimino CO, Wiggins PA, Badger TM. 2000), (Xu X, Wang HJ, Murphy PA, Cook L, Hendrich S. 1994) กลุม่ ผลิตภัณฑ์อาหารจากถัว่ เหลืองทีถ่ อื ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ รุน่ ที่ 2 “second-generation product” เช่น ฮอทดอกและ ไอศกรีม มีปริมาณไอโซฟลาโวนส์ยงิ่ น้อยลงไปอีก เพราะมี ส่วนประกอบอืน่ ที่ ไม่ใช่ถวั่ เหลืองในปริมาณมาก ดังนัน้ การ บริโภคผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองประเภทนี้จึงไม่ ให้สารไอโซฟลา โวนส์ทจี่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ สุขภาพ สารไอโซฟลาโวนส์มคี วามทนต่อความร้อน การอบและ วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 17

17

12/8/06 9:58:22 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ทอดไม่เปลีย่ นแปลงปริมาณไอโซฟลาโวนส์แม้ โครงสร้างจะ ่ ย นไปเล็ ก น้ อ ย แต่ นั ก วิ จั ย ก็ ค าดว่ า ไม่ มี ผ ลต่ อ การ เปลี เปลีย่ นแปลงคุณค่าทางอาหาร(Coward L, Smith M, Kirk M, Barnes S. 1998)

ผลการวิจยั ต่อสุขภาพ (www.isoflavones.info)

มีรายงานวิจยั ว่าถัว่ เหลือง 1 ทีเ่ สิรฟ์ (นมถัว่ เหลือง 1 ถ้วยตวง หรือเต้าหู้ 1/2 ถ้วยตวง เพียงพอที่จะให้ผลต่อ สุขภาพ ไอโซฟลาโวนส์มฤี ทธิเ์ ป็นสารแอนติออกซิแดนท์จงึ ให้ ประโยชน์ตอ่ สุขภาพมากมายดังนี ้ • ลดความเสีย่ งโรคหัวใจเส้นเลือดสมองตีบ • ลดความเสีย่ งมะเร็งเต้านมโดยการยับยัง้ การทำงาน ของฮอร์โมนเอสโทรเจนในคน • ป้องกันกระดูกพรุนโดยการกระตุ้นการสร้างกระดูก และยับยั้งการสลายของเนื้อกระดูกและลดอาการไม่พึง ประสงค์ของหญิงวัยหมดประจำเดือน • ลดความเสีย่ งมะเร็งต่อมลูกหมาก

โรคหลอดเลือดหัวใจ หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจน้อยกว่า ผูช้ าย แต่หลังจากทีห่ มดประจำเดือนความเสีย่ งของทัง้ สอง เพศนั้นในอายุใกล้เคียงกันเท่าๆ กัน (American Heart Association. 1997) การใช้ฮอร์โมนทดแทน (Hormone replacement therapy = HRT) ช่วยหญิงวัยสูงอายุควบคุม ระดับแอลดีแอลคอเลสเทอรอลและลดความเสีย่ งโรคหลอด เลือดหัวใจได้ และมีงานวิจยั สนับสนุนทีแ่ สดงว่าการบริโภค โปรตี น ถั่ ว เหลื อ งมี ผ ลในการลดคอเลสเทอรอลและให้ ประโยชน์ตอ่ สุขภาพหัวใจ(Anderson, JW, Johnstone, BM, 1995) ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากสาร Genistein ในถั่ ว เหลื อ ง (Anthony, MS, Clarkson, TB, et al. 1996), (Hollenberg, MD. 1994), (Murphy, CT, Kellie, S, Westwick, J. 1993)

การป้องกันโรคหัวใจ

การที่ ไอโซฟลาโวนส์มีฤทธิ์เป็นสารแอนติออกซิแดนท์ จึ ง ช่ ว ยป้ อ งกั น หลอดเลื อ ดจากปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชั่ น ของ บทบาทของไอโซฟลาโวนส์ตอ่ สุขภาพ แอลดีแอลคอเลสเทอรอล จึงช่วยลดปริมาณคอเลสเทอรอล ไอโซฟลาโวนส์มี โครงสร้างคล้ายคลึงกับฮอร์โมนเอสโทร และขณะเดียวกันยังเพิ่มปริมาณเอชดีแอลซึ่งเป็นคอเลส เจน แต่มฤี ทธิน์ อ้ ยกว่าเอสโทรเจนประมาณ 1,000-100,000 เทอรอลตั ว ที่ ดี นั ก วิ จั ย ถั่ ว เหลื อ งแนะว่ า ผลการป้ อ งกั น

เท่า(Messina MJ, Persky V, Setchell KDR, 1994) โรคหัวใจนั้นเนื่องมาจากทั้งโปรตีนถั่วเหลืองและสารโฟโท ด้วยความที่มี โครงสร้างคล้ายคลึงกันจึงรบกวนการ เอสโทรเจน ซึ่ ง ตั ว หลั ง นี้ ยั บ ยั้ ง ปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชั น ของ ทำงานของฮอร์โมนเอสโทรเจนได้ โดยจับกับตัวรับเอสโทรเจน แอลดีแอลคอเลสเทอรอล ป้องกันการแข็งตัวของเลือดตาม เบต้า [estrogen receptors B (ER-B)] ทีม่ ีในกระดูก สมอง ผนังหลอดเลือดซึ่งเป็นสาเหตุของโรคหัวใจ นอกจากนี้สาร กระเพาะปัสสาวะ และ vascular epithelial (www.talksoy สำคัญในถัว่ เหลืองยังช่วยในการทำให้หลอดเลือดยืดหยุน่ ด้วย .com) การแทรกตัวเข้าไปแทนที่ฮอร์โมนเอสโทรเจน ซึ่ง ซึง่ การวิจยั ในมหาวิทยาลัยรัฐเพนซิลวาเนียพบว่า อาสาสมัคร สามารถเปลีย่ นเซลธรรมดาเป็นเซลมะเร็งได้ ทำให้ ไอโซฟลา ทีร่ บั ประทานโปรตีนถัว่ เหลืองวันละ 30 กรัม ช่วยลดความดัน โวนส์ชว่ ยลดการเจริญของเซลมะเร็งด้วยกลไกดังกล่าว โลหิตลงได้ การวิจัยทางด้าน ecology พบว่าหญิงชาวเอเชียซึ่ง ในปี 1 999 สำนั ก คณะกรรมการอาหารและยาของ บริโภคอาหารถั่วเหลืองมากกว่าจะพบปัญหากระดูกพรุนใน สหรัฐอเมริกาสรุปผลของ meta-analysis ของ James กระดูกสะโพกน้อยกว่าชาวตะวันตก(Knight, DC, Lyons Anderson และคณะเรือ่ งสารไอโซฟลาโวนส์และโปรตีนถัว่ Wall, P. Eden, JA. 1996) ในธรรมชาติไอโซฟลาโวนส์จะ เหลืองให้ผลในการรักษาสุขภาพ และยอมรับการให้อ้าง เกาะอยู่กับโปรตีน และไอโซฟลาโวนส์จะทำงานร่วมกับ สรรพคุณของถัว่ เหลืองและผลิตภัณฑ์เสริมในการลดคอเลสเท โปรตีนถัว่ เหลืองในการลดคอเลสเทอรอล ป้องกันโรคมะเร็ง อรอลในฉลากอาหาร ถ้าอาหารประกอบด้วยโปรตีนถัว่ เหลือง และเสริมสร้างกระดูก ปัจจุบันนักวิจัยพบว่าผลิตภัณฑ์ถั่ว อย่างน้อยวันละ 25 กรัม หรืออาหารทีม่ ี โปรตีนถัว่ เหลือง เหลืองจะต้องมีทงั้ ไอโซฟลาโวนส์และโปรตีนถัว่ เหลืองร่วมกัน อย่างน้อย 6.25 กรัมต่อ 1 ทีเ่ สิรฟ์ โดยรับประทานวันละ 4 จึงจะให้ผลดีกว่าการมีชนิดใดชนิดเดียว ดังนั้นการเติมสาร มื้อ และโดยการรับประทานเป็นส่วนหนึ่งของอาหารไขมัน ไอโซฟลาโวนส์ลงในอาหารจึงให้ผลต่างกับไอโซฟลาโวนส์ใน อิ่มตัวต่ำและคอเลสเทอรอลต่ำ (FDA Proposed Rule. อาหารธรรมชาติ

18 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 18

12/8/06 9:58:23 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

และมนุษย์ (Knight, DC, Lyons Wall, P. Eden, 1996) จึง เป็นที่สนใจต่อนักวิจัยในการมองหาทางเลือกที่จะช่วยลด ปัญหาสุขภาพในหญิงวัยหมดประจำเดือน ถั่วเหลืองที่ชาวเอเชียบริโ ภคกันทั่วไปและให้ปริมาณ ไอโซฟลาโวนส์ 25-45 มก.ต่อวัน (Knight, DC, Lyons Wall, P. Eden, 1996) คนญีป่ นุ่ บริโภคถัว่ เหลืองมากทีส่ ดุ และได้รบั หญิงวัยทอง ในช่ ว งก่ อ นหมดประจำเดื อ นผู้ ห ญิ ง จะมี ร ะดั บ ไอโซฟลาโวนส์ประมาณ 200 มก.ต่อวัน และการวิจยั แบบ เอสโทรเจนในเลือดแปรปรวน ซึง่ นอกจากจะเพิม่ ความเสีย่ ง cross-culture ในหญิงวัยหมดประจำเดือนพบว่า หญิงชาว โรคหั ว ใจและกระดู ก พรุ น ในผู้ ห ญิ ง (American Heart ญีป่ นุ่ มีอาการวัยทองก่อนหมดประจำเดือนน้อยมาก เมือ่ เทียบ Association. 1997), (Lock, M. 1994), (National กับหญิงชาวตะวันตกซึง่ มักจะพบได้เสมอ (Lock, M.,1994) Osteoporosis Foundation. 1997) แล้วยังทำให้เกิดอาการ นอกจากนีห้ ญิงชาวญีป่ นุ่ ทีห่ มดประจำเดือนยังมีอตั ราการเกิด วัยทอง เช่น ร้อนวูบวาบ เหงือ่ ออกกลางคืน นอนไม่หลับ ช่อง กระดูกพรุนและโรคหัวใจต่ำและมีชวี ติ ยืนยาวกว่าชาวตะวัน คลอดแห้ ง หรื อ ปวดศี ร ษะ การเปลี่ ย นแปลงของระดั บ ตก(Lock, M., 1994) ฮอร์โมนมีผลไปทัว่ ร่างกาย เนือ่ งจากอวัยวะทัว่ ไปในร่างกาย มีขอ้ มูลรายงานไว้วา่ การบริโภคไอโซฟลาโวนส์จากถัว่ เหลือง จะมีตัวรับเอสโทรเจน (estrogen receptors) 2 ชนิดคือ ในหญิงก่อนหมดประจำเดือน ช่วยชะลอการมีประจำเดือน ชนิดแอลฟา (ER-A) และเบต้า (ER-B)(Kuiper, GGJM, และมีผลต้านฤทธิ์เอสโทรเจน(Cassidy A, Bingham S, Carlsson, B, et al. 1997) ผูช้ ายเองก็มตี วั รับเอสโทรเจนเช่น 1994) การวิจัยเปรียบเทียบในหญิงวัยทองพบว่าไอโซฟลา กัน ER-A พบมากในไต มดลูก ต่อมพิตอุ ทิ ารี (pituitary) โวนส์ ในอาหารสามารถทำตัวเสริมและต่อต้านฤทธิ์ของ และ epididymis อวัยวะส่วนอืน่ มี ER-Bในปริมาณเท่าๆ กัน เอสโทรเจนได้อย่างอ่อนๆ ขึน้ อยูก่ บั ปริมาณตัวรับเอสโทรเจน หรือมากกว่า เช่น รังไข่ ต่อมลูกหมากและสมอง (Kuiper, ในเซล GGJM, Carlsson, B, et al. 1997) นอกจากนีย้ งั มีตวั รับเอส โรคกระดูกพรุน โทรเจนในระบบหลอดเลือดและกระดูก เอสโทรเจนจึงมี อุบตั กิ ารณ์เกิดกระดูกพรุนเพิม่ สูงขึน้ อย่างรวดเร็วหลัง บทบาทสำคัญต่อสุขภาพและเนื้อเยื่อเหล่านี้ ฉะนั้นระดับ จากหมดประจำเดื อ น หญิ ง วั ย หมดประจำเดื อ นที่ อ ายุ ประมาณ 50 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงสูงต่อโรคกระดูกพรุน เอสโทรเจนทีล่ ดลงในวัยหมดประจำเดือนจึงมีผลในการเพิม่ ความเสีย่ งโรคหลอดเลือด(American Heart Association. เนือ่ งจากขาดฮอร์โมนเอสโทรเจนทำให้เนือ้ กระดูกลดลงอย่าง 1997) และกระดู ก พรุ น (National Osteoporosis รวดเร็ว และลดลงเรือ่ ยๆ ตามอายุ ผูห้ ญิงบางคนทีป่ ระจำ เดือนหมดเร็วกว่าปกติ อาจจะสูญเสียเนื้อกระดูกเร็วขึ้น Foundation.1997) การให้ฮอร์ โ มนทดแทน (Hormone replacement ประมาณ 1-3% ต่อปี โดยเฉพาะในช่วงปีแรกของการหมด therapy or HRT) ในวัยนีจ้ งึ ช่วยป้องกันผลทีจ่ ะเกิดขึน้ กับวัย ประจำเดือน (Mazess, RB, Barden, HS, Ettinger, M, หมดประจำเดือน แต่ผหู้ ญิงเป็นจำนวนมากก็ไม่ตอ้ งการ HRT Johnston, C, Dawson-Hughes, B, Baran, D, Powell, M, เพราะอาจเพิ่มความเสี่ยงมะเร็งเต้านม องค์ประกอบจาก Notelovitz, M. 1987), (Mazess, RB. 1982), (Ravn, P, Hetland, ML, Overgaard, K, and Christiansen, C. 1994) ถัว่ เหลืองจะให้ผลในการป้องกันโรคเหมือน HRT โดยไม่เพิม่ ความเสีย่ งได้ ไหม ยังไม่มคี ำตอบทีแ่ น่ชดั แต่ขอ้ มูลการวิจยั ที่ และเมื่ออายุมากขึ้นปริมาณการสูญเสียเนื้อกระดูกเท่ากับ 0.7-1% ต่อปี(Dawson-Hughes, B, Dallal, GE, Krall, EA, สะสมมาในด้านประโยชน์ของถัว่ เหลืองนัน้ มีมากมาย สารไฟโทเอสโทรเจนในถั่วเหลืองในรูปไอโซฟลาโวนส์ Sadowski, L, Sahyoun, N, (1990), (Greenspan, SL, เจนนิสทีนและเดดซีนมีฤทธิ์เป็นเอสโทรเจนอ่อนๆ ต่อสัตว์ Maitland, LA, Myers, ER, Krasnow, MB, Kido, TH. 1994) 1998) จะช่วยลดความเสี่ยงโรคหัวใจโดยจะช่วยลดคอเลส เทอรอลได้ประมาณร้อยละ 5-6 มิลลิกรัม/เดซิลติ ร แม้โปรตีน ถัว่ เหลืองอย่างเดียวจะช่วยลดคอเลสเทอรอลได้ แต่ถา้ มีสาร ไอโซฟลาโวนส์ดว้ ยก็จะยิง่ ลดได้มากขึน้ อีก Anderson พบว่า แอลดีแอลคอเลสเทอรอลลดลงเฉลีย่ 6.1%

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 19

19

12/8/06 9:58:25 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

การใช้ฮอร์ โ มนเอสโทรเจน (Estrogen Replacement therapy หรือ ERT) เป็นวิธีที่ดีที่ ให้ผลในการป้องกันการ สูญเสียเนื้อกระดูกซึ่งทำให้เกิดกระดูกพรุนในหญิง และ ป้องกันกระดูกสันหลังหัก (Kiel, DP, Felson, DT, Anderson JJ. 1987), (The Writing Group for the PEPI Trial. 1996) รวมทัง้ ในหญิงหลังหมดประจำเดือนจะช่วยลดการสูญเสียเนือ้ กระดูกประมาณ 50% (Committee on Diet and Health. 1989) สำหรับสารไอโซฟลาโวนส์ชนิด daidzein มีฤทธิ ์ คล้ายยาที่ ใช้ ในการรักษาโรคกระดูกพรุนในหญิงหลังหมด ประจำเดือนคือ ipriflavones ซึง่ จะถูก metabolized ไปเป็น daidzein ในร่างกาย และ daidzein มีผลช่วยยับยัง้ การสลาย ของเนือ้ กระดูก(Valente, M, Bufalino, L, et al. 1994) ซึง่ ผล การวิจัยชี้ ให้เห็นว่า daidzein จะช่วยลดความเสี่ยงของ โรคกระดูกพรุน แต่เนื่องจากผลข้างเคียงของยาในการเพิ่ม ความเสี่ยงมะเร็งเต้านมทำให้การใช้ฮอร์โมนทดแทนอย่าง สม่ ำ เสมอในหญิ ง วั ย หมดประจำเดื อ นมี เ พี ย ง 10-20% (Ettinger, B. 1998) นอกจากนีก้ ารรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทน ยั ง เพิ่ ม ความเสี่ ย งในการเกิ ด โรคหั ว ใจ และหลอดเลื อ ด เส้นเลือดในสมองอุดตัน ลิม่ เลือดอุดตัน ถุงน้ำดีอกั เสบและ หัวใจวาย (Carlsten H. 2005) ผูเ้ ชีย่ วชาญมีความเห็นว่า ควรพิจารณาให้การรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทนในผูห้ ญิงเฉพาะ รายทีม่ คี วามเสีย่ งกับการเกิดโรคกระดูกพรุน พร้อมกับปรับ ขนาดยาให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคน(S tevenson JC. 2005) ขณะเดียวกันนักวิจยั ก็พยายามทีจ่ ะมองหาทางเลือกที่ ไม่กอ่ ให้เกิดผลข้างเคียง Starem ED, Omer S. (2004) สาร ไอโซฟลาโวนส์ในจมูกถั่วเหลืองจึงเป็นสิ่งที่นักวิจัยให้ความ สนใจอย่างมาก สาร genistein ซึ่งเป็นองค์ประกอบของสารไฟโท เอสโทรเจนสามารถจับกับ ER-B ได้ดแี ต่จบั กับ ER-A ได้ ไม่ ดี(Kuiper, GGJM, Carlsson, B, et al. 1997) ตัวรับฮอร์โมน ในกระดูกส่วนใหญ่จะเป็นชนิด ER-B จึงเป็นเหตุผลที่ ใช้ อธิบายได้วา่ ไอโซฟลาโวนส์ชว่ ยป้องกันกระดูกพรุน งานวิ จั ย เบื้ อ งต้ น ชิ้ น สำคั ญ ที่ ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย

อิลินอยด์สรุปว่า การบริโภคสารไอโซฟลาโวนส์ซึ่งมีมากใน จมูกถัว่ เหลืองสามารถเพิม่ ปริมาณแร่ธาตุและความหนาแน่น ของกระดูกได้ โดยไม่กอ่ ให้เกิดผลข้างเคียงเช่นเดียวกับการ ใช้ยา ทำให้ความนิยมในการเสริมไอโซฟลาโวนส์ ในรูป

ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในหญิงวัยหมดประจำเดือนมากขึน้ แต่ ผูเ้ ชีย่ วชาญเตือนผลในการป้องกันโรคกระดูกพรุนในหญิงวัย หมดประจำเดือนนั้นไม่เห็นผลเร็วเหมือนกับการใช้ฮอร์โมน ทดแทน ปัจจุบันการใช้ฮอร์โมนทดแทนยังคงให้ผลดีกว่า แต่การรับประทานไอโซฟลาโวนส์จากอาหารควบคูก่ นั ไปก็จะ ให้ผลดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะในผู้หญิงที่มีระดับเอสโทรเจนใน เลือดต่ำ ข้ อ มู ล การวิ จั ย ชี้ แ นะว่ า เพี ย งการบริ โ ภคโปรตี น

ถัว่ เหลืองวันละ 40 กรัม เป็นเวลา 6 เดือน ให้ผลในการเพิม่ มวลกระดูกในหญิงหลังหมดประจำเดือน โปรตีนถั่วเหลือง สกัด 2 ออนซ์ (60 กรัม) ให้ โปรตีนถัว่ เหลืองประมาณ 40 กรัม(www.talksoy.com) Ho SC, Woo J, et.al. (2003) ศึกษาการบริโภคถัว่ เหลืองหรือผลิตภัณฑ์เสริมไอโซฟลาโวนส์ จากถัว่ เหลืองเป็นประจำในกลุม่ หญิงชาวจีนทีเ่ ริม่ หมดประจำ เดือน 454 คน อายุเฉลี่ย 55.1 ปี และติดตามคนกลุ่มนี้ ภายใน 12 ปีหลังจากทีห่ มดประจำเดือน เพือ่ ดูมวลกระดูกพบ ว่า บรรดาหญิงทีห่ มดประจำเดือนไปแล้วทีม่ อี ายุมากขึน้ ผูท้ ี่ บริโภคสารไอโซฟลาโวนส์มากกว่าจะมีความหนาแน่นของ เนือ้ กระดูกมากกว่าผูท้ บี่ ริโภคน้อยกว่า Chen YM, Ho SC, et al. (2004) พบว่า การเสริม

ไอโซฟลาโวนส์จากถั่วเหลืองช่วยเพิ่มความหนาแน่นของ กระดูกสะโพกและกระดูกเชิงกราน (trochanter) ในกลุม่ หญิง วัยหมดประจำเดือน และกลุม่ หญิงวัยหมดประจำเดือนทีเ่ สริม แคลเซียมน้อยและมีนำ้ หนักน้อย Potter et al ได้แสดงให้เห็นในการวิจยั ว่า อาหารทีม่ ี โปรตีนถัว่ เหลืองและมีไอโซฟลาโวนส์ ช่วยป้องกันการสูญเสีย เนื้อกระดูกส่วนกระดูกสันหลังได้ ในขณะที่อาหารที่มีสาร ไอโซฟลาโวนส์ตำ่ ไม่ชว่ ย(Potter sm, Baum JA, Teng H, Stillman RJ, Shay NF, Erdman JW. 1998) Lydeking-Otsen, et al. (2004) พบว่า ไม่มคี วามแตก ต่างของเนื้อกระดูกในผู้ที่ดื่มนมถั่วเหลืองวันละ 2 แก้ว (ไอโซฟลาโวนส์ 76 มก.) และในกลุม่ ที่ใช้ครีมโปรเจสเทอโรน (transdermal progesterone) แต่ในกลุม่ ควบคุมทีด่ มื่ นมถัว่ เหลืองที่ไม่มีไอโซฟลาโวนส์และใช้ครีมที่ไม่มี โปรเจสเทอโรน กับกลุม่ ที่ได้รบั ทัง้ นมถัว่ เหลืองทีม่ ีไอโซฟลาโวนส์รว่ มกับการใช้ ครีมโปรเจสเทอโรน มีการสูญเสียมวลกระดูก แสดงให้เห็นว่า นมถัว่ เหลืองและครีมโปรเจสเทอโรนอาจมีปฏิกริ ยิ าต่อกันซึง่

20 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 20

12/8/06 9:58:26 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

จะต้องมีการศึกษาวิจยั เพิม่ เติม Takehiko et al ได้ทำการวิจยั ในอาสาสมัครชาวญีป่ นุ่ ที่ อยู่ ในช่วงที่กำลังจะหมดประจำเดือน (peri-menopause) จำนวน 23 คนโดยสุ่มให้รับประทานไอโซฟลาโวนส์จาก ถั่วเหลือง หรือยาหลอกนาน 4 สัปดาห์ พบว่า การเสริม

ไอโซฟลาโวนส์จากถั่วเหลือง ช่วยลดอัตราการสูญเสียมวล กระดูกได้อย่างมีนยั สำคัญ และช่วยลดความเสีย่ งของการเกิด โรคกระดูกพรุน (osteoporosis) ได้(Takehiko Uesugi et al. 2005) Messina และคณะ (2004) ทำการวิเคราะห์ผล ของไอโซฟลาโวนส์จากถัว่ เหลืองต่อกระดูกจากงานวิจยั 15 ผลงาน ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นงานวิจยั ขนาดเล็ก (อาสาสมัครน้อย กว่า 30 คนในแต่ละงาน) และใช้เวลาการวิจยั 1 ปี แม้ผลที่ พบจะไม่ตรงกันซะทีเดียว แต่ขอ้ มูลนีช้ แี้ นะว่า สารไอโซฟลา โวนส์สามารถลดการสูญเสียเนื้อกระดูกในหญิงหมดประจำ เดือนทีอ่ ายุนอ้ ยกว่า มีขอ้ มูลจำกัดทางระบาดวิทยาทีแ่ สดงให้ เห็นว่า ชาวเอเชียที่บริโภคสารไอโซฟลาโวนส์มีเนื้อกระดูก เพิ่มขึ้น ผู้วิจัยสรุปว่าแม้ ไม่ควรใช้ถั่วเหลืองและไอโซฟลา โวนส์แทนยาต้านกระดูกพรุน แต่บคุ ลากรทางการแพทย์ควร พิจารณาสนับสนุนให้หญิงที่หมดประจำเดือนไปแล้วที่จะมี ปัญหากระดูกควรบริโภคอาหารทีม่ สี ารไอโซฟลาโวนส์สงู ใน ชีวติ ประจำวัน จากการรวบรวมข้อมูล Harkness (2004) ประเมินว่า ปริมาณการบริโภคไอโซฟลาโวนส์จะให้ผลในการเสริมสร้าง กระดูกนัน้ อาจจะต้องบริโภคสูงถึง 90-100 มก. ซึง่ ได้จาก ปริมาณโปรตีนถัว่ เหลือง 30-40 กรัม(Harkness L. 2004) และแหล่ ง อาหารที่ ส ำคั ญ ของไอโซฟลาโวนส์ คื อ จมู ก

ถัว่ เหลือง

ไฟเทตสูง ซึง่ จะยับยัง้ การดูดซึมของแคลเซียม แต่ Weaver (1994) พบว่าประสิทธิภาพการดูดซึมแคลเซียมจากถัว่ เหลือง ดี เ ที ย บเท่ า กั บ นม แม้ ว่ า ถั่ ว เหลื อ งจะมี ส ารไฟเทตก็ ต าม (Weaver, CM, Plawecki, KL. 1994) อาหารจากถัว่ เหลืองมี แคลเซียมในปริมาณต่างๆ กัน ขึน้ กับวิธกี ารผลิตถัว่ เหลืองสุก 1 ถ้วยตวงมีแคลเซียม 175 มก. เต้าหูแ้ ข็ง 1/2 ถ้วยตวง มี แคลเซียมประมาณ 258 มก.(United States Department of Agriculture. 1986) แต่เต้าหูท้ ผี่ ลิตโดยการเติมเกลือแคลเซียม จะมีแคลเซียมสูงถึง 750 มก.ต่อทีเ่ สิรฟ์ นอกจากปริมาณแคลเซียมในอาหารแล้ว การสูญเสีย แคลเซียมทางปัสสาวะเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เสียสมดุล แคลเซียมในร่างกาย(Heaney, RP. 1994) การบริโ ภค โซเดียมและโปรตีนมากเกินควรเพิม่ การขับแคลเซียมออกจาก ร่างกาย(Breslau, NA, Brinkley, L, Hill, KD, Pak, CYC. 1988), (Heaney, RP. 1994) การศึกษาทางระบาดวิทยา แสดงให้เห็นว่าประเทศทีบ่ ริโภคอาหารโปรตีนสูงมีอตั ราการ เกิดกระดูกสะโพกแตกหักสูง(Abelow, BJ, Holford, TR, Insogna, KL. 1992) ในบรรดาอาหารทีม่ ี โปรตีนคุณภาพสูง ถั่วเหลืองทำให้เกิดการสูญเสียแคลเซียมทางปัสสาวะน้อย ทีส่ ดุ (Breslau, NA, Brinkley, L, Hill, KD, Pak, CYC. 1988) เมสซินา(Messina) ผูเ้ ชีย่ วชาญการวิจยั ถัว่ เหลืองอธิบายไว้วา่ ถั่วเหลืองให้ประโยชน์แก่กระดูกในแง่ที่ว่าเป็นโปรตีนพืช ทำให้การขับแคลเซียมทางปัสสาวะน้อยกว่าโปรตีนสัตว์ ถ้าเรารับประทานถัว่ เหลือง 15 กรัมแทนเนือ้ สัตว์ 15 กรัมจะ ลดการสูญเสียแคลเซียมที่ถูกขับออกจากร่างกายได้ 15 มิลลิกรัม ซึง่ เท่ากับว่าเราต้องการแคลเซียมจากอาหารลดลง วันละ 150 มิลลิกรัม

การป้องกันมะเร็ง (www.talksoy.com)

แคลเซียมและกระดูกพรุน

การศึ ก ษาในประชากรชาวเอเชี ย ซึ่ ง มี ก ารบริ โ ภค ความสมดุลของแคลเซียมเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความ ผลิตภัณฑ์ถวั่ เหลืองมากกว่าชาวตะวันตก พบว่าหญิงเอเชีย สำคัญในการป้องกันกระดูกพรุน ผู้หญิงส่วนใหญ่บริโ ภค เป็นโรคมะเร็งเต้านมน้อยกว่าหญิงชาวตะวันตกถึง 5 เท่า ใน แคลเซียมไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย(USDA. ทำนองเดียวกันพบว่าชาวเอเชียเป็นมะเร็งในต่อมลูกหมาก 1985) ความหนาแน่นสูงสุดของกระดูกจึงน้อยกว่าทีค่ วรเป็น น้อยกว่าฝรั่ง 20 เท่า นักวิจัยเชื่อว่าสารไอโซฟลาโวนส์ใน ซึง่ ก่อให้เกิดปัญหากระดูกพรุนในเวลาต่อมา ถัว่ เหลืองอาจจะลดอัตราเสีย่ งการเกิดมะเร็งในต่อมลูกหมาก ถัว่ เหลืองเป็นอาหารพืชทีม่ แี คลเซียมสูง(Weaver, CM, โดยการแทรกแซงการทำงานของฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน Plawecki, KL. 1994) โดยปกติแคลเซียมจากพืชจะดูดซึมได้ (Testosterone) ในชาย หรืออาจจะยับยัง้ การเจริญของเซล ไม่ดีเท่านมวัว เนื่องจากพืชบางชนิดมีสารออกซาเลตและ มะเร็งโดยการลดปริมาณการผลิตฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 21

21

12/8/06 9:58:27 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

สารเจนนิสทีนมีผลเหมือนยาที่ ใช้ ในการรักษามะเร็ง นักวิจยั เชือ่ ว่าเอ็นไซม์บางชนิดในร่างกายเปลีย่ นเซลธรรมดา ไปเป็นเซลมะเร็ง ยาต้านมะเร็งจะช่วยยับยัง้ เอ็นไซม์ชนิดนี้ เช่นเดียวกันกับสารเจนนิสทีนซึง่ สามารถยับยัง้ การเจริญของ เซลมะเร็ง โดยรบกวนการทำงานของฮอร์โมนที่เซลมะเร็ง ต้องการในการเจริญ ผลการป้องกันมะเร็งไม่ได้ขนึ้ กับฮอร์โมนเพียงอย่างเดียว แต่มปี จั จัยอืน่ เกีย่ วข้องด้วย เช่นผลการวิจยั พบว่า การเสริม สารไอโซฟลาโวนส์ลดความหนาแน่นของเนื้อเยื่อเต้านม (breast density) ในหญิงทีห่ มดประจำเดือน แต่กลับไม่มผี ล ในหญิงวัยก่อนหมดประจำเดือน ความหนาแน่นของเนือ้ เยือ่ เต้านมเป็นตัวชีว้ ดั ความเสีย่ งของมะเร็งเต้านม นอกจากนีย้ งั มี งานวิจยั ทีช่ แี้ นะว่าการรับประทานไอโซฟลาโวนส์จากอาหาร ในวัยแตกเนือ้ สาวอาจช่วยป้องกันมะเร็งเต้านมเมือ่ อายุมาก ขึน้ ได้ การวิ จั ย เป็ น ระยะเวลา 1 ปี โดย Gertraud Maskarinee แห่ง Cancer Research Center of Hawaii พบว่า การเสริมไอโซฟลาโวนส์ 76 มก./วัน ไม่มผี ลต่อความ หนาแน่เนือ้ เยือ่ เต้านมในหญิงก่อนหมดประจำเดือน ทำนอง เดียวกัน Charlotte Atkinson แห่ง Institute of Public Health ใน Cambridge พบว่าหญิงก่อนหมดประจำเดือนและ หลังหมดประจำเดือนที่เสริมไอโซฟลาโวนส์วันละ 40 มก. เป็นเวลา 1 ปี ไม่มผี ลต่อความหนาแน่นของเนือ้ เยือ่ เต้านม แต่เมื่อแบ่งอาสาสมัครตามอายุพบว่า ความหนาแน่นของ เนือ้ เยือ่ เต้านมลดลงอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตใิ นหญิงอายุ 5665 ปี งานวิจัยทั้งสองมีความสำคัญเนื่องจากความหนาแน่น ของเนือ้ เยือ่ ในเต้านมเป็นตัวชีว้ ดั ความเสีย่ งมะเร็งเต้านมได้ดี ฮอร์โมนทดแทนซึง่ เพิม่ ความเสีย่ งมะเร็งเต้านมเพิม่ ความหนา แน่นเนือ้ เยือ่ เต้านม แต่ยา tamoxifen ซึง่ ลดความเสีย่ งมะเร็ง เต้านมลดความหนาแน่น ดังนั้นงานวิจัยทั้ง 2 ชี้แนะว่า สารไอโซฟลาโวนส์ ไม่ ได้สง่ ผลเหมือนเอสโทรเจนหรือไม่เพิม่ ความหนาแน่นของเนื้อเยื่อเต้านมทั้งในหญิงก่อนหรือหลัง หมดประจำเดือน แต่อาจจะมีผลต่อความเสีย่ งในหญิงทีม่ อี ายุ มากกว่าวัยเหล่านัน้ Mark Cline จากมหาวิทยาลัย Wake Forest พบว่า แม้ ถัว่ เหลืองอย่างเดียวไม่มผี ลต่อการเหนีย่ วนำการเกิดมะเร็งทัง้

ในหนูทถี่ กู ตัดรังไข่ หรือหนูทมี่ รี งั ไข่ ถัว่ เหลืองลดความเสีย่ ง การเกิดมะเร็งเต้านมในหนูที่ถูกตัดรังไข่ที่ ได้รับเอสโทรเจน 50%-80% ป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมาก งานวิจยั ในหลายประเทศยืนยันว่าถัว่ เหลืองมีสว่ นในการ ป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมาก มีรายงานการวิจยั ว่าผูช้ ายทีม่ ี มะเร็งต่อมลูกหมากเมื่อเสริมไอโซฟลาโวนส์จากถั่วเหลือง วันละ 77 มิลลิกรัมสามารถหยุดยั้งเซลมะเร็งไม่ ให้แพร่ กระจายได้ Omer Kucuk จาก Karmonas Cancer Institute แห่ง มหาวิทยาลัย Wayne State รายงานผลการวิจยั ที่ใช้เวลา 6 เดือนในการศึกษาผลการเสริมไอโซฟลาโวนส์วนั ละ 77 มก.ต่อ ระดับ PSA (prostate specific antigen) ในผูป้ ว่ ยมะเร็งต่อม ลูกหมาก ผลการวิจัยชี้ ให้เห็นว่าไอโซฟลาโวนส์อาจเป็น ประโยชน์ในการยับยัง้ การดำเนินของโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก สารไอโซฟลาโวนส์จึงอาจให้ประโยชน์ในการลดความเสี่ยง มะเร็งต่อมลูกหมากได้(Messina M. 2002)

การป้องกันมะเร็งต่อมไทรอยด์ (Messina M. 2002)

การวิจยั ในสัตว์ทดลองชีว้ า่ ถัว่ เหลืองมีสารทีก่ อ่ ให้เกิด โรคคอพอกและอาจมีความสัมพันธ์ระหว่างคอพอกและมะเร็ง ไทรอยด์ แต่การวิจยั ในคนชีผ้ ลตรงกันข้าม การวิจยั แบบ cross-sectional study พบว่าการบริโภค สารไอโซฟลาโวนส์จากถัว่ เหลืองลดความเสีย่ งมะเร็งไทรอยด์ ในหญิงคอเคเซียนและเอเชียที่อาศัยอยู่ ในซานฟรานซิสโก Pamela Horn-Ross แห่ง Northern California Cancer Center พบว่า ผักตระกูลครูซเิ ฟอรัสทีเ่ คยทราบกันมาก่อนว่า เป็นสารทีท่ ำให้เกิดไทรอยด์ แต่ในทางตรงกันข้าม การบริโภค ผักเหล่านีก้ ลับลดความเสีย่ งมะเร็งต่อมไทรอยด์ การบริโภค ถัว่ เหลืองกลับให้ผลการป้องกันมะเร็งต่อมไทรอยด์ แม้ผลการ วิจยั นีจ้ ะเป็นเพียงการเริม่ ต้น แต่กแ็ ก้ ไขความเข้าใจผิดทีว่ า่

ถั่วเหลืองเพิ่มความเสี่ยงมะเร็งต่อมไทรอยด์ (Messina M. 2002) สิง่ ทีน่ กั วิจยั คำนึงถึงคือ การที่ไอโซฟลาโวนส์มผี ลคล้าย เอสโทรเจนอาจกระตุน้ เซลมะเร็งเต้านมทีม่ อี ยูแ่ ล้วหรือเพิม่ โอกาสเกิดมะเร็งเต้านมให้กับผู้หญิงที่มีความเสี่ยงอยู่แล้ว (Bouker KB, Hilakivi-Clarke L. 2000) การวิจยั แบบสุม่ ขนาดใหญ่ในหญิงหลังจากหมดประจำเดือนไปแล้วและการ

22 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 22

12/8/06 9:58:28 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

วิจยั ทีต่ พี มิ พ์แล้วชีแ้ นะว่าเมือ่ ใช้เอสโทรเจนและโปรเจสทิน ร่วมกันเพิม่ ความเสีย่ งมะเร็งเต้านมขณะทีเ่ อสโทรเจนอย่าง เดียวเพิม่ ความเสีย่ งเล็กน้อยหรือไม่เพิม่ เลย ฉะนัน้ ไอโซฟลา โวนส์จึงอาจไม่ ให้ผลเหมือนการใช้เอสโทรเจนและโปรเจส ทิน(Anderson GL, Limacher M, et al. 2004), (Messina M. 2005), (Messina MJ, Loprinzi CL. 2001), ( Writing Group for the Women’s Health Initiative Investigators 2002)

การป้องกันมะเร็งลำไส้ ใหญ่

นอกจากการป้องกันมะเร็งทีก่ ล่าวมาแล้ว นักวิจยั ยังพบ ว่าการกินถั่วเหลืองสัปดาห์ละครั้งช่วยลดความเสี่ยงมะเร็ง ในลำไส้ใหญ่ลงครึง่ หนึง่ เมือ่ เปรียบเทียบกับผูท้ ี่ไม่กนิ ถัว่ เหลือง เลย

ความปลอดภัยในการบริโภค

เนือ่ งจากไอโซฟลาโวนส์ทำงานคล้ายเอสโทรเจน ในทาง ทฤษฏีจึงอาจไม่ปลอดภัยสำหรับผู้หญิงที่มีความเสี่ยงมะเร็ง เต้ า นม หรื อ คนที่ เ คยมี เ นื้ อ ร้ า ยมาก่ อ น หรื อ คนที่ เ คยมี มะเร็งเต้านมอยู่แล้ว การวิจัยพบว่าเจนนิสทีนจับกับตัวรับ เอสโทรเจนต่างจาก estradiol(Brzezinski A, Debi A. 1999) โดยลักษณะการจับคล้ายกับ Selective Estrogen Receptor

Modulator (SERM) ฉะนั้นจึงถือได้ว่าไอโซฟลาโวนส์เป็น SERM ในรูปธรรมชาติซงึ่ ให้ผลในการป้องกันมะเร็งเต้านม ไอโซฟลาโวนส์ ไม่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง เต้านมในสตรีวยั ทอง(NutraIngredient.com(Europe) การ ศึกษาในสตรีวยั ทองจำนวน 50 คน ที่ไม่สามารถรับการรักษา ด้วยการให้ฮอร์โมนทดแทนได้ โดยให้รบั ประทานจมูกถัว่ เหลือง หรือตัวหลอกนาน 6 เดือน พบว่า การรับประทานจมูก ถัว่ เหลือง ช่วยลดอาการร้อนวูบวาบ (44% เทียบกับ 10%; p <0.05) เสริมระดับฮอร์โมนเพศหญิง พร้อมกับลดระดับของ ไขมัน LDL (11.8%) และเพิม่ ระดับ HDL (27.3%; p<0.05) ได้ อ ย่ า งมี นั ย สำคั ญ เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ กลุ่ ม ที่ ไ ด้ รั บ ตั ว หลอก(Petri Nahas E. et al. 2004) การประชุ ม ระหว่ า ง The US Center for the Evaluation of Risks to Human Reproduction (CERHR) of the National Institute of Environmental Health Services (NIEHS) and National Toxicology Program ในเดือนมีนาคม 2549 ได้ขอ้ สรุปร่วมกันว่า การรับประทาน ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทีม่ สี ารไอโซฟลาโวนส์เป็นองค์ประกอบ ไม่ทำให้เกิดความเสีย่ งกับระบบสืบพันธุ์ หรือการเจริญเติบโต ของทารกในครรภ์(www.nutraingredients.com)

สรุป สารไอโซฟลาโวนส์ซึ่งพบมากในจมูกถั่วเหลืองมีฤทธิ์เหมือนเอสโทรเจน แต่อ่อนกว่าและยังมีฤทธิ์ต้าน เอสโทรเจนอ่อนๆ ด้วยเช่นกัน ไอโซฟลาโวนส์สามารถจับกับตัวรับเอสโทรเจนแอลฟาและเบต้าได้ แต่จะสามารถจับ กับตัวรับเบต้าได้ดกี ว่าแอลฟา สารไอโซฟลาโวนส์พบมากในจมูกถัว่ เหลือง มีฤทธิเ์ ป็นเอสโทรเจนอ่อนๆ จึงอาจช่วยป้องกันกระดูกพรุน โดย การป้องกันการสลายของกระดูกและเพิม่ ความหนาแน่นกระดูก นอกจากนี้ ไอโซฟลาโวนส์ยงั มีฤทธิเ์ ป็นสารต้านอนุมลู อิสระ จึงช่วยป้องกันโรคหัวใจ มะเร็งเต้านมและมะเร็งต่อมลูกหมาก ช่วยลดอาการในวัยหมดประจำเดือน เนือ่ งจาก ไอโซฟลาโวนส์ซงึ่ พบมาในจมูกถัว่ เหลืองไม่มผี ลข้างเคียงเหมือนสารเสริมฮอร์โมน ทำให้ ไอโซฟลาโวนส์ได้รบั ความ สนใจจากวงการวิจัยมากมาย และการบริโภคไอโซฟลาโวนส์ที่มีมากในจมูกถั่วเหลืองมีข้อมูลมากมายที่ชี้ว่าให้ ประโยชน์ตอ่ สุขภาพในการป้องกันโรคดังกล่าว

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 23

23

12/8/06 9:58:29 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

เอกสารอ้างอิง

Abelow, BJ, Holford, TR, Insogna, KL. (1992) Cross-cultural association between dietary animal protein and hip fracture: a hypothesis. Calcif Tissue Int. 50: 14-18 American Heart Association. (1997) Heart and Stroke Statistical Update. Dallas, TX: 1997 Anderson GL, Limacher M, et al. (2004) Effects of conjugated equine estrogen in postmenopausal women with hysterectomy: The Women’s Health Initiative randomized controlled trial. JAMA. 291:1701-12. Anderson RL, (1995) Wolf WJ.Compositional changes in trysin inhibitors, phytic acid, soponins, and isoflavons related to soybean processing. J Nutr. 125:58 1S-588S Anderson, JW, Johnstone, BM, (1995) Cook-Newell, ME. Meta-analysis of the effects of soy protein intake on serum llipids. N Engl J Med. 333: 276-282 Anthony, MS, Clarkson, TB, et al. (1996) Soybean isoflavones improve cardiovascular risk factors without affecting the reproductive system of peripubertal rhesus monkeys. J Nutr. 126: 43-50 Bouker KB, Hilakivi-Clarke L. (2000) Genistein: Does it prevent or promote breast cancer? Environ Health Perspect. 108:701-08. Breslau, NA, Brinkley, L, Hill, KD, Pak, CYC. (1988) Relationship of animal protein-rich diet to kidney stone formation and calcium metabolism. J Clin Endocrinol Metab. 66: 140-146 Brzezinski A, Debi A. (1999) Phytoestrogens: the “natural” selective estrogen receptor modulators? European Journal of Obstetrics, Gynecology and Reproductive Biology. 85:47-51. Carlsten H. (2005) Immune responses and bone loss: the estrogen connection. Immunol Rev. Dec;208:194-206. Cassidy A, Bingham S, (1994) Setchell KDR. AM J Clin Nutr: 60:333. Chen YM, Ho SC, et al. (2004) Beneficial effect of soy isoflavones on bone mineral content was modified by years since menopause, body weight, and calcium intake: A double-blind, randomized controlled trial. Menopause. 11(3):246-54. Committee on Diet and Health. (1989) Food and Nutrition Board, NRC. Osteoporosis in Diet and Health: Implications for Reducing Chronic Disease Risk. Washington, DC: National Academy Press, 615-626 Coward L, Barnes NC, Setchell KDR, et al.(1993) J Agric Food Chem 41:1961. Messina MJ, Persky V, Setchell KDR, Nutr Cancer 21:113, 1994 Coward L, Smith M, Kirk M, Barnes S. (1998) Chemical modification of isoflavones in soyfoods during cooking and processing. Am J Clin Nutr. 68:1486S-1491S. Dawson-Hughes, B, Dallal, GE, Krall, EA, Sadowski, L, Sahyoun, N, (1990) Tannenbaum S. A controlled trial of the effect of calcim supplementation on bone density in postmenopausal women. N. Engl. J. Med. 323:878-883. De Boevor et al. (2001) Combined use of Lactobacillus reuteri and soy germ powder as food supplement. Lett. Apl. Microbiol. 33:420. Ettinger, B. (1998) Overview of Estrogen Replacement Therapy: A historical perspective. PSEBM. 217:2-5. FDA Proposed Rule. (1998) Food Iabeling:health claions : soy protein and coronary heart disease. Fed Regist. November 10, 63 : 62977-63015 Greenspan, SL, Maitland, LA, Myers, ER, Krasnow, MB, Kido, TH. (1994) Femoral bone loss progresses with age: A longitudinal study in women over age 65. J. Bone Miner. Res. 9:1959-1965. Harkness L. (2004) soy and Bone : Where do we stand? Ortho paedic Nursing. 23(1) 12-17 Heaney, RP. (1994) Cofactors Influencing the Calcium Requirement — Other Nutrients. In NIH Consensus Development Conference on Optimal Calcium Intake. Bethesda, Maryland: NIH, Ho SC, Woo J, et.al. (2003) Soy protein consumption and bone mass in early postmenopausal Chinese women. Osteoporos Int. 4(10):835-42. Hollenberg, MD. (1994) Tyrosine kinase pathways and the regulation of smooth muscle contractility. TIPS. 15: 108-114 Kiel, DP, Felson, DT, Anderson JJ. (1987) Hip fracture and the use of estrogens in postmenopausal women. N. Engl. J. Med. 317:1169-1174. Knight, DC, Eden, JA. (1996) A review of the clinical effects of phytoestrogens. Obstet Gynecol. 87:897-904 Knight, DC, Lyons Wall, P. Eden, JA. (1996) A review of phytoestrogens and their effects in relation to menopause symptoms. Aust J Nutr Diet. 53:5-11 Kuiper, GGJM, Carlsson, B, et al. (1997) Comparison of the ligand binding specificity and transcript tissue distribution of estrogen receptors a and . Endocrinology. 138: 863-870 Lock, M. (1994) Menopause in cultural context. Exp Gerontol. 29(3-4): 307-317 Lu LJ, Lin SN, Grady JJ, Nagamani M, (1996) Anderson KE. Altered kinetics and extent of urinary daidzein and genistein excretion in women during chronic soya exposure. Nutr Cancer; 26:289-302.

24 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 24

12/8/06 9:58:30 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549 Lydekin-Olsen E, et al. (2004) Soymilk or Progesterone for prevention of bone loss—a two-year randomized, placebo-controlled trial. Eur J Nutr. Aug;43(4)246-57. Mazess, RB, Barden, HS, Ettinger, M, Johnston, C, Dawson-Hughes, B, Baran, D, Powell, M, Notelovitz, M. (1987) Spine and femur density using dual-photon absorptiometry in U.S. white women. Bone Miner. 2:211-219. Mazess, RB. (1982) On aging bone loss. Clin. Orthop. Related Res. 165:239-252. Messina M, Barnes S. (1991) The role of soy products in reducing risk of cancer. J Natl Cancer Inst; 83:541-6 Messina M, Ho S, Alekel DL. (2004) Skeletal benefits of soy isoflavones: a review of the clinical trial and epidemiologic data. Curr Opin Clin Nutr Metab Care. Nov;7(6):649-58. Messina M. Isoflavones. Soy & Health. United Soybean Board. www.talksoy.com Messina M. (2005) Soy isoflavone intake and the risk of breast and endometrial cancers. The Soy Connection. Spring 13(2):1-3. Messina M. (2002) Symposium Highlight Significant Research On Soy And Human Health. The Soy Connection. Winter 10(1) Messina MJ, Loprinzi CL. (2001) Soy for breast cancer survivors: a critical review of the literature. J Nutr. 131:3095S-108S. Messina MJ, Persky V, Setchell KDR, (1994) Nutr Cancer 21:113. Murphy, CT, Kellie, S, Westwick, J. (1993) Tyrosine-kinase activity in rabbit platelets stimulated with platelet-activating factor. Eur J Biochem. 216: 639-651 National Osteoporosis Foundation. (1997) Fast Facts on Osteoporosis. Washington, DC. NutraIngredient.com (Europe) quote from the journal Cancer Research (Vol. 66, Issue 2) Petri Nahas E. et al. (2004) Benefits of soy germ isoflavones in postmenopausal women with contraindication for conventional hormone replacement therapy. Maturitas Aug 20;48(4):372-80 Potter sm, Baum JA, Teng H, Stillman RJ, Shay NF, Erdman JW. (1998) Soy protein and isoflavones: their effects on blood lipids and bone density in postmenopausal woman. Am J Cli Nutr; 68 (Suppl) : 1375 S – 9S Ravn, P, Hetland, ML, Overgaard, K, and Christiansen, C. (1994) Premenopausal and postmenopausal changes in bone mineral density of the proximal femur measured by dual-energy x-ray absorptiometry. J. Bone Miner. Res. 9:1975. S tevenson JC. (2005) Justification for the use of HRT in the long-term prevention of osteoporosis. Maturitas. Jun 16;51(2):113-26 Shelnutt SR, Cimino CO, Wiggins PA, Badger TM. (2000) Urinary pharmacokinetics of the glucuronide and sulfate conjugates of genistein and daidzein. Cancer Epidemiol Biomarkers Prev ; 9:413-9. Staren ED, Omer S. (2004) Hormone replacement therapy in postmenopausal women. Am J Surg. Aug;188(2):136-49 Takehiko Uesugi et al. (2005) Beneficial effects of soybean isoflavone supplementation on bone metabolism and serum lipids in postmenopausal Japanese women: A four-week study. Journal of the American College of Nutrition 2002. Volume 21 Number 2 December page 97 – 102) The Writing Group for the PEPI Trial. (1996) Effects of hormone therapy on bone mineral density . Results from the postmenopausal estrogen/progestin interventions (PEPI) trial. JAMA. 276: 1389-1396. United States Department of Agriculture. (1986) Composition of Foods: Legumes and Legume Products. Washington, DC: USDA, (USDA handbook 8-16) USDA (1999) Iowa State University database on the isoflavone foods. USDA. (1985) Nationwide Food Consumption Survey: Continuing Survey of Food Intakes by Individuals. Hyattsville, Maryland: USDA, 1987 (Report No. 85-4) Valente, M, Bufalino, L, et al. (1994) Effects of 1-year treatment with ipriflavone on bone in postmenopausal women with low bone mass. Calcif Tissue Int. 54: 377-380 Wang H-J, Murphy PA. J (1994) Agric Food Chem 42:1674. Weaver, CM, Plawecki, KL. (1994) Dietary calcium: adequacy of a vegetarian diet. Am J Clin Nutr. 59(suppl): 1238S-1241S Writing Group for the Women’s Health Initiative Investigators(2002) : Risks and benefits of estrogen plus progestin in healthy postmenopausal women: principal results from the Women’s Health Initiative randomized controlled trial. JAMA. 288:321-33. Xu X, Wang HJ, Murphy PA, Cook L, Hendrich S. (1994) Daidzein is a more bioavailable soymilk isoflavone than is genistein in adult women. J Nutr. 124:825-32) http//:www.isoflavones.info/,www.fwhe.org/health/soy.htm http://www.nutraingredients.com/news/ng.asp?n=66513&m=2FSN327&idP=2&c=egcjjrsbbmxvunl hhhp://www.pdrhealth.com/drug_info/nmdrugprofiles/nutsupdrug/soy_0238.shtml http://www.soyfoods.org http://www.talksoy.com/Health/hSoyAndCancer.htm http://www.talksoy.com/Health/hSoyAndOsteoporosis.htm http://www.talksoy.com/Health/hSoyNutritiveContent.htm www.talksoy.com/Health/tIsoflavones.htm#concentration

Thai Army Nurses 3.indd 25

วารสารพยาบาลทหารบก

25

12/8/06 9:58:32 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

เปรียบเทียบผลการใช้รูปแบบการจัดการ ทางการพยาบาลรายกรณี ที่บูรณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ และทีม การพยาบาลต่อความสามารถในการจัดการการดูแล ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของผู้ดูแล อุดมรัตน์ ซัดเราะมาน * พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์ **

บทคัดย่อ การวิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นการวิจยั กึง่ ทดลอง มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาระดับความสามารถของผูด้ แู ลในการจัดการการ

ดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง และเปรียบเทียบผลการใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการ ระบบพยาบาลเจ้าของไข้และทีมการพยาบาล ต่อความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองของผู้ ดูแลกลุม่ ตัวอย่าง คือ ผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุม่ ควบคุม 20 คน และกลุม่ ทดลอง 20 คน จับคูร่ ะหว่างการใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ กับการ ใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีในรูปแบบทีมการพยาบาล เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจยั มี 2 ชุด ประกอบ ด้วย เครือ่ งมือดำเนินการวิจยั คือ คูม่ อื การใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาล เจ้าของไข้ และการอบรมพยาบาลเจ้าของไข้ ซึง่ เป็นพยาบาลวิชาชีพ ทีท่ ำงานในหอผูป้ ว่ ยเวชศาสตร์ฟนื้ ฟูโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า เครือ่ งมือเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอด เลือดสมองในผูด้ แู ล ซึง่ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนือ้ หาและความเทีย่ งแล้ว ได้คา่ 0.96 วิเคราะห์ขอ้ มูลด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS for windows สถิตทิ ี่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน สถิติ วิเคราะห์ Wilcoxon Signed Ranks test และ Mann Withney U test ผลการวิจยั สรุปได้ดงั นี ้ ความสามารถในการ จัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองของผูด้ แู ล ในการใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการ ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า การใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีในรูปแบบทีมการพยาบาล อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ที่ 0.05 และระดับความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองของผูด้ แู ล ในการ ใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ อยู่ในระดับสูงสุด ระดับความ สามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองของผูด้ แู ล ในการใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลราย กรณีในรูปแบบทีมการพยาบาล อยู่ในระดับปานกลาง * พันตรี หญิง หัวหน้าหอผู้ป่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟูชั้น 5 กองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ** รองศาสตราจารย์ ดร. รองอธิการบดี ฝ่ายโครงการพิเศษ วิทยาลัย เซนต์หลุยส์

26 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 26

12/8/06 9:58:33 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

การเปลีย่ นแปลงในระบบสุขภาพอย่างรวดเร็ว ทำให้ ทุกหน่วยงานและทุกวิชาชีพ ต้องดำเนินการปรับเปลี่ยน รูปแบบและวิธีการเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายหลักด้าน สุขภาพของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ นโยบายการจัดบริการ ทางสุขภาพทีม่ คี ณ ุ ภาพ (Quality of Survice) จัดระบบทีม่ ี ประสิทธิภาพ (Efficiency) สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ (Transparency and accountability) และมีความเสมอภาค (Equity and accessibility) (อรพรรณ โตสิงห์,2545,น.45) การมอบหมายงานในปัจจุบนั ได้แก่ แบบรายผูป้ ว่ ย (Case Method) แบบตามหน้าที่ (Function Method) แบบพยาบาล เจ้าของไข้ (Primary Nursing Method) แบบทีม (Team Method) และแบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณี (Nursing Case Management Method) ซึ่งรูปแบบการ ทำงานเป็นทีมเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย ปัจจุบนั พบว่าความไม่สำเร็จของทีมการพยาบาลเกิดจากการ ขาดความรู้ ใ นเรื่ อ งการทำงานเป็ น ที ม อย่ า งแท้ จ ริ ง ที ม

การพยาบาลยั ง ขาดเป้ า หมายในการปฏิ บั ติ (ฟาริ ด า อิบราฮิม,2542) และจากการศึกษาของ วิไล อำมาตย์ มณี(2539) เกี่ยวกับการจัดการทางการพยาบาลแบบทีม พบว่า พยาบาลยังขาดความรู้ในการปฏิบตั ิ ขาดภาวะการเป็น ผู้นำ การติดต่อสื่อสารระหว่างทีมสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ การให้การดูแลเป็นทีม ล้วนแต่มขี อ้ จำกัด ไม่สามารถให้การ ดูแลแบบองค์รวมได้ บุคลากรเน้นแต่การทำงานเพื่อให้ทัน เวลาตามหน้าที่ ผูป้ ว่ ยจึงได้รบั การดูแลแบบแยกส่วน ผลที่ ตามมาผูป้ ว่ ยได้รบั การรักษาทีช่ า้ กว่าทีค่ วร การฟืน้ ฟูสภาพช้า ระยะเวลาการอยู่ โรงพยาบาลนานและค่าใช้จา่ ยสูง ผูป้ ว่ ยจึง ไม่มคี วามพร้อมทีจ่ ะไปดูแลตนเองทีบ่ า้ น และการขาดความรู้ ของผู้ดูแลในการจัดการการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน การสอนและ การให้ความรูผ้ ปู้ ว่ ยทีล่ า่ ช้าเนือ่ งจากไม่มผี รู้ บั ผิดชอบทีแ่ น่นอน (จอม สุวรรณโณ,2541,น.27-32) การสอนและการให้ความรู ้ ผูป้ ว่ ยทีล่ า่ ช้าเนือ่ งจากไม่มผี รู้ บั ผิดชอบทีแ่ น่นอน ผูป้ ว่ ยจึงไม่มี ความพร้อมทีจ่ ะไปดูแลตนเองทีบ่ า้ น และการขาดความรูข้ อง ผูด้ แู ลในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยทีบ่ า้ น ในบริการพยาบาล หากมีการมอบหมายงานแบบทีมการพยาบาล มีการจัดการ ภายในที ม ที่ ดี พยาบาลร่ ว มมื อ ประสานงานกั น อย่ า งดี

มีความรู้ ความสามารถในการทำงาน เกิดประสิทธิผลของ ทีมดี ย่อมส่งผลให้มคี ณ ุ ภาพการพยาบาลดีดว้ ย ในปัจจุบนั การทำงานของพยาบาล จะเป็นการทำงาน แบบทีมกึง่ หน้าที่ ยังไม่เป็นทีมอย่างแท้จริง เนือ่ งจากพยาบาล บางส่วนยังไม่เข้าใจหลักการพยาบาลเป็นทีม การแสดง บทบาทของหัวหน้าทีมและสมาชิกทีม ไม่ชดั เจน ขาดความ ร่วมมือในการทำงาน ซึ่งในปัจจุบันเป็นยุคของการพัฒนา คุณภาพ โดยมีเทคโนโลยีต่างๆและแนวทางการดูแลผู้ป่วย (Clinical Pathway) ก็เป็นเครือ่ งมือในการพัฒนาคุณภาพการ บริการพยาบาลอย่างหนึง่ ทีม่ งุ่ เน้นการดูแลผูป้ ว่ ยทีต่ อ่ เนือ่ ง ลดความซับซ้อน ลดจำนวนวันนอน เป็นผลทำให้คา่ ใช้จา่ ย ลดลง ทำให้ผปู้ ว่ ยเกิดความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลที่ได้รบั ส่งผลให้ทมี การพยาบาลพึงพอใจด้วย(สุวรรณี มหากายนันท์, 2538) ปัจจุบันมีการนำการจัดการทางการพยาบาลมาใช้ โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้บคุ ลากรทางการพยาบาลสามารถใช้ ความรู้ ความสามารถ จากการศึกษาเพิม่ เติม ประสบการณ์ การประสานงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ให้เกิดความราบรืน่ ใน การทำงาน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ร่ ว มกั น คื อ ให้ ผู้ ป่ ว ยและ ครอบครัวได้รบั บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพอย่างต่อเนือ่ ง รูปแบบการ จัดการทางการพยาบาลหรือการมอบหมายงาน(Nursing Assignment) จึงเป็นสิ่งที่เอื้ออำนวย ให้พยาบาลสามารถ วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพยาบาลได้ประสบความ สำเร็จมากทีส่ ดุ (พวงรัตน์ บุญญานุรกั ษ์,2522,น.147) วิธกี าร มอบหมายงานทางการพยาบาลจึงได้มกี ารพัฒนาขึน้ เป็นลำดับ ตามความจำเป็นและเหมาะสม รูปแบบการจัดการรายกรณี เป็นแนวทางหนึง่ ทีส่ ำคัญ เน้นการบริการที่มีคุณภาพให้การดูแลแบบองค์รวมอย่างต่อ เนื่ อ ง โดยมี พ ยาบาลผู้ จั ด การรายกรณี ( Nurse Case Manager) เป็นผู้ประสานการดูแลในทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยใช้ทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรอื่นๆที่มีอยู่ ในองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ผลลัพธ์แก่ผู้ใช้บริการให้เกิดคุณภาพ การบริการทีด่ สี ง่ ผลให้ลดจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลและ ลดค่าใช้จา่ ยในการรักษาให้เหมาะสม(Cohen & Cesta ,2005, p.513) รูปแบบการจัดการผูป้ ว่ ยรายกรณีววิ ฒ ั นาการมาจาก ระบบการพยาบาลเจ้าของไข้ ซึง่ มีขอ้ ดีเกีย่ วกับการวางแผน วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 27

27

12/8/06 9:58:34 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

เพื ่อการดูแลอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงของพยาบาล ตั้งแต่แรกรับจนจำหน่ายกลับบ้าน โดยการใช้กระบวนการ พยาบาลในการปฏิบัติพยาบาล ติดตามความก้าวหน้าใน ความรับผิดชอบต่อวิชาชีพพยาบาล ซึง่ ผลการปฏิบตั พิ ยาบาล มีประโยชน์ตอ่ ผูป้ ว่ ย(Marram,1974.) ผลการศึกษาการใช้รปู แบบการมอบหมายงายแบบการจัดการทางการพยาบาลราย กรณี ของกฤษณา นรนราพันธ์(2544) และกรรณิกา เย็นสุข (2544) พบว่า พยาบาลวิชาชีพมีความเป็นอิสระในการปฏิบตั ิ พยาบาล และมีความสำนึกในความรับผิดชอบต่อวิชาชีพการ พยาบาลในรูปแบบการมอบหมายงานแบบการจัดการราย ผูป้ ว่ ยสูงกว่ารูปแบบการมอบหมายงานแบบปกติ และความ พึงพอใจอยู่ ในระดับสูง ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อบริการ พยาบาลในรูปแบบการมอบหมายงานแบบรายผูป้ ว่ ย สูงกว่า รูปแบบการมอบหมายงานแบบปกติ ซึ่งสอดคล้องกับการ ศึกษาของ พรทิพย์ ไตรภัทร(2545) ทีศ่ กึ ษาการใช้รปู แบบการ จัดการผู้ป่วยรายกรณี พบว่าความพึงพอใจบริการพยาบาล ของผู้ ใช้บริการภายหลังได้รบั การพยาบาลโดยใช้รปู แบบการ จัดการผู้ป่วยรายกรณี อยู่ ในระดับสูง ความสำนึกในความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ วิ ช าชี พ การพยาบาลของพยาบาลวิ ช าชี พ ภายหลังการใช้รปู แบบการจัดการผูป้ ว่ ยรายกรณี สูงกว่าก่อน การใช้รปู แบบ และการศึกษาของสิรกิ าญจน์ บริสทุ ธ์บณ ั ฑิต (2540) พบว่าในรูปแบบการพยาบาลเจ้าของไข้และแบบทีม พยาบาลมีการใช้กระบวนการพยาบาลอย่างครบขัน้ ตอนและ ต่อเนือ่ งมากขึน้ มีความเป็นอิสระและความสามารถในการ ปฏิบตั กิ ารพยาบาลมากกว่าในระบบการมอบหมายงานเป็นทีม ส่องแสง ธรรมศักดิ(์ 2542) พบว่าคุณภาพการบริการพยาบาล ของผูร้ บั บริการหลังการจัดการดูแลด้วยระบบพยาบาลเจ้าของ ไข้สงู เนือ่ งมาจากการมีสมั พันธภาพทีด่ ขี องพยาบาลเจ้าของ ไข้และผูร้ บั บริการ พยาบาลคนเดิมให้การบริการดูแลผูป้ ว่ ย แบบสมบูรณ์แบบ จะเห็นว่าการจัดให้มพี ยาบาลรับผิดชอบ เป็นเจ้าของผูป้ ว่ ยเป็นแนวทางหนึง่ ทีส่ ำคัญนอกเหนือจากการ มีพยาบาลผูจ้ ดั การรายกรณี เพือ่ สามารถให้การดูแลผูป้ ว่ ยได้ อย่างองค์รวมอย่างต่อเนือ่ ง เป็นการประสานการดูแลระหว่าง ทีมสหสาขาวิชาชีพ เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยได้รบั ความปลอดภัย คุม้ ค่า และทันเวลา (สภาการพยาบาล,2543,น.77) จากรูปแบบการพยาบาลที่มุ่งเน้นการดูแลที่ต่อเนื่อง

ของระบบเจ้าของไข้ มาใช้ ในการมอบหมายงานให้พยาบาล วิชาชีพได้รว่ มดูแลผูป้ ว่ ย มีการวางแผนการพยาบาล ตลอด 24 ชม. เชื่อว่าจะช่วยเสริมสร้างความสำนึกในวิชาชีพ พยาบาล (พวงรัตน์ บุญญานุรกั ษ์,2536,น.31) บทบาทของ พยาบาลเจ้าของไข้ในผูป้ ว่ ยที่ได้รบั การจัดการรายกรณี โดยที่ เน้นการสนับสนุนและการให้ความรูแ้ ก่ผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือด สมองและผูด้ แู ล เพือ่ การเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายกลับ บ้านและเพือ่ ให้ผดู้ แู ลรูส้ กึ ว่าการดูแลผูป้ ว่ ยให้ผปู้ ว่ ยสามารถ ช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด ผู้ดูแลสามารถจัดการดูแล ประสานกิจกรรมรอบด้านเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ผปู้ ว่ ย ได้และเวลาทีเ่ หมาะสมในการเตรียมความพร้อมในการจัดการ และการเรียนรูเ้ พือ่ ดูแลผูป้ ว่ ย คือขณะทีอ่ ยู่ โรงพยาบาล ใน ช่วงของการฟืน้ ฟูสภาพของผูป้ ว่ ย ผูด้ แู ลนับได้วา่ เป็นบุคคลที่ มีความสำคัญทีส่ ดุ ในการส่งเสริมให้การฟืน้ ฟูสภาพของผูป้ ว่ ย ประสบผลสำเร็จ(ฟาริดา อิบราฮิม,2539,น.162) การวางแผน ก่อนจำหน่ายโดยการเยีย่ มบ้านตัง้ แต่สปั ดาห์แรกทีผ่ ปู้ ว่ ยเข้า มารับการฟืน้ ฟูของทีมสหสาขา โดยมีผจู้ ดั การผูป้ ว่ ยรายกรณี เป็นทีป่ รึกษาและเป็นผูป้ ระสานงาน การดูแลผูป้ ว่ ยให้อยู่ใน กรอบเวลาที่กำหนดในแผนการดูแลร่วมของทีมสหสาขา มีการทดลองให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลกลับไปใช้ชีวิตที่บ้านก่อน จำหน่าย มีการประเมินที่ผู้รับบริการได้ โดยตรงจาก ความ สามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองของ ผูด้ แู ล ในการเยีย่ มบ้านหลังจากทีผ่ ปู้ ว่ ยจำหน่ายประมาณ 1 สัปดาห์ การจัดการทางการพยาบาลรายกรณี มีการมอบหมาย งานเป็นทีมร่วมด้วย พยาบาลวิชาชีพยังไม่มรี ปู แบบการปฏิบตั ิ ที่ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารดู แ ลผู้ ป่ ว ยที่ ต่ อ เนื่ อ ง และสมบู ร ณ์ ไ ด้ ทำให้บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของพยาบาลจำกัดอยู่ เฉพาะในเวร ทำให้ผปู้ ว่ ยไม่ได้รบั การปฏิบตั พิ ยาบาลทีต่ อ่ เนือ่ ง เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของผู้ป่วยแบบองค์รวมได้ อย่างแท้จริง การเตรียมความพร้อมของผูป้ ว่ ย ผูด้ แู ลสภาพ บ้าน และการวางแผนจำหน่ายเป็นไปด้วยความล่าช้า ทำให้

ผูป้ ว่ ยต้องอยู่ในโรงพยาบาลนานเกินกำหนด จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น การนำรูปแบบการจัดการ ทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ มาใช้ ในการมอบหมายงาน ทำให้บทบาทพยาบาลเด่นชัดขึน้ บทบาทในการส่งเสริมคุณภาพบริการเกิดการยอมรับ ผูป้ ว่ ย

28 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 28

12/8/06 9:58:35 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

และผูด้ แู ลมีความพร้อมในการกลับไปใช้ชวี ติ ทีบ่ า้ น ลดสถิติ การอยู่ โรงพยาบาลนานเกินความจำเป็น ลดการกลับเข้ามา รักษาซ้ำในโรงพยาบาล ลดการสิ้นเปลืองของงบประมาณ ค่ารักษาพยาบาล และค่าใช้จา่ ยต่างๆ ทัง้ ของผูป้ ว่ ยและของ รัฐบาล วัตถุประสงค์การวิจยั 1. ศึกษาระดับความสามารถในการจัดการการดูแลผู้ ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของผูด้ แู ล หลังการใช้รปู แบบการ จัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาล เจ้าของไข้ 2. เปรียบเทียบความสามารถในการจัดการการดูแล ในผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง ระหว่างกลุม่ ที่ได้รบั การ จัดการทางการพยาบาลรายกรณี ทีบ่ รู ณาการระบบพยาบาล เจ้าของไข้ และกลุม่ ที่ ได้รบั การจัดการทางการพยาบาลราย กรณีในรูปแบบทีมการพยาบาล 3. เปรียบเทียบความสามารถในการจัดการการดูแล ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ดูแลก่อนและหลังการใช้รูป แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบ พยาบาลเจ้าของไข้ 4. เปรียบเทียบความสามารถในการจัดการการดูแล ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ดูแลก่อนและ หลังการใช้ รูปแบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณี ในรูปแบบทีม การพยาบาล สมมติฐานการวิจยั 1. ความสามารถในการจัดการการดูแลผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองในผู้ดูแล หลังการใช้รูปแบบการจัดการ ทางการพยาบาลรายกรณี ทีบ่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของ ไข้สงู กว่า ก่อนการใช้รปู แบบ 2. ความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอด เลือดสมองในผู้ดูแล หลังการใช้รูปแบบการจัดการทางการ พยาบาลรายกรณีในรูปแบบทีมการพยาบาล สูงกว่าก่อนการ ใช้รปู แบบ 3. ความสามารถในการจัดการการดูแลผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองในผูด้ แู ลหลังการใช้รปู แบบการจัดการทาง การพยาบาลรายกรณีที่บูรณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่าการใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีใน

รูปแบบทีมการพยาบาล ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั 1. เป็นแนวทางในการปรับปรุงรูปแบบการจัดการ ทางการพยาบาลรายกรณี ในรูปแบบทีมการพยาบาล มาเป็น รูปแบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบ พยาบาลเจ้าของไข้ 2. พั ฒ นาบทบาทของพยาบาลวิ ช าชี พ ในระบบ พยาบาลเจ้าของไข้ ทำให้มกี ารดูแลผูป้ ว่ ยทีต่ อ่ เนือ่ งคุณภาพ ทางการพยาบาลเกิดการยอมรับ 3. ผูด้ แู ลมีความพร้อมในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรค หลอดเลือดสมองได้เป็นอย่างดี ผูป้ ว่ ยและผูด้ แู ลสามารถกลับ ไปดำรงชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ตัวแปรทีศ่ กึ ษา ตัวแปรต้น คือ 1. รูปแบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีท ี่ บูรณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ 2. รูปแบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีระบบ ทีมการพยาบาล ตัวแปรตาม คือ ความสามารถในการจัดการดูแล ผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในผูด้ แู ล คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจยั รู ป แบบการจั ด การทางการพยาบาลรายกรณี ท ี่ บูรณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ หมายถึง แบบแผนที่ แสดงถึงบทบาทพยาบาลวิชาชีพเป็นผูจ้ ดั การทางการพยาบาล และมีแผนงานประจำวันร่วมกับทีมสหสาขา โดยกำหนด เป้าหมายการปฏิบตั ไิ ว้ในแผนการดูแลร่วมกับทีมสหสาขาของ ผูป้ ว่ ยรายกรณี ตามแนวคิดของ Cohen&Cesta(2005) ซึง่ มี พยาบาลเจ้าของไข้ปฏิบตั กิ ารดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง ตามแนวคิดของ Marram(1974)เป็นรายบุคคลอย่างต่อเนือ่ ง ตลอด 24 ชม. และใช้กระบวนพยาบาลโดยจัดขึน้ เป็นขัน้ ตอน การบริการ การมอบหมายงานแบบทีม หมายถึง การมอบหมาย ให้พยาบาลวิชาชีพทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมการพยาบาล ในแต่ละทีมมีสมาชิกทีมซึ่งประกอบด้วย พยาบาล ผู้ช่วย พยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาล ทำหน้าที่ ให้การ พยาบาลตลอด 8 ชัว่ โมง ทีข่ นึ้ ปฏิบตั งิ าน สมาชิกแต่ละคนใน วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 29

29

12/8/06 9:58:36 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ที มรับมอบหมายงานจากพยาบาลซึง่ เป็นหัวหน้าทีม ตามความ สามารถของสมาชิก มีการวางแผนการพยาบาลสำหรับผูป้ ว่ ย แต่ละราย มีการรายงานจากสมาชิกกลุม่ ไปยังหัวหน้าทีม และ จากหัวหน้าทีมไปยังพยาบาลผู้จัดการรายกรณีและหัวหน้า หอผู้ป่วย ซึ่งเป็นการมอบหมายงานตามปกติของหอผู้ป่วย เวชศาสตร์ฟนื้ ฟู ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง ผู้ป่วยที่ ได้รับ การวินิจฉัยจากแพทย์ว่า เป็นโรคหลอดเลือดสมองเป็น

ครัง้ แรก มีอมั พาตของแขนและขาด้านใดด้านหนึง่ ทีม่ ภี าวะ โรคคงที่ อยู่ในสภาพพร้อมทีจ่ ะได้รบั การฟืน้ ฟู มีขอ้ จำกัดใน การดูแลตนเอง ต้องพึง่ พาผูอ้ นื่ ในบางส่วน ต้องมีผดู้ แู ลเมือ่ กลับไปอยูบ่ า้ น ผูด้ แู ลผูป้ ว่ ย หมายถึง สมาชิกในครอบครัวทีท่ ำหน้าที่ ในการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้เวลาในการดูแล ผูป้ ว่ ยมากทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับสมาชิกครอบครัวคนอืน่ ๆ ซึง่ เรียก ว่าผูด้ แู ลหลัก โดยไม่ได้รบั ค่าตอบแทน ความสามารถในการจัดการการดูแลผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมองในผูด้ แู ล หมายถึง การกระทำทีผ่ ดู้ แู ลดำเนินการ ให้เกิดการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง ทีส่ อดคล้องกับเป้า หมายของการรักษาพยาบาล การดำเนินการของผู้ดูแล ประกอบด้วย การวางแผน (Planning) กำหนดวิธกี ารทำงาน (Organizing) การจัดคน (Staffing) การจูงใจ (Directing) และการควบคุม (Controlling) ซึ่งเป็นไปตามกระบวนการ จัดการตามแนวคิดของ Marquis และ Huston(2003,pp.7-8) วิธดี ำเนินการวิจยั การวิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นการวิจยั กึง่ ทดลอง (Quasi Experimental Reseach) ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ก. ประชากรทีศ่ กึ ษา ผูด้ แู ลทีม่ าช่วยเหลือดูแลผูป้ ว่ ย โรคหลอดเลือดสมองในโรงพยาบาล และเป็นผูท้ ตี่ อ้ งกลับไป ดูแลผูป้ ว่ ยทีบ่ า้ น ข. กลุม่ ตัวอย่าง ของงานวิจยั นีป้ ระกอบด้วย ผูด้ แู ลผู้ ป่วยโรคหลอดเลือดสมองทีอ่ ยู่ในระยะการฟืน้ ฟูสภาพ ในหอ ผูป้ ว่ ยเวชศาสตร์ฟนื้ ฟู โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า การคัด เลือกกลุม่ ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) แบ่งเป็นกลุม่ ควบคุมและกลุม่ ทดลอง กลุม่ ละ 20 คน กลุม่ ควบคุม คือ ผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองทีเ่ ข้ามารับการ

รักษาฟื้นฟูได้รับการจัดการทางการพยาบาลรายกรณี ในรูป แบบทีมการพยาบาล กลุม่ ทดลอง คือ ผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองที่ เข้ามารับการรักษาฟื้นฟู ได้รับการจัดการทางการพยาบาล รายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจยั มี 2 ประเภท คือ เครือ่ งมือดำเนินการทดลอง สร้างขึน้ โดยผูว้ จิ ยั โดย บูรณาการแนวคิดระบบพยาบาลเจ้าของไข้มาใช้รว่ มกับการจัด การทางการพยาบาลรายกรณี คือคู่มือรูปแบบการจัดการ ทางการพยาบาลรายกรณี ทีบ่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของ ไข้ ซึง่ ประกอบด้วย ขัน้ ตอนในการปฏิบตั ิ แนวทางการปฏิบตั ิ การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูสภาพ (Clinical Nursing Practice Guideline) และการอบรมเรือ่ ง แนวคิดและแนวปฏิบัติรูปแบบการจัดการทางการพยาบาล รายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ เครื่องมือรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ความ สามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ ดูแล แบ่งเป็นรายด้าน 5 ด้าน ด้านการวางแผน ด้านวิธกี าร ทำงาน ด้านการจัดคน ด้านการจูงใจและด้านการควบคุม มี จำนวน 50 ข้อรายการ การตรวจสอบคุณภาพของเครือ่ งมือ ก. ตรวจสอบความตรง (Content Validity) ผูว้ จิ ยั ได้นำ เครือ่ งมือทีส่ ร้างขึน้ แล้วนำไปให้ผทู้ รงคุณวุฒทิ มี่ คี ณ ุ สมบัติ ตรงตามเนือ้ หาในสาขาเฉพาะจำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความ ถูกต้อง ความครอบคลุมของเนื้อหา และผู้วิจัยได้นำมา พิจารณาแก้ ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ข. ตรวจสอบความเทีย่ ง (Reliability) ผูว้ จิ ยั ได้นำแบบ สัมภาษณ์ความสามารถการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ย โรคหลอดเลือดสมองในผู้ดูแล ที่ ได้รับการปรับปรุง แก้ ไขแล้ว โดยไปทดลองใช้กับผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมอง จากการเยี่ ย มบ้ า นผู้ ป่ ว ยที่ อ ยู่ ใ นความดู แ ลของ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า, โรงพยาบาลศิรริ าช และหน่วย ผู้ ป่ ว ยนอกเวชศาสตร์ ฟื้ น ฟู วิ ท ยาลั ย แพทย์ ศ าสตร์ กรุงเทพ มหานครและวชิรพยาบาล รวมจำนวน 30 ราย ที่ ไม่ใช่กลุม่ ตัวอย่าง แต่มลี กั ษณะเหมือนกลุม่ ตัวอย่าง และนำ มาหาค่าสัมประสิทธิอ์ ลั ฟาของครอนบัค(cronbach’s alpha

30 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 30

12/8/06 9:58:37 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

coefficient) ได้คา่ ความเทีย่ ง .96 ขัน้ ตอนการดำเนินการทดลอง 1. ขัน้ เตรียมการทดลอง 1.1 เอกสาร/แบบฟอร์ม แสดงความยินยอมร่วมมือ ในการทำวิจยั (1) ทำหนั ง สื อ จากคณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ เพื่อขออนุมัติดำเนินการวิจัยจาก ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า (2) ขออนุญาตทำวิจยั ในผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยโรคหลอด เลื อ ดสมอง จากคณะกรรมการพั ฒ นางานวิ จั ย ของ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยแจ้งรายละเอียดและระยะ เวลา ในการดำเนินการวิจยั ให้ทราบ 1.2 จัดทำคูม่ อื รูปแบบการจัดการทางการพยาบาล รายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ 1.3 ฝึ ก อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารพยาบาลวิ ช าชี พ ทุกคนทีป่ ฏิบตั งิ านในหอผูป้ ว่ ยเวชศาสตร์ฟนื้ ฟู โรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า โดยเสนอโครงการอบรมเรือ่ ง การใช้รปู แบบ การจั ด การทางการพยาบาลรายกรณี ที่ บู ร ณาการระบบ พยาบาลเจ้าของไข้และฝึกปฏิบัติตามรูปแบบ โดยใช้คู่มือ ผูว้ จิ ยั ในฐานะเป็นพยาบาลผูจ้ ดั การทางการพยาบาลรายกรณี จะเป็นทีป่ รึกษาและเป็นผูป้ ระสานงานกับทีมสหสาขาในการ วางแผนการดูแลโดยใช้ Clinical Pathway 2. ขัน้ ตอนการรวบรวมข้อมูล 2.1. ผูว้ จิ ยั เลือกกลุม่ ตัวอย่างทีเ่ ป็นกลุม่ ควบคุม ทีม่ ี คุณสมบัติตรงตามที่กำหนด ผู้วิจัยแนะนำตนเอง ขอความ ร่วมมือในการวิจยั และให้กลุม่ ตัวอย่างเซ็นยินยอมในการวิจยั เก็บข้อมูลกลุม่ ควบคุมวัดก่อนทดลอง (Pre-test) โดยใช้แบบ สัมภาษณ์ความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอด เลือดสมอง ในผูด้ แู ล ในสัปดาห์แรกทีเ่ ข้ามารับการรักษา ใน หอผูป้ ว่ ยเวชศาสตร์ฟนื้ ฟู พยาบาลวิชาชีพปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอน ในการใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีในรูป แบบทีมการพยาบาล วัดหลังทดลอง (Post-test) โดยใช้แบบ สัมภาษณ์ความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอด เลือดสมอง ในผูด้ แู ล ในการเยีย่ มบ้านหลังจากผูป้ ว่ ยจำหน่าย 1 สัปดาห์ 2.2 ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มทดลองคือ

ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ กำหนด ผูว้ จิ ยั แนะนำตนเอง ขอความร่วมมือในการวิจยั และให้ กลุม่ ตัวอย่างเซ็นยินยอมในการวิจยั เข้าคูก่ บั กลุม่ ควบคุมหัวหน้า หอผูป้ ว่ ยปรึกษากับพยาบาลผูจ้ ดั การรายกรณี มอบหมายผูป้ ว่ ย ให้อยู่ในความดูแลของพยาบาลเจ้าของไข้ พยาบาลเจ้าของไข้ ปฏิบตั ติ ามการมอบหมายงาน โดยใช้คมู่ อื รูปแบบการจัดการ ทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ วัดก่อนทดลอง (Pre-test) โดยใช้แบบสัมภาษณ์ความสามารถ ในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในผูด้ แู ล ใน สัปดาห์แรก ทีเ่ ข้ามารับการรักษา ในหอผูป้ ว่ ยเวชศาสตร์ฟนื้ ฟู พยาบาลเจ้าของไข้ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการใช้รปู แบบการจัดการ ทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ด้วยตนเองอย่างอิสระ ตามคูม่ อื โดยผูว้ จิ ยั ไม่เข้าไปเกีย่ วข้อง ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านรายละเอียดทัง้ หมดอยู่ในคูม่ อื วัดหลัง ทดลอง (Post-test) โดยใช้แบบสอบถามความสามารถในการ จัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในผูด้ แู ล ในการเยีย่ ม บ้านหลังจากผูป้ ว่ ยจำหน่าย 1 สัปดาห์ การวิเคราะห์ขอ้ มูล คำนวณโดยการใช้ โปรแกรมสำเร็จ รูป SPSS โดยข้อมูลส่วนบุคคลของกลุม่ ตัวอย่าง นำมาแจก แจงความถี่ โดยนำเสนอในรูปตารางร้อยละ แสดงระดับค่า คะแนนเฉลีย่ วิเคราะห์คา่ เฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความสามารถในการจัดการการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองในผูด้ แู ล เปรียบเทียบความสามารถในการจัดการการ ดูแลในผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง ก่อนและหลังในกลุม่ เดียวกันของทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง โดยใช้สถิติ วิเคราะห์ Wilcoxon Signed - Rank test และเปรียบเทียบ ความสามารถในการจัดการการดูแลในผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยโรคหลอด เลือดสมอง ระหว่างกลุม่ ควบคุมและกลุม่ ทดลอง โดยใช้สถิติ วิเคราะห์ Mann-Whitney U test ผลการวิจยั ตารางที่ 1 เปรียบเทียบความสามารถในการจัดการ การดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในผูด้ แู ล ของกลุม่ ที่ใช้

รูปแบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีในรูปแบบทีมการ พยาบาลทีเ่ ป็นกลุม่ ควบคุม และกลุม่ ที่ใช้รปู แบบการจัดการ ทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของ ไข้ ทีเ่ ป็นกลุม่ ทดลอง หลังการทดลอง วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 31

31

12/8/06 9:58:38 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549 ความสามารถในการ จัดการการดูแลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง X S.D Mean Rank ด้านการวางแผน กลุ่มควบคุม 28.9 กลุ่มทดลอง 40.1 ด้านวิธีการทำงาน กลุ่มควบคุม 31 กลุ่มทดลอง 44.3 ด้านการจัดคน กลุ่มควบคุม 31.05 กลุ่มทดลอง 43.65 ด้านการจูงใจ กลุ่มควบคุม 37.45 กลุ่มทดลอง 48.70 ด้านการควบคุม กลุ่มควบคุม 32.80 กลุ่มทดลอง 46.8 ความสามารถรวม 32.3 44.71

Sum of Rank

U

Z

6.91223 2.7319

11.30 29.70

226.00 594.00

16.000

4.990*

7.32767 3.3103

11.38 29.63

227.50 592.50

17.500

4.950*

7.62596 5.0604

11.63 29.38

232.50 587.50

22.500

4.809*

6.60522 3.3888

11.45 29.55

229.00 591.00

19.000

4.909*

7.96439 12.3186

11.63 29.38

232.50 587.50

22.500

4.811*

7.287094 3.5644

10.60 30.40

212.00 2.000 608.00

5.358*

จากตารางที1่ พบว่าความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในผูด้ แู ล หลังการใช้รปู แบบการจัดการ ทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า หลังการใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณี ในรูปแบบทีมการพยาบาล อย่างมีนยั สำคัญทางสถิต ิ ทีร่ ะดับ .05 ตารางที่ 2 เปรียบเทียบ ความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในผูด้ แู ล ก่อนและหลัง กลุม่ ที่ใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีในรูปแบบทีมการพยาบาล ความสามารถในการ กลุ่มควบคุม จัดการการดูแลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง

X

ด้านการวางแผน ก่อน 19.4 หลัง 28.9 ด้านวิธีการทำงาน ก่อน 19.4 หลัง 31.3 ด้านการจัดคน ก่อน 22.05 หลัง 31.05

S.D

Mean Rank

Sum of Rank

Z

7.07 6.91

1.50 10.47

1.50 188.50

3.766*

5.11 7.32

0.00 10.00

0.00 190.00

3.62*

5.60 7.63

2.50 10.88

5.00 158.00

3.626*

32 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 32

12/8/06 9:58:39 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549 ด้านการจูงใจ ก่อน หลัง ด้านการควบคุม ก่อน หลัง ความสามารถรวม P <.05*

28.3 37.45

5.25 6.61

13.00 10.37

13.00 197.00

3.438*

21.6 32.80

5.53 7.96

1.50 10.47

1.50 188.50

3.763*

22.17 32.3

5.71 7.29

0.00 10.50

0.00 210.00

3.920*

จากตารางที่ 2 ความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในผูด้ แู ล หลังการใช้รปู แบบการจัดการทางการ พยาบาลรายกรณี ในรูปแบบทีมการพยาบาล สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณี ในรูปแบบทีม

การพยาบาล อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในผูด้ แู ล ก่อนและหลังกลุม่ ที่ใช้รปู แบบ การจัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ความสามารถในการ จัดการ การดูแลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง X S.D ด้านการวางแผน ก่อน 21.35 หลัง 40.1 ด้านวิธีการทำงาน ก่อน 22.55 หลัง 44.3 ด้านการจัดคน ก่อน 22.7 หลัง 43.65 ด้านการจูงใจ ก่อน 28.55 หลัง 48.7 ด้านการควบคุม ก่อน 21.45 หลัง 46.8 ความสามารถรวม P<.05*

18.78 44.71

กลุ่มทดลอง Mean Rank

Sum of Rank

Z

6.57 2.73

0.00 10.50

0.00 210.00

3.922*

4.52 3.31

0.00 10.50

0.00 210.00

3.926*

4.87 5.06

0.00 10.50

0.00 210.00

3.925*

3.07 3.39

0.00 10.50

0.00 210.00

3.926*

3.93 3.56

0.00 10.50

0.00 210.00

3.926*

4.59 3.56

0.00 10.50

0.00 210.00

3.922*

จากตารางที่ 3 ความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง ก่อนและหลัง การใช้รปู แบบการจัดการทางการ พยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ หลังการใช้รปู แบบสูงกว่าก่อนการใช้รปู แบบ อย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ี่ ระดับ .05 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 33

33

12/8/06 9:58:40 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549 ปรายผลการวิจยั จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลและสรุปผลการ อภิ วิจยั สามารถอภิปรายผลได้ดงั นี ้ 1. ความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอด เลือดสมองในผูด้ แู ล ของกลุม่ ที่ใช้รปู แบบการจัดการทางการ พยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า ก่อนการใช้รูปแบบ คะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการ จัดการการดูแล ด้านการวางแผน ด้านวิธกี ารทำงาน ด้านการ จัดคนและด้านการควบคุม อยู่ ในระดับน้อย ส่วนความ สามารถด้านการจูงใจทีผ่ ดู้ แู ลมีตอ่ ผูป้ ว่ ยอยู่ในระดับปานกลาง อธิบายได้วา่ ผูด้ แู ลซึง่ เป็นบุคคลในครอบครัวมีความผูกพันธ์กนั ส่วนใหญ่จะเป็นคูส่ มรสทีเ่ ป็นผูห้ ญิง รองลงมาคือบุตร และ ผู้ดูแลส่วนใหญ่จะเป็นผู้หญิง พร้อมที่จะให้การดูแลและให้ กำลังใจผูป้ ว่ ย และอยากให้ผปู้ ว่ ยฟืน้ ฟูสภาพกลับคืนมาได้ โดย เร็ว ส่วนหลังการใช้รปู แบบคะแนนเฉลีย่ ของความสามารถใน การจัดการการดูแล รายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ ค่า เฉลี่ยคะแนนความสามารถในการจัดการการดูแลผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองหลังการใช้รูปแบบ สูงกว่าก่อนการใช้รูป แบบอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 อธิบายได้วา่ ก่อน การใช้รปู แบบ ผูด้ แู ลยังไม่มคี วามรู้ ความเข้าใจในการจัดการ การดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองในทุกด้าน เนือ่ งมาจากยัง ไม่ ได้รบั การสอน คำแนะนำในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ย ใน ช่วง 1 สัปดาห์แรกเนือ่ งจาก อยู่ในช่วงของการเตรียมผูด้ แู ล หลักทีจ่ ะให้การดูแลผูป้ ว่ ย ในช่วงที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาฟื้นฟูในโรงพยาบาล การปฏิบตั กิ จิ กรรมในรูปแบบการจัดการทางการพยาบาลราย กรณีร่วมกับการมอบหมายงานในระบบพยาบาลเจ้าของไข้ โดยมีพยาบาลเจ้าของไข้ให้การดูแลผูป้ ว่ ยอย่างต่อเนือ่ งตลอด 24 ชม. ตัง้ แต่แรกรับจนกระทัง่ จำหน่าย(Maram et.al., 1974, pp.46-49) พยาบาลเจ้าของไข้จะมีแนวปฏิบัติการพยาบาล ทางคลินกิ เพือ่ ให้การดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง จะเป็นผู้ สอน ให้คำแนะนำแก่ผปู้ ว่ ย/ผูด้ แู ล และวางแผนการจำหน่าย เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อมของผูป้ ว่ ยให้สามารถช่วยเหลือ ตนเองได้มากที่สุด โดยมีผู้ดูแลเป็นผู้ส่งเสริมและคอยช่วย เหลือผูป้ ว่ ย ในรูปแบบนีพ้ ยาบาลผูจ้ ดั การทางการพยาบาลราย กรณีจะทำหน้าทีเ่ ป็นทีป่ รึกษา เป็นผูป้ ระสานงาน เป็นตัวแทน ผู้ป่วย พิทักษ์สิทธิประโยชน์ เจรจาต่อรอง มีทักษะในการ สือ่ สาร และเป็นผูน้ ำในการประชุมทีมสหสาขา ประสานการ

ดูแลร่วมกับทีมสหสาขา โดยมีแผนการดูแลร่วมของทีม สหสาขาให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง (Cohen&Cesta,2005, p.79) การเยีย่ มบ้านของพยาบาลผูจ้ ดั การ พยาบาลเจ้าของไข้ และทีมสหสาขา เพื่อร่วมกันวางแผนจำหน่าย และเตรียม ความพร้อมด้านต่างๆ ตัง้ แต่สปั ดาห์แรก เป็นการให้การดูแลที่ เต็มรูปแบบ ในช่วงเวลาที่สอดคล้องกัน การเตรียมความ พร้อมเพื่อกลับไปใช้ชีวิตที่บ้านของผู้ป่วยและผู้ดูแล โดย กระบวนการต่างๆ เหล่านีจ้ ะทำให้ผดู้ แู ลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือด สมองมีความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ย และทำให ผ้ ปู้ ว่ ยสามารถฟืน้ ฟูสภาพได้เร็ว ทำให้ผปู้ ว่ ยและผูด้ แู ลมีความ พร้อมทีจ่ ะกลับไปใช้ชวี ติ ทีบ่ า้ นได้เร็วกว่าเวลาทีก่ ำหนด มีการ ประเมินผลการดูแลร่วมกันกับทีมสหสาขา เมือ่ ได้ ไปเยีย่ มบ้าน ครัง้ ที่ 2 หลังจากทีผ่ ปู้ ว่ ยจำหน่ายไปแล้ว 1 สัปดาห์ 2. ความสามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอด เลือดสมองในผูด้ แู ลหลังการใช้รปู แบบทีมการพยาบาลสูงกว่า ก่อนการใช้รูปแบบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าคะแนนเฉลีย่ ของความสามารถในการจัดการการดูแล รายด้านอยู่ในระดับน้อยในด้านการวางแผน ด้านการจัดคน ด้านการจูงใจและด้านการควบคุม ส่วนด้านวิธกี ารทำงานอยู่ ในระดับน้อยทีส่ ดุ เพราะผูด้ แู ลยังมีความสับสนในบทบาททีจ่ ะ เป็นผูด้ แู ลผูป้ ว่ ย ไม่มคี วามรูค้ วามสามารถวิธกี ารทำงาน การ ดูแลผูป้ ว่ ยได้อย่างไร เนือ่ งมาจากได้รบั ความรูท้ ลี่ า่ ช้า ไม่มกี าร เตรียมว่าใครจะเป็นผูด้ แู ล และเปลีย่ นผูด้ แู ลบ่อยหลังการใช้ รูปแบบค่าคะแนนเฉลีย่ ทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ซึง่ ควรที่ จะพัฒนาวิธกี ารในการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีเพือ่ ให้ มีประสิทธิภาพให้มากยิง่ ขึน้ จากการศึกษาครั้งนี้การจัดการทางการพยาบาลราย กรณีในรูปแบบทีมการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพได้รบั การมอบ หมายให้ดแู ลผูป้ ว่ ยเพียงในเวร ทำให้มกี ารดูแลผูป้ ว่ ยที่ ไม่ตอ่ เนือ่ ง การวางแผนการพยาบาลที่ ไม่ครอบคลุมและไม่ชดั เจน เนือ่ งจากไม่มผี รู้ บั ผิดชอบอย่างแท้จริง ขาดการติดตามและ ทบทวนปัญหาทางการพยาบาล การสอนและการให้คำแนะนำ ไม่เป็นไปตามกำหนด มีการพยาบาลผูป้ ว่ ยแบบแยกส่วทำงาน ให้แล้วเสร็จเฉพาะในเวรเท่านั้น (รุจา ภู่ ไพบูลย์,2541) บางครัง้ การจำหน่ายผูป้ ว่ ยเป็นไปด้วยความล่าช้ากว่ากำหนด อันเนือ่ งมาจากความไม่พร้อมในการกลับไปใช้ชวี ติ ทีบ่ า้ นของ ทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแล จากผลการวิจัยในครั้งนี้จะเห็นได้ว่า

34 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 34

12/8/06 9:58:41 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ค่าคะแนนเฉลีย่ ความสามารถในการจัดการการดูแลของผูด้ แู ล ภายหลังการใช้รปู แบบอยู่ในระดับปานกลางเท่านัน้ ซึง่ อาจ ทำให้เกิดการกลับเข้ามารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลของ ผู้ป่วยได้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้ดูแลสามารถจัดการการดูแล ผูป้ ว่ ยได้เพียงบางเรือ่ ง ยังต้องการได้รบั คำแนะนำเพิม่ เติมใน เรือ่ งต่างๆ และยังไม่พร้อมจำหน่ายกลับบ้าน การทีม่ อบหมาย งานเป็นทีมร่วมกับการจัดการทางการพยาบาลรายกรณี ยังไม่ สามารถให้การดูแลผู้ป่วยได้ครบถ้วนแบบองค์รวมอย่างแท้ จริงได้ ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้รับการสอน การให้คำแนะนำที่ ล่าช้า ทำให้มีการวางแผนและการเตรียมความพร้อมให้กับ

ผูป้ ว่ ยและผูด้ แู ลช้าเกินไป 3. ค่าคะแนนเฉลีย่ ความสามารถในการจัดการการดูแล ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ดูแล ของกลุ่มทดลองอยู่ที่ ระดับมากที่สุด และกลุ่มควบคุมค่าคะแนนเฉลี่ยของความ สามารถในการจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองใน ผูด้ แู ลอยูท่ รี่ ะดับปานกลาง ซึง่ ความสามารถในการจัดการการ ดูแลของกลุม่ ทดลอง สูงกว่ากลุม่ ควบคุมอย่างมีนยั สำคัญทาง สถิตทิ รี่ ะดับ .05 อธิบายได้วา่ ถึงแม้กลุม่ ควบคุมจะใช้รปู แบบ การจัดการทางการพยาบาลรายกรณี ในการดูแลผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองโดยมีแผนการดูแลร่วมของทีมสหสาขา การ มอบหมายงานในระบบทีมการพยาบาลในหอผูป้ ว่ ย ทำให้การ ดูแลผูป้ ว่ ยขาดความต่อเนือ่ ง เมือ่ ไปเยีย่ มบ้านครัง้ ที่ 2 เมือ่ ผู้ป่วยจำหน่ายไป 1 สัปดาห์ พบว่า ผู้ดูแลมีปัญหาในการ จัดการการดูแลผู้ป่วย มีความรู้ถึงการเป็นภาระ สมาชิกใน ครอบครัวคนอืน่ ๆไม่สามารถช่วยเหลือผูด้ แู ลหลักได้ โอกาส เกิดการกลับเข้ามารักษาซ้ำของผูป้ ว่ ยมีมาก เนือ่ งจากผูด้ แู ลยัง ขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลและเมือ่ ศึกษากลุม่ ที่ใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบ พยาบาลเจ้าของไข้ มีพยาบาลผูจ้ ดั การเป็นผูป้ ระสานกับทีม สหสาขาเพือ่ ร่วมกันดูแลผูป้ ว่ ยตามแผนการดูแลร่วม การให้

ความรู้อย่างเป็นขั้นตอนแก่ผู้ดูแลผู้ป่วยตามแนวปฏิบัติการ พยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในระยะฟื้นฟูสภาพ พยาบาลเจ้าของไข้วางแผนการดูแลที่มีความต่อเนื่อง และ สอดคล้องกับทีมสหสาขาที่ให้ความรูแ้ ก่ผดู้ แู ลในการจัดการ การดูแลผูป้ ว่ ย ตามแผนการดูแลร่วมและปรับแผนการดูแล เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย พบว่าผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมองในกลุม่ นีม้ รี ะยะเวลาในการรักษาฟืน้ ฟู ประมาณ 30 วัน ซึง่ สามารถลดระยะเวลานอนในแผนการดูแลร่วมของ ทีมสหสาขาได้ ผู้ป่วยและผู้ดูแลในกลุ่มนี้มีความพร้อมที่จะ กลับไปใช้ชวี ติ ทีบ่ า้ นมากกว่ากลุม่ ควบคุม ผลทีต่ ามมาคือการ ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาลทัง้ ของผูป้ ว่ ยและโรง พยาบาลด้วย และเมือ่ ผูป้ ว่ ยกลับบ้านไป 1 สัปดาห์ ทีมสห สาขานำโดยพยาบาลผูจ้ ดั การรายกรณี ได้ ไปเยีย่ มบ้านพบว่าผู้ ดูแลมีความพร้อมสามารถจัดการการดูแลผูป้ ว่ ยได้เป็นอย่างดี และไม่รสู้ กึ ถึงการเป็นภาระในการดูแล เนือ่ งจากสมาชิกคน อืน่ ๆ สามารถแบ่งภาระของการดูแลได้ พบว่าไม่มผี ปู้ ว่ ยกลับ เข้ามารักษาซ้ำในโรงพยาบาล ข้อเสนอแนะ 1. ผูบ้ ริหารทางการพยาบาล ควรกำหนดเป็นนโยบาย ให้มีการใช้รูปแบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีที่ บูรณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ในทุกหอผูป้ ว่ ย 2. ควรศึกษาวิจัยและนำรูปแบบการจัดการทางการ พยาบาลรายกรณีทบี่ รู ณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้มาใช้ ในผูป้ ว่ ยโรคเรือ้ รังอืน่ ๆ เช่น โรคเบาหวาน หัวใจ โรคบาดเจ็บ ไขสันหลัง ฯลฯ 3. ควรศึกษาวิจยั การพัฒนารูปแบบการจัดกาทางการ พยาบาลรายกรณีที่ บูรณาการระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ใน ผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง โดยการทำวิจยั เชิงคุณภาพต่อไป 4. จัดให้มกี ารอบรมระยะสัน้ แก่ผปู้ ฏิบตั ิ เพือ่ ให้มคี วาม เข้าใจในรูปแบบมากยิง่ ขึน้

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 35

35

12/8/06 9:58:42 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

เอกสารอ้างอิง

กา เย็นสุข. (2544). ผลการใช้รปู แบบการจัดการทางการพยาบาลรายกรณีตอ่ ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อวิชาชีพการพยาบาลและ กรรณิ

ความพึงพอใจบริการพยาบาลของผูร้ บั บริการ. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต.,สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัยบูรพา. กฤษณา นรนราพันธ์.(2544). ผลการใช้รปู แบบการมอบหมายงานแบบการจัดการรายผูป้ ว่ ยต่อความเป็นอิสระในการปฏิบตั กิ ารพยาบาล ความพึง พอใจของพยาบาลและผูป้ ว่ ย. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต.,สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัยบูรพา. จอม สุวรรณโณ.(2540). ความสามารถญาติผดู้ แู ลในการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล. วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต.,สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยมหิดล. จอม สุวรรณโณ.(2541). การจัดการผูป้ ว่ ยรายกรณี : รูปแบบการปฏิบตั กิ ารพยาบาลเพือ่ พัฒนาคุณภาพการพยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ปรางทิพย์ อุจะรัตน.(2541). การบริหารการพยาบาล. กรุงเทพฯ : บุญศิรกิ ารพิมพ์. พวงรัตน์ บุญญานุรกั ษ์.(2536). 50 ปี ชีวติ และงานอาจารย์พวงรัตน์ บุญญานุรกั ษ์. กรุงเทพฯ : กรุงเทพการพิมพ์. พรทิพย์ ไตรภัทร.(2544). การใช้รปู แบบการจัดการผูป้ ว่ ยรายกรณีสำหรับผูป้ ว่ ยผ่าตัดระบบทางเดินอาหาร : กรณีศกึ ษาโรงพยาบาล สมเด็จพระปิน่ เกล้า. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ฟาริดา อิบราฮิม.(2539). ผูป้ ว่ ยอัมพาตครึง่ ซีกและการดูแล. กรุงเทพฯ : สามเจริญพาณิชย์. ฟาริดา อิบราฮิม.(2542). สาระการบริหารการพยาบาล. กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาตำราสาขาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ยุวดี ฤาชา และ คณะ.(2537). วิจยั ทางการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: สยามศิลปะการพิมพ์. รุจา ภู่ไพบูลย์.(2535). ความต้องการของผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยเรือ้ รังในครอบครัว. วารสารพยาบาล,41, 9-19 วันเพ็ญ พิชติ พรชัย และ อุษาวดี อัศดรวิเศษ.(2545). การจัดการทางการพยาบาล : กลยุทธ์สกู่ ารปฏิบตั .ิ กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นยิ มวิทยา. สภาการพยาบาล.(2543). ทิศทางปฏิรปู ระบบบริการการพยาบาลทีส่ อดคล้องกับระบบบริการสุขภาพไทยทีพ่ งึ ประสงค์ในอนาคต. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2).กรุงเทพฯ : ศิรยิ อดการพิมพ์. ส่องแสง ธรรมศักดิ.์ (2542). ผลของการจัดการดูแลแบบพยาบาลเจ้าของไข้ตอ่ คุณภาพการบริการพยาบาล : กรณีศกึ ษาในศูนย์สริ นิ ธรพือ่ การฟืน้ ฟู สมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สิรกาญจน์ บริสทุ ธิบณ ั ฑิต.(2540). ผลการใช้ระบบการมอบหมายงานแบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหอผูป้ ว่ ยหนักต่อการใช้กระบวนการพยาบาล ความพึงพอใจของพยาบาลและผูป้ ว่ ย. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการพยาบาล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. สุวรรณี มหากายนันท์.(2538). ผลของการประยุกต์ใช้ระบบการพยาบาลของโอเร็มต่อความผาสุกภาวะแทรกซ้อน และจำนวนวันทีอ่ ยู่โรงพยาบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล. Bessie L.Marquis &Carol J.Huston.(2003). Leadership Roles and Management Function in Nursing Theory and Application. California : Willina&Wikins. Cohen,E.L.&Cesta,T.G.(2005). Nursing case management from Essentials to Advanced Practice Applications. St.Louis : Mosby. Marram,G.et al.(1974). Primary Nursing:A Model for Individualized Care. St.Louis : .Mosby. Marie Manthey,(2002). The Practice of Primary Nursing, Second Ediion ,Creative Health Care Management. Spitzer,L.R. (1994). Nursing manage desk reference : concepts,skills and strategies.Philadelphia : W.B. Saunders Co. Swansburg,Russell C.(1996). Management and Leadership for Nurse Managers. : Courier Company. Yoder,W.P.(2003). Leading and managing in nursing. St.Louis : Mosby – year Book.

36 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 36

12/8/06 9:58:43 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ผลของการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ต่อความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาล หน่วยงานห้องคลอด เนาวรัตน์ สาทลาลัย * อารีย์วรรณ อ่วมตานี **

การวิจยั นี้ เป็นการวิจยั กึง่ ทดลอง มีวตั ถุประสงค์เพือ่ เปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาล หน่วยงานห้องคลอด ก่อนและหลังการพัฒนาการทำงานเป็นทีม และเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของบุคลากรการ พยาบาล หน่วยงานห้องคลอดในกลุม่ ที่ได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีมและกลุม่ ที่ไม่ได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม กลุม่ ตัวอย่าง แบ่งเป็นกลุม่ ทดลอง และกลุม่ ควบคุม กลุม่ ทดลอง ได้แก่ บุคลากรการพยาบาลทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ในหน่วยงาน ห้องคลอดโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี จำนวน 39 คน และกลุม่ ควบคุม ได้แก่ บุคลากรการพยาบาลทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ใน หน่วยงานห้องคลอดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี จำนวน 14 คน รวมทัง้ สิน้ 53 คน เครือ่ งมือที่ใช้ดำเนินการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการพัฒนาการทำงานเป็นทีม คูม่ อื การทำงานเป็นทีม และแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม เครือ่ งมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานบุคลากรการพยาบาล เครือ่ งมือวิจยั ทัง้ หมดผ่านการ ตรวจสอบความตรงตามเนือ้ หาจากผูท้ รงคุณวุฒิ และตรวจสอบความเทีย่ งของแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม และ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานบุคลากรการพยาบาล ได้คา่ ความเทีย่ งเท่ากับ .80 และ .95 ตามลำดับ วิธกี ารดำเนินการทดลอง คือ กลุม่ ทดลองจะได้รบั การอบรมและฝึกทักษะการทำงานเป็นทีม ซึง่ ประกอบด้วยทักษะ 3 ด้าน คือ การสร้างความร่วมมือ การแก้ปญ ั หาโดยทีมงาน และการสร้างความเห็นพ้องต้องกัน เมือ่ ผ่านการอบรม บุคลากร การพยาบาลนำทักษะดังกล่าวไปใช้ ในการปฏิบัติงาน ขณะที่กลุ่มควบคุมมีการปฏิบัติงานตามปกติ หลังการทดลอง 4 สัปดาห์ ผูว้ จิ ยั รวบรวมข้อมูลเพือ่ ประเมินผลการทดลอง โดยให้ทงั้ สองกลุม่ ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของ บุคลากรการพยาบาล จากนัน้ นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์คา่ เฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน และสถิตทิ ดสอบที ผลการวิจยั สรุปได้ดงั นี ้ 1. คะแนนเฉลีย่ ความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาลภายหลังได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม สูงกว่าก่อน ได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ . 05 2. คะแนนเฉลีย่ ความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาลกลุม่ ที่ได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม สูงกว่ากลุม่ ที่ ไม่ได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ . 05

* พยาบาลประจำการ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 37

37

12/8/06 9:58:44 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

Abstract The purposes of this quasi – experimental research were:1) to compare the satisfaction of nursing personnel in an experimental group who received a teamwork development program with a control group who practiced in a conventional nursing assignment; and 2) to compare the satisfaction of experimental group nursing personnel before and after the intervention. Study subjects consisted of 39 nursing personnel assigned to the experimental group from Nopparatrajathanee Hospital and 14 nursing personnel assigned as the control group from Rachaburi Hospital. Study instruments were the Teamwork Development Program, a manual of team working, Nursing Personnel Teamwork Behavior Observation (NPTBO), and Nursing Personnel Satisfaction Questionnaire (NPSQ) . Instruments were tested for content validity and reliability. The reliability of the NPTBO and NPSQ were .80 and .95, respectively. According to the study program, the experimental group received the teamwork development program including cooperative skills, group problem solving skills, and consensus building skills. After training, they applied those skills to working in a unit for 4 weeks. After the experimental period, both control and experimental groups were asked to complete the Nursing Personnel Satisfaction Questionnaire. Study data were analyzed by using mean, standard deviation, and t – tests. The findings were as follows: 1. The mean scores of nursing personnel satisfaction after receiving the teamwork development program were significantly higher than those of a prior to the program (p = .05). 2 The mean scores of nursing personnel satisfaction in the experimental group after receiving the teamwork development program was significantly higher than those of the control group (p = .05).

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ความพึงพอใจในงานเป็นตัวชีว้ ดั หนึง่ ขององค์การ ซึง่ มี ผลต่อความสำเร็จของงานและองค์การ หากบุคลากรใน องค์การไม่มคี วามพึงพอใจในงาน ก็จะเป็นสาเหตุหนึง่ ทีท่ ำให้ ผลงานและการปฏิบตั ิ งานต่ำ ส่งผลให้คณ ุ ภาพของงานลดลง แต่หากองค์การใดมีบุคลากรที่มีความพึงพอใจในงานอยู ่ ในระดับสูงจะมีผลทางบวกต่อการปฏิบัติงาน (ปรียาพร วงศ์อนุตโรจน์, 2535) นอกจากนีค้ วามพึงพอใจในงานยังเป็น เครื่องหมายแสดงถึงประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานและ ภาวะผูน้ ำของผูบ้ ริหารองค์การดังนัน้ แต่ละหน่วยงานจึงมีการ ประเมินความพึงพอใจในงานของบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านในโรง พยาบาล ทุกโรงพยาบาล จากการประเมินบรรยากาศการ ทำงานของหน่วยงานห้องคลอดโรงพยาบาลนพรัตน- ราชธานี เมือ่ เดือนเมษายน 2547 พบว่า ระดับความพึงพอใจในงานคิด เป็นร้อยละ 64.17 ซึ่งอยู่ ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือร้อยละ 80 และจากการวิเคราะห์แบบประเมินบรรยากาศ

ในการทำงานในช่วงเดือนตุลาคม 2546 ถึงเดือนมีนาคม 2547 พบว่า บุคลากรการพยาบาลมีความต้องการในเรือ่ งการ ประสานงาน คิดเป็นร้อยละ 46.67 การมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจ คิดเป็นร้อยละ 40 ต้องการรับทราบข้อมูลข่าวสาร ระหว่างผูร้ ว่ มงาน คิดเป็นร้อยละ 40 ต้องการสนับสนุนให้มี การริเริม่ และคิดค้นนวัตกรรมใหม่เพือ่ ปรับปรุงวิธที ำงานคิด เป็นร้อยละ 37.83 และสุดท้ายต้องการมีสว่ นร่วมในการแก้ ปัญหา คิดเป็นร้อยละ 20 ห้องคลอดเป็นหน่วยงานสำคัญ หน่วยงานหนึง่ ของโรงพยาบาลที่ให้การดูแล ทัง้ ผูค้ ลอดและ ทารกในครรภ์ เพราะช่วงเวลาของการคลอดนับเป็นช่วงเวลา ทีว่ กิ ฤติของผูค้ ลอดและทารกในครรภ์ซงึ่ ต้องการการดูแลอย่าง ปลอดภัย พยาบาลจะดูแลผูค้ ลอดและทารกตัง้ แต่หอ้ งรับใหม่ ห้องเตรียมคลอด ห้องรอคลอด ห้องพักหลังคลอด และห้อง เด็กทารก จากลักษณะงานในหน่วยงานห้องคลอดดังกล่าว จึงทำให้พยาบาลมีการแบ่งส่วนกันดูแลรับผิดชอบเป็นห้องๆ โดยแบ่งบุคลากรการพยาบาลปฏิบัติงานในห้องดังกล่าว

38 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 38

12/8/06 9:58:45 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ทำให้บคุ ลากรต่างคนต่างทำงาน มุง่ ทำงานของตนเองให้เสร็จ ขาดการวางแผนร่วมกันอย่างสม่ำเสมอก่อนลงมือปฏิบตั งิ าน ทำให้ขาดความร่วมมือเกี่ยวกับการประสานงานและการ แก้ปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ขาดประสิทธิภาพ ในการทำงานเป็นทีมสอดคล้องกับการวิจัยของ ศิริวรรณ โกมุตกิ านนท์ (2536) ซึง่ ศึกษาเกีย่ วกับสภาพจริงและความ คาดหวังของการทำงานเป็นทีมของทีมสุขภาพในโรงพยาบาล สังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ทีพ่ บว่า ปัญหาและ อุปสรรคส่วนใหญ่ของการทำงานเป็นทีมตามรายงานของ พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรทีมสุขภาพ คือ ขาดความร่วมมือ ในการทำงานร่วมกัน มักเกิดปัญหาความขัดแย้ง ไม่เข้าใจ บทบาทซึง่ กันและกัน ขาดความเข้าใจในลักษณะและขอบเขต การทำงานรวมทั้งไม่มีการเรียนรู้พฤติกรรมของสมาชิกใน ทีมงาน นอกจากนัน้ การทีบ่ คุ ลากรในทีมการพยาบาลไม่มสี ว่ น ร่วมในการตัดสินใจเนื่องจากการปฏิบัติงานของพยาบาลมี ลักษณะเป็นไปตามแบบแผนและปฏิบัติตามคำสั่งการรักษา เป็นส่วนใหญ่ ทำให้พยาบาลหรือบุคลากรการพยาบาลไม่มี โอกาสในการร่วมตัดสินใจ การไม่มี โอกาสร่วมในการตัดสินใจ ของสมาชิกในทีมการพยาบาลมีผลทำให้สมาชิกขาดโอกาสใน การพัฒนาทางด้านความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ ปัญหาทีพ่ บเสมอ ทีเ่ ข้าประชุมกลุม่ คือ บุคลากรการพยาบาลมักไม่แสดงความ คิดเห็น ทำให้เกิดบรรยากาศของการคล้อยตามกลุ่มขึ้นใน ที่ประชุม แม้ว่าจะไม่เห็นด้วยกับผลการประชุมนั้นก็ตามก็ ไม่ ส ามารถชี้ แ จงให้ ที่ ป ระชุ ม เข้ า ใจได้ ประกอบกั บ ใน สภาพปัจจุบนั พยาบาลจะทำงานแบบทีมกึง่ หน้าทีเ่ ป็นรูปแบบ ต่างคนต่างทำมีการมอบหมายงานที่ ไม่ชัดเจน (พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์, 2537) ขาดการติดต่อสื่อสารทำงานร่วมกัน ไม่มกี ารปรึกษาหารือร่วมกัน ไม่มกี ารวางแผนร่วมกัน ขาด ความร่วมมือในการทำงาน ทำงานตามกิจวัตรประจำวัน ซึง่ จะ เห็นว่าระบบการทำงานเป็นทีมยังไม่ชัดเจน การให้การ พยาบาลขาดความต่อเนื่อง การพยาบาลถูกแบ่งเป็นส่วนๆ ไม่สามารถให้การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมได้ (ปรางค์ทิพย์ อุจรัตน์, 2541) ทำให้เกิดผลเสียต่อคุณภาพการบริการและ ประสิทธิภาพของงาน ทำให้บคุ ลากรการพยาบาลเกิดความไม่ พึงพอใจในการทำงาน เนือ่ งจากลักษณะของการทำงานเป็นทีมมีความสำคัญ อย่างยิง่ สำหรับการให้การดูแลทีด่ แี ก่หญิงตัง้ ครรภ์และทารก

ในครรภ์ จากลักษณะงานของหน่วยงานห้องคลอด การให้การ ดูแลหญิงตัง้ ครรภ์และทารกในครรภ์ให้มสี ขุ ภาพดี ปลอดภัย ไม่อาจดำเนินการได้ดว้ ยคนเพียงคนเดียว จำเป็นต้องอาศัย การทำงานประสานกันเป็นทีม ซึง่ มีวตั ถุประสงค์เดียวกัน คือ ดูแลมารดาทารกให้ ได้รับความปลอดภัย ปราศจากภาวะ แทรกซ้อนต่างๆ ในการบริการพยาบาลหากมีการทำงานแบบ ทีมการพยาบาลที่ดีมีการจัดการภายในทีม โดยมีการมอบ หมายงานทีด่ ี พยาบาลร่วมมือประสานงานกันเป็นอย่างดี มี ความรู้ความสามารถในการทำงานย่อมส่งผลให้ผู้รับบริการ เกิดความพึงพอใจ อันเป็นผลมาจากประสิทธิภาพทีด่ ขี องทีม การพยาบาลก่อให้เกิดความพึงพอใจของบุคลากรทีมการ พยาบาลที่ให้บริการด้วย ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงเห็นความสำคัญทีจ่ ะ พัฒนาการทำงานเป็นทีม เพื่อพัฒนาการบริการและเพิ่ม ระดับความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาลหน่วย งานห้องคลอด วัตถุประสงค์การวิจยั 1. เปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของบุคลากรทีมการ พยาบาลหน่วยงานห้องคลอด ก่อนและหลังการพัฒนาการ ทำงานเป็นทีม 2. เปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของบุคลากรทีม การพยาบาลหน่วยงานห้องคลอดระหว่างกลุ่มที่ ได้รับการ พัฒนาการทำงานเป็นทีมกับกลุม่ ทีท่ ำงานตามปกติ แนวเหตุผลและสมมุตฐิ านการวิจยั จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่าการทำงานเป็นทีม สามารถส่งผลต่อความพึงพอใจในงานของบุคลากร เจิมจันทร์ ทองวิวฒ ั น์และปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา (2531: 28 – 29) กล่าวว่าการพัฒนาทีมงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและเพิ่ม ความพึงพอใจในงานนัน้ ต้องประกอบด้วย ทักษะของกลุม่ (Collective skill) ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับการที่จะนำ ศั ก ยภาพของการทำงานเป็ น กลุ่ ม มาใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ประกอบด้วย ทักษะในการสร้างความร่วมมือ (Coorperative skill) ทักษะในการแก้ปัญหาโดยทีมงาน (Team problem solving skill) และทักษะในการสร้างความเห็นพ้องต้องกัน (Consensus building skill) ทักษะเหล่านีเ้ ป็นกระบวนการที่ สำคัญของการสร้างทีมงานเพื่อให้สามารถที่จะพัฒนาและ ปรับปรุงงานของหน่วยงานให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ นอกจากนัน้ Romig (1996) กล่าวว่าการทำงานเป็นทีมเป็น วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 39

39

12/8/06 9:58:46 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

สิ ง่ ทีจ่ ำเป็นต่อหน่วยงาน การทำงานเป็นทีมนัน้ จำเป็นต้องมี การพัฒนาและปรับปรุงเพือ่ เพิม่ ความสามารถและการปฏิบตั ิ งานของทีม จากการศึกษาของ Campion, Pepper & Medsker (1996) ทีพ่ บว่า การส่งเสริมการทำงานเป็นทีมร่วม กันจะทำให้ผปู้ ฏิบตั งิ านเกิดความพึงพอใจในงาน สอดคล้อง กับ Robbin (1998) ทีก่ ล่าวว่าผลของการทำงานเป็นทีมจะ ทำให้เกิดความพึงพอใจในงานได้ ดังนัน้ การพัฒนาการทำงานเป็นทีม โดยส่งเสริมให้ผู้ ปฏิบตั งิ านมีสว่ นร่วมในการแก้ปญ ั หาและตัดสินใจร่วมกัน ให้ ความร่วมมือในการทำงาน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันของ บุ ค ลากรการพยาบาล ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ก ารทำงานเป็ น ที ม มี ประสิทธิภาพก็นา่ จะทำให้เพิม่ ระดับความพึงพอใจในงานของ บุคลากรการพยาบาลได้ สอดคล้องกับแนวคิดของ Campion (1993) ที่กล่าวถึงการทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ การ สนับสนุนร่วมมือกันของสมาชิก ทำให้เกิดประสิทธิผลของทีม การพยาบาล ผูร้ บั บริการเกิดความพึงพอใจ ผู้ ให้บริการเกิด ความภาคภูมใิ จในงานทีท่ ำ ส่งผลให้เกิดความพึงพอใจในงาน ตามไปด้วย ในหน่วยงานใดหากผูป้ ฏิบตั งิ านมีความพึงพอใจ สูงย่อมมีผลต่อความสำเร็จของหน่วยงานและองค์การ แต่ หากหน่วยงานใดผูป้ ฏิบตั งิ านไม่มคี วามพึงพอใจในการปฏิบตั ิ งานแล้วคุณภาพของงานก็จะลดลง สอดคล้องกับแนวคิดของ Barton & Martin (1991) ทีก่ ล่าวว่า การปฏิบตั งิ านมีความ สัมพันธ์กบั ความพึงพอใจในงาน โดยบุคคลทีป่ ฏิบตั งิ านได้ด ี จะนำไปสูค่ วามพึงพอใจในงาน ขณะเดียวกันความพึงพอใจใน งานจะย้อนกลับไปมีผลกับการปฏิบัติงานด้วย นอกจากนั้น ระดับความพึงพอใจในงานยังมีความสำคัญกับพฤติกรรมการ ลาออก การโอนย้าย การขาดงานรวมทัง้ การลางานอีกด้วย (ปรียาพร วงศ์อนุตโรจน์, 2535) ดังนัน้ การบริหารจัดการในองค์การใดๆ นอกจากต้อง คำนึงถึงความพึงพอใจในคุณภาพของผูร้ บั บริการเป็นสำคัญ แล้ว ความพึงพอใจของบุคลากรต่องานที่ทำก็เป็นหน้าที่อีก อย่างหนึ่งของผู้บริหารที่ต้องคอยสำรวจตรวจสอบอยู่เสมอ เพือ่ ทีจ่ ะได้ปรับปรุงแก้ ไของค์ประกอบต่างๆ ของงานให้มสี งิ่ จูงใจให้บคุ ลากรปฏิบตั งิ านอย่างมีประสิทธิภาพและด้วยความ สมัครใจ ซึง่ สอดคล้องกับที่ หรรษา สุขกาล(2538) ได้กล่าวว่า หากการทำงานนัน้ สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคล ตามความคาดหวัง บุคคลนัน้ ก็จะเกิดความพึงพอใจในงาน มี

ความสุขใจ ความเต็มใจที่จะทำงาน และลัดดา ตันกันทะ (2540) ยังอธิบายไว้วา่ ความพึงพอใจในงานมีความสำคัญต่อ การปฏิบตั งิ าน เนือ่ งจากความพึงพอใจในงานจะช่วยให้คนมี ความตั้งใจที่จะปฏิบัติงานเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล นอกจากนั้นความสำเร็จของบุคลากรก็มาจาก ความพึงพอใจในงานทีบ่ คุ คลนัน้ กระทำ สำหรับในการวิจยั ครัง้ นี้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับปัญหาและ ความต้องการการพัฒนาของบุคลากรการพยาบาลหน่วยงาน ห้องคลอด ผูว้ จิ ยั จึงเลือกใช้แนวคิดการพัฒนาการทำงานเป็น ทีมของ เจิมจันทร์ ทองวิวัฒน์ และปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา (2531: 28-29) มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาบุคลากร การพยาบาลของ หน่วยงานห้องคลอด ด้วยวิธกี ารอบรมเพิม่ ความรู้ เกีย่ วกับทักษะการพัฒนาการทำงานเป็นทีมและการ ฝึกทักษะการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ประกอบด้วย ทักษะ การสร้างความร่วมมือ การแก้ปญ ั หาโดยทีมงาน และทักษะ การสร้างความเห็นพ้องต้องกัน ทัง้ นี้ เมือ่ บุคลากรได้รว่ มมือ กั น แก้ ไขปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในองค์ ก ารจะเกิ ด ความเข้ า ใจ พฤติกรรมของตนเองในแง่ของบทบาท และมองเห็นว่าตน สามารถที่จะมีส่วนช่วยเหลือ สนับสนุนในการแก้ปัญหาได้ อย่างไร พร้อมทัง้ ตระหนักว่า คนอืน่ ๆ ในทีมจะสามารถมีสว่ น ร่วมในการแก้ปญ ั หาของทีมได้ มีความพร้อมทีจ่ ะให้ความร่วม มือช่วยเหลือซึง่ กันและกันในการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้งานบรรลุ ผลสำเร็จเช่นกัน ทัง้ ยังเกิดการระดมสมองหาทางเลือกในการ แก้ ไขปัญหา วางแผนเพือ่ ปฏิบตั กิ ารแก้ ไขปัญหาตามทางเลือก ที่ ได้ตัดสินใจเพื่อค้นหาแนวทางแก้ปัญหานั้นๆ วิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน และมีการตกลงร่วมกัน โดยยึดถือเหตุผลและความพึงพอใจของบุคลากรในทีมทีม่ สี ว่ น ร่วมในการตัดสินใจ อันส่งเสริมและสนับสนุนให้ผลการปฏิบตั ิ งานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิง่ ขึน้ จนกระทัง่ บรรลุ ตามเป้าหมายทีอ่ งค์การได้วางไว้ ซึง่ ทัง้ 3 ทักษะข้างต้น ทำให้ บุคลากรเกิดความพึงพอใจในงาน เนือ่ งจากได้มสี ว่ นร่วมเกิด สัมพันธภาพทีด่ รี ะหว่างบุคคล มีความรูส้ กึ โดยรวมว่าตนเองมี คุณค่า ได้ทำงานทีท่ า้ ทาย จนประสบความสำเร็จและได้รบั การยอมรับจากผู้ร่วมงาน (เจิมจันทร์ ทองวิวัฒน์ และ ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา , 2531) จากแนวคิดดังกล่าว ผูว้ จิ ยั จึงตัง้ สมมุตฐิ านการวิจยั ไว้ดงั นี ้ 1. ความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาลหน่วย

40 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 40

12/8/06 9:58:47 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

งานห้องคลอด ภายหลังได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีมสูง กว่าก่อนได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม 2. ความพึงพอใจของบุคลากรการพยาบาลหน่วยงาน ห้องคลอด กลุม่ ที่ ได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม อยู่ใน ระดับสูงกว่ากลุม่ ทีป่ ฏิบตั งิ านตามปกติ วิธดี ำเนินการวิจยั การศึกษาครั้งนี้ ใช้การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasiexperimental research design) แบบ Non equivalence Control Group Pretest – Posttest Design ประกอบไปด้วย กลุม่ ตัวอย่าง 2 กลุม่ คือ กลุ่มทดลอง เป็นบุคลากรการพยาบาลหน่วยงานห้อง คลอดที่ได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม กลุม่ ควบคุม เป็นบุคลากรการพยาบาลหน่วยงานห้อง คลอดทีป่ ฏิบตั งิ านตามปกติ ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากร คือ พยาบาลวิชาชีพและผูช้ ว่ ยเหลือคนไข้ที่ ปฏิบตั งิ านในหน่วยงานห้องคลอด กลุม่ ตัวอย่าง คือ พยาบาล วิ ช าชี พ และผู้ ช่ ว ยเหลื อ คนไข้ จ ากหน่ ว ยงานห้ อ งคลอด โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี จำนวน 39 คน และกลุม่ ควบคุม จำนวน 14 คน ซึง่ เป็นบุคลากรพยาบาลจากหน่วยงานห้อง คลอดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี โดยกลุม่ ตัวอย่างทัง้ 2 กลุม่ มี ลักษณะการทำงานเป็นทีมทีค่ ล้ายคลึงกัน เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจยั เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจยั มี 2 ประเภท คือ เครือ่ งมือที่ใช้ ในการดำเนินการทดลองและเครือ่ งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล 1. เครื่องมือที่ ใช้ ในการดำเนินการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ซึง่ ผูว้ จิ ยั สร้างขึน้ โดย ใช้แนวคิดของ เจิมจันทร์ ทองวิวฒ ั น์ และปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา (2531) ประกอบไปด้วยการจัดกิจกรรมเพือ่ พัฒนาการ ทำงานเป็นทีมซึง่ เป็นทักษะกลุม่ ประกอบด้วยทักษะ 3 ด้าน ได้แก่ 1. ทักษะในการสร้างความร่วมมือ 2. ทักษะในการแก้ ปัญหาด้วยทีมงาน 3. ทักษะในการสร้างความเห็นพ้องต้องกัน ซึง่ ทักษะในการทำงานเป็นทีมทัง้ 3 ด้าน เป็นทักษะทีจ่ ะนำ ศักยภาพของทีมออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด โปรแกรมการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของบุคลากร การพยาบาล ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ

1.1 คูม่ อื การพัฒนาการทำงานเป็นทีม เป็นเครือ่ งมือทีผ่ ู้ วิจยั สร้างขึน้ สำหรับให้บคุ ลากรพยาบาลกลุม่ ทดลอง ทีเ่ ข้ารับ การอบรมการพัฒนาการทำงานเป็นทีมได้นำกลับไปทบทวน การพัฒนาการทำงานเป็นทีมได้อย่างต่อเนือ่ ง 1.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมบุคลากร การพยาบาลเป็นเครือ่ งมือทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ มีลกั ษณะเป็นแบบ ตรวจสอบรายการ (Check list) โดยใช้การสังเกตการปฏิบตั ิ ตามแนวทางการทำงานเป็นทีม เพื่อเป็นเครื่องมือกำกับ

การทดลองโดยใช้แนวคิดการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของ เจิมจันทร์ ทองวิวฒ ั น์ และปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา (2531) ประกอบด้วย 3 ด้านได้แก่ (1) ทักษะในการสร้างความร่วมมือ จำนวน 6 ข้อ (2) ทักษะในการแก้ปญ ั หาด้วยทีมงาน จำนวน 5 ข้อ (3) ทักษะในการสร้างความเห็นพ้องต้องกัน จำนวน 5 ข้อ ซึง่ แบบประเมินชุดนี้ ได้ผา่ นการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ ง มือ โดยการตรวจสอบความตรงตามเนือ้ หาและหาความเทีย่ ง ของเครือ่ งมือก่อนการนำไปทดลองใช้ (Try out) กับบุคลากร การพยาบาลโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ .80 2. เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ได้ แ ก่ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาล ผูว้ จิ ยั สร้างขึน้ โดยใช้กรอบแนวคิดความพึงพอใจในการทำงาน ของ Munson & Heda (1974) ลักษณะของแบบสอบถาม เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ประกอบด้วยข้อคำถาม 20 ข้อ แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ (1) ด้าน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จำนวน 8 ข้อ (2) ด้านการมีสว่ น ร่วม จำนวน 7 ข้อ (3) ด้านงานภายใน จำนวน 5 ข้อ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาลนี้ ได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยการหาความ ตรงตามเนือ้ หาและความเทีย่ งของเครือ่ งมือ และการนำไป ทดลองใช้ (Try out) กับบุคลากรการพยาบาลหน่วยงานห้อง คลอดโรงพยาบาลพระนัง่ เกล้า จำนวน 15 คน และบุคลากร การพยาบาล หน่วยงานห้องคลอด โรงพยาบาลพระนคร ศรีอยุธยา จำนวน 15 คน ซึง่ ไม่ใช่กลุม่ ตัวอย่าง ได้คา่ ความ เทีย่ งเท่ากับ .95 ขัน้ ตอนการดำเนินการวิจยั ผูว้ จิ ยั ดำเนินการทดลองโดยแบ่งเป็น 4 ระยะ คือ 1. ขัน้ เตรียมการทดลอง เป็นการเตรียมเครือ่ งมือที่ใช้ใน วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 41

41

12/8/06 9:58:48 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549 จัย มีการประสานงานกับหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง การวิ ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี คณะกรรมการจริยธรรมการวิจยั ในมนุษย์และการใช้สัตว์ทดลองในการวิจัย โรงพยาบาล นพรัตนราชธานี เตรียมสถานทีส่ ำหรับการทดลอง ประสาน งานกับหัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยที ่ เกีย่ ว ข้อง ประสานงานกับวิทยากรเพือ่ ขอความร่วมมือในการ ใช้ โปรแกรมและขอความร่วมมือในการทำวิจัยโดยตรงกับ พยาบาลวิชาชีพ ผูช้ ว่ ยเหลือคนไข้ ทีเ่ ป็นกลุม่ ตัวอย่างจำนวน 39 คน 2. ขั้นการดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งเป็น 2 ระยะ 2.1 ระยะก่อนทดลอง ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล (Pretest) จากกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยแจกแบบ สอบถามความพึงพอใจในงานให้กบั กลุม่ ตัวอย่าง การวิจยั ครัง้ นีก้ ลุม่ ทดลองมีจำนวนบุคลาการทีส่ มัครใจเข้าร่วมการทดลอง 39 คน กลุม่ ควบคุมมีจำนวนบุคลากรการพยาบาล 14 คน ผู้วิจัยแจกแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มใน ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ – 6 มีนาคม พ.ศ. 2548 2.2 ระยะทดลอง เป็นการใช้โปรแกรมการพัฒนา การทำงานเป็นทีมกับบุคลากรพยาบาลกลุ่มทดลอง โดยจัด แบ่งบุคลากรการพยาบาลออกเป็น 2 กลุม่ ย่อย เพือ่ ไม่ให้การ อบรมครัง้ นีส้ ง่ ผลกระทบต่อการปฏิบตั งิ านบนหอผูป้ ว่ ย จาก นั้นจัดตารางอบรมตามโปรแกรม โดยกำหนดให้แต่ละกลุ่ม ต้องได้รบั การอบรมกลุม่ ละ 2 วัน รวมการฝึกทัง้ สิน้ 4 วัน การฝึกตามโปรแกรมการอบรมการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ครัง้ นี้ จัดขึน้ ระหว่างวันที ่ 7-10 มีนาคม พ.ศ. 2548

3. ระยะการนำไปใช้ ภายหลังการเสร็จสิน้ การอบรมตาม โปรแกรมการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ผูว้ จิ ยั ได้เปิดโอกาสให้ บุ ค ลากรการพยาบาลกลุ่ ม ทดลอง ได้ มี เ วลาสำหรั บ การ พัฒนาการทำงานเป็นทีม ไปใช้ ในการทำงานเป็นทีมบนหอผู้ ป่วยเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ ระหว่างวันที่ 11 มีนาคม – 10 เมษายน พ.ศ. 2548 ผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัยติดตามสังเกต พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของบุคลากรการพยาบาล โดย การสุ่มสังเกตในช่วงการปฏิบัติงานของเวรเช้า (08.00 – 16.00 น.) สัปดาห์ละ 2 ครัง้ 4. ขัน้ ประเมินผลการทดลอง ด้วยแบบสอบถามความพึง พอใจในงานของบุคลากรพยาบาลในกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม (Post-test) หลังจากสัปดาห์ที่ 6 ระหว่างวันที่ 4-10 เมษายน พ.ศ. 2548 การวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/FW (Statistical Package for Social Science/For Window) นำคะแนนที่ได้ จากการรวบรวมข้อมูลมาคำนวณหาสถิตดิ งั ต่อไปนี ้ 1. เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลีย่ ของคะแนนความ พึงพอใจในงานของบุคลากรกรพยาบาลระหว่างกลุม่ ทดลอง และกลุ่มควบคุม โดยใช้สถิติทดสอบค่าที (Independent t-test) ทดสอบทีร่ ะดับนัยสำคัญ .05 2. เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ของคะแนนความพึงพอใจในงาน ก่อนและหลังการทดลองของกลุม่ ทดลอง ด้วยการทดสอบสถิติ ค่าที (Dependent t-test) ทีร่ ะดับนัยสำคัญ .05 สรุปผลการวิจยั จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนำเสนอผลการวิจัย ตามตารางที่ 1-3 ดังนี ้

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาลกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนได้รับการ พัฒนาการทำงานเป็นทีมจำแนกตามโดยรวมและรายด้าน กลุม่ ควบคุม กลุม่ ทดลอง ความพึงพอใจในงาน X SD X SD t ด้านสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการมีส่วนร่วมในงาน ด้านงานภายในหน่วยงาน ความพึงพอใจในงานโดยรวม

3.74 3.54 3.45 3.60

0.49 0.61 0.59 0.49

3.93 3.76 3.71 3.82

0.34 0.30 0.33 0.27

-1.35 -1.75 -1.56 -1.57

42 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 42

12/8/06 9:58:49 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

จากตารางที ่ 1 พบว่า ค่าเฉลีย่ ของคะแนนความพึงพอใจในงานโดยรวมของบุคลากรการพยาบาลโดยรวมกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุมไม่แตกต่างกัน และเมือ่ พิจารณาเปรียบเทียบรายด้านพบว่าด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการมีสว่ นร่วม ด้าน งานภายใน ไม่แตกต่างกัน ตารางที ่ 2 เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ของคะแนนความพึงพอใจในงานรายด้านของบุคลากรการพยาบาลกลุม่ ทดลอง ก่อนและหลัง ได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีมจำแนกตามรายด้านและโดยรวม กลุม่ ควบคุม กลุม่ ทดลอง ความพึงพอใจในงาน X SD X SD t ด้านสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการมีส่วนร่วมในงาน ด้านงานภายในหน่วยงาน ความพึงพอใจในงานโดยรวม *p= .5

3.74 3.52 3.45 4.01

0.49 0.63 0.59 0.49

4.20 3.95 3.78 4.01

0.48 0.58 0.71 0.51

-6.19* -3.67* -2.49* -4.80*

จากตารางที ่ 2 พบว่า ค่าเฉลีย่ ของคะแนนความพึงพอใจในงานโดยรวมของบุคลากรการพยาบาลกลุม่ ทดลอง หลังได้รบั การ พัฒนาการทำงานเป็นทีมสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 เมือ่ พิจารณารายด้าน พบว่า ค่าเฉลีย่ ของ คะแนนความพึงพอใจในงานด้านสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การมีสว่ นร่วมในงาน และด้านงานภายในหน่วยงาน หลังทดลองสูง กว่าก่อนทดลองอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ตารางที ่ 3 เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาลกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุมหลังได้รบั การ พัฒนาการทำงานเป็นทีมจำแนกตามรายด้านและโดยรวม กลุม่ ควบคุม กลุม่ ทดลอง ความพึงพอใจในงาน X SD X SD t ด้านสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการมีส่วนร่วมในงาน ด้านงานภายในหน่วยงาน ความพึงพอใจในงานโดยรวม *p= .5

4.20 3.95 3.78 4.01

0.48 0.58 0.71 0.51

3.89 3.70 3.77 3.79

0.24 0.18 0.27 0.12

3.00* 2.37* 0.97 2.42*

จากตารางที ่ 3 พบว่าค่าเฉลีย่ ของความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาลภายหลังได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีมโดย รวมของกลุม่ ทดลองมีคา่ เฉลีย่ สูงกว่ากลุม่ ควบคุมอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 และเมือ่ พิจารณาเปรียบเทียบรายด้าน พบว่า ด้านสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการมีสว่ นร่วมในงาน ค่าเฉลีย่ กลุม่ ทดลองสูงกว่ากลุม่ ควบคุม อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 ส่วนด้านงานภายในหน่วยงานไม่มคี วามแตกต่างกัน อภิปรายผลการวิจยั จากการศึกษาผลของการพัฒนาการทำงานเป็นทีมต่อความพึงพอใจในงานของบุคลากรการพยาบาลหน่วยงานห้องคลอด ผูว้ จิ ยั อภิปรายผลการทดลองตามสมติฐานการวิจยั ดังนี ้ 1. ความพึงพอใจของบุคลากรการพยาบาลกลุม่ ทดลองหลังได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม จะอยู่ในระดับทีส่ งู กว่าก่อน ได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม อย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 (ตารางที่ 2) วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 43

43

12/8/06 9:58:51 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ผลการศึกษาดังกล่าวเป็นไปตามสมติฐานข้อที่ 1 ซึ่ง อธิบายได้วา่ ภายหลังการพัฒนาการทำงานเป็นทีมบุคลากร การพยาบาลหน่วยงานห้องคลอดมีความพึงพอใจในงานเพิม่ ขึน้ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก กิจกรรมการทำงานเป็นทีมเป็นกิจกรรมที่ สร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน เป็นการ ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงสภาพของงานทีม่ ปี ญ ั หาให้มสี ภาพดีขนึ้ มีความพร้อมทีจ่ ะรองรับการปฏิบตั งิ านของสมาชิกเพือ่ บรรลุ เป้าหมายขององค์การ ส่งผลให้สมาชิกทีมมีความพึงพอใจร่วม กัน โดยทีบ่ คุ ลากรการพยาบาลหน่วยงานห้องคลอดทุกคนต่าง เข้าใจปัญหาของหน่วยงาน ร่วมกันแก้ ไขปัญหาในการปฏิบตั ิ งาน มีการเห็นใจและช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ทัง้ จากผูร้ ว่ มงาน และผูบ้ งั คับบัญชา ทำให้เกิด สัมพันธภาพทีด่ ีในการทำงาน ผู้ ปฏิบตั งิ านทุกคนมีความสุข เป็นปัจจัยทีท่ ำให้ความพึงพอใจใน การทำงานสูงขึน้ ซึง่ Campion (1996) กล่าวว่า ลักษณะของ การทำงานเป็นทีมทีม่ ปี ระสิทธิภาพได้แก่ความสามารถในงาน ของสมาชิกทีม การสนับสนุนซึ่งกันและกันของสมาชิกทีม การแบ่งปันภาระของสมาชิกทีม การติดต่อสื่อสาร การ ประสานความร่วมมือของสมาชิก ทำให้เกิดประสิทธิผลของทีม การพยาบาล นัน่ คือบริการทีร่ วดเร็วมีประสิทธิภาพตรงตาม ความต้องการของผูบ้ ริโภค ทำให้ผบู้ ริโภคเกิดความพึงพอใจ ผู้ให้บริการหมายถึงทีมพยาบาลเกิดความภาคถูมใิ จในงานทีท่ ำ ส่งผลให้เกิดความพึงพอใจตามไปด้วย จากการทดลอง พบว่า เมือ่ มีการพัฒนาการทำงานเป็น ทีมให้กบั บุคลากรการพยาบาลหน่วยงานห้องคลอด คะแนน การสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของบุคลากรการ พยาบาลหน่วยงานห้องคลอดสูงขึน้ เรือ่ ยๆในทุกสัปดาห์ที่ 1, 2, 3 และ 4 (79.86%, 81.87%, 86.25% และ 90.00% ตาม ลำดับ) ซึ่งอธิบายได้ว่าการที่บุคลากรการพยาบาลได้รับการ พัฒนาการทำงานเป็นทีม จะเป็นการเสริมทักษะในการทำงาน ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นการจูงใจให้บคุ ลากร การพยาบาลเห็นความสำคัญของการทำงานเป็นทีม เข้าใจ ปัญหาในการทำงาน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันจะ ทำให้เกิด สัมพันธภาพทีด่ ี Robbin (1998) กล่าวว่า บรรยากาศในการ ทำงานดี จะทำให้ทุกคนมีความสุข และการปฏิบัติงานมี ประสิทธิภาพมากขึน้ ซึง่ สอดคล้องกับ Barric et al. (1998) ที่ พบว่า การมีอิสระและการพึ่งพาช่วยเหลือกันและกันของ สมาชิ ก มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างบวกกั บ ประสิ ท ธิ ผ ลของงาน

นอกจากนั้นการได้รับการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ทำให้ บุคลากรมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย แก้ ไขปัญหา พั ฒ นาหน่ ว ยงาน รวมทั้ ง ตั ด สิ น ใจร่ ว มกั น ซึ่ ง รั ง สรรค์ ประเสริฐศรี (2544:151) กล่าวว่า การสนับสนุนให้สมาชิกทีม ได้มีส่วนร่วมในการบริหารและตัดสินใจเป็นแนวทางในการ ปฏิบตั งิ านและการสร้างผลผลิตทีส่ งู ทีส่ ดุ เพราะเมือ่ บุคลากร การพยาบาลร่วมกันทำงานจนประสบความสำเร็จก็จะรูส้ กึ ว่า ตนมีสว่ นสำคัญทีจ่ ะช่วยเหลือคนอืน่ หรือทีมได้ ทำให้เกิดความ ภาคภูมใิ จ ส่งผลให้เกิดความพึงพอใจในระดับทีส่ งู ขึน้ ดังนัน้ หัวหน้าหอผู้ป่วยจึงควรตระหนักถึงการพัฒนาการทำงาน เป็นทีม ส่งเสริมให้บคุ ลากรการพยาบาลหน่วยงานห้องคลอดมี

การทำงานเป็นทีมจนเกิดความพึงพอใจ จะส่งผลให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของหน่วยงานและองค์การอย่าง ต่อเนือ่ งตลอดไป 2. คะแนนความพึ ง พอใจในงานของบุ ค ลากรการ พยาบาลกลุม่ ทดลองหลังได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีมสูง กว่ากลุ่มควบคุมที่ปฏิบัติงานตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิตทิ รี่ ะดับ .05 (ตารางที่ 3) จากผลการวิจัยเป็นไปตามสมมุติฐานการวิจัยข้อที่ 2 บางส่วน กล่าวคือ โปรแกรมการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ส่งผลต่อความพึงพอใจในงาน ด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคล และการมีสว่ นร่วมในงาน แต่ไม่มผี ลต่อความพึงพอใจในงาน ด้านงานภายในหน่วยงาน อธิบายได้วา่ เนือ่ งจากทักษะการ ทำงานเป็นทีมทีก่ ลุม่ ทดลองได้รบั ก่อให้เกิดการประสานงาน ร่วมมือกัน เพือ่ ให้เกิดความสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างบุคลากรในทีม และสามารถนำเอาจุดเด่นและความสามารถของแต่ละคนมา ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ ซึง่ ทักษะการประสานความร่วม มือในลักษณะของทักษะกลุม่ นีเ้ ป็นทักษะทีจ่ ะทำให้เกิดความ สัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างบุคลากรในทีม (เจิมจันทร์ ทองวิวฒ ั น์ และ ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา, 2531 : 28) ซึง่ ความสัมพันธ์ทดี่ ี ระหว่างบุคคลเป็นสิง่ จำเป็นอย่างยิง่ สำหรับการทำงานเป็นทีม (ยงยุทธ เกษสาคร ,2547) เมือ่ บุคลากรในทีมมีสมั พันธภาพทีด่ ี ต่อกันก็จะร่วมมือกันทำงานจนประสบความสำเร็จและบรรลุ เป้าหมายทีว่ างไว้ ทำให้เกิดความภาคภูมใิ จ ส่งผลให้เกิดความ พึ ง พอใจสู ง สุ ด ทำให้ ค วามพึ ง พอใจในด้ า นสั ม พั น ธภาพ ระหว่างบุคคลของกลุม่ ทดลองสูงกว่ากลุม่ ควบคุม นอกจากนี้ เมื่อบุคลากรการพยาบาลได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้มีการ

44 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 44

12/8/06 9:58:52 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ทำงานเป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะเกิดการเรียนรูร้ ว่ มกัน มีการวางแผนปฏิบตั งิ านและประเมินผลงานร่วมกัน สามารถ นำทักษะต่างๆมาประยุกต์ใช้ ในการทำงานเป็นทีมได้อย่างมี คุณภาพ (สุนนั ทา เลาหนันท์, 2544) จนงานประสบความ สำเร็จ Davis (1988) กล่าวว่า เมือ่ งานสำเร็จจะเป็นแรงจูงใจ ให้บคุ ลากรในทีม เกิดความรักงานและความพึงพอใจในงาน สอดคล้องกับแนวคิดของ Herzberg et. al. (1993) ทีก่ ล่าวว่า ความสำเร็จของงานเป็นแรงจูงใจให้คนชอบและรักงาน ซึง่ จากผลการวิจยั พบว่า บุคลากรการพยาบาลหน่วยงานห้อง คลอดมีความพึงพอใจในงานด้านการมีส่วนร่วมสูงกว่ากลุ่ม ควบคุมหลังได้รบั การพัฒนาการทำงานเป็นทีม ส่วนความพึงพอใจด้านงานภายในหน่วยงานของกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม หลังการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ไม่มคี วามแตกต่างกัน อาจเป็นเพราะปัจจัยทีส่ ง่ เสริมให้เกิด ความพึงพอใจด้านงานภายในหน่วยงานไม่ ได้เกี่ยวข้องกับ บุคลากรการพยาบาลเฉพาะหน่วยงานห้องคลอดเท่านัน้ แต่ ยังเกีย่ วข้องกับปัจจัยอืน่ ๆอีกมากมาย เช่น ปัญหาจากองค์การ ปัญหาจากผู้บริหารระดับสูงขององค์การ นโยบายและการ บริหาร เวลาและโอกาส รวมทัง้ บทบาทหน้าทีแ่ ละภาระงาน ของพยาบาลเอง ดังนัน้ การส่งเสริมให้เกิดความพึงพอใจด้าน งานภายในหน่วยงานด้วยการพัฒนาการทำงานเป็นทีม จึงไม่ สามารถเกิดขึ้นได้ ในระยะเวลาอันจำกัด อย่างไรก็ตามผู้ บริหารควรตระหนักและให้ความสำคัญโดยให้ โอกาสบุคลากร ในการที่ได้ทำงานท้าทายความสามารถ สนับสนุนและให้เข้า รับการอบรมเพือ่ เพิม่ พูนความรูแ้ ละพัฒนาทักษะใหม่ๆเพือ่ ให้ บุคลากรการพยาบาลเกิดความพึงพอใจส่งผลให้ประสิทธิภาพ ในการทำงานเพิม่ ขึน้ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอในการนำผลการวิจยั ไปใช้ จากผลการวิจยั ครัง้ นีส้ รุปได้วา่ ผลของการพัฒนาการ ทำงานเป็นทีมต่อความพึงพอใจในงานของบุคลากรการ พยาบาลหน่วยงานห้องคลอด สามารถพัฒนาศักยภาพในการ ทำงานเป็นทีมได้และส่งผลให้เกิดความพึงพอใจในงานของ บุคลากรการพยาบาลหน่วยงานห้องคลอดให้สูงขึ้น ดังนั้น ผู้บริหารควรดำเนินการพัฒนาและให้การสนับสนุนอย่าง จริงจัง เพราะผลการวิจยั ครัง้ นี้ สามารถนำไปใช้ในการพัฒนา บุคลากรการพยาบาล ได้ดงั นี ้

1.1 ผลการวิจยั ทำให้ทราบว่าการพัฒนาการทำงาน เป็นทีมทำให้บุคลากรเกิดความพึงพอใจ จากข้อมูลเหล่านี้ ถือว่าเป็นข้อมูลพื้นฐานที่บ่งบอกความสำเร็จหรือบรรลุเป้า หมายของการพัฒนางานและสามารถใช้เป็นแนวทางการ บริหาร อันจะนำไปสูก่ ารสร้างสรรค์การทำงานเป็นทีมต่อไป ซึ่งจะช่วยให้หน่วยงานและองค์การบรรลุเป้าหมายตามนโย บายการดำเนินงานและผ่านเข้าสู่การรับรองคุณภาพโรง พยาบาล 1.2 จากผลการวิจัยพบว่า บุคลากรการพยาบาล ต้องการการสนับสนุนจากผูบ้ งั คับบัญชาในการนำเสนอผลงาน และการเข้ารับการอบรมเพิม่ เติม แสดงให้เห็นว่าบุคลากรการ พยาบาลมีความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเองเพือ่ เพิม่ พูน ศักยภาพในการทำงาน ซึ่งจะก่อให้เกิดผลดีต่อหน่วยงาน เพราะหากหน่วยงานใดมีบคุ ลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ ก็จะส่งผลให้ หน่วยงานหรือองค์การนัน้ มีประสิทธิภาพตามไปด้วย ดังนัน้ ผู้ บ ริ ห ารจึ ง ควรให้ ค วามสนใจและสร้ า งแรงจู ใ จในการ สนับสนุนและพัฒนาเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของบุคลากรการ พยาบาลอย่างจริงจังและต่อเนือ่ ง 2. ข้อเสนอแนะเพือ่ การทำวิจยั ครัง้ ต่อไป 2.1 การทำงานเป็นทีมเป็นลักษณะการทำงานทีม่ ี ความสำคัญยิง่ เพราะทำให้งานมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ ควรมี การติดตามผลการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของหน่วยงานห้อง คลอดในระยะยาวหลังการทดลองเพือ่ ให้การทำงานเป็นทีมมี ความต่อเนือ่ ง ซึง่ จะทำให้องค์การมีประสิทธิภาพต่อไป 2.2 ผลสืบเนือ่ งจากข้อจำกัดของการวิจยั ครัง้ นีค้ อื ขนาดของกลุม่ ตัวอย่างในกลุม่ ควบคุมและกลุม่ ทดลองมีความ แตกต่างกันทัง้ ในเรือ่ งของจำนวนและสัดส่วนของปัจจัยส่วน บุคคลของกลุม่ ตัวอย่าง ซึง่ ข้อจำกัดเหล่านีอ้ าจทำให้ ได้ผลการ วิ จั ย ที่ ค ลาดเคลื่ อ นไปจากความเป็ น จริ ง เนื่ อ งจากปั จ จั ย ส่วนบุคคลบางประการ เช่น อายุ ประสบการณ์การทำงาน และระดับการศึกษามีผลต่อการรับรู้ความพึงพอใจในงาน (ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์,2544) ดังนัน้ ในการวิจยั ครัง้ ต่อไป ควรจะมีการใช้วธิ ี Matched pair กลุม่ ตัวอย่างด้วยปัจจัย ส่วนบุคคลทีก่ ล่าวมาแล้วด้วย วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 45

45

12/8/06 9:58:53 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

เอกสารอ้างอิง

เจิมจันทร์ ทองวิวฒ ั น์และปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา. (2531). การสร้างทีมงาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมสรรพสามิต. ปรางค์ทพิ ย์ อุจรัตน์. (2541). การบริหารการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: บุญศิรกิ ารพิมพ์. ปรียาพร วงศ์อนุตโรจน์. (2535). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร:ศูนย์สง่ เสริมกรุงเทพมหานคร. พวงรัตน์ บุญญานุรกั ษ์. (2537). ความสำคัญของปัญหาและความต้องการการพัฒนาบุคลากรพยาบาล. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 6(3): 23-27. ยงยุทธ เกษสาคร. (2547). ภาวะผูน้ ำและการทำงานเป็นทีม. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ปณ ั ณรัชต์. รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2544). ภาวะผูน้ ำ. กรุงเทพมหานคร: ธนธัชการพิมพ์. ลัดดา ตันกันทะ. (2540). ความเครียดในงานและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพทีป่ ฏิบตั งิ านกับผูป้ ว่ ยจิตเวช. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ศิรวิ รรณ โกมุตกิ านนท์. (2536). การศึกษาสภาพจริงและความคาดหวังของการทำงานเป็นทีมตามการรายงานของทีมสุขภาพ โรงพยาบาลสังกัด สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร. สุนนั ทา เลาหนันท์ . (2544). การสร้างทีม. กรุงเทพมหานคร: ดีดบี กุ สโตร์. หรรษา สุขกาล. (2538). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจจากคงวามคาดหวังในงานกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Barric , M. R. , et al. (1998). Relating member ability and personality to work-team process and team effectiveness. Journal of Applied Psychology, 83(3):377-391. Barton & Martin (1991) Campion, M. A., & Medsker, G. J. (1993). Relation between work group characteristics and Effectiveness : Implications for designing effective work group. Personal Psychology, 46:820-850. Campion, M.A. , Pepper, E. M., & Medsker, G. J. (1996). Relationship between work group characteristics and effectiveness: A replication and extension. Personal Psychology, 49:429-452. Davis, A. R. (1988). Developing teaching strategies based on new knowledge. J Nurs Educ. 27(4):156-60. Herzberg, F. , et. al. (1993). The motivation to work. New Brunswick: Transaction. Munson, F. C., & Heda, S. S. (1974). Service unit management and nurses’ satisfaction. Health Serv. Res. 11(2):128-42. Robbin, S. P. (1998). Organization behavior. 8th ed. New Jersey: Prentice-Hall. Romig, D. A. (1996). Breakthrough teamwork: Outstanding result using structured teamwork. Chicago: Irwin.

46 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 46

12/8/06 9:58:54 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

การบริหารชีวิตและสุขภาพ ของผู้สูงอายุสุขภาพดี Life and Health Management Concepts of Healthy Elders

เสาวลักษณ์ จิรธรรมคุณ * พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร **

บทคัดย่อ การศึกษาครัง้ นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงคุณภาพ ตามแนวทาง วิจยั grounded theory มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาแนวคิด หรือปรัชญาในการบริหารชีวติ และสุขภาพของผูส้ งู อายุสขุ ภาพดีซงึ่ เป็นสมาชิกโครงการส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุ ทีต่ งั้ อยู่ ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ ตัวแทนของประชากรที่ ไม่มีประวัติเจ็บป่วยจนต้องเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลก่อนการศึกษาอย่างน้อย 3 ปี จำนวน 49 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุม่ ทีม่ กี ารบันทึกเสียง ตลอดการสนทนา 6 ครัง้ วิเคราะห์ขอ้ มูลจากเสียงการสนทนาชนิดคำต่อคำ ในการสนทนากลุม่ ครัง้ ที่ 7 ได้ใช้เครือ่ งมือที่ เป็นแนวคำถามกึง่ โครงสร้าง ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลและทฤษฎีระบบของลุดวีด วอน เบอร์ทาแลนฟี เพือ่ การตรวจสอบความตรงของปรัชญาในการบริหารชีวิตและสุขภาพที่ ได้จากการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า กลุ่ม ตัวอย่างมีแนวคิดหรือปรัชญาในการบริหารชีวติ และสุขภาพเพือ่ ให้เป็นผูส้ งู อายุทสี่ ขุ ภาพดี 3 ประการ คือ 1) การมี สุขภาพทีแ่ ข็งแรง สามารถปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำวันได้ดว้ ยตนเอง 2) การได้เป็นทีร่ กั ของสมาชิกในครอบครัวและคนใน สังคม 3) การมีทรัพย์สนิ เพียงพอในการใช้จา่ ยทัง้ ในยามทีส่ ขุ ภาพดีและเจ็บป่วย การไม่มหี นีส้ นิ และไม่มมี รดก กลุม่ ตัวอย่างมีปจั จัยนำในการบริหารชีวติ และสุขภาพเพือ่ ให้เป็นผูส้ งู อายุทสี่ ขุ ภาพดี 6 ประการ คือ 1) ประสบการณ์เดิม 2) ภาวะสุขภาพ 3) เวลาในการดูแลสุขภาพ 4) อำนาจในการใช้จา่ ย เพือ่ การเลือกปัจจัยส่งเสริมต่างๆ 5) ผลิตภัณฑ์และการ บริการ 6) แหล่งสนับสนุน พบว่ากระบวนการและผลลัพธ์ของการบริหารชีวติ และสุขภาพภาพเพือ่ ให้เป็นผูส้ งู อายุทสี่ ขุ ภาพดีมกี ารย้อนกลับของผลลัพธ์ไปทีป่ จั จัยนำและกระบวนการอย่างต่อเนือ่ ง สอดคล้องกับทฤษฎีระบบของลุดวีด วอน เบอร์ทาแลนฟี กลุม่ ตัวอย่างระบุกระบวนการและผลลัพธ์รวมกันเป็น 6 ประการ คือ 1) การออกกำลังกาย 2) การรับ ประทานอาหารและอาหารเสริม 3) การงดดืม่ สุรา 4) การมีปฏิสมั พันธ์ในสังคม 5) การปฏิบตั ติ นให้เป็นทีร่ กั ตลอดจนเป็น ทีพ่ งึ่ ของสมาชิกในครอบครัวและคนในสังคม 6) การบริหารเงิน นอกจากผลการวิจยั ดังกล่าวข้างต้น คณะผูว้ จิ ยั ได้เสนอ ทัง้ ข้อจำกัดของการศึกษา แนวทางในการประยุกต์ขอ้ มูลไปใช้สำหรับการปฏิบตั ิ การศึกษา การวิจยั และผลกระทบต่อ นโยบายสุขภาพด้วย

* Ph.D. อาจารย์ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ** ว.ทม. รองศาสตราจารย์ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 47

47

12/8/06 9:58:54 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549 Abstract This qualitative study based on grounded theory method aimed to examine the concept of life and health management of Thai elders. The population was a group of healthy elders of a Health Promoted Senior Center in Bangkok, Thailand. Samples were forty-nine healthy elders volunteer to participate to the focus groups. The samples denied any health problems and institutional admissions within three months before the data collection period. Six focus groups were conducted with the permission of the samples. Participants’ group discussions were recorded and transcribed. The seventh focus group was conducted using a semi-structured interview guide based on the content analysis and Bertalanfly’ s general system model to confirm the elders’ health and life management concepts. Three themes were extracted from the focus groups indicating life and health management concept for healthy elders: 1) healthy condition enabled them for daily life maintenance, 2) beloved by their family members and society, and 3) economic safety (including no debt and no wealthy property) enabled them for both healthy and sickness maintenance. Six themes were extracted from the focus group categorized as inputs for being well life and health management: 1) previous experiences, 2) healthy condition, 3) time available for self care, 4) financial and purchasing power, 5) products and services available, and 6) support and resources. The participants expressed the difficulty to categorize process and outcomes of life and health management. It can be explained that they were continuing feedback effect from output to input and process supporting Bertalanfly’s general system theory. Six factors were categorized as both process and outcomes indicating the elder well life and health management interchangeably: 1) physical activities and exercise, 2) diet and supplements, 3) no alcohol consumption, 4) social interactions, 5) being loved and being trusted by the elders’ family members and society, 6) financial management and supports. Finally, implication for practice, education, research, and policy makers, and the limitations of the study were discussed.

Key words : Life management, Health management, Healthy elders อาการเจ็บป่วยเดิมซ้ำแล้วซ้ำเล่า มิหนำซ้ำยังพบว่าทุกขภาวะ พยาบาลเป็นบุคลากรสุขภาพที่ ได้รบั การยอมรับว่าเป็น ของผู้ สู ง อายุ เ พิ่ ม ขึ้ น ตั ว อย่ า ง เช่ น การศึ ก ษาของ กำลั ง สำคั ญ และเข้ ม แข็ ง ที่ สุ ด ในการดู แ ลผู้ สู ง อายุ ไ ทย ศาสตราจารย์นายแพทย์สทุ ธิชยั จิตะพันธ์กลุ ทีป่ ระมาณการ (Jitapankul & Bunnag, 1998) ทัง้ การส่งเสริมสุขภาพและ จำนวนผู้สูงอายุทุพลภาพจนไม่สามารถออกจากบ้านอย่าง ป้องกันโรคให้กับผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี ตลอดจนการฟื้นฟู อิสระ เพิ่มขึ้นจาก 234,000 คน ในปี พ.ศ. 2543 เป็น สภาพและการบรรเทาความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานให้กับผู้สูง 341,000 คน ในปี พ.ศ. 2553 และคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ เป็น2 เท่า อายุทเี่ จ็บป่วย เพือ่ ให้ผสู้ งู อายุคงไว้ซงึ่ สุขภาพทีด่ ที งั้ ทางกาย ในปี พ.ศ. 2563 (สุทธิชยั จิตะพันธ์กลุ , 2547) และร้อยละ (good physical health) ทางสมอง (good cognitive status) 4.9 ของผูส้ งู อายุทพุ ลภาพไม่สามารถปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำวัน และทางจิตใจ (good mental status) การทำหน้าทีเ่ หล่านี้ ใดๆ ได้เลย จำเป็นต้องได้รับการดูแลทุกๆ อย่าง (สิรินทร ของพยาบาลยังไม่ ได้ผลลัพธ์เป็นทีพ่ อใจ เนือ่ งจากในขณะที่ ฉันศิรกิ าญจน และคณะ, 2545) พยาบาลทำหน้าที่ ให้บริการกับผู้สูงอายุทั้งที่มีสุขภาพดีและ การเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ ตลอดจนปัญหา เจ็บป่วยตลอดมาอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง กลับพบว่า สุ ข ภาพของผู้ สู ง อายุ ที่ เ กิ ด มากขึ้ น และรุ น แรงขึ้ น แม้ ว่ า พยาบาลยังต้องดูแลผูส้ งู อายุอายุทเี่ จ็บป่วยด้วยโรคและ/หรือ พยาบาลผูด้ แู ลผูส้ งู อายุตา่ งทุม่ เทในการปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเต็ม

ความสำคัญของปัญหา

48 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 48

12/8/06 9:58:55 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ความสามารถ นับเป็นปัญหาสำคัญที่ผู้บริหารการพยาบาล ควรสนใจ เพือ่ หาทางแก้ ไขโดยเร่งด่วน โดยเฉพาะด้านการ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคก่อนทีผ่ สู้ งู อายุไทยจะเจ็บป่วย เพือ่ ให้สอดคล้องตามแนวทางการดูแลสุขภาพผูส้ งู อายุในยุค ปฏิรปู สุขภาพทีเ่ น้นการสร้างเสริมสุขภาพแทนการซ่อมแซม สุขภาพ หากแนวคิดนี้ประสบความสำเร็จย่อมก่อให้เกิด ประโยชน์ถงึ 3 ประการ คือ เพิม่ ความสุขและคุณภาพชีวติ ที่ ดีแก่ผสู้ งู อายุ บริหารจัดการให้พยาบาลลดภาระการพยาบาล ดูแลผูส้ งู อายุในส่วนทีป่ อ้ งกันได้ ตลอดจนลดงบประมาณของ ประเทศชาติทเี่ กีย่ วข้องกับการดูแลรักษาและฟืน้ ฟูสภาพผูส้ งู อายุ การศึกษาถึงปัจจัยทีม่ ผี ลต่อสุขภาพทีด่ ขี องผูส้ งู อายุไทย ทีผ่ า่ นมา เช่น การสำรวจผูม้ อี ายุยนื (100-122 ปี) จำนวน 35 คน ใน 16 จังหวัด ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่าปัจจัย ทีท่ ำให้ผสู้ งู อายุมอี ายุยนื เช่น การออกกำลังกาย รับประทาน อาหารปรุงสุก การยึดมัน่ ในพุทธศาสนา การมีอารมณ์ดี การมี เมตตา ตลอดจนการได้รบั ความรักและเอาใจใส่จากลูกหลาน (กระทรวงสาธารณสุข, 2529) หรือการศึกษาพฤติกรรมและ การดำเนินชีวติ ของผูส้ งู อายุไทยทีอ่ ายุยนื ยาวและแข็งแรง ที่ สรุปว่าสาเหตุสว่ นใหญ่ คือ การทำจิตใจให้สงบ โดยใช้ศาสนา เป็นหลัก การระมัดระวังสุขภาพ และการทำงานอยู่เสมอ (บรรลุ ศิรพิ านิช และคณะ, 2531) แต่ตามแนวคิดของลุดวีด วอน เบอร์ทาแลนฟี (Von Bertalanfly, 1975) ผู้ ได้ชอื่ ว่าเป็น บิดาของทฤษฎีระบบ (General system theory) ซึง่ เชือ่ ใน ความเป็นองค์รวมของชีวิตและสิ่งแวดล้อม (Wholeness) ตลอดจนประเด็นตามทฤษฎีการปรับตัวของซีสเตอร์ คารีสตา รอย หนึ่งในนักทฤษฎีการพยาบาลที่สำคัญ ซึ่งเป็นผู้ปรับ ทฤษฎีระบบของลุดวีด วอน เบอร์ทาแลนฟี ให้เข้าใจและ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในการพยาบาลได้ง่ายขึ้น โดยซีส เตอร์ คารีสตา รอย กล่าวว่า “ชีวติ คือ ผลรวมของความซับ ซ้อนของปฏิสัมพันธ์ เป็นระบบระหว่างความสัมพันธ์ของ ปั จ จั ย นำ (input) กระบวนการ (process) ผลลั พ ธ์ (outcome) และการย้ อ นกลั บ (feedback)” (Roy & Andrews, 1991) นอกจากนีท้ ฤษฎีระบบยังเป็นแนวทางหนึง่ ในกระบวนการแก้ปญ ั หา (problem-solving) ซึง่ เดฟบอร่า โอ๊ค (Oakes, 1978) ได้กล่าวถึงการใช้ทฤษฎีระบบว่าเป็น เครือ่ งมือสำหรับการประเมินสภาพผูป้ ว่ ย การวางแผน และ

การประเมินผลลัพธ์ เพือ่ ให้การปฏิบตั นิ นั้ สามารถตอบสนอง ต่อความต้องการ ตลอดจนการแก้ ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ กับบุคคล หรือผูป้ ว่ ยได้อย่างถูกต้อง ทำให้ ได้แนวคิดหรือปรัชญาในการ ที่จะเลือกปฏิบัติในสิ่งที่จะเป็นประโยชน์ต่อไป จนเกิดเป็น พฤติกรรมสุขภาพต่อเนือ่ งไป ดังนัน้ คณะผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจ ทีจ่ ะศึกษาวิจยั เรือ่ ง “การบริหารชีวติ และสุขภาพของผูส้ งู อายุสขุ ภาพดี” ตามทฤษฎีระบบของลุดวีด วอน เบอร์ทาแลน ฟี เพื่อศึกษาการบริหารชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอายุอย่าง ครบถ้วน โดยคาดว่าจะสามารถนำผลการวิจัยมาใช้ ให้เกิด ประโยชน์กบั ผูส้ งู อายุไทยและการบริหารจัดการต่างๆ ต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจยั เพือ่ ศึกษาแนวคิดหรือปรัชญาและวิถชี วี ติ ในการบริหาร ชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอายุสุขภาพดี สมาชิกโครงการส่ง เสริมสุขภาพผูส้ งู อายุ ทีต่ งั้ อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร วิธดี ำเนินการวิจยั การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวทางการวิจัย Grounded theory ประชากร คือ ผูส้ งู อายุสขุ ภาพดี เป็นสมาชิกโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุทตี่ งั้ อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุม่ ตัวอย่าง คือ ตัวแทนของประชากรจำนวน 60 คน เป็นสมาชิกโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่ตั้งอยู่ ในเขต กรุงเทพมหานครจำนวน 5 แห่ง ซึง่ อาสาเข้าร่วมการวิจยั ภาย หลังการชีแ้ จงวัตถุประสงค์การวิจยั ของคณะผูว้ จิ ยั ให้ทราบ ณ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแต่ละแห่ง โดยทุกคนมี คุณสมบัตเิ ป็นผูส้ งู อายุสขุ ภาพดีไม่มปี ระวัตเิ จ็บป่วยจนต้องเข้า รับการรักษาในโรงพยาบาลก่อนการศึกษาอย่างน้อย 3 ปี การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูล 1. คณะผูว้ จิ ยั ชีแ้ จงวัตถุประสงค์การวิจยั วิธกี ารเก็บรวบ รวมข้อมูลซึ่งต้องมีการบันทึกเสียงและถอดเนื้อความให้กับ ประชากร และถามความสมัครใจในการเข้าร่วมวิจัย กลุ่ม ตัวอย่างทีส่ มัครใจให้เก็บข้อมูลได้ทำการอนุญาตโดยวาจาให้มี การบันทึกเสียงได้ 2. จัดกลุม่ ตัวอย่างเป็นกลุม่ ๆ ละ 12-15 คน 3. คณะผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ สนทนากลุม่ (focus group discussion) ทีม่ กี ารบันทึกเสียง ตลอดการสนทนา 45-60 นาที รวม 6 ครัง้ 4. ขณะดำเนินการเก็บข้อมูล กลุม่ ตัวอย่างสามารถยุติ วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 49

49

12/8/06 9:58:57 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

การร่วมสนทนากลุม่ ได้ตลอดเวลาโดยพบว่าเมือ่ เริม่ การวิจยั ด้ วยกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 60 คน ขณะร่วมการวิจัยกลุ่ม ตัวอย่าง จำนวน 2 คน มีอาการปวดหลังขณะนัง่ ให้ขอ้ มูล คณะผู้วิจัยจึงเสนอแนะให้ออกจากการวิจัยไปก่อน ดูแลให้ นอนพักและประคบร้อนจนอาการทุเลาลง และเนือ่ งจากเวลา ในการเก็บข้อมูลประมาณ 10-11 นาฬิกา กลุม่ ตัวอย่าง 9 คน รูส้ กึ หิวข้าวจึงขอออกจากการวิจยั ไปก่อนทีก่ ารสนทนากลุม่ จะ ยุตลิ ง 5. คณะผู้วิจัยทำการถอดการบันทึกเสียงที่ ได้จากการ สนทนาชนิดคำต่อคำ 6. นำข้อมูลที่ได้จากการถอดการบันทึกเสียงมาวิเคราะห์ ข้อมูล โดยใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพแบบวิเคราะห์ เนือ้ หา (content analysis) เพือ่ เลือกประเด็น (themes) 7. นำประเด็ น มาสร้ า งแบบสอบถามกึ่ ง โครงสร้ า ง (semi-structured guideline) ลักษณะเป็นคำถามปลายเปิด 8. นำแบบสอบถามกึง่ โครงสร้างทีส่ ร้างขึน้ สอบถามกับ กลุม่ ตัวอย่างเกีย่ วกับทิศทางการบริหารชีวติ และสุขภาพของ ผูส้ งู อายุ ในการสนทนากลุม่ ครัง้ ที่ 7 เพือ่ ยืนยันข้อมูลที่ได้จาก การสนทนากลุม่ ทัง้ 6 ครัง้ ทีผ่ า่ นมา ผลการวิจยั กลุม่ ตัวอย่างในการวิจยั ครัง้ นีร้ วม 49 คน อายุระหว่าง 65-78 ปี (68.3 + 9.4 ปี) มีภมู ลิ ำเนาอยูท่ กี่ รุงเทพมหานคร และนนทบุรี คิดเป็นร้อยละ 90 และ 10 ตามลำดับ มีรายได้ จากบำนาญและค่าเช่าบ้าน การค้าขาย ดอกเบีย้ และคูค่ รอง และลูก คิดเป็นร้อยละ 42.6, 10.8, 26.3 และ 20.3 ตาม ลำดับ มี โรคประจำตัวที่ต้องรับประทานยาเป็นประจำ คือ ปวดข้อเข่า ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และต่อมลูกหมากโต คิดเป็นร้อยละ 47.1, 32.8, 22.3, 17.4 และ 3.2 (แต่ละคนมี โรคประจำตัวมากกว่าหนึง่ โรค) พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีแนวคิดหรือปรัชญาในการบริหารชีวิตและ สุขภาพเพือ่ ให้เป็นผูส้ งู อายุทสี่ ขุ ภาพดี 3 ประการ คือ 1) การ มีสุขภาพที่แข็งแรง สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วย ตนเอง 2) การได้เป็นทีร่ กั ของสมาชิกในครอบครัวและคนใน สังคม 3) การมีทรัพย์สินเพียงพอในการใช้จ่ายทั้งในยามที่ สุขภาพดีและเจ็บป่วย การไม่มหี นีส้ นิ และไม่มมี รดก จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพแบบวิเคราะห์เนือ้ หา เพือ่ ให้เข้าใจถึงวิถชี วี ติ ของการเป็นผูส้ งู อายุทมี่ สี ขุ ภาพดี ผูว้ จิ ยั ได้ประเด็นต่างๆ ทีห่ ลายหลาก ในลักษณะทีเ่ ป็นกระบวนการ

ซึ่งมีการนำเอาปัจจัยนำและผลลัพธ์มาประเมิน แล้วจึง ประมวลเข้าด้วยกันเพือ่ นำกลับมาเป็นปัจจัยนำครัง้ แล้วครัง้ เล่า พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีปัจจัยนำในการบริหารชีวิตและ สุขภาพเพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่สุขภาพดี 6 ประการ คือ 1) ประสบการณ์เดิม 2) ภาวะสุขภาพ 3) เวลาในการดูแล สุขภาพ 4) อำนาจในการใช้จา่ ย เพือ่ การเลือกปัจจัยส่งเสริม ต่างๆ 5) ผลิตภัณฑ์และบริการ (supplies) และ 6) แหล่ง สนับสนุน (support) มีกระบวนการและผลลัพธ์ของการ บริหารชีวติ และสุขภาพภาพเพือ่ ให้เป็นผูส้ งู อายุทสี่ ขุ ภาพดี 6 ประการ คือ 1) การออกกำลังกาย 2) การรับประทานอาหาร และอาหารเสริม 3) การงดดืม่ สุรา 4) การมีปฏิสมั พันธ์ใน สังคม 5) การปฏิบัติตนให้เป็นที่รักตลอดจนเป็นที่พึ่งของ สมาชิกในครอบครัวและคนในสังคมและ 6) การบริหารเงิน ตามรายละเอียดดังนี้ แนวคิดหรือปรัชญาในการบริหารชีวติ และสุขภาพเพือ่ เป็นผูส้ งู อายุสขุ ภาพดีอนั ดับหนึง่ คือ การมีสขุ ภาพทีแ่ ข็งแรง สามารถปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำวันได้ดว้ ยตนเอง เช่น “… ตอนนี้ ไม่กลัวไม่มเี งิน แต่กลัวว่าจะช่วยตัวเองไม่ได้ ถึงมีเงินมากๆ แต่เดินไม่ได้ หรือกินไม่ได้ ชีวติ แบบนีร้ วยก็เสีย เปล่า อยูก่ เ็ หมือนตาย…” แนวทางการบริหารชีวิตและสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพที่ แข็ ง แรงสามารถปฏิ บั ติ กิ จ วั ต รประจำวั น ได้ ด้ ว ยตนเอง ประกอบด้วยปัจจัยนำ 6 ประการ ได้แก่ 1. ประสบการณ์เดิม เช่น “…เมือ่ ก่อนกินเหล้ามาก กินทุกวัน…ผอมมาก แต่ ไม่ ป่ ว ยนะ ผอมกว่ า ตอนนี้ อี ก …พออายุ ม ากขึ้ น เป็ น ทุ ก โรค โรคกระดูกพรุนทีว่ า่ ผูช้ ายไม่คอ่ ยเป็นกันก็ยงั เป็น…” 2. ภาวะสุขภาพ กลุม่ ตัวอย่างมีปญ ั หาสุขภาพในการดำ รงชีวดิ เช่น การหลงลืม ปัญหาทีต่ ามมาจากการดูแลสุขภาพ และการรักษา ดังต่อไปนี ้ “…หลงลืมมากขึน้ หาของไม่เจอเป็นประจำ ต้องซือ้ ของ ทีจ่ ำเป็นและมีประโยชน์เท่านัน้ จะได้ ไม่ปวดหัวเรือ่ งการหา ของใช้…” “… พออายุมากขึน้ ใช้เงินน้อยลง เป็นเพราะว่ากิเลสลด ลงหรือเปล่าไม่แน่ใจนะ เสือ้ ผ้าก็ ไม่มีให้ซอื้ ร้านขายแต่เสือ้ ผ้า วัยรุน่ จะซือ้ มาใช้ก็ ไม่ได้ อีกอย่างเรือ่ งกินก็ตอ้ งลด กินมากพอ น้ำตาลขึน้ หมอก็จะ…เดีย๋ วนีก้ ลายเป็นเงินเหลือเยอะ เพราะ ไม่มที ี่ใช้…”

50 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 50

12/8/06 9:58:57 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

“… ถึงจะเบิกค่ารักษาได้ ถ้าไม่ออกกำลังกาย ไม่ดแู ล สุขภาพ เวลาป่วยก็ต้องเสียเงินเป็นค่ารถมาโรงพยาบาล บางครัง้ ป่วยมากๆ จนเดินไม่ได้ตอ้ งจ้างคนพามาโรงพยาบาล ก็ม… ี ” 3. เวลาในการดูแลสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างมีปัจจัยนำ สำคัญทำให้สามารถออกกำลังกายได้ คือมีเวลา เช่น “ …เกษียณแล้วมีเวลาว่าง ทำให้นึกถึงตัวเองและได้ ดูแลสุขภาพตัวเอง…” “ … พอเกษียณก็ถงึ เวลาทีจ่ ะดูแลสุขภาพ ที่ไม่เคยออก กำลังกายก็ตอ้ งมาออก..” 4. อำนาจในการใช้จา่ ยเพือ่ การเลือกปัจจัยส่งเสริมต่างๆ เช่น “… ไปออกกำลังกายหลายที่ หลายทีต่ อ้ งเสียเงินมาก กว่าทีน่ อี่ กี แต่ชอบทีน่ มี่ เี พือ่ น มีอาจารย์คอยแนะนำ ทุกวันนี้ ไปที่ไหนๆ ก็บอกไปทัว่ เดินได้ เทีย่ วได้ ก็เพราะมาออกกำลัง กายทีน่ … ี่ ” 5. ผลิตภัณฑ์และการบริการ ตลาดหรือสังคมมีผล กระทบต่อการบริหารชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอายุ แม้ว่า

ผูส้ งู อายุจะมีความต้องการสินค้า แต่ตลาดไม่ ได้ผลิตหรือจัด สินค้ามาจำหน่ายให้ ผูส้ งู อายุกย็ อ่ มไม่ได้ใช้หรือบริโภคสินค้า ตามทีต่ อ้ งการนัน้ เช่น “…ซือ้ อยูแ่ ต่นอ้ ยลงกว่าเดิม ไม่ใช่เพราะกิเลสลดลง แต่ เป็นเพราะร้านขายมีแต่แบบวัยรุ่นซึ่งเราซื้อได้แต่ ใช้ ไม่ ได้ อย่างรองเท้าสุขภาพถ้าจะซือ้ ให้ใช้ ได้กแ็ พงเกินไป ไม่ใช่คลู่ ะ 99 อย่างทีว่ ยั รุน่ ซือ้ ใส่กนั …” 6. แหล่งสนับสนุน กลุ่มตัวอย่างข้าราชการบำนาญ เป็นกลุม่ ทีม่ ปี จั จัยสนับสนุนด้านการเงินทีม่ นั่ คง เช่น “ … มีเงินไม่ตอ้ งเก็บ ไปเทีย่ ว ไปทำบุญ หาของกินที่ ทำให้สขุ ภาพดี เงินหมด ไม่เป็นไร สิน้ เดือนรัฐบาลก็จา่ ยมา ให้ใช้อกี …” นอกจากนีก้ ลุม่ ตัวอย่างบางคนยังได้รบั การสนับสนุนด้าน การเงินจากคูส่ มรส ลูก และเงินเก็บรวมทัง้ ดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจาก เงินเก็บด้วย เช่น “… ไม่มรี ฐั บาลคอยจ่ายเงินให้ทกุ เดือน สามีกค็ มุ โดย การให้เงินให้ ใช้พอดีๆ บอกว่ากินมากจะมี โรคมาก ช่วย ควบคุมทัง้ เงินทัง้ สุขภาพ…เดือนไหนจะไปเทีย่ วต้องใช้เงินมาก หน่อยก็จะไปถอนเงินของตัวเองออกมาใช้บา้ ง…” แนวทางการบริหารชีวิตและสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพที่

แข็งแรง สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง ประกอบด้วยกระบวนการและผลลัพธ์ 3 ประการ ดังนี ้ 1 การออกกำลังกาย เช่น “…ออกกำลังกายทุกวันไม่เว้นเลย ไม่มาทีน่ กี่ อ็ อกกำลัง กายทีบ่ า้ น… แข็งแรงขึน้ ไม่ปว่ ยเหมือนแต่กอ่ น นอนก็หลับ สนิทขึน้ ด้วย ทีด่ มี ากๆ ก็คอื มีคนคุยด้วย…” “… ตอนทำงานไม่ออกกำลังกาย อ้วนขึน้ ต้องซือ้ เสือ้ ผ้า ใหม่ตลอด ทัง้ ๆ ทีเ่ สือ้ ผ้าเดิมก็ ไม่เก่าเลย เก็บไว้เพราะเสียดาย พอเกษียณด้วยความเสียดายเสือ้ ผ้า จึงหันมาออกกำลังกาย ได้ผล ลดไปแล้ว 8 กิโลกรัม เสือ้ ผ้าเดิมก็ใส่ได้ คล่องตัวกว่า เดิม ไม่เคยสบายตัวเท่านีม้ าก่อน กลับเป็นสาวอีกครัง้ ว่างัน้ เถอะ…เดีย๋ วนีอ้ อกกำลังกายทุกวัน…” “…ตอนทำงานอยู่ ไม่แข็งแรงเท่านี้ ป่วยบ่อย เครียด มากๆ…ไม่อยากป่วยต้องออกกำลัง ออกกำลังกายทุกวัน ทำให้ ไม่ปว่ ยบ่อยเหมือนเมือ่ ก่อน…” 2 การรับประทานอาหารและอาหารเสริม เช่น “…กินอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ กินแคลเซียมเสริมให้กระดูก แข็งแรงทุกวัน ทำให้แข็งแรงไปเทีย่ วได้ มีความสุข…” “…อะไรที่ว่าดีมีประโยชน์จะซื้อมาก่อนแล้วเอามา ปรึกษาอาจารย์ที่ โครงการฯ ว่ากินแล้วมีประโยชน์หรือไม่… กลัวว่าเสียเงินแล้วจะอันตรายด้วย…” 3 การงดดืม่ สุรา เช่น “…เมือ่ ก่อนกินเหล้าก็สนุก ได้คยุ ได้เลีย้ งเพือ่ นส่วนใหญ่ ก็เลีย้ งลูกน้อง…เรียกว่า สุขใจ แต่เวลาเมาแล้วทุกข์กายเรา ตอนเช้ายังไม่พอ ทุกข์ใจเมียกับลูกทีต่ อ้ งคอยดูแลเป็นห่วงเรา เลยเลิกหมดสิง่ ทีท่ ำให้เรากับครอบครัวเป็นทุกข์...” แนวคิดหรือปรัชญาในการบริหารชีวติ และสุขภาพเพือ่ เป็นผู้สูงอายุสุขภาพดีอันดับสอง คือ การได้เป็นที่รักของ สมาชิกในครอบครัวและคนในสังคม เช่น “… เวลาป่วยมีคนดูแลบ้าง เวลาดีๆ มีคนถามถึงบ้าง ไม่อยากให้ใครๆ ลืมว่ามีเราอยูด่ ว้ ยอีกคนหนึง่ …” โดยมีปจั จัย นำเพียงประการเดียวคือประสบการณ์เดิม เช่น “…เพือ่ ลูกเป็นอันดับแรก สร้างฐานะ…ตอนนีล้ กู เรียน จบ หลานก็เรียนดี ทัง้ ลูกทัง้ หลานรักและเคารพเรา…” “ …อยากมีคนอยู่ใกล้ๆ เป็นเพือ่ น ชอบพูด จะสัง่ ลูก หลานก็ ไม่ได้ เมือ่ ยกการค้าให้ลกู ๆ แล้วก็ตอ้ งหยุดสัง่ ด้วย… ทำให้ลกู หลานเข้าใกล้รกั เราต้องพูดน้อย…” “…อยากให้คนในสังคมอยูด่ ว้ ยและช่วยเหลือเราต้องพูด วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 51

51

12/8/06 9:58:58 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

คุยและใช้จา่ ยเงินบ้าง ถ้าขีเ้ หนียวมากก็ ไม่มีใครคบ…จ่ายให้ ง้ ก็ ได้แต่ไม่ใช่ทกุ ๆ ครัง้ … “ บางครั แนวคิดหรือปรัชญาในการบริหารชีวติ และสุขภาพเพือ่ การได้เป็นที่รักของสมาชิกในครอบครัวและคนในสังคม ประกอบด้วยกระบวนการและผลลัพธ์ 2 ประการ ดังต่อไปนี ้ 1 การมีปฏิสมั พันธ์ในสังคม เช่น “…มาโครงการฯ เพราะอยากมีเพือ่ น มีคนคุยด้วยจะ สบายใจไม่เครียด ถ้าเครียดแล้วจะป่วย เสียเงินรักษาตัวมากๆ ไม่คมุ้ …ต้องมีเพือ่ น ใช้เงินกับเพือ่ นๆ ลูกๆ หลานๆ มากๆ ก็ไม่ เสียดาย แต่ใช้รกั ษาตัวทีไรมากน้อยแค่ไหนก็เสียดายทุกที…” “… มีเงินต้องใช้ให้มคี วามสุขให้มเี พือ่ น พอเราจ่ายเงิน ให้ คนทีเ่ ราเลีย้ งจะคอยดูแลช่วยเหลือเรา เราจ่ายเงินค่ากิน ด้วยกันทัง้ โต๊ะ รวมๆ ไม่เกินพันบาท คนอืน่ ๆ เค้าดีใจ ช่วย เหลือเรา เราก็มคี วามสุขมีเพือ่ น…” 2 ปฏิบตั ติ นให้เป็นทีร่ กั ตลอดจนเป็นทีพ่ งึ่ ของสมาชิกใน ครอบครัว เช่น “… เพราะเป็นคนโสด ต้องเอาเงินมาแจกหลานๆ ในรูป สิง่ ของทีข่ าดอยู่ ก็คอมพิวเตอร์ทเี่ ราใช้รอ้ งเพลง นึกอยากได้ ซือ้ มาเลย แล้วแบ่งให้หลานๆ ใช้พมิ พ์งานบ้าง ต่ออินเตอร์ เน็ตบ้าง ได้ใช้กนั ทัง้ บ้าน แล้วยังออกค่าใช้จา่ ยในบ้านสารพัด ยกเว้นค่ากับข้าว มีเหลืออีกนะทุกเดือนเลย เหลือก็ทำบุญจน หมด ไม่เก็บ พอสิน้ เดือนรัฐบาลก็ให้อกี สบายดี มีก็ใช้ ไปไม่ อยากมีมรดกให้ลกู หลานแย่งกันเมือ่ เราตายไป…” แนวคิดหรือปรัชญาในการบริหารชีวติ และสุขภาพเพือ่ เป็นผูส้ งู อายุสขุ ภาพดีอนั ดับสาม คือ การมีทรัพย์สนิ เพียงพอ ในการใช้จา่ ยทัง้ ในยามทีส่ ขุ ภาพดีและเจ็บป่วย การไม่มหี นีส้ นิ และ ไม่มมี รดก เช่น “… ร่างกายคนเราเสือ่ มไปสึกไปทุกวัน ร่างกายที่ใช้มาจน แก่นี้ ดูจะมีประโยชน์ มีคา่ บ้างก็ตรงทีม่ เี งินเก็บไว้ให้ลกู หลาน ให้ตวั เราเองได้ใช้ยามเจ็บป่วย ไม่ตอ้ งให้ลกู หลานเดือดร้อนมา จ่ายเงินให้เรา ทีร่ า้ ยและกลัวทีส่ ดุ คือ เราก็ไม่มลี กู หลานก็ไม่มี พอเราเจ็บลูกหลานก็ต้องไปกู้หนี้ยืมสินมารักษาเรา พากัน หมดตัวไปหมดทัง้ แก่ไม่แก่…ชีวติ ดีตอ้ งมีเงินเก็บ…” “… มีเงินไว้ ใช้ ใช้แล้วมีความสุขเพราะไม่ ไปเปรียบ เทียบกับเศรษฐี… ใช้หมดก็สบาย ใช้ ไม่หมดก็เหลือเก็บ มีขอ้ ห้ามอย่างเดียวคือ ไม่ใช้เกินทีม่ … ี ” “… ไม่ยอมเป็นหนี้ เป็นหนี้จะทำให้หมดความสุข…” และ “… มีมรดกไม่ดี พอเราตายลูกหลานจะทะเลาะกัน

เพราะมาแย่งมรดกกัน มีเงินต้องใช้ให้หมด ถ้าจะเหลือก็ให้เห ลือน้อยๆ คนอยูข่ า้ งหลังจะได้ ไม่เดือดร้อนจากเงินของเรา…” แนวทางการบริหารชีวติ และสุขภาพเพือ่ การมีทรัพย์สนิ เพียงพอในการใช้จา่ ยทัง้ ในยามทีส่ ขุ ภาพดีและเจ็บป่วย การ ไม่มหี นีส้ นิ และ ไม่มมี รดก ประกอบด้วยปัจจัยนำ 4 ประการ ได้แก่ 1 ประสบการณ์เดิม เช่น “… ตอนเป็นหนุม่ ทำงานกับฝรัง่ เงินเดือนมาก ทัง้ เทีย่ ว ทัง้ กิน การพนันก็เอา ผ่านมาหมดแล้วเรือ่ งใช้เงินมากๆ หมด ไม่มเี หลือ…เดีย๋ วนีม้ ปี ระสบการณ์สอนลูกสอนหลานได้ ไม่คดิ อยากกลับไปใช้เงินมากๆ แบบไม่มคี า่ เหมือนสมัยก่อนแล้ว…” 2 อำนาจในการใช้จา่ ย เช่น “… เงินทองน้อยกว่าเมื่อตอนทำงานอยู่ แต่ ไม่รู้สึก ลำบากอะไร เพราะเราอยู่ในบ้านทีเ่ ราสร้างมาเอง คอยถนอม สิง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว ไม่แสวงหาสิง่ ใหม่ๆ อีก…” “… พอต้องเกษียณเงินทองที่ ได้กน็ อ้ ยกว่าตอนทำงาน อยู… ่ ยังดีทมี่ เี งินเก็บในธนาคารบ้าง ถึงดอกเบีย้ จะไม่มากนัก ก็มพี อใช้ พอทำบุญบ้าง…” 3 ผลิตภัณฑ์และการบริการ เช่น “…เสือ้ ผ้าก็ ไม่มีให้ซอื้ ร้านขายแต่เสือ้ ผ้าวัยรุน่ จะซือ้ มา ใช้ก็ ไม่ได้ …” “…เสือ้ ผ้าใหม่กย็ งั ซือ้ อยูแ่ ต่นอ้ ยลงกว่าเดิม ไม่ใช่เพราะ กิเลสลดลง แต่เป็นเพราะร้านขายมีแต่แบบเสือ้ วัยรุน่ ซึง่ เราซือ้ ได้แต่ใส่ไม่ได้…” 4 แหล่งสนับสนุน เช่น “ … มีเงินไม่ต้องเก็บ…เงินหมดไม่เป็นไร สิ้นเดือน รัฐบาลก็จา่ ยมาให้ใช้อกี …” “… มีเงินจะใช้ให้หมดหรือให้เหลือไม่สำคัญเท่า ต้องมี เงินติดอยู่ในกระเป๋าจนกว่าลูกๆ จะเอามาให้อกี มีเงินแล้วอุน่ ใจ ไปไหนมาไหนแล้วอุน่ ใจดี…” แนวทางการบริหารชีวติ และสุขภาพเพือ่ การมีทรัพย์สนิ เพียงพอในการใช้จา่ ยทัง้ ในยามทีส่ ขุ ภาพดีและเจ็บป่วย การ ไม่มีหนี้สิน และไม่มีมรดก ประกอบด้วยกระบวนการและ ผลลัพธ์เพียงประการเดียว คือ การบริหารเงิน เช่น “…ตั้งแต่เป็นหนุ่มรับราชการมาตลอด เงินเดือนน้อย น้อยทีส่ ดุ ในบ้านก็วา่ ได้ ทัง้ พีแ่ ละน้องๆ หาเงินได้มากกว่า ไม่ เคยขอใคร ไม่มองคนทีม่ มี ากกว่า ไม่เคยเป็นหนี้ เลยไม่เคย ทุกข์…”

52 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 52

12/8/06 9:58:59 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

“… เป็นเองไม่ ได้ตงั้ ใจหรือต้องพยายามทีจ่ ะลดละเลิก ซือ้ ของ… เดิมซือ้ ของเพราะคิดว่าสวยอยากได้ แต่เดีย๋ วนีค้ ดิ ว่าซือ้ มาแล้วรกบ้าน ลำบากดูแล ชอบจัดบ้านให้เป็นระเบียบ ไม่รก จึงซือ้ ของเข้าบ้านลดลง มีเงินใช้ตลอด ไม่มเี หลือ แต่ก็ ไม่เคยขาด…” “… ซื้อของกินเพราะหิว ไม่ ใช่ซื้อมากินเพราะอยาก บางมือ้ อยากมากๆ ก็กนิ แต่ตอ้ งไม่อยากกินอยากซือ้ ไปซะทุก มือ้ เป็นบางมือ้ ก็พอ คิดแค่นแี้ ละทำแค่นเี้ งินทองก็จะเหลือ เห ลือนานๆ จนอายุเท่านี… ้ ก็มากขึน้ เองจนมีบา้ นให้เค้าเช่า มี เงินให้เค้ากู้ ได้… “ “… การใช้เงินซื้อของต้องเข้าหลัก 2 ข้อ ข้อหนึ่งใช้ เพราะไม่ใช้ ซือ้ ไปก็เอาไปเก็บ ทำให้รกบ้าน ข้อสองชอบ ชอบ แล้วถึงซือ้ เพราะไม่ชอบแล้วซือ้ มา พอเจอะของชอบก็ซอื้ ใหม่ อีก ก็รกบ้านอยูด่ ี ถ้าได้ครบทัง้ สองข้อ ซือ้ เลยไม่ผดิ หวัง แค่นี้ ไม่ตอ้ งประหยัดจนเกินไปก็มเี งินใช้ทกุ วัน…” การอภิปรายผล เป้าหมายหรือความคาดหวังในการบริหารชีวิตและ สุขภาพทีก่ ลุม่ ตัวอย่างกล่าวถึง ได้แก่ การใช้เงินเพือ่ ให้สนอง ความต้องการของตนเองและการอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ สอดคล้องกับ แนวคิดการบริหารเชิงพฤติกรรม (Behavioral approaches to management) ที่มีสมมติฐานหลักว่า มนุษย์มีความ ต้องการเชิงสังคม แสวงหาสัมพันธภาพจากบุคคลรอบข้าง และไขว่คว้าความสำเร็จและความพึงพอใจส่วนตัว (วิทยา ด่านธำรงกุล, 2546) โดยเฉพาะในกลุม่ ผูส้ งู อายุที่ใช้ชวี ติ มา นานกว่า 60 ปีแล้ว จึงมักจะคุน้ เคยกับสังคมวัฒนธรรมเดิม แต่เมือ่ เข้าสูย่ คุ โลกาภิวฒ ั น์ ทำให้ความเป็นอยูข่ องผูส้ งู อายุ และสมาชิกในครอบครัวเปลีย่ นแปลงไป การแข่งขันทางธุรกิจ อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ลูกหลานของผู้สูงอายุทุ่มเทกับ อาชีพมากจนอาจมีผลให้การดูแลโดยเฉพาะการพูดคุยกับผูส้ งู อายุลดลง ทำให้กลุม่ ตัวอย่างกล่าว่า “… ไม่อยากให้ใครๆ ลืม ว่ามีเราอยูด่ ว้ ยอีกคนหนึง่ …” หรืออาจเป็นคำกล่าวทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจากกลุม่ ตัวอย่างได้รบั การดูแลและพูดคุยจากสมาชิกใน ครอบครัวมากพอควรแล้ว แต่กลุม่ ตัวอย่างมีภาระด้านอาชีพ ลดลง มี เ วลาว่ า งมากขึ้ น ในขณะที่ ส มาชิ ก คนอื่ น ๆ ใน ครอบครัวมีภารกิจทัง้ ด้านอาชีพและด้านการเรียนทีม่ กี ำหนด กฎเกณฑ์บังคับอยู่ ถึงแม้จะพอใจมากหากได้พูดคุยเพิ่ม ประสบการณ์ชีวิตจากกลุ่มตัวอย่าง แต่ก็ ไม่สามารถทำได้ ทำให้กลุม่ ตัวอย่างสนองความต้องการเชิงสังคม โดยมาร่วม

เป็นสมาชิกของโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งเป็น สถานที่รวมกลุ่มของผู้สูงอายุจากหลายๆ ครอบครัวที่มักมี วัฒนธรรมและความเป็นอยูต่ า่ งกัน แต่มคี วามเหมือนกันคือ ทุกคนผ่านประสบการณ์ชวี ติ มายาวนาน มีเวลาว่างทีต่ รงกัน เมือ่ ได้พดู คุยแลกเปลีย่ นประสบการณ์และความคิดเห็นต่อกัน สั ม พั น ธภาพอั น ดี กั บ คนรอบข้ า งที่ เ กิ ด ขึ้ น อาจมี ผ ลให้ ความเครียดของกลุม่ ตัวอย่างลดลงได้ อย่างไรก็ตามการพบว่ากลุม่ ตัวอย่างใช้จา่ ยเงินซือ้ สินค้า ทีม่ กี ารประชาสัมพันธ์วา่ มีประโยชน์กบั ผูส้ งู อายุ เนือ่ งจากหวัง ว่าการบริโภคสินค้านัน้ จะเป็นประโยชน์ เช่น ทำให้สขุ ภาพ แข็งแรงสามารถปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำวันเองได้ ลดการพึง่ พา ผู้อื่น ฯลฯ สอดคล้องกับเหตุจูงใจในการซื้อผลิตภัณฑ์และ บริการด้านอารมณ์ คือ ความกลัว และด้านเหตุผล คือ เชือ่ ถือในคุณภาพ (พิษณุ จงสถิตย์วฒ ั นา, 2544) เป็นข้อมูลทีผ่ รู้ บั ผิดชอบทัง้ ภาครัฐบาลและเอกชนพึงตระหนักถึงการควบคุม และการตรวจสอบให้สินค้าที่วางจำหน่ายในท้องตลาดมี คุณภาพตรงตามสรรพคุณที่ โฆษณา และการให้ขอ้ มูลความรู้ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องในการสร้างเสริมสุขภาพ ตลอดจนความ จำเป็นในการบริโภคอาหารเสริมให้เหมาะสม เพื่อป้องกัน อันตรายให้กบั ผูส้ งู อายุตอ่ ไป การบริหารเงินเพือ่ ชีวติ ของกลุม่ ตัวอย่าง สอดคล้องกับ คำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทีต่ รัสสอนว่า “การ กูห้ นีเ้ ขานีเ้ ป็นทุกข์ในโลก” สอดคล้องกับข้อมูลการสำรวจของ ธนาคารแห่งประเทศไทยทีพ่ บว่าบุคคลทัว่ ไปมีวตั ถุประสงค์ใน การออมเงิน เพือ่ เก็บไว้ใช้ในยามชรา ถึงร้อยละ 42.5 (นวพร เรืองสกุล, 2546) แต่ก็ ไม่ตระหนี่จนไม่น่าคบในหมู่เพื่อน (พัสมณฑ์ คุม้ ทวีพร, 2547) ซึง่ นับว่าเป็นการบริหารจัดการที่ ควรส่งเสริมให้กับเยาวชนของชาติต่อไป แต่พบว่ากลุ่ม ตัวอย่างบางคนไม่เห็นด้วยกับการมีมรดก โดยให้เหตุผลว่าอาจ สร้างความแตกแยกในหมูล่ กู หลาน ทัง้ นีอ้ าจเนือ่ งมาจากกลุม่ ตัวอย่างกลุ่มนี้มีบำนาญ ทำให้สามารถอาศัยสวัสดิการดัง กล่าวในขณะเจ็บป่วยได้ จึงไม่มคี วามจำเป็นในการบริหารเงิน ให้มเี หลือเก็บ กลุ่มตัวอย่างรับรู้ถึงปัจจัยนำของการบริหารชีวิตและ สุขภาพ คือ 1) มีเวลาว่างมากขึน้ มีอสิ ระในการทำกิจกรรม ต่างๆ เช่น การออกกำลังกาย ทำให้นำ้ หนักลดลง จึงสามารถ นำเสือ้ ผ้าเดิมที่ใส่ ไม่ ได้กลับมาใส่อกี ครัง้ หนึง่ ทำให้รายจ่าย ลดลง ซึง่ แน่นอนว่ากลุม่ ตัวอย่างกลุม่ นีย้ อ่ มได้รบั ประโยชน์ วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 53

53

12/8/06 9:59:00 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

จากการออกกำลังกายทีเ่ หมาะสมและสม่ำเสมออย่างเป็นรูป ได้แก่ มีความคล่องตัวขึน้ ชะลอความเสือ่ มของกระดูก ธรรม ข้อต่อและกล้ามเนือ้ ตลอดจนส่งเสริมสมรรถภาพการทำงาน ของหัวใจและปอด และประหยัด ฯลฯ 2) มีหลักฐานมัน่ คง กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่มฐี านะความเป็นอยูด่ พี อควร มีเงินเก็บ ในธนาคาร แม้จะมีรายได้ลดลงแต่กม็ แี หล่งสนับสนุนทีม่ นั่ คง เช่น ได้รบั เงินบำนาญ ได้รบั เงินจากคูส่ มรสและ/หรือลูกเป็น ประจำ ฯลฯ และมีบา้ นเป็นของตนเอง เป็นต้น 3) มีรายได้ลด ลงเนือ่ งจากการเกษียณการทำงานสอดคล้องกับรายจ่ายทีล่ ด ลงด้วย เนือ่ งจากสินค้าสำหรับผูส้ งู อายุทวี่ างจำหน่ายในท้อง ตลาดยังมีไม่เพียงพอ ทัง้ นีอ้ าจเนือ่ งจากการผลิตสินค้าและ บริการสำหรับผูส้ งู อายุนบั เป็นการผลิตและการบริการเฉพาะ ทางจึงต้องอาศัยการลงทุนมากกว่าการผลิตและการบริการ ทัว่ ไป (วัฒนา กิจไกรลาศ, 2539) จึงทำให้จำนวนผูผ้ ลิตสินค้า และบริการสำหรับผู้สูงอายุในท้องตลาดมี ไม่มากเท่าสินค้า และบริการทัว่ ๆ ไป หรืออาจเกิดจากกลไกการตลาด กล่าวคือ มีผผู้ ลิตสินค้าสำหรับผูส้ งู อายุนอ้ ยราย ทำให้เกิดการผูกขาด การขาย ไม่มกี ารแข่งขันของบริษทั คูแ่ ข่ง เช่น การลดราคา สินค้า การเพิม่ คุณภาพสินค้า การบริการหลังการขาย ฯลฯ จึงมีผลให้สนิ ค้าสำหรับผูส้ งู อายุมคี ณ ุ ภาพไม่เหมาะสมกับราคา สินค้าคุณภาพต่ำแต่ราคาแพง เป็นต้น นอกจากปัจจัยนำซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยในการ บริหารชีวติ และสุขภาพของผูส้ งู อายุ กระบวนการดำเนินชีวติ ที่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ในทางบวกหรือเป็นประโยชน์ก็มีความ สำคัญมากที่จะช่วยในการยืนยันหรือเน้นให้เกิดพฤติกรรม สุขภาพทีถ่ าวร เช่น การทีก่ ลุม่ ตัวอย่างมีความสุข มีความพึง พอใจ หรือประทับใจในบริการของโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ สูงอายุ และการมีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้สูงอายุที่เป็น สมาชิกของโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ทำให้กลุ่ม ตัวอย่างมีความสบายใจ ไม่มคี วามเครียด ซึง่ กลุม่ ตัวอย่างเชือ่ ว่าเป็นผลให้ความเจ็บป่วยของตนเองลดลง และยังมีผลลดค่า ใช้จ่ายในการรักษาโรคต่างๆ ของตนเองด้วย นอกจากนี้ โครงการส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุยงั เป็นแหล่งสนับสนุนความ รูท้ จี่ ำเป็นให้ทนั กับยุคปัจจุบนั และความรูเ้ กีย่ วกับสุขภาพจาก บุคลากรที่มีทั้งความรู้และประสบการณ์ โดยเฉพาะด้าน ผูส้ งู อายุ ทำให้ผสู้ งู อายุทเี่ ป็นสมาชิกของโครงการส่งเสริมสุข ภาพผูส้ งู อายุได้มคี วามรูท้ ถี่ กู ต้องทันสมัย ตลอดจนสามารถ ปรึกษาปัญหาสุขภาพทีเ่ กิดขึน้ ได้ตงั้ แต่เริม่ มีความผิดปกติเพียง

เล็กน้อย โรคทีเ่ กิดขึน้ จึงไม่รนุ แรง ระยะเวลาในการเจ็บป่วย และการรักษาจึงลดลง ภาพรวมดังกล่าวนี้แสดงว่า กลุ่ม ตัวอย่างพอใจในกระบวนการที่ ได้มาเป็นสมาชิกของโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ มีผลลัพธ์ที่พอใจคือสุขภาพดี จึง มัน่ ใจในกระบวนการ และตัดสินใจมาร่วมกิจกรรมต่างๆ ของ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ทำให้กลุ่ม ตัวอย่างเป็นผูส้ งู อายุทมี่ สี ขุ ภาพดีตอ่ ไป ข้อเสนอแนะ การศึกษานีพ้ บว่าผูส้ งู อายุสขุ ภาพดีซงึ่ เป็นผลของความ เป็นองค์รวมของชีวติ และสิง่ แวดล้อมมายาวนานเท่ากับอายุ ของผูส้ งู อายุแต่ละคนๆ นัน้ มีปรัชญาในการบริหารชีวติ และ สุขภาพเพือ่ ผลเพียง 3 ประการ คือ 1) การมีสขุ ภาพทีแ่ ข็ง แรง สามารถปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำวันได้ดว้ ยตนเอง 2) การได้ เป็นทีร่ กั ของสมาชิกในครอบครัวและคนในสังคม 3) การมี ทรัพย์สินเพียงพอในการใช้จ่ายทั้งในยามที่สุขภาพดีและ เจ็บป่วย การไม่มหี นีส้ นิ และไม่มมี รดก ทำให้คณะผูว้ จิ ยั ได้ แนวคิดใน 4 ประเด็นคือ 1 การบริหารการพยาบาล 1.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมทั้ง คุณภาพและราคา ผูบ้ ริหารการพยาบาลควรให้ขอ้ มูลกับหน่วย งานทีท่ ำหน้าที่ในการผลิตและการจัดการตลาดสินค้าผูส้ งู อายุ ให้เหมาะสมทัง้ คุณภาพและราคา 1.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความพึงพอใจในบริการ ผูบ้ ริหารการพยาบาลควรวางนโยบายในการจัดสถานบริการ และโครงการส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุให้เหมาะสมและทัว่ ถึง โดยเน้นคุณสมบัติของผู้ ให้บริการที่สามารถสร้างความพึง พอใจให้ผสู้ งู อายุมารับบริการอย่างต่อเนือ่ งได้ 2 การปฏิบตั กิ ารพยาบาล 2.1 เพื่อสร้างความพึงพอใจให้ผู้สูงอายุที่มารับ บริการ พยาบาลทุกคนควรให้บริการอย่างมีคณ ุ ภาพ 2.2 เพื่อสร้างความรู้ที่ถูกต้องและครบถ้วนให้กับ ผู้สูงอายุ นอกจากการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและ ป้องกันโรคตามทีเ่ คยปฏิบตั อิ ยู่ ควรเพิม่ เติมการให้ความรูเ้ รือ่ ง อาหารเสริมทีเ่ หมาะสมและจำเป็นสำหรับผูส้ งู อายุ และด้าน กฎหมาย เช่น การทำพินยั กรรม การจัดการมรดก เป็นต้น 3 การวิจยั ทางการพยาบาล 3.1 การวิจยั ทีค่ วรทำต่อไปคือ การวิจยั เกีย่ วกับการ บริหารชีวติ และสุขภาพของผูส้ งู อายุไทยทีม่ สี ขุ ภาพดีซงึ่ ไม่ ได้

54 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 54

12/8/06 9:59:01 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

เป็นสมาชิกของโครงการส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุ และควรทำ วิจยั ต่อเนือ่ งให้ทวั่ ทัง้ ประเทศไทย เพือ่ เป็นข้อมูลของผูส้ งู อายุ ไทยทีถ่ กู ต้องเป็นจริง 3.2 การเก็บข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่างผูส้ งู อายุควรจัด ให้กลุม่ ตัวอย่างได้รบั ความสะดวกและได้ขอ้ มูลครบถ้วน โดย หลีกเลี่ยงการเก็บข้อมูลในช่วงเวลาประมาณ 11 ถึง 12 นาฬิกา เนือ่ งจากเป็นเวลารับประทานอาหารของผูส้ งู อายุสว่ น ใหญ่ทมี่ กั ตืน่ นอนแต่เช้าจึงรับประทานอาหารเช้าเร็วกว่าคนวัย หนุม่ สาว ทำให้ตอ้ งการรับประทานอาหารกลางวันก่อนเวลา 12 นาฬิกา

4 การศึกษาทางการพยาบาล จากการวิจัยทำให้ ได้ความรู้ที่สามารถนำใช้ ในการ สอนนักศึกษาพยาบาลได้ คือ ผู้สูงอายุไทยที่สุขภาพดีมี แนวคิ ด หรื อ ปรั ช ญาในการบริ ห ารชี วิ ต และสุ ข ภาพ 3 ประการ คือ 1) การมีสุขภาพที่แข็งแรง สามารถปฏิบัติ กิ จ วั ต รประจำวั น ได้ ด้ ว ยตนเอง 2) การได้ เ ป็ น ที่ รั ก ของ สมาชิกในครอบครัวและคนในสังคม 3) การมีทรัพย์สิน เพียงพอในการใช้จ่ายทั้งในยามที่สุขภาพดีและเจ็บป่วย การไม่มีหนี้สิน และไม่มีมรดกโดยมีปัจจัยนำ กระบวนการ และผลลัพธ์ตามกรอบแนวคิดดังนี้ กระบวนการและผลลัพธ์ 1 ออกกำลังกาย 2 อาหารและอาหารเสริม 3 งดดื่มสุรา

ปัจจัยนำ 1 ประสบการณ์เดิม เช่น การไม่ดูแลสุขภาพ การดื่มสุรา ฯลฯ 2 ภาวะสุขภาพ เช่น เบาหวาน ป่วนจนเดินไม่ ได้ ฯลฯ 3 เวลาในการดูแลสุขภาพ 4 อำนาจในการใช้จ่าย 5 ผลิตภัณฑ์และการบริการ 6 แหล่งสนับสนุน

รูปที่ 1 ปรัชญาการบริหารชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอายุสุขภาพดี ให้มีสุขภาพที่แข็งแรง ปัจจัยนำ 1 ประสบการณ์เดิม เช่น การไม่ดูแลสุขภาพ การดื่มสุรา ฯลฯ

กระบวนการและผลลัพธ์ 1 มีปฏิสัมพันธ์ในสังคม 2 ปฏิบัติตนให้เป็นที่รักและที่พึ่งของครอบครัว

รูปที่ 2 ปรัชญาการบริหารชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอายุสุขภาพดี ให้ ได้เป็นที่รักของสมาชิกในครอบครัว ปัจจัยนำ 1 ประสบการณ์เดิม เช่น การใช้เงินมากๆ การเล่น การพนัน ฯลฯ 2 อำนาจในการใช้จ่าย 3 ผลิตภัณฑ์และการบริการ 4 แหล่งสนับสนุน

กระบวนการและผลลัพธ์ บริหารเงินเป็น

รูปที่ 3 ปรัชญาการบริหารชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอาย สุขภาพดี ให้มีทรัพย์สินเพียงพอในการใช้จ่าย ไม่มีหนี้สิน และไม่มีมรดก วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 55

55

12/8/06 9:59:02 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

คณะผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวทางวิจัย grounded theory เพื่อศึกษาปรัชญาการบริหาร ชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอายุไทยมี รวมทั้งปัจจัยนำ กระบวนการและผลลัพธ์ จนสามารถสรุปงานทั้งหมด เป็นร้อยกรองดังนี้ ปรัชญาชีวิตยามถดถอย เพียงหวังคอยความสุขกับลูกหลาน มีเงินทองพอใช้สอยทุกวันวาน แสนเบิกบานร่างกายมีกำลัง ประสบการณ์ เวลา แหล่งช่วยเหลือ สินค้าเอื้อ เงินมี ใช้ตามใจหวัง ที่เด่นเด่น สุขภาพดีมีพลัง ประดุจดังปัจจัยนำที่สำคัญ กระบวนการและผลลัพธ์ยากวิเคราะห์ แยกเหมาะเหมาะให้ ได้ความที่สร้างสรรค์ ท่านว่าต้องรวมกันเพราะสัมพันธ์ ผลลัพธ์นั้นย้อนกลับปรับกระบวน ออกกำลังร่างกายเป็นประจำ อาหารซ้ำเสริมสร้างศรีฉวีนวล งดการดื่มสุราต้องทบทวน สังคมชวนควรมีปฏิสัมพันธ์ ทำตัวเป็นที่พึ่งและที่รัก ให้พร้อมพรรค์ครอบครัวเกษมสันต์ สุดท้ายนั้นหนีไม่พ้นเรื่องสำคัญ มีเงินปันช่วยให้ ได้อยู่สุขเอย ฯ เอกสารอ้างอิง

กระทรวงสาธารณสุข. (2529). คนไทยยายุยนื . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. นวพร เรืองสกุล. (2546). ออมก่อนรวยกว่า ฉบับพิเศษสำหรับตลาดหลักทรัพย์. พิมพิค์ รัง้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บุญศิรกิ ารพิมพ์จำกัด. บรรลุ ศิรพิ านิช, ธงชัย ทวิชาชาติ, วันดี โภคะกุล, นันทิกา ทวิชาชาติ, ศุภชัย ฤกษ์งาม, และปริญญา โตมานะ( 2531) พฤติกรรมและการดำเนินชีวติ ของผูส้ งู อายุไทยทีอ่ ายุยนื ยาวและแข็งแรง. กรุงเทพมหานคร: สามดีการพิมพ์จำกัด. พัสมณฑ์ คุม้ ทวีพร. (2547) เงินเก็บทีพ่ อใช้ในยามชรา. วารสารพยาบาล, 53(3), 179-81. พิษณุ จงสถิตย์วฒ ั นา (2544) การบริหารการตลาด:การวิเคราะห์กลยุทธ์และการตัดสินใจ. พิมพิค์ รัง้ ที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิทยา ด่านธำรงกุล (2546) การบริหาร. กรุงเทพมหานคร: เธิรด์ เวฟ เอ็ดดูเคชัน จำกัด. วัฒนา กิจไกรลาศ (2539) ความจำเป็นทางเศรษฐกิจและข้อจำกัดทางสุขภาพต่อการทำงานของผูส้ งู อายุ. กรุงเทพมหานคร: แพคอินเตอร์กรุปจำกัด. สิรนิ ทร ฉันศิรกิ าญจน, ประคอง อินทรสมบัต,ิ และ สุทธิชยั จิตะพันธ์กลุ . (2545). สุขภาพกับผูส้ งู อายุ. ในสุทธิชยั จิตะพันธ์กลุ , นภาพร ชโยวรรณ, ศศิพฒ ั น์ ยอดเพชร, สิรนิ ทร ฉันศิรกิ าญจน, ประคอง อินทรสมบัต,ิ มัทนา พนานิรามัย, นงนุช สุนทรชวกานต์, ศิรวิ รรณ ศิรบิ ญ ุ , มาลินี วงษ์สทิ ธิ์ และเล็ก สมบัต.ิ ผูส้ งู อายุในประเทศไทย: รายงานการทบทวนองค์ความรูแ้ ละสถานการณ์ในปัจจุบนั ตลอดจนข้อเสนอแนะ ทางนโยบายและการวิจยั . กรุงเทพมหานคร: คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุทธิชยั จิตะพันธ์กลุ . (2547) สถานการณ์ดา้ นผูส้ งู อายุของสังคมไทยและทิศทางการดำเนินการ. เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิง ปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง การติดตามผลและการดำเนินงานตามแผน ผูส้ งู อายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2546). ระหว่างวันที่ 7-8 กรกฎาคม 2547 ณ โรงแรม รามา การ์เด็นส์, กรุงเทพมหานคร. Jitapankul,S. & Bunnag,S. (1998). Aging in Thailand 1997. Bangkok: Thai Society of Gerontology and Geriatric Medicine. Oakes, D.L. (1978). A critiques of general system theory in A. M. Putt, General system theory applied to nursing, pp169-172. Boston: Little Brown and Company. Roy, C. & Andrews, H.A. (1991). The Roy adaptation model: The definitive statement. Norwalk, Connecticut: Appleton & Lange. Von Bertalanffy, L. (1968). General system theory. New York: Braziller, Inc

56 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 56

12/8/06 9:59:04 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

การประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก The Evaluation of Nursing Specialty Program in Nursing Administration, Class 4, The Royal Thai Army Nursing College วาสนา นัยพัฒน์*

บทคัดย่อ บทนำ หลักสูตรเป็นหัวใจสำคัญของการจัดการศึกษา หลักสูตรจึงต้องมีการปรับเปลีย่ นอย่างเหมาะสมให้สอดคล้อง กับสภาพการเปลีย่ นแปลงของสังคม การประเมินหลักสูตรจึงมีความจำเป็น เพือ่ การพัฒนาให้มคี วามเหมาะสมมากยิง่ ขึน้ ต่อไป วัตถุประสงค์ เพือ่ สำรวจความพร้อม ความคาดหวัง และความคิดเห็นของผูเ้ รียนในระยะเริม่ ต้นของการเข้ารับการ ศึกษา เพือ่ ประเมินบริบทโครงสร้างของหลักสูตร ปัจจัยนำเข้า กระบวนการจัดเรียนการสอนโดยรวม และการจัดการ เรียนการสอนในวิชาปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาล และคุณลักษณะของผูเ้ รียนด้านการมีความรูแ้ ละความตระหนักทางด้าน การบริหารการพยาบาลทีเ่ พิม่ ขึน้ จำแนกตามรายวิชาและรายหัวข้อเมือ่ สำเร็จการศึกษา ตลอดจนวิเคราะห์ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของผูเ้ รียนเพือ่ นำไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรต่อไป รูปแบบการวิจยั การวิจยั เชิงประเมิน (evaluation research) วัสดุและวิธีดำเนินการ ผู้เข้ารับการศึกษาในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการบริหารการพยาบาล รุน่ ที่ 4 จำนวน 40 คน พยาบาลนิเทศ จำนวน 40 คน และคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตร เป็นประชากรในการ ศึกษา เก็บข้อมูลโดยใช้การสังเกตอย่างมีสว่ นร่วม การสนทนากลุม่ และการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ และใช้ แบบสอบถามแบบปลายเปิดวัดความคิดเห็นของผูเ้ รียนในระยะเริม่ ต้นการศึกษา แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า ได้แก่ 1. แบบสอบถามประเมินหลักสูตร 2. แบบสอบถามประเมินการจัดการเรียนการสอนวิชาปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาล และ 3. แบบสอบถามประเมินการศึกษาดูงาน ทีว่ จิ ยั สร้างขึน้ มีคา่ ความเทีย่ งเท่ากับ .92, 94 และ .90 ตามลำดับ วิเคราะห์คา่ สถิติ แสดงด้วยค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์เนือ้ หา สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ *พันโทหญิง ดร. รองหัวหน้าภาควิชาความรู้พื้นฐาน กองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 57

57

12/8/06 9:59:04 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ผลการวิจยั ผูเ้ รียนมีแรงจูงใจในการมาเรียนในหลักสูตรนี้ เพือ่ พัฒนาตนเอง ประยุกต์ใช้ ในการทำงาน และ ต้องการความก้าวหน้า หลักสูตรน่าสนใจ อายุมากแล้ว ตามอาวุโส และหน่วยงานส่งเรียน ความคาดหวังต่อหลักสูตร คือต้องการเป็นทีย่ อมรับของสหสาขาวิชาชีพและผู้ใต้บงั คับบัญชา และมีความสุขในการทำงาน มีทกั ษะในการบริหาร จัดการทีด่ ี เพือ่ ความก้าวหน้าของตนเอง พัฒนาหน่วยงานและวิชาชีพ และสร้างเครือข่ายแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั ผูเ้ รียน ผูเ้ รียนส่วนใหญ่มคี วามพร้อม 100% โดยมีการเตรียมพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ และครอบครัว เตรียมความรูด้ า้ น การบริหารและคอมพิวเตอร์ และสอบถามจากผู้ที่เคยเรียนในหลักสูตรนี้ และเตรียมสะสางงานในหน้าที ่ ผู้เรียน ประเมินบริบทโครงสร้างหลักสูตร ปัจจัยนำเข้า กระบวนการเรียนการสอน ผลผลิตของหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับสูง (4.32) โดยด้านผูส้ อน (4.63) และด้านผูเ้ รียน (4.38) มีความเหมาะสมสูงสุดตามลำดับ ผูเ้ รียนมีความรูแ้ ละ ความตระหนักทางการบริหารเพิม่ มากขึน้ ในภาพรวมในระดับสูง (4.40) ผูเ้ รียนและพยาบาล ณ โรงพยาบาลแหล่งฝึก ประเมินการจัดการเรียนการสอนวิชาปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาลอยู่ในระดับสูง (4.13 และ 3.72 ตามลำดับ) จุดเด่นของ หลักสูตรนี้ คือ อาจารย์มคี วามรูค้ วามสามารถ การเรียนแบบผู้ใหญ่ การศึกษาดูงาน และการพัฒนาบุคลิกภาพ เป็นต้น ผูเ้ รียนแนะนำหลักสูตรนีว้ า่ เป็นหลักสูตรทีด่ ี การเรียนการสอนมีคณ ุ ภาพ บทวิจารณ์และสรุป ผลการประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล รุน่ ที่ 4 มี ความเหมาะสมอยู่ในระดับสูง และโดยเกือบทุกรายการประเมินสูงกว่าคะแนนประเมินในหลักสูตรฯ รุน่ ที่ 3 แสดงว่า การพัฒนาหลักสูตรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นอย่างดี ผูเ้ รียนได้ ให้ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับการจัดเวลาในวิชา ปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาล และรูปแบบการสอบและมอบหมายงาน เป็นต้น คำสำคัญ การประเมินหลักสูตร หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง การบริหารการพยาบาล

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา หลักสูตรเป็นหัวใจสำคัญของการจัดการศึกษา การ พัฒนาหลักสูตรใดๆ จะต้องมีการประเมินอย่างต่อเนือ่ งและ นำผลการประเมินมาปรับเปลีย่ นอย่างเหมาะสมให้สอดคล้อง กับสภาพการเปลีย่ นแปลงและความต้องการของสังคม (ธำรง บั ว ศรี , 2542; Austin, 1993; Worthen, Sander, & Fitzpatric, 1997) หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการ บริหารการพยาบาลของวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ได้รบั การ พัฒนาและปรับปรุงโดยใช้ผลงานวิจยั เชิงประเมินเป็นพืน้ ฐาน มาโดยตลอด กล่าวคือ โครงสร้างของหลักสูตรในรุน่ ที่ 1 ใช้ ระยะเวลาในการศึกษา 12 สัปดาห์ ปรับมาเป็นโครงสร้าง หลักสูตรในรุน่ ที่ 2 ที่ใช้เวลาในการศึกษาเพิม่ ขึน้ ตามเกณฑ์ สภาการพยาบาลจำนวน 16 สัปดาห์ และได้จดั รายวิชาต่างๆ เป็นหมวดหมู่ ปรับรูปแบบการประเมินผลการเรียนของ รายวิชาใหม่ตามผลการสอบถามความคิดเห็นต่อหลักสูตรของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษาในรุน่ ที่ 1 สำหรับการจัดการศึกษาในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะ ทางสาขาการบริหารการพยาบาล รุน่ ที่ 4 นี้ ได้รบั การอนุมตั ิ

จากกองทัพบกอนุมตั ทิ า้ ยหนังสือ ยศ.ทบ. ที่ กห 0461.11/ 1380 ลง 5 ก.ค. 47 ให้เปิดรับนายทหารนักเรียนเข้ารับการ ศึกษาเป็นรุน่ ที่ 4 ตัง้ แต่วนั ที่ 31 ตุลาคม 2548 ถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2548 โดยใช้งบประมาณของกองทัพบกประจำปี 2549 มีนายทหารนักเรียนเข้ารับการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 40 นาย จำแนกเป็น สังกัดโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าจำนวน 25 นาย สังกัดโรงพยาบาลกองทัพบกส่วนภูมิภาคจำนวน 8 นาย สังกัดกองทัพเรือ 2 นาย สังกัดกองทัพอากาศ 2 นาย สังกัดโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน จำนวน 1 นาย สังกัด ทบวงมหาวิทยาลัยจำนวน 2 นาย โครงสร้างหลักสูตรใน รุน่ ที่ 4 นีม้ รี ะยะเวลาในการศึกษาเท่าเดิมเหมือนโครงสร้าง หลักสูตรรุ่นที่ 3 คือ 16 สัปดาห์ ตามเกณฑ์ของสภาการ พยาบาล แต่ ได้ปรับเนื้อหารายวิชาให้มีความสอดคล้องกับ สถานการณ์ปจั จุบนั มากยิง่ ขึน้ ปรับเวลาที่ใช้ในการบรรยายให้ เหมาะสมกับปริมาณเนือ้ หาวิชาและรูปแบบกิจกรรมการเรียน การสอน ตลอดจนการประเมินผลการเรียนการสอน สำหรับ วิชาปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาลได้มกี ารปรับรูปแบบและวิธกี าร จัดกิจกรรมการฝึกปฏิบตั งิ าน การเขียนรายงานใหม่ รวมทัง้ มี

58 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 58

12/8/06 9:59:05 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

การเลือกสถานที่ฝึกที่ต่างไปจากเดิม กล่าวคือ มีการเพิ่ม แหล่งฝึกอีกแห่งหนึ่งในโรงพยาบาลเอกชน นอกเหนือจาก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าทีฝ่ กึ อยูเ่ ดิม และยังเพิม่ กิจกรรม การวิเคราะห์องค์กรด้วยการทำ SWOT analysis เพื่อให้ ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ในการวิเคราะห์องค์กรในภาพรวม นอกจากนีห้ ลักสูตรฯ ในรุน่ ที่ 4 นี้ ได้ปรับหน่วยงานทีศ่ กึ ษา ดูงาน เป็นที่ โรงพยาบาล BNH โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา สถาบันบำราศนราดูร และศึกษาดูงานหน่วยงานทางธุรกิจ เพิม่ มากขึน้ ได้แก่ บริษทั AIS บริษทั เซเรบอส (ประเทศไทย) จำกัด และธนาคารกสิกรไทย ตลอดจนมีการศึกษาดูงานด้าน การบริหารการพยาบาล ณ โรงพยาบาลสิงคโปร์เยนเนอรัล และโรงพยาบาลชางจีเยนเนอรัล ประเทศสิงคโปร์ การ ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในครั้งนี้ ได้มาจากผลการ วิจัยเชิงประเมินของหลักสูตรในรุ่นที่ 3 ทั้งสิ้น (วาสนา นัยพัฒน์, 2548) การปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างหลักสูตรใดๆ จำเป็น ต้องได้รบั การประเมินอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ รับทราบว่าผลการ ปรับปรุงต่างๆ นัน้ ทำให้ผเู้ ข้ารับการศึกษาในหลักสูตรบรรลุ วัตถุประสงค์การเรียนในแต่ละรายวิชาและในภาพรวมของ หลักสูตรมากน้อยเพียงใดและอย่างไร ตลอดจนผู้เรียนมี คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ทางการบริหารการพยาบาลเพิม่ ขึน้ มากน้อยเพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนเข้ารับการศึกษา ด้วยเหตุนี้คณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรการพยาบาล เฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 4 โดย เลขานุการคณะกรรมการ จึงตระหนักถึงความสำคัญของการ ประเมินหลักสูตรในครั้งนี้ และได้นำแนวคิดการประเมิน โครงการ CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam & Shinkfield, 1985) มาประยุกต์ใช้ เพือ่ นำข้อค้นพบมาปรับปรุง หลักสูตร อันจะเอือ้ ประโยชน์ตอ่ การเปิดการศึกษาในหลักสูตร นี้ ในปีตอ่ ไป ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้วทิ ยาลัยพยาบาลกองทัพบกสามารถ ปฏิบัติภารกิจในการเป็นสถาบันเพื่อการพัฒนาและเพิ่มพูน ทักษะให้แก่ผบู้ ริหารทางพยาบาล ให้มคี วามรู้ ความสามารถ เป็นไปตามสมรรถนะทีก่ ำหนดไว้ อันจะเป็นประโยชน์ทงั้ ทาง ตรงและทางอ้อมต่อคุณภาพการบริหารพยาบาลทีป่ ระชาชน พึงจะได้รบั ต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพือ่ สำรวจความพร้อม ความคาดหวัง และความคิด

เห็นของผูเ้ รียนในระยะเริม่ ต้นของการเข้ารับการศึกษา 2. เพือ่ ประเมินบริบทโครงสร้างของหลักสูตร ปัจจัยนำ เข้า กระบวนการจัดเรียนการสอนโดยรวม และการจัดการ เรี ย นการสอนในวิ ช าปฏิ บั ติ บ ริ ห ารการพยาบาล และ คุณลักษณะของผู้เรียนด้านการมีความรู้และความตระหนัก ทางด้านการบริหารการพยาบาลทีเ่ พิม่ ขึน้ จำแนกตามรายวิชา และรายหัวข้อเมือ่ สิน้ สุดการศึกษา 3. เพือ่ เปรียบเทียบผลการประเมินหลักสูตรรุน่ ที่ 4 กับ ผลการประเมินหลักสูตรรุน่ ที่ 3 4. เพื่อวิเคราะห์ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ เรียนเพือ่ นำไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร

แนวคิดการประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการทีส่ ำคัญ เพราะ เป็นกิจกรรมที่ต้องดำเนินการไปพร้อมๆ กับกระบวนการ ตัดสินใจที่ถูกต้อง และเกิดขึ้นทุกช่วงระยะเวลาของการ พัฒนาหลักสูตรตัง้ แต่กอ่ นดำเนินการ ขณะดำเนินการ จนถึง ขัน้ ตอนสุดท้ายของกระบวนการนำไปสูก่ ารตัดสินใจทีถ่ กู ต้อง และทีส่ ำคัญการประเมินหลักสูตรมีลกั ษณะเป็นกระบวนการ สำหรับการกำหนดคุณค่าของสิง่ หนึง่ สิง่ ใด เพือ่ นำมาใช้ในการ ตัดสินคุณค่าของสิ่งดังกล่าว แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ รวบรวมมาได้ (Worthen, Sanders, & Fitzpatrick, 1997, 62-63) วิชยั วงษ์ใหญ่ (2543) กล่าวว่า การประเมินหลักสูตร คือ วิธีการรวบรวมและศึกษาข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ ข้อมูล เพือ่ ตรวจสอบหลักสูตร และตัดสินว่าหลักสูตรมีคณ ุ ค่า บรรลุเป้าหมายตามทีก่ ำหนดไว้หรือไม่ การประเมินหลักสูตร เป็นขัน้ ตอนสำคัญในการพัฒนาหลักสูตร เพือ่ ดูขอ้ บกพร่อง หรือความผิดพลาด อาจเกิดขึน้ เนือ่ งมาจาก สาเหตุและปัจจัย ต่างๆ เช่น การออกแบบหลักสูตร อาจไม่เหมาะสมกับความ ต้องการของบุคคลและบริบทของสังคม กล่าวโดยสรุป การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการที่ ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพ จากผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในหลักสูตร ได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ ใช้ผลผลิตของหลักสูตร วิเคราะห์ เอกสารหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ ผลผลิตของหลักสูตร เพื่อการตัดสินใจหาหนทางเลือกที่เหมาะสมในการพัฒนา หลักสูตร วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 59

59

12/8/06 9:59:07 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง

คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยใช้รปู แบบของ นวลอนงค์ บุญฤทธิพงศ์ (2539) ประเมินหลักสูตร CIPP Modelพบว่า ผูส้ ำเร็จการศึกษาประเมินว่า หลักสูตร ประกาศนี ย บั ต รพยาบาลศาสตร์ ร ะดั บ ต้ น กระทรวง หมวดวิชาชีพและหมวดวิชาพื้นฐานวิชาชีพมีคุณค่ามาก สาธารณสุข โดยใช้ CIPP Model พบว่า โครงสร้าง และ ประเมินตนเองว่ามีสมรรถภาพของพยาบาลวิชาชีพมากกว่าที่ เนื้อหารายวิชาสอดคล้องกันเป็นส่วนใหญ่ คุณสมบัติของ ผูบ้ งั คับบัญชาประเมินแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ี่ อาจารย์สว่ นใหญ่มคี วามเหมาะสมระดับมาก ยกเว้นการเข้าใจ ระดับ .001 และประเมินตนเองว่าบุคลิกภาพของพยาบาล ธรรมชาติของนักศึกษาอยู่ในระดับน้อย นักศึกษามีเจตคติทดี่ ี วิชาชีพค่อนข้างดี เช่นเดียวกับผูบ้ งั คับบัญชาแต่แตกต่างกัน ต่อหลักสูตร แต่มเี จตคติไม่ดตี อ่ การเรียน นักศึกษาส่วนใหญ่มี อย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ผูส้ ำเร็จการศึกษามี คุณสมบัตเิ หมาะสมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นยังขาดความรูแ้ ละ ความคิดเห็นต่อหลักสูตร อาจารย์ และองค์ประกอบอืน่ ๆ ของ ใฝ่รอู้ ยูบ่ า้ ง การจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสมระดับ การจัดการเรียนการสอนอยู่ในเกณฑ์ด ี ส่วนใหญ่ยงั คงทำงาน มาก แต่ควรปรับปรุงรูปแบบการสอนให้ผเู้ รียนคิดเป็น ทำเป็น อยู่ ในวิชาชีพพยาบาล ร้อยละ 92.3 มีความพอใจในการ มีความคิดสร้างสรรค์ และเน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ผูส้ ำเร็จการ ทำงานร้อยละ 71.91 ศึกษาปฏิบตั งิ านเหมาะสมระดับมาก ส่วนความรูค้ วามเข้าใจ อุทยั วรรณ พงษ์บริบรู ณ์ และคณะ (2547) ได้ประเมิน การปฏิบัติงานอยู่ ในระดับปานกลาง พฤติกรรมที่ผู้บังคับ หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2542) บัญชาประทับใจมากทีส่ ดุ คือ ความรับผิดชอบในหน้าที่ การ ของวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกโดยใช้ CIPP Model พบว่า ทำงานร่วมกับผู้อื่น และประพฤติตามจรรยาบรรณแล่ง ปรัชญาของหลักสูตรมีความชัดเจนและสอดคล้องกับจุดมุ่ง วิชาชีพ ส่วนพฤติกรรมทีผ่ บู้ งั คับบัญชาไม่ประทับใจ คือ ขาด หมายของหลักสูตร การจัดเนือ้ หาสาระรายวิชามีความเหมาะ ความสามารถในการให้บริการพยาบาลและขาดความคิดริเริม่ สมอยู่ ในระดับมากถึงมากที่สุด ประเมินปัจจัยที่เอื้อเหมาะ สร้างสรรค์ สมในระดับมาก โดยเฉพาะห้องเรียนและห้องฝึกปฏิบตั งิ าน พรศิริ พันธสี สุภาวดี ธนัพประภัศร์ และ อรพินท์ เอือ้ ต่อการฝึกก่อนนำไปปฏิบตั งิ านบนหอผูป้ ว่ ย ผูบ้ ริหารและ สีขาว (2540) ได้ศึกษาผลการปฏิบัติงานของพยาบาลใหม่ อาจารย์พยาบาลมีความเห็นเกีย่ วกับการบริหารหลักสูตร โดย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (พยาบาลและผดุงครรภ์) คณะ รวมมีความเหมาะสมในระดับปานกลางถึงมาก อาจารย์ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ พบว่า ประเมินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรโดยรวมอยู่ ใน พยาบาลประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองอยู่ ในระดับดี ระดับดีมากถึงมากทีส่ ดุ ส่วนในด้านความเพียงพอของจำนวน ยกเว้นด้านความสามารถในการประเมินผูน้ ำ ประเมินอยู่ใน อาจารย์กบั การนิเทศการฝึกปฏิบตั งิ านมีความเหมาะสมน้อย ระดับปานกลาง หัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลผู้ร่วมงาน ทีส่ ดุ ผูส้ ำเร็จการศึกษา ผูบ้ งั คับบัญชาระดับต้น และ ผูร้ ว่ ม ประเมินการปฏิบตั งิ านของพยาบาลใหม่อยู่ในระดับปานกลาง งาน ประเมินคุณลักษณะส่วนบุคคลของผูส้ ำเร็จการศึกษามี อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์ (2542) ประเมินหลักสูตร ความเหมาะสมอยู่ ในระดับมากถึงมากที่สุด และด้านการ พยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2533) ปฏิบตั งิ านมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลางถึงมาก ของวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก โดยใช้ CIPP Model พบว่า อุทยั วรรณ พงษ์บริบรู ณ์ (2547) ได้ประเมินหลักสูตร ในด้านบริบท โครงสร้างหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน นายทหารเวชกรรมป้องกันและติดตามประเมินผลผู้สำเร็จ

และผลผลิตในภาพรวมของหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ใน การศึกษา รุ่นที่ 1 พ.ศ. 2544 ของกองเวชกรรมป้องกัน ระดับมาก ยกเว้น จำนวนหน่วยกิตในกลุ่มวิชาภาษา และ กรมแพทย์ทหารบก โดยใช้ CIPP Model พบว่า ด้านบริบท หน่วยกิตหมวดวิชาชีพพยาบาล ยังอยู่ในระดับน้อย โครงสร้างหลักสูตร จำนวนชัว่ โมง การจัดเนือ้ หาสาระราย ยุ ว ดี ฤาชา สุ ป ราณี เสนาดิ ศั ย และแสงทอง วิชา ปัจจัยป้อนเข้าด้านความพร้อมของอาจารย์และผูเ้ รียน ธีระทองคำ (2544) ได้ประเมินความสำเร็จของหลักสูตร ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิตของหลักสูตร ผู้บังคับ พยาบาลศาสตรบั ณ ฑิ ต ภาควิ ช าพยาบาลศาสตร์ บัญชามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านปัจจัยเอือ้

60 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 60

12/8/06 9:59:08 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ต่อการจัดการเรียนการสอน มีความพร้อมและเหมาะสมอยู่ใน ระดับปานกลาง วาสนา นัยพัฒน์ (2547) ได้ประเมินหลักสูตรการ พยาบาลเฉพาะทางสาขาการบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก พบว่า ผู้เรียนประเมินบริบท โครงสร้างหลักสูตร ปัจจัยนำเข้า กระบวนการเรียนการสอน ผลผลิตของหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับสูง โดยด้าน ผู้เรียน ด้านผู้สอน และด้านผลผลิตของหลักสูตร มีความ เหมาะสมสูงสุดตามลำดับ สำหรับด้านปัจจัยนำเข้า เอกสาร ตำราในห้องสมุด เพียงพอ เหมาะสม อยู่ในระดับปานกลาง ผูเ้ รียนมีความรูแ้ ละความตระหนักทางการบริหารเพิม่ มากขึน้ ในภาพรวมในระดับสูง และในรายหัวข้อทุกหัวข้ออยู่ในระดับ สูง ผูเ้ รียนร้อยละ 100 คิดว่าคุม้ ค่าที่ ได้เข้ารับการศึกษาใน หลักสูตรนี้ ร้อยละ 96.67 จะแนะนำให้ผเู้ กีย่ วข้องมาเข้ารับ การศึกษาในหลักสูตรนี้ ในรุ่นต่อไป ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาหลักสูตร ได้แก่ ปรับเพิ่ม-ลดเวลาให้เหมาะสมและ สอดคล้องกับเนือ้ หาและกิจกรรม ขยายเวลาและเพิม่ สถานที่ ดู ง านที่ ไ ม่ ใ ช่ ส่ ว นของโรงพยาบาล และส่ ง เสริ ม การ ประชาสัมพันธ์อย่างกว้างขวาง วาสนา นัยพัฒน์ (2548) ได้ประเมินหลักสูตรการ พยาบาลเฉพาะทางสาขาการบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก พบว่า ผู้เรียนประเมินบริบท โครงสร้างหลักสูตร ปัจจัยนำเข้า กระบวนการเรียนการสอน และผลผลิตอยู่ในระดับสูง โดยด้านผูส้ อนและผูเ้ รียนมีความ เหมาะสมสูงทีส่ ดุ ผูเ้ รียนมีความรูแ้ ละตระหนักทางด้านการ บริหารการพยาบาลเพิ่มมากขึ้นในภาพรวมอยู่ ในระดับสูง ผู้เรียนร้อยละ 100 คิดว่าคุ้มค่าที่ ได้เข้ารับการศึกษาใน หลักสูตรนี้ จุดเด่นของหลักสูตรนีค้ อื อาจารย์มคี วามรูค้ วาม สามารถ ประสบการณ์และมีความเอือ้ อาทร ผูเ้ รียนได้มกี าร ศึกษาดูงานและพัฒนาความรูแ้ ละทักษะทีห่ ลากหลาย และได้ เสนอแนะให้มกี ารศึกษาดูงานในต่างประเทศด้านการบริหาร การพยาบาลร่วมด้วย

คำจำกัดความ การประเมิน หมายถึง กระบวนการรวบรวม วิเคราะห์ แปลผล และใช้ข้อมูลสารสนเทศในการพิจารณาปรับปรุง หลักสูตร และเสนอแนะทางเลือกในการตัดสินใจทีเ่ หมาะสม ทีส่ ดุ ในทีน่ ี้ ใช้รปู แบบการประเมินตามแนวคิดการประเมิน

โครงการแบบยึดการตัดสินใจเป็นหลัก (decision-making approach) ทีเ่ รียกชือ่ ว่า CIPP model ของ สตัฟเฟิลบีม สภาพแวดล้อม หมายถึง การพิจารณาว่าโครงสร้างของ หลักสูตรมีความสอดคล้องกับปัจจัยต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างไร ได้แก่ ปัจจัยด้านสังคม สิง่ แวดล้อม เทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลง ไป ปัจจัยด้านการปฏิรปู ระบบสุขภาพ และเกณฑ์สมรรถนะ ของผูบ้ ริหารทางการพยาบาลทีก่ ำหนดโดยสภาการพยาบาล การประกันคุณภาพโรงพยาบาล เป็นต้น ปัจจัยนำเข้า หมายถึง ปัจจัยด้านผูเ้ รียน ผูส้ อน คูม่ อื หลักสูตร เอกสารประกอบการสอนและตำรา อาคาร-สถานที่ สือ่ การสอน งบประมาณ และบริการอืน่ ๆ ว่ามีความเหมาะ สมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนมากน้อยเพียงใด โดย ประเมินจากความคิดเห็นของผูเ้ รียน กระบวนการจัดการเรียนการสอน หมายถึง กระบวน การบริหารและบริการหลักสูตร กระบวนส่งเสริมในการนำ หลักสูตรไปสูก่ ารปฏิบตั ไิ ด้อย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องตาม แนวทางทีก่ ำหนดไว้ หรือมีการปรับเปลีย่ น ยืดหยุน่ ตามความ เหมาะสมมาน้อยเพียงใด โดยประเมินจากความคิดเห็นของ ผูเ้ รียน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ หมายถึง ความรู้ ความ ตระหนัก และประสบการณ์ทางการบริหารการพยาบาลของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษาในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 4 ที่ ได้รับเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบ เทียบกับก่อนได้รบั การศึกษา หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการ พยาบาล หมายถึง หลักสูตรที่ได้รบั อนุมตั ใิ ห้เปิดการศึกษาเป็น รุน่ ที่ 4 อนุมตั จิ ากกองทัพบกอนุมตั ทิ า้ ยหนังสือ ยศ.ทบ. ที่ กห 0461.11/1380 ลง 5 ก.ค. 47 เป็นระยะเวลา 16 สัปดาห์ ตัง้ แต่ 31 ตุลาคม ถึง 17 กุมภาพันธ์ 2549 และดำเนินการโดยคณะ กรรมการดำเนินงานหลักสูตรของวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ผู้เรียน หมายถึง ผู้เข้ารับการศึกษาในหลักสูตรการ พยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 4 จำนวน 40 คน ผูส้ อน หมายถึง อาจารย์จากวิทยาลัยพยาบาลกองทัพ บกทีส่ อนภาคทฤษฎีและ/หรือภาคปฏิบตั ิ และอาจารย์พเิ ศษ จากภายนอกสถาบันที่ ได้เรียนเชิญมาบรรยายภาคทฤษฎี ใน หลักสูตรดังกล่าว วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 61

61

12/8/06 9:59:09 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

วิชาปฏิบัติบริหารการพยาบาล หมายถึง วิชาปฏิบัติ บริหารการพยาบาลในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขา การบริหารการพยาบาล รุน่ ที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก แบบแผนการวิจยั การวิจยั เชิงประเมิน (evaluation research) กรอบแนวคิดในการวิจัย ใช้รูปแบบการประเมินตาม แนวคิดการประเมินโครงการแบบยึดการตัดสินใจเป็นหลัก (decision-making approach) CIPP Model ของ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebem & Shinkfield, 1985) ลักษณะกลุม่ ตัวอย่าง ผูเ้ ข้ารับการศึกษาในหลักสูตรการ พยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 4 จำนวน 40 คน คณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตร และ พยาบาลนิเทศในวิชาปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาล เครือ่ งมือในการวิจยั แบบสอบถามชุดที่ 1 เป็นคำถามปลายเปิดเกี่ยวกับ ความพร้อม ความคิดเห็น และความคาดหวังของผูเ้ รียนใน การเข้ารับการศึกษาในระยะเริม่ ต้น (2 สัปดาห์แรก) แบบสอบถามชุดที่ 2 การประเมินหลักสูตร จำนวน 87 ข้อ ตอนที่ 1 ประเมินด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า และ กระบวนการจัดการเรียนการสอน แบบมาตราส่วนประมาณ ค่า 5 ระดับจำนวน 42 ข้อ ตอนที่ 2 ประเมินด้านผลผลิตของหลักสูตร เป็น มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 38 ข้อ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จำนวน 7 ข้อ จำแนกเป็นคำถามปลายเปิด 5 ข้อ และแบบเลือกตอบ จำนวน 2 ข้อ โดยคำถามปลายเปิดข้อที่ 1 2 และ ข้อที่ 3 จะใช้เป็นคำถามในการพูดคุยและสัมภาษณ์อย่างไม่เป็น ทางการกับผูเ้ รียนและคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรขณะ ดำเนินงานหลักสูตรด้วยเช่นกัน แบบสอบถามชุดที่ 3 ความคิดเห็นของพยาบาลนิเทศ และผูเ้ รียนต่อการฝึกปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาล ตอนที่ 1 ความคิดเห็นต่อการฝึกปฏิบตั กิ ารบริหาร การพยาบาลของพยาบาลนิเทศและผู้เรียนเป็นมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 16 ข้อ ตอนที่ 2 ข้อมูลส่วนบุคคล จำนวน 1 ข้อ

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ การเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างการ เรียนการสอน (formative evaluation) และเมือ่ หลักสูตรสิน้ สุดลง (summative evaluation) โดยการวิเคราะห์เอกสาร หลักสูตร ใช้แบบสอบถามกับผูเ้ ข้ารับการศึกษาทัง้ หมด และ แบบสอบถามถามพยาบาลนิเทศ ณ แหล่งฝึก ใช้วิธีการ สนทนากลุ่ ม กั บ ผู้ เ ข้ า รั บ การศึ ก ษา และการพู ด คุ ย หรื อ สัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการโดยใช้วธิ กี ารเลือกแบบสะดวก กับผูเ้ ข้ารับการศึกษาและคณะกรรมการดำเนินงาน และใช้ การสังเกตแบบมีสว่ นร่วม การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ content analysis จากผลการวิเคราะห์เอกสารหลักสูตร และผลการ สนทนากลุม่ ของผูเ้ รียน การพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ และ การสังเกตแบบมีสว่ นร่วม และใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบสอบถามหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ปัญหาด้านจริยธรรม การวิจยั ครัง้ นีม้ กี ารพิทกั ษ์สทิ ธิข์ อง ผูเ้ ข้าร่วมวิจยั กล่าวคือ ผูว้ จิ ยั ได้ชแี้ จงวัตถุประสงค์การวิจยั ให้ ผูต้ อบแบบสอบถามทราบโดยละเอียด และถามความสมัครใจ ในการเข้าร่วมการวิจัยในครั้งนี้ การปฏิเสธในการตอบแบบ สอบถาม จะไม่มกี ระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้อมต่อการเรียน หรือการดำเนินชีวติ แต่อย่างใด และไม่มกี ารระบุชอื่ ของผูต้ อบ ลงในแบบสอบถาม ข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามจะนำ เสนอในภาพรวมเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น แบบ สอบถามที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วจะถูกทำลายภายใน 1 ปี ผูเ้ ข้าร่วมวิจยั สามารถซักถามข้อสงสัยต่างๆ กับผูว้ จิ ยั ได้ตลอด เมือ่ ต้องการ

ผลการวิจยั 1. ความพร้อม ความคาดหวัง และความคิดเห็นของผูเ้ รียน ในระยะเริม่ ต้นของการเข้ารับการศึกษา แรงจูงใจของผูเ้ รียนในการเข้ารับการศึกษาในหลักสูตรนี้ คือ ต้องการพัฒนาตนเอง ประยุกต์ใช้ ในการทำงาน และ ต้องการความก้าวหน้า มาเรียนเพราะหลักสูตรน่าสนใจ มา เรียนเพราะอายุมากแล้ว ตามอาวุโส หน่วยงานส่งเรียน และ มาเรียนเพราะเบือ่ งาน ผูเ้ รียนมีความคาดหวังต่อหลักสูตรเมือ่ สำเร็จการศึกษา

62 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 62

12/8/06 9:59:10 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

คือ เป็นทีย่ อมรับของสหสาขาวิชาชีพและผู้ใต้บงั คับบัญชา และมีความสุขในการทำงาน มีทกั ษะในการบริหารจัดการทีด่ ี เพือ่ ความก้าวหน้าของตนเอง พัฒนาหน่วยงานและวิชาชีพ และ สร้างเครือข่ายแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั ผูเ้ ข้ารับการศึกษา ผูเ้ รียนมีความพร้อมและการเตรียมความพร้อมในการเข้าเรียนหลักสูตรนี ้ 100% โดยเตรียมด้านร่างกาย จิตใจ และ ครอบครัว เตรียมความรูด้ า้ นการบริหารและคอมพิวเตอร์ และสอบถามจากผูท้ เี่ คยเรียนในหลักสูตรนี้ และเตรียมสะสางงานใน หน้าที ่ 2. การประเมินบริบทโครงสร้างหลักสูตร ตาราง 1 เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ของการประเมินด้านบริบทโครงสร้างหลักสูตรของผูเ้ ข้ารับการศึกษา รุน่ ที่ 3 และ รุน่ ที่ 4 ค่าเฉลีย่ หัวข้อในการประเมิน ระดับคะแนน รุน่ ที่ 3 รุน่ ที่ 4 1. โครงสร้างหลักสูตรมีความเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของสังคม 2. ปรัชญาของหลักสูตรเหมาะสม 3. วัตถุประสงค์ของหลักสูตรกำหนดไว้ชดั เจน เหมาะสม 4. วัตถุประสงค์แต่ละรายวิชาเหมาะสม 5. เนือ้ หาในแต่ละรายวิชาเหมาะสม 6. กิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลทีก่ ำหนดไว้ในแต่ละรายวิชาเหมาะสม 7. จำนวนหน่วยกิตแต่ละรายวิชาและโดยรวมของหลักสูตรเหมาะสม 8. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาเหมาะสม รวม

4.44 4.28 4.19 4.22 4.03 3.84 4.00 4.28 4.16

4.45 4.38 4.43 4.3 4.13 4.05 4.4 4.13 4.28

เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ ลดลง* เพิม่ ขึน้

ผูเ้ ข้ารับการศึกษาประเมินหลักสูตรด้านบริบทโครงสร้างหลักสูตรอยู่ในระดับมาก โดยสูงขึน้ จากผลการประเมินในหลักสูตร รุน่ ที่ 3 ทุกรายการยกเว้นเรือ่ งเวลาในการศึกษา โดยข้อทีม่ คี ะแนนเฉลีย่ สูงสุด คือ โครงสร้างหลักสูตรมีความเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของสังคม 3. การประเมินปัจจัยนำเข้า ตาราง 2 เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ การประเมินปัจจัยนำเข้า ของผูเ้ ข้ารับการศึกษา รุน่ ที่ 3 และ รุน่ ที่ 4 ค่าเฉลีย่ หัวข้อในการประเมิน ระดับคะแนน รุน่ ที่ 3 รุน่ ที่ 4 ก. ด้านผูเ้ รียน 9. ท่านมีความพร้อมในการเข้ารับการศึกษาในหลักสูตรนี ้ 10. ท่านศึกษาในหลักสูตรนีด้ ว้ ยความสมัครใจ 11. กระบวนการสอบคัดเลือกท่านเข้ามาเรียนเหมาะสม 12. ตำแหน่งหน้าทีข่ องท่านเหมาะสมทีจ่ ะเข้ารับการศึกษาในหลักสูตรนี ้ ข. ด้านผูส้ อน 13. อาจารย์ผสู้ อนจาก วพบ. มีคณ ุ วุฒแิ ละความสามารถเหมาะสม 14. อาจารย์พเิ ศษมีคณ ุ วุฒแิ ละความสามารถเหมาะสม 15. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบรายวิชาแต่ละท่านเหมาะสม

4.45 4.25 4.59 4.25 4.71 4.50 4.34 4.90 4.46

4.38 4.23 4.55 4.25 4.5 4.63 4.58 4.75 4.59

ลดลง ลดลง ลดลง เท่าเดิม ลดลง เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ * ลดลง* เพิม่ ขึน้

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 63

63

12/8/06 9:59:11 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

หัวข้อในการประเมิน

16. จำนวนของอาจารย์ผสู้ อนเพียงพอ หลากหลาย ค. ด้านคูม่ อื หลักสูตร เอกสารประกอบการเรียนและตำรา 17. คูม่ อื หลักสูตรเหมาะสม 18. เอกสารประกอบการเรียนเหมาะสม 19. ตำราในห้องสมุด เพียงพอ เหมาะสม ง. ด้านอาคาร-สถานที่ สือ่ การสอน งบประมาณ และบริการอืน่ ๆ 20. ห้องเรียนมีความเหมาะสม 21. ห้องสมุดมีความเหมาะสม 22. สือ่ การสอนและโสตทัศนูปกรณ์เหมาะสม 23. ค่าใช้จา่ ยในการเรียนหลักสูตรนีเ้ หมาะสม 24. การจัดอาหารกลางวันเหมาะสม 25. สวัสดิการและทีพ่ กั เหมาะสม (ผูพ้ กั หอพัก) 26. บุคลากรให้บริการโดยทัว่ ไปเหมาะสม รวม

ค่าเฉลีย่ รุน่ ที่ 3 รุน่ ที่ 4 4.31 4.62 3.85 3.69 4.03 4.08 3.78 3.78 3.75 3.23 4.17 4.09 4.50 4.45 4.09 3.55 4.28 4.08 3.81 4.15 4.46 4.38 4.26 4.32 3.77 3.73 4.25 4.21

ระดับคะแนน เพิม่ ขึน้ ลดลง เพิม่ ขึน้ เท่าเดิม ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง* ลดลง* เพิม่ ขึน้ * ลดลง เพิม่ ขึน้ ลดลง ลดลง

ผูเ้ ข้ารับการศึกษาประเมินปัจจัยนำเข้าในทุกด้านอยู่ในระดับสูง โดยด้านทีส่ งู ทีส่ ดุ คือ ด้านผูส้ อน รองลงมาคือ ด้านผูเ้ รียน ต่ำทีส่ ดุ แต่อยู่ในระดับสูง คือด้านคูม่ อื หลักสูตร เอกสารประกอบการเรียน และตำรา ซึง่ มีคะแนนต่ำลงจากผลการประเมินใน หลักสูตรรุน่ ที่ 3 4. การประเมินการบวนการจัดการเรียนการสอน ตาราง 3 เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ การประเมินกระบวนการจัดการเรียนการสอนของผูเ้ ข้ารับการศึกษา รุน่ ที่ 3 และ รุน่ ที่ 4 หัวข้อในการประเมิน 27. กระบวนการเรียนการสอนเหมาะสม 28. การสอนเน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสมุง่ ให้ผเู้ รียนคิด วิเคราะห์และ มีสว่ นร่วมในการเรียนรู ้ 29. กิจกรรมการเรียนการสอน ส่งเสริมให้เรียนรู้ ได้ดมี กี ารศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง อย่างเหมาะสม 30. ประเมินผลการเรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารหลากหลายเหมาะสม 31. เวลาที่ใช้ในการสอนสอดคล้องกับเนือ้ หาวิชา 32. การเรียงลำดับเนือ้ หาในแต่ละวิชาเหมาะสม 33. การมอบหมายงานแต่ละวิชาเหมาะสม 34. การจัดและปรับเปลีย่ นตารางเรียนเหมาะสม รวม

ค่าเฉลีย่ ระดับคะแนน รุน่ ที่ 3 รุน่ ที่ 4 4.18 4.25

4.35 4.53

เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้

4.25

4.5

เพิม่ ขึน้

3.90 3.90 3.93 3.50 3.50 3.92

4.13 3.93 4.15 3.75 3.7 4.13

เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้

64 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 64

12/8/06 9:59:12 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ค่าเฉลีย่ ระดับคะแนน รุน่ ที่ 3 รุน่ ที่ 4

หัวข้อในการประเมิน ท่านคิดว่าการจัดการเรียนการสอนในวิชาเหล่านี้ในภาพรวม เหมาะสมอยู่ในระดับใด 35. แนวคิดพืน้ ฐานทางการบริหารฯ 36. การบริหารการพยาบาล 1 37. การบริหารการพยาบาล 2 38. การพัฒนาผูบ้ ริหาร 39. สัมมนาประเด็นทางการบริหารการพยาบาล 40. ปฏิบตั กิ ารบริหารการพยาบาล 41. ภาษาอังกฤษสำหรับผูบ้ ริหาร 42. สารสนเทศทางการบริหาร รวม

4.34 4.46 4.46 4.62 4.12 3.81 3.62 4.15 4.20

4.38 4.55 4.58 4.62* 4.33 4.33 4.0 4.4 4.40

เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เท่าเดิม เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ * เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ เพิม่ ขึน้ *

ผูเ้ ข้ารับการศึกษาประเมินกระบวนการเรียนการสอนอยู่ในระดับสูง โดยมีคะแนนสูงขึน้ จากรุน่ ทีแ่ ล้วในทุกรายการ โดยข้อที่ มีคะแนนสูงทีส่ ดุ คือ หลักสูตรมีการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสมุง่ ให้ผเู้ รียนคิด วิเคราะห์และมีสว่ นร่วมในการเรียนรู ้ รองลงมา คือ กิจกรรมการเรียนการสอน ส่งเสริมให้เรียนรู้ ได้ดมี กี ารศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอย่างเหมาะสม ต่ำทีส่ ดุ แต่ยงั อยู่ ในระดับปานกลาง และมีคา่ คะแนนสูงขึน้ มากกว่าปีทแี่ ล้ว คือ การจัดและปรับเปลีย่ นตารางเรียนเหมาะสม การประเมินความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา พบว่ามีคา่ คะแนนในระดับสูงและเพิม่ มากขึน้ ใน ทุกรายวิชา ยกเว้นวิชาการพัฒนาผูบ้ ริหาร ซึง่ เป็นวิชาทีม่ คี ะแนนการประเมินสูงสุด มีคะแนนเท่าเดิมกับปีทแี่ ล้ว 5. ประเมินผลผลิตของหลักสูตร ตาราง 4 คะแนนเฉลีย่ การประเมินความรู้ ความตระหนักหรือประสบการณ์ทางการบริหารการพยาบาลทีเ่ พิม่ ขึน้ ของผูเ้ ข้ารับ การศึกษา จำแนกตามรายวิชา

หัวข้อในการประเมิน

1. แนวคิดพืน้ ฐานทางการบริหารฯ 2. การบริหารการพยาบาล 1 3. การบริหารการพยาบาล 2 4. การพัฒนาผูบ้ ริหาร 5. สัมมนาประเด็นทางการบริหารการพยาบาล 6. ภาษาอังกฤษสำหรับผูบ้ ริหาร 7. สารสนเทศทางการบริหาร รวม

ค่าเฉลีย่

ระดับคะแนน

4.29 4.35 4.54 4.45 4.28 4.03 4.55 4.40

สูง สูง สูง สูง สูง สูง สูง สูง

ผูเ้ ข้ารับการศึกษาประเมินความรู้ ความตระหนักหรือประสบการณ์ทางการบริหารการพยาบาลของตนเองทีเ่ พิม่ ขึน้ อยู่ใน ระดับสูงทุกรายวิชา โดยวิชาทีม่ คี ะแนนเพิม่ ขึน้ สูงทีส่ ดุ คือ วิชาสารสนเทศทางการพยาบาล รองลงมาวิชาการบริหารการ พยาบาล 2 และน้อยทีส่ ดุ คือ วิชา ภาษาอังกฤษสำหรับผูบ้ ริหาร วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 65

65

12/8/06 9:59:13 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ตาราง 5 คะแนนเฉลีย่ การประเมินความรู้ ความตระหนักหรือประสบการณ์ทางการบริหารการพยาบาลทีเ่ พิม่ ขึน้ ของผูเ้ ข้ารับ การศึ กษา จำแนกตามรายหัวข้อ เรียงจากมากไปน้อย 10 ลำดับแรก

หัวข้อในการประเมิน ค่าเฉลีย่ ระดับคะแนน 1. การพัฒนาบุคลิกภาพ 4.80 สูง 2. การพูดในทีช่ มุ ชน 4.63 สูง 3. มารยาทในการรับประทานอาหารแบบสากล 4.60 สูง 4. แนวคิดการปฏิรปู ระบบสุขภาพ 4.58 สูง 5. การสร้างทีมงานและบริหารงาน 4.58 สูง 6. การบริหารการเปลีย่ นแปลง 4.58 สูง 7. ทฤษฎีผนู้ ำและภาวะผูน้ ำ 4.58 สูง 8. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารการพยาบาล 4.55 สูง 9. การบริหารความขัดแย้ง 4.55 สูง 10. การแก้ปญ ั หาและตัดสินใจ 4.55 สูง ผูเ้ ข้ารับการศึกษาประเมินความรู้ ความตระหนักหรือประสบการณ์ทางการบริหารการพยาบาลของตนเองทีเ่ พิม่ ขึน้ สูงทีส่ ดุ ในทุกรายหัวข้อ โดยหัวข้อทีม่ คี ะแนนการประเมินสูงทีส่ ดุ คือ การพัฒนาบุคลิกภาพ รองลงมา คือการพูดในทีช่ มุ ชน เป็นต้น สำหรับหัวข้อทีม่ คี ะแนนต่ำทีส่ ดุ แต่คะแนนยังคงอยู่ในระดับสูง ได้แก่ การพัฒนาระบบราชการไทย (คะแนนเฉลีย่ 3.95) และ เศรษฐศาสตร์มหภาคและจุลภาคสำหรับผูบ้ ริหาร (คะแนนเฉลีย่ 4.00) 6. การประเมินวิชาปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาล ตาราง 7 คะแนนเฉลีย่ การประเมินความคิดเห็นของผูเ้ รียน ต่อการฝึกปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาล (N=40)

หัวข้อในการประเมิน 1. ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของรายวิชานีก้ อ่ นการฝึก 2. วัตถุประสงค์รายวิชานีก้ ำหนดไว้เหมาะสมสอดคล้องกับสมรรถนะทีพ่ งึ มีของผูบ้ ริหาร การพยาบาลในยุคปัจจุบนั 3. ท่านเข้าใจบทบาทของท่าน ตลอดจนภาพรวมของวิชานีก้ อ่ นการฝึก 4. การปฐมนิเทศวิชาทำให้ทา่ นเข้าใจภาพรวมของวิชานีม้ ากยิง่ ขึน้ 5. ภายหลังการฝึกท่านเข้าใจบทบาทของท่านและภาพรวมของวิชาเพิม่ มากขึน้ 6. ระยะเวลาในการฝึกเพียงพอเหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป 7. สถานที่ในการฝึกเอือ้ อำนวยให้ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา ได้เกิดการเรียนรูเ้ ป็นอย่างดี 8. หน่วยงาน ผูบ้ ริหาร และท่านได้รบั ประโยชน์จากการฝึกของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา ในครัง้ นี ้ 9. รูปแบบกิจกรรมการฝึก ทำให้ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา เกิดการเรียนรูแ้ ละบรรลุวตั ถุประสงค์ รายวิชาได้ 10. รูปแบบการประเมินผลส่งเสริมให้ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา เกิดการเรียนรูแ้ ละบรรลุ วัตถุประสงค์รายวิชาได้ 11. ข้าพเจ้าได้เรียนรูป้ ระสบการณ์ทางการบริหารจากพยาบาลนิเทศทีท่ า่ นได้ศกึ ษา 12. การชีแ้ จงเกีย่ วกับการศึกษารายกรณี แนวทางการเขียนรายงานก่อนการฝึก และการมีใบงาน ทำให้ขา้ พเจ้ามีทศิ ทางในการฝึกงานและเข้าใจวิธกี ารเขียนรายงานมากยิง่ ขึน้

ค่าเฉลีย่ ระดับคะแนน 4.23 4.33

สูง สูง

4.05 4.28 4.48 4.03 4.05 4.10 4.00

สูง สูง สูง สูง สูง สูง สูง

4.13

สูง

4.05 4.10

สูง สูง

66 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 66

12/8/06 9:59:14 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

หัวข้อในการประเมิน 13. ถึงแม้การเขียนรายงานการศึกษาและวิเคราะห์บทบาทของผูบ้ ริหารและกระบวนการ บริหาร จะเป็นงานทีย่ าก แต่เป็นงานทีท่ า้ ทายทีท่ ำให้ขา้ พเจ้าเกิดการเรียนรูท้ างการบริหาร งานพยาบาลได้ 14. ข้าพเจ้ารูส้ กึ สนุก ไม่เบือ่ และไม่ยอ่ ท้อต่อการฝึกงานในครัง้ นี ้ 15. อาจารย์ทปี่ รึกษาช่วยเอือ้ ประโยชน์และส่งเสริมให้ขา้ พเจ้ามีความมัน่ ใจใน การฝึกปฏิบตั งิ านในครัง้ นี ้ 16. ข้าพเจ้าเกิดการเรียนรูแ้ ละบรรลุวตั ถุประสงค์การเรียนในวิชานี ้ รวม

ค่าเฉลีย่ ระดับคะแนน 4.15 สูง

3.68 4.25

สูง สูง

4.33 4.13

สูง สูง

ภายหลังการฝึกปฏิบตั กิ ารบริหารการพยาบาล พบว่า ผูเ้ รียนเข้าใจบทบาทของตนเองและภาพรวมของวิชาเพิม่ มากขึน้ โดย มีคา่ คะแนนเฉลีย่ สูงทีส่ ดุ รองลงมา วัตถุประสงค์รายวิชานีก้ ำหนดไว้เหมาะสมสอดคล้องกับสมรรถนะทีพ่ งึ มีของผูบ้ ริหารการ พยาบาลในยุคปัจจุบนั และผูเ้ รียนเกิดการเรียนรูแ้ ละบรรลุวตั ถุประสงค์การเรียนในวิชานี้ และคะแนนต่ำทีส่ ดุ แต่ยงั คงอยู่ใน ระดับมาก คือ ผูเ้ รียนรูส้ กึ สนุก ไม่เบือ่ และไม่ยอ่ ท้อต่อการฝึกงานในครัง้ นี ้ ตาราง 8 คะแนนเฉลีย่ การประเมินความคิดเห็นของพยาบาลนิเทศโรงพยาบาลเอกชน ต่อการฝึกปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาลของ ผูเ้ รียน (N=13)

หัวข้อในการประเมิน

1. ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของรายวิชานีก้ อ่ นการฝึก

2. วัตถุประสงค์รายวิชานีก้ ำหนดไว้เหมาะสมสอดคล้องกับสมรรถนะทีพ่ งึ มีของผูบ้ ริหาร การพยาบาลในยุคปัจจุบนั 3. ท่านเข้าใจบทบาทของท่าน ตลอดจนภาพรวมของวิชานีก้ อ่ นการฝึก 4. การปฐมนิเทศวิชาทำให้ทา่ นเข้าใจภาพรวมของวิชานีม้ ากยิง่ ขึน้ 5. ภายหลังการฝึกท่านเข้าใจบทบาทของท่านและภาพรวมของวิชาเพิม่ มากขึน้ 6. ระยะเวลาในการฝึกเพียงพอเหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป 7. สถานที่ในการฝึกเอือ้ อำนวยให้ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา ได้เกิดการเรียนรูเ้ ป็นอย่างดี 3.69 8. หน่วยงาน ผูบ้ ริหาร และท่านได้รบั ประโยชน์จากการฝึกของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา ในครัง้ นี ้ 9. รูปแบบกิจกรรมการฝึก ทำให้ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา เกิดการเรียนรูแ้ ละบรรลุวตั ถุประสงค์ รายวิชาได้ 10. รูปแบบการประเมินผลส่งเสริมให้ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา เกิดการเรียนรูแ้ ละบรรลุ วัตถุประสงค์รายวิชาได้ 11. บางครัง้ ข้าพเจ้ารูส้ กึ ไม่เป็นตัวของตัวเองทีม่ ี ผูเ้ ข้ารับการศึกษา มาฝึกงานอยูก่ บั ท่าน 12. ข้าพเจ้าและหน่วยงานของข้าพเจ้าได้รบั ประโยชน์จากฝึกงานของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา 13. ข้าพเจ้ายินดีที่ได้เป็นพยาบาลนิเทศการฝึกของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา ในครัง้ นี ้ 14. ข้าพเจ้ายินดีหากได้รบั การคัดเลือกให้เป็นพยาบาลนิเทศในปีตอ่ ไป 15.ข้าพเจ้ามีสว่ นช่วยในการส่งเสริมการเรียนรูข้ อง ผูเ้ ข้ารับการศึกษา เป็นอย่างดี 16. ผูเ้ ข้ารับการศึกษา สามารถฝึกปฏิบตั งิ านเหมาะสมกับบทบาทเป็นอย่างดี รวม

ค่าเฉลีย่ ระดับคะแนน 3.85 4.08

สูง สูง

3.77 3.92 4.00 3.38 สูง 3.54 3.46

สูง สูง สูง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

3.61

ปานกลาง

4.17 3.33 4.25 4.25 3.00 3.25 3.72

สูง ปานกลาง สูง สูง ปานกลาง ปานกลาง สูง

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 67

67

12/8/06 9:59:15 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

พยาบาลนิเทศโรงพยาบาลเอกชน มีความคิดเห็นต่อการ ฝึ กปฏิบตั งิ านด้านการบริหารการพยาบาลอยูน่ ระดับมาก โดย ข้อความคิดเห็นทีม่ คี ะแนนสูงทีส่ ดุ คือ พยาบาลนิเทศยินดีที่ ได้เป็นพยาบาลนิเทศการฝึกของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษาในครัง้ นี้ และคะแนนรองลงมา คือ พยาบาลนิเทศมีความยินดีหากได้ รับการคัดเลือกให้เป็นพยาบาลนิเทศในปีต่อไป คะแนนต่ำ ที่สุด คือ ข้าพเจ้ามีส่วนช่วยในการส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา เป็นอย่างดี 7. จุดดีและจุดเด่นของหลักสูตร ภายหลังสิ้นสุดการศึกษา ผู้เข้ารับการศึกษาได้เขียน บรรยายจุดดีและจุดเด่นของหลักสูตร ตามผลการวิเคราะห์ เนือ้ หามีสาระสำคัญดังนี ้ 7.1 อาจารย์มคี วามรู้ ความสามารถ และมาจากหลาก หลายสถาบัน อาจารย์แต่ละท่านมีคณ ุ ภาพสูง ตัง้ ใจให้ความรู้ จริงๆ/ ได้อาจารย์และวิทยากรทีม่ ปี ระสบการณ์ตา่ งประเทศ ซึง่ หาโอกาสได้ยาก 7.2 การเรียนแบบผู้ใหญ่ การเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียน มีสว่ นร่วมตลอดเวลา/ ไม่สร้างความเครียด และได้ความรู ้ 7.3 การศึกษาดูงานทัง้ ในและต่างประเทศ การศึกษาดู งานตรงวัตถุประสงค์ทสี่ ดุ / ตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มีความหลากหลาย ประทับใจในสถานทีด่ งู านมากค่ะ 7.4 การเพิ่มศักยภาพในการบริหารและสามารถนำ ทฤษฎี ไปประยุกต์ใช้ ได้ เกิดความเข้าใจในบทบาทผู้บริหาร มากขึ้น สามารถนำทฤษฎีสู่การปฏิบัติได้ถูกต้อง เกิดความ เข้าใจในสิงทีเ่ คยปฏิบตั อิ ยูแ่ ล้ว 7.5 ความสามารถในการจัดสัมมนา มีความสามารถใน การจัดสัมมนา เนือ่ งจากฝึกปฏิบตั บิ อ่ ยมาก/ มีความมัน่ ใจใน การขึน้ ไป present งานต่างๆ 7.6 การพัฒนาบุคลิกภาพ มีความมัน่ ใจกล้าแสดงออก มากขึน้ / ประทับใจอาจารย์ทปี่ รับบุคลิกให้เป็นผูบ้ ริหารทีเ่ ดิน ไปไหนไม่อายใคร 7.7 การมีผู้เรียนจากหลายสถาบัน พบเพื่อนที่ดี / ได้การทำงานเป็นทีม มีการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ทมี่ คี ณ ุ ค่า 8. สิง่ ที่ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา อยากจะบอก ผู้เข้ารับการศึกษา ได้ส่งแบบสอบถาม 34 คนจาก ทัง้ หมด 40 คนคิดเป็นร้อยละ 85 โดย ผูเ้ รียน 33 คน คิดเป็น ร้อยละ 97.05 มีความคิดเห็นว่า คุ้มค่าและจะแนะนำให้

บุคคลอืน่ เข้าศึกษาในหลักสูตรนี ้ สิง่ ที่ ผูเ้ รียน อยากจะบอก เมือ่ ใกล้จะสำเร็จการศึกษา ได้เขียนบรรยายมีสาระสำคัญดังนี ้ 1. ภาคภูมใิ จมาก กว่าจะได้ประกาศไม่ใช่เรือ่ งง่าย 2. การเรียนหลักสูตรนีเ้ หมือนชีวติ หลังแต่งงาน เพราะมี ทัง้ สุขและทุกข์ปนกัน (สุขจากการมีเพือ่ น เรียนสนุก ทุกข์จาก การทำรายงาน) 3. อายุไม่เป็นอุปสรรคสำหรับการเรียนรูข้ องผูท้ มี่ ีใจมุง่ มัน่ พัฒนา 4. จวนจบแล้วเสียดายจัง 5. เป็นหลักสูตรทีด่ มี าก ไม่คดิ ว่าจะดีกว่านี ้ 6. เยีย่ ม เกินความคาดหวัง 7. จะดีจะเลวหรือจะเลือกสิง่ ใดๆ อยูท่ ตี่ วั เราว่ามีความ สามารถนำไปได้แค่ไหน 8. เครียด (แต่ผลลัพท์ดมี าก) 9. โล่งใจ/ เกินพอ 10. ไม่มา เสียใจแย่ 11. ถูกใจจริงๆ มีความสุขทีส่ ดุ 12. ยอดเยีย่ มจริงๆ ได้เรียนตามวัตถุประสงค์สำเร็จแล้ว 9. สิง่ ทีจ่ ะแนะนำกับผูท้ จี ะเข้ามาเรียนในหลักสูตรนีต้ อ่ ไป สิง่ ทีผ่ เู้ รียนจะแนะนำกับผูท้ จี่ ะเข้ามาเรียนในหลักสูตรนี้ ในรุน่ ต่อไป มีสาระสำคัญดังนี้ 1. เมือ่ มาเรียนที่ วพบ. สามารถกลับไปปฏิบตั งิ านได้เลย (เป็นทุกอย่าง) 2. ถ้าต้องการเป็นผู้บริหารที่มีคุณภาพ ควรมาเรียน หลักสูตรนี ้ 3. ผูม้ าเรียนจะมีมมุ มองและแนวทางการบริหารทีเ่ ป็น ระบบมากขึน้ 4. หากท่านต้องการเนือ้ หาวิชาให้มาเรียนในหลักสูตรนี ้ 5. ไม่รบี มาเรียนแล้วจะเสียใจ 6. หลักสูตรนี้ ไม่เรียนไม่ได้ 7. ก่อนเป็นผูบ้ ริหารควรมาเรียนเพือ่ เตรียมความพร้อม ในตำแหน่ง 8. หลักสูตรบริหารการพยาบาลเฉพาะทางที่วิทยาลัย พยาบาลกองทัพบก มีสงิ่ ดีๆ เกีย่ วกับการเรียนการสอนทีจ่ ะ พบได้เห็น ได้รบั ความรูเ้ พิม่ มากกว่า สถาบันอืน่ ๆ 9. พยาบาลทุกคนควรมาเรียนถ้ามี โอกาส ได้อะไร มากมายเกินกว่าวิชาการบริหาร

68 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 68

12/8/06 9:59:16 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

10. เป็นหลักสูตรทีด่ ี การเรียนการสอนมีคณ ุ ภาพ 11. หลักสูตรนีย้ อดเยีย่ ม เหมาะสำหรับผูบ้ ริหารใหม่ตอ้ ง มาเรียนเป็นอย่างยิง่ ตัวอย่างคำบรรยายความประทับใจของผูเ้ รียน ต่ออาจารย์

ผูส้ อนจากวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก “มีเทคนิคการสอนแบบง่ายๆ ผูเ้ รียน เข้าใจง่าย มีความ ตัง้ ใจทีอ่ ยากจะถ่ายทอดความรูแ้ ก่ผเู้ รียน” “เยีย่ มมากค่ะอาจารย์สอนแบบสบายๆ แต่นา่ สนใจทุก หัวข้อ มีการกระตุน้ ผูเ้ รียน เป็นระยะๆ “ “เป็นความประทับใจตลอด ไม่วา่ สอนวิชาอะไร รูส้ กึ ได้ ว่าเป็นอาจารย์สอนทีม่ ปี ระสบการณ์ รูถ้ งึ ปัญหาระดับล่างได้ เป็น อย่างดี” “อาจารย์มีความตั้งใจในการสอนดีมาก ถ่ายทอดให้ เข้ า ใจง่ า ย และสามารถนำไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ดี พู ด เก่ ง สนุกสนาน ไม่ซเี รียส ไม่นา่ เบือ่ อยากให้อาจารย์มาสอนทุก รุน่ ค่ะ สนุกและได้สาระ” “การสอนและงานที่อาจารย์ให้ ผู้เรียนส่งเหมาะสม ดีแล้ว และเป็นประโยชน์ คิดว่าถ้ากลับไปทำรายงานจะทำให้ ง่ายขึน้ ในทางปฏิบตั ิ อาจารย์เหนือ่ ยหน่อยนะคะเรือ่ งรายงาน ผูเ้ รียน บางคนอาจทำอะไรช้า ขอโทษด้วยค่ะ” “อาจารย์งามสง่า ดูกร็ วู้ า่ มีฐานะ การสอนของท่านทำให้ ทราบเหตุผลว่าทำไมเราจึงต้องปรับบุคลิกภาพให้ดดู เี หมาะสม กับ คำว่าการเป็นผูบ้ ริหาร การ Comment ของท่านนำไปเป็น ครูได้ทกุ กรณี ซึง่ บางกรณีกน็ กึ ไม่ถงึ จริง ๆ “ “อาจารย์มคี วามตัง้ ใจกับ ผูเ้ รียน ผูอ้ าวุโสมาก” “เป็นที่ ปรึกษาได้ดที กุ เรือ่ ง” “อาจารย์ใจดีนา่ รัก มีความตัง้ ใจในการสอน ผูเ้ รียนมากๆ” “จิตวิญญาณการเป็นครูที่เอื้ออาทร ติดดินแต่มองโลกกว้าง ไกลและอยากผลักดันให้นักศึกษาก้าวไปข้างหน้าด้วยความ จริงใจ ตัง้ ใจ มุง่ มัน่ ไม่รจู้ กั เหน็ดเหนือ่ ย ไม่ทอ้ ถอย เมือ่ ใดเกิด ความท้อแท้จะนึกถึงอาจารย์ทงั้ 2 ท่านเป็นคนแรกค่ะ” “เป็นทีป่ รึกษาทีด่ มี าก ให้ขอ้ คิด ชีแ้ นะ ทำให้เรือ่ งยาก ๆ กลับง่ายขึน้ ” “ประทับใจอาจารย์มาก ลีลาการพูดน้ำเสียง บุคลิก ลักษณะดูอ่อนโยน แต่ภายในดูเข้มแข็ง มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ ดีมากๆ เป็นผูท้ มี่ คี วามรู้ มีศกั ยภาพสูง ชืน่ ชมท่านด้วยความ จริงใจ”

การอภิปรายผล ผูเ้ รียนส่วนใหญ่มตี ำแหน่งเป็นผูบ้ ริหารทางการพยาบาล ระดับกลาง คือเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยหรือผู้ช่วยหัวหน้าหอ ผูป้ ว่ ยทีก่ ำลังทดลองงานเป็นหัวหน้าหอผูป้ ว่ ย ทีม่ อี ายุ 40 ปี ขึน้ ไป และมีสว่ นหนึง่ เป็นผูบ้ ริหารระดับสูงทีม่ อี ายุมากกว่า 50 ปี ดังนัน้ ผูเ้ รียนกลุม่ นีจ้ งึ เป็นวัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ต่อเนือ่ ง มาจากวัยกลางคน ค่อนข้างเป็นระยะที่บุคคลมีสถานะทาง เศรษฐกิจและสังคมสมบูรณ์ ทางด้านการประกอบอาชีพการ งาน มักคิดถึงการพัฒนาตนเอง ทบทวนอดีตเปรียบเทียบกับ ปัจจุบนั ในแง่มมุ ต่างๆ (สุวฒ ั น์ วัฒนวงศ์, 2547) จากผลการ วิจยั ครัง้ นี้ พบว่า ผูเ้ รียนบางส่วนยังไม่เคยได้รบั การอบรมใน หลักสูตรระยะสัน้ ใด ๆ มาก่อนในระยะ 1-2 ปีกอ่ น และไม่ได้ ศึกษาต่อเพือ่ ให้ ได้คณ ุ วุฒสิ งู ขึน้ ส่วนใหญ่มแี รงจูงใจในการ เข้ารับการศึกษาในหลักสูตรนี้ในทางบวก กล่าวคือ มาศึกษา เพราะต้องการพัฒนาตนเอง ประยุกต์ใช้ความรู้ในการทำงาน และต้องการความก้าวหน้า มาเรียนเพราะหลักสูตรน่าสนใจ มีเพียงส่วนน้อยที่ระบุว่ามาเรียนเพราะอายุมากแล้ว ตาม อาวุโส หน่วยงานส่งเรียน และ มาเรียนเพราะเบือ่ งาน ซึง่ สอดคล้องกับการวิจยั ของโจนส์ (Jones, 1969 อ้างใน สุวฒ ั น์ วัฒนวงศ์, 2547) ทีพ่ บว่า เหตุผลของการเรียนในวัยผู้ใหญ่มี 3 ประการ คือ สนใจ ต้องการเรียนรู้ และหลีกเลีย่ งความจำเจ และน่าเบือ่ สำหรับความคาดหวังต่อหลักสูตรเมื่อสำเร็จการศึกษา นั้น เป็นสิ่งที่น่ายินดีที่สิ่งที่ผู้เรียนคาดหวังต่อหลักสูตรนั้นมี ความสอดคล้องกับเป้าหมายสูงสุดของการจัดการเรียนการ สอนในหลักสูตรนี้ โดยระบุวา่ ต้องการเป็นทีย่ อมรับของสห สาขาวิชาชีพและผู้ ใต้บังคับบัญชา และมีความสุขในการ ทำงาน มีทกั ษะในการบริหารจัดการทีด่ ี เพือ่ ความก้าวหน้า ของตนเอง พัฒนาหน่วยงานและวิชาชีพ และ สร้างเครือข่าย แลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั ผูเ้ ข้ารับการศึกษา เป็นต้น ซึง่ ควรมีการ ติดตามประเมินผลต่อไปว่าสิง่ ทีผ่ เู้ รียนคาดหวังนัน้ เป็นไปตาม ทีค่ าดหวังเมือ่ สำเร็จการศึกษาไประยะหนึง่ จริงหรือไม่ ถึงแม้ผู้ ใหญ่จะมีความสามารถในการเรียนรูต้ ลอดชีวติ แต่ไม่ชอบการเรียนรูต้ ามแบบแผน เช่น การส่งฝึกอบรมและ ศักยภาพการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความรู้พื้นฐานในวัยเด็กและ วัยรุ่น (สุวัฒน์ วัฒนวงศ์, 2547) ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ผู้เรียนบางส่วนมีความวิตกกังวลต่อการสอบ การเขียน วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 69

69

12/8/06 9:59:17 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

รายงานและไม่ ชอบนัง่ ฟังการบรรยายตลอดทัง้ วัน จึงมีการ เตรียมความพร้อมทัง้ ทางด้านร่างกาย จิตใจ และครอบครัว โดยการเตรี ย มความรู้ ด้ า นการบริ ห ารและคอมพิ ว เตอร์ สอบถามจากผูท้ เี่ รียนสำเร็จไปแล้ว และเตรียมสะสางงานใน หน้าที่ เป็นต้น การเตรียมความพร้อมล่วงหน้านีท้ ำให้ผเู้ รียน ประเมินตนเองว่ามีความพร้อมเกือบ 100 % ก่อนเข้ารับการ ศึกษาในหลักสูตร ซึ่งเป็นวิธีการของการเผชิญความเครียด ของผูเ้ รียนทีเ่ ป็นผู้ใหญ่ทเี่ หมาะสม สำหรับการฝึกปฏิบตั กิ ารบริหารการพยาบาลในหลักสูตร นี้ พบว่า ผูเ้ รียนเข้าใจบทบาทของตนเองและภาพรวมของวิชา เพิม่ มากขึน้ ภายหลังการฝึกและวัตถุประสงค์รายวิชานีก้ ำหนด ไว้เหมาะสมสอดคล้องกับสมรรถนะที่พึงมีของผู้บริหารการ พยาบาลในยุคปัจจุบนั และผูเ้ รียนเกิดการเรียนรูแ้ ละบรรลุ วัตถุประสงค์การเรียนในวิชานี้ อย่างไรก็ตามคะแนนความ คิดเห็นว่า ผูเ้ รียนรูส้ กึ สนุก ไม่เบือ่ และไม่ยอ่ ท้อต่อการฝึกงาน ในครัง้ นีน้ นั้ ต่ำทีส่ ดุ ทัง้ นีอ้ าจเนือ่ งมาจากลักษณะการฝึกปฏิบตั ิ ในวิชานีผ้ เู้ รียนจำเป็นต้องมีความรู้ ความสามารถพืน้ ฐานด้าน การวิจยั แบบรายกรณี โดยต้องมีทกั ษะการเก็บรวบรวมข้อมูล การสังเกตแบบมีสว่ นร่วม รวมทัง้ ทักษะการนำเสนอและเขียน รายงาน ทักษะต่างๆ เหล่านี้ ไม่สามารถกระทำได้ในทันทีเมือ่ สิน้ สุดการบรรยายในชัว่ โมง หากแต่ตอ้ งมีการฝึกฝนและเรียนรูจ้ าก การฝึกปฏิบตั จิ ริง รวมทัง้ การติดต่อประสานงานเพือ่ ขอข้อมูล หน่วยงานนัน้ ๆ อาจมีขอ้ จำกัดเรือ่ ง การรักษาข้อมูลเป็นความ ลับของหน่วยงาน ผูเ้ รียน จำเป็นต้องฝึกฝนในทักษะทีจ่ ำเป็นต่อ การเก็บรวบรวมข้อมูลและทักษะอืน่ ๆ ทีเกีย่ วข้อง อย่างไรก็ตาม พยาบาลนิเทศ ประเมินคะแนนในลำดับสูงทีส่ ดุ คือ พยาบาล นิเทศยินดีที่ได้เป็นพยาบาลนิเทศการฝึกของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา ในครัง้ นี้ และคะแนนรองลงมา คือ พยาบาลนิเทศมีความยินดี หากได้รบั การคัดเลือกให้เป็นพยาบาลนิเทศในปีตอ่ ไป สำหรับ คะแนนต่ำทีส่ ดุ คือ ข้าพเจ้ามีสว่ นช่วยในการส่งเสริมการเรียนรู้ ของ ผูเ้ ข้ารับการศึกษา เป็นอย่างดี แสดงว่าพยาบาลนิเทศยังไม่ มัน่ ใจว่าตนเองได้มสี ว่ นช่วยให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูบ้ รรลุตาม วัตถุประสงค์ของรายวิชาหรือไม่ ซึ่งผู้รับผิดชอบวิชาควร พิจารณาเรือ่ งการติดต่อสือ่ สารให้พยาบาลนิเทศมีความเข้าใจ วัตถุประสงค์ของวิชาทีช่ ดั เจนก่อนการฝึกปฏิบตั กิ ารบริหารการ พยาบาล

ผูเ้ รียนประเมินหลักสูตรโดยรวมทุกด้านมีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก โดยมีคะแนนประเมินเพิ่มมากขึ้นในเกือบทุก หัวข้อย่อย เมือ่ เปรียบเทียบกับผลการประเมินในหลักสูตรรุน่ ที่ 3 ยกเว้นเรือ่ งหนังสือทางการบริหารในห้องสมุดมีจำนวนเพียง พอ และระยะเวลาในการศึกษาเหมาะสม มีคะแนนต่ำลง กล่าวคือ ในประเด็นของหนังสือทางการบริหารในห้องสมุดใน ขณะนัน้ มีจำนวน 126 รายการ ซึง่ ส่วนใหญ่มจี ำนวน 1 เล่ม ต่อ 1 รายการ และห้องสมุดได้จดั เป็นหนังสือสำรองไว้เพือ่ ให้ อ่านในห้องสมุดหรือถ่ายเอกสารเนื้อหาสาระที่สนใจเท่านั้น สำหรับหนังสือทีม่ มี ากกว่า 1 เล่มต่อ 1 รายการ จะอนุญาตให้ ผูเ้ รียนยืมออกจากห้องสมุดได้ ซึง่ ข้อปฏิบตั นิ อี้ าจทำให้ผเู้ รียน ไม่สะดวกในการศึกษาค้นคว้าในห้องสมุด เนือ่ งจากเวลาส่วน ใหญ่หมดไปกับการเรียนในห้องเรียนและกิจกรรมกลุม่ ผูเ้ รียน จะสามารถเข้าห้องสมุดได้ในช่วงเวลาพักกลางวันและหลังเลิก เรียน คือ 16.00 น. ไปแล้วเท่านัน้ ซึง่ ส่วนใหญ่มภี าระทาง ด้านครอบครัวทีต่ อ้ งดูแล ดังนัน้ จึงควรมีการพิจารณาอนุญาต ให้ยมื หนังสือสำรองออกจากห้องสมุดได้ เพือ่ สะดวกต่อการ ศึกษาค้นคว้าของผูเ้ รียน สำหรับประเด็นเรือ่ ง ความเหมาะสม ของระยะเวลาเรียนนั้น ผู้เรียนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า ระยะเวลาเรียนน้อยเกินไป ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากเมือ่ ผูเ้ รียนสามารถ ปรับตัวได้กบั บทบาทใหม่ในฐานะนักเรียนและมีความผูกพัน กับเพือ่ นร่วมรุน่ จนเกิดความสุขต่อกิจกรรมการเรียนการสอน และมีความประทับใจต่อกิจกรรมการศึกษาดูงานในหน่วยงาน ต่างๆ ทัง้ ในและต่างประเทศแล้ว จึงทำให้รสู้ กึ ว่ายังไม่อยาก สำเร็จการศึกษาและต้องการขยายห้วงเวลาแห่งการเรียนรูท้ มี่ ี ความสุขนีอ้ อกไปอีก

บทสรุป การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะ ทางสาขาการบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 4 ของวิทยาลัย พยาบาลกองทัพบก ถือได้ว่ามีคุณภาพในทุกๆ ด้านอยู่ ใน ระดับมากถึงมากทีส่ ดุ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากหลักสูตรได้รบั การพัฒนา ปรับปรุงบนพื้นฐานของผลการวิจัยมาโดยตลอด จึงทำให้มี ความก้าวหน้ามาตามลำดับ ยืนยันได้จากข้อมูลเชิงประจักษ์ คือ ผลการประเมินด้านบริบทโครงสร้างของหลักสูตร ปัจจัย นำเข้ า กระบวนการจั ด เรี ย นการสอนโดยรวม มี ค วาม สอดคล้องกับผลการประเมินของรุน่ ที่ 3 แต่สว่ นทีแ่ ตกต่างกัน

70 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 70

12/8/06 9:59:18 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

คือ มีคะแนนสูงเพิม่ มากขึน้ ในเกือบทุกรายการ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก ผู้บริหารสถาบันตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการ เรียนการสอนอย่างต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ตามผูเ้ รียนได้ให้ขอ้ เสนอ แนะทีเ่ ป็นประโยชน์ทคี่ วรพิจารณาเพือ่ พัฒนาหลักสูตรต่อไป

5. การสือ่ สารทีต่ รงกันของอาจารย์ทปี่ รึกษา อาจารย์ ควรมีแนวทางเดียวกันในภาพรวม

ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาหลักสูตร

1. พิจารณาเรือ่ งการแบ่งกลุม่ ผูเ้ รียน ในการทำงานกลุม่ คละอายุ และการจัดทีน่ งั่ 2. พิจารณาเรือ่ งรูปแบบการเรียนการสอนและการทำ SWOT analysis ทีเ่ หมาะสม 3. พิจารณาเรือ่ งสถานทีฝ่ กึ ทีห่ ลากหลายสอดคล้องกับ ทักษะของผูเ้ รียน 4. พิจารณาเรื่องเวลาในการฝึกปฏิบัติงานบริหารการ พยาบาล (ฝึกช่วงเช้า ศึกษาค้นคว้าช่วงบ่าย) 5. พิจารณาเรือ่ งรูปแบบการสอบและการมอบหมายงาน (ไม่ควรมี Take home มาก ควรจัดสอบในห้องเรียนแทน) 6. พิจารณาเรื่องการปรับปรุงจำนวนหนังสือทางการ บริหารการพยาบาลและการบริการของห้องสมุด 7. พิจารณาเรื่องการสื่อสารและความเข้าใจที่ตรงกัน ของอาจารย์ทปี่ รึกษา 8. พิจารณาเรือ่ งการกำหนดตารางเวลาเรียนทีเ่ อือ้ ต่อ การทำรายงานและการศึกษาค้นคว้าของผูเ้ รียน

ผูเ้ รียนได้ให้ขอ้ เสนอแนะต่อการพัฒนาหลักสูตรในเรือ่ ง ต่างๆ ดังนี ้ 1. การกำหนดตารางเวลาเรียน ควรกำหนดเวลาฝึก ปฏิบัติบริหารติดต่อกัน การจัดสัมมนาและดูงานได้ด้วยกัน ชั่วโมงในตอนเย็นไม่ควรเกิน 4 โมง เพราะไม่สะดวกกับผู้ เรียนทีม่ คี รอบครัว 2. วิชาปฏิบตั บิ ริหารการพยาบาล ควรฝึกปฏิบตั งิ านใน หลากหลายสถาบัน การฝึกงานควรมีเวลาให้เขียนรายงานใน ช่วงบ่ายของแต่ละวัน และได้มีเวลาให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้ ตรวจงานและแก้ ไขทันเวลา 3. การแบ่งกลุม่ รูปแบบการสอบและการมอบหมายงาน ทยอยในการมอบหมายงาน การทำงานกลุม่ ใหญ่ไม่ควรแบ่ง อาวุโสไว้ดว้ ยกันเพราะมีความคล่องตัวน้อย ไม่เหมาะกับการ ทำงานกลุม่ ใหญ่ 4. การปรับทีน่ งั่ อยากให้ปรับทีน่ งั่ ทุกสัปดาห์ จะได้คนุ้ เคยกับเพือ่ นร่วมชัน้ เรียนทุกคน

ข้ อ เสนอแนะในการนำผลการวิ จั ย ไป ใช้ ป รั บ ปรุ ง หลักสูตรในปีตอ่ ไป

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 71

71

12/8/06 9:59:19 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

เอกสารอ้างอิง

ธำรง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร: การออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาศึกษา. นวลอนงค์ บุญฤทธิพงศ์. (2539). การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ระดับต้น กระทรวงสาธารณสุข. ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาการวิจยั และพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พรศิริ พันธสี, สุภาวดี ธนัพประภัศร์, และ อรพินท์ สีขาว. (2540). รายงานการวิจยั การศึกษาผลการปฏิบตั งิ านของพยาบาลใหม่หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (พยาบาลและผดุงครรภ์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วารสารพยาบาล, 46 (2), 98-108. ยุวดี ฤาชา, สุปราณี เสนาดิศยั , และ แสงทอง ธีระทองคำ. (2544). การประเมินความสำเร็จของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 7(1), 58-72. วาสนา นัยพัฒน์ (ก.ค.-ธ.ค. 2547) การประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล รุน่ ที่ 2 วิทยาลัยพยาบาล กองทัพบก. วารสารพยาบาลทหารบก, 5 ( 2) 20-32. วาสนา นัยพัฒน์ (ม.ค.-มิ.ย. 2548) การประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล รุน่ ที่ 3 วิทยาลัยพยาบาล กองทัพบก. วารสารพยาบาลทหารบก, 6 (1), 42-54. วิชยั วงษ์ใหญ่ (2543). การพัฒนาหลักสูตระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ทบวงมหาวิทยาลัย. สุวฒ ั น์ วัฒนวงศ์ (2547). จิตวิทยาเพือ่ การอบรมผู้ใหญ่. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อุทยั วรรณ พงษ์บริบรู ณ์. (2542). การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ของวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อุทยั วรรณ พงษ์บริบรู ณ์, มัลลิกา ลิม้ จิตรกร, และอรอา สถิตยุทธการ (2547). การประเมินหลักสูตรนายทหารเวชกรรมป้องกันและติดตาม ประเมินผลผูส้ ำเร็จการศึกษา รุน่ ที่ 1 พ.ศ. 2544 ของกองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารบก. รายการการวิจยั กองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารบก. อุทยั วรรณ พงษ์บริบรู ณ์, อภิญญา อินทรรัตน์, อายุพร ประสิทธิเวชชากูร, บุศรินทร์ อารยะธนิตกุล, และ วรรณรัตน์ ใจซือ่ กุล (2547). การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2542) วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก. รายงานการวิจยั วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก. Austin, A. W. (1993). Assessment for excellence: The philosophy and practice of assessment and evaluation in higher education. Phoenix, AZ: Oryx Press. Stufflebem, D. L. & Shinkfield, A. J. (1985). System evaluation. Boston: Kluwer Nijhoff. Worthen, B. R., Sander, J. R. & Fitzpatric, J. L. (1997). Program evaluation: Alternative approaches and practical guidelines (2nd ed.). White Plains, NY: Longman.

72 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 72

12/8/06 9:59:20 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ประสบการณ์ การสอบเพื่อรับวุฒิบัตร APN รัชนีกร บุณยโชติมา*

ข้าพเจ้าเป็นศิษย์วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกรุ่นที่ 17 โดยนับเป็นพยาบาลรุ่นสุดท้ายที่ ได้ รับประกาศนียบัตรพยาบาล(เทียบเท่าอนุปริญญา) ใช้เวลาเรียน 3 ปีครึ่ง และได้เข้าทำงานที่ ไอ.ซี.ยู. อุบัติเหตุฯ ตึกท่านผู้หญิงประภาศรี กำลังเอก ทันทีที่การก่อสร้างตึกเสร็จพอดี หลั ง จากทำงานได้ 3 ปี ข้ า พเจ้ า ได้ ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ณ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิราช เนื่องจากสามารถศึกษาต่อได้ โดยไม่มีผลกระทบต่อเวลาการทำงาน อีก 5 ปีต่อมา ข้าพเจ้าได้ศึกษาต่อระดับปริญญาโทด้านการพยาบาลผู้ ใหญ่ คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีมูลเหตุจูงใจจากเพื่อนที่ทำงานด้วยกันคนหนึ่งชวนไปเรียนต่อ ปริญญาโทด้วยกัน (เพื่อนพยาบาลคนนี้หลังจากจบการศึกษาระดับปริญญาโทแล้ว ก็ ได้เปลี่ยนอาชีพ จากพยาบาลเป็นแพทย์โดยการสอบเข้ามหาวิทยาลัยใหม่ และขณะนี้ก็ ได้ประกอบอาชีพแพทย์อย่าง เต็มตัวแล้ว ซึ่งนับว่าเป็นบุคคลที่น่าสนใจมาก) แต่คราวนี้ข้าพเจ้าลาศึกษาในเวลาราชการ เป็นเวลา 2 ปี เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทแล้ว ข้าพเจ้าก็ ได้รับมอบหมายให้ทำงานด้านวิชาการ ทำให้มี โอกาสทำงานนอกเหนือจากพยาบาลผู้ป่วยมากขึ้น เช่น การเข้าประชุมสัมมนาต่างๆ ซึ่ง

สิ่งเหล่านี้ล้วนเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความมั่นใจในการทำงานมากขึ้น และส่งผลให้ *พันตรีหญิง หัวหน้าหอผู้ป่วย ไอ.ซี.ยู. อุบัติเหตุฯ รพ.พระมงกุฎเกล้า

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 73

73

12/8/06 9:59:21 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ข้ าพเจ้ามีความก้าวหน้าในอาชีพการงานมาโดยลำดับและ ก้าวสู่ตำแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าหอผู้ป่วยไอ.ซี.ยู.อุบัติเหตุฯในปี 2545 และตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยไอ.ซี.ยู.อุบัติเหตุฯ ในปี 2548 สำหรับเรื่องการสอบเพื่อรับวุฒิบัตรรับรองความรู้ ความชำนาญสำหรับผู้ปฎิบัติการพยาบาลขั้นสูง หรือ APN (Advance Practice Nurse) นั้น ข้าพเจ้าได้รับทราบ ข้อมูลข่าวสารในเรื่องนี้มานานแล้ว แต่ ไม่ ได้ ให้ความสนใจ นักเพราะคิดว่ามีความเป็นไปได้น้อย เนื่องจากต้องสอบข้อ เขียนในภาคทฤษฎี และสอบสัมภาษณ์ หากจะสอบจะต้อง อ่านหนังสือมาก ขณะที่จบการศึกษามานาน ประกอบกับ เมื่อปฎิบัติงานในตำแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าหอผู้ป่วยก็มีภารกิจ มาก อีกทั้งบุตรก็ยังเล็กอยู่ แรงบั น ดาลใจให้ ข้ า พเจ้ า สนใจ APN เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ข้าพเจ้าเข้าประชุมวิชาการของ Nurse Case Manager เมื่อผู้ดำเนินรายการได้แนะนำวิทยากรท่านหนึ่งว่าได้รับ วุฒิบัตร APN ซึ่งทำให้ที่ประชุมสนใจการบรรยายของ วิ ท ยากรท่ า นนั้ น มากขึ้ น ข้ า พเจ้ า จึ ง เห็ น ว่ า APN เป็ น เครื่องมือหนึ่งที่สร้างความโดดเด่นแก่ทั้งตัวบุคคลที่ ได้รับ วุฒิบัตรนี้ และสถาบันที่บุคคลนั้นสังกัด ในปี 2548 ข้าพเจ้าจึงเข้าสอบ APN ในสาขาการ พยาบาลอายุรกรรม-ศัลยกรรม นับเป็น APN รุ่นที่ 3 โดย เสียค่าสมัครสอบ 2,000 บาท แยกเป็นค่าสอบข้อเขียน 1,000 บาท และค่าสอบสัมภาษณ์ 1,000 บาท การสอบ สั ม ภาษณ์ จ ะต้ อ งสอบข้ อ เขี ย นให้ ผ่ า นก่ อ น แต่ ห ากสอบ สัมภาษณ์ ไม่ผ่านก็ ให้สอบสัมภาษณ์อีกครั้งในปีถัดไป แต่ ต้องเสียค่าสอบสัมภาษณ์ใหม่อีก 1,000 บาท เมื่อสมัครสอบแล้วปรากฎว่า รพ.พระมงกุฎเกล้า กำลังจะ Reaccreditation เพื่อเตรียมรับ พรพ. ข้าพเจ้า จึงไม่ค่อยมีเวลาอ่านหนังสือ และประมาณ 1 เดือนก่อน สอบ สภาการพยาบาลได้แจ้งให้เข้าอบรม APN Role มิ ฉะนั้นจะไม่มีสิทธิสอบ ข้าพเจ้าจึงต้องลงทะเบียนเพื่อเข้า ประชุมวิชาการเรื่อง APN Role ซึ่งมีค่าลงทะเบียนถึง 3,000 บาท ในการสอบข้อเขียนมีผู้เข้าสอบประมาณ 200 คน ใช้เวลาสอบ 2 วัน วันแรกเป็นวิชาแกน ข้อสอบเป็นอัตนัย

ลักษณะข้อสอบเป็นการประเมินแนวคิด การตัดสินใจการ แก้ปัญหา เช่น .โครงสร้างระบบประกันสุขภาพควรเป็น อย่างไรจึงจะตอบสนองนโยบายการเข้าถึงบริการอย่างเป็น ธรรม มีคุณภาพและเกิดความทั่วถึง ครอบคลุม? ส่วนวันที่ สองเป็นวิชาเฉพาะ ข้อสอบเป็นปรนัย โดยสอบด้านอายุร กรรม-ศัลยกรรม 3 ชั่วโมง และสอบด้านศัลยกรรมอีก 3 ชั่วโมง แต่ข้อสอบส่วนใหญ่เป็นด้านอายุรกรรม ลักษณะ ข้อสอบจะเกี่ยวกับ Evidence Based Practices และ Best Practices ของโรคต่างๆ เช่น ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งแล้ว ได้รับการฉายแสง มี Best Practices ในการป้องกันเยื่อบุ ช่ อ งปากอั ก เสบอย่ า งไร? และข้ า พเจ้ า สามารถกล่ า วได้ ว่าการสอบข้อเขียนของ APN ยากที่สุดเท่าที่ข้าพเจ้าเคย ทำข้อสอบมาในชีวิต ผลการสอบข้ อ เขี ย นปรากฏว่ า มี ผู้ ผ่ า นข้ อ เขี ย น ประมาณ 106 คนจากผู้เข้าสอบทั้งหมด 200 คน และมี ผู้ผ่านข้อเขียนจาก รพ.พระมงกุฎเกล้ารวม 2 คน (จาก 3 คน) ส่ ว นการสอบสั ม ภาษณ์ มี บ รรยากาศที่ ก ดดั น ผู้ เ ข้ า สอบอย่างมาก ตั้งแต่การนัดให้ผู้เข้าสอบทุกคนลงทะเบียน แต่เช้า แล้วให้รอการเรียกสัมภาษณ์ในห้องประชุมโดยเก็บ โทรศัพท์มือถือทุกคนไว้ เพื่อป้องกันผู้ที่สอบแล้วโทรมาบอก คำถามแก่ผู้ที่รอสอบ แต่ดีที่มีเครื่องดื่ม อาหารว่าง รวมถึง อาหารกลางวันบริการแก่ผู้รอสอบ ข้าพเจ้าได้เข้าสอบสัมภาษณ์ตอนบ่าย 2 มีอาจารย์ สอบสั ม ภาษณ์ 4 ท่ า น คำถามส่ ว นใหญ่ จ ะเน้ น ถึ ง กลุ่ ม ประชากรที่รับผิดชอบ ความสำคัญที่เลือกกลุ่มประชากรนี้

74 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 74

12/8/06 9:59:23 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ปัญหาของผู้ป่วยมีอะไรบ้าง มีกระบวนการดูแลหรือสร้าง สรรนวัตกรรมอะไรในการให้การพยาบาลผู้ป่วยตั้งแต่แรก รับจนกระทั่งผู้ป่วยกลับบ้านและดูแลต่อเนื่องที่บ้านอย่างไร ไม่ ให้ผู้ป่วยกลับมาโรงพยาบาลด้วยภาวะแทรกซ้อน โดยมี ผลลัพธ์(Outcome) ที่สามารถวัดได้ มีการนำผลงานวิจัย อะไรบ้างมาใช้ ในการพยาบาลผู้ป่วย เป็นต้น หลั ง สอบสั ม ภาษณ์ ป ระมาณ 1 เดื อ น สภาการ พยาบาลได้ประกาศผลสอบทางอินเตอร์เน็ต (www.tnc. or.th) ซึ่งมีผู้ผ่านการสอบสัมภาษณ์และรับวุฒิบัตร 62 คน จากจำนวนผู้ที่มีสิทธิสอบสัมภาษณ์ทั้งหมด 158 คน และ ข้าพเจ้าเป็นคนเดียวจาก รพ.พระมงกุฎเกล้าที่ผ่านการสอบ สัมภาษณ์ในครั้งนี้ ขั้นตอนสุดท้าย คือ การเข้ารับวุฒิบัตร APN ซึ่งใน วันนั้นสภาการพยาบาลได้แจ้งให้ทราบว่าการรักษาสถานะ APN มีเงื่อนไขว่าต้องต่ออายุทุก 5 ปี โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1. ต้ อ งมี ผ ลงานการเขี ย นตำราหรื อ บทความลง หนังสืออย่างน้อย 2 เรื่อง 2. ปฏิบัติงานในสาขาที่ ได้วุฒิบัตรอย่างน้อย 1,500 ชั่วโมง 3. มี CNEU อย่ า งน้ อ ย 75 คะแนน โดย 25 คะแนนเกี่ยวข้องกับ APN 4. เป็ น อาจารย์ คุ ม นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโท ทางการ พยาบาล 120 ชั่วโมง หรือวิทยากรในการอบรมอย่างน้อย 5 ครั้ง ข้าพเจ้าขอย้ำอีกครั้งว่า APN มีประโยชน์ทั้งต่อผู้ที่ ได้รับ APN และสถาบันที่ผู้นั้นสังกัด เพราะผู้ที่ ได้รับ APN

จำเป็ น ที่ จ ะต้ อ งพั ฒ นา ขวนขวายและเพิ่ ม พู น ความรู้ ทักษะทางการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการสร้างสรร นวัตกรรมทางการพยาบาล เพื่อรักษาหรือคงสถานะความ เป็น APN ทำให้ผู้นั้นต้องตื่นตัว พัฒนาตนเองและหน่วย งานที่ ต นทำงานอยู่ ต ลอดเวลา สำหรั บ สถาบั น ที่ ผู้ ได้ รั บ APN สังกัดก็จะมีชื่อเสียงในแง่ที่เป็นองค์กรที่ส่งเสริมการ พัฒนาบุคลากรหรือที่เรียกกันว่าทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) หรือทุนมนุษย์ (Human Capital) และหาก สถาบันใดมีผู้ที่ ได้รับ APN จำนวนมาก สถาบันนั้นก็ ได้ชื่อ ว่าเป็นแหล่งรวมผู้ที่มีความรู้ และทักษะการพยาบาล และ สามารถใช้จุดแข็งของตนพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) อันเป็นแนวคิดสำคัญในการ พัฒนาเพื่อให้สอดรับกับการพัฒนาประเทศแนวใหม่ที่ ใช้ องค์ความรู้เป็นฐานในการพัฒนาประเทศ (Knowledge Based Economy: KBE) ข้าพเจ้าจึงใคร่เสนอให้ รพ.พระมงกุฎเกล้า ส่งเสริม บุคลากรการพยาบาลตระหนักถึงความสำคัญของ APN เพื่อยกระดับความรู้ความสามารถทางการพยาบาลโดยรวม ของโรงพยาบาล ได้แก่ การจัดนิเทศเพื่อแนะนำการเข้า สอบ APN และการจัดติวเพื่อเตรียมสอบข้อเขียน เป็นต้น รวมถึ ง การกำหนดค่ า ตอบแทนหรื อ เงิ น ประจำตำแหน่ ง APN เช่ น เดี ย วกั บ โรงพยาบาลในสั ง กั ด กระทรวง สาธารณสุขดำเนินการ เพื่อจูงใจให้พยาบาลสนใจและให้ ความสำคัญแก่ APN สุดท้ายนี้ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณพันโท หญิง ดร. นงพิมล นิมิตรอานันท์ APN รุ่นที่ 2 ปี 2547 ซึ่งช่วย ทบทวนและเตรียมความพร้อมก่อนการสอบข้อเขียนแก่ ข้าพเจ้าและทีมผู้เข้าสอบของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ขอบคุณกองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ที่ ให้ความสำคัญและจัดพิธีประกาศเกียรติคุณให้ ขอบคุณ เจ้าหน้าที่ไอ.ซี.ยู. อุบัติเหตุฯ ทุกท่านที่ให้ความร่วมมือกับ โครงการต่างๆ ที่ข้าพเจ้าพยายามนำมาพัฒนาคุณ ภาพ การพยาบาลผู้ป่วย ทำให้ข้าพเจ้าสามารถนำผลงานต่างๆ เหล่านั้นไปนำเสนอแก่คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์จน สามารถสอบผ่านได้ ในที่สุด และขอบคุณครอบครัวของ ข้าพเจ้าที่ให้กำลังใจแก่ข้าพเจ้าในทุกเรื่องตลอดมา วารสารพยาบาลทหารบก

Thai Army Nurses 3.indd 75

75

12/8/06 9:59:24 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

งานมุทิตาจิต เกษียณอายุพยาบาล ทบ. ปี 2549 วันที่ 31 ต.ค. 2549 ณ ห้องประชุม พจมานทักษิณ อาคารพัชรกิติยาภา ชั้น 10 โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

ร้อยรัก ร้อยดวงใจ ตราไว้ในดวงจิตพยาบาล ทบ. • เป็นบุญชาติ บุญแผ่นดิน ณ ถิ่นนี้

กำเนิดที่ วพบ. ขอสืบสาน

• อุปสรรค มีไว้ ให้เราข้าม

ทุกโมงยาม คือบทเรียน เขียนไว้ให้

จารึกมั่น ในความดี นิรันดนาน

สมศักดิศรี พยาบาล ทหารบกไทย • นามวรนุช เป็นหญิงมั่น บากบั่นสู้

เป็นแบบอย่าง ความสำเร็จ ความศรัทธา • พี่พูลศรี อารมณ์ดี มีความสุข พี่จบโท เฮลท์โปร คนนิยม

• พี่ปื้ด เป็นหญิงมั่น กล้าฝันฝ่า พี่พูดจริง ทำจริง ยิ่งกว่าใคร

• พี่แอ๋วสุขุม ลุ่มลึก ผลึกรัก

เกียรตินิยม อันดับหนึ่ง ยังตรึงตรา • พี่อุไร ช่างวิจิตร เมืองพิษณุโลก ทั้งรักงาน ก็เลิศล้ำ นำใครๆ

เกษียณกาล ยังตราตรึง ซึ้งหัวใจ

คือสายใย ที่สรรสร้าง แผ้วทางมา

career path พี่เชิดชู อย่างรู้ค่า มีพลโท ประทับบ่า น่าชื่นชม

ทั้งเชิงรุก และเชิงรับ ปรับเหมาะสม คนชื่นชม นักประสาน จัดการไว

วิสัยทัศน์ เลอค่า น่ายกให้

เป็นนักกีฬา ทัพบกไทย ได้เหรียญตรา ตกเป็นฝัก ในบุตรี มีคุณค่า

เสริมสร้างค่า วพบ. ก่อสายใน

ถูกโฉลก เลือดทหาร ป้านสดใส มีคู่ไว้ ให้เกื้อหนุน คุณอนันต์

76 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 76

12/8/06 9:59:32 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

• พี่ทุ้ยเป็น คนตรง คงสัตย์ซื่อ

หลานพี่ทุ้ย เป็นดอกเตอร์ ครึ่งอเมริกา • พี่เบิ้มคือ มือฉกาจ ผู้มาดมั่น

ร้านเสริมสวย ช่วยให้พี่ รวยเงินทอง • พี่ดา เป็นคนรุ่นใหม่ วิสัยทัศน์ พี่ทุ่มเท ด้วยรัก และจริงใจ

• พี่เป๋อเป็น เจ้าแม่ตา มานานนับ พี่รักธรรม รักต้นไม้ รักดนตรี

น้ำเสียงสื่อ ใจนักเลง เก่งสร้างสรรค์ ประสพสุข ดุจฝัน วันสีทอง

พี่เสกสรร งานมากมาย ไม่ผยอง เพื่อน้องๆ จะได้สวย รวยวิไล

อีกเจนจัด แต่งกายงาม ตามวิสัย บุกเบิกให้ งานคุณภาพ ตราบชีวี

เปิดช่องรับ รอยธรรมนำ วิถี

มีชีวี ที่อยอุ่น กรุ่นแพรพรรณ

• เป็นสัญลักษณ์ ของการงาน ที่สร้างสุข พี่ชอบปลุก ให้พวกเรา มีสีสัน เอื้ออาทร น้องพี่ ที่แบ่งปัน พี่น้อยนั้น มีเคล็ดลับ กับชีวี • พี่ปราณี ผู้เชี่ยวชาญ งานสร้างชื่อ ได้ของขวัญ พยาบาล ทำงานดี • พี่วันดี ตรวจหัวใจ ใครก็รัก

รางวัล ผู้ช่วยดีเด่น ของโรงพยาบาล • ขอถักถ้อย ร้อยใจ มาลัยมอบ หลอมสายเลือด ทัพบก มาพบพา

GI สื่อ งานเด่น เป็นศักดิ์ศรี ชีวิตนี้ อุทิศค่า พยาบาล

สุภาพนัก อารมณ์ดี พี่อ่อนหวาน รักการงาน เป็นชีวิต จิตวิญญา

แทนคำตอบ แทนไออุ่น ละมุนค่า ปฏิญญา อุทิศค่า พยาบาล

พ.ท.หญิง จันทนา กมลศิลป์ และ พ.ต.หญิง สิริพิชญ์ ภัทธรรมาภรณ์ ประพันธ์ / ขับเสภา ในนามของ - วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก - กองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า - สมาคมพยาบาลทหารบก

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 77

77

12/8/06 9:59:34 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ใบสมัครสมาชิกวารสารพยาบาลทหารบก ข้าพเจ้า.............................................................................................................................................มีความประสงค์ สมัครเป็นสมาชิกวารสารพยาบาลทหารบก ตั้งแต่ ม.ค. - มิ.ย. 49 - ก.ค. - ธ.ค. 49 จำนวน 2 เล่ม/ปี ค่าสมัคร - เป็นสมาชิกสมาคมพยาบาลทหารบก q 150 บาท - ไม่เป็นสมาชิกสมาคมพยาบาลทหารบก q 200 บาท กรณีสั่งซื้อวารสารโดยไม่สมัครสมาชิก ราคาเล่มละ 100 บาท ขอให้ส่งวารสารพยาบาลทหารบกให้ข้าพเจ้าที่ .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. หมายเลขโทรศัพท์ .............................................................................................................................................................................. q ธนาณัติเลขที่............................................................... สั่งจ่าย ปณ. ราชวิถี เป็นเงิน.............................บาท q ตั๋วแลกเงินที่................................................................ เป็นเงิน.............................บาท q เงินสด........................................................................... เป็นเงิน.............................บาท ใบสมัครเป็นสมาชิกวารสารพยาบาลทหารบก โปรดส่งที่ พท.หญิง ยุพิน ยศศรี

ประธานฝ่ายวารสารสมาคมพยาบาลทหารบก แผนกพยาบาลอุบัติเหตุ ชั้น อาคารประภาศรี กำลังเอก โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า ถ.ราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ โทร : 0-2354-7600-28 ต่อ 93434 มือถือ : 08-9132-7400 E-mail : yupin2500@yahoo.com

ลงชื่อ..............................................................................ผู้สมัคร (..............................................................................) ........................./............................/.........................

อัตราค่าพิมพ์ โฆษณาเผยแพร่กิจการ วารสารพยาบาลทหารบก ปีที่........... พ.ศ. .......................... หนังสือวารสารพยาบาลทหารบก พิมพ์ด้วยระบบออฟเซต ขนาด 8 หน้ายก ภายในเล่มพิมพ์ด้วยกระดาษปอนด์ 70 แกรม จำนวน พิมพ์ครั้งละ 500 เล่ม กำหนดพิมพ์ออกเผยแพร่ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - มิถุนายน และฉบับที่ 2 เดือนกรกฏาคม ธันวาคม ข้อความที่ลงโฆษณาเต็มหน้าหรือครึ่งหน้า โดยส่งอาร์ตเวิร์ค ใบแทรก หรือข้อความที่จะลงโฆษณาไปที่ พ.ท. หญิง ยุพิน ยศศรี ประธานวารสารสมาคมพยาบาลทหารบก แผนกพยาบาลอุบัติเกตุฯ ชั้น 5 อาคารประภาศรี กำลังเอก โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า 315 ราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร 0-2354-7600-28 ต่อ 93434

อัตราค่าโฆษณา

1. ในเล่ม เต็มหน้า 2. ในเล่ม ครึ่งหน้า 3. ใบแทรก 4. ปกหลังใน เต็มหน้า

ฉบับละ ฉบับละ ฉบับละ ฉบับละ

3,000 บาท 1,500 บาท 3,000 บาท 4,000 บาท

78 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 78

12/8/06 9:59:35 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

ใบตอบรับลงพิมพ์เผยแพร่กิจการ วารสารพยาบาลทหารบก ปีที่ 6-7 (พ.ศ 2548-2550) เขียนที่.................................................................................... วันที่........................................................................................ ข้าพเจ้า........................................................................................................................................ตำแหน่ง............................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน.........................................................................................................................โทรศัพท์............................................................................... มีความประสงค์จะเผยแพร่กิจการในวารสารพยาบาลทหารบก ปี 2548 รายการที่.............................................................................................. อัตราครั้งละ.......................................บาท รวม............................................... ครั้ง เป็นเงิน....................................................................................บาท q อาร์ตเวิร์ต q ใบแทรก q ข้อความที่จะลง มาเพื่อดำเนินการต่อไป หมายเหตุ เงินค่าโฆษณาจะขอรับเมื่อหนังสือพิมพ์เรียบร้อยแล้ว และนำออกแจกจ่ายแล้วแต่ละฉบับ

ข้อแนะนำเกี่ยวกับการเขียนต้นฉบับ วารสารพยาบาลทหารบก 1. ประเภทของเรื่องที่จะลงพิมพ์ ได้แก่ 1.1 บทความทางวิชาการทางการพยาบาล 1.2 ผลงานวิจัยทางการพยาบาล 1.3 ความเคลื่อนไหวในวิชาชีพ 1.4 กฎหมายและจรรยาบรรณแห่งการประกอบวิชาชีพ พยาบาล 1.5 บทความพิเศษและปกิณกะ 2. เรื่องที่จะนำลง ต้องไม่นำลงที่อื่นมาก่อน ยกเว้นกฎระเบียบ คำสั่งและข้อบังคับต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อสมาชิก 3. เรื่องทั้งหมดที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารพยาบาลทหารบก จะตกเป็นสมบัติของสมาคมพยาบาลทหารบกและเป็นผู้สงวน สิทธิ์ทุกประการ 4. การเตรียมต้นฉบับ 4.1 บทความ 4.1.1 ต้นฉบับต้องพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป MS Word 95/97 for windows ขนาดตัวอักษร 16 พิมพ์หน้า เดียวในกระดาษ A4 จำนวน 7 - 10 หน้า (รวมเอกสารอ้างอิง) 4.1.2 ชื่ อ ผู้ เ ขี ย น ระบุ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาสู ง สุ ด ไม่ ต้ อ งระบุ ตำแหน่งทางวิชาการ พิมพ์ด้วยกระดาษขนาดเล็กอยู่ ใต้ชื่อเรื่อง โดยเยื้องมาทางด้านขวาไว้เป็นเชิงอรรถ 4.1.3 บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไม่เกิน 200 คำ ต่อบทคัดย่อ 4.1.4 กำหนดคำสำคัญทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4.1.5 การเรียงหัวข้อ หัวข้อใหญ่ที่สุด ให้พิมพ์ชิดขอบด้าน ซ้าย หัวข้อย่อยเว้นห่างจากหัวข้อใหญ่ 3 - 5 ตัวอักษรและ หัวข้อย่อยขนาดเดียวกัน ต้องพิมพ์ให้ตรงกัน เมื่อขึ้นหัวข้อใหญ่ ควรเว้นระยะพิมพ์เพิ่มอีก 1/2 ช่วงบรรทัด 4.1.6 การใช้ ตั ว เลข คำย่ อ และวงเล็ บ ควรใช้ เ ลขอารบิ ค ทั้งหมด ใช้คำย่อที่เป็นสากลเท่านั้น (ระบุคำเต็มไว้ ในครั้งแรก) 4.2 รูปแบบการวิจัย (รูปแบบการเขียนเหมือนการเขียน บทความ) และเพิ่มเติมดังนี้

4.2.1 บทนำระบุกรอบแนวคิดหรือความสำคัญของปัญหาการ วิจัยโดยย่อและระบุวัตถุประสงค์ของการวิจัย 4.2.2 วิธีดำเนินการวิจัย อธิบายถึงกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ ใช้ ในการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 4.2.3 ผลการวิจัย เสนอผลที่พบตามลำดับอย่างชัดเจน ควร เสนอในรูปตารางหรือแผนภูมิเมื่อจำเป็น 4.2.4 อภิปรายผล เสนอความเรียง ชี้ ให้เห็นถึงความเชื่อม โยงของผลการวิจัยกับกรอบแนวคิดและงานวิจัยที่ผ่านมา ไม่ควร อภิปรายเป็นข้อๆ แต่ชี้ ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของตัวแปรที่ ศึกษาทั้งหมด 4.2.5 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้และประเด็น สำหรับการวิจัยต่อไป 4.3 เอกสารอ้างอิง - ให้ ใช้ APA Formatted Reference, 5th edition ศึกษา รายละเอียดได้ที่ http://www.wooster.edu/psychology/apacrib.html

การส่งบทความ

ส่งบทความต้นฉบับพร้อมสำเนา 2 ชุด และแผ่น Diskette ที่อยู่ที่ติดต่อสะดวก ส่งมาที่

พ.ท.หญิง ยุพิน ยศศรี แผนกพยาบาลอุบัติเหตุและเวชกรรมฉุกเฉิน ชั้น 5 อาคารประภาศรี กำลังเอก 315 ถ.ราชงิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม.10400 โทร : 0-2354-7600 ต่อ 93434 มือถือ : 0-9132-7400 E-mail : yupin2500@yahoo.com

วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 79

79

12/8/06 9:59:36 AM


ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2549

วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก

ROYAL THAI ARMY NURSING COLLEGE เปิดรับสมัครบุคคลชาย-หญิง เข้าศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิต และหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล ประจำปีการศึกษา 2550 จำหน่ายระเบียบการและรับสมัครได้ทางไปรษณีย์ และ Download ได้ที่ http://rtanc.ac.th คุณสมบัติผู้สมัคร

1. สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายวิทยาศาสตร์ หรือกำลังจะสำเร็จการศึกษาชั้น ม.6 สายวิทยาศาสตร์ ในปีการศึกษาที่รับสมัคร 2. มีสถานภาพโสด อายุครบ 16 ปีบริบูรณ์ แต่ ไม่เกิน 25 ปี (นับถึงวันเปิดการศึกษาของปีที่สมัคร) 3. มีผลการสอบวัดความรู้ของสำนักทดสอบกลาง 7 วิชาหลัก หรือมีผลการสอบทางการศึกษาแห่งชาติของกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งผลการสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) และผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นสูง (A-NET) 4. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม *GPA) ไม่น้อยกว่า 2.5 และสอบผ่านทุกรายวิชาของชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 5. มีร่างกายและจิตใจสมบูรณ์ น้ำหนักตัวไม่น้อยกว่า 45 กก. ส่วนสูงไม่ต่ำกว่า 155 ซม. 6. มีสัญชาติไทย บิดา-มารดา มีสัญชาติไทย 7. มีหนังสือรับรองความประพฤติ ออกโดยโรงเรียนที่ศึกษา 8. (เฉพาะทุนส่วนราชการฝากศึกษา) มีหนังสือจากส่วนราชการของกองทัพบกส่งนักศึกษา 9. มีหลักฐานอื่นๆ ประกอบการพิจารณาในขั้นตอนสอบสัมภาษณ์ เช่น หนังสือรับรองการศึกษาวิชาทหารจากหน่วยบัญชาการ รักษาดินแดน (นรด.) ฯลฯ

ประกาศผลภาควิชาการ

• •

ประมาณ 2 สัปดาห์หลังทราบผลคะแนน A-NET ทาง web sete หรือ โทร. 0-2354-7835 ผู้ที่มีรายชื่อตามประกาศผลภาควิชาการของวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ประจำปีการศึกษา 2550 ต้องเข้ารับการทดสอบ สุขภาพจิต ตรวจร่างกายและสอบสัมภาษณ์ตามกำหนดวัน เวลาที่วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก โดยจะแจ้งให้ทราบในภายหลัง (ประมาณไม่เกิน 1 สัปดาห์ภายหลังประกาศผลภาควิชาการของวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก)

สนใจซื้อใบสมัครด้วยตนเองหรือทางไปรษณีย์ ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2549 เป็นต้นไป สอบถามรายละเอียดได้ที่ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก 317/6 ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10140 โทร. 0-2354-7842 (ในเวลาราชการ), โทร. 0-2354-7834 (นอกเวลาราชการ) โทรสาร 0-2354-7842, 0-2354-7835 E-mail : rtanc@rtanc.ac.th, http://rtanc.ac.th

แนะนำคณะอนุกรรมการสมาคมเพิ่มเติม 1. พ.อ.หญิง อรวรรณ อุขชิน ประธานฝ่ายหารายได้ 4. พ.ต.หญิง ชุลีกร บังหลวง 2. พ.อ.หญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล ฝ่ายหารายได้ 5. พ.ต.หญิง เพ็ญพรรณ สิทธาคุปต์ 3. พ.ท.หญิง อุไรวรรณ พูลผล ฝ่ายหารายได้ 6. ร.อ.หญิง เยาวภา สุคนธรังษี

ฝ่ายเหรัญญิก ฝ่ายเหรัญญิก ผู้ช่วยเลขานุการ

80 วารสารพยาบาลทหารบก Thai Army Nurses 3.indd 80

12/8/06 9:59:40 AM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.